สสวท. พารอบรู้คู่ฤดูร้อนกับ “พายุฤดูร้อน” EZ WebmasterMarch 28, 2025 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) พารอบรู้คู่ฤดูร้อนกับ “พายุฤดูร้อน” (Thunderstorms) หรือ พายุฟ้าคะนอง ซึ่งเกิดขึ้นในฤดูร้อน ช่วงเดือนเมษายนหรือในช่วงก่อนเริ่มต้นฤดูฝน ทำความเข้าใจสาเหตุการเกิดพายุฤดูร้อน ลักษณะอากาศก่อนเกิดพายุฤดูร้อน เช่น อากาศร้อนมาหลายวัน และในวันที่จะเกิดพายุ ฤดูร้อนอากาศจะร้อนอบอ้าวมากขึ้น ลมสงบ ท้องฟ้ามัว ทัศนวิสัยไม่ดี เมฆก่อตัวหนาแน่น เป็นต้น เรียนรู้วิธีหลีกเลี่ยง เพื่อรักษาความปลอดภัยและแนวทางปฏิบัติเมื่อเกิดพายุฤดูร้อน… สพฐ.สั่งเลื่อนสอบ ม.1 และ ม.4 ทั่วประเทศ หลังเหตุแผ่นดินไหว รอประเมินความปลอดภัยก่อนกำหนดสอบใหม่ EZ WebmasterMarch 28, 2025 ด่วน! สพฐ.สั่งเลื่อนสอบ ม.1 และ ม.4 ทั่วประเทศ หลังเหตุแผ่นดินไหว รอประเมินความปลอดภัยก่อนกำหนดสอบใหม่ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) มีคำสั่งด่วนถึงผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา (ผอ.สพม.) ทั่วประเทศ ให้เลื่อนการสอบเข้าเรียนต่อระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ 4 ออกไปก่อน… ม.สุโขทัยธรรมาธิราช เปิดรับนักศึกษาใหม่ ภาคต้นปีการศึกษา 2568 เริ่มรับสมัครวันที่ 1 เมษายน 2568 EZ WebmasterMarch 28, 2025 ม.สุโขทัยธรรมาธิราช เปิดรับนักศึกษาใหม่ ภาคต้นปีการศึกษา 2568 เริ่มรับสมัครวันที่ 1 เมษายน 2568 1 เมษายน 2568 วันเปิดรับสมัครนักศึกษาใหม่ภาคต้นปีการศึกษา 2568 สามารถดาวน์โหลดระเบียบการสมัครเป็นนักศึกษาและใบสมัครฯ ฟรี!!! คลิกได้ที่นี่ คลิก Download… CP All Education Forum 2025 จัดใหญ่! มอบทุนการศึกษากว่า 1,648 ล้าน ปลุกพลังการศึกษาไทย “สร้างคนเก่ง ดี มีความสามารถ” รับมือยุค AI EZ WebmasterMarch 28, 2025 เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI) เข้ามาเปลี่ยนแปลงทุกภาคส่วนของสังคมอย่างรวดเร็ว วงการศึกษาคือหนึ่งในภาคส่วนที่ต้องพลิกเกมส์ให้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง การเตรียม “คน” ผ่านการศึกษาจึงเป็นอีกหนึ่งความท้าทาย ที่ภาคการศึกษาต้องรับมือให้พร้อม บมจ.ซีพี ออลล์ ร่วมกับ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ (PIM) วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์ (PAT) และโรงเรียนสาธิตสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ จัดงาน… นักศึกษา CP All Education Forum 2025 จัดใหญ่! มอบทุนการศึกษากว่า 1,648 ล้าน ปลุกพลังการศึกษาไทย “สร้างคนเก่ง ดี มีความสามารถ” รับมือยุค AI EZ WebmasterMarch 28, 2025 เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI) เข้ามาเปลี่ยนแปลงทุกภาคส่วนของสังคมอย่างรวดเร็ว วงการศึกษาคือหนึ่งในภาคส่วนที่ต้องพลิกเกมส์ให้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง การเตรียม “คน” ผ่านการศึกษาจึงเป็นอีกหนึ่งความท้าทาย ที่ภาคการศึกษาต้องรับมือให้พร้อม บมจ.ซีพี ออลล์ ร่วมกับ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ (PIM) วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์ (PAT) และโรงเรียนสาธิตสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ จัดงาน… มธ. รับสมัครนักศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสหวิทยาการ ประจำปีการศึกษา 2568 EZ WebmasterMarch 27, 2025 วิทยาลัยสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เปิดรับสมัครนักศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสหวิทยาการ (จัดการเรียนการสอนที่ท่าพระจันทร์) มี 2 แผนการศึกษา ดังนี้ แผน 1.1 (ทเฉพาะวิทยานิพนธ์) แผน 2.1 (ศึกษารายวิชาและทำวิทยานิพนธ์) หลักฐานประกอบการสมัคร 3.1 ใบสมัครของหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสหวิทยาการ… มทร.ธัญบุรี เปิดกว้างทุกวัย เพื่อเรียนรู้ตลอดชีพ ธนาคารหน่วยกิต “40 หลักสูตร ป.ตรี” tui sakrapeeMarch 26, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) เปิดรับสมัครผู้สนใจเข้าร่วมโครงการการเรียนรู้ตลอดชีวิตในระบบเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ (ธนาคารหน่วยกิต) หลักสูตรระดับปริญญาตรี ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2568 ตั้งแต่วันที่ 24 มี.ค. ถึง 30 พ.ค. 2568 โดยไม่มีค่าใช้จ่ายในการสมัคร… เปิดรับอาสาสมัครศิริราช รอบทำกิจกรรม เดือน พ.ค.-ก.ค. 68 ทุกกิจกรรมมีใบรับรองการทำกิจกรรม EZ WebmasterMarch 26, 2025 ตารางการรับอาสาสมัครรอบทำกิจกรรม เดือน พฤษภาคม – กรกฏาคม 68 (กิจกรรมที่อยู่ในเว็บไซต์ตอนนี้เป็นรอบเก่ามีผู้เข้าร่วมเต็มทั้งหมดแล้วค่ะ รอบใหม่จะเปิดตามวันเวลาที่แจ้งด้านล่างนี้เท่านั้น*) ขอให้อาสาเป็นผู้สมัครและกดเลือกกิจกรรมด้วยตนเองนะคะ – 31 ก.ค. 68 **เนื่องจากวันที่ 5 พ.ค. เป็นวันหยุด จะขอเริ่มตั้งแต่วันที่วันที่ 6 พ.ค.… ทุนดีดี U. of Waterlooให้ทุนป.ตรี InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศMarch 28, 2025 Faculty of Science International Student Scholarships at University of Waterloo, Canadaสำหรับนักศึกษาต่างชาติสูงสุด 15 ทุน เพื่อสนับสนุนนักศึกษาที่มีผลงานดีเด่นในภาคการศึกษาปีการศึกษา 2025/2026 ซึ่งรวมถึงทุนการศึกษาแบบต่ออายุ 10 ทุน… มหาวิทยาลัยอัลอัซฮัร กรุงไคโร สาธารณรัฐอาหรับอียิปต์ มอบ 160 ทุนให้นักศึกษาจากประเทศไทย EZ WebmasterMarch 27, 2025 มหาวิทยาลัยอัลอัซฮัร กรุงไคโร สาธารณรัฐอาหรับอียิปต์ มอบทุนการศึกษาแก่นักศึกษาจากประเทศไทย จำนวน 160 ทุน ในปีการศึกษา 2025/2026 (2568/2569) โดยจำแนกเป็น ทุนนการศึกษาสาขาอิสลามศึกษา จำนวน 80 ทุน เฉพาะนักเรียนที่จบการศึกษาระดับอิสลามศึกษาตอนปลาย (ซานาวี) #จากโรงเรียนที่ได้รับรองวิทยฐานะ ประกาศนียบัตรระดับอิสลามศึกษาตอนปลาย (ซานาวี)… Peking U.ให้ทุนป.ตรี-เอก InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศMarch 27, 2025 Peking University กำลังให้ทุนสำหรับนักศึกษาต่างชาติที่โดดเด่น ทุนนี้ก่อตั้งขึ้นในปี 2012 โดยให้การสนับสนุนนักศึกษาระดับปริญญาตรี โท และเอก(ไม่จำกัดสาขาวิชา) โดยให้ความช่วยเหลือทางการเงินเต็มจำนวนหรือบางส่วน รวมถึงค่าเล่าเรียน เงินเดือน และประกันสุขภาพ เปิดรับสมัครช่วงมีนาคมถึงเมษายน ทุกปี เพื่อให้มีสิทธิ์ได้รับทุน ผู้สมัครจะต้องเป็นนักศึกษาต่างชาติที่ได้รับข้อเสนอให้เข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยปักกิ่งในฐานะนักศึกษาปีหนึ่ง จะต้องไม่เป็นผู้รับทุนการศึกษาอื่นใด และไม่ควรลงทะเบียนในโปรแกรมปริญญาวิชาชีพ… สัปดาห์สุดท้าย!ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา เปิดรับรอบที่ 2 Quota 8 สาขา พร้อมมอบทุนเพชรสุนันทา เรียนการออกแบบแฟชั่น tui sakrapeeMarch 27, 2025 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดรับสมัครคัดเลือกนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญเข้าศึกษาในโครงการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาระดับปริญญาตรี ระบบโควตา ประเภทความสามารถทางวิชาการ และประเภทความสามารถพิเศษ ประจำปีการศึกษา 2568 (รอบที่ 2 Quota) พร้อมรับสมัครคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษา ภาคปกติ ระดับปริญญาตรี ในโครงการทุนเพชรสุนันทา กำหนดการรับสมัคร สาขาที่รับสมัครคณะศิลปกรรมศาสตร์ คุณสมบัติเฉพาะ… ครู-อาจารย์ 5 แนวโน้มสำคัญด้านการศึกษาในปี 2025 EZ WebmasterMarch 28, 2025 5 แนวโน้มสำคัญด้านการศึกษาในปี 2025 ปี 2025 เป็นปีแห่งการเปลี่ยนแปลงของวงการศึกษา เทคโนโลยีใหม่ๆ และแนวคิดการเรียนรู้ที่ทันสมัยจะเข้ามามีบทบาทสำคัญ มาดูกันว่าอะไรคือแนวโน้มหลักที่ต้องจับตามอง! การเกิดขึ้นของโรงเรียนรูปแบบใหม่ Hybrid Learning, Microschools และ Homeschool กำลังได้รับความนิยมมากขึ้น การใช้… มจธ. คิดค้น “นวัตกรรมการผลิตซิลิกาด้วยเทคโนโลยีชีวภาพ” ต้นทุนต่ำ คุณภาพสูง พร้อมพลิกโฉมอุตสาหกรรมไทย EZ WebmasterMarch 27, 2025 นักวิจัย มจธ.พัฒนากระบวนการผลิต ไบโอซิลิกา (Biosilica) จากแกลบข้าว ด้วยกระบวนการชีวภาพ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและไร้สารเคมีตกค้าง พร้อมส่งต่อเทคโนโลยีเพื่อนำไปใช้ในอุตสาหกรรมต่างๆ เช่น เครื่องสำอาง เวชสำอาง ยา และยาง ซึ่งเป็นก้าวสำคัญที่ช่วยให้ประเทศไทยลดการพึ่งพาซิลิกานำเข้า และส่งเสริมเศรษฐกิจหมุนเวียนของประเทศ ซิลิกา (Silica) เป็นวัตถุดิบสำคัญในหลายอุตสาหกรรมของไทย ตั้งแต่ยางรถยนต์ เครื่องสำอาง เวชภัณฑ์… โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “ดร.ชุมพล พรประภา” เป็นนายกสภา ม.ศรีนครินทรวิโรฒ tui sakrapeeMarch 26, 2025 ราชกิจจานุเบกษาเผยแพร่ ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “ชุมพล พรประภา” ดำรงตำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ แทนวิจิตร ศรีสอ้าน ที่ถึงแก่อนิจกรรม ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 142 ตอนพิเศษ 147 ง เมื่อวันที่ 25… สอศ. ปั้นผู้อำนวยการอาชีวะยุคใหม่! เสริมภาวะผู้นำ-วิสัยทัศน์ ทันโลกการศึกษา EZ WebmasterMarch 26, 2025 วันที่ 26 มีนาคม 2568 นายยศพล เวณุโกเศศ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (เลขาธิการ กอศ.) เป็นประธานเปิดโครงการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และบรรยายพิเศษ “Growth Mindset: แนวคิดเชิงบวกและการเติบโตขององค์กร” โดยนางธิติมา โรจน์วัชราภิบาล ผู้อำนวยการ… กิจกรรม สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ ร่วมพิธีวางพานพุ่มและพิธีตักบาตร เนื่องในวันครบรอบ ๑๐๘ ปี แห่งการสถาปนาจุฬาฯ EZ WebmasterMarch 27, 2025 สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินร่วมพิธีวางพานพุ่มสักการะพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระปิยมหาราชและสมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า และพิธีตักบาตร เนื่องในวันครบรอบ ๑๐๘ ปี แห่งการสถาปนาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมี นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ และ นายอรรษิษฐ์ สัมพันธรัตน์ ประธานการจัดงานคืนเหย้าชาวจุฬาฯ… พิธีเปิดกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) ภายใต้โครงการพัฒนามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมผ้าไทยสู่สากล ประจำปี ๒๕๖๘ EZ WebmasterMarch 26, 2025 นางสาวลิปิการ์ กำลังชัย รองธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรม รักษาราชการแทนอธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรมเป็นประธานพิธิเปิด และร่วมรับฟังการบรรยายกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) พร้อมด้วยนางสาวศิวพร ฉันทไกรวัฒน์ ผู้อำนวยการกลุ่มเผยแพร่และต่อยอดมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมเข้าร่วมงาน โดยวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญด้านผ้าไทย การออกแบบและแฟชั่น อาทิ ผศ.ดร.รวิเทพ มุสิกะปาน ผศ.ดร.วุฒิไกร… เปิดรับอาสาสมัครศิริราช รอบทำกิจกรรม เดือน พ.ค.-ก.ค. 68 ทุกกิจกรรมมีใบรับรองการทำกิจกรรม EZ WebmasterMarch 26, 2025 ตารางการรับอาสาสมัครรอบทำกิจกรรม เดือน พฤษภาคม – กรกฏาคม 68 (กิจกรรมที่อยู่ในเว็บไซต์ตอนนี้เป็นรอบเก่ามีผู้เข้าร่วมเต็มทั้งหมดแล้วค่ะ รอบใหม่จะเปิดตามวันเวลาที่แจ้งด้านล่างนี้เท่านั้น*) ขอให้อาสาเป็นผู้สมัครและกดเลือกกิจกรรมด้วยตนเองนะคะ – 31 ก.ค. 68 **เนื่องจากวันที่ 5 พ.ค. เป็นวันหยุด จะขอเริ่มตั้งแต่วันที่วันที่ 6 พ.ค.… เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน รับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน EZ WebmasterMarch 24, 2025 เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน เกม Let’s School เกมแนวบริหารโรงเรียนในฝัน ที่จะให้เรารับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน อยากให้โรงเรียนเป็นแบบไหนก็ปรับเล่นได้เลย ดูอารมณ์นักเรียกได้ด้วยว่ามีความสุขมั้ย? แถมตอนนี้ยังมีอัปเดตแมพใหม่พร้อมซัพไทยด้วยนะ Let’s School โหลดเล่นได้ที่ Steam :… Search for: Search EZ Webmaster January 31, 2024 EZ Webmaster January 31, 2024 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ศูนย์กลางการศึกษาระดับภูมิภาคพร้อมรับนิสิตต่างชาติ สู่โลกการเรียนรู้และประสบการณ์หลากสีสันแห่งเอเชีย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยพร้อมเป็นหนึ่งในศูนย์กลางการศึกษาแห่งภูมิภาคเอเชีย เปิดรับนิสิตชาวไทยและต่างชาติ ด้วยกว่าร้อยหลักสูตรนานาชาติ รองรับทุกสายการเรียน สร้างประสบการณ์การเรียนรู้ไร้พรมแดน เตรียมบัณฑิตสู่ความเป็นพลเมืองโลก ประเทศไทยเป็นหนึ่งในจุดหมายปลายทางที่ชาวต่างชาตินิยมมาท่องเที่ยว ด้วยเสน่ห์ของ Soft Power อย่างศิลปะ วัฒนธรรม อาหาร วิถีชีวิต ธรรมชาติ ภูมิอากาศ และค่าครองชีพที่สมเหตุสมผล แต่ที่หลายคนอาจจะยังไม่รู้ – ประเทศไทยยังเป็นหนึ่งในจุดหมายของการศึกษาที่นิสิตต่างชาติสนใจมาเรียนและใช้ชีวิตด้วยเช่นกัน “ประเทศไทยมีความโดดเด่นทางด้านการศึกษาและเป็นที่สนใจของนิสิตต่างชาติจำนวนมาก เช่นที่จุฬาฯ เราเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยที่การศึกษามีคุณภาพ เป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ มีหลักสูตรนานาชาติที่สามารถรองรับนิสิตต่างชาติด้วยการสอนเป็นภาษาอังกฤษมากกว่า 100 หลักสูตรในทุกระดับปริญญา ในขณะที่ค่าครองชีพและค่าเล่าเรียนของเราก็ถูกกว่าประเทศอื่น ๆ ที่โดดเด่นด้านการศึกษาในระดับเดียวกัน” คุณศุกลิน วนาเกษมสันต์ ผู้อำนวยการฝ่ายบริหารวิชาการนานาชาติ สำนักบริหารวิรัชกิจและเครือข่ายนานาชาติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าว ปัจจุบัน จุฬาฯ มีนิสิตต่างชาติประมาณ 2,000 คน จาก 60 ประเทศ ที่มาศึกษาแลกเปลี่ยนและเรียนระดับปริญญาในหลายหลักสูตร จำนวนของนิสิตต่างชาติดูมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ด้วยทิศทางของโลกสมัยใหม่ ที่เปิดให้ผู้คนเดินทางและโยกย้ายถิ่นฐานได้สะดวกยิ่งขึ้น ไม่ว่าจะไปทำงาน ท่องเที่ยว หรือศึกษาเล่าเรียน โดยเฉพาะการเรียนรู้ เป็นส่วนหนึ่งของการเพิ่มพูนประสบการณ์ชีวิต สร้างเสริมความเป็นพลเมืองโลกและทักษะในการอยู่ในโลกสมัยใหม่ ที่ต้องเปิดใจ เข้าใจและยอมรับความแตกต่างหลากหลายและพหุวัฒนธรรม ทำไม นิสิตต่างชาติจึงเลือกมาเรียนจุฬาฯ ชื่อเสียงของจุฬาฯ และการยอมรับในระดับนานาชาติเป็นหนึ่งในเหตุผลต้น ๆ ที่นิสิตต่างชาติเลือกมาเรียนที่จุฬาฯ ในระดับประเทศ จุฬาฯ ครองอันดับ 1 ของประเทศไทยเป็นปีที่ 4 ติดต่อกัน จาก THE Impact Rankings 2023 และติดอันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทยเป็นปีที่ 15 ติดต่อกัน (ตั้งแต่ปี 2009) ในการจัดอันดับ QS World University Rankings 2024 โดย QS Quacquarelli Symonds ส่วนในระดับนานาชาติ จุฬาฯ ครองอันดับ 17 ของโลก จาก THE Impact Rankings 2023 และติดอันดับท็อป 50 ของโลกทางด้านผลลัพธ์ด้านการจ้างงาน (Employment Outcomes) โดย QS World University Rankings 2024 “จุฬาฯ เป็นศูนย์กลางการศึกษาในระดับอาเซียนและเอเชีย มีความโดดเด่นด้านวิชาการทั้งในสายวิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ ทุกหลักสูตรเปี่ยมด้วยคุณภาพและส่งเสริมความเป็นพลเมืองโลกให้นิสิตทั้งชาวไทยและต่างชาติ ซึ่งเมื่อจบการศึกษา บัณฑิตจุฬาฯ จะมีทักษะที่จำเป็นและสามารถทำงานได้ทุกที่ในโลก” คุณศุกลิน กล่าว นอกจากความโดดเด่นด้านวิชาการแล้ว บรรยากาศการเรียนรู้และการใช้ชีวิตที่จุฬาฯ ยังมีสีสัน ผสานความเก่าแก่และความทันสมัย เปิดโลกการเรียนรู้ตลอดชีวิต ที่ไม่มีในตำรา จุฬาฯ เป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของประเทศไทย ก่อตั้งมาแล้วกว่า 106 ปี ในพื้นที่การศึกษากว่า 1 ตารางกิโลเมตร (637 ไร่) ของจุฬาฯ มีอาคารทรงคุณค่าทางสถาปัตยกรรมมากมาย อีกทั้งเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ที่ขนานไปกับการเติบโตของประเทศไทยยุคใหม่ (modernization) นอกจากนี้ ด้วยความที่ตั้งอยู่ใจกลางมหานคร จุฬาฯ จึงอยู่ในแหล่งความทันสมัยและวัฒนธรรมสมัยใหม่ เช่น สยามสแควร์ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพ และไม่ไกลจากย่านเมืองเก่า เช่น เยาวราช สามย่าน เจริญกรุง ฯลฯ กล่าวได้ว่านิสิตที่มาเรียนที่จุฬาฯ จะได้ใช้ชีวิตการเรียนรู้ในบรรยากาศที่อดีต ปัจจุบัน และทิศทางแห่งอนาคตผสานกันอย่างลงตัว ความร่วมมือระดับนานาชาติ สร้างนิสิตจุฬาฯ สู่ความเป็นพลเมืองโลก จุฬาฯ ก้าวไปกับทิศทางการศึกษาในโลกสมัยใหม่ ที่เน้นหล่อหลอมบัณฑิตให้มีสำนึกความเป็นพลเมืองโลก สามารถปรับตัวเข้ากับกระแสการเปลี่ยนแปลงของโลก รวมถึงมีความเข้าใจความหลากหลายของสังคมและอยู่ได้ในพหุวัฒนธรรม “ด้วยชื่อเสียงและความพยายามของจุฬาฯ ทำให้เรามี MOU กับมหาวิทยาลัยชื่อดังหลายแห่งทั่วโลก นิสิตหลักสูตรนานาชาติของจุฬาฯ จะได้เรียนรู้และอยู่ในบรรยากาศแบบนานาชาติ และมีโอกาสได้เจอสภาพแวดล้อมอื่น ๆ เข้าเรียนกับมหาวิทยาลัยชั้นนำในต่างประเทศในวิชาที่ตนสนใจได้แทนที่จะเรียนตลอด 4 ปีที่จุฬาฯ ที่เดียว” ด้วยเป้าหมายดังกล่าว จุฬาฯ ได้ทำความร่วมมือกับหน่วยงานและมหาวิทยาลัยในระดับนานาชาติ เพื่อให้นิสิตสามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูล รวมถึง โดยความร่วมมือที่จุฬาฯ ทำกับสถาบันต่าง ๆ ได้แก่ ความร่วมมือด้านฐานข้อมูล จุฬาฯ มีห้องสมุดและฐานข้อมูลระดับเวิล์ดคลาส ที่นิสิตจุฬาฯ จะสามารถเข้าถึงแหล่งความรู้ ทั้งหนังสือ วารสาร งานวิจัย วิทยานิพนธ์ และฐานข้อมูลอ้างอิงจากต่างประเทศได้อย่างกว้างขวาง เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และการค้นคว้าของนิสิตได้อย่างเต็มที่ ความร่วมมือด้านหลักสูตร จุฬาฯ มีหลักสูตรนานาชาติแบบหลักสูตรปริญญาร่วมและหลักสูตรสองปริญญา ที่ผู้เรียนจะได้เรียนที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยพาร์ทเนอร์จากต่างประเทศ เช่น หลักสูตรปริญญาตรีสาขาวิทยาศาสตร์จิตวิทยา ร่วมกับ University of Queensland ออสเตรเลีย หลักสูตรปริญญาโทการจัดการทางวิศวกรรม ร่วมกับ The University of Warwick สหราชอาณาจักร เป็นต้น นอกจากนี้ จุฬาฯ ยังได้ทำ MOU ร่วมกับมหาวิทยาลัยชั้นนำหลายแห่งในโลก เพื่อให้นิสิตจุฬาฯ สามารถไปแลกเปลี่ยนที่ต่างประเทศ เพื่อเรียนในสาขาที่ตนเองสนใจกับมหาวิทยาลัยคู่สัญญา 1-2 ภาคการศึกษา หรือหากไม่อยากเดินทาง ก็สามารถแลกเปลี่ยนผ่าน APRU Virtual Student Exchange ที่นิสิตสามารถเข้าคลาสเรียนของมหาวิทยาลัยคู่สัญญาจากต่างประเทศได้ผ่านห้องเรียนออนไลน์ (ดูรายชื่อหลักสูตรทั้งหมดที่จุฬาฯ ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยต่างประเทศ ที่นี่) ชีวิตในรั้วจุฬาฯ สะดวกสบาย สนุก มีสีสัน มหาวิทยาลัยไม่ได้เป็นเรื่องการเรียนเท่านั้น แต่เป็นเรื่องการใช้ชีวิต คุณศุกลินให้ข้อมูลว่า จุฬาฯ มีความพร้อมทุกด้าน ไม่ว่าบุคลากรและสิ่งอำนวยความสะดวก ที่จะช่วยให้การมาเรียนและใช้ชีวิตในต่างแดนของนิสิตต่างชาติเป็นประสบการณ์สุดวิเศษครั้งหนึ่งในชีวิต การเดินทางจุฬาฯ เป็นมหาวิทยาลัยที่อยู่ใจกลางเมือง มีเส้นทางการเดินทางด้วยระบบขนส่งสาธารณะหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นรถเมล์ รถไฟฟ้า BTS และ MRT ส่วนการเดินทางภายในมหาวิทยาลัย จุฬาฯ ก็มีรถโดยสารภายในจุฬาฯ (Shuttle Bus) เพื่อให้นิสิตสามารถเดินทางไปอาคารเรียน หอพักนิสิต และพื้นที่โดยรอบมหาวิทยาลัยถึง 6 เส้นทาง โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย สุขภาพกายจุฬาฯ มีศูนย์บริการสุขภาพแห่งจุฬาฯ ที่ให้บริการทางสุขภาพฟรีแก่นิสิตจุฬาฯ และมีประกันสุขภาพสำหรับนิสิตต่างชาติ ที่นิสิตสามารถไปรับบริการที่โรงพยาบาลทั่วไปได้ หากเกิดเหตุฉุกเฉิน นิสิตจึงไม่ต้องกังวลเรื่องค่าใช้จ่ายหากเกิดเจ็บป่วยหรือเกิดอุบัติเหตุระหว่างที่เข้ามาศึกษา สุขภาพใจสำหรับนิสิตที่รู้สึกไม่สบายใจ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องเรียน การใช้ชีวิต การปรับตัว หรือเรื่องใดก็ตาม จุฬาฯ มีหน่วยส่งเสริมสุขภาวะนิสิต (Chula Student Wellness) ที่มีนักจิตวิทยาและจิตแพทย์คอยให้คำปรึกษานิสิตที่มีเรื่องกังวลทางใจ อีกทั้งจุฬาฯ ยังมีเจ้าหน้าที่จากสำนักบริหารวิรัชกิจและเครือข่ายนานาชาติ และเจ้าหน้าที่ประจำหลักสูตรที่สามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้เป็นอย่างดี คอยให้ความช่วยเหลือเกี่ยวกับการลงทะเบียนเรียน การประสานงานกับหน่วยงานต่าง ๆ การทำวีซ่า และการดูแลขณะเกิดเรื่องฉุกเฉิน ที่พักสำหรับนิสิตจุฬาฯ มีหอพักเรือนวิรัชมิตร (CU I-House) สำหรับนิสิตต่างชาติโดยเฉพาะ สามารถเดินทางได้สะดวก มีรถรับส่งไปยังมหาวิทยาลัย อยู่ใกล้ร้านอาหารมากมาย และค่าใช้จ่ายถูกกว่าหอพักบริเวณใกล้เคียง กิจกรรมและสันทนาการสำนักบริหารกิจการนิสิต ตั้งชมรม International Student Club เพื่อให้นิสิตต่างชาติและนิสิตไทยได้ทำกิจกรรมด้วยกันเพื่อแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม หรือหากนิสิตสนใจเล่นกีฬา ดนตรี หรือกิจกรรมด้านอื่น ๆ ก็สามารถสมัครเข้าร่วมชมรมที่สนใจได้ เพื่อหาเพื่อนที่มีความสนใจเหมือนกัน Unibuddyแอปคู่หูการใช้ชีวิตในจุฬาฯ เพื่อนิสิตต่างชาติ คุณศุกลินกล่าวว่าในบางครั้งการดูรีวิวจากอินเทอร์เน็ตก็อาจจะมีข้อมูลที่จริงบ้างไม่จริงบ้าง หรือการสอบถามข้อมูลโดยตรงจากมหาวิทยาลัยก็อาจจะไม่ได้ข้อมูลในมุมมองของผู้เรียน จุฬาฯ จึงเปิด “Unibuddy” เว็บไซต์แอปพลิเคชันที่จะช่วยให้นิสิตต่างชาติได้รู้เรื่องราว ทั้งเรื่องเรียนและการใช้ชีวิตในมุมมองนิสิตจุฬาฯ โดยผู้ให้ข้อมูลเป็นนิสิตจุฬาฯ ทั้งนิสิตไทยและนิสิตต่างชาติ สามารถเข้าใช้งาน Unibuddy ได้ที่นี่ พูดไทยไม่ได้ จะมาเรียนที่จุฬาฯ ได้ไหม? ภาษาไม่ใช่อุปสรรคในการเรียนและใช้ชีวิตที่จุฬาฯ แม้จะไม่สามารถสื่อสารภาษาไทยได้ นิสิตต่างชาติก็สามารถเรียนและสนุกกับประสบการณ์ชีวิตที่จุฬาฯ ได้ “หลักสูตรนานาชาติทุกหลักสูตรจัดการเรียนการสอนเป็นภาษาอังกฤษทั้งหมด นอกจากนี้ นิสิตจุฬาฯ ชาวไทยส่วนมากก็สามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้ดี ภายนอกมหาวิทยาลัยอาจจะมีบุคคลที่ไม่สามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้ แต่สมัยนี้ เราก็มีเครื่องมือและโปรแกรมที่สามารถแปลภาษาเพื่อใช้สื่อสารได้ เช่น ในโรงอาหาร แม้จะไม่มีเมนูภาษาอังกฤษ ก็สามารถถ่ายรูปอาหารบนป้ายที่อยากทานแล้วยื่นให้แม่ค้าดูได้” สำหรับนิสิตที่สนใจจะเรียนภาษาไทย จุฬาฯ ก็มีหลักสูตรหลากหลายรูปแบบให้นิสิตได้เลือกเรียนตามความสนใจ หลักสูตรออนไลน์เรียนฟรีกับ Chula MOOC เตรียมตัวก่อนมาประเทศไทยด้วยหลักสูตรภาษาไทยพื้นฐานที่น่าสนใจ ได้แก่ หลักสูตร Survival Thai หลักสูตร Communicative Thai for Foreigners และหลักสูตร Thai on Campus พร้อมรับประกาศนียบัตรจากจุฬาฯ เมื่อเรียนจบหลักสูตร หลักสูตรภาษาไทยแบบลงทะเบียนเรียนนิสิตต่างชาติสามารถลงทะเบียนเรียนวิชาภาษาไทยสำหรับนิสิตต่างชาติโดยเฉพาะ โดยไม่ต้องเสียค่าลงทะเบียนเรียนเพิ่ม และยังเก็บเป็นวิชาเรียนในใบทรานสคริปต์ได้ด้วย หลักสูตรภาษาไทยแบบเข้มข้นหากการเรียนในห้องเรียนยังไม่เพียงพอ นิสิตก็สามารถสมัครเรียนเพิ่มเติมได้ที่ ศูนย์ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ ซึ่งนอกจากจะมีการเรียนภาษาในห้องเรียนแล้ว ยังมีกิจกรรมเวิร์คช็อปทางวัฒนธรรมไทยอีกด้วย หลักสูตรนี้ชาวต่างชาติที่ไม่ใช่นิสิตจุฬาฯ ก็สามารถสมัครเรียนได้เช่นเดียวกัน “ในเมื่อมีโอกาสได้มาเป็นนิสิตจุฬาฯ ที่ประเทศไทย นอกจากการเรียนภาษาไทยกับเจ้าของภาษาในห้องเรียนแล้ว สิ่งที่สำคัญคือการนำความรู้ที่ได้มาใช้กับคนนอกห้องเรียนเพื่อฝึกฝนภาษาไทยให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นในสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมการเรียนรู้ทางภาษาไทยที่สุด” สนใจมาเรียนที่จุฬาฯ จะต้องทำอย่างไร จุฬาฯ มีหลักสูตรนานาชาติ ที่มีการเรียนการสอนเป็นภาษาอังกฤษทั้งหมดในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอกมากกว่า 100 หลักสูตรจากหลากหลายสาขาวิชา โดยเปิดเรียนภาคเรียนที่ 1 ในเดือนสิงหาคม การรับสมัครในระดับปริญญาตรีจะเปิดรับสมัครรอบที่ 1 ในช่วงเดือนธันวาคม – มกราคม ส่วนการรับสมัครในระดับบัณฑิตศึกษาจะแบ่งการรับสมัครเป็น 2 ช่วง ได้แก่ รอบรับสมัครเดือนกุมภาพันธ์ – พฤษภาคม เริ่มเรียนในเดือนสิงหาคม และรอบรับสมัครเดือนกันยายน – ตุลาคม เริ่มเรียนในเดือนมกราคม สำหรับนิสิตที่ต้องการทุน จุฬาฯ ก็มีทุนสนับสนุนสำหรับนิสิตหลายประเภทตามทั้งทุนการศึกษาและทุนทำวิจัย นอกจากการเรียนในระดับปริญญาแล้ว จุฬาฯ ยังมีโครงการแลกเปลี่ยนสำหรับนิสิตจากต่างประเทศที่สนใจมาเรียนที่จุฬาฯ ระยะสั้น 1-2 ภาคการศึกษา เพื่อมาเก็บเกี่ยวความรู้ที่จุฬาฯ และหาประสบการณ์การใช้ชีวิตที่ประเทศไทยในเวลาเดียวกัน · Exchange Program นิสิตจากมหาวิทยาลัยคู่สัญญาที่ทำ MOU ร่วมกับจุฬาฯ สามารถมาแลกเปลี่ยนที่จุฬาฯ โดยที่ไม่ต้องเสียค่าเล่าเรียนที่จุฬาฯ นอกจากชำระค่าเล่าเรียนที่มหาวิทยาลัยของตน ผู้สนใจสามารถสมัครได้ล่วงหน้า 6 เดือนก่อนเปิดภาคเรียน* ที่ผู้ประสานงานของมหาวิทยาลัยที่ตนเองสังกัด โดยสามารถตรวจสอบมหาวิทยาลัยคู่สัญญาได้ที่นี่ · Visiting Program สำหรับนิสิตที่มาจากมหาวิทยาลัยต่างประเทศที่ไม่ใช่คู่สัญญาของจุฬาฯ ก็สามารถมาศึกษาที่จุฬาฯ 1-2 ภาคการศึกษาได้เช่นกัน โดยสามารถติดต่อกับผู้ดูแลหลักสูตรที่ต้องการสมัครของจุฬาฯ ได้เลย โดยชำระค่าเล่าเรียนที่จุฬาฯ ผู้สนใจจะต้องสมัครล่วงหน้า 6 เดือนก่อนเปิดภาคเรียน* *สำหรับ Exchange Program และ Visiting Program หากต้องการจะเริ่มเรียนในภาคเรียนที่ 1 ในเดือนสิงหาคม สามารถสมัครได้ตั้งแต่เดือนมกราคม – กุมภาพันธ์ในปีเดียวกัน และหากต้องเริ่มเรียนในภาคเรียนที่ 2 ในเดือนมกราคม สามารถสมัครได้ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม – สิงหาคมของปีก่อนหน้า · APRU Virtual Student Exchange สำหรับนิสิตต่างชาติจากมหาวิทยาลัยสมาชิกเครือข่าย APRU ที่สนใจจะเรียนวิชาของจุฬาฯ แต่ไม่สะดวกที่จะมาเรียนที่ประเทศไทย หรืออยากจะเรียนแค่วิชาเดียว ก็สามารถเข้าร่วมโครงการ APRU Virtual Student Exchange ที่นิสิตจะได้เรียนวิชาที่สนใจบนคลาสออนไลน์กับนิสิตจุฬาฯ โดยที่ชำระค่าเล่าเรียนเฉพาะที่มหาวิทยาลัยของตนเท่านั้น เตรียมวีซ่าให้พร้อมก่อนมาเรียนที่จุฬาฯ สิ่งที่สำคัญที่สุดที่จะทำให้การใช้ชีวิตที่จุฬาฯ ของชาวต่างชาติราบรื่น นั่นก็คือ “วีซ่า” ซึ่งผู้ที่จะเข้ามาเรียนที่จุฬาฯ ต้องมี Education Visa หลังจากที่ผู้สมัครผ่านการคัดเลือกเข้าศึกษาต่อ ทางมหาวิทยาลัยจะออกเอกสารตอบรับเข้าศึกษาเพื่อให้ผู้สมัครไปยื่นขอวีซ่าที่สถานทูตไทยหรือกงสุลไทย และเมื่อต้องมีการต่อวีซ่า ก็สามารถติดต่อได้ที่ผู้ประสานงานหลักสูตรของตนเองได้เลย “สิ่งที่ต้องรู้เกี่ยวกับ Education Visa คือ วีซ่าประเภทนี้จะใช้ได้ก็ต่อเมื่อเดินทางมาจากประเทศของตนเองเท่านั้น วีซ่านักท่องเที่ยวไม่สามารถเปลี่ยนประเภทวีซ่าเป็นวีซ่านักเรียนที่ประเทศไทยได้ กรณีนี้ นิสิตจะต้องเดินทางกลับประเทศของตนก่อนแล้วบินกลับมาใหม่เท่านั้น” “สำหรับผู้ที่มีวีซ่าทำงานแล้วมาเรียนนอกเวลาทำงานก็สามารถมาเรียนได้ แม้จะถือวีซ่าทำงาน แต่วีซ่าทำงานไม่สามารถเปลี่ยนเป็นวีซ่านักเรียนได้ที่ประเทศไทยเช่นเดียวกับวีซ่าท่องเที่ยว ซึ่งเป็นปัญหาที่นิสิตพบบ่อย นี่จึงคือสิ่งที่ควรเตรียมตัวมาให้ดีหากนิสิตไม่อยากเสียเงินและเสียเวลาในการเดินทาง” รู้จักเรื่องราวของจุฬาฯ ให้มากขึ้น ที่เว็บไซต์ https://www.chula.ac.th/en/ สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ สำนักบริหารวิรัชกิจและเครือข่ายนานาชาติ จุฬาฯ โทรศัพท์: +66 2218 3126 อีเมล: int.off@chula.ac.th Facebook: https://www.facebook.com/ChulaOIA/ EZ Webmaster Related Posts สสวท. พารอบรู้คู่ฤดูร้อนกับ “พายุฤดูร้อน” สพฐ.สั่งเลื่อนสอบ ม.1 และ ม.4 ทั่วประเทศ หลังเหตุแผ่นดินไหว รอประเมินความปลอดภัยก่อนกำหนดสอบใหม่ ม.สุโขทัยธรรมาธิราช เปิดรับนักศึกษาใหม่ ภาคต้นปีการศึกษา 2568 เริ่มรับสมัครวันที่ 1 เมษายน 2568 CP All Education Forum 2025 จัดใหญ่! มอบทุนการศึกษากว่า 1,648 ล้าน ปลุกพลังการศึกษาไทย “สร้างคนเก่ง ดี มีความสามารถ” รับมือยุค AI TCAS68 รอบ2 โควตา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ปีการศึกษา2568 Post navigation PREVIOUS Previous post: “ดิจิทัล” เปิดศักราชใหม่ในการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้NEXT Next post: สสวท. รวมพลังมูลนิธิฯ หนุนโครงการพระราชทานความช่วยเหลือ พัฒนาการเรียนวิทย์ เน้นปฏิบัติการทดลองโรงเรียน สปป.ลาว Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
สพฐ.สั่งเลื่อนสอบ ม.1 และ ม.4 ทั่วประเทศ หลังเหตุแผ่นดินไหว รอประเมินความปลอดภัยก่อนกำหนดสอบใหม่ EZ WebmasterMarch 28, 2025 ด่วน! สพฐ.สั่งเลื่อนสอบ ม.1 และ ม.4 ทั่วประเทศ หลังเหตุแผ่นดินไหว รอประเมินความปลอดภัยก่อนกำหนดสอบใหม่ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) มีคำสั่งด่วนถึงผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา (ผอ.สพม.) ทั่วประเทศ ให้เลื่อนการสอบเข้าเรียนต่อระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ 4 ออกไปก่อน… ม.สุโขทัยธรรมาธิราช เปิดรับนักศึกษาใหม่ ภาคต้นปีการศึกษา 2568 เริ่มรับสมัครวันที่ 1 เมษายน 2568 EZ WebmasterMarch 28, 2025 ม.สุโขทัยธรรมาธิราช เปิดรับนักศึกษาใหม่ ภาคต้นปีการศึกษา 2568 เริ่มรับสมัครวันที่ 1 เมษายน 2568 1 เมษายน 2568 วันเปิดรับสมัครนักศึกษาใหม่ภาคต้นปีการศึกษา 2568 สามารถดาวน์โหลดระเบียบการสมัครเป็นนักศึกษาและใบสมัครฯ ฟรี!!! คลิกได้ที่นี่ คลิก Download… CP All Education Forum 2025 จัดใหญ่! มอบทุนการศึกษากว่า 1,648 ล้าน ปลุกพลังการศึกษาไทย “สร้างคนเก่ง ดี มีความสามารถ” รับมือยุค AI EZ WebmasterMarch 28, 2025 เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI) เข้ามาเปลี่ยนแปลงทุกภาคส่วนของสังคมอย่างรวดเร็ว วงการศึกษาคือหนึ่งในภาคส่วนที่ต้องพลิกเกมส์ให้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง การเตรียม “คน” ผ่านการศึกษาจึงเป็นอีกหนึ่งความท้าทาย ที่ภาคการศึกษาต้องรับมือให้พร้อม บมจ.ซีพี ออลล์ ร่วมกับ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ (PIM) วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์ (PAT) และโรงเรียนสาธิตสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ จัดงาน… นักศึกษา CP All Education Forum 2025 จัดใหญ่! มอบทุนการศึกษากว่า 1,648 ล้าน ปลุกพลังการศึกษาไทย “สร้างคนเก่ง ดี มีความสามารถ” รับมือยุค AI EZ WebmasterMarch 28, 2025 เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI) เข้ามาเปลี่ยนแปลงทุกภาคส่วนของสังคมอย่างรวดเร็ว วงการศึกษาคือหนึ่งในภาคส่วนที่ต้องพลิกเกมส์ให้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง การเตรียม “คน” ผ่านการศึกษาจึงเป็นอีกหนึ่งความท้าทาย ที่ภาคการศึกษาต้องรับมือให้พร้อม บมจ.ซีพี ออลล์ ร่วมกับ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ (PIM) วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์ (PAT) และโรงเรียนสาธิตสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ จัดงาน… มธ. รับสมัครนักศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสหวิทยาการ ประจำปีการศึกษา 2568 EZ WebmasterMarch 27, 2025 วิทยาลัยสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เปิดรับสมัครนักศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสหวิทยาการ (จัดการเรียนการสอนที่ท่าพระจันทร์) มี 2 แผนการศึกษา ดังนี้ แผน 1.1 (ทเฉพาะวิทยานิพนธ์) แผน 2.1 (ศึกษารายวิชาและทำวิทยานิพนธ์) หลักฐานประกอบการสมัคร 3.1 ใบสมัครของหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสหวิทยาการ… มทร.ธัญบุรี เปิดกว้างทุกวัย เพื่อเรียนรู้ตลอดชีพ ธนาคารหน่วยกิต “40 หลักสูตร ป.ตรี” tui sakrapeeMarch 26, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) เปิดรับสมัครผู้สนใจเข้าร่วมโครงการการเรียนรู้ตลอดชีวิตในระบบเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ (ธนาคารหน่วยกิต) หลักสูตรระดับปริญญาตรี ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2568 ตั้งแต่วันที่ 24 มี.ค. ถึง 30 พ.ค. 2568 โดยไม่มีค่าใช้จ่ายในการสมัคร… เปิดรับอาสาสมัครศิริราช รอบทำกิจกรรม เดือน พ.ค.-ก.ค. 68 ทุกกิจกรรมมีใบรับรองการทำกิจกรรม EZ WebmasterMarch 26, 2025 ตารางการรับอาสาสมัครรอบทำกิจกรรม เดือน พฤษภาคม – กรกฏาคม 68 (กิจกรรมที่อยู่ในเว็บไซต์ตอนนี้เป็นรอบเก่ามีผู้เข้าร่วมเต็มทั้งหมดแล้วค่ะ รอบใหม่จะเปิดตามวันเวลาที่แจ้งด้านล่างนี้เท่านั้น*) ขอให้อาสาเป็นผู้สมัครและกดเลือกกิจกรรมด้วยตนเองนะคะ – 31 ก.ค. 68 **เนื่องจากวันที่ 5 พ.ค. เป็นวันหยุด จะขอเริ่มตั้งแต่วันที่วันที่ 6 พ.ค.… ทุนดีดี U. of Waterlooให้ทุนป.ตรี InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศMarch 28, 2025 Faculty of Science International Student Scholarships at University of Waterloo, Canadaสำหรับนักศึกษาต่างชาติสูงสุด 15 ทุน เพื่อสนับสนุนนักศึกษาที่มีผลงานดีเด่นในภาคการศึกษาปีการศึกษา 2025/2026 ซึ่งรวมถึงทุนการศึกษาแบบต่ออายุ 10 ทุน… มหาวิทยาลัยอัลอัซฮัร กรุงไคโร สาธารณรัฐอาหรับอียิปต์ มอบ 160 ทุนให้นักศึกษาจากประเทศไทย EZ WebmasterMarch 27, 2025 มหาวิทยาลัยอัลอัซฮัร กรุงไคโร สาธารณรัฐอาหรับอียิปต์ มอบทุนการศึกษาแก่นักศึกษาจากประเทศไทย จำนวน 160 ทุน ในปีการศึกษา 2025/2026 (2568/2569) โดยจำแนกเป็น ทุนนการศึกษาสาขาอิสลามศึกษา จำนวน 80 ทุน เฉพาะนักเรียนที่จบการศึกษาระดับอิสลามศึกษาตอนปลาย (ซานาวี) #จากโรงเรียนที่ได้รับรองวิทยฐานะ ประกาศนียบัตรระดับอิสลามศึกษาตอนปลาย (ซานาวี)… Peking U.ให้ทุนป.ตรี-เอก InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศMarch 27, 2025 Peking University กำลังให้ทุนสำหรับนักศึกษาต่างชาติที่โดดเด่น ทุนนี้ก่อตั้งขึ้นในปี 2012 โดยให้การสนับสนุนนักศึกษาระดับปริญญาตรี โท และเอก(ไม่จำกัดสาขาวิชา) โดยให้ความช่วยเหลือทางการเงินเต็มจำนวนหรือบางส่วน รวมถึงค่าเล่าเรียน เงินเดือน และประกันสุขภาพ เปิดรับสมัครช่วงมีนาคมถึงเมษายน ทุกปี เพื่อให้มีสิทธิ์ได้รับทุน ผู้สมัครจะต้องเป็นนักศึกษาต่างชาติที่ได้รับข้อเสนอให้เข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยปักกิ่งในฐานะนักศึกษาปีหนึ่ง จะต้องไม่เป็นผู้รับทุนการศึกษาอื่นใด และไม่ควรลงทะเบียนในโปรแกรมปริญญาวิชาชีพ… สัปดาห์สุดท้าย!ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา เปิดรับรอบที่ 2 Quota 8 สาขา พร้อมมอบทุนเพชรสุนันทา เรียนการออกแบบแฟชั่น tui sakrapeeMarch 27, 2025 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดรับสมัครคัดเลือกนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญเข้าศึกษาในโครงการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาระดับปริญญาตรี ระบบโควตา ประเภทความสามารถทางวิชาการ และประเภทความสามารถพิเศษ ประจำปีการศึกษา 2568 (รอบที่ 2 Quota) พร้อมรับสมัครคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษา ภาคปกติ ระดับปริญญาตรี ในโครงการทุนเพชรสุนันทา กำหนดการรับสมัคร สาขาที่รับสมัครคณะศิลปกรรมศาสตร์ คุณสมบัติเฉพาะ… ครู-อาจารย์ 5 แนวโน้มสำคัญด้านการศึกษาในปี 2025 EZ WebmasterMarch 28, 2025 5 แนวโน้มสำคัญด้านการศึกษาในปี 2025 ปี 2025 เป็นปีแห่งการเปลี่ยนแปลงของวงการศึกษา เทคโนโลยีใหม่ๆ และแนวคิดการเรียนรู้ที่ทันสมัยจะเข้ามามีบทบาทสำคัญ มาดูกันว่าอะไรคือแนวโน้มหลักที่ต้องจับตามอง! การเกิดขึ้นของโรงเรียนรูปแบบใหม่ Hybrid Learning, Microschools และ Homeschool กำลังได้รับความนิยมมากขึ้น การใช้… มจธ. คิดค้น “นวัตกรรมการผลิตซิลิกาด้วยเทคโนโลยีชีวภาพ” ต้นทุนต่ำ คุณภาพสูง พร้อมพลิกโฉมอุตสาหกรรมไทย EZ WebmasterMarch 27, 2025 นักวิจัย มจธ.พัฒนากระบวนการผลิต ไบโอซิลิกา (Biosilica) จากแกลบข้าว ด้วยกระบวนการชีวภาพ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและไร้สารเคมีตกค้าง พร้อมส่งต่อเทคโนโลยีเพื่อนำไปใช้ในอุตสาหกรรมต่างๆ เช่น เครื่องสำอาง เวชสำอาง ยา และยาง ซึ่งเป็นก้าวสำคัญที่ช่วยให้ประเทศไทยลดการพึ่งพาซิลิกานำเข้า และส่งเสริมเศรษฐกิจหมุนเวียนของประเทศ ซิลิกา (Silica) เป็นวัตถุดิบสำคัญในหลายอุตสาหกรรมของไทย ตั้งแต่ยางรถยนต์ เครื่องสำอาง เวชภัณฑ์… โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “ดร.ชุมพล พรประภา” เป็นนายกสภา ม.ศรีนครินทรวิโรฒ tui sakrapeeMarch 26, 2025 ราชกิจจานุเบกษาเผยแพร่ ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “ชุมพล พรประภา” ดำรงตำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ แทนวิจิตร ศรีสอ้าน ที่ถึงแก่อนิจกรรม ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 142 ตอนพิเศษ 147 ง เมื่อวันที่ 25… สอศ. ปั้นผู้อำนวยการอาชีวะยุคใหม่! เสริมภาวะผู้นำ-วิสัยทัศน์ ทันโลกการศึกษา EZ WebmasterMarch 26, 2025 วันที่ 26 มีนาคม 2568 นายยศพล เวณุโกเศศ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (เลขาธิการ กอศ.) เป็นประธานเปิดโครงการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และบรรยายพิเศษ “Growth Mindset: แนวคิดเชิงบวกและการเติบโตขององค์กร” โดยนางธิติมา โรจน์วัชราภิบาล ผู้อำนวยการ… กิจกรรม สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ ร่วมพิธีวางพานพุ่มและพิธีตักบาตร เนื่องในวันครบรอบ ๑๐๘ ปี แห่งการสถาปนาจุฬาฯ EZ WebmasterMarch 27, 2025 สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินร่วมพิธีวางพานพุ่มสักการะพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระปิยมหาราชและสมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า และพิธีตักบาตร เนื่องในวันครบรอบ ๑๐๘ ปี แห่งการสถาปนาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมี นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ และ นายอรรษิษฐ์ สัมพันธรัตน์ ประธานการจัดงานคืนเหย้าชาวจุฬาฯ… พิธีเปิดกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) ภายใต้โครงการพัฒนามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมผ้าไทยสู่สากล ประจำปี ๒๕๖๘ EZ WebmasterMarch 26, 2025 นางสาวลิปิการ์ กำลังชัย รองธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรม รักษาราชการแทนอธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรมเป็นประธานพิธิเปิด และร่วมรับฟังการบรรยายกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) พร้อมด้วยนางสาวศิวพร ฉันทไกรวัฒน์ ผู้อำนวยการกลุ่มเผยแพร่และต่อยอดมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมเข้าร่วมงาน โดยวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญด้านผ้าไทย การออกแบบและแฟชั่น อาทิ ผศ.ดร.รวิเทพ มุสิกะปาน ผศ.ดร.วุฒิไกร… เปิดรับอาสาสมัครศิริราช รอบทำกิจกรรม เดือน พ.ค.-ก.ค. 68 ทุกกิจกรรมมีใบรับรองการทำกิจกรรม EZ WebmasterMarch 26, 2025 ตารางการรับอาสาสมัครรอบทำกิจกรรม เดือน พฤษภาคม – กรกฏาคม 68 (กิจกรรมที่อยู่ในเว็บไซต์ตอนนี้เป็นรอบเก่ามีผู้เข้าร่วมเต็มทั้งหมดแล้วค่ะ รอบใหม่จะเปิดตามวันเวลาที่แจ้งด้านล่างนี้เท่านั้น*) ขอให้อาสาเป็นผู้สมัครและกดเลือกกิจกรรมด้วยตนเองนะคะ – 31 ก.ค. 68 **เนื่องจากวันที่ 5 พ.ค. เป็นวันหยุด จะขอเริ่มตั้งแต่วันที่วันที่ 6 พ.ค.… เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน รับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน EZ WebmasterMarch 24, 2025 เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน เกม Let’s School เกมแนวบริหารโรงเรียนในฝัน ที่จะให้เรารับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน อยากให้โรงเรียนเป็นแบบไหนก็ปรับเล่นได้เลย ดูอารมณ์นักเรียกได้ด้วยว่ามีความสุขมั้ย? แถมตอนนี้ยังมีอัปเดตแมพใหม่พร้อมซัพไทยด้วยนะ Let’s School โหลดเล่นได้ที่ Steam :… Search for: Search EZ Webmaster January 31, 2024 EZ Webmaster January 31, 2024 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ศูนย์กลางการศึกษาระดับภูมิภาคพร้อมรับนิสิตต่างชาติ สู่โลกการเรียนรู้และประสบการณ์หลากสีสันแห่งเอเชีย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยพร้อมเป็นหนึ่งในศูนย์กลางการศึกษาแห่งภูมิภาคเอเชีย เปิดรับนิสิตชาวไทยและต่างชาติ ด้วยกว่าร้อยหลักสูตรนานาชาติ รองรับทุกสายการเรียน สร้างประสบการณ์การเรียนรู้ไร้พรมแดน เตรียมบัณฑิตสู่ความเป็นพลเมืองโลก ประเทศไทยเป็นหนึ่งในจุดหมายปลายทางที่ชาวต่างชาตินิยมมาท่องเที่ยว ด้วยเสน่ห์ของ Soft Power อย่างศิลปะ วัฒนธรรม อาหาร วิถีชีวิต ธรรมชาติ ภูมิอากาศ และค่าครองชีพที่สมเหตุสมผล แต่ที่หลายคนอาจจะยังไม่รู้ – ประเทศไทยยังเป็นหนึ่งในจุดหมายของการศึกษาที่นิสิตต่างชาติสนใจมาเรียนและใช้ชีวิตด้วยเช่นกัน “ประเทศไทยมีความโดดเด่นทางด้านการศึกษาและเป็นที่สนใจของนิสิตต่างชาติจำนวนมาก เช่นที่จุฬาฯ เราเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยที่การศึกษามีคุณภาพ เป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ มีหลักสูตรนานาชาติที่สามารถรองรับนิสิตต่างชาติด้วยการสอนเป็นภาษาอังกฤษมากกว่า 100 หลักสูตรในทุกระดับปริญญา ในขณะที่ค่าครองชีพและค่าเล่าเรียนของเราก็ถูกกว่าประเทศอื่น ๆ ที่โดดเด่นด้านการศึกษาในระดับเดียวกัน” คุณศุกลิน วนาเกษมสันต์ ผู้อำนวยการฝ่ายบริหารวิชาการนานาชาติ สำนักบริหารวิรัชกิจและเครือข่ายนานาชาติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าว ปัจจุบัน จุฬาฯ มีนิสิตต่างชาติประมาณ 2,000 คน จาก 60 ประเทศ ที่มาศึกษาแลกเปลี่ยนและเรียนระดับปริญญาในหลายหลักสูตร จำนวนของนิสิตต่างชาติดูมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ด้วยทิศทางของโลกสมัยใหม่ ที่เปิดให้ผู้คนเดินทางและโยกย้ายถิ่นฐานได้สะดวกยิ่งขึ้น ไม่ว่าจะไปทำงาน ท่องเที่ยว หรือศึกษาเล่าเรียน โดยเฉพาะการเรียนรู้ เป็นส่วนหนึ่งของการเพิ่มพูนประสบการณ์ชีวิต สร้างเสริมความเป็นพลเมืองโลกและทักษะในการอยู่ในโลกสมัยใหม่ ที่ต้องเปิดใจ เข้าใจและยอมรับความแตกต่างหลากหลายและพหุวัฒนธรรม ทำไม นิสิตต่างชาติจึงเลือกมาเรียนจุฬาฯ ชื่อเสียงของจุฬาฯ และการยอมรับในระดับนานาชาติเป็นหนึ่งในเหตุผลต้น ๆ ที่นิสิตต่างชาติเลือกมาเรียนที่จุฬาฯ ในระดับประเทศ จุฬาฯ ครองอันดับ 1 ของประเทศไทยเป็นปีที่ 4 ติดต่อกัน จาก THE Impact Rankings 2023 และติดอันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทยเป็นปีที่ 15 ติดต่อกัน (ตั้งแต่ปี 2009) ในการจัดอันดับ QS World University Rankings 2024 โดย QS Quacquarelli Symonds ส่วนในระดับนานาชาติ จุฬาฯ ครองอันดับ 17 ของโลก จาก THE Impact Rankings 2023 และติดอันดับท็อป 50 ของโลกทางด้านผลลัพธ์ด้านการจ้างงาน (Employment Outcomes) โดย QS World University Rankings 2024 “จุฬาฯ เป็นศูนย์กลางการศึกษาในระดับอาเซียนและเอเชีย มีความโดดเด่นด้านวิชาการทั้งในสายวิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ ทุกหลักสูตรเปี่ยมด้วยคุณภาพและส่งเสริมความเป็นพลเมืองโลกให้นิสิตทั้งชาวไทยและต่างชาติ ซึ่งเมื่อจบการศึกษา บัณฑิตจุฬาฯ จะมีทักษะที่จำเป็นและสามารถทำงานได้ทุกที่ในโลก” คุณศุกลิน กล่าว นอกจากความโดดเด่นด้านวิชาการแล้ว บรรยากาศการเรียนรู้และการใช้ชีวิตที่จุฬาฯ ยังมีสีสัน ผสานความเก่าแก่และความทันสมัย เปิดโลกการเรียนรู้ตลอดชีวิต ที่ไม่มีในตำรา จุฬาฯ เป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของประเทศไทย ก่อตั้งมาแล้วกว่า 106 ปี ในพื้นที่การศึกษากว่า 1 ตารางกิโลเมตร (637 ไร่) ของจุฬาฯ มีอาคารทรงคุณค่าทางสถาปัตยกรรมมากมาย อีกทั้งเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ที่ขนานไปกับการเติบโตของประเทศไทยยุคใหม่ (modernization) นอกจากนี้ ด้วยความที่ตั้งอยู่ใจกลางมหานคร จุฬาฯ จึงอยู่ในแหล่งความทันสมัยและวัฒนธรรมสมัยใหม่ เช่น สยามสแควร์ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพ และไม่ไกลจากย่านเมืองเก่า เช่น เยาวราช สามย่าน เจริญกรุง ฯลฯ กล่าวได้ว่านิสิตที่มาเรียนที่จุฬาฯ จะได้ใช้ชีวิตการเรียนรู้ในบรรยากาศที่อดีต ปัจจุบัน และทิศทางแห่งอนาคตผสานกันอย่างลงตัว ความร่วมมือระดับนานาชาติ สร้างนิสิตจุฬาฯ สู่ความเป็นพลเมืองโลก จุฬาฯ ก้าวไปกับทิศทางการศึกษาในโลกสมัยใหม่ ที่เน้นหล่อหลอมบัณฑิตให้มีสำนึกความเป็นพลเมืองโลก สามารถปรับตัวเข้ากับกระแสการเปลี่ยนแปลงของโลก รวมถึงมีความเข้าใจความหลากหลายของสังคมและอยู่ได้ในพหุวัฒนธรรม “ด้วยชื่อเสียงและความพยายามของจุฬาฯ ทำให้เรามี MOU กับมหาวิทยาลัยชื่อดังหลายแห่งทั่วโลก นิสิตหลักสูตรนานาชาติของจุฬาฯ จะได้เรียนรู้และอยู่ในบรรยากาศแบบนานาชาติ และมีโอกาสได้เจอสภาพแวดล้อมอื่น ๆ เข้าเรียนกับมหาวิทยาลัยชั้นนำในต่างประเทศในวิชาที่ตนสนใจได้แทนที่จะเรียนตลอด 4 ปีที่จุฬาฯ ที่เดียว” ด้วยเป้าหมายดังกล่าว จุฬาฯ ได้ทำความร่วมมือกับหน่วยงานและมหาวิทยาลัยในระดับนานาชาติ เพื่อให้นิสิตสามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูล รวมถึง โดยความร่วมมือที่จุฬาฯ ทำกับสถาบันต่าง ๆ ได้แก่ ความร่วมมือด้านฐานข้อมูล จุฬาฯ มีห้องสมุดและฐานข้อมูลระดับเวิล์ดคลาส ที่นิสิตจุฬาฯ จะสามารถเข้าถึงแหล่งความรู้ ทั้งหนังสือ วารสาร งานวิจัย วิทยานิพนธ์ และฐานข้อมูลอ้างอิงจากต่างประเทศได้อย่างกว้างขวาง เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และการค้นคว้าของนิสิตได้อย่างเต็มที่ ความร่วมมือด้านหลักสูตร จุฬาฯ มีหลักสูตรนานาชาติแบบหลักสูตรปริญญาร่วมและหลักสูตรสองปริญญา ที่ผู้เรียนจะได้เรียนที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยพาร์ทเนอร์จากต่างประเทศ เช่น หลักสูตรปริญญาตรีสาขาวิทยาศาสตร์จิตวิทยา ร่วมกับ University of Queensland ออสเตรเลีย หลักสูตรปริญญาโทการจัดการทางวิศวกรรม ร่วมกับ The University of Warwick สหราชอาณาจักร เป็นต้น นอกจากนี้ จุฬาฯ ยังได้ทำ MOU ร่วมกับมหาวิทยาลัยชั้นนำหลายแห่งในโลก เพื่อให้นิสิตจุฬาฯ สามารถไปแลกเปลี่ยนที่ต่างประเทศ เพื่อเรียนในสาขาที่ตนเองสนใจกับมหาวิทยาลัยคู่สัญญา 1-2 ภาคการศึกษา หรือหากไม่อยากเดินทาง ก็สามารถแลกเปลี่ยนผ่าน APRU Virtual Student Exchange ที่นิสิตสามารถเข้าคลาสเรียนของมหาวิทยาลัยคู่สัญญาจากต่างประเทศได้ผ่านห้องเรียนออนไลน์ (ดูรายชื่อหลักสูตรทั้งหมดที่จุฬาฯ ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยต่างประเทศ ที่นี่) ชีวิตในรั้วจุฬาฯ สะดวกสบาย สนุก มีสีสัน มหาวิทยาลัยไม่ได้เป็นเรื่องการเรียนเท่านั้น แต่เป็นเรื่องการใช้ชีวิต คุณศุกลินให้ข้อมูลว่า จุฬาฯ มีความพร้อมทุกด้าน ไม่ว่าบุคลากรและสิ่งอำนวยความสะดวก ที่จะช่วยให้การมาเรียนและใช้ชีวิตในต่างแดนของนิสิตต่างชาติเป็นประสบการณ์สุดวิเศษครั้งหนึ่งในชีวิต การเดินทางจุฬาฯ เป็นมหาวิทยาลัยที่อยู่ใจกลางเมือง มีเส้นทางการเดินทางด้วยระบบขนส่งสาธารณะหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นรถเมล์ รถไฟฟ้า BTS และ MRT ส่วนการเดินทางภายในมหาวิทยาลัย จุฬาฯ ก็มีรถโดยสารภายในจุฬาฯ (Shuttle Bus) เพื่อให้นิสิตสามารถเดินทางไปอาคารเรียน หอพักนิสิต และพื้นที่โดยรอบมหาวิทยาลัยถึง 6 เส้นทาง โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย สุขภาพกายจุฬาฯ มีศูนย์บริการสุขภาพแห่งจุฬาฯ ที่ให้บริการทางสุขภาพฟรีแก่นิสิตจุฬาฯ และมีประกันสุขภาพสำหรับนิสิตต่างชาติ ที่นิสิตสามารถไปรับบริการที่โรงพยาบาลทั่วไปได้ หากเกิดเหตุฉุกเฉิน นิสิตจึงไม่ต้องกังวลเรื่องค่าใช้จ่ายหากเกิดเจ็บป่วยหรือเกิดอุบัติเหตุระหว่างที่เข้ามาศึกษา สุขภาพใจสำหรับนิสิตที่รู้สึกไม่สบายใจ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องเรียน การใช้ชีวิต การปรับตัว หรือเรื่องใดก็ตาม จุฬาฯ มีหน่วยส่งเสริมสุขภาวะนิสิต (Chula Student Wellness) ที่มีนักจิตวิทยาและจิตแพทย์คอยให้คำปรึกษานิสิตที่มีเรื่องกังวลทางใจ อีกทั้งจุฬาฯ ยังมีเจ้าหน้าที่จากสำนักบริหารวิรัชกิจและเครือข่ายนานาชาติ และเจ้าหน้าที่ประจำหลักสูตรที่สามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้เป็นอย่างดี คอยให้ความช่วยเหลือเกี่ยวกับการลงทะเบียนเรียน การประสานงานกับหน่วยงานต่าง ๆ การทำวีซ่า และการดูแลขณะเกิดเรื่องฉุกเฉิน ที่พักสำหรับนิสิตจุฬาฯ มีหอพักเรือนวิรัชมิตร (CU I-House) สำหรับนิสิตต่างชาติโดยเฉพาะ สามารถเดินทางได้สะดวก มีรถรับส่งไปยังมหาวิทยาลัย อยู่ใกล้ร้านอาหารมากมาย และค่าใช้จ่ายถูกกว่าหอพักบริเวณใกล้เคียง กิจกรรมและสันทนาการสำนักบริหารกิจการนิสิต ตั้งชมรม International Student Club เพื่อให้นิสิตต่างชาติและนิสิตไทยได้ทำกิจกรรมด้วยกันเพื่อแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม หรือหากนิสิตสนใจเล่นกีฬา ดนตรี หรือกิจกรรมด้านอื่น ๆ ก็สามารถสมัครเข้าร่วมชมรมที่สนใจได้ เพื่อหาเพื่อนที่มีความสนใจเหมือนกัน Unibuddyแอปคู่หูการใช้ชีวิตในจุฬาฯ เพื่อนิสิตต่างชาติ คุณศุกลินกล่าวว่าในบางครั้งการดูรีวิวจากอินเทอร์เน็ตก็อาจจะมีข้อมูลที่จริงบ้างไม่จริงบ้าง หรือการสอบถามข้อมูลโดยตรงจากมหาวิทยาลัยก็อาจจะไม่ได้ข้อมูลในมุมมองของผู้เรียน จุฬาฯ จึงเปิด “Unibuddy” เว็บไซต์แอปพลิเคชันที่จะช่วยให้นิสิตต่างชาติได้รู้เรื่องราว ทั้งเรื่องเรียนและการใช้ชีวิตในมุมมองนิสิตจุฬาฯ โดยผู้ให้ข้อมูลเป็นนิสิตจุฬาฯ ทั้งนิสิตไทยและนิสิตต่างชาติ สามารถเข้าใช้งาน Unibuddy ได้ที่นี่ พูดไทยไม่ได้ จะมาเรียนที่จุฬาฯ ได้ไหม? ภาษาไม่ใช่อุปสรรคในการเรียนและใช้ชีวิตที่จุฬาฯ แม้จะไม่สามารถสื่อสารภาษาไทยได้ นิสิตต่างชาติก็สามารถเรียนและสนุกกับประสบการณ์ชีวิตที่จุฬาฯ ได้ “หลักสูตรนานาชาติทุกหลักสูตรจัดการเรียนการสอนเป็นภาษาอังกฤษทั้งหมด นอกจากนี้ นิสิตจุฬาฯ ชาวไทยส่วนมากก็สามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้ดี ภายนอกมหาวิทยาลัยอาจจะมีบุคคลที่ไม่สามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้ แต่สมัยนี้ เราก็มีเครื่องมือและโปรแกรมที่สามารถแปลภาษาเพื่อใช้สื่อสารได้ เช่น ในโรงอาหาร แม้จะไม่มีเมนูภาษาอังกฤษ ก็สามารถถ่ายรูปอาหารบนป้ายที่อยากทานแล้วยื่นให้แม่ค้าดูได้” สำหรับนิสิตที่สนใจจะเรียนภาษาไทย จุฬาฯ ก็มีหลักสูตรหลากหลายรูปแบบให้นิสิตได้เลือกเรียนตามความสนใจ หลักสูตรออนไลน์เรียนฟรีกับ Chula MOOC เตรียมตัวก่อนมาประเทศไทยด้วยหลักสูตรภาษาไทยพื้นฐานที่น่าสนใจ ได้แก่ หลักสูตร Survival Thai หลักสูตร Communicative Thai for Foreigners และหลักสูตร Thai on Campus พร้อมรับประกาศนียบัตรจากจุฬาฯ เมื่อเรียนจบหลักสูตร หลักสูตรภาษาไทยแบบลงทะเบียนเรียนนิสิตต่างชาติสามารถลงทะเบียนเรียนวิชาภาษาไทยสำหรับนิสิตต่างชาติโดยเฉพาะ โดยไม่ต้องเสียค่าลงทะเบียนเรียนเพิ่ม และยังเก็บเป็นวิชาเรียนในใบทรานสคริปต์ได้ด้วย หลักสูตรภาษาไทยแบบเข้มข้นหากการเรียนในห้องเรียนยังไม่เพียงพอ นิสิตก็สามารถสมัครเรียนเพิ่มเติมได้ที่ ศูนย์ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ ซึ่งนอกจากจะมีการเรียนภาษาในห้องเรียนแล้ว ยังมีกิจกรรมเวิร์คช็อปทางวัฒนธรรมไทยอีกด้วย หลักสูตรนี้ชาวต่างชาติที่ไม่ใช่นิสิตจุฬาฯ ก็สามารถสมัครเรียนได้เช่นเดียวกัน “ในเมื่อมีโอกาสได้มาเป็นนิสิตจุฬาฯ ที่ประเทศไทย นอกจากการเรียนภาษาไทยกับเจ้าของภาษาในห้องเรียนแล้ว สิ่งที่สำคัญคือการนำความรู้ที่ได้มาใช้กับคนนอกห้องเรียนเพื่อฝึกฝนภาษาไทยให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นในสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมการเรียนรู้ทางภาษาไทยที่สุด” สนใจมาเรียนที่จุฬาฯ จะต้องทำอย่างไร จุฬาฯ มีหลักสูตรนานาชาติ ที่มีการเรียนการสอนเป็นภาษาอังกฤษทั้งหมดในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอกมากกว่า 100 หลักสูตรจากหลากหลายสาขาวิชา โดยเปิดเรียนภาคเรียนที่ 1 ในเดือนสิงหาคม การรับสมัครในระดับปริญญาตรีจะเปิดรับสมัครรอบที่ 1 ในช่วงเดือนธันวาคม – มกราคม ส่วนการรับสมัครในระดับบัณฑิตศึกษาจะแบ่งการรับสมัครเป็น 2 ช่วง ได้แก่ รอบรับสมัครเดือนกุมภาพันธ์ – พฤษภาคม เริ่มเรียนในเดือนสิงหาคม และรอบรับสมัครเดือนกันยายน – ตุลาคม เริ่มเรียนในเดือนมกราคม สำหรับนิสิตที่ต้องการทุน จุฬาฯ ก็มีทุนสนับสนุนสำหรับนิสิตหลายประเภทตามทั้งทุนการศึกษาและทุนทำวิจัย นอกจากการเรียนในระดับปริญญาแล้ว จุฬาฯ ยังมีโครงการแลกเปลี่ยนสำหรับนิสิตจากต่างประเทศที่สนใจมาเรียนที่จุฬาฯ ระยะสั้น 1-2 ภาคการศึกษา เพื่อมาเก็บเกี่ยวความรู้ที่จุฬาฯ และหาประสบการณ์การใช้ชีวิตที่ประเทศไทยในเวลาเดียวกัน · Exchange Program นิสิตจากมหาวิทยาลัยคู่สัญญาที่ทำ MOU ร่วมกับจุฬาฯ สามารถมาแลกเปลี่ยนที่จุฬาฯ โดยที่ไม่ต้องเสียค่าเล่าเรียนที่จุฬาฯ นอกจากชำระค่าเล่าเรียนที่มหาวิทยาลัยของตน ผู้สนใจสามารถสมัครได้ล่วงหน้า 6 เดือนก่อนเปิดภาคเรียน* ที่ผู้ประสานงานของมหาวิทยาลัยที่ตนเองสังกัด โดยสามารถตรวจสอบมหาวิทยาลัยคู่สัญญาได้ที่นี่ · Visiting Program สำหรับนิสิตที่มาจากมหาวิทยาลัยต่างประเทศที่ไม่ใช่คู่สัญญาของจุฬาฯ ก็สามารถมาศึกษาที่จุฬาฯ 1-2 ภาคการศึกษาได้เช่นกัน โดยสามารถติดต่อกับผู้ดูแลหลักสูตรที่ต้องการสมัครของจุฬาฯ ได้เลย โดยชำระค่าเล่าเรียนที่จุฬาฯ ผู้สนใจจะต้องสมัครล่วงหน้า 6 เดือนก่อนเปิดภาคเรียน* *สำหรับ Exchange Program และ Visiting Program หากต้องการจะเริ่มเรียนในภาคเรียนที่ 1 ในเดือนสิงหาคม สามารถสมัครได้ตั้งแต่เดือนมกราคม – กุมภาพันธ์ในปีเดียวกัน และหากต้องเริ่มเรียนในภาคเรียนที่ 2 ในเดือนมกราคม สามารถสมัครได้ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม – สิงหาคมของปีก่อนหน้า · APRU Virtual Student Exchange สำหรับนิสิตต่างชาติจากมหาวิทยาลัยสมาชิกเครือข่าย APRU ที่สนใจจะเรียนวิชาของจุฬาฯ แต่ไม่สะดวกที่จะมาเรียนที่ประเทศไทย หรืออยากจะเรียนแค่วิชาเดียว ก็สามารถเข้าร่วมโครงการ APRU Virtual Student Exchange ที่นิสิตจะได้เรียนวิชาที่สนใจบนคลาสออนไลน์กับนิสิตจุฬาฯ โดยที่ชำระค่าเล่าเรียนเฉพาะที่มหาวิทยาลัยของตนเท่านั้น เตรียมวีซ่าให้พร้อมก่อนมาเรียนที่จุฬาฯ สิ่งที่สำคัญที่สุดที่จะทำให้การใช้ชีวิตที่จุฬาฯ ของชาวต่างชาติราบรื่น นั่นก็คือ “วีซ่า” ซึ่งผู้ที่จะเข้ามาเรียนที่จุฬาฯ ต้องมี Education Visa หลังจากที่ผู้สมัครผ่านการคัดเลือกเข้าศึกษาต่อ ทางมหาวิทยาลัยจะออกเอกสารตอบรับเข้าศึกษาเพื่อให้ผู้สมัครไปยื่นขอวีซ่าที่สถานทูตไทยหรือกงสุลไทย และเมื่อต้องมีการต่อวีซ่า ก็สามารถติดต่อได้ที่ผู้ประสานงานหลักสูตรของตนเองได้เลย “สิ่งที่ต้องรู้เกี่ยวกับ Education Visa คือ วีซ่าประเภทนี้จะใช้ได้ก็ต่อเมื่อเดินทางมาจากประเทศของตนเองเท่านั้น วีซ่านักท่องเที่ยวไม่สามารถเปลี่ยนประเภทวีซ่าเป็นวีซ่านักเรียนที่ประเทศไทยได้ กรณีนี้ นิสิตจะต้องเดินทางกลับประเทศของตนก่อนแล้วบินกลับมาใหม่เท่านั้น” “สำหรับผู้ที่มีวีซ่าทำงานแล้วมาเรียนนอกเวลาทำงานก็สามารถมาเรียนได้ แม้จะถือวีซ่าทำงาน แต่วีซ่าทำงานไม่สามารถเปลี่ยนเป็นวีซ่านักเรียนได้ที่ประเทศไทยเช่นเดียวกับวีซ่าท่องเที่ยว ซึ่งเป็นปัญหาที่นิสิตพบบ่อย นี่จึงคือสิ่งที่ควรเตรียมตัวมาให้ดีหากนิสิตไม่อยากเสียเงินและเสียเวลาในการเดินทาง” รู้จักเรื่องราวของจุฬาฯ ให้มากขึ้น ที่เว็บไซต์ https://www.chula.ac.th/en/ สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ สำนักบริหารวิรัชกิจและเครือข่ายนานาชาติ จุฬาฯ โทรศัพท์: +66 2218 3126 อีเมล: int.off@chula.ac.th Facebook: https://www.facebook.com/ChulaOIA/ EZ Webmaster Related Posts สสวท. พารอบรู้คู่ฤดูร้อนกับ “พายุฤดูร้อน” สพฐ.สั่งเลื่อนสอบ ม.1 และ ม.4 ทั่วประเทศ หลังเหตุแผ่นดินไหว รอประเมินความปลอดภัยก่อนกำหนดสอบใหม่ ม.สุโขทัยธรรมาธิราช เปิดรับนักศึกษาใหม่ ภาคต้นปีการศึกษา 2568 เริ่มรับสมัครวันที่ 1 เมษายน 2568 CP All Education Forum 2025 จัดใหญ่! มอบทุนการศึกษากว่า 1,648 ล้าน ปลุกพลังการศึกษาไทย “สร้างคนเก่ง ดี มีความสามารถ” รับมือยุค AI TCAS68 รอบ2 โควตา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ปีการศึกษา2568 Post navigation PREVIOUS Previous post: “ดิจิทัล” เปิดศักราชใหม่ในการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้NEXT Next post: สสวท. รวมพลังมูลนิธิฯ หนุนโครงการพระราชทานความช่วยเหลือ พัฒนาการเรียนวิทย์ เน้นปฏิบัติการทดลองโรงเรียน สปป.ลาว Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ม.สุโขทัยธรรมาธิราช เปิดรับนักศึกษาใหม่ ภาคต้นปีการศึกษา 2568 เริ่มรับสมัครวันที่ 1 เมษายน 2568 EZ WebmasterMarch 28, 2025 ม.สุโขทัยธรรมาธิราช เปิดรับนักศึกษาใหม่ ภาคต้นปีการศึกษา 2568 เริ่มรับสมัครวันที่ 1 เมษายน 2568 1 เมษายน 2568 วันเปิดรับสมัครนักศึกษาใหม่ภาคต้นปีการศึกษา 2568 สามารถดาวน์โหลดระเบียบการสมัครเป็นนักศึกษาและใบสมัครฯ ฟรี!!! คลิกได้ที่นี่ คลิก Download… CP All Education Forum 2025 จัดใหญ่! มอบทุนการศึกษากว่า 1,648 ล้าน ปลุกพลังการศึกษาไทย “สร้างคนเก่ง ดี มีความสามารถ” รับมือยุค AI EZ WebmasterMarch 28, 2025 เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI) เข้ามาเปลี่ยนแปลงทุกภาคส่วนของสังคมอย่างรวดเร็ว วงการศึกษาคือหนึ่งในภาคส่วนที่ต้องพลิกเกมส์ให้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง การเตรียม “คน” ผ่านการศึกษาจึงเป็นอีกหนึ่งความท้าทาย ที่ภาคการศึกษาต้องรับมือให้พร้อม บมจ.ซีพี ออลล์ ร่วมกับ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ (PIM) วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์ (PAT) และโรงเรียนสาธิตสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ จัดงาน…
CP All Education Forum 2025 จัดใหญ่! มอบทุนการศึกษากว่า 1,648 ล้าน ปลุกพลังการศึกษาไทย “สร้างคนเก่ง ดี มีความสามารถ” รับมือยุค AI EZ WebmasterMarch 28, 2025 เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI) เข้ามาเปลี่ยนแปลงทุกภาคส่วนของสังคมอย่างรวดเร็ว วงการศึกษาคือหนึ่งในภาคส่วนที่ต้องพลิกเกมส์ให้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง การเตรียม “คน” ผ่านการศึกษาจึงเป็นอีกหนึ่งความท้าทาย ที่ภาคการศึกษาต้องรับมือให้พร้อม บมจ.ซีพี ออลล์ ร่วมกับ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ (PIM) วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์ (PAT) และโรงเรียนสาธิตสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ จัดงาน…
CP All Education Forum 2025 จัดใหญ่! มอบทุนการศึกษากว่า 1,648 ล้าน ปลุกพลังการศึกษาไทย “สร้างคนเก่ง ดี มีความสามารถ” รับมือยุค AI EZ WebmasterMarch 28, 2025 เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI) เข้ามาเปลี่ยนแปลงทุกภาคส่วนของสังคมอย่างรวดเร็ว วงการศึกษาคือหนึ่งในภาคส่วนที่ต้องพลิกเกมส์ให้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง การเตรียม “คน” ผ่านการศึกษาจึงเป็นอีกหนึ่งความท้าทาย ที่ภาคการศึกษาต้องรับมือให้พร้อม บมจ.ซีพี ออลล์ ร่วมกับ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ (PIM) วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์ (PAT) และโรงเรียนสาธิตสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ จัดงาน… มธ. รับสมัครนักศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสหวิทยาการ ประจำปีการศึกษา 2568 EZ WebmasterMarch 27, 2025 วิทยาลัยสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เปิดรับสมัครนักศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสหวิทยาการ (จัดการเรียนการสอนที่ท่าพระจันทร์) มี 2 แผนการศึกษา ดังนี้ แผน 1.1 (ทเฉพาะวิทยานิพนธ์) แผน 2.1 (ศึกษารายวิชาและทำวิทยานิพนธ์) หลักฐานประกอบการสมัคร 3.1 ใบสมัครของหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสหวิทยาการ… มทร.ธัญบุรี เปิดกว้างทุกวัย เพื่อเรียนรู้ตลอดชีพ ธนาคารหน่วยกิต “40 หลักสูตร ป.ตรี” tui sakrapeeMarch 26, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) เปิดรับสมัครผู้สนใจเข้าร่วมโครงการการเรียนรู้ตลอดชีวิตในระบบเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ (ธนาคารหน่วยกิต) หลักสูตรระดับปริญญาตรี ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2568 ตั้งแต่วันที่ 24 มี.ค. ถึง 30 พ.ค. 2568 โดยไม่มีค่าใช้จ่ายในการสมัคร… เปิดรับอาสาสมัครศิริราช รอบทำกิจกรรม เดือน พ.ค.-ก.ค. 68 ทุกกิจกรรมมีใบรับรองการทำกิจกรรม EZ WebmasterMarch 26, 2025 ตารางการรับอาสาสมัครรอบทำกิจกรรม เดือน พฤษภาคม – กรกฏาคม 68 (กิจกรรมที่อยู่ในเว็บไซต์ตอนนี้เป็นรอบเก่ามีผู้เข้าร่วมเต็มทั้งหมดแล้วค่ะ รอบใหม่จะเปิดตามวันเวลาที่แจ้งด้านล่างนี้เท่านั้น*) ขอให้อาสาเป็นผู้สมัครและกดเลือกกิจกรรมด้วยตนเองนะคะ – 31 ก.ค. 68 **เนื่องจากวันที่ 5 พ.ค. เป็นวันหยุด จะขอเริ่มตั้งแต่วันที่วันที่ 6 พ.ค.… ทุนดีดี U. of Waterlooให้ทุนป.ตรี InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศMarch 28, 2025 Faculty of Science International Student Scholarships at University of Waterloo, Canadaสำหรับนักศึกษาต่างชาติสูงสุด 15 ทุน เพื่อสนับสนุนนักศึกษาที่มีผลงานดีเด่นในภาคการศึกษาปีการศึกษา 2025/2026 ซึ่งรวมถึงทุนการศึกษาแบบต่ออายุ 10 ทุน… มหาวิทยาลัยอัลอัซฮัร กรุงไคโร สาธารณรัฐอาหรับอียิปต์ มอบ 160 ทุนให้นักศึกษาจากประเทศไทย EZ WebmasterMarch 27, 2025 มหาวิทยาลัยอัลอัซฮัร กรุงไคโร สาธารณรัฐอาหรับอียิปต์ มอบทุนการศึกษาแก่นักศึกษาจากประเทศไทย จำนวน 160 ทุน ในปีการศึกษา 2025/2026 (2568/2569) โดยจำแนกเป็น ทุนนการศึกษาสาขาอิสลามศึกษา จำนวน 80 ทุน เฉพาะนักเรียนที่จบการศึกษาระดับอิสลามศึกษาตอนปลาย (ซานาวี) #จากโรงเรียนที่ได้รับรองวิทยฐานะ ประกาศนียบัตรระดับอิสลามศึกษาตอนปลาย (ซานาวี)… Peking U.ให้ทุนป.ตรี-เอก InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศMarch 27, 2025 Peking University กำลังให้ทุนสำหรับนักศึกษาต่างชาติที่โดดเด่น ทุนนี้ก่อตั้งขึ้นในปี 2012 โดยให้การสนับสนุนนักศึกษาระดับปริญญาตรี โท และเอก(ไม่จำกัดสาขาวิชา) โดยให้ความช่วยเหลือทางการเงินเต็มจำนวนหรือบางส่วน รวมถึงค่าเล่าเรียน เงินเดือน และประกันสุขภาพ เปิดรับสมัครช่วงมีนาคมถึงเมษายน ทุกปี เพื่อให้มีสิทธิ์ได้รับทุน ผู้สมัครจะต้องเป็นนักศึกษาต่างชาติที่ได้รับข้อเสนอให้เข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยปักกิ่งในฐานะนักศึกษาปีหนึ่ง จะต้องไม่เป็นผู้รับทุนการศึกษาอื่นใด และไม่ควรลงทะเบียนในโปรแกรมปริญญาวิชาชีพ… สัปดาห์สุดท้าย!ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา เปิดรับรอบที่ 2 Quota 8 สาขา พร้อมมอบทุนเพชรสุนันทา เรียนการออกแบบแฟชั่น tui sakrapeeMarch 27, 2025 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดรับสมัครคัดเลือกนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญเข้าศึกษาในโครงการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาระดับปริญญาตรี ระบบโควตา ประเภทความสามารถทางวิชาการ และประเภทความสามารถพิเศษ ประจำปีการศึกษา 2568 (รอบที่ 2 Quota) พร้อมรับสมัครคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษา ภาคปกติ ระดับปริญญาตรี ในโครงการทุนเพชรสุนันทา กำหนดการรับสมัคร สาขาที่รับสมัครคณะศิลปกรรมศาสตร์ คุณสมบัติเฉพาะ… ครู-อาจารย์ 5 แนวโน้มสำคัญด้านการศึกษาในปี 2025 EZ WebmasterMarch 28, 2025 5 แนวโน้มสำคัญด้านการศึกษาในปี 2025 ปี 2025 เป็นปีแห่งการเปลี่ยนแปลงของวงการศึกษา เทคโนโลยีใหม่ๆ และแนวคิดการเรียนรู้ที่ทันสมัยจะเข้ามามีบทบาทสำคัญ มาดูกันว่าอะไรคือแนวโน้มหลักที่ต้องจับตามอง! การเกิดขึ้นของโรงเรียนรูปแบบใหม่ Hybrid Learning, Microschools และ Homeschool กำลังได้รับความนิยมมากขึ้น การใช้… มจธ. คิดค้น “นวัตกรรมการผลิตซิลิกาด้วยเทคโนโลยีชีวภาพ” ต้นทุนต่ำ คุณภาพสูง พร้อมพลิกโฉมอุตสาหกรรมไทย EZ WebmasterMarch 27, 2025 นักวิจัย มจธ.พัฒนากระบวนการผลิต ไบโอซิลิกา (Biosilica) จากแกลบข้าว ด้วยกระบวนการชีวภาพ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและไร้สารเคมีตกค้าง พร้อมส่งต่อเทคโนโลยีเพื่อนำไปใช้ในอุตสาหกรรมต่างๆ เช่น เครื่องสำอาง เวชสำอาง ยา และยาง ซึ่งเป็นก้าวสำคัญที่ช่วยให้ประเทศไทยลดการพึ่งพาซิลิกานำเข้า และส่งเสริมเศรษฐกิจหมุนเวียนของประเทศ ซิลิกา (Silica) เป็นวัตถุดิบสำคัญในหลายอุตสาหกรรมของไทย ตั้งแต่ยางรถยนต์ เครื่องสำอาง เวชภัณฑ์… โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “ดร.ชุมพล พรประภา” เป็นนายกสภา ม.ศรีนครินทรวิโรฒ tui sakrapeeMarch 26, 2025 ราชกิจจานุเบกษาเผยแพร่ ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “ชุมพล พรประภา” ดำรงตำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ แทนวิจิตร ศรีสอ้าน ที่ถึงแก่อนิจกรรม ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 142 ตอนพิเศษ 147 ง เมื่อวันที่ 25… สอศ. ปั้นผู้อำนวยการอาชีวะยุคใหม่! เสริมภาวะผู้นำ-วิสัยทัศน์ ทันโลกการศึกษา EZ WebmasterMarch 26, 2025 วันที่ 26 มีนาคม 2568 นายยศพล เวณุโกเศศ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (เลขาธิการ กอศ.) เป็นประธานเปิดโครงการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และบรรยายพิเศษ “Growth Mindset: แนวคิดเชิงบวกและการเติบโตขององค์กร” โดยนางธิติมา โรจน์วัชราภิบาล ผู้อำนวยการ… กิจกรรม สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ ร่วมพิธีวางพานพุ่มและพิธีตักบาตร เนื่องในวันครบรอบ ๑๐๘ ปี แห่งการสถาปนาจุฬาฯ EZ WebmasterMarch 27, 2025 สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินร่วมพิธีวางพานพุ่มสักการะพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระปิยมหาราชและสมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า และพิธีตักบาตร เนื่องในวันครบรอบ ๑๐๘ ปี แห่งการสถาปนาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมี นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ และ นายอรรษิษฐ์ สัมพันธรัตน์ ประธานการจัดงานคืนเหย้าชาวจุฬาฯ… พิธีเปิดกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) ภายใต้โครงการพัฒนามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมผ้าไทยสู่สากล ประจำปี ๒๕๖๘ EZ WebmasterMarch 26, 2025 นางสาวลิปิการ์ กำลังชัย รองธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรม รักษาราชการแทนอธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรมเป็นประธานพิธิเปิด และร่วมรับฟังการบรรยายกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) พร้อมด้วยนางสาวศิวพร ฉันทไกรวัฒน์ ผู้อำนวยการกลุ่มเผยแพร่และต่อยอดมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมเข้าร่วมงาน โดยวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญด้านผ้าไทย การออกแบบและแฟชั่น อาทิ ผศ.ดร.รวิเทพ มุสิกะปาน ผศ.ดร.วุฒิไกร… เปิดรับอาสาสมัครศิริราช รอบทำกิจกรรม เดือน พ.ค.-ก.ค. 68 ทุกกิจกรรมมีใบรับรองการทำกิจกรรม EZ WebmasterMarch 26, 2025 ตารางการรับอาสาสมัครรอบทำกิจกรรม เดือน พฤษภาคม – กรกฏาคม 68 (กิจกรรมที่อยู่ในเว็บไซต์ตอนนี้เป็นรอบเก่ามีผู้เข้าร่วมเต็มทั้งหมดแล้วค่ะ รอบใหม่จะเปิดตามวันเวลาที่แจ้งด้านล่างนี้เท่านั้น*) ขอให้อาสาเป็นผู้สมัครและกดเลือกกิจกรรมด้วยตนเองนะคะ – 31 ก.ค. 68 **เนื่องจากวันที่ 5 พ.ค. เป็นวันหยุด จะขอเริ่มตั้งแต่วันที่วันที่ 6 พ.ค.… เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน รับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน EZ WebmasterMarch 24, 2025 เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน เกม Let’s School เกมแนวบริหารโรงเรียนในฝัน ที่จะให้เรารับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน อยากให้โรงเรียนเป็นแบบไหนก็ปรับเล่นได้เลย ดูอารมณ์นักเรียกได้ด้วยว่ามีความสุขมั้ย? แถมตอนนี้ยังมีอัปเดตแมพใหม่พร้อมซัพไทยด้วยนะ Let’s School โหลดเล่นได้ที่ Steam :… Search for: Search EZ Webmaster January 31, 2024 EZ Webmaster January 31, 2024 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ศูนย์กลางการศึกษาระดับภูมิภาคพร้อมรับนิสิตต่างชาติ สู่โลกการเรียนรู้และประสบการณ์หลากสีสันแห่งเอเชีย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยพร้อมเป็นหนึ่งในศูนย์กลางการศึกษาแห่งภูมิภาคเอเชีย เปิดรับนิสิตชาวไทยและต่างชาติ ด้วยกว่าร้อยหลักสูตรนานาชาติ รองรับทุกสายการเรียน สร้างประสบการณ์การเรียนรู้ไร้พรมแดน เตรียมบัณฑิตสู่ความเป็นพลเมืองโลก ประเทศไทยเป็นหนึ่งในจุดหมายปลายทางที่ชาวต่างชาตินิยมมาท่องเที่ยว ด้วยเสน่ห์ของ Soft Power อย่างศิลปะ วัฒนธรรม อาหาร วิถีชีวิต ธรรมชาติ ภูมิอากาศ และค่าครองชีพที่สมเหตุสมผล แต่ที่หลายคนอาจจะยังไม่รู้ – ประเทศไทยยังเป็นหนึ่งในจุดหมายของการศึกษาที่นิสิตต่างชาติสนใจมาเรียนและใช้ชีวิตด้วยเช่นกัน “ประเทศไทยมีความโดดเด่นทางด้านการศึกษาและเป็นที่สนใจของนิสิตต่างชาติจำนวนมาก เช่นที่จุฬาฯ เราเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยที่การศึกษามีคุณภาพ เป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ มีหลักสูตรนานาชาติที่สามารถรองรับนิสิตต่างชาติด้วยการสอนเป็นภาษาอังกฤษมากกว่า 100 หลักสูตรในทุกระดับปริญญา ในขณะที่ค่าครองชีพและค่าเล่าเรียนของเราก็ถูกกว่าประเทศอื่น ๆ ที่โดดเด่นด้านการศึกษาในระดับเดียวกัน” คุณศุกลิน วนาเกษมสันต์ ผู้อำนวยการฝ่ายบริหารวิชาการนานาชาติ สำนักบริหารวิรัชกิจและเครือข่ายนานาชาติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าว ปัจจุบัน จุฬาฯ มีนิสิตต่างชาติประมาณ 2,000 คน จาก 60 ประเทศ ที่มาศึกษาแลกเปลี่ยนและเรียนระดับปริญญาในหลายหลักสูตร จำนวนของนิสิตต่างชาติดูมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ด้วยทิศทางของโลกสมัยใหม่ ที่เปิดให้ผู้คนเดินทางและโยกย้ายถิ่นฐานได้สะดวกยิ่งขึ้น ไม่ว่าจะไปทำงาน ท่องเที่ยว หรือศึกษาเล่าเรียน โดยเฉพาะการเรียนรู้ เป็นส่วนหนึ่งของการเพิ่มพูนประสบการณ์ชีวิต สร้างเสริมความเป็นพลเมืองโลกและทักษะในการอยู่ในโลกสมัยใหม่ ที่ต้องเปิดใจ เข้าใจและยอมรับความแตกต่างหลากหลายและพหุวัฒนธรรม ทำไม นิสิตต่างชาติจึงเลือกมาเรียนจุฬาฯ ชื่อเสียงของจุฬาฯ และการยอมรับในระดับนานาชาติเป็นหนึ่งในเหตุผลต้น ๆ ที่นิสิตต่างชาติเลือกมาเรียนที่จุฬาฯ ในระดับประเทศ จุฬาฯ ครองอันดับ 1 ของประเทศไทยเป็นปีที่ 4 ติดต่อกัน จาก THE Impact Rankings 2023 และติดอันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทยเป็นปีที่ 15 ติดต่อกัน (ตั้งแต่ปี 2009) ในการจัดอันดับ QS World University Rankings 2024 โดย QS Quacquarelli Symonds ส่วนในระดับนานาชาติ จุฬาฯ ครองอันดับ 17 ของโลก จาก THE Impact Rankings 2023 และติดอันดับท็อป 50 ของโลกทางด้านผลลัพธ์ด้านการจ้างงาน (Employment Outcomes) โดย QS World University Rankings 2024 “จุฬาฯ เป็นศูนย์กลางการศึกษาในระดับอาเซียนและเอเชีย มีความโดดเด่นด้านวิชาการทั้งในสายวิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ ทุกหลักสูตรเปี่ยมด้วยคุณภาพและส่งเสริมความเป็นพลเมืองโลกให้นิสิตทั้งชาวไทยและต่างชาติ ซึ่งเมื่อจบการศึกษา บัณฑิตจุฬาฯ จะมีทักษะที่จำเป็นและสามารถทำงานได้ทุกที่ในโลก” คุณศุกลิน กล่าว นอกจากความโดดเด่นด้านวิชาการแล้ว บรรยากาศการเรียนรู้และการใช้ชีวิตที่จุฬาฯ ยังมีสีสัน ผสานความเก่าแก่และความทันสมัย เปิดโลกการเรียนรู้ตลอดชีวิต ที่ไม่มีในตำรา จุฬาฯ เป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของประเทศไทย ก่อตั้งมาแล้วกว่า 106 ปี ในพื้นที่การศึกษากว่า 1 ตารางกิโลเมตร (637 ไร่) ของจุฬาฯ มีอาคารทรงคุณค่าทางสถาปัตยกรรมมากมาย อีกทั้งเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ที่ขนานไปกับการเติบโตของประเทศไทยยุคใหม่ (modernization) นอกจากนี้ ด้วยความที่ตั้งอยู่ใจกลางมหานคร จุฬาฯ จึงอยู่ในแหล่งความทันสมัยและวัฒนธรรมสมัยใหม่ เช่น สยามสแควร์ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพ และไม่ไกลจากย่านเมืองเก่า เช่น เยาวราช สามย่าน เจริญกรุง ฯลฯ กล่าวได้ว่านิสิตที่มาเรียนที่จุฬาฯ จะได้ใช้ชีวิตการเรียนรู้ในบรรยากาศที่อดีต ปัจจุบัน และทิศทางแห่งอนาคตผสานกันอย่างลงตัว ความร่วมมือระดับนานาชาติ สร้างนิสิตจุฬาฯ สู่ความเป็นพลเมืองโลก จุฬาฯ ก้าวไปกับทิศทางการศึกษาในโลกสมัยใหม่ ที่เน้นหล่อหลอมบัณฑิตให้มีสำนึกความเป็นพลเมืองโลก สามารถปรับตัวเข้ากับกระแสการเปลี่ยนแปลงของโลก รวมถึงมีความเข้าใจความหลากหลายของสังคมและอยู่ได้ในพหุวัฒนธรรม “ด้วยชื่อเสียงและความพยายามของจุฬาฯ ทำให้เรามี MOU กับมหาวิทยาลัยชื่อดังหลายแห่งทั่วโลก นิสิตหลักสูตรนานาชาติของจุฬาฯ จะได้เรียนรู้และอยู่ในบรรยากาศแบบนานาชาติ และมีโอกาสได้เจอสภาพแวดล้อมอื่น ๆ เข้าเรียนกับมหาวิทยาลัยชั้นนำในต่างประเทศในวิชาที่ตนสนใจได้แทนที่จะเรียนตลอด 4 ปีที่จุฬาฯ ที่เดียว” ด้วยเป้าหมายดังกล่าว จุฬาฯ ได้ทำความร่วมมือกับหน่วยงานและมหาวิทยาลัยในระดับนานาชาติ เพื่อให้นิสิตสามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูล รวมถึง โดยความร่วมมือที่จุฬาฯ ทำกับสถาบันต่าง ๆ ได้แก่ ความร่วมมือด้านฐานข้อมูล จุฬาฯ มีห้องสมุดและฐานข้อมูลระดับเวิล์ดคลาส ที่นิสิตจุฬาฯ จะสามารถเข้าถึงแหล่งความรู้ ทั้งหนังสือ วารสาร งานวิจัย วิทยานิพนธ์ และฐานข้อมูลอ้างอิงจากต่างประเทศได้อย่างกว้างขวาง เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และการค้นคว้าของนิสิตได้อย่างเต็มที่ ความร่วมมือด้านหลักสูตร จุฬาฯ มีหลักสูตรนานาชาติแบบหลักสูตรปริญญาร่วมและหลักสูตรสองปริญญา ที่ผู้เรียนจะได้เรียนที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยพาร์ทเนอร์จากต่างประเทศ เช่น หลักสูตรปริญญาตรีสาขาวิทยาศาสตร์จิตวิทยา ร่วมกับ University of Queensland ออสเตรเลีย หลักสูตรปริญญาโทการจัดการทางวิศวกรรม ร่วมกับ The University of Warwick สหราชอาณาจักร เป็นต้น นอกจากนี้ จุฬาฯ ยังได้ทำ MOU ร่วมกับมหาวิทยาลัยชั้นนำหลายแห่งในโลก เพื่อให้นิสิตจุฬาฯ สามารถไปแลกเปลี่ยนที่ต่างประเทศ เพื่อเรียนในสาขาที่ตนเองสนใจกับมหาวิทยาลัยคู่สัญญา 1-2 ภาคการศึกษา หรือหากไม่อยากเดินทาง ก็สามารถแลกเปลี่ยนผ่าน APRU Virtual Student Exchange ที่นิสิตสามารถเข้าคลาสเรียนของมหาวิทยาลัยคู่สัญญาจากต่างประเทศได้ผ่านห้องเรียนออนไลน์ (ดูรายชื่อหลักสูตรทั้งหมดที่จุฬาฯ ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยต่างประเทศ ที่นี่) ชีวิตในรั้วจุฬาฯ สะดวกสบาย สนุก มีสีสัน มหาวิทยาลัยไม่ได้เป็นเรื่องการเรียนเท่านั้น แต่เป็นเรื่องการใช้ชีวิต คุณศุกลินให้ข้อมูลว่า จุฬาฯ มีความพร้อมทุกด้าน ไม่ว่าบุคลากรและสิ่งอำนวยความสะดวก ที่จะช่วยให้การมาเรียนและใช้ชีวิตในต่างแดนของนิสิตต่างชาติเป็นประสบการณ์สุดวิเศษครั้งหนึ่งในชีวิต การเดินทางจุฬาฯ เป็นมหาวิทยาลัยที่อยู่ใจกลางเมือง มีเส้นทางการเดินทางด้วยระบบขนส่งสาธารณะหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นรถเมล์ รถไฟฟ้า BTS และ MRT ส่วนการเดินทางภายในมหาวิทยาลัย จุฬาฯ ก็มีรถโดยสารภายในจุฬาฯ (Shuttle Bus) เพื่อให้นิสิตสามารถเดินทางไปอาคารเรียน หอพักนิสิต และพื้นที่โดยรอบมหาวิทยาลัยถึง 6 เส้นทาง โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย สุขภาพกายจุฬาฯ มีศูนย์บริการสุขภาพแห่งจุฬาฯ ที่ให้บริการทางสุขภาพฟรีแก่นิสิตจุฬาฯ และมีประกันสุขภาพสำหรับนิสิตต่างชาติ ที่นิสิตสามารถไปรับบริการที่โรงพยาบาลทั่วไปได้ หากเกิดเหตุฉุกเฉิน นิสิตจึงไม่ต้องกังวลเรื่องค่าใช้จ่ายหากเกิดเจ็บป่วยหรือเกิดอุบัติเหตุระหว่างที่เข้ามาศึกษา สุขภาพใจสำหรับนิสิตที่รู้สึกไม่สบายใจ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องเรียน การใช้ชีวิต การปรับตัว หรือเรื่องใดก็ตาม จุฬาฯ มีหน่วยส่งเสริมสุขภาวะนิสิต (Chula Student Wellness) ที่มีนักจิตวิทยาและจิตแพทย์คอยให้คำปรึกษานิสิตที่มีเรื่องกังวลทางใจ อีกทั้งจุฬาฯ ยังมีเจ้าหน้าที่จากสำนักบริหารวิรัชกิจและเครือข่ายนานาชาติ และเจ้าหน้าที่ประจำหลักสูตรที่สามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้เป็นอย่างดี คอยให้ความช่วยเหลือเกี่ยวกับการลงทะเบียนเรียน การประสานงานกับหน่วยงานต่าง ๆ การทำวีซ่า และการดูแลขณะเกิดเรื่องฉุกเฉิน ที่พักสำหรับนิสิตจุฬาฯ มีหอพักเรือนวิรัชมิตร (CU I-House) สำหรับนิสิตต่างชาติโดยเฉพาะ สามารถเดินทางได้สะดวก มีรถรับส่งไปยังมหาวิทยาลัย อยู่ใกล้ร้านอาหารมากมาย และค่าใช้จ่ายถูกกว่าหอพักบริเวณใกล้เคียง กิจกรรมและสันทนาการสำนักบริหารกิจการนิสิต ตั้งชมรม International Student Club เพื่อให้นิสิตต่างชาติและนิสิตไทยได้ทำกิจกรรมด้วยกันเพื่อแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม หรือหากนิสิตสนใจเล่นกีฬา ดนตรี หรือกิจกรรมด้านอื่น ๆ ก็สามารถสมัครเข้าร่วมชมรมที่สนใจได้ เพื่อหาเพื่อนที่มีความสนใจเหมือนกัน Unibuddyแอปคู่หูการใช้ชีวิตในจุฬาฯ เพื่อนิสิตต่างชาติ คุณศุกลินกล่าวว่าในบางครั้งการดูรีวิวจากอินเทอร์เน็ตก็อาจจะมีข้อมูลที่จริงบ้างไม่จริงบ้าง หรือการสอบถามข้อมูลโดยตรงจากมหาวิทยาลัยก็อาจจะไม่ได้ข้อมูลในมุมมองของผู้เรียน จุฬาฯ จึงเปิด “Unibuddy” เว็บไซต์แอปพลิเคชันที่จะช่วยให้นิสิตต่างชาติได้รู้เรื่องราว ทั้งเรื่องเรียนและการใช้ชีวิตในมุมมองนิสิตจุฬาฯ โดยผู้ให้ข้อมูลเป็นนิสิตจุฬาฯ ทั้งนิสิตไทยและนิสิตต่างชาติ สามารถเข้าใช้งาน Unibuddy ได้ที่นี่ พูดไทยไม่ได้ จะมาเรียนที่จุฬาฯ ได้ไหม? ภาษาไม่ใช่อุปสรรคในการเรียนและใช้ชีวิตที่จุฬาฯ แม้จะไม่สามารถสื่อสารภาษาไทยได้ นิสิตต่างชาติก็สามารถเรียนและสนุกกับประสบการณ์ชีวิตที่จุฬาฯ ได้ “หลักสูตรนานาชาติทุกหลักสูตรจัดการเรียนการสอนเป็นภาษาอังกฤษทั้งหมด นอกจากนี้ นิสิตจุฬาฯ ชาวไทยส่วนมากก็สามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้ดี ภายนอกมหาวิทยาลัยอาจจะมีบุคคลที่ไม่สามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้ แต่สมัยนี้ เราก็มีเครื่องมือและโปรแกรมที่สามารถแปลภาษาเพื่อใช้สื่อสารได้ เช่น ในโรงอาหาร แม้จะไม่มีเมนูภาษาอังกฤษ ก็สามารถถ่ายรูปอาหารบนป้ายที่อยากทานแล้วยื่นให้แม่ค้าดูได้” สำหรับนิสิตที่สนใจจะเรียนภาษาไทย จุฬาฯ ก็มีหลักสูตรหลากหลายรูปแบบให้นิสิตได้เลือกเรียนตามความสนใจ หลักสูตรออนไลน์เรียนฟรีกับ Chula MOOC เตรียมตัวก่อนมาประเทศไทยด้วยหลักสูตรภาษาไทยพื้นฐานที่น่าสนใจ ได้แก่ หลักสูตร Survival Thai หลักสูตร Communicative Thai for Foreigners และหลักสูตร Thai on Campus พร้อมรับประกาศนียบัตรจากจุฬาฯ เมื่อเรียนจบหลักสูตร หลักสูตรภาษาไทยแบบลงทะเบียนเรียนนิสิตต่างชาติสามารถลงทะเบียนเรียนวิชาภาษาไทยสำหรับนิสิตต่างชาติโดยเฉพาะ โดยไม่ต้องเสียค่าลงทะเบียนเรียนเพิ่ม และยังเก็บเป็นวิชาเรียนในใบทรานสคริปต์ได้ด้วย หลักสูตรภาษาไทยแบบเข้มข้นหากการเรียนในห้องเรียนยังไม่เพียงพอ นิสิตก็สามารถสมัครเรียนเพิ่มเติมได้ที่ ศูนย์ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ ซึ่งนอกจากจะมีการเรียนภาษาในห้องเรียนแล้ว ยังมีกิจกรรมเวิร์คช็อปทางวัฒนธรรมไทยอีกด้วย หลักสูตรนี้ชาวต่างชาติที่ไม่ใช่นิสิตจุฬาฯ ก็สามารถสมัครเรียนได้เช่นเดียวกัน “ในเมื่อมีโอกาสได้มาเป็นนิสิตจุฬาฯ ที่ประเทศไทย นอกจากการเรียนภาษาไทยกับเจ้าของภาษาในห้องเรียนแล้ว สิ่งที่สำคัญคือการนำความรู้ที่ได้มาใช้กับคนนอกห้องเรียนเพื่อฝึกฝนภาษาไทยให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นในสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมการเรียนรู้ทางภาษาไทยที่สุด” สนใจมาเรียนที่จุฬาฯ จะต้องทำอย่างไร จุฬาฯ มีหลักสูตรนานาชาติ ที่มีการเรียนการสอนเป็นภาษาอังกฤษทั้งหมดในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอกมากกว่า 100 หลักสูตรจากหลากหลายสาขาวิชา โดยเปิดเรียนภาคเรียนที่ 1 ในเดือนสิงหาคม การรับสมัครในระดับปริญญาตรีจะเปิดรับสมัครรอบที่ 1 ในช่วงเดือนธันวาคม – มกราคม ส่วนการรับสมัครในระดับบัณฑิตศึกษาจะแบ่งการรับสมัครเป็น 2 ช่วง ได้แก่ รอบรับสมัครเดือนกุมภาพันธ์ – พฤษภาคม เริ่มเรียนในเดือนสิงหาคม และรอบรับสมัครเดือนกันยายน – ตุลาคม เริ่มเรียนในเดือนมกราคม สำหรับนิสิตที่ต้องการทุน จุฬาฯ ก็มีทุนสนับสนุนสำหรับนิสิตหลายประเภทตามทั้งทุนการศึกษาและทุนทำวิจัย นอกจากการเรียนในระดับปริญญาแล้ว จุฬาฯ ยังมีโครงการแลกเปลี่ยนสำหรับนิสิตจากต่างประเทศที่สนใจมาเรียนที่จุฬาฯ ระยะสั้น 1-2 ภาคการศึกษา เพื่อมาเก็บเกี่ยวความรู้ที่จุฬาฯ และหาประสบการณ์การใช้ชีวิตที่ประเทศไทยในเวลาเดียวกัน · Exchange Program นิสิตจากมหาวิทยาลัยคู่สัญญาที่ทำ MOU ร่วมกับจุฬาฯ สามารถมาแลกเปลี่ยนที่จุฬาฯ โดยที่ไม่ต้องเสียค่าเล่าเรียนที่จุฬาฯ นอกจากชำระค่าเล่าเรียนที่มหาวิทยาลัยของตน ผู้สนใจสามารถสมัครได้ล่วงหน้า 6 เดือนก่อนเปิดภาคเรียน* ที่ผู้ประสานงานของมหาวิทยาลัยที่ตนเองสังกัด โดยสามารถตรวจสอบมหาวิทยาลัยคู่สัญญาได้ที่นี่ · Visiting Program สำหรับนิสิตที่มาจากมหาวิทยาลัยต่างประเทศที่ไม่ใช่คู่สัญญาของจุฬาฯ ก็สามารถมาศึกษาที่จุฬาฯ 1-2 ภาคการศึกษาได้เช่นกัน โดยสามารถติดต่อกับผู้ดูแลหลักสูตรที่ต้องการสมัครของจุฬาฯ ได้เลย โดยชำระค่าเล่าเรียนที่จุฬาฯ ผู้สนใจจะต้องสมัครล่วงหน้า 6 เดือนก่อนเปิดภาคเรียน* *สำหรับ Exchange Program และ Visiting Program หากต้องการจะเริ่มเรียนในภาคเรียนที่ 1 ในเดือนสิงหาคม สามารถสมัครได้ตั้งแต่เดือนมกราคม – กุมภาพันธ์ในปีเดียวกัน และหากต้องเริ่มเรียนในภาคเรียนที่ 2 ในเดือนมกราคม สามารถสมัครได้ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม – สิงหาคมของปีก่อนหน้า · APRU Virtual Student Exchange สำหรับนิสิตต่างชาติจากมหาวิทยาลัยสมาชิกเครือข่าย APRU ที่สนใจจะเรียนวิชาของจุฬาฯ แต่ไม่สะดวกที่จะมาเรียนที่ประเทศไทย หรืออยากจะเรียนแค่วิชาเดียว ก็สามารถเข้าร่วมโครงการ APRU Virtual Student Exchange ที่นิสิตจะได้เรียนวิชาที่สนใจบนคลาสออนไลน์กับนิสิตจุฬาฯ โดยที่ชำระค่าเล่าเรียนเฉพาะที่มหาวิทยาลัยของตนเท่านั้น เตรียมวีซ่าให้พร้อมก่อนมาเรียนที่จุฬาฯ สิ่งที่สำคัญที่สุดที่จะทำให้การใช้ชีวิตที่จุฬาฯ ของชาวต่างชาติราบรื่น นั่นก็คือ “วีซ่า” ซึ่งผู้ที่จะเข้ามาเรียนที่จุฬาฯ ต้องมี Education Visa หลังจากที่ผู้สมัครผ่านการคัดเลือกเข้าศึกษาต่อ ทางมหาวิทยาลัยจะออกเอกสารตอบรับเข้าศึกษาเพื่อให้ผู้สมัครไปยื่นขอวีซ่าที่สถานทูตไทยหรือกงสุลไทย และเมื่อต้องมีการต่อวีซ่า ก็สามารถติดต่อได้ที่ผู้ประสานงานหลักสูตรของตนเองได้เลย “สิ่งที่ต้องรู้เกี่ยวกับ Education Visa คือ วีซ่าประเภทนี้จะใช้ได้ก็ต่อเมื่อเดินทางมาจากประเทศของตนเองเท่านั้น วีซ่านักท่องเที่ยวไม่สามารถเปลี่ยนประเภทวีซ่าเป็นวีซ่านักเรียนที่ประเทศไทยได้ กรณีนี้ นิสิตจะต้องเดินทางกลับประเทศของตนก่อนแล้วบินกลับมาใหม่เท่านั้น” “สำหรับผู้ที่มีวีซ่าทำงานแล้วมาเรียนนอกเวลาทำงานก็สามารถมาเรียนได้ แม้จะถือวีซ่าทำงาน แต่วีซ่าทำงานไม่สามารถเปลี่ยนเป็นวีซ่านักเรียนได้ที่ประเทศไทยเช่นเดียวกับวีซ่าท่องเที่ยว ซึ่งเป็นปัญหาที่นิสิตพบบ่อย นี่จึงคือสิ่งที่ควรเตรียมตัวมาให้ดีหากนิสิตไม่อยากเสียเงินและเสียเวลาในการเดินทาง” รู้จักเรื่องราวของจุฬาฯ ให้มากขึ้น ที่เว็บไซต์ https://www.chula.ac.th/en/ สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ สำนักบริหารวิรัชกิจและเครือข่ายนานาชาติ จุฬาฯ โทรศัพท์: +66 2218 3126 อีเมล: int.off@chula.ac.th Facebook: https://www.facebook.com/ChulaOIA/ EZ Webmaster Related Posts สสวท. พารอบรู้คู่ฤดูร้อนกับ “พายุฤดูร้อน” สพฐ.สั่งเลื่อนสอบ ม.1 และ ม.4 ทั่วประเทศ หลังเหตุแผ่นดินไหว รอประเมินความปลอดภัยก่อนกำหนดสอบใหม่ ม.สุโขทัยธรรมาธิราช เปิดรับนักศึกษาใหม่ ภาคต้นปีการศึกษา 2568 เริ่มรับสมัครวันที่ 1 เมษายน 2568 CP All Education Forum 2025 จัดใหญ่! มอบทุนการศึกษากว่า 1,648 ล้าน ปลุกพลังการศึกษาไทย “สร้างคนเก่ง ดี มีความสามารถ” รับมือยุค AI TCAS68 รอบ2 โควตา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ปีการศึกษา2568 Post navigation PREVIOUS Previous post: “ดิจิทัล” เปิดศักราชใหม่ในการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้NEXT Next post: สสวท. รวมพลังมูลนิธิฯ หนุนโครงการพระราชทานความช่วยเหลือ พัฒนาการเรียนวิทย์ เน้นปฏิบัติการทดลองโรงเรียน สปป.ลาว Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มธ. รับสมัครนักศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสหวิทยาการ ประจำปีการศึกษา 2568 EZ WebmasterMarch 27, 2025 วิทยาลัยสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เปิดรับสมัครนักศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสหวิทยาการ (จัดการเรียนการสอนที่ท่าพระจันทร์) มี 2 แผนการศึกษา ดังนี้ แผน 1.1 (ทเฉพาะวิทยานิพนธ์) แผน 2.1 (ศึกษารายวิชาและทำวิทยานิพนธ์) หลักฐานประกอบการสมัคร 3.1 ใบสมัครของหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสหวิทยาการ… มทร.ธัญบุรี เปิดกว้างทุกวัย เพื่อเรียนรู้ตลอดชีพ ธนาคารหน่วยกิต “40 หลักสูตร ป.ตรี” tui sakrapeeMarch 26, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) เปิดรับสมัครผู้สนใจเข้าร่วมโครงการการเรียนรู้ตลอดชีวิตในระบบเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ (ธนาคารหน่วยกิต) หลักสูตรระดับปริญญาตรี ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2568 ตั้งแต่วันที่ 24 มี.ค. ถึง 30 พ.ค. 2568 โดยไม่มีค่าใช้จ่ายในการสมัคร… เปิดรับอาสาสมัครศิริราช รอบทำกิจกรรม เดือน พ.ค.-ก.ค. 68 ทุกกิจกรรมมีใบรับรองการทำกิจกรรม EZ WebmasterMarch 26, 2025 ตารางการรับอาสาสมัครรอบทำกิจกรรม เดือน พฤษภาคม – กรกฏาคม 68 (กิจกรรมที่อยู่ในเว็บไซต์ตอนนี้เป็นรอบเก่ามีผู้เข้าร่วมเต็มทั้งหมดแล้วค่ะ รอบใหม่จะเปิดตามวันเวลาที่แจ้งด้านล่างนี้เท่านั้น*) ขอให้อาสาเป็นผู้สมัครและกดเลือกกิจกรรมด้วยตนเองนะคะ – 31 ก.ค. 68 **เนื่องจากวันที่ 5 พ.ค. เป็นวันหยุด จะขอเริ่มตั้งแต่วันที่วันที่ 6 พ.ค.… ทุนดีดี U. of Waterlooให้ทุนป.ตรี InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศMarch 28, 2025 Faculty of Science International Student Scholarships at University of Waterloo, Canadaสำหรับนักศึกษาต่างชาติสูงสุด 15 ทุน เพื่อสนับสนุนนักศึกษาที่มีผลงานดีเด่นในภาคการศึกษาปีการศึกษา 2025/2026 ซึ่งรวมถึงทุนการศึกษาแบบต่ออายุ 10 ทุน… มหาวิทยาลัยอัลอัซฮัร กรุงไคโร สาธารณรัฐอาหรับอียิปต์ มอบ 160 ทุนให้นักศึกษาจากประเทศไทย EZ WebmasterMarch 27, 2025 มหาวิทยาลัยอัลอัซฮัร กรุงไคโร สาธารณรัฐอาหรับอียิปต์ มอบทุนการศึกษาแก่นักศึกษาจากประเทศไทย จำนวน 160 ทุน ในปีการศึกษา 2025/2026 (2568/2569) โดยจำแนกเป็น ทุนนการศึกษาสาขาอิสลามศึกษา จำนวน 80 ทุน เฉพาะนักเรียนที่จบการศึกษาระดับอิสลามศึกษาตอนปลาย (ซานาวี) #จากโรงเรียนที่ได้รับรองวิทยฐานะ ประกาศนียบัตรระดับอิสลามศึกษาตอนปลาย (ซานาวี)… Peking U.ให้ทุนป.ตรี-เอก InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศMarch 27, 2025 Peking University กำลังให้ทุนสำหรับนักศึกษาต่างชาติที่โดดเด่น ทุนนี้ก่อตั้งขึ้นในปี 2012 โดยให้การสนับสนุนนักศึกษาระดับปริญญาตรี โท และเอก(ไม่จำกัดสาขาวิชา) โดยให้ความช่วยเหลือทางการเงินเต็มจำนวนหรือบางส่วน รวมถึงค่าเล่าเรียน เงินเดือน และประกันสุขภาพ เปิดรับสมัครช่วงมีนาคมถึงเมษายน ทุกปี เพื่อให้มีสิทธิ์ได้รับทุน ผู้สมัครจะต้องเป็นนักศึกษาต่างชาติที่ได้รับข้อเสนอให้เข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยปักกิ่งในฐานะนักศึกษาปีหนึ่ง จะต้องไม่เป็นผู้รับทุนการศึกษาอื่นใด และไม่ควรลงทะเบียนในโปรแกรมปริญญาวิชาชีพ… สัปดาห์สุดท้าย!ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา เปิดรับรอบที่ 2 Quota 8 สาขา พร้อมมอบทุนเพชรสุนันทา เรียนการออกแบบแฟชั่น tui sakrapeeMarch 27, 2025 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดรับสมัครคัดเลือกนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญเข้าศึกษาในโครงการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาระดับปริญญาตรี ระบบโควตา ประเภทความสามารถทางวิชาการ และประเภทความสามารถพิเศษ ประจำปีการศึกษา 2568 (รอบที่ 2 Quota) พร้อมรับสมัครคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษา ภาคปกติ ระดับปริญญาตรี ในโครงการทุนเพชรสุนันทา กำหนดการรับสมัคร สาขาที่รับสมัครคณะศิลปกรรมศาสตร์ คุณสมบัติเฉพาะ… ครู-อาจารย์ 5 แนวโน้มสำคัญด้านการศึกษาในปี 2025 EZ WebmasterMarch 28, 2025 5 แนวโน้มสำคัญด้านการศึกษาในปี 2025 ปี 2025 เป็นปีแห่งการเปลี่ยนแปลงของวงการศึกษา เทคโนโลยีใหม่ๆ และแนวคิดการเรียนรู้ที่ทันสมัยจะเข้ามามีบทบาทสำคัญ มาดูกันว่าอะไรคือแนวโน้มหลักที่ต้องจับตามอง! การเกิดขึ้นของโรงเรียนรูปแบบใหม่ Hybrid Learning, Microschools และ Homeschool กำลังได้รับความนิยมมากขึ้น การใช้… มจธ. คิดค้น “นวัตกรรมการผลิตซิลิกาด้วยเทคโนโลยีชีวภาพ” ต้นทุนต่ำ คุณภาพสูง พร้อมพลิกโฉมอุตสาหกรรมไทย EZ WebmasterMarch 27, 2025 นักวิจัย มจธ.พัฒนากระบวนการผลิต ไบโอซิลิกา (Biosilica) จากแกลบข้าว ด้วยกระบวนการชีวภาพ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและไร้สารเคมีตกค้าง พร้อมส่งต่อเทคโนโลยีเพื่อนำไปใช้ในอุตสาหกรรมต่างๆ เช่น เครื่องสำอาง เวชสำอาง ยา และยาง ซึ่งเป็นก้าวสำคัญที่ช่วยให้ประเทศไทยลดการพึ่งพาซิลิกานำเข้า และส่งเสริมเศรษฐกิจหมุนเวียนของประเทศ ซิลิกา (Silica) เป็นวัตถุดิบสำคัญในหลายอุตสาหกรรมของไทย ตั้งแต่ยางรถยนต์ เครื่องสำอาง เวชภัณฑ์… โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “ดร.ชุมพล พรประภา” เป็นนายกสภา ม.ศรีนครินทรวิโรฒ tui sakrapeeMarch 26, 2025 ราชกิจจานุเบกษาเผยแพร่ ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “ชุมพล พรประภา” ดำรงตำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ แทนวิจิตร ศรีสอ้าน ที่ถึงแก่อนิจกรรม ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 142 ตอนพิเศษ 147 ง เมื่อวันที่ 25… สอศ. ปั้นผู้อำนวยการอาชีวะยุคใหม่! เสริมภาวะผู้นำ-วิสัยทัศน์ ทันโลกการศึกษา EZ WebmasterMarch 26, 2025 วันที่ 26 มีนาคม 2568 นายยศพล เวณุโกเศศ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (เลขาธิการ กอศ.) เป็นประธานเปิดโครงการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และบรรยายพิเศษ “Growth Mindset: แนวคิดเชิงบวกและการเติบโตขององค์กร” โดยนางธิติมา โรจน์วัชราภิบาล ผู้อำนวยการ… กิจกรรม สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ ร่วมพิธีวางพานพุ่มและพิธีตักบาตร เนื่องในวันครบรอบ ๑๐๘ ปี แห่งการสถาปนาจุฬาฯ EZ WebmasterMarch 27, 2025 สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินร่วมพิธีวางพานพุ่มสักการะพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระปิยมหาราชและสมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า และพิธีตักบาตร เนื่องในวันครบรอบ ๑๐๘ ปี แห่งการสถาปนาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมี นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ และ นายอรรษิษฐ์ สัมพันธรัตน์ ประธานการจัดงานคืนเหย้าชาวจุฬาฯ… พิธีเปิดกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) ภายใต้โครงการพัฒนามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมผ้าไทยสู่สากล ประจำปี ๒๕๖๘ EZ WebmasterMarch 26, 2025 นางสาวลิปิการ์ กำลังชัย รองธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรม รักษาราชการแทนอธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรมเป็นประธานพิธิเปิด และร่วมรับฟังการบรรยายกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) พร้อมด้วยนางสาวศิวพร ฉันทไกรวัฒน์ ผู้อำนวยการกลุ่มเผยแพร่และต่อยอดมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมเข้าร่วมงาน โดยวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญด้านผ้าไทย การออกแบบและแฟชั่น อาทิ ผศ.ดร.รวิเทพ มุสิกะปาน ผศ.ดร.วุฒิไกร… เปิดรับอาสาสมัครศิริราช รอบทำกิจกรรม เดือน พ.ค.-ก.ค. 68 ทุกกิจกรรมมีใบรับรองการทำกิจกรรม EZ WebmasterMarch 26, 2025 ตารางการรับอาสาสมัครรอบทำกิจกรรม เดือน พฤษภาคม – กรกฏาคม 68 (กิจกรรมที่อยู่ในเว็บไซต์ตอนนี้เป็นรอบเก่ามีผู้เข้าร่วมเต็มทั้งหมดแล้วค่ะ รอบใหม่จะเปิดตามวันเวลาที่แจ้งด้านล่างนี้เท่านั้น*) ขอให้อาสาเป็นผู้สมัครและกดเลือกกิจกรรมด้วยตนเองนะคะ – 31 ก.ค. 68 **เนื่องจากวันที่ 5 พ.ค. เป็นวันหยุด จะขอเริ่มตั้งแต่วันที่วันที่ 6 พ.ค.… เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน รับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน EZ WebmasterMarch 24, 2025 เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน เกม Let’s School เกมแนวบริหารโรงเรียนในฝัน ที่จะให้เรารับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน อยากให้โรงเรียนเป็นแบบไหนก็ปรับเล่นได้เลย ดูอารมณ์นักเรียกได้ด้วยว่ามีความสุขมั้ย? แถมตอนนี้ยังมีอัปเดตแมพใหม่พร้อมซัพไทยด้วยนะ Let’s School โหลดเล่นได้ที่ Steam :… Search for: Search EZ Webmaster January 31, 2024 EZ Webmaster January 31, 2024 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ศูนย์กลางการศึกษาระดับภูมิภาคพร้อมรับนิสิตต่างชาติ สู่โลกการเรียนรู้และประสบการณ์หลากสีสันแห่งเอเชีย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยพร้อมเป็นหนึ่งในศูนย์กลางการศึกษาแห่งภูมิภาคเอเชีย เปิดรับนิสิตชาวไทยและต่างชาติ ด้วยกว่าร้อยหลักสูตรนานาชาติ รองรับทุกสายการเรียน สร้างประสบการณ์การเรียนรู้ไร้พรมแดน เตรียมบัณฑิตสู่ความเป็นพลเมืองโลก ประเทศไทยเป็นหนึ่งในจุดหมายปลายทางที่ชาวต่างชาตินิยมมาท่องเที่ยว ด้วยเสน่ห์ของ Soft Power อย่างศิลปะ วัฒนธรรม อาหาร วิถีชีวิต ธรรมชาติ ภูมิอากาศ และค่าครองชีพที่สมเหตุสมผล แต่ที่หลายคนอาจจะยังไม่รู้ – ประเทศไทยยังเป็นหนึ่งในจุดหมายของการศึกษาที่นิสิตต่างชาติสนใจมาเรียนและใช้ชีวิตด้วยเช่นกัน “ประเทศไทยมีความโดดเด่นทางด้านการศึกษาและเป็นที่สนใจของนิสิตต่างชาติจำนวนมาก เช่นที่จุฬาฯ เราเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยที่การศึกษามีคุณภาพ เป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ มีหลักสูตรนานาชาติที่สามารถรองรับนิสิตต่างชาติด้วยการสอนเป็นภาษาอังกฤษมากกว่า 100 หลักสูตรในทุกระดับปริญญา ในขณะที่ค่าครองชีพและค่าเล่าเรียนของเราก็ถูกกว่าประเทศอื่น ๆ ที่โดดเด่นด้านการศึกษาในระดับเดียวกัน” คุณศุกลิน วนาเกษมสันต์ ผู้อำนวยการฝ่ายบริหารวิชาการนานาชาติ สำนักบริหารวิรัชกิจและเครือข่ายนานาชาติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าว ปัจจุบัน จุฬาฯ มีนิสิตต่างชาติประมาณ 2,000 คน จาก 60 ประเทศ ที่มาศึกษาแลกเปลี่ยนและเรียนระดับปริญญาในหลายหลักสูตร จำนวนของนิสิตต่างชาติดูมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ด้วยทิศทางของโลกสมัยใหม่ ที่เปิดให้ผู้คนเดินทางและโยกย้ายถิ่นฐานได้สะดวกยิ่งขึ้น ไม่ว่าจะไปทำงาน ท่องเที่ยว หรือศึกษาเล่าเรียน โดยเฉพาะการเรียนรู้ เป็นส่วนหนึ่งของการเพิ่มพูนประสบการณ์ชีวิต สร้างเสริมความเป็นพลเมืองโลกและทักษะในการอยู่ในโลกสมัยใหม่ ที่ต้องเปิดใจ เข้าใจและยอมรับความแตกต่างหลากหลายและพหุวัฒนธรรม ทำไม นิสิตต่างชาติจึงเลือกมาเรียนจุฬาฯ ชื่อเสียงของจุฬาฯ และการยอมรับในระดับนานาชาติเป็นหนึ่งในเหตุผลต้น ๆ ที่นิสิตต่างชาติเลือกมาเรียนที่จุฬาฯ ในระดับประเทศ จุฬาฯ ครองอันดับ 1 ของประเทศไทยเป็นปีที่ 4 ติดต่อกัน จาก THE Impact Rankings 2023 และติดอันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทยเป็นปีที่ 15 ติดต่อกัน (ตั้งแต่ปี 2009) ในการจัดอันดับ QS World University Rankings 2024 โดย QS Quacquarelli Symonds ส่วนในระดับนานาชาติ จุฬาฯ ครองอันดับ 17 ของโลก จาก THE Impact Rankings 2023 และติดอันดับท็อป 50 ของโลกทางด้านผลลัพธ์ด้านการจ้างงาน (Employment Outcomes) โดย QS World University Rankings 2024 “จุฬาฯ เป็นศูนย์กลางการศึกษาในระดับอาเซียนและเอเชีย มีความโดดเด่นด้านวิชาการทั้งในสายวิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ ทุกหลักสูตรเปี่ยมด้วยคุณภาพและส่งเสริมความเป็นพลเมืองโลกให้นิสิตทั้งชาวไทยและต่างชาติ ซึ่งเมื่อจบการศึกษา บัณฑิตจุฬาฯ จะมีทักษะที่จำเป็นและสามารถทำงานได้ทุกที่ในโลก” คุณศุกลิน กล่าว นอกจากความโดดเด่นด้านวิชาการแล้ว บรรยากาศการเรียนรู้และการใช้ชีวิตที่จุฬาฯ ยังมีสีสัน ผสานความเก่าแก่และความทันสมัย เปิดโลกการเรียนรู้ตลอดชีวิต ที่ไม่มีในตำรา จุฬาฯ เป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของประเทศไทย ก่อตั้งมาแล้วกว่า 106 ปี ในพื้นที่การศึกษากว่า 1 ตารางกิโลเมตร (637 ไร่) ของจุฬาฯ มีอาคารทรงคุณค่าทางสถาปัตยกรรมมากมาย อีกทั้งเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ที่ขนานไปกับการเติบโตของประเทศไทยยุคใหม่ (modernization) นอกจากนี้ ด้วยความที่ตั้งอยู่ใจกลางมหานคร จุฬาฯ จึงอยู่ในแหล่งความทันสมัยและวัฒนธรรมสมัยใหม่ เช่น สยามสแควร์ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพ และไม่ไกลจากย่านเมืองเก่า เช่น เยาวราช สามย่าน เจริญกรุง ฯลฯ กล่าวได้ว่านิสิตที่มาเรียนที่จุฬาฯ จะได้ใช้ชีวิตการเรียนรู้ในบรรยากาศที่อดีต ปัจจุบัน และทิศทางแห่งอนาคตผสานกันอย่างลงตัว ความร่วมมือระดับนานาชาติ สร้างนิสิตจุฬาฯ สู่ความเป็นพลเมืองโลก จุฬาฯ ก้าวไปกับทิศทางการศึกษาในโลกสมัยใหม่ ที่เน้นหล่อหลอมบัณฑิตให้มีสำนึกความเป็นพลเมืองโลก สามารถปรับตัวเข้ากับกระแสการเปลี่ยนแปลงของโลก รวมถึงมีความเข้าใจความหลากหลายของสังคมและอยู่ได้ในพหุวัฒนธรรม “ด้วยชื่อเสียงและความพยายามของจุฬาฯ ทำให้เรามี MOU กับมหาวิทยาลัยชื่อดังหลายแห่งทั่วโลก นิสิตหลักสูตรนานาชาติของจุฬาฯ จะได้เรียนรู้และอยู่ในบรรยากาศแบบนานาชาติ และมีโอกาสได้เจอสภาพแวดล้อมอื่น ๆ เข้าเรียนกับมหาวิทยาลัยชั้นนำในต่างประเทศในวิชาที่ตนสนใจได้แทนที่จะเรียนตลอด 4 ปีที่จุฬาฯ ที่เดียว” ด้วยเป้าหมายดังกล่าว จุฬาฯ ได้ทำความร่วมมือกับหน่วยงานและมหาวิทยาลัยในระดับนานาชาติ เพื่อให้นิสิตสามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูล รวมถึง โดยความร่วมมือที่จุฬาฯ ทำกับสถาบันต่าง ๆ ได้แก่ ความร่วมมือด้านฐานข้อมูล จุฬาฯ มีห้องสมุดและฐานข้อมูลระดับเวิล์ดคลาส ที่นิสิตจุฬาฯ จะสามารถเข้าถึงแหล่งความรู้ ทั้งหนังสือ วารสาร งานวิจัย วิทยานิพนธ์ และฐานข้อมูลอ้างอิงจากต่างประเทศได้อย่างกว้างขวาง เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และการค้นคว้าของนิสิตได้อย่างเต็มที่ ความร่วมมือด้านหลักสูตร จุฬาฯ มีหลักสูตรนานาชาติแบบหลักสูตรปริญญาร่วมและหลักสูตรสองปริญญา ที่ผู้เรียนจะได้เรียนที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยพาร์ทเนอร์จากต่างประเทศ เช่น หลักสูตรปริญญาตรีสาขาวิทยาศาสตร์จิตวิทยา ร่วมกับ University of Queensland ออสเตรเลีย หลักสูตรปริญญาโทการจัดการทางวิศวกรรม ร่วมกับ The University of Warwick สหราชอาณาจักร เป็นต้น นอกจากนี้ จุฬาฯ ยังได้ทำ MOU ร่วมกับมหาวิทยาลัยชั้นนำหลายแห่งในโลก เพื่อให้นิสิตจุฬาฯ สามารถไปแลกเปลี่ยนที่ต่างประเทศ เพื่อเรียนในสาขาที่ตนเองสนใจกับมหาวิทยาลัยคู่สัญญา 1-2 ภาคการศึกษา หรือหากไม่อยากเดินทาง ก็สามารถแลกเปลี่ยนผ่าน APRU Virtual Student Exchange ที่นิสิตสามารถเข้าคลาสเรียนของมหาวิทยาลัยคู่สัญญาจากต่างประเทศได้ผ่านห้องเรียนออนไลน์ (ดูรายชื่อหลักสูตรทั้งหมดที่จุฬาฯ ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยต่างประเทศ ที่นี่) ชีวิตในรั้วจุฬาฯ สะดวกสบาย สนุก มีสีสัน มหาวิทยาลัยไม่ได้เป็นเรื่องการเรียนเท่านั้น แต่เป็นเรื่องการใช้ชีวิต คุณศุกลินให้ข้อมูลว่า จุฬาฯ มีความพร้อมทุกด้าน ไม่ว่าบุคลากรและสิ่งอำนวยความสะดวก ที่จะช่วยให้การมาเรียนและใช้ชีวิตในต่างแดนของนิสิตต่างชาติเป็นประสบการณ์สุดวิเศษครั้งหนึ่งในชีวิต การเดินทางจุฬาฯ เป็นมหาวิทยาลัยที่อยู่ใจกลางเมือง มีเส้นทางการเดินทางด้วยระบบขนส่งสาธารณะหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นรถเมล์ รถไฟฟ้า BTS และ MRT ส่วนการเดินทางภายในมหาวิทยาลัย จุฬาฯ ก็มีรถโดยสารภายในจุฬาฯ (Shuttle Bus) เพื่อให้นิสิตสามารถเดินทางไปอาคารเรียน หอพักนิสิต และพื้นที่โดยรอบมหาวิทยาลัยถึง 6 เส้นทาง โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย สุขภาพกายจุฬาฯ มีศูนย์บริการสุขภาพแห่งจุฬาฯ ที่ให้บริการทางสุขภาพฟรีแก่นิสิตจุฬาฯ และมีประกันสุขภาพสำหรับนิสิตต่างชาติ ที่นิสิตสามารถไปรับบริการที่โรงพยาบาลทั่วไปได้ หากเกิดเหตุฉุกเฉิน นิสิตจึงไม่ต้องกังวลเรื่องค่าใช้จ่ายหากเกิดเจ็บป่วยหรือเกิดอุบัติเหตุระหว่างที่เข้ามาศึกษา สุขภาพใจสำหรับนิสิตที่รู้สึกไม่สบายใจ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องเรียน การใช้ชีวิต การปรับตัว หรือเรื่องใดก็ตาม จุฬาฯ มีหน่วยส่งเสริมสุขภาวะนิสิต (Chula Student Wellness) ที่มีนักจิตวิทยาและจิตแพทย์คอยให้คำปรึกษานิสิตที่มีเรื่องกังวลทางใจ อีกทั้งจุฬาฯ ยังมีเจ้าหน้าที่จากสำนักบริหารวิรัชกิจและเครือข่ายนานาชาติ และเจ้าหน้าที่ประจำหลักสูตรที่สามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้เป็นอย่างดี คอยให้ความช่วยเหลือเกี่ยวกับการลงทะเบียนเรียน การประสานงานกับหน่วยงานต่าง ๆ การทำวีซ่า และการดูแลขณะเกิดเรื่องฉุกเฉิน ที่พักสำหรับนิสิตจุฬาฯ มีหอพักเรือนวิรัชมิตร (CU I-House) สำหรับนิสิตต่างชาติโดยเฉพาะ สามารถเดินทางได้สะดวก มีรถรับส่งไปยังมหาวิทยาลัย อยู่ใกล้ร้านอาหารมากมาย และค่าใช้จ่ายถูกกว่าหอพักบริเวณใกล้เคียง กิจกรรมและสันทนาการสำนักบริหารกิจการนิสิต ตั้งชมรม International Student Club เพื่อให้นิสิตต่างชาติและนิสิตไทยได้ทำกิจกรรมด้วยกันเพื่อแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม หรือหากนิสิตสนใจเล่นกีฬา ดนตรี หรือกิจกรรมด้านอื่น ๆ ก็สามารถสมัครเข้าร่วมชมรมที่สนใจได้ เพื่อหาเพื่อนที่มีความสนใจเหมือนกัน Unibuddyแอปคู่หูการใช้ชีวิตในจุฬาฯ เพื่อนิสิตต่างชาติ คุณศุกลินกล่าวว่าในบางครั้งการดูรีวิวจากอินเทอร์เน็ตก็อาจจะมีข้อมูลที่จริงบ้างไม่จริงบ้าง หรือการสอบถามข้อมูลโดยตรงจากมหาวิทยาลัยก็อาจจะไม่ได้ข้อมูลในมุมมองของผู้เรียน จุฬาฯ จึงเปิด “Unibuddy” เว็บไซต์แอปพลิเคชันที่จะช่วยให้นิสิตต่างชาติได้รู้เรื่องราว ทั้งเรื่องเรียนและการใช้ชีวิตในมุมมองนิสิตจุฬาฯ โดยผู้ให้ข้อมูลเป็นนิสิตจุฬาฯ ทั้งนิสิตไทยและนิสิตต่างชาติ สามารถเข้าใช้งาน Unibuddy ได้ที่นี่ พูดไทยไม่ได้ จะมาเรียนที่จุฬาฯ ได้ไหม? ภาษาไม่ใช่อุปสรรคในการเรียนและใช้ชีวิตที่จุฬาฯ แม้จะไม่สามารถสื่อสารภาษาไทยได้ นิสิตต่างชาติก็สามารถเรียนและสนุกกับประสบการณ์ชีวิตที่จุฬาฯ ได้ “หลักสูตรนานาชาติทุกหลักสูตรจัดการเรียนการสอนเป็นภาษาอังกฤษทั้งหมด นอกจากนี้ นิสิตจุฬาฯ ชาวไทยส่วนมากก็สามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้ดี ภายนอกมหาวิทยาลัยอาจจะมีบุคคลที่ไม่สามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้ แต่สมัยนี้ เราก็มีเครื่องมือและโปรแกรมที่สามารถแปลภาษาเพื่อใช้สื่อสารได้ เช่น ในโรงอาหาร แม้จะไม่มีเมนูภาษาอังกฤษ ก็สามารถถ่ายรูปอาหารบนป้ายที่อยากทานแล้วยื่นให้แม่ค้าดูได้” สำหรับนิสิตที่สนใจจะเรียนภาษาไทย จุฬาฯ ก็มีหลักสูตรหลากหลายรูปแบบให้นิสิตได้เลือกเรียนตามความสนใจ หลักสูตรออนไลน์เรียนฟรีกับ Chula MOOC เตรียมตัวก่อนมาประเทศไทยด้วยหลักสูตรภาษาไทยพื้นฐานที่น่าสนใจ ได้แก่ หลักสูตร Survival Thai หลักสูตร Communicative Thai for Foreigners และหลักสูตร Thai on Campus พร้อมรับประกาศนียบัตรจากจุฬาฯ เมื่อเรียนจบหลักสูตร หลักสูตรภาษาไทยแบบลงทะเบียนเรียนนิสิตต่างชาติสามารถลงทะเบียนเรียนวิชาภาษาไทยสำหรับนิสิตต่างชาติโดยเฉพาะ โดยไม่ต้องเสียค่าลงทะเบียนเรียนเพิ่ม และยังเก็บเป็นวิชาเรียนในใบทรานสคริปต์ได้ด้วย หลักสูตรภาษาไทยแบบเข้มข้นหากการเรียนในห้องเรียนยังไม่เพียงพอ นิสิตก็สามารถสมัครเรียนเพิ่มเติมได้ที่ ศูนย์ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ ซึ่งนอกจากจะมีการเรียนภาษาในห้องเรียนแล้ว ยังมีกิจกรรมเวิร์คช็อปทางวัฒนธรรมไทยอีกด้วย หลักสูตรนี้ชาวต่างชาติที่ไม่ใช่นิสิตจุฬาฯ ก็สามารถสมัครเรียนได้เช่นเดียวกัน “ในเมื่อมีโอกาสได้มาเป็นนิสิตจุฬาฯ ที่ประเทศไทย นอกจากการเรียนภาษาไทยกับเจ้าของภาษาในห้องเรียนแล้ว สิ่งที่สำคัญคือการนำความรู้ที่ได้มาใช้กับคนนอกห้องเรียนเพื่อฝึกฝนภาษาไทยให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นในสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมการเรียนรู้ทางภาษาไทยที่สุด” สนใจมาเรียนที่จุฬาฯ จะต้องทำอย่างไร จุฬาฯ มีหลักสูตรนานาชาติ ที่มีการเรียนการสอนเป็นภาษาอังกฤษทั้งหมดในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอกมากกว่า 100 หลักสูตรจากหลากหลายสาขาวิชา โดยเปิดเรียนภาคเรียนที่ 1 ในเดือนสิงหาคม การรับสมัครในระดับปริญญาตรีจะเปิดรับสมัครรอบที่ 1 ในช่วงเดือนธันวาคม – มกราคม ส่วนการรับสมัครในระดับบัณฑิตศึกษาจะแบ่งการรับสมัครเป็น 2 ช่วง ได้แก่ รอบรับสมัครเดือนกุมภาพันธ์ – พฤษภาคม เริ่มเรียนในเดือนสิงหาคม และรอบรับสมัครเดือนกันยายน – ตุลาคม เริ่มเรียนในเดือนมกราคม สำหรับนิสิตที่ต้องการทุน จุฬาฯ ก็มีทุนสนับสนุนสำหรับนิสิตหลายประเภทตามทั้งทุนการศึกษาและทุนทำวิจัย นอกจากการเรียนในระดับปริญญาแล้ว จุฬาฯ ยังมีโครงการแลกเปลี่ยนสำหรับนิสิตจากต่างประเทศที่สนใจมาเรียนที่จุฬาฯ ระยะสั้น 1-2 ภาคการศึกษา เพื่อมาเก็บเกี่ยวความรู้ที่จุฬาฯ และหาประสบการณ์การใช้ชีวิตที่ประเทศไทยในเวลาเดียวกัน · Exchange Program นิสิตจากมหาวิทยาลัยคู่สัญญาที่ทำ MOU ร่วมกับจุฬาฯ สามารถมาแลกเปลี่ยนที่จุฬาฯ โดยที่ไม่ต้องเสียค่าเล่าเรียนที่จุฬาฯ นอกจากชำระค่าเล่าเรียนที่มหาวิทยาลัยของตน ผู้สนใจสามารถสมัครได้ล่วงหน้า 6 เดือนก่อนเปิดภาคเรียน* ที่ผู้ประสานงานของมหาวิทยาลัยที่ตนเองสังกัด โดยสามารถตรวจสอบมหาวิทยาลัยคู่สัญญาได้ที่นี่ · Visiting Program สำหรับนิสิตที่มาจากมหาวิทยาลัยต่างประเทศที่ไม่ใช่คู่สัญญาของจุฬาฯ ก็สามารถมาศึกษาที่จุฬาฯ 1-2 ภาคการศึกษาได้เช่นกัน โดยสามารถติดต่อกับผู้ดูแลหลักสูตรที่ต้องการสมัครของจุฬาฯ ได้เลย โดยชำระค่าเล่าเรียนที่จุฬาฯ ผู้สนใจจะต้องสมัครล่วงหน้า 6 เดือนก่อนเปิดภาคเรียน* *สำหรับ Exchange Program และ Visiting Program หากต้องการจะเริ่มเรียนในภาคเรียนที่ 1 ในเดือนสิงหาคม สามารถสมัครได้ตั้งแต่เดือนมกราคม – กุมภาพันธ์ในปีเดียวกัน และหากต้องเริ่มเรียนในภาคเรียนที่ 2 ในเดือนมกราคม สามารถสมัครได้ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม – สิงหาคมของปีก่อนหน้า · APRU Virtual Student Exchange สำหรับนิสิตต่างชาติจากมหาวิทยาลัยสมาชิกเครือข่าย APRU ที่สนใจจะเรียนวิชาของจุฬาฯ แต่ไม่สะดวกที่จะมาเรียนที่ประเทศไทย หรืออยากจะเรียนแค่วิชาเดียว ก็สามารถเข้าร่วมโครงการ APRU Virtual Student Exchange ที่นิสิตจะได้เรียนวิชาที่สนใจบนคลาสออนไลน์กับนิสิตจุฬาฯ โดยที่ชำระค่าเล่าเรียนเฉพาะที่มหาวิทยาลัยของตนเท่านั้น เตรียมวีซ่าให้พร้อมก่อนมาเรียนที่จุฬาฯ สิ่งที่สำคัญที่สุดที่จะทำให้การใช้ชีวิตที่จุฬาฯ ของชาวต่างชาติราบรื่น นั่นก็คือ “วีซ่า” ซึ่งผู้ที่จะเข้ามาเรียนที่จุฬาฯ ต้องมี Education Visa หลังจากที่ผู้สมัครผ่านการคัดเลือกเข้าศึกษาต่อ ทางมหาวิทยาลัยจะออกเอกสารตอบรับเข้าศึกษาเพื่อให้ผู้สมัครไปยื่นขอวีซ่าที่สถานทูตไทยหรือกงสุลไทย และเมื่อต้องมีการต่อวีซ่า ก็สามารถติดต่อได้ที่ผู้ประสานงานหลักสูตรของตนเองได้เลย “สิ่งที่ต้องรู้เกี่ยวกับ Education Visa คือ วีซ่าประเภทนี้จะใช้ได้ก็ต่อเมื่อเดินทางมาจากประเทศของตนเองเท่านั้น วีซ่านักท่องเที่ยวไม่สามารถเปลี่ยนประเภทวีซ่าเป็นวีซ่านักเรียนที่ประเทศไทยได้ กรณีนี้ นิสิตจะต้องเดินทางกลับประเทศของตนก่อนแล้วบินกลับมาใหม่เท่านั้น” “สำหรับผู้ที่มีวีซ่าทำงานแล้วมาเรียนนอกเวลาทำงานก็สามารถมาเรียนได้ แม้จะถือวีซ่าทำงาน แต่วีซ่าทำงานไม่สามารถเปลี่ยนเป็นวีซ่านักเรียนได้ที่ประเทศไทยเช่นเดียวกับวีซ่าท่องเที่ยว ซึ่งเป็นปัญหาที่นิสิตพบบ่อย นี่จึงคือสิ่งที่ควรเตรียมตัวมาให้ดีหากนิสิตไม่อยากเสียเงินและเสียเวลาในการเดินทาง” รู้จักเรื่องราวของจุฬาฯ ให้มากขึ้น ที่เว็บไซต์ https://www.chula.ac.th/en/ สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ สำนักบริหารวิรัชกิจและเครือข่ายนานาชาติ จุฬาฯ โทรศัพท์: +66 2218 3126 อีเมล: int.off@chula.ac.th Facebook: https://www.facebook.com/ChulaOIA/ EZ Webmaster Related Posts สสวท. พารอบรู้คู่ฤดูร้อนกับ “พายุฤดูร้อน” สพฐ.สั่งเลื่อนสอบ ม.1 และ ม.4 ทั่วประเทศ หลังเหตุแผ่นดินไหว รอประเมินความปลอดภัยก่อนกำหนดสอบใหม่ ม.สุโขทัยธรรมาธิราช เปิดรับนักศึกษาใหม่ ภาคต้นปีการศึกษา 2568 เริ่มรับสมัครวันที่ 1 เมษายน 2568 CP All Education Forum 2025 จัดใหญ่! มอบทุนการศึกษากว่า 1,648 ล้าน ปลุกพลังการศึกษาไทย “สร้างคนเก่ง ดี มีความสามารถ” รับมือยุค AI TCAS68 รอบ2 โควตา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ปีการศึกษา2568 Post navigation PREVIOUS Previous post: “ดิจิทัล” เปิดศักราชใหม่ในการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้NEXT Next post: สสวท. รวมพลังมูลนิธิฯ หนุนโครงการพระราชทานความช่วยเหลือ พัฒนาการเรียนวิทย์ เน้นปฏิบัติการทดลองโรงเรียน สปป.ลาว Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มทร.ธัญบุรี เปิดกว้างทุกวัย เพื่อเรียนรู้ตลอดชีพ ธนาคารหน่วยกิต “40 หลักสูตร ป.ตรี” tui sakrapeeMarch 26, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) เปิดรับสมัครผู้สนใจเข้าร่วมโครงการการเรียนรู้ตลอดชีวิตในระบบเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ (ธนาคารหน่วยกิต) หลักสูตรระดับปริญญาตรี ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2568 ตั้งแต่วันที่ 24 มี.ค. ถึง 30 พ.ค. 2568 โดยไม่มีค่าใช้จ่ายในการสมัคร… เปิดรับอาสาสมัครศิริราช รอบทำกิจกรรม เดือน พ.ค.-ก.ค. 68 ทุกกิจกรรมมีใบรับรองการทำกิจกรรม EZ WebmasterMarch 26, 2025 ตารางการรับอาสาสมัครรอบทำกิจกรรม เดือน พฤษภาคม – กรกฏาคม 68 (กิจกรรมที่อยู่ในเว็บไซต์ตอนนี้เป็นรอบเก่ามีผู้เข้าร่วมเต็มทั้งหมดแล้วค่ะ รอบใหม่จะเปิดตามวันเวลาที่แจ้งด้านล่างนี้เท่านั้น*) ขอให้อาสาเป็นผู้สมัครและกดเลือกกิจกรรมด้วยตนเองนะคะ – 31 ก.ค. 68 **เนื่องจากวันที่ 5 พ.ค. เป็นวันหยุด จะขอเริ่มตั้งแต่วันที่วันที่ 6 พ.ค.…
เปิดรับอาสาสมัครศิริราช รอบทำกิจกรรม เดือน พ.ค.-ก.ค. 68 ทุกกิจกรรมมีใบรับรองการทำกิจกรรม EZ WebmasterMarch 26, 2025 ตารางการรับอาสาสมัครรอบทำกิจกรรม เดือน พฤษภาคม – กรกฏาคม 68 (กิจกรรมที่อยู่ในเว็บไซต์ตอนนี้เป็นรอบเก่ามีผู้เข้าร่วมเต็มทั้งหมดแล้วค่ะ รอบใหม่จะเปิดตามวันเวลาที่แจ้งด้านล่างนี้เท่านั้น*) ขอให้อาสาเป็นผู้สมัครและกดเลือกกิจกรรมด้วยตนเองนะคะ – 31 ก.ค. 68 **เนื่องจากวันที่ 5 พ.ค. เป็นวันหยุด จะขอเริ่มตั้งแต่วันที่วันที่ 6 พ.ค.…
U. of Waterlooให้ทุนป.ตรี InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศMarch 28, 2025 Faculty of Science International Student Scholarships at University of Waterloo, Canadaสำหรับนักศึกษาต่างชาติสูงสุด 15 ทุน เพื่อสนับสนุนนักศึกษาที่มีผลงานดีเด่นในภาคการศึกษาปีการศึกษา 2025/2026 ซึ่งรวมถึงทุนการศึกษาแบบต่ออายุ 10 ทุน… มหาวิทยาลัยอัลอัซฮัร กรุงไคโร สาธารณรัฐอาหรับอียิปต์ มอบ 160 ทุนให้นักศึกษาจากประเทศไทย EZ WebmasterMarch 27, 2025 มหาวิทยาลัยอัลอัซฮัร กรุงไคโร สาธารณรัฐอาหรับอียิปต์ มอบทุนการศึกษาแก่นักศึกษาจากประเทศไทย จำนวน 160 ทุน ในปีการศึกษา 2025/2026 (2568/2569) โดยจำแนกเป็น ทุนนการศึกษาสาขาอิสลามศึกษา จำนวน 80 ทุน เฉพาะนักเรียนที่จบการศึกษาระดับอิสลามศึกษาตอนปลาย (ซานาวี) #จากโรงเรียนที่ได้รับรองวิทยฐานะ ประกาศนียบัตรระดับอิสลามศึกษาตอนปลาย (ซานาวี)… Peking U.ให้ทุนป.ตรี-เอก InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศMarch 27, 2025 Peking University กำลังให้ทุนสำหรับนักศึกษาต่างชาติที่โดดเด่น ทุนนี้ก่อตั้งขึ้นในปี 2012 โดยให้การสนับสนุนนักศึกษาระดับปริญญาตรี โท และเอก(ไม่จำกัดสาขาวิชา) โดยให้ความช่วยเหลือทางการเงินเต็มจำนวนหรือบางส่วน รวมถึงค่าเล่าเรียน เงินเดือน และประกันสุขภาพ เปิดรับสมัครช่วงมีนาคมถึงเมษายน ทุกปี เพื่อให้มีสิทธิ์ได้รับทุน ผู้สมัครจะต้องเป็นนักศึกษาต่างชาติที่ได้รับข้อเสนอให้เข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยปักกิ่งในฐานะนักศึกษาปีหนึ่ง จะต้องไม่เป็นผู้รับทุนการศึกษาอื่นใด และไม่ควรลงทะเบียนในโปรแกรมปริญญาวิชาชีพ… สัปดาห์สุดท้าย!ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา เปิดรับรอบที่ 2 Quota 8 สาขา พร้อมมอบทุนเพชรสุนันทา เรียนการออกแบบแฟชั่น tui sakrapeeMarch 27, 2025 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดรับสมัครคัดเลือกนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญเข้าศึกษาในโครงการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาระดับปริญญาตรี ระบบโควตา ประเภทความสามารถทางวิชาการ และประเภทความสามารถพิเศษ ประจำปีการศึกษา 2568 (รอบที่ 2 Quota) พร้อมรับสมัครคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษา ภาคปกติ ระดับปริญญาตรี ในโครงการทุนเพชรสุนันทา กำหนดการรับสมัคร สาขาที่รับสมัครคณะศิลปกรรมศาสตร์ คุณสมบัติเฉพาะ… ครู-อาจารย์ 5 แนวโน้มสำคัญด้านการศึกษาในปี 2025 EZ WebmasterMarch 28, 2025 5 แนวโน้มสำคัญด้านการศึกษาในปี 2025 ปี 2025 เป็นปีแห่งการเปลี่ยนแปลงของวงการศึกษา เทคโนโลยีใหม่ๆ และแนวคิดการเรียนรู้ที่ทันสมัยจะเข้ามามีบทบาทสำคัญ มาดูกันว่าอะไรคือแนวโน้มหลักที่ต้องจับตามอง! การเกิดขึ้นของโรงเรียนรูปแบบใหม่ Hybrid Learning, Microschools และ Homeschool กำลังได้รับความนิยมมากขึ้น การใช้… มจธ. คิดค้น “นวัตกรรมการผลิตซิลิกาด้วยเทคโนโลยีชีวภาพ” ต้นทุนต่ำ คุณภาพสูง พร้อมพลิกโฉมอุตสาหกรรมไทย EZ WebmasterMarch 27, 2025 นักวิจัย มจธ.พัฒนากระบวนการผลิต ไบโอซิลิกา (Biosilica) จากแกลบข้าว ด้วยกระบวนการชีวภาพ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและไร้สารเคมีตกค้าง พร้อมส่งต่อเทคโนโลยีเพื่อนำไปใช้ในอุตสาหกรรมต่างๆ เช่น เครื่องสำอาง เวชสำอาง ยา และยาง ซึ่งเป็นก้าวสำคัญที่ช่วยให้ประเทศไทยลดการพึ่งพาซิลิกานำเข้า และส่งเสริมเศรษฐกิจหมุนเวียนของประเทศ ซิลิกา (Silica) เป็นวัตถุดิบสำคัญในหลายอุตสาหกรรมของไทย ตั้งแต่ยางรถยนต์ เครื่องสำอาง เวชภัณฑ์… โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “ดร.ชุมพล พรประภา” เป็นนายกสภา ม.ศรีนครินทรวิโรฒ tui sakrapeeMarch 26, 2025 ราชกิจจานุเบกษาเผยแพร่ ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “ชุมพล พรประภา” ดำรงตำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ แทนวิจิตร ศรีสอ้าน ที่ถึงแก่อนิจกรรม ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 142 ตอนพิเศษ 147 ง เมื่อวันที่ 25… สอศ. ปั้นผู้อำนวยการอาชีวะยุคใหม่! เสริมภาวะผู้นำ-วิสัยทัศน์ ทันโลกการศึกษา EZ WebmasterMarch 26, 2025 วันที่ 26 มีนาคม 2568 นายยศพล เวณุโกเศศ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (เลขาธิการ กอศ.) เป็นประธานเปิดโครงการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และบรรยายพิเศษ “Growth Mindset: แนวคิดเชิงบวกและการเติบโตขององค์กร” โดยนางธิติมา โรจน์วัชราภิบาล ผู้อำนวยการ… กิจกรรม สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ ร่วมพิธีวางพานพุ่มและพิธีตักบาตร เนื่องในวันครบรอบ ๑๐๘ ปี แห่งการสถาปนาจุฬาฯ EZ WebmasterMarch 27, 2025 สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินร่วมพิธีวางพานพุ่มสักการะพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระปิยมหาราชและสมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า และพิธีตักบาตร เนื่องในวันครบรอบ ๑๐๘ ปี แห่งการสถาปนาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมี นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ และ นายอรรษิษฐ์ สัมพันธรัตน์ ประธานการจัดงานคืนเหย้าชาวจุฬาฯ… พิธีเปิดกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) ภายใต้โครงการพัฒนามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมผ้าไทยสู่สากล ประจำปี ๒๕๖๘ EZ WebmasterMarch 26, 2025 นางสาวลิปิการ์ กำลังชัย รองธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรม รักษาราชการแทนอธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรมเป็นประธานพิธิเปิด และร่วมรับฟังการบรรยายกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) พร้อมด้วยนางสาวศิวพร ฉันทไกรวัฒน์ ผู้อำนวยการกลุ่มเผยแพร่และต่อยอดมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมเข้าร่วมงาน โดยวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญด้านผ้าไทย การออกแบบและแฟชั่น อาทิ ผศ.ดร.รวิเทพ มุสิกะปาน ผศ.ดร.วุฒิไกร… เปิดรับอาสาสมัครศิริราช รอบทำกิจกรรม เดือน พ.ค.-ก.ค. 68 ทุกกิจกรรมมีใบรับรองการทำกิจกรรม EZ WebmasterMarch 26, 2025 ตารางการรับอาสาสมัครรอบทำกิจกรรม เดือน พฤษภาคม – กรกฏาคม 68 (กิจกรรมที่อยู่ในเว็บไซต์ตอนนี้เป็นรอบเก่ามีผู้เข้าร่วมเต็มทั้งหมดแล้วค่ะ รอบใหม่จะเปิดตามวันเวลาที่แจ้งด้านล่างนี้เท่านั้น*) ขอให้อาสาเป็นผู้สมัครและกดเลือกกิจกรรมด้วยตนเองนะคะ – 31 ก.ค. 68 **เนื่องจากวันที่ 5 พ.ค. เป็นวันหยุด จะขอเริ่มตั้งแต่วันที่วันที่ 6 พ.ค.… เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน รับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน EZ WebmasterMarch 24, 2025 เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน เกม Let’s School เกมแนวบริหารโรงเรียนในฝัน ที่จะให้เรารับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน อยากให้โรงเรียนเป็นแบบไหนก็ปรับเล่นได้เลย ดูอารมณ์นักเรียกได้ด้วยว่ามีความสุขมั้ย? แถมตอนนี้ยังมีอัปเดตแมพใหม่พร้อมซัพไทยด้วยนะ Let’s School โหลดเล่นได้ที่ Steam :… Search for: Search EZ Webmaster January 31, 2024 EZ Webmaster January 31, 2024 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ศูนย์กลางการศึกษาระดับภูมิภาคพร้อมรับนิสิตต่างชาติ สู่โลกการเรียนรู้และประสบการณ์หลากสีสันแห่งเอเชีย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยพร้อมเป็นหนึ่งในศูนย์กลางการศึกษาแห่งภูมิภาคเอเชีย เปิดรับนิสิตชาวไทยและต่างชาติ ด้วยกว่าร้อยหลักสูตรนานาชาติ รองรับทุกสายการเรียน สร้างประสบการณ์การเรียนรู้ไร้พรมแดน เตรียมบัณฑิตสู่ความเป็นพลเมืองโลก ประเทศไทยเป็นหนึ่งในจุดหมายปลายทางที่ชาวต่างชาตินิยมมาท่องเที่ยว ด้วยเสน่ห์ของ Soft Power อย่างศิลปะ วัฒนธรรม อาหาร วิถีชีวิต ธรรมชาติ ภูมิอากาศ และค่าครองชีพที่สมเหตุสมผล แต่ที่หลายคนอาจจะยังไม่รู้ – ประเทศไทยยังเป็นหนึ่งในจุดหมายของการศึกษาที่นิสิตต่างชาติสนใจมาเรียนและใช้ชีวิตด้วยเช่นกัน “ประเทศไทยมีความโดดเด่นทางด้านการศึกษาและเป็นที่สนใจของนิสิตต่างชาติจำนวนมาก เช่นที่จุฬาฯ เราเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยที่การศึกษามีคุณภาพ เป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ มีหลักสูตรนานาชาติที่สามารถรองรับนิสิตต่างชาติด้วยการสอนเป็นภาษาอังกฤษมากกว่า 100 หลักสูตรในทุกระดับปริญญา ในขณะที่ค่าครองชีพและค่าเล่าเรียนของเราก็ถูกกว่าประเทศอื่น ๆ ที่โดดเด่นด้านการศึกษาในระดับเดียวกัน” คุณศุกลิน วนาเกษมสันต์ ผู้อำนวยการฝ่ายบริหารวิชาการนานาชาติ สำนักบริหารวิรัชกิจและเครือข่ายนานาชาติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าว ปัจจุบัน จุฬาฯ มีนิสิตต่างชาติประมาณ 2,000 คน จาก 60 ประเทศ ที่มาศึกษาแลกเปลี่ยนและเรียนระดับปริญญาในหลายหลักสูตร จำนวนของนิสิตต่างชาติดูมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ด้วยทิศทางของโลกสมัยใหม่ ที่เปิดให้ผู้คนเดินทางและโยกย้ายถิ่นฐานได้สะดวกยิ่งขึ้น ไม่ว่าจะไปทำงาน ท่องเที่ยว หรือศึกษาเล่าเรียน โดยเฉพาะการเรียนรู้ เป็นส่วนหนึ่งของการเพิ่มพูนประสบการณ์ชีวิต สร้างเสริมความเป็นพลเมืองโลกและทักษะในการอยู่ในโลกสมัยใหม่ ที่ต้องเปิดใจ เข้าใจและยอมรับความแตกต่างหลากหลายและพหุวัฒนธรรม ทำไม นิสิตต่างชาติจึงเลือกมาเรียนจุฬาฯ ชื่อเสียงของจุฬาฯ และการยอมรับในระดับนานาชาติเป็นหนึ่งในเหตุผลต้น ๆ ที่นิสิตต่างชาติเลือกมาเรียนที่จุฬาฯ ในระดับประเทศ จุฬาฯ ครองอันดับ 1 ของประเทศไทยเป็นปีที่ 4 ติดต่อกัน จาก THE Impact Rankings 2023 และติดอันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทยเป็นปีที่ 15 ติดต่อกัน (ตั้งแต่ปี 2009) ในการจัดอันดับ QS World University Rankings 2024 โดย QS Quacquarelli Symonds ส่วนในระดับนานาชาติ จุฬาฯ ครองอันดับ 17 ของโลก จาก THE Impact Rankings 2023 และติดอันดับท็อป 50 ของโลกทางด้านผลลัพธ์ด้านการจ้างงาน (Employment Outcomes) โดย QS World University Rankings 2024 “จุฬาฯ เป็นศูนย์กลางการศึกษาในระดับอาเซียนและเอเชีย มีความโดดเด่นด้านวิชาการทั้งในสายวิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ ทุกหลักสูตรเปี่ยมด้วยคุณภาพและส่งเสริมความเป็นพลเมืองโลกให้นิสิตทั้งชาวไทยและต่างชาติ ซึ่งเมื่อจบการศึกษา บัณฑิตจุฬาฯ จะมีทักษะที่จำเป็นและสามารถทำงานได้ทุกที่ในโลก” คุณศุกลิน กล่าว นอกจากความโดดเด่นด้านวิชาการแล้ว บรรยากาศการเรียนรู้และการใช้ชีวิตที่จุฬาฯ ยังมีสีสัน ผสานความเก่าแก่และความทันสมัย เปิดโลกการเรียนรู้ตลอดชีวิต ที่ไม่มีในตำรา จุฬาฯ เป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของประเทศไทย ก่อตั้งมาแล้วกว่า 106 ปี ในพื้นที่การศึกษากว่า 1 ตารางกิโลเมตร (637 ไร่) ของจุฬาฯ มีอาคารทรงคุณค่าทางสถาปัตยกรรมมากมาย อีกทั้งเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ที่ขนานไปกับการเติบโตของประเทศไทยยุคใหม่ (modernization) นอกจากนี้ ด้วยความที่ตั้งอยู่ใจกลางมหานคร จุฬาฯ จึงอยู่ในแหล่งความทันสมัยและวัฒนธรรมสมัยใหม่ เช่น สยามสแควร์ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพ และไม่ไกลจากย่านเมืองเก่า เช่น เยาวราช สามย่าน เจริญกรุง ฯลฯ กล่าวได้ว่านิสิตที่มาเรียนที่จุฬาฯ จะได้ใช้ชีวิตการเรียนรู้ในบรรยากาศที่อดีต ปัจจุบัน และทิศทางแห่งอนาคตผสานกันอย่างลงตัว ความร่วมมือระดับนานาชาติ สร้างนิสิตจุฬาฯ สู่ความเป็นพลเมืองโลก จุฬาฯ ก้าวไปกับทิศทางการศึกษาในโลกสมัยใหม่ ที่เน้นหล่อหลอมบัณฑิตให้มีสำนึกความเป็นพลเมืองโลก สามารถปรับตัวเข้ากับกระแสการเปลี่ยนแปลงของโลก รวมถึงมีความเข้าใจความหลากหลายของสังคมและอยู่ได้ในพหุวัฒนธรรม “ด้วยชื่อเสียงและความพยายามของจุฬาฯ ทำให้เรามี MOU กับมหาวิทยาลัยชื่อดังหลายแห่งทั่วโลก นิสิตหลักสูตรนานาชาติของจุฬาฯ จะได้เรียนรู้และอยู่ในบรรยากาศแบบนานาชาติ และมีโอกาสได้เจอสภาพแวดล้อมอื่น ๆ เข้าเรียนกับมหาวิทยาลัยชั้นนำในต่างประเทศในวิชาที่ตนสนใจได้แทนที่จะเรียนตลอด 4 ปีที่จุฬาฯ ที่เดียว” ด้วยเป้าหมายดังกล่าว จุฬาฯ ได้ทำความร่วมมือกับหน่วยงานและมหาวิทยาลัยในระดับนานาชาติ เพื่อให้นิสิตสามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูล รวมถึง โดยความร่วมมือที่จุฬาฯ ทำกับสถาบันต่าง ๆ ได้แก่ ความร่วมมือด้านฐานข้อมูล จุฬาฯ มีห้องสมุดและฐานข้อมูลระดับเวิล์ดคลาส ที่นิสิตจุฬาฯ จะสามารถเข้าถึงแหล่งความรู้ ทั้งหนังสือ วารสาร งานวิจัย วิทยานิพนธ์ และฐานข้อมูลอ้างอิงจากต่างประเทศได้อย่างกว้างขวาง เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และการค้นคว้าของนิสิตได้อย่างเต็มที่ ความร่วมมือด้านหลักสูตร จุฬาฯ มีหลักสูตรนานาชาติแบบหลักสูตรปริญญาร่วมและหลักสูตรสองปริญญา ที่ผู้เรียนจะได้เรียนที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยพาร์ทเนอร์จากต่างประเทศ เช่น หลักสูตรปริญญาตรีสาขาวิทยาศาสตร์จิตวิทยา ร่วมกับ University of Queensland ออสเตรเลีย หลักสูตรปริญญาโทการจัดการทางวิศวกรรม ร่วมกับ The University of Warwick สหราชอาณาจักร เป็นต้น นอกจากนี้ จุฬาฯ ยังได้ทำ MOU ร่วมกับมหาวิทยาลัยชั้นนำหลายแห่งในโลก เพื่อให้นิสิตจุฬาฯ สามารถไปแลกเปลี่ยนที่ต่างประเทศ เพื่อเรียนในสาขาที่ตนเองสนใจกับมหาวิทยาลัยคู่สัญญา 1-2 ภาคการศึกษา หรือหากไม่อยากเดินทาง ก็สามารถแลกเปลี่ยนผ่าน APRU Virtual Student Exchange ที่นิสิตสามารถเข้าคลาสเรียนของมหาวิทยาลัยคู่สัญญาจากต่างประเทศได้ผ่านห้องเรียนออนไลน์ (ดูรายชื่อหลักสูตรทั้งหมดที่จุฬาฯ ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยต่างประเทศ ที่นี่) ชีวิตในรั้วจุฬาฯ สะดวกสบาย สนุก มีสีสัน มหาวิทยาลัยไม่ได้เป็นเรื่องการเรียนเท่านั้น แต่เป็นเรื่องการใช้ชีวิต คุณศุกลินให้ข้อมูลว่า จุฬาฯ มีความพร้อมทุกด้าน ไม่ว่าบุคลากรและสิ่งอำนวยความสะดวก ที่จะช่วยให้การมาเรียนและใช้ชีวิตในต่างแดนของนิสิตต่างชาติเป็นประสบการณ์สุดวิเศษครั้งหนึ่งในชีวิต การเดินทางจุฬาฯ เป็นมหาวิทยาลัยที่อยู่ใจกลางเมือง มีเส้นทางการเดินทางด้วยระบบขนส่งสาธารณะหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นรถเมล์ รถไฟฟ้า BTS และ MRT ส่วนการเดินทางภายในมหาวิทยาลัย จุฬาฯ ก็มีรถโดยสารภายในจุฬาฯ (Shuttle Bus) เพื่อให้นิสิตสามารถเดินทางไปอาคารเรียน หอพักนิสิต และพื้นที่โดยรอบมหาวิทยาลัยถึง 6 เส้นทาง โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย สุขภาพกายจุฬาฯ มีศูนย์บริการสุขภาพแห่งจุฬาฯ ที่ให้บริการทางสุขภาพฟรีแก่นิสิตจุฬาฯ และมีประกันสุขภาพสำหรับนิสิตต่างชาติ ที่นิสิตสามารถไปรับบริการที่โรงพยาบาลทั่วไปได้ หากเกิดเหตุฉุกเฉิน นิสิตจึงไม่ต้องกังวลเรื่องค่าใช้จ่ายหากเกิดเจ็บป่วยหรือเกิดอุบัติเหตุระหว่างที่เข้ามาศึกษา สุขภาพใจสำหรับนิสิตที่รู้สึกไม่สบายใจ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องเรียน การใช้ชีวิต การปรับตัว หรือเรื่องใดก็ตาม จุฬาฯ มีหน่วยส่งเสริมสุขภาวะนิสิต (Chula Student Wellness) ที่มีนักจิตวิทยาและจิตแพทย์คอยให้คำปรึกษานิสิตที่มีเรื่องกังวลทางใจ อีกทั้งจุฬาฯ ยังมีเจ้าหน้าที่จากสำนักบริหารวิรัชกิจและเครือข่ายนานาชาติ และเจ้าหน้าที่ประจำหลักสูตรที่สามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้เป็นอย่างดี คอยให้ความช่วยเหลือเกี่ยวกับการลงทะเบียนเรียน การประสานงานกับหน่วยงานต่าง ๆ การทำวีซ่า และการดูแลขณะเกิดเรื่องฉุกเฉิน ที่พักสำหรับนิสิตจุฬาฯ มีหอพักเรือนวิรัชมิตร (CU I-House) สำหรับนิสิตต่างชาติโดยเฉพาะ สามารถเดินทางได้สะดวก มีรถรับส่งไปยังมหาวิทยาลัย อยู่ใกล้ร้านอาหารมากมาย และค่าใช้จ่ายถูกกว่าหอพักบริเวณใกล้เคียง กิจกรรมและสันทนาการสำนักบริหารกิจการนิสิต ตั้งชมรม International Student Club เพื่อให้นิสิตต่างชาติและนิสิตไทยได้ทำกิจกรรมด้วยกันเพื่อแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม หรือหากนิสิตสนใจเล่นกีฬา ดนตรี หรือกิจกรรมด้านอื่น ๆ ก็สามารถสมัครเข้าร่วมชมรมที่สนใจได้ เพื่อหาเพื่อนที่มีความสนใจเหมือนกัน Unibuddyแอปคู่หูการใช้ชีวิตในจุฬาฯ เพื่อนิสิตต่างชาติ คุณศุกลินกล่าวว่าในบางครั้งการดูรีวิวจากอินเทอร์เน็ตก็อาจจะมีข้อมูลที่จริงบ้างไม่จริงบ้าง หรือการสอบถามข้อมูลโดยตรงจากมหาวิทยาลัยก็อาจจะไม่ได้ข้อมูลในมุมมองของผู้เรียน จุฬาฯ จึงเปิด “Unibuddy” เว็บไซต์แอปพลิเคชันที่จะช่วยให้นิสิตต่างชาติได้รู้เรื่องราว ทั้งเรื่องเรียนและการใช้ชีวิตในมุมมองนิสิตจุฬาฯ โดยผู้ให้ข้อมูลเป็นนิสิตจุฬาฯ ทั้งนิสิตไทยและนิสิตต่างชาติ สามารถเข้าใช้งาน Unibuddy ได้ที่นี่ พูดไทยไม่ได้ จะมาเรียนที่จุฬาฯ ได้ไหม? ภาษาไม่ใช่อุปสรรคในการเรียนและใช้ชีวิตที่จุฬาฯ แม้จะไม่สามารถสื่อสารภาษาไทยได้ นิสิตต่างชาติก็สามารถเรียนและสนุกกับประสบการณ์ชีวิตที่จุฬาฯ ได้ “หลักสูตรนานาชาติทุกหลักสูตรจัดการเรียนการสอนเป็นภาษาอังกฤษทั้งหมด นอกจากนี้ นิสิตจุฬาฯ ชาวไทยส่วนมากก็สามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้ดี ภายนอกมหาวิทยาลัยอาจจะมีบุคคลที่ไม่สามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้ แต่สมัยนี้ เราก็มีเครื่องมือและโปรแกรมที่สามารถแปลภาษาเพื่อใช้สื่อสารได้ เช่น ในโรงอาหาร แม้จะไม่มีเมนูภาษาอังกฤษ ก็สามารถถ่ายรูปอาหารบนป้ายที่อยากทานแล้วยื่นให้แม่ค้าดูได้” สำหรับนิสิตที่สนใจจะเรียนภาษาไทย จุฬาฯ ก็มีหลักสูตรหลากหลายรูปแบบให้นิสิตได้เลือกเรียนตามความสนใจ หลักสูตรออนไลน์เรียนฟรีกับ Chula MOOC เตรียมตัวก่อนมาประเทศไทยด้วยหลักสูตรภาษาไทยพื้นฐานที่น่าสนใจ ได้แก่ หลักสูตร Survival Thai หลักสูตร Communicative Thai for Foreigners และหลักสูตร Thai on Campus พร้อมรับประกาศนียบัตรจากจุฬาฯ เมื่อเรียนจบหลักสูตร หลักสูตรภาษาไทยแบบลงทะเบียนเรียนนิสิตต่างชาติสามารถลงทะเบียนเรียนวิชาภาษาไทยสำหรับนิสิตต่างชาติโดยเฉพาะ โดยไม่ต้องเสียค่าลงทะเบียนเรียนเพิ่ม และยังเก็บเป็นวิชาเรียนในใบทรานสคริปต์ได้ด้วย หลักสูตรภาษาไทยแบบเข้มข้นหากการเรียนในห้องเรียนยังไม่เพียงพอ นิสิตก็สามารถสมัครเรียนเพิ่มเติมได้ที่ ศูนย์ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ ซึ่งนอกจากจะมีการเรียนภาษาในห้องเรียนแล้ว ยังมีกิจกรรมเวิร์คช็อปทางวัฒนธรรมไทยอีกด้วย หลักสูตรนี้ชาวต่างชาติที่ไม่ใช่นิสิตจุฬาฯ ก็สามารถสมัครเรียนได้เช่นเดียวกัน “ในเมื่อมีโอกาสได้มาเป็นนิสิตจุฬาฯ ที่ประเทศไทย นอกจากการเรียนภาษาไทยกับเจ้าของภาษาในห้องเรียนแล้ว สิ่งที่สำคัญคือการนำความรู้ที่ได้มาใช้กับคนนอกห้องเรียนเพื่อฝึกฝนภาษาไทยให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นในสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมการเรียนรู้ทางภาษาไทยที่สุด” สนใจมาเรียนที่จุฬาฯ จะต้องทำอย่างไร จุฬาฯ มีหลักสูตรนานาชาติ ที่มีการเรียนการสอนเป็นภาษาอังกฤษทั้งหมดในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอกมากกว่า 100 หลักสูตรจากหลากหลายสาขาวิชา โดยเปิดเรียนภาคเรียนที่ 1 ในเดือนสิงหาคม การรับสมัครในระดับปริญญาตรีจะเปิดรับสมัครรอบที่ 1 ในช่วงเดือนธันวาคม – มกราคม ส่วนการรับสมัครในระดับบัณฑิตศึกษาจะแบ่งการรับสมัครเป็น 2 ช่วง ได้แก่ รอบรับสมัครเดือนกุมภาพันธ์ – พฤษภาคม เริ่มเรียนในเดือนสิงหาคม และรอบรับสมัครเดือนกันยายน – ตุลาคม เริ่มเรียนในเดือนมกราคม สำหรับนิสิตที่ต้องการทุน จุฬาฯ ก็มีทุนสนับสนุนสำหรับนิสิตหลายประเภทตามทั้งทุนการศึกษาและทุนทำวิจัย นอกจากการเรียนในระดับปริญญาแล้ว จุฬาฯ ยังมีโครงการแลกเปลี่ยนสำหรับนิสิตจากต่างประเทศที่สนใจมาเรียนที่จุฬาฯ ระยะสั้น 1-2 ภาคการศึกษา เพื่อมาเก็บเกี่ยวความรู้ที่จุฬาฯ และหาประสบการณ์การใช้ชีวิตที่ประเทศไทยในเวลาเดียวกัน · Exchange Program นิสิตจากมหาวิทยาลัยคู่สัญญาที่ทำ MOU ร่วมกับจุฬาฯ สามารถมาแลกเปลี่ยนที่จุฬาฯ โดยที่ไม่ต้องเสียค่าเล่าเรียนที่จุฬาฯ นอกจากชำระค่าเล่าเรียนที่มหาวิทยาลัยของตน ผู้สนใจสามารถสมัครได้ล่วงหน้า 6 เดือนก่อนเปิดภาคเรียน* ที่ผู้ประสานงานของมหาวิทยาลัยที่ตนเองสังกัด โดยสามารถตรวจสอบมหาวิทยาลัยคู่สัญญาได้ที่นี่ · Visiting Program สำหรับนิสิตที่มาจากมหาวิทยาลัยต่างประเทศที่ไม่ใช่คู่สัญญาของจุฬาฯ ก็สามารถมาศึกษาที่จุฬาฯ 1-2 ภาคการศึกษาได้เช่นกัน โดยสามารถติดต่อกับผู้ดูแลหลักสูตรที่ต้องการสมัครของจุฬาฯ ได้เลย โดยชำระค่าเล่าเรียนที่จุฬาฯ ผู้สนใจจะต้องสมัครล่วงหน้า 6 เดือนก่อนเปิดภาคเรียน* *สำหรับ Exchange Program และ Visiting Program หากต้องการจะเริ่มเรียนในภาคเรียนที่ 1 ในเดือนสิงหาคม สามารถสมัครได้ตั้งแต่เดือนมกราคม – กุมภาพันธ์ในปีเดียวกัน และหากต้องเริ่มเรียนในภาคเรียนที่ 2 ในเดือนมกราคม สามารถสมัครได้ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม – สิงหาคมของปีก่อนหน้า · APRU Virtual Student Exchange สำหรับนิสิตต่างชาติจากมหาวิทยาลัยสมาชิกเครือข่าย APRU ที่สนใจจะเรียนวิชาของจุฬาฯ แต่ไม่สะดวกที่จะมาเรียนที่ประเทศไทย หรืออยากจะเรียนแค่วิชาเดียว ก็สามารถเข้าร่วมโครงการ APRU Virtual Student Exchange ที่นิสิตจะได้เรียนวิชาที่สนใจบนคลาสออนไลน์กับนิสิตจุฬาฯ โดยที่ชำระค่าเล่าเรียนเฉพาะที่มหาวิทยาลัยของตนเท่านั้น เตรียมวีซ่าให้พร้อมก่อนมาเรียนที่จุฬาฯ สิ่งที่สำคัญที่สุดที่จะทำให้การใช้ชีวิตที่จุฬาฯ ของชาวต่างชาติราบรื่น นั่นก็คือ “วีซ่า” ซึ่งผู้ที่จะเข้ามาเรียนที่จุฬาฯ ต้องมี Education Visa หลังจากที่ผู้สมัครผ่านการคัดเลือกเข้าศึกษาต่อ ทางมหาวิทยาลัยจะออกเอกสารตอบรับเข้าศึกษาเพื่อให้ผู้สมัครไปยื่นขอวีซ่าที่สถานทูตไทยหรือกงสุลไทย และเมื่อต้องมีการต่อวีซ่า ก็สามารถติดต่อได้ที่ผู้ประสานงานหลักสูตรของตนเองได้เลย “สิ่งที่ต้องรู้เกี่ยวกับ Education Visa คือ วีซ่าประเภทนี้จะใช้ได้ก็ต่อเมื่อเดินทางมาจากประเทศของตนเองเท่านั้น วีซ่านักท่องเที่ยวไม่สามารถเปลี่ยนประเภทวีซ่าเป็นวีซ่านักเรียนที่ประเทศไทยได้ กรณีนี้ นิสิตจะต้องเดินทางกลับประเทศของตนก่อนแล้วบินกลับมาใหม่เท่านั้น” “สำหรับผู้ที่มีวีซ่าทำงานแล้วมาเรียนนอกเวลาทำงานก็สามารถมาเรียนได้ แม้จะถือวีซ่าทำงาน แต่วีซ่าทำงานไม่สามารถเปลี่ยนเป็นวีซ่านักเรียนได้ที่ประเทศไทยเช่นเดียวกับวีซ่าท่องเที่ยว ซึ่งเป็นปัญหาที่นิสิตพบบ่อย นี่จึงคือสิ่งที่ควรเตรียมตัวมาให้ดีหากนิสิตไม่อยากเสียเงินและเสียเวลาในการเดินทาง” รู้จักเรื่องราวของจุฬาฯ ให้มากขึ้น ที่เว็บไซต์ https://www.chula.ac.th/en/ สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ สำนักบริหารวิรัชกิจและเครือข่ายนานาชาติ จุฬาฯ โทรศัพท์: +66 2218 3126 อีเมล: int.off@chula.ac.th Facebook: https://www.facebook.com/ChulaOIA/ EZ Webmaster Related Posts สสวท. พารอบรู้คู่ฤดูร้อนกับ “พายุฤดูร้อน” สพฐ.สั่งเลื่อนสอบ ม.1 และ ม.4 ทั่วประเทศ หลังเหตุแผ่นดินไหว รอประเมินความปลอดภัยก่อนกำหนดสอบใหม่ ม.สุโขทัยธรรมาธิราช เปิดรับนักศึกษาใหม่ ภาคต้นปีการศึกษา 2568 เริ่มรับสมัครวันที่ 1 เมษายน 2568 CP All Education Forum 2025 จัดใหญ่! มอบทุนการศึกษากว่า 1,648 ล้าน ปลุกพลังการศึกษาไทย “สร้างคนเก่ง ดี มีความสามารถ” รับมือยุค AI TCAS68 รอบ2 โควตา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ปีการศึกษา2568 Post navigation PREVIOUS Previous post: “ดิจิทัล” เปิดศักราชใหม่ในการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้NEXT Next post: สสวท. รวมพลังมูลนิธิฯ หนุนโครงการพระราชทานความช่วยเหลือ พัฒนาการเรียนวิทย์ เน้นปฏิบัติการทดลองโรงเรียน สปป.ลาว Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มหาวิทยาลัยอัลอัซฮัร กรุงไคโร สาธารณรัฐอาหรับอียิปต์ มอบ 160 ทุนให้นักศึกษาจากประเทศไทย EZ WebmasterMarch 27, 2025 มหาวิทยาลัยอัลอัซฮัร กรุงไคโร สาธารณรัฐอาหรับอียิปต์ มอบทุนการศึกษาแก่นักศึกษาจากประเทศไทย จำนวน 160 ทุน ในปีการศึกษา 2025/2026 (2568/2569) โดยจำแนกเป็น ทุนนการศึกษาสาขาอิสลามศึกษา จำนวน 80 ทุน เฉพาะนักเรียนที่จบการศึกษาระดับอิสลามศึกษาตอนปลาย (ซานาวี) #จากโรงเรียนที่ได้รับรองวิทยฐานะ ประกาศนียบัตรระดับอิสลามศึกษาตอนปลาย (ซานาวี)… Peking U.ให้ทุนป.ตรี-เอก InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศMarch 27, 2025 Peking University กำลังให้ทุนสำหรับนักศึกษาต่างชาติที่โดดเด่น ทุนนี้ก่อตั้งขึ้นในปี 2012 โดยให้การสนับสนุนนักศึกษาระดับปริญญาตรี โท และเอก(ไม่จำกัดสาขาวิชา) โดยให้ความช่วยเหลือทางการเงินเต็มจำนวนหรือบางส่วน รวมถึงค่าเล่าเรียน เงินเดือน และประกันสุขภาพ เปิดรับสมัครช่วงมีนาคมถึงเมษายน ทุกปี เพื่อให้มีสิทธิ์ได้รับทุน ผู้สมัครจะต้องเป็นนักศึกษาต่างชาติที่ได้รับข้อเสนอให้เข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยปักกิ่งในฐานะนักศึกษาปีหนึ่ง จะต้องไม่เป็นผู้รับทุนการศึกษาอื่นใด และไม่ควรลงทะเบียนในโปรแกรมปริญญาวิชาชีพ… สัปดาห์สุดท้าย!ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา เปิดรับรอบที่ 2 Quota 8 สาขา พร้อมมอบทุนเพชรสุนันทา เรียนการออกแบบแฟชั่น tui sakrapeeMarch 27, 2025 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดรับสมัครคัดเลือกนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญเข้าศึกษาในโครงการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาระดับปริญญาตรี ระบบโควตา ประเภทความสามารถทางวิชาการ และประเภทความสามารถพิเศษ ประจำปีการศึกษา 2568 (รอบที่ 2 Quota) พร้อมรับสมัครคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษา ภาคปกติ ระดับปริญญาตรี ในโครงการทุนเพชรสุนันทา กำหนดการรับสมัคร สาขาที่รับสมัครคณะศิลปกรรมศาสตร์ คุณสมบัติเฉพาะ… ครู-อาจารย์ 5 แนวโน้มสำคัญด้านการศึกษาในปี 2025 EZ WebmasterMarch 28, 2025 5 แนวโน้มสำคัญด้านการศึกษาในปี 2025 ปี 2025 เป็นปีแห่งการเปลี่ยนแปลงของวงการศึกษา เทคโนโลยีใหม่ๆ และแนวคิดการเรียนรู้ที่ทันสมัยจะเข้ามามีบทบาทสำคัญ มาดูกันว่าอะไรคือแนวโน้มหลักที่ต้องจับตามอง! การเกิดขึ้นของโรงเรียนรูปแบบใหม่ Hybrid Learning, Microschools และ Homeschool กำลังได้รับความนิยมมากขึ้น การใช้… มจธ. คิดค้น “นวัตกรรมการผลิตซิลิกาด้วยเทคโนโลยีชีวภาพ” ต้นทุนต่ำ คุณภาพสูง พร้อมพลิกโฉมอุตสาหกรรมไทย EZ WebmasterMarch 27, 2025 นักวิจัย มจธ.พัฒนากระบวนการผลิต ไบโอซิลิกา (Biosilica) จากแกลบข้าว ด้วยกระบวนการชีวภาพ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและไร้สารเคมีตกค้าง พร้อมส่งต่อเทคโนโลยีเพื่อนำไปใช้ในอุตสาหกรรมต่างๆ เช่น เครื่องสำอาง เวชสำอาง ยา และยาง ซึ่งเป็นก้าวสำคัญที่ช่วยให้ประเทศไทยลดการพึ่งพาซิลิกานำเข้า และส่งเสริมเศรษฐกิจหมุนเวียนของประเทศ ซิลิกา (Silica) เป็นวัตถุดิบสำคัญในหลายอุตสาหกรรมของไทย ตั้งแต่ยางรถยนต์ เครื่องสำอาง เวชภัณฑ์… โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “ดร.ชุมพล พรประภา” เป็นนายกสภา ม.ศรีนครินทรวิโรฒ tui sakrapeeMarch 26, 2025 ราชกิจจานุเบกษาเผยแพร่ ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “ชุมพล พรประภา” ดำรงตำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ แทนวิจิตร ศรีสอ้าน ที่ถึงแก่อนิจกรรม ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 142 ตอนพิเศษ 147 ง เมื่อวันที่ 25… สอศ. ปั้นผู้อำนวยการอาชีวะยุคใหม่! เสริมภาวะผู้นำ-วิสัยทัศน์ ทันโลกการศึกษา EZ WebmasterMarch 26, 2025 วันที่ 26 มีนาคม 2568 นายยศพล เวณุโกเศศ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (เลขาธิการ กอศ.) เป็นประธานเปิดโครงการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และบรรยายพิเศษ “Growth Mindset: แนวคิดเชิงบวกและการเติบโตขององค์กร” โดยนางธิติมา โรจน์วัชราภิบาล ผู้อำนวยการ… กิจกรรม สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ ร่วมพิธีวางพานพุ่มและพิธีตักบาตร เนื่องในวันครบรอบ ๑๐๘ ปี แห่งการสถาปนาจุฬาฯ EZ WebmasterMarch 27, 2025 สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินร่วมพิธีวางพานพุ่มสักการะพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระปิยมหาราชและสมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า และพิธีตักบาตร เนื่องในวันครบรอบ ๑๐๘ ปี แห่งการสถาปนาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมี นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ และ นายอรรษิษฐ์ สัมพันธรัตน์ ประธานการจัดงานคืนเหย้าชาวจุฬาฯ… พิธีเปิดกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) ภายใต้โครงการพัฒนามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมผ้าไทยสู่สากล ประจำปี ๒๕๖๘ EZ WebmasterMarch 26, 2025 นางสาวลิปิการ์ กำลังชัย รองธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรม รักษาราชการแทนอธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรมเป็นประธานพิธิเปิด และร่วมรับฟังการบรรยายกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) พร้อมด้วยนางสาวศิวพร ฉันทไกรวัฒน์ ผู้อำนวยการกลุ่มเผยแพร่และต่อยอดมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมเข้าร่วมงาน โดยวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญด้านผ้าไทย การออกแบบและแฟชั่น อาทิ ผศ.ดร.รวิเทพ มุสิกะปาน ผศ.ดร.วุฒิไกร… เปิดรับอาสาสมัครศิริราช รอบทำกิจกรรม เดือน พ.ค.-ก.ค. 68 ทุกกิจกรรมมีใบรับรองการทำกิจกรรม EZ WebmasterMarch 26, 2025 ตารางการรับอาสาสมัครรอบทำกิจกรรม เดือน พฤษภาคม – กรกฏาคม 68 (กิจกรรมที่อยู่ในเว็บไซต์ตอนนี้เป็นรอบเก่ามีผู้เข้าร่วมเต็มทั้งหมดแล้วค่ะ รอบใหม่จะเปิดตามวันเวลาที่แจ้งด้านล่างนี้เท่านั้น*) ขอให้อาสาเป็นผู้สมัครและกดเลือกกิจกรรมด้วยตนเองนะคะ – 31 ก.ค. 68 **เนื่องจากวันที่ 5 พ.ค. เป็นวันหยุด จะขอเริ่มตั้งแต่วันที่วันที่ 6 พ.ค.… เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน รับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน EZ WebmasterMarch 24, 2025 เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน เกม Let’s School เกมแนวบริหารโรงเรียนในฝัน ที่จะให้เรารับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน อยากให้โรงเรียนเป็นแบบไหนก็ปรับเล่นได้เลย ดูอารมณ์นักเรียกได้ด้วยว่ามีความสุขมั้ย? แถมตอนนี้ยังมีอัปเดตแมพใหม่พร้อมซัพไทยด้วยนะ Let’s School โหลดเล่นได้ที่ Steam :… Search for: Search EZ Webmaster January 31, 2024 EZ Webmaster January 31, 2024 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ศูนย์กลางการศึกษาระดับภูมิภาคพร้อมรับนิสิตต่างชาติ สู่โลกการเรียนรู้และประสบการณ์หลากสีสันแห่งเอเชีย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยพร้อมเป็นหนึ่งในศูนย์กลางการศึกษาแห่งภูมิภาคเอเชีย เปิดรับนิสิตชาวไทยและต่างชาติ ด้วยกว่าร้อยหลักสูตรนานาชาติ รองรับทุกสายการเรียน สร้างประสบการณ์การเรียนรู้ไร้พรมแดน เตรียมบัณฑิตสู่ความเป็นพลเมืองโลก ประเทศไทยเป็นหนึ่งในจุดหมายปลายทางที่ชาวต่างชาตินิยมมาท่องเที่ยว ด้วยเสน่ห์ของ Soft Power อย่างศิลปะ วัฒนธรรม อาหาร วิถีชีวิต ธรรมชาติ ภูมิอากาศ และค่าครองชีพที่สมเหตุสมผล แต่ที่หลายคนอาจจะยังไม่รู้ – ประเทศไทยยังเป็นหนึ่งในจุดหมายของการศึกษาที่นิสิตต่างชาติสนใจมาเรียนและใช้ชีวิตด้วยเช่นกัน “ประเทศไทยมีความโดดเด่นทางด้านการศึกษาและเป็นที่สนใจของนิสิตต่างชาติจำนวนมาก เช่นที่จุฬาฯ เราเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยที่การศึกษามีคุณภาพ เป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ มีหลักสูตรนานาชาติที่สามารถรองรับนิสิตต่างชาติด้วยการสอนเป็นภาษาอังกฤษมากกว่า 100 หลักสูตรในทุกระดับปริญญา ในขณะที่ค่าครองชีพและค่าเล่าเรียนของเราก็ถูกกว่าประเทศอื่น ๆ ที่โดดเด่นด้านการศึกษาในระดับเดียวกัน” คุณศุกลิน วนาเกษมสันต์ ผู้อำนวยการฝ่ายบริหารวิชาการนานาชาติ สำนักบริหารวิรัชกิจและเครือข่ายนานาชาติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าว ปัจจุบัน จุฬาฯ มีนิสิตต่างชาติประมาณ 2,000 คน จาก 60 ประเทศ ที่มาศึกษาแลกเปลี่ยนและเรียนระดับปริญญาในหลายหลักสูตร จำนวนของนิสิตต่างชาติดูมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ด้วยทิศทางของโลกสมัยใหม่ ที่เปิดให้ผู้คนเดินทางและโยกย้ายถิ่นฐานได้สะดวกยิ่งขึ้น ไม่ว่าจะไปทำงาน ท่องเที่ยว หรือศึกษาเล่าเรียน โดยเฉพาะการเรียนรู้ เป็นส่วนหนึ่งของการเพิ่มพูนประสบการณ์ชีวิต สร้างเสริมความเป็นพลเมืองโลกและทักษะในการอยู่ในโลกสมัยใหม่ ที่ต้องเปิดใจ เข้าใจและยอมรับความแตกต่างหลากหลายและพหุวัฒนธรรม ทำไม นิสิตต่างชาติจึงเลือกมาเรียนจุฬาฯ ชื่อเสียงของจุฬาฯ และการยอมรับในระดับนานาชาติเป็นหนึ่งในเหตุผลต้น ๆ ที่นิสิตต่างชาติเลือกมาเรียนที่จุฬาฯ ในระดับประเทศ จุฬาฯ ครองอันดับ 1 ของประเทศไทยเป็นปีที่ 4 ติดต่อกัน จาก THE Impact Rankings 2023 และติดอันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทยเป็นปีที่ 15 ติดต่อกัน (ตั้งแต่ปี 2009) ในการจัดอันดับ QS World University Rankings 2024 โดย QS Quacquarelli Symonds ส่วนในระดับนานาชาติ จุฬาฯ ครองอันดับ 17 ของโลก จาก THE Impact Rankings 2023 และติดอันดับท็อป 50 ของโลกทางด้านผลลัพธ์ด้านการจ้างงาน (Employment Outcomes) โดย QS World University Rankings 2024 “จุฬาฯ เป็นศูนย์กลางการศึกษาในระดับอาเซียนและเอเชีย มีความโดดเด่นด้านวิชาการทั้งในสายวิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ ทุกหลักสูตรเปี่ยมด้วยคุณภาพและส่งเสริมความเป็นพลเมืองโลกให้นิสิตทั้งชาวไทยและต่างชาติ ซึ่งเมื่อจบการศึกษา บัณฑิตจุฬาฯ จะมีทักษะที่จำเป็นและสามารถทำงานได้ทุกที่ในโลก” คุณศุกลิน กล่าว นอกจากความโดดเด่นด้านวิชาการแล้ว บรรยากาศการเรียนรู้และการใช้ชีวิตที่จุฬาฯ ยังมีสีสัน ผสานความเก่าแก่และความทันสมัย เปิดโลกการเรียนรู้ตลอดชีวิต ที่ไม่มีในตำรา จุฬาฯ เป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของประเทศไทย ก่อตั้งมาแล้วกว่า 106 ปี ในพื้นที่การศึกษากว่า 1 ตารางกิโลเมตร (637 ไร่) ของจุฬาฯ มีอาคารทรงคุณค่าทางสถาปัตยกรรมมากมาย อีกทั้งเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ที่ขนานไปกับการเติบโตของประเทศไทยยุคใหม่ (modernization) นอกจากนี้ ด้วยความที่ตั้งอยู่ใจกลางมหานคร จุฬาฯ จึงอยู่ในแหล่งความทันสมัยและวัฒนธรรมสมัยใหม่ เช่น สยามสแควร์ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพ และไม่ไกลจากย่านเมืองเก่า เช่น เยาวราช สามย่าน เจริญกรุง ฯลฯ กล่าวได้ว่านิสิตที่มาเรียนที่จุฬาฯ จะได้ใช้ชีวิตการเรียนรู้ในบรรยากาศที่อดีต ปัจจุบัน และทิศทางแห่งอนาคตผสานกันอย่างลงตัว ความร่วมมือระดับนานาชาติ สร้างนิสิตจุฬาฯ สู่ความเป็นพลเมืองโลก จุฬาฯ ก้าวไปกับทิศทางการศึกษาในโลกสมัยใหม่ ที่เน้นหล่อหลอมบัณฑิตให้มีสำนึกความเป็นพลเมืองโลก สามารถปรับตัวเข้ากับกระแสการเปลี่ยนแปลงของโลก รวมถึงมีความเข้าใจความหลากหลายของสังคมและอยู่ได้ในพหุวัฒนธรรม “ด้วยชื่อเสียงและความพยายามของจุฬาฯ ทำให้เรามี MOU กับมหาวิทยาลัยชื่อดังหลายแห่งทั่วโลก นิสิตหลักสูตรนานาชาติของจุฬาฯ จะได้เรียนรู้และอยู่ในบรรยากาศแบบนานาชาติ และมีโอกาสได้เจอสภาพแวดล้อมอื่น ๆ เข้าเรียนกับมหาวิทยาลัยชั้นนำในต่างประเทศในวิชาที่ตนสนใจได้แทนที่จะเรียนตลอด 4 ปีที่จุฬาฯ ที่เดียว” ด้วยเป้าหมายดังกล่าว จุฬาฯ ได้ทำความร่วมมือกับหน่วยงานและมหาวิทยาลัยในระดับนานาชาติ เพื่อให้นิสิตสามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูล รวมถึง โดยความร่วมมือที่จุฬาฯ ทำกับสถาบันต่าง ๆ ได้แก่ ความร่วมมือด้านฐานข้อมูล จุฬาฯ มีห้องสมุดและฐานข้อมูลระดับเวิล์ดคลาส ที่นิสิตจุฬาฯ จะสามารถเข้าถึงแหล่งความรู้ ทั้งหนังสือ วารสาร งานวิจัย วิทยานิพนธ์ และฐานข้อมูลอ้างอิงจากต่างประเทศได้อย่างกว้างขวาง เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และการค้นคว้าของนิสิตได้อย่างเต็มที่ ความร่วมมือด้านหลักสูตร จุฬาฯ มีหลักสูตรนานาชาติแบบหลักสูตรปริญญาร่วมและหลักสูตรสองปริญญา ที่ผู้เรียนจะได้เรียนที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยพาร์ทเนอร์จากต่างประเทศ เช่น หลักสูตรปริญญาตรีสาขาวิทยาศาสตร์จิตวิทยา ร่วมกับ University of Queensland ออสเตรเลีย หลักสูตรปริญญาโทการจัดการทางวิศวกรรม ร่วมกับ The University of Warwick สหราชอาณาจักร เป็นต้น นอกจากนี้ จุฬาฯ ยังได้ทำ MOU ร่วมกับมหาวิทยาลัยชั้นนำหลายแห่งในโลก เพื่อให้นิสิตจุฬาฯ สามารถไปแลกเปลี่ยนที่ต่างประเทศ เพื่อเรียนในสาขาที่ตนเองสนใจกับมหาวิทยาลัยคู่สัญญา 1-2 ภาคการศึกษา หรือหากไม่อยากเดินทาง ก็สามารถแลกเปลี่ยนผ่าน APRU Virtual Student Exchange ที่นิสิตสามารถเข้าคลาสเรียนของมหาวิทยาลัยคู่สัญญาจากต่างประเทศได้ผ่านห้องเรียนออนไลน์ (ดูรายชื่อหลักสูตรทั้งหมดที่จุฬาฯ ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยต่างประเทศ ที่นี่) ชีวิตในรั้วจุฬาฯ สะดวกสบาย สนุก มีสีสัน มหาวิทยาลัยไม่ได้เป็นเรื่องการเรียนเท่านั้น แต่เป็นเรื่องการใช้ชีวิต คุณศุกลินให้ข้อมูลว่า จุฬาฯ มีความพร้อมทุกด้าน ไม่ว่าบุคลากรและสิ่งอำนวยความสะดวก ที่จะช่วยให้การมาเรียนและใช้ชีวิตในต่างแดนของนิสิตต่างชาติเป็นประสบการณ์สุดวิเศษครั้งหนึ่งในชีวิต การเดินทางจุฬาฯ เป็นมหาวิทยาลัยที่อยู่ใจกลางเมือง มีเส้นทางการเดินทางด้วยระบบขนส่งสาธารณะหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นรถเมล์ รถไฟฟ้า BTS และ MRT ส่วนการเดินทางภายในมหาวิทยาลัย จุฬาฯ ก็มีรถโดยสารภายในจุฬาฯ (Shuttle Bus) เพื่อให้นิสิตสามารถเดินทางไปอาคารเรียน หอพักนิสิต และพื้นที่โดยรอบมหาวิทยาลัยถึง 6 เส้นทาง โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย สุขภาพกายจุฬาฯ มีศูนย์บริการสุขภาพแห่งจุฬาฯ ที่ให้บริการทางสุขภาพฟรีแก่นิสิตจุฬาฯ และมีประกันสุขภาพสำหรับนิสิตต่างชาติ ที่นิสิตสามารถไปรับบริการที่โรงพยาบาลทั่วไปได้ หากเกิดเหตุฉุกเฉิน นิสิตจึงไม่ต้องกังวลเรื่องค่าใช้จ่ายหากเกิดเจ็บป่วยหรือเกิดอุบัติเหตุระหว่างที่เข้ามาศึกษา สุขภาพใจสำหรับนิสิตที่รู้สึกไม่สบายใจ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องเรียน การใช้ชีวิต การปรับตัว หรือเรื่องใดก็ตาม จุฬาฯ มีหน่วยส่งเสริมสุขภาวะนิสิต (Chula Student Wellness) ที่มีนักจิตวิทยาและจิตแพทย์คอยให้คำปรึกษานิสิตที่มีเรื่องกังวลทางใจ อีกทั้งจุฬาฯ ยังมีเจ้าหน้าที่จากสำนักบริหารวิรัชกิจและเครือข่ายนานาชาติ และเจ้าหน้าที่ประจำหลักสูตรที่สามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้เป็นอย่างดี คอยให้ความช่วยเหลือเกี่ยวกับการลงทะเบียนเรียน การประสานงานกับหน่วยงานต่าง ๆ การทำวีซ่า และการดูแลขณะเกิดเรื่องฉุกเฉิน ที่พักสำหรับนิสิตจุฬาฯ มีหอพักเรือนวิรัชมิตร (CU I-House) สำหรับนิสิตต่างชาติโดยเฉพาะ สามารถเดินทางได้สะดวก มีรถรับส่งไปยังมหาวิทยาลัย อยู่ใกล้ร้านอาหารมากมาย และค่าใช้จ่ายถูกกว่าหอพักบริเวณใกล้เคียง กิจกรรมและสันทนาการสำนักบริหารกิจการนิสิต ตั้งชมรม International Student Club เพื่อให้นิสิตต่างชาติและนิสิตไทยได้ทำกิจกรรมด้วยกันเพื่อแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม หรือหากนิสิตสนใจเล่นกีฬา ดนตรี หรือกิจกรรมด้านอื่น ๆ ก็สามารถสมัครเข้าร่วมชมรมที่สนใจได้ เพื่อหาเพื่อนที่มีความสนใจเหมือนกัน Unibuddyแอปคู่หูการใช้ชีวิตในจุฬาฯ เพื่อนิสิตต่างชาติ คุณศุกลินกล่าวว่าในบางครั้งการดูรีวิวจากอินเทอร์เน็ตก็อาจจะมีข้อมูลที่จริงบ้างไม่จริงบ้าง หรือการสอบถามข้อมูลโดยตรงจากมหาวิทยาลัยก็อาจจะไม่ได้ข้อมูลในมุมมองของผู้เรียน จุฬาฯ จึงเปิด “Unibuddy” เว็บไซต์แอปพลิเคชันที่จะช่วยให้นิสิตต่างชาติได้รู้เรื่องราว ทั้งเรื่องเรียนและการใช้ชีวิตในมุมมองนิสิตจุฬาฯ โดยผู้ให้ข้อมูลเป็นนิสิตจุฬาฯ ทั้งนิสิตไทยและนิสิตต่างชาติ สามารถเข้าใช้งาน Unibuddy ได้ที่นี่ พูดไทยไม่ได้ จะมาเรียนที่จุฬาฯ ได้ไหม? ภาษาไม่ใช่อุปสรรคในการเรียนและใช้ชีวิตที่จุฬาฯ แม้จะไม่สามารถสื่อสารภาษาไทยได้ นิสิตต่างชาติก็สามารถเรียนและสนุกกับประสบการณ์ชีวิตที่จุฬาฯ ได้ “หลักสูตรนานาชาติทุกหลักสูตรจัดการเรียนการสอนเป็นภาษาอังกฤษทั้งหมด นอกจากนี้ นิสิตจุฬาฯ ชาวไทยส่วนมากก็สามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้ดี ภายนอกมหาวิทยาลัยอาจจะมีบุคคลที่ไม่สามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้ แต่สมัยนี้ เราก็มีเครื่องมือและโปรแกรมที่สามารถแปลภาษาเพื่อใช้สื่อสารได้ เช่น ในโรงอาหาร แม้จะไม่มีเมนูภาษาอังกฤษ ก็สามารถถ่ายรูปอาหารบนป้ายที่อยากทานแล้วยื่นให้แม่ค้าดูได้” สำหรับนิสิตที่สนใจจะเรียนภาษาไทย จุฬาฯ ก็มีหลักสูตรหลากหลายรูปแบบให้นิสิตได้เลือกเรียนตามความสนใจ หลักสูตรออนไลน์เรียนฟรีกับ Chula MOOC เตรียมตัวก่อนมาประเทศไทยด้วยหลักสูตรภาษาไทยพื้นฐานที่น่าสนใจ ได้แก่ หลักสูตร Survival Thai หลักสูตร Communicative Thai for Foreigners และหลักสูตร Thai on Campus พร้อมรับประกาศนียบัตรจากจุฬาฯ เมื่อเรียนจบหลักสูตร หลักสูตรภาษาไทยแบบลงทะเบียนเรียนนิสิตต่างชาติสามารถลงทะเบียนเรียนวิชาภาษาไทยสำหรับนิสิตต่างชาติโดยเฉพาะ โดยไม่ต้องเสียค่าลงทะเบียนเรียนเพิ่ม และยังเก็บเป็นวิชาเรียนในใบทรานสคริปต์ได้ด้วย หลักสูตรภาษาไทยแบบเข้มข้นหากการเรียนในห้องเรียนยังไม่เพียงพอ นิสิตก็สามารถสมัครเรียนเพิ่มเติมได้ที่ ศูนย์ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ ซึ่งนอกจากจะมีการเรียนภาษาในห้องเรียนแล้ว ยังมีกิจกรรมเวิร์คช็อปทางวัฒนธรรมไทยอีกด้วย หลักสูตรนี้ชาวต่างชาติที่ไม่ใช่นิสิตจุฬาฯ ก็สามารถสมัครเรียนได้เช่นเดียวกัน “ในเมื่อมีโอกาสได้มาเป็นนิสิตจุฬาฯ ที่ประเทศไทย นอกจากการเรียนภาษาไทยกับเจ้าของภาษาในห้องเรียนแล้ว สิ่งที่สำคัญคือการนำความรู้ที่ได้มาใช้กับคนนอกห้องเรียนเพื่อฝึกฝนภาษาไทยให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นในสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมการเรียนรู้ทางภาษาไทยที่สุด” สนใจมาเรียนที่จุฬาฯ จะต้องทำอย่างไร จุฬาฯ มีหลักสูตรนานาชาติ ที่มีการเรียนการสอนเป็นภาษาอังกฤษทั้งหมดในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอกมากกว่า 100 หลักสูตรจากหลากหลายสาขาวิชา โดยเปิดเรียนภาคเรียนที่ 1 ในเดือนสิงหาคม การรับสมัครในระดับปริญญาตรีจะเปิดรับสมัครรอบที่ 1 ในช่วงเดือนธันวาคม – มกราคม ส่วนการรับสมัครในระดับบัณฑิตศึกษาจะแบ่งการรับสมัครเป็น 2 ช่วง ได้แก่ รอบรับสมัครเดือนกุมภาพันธ์ – พฤษภาคม เริ่มเรียนในเดือนสิงหาคม และรอบรับสมัครเดือนกันยายน – ตุลาคม เริ่มเรียนในเดือนมกราคม สำหรับนิสิตที่ต้องการทุน จุฬาฯ ก็มีทุนสนับสนุนสำหรับนิสิตหลายประเภทตามทั้งทุนการศึกษาและทุนทำวิจัย นอกจากการเรียนในระดับปริญญาแล้ว จุฬาฯ ยังมีโครงการแลกเปลี่ยนสำหรับนิสิตจากต่างประเทศที่สนใจมาเรียนที่จุฬาฯ ระยะสั้น 1-2 ภาคการศึกษา เพื่อมาเก็บเกี่ยวความรู้ที่จุฬาฯ และหาประสบการณ์การใช้ชีวิตที่ประเทศไทยในเวลาเดียวกัน · Exchange Program นิสิตจากมหาวิทยาลัยคู่สัญญาที่ทำ MOU ร่วมกับจุฬาฯ สามารถมาแลกเปลี่ยนที่จุฬาฯ โดยที่ไม่ต้องเสียค่าเล่าเรียนที่จุฬาฯ นอกจากชำระค่าเล่าเรียนที่มหาวิทยาลัยของตน ผู้สนใจสามารถสมัครได้ล่วงหน้า 6 เดือนก่อนเปิดภาคเรียน* ที่ผู้ประสานงานของมหาวิทยาลัยที่ตนเองสังกัด โดยสามารถตรวจสอบมหาวิทยาลัยคู่สัญญาได้ที่นี่ · Visiting Program สำหรับนิสิตที่มาจากมหาวิทยาลัยต่างประเทศที่ไม่ใช่คู่สัญญาของจุฬาฯ ก็สามารถมาศึกษาที่จุฬาฯ 1-2 ภาคการศึกษาได้เช่นกัน โดยสามารถติดต่อกับผู้ดูแลหลักสูตรที่ต้องการสมัครของจุฬาฯ ได้เลย โดยชำระค่าเล่าเรียนที่จุฬาฯ ผู้สนใจจะต้องสมัครล่วงหน้า 6 เดือนก่อนเปิดภาคเรียน* *สำหรับ Exchange Program และ Visiting Program หากต้องการจะเริ่มเรียนในภาคเรียนที่ 1 ในเดือนสิงหาคม สามารถสมัครได้ตั้งแต่เดือนมกราคม – กุมภาพันธ์ในปีเดียวกัน และหากต้องเริ่มเรียนในภาคเรียนที่ 2 ในเดือนมกราคม สามารถสมัครได้ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม – สิงหาคมของปีก่อนหน้า · APRU Virtual Student Exchange สำหรับนิสิตต่างชาติจากมหาวิทยาลัยสมาชิกเครือข่าย APRU ที่สนใจจะเรียนวิชาของจุฬาฯ แต่ไม่สะดวกที่จะมาเรียนที่ประเทศไทย หรืออยากจะเรียนแค่วิชาเดียว ก็สามารถเข้าร่วมโครงการ APRU Virtual Student Exchange ที่นิสิตจะได้เรียนวิชาที่สนใจบนคลาสออนไลน์กับนิสิตจุฬาฯ โดยที่ชำระค่าเล่าเรียนเฉพาะที่มหาวิทยาลัยของตนเท่านั้น เตรียมวีซ่าให้พร้อมก่อนมาเรียนที่จุฬาฯ สิ่งที่สำคัญที่สุดที่จะทำให้การใช้ชีวิตที่จุฬาฯ ของชาวต่างชาติราบรื่น นั่นก็คือ “วีซ่า” ซึ่งผู้ที่จะเข้ามาเรียนที่จุฬาฯ ต้องมี Education Visa หลังจากที่ผู้สมัครผ่านการคัดเลือกเข้าศึกษาต่อ ทางมหาวิทยาลัยจะออกเอกสารตอบรับเข้าศึกษาเพื่อให้ผู้สมัครไปยื่นขอวีซ่าที่สถานทูตไทยหรือกงสุลไทย และเมื่อต้องมีการต่อวีซ่า ก็สามารถติดต่อได้ที่ผู้ประสานงานหลักสูตรของตนเองได้เลย “สิ่งที่ต้องรู้เกี่ยวกับ Education Visa คือ วีซ่าประเภทนี้จะใช้ได้ก็ต่อเมื่อเดินทางมาจากประเทศของตนเองเท่านั้น วีซ่านักท่องเที่ยวไม่สามารถเปลี่ยนประเภทวีซ่าเป็นวีซ่านักเรียนที่ประเทศไทยได้ กรณีนี้ นิสิตจะต้องเดินทางกลับประเทศของตนก่อนแล้วบินกลับมาใหม่เท่านั้น” “สำหรับผู้ที่มีวีซ่าทำงานแล้วมาเรียนนอกเวลาทำงานก็สามารถมาเรียนได้ แม้จะถือวีซ่าทำงาน แต่วีซ่าทำงานไม่สามารถเปลี่ยนเป็นวีซ่านักเรียนได้ที่ประเทศไทยเช่นเดียวกับวีซ่าท่องเที่ยว ซึ่งเป็นปัญหาที่นิสิตพบบ่อย นี่จึงคือสิ่งที่ควรเตรียมตัวมาให้ดีหากนิสิตไม่อยากเสียเงินและเสียเวลาในการเดินทาง” รู้จักเรื่องราวของจุฬาฯ ให้มากขึ้น ที่เว็บไซต์ https://www.chula.ac.th/en/ สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ สำนักบริหารวิรัชกิจและเครือข่ายนานาชาติ จุฬาฯ โทรศัพท์: +66 2218 3126 อีเมล: int.off@chula.ac.th Facebook: https://www.facebook.com/ChulaOIA/ EZ Webmaster Related Posts สสวท. พารอบรู้คู่ฤดูร้อนกับ “พายุฤดูร้อน” สพฐ.สั่งเลื่อนสอบ ม.1 และ ม.4 ทั่วประเทศ หลังเหตุแผ่นดินไหว รอประเมินความปลอดภัยก่อนกำหนดสอบใหม่ ม.สุโขทัยธรรมาธิราช เปิดรับนักศึกษาใหม่ ภาคต้นปีการศึกษา 2568 เริ่มรับสมัครวันที่ 1 เมษายน 2568 CP All Education Forum 2025 จัดใหญ่! มอบทุนการศึกษากว่า 1,648 ล้าน ปลุกพลังการศึกษาไทย “สร้างคนเก่ง ดี มีความสามารถ” รับมือยุค AI TCAS68 รอบ2 โควตา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ปีการศึกษา2568 Post navigation PREVIOUS Previous post: “ดิจิทัล” เปิดศักราชใหม่ในการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้NEXT Next post: สสวท. รวมพลังมูลนิธิฯ หนุนโครงการพระราชทานความช่วยเหลือ พัฒนาการเรียนวิทย์ เน้นปฏิบัติการทดลองโรงเรียน สปป.ลาว Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
Peking U.ให้ทุนป.ตรี-เอก InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศMarch 27, 2025 Peking University กำลังให้ทุนสำหรับนักศึกษาต่างชาติที่โดดเด่น ทุนนี้ก่อตั้งขึ้นในปี 2012 โดยให้การสนับสนุนนักศึกษาระดับปริญญาตรี โท และเอก(ไม่จำกัดสาขาวิชา) โดยให้ความช่วยเหลือทางการเงินเต็มจำนวนหรือบางส่วน รวมถึงค่าเล่าเรียน เงินเดือน และประกันสุขภาพ เปิดรับสมัครช่วงมีนาคมถึงเมษายน ทุกปี เพื่อให้มีสิทธิ์ได้รับทุน ผู้สมัครจะต้องเป็นนักศึกษาต่างชาติที่ได้รับข้อเสนอให้เข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยปักกิ่งในฐานะนักศึกษาปีหนึ่ง จะต้องไม่เป็นผู้รับทุนการศึกษาอื่นใด และไม่ควรลงทะเบียนในโปรแกรมปริญญาวิชาชีพ… สัปดาห์สุดท้าย!ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา เปิดรับรอบที่ 2 Quota 8 สาขา พร้อมมอบทุนเพชรสุนันทา เรียนการออกแบบแฟชั่น tui sakrapeeMarch 27, 2025 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดรับสมัครคัดเลือกนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญเข้าศึกษาในโครงการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาระดับปริญญาตรี ระบบโควตา ประเภทความสามารถทางวิชาการ และประเภทความสามารถพิเศษ ประจำปีการศึกษา 2568 (รอบที่ 2 Quota) พร้อมรับสมัครคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษา ภาคปกติ ระดับปริญญาตรี ในโครงการทุนเพชรสุนันทา กำหนดการรับสมัคร สาขาที่รับสมัครคณะศิลปกรรมศาสตร์ คุณสมบัติเฉพาะ…
สัปดาห์สุดท้าย!ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา เปิดรับรอบที่ 2 Quota 8 สาขา พร้อมมอบทุนเพชรสุนันทา เรียนการออกแบบแฟชั่น tui sakrapeeMarch 27, 2025 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดรับสมัครคัดเลือกนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญเข้าศึกษาในโครงการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาระดับปริญญาตรี ระบบโควตา ประเภทความสามารถทางวิชาการ และประเภทความสามารถพิเศษ ประจำปีการศึกษา 2568 (รอบที่ 2 Quota) พร้อมรับสมัครคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษา ภาคปกติ ระดับปริญญาตรี ในโครงการทุนเพชรสุนันทา กำหนดการรับสมัคร สาขาที่รับสมัครคณะศิลปกรรมศาสตร์ คุณสมบัติเฉพาะ…
5 แนวโน้มสำคัญด้านการศึกษาในปี 2025 EZ WebmasterMarch 28, 2025 5 แนวโน้มสำคัญด้านการศึกษาในปี 2025 ปี 2025 เป็นปีแห่งการเปลี่ยนแปลงของวงการศึกษา เทคโนโลยีใหม่ๆ และแนวคิดการเรียนรู้ที่ทันสมัยจะเข้ามามีบทบาทสำคัญ มาดูกันว่าอะไรคือแนวโน้มหลักที่ต้องจับตามอง! การเกิดขึ้นของโรงเรียนรูปแบบใหม่ Hybrid Learning, Microschools และ Homeschool กำลังได้รับความนิยมมากขึ้น การใช้… มจธ. คิดค้น “นวัตกรรมการผลิตซิลิกาด้วยเทคโนโลยีชีวภาพ” ต้นทุนต่ำ คุณภาพสูง พร้อมพลิกโฉมอุตสาหกรรมไทย EZ WebmasterMarch 27, 2025 นักวิจัย มจธ.พัฒนากระบวนการผลิต ไบโอซิลิกา (Biosilica) จากแกลบข้าว ด้วยกระบวนการชีวภาพ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและไร้สารเคมีตกค้าง พร้อมส่งต่อเทคโนโลยีเพื่อนำไปใช้ในอุตสาหกรรมต่างๆ เช่น เครื่องสำอาง เวชสำอาง ยา และยาง ซึ่งเป็นก้าวสำคัญที่ช่วยให้ประเทศไทยลดการพึ่งพาซิลิกานำเข้า และส่งเสริมเศรษฐกิจหมุนเวียนของประเทศ ซิลิกา (Silica) เป็นวัตถุดิบสำคัญในหลายอุตสาหกรรมของไทย ตั้งแต่ยางรถยนต์ เครื่องสำอาง เวชภัณฑ์… โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “ดร.ชุมพล พรประภา” เป็นนายกสภา ม.ศรีนครินทรวิโรฒ tui sakrapeeMarch 26, 2025 ราชกิจจานุเบกษาเผยแพร่ ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “ชุมพล พรประภา” ดำรงตำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ แทนวิจิตร ศรีสอ้าน ที่ถึงแก่อนิจกรรม ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 142 ตอนพิเศษ 147 ง เมื่อวันที่ 25… สอศ. ปั้นผู้อำนวยการอาชีวะยุคใหม่! เสริมภาวะผู้นำ-วิสัยทัศน์ ทันโลกการศึกษา EZ WebmasterMarch 26, 2025 วันที่ 26 มีนาคม 2568 นายยศพล เวณุโกเศศ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (เลขาธิการ กอศ.) เป็นประธานเปิดโครงการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และบรรยายพิเศษ “Growth Mindset: แนวคิดเชิงบวกและการเติบโตขององค์กร” โดยนางธิติมา โรจน์วัชราภิบาล ผู้อำนวยการ… กิจกรรม สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ ร่วมพิธีวางพานพุ่มและพิธีตักบาตร เนื่องในวันครบรอบ ๑๐๘ ปี แห่งการสถาปนาจุฬาฯ EZ WebmasterMarch 27, 2025 สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินร่วมพิธีวางพานพุ่มสักการะพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระปิยมหาราชและสมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า และพิธีตักบาตร เนื่องในวันครบรอบ ๑๐๘ ปี แห่งการสถาปนาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมี นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ และ นายอรรษิษฐ์ สัมพันธรัตน์ ประธานการจัดงานคืนเหย้าชาวจุฬาฯ… พิธีเปิดกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) ภายใต้โครงการพัฒนามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมผ้าไทยสู่สากล ประจำปี ๒๕๖๘ EZ WebmasterMarch 26, 2025 นางสาวลิปิการ์ กำลังชัย รองธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรม รักษาราชการแทนอธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรมเป็นประธานพิธิเปิด และร่วมรับฟังการบรรยายกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) พร้อมด้วยนางสาวศิวพร ฉันทไกรวัฒน์ ผู้อำนวยการกลุ่มเผยแพร่และต่อยอดมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมเข้าร่วมงาน โดยวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญด้านผ้าไทย การออกแบบและแฟชั่น อาทิ ผศ.ดร.รวิเทพ มุสิกะปาน ผศ.ดร.วุฒิไกร… เปิดรับอาสาสมัครศิริราช รอบทำกิจกรรม เดือน พ.ค.-ก.ค. 68 ทุกกิจกรรมมีใบรับรองการทำกิจกรรม EZ WebmasterMarch 26, 2025 ตารางการรับอาสาสมัครรอบทำกิจกรรม เดือน พฤษภาคม – กรกฏาคม 68 (กิจกรรมที่อยู่ในเว็บไซต์ตอนนี้เป็นรอบเก่ามีผู้เข้าร่วมเต็มทั้งหมดแล้วค่ะ รอบใหม่จะเปิดตามวันเวลาที่แจ้งด้านล่างนี้เท่านั้น*) ขอให้อาสาเป็นผู้สมัครและกดเลือกกิจกรรมด้วยตนเองนะคะ – 31 ก.ค. 68 **เนื่องจากวันที่ 5 พ.ค. เป็นวันหยุด จะขอเริ่มตั้งแต่วันที่วันที่ 6 พ.ค.… เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน รับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน EZ WebmasterMarch 24, 2025 เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน เกม Let’s School เกมแนวบริหารโรงเรียนในฝัน ที่จะให้เรารับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน อยากให้โรงเรียนเป็นแบบไหนก็ปรับเล่นได้เลย ดูอารมณ์นักเรียกได้ด้วยว่ามีความสุขมั้ย? แถมตอนนี้ยังมีอัปเดตแมพใหม่พร้อมซัพไทยด้วยนะ Let’s School โหลดเล่นได้ที่ Steam :… Search for: Search EZ Webmaster January 31, 2024 EZ Webmaster January 31, 2024 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ศูนย์กลางการศึกษาระดับภูมิภาคพร้อมรับนิสิตต่างชาติ สู่โลกการเรียนรู้และประสบการณ์หลากสีสันแห่งเอเชีย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยพร้อมเป็นหนึ่งในศูนย์กลางการศึกษาแห่งภูมิภาคเอเชีย เปิดรับนิสิตชาวไทยและต่างชาติ ด้วยกว่าร้อยหลักสูตรนานาชาติ รองรับทุกสายการเรียน สร้างประสบการณ์การเรียนรู้ไร้พรมแดน เตรียมบัณฑิตสู่ความเป็นพลเมืองโลก ประเทศไทยเป็นหนึ่งในจุดหมายปลายทางที่ชาวต่างชาตินิยมมาท่องเที่ยว ด้วยเสน่ห์ของ Soft Power อย่างศิลปะ วัฒนธรรม อาหาร วิถีชีวิต ธรรมชาติ ภูมิอากาศ และค่าครองชีพที่สมเหตุสมผล แต่ที่หลายคนอาจจะยังไม่รู้ – ประเทศไทยยังเป็นหนึ่งในจุดหมายของการศึกษาที่นิสิตต่างชาติสนใจมาเรียนและใช้ชีวิตด้วยเช่นกัน “ประเทศไทยมีความโดดเด่นทางด้านการศึกษาและเป็นที่สนใจของนิสิตต่างชาติจำนวนมาก เช่นที่จุฬาฯ เราเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยที่การศึกษามีคุณภาพ เป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ มีหลักสูตรนานาชาติที่สามารถรองรับนิสิตต่างชาติด้วยการสอนเป็นภาษาอังกฤษมากกว่า 100 หลักสูตรในทุกระดับปริญญา ในขณะที่ค่าครองชีพและค่าเล่าเรียนของเราก็ถูกกว่าประเทศอื่น ๆ ที่โดดเด่นด้านการศึกษาในระดับเดียวกัน” คุณศุกลิน วนาเกษมสันต์ ผู้อำนวยการฝ่ายบริหารวิชาการนานาชาติ สำนักบริหารวิรัชกิจและเครือข่ายนานาชาติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าว ปัจจุบัน จุฬาฯ มีนิสิตต่างชาติประมาณ 2,000 คน จาก 60 ประเทศ ที่มาศึกษาแลกเปลี่ยนและเรียนระดับปริญญาในหลายหลักสูตร จำนวนของนิสิตต่างชาติดูมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ด้วยทิศทางของโลกสมัยใหม่ ที่เปิดให้ผู้คนเดินทางและโยกย้ายถิ่นฐานได้สะดวกยิ่งขึ้น ไม่ว่าจะไปทำงาน ท่องเที่ยว หรือศึกษาเล่าเรียน โดยเฉพาะการเรียนรู้ เป็นส่วนหนึ่งของการเพิ่มพูนประสบการณ์ชีวิต สร้างเสริมความเป็นพลเมืองโลกและทักษะในการอยู่ในโลกสมัยใหม่ ที่ต้องเปิดใจ เข้าใจและยอมรับความแตกต่างหลากหลายและพหุวัฒนธรรม ทำไม นิสิตต่างชาติจึงเลือกมาเรียนจุฬาฯ ชื่อเสียงของจุฬาฯ และการยอมรับในระดับนานาชาติเป็นหนึ่งในเหตุผลต้น ๆ ที่นิสิตต่างชาติเลือกมาเรียนที่จุฬาฯ ในระดับประเทศ จุฬาฯ ครองอันดับ 1 ของประเทศไทยเป็นปีที่ 4 ติดต่อกัน จาก THE Impact Rankings 2023 และติดอันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทยเป็นปีที่ 15 ติดต่อกัน (ตั้งแต่ปี 2009) ในการจัดอันดับ QS World University Rankings 2024 โดย QS Quacquarelli Symonds ส่วนในระดับนานาชาติ จุฬาฯ ครองอันดับ 17 ของโลก จาก THE Impact Rankings 2023 และติดอันดับท็อป 50 ของโลกทางด้านผลลัพธ์ด้านการจ้างงาน (Employment Outcomes) โดย QS World University Rankings 2024 “จุฬาฯ เป็นศูนย์กลางการศึกษาในระดับอาเซียนและเอเชีย มีความโดดเด่นด้านวิชาการทั้งในสายวิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ ทุกหลักสูตรเปี่ยมด้วยคุณภาพและส่งเสริมความเป็นพลเมืองโลกให้นิสิตทั้งชาวไทยและต่างชาติ ซึ่งเมื่อจบการศึกษา บัณฑิตจุฬาฯ จะมีทักษะที่จำเป็นและสามารถทำงานได้ทุกที่ในโลก” คุณศุกลิน กล่าว นอกจากความโดดเด่นด้านวิชาการแล้ว บรรยากาศการเรียนรู้และการใช้ชีวิตที่จุฬาฯ ยังมีสีสัน ผสานความเก่าแก่และความทันสมัย เปิดโลกการเรียนรู้ตลอดชีวิต ที่ไม่มีในตำรา จุฬาฯ เป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของประเทศไทย ก่อตั้งมาแล้วกว่า 106 ปี ในพื้นที่การศึกษากว่า 1 ตารางกิโลเมตร (637 ไร่) ของจุฬาฯ มีอาคารทรงคุณค่าทางสถาปัตยกรรมมากมาย อีกทั้งเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ที่ขนานไปกับการเติบโตของประเทศไทยยุคใหม่ (modernization) นอกจากนี้ ด้วยความที่ตั้งอยู่ใจกลางมหานคร จุฬาฯ จึงอยู่ในแหล่งความทันสมัยและวัฒนธรรมสมัยใหม่ เช่น สยามสแควร์ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพ และไม่ไกลจากย่านเมืองเก่า เช่น เยาวราช สามย่าน เจริญกรุง ฯลฯ กล่าวได้ว่านิสิตที่มาเรียนที่จุฬาฯ จะได้ใช้ชีวิตการเรียนรู้ในบรรยากาศที่อดีต ปัจจุบัน และทิศทางแห่งอนาคตผสานกันอย่างลงตัว ความร่วมมือระดับนานาชาติ สร้างนิสิตจุฬาฯ สู่ความเป็นพลเมืองโลก จุฬาฯ ก้าวไปกับทิศทางการศึกษาในโลกสมัยใหม่ ที่เน้นหล่อหลอมบัณฑิตให้มีสำนึกความเป็นพลเมืองโลก สามารถปรับตัวเข้ากับกระแสการเปลี่ยนแปลงของโลก รวมถึงมีความเข้าใจความหลากหลายของสังคมและอยู่ได้ในพหุวัฒนธรรม “ด้วยชื่อเสียงและความพยายามของจุฬาฯ ทำให้เรามี MOU กับมหาวิทยาลัยชื่อดังหลายแห่งทั่วโลก นิสิตหลักสูตรนานาชาติของจุฬาฯ จะได้เรียนรู้และอยู่ในบรรยากาศแบบนานาชาติ และมีโอกาสได้เจอสภาพแวดล้อมอื่น ๆ เข้าเรียนกับมหาวิทยาลัยชั้นนำในต่างประเทศในวิชาที่ตนสนใจได้แทนที่จะเรียนตลอด 4 ปีที่จุฬาฯ ที่เดียว” ด้วยเป้าหมายดังกล่าว จุฬาฯ ได้ทำความร่วมมือกับหน่วยงานและมหาวิทยาลัยในระดับนานาชาติ เพื่อให้นิสิตสามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูล รวมถึง โดยความร่วมมือที่จุฬาฯ ทำกับสถาบันต่าง ๆ ได้แก่ ความร่วมมือด้านฐานข้อมูล จุฬาฯ มีห้องสมุดและฐานข้อมูลระดับเวิล์ดคลาส ที่นิสิตจุฬาฯ จะสามารถเข้าถึงแหล่งความรู้ ทั้งหนังสือ วารสาร งานวิจัย วิทยานิพนธ์ และฐานข้อมูลอ้างอิงจากต่างประเทศได้อย่างกว้างขวาง เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และการค้นคว้าของนิสิตได้อย่างเต็มที่ ความร่วมมือด้านหลักสูตร จุฬาฯ มีหลักสูตรนานาชาติแบบหลักสูตรปริญญาร่วมและหลักสูตรสองปริญญา ที่ผู้เรียนจะได้เรียนที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยพาร์ทเนอร์จากต่างประเทศ เช่น หลักสูตรปริญญาตรีสาขาวิทยาศาสตร์จิตวิทยา ร่วมกับ University of Queensland ออสเตรเลีย หลักสูตรปริญญาโทการจัดการทางวิศวกรรม ร่วมกับ The University of Warwick สหราชอาณาจักร เป็นต้น นอกจากนี้ จุฬาฯ ยังได้ทำ MOU ร่วมกับมหาวิทยาลัยชั้นนำหลายแห่งในโลก เพื่อให้นิสิตจุฬาฯ สามารถไปแลกเปลี่ยนที่ต่างประเทศ เพื่อเรียนในสาขาที่ตนเองสนใจกับมหาวิทยาลัยคู่สัญญา 1-2 ภาคการศึกษา หรือหากไม่อยากเดินทาง ก็สามารถแลกเปลี่ยนผ่าน APRU Virtual Student Exchange ที่นิสิตสามารถเข้าคลาสเรียนของมหาวิทยาลัยคู่สัญญาจากต่างประเทศได้ผ่านห้องเรียนออนไลน์ (ดูรายชื่อหลักสูตรทั้งหมดที่จุฬาฯ ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยต่างประเทศ ที่นี่) ชีวิตในรั้วจุฬาฯ สะดวกสบาย สนุก มีสีสัน มหาวิทยาลัยไม่ได้เป็นเรื่องการเรียนเท่านั้น แต่เป็นเรื่องการใช้ชีวิต คุณศุกลินให้ข้อมูลว่า จุฬาฯ มีความพร้อมทุกด้าน ไม่ว่าบุคลากรและสิ่งอำนวยความสะดวก ที่จะช่วยให้การมาเรียนและใช้ชีวิตในต่างแดนของนิสิตต่างชาติเป็นประสบการณ์สุดวิเศษครั้งหนึ่งในชีวิต การเดินทางจุฬาฯ เป็นมหาวิทยาลัยที่อยู่ใจกลางเมือง มีเส้นทางการเดินทางด้วยระบบขนส่งสาธารณะหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นรถเมล์ รถไฟฟ้า BTS และ MRT ส่วนการเดินทางภายในมหาวิทยาลัย จุฬาฯ ก็มีรถโดยสารภายในจุฬาฯ (Shuttle Bus) เพื่อให้นิสิตสามารถเดินทางไปอาคารเรียน หอพักนิสิต และพื้นที่โดยรอบมหาวิทยาลัยถึง 6 เส้นทาง โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย สุขภาพกายจุฬาฯ มีศูนย์บริการสุขภาพแห่งจุฬาฯ ที่ให้บริการทางสุขภาพฟรีแก่นิสิตจุฬาฯ และมีประกันสุขภาพสำหรับนิสิตต่างชาติ ที่นิสิตสามารถไปรับบริการที่โรงพยาบาลทั่วไปได้ หากเกิดเหตุฉุกเฉิน นิสิตจึงไม่ต้องกังวลเรื่องค่าใช้จ่ายหากเกิดเจ็บป่วยหรือเกิดอุบัติเหตุระหว่างที่เข้ามาศึกษา สุขภาพใจสำหรับนิสิตที่รู้สึกไม่สบายใจ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องเรียน การใช้ชีวิต การปรับตัว หรือเรื่องใดก็ตาม จุฬาฯ มีหน่วยส่งเสริมสุขภาวะนิสิต (Chula Student Wellness) ที่มีนักจิตวิทยาและจิตแพทย์คอยให้คำปรึกษานิสิตที่มีเรื่องกังวลทางใจ อีกทั้งจุฬาฯ ยังมีเจ้าหน้าที่จากสำนักบริหารวิรัชกิจและเครือข่ายนานาชาติ และเจ้าหน้าที่ประจำหลักสูตรที่สามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้เป็นอย่างดี คอยให้ความช่วยเหลือเกี่ยวกับการลงทะเบียนเรียน การประสานงานกับหน่วยงานต่าง ๆ การทำวีซ่า และการดูแลขณะเกิดเรื่องฉุกเฉิน ที่พักสำหรับนิสิตจุฬาฯ มีหอพักเรือนวิรัชมิตร (CU I-House) สำหรับนิสิตต่างชาติโดยเฉพาะ สามารถเดินทางได้สะดวก มีรถรับส่งไปยังมหาวิทยาลัย อยู่ใกล้ร้านอาหารมากมาย และค่าใช้จ่ายถูกกว่าหอพักบริเวณใกล้เคียง กิจกรรมและสันทนาการสำนักบริหารกิจการนิสิต ตั้งชมรม International Student Club เพื่อให้นิสิตต่างชาติและนิสิตไทยได้ทำกิจกรรมด้วยกันเพื่อแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม หรือหากนิสิตสนใจเล่นกีฬา ดนตรี หรือกิจกรรมด้านอื่น ๆ ก็สามารถสมัครเข้าร่วมชมรมที่สนใจได้ เพื่อหาเพื่อนที่มีความสนใจเหมือนกัน Unibuddyแอปคู่หูการใช้ชีวิตในจุฬาฯ เพื่อนิสิตต่างชาติ คุณศุกลินกล่าวว่าในบางครั้งการดูรีวิวจากอินเทอร์เน็ตก็อาจจะมีข้อมูลที่จริงบ้างไม่จริงบ้าง หรือการสอบถามข้อมูลโดยตรงจากมหาวิทยาลัยก็อาจจะไม่ได้ข้อมูลในมุมมองของผู้เรียน จุฬาฯ จึงเปิด “Unibuddy” เว็บไซต์แอปพลิเคชันที่จะช่วยให้นิสิตต่างชาติได้รู้เรื่องราว ทั้งเรื่องเรียนและการใช้ชีวิตในมุมมองนิสิตจุฬาฯ โดยผู้ให้ข้อมูลเป็นนิสิตจุฬาฯ ทั้งนิสิตไทยและนิสิตต่างชาติ สามารถเข้าใช้งาน Unibuddy ได้ที่นี่ พูดไทยไม่ได้ จะมาเรียนที่จุฬาฯ ได้ไหม? ภาษาไม่ใช่อุปสรรคในการเรียนและใช้ชีวิตที่จุฬาฯ แม้จะไม่สามารถสื่อสารภาษาไทยได้ นิสิตต่างชาติก็สามารถเรียนและสนุกกับประสบการณ์ชีวิตที่จุฬาฯ ได้ “หลักสูตรนานาชาติทุกหลักสูตรจัดการเรียนการสอนเป็นภาษาอังกฤษทั้งหมด นอกจากนี้ นิสิตจุฬาฯ ชาวไทยส่วนมากก็สามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้ดี ภายนอกมหาวิทยาลัยอาจจะมีบุคคลที่ไม่สามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้ แต่สมัยนี้ เราก็มีเครื่องมือและโปรแกรมที่สามารถแปลภาษาเพื่อใช้สื่อสารได้ เช่น ในโรงอาหาร แม้จะไม่มีเมนูภาษาอังกฤษ ก็สามารถถ่ายรูปอาหารบนป้ายที่อยากทานแล้วยื่นให้แม่ค้าดูได้” สำหรับนิสิตที่สนใจจะเรียนภาษาไทย จุฬาฯ ก็มีหลักสูตรหลากหลายรูปแบบให้นิสิตได้เลือกเรียนตามความสนใจ หลักสูตรออนไลน์เรียนฟรีกับ Chula MOOC เตรียมตัวก่อนมาประเทศไทยด้วยหลักสูตรภาษาไทยพื้นฐานที่น่าสนใจ ได้แก่ หลักสูตร Survival Thai หลักสูตร Communicative Thai for Foreigners และหลักสูตร Thai on Campus พร้อมรับประกาศนียบัตรจากจุฬาฯ เมื่อเรียนจบหลักสูตร หลักสูตรภาษาไทยแบบลงทะเบียนเรียนนิสิตต่างชาติสามารถลงทะเบียนเรียนวิชาภาษาไทยสำหรับนิสิตต่างชาติโดยเฉพาะ โดยไม่ต้องเสียค่าลงทะเบียนเรียนเพิ่ม และยังเก็บเป็นวิชาเรียนในใบทรานสคริปต์ได้ด้วย หลักสูตรภาษาไทยแบบเข้มข้นหากการเรียนในห้องเรียนยังไม่เพียงพอ นิสิตก็สามารถสมัครเรียนเพิ่มเติมได้ที่ ศูนย์ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ ซึ่งนอกจากจะมีการเรียนภาษาในห้องเรียนแล้ว ยังมีกิจกรรมเวิร์คช็อปทางวัฒนธรรมไทยอีกด้วย หลักสูตรนี้ชาวต่างชาติที่ไม่ใช่นิสิตจุฬาฯ ก็สามารถสมัครเรียนได้เช่นเดียวกัน “ในเมื่อมีโอกาสได้มาเป็นนิสิตจุฬาฯ ที่ประเทศไทย นอกจากการเรียนภาษาไทยกับเจ้าของภาษาในห้องเรียนแล้ว สิ่งที่สำคัญคือการนำความรู้ที่ได้มาใช้กับคนนอกห้องเรียนเพื่อฝึกฝนภาษาไทยให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นในสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมการเรียนรู้ทางภาษาไทยที่สุด” สนใจมาเรียนที่จุฬาฯ จะต้องทำอย่างไร จุฬาฯ มีหลักสูตรนานาชาติ ที่มีการเรียนการสอนเป็นภาษาอังกฤษทั้งหมดในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอกมากกว่า 100 หลักสูตรจากหลากหลายสาขาวิชา โดยเปิดเรียนภาคเรียนที่ 1 ในเดือนสิงหาคม การรับสมัครในระดับปริญญาตรีจะเปิดรับสมัครรอบที่ 1 ในช่วงเดือนธันวาคม – มกราคม ส่วนการรับสมัครในระดับบัณฑิตศึกษาจะแบ่งการรับสมัครเป็น 2 ช่วง ได้แก่ รอบรับสมัครเดือนกุมภาพันธ์ – พฤษภาคม เริ่มเรียนในเดือนสิงหาคม และรอบรับสมัครเดือนกันยายน – ตุลาคม เริ่มเรียนในเดือนมกราคม สำหรับนิสิตที่ต้องการทุน จุฬาฯ ก็มีทุนสนับสนุนสำหรับนิสิตหลายประเภทตามทั้งทุนการศึกษาและทุนทำวิจัย นอกจากการเรียนในระดับปริญญาแล้ว จุฬาฯ ยังมีโครงการแลกเปลี่ยนสำหรับนิสิตจากต่างประเทศที่สนใจมาเรียนที่จุฬาฯ ระยะสั้น 1-2 ภาคการศึกษา เพื่อมาเก็บเกี่ยวความรู้ที่จุฬาฯ และหาประสบการณ์การใช้ชีวิตที่ประเทศไทยในเวลาเดียวกัน · Exchange Program นิสิตจากมหาวิทยาลัยคู่สัญญาที่ทำ MOU ร่วมกับจุฬาฯ สามารถมาแลกเปลี่ยนที่จุฬาฯ โดยที่ไม่ต้องเสียค่าเล่าเรียนที่จุฬาฯ นอกจากชำระค่าเล่าเรียนที่มหาวิทยาลัยของตน ผู้สนใจสามารถสมัครได้ล่วงหน้า 6 เดือนก่อนเปิดภาคเรียน* ที่ผู้ประสานงานของมหาวิทยาลัยที่ตนเองสังกัด โดยสามารถตรวจสอบมหาวิทยาลัยคู่สัญญาได้ที่นี่ · Visiting Program สำหรับนิสิตที่มาจากมหาวิทยาลัยต่างประเทศที่ไม่ใช่คู่สัญญาของจุฬาฯ ก็สามารถมาศึกษาที่จุฬาฯ 1-2 ภาคการศึกษาได้เช่นกัน โดยสามารถติดต่อกับผู้ดูแลหลักสูตรที่ต้องการสมัครของจุฬาฯ ได้เลย โดยชำระค่าเล่าเรียนที่จุฬาฯ ผู้สนใจจะต้องสมัครล่วงหน้า 6 เดือนก่อนเปิดภาคเรียน* *สำหรับ Exchange Program และ Visiting Program หากต้องการจะเริ่มเรียนในภาคเรียนที่ 1 ในเดือนสิงหาคม สามารถสมัครได้ตั้งแต่เดือนมกราคม – กุมภาพันธ์ในปีเดียวกัน และหากต้องเริ่มเรียนในภาคเรียนที่ 2 ในเดือนมกราคม สามารถสมัครได้ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม – สิงหาคมของปีก่อนหน้า · APRU Virtual Student Exchange สำหรับนิสิตต่างชาติจากมหาวิทยาลัยสมาชิกเครือข่าย APRU ที่สนใจจะเรียนวิชาของจุฬาฯ แต่ไม่สะดวกที่จะมาเรียนที่ประเทศไทย หรืออยากจะเรียนแค่วิชาเดียว ก็สามารถเข้าร่วมโครงการ APRU Virtual Student Exchange ที่นิสิตจะได้เรียนวิชาที่สนใจบนคลาสออนไลน์กับนิสิตจุฬาฯ โดยที่ชำระค่าเล่าเรียนเฉพาะที่มหาวิทยาลัยของตนเท่านั้น เตรียมวีซ่าให้พร้อมก่อนมาเรียนที่จุฬาฯ สิ่งที่สำคัญที่สุดที่จะทำให้การใช้ชีวิตที่จุฬาฯ ของชาวต่างชาติราบรื่น นั่นก็คือ “วีซ่า” ซึ่งผู้ที่จะเข้ามาเรียนที่จุฬาฯ ต้องมี Education Visa หลังจากที่ผู้สมัครผ่านการคัดเลือกเข้าศึกษาต่อ ทางมหาวิทยาลัยจะออกเอกสารตอบรับเข้าศึกษาเพื่อให้ผู้สมัครไปยื่นขอวีซ่าที่สถานทูตไทยหรือกงสุลไทย และเมื่อต้องมีการต่อวีซ่า ก็สามารถติดต่อได้ที่ผู้ประสานงานหลักสูตรของตนเองได้เลย “สิ่งที่ต้องรู้เกี่ยวกับ Education Visa คือ วีซ่าประเภทนี้จะใช้ได้ก็ต่อเมื่อเดินทางมาจากประเทศของตนเองเท่านั้น วีซ่านักท่องเที่ยวไม่สามารถเปลี่ยนประเภทวีซ่าเป็นวีซ่านักเรียนที่ประเทศไทยได้ กรณีนี้ นิสิตจะต้องเดินทางกลับประเทศของตนก่อนแล้วบินกลับมาใหม่เท่านั้น” “สำหรับผู้ที่มีวีซ่าทำงานแล้วมาเรียนนอกเวลาทำงานก็สามารถมาเรียนได้ แม้จะถือวีซ่าทำงาน แต่วีซ่าทำงานไม่สามารถเปลี่ยนเป็นวีซ่านักเรียนได้ที่ประเทศไทยเช่นเดียวกับวีซ่าท่องเที่ยว ซึ่งเป็นปัญหาที่นิสิตพบบ่อย นี่จึงคือสิ่งที่ควรเตรียมตัวมาให้ดีหากนิสิตไม่อยากเสียเงินและเสียเวลาในการเดินทาง” รู้จักเรื่องราวของจุฬาฯ ให้มากขึ้น ที่เว็บไซต์ https://www.chula.ac.th/en/ สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ สำนักบริหารวิรัชกิจและเครือข่ายนานาชาติ จุฬาฯ โทรศัพท์: +66 2218 3126 อีเมล: int.off@chula.ac.th Facebook: https://www.facebook.com/ChulaOIA/ EZ Webmaster Related Posts สสวท. พารอบรู้คู่ฤดูร้อนกับ “พายุฤดูร้อน” สพฐ.สั่งเลื่อนสอบ ม.1 และ ม.4 ทั่วประเทศ หลังเหตุแผ่นดินไหว รอประเมินความปลอดภัยก่อนกำหนดสอบใหม่ ม.สุโขทัยธรรมาธิราช เปิดรับนักศึกษาใหม่ ภาคต้นปีการศึกษา 2568 เริ่มรับสมัครวันที่ 1 เมษายน 2568 CP All Education Forum 2025 จัดใหญ่! มอบทุนการศึกษากว่า 1,648 ล้าน ปลุกพลังการศึกษาไทย “สร้างคนเก่ง ดี มีความสามารถ” รับมือยุค AI TCAS68 รอบ2 โควตา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ปีการศึกษา2568 Post navigation PREVIOUS Previous post: “ดิจิทัล” เปิดศักราชใหม่ในการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้NEXT Next post: สสวท. รวมพลังมูลนิธิฯ หนุนโครงการพระราชทานความช่วยเหลือ พัฒนาการเรียนวิทย์ เน้นปฏิบัติการทดลองโรงเรียน สปป.ลาว Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มจธ. คิดค้น “นวัตกรรมการผลิตซิลิกาด้วยเทคโนโลยีชีวภาพ” ต้นทุนต่ำ คุณภาพสูง พร้อมพลิกโฉมอุตสาหกรรมไทย EZ WebmasterMarch 27, 2025 นักวิจัย มจธ.พัฒนากระบวนการผลิต ไบโอซิลิกา (Biosilica) จากแกลบข้าว ด้วยกระบวนการชีวภาพ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและไร้สารเคมีตกค้าง พร้อมส่งต่อเทคโนโลยีเพื่อนำไปใช้ในอุตสาหกรรมต่างๆ เช่น เครื่องสำอาง เวชสำอาง ยา และยาง ซึ่งเป็นก้าวสำคัญที่ช่วยให้ประเทศไทยลดการพึ่งพาซิลิกานำเข้า และส่งเสริมเศรษฐกิจหมุนเวียนของประเทศ ซิลิกา (Silica) เป็นวัตถุดิบสำคัญในหลายอุตสาหกรรมของไทย ตั้งแต่ยางรถยนต์ เครื่องสำอาง เวชภัณฑ์… โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “ดร.ชุมพล พรประภา” เป็นนายกสภา ม.ศรีนครินทรวิโรฒ tui sakrapeeMarch 26, 2025 ราชกิจจานุเบกษาเผยแพร่ ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “ชุมพล พรประภา” ดำรงตำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ แทนวิจิตร ศรีสอ้าน ที่ถึงแก่อนิจกรรม ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 142 ตอนพิเศษ 147 ง เมื่อวันที่ 25… สอศ. ปั้นผู้อำนวยการอาชีวะยุคใหม่! เสริมภาวะผู้นำ-วิสัยทัศน์ ทันโลกการศึกษา EZ WebmasterMarch 26, 2025 วันที่ 26 มีนาคม 2568 นายยศพล เวณุโกเศศ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (เลขาธิการ กอศ.) เป็นประธานเปิดโครงการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และบรรยายพิเศษ “Growth Mindset: แนวคิดเชิงบวกและการเติบโตขององค์กร” โดยนางธิติมา โรจน์วัชราภิบาล ผู้อำนวยการ… กิจกรรม สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ ร่วมพิธีวางพานพุ่มและพิธีตักบาตร เนื่องในวันครบรอบ ๑๐๘ ปี แห่งการสถาปนาจุฬาฯ EZ WebmasterMarch 27, 2025 สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินร่วมพิธีวางพานพุ่มสักการะพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระปิยมหาราชและสมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า และพิธีตักบาตร เนื่องในวันครบรอบ ๑๐๘ ปี แห่งการสถาปนาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมี นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ และ นายอรรษิษฐ์ สัมพันธรัตน์ ประธานการจัดงานคืนเหย้าชาวจุฬาฯ… พิธีเปิดกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) ภายใต้โครงการพัฒนามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมผ้าไทยสู่สากล ประจำปี ๒๕๖๘ EZ WebmasterMarch 26, 2025 นางสาวลิปิการ์ กำลังชัย รองธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรม รักษาราชการแทนอธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรมเป็นประธานพิธิเปิด และร่วมรับฟังการบรรยายกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) พร้อมด้วยนางสาวศิวพร ฉันทไกรวัฒน์ ผู้อำนวยการกลุ่มเผยแพร่และต่อยอดมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมเข้าร่วมงาน โดยวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญด้านผ้าไทย การออกแบบและแฟชั่น อาทิ ผศ.ดร.รวิเทพ มุสิกะปาน ผศ.ดร.วุฒิไกร… เปิดรับอาสาสมัครศิริราช รอบทำกิจกรรม เดือน พ.ค.-ก.ค. 68 ทุกกิจกรรมมีใบรับรองการทำกิจกรรม EZ WebmasterMarch 26, 2025 ตารางการรับอาสาสมัครรอบทำกิจกรรม เดือน พฤษภาคม – กรกฏาคม 68 (กิจกรรมที่อยู่ในเว็บไซต์ตอนนี้เป็นรอบเก่ามีผู้เข้าร่วมเต็มทั้งหมดแล้วค่ะ รอบใหม่จะเปิดตามวันเวลาที่แจ้งด้านล่างนี้เท่านั้น*) ขอให้อาสาเป็นผู้สมัครและกดเลือกกิจกรรมด้วยตนเองนะคะ – 31 ก.ค. 68 **เนื่องจากวันที่ 5 พ.ค. เป็นวันหยุด จะขอเริ่มตั้งแต่วันที่วันที่ 6 พ.ค.… เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน รับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน EZ WebmasterMarch 24, 2025 เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน เกม Let’s School เกมแนวบริหารโรงเรียนในฝัน ที่จะให้เรารับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน อยากให้โรงเรียนเป็นแบบไหนก็ปรับเล่นได้เลย ดูอารมณ์นักเรียกได้ด้วยว่ามีความสุขมั้ย? แถมตอนนี้ยังมีอัปเดตแมพใหม่พร้อมซัพไทยด้วยนะ Let’s School โหลดเล่นได้ที่ Steam :… Search for: Search EZ Webmaster January 31, 2024 EZ Webmaster January 31, 2024 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ศูนย์กลางการศึกษาระดับภูมิภาคพร้อมรับนิสิตต่างชาติ สู่โลกการเรียนรู้และประสบการณ์หลากสีสันแห่งเอเชีย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยพร้อมเป็นหนึ่งในศูนย์กลางการศึกษาแห่งภูมิภาคเอเชีย เปิดรับนิสิตชาวไทยและต่างชาติ ด้วยกว่าร้อยหลักสูตรนานาชาติ รองรับทุกสายการเรียน สร้างประสบการณ์การเรียนรู้ไร้พรมแดน เตรียมบัณฑิตสู่ความเป็นพลเมืองโลก ประเทศไทยเป็นหนึ่งในจุดหมายปลายทางที่ชาวต่างชาตินิยมมาท่องเที่ยว ด้วยเสน่ห์ของ Soft Power อย่างศิลปะ วัฒนธรรม อาหาร วิถีชีวิต ธรรมชาติ ภูมิอากาศ และค่าครองชีพที่สมเหตุสมผล แต่ที่หลายคนอาจจะยังไม่รู้ – ประเทศไทยยังเป็นหนึ่งในจุดหมายของการศึกษาที่นิสิตต่างชาติสนใจมาเรียนและใช้ชีวิตด้วยเช่นกัน “ประเทศไทยมีความโดดเด่นทางด้านการศึกษาและเป็นที่สนใจของนิสิตต่างชาติจำนวนมาก เช่นที่จุฬาฯ เราเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยที่การศึกษามีคุณภาพ เป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ มีหลักสูตรนานาชาติที่สามารถรองรับนิสิตต่างชาติด้วยการสอนเป็นภาษาอังกฤษมากกว่า 100 หลักสูตรในทุกระดับปริญญา ในขณะที่ค่าครองชีพและค่าเล่าเรียนของเราก็ถูกกว่าประเทศอื่น ๆ ที่โดดเด่นด้านการศึกษาในระดับเดียวกัน” คุณศุกลิน วนาเกษมสันต์ ผู้อำนวยการฝ่ายบริหารวิชาการนานาชาติ สำนักบริหารวิรัชกิจและเครือข่ายนานาชาติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าว ปัจจุบัน จุฬาฯ มีนิสิตต่างชาติประมาณ 2,000 คน จาก 60 ประเทศ ที่มาศึกษาแลกเปลี่ยนและเรียนระดับปริญญาในหลายหลักสูตร จำนวนของนิสิตต่างชาติดูมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ด้วยทิศทางของโลกสมัยใหม่ ที่เปิดให้ผู้คนเดินทางและโยกย้ายถิ่นฐานได้สะดวกยิ่งขึ้น ไม่ว่าจะไปทำงาน ท่องเที่ยว หรือศึกษาเล่าเรียน โดยเฉพาะการเรียนรู้ เป็นส่วนหนึ่งของการเพิ่มพูนประสบการณ์ชีวิต สร้างเสริมความเป็นพลเมืองโลกและทักษะในการอยู่ในโลกสมัยใหม่ ที่ต้องเปิดใจ เข้าใจและยอมรับความแตกต่างหลากหลายและพหุวัฒนธรรม ทำไม นิสิตต่างชาติจึงเลือกมาเรียนจุฬาฯ ชื่อเสียงของจุฬาฯ และการยอมรับในระดับนานาชาติเป็นหนึ่งในเหตุผลต้น ๆ ที่นิสิตต่างชาติเลือกมาเรียนที่จุฬาฯ ในระดับประเทศ จุฬาฯ ครองอันดับ 1 ของประเทศไทยเป็นปีที่ 4 ติดต่อกัน จาก THE Impact Rankings 2023 และติดอันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทยเป็นปีที่ 15 ติดต่อกัน (ตั้งแต่ปี 2009) ในการจัดอันดับ QS World University Rankings 2024 โดย QS Quacquarelli Symonds ส่วนในระดับนานาชาติ จุฬาฯ ครองอันดับ 17 ของโลก จาก THE Impact Rankings 2023 และติดอันดับท็อป 50 ของโลกทางด้านผลลัพธ์ด้านการจ้างงาน (Employment Outcomes) โดย QS World University Rankings 2024 “จุฬาฯ เป็นศูนย์กลางการศึกษาในระดับอาเซียนและเอเชีย มีความโดดเด่นด้านวิชาการทั้งในสายวิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ ทุกหลักสูตรเปี่ยมด้วยคุณภาพและส่งเสริมความเป็นพลเมืองโลกให้นิสิตทั้งชาวไทยและต่างชาติ ซึ่งเมื่อจบการศึกษา บัณฑิตจุฬาฯ จะมีทักษะที่จำเป็นและสามารถทำงานได้ทุกที่ในโลก” คุณศุกลิน กล่าว นอกจากความโดดเด่นด้านวิชาการแล้ว บรรยากาศการเรียนรู้และการใช้ชีวิตที่จุฬาฯ ยังมีสีสัน ผสานความเก่าแก่และความทันสมัย เปิดโลกการเรียนรู้ตลอดชีวิต ที่ไม่มีในตำรา จุฬาฯ เป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของประเทศไทย ก่อตั้งมาแล้วกว่า 106 ปี ในพื้นที่การศึกษากว่า 1 ตารางกิโลเมตร (637 ไร่) ของจุฬาฯ มีอาคารทรงคุณค่าทางสถาปัตยกรรมมากมาย อีกทั้งเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ที่ขนานไปกับการเติบโตของประเทศไทยยุคใหม่ (modernization) นอกจากนี้ ด้วยความที่ตั้งอยู่ใจกลางมหานคร จุฬาฯ จึงอยู่ในแหล่งความทันสมัยและวัฒนธรรมสมัยใหม่ เช่น สยามสแควร์ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพ และไม่ไกลจากย่านเมืองเก่า เช่น เยาวราช สามย่าน เจริญกรุง ฯลฯ กล่าวได้ว่านิสิตที่มาเรียนที่จุฬาฯ จะได้ใช้ชีวิตการเรียนรู้ในบรรยากาศที่อดีต ปัจจุบัน และทิศทางแห่งอนาคตผสานกันอย่างลงตัว ความร่วมมือระดับนานาชาติ สร้างนิสิตจุฬาฯ สู่ความเป็นพลเมืองโลก จุฬาฯ ก้าวไปกับทิศทางการศึกษาในโลกสมัยใหม่ ที่เน้นหล่อหลอมบัณฑิตให้มีสำนึกความเป็นพลเมืองโลก สามารถปรับตัวเข้ากับกระแสการเปลี่ยนแปลงของโลก รวมถึงมีความเข้าใจความหลากหลายของสังคมและอยู่ได้ในพหุวัฒนธรรม “ด้วยชื่อเสียงและความพยายามของจุฬาฯ ทำให้เรามี MOU กับมหาวิทยาลัยชื่อดังหลายแห่งทั่วโลก นิสิตหลักสูตรนานาชาติของจุฬาฯ จะได้เรียนรู้และอยู่ในบรรยากาศแบบนานาชาติ และมีโอกาสได้เจอสภาพแวดล้อมอื่น ๆ เข้าเรียนกับมหาวิทยาลัยชั้นนำในต่างประเทศในวิชาที่ตนสนใจได้แทนที่จะเรียนตลอด 4 ปีที่จุฬาฯ ที่เดียว” ด้วยเป้าหมายดังกล่าว จุฬาฯ ได้ทำความร่วมมือกับหน่วยงานและมหาวิทยาลัยในระดับนานาชาติ เพื่อให้นิสิตสามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูล รวมถึง โดยความร่วมมือที่จุฬาฯ ทำกับสถาบันต่าง ๆ ได้แก่ ความร่วมมือด้านฐานข้อมูล จุฬาฯ มีห้องสมุดและฐานข้อมูลระดับเวิล์ดคลาส ที่นิสิตจุฬาฯ จะสามารถเข้าถึงแหล่งความรู้ ทั้งหนังสือ วารสาร งานวิจัย วิทยานิพนธ์ และฐานข้อมูลอ้างอิงจากต่างประเทศได้อย่างกว้างขวาง เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และการค้นคว้าของนิสิตได้อย่างเต็มที่ ความร่วมมือด้านหลักสูตร จุฬาฯ มีหลักสูตรนานาชาติแบบหลักสูตรปริญญาร่วมและหลักสูตรสองปริญญา ที่ผู้เรียนจะได้เรียนที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยพาร์ทเนอร์จากต่างประเทศ เช่น หลักสูตรปริญญาตรีสาขาวิทยาศาสตร์จิตวิทยา ร่วมกับ University of Queensland ออสเตรเลีย หลักสูตรปริญญาโทการจัดการทางวิศวกรรม ร่วมกับ The University of Warwick สหราชอาณาจักร เป็นต้น นอกจากนี้ จุฬาฯ ยังได้ทำ MOU ร่วมกับมหาวิทยาลัยชั้นนำหลายแห่งในโลก เพื่อให้นิสิตจุฬาฯ สามารถไปแลกเปลี่ยนที่ต่างประเทศ เพื่อเรียนในสาขาที่ตนเองสนใจกับมหาวิทยาลัยคู่สัญญา 1-2 ภาคการศึกษา หรือหากไม่อยากเดินทาง ก็สามารถแลกเปลี่ยนผ่าน APRU Virtual Student Exchange ที่นิสิตสามารถเข้าคลาสเรียนของมหาวิทยาลัยคู่สัญญาจากต่างประเทศได้ผ่านห้องเรียนออนไลน์ (ดูรายชื่อหลักสูตรทั้งหมดที่จุฬาฯ ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยต่างประเทศ ที่นี่) ชีวิตในรั้วจุฬาฯ สะดวกสบาย สนุก มีสีสัน มหาวิทยาลัยไม่ได้เป็นเรื่องการเรียนเท่านั้น แต่เป็นเรื่องการใช้ชีวิต คุณศุกลินให้ข้อมูลว่า จุฬาฯ มีความพร้อมทุกด้าน ไม่ว่าบุคลากรและสิ่งอำนวยความสะดวก ที่จะช่วยให้การมาเรียนและใช้ชีวิตในต่างแดนของนิสิตต่างชาติเป็นประสบการณ์สุดวิเศษครั้งหนึ่งในชีวิต การเดินทางจุฬาฯ เป็นมหาวิทยาลัยที่อยู่ใจกลางเมือง มีเส้นทางการเดินทางด้วยระบบขนส่งสาธารณะหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นรถเมล์ รถไฟฟ้า BTS และ MRT ส่วนการเดินทางภายในมหาวิทยาลัย จุฬาฯ ก็มีรถโดยสารภายในจุฬาฯ (Shuttle Bus) เพื่อให้นิสิตสามารถเดินทางไปอาคารเรียน หอพักนิสิต และพื้นที่โดยรอบมหาวิทยาลัยถึง 6 เส้นทาง โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย สุขภาพกายจุฬาฯ มีศูนย์บริการสุขภาพแห่งจุฬาฯ ที่ให้บริการทางสุขภาพฟรีแก่นิสิตจุฬาฯ และมีประกันสุขภาพสำหรับนิสิตต่างชาติ ที่นิสิตสามารถไปรับบริการที่โรงพยาบาลทั่วไปได้ หากเกิดเหตุฉุกเฉิน นิสิตจึงไม่ต้องกังวลเรื่องค่าใช้จ่ายหากเกิดเจ็บป่วยหรือเกิดอุบัติเหตุระหว่างที่เข้ามาศึกษา สุขภาพใจสำหรับนิสิตที่รู้สึกไม่สบายใจ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องเรียน การใช้ชีวิต การปรับตัว หรือเรื่องใดก็ตาม จุฬาฯ มีหน่วยส่งเสริมสุขภาวะนิสิต (Chula Student Wellness) ที่มีนักจิตวิทยาและจิตแพทย์คอยให้คำปรึกษานิสิตที่มีเรื่องกังวลทางใจ อีกทั้งจุฬาฯ ยังมีเจ้าหน้าที่จากสำนักบริหารวิรัชกิจและเครือข่ายนานาชาติ และเจ้าหน้าที่ประจำหลักสูตรที่สามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้เป็นอย่างดี คอยให้ความช่วยเหลือเกี่ยวกับการลงทะเบียนเรียน การประสานงานกับหน่วยงานต่าง ๆ การทำวีซ่า และการดูแลขณะเกิดเรื่องฉุกเฉิน ที่พักสำหรับนิสิตจุฬาฯ มีหอพักเรือนวิรัชมิตร (CU I-House) สำหรับนิสิตต่างชาติโดยเฉพาะ สามารถเดินทางได้สะดวก มีรถรับส่งไปยังมหาวิทยาลัย อยู่ใกล้ร้านอาหารมากมาย และค่าใช้จ่ายถูกกว่าหอพักบริเวณใกล้เคียง กิจกรรมและสันทนาการสำนักบริหารกิจการนิสิต ตั้งชมรม International Student Club เพื่อให้นิสิตต่างชาติและนิสิตไทยได้ทำกิจกรรมด้วยกันเพื่อแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม หรือหากนิสิตสนใจเล่นกีฬา ดนตรี หรือกิจกรรมด้านอื่น ๆ ก็สามารถสมัครเข้าร่วมชมรมที่สนใจได้ เพื่อหาเพื่อนที่มีความสนใจเหมือนกัน Unibuddyแอปคู่หูการใช้ชีวิตในจุฬาฯ เพื่อนิสิตต่างชาติ คุณศุกลินกล่าวว่าในบางครั้งการดูรีวิวจากอินเทอร์เน็ตก็อาจจะมีข้อมูลที่จริงบ้างไม่จริงบ้าง หรือการสอบถามข้อมูลโดยตรงจากมหาวิทยาลัยก็อาจจะไม่ได้ข้อมูลในมุมมองของผู้เรียน จุฬาฯ จึงเปิด “Unibuddy” เว็บไซต์แอปพลิเคชันที่จะช่วยให้นิสิตต่างชาติได้รู้เรื่องราว ทั้งเรื่องเรียนและการใช้ชีวิตในมุมมองนิสิตจุฬาฯ โดยผู้ให้ข้อมูลเป็นนิสิตจุฬาฯ ทั้งนิสิตไทยและนิสิตต่างชาติ สามารถเข้าใช้งาน Unibuddy ได้ที่นี่ พูดไทยไม่ได้ จะมาเรียนที่จุฬาฯ ได้ไหม? ภาษาไม่ใช่อุปสรรคในการเรียนและใช้ชีวิตที่จุฬาฯ แม้จะไม่สามารถสื่อสารภาษาไทยได้ นิสิตต่างชาติก็สามารถเรียนและสนุกกับประสบการณ์ชีวิตที่จุฬาฯ ได้ “หลักสูตรนานาชาติทุกหลักสูตรจัดการเรียนการสอนเป็นภาษาอังกฤษทั้งหมด นอกจากนี้ นิสิตจุฬาฯ ชาวไทยส่วนมากก็สามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้ดี ภายนอกมหาวิทยาลัยอาจจะมีบุคคลที่ไม่สามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้ แต่สมัยนี้ เราก็มีเครื่องมือและโปรแกรมที่สามารถแปลภาษาเพื่อใช้สื่อสารได้ เช่น ในโรงอาหาร แม้จะไม่มีเมนูภาษาอังกฤษ ก็สามารถถ่ายรูปอาหารบนป้ายที่อยากทานแล้วยื่นให้แม่ค้าดูได้” สำหรับนิสิตที่สนใจจะเรียนภาษาไทย จุฬาฯ ก็มีหลักสูตรหลากหลายรูปแบบให้นิสิตได้เลือกเรียนตามความสนใจ หลักสูตรออนไลน์เรียนฟรีกับ Chula MOOC เตรียมตัวก่อนมาประเทศไทยด้วยหลักสูตรภาษาไทยพื้นฐานที่น่าสนใจ ได้แก่ หลักสูตร Survival Thai หลักสูตร Communicative Thai for Foreigners และหลักสูตร Thai on Campus พร้อมรับประกาศนียบัตรจากจุฬาฯ เมื่อเรียนจบหลักสูตร หลักสูตรภาษาไทยแบบลงทะเบียนเรียนนิสิตต่างชาติสามารถลงทะเบียนเรียนวิชาภาษาไทยสำหรับนิสิตต่างชาติโดยเฉพาะ โดยไม่ต้องเสียค่าลงทะเบียนเรียนเพิ่ม และยังเก็บเป็นวิชาเรียนในใบทรานสคริปต์ได้ด้วย หลักสูตรภาษาไทยแบบเข้มข้นหากการเรียนในห้องเรียนยังไม่เพียงพอ นิสิตก็สามารถสมัครเรียนเพิ่มเติมได้ที่ ศูนย์ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ ซึ่งนอกจากจะมีการเรียนภาษาในห้องเรียนแล้ว ยังมีกิจกรรมเวิร์คช็อปทางวัฒนธรรมไทยอีกด้วย หลักสูตรนี้ชาวต่างชาติที่ไม่ใช่นิสิตจุฬาฯ ก็สามารถสมัครเรียนได้เช่นเดียวกัน “ในเมื่อมีโอกาสได้มาเป็นนิสิตจุฬาฯ ที่ประเทศไทย นอกจากการเรียนภาษาไทยกับเจ้าของภาษาในห้องเรียนแล้ว สิ่งที่สำคัญคือการนำความรู้ที่ได้มาใช้กับคนนอกห้องเรียนเพื่อฝึกฝนภาษาไทยให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นในสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมการเรียนรู้ทางภาษาไทยที่สุด” สนใจมาเรียนที่จุฬาฯ จะต้องทำอย่างไร จุฬาฯ มีหลักสูตรนานาชาติ ที่มีการเรียนการสอนเป็นภาษาอังกฤษทั้งหมดในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอกมากกว่า 100 หลักสูตรจากหลากหลายสาขาวิชา โดยเปิดเรียนภาคเรียนที่ 1 ในเดือนสิงหาคม การรับสมัครในระดับปริญญาตรีจะเปิดรับสมัครรอบที่ 1 ในช่วงเดือนธันวาคม – มกราคม ส่วนการรับสมัครในระดับบัณฑิตศึกษาจะแบ่งการรับสมัครเป็น 2 ช่วง ได้แก่ รอบรับสมัครเดือนกุมภาพันธ์ – พฤษภาคม เริ่มเรียนในเดือนสิงหาคม และรอบรับสมัครเดือนกันยายน – ตุลาคม เริ่มเรียนในเดือนมกราคม สำหรับนิสิตที่ต้องการทุน จุฬาฯ ก็มีทุนสนับสนุนสำหรับนิสิตหลายประเภทตามทั้งทุนการศึกษาและทุนทำวิจัย นอกจากการเรียนในระดับปริญญาแล้ว จุฬาฯ ยังมีโครงการแลกเปลี่ยนสำหรับนิสิตจากต่างประเทศที่สนใจมาเรียนที่จุฬาฯ ระยะสั้น 1-2 ภาคการศึกษา เพื่อมาเก็บเกี่ยวความรู้ที่จุฬาฯ และหาประสบการณ์การใช้ชีวิตที่ประเทศไทยในเวลาเดียวกัน · Exchange Program นิสิตจากมหาวิทยาลัยคู่สัญญาที่ทำ MOU ร่วมกับจุฬาฯ สามารถมาแลกเปลี่ยนที่จุฬาฯ โดยที่ไม่ต้องเสียค่าเล่าเรียนที่จุฬาฯ นอกจากชำระค่าเล่าเรียนที่มหาวิทยาลัยของตน ผู้สนใจสามารถสมัครได้ล่วงหน้า 6 เดือนก่อนเปิดภาคเรียน* ที่ผู้ประสานงานของมหาวิทยาลัยที่ตนเองสังกัด โดยสามารถตรวจสอบมหาวิทยาลัยคู่สัญญาได้ที่นี่ · Visiting Program สำหรับนิสิตที่มาจากมหาวิทยาลัยต่างประเทศที่ไม่ใช่คู่สัญญาของจุฬาฯ ก็สามารถมาศึกษาที่จุฬาฯ 1-2 ภาคการศึกษาได้เช่นกัน โดยสามารถติดต่อกับผู้ดูแลหลักสูตรที่ต้องการสมัครของจุฬาฯ ได้เลย โดยชำระค่าเล่าเรียนที่จุฬาฯ ผู้สนใจจะต้องสมัครล่วงหน้า 6 เดือนก่อนเปิดภาคเรียน* *สำหรับ Exchange Program และ Visiting Program หากต้องการจะเริ่มเรียนในภาคเรียนที่ 1 ในเดือนสิงหาคม สามารถสมัครได้ตั้งแต่เดือนมกราคม – กุมภาพันธ์ในปีเดียวกัน และหากต้องเริ่มเรียนในภาคเรียนที่ 2 ในเดือนมกราคม สามารถสมัครได้ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม – สิงหาคมของปีก่อนหน้า · APRU Virtual Student Exchange สำหรับนิสิตต่างชาติจากมหาวิทยาลัยสมาชิกเครือข่าย APRU ที่สนใจจะเรียนวิชาของจุฬาฯ แต่ไม่สะดวกที่จะมาเรียนที่ประเทศไทย หรืออยากจะเรียนแค่วิชาเดียว ก็สามารถเข้าร่วมโครงการ APRU Virtual Student Exchange ที่นิสิตจะได้เรียนวิชาที่สนใจบนคลาสออนไลน์กับนิสิตจุฬาฯ โดยที่ชำระค่าเล่าเรียนเฉพาะที่มหาวิทยาลัยของตนเท่านั้น เตรียมวีซ่าให้พร้อมก่อนมาเรียนที่จุฬาฯ สิ่งที่สำคัญที่สุดที่จะทำให้การใช้ชีวิตที่จุฬาฯ ของชาวต่างชาติราบรื่น นั่นก็คือ “วีซ่า” ซึ่งผู้ที่จะเข้ามาเรียนที่จุฬาฯ ต้องมี Education Visa หลังจากที่ผู้สมัครผ่านการคัดเลือกเข้าศึกษาต่อ ทางมหาวิทยาลัยจะออกเอกสารตอบรับเข้าศึกษาเพื่อให้ผู้สมัครไปยื่นขอวีซ่าที่สถานทูตไทยหรือกงสุลไทย และเมื่อต้องมีการต่อวีซ่า ก็สามารถติดต่อได้ที่ผู้ประสานงานหลักสูตรของตนเองได้เลย “สิ่งที่ต้องรู้เกี่ยวกับ Education Visa คือ วีซ่าประเภทนี้จะใช้ได้ก็ต่อเมื่อเดินทางมาจากประเทศของตนเองเท่านั้น วีซ่านักท่องเที่ยวไม่สามารถเปลี่ยนประเภทวีซ่าเป็นวีซ่านักเรียนที่ประเทศไทยได้ กรณีนี้ นิสิตจะต้องเดินทางกลับประเทศของตนก่อนแล้วบินกลับมาใหม่เท่านั้น” “สำหรับผู้ที่มีวีซ่าทำงานแล้วมาเรียนนอกเวลาทำงานก็สามารถมาเรียนได้ แม้จะถือวีซ่าทำงาน แต่วีซ่าทำงานไม่สามารถเปลี่ยนเป็นวีซ่านักเรียนได้ที่ประเทศไทยเช่นเดียวกับวีซ่าท่องเที่ยว ซึ่งเป็นปัญหาที่นิสิตพบบ่อย นี่จึงคือสิ่งที่ควรเตรียมตัวมาให้ดีหากนิสิตไม่อยากเสียเงินและเสียเวลาในการเดินทาง” รู้จักเรื่องราวของจุฬาฯ ให้มากขึ้น ที่เว็บไซต์ https://www.chula.ac.th/en/ สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ สำนักบริหารวิรัชกิจและเครือข่ายนานาชาติ จุฬาฯ โทรศัพท์: +66 2218 3126 อีเมล: int.off@chula.ac.th Facebook: https://www.facebook.com/ChulaOIA/ EZ Webmaster Related Posts สสวท. พารอบรู้คู่ฤดูร้อนกับ “พายุฤดูร้อน” สพฐ.สั่งเลื่อนสอบ ม.1 และ ม.4 ทั่วประเทศ หลังเหตุแผ่นดินไหว รอประเมินความปลอดภัยก่อนกำหนดสอบใหม่ ม.สุโขทัยธรรมาธิราช เปิดรับนักศึกษาใหม่ ภาคต้นปีการศึกษา 2568 เริ่มรับสมัครวันที่ 1 เมษายน 2568 CP All Education Forum 2025 จัดใหญ่! มอบทุนการศึกษากว่า 1,648 ล้าน ปลุกพลังการศึกษาไทย “สร้างคนเก่ง ดี มีความสามารถ” รับมือยุค AI TCAS68 รอบ2 โควตา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ปีการศึกษา2568 Post navigation PREVIOUS Previous post: “ดิจิทัล” เปิดศักราชใหม่ในการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้NEXT Next post: สสวท. รวมพลังมูลนิธิฯ หนุนโครงการพระราชทานความช่วยเหลือ พัฒนาการเรียนวิทย์ เน้นปฏิบัติการทดลองโรงเรียน สปป.ลาว Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “ดร.ชุมพล พรประภา” เป็นนายกสภา ม.ศรีนครินทรวิโรฒ tui sakrapeeMarch 26, 2025 ราชกิจจานุเบกษาเผยแพร่ ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “ชุมพล พรประภา” ดำรงตำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ แทนวิจิตร ศรีสอ้าน ที่ถึงแก่อนิจกรรม ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 142 ตอนพิเศษ 147 ง เมื่อวันที่ 25… สอศ. ปั้นผู้อำนวยการอาชีวะยุคใหม่! เสริมภาวะผู้นำ-วิสัยทัศน์ ทันโลกการศึกษา EZ WebmasterMarch 26, 2025 วันที่ 26 มีนาคม 2568 นายยศพล เวณุโกเศศ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (เลขาธิการ กอศ.) เป็นประธานเปิดโครงการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และบรรยายพิเศษ “Growth Mindset: แนวคิดเชิงบวกและการเติบโตขององค์กร” โดยนางธิติมา โรจน์วัชราภิบาล ผู้อำนวยการ…
สอศ. ปั้นผู้อำนวยการอาชีวะยุคใหม่! เสริมภาวะผู้นำ-วิสัยทัศน์ ทันโลกการศึกษา EZ WebmasterMarch 26, 2025 วันที่ 26 มีนาคม 2568 นายยศพล เวณุโกเศศ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (เลขาธิการ กอศ.) เป็นประธานเปิดโครงการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และบรรยายพิเศษ “Growth Mindset: แนวคิดเชิงบวกและการเติบโตขององค์กร” โดยนางธิติมา โรจน์วัชราภิบาล ผู้อำนวยการ…
สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ ร่วมพิธีวางพานพุ่มและพิธีตักบาตร เนื่องในวันครบรอบ ๑๐๘ ปี แห่งการสถาปนาจุฬาฯ EZ WebmasterMarch 27, 2025 สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินร่วมพิธีวางพานพุ่มสักการะพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระปิยมหาราชและสมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า และพิธีตักบาตร เนื่องในวันครบรอบ ๑๐๘ ปี แห่งการสถาปนาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมี นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ และ นายอรรษิษฐ์ สัมพันธรัตน์ ประธานการจัดงานคืนเหย้าชาวจุฬาฯ… พิธีเปิดกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) ภายใต้โครงการพัฒนามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมผ้าไทยสู่สากล ประจำปี ๒๕๖๘ EZ WebmasterMarch 26, 2025 นางสาวลิปิการ์ กำลังชัย รองธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรม รักษาราชการแทนอธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรมเป็นประธานพิธิเปิด และร่วมรับฟังการบรรยายกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) พร้อมด้วยนางสาวศิวพร ฉันทไกรวัฒน์ ผู้อำนวยการกลุ่มเผยแพร่และต่อยอดมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมเข้าร่วมงาน โดยวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญด้านผ้าไทย การออกแบบและแฟชั่น อาทิ ผศ.ดร.รวิเทพ มุสิกะปาน ผศ.ดร.วุฒิไกร… เปิดรับอาสาสมัครศิริราช รอบทำกิจกรรม เดือน พ.ค.-ก.ค. 68 ทุกกิจกรรมมีใบรับรองการทำกิจกรรม EZ WebmasterMarch 26, 2025 ตารางการรับอาสาสมัครรอบทำกิจกรรม เดือน พฤษภาคม – กรกฏาคม 68 (กิจกรรมที่อยู่ในเว็บไซต์ตอนนี้เป็นรอบเก่ามีผู้เข้าร่วมเต็มทั้งหมดแล้วค่ะ รอบใหม่จะเปิดตามวันเวลาที่แจ้งด้านล่างนี้เท่านั้น*) ขอให้อาสาเป็นผู้สมัครและกดเลือกกิจกรรมด้วยตนเองนะคะ – 31 ก.ค. 68 **เนื่องจากวันที่ 5 พ.ค. เป็นวันหยุด จะขอเริ่มตั้งแต่วันที่วันที่ 6 พ.ค.… เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน รับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน EZ WebmasterMarch 24, 2025 เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน เกม Let’s School เกมแนวบริหารโรงเรียนในฝัน ที่จะให้เรารับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน อยากให้โรงเรียนเป็นแบบไหนก็ปรับเล่นได้เลย ดูอารมณ์นักเรียกได้ด้วยว่ามีความสุขมั้ย? แถมตอนนี้ยังมีอัปเดตแมพใหม่พร้อมซัพไทยด้วยนะ Let’s School โหลดเล่นได้ที่ Steam :… Search for: Search EZ Webmaster January 31, 2024 EZ Webmaster January 31, 2024 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ศูนย์กลางการศึกษาระดับภูมิภาคพร้อมรับนิสิตต่างชาติ สู่โลกการเรียนรู้และประสบการณ์หลากสีสันแห่งเอเชีย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยพร้อมเป็นหนึ่งในศูนย์กลางการศึกษาแห่งภูมิภาคเอเชีย เปิดรับนิสิตชาวไทยและต่างชาติ ด้วยกว่าร้อยหลักสูตรนานาชาติ รองรับทุกสายการเรียน สร้างประสบการณ์การเรียนรู้ไร้พรมแดน เตรียมบัณฑิตสู่ความเป็นพลเมืองโลก ประเทศไทยเป็นหนึ่งในจุดหมายปลายทางที่ชาวต่างชาตินิยมมาท่องเที่ยว ด้วยเสน่ห์ของ Soft Power อย่างศิลปะ วัฒนธรรม อาหาร วิถีชีวิต ธรรมชาติ ภูมิอากาศ และค่าครองชีพที่สมเหตุสมผล แต่ที่หลายคนอาจจะยังไม่รู้ – ประเทศไทยยังเป็นหนึ่งในจุดหมายของการศึกษาที่นิสิตต่างชาติสนใจมาเรียนและใช้ชีวิตด้วยเช่นกัน “ประเทศไทยมีความโดดเด่นทางด้านการศึกษาและเป็นที่สนใจของนิสิตต่างชาติจำนวนมาก เช่นที่จุฬาฯ เราเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยที่การศึกษามีคุณภาพ เป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ มีหลักสูตรนานาชาติที่สามารถรองรับนิสิตต่างชาติด้วยการสอนเป็นภาษาอังกฤษมากกว่า 100 หลักสูตรในทุกระดับปริญญา ในขณะที่ค่าครองชีพและค่าเล่าเรียนของเราก็ถูกกว่าประเทศอื่น ๆ ที่โดดเด่นด้านการศึกษาในระดับเดียวกัน” คุณศุกลิน วนาเกษมสันต์ ผู้อำนวยการฝ่ายบริหารวิชาการนานาชาติ สำนักบริหารวิรัชกิจและเครือข่ายนานาชาติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าว ปัจจุบัน จุฬาฯ มีนิสิตต่างชาติประมาณ 2,000 คน จาก 60 ประเทศ ที่มาศึกษาแลกเปลี่ยนและเรียนระดับปริญญาในหลายหลักสูตร จำนวนของนิสิตต่างชาติดูมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ด้วยทิศทางของโลกสมัยใหม่ ที่เปิดให้ผู้คนเดินทางและโยกย้ายถิ่นฐานได้สะดวกยิ่งขึ้น ไม่ว่าจะไปทำงาน ท่องเที่ยว หรือศึกษาเล่าเรียน โดยเฉพาะการเรียนรู้ เป็นส่วนหนึ่งของการเพิ่มพูนประสบการณ์ชีวิต สร้างเสริมความเป็นพลเมืองโลกและทักษะในการอยู่ในโลกสมัยใหม่ ที่ต้องเปิดใจ เข้าใจและยอมรับความแตกต่างหลากหลายและพหุวัฒนธรรม ทำไม นิสิตต่างชาติจึงเลือกมาเรียนจุฬาฯ ชื่อเสียงของจุฬาฯ และการยอมรับในระดับนานาชาติเป็นหนึ่งในเหตุผลต้น ๆ ที่นิสิตต่างชาติเลือกมาเรียนที่จุฬาฯ ในระดับประเทศ จุฬาฯ ครองอันดับ 1 ของประเทศไทยเป็นปีที่ 4 ติดต่อกัน จาก THE Impact Rankings 2023 และติดอันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทยเป็นปีที่ 15 ติดต่อกัน (ตั้งแต่ปี 2009) ในการจัดอันดับ QS World University Rankings 2024 โดย QS Quacquarelli Symonds ส่วนในระดับนานาชาติ จุฬาฯ ครองอันดับ 17 ของโลก จาก THE Impact Rankings 2023 และติดอันดับท็อป 50 ของโลกทางด้านผลลัพธ์ด้านการจ้างงาน (Employment Outcomes) โดย QS World University Rankings 2024 “จุฬาฯ เป็นศูนย์กลางการศึกษาในระดับอาเซียนและเอเชีย มีความโดดเด่นด้านวิชาการทั้งในสายวิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ ทุกหลักสูตรเปี่ยมด้วยคุณภาพและส่งเสริมความเป็นพลเมืองโลกให้นิสิตทั้งชาวไทยและต่างชาติ ซึ่งเมื่อจบการศึกษา บัณฑิตจุฬาฯ จะมีทักษะที่จำเป็นและสามารถทำงานได้ทุกที่ในโลก” คุณศุกลิน กล่าว นอกจากความโดดเด่นด้านวิชาการแล้ว บรรยากาศการเรียนรู้และการใช้ชีวิตที่จุฬาฯ ยังมีสีสัน ผสานความเก่าแก่และความทันสมัย เปิดโลกการเรียนรู้ตลอดชีวิต ที่ไม่มีในตำรา จุฬาฯ เป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของประเทศไทย ก่อตั้งมาแล้วกว่า 106 ปี ในพื้นที่การศึกษากว่า 1 ตารางกิโลเมตร (637 ไร่) ของจุฬาฯ มีอาคารทรงคุณค่าทางสถาปัตยกรรมมากมาย อีกทั้งเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ที่ขนานไปกับการเติบโตของประเทศไทยยุคใหม่ (modernization) นอกจากนี้ ด้วยความที่ตั้งอยู่ใจกลางมหานคร จุฬาฯ จึงอยู่ในแหล่งความทันสมัยและวัฒนธรรมสมัยใหม่ เช่น สยามสแควร์ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพ และไม่ไกลจากย่านเมืองเก่า เช่น เยาวราช สามย่าน เจริญกรุง ฯลฯ กล่าวได้ว่านิสิตที่มาเรียนที่จุฬาฯ จะได้ใช้ชีวิตการเรียนรู้ในบรรยากาศที่อดีต ปัจจุบัน และทิศทางแห่งอนาคตผสานกันอย่างลงตัว ความร่วมมือระดับนานาชาติ สร้างนิสิตจุฬาฯ สู่ความเป็นพลเมืองโลก จุฬาฯ ก้าวไปกับทิศทางการศึกษาในโลกสมัยใหม่ ที่เน้นหล่อหลอมบัณฑิตให้มีสำนึกความเป็นพลเมืองโลก สามารถปรับตัวเข้ากับกระแสการเปลี่ยนแปลงของโลก รวมถึงมีความเข้าใจความหลากหลายของสังคมและอยู่ได้ในพหุวัฒนธรรม “ด้วยชื่อเสียงและความพยายามของจุฬาฯ ทำให้เรามี MOU กับมหาวิทยาลัยชื่อดังหลายแห่งทั่วโลก นิสิตหลักสูตรนานาชาติของจุฬาฯ จะได้เรียนรู้และอยู่ในบรรยากาศแบบนานาชาติ และมีโอกาสได้เจอสภาพแวดล้อมอื่น ๆ เข้าเรียนกับมหาวิทยาลัยชั้นนำในต่างประเทศในวิชาที่ตนสนใจได้แทนที่จะเรียนตลอด 4 ปีที่จุฬาฯ ที่เดียว” ด้วยเป้าหมายดังกล่าว จุฬาฯ ได้ทำความร่วมมือกับหน่วยงานและมหาวิทยาลัยในระดับนานาชาติ เพื่อให้นิสิตสามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูล รวมถึง โดยความร่วมมือที่จุฬาฯ ทำกับสถาบันต่าง ๆ ได้แก่ ความร่วมมือด้านฐานข้อมูล จุฬาฯ มีห้องสมุดและฐานข้อมูลระดับเวิล์ดคลาส ที่นิสิตจุฬาฯ จะสามารถเข้าถึงแหล่งความรู้ ทั้งหนังสือ วารสาร งานวิจัย วิทยานิพนธ์ และฐานข้อมูลอ้างอิงจากต่างประเทศได้อย่างกว้างขวาง เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และการค้นคว้าของนิสิตได้อย่างเต็มที่ ความร่วมมือด้านหลักสูตร จุฬาฯ มีหลักสูตรนานาชาติแบบหลักสูตรปริญญาร่วมและหลักสูตรสองปริญญา ที่ผู้เรียนจะได้เรียนที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยพาร์ทเนอร์จากต่างประเทศ เช่น หลักสูตรปริญญาตรีสาขาวิทยาศาสตร์จิตวิทยา ร่วมกับ University of Queensland ออสเตรเลีย หลักสูตรปริญญาโทการจัดการทางวิศวกรรม ร่วมกับ The University of Warwick สหราชอาณาจักร เป็นต้น นอกจากนี้ จุฬาฯ ยังได้ทำ MOU ร่วมกับมหาวิทยาลัยชั้นนำหลายแห่งในโลก เพื่อให้นิสิตจุฬาฯ สามารถไปแลกเปลี่ยนที่ต่างประเทศ เพื่อเรียนในสาขาที่ตนเองสนใจกับมหาวิทยาลัยคู่สัญญา 1-2 ภาคการศึกษา หรือหากไม่อยากเดินทาง ก็สามารถแลกเปลี่ยนผ่าน APRU Virtual Student Exchange ที่นิสิตสามารถเข้าคลาสเรียนของมหาวิทยาลัยคู่สัญญาจากต่างประเทศได้ผ่านห้องเรียนออนไลน์ (ดูรายชื่อหลักสูตรทั้งหมดที่จุฬาฯ ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยต่างประเทศ ที่นี่) ชีวิตในรั้วจุฬาฯ สะดวกสบาย สนุก มีสีสัน มหาวิทยาลัยไม่ได้เป็นเรื่องการเรียนเท่านั้น แต่เป็นเรื่องการใช้ชีวิต คุณศุกลินให้ข้อมูลว่า จุฬาฯ มีความพร้อมทุกด้าน ไม่ว่าบุคลากรและสิ่งอำนวยความสะดวก ที่จะช่วยให้การมาเรียนและใช้ชีวิตในต่างแดนของนิสิตต่างชาติเป็นประสบการณ์สุดวิเศษครั้งหนึ่งในชีวิต การเดินทางจุฬาฯ เป็นมหาวิทยาลัยที่อยู่ใจกลางเมือง มีเส้นทางการเดินทางด้วยระบบขนส่งสาธารณะหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นรถเมล์ รถไฟฟ้า BTS และ MRT ส่วนการเดินทางภายในมหาวิทยาลัย จุฬาฯ ก็มีรถโดยสารภายในจุฬาฯ (Shuttle Bus) เพื่อให้นิสิตสามารถเดินทางไปอาคารเรียน หอพักนิสิต และพื้นที่โดยรอบมหาวิทยาลัยถึง 6 เส้นทาง โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย สุขภาพกายจุฬาฯ มีศูนย์บริการสุขภาพแห่งจุฬาฯ ที่ให้บริการทางสุขภาพฟรีแก่นิสิตจุฬาฯ และมีประกันสุขภาพสำหรับนิสิตต่างชาติ ที่นิสิตสามารถไปรับบริการที่โรงพยาบาลทั่วไปได้ หากเกิดเหตุฉุกเฉิน นิสิตจึงไม่ต้องกังวลเรื่องค่าใช้จ่ายหากเกิดเจ็บป่วยหรือเกิดอุบัติเหตุระหว่างที่เข้ามาศึกษา สุขภาพใจสำหรับนิสิตที่รู้สึกไม่สบายใจ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องเรียน การใช้ชีวิต การปรับตัว หรือเรื่องใดก็ตาม จุฬาฯ มีหน่วยส่งเสริมสุขภาวะนิสิต (Chula Student Wellness) ที่มีนักจิตวิทยาและจิตแพทย์คอยให้คำปรึกษานิสิตที่มีเรื่องกังวลทางใจ อีกทั้งจุฬาฯ ยังมีเจ้าหน้าที่จากสำนักบริหารวิรัชกิจและเครือข่ายนานาชาติ และเจ้าหน้าที่ประจำหลักสูตรที่สามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้เป็นอย่างดี คอยให้ความช่วยเหลือเกี่ยวกับการลงทะเบียนเรียน การประสานงานกับหน่วยงานต่าง ๆ การทำวีซ่า และการดูแลขณะเกิดเรื่องฉุกเฉิน ที่พักสำหรับนิสิตจุฬาฯ มีหอพักเรือนวิรัชมิตร (CU I-House) สำหรับนิสิตต่างชาติโดยเฉพาะ สามารถเดินทางได้สะดวก มีรถรับส่งไปยังมหาวิทยาลัย อยู่ใกล้ร้านอาหารมากมาย และค่าใช้จ่ายถูกกว่าหอพักบริเวณใกล้เคียง กิจกรรมและสันทนาการสำนักบริหารกิจการนิสิต ตั้งชมรม International Student Club เพื่อให้นิสิตต่างชาติและนิสิตไทยได้ทำกิจกรรมด้วยกันเพื่อแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม หรือหากนิสิตสนใจเล่นกีฬา ดนตรี หรือกิจกรรมด้านอื่น ๆ ก็สามารถสมัครเข้าร่วมชมรมที่สนใจได้ เพื่อหาเพื่อนที่มีความสนใจเหมือนกัน Unibuddyแอปคู่หูการใช้ชีวิตในจุฬาฯ เพื่อนิสิตต่างชาติ คุณศุกลินกล่าวว่าในบางครั้งการดูรีวิวจากอินเทอร์เน็ตก็อาจจะมีข้อมูลที่จริงบ้างไม่จริงบ้าง หรือการสอบถามข้อมูลโดยตรงจากมหาวิทยาลัยก็อาจจะไม่ได้ข้อมูลในมุมมองของผู้เรียน จุฬาฯ จึงเปิด “Unibuddy” เว็บไซต์แอปพลิเคชันที่จะช่วยให้นิสิตต่างชาติได้รู้เรื่องราว ทั้งเรื่องเรียนและการใช้ชีวิตในมุมมองนิสิตจุฬาฯ โดยผู้ให้ข้อมูลเป็นนิสิตจุฬาฯ ทั้งนิสิตไทยและนิสิตต่างชาติ สามารถเข้าใช้งาน Unibuddy ได้ที่นี่ พูดไทยไม่ได้ จะมาเรียนที่จุฬาฯ ได้ไหม? ภาษาไม่ใช่อุปสรรคในการเรียนและใช้ชีวิตที่จุฬาฯ แม้จะไม่สามารถสื่อสารภาษาไทยได้ นิสิตต่างชาติก็สามารถเรียนและสนุกกับประสบการณ์ชีวิตที่จุฬาฯ ได้ “หลักสูตรนานาชาติทุกหลักสูตรจัดการเรียนการสอนเป็นภาษาอังกฤษทั้งหมด นอกจากนี้ นิสิตจุฬาฯ ชาวไทยส่วนมากก็สามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้ดี ภายนอกมหาวิทยาลัยอาจจะมีบุคคลที่ไม่สามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้ แต่สมัยนี้ เราก็มีเครื่องมือและโปรแกรมที่สามารถแปลภาษาเพื่อใช้สื่อสารได้ เช่น ในโรงอาหาร แม้จะไม่มีเมนูภาษาอังกฤษ ก็สามารถถ่ายรูปอาหารบนป้ายที่อยากทานแล้วยื่นให้แม่ค้าดูได้” สำหรับนิสิตที่สนใจจะเรียนภาษาไทย จุฬาฯ ก็มีหลักสูตรหลากหลายรูปแบบให้นิสิตได้เลือกเรียนตามความสนใจ หลักสูตรออนไลน์เรียนฟรีกับ Chula MOOC เตรียมตัวก่อนมาประเทศไทยด้วยหลักสูตรภาษาไทยพื้นฐานที่น่าสนใจ ได้แก่ หลักสูตร Survival Thai หลักสูตร Communicative Thai for Foreigners และหลักสูตร Thai on Campus พร้อมรับประกาศนียบัตรจากจุฬาฯ เมื่อเรียนจบหลักสูตร หลักสูตรภาษาไทยแบบลงทะเบียนเรียนนิสิตต่างชาติสามารถลงทะเบียนเรียนวิชาภาษาไทยสำหรับนิสิตต่างชาติโดยเฉพาะ โดยไม่ต้องเสียค่าลงทะเบียนเรียนเพิ่ม และยังเก็บเป็นวิชาเรียนในใบทรานสคริปต์ได้ด้วย หลักสูตรภาษาไทยแบบเข้มข้นหากการเรียนในห้องเรียนยังไม่เพียงพอ นิสิตก็สามารถสมัครเรียนเพิ่มเติมได้ที่ ศูนย์ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ ซึ่งนอกจากจะมีการเรียนภาษาในห้องเรียนแล้ว ยังมีกิจกรรมเวิร์คช็อปทางวัฒนธรรมไทยอีกด้วย หลักสูตรนี้ชาวต่างชาติที่ไม่ใช่นิสิตจุฬาฯ ก็สามารถสมัครเรียนได้เช่นเดียวกัน “ในเมื่อมีโอกาสได้มาเป็นนิสิตจุฬาฯ ที่ประเทศไทย นอกจากการเรียนภาษาไทยกับเจ้าของภาษาในห้องเรียนแล้ว สิ่งที่สำคัญคือการนำความรู้ที่ได้มาใช้กับคนนอกห้องเรียนเพื่อฝึกฝนภาษาไทยให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นในสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมการเรียนรู้ทางภาษาไทยที่สุด” สนใจมาเรียนที่จุฬาฯ จะต้องทำอย่างไร จุฬาฯ มีหลักสูตรนานาชาติ ที่มีการเรียนการสอนเป็นภาษาอังกฤษทั้งหมดในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอกมากกว่า 100 หลักสูตรจากหลากหลายสาขาวิชา โดยเปิดเรียนภาคเรียนที่ 1 ในเดือนสิงหาคม การรับสมัครในระดับปริญญาตรีจะเปิดรับสมัครรอบที่ 1 ในช่วงเดือนธันวาคม – มกราคม ส่วนการรับสมัครในระดับบัณฑิตศึกษาจะแบ่งการรับสมัครเป็น 2 ช่วง ได้แก่ รอบรับสมัครเดือนกุมภาพันธ์ – พฤษภาคม เริ่มเรียนในเดือนสิงหาคม และรอบรับสมัครเดือนกันยายน – ตุลาคม เริ่มเรียนในเดือนมกราคม สำหรับนิสิตที่ต้องการทุน จุฬาฯ ก็มีทุนสนับสนุนสำหรับนิสิตหลายประเภทตามทั้งทุนการศึกษาและทุนทำวิจัย นอกจากการเรียนในระดับปริญญาแล้ว จุฬาฯ ยังมีโครงการแลกเปลี่ยนสำหรับนิสิตจากต่างประเทศที่สนใจมาเรียนที่จุฬาฯ ระยะสั้น 1-2 ภาคการศึกษา เพื่อมาเก็บเกี่ยวความรู้ที่จุฬาฯ และหาประสบการณ์การใช้ชีวิตที่ประเทศไทยในเวลาเดียวกัน · Exchange Program นิสิตจากมหาวิทยาลัยคู่สัญญาที่ทำ MOU ร่วมกับจุฬาฯ สามารถมาแลกเปลี่ยนที่จุฬาฯ โดยที่ไม่ต้องเสียค่าเล่าเรียนที่จุฬาฯ นอกจากชำระค่าเล่าเรียนที่มหาวิทยาลัยของตน ผู้สนใจสามารถสมัครได้ล่วงหน้า 6 เดือนก่อนเปิดภาคเรียน* ที่ผู้ประสานงานของมหาวิทยาลัยที่ตนเองสังกัด โดยสามารถตรวจสอบมหาวิทยาลัยคู่สัญญาได้ที่นี่ · Visiting Program สำหรับนิสิตที่มาจากมหาวิทยาลัยต่างประเทศที่ไม่ใช่คู่สัญญาของจุฬาฯ ก็สามารถมาศึกษาที่จุฬาฯ 1-2 ภาคการศึกษาได้เช่นกัน โดยสามารถติดต่อกับผู้ดูแลหลักสูตรที่ต้องการสมัครของจุฬาฯ ได้เลย โดยชำระค่าเล่าเรียนที่จุฬาฯ ผู้สนใจจะต้องสมัครล่วงหน้า 6 เดือนก่อนเปิดภาคเรียน* *สำหรับ Exchange Program และ Visiting Program หากต้องการจะเริ่มเรียนในภาคเรียนที่ 1 ในเดือนสิงหาคม สามารถสมัครได้ตั้งแต่เดือนมกราคม – กุมภาพันธ์ในปีเดียวกัน และหากต้องเริ่มเรียนในภาคเรียนที่ 2 ในเดือนมกราคม สามารถสมัครได้ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม – สิงหาคมของปีก่อนหน้า · APRU Virtual Student Exchange สำหรับนิสิตต่างชาติจากมหาวิทยาลัยสมาชิกเครือข่าย APRU ที่สนใจจะเรียนวิชาของจุฬาฯ แต่ไม่สะดวกที่จะมาเรียนที่ประเทศไทย หรืออยากจะเรียนแค่วิชาเดียว ก็สามารถเข้าร่วมโครงการ APRU Virtual Student Exchange ที่นิสิตจะได้เรียนวิชาที่สนใจบนคลาสออนไลน์กับนิสิตจุฬาฯ โดยที่ชำระค่าเล่าเรียนเฉพาะที่มหาวิทยาลัยของตนเท่านั้น เตรียมวีซ่าให้พร้อมก่อนมาเรียนที่จุฬาฯ สิ่งที่สำคัญที่สุดที่จะทำให้การใช้ชีวิตที่จุฬาฯ ของชาวต่างชาติราบรื่น นั่นก็คือ “วีซ่า” ซึ่งผู้ที่จะเข้ามาเรียนที่จุฬาฯ ต้องมี Education Visa หลังจากที่ผู้สมัครผ่านการคัดเลือกเข้าศึกษาต่อ ทางมหาวิทยาลัยจะออกเอกสารตอบรับเข้าศึกษาเพื่อให้ผู้สมัครไปยื่นขอวีซ่าที่สถานทูตไทยหรือกงสุลไทย และเมื่อต้องมีการต่อวีซ่า ก็สามารถติดต่อได้ที่ผู้ประสานงานหลักสูตรของตนเองได้เลย “สิ่งที่ต้องรู้เกี่ยวกับ Education Visa คือ วีซ่าประเภทนี้จะใช้ได้ก็ต่อเมื่อเดินทางมาจากประเทศของตนเองเท่านั้น วีซ่านักท่องเที่ยวไม่สามารถเปลี่ยนประเภทวีซ่าเป็นวีซ่านักเรียนที่ประเทศไทยได้ กรณีนี้ นิสิตจะต้องเดินทางกลับประเทศของตนก่อนแล้วบินกลับมาใหม่เท่านั้น” “สำหรับผู้ที่มีวีซ่าทำงานแล้วมาเรียนนอกเวลาทำงานก็สามารถมาเรียนได้ แม้จะถือวีซ่าทำงาน แต่วีซ่าทำงานไม่สามารถเปลี่ยนเป็นวีซ่านักเรียนได้ที่ประเทศไทยเช่นเดียวกับวีซ่าท่องเที่ยว ซึ่งเป็นปัญหาที่นิสิตพบบ่อย นี่จึงคือสิ่งที่ควรเตรียมตัวมาให้ดีหากนิสิตไม่อยากเสียเงินและเสียเวลาในการเดินทาง” รู้จักเรื่องราวของจุฬาฯ ให้มากขึ้น ที่เว็บไซต์ https://www.chula.ac.th/en/ สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ สำนักบริหารวิรัชกิจและเครือข่ายนานาชาติ จุฬาฯ โทรศัพท์: +66 2218 3126 อีเมล: int.off@chula.ac.th Facebook: https://www.facebook.com/ChulaOIA/ EZ Webmaster Related Posts สสวท. พารอบรู้คู่ฤดูร้อนกับ “พายุฤดูร้อน” สพฐ.สั่งเลื่อนสอบ ม.1 และ ม.4 ทั่วประเทศ หลังเหตุแผ่นดินไหว รอประเมินความปลอดภัยก่อนกำหนดสอบใหม่ ม.สุโขทัยธรรมาธิราช เปิดรับนักศึกษาใหม่ ภาคต้นปีการศึกษา 2568 เริ่มรับสมัครวันที่ 1 เมษายน 2568 CP All Education Forum 2025 จัดใหญ่! มอบทุนการศึกษากว่า 1,648 ล้าน ปลุกพลังการศึกษาไทย “สร้างคนเก่ง ดี มีความสามารถ” รับมือยุค AI TCAS68 รอบ2 โควตา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ปีการศึกษา2568 Post navigation PREVIOUS Previous post: “ดิจิทัล” เปิดศักราชใหม่ในการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้NEXT Next post: สสวท. รวมพลังมูลนิธิฯ หนุนโครงการพระราชทานความช่วยเหลือ พัฒนาการเรียนวิทย์ เน้นปฏิบัติการทดลองโรงเรียน สปป.ลาว Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
พิธีเปิดกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) ภายใต้โครงการพัฒนามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมผ้าไทยสู่สากล ประจำปี ๒๕๖๘ EZ WebmasterMarch 26, 2025 นางสาวลิปิการ์ กำลังชัย รองธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรม รักษาราชการแทนอธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรมเป็นประธานพิธิเปิด และร่วมรับฟังการบรรยายกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) พร้อมด้วยนางสาวศิวพร ฉันทไกรวัฒน์ ผู้อำนวยการกลุ่มเผยแพร่และต่อยอดมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมเข้าร่วมงาน โดยวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญด้านผ้าไทย การออกแบบและแฟชั่น อาทิ ผศ.ดร.รวิเทพ มุสิกะปาน ผศ.ดร.วุฒิไกร… เปิดรับอาสาสมัครศิริราช รอบทำกิจกรรม เดือน พ.ค.-ก.ค. 68 ทุกกิจกรรมมีใบรับรองการทำกิจกรรม EZ WebmasterMarch 26, 2025 ตารางการรับอาสาสมัครรอบทำกิจกรรม เดือน พฤษภาคม – กรกฏาคม 68 (กิจกรรมที่อยู่ในเว็บไซต์ตอนนี้เป็นรอบเก่ามีผู้เข้าร่วมเต็มทั้งหมดแล้วค่ะ รอบใหม่จะเปิดตามวันเวลาที่แจ้งด้านล่างนี้เท่านั้น*) ขอให้อาสาเป็นผู้สมัครและกดเลือกกิจกรรมด้วยตนเองนะคะ – 31 ก.ค. 68 **เนื่องจากวันที่ 5 พ.ค. เป็นวันหยุด จะขอเริ่มตั้งแต่วันที่วันที่ 6 พ.ค.… เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน รับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน EZ WebmasterMarch 24, 2025 เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน เกม Let’s School เกมแนวบริหารโรงเรียนในฝัน ที่จะให้เรารับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน อยากให้โรงเรียนเป็นแบบไหนก็ปรับเล่นได้เลย ดูอารมณ์นักเรียกได้ด้วยว่ามีความสุขมั้ย? แถมตอนนี้ยังมีอัปเดตแมพใหม่พร้อมซัพไทยด้วยนะ Let’s School โหลดเล่นได้ที่ Steam :… Search for: Search
เปิดรับอาสาสมัครศิริราช รอบทำกิจกรรม เดือน พ.ค.-ก.ค. 68 ทุกกิจกรรมมีใบรับรองการทำกิจกรรม EZ WebmasterMarch 26, 2025 ตารางการรับอาสาสมัครรอบทำกิจกรรม เดือน พฤษภาคม – กรกฏาคม 68 (กิจกรรมที่อยู่ในเว็บไซต์ตอนนี้เป็นรอบเก่ามีผู้เข้าร่วมเต็มทั้งหมดแล้วค่ะ รอบใหม่จะเปิดตามวันเวลาที่แจ้งด้านล่างนี้เท่านั้น*) ขอให้อาสาเป็นผู้สมัครและกดเลือกกิจกรรมด้วยตนเองนะคะ – 31 ก.ค. 68 **เนื่องจากวันที่ 5 พ.ค. เป็นวันหยุด จะขอเริ่มตั้งแต่วันที่วันที่ 6 พ.ค.… เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน รับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน EZ WebmasterMarch 24, 2025 เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน เกม Let’s School เกมแนวบริหารโรงเรียนในฝัน ที่จะให้เรารับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน อยากให้โรงเรียนเป็นแบบไหนก็ปรับเล่นได้เลย ดูอารมณ์นักเรียกได้ด้วยว่ามีความสุขมั้ย? แถมตอนนี้ยังมีอัปเดตแมพใหม่พร้อมซัพไทยด้วยนะ Let’s School โหลดเล่นได้ที่ Steam :…
เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน รับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน EZ WebmasterMarch 24, 2025 เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน เกม Let’s School เกมแนวบริหารโรงเรียนในฝัน ที่จะให้เรารับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน อยากให้โรงเรียนเป็นแบบไหนก็ปรับเล่นได้เลย ดูอารมณ์นักเรียกได้ด้วยว่ามีความสุขมั้ย? แถมตอนนี้ยังมีอัปเดตแมพใหม่พร้อมซัพไทยด้วยนะ Let’s School โหลดเล่นได้ที่ Steam :…
EZ Webmaster January 31, 2024 EZ Webmaster January 31, 2024 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ศูนย์กลางการศึกษาระดับภูมิภาคพร้อมรับนิสิตต่างชาติ สู่โลกการเรียนรู้และประสบการณ์หลากสีสันแห่งเอเชีย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยพร้อมเป็นหนึ่งในศูนย์กลางการศึกษาแห่งภูมิภาคเอเชีย เปิดรับนิสิตชาวไทยและต่างชาติ ด้วยกว่าร้อยหลักสูตรนานาชาติ รองรับทุกสายการเรียน สร้างประสบการณ์การเรียนรู้ไร้พรมแดน เตรียมบัณฑิตสู่ความเป็นพลเมืองโลก ประเทศไทยเป็นหนึ่งในจุดหมายปลายทางที่ชาวต่างชาตินิยมมาท่องเที่ยว ด้วยเสน่ห์ของ Soft Power อย่างศิลปะ วัฒนธรรม อาหาร วิถีชีวิต ธรรมชาติ ภูมิอากาศ และค่าครองชีพที่สมเหตุสมผล แต่ที่หลายคนอาจจะยังไม่รู้ – ประเทศไทยยังเป็นหนึ่งในจุดหมายของการศึกษาที่นิสิตต่างชาติสนใจมาเรียนและใช้ชีวิตด้วยเช่นกัน “ประเทศไทยมีความโดดเด่นทางด้านการศึกษาและเป็นที่สนใจของนิสิตต่างชาติจำนวนมาก เช่นที่จุฬาฯ เราเป็นหนึ่งในมหาวิทยาลัยที่การศึกษามีคุณภาพ เป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ มีหลักสูตรนานาชาติที่สามารถรองรับนิสิตต่างชาติด้วยการสอนเป็นภาษาอังกฤษมากกว่า 100 หลักสูตรในทุกระดับปริญญา ในขณะที่ค่าครองชีพและค่าเล่าเรียนของเราก็ถูกกว่าประเทศอื่น ๆ ที่โดดเด่นด้านการศึกษาในระดับเดียวกัน” คุณศุกลิน วนาเกษมสันต์ ผู้อำนวยการฝ่ายบริหารวิชาการนานาชาติ สำนักบริหารวิรัชกิจและเครือข่ายนานาชาติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าว ปัจจุบัน จุฬาฯ มีนิสิตต่างชาติประมาณ 2,000 คน จาก 60 ประเทศ ที่มาศึกษาแลกเปลี่ยนและเรียนระดับปริญญาในหลายหลักสูตร จำนวนของนิสิตต่างชาติดูมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ด้วยทิศทางของโลกสมัยใหม่ ที่เปิดให้ผู้คนเดินทางและโยกย้ายถิ่นฐานได้สะดวกยิ่งขึ้น ไม่ว่าจะไปทำงาน ท่องเที่ยว หรือศึกษาเล่าเรียน โดยเฉพาะการเรียนรู้ เป็นส่วนหนึ่งของการเพิ่มพูนประสบการณ์ชีวิต สร้างเสริมความเป็นพลเมืองโลกและทักษะในการอยู่ในโลกสมัยใหม่ ที่ต้องเปิดใจ เข้าใจและยอมรับความแตกต่างหลากหลายและพหุวัฒนธรรม ทำไม นิสิตต่างชาติจึงเลือกมาเรียนจุฬาฯ ชื่อเสียงของจุฬาฯ และการยอมรับในระดับนานาชาติเป็นหนึ่งในเหตุผลต้น ๆ ที่นิสิตต่างชาติเลือกมาเรียนที่จุฬาฯ ในระดับประเทศ จุฬาฯ ครองอันดับ 1 ของประเทศไทยเป็นปีที่ 4 ติดต่อกัน จาก THE Impact Rankings 2023 และติดอันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทยเป็นปีที่ 15 ติดต่อกัน (ตั้งแต่ปี 2009) ในการจัดอันดับ QS World University Rankings 2024 โดย QS Quacquarelli Symonds ส่วนในระดับนานาชาติ จุฬาฯ ครองอันดับ 17 ของโลก จาก THE Impact Rankings 2023 และติดอันดับท็อป 50 ของโลกทางด้านผลลัพธ์ด้านการจ้างงาน (Employment Outcomes) โดย QS World University Rankings 2024 “จุฬาฯ เป็นศูนย์กลางการศึกษาในระดับอาเซียนและเอเชีย มีความโดดเด่นด้านวิชาการทั้งในสายวิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ ทุกหลักสูตรเปี่ยมด้วยคุณภาพและส่งเสริมความเป็นพลเมืองโลกให้นิสิตทั้งชาวไทยและต่างชาติ ซึ่งเมื่อจบการศึกษา บัณฑิตจุฬาฯ จะมีทักษะที่จำเป็นและสามารถทำงานได้ทุกที่ในโลก” คุณศุกลิน กล่าว นอกจากความโดดเด่นด้านวิชาการแล้ว บรรยากาศการเรียนรู้และการใช้ชีวิตที่จุฬาฯ ยังมีสีสัน ผสานความเก่าแก่และความทันสมัย เปิดโลกการเรียนรู้ตลอดชีวิต ที่ไม่มีในตำรา จุฬาฯ เป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของประเทศไทย ก่อตั้งมาแล้วกว่า 106 ปี ในพื้นที่การศึกษากว่า 1 ตารางกิโลเมตร (637 ไร่) ของจุฬาฯ มีอาคารทรงคุณค่าทางสถาปัตยกรรมมากมาย อีกทั้งเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ที่ขนานไปกับการเติบโตของประเทศไทยยุคใหม่ (modernization) นอกจากนี้ ด้วยความที่ตั้งอยู่ใจกลางมหานคร จุฬาฯ จึงอยู่ในแหล่งความทันสมัยและวัฒนธรรมสมัยใหม่ เช่น สยามสแควร์ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพ และไม่ไกลจากย่านเมืองเก่า เช่น เยาวราช สามย่าน เจริญกรุง ฯลฯ กล่าวได้ว่านิสิตที่มาเรียนที่จุฬาฯ จะได้ใช้ชีวิตการเรียนรู้ในบรรยากาศที่อดีต ปัจจุบัน และทิศทางแห่งอนาคตผสานกันอย่างลงตัว ความร่วมมือระดับนานาชาติ สร้างนิสิตจุฬาฯ สู่ความเป็นพลเมืองโลก จุฬาฯ ก้าวไปกับทิศทางการศึกษาในโลกสมัยใหม่ ที่เน้นหล่อหลอมบัณฑิตให้มีสำนึกความเป็นพลเมืองโลก สามารถปรับตัวเข้ากับกระแสการเปลี่ยนแปลงของโลก รวมถึงมีความเข้าใจความหลากหลายของสังคมและอยู่ได้ในพหุวัฒนธรรม “ด้วยชื่อเสียงและความพยายามของจุฬาฯ ทำให้เรามี MOU กับมหาวิทยาลัยชื่อดังหลายแห่งทั่วโลก นิสิตหลักสูตรนานาชาติของจุฬาฯ จะได้เรียนรู้และอยู่ในบรรยากาศแบบนานาชาติ และมีโอกาสได้เจอสภาพแวดล้อมอื่น ๆ เข้าเรียนกับมหาวิทยาลัยชั้นนำในต่างประเทศในวิชาที่ตนสนใจได้แทนที่จะเรียนตลอด 4 ปีที่จุฬาฯ ที่เดียว” ด้วยเป้าหมายดังกล่าว จุฬาฯ ได้ทำความร่วมมือกับหน่วยงานและมหาวิทยาลัยในระดับนานาชาติ เพื่อให้นิสิตสามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูล รวมถึง โดยความร่วมมือที่จุฬาฯ ทำกับสถาบันต่าง ๆ ได้แก่ ความร่วมมือด้านฐานข้อมูล จุฬาฯ มีห้องสมุดและฐานข้อมูลระดับเวิล์ดคลาส ที่นิสิตจุฬาฯ จะสามารถเข้าถึงแหล่งความรู้ ทั้งหนังสือ วารสาร งานวิจัย วิทยานิพนธ์ และฐานข้อมูลอ้างอิงจากต่างประเทศได้อย่างกว้างขวาง เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และการค้นคว้าของนิสิตได้อย่างเต็มที่ ความร่วมมือด้านหลักสูตร จุฬาฯ มีหลักสูตรนานาชาติแบบหลักสูตรปริญญาร่วมและหลักสูตรสองปริญญา ที่ผู้เรียนจะได้เรียนที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยพาร์ทเนอร์จากต่างประเทศ เช่น หลักสูตรปริญญาตรีสาขาวิทยาศาสตร์จิตวิทยา ร่วมกับ University of Queensland ออสเตรเลีย หลักสูตรปริญญาโทการจัดการทางวิศวกรรม ร่วมกับ The University of Warwick สหราชอาณาจักร เป็นต้น นอกจากนี้ จุฬาฯ ยังได้ทำ MOU ร่วมกับมหาวิทยาลัยชั้นนำหลายแห่งในโลก เพื่อให้นิสิตจุฬาฯ สามารถไปแลกเปลี่ยนที่ต่างประเทศ เพื่อเรียนในสาขาที่ตนเองสนใจกับมหาวิทยาลัยคู่สัญญา 1-2 ภาคการศึกษา หรือหากไม่อยากเดินทาง ก็สามารถแลกเปลี่ยนผ่าน APRU Virtual Student Exchange ที่นิสิตสามารถเข้าคลาสเรียนของมหาวิทยาลัยคู่สัญญาจากต่างประเทศได้ผ่านห้องเรียนออนไลน์ (ดูรายชื่อหลักสูตรทั้งหมดที่จุฬาฯ ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยต่างประเทศ ที่นี่) ชีวิตในรั้วจุฬาฯ สะดวกสบาย สนุก มีสีสัน มหาวิทยาลัยไม่ได้เป็นเรื่องการเรียนเท่านั้น แต่เป็นเรื่องการใช้ชีวิต คุณศุกลินให้ข้อมูลว่า จุฬาฯ มีความพร้อมทุกด้าน ไม่ว่าบุคลากรและสิ่งอำนวยความสะดวก ที่จะช่วยให้การมาเรียนและใช้ชีวิตในต่างแดนของนิสิตต่างชาติเป็นประสบการณ์สุดวิเศษครั้งหนึ่งในชีวิต การเดินทางจุฬาฯ เป็นมหาวิทยาลัยที่อยู่ใจกลางเมือง มีเส้นทางการเดินทางด้วยระบบขนส่งสาธารณะหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นรถเมล์ รถไฟฟ้า BTS และ MRT ส่วนการเดินทางภายในมหาวิทยาลัย จุฬาฯ ก็มีรถโดยสารภายในจุฬาฯ (Shuttle Bus) เพื่อให้นิสิตสามารถเดินทางไปอาคารเรียน หอพักนิสิต และพื้นที่โดยรอบมหาวิทยาลัยถึง 6 เส้นทาง โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย สุขภาพกายจุฬาฯ มีศูนย์บริการสุขภาพแห่งจุฬาฯ ที่ให้บริการทางสุขภาพฟรีแก่นิสิตจุฬาฯ และมีประกันสุขภาพสำหรับนิสิตต่างชาติ ที่นิสิตสามารถไปรับบริการที่โรงพยาบาลทั่วไปได้ หากเกิดเหตุฉุกเฉิน นิสิตจึงไม่ต้องกังวลเรื่องค่าใช้จ่ายหากเกิดเจ็บป่วยหรือเกิดอุบัติเหตุระหว่างที่เข้ามาศึกษา สุขภาพใจสำหรับนิสิตที่รู้สึกไม่สบายใจ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องเรียน การใช้ชีวิต การปรับตัว หรือเรื่องใดก็ตาม จุฬาฯ มีหน่วยส่งเสริมสุขภาวะนิสิต (Chula Student Wellness) ที่มีนักจิตวิทยาและจิตแพทย์คอยให้คำปรึกษานิสิตที่มีเรื่องกังวลทางใจ อีกทั้งจุฬาฯ ยังมีเจ้าหน้าที่จากสำนักบริหารวิรัชกิจและเครือข่ายนานาชาติ และเจ้าหน้าที่ประจำหลักสูตรที่สามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้เป็นอย่างดี คอยให้ความช่วยเหลือเกี่ยวกับการลงทะเบียนเรียน การประสานงานกับหน่วยงานต่าง ๆ การทำวีซ่า และการดูแลขณะเกิดเรื่องฉุกเฉิน ที่พักสำหรับนิสิตจุฬาฯ มีหอพักเรือนวิรัชมิตร (CU I-House) สำหรับนิสิตต่างชาติโดยเฉพาะ สามารถเดินทางได้สะดวก มีรถรับส่งไปยังมหาวิทยาลัย อยู่ใกล้ร้านอาหารมากมาย และค่าใช้จ่ายถูกกว่าหอพักบริเวณใกล้เคียง กิจกรรมและสันทนาการสำนักบริหารกิจการนิสิต ตั้งชมรม International Student Club เพื่อให้นิสิตต่างชาติและนิสิตไทยได้ทำกิจกรรมด้วยกันเพื่อแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม หรือหากนิสิตสนใจเล่นกีฬา ดนตรี หรือกิจกรรมด้านอื่น ๆ ก็สามารถสมัครเข้าร่วมชมรมที่สนใจได้ เพื่อหาเพื่อนที่มีความสนใจเหมือนกัน Unibuddyแอปคู่หูการใช้ชีวิตในจุฬาฯ เพื่อนิสิตต่างชาติ คุณศุกลินกล่าวว่าในบางครั้งการดูรีวิวจากอินเทอร์เน็ตก็อาจจะมีข้อมูลที่จริงบ้างไม่จริงบ้าง หรือการสอบถามข้อมูลโดยตรงจากมหาวิทยาลัยก็อาจจะไม่ได้ข้อมูลในมุมมองของผู้เรียน จุฬาฯ จึงเปิด “Unibuddy” เว็บไซต์แอปพลิเคชันที่จะช่วยให้นิสิตต่างชาติได้รู้เรื่องราว ทั้งเรื่องเรียนและการใช้ชีวิตในมุมมองนิสิตจุฬาฯ โดยผู้ให้ข้อมูลเป็นนิสิตจุฬาฯ ทั้งนิสิตไทยและนิสิตต่างชาติ สามารถเข้าใช้งาน Unibuddy ได้ที่นี่ พูดไทยไม่ได้ จะมาเรียนที่จุฬาฯ ได้ไหม? ภาษาไม่ใช่อุปสรรคในการเรียนและใช้ชีวิตที่จุฬาฯ แม้จะไม่สามารถสื่อสารภาษาไทยได้ นิสิตต่างชาติก็สามารถเรียนและสนุกกับประสบการณ์ชีวิตที่จุฬาฯ ได้ “หลักสูตรนานาชาติทุกหลักสูตรจัดการเรียนการสอนเป็นภาษาอังกฤษทั้งหมด นอกจากนี้ นิสิตจุฬาฯ ชาวไทยส่วนมากก็สามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้ดี ภายนอกมหาวิทยาลัยอาจจะมีบุคคลที่ไม่สามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้ แต่สมัยนี้ เราก็มีเครื่องมือและโปรแกรมที่สามารถแปลภาษาเพื่อใช้สื่อสารได้ เช่น ในโรงอาหาร แม้จะไม่มีเมนูภาษาอังกฤษ ก็สามารถถ่ายรูปอาหารบนป้ายที่อยากทานแล้วยื่นให้แม่ค้าดูได้” สำหรับนิสิตที่สนใจจะเรียนภาษาไทย จุฬาฯ ก็มีหลักสูตรหลากหลายรูปแบบให้นิสิตได้เลือกเรียนตามความสนใจ หลักสูตรออนไลน์เรียนฟรีกับ Chula MOOC เตรียมตัวก่อนมาประเทศไทยด้วยหลักสูตรภาษาไทยพื้นฐานที่น่าสนใจ ได้แก่ หลักสูตร Survival Thai หลักสูตร Communicative Thai for Foreigners และหลักสูตร Thai on Campus พร้อมรับประกาศนียบัตรจากจุฬาฯ เมื่อเรียนจบหลักสูตร หลักสูตรภาษาไทยแบบลงทะเบียนเรียนนิสิตต่างชาติสามารถลงทะเบียนเรียนวิชาภาษาไทยสำหรับนิสิตต่างชาติโดยเฉพาะ โดยไม่ต้องเสียค่าลงทะเบียนเรียนเพิ่ม และยังเก็บเป็นวิชาเรียนในใบทรานสคริปต์ได้ด้วย หลักสูตรภาษาไทยแบบเข้มข้นหากการเรียนในห้องเรียนยังไม่เพียงพอ นิสิตก็สามารถสมัครเรียนเพิ่มเติมได้ที่ ศูนย์ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ ซึ่งนอกจากจะมีการเรียนภาษาในห้องเรียนแล้ว ยังมีกิจกรรมเวิร์คช็อปทางวัฒนธรรมไทยอีกด้วย หลักสูตรนี้ชาวต่างชาติที่ไม่ใช่นิสิตจุฬาฯ ก็สามารถสมัครเรียนได้เช่นเดียวกัน “ในเมื่อมีโอกาสได้มาเป็นนิสิตจุฬาฯ ที่ประเทศไทย นอกจากการเรียนภาษาไทยกับเจ้าของภาษาในห้องเรียนแล้ว สิ่งที่สำคัญคือการนำความรู้ที่ได้มาใช้กับคนนอกห้องเรียนเพื่อฝึกฝนภาษาไทยให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นในสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมการเรียนรู้ทางภาษาไทยที่สุด” สนใจมาเรียนที่จุฬาฯ จะต้องทำอย่างไร จุฬาฯ มีหลักสูตรนานาชาติ ที่มีการเรียนการสอนเป็นภาษาอังกฤษทั้งหมดในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอกมากกว่า 100 หลักสูตรจากหลากหลายสาขาวิชา โดยเปิดเรียนภาคเรียนที่ 1 ในเดือนสิงหาคม การรับสมัครในระดับปริญญาตรีจะเปิดรับสมัครรอบที่ 1 ในช่วงเดือนธันวาคม – มกราคม ส่วนการรับสมัครในระดับบัณฑิตศึกษาจะแบ่งการรับสมัครเป็น 2 ช่วง ได้แก่ รอบรับสมัครเดือนกุมภาพันธ์ – พฤษภาคม เริ่มเรียนในเดือนสิงหาคม และรอบรับสมัครเดือนกันยายน – ตุลาคม เริ่มเรียนในเดือนมกราคม สำหรับนิสิตที่ต้องการทุน จุฬาฯ ก็มีทุนสนับสนุนสำหรับนิสิตหลายประเภทตามทั้งทุนการศึกษาและทุนทำวิจัย นอกจากการเรียนในระดับปริญญาแล้ว จุฬาฯ ยังมีโครงการแลกเปลี่ยนสำหรับนิสิตจากต่างประเทศที่สนใจมาเรียนที่จุฬาฯ ระยะสั้น 1-2 ภาคการศึกษา เพื่อมาเก็บเกี่ยวความรู้ที่จุฬาฯ และหาประสบการณ์การใช้ชีวิตที่ประเทศไทยในเวลาเดียวกัน · Exchange Program นิสิตจากมหาวิทยาลัยคู่สัญญาที่ทำ MOU ร่วมกับจุฬาฯ สามารถมาแลกเปลี่ยนที่จุฬาฯ โดยที่ไม่ต้องเสียค่าเล่าเรียนที่จุฬาฯ นอกจากชำระค่าเล่าเรียนที่มหาวิทยาลัยของตน ผู้สนใจสามารถสมัครได้ล่วงหน้า 6 เดือนก่อนเปิดภาคเรียน* ที่ผู้ประสานงานของมหาวิทยาลัยที่ตนเองสังกัด โดยสามารถตรวจสอบมหาวิทยาลัยคู่สัญญาได้ที่นี่ · Visiting Program สำหรับนิสิตที่มาจากมหาวิทยาลัยต่างประเทศที่ไม่ใช่คู่สัญญาของจุฬาฯ ก็สามารถมาศึกษาที่จุฬาฯ 1-2 ภาคการศึกษาได้เช่นกัน โดยสามารถติดต่อกับผู้ดูแลหลักสูตรที่ต้องการสมัครของจุฬาฯ ได้เลย โดยชำระค่าเล่าเรียนที่จุฬาฯ ผู้สนใจจะต้องสมัครล่วงหน้า 6 เดือนก่อนเปิดภาคเรียน* *สำหรับ Exchange Program และ Visiting Program หากต้องการจะเริ่มเรียนในภาคเรียนที่ 1 ในเดือนสิงหาคม สามารถสมัครได้ตั้งแต่เดือนมกราคม – กุมภาพันธ์ในปีเดียวกัน และหากต้องเริ่มเรียนในภาคเรียนที่ 2 ในเดือนมกราคม สามารถสมัครได้ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม – สิงหาคมของปีก่อนหน้า · APRU Virtual Student Exchange สำหรับนิสิตต่างชาติจากมหาวิทยาลัยสมาชิกเครือข่าย APRU ที่สนใจจะเรียนวิชาของจุฬาฯ แต่ไม่สะดวกที่จะมาเรียนที่ประเทศไทย หรืออยากจะเรียนแค่วิชาเดียว ก็สามารถเข้าร่วมโครงการ APRU Virtual Student Exchange ที่นิสิตจะได้เรียนวิชาที่สนใจบนคลาสออนไลน์กับนิสิตจุฬาฯ โดยที่ชำระค่าเล่าเรียนเฉพาะที่มหาวิทยาลัยของตนเท่านั้น เตรียมวีซ่าให้พร้อมก่อนมาเรียนที่จุฬาฯ สิ่งที่สำคัญที่สุดที่จะทำให้การใช้ชีวิตที่จุฬาฯ ของชาวต่างชาติราบรื่น นั่นก็คือ “วีซ่า” ซึ่งผู้ที่จะเข้ามาเรียนที่จุฬาฯ ต้องมี Education Visa หลังจากที่ผู้สมัครผ่านการคัดเลือกเข้าศึกษาต่อ ทางมหาวิทยาลัยจะออกเอกสารตอบรับเข้าศึกษาเพื่อให้ผู้สมัครไปยื่นขอวีซ่าที่สถานทูตไทยหรือกงสุลไทย และเมื่อต้องมีการต่อวีซ่า ก็สามารถติดต่อได้ที่ผู้ประสานงานหลักสูตรของตนเองได้เลย “สิ่งที่ต้องรู้เกี่ยวกับ Education Visa คือ วีซ่าประเภทนี้จะใช้ได้ก็ต่อเมื่อเดินทางมาจากประเทศของตนเองเท่านั้น วีซ่านักท่องเที่ยวไม่สามารถเปลี่ยนประเภทวีซ่าเป็นวีซ่านักเรียนที่ประเทศไทยได้ กรณีนี้ นิสิตจะต้องเดินทางกลับประเทศของตนก่อนแล้วบินกลับมาใหม่เท่านั้น” “สำหรับผู้ที่มีวีซ่าทำงานแล้วมาเรียนนอกเวลาทำงานก็สามารถมาเรียนได้ แม้จะถือวีซ่าทำงาน แต่วีซ่าทำงานไม่สามารถเปลี่ยนเป็นวีซ่านักเรียนได้ที่ประเทศไทยเช่นเดียวกับวีซ่าท่องเที่ยว ซึ่งเป็นปัญหาที่นิสิตพบบ่อย นี่จึงคือสิ่งที่ควรเตรียมตัวมาให้ดีหากนิสิตไม่อยากเสียเงินและเสียเวลาในการเดินทาง” รู้จักเรื่องราวของจุฬาฯ ให้มากขึ้น ที่เว็บไซต์ https://www.chula.ac.th/en/ สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ สำนักบริหารวิรัชกิจและเครือข่ายนานาชาติ จุฬาฯ โทรศัพท์: +66 2218 3126 อีเมล: int.off@chula.ac.th Facebook: https://www.facebook.com/ChulaOIA/
CP All Education Forum 2025 จัดใหญ่! มอบทุนการศึกษากว่า 1,648 ล้าน ปลุกพลังการศึกษาไทย “สร้างคนเก่ง ดี มีความสามารถ” รับมือยุค AI