ปิดเทอมนี้ สสวท. กระตุ้นต่อมคิดพิชิตปัญหาฟิสิกส์หรรษา กับ “ไขปริศนาวิทยากล” EZ WebmasterMarch 21, 2025 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ชวนหรรษาพาสนุกคิดช่วงปิดเทอม รักฟิสิกส์กับ “ไขปริศนาวิทยากล” วีดิทัศน์สั้น 2 นาทีไม่มีเครียด กระตุ้นต่อมคิดสารพัดตอน อาทิ ต้มน้ำด้วยเตาไมโครเวฟ เผากระดาษทำไมไม่ไหม้ รถไฟเหาะตีลังกา รถล่องหน มนุษย์จอมพลัง เลี้ยงเปลือกไข่บนขอบจาน เหรียญกระโดด กังหันรังสีและอีกหลากหลาย กระตุ้นให้นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อวิชาฟิสิกส์ผ่านการเรียนการสอนแบบฐานปัญหา (Problem Base Learning : PBL) ส่งเสริมให้น้อง ๆ… รวมเฉลยทุกวิชา A-Level 68 EZ WebmasterMarch 21, 2025 รวมเฉลยทุกวิชา A-Level 68 จาก ทปอ. หากน้อง ๆ มีข้อโต้แย้งเฉลยสามารถกดในระบบเพื่อทักท้วงได้ A-Level 61 Math1 วิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 A-Level 62 Math2 วิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 2… มอนเดลีซ สำเร็จภารกิจ “โรงเรียนรักษ์โลก แยกขยะลุ้นโชคกับมอนเดลีซ ปี 3” ปลูกฝังวัฒนธรรมแยกขยะให้แก่เยาวชนไทยกว่า 20,000 คน เพื่อโลกสีเขียวที่ยั่งยืน EZ WebmasterMarch 21, 2025 โครงการ “โรงเรียนรักษ์โลก แยกขยะลุ้นโชคกับมอนเดลีซ ปี 3” จัดขึ้นโดย บริษัท มอนเดลีซ อินเตอร์เนชันแนล (ประเทศไทย) จำกัด ร่วมกับ กรุงเทพมหานคร และ แทรชลัคกี้ ได้บรรลุเป้าหมายสำคัญในการสร้างจิตสำนึกด้านสิ่งแวดล้อมแก่เยาวชนไทย ด้วยความมุ่งมั่นในการขับเคลื่อนพฤติกรรมการจัดการขยะอย่างยั่งยืน โดยโครงการนี้ได้ปลูกฝังแนวคิดการคัดแยกขยะให้กับนักเรียนมากกว่า… วิทยาลัยทองสุข เปิดรับนักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2568 ครั้งใหญ่ ครบทุกระดับ ปริญญาตรี ปริญญาโทและปริญญาเอก พร้อม INTERNATIONAL PROGRAM tui sakrapeeMarch 20, 2025 วิทยาลัยทองสุข Thongsook College รับสมัครนักศึกษาใหม่ ปี 2568 ภาคเรียนที่ 1 เริ่มเรียน มิถุนายน 2568 #ระดับปริญญาตรี –หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต B.B.A. สาขาวิชาการจัดการ 4 ปี สาขาวิชาการจัดการ… นักศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค EZ WebmasterMarch 21, 2025 ศาสตราจารย์ นายแพทย์ปิยะมิตร ศรีธรา อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า ปัจจุบันโลกกำลังเผชิญกับกระแสความเปลี่ยนแปลงใหญ่ๆ ใน 6 มิติ 1. สังคมสูงวัย (Aging Society) ในอีก 8 ปีข้างหน้า ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุระดับสุดยอด (Super… ฟินแลนด์ครองแชมป์ 8 ปีซ้อน ประเทศที่มีความสุขที่สุดในโลก 2025 ไทยขยับขึ้นอันดับ 49 EZ WebmasterMarch 21, 2025 ฟินแลนด์ ยังคงรักษาตำแหน่งประเทศที่มีความสุขที่สุดในโลกเป็นปีที่ 8 ติดต่อกัน ตามรายงานความสุขโลก (World Happiness Report) ประจำปี 2025 ซึ่งจัดทำโดยศูนย์วิจัยความเป็นอยู่ที่ดี (Wellbeing Research Centre) แห่งมหาวิทยาลัยอ็อกซ์ฟอร์ด รายงานนี้เผยแพร่ในช่วงวันความสุขสากล (International Day of Happiness)… สจล. ร่วมกับโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์อินเตอร์เนชั่นแนล พัฒนาหลักสูตรและการจัดการเนื้อหาสู่การเรียนในแพลตฟอร์มออนไลน์ EZ WebmasterMarch 21, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี อธิการบดี และรศ. นพ.ทวีสิน ตันประยูร ประธานปฏิบัติการด้านการแพทย์ โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์อินเตอร์เนชั่นแนล ร่วมกันลงนามในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ เพื่อการพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเนื้อหาการเรียนรู้ออนไลน์ ผ่าน KMITL Masterclass ซึ่งเป็นแพลตฟอร์มออนไลน์ของ… นักศึกษา มทร.ธัญบุรี โชว์ไอเดีย “กระเป๋าผ้าทอใยไผ่” ตอบโจทย์ความยั่งยืน ในนิทรรศการศิลปนิพนธ์ 2025 tui sakrapeeMarch 20, 2025 นักศึกษาชั้นปีที่ 4 จากภาควิชาศิลปะการออกแบบและเทคโนโลยี คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้ร่วมกันจัดนิทรรศการศิลปนิพนธ์เพื่อเผยแพร่ผลงานสู่สาธารณชน พร้อมฝึกประสบการณ์จริงในการจัดแสดงผลงานออกแบบ ภายในงานได้รวบรวมผลงานจาก 4 สาขาวิชา ได้แก่ ออกแบบนิเทศศิลป์ ออกแบบภายใน ออกแบบผลิตภัณฑ์ และนวัตกรรมการออกแบบผลิตภัณฑ์ร่วมสมัย จัดขึ้น ณ ศูนย์การค้ายูเนี่ยน มอลล์ โซน CoEvent Studio กรุงเทพฯ… ทุนดีดี สกสค. ร่วมกับ CP All มอบ 100 ทุนเรียนฟรี 100% ระดับ ปวช. ปวส. และปริญญาตรี EZ WebmasterMarch 21, 2025 กสค. ร่วมกับ CP All มอบทุนเรียนฟรี !! 100% ล่าสุดขยายโอกาสเพิ่มอีก 9 สาขาใหม่ เพิ่มทางเลือกให้เยาวชนก้าวไกล ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ศึกษาที่วิทยาลัยปัญญาภิวัฒน์ และศูนย์การเรียนฯ ทั่วประเทศ 20 แห่ง ทุนการศึกษาระดับ… ให้ทุนเยาวชน ODOS Summer Camp ไปเรียนซัมเมอร์ต่างประเทศ 6 สัปดาห์ เริ่มสมัครได้ 24 มี.ค.นี้ EZ WebmasterMarch 21, 2025 ODOS Summer Camp ทุนการศึกษาระยะสั้น 6 สัปดาห์ เพื่อกระจายโอกาสให้เด็กไทยทุกคนได้มีโอกาสไปเรียนซัมเมอร์ต่างประเทศ เปิดหูเปิดตา ค้นหาตัวตน และสร้างแรงบันดาลใจในการเรียนรู้ โดยไม่จำเป็นต้องเป็นเด็กเก่ง เด็กเรียน หรือเด็กหน้าห้อง เปิดรับเยาวชนที่มีคุณสมบัติดังนี้ – สัญชาติไทย – อายุไม่เกิน… ธนาคารแห่งประเทศไทย เปิดรับสมัครทุนระดับปริญญาโทขึ้นไป เรียนต่อที่ประเทศอังกฤษ EZ WebmasterMarch 17, 2025 ประกาศเปิดรับสมัครทุนการศึกษา Dr. Puey Ungphakorn Centenary Scholarship ประจำปี 2568 ธนาคารแห่งประเทศไทย เปิดรับสมัครทุนการศึกษาระดับปริญญาโทขึ้นไป เพื่อศึกษาต่อที่ The London School of Economics and Political… กสศ. ร่วมกับคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ให้ทุนเรียนฟรี ผู้ช่วยพยาบาล EZ WebmasterMarch 17, 2025 กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา(กสศ.)ร่วมกับคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ——————————————————- “รับสมัครนักศึกษาเพื่อรับทุน” หลักสูตรประกาศนียบัตรผู้ช่วยพยาบาล (PN) (สำหรับนักศึกษา PN รุ่นที่ 3) *** เรียนฟรี!! รับค่าใช้จ่ายเดือนละ 7,500 บาท จบแล้วไม่ต้องใช้ทุน **** จำนวน… ครู-อาจารย์ มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค EZ WebmasterMarch 21, 2025 ศาสตราจารย์ นายแพทย์ปิยะมิตร ศรีธรา อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า ปัจจุบันโลกกำลังเผชิญกับกระแสความเปลี่ยนแปลงใหญ่ๆ ใน 6 มิติ 1. สังคมสูงวัย (Aging Society) ในอีก 8 ปีข้างหน้า ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุระดับสุดยอด (Super… รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน EZ WebmasterMarch 21, 2025 รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน พร้อมจ่ายเงินอุดหนุนการศึกษาและพัฒนาอาชีพ ผ่านกสศ. ขณะที่ Microsoft หนุน ศูนย์ดิจิทัลชุมชน ยกระดับทักษะAI เพิ่มโอกาสมีงานทำ พร้อมจับมือ UNICEF สร้าง 1… Kahoot! เปิดตัว Kahoot! Energize ปฏิวัติการประชุมให้มีพลังและสร้างผลกระทบที่เหนือกว่า EZ WebmasterMarch 21, 2025 เปลี่ยนทุกการนำเสนอในที่ทำงานให้กลายเป็นการสื่อสารสองทาง สร้างประสบการณ์ที่น่าสนใจ เต็มไปด้วยความมีชีวิตชีวาและการมีส่วนร่วมที่แท้จริง กระตุ้นการมีส่วนร่วมจากผู้ฟังและขับเคลื่อน ผลลัพธ์ทางธุรกิจไปอีกขั้นด้วย Kahoot! Energize Kahoot! (คาฮู้ด) ผู้นำด้านการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมระดับโลกได้เปิดตัวเครื่องมือใหม่ Kahoot! Energize ที่จะเปลี่ยนทุกการประชุม การฝึกอบรม หรือกิจกรรมต่างๆ ให้กลายเป็นช่วงเวลาที่เต็มไปด้วยพลังและความสนุก พร้อมกระตุ้นการมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ สร้างผลกระทบที่มีความหมาย และขับเคลื่อนธุรกิจไปข้างหน้า การพัฒนา Kahoot! Energize ต่อยอดจากรูปแบบการเรียนรู้และการมีส่วนร่วม อันเป็นเอกลักษณ์ที่ได้รับความนิยมของ Kahoot! แต่เพิ่มความสามารถในการใช้งานในสภาพแวดล้อมการทำงานที่หลากหลาย… สมศ. เน้นย้ำการประเมินคุณภาพภายนอก ปี 67-71 ลดวันประเมิน On site ขยายสู่รูปแบบออนไลน์ สร้างมาตรฐานในการแข่งขันระดับอาเซียน EZ WebmasterMarch 20, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยในการประชุมรับฟังความคิดเห็น (ร่าง) กรอบแนวทางการประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษาที่จัดการเรียนรู้ในสังกัดกรมส่งเสริมการเรียนรู้ (สกร.) โดยเน้นย้ำเรื่อง “แนวคิดและทิศทางการประกันคุณภาพภายนอก” ว่า การประกันคุณภาพภายนอกไม่ใช่เป็น “การตรวจสอบ” แต่เป็นเครื่องมือที่ช่วยส่งเสริมการพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษาอย่างแท้จริง… กิจกรรม รวมพลังสีชมพูจุฬาฯ กลับบ้านสู่ร่มจามจุรี ในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” EZ WebmasterMarch 14, 2025 สมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (สนจ.) เชิญชวนชาวจุฬาฯ ทั้งนิสิตเก่าและนิสิตปัจจุบัน เดินทางกลับบ้านในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” ร่วมฉลองวาระสำคัญ ครบรอบ 108 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในบรรยากาศแห่งความรักความสามัคคี และความผูกพันของเหล่าน้องพี่สีชมพู ภายใต้ร่มเงาของจามจุรี นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย… สจล. ผนึกกำลังตำรวจภูธรภาค 2 และบริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จำกัด (สำนักงานใหญ่) พัฒนาโครงการ “AI Robot รับแจ้งความ” ประมวลผลถูกต้องและมีประสิทธิภาพ EZ WebmasterMarch 13, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี ร่วมด้วยพลตำรวจโท ยิ่งยศ เทพจำนงค์ (คนที่ 3 จากซ้าย) ผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 2… สจล. ร่วมกับกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน มุ่งยกระดับฝีมือแรงงาน สอดคล้องความต้องการในอนาคต EZ WebmasterMarch 10, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี และนายเดชา พฤกษ์พัฒนรักษ์ (คนที่ 3 จากซ้าย) อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ได้ลงในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการร่วมกัน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่นักศึกษาของสถาบันก่อนเข้าสู่ตลาดแรงงานในสาขาอาชีพต่าง… ปิดฉาก “HigherEd for PWD” ระยะที่ 1 เสริมสมรรถนะคนพิการสู่ตลาดแรงงานจริง EZ WebmasterMarch 10, 2025 เมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2568 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) ร่วมกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) และมหาวิทยาลัยเครือข่าย 5 แห่ง จัดแถลงข่าวสรุปผลและปิดโครงการการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาศักยภาพคนพิการเพื่อการประกอบอาชีพ ผ่านโมเดลการฝึกอบรม-ฝึกงานคนพิการ มจธ. HigherEd for PWD ระยะที่ 1 ซึ่งเป็นโครงการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อพัฒนาศักยภาพคนพิการสู่การประกอบอาชีพในตลาดแรงงานจริง ที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ซึ่งจัดขึ้น ณ ห้อง Auditorium ชั้น 3 อาคารการเรียนรู้พหุวิทยาการ (LX) มจธ. บางมด กรุงเทพฯ โดยได้รับเกียรติจาก นายวราวุธ… Search for: Search EZ Webmaster April 30, 2024 EZ Webmaster April 30, 2024 น้ำมันเชื้อเพลิงจากยีสต์! ผลงานวิจัยคณะวิทย์ฯ จุฬาฯ จ่อขยายการผลิตเพื่ออุตสาหกรรมอากาศยาน นักวิจัย จุฬาฯ ใช้หญ้าอาหารสัตว์ เลี้ยงจุลินทรีย์เพื่อนำไขมันที่ได้มาเปลี่ยนเป็นน้ำมันเชื้อเพลิงอากาศยาน ตั้งเป้าขยายการผลิตทดแทนน้ำมันจากปิโตรเลียม ลดผลกระทบทางสุขภาพของมนุษย์และสิ่งแวดล้อม ยีสต์เป็นจุลินทรีย์ที่เป็นส่วนประกอบสำคัญในอาหารและเครื่องดื่มหลายประเภท อาทิ ขนมปัง เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ แต่ในอนาคต ยีสต์จะเป็นกำลังสำคัญในการผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงทดแทนพลังงานที่มาจากฟอสซิล ปัจจุบัน นักวิจัยจากคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กำลังเร่งพัฒนาเทคโนโลยีขยายขนาดการผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงชีวภาพอากาศยานจากยีสต์ ซึ่งเป็นการต่อยอดผลสำเร็จจากการวิจัยพบยีสต์สายพันธุ์ที่มีศักยภาพสูงในการผลิตไขมันเพื่อนำมาผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงอากาศยาน โดยในกระบวนการผลิตน้ำมันจากยีสต์นั้น ยังได้ใช้ของเหลือทิ้งจากภาคการเกษตรมาเป็นอาหารเลี้ยงจุลินทรีย์ นับเป็นการลดปัญหาจากเผาและสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับของเหลือทิ้งภาคการเกษตรอีกทางหนึ่งด้วย ที่มางานวิจัยผลิตน้ำมันจากยีสต์ น้ำมันปิโตรเลียมเป็นแหล่งพลังงานเชื้อเพลิงสำคัญในโลกปัจจุบัน ทั้งในภาคอุตสาหกรรมต่าง ๆ และการคมนาคมขนส่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งอุตสาหกรรมอากาศยาน รายงานจากกรมธุรกิจพลังงาน กระทรวงพลังงาน (พ.ศ. 2562) ระบุว่าประเทศไทยมีปริมาณการนำเข้าเชื้อเพลิงในกลุ่มน้ำมันอากาศยานเพิ่มสูงขึ้นอย่างมาก โดยในปี พ.ศ. 2559 ประเทศไทยนำเข้าเชื้อเพลิงในกลุ่มน้ำมันอากาศยาน 84.9 ล้านลิตร แต่เพียง 4 ปีต่อมา ในปี พ.ศ. 2562 ปริมาณการนำเข้าเชื้อเพลิงในกลุ่มน้ำมันอากาศยานทะยานสูงขึ้นถึง 376.3 ล้านลิตรต่อปี ปริมาณการนำเข้าเชื้อเพลิงที่เพิ่มขึ้นอย่างก้าวกระโดดนี้สะท้อนความต้องการในอุตสาหกรรมที่กำลังเติบโต และความจำเป็นอย่างยิ่งยวดที่จะต้องค้นหานวัตกรรมเพื่อผลิตพลังงานทดแทน ที่เป็นมิตรต่อสุขภาพของมนุษย์และสิ่งแวดล้อมมากกกว่าน้ำมันปิโตรเลียม คณะนักวิจัยนำโดย ศาสตราจารย์ ดร.วรวุฒิ จุฬาลักษณานุกูล และผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชมภูนุช กลิ่นวงษ์ จากภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จึงได้ดำเนินโครงการวิจัย “การพัฒนาเทคโนโลยีการขยายขนาดการผลิตน้ำมันจากยีสต์เพื่อสังเคราะห์น้ำมันเชื้อเพลิงชีวภาพอากาศยาน” (Development of scaling-up technology for production of microbial lipid for bio jet fuel synthesis) “คณะผู้วิจัยประสบความสำเร็จในการคัดแยกยีสต์ชนิด Saccharomyces cerevisiae ที่มีศักยภาพในการสะสมไขมันสูง สายพันธุ์ CU-TPD4 และได้นำมาผลิตเป็นน้ำมันเชื้อเพลิงอากาศยาน ชีวภาพ เพื่อรองรับความต้องการด้านพลังงานที่เพิ่มสูงขึ้นในอนาคต หากเราสามารถพัฒนาศักยภาพของประเทศในด้านการผลิตเชื้อเพลิงอากาศยานชีวภาพ จะมีส่วนช่วยเศรษฐกิจของประเทศให้เจริญก้าวหน้าไปด้วย” ศ.ดร.วรวุฒิ กล่าวถึงความความสำเร็จและเป้าหมายของการวิจัย โครงการวิจัยนี้ได้รับการสนับสนุนจาก สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) โดยรับทุนในกลุ่มเรื่องแผนงานพลังงานทดแทน ภายใต้โครงการความร่วมมือระหว่างไทย-จีน กรอบวิจัยพลังงานทดแทน (Renewable Energy) แผนงานวิจัยการสังเคราะห์ไขมันและการผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงอากาศยานจากชีวมวล Microbial lipid synthesis and bio-refinery of jet fuel from biomass resource ซึ่งนอกจาก ศ.ดร.วรวุฒิ และผศ.ดร.ชมภูนุช แล้ว คณะผู้วิจัยยังประกอบด้วยนิสิตปริญญาเอกจากภาควิชาพฤกษศาสตร์ จำนวน 3 คน ได้แก่ ดร.ณัฏฐา จึงเจริญพานิชย์ ดร.วรรณพร วัฒน์สุนธร และนายธนาพงษ์ ตั้งวนาไพร ร่วมด้วย ดร. สุริษา สุวรรณรังษี จากศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ และกลุ่มนักวิจัยจีน ได้แก่ Prof. Zhongming Wang และ Prof. Wei Qi จาก Guangzhou Institute of Energy Conversion, Chinese Academy of Science (GIEC) ยีสต์ศักยภาพสูงผลิตน้ำมันเชื้อเพลิง ศ.ดร.วรวุฒิ เล่าว่านักวิจัยได้คัดแยกยีสต์จากตัวอย่างดินทั้งหมด 53 ตัวอย่าง จากตัวอย่างดินที่เก็บในเขตพื้นที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน และจังหวัดใกล้เคียง และได้ค้นพบยีสต์ที่มีศักยภาพในการสะสมไขมันสูง สายพันธุ์ CU-TPD4 ซึ่งจัดเป็นยีสต์ชนิด Saccharomyces cerevisiae (S. cerevisiae) ซึ่งในเวลานั้น ไม่เคยมีรายงานมาก่อนว่ายีสต์ชนิดนี้สามารถผลิตน้ำมันได้ในปริมาณสูงเทียบเท่ายีสต์ผลิตน้ำมันชนิดที่มีอยู่ “ยีสต์ S. cerevisiae จัดเป็นจุลินทรีย์ที่มีความปลอดภัยสูง มีประวัติการใช้มาอย่างยาวนานและได้รับการยอมรับว่ามีความปลอดภัย (Generally Recognized as Safe, GRAS) ซึ่งมีการใช้ในอุตสาหกรรมอาหารอย่างแพร่หลายในปัจจุบัน เช่น อุตสาหกรรมการผลิตเบียร์ และอุตสาหกรรมการผลิตขนมปัง แต่ยังไม่เคยมีรายงานการนำยีสต์สายพันธุ์ดังกล่าวมาใช้เพื่อการผลิตไขมันในระดับอุตสาหกรรม” ศ.ดร.วรวุฒิ อธิบายว่ายีสต์สายพันธุ์ที่พบนี้สามารถผลิตและสะสมไขมันในเซลล์ได้สูงถึงร้อยละ 20-25 ของน้ำหนักเซลล์แห้ง ซึ่งคุณสมบัติของไขมันดังกล่าวเป็นประโยชน์อย่างยิ่งสำหรับการพัฒนาไปเป็นพลังงานชีวภาพอย่างไบโอดีเซล “การใช้ยีสต์ผลิตน้ำมันเป็นวัตถุดิบตั้งต้นในการผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพมีข้อได้เปรียบมากกว่าการใช้พืชเป็นแหล่งของน้ำมันหลายประการ ได้แก่ วงจรชีวิตของยีสต์สั้น สามารถใช้อาหารในการเจริญเติบโตได้หลากหลาย ราคาถูก ใช้แรงงานน้อย สามารถเพาะเลี้ยงได้ทุกช่วงเวลา ไม่ขึ้นกับฤดูกาล ง่ายต่อการขยายขนาดการผลิต และไขมันที่ผลิตได้มีลักษณะเดียวกับที่ผลิตได้จากพืช ซึ่งเมื่อนำมาใช้ประโยชน์ มีความปลอดภัยกับมนุษย์และสิ่งแวดล้อม” นอกจากนี้ ศ.ดร.วรวุฒิ กล่าวเสริมข้อได้เปรียบสำคัญอีกประการของการผลิตน้ำมันจากยีสต์ว่า “เมื่อมีการพัฒนากระบวนการและนำยีสต์ดังกล่าวไปใช้ในระดับอุตสาหกรรม การเพาะเลี้ยงที่อุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียส จะสามารถช่วยลดค่าใช้จ่ายในกระบวนการหล่อเย็นเพื่อควบคุมอุณหภูมิถังหมักลงได้” งานวิจัยนี้ได้รับความสนใจจากนักวิจัยทั้งในไทยและต่างประเทศ เช่น Hamburg University of Technology (TUHH) ประเทศเยอรมนี และ Toulouse Biotechnology Institute (TBI) ประเทศฝรั่งเศส ที่เห็นโอกาสในการขยายการผลิตหัวเชื้อยีสต์ CU-TPD4 เพื่อใช้ในการผลิตน้ำมัน ควบคู่กับการผลิตขนมปัง แอลกอฮอล์ และผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ด้านอาหาร เลี้ยงยีสต์ด้วยวัสดุเหลือทิ้งการเกษตร นอกจากจะได้พลังงานที่สะอาดกว่าพลังงานฟอสซิลแล้ว กระบวนการเลี้ยงยีสต์เพื่อผลิตน้ำมันยังได้ใช้ประโยชน์จากของเหลือทิ้งทางการเกษตร อันเป็นส่วนหนึ่งของการขับเคลื่อนเศรษฐกิจหมุนเวียน และลดปัญหามลพิษทางอากาศที่มาจากการเผาเศษวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร “นอกจากหญ้าอาหารสัตว์แล้ว วัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรและชีวมวลประเภทลิกโนเซลลูโลสประเภทต่าง ๆ สามารถนำมาใช้เป็นแหล่งคาร์บอนเพื่อเป็นอาหารเลี้ยงเชื้อให้แก่ยีสต์สะสมไขมันได้ ยกตัวอย่างเช่น ฟางข้าว ซังข้าวโพด ชานอ้อย รวมทั้งเปลือกผักและผลไม้ต่าง ๆ ได้แก่ เปลือกกล้วย เปลือกทุเรียน เปลือกถั่ว โดยเฉพาะฟางข้าว ซึ่งเป็นวัสดุเหลือทิ้งปริมาณมากของประเทศไทย จึงนับเป็นการใช้ของเหลือทิ้งทางการเกษตรให้เกิดประโยชน์อีกทางหนึ่ง” นอกจากนี้ ยังมีรายงานการนำของเหลือทิ้ง เช่น เศษกระดาษสำนักงาน และน้ำทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรม ได้แก่ น้ำทิ้งจากโรงงานผลิตกระดาษ น้ำทิ้งจากโรงงานผลิตแป้งสาคู และน้ำทิ้งจากบ้านเรือน มาใช้เป็นแหล่งคาร์บอนเช่นเดียวกัน โดยมีจุดประสงค์หลักในการลดต้นทุนการผลิต เพื่อกำจัดของเสีย และเพิ่มมูลค่าของวัสดุเหลือทิ้งดังกล่าวให้เกิดประโยชน์มากยิ่งขึ้น ปรับปรุงสายพันธุ์ยีสต์ ขยายการผลิตน้ำมัน เพิ่มมูลค่าอุตสาหกรรมอาหารและยา การเจริญเติบโตของยีสต์และปริมาณน้ำมันที่ผลิตได้จากยีสต์ในสเกลการผลิตในห้องปฏิบัติการนั้น ยังไม่เพียงพอต่อความต้องการเชื้อเพลิงในตลาด จึงมีความจำเป็นที่จะต้องพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อขยายขนาดกำลังผลิต “เรื่องนี้สามารถทำได้ด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น การปรับปรุงสายพันธุ์ของยีสต์สะสมไขมัน เพื่อเพิ่มความสามารถในการผลิตและสะสมไขมันให้ได้มากขึ้น หรือปรับปรุงให้ยีสต์สามารถทนทานต่อสภาวะที่ไม่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตได้มากขึ้น เช่น สามารถทนต่ออุณหภูมิที่สูงขึ้นในกระบวนการผลิต เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการหล่อเย็น หรือสามารถทนต่อสารพิษที่เกิดขึ้นจากกระบวนการปรับสภาพวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรได้มากขึ้น เพื่อลดขั้นตอนและค่าใช้จ่ายในกระบวนการ Detoxification เป็นต้น” ศ.ดร.วรวุฒิ กล่าวว่าปัจจุบันการวิจัยมุ่งเน้นที่จะเพิ่มระดับการผลิตน้ำมันของยีสต์ S. cerevisiae ในระดับขยายขนาดที่สูงขึ้น โดยทำการดัดแปลงพันธุกรรม เพิ่มการแสดงออกของเอนไซม์ Acetyl-CoA carboxylase เป็นสายพันธุ์ TWP02 ทำให้ผลิตไขมันได้เพิ่มสูงขึ้น หลังจากนั้นจึงได้ศึกษากระบวนผลิตน้ำมันจากเซลล์ยีสต์ในระดับขยายขนาด โดยใช้บริการเครื่องมือวิจัยจากห้องปฏิบัติการวิศวกรรมชีวภาพและการหมักแม่นยำ (Bioengineering and precision fermentation laboratory) ของฝ่ายวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพและวัสดุ สถาบันนวัตกรรม บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) ซึ่งเป็นห้องปฏิบัติการชั้นนำของประเทศไทยทางด้านกระบวนการทางชีวภาพและกระบวนการหมัก มีความพร้อมของเครื่องมือวิจัยทางด้านเทคโนโลยีชีวภาพตั้งแต่กระบวนการต้นน้ำที่ใช้ในการคัดเลือกและปรับปรุงสายพันธุ์จุลินทรีย์ กระบวนหมักตั้งแต่ระดับห้องปฏิบัติการขนาดถังหมัก 2 ลิตร ไปจนถึงระดับหน่วยวิจัยต้นแบบขนาดถังหมัก 20,000 ลิตร รวมไปถึงกระบวนการปลายน้ำที่ใช้ในการแยกเซลล์จุลินทรีย์ การทำให้เซลล์ของเชื้อจุลินทรีย์แตกด้วยความดัน การเพิ่มความเข้มข้นและความบริสุทธิ์ของสารชีวภัณฑ์ ตลอดจนการขึ้นรูปสารชีวภัณฑ์ในรูปแบบแห้งด้วยความร้อนหรือความเย็น ซึ่งศักยภาพของห้องปฏิบัติการดังกล่าวมีส่วนช่วยทำให้โครงงานวิจัยนี้สามารถประเมินศักยภาพสำหรับการออกแบบกระบวนผลิตเป็นเชื้อเพลิงชีวภาพสำหรับอากาศยานที่เหมาะสมต่อไปได้ ท้ายที่สุด ศ.ดร.วรวุฒิ กล่าวว่านอกจากการผลิตไบโอดีเซลและเชื้อเพลิงอากาศยานแล้ว การปรับปรุงสายพันธุ์ของยีสต์สะสมไขมันให้สามารถผลิตกรดไขมัน เช่น กรดไขมันไม่อิ่มตัว ซึ่งเป็นไขมันชนิดที่มีความต้องการในตลาดและมีมูลค่าสูง ยังสามารถใช้เป็นสารตั้งต้นในการผลิตผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ด้านอาหาร เครื่องสำอาง และยา ที่สามารถตอบโจทย์ธุรกิจทางด้าน Life Science อย่างยั่งยืนได้อีกด้วย EZ Webmaster Related Posts มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน Kahoot! เปิดตัว Kahoot! Energize ปฏิวัติการประชุมให้มีพลังและสร้างผลกระทบที่เหนือกว่า สมศ. เน้นย้ำการประเมินคุณภาพภายนอก ปี 67-71 ลดวันประเมิน On site ขยายสู่รูปแบบออนไลน์ สร้างมาตรฐานในการแข่งขันระดับอาเซียน คณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ มธ. เปิดรับบุคคลเข้าศึกษาต่อหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการเรียนรู้ ปีการศึกษา 2568 Post navigation PREVIOUS Previous post: เปิดเรื่องราวบนเส้นทางแห่งความสำเร็จของหญิงไทย ผู้ได้รับทุน Women in STEM จากบริติช เคานซิล สู่แวดวงการทำงานในองค์กรระดับโลกNEXT Next post: เปิดรับสมัครแล้ว หลักสูตรปริญญาตรี การจัดการขนส่ง วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
รวมเฉลยทุกวิชา A-Level 68 EZ WebmasterMarch 21, 2025 รวมเฉลยทุกวิชา A-Level 68 จาก ทปอ. หากน้อง ๆ มีข้อโต้แย้งเฉลยสามารถกดในระบบเพื่อทักท้วงได้ A-Level 61 Math1 วิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 A-Level 62 Math2 วิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 2… มอนเดลีซ สำเร็จภารกิจ “โรงเรียนรักษ์โลก แยกขยะลุ้นโชคกับมอนเดลีซ ปี 3” ปลูกฝังวัฒนธรรมแยกขยะให้แก่เยาวชนไทยกว่า 20,000 คน เพื่อโลกสีเขียวที่ยั่งยืน EZ WebmasterMarch 21, 2025 โครงการ “โรงเรียนรักษ์โลก แยกขยะลุ้นโชคกับมอนเดลีซ ปี 3” จัดขึ้นโดย บริษัท มอนเดลีซ อินเตอร์เนชันแนล (ประเทศไทย) จำกัด ร่วมกับ กรุงเทพมหานคร และ แทรชลัคกี้ ได้บรรลุเป้าหมายสำคัญในการสร้างจิตสำนึกด้านสิ่งแวดล้อมแก่เยาวชนไทย ด้วยความมุ่งมั่นในการขับเคลื่อนพฤติกรรมการจัดการขยะอย่างยั่งยืน โดยโครงการนี้ได้ปลูกฝังแนวคิดการคัดแยกขยะให้กับนักเรียนมากกว่า… วิทยาลัยทองสุข เปิดรับนักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2568 ครั้งใหญ่ ครบทุกระดับ ปริญญาตรี ปริญญาโทและปริญญาเอก พร้อม INTERNATIONAL PROGRAM tui sakrapeeMarch 20, 2025 วิทยาลัยทองสุข Thongsook College รับสมัครนักศึกษาใหม่ ปี 2568 ภาคเรียนที่ 1 เริ่มเรียน มิถุนายน 2568 #ระดับปริญญาตรี –หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต B.B.A. สาขาวิชาการจัดการ 4 ปี สาขาวิชาการจัดการ… นักศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค EZ WebmasterMarch 21, 2025 ศาสตราจารย์ นายแพทย์ปิยะมิตร ศรีธรา อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า ปัจจุบันโลกกำลังเผชิญกับกระแสความเปลี่ยนแปลงใหญ่ๆ ใน 6 มิติ 1. สังคมสูงวัย (Aging Society) ในอีก 8 ปีข้างหน้า ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุระดับสุดยอด (Super… ฟินแลนด์ครองแชมป์ 8 ปีซ้อน ประเทศที่มีความสุขที่สุดในโลก 2025 ไทยขยับขึ้นอันดับ 49 EZ WebmasterMarch 21, 2025 ฟินแลนด์ ยังคงรักษาตำแหน่งประเทศที่มีความสุขที่สุดในโลกเป็นปีที่ 8 ติดต่อกัน ตามรายงานความสุขโลก (World Happiness Report) ประจำปี 2025 ซึ่งจัดทำโดยศูนย์วิจัยความเป็นอยู่ที่ดี (Wellbeing Research Centre) แห่งมหาวิทยาลัยอ็อกซ์ฟอร์ด รายงานนี้เผยแพร่ในช่วงวันความสุขสากล (International Day of Happiness)… สจล. ร่วมกับโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์อินเตอร์เนชั่นแนล พัฒนาหลักสูตรและการจัดการเนื้อหาสู่การเรียนในแพลตฟอร์มออนไลน์ EZ WebmasterMarch 21, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี อธิการบดี และรศ. นพ.ทวีสิน ตันประยูร ประธานปฏิบัติการด้านการแพทย์ โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์อินเตอร์เนชั่นแนล ร่วมกันลงนามในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ เพื่อการพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเนื้อหาการเรียนรู้ออนไลน์ ผ่าน KMITL Masterclass ซึ่งเป็นแพลตฟอร์มออนไลน์ของ… นักศึกษา มทร.ธัญบุรี โชว์ไอเดีย “กระเป๋าผ้าทอใยไผ่” ตอบโจทย์ความยั่งยืน ในนิทรรศการศิลปนิพนธ์ 2025 tui sakrapeeMarch 20, 2025 นักศึกษาชั้นปีที่ 4 จากภาควิชาศิลปะการออกแบบและเทคโนโลยี คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้ร่วมกันจัดนิทรรศการศิลปนิพนธ์เพื่อเผยแพร่ผลงานสู่สาธารณชน พร้อมฝึกประสบการณ์จริงในการจัดแสดงผลงานออกแบบ ภายในงานได้รวบรวมผลงานจาก 4 สาขาวิชา ได้แก่ ออกแบบนิเทศศิลป์ ออกแบบภายใน ออกแบบผลิตภัณฑ์ และนวัตกรรมการออกแบบผลิตภัณฑ์ร่วมสมัย จัดขึ้น ณ ศูนย์การค้ายูเนี่ยน มอลล์ โซน CoEvent Studio กรุงเทพฯ… ทุนดีดี สกสค. ร่วมกับ CP All มอบ 100 ทุนเรียนฟรี 100% ระดับ ปวช. ปวส. และปริญญาตรี EZ WebmasterMarch 21, 2025 กสค. ร่วมกับ CP All มอบทุนเรียนฟรี !! 100% ล่าสุดขยายโอกาสเพิ่มอีก 9 สาขาใหม่ เพิ่มทางเลือกให้เยาวชนก้าวไกล ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ศึกษาที่วิทยาลัยปัญญาภิวัฒน์ และศูนย์การเรียนฯ ทั่วประเทศ 20 แห่ง ทุนการศึกษาระดับ… ให้ทุนเยาวชน ODOS Summer Camp ไปเรียนซัมเมอร์ต่างประเทศ 6 สัปดาห์ เริ่มสมัครได้ 24 มี.ค.นี้ EZ WebmasterMarch 21, 2025 ODOS Summer Camp ทุนการศึกษาระยะสั้น 6 สัปดาห์ เพื่อกระจายโอกาสให้เด็กไทยทุกคนได้มีโอกาสไปเรียนซัมเมอร์ต่างประเทศ เปิดหูเปิดตา ค้นหาตัวตน และสร้างแรงบันดาลใจในการเรียนรู้ โดยไม่จำเป็นต้องเป็นเด็กเก่ง เด็กเรียน หรือเด็กหน้าห้อง เปิดรับเยาวชนที่มีคุณสมบัติดังนี้ – สัญชาติไทย – อายุไม่เกิน… ธนาคารแห่งประเทศไทย เปิดรับสมัครทุนระดับปริญญาโทขึ้นไป เรียนต่อที่ประเทศอังกฤษ EZ WebmasterMarch 17, 2025 ประกาศเปิดรับสมัครทุนการศึกษา Dr. Puey Ungphakorn Centenary Scholarship ประจำปี 2568 ธนาคารแห่งประเทศไทย เปิดรับสมัครทุนการศึกษาระดับปริญญาโทขึ้นไป เพื่อศึกษาต่อที่ The London School of Economics and Political… กสศ. ร่วมกับคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ให้ทุนเรียนฟรี ผู้ช่วยพยาบาล EZ WebmasterMarch 17, 2025 กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา(กสศ.)ร่วมกับคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ——————————————————- “รับสมัครนักศึกษาเพื่อรับทุน” หลักสูตรประกาศนียบัตรผู้ช่วยพยาบาล (PN) (สำหรับนักศึกษา PN รุ่นที่ 3) *** เรียนฟรี!! รับค่าใช้จ่ายเดือนละ 7,500 บาท จบแล้วไม่ต้องใช้ทุน **** จำนวน… ครู-อาจารย์ มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค EZ WebmasterMarch 21, 2025 ศาสตราจารย์ นายแพทย์ปิยะมิตร ศรีธรา อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า ปัจจุบันโลกกำลังเผชิญกับกระแสความเปลี่ยนแปลงใหญ่ๆ ใน 6 มิติ 1. สังคมสูงวัย (Aging Society) ในอีก 8 ปีข้างหน้า ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุระดับสุดยอด (Super… รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน EZ WebmasterMarch 21, 2025 รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน พร้อมจ่ายเงินอุดหนุนการศึกษาและพัฒนาอาชีพ ผ่านกสศ. ขณะที่ Microsoft หนุน ศูนย์ดิจิทัลชุมชน ยกระดับทักษะAI เพิ่มโอกาสมีงานทำ พร้อมจับมือ UNICEF สร้าง 1… Kahoot! เปิดตัว Kahoot! Energize ปฏิวัติการประชุมให้มีพลังและสร้างผลกระทบที่เหนือกว่า EZ WebmasterMarch 21, 2025 เปลี่ยนทุกการนำเสนอในที่ทำงานให้กลายเป็นการสื่อสารสองทาง สร้างประสบการณ์ที่น่าสนใจ เต็มไปด้วยความมีชีวิตชีวาและการมีส่วนร่วมที่แท้จริง กระตุ้นการมีส่วนร่วมจากผู้ฟังและขับเคลื่อน ผลลัพธ์ทางธุรกิจไปอีกขั้นด้วย Kahoot! Energize Kahoot! (คาฮู้ด) ผู้นำด้านการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมระดับโลกได้เปิดตัวเครื่องมือใหม่ Kahoot! Energize ที่จะเปลี่ยนทุกการประชุม การฝึกอบรม หรือกิจกรรมต่างๆ ให้กลายเป็นช่วงเวลาที่เต็มไปด้วยพลังและความสนุก พร้อมกระตุ้นการมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ สร้างผลกระทบที่มีความหมาย และขับเคลื่อนธุรกิจไปข้างหน้า การพัฒนา Kahoot! Energize ต่อยอดจากรูปแบบการเรียนรู้และการมีส่วนร่วม อันเป็นเอกลักษณ์ที่ได้รับความนิยมของ Kahoot! แต่เพิ่มความสามารถในการใช้งานในสภาพแวดล้อมการทำงานที่หลากหลาย… สมศ. เน้นย้ำการประเมินคุณภาพภายนอก ปี 67-71 ลดวันประเมิน On site ขยายสู่รูปแบบออนไลน์ สร้างมาตรฐานในการแข่งขันระดับอาเซียน EZ WebmasterMarch 20, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยในการประชุมรับฟังความคิดเห็น (ร่าง) กรอบแนวทางการประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษาที่จัดการเรียนรู้ในสังกัดกรมส่งเสริมการเรียนรู้ (สกร.) โดยเน้นย้ำเรื่อง “แนวคิดและทิศทางการประกันคุณภาพภายนอก” ว่า การประกันคุณภาพภายนอกไม่ใช่เป็น “การตรวจสอบ” แต่เป็นเครื่องมือที่ช่วยส่งเสริมการพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษาอย่างแท้จริง… กิจกรรม รวมพลังสีชมพูจุฬาฯ กลับบ้านสู่ร่มจามจุรี ในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” EZ WebmasterMarch 14, 2025 สมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (สนจ.) เชิญชวนชาวจุฬาฯ ทั้งนิสิตเก่าและนิสิตปัจจุบัน เดินทางกลับบ้านในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” ร่วมฉลองวาระสำคัญ ครบรอบ 108 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในบรรยากาศแห่งความรักความสามัคคี และความผูกพันของเหล่าน้องพี่สีชมพู ภายใต้ร่มเงาของจามจุรี นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย… สจล. ผนึกกำลังตำรวจภูธรภาค 2 และบริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จำกัด (สำนักงานใหญ่) พัฒนาโครงการ “AI Robot รับแจ้งความ” ประมวลผลถูกต้องและมีประสิทธิภาพ EZ WebmasterMarch 13, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี ร่วมด้วยพลตำรวจโท ยิ่งยศ เทพจำนงค์ (คนที่ 3 จากซ้าย) ผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 2… สจล. ร่วมกับกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน มุ่งยกระดับฝีมือแรงงาน สอดคล้องความต้องการในอนาคต EZ WebmasterMarch 10, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี และนายเดชา พฤกษ์พัฒนรักษ์ (คนที่ 3 จากซ้าย) อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ได้ลงในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการร่วมกัน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่นักศึกษาของสถาบันก่อนเข้าสู่ตลาดแรงงานในสาขาอาชีพต่าง… ปิดฉาก “HigherEd for PWD” ระยะที่ 1 เสริมสมรรถนะคนพิการสู่ตลาดแรงงานจริง EZ WebmasterMarch 10, 2025 เมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2568 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) ร่วมกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) และมหาวิทยาลัยเครือข่าย 5 แห่ง จัดแถลงข่าวสรุปผลและปิดโครงการการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาศักยภาพคนพิการเพื่อการประกอบอาชีพ ผ่านโมเดลการฝึกอบรม-ฝึกงานคนพิการ มจธ. HigherEd for PWD ระยะที่ 1 ซึ่งเป็นโครงการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อพัฒนาศักยภาพคนพิการสู่การประกอบอาชีพในตลาดแรงงานจริง ที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ซึ่งจัดขึ้น ณ ห้อง Auditorium ชั้น 3 อาคารการเรียนรู้พหุวิทยาการ (LX) มจธ. บางมด กรุงเทพฯ โดยได้รับเกียรติจาก นายวราวุธ… Search for: Search EZ Webmaster April 30, 2024 EZ Webmaster April 30, 2024 น้ำมันเชื้อเพลิงจากยีสต์! ผลงานวิจัยคณะวิทย์ฯ จุฬาฯ จ่อขยายการผลิตเพื่ออุตสาหกรรมอากาศยาน นักวิจัย จุฬาฯ ใช้หญ้าอาหารสัตว์ เลี้ยงจุลินทรีย์เพื่อนำไขมันที่ได้มาเปลี่ยนเป็นน้ำมันเชื้อเพลิงอากาศยาน ตั้งเป้าขยายการผลิตทดแทนน้ำมันจากปิโตรเลียม ลดผลกระทบทางสุขภาพของมนุษย์และสิ่งแวดล้อม ยีสต์เป็นจุลินทรีย์ที่เป็นส่วนประกอบสำคัญในอาหารและเครื่องดื่มหลายประเภท อาทิ ขนมปัง เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ แต่ในอนาคต ยีสต์จะเป็นกำลังสำคัญในการผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงทดแทนพลังงานที่มาจากฟอสซิล ปัจจุบัน นักวิจัยจากคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กำลังเร่งพัฒนาเทคโนโลยีขยายขนาดการผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงชีวภาพอากาศยานจากยีสต์ ซึ่งเป็นการต่อยอดผลสำเร็จจากการวิจัยพบยีสต์สายพันธุ์ที่มีศักยภาพสูงในการผลิตไขมันเพื่อนำมาผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงอากาศยาน โดยในกระบวนการผลิตน้ำมันจากยีสต์นั้น ยังได้ใช้ของเหลือทิ้งจากภาคการเกษตรมาเป็นอาหารเลี้ยงจุลินทรีย์ นับเป็นการลดปัญหาจากเผาและสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับของเหลือทิ้งภาคการเกษตรอีกทางหนึ่งด้วย ที่มางานวิจัยผลิตน้ำมันจากยีสต์ น้ำมันปิโตรเลียมเป็นแหล่งพลังงานเชื้อเพลิงสำคัญในโลกปัจจุบัน ทั้งในภาคอุตสาหกรรมต่าง ๆ และการคมนาคมขนส่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งอุตสาหกรรมอากาศยาน รายงานจากกรมธุรกิจพลังงาน กระทรวงพลังงาน (พ.ศ. 2562) ระบุว่าประเทศไทยมีปริมาณการนำเข้าเชื้อเพลิงในกลุ่มน้ำมันอากาศยานเพิ่มสูงขึ้นอย่างมาก โดยในปี พ.ศ. 2559 ประเทศไทยนำเข้าเชื้อเพลิงในกลุ่มน้ำมันอากาศยาน 84.9 ล้านลิตร แต่เพียง 4 ปีต่อมา ในปี พ.ศ. 2562 ปริมาณการนำเข้าเชื้อเพลิงในกลุ่มน้ำมันอากาศยานทะยานสูงขึ้นถึง 376.3 ล้านลิตรต่อปี ปริมาณการนำเข้าเชื้อเพลิงที่เพิ่มขึ้นอย่างก้าวกระโดดนี้สะท้อนความต้องการในอุตสาหกรรมที่กำลังเติบโต และความจำเป็นอย่างยิ่งยวดที่จะต้องค้นหานวัตกรรมเพื่อผลิตพลังงานทดแทน ที่เป็นมิตรต่อสุขภาพของมนุษย์และสิ่งแวดล้อมมากกกว่าน้ำมันปิโตรเลียม คณะนักวิจัยนำโดย ศาสตราจารย์ ดร.วรวุฒิ จุฬาลักษณานุกูล และผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชมภูนุช กลิ่นวงษ์ จากภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จึงได้ดำเนินโครงการวิจัย “การพัฒนาเทคโนโลยีการขยายขนาดการผลิตน้ำมันจากยีสต์เพื่อสังเคราะห์น้ำมันเชื้อเพลิงชีวภาพอากาศยาน” (Development of scaling-up technology for production of microbial lipid for bio jet fuel synthesis) “คณะผู้วิจัยประสบความสำเร็จในการคัดแยกยีสต์ชนิด Saccharomyces cerevisiae ที่มีศักยภาพในการสะสมไขมันสูง สายพันธุ์ CU-TPD4 และได้นำมาผลิตเป็นน้ำมันเชื้อเพลิงอากาศยาน ชีวภาพ เพื่อรองรับความต้องการด้านพลังงานที่เพิ่มสูงขึ้นในอนาคต หากเราสามารถพัฒนาศักยภาพของประเทศในด้านการผลิตเชื้อเพลิงอากาศยานชีวภาพ จะมีส่วนช่วยเศรษฐกิจของประเทศให้เจริญก้าวหน้าไปด้วย” ศ.ดร.วรวุฒิ กล่าวถึงความความสำเร็จและเป้าหมายของการวิจัย โครงการวิจัยนี้ได้รับการสนับสนุนจาก สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) โดยรับทุนในกลุ่มเรื่องแผนงานพลังงานทดแทน ภายใต้โครงการความร่วมมือระหว่างไทย-จีน กรอบวิจัยพลังงานทดแทน (Renewable Energy) แผนงานวิจัยการสังเคราะห์ไขมันและการผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงอากาศยานจากชีวมวล Microbial lipid synthesis and bio-refinery of jet fuel from biomass resource ซึ่งนอกจาก ศ.ดร.วรวุฒิ และผศ.ดร.ชมภูนุช แล้ว คณะผู้วิจัยยังประกอบด้วยนิสิตปริญญาเอกจากภาควิชาพฤกษศาสตร์ จำนวน 3 คน ได้แก่ ดร.ณัฏฐา จึงเจริญพานิชย์ ดร.วรรณพร วัฒน์สุนธร และนายธนาพงษ์ ตั้งวนาไพร ร่วมด้วย ดร. สุริษา สุวรรณรังษี จากศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ และกลุ่มนักวิจัยจีน ได้แก่ Prof. Zhongming Wang และ Prof. Wei Qi จาก Guangzhou Institute of Energy Conversion, Chinese Academy of Science (GIEC) ยีสต์ศักยภาพสูงผลิตน้ำมันเชื้อเพลิง ศ.ดร.วรวุฒิ เล่าว่านักวิจัยได้คัดแยกยีสต์จากตัวอย่างดินทั้งหมด 53 ตัวอย่าง จากตัวอย่างดินที่เก็บในเขตพื้นที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน และจังหวัดใกล้เคียง และได้ค้นพบยีสต์ที่มีศักยภาพในการสะสมไขมันสูง สายพันธุ์ CU-TPD4 ซึ่งจัดเป็นยีสต์ชนิด Saccharomyces cerevisiae (S. cerevisiae) ซึ่งในเวลานั้น ไม่เคยมีรายงานมาก่อนว่ายีสต์ชนิดนี้สามารถผลิตน้ำมันได้ในปริมาณสูงเทียบเท่ายีสต์ผลิตน้ำมันชนิดที่มีอยู่ “ยีสต์ S. cerevisiae จัดเป็นจุลินทรีย์ที่มีความปลอดภัยสูง มีประวัติการใช้มาอย่างยาวนานและได้รับการยอมรับว่ามีความปลอดภัย (Generally Recognized as Safe, GRAS) ซึ่งมีการใช้ในอุตสาหกรรมอาหารอย่างแพร่หลายในปัจจุบัน เช่น อุตสาหกรรมการผลิตเบียร์ และอุตสาหกรรมการผลิตขนมปัง แต่ยังไม่เคยมีรายงานการนำยีสต์สายพันธุ์ดังกล่าวมาใช้เพื่อการผลิตไขมันในระดับอุตสาหกรรม” ศ.ดร.วรวุฒิ อธิบายว่ายีสต์สายพันธุ์ที่พบนี้สามารถผลิตและสะสมไขมันในเซลล์ได้สูงถึงร้อยละ 20-25 ของน้ำหนักเซลล์แห้ง ซึ่งคุณสมบัติของไขมันดังกล่าวเป็นประโยชน์อย่างยิ่งสำหรับการพัฒนาไปเป็นพลังงานชีวภาพอย่างไบโอดีเซล “การใช้ยีสต์ผลิตน้ำมันเป็นวัตถุดิบตั้งต้นในการผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพมีข้อได้เปรียบมากกว่าการใช้พืชเป็นแหล่งของน้ำมันหลายประการ ได้แก่ วงจรชีวิตของยีสต์สั้น สามารถใช้อาหารในการเจริญเติบโตได้หลากหลาย ราคาถูก ใช้แรงงานน้อย สามารถเพาะเลี้ยงได้ทุกช่วงเวลา ไม่ขึ้นกับฤดูกาล ง่ายต่อการขยายขนาดการผลิต และไขมันที่ผลิตได้มีลักษณะเดียวกับที่ผลิตได้จากพืช ซึ่งเมื่อนำมาใช้ประโยชน์ มีความปลอดภัยกับมนุษย์และสิ่งแวดล้อม” นอกจากนี้ ศ.ดร.วรวุฒิ กล่าวเสริมข้อได้เปรียบสำคัญอีกประการของการผลิตน้ำมันจากยีสต์ว่า “เมื่อมีการพัฒนากระบวนการและนำยีสต์ดังกล่าวไปใช้ในระดับอุตสาหกรรม การเพาะเลี้ยงที่อุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียส จะสามารถช่วยลดค่าใช้จ่ายในกระบวนการหล่อเย็นเพื่อควบคุมอุณหภูมิถังหมักลงได้” งานวิจัยนี้ได้รับความสนใจจากนักวิจัยทั้งในไทยและต่างประเทศ เช่น Hamburg University of Technology (TUHH) ประเทศเยอรมนี และ Toulouse Biotechnology Institute (TBI) ประเทศฝรั่งเศส ที่เห็นโอกาสในการขยายการผลิตหัวเชื้อยีสต์ CU-TPD4 เพื่อใช้ในการผลิตน้ำมัน ควบคู่กับการผลิตขนมปัง แอลกอฮอล์ และผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ด้านอาหาร เลี้ยงยีสต์ด้วยวัสดุเหลือทิ้งการเกษตร นอกจากจะได้พลังงานที่สะอาดกว่าพลังงานฟอสซิลแล้ว กระบวนการเลี้ยงยีสต์เพื่อผลิตน้ำมันยังได้ใช้ประโยชน์จากของเหลือทิ้งทางการเกษตร อันเป็นส่วนหนึ่งของการขับเคลื่อนเศรษฐกิจหมุนเวียน และลดปัญหามลพิษทางอากาศที่มาจากการเผาเศษวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร “นอกจากหญ้าอาหารสัตว์แล้ว วัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรและชีวมวลประเภทลิกโนเซลลูโลสประเภทต่าง ๆ สามารถนำมาใช้เป็นแหล่งคาร์บอนเพื่อเป็นอาหารเลี้ยงเชื้อให้แก่ยีสต์สะสมไขมันได้ ยกตัวอย่างเช่น ฟางข้าว ซังข้าวโพด ชานอ้อย รวมทั้งเปลือกผักและผลไม้ต่าง ๆ ได้แก่ เปลือกกล้วย เปลือกทุเรียน เปลือกถั่ว โดยเฉพาะฟางข้าว ซึ่งเป็นวัสดุเหลือทิ้งปริมาณมากของประเทศไทย จึงนับเป็นการใช้ของเหลือทิ้งทางการเกษตรให้เกิดประโยชน์อีกทางหนึ่ง” นอกจากนี้ ยังมีรายงานการนำของเหลือทิ้ง เช่น เศษกระดาษสำนักงาน และน้ำทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรม ได้แก่ น้ำทิ้งจากโรงงานผลิตกระดาษ น้ำทิ้งจากโรงงานผลิตแป้งสาคู และน้ำทิ้งจากบ้านเรือน มาใช้เป็นแหล่งคาร์บอนเช่นเดียวกัน โดยมีจุดประสงค์หลักในการลดต้นทุนการผลิต เพื่อกำจัดของเสีย และเพิ่มมูลค่าของวัสดุเหลือทิ้งดังกล่าวให้เกิดประโยชน์มากยิ่งขึ้น ปรับปรุงสายพันธุ์ยีสต์ ขยายการผลิตน้ำมัน เพิ่มมูลค่าอุตสาหกรรมอาหารและยา การเจริญเติบโตของยีสต์และปริมาณน้ำมันที่ผลิตได้จากยีสต์ในสเกลการผลิตในห้องปฏิบัติการนั้น ยังไม่เพียงพอต่อความต้องการเชื้อเพลิงในตลาด จึงมีความจำเป็นที่จะต้องพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อขยายขนาดกำลังผลิต “เรื่องนี้สามารถทำได้ด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น การปรับปรุงสายพันธุ์ของยีสต์สะสมไขมัน เพื่อเพิ่มความสามารถในการผลิตและสะสมไขมันให้ได้มากขึ้น หรือปรับปรุงให้ยีสต์สามารถทนทานต่อสภาวะที่ไม่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตได้มากขึ้น เช่น สามารถทนต่ออุณหภูมิที่สูงขึ้นในกระบวนการผลิต เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการหล่อเย็น หรือสามารถทนต่อสารพิษที่เกิดขึ้นจากกระบวนการปรับสภาพวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรได้มากขึ้น เพื่อลดขั้นตอนและค่าใช้จ่ายในกระบวนการ Detoxification เป็นต้น” ศ.ดร.วรวุฒิ กล่าวว่าปัจจุบันการวิจัยมุ่งเน้นที่จะเพิ่มระดับการผลิตน้ำมันของยีสต์ S. cerevisiae ในระดับขยายขนาดที่สูงขึ้น โดยทำการดัดแปลงพันธุกรรม เพิ่มการแสดงออกของเอนไซม์ Acetyl-CoA carboxylase เป็นสายพันธุ์ TWP02 ทำให้ผลิตไขมันได้เพิ่มสูงขึ้น หลังจากนั้นจึงได้ศึกษากระบวนผลิตน้ำมันจากเซลล์ยีสต์ในระดับขยายขนาด โดยใช้บริการเครื่องมือวิจัยจากห้องปฏิบัติการวิศวกรรมชีวภาพและการหมักแม่นยำ (Bioengineering and precision fermentation laboratory) ของฝ่ายวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพและวัสดุ สถาบันนวัตกรรม บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) ซึ่งเป็นห้องปฏิบัติการชั้นนำของประเทศไทยทางด้านกระบวนการทางชีวภาพและกระบวนการหมัก มีความพร้อมของเครื่องมือวิจัยทางด้านเทคโนโลยีชีวภาพตั้งแต่กระบวนการต้นน้ำที่ใช้ในการคัดเลือกและปรับปรุงสายพันธุ์จุลินทรีย์ กระบวนหมักตั้งแต่ระดับห้องปฏิบัติการขนาดถังหมัก 2 ลิตร ไปจนถึงระดับหน่วยวิจัยต้นแบบขนาดถังหมัก 20,000 ลิตร รวมไปถึงกระบวนการปลายน้ำที่ใช้ในการแยกเซลล์จุลินทรีย์ การทำให้เซลล์ของเชื้อจุลินทรีย์แตกด้วยความดัน การเพิ่มความเข้มข้นและความบริสุทธิ์ของสารชีวภัณฑ์ ตลอดจนการขึ้นรูปสารชีวภัณฑ์ในรูปแบบแห้งด้วยความร้อนหรือความเย็น ซึ่งศักยภาพของห้องปฏิบัติการดังกล่าวมีส่วนช่วยทำให้โครงงานวิจัยนี้สามารถประเมินศักยภาพสำหรับการออกแบบกระบวนผลิตเป็นเชื้อเพลิงชีวภาพสำหรับอากาศยานที่เหมาะสมต่อไปได้ ท้ายที่สุด ศ.ดร.วรวุฒิ กล่าวว่านอกจากการผลิตไบโอดีเซลและเชื้อเพลิงอากาศยานแล้ว การปรับปรุงสายพันธุ์ของยีสต์สะสมไขมันให้สามารถผลิตกรดไขมัน เช่น กรดไขมันไม่อิ่มตัว ซึ่งเป็นไขมันชนิดที่มีความต้องการในตลาดและมีมูลค่าสูง ยังสามารถใช้เป็นสารตั้งต้นในการผลิตผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ด้านอาหาร เครื่องสำอาง และยา ที่สามารถตอบโจทย์ธุรกิจทางด้าน Life Science อย่างยั่งยืนได้อีกด้วย EZ Webmaster Related Posts มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน Kahoot! เปิดตัว Kahoot! Energize ปฏิวัติการประชุมให้มีพลังและสร้างผลกระทบที่เหนือกว่า สมศ. เน้นย้ำการประเมินคุณภาพภายนอก ปี 67-71 ลดวันประเมิน On site ขยายสู่รูปแบบออนไลน์ สร้างมาตรฐานในการแข่งขันระดับอาเซียน คณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ มธ. เปิดรับบุคคลเข้าศึกษาต่อหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการเรียนรู้ ปีการศึกษา 2568 Post navigation PREVIOUS Previous post: เปิดเรื่องราวบนเส้นทางแห่งความสำเร็จของหญิงไทย ผู้ได้รับทุน Women in STEM จากบริติช เคานซิล สู่แวดวงการทำงานในองค์กรระดับโลกNEXT Next post: เปิดรับสมัครแล้ว หลักสูตรปริญญาตรี การจัดการขนส่ง วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มอนเดลีซ สำเร็จภารกิจ “โรงเรียนรักษ์โลก แยกขยะลุ้นโชคกับมอนเดลีซ ปี 3” ปลูกฝังวัฒนธรรมแยกขยะให้แก่เยาวชนไทยกว่า 20,000 คน เพื่อโลกสีเขียวที่ยั่งยืน EZ WebmasterMarch 21, 2025 โครงการ “โรงเรียนรักษ์โลก แยกขยะลุ้นโชคกับมอนเดลีซ ปี 3” จัดขึ้นโดย บริษัท มอนเดลีซ อินเตอร์เนชันแนล (ประเทศไทย) จำกัด ร่วมกับ กรุงเทพมหานคร และ แทรชลัคกี้ ได้บรรลุเป้าหมายสำคัญในการสร้างจิตสำนึกด้านสิ่งแวดล้อมแก่เยาวชนไทย ด้วยความมุ่งมั่นในการขับเคลื่อนพฤติกรรมการจัดการขยะอย่างยั่งยืน โดยโครงการนี้ได้ปลูกฝังแนวคิดการคัดแยกขยะให้กับนักเรียนมากกว่า… วิทยาลัยทองสุข เปิดรับนักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2568 ครั้งใหญ่ ครบทุกระดับ ปริญญาตรี ปริญญาโทและปริญญาเอก พร้อม INTERNATIONAL PROGRAM tui sakrapeeMarch 20, 2025 วิทยาลัยทองสุข Thongsook College รับสมัครนักศึกษาใหม่ ปี 2568 ภาคเรียนที่ 1 เริ่มเรียน มิถุนายน 2568 #ระดับปริญญาตรี –หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต B.B.A. สาขาวิชาการจัดการ 4 ปี สาขาวิชาการจัดการ…
วิทยาลัยทองสุข เปิดรับนักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2568 ครั้งใหญ่ ครบทุกระดับ ปริญญาตรี ปริญญาโทและปริญญาเอก พร้อม INTERNATIONAL PROGRAM tui sakrapeeMarch 20, 2025 วิทยาลัยทองสุข Thongsook College รับสมัครนักศึกษาใหม่ ปี 2568 ภาคเรียนที่ 1 เริ่มเรียน มิถุนายน 2568 #ระดับปริญญาตรี –หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต B.B.A. สาขาวิชาการจัดการ 4 ปี สาขาวิชาการจัดการ…
มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค EZ WebmasterMarch 21, 2025 ศาสตราจารย์ นายแพทย์ปิยะมิตร ศรีธรา อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า ปัจจุบันโลกกำลังเผชิญกับกระแสความเปลี่ยนแปลงใหญ่ๆ ใน 6 มิติ 1. สังคมสูงวัย (Aging Society) ในอีก 8 ปีข้างหน้า ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุระดับสุดยอด (Super… ฟินแลนด์ครองแชมป์ 8 ปีซ้อน ประเทศที่มีความสุขที่สุดในโลก 2025 ไทยขยับขึ้นอันดับ 49 EZ WebmasterMarch 21, 2025 ฟินแลนด์ ยังคงรักษาตำแหน่งประเทศที่มีความสุขที่สุดในโลกเป็นปีที่ 8 ติดต่อกัน ตามรายงานความสุขโลก (World Happiness Report) ประจำปี 2025 ซึ่งจัดทำโดยศูนย์วิจัยความเป็นอยู่ที่ดี (Wellbeing Research Centre) แห่งมหาวิทยาลัยอ็อกซ์ฟอร์ด รายงานนี้เผยแพร่ในช่วงวันความสุขสากล (International Day of Happiness)… สจล. ร่วมกับโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์อินเตอร์เนชั่นแนล พัฒนาหลักสูตรและการจัดการเนื้อหาสู่การเรียนในแพลตฟอร์มออนไลน์ EZ WebmasterMarch 21, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี อธิการบดี และรศ. นพ.ทวีสิน ตันประยูร ประธานปฏิบัติการด้านการแพทย์ โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์อินเตอร์เนชั่นแนล ร่วมกันลงนามในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ เพื่อการพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเนื้อหาการเรียนรู้ออนไลน์ ผ่าน KMITL Masterclass ซึ่งเป็นแพลตฟอร์มออนไลน์ของ… นักศึกษา มทร.ธัญบุรี โชว์ไอเดีย “กระเป๋าผ้าทอใยไผ่” ตอบโจทย์ความยั่งยืน ในนิทรรศการศิลปนิพนธ์ 2025 tui sakrapeeMarch 20, 2025 นักศึกษาชั้นปีที่ 4 จากภาควิชาศิลปะการออกแบบและเทคโนโลยี คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้ร่วมกันจัดนิทรรศการศิลปนิพนธ์เพื่อเผยแพร่ผลงานสู่สาธารณชน พร้อมฝึกประสบการณ์จริงในการจัดแสดงผลงานออกแบบ ภายในงานได้รวบรวมผลงานจาก 4 สาขาวิชา ได้แก่ ออกแบบนิเทศศิลป์ ออกแบบภายใน ออกแบบผลิตภัณฑ์ และนวัตกรรมการออกแบบผลิตภัณฑ์ร่วมสมัย จัดขึ้น ณ ศูนย์การค้ายูเนี่ยน มอลล์ โซน CoEvent Studio กรุงเทพฯ… ทุนดีดี สกสค. ร่วมกับ CP All มอบ 100 ทุนเรียนฟรี 100% ระดับ ปวช. ปวส. และปริญญาตรี EZ WebmasterMarch 21, 2025 กสค. ร่วมกับ CP All มอบทุนเรียนฟรี !! 100% ล่าสุดขยายโอกาสเพิ่มอีก 9 สาขาใหม่ เพิ่มทางเลือกให้เยาวชนก้าวไกล ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ศึกษาที่วิทยาลัยปัญญาภิวัฒน์ และศูนย์การเรียนฯ ทั่วประเทศ 20 แห่ง ทุนการศึกษาระดับ… ให้ทุนเยาวชน ODOS Summer Camp ไปเรียนซัมเมอร์ต่างประเทศ 6 สัปดาห์ เริ่มสมัครได้ 24 มี.ค.นี้ EZ WebmasterMarch 21, 2025 ODOS Summer Camp ทุนการศึกษาระยะสั้น 6 สัปดาห์ เพื่อกระจายโอกาสให้เด็กไทยทุกคนได้มีโอกาสไปเรียนซัมเมอร์ต่างประเทศ เปิดหูเปิดตา ค้นหาตัวตน และสร้างแรงบันดาลใจในการเรียนรู้ โดยไม่จำเป็นต้องเป็นเด็กเก่ง เด็กเรียน หรือเด็กหน้าห้อง เปิดรับเยาวชนที่มีคุณสมบัติดังนี้ – สัญชาติไทย – อายุไม่เกิน… ธนาคารแห่งประเทศไทย เปิดรับสมัครทุนระดับปริญญาโทขึ้นไป เรียนต่อที่ประเทศอังกฤษ EZ WebmasterMarch 17, 2025 ประกาศเปิดรับสมัครทุนการศึกษา Dr. Puey Ungphakorn Centenary Scholarship ประจำปี 2568 ธนาคารแห่งประเทศไทย เปิดรับสมัครทุนการศึกษาระดับปริญญาโทขึ้นไป เพื่อศึกษาต่อที่ The London School of Economics and Political… กสศ. ร่วมกับคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ให้ทุนเรียนฟรี ผู้ช่วยพยาบาล EZ WebmasterMarch 17, 2025 กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา(กสศ.)ร่วมกับคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ——————————————————- “รับสมัครนักศึกษาเพื่อรับทุน” หลักสูตรประกาศนียบัตรผู้ช่วยพยาบาล (PN) (สำหรับนักศึกษา PN รุ่นที่ 3) *** เรียนฟรี!! รับค่าใช้จ่ายเดือนละ 7,500 บาท จบแล้วไม่ต้องใช้ทุน **** จำนวน… ครู-อาจารย์ มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค EZ WebmasterMarch 21, 2025 ศาสตราจารย์ นายแพทย์ปิยะมิตร ศรีธรา อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า ปัจจุบันโลกกำลังเผชิญกับกระแสความเปลี่ยนแปลงใหญ่ๆ ใน 6 มิติ 1. สังคมสูงวัย (Aging Society) ในอีก 8 ปีข้างหน้า ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุระดับสุดยอด (Super… รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน EZ WebmasterMarch 21, 2025 รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน พร้อมจ่ายเงินอุดหนุนการศึกษาและพัฒนาอาชีพ ผ่านกสศ. ขณะที่ Microsoft หนุน ศูนย์ดิจิทัลชุมชน ยกระดับทักษะAI เพิ่มโอกาสมีงานทำ พร้อมจับมือ UNICEF สร้าง 1… Kahoot! เปิดตัว Kahoot! Energize ปฏิวัติการประชุมให้มีพลังและสร้างผลกระทบที่เหนือกว่า EZ WebmasterMarch 21, 2025 เปลี่ยนทุกการนำเสนอในที่ทำงานให้กลายเป็นการสื่อสารสองทาง สร้างประสบการณ์ที่น่าสนใจ เต็มไปด้วยความมีชีวิตชีวาและการมีส่วนร่วมที่แท้จริง กระตุ้นการมีส่วนร่วมจากผู้ฟังและขับเคลื่อน ผลลัพธ์ทางธุรกิจไปอีกขั้นด้วย Kahoot! Energize Kahoot! (คาฮู้ด) ผู้นำด้านการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมระดับโลกได้เปิดตัวเครื่องมือใหม่ Kahoot! Energize ที่จะเปลี่ยนทุกการประชุม การฝึกอบรม หรือกิจกรรมต่างๆ ให้กลายเป็นช่วงเวลาที่เต็มไปด้วยพลังและความสนุก พร้อมกระตุ้นการมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ สร้างผลกระทบที่มีความหมาย และขับเคลื่อนธุรกิจไปข้างหน้า การพัฒนา Kahoot! Energize ต่อยอดจากรูปแบบการเรียนรู้และการมีส่วนร่วม อันเป็นเอกลักษณ์ที่ได้รับความนิยมของ Kahoot! แต่เพิ่มความสามารถในการใช้งานในสภาพแวดล้อมการทำงานที่หลากหลาย… สมศ. เน้นย้ำการประเมินคุณภาพภายนอก ปี 67-71 ลดวันประเมิน On site ขยายสู่รูปแบบออนไลน์ สร้างมาตรฐานในการแข่งขันระดับอาเซียน EZ WebmasterMarch 20, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยในการประชุมรับฟังความคิดเห็น (ร่าง) กรอบแนวทางการประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษาที่จัดการเรียนรู้ในสังกัดกรมส่งเสริมการเรียนรู้ (สกร.) โดยเน้นย้ำเรื่อง “แนวคิดและทิศทางการประกันคุณภาพภายนอก” ว่า การประกันคุณภาพภายนอกไม่ใช่เป็น “การตรวจสอบ” แต่เป็นเครื่องมือที่ช่วยส่งเสริมการพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษาอย่างแท้จริง… กิจกรรม รวมพลังสีชมพูจุฬาฯ กลับบ้านสู่ร่มจามจุรี ในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” EZ WebmasterMarch 14, 2025 สมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (สนจ.) เชิญชวนชาวจุฬาฯ ทั้งนิสิตเก่าและนิสิตปัจจุบัน เดินทางกลับบ้านในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” ร่วมฉลองวาระสำคัญ ครบรอบ 108 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในบรรยากาศแห่งความรักความสามัคคี และความผูกพันของเหล่าน้องพี่สีชมพู ภายใต้ร่มเงาของจามจุรี นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย… สจล. ผนึกกำลังตำรวจภูธรภาค 2 และบริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จำกัด (สำนักงานใหญ่) พัฒนาโครงการ “AI Robot รับแจ้งความ” ประมวลผลถูกต้องและมีประสิทธิภาพ EZ WebmasterMarch 13, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี ร่วมด้วยพลตำรวจโท ยิ่งยศ เทพจำนงค์ (คนที่ 3 จากซ้าย) ผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 2… สจล. ร่วมกับกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน มุ่งยกระดับฝีมือแรงงาน สอดคล้องความต้องการในอนาคต EZ WebmasterMarch 10, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี และนายเดชา พฤกษ์พัฒนรักษ์ (คนที่ 3 จากซ้าย) อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ได้ลงในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการร่วมกัน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่นักศึกษาของสถาบันก่อนเข้าสู่ตลาดแรงงานในสาขาอาชีพต่าง… ปิดฉาก “HigherEd for PWD” ระยะที่ 1 เสริมสมรรถนะคนพิการสู่ตลาดแรงงานจริง EZ WebmasterMarch 10, 2025 เมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2568 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) ร่วมกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) และมหาวิทยาลัยเครือข่าย 5 แห่ง จัดแถลงข่าวสรุปผลและปิดโครงการการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาศักยภาพคนพิการเพื่อการประกอบอาชีพ ผ่านโมเดลการฝึกอบรม-ฝึกงานคนพิการ มจธ. HigherEd for PWD ระยะที่ 1 ซึ่งเป็นโครงการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อพัฒนาศักยภาพคนพิการสู่การประกอบอาชีพในตลาดแรงงานจริง ที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ซึ่งจัดขึ้น ณ ห้อง Auditorium ชั้น 3 อาคารการเรียนรู้พหุวิทยาการ (LX) มจธ. บางมด กรุงเทพฯ โดยได้รับเกียรติจาก นายวราวุธ… Search for: Search EZ Webmaster April 30, 2024 EZ Webmaster April 30, 2024 น้ำมันเชื้อเพลิงจากยีสต์! ผลงานวิจัยคณะวิทย์ฯ จุฬาฯ จ่อขยายการผลิตเพื่ออุตสาหกรรมอากาศยาน นักวิจัย จุฬาฯ ใช้หญ้าอาหารสัตว์ เลี้ยงจุลินทรีย์เพื่อนำไขมันที่ได้มาเปลี่ยนเป็นน้ำมันเชื้อเพลิงอากาศยาน ตั้งเป้าขยายการผลิตทดแทนน้ำมันจากปิโตรเลียม ลดผลกระทบทางสุขภาพของมนุษย์และสิ่งแวดล้อม ยีสต์เป็นจุลินทรีย์ที่เป็นส่วนประกอบสำคัญในอาหารและเครื่องดื่มหลายประเภท อาทิ ขนมปัง เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ แต่ในอนาคต ยีสต์จะเป็นกำลังสำคัญในการผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงทดแทนพลังงานที่มาจากฟอสซิล ปัจจุบัน นักวิจัยจากคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กำลังเร่งพัฒนาเทคโนโลยีขยายขนาดการผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงชีวภาพอากาศยานจากยีสต์ ซึ่งเป็นการต่อยอดผลสำเร็จจากการวิจัยพบยีสต์สายพันธุ์ที่มีศักยภาพสูงในการผลิตไขมันเพื่อนำมาผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงอากาศยาน โดยในกระบวนการผลิตน้ำมันจากยีสต์นั้น ยังได้ใช้ของเหลือทิ้งจากภาคการเกษตรมาเป็นอาหารเลี้ยงจุลินทรีย์ นับเป็นการลดปัญหาจากเผาและสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับของเหลือทิ้งภาคการเกษตรอีกทางหนึ่งด้วย ที่มางานวิจัยผลิตน้ำมันจากยีสต์ น้ำมันปิโตรเลียมเป็นแหล่งพลังงานเชื้อเพลิงสำคัญในโลกปัจจุบัน ทั้งในภาคอุตสาหกรรมต่าง ๆ และการคมนาคมขนส่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งอุตสาหกรรมอากาศยาน รายงานจากกรมธุรกิจพลังงาน กระทรวงพลังงาน (พ.ศ. 2562) ระบุว่าประเทศไทยมีปริมาณการนำเข้าเชื้อเพลิงในกลุ่มน้ำมันอากาศยานเพิ่มสูงขึ้นอย่างมาก โดยในปี พ.ศ. 2559 ประเทศไทยนำเข้าเชื้อเพลิงในกลุ่มน้ำมันอากาศยาน 84.9 ล้านลิตร แต่เพียง 4 ปีต่อมา ในปี พ.ศ. 2562 ปริมาณการนำเข้าเชื้อเพลิงในกลุ่มน้ำมันอากาศยานทะยานสูงขึ้นถึง 376.3 ล้านลิตรต่อปี ปริมาณการนำเข้าเชื้อเพลิงที่เพิ่มขึ้นอย่างก้าวกระโดดนี้สะท้อนความต้องการในอุตสาหกรรมที่กำลังเติบโต และความจำเป็นอย่างยิ่งยวดที่จะต้องค้นหานวัตกรรมเพื่อผลิตพลังงานทดแทน ที่เป็นมิตรต่อสุขภาพของมนุษย์และสิ่งแวดล้อมมากกกว่าน้ำมันปิโตรเลียม คณะนักวิจัยนำโดย ศาสตราจารย์ ดร.วรวุฒิ จุฬาลักษณานุกูล และผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชมภูนุช กลิ่นวงษ์ จากภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จึงได้ดำเนินโครงการวิจัย “การพัฒนาเทคโนโลยีการขยายขนาดการผลิตน้ำมันจากยีสต์เพื่อสังเคราะห์น้ำมันเชื้อเพลิงชีวภาพอากาศยาน” (Development of scaling-up technology for production of microbial lipid for bio jet fuel synthesis) “คณะผู้วิจัยประสบความสำเร็จในการคัดแยกยีสต์ชนิด Saccharomyces cerevisiae ที่มีศักยภาพในการสะสมไขมันสูง สายพันธุ์ CU-TPD4 และได้นำมาผลิตเป็นน้ำมันเชื้อเพลิงอากาศยาน ชีวภาพ เพื่อรองรับความต้องการด้านพลังงานที่เพิ่มสูงขึ้นในอนาคต หากเราสามารถพัฒนาศักยภาพของประเทศในด้านการผลิตเชื้อเพลิงอากาศยานชีวภาพ จะมีส่วนช่วยเศรษฐกิจของประเทศให้เจริญก้าวหน้าไปด้วย” ศ.ดร.วรวุฒิ กล่าวถึงความความสำเร็จและเป้าหมายของการวิจัย โครงการวิจัยนี้ได้รับการสนับสนุนจาก สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) โดยรับทุนในกลุ่มเรื่องแผนงานพลังงานทดแทน ภายใต้โครงการความร่วมมือระหว่างไทย-จีน กรอบวิจัยพลังงานทดแทน (Renewable Energy) แผนงานวิจัยการสังเคราะห์ไขมันและการผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงอากาศยานจากชีวมวล Microbial lipid synthesis and bio-refinery of jet fuel from biomass resource ซึ่งนอกจาก ศ.ดร.วรวุฒิ และผศ.ดร.ชมภูนุช แล้ว คณะผู้วิจัยยังประกอบด้วยนิสิตปริญญาเอกจากภาควิชาพฤกษศาสตร์ จำนวน 3 คน ได้แก่ ดร.ณัฏฐา จึงเจริญพานิชย์ ดร.วรรณพร วัฒน์สุนธร และนายธนาพงษ์ ตั้งวนาไพร ร่วมด้วย ดร. สุริษา สุวรรณรังษี จากศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ และกลุ่มนักวิจัยจีน ได้แก่ Prof. Zhongming Wang และ Prof. Wei Qi จาก Guangzhou Institute of Energy Conversion, Chinese Academy of Science (GIEC) ยีสต์ศักยภาพสูงผลิตน้ำมันเชื้อเพลิง ศ.ดร.วรวุฒิ เล่าว่านักวิจัยได้คัดแยกยีสต์จากตัวอย่างดินทั้งหมด 53 ตัวอย่าง จากตัวอย่างดินที่เก็บในเขตพื้นที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน และจังหวัดใกล้เคียง และได้ค้นพบยีสต์ที่มีศักยภาพในการสะสมไขมันสูง สายพันธุ์ CU-TPD4 ซึ่งจัดเป็นยีสต์ชนิด Saccharomyces cerevisiae (S. cerevisiae) ซึ่งในเวลานั้น ไม่เคยมีรายงานมาก่อนว่ายีสต์ชนิดนี้สามารถผลิตน้ำมันได้ในปริมาณสูงเทียบเท่ายีสต์ผลิตน้ำมันชนิดที่มีอยู่ “ยีสต์ S. cerevisiae จัดเป็นจุลินทรีย์ที่มีความปลอดภัยสูง มีประวัติการใช้มาอย่างยาวนานและได้รับการยอมรับว่ามีความปลอดภัย (Generally Recognized as Safe, GRAS) ซึ่งมีการใช้ในอุตสาหกรรมอาหารอย่างแพร่หลายในปัจจุบัน เช่น อุตสาหกรรมการผลิตเบียร์ และอุตสาหกรรมการผลิตขนมปัง แต่ยังไม่เคยมีรายงานการนำยีสต์สายพันธุ์ดังกล่าวมาใช้เพื่อการผลิตไขมันในระดับอุตสาหกรรม” ศ.ดร.วรวุฒิ อธิบายว่ายีสต์สายพันธุ์ที่พบนี้สามารถผลิตและสะสมไขมันในเซลล์ได้สูงถึงร้อยละ 20-25 ของน้ำหนักเซลล์แห้ง ซึ่งคุณสมบัติของไขมันดังกล่าวเป็นประโยชน์อย่างยิ่งสำหรับการพัฒนาไปเป็นพลังงานชีวภาพอย่างไบโอดีเซล “การใช้ยีสต์ผลิตน้ำมันเป็นวัตถุดิบตั้งต้นในการผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพมีข้อได้เปรียบมากกว่าการใช้พืชเป็นแหล่งของน้ำมันหลายประการ ได้แก่ วงจรชีวิตของยีสต์สั้น สามารถใช้อาหารในการเจริญเติบโตได้หลากหลาย ราคาถูก ใช้แรงงานน้อย สามารถเพาะเลี้ยงได้ทุกช่วงเวลา ไม่ขึ้นกับฤดูกาล ง่ายต่อการขยายขนาดการผลิต และไขมันที่ผลิตได้มีลักษณะเดียวกับที่ผลิตได้จากพืช ซึ่งเมื่อนำมาใช้ประโยชน์ มีความปลอดภัยกับมนุษย์และสิ่งแวดล้อม” นอกจากนี้ ศ.ดร.วรวุฒิ กล่าวเสริมข้อได้เปรียบสำคัญอีกประการของการผลิตน้ำมันจากยีสต์ว่า “เมื่อมีการพัฒนากระบวนการและนำยีสต์ดังกล่าวไปใช้ในระดับอุตสาหกรรม การเพาะเลี้ยงที่อุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียส จะสามารถช่วยลดค่าใช้จ่ายในกระบวนการหล่อเย็นเพื่อควบคุมอุณหภูมิถังหมักลงได้” งานวิจัยนี้ได้รับความสนใจจากนักวิจัยทั้งในไทยและต่างประเทศ เช่น Hamburg University of Technology (TUHH) ประเทศเยอรมนี และ Toulouse Biotechnology Institute (TBI) ประเทศฝรั่งเศส ที่เห็นโอกาสในการขยายการผลิตหัวเชื้อยีสต์ CU-TPD4 เพื่อใช้ในการผลิตน้ำมัน ควบคู่กับการผลิตขนมปัง แอลกอฮอล์ และผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ด้านอาหาร เลี้ยงยีสต์ด้วยวัสดุเหลือทิ้งการเกษตร นอกจากจะได้พลังงานที่สะอาดกว่าพลังงานฟอสซิลแล้ว กระบวนการเลี้ยงยีสต์เพื่อผลิตน้ำมันยังได้ใช้ประโยชน์จากของเหลือทิ้งทางการเกษตร อันเป็นส่วนหนึ่งของการขับเคลื่อนเศรษฐกิจหมุนเวียน และลดปัญหามลพิษทางอากาศที่มาจากการเผาเศษวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร “นอกจากหญ้าอาหารสัตว์แล้ว วัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรและชีวมวลประเภทลิกโนเซลลูโลสประเภทต่าง ๆ สามารถนำมาใช้เป็นแหล่งคาร์บอนเพื่อเป็นอาหารเลี้ยงเชื้อให้แก่ยีสต์สะสมไขมันได้ ยกตัวอย่างเช่น ฟางข้าว ซังข้าวโพด ชานอ้อย รวมทั้งเปลือกผักและผลไม้ต่าง ๆ ได้แก่ เปลือกกล้วย เปลือกทุเรียน เปลือกถั่ว โดยเฉพาะฟางข้าว ซึ่งเป็นวัสดุเหลือทิ้งปริมาณมากของประเทศไทย จึงนับเป็นการใช้ของเหลือทิ้งทางการเกษตรให้เกิดประโยชน์อีกทางหนึ่ง” นอกจากนี้ ยังมีรายงานการนำของเหลือทิ้ง เช่น เศษกระดาษสำนักงาน และน้ำทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรม ได้แก่ น้ำทิ้งจากโรงงานผลิตกระดาษ น้ำทิ้งจากโรงงานผลิตแป้งสาคู และน้ำทิ้งจากบ้านเรือน มาใช้เป็นแหล่งคาร์บอนเช่นเดียวกัน โดยมีจุดประสงค์หลักในการลดต้นทุนการผลิต เพื่อกำจัดของเสีย และเพิ่มมูลค่าของวัสดุเหลือทิ้งดังกล่าวให้เกิดประโยชน์มากยิ่งขึ้น ปรับปรุงสายพันธุ์ยีสต์ ขยายการผลิตน้ำมัน เพิ่มมูลค่าอุตสาหกรรมอาหารและยา การเจริญเติบโตของยีสต์และปริมาณน้ำมันที่ผลิตได้จากยีสต์ในสเกลการผลิตในห้องปฏิบัติการนั้น ยังไม่เพียงพอต่อความต้องการเชื้อเพลิงในตลาด จึงมีความจำเป็นที่จะต้องพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อขยายขนาดกำลังผลิต “เรื่องนี้สามารถทำได้ด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น การปรับปรุงสายพันธุ์ของยีสต์สะสมไขมัน เพื่อเพิ่มความสามารถในการผลิตและสะสมไขมันให้ได้มากขึ้น หรือปรับปรุงให้ยีสต์สามารถทนทานต่อสภาวะที่ไม่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตได้มากขึ้น เช่น สามารถทนต่ออุณหภูมิที่สูงขึ้นในกระบวนการผลิต เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการหล่อเย็น หรือสามารถทนต่อสารพิษที่เกิดขึ้นจากกระบวนการปรับสภาพวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรได้มากขึ้น เพื่อลดขั้นตอนและค่าใช้จ่ายในกระบวนการ Detoxification เป็นต้น” ศ.ดร.วรวุฒิ กล่าวว่าปัจจุบันการวิจัยมุ่งเน้นที่จะเพิ่มระดับการผลิตน้ำมันของยีสต์ S. cerevisiae ในระดับขยายขนาดที่สูงขึ้น โดยทำการดัดแปลงพันธุกรรม เพิ่มการแสดงออกของเอนไซม์ Acetyl-CoA carboxylase เป็นสายพันธุ์ TWP02 ทำให้ผลิตไขมันได้เพิ่มสูงขึ้น หลังจากนั้นจึงได้ศึกษากระบวนผลิตน้ำมันจากเซลล์ยีสต์ในระดับขยายขนาด โดยใช้บริการเครื่องมือวิจัยจากห้องปฏิบัติการวิศวกรรมชีวภาพและการหมักแม่นยำ (Bioengineering and precision fermentation laboratory) ของฝ่ายวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพและวัสดุ สถาบันนวัตกรรม บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) ซึ่งเป็นห้องปฏิบัติการชั้นนำของประเทศไทยทางด้านกระบวนการทางชีวภาพและกระบวนการหมัก มีความพร้อมของเครื่องมือวิจัยทางด้านเทคโนโลยีชีวภาพตั้งแต่กระบวนการต้นน้ำที่ใช้ในการคัดเลือกและปรับปรุงสายพันธุ์จุลินทรีย์ กระบวนหมักตั้งแต่ระดับห้องปฏิบัติการขนาดถังหมัก 2 ลิตร ไปจนถึงระดับหน่วยวิจัยต้นแบบขนาดถังหมัก 20,000 ลิตร รวมไปถึงกระบวนการปลายน้ำที่ใช้ในการแยกเซลล์จุลินทรีย์ การทำให้เซลล์ของเชื้อจุลินทรีย์แตกด้วยความดัน การเพิ่มความเข้มข้นและความบริสุทธิ์ของสารชีวภัณฑ์ ตลอดจนการขึ้นรูปสารชีวภัณฑ์ในรูปแบบแห้งด้วยความร้อนหรือความเย็น ซึ่งศักยภาพของห้องปฏิบัติการดังกล่าวมีส่วนช่วยทำให้โครงงานวิจัยนี้สามารถประเมินศักยภาพสำหรับการออกแบบกระบวนผลิตเป็นเชื้อเพลิงชีวภาพสำหรับอากาศยานที่เหมาะสมต่อไปได้ ท้ายที่สุด ศ.ดร.วรวุฒิ กล่าวว่านอกจากการผลิตไบโอดีเซลและเชื้อเพลิงอากาศยานแล้ว การปรับปรุงสายพันธุ์ของยีสต์สะสมไขมันให้สามารถผลิตกรดไขมัน เช่น กรดไขมันไม่อิ่มตัว ซึ่งเป็นไขมันชนิดที่มีความต้องการในตลาดและมีมูลค่าสูง ยังสามารถใช้เป็นสารตั้งต้นในการผลิตผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ด้านอาหาร เครื่องสำอาง และยา ที่สามารถตอบโจทย์ธุรกิจทางด้าน Life Science อย่างยั่งยืนได้อีกด้วย EZ Webmaster Related Posts มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน Kahoot! เปิดตัว Kahoot! Energize ปฏิวัติการประชุมให้มีพลังและสร้างผลกระทบที่เหนือกว่า สมศ. เน้นย้ำการประเมินคุณภาพภายนอก ปี 67-71 ลดวันประเมิน On site ขยายสู่รูปแบบออนไลน์ สร้างมาตรฐานในการแข่งขันระดับอาเซียน คณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ มธ. เปิดรับบุคคลเข้าศึกษาต่อหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการเรียนรู้ ปีการศึกษา 2568 Post navigation PREVIOUS Previous post: เปิดเรื่องราวบนเส้นทางแห่งความสำเร็จของหญิงไทย ผู้ได้รับทุน Women in STEM จากบริติช เคานซิล สู่แวดวงการทำงานในองค์กรระดับโลกNEXT Next post: เปิดรับสมัครแล้ว หลักสูตรปริญญาตรี การจัดการขนส่ง วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ฟินแลนด์ครองแชมป์ 8 ปีซ้อน ประเทศที่มีความสุขที่สุดในโลก 2025 ไทยขยับขึ้นอันดับ 49 EZ WebmasterMarch 21, 2025 ฟินแลนด์ ยังคงรักษาตำแหน่งประเทศที่มีความสุขที่สุดในโลกเป็นปีที่ 8 ติดต่อกัน ตามรายงานความสุขโลก (World Happiness Report) ประจำปี 2025 ซึ่งจัดทำโดยศูนย์วิจัยความเป็นอยู่ที่ดี (Wellbeing Research Centre) แห่งมหาวิทยาลัยอ็อกซ์ฟอร์ด รายงานนี้เผยแพร่ในช่วงวันความสุขสากล (International Day of Happiness)… สจล. ร่วมกับโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์อินเตอร์เนชั่นแนล พัฒนาหลักสูตรและการจัดการเนื้อหาสู่การเรียนในแพลตฟอร์มออนไลน์ EZ WebmasterMarch 21, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี อธิการบดี และรศ. นพ.ทวีสิน ตันประยูร ประธานปฏิบัติการด้านการแพทย์ โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์อินเตอร์เนชั่นแนล ร่วมกันลงนามในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ เพื่อการพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเนื้อหาการเรียนรู้ออนไลน์ ผ่าน KMITL Masterclass ซึ่งเป็นแพลตฟอร์มออนไลน์ของ… นักศึกษา มทร.ธัญบุรี โชว์ไอเดีย “กระเป๋าผ้าทอใยไผ่” ตอบโจทย์ความยั่งยืน ในนิทรรศการศิลปนิพนธ์ 2025 tui sakrapeeMarch 20, 2025 นักศึกษาชั้นปีที่ 4 จากภาควิชาศิลปะการออกแบบและเทคโนโลยี คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้ร่วมกันจัดนิทรรศการศิลปนิพนธ์เพื่อเผยแพร่ผลงานสู่สาธารณชน พร้อมฝึกประสบการณ์จริงในการจัดแสดงผลงานออกแบบ ภายในงานได้รวบรวมผลงานจาก 4 สาขาวิชา ได้แก่ ออกแบบนิเทศศิลป์ ออกแบบภายใน ออกแบบผลิตภัณฑ์ และนวัตกรรมการออกแบบผลิตภัณฑ์ร่วมสมัย จัดขึ้น ณ ศูนย์การค้ายูเนี่ยน มอลล์ โซน CoEvent Studio กรุงเทพฯ… ทุนดีดี สกสค. ร่วมกับ CP All มอบ 100 ทุนเรียนฟรี 100% ระดับ ปวช. ปวส. และปริญญาตรี EZ WebmasterMarch 21, 2025 กสค. ร่วมกับ CP All มอบทุนเรียนฟรี !! 100% ล่าสุดขยายโอกาสเพิ่มอีก 9 สาขาใหม่ เพิ่มทางเลือกให้เยาวชนก้าวไกล ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ศึกษาที่วิทยาลัยปัญญาภิวัฒน์ และศูนย์การเรียนฯ ทั่วประเทศ 20 แห่ง ทุนการศึกษาระดับ… ให้ทุนเยาวชน ODOS Summer Camp ไปเรียนซัมเมอร์ต่างประเทศ 6 สัปดาห์ เริ่มสมัครได้ 24 มี.ค.นี้ EZ WebmasterMarch 21, 2025 ODOS Summer Camp ทุนการศึกษาระยะสั้น 6 สัปดาห์ เพื่อกระจายโอกาสให้เด็กไทยทุกคนได้มีโอกาสไปเรียนซัมเมอร์ต่างประเทศ เปิดหูเปิดตา ค้นหาตัวตน และสร้างแรงบันดาลใจในการเรียนรู้ โดยไม่จำเป็นต้องเป็นเด็กเก่ง เด็กเรียน หรือเด็กหน้าห้อง เปิดรับเยาวชนที่มีคุณสมบัติดังนี้ – สัญชาติไทย – อายุไม่เกิน… ธนาคารแห่งประเทศไทย เปิดรับสมัครทุนระดับปริญญาโทขึ้นไป เรียนต่อที่ประเทศอังกฤษ EZ WebmasterMarch 17, 2025 ประกาศเปิดรับสมัครทุนการศึกษา Dr. Puey Ungphakorn Centenary Scholarship ประจำปี 2568 ธนาคารแห่งประเทศไทย เปิดรับสมัครทุนการศึกษาระดับปริญญาโทขึ้นไป เพื่อศึกษาต่อที่ The London School of Economics and Political… กสศ. ร่วมกับคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ให้ทุนเรียนฟรี ผู้ช่วยพยาบาล EZ WebmasterMarch 17, 2025 กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา(กสศ.)ร่วมกับคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ——————————————————- “รับสมัครนักศึกษาเพื่อรับทุน” หลักสูตรประกาศนียบัตรผู้ช่วยพยาบาล (PN) (สำหรับนักศึกษา PN รุ่นที่ 3) *** เรียนฟรี!! รับค่าใช้จ่ายเดือนละ 7,500 บาท จบแล้วไม่ต้องใช้ทุน **** จำนวน… ครู-อาจารย์ มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค EZ WebmasterMarch 21, 2025 ศาสตราจารย์ นายแพทย์ปิยะมิตร ศรีธรา อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า ปัจจุบันโลกกำลังเผชิญกับกระแสความเปลี่ยนแปลงใหญ่ๆ ใน 6 มิติ 1. สังคมสูงวัย (Aging Society) ในอีก 8 ปีข้างหน้า ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุระดับสุดยอด (Super… รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน EZ WebmasterMarch 21, 2025 รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน พร้อมจ่ายเงินอุดหนุนการศึกษาและพัฒนาอาชีพ ผ่านกสศ. ขณะที่ Microsoft หนุน ศูนย์ดิจิทัลชุมชน ยกระดับทักษะAI เพิ่มโอกาสมีงานทำ พร้อมจับมือ UNICEF สร้าง 1… Kahoot! เปิดตัว Kahoot! Energize ปฏิวัติการประชุมให้มีพลังและสร้างผลกระทบที่เหนือกว่า EZ WebmasterMarch 21, 2025 เปลี่ยนทุกการนำเสนอในที่ทำงานให้กลายเป็นการสื่อสารสองทาง สร้างประสบการณ์ที่น่าสนใจ เต็มไปด้วยความมีชีวิตชีวาและการมีส่วนร่วมที่แท้จริง กระตุ้นการมีส่วนร่วมจากผู้ฟังและขับเคลื่อน ผลลัพธ์ทางธุรกิจไปอีกขั้นด้วย Kahoot! Energize Kahoot! (คาฮู้ด) ผู้นำด้านการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมระดับโลกได้เปิดตัวเครื่องมือใหม่ Kahoot! Energize ที่จะเปลี่ยนทุกการประชุม การฝึกอบรม หรือกิจกรรมต่างๆ ให้กลายเป็นช่วงเวลาที่เต็มไปด้วยพลังและความสนุก พร้อมกระตุ้นการมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ สร้างผลกระทบที่มีความหมาย และขับเคลื่อนธุรกิจไปข้างหน้า การพัฒนา Kahoot! Energize ต่อยอดจากรูปแบบการเรียนรู้และการมีส่วนร่วม อันเป็นเอกลักษณ์ที่ได้รับความนิยมของ Kahoot! แต่เพิ่มความสามารถในการใช้งานในสภาพแวดล้อมการทำงานที่หลากหลาย… สมศ. เน้นย้ำการประเมินคุณภาพภายนอก ปี 67-71 ลดวันประเมิน On site ขยายสู่รูปแบบออนไลน์ สร้างมาตรฐานในการแข่งขันระดับอาเซียน EZ WebmasterMarch 20, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยในการประชุมรับฟังความคิดเห็น (ร่าง) กรอบแนวทางการประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษาที่จัดการเรียนรู้ในสังกัดกรมส่งเสริมการเรียนรู้ (สกร.) โดยเน้นย้ำเรื่อง “แนวคิดและทิศทางการประกันคุณภาพภายนอก” ว่า การประกันคุณภาพภายนอกไม่ใช่เป็น “การตรวจสอบ” แต่เป็นเครื่องมือที่ช่วยส่งเสริมการพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษาอย่างแท้จริง… กิจกรรม รวมพลังสีชมพูจุฬาฯ กลับบ้านสู่ร่มจามจุรี ในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” EZ WebmasterMarch 14, 2025 สมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (สนจ.) เชิญชวนชาวจุฬาฯ ทั้งนิสิตเก่าและนิสิตปัจจุบัน เดินทางกลับบ้านในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” ร่วมฉลองวาระสำคัญ ครบรอบ 108 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในบรรยากาศแห่งความรักความสามัคคี และความผูกพันของเหล่าน้องพี่สีชมพู ภายใต้ร่มเงาของจามจุรี นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย… สจล. ผนึกกำลังตำรวจภูธรภาค 2 และบริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จำกัด (สำนักงานใหญ่) พัฒนาโครงการ “AI Robot รับแจ้งความ” ประมวลผลถูกต้องและมีประสิทธิภาพ EZ WebmasterMarch 13, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี ร่วมด้วยพลตำรวจโท ยิ่งยศ เทพจำนงค์ (คนที่ 3 จากซ้าย) ผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 2… สจล. ร่วมกับกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน มุ่งยกระดับฝีมือแรงงาน สอดคล้องความต้องการในอนาคต EZ WebmasterMarch 10, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี และนายเดชา พฤกษ์พัฒนรักษ์ (คนที่ 3 จากซ้าย) อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ได้ลงในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการร่วมกัน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่นักศึกษาของสถาบันก่อนเข้าสู่ตลาดแรงงานในสาขาอาชีพต่าง… ปิดฉาก “HigherEd for PWD” ระยะที่ 1 เสริมสมรรถนะคนพิการสู่ตลาดแรงงานจริง EZ WebmasterMarch 10, 2025 เมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2568 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) ร่วมกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) และมหาวิทยาลัยเครือข่าย 5 แห่ง จัดแถลงข่าวสรุปผลและปิดโครงการการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาศักยภาพคนพิการเพื่อการประกอบอาชีพ ผ่านโมเดลการฝึกอบรม-ฝึกงานคนพิการ มจธ. HigherEd for PWD ระยะที่ 1 ซึ่งเป็นโครงการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อพัฒนาศักยภาพคนพิการสู่การประกอบอาชีพในตลาดแรงงานจริง ที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ซึ่งจัดขึ้น ณ ห้อง Auditorium ชั้น 3 อาคารการเรียนรู้พหุวิทยาการ (LX) มจธ. บางมด กรุงเทพฯ โดยได้รับเกียรติจาก นายวราวุธ… Search for: Search EZ Webmaster April 30, 2024 EZ Webmaster April 30, 2024 น้ำมันเชื้อเพลิงจากยีสต์! ผลงานวิจัยคณะวิทย์ฯ จุฬาฯ จ่อขยายการผลิตเพื่ออุตสาหกรรมอากาศยาน นักวิจัย จุฬาฯ ใช้หญ้าอาหารสัตว์ เลี้ยงจุลินทรีย์เพื่อนำไขมันที่ได้มาเปลี่ยนเป็นน้ำมันเชื้อเพลิงอากาศยาน ตั้งเป้าขยายการผลิตทดแทนน้ำมันจากปิโตรเลียม ลดผลกระทบทางสุขภาพของมนุษย์และสิ่งแวดล้อม ยีสต์เป็นจุลินทรีย์ที่เป็นส่วนประกอบสำคัญในอาหารและเครื่องดื่มหลายประเภท อาทิ ขนมปัง เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ แต่ในอนาคต ยีสต์จะเป็นกำลังสำคัญในการผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงทดแทนพลังงานที่มาจากฟอสซิล ปัจจุบัน นักวิจัยจากคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กำลังเร่งพัฒนาเทคโนโลยีขยายขนาดการผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงชีวภาพอากาศยานจากยีสต์ ซึ่งเป็นการต่อยอดผลสำเร็จจากการวิจัยพบยีสต์สายพันธุ์ที่มีศักยภาพสูงในการผลิตไขมันเพื่อนำมาผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงอากาศยาน โดยในกระบวนการผลิตน้ำมันจากยีสต์นั้น ยังได้ใช้ของเหลือทิ้งจากภาคการเกษตรมาเป็นอาหารเลี้ยงจุลินทรีย์ นับเป็นการลดปัญหาจากเผาและสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับของเหลือทิ้งภาคการเกษตรอีกทางหนึ่งด้วย ที่มางานวิจัยผลิตน้ำมันจากยีสต์ น้ำมันปิโตรเลียมเป็นแหล่งพลังงานเชื้อเพลิงสำคัญในโลกปัจจุบัน ทั้งในภาคอุตสาหกรรมต่าง ๆ และการคมนาคมขนส่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งอุตสาหกรรมอากาศยาน รายงานจากกรมธุรกิจพลังงาน กระทรวงพลังงาน (พ.ศ. 2562) ระบุว่าประเทศไทยมีปริมาณการนำเข้าเชื้อเพลิงในกลุ่มน้ำมันอากาศยานเพิ่มสูงขึ้นอย่างมาก โดยในปี พ.ศ. 2559 ประเทศไทยนำเข้าเชื้อเพลิงในกลุ่มน้ำมันอากาศยาน 84.9 ล้านลิตร แต่เพียง 4 ปีต่อมา ในปี พ.ศ. 2562 ปริมาณการนำเข้าเชื้อเพลิงในกลุ่มน้ำมันอากาศยานทะยานสูงขึ้นถึง 376.3 ล้านลิตรต่อปี ปริมาณการนำเข้าเชื้อเพลิงที่เพิ่มขึ้นอย่างก้าวกระโดดนี้สะท้อนความต้องการในอุตสาหกรรมที่กำลังเติบโต และความจำเป็นอย่างยิ่งยวดที่จะต้องค้นหานวัตกรรมเพื่อผลิตพลังงานทดแทน ที่เป็นมิตรต่อสุขภาพของมนุษย์และสิ่งแวดล้อมมากกกว่าน้ำมันปิโตรเลียม คณะนักวิจัยนำโดย ศาสตราจารย์ ดร.วรวุฒิ จุฬาลักษณานุกูล และผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชมภูนุช กลิ่นวงษ์ จากภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จึงได้ดำเนินโครงการวิจัย “การพัฒนาเทคโนโลยีการขยายขนาดการผลิตน้ำมันจากยีสต์เพื่อสังเคราะห์น้ำมันเชื้อเพลิงชีวภาพอากาศยาน” (Development of scaling-up technology for production of microbial lipid for bio jet fuel synthesis) “คณะผู้วิจัยประสบความสำเร็จในการคัดแยกยีสต์ชนิด Saccharomyces cerevisiae ที่มีศักยภาพในการสะสมไขมันสูง สายพันธุ์ CU-TPD4 และได้นำมาผลิตเป็นน้ำมันเชื้อเพลิงอากาศยาน ชีวภาพ เพื่อรองรับความต้องการด้านพลังงานที่เพิ่มสูงขึ้นในอนาคต หากเราสามารถพัฒนาศักยภาพของประเทศในด้านการผลิตเชื้อเพลิงอากาศยานชีวภาพ จะมีส่วนช่วยเศรษฐกิจของประเทศให้เจริญก้าวหน้าไปด้วย” ศ.ดร.วรวุฒิ กล่าวถึงความความสำเร็จและเป้าหมายของการวิจัย โครงการวิจัยนี้ได้รับการสนับสนุนจาก สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) โดยรับทุนในกลุ่มเรื่องแผนงานพลังงานทดแทน ภายใต้โครงการความร่วมมือระหว่างไทย-จีน กรอบวิจัยพลังงานทดแทน (Renewable Energy) แผนงานวิจัยการสังเคราะห์ไขมันและการผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงอากาศยานจากชีวมวล Microbial lipid synthesis and bio-refinery of jet fuel from biomass resource ซึ่งนอกจาก ศ.ดร.วรวุฒิ และผศ.ดร.ชมภูนุช แล้ว คณะผู้วิจัยยังประกอบด้วยนิสิตปริญญาเอกจากภาควิชาพฤกษศาสตร์ จำนวน 3 คน ได้แก่ ดร.ณัฏฐา จึงเจริญพานิชย์ ดร.วรรณพร วัฒน์สุนธร และนายธนาพงษ์ ตั้งวนาไพร ร่วมด้วย ดร. สุริษา สุวรรณรังษี จากศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ และกลุ่มนักวิจัยจีน ได้แก่ Prof. Zhongming Wang และ Prof. Wei Qi จาก Guangzhou Institute of Energy Conversion, Chinese Academy of Science (GIEC) ยีสต์ศักยภาพสูงผลิตน้ำมันเชื้อเพลิง ศ.ดร.วรวุฒิ เล่าว่านักวิจัยได้คัดแยกยีสต์จากตัวอย่างดินทั้งหมด 53 ตัวอย่าง จากตัวอย่างดินที่เก็บในเขตพื้นที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน และจังหวัดใกล้เคียง และได้ค้นพบยีสต์ที่มีศักยภาพในการสะสมไขมันสูง สายพันธุ์ CU-TPD4 ซึ่งจัดเป็นยีสต์ชนิด Saccharomyces cerevisiae (S. cerevisiae) ซึ่งในเวลานั้น ไม่เคยมีรายงานมาก่อนว่ายีสต์ชนิดนี้สามารถผลิตน้ำมันได้ในปริมาณสูงเทียบเท่ายีสต์ผลิตน้ำมันชนิดที่มีอยู่ “ยีสต์ S. cerevisiae จัดเป็นจุลินทรีย์ที่มีความปลอดภัยสูง มีประวัติการใช้มาอย่างยาวนานและได้รับการยอมรับว่ามีความปลอดภัย (Generally Recognized as Safe, GRAS) ซึ่งมีการใช้ในอุตสาหกรรมอาหารอย่างแพร่หลายในปัจจุบัน เช่น อุตสาหกรรมการผลิตเบียร์ และอุตสาหกรรมการผลิตขนมปัง แต่ยังไม่เคยมีรายงานการนำยีสต์สายพันธุ์ดังกล่าวมาใช้เพื่อการผลิตไขมันในระดับอุตสาหกรรม” ศ.ดร.วรวุฒิ อธิบายว่ายีสต์สายพันธุ์ที่พบนี้สามารถผลิตและสะสมไขมันในเซลล์ได้สูงถึงร้อยละ 20-25 ของน้ำหนักเซลล์แห้ง ซึ่งคุณสมบัติของไขมันดังกล่าวเป็นประโยชน์อย่างยิ่งสำหรับการพัฒนาไปเป็นพลังงานชีวภาพอย่างไบโอดีเซล “การใช้ยีสต์ผลิตน้ำมันเป็นวัตถุดิบตั้งต้นในการผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพมีข้อได้เปรียบมากกว่าการใช้พืชเป็นแหล่งของน้ำมันหลายประการ ได้แก่ วงจรชีวิตของยีสต์สั้น สามารถใช้อาหารในการเจริญเติบโตได้หลากหลาย ราคาถูก ใช้แรงงานน้อย สามารถเพาะเลี้ยงได้ทุกช่วงเวลา ไม่ขึ้นกับฤดูกาล ง่ายต่อการขยายขนาดการผลิต และไขมันที่ผลิตได้มีลักษณะเดียวกับที่ผลิตได้จากพืช ซึ่งเมื่อนำมาใช้ประโยชน์ มีความปลอดภัยกับมนุษย์และสิ่งแวดล้อม” นอกจากนี้ ศ.ดร.วรวุฒิ กล่าวเสริมข้อได้เปรียบสำคัญอีกประการของการผลิตน้ำมันจากยีสต์ว่า “เมื่อมีการพัฒนากระบวนการและนำยีสต์ดังกล่าวไปใช้ในระดับอุตสาหกรรม การเพาะเลี้ยงที่อุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียส จะสามารถช่วยลดค่าใช้จ่ายในกระบวนการหล่อเย็นเพื่อควบคุมอุณหภูมิถังหมักลงได้” งานวิจัยนี้ได้รับความสนใจจากนักวิจัยทั้งในไทยและต่างประเทศ เช่น Hamburg University of Technology (TUHH) ประเทศเยอรมนี และ Toulouse Biotechnology Institute (TBI) ประเทศฝรั่งเศส ที่เห็นโอกาสในการขยายการผลิตหัวเชื้อยีสต์ CU-TPD4 เพื่อใช้ในการผลิตน้ำมัน ควบคู่กับการผลิตขนมปัง แอลกอฮอล์ และผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ด้านอาหาร เลี้ยงยีสต์ด้วยวัสดุเหลือทิ้งการเกษตร นอกจากจะได้พลังงานที่สะอาดกว่าพลังงานฟอสซิลแล้ว กระบวนการเลี้ยงยีสต์เพื่อผลิตน้ำมันยังได้ใช้ประโยชน์จากของเหลือทิ้งทางการเกษตร อันเป็นส่วนหนึ่งของการขับเคลื่อนเศรษฐกิจหมุนเวียน และลดปัญหามลพิษทางอากาศที่มาจากการเผาเศษวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร “นอกจากหญ้าอาหารสัตว์แล้ว วัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรและชีวมวลประเภทลิกโนเซลลูโลสประเภทต่าง ๆ สามารถนำมาใช้เป็นแหล่งคาร์บอนเพื่อเป็นอาหารเลี้ยงเชื้อให้แก่ยีสต์สะสมไขมันได้ ยกตัวอย่างเช่น ฟางข้าว ซังข้าวโพด ชานอ้อย รวมทั้งเปลือกผักและผลไม้ต่าง ๆ ได้แก่ เปลือกกล้วย เปลือกทุเรียน เปลือกถั่ว โดยเฉพาะฟางข้าว ซึ่งเป็นวัสดุเหลือทิ้งปริมาณมากของประเทศไทย จึงนับเป็นการใช้ของเหลือทิ้งทางการเกษตรให้เกิดประโยชน์อีกทางหนึ่ง” นอกจากนี้ ยังมีรายงานการนำของเหลือทิ้ง เช่น เศษกระดาษสำนักงาน และน้ำทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรม ได้แก่ น้ำทิ้งจากโรงงานผลิตกระดาษ น้ำทิ้งจากโรงงานผลิตแป้งสาคู และน้ำทิ้งจากบ้านเรือน มาใช้เป็นแหล่งคาร์บอนเช่นเดียวกัน โดยมีจุดประสงค์หลักในการลดต้นทุนการผลิต เพื่อกำจัดของเสีย และเพิ่มมูลค่าของวัสดุเหลือทิ้งดังกล่าวให้เกิดประโยชน์มากยิ่งขึ้น ปรับปรุงสายพันธุ์ยีสต์ ขยายการผลิตน้ำมัน เพิ่มมูลค่าอุตสาหกรรมอาหารและยา การเจริญเติบโตของยีสต์และปริมาณน้ำมันที่ผลิตได้จากยีสต์ในสเกลการผลิตในห้องปฏิบัติการนั้น ยังไม่เพียงพอต่อความต้องการเชื้อเพลิงในตลาด จึงมีความจำเป็นที่จะต้องพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อขยายขนาดกำลังผลิต “เรื่องนี้สามารถทำได้ด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น การปรับปรุงสายพันธุ์ของยีสต์สะสมไขมัน เพื่อเพิ่มความสามารถในการผลิตและสะสมไขมันให้ได้มากขึ้น หรือปรับปรุงให้ยีสต์สามารถทนทานต่อสภาวะที่ไม่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตได้มากขึ้น เช่น สามารถทนต่ออุณหภูมิที่สูงขึ้นในกระบวนการผลิต เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการหล่อเย็น หรือสามารถทนต่อสารพิษที่เกิดขึ้นจากกระบวนการปรับสภาพวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรได้มากขึ้น เพื่อลดขั้นตอนและค่าใช้จ่ายในกระบวนการ Detoxification เป็นต้น” ศ.ดร.วรวุฒิ กล่าวว่าปัจจุบันการวิจัยมุ่งเน้นที่จะเพิ่มระดับการผลิตน้ำมันของยีสต์ S. cerevisiae ในระดับขยายขนาดที่สูงขึ้น โดยทำการดัดแปลงพันธุกรรม เพิ่มการแสดงออกของเอนไซม์ Acetyl-CoA carboxylase เป็นสายพันธุ์ TWP02 ทำให้ผลิตไขมันได้เพิ่มสูงขึ้น หลังจากนั้นจึงได้ศึกษากระบวนผลิตน้ำมันจากเซลล์ยีสต์ในระดับขยายขนาด โดยใช้บริการเครื่องมือวิจัยจากห้องปฏิบัติการวิศวกรรมชีวภาพและการหมักแม่นยำ (Bioengineering and precision fermentation laboratory) ของฝ่ายวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพและวัสดุ สถาบันนวัตกรรม บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) ซึ่งเป็นห้องปฏิบัติการชั้นนำของประเทศไทยทางด้านกระบวนการทางชีวภาพและกระบวนการหมัก มีความพร้อมของเครื่องมือวิจัยทางด้านเทคโนโลยีชีวภาพตั้งแต่กระบวนการต้นน้ำที่ใช้ในการคัดเลือกและปรับปรุงสายพันธุ์จุลินทรีย์ กระบวนหมักตั้งแต่ระดับห้องปฏิบัติการขนาดถังหมัก 2 ลิตร ไปจนถึงระดับหน่วยวิจัยต้นแบบขนาดถังหมัก 20,000 ลิตร รวมไปถึงกระบวนการปลายน้ำที่ใช้ในการแยกเซลล์จุลินทรีย์ การทำให้เซลล์ของเชื้อจุลินทรีย์แตกด้วยความดัน การเพิ่มความเข้มข้นและความบริสุทธิ์ของสารชีวภัณฑ์ ตลอดจนการขึ้นรูปสารชีวภัณฑ์ในรูปแบบแห้งด้วยความร้อนหรือความเย็น ซึ่งศักยภาพของห้องปฏิบัติการดังกล่าวมีส่วนช่วยทำให้โครงงานวิจัยนี้สามารถประเมินศักยภาพสำหรับการออกแบบกระบวนผลิตเป็นเชื้อเพลิงชีวภาพสำหรับอากาศยานที่เหมาะสมต่อไปได้ ท้ายที่สุด ศ.ดร.วรวุฒิ กล่าวว่านอกจากการผลิตไบโอดีเซลและเชื้อเพลิงอากาศยานแล้ว การปรับปรุงสายพันธุ์ของยีสต์สะสมไขมันให้สามารถผลิตกรดไขมัน เช่น กรดไขมันไม่อิ่มตัว ซึ่งเป็นไขมันชนิดที่มีความต้องการในตลาดและมีมูลค่าสูง ยังสามารถใช้เป็นสารตั้งต้นในการผลิตผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ด้านอาหาร เครื่องสำอาง และยา ที่สามารถตอบโจทย์ธุรกิจทางด้าน Life Science อย่างยั่งยืนได้อีกด้วย EZ Webmaster Related Posts มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน Kahoot! เปิดตัว Kahoot! Energize ปฏิวัติการประชุมให้มีพลังและสร้างผลกระทบที่เหนือกว่า สมศ. เน้นย้ำการประเมินคุณภาพภายนอก ปี 67-71 ลดวันประเมิน On site ขยายสู่รูปแบบออนไลน์ สร้างมาตรฐานในการแข่งขันระดับอาเซียน คณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ มธ. เปิดรับบุคคลเข้าศึกษาต่อหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการเรียนรู้ ปีการศึกษา 2568 Post navigation PREVIOUS Previous post: เปิดเรื่องราวบนเส้นทางแห่งความสำเร็จของหญิงไทย ผู้ได้รับทุน Women in STEM จากบริติช เคานซิล สู่แวดวงการทำงานในองค์กรระดับโลกNEXT Next post: เปิดรับสมัครแล้ว หลักสูตรปริญญาตรี การจัดการขนส่ง วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
สจล. ร่วมกับโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์อินเตอร์เนชั่นแนล พัฒนาหลักสูตรและการจัดการเนื้อหาสู่การเรียนในแพลตฟอร์มออนไลน์ EZ WebmasterMarch 21, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี อธิการบดี และรศ. นพ.ทวีสิน ตันประยูร ประธานปฏิบัติการด้านการแพทย์ โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์อินเตอร์เนชั่นแนล ร่วมกันลงนามในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ เพื่อการพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเนื้อหาการเรียนรู้ออนไลน์ ผ่าน KMITL Masterclass ซึ่งเป็นแพลตฟอร์มออนไลน์ของ… นักศึกษา มทร.ธัญบุรี โชว์ไอเดีย “กระเป๋าผ้าทอใยไผ่” ตอบโจทย์ความยั่งยืน ในนิทรรศการศิลปนิพนธ์ 2025 tui sakrapeeMarch 20, 2025 นักศึกษาชั้นปีที่ 4 จากภาควิชาศิลปะการออกแบบและเทคโนโลยี คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้ร่วมกันจัดนิทรรศการศิลปนิพนธ์เพื่อเผยแพร่ผลงานสู่สาธารณชน พร้อมฝึกประสบการณ์จริงในการจัดแสดงผลงานออกแบบ ภายในงานได้รวบรวมผลงานจาก 4 สาขาวิชา ได้แก่ ออกแบบนิเทศศิลป์ ออกแบบภายใน ออกแบบผลิตภัณฑ์ และนวัตกรรมการออกแบบผลิตภัณฑ์ร่วมสมัย จัดขึ้น ณ ศูนย์การค้ายูเนี่ยน มอลล์ โซน CoEvent Studio กรุงเทพฯ…
นักศึกษา มทร.ธัญบุรี โชว์ไอเดีย “กระเป๋าผ้าทอใยไผ่” ตอบโจทย์ความยั่งยืน ในนิทรรศการศิลปนิพนธ์ 2025 tui sakrapeeMarch 20, 2025 นักศึกษาชั้นปีที่ 4 จากภาควิชาศิลปะการออกแบบและเทคโนโลยี คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้ร่วมกันจัดนิทรรศการศิลปนิพนธ์เพื่อเผยแพร่ผลงานสู่สาธารณชน พร้อมฝึกประสบการณ์จริงในการจัดแสดงผลงานออกแบบ ภายในงานได้รวบรวมผลงานจาก 4 สาขาวิชา ได้แก่ ออกแบบนิเทศศิลป์ ออกแบบภายใน ออกแบบผลิตภัณฑ์ และนวัตกรรมการออกแบบผลิตภัณฑ์ร่วมสมัย จัดขึ้น ณ ศูนย์การค้ายูเนี่ยน มอลล์ โซน CoEvent Studio กรุงเทพฯ…
สกสค. ร่วมกับ CP All มอบ 100 ทุนเรียนฟรี 100% ระดับ ปวช. ปวส. และปริญญาตรี EZ WebmasterMarch 21, 2025 กสค. ร่วมกับ CP All มอบทุนเรียนฟรี !! 100% ล่าสุดขยายโอกาสเพิ่มอีก 9 สาขาใหม่ เพิ่มทางเลือกให้เยาวชนก้าวไกล ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ศึกษาที่วิทยาลัยปัญญาภิวัฒน์ และศูนย์การเรียนฯ ทั่วประเทศ 20 แห่ง ทุนการศึกษาระดับ… ให้ทุนเยาวชน ODOS Summer Camp ไปเรียนซัมเมอร์ต่างประเทศ 6 สัปดาห์ เริ่มสมัครได้ 24 มี.ค.นี้ EZ WebmasterMarch 21, 2025 ODOS Summer Camp ทุนการศึกษาระยะสั้น 6 สัปดาห์ เพื่อกระจายโอกาสให้เด็กไทยทุกคนได้มีโอกาสไปเรียนซัมเมอร์ต่างประเทศ เปิดหูเปิดตา ค้นหาตัวตน และสร้างแรงบันดาลใจในการเรียนรู้ โดยไม่จำเป็นต้องเป็นเด็กเก่ง เด็กเรียน หรือเด็กหน้าห้อง เปิดรับเยาวชนที่มีคุณสมบัติดังนี้ – สัญชาติไทย – อายุไม่เกิน… ธนาคารแห่งประเทศไทย เปิดรับสมัครทุนระดับปริญญาโทขึ้นไป เรียนต่อที่ประเทศอังกฤษ EZ WebmasterMarch 17, 2025 ประกาศเปิดรับสมัครทุนการศึกษา Dr. Puey Ungphakorn Centenary Scholarship ประจำปี 2568 ธนาคารแห่งประเทศไทย เปิดรับสมัครทุนการศึกษาระดับปริญญาโทขึ้นไป เพื่อศึกษาต่อที่ The London School of Economics and Political… กสศ. ร่วมกับคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ให้ทุนเรียนฟรี ผู้ช่วยพยาบาล EZ WebmasterMarch 17, 2025 กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา(กสศ.)ร่วมกับคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ——————————————————- “รับสมัครนักศึกษาเพื่อรับทุน” หลักสูตรประกาศนียบัตรผู้ช่วยพยาบาล (PN) (สำหรับนักศึกษา PN รุ่นที่ 3) *** เรียนฟรี!! รับค่าใช้จ่ายเดือนละ 7,500 บาท จบแล้วไม่ต้องใช้ทุน **** จำนวน… ครู-อาจารย์ มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค EZ WebmasterMarch 21, 2025 ศาสตราจารย์ นายแพทย์ปิยะมิตร ศรีธรา อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า ปัจจุบันโลกกำลังเผชิญกับกระแสความเปลี่ยนแปลงใหญ่ๆ ใน 6 มิติ 1. สังคมสูงวัย (Aging Society) ในอีก 8 ปีข้างหน้า ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุระดับสุดยอด (Super… รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน EZ WebmasterMarch 21, 2025 รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน พร้อมจ่ายเงินอุดหนุนการศึกษาและพัฒนาอาชีพ ผ่านกสศ. ขณะที่ Microsoft หนุน ศูนย์ดิจิทัลชุมชน ยกระดับทักษะAI เพิ่มโอกาสมีงานทำ พร้อมจับมือ UNICEF สร้าง 1… Kahoot! เปิดตัว Kahoot! Energize ปฏิวัติการประชุมให้มีพลังและสร้างผลกระทบที่เหนือกว่า EZ WebmasterMarch 21, 2025 เปลี่ยนทุกการนำเสนอในที่ทำงานให้กลายเป็นการสื่อสารสองทาง สร้างประสบการณ์ที่น่าสนใจ เต็มไปด้วยความมีชีวิตชีวาและการมีส่วนร่วมที่แท้จริง กระตุ้นการมีส่วนร่วมจากผู้ฟังและขับเคลื่อน ผลลัพธ์ทางธุรกิจไปอีกขั้นด้วย Kahoot! Energize Kahoot! (คาฮู้ด) ผู้นำด้านการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมระดับโลกได้เปิดตัวเครื่องมือใหม่ Kahoot! Energize ที่จะเปลี่ยนทุกการประชุม การฝึกอบรม หรือกิจกรรมต่างๆ ให้กลายเป็นช่วงเวลาที่เต็มไปด้วยพลังและความสนุก พร้อมกระตุ้นการมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ สร้างผลกระทบที่มีความหมาย และขับเคลื่อนธุรกิจไปข้างหน้า การพัฒนา Kahoot! Energize ต่อยอดจากรูปแบบการเรียนรู้และการมีส่วนร่วม อันเป็นเอกลักษณ์ที่ได้รับความนิยมของ Kahoot! แต่เพิ่มความสามารถในการใช้งานในสภาพแวดล้อมการทำงานที่หลากหลาย… สมศ. เน้นย้ำการประเมินคุณภาพภายนอก ปี 67-71 ลดวันประเมิน On site ขยายสู่รูปแบบออนไลน์ สร้างมาตรฐานในการแข่งขันระดับอาเซียน EZ WebmasterMarch 20, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยในการประชุมรับฟังความคิดเห็น (ร่าง) กรอบแนวทางการประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษาที่จัดการเรียนรู้ในสังกัดกรมส่งเสริมการเรียนรู้ (สกร.) โดยเน้นย้ำเรื่อง “แนวคิดและทิศทางการประกันคุณภาพภายนอก” ว่า การประกันคุณภาพภายนอกไม่ใช่เป็น “การตรวจสอบ” แต่เป็นเครื่องมือที่ช่วยส่งเสริมการพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษาอย่างแท้จริง… กิจกรรม รวมพลังสีชมพูจุฬาฯ กลับบ้านสู่ร่มจามจุรี ในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” EZ WebmasterMarch 14, 2025 สมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (สนจ.) เชิญชวนชาวจุฬาฯ ทั้งนิสิตเก่าและนิสิตปัจจุบัน เดินทางกลับบ้านในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” ร่วมฉลองวาระสำคัญ ครบรอบ 108 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในบรรยากาศแห่งความรักความสามัคคี และความผูกพันของเหล่าน้องพี่สีชมพู ภายใต้ร่มเงาของจามจุรี นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย… สจล. ผนึกกำลังตำรวจภูธรภาค 2 และบริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จำกัด (สำนักงานใหญ่) พัฒนาโครงการ “AI Robot รับแจ้งความ” ประมวลผลถูกต้องและมีประสิทธิภาพ EZ WebmasterMarch 13, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี ร่วมด้วยพลตำรวจโท ยิ่งยศ เทพจำนงค์ (คนที่ 3 จากซ้าย) ผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 2… สจล. ร่วมกับกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน มุ่งยกระดับฝีมือแรงงาน สอดคล้องความต้องการในอนาคต EZ WebmasterMarch 10, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี และนายเดชา พฤกษ์พัฒนรักษ์ (คนที่ 3 จากซ้าย) อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ได้ลงในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการร่วมกัน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่นักศึกษาของสถาบันก่อนเข้าสู่ตลาดแรงงานในสาขาอาชีพต่าง… ปิดฉาก “HigherEd for PWD” ระยะที่ 1 เสริมสมรรถนะคนพิการสู่ตลาดแรงงานจริง EZ WebmasterMarch 10, 2025 เมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2568 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) ร่วมกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) และมหาวิทยาลัยเครือข่าย 5 แห่ง จัดแถลงข่าวสรุปผลและปิดโครงการการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาศักยภาพคนพิการเพื่อการประกอบอาชีพ ผ่านโมเดลการฝึกอบรม-ฝึกงานคนพิการ มจธ. HigherEd for PWD ระยะที่ 1 ซึ่งเป็นโครงการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อพัฒนาศักยภาพคนพิการสู่การประกอบอาชีพในตลาดแรงงานจริง ที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ซึ่งจัดขึ้น ณ ห้อง Auditorium ชั้น 3 อาคารการเรียนรู้พหุวิทยาการ (LX) มจธ. บางมด กรุงเทพฯ โดยได้รับเกียรติจาก นายวราวุธ… Search for: Search EZ Webmaster April 30, 2024 EZ Webmaster April 30, 2024 น้ำมันเชื้อเพลิงจากยีสต์! ผลงานวิจัยคณะวิทย์ฯ จุฬาฯ จ่อขยายการผลิตเพื่ออุตสาหกรรมอากาศยาน นักวิจัย จุฬาฯ ใช้หญ้าอาหารสัตว์ เลี้ยงจุลินทรีย์เพื่อนำไขมันที่ได้มาเปลี่ยนเป็นน้ำมันเชื้อเพลิงอากาศยาน ตั้งเป้าขยายการผลิตทดแทนน้ำมันจากปิโตรเลียม ลดผลกระทบทางสุขภาพของมนุษย์และสิ่งแวดล้อม ยีสต์เป็นจุลินทรีย์ที่เป็นส่วนประกอบสำคัญในอาหารและเครื่องดื่มหลายประเภท อาทิ ขนมปัง เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ แต่ในอนาคต ยีสต์จะเป็นกำลังสำคัญในการผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงทดแทนพลังงานที่มาจากฟอสซิล ปัจจุบัน นักวิจัยจากคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กำลังเร่งพัฒนาเทคโนโลยีขยายขนาดการผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงชีวภาพอากาศยานจากยีสต์ ซึ่งเป็นการต่อยอดผลสำเร็จจากการวิจัยพบยีสต์สายพันธุ์ที่มีศักยภาพสูงในการผลิตไขมันเพื่อนำมาผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงอากาศยาน โดยในกระบวนการผลิตน้ำมันจากยีสต์นั้น ยังได้ใช้ของเหลือทิ้งจากภาคการเกษตรมาเป็นอาหารเลี้ยงจุลินทรีย์ นับเป็นการลดปัญหาจากเผาและสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับของเหลือทิ้งภาคการเกษตรอีกทางหนึ่งด้วย ที่มางานวิจัยผลิตน้ำมันจากยีสต์ น้ำมันปิโตรเลียมเป็นแหล่งพลังงานเชื้อเพลิงสำคัญในโลกปัจจุบัน ทั้งในภาคอุตสาหกรรมต่าง ๆ และการคมนาคมขนส่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งอุตสาหกรรมอากาศยาน รายงานจากกรมธุรกิจพลังงาน กระทรวงพลังงาน (พ.ศ. 2562) ระบุว่าประเทศไทยมีปริมาณการนำเข้าเชื้อเพลิงในกลุ่มน้ำมันอากาศยานเพิ่มสูงขึ้นอย่างมาก โดยในปี พ.ศ. 2559 ประเทศไทยนำเข้าเชื้อเพลิงในกลุ่มน้ำมันอากาศยาน 84.9 ล้านลิตร แต่เพียง 4 ปีต่อมา ในปี พ.ศ. 2562 ปริมาณการนำเข้าเชื้อเพลิงในกลุ่มน้ำมันอากาศยานทะยานสูงขึ้นถึง 376.3 ล้านลิตรต่อปี ปริมาณการนำเข้าเชื้อเพลิงที่เพิ่มขึ้นอย่างก้าวกระโดดนี้สะท้อนความต้องการในอุตสาหกรรมที่กำลังเติบโต และความจำเป็นอย่างยิ่งยวดที่จะต้องค้นหานวัตกรรมเพื่อผลิตพลังงานทดแทน ที่เป็นมิตรต่อสุขภาพของมนุษย์และสิ่งแวดล้อมมากกกว่าน้ำมันปิโตรเลียม คณะนักวิจัยนำโดย ศาสตราจารย์ ดร.วรวุฒิ จุฬาลักษณานุกูล และผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชมภูนุช กลิ่นวงษ์ จากภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จึงได้ดำเนินโครงการวิจัย “การพัฒนาเทคโนโลยีการขยายขนาดการผลิตน้ำมันจากยีสต์เพื่อสังเคราะห์น้ำมันเชื้อเพลิงชีวภาพอากาศยาน” (Development of scaling-up technology for production of microbial lipid for bio jet fuel synthesis) “คณะผู้วิจัยประสบความสำเร็จในการคัดแยกยีสต์ชนิด Saccharomyces cerevisiae ที่มีศักยภาพในการสะสมไขมันสูง สายพันธุ์ CU-TPD4 และได้นำมาผลิตเป็นน้ำมันเชื้อเพลิงอากาศยาน ชีวภาพ เพื่อรองรับความต้องการด้านพลังงานที่เพิ่มสูงขึ้นในอนาคต หากเราสามารถพัฒนาศักยภาพของประเทศในด้านการผลิตเชื้อเพลิงอากาศยานชีวภาพ จะมีส่วนช่วยเศรษฐกิจของประเทศให้เจริญก้าวหน้าไปด้วย” ศ.ดร.วรวุฒิ กล่าวถึงความความสำเร็จและเป้าหมายของการวิจัย โครงการวิจัยนี้ได้รับการสนับสนุนจาก สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) โดยรับทุนในกลุ่มเรื่องแผนงานพลังงานทดแทน ภายใต้โครงการความร่วมมือระหว่างไทย-จีน กรอบวิจัยพลังงานทดแทน (Renewable Energy) แผนงานวิจัยการสังเคราะห์ไขมันและการผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงอากาศยานจากชีวมวล Microbial lipid synthesis and bio-refinery of jet fuel from biomass resource ซึ่งนอกจาก ศ.ดร.วรวุฒิ และผศ.ดร.ชมภูนุช แล้ว คณะผู้วิจัยยังประกอบด้วยนิสิตปริญญาเอกจากภาควิชาพฤกษศาสตร์ จำนวน 3 คน ได้แก่ ดร.ณัฏฐา จึงเจริญพานิชย์ ดร.วรรณพร วัฒน์สุนธร และนายธนาพงษ์ ตั้งวนาไพร ร่วมด้วย ดร. สุริษา สุวรรณรังษี จากศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ และกลุ่มนักวิจัยจีน ได้แก่ Prof. Zhongming Wang และ Prof. Wei Qi จาก Guangzhou Institute of Energy Conversion, Chinese Academy of Science (GIEC) ยีสต์ศักยภาพสูงผลิตน้ำมันเชื้อเพลิง ศ.ดร.วรวุฒิ เล่าว่านักวิจัยได้คัดแยกยีสต์จากตัวอย่างดินทั้งหมด 53 ตัวอย่าง จากตัวอย่างดินที่เก็บในเขตพื้นที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน และจังหวัดใกล้เคียง และได้ค้นพบยีสต์ที่มีศักยภาพในการสะสมไขมันสูง สายพันธุ์ CU-TPD4 ซึ่งจัดเป็นยีสต์ชนิด Saccharomyces cerevisiae (S. cerevisiae) ซึ่งในเวลานั้น ไม่เคยมีรายงานมาก่อนว่ายีสต์ชนิดนี้สามารถผลิตน้ำมันได้ในปริมาณสูงเทียบเท่ายีสต์ผลิตน้ำมันชนิดที่มีอยู่ “ยีสต์ S. cerevisiae จัดเป็นจุลินทรีย์ที่มีความปลอดภัยสูง มีประวัติการใช้มาอย่างยาวนานและได้รับการยอมรับว่ามีความปลอดภัย (Generally Recognized as Safe, GRAS) ซึ่งมีการใช้ในอุตสาหกรรมอาหารอย่างแพร่หลายในปัจจุบัน เช่น อุตสาหกรรมการผลิตเบียร์ และอุตสาหกรรมการผลิตขนมปัง แต่ยังไม่เคยมีรายงานการนำยีสต์สายพันธุ์ดังกล่าวมาใช้เพื่อการผลิตไขมันในระดับอุตสาหกรรม” ศ.ดร.วรวุฒิ อธิบายว่ายีสต์สายพันธุ์ที่พบนี้สามารถผลิตและสะสมไขมันในเซลล์ได้สูงถึงร้อยละ 20-25 ของน้ำหนักเซลล์แห้ง ซึ่งคุณสมบัติของไขมันดังกล่าวเป็นประโยชน์อย่างยิ่งสำหรับการพัฒนาไปเป็นพลังงานชีวภาพอย่างไบโอดีเซล “การใช้ยีสต์ผลิตน้ำมันเป็นวัตถุดิบตั้งต้นในการผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพมีข้อได้เปรียบมากกว่าการใช้พืชเป็นแหล่งของน้ำมันหลายประการ ได้แก่ วงจรชีวิตของยีสต์สั้น สามารถใช้อาหารในการเจริญเติบโตได้หลากหลาย ราคาถูก ใช้แรงงานน้อย สามารถเพาะเลี้ยงได้ทุกช่วงเวลา ไม่ขึ้นกับฤดูกาล ง่ายต่อการขยายขนาดการผลิต และไขมันที่ผลิตได้มีลักษณะเดียวกับที่ผลิตได้จากพืช ซึ่งเมื่อนำมาใช้ประโยชน์ มีความปลอดภัยกับมนุษย์และสิ่งแวดล้อม” นอกจากนี้ ศ.ดร.วรวุฒิ กล่าวเสริมข้อได้เปรียบสำคัญอีกประการของการผลิตน้ำมันจากยีสต์ว่า “เมื่อมีการพัฒนากระบวนการและนำยีสต์ดังกล่าวไปใช้ในระดับอุตสาหกรรม การเพาะเลี้ยงที่อุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียส จะสามารถช่วยลดค่าใช้จ่ายในกระบวนการหล่อเย็นเพื่อควบคุมอุณหภูมิถังหมักลงได้” งานวิจัยนี้ได้รับความสนใจจากนักวิจัยทั้งในไทยและต่างประเทศ เช่น Hamburg University of Technology (TUHH) ประเทศเยอรมนี และ Toulouse Biotechnology Institute (TBI) ประเทศฝรั่งเศส ที่เห็นโอกาสในการขยายการผลิตหัวเชื้อยีสต์ CU-TPD4 เพื่อใช้ในการผลิตน้ำมัน ควบคู่กับการผลิตขนมปัง แอลกอฮอล์ และผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ด้านอาหาร เลี้ยงยีสต์ด้วยวัสดุเหลือทิ้งการเกษตร นอกจากจะได้พลังงานที่สะอาดกว่าพลังงานฟอสซิลแล้ว กระบวนการเลี้ยงยีสต์เพื่อผลิตน้ำมันยังได้ใช้ประโยชน์จากของเหลือทิ้งทางการเกษตร อันเป็นส่วนหนึ่งของการขับเคลื่อนเศรษฐกิจหมุนเวียน และลดปัญหามลพิษทางอากาศที่มาจากการเผาเศษวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร “นอกจากหญ้าอาหารสัตว์แล้ว วัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรและชีวมวลประเภทลิกโนเซลลูโลสประเภทต่าง ๆ สามารถนำมาใช้เป็นแหล่งคาร์บอนเพื่อเป็นอาหารเลี้ยงเชื้อให้แก่ยีสต์สะสมไขมันได้ ยกตัวอย่างเช่น ฟางข้าว ซังข้าวโพด ชานอ้อย รวมทั้งเปลือกผักและผลไม้ต่าง ๆ ได้แก่ เปลือกกล้วย เปลือกทุเรียน เปลือกถั่ว โดยเฉพาะฟางข้าว ซึ่งเป็นวัสดุเหลือทิ้งปริมาณมากของประเทศไทย จึงนับเป็นการใช้ของเหลือทิ้งทางการเกษตรให้เกิดประโยชน์อีกทางหนึ่ง” นอกจากนี้ ยังมีรายงานการนำของเหลือทิ้ง เช่น เศษกระดาษสำนักงาน และน้ำทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรม ได้แก่ น้ำทิ้งจากโรงงานผลิตกระดาษ น้ำทิ้งจากโรงงานผลิตแป้งสาคู และน้ำทิ้งจากบ้านเรือน มาใช้เป็นแหล่งคาร์บอนเช่นเดียวกัน โดยมีจุดประสงค์หลักในการลดต้นทุนการผลิต เพื่อกำจัดของเสีย และเพิ่มมูลค่าของวัสดุเหลือทิ้งดังกล่าวให้เกิดประโยชน์มากยิ่งขึ้น ปรับปรุงสายพันธุ์ยีสต์ ขยายการผลิตน้ำมัน เพิ่มมูลค่าอุตสาหกรรมอาหารและยา การเจริญเติบโตของยีสต์และปริมาณน้ำมันที่ผลิตได้จากยีสต์ในสเกลการผลิตในห้องปฏิบัติการนั้น ยังไม่เพียงพอต่อความต้องการเชื้อเพลิงในตลาด จึงมีความจำเป็นที่จะต้องพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อขยายขนาดกำลังผลิต “เรื่องนี้สามารถทำได้ด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น การปรับปรุงสายพันธุ์ของยีสต์สะสมไขมัน เพื่อเพิ่มความสามารถในการผลิตและสะสมไขมันให้ได้มากขึ้น หรือปรับปรุงให้ยีสต์สามารถทนทานต่อสภาวะที่ไม่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตได้มากขึ้น เช่น สามารถทนต่ออุณหภูมิที่สูงขึ้นในกระบวนการผลิต เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการหล่อเย็น หรือสามารถทนต่อสารพิษที่เกิดขึ้นจากกระบวนการปรับสภาพวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรได้มากขึ้น เพื่อลดขั้นตอนและค่าใช้จ่ายในกระบวนการ Detoxification เป็นต้น” ศ.ดร.วรวุฒิ กล่าวว่าปัจจุบันการวิจัยมุ่งเน้นที่จะเพิ่มระดับการผลิตน้ำมันของยีสต์ S. cerevisiae ในระดับขยายขนาดที่สูงขึ้น โดยทำการดัดแปลงพันธุกรรม เพิ่มการแสดงออกของเอนไซม์ Acetyl-CoA carboxylase เป็นสายพันธุ์ TWP02 ทำให้ผลิตไขมันได้เพิ่มสูงขึ้น หลังจากนั้นจึงได้ศึกษากระบวนผลิตน้ำมันจากเซลล์ยีสต์ในระดับขยายขนาด โดยใช้บริการเครื่องมือวิจัยจากห้องปฏิบัติการวิศวกรรมชีวภาพและการหมักแม่นยำ (Bioengineering and precision fermentation laboratory) ของฝ่ายวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพและวัสดุ สถาบันนวัตกรรม บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) ซึ่งเป็นห้องปฏิบัติการชั้นนำของประเทศไทยทางด้านกระบวนการทางชีวภาพและกระบวนการหมัก มีความพร้อมของเครื่องมือวิจัยทางด้านเทคโนโลยีชีวภาพตั้งแต่กระบวนการต้นน้ำที่ใช้ในการคัดเลือกและปรับปรุงสายพันธุ์จุลินทรีย์ กระบวนหมักตั้งแต่ระดับห้องปฏิบัติการขนาดถังหมัก 2 ลิตร ไปจนถึงระดับหน่วยวิจัยต้นแบบขนาดถังหมัก 20,000 ลิตร รวมไปถึงกระบวนการปลายน้ำที่ใช้ในการแยกเซลล์จุลินทรีย์ การทำให้เซลล์ของเชื้อจุลินทรีย์แตกด้วยความดัน การเพิ่มความเข้มข้นและความบริสุทธิ์ของสารชีวภัณฑ์ ตลอดจนการขึ้นรูปสารชีวภัณฑ์ในรูปแบบแห้งด้วยความร้อนหรือความเย็น ซึ่งศักยภาพของห้องปฏิบัติการดังกล่าวมีส่วนช่วยทำให้โครงงานวิจัยนี้สามารถประเมินศักยภาพสำหรับการออกแบบกระบวนผลิตเป็นเชื้อเพลิงชีวภาพสำหรับอากาศยานที่เหมาะสมต่อไปได้ ท้ายที่สุด ศ.ดร.วรวุฒิ กล่าวว่านอกจากการผลิตไบโอดีเซลและเชื้อเพลิงอากาศยานแล้ว การปรับปรุงสายพันธุ์ของยีสต์สะสมไขมันให้สามารถผลิตกรดไขมัน เช่น กรดไขมันไม่อิ่มตัว ซึ่งเป็นไขมันชนิดที่มีความต้องการในตลาดและมีมูลค่าสูง ยังสามารถใช้เป็นสารตั้งต้นในการผลิตผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ด้านอาหาร เครื่องสำอาง และยา ที่สามารถตอบโจทย์ธุรกิจทางด้าน Life Science อย่างยั่งยืนได้อีกด้วย EZ Webmaster Related Posts มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน Kahoot! เปิดตัว Kahoot! Energize ปฏิวัติการประชุมให้มีพลังและสร้างผลกระทบที่เหนือกว่า สมศ. เน้นย้ำการประเมินคุณภาพภายนอก ปี 67-71 ลดวันประเมิน On site ขยายสู่รูปแบบออนไลน์ สร้างมาตรฐานในการแข่งขันระดับอาเซียน คณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ มธ. เปิดรับบุคคลเข้าศึกษาต่อหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการเรียนรู้ ปีการศึกษา 2568 Post navigation PREVIOUS Previous post: เปิดเรื่องราวบนเส้นทางแห่งความสำเร็จของหญิงไทย ผู้ได้รับทุน Women in STEM จากบริติช เคานซิล สู่แวดวงการทำงานในองค์กรระดับโลกNEXT Next post: เปิดรับสมัครแล้ว หลักสูตรปริญญาตรี การจัดการขนส่ง วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ให้ทุนเยาวชน ODOS Summer Camp ไปเรียนซัมเมอร์ต่างประเทศ 6 สัปดาห์ เริ่มสมัครได้ 24 มี.ค.นี้ EZ WebmasterMarch 21, 2025 ODOS Summer Camp ทุนการศึกษาระยะสั้น 6 สัปดาห์ เพื่อกระจายโอกาสให้เด็กไทยทุกคนได้มีโอกาสไปเรียนซัมเมอร์ต่างประเทศ เปิดหูเปิดตา ค้นหาตัวตน และสร้างแรงบันดาลใจในการเรียนรู้ โดยไม่จำเป็นต้องเป็นเด็กเก่ง เด็กเรียน หรือเด็กหน้าห้อง เปิดรับเยาวชนที่มีคุณสมบัติดังนี้ – สัญชาติไทย – อายุไม่เกิน… ธนาคารแห่งประเทศไทย เปิดรับสมัครทุนระดับปริญญาโทขึ้นไป เรียนต่อที่ประเทศอังกฤษ EZ WebmasterMarch 17, 2025 ประกาศเปิดรับสมัครทุนการศึกษา Dr. Puey Ungphakorn Centenary Scholarship ประจำปี 2568 ธนาคารแห่งประเทศไทย เปิดรับสมัครทุนการศึกษาระดับปริญญาโทขึ้นไป เพื่อศึกษาต่อที่ The London School of Economics and Political… กสศ. ร่วมกับคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ให้ทุนเรียนฟรี ผู้ช่วยพยาบาล EZ WebmasterMarch 17, 2025 กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา(กสศ.)ร่วมกับคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ——————————————————- “รับสมัครนักศึกษาเพื่อรับทุน” หลักสูตรประกาศนียบัตรผู้ช่วยพยาบาล (PN) (สำหรับนักศึกษา PN รุ่นที่ 3) *** เรียนฟรี!! รับค่าใช้จ่ายเดือนละ 7,500 บาท จบแล้วไม่ต้องใช้ทุน **** จำนวน… ครู-อาจารย์ มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค EZ WebmasterMarch 21, 2025 ศาสตราจารย์ นายแพทย์ปิยะมิตร ศรีธรา อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า ปัจจุบันโลกกำลังเผชิญกับกระแสความเปลี่ยนแปลงใหญ่ๆ ใน 6 มิติ 1. สังคมสูงวัย (Aging Society) ในอีก 8 ปีข้างหน้า ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุระดับสุดยอด (Super… รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน EZ WebmasterMarch 21, 2025 รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน พร้อมจ่ายเงินอุดหนุนการศึกษาและพัฒนาอาชีพ ผ่านกสศ. ขณะที่ Microsoft หนุน ศูนย์ดิจิทัลชุมชน ยกระดับทักษะAI เพิ่มโอกาสมีงานทำ พร้อมจับมือ UNICEF สร้าง 1… Kahoot! เปิดตัว Kahoot! Energize ปฏิวัติการประชุมให้มีพลังและสร้างผลกระทบที่เหนือกว่า EZ WebmasterMarch 21, 2025 เปลี่ยนทุกการนำเสนอในที่ทำงานให้กลายเป็นการสื่อสารสองทาง สร้างประสบการณ์ที่น่าสนใจ เต็มไปด้วยความมีชีวิตชีวาและการมีส่วนร่วมที่แท้จริง กระตุ้นการมีส่วนร่วมจากผู้ฟังและขับเคลื่อน ผลลัพธ์ทางธุรกิจไปอีกขั้นด้วย Kahoot! Energize Kahoot! (คาฮู้ด) ผู้นำด้านการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมระดับโลกได้เปิดตัวเครื่องมือใหม่ Kahoot! Energize ที่จะเปลี่ยนทุกการประชุม การฝึกอบรม หรือกิจกรรมต่างๆ ให้กลายเป็นช่วงเวลาที่เต็มไปด้วยพลังและความสนุก พร้อมกระตุ้นการมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ สร้างผลกระทบที่มีความหมาย และขับเคลื่อนธุรกิจไปข้างหน้า การพัฒนา Kahoot! Energize ต่อยอดจากรูปแบบการเรียนรู้และการมีส่วนร่วม อันเป็นเอกลักษณ์ที่ได้รับความนิยมของ Kahoot! แต่เพิ่มความสามารถในการใช้งานในสภาพแวดล้อมการทำงานที่หลากหลาย… สมศ. เน้นย้ำการประเมินคุณภาพภายนอก ปี 67-71 ลดวันประเมิน On site ขยายสู่รูปแบบออนไลน์ สร้างมาตรฐานในการแข่งขันระดับอาเซียน EZ WebmasterMarch 20, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยในการประชุมรับฟังความคิดเห็น (ร่าง) กรอบแนวทางการประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษาที่จัดการเรียนรู้ในสังกัดกรมส่งเสริมการเรียนรู้ (สกร.) โดยเน้นย้ำเรื่อง “แนวคิดและทิศทางการประกันคุณภาพภายนอก” ว่า การประกันคุณภาพภายนอกไม่ใช่เป็น “การตรวจสอบ” แต่เป็นเครื่องมือที่ช่วยส่งเสริมการพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษาอย่างแท้จริง… กิจกรรม รวมพลังสีชมพูจุฬาฯ กลับบ้านสู่ร่มจามจุรี ในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” EZ WebmasterMarch 14, 2025 สมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (สนจ.) เชิญชวนชาวจุฬาฯ ทั้งนิสิตเก่าและนิสิตปัจจุบัน เดินทางกลับบ้านในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” ร่วมฉลองวาระสำคัญ ครบรอบ 108 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในบรรยากาศแห่งความรักความสามัคคี และความผูกพันของเหล่าน้องพี่สีชมพู ภายใต้ร่มเงาของจามจุรี นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย… สจล. ผนึกกำลังตำรวจภูธรภาค 2 และบริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จำกัด (สำนักงานใหญ่) พัฒนาโครงการ “AI Robot รับแจ้งความ” ประมวลผลถูกต้องและมีประสิทธิภาพ EZ WebmasterMarch 13, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี ร่วมด้วยพลตำรวจโท ยิ่งยศ เทพจำนงค์ (คนที่ 3 จากซ้าย) ผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 2… สจล. ร่วมกับกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน มุ่งยกระดับฝีมือแรงงาน สอดคล้องความต้องการในอนาคต EZ WebmasterMarch 10, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี และนายเดชา พฤกษ์พัฒนรักษ์ (คนที่ 3 จากซ้าย) อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ได้ลงในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการร่วมกัน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่นักศึกษาของสถาบันก่อนเข้าสู่ตลาดแรงงานในสาขาอาชีพต่าง… ปิดฉาก “HigherEd for PWD” ระยะที่ 1 เสริมสมรรถนะคนพิการสู่ตลาดแรงงานจริง EZ WebmasterMarch 10, 2025 เมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2568 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) ร่วมกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) และมหาวิทยาลัยเครือข่าย 5 แห่ง จัดแถลงข่าวสรุปผลและปิดโครงการการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาศักยภาพคนพิการเพื่อการประกอบอาชีพ ผ่านโมเดลการฝึกอบรม-ฝึกงานคนพิการ มจธ. HigherEd for PWD ระยะที่ 1 ซึ่งเป็นโครงการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อพัฒนาศักยภาพคนพิการสู่การประกอบอาชีพในตลาดแรงงานจริง ที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ซึ่งจัดขึ้น ณ ห้อง Auditorium ชั้น 3 อาคารการเรียนรู้พหุวิทยาการ (LX) มจธ. บางมด กรุงเทพฯ โดยได้รับเกียรติจาก นายวราวุธ… Search for: Search EZ Webmaster April 30, 2024 EZ Webmaster April 30, 2024 น้ำมันเชื้อเพลิงจากยีสต์! ผลงานวิจัยคณะวิทย์ฯ จุฬาฯ จ่อขยายการผลิตเพื่ออุตสาหกรรมอากาศยาน นักวิจัย จุฬาฯ ใช้หญ้าอาหารสัตว์ เลี้ยงจุลินทรีย์เพื่อนำไขมันที่ได้มาเปลี่ยนเป็นน้ำมันเชื้อเพลิงอากาศยาน ตั้งเป้าขยายการผลิตทดแทนน้ำมันจากปิโตรเลียม ลดผลกระทบทางสุขภาพของมนุษย์และสิ่งแวดล้อม ยีสต์เป็นจุลินทรีย์ที่เป็นส่วนประกอบสำคัญในอาหารและเครื่องดื่มหลายประเภท อาทิ ขนมปัง เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ แต่ในอนาคต ยีสต์จะเป็นกำลังสำคัญในการผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงทดแทนพลังงานที่มาจากฟอสซิล ปัจจุบัน นักวิจัยจากคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กำลังเร่งพัฒนาเทคโนโลยีขยายขนาดการผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงชีวภาพอากาศยานจากยีสต์ ซึ่งเป็นการต่อยอดผลสำเร็จจากการวิจัยพบยีสต์สายพันธุ์ที่มีศักยภาพสูงในการผลิตไขมันเพื่อนำมาผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงอากาศยาน โดยในกระบวนการผลิตน้ำมันจากยีสต์นั้น ยังได้ใช้ของเหลือทิ้งจากภาคการเกษตรมาเป็นอาหารเลี้ยงจุลินทรีย์ นับเป็นการลดปัญหาจากเผาและสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับของเหลือทิ้งภาคการเกษตรอีกทางหนึ่งด้วย ที่มางานวิจัยผลิตน้ำมันจากยีสต์ น้ำมันปิโตรเลียมเป็นแหล่งพลังงานเชื้อเพลิงสำคัญในโลกปัจจุบัน ทั้งในภาคอุตสาหกรรมต่าง ๆ และการคมนาคมขนส่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งอุตสาหกรรมอากาศยาน รายงานจากกรมธุรกิจพลังงาน กระทรวงพลังงาน (พ.ศ. 2562) ระบุว่าประเทศไทยมีปริมาณการนำเข้าเชื้อเพลิงในกลุ่มน้ำมันอากาศยานเพิ่มสูงขึ้นอย่างมาก โดยในปี พ.ศ. 2559 ประเทศไทยนำเข้าเชื้อเพลิงในกลุ่มน้ำมันอากาศยาน 84.9 ล้านลิตร แต่เพียง 4 ปีต่อมา ในปี พ.ศ. 2562 ปริมาณการนำเข้าเชื้อเพลิงในกลุ่มน้ำมันอากาศยานทะยานสูงขึ้นถึง 376.3 ล้านลิตรต่อปี ปริมาณการนำเข้าเชื้อเพลิงที่เพิ่มขึ้นอย่างก้าวกระโดดนี้สะท้อนความต้องการในอุตสาหกรรมที่กำลังเติบโต และความจำเป็นอย่างยิ่งยวดที่จะต้องค้นหานวัตกรรมเพื่อผลิตพลังงานทดแทน ที่เป็นมิตรต่อสุขภาพของมนุษย์และสิ่งแวดล้อมมากกกว่าน้ำมันปิโตรเลียม คณะนักวิจัยนำโดย ศาสตราจารย์ ดร.วรวุฒิ จุฬาลักษณานุกูล และผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชมภูนุช กลิ่นวงษ์ จากภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จึงได้ดำเนินโครงการวิจัย “การพัฒนาเทคโนโลยีการขยายขนาดการผลิตน้ำมันจากยีสต์เพื่อสังเคราะห์น้ำมันเชื้อเพลิงชีวภาพอากาศยาน” (Development of scaling-up technology for production of microbial lipid for bio jet fuel synthesis) “คณะผู้วิจัยประสบความสำเร็จในการคัดแยกยีสต์ชนิด Saccharomyces cerevisiae ที่มีศักยภาพในการสะสมไขมันสูง สายพันธุ์ CU-TPD4 และได้นำมาผลิตเป็นน้ำมันเชื้อเพลิงอากาศยาน ชีวภาพ เพื่อรองรับความต้องการด้านพลังงานที่เพิ่มสูงขึ้นในอนาคต หากเราสามารถพัฒนาศักยภาพของประเทศในด้านการผลิตเชื้อเพลิงอากาศยานชีวภาพ จะมีส่วนช่วยเศรษฐกิจของประเทศให้เจริญก้าวหน้าไปด้วย” ศ.ดร.วรวุฒิ กล่าวถึงความความสำเร็จและเป้าหมายของการวิจัย โครงการวิจัยนี้ได้รับการสนับสนุนจาก สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) โดยรับทุนในกลุ่มเรื่องแผนงานพลังงานทดแทน ภายใต้โครงการความร่วมมือระหว่างไทย-จีน กรอบวิจัยพลังงานทดแทน (Renewable Energy) แผนงานวิจัยการสังเคราะห์ไขมันและการผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงอากาศยานจากชีวมวล Microbial lipid synthesis and bio-refinery of jet fuel from biomass resource ซึ่งนอกจาก ศ.ดร.วรวุฒิ และผศ.ดร.ชมภูนุช แล้ว คณะผู้วิจัยยังประกอบด้วยนิสิตปริญญาเอกจากภาควิชาพฤกษศาสตร์ จำนวน 3 คน ได้แก่ ดร.ณัฏฐา จึงเจริญพานิชย์ ดร.วรรณพร วัฒน์สุนธร และนายธนาพงษ์ ตั้งวนาไพร ร่วมด้วย ดร. สุริษา สุวรรณรังษี จากศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ และกลุ่มนักวิจัยจีน ได้แก่ Prof. Zhongming Wang และ Prof. Wei Qi จาก Guangzhou Institute of Energy Conversion, Chinese Academy of Science (GIEC) ยีสต์ศักยภาพสูงผลิตน้ำมันเชื้อเพลิง ศ.ดร.วรวุฒิ เล่าว่านักวิจัยได้คัดแยกยีสต์จากตัวอย่างดินทั้งหมด 53 ตัวอย่าง จากตัวอย่างดินที่เก็บในเขตพื้นที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน และจังหวัดใกล้เคียง และได้ค้นพบยีสต์ที่มีศักยภาพในการสะสมไขมันสูง สายพันธุ์ CU-TPD4 ซึ่งจัดเป็นยีสต์ชนิด Saccharomyces cerevisiae (S. cerevisiae) ซึ่งในเวลานั้น ไม่เคยมีรายงานมาก่อนว่ายีสต์ชนิดนี้สามารถผลิตน้ำมันได้ในปริมาณสูงเทียบเท่ายีสต์ผลิตน้ำมันชนิดที่มีอยู่ “ยีสต์ S. cerevisiae จัดเป็นจุลินทรีย์ที่มีความปลอดภัยสูง มีประวัติการใช้มาอย่างยาวนานและได้รับการยอมรับว่ามีความปลอดภัย (Generally Recognized as Safe, GRAS) ซึ่งมีการใช้ในอุตสาหกรรมอาหารอย่างแพร่หลายในปัจจุบัน เช่น อุตสาหกรรมการผลิตเบียร์ และอุตสาหกรรมการผลิตขนมปัง แต่ยังไม่เคยมีรายงานการนำยีสต์สายพันธุ์ดังกล่าวมาใช้เพื่อการผลิตไขมันในระดับอุตสาหกรรม” ศ.ดร.วรวุฒิ อธิบายว่ายีสต์สายพันธุ์ที่พบนี้สามารถผลิตและสะสมไขมันในเซลล์ได้สูงถึงร้อยละ 20-25 ของน้ำหนักเซลล์แห้ง ซึ่งคุณสมบัติของไขมันดังกล่าวเป็นประโยชน์อย่างยิ่งสำหรับการพัฒนาไปเป็นพลังงานชีวภาพอย่างไบโอดีเซล “การใช้ยีสต์ผลิตน้ำมันเป็นวัตถุดิบตั้งต้นในการผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพมีข้อได้เปรียบมากกว่าการใช้พืชเป็นแหล่งของน้ำมันหลายประการ ได้แก่ วงจรชีวิตของยีสต์สั้น สามารถใช้อาหารในการเจริญเติบโตได้หลากหลาย ราคาถูก ใช้แรงงานน้อย สามารถเพาะเลี้ยงได้ทุกช่วงเวลา ไม่ขึ้นกับฤดูกาล ง่ายต่อการขยายขนาดการผลิต และไขมันที่ผลิตได้มีลักษณะเดียวกับที่ผลิตได้จากพืช ซึ่งเมื่อนำมาใช้ประโยชน์ มีความปลอดภัยกับมนุษย์และสิ่งแวดล้อม” นอกจากนี้ ศ.ดร.วรวุฒิ กล่าวเสริมข้อได้เปรียบสำคัญอีกประการของการผลิตน้ำมันจากยีสต์ว่า “เมื่อมีการพัฒนากระบวนการและนำยีสต์ดังกล่าวไปใช้ในระดับอุตสาหกรรม การเพาะเลี้ยงที่อุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียส จะสามารถช่วยลดค่าใช้จ่ายในกระบวนการหล่อเย็นเพื่อควบคุมอุณหภูมิถังหมักลงได้” งานวิจัยนี้ได้รับความสนใจจากนักวิจัยทั้งในไทยและต่างประเทศ เช่น Hamburg University of Technology (TUHH) ประเทศเยอรมนี และ Toulouse Biotechnology Institute (TBI) ประเทศฝรั่งเศส ที่เห็นโอกาสในการขยายการผลิตหัวเชื้อยีสต์ CU-TPD4 เพื่อใช้ในการผลิตน้ำมัน ควบคู่กับการผลิตขนมปัง แอลกอฮอล์ และผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ด้านอาหาร เลี้ยงยีสต์ด้วยวัสดุเหลือทิ้งการเกษตร นอกจากจะได้พลังงานที่สะอาดกว่าพลังงานฟอสซิลแล้ว กระบวนการเลี้ยงยีสต์เพื่อผลิตน้ำมันยังได้ใช้ประโยชน์จากของเหลือทิ้งทางการเกษตร อันเป็นส่วนหนึ่งของการขับเคลื่อนเศรษฐกิจหมุนเวียน และลดปัญหามลพิษทางอากาศที่มาจากการเผาเศษวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร “นอกจากหญ้าอาหารสัตว์แล้ว วัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรและชีวมวลประเภทลิกโนเซลลูโลสประเภทต่าง ๆ สามารถนำมาใช้เป็นแหล่งคาร์บอนเพื่อเป็นอาหารเลี้ยงเชื้อให้แก่ยีสต์สะสมไขมันได้ ยกตัวอย่างเช่น ฟางข้าว ซังข้าวโพด ชานอ้อย รวมทั้งเปลือกผักและผลไม้ต่าง ๆ ได้แก่ เปลือกกล้วย เปลือกทุเรียน เปลือกถั่ว โดยเฉพาะฟางข้าว ซึ่งเป็นวัสดุเหลือทิ้งปริมาณมากของประเทศไทย จึงนับเป็นการใช้ของเหลือทิ้งทางการเกษตรให้เกิดประโยชน์อีกทางหนึ่ง” นอกจากนี้ ยังมีรายงานการนำของเหลือทิ้ง เช่น เศษกระดาษสำนักงาน และน้ำทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรม ได้แก่ น้ำทิ้งจากโรงงานผลิตกระดาษ น้ำทิ้งจากโรงงานผลิตแป้งสาคู และน้ำทิ้งจากบ้านเรือน มาใช้เป็นแหล่งคาร์บอนเช่นเดียวกัน โดยมีจุดประสงค์หลักในการลดต้นทุนการผลิต เพื่อกำจัดของเสีย และเพิ่มมูลค่าของวัสดุเหลือทิ้งดังกล่าวให้เกิดประโยชน์มากยิ่งขึ้น ปรับปรุงสายพันธุ์ยีสต์ ขยายการผลิตน้ำมัน เพิ่มมูลค่าอุตสาหกรรมอาหารและยา การเจริญเติบโตของยีสต์และปริมาณน้ำมันที่ผลิตได้จากยีสต์ในสเกลการผลิตในห้องปฏิบัติการนั้น ยังไม่เพียงพอต่อความต้องการเชื้อเพลิงในตลาด จึงมีความจำเป็นที่จะต้องพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อขยายขนาดกำลังผลิต “เรื่องนี้สามารถทำได้ด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น การปรับปรุงสายพันธุ์ของยีสต์สะสมไขมัน เพื่อเพิ่มความสามารถในการผลิตและสะสมไขมันให้ได้มากขึ้น หรือปรับปรุงให้ยีสต์สามารถทนทานต่อสภาวะที่ไม่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตได้มากขึ้น เช่น สามารถทนต่ออุณหภูมิที่สูงขึ้นในกระบวนการผลิต เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการหล่อเย็น หรือสามารถทนต่อสารพิษที่เกิดขึ้นจากกระบวนการปรับสภาพวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรได้มากขึ้น เพื่อลดขั้นตอนและค่าใช้จ่ายในกระบวนการ Detoxification เป็นต้น” ศ.ดร.วรวุฒิ กล่าวว่าปัจจุบันการวิจัยมุ่งเน้นที่จะเพิ่มระดับการผลิตน้ำมันของยีสต์ S. cerevisiae ในระดับขยายขนาดที่สูงขึ้น โดยทำการดัดแปลงพันธุกรรม เพิ่มการแสดงออกของเอนไซม์ Acetyl-CoA carboxylase เป็นสายพันธุ์ TWP02 ทำให้ผลิตไขมันได้เพิ่มสูงขึ้น หลังจากนั้นจึงได้ศึกษากระบวนผลิตน้ำมันจากเซลล์ยีสต์ในระดับขยายขนาด โดยใช้บริการเครื่องมือวิจัยจากห้องปฏิบัติการวิศวกรรมชีวภาพและการหมักแม่นยำ (Bioengineering and precision fermentation laboratory) ของฝ่ายวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพและวัสดุ สถาบันนวัตกรรม บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) ซึ่งเป็นห้องปฏิบัติการชั้นนำของประเทศไทยทางด้านกระบวนการทางชีวภาพและกระบวนการหมัก มีความพร้อมของเครื่องมือวิจัยทางด้านเทคโนโลยีชีวภาพตั้งแต่กระบวนการต้นน้ำที่ใช้ในการคัดเลือกและปรับปรุงสายพันธุ์จุลินทรีย์ กระบวนหมักตั้งแต่ระดับห้องปฏิบัติการขนาดถังหมัก 2 ลิตร ไปจนถึงระดับหน่วยวิจัยต้นแบบขนาดถังหมัก 20,000 ลิตร รวมไปถึงกระบวนการปลายน้ำที่ใช้ในการแยกเซลล์จุลินทรีย์ การทำให้เซลล์ของเชื้อจุลินทรีย์แตกด้วยความดัน การเพิ่มความเข้มข้นและความบริสุทธิ์ของสารชีวภัณฑ์ ตลอดจนการขึ้นรูปสารชีวภัณฑ์ในรูปแบบแห้งด้วยความร้อนหรือความเย็น ซึ่งศักยภาพของห้องปฏิบัติการดังกล่าวมีส่วนช่วยทำให้โครงงานวิจัยนี้สามารถประเมินศักยภาพสำหรับการออกแบบกระบวนผลิตเป็นเชื้อเพลิงชีวภาพสำหรับอากาศยานที่เหมาะสมต่อไปได้ ท้ายที่สุด ศ.ดร.วรวุฒิ กล่าวว่านอกจากการผลิตไบโอดีเซลและเชื้อเพลิงอากาศยานแล้ว การปรับปรุงสายพันธุ์ของยีสต์สะสมไขมันให้สามารถผลิตกรดไขมัน เช่น กรดไขมันไม่อิ่มตัว ซึ่งเป็นไขมันชนิดที่มีความต้องการในตลาดและมีมูลค่าสูง ยังสามารถใช้เป็นสารตั้งต้นในการผลิตผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ด้านอาหาร เครื่องสำอาง และยา ที่สามารถตอบโจทย์ธุรกิจทางด้าน Life Science อย่างยั่งยืนได้อีกด้วย EZ Webmaster Related Posts มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน Kahoot! เปิดตัว Kahoot! Energize ปฏิวัติการประชุมให้มีพลังและสร้างผลกระทบที่เหนือกว่า สมศ. เน้นย้ำการประเมินคุณภาพภายนอก ปี 67-71 ลดวันประเมิน On site ขยายสู่รูปแบบออนไลน์ สร้างมาตรฐานในการแข่งขันระดับอาเซียน คณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ มธ. เปิดรับบุคคลเข้าศึกษาต่อหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการเรียนรู้ ปีการศึกษา 2568 Post navigation PREVIOUS Previous post: เปิดเรื่องราวบนเส้นทางแห่งความสำเร็จของหญิงไทย ผู้ได้รับทุน Women in STEM จากบริติช เคานซิล สู่แวดวงการทำงานในองค์กรระดับโลกNEXT Next post: เปิดรับสมัครแล้ว หลักสูตรปริญญาตรี การจัดการขนส่ง วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ธนาคารแห่งประเทศไทย เปิดรับสมัครทุนระดับปริญญาโทขึ้นไป เรียนต่อที่ประเทศอังกฤษ EZ WebmasterMarch 17, 2025 ประกาศเปิดรับสมัครทุนการศึกษา Dr. Puey Ungphakorn Centenary Scholarship ประจำปี 2568 ธนาคารแห่งประเทศไทย เปิดรับสมัครทุนการศึกษาระดับปริญญาโทขึ้นไป เพื่อศึกษาต่อที่ The London School of Economics and Political… กสศ. ร่วมกับคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ให้ทุนเรียนฟรี ผู้ช่วยพยาบาล EZ WebmasterMarch 17, 2025 กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา(กสศ.)ร่วมกับคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ——————————————————- “รับสมัครนักศึกษาเพื่อรับทุน” หลักสูตรประกาศนียบัตรผู้ช่วยพยาบาล (PN) (สำหรับนักศึกษา PN รุ่นที่ 3) *** เรียนฟรี!! รับค่าใช้จ่ายเดือนละ 7,500 บาท จบแล้วไม่ต้องใช้ทุน **** จำนวน…
กสศ. ร่วมกับคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ให้ทุนเรียนฟรี ผู้ช่วยพยาบาล EZ WebmasterMarch 17, 2025 กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา(กสศ.)ร่วมกับคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ——————————————————- “รับสมัครนักศึกษาเพื่อรับทุน” หลักสูตรประกาศนียบัตรผู้ช่วยพยาบาล (PN) (สำหรับนักศึกษา PN รุ่นที่ 3) *** เรียนฟรี!! รับค่าใช้จ่ายเดือนละ 7,500 บาท จบแล้วไม่ต้องใช้ทุน **** จำนวน…
มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค EZ WebmasterMarch 21, 2025 ศาสตราจารย์ นายแพทย์ปิยะมิตร ศรีธรา อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า ปัจจุบันโลกกำลังเผชิญกับกระแสความเปลี่ยนแปลงใหญ่ๆ ใน 6 มิติ 1. สังคมสูงวัย (Aging Society) ในอีก 8 ปีข้างหน้า ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุระดับสุดยอด (Super… รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน EZ WebmasterMarch 21, 2025 รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน พร้อมจ่ายเงินอุดหนุนการศึกษาและพัฒนาอาชีพ ผ่านกสศ. ขณะที่ Microsoft หนุน ศูนย์ดิจิทัลชุมชน ยกระดับทักษะAI เพิ่มโอกาสมีงานทำ พร้อมจับมือ UNICEF สร้าง 1… Kahoot! เปิดตัว Kahoot! Energize ปฏิวัติการประชุมให้มีพลังและสร้างผลกระทบที่เหนือกว่า EZ WebmasterMarch 21, 2025 เปลี่ยนทุกการนำเสนอในที่ทำงานให้กลายเป็นการสื่อสารสองทาง สร้างประสบการณ์ที่น่าสนใจ เต็มไปด้วยความมีชีวิตชีวาและการมีส่วนร่วมที่แท้จริง กระตุ้นการมีส่วนร่วมจากผู้ฟังและขับเคลื่อน ผลลัพธ์ทางธุรกิจไปอีกขั้นด้วย Kahoot! Energize Kahoot! (คาฮู้ด) ผู้นำด้านการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมระดับโลกได้เปิดตัวเครื่องมือใหม่ Kahoot! Energize ที่จะเปลี่ยนทุกการประชุม การฝึกอบรม หรือกิจกรรมต่างๆ ให้กลายเป็นช่วงเวลาที่เต็มไปด้วยพลังและความสนุก พร้อมกระตุ้นการมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ สร้างผลกระทบที่มีความหมาย และขับเคลื่อนธุรกิจไปข้างหน้า การพัฒนา Kahoot! Energize ต่อยอดจากรูปแบบการเรียนรู้และการมีส่วนร่วม อันเป็นเอกลักษณ์ที่ได้รับความนิยมของ Kahoot! แต่เพิ่มความสามารถในการใช้งานในสภาพแวดล้อมการทำงานที่หลากหลาย… สมศ. เน้นย้ำการประเมินคุณภาพภายนอก ปี 67-71 ลดวันประเมิน On site ขยายสู่รูปแบบออนไลน์ สร้างมาตรฐานในการแข่งขันระดับอาเซียน EZ WebmasterMarch 20, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยในการประชุมรับฟังความคิดเห็น (ร่าง) กรอบแนวทางการประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษาที่จัดการเรียนรู้ในสังกัดกรมส่งเสริมการเรียนรู้ (สกร.) โดยเน้นย้ำเรื่อง “แนวคิดและทิศทางการประกันคุณภาพภายนอก” ว่า การประกันคุณภาพภายนอกไม่ใช่เป็น “การตรวจสอบ” แต่เป็นเครื่องมือที่ช่วยส่งเสริมการพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษาอย่างแท้จริง… กิจกรรม รวมพลังสีชมพูจุฬาฯ กลับบ้านสู่ร่มจามจุรี ในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” EZ WebmasterMarch 14, 2025 สมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (สนจ.) เชิญชวนชาวจุฬาฯ ทั้งนิสิตเก่าและนิสิตปัจจุบัน เดินทางกลับบ้านในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” ร่วมฉลองวาระสำคัญ ครบรอบ 108 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในบรรยากาศแห่งความรักความสามัคคี และความผูกพันของเหล่าน้องพี่สีชมพู ภายใต้ร่มเงาของจามจุรี นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย… สจล. ผนึกกำลังตำรวจภูธรภาค 2 และบริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จำกัด (สำนักงานใหญ่) พัฒนาโครงการ “AI Robot รับแจ้งความ” ประมวลผลถูกต้องและมีประสิทธิภาพ EZ WebmasterMarch 13, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี ร่วมด้วยพลตำรวจโท ยิ่งยศ เทพจำนงค์ (คนที่ 3 จากซ้าย) ผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 2… สจล. ร่วมกับกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน มุ่งยกระดับฝีมือแรงงาน สอดคล้องความต้องการในอนาคต EZ WebmasterMarch 10, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี และนายเดชา พฤกษ์พัฒนรักษ์ (คนที่ 3 จากซ้าย) อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ได้ลงในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการร่วมกัน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่นักศึกษาของสถาบันก่อนเข้าสู่ตลาดแรงงานในสาขาอาชีพต่าง… ปิดฉาก “HigherEd for PWD” ระยะที่ 1 เสริมสมรรถนะคนพิการสู่ตลาดแรงงานจริง EZ WebmasterMarch 10, 2025 เมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2568 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) ร่วมกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) และมหาวิทยาลัยเครือข่าย 5 แห่ง จัดแถลงข่าวสรุปผลและปิดโครงการการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาศักยภาพคนพิการเพื่อการประกอบอาชีพ ผ่านโมเดลการฝึกอบรม-ฝึกงานคนพิการ มจธ. HigherEd for PWD ระยะที่ 1 ซึ่งเป็นโครงการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อพัฒนาศักยภาพคนพิการสู่การประกอบอาชีพในตลาดแรงงานจริง ที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ซึ่งจัดขึ้น ณ ห้อง Auditorium ชั้น 3 อาคารการเรียนรู้พหุวิทยาการ (LX) มจธ. บางมด กรุงเทพฯ โดยได้รับเกียรติจาก นายวราวุธ… Search for: Search EZ Webmaster April 30, 2024 EZ Webmaster April 30, 2024 น้ำมันเชื้อเพลิงจากยีสต์! ผลงานวิจัยคณะวิทย์ฯ จุฬาฯ จ่อขยายการผลิตเพื่ออุตสาหกรรมอากาศยาน นักวิจัย จุฬาฯ ใช้หญ้าอาหารสัตว์ เลี้ยงจุลินทรีย์เพื่อนำไขมันที่ได้มาเปลี่ยนเป็นน้ำมันเชื้อเพลิงอากาศยาน ตั้งเป้าขยายการผลิตทดแทนน้ำมันจากปิโตรเลียม ลดผลกระทบทางสุขภาพของมนุษย์และสิ่งแวดล้อม ยีสต์เป็นจุลินทรีย์ที่เป็นส่วนประกอบสำคัญในอาหารและเครื่องดื่มหลายประเภท อาทิ ขนมปัง เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ แต่ในอนาคต ยีสต์จะเป็นกำลังสำคัญในการผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงทดแทนพลังงานที่มาจากฟอสซิล ปัจจุบัน นักวิจัยจากคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กำลังเร่งพัฒนาเทคโนโลยีขยายขนาดการผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงชีวภาพอากาศยานจากยีสต์ ซึ่งเป็นการต่อยอดผลสำเร็จจากการวิจัยพบยีสต์สายพันธุ์ที่มีศักยภาพสูงในการผลิตไขมันเพื่อนำมาผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงอากาศยาน โดยในกระบวนการผลิตน้ำมันจากยีสต์นั้น ยังได้ใช้ของเหลือทิ้งจากภาคการเกษตรมาเป็นอาหารเลี้ยงจุลินทรีย์ นับเป็นการลดปัญหาจากเผาและสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับของเหลือทิ้งภาคการเกษตรอีกทางหนึ่งด้วย ที่มางานวิจัยผลิตน้ำมันจากยีสต์ น้ำมันปิโตรเลียมเป็นแหล่งพลังงานเชื้อเพลิงสำคัญในโลกปัจจุบัน ทั้งในภาคอุตสาหกรรมต่าง ๆ และการคมนาคมขนส่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งอุตสาหกรรมอากาศยาน รายงานจากกรมธุรกิจพลังงาน กระทรวงพลังงาน (พ.ศ. 2562) ระบุว่าประเทศไทยมีปริมาณการนำเข้าเชื้อเพลิงในกลุ่มน้ำมันอากาศยานเพิ่มสูงขึ้นอย่างมาก โดยในปี พ.ศ. 2559 ประเทศไทยนำเข้าเชื้อเพลิงในกลุ่มน้ำมันอากาศยาน 84.9 ล้านลิตร แต่เพียง 4 ปีต่อมา ในปี พ.ศ. 2562 ปริมาณการนำเข้าเชื้อเพลิงในกลุ่มน้ำมันอากาศยานทะยานสูงขึ้นถึง 376.3 ล้านลิตรต่อปี ปริมาณการนำเข้าเชื้อเพลิงที่เพิ่มขึ้นอย่างก้าวกระโดดนี้สะท้อนความต้องการในอุตสาหกรรมที่กำลังเติบโต และความจำเป็นอย่างยิ่งยวดที่จะต้องค้นหานวัตกรรมเพื่อผลิตพลังงานทดแทน ที่เป็นมิตรต่อสุขภาพของมนุษย์และสิ่งแวดล้อมมากกกว่าน้ำมันปิโตรเลียม คณะนักวิจัยนำโดย ศาสตราจารย์ ดร.วรวุฒิ จุฬาลักษณานุกูล และผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชมภูนุช กลิ่นวงษ์ จากภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จึงได้ดำเนินโครงการวิจัย “การพัฒนาเทคโนโลยีการขยายขนาดการผลิตน้ำมันจากยีสต์เพื่อสังเคราะห์น้ำมันเชื้อเพลิงชีวภาพอากาศยาน” (Development of scaling-up technology for production of microbial lipid for bio jet fuel synthesis) “คณะผู้วิจัยประสบความสำเร็จในการคัดแยกยีสต์ชนิด Saccharomyces cerevisiae ที่มีศักยภาพในการสะสมไขมันสูง สายพันธุ์ CU-TPD4 และได้นำมาผลิตเป็นน้ำมันเชื้อเพลิงอากาศยาน ชีวภาพ เพื่อรองรับความต้องการด้านพลังงานที่เพิ่มสูงขึ้นในอนาคต หากเราสามารถพัฒนาศักยภาพของประเทศในด้านการผลิตเชื้อเพลิงอากาศยานชีวภาพ จะมีส่วนช่วยเศรษฐกิจของประเทศให้เจริญก้าวหน้าไปด้วย” ศ.ดร.วรวุฒิ กล่าวถึงความความสำเร็จและเป้าหมายของการวิจัย โครงการวิจัยนี้ได้รับการสนับสนุนจาก สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) โดยรับทุนในกลุ่มเรื่องแผนงานพลังงานทดแทน ภายใต้โครงการความร่วมมือระหว่างไทย-จีน กรอบวิจัยพลังงานทดแทน (Renewable Energy) แผนงานวิจัยการสังเคราะห์ไขมันและการผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงอากาศยานจากชีวมวล Microbial lipid synthesis and bio-refinery of jet fuel from biomass resource ซึ่งนอกจาก ศ.ดร.วรวุฒิ และผศ.ดร.ชมภูนุช แล้ว คณะผู้วิจัยยังประกอบด้วยนิสิตปริญญาเอกจากภาควิชาพฤกษศาสตร์ จำนวน 3 คน ได้แก่ ดร.ณัฏฐา จึงเจริญพานิชย์ ดร.วรรณพร วัฒน์สุนธร และนายธนาพงษ์ ตั้งวนาไพร ร่วมด้วย ดร. สุริษา สุวรรณรังษี จากศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ และกลุ่มนักวิจัยจีน ได้แก่ Prof. Zhongming Wang และ Prof. Wei Qi จาก Guangzhou Institute of Energy Conversion, Chinese Academy of Science (GIEC) ยีสต์ศักยภาพสูงผลิตน้ำมันเชื้อเพลิง ศ.ดร.วรวุฒิ เล่าว่านักวิจัยได้คัดแยกยีสต์จากตัวอย่างดินทั้งหมด 53 ตัวอย่าง จากตัวอย่างดินที่เก็บในเขตพื้นที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน และจังหวัดใกล้เคียง และได้ค้นพบยีสต์ที่มีศักยภาพในการสะสมไขมันสูง สายพันธุ์ CU-TPD4 ซึ่งจัดเป็นยีสต์ชนิด Saccharomyces cerevisiae (S. cerevisiae) ซึ่งในเวลานั้น ไม่เคยมีรายงานมาก่อนว่ายีสต์ชนิดนี้สามารถผลิตน้ำมันได้ในปริมาณสูงเทียบเท่ายีสต์ผลิตน้ำมันชนิดที่มีอยู่ “ยีสต์ S. cerevisiae จัดเป็นจุลินทรีย์ที่มีความปลอดภัยสูง มีประวัติการใช้มาอย่างยาวนานและได้รับการยอมรับว่ามีความปลอดภัย (Generally Recognized as Safe, GRAS) ซึ่งมีการใช้ในอุตสาหกรรมอาหารอย่างแพร่หลายในปัจจุบัน เช่น อุตสาหกรรมการผลิตเบียร์ และอุตสาหกรรมการผลิตขนมปัง แต่ยังไม่เคยมีรายงานการนำยีสต์สายพันธุ์ดังกล่าวมาใช้เพื่อการผลิตไขมันในระดับอุตสาหกรรม” ศ.ดร.วรวุฒิ อธิบายว่ายีสต์สายพันธุ์ที่พบนี้สามารถผลิตและสะสมไขมันในเซลล์ได้สูงถึงร้อยละ 20-25 ของน้ำหนักเซลล์แห้ง ซึ่งคุณสมบัติของไขมันดังกล่าวเป็นประโยชน์อย่างยิ่งสำหรับการพัฒนาไปเป็นพลังงานชีวภาพอย่างไบโอดีเซล “การใช้ยีสต์ผลิตน้ำมันเป็นวัตถุดิบตั้งต้นในการผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพมีข้อได้เปรียบมากกว่าการใช้พืชเป็นแหล่งของน้ำมันหลายประการ ได้แก่ วงจรชีวิตของยีสต์สั้น สามารถใช้อาหารในการเจริญเติบโตได้หลากหลาย ราคาถูก ใช้แรงงานน้อย สามารถเพาะเลี้ยงได้ทุกช่วงเวลา ไม่ขึ้นกับฤดูกาล ง่ายต่อการขยายขนาดการผลิต และไขมันที่ผลิตได้มีลักษณะเดียวกับที่ผลิตได้จากพืช ซึ่งเมื่อนำมาใช้ประโยชน์ มีความปลอดภัยกับมนุษย์และสิ่งแวดล้อม” นอกจากนี้ ศ.ดร.วรวุฒิ กล่าวเสริมข้อได้เปรียบสำคัญอีกประการของการผลิตน้ำมันจากยีสต์ว่า “เมื่อมีการพัฒนากระบวนการและนำยีสต์ดังกล่าวไปใช้ในระดับอุตสาหกรรม การเพาะเลี้ยงที่อุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียส จะสามารถช่วยลดค่าใช้จ่ายในกระบวนการหล่อเย็นเพื่อควบคุมอุณหภูมิถังหมักลงได้” งานวิจัยนี้ได้รับความสนใจจากนักวิจัยทั้งในไทยและต่างประเทศ เช่น Hamburg University of Technology (TUHH) ประเทศเยอรมนี และ Toulouse Biotechnology Institute (TBI) ประเทศฝรั่งเศส ที่เห็นโอกาสในการขยายการผลิตหัวเชื้อยีสต์ CU-TPD4 เพื่อใช้ในการผลิตน้ำมัน ควบคู่กับการผลิตขนมปัง แอลกอฮอล์ และผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ด้านอาหาร เลี้ยงยีสต์ด้วยวัสดุเหลือทิ้งการเกษตร นอกจากจะได้พลังงานที่สะอาดกว่าพลังงานฟอสซิลแล้ว กระบวนการเลี้ยงยีสต์เพื่อผลิตน้ำมันยังได้ใช้ประโยชน์จากของเหลือทิ้งทางการเกษตร อันเป็นส่วนหนึ่งของการขับเคลื่อนเศรษฐกิจหมุนเวียน และลดปัญหามลพิษทางอากาศที่มาจากการเผาเศษวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร “นอกจากหญ้าอาหารสัตว์แล้ว วัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรและชีวมวลประเภทลิกโนเซลลูโลสประเภทต่าง ๆ สามารถนำมาใช้เป็นแหล่งคาร์บอนเพื่อเป็นอาหารเลี้ยงเชื้อให้แก่ยีสต์สะสมไขมันได้ ยกตัวอย่างเช่น ฟางข้าว ซังข้าวโพด ชานอ้อย รวมทั้งเปลือกผักและผลไม้ต่าง ๆ ได้แก่ เปลือกกล้วย เปลือกทุเรียน เปลือกถั่ว โดยเฉพาะฟางข้าว ซึ่งเป็นวัสดุเหลือทิ้งปริมาณมากของประเทศไทย จึงนับเป็นการใช้ของเหลือทิ้งทางการเกษตรให้เกิดประโยชน์อีกทางหนึ่ง” นอกจากนี้ ยังมีรายงานการนำของเหลือทิ้ง เช่น เศษกระดาษสำนักงาน และน้ำทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรม ได้แก่ น้ำทิ้งจากโรงงานผลิตกระดาษ น้ำทิ้งจากโรงงานผลิตแป้งสาคู และน้ำทิ้งจากบ้านเรือน มาใช้เป็นแหล่งคาร์บอนเช่นเดียวกัน โดยมีจุดประสงค์หลักในการลดต้นทุนการผลิต เพื่อกำจัดของเสีย และเพิ่มมูลค่าของวัสดุเหลือทิ้งดังกล่าวให้เกิดประโยชน์มากยิ่งขึ้น ปรับปรุงสายพันธุ์ยีสต์ ขยายการผลิตน้ำมัน เพิ่มมูลค่าอุตสาหกรรมอาหารและยา การเจริญเติบโตของยีสต์และปริมาณน้ำมันที่ผลิตได้จากยีสต์ในสเกลการผลิตในห้องปฏิบัติการนั้น ยังไม่เพียงพอต่อความต้องการเชื้อเพลิงในตลาด จึงมีความจำเป็นที่จะต้องพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อขยายขนาดกำลังผลิต “เรื่องนี้สามารถทำได้ด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น การปรับปรุงสายพันธุ์ของยีสต์สะสมไขมัน เพื่อเพิ่มความสามารถในการผลิตและสะสมไขมันให้ได้มากขึ้น หรือปรับปรุงให้ยีสต์สามารถทนทานต่อสภาวะที่ไม่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตได้มากขึ้น เช่น สามารถทนต่ออุณหภูมิที่สูงขึ้นในกระบวนการผลิต เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการหล่อเย็น หรือสามารถทนต่อสารพิษที่เกิดขึ้นจากกระบวนการปรับสภาพวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรได้มากขึ้น เพื่อลดขั้นตอนและค่าใช้จ่ายในกระบวนการ Detoxification เป็นต้น” ศ.ดร.วรวุฒิ กล่าวว่าปัจจุบันการวิจัยมุ่งเน้นที่จะเพิ่มระดับการผลิตน้ำมันของยีสต์ S. cerevisiae ในระดับขยายขนาดที่สูงขึ้น โดยทำการดัดแปลงพันธุกรรม เพิ่มการแสดงออกของเอนไซม์ Acetyl-CoA carboxylase เป็นสายพันธุ์ TWP02 ทำให้ผลิตไขมันได้เพิ่มสูงขึ้น หลังจากนั้นจึงได้ศึกษากระบวนผลิตน้ำมันจากเซลล์ยีสต์ในระดับขยายขนาด โดยใช้บริการเครื่องมือวิจัยจากห้องปฏิบัติการวิศวกรรมชีวภาพและการหมักแม่นยำ (Bioengineering and precision fermentation laboratory) ของฝ่ายวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพและวัสดุ สถาบันนวัตกรรม บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) ซึ่งเป็นห้องปฏิบัติการชั้นนำของประเทศไทยทางด้านกระบวนการทางชีวภาพและกระบวนการหมัก มีความพร้อมของเครื่องมือวิจัยทางด้านเทคโนโลยีชีวภาพตั้งแต่กระบวนการต้นน้ำที่ใช้ในการคัดเลือกและปรับปรุงสายพันธุ์จุลินทรีย์ กระบวนหมักตั้งแต่ระดับห้องปฏิบัติการขนาดถังหมัก 2 ลิตร ไปจนถึงระดับหน่วยวิจัยต้นแบบขนาดถังหมัก 20,000 ลิตร รวมไปถึงกระบวนการปลายน้ำที่ใช้ในการแยกเซลล์จุลินทรีย์ การทำให้เซลล์ของเชื้อจุลินทรีย์แตกด้วยความดัน การเพิ่มความเข้มข้นและความบริสุทธิ์ของสารชีวภัณฑ์ ตลอดจนการขึ้นรูปสารชีวภัณฑ์ในรูปแบบแห้งด้วยความร้อนหรือความเย็น ซึ่งศักยภาพของห้องปฏิบัติการดังกล่าวมีส่วนช่วยทำให้โครงงานวิจัยนี้สามารถประเมินศักยภาพสำหรับการออกแบบกระบวนผลิตเป็นเชื้อเพลิงชีวภาพสำหรับอากาศยานที่เหมาะสมต่อไปได้ ท้ายที่สุด ศ.ดร.วรวุฒิ กล่าวว่านอกจากการผลิตไบโอดีเซลและเชื้อเพลิงอากาศยานแล้ว การปรับปรุงสายพันธุ์ของยีสต์สะสมไขมันให้สามารถผลิตกรดไขมัน เช่น กรดไขมันไม่อิ่มตัว ซึ่งเป็นไขมันชนิดที่มีความต้องการในตลาดและมีมูลค่าสูง ยังสามารถใช้เป็นสารตั้งต้นในการผลิตผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ด้านอาหาร เครื่องสำอาง และยา ที่สามารถตอบโจทย์ธุรกิจทางด้าน Life Science อย่างยั่งยืนได้อีกด้วย EZ Webmaster Related Posts มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน Kahoot! เปิดตัว Kahoot! Energize ปฏิวัติการประชุมให้มีพลังและสร้างผลกระทบที่เหนือกว่า สมศ. เน้นย้ำการประเมินคุณภาพภายนอก ปี 67-71 ลดวันประเมิน On site ขยายสู่รูปแบบออนไลน์ สร้างมาตรฐานในการแข่งขันระดับอาเซียน คณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ มธ. เปิดรับบุคคลเข้าศึกษาต่อหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการเรียนรู้ ปีการศึกษา 2568 Post navigation PREVIOUS Previous post: เปิดเรื่องราวบนเส้นทางแห่งความสำเร็จของหญิงไทย ผู้ได้รับทุน Women in STEM จากบริติช เคานซิล สู่แวดวงการทำงานในองค์กรระดับโลกNEXT Next post: เปิดรับสมัครแล้ว หลักสูตรปริญญาตรี การจัดการขนส่ง วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน EZ WebmasterMarch 21, 2025 รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน พร้อมจ่ายเงินอุดหนุนการศึกษาและพัฒนาอาชีพ ผ่านกสศ. ขณะที่ Microsoft หนุน ศูนย์ดิจิทัลชุมชน ยกระดับทักษะAI เพิ่มโอกาสมีงานทำ พร้อมจับมือ UNICEF สร้าง 1… Kahoot! เปิดตัว Kahoot! Energize ปฏิวัติการประชุมให้มีพลังและสร้างผลกระทบที่เหนือกว่า EZ WebmasterMarch 21, 2025 เปลี่ยนทุกการนำเสนอในที่ทำงานให้กลายเป็นการสื่อสารสองทาง สร้างประสบการณ์ที่น่าสนใจ เต็มไปด้วยความมีชีวิตชีวาและการมีส่วนร่วมที่แท้จริง กระตุ้นการมีส่วนร่วมจากผู้ฟังและขับเคลื่อน ผลลัพธ์ทางธุรกิจไปอีกขั้นด้วย Kahoot! Energize Kahoot! (คาฮู้ด) ผู้นำด้านการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมระดับโลกได้เปิดตัวเครื่องมือใหม่ Kahoot! Energize ที่จะเปลี่ยนทุกการประชุม การฝึกอบรม หรือกิจกรรมต่างๆ ให้กลายเป็นช่วงเวลาที่เต็มไปด้วยพลังและความสนุก พร้อมกระตุ้นการมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ สร้างผลกระทบที่มีความหมาย และขับเคลื่อนธุรกิจไปข้างหน้า การพัฒนา Kahoot! Energize ต่อยอดจากรูปแบบการเรียนรู้และการมีส่วนร่วม อันเป็นเอกลักษณ์ที่ได้รับความนิยมของ Kahoot! แต่เพิ่มความสามารถในการใช้งานในสภาพแวดล้อมการทำงานที่หลากหลาย… สมศ. เน้นย้ำการประเมินคุณภาพภายนอก ปี 67-71 ลดวันประเมิน On site ขยายสู่รูปแบบออนไลน์ สร้างมาตรฐานในการแข่งขันระดับอาเซียน EZ WebmasterMarch 20, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยในการประชุมรับฟังความคิดเห็น (ร่าง) กรอบแนวทางการประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษาที่จัดการเรียนรู้ในสังกัดกรมส่งเสริมการเรียนรู้ (สกร.) โดยเน้นย้ำเรื่อง “แนวคิดและทิศทางการประกันคุณภาพภายนอก” ว่า การประกันคุณภาพภายนอกไม่ใช่เป็น “การตรวจสอบ” แต่เป็นเครื่องมือที่ช่วยส่งเสริมการพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษาอย่างแท้จริง… กิจกรรม รวมพลังสีชมพูจุฬาฯ กลับบ้านสู่ร่มจามจุรี ในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” EZ WebmasterMarch 14, 2025 สมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (สนจ.) เชิญชวนชาวจุฬาฯ ทั้งนิสิตเก่าและนิสิตปัจจุบัน เดินทางกลับบ้านในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” ร่วมฉลองวาระสำคัญ ครบรอบ 108 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในบรรยากาศแห่งความรักความสามัคคี และความผูกพันของเหล่าน้องพี่สีชมพู ภายใต้ร่มเงาของจามจุรี นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย… สจล. ผนึกกำลังตำรวจภูธรภาค 2 และบริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จำกัด (สำนักงานใหญ่) พัฒนาโครงการ “AI Robot รับแจ้งความ” ประมวลผลถูกต้องและมีประสิทธิภาพ EZ WebmasterMarch 13, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี ร่วมด้วยพลตำรวจโท ยิ่งยศ เทพจำนงค์ (คนที่ 3 จากซ้าย) ผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 2… สจล. ร่วมกับกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน มุ่งยกระดับฝีมือแรงงาน สอดคล้องความต้องการในอนาคต EZ WebmasterMarch 10, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี และนายเดชา พฤกษ์พัฒนรักษ์ (คนที่ 3 จากซ้าย) อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ได้ลงในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการร่วมกัน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่นักศึกษาของสถาบันก่อนเข้าสู่ตลาดแรงงานในสาขาอาชีพต่าง… ปิดฉาก “HigherEd for PWD” ระยะที่ 1 เสริมสมรรถนะคนพิการสู่ตลาดแรงงานจริง EZ WebmasterMarch 10, 2025 เมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2568 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) ร่วมกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) และมหาวิทยาลัยเครือข่าย 5 แห่ง จัดแถลงข่าวสรุปผลและปิดโครงการการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาศักยภาพคนพิการเพื่อการประกอบอาชีพ ผ่านโมเดลการฝึกอบรม-ฝึกงานคนพิการ มจธ. HigherEd for PWD ระยะที่ 1 ซึ่งเป็นโครงการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อพัฒนาศักยภาพคนพิการสู่การประกอบอาชีพในตลาดแรงงานจริง ที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ซึ่งจัดขึ้น ณ ห้อง Auditorium ชั้น 3 อาคารการเรียนรู้พหุวิทยาการ (LX) มจธ. บางมด กรุงเทพฯ โดยได้รับเกียรติจาก นายวราวุธ… Search for: Search EZ Webmaster April 30, 2024 EZ Webmaster April 30, 2024 น้ำมันเชื้อเพลิงจากยีสต์! ผลงานวิจัยคณะวิทย์ฯ จุฬาฯ จ่อขยายการผลิตเพื่ออุตสาหกรรมอากาศยาน นักวิจัย จุฬาฯ ใช้หญ้าอาหารสัตว์ เลี้ยงจุลินทรีย์เพื่อนำไขมันที่ได้มาเปลี่ยนเป็นน้ำมันเชื้อเพลิงอากาศยาน ตั้งเป้าขยายการผลิตทดแทนน้ำมันจากปิโตรเลียม ลดผลกระทบทางสุขภาพของมนุษย์และสิ่งแวดล้อม ยีสต์เป็นจุลินทรีย์ที่เป็นส่วนประกอบสำคัญในอาหารและเครื่องดื่มหลายประเภท อาทิ ขนมปัง เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ แต่ในอนาคต ยีสต์จะเป็นกำลังสำคัญในการผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงทดแทนพลังงานที่มาจากฟอสซิล ปัจจุบัน นักวิจัยจากคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กำลังเร่งพัฒนาเทคโนโลยีขยายขนาดการผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงชีวภาพอากาศยานจากยีสต์ ซึ่งเป็นการต่อยอดผลสำเร็จจากการวิจัยพบยีสต์สายพันธุ์ที่มีศักยภาพสูงในการผลิตไขมันเพื่อนำมาผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงอากาศยาน โดยในกระบวนการผลิตน้ำมันจากยีสต์นั้น ยังได้ใช้ของเหลือทิ้งจากภาคการเกษตรมาเป็นอาหารเลี้ยงจุลินทรีย์ นับเป็นการลดปัญหาจากเผาและสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับของเหลือทิ้งภาคการเกษตรอีกทางหนึ่งด้วย ที่มางานวิจัยผลิตน้ำมันจากยีสต์ น้ำมันปิโตรเลียมเป็นแหล่งพลังงานเชื้อเพลิงสำคัญในโลกปัจจุบัน ทั้งในภาคอุตสาหกรรมต่าง ๆ และการคมนาคมขนส่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งอุตสาหกรรมอากาศยาน รายงานจากกรมธุรกิจพลังงาน กระทรวงพลังงาน (พ.ศ. 2562) ระบุว่าประเทศไทยมีปริมาณการนำเข้าเชื้อเพลิงในกลุ่มน้ำมันอากาศยานเพิ่มสูงขึ้นอย่างมาก โดยในปี พ.ศ. 2559 ประเทศไทยนำเข้าเชื้อเพลิงในกลุ่มน้ำมันอากาศยาน 84.9 ล้านลิตร แต่เพียง 4 ปีต่อมา ในปี พ.ศ. 2562 ปริมาณการนำเข้าเชื้อเพลิงในกลุ่มน้ำมันอากาศยานทะยานสูงขึ้นถึง 376.3 ล้านลิตรต่อปี ปริมาณการนำเข้าเชื้อเพลิงที่เพิ่มขึ้นอย่างก้าวกระโดดนี้สะท้อนความต้องการในอุตสาหกรรมที่กำลังเติบโต และความจำเป็นอย่างยิ่งยวดที่จะต้องค้นหานวัตกรรมเพื่อผลิตพลังงานทดแทน ที่เป็นมิตรต่อสุขภาพของมนุษย์และสิ่งแวดล้อมมากกกว่าน้ำมันปิโตรเลียม คณะนักวิจัยนำโดย ศาสตราจารย์ ดร.วรวุฒิ จุฬาลักษณานุกูล และผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชมภูนุช กลิ่นวงษ์ จากภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จึงได้ดำเนินโครงการวิจัย “การพัฒนาเทคโนโลยีการขยายขนาดการผลิตน้ำมันจากยีสต์เพื่อสังเคราะห์น้ำมันเชื้อเพลิงชีวภาพอากาศยาน” (Development of scaling-up technology for production of microbial lipid for bio jet fuel synthesis) “คณะผู้วิจัยประสบความสำเร็จในการคัดแยกยีสต์ชนิด Saccharomyces cerevisiae ที่มีศักยภาพในการสะสมไขมันสูง สายพันธุ์ CU-TPD4 และได้นำมาผลิตเป็นน้ำมันเชื้อเพลิงอากาศยาน ชีวภาพ เพื่อรองรับความต้องการด้านพลังงานที่เพิ่มสูงขึ้นในอนาคต หากเราสามารถพัฒนาศักยภาพของประเทศในด้านการผลิตเชื้อเพลิงอากาศยานชีวภาพ จะมีส่วนช่วยเศรษฐกิจของประเทศให้เจริญก้าวหน้าไปด้วย” ศ.ดร.วรวุฒิ กล่าวถึงความความสำเร็จและเป้าหมายของการวิจัย โครงการวิจัยนี้ได้รับการสนับสนุนจาก สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) โดยรับทุนในกลุ่มเรื่องแผนงานพลังงานทดแทน ภายใต้โครงการความร่วมมือระหว่างไทย-จีน กรอบวิจัยพลังงานทดแทน (Renewable Energy) แผนงานวิจัยการสังเคราะห์ไขมันและการผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงอากาศยานจากชีวมวล Microbial lipid synthesis and bio-refinery of jet fuel from biomass resource ซึ่งนอกจาก ศ.ดร.วรวุฒิ และผศ.ดร.ชมภูนุช แล้ว คณะผู้วิจัยยังประกอบด้วยนิสิตปริญญาเอกจากภาควิชาพฤกษศาสตร์ จำนวน 3 คน ได้แก่ ดร.ณัฏฐา จึงเจริญพานิชย์ ดร.วรรณพร วัฒน์สุนธร และนายธนาพงษ์ ตั้งวนาไพร ร่วมด้วย ดร. สุริษา สุวรรณรังษี จากศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ และกลุ่มนักวิจัยจีน ได้แก่ Prof. Zhongming Wang และ Prof. Wei Qi จาก Guangzhou Institute of Energy Conversion, Chinese Academy of Science (GIEC) ยีสต์ศักยภาพสูงผลิตน้ำมันเชื้อเพลิง ศ.ดร.วรวุฒิ เล่าว่านักวิจัยได้คัดแยกยีสต์จากตัวอย่างดินทั้งหมด 53 ตัวอย่าง จากตัวอย่างดินที่เก็บในเขตพื้นที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน และจังหวัดใกล้เคียง และได้ค้นพบยีสต์ที่มีศักยภาพในการสะสมไขมันสูง สายพันธุ์ CU-TPD4 ซึ่งจัดเป็นยีสต์ชนิด Saccharomyces cerevisiae (S. cerevisiae) ซึ่งในเวลานั้น ไม่เคยมีรายงานมาก่อนว่ายีสต์ชนิดนี้สามารถผลิตน้ำมันได้ในปริมาณสูงเทียบเท่ายีสต์ผลิตน้ำมันชนิดที่มีอยู่ “ยีสต์ S. cerevisiae จัดเป็นจุลินทรีย์ที่มีความปลอดภัยสูง มีประวัติการใช้มาอย่างยาวนานและได้รับการยอมรับว่ามีความปลอดภัย (Generally Recognized as Safe, GRAS) ซึ่งมีการใช้ในอุตสาหกรรมอาหารอย่างแพร่หลายในปัจจุบัน เช่น อุตสาหกรรมการผลิตเบียร์ และอุตสาหกรรมการผลิตขนมปัง แต่ยังไม่เคยมีรายงานการนำยีสต์สายพันธุ์ดังกล่าวมาใช้เพื่อการผลิตไขมันในระดับอุตสาหกรรม” ศ.ดร.วรวุฒิ อธิบายว่ายีสต์สายพันธุ์ที่พบนี้สามารถผลิตและสะสมไขมันในเซลล์ได้สูงถึงร้อยละ 20-25 ของน้ำหนักเซลล์แห้ง ซึ่งคุณสมบัติของไขมันดังกล่าวเป็นประโยชน์อย่างยิ่งสำหรับการพัฒนาไปเป็นพลังงานชีวภาพอย่างไบโอดีเซล “การใช้ยีสต์ผลิตน้ำมันเป็นวัตถุดิบตั้งต้นในการผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพมีข้อได้เปรียบมากกว่าการใช้พืชเป็นแหล่งของน้ำมันหลายประการ ได้แก่ วงจรชีวิตของยีสต์สั้น สามารถใช้อาหารในการเจริญเติบโตได้หลากหลาย ราคาถูก ใช้แรงงานน้อย สามารถเพาะเลี้ยงได้ทุกช่วงเวลา ไม่ขึ้นกับฤดูกาล ง่ายต่อการขยายขนาดการผลิต และไขมันที่ผลิตได้มีลักษณะเดียวกับที่ผลิตได้จากพืช ซึ่งเมื่อนำมาใช้ประโยชน์ มีความปลอดภัยกับมนุษย์และสิ่งแวดล้อม” นอกจากนี้ ศ.ดร.วรวุฒิ กล่าวเสริมข้อได้เปรียบสำคัญอีกประการของการผลิตน้ำมันจากยีสต์ว่า “เมื่อมีการพัฒนากระบวนการและนำยีสต์ดังกล่าวไปใช้ในระดับอุตสาหกรรม การเพาะเลี้ยงที่อุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียส จะสามารถช่วยลดค่าใช้จ่ายในกระบวนการหล่อเย็นเพื่อควบคุมอุณหภูมิถังหมักลงได้” งานวิจัยนี้ได้รับความสนใจจากนักวิจัยทั้งในไทยและต่างประเทศ เช่น Hamburg University of Technology (TUHH) ประเทศเยอรมนี และ Toulouse Biotechnology Institute (TBI) ประเทศฝรั่งเศส ที่เห็นโอกาสในการขยายการผลิตหัวเชื้อยีสต์ CU-TPD4 เพื่อใช้ในการผลิตน้ำมัน ควบคู่กับการผลิตขนมปัง แอลกอฮอล์ และผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ด้านอาหาร เลี้ยงยีสต์ด้วยวัสดุเหลือทิ้งการเกษตร นอกจากจะได้พลังงานที่สะอาดกว่าพลังงานฟอสซิลแล้ว กระบวนการเลี้ยงยีสต์เพื่อผลิตน้ำมันยังได้ใช้ประโยชน์จากของเหลือทิ้งทางการเกษตร อันเป็นส่วนหนึ่งของการขับเคลื่อนเศรษฐกิจหมุนเวียน และลดปัญหามลพิษทางอากาศที่มาจากการเผาเศษวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร “นอกจากหญ้าอาหารสัตว์แล้ว วัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรและชีวมวลประเภทลิกโนเซลลูโลสประเภทต่าง ๆ สามารถนำมาใช้เป็นแหล่งคาร์บอนเพื่อเป็นอาหารเลี้ยงเชื้อให้แก่ยีสต์สะสมไขมันได้ ยกตัวอย่างเช่น ฟางข้าว ซังข้าวโพด ชานอ้อย รวมทั้งเปลือกผักและผลไม้ต่าง ๆ ได้แก่ เปลือกกล้วย เปลือกทุเรียน เปลือกถั่ว โดยเฉพาะฟางข้าว ซึ่งเป็นวัสดุเหลือทิ้งปริมาณมากของประเทศไทย จึงนับเป็นการใช้ของเหลือทิ้งทางการเกษตรให้เกิดประโยชน์อีกทางหนึ่ง” นอกจากนี้ ยังมีรายงานการนำของเหลือทิ้ง เช่น เศษกระดาษสำนักงาน และน้ำทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรม ได้แก่ น้ำทิ้งจากโรงงานผลิตกระดาษ น้ำทิ้งจากโรงงานผลิตแป้งสาคู และน้ำทิ้งจากบ้านเรือน มาใช้เป็นแหล่งคาร์บอนเช่นเดียวกัน โดยมีจุดประสงค์หลักในการลดต้นทุนการผลิต เพื่อกำจัดของเสีย และเพิ่มมูลค่าของวัสดุเหลือทิ้งดังกล่าวให้เกิดประโยชน์มากยิ่งขึ้น ปรับปรุงสายพันธุ์ยีสต์ ขยายการผลิตน้ำมัน เพิ่มมูลค่าอุตสาหกรรมอาหารและยา การเจริญเติบโตของยีสต์และปริมาณน้ำมันที่ผลิตได้จากยีสต์ในสเกลการผลิตในห้องปฏิบัติการนั้น ยังไม่เพียงพอต่อความต้องการเชื้อเพลิงในตลาด จึงมีความจำเป็นที่จะต้องพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อขยายขนาดกำลังผลิต “เรื่องนี้สามารถทำได้ด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น การปรับปรุงสายพันธุ์ของยีสต์สะสมไขมัน เพื่อเพิ่มความสามารถในการผลิตและสะสมไขมันให้ได้มากขึ้น หรือปรับปรุงให้ยีสต์สามารถทนทานต่อสภาวะที่ไม่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตได้มากขึ้น เช่น สามารถทนต่ออุณหภูมิที่สูงขึ้นในกระบวนการผลิต เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการหล่อเย็น หรือสามารถทนต่อสารพิษที่เกิดขึ้นจากกระบวนการปรับสภาพวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรได้มากขึ้น เพื่อลดขั้นตอนและค่าใช้จ่ายในกระบวนการ Detoxification เป็นต้น” ศ.ดร.วรวุฒิ กล่าวว่าปัจจุบันการวิจัยมุ่งเน้นที่จะเพิ่มระดับการผลิตน้ำมันของยีสต์ S. cerevisiae ในระดับขยายขนาดที่สูงขึ้น โดยทำการดัดแปลงพันธุกรรม เพิ่มการแสดงออกของเอนไซม์ Acetyl-CoA carboxylase เป็นสายพันธุ์ TWP02 ทำให้ผลิตไขมันได้เพิ่มสูงขึ้น หลังจากนั้นจึงได้ศึกษากระบวนผลิตน้ำมันจากเซลล์ยีสต์ในระดับขยายขนาด โดยใช้บริการเครื่องมือวิจัยจากห้องปฏิบัติการวิศวกรรมชีวภาพและการหมักแม่นยำ (Bioengineering and precision fermentation laboratory) ของฝ่ายวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพและวัสดุ สถาบันนวัตกรรม บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) ซึ่งเป็นห้องปฏิบัติการชั้นนำของประเทศไทยทางด้านกระบวนการทางชีวภาพและกระบวนการหมัก มีความพร้อมของเครื่องมือวิจัยทางด้านเทคโนโลยีชีวภาพตั้งแต่กระบวนการต้นน้ำที่ใช้ในการคัดเลือกและปรับปรุงสายพันธุ์จุลินทรีย์ กระบวนหมักตั้งแต่ระดับห้องปฏิบัติการขนาดถังหมัก 2 ลิตร ไปจนถึงระดับหน่วยวิจัยต้นแบบขนาดถังหมัก 20,000 ลิตร รวมไปถึงกระบวนการปลายน้ำที่ใช้ในการแยกเซลล์จุลินทรีย์ การทำให้เซลล์ของเชื้อจุลินทรีย์แตกด้วยความดัน การเพิ่มความเข้มข้นและความบริสุทธิ์ของสารชีวภัณฑ์ ตลอดจนการขึ้นรูปสารชีวภัณฑ์ในรูปแบบแห้งด้วยความร้อนหรือความเย็น ซึ่งศักยภาพของห้องปฏิบัติการดังกล่าวมีส่วนช่วยทำให้โครงงานวิจัยนี้สามารถประเมินศักยภาพสำหรับการออกแบบกระบวนผลิตเป็นเชื้อเพลิงชีวภาพสำหรับอากาศยานที่เหมาะสมต่อไปได้ ท้ายที่สุด ศ.ดร.วรวุฒิ กล่าวว่านอกจากการผลิตไบโอดีเซลและเชื้อเพลิงอากาศยานแล้ว การปรับปรุงสายพันธุ์ของยีสต์สะสมไขมันให้สามารถผลิตกรดไขมัน เช่น กรดไขมันไม่อิ่มตัว ซึ่งเป็นไขมันชนิดที่มีความต้องการในตลาดและมีมูลค่าสูง ยังสามารถใช้เป็นสารตั้งต้นในการผลิตผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ด้านอาหาร เครื่องสำอาง และยา ที่สามารถตอบโจทย์ธุรกิจทางด้าน Life Science อย่างยั่งยืนได้อีกด้วย EZ Webmaster Related Posts มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน Kahoot! เปิดตัว Kahoot! Energize ปฏิวัติการประชุมให้มีพลังและสร้างผลกระทบที่เหนือกว่า สมศ. เน้นย้ำการประเมินคุณภาพภายนอก ปี 67-71 ลดวันประเมิน On site ขยายสู่รูปแบบออนไลน์ สร้างมาตรฐานในการแข่งขันระดับอาเซียน คณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ มธ. เปิดรับบุคคลเข้าศึกษาต่อหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการเรียนรู้ ปีการศึกษา 2568 Post navigation PREVIOUS Previous post: เปิดเรื่องราวบนเส้นทางแห่งความสำเร็จของหญิงไทย ผู้ได้รับทุน Women in STEM จากบริติช เคานซิล สู่แวดวงการทำงานในองค์กรระดับโลกNEXT Next post: เปิดรับสมัครแล้ว หลักสูตรปริญญาตรี การจัดการขนส่ง วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
Kahoot! เปิดตัว Kahoot! Energize ปฏิวัติการประชุมให้มีพลังและสร้างผลกระทบที่เหนือกว่า EZ WebmasterMarch 21, 2025 เปลี่ยนทุกการนำเสนอในที่ทำงานให้กลายเป็นการสื่อสารสองทาง สร้างประสบการณ์ที่น่าสนใจ เต็มไปด้วยความมีชีวิตชีวาและการมีส่วนร่วมที่แท้จริง กระตุ้นการมีส่วนร่วมจากผู้ฟังและขับเคลื่อน ผลลัพธ์ทางธุรกิจไปอีกขั้นด้วย Kahoot! Energize Kahoot! (คาฮู้ด) ผู้นำด้านการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมระดับโลกได้เปิดตัวเครื่องมือใหม่ Kahoot! Energize ที่จะเปลี่ยนทุกการประชุม การฝึกอบรม หรือกิจกรรมต่างๆ ให้กลายเป็นช่วงเวลาที่เต็มไปด้วยพลังและความสนุก พร้อมกระตุ้นการมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ สร้างผลกระทบที่มีความหมาย และขับเคลื่อนธุรกิจไปข้างหน้า การพัฒนา Kahoot! Energize ต่อยอดจากรูปแบบการเรียนรู้และการมีส่วนร่วม อันเป็นเอกลักษณ์ที่ได้รับความนิยมของ Kahoot! แต่เพิ่มความสามารถในการใช้งานในสภาพแวดล้อมการทำงานที่หลากหลาย… สมศ. เน้นย้ำการประเมินคุณภาพภายนอก ปี 67-71 ลดวันประเมิน On site ขยายสู่รูปแบบออนไลน์ สร้างมาตรฐานในการแข่งขันระดับอาเซียน EZ WebmasterMarch 20, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยในการประชุมรับฟังความคิดเห็น (ร่าง) กรอบแนวทางการประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษาที่จัดการเรียนรู้ในสังกัดกรมส่งเสริมการเรียนรู้ (สกร.) โดยเน้นย้ำเรื่อง “แนวคิดและทิศทางการประกันคุณภาพภายนอก” ว่า การประกันคุณภาพภายนอกไม่ใช่เป็น “การตรวจสอบ” แต่เป็นเครื่องมือที่ช่วยส่งเสริมการพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษาอย่างแท้จริง…
สมศ. เน้นย้ำการประเมินคุณภาพภายนอก ปี 67-71 ลดวันประเมิน On site ขยายสู่รูปแบบออนไลน์ สร้างมาตรฐานในการแข่งขันระดับอาเซียน EZ WebmasterMarch 20, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยในการประชุมรับฟังความคิดเห็น (ร่าง) กรอบแนวทางการประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษาที่จัดการเรียนรู้ในสังกัดกรมส่งเสริมการเรียนรู้ (สกร.) โดยเน้นย้ำเรื่อง “แนวคิดและทิศทางการประกันคุณภาพภายนอก” ว่า การประกันคุณภาพภายนอกไม่ใช่เป็น “การตรวจสอบ” แต่เป็นเครื่องมือที่ช่วยส่งเสริมการพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษาอย่างแท้จริง…
รวมพลังสีชมพูจุฬาฯ กลับบ้านสู่ร่มจามจุรี ในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” EZ WebmasterMarch 14, 2025 สมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (สนจ.) เชิญชวนชาวจุฬาฯ ทั้งนิสิตเก่าและนิสิตปัจจุบัน เดินทางกลับบ้านในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” ร่วมฉลองวาระสำคัญ ครบรอบ 108 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในบรรยากาศแห่งความรักความสามัคคี และความผูกพันของเหล่าน้องพี่สีชมพู ภายใต้ร่มเงาของจามจุรี นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย… สจล. ผนึกกำลังตำรวจภูธรภาค 2 และบริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จำกัด (สำนักงานใหญ่) พัฒนาโครงการ “AI Robot รับแจ้งความ” ประมวลผลถูกต้องและมีประสิทธิภาพ EZ WebmasterMarch 13, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี ร่วมด้วยพลตำรวจโท ยิ่งยศ เทพจำนงค์ (คนที่ 3 จากซ้าย) ผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 2… สจล. ร่วมกับกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน มุ่งยกระดับฝีมือแรงงาน สอดคล้องความต้องการในอนาคต EZ WebmasterMarch 10, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี และนายเดชา พฤกษ์พัฒนรักษ์ (คนที่ 3 จากซ้าย) อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ได้ลงในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการร่วมกัน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่นักศึกษาของสถาบันก่อนเข้าสู่ตลาดแรงงานในสาขาอาชีพต่าง… ปิดฉาก “HigherEd for PWD” ระยะที่ 1 เสริมสมรรถนะคนพิการสู่ตลาดแรงงานจริง EZ WebmasterMarch 10, 2025 เมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2568 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) ร่วมกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) และมหาวิทยาลัยเครือข่าย 5 แห่ง จัดแถลงข่าวสรุปผลและปิดโครงการการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาศักยภาพคนพิการเพื่อการประกอบอาชีพ ผ่านโมเดลการฝึกอบรม-ฝึกงานคนพิการ มจธ. HigherEd for PWD ระยะที่ 1 ซึ่งเป็นโครงการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อพัฒนาศักยภาพคนพิการสู่การประกอบอาชีพในตลาดแรงงานจริง ที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ซึ่งจัดขึ้น ณ ห้อง Auditorium ชั้น 3 อาคารการเรียนรู้พหุวิทยาการ (LX) มจธ. บางมด กรุงเทพฯ โดยได้รับเกียรติจาก นายวราวุธ… Search for: Search EZ Webmaster April 30, 2024 EZ Webmaster April 30, 2024 น้ำมันเชื้อเพลิงจากยีสต์! ผลงานวิจัยคณะวิทย์ฯ จุฬาฯ จ่อขยายการผลิตเพื่ออุตสาหกรรมอากาศยาน นักวิจัย จุฬาฯ ใช้หญ้าอาหารสัตว์ เลี้ยงจุลินทรีย์เพื่อนำไขมันที่ได้มาเปลี่ยนเป็นน้ำมันเชื้อเพลิงอากาศยาน ตั้งเป้าขยายการผลิตทดแทนน้ำมันจากปิโตรเลียม ลดผลกระทบทางสุขภาพของมนุษย์และสิ่งแวดล้อม ยีสต์เป็นจุลินทรีย์ที่เป็นส่วนประกอบสำคัญในอาหารและเครื่องดื่มหลายประเภท อาทิ ขนมปัง เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ แต่ในอนาคต ยีสต์จะเป็นกำลังสำคัญในการผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงทดแทนพลังงานที่มาจากฟอสซิล ปัจจุบัน นักวิจัยจากคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กำลังเร่งพัฒนาเทคโนโลยีขยายขนาดการผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงชีวภาพอากาศยานจากยีสต์ ซึ่งเป็นการต่อยอดผลสำเร็จจากการวิจัยพบยีสต์สายพันธุ์ที่มีศักยภาพสูงในการผลิตไขมันเพื่อนำมาผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงอากาศยาน โดยในกระบวนการผลิตน้ำมันจากยีสต์นั้น ยังได้ใช้ของเหลือทิ้งจากภาคการเกษตรมาเป็นอาหารเลี้ยงจุลินทรีย์ นับเป็นการลดปัญหาจากเผาและสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับของเหลือทิ้งภาคการเกษตรอีกทางหนึ่งด้วย ที่มางานวิจัยผลิตน้ำมันจากยีสต์ น้ำมันปิโตรเลียมเป็นแหล่งพลังงานเชื้อเพลิงสำคัญในโลกปัจจุบัน ทั้งในภาคอุตสาหกรรมต่าง ๆ และการคมนาคมขนส่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งอุตสาหกรรมอากาศยาน รายงานจากกรมธุรกิจพลังงาน กระทรวงพลังงาน (พ.ศ. 2562) ระบุว่าประเทศไทยมีปริมาณการนำเข้าเชื้อเพลิงในกลุ่มน้ำมันอากาศยานเพิ่มสูงขึ้นอย่างมาก โดยในปี พ.ศ. 2559 ประเทศไทยนำเข้าเชื้อเพลิงในกลุ่มน้ำมันอากาศยาน 84.9 ล้านลิตร แต่เพียง 4 ปีต่อมา ในปี พ.ศ. 2562 ปริมาณการนำเข้าเชื้อเพลิงในกลุ่มน้ำมันอากาศยานทะยานสูงขึ้นถึง 376.3 ล้านลิตรต่อปี ปริมาณการนำเข้าเชื้อเพลิงที่เพิ่มขึ้นอย่างก้าวกระโดดนี้สะท้อนความต้องการในอุตสาหกรรมที่กำลังเติบโต และความจำเป็นอย่างยิ่งยวดที่จะต้องค้นหานวัตกรรมเพื่อผลิตพลังงานทดแทน ที่เป็นมิตรต่อสุขภาพของมนุษย์และสิ่งแวดล้อมมากกกว่าน้ำมันปิโตรเลียม คณะนักวิจัยนำโดย ศาสตราจารย์ ดร.วรวุฒิ จุฬาลักษณานุกูล และผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชมภูนุช กลิ่นวงษ์ จากภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จึงได้ดำเนินโครงการวิจัย “การพัฒนาเทคโนโลยีการขยายขนาดการผลิตน้ำมันจากยีสต์เพื่อสังเคราะห์น้ำมันเชื้อเพลิงชีวภาพอากาศยาน” (Development of scaling-up technology for production of microbial lipid for bio jet fuel synthesis) “คณะผู้วิจัยประสบความสำเร็จในการคัดแยกยีสต์ชนิด Saccharomyces cerevisiae ที่มีศักยภาพในการสะสมไขมันสูง สายพันธุ์ CU-TPD4 และได้นำมาผลิตเป็นน้ำมันเชื้อเพลิงอากาศยาน ชีวภาพ เพื่อรองรับความต้องการด้านพลังงานที่เพิ่มสูงขึ้นในอนาคต หากเราสามารถพัฒนาศักยภาพของประเทศในด้านการผลิตเชื้อเพลิงอากาศยานชีวภาพ จะมีส่วนช่วยเศรษฐกิจของประเทศให้เจริญก้าวหน้าไปด้วย” ศ.ดร.วรวุฒิ กล่าวถึงความความสำเร็จและเป้าหมายของการวิจัย โครงการวิจัยนี้ได้รับการสนับสนุนจาก สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) โดยรับทุนในกลุ่มเรื่องแผนงานพลังงานทดแทน ภายใต้โครงการความร่วมมือระหว่างไทย-จีน กรอบวิจัยพลังงานทดแทน (Renewable Energy) แผนงานวิจัยการสังเคราะห์ไขมันและการผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงอากาศยานจากชีวมวล Microbial lipid synthesis and bio-refinery of jet fuel from biomass resource ซึ่งนอกจาก ศ.ดร.วรวุฒิ และผศ.ดร.ชมภูนุช แล้ว คณะผู้วิจัยยังประกอบด้วยนิสิตปริญญาเอกจากภาควิชาพฤกษศาสตร์ จำนวน 3 คน ได้แก่ ดร.ณัฏฐา จึงเจริญพานิชย์ ดร.วรรณพร วัฒน์สุนธร และนายธนาพงษ์ ตั้งวนาไพร ร่วมด้วย ดร. สุริษา สุวรรณรังษี จากศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ และกลุ่มนักวิจัยจีน ได้แก่ Prof. Zhongming Wang และ Prof. Wei Qi จาก Guangzhou Institute of Energy Conversion, Chinese Academy of Science (GIEC) ยีสต์ศักยภาพสูงผลิตน้ำมันเชื้อเพลิง ศ.ดร.วรวุฒิ เล่าว่านักวิจัยได้คัดแยกยีสต์จากตัวอย่างดินทั้งหมด 53 ตัวอย่าง จากตัวอย่างดินที่เก็บในเขตพื้นที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน และจังหวัดใกล้เคียง และได้ค้นพบยีสต์ที่มีศักยภาพในการสะสมไขมันสูง สายพันธุ์ CU-TPD4 ซึ่งจัดเป็นยีสต์ชนิด Saccharomyces cerevisiae (S. cerevisiae) ซึ่งในเวลานั้น ไม่เคยมีรายงานมาก่อนว่ายีสต์ชนิดนี้สามารถผลิตน้ำมันได้ในปริมาณสูงเทียบเท่ายีสต์ผลิตน้ำมันชนิดที่มีอยู่ “ยีสต์ S. cerevisiae จัดเป็นจุลินทรีย์ที่มีความปลอดภัยสูง มีประวัติการใช้มาอย่างยาวนานและได้รับการยอมรับว่ามีความปลอดภัย (Generally Recognized as Safe, GRAS) ซึ่งมีการใช้ในอุตสาหกรรมอาหารอย่างแพร่หลายในปัจจุบัน เช่น อุตสาหกรรมการผลิตเบียร์ และอุตสาหกรรมการผลิตขนมปัง แต่ยังไม่เคยมีรายงานการนำยีสต์สายพันธุ์ดังกล่าวมาใช้เพื่อการผลิตไขมันในระดับอุตสาหกรรม” ศ.ดร.วรวุฒิ อธิบายว่ายีสต์สายพันธุ์ที่พบนี้สามารถผลิตและสะสมไขมันในเซลล์ได้สูงถึงร้อยละ 20-25 ของน้ำหนักเซลล์แห้ง ซึ่งคุณสมบัติของไขมันดังกล่าวเป็นประโยชน์อย่างยิ่งสำหรับการพัฒนาไปเป็นพลังงานชีวภาพอย่างไบโอดีเซล “การใช้ยีสต์ผลิตน้ำมันเป็นวัตถุดิบตั้งต้นในการผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพมีข้อได้เปรียบมากกว่าการใช้พืชเป็นแหล่งของน้ำมันหลายประการ ได้แก่ วงจรชีวิตของยีสต์สั้น สามารถใช้อาหารในการเจริญเติบโตได้หลากหลาย ราคาถูก ใช้แรงงานน้อย สามารถเพาะเลี้ยงได้ทุกช่วงเวลา ไม่ขึ้นกับฤดูกาล ง่ายต่อการขยายขนาดการผลิต และไขมันที่ผลิตได้มีลักษณะเดียวกับที่ผลิตได้จากพืช ซึ่งเมื่อนำมาใช้ประโยชน์ มีความปลอดภัยกับมนุษย์และสิ่งแวดล้อม” นอกจากนี้ ศ.ดร.วรวุฒิ กล่าวเสริมข้อได้เปรียบสำคัญอีกประการของการผลิตน้ำมันจากยีสต์ว่า “เมื่อมีการพัฒนากระบวนการและนำยีสต์ดังกล่าวไปใช้ในระดับอุตสาหกรรม การเพาะเลี้ยงที่อุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียส จะสามารถช่วยลดค่าใช้จ่ายในกระบวนการหล่อเย็นเพื่อควบคุมอุณหภูมิถังหมักลงได้” งานวิจัยนี้ได้รับความสนใจจากนักวิจัยทั้งในไทยและต่างประเทศ เช่น Hamburg University of Technology (TUHH) ประเทศเยอรมนี และ Toulouse Biotechnology Institute (TBI) ประเทศฝรั่งเศส ที่เห็นโอกาสในการขยายการผลิตหัวเชื้อยีสต์ CU-TPD4 เพื่อใช้ในการผลิตน้ำมัน ควบคู่กับการผลิตขนมปัง แอลกอฮอล์ และผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ด้านอาหาร เลี้ยงยีสต์ด้วยวัสดุเหลือทิ้งการเกษตร นอกจากจะได้พลังงานที่สะอาดกว่าพลังงานฟอสซิลแล้ว กระบวนการเลี้ยงยีสต์เพื่อผลิตน้ำมันยังได้ใช้ประโยชน์จากของเหลือทิ้งทางการเกษตร อันเป็นส่วนหนึ่งของการขับเคลื่อนเศรษฐกิจหมุนเวียน และลดปัญหามลพิษทางอากาศที่มาจากการเผาเศษวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร “นอกจากหญ้าอาหารสัตว์แล้ว วัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรและชีวมวลประเภทลิกโนเซลลูโลสประเภทต่าง ๆ สามารถนำมาใช้เป็นแหล่งคาร์บอนเพื่อเป็นอาหารเลี้ยงเชื้อให้แก่ยีสต์สะสมไขมันได้ ยกตัวอย่างเช่น ฟางข้าว ซังข้าวโพด ชานอ้อย รวมทั้งเปลือกผักและผลไม้ต่าง ๆ ได้แก่ เปลือกกล้วย เปลือกทุเรียน เปลือกถั่ว โดยเฉพาะฟางข้าว ซึ่งเป็นวัสดุเหลือทิ้งปริมาณมากของประเทศไทย จึงนับเป็นการใช้ของเหลือทิ้งทางการเกษตรให้เกิดประโยชน์อีกทางหนึ่ง” นอกจากนี้ ยังมีรายงานการนำของเหลือทิ้ง เช่น เศษกระดาษสำนักงาน และน้ำทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรม ได้แก่ น้ำทิ้งจากโรงงานผลิตกระดาษ น้ำทิ้งจากโรงงานผลิตแป้งสาคู และน้ำทิ้งจากบ้านเรือน มาใช้เป็นแหล่งคาร์บอนเช่นเดียวกัน โดยมีจุดประสงค์หลักในการลดต้นทุนการผลิต เพื่อกำจัดของเสีย และเพิ่มมูลค่าของวัสดุเหลือทิ้งดังกล่าวให้เกิดประโยชน์มากยิ่งขึ้น ปรับปรุงสายพันธุ์ยีสต์ ขยายการผลิตน้ำมัน เพิ่มมูลค่าอุตสาหกรรมอาหารและยา การเจริญเติบโตของยีสต์และปริมาณน้ำมันที่ผลิตได้จากยีสต์ในสเกลการผลิตในห้องปฏิบัติการนั้น ยังไม่เพียงพอต่อความต้องการเชื้อเพลิงในตลาด จึงมีความจำเป็นที่จะต้องพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อขยายขนาดกำลังผลิต “เรื่องนี้สามารถทำได้ด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น การปรับปรุงสายพันธุ์ของยีสต์สะสมไขมัน เพื่อเพิ่มความสามารถในการผลิตและสะสมไขมันให้ได้มากขึ้น หรือปรับปรุงให้ยีสต์สามารถทนทานต่อสภาวะที่ไม่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตได้มากขึ้น เช่น สามารถทนต่ออุณหภูมิที่สูงขึ้นในกระบวนการผลิต เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการหล่อเย็น หรือสามารถทนต่อสารพิษที่เกิดขึ้นจากกระบวนการปรับสภาพวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรได้มากขึ้น เพื่อลดขั้นตอนและค่าใช้จ่ายในกระบวนการ Detoxification เป็นต้น” ศ.ดร.วรวุฒิ กล่าวว่าปัจจุบันการวิจัยมุ่งเน้นที่จะเพิ่มระดับการผลิตน้ำมันของยีสต์ S. cerevisiae ในระดับขยายขนาดที่สูงขึ้น โดยทำการดัดแปลงพันธุกรรม เพิ่มการแสดงออกของเอนไซม์ Acetyl-CoA carboxylase เป็นสายพันธุ์ TWP02 ทำให้ผลิตไขมันได้เพิ่มสูงขึ้น หลังจากนั้นจึงได้ศึกษากระบวนผลิตน้ำมันจากเซลล์ยีสต์ในระดับขยายขนาด โดยใช้บริการเครื่องมือวิจัยจากห้องปฏิบัติการวิศวกรรมชีวภาพและการหมักแม่นยำ (Bioengineering and precision fermentation laboratory) ของฝ่ายวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพและวัสดุ สถาบันนวัตกรรม บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) ซึ่งเป็นห้องปฏิบัติการชั้นนำของประเทศไทยทางด้านกระบวนการทางชีวภาพและกระบวนการหมัก มีความพร้อมของเครื่องมือวิจัยทางด้านเทคโนโลยีชีวภาพตั้งแต่กระบวนการต้นน้ำที่ใช้ในการคัดเลือกและปรับปรุงสายพันธุ์จุลินทรีย์ กระบวนหมักตั้งแต่ระดับห้องปฏิบัติการขนาดถังหมัก 2 ลิตร ไปจนถึงระดับหน่วยวิจัยต้นแบบขนาดถังหมัก 20,000 ลิตร รวมไปถึงกระบวนการปลายน้ำที่ใช้ในการแยกเซลล์จุลินทรีย์ การทำให้เซลล์ของเชื้อจุลินทรีย์แตกด้วยความดัน การเพิ่มความเข้มข้นและความบริสุทธิ์ของสารชีวภัณฑ์ ตลอดจนการขึ้นรูปสารชีวภัณฑ์ในรูปแบบแห้งด้วยความร้อนหรือความเย็น ซึ่งศักยภาพของห้องปฏิบัติการดังกล่าวมีส่วนช่วยทำให้โครงงานวิจัยนี้สามารถประเมินศักยภาพสำหรับการออกแบบกระบวนผลิตเป็นเชื้อเพลิงชีวภาพสำหรับอากาศยานที่เหมาะสมต่อไปได้ ท้ายที่สุด ศ.ดร.วรวุฒิ กล่าวว่านอกจากการผลิตไบโอดีเซลและเชื้อเพลิงอากาศยานแล้ว การปรับปรุงสายพันธุ์ของยีสต์สะสมไขมันให้สามารถผลิตกรดไขมัน เช่น กรดไขมันไม่อิ่มตัว ซึ่งเป็นไขมันชนิดที่มีความต้องการในตลาดและมีมูลค่าสูง ยังสามารถใช้เป็นสารตั้งต้นในการผลิตผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ด้านอาหาร เครื่องสำอาง และยา ที่สามารถตอบโจทย์ธุรกิจทางด้าน Life Science อย่างยั่งยืนได้อีกด้วย EZ Webmaster Related Posts มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน Kahoot! เปิดตัว Kahoot! Energize ปฏิวัติการประชุมให้มีพลังและสร้างผลกระทบที่เหนือกว่า สมศ. เน้นย้ำการประเมินคุณภาพภายนอก ปี 67-71 ลดวันประเมิน On site ขยายสู่รูปแบบออนไลน์ สร้างมาตรฐานในการแข่งขันระดับอาเซียน คณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ มธ. เปิดรับบุคคลเข้าศึกษาต่อหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการเรียนรู้ ปีการศึกษา 2568 Post navigation PREVIOUS Previous post: เปิดเรื่องราวบนเส้นทางแห่งความสำเร็จของหญิงไทย ผู้ได้รับทุน Women in STEM จากบริติช เคานซิล สู่แวดวงการทำงานในองค์กรระดับโลกNEXT Next post: เปิดรับสมัครแล้ว หลักสูตรปริญญาตรี การจัดการขนส่ง วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
สจล. ผนึกกำลังตำรวจภูธรภาค 2 และบริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จำกัด (สำนักงานใหญ่) พัฒนาโครงการ “AI Robot รับแจ้งความ” ประมวลผลถูกต้องและมีประสิทธิภาพ EZ WebmasterMarch 13, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี ร่วมด้วยพลตำรวจโท ยิ่งยศ เทพจำนงค์ (คนที่ 3 จากซ้าย) ผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 2… สจล. ร่วมกับกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน มุ่งยกระดับฝีมือแรงงาน สอดคล้องความต้องการในอนาคต EZ WebmasterMarch 10, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี และนายเดชา พฤกษ์พัฒนรักษ์ (คนที่ 3 จากซ้าย) อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ได้ลงในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการร่วมกัน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่นักศึกษาของสถาบันก่อนเข้าสู่ตลาดแรงงานในสาขาอาชีพต่าง… ปิดฉาก “HigherEd for PWD” ระยะที่ 1 เสริมสมรรถนะคนพิการสู่ตลาดแรงงานจริง EZ WebmasterMarch 10, 2025 เมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2568 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) ร่วมกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) และมหาวิทยาลัยเครือข่าย 5 แห่ง จัดแถลงข่าวสรุปผลและปิดโครงการการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาศักยภาพคนพิการเพื่อการประกอบอาชีพ ผ่านโมเดลการฝึกอบรม-ฝึกงานคนพิการ มจธ. HigherEd for PWD ระยะที่ 1 ซึ่งเป็นโครงการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อพัฒนาศักยภาพคนพิการสู่การประกอบอาชีพในตลาดแรงงานจริง ที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ซึ่งจัดขึ้น ณ ห้อง Auditorium ชั้น 3 อาคารการเรียนรู้พหุวิทยาการ (LX) มจธ. บางมด กรุงเทพฯ โดยได้รับเกียรติจาก นายวราวุธ… Search for: Search
สจล. ร่วมกับกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน มุ่งยกระดับฝีมือแรงงาน สอดคล้องความต้องการในอนาคต EZ WebmasterMarch 10, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี และนายเดชา พฤกษ์พัฒนรักษ์ (คนที่ 3 จากซ้าย) อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ได้ลงในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการร่วมกัน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่นักศึกษาของสถาบันก่อนเข้าสู่ตลาดแรงงานในสาขาอาชีพต่าง… ปิดฉาก “HigherEd for PWD” ระยะที่ 1 เสริมสมรรถนะคนพิการสู่ตลาดแรงงานจริง EZ WebmasterMarch 10, 2025 เมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2568 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) ร่วมกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) และมหาวิทยาลัยเครือข่าย 5 แห่ง จัดแถลงข่าวสรุปผลและปิดโครงการการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาศักยภาพคนพิการเพื่อการประกอบอาชีพ ผ่านโมเดลการฝึกอบรม-ฝึกงานคนพิการ มจธ. HigherEd for PWD ระยะที่ 1 ซึ่งเป็นโครงการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อพัฒนาศักยภาพคนพิการสู่การประกอบอาชีพในตลาดแรงงานจริง ที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ซึ่งจัดขึ้น ณ ห้อง Auditorium ชั้น 3 อาคารการเรียนรู้พหุวิทยาการ (LX) มจธ. บางมด กรุงเทพฯ โดยได้รับเกียรติจาก นายวราวุธ…
ปิดฉาก “HigherEd for PWD” ระยะที่ 1 เสริมสมรรถนะคนพิการสู่ตลาดแรงงานจริง EZ WebmasterMarch 10, 2025 เมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2568 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) ร่วมกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) และมหาวิทยาลัยเครือข่าย 5 แห่ง จัดแถลงข่าวสรุปผลและปิดโครงการการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาศักยภาพคนพิการเพื่อการประกอบอาชีพ ผ่านโมเดลการฝึกอบรม-ฝึกงานคนพิการ มจธ. HigherEd for PWD ระยะที่ 1 ซึ่งเป็นโครงการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อพัฒนาศักยภาพคนพิการสู่การประกอบอาชีพในตลาดแรงงานจริง ที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ซึ่งจัดขึ้น ณ ห้อง Auditorium ชั้น 3 อาคารการเรียนรู้พหุวิทยาการ (LX) มจธ. บางมด กรุงเทพฯ โดยได้รับเกียรติจาก นายวราวุธ…
EZ Webmaster April 30, 2024 EZ Webmaster April 30, 2024 น้ำมันเชื้อเพลิงจากยีสต์! ผลงานวิจัยคณะวิทย์ฯ จุฬาฯ จ่อขยายการผลิตเพื่ออุตสาหกรรมอากาศยาน นักวิจัย จุฬาฯ ใช้หญ้าอาหารสัตว์ เลี้ยงจุลินทรีย์เพื่อนำไขมันที่ได้มาเปลี่ยนเป็นน้ำมันเชื้อเพลิงอากาศยาน ตั้งเป้าขยายการผลิตทดแทนน้ำมันจากปิโตรเลียม ลดผลกระทบทางสุขภาพของมนุษย์และสิ่งแวดล้อม ยีสต์เป็นจุลินทรีย์ที่เป็นส่วนประกอบสำคัญในอาหารและเครื่องดื่มหลายประเภท อาทิ ขนมปัง เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ แต่ในอนาคต ยีสต์จะเป็นกำลังสำคัญในการผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงทดแทนพลังงานที่มาจากฟอสซิล ปัจจุบัน นักวิจัยจากคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กำลังเร่งพัฒนาเทคโนโลยีขยายขนาดการผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงชีวภาพอากาศยานจากยีสต์ ซึ่งเป็นการต่อยอดผลสำเร็จจากการวิจัยพบยีสต์สายพันธุ์ที่มีศักยภาพสูงในการผลิตไขมันเพื่อนำมาผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงอากาศยาน โดยในกระบวนการผลิตน้ำมันจากยีสต์นั้น ยังได้ใช้ของเหลือทิ้งจากภาคการเกษตรมาเป็นอาหารเลี้ยงจุลินทรีย์ นับเป็นการลดปัญหาจากเผาและสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับของเหลือทิ้งภาคการเกษตรอีกทางหนึ่งด้วย ที่มางานวิจัยผลิตน้ำมันจากยีสต์ น้ำมันปิโตรเลียมเป็นแหล่งพลังงานเชื้อเพลิงสำคัญในโลกปัจจุบัน ทั้งในภาคอุตสาหกรรมต่าง ๆ และการคมนาคมขนส่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งอุตสาหกรรมอากาศยาน รายงานจากกรมธุรกิจพลังงาน กระทรวงพลังงาน (พ.ศ. 2562) ระบุว่าประเทศไทยมีปริมาณการนำเข้าเชื้อเพลิงในกลุ่มน้ำมันอากาศยานเพิ่มสูงขึ้นอย่างมาก โดยในปี พ.ศ. 2559 ประเทศไทยนำเข้าเชื้อเพลิงในกลุ่มน้ำมันอากาศยาน 84.9 ล้านลิตร แต่เพียง 4 ปีต่อมา ในปี พ.ศ. 2562 ปริมาณการนำเข้าเชื้อเพลิงในกลุ่มน้ำมันอากาศยานทะยานสูงขึ้นถึง 376.3 ล้านลิตรต่อปี ปริมาณการนำเข้าเชื้อเพลิงที่เพิ่มขึ้นอย่างก้าวกระโดดนี้สะท้อนความต้องการในอุตสาหกรรมที่กำลังเติบโต และความจำเป็นอย่างยิ่งยวดที่จะต้องค้นหานวัตกรรมเพื่อผลิตพลังงานทดแทน ที่เป็นมิตรต่อสุขภาพของมนุษย์และสิ่งแวดล้อมมากกกว่าน้ำมันปิโตรเลียม คณะนักวิจัยนำโดย ศาสตราจารย์ ดร.วรวุฒิ จุฬาลักษณานุกูล และผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชมภูนุช กลิ่นวงษ์ จากภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จึงได้ดำเนินโครงการวิจัย “การพัฒนาเทคโนโลยีการขยายขนาดการผลิตน้ำมันจากยีสต์เพื่อสังเคราะห์น้ำมันเชื้อเพลิงชีวภาพอากาศยาน” (Development of scaling-up technology for production of microbial lipid for bio jet fuel synthesis) “คณะผู้วิจัยประสบความสำเร็จในการคัดแยกยีสต์ชนิด Saccharomyces cerevisiae ที่มีศักยภาพในการสะสมไขมันสูง สายพันธุ์ CU-TPD4 และได้นำมาผลิตเป็นน้ำมันเชื้อเพลิงอากาศยาน ชีวภาพ เพื่อรองรับความต้องการด้านพลังงานที่เพิ่มสูงขึ้นในอนาคต หากเราสามารถพัฒนาศักยภาพของประเทศในด้านการผลิตเชื้อเพลิงอากาศยานชีวภาพ จะมีส่วนช่วยเศรษฐกิจของประเทศให้เจริญก้าวหน้าไปด้วย” ศ.ดร.วรวุฒิ กล่าวถึงความความสำเร็จและเป้าหมายของการวิจัย โครงการวิจัยนี้ได้รับการสนับสนุนจาก สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) โดยรับทุนในกลุ่มเรื่องแผนงานพลังงานทดแทน ภายใต้โครงการความร่วมมือระหว่างไทย-จีน กรอบวิจัยพลังงานทดแทน (Renewable Energy) แผนงานวิจัยการสังเคราะห์ไขมันและการผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงอากาศยานจากชีวมวล Microbial lipid synthesis and bio-refinery of jet fuel from biomass resource ซึ่งนอกจาก ศ.ดร.วรวุฒิ และผศ.ดร.ชมภูนุช แล้ว คณะผู้วิจัยยังประกอบด้วยนิสิตปริญญาเอกจากภาควิชาพฤกษศาสตร์ จำนวน 3 คน ได้แก่ ดร.ณัฏฐา จึงเจริญพานิชย์ ดร.วรรณพร วัฒน์สุนธร และนายธนาพงษ์ ตั้งวนาไพร ร่วมด้วย ดร. สุริษา สุวรรณรังษี จากศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ และกลุ่มนักวิจัยจีน ได้แก่ Prof. Zhongming Wang และ Prof. Wei Qi จาก Guangzhou Institute of Energy Conversion, Chinese Academy of Science (GIEC) ยีสต์ศักยภาพสูงผลิตน้ำมันเชื้อเพลิง ศ.ดร.วรวุฒิ เล่าว่านักวิจัยได้คัดแยกยีสต์จากตัวอย่างดินทั้งหมด 53 ตัวอย่าง จากตัวอย่างดินที่เก็บในเขตพื้นที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน และจังหวัดใกล้เคียง และได้ค้นพบยีสต์ที่มีศักยภาพในการสะสมไขมันสูง สายพันธุ์ CU-TPD4 ซึ่งจัดเป็นยีสต์ชนิด Saccharomyces cerevisiae (S. cerevisiae) ซึ่งในเวลานั้น ไม่เคยมีรายงานมาก่อนว่ายีสต์ชนิดนี้สามารถผลิตน้ำมันได้ในปริมาณสูงเทียบเท่ายีสต์ผลิตน้ำมันชนิดที่มีอยู่ “ยีสต์ S. cerevisiae จัดเป็นจุลินทรีย์ที่มีความปลอดภัยสูง มีประวัติการใช้มาอย่างยาวนานและได้รับการยอมรับว่ามีความปลอดภัย (Generally Recognized as Safe, GRAS) ซึ่งมีการใช้ในอุตสาหกรรมอาหารอย่างแพร่หลายในปัจจุบัน เช่น อุตสาหกรรมการผลิตเบียร์ และอุตสาหกรรมการผลิตขนมปัง แต่ยังไม่เคยมีรายงานการนำยีสต์สายพันธุ์ดังกล่าวมาใช้เพื่อการผลิตไขมันในระดับอุตสาหกรรม” ศ.ดร.วรวุฒิ อธิบายว่ายีสต์สายพันธุ์ที่พบนี้สามารถผลิตและสะสมไขมันในเซลล์ได้สูงถึงร้อยละ 20-25 ของน้ำหนักเซลล์แห้ง ซึ่งคุณสมบัติของไขมันดังกล่าวเป็นประโยชน์อย่างยิ่งสำหรับการพัฒนาไปเป็นพลังงานชีวภาพอย่างไบโอดีเซล “การใช้ยีสต์ผลิตน้ำมันเป็นวัตถุดิบตั้งต้นในการผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพมีข้อได้เปรียบมากกว่าการใช้พืชเป็นแหล่งของน้ำมันหลายประการ ได้แก่ วงจรชีวิตของยีสต์สั้น สามารถใช้อาหารในการเจริญเติบโตได้หลากหลาย ราคาถูก ใช้แรงงานน้อย สามารถเพาะเลี้ยงได้ทุกช่วงเวลา ไม่ขึ้นกับฤดูกาล ง่ายต่อการขยายขนาดการผลิต และไขมันที่ผลิตได้มีลักษณะเดียวกับที่ผลิตได้จากพืช ซึ่งเมื่อนำมาใช้ประโยชน์ มีความปลอดภัยกับมนุษย์และสิ่งแวดล้อม” นอกจากนี้ ศ.ดร.วรวุฒิ กล่าวเสริมข้อได้เปรียบสำคัญอีกประการของการผลิตน้ำมันจากยีสต์ว่า “เมื่อมีการพัฒนากระบวนการและนำยีสต์ดังกล่าวไปใช้ในระดับอุตสาหกรรม การเพาะเลี้ยงที่อุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียส จะสามารถช่วยลดค่าใช้จ่ายในกระบวนการหล่อเย็นเพื่อควบคุมอุณหภูมิถังหมักลงได้” งานวิจัยนี้ได้รับความสนใจจากนักวิจัยทั้งในไทยและต่างประเทศ เช่น Hamburg University of Technology (TUHH) ประเทศเยอรมนี และ Toulouse Biotechnology Institute (TBI) ประเทศฝรั่งเศส ที่เห็นโอกาสในการขยายการผลิตหัวเชื้อยีสต์ CU-TPD4 เพื่อใช้ในการผลิตน้ำมัน ควบคู่กับการผลิตขนมปัง แอลกอฮอล์ และผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ด้านอาหาร เลี้ยงยีสต์ด้วยวัสดุเหลือทิ้งการเกษตร นอกจากจะได้พลังงานที่สะอาดกว่าพลังงานฟอสซิลแล้ว กระบวนการเลี้ยงยีสต์เพื่อผลิตน้ำมันยังได้ใช้ประโยชน์จากของเหลือทิ้งทางการเกษตร อันเป็นส่วนหนึ่งของการขับเคลื่อนเศรษฐกิจหมุนเวียน และลดปัญหามลพิษทางอากาศที่มาจากการเผาเศษวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร “นอกจากหญ้าอาหารสัตว์แล้ว วัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรและชีวมวลประเภทลิกโนเซลลูโลสประเภทต่าง ๆ สามารถนำมาใช้เป็นแหล่งคาร์บอนเพื่อเป็นอาหารเลี้ยงเชื้อให้แก่ยีสต์สะสมไขมันได้ ยกตัวอย่างเช่น ฟางข้าว ซังข้าวโพด ชานอ้อย รวมทั้งเปลือกผักและผลไม้ต่าง ๆ ได้แก่ เปลือกกล้วย เปลือกทุเรียน เปลือกถั่ว โดยเฉพาะฟางข้าว ซึ่งเป็นวัสดุเหลือทิ้งปริมาณมากของประเทศไทย จึงนับเป็นการใช้ของเหลือทิ้งทางการเกษตรให้เกิดประโยชน์อีกทางหนึ่ง” นอกจากนี้ ยังมีรายงานการนำของเหลือทิ้ง เช่น เศษกระดาษสำนักงาน และน้ำทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรม ได้แก่ น้ำทิ้งจากโรงงานผลิตกระดาษ น้ำทิ้งจากโรงงานผลิตแป้งสาคู และน้ำทิ้งจากบ้านเรือน มาใช้เป็นแหล่งคาร์บอนเช่นเดียวกัน โดยมีจุดประสงค์หลักในการลดต้นทุนการผลิต เพื่อกำจัดของเสีย และเพิ่มมูลค่าของวัสดุเหลือทิ้งดังกล่าวให้เกิดประโยชน์มากยิ่งขึ้น ปรับปรุงสายพันธุ์ยีสต์ ขยายการผลิตน้ำมัน เพิ่มมูลค่าอุตสาหกรรมอาหารและยา การเจริญเติบโตของยีสต์และปริมาณน้ำมันที่ผลิตได้จากยีสต์ในสเกลการผลิตในห้องปฏิบัติการนั้น ยังไม่เพียงพอต่อความต้องการเชื้อเพลิงในตลาด จึงมีความจำเป็นที่จะต้องพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อขยายขนาดกำลังผลิต “เรื่องนี้สามารถทำได้ด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น การปรับปรุงสายพันธุ์ของยีสต์สะสมไขมัน เพื่อเพิ่มความสามารถในการผลิตและสะสมไขมันให้ได้มากขึ้น หรือปรับปรุงให้ยีสต์สามารถทนทานต่อสภาวะที่ไม่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตได้มากขึ้น เช่น สามารถทนต่ออุณหภูมิที่สูงขึ้นในกระบวนการผลิต เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการหล่อเย็น หรือสามารถทนต่อสารพิษที่เกิดขึ้นจากกระบวนการปรับสภาพวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรได้มากขึ้น เพื่อลดขั้นตอนและค่าใช้จ่ายในกระบวนการ Detoxification เป็นต้น” ศ.ดร.วรวุฒิ กล่าวว่าปัจจุบันการวิจัยมุ่งเน้นที่จะเพิ่มระดับการผลิตน้ำมันของยีสต์ S. cerevisiae ในระดับขยายขนาดที่สูงขึ้น โดยทำการดัดแปลงพันธุกรรม เพิ่มการแสดงออกของเอนไซม์ Acetyl-CoA carboxylase เป็นสายพันธุ์ TWP02 ทำให้ผลิตไขมันได้เพิ่มสูงขึ้น หลังจากนั้นจึงได้ศึกษากระบวนผลิตน้ำมันจากเซลล์ยีสต์ในระดับขยายขนาด โดยใช้บริการเครื่องมือวิจัยจากห้องปฏิบัติการวิศวกรรมชีวภาพและการหมักแม่นยำ (Bioengineering and precision fermentation laboratory) ของฝ่ายวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพและวัสดุ สถาบันนวัตกรรม บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) ซึ่งเป็นห้องปฏิบัติการชั้นนำของประเทศไทยทางด้านกระบวนการทางชีวภาพและกระบวนการหมัก มีความพร้อมของเครื่องมือวิจัยทางด้านเทคโนโลยีชีวภาพตั้งแต่กระบวนการต้นน้ำที่ใช้ในการคัดเลือกและปรับปรุงสายพันธุ์จุลินทรีย์ กระบวนหมักตั้งแต่ระดับห้องปฏิบัติการขนาดถังหมัก 2 ลิตร ไปจนถึงระดับหน่วยวิจัยต้นแบบขนาดถังหมัก 20,000 ลิตร รวมไปถึงกระบวนการปลายน้ำที่ใช้ในการแยกเซลล์จุลินทรีย์ การทำให้เซลล์ของเชื้อจุลินทรีย์แตกด้วยความดัน การเพิ่มความเข้มข้นและความบริสุทธิ์ของสารชีวภัณฑ์ ตลอดจนการขึ้นรูปสารชีวภัณฑ์ในรูปแบบแห้งด้วยความร้อนหรือความเย็น ซึ่งศักยภาพของห้องปฏิบัติการดังกล่าวมีส่วนช่วยทำให้โครงงานวิจัยนี้สามารถประเมินศักยภาพสำหรับการออกแบบกระบวนผลิตเป็นเชื้อเพลิงชีวภาพสำหรับอากาศยานที่เหมาะสมต่อไปได้ ท้ายที่สุด ศ.ดร.วรวุฒิ กล่าวว่านอกจากการผลิตไบโอดีเซลและเชื้อเพลิงอากาศยานแล้ว การปรับปรุงสายพันธุ์ของยีสต์สะสมไขมันให้สามารถผลิตกรดไขมัน เช่น กรดไขมันไม่อิ่มตัว ซึ่งเป็นไขมันชนิดที่มีความต้องการในตลาดและมีมูลค่าสูง ยังสามารถใช้เป็นสารตั้งต้นในการผลิตผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ด้านอาหาร เครื่องสำอาง และยา ที่สามารถตอบโจทย์ธุรกิจทางด้าน Life Science อย่างยั่งยืนได้อีกด้วย
มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค
สมศ. เน้นย้ำการประเมินคุณภาพภายนอก ปี 67-71 ลดวันประเมิน On site ขยายสู่รูปแบบออนไลน์ สร้างมาตรฐานในการแข่งขันระดับอาเซียน
คณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ มธ. เปิดรับบุคคลเข้าศึกษาต่อหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการเรียนรู้ ปีการศึกษา 2568