สอบไม่ติดแพทย์ ไม่มีสิทธิ์พูดเรื่องทรงผม!? EZ WebmasterMay 27, 2022 เรื่องกฎระเบียบ ข้อปฏิบัติต่างๆในโรงเรียนไทยนั้น เป็นที่รู้ๆกันดีว่ามีมาตั้งหลายยุคหลายสมัยกันแล้ว แต่ที่เห็นว่าจะเป็นเรื่องถกเถียงกันและมีดราม่าเยอะที่สุดก็คงจะเป็นกฎระเบียบที่เกี่ยวกับรูปลักษณ์ภายนอกของเด็กนักเรียน ไม่ว่าจะเป็น เรื่องเครื่องแต่งกาย การแต่งหน้า หรือแม้กระทั่งเรื่องของทรงผม ซึ่งตอนนี้ก็กำลังเป็นประเด็นร้อนในทวิตเตอร์ เนื่องจาก อาจารย์วิโรจน์ ลักขณาอดิศร จากพรรคก้าวไกล ได้ทวีตคลิปวีดีโอที่ถูกอัดมาจากโรงเรียนแห่งหนึ่ง โดยในคลิปมีคุณครูท่านหนึ่งกำลังพูดหน้าเสาธงเกี่ยวกับเรื่องทรงผมของนักเรียน โดยอาจารย์วิโรจน์ก็ได้สรุปเหตุการณ์คร่าวๆจากคลิปวีดีโอ พร้อมทั้งแสดงความคิดเห็นว่า “โรงเรียนแห่งหนึ่งได้อธิบายเรื่องระเบียบทรงผมให้นักเรียนทราบ… ไลอ้อน เดินหน้าโครงการ “อาชีวศึกษาระบบทวิภาคี” รุ่น 6 หนุนเยาวชนเข้าสู่ระบบการเรียนรู้สายอาชีวะควบคู่วิชาชีวิต EZ WebmasterMay 27, 2022 การเปิดโอกาสและพัฒนาเยาวชนเข้าสู่ระบบการศึกษา นับว่าเป็นสิ่งที่หลายองค์กรธุรกิจให้ความสำคัญ บริษัท ไลอ้อน (ประเทศไทย) จำกัด ผู้ผลิตและจำหน่ายสินค้าอุปโภคบริโภคเพื่อคนไทย มุ่งมั่นดำเนินธุรกิจคู่คุณธรรม พัฒนาสินค้านวัตกรรมและโครงการเพื่อสังคมอย่างต่อเนื่อง รวมถึงโครงการพัฒนาเยาวชนให้มีความรู้ความสามารถเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพและเป็นผู้นำพาประเทศไปสู่ความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจในระยะยาว ประสานความร่วมมือกับภาครัฐ และสถาบันการศึกษา ภายใต้โครงการ “อาชีวศึกษาระบบทวิภาคี” ที่ผ่านมา บริษัทฯดำเนินโครงการประสานความร่วมมือกับวิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ จ.ชลบุรี วิทยาลัยการอาชีพแกลง… TCAS65: คะแนนสูงสุด-ต่ำสุดของแต่ละหลักสูตรที่เปิดรับในรอบ 3 Admission EZ WebmasterMay 27, 2022 สวัสดีค่ะน้องๆ วันนี้ทีมงาน Eduzones มีคะแนนสูงสุด-ต่ำสุดของแต่ละหลักสูตรที่เปิดรับในรอบ 3 Admission มาให้น้องๆดูเป็นแนวทางในการเลือกอันดับTCASปี66กันค่ะ มาดูกันเลย! โดยน้องๆสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมและดาวน์โหลดรายละเอียดได้ที่นี่ click สุดท้ายนี้พี่ๆทีมงาน Eduzones ขอเป็นกำลังใจให้น้องๆทุกคนนะคะ สามารถติดตามข่าวสารการศึกษาได้ที่ Facebook Fanpage : Eduzones… มูลนิธิกำลังใจเปิดรับสมัครทุนการศึกษา ประจำปี 2565 EZ WebmasterMay 27, 2022 ขณะนี้ มูลนิธิกำลังใจ กำลังเปิดรับสมัครทุนการศึกษา ประจำปี 2565 ทั้งหมด 20 ทุน แบ่งเป็น 1. ทุนกำลังใจสร้างครูของชาติ จำนวน 10 ทุน 2. ทุนคุณหมอของกำลังใจ จำนวน 2… นักศึกษา อธิการบดีมทร.พระนคร ย้ำ!! พร้อมเปิดเทอมแบบออนไซต์ 27 มิ.ย.นี้ EZ WebmasterMay 27, 2022 ดร.ณัฐวรพล รัชสิริวัชรบุล อธิการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (มทร.พระนคร) เปิดเผยถึงแนวทางการเปิดภาคการศึกษาใหม่ ประจำปีการศึกษา 2565 ว่า สถานการณ์ขณะนี้แนวโน้มการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อโควิด-19 เริ่มดีขึ้น จะเห็นได้จากยอดผู้ติดเชื้อโรคดังกล่าวจำนวนลดลง และปรับเป็นโรคประจำถิ่นต่อไป ดังนั้นมหาวิทยาลัยจึงได้ปรับแนวทางในการจัดการเรียนการสอนให้เป็นรูปแบบออนไซต์ หรือการเรียนในห้องเรียนเป็นหลักประมาณ 75% สลับกับการจัดการเรียนการสอนผ่านระบบออนไลน์ประมาณ 25%… ดร.ดร๊าฟ พา 12 ดาราดัง ย้อนความทรงจำ คืนสู่เหย้ากลับเข้ารั้วมหาวิทยาลัย EZ WebmasterMay 27, 2022 ผศ.ดร.ดวงฤทธิ์ เบ็ญจาธิกุล ชัยรุ่งเรือง (ดร.ดร๊าฟ) เลขานุการรัฐมนตรีและโฆษกกระทรวง กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เผย รายการ “ออนเดอะเวย์” ที่พา 12 ดาราดัง มาย้อนความทรงจำ คืนสู่เหย้ากลับเข้า 12 รั้วมหาวิทยาลัย… TCAS65: คะแนนสูงสุด-ต่ำสุดของแต่ละหลักสูตรที่เปิดรับในรอบ 3 Admission EZ WebmasterMay 27, 2022 สวัสดีค่ะน้องๆ วันนี้ทีมงาน Eduzones มีคะแนนสูงสุด-ต่ำสุดของแต่ละหลักสูตรที่เปิดรับในรอบ 3 Admission มาให้น้องๆดูเป็นแนวทางในการเลือกอันดับTCASปี66กันค่ะ มาดูกันเลย! โดยน้องๆสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมและดาวน์โหลดรายละเอียดได้ที่นี่ click สุดท้ายนี้พี่ๆทีมงาน Eduzones ขอเป็นกำลังใจให้น้องๆทุกคนนะคะ สามารถติดตามข่าวสารการศึกษาได้ที่ Facebook Fanpage : Eduzones… วิศวะ จุฬาฯ ริเริ่มสร้างสรรค์สังคมความรู้ไปสู่โลกดิจิทัลเสมือนจริงในเมตาเวิร์ส อยู่ที่ไหนก็แวะมาเที่ยวจุฬาฯได้ ด้วยโลกเสมือนจริงบนเมตาเวิร์ส EZ WebmasterMay 26, 2022 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดสร้างหอประวัติจุฬาฯ บนโลกเสมือนจริงสามมิติขึ้น เพื่อให้บุคคลทั่วไปสามารถเข้าเยี่ยมชมศึกษาเรียนรู้ประวัติศาสตร์ของมหาวิทยาลัยแห่งแรกของประเทศไทยได้ ผ่านอุปกรณ์วีอาร์โดยไม่จำเป็นต้องเดินทางมาสถานที่จริง อีกทั้งต่อยอดความรู้ในการสร้างโลกเสมือนจริงที่ช่วยในการดำเนินกิจการในภาครัฐวิสาหกิจ และด้านสุขภาพในยุคเมตาเวิร์ส รองศาสตราจารย์ ดร. ลัญฉกร วุฒิสิทธิกุลกิจ อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่า การสร้างโลกเสมือนจริงของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยนี้ เป็นความร่วมมือระหว่างคณะวิศวกรรมศาสตร์ กับสถาบันไทยศึกษา จัดสร้างหอประวัติจุฬาฯ บนโลกเสมือนจริงสามมิติขึ้น เพื่อบอกเล่าเรื่องราวประวัติศาสตร์เกี่ยวกับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผ่านเทคโนโลยีความเป็นจริงเสมือน เป็นการบูรณาการข้ามศาสตร์ระหว่างองค์ความรู้ด้านมนุษยศาสตร์และวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี เพื่อดำรงคุณค่าและเพิ่มมูลค่าทางด้านสังคมและเศรษฐกิจด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่ และอาจกล่าวได้ว่าเป็นระบบเมตาเวิร์ส ขนาดเล็กแห่งแรกๆ ของประเทศที่มีประโยชน์และใช้งานได้จริง นอกจากนี้… ทุนดีดี ม.หอการค้าไทย ร่วมมือ ชีวาศรมอคาเดมี่ มอบทุนเรียนสาขาบูรณาการส่งเสริมสุขภาพและความงาม ฟรีตลอดหลักสูตร tui sakrapeeMay 11, 2022 ม.หอการค้าไทยร่วมมือกับโรงเรียนสอนวิชาชีพความงามและสุขภาพสปาชีวาศรม มุ่งพัฒนาบุคลากร สร้างบัณฑิตให้มีความพร้อมเพื่อก้าวเข้าสู่ตลาดแรงงานทั้งในประเทศและต่างประเทศ พร้อมรับทุนเรียนฟรี ตลอดหลักสูตร รับสมัครแล้ว วันนี้ ถึง 31 พฤษภาคม 2565 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทยสถาบันการศึกษาชั้นนำด้านธุรกิจและอุตสาหกรรมการบริการ และ โรงเรียนสอนวิชาชีพความงามและสุขภาพสปาชีวาศรม เล็งเห็นความสำคัญการพัฒนาอาจารย์ การผลิตบัณฑิต ให้เป็นผู้ขับเคลื่อนธุรกิจและอุตสาหกรรมบริการที่เต็มเปี่ยมไปด้วยนวัตกรรม สององค์กรจึงร่วมกันผนึกกำลังสำคัญเพื่อสร้างบุคลากรที่มีความพร้อมในการก้าวเข้าสู่อุตสาหกรรมการบริการทั้งในประเทศและต่างประเทศ… ม.รังสิต เปิดให้ทุน “ดร.อรรถวิท อุไรรัตน์ เพื่อการแพทย์แผนตะวันออก” เรียนวิทยาศาสตร์บัณฑิต (การแพทย์แผนตะวันออก) หลักสูตร 4 ปี tui sakrapeeMay 5, 2022 วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก มหาวิทยาลัยรังสิต เปิดรับสมัครทุนการศึกษา ดร.อรรถวิท อุไรรัตน์ เพื่อการแพทย์แผนตะวันออก มหาวิทยาลัยรังสิต ได้ตระหนักถึงผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากการระบาดของโรค โควิด-19 ที่ต่อเนื่องยาวนานมามากกว่า 2 ปี ซึ่งส่งผลต่อความสามารถในการสนับสนุนค่าใช้จ่ายของบุตรหลาน ในการศึกษาต่อระดับอุดมศึกษา จึงได้จัดให้มีทุนการศึกษา “ทุน ดร.อรรถวิทย์… CPF จับมือโลจิสติกส์ สวนสุนันทา มอบทุนเรียนฟรี100% มีรายได้ระหว่างเรียน หลักสูตรการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน (ระบบการศึกษาทางไกล) เปิดรับแล้ววันนี้ tui sakrapeeMay 4, 2022 วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา และ บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด จับมือมอบทุนเรียนฟรี 100% และมีรายได้ระหว่างเรียน เริ่มต้น 12,000 บาท (ไม่รวมโบนัส) สมัครเรียนที่นี่…เหมือนสมัครงาน “ทุนเรียนฟรี 100% และมีรายได้ระหว่างเรียน เริ่มต้น… UTCC ชวนสื่อมวลชนทุกแขนง สมัครรับทุนส่งเสริมโอกาสทางการศึกษา ระดับปริญญาโท ปีการศึกษา 2565 tui sakrapeeMay 3, 2022 UTCC เปิดรับสมัครทุนส่งเสริมโอกาสทางการศึกษา ระดับปริญญาโท ประจำปีการศึกษา 2565 เชิญชวนสื่อมวลชนทุกแขนง สมัครเข้าศึกษาต่อกับเรา ระดับปริญญาโท ทุนสื่อมวลชน มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย (UTCC) มอบทุนที่เปิดโอกาสสำหรับพี่ ๆ ที่อยากเรียนปริญญาโท บอกเลยว่าคุ้ม เพราะเรามอบทุนให้ตลอดหลักสูตร สามารถเลือกศึกษาหลักสูตรที่สนใจได้ตามความฝัน จบแล้ว ไม่ต้องคืนทุกอีกด้วย… ครู-อาจารย์ สอบไม่ติดแพทย์ ไม่มีสิทธิ์พูดเรื่องทรงผม!? EZ WebmasterMay 27, 2022 เรื่องกฎระเบียบ ข้อปฏิบัติต่างๆในโรงเรียนไทยนั้น เป็นที่รู้ๆกันดีว่ามีมาตั้งหลายยุคหลายสมัยกันแล้ว แต่ที่เห็นว่าจะเป็นเรื่องถกเถียงกันและมีดราม่าเยอะที่สุดก็คงจะเป็นกฎระเบียบที่เกี่ยวกับรูปลักษณ์ภายนอกของเด็กนักเรียน ไม่ว่าจะเป็น เรื่องเครื่องแต่งกาย การแต่งหน้า หรือแม้กระทั่งเรื่องของทรงผม ซึ่งตอนนี้ก็กำลังเป็นประเด็นร้อนในทวิตเตอร์ เนื่องจาก อาจารย์วิโรจน์ ลักขณาอดิศร จากพรรคก้าวไกล ได้ทวีตคลิปวีดีโอที่ถูกอัดมาจากโรงเรียนแห่งหนึ่ง โดยในคลิปมีคุณครูท่านหนึ่งกำลังพูดหน้าเสาธงเกี่ยวกับเรื่องทรงผมของนักเรียน โดยอาจารย์วิโรจน์ก็ได้สรุปเหตุการณ์คร่าวๆจากคลิปวีดีโอ พร้อมทั้งแสดงความคิดเห็นว่า “โรงเรียนแห่งหนึ่งได้อธิบายเรื่องระเบียบทรงผมให้นักเรียนทราบ… TCAS65: คะแนนสูงสุด-ต่ำสุดของแต่ละหลักสูตรที่เปิดรับในรอบ 3 Admission EZ WebmasterMay 27, 2022 สวัสดีค่ะน้องๆ วันนี้ทีมงาน Eduzones มีคะแนนสูงสุด-ต่ำสุดของแต่ละหลักสูตรที่เปิดรับในรอบ 3 Admission มาให้น้องๆดูเป็นแนวทางในการเลือกอันดับTCASปี66กันค่ะ มาดูกันเลย! โดยน้องๆสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมและดาวน์โหลดรายละเอียดได้ที่นี่ click สุดท้ายนี้พี่ๆทีมงาน Eduzones ขอเป็นกำลังใจให้น้องๆทุกคนนะคะ สามารถติดตามข่าวสารการศึกษาได้ที่ Facebook Fanpage : Eduzones… สพฐ. ย้ำปี 65 โรงเรียนต้อง ‘ซ่อม เสริม สร้าง’ ให้นักเรียนเป็นรายบุคคล — 25 พฤษภาคม 2565 EZ WebmasterMay 26, 2022 เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2565 นายอัมพร พินะสา เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (กพฐ.) เผย หลังจากผ่านการเปิดเรียนแบบออนไซต์มาครบ 1 สัปดาห์แล้ว พบว่าทุกฝ่ายร่วมมือกันในการสร้างความปลอดภัยในโรงเรียนอย่างมาก โดย นางสาวตรีนุช เทียนทอง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ… เด็กโทษระบบไม่ส่งรหัสยืนยันสิทธิ์ ทปอ. พบไม่กดขอ OTP เอง — 24 พฤษภาคม 2565 EZ WebmasterMay 26, 2022 เมื่อวันที่ 24 พฤษภาคมที่ผ่านมา ดร.พีระพงศ์ ตริยเจริญ ผู้จัดการระบบการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา หรือTCAS ของที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (ทปอ.) กล่าวว่า ขณะนี้ ทปอ.เปิดรับสมัครTCAS ประจำปีการศึกษา 2565 รอบที่ 1 พอร์ตโฟลิโอ รอบที่… กิจกรรม ดร.ดร๊าฟ พา 12 ดาราดัง ย้อนความทรงจำ คืนสู่เหย้ากลับเข้ารั้วมหาวิทยาลัย EZ WebmasterMay 27, 2022 ผศ.ดร.ดวงฤทธิ์ เบ็ญจาธิกุล ชัยรุ่งเรือง (ดร.ดร๊าฟ) เลขานุการรัฐมนตรีและโฆษกกระทรวง กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เผย รายการ “ออนเดอะเวย์” ที่พา 12 ดาราดัง มาย้อนความทรงจำ คืนสู่เหย้ากลับเข้า 12 รั้วมหาวิทยาลัย… KMITL INNOKET 2022 : ตลาดนวัตกรรมสร้างอาชีพ-ต่อยอดธุรกิจ EZ WebmasterMay 25, 2022 วันพุธที่ 25 พฤษภาคม 2565 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) รุดเปิดตลาดนวัตกรรมสร้างอาชีพครั้งแรก “เคเอ็มไอทีแอล อินโนเก็ต 2022” (KMITL INNOKET 2022) ตลาดเดียวที่รวบรวมนวัตกรรมที่สามารถสร้างสรรค์เป็นอาชีพใหม่ ต่อยอดธุรกิจ หรือเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้าและบริการ ด้วยงบประมาณลงทุนขั้นต่ำที่… พระเมธีวชิโรดม (ว.วชิรเมธี) เปิดหอศิลป์ ‘รศ.สุวัฒน์’ แหล่งสร้างผลงานศิลปะไทยร่วมสมัยแนวพุทธศิลป์ tui sakrapeeMay 24, 2022 พระเมธีวชิโรดม (ว.วชิรเมธี) เปิดหอศิลป์ รศ.สุวัฒน์ แหล่งสร้างผลงานศิลปะไทยร่วมสมัยแนวพุทธศิลป์ที่มีเอกลักษณ์โดดเด่น ให้เป็นแหล่งเรียนรู้จัดกิจกรรมด้านศิลปะในพื้นที่ชานเมืองกรุง เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม 2565 พระเมธีวชิโรดม (ท่าน ว.วชิรเมธี) คุณเมตตา อุทกะพันธุ์ ประธานกรรมการบริษัท อมรินทร์ปริ้นติ้ง แอนด์… มทร.ธัญบุรี จัดประชุมวิชาการนานาชาติ นวัตกรรม 9 ราชมงคล ยกระดับเศรษฐกิจฐานราก สร้างสังคมคุณภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterMay 22, 2022 เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคมที่ผ่านมา มทร.ธัญบุรี ร่วมกับเครือข่ายมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีกทั้ง 8 แห่ง ได้จัด “การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 12” และ “การประชุมวิชาการระดับนานาชาติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 11” พร้อมด้วย “การประกวดสิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมราชมงคล ครั้งที่… Search for: Search tui sakrapee January 4, 2022 tui sakrapee January 4, 2022 อาจารย์สถาปัตย์ จุฬาฯ นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาปรัชญา ประจำปี 2565 พัฒนาที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุไทย รศ.ไตรรัตน์ จารุทัศน์ ภาควิชาเคหการ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาฯ หัวหน้าศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางการออกแบบสภาพแวดล้อมเพื่อทุกคน ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาปรัชญา ประจำปี 2565 จากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) รศ.ไตรรัตน์ เป็นผู้เชี่ยวชาญที่มีผลงานเป็นที่ยอมรับในแวดวงสถาปัตยกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลงานวิจัยด้านการออกแบบเพื่อทุกคน (Universal Design) โครงการรูปแบบที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุไทย เพื่อส่งเสริมสุขภาพกาย-ใจ ภายใต้แนวคิดชุมชนที่เป็นมิตรกับผู้สูงอายุ เพื่อส่งเสริมให้เกิดกระบวนการสร้างความร่วมมือ การมีส่วนร่วมระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในพื้นที่ ในการวางแผนตามหลักเมืองที่เป็นมิตรต่อผู้สูงวัย และพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางการสื่อสารที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์ เผยถึงความรู้สึกที่ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติว่า “ดีใจและขอบคุณสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ที่ให้ความสำคัญในเรื่องผู้สูงอายุ ผลงานวิจัยนี้ ผมและทีมวิจัยได้ศึกษาเรื่องนี้มาเป็นเวลากว่า 20 ปีแล้ว ต้องขอขอบคุณจุฬาฯ ที่ให้โอกาสคณาจารย์จากสหสาขาวิชาได้มาทำงานวิจัยร่วมกัน” จุดเริ่มต้นในการทำงานวิจัยของนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ รศ.ไตรรัตน์เริ่มต้นทำงานวิจัยเรื่องที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุเมื่อ 25 ปีที่แล้ว จากความพยายามที่จะสร้างบ้านสำหรับผู้สูงอายุให้มีความปลอดภัยตามมาตรฐานคู่มือ แต่ผลสุดท้ายคือผู้สูงอายุไม่ย้ายเข้ามาอยู่ในบ้าน จึงสนใจศึกษาว่าเพราะเหตุใดผู้สูงอายุถึงไม่ปรับตัวกับสภาพแวดล้อมใหม่ ทำให้รู้ถึงข้อจำกัดในการเลือกที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุ นอกจากสภาพแวดล้อมด้านความปลอดภัยทางกายภาพแล้ว ยังเลือกสภาพแวดล้อมทางสังคม ชุมชน สิ่งแวดล้อม คือต้องอยู่ใกล้ญาติมิตร ชุมชน เดินทางไปมาหาสู่สะดวก ที่สำคัญต้องพึ่งพาตัวเองได้ ซึ่งจะทำให้ผู้สูงอายุเกิดความภูมิใจมากกว่าการต้องพึ่งพาลูกหลาน กว่า 20 ปีที่ศึกษาวิจัยเกี่ยวกับที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์มีผลงานวิจัยจำนวนมาก แบ่งออกเป็นงานวิจัยขั้นพื้นฐาน เช่น มาตรฐานขั้นต่ำสำหรับที่พักอาศัยและสภาพแวดล้อมของผู้สูงอายุไทย การพัฒนาต้นแบบสภาพแวดล้อมทางกายภาพ และสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุของสถานบริการสาธารณสุข ฯลฯ งานวิจัยประยุกต์ เช่น การปรับสิ่งอำนวยความสะดวกของเมืองพัทยาเพื่อรองรับผู้สูงอายุและคนพิการ โครงการการออกแบบชุมชนน่าอยู่ผู้สูงวัยสำหรับผู้สูงอายุในชนบท และการปรับปรุงและพัฒนาต้นแบบที่อยู่อาศัยที่ปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุในชนบท การส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวเพื่อคนทั้งมวล (Tourism For All) ฯลฯ งานวิจัยองค์ความรู้ใหม่ ได้แก่ สภาพการอยู่อาศัยของผู้สูงอายุ 3 ช่วงวัย (วัยต้น วัยกลาง และวัยปลาย) ซึ่งได้รับทุนวิจัยจากโครงการส่งเสริมการทำงานวิจัยเชิงลึกในสาขาวิชาที่มีศักยภาพสูง การศึกษาและพัฒนานโยบาย เครื่องมือ และต้นแบบที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุและผู้ทุพพลภาพ การศึกษาพฤติกรรมการอยู่อาศัยของผู้สูงอายุที่มีอายุยืนของประเทศ ฯลฯ “เราทำวิจัยเกี่ยวกับผู้สูงอายุและคนพิการต่อเนื่องมากว่า 20 ปี ครอบคลุมผู้สูงอายุทุกกลุ่มทั้งในเมืองหรือชนบท ผู้สูงอายุวัยต้น วัยกลาง วัยปลาย จนถึงผู้สูงอายุที่มีอายุ 100 ปี งานวิจัยของเราเน้น “จากหิ้งสู่ห้าง” มีการนำไปใช้จริง โดยมีบ้านต้นแบบต้นแบบที่นำไปประยุกต์ใช้กับพื้นที่ที่เหมาะสมได้” รศ.ไตรรัตน์ กล่าว กลุ่มคนเปราะบางกับสถานการณ์สังคมสูงวัย ตั้งแต่ปี 2543 เป็นต้นมา ประเทศไทยมีผู้สูงอายุ 10 % ในปี 2565 ผู้สูงอายุเฉลี่ยทั่วประเทศจะมีมากถึง 20% ซึ่งเข้าสู่สังคมสูงวัยแบบสมบูรณ์ ถือเป็นสถานการณ์หรือวิกฤตของประเทศไทย ดังนั้นเราควรมีการเตรียมตัววางแผนรับมือให้ดี เพราะนอกจากผู้สูงอายุจะเพิ่มขึ้นแล้ว อัตราการเกิดและคนวัยแรงงาน ก็ลดลงด้วย เราควรมีการวิจัยเชิงลึกในเรื่องนี้ให้มากขึ้นเพื่อลดผลกระทบทางเศรษฐกิจที่จะตามมา การคุ้มครองสวัสดิภาพในกลุ่มคนเปราะบาง เช่น คนในชุมชนแออัด คนไร้บ้าน คนยากจน ฯลฯ ซึ่งมีอยู่ประมาณ 10% คนกลุ่มนี้ต้องเผชิญปัญหาความยากจน เจ็บป่วย ถูกทอดทิ้ง การผลักภาระไปที่รัฐบาลเพียงอย่างเดียวอาจจะแก้ปัญหาไม่ได้ ชุมชนและภาครัฐต้องช่วยกันดูแลคนกลุ่มนี้ด้วยการส่งเสริมให้อยู่ที่เดิม โดยรัฐอาจมีมาตรการเฉพาะคนกลุ่มนี้ เช่น การปรับปรุงบ้าน การให้บริการสาธารณสุข เป็นต้น เรียนรู้ผู้สูงวัยจากงานวิจัยเรื่องที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์ กล่าวว่าช่วงเริ่มต้นโครงการวิจัยรูปแบบที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุไทยจะเน้นเรื่องความปลอดภัยทางสภาพแวดล้อมเป็นหลัก อย่างไรก็ตาม จากกรณีศึกษาของกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ที่ให้งบประมาณแก่กลุ่มผู้สูงอายุเพื่อปรับปรุงบ้าน พบว่ากลุ่มผู้สูงอายุที่มีความเปราะบางไม่ได้นำเงินที่ได้ไปปรับปรุงสภาพแวดล้อมตามกายภาพที่ควรจะเป็น ทำให้การมองปัญหา ในผู้สูงอายุคงมองเรื่องกายภาพเพียงอย่าเดียวไม่ได้ แต่ต้องเน้นไปที่ปัญหา 4 ด้าน ได้แก่ เรื่องสุขภาพ สังคม เศรษฐกิจ และสภาพแวดล้อม คือต้องดูแลสุขภาพกายและใจของผู้สูงอายุไปพร้อมๆ กับสร้างงาน สร้างรายได้ เพื่อให้ผู้สูงอายุพึ่งพาตนเองได้ แล้วค่อยปรับบ้านให้ปลอดภัยกับผู้สูงอายุ ลักษณะที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ ที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุต้องมีความปลอดภัย มีพื้นเรียบเสมอกันทั้งในบ้านและห้องน้ำ มีราวจับ พื้นไม่ลื่น ที่อยู่อาศัยมีแสงสว่างเพียงพอ ประตูที่ใช้เป็นบานเลื่อน ก๊อกน้ำลูกบิดประตูเป็นก้านโยก ช่องทางเดินมีความกว้าง 90 เซนติเมตร หน้าต่างบานลึก มีแสงสว่าง มองเห็นสวนและต้นไม้ นอกจากนี้พื้นที่ในบ้านไม่ควรใหญ่เกินไปเพื่อง่ายต่อการบำรุงรักษา มีพื้นที่เก็บของเพื่อให้ไม่รกเกะกะ ก่อให้เกิดปัญหาพลัดตกหกล้ม ความสำคัญของชุมชนที่เป็นมิตรกับผู้สูงวัย ชุมชนที่เป็นมิตรกับผู้สูงวัยเป็นแนวคิดขององค์การอนามัยโลก (WHO) เพื่อให้ผู้สูงวัยอยู่ในชุมชนได้อย่างเป็นสุข เป็นมิตรกับทุกคน ทุกวัย ทุกสภาพแวดล้อม ประกอบด้วย 3 ด้าน คือ ด้านกายภาพ เริ่มจากบ้านต้องปลอดภัย มีการเดินทางที่สะดวกสบาย มีพื้นที่สาธารณะที่ดี สามารถเข้าถึงได้ ด้านสังคม ต้องมีการมีส่วนร่วมทางสังคม นอกจากนี้ยังต้องมีการบริการพื้นฐาน ผู้สูงอายุต้องเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร มีบริการทางด้านสุขภาพ สิ่งอำนวยความสะดวก และระบบเศรษฐกิจที่สนับสนุนผู้สูงอายุอีกด้วย จุดเด่นของงานวิจัยที่ตอบโจทย์สังคม “ผลงานวิจัยที่ผ่านมาเป็นงานที่ตอบโจทย์เชิงสังคมและชุมชน สามารถนำไปใช้ได้จริงโดยได้ริเริ่มแนวคิดสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุ คนพิการหรือที่เรียกว่าหลักการออกแบบเพื่อทุกคน นักวิจัยรุ่นหลังสามารถนำเอาแนวคิดนี้ไปพัฒนาต่อยอดเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจได้ เรากำลังผลักดันให้รัฐบาลและภาคเอกชนสนใจในเรื่องนี้เพื่อปรับธุรกิจในการรองรับสังคมสูงวัยซึ่งเป็นสถานการณ์ที่ประเทศไทยกำลังเผชิญอยู่ในปัจจุบัน” รศ.ไตรรัตน์เผยถึงจุดเด่นของงานวิจัยนี้ การสร้างความร่วมมือเพื่อพัฒนาที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์เผยถึงปัญหาสำหรับผู้สูงอายุว่าเป็นเรื่องซับซ้อน จึงต้องมีหลายหน่วยงานเข้ามาเกี่ยวข้อง ต้องร่วมมือกันหลายฝ่าย ไม่ว่าจะเป็นภาครัฐ ภาคเอกชน ชุมชน ครอบครัวเพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมในการช่วยกันแก้ไขปัญหาให้ลุล่วงไปได้ด้วยดี การจะสร้างแรงจูงใจให้หน่วยงานต่างๆ ร่วมมือพัฒนาพื้นที่ของผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่องนั้น รัฐต้องเปลี่ยนบทบาทจากการสงเคราะห์เป็นพัฒนา ส่งเสริมให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ครอบครัว เป็นผู้ดูแลผู้สูงอายุในชุมชน นำเบี้ยยังชีพมาช่วยสร้างงาน รณรงค์ส่งเสริมการสูงวัยในถิ่นเดิม (Aging in Place) ทั้งในระดับการอยู่อาศัยในบ้านหลังเดิม และในชุมชน เครือญาติเดิม พัฒนาระบบการดูแลที่บ้านในชุมชน (Home & Community Healthcare) ดูแลทั้งสุขภาพอนามัย ชีวิตความเป็นอยู่และสภาพแวดล้อมส่งเสริมให้เอกชนผลิตสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุและคนพิการ โดยใช้มาตรการการส่งเสริมการลงทุน การลดภาษี ส่งเสริมให้ครอบครัวที่มีผู้สูงอายุและคนพิการ สามารถจัดซื้อและติดตั้งสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุและคนพิการ สามารถนำมาลดหย่อนภาษีได้ รวมถึงส่งเสริมให้เอกชนพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุที่มีความต้องการเฉพาะ หรือกลุ่มที่มีความจำเป็นจริงๆ แผนการทำงานวิจัยในอนาคต เน้นการทำวิจัยแบบสหสาขาวิชา ผลงานวิจัยที่จะดำเนินการต่อไปคือ โครงการวิจัยพัฒนาระบบต้นแบบรองรับสังคมสูงวัยในบริบทของชุมชนเมือง ภาคใต้และภาคตะวันออก รศ.ไตรรัตน์ ฝากข้อคิดในการทำงานวิจัยให้ประสบความสำเร็จว่า “อยากให้นักวิจัยตั้งโจทย์ให้ หัวข้องานวิจัยมีความน่าสนใจ มีกลุ่มตัวอย่างที่ชัดเจน ไม่เกี่ยงงาน ไม่คิดถึงข้อจำกัดเรื่องเวลา จะทำให้เราทำงานวิจัยง่ายขึ้น หัวใจของนักวิจัยคือ “เราต้องรู้ว่าเราไม่รู้อะไร” เพราะตราบใดที่เรายังค้นคว้าหาความรู้อยู่เรื่อยๆ นั่นคือการทำหน้าที่เป็นนักวิจัยแล้ว” tui sakrapee Related Posts สอบไม่ติดแพทย์ ไม่มีสิทธิ์พูดเรื่องทรงผม!? TCAS65: คะแนนสูงสุด-ต่ำสุดของแต่ละหลักสูตรที่เปิดรับในรอบ 3 Admission 4,685 ที่นั่งยังรอ! รอบที่ 4 สุดท้าย Direct Admission “สวนสุนันทา” เปิดกว้างก้าวสู่อนาคตถึง 31 พ.ค.นี้ สพฐ. ย้ำปี 65 โรงเรียนต้อง ‘ซ่อม เสริม สร้าง’ ให้นักเรียนเป็นรายบุคคล — 25 พฤษภาคม 2565 เด็กโทษระบบไม่ส่งรหัสยืนยันสิทธิ์ ทปอ. พบไม่กดขอ OTP เอง — 24 พฤษภาคม 2565 Post navigation PREVIOUS Previous post: “นวัตกรรมผ้าไม่ทอจากเส้นใยไผ่ ในผลิตภัณฑ์ไลฟ์สไตล์ทางการแพทย์” นักวิจัยมทร.ธัญบุรีสร้างคุณค่าและมูลค่าเพิ่มNEXT Next post: มีที่เรียนก่อนใคร! โค้งสุดท้าย “สวนสุนันทา” พารอด รับรอบ 1 ถึง 4,601 ที่นั่ง สมัครวันนี้ยังมีโอกาส – 7 ม.ค.65 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ไลอ้อน เดินหน้าโครงการ “อาชีวศึกษาระบบทวิภาคี” รุ่น 6 หนุนเยาวชนเข้าสู่ระบบการเรียนรู้สายอาชีวะควบคู่วิชาชีวิต EZ WebmasterMay 27, 2022 การเปิดโอกาสและพัฒนาเยาวชนเข้าสู่ระบบการศึกษา นับว่าเป็นสิ่งที่หลายองค์กรธุรกิจให้ความสำคัญ บริษัท ไลอ้อน (ประเทศไทย) จำกัด ผู้ผลิตและจำหน่ายสินค้าอุปโภคบริโภคเพื่อคนไทย มุ่งมั่นดำเนินธุรกิจคู่คุณธรรม พัฒนาสินค้านวัตกรรมและโครงการเพื่อสังคมอย่างต่อเนื่อง รวมถึงโครงการพัฒนาเยาวชนให้มีความรู้ความสามารถเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพและเป็นผู้นำพาประเทศไปสู่ความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจในระยะยาว ประสานความร่วมมือกับภาครัฐ และสถาบันการศึกษา ภายใต้โครงการ “อาชีวศึกษาระบบทวิภาคี” ที่ผ่านมา บริษัทฯดำเนินโครงการประสานความร่วมมือกับวิทยาลัยเทคนิคสัตหีบ จ.ชลบุรี วิทยาลัยการอาชีพแกลง… TCAS65: คะแนนสูงสุด-ต่ำสุดของแต่ละหลักสูตรที่เปิดรับในรอบ 3 Admission EZ WebmasterMay 27, 2022 สวัสดีค่ะน้องๆ วันนี้ทีมงาน Eduzones มีคะแนนสูงสุด-ต่ำสุดของแต่ละหลักสูตรที่เปิดรับในรอบ 3 Admission มาให้น้องๆดูเป็นแนวทางในการเลือกอันดับTCASปี66กันค่ะ มาดูกันเลย! โดยน้องๆสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมและดาวน์โหลดรายละเอียดได้ที่นี่ click สุดท้ายนี้พี่ๆทีมงาน Eduzones ขอเป็นกำลังใจให้น้องๆทุกคนนะคะ สามารถติดตามข่าวสารการศึกษาได้ที่ Facebook Fanpage : Eduzones… มูลนิธิกำลังใจเปิดรับสมัครทุนการศึกษา ประจำปี 2565 EZ WebmasterMay 27, 2022 ขณะนี้ มูลนิธิกำลังใจ กำลังเปิดรับสมัครทุนการศึกษา ประจำปี 2565 ทั้งหมด 20 ทุน แบ่งเป็น 1. ทุนกำลังใจสร้างครูของชาติ จำนวน 10 ทุน 2. ทุนคุณหมอของกำลังใจ จำนวน 2… นักศึกษา อธิการบดีมทร.พระนคร ย้ำ!! พร้อมเปิดเทอมแบบออนไซต์ 27 มิ.ย.นี้ EZ WebmasterMay 27, 2022 ดร.ณัฐวรพล รัชสิริวัชรบุล อธิการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (มทร.พระนคร) เปิดเผยถึงแนวทางการเปิดภาคการศึกษาใหม่ ประจำปีการศึกษา 2565 ว่า สถานการณ์ขณะนี้แนวโน้มการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อโควิด-19 เริ่มดีขึ้น จะเห็นได้จากยอดผู้ติดเชื้อโรคดังกล่าวจำนวนลดลง และปรับเป็นโรคประจำถิ่นต่อไป ดังนั้นมหาวิทยาลัยจึงได้ปรับแนวทางในการจัดการเรียนการสอนให้เป็นรูปแบบออนไซต์ หรือการเรียนในห้องเรียนเป็นหลักประมาณ 75% สลับกับการจัดการเรียนการสอนผ่านระบบออนไลน์ประมาณ 25%… ดร.ดร๊าฟ พา 12 ดาราดัง ย้อนความทรงจำ คืนสู่เหย้ากลับเข้ารั้วมหาวิทยาลัย EZ WebmasterMay 27, 2022 ผศ.ดร.ดวงฤทธิ์ เบ็ญจาธิกุล ชัยรุ่งเรือง (ดร.ดร๊าฟ) เลขานุการรัฐมนตรีและโฆษกกระทรวง กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เผย รายการ “ออนเดอะเวย์” ที่พา 12 ดาราดัง มาย้อนความทรงจำ คืนสู่เหย้ากลับเข้า 12 รั้วมหาวิทยาลัย… TCAS65: คะแนนสูงสุด-ต่ำสุดของแต่ละหลักสูตรที่เปิดรับในรอบ 3 Admission EZ WebmasterMay 27, 2022 สวัสดีค่ะน้องๆ วันนี้ทีมงาน Eduzones มีคะแนนสูงสุด-ต่ำสุดของแต่ละหลักสูตรที่เปิดรับในรอบ 3 Admission มาให้น้องๆดูเป็นแนวทางในการเลือกอันดับTCASปี66กันค่ะ มาดูกันเลย! โดยน้องๆสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมและดาวน์โหลดรายละเอียดได้ที่นี่ click สุดท้ายนี้พี่ๆทีมงาน Eduzones ขอเป็นกำลังใจให้น้องๆทุกคนนะคะ สามารถติดตามข่าวสารการศึกษาได้ที่ Facebook Fanpage : Eduzones… วิศวะ จุฬาฯ ริเริ่มสร้างสรรค์สังคมความรู้ไปสู่โลกดิจิทัลเสมือนจริงในเมตาเวิร์ส อยู่ที่ไหนก็แวะมาเที่ยวจุฬาฯได้ ด้วยโลกเสมือนจริงบนเมตาเวิร์ส EZ WebmasterMay 26, 2022 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดสร้างหอประวัติจุฬาฯ บนโลกเสมือนจริงสามมิติขึ้น เพื่อให้บุคคลทั่วไปสามารถเข้าเยี่ยมชมศึกษาเรียนรู้ประวัติศาสตร์ของมหาวิทยาลัยแห่งแรกของประเทศไทยได้ ผ่านอุปกรณ์วีอาร์โดยไม่จำเป็นต้องเดินทางมาสถานที่จริง อีกทั้งต่อยอดความรู้ในการสร้างโลกเสมือนจริงที่ช่วยในการดำเนินกิจการในภาครัฐวิสาหกิจ และด้านสุขภาพในยุคเมตาเวิร์ส รองศาสตราจารย์ ดร. ลัญฉกร วุฒิสิทธิกุลกิจ อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่า การสร้างโลกเสมือนจริงของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยนี้ เป็นความร่วมมือระหว่างคณะวิศวกรรมศาสตร์ กับสถาบันไทยศึกษา จัดสร้างหอประวัติจุฬาฯ บนโลกเสมือนจริงสามมิติขึ้น เพื่อบอกเล่าเรื่องราวประวัติศาสตร์เกี่ยวกับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผ่านเทคโนโลยีความเป็นจริงเสมือน เป็นการบูรณาการข้ามศาสตร์ระหว่างองค์ความรู้ด้านมนุษยศาสตร์และวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี เพื่อดำรงคุณค่าและเพิ่มมูลค่าทางด้านสังคมและเศรษฐกิจด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่ และอาจกล่าวได้ว่าเป็นระบบเมตาเวิร์ส ขนาดเล็กแห่งแรกๆ ของประเทศที่มีประโยชน์และใช้งานได้จริง นอกจากนี้… ทุนดีดี ม.หอการค้าไทย ร่วมมือ ชีวาศรมอคาเดมี่ มอบทุนเรียนสาขาบูรณาการส่งเสริมสุขภาพและความงาม ฟรีตลอดหลักสูตร tui sakrapeeMay 11, 2022 ม.หอการค้าไทยร่วมมือกับโรงเรียนสอนวิชาชีพความงามและสุขภาพสปาชีวาศรม มุ่งพัฒนาบุคลากร สร้างบัณฑิตให้มีความพร้อมเพื่อก้าวเข้าสู่ตลาดแรงงานทั้งในประเทศและต่างประเทศ พร้อมรับทุนเรียนฟรี ตลอดหลักสูตร รับสมัครแล้ว วันนี้ ถึง 31 พฤษภาคม 2565 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทยสถาบันการศึกษาชั้นนำด้านธุรกิจและอุตสาหกรรมการบริการ และ โรงเรียนสอนวิชาชีพความงามและสุขภาพสปาชีวาศรม เล็งเห็นความสำคัญการพัฒนาอาจารย์ การผลิตบัณฑิต ให้เป็นผู้ขับเคลื่อนธุรกิจและอุตสาหกรรมบริการที่เต็มเปี่ยมไปด้วยนวัตกรรม สององค์กรจึงร่วมกันผนึกกำลังสำคัญเพื่อสร้างบุคลากรที่มีความพร้อมในการก้าวเข้าสู่อุตสาหกรรมการบริการทั้งในประเทศและต่างประเทศ… ม.รังสิต เปิดให้ทุน “ดร.อรรถวิท อุไรรัตน์ เพื่อการแพทย์แผนตะวันออก” เรียนวิทยาศาสตร์บัณฑิต (การแพทย์แผนตะวันออก) หลักสูตร 4 ปี tui sakrapeeMay 5, 2022 วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก มหาวิทยาลัยรังสิต เปิดรับสมัครทุนการศึกษา ดร.อรรถวิท อุไรรัตน์ เพื่อการแพทย์แผนตะวันออก มหาวิทยาลัยรังสิต ได้ตระหนักถึงผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากการระบาดของโรค โควิด-19 ที่ต่อเนื่องยาวนานมามากกว่า 2 ปี ซึ่งส่งผลต่อความสามารถในการสนับสนุนค่าใช้จ่ายของบุตรหลาน ในการศึกษาต่อระดับอุดมศึกษา จึงได้จัดให้มีทุนการศึกษา “ทุน ดร.อรรถวิทย์… CPF จับมือโลจิสติกส์ สวนสุนันทา มอบทุนเรียนฟรี100% มีรายได้ระหว่างเรียน หลักสูตรการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน (ระบบการศึกษาทางไกล) เปิดรับแล้ววันนี้ tui sakrapeeMay 4, 2022 วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา และ บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด จับมือมอบทุนเรียนฟรี 100% และมีรายได้ระหว่างเรียน เริ่มต้น 12,000 บาท (ไม่รวมโบนัส) สมัครเรียนที่นี่…เหมือนสมัครงาน “ทุนเรียนฟรี 100% และมีรายได้ระหว่างเรียน เริ่มต้น… UTCC ชวนสื่อมวลชนทุกแขนง สมัครรับทุนส่งเสริมโอกาสทางการศึกษา ระดับปริญญาโท ปีการศึกษา 2565 tui sakrapeeMay 3, 2022 UTCC เปิดรับสมัครทุนส่งเสริมโอกาสทางการศึกษา ระดับปริญญาโท ประจำปีการศึกษา 2565 เชิญชวนสื่อมวลชนทุกแขนง สมัครเข้าศึกษาต่อกับเรา ระดับปริญญาโท ทุนสื่อมวลชน มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย (UTCC) มอบทุนที่เปิดโอกาสสำหรับพี่ ๆ ที่อยากเรียนปริญญาโท บอกเลยว่าคุ้ม เพราะเรามอบทุนให้ตลอดหลักสูตร สามารถเลือกศึกษาหลักสูตรที่สนใจได้ตามความฝัน จบแล้ว ไม่ต้องคืนทุกอีกด้วย… ครู-อาจารย์ สอบไม่ติดแพทย์ ไม่มีสิทธิ์พูดเรื่องทรงผม!? EZ WebmasterMay 27, 2022 เรื่องกฎระเบียบ ข้อปฏิบัติต่างๆในโรงเรียนไทยนั้น เป็นที่รู้ๆกันดีว่ามีมาตั้งหลายยุคหลายสมัยกันแล้ว แต่ที่เห็นว่าจะเป็นเรื่องถกเถียงกันและมีดราม่าเยอะที่สุดก็คงจะเป็นกฎระเบียบที่เกี่ยวกับรูปลักษณ์ภายนอกของเด็กนักเรียน ไม่ว่าจะเป็น เรื่องเครื่องแต่งกาย การแต่งหน้า หรือแม้กระทั่งเรื่องของทรงผม ซึ่งตอนนี้ก็กำลังเป็นประเด็นร้อนในทวิตเตอร์ เนื่องจาก อาจารย์วิโรจน์ ลักขณาอดิศร จากพรรคก้าวไกล ได้ทวีตคลิปวีดีโอที่ถูกอัดมาจากโรงเรียนแห่งหนึ่ง โดยในคลิปมีคุณครูท่านหนึ่งกำลังพูดหน้าเสาธงเกี่ยวกับเรื่องทรงผมของนักเรียน โดยอาจารย์วิโรจน์ก็ได้สรุปเหตุการณ์คร่าวๆจากคลิปวีดีโอ พร้อมทั้งแสดงความคิดเห็นว่า “โรงเรียนแห่งหนึ่งได้อธิบายเรื่องระเบียบทรงผมให้นักเรียนทราบ… TCAS65: คะแนนสูงสุด-ต่ำสุดของแต่ละหลักสูตรที่เปิดรับในรอบ 3 Admission EZ WebmasterMay 27, 2022 สวัสดีค่ะน้องๆ วันนี้ทีมงาน Eduzones มีคะแนนสูงสุด-ต่ำสุดของแต่ละหลักสูตรที่เปิดรับในรอบ 3 Admission มาให้น้องๆดูเป็นแนวทางในการเลือกอันดับTCASปี66กันค่ะ มาดูกันเลย! โดยน้องๆสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมและดาวน์โหลดรายละเอียดได้ที่นี่ click สุดท้ายนี้พี่ๆทีมงาน Eduzones ขอเป็นกำลังใจให้น้องๆทุกคนนะคะ สามารถติดตามข่าวสารการศึกษาได้ที่ Facebook Fanpage : Eduzones… สพฐ. ย้ำปี 65 โรงเรียนต้อง ‘ซ่อม เสริม สร้าง’ ให้นักเรียนเป็นรายบุคคล — 25 พฤษภาคม 2565 EZ WebmasterMay 26, 2022 เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2565 นายอัมพร พินะสา เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (กพฐ.) เผย หลังจากผ่านการเปิดเรียนแบบออนไซต์มาครบ 1 สัปดาห์แล้ว พบว่าทุกฝ่ายร่วมมือกันในการสร้างความปลอดภัยในโรงเรียนอย่างมาก โดย นางสาวตรีนุช เทียนทอง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ… เด็กโทษระบบไม่ส่งรหัสยืนยันสิทธิ์ ทปอ. พบไม่กดขอ OTP เอง — 24 พฤษภาคม 2565 EZ WebmasterMay 26, 2022 เมื่อวันที่ 24 พฤษภาคมที่ผ่านมา ดร.พีระพงศ์ ตริยเจริญ ผู้จัดการระบบการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา หรือTCAS ของที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (ทปอ.) กล่าวว่า ขณะนี้ ทปอ.เปิดรับสมัครTCAS ประจำปีการศึกษา 2565 รอบที่ 1 พอร์ตโฟลิโอ รอบที่… กิจกรรม ดร.ดร๊าฟ พา 12 ดาราดัง ย้อนความทรงจำ คืนสู่เหย้ากลับเข้ารั้วมหาวิทยาลัย EZ WebmasterMay 27, 2022 ผศ.ดร.ดวงฤทธิ์ เบ็ญจาธิกุล ชัยรุ่งเรือง (ดร.ดร๊าฟ) เลขานุการรัฐมนตรีและโฆษกกระทรวง กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เผย รายการ “ออนเดอะเวย์” ที่พา 12 ดาราดัง มาย้อนความทรงจำ คืนสู่เหย้ากลับเข้า 12 รั้วมหาวิทยาลัย… KMITL INNOKET 2022 : ตลาดนวัตกรรมสร้างอาชีพ-ต่อยอดธุรกิจ EZ WebmasterMay 25, 2022 วันพุธที่ 25 พฤษภาคม 2565 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) รุดเปิดตลาดนวัตกรรมสร้างอาชีพครั้งแรก “เคเอ็มไอทีแอล อินโนเก็ต 2022” (KMITL INNOKET 2022) ตลาดเดียวที่รวบรวมนวัตกรรมที่สามารถสร้างสรรค์เป็นอาชีพใหม่ ต่อยอดธุรกิจ หรือเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้าและบริการ ด้วยงบประมาณลงทุนขั้นต่ำที่… พระเมธีวชิโรดม (ว.วชิรเมธี) เปิดหอศิลป์ ‘รศ.สุวัฒน์’ แหล่งสร้างผลงานศิลปะไทยร่วมสมัยแนวพุทธศิลป์ tui sakrapeeMay 24, 2022 พระเมธีวชิโรดม (ว.วชิรเมธี) เปิดหอศิลป์ รศ.สุวัฒน์ แหล่งสร้างผลงานศิลปะไทยร่วมสมัยแนวพุทธศิลป์ที่มีเอกลักษณ์โดดเด่น ให้เป็นแหล่งเรียนรู้จัดกิจกรรมด้านศิลปะในพื้นที่ชานเมืองกรุง เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม 2565 พระเมธีวชิโรดม (ท่าน ว.วชิรเมธี) คุณเมตตา อุทกะพันธุ์ ประธานกรรมการบริษัท อมรินทร์ปริ้นติ้ง แอนด์… มทร.ธัญบุรี จัดประชุมวิชาการนานาชาติ นวัตกรรม 9 ราชมงคล ยกระดับเศรษฐกิจฐานราก สร้างสังคมคุณภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterMay 22, 2022 เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคมที่ผ่านมา มทร.ธัญบุรี ร่วมกับเครือข่ายมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีกทั้ง 8 แห่ง ได้จัด “การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 12” และ “การประชุมวิชาการระดับนานาชาติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 11” พร้อมด้วย “การประกวดสิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมราชมงคล ครั้งที่… Search for: Search tui sakrapee January 4, 2022 tui sakrapee January 4, 2022 อาจารย์สถาปัตย์ จุฬาฯ นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาปรัชญา ประจำปี 2565 พัฒนาที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุไทย รศ.ไตรรัตน์ จารุทัศน์ ภาควิชาเคหการ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาฯ หัวหน้าศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางการออกแบบสภาพแวดล้อมเพื่อทุกคน ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาปรัชญา ประจำปี 2565 จากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) รศ.ไตรรัตน์ เป็นผู้เชี่ยวชาญที่มีผลงานเป็นที่ยอมรับในแวดวงสถาปัตยกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลงานวิจัยด้านการออกแบบเพื่อทุกคน (Universal Design) โครงการรูปแบบที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุไทย เพื่อส่งเสริมสุขภาพกาย-ใจ ภายใต้แนวคิดชุมชนที่เป็นมิตรกับผู้สูงอายุ เพื่อส่งเสริมให้เกิดกระบวนการสร้างความร่วมมือ การมีส่วนร่วมระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในพื้นที่ ในการวางแผนตามหลักเมืองที่เป็นมิตรต่อผู้สูงวัย และพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางการสื่อสารที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์ เผยถึงความรู้สึกที่ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติว่า “ดีใจและขอบคุณสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ที่ให้ความสำคัญในเรื่องผู้สูงอายุ ผลงานวิจัยนี้ ผมและทีมวิจัยได้ศึกษาเรื่องนี้มาเป็นเวลากว่า 20 ปีแล้ว ต้องขอขอบคุณจุฬาฯ ที่ให้โอกาสคณาจารย์จากสหสาขาวิชาได้มาทำงานวิจัยร่วมกัน” จุดเริ่มต้นในการทำงานวิจัยของนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ รศ.ไตรรัตน์เริ่มต้นทำงานวิจัยเรื่องที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุเมื่อ 25 ปีที่แล้ว จากความพยายามที่จะสร้างบ้านสำหรับผู้สูงอายุให้มีความปลอดภัยตามมาตรฐานคู่มือ แต่ผลสุดท้ายคือผู้สูงอายุไม่ย้ายเข้ามาอยู่ในบ้าน จึงสนใจศึกษาว่าเพราะเหตุใดผู้สูงอายุถึงไม่ปรับตัวกับสภาพแวดล้อมใหม่ ทำให้รู้ถึงข้อจำกัดในการเลือกที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุ นอกจากสภาพแวดล้อมด้านความปลอดภัยทางกายภาพแล้ว ยังเลือกสภาพแวดล้อมทางสังคม ชุมชน สิ่งแวดล้อม คือต้องอยู่ใกล้ญาติมิตร ชุมชน เดินทางไปมาหาสู่สะดวก ที่สำคัญต้องพึ่งพาตัวเองได้ ซึ่งจะทำให้ผู้สูงอายุเกิดความภูมิใจมากกว่าการต้องพึ่งพาลูกหลาน กว่า 20 ปีที่ศึกษาวิจัยเกี่ยวกับที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์มีผลงานวิจัยจำนวนมาก แบ่งออกเป็นงานวิจัยขั้นพื้นฐาน เช่น มาตรฐานขั้นต่ำสำหรับที่พักอาศัยและสภาพแวดล้อมของผู้สูงอายุไทย การพัฒนาต้นแบบสภาพแวดล้อมทางกายภาพ และสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุของสถานบริการสาธารณสุข ฯลฯ งานวิจัยประยุกต์ เช่น การปรับสิ่งอำนวยความสะดวกของเมืองพัทยาเพื่อรองรับผู้สูงอายุและคนพิการ โครงการการออกแบบชุมชนน่าอยู่ผู้สูงวัยสำหรับผู้สูงอายุในชนบท และการปรับปรุงและพัฒนาต้นแบบที่อยู่อาศัยที่ปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุในชนบท การส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวเพื่อคนทั้งมวล (Tourism For All) ฯลฯ งานวิจัยองค์ความรู้ใหม่ ได้แก่ สภาพการอยู่อาศัยของผู้สูงอายุ 3 ช่วงวัย (วัยต้น วัยกลาง และวัยปลาย) ซึ่งได้รับทุนวิจัยจากโครงการส่งเสริมการทำงานวิจัยเชิงลึกในสาขาวิชาที่มีศักยภาพสูง การศึกษาและพัฒนานโยบาย เครื่องมือ และต้นแบบที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุและผู้ทุพพลภาพ การศึกษาพฤติกรรมการอยู่อาศัยของผู้สูงอายุที่มีอายุยืนของประเทศ ฯลฯ “เราทำวิจัยเกี่ยวกับผู้สูงอายุและคนพิการต่อเนื่องมากว่า 20 ปี ครอบคลุมผู้สูงอายุทุกกลุ่มทั้งในเมืองหรือชนบท ผู้สูงอายุวัยต้น วัยกลาง วัยปลาย จนถึงผู้สูงอายุที่มีอายุ 100 ปี งานวิจัยของเราเน้น “จากหิ้งสู่ห้าง” มีการนำไปใช้จริง โดยมีบ้านต้นแบบต้นแบบที่นำไปประยุกต์ใช้กับพื้นที่ที่เหมาะสมได้” รศ.ไตรรัตน์ กล่าว กลุ่มคนเปราะบางกับสถานการณ์สังคมสูงวัย ตั้งแต่ปี 2543 เป็นต้นมา ประเทศไทยมีผู้สูงอายุ 10 % ในปี 2565 ผู้สูงอายุเฉลี่ยทั่วประเทศจะมีมากถึง 20% ซึ่งเข้าสู่สังคมสูงวัยแบบสมบูรณ์ ถือเป็นสถานการณ์หรือวิกฤตของประเทศไทย ดังนั้นเราควรมีการเตรียมตัววางแผนรับมือให้ดี เพราะนอกจากผู้สูงอายุจะเพิ่มขึ้นแล้ว อัตราการเกิดและคนวัยแรงงาน ก็ลดลงด้วย เราควรมีการวิจัยเชิงลึกในเรื่องนี้ให้มากขึ้นเพื่อลดผลกระทบทางเศรษฐกิจที่จะตามมา การคุ้มครองสวัสดิภาพในกลุ่มคนเปราะบาง เช่น คนในชุมชนแออัด คนไร้บ้าน คนยากจน ฯลฯ ซึ่งมีอยู่ประมาณ 10% คนกลุ่มนี้ต้องเผชิญปัญหาความยากจน เจ็บป่วย ถูกทอดทิ้ง การผลักภาระไปที่รัฐบาลเพียงอย่างเดียวอาจจะแก้ปัญหาไม่ได้ ชุมชนและภาครัฐต้องช่วยกันดูแลคนกลุ่มนี้ด้วยการส่งเสริมให้อยู่ที่เดิม โดยรัฐอาจมีมาตรการเฉพาะคนกลุ่มนี้ เช่น การปรับปรุงบ้าน การให้บริการสาธารณสุข เป็นต้น เรียนรู้ผู้สูงวัยจากงานวิจัยเรื่องที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์ กล่าวว่าช่วงเริ่มต้นโครงการวิจัยรูปแบบที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุไทยจะเน้นเรื่องความปลอดภัยทางสภาพแวดล้อมเป็นหลัก อย่างไรก็ตาม จากกรณีศึกษาของกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ที่ให้งบประมาณแก่กลุ่มผู้สูงอายุเพื่อปรับปรุงบ้าน พบว่ากลุ่มผู้สูงอายุที่มีความเปราะบางไม่ได้นำเงินที่ได้ไปปรับปรุงสภาพแวดล้อมตามกายภาพที่ควรจะเป็น ทำให้การมองปัญหา ในผู้สูงอายุคงมองเรื่องกายภาพเพียงอย่าเดียวไม่ได้ แต่ต้องเน้นไปที่ปัญหา 4 ด้าน ได้แก่ เรื่องสุขภาพ สังคม เศรษฐกิจ และสภาพแวดล้อม คือต้องดูแลสุขภาพกายและใจของผู้สูงอายุไปพร้อมๆ กับสร้างงาน สร้างรายได้ เพื่อให้ผู้สูงอายุพึ่งพาตนเองได้ แล้วค่อยปรับบ้านให้ปลอดภัยกับผู้สูงอายุ ลักษณะที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ ที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุต้องมีความปลอดภัย มีพื้นเรียบเสมอกันทั้งในบ้านและห้องน้ำ มีราวจับ พื้นไม่ลื่น ที่อยู่อาศัยมีแสงสว่างเพียงพอ ประตูที่ใช้เป็นบานเลื่อน ก๊อกน้ำลูกบิดประตูเป็นก้านโยก ช่องทางเดินมีความกว้าง 90 เซนติเมตร หน้าต่างบานลึก มีแสงสว่าง มองเห็นสวนและต้นไม้ นอกจากนี้พื้นที่ในบ้านไม่ควรใหญ่เกินไปเพื่อง่ายต่อการบำรุงรักษา มีพื้นที่เก็บของเพื่อให้ไม่รกเกะกะ ก่อให้เกิดปัญหาพลัดตกหกล้ม ความสำคัญของชุมชนที่เป็นมิตรกับผู้สูงวัย ชุมชนที่เป็นมิตรกับผู้สูงวัยเป็นแนวคิดขององค์การอนามัยโลก (WHO) เพื่อให้ผู้สูงวัยอยู่ในชุมชนได้อย่างเป็นสุข เป็นมิตรกับทุกคน ทุกวัย ทุกสภาพแวดล้อม ประกอบด้วย 3 ด้าน คือ ด้านกายภาพ เริ่มจากบ้านต้องปลอดภัย มีการเดินทางที่สะดวกสบาย มีพื้นที่สาธารณะที่ดี สามารถเข้าถึงได้ ด้านสังคม ต้องมีการมีส่วนร่วมทางสังคม นอกจากนี้ยังต้องมีการบริการพื้นฐาน ผู้สูงอายุต้องเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร มีบริการทางด้านสุขภาพ สิ่งอำนวยความสะดวก และระบบเศรษฐกิจที่สนับสนุนผู้สูงอายุอีกด้วย จุดเด่นของงานวิจัยที่ตอบโจทย์สังคม “ผลงานวิจัยที่ผ่านมาเป็นงานที่ตอบโจทย์เชิงสังคมและชุมชน สามารถนำไปใช้ได้จริงโดยได้ริเริ่มแนวคิดสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุ คนพิการหรือที่เรียกว่าหลักการออกแบบเพื่อทุกคน นักวิจัยรุ่นหลังสามารถนำเอาแนวคิดนี้ไปพัฒนาต่อยอดเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจได้ เรากำลังผลักดันให้รัฐบาลและภาคเอกชนสนใจในเรื่องนี้เพื่อปรับธุรกิจในการรองรับสังคมสูงวัยซึ่งเป็นสถานการณ์ที่ประเทศไทยกำลังเผชิญอยู่ในปัจจุบัน” รศ.ไตรรัตน์เผยถึงจุดเด่นของงานวิจัยนี้ การสร้างความร่วมมือเพื่อพัฒนาที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์เผยถึงปัญหาสำหรับผู้สูงอายุว่าเป็นเรื่องซับซ้อน จึงต้องมีหลายหน่วยงานเข้ามาเกี่ยวข้อง ต้องร่วมมือกันหลายฝ่าย ไม่ว่าจะเป็นภาครัฐ ภาคเอกชน ชุมชน ครอบครัวเพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมในการช่วยกันแก้ไขปัญหาให้ลุล่วงไปได้ด้วยดี การจะสร้างแรงจูงใจให้หน่วยงานต่างๆ ร่วมมือพัฒนาพื้นที่ของผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่องนั้น รัฐต้องเปลี่ยนบทบาทจากการสงเคราะห์เป็นพัฒนา ส่งเสริมให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ครอบครัว เป็นผู้ดูแลผู้สูงอายุในชุมชน นำเบี้ยยังชีพมาช่วยสร้างงาน รณรงค์ส่งเสริมการสูงวัยในถิ่นเดิม (Aging in Place) ทั้งในระดับการอยู่อาศัยในบ้านหลังเดิม และในชุมชน เครือญาติเดิม พัฒนาระบบการดูแลที่บ้านในชุมชน (Home & Community Healthcare) ดูแลทั้งสุขภาพอนามัย ชีวิตความเป็นอยู่และสภาพแวดล้อมส่งเสริมให้เอกชนผลิตสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุและคนพิการ โดยใช้มาตรการการส่งเสริมการลงทุน การลดภาษี ส่งเสริมให้ครอบครัวที่มีผู้สูงอายุและคนพิการ สามารถจัดซื้อและติดตั้งสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุและคนพิการ สามารถนำมาลดหย่อนภาษีได้ รวมถึงส่งเสริมให้เอกชนพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุที่มีความต้องการเฉพาะ หรือกลุ่มที่มีความจำเป็นจริงๆ แผนการทำงานวิจัยในอนาคต เน้นการทำวิจัยแบบสหสาขาวิชา ผลงานวิจัยที่จะดำเนินการต่อไปคือ โครงการวิจัยพัฒนาระบบต้นแบบรองรับสังคมสูงวัยในบริบทของชุมชนเมือง ภาคใต้และภาคตะวันออก รศ.ไตรรัตน์ ฝากข้อคิดในการทำงานวิจัยให้ประสบความสำเร็จว่า “อยากให้นักวิจัยตั้งโจทย์ให้ หัวข้องานวิจัยมีความน่าสนใจ มีกลุ่มตัวอย่างที่ชัดเจน ไม่เกี่ยงงาน ไม่คิดถึงข้อจำกัดเรื่องเวลา จะทำให้เราทำงานวิจัยง่ายขึ้น หัวใจของนักวิจัยคือ “เราต้องรู้ว่าเราไม่รู้อะไร” เพราะตราบใดที่เรายังค้นคว้าหาความรู้อยู่เรื่อยๆ นั่นคือการทำหน้าที่เป็นนักวิจัยแล้ว” tui sakrapee Related Posts สอบไม่ติดแพทย์ ไม่มีสิทธิ์พูดเรื่องทรงผม!? TCAS65: คะแนนสูงสุด-ต่ำสุดของแต่ละหลักสูตรที่เปิดรับในรอบ 3 Admission 4,685 ที่นั่งยังรอ! รอบที่ 4 สุดท้าย Direct Admission “สวนสุนันทา” เปิดกว้างก้าวสู่อนาคตถึง 31 พ.ค.นี้ สพฐ. ย้ำปี 65 โรงเรียนต้อง ‘ซ่อม เสริม สร้าง’ ให้นักเรียนเป็นรายบุคคล — 25 พฤษภาคม 2565 เด็กโทษระบบไม่ส่งรหัสยืนยันสิทธิ์ ทปอ. พบไม่กดขอ OTP เอง — 24 พฤษภาคม 2565 Post navigation PREVIOUS Previous post: “นวัตกรรมผ้าไม่ทอจากเส้นใยไผ่ ในผลิตภัณฑ์ไลฟ์สไตล์ทางการแพทย์” นักวิจัยมทร.ธัญบุรีสร้างคุณค่าและมูลค่าเพิ่มNEXT Next post: มีที่เรียนก่อนใคร! โค้งสุดท้าย “สวนสุนันทา” พารอด รับรอบ 1 ถึง 4,601 ที่นั่ง สมัครวันนี้ยังมีโอกาส – 7 ม.ค.65 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
TCAS65: คะแนนสูงสุด-ต่ำสุดของแต่ละหลักสูตรที่เปิดรับในรอบ 3 Admission EZ WebmasterMay 27, 2022 สวัสดีค่ะน้องๆ วันนี้ทีมงาน Eduzones มีคะแนนสูงสุด-ต่ำสุดของแต่ละหลักสูตรที่เปิดรับในรอบ 3 Admission มาให้น้องๆดูเป็นแนวทางในการเลือกอันดับTCASปี66กันค่ะ มาดูกันเลย! โดยน้องๆสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมและดาวน์โหลดรายละเอียดได้ที่นี่ click สุดท้ายนี้พี่ๆทีมงาน Eduzones ขอเป็นกำลังใจให้น้องๆทุกคนนะคะ สามารถติดตามข่าวสารการศึกษาได้ที่ Facebook Fanpage : Eduzones… มูลนิธิกำลังใจเปิดรับสมัครทุนการศึกษา ประจำปี 2565 EZ WebmasterMay 27, 2022 ขณะนี้ มูลนิธิกำลังใจ กำลังเปิดรับสมัครทุนการศึกษา ประจำปี 2565 ทั้งหมด 20 ทุน แบ่งเป็น 1. ทุนกำลังใจสร้างครูของชาติ จำนวน 10 ทุน 2. ทุนคุณหมอของกำลังใจ จำนวน 2…
มูลนิธิกำลังใจเปิดรับสมัครทุนการศึกษา ประจำปี 2565 EZ WebmasterMay 27, 2022 ขณะนี้ มูลนิธิกำลังใจ กำลังเปิดรับสมัครทุนการศึกษา ประจำปี 2565 ทั้งหมด 20 ทุน แบ่งเป็น 1. ทุนกำลังใจสร้างครูของชาติ จำนวน 10 ทุน 2. ทุนคุณหมอของกำลังใจ จำนวน 2…
อธิการบดีมทร.พระนคร ย้ำ!! พร้อมเปิดเทอมแบบออนไซต์ 27 มิ.ย.นี้ EZ WebmasterMay 27, 2022 ดร.ณัฐวรพล รัชสิริวัชรบุล อธิการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (มทร.พระนคร) เปิดเผยถึงแนวทางการเปิดภาคการศึกษาใหม่ ประจำปีการศึกษา 2565 ว่า สถานการณ์ขณะนี้แนวโน้มการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อโควิด-19 เริ่มดีขึ้น จะเห็นได้จากยอดผู้ติดเชื้อโรคดังกล่าวจำนวนลดลง และปรับเป็นโรคประจำถิ่นต่อไป ดังนั้นมหาวิทยาลัยจึงได้ปรับแนวทางในการจัดการเรียนการสอนให้เป็นรูปแบบออนไซต์ หรือการเรียนในห้องเรียนเป็นหลักประมาณ 75% สลับกับการจัดการเรียนการสอนผ่านระบบออนไลน์ประมาณ 25%… ดร.ดร๊าฟ พา 12 ดาราดัง ย้อนความทรงจำ คืนสู่เหย้ากลับเข้ารั้วมหาวิทยาลัย EZ WebmasterMay 27, 2022 ผศ.ดร.ดวงฤทธิ์ เบ็ญจาธิกุล ชัยรุ่งเรือง (ดร.ดร๊าฟ) เลขานุการรัฐมนตรีและโฆษกกระทรวง กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เผย รายการ “ออนเดอะเวย์” ที่พา 12 ดาราดัง มาย้อนความทรงจำ คืนสู่เหย้ากลับเข้า 12 รั้วมหาวิทยาลัย… TCAS65: คะแนนสูงสุด-ต่ำสุดของแต่ละหลักสูตรที่เปิดรับในรอบ 3 Admission EZ WebmasterMay 27, 2022 สวัสดีค่ะน้องๆ วันนี้ทีมงาน Eduzones มีคะแนนสูงสุด-ต่ำสุดของแต่ละหลักสูตรที่เปิดรับในรอบ 3 Admission มาให้น้องๆดูเป็นแนวทางในการเลือกอันดับTCASปี66กันค่ะ มาดูกันเลย! โดยน้องๆสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมและดาวน์โหลดรายละเอียดได้ที่นี่ click สุดท้ายนี้พี่ๆทีมงาน Eduzones ขอเป็นกำลังใจให้น้องๆทุกคนนะคะ สามารถติดตามข่าวสารการศึกษาได้ที่ Facebook Fanpage : Eduzones… วิศวะ จุฬาฯ ริเริ่มสร้างสรรค์สังคมความรู้ไปสู่โลกดิจิทัลเสมือนจริงในเมตาเวิร์ส อยู่ที่ไหนก็แวะมาเที่ยวจุฬาฯได้ ด้วยโลกเสมือนจริงบนเมตาเวิร์ส EZ WebmasterMay 26, 2022 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดสร้างหอประวัติจุฬาฯ บนโลกเสมือนจริงสามมิติขึ้น เพื่อให้บุคคลทั่วไปสามารถเข้าเยี่ยมชมศึกษาเรียนรู้ประวัติศาสตร์ของมหาวิทยาลัยแห่งแรกของประเทศไทยได้ ผ่านอุปกรณ์วีอาร์โดยไม่จำเป็นต้องเดินทางมาสถานที่จริง อีกทั้งต่อยอดความรู้ในการสร้างโลกเสมือนจริงที่ช่วยในการดำเนินกิจการในภาครัฐวิสาหกิจ และด้านสุขภาพในยุคเมตาเวิร์ส รองศาสตราจารย์ ดร. ลัญฉกร วุฒิสิทธิกุลกิจ อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่า การสร้างโลกเสมือนจริงของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยนี้ เป็นความร่วมมือระหว่างคณะวิศวกรรมศาสตร์ กับสถาบันไทยศึกษา จัดสร้างหอประวัติจุฬาฯ บนโลกเสมือนจริงสามมิติขึ้น เพื่อบอกเล่าเรื่องราวประวัติศาสตร์เกี่ยวกับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผ่านเทคโนโลยีความเป็นจริงเสมือน เป็นการบูรณาการข้ามศาสตร์ระหว่างองค์ความรู้ด้านมนุษยศาสตร์และวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี เพื่อดำรงคุณค่าและเพิ่มมูลค่าทางด้านสังคมและเศรษฐกิจด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่ และอาจกล่าวได้ว่าเป็นระบบเมตาเวิร์ส ขนาดเล็กแห่งแรกๆ ของประเทศที่มีประโยชน์และใช้งานได้จริง นอกจากนี้… ทุนดีดี ม.หอการค้าไทย ร่วมมือ ชีวาศรมอคาเดมี่ มอบทุนเรียนสาขาบูรณาการส่งเสริมสุขภาพและความงาม ฟรีตลอดหลักสูตร tui sakrapeeMay 11, 2022 ม.หอการค้าไทยร่วมมือกับโรงเรียนสอนวิชาชีพความงามและสุขภาพสปาชีวาศรม มุ่งพัฒนาบุคลากร สร้างบัณฑิตให้มีความพร้อมเพื่อก้าวเข้าสู่ตลาดแรงงานทั้งในประเทศและต่างประเทศ พร้อมรับทุนเรียนฟรี ตลอดหลักสูตร รับสมัครแล้ว วันนี้ ถึง 31 พฤษภาคม 2565 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทยสถาบันการศึกษาชั้นนำด้านธุรกิจและอุตสาหกรรมการบริการ และ โรงเรียนสอนวิชาชีพความงามและสุขภาพสปาชีวาศรม เล็งเห็นความสำคัญการพัฒนาอาจารย์ การผลิตบัณฑิต ให้เป็นผู้ขับเคลื่อนธุรกิจและอุตสาหกรรมบริการที่เต็มเปี่ยมไปด้วยนวัตกรรม สององค์กรจึงร่วมกันผนึกกำลังสำคัญเพื่อสร้างบุคลากรที่มีความพร้อมในการก้าวเข้าสู่อุตสาหกรรมการบริการทั้งในประเทศและต่างประเทศ… ม.รังสิต เปิดให้ทุน “ดร.อรรถวิท อุไรรัตน์ เพื่อการแพทย์แผนตะวันออก” เรียนวิทยาศาสตร์บัณฑิต (การแพทย์แผนตะวันออก) หลักสูตร 4 ปี tui sakrapeeMay 5, 2022 วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก มหาวิทยาลัยรังสิต เปิดรับสมัครทุนการศึกษา ดร.อรรถวิท อุไรรัตน์ เพื่อการแพทย์แผนตะวันออก มหาวิทยาลัยรังสิต ได้ตระหนักถึงผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากการระบาดของโรค โควิด-19 ที่ต่อเนื่องยาวนานมามากกว่า 2 ปี ซึ่งส่งผลต่อความสามารถในการสนับสนุนค่าใช้จ่ายของบุตรหลาน ในการศึกษาต่อระดับอุดมศึกษา จึงได้จัดให้มีทุนการศึกษา “ทุน ดร.อรรถวิทย์… CPF จับมือโลจิสติกส์ สวนสุนันทา มอบทุนเรียนฟรี100% มีรายได้ระหว่างเรียน หลักสูตรการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน (ระบบการศึกษาทางไกล) เปิดรับแล้ววันนี้ tui sakrapeeMay 4, 2022 วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา และ บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด จับมือมอบทุนเรียนฟรี 100% และมีรายได้ระหว่างเรียน เริ่มต้น 12,000 บาท (ไม่รวมโบนัส) สมัครเรียนที่นี่…เหมือนสมัครงาน “ทุนเรียนฟรี 100% และมีรายได้ระหว่างเรียน เริ่มต้น… UTCC ชวนสื่อมวลชนทุกแขนง สมัครรับทุนส่งเสริมโอกาสทางการศึกษา ระดับปริญญาโท ปีการศึกษา 2565 tui sakrapeeMay 3, 2022 UTCC เปิดรับสมัครทุนส่งเสริมโอกาสทางการศึกษา ระดับปริญญาโท ประจำปีการศึกษา 2565 เชิญชวนสื่อมวลชนทุกแขนง สมัครเข้าศึกษาต่อกับเรา ระดับปริญญาโท ทุนสื่อมวลชน มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย (UTCC) มอบทุนที่เปิดโอกาสสำหรับพี่ ๆ ที่อยากเรียนปริญญาโท บอกเลยว่าคุ้ม เพราะเรามอบทุนให้ตลอดหลักสูตร สามารถเลือกศึกษาหลักสูตรที่สนใจได้ตามความฝัน จบแล้ว ไม่ต้องคืนทุกอีกด้วย… ครู-อาจารย์ สอบไม่ติดแพทย์ ไม่มีสิทธิ์พูดเรื่องทรงผม!? EZ WebmasterMay 27, 2022 เรื่องกฎระเบียบ ข้อปฏิบัติต่างๆในโรงเรียนไทยนั้น เป็นที่รู้ๆกันดีว่ามีมาตั้งหลายยุคหลายสมัยกันแล้ว แต่ที่เห็นว่าจะเป็นเรื่องถกเถียงกันและมีดราม่าเยอะที่สุดก็คงจะเป็นกฎระเบียบที่เกี่ยวกับรูปลักษณ์ภายนอกของเด็กนักเรียน ไม่ว่าจะเป็น เรื่องเครื่องแต่งกาย การแต่งหน้า หรือแม้กระทั่งเรื่องของทรงผม ซึ่งตอนนี้ก็กำลังเป็นประเด็นร้อนในทวิตเตอร์ เนื่องจาก อาจารย์วิโรจน์ ลักขณาอดิศร จากพรรคก้าวไกล ได้ทวีตคลิปวีดีโอที่ถูกอัดมาจากโรงเรียนแห่งหนึ่ง โดยในคลิปมีคุณครูท่านหนึ่งกำลังพูดหน้าเสาธงเกี่ยวกับเรื่องทรงผมของนักเรียน โดยอาจารย์วิโรจน์ก็ได้สรุปเหตุการณ์คร่าวๆจากคลิปวีดีโอ พร้อมทั้งแสดงความคิดเห็นว่า “โรงเรียนแห่งหนึ่งได้อธิบายเรื่องระเบียบทรงผมให้นักเรียนทราบ… TCAS65: คะแนนสูงสุด-ต่ำสุดของแต่ละหลักสูตรที่เปิดรับในรอบ 3 Admission EZ WebmasterMay 27, 2022 สวัสดีค่ะน้องๆ วันนี้ทีมงาน Eduzones มีคะแนนสูงสุด-ต่ำสุดของแต่ละหลักสูตรที่เปิดรับในรอบ 3 Admission มาให้น้องๆดูเป็นแนวทางในการเลือกอันดับTCASปี66กันค่ะ มาดูกันเลย! โดยน้องๆสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมและดาวน์โหลดรายละเอียดได้ที่นี่ click สุดท้ายนี้พี่ๆทีมงาน Eduzones ขอเป็นกำลังใจให้น้องๆทุกคนนะคะ สามารถติดตามข่าวสารการศึกษาได้ที่ Facebook Fanpage : Eduzones… สพฐ. ย้ำปี 65 โรงเรียนต้อง ‘ซ่อม เสริม สร้าง’ ให้นักเรียนเป็นรายบุคคล — 25 พฤษภาคม 2565 EZ WebmasterMay 26, 2022 เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2565 นายอัมพร พินะสา เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (กพฐ.) เผย หลังจากผ่านการเปิดเรียนแบบออนไซต์มาครบ 1 สัปดาห์แล้ว พบว่าทุกฝ่ายร่วมมือกันในการสร้างความปลอดภัยในโรงเรียนอย่างมาก โดย นางสาวตรีนุช เทียนทอง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ… เด็กโทษระบบไม่ส่งรหัสยืนยันสิทธิ์ ทปอ. พบไม่กดขอ OTP เอง — 24 พฤษภาคม 2565 EZ WebmasterMay 26, 2022 เมื่อวันที่ 24 พฤษภาคมที่ผ่านมา ดร.พีระพงศ์ ตริยเจริญ ผู้จัดการระบบการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา หรือTCAS ของที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (ทปอ.) กล่าวว่า ขณะนี้ ทปอ.เปิดรับสมัครTCAS ประจำปีการศึกษา 2565 รอบที่ 1 พอร์ตโฟลิโอ รอบที่… กิจกรรม ดร.ดร๊าฟ พา 12 ดาราดัง ย้อนความทรงจำ คืนสู่เหย้ากลับเข้ารั้วมหาวิทยาลัย EZ WebmasterMay 27, 2022 ผศ.ดร.ดวงฤทธิ์ เบ็ญจาธิกุล ชัยรุ่งเรือง (ดร.ดร๊าฟ) เลขานุการรัฐมนตรีและโฆษกกระทรวง กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เผย รายการ “ออนเดอะเวย์” ที่พา 12 ดาราดัง มาย้อนความทรงจำ คืนสู่เหย้ากลับเข้า 12 รั้วมหาวิทยาลัย… KMITL INNOKET 2022 : ตลาดนวัตกรรมสร้างอาชีพ-ต่อยอดธุรกิจ EZ WebmasterMay 25, 2022 วันพุธที่ 25 พฤษภาคม 2565 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) รุดเปิดตลาดนวัตกรรมสร้างอาชีพครั้งแรก “เคเอ็มไอทีแอล อินโนเก็ต 2022” (KMITL INNOKET 2022) ตลาดเดียวที่รวบรวมนวัตกรรมที่สามารถสร้างสรรค์เป็นอาชีพใหม่ ต่อยอดธุรกิจ หรือเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้าและบริการ ด้วยงบประมาณลงทุนขั้นต่ำที่… พระเมธีวชิโรดม (ว.วชิรเมธี) เปิดหอศิลป์ ‘รศ.สุวัฒน์’ แหล่งสร้างผลงานศิลปะไทยร่วมสมัยแนวพุทธศิลป์ tui sakrapeeMay 24, 2022 พระเมธีวชิโรดม (ว.วชิรเมธี) เปิดหอศิลป์ รศ.สุวัฒน์ แหล่งสร้างผลงานศิลปะไทยร่วมสมัยแนวพุทธศิลป์ที่มีเอกลักษณ์โดดเด่น ให้เป็นแหล่งเรียนรู้จัดกิจกรรมด้านศิลปะในพื้นที่ชานเมืองกรุง เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม 2565 พระเมธีวชิโรดม (ท่าน ว.วชิรเมธี) คุณเมตตา อุทกะพันธุ์ ประธานกรรมการบริษัท อมรินทร์ปริ้นติ้ง แอนด์… มทร.ธัญบุรี จัดประชุมวิชาการนานาชาติ นวัตกรรม 9 ราชมงคล ยกระดับเศรษฐกิจฐานราก สร้างสังคมคุณภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterMay 22, 2022 เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคมที่ผ่านมา มทร.ธัญบุรี ร่วมกับเครือข่ายมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีกทั้ง 8 แห่ง ได้จัด “การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 12” และ “การประชุมวิชาการระดับนานาชาติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 11” พร้อมด้วย “การประกวดสิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมราชมงคล ครั้งที่… Search for: Search tui sakrapee January 4, 2022 tui sakrapee January 4, 2022 อาจารย์สถาปัตย์ จุฬาฯ นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาปรัชญา ประจำปี 2565 พัฒนาที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุไทย รศ.ไตรรัตน์ จารุทัศน์ ภาควิชาเคหการ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาฯ หัวหน้าศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางการออกแบบสภาพแวดล้อมเพื่อทุกคน ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาปรัชญา ประจำปี 2565 จากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) รศ.ไตรรัตน์ เป็นผู้เชี่ยวชาญที่มีผลงานเป็นที่ยอมรับในแวดวงสถาปัตยกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลงานวิจัยด้านการออกแบบเพื่อทุกคน (Universal Design) โครงการรูปแบบที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุไทย เพื่อส่งเสริมสุขภาพกาย-ใจ ภายใต้แนวคิดชุมชนที่เป็นมิตรกับผู้สูงอายุ เพื่อส่งเสริมให้เกิดกระบวนการสร้างความร่วมมือ การมีส่วนร่วมระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในพื้นที่ ในการวางแผนตามหลักเมืองที่เป็นมิตรต่อผู้สูงวัย และพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางการสื่อสารที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์ เผยถึงความรู้สึกที่ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติว่า “ดีใจและขอบคุณสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ที่ให้ความสำคัญในเรื่องผู้สูงอายุ ผลงานวิจัยนี้ ผมและทีมวิจัยได้ศึกษาเรื่องนี้มาเป็นเวลากว่า 20 ปีแล้ว ต้องขอขอบคุณจุฬาฯ ที่ให้โอกาสคณาจารย์จากสหสาขาวิชาได้มาทำงานวิจัยร่วมกัน” จุดเริ่มต้นในการทำงานวิจัยของนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ รศ.ไตรรัตน์เริ่มต้นทำงานวิจัยเรื่องที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุเมื่อ 25 ปีที่แล้ว จากความพยายามที่จะสร้างบ้านสำหรับผู้สูงอายุให้มีความปลอดภัยตามมาตรฐานคู่มือ แต่ผลสุดท้ายคือผู้สูงอายุไม่ย้ายเข้ามาอยู่ในบ้าน จึงสนใจศึกษาว่าเพราะเหตุใดผู้สูงอายุถึงไม่ปรับตัวกับสภาพแวดล้อมใหม่ ทำให้รู้ถึงข้อจำกัดในการเลือกที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุ นอกจากสภาพแวดล้อมด้านความปลอดภัยทางกายภาพแล้ว ยังเลือกสภาพแวดล้อมทางสังคม ชุมชน สิ่งแวดล้อม คือต้องอยู่ใกล้ญาติมิตร ชุมชน เดินทางไปมาหาสู่สะดวก ที่สำคัญต้องพึ่งพาตัวเองได้ ซึ่งจะทำให้ผู้สูงอายุเกิดความภูมิใจมากกว่าการต้องพึ่งพาลูกหลาน กว่า 20 ปีที่ศึกษาวิจัยเกี่ยวกับที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์มีผลงานวิจัยจำนวนมาก แบ่งออกเป็นงานวิจัยขั้นพื้นฐาน เช่น มาตรฐานขั้นต่ำสำหรับที่พักอาศัยและสภาพแวดล้อมของผู้สูงอายุไทย การพัฒนาต้นแบบสภาพแวดล้อมทางกายภาพ และสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุของสถานบริการสาธารณสุข ฯลฯ งานวิจัยประยุกต์ เช่น การปรับสิ่งอำนวยความสะดวกของเมืองพัทยาเพื่อรองรับผู้สูงอายุและคนพิการ โครงการการออกแบบชุมชนน่าอยู่ผู้สูงวัยสำหรับผู้สูงอายุในชนบท และการปรับปรุงและพัฒนาต้นแบบที่อยู่อาศัยที่ปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุในชนบท การส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวเพื่อคนทั้งมวล (Tourism For All) ฯลฯ งานวิจัยองค์ความรู้ใหม่ ได้แก่ สภาพการอยู่อาศัยของผู้สูงอายุ 3 ช่วงวัย (วัยต้น วัยกลาง และวัยปลาย) ซึ่งได้รับทุนวิจัยจากโครงการส่งเสริมการทำงานวิจัยเชิงลึกในสาขาวิชาที่มีศักยภาพสูง การศึกษาและพัฒนานโยบาย เครื่องมือ และต้นแบบที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุและผู้ทุพพลภาพ การศึกษาพฤติกรรมการอยู่อาศัยของผู้สูงอายุที่มีอายุยืนของประเทศ ฯลฯ “เราทำวิจัยเกี่ยวกับผู้สูงอายุและคนพิการต่อเนื่องมากว่า 20 ปี ครอบคลุมผู้สูงอายุทุกกลุ่มทั้งในเมืองหรือชนบท ผู้สูงอายุวัยต้น วัยกลาง วัยปลาย จนถึงผู้สูงอายุที่มีอายุ 100 ปี งานวิจัยของเราเน้น “จากหิ้งสู่ห้าง” มีการนำไปใช้จริง โดยมีบ้านต้นแบบต้นแบบที่นำไปประยุกต์ใช้กับพื้นที่ที่เหมาะสมได้” รศ.ไตรรัตน์ กล่าว กลุ่มคนเปราะบางกับสถานการณ์สังคมสูงวัย ตั้งแต่ปี 2543 เป็นต้นมา ประเทศไทยมีผู้สูงอายุ 10 % ในปี 2565 ผู้สูงอายุเฉลี่ยทั่วประเทศจะมีมากถึง 20% ซึ่งเข้าสู่สังคมสูงวัยแบบสมบูรณ์ ถือเป็นสถานการณ์หรือวิกฤตของประเทศไทย ดังนั้นเราควรมีการเตรียมตัววางแผนรับมือให้ดี เพราะนอกจากผู้สูงอายุจะเพิ่มขึ้นแล้ว อัตราการเกิดและคนวัยแรงงาน ก็ลดลงด้วย เราควรมีการวิจัยเชิงลึกในเรื่องนี้ให้มากขึ้นเพื่อลดผลกระทบทางเศรษฐกิจที่จะตามมา การคุ้มครองสวัสดิภาพในกลุ่มคนเปราะบาง เช่น คนในชุมชนแออัด คนไร้บ้าน คนยากจน ฯลฯ ซึ่งมีอยู่ประมาณ 10% คนกลุ่มนี้ต้องเผชิญปัญหาความยากจน เจ็บป่วย ถูกทอดทิ้ง การผลักภาระไปที่รัฐบาลเพียงอย่างเดียวอาจจะแก้ปัญหาไม่ได้ ชุมชนและภาครัฐต้องช่วยกันดูแลคนกลุ่มนี้ด้วยการส่งเสริมให้อยู่ที่เดิม โดยรัฐอาจมีมาตรการเฉพาะคนกลุ่มนี้ เช่น การปรับปรุงบ้าน การให้บริการสาธารณสุข เป็นต้น เรียนรู้ผู้สูงวัยจากงานวิจัยเรื่องที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์ กล่าวว่าช่วงเริ่มต้นโครงการวิจัยรูปแบบที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุไทยจะเน้นเรื่องความปลอดภัยทางสภาพแวดล้อมเป็นหลัก อย่างไรก็ตาม จากกรณีศึกษาของกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ที่ให้งบประมาณแก่กลุ่มผู้สูงอายุเพื่อปรับปรุงบ้าน พบว่ากลุ่มผู้สูงอายุที่มีความเปราะบางไม่ได้นำเงินที่ได้ไปปรับปรุงสภาพแวดล้อมตามกายภาพที่ควรจะเป็น ทำให้การมองปัญหา ในผู้สูงอายุคงมองเรื่องกายภาพเพียงอย่าเดียวไม่ได้ แต่ต้องเน้นไปที่ปัญหา 4 ด้าน ได้แก่ เรื่องสุขภาพ สังคม เศรษฐกิจ และสภาพแวดล้อม คือต้องดูแลสุขภาพกายและใจของผู้สูงอายุไปพร้อมๆ กับสร้างงาน สร้างรายได้ เพื่อให้ผู้สูงอายุพึ่งพาตนเองได้ แล้วค่อยปรับบ้านให้ปลอดภัยกับผู้สูงอายุ ลักษณะที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ ที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุต้องมีความปลอดภัย มีพื้นเรียบเสมอกันทั้งในบ้านและห้องน้ำ มีราวจับ พื้นไม่ลื่น ที่อยู่อาศัยมีแสงสว่างเพียงพอ ประตูที่ใช้เป็นบานเลื่อน ก๊อกน้ำลูกบิดประตูเป็นก้านโยก ช่องทางเดินมีความกว้าง 90 เซนติเมตร หน้าต่างบานลึก มีแสงสว่าง มองเห็นสวนและต้นไม้ นอกจากนี้พื้นที่ในบ้านไม่ควรใหญ่เกินไปเพื่อง่ายต่อการบำรุงรักษา มีพื้นที่เก็บของเพื่อให้ไม่รกเกะกะ ก่อให้เกิดปัญหาพลัดตกหกล้ม ความสำคัญของชุมชนที่เป็นมิตรกับผู้สูงวัย ชุมชนที่เป็นมิตรกับผู้สูงวัยเป็นแนวคิดขององค์การอนามัยโลก (WHO) เพื่อให้ผู้สูงวัยอยู่ในชุมชนได้อย่างเป็นสุข เป็นมิตรกับทุกคน ทุกวัย ทุกสภาพแวดล้อม ประกอบด้วย 3 ด้าน คือ ด้านกายภาพ เริ่มจากบ้านต้องปลอดภัย มีการเดินทางที่สะดวกสบาย มีพื้นที่สาธารณะที่ดี สามารถเข้าถึงได้ ด้านสังคม ต้องมีการมีส่วนร่วมทางสังคม นอกจากนี้ยังต้องมีการบริการพื้นฐาน ผู้สูงอายุต้องเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร มีบริการทางด้านสุขภาพ สิ่งอำนวยความสะดวก และระบบเศรษฐกิจที่สนับสนุนผู้สูงอายุอีกด้วย จุดเด่นของงานวิจัยที่ตอบโจทย์สังคม “ผลงานวิจัยที่ผ่านมาเป็นงานที่ตอบโจทย์เชิงสังคมและชุมชน สามารถนำไปใช้ได้จริงโดยได้ริเริ่มแนวคิดสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุ คนพิการหรือที่เรียกว่าหลักการออกแบบเพื่อทุกคน นักวิจัยรุ่นหลังสามารถนำเอาแนวคิดนี้ไปพัฒนาต่อยอดเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจได้ เรากำลังผลักดันให้รัฐบาลและภาคเอกชนสนใจในเรื่องนี้เพื่อปรับธุรกิจในการรองรับสังคมสูงวัยซึ่งเป็นสถานการณ์ที่ประเทศไทยกำลังเผชิญอยู่ในปัจจุบัน” รศ.ไตรรัตน์เผยถึงจุดเด่นของงานวิจัยนี้ การสร้างความร่วมมือเพื่อพัฒนาที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์เผยถึงปัญหาสำหรับผู้สูงอายุว่าเป็นเรื่องซับซ้อน จึงต้องมีหลายหน่วยงานเข้ามาเกี่ยวข้อง ต้องร่วมมือกันหลายฝ่าย ไม่ว่าจะเป็นภาครัฐ ภาคเอกชน ชุมชน ครอบครัวเพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมในการช่วยกันแก้ไขปัญหาให้ลุล่วงไปได้ด้วยดี การจะสร้างแรงจูงใจให้หน่วยงานต่างๆ ร่วมมือพัฒนาพื้นที่ของผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่องนั้น รัฐต้องเปลี่ยนบทบาทจากการสงเคราะห์เป็นพัฒนา ส่งเสริมให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ครอบครัว เป็นผู้ดูแลผู้สูงอายุในชุมชน นำเบี้ยยังชีพมาช่วยสร้างงาน รณรงค์ส่งเสริมการสูงวัยในถิ่นเดิม (Aging in Place) ทั้งในระดับการอยู่อาศัยในบ้านหลังเดิม และในชุมชน เครือญาติเดิม พัฒนาระบบการดูแลที่บ้านในชุมชน (Home & Community Healthcare) ดูแลทั้งสุขภาพอนามัย ชีวิตความเป็นอยู่และสภาพแวดล้อมส่งเสริมให้เอกชนผลิตสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุและคนพิการ โดยใช้มาตรการการส่งเสริมการลงทุน การลดภาษี ส่งเสริมให้ครอบครัวที่มีผู้สูงอายุและคนพิการ สามารถจัดซื้อและติดตั้งสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุและคนพิการ สามารถนำมาลดหย่อนภาษีได้ รวมถึงส่งเสริมให้เอกชนพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุที่มีความต้องการเฉพาะ หรือกลุ่มที่มีความจำเป็นจริงๆ แผนการทำงานวิจัยในอนาคต เน้นการทำวิจัยแบบสหสาขาวิชา ผลงานวิจัยที่จะดำเนินการต่อไปคือ โครงการวิจัยพัฒนาระบบต้นแบบรองรับสังคมสูงวัยในบริบทของชุมชนเมือง ภาคใต้และภาคตะวันออก รศ.ไตรรัตน์ ฝากข้อคิดในการทำงานวิจัยให้ประสบความสำเร็จว่า “อยากให้นักวิจัยตั้งโจทย์ให้ หัวข้องานวิจัยมีความน่าสนใจ มีกลุ่มตัวอย่างที่ชัดเจน ไม่เกี่ยงงาน ไม่คิดถึงข้อจำกัดเรื่องเวลา จะทำให้เราทำงานวิจัยง่ายขึ้น หัวใจของนักวิจัยคือ “เราต้องรู้ว่าเราไม่รู้อะไร” เพราะตราบใดที่เรายังค้นคว้าหาความรู้อยู่เรื่อยๆ นั่นคือการทำหน้าที่เป็นนักวิจัยแล้ว” tui sakrapee Related Posts สอบไม่ติดแพทย์ ไม่มีสิทธิ์พูดเรื่องทรงผม!? TCAS65: คะแนนสูงสุด-ต่ำสุดของแต่ละหลักสูตรที่เปิดรับในรอบ 3 Admission 4,685 ที่นั่งยังรอ! รอบที่ 4 สุดท้าย Direct Admission “สวนสุนันทา” เปิดกว้างก้าวสู่อนาคตถึง 31 พ.ค.นี้ สพฐ. ย้ำปี 65 โรงเรียนต้อง ‘ซ่อม เสริม สร้าง’ ให้นักเรียนเป็นรายบุคคล — 25 พฤษภาคม 2565 เด็กโทษระบบไม่ส่งรหัสยืนยันสิทธิ์ ทปอ. พบไม่กดขอ OTP เอง — 24 พฤษภาคม 2565 Post navigation PREVIOUS Previous post: “นวัตกรรมผ้าไม่ทอจากเส้นใยไผ่ ในผลิตภัณฑ์ไลฟ์สไตล์ทางการแพทย์” นักวิจัยมทร.ธัญบุรีสร้างคุณค่าและมูลค่าเพิ่มNEXT Next post: มีที่เรียนก่อนใคร! โค้งสุดท้าย “สวนสุนันทา” พารอด รับรอบ 1 ถึง 4,601 ที่นั่ง สมัครวันนี้ยังมีโอกาส – 7 ม.ค.65 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ดร.ดร๊าฟ พา 12 ดาราดัง ย้อนความทรงจำ คืนสู่เหย้ากลับเข้ารั้วมหาวิทยาลัย EZ WebmasterMay 27, 2022 ผศ.ดร.ดวงฤทธิ์ เบ็ญจาธิกุล ชัยรุ่งเรือง (ดร.ดร๊าฟ) เลขานุการรัฐมนตรีและโฆษกกระทรวง กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เผย รายการ “ออนเดอะเวย์” ที่พา 12 ดาราดัง มาย้อนความทรงจำ คืนสู่เหย้ากลับเข้า 12 รั้วมหาวิทยาลัย… TCAS65: คะแนนสูงสุด-ต่ำสุดของแต่ละหลักสูตรที่เปิดรับในรอบ 3 Admission EZ WebmasterMay 27, 2022 สวัสดีค่ะน้องๆ วันนี้ทีมงาน Eduzones มีคะแนนสูงสุด-ต่ำสุดของแต่ละหลักสูตรที่เปิดรับในรอบ 3 Admission มาให้น้องๆดูเป็นแนวทางในการเลือกอันดับTCASปี66กันค่ะ มาดูกันเลย! โดยน้องๆสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมและดาวน์โหลดรายละเอียดได้ที่นี่ click สุดท้ายนี้พี่ๆทีมงาน Eduzones ขอเป็นกำลังใจให้น้องๆทุกคนนะคะ สามารถติดตามข่าวสารการศึกษาได้ที่ Facebook Fanpage : Eduzones… วิศวะ จุฬาฯ ริเริ่มสร้างสรรค์สังคมความรู้ไปสู่โลกดิจิทัลเสมือนจริงในเมตาเวิร์ส อยู่ที่ไหนก็แวะมาเที่ยวจุฬาฯได้ ด้วยโลกเสมือนจริงบนเมตาเวิร์ส EZ WebmasterMay 26, 2022 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดสร้างหอประวัติจุฬาฯ บนโลกเสมือนจริงสามมิติขึ้น เพื่อให้บุคคลทั่วไปสามารถเข้าเยี่ยมชมศึกษาเรียนรู้ประวัติศาสตร์ของมหาวิทยาลัยแห่งแรกของประเทศไทยได้ ผ่านอุปกรณ์วีอาร์โดยไม่จำเป็นต้องเดินทางมาสถานที่จริง อีกทั้งต่อยอดความรู้ในการสร้างโลกเสมือนจริงที่ช่วยในการดำเนินกิจการในภาครัฐวิสาหกิจ และด้านสุขภาพในยุคเมตาเวิร์ส รองศาสตราจารย์ ดร. ลัญฉกร วุฒิสิทธิกุลกิจ อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่า การสร้างโลกเสมือนจริงของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยนี้ เป็นความร่วมมือระหว่างคณะวิศวกรรมศาสตร์ กับสถาบันไทยศึกษา จัดสร้างหอประวัติจุฬาฯ บนโลกเสมือนจริงสามมิติขึ้น เพื่อบอกเล่าเรื่องราวประวัติศาสตร์เกี่ยวกับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผ่านเทคโนโลยีความเป็นจริงเสมือน เป็นการบูรณาการข้ามศาสตร์ระหว่างองค์ความรู้ด้านมนุษยศาสตร์และวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี เพื่อดำรงคุณค่าและเพิ่มมูลค่าทางด้านสังคมและเศรษฐกิจด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่ และอาจกล่าวได้ว่าเป็นระบบเมตาเวิร์ส ขนาดเล็กแห่งแรกๆ ของประเทศที่มีประโยชน์และใช้งานได้จริง นอกจากนี้… ทุนดีดี ม.หอการค้าไทย ร่วมมือ ชีวาศรมอคาเดมี่ มอบทุนเรียนสาขาบูรณาการส่งเสริมสุขภาพและความงาม ฟรีตลอดหลักสูตร tui sakrapeeMay 11, 2022 ม.หอการค้าไทยร่วมมือกับโรงเรียนสอนวิชาชีพความงามและสุขภาพสปาชีวาศรม มุ่งพัฒนาบุคลากร สร้างบัณฑิตให้มีความพร้อมเพื่อก้าวเข้าสู่ตลาดแรงงานทั้งในประเทศและต่างประเทศ พร้อมรับทุนเรียนฟรี ตลอดหลักสูตร รับสมัครแล้ว วันนี้ ถึง 31 พฤษภาคม 2565 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทยสถาบันการศึกษาชั้นนำด้านธุรกิจและอุตสาหกรรมการบริการ และ โรงเรียนสอนวิชาชีพความงามและสุขภาพสปาชีวาศรม เล็งเห็นความสำคัญการพัฒนาอาจารย์ การผลิตบัณฑิต ให้เป็นผู้ขับเคลื่อนธุรกิจและอุตสาหกรรมบริการที่เต็มเปี่ยมไปด้วยนวัตกรรม สององค์กรจึงร่วมกันผนึกกำลังสำคัญเพื่อสร้างบุคลากรที่มีความพร้อมในการก้าวเข้าสู่อุตสาหกรรมการบริการทั้งในประเทศและต่างประเทศ… ม.รังสิต เปิดให้ทุน “ดร.อรรถวิท อุไรรัตน์ เพื่อการแพทย์แผนตะวันออก” เรียนวิทยาศาสตร์บัณฑิต (การแพทย์แผนตะวันออก) หลักสูตร 4 ปี tui sakrapeeMay 5, 2022 วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก มหาวิทยาลัยรังสิต เปิดรับสมัครทุนการศึกษา ดร.อรรถวิท อุไรรัตน์ เพื่อการแพทย์แผนตะวันออก มหาวิทยาลัยรังสิต ได้ตระหนักถึงผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากการระบาดของโรค โควิด-19 ที่ต่อเนื่องยาวนานมามากกว่า 2 ปี ซึ่งส่งผลต่อความสามารถในการสนับสนุนค่าใช้จ่ายของบุตรหลาน ในการศึกษาต่อระดับอุดมศึกษา จึงได้จัดให้มีทุนการศึกษา “ทุน ดร.อรรถวิทย์… CPF จับมือโลจิสติกส์ สวนสุนันทา มอบทุนเรียนฟรี100% มีรายได้ระหว่างเรียน หลักสูตรการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน (ระบบการศึกษาทางไกล) เปิดรับแล้ววันนี้ tui sakrapeeMay 4, 2022 วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา และ บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด จับมือมอบทุนเรียนฟรี 100% และมีรายได้ระหว่างเรียน เริ่มต้น 12,000 บาท (ไม่รวมโบนัส) สมัครเรียนที่นี่…เหมือนสมัครงาน “ทุนเรียนฟรี 100% และมีรายได้ระหว่างเรียน เริ่มต้น… UTCC ชวนสื่อมวลชนทุกแขนง สมัครรับทุนส่งเสริมโอกาสทางการศึกษา ระดับปริญญาโท ปีการศึกษา 2565 tui sakrapeeMay 3, 2022 UTCC เปิดรับสมัครทุนส่งเสริมโอกาสทางการศึกษา ระดับปริญญาโท ประจำปีการศึกษา 2565 เชิญชวนสื่อมวลชนทุกแขนง สมัครเข้าศึกษาต่อกับเรา ระดับปริญญาโท ทุนสื่อมวลชน มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย (UTCC) มอบทุนที่เปิดโอกาสสำหรับพี่ ๆ ที่อยากเรียนปริญญาโท บอกเลยว่าคุ้ม เพราะเรามอบทุนให้ตลอดหลักสูตร สามารถเลือกศึกษาหลักสูตรที่สนใจได้ตามความฝัน จบแล้ว ไม่ต้องคืนทุกอีกด้วย… ครู-อาจารย์ สอบไม่ติดแพทย์ ไม่มีสิทธิ์พูดเรื่องทรงผม!? EZ WebmasterMay 27, 2022 เรื่องกฎระเบียบ ข้อปฏิบัติต่างๆในโรงเรียนไทยนั้น เป็นที่รู้ๆกันดีว่ามีมาตั้งหลายยุคหลายสมัยกันแล้ว แต่ที่เห็นว่าจะเป็นเรื่องถกเถียงกันและมีดราม่าเยอะที่สุดก็คงจะเป็นกฎระเบียบที่เกี่ยวกับรูปลักษณ์ภายนอกของเด็กนักเรียน ไม่ว่าจะเป็น เรื่องเครื่องแต่งกาย การแต่งหน้า หรือแม้กระทั่งเรื่องของทรงผม ซึ่งตอนนี้ก็กำลังเป็นประเด็นร้อนในทวิตเตอร์ เนื่องจาก อาจารย์วิโรจน์ ลักขณาอดิศร จากพรรคก้าวไกล ได้ทวีตคลิปวีดีโอที่ถูกอัดมาจากโรงเรียนแห่งหนึ่ง โดยในคลิปมีคุณครูท่านหนึ่งกำลังพูดหน้าเสาธงเกี่ยวกับเรื่องทรงผมของนักเรียน โดยอาจารย์วิโรจน์ก็ได้สรุปเหตุการณ์คร่าวๆจากคลิปวีดีโอ พร้อมทั้งแสดงความคิดเห็นว่า “โรงเรียนแห่งหนึ่งได้อธิบายเรื่องระเบียบทรงผมให้นักเรียนทราบ… TCAS65: คะแนนสูงสุด-ต่ำสุดของแต่ละหลักสูตรที่เปิดรับในรอบ 3 Admission EZ WebmasterMay 27, 2022 สวัสดีค่ะน้องๆ วันนี้ทีมงาน Eduzones มีคะแนนสูงสุด-ต่ำสุดของแต่ละหลักสูตรที่เปิดรับในรอบ 3 Admission มาให้น้องๆดูเป็นแนวทางในการเลือกอันดับTCASปี66กันค่ะ มาดูกันเลย! โดยน้องๆสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมและดาวน์โหลดรายละเอียดได้ที่นี่ click สุดท้ายนี้พี่ๆทีมงาน Eduzones ขอเป็นกำลังใจให้น้องๆทุกคนนะคะ สามารถติดตามข่าวสารการศึกษาได้ที่ Facebook Fanpage : Eduzones… สพฐ. ย้ำปี 65 โรงเรียนต้อง ‘ซ่อม เสริม สร้าง’ ให้นักเรียนเป็นรายบุคคล — 25 พฤษภาคม 2565 EZ WebmasterMay 26, 2022 เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2565 นายอัมพร พินะสา เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (กพฐ.) เผย หลังจากผ่านการเปิดเรียนแบบออนไซต์มาครบ 1 สัปดาห์แล้ว พบว่าทุกฝ่ายร่วมมือกันในการสร้างความปลอดภัยในโรงเรียนอย่างมาก โดย นางสาวตรีนุช เทียนทอง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ… เด็กโทษระบบไม่ส่งรหัสยืนยันสิทธิ์ ทปอ. พบไม่กดขอ OTP เอง — 24 พฤษภาคม 2565 EZ WebmasterMay 26, 2022 เมื่อวันที่ 24 พฤษภาคมที่ผ่านมา ดร.พีระพงศ์ ตริยเจริญ ผู้จัดการระบบการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา หรือTCAS ของที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (ทปอ.) กล่าวว่า ขณะนี้ ทปอ.เปิดรับสมัครTCAS ประจำปีการศึกษา 2565 รอบที่ 1 พอร์ตโฟลิโอ รอบที่… กิจกรรม ดร.ดร๊าฟ พา 12 ดาราดัง ย้อนความทรงจำ คืนสู่เหย้ากลับเข้ารั้วมหาวิทยาลัย EZ WebmasterMay 27, 2022 ผศ.ดร.ดวงฤทธิ์ เบ็ญจาธิกุล ชัยรุ่งเรือง (ดร.ดร๊าฟ) เลขานุการรัฐมนตรีและโฆษกกระทรวง กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เผย รายการ “ออนเดอะเวย์” ที่พา 12 ดาราดัง มาย้อนความทรงจำ คืนสู่เหย้ากลับเข้า 12 รั้วมหาวิทยาลัย… KMITL INNOKET 2022 : ตลาดนวัตกรรมสร้างอาชีพ-ต่อยอดธุรกิจ EZ WebmasterMay 25, 2022 วันพุธที่ 25 พฤษภาคม 2565 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) รุดเปิดตลาดนวัตกรรมสร้างอาชีพครั้งแรก “เคเอ็มไอทีแอล อินโนเก็ต 2022” (KMITL INNOKET 2022) ตลาดเดียวที่รวบรวมนวัตกรรมที่สามารถสร้างสรรค์เป็นอาชีพใหม่ ต่อยอดธุรกิจ หรือเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้าและบริการ ด้วยงบประมาณลงทุนขั้นต่ำที่… พระเมธีวชิโรดม (ว.วชิรเมธี) เปิดหอศิลป์ ‘รศ.สุวัฒน์’ แหล่งสร้างผลงานศิลปะไทยร่วมสมัยแนวพุทธศิลป์ tui sakrapeeMay 24, 2022 พระเมธีวชิโรดม (ว.วชิรเมธี) เปิดหอศิลป์ รศ.สุวัฒน์ แหล่งสร้างผลงานศิลปะไทยร่วมสมัยแนวพุทธศิลป์ที่มีเอกลักษณ์โดดเด่น ให้เป็นแหล่งเรียนรู้จัดกิจกรรมด้านศิลปะในพื้นที่ชานเมืองกรุง เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม 2565 พระเมธีวชิโรดม (ท่าน ว.วชิรเมธี) คุณเมตตา อุทกะพันธุ์ ประธานกรรมการบริษัท อมรินทร์ปริ้นติ้ง แอนด์… มทร.ธัญบุรี จัดประชุมวิชาการนานาชาติ นวัตกรรม 9 ราชมงคล ยกระดับเศรษฐกิจฐานราก สร้างสังคมคุณภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterMay 22, 2022 เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคมที่ผ่านมา มทร.ธัญบุรี ร่วมกับเครือข่ายมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีกทั้ง 8 แห่ง ได้จัด “การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 12” และ “การประชุมวิชาการระดับนานาชาติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 11” พร้อมด้วย “การประกวดสิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมราชมงคล ครั้งที่… Search for: Search tui sakrapee January 4, 2022 tui sakrapee January 4, 2022 อาจารย์สถาปัตย์ จุฬาฯ นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาปรัชญา ประจำปี 2565 พัฒนาที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุไทย รศ.ไตรรัตน์ จารุทัศน์ ภาควิชาเคหการ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาฯ หัวหน้าศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางการออกแบบสภาพแวดล้อมเพื่อทุกคน ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาปรัชญา ประจำปี 2565 จากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) รศ.ไตรรัตน์ เป็นผู้เชี่ยวชาญที่มีผลงานเป็นที่ยอมรับในแวดวงสถาปัตยกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลงานวิจัยด้านการออกแบบเพื่อทุกคน (Universal Design) โครงการรูปแบบที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุไทย เพื่อส่งเสริมสุขภาพกาย-ใจ ภายใต้แนวคิดชุมชนที่เป็นมิตรกับผู้สูงอายุ เพื่อส่งเสริมให้เกิดกระบวนการสร้างความร่วมมือ การมีส่วนร่วมระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในพื้นที่ ในการวางแผนตามหลักเมืองที่เป็นมิตรต่อผู้สูงวัย และพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางการสื่อสารที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์ เผยถึงความรู้สึกที่ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติว่า “ดีใจและขอบคุณสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ที่ให้ความสำคัญในเรื่องผู้สูงอายุ ผลงานวิจัยนี้ ผมและทีมวิจัยได้ศึกษาเรื่องนี้มาเป็นเวลากว่า 20 ปีแล้ว ต้องขอขอบคุณจุฬาฯ ที่ให้โอกาสคณาจารย์จากสหสาขาวิชาได้มาทำงานวิจัยร่วมกัน” จุดเริ่มต้นในการทำงานวิจัยของนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ รศ.ไตรรัตน์เริ่มต้นทำงานวิจัยเรื่องที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุเมื่อ 25 ปีที่แล้ว จากความพยายามที่จะสร้างบ้านสำหรับผู้สูงอายุให้มีความปลอดภัยตามมาตรฐานคู่มือ แต่ผลสุดท้ายคือผู้สูงอายุไม่ย้ายเข้ามาอยู่ในบ้าน จึงสนใจศึกษาว่าเพราะเหตุใดผู้สูงอายุถึงไม่ปรับตัวกับสภาพแวดล้อมใหม่ ทำให้รู้ถึงข้อจำกัดในการเลือกที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุ นอกจากสภาพแวดล้อมด้านความปลอดภัยทางกายภาพแล้ว ยังเลือกสภาพแวดล้อมทางสังคม ชุมชน สิ่งแวดล้อม คือต้องอยู่ใกล้ญาติมิตร ชุมชน เดินทางไปมาหาสู่สะดวก ที่สำคัญต้องพึ่งพาตัวเองได้ ซึ่งจะทำให้ผู้สูงอายุเกิดความภูมิใจมากกว่าการต้องพึ่งพาลูกหลาน กว่า 20 ปีที่ศึกษาวิจัยเกี่ยวกับที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์มีผลงานวิจัยจำนวนมาก แบ่งออกเป็นงานวิจัยขั้นพื้นฐาน เช่น มาตรฐานขั้นต่ำสำหรับที่พักอาศัยและสภาพแวดล้อมของผู้สูงอายุไทย การพัฒนาต้นแบบสภาพแวดล้อมทางกายภาพ และสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุของสถานบริการสาธารณสุข ฯลฯ งานวิจัยประยุกต์ เช่น การปรับสิ่งอำนวยความสะดวกของเมืองพัทยาเพื่อรองรับผู้สูงอายุและคนพิการ โครงการการออกแบบชุมชนน่าอยู่ผู้สูงวัยสำหรับผู้สูงอายุในชนบท และการปรับปรุงและพัฒนาต้นแบบที่อยู่อาศัยที่ปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุในชนบท การส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวเพื่อคนทั้งมวล (Tourism For All) ฯลฯ งานวิจัยองค์ความรู้ใหม่ ได้แก่ สภาพการอยู่อาศัยของผู้สูงอายุ 3 ช่วงวัย (วัยต้น วัยกลาง และวัยปลาย) ซึ่งได้รับทุนวิจัยจากโครงการส่งเสริมการทำงานวิจัยเชิงลึกในสาขาวิชาที่มีศักยภาพสูง การศึกษาและพัฒนานโยบาย เครื่องมือ และต้นแบบที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุและผู้ทุพพลภาพ การศึกษาพฤติกรรมการอยู่อาศัยของผู้สูงอายุที่มีอายุยืนของประเทศ ฯลฯ “เราทำวิจัยเกี่ยวกับผู้สูงอายุและคนพิการต่อเนื่องมากว่า 20 ปี ครอบคลุมผู้สูงอายุทุกกลุ่มทั้งในเมืองหรือชนบท ผู้สูงอายุวัยต้น วัยกลาง วัยปลาย จนถึงผู้สูงอายุที่มีอายุ 100 ปี งานวิจัยของเราเน้น “จากหิ้งสู่ห้าง” มีการนำไปใช้จริง โดยมีบ้านต้นแบบต้นแบบที่นำไปประยุกต์ใช้กับพื้นที่ที่เหมาะสมได้” รศ.ไตรรัตน์ กล่าว กลุ่มคนเปราะบางกับสถานการณ์สังคมสูงวัย ตั้งแต่ปี 2543 เป็นต้นมา ประเทศไทยมีผู้สูงอายุ 10 % ในปี 2565 ผู้สูงอายุเฉลี่ยทั่วประเทศจะมีมากถึง 20% ซึ่งเข้าสู่สังคมสูงวัยแบบสมบูรณ์ ถือเป็นสถานการณ์หรือวิกฤตของประเทศไทย ดังนั้นเราควรมีการเตรียมตัววางแผนรับมือให้ดี เพราะนอกจากผู้สูงอายุจะเพิ่มขึ้นแล้ว อัตราการเกิดและคนวัยแรงงาน ก็ลดลงด้วย เราควรมีการวิจัยเชิงลึกในเรื่องนี้ให้มากขึ้นเพื่อลดผลกระทบทางเศรษฐกิจที่จะตามมา การคุ้มครองสวัสดิภาพในกลุ่มคนเปราะบาง เช่น คนในชุมชนแออัด คนไร้บ้าน คนยากจน ฯลฯ ซึ่งมีอยู่ประมาณ 10% คนกลุ่มนี้ต้องเผชิญปัญหาความยากจน เจ็บป่วย ถูกทอดทิ้ง การผลักภาระไปที่รัฐบาลเพียงอย่างเดียวอาจจะแก้ปัญหาไม่ได้ ชุมชนและภาครัฐต้องช่วยกันดูแลคนกลุ่มนี้ด้วยการส่งเสริมให้อยู่ที่เดิม โดยรัฐอาจมีมาตรการเฉพาะคนกลุ่มนี้ เช่น การปรับปรุงบ้าน การให้บริการสาธารณสุข เป็นต้น เรียนรู้ผู้สูงวัยจากงานวิจัยเรื่องที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์ กล่าวว่าช่วงเริ่มต้นโครงการวิจัยรูปแบบที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุไทยจะเน้นเรื่องความปลอดภัยทางสภาพแวดล้อมเป็นหลัก อย่างไรก็ตาม จากกรณีศึกษาของกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ที่ให้งบประมาณแก่กลุ่มผู้สูงอายุเพื่อปรับปรุงบ้าน พบว่ากลุ่มผู้สูงอายุที่มีความเปราะบางไม่ได้นำเงินที่ได้ไปปรับปรุงสภาพแวดล้อมตามกายภาพที่ควรจะเป็น ทำให้การมองปัญหา ในผู้สูงอายุคงมองเรื่องกายภาพเพียงอย่าเดียวไม่ได้ แต่ต้องเน้นไปที่ปัญหา 4 ด้าน ได้แก่ เรื่องสุขภาพ สังคม เศรษฐกิจ และสภาพแวดล้อม คือต้องดูแลสุขภาพกายและใจของผู้สูงอายุไปพร้อมๆ กับสร้างงาน สร้างรายได้ เพื่อให้ผู้สูงอายุพึ่งพาตนเองได้ แล้วค่อยปรับบ้านให้ปลอดภัยกับผู้สูงอายุ ลักษณะที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ ที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุต้องมีความปลอดภัย มีพื้นเรียบเสมอกันทั้งในบ้านและห้องน้ำ มีราวจับ พื้นไม่ลื่น ที่อยู่อาศัยมีแสงสว่างเพียงพอ ประตูที่ใช้เป็นบานเลื่อน ก๊อกน้ำลูกบิดประตูเป็นก้านโยก ช่องทางเดินมีความกว้าง 90 เซนติเมตร หน้าต่างบานลึก มีแสงสว่าง มองเห็นสวนและต้นไม้ นอกจากนี้พื้นที่ในบ้านไม่ควรใหญ่เกินไปเพื่อง่ายต่อการบำรุงรักษา มีพื้นที่เก็บของเพื่อให้ไม่รกเกะกะ ก่อให้เกิดปัญหาพลัดตกหกล้ม ความสำคัญของชุมชนที่เป็นมิตรกับผู้สูงวัย ชุมชนที่เป็นมิตรกับผู้สูงวัยเป็นแนวคิดขององค์การอนามัยโลก (WHO) เพื่อให้ผู้สูงวัยอยู่ในชุมชนได้อย่างเป็นสุข เป็นมิตรกับทุกคน ทุกวัย ทุกสภาพแวดล้อม ประกอบด้วย 3 ด้าน คือ ด้านกายภาพ เริ่มจากบ้านต้องปลอดภัย มีการเดินทางที่สะดวกสบาย มีพื้นที่สาธารณะที่ดี สามารถเข้าถึงได้ ด้านสังคม ต้องมีการมีส่วนร่วมทางสังคม นอกจากนี้ยังต้องมีการบริการพื้นฐาน ผู้สูงอายุต้องเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร มีบริการทางด้านสุขภาพ สิ่งอำนวยความสะดวก และระบบเศรษฐกิจที่สนับสนุนผู้สูงอายุอีกด้วย จุดเด่นของงานวิจัยที่ตอบโจทย์สังคม “ผลงานวิจัยที่ผ่านมาเป็นงานที่ตอบโจทย์เชิงสังคมและชุมชน สามารถนำไปใช้ได้จริงโดยได้ริเริ่มแนวคิดสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุ คนพิการหรือที่เรียกว่าหลักการออกแบบเพื่อทุกคน นักวิจัยรุ่นหลังสามารถนำเอาแนวคิดนี้ไปพัฒนาต่อยอดเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจได้ เรากำลังผลักดันให้รัฐบาลและภาคเอกชนสนใจในเรื่องนี้เพื่อปรับธุรกิจในการรองรับสังคมสูงวัยซึ่งเป็นสถานการณ์ที่ประเทศไทยกำลังเผชิญอยู่ในปัจจุบัน” รศ.ไตรรัตน์เผยถึงจุดเด่นของงานวิจัยนี้ การสร้างความร่วมมือเพื่อพัฒนาที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์เผยถึงปัญหาสำหรับผู้สูงอายุว่าเป็นเรื่องซับซ้อน จึงต้องมีหลายหน่วยงานเข้ามาเกี่ยวข้อง ต้องร่วมมือกันหลายฝ่าย ไม่ว่าจะเป็นภาครัฐ ภาคเอกชน ชุมชน ครอบครัวเพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมในการช่วยกันแก้ไขปัญหาให้ลุล่วงไปได้ด้วยดี การจะสร้างแรงจูงใจให้หน่วยงานต่างๆ ร่วมมือพัฒนาพื้นที่ของผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่องนั้น รัฐต้องเปลี่ยนบทบาทจากการสงเคราะห์เป็นพัฒนา ส่งเสริมให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ครอบครัว เป็นผู้ดูแลผู้สูงอายุในชุมชน นำเบี้ยยังชีพมาช่วยสร้างงาน รณรงค์ส่งเสริมการสูงวัยในถิ่นเดิม (Aging in Place) ทั้งในระดับการอยู่อาศัยในบ้านหลังเดิม และในชุมชน เครือญาติเดิม พัฒนาระบบการดูแลที่บ้านในชุมชน (Home & Community Healthcare) ดูแลทั้งสุขภาพอนามัย ชีวิตความเป็นอยู่และสภาพแวดล้อมส่งเสริมให้เอกชนผลิตสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุและคนพิการ โดยใช้มาตรการการส่งเสริมการลงทุน การลดภาษี ส่งเสริมให้ครอบครัวที่มีผู้สูงอายุและคนพิการ สามารถจัดซื้อและติดตั้งสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุและคนพิการ สามารถนำมาลดหย่อนภาษีได้ รวมถึงส่งเสริมให้เอกชนพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุที่มีความต้องการเฉพาะ หรือกลุ่มที่มีความจำเป็นจริงๆ แผนการทำงานวิจัยในอนาคต เน้นการทำวิจัยแบบสหสาขาวิชา ผลงานวิจัยที่จะดำเนินการต่อไปคือ โครงการวิจัยพัฒนาระบบต้นแบบรองรับสังคมสูงวัยในบริบทของชุมชนเมือง ภาคใต้และภาคตะวันออก รศ.ไตรรัตน์ ฝากข้อคิดในการทำงานวิจัยให้ประสบความสำเร็จว่า “อยากให้นักวิจัยตั้งโจทย์ให้ หัวข้องานวิจัยมีความน่าสนใจ มีกลุ่มตัวอย่างที่ชัดเจน ไม่เกี่ยงงาน ไม่คิดถึงข้อจำกัดเรื่องเวลา จะทำให้เราทำงานวิจัยง่ายขึ้น หัวใจของนักวิจัยคือ “เราต้องรู้ว่าเราไม่รู้อะไร” เพราะตราบใดที่เรายังค้นคว้าหาความรู้อยู่เรื่อยๆ นั่นคือการทำหน้าที่เป็นนักวิจัยแล้ว” tui sakrapee Related Posts สอบไม่ติดแพทย์ ไม่มีสิทธิ์พูดเรื่องทรงผม!? TCAS65: คะแนนสูงสุด-ต่ำสุดของแต่ละหลักสูตรที่เปิดรับในรอบ 3 Admission 4,685 ที่นั่งยังรอ! รอบที่ 4 สุดท้าย Direct Admission “สวนสุนันทา” เปิดกว้างก้าวสู่อนาคตถึง 31 พ.ค.นี้ สพฐ. ย้ำปี 65 โรงเรียนต้อง ‘ซ่อม เสริม สร้าง’ ให้นักเรียนเป็นรายบุคคล — 25 พฤษภาคม 2565 เด็กโทษระบบไม่ส่งรหัสยืนยันสิทธิ์ ทปอ. พบไม่กดขอ OTP เอง — 24 พฤษภาคม 2565 Post navigation PREVIOUS Previous post: “นวัตกรรมผ้าไม่ทอจากเส้นใยไผ่ ในผลิตภัณฑ์ไลฟ์สไตล์ทางการแพทย์” นักวิจัยมทร.ธัญบุรีสร้างคุณค่าและมูลค่าเพิ่มNEXT Next post: มีที่เรียนก่อนใคร! โค้งสุดท้าย “สวนสุนันทา” พารอด รับรอบ 1 ถึง 4,601 ที่นั่ง สมัครวันนี้ยังมีโอกาส – 7 ม.ค.65 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
TCAS65: คะแนนสูงสุด-ต่ำสุดของแต่ละหลักสูตรที่เปิดรับในรอบ 3 Admission EZ WebmasterMay 27, 2022 สวัสดีค่ะน้องๆ วันนี้ทีมงาน Eduzones มีคะแนนสูงสุด-ต่ำสุดของแต่ละหลักสูตรที่เปิดรับในรอบ 3 Admission มาให้น้องๆดูเป็นแนวทางในการเลือกอันดับTCASปี66กันค่ะ มาดูกันเลย! โดยน้องๆสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมและดาวน์โหลดรายละเอียดได้ที่นี่ click สุดท้ายนี้พี่ๆทีมงาน Eduzones ขอเป็นกำลังใจให้น้องๆทุกคนนะคะ สามารถติดตามข่าวสารการศึกษาได้ที่ Facebook Fanpage : Eduzones… วิศวะ จุฬาฯ ริเริ่มสร้างสรรค์สังคมความรู้ไปสู่โลกดิจิทัลเสมือนจริงในเมตาเวิร์ส อยู่ที่ไหนก็แวะมาเที่ยวจุฬาฯได้ ด้วยโลกเสมือนจริงบนเมตาเวิร์ส EZ WebmasterMay 26, 2022 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดสร้างหอประวัติจุฬาฯ บนโลกเสมือนจริงสามมิติขึ้น เพื่อให้บุคคลทั่วไปสามารถเข้าเยี่ยมชมศึกษาเรียนรู้ประวัติศาสตร์ของมหาวิทยาลัยแห่งแรกของประเทศไทยได้ ผ่านอุปกรณ์วีอาร์โดยไม่จำเป็นต้องเดินทางมาสถานที่จริง อีกทั้งต่อยอดความรู้ในการสร้างโลกเสมือนจริงที่ช่วยในการดำเนินกิจการในภาครัฐวิสาหกิจ และด้านสุขภาพในยุคเมตาเวิร์ส รองศาสตราจารย์ ดร. ลัญฉกร วุฒิสิทธิกุลกิจ อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่า การสร้างโลกเสมือนจริงของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยนี้ เป็นความร่วมมือระหว่างคณะวิศวกรรมศาสตร์ กับสถาบันไทยศึกษา จัดสร้างหอประวัติจุฬาฯ บนโลกเสมือนจริงสามมิติขึ้น เพื่อบอกเล่าเรื่องราวประวัติศาสตร์เกี่ยวกับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผ่านเทคโนโลยีความเป็นจริงเสมือน เป็นการบูรณาการข้ามศาสตร์ระหว่างองค์ความรู้ด้านมนุษยศาสตร์และวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี เพื่อดำรงคุณค่าและเพิ่มมูลค่าทางด้านสังคมและเศรษฐกิจด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่ และอาจกล่าวได้ว่าเป็นระบบเมตาเวิร์ส ขนาดเล็กแห่งแรกๆ ของประเทศที่มีประโยชน์และใช้งานได้จริง นอกจากนี้…
วิศวะ จุฬาฯ ริเริ่มสร้างสรรค์สังคมความรู้ไปสู่โลกดิจิทัลเสมือนจริงในเมตาเวิร์ส อยู่ที่ไหนก็แวะมาเที่ยวจุฬาฯได้ ด้วยโลกเสมือนจริงบนเมตาเวิร์ส EZ WebmasterMay 26, 2022 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดสร้างหอประวัติจุฬาฯ บนโลกเสมือนจริงสามมิติขึ้น เพื่อให้บุคคลทั่วไปสามารถเข้าเยี่ยมชมศึกษาเรียนรู้ประวัติศาสตร์ของมหาวิทยาลัยแห่งแรกของประเทศไทยได้ ผ่านอุปกรณ์วีอาร์โดยไม่จำเป็นต้องเดินทางมาสถานที่จริง อีกทั้งต่อยอดความรู้ในการสร้างโลกเสมือนจริงที่ช่วยในการดำเนินกิจการในภาครัฐวิสาหกิจ และด้านสุขภาพในยุคเมตาเวิร์ส รองศาสตราจารย์ ดร. ลัญฉกร วุฒิสิทธิกุลกิจ อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่า การสร้างโลกเสมือนจริงของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยนี้ เป็นความร่วมมือระหว่างคณะวิศวกรรมศาสตร์ กับสถาบันไทยศึกษา จัดสร้างหอประวัติจุฬาฯ บนโลกเสมือนจริงสามมิติขึ้น เพื่อบอกเล่าเรื่องราวประวัติศาสตร์เกี่ยวกับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผ่านเทคโนโลยีความเป็นจริงเสมือน เป็นการบูรณาการข้ามศาสตร์ระหว่างองค์ความรู้ด้านมนุษยศาสตร์และวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี เพื่อดำรงคุณค่าและเพิ่มมูลค่าทางด้านสังคมและเศรษฐกิจด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่ และอาจกล่าวได้ว่าเป็นระบบเมตาเวิร์ส ขนาดเล็กแห่งแรกๆ ของประเทศที่มีประโยชน์และใช้งานได้จริง นอกจากนี้…
ม.หอการค้าไทย ร่วมมือ ชีวาศรมอคาเดมี่ มอบทุนเรียนสาขาบูรณาการส่งเสริมสุขภาพและความงาม ฟรีตลอดหลักสูตร tui sakrapeeMay 11, 2022 ม.หอการค้าไทยร่วมมือกับโรงเรียนสอนวิชาชีพความงามและสุขภาพสปาชีวาศรม มุ่งพัฒนาบุคลากร สร้างบัณฑิตให้มีความพร้อมเพื่อก้าวเข้าสู่ตลาดแรงงานทั้งในประเทศและต่างประเทศ พร้อมรับทุนเรียนฟรี ตลอดหลักสูตร รับสมัครแล้ว วันนี้ ถึง 31 พฤษภาคม 2565 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทยสถาบันการศึกษาชั้นนำด้านธุรกิจและอุตสาหกรรมการบริการ และ โรงเรียนสอนวิชาชีพความงามและสุขภาพสปาชีวาศรม เล็งเห็นความสำคัญการพัฒนาอาจารย์ การผลิตบัณฑิต ให้เป็นผู้ขับเคลื่อนธุรกิจและอุตสาหกรรมบริการที่เต็มเปี่ยมไปด้วยนวัตกรรม สององค์กรจึงร่วมกันผนึกกำลังสำคัญเพื่อสร้างบุคลากรที่มีความพร้อมในการก้าวเข้าสู่อุตสาหกรรมการบริการทั้งในประเทศและต่างประเทศ… ม.รังสิต เปิดให้ทุน “ดร.อรรถวิท อุไรรัตน์ เพื่อการแพทย์แผนตะวันออก” เรียนวิทยาศาสตร์บัณฑิต (การแพทย์แผนตะวันออก) หลักสูตร 4 ปี tui sakrapeeMay 5, 2022 วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก มหาวิทยาลัยรังสิต เปิดรับสมัครทุนการศึกษา ดร.อรรถวิท อุไรรัตน์ เพื่อการแพทย์แผนตะวันออก มหาวิทยาลัยรังสิต ได้ตระหนักถึงผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากการระบาดของโรค โควิด-19 ที่ต่อเนื่องยาวนานมามากกว่า 2 ปี ซึ่งส่งผลต่อความสามารถในการสนับสนุนค่าใช้จ่ายของบุตรหลาน ในการศึกษาต่อระดับอุดมศึกษา จึงได้จัดให้มีทุนการศึกษา “ทุน ดร.อรรถวิทย์… CPF จับมือโลจิสติกส์ สวนสุนันทา มอบทุนเรียนฟรี100% มีรายได้ระหว่างเรียน หลักสูตรการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน (ระบบการศึกษาทางไกล) เปิดรับแล้ววันนี้ tui sakrapeeMay 4, 2022 วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา และ บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด จับมือมอบทุนเรียนฟรี 100% และมีรายได้ระหว่างเรียน เริ่มต้น 12,000 บาท (ไม่รวมโบนัส) สมัครเรียนที่นี่…เหมือนสมัครงาน “ทุนเรียนฟรี 100% และมีรายได้ระหว่างเรียน เริ่มต้น… UTCC ชวนสื่อมวลชนทุกแขนง สมัครรับทุนส่งเสริมโอกาสทางการศึกษา ระดับปริญญาโท ปีการศึกษา 2565 tui sakrapeeMay 3, 2022 UTCC เปิดรับสมัครทุนส่งเสริมโอกาสทางการศึกษา ระดับปริญญาโท ประจำปีการศึกษา 2565 เชิญชวนสื่อมวลชนทุกแขนง สมัครเข้าศึกษาต่อกับเรา ระดับปริญญาโท ทุนสื่อมวลชน มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย (UTCC) มอบทุนที่เปิดโอกาสสำหรับพี่ ๆ ที่อยากเรียนปริญญาโท บอกเลยว่าคุ้ม เพราะเรามอบทุนให้ตลอดหลักสูตร สามารถเลือกศึกษาหลักสูตรที่สนใจได้ตามความฝัน จบแล้ว ไม่ต้องคืนทุกอีกด้วย… ครู-อาจารย์ สอบไม่ติดแพทย์ ไม่มีสิทธิ์พูดเรื่องทรงผม!? EZ WebmasterMay 27, 2022 เรื่องกฎระเบียบ ข้อปฏิบัติต่างๆในโรงเรียนไทยนั้น เป็นที่รู้ๆกันดีว่ามีมาตั้งหลายยุคหลายสมัยกันแล้ว แต่ที่เห็นว่าจะเป็นเรื่องถกเถียงกันและมีดราม่าเยอะที่สุดก็คงจะเป็นกฎระเบียบที่เกี่ยวกับรูปลักษณ์ภายนอกของเด็กนักเรียน ไม่ว่าจะเป็น เรื่องเครื่องแต่งกาย การแต่งหน้า หรือแม้กระทั่งเรื่องของทรงผม ซึ่งตอนนี้ก็กำลังเป็นประเด็นร้อนในทวิตเตอร์ เนื่องจาก อาจารย์วิโรจน์ ลักขณาอดิศร จากพรรคก้าวไกล ได้ทวีตคลิปวีดีโอที่ถูกอัดมาจากโรงเรียนแห่งหนึ่ง โดยในคลิปมีคุณครูท่านหนึ่งกำลังพูดหน้าเสาธงเกี่ยวกับเรื่องทรงผมของนักเรียน โดยอาจารย์วิโรจน์ก็ได้สรุปเหตุการณ์คร่าวๆจากคลิปวีดีโอ พร้อมทั้งแสดงความคิดเห็นว่า “โรงเรียนแห่งหนึ่งได้อธิบายเรื่องระเบียบทรงผมให้นักเรียนทราบ… TCAS65: คะแนนสูงสุด-ต่ำสุดของแต่ละหลักสูตรที่เปิดรับในรอบ 3 Admission EZ WebmasterMay 27, 2022 สวัสดีค่ะน้องๆ วันนี้ทีมงาน Eduzones มีคะแนนสูงสุด-ต่ำสุดของแต่ละหลักสูตรที่เปิดรับในรอบ 3 Admission มาให้น้องๆดูเป็นแนวทางในการเลือกอันดับTCASปี66กันค่ะ มาดูกันเลย! โดยน้องๆสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมและดาวน์โหลดรายละเอียดได้ที่นี่ click สุดท้ายนี้พี่ๆทีมงาน Eduzones ขอเป็นกำลังใจให้น้องๆทุกคนนะคะ สามารถติดตามข่าวสารการศึกษาได้ที่ Facebook Fanpage : Eduzones… สพฐ. ย้ำปี 65 โรงเรียนต้อง ‘ซ่อม เสริม สร้าง’ ให้นักเรียนเป็นรายบุคคล — 25 พฤษภาคม 2565 EZ WebmasterMay 26, 2022 เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2565 นายอัมพร พินะสา เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (กพฐ.) เผย หลังจากผ่านการเปิดเรียนแบบออนไซต์มาครบ 1 สัปดาห์แล้ว พบว่าทุกฝ่ายร่วมมือกันในการสร้างความปลอดภัยในโรงเรียนอย่างมาก โดย นางสาวตรีนุช เทียนทอง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ… เด็กโทษระบบไม่ส่งรหัสยืนยันสิทธิ์ ทปอ. พบไม่กดขอ OTP เอง — 24 พฤษภาคม 2565 EZ WebmasterMay 26, 2022 เมื่อวันที่ 24 พฤษภาคมที่ผ่านมา ดร.พีระพงศ์ ตริยเจริญ ผู้จัดการระบบการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา หรือTCAS ของที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (ทปอ.) กล่าวว่า ขณะนี้ ทปอ.เปิดรับสมัครTCAS ประจำปีการศึกษา 2565 รอบที่ 1 พอร์ตโฟลิโอ รอบที่… กิจกรรม ดร.ดร๊าฟ พา 12 ดาราดัง ย้อนความทรงจำ คืนสู่เหย้ากลับเข้ารั้วมหาวิทยาลัย EZ WebmasterMay 27, 2022 ผศ.ดร.ดวงฤทธิ์ เบ็ญจาธิกุล ชัยรุ่งเรือง (ดร.ดร๊าฟ) เลขานุการรัฐมนตรีและโฆษกกระทรวง กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เผย รายการ “ออนเดอะเวย์” ที่พา 12 ดาราดัง มาย้อนความทรงจำ คืนสู่เหย้ากลับเข้า 12 รั้วมหาวิทยาลัย… KMITL INNOKET 2022 : ตลาดนวัตกรรมสร้างอาชีพ-ต่อยอดธุรกิจ EZ WebmasterMay 25, 2022 วันพุธที่ 25 พฤษภาคม 2565 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) รุดเปิดตลาดนวัตกรรมสร้างอาชีพครั้งแรก “เคเอ็มไอทีแอล อินโนเก็ต 2022” (KMITL INNOKET 2022) ตลาดเดียวที่รวบรวมนวัตกรรมที่สามารถสร้างสรรค์เป็นอาชีพใหม่ ต่อยอดธุรกิจ หรือเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้าและบริการ ด้วยงบประมาณลงทุนขั้นต่ำที่… พระเมธีวชิโรดม (ว.วชิรเมธี) เปิดหอศิลป์ ‘รศ.สุวัฒน์’ แหล่งสร้างผลงานศิลปะไทยร่วมสมัยแนวพุทธศิลป์ tui sakrapeeMay 24, 2022 พระเมธีวชิโรดม (ว.วชิรเมธี) เปิดหอศิลป์ รศ.สุวัฒน์ แหล่งสร้างผลงานศิลปะไทยร่วมสมัยแนวพุทธศิลป์ที่มีเอกลักษณ์โดดเด่น ให้เป็นแหล่งเรียนรู้จัดกิจกรรมด้านศิลปะในพื้นที่ชานเมืองกรุง เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม 2565 พระเมธีวชิโรดม (ท่าน ว.วชิรเมธี) คุณเมตตา อุทกะพันธุ์ ประธานกรรมการบริษัท อมรินทร์ปริ้นติ้ง แอนด์… มทร.ธัญบุรี จัดประชุมวิชาการนานาชาติ นวัตกรรม 9 ราชมงคล ยกระดับเศรษฐกิจฐานราก สร้างสังคมคุณภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterMay 22, 2022 เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคมที่ผ่านมา มทร.ธัญบุรี ร่วมกับเครือข่ายมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีกทั้ง 8 แห่ง ได้จัด “การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 12” และ “การประชุมวิชาการระดับนานาชาติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 11” พร้อมด้วย “การประกวดสิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมราชมงคล ครั้งที่… Search for: Search tui sakrapee January 4, 2022 tui sakrapee January 4, 2022 อาจารย์สถาปัตย์ จุฬาฯ นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาปรัชญา ประจำปี 2565 พัฒนาที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุไทย รศ.ไตรรัตน์ จารุทัศน์ ภาควิชาเคหการ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาฯ หัวหน้าศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางการออกแบบสภาพแวดล้อมเพื่อทุกคน ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาปรัชญา ประจำปี 2565 จากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) รศ.ไตรรัตน์ เป็นผู้เชี่ยวชาญที่มีผลงานเป็นที่ยอมรับในแวดวงสถาปัตยกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลงานวิจัยด้านการออกแบบเพื่อทุกคน (Universal Design) โครงการรูปแบบที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุไทย เพื่อส่งเสริมสุขภาพกาย-ใจ ภายใต้แนวคิดชุมชนที่เป็นมิตรกับผู้สูงอายุ เพื่อส่งเสริมให้เกิดกระบวนการสร้างความร่วมมือ การมีส่วนร่วมระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในพื้นที่ ในการวางแผนตามหลักเมืองที่เป็นมิตรต่อผู้สูงวัย และพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางการสื่อสารที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์ เผยถึงความรู้สึกที่ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติว่า “ดีใจและขอบคุณสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ที่ให้ความสำคัญในเรื่องผู้สูงอายุ ผลงานวิจัยนี้ ผมและทีมวิจัยได้ศึกษาเรื่องนี้มาเป็นเวลากว่า 20 ปีแล้ว ต้องขอขอบคุณจุฬาฯ ที่ให้โอกาสคณาจารย์จากสหสาขาวิชาได้มาทำงานวิจัยร่วมกัน” จุดเริ่มต้นในการทำงานวิจัยของนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ รศ.ไตรรัตน์เริ่มต้นทำงานวิจัยเรื่องที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุเมื่อ 25 ปีที่แล้ว จากความพยายามที่จะสร้างบ้านสำหรับผู้สูงอายุให้มีความปลอดภัยตามมาตรฐานคู่มือ แต่ผลสุดท้ายคือผู้สูงอายุไม่ย้ายเข้ามาอยู่ในบ้าน จึงสนใจศึกษาว่าเพราะเหตุใดผู้สูงอายุถึงไม่ปรับตัวกับสภาพแวดล้อมใหม่ ทำให้รู้ถึงข้อจำกัดในการเลือกที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุ นอกจากสภาพแวดล้อมด้านความปลอดภัยทางกายภาพแล้ว ยังเลือกสภาพแวดล้อมทางสังคม ชุมชน สิ่งแวดล้อม คือต้องอยู่ใกล้ญาติมิตร ชุมชน เดินทางไปมาหาสู่สะดวก ที่สำคัญต้องพึ่งพาตัวเองได้ ซึ่งจะทำให้ผู้สูงอายุเกิดความภูมิใจมากกว่าการต้องพึ่งพาลูกหลาน กว่า 20 ปีที่ศึกษาวิจัยเกี่ยวกับที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์มีผลงานวิจัยจำนวนมาก แบ่งออกเป็นงานวิจัยขั้นพื้นฐาน เช่น มาตรฐานขั้นต่ำสำหรับที่พักอาศัยและสภาพแวดล้อมของผู้สูงอายุไทย การพัฒนาต้นแบบสภาพแวดล้อมทางกายภาพ และสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุของสถานบริการสาธารณสุข ฯลฯ งานวิจัยประยุกต์ เช่น การปรับสิ่งอำนวยความสะดวกของเมืองพัทยาเพื่อรองรับผู้สูงอายุและคนพิการ โครงการการออกแบบชุมชนน่าอยู่ผู้สูงวัยสำหรับผู้สูงอายุในชนบท และการปรับปรุงและพัฒนาต้นแบบที่อยู่อาศัยที่ปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุในชนบท การส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวเพื่อคนทั้งมวล (Tourism For All) ฯลฯ งานวิจัยองค์ความรู้ใหม่ ได้แก่ สภาพการอยู่อาศัยของผู้สูงอายุ 3 ช่วงวัย (วัยต้น วัยกลาง และวัยปลาย) ซึ่งได้รับทุนวิจัยจากโครงการส่งเสริมการทำงานวิจัยเชิงลึกในสาขาวิชาที่มีศักยภาพสูง การศึกษาและพัฒนานโยบาย เครื่องมือ และต้นแบบที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุและผู้ทุพพลภาพ การศึกษาพฤติกรรมการอยู่อาศัยของผู้สูงอายุที่มีอายุยืนของประเทศ ฯลฯ “เราทำวิจัยเกี่ยวกับผู้สูงอายุและคนพิการต่อเนื่องมากว่า 20 ปี ครอบคลุมผู้สูงอายุทุกกลุ่มทั้งในเมืองหรือชนบท ผู้สูงอายุวัยต้น วัยกลาง วัยปลาย จนถึงผู้สูงอายุที่มีอายุ 100 ปี งานวิจัยของเราเน้น “จากหิ้งสู่ห้าง” มีการนำไปใช้จริง โดยมีบ้านต้นแบบต้นแบบที่นำไปประยุกต์ใช้กับพื้นที่ที่เหมาะสมได้” รศ.ไตรรัตน์ กล่าว กลุ่มคนเปราะบางกับสถานการณ์สังคมสูงวัย ตั้งแต่ปี 2543 เป็นต้นมา ประเทศไทยมีผู้สูงอายุ 10 % ในปี 2565 ผู้สูงอายุเฉลี่ยทั่วประเทศจะมีมากถึง 20% ซึ่งเข้าสู่สังคมสูงวัยแบบสมบูรณ์ ถือเป็นสถานการณ์หรือวิกฤตของประเทศไทย ดังนั้นเราควรมีการเตรียมตัววางแผนรับมือให้ดี เพราะนอกจากผู้สูงอายุจะเพิ่มขึ้นแล้ว อัตราการเกิดและคนวัยแรงงาน ก็ลดลงด้วย เราควรมีการวิจัยเชิงลึกในเรื่องนี้ให้มากขึ้นเพื่อลดผลกระทบทางเศรษฐกิจที่จะตามมา การคุ้มครองสวัสดิภาพในกลุ่มคนเปราะบาง เช่น คนในชุมชนแออัด คนไร้บ้าน คนยากจน ฯลฯ ซึ่งมีอยู่ประมาณ 10% คนกลุ่มนี้ต้องเผชิญปัญหาความยากจน เจ็บป่วย ถูกทอดทิ้ง การผลักภาระไปที่รัฐบาลเพียงอย่างเดียวอาจจะแก้ปัญหาไม่ได้ ชุมชนและภาครัฐต้องช่วยกันดูแลคนกลุ่มนี้ด้วยการส่งเสริมให้อยู่ที่เดิม โดยรัฐอาจมีมาตรการเฉพาะคนกลุ่มนี้ เช่น การปรับปรุงบ้าน การให้บริการสาธารณสุข เป็นต้น เรียนรู้ผู้สูงวัยจากงานวิจัยเรื่องที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์ กล่าวว่าช่วงเริ่มต้นโครงการวิจัยรูปแบบที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุไทยจะเน้นเรื่องความปลอดภัยทางสภาพแวดล้อมเป็นหลัก อย่างไรก็ตาม จากกรณีศึกษาของกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ที่ให้งบประมาณแก่กลุ่มผู้สูงอายุเพื่อปรับปรุงบ้าน พบว่ากลุ่มผู้สูงอายุที่มีความเปราะบางไม่ได้นำเงินที่ได้ไปปรับปรุงสภาพแวดล้อมตามกายภาพที่ควรจะเป็น ทำให้การมองปัญหา ในผู้สูงอายุคงมองเรื่องกายภาพเพียงอย่าเดียวไม่ได้ แต่ต้องเน้นไปที่ปัญหา 4 ด้าน ได้แก่ เรื่องสุขภาพ สังคม เศรษฐกิจ และสภาพแวดล้อม คือต้องดูแลสุขภาพกายและใจของผู้สูงอายุไปพร้อมๆ กับสร้างงาน สร้างรายได้ เพื่อให้ผู้สูงอายุพึ่งพาตนเองได้ แล้วค่อยปรับบ้านให้ปลอดภัยกับผู้สูงอายุ ลักษณะที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ ที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุต้องมีความปลอดภัย มีพื้นเรียบเสมอกันทั้งในบ้านและห้องน้ำ มีราวจับ พื้นไม่ลื่น ที่อยู่อาศัยมีแสงสว่างเพียงพอ ประตูที่ใช้เป็นบานเลื่อน ก๊อกน้ำลูกบิดประตูเป็นก้านโยก ช่องทางเดินมีความกว้าง 90 เซนติเมตร หน้าต่างบานลึก มีแสงสว่าง มองเห็นสวนและต้นไม้ นอกจากนี้พื้นที่ในบ้านไม่ควรใหญ่เกินไปเพื่อง่ายต่อการบำรุงรักษา มีพื้นที่เก็บของเพื่อให้ไม่รกเกะกะ ก่อให้เกิดปัญหาพลัดตกหกล้ม ความสำคัญของชุมชนที่เป็นมิตรกับผู้สูงวัย ชุมชนที่เป็นมิตรกับผู้สูงวัยเป็นแนวคิดขององค์การอนามัยโลก (WHO) เพื่อให้ผู้สูงวัยอยู่ในชุมชนได้อย่างเป็นสุข เป็นมิตรกับทุกคน ทุกวัย ทุกสภาพแวดล้อม ประกอบด้วย 3 ด้าน คือ ด้านกายภาพ เริ่มจากบ้านต้องปลอดภัย มีการเดินทางที่สะดวกสบาย มีพื้นที่สาธารณะที่ดี สามารถเข้าถึงได้ ด้านสังคม ต้องมีการมีส่วนร่วมทางสังคม นอกจากนี้ยังต้องมีการบริการพื้นฐาน ผู้สูงอายุต้องเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร มีบริการทางด้านสุขภาพ สิ่งอำนวยความสะดวก และระบบเศรษฐกิจที่สนับสนุนผู้สูงอายุอีกด้วย จุดเด่นของงานวิจัยที่ตอบโจทย์สังคม “ผลงานวิจัยที่ผ่านมาเป็นงานที่ตอบโจทย์เชิงสังคมและชุมชน สามารถนำไปใช้ได้จริงโดยได้ริเริ่มแนวคิดสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุ คนพิการหรือที่เรียกว่าหลักการออกแบบเพื่อทุกคน นักวิจัยรุ่นหลังสามารถนำเอาแนวคิดนี้ไปพัฒนาต่อยอดเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจได้ เรากำลังผลักดันให้รัฐบาลและภาคเอกชนสนใจในเรื่องนี้เพื่อปรับธุรกิจในการรองรับสังคมสูงวัยซึ่งเป็นสถานการณ์ที่ประเทศไทยกำลังเผชิญอยู่ในปัจจุบัน” รศ.ไตรรัตน์เผยถึงจุดเด่นของงานวิจัยนี้ การสร้างความร่วมมือเพื่อพัฒนาที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์เผยถึงปัญหาสำหรับผู้สูงอายุว่าเป็นเรื่องซับซ้อน จึงต้องมีหลายหน่วยงานเข้ามาเกี่ยวข้อง ต้องร่วมมือกันหลายฝ่าย ไม่ว่าจะเป็นภาครัฐ ภาคเอกชน ชุมชน ครอบครัวเพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมในการช่วยกันแก้ไขปัญหาให้ลุล่วงไปได้ด้วยดี การจะสร้างแรงจูงใจให้หน่วยงานต่างๆ ร่วมมือพัฒนาพื้นที่ของผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่องนั้น รัฐต้องเปลี่ยนบทบาทจากการสงเคราะห์เป็นพัฒนา ส่งเสริมให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ครอบครัว เป็นผู้ดูแลผู้สูงอายุในชุมชน นำเบี้ยยังชีพมาช่วยสร้างงาน รณรงค์ส่งเสริมการสูงวัยในถิ่นเดิม (Aging in Place) ทั้งในระดับการอยู่อาศัยในบ้านหลังเดิม และในชุมชน เครือญาติเดิม พัฒนาระบบการดูแลที่บ้านในชุมชน (Home & Community Healthcare) ดูแลทั้งสุขภาพอนามัย ชีวิตความเป็นอยู่และสภาพแวดล้อมส่งเสริมให้เอกชนผลิตสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุและคนพิการ โดยใช้มาตรการการส่งเสริมการลงทุน การลดภาษี ส่งเสริมให้ครอบครัวที่มีผู้สูงอายุและคนพิการ สามารถจัดซื้อและติดตั้งสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุและคนพิการ สามารถนำมาลดหย่อนภาษีได้ รวมถึงส่งเสริมให้เอกชนพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุที่มีความต้องการเฉพาะ หรือกลุ่มที่มีความจำเป็นจริงๆ แผนการทำงานวิจัยในอนาคต เน้นการทำวิจัยแบบสหสาขาวิชา ผลงานวิจัยที่จะดำเนินการต่อไปคือ โครงการวิจัยพัฒนาระบบต้นแบบรองรับสังคมสูงวัยในบริบทของชุมชนเมือง ภาคใต้และภาคตะวันออก รศ.ไตรรัตน์ ฝากข้อคิดในการทำงานวิจัยให้ประสบความสำเร็จว่า “อยากให้นักวิจัยตั้งโจทย์ให้ หัวข้องานวิจัยมีความน่าสนใจ มีกลุ่มตัวอย่างที่ชัดเจน ไม่เกี่ยงงาน ไม่คิดถึงข้อจำกัดเรื่องเวลา จะทำให้เราทำงานวิจัยง่ายขึ้น หัวใจของนักวิจัยคือ “เราต้องรู้ว่าเราไม่รู้อะไร” เพราะตราบใดที่เรายังค้นคว้าหาความรู้อยู่เรื่อยๆ นั่นคือการทำหน้าที่เป็นนักวิจัยแล้ว” tui sakrapee Related Posts สอบไม่ติดแพทย์ ไม่มีสิทธิ์พูดเรื่องทรงผม!? TCAS65: คะแนนสูงสุด-ต่ำสุดของแต่ละหลักสูตรที่เปิดรับในรอบ 3 Admission 4,685 ที่นั่งยังรอ! รอบที่ 4 สุดท้าย Direct Admission “สวนสุนันทา” เปิดกว้างก้าวสู่อนาคตถึง 31 พ.ค.นี้ สพฐ. ย้ำปี 65 โรงเรียนต้อง ‘ซ่อม เสริม สร้าง’ ให้นักเรียนเป็นรายบุคคล — 25 พฤษภาคม 2565 เด็กโทษระบบไม่ส่งรหัสยืนยันสิทธิ์ ทปอ. พบไม่กดขอ OTP เอง — 24 พฤษภาคม 2565 Post navigation PREVIOUS Previous post: “นวัตกรรมผ้าไม่ทอจากเส้นใยไผ่ ในผลิตภัณฑ์ไลฟ์สไตล์ทางการแพทย์” นักวิจัยมทร.ธัญบุรีสร้างคุณค่าและมูลค่าเพิ่มNEXT Next post: มีที่เรียนก่อนใคร! โค้งสุดท้าย “สวนสุนันทา” พารอด รับรอบ 1 ถึง 4,601 ที่นั่ง สมัครวันนี้ยังมีโอกาส – 7 ม.ค.65 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ม.รังสิต เปิดให้ทุน “ดร.อรรถวิท อุไรรัตน์ เพื่อการแพทย์แผนตะวันออก” เรียนวิทยาศาสตร์บัณฑิต (การแพทย์แผนตะวันออก) หลักสูตร 4 ปี tui sakrapeeMay 5, 2022 วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก มหาวิทยาลัยรังสิต เปิดรับสมัครทุนการศึกษา ดร.อรรถวิท อุไรรัตน์ เพื่อการแพทย์แผนตะวันออก มหาวิทยาลัยรังสิต ได้ตระหนักถึงผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากการระบาดของโรค โควิด-19 ที่ต่อเนื่องยาวนานมามากกว่า 2 ปี ซึ่งส่งผลต่อความสามารถในการสนับสนุนค่าใช้จ่ายของบุตรหลาน ในการศึกษาต่อระดับอุดมศึกษา จึงได้จัดให้มีทุนการศึกษา “ทุน ดร.อรรถวิทย์… CPF จับมือโลจิสติกส์ สวนสุนันทา มอบทุนเรียนฟรี100% มีรายได้ระหว่างเรียน หลักสูตรการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน (ระบบการศึกษาทางไกล) เปิดรับแล้ววันนี้ tui sakrapeeMay 4, 2022 วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา และ บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด จับมือมอบทุนเรียนฟรี 100% และมีรายได้ระหว่างเรียน เริ่มต้น 12,000 บาท (ไม่รวมโบนัส) สมัครเรียนที่นี่…เหมือนสมัครงาน “ทุนเรียนฟรี 100% และมีรายได้ระหว่างเรียน เริ่มต้น… UTCC ชวนสื่อมวลชนทุกแขนง สมัครรับทุนส่งเสริมโอกาสทางการศึกษา ระดับปริญญาโท ปีการศึกษา 2565 tui sakrapeeMay 3, 2022 UTCC เปิดรับสมัครทุนส่งเสริมโอกาสทางการศึกษา ระดับปริญญาโท ประจำปีการศึกษา 2565 เชิญชวนสื่อมวลชนทุกแขนง สมัครเข้าศึกษาต่อกับเรา ระดับปริญญาโท ทุนสื่อมวลชน มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย (UTCC) มอบทุนที่เปิดโอกาสสำหรับพี่ ๆ ที่อยากเรียนปริญญาโท บอกเลยว่าคุ้ม เพราะเรามอบทุนให้ตลอดหลักสูตร สามารถเลือกศึกษาหลักสูตรที่สนใจได้ตามความฝัน จบแล้ว ไม่ต้องคืนทุกอีกด้วย… ครู-อาจารย์ สอบไม่ติดแพทย์ ไม่มีสิทธิ์พูดเรื่องทรงผม!? EZ WebmasterMay 27, 2022 เรื่องกฎระเบียบ ข้อปฏิบัติต่างๆในโรงเรียนไทยนั้น เป็นที่รู้ๆกันดีว่ามีมาตั้งหลายยุคหลายสมัยกันแล้ว แต่ที่เห็นว่าจะเป็นเรื่องถกเถียงกันและมีดราม่าเยอะที่สุดก็คงจะเป็นกฎระเบียบที่เกี่ยวกับรูปลักษณ์ภายนอกของเด็กนักเรียน ไม่ว่าจะเป็น เรื่องเครื่องแต่งกาย การแต่งหน้า หรือแม้กระทั่งเรื่องของทรงผม ซึ่งตอนนี้ก็กำลังเป็นประเด็นร้อนในทวิตเตอร์ เนื่องจาก อาจารย์วิโรจน์ ลักขณาอดิศร จากพรรคก้าวไกล ได้ทวีตคลิปวีดีโอที่ถูกอัดมาจากโรงเรียนแห่งหนึ่ง โดยในคลิปมีคุณครูท่านหนึ่งกำลังพูดหน้าเสาธงเกี่ยวกับเรื่องทรงผมของนักเรียน โดยอาจารย์วิโรจน์ก็ได้สรุปเหตุการณ์คร่าวๆจากคลิปวีดีโอ พร้อมทั้งแสดงความคิดเห็นว่า “โรงเรียนแห่งหนึ่งได้อธิบายเรื่องระเบียบทรงผมให้นักเรียนทราบ… TCAS65: คะแนนสูงสุด-ต่ำสุดของแต่ละหลักสูตรที่เปิดรับในรอบ 3 Admission EZ WebmasterMay 27, 2022 สวัสดีค่ะน้องๆ วันนี้ทีมงาน Eduzones มีคะแนนสูงสุด-ต่ำสุดของแต่ละหลักสูตรที่เปิดรับในรอบ 3 Admission มาให้น้องๆดูเป็นแนวทางในการเลือกอันดับTCASปี66กันค่ะ มาดูกันเลย! โดยน้องๆสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมและดาวน์โหลดรายละเอียดได้ที่นี่ click สุดท้ายนี้พี่ๆทีมงาน Eduzones ขอเป็นกำลังใจให้น้องๆทุกคนนะคะ สามารถติดตามข่าวสารการศึกษาได้ที่ Facebook Fanpage : Eduzones… สพฐ. ย้ำปี 65 โรงเรียนต้อง ‘ซ่อม เสริม สร้าง’ ให้นักเรียนเป็นรายบุคคล — 25 พฤษภาคม 2565 EZ WebmasterMay 26, 2022 เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2565 นายอัมพร พินะสา เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (กพฐ.) เผย หลังจากผ่านการเปิดเรียนแบบออนไซต์มาครบ 1 สัปดาห์แล้ว พบว่าทุกฝ่ายร่วมมือกันในการสร้างความปลอดภัยในโรงเรียนอย่างมาก โดย นางสาวตรีนุช เทียนทอง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ… เด็กโทษระบบไม่ส่งรหัสยืนยันสิทธิ์ ทปอ. พบไม่กดขอ OTP เอง — 24 พฤษภาคม 2565 EZ WebmasterMay 26, 2022 เมื่อวันที่ 24 พฤษภาคมที่ผ่านมา ดร.พีระพงศ์ ตริยเจริญ ผู้จัดการระบบการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา หรือTCAS ของที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (ทปอ.) กล่าวว่า ขณะนี้ ทปอ.เปิดรับสมัครTCAS ประจำปีการศึกษา 2565 รอบที่ 1 พอร์ตโฟลิโอ รอบที่… กิจกรรม ดร.ดร๊าฟ พา 12 ดาราดัง ย้อนความทรงจำ คืนสู่เหย้ากลับเข้ารั้วมหาวิทยาลัย EZ WebmasterMay 27, 2022 ผศ.ดร.ดวงฤทธิ์ เบ็ญจาธิกุล ชัยรุ่งเรือง (ดร.ดร๊าฟ) เลขานุการรัฐมนตรีและโฆษกกระทรวง กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เผย รายการ “ออนเดอะเวย์” ที่พา 12 ดาราดัง มาย้อนความทรงจำ คืนสู่เหย้ากลับเข้า 12 รั้วมหาวิทยาลัย… KMITL INNOKET 2022 : ตลาดนวัตกรรมสร้างอาชีพ-ต่อยอดธุรกิจ EZ WebmasterMay 25, 2022 วันพุธที่ 25 พฤษภาคม 2565 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) รุดเปิดตลาดนวัตกรรมสร้างอาชีพครั้งแรก “เคเอ็มไอทีแอล อินโนเก็ต 2022” (KMITL INNOKET 2022) ตลาดเดียวที่รวบรวมนวัตกรรมที่สามารถสร้างสรรค์เป็นอาชีพใหม่ ต่อยอดธุรกิจ หรือเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้าและบริการ ด้วยงบประมาณลงทุนขั้นต่ำที่… พระเมธีวชิโรดม (ว.วชิรเมธี) เปิดหอศิลป์ ‘รศ.สุวัฒน์’ แหล่งสร้างผลงานศิลปะไทยร่วมสมัยแนวพุทธศิลป์ tui sakrapeeMay 24, 2022 พระเมธีวชิโรดม (ว.วชิรเมธี) เปิดหอศิลป์ รศ.สุวัฒน์ แหล่งสร้างผลงานศิลปะไทยร่วมสมัยแนวพุทธศิลป์ที่มีเอกลักษณ์โดดเด่น ให้เป็นแหล่งเรียนรู้จัดกิจกรรมด้านศิลปะในพื้นที่ชานเมืองกรุง เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม 2565 พระเมธีวชิโรดม (ท่าน ว.วชิรเมธี) คุณเมตตา อุทกะพันธุ์ ประธานกรรมการบริษัท อมรินทร์ปริ้นติ้ง แอนด์… มทร.ธัญบุรี จัดประชุมวิชาการนานาชาติ นวัตกรรม 9 ราชมงคล ยกระดับเศรษฐกิจฐานราก สร้างสังคมคุณภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterMay 22, 2022 เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคมที่ผ่านมา มทร.ธัญบุรี ร่วมกับเครือข่ายมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีกทั้ง 8 แห่ง ได้จัด “การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 12” และ “การประชุมวิชาการระดับนานาชาติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 11” พร้อมด้วย “การประกวดสิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมราชมงคล ครั้งที่… Search for: Search tui sakrapee January 4, 2022 tui sakrapee January 4, 2022 อาจารย์สถาปัตย์ จุฬาฯ นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาปรัชญา ประจำปี 2565 พัฒนาที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุไทย รศ.ไตรรัตน์ จารุทัศน์ ภาควิชาเคหการ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาฯ หัวหน้าศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางการออกแบบสภาพแวดล้อมเพื่อทุกคน ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาปรัชญา ประจำปี 2565 จากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) รศ.ไตรรัตน์ เป็นผู้เชี่ยวชาญที่มีผลงานเป็นที่ยอมรับในแวดวงสถาปัตยกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลงานวิจัยด้านการออกแบบเพื่อทุกคน (Universal Design) โครงการรูปแบบที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุไทย เพื่อส่งเสริมสุขภาพกาย-ใจ ภายใต้แนวคิดชุมชนที่เป็นมิตรกับผู้สูงอายุ เพื่อส่งเสริมให้เกิดกระบวนการสร้างความร่วมมือ การมีส่วนร่วมระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในพื้นที่ ในการวางแผนตามหลักเมืองที่เป็นมิตรต่อผู้สูงวัย และพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางการสื่อสารที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์ เผยถึงความรู้สึกที่ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติว่า “ดีใจและขอบคุณสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ที่ให้ความสำคัญในเรื่องผู้สูงอายุ ผลงานวิจัยนี้ ผมและทีมวิจัยได้ศึกษาเรื่องนี้มาเป็นเวลากว่า 20 ปีแล้ว ต้องขอขอบคุณจุฬาฯ ที่ให้โอกาสคณาจารย์จากสหสาขาวิชาได้มาทำงานวิจัยร่วมกัน” จุดเริ่มต้นในการทำงานวิจัยของนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ รศ.ไตรรัตน์เริ่มต้นทำงานวิจัยเรื่องที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุเมื่อ 25 ปีที่แล้ว จากความพยายามที่จะสร้างบ้านสำหรับผู้สูงอายุให้มีความปลอดภัยตามมาตรฐานคู่มือ แต่ผลสุดท้ายคือผู้สูงอายุไม่ย้ายเข้ามาอยู่ในบ้าน จึงสนใจศึกษาว่าเพราะเหตุใดผู้สูงอายุถึงไม่ปรับตัวกับสภาพแวดล้อมใหม่ ทำให้รู้ถึงข้อจำกัดในการเลือกที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุ นอกจากสภาพแวดล้อมด้านความปลอดภัยทางกายภาพแล้ว ยังเลือกสภาพแวดล้อมทางสังคม ชุมชน สิ่งแวดล้อม คือต้องอยู่ใกล้ญาติมิตร ชุมชน เดินทางไปมาหาสู่สะดวก ที่สำคัญต้องพึ่งพาตัวเองได้ ซึ่งจะทำให้ผู้สูงอายุเกิดความภูมิใจมากกว่าการต้องพึ่งพาลูกหลาน กว่า 20 ปีที่ศึกษาวิจัยเกี่ยวกับที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์มีผลงานวิจัยจำนวนมาก แบ่งออกเป็นงานวิจัยขั้นพื้นฐาน เช่น มาตรฐานขั้นต่ำสำหรับที่พักอาศัยและสภาพแวดล้อมของผู้สูงอายุไทย การพัฒนาต้นแบบสภาพแวดล้อมทางกายภาพ และสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุของสถานบริการสาธารณสุข ฯลฯ งานวิจัยประยุกต์ เช่น การปรับสิ่งอำนวยความสะดวกของเมืองพัทยาเพื่อรองรับผู้สูงอายุและคนพิการ โครงการการออกแบบชุมชนน่าอยู่ผู้สูงวัยสำหรับผู้สูงอายุในชนบท และการปรับปรุงและพัฒนาต้นแบบที่อยู่อาศัยที่ปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุในชนบท การส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวเพื่อคนทั้งมวล (Tourism For All) ฯลฯ งานวิจัยองค์ความรู้ใหม่ ได้แก่ สภาพการอยู่อาศัยของผู้สูงอายุ 3 ช่วงวัย (วัยต้น วัยกลาง และวัยปลาย) ซึ่งได้รับทุนวิจัยจากโครงการส่งเสริมการทำงานวิจัยเชิงลึกในสาขาวิชาที่มีศักยภาพสูง การศึกษาและพัฒนานโยบาย เครื่องมือ และต้นแบบที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุและผู้ทุพพลภาพ การศึกษาพฤติกรรมการอยู่อาศัยของผู้สูงอายุที่มีอายุยืนของประเทศ ฯลฯ “เราทำวิจัยเกี่ยวกับผู้สูงอายุและคนพิการต่อเนื่องมากว่า 20 ปี ครอบคลุมผู้สูงอายุทุกกลุ่มทั้งในเมืองหรือชนบท ผู้สูงอายุวัยต้น วัยกลาง วัยปลาย จนถึงผู้สูงอายุที่มีอายุ 100 ปี งานวิจัยของเราเน้น “จากหิ้งสู่ห้าง” มีการนำไปใช้จริง โดยมีบ้านต้นแบบต้นแบบที่นำไปประยุกต์ใช้กับพื้นที่ที่เหมาะสมได้” รศ.ไตรรัตน์ กล่าว กลุ่มคนเปราะบางกับสถานการณ์สังคมสูงวัย ตั้งแต่ปี 2543 เป็นต้นมา ประเทศไทยมีผู้สูงอายุ 10 % ในปี 2565 ผู้สูงอายุเฉลี่ยทั่วประเทศจะมีมากถึง 20% ซึ่งเข้าสู่สังคมสูงวัยแบบสมบูรณ์ ถือเป็นสถานการณ์หรือวิกฤตของประเทศไทย ดังนั้นเราควรมีการเตรียมตัววางแผนรับมือให้ดี เพราะนอกจากผู้สูงอายุจะเพิ่มขึ้นแล้ว อัตราการเกิดและคนวัยแรงงาน ก็ลดลงด้วย เราควรมีการวิจัยเชิงลึกในเรื่องนี้ให้มากขึ้นเพื่อลดผลกระทบทางเศรษฐกิจที่จะตามมา การคุ้มครองสวัสดิภาพในกลุ่มคนเปราะบาง เช่น คนในชุมชนแออัด คนไร้บ้าน คนยากจน ฯลฯ ซึ่งมีอยู่ประมาณ 10% คนกลุ่มนี้ต้องเผชิญปัญหาความยากจน เจ็บป่วย ถูกทอดทิ้ง การผลักภาระไปที่รัฐบาลเพียงอย่างเดียวอาจจะแก้ปัญหาไม่ได้ ชุมชนและภาครัฐต้องช่วยกันดูแลคนกลุ่มนี้ด้วยการส่งเสริมให้อยู่ที่เดิม โดยรัฐอาจมีมาตรการเฉพาะคนกลุ่มนี้ เช่น การปรับปรุงบ้าน การให้บริการสาธารณสุข เป็นต้น เรียนรู้ผู้สูงวัยจากงานวิจัยเรื่องที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์ กล่าวว่าช่วงเริ่มต้นโครงการวิจัยรูปแบบที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุไทยจะเน้นเรื่องความปลอดภัยทางสภาพแวดล้อมเป็นหลัก อย่างไรก็ตาม จากกรณีศึกษาของกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ที่ให้งบประมาณแก่กลุ่มผู้สูงอายุเพื่อปรับปรุงบ้าน พบว่ากลุ่มผู้สูงอายุที่มีความเปราะบางไม่ได้นำเงินที่ได้ไปปรับปรุงสภาพแวดล้อมตามกายภาพที่ควรจะเป็น ทำให้การมองปัญหา ในผู้สูงอายุคงมองเรื่องกายภาพเพียงอย่าเดียวไม่ได้ แต่ต้องเน้นไปที่ปัญหา 4 ด้าน ได้แก่ เรื่องสุขภาพ สังคม เศรษฐกิจ และสภาพแวดล้อม คือต้องดูแลสุขภาพกายและใจของผู้สูงอายุไปพร้อมๆ กับสร้างงาน สร้างรายได้ เพื่อให้ผู้สูงอายุพึ่งพาตนเองได้ แล้วค่อยปรับบ้านให้ปลอดภัยกับผู้สูงอายุ ลักษณะที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ ที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุต้องมีความปลอดภัย มีพื้นเรียบเสมอกันทั้งในบ้านและห้องน้ำ มีราวจับ พื้นไม่ลื่น ที่อยู่อาศัยมีแสงสว่างเพียงพอ ประตูที่ใช้เป็นบานเลื่อน ก๊อกน้ำลูกบิดประตูเป็นก้านโยก ช่องทางเดินมีความกว้าง 90 เซนติเมตร หน้าต่างบานลึก มีแสงสว่าง มองเห็นสวนและต้นไม้ นอกจากนี้พื้นที่ในบ้านไม่ควรใหญ่เกินไปเพื่อง่ายต่อการบำรุงรักษา มีพื้นที่เก็บของเพื่อให้ไม่รกเกะกะ ก่อให้เกิดปัญหาพลัดตกหกล้ม ความสำคัญของชุมชนที่เป็นมิตรกับผู้สูงวัย ชุมชนที่เป็นมิตรกับผู้สูงวัยเป็นแนวคิดขององค์การอนามัยโลก (WHO) เพื่อให้ผู้สูงวัยอยู่ในชุมชนได้อย่างเป็นสุข เป็นมิตรกับทุกคน ทุกวัย ทุกสภาพแวดล้อม ประกอบด้วย 3 ด้าน คือ ด้านกายภาพ เริ่มจากบ้านต้องปลอดภัย มีการเดินทางที่สะดวกสบาย มีพื้นที่สาธารณะที่ดี สามารถเข้าถึงได้ ด้านสังคม ต้องมีการมีส่วนร่วมทางสังคม นอกจากนี้ยังต้องมีการบริการพื้นฐาน ผู้สูงอายุต้องเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร มีบริการทางด้านสุขภาพ สิ่งอำนวยความสะดวก และระบบเศรษฐกิจที่สนับสนุนผู้สูงอายุอีกด้วย จุดเด่นของงานวิจัยที่ตอบโจทย์สังคม “ผลงานวิจัยที่ผ่านมาเป็นงานที่ตอบโจทย์เชิงสังคมและชุมชน สามารถนำไปใช้ได้จริงโดยได้ริเริ่มแนวคิดสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุ คนพิการหรือที่เรียกว่าหลักการออกแบบเพื่อทุกคน นักวิจัยรุ่นหลังสามารถนำเอาแนวคิดนี้ไปพัฒนาต่อยอดเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจได้ เรากำลังผลักดันให้รัฐบาลและภาคเอกชนสนใจในเรื่องนี้เพื่อปรับธุรกิจในการรองรับสังคมสูงวัยซึ่งเป็นสถานการณ์ที่ประเทศไทยกำลังเผชิญอยู่ในปัจจุบัน” รศ.ไตรรัตน์เผยถึงจุดเด่นของงานวิจัยนี้ การสร้างความร่วมมือเพื่อพัฒนาที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์เผยถึงปัญหาสำหรับผู้สูงอายุว่าเป็นเรื่องซับซ้อน จึงต้องมีหลายหน่วยงานเข้ามาเกี่ยวข้อง ต้องร่วมมือกันหลายฝ่าย ไม่ว่าจะเป็นภาครัฐ ภาคเอกชน ชุมชน ครอบครัวเพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมในการช่วยกันแก้ไขปัญหาให้ลุล่วงไปได้ด้วยดี การจะสร้างแรงจูงใจให้หน่วยงานต่างๆ ร่วมมือพัฒนาพื้นที่ของผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่องนั้น รัฐต้องเปลี่ยนบทบาทจากการสงเคราะห์เป็นพัฒนา ส่งเสริมให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ครอบครัว เป็นผู้ดูแลผู้สูงอายุในชุมชน นำเบี้ยยังชีพมาช่วยสร้างงาน รณรงค์ส่งเสริมการสูงวัยในถิ่นเดิม (Aging in Place) ทั้งในระดับการอยู่อาศัยในบ้านหลังเดิม และในชุมชน เครือญาติเดิม พัฒนาระบบการดูแลที่บ้านในชุมชน (Home & Community Healthcare) ดูแลทั้งสุขภาพอนามัย ชีวิตความเป็นอยู่และสภาพแวดล้อมส่งเสริมให้เอกชนผลิตสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุและคนพิการ โดยใช้มาตรการการส่งเสริมการลงทุน การลดภาษี ส่งเสริมให้ครอบครัวที่มีผู้สูงอายุและคนพิการ สามารถจัดซื้อและติดตั้งสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุและคนพิการ สามารถนำมาลดหย่อนภาษีได้ รวมถึงส่งเสริมให้เอกชนพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุที่มีความต้องการเฉพาะ หรือกลุ่มที่มีความจำเป็นจริงๆ แผนการทำงานวิจัยในอนาคต เน้นการทำวิจัยแบบสหสาขาวิชา ผลงานวิจัยที่จะดำเนินการต่อไปคือ โครงการวิจัยพัฒนาระบบต้นแบบรองรับสังคมสูงวัยในบริบทของชุมชนเมือง ภาคใต้และภาคตะวันออก รศ.ไตรรัตน์ ฝากข้อคิดในการทำงานวิจัยให้ประสบความสำเร็จว่า “อยากให้นักวิจัยตั้งโจทย์ให้ หัวข้องานวิจัยมีความน่าสนใจ มีกลุ่มตัวอย่างที่ชัดเจน ไม่เกี่ยงงาน ไม่คิดถึงข้อจำกัดเรื่องเวลา จะทำให้เราทำงานวิจัยง่ายขึ้น หัวใจของนักวิจัยคือ “เราต้องรู้ว่าเราไม่รู้อะไร” เพราะตราบใดที่เรายังค้นคว้าหาความรู้อยู่เรื่อยๆ นั่นคือการทำหน้าที่เป็นนักวิจัยแล้ว” tui sakrapee Related Posts สอบไม่ติดแพทย์ ไม่มีสิทธิ์พูดเรื่องทรงผม!? TCAS65: คะแนนสูงสุด-ต่ำสุดของแต่ละหลักสูตรที่เปิดรับในรอบ 3 Admission 4,685 ที่นั่งยังรอ! รอบที่ 4 สุดท้าย Direct Admission “สวนสุนันทา” เปิดกว้างก้าวสู่อนาคตถึง 31 พ.ค.นี้ สพฐ. ย้ำปี 65 โรงเรียนต้อง ‘ซ่อม เสริม สร้าง’ ให้นักเรียนเป็นรายบุคคล — 25 พฤษภาคม 2565 เด็กโทษระบบไม่ส่งรหัสยืนยันสิทธิ์ ทปอ. พบไม่กดขอ OTP เอง — 24 พฤษภาคม 2565 Post navigation PREVIOUS Previous post: “นวัตกรรมผ้าไม่ทอจากเส้นใยไผ่ ในผลิตภัณฑ์ไลฟ์สไตล์ทางการแพทย์” นักวิจัยมทร.ธัญบุรีสร้างคุณค่าและมูลค่าเพิ่มNEXT Next post: มีที่เรียนก่อนใคร! โค้งสุดท้าย “สวนสุนันทา” พารอด รับรอบ 1 ถึง 4,601 ที่นั่ง สมัครวันนี้ยังมีโอกาส – 7 ม.ค.65 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
CPF จับมือโลจิสติกส์ สวนสุนันทา มอบทุนเรียนฟรี100% มีรายได้ระหว่างเรียน หลักสูตรการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน (ระบบการศึกษาทางไกล) เปิดรับแล้ววันนี้ tui sakrapeeMay 4, 2022 วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา และ บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด จับมือมอบทุนเรียนฟรี 100% และมีรายได้ระหว่างเรียน เริ่มต้น 12,000 บาท (ไม่รวมโบนัส) สมัครเรียนที่นี่…เหมือนสมัครงาน “ทุนเรียนฟรี 100% และมีรายได้ระหว่างเรียน เริ่มต้น… UTCC ชวนสื่อมวลชนทุกแขนง สมัครรับทุนส่งเสริมโอกาสทางการศึกษา ระดับปริญญาโท ปีการศึกษา 2565 tui sakrapeeMay 3, 2022 UTCC เปิดรับสมัครทุนส่งเสริมโอกาสทางการศึกษา ระดับปริญญาโท ประจำปีการศึกษา 2565 เชิญชวนสื่อมวลชนทุกแขนง สมัครเข้าศึกษาต่อกับเรา ระดับปริญญาโท ทุนสื่อมวลชน มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย (UTCC) มอบทุนที่เปิดโอกาสสำหรับพี่ ๆ ที่อยากเรียนปริญญาโท บอกเลยว่าคุ้ม เพราะเรามอบทุนให้ตลอดหลักสูตร สามารถเลือกศึกษาหลักสูตรที่สนใจได้ตามความฝัน จบแล้ว ไม่ต้องคืนทุกอีกด้วย…
UTCC ชวนสื่อมวลชนทุกแขนง สมัครรับทุนส่งเสริมโอกาสทางการศึกษา ระดับปริญญาโท ปีการศึกษา 2565 tui sakrapeeMay 3, 2022 UTCC เปิดรับสมัครทุนส่งเสริมโอกาสทางการศึกษา ระดับปริญญาโท ประจำปีการศึกษา 2565 เชิญชวนสื่อมวลชนทุกแขนง สมัครเข้าศึกษาต่อกับเรา ระดับปริญญาโท ทุนสื่อมวลชน มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย (UTCC) มอบทุนที่เปิดโอกาสสำหรับพี่ ๆ ที่อยากเรียนปริญญาโท บอกเลยว่าคุ้ม เพราะเรามอบทุนให้ตลอดหลักสูตร สามารถเลือกศึกษาหลักสูตรที่สนใจได้ตามความฝัน จบแล้ว ไม่ต้องคืนทุกอีกด้วย…
สอบไม่ติดแพทย์ ไม่มีสิทธิ์พูดเรื่องทรงผม!? EZ WebmasterMay 27, 2022 เรื่องกฎระเบียบ ข้อปฏิบัติต่างๆในโรงเรียนไทยนั้น เป็นที่รู้ๆกันดีว่ามีมาตั้งหลายยุคหลายสมัยกันแล้ว แต่ที่เห็นว่าจะเป็นเรื่องถกเถียงกันและมีดราม่าเยอะที่สุดก็คงจะเป็นกฎระเบียบที่เกี่ยวกับรูปลักษณ์ภายนอกของเด็กนักเรียน ไม่ว่าจะเป็น เรื่องเครื่องแต่งกาย การแต่งหน้า หรือแม้กระทั่งเรื่องของทรงผม ซึ่งตอนนี้ก็กำลังเป็นประเด็นร้อนในทวิตเตอร์ เนื่องจาก อาจารย์วิโรจน์ ลักขณาอดิศร จากพรรคก้าวไกล ได้ทวีตคลิปวีดีโอที่ถูกอัดมาจากโรงเรียนแห่งหนึ่ง โดยในคลิปมีคุณครูท่านหนึ่งกำลังพูดหน้าเสาธงเกี่ยวกับเรื่องทรงผมของนักเรียน โดยอาจารย์วิโรจน์ก็ได้สรุปเหตุการณ์คร่าวๆจากคลิปวีดีโอ พร้อมทั้งแสดงความคิดเห็นว่า “โรงเรียนแห่งหนึ่งได้อธิบายเรื่องระเบียบทรงผมให้นักเรียนทราบ… TCAS65: คะแนนสูงสุด-ต่ำสุดของแต่ละหลักสูตรที่เปิดรับในรอบ 3 Admission EZ WebmasterMay 27, 2022 สวัสดีค่ะน้องๆ วันนี้ทีมงาน Eduzones มีคะแนนสูงสุด-ต่ำสุดของแต่ละหลักสูตรที่เปิดรับในรอบ 3 Admission มาให้น้องๆดูเป็นแนวทางในการเลือกอันดับTCASปี66กันค่ะ มาดูกันเลย! โดยน้องๆสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมและดาวน์โหลดรายละเอียดได้ที่นี่ click สุดท้ายนี้พี่ๆทีมงาน Eduzones ขอเป็นกำลังใจให้น้องๆทุกคนนะคะ สามารถติดตามข่าวสารการศึกษาได้ที่ Facebook Fanpage : Eduzones… สพฐ. ย้ำปี 65 โรงเรียนต้อง ‘ซ่อม เสริม สร้าง’ ให้นักเรียนเป็นรายบุคคล — 25 พฤษภาคม 2565 EZ WebmasterMay 26, 2022 เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2565 นายอัมพร พินะสา เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (กพฐ.) เผย หลังจากผ่านการเปิดเรียนแบบออนไซต์มาครบ 1 สัปดาห์แล้ว พบว่าทุกฝ่ายร่วมมือกันในการสร้างความปลอดภัยในโรงเรียนอย่างมาก โดย นางสาวตรีนุช เทียนทอง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ… เด็กโทษระบบไม่ส่งรหัสยืนยันสิทธิ์ ทปอ. พบไม่กดขอ OTP เอง — 24 พฤษภาคม 2565 EZ WebmasterMay 26, 2022 เมื่อวันที่ 24 พฤษภาคมที่ผ่านมา ดร.พีระพงศ์ ตริยเจริญ ผู้จัดการระบบการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา หรือTCAS ของที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (ทปอ.) กล่าวว่า ขณะนี้ ทปอ.เปิดรับสมัครTCAS ประจำปีการศึกษา 2565 รอบที่ 1 พอร์ตโฟลิโอ รอบที่… กิจกรรม ดร.ดร๊าฟ พา 12 ดาราดัง ย้อนความทรงจำ คืนสู่เหย้ากลับเข้ารั้วมหาวิทยาลัย EZ WebmasterMay 27, 2022 ผศ.ดร.ดวงฤทธิ์ เบ็ญจาธิกุล ชัยรุ่งเรือง (ดร.ดร๊าฟ) เลขานุการรัฐมนตรีและโฆษกกระทรวง กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เผย รายการ “ออนเดอะเวย์” ที่พา 12 ดาราดัง มาย้อนความทรงจำ คืนสู่เหย้ากลับเข้า 12 รั้วมหาวิทยาลัย… KMITL INNOKET 2022 : ตลาดนวัตกรรมสร้างอาชีพ-ต่อยอดธุรกิจ EZ WebmasterMay 25, 2022 วันพุธที่ 25 พฤษภาคม 2565 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) รุดเปิดตลาดนวัตกรรมสร้างอาชีพครั้งแรก “เคเอ็มไอทีแอล อินโนเก็ต 2022” (KMITL INNOKET 2022) ตลาดเดียวที่รวบรวมนวัตกรรมที่สามารถสร้างสรรค์เป็นอาชีพใหม่ ต่อยอดธุรกิจ หรือเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้าและบริการ ด้วยงบประมาณลงทุนขั้นต่ำที่… พระเมธีวชิโรดม (ว.วชิรเมธี) เปิดหอศิลป์ ‘รศ.สุวัฒน์’ แหล่งสร้างผลงานศิลปะไทยร่วมสมัยแนวพุทธศิลป์ tui sakrapeeMay 24, 2022 พระเมธีวชิโรดม (ว.วชิรเมธี) เปิดหอศิลป์ รศ.สุวัฒน์ แหล่งสร้างผลงานศิลปะไทยร่วมสมัยแนวพุทธศิลป์ที่มีเอกลักษณ์โดดเด่น ให้เป็นแหล่งเรียนรู้จัดกิจกรรมด้านศิลปะในพื้นที่ชานเมืองกรุง เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม 2565 พระเมธีวชิโรดม (ท่าน ว.วชิรเมธี) คุณเมตตา อุทกะพันธุ์ ประธานกรรมการบริษัท อมรินทร์ปริ้นติ้ง แอนด์… มทร.ธัญบุรี จัดประชุมวิชาการนานาชาติ นวัตกรรม 9 ราชมงคล ยกระดับเศรษฐกิจฐานราก สร้างสังคมคุณภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterMay 22, 2022 เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคมที่ผ่านมา มทร.ธัญบุรี ร่วมกับเครือข่ายมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีกทั้ง 8 แห่ง ได้จัด “การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 12” และ “การประชุมวิชาการระดับนานาชาติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 11” พร้อมด้วย “การประกวดสิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมราชมงคล ครั้งที่… Search for: Search tui sakrapee January 4, 2022 tui sakrapee January 4, 2022 อาจารย์สถาปัตย์ จุฬาฯ นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาปรัชญา ประจำปี 2565 พัฒนาที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุไทย รศ.ไตรรัตน์ จารุทัศน์ ภาควิชาเคหการ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาฯ หัวหน้าศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางการออกแบบสภาพแวดล้อมเพื่อทุกคน ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาปรัชญา ประจำปี 2565 จากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) รศ.ไตรรัตน์ เป็นผู้เชี่ยวชาญที่มีผลงานเป็นที่ยอมรับในแวดวงสถาปัตยกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลงานวิจัยด้านการออกแบบเพื่อทุกคน (Universal Design) โครงการรูปแบบที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุไทย เพื่อส่งเสริมสุขภาพกาย-ใจ ภายใต้แนวคิดชุมชนที่เป็นมิตรกับผู้สูงอายุ เพื่อส่งเสริมให้เกิดกระบวนการสร้างความร่วมมือ การมีส่วนร่วมระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในพื้นที่ ในการวางแผนตามหลักเมืองที่เป็นมิตรต่อผู้สูงวัย และพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางการสื่อสารที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์ เผยถึงความรู้สึกที่ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติว่า “ดีใจและขอบคุณสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ที่ให้ความสำคัญในเรื่องผู้สูงอายุ ผลงานวิจัยนี้ ผมและทีมวิจัยได้ศึกษาเรื่องนี้มาเป็นเวลากว่า 20 ปีแล้ว ต้องขอขอบคุณจุฬาฯ ที่ให้โอกาสคณาจารย์จากสหสาขาวิชาได้มาทำงานวิจัยร่วมกัน” จุดเริ่มต้นในการทำงานวิจัยของนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ รศ.ไตรรัตน์เริ่มต้นทำงานวิจัยเรื่องที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุเมื่อ 25 ปีที่แล้ว จากความพยายามที่จะสร้างบ้านสำหรับผู้สูงอายุให้มีความปลอดภัยตามมาตรฐานคู่มือ แต่ผลสุดท้ายคือผู้สูงอายุไม่ย้ายเข้ามาอยู่ในบ้าน จึงสนใจศึกษาว่าเพราะเหตุใดผู้สูงอายุถึงไม่ปรับตัวกับสภาพแวดล้อมใหม่ ทำให้รู้ถึงข้อจำกัดในการเลือกที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุ นอกจากสภาพแวดล้อมด้านความปลอดภัยทางกายภาพแล้ว ยังเลือกสภาพแวดล้อมทางสังคม ชุมชน สิ่งแวดล้อม คือต้องอยู่ใกล้ญาติมิตร ชุมชน เดินทางไปมาหาสู่สะดวก ที่สำคัญต้องพึ่งพาตัวเองได้ ซึ่งจะทำให้ผู้สูงอายุเกิดความภูมิใจมากกว่าการต้องพึ่งพาลูกหลาน กว่า 20 ปีที่ศึกษาวิจัยเกี่ยวกับที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์มีผลงานวิจัยจำนวนมาก แบ่งออกเป็นงานวิจัยขั้นพื้นฐาน เช่น มาตรฐานขั้นต่ำสำหรับที่พักอาศัยและสภาพแวดล้อมของผู้สูงอายุไทย การพัฒนาต้นแบบสภาพแวดล้อมทางกายภาพ และสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุของสถานบริการสาธารณสุข ฯลฯ งานวิจัยประยุกต์ เช่น การปรับสิ่งอำนวยความสะดวกของเมืองพัทยาเพื่อรองรับผู้สูงอายุและคนพิการ โครงการการออกแบบชุมชนน่าอยู่ผู้สูงวัยสำหรับผู้สูงอายุในชนบท และการปรับปรุงและพัฒนาต้นแบบที่อยู่อาศัยที่ปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุในชนบท การส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวเพื่อคนทั้งมวล (Tourism For All) ฯลฯ งานวิจัยองค์ความรู้ใหม่ ได้แก่ สภาพการอยู่อาศัยของผู้สูงอายุ 3 ช่วงวัย (วัยต้น วัยกลาง และวัยปลาย) ซึ่งได้รับทุนวิจัยจากโครงการส่งเสริมการทำงานวิจัยเชิงลึกในสาขาวิชาที่มีศักยภาพสูง การศึกษาและพัฒนานโยบาย เครื่องมือ และต้นแบบที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุและผู้ทุพพลภาพ การศึกษาพฤติกรรมการอยู่อาศัยของผู้สูงอายุที่มีอายุยืนของประเทศ ฯลฯ “เราทำวิจัยเกี่ยวกับผู้สูงอายุและคนพิการต่อเนื่องมากว่า 20 ปี ครอบคลุมผู้สูงอายุทุกกลุ่มทั้งในเมืองหรือชนบท ผู้สูงอายุวัยต้น วัยกลาง วัยปลาย จนถึงผู้สูงอายุที่มีอายุ 100 ปี งานวิจัยของเราเน้น “จากหิ้งสู่ห้าง” มีการนำไปใช้จริง โดยมีบ้านต้นแบบต้นแบบที่นำไปประยุกต์ใช้กับพื้นที่ที่เหมาะสมได้” รศ.ไตรรัตน์ กล่าว กลุ่มคนเปราะบางกับสถานการณ์สังคมสูงวัย ตั้งแต่ปี 2543 เป็นต้นมา ประเทศไทยมีผู้สูงอายุ 10 % ในปี 2565 ผู้สูงอายุเฉลี่ยทั่วประเทศจะมีมากถึง 20% ซึ่งเข้าสู่สังคมสูงวัยแบบสมบูรณ์ ถือเป็นสถานการณ์หรือวิกฤตของประเทศไทย ดังนั้นเราควรมีการเตรียมตัววางแผนรับมือให้ดี เพราะนอกจากผู้สูงอายุจะเพิ่มขึ้นแล้ว อัตราการเกิดและคนวัยแรงงาน ก็ลดลงด้วย เราควรมีการวิจัยเชิงลึกในเรื่องนี้ให้มากขึ้นเพื่อลดผลกระทบทางเศรษฐกิจที่จะตามมา การคุ้มครองสวัสดิภาพในกลุ่มคนเปราะบาง เช่น คนในชุมชนแออัด คนไร้บ้าน คนยากจน ฯลฯ ซึ่งมีอยู่ประมาณ 10% คนกลุ่มนี้ต้องเผชิญปัญหาความยากจน เจ็บป่วย ถูกทอดทิ้ง การผลักภาระไปที่รัฐบาลเพียงอย่างเดียวอาจจะแก้ปัญหาไม่ได้ ชุมชนและภาครัฐต้องช่วยกันดูแลคนกลุ่มนี้ด้วยการส่งเสริมให้อยู่ที่เดิม โดยรัฐอาจมีมาตรการเฉพาะคนกลุ่มนี้ เช่น การปรับปรุงบ้าน การให้บริการสาธารณสุข เป็นต้น เรียนรู้ผู้สูงวัยจากงานวิจัยเรื่องที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์ กล่าวว่าช่วงเริ่มต้นโครงการวิจัยรูปแบบที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุไทยจะเน้นเรื่องความปลอดภัยทางสภาพแวดล้อมเป็นหลัก อย่างไรก็ตาม จากกรณีศึกษาของกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ที่ให้งบประมาณแก่กลุ่มผู้สูงอายุเพื่อปรับปรุงบ้าน พบว่ากลุ่มผู้สูงอายุที่มีความเปราะบางไม่ได้นำเงินที่ได้ไปปรับปรุงสภาพแวดล้อมตามกายภาพที่ควรจะเป็น ทำให้การมองปัญหา ในผู้สูงอายุคงมองเรื่องกายภาพเพียงอย่าเดียวไม่ได้ แต่ต้องเน้นไปที่ปัญหา 4 ด้าน ได้แก่ เรื่องสุขภาพ สังคม เศรษฐกิจ และสภาพแวดล้อม คือต้องดูแลสุขภาพกายและใจของผู้สูงอายุไปพร้อมๆ กับสร้างงาน สร้างรายได้ เพื่อให้ผู้สูงอายุพึ่งพาตนเองได้ แล้วค่อยปรับบ้านให้ปลอดภัยกับผู้สูงอายุ ลักษณะที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ ที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุต้องมีความปลอดภัย มีพื้นเรียบเสมอกันทั้งในบ้านและห้องน้ำ มีราวจับ พื้นไม่ลื่น ที่อยู่อาศัยมีแสงสว่างเพียงพอ ประตูที่ใช้เป็นบานเลื่อน ก๊อกน้ำลูกบิดประตูเป็นก้านโยก ช่องทางเดินมีความกว้าง 90 เซนติเมตร หน้าต่างบานลึก มีแสงสว่าง มองเห็นสวนและต้นไม้ นอกจากนี้พื้นที่ในบ้านไม่ควรใหญ่เกินไปเพื่อง่ายต่อการบำรุงรักษา มีพื้นที่เก็บของเพื่อให้ไม่รกเกะกะ ก่อให้เกิดปัญหาพลัดตกหกล้ม ความสำคัญของชุมชนที่เป็นมิตรกับผู้สูงวัย ชุมชนที่เป็นมิตรกับผู้สูงวัยเป็นแนวคิดขององค์การอนามัยโลก (WHO) เพื่อให้ผู้สูงวัยอยู่ในชุมชนได้อย่างเป็นสุข เป็นมิตรกับทุกคน ทุกวัย ทุกสภาพแวดล้อม ประกอบด้วย 3 ด้าน คือ ด้านกายภาพ เริ่มจากบ้านต้องปลอดภัย มีการเดินทางที่สะดวกสบาย มีพื้นที่สาธารณะที่ดี สามารถเข้าถึงได้ ด้านสังคม ต้องมีการมีส่วนร่วมทางสังคม นอกจากนี้ยังต้องมีการบริการพื้นฐาน ผู้สูงอายุต้องเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร มีบริการทางด้านสุขภาพ สิ่งอำนวยความสะดวก และระบบเศรษฐกิจที่สนับสนุนผู้สูงอายุอีกด้วย จุดเด่นของงานวิจัยที่ตอบโจทย์สังคม “ผลงานวิจัยที่ผ่านมาเป็นงานที่ตอบโจทย์เชิงสังคมและชุมชน สามารถนำไปใช้ได้จริงโดยได้ริเริ่มแนวคิดสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุ คนพิการหรือที่เรียกว่าหลักการออกแบบเพื่อทุกคน นักวิจัยรุ่นหลังสามารถนำเอาแนวคิดนี้ไปพัฒนาต่อยอดเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจได้ เรากำลังผลักดันให้รัฐบาลและภาคเอกชนสนใจในเรื่องนี้เพื่อปรับธุรกิจในการรองรับสังคมสูงวัยซึ่งเป็นสถานการณ์ที่ประเทศไทยกำลังเผชิญอยู่ในปัจจุบัน” รศ.ไตรรัตน์เผยถึงจุดเด่นของงานวิจัยนี้ การสร้างความร่วมมือเพื่อพัฒนาที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์เผยถึงปัญหาสำหรับผู้สูงอายุว่าเป็นเรื่องซับซ้อน จึงต้องมีหลายหน่วยงานเข้ามาเกี่ยวข้อง ต้องร่วมมือกันหลายฝ่าย ไม่ว่าจะเป็นภาครัฐ ภาคเอกชน ชุมชน ครอบครัวเพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมในการช่วยกันแก้ไขปัญหาให้ลุล่วงไปได้ด้วยดี การจะสร้างแรงจูงใจให้หน่วยงานต่างๆ ร่วมมือพัฒนาพื้นที่ของผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่องนั้น รัฐต้องเปลี่ยนบทบาทจากการสงเคราะห์เป็นพัฒนา ส่งเสริมให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ครอบครัว เป็นผู้ดูแลผู้สูงอายุในชุมชน นำเบี้ยยังชีพมาช่วยสร้างงาน รณรงค์ส่งเสริมการสูงวัยในถิ่นเดิม (Aging in Place) ทั้งในระดับการอยู่อาศัยในบ้านหลังเดิม และในชุมชน เครือญาติเดิม พัฒนาระบบการดูแลที่บ้านในชุมชน (Home & Community Healthcare) ดูแลทั้งสุขภาพอนามัย ชีวิตความเป็นอยู่และสภาพแวดล้อมส่งเสริมให้เอกชนผลิตสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุและคนพิการ โดยใช้มาตรการการส่งเสริมการลงทุน การลดภาษี ส่งเสริมให้ครอบครัวที่มีผู้สูงอายุและคนพิการ สามารถจัดซื้อและติดตั้งสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุและคนพิการ สามารถนำมาลดหย่อนภาษีได้ รวมถึงส่งเสริมให้เอกชนพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุที่มีความต้องการเฉพาะ หรือกลุ่มที่มีความจำเป็นจริงๆ แผนการทำงานวิจัยในอนาคต เน้นการทำวิจัยแบบสหสาขาวิชา ผลงานวิจัยที่จะดำเนินการต่อไปคือ โครงการวิจัยพัฒนาระบบต้นแบบรองรับสังคมสูงวัยในบริบทของชุมชนเมือง ภาคใต้และภาคตะวันออก รศ.ไตรรัตน์ ฝากข้อคิดในการทำงานวิจัยให้ประสบความสำเร็จว่า “อยากให้นักวิจัยตั้งโจทย์ให้ หัวข้องานวิจัยมีความน่าสนใจ มีกลุ่มตัวอย่างที่ชัดเจน ไม่เกี่ยงงาน ไม่คิดถึงข้อจำกัดเรื่องเวลา จะทำให้เราทำงานวิจัยง่ายขึ้น หัวใจของนักวิจัยคือ “เราต้องรู้ว่าเราไม่รู้อะไร” เพราะตราบใดที่เรายังค้นคว้าหาความรู้อยู่เรื่อยๆ นั่นคือการทำหน้าที่เป็นนักวิจัยแล้ว” tui sakrapee Related Posts สอบไม่ติดแพทย์ ไม่มีสิทธิ์พูดเรื่องทรงผม!? TCAS65: คะแนนสูงสุด-ต่ำสุดของแต่ละหลักสูตรที่เปิดรับในรอบ 3 Admission 4,685 ที่นั่งยังรอ! รอบที่ 4 สุดท้าย Direct Admission “สวนสุนันทา” เปิดกว้างก้าวสู่อนาคตถึง 31 พ.ค.นี้ สพฐ. ย้ำปี 65 โรงเรียนต้อง ‘ซ่อม เสริม สร้าง’ ให้นักเรียนเป็นรายบุคคล — 25 พฤษภาคม 2565 เด็กโทษระบบไม่ส่งรหัสยืนยันสิทธิ์ ทปอ. พบไม่กดขอ OTP เอง — 24 พฤษภาคม 2565 Post navigation PREVIOUS Previous post: “นวัตกรรมผ้าไม่ทอจากเส้นใยไผ่ ในผลิตภัณฑ์ไลฟ์สไตล์ทางการแพทย์” นักวิจัยมทร.ธัญบุรีสร้างคุณค่าและมูลค่าเพิ่มNEXT Next post: มีที่เรียนก่อนใคร! โค้งสุดท้าย “สวนสุนันทา” พารอด รับรอบ 1 ถึง 4,601 ที่นั่ง สมัครวันนี้ยังมีโอกาส – 7 ม.ค.65 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
TCAS65: คะแนนสูงสุด-ต่ำสุดของแต่ละหลักสูตรที่เปิดรับในรอบ 3 Admission EZ WebmasterMay 27, 2022 สวัสดีค่ะน้องๆ วันนี้ทีมงาน Eduzones มีคะแนนสูงสุด-ต่ำสุดของแต่ละหลักสูตรที่เปิดรับในรอบ 3 Admission มาให้น้องๆดูเป็นแนวทางในการเลือกอันดับTCASปี66กันค่ะ มาดูกันเลย! โดยน้องๆสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมและดาวน์โหลดรายละเอียดได้ที่นี่ click สุดท้ายนี้พี่ๆทีมงาน Eduzones ขอเป็นกำลังใจให้น้องๆทุกคนนะคะ สามารถติดตามข่าวสารการศึกษาได้ที่ Facebook Fanpage : Eduzones… สพฐ. ย้ำปี 65 โรงเรียนต้อง ‘ซ่อม เสริม สร้าง’ ให้นักเรียนเป็นรายบุคคล — 25 พฤษภาคม 2565 EZ WebmasterMay 26, 2022 เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2565 นายอัมพร พินะสา เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (กพฐ.) เผย หลังจากผ่านการเปิดเรียนแบบออนไซต์มาครบ 1 สัปดาห์แล้ว พบว่าทุกฝ่ายร่วมมือกันในการสร้างความปลอดภัยในโรงเรียนอย่างมาก โดย นางสาวตรีนุช เทียนทอง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ… เด็กโทษระบบไม่ส่งรหัสยืนยันสิทธิ์ ทปอ. พบไม่กดขอ OTP เอง — 24 พฤษภาคม 2565 EZ WebmasterMay 26, 2022 เมื่อวันที่ 24 พฤษภาคมที่ผ่านมา ดร.พีระพงศ์ ตริยเจริญ ผู้จัดการระบบการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา หรือTCAS ของที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (ทปอ.) กล่าวว่า ขณะนี้ ทปอ.เปิดรับสมัครTCAS ประจำปีการศึกษา 2565 รอบที่ 1 พอร์ตโฟลิโอ รอบที่… กิจกรรม ดร.ดร๊าฟ พา 12 ดาราดัง ย้อนความทรงจำ คืนสู่เหย้ากลับเข้ารั้วมหาวิทยาลัย EZ WebmasterMay 27, 2022 ผศ.ดร.ดวงฤทธิ์ เบ็ญจาธิกุล ชัยรุ่งเรือง (ดร.ดร๊าฟ) เลขานุการรัฐมนตรีและโฆษกกระทรวง กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เผย รายการ “ออนเดอะเวย์” ที่พา 12 ดาราดัง มาย้อนความทรงจำ คืนสู่เหย้ากลับเข้า 12 รั้วมหาวิทยาลัย… KMITL INNOKET 2022 : ตลาดนวัตกรรมสร้างอาชีพ-ต่อยอดธุรกิจ EZ WebmasterMay 25, 2022 วันพุธที่ 25 พฤษภาคม 2565 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) รุดเปิดตลาดนวัตกรรมสร้างอาชีพครั้งแรก “เคเอ็มไอทีแอล อินโนเก็ต 2022” (KMITL INNOKET 2022) ตลาดเดียวที่รวบรวมนวัตกรรมที่สามารถสร้างสรรค์เป็นอาชีพใหม่ ต่อยอดธุรกิจ หรือเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้าและบริการ ด้วยงบประมาณลงทุนขั้นต่ำที่… พระเมธีวชิโรดม (ว.วชิรเมธี) เปิดหอศิลป์ ‘รศ.สุวัฒน์’ แหล่งสร้างผลงานศิลปะไทยร่วมสมัยแนวพุทธศิลป์ tui sakrapeeMay 24, 2022 พระเมธีวชิโรดม (ว.วชิรเมธี) เปิดหอศิลป์ รศ.สุวัฒน์ แหล่งสร้างผลงานศิลปะไทยร่วมสมัยแนวพุทธศิลป์ที่มีเอกลักษณ์โดดเด่น ให้เป็นแหล่งเรียนรู้จัดกิจกรรมด้านศิลปะในพื้นที่ชานเมืองกรุง เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม 2565 พระเมธีวชิโรดม (ท่าน ว.วชิรเมธี) คุณเมตตา อุทกะพันธุ์ ประธานกรรมการบริษัท อมรินทร์ปริ้นติ้ง แอนด์… มทร.ธัญบุรี จัดประชุมวิชาการนานาชาติ นวัตกรรม 9 ราชมงคล ยกระดับเศรษฐกิจฐานราก สร้างสังคมคุณภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterMay 22, 2022 เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคมที่ผ่านมา มทร.ธัญบุรี ร่วมกับเครือข่ายมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีกทั้ง 8 แห่ง ได้จัด “การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 12” และ “การประชุมวิชาการระดับนานาชาติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 11” พร้อมด้วย “การประกวดสิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมราชมงคล ครั้งที่… Search for: Search tui sakrapee January 4, 2022 tui sakrapee January 4, 2022 อาจารย์สถาปัตย์ จุฬาฯ นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาปรัชญา ประจำปี 2565 พัฒนาที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุไทย รศ.ไตรรัตน์ จารุทัศน์ ภาควิชาเคหการ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาฯ หัวหน้าศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางการออกแบบสภาพแวดล้อมเพื่อทุกคน ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาปรัชญา ประจำปี 2565 จากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) รศ.ไตรรัตน์ เป็นผู้เชี่ยวชาญที่มีผลงานเป็นที่ยอมรับในแวดวงสถาปัตยกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลงานวิจัยด้านการออกแบบเพื่อทุกคน (Universal Design) โครงการรูปแบบที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุไทย เพื่อส่งเสริมสุขภาพกาย-ใจ ภายใต้แนวคิดชุมชนที่เป็นมิตรกับผู้สูงอายุ เพื่อส่งเสริมให้เกิดกระบวนการสร้างความร่วมมือ การมีส่วนร่วมระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในพื้นที่ ในการวางแผนตามหลักเมืองที่เป็นมิตรต่อผู้สูงวัย และพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางการสื่อสารที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์ เผยถึงความรู้สึกที่ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติว่า “ดีใจและขอบคุณสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ที่ให้ความสำคัญในเรื่องผู้สูงอายุ ผลงานวิจัยนี้ ผมและทีมวิจัยได้ศึกษาเรื่องนี้มาเป็นเวลากว่า 20 ปีแล้ว ต้องขอขอบคุณจุฬาฯ ที่ให้โอกาสคณาจารย์จากสหสาขาวิชาได้มาทำงานวิจัยร่วมกัน” จุดเริ่มต้นในการทำงานวิจัยของนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ รศ.ไตรรัตน์เริ่มต้นทำงานวิจัยเรื่องที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุเมื่อ 25 ปีที่แล้ว จากความพยายามที่จะสร้างบ้านสำหรับผู้สูงอายุให้มีความปลอดภัยตามมาตรฐานคู่มือ แต่ผลสุดท้ายคือผู้สูงอายุไม่ย้ายเข้ามาอยู่ในบ้าน จึงสนใจศึกษาว่าเพราะเหตุใดผู้สูงอายุถึงไม่ปรับตัวกับสภาพแวดล้อมใหม่ ทำให้รู้ถึงข้อจำกัดในการเลือกที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุ นอกจากสภาพแวดล้อมด้านความปลอดภัยทางกายภาพแล้ว ยังเลือกสภาพแวดล้อมทางสังคม ชุมชน สิ่งแวดล้อม คือต้องอยู่ใกล้ญาติมิตร ชุมชน เดินทางไปมาหาสู่สะดวก ที่สำคัญต้องพึ่งพาตัวเองได้ ซึ่งจะทำให้ผู้สูงอายุเกิดความภูมิใจมากกว่าการต้องพึ่งพาลูกหลาน กว่า 20 ปีที่ศึกษาวิจัยเกี่ยวกับที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์มีผลงานวิจัยจำนวนมาก แบ่งออกเป็นงานวิจัยขั้นพื้นฐาน เช่น มาตรฐานขั้นต่ำสำหรับที่พักอาศัยและสภาพแวดล้อมของผู้สูงอายุไทย การพัฒนาต้นแบบสภาพแวดล้อมทางกายภาพ และสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุของสถานบริการสาธารณสุข ฯลฯ งานวิจัยประยุกต์ เช่น การปรับสิ่งอำนวยความสะดวกของเมืองพัทยาเพื่อรองรับผู้สูงอายุและคนพิการ โครงการการออกแบบชุมชนน่าอยู่ผู้สูงวัยสำหรับผู้สูงอายุในชนบท และการปรับปรุงและพัฒนาต้นแบบที่อยู่อาศัยที่ปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุในชนบท การส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวเพื่อคนทั้งมวล (Tourism For All) ฯลฯ งานวิจัยองค์ความรู้ใหม่ ได้แก่ สภาพการอยู่อาศัยของผู้สูงอายุ 3 ช่วงวัย (วัยต้น วัยกลาง และวัยปลาย) ซึ่งได้รับทุนวิจัยจากโครงการส่งเสริมการทำงานวิจัยเชิงลึกในสาขาวิชาที่มีศักยภาพสูง การศึกษาและพัฒนานโยบาย เครื่องมือ และต้นแบบที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุและผู้ทุพพลภาพ การศึกษาพฤติกรรมการอยู่อาศัยของผู้สูงอายุที่มีอายุยืนของประเทศ ฯลฯ “เราทำวิจัยเกี่ยวกับผู้สูงอายุและคนพิการต่อเนื่องมากว่า 20 ปี ครอบคลุมผู้สูงอายุทุกกลุ่มทั้งในเมืองหรือชนบท ผู้สูงอายุวัยต้น วัยกลาง วัยปลาย จนถึงผู้สูงอายุที่มีอายุ 100 ปี งานวิจัยของเราเน้น “จากหิ้งสู่ห้าง” มีการนำไปใช้จริง โดยมีบ้านต้นแบบต้นแบบที่นำไปประยุกต์ใช้กับพื้นที่ที่เหมาะสมได้” รศ.ไตรรัตน์ กล่าว กลุ่มคนเปราะบางกับสถานการณ์สังคมสูงวัย ตั้งแต่ปี 2543 เป็นต้นมา ประเทศไทยมีผู้สูงอายุ 10 % ในปี 2565 ผู้สูงอายุเฉลี่ยทั่วประเทศจะมีมากถึง 20% ซึ่งเข้าสู่สังคมสูงวัยแบบสมบูรณ์ ถือเป็นสถานการณ์หรือวิกฤตของประเทศไทย ดังนั้นเราควรมีการเตรียมตัววางแผนรับมือให้ดี เพราะนอกจากผู้สูงอายุจะเพิ่มขึ้นแล้ว อัตราการเกิดและคนวัยแรงงาน ก็ลดลงด้วย เราควรมีการวิจัยเชิงลึกในเรื่องนี้ให้มากขึ้นเพื่อลดผลกระทบทางเศรษฐกิจที่จะตามมา การคุ้มครองสวัสดิภาพในกลุ่มคนเปราะบาง เช่น คนในชุมชนแออัด คนไร้บ้าน คนยากจน ฯลฯ ซึ่งมีอยู่ประมาณ 10% คนกลุ่มนี้ต้องเผชิญปัญหาความยากจน เจ็บป่วย ถูกทอดทิ้ง การผลักภาระไปที่รัฐบาลเพียงอย่างเดียวอาจจะแก้ปัญหาไม่ได้ ชุมชนและภาครัฐต้องช่วยกันดูแลคนกลุ่มนี้ด้วยการส่งเสริมให้อยู่ที่เดิม โดยรัฐอาจมีมาตรการเฉพาะคนกลุ่มนี้ เช่น การปรับปรุงบ้าน การให้บริการสาธารณสุข เป็นต้น เรียนรู้ผู้สูงวัยจากงานวิจัยเรื่องที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์ กล่าวว่าช่วงเริ่มต้นโครงการวิจัยรูปแบบที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุไทยจะเน้นเรื่องความปลอดภัยทางสภาพแวดล้อมเป็นหลัก อย่างไรก็ตาม จากกรณีศึกษาของกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ที่ให้งบประมาณแก่กลุ่มผู้สูงอายุเพื่อปรับปรุงบ้าน พบว่ากลุ่มผู้สูงอายุที่มีความเปราะบางไม่ได้นำเงินที่ได้ไปปรับปรุงสภาพแวดล้อมตามกายภาพที่ควรจะเป็น ทำให้การมองปัญหา ในผู้สูงอายุคงมองเรื่องกายภาพเพียงอย่าเดียวไม่ได้ แต่ต้องเน้นไปที่ปัญหา 4 ด้าน ได้แก่ เรื่องสุขภาพ สังคม เศรษฐกิจ และสภาพแวดล้อม คือต้องดูแลสุขภาพกายและใจของผู้สูงอายุไปพร้อมๆ กับสร้างงาน สร้างรายได้ เพื่อให้ผู้สูงอายุพึ่งพาตนเองได้ แล้วค่อยปรับบ้านให้ปลอดภัยกับผู้สูงอายุ ลักษณะที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ ที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุต้องมีความปลอดภัย มีพื้นเรียบเสมอกันทั้งในบ้านและห้องน้ำ มีราวจับ พื้นไม่ลื่น ที่อยู่อาศัยมีแสงสว่างเพียงพอ ประตูที่ใช้เป็นบานเลื่อน ก๊อกน้ำลูกบิดประตูเป็นก้านโยก ช่องทางเดินมีความกว้าง 90 เซนติเมตร หน้าต่างบานลึก มีแสงสว่าง มองเห็นสวนและต้นไม้ นอกจากนี้พื้นที่ในบ้านไม่ควรใหญ่เกินไปเพื่อง่ายต่อการบำรุงรักษา มีพื้นที่เก็บของเพื่อให้ไม่รกเกะกะ ก่อให้เกิดปัญหาพลัดตกหกล้ม ความสำคัญของชุมชนที่เป็นมิตรกับผู้สูงวัย ชุมชนที่เป็นมิตรกับผู้สูงวัยเป็นแนวคิดขององค์การอนามัยโลก (WHO) เพื่อให้ผู้สูงวัยอยู่ในชุมชนได้อย่างเป็นสุข เป็นมิตรกับทุกคน ทุกวัย ทุกสภาพแวดล้อม ประกอบด้วย 3 ด้าน คือ ด้านกายภาพ เริ่มจากบ้านต้องปลอดภัย มีการเดินทางที่สะดวกสบาย มีพื้นที่สาธารณะที่ดี สามารถเข้าถึงได้ ด้านสังคม ต้องมีการมีส่วนร่วมทางสังคม นอกจากนี้ยังต้องมีการบริการพื้นฐาน ผู้สูงอายุต้องเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร มีบริการทางด้านสุขภาพ สิ่งอำนวยความสะดวก และระบบเศรษฐกิจที่สนับสนุนผู้สูงอายุอีกด้วย จุดเด่นของงานวิจัยที่ตอบโจทย์สังคม “ผลงานวิจัยที่ผ่านมาเป็นงานที่ตอบโจทย์เชิงสังคมและชุมชน สามารถนำไปใช้ได้จริงโดยได้ริเริ่มแนวคิดสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุ คนพิการหรือที่เรียกว่าหลักการออกแบบเพื่อทุกคน นักวิจัยรุ่นหลังสามารถนำเอาแนวคิดนี้ไปพัฒนาต่อยอดเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจได้ เรากำลังผลักดันให้รัฐบาลและภาคเอกชนสนใจในเรื่องนี้เพื่อปรับธุรกิจในการรองรับสังคมสูงวัยซึ่งเป็นสถานการณ์ที่ประเทศไทยกำลังเผชิญอยู่ในปัจจุบัน” รศ.ไตรรัตน์เผยถึงจุดเด่นของงานวิจัยนี้ การสร้างความร่วมมือเพื่อพัฒนาที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์เผยถึงปัญหาสำหรับผู้สูงอายุว่าเป็นเรื่องซับซ้อน จึงต้องมีหลายหน่วยงานเข้ามาเกี่ยวข้อง ต้องร่วมมือกันหลายฝ่าย ไม่ว่าจะเป็นภาครัฐ ภาคเอกชน ชุมชน ครอบครัวเพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมในการช่วยกันแก้ไขปัญหาให้ลุล่วงไปได้ด้วยดี การจะสร้างแรงจูงใจให้หน่วยงานต่างๆ ร่วมมือพัฒนาพื้นที่ของผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่องนั้น รัฐต้องเปลี่ยนบทบาทจากการสงเคราะห์เป็นพัฒนา ส่งเสริมให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ครอบครัว เป็นผู้ดูแลผู้สูงอายุในชุมชน นำเบี้ยยังชีพมาช่วยสร้างงาน รณรงค์ส่งเสริมการสูงวัยในถิ่นเดิม (Aging in Place) ทั้งในระดับการอยู่อาศัยในบ้านหลังเดิม และในชุมชน เครือญาติเดิม พัฒนาระบบการดูแลที่บ้านในชุมชน (Home & Community Healthcare) ดูแลทั้งสุขภาพอนามัย ชีวิตความเป็นอยู่และสภาพแวดล้อมส่งเสริมให้เอกชนผลิตสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุและคนพิการ โดยใช้มาตรการการส่งเสริมการลงทุน การลดภาษี ส่งเสริมให้ครอบครัวที่มีผู้สูงอายุและคนพิการ สามารถจัดซื้อและติดตั้งสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุและคนพิการ สามารถนำมาลดหย่อนภาษีได้ รวมถึงส่งเสริมให้เอกชนพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุที่มีความต้องการเฉพาะ หรือกลุ่มที่มีความจำเป็นจริงๆ แผนการทำงานวิจัยในอนาคต เน้นการทำวิจัยแบบสหสาขาวิชา ผลงานวิจัยที่จะดำเนินการต่อไปคือ โครงการวิจัยพัฒนาระบบต้นแบบรองรับสังคมสูงวัยในบริบทของชุมชนเมือง ภาคใต้และภาคตะวันออก รศ.ไตรรัตน์ ฝากข้อคิดในการทำงานวิจัยให้ประสบความสำเร็จว่า “อยากให้นักวิจัยตั้งโจทย์ให้ หัวข้องานวิจัยมีความน่าสนใจ มีกลุ่มตัวอย่างที่ชัดเจน ไม่เกี่ยงงาน ไม่คิดถึงข้อจำกัดเรื่องเวลา จะทำให้เราทำงานวิจัยง่ายขึ้น หัวใจของนักวิจัยคือ “เราต้องรู้ว่าเราไม่รู้อะไร” เพราะตราบใดที่เรายังค้นคว้าหาความรู้อยู่เรื่อยๆ นั่นคือการทำหน้าที่เป็นนักวิจัยแล้ว” tui sakrapee Related Posts สอบไม่ติดแพทย์ ไม่มีสิทธิ์พูดเรื่องทรงผม!? TCAS65: คะแนนสูงสุด-ต่ำสุดของแต่ละหลักสูตรที่เปิดรับในรอบ 3 Admission 4,685 ที่นั่งยังรอ! รอบที่ 4 สุดท้าย Direct Admission “สวนสุนันทา” เปิดกว้างก้าวสู่อนาคตถึง 31 พ.ค.นี้ สพฐ. ย้ำปี 65 โรงเรียนต้อง ‘ซ่อม เสริม สร้าง’ ให้นักเรียนเป็นรายบุคคล — 25 พฤษภาคม 2565 เด็กโทษระบบไม่ส่งรหัสยืนยันสิทธิ์ ทปอ. พบไม่กดขอ OTP เอง — 24 พฤษภาคม 2565 Post navigation PREVIOUS Previous post: “นวัตกรรมผ้าไม่ทอจากเส้นใยไผ่ ในผลิตภัณฑ์ไลฟ์สไตล์ทางการแพทย์” นักวิจัยมทร.ธัญบุรีสร้างคุณค่าและมูลค่าเพิ่มNEXT Next post: มีที่เรียนก่อนใคร! โค้งสุดท้าย “สวนสุนันทา” พารอด รับรอบ 1 ถึง 4,601 ที่นั่ง สมัครวันนี้ยังมีโอกาส – 7 ม.ค.65 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
สพฐ. ย้ำปี 65 โรงเรียนต้อง ‘ซ่อม เสริม สร้าง’ ให้นักเรียนเป็นรายบุคคล — 25 พฤษภาคม 2565 EZ WebmasterMay 26, 2022 เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2565 นายอัมพร พินะสา เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (กพฐ.) เผย หลังจากผ่านการเปิดเรียนแบบออนไซต์มาครบ 1 สัปดาห์แล้ว พบว่าทุกฝ่ายร่วมมือกันในการสร้างความปลอดภัยในโรงเรียนอย่างมาก โดย นางสาวตรีนุช เทียนทอง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ… เด็กโทษระบบไม่ส่งรหัสยืนยันสิทธิ์ ทปอ. พบไม่กดขอ OTP เอง — 24 พฤษภาคม 2565 EZ WebmasterMay 26, 2022 เมื่อวันที่ 24 พฤษภาคมที่ผ่านมา ดร.พีระพงศ์ ตริยเจริญ ผู้จัดการระบบการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา หรือTCAS ของที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (ทปอ.) กล่าวว่า ขณะนี้ ทปอ.เปิดรับสมัครTCAS ประจำปีการศึกษา 2565 รอบที่ 1 พอร์ตโฟลิโอ รอบที่…
เด็กโทษระบบไม่ส่งรหัสยืนยันสิทธิ์ ทปอ. พบไม่กดขอ OTP เอง — 24 พฤษภาคม 2565 EZ WebmasterMay 26, 2022 เมื่อวันที่ 24 พฤษภาคมที่ผ่านมา ดร.พีระพงศ์ ตริยเจริญ ผู้จัดการระบบการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา หรือTCAS ของที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (ทปอ.) กล่าวว่า ขณะนี้ ทปอ.เปิดรับสมัครTCAS ประจำปีการศึกษา 2565 รอบที่ 1 พอร์ตโฟลิโอ รอบที่…
ดร.ดร๊าฟ พา 12 ดาราดัง ย้อนความทรงจำ คืนสู่เหย้ากลับเข้ารั้วมหาวิทยาลัย EZ WebmasterMay 27, 2022 ผศ.ดร.ดวงฤทธิ์ เบ็ญจาธิกุล ชัยรุ่งเรือง (ดร.ดร๊าฟ) เลขานุการรัฐมนตรีและโฆษกกระทรวง กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เผย รายการ “ออนเดอะเวย์” ที่พา 12 ดาราดัง มาย้อนความทรงจำ คืนสู่เหย้ากลับเข้า 12 รั้วมหาวิทยาลัย… KMITL INNOKET 2022 : ตลาดนวัตกรรมสร้างอาชีพ-ต่อยอดธุรกิจ EZ WebmasterMay 25, 2022 วันพุธที่ 25 พฤษภาคม 2565 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) รุดเปิดตลาดนวัตกรรมสร้างอาชีพครั้งแรก “เคเอ็มไอทีแอล อินโนเก็ต 2022” (KMITL INNOKET 2022) ตลาดเดียวที่รวบรวมนวัตกรรมที่สามารถสร้างสรรค์เป็นอาชีพใหม่ ต่อยอดธุรกิจ หรือเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้าและบริการ ด้วยงบประมาณลงทุนขั้นต่ำที่… พระเมธีวชิโรดม (ว.วชิรเมธี) เปิดหอศิลป์ ‘รศ.สุวัฒน์’ แหล่งสร้างผลงานศิลปะไทยร่วมสมัยแนวพุทธศิลป์ tui sakrapeeMay 24, 2022 พระเมธีวชิโรดม (ว.วชิรเมธี) เปิดหอศิลป์ รศ.สุวัฒน์ แหล่งสร้างผลงานศิลปะไทยร่วมสมัยแนวพุทธศิลป์ที่มีเอกลักษณ์โดดเด่น ให้เป็นแหล่งเรียนรู้จัดกิจกรรมด้านศิลปะในพื้นที่ชานเมืองกรุง เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม 2565 พระเมธีวชิโรดม (ท่าน ว.วชิรเมธี) คุณเมตตา อุทกะพันธุ์ ประธานกรรมการบริษัท อมรินทร์ปริ้นติ้ง แอนด์… มทร.ธัญบุรี จัดประชุมวิชาการนานาชาติ นวัตกรรม 9 ราชมงคล ยกระดับเศรษฐกิจฐานราก สร้างสังคมคุณภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterMay 22, 2022 เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคมที่ผ่านมา มทร.ธัญบุรี ร่วมกับเครือข่ายมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีกทั้ง 8 แห่ง ได้จัด “การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 12” และ “การประชุมวิชาการระดับนานาชาติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 11” พร้อมด้วย “การประกวดสิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมราชมงคล ครั้งที่… Search for: Search tui sakrapee January 4, 2022 tui sakrapee January 4, 2022 อาจารย์สถาปัตย์ จุฬาฯ นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาปรัชญา ประจำปี 2565 พัฒนาที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุไทย รศ.ไตรรัตน์ จารุทัศน์ ภาควิชาเคหการ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาฯ หัวหน้าศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางการออกแบบสภาพแวดล้อมเพื่อทุกคน ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาปรัชญา ประจำปี 2565 จากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) รศ.ไตรรัตน์ เป็นผู้เชี่ยวชาญที่มีผลงานเป็นที่ยอมรับในแวดวงสถาปัตยกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลงานวิจัยด้านการออกแบบเพื่อทุกคน (Universal Design) โครงการรูปแบบที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุไทย เพื่อส่งเสริมสุขภาพกาย-ใจ ภายใต้แนวคิดชุมชนที่เป็นมิตรกับผู้สูงอายุ เพื่อส่งเสริมให้เกิดกระบวนการสร้างความร่วมมือ การมีส่วนร่วมระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในพื้นที่ ในการวางแผนตามหลักเมืองที่เป็นมิตรต่อผู้สูงวัย และพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางการสื่อสารที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์ เผยถึงความรู้สึกที่ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติว่า “ดีใจและขอบคุณสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ที่ให้ความสำคัญในเรื่องผู้สูงอายุ ผลงานวิจัยนี้ ผมและทีมวิจัยได้ศึกษาเรื่องนี้มาเป็นเวลากว่า 20 ปีแล้ว ต้องขอขอบคุณจุฬาฯ ที่ให้โอกาสคณาจารย์จากสหสาขาวิชาได้มาทำงานวิจัยร่วมกัน” จุดเริ่มต้นในการทำงานวิจัยของนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ รศ.ไตรรัตน์เริ่มต้นทำงานวิจัยเรื่องที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุเมื่อ 25 ปีที่แล้ว จากความพยายามที่จะสร้างบ้านสำหรับผู้สูงอายุให้มีความปลอดภัยตามมาตรฐานคู่มือ แต่ผลสุดท้ายคือผู้สูงอายุไม่ย้ายเข้ามาอยู่ในบ้าน จึงสนใจศึกษาว่าเพราะเหตุใดผู้สูงอายุถึงไม่ปรับตัวกับสภาพแวดล้อมใหม่ ทำให้รู้ถึงข้อจำกัดในการเลือกที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุ นอกจากสภาพแวดล้อมด้านความปลอดภัยทางกายภาพแล้ว ยังเลือกสภาพแวดล้อมทางสังคม ชุมชน สิ่งแวดล้อม คือต้องอยู่ใกล้ญาติมิตร ชุมชน เดินทางไปมาหาสู่สะดวก ที่สำคัญต้องพึ่งพาตัวเองได้ ซึ่งจะทำให้ผู้สูงอายุเกิดความภูมิใจมากกว่าการต้องพึ่งพาลูกหลาน กว่า 20 ปีที่ศึกษาวิจัยเกี่ยวกับที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์มีผลงานวิจัยจำนวนมาก แบ่งออกเป็นงานวิจัยขั้นพื้นฐาน เช่น มาตรฐานขั้นต่ำสำหรับที่พักอาศัยและสภาพแวดล้อมของผู้สูงอายุไทย การพัฒนาต้นแบบสภาพแวดล้อมทางกายภาพ และสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุของสถานบริการสาธารณสุข ฯลฯ งานวิจัยประยุกต์ เช่น การปรับสิ่งอำนวยความสะดวกของเมืองพัทยาเพื่อรองรับผู้สูงอายุและคนพิการ โครงการการออกแบบชุมชนน่าอยู่ผู้สูงวัยสำหรับผู้สูงอายุในชนบท และการปรับปรุงและพัฒนาต้นแบบที่อยู่อาศัยที่ปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุในชนบท การส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวเพื่อคนทั้งมวล (Tourism For All) ฯลฯ งานวิจัยองค์ความรู้ใหม่ ได้แก่ สภาพการอยู่อาศัยของผู้สูงอายุ 3 ช่วงวัย (วัยต้น วัยกลาง และวัยปลาย) ซึ่งได้รับทุนวิจัยจากโครงการส่งเสริมการทำงานวิจัยเชิงลึกในสาขาวิชาที่มีศักยภาพสูง การศึกษาและพัฒนานโยบาย เครื่องมือ และต้นแบบที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุและผู้ทุพพลภาพ การศึกษาพฤติกรรมการอยู่อาศัยของผู้สูงอายุที่มีอายุยืนของประเทศ ฯลฯ “เราทำวิจัยเกี่ยวกับผู้สูงอายุและคนพิการต่อเนื่องมากว่า 20 ปี ครอบคลุมผู้สูงอายุทุกกลุ่มทั้งในเมืองหรือชนบท ผู้สูงอายุวัยต้น วัยกลาง วัยปลาย จนถึงผู้สูงอายุที่มีอายุ 100 ปี งานวิจัยของเราเน้น “จากหิ้งสู่ห้าง” มีการนำไปใช้จริง โดยมีบ้านต้นแบบต้นแบบที่นำไปประยุกต์ใช้กับพื้นที่ที่เหมาะสมได้” รศ.ไตรรัตน์ กล่าว กลุ่มคนเปราะบางกับสถานการณ์สังคมสูงวัย ตั้งแต่ปี 2543 เป็นต้นมา ประเทศไทยมีผู้สูงอายุ 10 % ในปี 2565 ผู้สูงอายุเฉลี่ยทั่วประเทศจะมีมากถึง 20% ซึ่งเข้าสู่สังคมสูงวัยแบบสมบูรณ์ ถือเป็นสถานการณ์หรือวิกฤตของประเทศไทย ดังนั้นเราควรมีการเตรียมตัววางแผนรับมือให้ดี เพราะนอกจากผู้สูงอายุจะเพิ่มขึ้นแล้ว อัตราการเกิดและคนวัยแรงงาน ก็ลดลงด้วย เราควรมีการวิจัยเชิงลึกในเรื่องนี้ให้มากขึ้นเพื่อลดผลกระทบทางเศรษฐกิจที่จะตามมา การคุ้มครองสวัสดิภาพในกลุ่มคนเปราะบาง เช่น คนในชุมชนแออัด คนไร้บ้าน คนยากจน ฯลฯ ซึ่งมีอยู่ประมาณ 10% คนกลุ่มนี้ต้องเผชิญปัญหาความยากจน เจ็บป่วย ถูกทอดทิ้ง การผลักภาระไปที่รัฐบาลเพียงอย่างเดียวอาจจะแก้ปัญหาไม่ได้ ชุมชนและภาครัฐต้องช่วยกันดูแลคนกลุ่มนี้ด้วยการส่งเสริมให้อยู่ที่เดิม โดยรัฐอาจมีมาตรการเฉพาะคนกลุ่มนี้ เช่น การปรับปรุงบ้าน การให้บริการสาธารณสุข เป็นต้น เรียนรู้ผู้สูงวัยจากงานวิจัยเรื่องที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์ กล่าวว่าช่วงเริ่มต้นโครงการวิจัยรูปแบบที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุไทยจะเน้นเรื่องความปลอดภัยทางสภาพแวดล้อมเป็นหลัก อย่างไรก็ตาม จากกรณีศึกษาของกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ที่ให้งบประมาณแก่กลุ่มผู้สูงอายุเพื่อปรับปรุงบ้าน พบว่ากลุ่มผู้สูงอายุที่มีความเปราะบางไม่ได้นำเงินที่ได้ไปปรับปรุงสภาพแวดล้อมตามกายภาพที่ควรจะเป็น ทำให้การมองปัญหา ในผู้สูงอายุคงมองเรื่องกายภาพเพียงอย่าเดียวไม่ได้ แต่ต้องเน้นไปที่ปัญหา 4 ด้าน ได้แก่ เรื่องสุขภาพ สังคม เศรษฐกิจ และสภาพแวดล้อม คือต้องดูแลสุขภาพกายและใจของผู้สูงอายุไปพร้อมๆ กับสร้างงาน สร้างรายได้ เพื่อให้ผู้สูงอายุพึ่งพาตนเองได้ แล้วค่อยปรับบ้านให้ปลอดภัยกับผู้สูงอายุ ลักษณะที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ ที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุต้องมีความปลอดภัย มีพื้นเรียบเสมอกันทั้งในบ้านและห้องน้ำ มีราวจับ พื้นไม่ลื่น ที่อยู่อาศัยมีแสงสว่างเพียงพอ ประตูที่ใช้เป็นบานเลื่อน ก๊อกน้ำลูกบิดประตูเป็นก้านโยก ช่องทางเดินมีความกว้าง 90 เซนติเมตร หน้าต่างบานลึก มีแสงสว่าง มองเห็นสวนและต้นไม้ นอกจากนี้พื้นที่ในบ้านไม่ควรใหญ่เกินไปเพื่อง่ายต่อการบำรุงรักษา มีพื้นที่เก็บของเพื่อให้ไม่รกเกะกะ ก่อให้เกิดปัญหาพลัดตกหกล้ม ความสำคัญของชุมชนที่เป็นมิตรกับผู้สูงวัย ชุมชนที่เป็นมิตรกับผู้สูงวัยเป็นแนวคิดขององค์การอนามัยโลก (WHO) เพื่อให้ผู้สูงวัยอยู่ในชุมชนได้อย่างเป็นสุข เป็นมิตรกับทุกคน ทุกวัย ทุกสภาพแวดล้อม ประกอบด้วย 3 ด้าน คือ ด้านกายภาพ เริ่มจากบ้านต้องปลอดภัย มีการเดินทางที่สะดวกสบาย มีพื้นที่สาธารณะที่ดี สามารถเข้าถึงได้ ด้านสังคม ต้องมีการมีส่วนร่วมทางสังคม นอกจากนี้ยังต้องมีการบริการพื้นฐาน ผู้สูงอายุต้องเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร มีบริการทางด้านสุขภาพ สิ่งอำนวยความสะดวก และระบบเศรษฐกิจที่สนับสนุนผู้สูงอายุอีกด้วย จุดเด่นของงานวิจัยที่ตอบโจทย์สังคม “ผลงานวิจัยที่ผ่านมาเป็นงานที่ตอบโจทย์เชิงสังคมและชุมชน สามารถนำไปใช้ได้จริงโดยได้ริเริ่มแนวคิดสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุ คนพิการหรือที่เรียกว่าหลักการออกแบบเพื่อทุกคน นักวิจัยรุ่นหลังสามารถนำเอาแนวคิดนี้ไปพัฒนาต่อยอดเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจได้ เรากำลังผลักดันให้รัฐบาลและภาคเอกชนสนใจในเรื่องนี้เพื่อปรับธุรกิจในการรองรับสังคมสูงวัยซึ่งเป็นสถานการณ์ที่ประเทศไทยกำลังเผชิญอยู่ในปัจจุบัน” รศ.ไตรรัตน์เผยถึงจุดเด่นของงานวิจัยนี้ การสร้างความร่วมมือเพื่อพัฒนาที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์เผยถึงปัญหาสำหรับผู้สูงอายุว่าเป็นเรื่องซับซ้อน จึงต้องมีหลายหน่วยงานเข้ามาเกี่ยวข้อง ต้องร่วมมือกันหลายฝ่าย ไม่ว่าจะเป็นภาครัฐ ภาคเอกชน ชุมชน ครอบครัวเพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมในการช่วยกันแก้ไขปัญหาให้ลุล่วงไปได้ด้วยดี การจะสร้างแรงจูงใจให้หน่วยงานต่างๆ ร่วมมือพัฒนาพื้นที่ของผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่องนั้น รัฐต้องเปลี่ยนบทบาทจากการสงเคราะห์เป็นพัฒนา ส่งเสริมให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ครอบครัว เป็นผู้ดูแลผู้สูงอายุในชุมชน นำเบี้ยยังชีพมาช่วยสร้างงาน รณรงค์ส่งเสริมการสูงวัยในถิ่นเดิม (Aging in Place) ทั้งในระดับการอยู่อาศัยในบ้านหลังเดิม และในชุมชน เครือญาติเดิม พัฒนาระบบการดูแลที่บ้านในชุมชน (Home & Community Healthcare) ดูแลทั้งสุขภาพอนามัย ชีวิตความเป็นอยู่และสภาพแวดล้อมส่งเสริมให้เอกชนผลิตสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุและคนพิการ โดยใช้มาตรการการส่งเสริมการลงทุน การลดภาษี ส่งเสริมให้ครอบครัวที่มีผู้สูงอายุและคนพิการ สามารถจัดซื้อและติดตั้งสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุและคนพิการ สามารถนำมาลดหย่อนภาษีได้ รวมถึงส่งเสริมให้เอกชนพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุที่มีความต้องการเฉพาะ หรือกลุ่มที่มีความจำเป็นจริงๆ แผนการทำงานวิจัยในอนาคต เน้นการทำวิจัยแบบสหสาขาวิชา ผลงานวิจัยที่จะดำเนินการต่อไปคือ โครงการวิจัยพัฒนาระบบต้นแบบรองรับสังคมสูงวัยในบริบทของชุมชนเมือง ภาคใต้และภาคตะวันออก รศ.ไตรรัตน์ ฝากข้อคิดในการทำงานวิจัยให้ประสบความสำเร็จว่า “อยากให้นักวิจัยตั้งโจทย์ให้ หัวข้องานวิจัยมีความน่าสนใจ มีกลุ่มตัวอย่างที่ชัดเจน ไม่เกี่ยงงาน ไม่คิดถึงข้อจำกัดเรื่องเวลา จะทำให้เราทำงานวิจัยง่ายขึ้น หัวใจของนักวิจัยคือ “เราต้องรู้ว่าเราไม่รู้อะไร” เพราะตราบใดที่เรายังค้นคว้าหาความรู้อยู่เรื่อยๆ นั่นคือการทำหน้าที่เป็นนักวิจัยแล้ว” tui sakrapee Related Posts สอบไม่ติดแพทย์ ไม่มีสิทธิ์พูดเรื่องทรงผม!? TCAS65: คะแนนสูงสุด-ต่ำสุดของแต่ละหลักสูตรที่เปิดรับในรอบ 3 Admission 4,685 ที่นั่งยังรอ! รอบที่ 4 สุดท้าย Direct Admission “สวนสุนันทา” เปิดกว้างก้าวสู่อนาคตถึง 31 พ.ค.นี้ สพฐ. ย้ำปี 65 โรงเรียนต้อง ‘ซ่อม เสริม สร้าง’ ให้นักเรียนเป็นรายบุคคล — 25 พฤษภาคม 2565 เด็กโทษระบบไม่ส่งรหัสยืนยันสิทธิ์ ทปอ. พบไม่กดขอ OTP เอง — 24 พฤษภาคม 2565 Post navigation PREVIOUS Previous post: “นวัตกรรมผ้าไม่ทอจากเส้นใยไผ่ ในผลิตภัณฑ์ไลฟ์สไตล์ทางการแพทย์” นักวิจัยมทร.ธัญบุรีสร้างคุณค่าและมูลค่าเพิ่มNEXT Next post: มีที่เรียนก่อนใคร! โค้งสุดท้าย “สวนสุนันทา” พารอด รับรอบ 1 ถึง 4,601 ที่นั่ง สมัครวันนี้ยังมีโอกาส – 7 ม.ค.65 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
KMITL INNOKET 2022 : ตลาดนวัตกรรมสร้างอาชีพ-ต่อยอดธุรกิจ EZ WebmasterMay 25, 2022 วันพุธที่ 25 พฤษภาคม 2565 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) รุดเปิดตลาดนวัตกรรมสร้างอาชีพครั้งแรก “เคเอ็มไอทีแอล อินโนเก็ต 2022” (KMITL INNOKET 2022) ตลาดเดียวที่รวบรวมนวัตกรรมที่สามารถสร้างสรรค์เป็นอาชีพใหม่ ต่อยอดธุรกิจ หรือเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้าและบริการ ด้วยงบประมาณลงทุนขั้นต่ำที่… พระเมธีวชิโรดม (ว.วชิรเมธี) เปิดหอศิลป์ ‘รศ.สุวัฒน์’ แหล่งสร้างผลงานศิลปะไทยร่วมสมัยแนวพุทธศิลป์ tui sakrapeeMay 24, 2022 พระเมธีวชิโรดม (ว.วชิรเมธี) เปิดหอศิลป์ รศ.สุวัฒน์ แหล่งสร้างผลงานศิลปะไทยร่วมสมัยแนวพุทธศิลป์ที่มีเอกลักษณ์โดดเด่น ให้เป็นแหล่งเรียนรู้จัดกิจกรรมด้านศิลปะในพื้นที่ชานเมืองกรุง เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม 2565 พระเมธีวชิโรดม (ท่าน ว.วชิรเมธี) คุณเมตตา อุทกะพันธุ์ ประธานกรรมการบริษัท อมรินทร์ปริ้นติ้ง แอนด์… มทร.ธัญบุรี จัดประชุมวิชาการนานาชาติ นวัตกรรม 9 ราชมงคล ยกระดับเศรษฐกิจฐานราก สร้างสังคมคุณภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterMay 22, 2022 เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคมที่ผ่านมา มทร.ธัญบุรี ร่วมกับเครือข่ายมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีกทั้ง 8 แห่ง ได้จัด “การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 12” และ “การประชุมวิชาการระดับนานาชาติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 11” พร้อมด้วย “การประกวดสิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมราชมงคล ครั้งที่… Search for: Search
พระเมธีวชิโรดม (ว.วชิรเมธี) เปิดหอศิลป์ ‘รศ.สุวัฒน์’ แหล่งสร้างผลงานศิลปะไทยร่วมสมัยแนวพุทธศิลป์ tui sakrapeeMay 24, 2022 พระเมธีวชิโรดม (ว.วชิรเมธี) เปิดหอศิลป์ รศ.สุวัฒน์ แหล่งสร้างผลงานศิลปะไทยร่วมสมัยแนวพุทธศิลป์ที่มีเอกลักษณ์โดดเด่น ให้เป็นแหล่งเรียนรู้จัดกิจกรรมด้านศิลปะในพื้นที่ชานเมืองกรุง เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม 2565 พระเมธีวชิโรดม (ท่าน ว.วชิรเมธี) คุณเมตตา อุทกะพันธุ์ ประธานกรรมการบริษัท อมรินทร์ปริ้นติ้ง แอนด์… มทร.ธัญบุรี จัดประชุมวิชาการนานาชาติ นวัตกรรม 9 ราชมงคล ยกระดับเศรษฐกิจฐานราก สร้างสังคมคุณภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterMay 22, 2022 เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคมที่ผ่านมา มทร.ธัญบุรี ร่วมกับเครือข่ายมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีกทั้ง 8 แห่ง ได้จัด “การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 12” และ “การประชุมวิชาการระดับนานาชาติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 11” พร้อมด้วย “การประกวดสิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมราชมงคล ครั้งที่…
มทร.ธัญบุรี จัดประชุมวิชาการนานาชาติ นวัตกรรม 9 ราชมงคล ยกระดับเศรษฐกิจฐานราก สร้างสังคมคุณภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterMay 22, 2022 เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคมที่ผ่านมา มทร.ธัญบุรี ร่วมกับเครือข่ายมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีกทั้ง 8 แห่ง ได้จัด “การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 12” และ “การประชุมวิชาการระดับนานาชาติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 11” พร้อมด้วย “การประกวดสิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมราชมงคล ครั้งที่…
tui sakrapee January 4, 2022 tui sakrapee January 4, 2022 อาจารย์สถาปัตย์ จุฬาฯ นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาปรัชญา ประจำปี 2565 พัฒนาที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุไทย รศ.ไตรรัตน์ จารุทัศน์ ภาควิชาเคหการ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาฯ หัวหน้าศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางการออกแบบสภาพแวดล้อมเพื่อทุกคน ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาปรัชญา ประจำปี 2565 จากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) รศ.ไตรรัตน์ เป็นผู้เชี่ยวชาญที่มีผลงานเป็นที่ยอมรับในแวดวงสถาปัตยกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลงานวิจัยด้านการออกแบบเพื่อทุกคน (Universal Design) โครงการรูปแบบที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุไทย เพื่อส่งเสริมสุขภาพกาย-ใจ ภายใต้แนวคิดชุมชนที่เป็นมิตรกับผู้สูงอายุ เพื่อส่งเสริมให้เกิดกระบวนการสร้างความร่วมมือ การมีส่วนร่วมระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในพื้นที่ ในการวางแผนตามหลักเมืองที่เป็นมิตรต่อผู้สูงวัย และพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางการสื่อสารที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์ เผยถึงความรู้สึกที่ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติว่า “ดีใจและขอบคุณสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ที่ให้ความสำคัญในเรื่องผู้สูงอายุ ผลงานวิจัยนี้ ผมและทีมวิจัยได้ศึกษาเรื่องนี้มาเป็นเวลากว่า 20 ปีแล้ว ต้องขอขอบคุณจุฬาฯ ที่ให้โอกาสคณาจารย์จากสหสาขาวิชาได้มาทำงานวิจัยร่วมกัน” จุดเริ่มต้นในการทำงานวิจัยของนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ รศ.ไตรรัตน์เริ่มต้นทำงานวิจัยเรื่องที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุเมื่อ 25 ปีที่แล้ว จากความพยายามที่จะสร้างบ้านสำหรับผู้สูงอายุให้มีความปลอดภัยตามมาตรฐานคู่มือ แต่ผลสุดท้ายคือผู้สูงอายุไม่ย้ายเข้ามาอยู่ในบ้าน จึงสนใจศึกษาว่าเพราะเหตุใดผู้สูงอายุถึงไม่ปรับตัวกับสภาพแวดล้อมใหม่ ทำให้รู้ถึงข้อจำกัดในการเลือกที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุ นอกจากสภาพแวดล้อมด้านความปลอดภัยทางกายภาพแล้ว ยังเลือกสภาพแวดล้อมทางสังคม ชุมชน สิ่งแวดล้อม คือต้องอยู่ใกล้ญาติมิตร ชุมชน เดินทางไปมาหาสู่สะดวก ที่สำคัญต้องพึ่งพาตัวเองได้ ซึ่งจะทำให้ผู้สูงอายุเกิดความภูมิใจมากกว่าการต้องพึ่งพาลูกหลาน กว่า 20 ปีที่ศึกษาวิจัยเกี่ยวกับที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์มีผลงานวิจัยจำนวนมาก แบ่งออกเป็นงานวิจัยขั้นพื้นฐาน เช่น มาตรฐานขั้นต่ำสำหรับที่พักอาศัยและสภาพแวดล้อมของผู้สูงอายุไทย การพัฒนาต้นแบบสภาพแวดล้อมทางกายภาพ และสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุของสถานบริการสาธารณสุข ฯลฯ งานวิจัยประยุกต์ เช่น การปรับสิ่งอำนวยความสะดวกของเมืองพัทยาเพื่อรองรับผู้สูงอายุและคนพิการ โครงการการออกแบบชุมชนน่าอยู่ผู้สูงวัยสำหรับผู้สูงอายุในชนบท และการปรับปรุงและพัฒนาต้นแบบที่อยู่อาศัยที่ปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุในชนบท การส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวเพื่อคนทั้งมวล (Tourism For All) ฯลฯ งานวิจัยองค์ความรู้ใหม่ ได้แก่ สภาพการอยู่อาศัยของผู้สูงอายุ 3 ช่วงวัย (วัยต้น วัยกลาง และวัยปลาย) ซึ่งได้รับทุนวิจัยจากโครงการส่งเสริมการทำงานวิจัยเชิงลึกในสาขาวิชาที่มีศักยภาพสูง การศึกษาและพัฒนานโยบาย เครื่องมือ และต้นแบบที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุและผู้ทุพพลภาพ การศึกษาพฤติกรรมการอยู่อาศัยของผู้สูงอายุที่มีอายุยืนของประเทศ ฯลฯ “เราทำวิจัยเกี่ยวกับผู้สูงอายุและคนพิการต่อเนื่องมากว่า 20 ปี ครอบคลุมผู้สูงอายุทุกกลุ่มทั้งในเมืองหรือชนบท ผู้สูงอายุวัยต้น วัยกลาง วัยปลาย จนถึงผู้สูงอายุที่มีอายุ 100 ปี งานวิจัยของเราเน้น “จากหิ้งสู่ห้าง” มีการนำไปใช้จริง โดยมีบ้านต้นแบบต้นแบบที่นำไปประยุกต์ใช้กับพื้นที่ที่เหมาะสมได้” รศ.ไตรรัตน์ กล่าว กลุ่มคนเปราะบางกับสถานการณ์สังคมสูงวัย ตั้งแต่ปี 2543 เป็นต้นมา ประเทศไทยมีผู้สูงอายุ 10 % ในปี 2565 ผู้สูงอายุเฉลี่ยทั่วประเทศจะมีมากถึง 20% ซึ่งเข้าสู่สังคมสูงวัยแบบสมบูรณ์ ถือเป็นสถานการณ์หรือวิกฤตของประเทศไทย ดังนั้นเราควรมีการเตรียมตัววางแผนรับมือให้ดี เพราะนอกจากผู้สูงอายุจะเพิ่มขึ้นแล้ว อัตราการเกิดและคนวัยแรงงาน ก็ลดลงด้วย เราควรมีการวิจัยเชิงลึกในเรื่องนี้ให้มากขึ้นเพื่อลดผลกระทบทางเศรษฐกิจที่จะตามมา การคุ้มครองสวัสดิภาพในกลุ่มคนเปราะบาง เช่น คนในชุมชนแออัด คนไร้บ้าน คนยากจน ฯลฯ ซึ่งมีอยู่ประมาณ 10% คนกลุ่มนี้ต้องเผชิญปัญหาความยากจน เจ็บป่วย ถูกทอดทิ้ง การผลักภาระไปที่รัฐบาลเพียงอย่างเดียวอาจจะแก้ปัญหาไม่ได้ ชุมชนและภาครัฐต้องช่วยกันดูแลคนกลุ่มนี้ด้วยการส่งเสริมให้อยู่ที่เดิม โดยรัฐอาจมีมาตรการเฉพาะคนกลุ่มนี้ เช่น การปรับปรุงบ้าน การให้บริการสาธารณสุข เป็นต้น เรียนรู้ผู้สูงวัยจากงานวิจัยเรื่องที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์ กล่าวว่าช่วงเริ่มต้นโครงการวิจัยรูปแบบที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุไทยจะเน้นเรื่องความปลอดภัยทางสภาพแวดล้อมเป็นหลัก อย่างไรก็ตาม จากกรณีศึกษาของกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ที่ให้งบประมาณแก่กลุ่มผู้สูงอายุเพื่อปรับปรุงบ้าน พบว่ากลุ่มผู้สูงอายุที่มีความเปราะบางไม่ได้นำเงินที่ได้ไปปรับปรุงสภาพแวดล้อมตามกายภาพที่ควรจะเป็น ทำให้การมองปัญหา ในผู้สูงอายุคงมองเรื่องกายภาพเพียงอย่าเดียวไม่ได้ แต่ต้องเน้นไปที่ปัญหา 4 ด้าน ได้แก่ เรื่องสุขภาพ สังคม เศรษฐกิจ และสภาพแวดล้อม คือต้องดูแลสุขภาพกายและใจของผู้สูงอายุไปพร้อมๆ กับสร้างงาน สร้างรายได้ เพื่อให้ผู้สูงอายุพึ่งพาตนเองได้ แล้วค่อยปรับบ้านให้ปลอดภัยกับผู้สูงอายุ ลักษณะที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ ที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุต้องมีความปลอดภัย มีพื้นเรียบเสมอกันทั้งในบ้านและห้องน้ำ มีราวจับ พื้นไม่ลื่น ที่อยู่อาศัยมีแสงสว่างเพียงพอ ประตูที่ใช้เป็นบานเลื่อน ก๊อกน้ำลูกบิดประตูเป็นก้านโยก ช่องทางเดินมีความกว้าง 90 เซนติเมตร หน้าต่างบานลึก มีแสงสว่าง มองเห็นสวนและต้นไม้ นอกจากนี้พื้นที่ในบ้านไม่ควรใหญ่เกินไปเพื่อง่ายต่อการบำรุงรักษา มีพื้นที่เก็บของเพื่อให้ไม่รกเกะกะ ก่อให้เกิดปัญหาพลัดตกหกล้ม ความสำคัญของชุมชนที่เป็นมิตรกับผู้สูงวัย ชุมชนที่เป็นมิตรกับผู้สูงวัยเป็นแนวคิดขององค์การอนามัยโลก (WHO) เพื่อให้ผู้สูงวัยอยู่ในชุมชนได้อย่างเป็นสุข เป็นมิตรกับทุกคน ทุกวัย ทุกสภาพแวดล้อม ประกอบด้วย 3 ด้าน คือ ด้านกายภาพ เริ่มจากบ้านต้องปลอดภัย มีการเดินทางที่สะดวกสบาย มีพื้นที่สาธารณะที่ดี สามารถเข้าถึงได้ ด้านสังคม ต้องมีการมีส่วนร่วมทางสังคม นอกจากนี้ยังต้องมีการบริการพื้นฐาน ผู้สูงอายุต้องเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร มีบริการทางด้านสุขภาพ สิ่งอำนวยความสะดวก และระบบเศรษฐกิจที่สนับสนุนผู้สูงอายุอีกด้วย จุดเด่นของงานวิจัยที่ตอบโจทย์สังคม “ผลงานวิจัยที่ผ่านมาเป็นงานที่ตอบโจทย์เชิงสังคมและชุมชน สามารถนำไปใช้ได้จริงโดยได้ริเริ่มแนวคิดสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุ คนพิการหรือที่เรียกว่าหลักการออกแบบเพื่อทุกคน นักวิจัยรุ่นหลังสามารถนำเอาแนวคิดนี้ไปพัฒนาต่อยอดเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจได้ เรากำลังผลักดันให้รัฐบาลและภาคเอกชนสนใจในเรื่องนี้เพื่อปรับธุรกิจในการรองรับสังคมสูงวัยซึ่งเป็นสถานการณ์ที่ประเทศไทยกำลังเผชิญอยู่ในปัจจุบัน” รศ.ไตรรัตน์เผยถึงจุดเด่นของงานวิจัยนี้ การสร้างความร่วมมือเพื่อพัฒนาที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์เผยถึงปัญหาสำหรับผู้สูงอายุว่าเป็นเรื่องซับซ้อน จึงต้องมีหลายหน่วยงานเข้ามาเกี่ยวข้อง ต้องร่วมมือกันหลายฝ่าย ไม่ว่าจะเป็นภาครัฐ ภาคเอกชน ชุมชน ครอบครัวเพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมในการช่วยกันแก้ไขปัญหาให้ลุล่วงไปได้ด้วยดี การจะสร้างแรงจูงใจให้หน่วยงานต่างๆ ร่วมมือพัฒนาพื้นที่ของผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่องนั้น รัฐต้องเปลี่ยนบทบาทจากการสงเคราะห์เป็นพัฒนา ส่งเสริมให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ครอบครัว เป็นผู้ดูแลผู้สูงอายุในชุมชน นำเบี้ยยังชีพมาช่วยสร้างงาน รณรงค์ส่งเสริมการสูงวัยในถิ่นเดิม (Aging in Place) ทั้งในระดับการอยู่อาศัยในบ้านหลังเดิม และในชุมชน เครือญาติเดิม พัฒนาระบบการดูแลที่บ้านในชุมชน (Home & Community Healthcare) ดูแลทั้งสุขภาพอนามัย ชีวิตความเป็นอยู่และสภาพแวดล้อมส่งเสริมให้เอกชนผลิตสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุและคนพิการ โดยใช้มาตรการการส่งเสริมการลงทุน การลดภาษี ส่งเสริมให้ครอบครัวที่มีผู้สูงอายุและคนพิการ สามารถจัดซื้อและติดตั้งสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุและคนพิการ สามารถนำมาลดหย่อนภาษีได้ รวมถึงส่งเสริมให้เอกชนพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุที่มีความต้องการเฉพาะ หรือกลุ่มที่มีความจำเป็นจริงๆ แผนการทำงานวิจัยในอนาคต เน้นการทำวิจัยแบบสหสาขาวิชา ผลงานวิจัยที่จะดำเนินการต่อไปคือ โครงการวิจัยพัฒนาระบบต้นแบบรองรับสังคมสูงวัยในบริบทของชุมชนเมือง ภาคใต้และภาคตะวันออก รศ.ไตรรัตน์ ฝากข้อคิดในการทำงานวิจัยให้ประสบความสำเร็จว่า “อยากให้นักวิจัยตั้งโจทย์ให้ หัวข้องานวิจัยมีความน่าสนใจ มีกลุ่มตัวอย่างที่ชัดเจน ไม่เกี่ยงงาน ไม่คิดถึงข้อจำกัดเรื่องเวลา จะทำให้เราทำงานวิจัยง่ายขึ้น หัวใจของนักวิจัยคือ “เราต้องรู้ว่าเราไม่รู้อะไร” เพราะตราบใดที่เรายังค้นคว้าหาความรู้อยู่เรื่อยๆ นั่นคือการทำหน้าที่เป็นนักวิจัยแล้ว”
4,685 ที่นั่งยังรอ! รอบที่ 4 สุดท้าย Direct Admission “สวนสุนันทา” เปิดกว้างก้าวสู่อนาคตถึง 31 พ.ค.นี้