สสวท. พารอบรู้คู่ฤดูร้อนกับ “พายุฤดูร้อน” EZ WebmasterMarch 28, 2025 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) พารอบรู้คู่ฤดูร้อนกับ “พายุฤดูร้อน” (Thunderstorms) หรือ พายุฟ้าคะนอง ซึ่งเกิดขึ้นในฤดูร้อน ช่วงเดือนเมษายนหรือในช่วงก่อนเริ่มต้นฤดูฝน ทำความเข้าใจสาเหตุการเกิดพายุฤดูร้อน ลักษณะอากาศก่อนเกิดพายุฤดูร้อน เช่น อากาศร้อนมาหลายวัน และในวันที่จะเกิดพายุ ฤดูร้อนอากาศจะร้อนอบอ้าวมากขึ้น ลมสงบ ท้องฟ้ามัว ทัศนวิสัยไม่ดี เมฆก่อตัวหนาแน่น เป็นต้น เรียนรู้วิธีหลีกเลี่ยง เพื่อรักษาความปลอดภัยและแนวทางปฏิบัติเมื่อเกิดพายุฤดูร้อน… สพฐ.สั่งเลื่อนสอบ ม.1 และ ม.4 ทั่วประเทศ หลังเหตุแผ่นดินไหว รอประเมินความปลอดภัยก่อนกำหนดสอบใหม่ EZ WebmasterMarch 28, 2025 ด่วน! สพฐ.สั่งเลื่อนสอบ ม.1 และ ม.4 ทั่วประเทศ หลังเหตุแผ่นดินไหว รอประเมินความปลอดภัยก่อนกำหนดสอบใหม่ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) มีคำสั่งด่วนถึงผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา (ผอ.สพม.) ทั่วประเทศ ให้เลื่อนการสอบเข้าเรียนต่อระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ 4 ออกไปก่อน… ม.สุโขทัยธรรมาธิราช เปิดรับนักศึกษาใหม่ ภาคต้นปีการศึกษา 2568 เริ่มรับสมัครวันที่ 1 เมษายน 2568 EZ WebmasterMarch 28, 2025 ม.สุโขทัยธรรมาธิราช เปิดรับนักศึกษาใหม่ ภาคต้นปีการศึกษา 2568 เริ่มรับสมัครวันที่ 1 เมษายน 2568 1 เมษายน 2568 วันเปิดรับสมัครนักศึกษาใหม่ภาคต้นปีการศึกษา 2568 สามารถดาวน์โหลดระเบียบการสมัครเป็นนักศึกษาและใบสมัครฯ ฟรี!!! คลิกได้ที่นี่ คลิก Download… CP All Education Forum 2025 จัดใหญ่! มอบทุนการศึกษากว่า 1,648 ล้าน ปลุกพลังการศึกษาไทย “สร้างคนเก่ง ดี มีความสามารถ” รับมือยุค AI EZ WebmasterMarch 28, 2025 เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI) เข้ามาเปลี่ยนแปลงทุกภาคส่วนของสังคมอย่างรวดเร็ว วงการศึกษาคือหนึ่งในภาคส่วนที่ต้องพลิกเกมส์ให้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง การเตรียม “คน” ผ่านการศึกษาจึงเป็นอีกหนึ่งความท้าทาย ที่ภาคการศึกษาต้องรับมือให้พร้อม บมจ.ซีพี ออลล์ ร่วมกับ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ (PIM) วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์ (PAT) และโรงเรียนสาธิตสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ จัดงาน… นักศึกษา CP All Education Forum 2025 จัดใหญ่! มอบทุนการศึกษากว่า 1,648 ล้าน ปลุกพลังการศึกษาไทย “สร้างคนเก่ง ดี มีความสามารถ” รับมือยุค AI EZ WebmasterMarch 28, 2025 เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI) เข้ามาเปลี่ยนแปลงทุกภาคส่วนของสังคมอย่างรวดเร็ว วงการศึกษาคือหนึ่งในภาคส่วนที่ต้องพลิกเกมส์ให้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง การเตรียม “คน” ผ่านการศึกษาจึงเป็นอีกหนึ่งความท้าทาย ที่ภาคการศึกษาต้องรับมือให้พร้อม บมจ.ซีพี ออลล์ ร่วมกับ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ (PIM) วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์ (PAT) และโรงเรียนสาธิตสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ จัดงาน… มธ. รับสมัครนักศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสหวิทยาการ ประจำปีการศึกษา 2568 EZ WebmasterMarch 27, 2025 วิทยาลัยสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เปิดรับสมัครนักศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสหวิทยาการ (จัดการเรียนการสอนที่ท่าพระจันทร์) มี 2 แผนการศึกษา ดังนี้ แผน 1.1 (ทเฉพาะวิทยานิพนธ์) แผน 2.1 (ศึกษารายวิชาและทำวิทยานิพนธ์) หลักฐานประกอบการสมัคร 3.1 ใบสมัครของหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสหวิทยาการ… มทร.ธัญบุรี เปิดกว้างทุกวัย เพื่อเรียนรู้ตลอดชีพ ธนาคารหน่วยกิต “40 หลักสูตร ป.ตรี” tui sakrapeeMarch 26, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) เปิดรับสมัครผู้สนใจเข้าร่วมโครงการการเรียนรู้ตลอดชีวิตในระบบเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ (ธนาคารหน่วยกิต) หลักสูตรระดับปริญญาตรี ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2568 ตั้งแต่วันที่ 24 มี.ค. ถึง 30 พ.ค. 2568 โดยไม่มีค่าใช้จ่ายในการสมัคร… เปิดรับอาสาสมัครศิริราช รอบทำกิจกรรม เดือน พ.ค.-ก.ค. 68 ทุกกิจกรรมมีใบรับรองการทำกิจกรรม EZ WebmasterMarch 26, 2025 ตารางการรับอาสาสมัครรอบทำกิจกรรม เดือน พฤษภาคม – กรกฏาคม 68 (กิจกรรมที่อยู่ในเว็บไซต์ตอนนี้เป็นรอบเก่ามีผู้เข้าร่วมเต็มทั้งหมดแล้วค่ะ รอบใหม่จะเปิดตามวันเวลาที่แจ้งด้านล่างนี้เท่านั้น*) ขอให้อาสาเป็นผู้สมัครและกดเลือกกิจกรรมด้วยตนเองนะคะ – 31 ก.ค. 68 **เนื่องจากวันที่ 5 พ.ค. เป็นวันหยุด จะขอเริ่มตั้งแต่วันที่วันที่ 6 พ.ค.… ทุนดีดี U. of Waterlooให้ทุนป.ตรี InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศMarch 28, 2025 Faculty of Science International Student Scholarships at University of Waterloo, Canadaสำหรับนักศึกษาต่างชาติสูงสุด 15 ทุน เพื่อสนับสนุนนักศึกษาที่มีผลงานดีเด่นในภาคการศึกษาปีการศึกษา 2025/2026 ซึ่งรวมถึงทุนการศึกษาแบบต่ออายุ 10 ทุน… มหาวิทยาลัยอัลอัซฮัร กรุงไคโร สาธารณรัฐอาหรับอียิปต์ มอบ 160 ทุนให้นักศึกษาจากประเทศไทย EZ WebmasterMarch 27, 2025 มหาวิทยาลัยอัลอัซฮัร กรุงไคโร สาธารณรัฐอาหรับอียิปต์ มอบทุนการศึกษาแก่นักศึกษาจากประเทศไทย จำนวน 160 ทุน ในปีการศึกษา 2025/2026 (2568/2569) โดยจำแนกเป็น ทุนนการศึกษาสาขาอิสลามศึกษา จำนวน 80 ทุน เฉพาะนักเรียนที่จบการศึกษาระดับอิสลามศึกษาตอนปลาย (ซานาวี) #จากโรงเรียนที่ได้รับรองวิทยฐานะ ประกาศนียบัตรระดับอิสลามศึกษาตอนปลาย (ซานาวี)… Peking U.ให้ทุนป.ตรี-เอก InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศMarch 27, 2025 Peking University กำลังให้ทุนสำหรับนักศึกษาต่างชาติที่โดดเด่น ทุนนี้ก่อตั้งขึ้นในปี 2012 โดยให้การสนับสนุนนักศึกษาระดับปริญญาตรี โท และเอก(ไม่จำกัดสาขาวิชา) โดยให้ความช่วยเหลือทางการเงินเต็มจำนวนหรือบางส่วน รวมถึงค่าเล่าเรียน เงินเดือน และประกันสุขภาพ เปิดรับสมัครช่วงมีนาคมถึงเมษายน ทุกปี เพื่อให้มีสิทธิ์ได้รับทุน ผู้สมัครจะต้องเป็นนักศึกษาต่างชาติที่ได้รับข้อเสนอให้เข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยปักกิ่งในฐานะนักศึกษาปีหนึ่ง จะต้องไม่เป็นผู้รับทุนการศึกษาอื่นใด และไม่ควรลงทะเบียนในโปรแกรมปริญญาวิชาชีพ… สัปดาห์สุดท้าย!ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา เปิดรับรอบที่ 2 Quota 8 สาขา พร้อมมอบทุนเพชรสุนันทา เรียนการออกแบบแฟชั่น tui sakrapeeMarch 27, 2025 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดรับสมัครคัดเลือกนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญเข้าศึกษาในโครงการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาระดับปริญญาตรี ระบบโควตา ประเภทความสามารถทางวิชาการ และประเภทความสามารถพิเศษ ประจำปีการศึกษา 2568 (รอบที่ 2 Quota) พร้อมรับสมัครคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษา ภาคปกติ ระดับปริญญาตรี ในโครงการทุนเพชรสุนันทา กำหนดการรับสมัคร สาขาที่รับสมัครคณะศิลปกรรมศาสตร์ คุณสมบัติเฉพาะ… ครู-อาจารย์ 5 แนวโน้มสำคัญด้านการศึกษาในปี 2025 EZ WebmasterMarch 28, 2025 5 แนวโน้มสำคัญด้านการศึกษาในปี 2025 ปี 2025 เป็นปีแห่งการเปลี่ยนแปลงของวงการศึกษา เทคโนโลยีใหม่ๆ และแนวคิดการเรียนรู้ที่ทันสมัยจะเข้ามามีบทบาทสำคัญ มาดูกันว่าอะไรคือแนวโน้มหลักที่ต้องจับตามอง! การเกิดขึ้นของโรงเรียนรูปแบบใหม่ Hybrid Learning, Microschools และ Homeschool กำลังได้รับความนิยมมากขึ้น การใช้… มจธ. คิดค้น “นวัตกรรมการผลิตซิลิกาด้วยเทคโนโลยีชีวภาพ” ต้นทุนต่ำ คุณภาพสูง พร้อมพลิกโฉมอุตสาหกรรมไทย EZ WebmasterMarch 27, 2025 นักวิจัย มจธ.พัฒนากระบวนการผลิต ไบโอซิลิกา (Biosilica) จากแกลบข้าว ด้วยกระบวนการชีวภาพ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและไร้สารเคมีตกค้าง พร้อมส่งต่อเทคโนโลยีเพื่อนำไปใช้ในอุตสาหกรรมต่างๆ เช่น เครื่องสำอาง เวชสำอาง ยา และยาง ซึ่งเป็นก้าวสำคัญที่ช่วยให้ประเทศไทยลดการพึ่งพาซิลิกานำเข้า และส่งเสริมเศรษฐกิจหมุนเวียนของประเทศ ซิลิกา (Silica) เป็นวัตถุดิบสำคัญในหลายอุตสาหกรรมของไทย ตั้งแต่ยางรถยนต์ เครื่องสำอาง เวชภัณฑ์… โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “ดร.ชุมพล พรประภา” เป็นนายกสภา ม.ศรีนครินทรวิโรฒ tui sakrapeeMarch 26, 2025 ราชกิจจานุเบกษาเผยแพร่ ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “ชุมพล พรประภา” ดำรงตำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ แทนวิจิตร ศรีสอ้าน ที่ถึงแก่อนิจกรรม ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 142 ตอนพิเศษ 147 ง เมื่อวันที่ 25… สอศ. ปั้นผู้อำนวยการอาชีวะยุคใหม่! เสริมภาวะผู้นำ-วิสัยทัศน์ ทันโลกการศึกษา EZ WebmasterMarch 26, 2025 วันที่ 26 มีนาคม 2568 นายยศพล เวณุโกเศศ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (เลขาธิการ กอศ.) เป็นประธานเปิดโครงการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และบรรยายพิเศษ “Growth Mindset: แนวคิดเชิงบวกและการเติบโตขององค์กร” โดยนางธิติมา โรจน์วัชราภิบาล ผู้อำนวยการ… กิจกรรม สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ ร่วมพิธีวางพานพุ่มและพิธีตักบาตร เนื่องในวันครบรอบ ๑๐๘ ปี แห่งการสถาปนาจุฬาฯ EZ WebmasterMarch 27, 2025 สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินร่วมพิธีวางพานพุ่มสักการะพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระปิยมหาราชและสมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า และพิธีตักบาตร เนื่องในวันครบรอบ ๑๐๘ ปี แห่งการสถาปนาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมี นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ และ นายอรรษิษฐ์ สัมพันธรัตน์ ประธานการจัดงานคืนเหย้าชาวจุฬาฯ… พิธีเปิดกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) ภายใต้โครงการพัฒนามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมผ้าไทยสู่สากล ประจำปี ๒๕๖๘ EZ WebmasterMarch 26, 2025 นางสาวลิปิการ์ กำลังชัย รองธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรม รักษาราชการแทนอธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรมเป็นประธานพิธิเปิด และร่วมรับฟังการบรรยายกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) พร้อมด้วยนางสาวศิวพร ฉันทไกรวัฒน์ ผู้อำนวยการกลุ่มเผยแพร่และต่อยอดมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมเข้าร่วมงาน โดยวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญด้านผ้าไทย การออกแบบและแฟชั่น อาทิ ผศ.ดร.รวิเทพ มุสิกะปาน ผศ.ดร.วุฒิไกร… เปิดรับอาสาสมัครศิริราช รอบทำกิจกรรม เดือน พ.ค.-ก.ค. 68 ทุกกิจกรรมมีใบรับรองการทำกิจกรรม EZ WebmasterMarch 26, 2025 ตารางการรับอาสาสมัครรอบทำกิจกรรม เดือน พฤษภาคม – กรกฏาคม 68 (กิจกรรมที่อยู่ในเว็บไซต์ตอนนี้เป็นรอบเก่ามีผู้เข้าร่วมเต็มทั้งหมดแล้วค่ะ รอบใหม่จะเปิดตามวันเวลาที่แจ้งด้านล่างนี้เท่านั้น*) ขอให้อาสาเป็นผู้สมัครและกดเลือกกิจกรรมด้วยตนเองนะคะ – 31 ก.ค. 68 **เนื่องจากวันที่ 5 พ.ค. เป็นวันหยุด จะขอเริ่มตั้งแต่วันที่วันที่ 6 พ.ค.… เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน รับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน EZ WebmasterMarch 24, 2025 เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน เกม Let’s School เกมแนวบริหารโรงเรียนในฝัน ที่จะให้เรารับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน อยากให้โรงเรียนเป็นแบบไหนก็ปรับเล่นได้เลย ดูอารมณ์นักเรียกได้ด้วยว่ามีความสุขมั้ย? แถมตอนนี้ยังมีอัปเดตแมพใหม่พร้อมซัพไทยด้วยนะ Let’s School โหลดเล่นได้ที่ Steam :… Search for: Search tui sakrapee February 22, 2022 tui sakrapee February 22, 2022 Internalized Racism ถึงเวลาปลดแอก “การเหยียดตัวเอง” อาจารย์จิตวิทยา จุฬาฯ ชี้ประเด็นการด้อยค่าตัวเอง ไม่ว่าเรื่องเชื้อชาติ สีผิว เพศ ที่เกิดขึ้นโดยไม่รู้ตัวและส่งผลต่อความสุขส่วนบุคคลและสังคม ชวนทุกฝ่ายเท่าทันกระบวนการ Internalized Racism แล้วปรับมุมมองให้เห็นคุณค่าความเป็นมนุษย์ที่เท่ากัน “ฉันผิวคล้ำ ใส่สีแดงสดไม่ได้หรอก เดี๋ยวเหมือนอีกาคาบพริก” “เรามันแค่ประชากรประเทศโลกที่สาม จะไปเก่งสู้ฝรั่งได้อย่างไร” หลายคนอาจจะคุ้นหูประโยคเหล่านี้และอาจจะเคยพูดกับตนเองด้วยซ้ำ โดยคิดว่า “ไม่เป็นไร เรื่องธรรมดา ก็มันจริง หรือพูดเล่นขำๆ” แต่สำหรับ ดร.พนิตา เสือวรรณศรี อาจารย์แขนงวิชาจิตวิทยาการปรึกษา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คำพูดเหล่านี้สะท้อนกระบวนการเหยียดและด้อยค่าตัวเอง (Internalized Racism) ซึ่งเป็นเสมือนเนื้อร้ายทำลายสังคมและความสุขของบุคคลในฐานะมนุษย์ที่มีคุณค่าเท่าเทียมกัน “เราควรตระหนักและพูดถึงประเด็นนี้กันให้มากขึ้น สิ่งที่อันตรายกว่าการไม่เห็นด้วยคือการนิ่งเฉย ระบบ racism เป็นระบบที่กดทับอยู่แล้ว การละเลย ไม่พูดถึงสิ่งนี้เท่ากับเป็นการยอมรับมันโดยปริยาย” ดร. พนิตา ผู้วิจัยเรื่อง Internalized Racism กล่าว Internalized Racism คืออะไร Racism หมายถึงการเหยียดสีผิว เชื้อชาติ วัฒนธรรม ด้วยความรู้สึกว่าตนอยู่ในกลุ่มที่เหนือกว่า ดีกว่า แล้วยัดเยียดความรู้สึกด้อยค่านั้นให้ผู้อื่น ส่วน Internalized Racism เป็นการกระทำในทิศทางตรงกันข้าม คือผู้ที่ถูกกดขี่เชื่อและยอมรับความคิดว่าตัวเองด้อยกว่านั้นมาเป็นความจริงของตัวเอง “พูดง่ายๆ ก็คือไม่ต้องมีใครมาเหยียดฉันหรอก ฉันชิงเหยียดตัวเองก่อนแล้ว เป็นกระบวนการที่เรามองว่าตัวเองด้อยกว่า ไม่ทัดเทียมผู้อื่น ไม่ว่าจะด้านเชื้อชาติ สีผิว Internalized Racism มักเกิดขึ้นโดยที่เราไม่รู้ตัว ด้วยกระบวนการหล่อหลอมให้รู้สึกว่ามันเป็นอย่างนั้นและเป็นเรื่องธธรรมดา” Internalized Racism ในชีวิตประจำวัน ดร.พนิตา เริ่มศึกษาและวิจัยเรื่อง Internalized Racism จากการสังเกตเบื้องลึกความรู้สึก “ไม่ดีพอ” ที่เกิดขึ้นภายในใจของเธอเอง “สมัยที่เรียนต่างประเทศ เวลาไปเที่ยวโดยเครื่องบินกับเพื่อนต่างชาติซึ่งส่วนใหญ่เป็นคนผิวขาว เรามักจะบอกเพื่อนว่าให้รอเราด้วยเพราะเราน่าจะเป็นคนสุดท้ายที่ผ่านด่านตรวจคนเข้าเมือง ที่บอกเพื่อนๆ อย่างนั้นเพราะเราเชื่อว่าเราต้องโดนตรวจกระเป๋าแน่ๆ ซึ่งก็เกิดขึ้นจริงๆ ตอนนั้นเรามองว่าสิ่งที่เกิดขึ้นเป็นเรื่องปกติ จนกระทั่งเพื่อนบอกว่า “นี่มันไม่ใช่เรื่องปกตินะ” เราจึงเริ่มมองเห็นว่ามันไม่ควรเป็นอย่างนั้น ทุกคนควรจะเท่าเทียมกัน ไม่ควรมีใครโดนเหยียด (racial slurs) โดนอคติมากกว่าคนอื่น” ความคิดที่ว่าเราด้อยกว่า ไม่มีคุณค่าเท่า ไม่เก่งเท่า หรือสมควรแล้วที่ถูกปฏิบัติอย่างไม่เท่าเทียม มีผลลดทอนความมั่นใจในการใช้ชีวิตและอาชีพการงานของคนๆ นั้น ดร.พนิตา กล่าวเสริม “ในฐานะนักจิตวิทยา เรามีหน้าที่ให้คำปรึกษาซึ่งต้องมีความน่าเชื่อถือ แต่เมื่อต้องไปให้คำปรึกษากับฝรั่ง เรากลับรู้สึกไม่มั่นใจ ไม่แน่ใจว่าเขาจะเชื่อเราไหม เขาจะมองว่าเราเป็นคนต่างด้าวไหม ก็คล้ายๆ กับที่เรามักจะพูดกันว่า “คนผิวขาวพูดอะไรดูน่าเชื่อถือกว่า” พอเราพูดเช่นนี้กันบ่อยๆ และเห็นตัวอย่างที่เกิดขึ้นเรื่อยๆ เราก็จะซึมซับและ internalize เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในระบบความคิดเราโดยอัตโนมัติ” ดร.พนิตา อธิบายกระบวนการหล่อหลอมความคิดด้อยค่าตัวเองในสังคม กระบวนการที่เราถูกทำให้ยอมรับการเหยียดและด้อยค่าตนเอง ไม่ได้จำกัดในประเด็นเชื้อชาติเท่านั้น แต่ยังครอบคลุมไปถึงเรื่อง Internalized Oppression หรือการยอมรับการกดขี่ อย่างในเรื่องเพศ เราจะได้ยินความคิดที่ยอมรับว่า “ผู้ชายแข็งแรงกว่าผู้หญิง” “ผู้ชายมีความเป็นผู้นำมากกว่า” หรือ การยอมรับที่จะไม่ได้รับสิทธิตามกฎหมายอย่างเท่าเทียมของกลุ่ม LGBTQ+ เป็นต้น ซึ่งความคิดเหล่านี้สะท้อนการยอมรับการตัดสินจากกลุ่มคนที่เราให้ค่าว่าเหนือกว่าในสังคม ได้แก่ กลุ่มผู้ชายรักต่างเพศ (heterosexual men) ………………………… Check list สัญญาณว่าเรากำลังถูก Internalized Racism 1. ความรู้สึกว่า “ตัวเองด้อยกว่าคนอื่น” หรือต้องพิสูจน์ตัวเองตลอดเวลา เมื่อใดที่รู้สึก “เราไม่เก่งเท่าคนอื่น” ควรกลับมาเช็คตัวเองว่า เราไม่เก่งจริงหรือ เหตุผลคืออะไร ถ้าความไม่มั่นใจมาจากความสามารถ ความไม่ถนัด ขาดประสบการณ์ อันนั้นเข้าใจได้ แต่ถ้าเกิดจากความรู้สึกที่ว่าเราไม่น่าเชื่อถือเพราะเป็นคนเอเชีย เพราะเป็นคนไทย ฯลฯ อันนี้เป็น internalized racism จากสังคมที่เหยียดและกดขี่เรา 2. ความรู้สึกต่อต้านหรือเฉยชากับกระบวนการเรียกร้องให้เกิดความเท่าเทียมในสังคม หรือเห็นด้วยกับระบบสังคมที่กดทับและมองว่าเป็นกฎเกณฑ์หรือเป็นสิ่งที่เหมาะสมแล้ว โดยที่ตนเอง ก็อยู่ในกลุ่มที่ไม่ได้รับความเท่าเทียม หรือเสียประโยชน์ตามที่ควรจะได้รับ …………………………………. 4 แนวทางปลดแอกตัวเองจาก Internalized Racism การต้านทานอิทธิพลทางสังคมหรือลบล้างกระบวนการด้อยค่าและกดทับตัวเอง (Internalized Oppression หรือ Racism) ไม่ใช่เรื่องที่จะทำให้หมดไปในเวลาอันรวดเร็ว หากแต่เป็นกระบวนการที่ใช้เวลา ทั้งนี้ ดร.พนิตา แนะนำ 4 วิธีที่จะช่วยให้เราเปลี่ยน “อุปนิสัยทางความคิด” ใหม่ ได้แก่ มีสติเท่าทันความคิดในการดำเนินชีวิต (self-awareness) ตระหนักรู้ว่าเรากำลังรู้สึกอะไร เพราะอะไร “หากเรามีสติรู้ตัวว่าทำไมเราถึงรู้สึกแบบนี้ เป็นเพราะอะไร เกิดการคิดวิเคราะห์ ตั้งคำถาม สะท้อนความรู้สึกของตัวเอง เราจะรู้เท่าทันการถูกกระทำให้เหยียดตัวเองและรู้ว่าเรากำลังดูถูกตัวเองอยู่หรือเปล่า นอกจากนี้ เราก็ต้องมีสติรู้ด้วยว่าเรากำลังดูถูกหรือด้อยค่าคนอื่นอยู่หรือเปล่าด้วย อย่ากดคนอื่นลงเพื่อให้เราดูสูงขึ้น อันนี้ก็ต้องระวังด้วยเหมือนกัน” เมตตาตัวเอง (self-compassion) รู้จักชื่นชม เห็นคุณค่าและรักตัวเองในแบบที่เราเป็น “เราต้องให้ความสำคัญกับตัวเองว่าเราไม่ได้ด้อยไปกว่าใคร ไม่ว่าเราจะเกิดมาเป็นเพศใด มีเชื้อชาติ สีผิวแบบไหน มันไม่ใช่สิ่งที่จะมากำหนดการใช้ชีวิตหรืออนาคตของเรา” เปิดใจกว้างยอมรับความแตกต่างหลากหลาย หาความรู้ ประสบการณ์ ทำความรู้จักกับคนให้หลากหลายขึ้น “เราจะได้เห็นภาพกว้างๆ ว่าความรู้สึกต่ำต้อยที่เราเป็นอยู่นั้นไม่มีแก่นสารและไม่ควรจะเกิดขึ้น รวมถึงการหาประสบการณ์ชีวิต เช่น การเข้าไปทำความรู้จักกับกลุ่มคนที่มีความแตกต่างหลากหลายทางเชื้อชาติ เพศ วัฒนธรรมและความเชื่อ เพื่อให้เห็นความงามในความต่างเหล่านั้น ทลายกำแพงความเชื่อในเรื่องเชื้อชาติ สีผิว และอื่นๆ ที่เคยมี ให้เห็นความเป็นมนุษย์ที่ไม่สมบูรณ์แบบ มีความเท่าเทียม ไม่เปรียบเทียบคุณค่าว่าอย่างไหนเหนือกว่าหรือด้อยกว่า และเพื่อตรวจสอบกลับมาที่ตัวเองว่า ความรู้สึกว่าตัวเองไม่ดีพอนั้น เป็นข้อเท็จจริงหรือเป็นแค่สิ่งที่เราคิดไปเอง” เข้าร่วมกลุ่มที่สนับสนุนให้กำลังใจกันและกัน (support group) และร่วมกิจกรรมเคลื่อนไหวทางสังคม (movement) ประเด็นความเท่าเทียมในสังคมเพื่อจะได้รู้ว่าเราไม่ได้ต่อสู้เพียงลำพัง เทรนด์คนรุ่นใหม่ เคารพคุณค่าความเป็นมนุษย์ ดร.พนิตา กล่าวว่าปัจจุบัน สถานการณ์ Internalized Racism ในประเทศไทยเริ่มคลี่คลายในทางที่ดีขึ้น โดยมีคนรุ่นใหม่เป็นหัวหอกสำคัญ “คนรุ่นใหม่มีทัศนคติที่ยอมรับความหลากหลายมากขึ้นและให้ความสำคัญกับการรณรงค์เพื่อสร้างความเท่าเทียมมากกว่าในอดีต เขาเห็นการเคลื่อนไหวทางสังคมในระดับโลกมากขึ้น แล้วย้อนกลับมาตั้งคำถามว่าทำไมในประเทศยังทักกันเรื่องรูปร่างหน้าตา มีการเหยียดสีผิวกันอยู่ แล้วเริ่มเรียกร้องให้เกิดการเปลี่ยนแปลง แบน (banned) ทัศนคติที่เป็นการเหยียดกัน” การลด Internalized Racism เป็นขบวนการที่ใช้เวลา แต่แม้จะยาวนาน ก็ต้องทำไปเรื่อยๆ เพื่อสังคมที่ทุกคนอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ดร.พนิตา กล่าวทิ้งท้ายอย่างมีความหวัง ……………….. ที่มา ศูนย์สื่อสารองค์กร จุฬาฯ tui sakrapee Related Posts ม.สุโขทัยธรรมาธิราช เปิดรับนักศึกษาใหม่ ภาคต้นปีการศึกษา 2568 เริ่มรับสมัครวันที่ 1 เมษายน 2568 CP All Education Forum 2025 จัดใหญ่! มอบทุนการศึกษากว่า 1,648 ล้าน ปลุกพลังการศึกษาไทย “สร้างคนเก่ง ดี มีความสามารถ” รับมือยุค AI มธ. รับสมัครนักศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสหวิทยาการ ประจำปีการศึกษา 2568 สัปดาห์สุดท้าย!ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา เปิดรับรอบที่ 2 Quota 8 สาขา พร้อมมอบทุนเพชรสุนันทา เรียนการออกแบบแฟชั่น มทร.ธัญบุรี เปิดกว้างทุกวัย เพื่อเรียนรู้ตลอดชีพ ธนาคารหน่วยกิต “40 หลักสูตร ป.ตรี” Post navigation PREVIOUS Previous post: มีสิทธิ์รับทุน! มทร.ธัญบุรี – ม.โอทาโก นิวซีแลนด์ เปิดรับสมัครแล้ว หลักสูตรเตรียมพร้อมปริญญาตรีไฮบริดนิวซีแลนด์รุ่น 2NEXT Next post: รมว.กระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา สั่งการหัวหน้าผู้ตรวจราชการ “สันติ ป่าหวาย” ขับเคลื่อนนโยบายโครงการอาสาสมัครท่องเที่ยวกีฬาทั่วประเทศ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
สพฐ.สั่งเลื่อนสอบ ม.1 และ ม.4 ทั่วประเทศ หลังเหตุแผ่นดินไหว รอประเมินความปลอดภัยก่อนกำหนดสอบใหม่ EZ WebmasterMarch 28, 2025 ด่วน! สพฐ.สั่งเลื่อนสอบ ม.1 และ ม.4 ทั่วประเทศ หลังเหตุแผ่นดินไหว รอประเมินความปลอดภัยก่อนกำหนดสอบใหม่ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) มีคำสั่งด่วนถึงผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา (ผอ.สพม.) ทั่วประเทศ ให้เลื่อนการสอบเข้าเรียนต่อระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 และ 4 ออกไปก่อน… ม.สุโขทัยธรรมาธิราช เปิดรับนักศึกษาใหม่ ภาคต้นปีการศึกษา 2568 เริ่มรับสมัครวันที่ 1 เมษายน 2568 EZ WebmasterMarch 28, 2025 ม.สุโขทัยธรรมาธิราช เปิดรับนักศึกษาใหม่ ภาคต้นปีการศึกษา 2568 เริ่มรับสมัครวันที่ 1 เมษายน 2568 1 เมษายน 2568 วันเปิดรับสมัครนักศึกษาใหม่ภาคต้นปีการศึกษา 2568 สามารถดาวน์โหลดระเบียบการสมัครเป็นนักศึกษาและใบสมัครฯ ฟรี!!! คลิกได้ที่นี่ คลิก Download… CP All Education Forum 2025 จัดใหญ่! มอบทุนการศึกษากว่า 1,648 ล้าน ปลุกพลังการศึกษาไทย “สร้างคนเก่ง ดี มีความสามารถ” รับมือยุค AI EZ WebmasterMarch 28, 2025 เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI) เข้ามาเปลี่ยนแปลงทุกภาคส่วนของสังคมอย่างรวดเร็ว วงการศึกษาคือหนึ่งในภาคส่วนที่ต้องพลิกเกมส์ให้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง การเตรียม “คน” ผ่านการศึกษาจึงเป็นอีกหนึ่งความท้าทาย ที่ภาคการศึกษาต้องรับมือให้พร้อม บมจ.ซีพี ออลล์ ร่วมกับ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ (PIM) วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์ (PAT) และโรงเรียนสาธิตสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ จัดงาน… นักศึกษา CP All Education Forum 2025 จัดใหญ่! มอบทุนการศึกษากว่า 1,648 ล้าน ปลุกพลังการศึกษาไทย “สร้างคนเก่ง ดี มีความสามารถ” รับมือยุค AI EZ WebmasterMarch 28, 2025 เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI) เข้ามาเปลี่ยนแปลงทุกภาคส่วนของสังคมอย่างรวดเร็ว วงการศึกษาคือหนึ่งในภาคส่วนที่ต้องพลิกเกมส์ให้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง การเตรียม “คน” ผ่านการศึกษาจึงเป็นอีกหนึ่งความท้าทาย ที่ภาคการศึกษาต้องรับมือให้พร้อม บมจ.ซีพี ออลล์ ร่วมกับ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ (PIM) วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์ (PAT) และโรงเรียนสาธิตสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ จัดงาน… มธ. รับสมัครนักศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสหวิทยาการ ประจำปีการศึกษา 2568 EZ WebmasterMarch 27, 2025 วิทยาลัยสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เปิดรับสมัครนักศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสหวิทยาการ (จัดการเรียนการสอนที่ท่าพระจันทร์) มี 2 แผนการศึกษา ดังนี้ แผน 1.1 (ทเฉพาะวิทยานิพนธ์) แผน 2.1 (ศึกษารายวิชาและทำวิทยานิพนธ์) หลักฐานประกอบการสมัคร 3.1 ใบสมัครของหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสหวิทยาการ… มทร.ธัญบุรี เปิดกว้างทุกวัย เพื่อเรียนรู้ตลอดชีพ ธนาคารหน่วยกิต “40 หลักสูตร ป.ตรี” tui sakrapeeMarch 26, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) เปิดรับสมัครผู้สนใจเข้าร่วมโครงการการเรียนรู้ตลอดชีวิตในระบบเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ (ธนาคารหน่วยกิต) หลักสูตรระดับปริญญาตรี ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2568 ตั้งแต่วันที่ 24 มี.ค. ถึง 30 พ.ค. 2568 โดยไม่มีค่าใช้จ่ายในการสมัคร… เปิดรับอาสาสมัครศิริราช รอบทำกิจกรรม เดือน พ.ค.-ก.ค. 68 ทุกกิจกรรมมีใบรับรองการทำกิจกรรม EZ WebmasterMarch 26, 2025 ตารางการรับอาสาสมัครรอบทำกิจกรรม เดือน พฤษภาคม – กรกฏาคม 68 (กิจกรรมที่อยู่ในเว็บไซต์ตอนนี้เป็นรอบเก่ามีผู้เข้าร่วมเต็มทั้งหมดแล้วค่ะ รอบใหม่จะเปิดตามวันเวลาที่แจ้งด้านล่างนี้เท่านั้น*) ขอให้อาสาเป็นผู้สมัครและกดเลือกกิจกรรมด้วยตนเองนะคะ – 31 ก.ค. 68 **เนื่องจากวันที่ 5 พ.ค. เป็นวันหยุด จะขอเริ่มตั้งแต่วันที่วันที่ 6 พ.ค.… ทุนดีดี U. of Waterlooให้ทุนป.ตรี InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศMarch 28, 2025 Faculty of Science International Student Scholarships at University of Waterloo, Canadaสำหรับนักศึกษาต่างชาติสูงสุด 15 ทุน เพื่อสนับสนุนนักศึกษาที่มีผลงานดีเด่นในภาคการศึกษาปีการศึกษา 2025/2026 ซึ่งรวมถึงทุนการศึกษาแบบต่ออายุ 10 ทุน… มหาวิทยาลัยอัลอัซฮัร กรุงไคโร สาธารณรัฐอาหรับอียิปต์ มอบ 160 ทุนให้นักศึกษาจากประเทศไทย EZ WebmasterMarch 27, 2025 มหาวิทยาลัยอัลอัซฮัร กรุงไคโร สาธารณรัฐอาหรับอียิปต์ มอบทุนการศึกษาแก่นักศึกษาจากประเทศไทย จำนวน 160 ทุน ในปีการศึกษา 2025/2026 (2568/2569) โดยจำแนกเป็น ทุนนการศึกษาสาขาอิสลามศึกษา จำนวน 80 ทุน เฉพาะนักเรียนที่จบการศึกษาระดับอิสลามศึกษาตอนปลาย (ซานาวี) #จากโรงเรียนที่ได้รับรองวิทยฐานะ ประกาศนียบัตรระดับอิสลามศึกษาตอนปลาย (ซานาวี)… Peking U.ให้ทุนป.ตรี-เอก InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศMarch 27, 2025 Peking University กำลังให้ทุนสำหรับนักศึกษาต่างชาติที่โดดเด่น ทุนนี้ก่อตั้งขึ้นในปี 2012 โดยให้การสนับสนุนนักศึกษาระดับปริญญาตรี โท และเอก(ไม่จำกัดสาขาวิชา) โดยให้ความช่วยเหลือทางการเงินเต็มจำนวนหรือบางส่วน รวมถึงค่าเล่าเรียน เงินเดือน และประกันสุขภาพ เปิดรับสมัครช่วงมีนาคมถึงเมษายน ทุกปี เพื่อให้มีสิทธิ์ได้รับทุน ผู้สมัครจะต้องเป็นนักศึกษาต่างชาติที่ได้รับข้อเสนอให้เข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยปักกิ่งในฐานะนักศึกษาปีหนึ่ง จะต้องไม่เป็นผู้รับทุนการศึกษาอื่นใด และไม่ควรลงทะเบียนในโปรแกรมปริญญาวิชาชีพ… สัปดาห์สุดท้าย!ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา เปิดรับรอบที่ 2 Quota 8 สาขา พร้อมมอบทุนเพชรสุนันทา เรียนการออกแบบแฟชั่น tui sakrapeeMarch 27, 2025 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดรับสมัครคัดเลือกนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญเข้าศึกษาในโครงการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาระดับปริญญาตรี ระบบโควตา ประเภทความสามารถทางวิชาการ และประเภทความสามารถพิเศษ ประจำปีการศึกษา 2568 (รอบที่ 2 Quota) พร้อมรับสมัครคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษา ภาคปกติ ระดับปริญญาตรี ในโครงการทุนเพชรสุนันทา กำหนดการรับสมัคร สาขาที่รับสมัครคณะศิลปกรรมศาสตร์ คุณสมบัติเฉพาะ… ครู-อาจารย์ 5 แนวโน้มสำคัญด้านการศึกษาในปี 2025 EZ WebmasterMarch 28, 2025 5 แนวโน้มสำคัญด้านการศึกษาในปี 2025 ปี 2025 เป็นปีแห่งการเปลี่ยนแปลงของวงการศึกษา เทคโนโลยีใหม่ๆ และแนวคิดการเรียนรู้ที่ทันสมัยจะเข้ามามีบทบาทสำคัญ มาดูกันว่าอะไรคือแนวโน้มหลักที่ต้องจับตามอง! การเกิดขึ้นของโรงเรียนรูปแบบใหม่ Hybrid Learning, Microschools และ Homeschool กำลังได้รับความนิยมมากขึ้น การใช้… มจธ. คิดค้น “นวัตกรรมการผลิตซิลิกาด้วยเทคโนโลยีชีวภาพ” ต้นทุนต่ำ คุณภาพสูง พร้อมพลิกโฉมอุตสาหกรรมไทย EZ WebmasterMarch 27, 2025 นักวิจัย มจธ.พัฒนากระบวนการผลิต ไบโอซิลิกา (Biosilica) จากแกลบข้าว ด้วยกระบวนการชีวภาพ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและไร้สารเคมีตกค้าง พร้อมส่งต่อเทคโนโลยีเพื่อนำไปใช้ในอุตสาหกรรมต่างๆ เช่น เครื่องสำอาง เวชสำอาง ยา และยาง ซึ่งเป็นก้าวสำคัญที่ช่วยให้ประเทศไทยลดการพึ่งพาซิลิกานำเข้า และส่งเสริมเศรษฐกิจหมุนเวียนของประเทศ ซิลิกา (Silica) เป็นวัตถุดิบสำคัญในหลายอุตสาหกรรมของไทย ตั้งแต่ยางรถยนต์ เครื่องสำอาง เวชภัณฑ์… โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “ดร.ชุมพล พรประภา” เป็นนายกสภา ม.ศรีนครินทรวิโรฒ tui sakrapeeMarch 26, 2025 ราชกิจจานุเบกษาเผยแพร่ ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “ชุมพล พรประภา” ดำรงตำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ แทนวิจิตร ศรีสอ้าน ที่ถึงแก่อนิจกรรม ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 142 ตอนพิเศษ 147 ง เมื่อวันที่ 25… สอศ. ปั้นผู้อำนวยการอาชีวะยุคใหม่! เสริมภาวะผู้นำ-วิสัยทัศน์ ทันโลกการศึกษา EZ WebmasterMarch 26, 2025 วันที่ 26 มีนาคม 2568 นายยศพล เวณุโกเศศ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (เลขาธิการ กอศ.) เป็นประธานเปิดโครงการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และบรรยายพิเศษ “Growth Mindset: แนวคิดเชิงบวกและการเติบโตขององค์กร” โดยนางธิติมา โรจน์วัชราภิบาล ผู้อำนวยการ… กิจกรรม สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ ร่วมพิธีวางพานพุ่มและพิธีตักบาตร เนื่องในวันครบรอบ ๑๐๘ ปี แห่งการสถาปนาจุฬาฯ EZ WebmasterMarch 27, 2025 สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินร่วมพิธีวางพานพุ่มสักการะพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระปิยมหาราชและสมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า และพิธีตักบาตร เนื่องในวันครบรอบ ๑๐๘ ปี แห่งการสถาปนาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมี นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ และ นายอรรษิษฐ์ สัมพันธรัตน์ ประธานการจัดงานคืนเหย้าชาวจุฬาฯ… พิธีเปิดกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) ภายใต้โครงการพัฒนามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมผ้าไทยสู่สากล ประจำปี ๒๕๖๘ EZ WebmasterMarch 26, 2025 นางสาวลิปิการ์ กำลังชัย รองธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรม รักษาราชการแทนอธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรมเป็นประธานพิธิเปิด และร่วมรับฟังการบรรยายกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) พร้อมด้วยนางสาวศิวพร ฉันทไกรวัฒน์ ผู้อำนวยการกลุ่มเผยแพร่และต่อยอดมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมเข้าร่วมงาน โดยวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญด้านผ้าไทย การออกแบบและแฟชั่น อาทิ ผศ.ดร.รวิเทพ มุสิกะปาน ผศ.ดร.วุฒิไกร… เปิดรับอาสาสมัครศิริราช รอบทำกิจกรรม เดือน พ.ค.-ก.ค. 68 ทุกกิจกรรมมีใบรับรองการทำกิจกรรม EZ WebmasterMarch 26, 2025 ตารางการรับอาสาสมัครรอบทำกิจกรรม เดือน พฤษภาคม – กรกฏาคม 68 (กิจกรรมที่อยู่ในเว็บไซต์ตอนนี้เป็นรอบเก่ามีผู้เข้าร่วมเต็มทั้งหมดแล้วค่ะ รอบใหม่จะเปิดตามวันเวลาที่แจ้งด้านล่างนี้เท่านั้น*) ขอให้อาสาเป็นผู้สมัครและกดเลือกกิจกรรมด้วยตนเองนะคะ – 31 ก.ค. 68 **เนื่องจากวันที่ 5 พ.ค. เป็นวันหยุด จะขอเริ่มตั้งแต่วันที่วันที่ 6 พ.ค.… เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน รับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน EZ WebmasterMarch 24, 2025 เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน เกม Let’s School เกมแนวบริหารโรงเรียนในฝัน ที่จะให้เรารับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน อยากให้โรงเรียนเป็นแบบไหนก็ปรับเล่นได้เลย ดูอารมณ์นักเรียกได้ด้วยว่ามีความสุขมั้ย? แถมตอนนี้ยังมีอัปเดตแมพใหม่พร้อมซัพไทยด้วยนะ Let’s School โหลดเล่นได้ที่ Steam :… Search for: Search tui sakrapee February 22, 2022 tui sakrapee February 22, 2022 Internalized Racism ถึงเวลาปลดแอก “การเหยียดตัวเอง” อาจารย์จิตวิทยา จุฬาฯ ชี้ประเด็นการด้อยค่าตัวเอง ไม่ว่าเรื่องเชื้อชาติ สีผิว เพศ ที่เกิดขึ้นโดยไม่รู้ตัวและส่งผลต่อความสุขส่วนบุคคลและสังคม ชวนทุกฝ่ายเท่าทันกระบวนการ Internalized Racism แล้วปรับมุมมองให้เห็นคุณค่าความเป็นมนุษย์ที่เท่ากัน “ฉันผิวคล้ำ ใส่สีแดงสดไม่ได้หรอก เดี๋ยวเหมือนอีกาคาบพริก” “เรามันแค่ประชากรประเทศโลกที่สาม จะไปเก่งสู้ฝรั่งได้อย่างไร” หลายคนอาจจะคุ้นหูประโยคเหล่านี้และอาจจะเคยพูดกับตนเองด้วยซ้ำ โดยคิดว่า “ไม่เป็นไร เรื่องธรรมดา ก็มันจริง หรือพูดเล่นขำๆ” แต่สำหรับ ดร.พนิตา เสือวรรณศรี อาจารย์แขนงวิชาจิตวิทยาการปรึกษา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คำพูดเหล่านี้สะท้อนกระบวนการเหยียดและด้อยค่าตัวเอง (Internalized Racism) ซึ่งเป็นเสมือนเนื้อร้ายทำลายสังคมและความสุขของบุคคลในฐานะมนุษย์ที่มีคุณค่าเท่าเทียมกัน “เราควรตระหนักและพูดถึงประเด็นนี้กันให้มากขึ้น สิ่งที่อันตรายกว่าการไม่เห็นด้วยคือการนิ่งเฉย ระบบ racism เป็นระบบที่กดทับอยู่แล้ว การละเลย ไม่พูดถึงสิ่งนี้เท่ากับเป็นการยอมรับมันโดยปริยาย” ดร. พนิตา ผู้วิจัยเรื่อง Internalized Racism กล่าว Internalized Racism คืออะไร Racism หมายถึงการเหยียดสีผิว เชื้อชาติ วัฒนธรรม ด้วยความรู้สึกว่าตนอยู่ในกลุ่มที่เหนือกว่า ดีกว่า แล้วยัดเยียดความรู้สึกด้อยค่านั้นให้ผู้อื่น ส่วน Internalized Racism เป็นการกระทำในทิศทางตรงกันข้าม คือผู้ที่ถูกกดขี่เชื่อและยอมรับความคิดว่าตัวเองด้อยกว่านั้นมาเป็นความจริงของตัวเอง “พูดง่ายๆ ก็คือไม่ต้องมีใครมาเหยียดฉันหรอก ฉันชิงเหยียดตัวเองก่อนแล้ว เป็นกระบวนการที่เรามองว่าตัวเองด้อยกว่า ไม่ทัดเทียมผู้อื่น ไม่ว่าจะด้านเชื้อชาติ สีผิว Internalized Racism มักเกิดขึ้นโดยที่เราไม่รู้ตัว ด้วยกระบวนการหล่อหลอมให้รู้สึกว่ามันเป็นอย่างนั้นและเป็นเรื่องธธรรมดา” Internalized Racism ในชีวิตประจำวัน ดร.พนิตา เริ่มศึกษาและวิจัยเรื่อง Internalized Racism จากการสังเกตเบื้องลึกความรู้สึก “ไม่ดีพอ” ที่เกิดขึ้นภายในใจของเธอเอง “สมัยที่เรียนต่างประเทศ เวลาไปเที่ยวโดยเครื่องบินกับเพื่อนต่างชาติซึ่งส่วนใหญ่เป็นคนผิวขาว เรามักจะบอกเพื่อนว่าให้รอเราด้วยเพราะเราน่าจะเป็นคนสุดท้ายที่ผ่านด่านตรวจคนเข้าเมือง ที่บอกเพื่อนๆ อย่างนั้นเพราะเราเชื่อว่าเราต้องโดนตรวจกระเป๋าแน่ๆ ซึ่งก็เกิดขึ้นจริงๆ ตอนนั้นเรามองว่าสิ่งที่เกิดขึ้นเป็นเรื่องปกติ จนกระทั่งเพื่อนบอกว่า “นี่มันไม่ใช่เรื่องปกตินะ” เราจึงเริ่มมองเห็นว่ามันไม่ควรเป็นอย่างนั้น ทุกคนควรจะเท่าเทียมกัน ไม่ควรมีใครโดนเหยียด (racial slurs) โดนอคติมากกว่าคนอื่น” ความคิดที่ว่าเราด้อยกว่า ไม่มีคุณค่าเท่า ไม่เก่งเท่า หรือสมควรแล้วที่ถูกปฏิบัติอย่างไม่เท่าเทียม มีผลลดทอนความมั่นใจในการใช้ชีวิตและอาชีพการงานของคนๆ นั้น ดร.พนิตา กล่าวเสริม “ในฐานะนักจิตวิทยา เรามีหน้าที่ให้คำปรึกษาซึ่งต้องมีความน่าเชื่อถือ แต่เมื่อต้องไปให้คำปรึกษากับฝรั่ง เรากลับรู้สึกไม่มั่นใจ ไม่แน่ใจว่าเขาจะเชื่อเราไหม เขาจะมองว่าเราเป็นคนต่างด้าวไหม ก็คล้ายๆ กับที่เรามักจะพูดกันว่า “คนผิวขาวพูดอะไรดูน่าเชื่อถือกว่า” พอเราพูดเช่นนี้กันบ่อยๆ และเห็นตัวอย่างที่เกิดขึ้นเรื่อยๆ เราก็จะซึมซับและ internalize เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในระบบความคิดเราโดยอัตโนมัติ” ดร.พนิตา อธิบายกระบวนการหล่อหลอมความคิดด้อยค่าตัวเองในสังคม กระบวนการที่เราถูกทำให้ยอมรับการเหยียดและด้อยค่าตนเอง ไม่ได้จำกัดในประเด็นเชื้อชาติเท่านั้น แต่ยังครอบคลุมไปถึงเรื่อง Internalized Oppression หรือการยอมรับการกดขี่ อย่างในเรื่องเพศ เราจะได้ยินความคิดที่ยอมรับว่า “ผู้ชายแข็งแรงกว่าผู้หญิง” “ผู้ชายมีความเป็นผู้นำมากกว่า” หรือ การยอมรับที่จะไม่ได้รับสิทธิตามกฎหมายอย่างเท่าเทียมของกลุ่ม LGBTQ+ เป็นต้น ซึ่งความคิดเหล่านี้สะท้อนการยอมรับการตัดสินจากกลุ่มคนที่เราให้ค่าว่าเหนือกว่าในสังคม ได้แก่ กลุ่มผู้ชายรักต่างเพศ (heterosexual men) ………………………… Check list สัญญาณว่าเรากำลังถูก Internalized Racism 1. ความรู้สึกว่า “ตัวเองด้อยกว่าคนอื่น” หรือต้องพิสูจน์ตัวเองตลอดเวลา เมื่อใดที่รู้สึก “เราไม่เก่งเท่าคนอื่น” ควรกลับมาเช็คตัวเองว่า เราไม่เก่งจริงหรือ เหตุผลคืออะไร ถ้าความไม่มั่นใจมาจากความสามารถ ความไม่ถนัด ขาดประสบการณ์ อันนั้นเข้าใจได้ แต่ถ้าเกิดจากความรู้สึกที่ว่าเราไม่น่าเชื่อถือเพราะเป็นคนเอเชีย เพราะเป็นคนไทย ฯลฯ อันนี้เป็น internalized racism จากสังคมที่เหยียดและกดขี่เรา 2. ความรู้สึกต่อต้านหรือเฉยชากับกระบวนการเรียกร้องให้เกิดความเท่าเทียมในสังคม หรือเห็นด้วยกับระบบสังคมที่กดทับและมองว่าเป็นกฎเกณฑ์หรือเป็นสิ่งที่เหมาะสมแล้ว โดยที่ตนเอง ก็อยู่ในกลุ่มที่ไม่ได้รับความเท่าเทียม หรือเสียประโยชน์ตามที่ควรจะได้รับ …………………………………. 4 แนวทางปลดแอกตัวเองจาก Internalized Racism การต้านทานอิทธิพลทางสังคมหรือลบล้างกระบวนการด้อยค่าและกดทับตัวเอง (Internalized Oppression หรือ Racism) ไม่ใช่เรื่องที่จะทำให้หมดไปในเวลาอันรวดเร็ว หากแต่เป็นกระบวนการที่ใช้เวลา ทั้งนี้ ดร.พนิตา แนะนำ 4 วิธีที่จะช่วยให้เราเปลี่ยน “อุปนิสัยทางความคิด” ใหม่ ได้แก่ มีสติเท่าทันความคิดในการดำเนินชีวิต (self-awareness) ตระหนักรู้ว่าเรากำลังรู้สึกอะไร เพราะอะไร “หากเรามีสติรู้ตัวว่าทำไมเราถึงรู้สึกแบบนี้ เป็นเพราะอะไร เกิดการคิดวิเคราะห์ ตั้งคำถาม สะท้อนความรู้สึกของตัวเอง เราจะรู้เท่าทันการถูกกระทำให้เหยียดตัวเองและรู้ว่าเรากำลังดูถูกตัวเองอยู่หรือเปล่า นอกจากนี้ เราก็ต้องมีสติรู้ด้วยว่าเรากำลังดูถูกหรือด้อยค่าคนอื่นอยู่หรือเปล่าด้วย อย่ากดคนอื่นลงเพื่อให้เราดูสูงขึ้น อันนี้ก็ต้องระวังด้วยเหมือนกัน” เมตตาตัวเอง (self-compassion) รู้จักชื่นชม เห็นคุณค่าและรักตัวเองในแบบที่เราเป็น “เราต้องให้ความสำคัญกับตัวเองว่าเราไม่ได้ด้อยไปกว่าใคร ไม่ว่าเราจะเกิดมาเป็นเพศใด มีเชื้อชาติ สีผิวแบบไหน มันไม่ใช่สิ่งที่จะมากำหนดการใช้ชีวิตหรืออนาคตของเรา” เปิดใจกว้างยอมรับความแตกต่างหลากหลาย หาความรู้ ประสบการณ์ ทำความรู้จักกับคนให้หลากหลายขึ้น “เราจะได้เห็นภาพกว้างๆ ว่าความรู้สึกต่ำต้อยที่เราเป็นอยู่นั้นไม่มีแก่นสารและไม่ควรจะเกิดขึ้น รวมถึงการหาประสบการณ์ชีวิต เช่น การเข้าไปทำความรู้จักกับกลุ่มคนที่มีความแตกต่างหลากหลายทางเชื้อชาติ เพศ วัฒนธรรมและความเชื่อ เพื่อให้เห็นความงามในความต่างเหล่านั้น ทลายกำแพงความเชื่อในเรื่องเชื้อชาติ สีผิว และอื่นๆ ที่เคยมี ให้เห็นความเป็นมนุษย์ที่ไม่สมบูรณ์แบบ มีความเท่าเทียม ไม่เปรียบเทียบคุณค่าว่าอย่างไหนเหนือกว่าหรือด้อยกว่า และเพื่อตรวจสอบกลับมาที่ตัวเองว่า ความรู้สึกว่าตัวเองไม่ดีพอนั้น เป็นข้อเท็จจริงหรือเป็นแค่สิ่งที่เราคิดไปเอง” เข้าร่วมกลุ่มที่สนับสนุนให้กำลังใจกันและกัน (support group) และร่วมกิจกรรมเคลื่อนไหวทางสังคม (movement) ประเด็นความเท่าเทียมในสังคมเพื่อจะได้รู้ว่าเราไม่ได้ต่อสู้เพียงลำพัง เทรนด์คนรุ่นใหม่ เคารพคุณค่าความเป็นมนุษย์ ดร.พนิตา กล่าวว่าปัจจุบัน สถานการณ์ Internalized Racism ในประเทศไทยเริ่มคลี่คลายในทางที่ดีขึ้น โดยมีคนรุ่นใหม่เป็นหัวหอกสำคัญ “คนรุ่นใหม่มีทัศนคติที่ยอมรับความหลากหลายมากขึ้นและให้ความสำคัญกับการรณรงค์เพื่อสร้างความเท่าเทียมมากกว่าในอดีต เขาเห็นการเคลื่อนไหวทางสังคมในระดับโลกมากขึ้น แล้วย้อนกลับมาตั้งคำถามว่าทำไมในประเทศยังทักกันเรื่องรูปร่างหน้าตา มีการเหยียดสีผิวกันอยู่ แล้วเริ่มเรียกร้องให้เกิดการเปลี่ยนแปลง แบน (banned) ทัศนคติที่เป็นการเหยียดกัน” การลด Internalized Racism เป็นขบวนการที่ใช้เวลา แต่แม้จะยาวนาน ก็ต้องทำไปเรื่อยๆ เพื่อสังคมที่ทุกคนอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ดร.พนิตา กล่าวทิ้งท้ายอย่างมีความหวัง ……………….. ที่มา ศูนย์สื่อสารองค์กร จุฬาฯ tui sakrapee Related Posts ม.สุโขทัยธรรมาธิราช เปิดรับนักศึกษาใหม่ ภาคต้นปีการศึกษา 2568 เริ่มรับสมัครวันที่ 1 เมษายน 2568 CP All Education Forum 2025 จัดใหญ่! มอบทุนการศึกษากว่า 1,648 ล้าน ปลุกพลังการศึกษาไทย “สร้างคนเก่ง ดี มีความสามารถ” รับมือยุค AI มธ. รับสมัครนักศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสหวิทยาการ ประจำปีการศึกษา 2568 สัปดาห์สุดท้าย!ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา เปิดรับรอบที่ 2 Quota 8 สาขา พร้อมมอบทุนเพชรสุนันทา เรียนการออกแบบแฟชั่น มทร.ธัญบุรี เปิดกว้างทุกวัย เพื่อเรียนรู้ตลอดชีพ ธนาคารหน่วยกิต “40 หลักสูตร ป.ตรี” Post navigation PREVIOUS Previous post: มีสิทธิ์รับทุน! มทร.ธัญบุรี – ม.โอทาโก นิวซีแลนด์ เปิดรับสมัครแล้ว หลักสูตรเตรียมพร้อมปริญญาตรีไฮบริดนิวซีแลนด์รุ่น 2NEXT Next post: รมว.กระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา สั่งการหัวหน้าผู้ตรวจราชการ “สันติ ป่าหวาย” ขับเคลื่อนนโยบายโครงการอาสาสมัครท่องเที่ยวกีฬาทั่วประเทศ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ม.สุโขทัยธรรมาธิราช เปิดรับนักศึกษาใหม่ ภาคต้นปีการศึกษา 2568 เริ่มรับสมัครวันที่ 1 เมษายน 2568 EZ WebmasterMarch 28, 2025 ม.สุโขทัยธรรมาธิราช เปิดรับนักศึกษาใหม่ ภาคต้นปีการศึกษา 2568 เริ่มรับสมัครวันที่ 1 เมษายน 2568 1 เมษายน 2568 วันเปิดรับสมัครนักศึกษาใหม่ภาคต้นปีการศึกษา 2568 สามารถดาวน์โหลดระเบียบการสมัครเป็นนักศึกษาและใบสมัครฯ ฟรี!!! คลิกได้ที่นี่ คลิก Download… CP All Education Forum 2025 จัดใหญ่! มอบทุนการศึกษากว่า 1,648 ล้าน ปลุกพลังการศึกษาไทย “สร้างคนเก่ง ดี มีความสามารถ” รับมือยุค AI EZ WebmasterMarch 28, 2025 เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI) เข้ามาเปลี่ยนแปลงทุกภาคส่วนของสังคมอย่างรวดเร็ว วงการศึกษาคือหนึ่งในภาคส่วนที่ต้องพลิกเกมส์ให้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง การเตรียม “คน” ผ่านการศึกษาจึงเป็นอีกหนึ่งความท้าทาย ที่ภาคการศึกษาต้องรับมือให้พร้อม บมจ.ซีพี ออลล์ ร่วมกับ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ (PIM) วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์ (PAT) และโรงเรียนสาธิตสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ จัดงาน…
CP All Education Forum 2025 จัดใหญ่! มอบทุนการศึกษากว่า 1,648 ล้าน ปลุกพลังการศึกษาไทย “สร้างคนเก่ง ดี มีความสามารถ” รับมือยุค AI EZ WebmasterMarch 28, 2025 เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI) เข้ามาเปลี่ยนแปลงทุกภาคส่วนของสังคมอย่างรวดเร็ว วงการศึกษาคือหนึ่งในภาคส่วนที่ต้องพลิกเกมส์ให้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง การเตรียม “คน” ผ่านการศึกษาจึงเป็นอีกหนึ่งความท้าทาย ที่ภาคการศึกษาต้องรับมือให้พร้อม บมจ.ซีพี ออลล์ ร่วมกับ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ (PIM) วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์ (PAT) และโรงเรียนสาธิตสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ จัดงาน…
CP All Education Forum 2025 จัดใหญ่! มอบทุนการศึกษากว่า 1,648 ล้าน ปลุกพลังการศึกษาไทย “สร้างคนเก่ง ดี มีความสามารถ” รับมือยุค AI EZ WebmasterMarch 28, 2025 เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (AI) เข้ามาเปลี่ยนแปลงทุกภาคส่วนของสังคมอย่างรวดเร็ว วงการศึกษาคือหนึ่งในภาคส่วนที่ต้องพลิกเกมส์ให้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง การเตรียม “คน” ผ่านการศึกษาจึงเป็นอีกหนึ่งความท้าทาย ที่ภาคการศึกษาต้องรับมือให้พร้อม บมจ.ซีพี ออลล์ ร่วมกับ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ (PIM) วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์ (PAT) และโรงเรียนสาธิตสถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ จัดงาน… มธ. รับสมัครนักศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสหวิทยาการ ประจำปีการศึกษา 2568 EZ WebmasterMarch 27, 2025 วิทยาลัยสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เปิดรับสมัครนักศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสหวิทยาการ (จัดการเรียนการสอนที่ท่าพระจันทร์) มี 2 แผนการศึกษา ดังนี้ แผน 1.1 (ทเฉพาะวิทยานิพนธ์) แผน 2.1 (ศึกษารายวิชาและทำวิทยานิพนธ์) หลักฐานประกอบการสมัคร 3.1 ใบสมัครของหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสหวิทยาการ… มทร.ธัญบุรี เปิดกว้างทุกวัย เพื่อเรียนรู้ตลอดชีพ ธนาคารหน่วยกิต “40 หลักสูตร ป.ตรี” tui sakrapeeMarch 26, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) เปิดรับสมัครผู้สนใจเข้าร่วมโครงการการเรียนรู้ตลอดชีวิตในระบบเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ (ธนาคารหน่วยกิต) หลักสูตรระดับปริญญาตรี ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2568 ตั้งแต่วันที่ 24 มี.ค. ถึง 30 พ.ค. 2568 โดยไม่มีค่าใช้จ่ายในการสมัคร… เปิดรับอาสาสมัครศิริราช รอบทำกิจกรรม เดือน พ.ค.-ก.ค. 68 ทุกกิจกรรมมีใบรับรองการทำกิจกรรม EZ WebmasterMarch 26, 2025 ตารางการรับอาสาสมัครรอบทำกิจกรรม เดือน พฤษภาคม – กรกฏาคม 68 (กิจกรรมที่อยู่ในเว็บไซต์ตอนนี้เป็นรอบเก่ามีผู้เข้าร่วมเต็มทั้งหมดแล้วค่ะ รอบใหม่จะเปิดตามวันเวลาที่แจ้งด้านล่างนี้เท่านั้น*) ขอให้อาสาเป็นผู้สมัครและกดเลือกกิจกรรมด้วยตนเองนะคะ – 31 ก.ค. 68 **เนื่องจากวันที่ 5 พ.ค. เป็นวันหยุด จะขอเริ่มตั้งแต่วันที่วันที่ 6 พ.ค.… ทุนดีดี U. of Waterlooให้ทุนป.ตรี InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศMarch 28, 2025 Faculty of Science International Student Scholarships at University of Waterloo, Canadaสำหรับนักศึกษาต่างชาติสูงสุด 15 ทุน เพื่อสนับสนุนนักศึกษาที่มีผลงานดีเด่นในภาคการศึกษาปีการศึกษา 2025/2026 ซึ่งรวมถึงทุนการศึกษาแบบต่ออายุ 10 ทุน… มหาวิทยาลัยอัลอัซฮัร กรุงไคโร สาธารณรัฐอาหรับอียิปต์ มอบ 160 ทุนให้นักศึกษาจากประเทศไทย EZ WebmasterMarch 27, 2025 มหาวิทยาลัยอัลอัซฮัร กรุงไคโร สาธารณรัฐอาหรับอียิปต์ มอบทุนการศึกษาแก่นักศึกษาจากประเทศไทย จำนวน 160 ทุน ในปีการศึกษา 2025/2026 (2568/2569) โดยจำแนกเป็น ทุนนการศึกษาสาขาอิสลามศึกษา จำนวน 80 ทุน เฉพาะนักเรียนที่จบการศึกษาระดับอิสลามศึกษาตอนปลาย (ซานาวี) #จากโรงเรียนที่ได้รับรองวิทยฐานะ ประกาศนียบัตรระดับอิสลามศึกษาตอนปลาย (ซานาวี)… Peking U.ให้ทุนป.ตรี-เอก InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศMarch 27, 2025 Peking University กำลังให้ทุนสำหรับนักศึกษาต่างชาติที่โดดเด่น ทุนนี้ก่อตั้งขึ้นในปี 2012 โดยให้การสนับสนุนนักศึกษาระดับปริญญาตรี โท และเอก(ไม่จำกัดสาขาวิชา) โดยให้ความช่วยเหลือทางการเงินเต็มจำนวนหรือบางส่วน รวมถึงค่าเล่าเรียน เงินเดือน และประกันสุขภาพ เปิดรับสมัครช่วงมีนาคมถึงเมษายน ทุกปี เพื่อให้มีสิทธิ์ได้รับทุน ผู้สมัครจะต้องเป็นนักศึกษาต่างชาติที่ได้รับข้อเสนอให้เข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยปักกิ่งในฐานะนักศึกษาปีหนึ่ง จะต้องไม่เป็นผู้รับทุนการศึกษาอื่นใด และไม่ควรลงทะเบียนในโปรแกรมปริญญาวิชาชีพ… สัปดาห์สุดท้าย!ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา เปิดรับรอบที่ 2 Quota 8 สาขา พร้อมมอบทุนเพชรสุนันทา เรียนการออกแบบแฟชั่น tui sakrapeeMarch 27, 2025 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดรับสมัครคัดเลือกนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญเข้าศึกษาในโครงการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาระดับปริญญาตรี ระบบโควตา ประเภทความสามารถทางวิชาการ และประเภทความสามารถพิเศษ ประจำปีการศึกษา 2568 (รอบที่ 2 Quota) พร้อมรับสมัครคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษา ภาคปกติ ระดับปริญญาตรี ในโครงการทุนเพชรสุนันทา กำหนดการรับสมัคร สาขาที่รับสมัครคณะศิลปกรรมศาสตร์ คุณสมบัติเฉพาะ… ครู-อาจารย์ 5 แนวโน้มสำคัญด้านการศึกษาในปี 2025 EZ WebmasterMarch 28, 2025 5 แนวโน้มสำคัญด้านการศึกษาในปี 2025 ปี 2025 เป็นปีแห่งการเปลี่ยนแปลงของวงการศึกษา เทคโนโลยีใหม่ๆ และแนวคิดการเรียนรู้ที่ทันสมัยจะเข้ามามีบทบาทสำคัญ มาดูกันว่าอะไรคือแนวโน้มหลักที่ต้องจับตามอง! การเกิดขึ้นของโรงเรียนรูปแบบใหม่ Hybrid Learning, Microschools และ Homeschool กำลังได้รับความนิยมมากขึ้น การใช้… มจธ. คิดค้น “นวัตกรรมการผลิตซิลิกาด้วยเทคโนโลยีชีวภาพ” ต้นทุนต่ำ คุณภาพสูง พร้อมพลิกโฉมอุตสาหกรรมไทย EZ WebmasterMarch 27, 2025 นักวิจัย มจธ.พัฒนากระบวนการผลิต ไบโอซิลิกา (Biosilica) จากแกลบข้าว ด้วยกระบวนการชีวภาพ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและไร้สารเคมีตกค้าง พร้อมส่งต่อเทคโนโลยีเพื่อนำไปใช้ในอุตสาหกรรมต่างๆ เช่น เครื่องสำอาง เวชสำอาง ยา และยาง ซึ่งเป็นก้าวสำคัญที่ช่วยให้ประเทศไทยลดการพึ่งพาซิลิกานำเข้า และส่งเสริมเศรษฐกิจหมุนเวียนของประเทศ ซิลิกา (Silica) เป็นวัตถุดิบสำคัญในหลายอุตสาหกรรมของไทย ตั้งแต่ยางรถยนต์ เครื่องสำอาง เวชภัณฑ์… โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “ดร.ชุมพล พรประภา” เป็นนายกสภา ม.ศรีนครินทรวิโรฒ tui sakrapeeMarch 26, 2025 ราชกิจจานุเบกษาเผยแพร่ ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “ชุมพล พรประภา” ดำรงตำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ แทนวิจิตร ศรีสอ้าน ที่ถึงแก่อนิจกรรม ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 142 ตอนพิเศษ 147 ง เมื่อวันที่ 25… สอศ. ปั้นผู้อำนวยการอาชีวะยุคใหม่! เสริมภาวะผู้นำ-วิสัยทัศน์ ทันโลกการศึกษา EZ WebmasterMarch 26, 2025 วันที่ 26 มีนาคม 2568 นายยศพล เวณุโกเศศ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (เลขาธิการ กอศ.) เป็นประธานเปิดโครงการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และบรรยายพิเศษ “Growth Mindset: แนวคิดเชิงบวกและการเติบโตขององค์กร” โดยนางธิติมา โรจน์วัชราภิบาล ผู้อำนวยการ… กิจกรรม สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ ร่วมพิธีวางพานพุ่มและพิธีตักบาตร เนื่องในวันครบรอบ ๑๐๘ ปี แห่งการสถาปนาจุฬาฯ EZ WebmasterMarch 27, 2025 สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินร่วมพิธีวางพานพุ่มสักการะพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระปิยมหาราชและสมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า และพิธีตักบาตร เนื่องในวันครบรอบ ๑๐๘ ปี แห่งการสถาปนาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมี นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ และ นายอรรษิษฐ์ สัมพันธรัตน์ ประธานการจัดงานคืนเหย้าชาวจุฬาฯ… พิธีเปิดกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) ภายใต้โครงการพัฒนามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมผ้าไทยสู่สากล ประจำปี ๒๕๖๘ EZ WebmasterMarch 26, 2025 นางสาวลิปิการ์ กำลังชัย รองธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรม รักษาราชการแทนอธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรมเป็นประธานพิธิเปิด และร่วมรับฟังการบรรยายกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) พร้อมด้วยนางสาวศิวพร ฉันทไกรวัฒน์ ผู้อำนวยการกลุ่มเผยแพร่และต่อยอดมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมเข้าร่วมงาน โดยวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญด้านผ้าไทย การออกแบบและแฟชั่น อาทิ ผศ.ดร.รวิเทพ มุสิกะปาน ผศ.ดร.วุฒิไกร… เปิดรับอาสาสมัครศิริราช รอบทำกิจกรรม เดือน พ.ค.-ก.ค. 68 ทุกกิจกรรมมีใบรับรองการทำกิจกรรม EZ WebmasterMarch 26, 2025 ตารางการรับอาสาสมัครรอบทำกิจกรรม เดือน พฤษภาคม – กรกฏาคม 68 (กิจกรรมที่อยู่ในเว็บไซต์ตอนนี้เป็นรอบเก่ามีผู้เข้าร่วมเต็มทั้งหมดแล้วค่ะ รอบใหม่จะเปิดตามวันเวลาที่แจ้งด้านล่างนี้เท่านั้น*) ขอให้อาสาเป็นผู้สมัครและกดเลือกกิจกรรมด้วยตนเองนะคะ – 31 ก.ค. 68 **เนื่องจากวันที่ 5 พ.ค. เป็นวันหยุด จะขอเริ่มตั้งแต่วันที่วันที่ 6 พ.ค.… เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน รับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน EZ WebmasterMarch 24, 2025 เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน เกม Let’s School เกมแนวบริหารโรงเรียนในฝัน ที่จะให้เรารับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน อยากให้โรงเรียนเป็นแบบไหนก็ปรับเล่นได้เลย ดูอารมณ์นักเรียกได้ด้วยว่ามีความสุขมั้ย? แถมตอนนี้ยังมีอัปเดตแมพใหม่พร้อมซัพไทยด้วยนะ Let’s School โหลดเล่นได้ที่ Steam :… Search for: Search tui sakrapee February 22, 2022 tui sakrapee February 22, 2022 Internalized Racism ถึงเวลาปลดแอก “การเหยียดตัวเอง” อาจารย์จิตวิทยา จุฬาฯ ชี้ประเด็นการด้อยค่าตัวเอง ไม่ว่าเรื่องเชื้อชาติ สีผิว เพศ ที่เกิดขึ้นโดยไม่รู้ตัวและส่งผลต่อความสุขส่วนบุคคลและสังคม ชวนทุกฝ่ายเท่าทันกระบวนการ Internalized Racism แล้วปรับมุมมองให้เห็นคุณค่าความเป็นมนุษย์ที่เท่ากัน “ฉันผิวคล้ำ ใส่สีแดงสดไม่ได้หรอก เดี๋ยวเหมือนอีกาคาบพริก” “เรามันแค่ประชากรประเทศโลกที่สาม จะไปเก่งสู้ฝรั่งได้อย่างไร” หลายคนอาจจะคุ้นหูประโยคเหล่านี้และอาจจะเคยพูดกับตนเองด้วยซ้ำ โดยคิดว่า “ไม่เป็นไร เรื่องธรรมดา ก็มันจริง หรือพูดเล่นขำๆ” แต่สำหรับ ดร.พนิตา เสือวรรณศรี อาจารย์แขนงวิชาจิตวิทยาการปรึกษา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คำพูดเหล่านี้สะท้อนกระบวนการเหยียดและด้อยค่าตัวเอง (Internalized Racism) ซึ่งเป็นเสมือนเนื้อร้ายทำลายสังคมและความสุขของบุคคลในฐานะมนุษย์ที่มีคุณค่าเท่าเทียมกัน “เราควรตระหนักและพูดถึงประเด็นนี้กันให้มากขึ้น สิ่งที่อันตรายกว่าการไม่เห็นด้วยคือการนิ่งเฉย ระบบ racism เป็นระบบที่กดทับอยู่แล้ว การละเลย ไม่พูดถึงสิ่งนี้เท่ากับเป็นการยอมรับมันโดยปริยาย” ดร. พนิตา ผู้วิจัยเรื่อง Internalized Racism กล่าว Internalized Racism คืออะไร Racism หมายถึงการเหยียดสีผิว เชื้อชาติ วัฒนธรรม ด้วยความรู้สึกว่าตนอยู่ในกลุ่มที่เหนือกว่า ดีกว่า แล้วยัดเยียดความรู้สึกด้อยค่านั้นให้ผู้อื่น ส่วน Internalized Racism เป็นการกระทำในทิศทางตรงกันข้าม คือผู้ที่ถูกกดขี่เชื่อและยอมรับความคิดว่าตัวเองด้อยกว่านั้นมาเป็นความจริงของตัวเอง “พูดง่ายๆ ก็คือไม่ต้องมีใครมาเหยียดฉันหรอก ฉันชิงเหยียดตัวเองก่อนแล้ว เป็นกระบวนการที่เรามองว่าตัวเองด้อยกว่า ไม่ทัดเทียมผู้อื่น ไม่ว่าจะด้านเชื้อชาติ สีผิว Internalized Racism มักเกิดขึ้นโดยที่เราไม่รู้ตัว ด้วยกระบวนการหล่อหลอมให้รู้สึกว่ามันเป็นอย่างนั้นและเป็นเรื่องธธรรมดา” Internalized Racism ในชีวิตประจำวัน ดร.พนิตา เริ่มศึกษาและวิจัยเรื่อง Internalized Racism จากการสังเกตเบื้องลึกความรู้สึก “ไม่ดีพอ” ที่เกิดขึ้นภายในใจของเธอเอง “สมัยที่เรียนต่างประเทศ เวลาไปเที่ยวโดยเครื่องบินกับเพื่อนต่างชาติซึ่งส่วนใหญ่เป็นคนผิวขาว เรามักจะบอกเพื่อนว่าให้รอเราด้วยเพราะเราน่าจะเป็นคนสุดท้ายที่ผ่านด่านตรวจคนเข้าเมือง ที่บอกเพื่อนๆ อย่างนั้นเพราะเราเชื่อว่าเราต้องโดนตรวจกระเป๋าแน่ๆ ซึ่งก็เกิดขึ้นจริงๆ ตอนนั้นเรามองว่าสิ่งที่เกิดขึ้นเป็นเรื่องปกติ จนกระทั่งเพื่อนบอกว่า “นี่มันไม่ใช่เรื่องปกตินะ” เราจึงเริ่มมองเห็นว่ามันไม่ควรเป็นอย่างนั้น ทุกคนควรจะเท่าเทียมกัน ไม่ควรมีใครโดนเหยียด (racial slurs) โดนอคติมากกว่าคนอื่น” ความคิดที่ว่าเราด้อยกว่า ไม่มีคุณค่าเท่า ไม่เก่งเท่า หรือสมควรแล้วที่ถูกปฏิบัติอย่างไม่เท่าเทียม มีผลลดทอนความมั่นใจในการใช้ชีวิตและอาชีพการงานของคนๆ นั้น ดร.พนิตา กล่าวเสริม “ในฐานะนักจิตวิทยา เรามีหน้าที่ให้คำปรึกษาซึ่งต้องมีความน่าเชื่อถือ แต่เมื่อต้องไปให้คำปรึกษากับฝรั่ง เรากลับรู้สึกไม่มั่นใจ ไม่แน่ใจว่าเขาจะเชื่อเราไหม เขาจะมองว่าเราเป็นคนต่างด้าวไหม ก็คล้ายๆ กับที่เรามักจะพูดกันว่า “คนผิวขาวพูดอะไรดูน่าเชื่อถือกว่า” พอเราพูดเช่นนี้กันบ่อยๆ และเห็นตัวอย่างที่เกิดขึ้นเรื่อยๆ เราก็จะซึมซับและ internalize เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในระบบความคิดเราโดยอัตโนมัติ” ดร.พนิตา อธิบายกระบวนการหล่อหลอมความคิดด้อยค่าตัวเองในสังคม กระบวนการที่เราถูกทำให้ยอมรับการเหยียดและด้อยค่าตนเอง ไม่ได้จำกัดในประเด็นเชื้อชาติเท่านั้น แต่ยังครอบคลุมไปถึงเรื่อง Internalized Oppression หรือการยอมรับการกดขี่ อย่างในเรื่องเพศ เราจะได้ยินความคิดที่ยอมรับว่า “ผู้ชายแข็งแรงกว่าผู้หญิง” “ผู้ชายมีความเป็นผู้นำมากกว่า” หรือ การยอมรับที่จะไม่ได้รับสิทธิตามกฎหมายอย่างเท่าเทียมของกลุ่ม LGBTQ+ เป็นต้น ซึ่งความคิดเหล่านี้สะท้อนการยอมรับการตัดสินจากกลุ่มคนที่เราให้ค่าว่าเหนือกว่าในสังคม ได้แก่ กลุ่มผู้ชายรักต่างเพศ (heterosexual men) ………………………… Check list สัญญาณว่าเรากำลังถูก Internalized Racism 1. ความรู้สึกว่า “ตัวเองด้อยกว่าคนอื่น” หรือต้องพิสูจน์ตัวเองตลอดเวลา เมื่อใดที่รู้สึก “เราไม่เก่งเท่าคนอื่น” ควรกลับมาเช็คตัวเองว่า เราไม่เก่งจริงหรือ เหตุผลคืออะไร ถ้าความไม่มั่นใจมาจากความสามารถ ความไม่ถนัด ขาดประสบการณ์ อันนั้นเข้าใจได้ แต่ถ้าเกิดจากความรู้สึกที่ว่าเราไม่น่าเชื่อถือเพราะเป็นคนเอเชีย เพราะเป็นคนไทย ฯลฯ อันนี้เป็น internalized racism จากสังคมที่เหยียดและกดขี่เรา 2. ความรู้สึกต่อต้านหรือเฉยชากับกระบวนการเรียกร้องให้เกิดความเท่าเทียมในสังคม หรือเห็นด้วยกับระบบสังคมที่กดทับและมองว่าเป็นกฎเกณฑ์หรือเป็นสิ่งที่เหมาะสมแล้ว โดยที่ตนเอง ก็อยู่ในกลุ่มที่ไม่ได้รับความเท่าเทียม หรือเสียประโยชน์ตามที่ควรจะได้รับ …………………………………. 4 แนวทางปลดแอกตัวเองจาก Internalized Racism การต้านทานอิทธิพลทางสังคมหรือลบล้างกระบวนการด้อยค่าและกดทับตัวเอง (Internalized Oppression หรือ Racism) ไม่ใช่เรื่องที่จะทำให้หมดไปในเวลาอันรวดเร็ว หากแต่เป็นกระบวนการที่ใช้เวลา ทั้งนี้ ดร.พนิตา แนะนำ 4 วิธีที่จะช่วยให้เราเปลี่ยน “อุปนิสัยทางความคิด” ใหม่ ได้แก่ มีสติเท่าทันความคิดในการดำเนินชีวิต (self-awareness) ตระหนักรู้ว่าเรากำลังรู้สึกอะไร เพราะอะไร “หากเรามีสติรู้ตัวว่าทำไมเราถึงรู้สึกแบบนี้ เป็นเพราะอะไร เกิดการคิดวิเคราะห์ ตั้งคำถาม สะท้อนความรู้สึกของตัวเอง เราจะรู้เท่าทันการถูกกระทำให้เหยียดตัวเองและรู้ว่าเรากำลังดูถูกตัวเองอยู่หรือเปล่า นอกจากนี้ เราก็ต้องมีสติรู้ด้วยว่าเรากำลังดูถูกหรือด้อยค่าคนอื่นอยู่หรือเปล่าด้วย อย่ากดคนอื่นลงเพื่อให้เราดูสูงขึ้น อันนี้ก็ต้องระวังด้วยเหมือนกัน” เมตตาตัวเอง (self-compassion) รู้จักชื่นชม เห็นคุณค่าและรักตัวเองในแบบที่เราเป็น “เราต้องให้ความสำคัญกับตัวเองว่าเราไม่ได้ด้อยไปกว่าใคร ไม่ว่าเราจะเกิดมาเป็นเพศใด มีเชื้อชาติ สีผิวแบบไหน มันไม่ใช่สิ่งที่จะมากำหนดการใช้ชีวิตหรืออนาคตของเรา” เปิดใจกว้างยอมรับความแตกต่างหลากหลาย หาความรู้ ประสบการณ์ ทำความรู้จักกับคนให้หลากหลายขึ้น “เราจะได้เห็นภาพกว้างๆ ว่าความรู้สึกต่ำต้อยที่เราเป็นอยู่นั้นไม่มีแก่นสารและไม่ควรจะเกิดขึ้น รวมถึงการหาประสบการณ์ชีวิต เช่น การเข้าไปทำความรู้จักกับกลุ่มคนที่มีความแตกต่างหลากหลายทางเชื้อชาติ เพศ วัฒนธรรมและความเชื่อ เพื่อให้เห็นความงามในความต่างเหล่านั้น ทลายกำแพงความเชื่อในเรื่องเชื้อชาติ สีผิว และอื่นๆ ที่เคยมี ให้เห็นความเป็นมนุษย์ที่ไม่สมบูรณ์แบบ มีความเท่าเทียม ไม่เปรียบเทียบคุณค่าว่าอย่างไหนเหนือกว่าหรือด้อยกว่า และเพื่อตรวจสอบกลับมาที่ตัวเองว่า ความรู้สึกว่าตัวเองไม่ดีพอนั้น เป็นข้อเท็จจริงหรือเป็นแค่สิ่งที่เราคิดไปเอง” เข้าร่วมกลุ่มที่สนับสนุนให้กำลังใจกันและกัน (support group) และร่วมกิจกรรมเคลื่อนไหวทางสังคม (movement) ประเด็นความเท่าเทียมในสังคมเพื่อจะได้รู้ว่าเราไม่ได้ต่อสู้เพียงลำพัง เทรนด์คนรุ่นใหม่ เคารพคุณค่าความเป็นมนุษย์ ดร.พนิตา กล่าวว่าปัจจุบัน สถานการณ์ Internalized Racism ในประเทศไทยเริ่มคลี่คลายในทางที่ดีขึ้น โดยมีคนรุ่นใหม่เป็นหัวหอกสำคัญ “คนรุ่นใหม่มีทัศนคติที่ยอมรับความหลากหลายมากขึ้นและให้ความสำคัญกับการรณรงค์เพื่อสร้างความเท่าเทียมมากกว่าในอดีต เขาเห็นการเคลื่อนไหวทางสังคมในระดับโลกมากขึ้น แล้วย้อนกลับมาตั้งคำถามว่าทำไมในประเทศยังทักกันเรื่องรูปร่างหน้าตา มีการเหยียดสีผิวกันอยู่ แล้วเริ่มเรียกร้องให้เกิดการเปลี่ยนแปลง แบน (banned) ทัศนคติที่เป็นการเหยียดกัน” การลด Internalized Racism เป็นขบวนการที่ใช้เวลา แต่แม้จะยาวนาน ก็ต้องทำไปเรื่อยๆ เพื่อสังคมที่ทุกคนอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ดร.พนิตา กล่าวทิ้งท้ายอย่างมีความหวัง ……………….. ที่มา ศูนย์สื่อสารองค์กร จุฬาฯ tui sakrapee Related Posts ม.สุโขทัยธรรมาธิราช เปิดรับนักศึกษาใหม่ ภาคต้นปีการศึกษา 2568 เริ่มรับสมัครวันที่ 1 เมษายน 2568 CP All Education Forum 2025 จัดใหญ่! มอบทุนการศึกษากว่า 1,648 ล้าน ปลุกพลังการศึกษาไทย “สร้างคนเก่ง ดี มีความสามารถ” รับมือยุค AI มธ. รับสมัครนักศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสหวิทยาการ ประจำปีการศึกษา 2568 สัปดาห์สุดท้าย!ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา เปิดรับรอบที่ 2 Quota 8 สาขา พร้อมมอบทุนเพชรสุนันทา เรียนการออกแบบแฟชั่น มทร.ธัญบุรี เปิดกว้างทุกวัย เพื่อเรียนรู้ตลอดชีพ ธนาคารหน่วยกิต “40 หลักสูตร ป.ตรี” Post navigation PREVIOUS Previous post: มีสิทธิ์รับทุน! มทร.ธัญบุรี – ม.โอทาโก นิวซีแลนด์ เปิดรับสมัครแล้ว หลักสูตรเตรียมพร้อมปริญญาตรีไฮบริดนิวซีแลนด์รุ่น 2NEXT Next post: รมว.กระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา สั่งการหัวหน้าผู้ตรวจราชการ “สันติ ป่าหวาย” ขับเคลื่อนนโยบายโครงการอาสาสมัครท่องเที่ยวกีฬาทั่วประเทศ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มธ. รับสมัครนักศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสหวิทยาการ ประจำปีการศึกษา 2568 EZ WebmasterMarch 27, 2025 วิทยาลัยสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เปิดรับสมัครนักศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสหวิทยาการ (จัดการเรียนการสอนที่ท่าพระจันทร์) มี 2 แผนการศึกษา ดังนี้ แผน 1.1 (ทเฉพาะวิทยานิพนธ์) แผน 2.1 (ศึกษารายวิชาและทำวิทยานิพนธ์) หลักฐานประกอบการสมัคร 3.1 ใบสมัครของหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสหวิทยาการ… มทร.ธัญบุรี เปิดกว้างทุกวัย เพื่อเรียนรู้ตลอดชีพ ธนาคารหน่วยกิต “40 หลักสูตร ป.ตรี” tui sakrapeeMarch 26, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) เปิดรับสมัครผู้สนใจเข้าร่วมโครงการการเรียนรู้ตลอดชีวิตในระบบเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ (ธนาคารหน่วยกิต) หลักสูตรระดับปริญญาตรี ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2568 ตั้งแต่วันที่ 24 มี.ค. ถึง 30 พ.ค. 2568 โดยไม่มีค่าใช้จ่ายในการสมัคร… เปิดรับอาสาสมัครศิริราช รอบทำกิจกรรม เดือน พ.ค.-ก.ค. 68 ทุกกิจกรรมมีใบรับรองการทำกิจกรรม EZ WebmasterMarch 26, 2025 ตารางการรับอาสาสมัครรอบทำกิจกรรม เดือน พฤษภาคม – กรกฏาคม 68 (กิจกรรมที่อยู่ในเว็บไซต์ตอนนี้เป็นรอบเก่ามีผู้เข้าร่วมเต็มทั้งหมดแล้วค่ะ รอบใหม่จะเปิดตามวันเวลาที่แจ้งด้านล่างนี้เท่านั้น*) ขอให้อาสาเป็นผู้สมัครและกดเลือกกิจกรรมด้วยตนเองนะคะ – 31 ก.ค. 68 **เนื่องจากวันที่ 5 พ.ค. เป็นวันหยุด จะขอเริ่มตั้งแต่วันที่วันที่ 6 พ.ค.… ทุนดีดี U. of Waterlooให้ทุนป.ตรี InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศMarch 28, 2025 Faculty of Science International Student Scholarships at University of Waterloo, Canadaสำหรับนักศึกษาต่างชาติสูงสุด 15 ทุน เพื่อสนับสนุนนักศึกษาที่มีผลงานดีเด่นในภาคการศึกษาปีการศึกษา 2025/2026 ซึ่งรวมถึงทุนการศึกษาแบบต่ออายุ 10 ทุน… มหาวิทยาลัยอัลอัซฮัร กรุงไคโร สาธารณรัฐอาหรับอียิปต์ มอบ 160 ทุนให้นักศึกษาจากประเทศไทย EZ WebmasterMarch 27, 2025 มหาวิทยาลัยอัลอัซฮัร กรุงไคโร สาธารณรัฐอาหรับอียิปต์ มอบทุนการศึกษาแก่นักศึกษาจากประเทศไทย จำนวน 160 ทุน ในปีการศึกษา 2025/2026 (2568/2569) โดยจำแนกเป็น ทุนนการศึกษาสาขาอิสลามศึกษา จำนวน 80 ทุน เฉพาะนักเรียนที่จบการศึกษาระดับอิสลามศึกษาตอนปลาย (ซานาวี) #จากโรงเรียนที่ได้รับรองวิทยฐานะ ประกาศนียบัตรระดับอิสลามศึกษาตอนปลาย (ซานาวี)… Peking U.ให้ทุนป.ตรี-เอก InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศMarch 27, 2025 Peking University กำลังให้ทุนสำหรับนักศึกษาต่างชาติที่โดดเด่น ทุนนี้ก่อตั้งขึ้นในปี 2012 โดยให้การสนับสนุนนักศึกษาระดับปริญญาตรี โท และเอก(ไม่จำกัดสาขาวิชา) โดยให้ความช่วยเหลือทางการเงินเต็มจำนวนหรือบางส่วน รวมถึงค่าเล่าเรียน เงินเดือน และประกันสุขภาพ เปิดรับสมัครช่วงมีนาคมถึงเมษายน ทุกปี เพื่อให้มีสิทธิ์ได้รับทุน ผู้สมัครจะต้องเป็นนักศึกษาต่างชาติที่ได้รับข้อเสนอให้เข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยปักกิ่งในฐานะนักศึกษาปีหนึ่ง จะต้องไม่เป็นผู้รับทุนการศึกษาอื่นใด และไม่ควรลงทะเบียนในโปรแกรมปริญญาวิชาชีพ… สัปดาห์สุดท้าย!ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา เปิดรับรอบที่ 2 Quota 8 สาขา พร้อมมอบทุนเพชรสุนันทา เรียนการออกแบบแฟชั่น tui sakrapeeMarch 27, 2025 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดรับสมัครคัดเลือกนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญเข้าศึกษาในโครงการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาระดับปริญญาตรี ระบบโควตา ประเภทความสามารถทางวิชาการ และประเภทความสามารถพิเศษ ประจำปีการศึกษา 2568 (รอบที่ 2 Quota) พร้อมรับสมัครคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษา ภาคปกติ ระดับปริญญาตรี ในโครงการทุนเพชรสุนันทา กำหนดการรับสมัคร สาขาที่รับสมัครคณะศิลปกรรมศาสตร์ คุณสมบัติเฉพาะ… ครู-อาจารย์ 5 แนวโน้มสำคัญด้านการศึกษาในปี 2025 EZ WebmasterMarch 28, 2025 5 แนวโน้มสำคัญด้านการศึกษาในปี 2025 ปี 2025 เป็นปีแห่งการเปลี่ยนแปลงของวงการศึกษา เทคโนโลยีใหม่ๆ และแนวคิดการเรียนรู้ที่ทันสมัยจะเข้ามามีบทบาทสำคัญ มาดูกันว่าอะไรคือแนวโน้มหลักที่ต้องจับตามอง! การเกิดขึ้นของโรงเรียนรูปแบบใหม่ Hybrid Learning, Microschools และ Homeschool กำลังได้รับความนิยมมากขึ้น การใช้… มจธ. คิดค้น “นวัตกรรมการผลิตซิลิกาด้วยเทคโนโลยีชีวภาพ” ต้นทุนต่ำ คุณภาพสูง พร้อมพลิกโฉมอุตสาหกรรมไทย EZ WebmasterMarch 27, 2025 นักวิจัย มจธ.พัฒนากระบวนการผลิต ไบโอซิลิกา (Biosilica) จากแกลบข้าว ด้วยกระบวนการชีวภาพ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและไร้สารเคมีตกค้าง พร้อมส่งต่อเทคโนโลยีเพื่อนำไปใช้ในอุตสาหกรรมต่างๆ เช่น เครื่องสำอาง เวชสำอาง ยา และยาง ซึ่งเป็นก้าวสำคัญที่ช่วยให้ประเทศไทยลดการพึ่งพาซิลิกานำเข้า และส่งเสริมเศรษฐกิจหมุนเวียนของประเทศ ซิลิกา (Silica) เป็นวัตถุดิบสำคัญในหลายอุตสาหกรรมของไทย ตั้งแต่ยางรถยนต์ เครื่องสำอาง เวชภัณฑ์… โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “ดร.ชุมพล พรประภา” เป็นนายกสภา ม.ศรีนครินทรวิโรฒ tui sakrapeeMarch 26, 2025 ราชกิจจานุเบกษาเผยแพร่ ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “ชุมพล พรประภา” ดำรงตำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ แทนวิจิตร ศรีสอ้าน ที่ถึงแก่อนิจกรรม ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 142 ตอนพิเศษ 147 ง เมื่อวันที่ 25… สอศ. ปั้นผู้อำนวยการอาชีวะยุคใหม่! เสริมภาวะผู้นำ-วิสัยทัศน์ ทันโลกการศึกษา EZ WebmasterMarch 26, 2025 วันที่ 26 มีนาคม 2568 นายยศพล เวณุโกเศศ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (เลขาธิการ กอศ.) เป็นประธานเปิดโครงการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และบรรยายพิเศษ “Growth Mindset: แนวคิดเชิงบวกและการเติบโตขององค์กร” โดยนางธิติมา โรจน์วัชราภิบาล ผู้อำนวยการ… กิจกรรม สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ ร่วมพิธีวางพานพุ่มและพิธีตักบาตร เนื่องในวันครบรอบ ๑๐๘ ปี แห่งการสถาปนาจุฬาฯ EZ WebmasterMarch 27, 2025 สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินร่วมพิธีวางพานพุ่มสักการะพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระปิยมหาราชและสมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า และพิธีตักบาตร เนื่องในวันครบรอบ ๑๐๘ ปี แห่งการสถาปนาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมี นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ และ นายอรรษิษฐ์ สัมพันธรัตน์ ประธานการจัดงานคืนเหย้าชาวจุฬาฯ… พิธีเปิดกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) ภายใต้โครงการพัฒนามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมผ้าไทยสู่สากล ประจำปี ๒๕๖๘ EZ WebmasterMarch 26, 2025 นางสาวลิปิการ์ กำลังชัย รองธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรม รักษาราชการแทนอธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรมเป็นประธานพิธิเปิด และร่วมรับฟังการบรรยายกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) พร้อมด้วยนางสาวศิวพร ฉันทไกรวัฒน์ ผู้อำนวยการกลุ่มเผยแพร่และต่อยอดมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมเข้าร่วมงาน โดยวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญด้านผ้าไทย การออกแบบและแฟชั่น อาทิ ผศ.ดร.รวิเทพ มุสิกะปาน ผศ.ดร.วุฒิไกร… เปิดรับอาสาสมัครศิริราช รอบทำกิจกรรม เดือน พ.ค.-ก.ค. 68 ทุกกิจกรรมมีใบรับรองการทำกิจกรรม EZ WebmasterMarch 26, 2025 ตารางการรับอาสาสมัครรอบทำกิจกรรม เดือน พฤษภาคม – กรกฏาคม 68 (กิจกรรมที่อยู่ในเว็บไซต์ตอนนี้เป็นรอบเก่ามีผู้เข้าร่วมเต็มทั้งหมดแล้วค่ะ รอบใหม่จะเปิดตามวันเวลาที่แจ้งด้านล่างนี้เท่านั้น*) ขอให้อาสาเป็นผู้สมัครและกดเลือกกิจกรรมด้วยตนเองนะคะ – 31 ก.ค. 68 **เนื่องจากวันที่ 5 พ.ค. เป็นวันหยุด จะขอเริ่มตั้งแต่วันที่วันที่ 6 พ.ค.… เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน รับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน EZ WebmasterMarch 24, 2025 เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน เกม Let’s School เกมแนวบริหารโรงเรียนในฝัน ที่จะให้เรารับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน อยากให้โรงเรียนเป็นแบบไหนก็ปรับเล่นได้เลย ดูอารมณ์นักเรียกได้ด้วยว่ามีความสุขมั้ย? แถมตอนนี้ยังมีอัปเดตแมพใหม่พร้อมซัพไทยด้วยนะ Let’s School โหลดเล่นได้ที่ Steam :… Search for: Search tui sakrapee February 22, 2022 tui sakrapee February 22, 2022 Internalized Racism ถึงเวลาปลดแอก “การเหยียดตัวเอง” อาจารย์จิตวิทยา จุฬาฯ ชี้ประเด็นการด้อยค่าตัวเอง ไม่ว่าเรื่องเชื้อชาติ สีผิว เพศ ที่เกิดขึ้นโดยไม่รู้ตัวและส่งผลต่อความสุขส่วนบุคคลและสังคม ชวนทุกฝ่ายเท่าทันกระบวนการ Internalized Racism แล้วปรับมุมมองให้เห็นคุณค่าความเป็นมนุษย์ที่เท่ากัน “ฉันผิวคล้ำ ใส่สีแดงสดไม่ได้หรอก เดี๋ยวเหมือนอีกาคาบพริก” “เรามันแค่ประชากรประเทศโลกที่สาม จะไปเก่งสู้ฝรั่งได้อย่างไร” หลายคนอาจจะคุ้นหูประโยคเหล่านี้และอาจจะเคยพูดกับตนเองด้วยซ้ำ โดยคิดว่า “ไม่เป็นไร เรื่องธรรมดา ก็มันจริง หรือพูดเล่นขำๆ” แต่สำหรับ ดร.พนิตา เสือวรรณศรี อาจารย์แขนงวิชาจิตวิทยาการปรึกษา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คำพูดเหล่านี้สะท้อนกระบวนการเหยียดและด้อยค่าตัวเอง (Internalized Racism) ซึ่งเป็นเสมือนเนื้อร้ายทำลายสังคมและความสุขของบุคคลในฐานะมนุษย์ที่มีคุณค่าเท่าเทียมกัน “เราควรตระหนักและพูดถึงประเด็นนี้กันให้มากขึ้น สิ่งที่อันตรายกว่าการไม่เห็นด้วยคือการนิ่งเฉย ระบบ racism เป็นระบบที่กดทับอยู่แล้ว การละเลย ไม่พูดถึงสิ่งนี้เท่ากับเป็นการยอมรับมันโดยปริยาย” ดร. พนิตา ผู้วิจัยเรื่อง Internalized Racism กล่าว Internalized Racism คืออะไร Racism หมายถึงการเหยียดสีผิว เชื้อชาติ วัฒนธรรม ด้วยความรู้สึกว่าตนอยู่ในกลุ่มที่เหนือกว่า ดีกว่า แล้วยัดเยียดความรู้สึกด้อยค่านั้นให้ผู้อื่น ส่วน Internalized Racism เป็นการกระทำในทิศทางตรงกันข้าม คือผู้ที่ถูกกดขี่เชื่อและยอมรับความคิดว่าตัวเองด้อยกว่านั้นมาเป็นความจริงของตัวเอง “พูดง่ายๆ ก็คือไม่ต้องมีใครมาเหยียดฉันหรอก ฉันชิงเหยียดตัวเองก่อนแล้ว เป็นกระบวนการที่เรามองว่าตัวเองด้อยกว่า ไม่ทัดเทียมผู้อื่น ไม่ว่าจะด้านเชื้อชาติ สีผิว Internalized Racism มักเกิดขึ้นโดยที่เราไม่รู้ตัว ด้วยกระบวนการหล่อหลอมให้รู้สึกว่ามันเป็นอย่างนั้นและเป็นเรื่องธธรรมดา” Internalized Racism ในชีวิตประจำวัน ดร.พนิตา เริ่มศึกษาและวิจัยเรื่อง Internalized Racism จากการสังเกตเบื้องลึกความรู้สึก “ไม่ดีพอ” ที่เกิดขึ้นภายในใจของเธอเอง “สมัยที่เรียนต่างประเทศ เวลาไปเที่ยวโดยเครื่องบินกับเพื่อนต่างชาติซึ่งส่วนใหญ่เป็นคนผิวขาว เรามักจะบอกเพื่อนว่าให้รอเราด้วยเพราะเราน่าจะเป็นคนสุดท้ายที่ผ่านด่านตรวจคนเข้าเมือง ที่บอกเพื่อนๆ อย่างนั้นเพราะเราเชื่อว่าเราต้องโดนตรวจกระเป๋าแน่ๆ ซึ่งก็เกิดขึ้นจริงๆ ตอนนั้นเรามองว่าสิ่งที่เกิดขึ้นเป็นเรื่องปกติ จนกระทั่งเพื่อนบอกว่า “นี่มันไม่ใช่เรื่องปกตินะ” เราจึงเริ่มมองเห็นว่ามันไม่ควรเป็นอย่างนั้น ทุกคนควรจะเท่าเทียมกัน ไม่ควรมีใครโดนเหยียด (racial slurs) โดนอคติมากกว่าคนอื่น” ความคิดที่ว่าเราด้อยกว่า ไม่มีคุณค่าเท่า ไม่เก่งเท่า หรือสมควรแล้วที่ถูกปฏิบัติอย่างไม่เท่าเทียม มีผลลดทอนความมั่นใจในการใช้ชีวิตและอาชีพการงานของคนๆ นั้น ดร.พนิตา กล่าวเสริม “ในฐานะนักจิตวิทยา เรามีหน้าที่ให้คำปรึกษาซึ่งต้องมีความน่าเชื่อถือ แต่เมื่อต้องไปให้คำปรึกษากับฝรั่ง เรากลับรู้สึกไม่มั่นใจ ไม่แน่ใจว่าเขาจะเชื่อเราไหม เขาจะมองว่าเราเป็นคนต่างด้าวไหม ก็คล้ายๆ กับที่เรามักจะพูดกันว่า “คนผิวขาวพูดอะไรดูน่าเชื่อถือกว่า” พอเราพูดเช่นนี้กันบ่อยๆ และเห็นตัวอย่างที่เกิดขึ้นเรื่อยๆ เราก็จะซึมซับและ internalize เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในระบบความคิดเราโดยอัตโนมัติ” ดร.พนิตา อธิบายกระบวนการหล่อหลอมความคิดด้อยค่าตัวเองในสังคม กระบวนการที่เราถูกทำให้ยอมรับการเหยียดและด้อยค่าตนเอง ไม่ได้จำกัดในประเด็นเชื้อชาติเท่านั้น แต่ยังครอบคลุมไปถึงเรื่อง Internalized Oppression หรือการยอมรับการกดขี่ อย่างในเรื่องเพศ เราจะได้ยินความคิดที่ยอมรับว่า “ผู้ชายแข็งแรงกว่าผู้หญิง” “ผู้ชายมีความเป็นผู้นำมากกว่า” หรือ การยอมรับที่จะไม่ได้รับสิทธิตามกฎหมายอย่างเท่าเทียมของกลุ่ม LGBTQ+ เป็นต้น ซึ่งความคิดเหล่านี้สะท้อนการยอมรับการตัดสินจากกลุ่มคนที่เราให้ค่าว่าเหนือกว่าในสังคม ได้แก่ กลุ่มผู้ชายรักต่างเพศ (heterosexual men) ………………………… Check list สัญญาณว่าเรากำลังถูก Internalized Racism 1. ความรู้สึกว่า “ตัวเองด้อยกว่าคนอื่น” หรือต้องพิสูจน์ตัวเองตลอดเวลา เมื่อใดที่รู้สึก “เราไม่เก่งเท่าคนอื่น” ควรกลับมาเช็คตัวเองว่า เราไม่เก่งจริงหรือ เหตุผลคืออะไร ถ้าความไม่มั่นใจมาจากความสามารถ ความไม่ถนัด ขาดประสบการณ์ อันนั้นเข้าใจได้ แต่ถ้าเกิดจากความรู้สึกที่ว่าเราไม่น่าเชื่อถือเพราะเป็นคนเอเชีย เพราะเป็นคนไทย ฯลฯ อันนี้เป็น internalized racism จากสังคมที่เหยียดและกดขี่เรา 2. ความรู้สึกต่อต้านหรือเฉยชากับกระบวนการเรียกร้องให้เกิดความเท่าเทียมในสังคม หรือเห็นด้วยกับระบบสังคมที่กดทับและมองว่าเป็นกฎเกณฑ์หรือเป็นสิ่งที่เหมาะสมแล้ว โดยที่ตนเอง ก็อยู่ในกลุ่มที่ไม่ได้รับความเท่าเทียม หรือเสียประโยชน์ตามที่ควรจะได้รับ …………………………………. 4 แนวทางปลดแอกตัวเองจาก Internalized Racism การต้านทานอิทธิพลทางสังคมหรือลบล้างกระบวนการด้อยค่าและกดทับตัวเอง (Internalized Oppression หรือ Racism) ไม่ใช่เรื่องที่จะทำให้หมดไปในเวลาอันรวดเร็ว หากแต่เป็นกระบวนการที่ใช้เวลา ทั้งนี้ ดร.พนิตา แนะนำ 4 วิธีที่จะช่วยให้เราเปลี่ยน “อุปนิสัยทางความคิด” ใหม่ ได้แก่ มีสติเท่าทันความคิดในการดำเนินชีวิต (self-awareness) ตระหนักรู้ว่าเรากำลังรู้สึกอะไร เพราะอะไร “หากเรามีสติรู้ตัวว่าทำไมเราถึงรู้สึกแบบนี้ เป็นเพราะอะไร เกิดการคิดวิเคราะห์ ตั้งคำถาม สะท้อนความรู้สึกของตัวเอง เราจะรู้เท่าทันการถูกกระทำให้เหยียดตัวเองและรู้ว่าเรากำลังดูถูกตัวเองอยู่หรือเปล่า นอกจากนี้ เราก็ต้องมีสติรู้ด้วยว่าเรากำลังดูถูกหรือด้อยค่าคนอื่นอยู่หรือเปล่าด้วย อย่ากดคนอื่นลงเพื่อให้เราดูสูงขึ้น อันนี้ก็ต้องระวังด้วยเหมือนกัน” เมตตาตัวเอง (self-compassion) รู้จักชื่นชม เห็นคุณค่าและรักตัวเองในแบบที่เราเป็น “เราต้องให้ความสำคัญกับตัวเองว่าเราไม่ได้ด้อยไปกว่าใคร ไม่ว่าเราจะเกิดมาเป็นเพศใด มีเชื้อชาติ สีผิวแบบไหน มันไม่ใช่สิ่งที่จะมากำหนดการใช้ชีวิตหรืออนาคตของเรา” เปิดใจกว้างยอมรับความแตกต่างหลากหลาย หาความรู้ ประสบการณ์ ทำความรู้จักกับคนให้หลากหลายขึ้น “เราจะได้เห็นภาพกว้างๆ ว่าความรู้สึกต่ำต้อยที่เราเป็นอยู่นั้นไม่มีแก่นสารและไม่ควรจะเกิดขึ้น รวมถึงการหาประสบการณ์ชีวิต เช่น การเข้าไปทำความรู้จักกับกลุ่มคนที่มีความแตกต่างหลากหลายทางเชื้อชาติ เพศ วัฒนธรรมและความเชื่อ เพื่อให้เห็นความงามในความต่างเหล่านั้น ทลายกำแพงความเชื่อในเรื่องเชื้อชาติ สีผิว และอื่นๆ ที่เคยมี ให้เห็นความเป็นมนุษย์ที่ไม่สมบูรณ์แบบ มีความเท่าเทียม ไม่เปรียบเทียบคุณค่าว่าอย่างไหนเหนือกว่าหรือด้อยกว่า และเพื่อตรวจสอบกลับมาที่ตัวเองว่า ความรู้สึกว่าตัวเองไม่ดีพอนั้น เป็นข้อเท็จจริงหรือเป็นแค่สิ่งที่เราคิดไปเอง” เข้าร่วมกลุ่มที่สนับสนุนให้กำลังใจกันและกัน (support group) และร่วมกิจกรรมเคลื่อนไหวทางสังคม (movement) ประเด็นความเท่าเทียมในสังคมเพื่อจะได้รู้ว่าเราไม่ได้ต่อสู้เพียงลำพัง เทรนด์คนรุ่นใหม่ เคารพคุณค่าความเป็นมนุษย์ ดร.พนิตา กล่าวว่าปัจจุบัน สถานการณ์ Internalized Racism ในประเทศไทยเริ่มคลี่คลายในทางที่ดีขึ้น โดยมีคนรุ่นใหม่เป็นหัวหอกสำคัญ “คนรุ่นใหม่มีทัศนคติที่ยอมรับความหลากหลายมากขึ้นและให้ความสำคัญกับการรณรงค์เพื่อสร้างความเท่าเทียมมากกว่าในอดีต เขาเห็นการเคลื่อนไหวทางสังคมในระดับโลกมากขึ้น แล้วย้อนกลับมาตั้งคำถามว่าทำไมในประเทศยังทักกันเรื่องรูปร่างหน้าตา มีการเหยียดสีผิวกันอยู่ แล้วเริ่มเรียกร้องให้เกิดการเปลี่ยนแปลง แบน (banned) ทัศนคติที่เป็นการเหยียดกัน” การลด Internalized Racism เป็นขบวนการที่ใช้เวลา แต่แม้จะยาวนาน ก็ต้องทำไปเรื่อยๆ เพื่อสังคมที่ทุกคนอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ดร.พนิตา กล่าวทิ้งท้ายอย่างมีความหวัง ……………….. ที่มา ศูนย์สื่อสารองค์กร จุฬาฯ tui sakrapee Related Posts ม.สุโขทัยธรรมาธิราช เปิดรับนักศึกษาใหม่ ภาคต้นปีการศึกษา 2568 เริ่มรับสมัครวันที่ 1 เมษายน 2568 CP All Education Forum 2025 จัดใหญ่! มอบทุนการศึกษากว่า 1,648 ล้าน ปลุกพลังการศึกษาไทย “สร้างคนเก่ง ดี มีความสามารถ” รับมือยุค AI มธ. รับสมัครนักศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสหวิทยาการ ประจำปีการศึกษา 2568 สัปดาห์สุดท้าย!ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา เปิดรับรอบที่ 2 Quota 8 สาขา พร้อมมอบทุนเพชรสุนันทา เรียนการออกแบบแฟชั่น มทร.ธัญบุรี เปิดกว้างทุกวัย เพื่อเรียนรู้ตลอดชีพ ธนาคารหน่วยกิต “40 หลักสูตร ป.ตรี” Post navigation PREVIOUS Previous post: มีสิทธิ์รับทุน! มทร.ธัญบุรี – ม.โอทาโก นิวซีแลนด์ เปิดรับสมัครแล้ว หลักสูตรเตรียมพร้อมปริญญาตรีไฮบริดนิวซีแลนด์รุ่น 2NEXT Next post: รมว.กระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา สั่งการหัวหน้าผู้ตรวจราชการ “สันติ ป่าหวาย” ขับเคลื่อนนโยบายโครงการอาสาสมัครท่องเที่ยวกีฬาทั่วประเทศ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มทร.ธัญบุรี เปิดกว้างทุกวัย เพื่อเรียนรู้ตลอดชีพ ธนาคารหน่วยกิต “40 หลักสูตร ป.ตรี” tui sakrapeeMarch 26, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) เปิดรับสมัครผู้สนใจเข้าร่วมโครงการการเรียนรู้ตลอดชีวิตในระบบเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ (ธนาคารหน่วยกิต) หลักสูตรระดับปริญญาตรี ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2568 ตั้งแต่วันที่ 24 มี.ค. ถึง 30 พ.ค. 2568 โดยไม่มีค่าใช้จ่ายในการสมัคร… เปิดรับอาสาสมัครศิริราช รอบทำกิจกรรม เดือน พ.ค.-ก.ค. 68 ทุกกิจกรรมมีใบรับรองการทำกิจกรรม EZ WebmasterMarch 26, 2025 ตารางการรับอาสาสมัครรอบทำกิจกรรม เดือน พฤษภาคม – กรกฏาคม 68 (กิจกรรมที่อยู่ในเว็บไซต์ตอนนี้เป็นรอบเก่ามีผู้เข้าร่วมเต็มทั้งหมดแล้วค่ะ รอบใหม่จะเปิดตามวันเวลาที่แจ้งด้านล่างนี้เท่านั้น*) ขอให้อาสาเป็นผู้สมัครและกดเลือกกิจกรรมด้วยตนเองนะคะ – 31 ก.ค. 68 **เนื่องจากวันที่ 5 พ.ค. เป็นวันหยุด จะขอเริ่มตั้งแต่วันที่วันที่ 6 พ.ค.…
เปิดรับอาสาสมัครศิริราช รอบทำกิจกรรม เดือน พ.ค.-ก.ค. 68 ทุกกิจกรรมมีใบรับรองการทำกิจกรรม EZ WebmasterMarch 26, 2025 ตารางการรับอาสาสมัครรอบทำกิจกรรม เดือน พฤษภาคม – กรกฏาคม 68 (กิจกรรมที่อยู่ในเว็บไซต์ตอนนี้เป็นรอบเก่ามีผู้เข้าร่วมเต็มทั้งหมดแล้วค่ะ รอบใหม่จะเปิดตามวันเวลาที่แจ้งด้านล่างนี้เท่านั้น*) ขอให้อาสาเป็นผู้สมัครและกดเลือกกิจกรรมด้วยตนเองนะคะ – 31 ก.ค. 68 **เนื่องจากวันที่ 5 พ.ค. เป็นวันหยุด จะขอเริ่มตั้งแต่วันที่วันที่ 6 พ.ค.…
U. of Waterlooให้ทุนป.ตรี InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศMarch 28, 2025 Faculty of Science International Student Scholarships at University of Waterloo, Canadaสำหรับนักศึกษาต่างชาติสูงสุด 15 ทุน เพื่อสนับสนุนนักศึกษาที่มีผลงานดีเด่นในภาคการศึกษาปีการศึกษา 2025/2026 ซึ่งรวมถึงทุนการศึกษาแบบต่ออายุ 10 ทุน… มหาวิทยาลัยอัลอัซฮัร กรุงไคโร สาธารณรัฐอาหรับอียิปต์ มอบ 160 ทุนให้นักศึกษาจากประเทศไทย EZ WebmasterMarch 27, 2025 มหาวิทยาลัยอัลอัซฮัร กรุงไคโร สาธารณรัฐอาหรับอียิปต์ มอบทุนการศึกษาแก่นักศึกษาจากประเทศไทย จำนวน 160 ทุน ในปีการศึกษา 2025/2026 (2568/2569) โดยจำแนกเป็น ทุนนการศึกษาสาขาอิสลามศึกษา จำนวน 80 ทุน เฉพาะนักเรียนที่จบการศึกษาระดับอิสลามศึกษาตอนปลาย (ซานาวี) #จากโรงเรียนที่ได้รับรองวิทยฐานะ ประกาศนียบัตรระดับอิสลามศึกษาตอนปลาย (ซานาวี)… Peking U.ให้ทุนป.ตรี-เอก InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศMarch 27, 2025 Peking University กำลังให้ทุนสำหรับนักศึกษาต่างชาติที่โดดเด่น ทุนนี้ก่อตั้งขึ้นในปี 2012 โดยให้การสนับสนุนนักศึกษาระดับปริญญาตรี โท และเอก(ไม่จำกัดสาขาวิชา) โดยให้ความช่วยเหลือทางการเงินเต็มจำนวนหรือบางส่วน รวมถึงค่าเล่าเรียน เงินเดือน และประกันสุขภาพ เปิดรับสมัครช่วงมีนาคมถึงเมษายน ทุกปี เพื่อให้มีสิทธิ์ได้รับทุน ผู้สมัครจะต้องเป็นนักศึกษาต่างชาติที่ได้รับข้อเสนอให้เข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยปักกิ่งในฐานะนักศึกษาปีหนึ่ง จะต้องไม่เป็นผู้รับทุนการศึกษาอื่นใด และไม่ควรลงทะเบียนในโปรแกรมปริญญาวิชาชีพ… สัปดาห์สุดท้าย!ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา เปิดรับรอบที่ 2 Quota 8 สาขา พร้อมมอบทุนเพชรสุนันทา เรียนการออกแบบแฟชั่น tui sakrapeeMarch 27, 2025 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดรับสมัครคัดเลือกนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญเข้าศึกษาในโครงการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาระดับปริญญาตรี ระบบโควตา ประเภทความสามารถทางวิชาการ และประเภทความสามารถพิเศษ ประจำปีการศึกษา 2568 (รอบที่ 2 Quota) พร้อมรับสมัครคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษา ภาคปกติ ระดับปริญญาตรี ในโครงการทุนเพชรสุนันทา กำหนดการรับสมัคร สาขาที่รับสมัครคณะศิลปกรรมศาสตร์ คุณสมบัติเฉพาะ… ครู-อาจารย์ 5 แนวโน้มสำคัญด้านการศึกษาในปี 2025 EZ WebmasterMarch 28, 2025 5 แนวโน้มสำคัญด้านการศึกษาในปี 2025 ปี 2025 เป็นปีแห่งการเปลี่ยนแปลงของวงการศึกษา เทคโนโลยีใหม่ๆ และแนวคิดการเรียนรู้ที่ทันสมัยจะเข้ามามีบทบาทสำคัญ มาดูกันว่าอะไรคือแนวโน้มหลักที่ต้องจับตามอง! การเกิดขึ้นของโรงเรียนรูปแบบใหม่ Hybrid Learning, Microschools และ Homeschool กำลังได้รับความนิยมมากขึ้น การใช้… มจธ. คิดค้น “นวัตกรรมการผลิตซิลิกาด้วยเทคโนโลยีชีวภาพ” ต้นทุนต่ำ คุณภาพสูง พร้อมพลิกโฉมอุตสาหกรรมไทย EZ WebmasterMarch 27, 2025 นักวิจัย มจธ.พัฒนากระบวนการผลิต ไบโอซิลิกา (Biosilica) จากแกลบข้าว ด้วยกระบวนการชีวภาพ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและไร้สารเคมีตกค้าง พร้อมส่งต่อเทคโนโลยีเพื่อนำไปใช้ในอุตสาหกรรมต่างๆ เช่น เครื่องสำอาง เวชสำอาง ยา และยาง ซึ่งเป็นก้าวสำคัญที่ช่วยให้ประเทศไทยลดการพึ่งพาซิลิกานำเข้า และส่งเสริมเศรษฐกิจหมุนเวียนของประเทศ ซิลิกา (Silica) เป็นวัตถุดิบสำคัญในหลายอุตสาหกรรมของไทย ตั้งแต่ยางรถยนต์ เครื่องสำอาง เวชภัณฑ์… โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “ดร.ชุมพล พรประภา” เป็นนายกสภา ม.ศรีนครินทรวิโรฒ tui sakrapeeMarch 26, 2025 ราชกิจจานุเบกษาเผยแพร่ ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “ชุมพล พรประภา” ดำรงตำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ แทนวิจิตร ศรีสอ้าน ที่ถึงแก่อนิจกรรม ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 142 ตอนพิเศษ 147 ง เมื่อวันที่ 25… สอศ. ปั้นผู้อำนวยการอาชีวะยุคใหม่! เสริมภาวะผู้นำ-วิสัยทัศน์ ทันโลกการศึกษา EZ WebmasterMarch 26, 2025 วันที่ 26 มีนาคม 2568 นายยศพล เวณุโกเศศ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (เลขาธิการ กอศ.) เป็นประธานเปิดโครงการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และบรรยายพิเศษ “Growth Mindset: แนวคิดเชิงบวกและการเติบโตขององค์กร” โดยนางธิติมา โรจน์วัชราภิบาล ผู้อำนวยการ… กิจกรรม สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ ร่วมพิธีวางพานพุ่มและพิธีตักบาตร เนื่องในวันครบรอบ ๑๐๘ ปี แห่งการสถาปนาจุฬาฯ EZ WebmasterMarch 27, 2025 สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินร่วมพิธีวางพานพุ่มสักการะพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระปิยมหาราชและสมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า และพิธีตักบาตร เนื่องในวันครบรอบ ๑๐๘ ปี แห่งการสถาปนาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมี นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ และ นายอรรษิษฐ์ สัมพันธรัตน์ ประธานการจัดงานคืนเหย้าชาวจุฬาฯ… พิธีเปิดกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) ภายใต้โครงการพัฒนามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมผ้าไทยสู่สากล ประจำปี ๒๕๖๘ EZ WebmasterMarch 26, 2025 นางสาวลิปิการ์ กำลังชัย รองธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรม รักษาราชการแทนอธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรมเป็นประธานพิธิเปิด และร่วมรับฟังการบรรยายกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) พร้อมด้วยนางสาวศิวพร ฉันทไกรวัฒน์ ผู้อำนวยการกลุ่มเผยแพร่และต่อยอดมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมเข้าร่วมงาน โดยวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญด้านผ้าไทย การออกแบบและแฟชั่น อาทิ ผศ.ดร.รวิเทพ มุสิกะปาน ผศ.ดร.วุฒิไกร… เปิดรับอาสาสมัครศิริราช รอบทำกิจกรรม เดือน พ.ค.-ก.ค. 68 ทุกกิจกรรมมีใบรับรองการทำกิจกรรม EZ WebmasterMarch 26, 2025 ตารางการรับอาสาสมัครรอบทำกิจกรรม เดือน พฤษภาคม – กรกฏาคม 68 (กิจกรรมที่อยู่ในเว็บไซต์ตอนนี้เป็นรอบเก่ามีผู้เข้าร่วมเต็มทั้งหมดแล้วค่ะ รอบใหม่จะเปิดตามวันเวลาที่แจ้งด้านล่างนี้เท่านั้น*) ขอให้อาสาเป็นผู้สมัครและกดเลือกกิจกรรมด้วยตนเองนะคะ – 31 ก.ค. 68 **เนื่องจากวันที่ 5 พ.ค. เป็นวันหยุด จะขอเริ่มตั้งแต่วันที่วันที่ 6 พ.ค.… เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน รับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน EZ WebmasterMarch 24, 2025 เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน เกม Let’s School เกมแนวบริหารโรงเรียนในฝัน ที่จะให้เรารับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน อยากให้โรงเรียนเป็นแบบไหนก็ปรับเล่นได้เลย ดูอารมณ์นักเรียกได้ด้วยว่ามีความสุขมั้ย? แถมตอนนี้ยังมีอัปเดตแมพใหม่พร้อมซัพไทยด้วยนะ Let’s School โหลดเล่นได้ที่ Steam :… Search for: Search tui sakrapee February 22, 2022 tui sakrapee February 22, 2022 Internalized Racism ถึงเวลาปลดแอก “การเหยียดตัวเอง” อาจารย์จิตวิทยา จุฬาฯ ชี้ประเด็นการด้อยค่าตัวเอง ไม่ว่าเรื่องเชื้อชาติ สีผิว เพศ ที่เกิดขึ้นโดยไม่รู้ตัวและส่งผลต่อความสุขส่วนบุคคลและสังคม ชวนทุกฝ่ายเท่าทันกระบวนการ Internalized Racism แล้วปรับมุมมองให้เห็นคุณค่าความเป็นมนุษย์ที่เท่ากัน “ฉันผิวคล้ำ ใส่สีแดงสดไม่ได้หรอก เดี๋ยวเหมือนอีกาคาบพริก” “เรามันแค่ประชากรประเทศโลกที่สาม จะไปเก่งสู้ฝรั่งได้อย่างไร” หลายคนอาจจะคุ้นหูประโยคเหล่านี้และอาจจะเคยพูดกับตนเองด้วยซ้ำ โดยคิดว่า “ไม่เป็นไร เรื่องธรรมดา ก็มันจริง หรือพูดเล่นขำๆ” แต่สำหรับ ดร.พนิตา เสือวรรณศรี อาจารย์แขนงวิชาจิตวิทยาการปรึกษา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คำพูดเหล่านี้สะท้อนกระบวนการเหยียดและด้อยค่าตัวเอง (Internalized Racism) ซึ่งเป็นเสมือนเนื้อร้ายทำลายสังคมและความสุขของบุคคลในฐานะมนุษย์ที่มีคุณค่าเท่าเทียมกัน “เราควรตระหนักและพูดถึงประเด็นนี้กันให้มากขึ้น สิ่งที่อันตรายกว่าการไม่เห็นด้วยคือการนิ่งเฉย ระบบ racism เป็นระบบที่กดทับอยู่แล้ว การละเลย ไม่พูดถึงสิ่งนี้เท่ากับเป็นการยอมรับมันโดยปริยาย” ดร. พนิตา ผู้วิจัยเรื่อง Internalized Racism กล่าว Internalized Racism คืออะไร Racism หมายถึงการเหยียดสีผิว เชื้อชาติ วัฒนธรรม ด้วยความรู้สึกว่าตนอยู่ในกลุ่มที่เหนือกว่า ดีกว่า แล้วยัดเยียดความรู้สึกด้อยค่านั้นให้ผู้อื่น ส่วน Internalized Racism เป็นการกระทำในทิศทางตรงกันข้าม คือผู้ที่ถูกกดขี่เชื่อและยอมรับความคิดว่าตัวเองด้อยกว่านั้นมาเป็นความจริงของตัวเอง “พูดง่ายๆ ก็คือไม่ต้องมีใครมาเหยียดฉันหรอก ฉันชิงเหยียดตัวเองก่อนแล้ว เป็นกระบวนการที่เรามองว่าตัวเองด้อยกว่า ไม่ทัดเทียมผู้อื่น ไม่ว่าจะด้านเชื้อชาติ สีผิว Internalized Racism มักเกิดขึ้นโดยที่เราไม่รู้ตัว ด้วยกระบวนการหล่อหลอมให้รู้สึกว่ามันเป็นอย่างนั้นและเป็นเรื่องธธรรมดา” Internalized Racism ในชีวิตประจำวัน ดร.พนิตา เริ่มศึกษาและวิจัยเรื่อง Internalized Racism จากการสังเกตเบื้องลึกความรู้สึก “ไม่ดีพอ” ที่เกิดขึ้นภายในใจของเธอเอง “สมัยที่เรียนต่างประเทศ เวลาไปเที่ยวโดยเครื่องบินกับเพื่อนต่างชาติซึ่งส่วนใหญ่เป็นคนผิวขาว เรามักจะบอกเพื่อนว่าให้รอเราด้วยเพราะเราน่าจะเป็นคนสุดท้ายที่ผ่านด่านตรวจคนเข้าเมือง ที่บอกเพื่อนๆ อย่างนั้นเพราะเราเชื่อว่าเราต้องโดนตรวจกระเป๋าแน่ๆ ซึ่งก็เกิดขึ้นจริงๆ ตอนนั้นเรามองว่าสิ่งที่เกิดขึ้นเป็นเรื่องปกติ จนกระทั่งเพื่อนบอกว่า “นี่มันไม่ใช่เรื่องปกตินะ” เราจึงเริ่มมองเห็นว่ามันไม่ควรเป็นอย่างนั้น ทุกคนควรจะเท่าเทียมกัน ไม่ควรมีใครโดนเหยียด (racial slurs) โดนอคติมากกว่าคนอื่น” ความคิดที่ว่าเราด้อยกว่า ไม่มีคุณค่าเท่า ไม่เก่งเท่า หรือสมควรแล้วที่ถูกปฏิบัติอย่างไม่เท่าเทียม มีผลลดทอนความมั่นใจในการใช้ชีวิตและอาชีพการงานของคนๆ นั้น ดร.พนิตา กล่าวเสริม “ในฐานะนักจิตวิทยา เรามีหน้าที่ให้คำปรึกษาซึ่งต้องมีความน่าเชื่อถือ แต่เมื่อต้องไปให้คำปรึกษากับฝรั่ง เรากลับรู้สึกไม่มั่นใจ ไม่แน่ใจว่าเขาจะเชื่อเราไหม เขาจะมองว่าเราเป็นคนต่างด้าวไหม ก็คล้ายๆ กับที่เรามักจะพูดกันว่า “คนผิวขาวพูดอะไรดูน่าเชื่อถือกว่า” พอเราพูดเช่นนี้กันบ่อยๆ และเห็นตัวอย่างที่เกิดขึ้นเรื่อยๆ เราก็จะซึมซับและ internalize เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในระบบความคิดเราโดยอัตโนมัติ” ดร.พนิตา อธิบายกระบวนการหล่อหลอมความคิดด้อยค่าตัวเองในสังคม กระบวนการที่เราถูกทำให้ยอมรับการเหยียดและด้อยค่าตนเอง ไม่ได้จำกัดในประเด็นเชื้อชาติเท่านั้น แต่ยังครอบคลุมไปถึงเรื่อง Internalized Oppression หรือการยอมรับการกดขี่ อย่างในเรื่องเพศ เราจะได้ยินความคิดที่ยอมรับว่า “ผู้ชายแข็งแรงกว่าผู้หญิง” “ผู้ชายมีความเป็นผู้นำมากกว่า” หรือ การยอมรับที่จะไม่ได้รับสิทธิตามกฎหมายอย่างเท่าเทียมของกลุ่ม LGBTQ+ เป็นต้น ซึ่งความคิดเหล่านี้สะท้อนการยอมรับการตัดสินจากกลุ่มคนที่เราให้ค่าว่าเหนือกว่าในสังคม ได้แก่ กลุ่มผู้ชายรักต่างเพศ (heterosexual men) ………………………… Check list สัญญาณว่าเรากำลังถูก Internalized Racism 1. ความรู้สึกว่า “ตัวเองด้อยกว่าคนอื่น” หรือต้องพิสูจน์ตัวเองตลอดเวลา เมื่อใดที่รู้สึก “เราไม่เก่งเท่าคนอื่น” ควรกลับมาเช็คตัวเองว่า เราไม่เก่งจริงหรือ เหตุผลคืออะไร ถ้าความไม่มั่นใจมาจากความสามารถ ความไม่ถนัด ขาดประสบการณ์ อันนั้นเข้าใจได้ แต่ถ้าเกิดจากความรู้สึกที่ว่าเราไม่น่าเชื่อถือเพราะเป็นคนเอเชีย เพราะเป็นคนไทย ฯลฯ อันนี้เป็น internalized racism จากสังคมที่เหยียดและกดขี่เรา 2. ความรู้สึกต่อต้านหรือเฉยชากับกระบวนการเรียกร้องให้เกิดความเท่าเทียมในสังคม หรือเห็นด้วยกับระบบสังคมที่กดทับและมองว่าเป็นกฎเกณฑ์หรือเป็นสิ่งที่เหมาะสมแล้ว โดยที่ตนเอง ก็อยู่ในกลุ่มที่ไม่ได้รับความเท่าเทียม หรือเสียประโยชน์ตามที่ควรจะได้รับ …………………………………. 4 แนวทางปลดแอกตัวเองจาก Internalized Racism การต้านทานอิทธิพลทางสังคมหรือลบล้างกระบวนการด้อยค่าและกดทับตัวเอง (Internalized Oppression หรือ Racism) ไม่ใช่เรื่องที่จะทำให้หมดไปในเวลาอันรวดเร็ว หากแต่เป็นกระบวนการที่ใช้เวลา ทั้งนี้ ดร.พนิตา แนะนำ 4 วิธีที่จะช่วยให้เราเปลี่ยน “อุปนิสัยทางความคิด” ใหม่ ได้แก่ มีสติเท่าทันความคิดในการดำเนินชีวิต (self-awareness) ตระหนักรู้ว่าเรากำลังรู้สึกอะไร เพราะอะไร “หากเรามีสติรู้ตัวว่าทำไมเราถึงรู้สึกแบบนี้ เป็นเพราะอะไร เกิดการคิดวิเคราะห์ ตั้งคำถาม สะท้อนความรู้สึกของตัวเอง เราจะรู้เท่าทันการถูกกระทำให้เหยียดตัวเองและรู้ว่าเรากำลังดูถูกตัวเองอยู่หรือเปล่า นอกจากนี้ เราก็ต้องมีสติรู้ด้วยว่าเรากำลังดูถูกหรือด้อยค่าคนอื่นอยู่หรือเปล่าด้วย อย่ากดคนอื่นลงเพื่อให้เราดูสูงขึ้น อันนี้ก็ต้องระวังด้วยเหมือนกัน” เมตตาตัวเอง (self-compassion) รู้จักชื่นชม เห็นคุณค่าและรักตัวเองในแบบที่เราเป็น “เราต้องให้ความสำคัญกับตัวเองว่าเราไม่ได้ด้อยไปกว่าใคร ไม่ว่าเราจะเกิดมาเป็นเพศใด มีเชื้อชาติ สีผิวแบบไหน มันไม่ใช่สิ่งที่จะมากำหนดการใช้ชีวิตหรืออนาคตของเรา” เปิดใจกว้างยอมรับความแตกต่างหลากหลาย หาความรู้ ประสบการณ์ ทำความรู้จักกับคนให้หลากหลายขึ้น “เราจะได้เห็นภาพกว้างๆ ว่าความรู้สึกต่ำต้อยที่เราเป็นอยู่นั้นไม่มีแก่นสารและไม่ควรจะเกิดขึ้น รวมถึงการหาประสบการณ์ชีวิต เช่น การเข้าไปทำความรู้จักกับกลุ่มคนที่มีความแตกต่างหลากหลายทางเชื้อชาติ เพศ วัฒนธรรมและความเชื่อ เพื่อให้เห็นความงามในความต่างเหล่านั้น ทลายกำแพงความเชื่อในเรื่องเชื้อชาติ สีผิว และอื่นๆ ที่เคยมี ให้เห็นความเป็นมนุษย์ที่ไม่สมบูรณ์แบบ มีความเท่าเทียม ไม่เปรียบเทียบคุณค่าว่าอย่างไหนเหนือกว่าหรือด้อยกว่า และเพื่อตรวจสอบกลับมาที่ตัวเองว่า ความรู้สึกว่าตัวเองไม่ดีพอนั้น เป็นข้อเท็จจริงหรือเป็นแค่สิ่งที่เราคิดไปเอง” เข้าร่วมกลุ่มที่สนับสนุนให้กำลังใจกันและกัน (support group) และร่วมกิจกรรมเคลื่อนไหวทางสังคม (movement) ประเด็นความเท่าเทียมในสังคมเพื่อจะได้รู้ว่าเราไม่ได้ต่อสู้เพียงลำพัง เทรนด์คนรุ่นใหม่ เคารพคุณค่าความเป็นมนุษย์ ดร.พนิตา กล่าวว่าปัจจุบัน สถานการณ์ Internalized Racism ในประเทศไทยเริ่มคลี่คลายในทางที่ดีขึ้น โดยมีคนรุ่นใหม่เป็นหัวหอกสำคัญ “คนรุ่นใหม่มีทัศนคติที่ยอมรับความหลากหลายมากขึ้นและให้ความสำคัญกับการรณรงค์เพื่อสร้างความเท่าเทียมมากกว่าในอดีต เขาเห็นการเคลื่อนไหวทางสังคมในระดับโลกมากขึ้น แล้วย้อนกลับมาตั้งคำถามว่าทำไมในประเทศยังทักกันเรื่องรูปร่างหน้าตา มีการเหยียดสีผิวกันอยู่ แล้วเริ่มเรียกร้องให้เกิดการเปลี่ยนแปลง แบน (banned) ทัศนคติที่เป็นการเหยียดกัน” การลด Internalized Racism เป็นขบวนการที่ใช้เวลา แต่แม้จะยาวนาน ก็ต้องทำไปเรื่อยๆ เพื่อสังคมที่ทุกคนอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ดร.พนิตา กล่าวทิ้งท้ายอย่างมีความหวัง ……………….. ที่มา ศูนย์สื่อสารองค์กร จุฬาฯ tui sakrapee Related Posts ม.สุโขทัยธรรมาธิราช เปิดรับนักศึกษาใหม่ ภาคต้นปีการศึกษา 2568 เริ่มรับสมัครวันที่ 1 เมษายน 2568 CP All Education Forum 2025 จัดใหญ่! มอบทุนการศึกษากว่า 1,648 ล้าน ปลุกพลังการศึกษาไทย “สร้างคนเก่ง ดี มีความสามารถ” รับมือยุค AI มธ. รับสมัครนักศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสหวิทยาการ ประจำปีการศึกษา 2568 สัปดาห์สุดท้าย!ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา เปิดรับรอบที่ 2 Quota 8 สาขา พร้อมมอบทุนเพชรสุนันทา เรียนการออกแบบแฟชั่น มทร.ธัญบุรี เปิดกว้างทุกวัย เพื่อเรียนรู้ตลอดชีพ ธนาคารหน่วยกิต “40 หลักสูตร ป.ตรี” Post navigation PREVIOUS Previous post: มีสิทธิ์รับทุน! มทร.ธัญบุรี – ม.โอทาโก นิวซีแลนด์ เปิดรับสมัครแล้ว หลักสูตรเตรียมพร้อมปริญญาตรีไฮบริดนิวซีแลนด์รุ่น 2NEXT Next post: รมว.กระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา สั่งการหัวหน้าผู้ตรวจราชการ “สันติ ป่าหวาย” ขับเคลื่อนนโยบายโครงการอาสาสมัครท่องเที่ยวกีฬาทั่วประเทศ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มหาวิทยาลัยอัลอัซฮัร กรุงไคโร สาธารณรัฐอาหรับอียิปต์ มอบ 160 ทุนให้นักศึกษาจากประเทศไทย EZ WebmasterMarch 27, 2025 มหาวิทยาลัยอัลอัซฮัร กรุงไคโร สาธารณรัฐอาหรับอียิปต์ มอบทุนการศึกษาแก่นักศึกษาจากประเทศไทย จำนวน 160 ทุน ในปีการศึกษา 2025/2026 (2568/2569) โดยจำแนกเป็น ทุนนการศึกษาสาขาอิสลามศึกษา จำนวน 80 ทุน เฉพาะนักเรียนที่จบการศึกษาระดับอิสลามศึกษาตอนปลาย (ซานาวี) #จากโรงเรียนที่ได้รับรองวิทยฐานะ ประกาศนียบัตรระดับอิสลามศึกษาตอนปลาย (ซานาวี)… Peking U.ให้ทุนป.ตรี-เอก InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศMarch 27, 2025 Peking University กำลังให้ทุนสำหรับนักศึกษาต่างชาติที่โดดเด่น ทุนนี้ก่อตั้งขึ้นในปี 2012 โดยให้การสนับสนุนนักศึกษาระดับปริญญาตรี โท และเอก(ไม่จำกัดสาขาวิชา) โดยให้ความช่วยเหลือทางการเงินเต็มจำนวนหรือบางส่วน รวมถึงค่าเล่าเรียน เงินเดือน และประกันสุขภาพ เปิดรับสมัครช่วงมีนาคมถึงเมษายน ทุกปี เพื่อให้มีสิทธิ์ได้รับทุน ผู้สมัครจะต้องเป็นนักศึกษาต่างชาติที่ได้รับข้อเสนอให้เข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยปักกิ่งในฐานะนักศึกษาปีหนึ่ง จะต้องไม่เป็นผู้รับทุนการศึกษาอื่นใด และไม่ควรลงทะเบียนในโปรแกรมปริญญาวิชาชีพ… สัปดาห์สุดท้าย!ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา เปิดรับรอบที่ 2 Quota 8 สาขา พร้อมมอบทุนเพชรสุนันทา เรียนการออกแบบแฟชั่น tui sakrapeeMarch 27, 2025 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดรับสมัครคัดเลือกนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญเข้าศึกษาในโครงการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาระดับปริญญาตรี ระบบโควตา ประเภทความสามารถทางวิชาการ และประเภทความสามารถพิเศษ ประจำปีการศึกษา 2568 (รอบที่ 2 Quota) พร้อมรับสมัครคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษา ภาคปกติ ระดับปริญญาตรี ในโครงการทุนเพชรสุนันทา กำหนดการรับสมัคร สาขาที่รับสมัครคณะศิลปกรรมศาสตร์ คุณสมบัติเฉพาะ… ครู-อาจารย์ 5 แนวโน้มสำคัญด้านการศึกษาในปี 2025 EZ WebmasterMarch 28, 2025 5 แนวโน้มสำคัญด้านการศึกษาในปี 2025 ปี 2025 เป็นปีแห่งการเปลี่ยนแปลงของวงการศึกษา เทคโนโลยีใหม่ๆ และแนวคิดการเรียนรู้ที่ทันสมัยจะเข้ามามีบทบาทสำคัญ มาดูกันว่าอะไรคือแนวโน้มหลักที่ต้องจับตามอง! การเกิดขึ้นของโรงเรียนรูปแบบใหม่ Hybrid Learning, Microschools และ Homeschool กำลังได้รับความนิยมมากขึ้น การใช้… มจธ. คิดค้น “นวัตกรรมการผลิตซิลิกาด้วยเทคโนโลยีชีวภาพ” ต้นทุนต่ำ คุณภาพสูง พร้อมพลิกโฉมอุตสาหกรรมไทย EZ WebmasterMarch 27, 2025 นักวิจัย มจธ.พัฒนากระบวนการผลิต ไบโอซิลิกา (Biosilica) จากแกลบข้าว ด้วยกระบวนการชีวภาพ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและไร้สารเคมีตกค้าง พร้อมส่งต่อเทคโนโลยีเพื่อนำไปใช้ในอุตสาหกรรมต่างๆ เช่น เครื่องสำอาง เวชสำอาง ยา และยาง ซึ่งเป็นก้าวสำคัญที่ช่วยให้ประเทศไทยลดการพึ่งพาซิลิกานำเข้า และส่งเสริมเศรษฐกิจหมุนเวียนของประเทศ ซิลิกา (Silica) เป็นวัตถุดิบสำคัญในหลายอุตสาหกรรมของไทย ตั้งแต่ยางรถยนต์ เครื่องสำอาง เวชภัณฑ์… โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “ดร.ชุมพล พรประภา” เป็นนายกสภา ม.ศรีนครินทรวิโรฒ tui sakrapeeMarch 26, 2025 ราชกิจจานุเบกษาเผยแพร่ ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “ชุมพล พรประภา” ดำรงตำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ แทนวิจิตร ศรีสอ้าน ที่ถึงแก่อนิจกรรม ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 142 ตอนพิเศษ 147 ง เมื่อวันที่ 25… สอศ. ปั้นผู้อำนวยการอาชีวะยุคใหม่! เสริมภาวะผู้นำ-วิสัยทัศน์ ทันโลกการศึกษา EZ WebmasterMarch 26, 2025 วันที่ 26 มีนาคม 2568 นายยศพล เวณุโกเศศ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (เลขาธิการ กอศ.) เป็นประธานเปิดโครงการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และบรรยายพิเศษ “Growth Mindset: แนวคิดเชิงบวกและการเติบโตขององค์กร” โดยนางธิติมา โรจน์วัชราภิบาล ผู้อำนวยการ… กิจกรรม สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ ร่วมพิธีวางพานพุ่มและพิธีตักบาตร เนื่องในวันครบรอบ ๑๐๘ ปี แห่งการสถาปนาจุฬาฯ EZ WebmasterMarch 27, 2025 สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินร่วมพิธีวางพานพุ่มสักการะพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระปิยมหาราชและสมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า และพิธีตักบาตร เนื่องในวันครบรอบ ๑๐๘ ปี แห่งการสถาปนาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมี นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ และ นายอรรษิษฐ์ สัมพันธรัตน์ ประธานการจัดงานคืนเหย้าชาวจุฬาฯ… พิธีเปิดกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) ภายใต้โครงการพัฒนามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมผ้าไทยสู่สากล ประจำปี ๒๕๖๘ EZ WebmasterMarch 26, 2025 นางสาวลิปิการ์ กำลังชัย รองธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรม รักษาราชการแทนอธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรมเป็นประธานพิธิเปิด และร่วมรับฟังการบรรยายกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) พร้อมด้วยนางสาวศิวพร ฉันทไกรวัฒน์ ผู้อำนวยการกลุ่มเผยแพร่และต่อยอดมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมเข้าร่วมงาน โดยวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญด้านผ้าไทย การออกแบบและแฟชั่น อาทิ ผศ.ดร.รวิเทพ มุสิกะปาน ผศ.ดร.วุฒิไกร… เปิดรับอาสาสมัครศิริราช รอบทำกิจกรรม เดือน พ.ค.-ก.ค. 68 ทุกกิจกรรมมีใบรับรองการทำกิจกรรม EZ WebmasterMarch 26, 2025 ตารางการรับอาสาสมัครรอบทำกิจกรรม เดือน พฤษภาคม – กรกฏาคม 68 (กิจกรรมที่อยู่ในเว็บไซต์ตอนนี้เป็นรอบเก่ามีผู้เข้าร่วมเต็มทั้งหมดแล้วค่ะ รอบใหม่จะเปิดตามวันเวลาที่แจ้งด้านล่างนี้เท่านั้น*) ขอให้อาสาเป็นผู้สมัครและกดเลือกกิจกรรมด้วยตนเองนะคะ – 31 ก.ค. 68 **เนื่องจากวันที่ 5 พ.ค. เป็นวันหยุด จะขอเริ่มตั้งแต่วันที่วันที่ 6 พ.ค.… เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน รับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน EZ WebmasterMarch 24, 2025 เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน เกม Let’s School เกมแนวบริหารโรงเรียนในฝัน ที่จะให้เรารับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน อยากให้โรงเรียนเป็นแบบไหนก็ปรับเล่นได้เลย ดูอารมณ์นักเรียกได้ด้วยว่ามีความสุขมั้ย? แถมตอนนี้ยังมีอัปเดตแมพใหม่พร้อมซัพไทยด้วยนะ Let’s School โหลดเล่นได้ที่ Steam :… Search for: Search tui sakrapee February 22, 2022 tui sakrapee February 22, 2022 Internalized Racism ถึงเวลาปลดแอก “การเหยียดตัวเอง” อาจารย์จิตวิทยา จุฬาฯ ชี้ประเด็นการด้อยค่าตัวเอง ไม่ว่าเรื่องเชื้อชาติ สีผิว เพศ ที่เกิดขึ้นโดยไม่รู้ตัวและส่งผลต่อความสุขส่วนบุคคลและสังคม ชวนทุกฝ่ายเท่าทันกระบวนการ Internalized Racism แล้วปรับมุมมองให้เห็นคุณค่าความเป็นมนุษย์ที่เท่ากัน “ฉันผิวคล้ำ ใส่สีแดงสดไม่ได้หรอก เดี๋ยวเหมือนอีกาคาบพริก” “เรามันแค่ประชากรประเทศโลกที่สาม จะไปเก่งสู้ฝรั่งได้อย่างไร” หลายคนอาจจะคุ้นหูประโยคเหล่านี้และอาจจะเคยพูดกับตนเองด้วยซ้ำ โดยคิดว่า “ไม่เป็นไร เรื่องธรรมดา ก็มันจริง หรือพูดเล่นขำๆ” แต่สำหรับ ดร.พนิตา เสือวรรณศรี อาจารย์แขนงวิชาจิตวิทยาการปรึกษา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คำพูดเหล่านี้สะท้อนกระบวนการเหยียดและด้อยค่าตัวเอง (Internalized Racism) ซึ่งเป็นเสมือนเนื้อร้ายทำลายสังคมและความสุขของบุคคลในฐานะมนุษย์ที่มีคุณค่าเท่าเทียมกัน “เราควรตระหนักและพูดถึงประเด็นนี้กันให้มากขึ้น สิ่งที่อันตรายกว่าการไม่เห็นด้วยคือการนิ่งเฉย ระบบ racism เป็นระบบที่กดทับอยู่แล้ว การละเลย ไม่พูดถึงสิ่งนี้เท่ากับเป็นการยอมรับมันโดยปริยาย” ดร. พนิตา ผู้วิจัยเรื่อง Internalized Racism กล่าว Internalized Racism คืออะไร Racism หมายถึงการเหยียดสีผิว เชื้อชาติ วัฒนธรรม ด้วยความรู้สึกว่าตนอยู่ในกลุ่มที่เหนือกว่า ดีกว่า แล้วยัดเยียดความรู้สึกด้อยค่านั้นให้ผู้อื่น ส่วน Internalized Racism เป็นการกระทำในทิศทางตรงกันข้าม คือผู้ที่ถูกกดขี่เชื่อและยอมรับความคิดว่าตัวเองด้อยกว่านั้นมาเป็นความจริงของตัวเอง “พูดง่ายๆ ก็คือไม่ต้องมีใครมาเหยียดฉันหรอก ฉันชิงเหยียดตัวเองก่อนแล้ว เป็นกระบวนการที่เรามองว่าตัวเองด้อยกว่า ไม่ทัดเทียมผู้อื่น ไม่ว่าจะด้านเชื้อชาติ สีผิว Internalized Racism มักเกิดขึ้นโดยที่เราไม่รู้ตัว ด้วยกระบวนการหล่อหลอมให้รู้สึกว่ามันเป็นอย่างนั้นและเป็นเรื่องธธรรมดา” Internalized Racism ในชีวิตประจำวัน ดร.พนิตา เริ่มศึกษาและวิจัยเรื่อง Internalized Racism จากการสังเกตเบื้องลึกความรู้สึก “ไม่ดีพอ” ที่เกิดขึ้นภายในใจของเธอเอง “สมัยที่เรียนต่างประเทศ เวลาไปเที่ยวโดยเครื่องบินกับเพื่อนต่างชาติซึ่งส่วนใหญ่เป็นคนผิวขาว เรามักจะบอกเพื่อนว่าให้รอเราด้วยเพราะเราน่าจะเป็นคนสุดท้ายที่ผ่านด่านตรวจคนเข้าเมือง ที่บอกเพื่อนๆ อย่างนั้นเพราะเราเชื่อว่าเราต้องโดนตรวจกระเป๋าแน่ๆ ซึ่งก็เกิดขึ้นจริงๆ ตอนนั้นเรามองว่าสิ่งที่เกิดขึ้นเป็นเรื่องปกติ จนกระทั่งเพื่อนบอกว่า “นี่มันไม่ใช่เรื่องปกตินะ” เราจึงเริ่มมองเห็นว่ามันไม่ควรเป็นอย่างนั้น ทุกคนควรจะเท่าเทียมกัน ไม่ควรมีใครโดนเหยียด (racial slurs) โดนอคติมากกว่าคนอื่น” ความคิดที่ว่าเราด้อยกว่า ไม่มีคุณค่าเท่า ไม่เก่งเท่า หรือสมควรแล้วที่ถูกปฏิบัติอย่างไม่เท่าเทียม มีผลลดทอนความมั่นใจในการใช้ชีวิตและอาชีพการงานของคนๆ นั้น ดร.พนิตา กล่าวเสริม “ในฐานะนักจิตวิทยา เรามีหน้าที่ให้คำปรึกษาซึ่งต้องมีความน่าเชื่อถือ แต่เมื่อต้องไปให้คำปรึกษากับฝรั่ง เรากลับรู้สึกไม่มั่นใจ ไม่แน่ใจว่าเขาจะเชื่อเราไหม เขาจะมองว่าเราเป็นคนต่างด้าวไหม ก็คล้ายๆ กับที่เรามักจะพูดกันว่า “คนผิวขาวพูดอะไรดูน่าเชื่อถือกว่า” พอเราพูดเช่นนี้กันบ่อยๆ และเห็นตัวอย่างที่เกิดขึ้นเรื่อยๆ เราก็จะซึมซับและ internalize เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในระบบความคิดเราโดยอัตโนมัติ” ดร.พนิตา อธิบายกระบวนการหล่อหลอมความคิดด้อยค่าตัวเองในสังคม กระบวนการที่เราถูกทำให้ยอมรับการเหยียดและด้อยค่าตนเอง ไม่ได้จำกัดในประเด็นเชื้อชาติเท่านั้น แต่ยังครอบคลุมไปถึงเรื่อง Internalized Oppression หรือการยอมรับการกดขี่ อย่างในเรื่องเพศ เราจะได้ยินความคิดที่ยอมรับว่า “ผู้ชายแข็งแรงกว่าผู้หญิง” “ผู้ชายมีความเป็นผู้นำมากกว่า” หรือ การยอมรับที่จะไม่ได้รับสิทธิตามกฎหมายอย่างเท่าเทียมของกลุ่ม LGBTQ+ เป็นต้น ซึ่งความคิดเหล่านี้สะท้อนการยอมรับการตัดสินจากกลุ่มคนที่เราให้ค่าว่าเหนือกว่าในสังคม ได้แก่ กลุ่มผู้ชายรักต่างเพศ (heterosexual men) ………………………… Check list สัญญาณว่าเรากำลังถูก Internalized Racism 1. ความรู้สึกว่า “ตัวเองด้อยกว่าคนอื่น” หรือต้องพิสูจน์ตัวเองตลอดเวลา เมื่อใดที่รู้สึก “เราไม่เก่งเท่าคนอื่น” ควรกลับมาเช็คตัวเองว่า เราไม่เก่งจริงหรือ เหตุผลคืออะไร ถ้าความไม่มั่นใจมาจากความสามารถ ความไม่ถนัด ขาดประสบการณ์ อันนั้นเข้าใจได้ แต่ถ้าเกิดจากความรู้สึกที่ว่าเราไม่น่าเชื่อถือเพราะเป็นคนเอเชีย เพราะเป็นคนไทย ฯลฯ อันนี้เป็น internalized racism จากสังคมที่เหยียดและกดขี่เรา 2. ความรู้สึกต่อต้านหรือเฉยชากับกระบวนการเรียกร้องให้เกิดความเท่าเทียมในสังคม หรือเห็นด้วยกับระบบสังคมที่กดทับและมองว่าเป็นกฎเกณฑ์หรือเป็นสิ่งที่เหมาะสมแล้ว โดยที่ตนเอง ก็อยู่ในกลุ่มที่ไม่ได้รับความเท่าเทียม หรือเสียประโยชน์ตามที่ควรจะได้รับ …………………………………. 4 แนวทางปลดแอกตัวเองจาก Internalized Racism การต้านทานอิทธิพลทางสังคมหรือลบล้างกระบวนการด้อยค่าและกดทับตัวเอง (Internalized Oppression หรือ Racism) ไม่ใช่เรื่องที่จะทำให้หมดไปในเวลาอันรวดเร็ว หากแต่เป็นกระบวนการที่ใช้เวลา ทั้งนี้ ดร.พนิตา แนะนำ 4 วิธีที่จะช่วยให้เราเปลี่ยน “อุปนิสัยทางความคิด” ใหม่ ได้แก่ มีสติเท่าทันความคิดในการดำเนินชีวิต (self-awareness) ตระหนักรู้ว่าเรากำลังรู้สึกอะไร เพราะอะไร “หากเรามีสติรู้ตัวว่าทำไมเราถึงรู้สึกแบบนี้ เป็นเพราะอะไร เกิดการคิดวิเคราะห์ ตั้งคำถาม สะท้อนความรู้สึกของตัวเอง เราจะรู้เท่าทันการถูกกระทำให้เหยียดตัวเองและรู้ว่าเรากำลังดูถูกตัวเองอยู่หรือเปล่า นอกจากนี้ เราก็ต้องมีสติรู้ด้วยว่าเรากำลังดูถูกหรือด้อยค่าคนอื่นอยู่หรือเปล่าด้วย อย่ากดคนอื่นลงเพื่อให้เราดูสูงขึ้น อันนี้ก็ต้องระวังด้วยเหมือนกัน” เมตตาตัวเอง (self-compassion) รู้จักชื่นชม เห็นคุณค่าและรักตัวเองในแบบที่เราเป็น “เราต้องให้ความสำคัญกับตัวเองว่าเราไม่ได้ด้อยไปกว่าใคร ไม่ว่าเราจะเกิดมาเป็นเพศใด มีเชื้อชาติ สีผิวแบบไหน มันไม่ใช่สิ่งที่จะมากำหนดการใช้ชีวิตหรืออนาคตของเรา” เปิดใจกว้างยอมรับความแตกต่างหลากหลาย หาความรู้ ประสบการณ์ ทำความรู้จักกับคนให้หลากหลายขึ้น “เราจะได้เห็นภาพกว้างๆ ว่าความรู้สึกต่ำต้อยที่เราเป็นอยู่นั้นไม่มีแก่นสารและไม่ควรจะเกิดขึ้น รวมถึงการหาประสบการณ์ชีวิต เช่น การเข้าไปทำความรู้จักกับกลุ่มคนที่มีความแตกต่างหลากหลายทางเชื้อชาติ เพศ วัฒนธรรมและความเชื่อ เพื่อให้เห็นความงามในความต่างเหล่านั้น ทลายกำแพงความเชื่อในเรื่องเชื้อชาติ สีผิว และอื่นๆ ที่เคยมี ให้เห็นความเป็นมนุษย์ที่ไม่สมบูรณ์แบบ มีความเท่าเทียม ไม่เปรียบเทียบคุณค่าว่าอย่างไหนเหนือกว่าหรือด้อยกว่า และเพื่อตรวจสอบกลับมาที่ตัวเองว่า ความรู้สึกว่าตัวเองไม่ดีพอนั้น เป็นข้อเท็จจริงหรือเป็นแค่สิ่งที่เราคิดไปเอง” เข้าร่วมกลุ่มที่สนับสนุนให้กำลังใจกันและกัน (support group) และร่วมกิจกรรมเคลื่อนไหวทางสังคม (movement) ประเด็นความเท่าเทียมในสังคมเพื่อจะได้รู้ว่าเราไม่ได้ต่อสู้เพียงลำพัง เทรนด์คนรุ่นใหม่ เคารพคุณค่าความเป็นมนุษย์ ดร.พนิตา กล่าวว่าปัจจุบัน สถานการณ์ Internalized Racism ในประเทศไทยเริ่มคลี่คลายในทางที่ดีขึ้น โดยมีคนรุ่นใหม่เป็นหัวหอกสำคัญ “คนรุ่นใหม่มีทัศนคติที่ยอมรับความหลากหลายมากขึ้นและให้ความสำคัญกับการรณรงค์เพื่อสร้างความเท่าเทียมมากกว่าในอดีต เขาเห็นการเคลื่อนไหวทางสังคมในระดับโลกมากขึ้น แล้วย้อนกลับมาตั้งคำถามว่าทำไมในประเทศยังทักกันเรื่องรูปร่างหน้าตา มีการเหยียดสีผิวกันอยู่ แล้วเริ่มเรียกร้องให้เกิดการเปลี่ยนแปลง แบน (banned) ทัศนคติที่เป็นการเหยียดกัน” การลด Internalized Racism เป็นขบวนการที่ใช้เวลา แต่แม้จะยาวนาน ก็ต้องทำไปเรื่อยๆ เพื่อสังคมที่ทุกคนอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ดร.พนิตา กล่าวทิ้งท้ายอย่างมีความหวัง ……………….. ที่มา ศูนย์สื่อสารองค์กร จุฬาฯ tui sakrapee Related Posts ม.สุโขทัยธรรมาธิราช เปิดรับนักศึกษาใหม่ ภาคต้นปีการศึกษา 2568 เริ่มรับสมัครวันที่ 1 เมษายน 2568 CP All Education Forum 2025 จัดใหญ่! มอบทุนการศึกษากว่า 1,648 ล้าน ปลุกพลังการศึกษาไทย “สร้างคนเก่ง ดี มีความสามารถ” รับมือยุค AI มธ. รับสมัครนักศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสหวิทยาการ ประจำปีการศึกษา 2568 สัปดาห์สุดท้าย!ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา เปิดรับรอบที่ 2 Quota 8 สาขา พร้อมมอบทุนเพชรสุนันทา เรียนการออกแบบแฟชั่น มทร.ธัญบุรี เปิดกว้างทุกวัย เพื่อเรียนรู้ตลอดชีพ ธนาคารหน่วยกิต “40 หลักสูตร ป.ตรี” Post navigation PREVIOUS Previous post: มีสิทธิ์รับทุน! มทร.ธัญบุรี – ม.โอทาโก นิวซีแลนด์ เปิดรับสมัครแล้ว หลักสูตรเตรียมพร้อมปริญญาตรีไฮบริดนิวซีแลนด์รุ่น 2NEXT Next post: รมว.กระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา สั่งการหัวหน้าผู้ตรวจราชการ “สันติ ป่าหวาย” ขับเคลื่อนนโยบายโครงการอาสาสมัครท่องเที่ยวกีฬาทั่วประเทศ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
Peking U.ให้ทุนป.ตรี-เอก InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศMarch 27, 2025 Peking University กำลังให้ทุนสำหรับนักศึกษาต่างชาติที่โดดเด่น ทุนนี้ก่อตั้งขึ้นในปี 2012 โดยให้การสนับสนุนนักศึกษาระดับปริญญาตรี โท และเอก(ไม่จำกัดสาขาวิชา) โดยให้ความช่วยเหลือทางการเงินเต็มจำนวนหรือบางส่วน รวมถึงค่าเล่าเรียน เงินเดือน และประกันสุขภาพ เปิดรับสมัครช่วงมีนาคมถึงเมษายน ทุกปี เพื่อให้มีสิทธิ์ได้รับทุน ผู้สมัครจะต้องเป็นนักศึกษาต่างชาติที่ได้รับข้อเสนอให้เข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยปักกิ่งในฐานะนักศึกษาปีหนึ่ง จะต้องไม่เป็นผู้รับทุนการศึกษาอื่นใด และไม่ควรลงทะเบียนในโปรแกรมปริญญาวิชาชีพ… สัปดาห์สุดท้าย!ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา เปิดรับรอบที่ 2 Quota 8 สาขา พร้อมมอบทุนเพชรสุนันทา เรียนการออกแบบแฟชั่น tui sakrapeeMarch 27, 2025 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดรับสมัครคัดเลือกนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญเข้าศึกษาในโครงการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาระดับปริญญาตรี ระบบโควตา ประเภทความสามารถทางวิชาการ และประเภทความสามารถพิเศษ ประจำปีการศึกษา 2568 (รอบที่ 2 Quota) พร้อมรับสมัครคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษา ภาคปกติ ระดับปริญญาตรี ในโครงการทุนเพชรสุนันทา กำหนดการรับสมัคร สาขาที่รับสมัครคณะศิลปกรรมศาสตร์ คุณสมบัติเฉพาะ…
สัปดาห์สุดท้าย!ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา เปิดรับรอบที่ 2 Quota 8 สาขา พร้อมมอบทุนเพชรสุนันทา เรียนการออกแบบแฟชั่น tui sakrapeeMarch 27, 2025 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดรับสมัครคัดเลือกนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญเข้าศึกษาในโครงการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาระดับปริญญาตรี ระบบโควตา ประเภทความสามารถทางวิชาการ และประเภทความสามารถพิเศษ ประจำปีการศึกษา 2568 (รอบที่ 2 Quota) พร้อมรับสมัครคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษา ภาคปกติ ระดับปริญญาตรี ในโครงการทุนเพชรสุนันทา กำหนดการรับสมัคร สาขาที่รับสมัครคณะศิลปกรรมศาสตร์ คุณสมบัติเฉพาะ…
5 แนวโน้มสำคัญด้านการศึกษาในปี 2025 EZ WebmasterMarch 28, 2025 5 แนวโน้มสำคัญด้านการศึกษาในปี 2025 ปี 2025 เป็นปีแห่งการเปลี่ยนแปลงของวงการศึกษา เทคโนโลยีใหม่ๆ และแนวคิดการเรียนรู้ที่ทันสมัยจะเข้ามามีบทบาทสำคัญ มาดูกันว่าอะไรคือแนวโน้มหลักที่ต้องจับตามอง! การเกิดขึ้นของโรงเรียนรูปแบบใหม่ Hybrid Learning, Microschools และ Homeschool กำลังได้รับความนิยมมากขึ้น การใช้… มจธ. คิดค้น “นวัตกรรมการผลิตซิลิกาด้วยเทคโนโลยีชีวภาพ” ต้นทุนต่ำ คุณภาพสูง พร้อมพลิกโฉมอุตสาหกรรมไทย EZ WebmasterMarch 27, 2025 นักวิจัย มจธ.พัฒนากระบวนการผลิต ไบโอซิลิกา (Biosilica) จากแกลบข้าว ด้วยกระบวนการชีวภาพ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและไร้สารเคมีตกค้าง พร้อมส่งต่อเทคโนโลยีเพื่อนำไปใช้ในอุตสาหกรรมต่างๆ เช่น เครื่องสำอาง เวชสำอาง ยา และยาง ซึ่งเป็นก้าวสำคัญที่ช่วยให้ประเทศไทยลดการพึ่งพาซิลิกานำเข้า และส่งเสริมเศรษฐกิจหมุนเวียนของประเทศ ซิลิกา (Silica) เป็นวัตถุดิบสำคัญในหลายอุตสาหกรรมของไทย ตั้งแต่ยางรถยนต์ เครื่องสำอาง เวชภัณฑ์… โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “ดร.ชุมพล พรประภา” เป็นนายกสภา ม.ศรีนครินทรวิโรฒ tui sakrapeeMarch 26, 2025 ราชกิจจานุเบกษาเผยแพร่ ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “ชุมพล พรประภา” ดำรงตำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ แทนวิจิตร ศรีสอ้าน ที่ถึงแก่อนิจกรรม ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 142 ตอนพิเศษ 147 ง เมื่อวันที่ 25… สอศ. ปั้นผู้อำนวยการอาชีวะยุคใหม่! เสริมภาวะผู้นำ-วิสัยทัศน์ ทันโลกการศึกษา EZ WebmasterMarch 26, 2025 วันที่ 26 มีนาคม 2568 นายยศพล เวณุโกเศศ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (เลขาธิการ กอศ.) เป็นประธานเปิดโครงการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และบรรยายพิเศษ “Growth Mindset: แนวคิดเชิงบวกและการเติบโตขององค์กร” โดยนางธิติมา โรจน์วัชราภิบาล ผู้อำนวยการ… กิจกรรม สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ ร่วมพิธีวางพานพุ่มและพิธีตักบาตร เนื่องในวันครบรอบ ๑๐๘ ปี แห่งการสถาปนาจุฬาฯ EZ WebmasterMarch 27, 2025 สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินร่วมพิธีวางพานพุ่มสักการะพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระปิยมหาราชและสมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า และพิธีตักบาตร เนื่องในวันครบรอบ ๑๐๘ ปี แห่งการสถาปนาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมี นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ และ นายอรรษิษฐ์ สัมพันธรัตน์ ประธานการจัดงานคืนเหย้าชาวจุฬาฯ… พิธีเปิดกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) ภายใต้โครงการพัฒนามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมผ้าไทยสู่สากล ประจำปี ๒๕๖๘ EZ WebmasterMarch 26, 2025 นางสาวลิปิการ์ กำลังชัย รองธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรม รักษาราชการแทนอธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรมเป็นประธานพิธิเปิด และร่วมรับฟังการบรรยายกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) พร้อมด้วยนางสาวศิวพร ฉันทไกรวัฒน์ ผู้อำนวยการกลุ่มเผยแพร่และต่อยอดมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมเข้าร่วมงาน โดยวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญด้านผ้าไทย การออกแบบและแฟชั่น อาทิ ผศ.ดร.รวิเทพ มุสิกะปาน ผศ.ดร.วุฒิไกร… เปิดรับอาสาสมัครศิริราช รอบทำกิจกรรม เดือน พ.ค.-ก.ค. 68 ทุกกิจกรรมมีใบรับรองการทำกิจกรรม EZ WebmasterMarch 26, 2025 ตารางการรับอาสาสมัครรอบทำกิจกรรม เดือน พฤษภาคม – กรกฏาคม 68 (กิจกรรมที่อยู่ในเว็บไซต์ตอนนี้เป็นรอบเก่ามีผู้เข้าร่วมเต็มทั้งหมดแล้วค่ะ รอบใหม่จะเปิดตามวันเวลาที่แจ้งด้านล่างนี้เท่านั้น*) ขอให้อาสาเป็นผู้สมัครและกดเลือกกิจกรรมด้วยตนเองนะคะ – 31 ก.ค. 68 **เนื่องจากวันที่ 5 พ.ค. เป็นวันหยุด จะขอเริ่มตั้งแต่วันที่วันที่ 6 พ.ค.… เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน รับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน EZ WebmasterMarch 24, 2025 เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน เกม Let’s School เกมแนวบริหารโรงเรียนในฝัน ที่จะให้เรารับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน อยากให้โรงเรียนเป็นแบบไหนก็ปรับเล่นได้เลย ดูอารมณ์นักเรียกได้ด้วยว่ามีความสุขมั้ย? แถมตอนนี้ยังมีอัปเดตแมพใหม่พร้อมซัพไทยด้วยนะ Let’s School โหลดเล่นได้ที่ Steam :… Search for: Search tui sakrapee February 22, 2022 tui sakrapee February 22, 2022 Internalized Racism ถึงเวลาปลดแอก “การเหยียดตัวเอง” อาจารย์จิตวิทยา จุฬาฯ ชี้ประเด็นการด้อยค่าตัวเอง ไม่ว่าเรื่องเชื้อชาติ สีผิว เพศ ที่เกิดขึ้นโดยไม่รู้ตัวและส่งผลต่อความสุขส่วนบุคคลและสังคม ชวนทุกฝ่ายเท่าทันกระบวนการ Internalized Racism แล้วปรับมุมมองให้เห็นคุณค่าความเป็นมนุษย์ที่เท่ากัน “ฉันผิวคล้ำ ใส่สีแดงสดไม่ได้หรอก เดี๋ยวเหมือนอีกาคาบพริก” “เรามันแค่ประชากรประเทศโลกที่สาม จะไปเก่งสู้ฝรั่งได้อย่างไร” หลายคนอาจจะคุ้นหูประโยคเหล่านี้และอาจจะเคยพูดกับตนเองด้วยซ้ำ โดยคิดว่า “ไม่เป็นไร เรื่องธรรมดา ก็มันจริง หรือพูดเล่นขำๆ” แต่สำหรับ ดร.พนิตา เสือวรรณศรี อาจารย์แขนงวิชาจิตวิทยาการปรึกษา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คำพูดเหล่านี้สะท้อนกระบวนการเหยียดและด้อยค่าตัวเอง (Internalized Racism) ซึ่งเป็นเสมือนเนื้อร้ายทำลายสังคมและความสุขของบุคคลในฐานะมนุษย์ที่มีคุณค่าเท่าเทียมกัน “เราควรตระหนักและพูดถึงประเด็นนี้กันให้มากขึ้น สิ่งที่อันตรายกว่าการไม่เห็นด้วยคือการนิ่งเฉย ระบบ racism เป็นระบบที่กดทับอยู่แล้ว การละเลย ไม่พูดถึงสิ่งนี้เท่ากับเป็นการยอมรับมันโดยปริยาย” ดร. พนิตา ผู้วิจัยเรื่อง Internalized Racism กล่าว Internalized Racism คืออะไร Racism หมายถึงการเหยียดสีผิว เชื้อชาติ วัฒนธรรม ด้วยความรู้สึกว่าตนอยู่ในกลุ่มที่เหนือกว่า ดีกว่า แล้วยัดเยียดความรู้สึกด้อยค่านั้นให้ผู้อื่น ส่วน Internalized Racism เป็นการกระทำในทิศทางตรงกันข้าม คือผู้ที่ถูกกดขี่เชื่อและยอมรับความคิดว่าตัวเองด้อยกว่านั้นมาเป็นความจริงของตัวเอง “พูดง่ายๆ ก็คือไม่ต้องมีใครมาเหยียดฉันหรอก ฉันชิงเหยียดตัวเองก่อนแล้ว เป็นกระบวนการที่เรามองว่าตัวเองด้อยกว่า ไม่ทัดเทียมผู้อื่น ไม่ว่าจะด้านเชื้อชาติ สีผิว Internalized Racism มักเกิดขึ้นโดยที่เราไม่รู้ตัว ด้วยกระบวนการหล่อหลอมให้รู้สึกว่ามันเป็นอย่างนั้นและเป็นเรื่องธธรรมดา” Internalized Racism ในชีวิตประจำวัน ดร.พนิตา เริ่มศึกษาและวิจัยเรื่อง Internalized Racism จากการสังเกตเบื้องลึกความรู้สึก “ไม่ดีพอ” ที่เกิดขึ้นภายในใจของเธอเอง “สมัยที่เรียนต่างประเทศ เวลาไปเที่ยวโดยเครื่องบินกับเพื่อนต่างชาติซึ่งส่วนใหญ่เป็นคนผิวขาว เรามักจะบอกเพื่อนว่าให้รอเราด้วยเพราะเราน่าจะเป็นคนสุดท้ายที่ผ่านด่านตรวจคนเข้าเมือง ที่บอกเพื่อนๆ อย่างนั้นเพราะเราเชื่อว่าเราต้องโดนตรวจกระเป๋าแน่ๆ ซึ่งก็เกิดขึ้นจริงๆ ตอนนั้นเรามองว่าสิ่งที่เกิดขึ้นเป็นเรื่องปกติ จนกระทั่งเพื่อนบอกว่า “นี่มันไม่ใช่เรื่องปกตินะ” เราจึงเริ่มมองเห็นว่ามันไม่ควรเป็นอย่างนั้น ทุกคนควรจะเท่าเทียมกัน ไม่ควรมีใครโดนเหยียด (racial slurs) โดนอคติมากกว่าคนอื่น” ความคิดที่ว่าเราด้อยกว่า ไม่มีคุณค่าเท่า ไม่เก่งเท่า หรือสมควรแล้วที่ถูกปฏิบัติอย่างไม่เท่าเทียม มีผลลดทอนความมั่นใจในการใช้ชีวิตและอาชีพการงานของคนๆ นั้น ดร.พนิตา กล่าวเสริม “ในฐานะนักจิตวิทยา เรามีหน้าที่ให้คำปรึกษาซึ่งต้องมีความน่าเชื่อถือ แต่เมื่อต้องไปให้คำปรึกษากับฝรั่ง เรากลับรู้สึกไม่มั่นใจ ไม่แน่ใจว่าเขาจะเชื่อเราไหม เขาจะมองว่าเราเป็นคนต่างด้าวไหม ก็คล้ายๆ กับที่เรามักจะพูดกันว่า “คนผิวขาวพูดอะไรดูน่าเชื่อถือกว่า” พอเราพูดเช่นนี้กันบ่อยๆ และเห็นตัวอย่างที่เกิดขึ้นเรื่อยๆ เราก็จะซึมซับและ internalize เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในระบบความคิดเราโดยอัตโนมัติ” ดร.พนิตา อธิบายกระบวนการหล่อหลอมความคิดด้อยค่าตัวเองในสังคม กระบวนการที่เราถูกทำให้ยอมรับการเหยียดและด้อยค่าตนเอง ไม่ได้จำกัดในประเด็นเชื้อชาติเท่านั้น แต่ยังครอบคลุมไปถึงเรื่อง Internalized Oppression หรือการยอมรับการกดขี่ อย่างในเรื่องเพศ เราจะได้ยินความคิดที่ยอมรับว่า “ผู้ชายแข็งแรงกว่าผู้หญิง” “ผู้ชายมีความเป็นผู้นำมากกว่า” หรือ การยอมรับที่จะไม่ได้รับสิทธิตามกฎหมายอย่างเท่าเทียมของกลุ่ม LGBTQ+ เป็นต้น ซึ่งความคิดเหล่านี้สะท้อนการยอมรับการตัดสินจากกลุ่มคนที่เราให้ค่าว่าเหนือกว่าในสังคม ได้แก่ กลุ่มผู้ชายรักต่างเพศ (heterosexual men) ………………………… Check list สัญญาณว่าเรากำลังถูก Internalized Racism 1. ความรู้สึกว่า “ตัวเองด้อยกว่าคนอื่น” หรือต้องพิสูจน์ตัวเองตลอดเวลา เมื่อใดที่รู้สึก “เราไม่เก่งเท่าคนอื่น” ควรกลับมาเช็คตัวเองว่า เราไม่เก่งจริงหรือ เหตุผลคืออะไร ถ้าความไม่มั่นใจมาจากความสามารถ ความไม่ถนัด ขาดประสบการณ์ อันนั้นเข้าใจได้ แต่ถ้าเกิดจากความรู้สึกที่ว่าเราไม่น่าเชื่อถือเพราะเป็นคนเอเชีย เพราะเป็นคนไทย ฯลฯ อันนี้เป็น internalized racism จากสังคมที่เหยียดและกดขี่เรา 2. ความรู้สึกต่อต้านหรือเฉยชากับกระบวนการเรียกร้องให้เกิดความเท่าเทียมในสังคม หรือเห็นด้วยกับระบบสังคมที่กดทับและมองว่าเป็นกฎเกณฑ์หรือเป็นสิ่งที่เหมาะสมแล้ว โดยที่ตนเอง ก็อยู่ในกลุ่มที่ไม่ได้รับความเท่าเทียม หรือเสียประโยชน์ตามที่ควรจะได้รับ …………………………………. 4 แนวทางปลดแอกตัวเองจาก Internalized Racism การต้านทานอิทธิพลทางสังคมหรือลบล้างกระบวนการด้อยค่าและกดทับตัวเอง (Internalized Oppression หรือ Racism) ไม่ใช่เรื่องที่จะทำให้หมดไปในเวลาอันรวดเร็ว หากแต่เป็นกระบวนการที่ใช้เวลา ทั้งนี้ ดร.พนิตา แนะนำ 4 วิธีที่จะช่วยให้เราเปลี่ยน “อุปนิสัยทางความคิด” ใหม่ ได้แก่ มีสติเท่าทันความคิดในการดำเนินชีวิต (self-awareness) ตระหนักรู้ว่าเรากำลังรู้สึกอะไร เพราะอะไร “หากเรามีสติรู้ตัวว่าทำไมเราถึงรู้สึกแบบนี้ เป็นเพราะอะไร เกิดการคิดวิเคราะห์ ตั้งคำถาม สะท้อนความรู้สึกของตัวเอง เราจะรู้เท่าทันการถูกกระทำให้เหยียดตัวเองและรู้ว่าเรากำลังดูถูกตัวเองอยู่หรือเปล่า นอกจากนี้ เราก็ต้องมีสติรู้ด้วยว่าเรากำลังดูถูกหรือด้อยค่าคนอื่นอยู่หรือเปล่าด้วย อย่ากดคนอื่นลงเพื่อให้เราดูสูงขึ้น อันนี้ก็ต้องระวังด้วยเหมือนกัน” เมตตาตัวเอง (self-compassion) รู้จักชื่นชม เห็นคุณค่าและรักตัวเองในแบบที่เราเป็น “เราต้องให้ความสำคัญกับตัวเองว่าเราไม่ได้ด้อยไปกว่าใคร ไม่ว่าเราจะเกิดมาเป็นเพศใด มีเชื้อชาติ สีผิวแบบไหน มันไม่ใช่สิ่งที่จะมากำหนดการใช้ชีวิตหรืออนาคตของเรา” เปิดใจกว้างยอมรับความแตกต่างหลากหลาย หาความรู้ ประสบการณ์ ทำความรู้จักกับคนให้หลากหลายขึ้น “เราจะได้เห็นภาพกว้างๆ ว่าความรู้สึกต่ำต้อยที่เราเป็นอยู่นั้นไม่มีแก่นสารและไม่ควรจะเกิดขึ้น รวมถึงการหาประสบการณ์ชีวิต เช่น การเข้าไปทำความรู้จักกับกลุ่มคนที่มีความแตกต่างหลากหลายทางเชื้อชาติ เพศ วัฒนธรรมและความเชื่อ เพื่อให้เห็นความงามในความต่างเหล่านั้น ทลายกำแพงความเชื่อในเรื่องเชื้อชาติ สีผิว และอื่นๆ ที่เคยมี ให้เห็นความเป็นมนุษย์ที่ไม่สมบูรณ์แบบ มีความเท่าเทียม ไม่เปรียบเทียบคุณค่าว่าอย่างไหนเหนือกว่าหรือด้อยกว่า และเพื่อตรวจสอบกลับมาที่ตัวเองว่า ความรู้สึกว่าตัวเองไม่ดีพอนั้น เป็นข้อเท็จจริงหรือเป็นแค่สิ่งที่เราคิดไปเอง” เข้าร่วมกลุ่มที่สนับสนุนให้กำลังใจกันและกัน (support group) และร่วมกิจกรรมเคลื่อนไหวทางสังคม (movement) ประเด็นความเท่าเทียมในสังคมเพื่อจะได้รู้ว่าเราไม่ได้ต่อสู้เพียงลำพัง เทรนด์คนรุ่นใหม่ เคารพคุณค่าความเป็นมนุษย์ ดร.พนิตา กล่าวว่าปัจจุบัน สถานการณ์ Internalized Racism ในประเทศไทยเริ่มคลี่คลายในทางที่ดีขึ้น โดยมีคนรุ่นใหม่เป็นหัวหอกสำคัญ “คนรุ่นใหม่มีทัศนคติที่ยอมรับความหลากหลายมากขึ้นและให้ความสำคัญกับการรณรงค์เพื่อสร้างความเท่าเทียมมากกว่าในอดีต เขาเห็นการเคลื่อนไหวทางสังคมในระดับโลกมากขึ้น แล้วย้อนกลับมาตั้งคำถามว่าทำไมในประเทศยังทักกันเรื่องรูปร่างหน้าตา มีการเหยียดสีผิวกันอยู่ แล้วเริ่มเรียกร้องให้เกิดการเปลี่ยนแปลง แบน (banned) ทัศนคติที่เป็นการเหยียดกัน” การลด Internalized Racism เป็นขบวนการที่ใช้เวลา แต่แม้จะยาวนาน ก็ต้องทำไปเรื่อยๆ เพื่อสังคมที่ทุกคนอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ดร.พนิตา กล่าวทิ้งท้ายอย่างมีความหวัง ……………….. ที่มา ศูนย์สื่อสารองค์กร จุฬาฯ tui sakrapee Related Posts ม.สุโขทัยธรรมาธิราช เปิดรับนักศึกษาใหม่ ภาคต้นปีการศึกษา 2568 เริ่มรับสมัครวันที่ 1 เมษายน 2568 CP All Education Forum 2025 จัดใหญ่! มอบทุนการศึกษากว่า 1,648 ล้าน ปลุกพลังการศึกษาไทย “สร้างคนเก่ง ดี มีความสามารถ” รับมือยุค AI มธ. รับสมัครนักศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสหวิทยาการ ประจำปีการศึกษา 2568 สัปดาห์สุดท้าย!ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา เปิดรับรอบที่ 2 Quota 8 สาขา พร้อมมอบทุนเพชรสุนันทา เรียนการออกแบบแฟชั่น มทร.ธัญบุรี เปิดกว้างทุกวัย เพื่อเรียนรู้ตลอดชีพ ธนาคารหน่วยกิต “40 หลักสูตร ป.ตรี” Post navigation PREVIOUS Previous post: มีสิทธิ์รับทุน! มทร.ธัญบุรี – ม.โอทาโก นิวซีแลนด์ เปิดรับสมัครแล้ว หลักสูตรเตรียมพร้อมปริญญาตรีไฮบริดนิวซีแลนด์รุ่น 2NEXT Next post: รมว.กระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา สั่งการหัวหน้าผู้ตรวจราชการ “สันติ ป่าหวาย” ขับเคลื่อนนโยบายโครงการอาสาสมัครท่องเที่ยวกีฬาทั่วประเทศ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มจธ. คิดค้น “นวัตกรรมการผลิตซิลิกาด้วยเทคโนโลยีชีวภาพ” ต้นทุนต่ำ คุณภาพสูง พร้อมพลิกโฉมอุตสาหกรรมไทย EZ WebmasterMarch 27, 2025 นักวิจัย มจธ.พัฒนากระบวนการผลิต ไบโอซิลิกา (Biosilica) จากแกลบข้าว ด้วยกระบวนการชีวภาพ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและไร้สารเคมีตกค้าง พร้อมส่งต่อเทคโนโลยีเพื่อนำไปใช้ในอุตสาหกรรมต่างๆ เช่น เครื่องสำอาง เวชสำอาง ยา และยาง ซึ่งเป็นก้าวสำคัญที่ช่วยให้ประเทศไทยลดการพึ่งพาซิลิกานำเข้า และส่งเสริมเศรษฐกิจหมุนเวียนของประเทศ ซิลิกา (Silica) เป็นวัตถุดิบสำคัญในหลายอุตสาหกรรมของไทย ตั้งแต่ยางรถยนต์ เครื่องสำอาง เวชภัณฑ์… โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “ดร.ชุมพล พรประภา” เป็นนายกสภา ม.ศรีนครินทรวิโรฒ tui sakrapeeMarch 26, 2025 ราชกิจจานุเบกษาเผยแพร่ ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “ชุมพล พรประภา” ดำรงตำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ แทนวิจิตร ศรีสอ้าน ที่ถึงแก่อนิจกรรม ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 142 ตอนพิเศษ 147 ง เมื่อวันที่ 25… สอศ. ปั้นผู้อำนวยการอาชีวะยุคใหม่! เสริมภาวะผู้นำ-วิสัยทัศน์ ทันโลกการศึกษา EZ WebmasterMarch 26, 2025 วันที่ 26 มีนาคม 2568 นายยศพล เวณุโกเศศ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (เลขาธิการ กอศ.) เป็นประธานเปิดโครงการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และบรรยายพิเศษ “Growth Mindset: แนวคิดเชิงบวกและการเติบโตขององค์กร” โดยนางธิติมา โรจน์วัชราภิบาล ผู้อำนวยการ… กิจกรรม สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ ร่วมพิธีวางพานพุ่มและพิธีตักบาตร เนื่องในวันครบรอบ ๑๐๘ ปี แห่งการสถาปนาจุฬาฯ EZ WebmasterMarch 27, 2025 สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินร่วมพิธีวางพานพุ่มสักการะพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระปิยมหาราชและสมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า และพิธีตักบาตร เนื่องในวันครบรอบ ๑๐๘ ปี แห่งการสถาปนาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมี นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ และ นายอรรษิษฐ์ สัมพันธรัตน์ ประธานการจัดงานคืนเหย้าชาวจุฬาฯ… พิธีเปิดกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) ภายใต้โครงการพัฒนามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมผ้าไทยสู่สากล ประจำปี ๒๕๖๘ EZ WebmasterMarch 26, 2025 นางสาวลิปิการ์ กำลังชัย รองธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรม รักษาราชการแทนอธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรมเป็นประธานพิธิเปิด และร่วมรับฟังการบรรยายกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) พร้อมด้วยนางสาวศิวพร ฉันทไกรวัฒน์ ผู้อำนวยการกลุ่มเผยแพร่และต่อยอดมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมเข้าร่วมงาน โดยวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญด้านผ้าไทย การออกแบบและแฟชั่น อาทิ ผศ.ดร.รวิเทพ มุสิกะปาน ผศ.ดร.วุฒิไกร… เปิดรับอาสาสมัครศิริราช รอบทำกิจกรรม เดือน พ.ค.-ก.ค. 68 ทุกกิจกรรมมีใบรับรองการทำกิจกรรม EZ WebmasterMarch 26, 2025 ตารางการรับอาสาสมัครรอบทำกิจกรรม เดือน พฤษภาคม – กรกฏาคม 68 (กิจกรรมที่อยู่ในเว็บไซต์ตอนนี้เป็นรอบเก่ามีผู้เข้าร่วมเต็มทั้งหมดแล้วค่ะ รอบใหม่จะเปิดตามวันเวลาที่แจ้งด้านล่างนี้เท่านั้น*) ขอให้อาสาเป็นผู้สมัครและกดเลือกกิจกรรมด้วยตนเองนะคะ – 31 ก.ค. 68 **เนื่องจากวันที่ 5 พ.ค. เป็นวันหยุด จะขอเริ่มตั้งแต่วันที่วันที่ 6 พ.ค.… เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน รับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน EZ WebmasterMarch 24, 2025 เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน เกม Let’s School เกมแนวบริหารโรงเรียนในฝัน ที่จะให้เรารับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน อยากให้โรงเรียนเป็นแบบไหนก็ปรับเล่นได้เลย ดูอารมณ์นักเรียกได้ด้วยว่ามีความสุขมั้ย? แถมตอนนี้ยังมีอัปเดตแมพใหม่พร้อมซัพไทยด้วยนะ Let’s School โหลดเล่นได้ที่ Steam :… Search for: Search tui sakrapee February 22, 2022 tui sakrapee February 22, 2022 Internalized Racism ถึงเวลาปลดแอก “การเหยียดตัวเอง” อาจารย์จิตวิทยา จุฬาฯ ชี้ประเด็นการด้อยค่าตัวเอง ไม่ว่าเรื่องเชื้อชาติ สีผิว เพศ ที่เกิดขึ้นโดยไม่รู้ตัวและส่งผลต่อความสุขส่วนบุคคลและสังคม ชวนทุกฝ่ายเท่าทันกระบวนการ Internalized Racism แล้วปรับมุมมองให้เห็นคุณค่าความเป็นมนุษย์ที่เท่ากัน “ฉันผิวคล้ำ ใส่สีแดงสดไม่ได้หรอก เดี๋ยวเหมือนอีกาคาบพริก” “เรามันแค่ประชากรประเทศโลกที่สาม จะไปเก่งสู้ฝรั่งได้อย่างไร” หลายคนอาจจะคุ้นหูประโยคเหล่านี้และอาจจะเคยพูดกับตนเองด้วยซ้ำ โดยคิดว่า “ไม่เป็นไร เรื่องธรรมดา ก็มันจริง หรือพูดเล่นขำๆ” แต่สำหรับ ดร.พนิตา เสือวรรณศรี อาจารย์แขนงวิชาจิตวิทยาการปรึกษา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คำพูดเหล่านี้สะท้อนกระบวนการเหยียดและด้อยค่าตัวเอง (Internalized Racism) ซึ่งเป็นเสมือนเนื้อร้ายทำลายสังคมและความสุขของบุคคลในฐานะมนุษย์ที่มีคุณค่าเท่าเทียมกัน “เราควรตระหนักและพูดถึงประเด็นนี้กันให้มากขึ้น สิ่งที่อันตรายกว่าการไม่เห็นด้วยคือการนิ่งเฉย ระบบ racism เป็นระบบที่กดทับอยู่แล้ว การละเลย ไม่พูดถึงสิ่งนี้เท่ากับเป็นการยอมรับมันโดยปริยาย” ดร. พนิตา ผู้วิจัยเรื่อง Internalized Racism กล่าว Internalized Racism คืออะไร Racism หมายถึงการเหยียดสีผิว เชื้อชาติ วัฒนธรรม ด้วยความรู้สึกว่าตนอยู่ในกลุ่มที่เหนือกว่า ดีกว่า แล้วยัดเยียดความรู้สึกด้อยค่านั้นให้ผู้อื่น ส่วน Internalized Racism เป็นการกระทำในทิศทางตรงกันข้าม คือผู้ที่ถูกกดขี่เชื่อและยอมรับความคิดว่าตัวเองด้อยกว่านั้นมาเป็นความจริงของตัวเอง “พูดง่ายๆ ก็คือไม่ต้องมีใครมาเหยียดฉันหรอก ฉันชิงเหยียดตัวเองก่อนแล้ว เป็นกระบวนการที่เรามองว่าตัวเองด้อยกว่า ไม่ทัดเทียมผู้อื่น ไม่ว่าจะด้านเชื้อชาติ สีผิว Internalized Racism มักเกิดขึ้นโดยที่เราไม่รู้ตัว ด้วยกระบวนการหล่อหลอมให้รู้สึกว่ามันเป็นอย่างนั้นและเป็นเรื่องธธรรมดา” Internalized Racism ในชีวิตประจำวัน ดร.พนิตา เริ่มศึกษาและวิจัยเรื่อง Internalized Racism จากการสังเกตเบื้องลึกความรู้สึก “ไม่ดีพอ” ที่เกิดขึ้นภายในใจของเธอเอง “สมัยที่เรียนต่างประเทศ เวลาไปเที่ยวโดยเครื่องบินกับเพื่อนต่างชาติซึ่งส่วนใหญ่เป็นคนผิวขาว เรามักจะบอกเพื่อนว่าให้รอเราด้วยเพราะเราน่าจะเป็นคนสุดท้ายที่ผ่านด่านตรวจคนเข้าเมือง ที่บอกเพื่อนๆ อย่างนั้นเพราะเราเชื่อว่าเราต้องโดนตรวจกระเป๋าแน่ๆ ซึ่งก็เกิดขึ้นจริงๆ ตอนนั้นเรามองว่าสิ่งที่เกิดขึ้นเป็นเรื่องปกติ จนกระทั่งเพื่อนบอกว่า “นี่มันไม่ใช่เรื่องปกตินะ” เราจึงเริ่มมองเห็นว่ามันไม่ควรเป็นอย่างนั้น ทุกคนควรจะเท่าเทียมกัน ไม่ควรมีใครโดนเหยียด (racial slurs) โดนอคติมากกว่าคนอื่น” ความคิดที่ว่าเราด้อยกว่า ไม่มีคุณค่าเท่า ไม่เก่งเท่า หรือสมควรแล้วที่ถูกปฏิบัติอย่างไม่เท่าเทียม มีผลลดทอนความมั่นใจในการใช้ชีวิตและอาชีพการงานของคนๆ นั้น ดร.พนิตา กล่าวเสริม “ในฐานะนักจิตวิทยา เรามีหน้าที่ให้คำปรึกษาซึ่งต้องมีความน่าเชื่อถือ แต่เมื่อต้องไปให้คำปรึกษากับฝรั่ง เรากลับรู้สึกไม่มั่นใจ ไม่แน่ใจว่าเขาจะเชื่อเราไหม เขาจะมองว่าเราเป็นคนต่างด้าวไหม ก็คล้ายๆ กับที่เรามักจะพูดกันว่า “คนผิวขาวพูดอะไรดูน่าเชื่อถือกว่า” พอเราพูดเช่นนี้กันบ่อยๆ และเห็นตัวอย่างที่เกิดขึ้นเรื่อยๆ เราก็จะซึมซับและ internalize เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในระบบความคิดเราโดยอัตโนมัติ” ดร.พนิตา อธิบายกระบวนการหล่อหลอมความคิดด้อยค่าตัวเองในสังคม กระบวนการที่เราถูกทำให้ยอมรับการเหยียดและด้อยค่าตนเอง ไม่ได้จำกัดในประเด็นเชื้อชาติเท่านั้น แต่ยังครอบคลุมไปถึงเรื่อง Internalized Oppression หรือการยอมรับการกดขี่ อย่างในเรื่องเพศ เราจะได้ยินความคิดที่ยอมรับว่า “ผู้ชายแข็งแรงกว่าผู้หญิง” “ผู้ชายมีความเป็นผู้นำมากกว่า” หรือ การยอมรับที่จะไม่ได้รับสิทธิตามกฎหมายอย่างเท่าเทียมของกลุ่ม LGBTQ+ เป็นต้น ซึ่งความคิดเหล่านี้สะท้อนการยอมรับการตัดสินจากกลุ่มคนที่เราให้ค่าว่าเหนือกว่าในสังคม ได้แก่ กลุ่มผู้ชายรักต่างเพศ (heterosexual men) ………………………… Check list สัญญาณว่าเรากำลังถูก Internalized Racism 1. ความรู้สึกว่า “ตัวเองด้อยกว่าคนอื่น” หรือต้องพิสูจน์ตัวเองตลอดเวลา เมื่อใดที่รู้สึก “เราไม่เก่งเท่าคนอื่น” ควรกลับมาเช็คตัวเองว่า เราไม่เก่งจริงหรือ เหตุผลคืออะไร ถ้าความไม่มั่นใจมาจากความสามารถ ความไม่ถนัด ขาดประสบการณ์ อันนั้นเข้าใจได้ แต่ถ้าเกิดจากความรู้สึกที่ว่าเราไม่น่าเชื่อถือเพราะเป็นคนเอเชีย เพราะเป็นคนไทย ฯลฯ อันนี้เป็น internalized racism จากสังคมที่เหยียดและกดขี่เรา 2. ความรู้สึกต่อต้านหรือเฉยชากับกระบวนการเรียกร้องให้เกิดความเท่าเทียมในสังคม หรือเห็นด้วยกับระบบสังคมที่กดทับและมองว่าเป็นกฎเกณฑ์หรือเป็นสิ่งที่เหมาะสมแล้ว โดยที่ตนเอง ก็อยู่ในกลุ่มที่ไม่ได้รับความเท่าเทียม หรือเสียประโยชน์ตามที่ควรจะได้รับ …………………………………. 4 แนวทางปลดแอกตัวเองจาก Internalized Racism การต้านทานอิทธิพลทางสังคมหรือลบล้างกระบวนการด้อยค่าและกดทับตัวเอง (Internalized Oppression หรือ Racism) ไม่ใช่เรื่องที่จะทำให้หมดไปในเวลาอันรวดเร็ว หากแต่เป็นกระบวนการที่ใช้เวลา ทั้งนี้ ดร.พนิตา แนะนำ 4 วิธีที่จะช่วยให้เราเปลี่ยน “อุปนิสัยทางความคิด” ใหม่ ได้แก่ มีสติเท่าทันความคิดในการดำเนินชีวิต (self-awareness) ตระหนักรู้ว่าเรากำลังรู้สึกอะไร เพราะอะไร “หากเรามีสติรู้ตัวว่าทำไมเราถึงรู้สึกแบบนี้ เป็นเพราะอะไร เกิดการคิดวิเคราะห์ ตั้งคำถาม สะท้อนความรู้สึกของตัวเอง เราจะรู้เท่าทันการถูกกระทำให้เหยียดตัวเองและรู้ว่าเรากำลังดูถูกตัวเองอยู่หรือเปล่า นอกจากนี้ เราก็ต้องมีสติรู้ด้วยว่าเรากำลังดูถูกหรือด้อยค่าคนอื่นอยู่หรือเปล่าด้วย อย่ากดคนอื่นลงเพื่อให้เราดูสูงขึ้น อันนี้ก็ต้องระวังด้วยเหมือนกัน” เมตตาตัวเอง (self-compassion) รู้จักชื่นชม เห็นคุณค่าและรักตัวเองในแบบที่เราเป็น “เราต้องให้ความสำคัญกับตัวเองว่าเราไม่ได้ด้อยไปกว่าใคร ไม่ว่าเราจะเกิดมาเป็นเพศใด มีเชื้อชาติ สีผิวแบบไหน มันไม่ใช่สิ่งที่จะมากำหนดการใช้ชีวิตหรืออนาคตของเรา” เปิดใจกว้างยอมรับความแตกต่างหลากหลาย หาความรู้ ประสบการณ์ ทำความรู้จักกับคนให้หลากหลายขึ้น “เราจะได้เห็นภาพกว้างๆ ว่าความรู้สึกต่ำต้อยที่เราเป็นอยู่นั้นไม่มีแก่นสารและไม่ควรจะเกิดขึ้น รวมถึงการหาประสบการณ์ชีวิต เช่น การเข้าไปทำความรู้จักกับกลุ่มคนที่มีความแตกต่างหลากหลายทางเชื้อชาติ เพศ วัฒนธรรมและความเชื่อ เพื่อให้เห็นความงามในความต่างเหล่านั้น ทลายกำแพงความเชื่อในเรื่องเชื้อชาติ สีผิว และอื่นๆ ที่เคยมี ให้เห็นความเป็นมนุษย์ที่ไม่สมบูรณ์แบบ มีความเท่าเทียม ไม่เปรียบเทียบคุณค่าว่าอย่างไหนเหนือกว่าหรือด้อยกว่า และเพื่อตรวจสอบกลับมาที่ตัวเองว่า ความรู้สึกว่าตัวเองไม่ดีพอนั้น เป็นข้อเท็จจริงหรือเป็นแค่สิ่งที่เราคิดไปเอง” เข้าร่วมกลุ่มที่สนับสนุนให้กำลังใจกันและกัน (support group) และร่วมกิจกรรมเคลื่อนไหวทางสังคม (movement) ประเด็นความเท่าเทียมในสังคมเพื่อจะได้รู้ว่าเราไม่ได้ต่อสู้เพียงลำพัง เทรนด์คนรุ่นใหม่ เคารพคุณค่าความเป็นมนุษย์ ดร.พนิตา กล่าวว่าปัจจุบัน สถานการณ์ Internalized Racism ในประเทศไทยเริ่มคลี่คลายในทางที่ดีขึ้น โดยมีคนรุ่นใหม่เป็นหัวหอกสำคัญ “คนรุ่นใหม่มีทัศนคติที่ยอมรับความหลากหลายมากขึ้นและให้ความสำคัญกับการรณรงค์เพื่อสร้างความเท่าเทียมมากกว่าในอดีต เขาเห็นการเคลื่อนไหวทางสังคมในระดับโลกมากขึ้น แล้วย้อนกลับมาตั้งคำถามว่าทำไมในประเทศยังทักกันเรื่องรูปร่างหน้าตา มีการเหยียดสีผิวกันอยู่ แล้วเริ่มเรียกร้องให้เกิดการเปลี่ยนแปลง แบน (banned) ทัศนคติที่เป็นการเหยียดกัน” การลด Internalized Racism เป็นขบวนการที่ใช้เวลา แต่แม้จะยาวนาน ก็ต้องทำไปเรื่อยๆ เพื่อสังคมที่ทุกคนอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ดร.พนิตา กล่าวทิ้งท้ายอย่างมีความหวัง ……………….. ที่มา ศูนย์สื่อสารองค์กร จุฬาฯ tui sakrapee Related Posts ม.สุโขทัยธรรมาธิราช เปิดรับนักศึกษาใหม่ ภาคต้นปีการศึกษา 2568 เริ่มรับสมัครวันที่ 1 เมษายน 2568 CP All Education Forum 2025 จัดใหญ่! มอบทุนการศึกษากว่า 1,648 ล้าน ปลุกพลังการศึกษาไทย “สร้างคนเก่ง ดี มีความสามารถ” รับมือยุค AI มธ. รับสมัครนักศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสหวิทยาการ ประจำปีการศึกษา 2568 สัปดาห์สุดท้าย!ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา เปิดรับรอบที่ 2 Quota 8 สาขา พร้อมมอบทุนเพชรสุนันทา เรียนการออกแบบแฟชั่น มทร.ธัญบุรี เปิดกว้างทุกวัย เพื่อเรียนรู้ตลอดชีพ ธนาคารหน่วยกิต “40 หลักสูตร ป.ตรี” Post navigation PREVIOUS Previous post: มีสิทธิ์รับทุน! มทร.ธัญบุรี – ม.โอทาโก นิวซีแลนด์ เปิดรับสมัครแล้ว หลักสูตรเตรียมพร้อมปริญญาตรีไฮบริดนิวซีแลนด์รุ่น 2NEXT Next post: รมว.กระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา สั่งการหัวหน้าผู้ตรวจราชการ “สันติ ป่าหวาย” ขับเคลื่อนนโยบายโครงการอาสาสมัครท่องเที่ยวกีฬาทั่วประเทศ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “ดร.ชุมพล พรประภา” เป็นนายกสภา ม.ศรีนครินทรวิโรฒ tui sakrapeeMarch 26, 2025 ราชกิจจานุเบกษาเผยแพร่ ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “ชุมพล พรประภา” ดำรงตำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ แทนวิจิตร ศรีสอ้าน ที่ถึงแก่อนิจกรรม ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 142 ตอนพิเศษ 147 ง เมื่อวันที่ 25… สอศ. ปั้นผู้อำนวยการอาชีวะยุคใหม่! เสริมภาวะผู้นำ-วิสัยทัศน์ ทันโลกการศึกษา EZ WebmasterMarch 26, 2025 วันที่ 26 มีนาคม 2568 นายยศพล เวณุโกเศศ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (เลขาธิการ กอศ.) เป็นประธานเปิดโครงการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และบรรยายพิเศษ “Growth Mindset: แนวคิดเชิงบวกและการเติบโตขององค์กร” โดยนางธิติมา โรจน์วัชราภิบาล ผู้อำนวยการ…
สอศ. ปั้นผู้อำนวยการอาชีวะยุคใหม่! เสริมภาวะผู้นำ-วิสัยทัศน์ ทันโลกการศึกษา EZ WebmasterMarch 26, 2025 วันที่ 26 มีนาคม 2568 นายยศพล เวณุโกเศศ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (เลขาธิการ กอศ.) เป็นประธานเปิดโครงการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และบรรยายพิเศษ “Growth Mindset: แนวคิดเชิงบวกและการเติบโตขององค์กร” โดยนางธิติมา โรจน์วัชราภิบาล ผู้อำนวยการ…
สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ ร่วมพิธีวางพานพุ่มและพิธีตักบาตร เนื่องในวันครบรอบ ๑๐๘ ปี แห่งการสถาปนาจุฬาฯ EZ WebmasterMarch 27, 2025 สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินร่วมพิธีวางพานพุ่มสักการะพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระปิยมหาราชและสมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า และพิธีตักบาตร เนื่องในวันครบรอบ ๑๐๘ ปี แห่งการสถาปนาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมี นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ และ นายอรรษิษฐ์ สัมพันธรัตน์ ประธานการจัดงานคืนเหย้าชาวจุฬาฯ… พิธีเปิดกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) ภายใต้โครงการพัฒนามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมผ้าไทยสู่สากล ประจำปี ๒๕๖๘ EZ WebmasterMarch 26, 2025 นางสาวลิปิการ์ กำลังชัย รองธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรม รักษาราชการแทนอธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรมเป็นประธานพิธิเปิด และร่วมรับฟังการบรรยายกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) พร้อมด้วยนางสาวศิวพร ฉันทไกรวัฒน์ ผู้อำนวยการกลุ่มเผยแพร่และต่อยอดมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมเข้าร่วมงาน โดยวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญด้านผ้าไทย การออกแบบและแฟชั่น อาทิ ผศ.ดร.รวิเทพ มุสิกะปาน ผศ.ดร.วุฒิไกร… เปิดรับอาสาสมัครศิริราช รอบทำกิจกรรม เดือน พ.ค.-ก.ค. 68 ทุกกิจกรรมมีใบรับรองการทำกิจกรรม EZ WebmasterMarch 26, 2025 ตารางการรับอาสาสมัครรอบทำกิจกรรม เดือน พฤษภาคม – กรกฏาคม 68 (กิจกรรมที่อยู่ในเว็บไซต์ตอนนี้เป็นรอบเก่ามีผู้เข้าร่วมเต็มทั้งหมดแล้วค่ะ รอบใหม่จะเปิดตามวันเวลาที่แจ้งด้านล่างนี้เท่านั้น*) ขอให้อาสาเป็นผู้สมัครและกดเลือกกิจกรรมด้วยตนเองนะคะ – 31 ก.ค. 68 **เนื่องจากวันที่ 5 พ.ค. เป็นวันหยุด จะขอเริ่มตั้งแต่วันที่วันที่ 6 พ.ค.… เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน รับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน EZ WebmasterMarch 24, 2025 เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน เกม Let’s School เกมแนวบริหารโรงเรียนในฝัน ที่จะให้เรารับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน อยากให้โรงเรียนเป็นแบบไหนก็ปรับเล่นได้เลย ดูอารมณ์นักเรียกได้ด้วยว่ามีความสุขมั้ย? แถมตอนนี้ยังมีอัปเดตแมพใหม่พร้อมซัพไทยด้วยนะ Let’s School โหลดเล่นได้ที่ Steam :… Search for: Search tui sakrapee February 22, 2022 tui sakrapee February 22, 2022 Internalized Racism ถึงเวลาปลดแอก “การเหยียดตัวเอง” อาจารย์จิตวิทยา จุฬาฯ ชี้ประเด็นการด้อยค่าตัวเอง ไม่ว่าเรื่องเชื้อชาติ สีผิว เพศ ที่เกิดขึ้นโดยไม่รู้ตัวและส่งผลต่อความสุขส่วนบุคคลและสังคม ชวนทุกฝ่ายเท่าทันกระบวนการ Internalized Racism แล้วปรับมุมมองให้เห็นคุณค่าความเป็นมนุษย์ที่เท่ากัน “ฉันผิวคล้ำ ใส่สีแดงสดไม่ได้หรอก เดี๋ยวเหมือนอีกาคาบพริก” “เรามันแค่ประชากรประเทศโลกที่สาม จะไปเก่งสู้ฝรั่งได้อย่างไร” หลายคนอาจจะคุ้นหูประโยคเหล่านี้และอาจจะเคยพูดกับตนเองด้วยซ้ำ โดยคิดว่า “ไม่เป็นไร เรื่องธรรมดา ก็มันจริง หรือพูดเล่นขำๆ” แต่สำหรับ ดร.พนิตา เสือวรรณศรี อาจารย์แขนงวิชาจิตวิทยาการปรึกษา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คำพูดเหล่านี้สะท้อนกระบวนการเหยียดและด้อยค่าตัวเอง (Internalized Racism) ซึ่งเป็นเสมือนเนื้อร้ายทำลายสังคมและความสุขของบุคคลในฐานะมนุษย์ที่มีคุณค่าเท่าเทียมกัน “เราควรตระหนักและพูดถึงประเด็นนี้กันให้มากขึ้น สิ่งที่อันตรายกว่าการไม่เห็นด้วยคือการนิ่งเฉย ระบบ racism เป็นระบบที่กดทับอยู่แล้ว การละเลย ไม่พูดถึงสิ่งนี้เท่ากับเป็นการยอมรับมันโดยปริยาย” ดร. พนิตา ผู้วิจัยเรื่อง Internalized Racism กล่าว Internalized Racism คืออะไร Racism หมายถึงการเหยียดสีผิว เชื้อชาติ วัฒนธรรม ด้วยความรู้สึกว่าตนอยู่ในกลุ่มที่เหนือกว่า ดีกว่า แล้วยัดเยียดความรู้สึกด้อยค่านั้นให้ผู้อื่น ส่วน Internalized Racism เป็นการกระทำในทิศทางตรงกันข้าม คือผู้ที่ถูกกดขี่เชื่อและยอมรับความคิดว่าตัวเองด้อยกว่านั้นมาเป็นความจริงของตัวเอง “พูดง่ายๆ ก็คือไม่ต้องมีใครมาเหยียดฉันหรอก ฉันชิงเหยียดตัวเองก่อนแล้ว เป็นกระบวนการที่เรามองว่าตัวเองด้อยกว่า ไม่ทัดเทียมผู้อื่น ไม่ว่าจะด้านเชื้อชาติ สีผิว Internalized Racism มักเกิดขึ้นโดยที่เราไม่รู้ตัว ด้วยกระบวนการหล่อหลอมให้รู้สึกว่ามันเป็นอย่างนั้นและเป็นเรื่องธธรรมดา” Internalized Racism ในชีวิตประจำวัน ดร.พนิตา เริ่มศึกษาและวิจัยเรื่อง Internalized Racism จากการสังเกตเบื้องลึกความรู้สึก “ไม่ดีพอ” ที่เกิดขึ้นภายในใจของเธอเอง “สมัยที่เรียนต่างประเทศ เวลาไปเที่ยวโดยเครื่องบินกับเพื่อนต่างชาติซึ่งส่วนใหญ่เป็นคนผิวขาว เรามักจะบอกเพื่อนว่าให้รอเราด้วยเพราะเราน่าจะเป็นคนสุดท้ายที่ผ่านด่านตรวจคนเข้าเมือง ที่บอกเพื่อนๆ อย่างนั้นเพราะเราเชื่อว่าเราต้องโดนตรวจกระเป๋าแน่ๆ ซึ่งก็เกิดขึ้นจริงๆ ตอนนั้นเรามองว่าสิ่งที่เกิดขึ้นเป็นเรื่องปกติ จนกระทั่งเพื่อนบอกว่า “นี่มันไม่ใช่เรื่องปกตินะ” เราจึงเริ่มมองเห็นว่ามันไม่ควรเป็นอย่างนั้น ทุกคนควรจะเท่าเทียมกัน ไม่ควรมีใครโดนเหยียด (racial slurs) โดนอคติมากกว่าคนอื่น” ความคิดที่ว่าเราด้อยกว่า ไม่มีคุณค่าเท่า ไม่เก่งเท่า หรือสมควรแล้วที่ถูกปฏิบัติอย่างไม่เท่าเทียม มีผลลดทอนความมั่นใจในการใช้ชีวิตและอาชีพการงานของคนๆ นั้น ดร.พนิตา กล่าวเสริม “ในฐานะนักจิตวิทยา เรามีหน้าที่ให้คำปรึกษาซึ่งต้องมีความน่าเชื่อถือ แต่เมื่อต้องไปให้คำปรึกษากับฝรั่ง เรากลับรู้สึกไม่มั่นใจ ไม่แน่ใจว่าเขาจะเชื่อเราไหม เขาจะมองว่าเราเป็นคนต่างด้าวไหม ก็คล้ายๆ กับที่เรามักจะพูดกันว่า “คนผิวขาวพูดอะไรดูน่าเชื่อถือกว่า” พอเราพูดเช่นนี้กันบ่อยๆ และเห็นตัวอย่างที่เกิดขึ้นเรื่อยๆ เราก็จะซึมซับและ internalize เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในระบบความคิดเราโดยอัตโนมัติ” ดร.พนิตา อธิบายกระบวนการหล่อหลอมความคิดด้อยค่าตัวเองในสังคม กระบวนการที่เราถูกทำให้ยอมรับการเหยียดและด้อยค่าตนเอง ไม่ได้จำกัดในประเด็นเชื้อชาติเท่านั้น แต่ยังครอบคลุมไปถึงเรื่อง Internalized Oppression หรือการยอมรับการกดขี่ อย่างในเรื่องเพศ เราจะได้ยินความคิดที่ยอมรับว่า “ผู้ชายแข็งแรงกว่าผู้หญิง” “ผู้ชายมีความเป็นผู้นำมากกว่า” หรือ การยอมรับที่จะไม่ได้รับสิทธิตามกฎหมายอย่างเท่าเทียมของกลุ่ม LGBTQ+ เป็นต้น ซึ่งความคิดเหล่านี้สะท้อนการยอมรับการตัดสินจากกลุ่มคนที่เราให้ค่าว่าเหนือกว่าในสังคม ได้แก่ กลุ่มผู้ชายรักต่างเพศ (heterosexual men) ………………………… Check list สัญญาณว่าเรากำลังถูก Internalized Racism 1. ความรู้สึกว่า “ตัวเองด้อยกว่าคนอื่น” หรือต้องพิสูจน์ตัวเองตลอดเวลา เมื่อใดที่รู้สึก “เราไม่เก่งเท่าคนอื่น” ควรกลับมาเช็คตัวเองว่า เราไม่เก่งจริงหรือ เหตุผลคืออะไร ถ้าความไม่มั่นใจมาจากความสามารถ ความไม่ถนัด ขาดประสบการณ์ อันนั้นเข้าใจได้ แต่ถ้าเกิดจากความรู้สึกที่ว่าเราไม่น่าเชื่อถือเพราะเป็นคนเอเชีย เพราะเป็นคนไทย ฯลฯ อันนี้เป็น internalized racism จากสังคมที่เหยียดและกดขี่เรา 2. ความรู้สึกต่อต้านหรือเฉยชากับกระบวนการเรียกร้องให้เกิดความเท่าเทียมในสังคม หรือเห็นด้วยกับระบบสังคมที่กดทับและมองว่าเป็นกฎเกณฑ์หรือเป็นสิ่งที่เหมาะสมแล้ว โดยที่ตนเอง ก็อยู่ในกลุ่มที่ไม่ได้รับความเท่าเทียม หรือเสียประโยชน์ตามที่ควรจะได้รับ …………………………………. 4 แนวทางปลดแอกตัวเองจาก Internalized Racism การต้านทานอิทธิพลทางสังคมหรือลบล้างกระบวนการด้อยค่าและกดทับตัวเอง (Internalized Oppression หรือ Racism) ไม่ใช่เรื่องที่จะทำให้หมดไปในเวลาอันรวดเร็ว หากแต่เป็นกระบวนการที่ใช้เวลา ทั้งนี้ ดร.พนิตา แนะนำ 4 วิธีที่จะช่วยให้เราเปลี่ยน “อุปนิสัยทางความคิด” ใหม่ ได้แก่ มีสติเท่าทันความคิดในการดำเนินชีวิต (self-awareness) ตระหนักรู้ว่าเรากำลังรู้สึกอะไร เพราะอะไร “หากเรามีสติรู้ตัวว่าทำไมเราถึงรู้สึกแบบนี้ เป็นเพราะอะไร เกิดการคิดวิเคราะห์ ตั้งคำถาม สะท้อนความรู้สึกของตัวเอง เราจะรู้เท่าทันการถูกกระทำให้เหยียดตัวเองและรู้ว่าเรากำลังดูถูกตัวเองอยู่หรือเปล่า นอกจากนี้ เราก็ต้องมีสติรู้ด้วยว่าเรากำลังดูถูกหรือด้อยค่าคนอื่นอยู่หรือเปล่าด้วย อย่ากดคนอื่นลงเพื่อให้เราดูสูงขึ้น อันนี้ก็ต้องระวังด้วยเหมือนกัน” เมตตาตัวเอง (self-compassion) รู้จักชื่นชม เห็นคุณค่าและรักตัวเองในแบบที่เราเป็น “เราต้องให้ความสำคัญกับตัวเองว่าเราไม่ได้ด้อยไปกว่าใคร ไม่ว่าเราจะเกิดมาเป็นเพศใด มีเชื้อชาติ สีผิวแบบไหน มันไม่ใช่สิ่งที่จะมากำหนดการใช้ชีวิตหรืออนาคตของเรา” เปิดใจกว้างยอมรับความแตกต่างหลากหลาย หาความรู้ ประสบการณ์ ทำความรู้จักกับคนให้หลากหลายขึ้น “เราจะได้เห็นภาพกว้างๆ ว่าความรู้สึกต่ำต้อยที่เราเป็นอยู่นั้นไม่มีแก่นสารและไม่ควรจะเกิดขึ้น รวมถึงการหาประสบการณ์ชีวิต เช่น การเข้าไปทำความรู้จักกับกลุ่มคนที่มีความแตกต่างหลากหลายทางเชื้อชาติ เพศ วัฒนธรรมและความเชื่อ เพื่อให้เห็นความงามในความต่างเหล่านั้น ทลายกำแพงความเชื่อในเรื่องเชื้อชาติ สีผิว และอื่นๆ ที่เคยมี ให้เห็นความเป็นมนุษย์ที่ไม่สมบูรณ์แบบ มีความเท่าเทียม ไม่เปรียบเทียบคุณค่าว่าอย่างไหนเหนือกว่าหรือด้อยกว่า และเพื่อตรวจสอบกลับมาที่ตัวเองว่า ความรู้สึกว่าตัวเองไม่ดีพอนั้น เป็นข้อเท็จจริงหรือเป็นแค่สิ่งที่เราคิดไปเอง” เข้าร่วมกลุ่มที่สนับสนุนให้กำลังใจกันและกัน (support group) และร่วมกิจกรรมเคลื่อนไหวทางสังคม (movement) ประเด็นความเท่าเทียมในสังคมเพื่อจะได้รู้ว่าเราไม่ได้ต่อสู้เพียงลำพัง เทรนด์คนรุ่นใหม่ เคารพคุณค่าความเป็นมนุษย์ ดร.พนิตา กล่าวว่าปัจจุบัน สถานการณ์ Internalized Racism ในประเทศไทยเริ่มคลี่คลายในทางที่ดีขึ้น โดยมีคนรุ่นใหม่เป็นหัวหอกสำคัญ “คนรุ่นใหม่มีทัศนคติที่ยอมรับความหลากหลายมากขึ้นและให้ความสำคัญกับการรณรงค์เพื่อสร้างความเท่าเทียมมากกว่าในอดีต เขาเห็นการเคลื่อนไหวทางสังคมในระดับโลกมากขึ้น แล้วย้อนกลับมาตั้งคำถามว่าทำไมในประเทศยังทักกันเรื่องรูปร่างหน้าตา มีการเหยียดสีผิวกันอยู่ แล้วเริ่มเรียกร้องให้เกิดการเปลี่ยนแปลง แบน (banned) ทัศนคติที่เป็นการเหยียดกัน” การลด Internalized Racism เป็นขบวนการที่ใช้เวลา แต่แม้จะยาวนาน ก็ต้องทำไปเรื่อยๆ เพื่อสังคมที่ทุกคนอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ดร.พนิตา กล่าวทิ้งท้ายอย่างมีความหวัง ……………….. ที่มา ศูนย์สื่อสารองค์กร จุฬาฯ tui sakrapee Related Posts ม.สุโขทัยธรรมาธิราช เปิดรับนักศึกษาใหม่ ภาคต้นปีการศึกษา 2568 เริ่มรับสมัครวันที่ 1 เมษายน 2568 CP All Education Forum 2025 จัดใหญ่! มอบทุนการศึกษากว่า 1,648 ล้าน ปลุกพลังการศึกษาไทย “สร้างคนเก่ง ดี มีความสามารถ” รับมือยุค AI มธ. รับสมัครนักศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสหวิทยาการ ประจำปีการศึกษา 2568 สัปดาห์สุดท้าย!ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา เปิดรับรอบที่ 2 Quota 8 สาขา พร้อมมอบทุนเพชรสุนันทา เรียนการออกแบบแฟชั่น มทร.ธัญบุรี เปิดกว้างทุกวัย เพื่อเรียนรู้ตลอดชีพ ธนาคารหน่วยกิต “40 หลักสูตร ป.ตรี” Post navigation PREVIOUS Previous post: มีสิทธิ์รับทุน! มทร.ธัญบุรี – ม.โอทาโก นิวซีแลนด์ เปิดรับสมัครแล้ว หลักสูตรเตรียมพร้อมปริญญาตรีไฮบริดนิวซีแลนด์รุ่น 2NEXT Next post: รมว.กระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา สั่งการหัวหน้าผู้ตรวจราชการ “สันติ ป่าหวาย” ขับเคลื่อนนโยบายโครงการอาสาสมัครท่องเที่ยวกีฬาทั่วประเทศ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
พิธีเปิดกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) ภายใต้โครงการพัฒนามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมผ้าไทยสู่สากล ประจำปี ๒๕๖๘ EZ WebmasterMarch 26, 2025 นางสาวลิปิการ์ กำลังชัย รองธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรม รักษาราชการแทนอธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรมเป็นประธานพิธิเปิด และร่วมรับฟังการบรรยายกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) พร้อมด้วยนางสาวศิวพร ฉันทไกรวัฒน์ ผู้อำนวยการกลุ่มเผยแพร่และต่อยอดมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมเข้าร่วมงาน โดยวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญด้านผ้าไทย การออกแบบและแฟชั่น อาทิ ผศ.ดร.รวิเทพ มุสิกะปาน ผศ.ดร.วุฒิไกร… เปิดรับอาสาสมัครศิริราช รอบทำกิจกรรม เดือน พ.ค.-ก.ค. 68 ทุกกิจกรรมมีใบรับรองการทำกิจกรรม EZ WebmasterMarch 26, 2025 ตารางการรับอาสาสมัครรอบทำกิจกรรม เดือน พฤษภาคม – กรกฏาคม 68 (กิจกรรมที่อยู่ในเว็บไซต์ตอนนี้เป็นรอบเก่ามีผู้เข้าร่วมเต็มทั้งหมดแล้วค่ะ รอบใหม่จะเปิดตามวันเวลาที่แจ้งด้านล่างนี้เท่านั้น*) ขอให้อาสาเป็นผู้สมัครและกดเลือกกิจกรรมด้วยตนเองนะคะ – 31 ก.ค. 68 **เนื่องจากวันที่ 5 พ.ค. เป็นวันหยุด จะขอเริ่มตั้งแต่วันที่วันที่ 6 พ.ค.… เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน รับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน EZ WebmasterMarch 24, 2025 เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน เกม Let’s School เกมแนวบริหารโรงเรียนในฝัน ที่จะให้เรารับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน อยากให้โรงเรียนเป็นแบบไหนก็ปรับเล่นได้เลย ดูอารมณ์นักเรียกได้ด้วยว่ามีความสุขมั้ย? แถมตอนนี้ยังมีอัปเดตแมพใหม่พร้อมซัพไทยด้วยนะ Let’s School โหลดเล่นได้ที่ Steam :… Search for: Search
เปิดรับอาสาสมัครศิริราช รอบทำกิจกรรม เดือน พ.ค.-ก.ค. 68 ทุกกิจกรรมมีใบรับรองการทำกิจกรรม EZ WebmasterMarch 26, 2025 ตารางการรับอาสาสมัครรอบทำกิจกรรม เดือน พฤษภาคม – กรกฏาคม 68 (กิจกรรมที่อยู่ในเว็บไซต์ตอนนี้เป็นรอบเก่ามีผู้เข้าร่วมเต็มทั้งหมดแล้วค่ะ รอบใหม่จะเปิดตามวันเวลาที่แจ้งด้านล่างนี้เท่านั้น*) ขอให้อาสาเป็นผู้สมัครและกดเลือกกิจกรรมด้วยตนเองนะคะ – 31 ก.ค. 68 **เนื่องจากวันที่ 5 พ.ค. เป็นวันหยุด จะขอเริ่มตั้งแต่วันที่วันที่ 6 พ.ค.… เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน รับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน EZ WebmasterMarch 24, 2025 เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน เกม Let’s School เกมแนวบริหารโรงเรียนในฝัน ที่จะให้เรารับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน อยากให้โรงเรียนเป็นแบบไหนก็ปรับเล่นได้เลย ดูอารมณ์นักเรียกได้ด้วยว่ามีความสุขมั้ย? แถมตอนนี้ยังมีอัปเดตแมพใหม่พร้อมซัพไทยด้วยนะ Let’s School โหลดเล่นได้ที่ Steam :…
เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน รับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน EZ WebmasterMarch 24, 2025 เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน เกม Let’s School เกมแนวบริหารโรงเรียนในฝัน ที่จะให้เรารับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน อยากให้โรงเรียนเป็นแบบไหนก็ปรับเล่นได้เลย ดูอารมณ์นักเรียกได้ด้วยว่ามีความสุขมั้ย? แถมตอนนี้ยังมีอัปเดตแมพใหม่พร้อมซัพไทยด้วยนะ Let’s School โหลดเล่นได้ที่ Steam :…
tui sakrapee February 22, 2022 tui sakrapee February 22, 2022 Internalized Racism ถึงเวลาปลดแอก “การเหยียดตัวเอง” อาจารย์จิตวิทยา จุฬาฯ ชี้ประเด็นการด้อยค่าตัวเอง ไม่ว่าเรื่องเชื้อชาติ สีผิว เพศ ที่เกิดขึ้นโดยไม่รู้ตัวและส่งผลต่อความสุขส่วนบุคคลและสังคม ชวนทุกฝ่ายเท่าทันกระบวนการ Internalized Racism แล้วปรับมุมมองให้เห็นคุณค่าความเป็นมนุษย์ที่เท่ากัน “ฉันผิวคล้ำ ใส่สีแดงสดไม่ได้หรอก เดี๋ยวเหมือนอีกาคาบพริก” “เรามันแค่ประชากรประเทศโลกที่สาม จะไปเก่งสู้ฝรั่งได้อย่างไร” หลายคนอาจจะคุ้นหูประโยคเหล่านี้และอาจจะเคยพูดกับตนเองด้วยซ้ำ โดยคิดว่า “ไม่เป็นไร เรื่องธรรมดา ก็มันจริง หรือพูดเล่นขำๆ” แต่สำหรับ ดร.พนิตา เสือวรรณศรี อาจารย์แขนงวิชาจิตวิทยาการปรึกษา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คำพูดเหล่านี้สะท้อนกระบวนการเหยียดและด้อยค่าตัวเอง (Internalized Racism) ซึ่งเป็นเสมือนเนื้อร้ายทำลายสังคมและความสุขของบุคคลในฐานะมนุษย์ที่มีคุณค่าเท่าเทียมกัน “เราควรตระหนักและพูดถึงประเด็นนี้กันให้มากขึ้น สิ่งที่อันตรายกว่าการไม่เห็นด้วยคือการนิ่งเฉย ระบบ racism เป็นระบบที่กดทับอยู่แล้ว การละเลย ไม่พูดถึงสิ่งนี้เท่ากับเป็นการยอมรับมันโดยปริยาย” ดร. พนิตา ผู้วิจัยเรื่อง Internalized Racism กล่าว Internalized Racism คืออะไร Racism หมายถึงการเหยียดสีผิว เชื้อชาติ วัฒนธรรม ด้วยความรู้สึกว่าตนอยู่ในกลุ่มที่เหนือกว่า ดีกว่า แล้วยัดเยียดความรู้สึกด้อยค่านั้นให้ผู้อื่น ส่วน Internalized Racism เป็นการกระทำในทิศทางตรงกันข้าม คือผู้ที่ถูกกดขี่เชื่อและยอมรับความคิดว่าตัวเองด้อยกว่านั้นมาเป็นความจริงของตัวเอง “พูดง่ายๆ ก็คือไม่ต้องมีใครมาเหยียดฉันหรอก ฉันชิงเหยียดตัวเองก่อนแล้ว เป็นกระบวนการที่เรามองว่าตัวเองด้อยกว่า ไม่ทัดเทียมผู้อื่น ไม่ว่าจะด้านเชื้อชาติ สีผิว Internalized Racism มักเกิดขึ้นโดยที่เราไม่รู้ตัว ด้วยกระบวนการหล่อหลอมให้รู้สึกว่ามันเป็นอย่างนั้นและเป็นเรื่องธธรรมดา” Internalized Racism ในชีวิตประจำวัน ดร.พนิตา เริ่มศึกษาและวิจัยเรื่อง Internalized Racism จากการสังเกตเบื้องลึกความรู้สึก “ไม่ดีพอ” ที่เกิดขึ้นภายในใจของเธอเอง “สมัยที่เรียนต่างประเทศ เวลาไปเที่ยวโดยเครื่องบินกับเพื่อนต่างชาติซึ่งส่วนใหญ่เป็นคนผิวขาว เรามักจะบอกเพื่อนว่าให้รอเราด้วยเพราะเราน่าจะเป็นคนสุดท้ายที่ผ่านด่านตรวจคนเข้าเมือง ที่บอกเพื่อนๆ อย่างนั้นเพราะเราเชื่อว่าเราต้องโดนตรวจกระเป๋าแน่ๆ ซึ่งก็เกิดขึ้นจริงๆ ตอนนั้นเรามองว่าสิ่งที่เกิดขึ้นเป็นเรื่องปกติ จนกระทั่งเพื่อนบอกว่า “นี่มันไม่ใช่เรื่องปกตินะ” เราจึงเริ่มมองเห็นว่ามันไม่ควรเป็นอย่างนั้น ทุกคนควรจะเท่าเทียมกัน ไม่ควรมีใครโดนเหยียด (racial slurs) โดนอคติมากกว่าคนอื่น” ความคิดที่ว่าเราด้อยกว่า ไม่มีคุณค่าเท่า ไม่เก่งเท่า หรือสมควรแล้วที่ถูกปฏิบัติอย่างไม่เท่าเทียม มีผลลดทอนความมั่นใจในการใช้ชีวิตและอาชีพการงานของคนๆ นั้น ดร.พนิตา กล่าวเสริม “ในฐานะนักจิตวิทยา เรามีหน้าที่ให้คำปรึกษาซึ่งต้องมีความน่าเชื่อถือ แต่เมื่อต้องไปให้คำปรึกษากับฝรั่ง เรากลับรู้สึกไม่มั่นใจ ไม่แน่ใจว่าเขาจะเชื่อเราไหม เขาจะมองว่าเราเป็นคนต่างด้าวไหม ก็คล้ายๆ กับที่เรามักจะพูดกันว่า “คนผิวขาวพูดอะไรดูน่าเชื่อถือกว่า” พอเราพูดเช่นนี้กันบ่อยๆ และเห็นตัวอย่างที่เกิดขึ้นเรื่อยๆ เราก็จะซึมซับและ internalize เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในระบบความคิดเราโดยอัตโนมัติ” ดร.พนิตา อธิบายกระบวนการหล่อหลอมความคิดด้อยค่าตัวเองในสังคม กระบวนการที่เราถูกทำให้ยอมรับการเหยียดและด้อยค่าตนเอง ไม่ได้จำกัดในประเด็นเชื้อชาติเท่านั้น แต่ยังครอบคลุมไปถึงเรื่อง Internalized Oppression หรือการยอมรับการกดขี่ อย่างในเรื่องเพศ เราจะได้ยินความคิดที่ยอมรับว่า “ผู้ชายแข็งแรงกว่าผู้หญิง” “ผู้ชายมีความเป็นผู้นำมากกว่า” หรือ การยอมรับที่จะไม่ได้รับสิทธิตามกฎหมายอย่างเท่าเทียมของกลุ่ม LGBTQ+ เป็นต้น ซึ่งความคิดเหล่านี้สะท้อนการยอมรับการตัดสินจากกลุ่มคนที่เราให้ค่าว่าเหนือกว่าในสังคม ได้แก่ กลุ่มผู้ชายรักต่างเพศ (heterosexual men) ………………………… Check list สัญญาณว่าเรากำลังถูก Internalized Racism 1. ความรู้สึกว่า “ตัวเองด้อยกว่าคนอื่น” หรือต้องพิสูจน์ตัวเองตลอดเวลา เมื่อใดที่รู้สึก “เราไม่เก่งเท่าคนอื่น” ควรกลับมาเช็คตัวเองว่า เราไม่เก่งจริงหรือ เหตุผลคืออะไร ถ้าความไม่มั่นใจมาจากความสามารถ ความไม่ถนัด ขาดประสบการณ์ อันนั้นเข้าใจได้ แต่ถ้าเกิดจากความรู้สึกที่ว่าเราไม่น่าเชื่อถือเพราะเป็นคนเอเชีย เพราะเป็นคนไทย ฯลฯ อันนี้เป็น internalized racism จากสังคมที่เหยียดและกดขี่เรา 2. ความรู้สึกต่อต้านหรือเฉยชากับกระบวนการเรียกร้องให้เกิดความเท่าเทียมในสังคม หรือเห็นด้วยกับระบบสังคมที่กดทับและมองว่าเป็นกฎเกณฑ์หรือเป็นสิ่งที่เหมาะสมแล้ว โดยที่ตนเอง ก็อยู่ในกลุ่มที่ไม่ได้รับความเท่าเทียม หรือเสียประโยชน์ตามที่ควรจะได้รับ …………………………………. 4 แนวทางปลดแอกตัวเองจาก Internalized Racism การต้านทานอิทธิพลทางสังคมหรือลบล้างกระบวนการด้อยค่าและกดทับตัวเอง (Internalized Oppression หรือ Racism) ไม่ใช่เรื่องที่จะทำให้หมดไปในเวลาอันรวดเร็ว หากแต่เป็นกระบวนการที่ใช้เวลา ทั้งนี้ ดร.พนิตา แนะนำ 4 วิธีที่จะช่วยให้เราเปลี่ยน “อุปนิสัยทางความคิด” ใหม่ ได้แก่ มีสติเท่าทันความคิดในการดำเนินชีวิต (self-awareness) ตระหนักรู้ว่าเรากำลังรู้สึกอะไร เพราะอะไร “หากเรามีสติรู้ตัวว่าทำไมเราถึงรู้สึกแบบนี้ เป็นเพราะอะไร เกิดการคิดวิเคราะห์ ตั้งคำถาม สะท้อนความรู้สึกของตัวเอง เราจะรู้เท่าทันการถูกกระทำให้เหยียดตัวเองและรู้ว่าเรากำลังดูถูกตัวเองอยู่หรือเปล่า นอกจากนี้ เราก็ต้องมีสติรู้ด้วยว่าเรากำลังดูถูกหรือด้อยค่าคนอื่นอยู่หรือเปล่าด้วย อย่ากดคนอื่นลงเพื่อให้เราดูสูงขึ้น อันนี้ก็ต้องระวังด้วยเหมือนกัน” เมตตาตัวเอง (self-compassion) รู้จักชื่นชม เห็นคุณค่าและรักตัวเองในแบบที่เราเป็น “เราต้องให้ความสำคัญกับตัวเองว่าเราไม่ได้ด้อยไปกว่าใคร ไม่ว่าเราจะเกิดมาเป็นเพศใด มีเชื้อชาติ สีผิวแบบไหน มันไม่ใช่สิ่งที่จะมากำหนดการใช้ชีวิตหรืออนาคตของเรา” เปิดใจกว้างยอมรับความแตกต่างหลากหลาย หาความรู้ ประสบการณ์ ทำความรู้จักกับคนให้หลากหลายขึ้น “เราจะได้เห็นภาพกว้างๆ ว่าความรู้สึกต่ำต้อยที่เราเป็นอยู่นั้นไม่มีแก่นสารและไม่ควรจะเกิดขึ้น รวมถึงการหาประสบการณ์ชีวิต เช่น การเข้าไปทำความรู้จักกับกลุ่มคนที่มีความแตกต่างหลากหลายทางเชื้อชาติ เพศ วัฒนธรรมและความเชื่อ เพื่อให้เห็นความงามในความต่างเหล่านั้น ทลายกำแพงความเชื่อในเรื่องเชื้อชาติ สีผิว และอื่นๆ ที่เคยมี ให้เห็นความเป็นมนุษย์ที่ไม่สมบูรณ์แบบ มีความเท่าเทียม ไม่เปรียบเทียบคุณค่าว่าอย่างไหนเหนือกว่าหรือด้อยกว่า และเพื่อตรวจสอบกลับมาที่ตัวเองว่า ความรู้สึกว่าตัวเองไม่ดีพอนั้น เป็นข้อเท็จจริงหรือเป็นแค่สิ่งที่เราคิดไปเอง” เข้าร่วมกลุ่มที่สนับสนุนให้กำลังใจกันและกัน (support group) และร่วมกิจกรรมเคลื่อนไหวทางสังคม (movement) ประเด็นความเท่าเทียมในสังคมเพื่อจะได้รู้ว่าเราไม่ได้ต่อสู้เพียงลำพัง เทรนด์คนรุ่นใหม่ เคารพคุณค่าความเป็นมนุษย์ ดร.พนิตา กล่าวว่าปัจจุบัน สถานการณ์ Internalized Racism ในประเทศไทยเริ่มคลี่คลายในทางที่ดีขึ้น โดยมีคนรุ่นใหม่เป็นหัวหอกสำคัญ “คนรุ่นใหม่มีทัศนคติที่ยอมรับความหลากหลายมากขึ้นและให้ความสำคัญกับการรณรงค์เพื่อสร้างความเท่าเทียมมากกว่าในอดีต เขาเห็นการเคลื่อนไหวทางสังคมในระดับโลกมากขึ้น แล้วย้อนกลับมาตั้งคำถามว่าทำไมในประเทศยังทักกันเรื่องรูปร่างหน้าตา มีการเหยียดสีผิวกันอยู่ แล้วเริ่มเรียกร้องให้เกิดการเปลี่ยนแปลง แบน (banned) ทัศนคติที่เป็นการเหยียดกัน” การลด Internalized Racism เป็นขบวนการที่ใช้เวลา แต่แม้จะยาวนาน ก็ต้องทำไปเรื่อยๆ เพื่อสังคมที่ทุกคนอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ดร.พนิตา กล่าวทิ้งท้ายอย่างมีความหวัง ……………….. ที่มา ศูนย์สื่อสารองค์กร จุฬาฯ
CP All Education Forum 2025 จัดใหญ่! มอบทุนการศึกษากว่า 1,648 ล้าน ปลุกพลังการศึกษาไทย “สร้างคนเก่ง ดี มีความสามารถ” รับมือยุค AI
สัปดาห์สุดท้าย!ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา เปิดรับรอบที่ 2 Quota 8 สาขา พร้อมมอบทุนเพชรสุนันทา เรียนการออกแบบแฟชั่น