แนะนำอาชีพ “นักนิติวิทยาศาสตร์” — ความหมาย หน้าที่ ต้องเรียนจบอะไรมา?

ท่ามกลางกระแสข่าวที่เกิดเหตุการณ์สลดใจหลายต่อหลายครั้ง อาจทิ้งปริศนาที่ “ศพ” ต้องกลายเป็นคนพูดเอง แต่เดี๋ยวก่อน คำว่าศพพูดเองนั้นไม่ได้หมายความว่าศพจะลุกขึ้นมาพูดเองจริง ๆ นะคะ แต่หมายถึงการที่เราหาความจริงจากร่องรอยที่อยู่บนร่างกายของคน ๆ นั้น หรือสภาพแวดล้อมในที่เกิดเหตุ วันนี้เราจะพาน้อง ๆ ไปทำความรู้จักกับอาชีพ “นักนิติวิทยาศาสตร์”   นิติวิทยาศาสตร์ คือการนำความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ เช่น ชีววิทยา ฟิสิกส์ กายภาพ เคมี คอมพิวเตอร์ และ กีฏวิทยา มาใช้ในการเก็บและพิสูจน์หลักฐาน ทั้งการตรวจร่างกาย วัตถุพยานเพื่อนำมาซึ่งข้อเท็จจริงที่จะเป็นประโยชน์ในการสืบสวนและการดำเนินคดีตามกฏหมาย  ในประเทศไทย นิติวิทยาศาสตร์จะเกี่ยวข้องกับด้านนิติเวชศาสตร์…

DELTAs — 13 ทักษะเพื่ออาชีพในอนาคตจาก McKinsey

ปัจจุบันดิจิทัลและเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทในการทำงานเป็นอย่างมาก ส่งผลทำให้คนเราจำเป็นที่จะเปิดรับทักษะใหม่ ๆ และปรับตัวให้เข้ากับอาชีพที่กังจะเกิดขึ้นนอนาคต ด้วยเหตุนี้ McKinsey บริษัทที่ปรึกษาชั้นนำของโลกจากอเมริกาได้ทำการวิจัยเกี่ยวกับอาชีพที่สูญหายไปและอาชีพที่กำลังจะเกิดขึ้นใหม่ในอนาคต จึงเกิดเป็นการสำรวจเกี่ยวกับเรื่อง “Future Skill” หรือทักษะในอนาคตที่จำเป็นต้องมีสำหรับ “Future of Work” ซึ่งมีผู้เข้าร่วมมากถึงกว่า 18,000 คนจาก 15 ประเทศ จากผลสำรวจพบว่า ถ้าจะอยู่รอดในอนาคตจำเป็นต้องมี 56 ประกอบ 13 ทักษะใน 4 หมวดสำคัญ ที่ McKinsey เรียกรวมกันว่า “DELTAs (Distinct…

ทำไมเด็กไทยจึงต้องติว — แบบสำรวจความเห็นจากชุมชน Eduzones

การติว หรือเรียนพิเศษ เป็นการศึกษาเพิ่มเติมนอกห้องเรียนปกติ ในประเทศไทยการติวกลายเป็นอีกหนึ่งปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อการเข้าศึกษาต่อทั้งในระดับมัธยมศึกษาและอุดมศึกษา ทำให้ธุรกิจสถาบันกวดวิชาเติบโตมากมายชนิดที่เรียนได้ว่าแทบจะมีทุกย่อมหญ้า . แล้วทำไมเด็กไทยจึงต้องติว? จากผลสำรวจผ่านเฟสบุ๊กแฟนเพจ Eduzones และ Wiriyah Eduzones ในหัวข้อ “ทำไมนักเรียนไทยต้องติว?”  โดยเก็บข้อมูลภายในวันที่ 4 มีนาคม 2565 พบการแสดงความคิดเห็นเรียงลำดับได้ ดังนี้ . อันดับที่ 1 นักเรียนไทยต้องติวเพราะเนื้อหาข้อสอบที่ใช้สอบเข้าไม่มีอยู่ในชั้นเรียน ตัวอย่างความคิดเห็น อันดับที่ 2 นักเรียนไทยต้องติวเพราะการสอนของอาจารย์ ตัวอย่างความคิดเห็น อันดับที่ 3 นักเรียนไทยต้องติวเพราะเหตุผลอื่น…

อัปเดต ข้อมูลล่าสุดของ dek66 เรื่องการสอบ เปลี่ยนอะไร ปรับอะไรบ้าง .

วันนี้พี่แฮนด์ได้มีโอกาสสัมภาษณ์ อ.ก๊อง ดร.พีระพงศ์ ตริยเจริญ ผู้จัดการระบบ TCAS เกี่ยวกับเรื่องข้อสอบที่ใช้คัดเลือกในระบบ #TCAS66 ว่ามีการเปลี่ยนแปลงอะไรบ้าง ซึ่ง อ.ก๊อง ก็คอนเฟิร์มชัดถึงการปรับเปลี่ยนข้อสอบในปีหน้า มีการปรับลดวิชาที่จะสอบลง รายวิชาไหนที่ซับซ้อนก็จะมีการขมวดรวมกัน รายละเอียดการเปลี่ยนแปลงใน TCAS66 จะมีอะไรบ้างไปดูรายละเอียดกันครับ  1.รายวิชา GAT เป็น TGAT มี 3 ส่วน (สอบทุกส่วน) ได้แก่ 1. การสื่อสารภาษาอังกฤษ 2. การคิดอย่างมีเหตุผล 3. สมรรถนะการทำงานในอนาคต…

ยืนยัน TCAS65 ไม่ใช้ ONET ยกเลิก Admission2 TCAS66 เปลี่ยนรูปแบบข้อสอบ

เป็นที่คอนเฟิร์ม ยืนยันชัดเจนแล้วนะครับ สำหรับการใช้ข้อสอบ O-NET ในปีหน้า สำหรับน้อง ม.5 ในปีนี้ หรือ dek65  ว่าในปีหน้านั้น ในระบบ TCAS จะไม่มีการใช้คะแนน O-NET ทำให้ในรอบ Admission2 ที่ใช้คะแนน O-NET เป็นค่าน้ำหนักในการคัดเลือกถึง 30% เป็นอันต้องยกเลิกตามไปด้วย โดยพี่แฮนด์ eduzones นายธารา อิสสระ บรรณาธิการข่าว eduzones ได้ทำการสัมภาษณ์ อ.ก๊อง ดร.พีระพงษ์ ตริยะเจริญ ผู้จัดการระบบ…

ประเด็นประชาพิจารณ์ TCAS64-TCAS65

รวมประเด็นประชาพิจารณ์ TCAS64-TCAS65 และการเปลี่ยนแปลง TCAS64-TCAS66 ทั้งรูปแบบการคัดเลือก และข้อสอบ จาก ทปอ. ที่จะเริ่มทำการประชาพิจารณ์วันแรก วันที่ 21 ม.ค. นี้  ลงทะเบียนที่ >>  คลิก

ทปอ. ปรับข้อสอบ GAT เป็น T-GAT เริ่มใช้ปีหน้า

อัปเดตเรื่องข้อสอบใหม่ T-GAT เริ่มใช้ปีหน้าในบางคณะ/มหาลัย จากการคุยกับ อ.ก๊อง ในงาน eduzones expo 2019 . T-GAT จะเป็นข้อสอบใหม่เริ่มปีหน้า(64)นะครับ เพิ่มขึ้นมา จากข้อสอบ GAT เดิม จะใช้ในรอบ3หรือ2 แล้วแค่คณะ/มหาลัย จะเลือกใช้ เพื่อเป็นทางเลือกเพิ่มเติม ในการคัดนักศึกษาเข้าสู่มหาวิทยาลัย ซึ่ง GAT เดิม ยังจะมีอยู่ปกติ ใช้อีก2ปี ในปี64-65 เพราะต้องใช้ในรอบ4 เพราะเป็นรอบคัดเลือกกลาง ที่แต่ละมหาวิทยาลัยใช้เกณฑ์คัดเลือกร่วมกัน ต้องแจ้งล่วงหน้า 3…