TCAS68 รอบ2 โควตา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ปีการศึกษา2568 EZ WebmasterMarch 27, 2025 TCAS68 รอบ2 โควตา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ปีการศึกษา2568 รับสมัคร Online ระหว่างวันที่ 3 มีนาคม – 8 เมษายน 2568 1. สำนักวิชาวิทยาศาสตร์ ประกอบด้วย – หลักสูตรฯ… มหาวิทยาลัยการจัดการสิงคโปร์ (SMU) ผนึกกำลังจุฬาฯ และมช. หนุนสตาร์ทอัพและธุรกิจด้านเทคโนโลยีของไทยขยายสู่ตลาดอาเซียน EZ WebmasterMarch 27, 2025 มหาวิทยาลัยการจัดการสิงคโปร์ (Singapore Management University: SMU) ร่วมมือกับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เพื่อสนับสนุนระบบนิเวศของธุรกิจสตาร์ทอัพ (Startup) ในประเทศไทย โดยมุ่งส่งเสริมผู้ประกอบการที่ดำเนินธุรกิจข้ามพรมแดน และผลักดันการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ระหว่างประเทศ เพื่อสนับสนุนการขยายตัวของสตาร์ทอัพไทยสู่ตลาดอาเซียนขณะที่เศรษฐกิจดิจิทัลของไทยเติบโตอย่างต่อเนื่องและมีส่วนสำคัญต่อการขยายตัวของตลาดดิจิทัลในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งคาดการณ์ว่าจะมีมูลค่าถึง 1 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐภายในปี 2573 นอกจากนี้แล้ว ทางมหาวิทยาลัยยังได้มุ่งเน้นส่งเสริมบทบาทของผู้หญิงในการเป็นผู้นำด้านเทคโนโลยีซึ่งเพิ่มความสำคัญมากขึ้นในปัจจุบัน โดยได้จัดงานเสวนาและบรรยายในหัวข้อ “Leadership in Tech: AI Ethics, Data Governance,… สัปดาห์สุดท้าย!ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา เปิดรับรอบที่ 2 Quota 8 สาขา พร้อมมอบทุนเพชรสุนันทา เรียนการออกแบบแฟชั่น tui sakrapeeMarch 27, 2025 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดรับสมัครคัดเลือกนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญเข้าศึกษาในโครงการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาระดับปริญญาตรี ระบบโควตา ประเภทความสามารถทางวิชาการ และประเภทความสามารถพิเศษ ประจำปีการศึกษา 2568 (รอบที่ 2 Quota) พร้อมรับสมัครคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษา ภาคปกติ ระดับปริญญาตรี ในโครงการทุนเพชรสุนันทา กำหนดการรับสมัคร สาขาที่รับสมัครคณะศิลปกรรมศาสตร์ คุณสมบัติเฉพาะ… ปิดเทอมแสนเบิกบานกับนิทานจุดประกาย EZ WebmasterMarch 27, 2025 “กาลครั้งหนึ่งนานมาแล้ว ในอาณาจักรแห่งหนึ่ง………………” ลองขึ้นต้นด้วยอารัมภบทแบบนี้ ทายซิอะไรกำลังจะตามมา ใช่เลย นิทานกำลังจะเริ่มแล้ว น้องๆ ตาแป๋วรอใจจดใจจ่อ “นิทาน” ไม่ใช่แค่เรื่องเล่าชวนฝันนะ แต่ยังเป็นสื่อจุดประกายจินตนาการ ส่งเสริมการเรียนรู้ตามธรรมชาติให้เด็กๆ โดยเฉพาะน้องๆ วัยใสด้วยนะ ช่วงปิดเทอมนี้เลยทำให้อยากชวนผู้ปกครอง คุณพ่อ คุณแม่ ไปท่องโลกนิทานกับช่อง youtube ปฐมวัย… นักศึกษา มธ. รับสมัครนักศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสหวิทยาการ ประจำปีการศึกษา 2568 EZ WebmasterMarch 27, 2025 วิทยาลัยสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เปิดรับสมัครนักศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสหวิทยาการ (จัดการเรียนการสอนที่ท่าพระจันทร์) มี 2 แผนการศึกษา ดังนี้ แผน 1.1 (ทเฉพาะวิทยานิพนธ์) แผน 2.1 (ศึกษารายวิชาและทำวิทยานิพนธ์) หลักฐานประกอบการสมัคร 3.1 ใบสมัครของหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสหวิทยาการ… มทร.ธัญบุรี เปิดกว้างทุกวัย เพื่อเรียนรู้ตลอดชีพ ธนาคารหน่วยกิต “40 หลักสูตร ป.ตรี” tui sakrapeeMarch 26, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) เปิดรับสมัครผู้สนใจเข้าร่วมโครงการการเรียนรู้ตลอดชีวิตในระบบเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ (ธนาคารหน่วยกิต) หลักสูตรระดับปริญญาตรี ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2568 ตั้งแต่วันที่ 24 มี.ค. ถึง 30 พ.ค. 2568 โดยไม่มีค่าใช้จ่ายในการสมัคร… เปิดรับอาสาสมัครศิริราช รอบทำกิจกรรม เดือน พ.ค.-ก.ค. 68 ทุกกิจกรรมมีใบรับรองการทำกิจกรรม EZ WebmasterMarch 26, 2025 ตารางการรับอาสาสมัครรอบทำกิจกรรม เดือน พฤษภาคม – กรกฏาคม 68 (กิจกรรมที่อยู่ในเว็บไซต์ตอนนี้เป็นรอบเก่ามีผู้เข้าร่วมเต็มทั้งหมดแล้วค่ะ รอบใหม่จะเปิดตามวันเวลาที่แจ้งด้านล่างนี้เท่านั้น*) ขอให้อาสาเป็นผู้สมัครและกดเลือกกิจกรรมด้วยตนเองนะคะ – 31 ก.ค. 68 **เนื่องจากวันที่ 5 พ.ค. เป็นวันหยุด จะขอเริ่มตั้งแต่วันที่วันที่ 6 พ.ค.… ซีไอเอ็มบี ไทย เปิดสมัครทุนการศึกษา CIMB ASEAN Scholarship ประจำปี 2568 EZ WebmasterMarch 26, 2025 ธนาคาร ซีไอเอ็มบี ไทย จำกัด (มหาชน) เปิดรับนักเรียน นักศึกษา ที่กำลังจะเข้าศึกษาต่อ ในระดับปริญญาตรี จากทุกสาขาวิชา เพื่อคัดเลือกเข้ารับ CIMB ASEAN Scholarship ซึ่งเป็นทุนการศึกษาเต็มจำนวน ที่ครอบคลุมค่าเล่าเรียนทั้งหมด (ค่าใช้จ่ายในการสมัครเรียน ค่าเทอม… ทุนดีดี มหาวิทยาลัยอัลอัซฮัร กรุงไคโร สาธารณรัฐอาหรับอียิปต์ มอบ 160 ทุนให้นักศึกษาจากประเทศไทย EZ WebmasterMarch 27, 2025 มหาวิทยาลัยอัลอัซฮัร กรุงไคโร สาธารณรัฐอาหรับอียิปต์ มอบทุนการศึกษาแก่นักศึกษาจากประเทศไทย จำนวน 160 ทุน ในปีการศึกษา 2025/2026 (2568/2569) โดยจำแนกเป็น ทุนนการศึกษาสาขาอิสลามศึกษา จำนวน 80 ทุน เฉพาะนักเรียนที่จบการศึกษาระดับอิสลามศึกษาตอนปลาย (ซานาวี) #จากโรงเรียนที่ได้รับรองวิทยฐานะ ประกาศนียบัตรระดับอิสลามศึกษาตอนปลาย (ซานาวี)… Peking U.ให้ทุนป.ตรี-เอก InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศMarch 27, 2025 Peking University กำลังให้ทุนสำหรับนักศึกษาต่างชาติที่โดดเด่น ทุนนี้ก่อตั้งขึ้นในปี 2012 โดยให้การสนับสนุนนักศึกษาระดับปริญญาตรี โท และเอก(ไม่จำกัดสาขาวิชา) โดยให้ความช่วยเหลือทางการเงินเต็มจำนวนหรือบางส่วน รวมถึงค่าเล่าเรียน เงินเดือน และประกันสุขภาพ เปิดรับสมัครช่วงมีนาคมถึงเมษายน ทุกปี เพื่อให้มีสิทธิ์ได้รับทุน ผู้สมัครจะต้องเป็นนักศึกษาต่างชาติที่ได้รับข้อเสนอให้เข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยปักกิ่งในฐานะนักศึกษาปีหนึ่ง จะต้องไม่เป็นผู้รับทุนการศึกษาอื่นใด และไม่ควรลงทะเบียนในโปรแกรมปริญญาวิชาชีพ… สัปดาห์สุดท้าย!ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา เปิดรับรอบที่ 2 Quota 8 สาขา พร้อมมอบทุนเพชรสุนันทา เรียนการออกแบบแฟชั่น tui sakrapeeMarch 27, 2025 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดรับสมัครคัดเลือกนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญเข้าศึกษาในโครงการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาระดับปริญญาตรี ระบบโควตา ประเภทความสามารถทางวิชาการ และประเภทความสามารถพิเศษ ประจำปีการศึกษา 2568 (รอบที่ 2 Quota) พร้อมรับสมัครคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษา ภาคปกติ ระดับปริญญาตรี ในโครงการทุนเพชรสุนันทา กำหนดการรับสมัคร สาขาที่รับสมัครคณะศิลปกรรมศาสตร์ คุณสมบัติเฉพาะ… #ODOSSummerCamp InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศMarch 26, 2025 โอกาสที่จะได้ทุนไปค่ายฤดูร้อนที่ออสเตรเลีย กับ ทุน #ODOSSummerCamp มาถึงแล้ว! น้อง ๆ ตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ขึ้นไปและมีอายุไม่เกิน 19 ปี จาก 928 อำเภอทั่วประเทศสามารถสมัครเพื่อขอทุนนี้ผ่านแอปพลิเคชัน ‘ทางรัฐ’ สมัครได้ตั้งแต่วันนี้ –… ครู-อาจารย์ มจธ. คิดค้น “นวัตกรรมการผลิตซิลิกาด้วยเทคโนโลยีชีวภาพ” ต้นทุนต่ำ คุณภาพสูง พร้อมพลิกโฉมอุตสาหกรรมไทย EZ WebmasterMarch 27, 2025 นักวิจัย มจธ.พัฒนากระบวนการผลิต ไบโอซิลิกา (Biosilica) จากแกลบข้าว ด้วยกระบวนการชีวภาพ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและไร้สารเคมีตกค้าง พร้อมส่งต่อเทคโนโลยีเพื่อนำไปใช้ในอุตสาหกรรมต่างๆ เช่น เครื่องสำอาง เวชสำอาง ยา และยาง ซึ่งเป็นก้าวสำคัญที่ช่วยให้ประเทศไทยลดการพึ่งพาซิลิกานำเข้า และส่งเสริมเศรษฐกิจหมุนเวียนของประเทศ ซิลิกา (Silica) เป็นวัตถุดิบสำคัญในหลายอุตสาหกรรมของไทย ตั้งแต่ยางรถยนต์ เครื่องสำอาง เวชภัณฑ์… โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “ดร.ชุมพล พรประภา” เป็นนายกสภา ม.ศรีนครินทรวิโรฒ tui sakrapeeMarch 26, 2025 ราชกิจจานุเบกษาเผยแพร่ ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “ชุมพล พรประภา” ดำรงตำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ แทนวิจิตร ศรีสอ้าน ที่ถึงแก่อนิจกรรม ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 142 ตอนพิเศษ 147 ง เมื่อวันที่ 25… สอศ. ปั้นผู้อำนวยการอาชีวะยุคใหม่! เสริมภาวะผู้นำ-วิสัยทัศน์ ทันโลกการศึกษา EZ WebmasterMarch 26, 2025 วันที่ 26 มีนาคม 2568 นายยศพล เวณุโกเศศ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (เลขาธิการ กอศ.) เป็นประธานเปิดโครงการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และบรรยายพิเศษ “Growth Mindset: แนวคิดเชิงบวกและการเติบโตขององค์กร” โดยนางธิติมา โรจน์วัชราภิบาล ผู้อำนวยการ… ไทย จ่อขยับอันดับการศึกษา หลังอัตราการรู้หนังสือของประชากร พุ่งสูง 98.83% จากการสำรวจอัตราการรู้หนังสือของประชากร EZ WebmasterMarch 26, 2025 เมื่อวันที่ 26 มีนาคม ที่สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (สกศ.) นายประวิต เอราวรรณ์ เลขาธิการสภาการศึกษา กล่าวในงานแถลงผลการสำรวจการรู้หนังสือของประชากรไทย ปี 2568 โดยมี นายธนากร ดอนเหนือ อธิบดีกรมส่งเสริมการเรียนรู้ (สกร.) เข้าร่วม นายประวิต… กิจกรรม สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ ร่วมพิธีวางพานพุ่มและพิธีตักบาตร เนื่องในวันครบรอบ ๑๐๘ ปี แห่งการสถาปนาจุฬาฯ EZ WebmasterMarch 27, 2025 สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินร่วมพิธีวางพานพุ่มสักการะพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระปิยมหาราชและสมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า และพิธีตักบาตร เนื่องในวันครบรอบ ๑๐๘ ปี แห่งการสถาปนาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมี นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ และ นายอรรษิษฐ์ สัมพันธรัตน์ ประธานการจัดงานคืนเหย้าชาวจุฬาฯ… พิธีเปิดกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) ภายใต้โครงการพัฒนามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมผ้าไทยสู่สากล ประจำปี ๒๕๖๘ EZ WebmasterMarch 26, 2025 นางสาวลิปิการ์ กำลังชัย รองธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรม รักษาราชการแทนอธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรมเป็นประธานพิธิเปิด และร่วมรับฟังการบรรยายกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) พร้อมด้วยนางสาวศิวพร ฉันทไกรวัฒน์ ผู้อำนวยการกลุ่มเผยแพร่และต่อยอดมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมเข้าร่วมงาน โดยวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญด้านผ้าไทย การออกแบบและแฟชั่น อาทิ ผศ.ดร.รวิเทพ มุสิกะปาน ผศ.ดร.วุฒิไกร… เปิดรับอาสาสมัครศิริราช รอบทำกิจกรรม เดือน พ.ค.-ก.ค. 68 ทุกกิจกรรมมีใบรับรองการทำกิจกรรม EZ WebmasterMarch 26, 2025 ตารางการรับอาสาสมัครรอบทำกิจกรรม เดือน พฤษภาคม – กรกฏาคม 68 (กิจกรรมที่อยู่ในเว็บไซต์ตอนนี้เป็นรอบเก่ามีผู้เข้าร่วมเต็มทั้งหมดแล้วค่ะ รอบใหม่จะเปิดตามวันเวลาที่แจ้งด้านล่างนี้เท่านั้น*) ขอให้อาสาเป็นผู้สมัครและกดเลือกกิจกรรมด้วยตนเองนะคะ – 31 ก.ค. 68 **เนื่องจากวันที่ 5 พ.ค. เป็นวันหยุด จะขอเริ่มตั้งแต่วันที่วันที่ 6 พ.ค.… เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน รับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน EZ WebmasterMarch 24, 2025 เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน เกม Let’s School เกมแนวบริหารโรงเรียนในฝัน ที่จะให้เรารับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน อยากให้โรงเรียนเป็นแบบไหนก็ปรับเล่นได้เลย ดูอารมณ์นักเรียกได้ด้วยว่ามีความสุขมั้ย? แถมตอนนี้ยังมีอัปเดตแมพใหม่พร้อมซัพไทยด้วยนะ Let’s School โหลดเล่นได้ที่ Steam :… Search for: Search EZ Webmaster February 24, 2022 EZ Webmaster February 24, 2022 O-NET ควรไปต่อหรือพอแค่นี้ — บทสรุปจากผลสำรวจความคิดเห็นผ่านแฟนเพจ Eduzones และ Wiriyah Eduzones O-NET ควรไปต่อหรือพอแค่นี้— บทสรุปจากผลสำรวจ การสอบโอเน็ต หรือ O-NET (Ordinary National Educational Test) เป็นการวัดผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนที่ต้องการวัดผ่านการจัดการทดสอบในระดับชาติ โดยมีสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (สทศ.) เป็นผู้ดำเนินการออกข้อสอบและจัดสอบทั่วประเทศ ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบความรู้ของนักเรียนในระระดับชั้นประถมศึกปีที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่ในปัจจุบันกลายข้อสอบชนิดนี้ตกเป็นประเด็นในการถกเถียงอย่างร้อนแรงว่า O-NET นี้มีประโยชน์ต่อนักเรียนจริงหรอ? ข้อสอบชนิfนี้ควรยกเลิกหรือควรไปต่อเช่นเดิม? . จากผลการสำรวจผ่านเฟสบุ๊กแฟนเพจ Eduzones และ Wiriyah Eduzones โดยเก็บข้อมูลภายในวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2565 จำนวนทั้งสิ้น 200 คอมเมนต์ พบว่ามีการแสดงความคิดเห็นเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้ อันดับ 1 ควรยกเลิก โดยผู้แสดงความคิดเห็นกลุ่มนี้ให้เหตุผลว่า “การสอบโอเน็ตทั้งสร้างภาระในแก่คุณครู ยังสามารถทั้งความเครียดและความกดดันให้แก่นักเรียน” “ควรยกเลิก ถ้าต้องการวัดคุณภาพครูควรเปลี่ยนเป็นการสำรวจความเห็นนักเรียน และผู้ปกครอง ควรให้เด็กนำเวลาไปปสนใจกับการสอบเข้าโรงเรียนที่จะศึกษาต่อ” “ไม่มีประโยชน์ เปลืองงบประมาณ” “ควรยกเลิกเพราะการสอบโอเน็ตกลายเป็นเครื่องมือที่คุณครู หรือผอ.ใช้ไม่ให้น้อยหน้ากว่าโรงเรียนอื่น” “ควรยกเลิกเพราะเป็นความเหลื่อมล้ำ กลายเป็นแหล่งหาเงินของสถาบันกวดวิชา” “ควรยกเลิก และควรเปลี่ยนข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัยเป็นข้อสอบเดียวกันทั้งประเทศเพราะ O-NET GAT/PAT กลายเป็นการใช้งบประมาณโดยใช้เหตุ มีการนำเงินไปใช้ด้วยเหตุผลในการศึกษาดูงานต่างประเทศแต่ไม่เคยนำกลับมาพัฒนากับระบบการศึกษาไทย” อันดับ 2 ความคิดเห็นอื่น ๆ ที่ไม่บ่งชี้ว่าควรยกเลิกหรือไปต่อ โดยมีความคิดเห็นเกี่ยวกับการให้ “รื้อทั้งระบบการศึกษา” เป็นจำนวนมากที่สุด รองลงมาเป็นคนคิดเห็นนอกเหนือดังนี้ “มีหรือไม่ก็ได้ แต่ต้องไม่เอามาจัดลำดับครู โรงเรียน หรือผอ.” “ควรเปลี่ยนให้เป็นการสอบตามความสมัครใจ” “มีหรือไม่ก็มีค่าเท่ากัน เพราะต่อให้มีก็ไม่ได้มีการนำข้อมูลมาเพื่อแก้ไขหรือปรับปรุงระบบการศึกษา ส่วนถ้ายกเลิกก็เป็นการปล่อยให้ครูไม่สนใจคุณภาพการสอนของตนเอง” “ไม่ว่าจะยกเลิกหรือไปต่อ ต้องมีการวางแผนใหม่ก่อนซึ่งเป็นไปได้ยากสำหรับตอนนี้” “ยกเลิกหรือไม่ยกเลิกก็ได้ แต่ถ้าจะมีต่อต้องจัดในวันธรรมดา ไม่เบียดเบียนวันหยุดของเด็ก” อันดับ 3 ควรมีต่อไป โดยผู้แสดงความคิดเห็นกลุ่มนี้ให้เหตุผลดังต่อไปนี้ “โอเน็ตควรมีต่อแต่ต้องปรับระบบให้ได้มาตรฐานอย่างแท้จริง ไม่ควรมีการให้ติวเพิ่มเติม เพราะจะกลายเป็นทั้งภาระของครูและนักเรียน และจะไม่ใช่การวัดระดับความรู้ในโรงเรียนอย่างแท้จริง” “ควรมีต่อแค่ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เท่านั้นเพราะใช้เป็นคะแนนยื่นเข้ามหาวิทยาลัย ส่วนในระดับชั้นอื่น ๆ ไม่ได้มีความจำเป็น” “ควรมีเพื่อวัดคุณภาพการศึกษาให้ได้มาตรฐาน แต่ควรหยุดค่านิยมในการนำคะแนนมาใช้เปรียบเทียบแต่ละโรงเรียน” “ควรมีเพราะให้เด็กได้วัดระดับความรู้ของตนเอง ไม่งั้นเด็กจะเรียนแบบทิ้ง ๆ ขว้าง ๆ “ควรมีต่อแต่ต้องมีเพื่อนำข้อมูลมาพัฒนาคุณภาพครู คุณภาพโรงเรียน ไม่ใช่มีเพื่อจัดการแข่งขัน” “ต้องมีเพราะการยกเลิกจะทำให้ครูละเลยการสอน ไม่สนใจที่จะพัฒนาการสอน” นอกเหนือจากนี้แล้ว ความคิดเห็นบางส่วนยังแสดงให้เห็นว่า แม้ในปัจจุบัน ประกาศกระทรวงศึกษาธิการได้แจ้งนโยบายการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานโอเน็ตว่า การเข้าทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (โอเน็ต) ให้เป็นไปตามความสมัครใจและเป็นสิทธิ์ส่วนตัวโดยเฉพาะของนักเรียน ตั้งแต่ปีการศึกษา 2563 เป็นต้นไป แต่ก็เป็นอิสระในการเข้าสอบที่ไม่จริง เพราะหลาย ๆ โรงเรียนยังมีการบังคับทางอ้อมด้วยการไม่ออกใบปพ. (เอกสารประเมินผลตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน) ซึ่งจำเป็นต่อการเข้าศึกษาต่อในโรงเรียนหรือมหาวิทยาลัยในอนาคต หากนักเรียนไม่ยอมเข้าสอบ O-NET . หากมองให้ลึกจะพบว่าการสอบโอเน็ตนับว่าเป็นการสอบที่มีประโยชน์หากเป็นการสอบที่ถูกนำมาใช้ตามวัตถุสงค์แรก คือ เอาผลคะแนนมาเพื่อใช้ประเมินระบบการศึกษา นำมาพัฒนาหลักสูตร พัฒนาบุคลากรในระบบการศึกษา โดยที่ข้อสอบนั้นจำเป็นที่จะต้องสอดคล้องกับการเรียนการสอนที่มีภายในโรงเรียนเพื่อชี้ให้เห็นจุดกำเนิดของปัญหา แต่ในปัจจุบันกลายเป็นว่าเนื้อหาของข้อสอบโอเน็ตไม่ตรงกับเนื้อหาที่มีตามโรงเรียน ทางรียนเรียนต้องจัดการติวเพิ่มเติมให้กับนักเรียนก่อนสอล นักเรียนหลายคนจำเป็นที่จะต้องลงเรียนเพิ่มเติมเพราะต้องใช้คะแนนสอบในส่วนนี้เพื่อเข้าศึกษาต่อ อีกหนึ่งสิ่งทำให้เกิดการฉุกคิดเกี่ยวกับความจำเป็นข้อสอบโอเน็ตคือประเทศไทยมีการจัดการสอบโอเน็ตมาหลายปีแล้ว แต่ระบบการศึกษายังไม่ดีขึ้น ปัญหาอยู่ที่ครู นักเรียน ข้อสอบ? หรือเกิดจากการที่ผลการประเมินผ่านโอเน็ตในแต่ละครั้งนี้ไม่เคยได้ถูกนำไปใช้เพื่อพัฒนาระบบการศึกษาอย่างแท้จริง ด้านดร.วิริยะ ฤาชัยพาณิชย์ นักวิชาการอิสระและในฐานะผู้ก่อตั้ง Eduzones ได้แสดงมุมมองเกี่ยวกับ O-NET ไว้ว่า “ปัจจุบันข้อสอบโอเน็ตไม่สามารถวัดอะไรได้ เพราะเกิดความผิดพลาดหลายประการ เริ่มตั้งแต่ให้เด็กทั้งประเทศสอบ ต่อมาคือการนำข้อสอบโอเน็ตไปเป็นเครื่องมือในการวัดว่าโรงเรียนไหนดี โรงเรียนไหนไม่ดี อีกทั้งผลคะแนนโอเน็ตมีผลต่อการกู้กยศ. (กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา) ที่สำคัญคือการนำเด็กธรรมดาไปจัดอยู่ในกลุ่มของเด็กพิเศษเพราะไม่ต้องการให้เด็กธรรมดาที่ทำคะแนนได้ไม่ดีมาเป็นตัวถ่วงคะแนนเฉลี่ย ซ้ำยังได้งบประมาณเพิ่มขึ้น” ดร.วิริยะยังได้เสนอแนวทางแก้ไขการสอบโอเน็ตเพิ่มเติมอีกว่า “ต้องใช้โอเน็ตให้เป็นเครื่องมือมอนิเตอร์โดยการสุ่มการสอบเพื่อวัดประสิทธิภาพในการจัดการระบบการศึกษา ซึ่งวิธีการสุ่มนี้จะช่วยลดงบประมาณ อีกทั้งยังต้องไม่มีการประกาศผลคะแนนหรือใช้ประโยชน์ในการเรียนต่อหรือสอบต่อ แต่ตราบใดที่โอเน็ตยังเป็นรูปแบบเดิมเด็กก็ยังคงต้องติวเพิ่มเติมกันอีกต่อไป” . เราอาจสรุปผลจากการสำรวจครั้งนี้ได้ว่าประเด็นหลักของการถกเถียงเกี่ยวกับความจำเป็นของการสอบโอเน็ตนี้อาจไม่ได้มาจากการมีข้อสอบชนิดนี้อยู่แต่มาจาก“การจัดสอบโอเน็ตไม่มีรูปแบบที่ตรงกับบริบทเพื่อพัฒนาการศึกษาอีกต่อไป แต่กลับถูกใช้เป็นเครื่องมือที่ทำให้เกิดความเหลื่อมล้ำในระบบการศึกษา” เพราะแม้จะมีทั้งคอมเมนต์ที่เห็นด้วยกับการไปต่อของข้อสอบโอเน็ต คอมเมนต์ที่ต้องการให้ยกเลิก หรือความคิดเห็นอื่น ๆ นอกเหนือ แต่สิ่งหนึ่งที่ทั้ง 3 ฝ่ายมีความเห็นตรงกันคือการสอบโอเน็ตต้องมีการปรับปรุง เปลี่ยนรูปแบบการสอบโอเน็ต เนื้อหาต้องเป็นเนื้อหาที่วัดระดับการเรียนการสอนในโรงเรียนไม่ใช่การวัดระดับความพร้อมของแต่ละโรงเรียนในการติวเพิ่มเติม อีกทั้งผลคะแนนต้องใช้เพื่อพัฒนาโรงเรียนให้ได้มาตรฐานเท่าเทียมกันในแต่ละพื้นที่ ไม่ใช่เป็นเครื่องมือในการเปรียบเทียบ และยกย่องโรงเรียนที่มีผลคะแนนที่สูงกว่า หากข้อสอบโอเน็ตสามารถปรับปรุง เปลี่ยนแปลง และพัฒนาได้ การสอบโอเน็ตก็จะกลายเป็นข้อสอบที่มีประโยชน์ต่อระบบการศึกษาอย่างแท้จริง แสดงความคิดเห็นเพิมเติ่มได้ที่ https://www.facebook.com/ajWiriya/posts/501084138039601 https://www.facebook.com/eduzonesdotcom/posts/10159798018616171 EZ Webmaster Related Posts สัปดาห์สุดท้าย!ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา เปิดรับรอบที่ 2 Quota 8 สาขา พร้อมมอบทุนเพชรสุนันทา เรียนการออกแบบแฟชั่น เด็กสาธิตสวนสุนันทาคว้ารางวัลศิลปะระดับโลก! สร้างชื่อเสียงให้ไทยบนเวทีนานาชาติ พิธีบวงสรวงสิ่งศักดิ์สิทธิ์และพิธีทำบุญเนื่องในวันคล้ายวันสถาปนา โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยศิลปากร (มัธยมศึกษา) นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มทร.ธัญบุรี คิดค้น 2 ผลิตภัณฑ์ ยับยั้งและลดการเน่าเสียผลผลิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาจับมือบริษัท ควีน โฟรเซ่น ฟรุต จำกัด ร่วมพัฒนาอนาคตการศึกษาไทย Post navigation PREVIOUS Previous post: “วัยเรียน”ก็รวยได้ถ้าใช้เงินเป็น! ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยได้เปิดพิพิธภัณฑ์เรียนรู้การลงทุน (INVESTORY) โฉมใหม่ ปี 2565NEXT Next post: รู้ก่อน รักษาทัน ลดเสี่ยงเสียชีวิต ชุดตรวจมะเร็งปากมดลูกด้วยปัสสาวะ นวัตกรรมเพื่อสุขภาพผู้หญิงจากจุฬาฯ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มหาวิทยาลัยการจัดการสิงคโปร์ (SMU) ผนึกกำลังจุฬาฯ และมช. หนุนสตาร์ทอัพและธุรกิจด้านเทคโนโลยีของไทยขยายสู่ตลาดอาเซียน EZ WebmasterMarch 27, 2025 มหาวิทยาลัยการจัดการสิงคโปร์ (Singapore Management University: SMU) ร่วมมือกับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เพื่อสนับสนุนระบบนิเวศของธุรกิจสตาร์ทอัพ (Startup) ในประเทศไทย โดยมุ่งส่งเสริมผู้ประกอบการที่ดำเนินธุรกิจข้ามพรมแดน และผลักดันการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ระหว่างประเทศ เพื่อสนับสนุนการขยายตัวของสตาร์ทอัพไทยสู่ตลาดอาเซียนขณะที่เศรษฐกิจดิจิทัลของไทยเติบโตอย่างต่อเนื่องและมีส่วนสำคัญต่อการขยายตัวของตลาดดิจิทัลในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งคาดการณ์ว่าจะมีมูลค่าถึง 1 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐภายในปี 2573 นอกจากนี้แล้ว ทางมหาวิทยาลัยยังได้มุ่งเน้นส่งเสริมบทบาทของผู้หญิงในการเป็นผู้นำด้านเทคโนโลยีซึ่งเพิ่มความสำคัญมากขึ้นในปัจจุบัน โดยได้จัดงานเสวนาและบรรยายในหัวข้อ “Leadership in Tech: AI Ethics, Data Governance,… สัปดาห์สุดท้าย!ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา เปิดรับรอบที่ 2 Quota 8 สาขา พร้อมมอบทุนเพชรสุนันทา เรียนการออกแบบแฟชั่น tui sakrapeeMarch 27, 2025 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดรับสมัครคัดเลือกนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญเข้าศึกษาในโครงการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาระดับปริญญาตรี ระบบโควตา ประเภทความสามารถทางวิชาการ และประเภทความสามารถพิเศษ ประจำปีการศึกษา 2568 (รอบที่ 2 Quota) พร้อมรับสมัครคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษา ภาคปกติ ระดับปริญญาตรี ในโครงการทุนเพชรสุนันทา กำหนดการรับสมัคร สาขาที่รับสมัครคณะศิลปกรรมศาสตร์ คุณสมบัติเฉพาะ… ปิดเทอมแสนเบิกบานกับนิทานจุดประกาย EZ WebmasterMarch 27, 2025 “กาลครั้งหนึ่งนานมาแล้ว ในอาณาจักรแห่งหนึ่ง………………” ลองขึ้นต้นด้วยอารัมภบทแบบนี้ ทายซิอะไรกำลังจะตามมา ใช่เลย นิทานกำลังจะเริ่มแล้ว น้องๆ ตาแป๋วรอใจจดใจจ่อ “นิทาน” ไม่ใช่แค่เรื่องเล่าชวนฝันนะ แต่ยังเป็นสื่อจุดประกายจินตนาการ ส่งเสริมการเรียนรู้ตามธรรมชาติให้เด็กๆ โดยเฉพาะน้องๆ วัยใสด้วยนะ ช่วงปิดเทอมนี้เลยทำให้อยากชวนผู้ปกครอง คุณพ่อ คุณแม่ ไปท่องโลกนิทานกับช่อง youtube ปฐมวัย… นักศึกษา มธ. รับสมัครนักศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสหวิทยาการ ประจำปีการศึกษา 2568 EZ WebmasterMarch 27, 2025 วิทยาลัยสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เปิดรับสมัครนักศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสหวิทยาการ (จัดการเรียนการสอนที่ท่าพระจันทร์) มี 2 แผนการศึกษา ดังนี้ แผน 1.1 (ทเฉพาะวิทยานิพนธ์) แผน 2.1 (ศึกษารายวิชาและทำวิทยานิพนธ์) หลักฐานประกอบการสมัคร 3.1 ใบสมัครของหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสหวิทยาการ… มทร.ธัญบุรี เปิดกว้างทุกวัย เพื่อเรียนรู้ตลอดชีพ ธนาคารหน่วยกิต “40 หลักสูตร ป.ตรี” tui sakrapeeMarch 26, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) เปิดรับสมัครผู้สนใจเข้าร่วมโครงการการเรียนรู้ตลอดชีวิตในระบบเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ (ธนาคารหน่วยกิต) หลักสูตรระดับปริญญาตรี ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2568 ตั้งแต่วันที่ 24 มี.ค. ถึง 30 พ.ค. 2568 โดยไม่มีค่าใช้จ่ายในการสมัคร… เปิดรับอาสาสมัครศิริราช รอบทำกิจกรรม เดือน พ.ค.-ก.ค. 68 ทุกกิจกรรมมีใบรับรองการทำกิจกรรม EZ WebmasterMarch 26, 2025 ตารางการรับอาสาสมัครรอบทำกิจกรรม เดือน พฤษภาคม – กรกฏาคม 68 (กิจกรรมที่อยู่ในเว็บไซต์ตอนนี้เป็นรอบเก่ามีผู้เข้าร่วมเต็มทั้งหมดแล้วค่ะ รอบใหม่จะเปิดตามวันเวลาที่แจ้งด้านล่างนี้เท่านั้น*) ขอให้อาสาเป็นผู้สมัครและกดเลือกกิจกรรมด้วยตนเองนะคะ – 31 ก.ค. 68 **เนื่องจากวันที่ 5 พ.ค. เป็นวันหยุด จะขอเริ่มตั้งแต่วันที่วันที่ 6 พ.ค.… ซีไอเอ็มบี ไทย เปิดสมัครทุนการศึกษา CIMB ASEAN Scholarship ประจำปี 2568 EZ WebmasterMarch 26, 2025 ธนาคาร ซีไอเอ็มบี ไทย จำกัด (มหาชน) เปิดรับนักเรียน นักศึกษา ที่กำลังจะเข้าศึกษาต่อ ในระดับปริญญาตรี จากทุกสาขาวิชา เพื่อคัดเลือกเข้ารับ CIMB ASEAN Scholarship ซึ่งเป็นทุนการศึกษาเต็มจำนวน ที่ครอบคลุมค่าเล่าเรียนทั้งหมด (ค่าใช้จ่ายในการสมัครเรียน ค่าเทอม… ทุนดีดี มหาวิทยาลัยอัลอัซฮัร กรุงไคโร สาธารณรัฐอาหรับอียิปต์ มอบ 160 ทุนให้นักศึกษาจากประเทศไทย EZ WebmasterMarch 27, 2025 มหาวิทยาลัยอัลอัซฮัร กรุงไคโร สาธารณรัฐอาหรับอียิปต์ มอบทุนการศึกษาแก่นักศึกษาจากประเทศไทย จำนวน 160 ทุน ในปีการศึกษา 2025/2026 (2568/2569) โดยจำแนกเป็น ทุนนการศึกษาสาขาอิสลามศึกษา จำนวน 80 ทุน เฉพาะนักเรียนที่จบการศึกษาระดับอิสลามศึกษาตอนปลาย (ซานาวี) #จากโรงเรียนที่ได้รับรองวิทยฐานะ ประกาศนียบัตรระดับอิสลามศึกษาตอนปลาย (ซานาวี)… Peking U.ให้ทุนป.ตรี-เอก InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศMarch 27, 2025 Peking University กำลังให้ทุนสำหรับนักศึกษาต่างชาติที่โดดเด่น ทุนนี้ก่อตั้งขึ้นในปี 2012 โดยให้การสนับสนุนนักศึกษาระดับปริญญาตรี โท และเอก(ไม่จำกัดสาขาวิชา) โดยให้ความช่วยเหลือทางการเงินเต็มจำนวนหรือบางส่วน รวมถึงค่าเล่าเรียน เงินเดือน และประกันสุขภาพ เปิดรับสมัครช่วงมีนาคมถึงเมษายน ทุกปี เพื่อให้มีสิทธิ์ได้รับทุน ผู้สมัครจะต้องเป็นนักศึกษาต่างชาติที่ได้รับข้อเสนอให้เข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยปักกิ่งในฐานะนักศึกษาปีหนึ่ง จะต้องไม่เป็นผู้รับทุนการศึกษาอื่นใด และไม่ควรลงทะเบียนในโปรแกรมปริญญาวิชาชีพ… สัปดาห์สุดท้าย!ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา เปิดรับรอบที่ 2 Quota 8 สาขา พร้อมมอบทุนเพชรสุนันทา เรียนการออกแบบแฟชั่น tui sakrapeeMarch 27, 2025 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดรับสมัครคัดเลือกนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญเข้าศึกษาในโครงการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาระดับปริญญาตรี ระบบโควตา ประเภทความสามารถทางวิชาการ และประเภทความสามารถพิเศษ ประจำปีการศึกษา 2568 (รอบที่ 2 Quota) พร้อมรับสมัครคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษา ภาคปกติ ระดับปริญญาตรี ในโครงการทุนเพชรสุนันทา กำหนดการรับสมัคร สาขาที่รับสมัครคณะศิลปกรรมศาสตร์ คุณสมบัติเฉพาะ… #ODOSSummerCamp InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศMarch 26, 2025 โอกาสที่จะได้ทุนไปค่ายฤดูร้อนที่ออสเตรเลีย กับ ทุน #ODOSSummerCamp มาถึงแล้ว! น้อง ๆ ตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ขึ้นไปและมีอายุไม่เกิน 19 ปี จาก 928 อำเภอทั่วประเทศสามารถสมัครเพื่อขอทุนนี้ผ่านแอปพลิเคชัน ‘ทางรัฐ’ สมัครได้ตั้งแต่วันนี้ –… ครู-อาจารย์ มจธ. คิดค้น “นวัตกรรมการผลิตซิลิกาด้วยเทคโนโลยีชีวภาพ” ต้นทุนต่ำ คุณภาพสูง พร้อมพลิกโฉมอุตสาหกรรมไทย EZ WebmasterMarch 27, 2025 นักวิจัย มจธ.พัฒนากระบวนการผลิต ไบโอซิลิกา (Biosilica) จากแกลบข้าว ด้วยกระบวนการชีวภาพ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและไร้สารเคมีตกค้าง พร้อมส่งต่อเทคโนโลยีเพื่อนำไปใช้ในอุตสาหกรรมต่างๆ เช่น เครื่องสำอาง เวชสำอาง ยา และยาง ซึ่งเป็นก้าวสำคัญที่ช่วยให้ประเทศไทยลดการพึ่งพาซิลิกานำเข้า และส่งเสริมเศรษฐกิจหมุนเวียนของประเทศ ซิลิกา (Silica) เป็นวัตถุดิบสำคัญในหลายอุตสาหกรรมของไทย ตั้งแต่ยางรถยนต์ เครื่องสำอาง เวชภัณฑ์… โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “ดร.ชุมพล พรประภา” เป็นนายกสภา ม.ศรีนครินทรวิโรฒ tui sakrapeeMarch 26, 2025 ราชกิจจานุเบกษาเผยแพร่ ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “ชุมพล พรประภา” ดำรงตำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ แทนวิจิตร ศรีสอ้าน ที่ถึงแก่อนิจกรรม ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 142 ตอนพิเศษ 147 ง เมื่อวันที่ 25… สอศ. ปั้นผู้อำนวยการอาชีวะยุคใหม่! เสริมภาวะผู้นำ-วิสัยทัศน์ ทันโลกการศึกษา EZ WebmasterMarch 26, 2025 วันที่ 26 มีนาคม 2568 นายยศพล เวณุโกเศศ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (เลขาธิการ กอศ.) เป็นประธานเปิดโครงการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และบรรยายพิเศษ “Growth Mindset: แนวคิดเชิงบวกและการเติบโตขององค์กร” โดยนางธิติมา โรจน์วัชราภิบาล ผู้อำนวยการ… ไทย จ่อขยับอันดับการศึกษา หลังอัตราการรู้หนังสือของประชากร พุ่งสูง 98.83% จากการสำรวจอัตราการรู้หนังสือของประชากร EZ WebmasterMarch 26, 2025 เมื่อวันที่ 26 มีนาคม ที่สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (สกศ.) นายประวิต เอราวรรณ์ เลขาธิการสภาการศึกษา กล่าวในงานแถลงผลการสำรวจการรู้หนังสือของประชากรไทย ปี 2568 โดยมี นายธนากร ดอนเหนือ อธิบดีกรมส่งเสริมการเรียนรู้ (สกร.) เข้าร่วม นายประวิต… กิจกรรม สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ ร่วมพิธีวางพานพุ่มและพิธีตักบาตร เนื่องในวันครบรอบ ๑๐๘ ปี แห่งการสถาปนาจุฬาฯ EZ WebmasterMarch 27, 2025 สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินร่วมพิธีวางพานพุ่มสักการะพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระปิยมหาราชและสมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า และพิธีตักบาตร เนื่องในวันครบรอบ ๑๐๘ ปี แห่งการสถาปนาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมี นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ และ นายอรรษิษฐ์ สัมพันธรัตน์ ประธานการจัดงานคืนเหย้าชาวจุฬาฯ… พิธีเปิดกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) ภายใต้โครงการพัฒนามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมผ้าไทยสู่สากล ประจำปี ๒๕๖๘ EZ WebmasterMarch 26, 2025 นางสาวลิปิการ์ กำลังชัย รองธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรม รักษาราชการแทนอธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรมเป็นประธานพิธิเปิด และร่วมรับฟังการบรรยายกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) พร้อมด้วยนางสาวศิวพร ฉันทไกรวัฒน์ ผู้อำนวยการกลุ่มเผยแพร่และต่อยอดมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมเข้าร่วมงาน โดยวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญด้านผ้าไทย การออกแบบและแฟชั่น อาทิ ผศ.ดร.รวิเทพ มุสิกะปาน ผศ.ดร.วุฒิไกร… เปิดรับอาสาสมัครศิริราช รอบทำกิจกรรม เดือน พ.ค.-ก.ค. 68 ทุกกิจกรรมมีใบรับรองการทำกิจกรรม EZ WebmasterMarch 26, 2025 ตารางการรับอาสาสมัครรอบทำกิจกรรม เดือน พฤษภาคม – กรกฏาคม 68 (กิจกรรมที่อยู่ในเว็บไซต์ตอนนี้เป็นรอบเก่ามีผู้เข้าร่วมเต็มทั้งหมดแล้วค่ะ รอบใหม่จะเปิดตามวันเวลาที่แจ้งด้านล่างนี้เท่านั้น*) ขอให้อาสาเป็นผู้สมัครและกดเลือกกิจกรรมด้วยตนเองนะคะ – 31 ก.ค. 68 **เนื่องจากวันที่ 5 พ.ค. เป็นวันหยุด จะขอเริ่มตั้งแต่วันที่วันที่ 6 พ.ค.… เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน รับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน EZ WebmasterMarch 24, 2025 เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน เกม Let’s School เกมแนวบริหารโรงเรียนในฝัน ที่จะให้เรารับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน อยากให้โรงเรียนเป็นแบบไหนก็ปรับเล่นได้เลย ดูอารมณ์นักเรียกได้ด้วยว่ามีความสุขมั้ย? แถมตอนนี้ยังมีอัปเดตแมพใหม่พร้อมซัพไทยด้วยนะ Let’s School โหลดเล่นได้ที่ Steam :… Search for: Search EZ Webmaster February 24, 2022 EZ Webmaster February 24, 2022 O-NET ควรไปต่อหรือพอแค่นี้ — บทสรุปจากผลสำรวจความคิดเห็นผ่านแฟนเพจ Eduzones และ Wiriyah Eduzones O-NET ควรไปต่อหรือพอแค่นี้— บทสรุปจากผลสำรวจ การสอบโอเน็ต หรือ O-NET (Ordinary National Educational Test) เป็นการวัดผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนที่ต้องการวัดผ่านการจัดการทดสอบในระดับชาติ โดยมีสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (สทศ.) เป็นผู้ดำเนินการออกข้อสอบและจัดสอบทั่วประเทศ ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบความรู้ของนักเรียนในระระดับชั้นประถมศึกปีที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่ในปัจจุบันกลายข้อสอบชนิดนี้ตกเป็นประเด็นในการถกเถียงอย่างร้อนแรงว่า O-NET นี้มีประโยชน์ต่อนักเรียนจริงหรอ? ข้อสอบชนิfนี้ควรยกเลิกหรือควรไปต่อเช่นเดิม? . จากผลการสำรวจผ่านเฟสบุ๊กแฟนเพจ Eduzones และ Wiriyah Eduzones โดยเก็บข้อมูลภายในวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2565 จำนวนทั้งสิ้น 200 คอมเมนต์ พบว่ามีการแสดงความคิดเห็นเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้ อันดับ 1 ควรยกเลิก โดยผู้แสดงความคิดเห็นกลุ่มนี้ให้เหตุผลว่า “การสอบโอเน็ตทั้งสร้างภาระในแก่คุณครู ยังสามารถทั้งความเครียดและความกดดันให้แก่นักเรียน” “ควรยกเลิก ถ้าต้องการวัดคุณภาพครูควรเปลี่ยนเป็นการสำรวจความเห็นนักเรียน และผู้ปกครอง ควรให้เด็กนำเวลาไปปสนใจกับการสอบเข้าโรงเรียนที่จะศึกษาต่อ” “ไม่มีประโยชน์ เปลืองงบประมาณ” “ควรยกเลิกเพราะการสอบโอเน็ตกลายเป็นเครื่องมือที่คุณครู หรือผอ.ใช้ไม่ให้น้อยหน้ากว่าโรงเรียนอื่น” “ควรยกเลิกเพราะเป็นความเหลื่อมล้ำ กลายเป็นแหล่งหาเงินของสถาบันกวดวิชา” “ควรยกเลิก และควรเปลี่ยนข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัยเป็นข้อสอบเดียวกันทั้งประเทศเพราะ O-NET GAT/PAT กลายเป็นการใช้งบประมาณโดยใช้เหตุ มีการนำเงินไปใช้ด้วยเหตุผลในการศึกษาดูงานต่างประเทศแต่ไม่เคยนำกลับมาพัฒนากับระบบการศึกษาไทย” อันดับ 2 ความคิดเห็นอื่น ๆ ที่ไม่บ่งชี้ว่าควรยกเลิกหรือไปต่อ โดยมีความคิดเห็นเกี่ยวกับการให้ “รื้อทั้งระบบการศึกษา” เป็นจำนวนมากที่สุด รองลงมาเป็นคนคิดเห็นนอกเหนือดังนี้ “มีหรือไม่ก็ได้ แต่ต้องไม่เอามาจัดลำดับครู โรงเรียน หรือผอ.” “ควรเปลี่ยนให้เป็นการสอบตามความสมัครใจ” “มีหรือไม่ก็มีค่าเท่ากัน เพราะต่อให้มีก็ไม่ได้มีการนำข้อมูลมาเพื่อแก้ไขหรือปรับปรุงระบบการศึกษา ส่วนถ้ายกเลิกก็เป็นการปล่อยให้ครูไม่สนใจคุณภาพการสอนของตนเอง” “ไม่ว่าจะยกเลิกหรือไปต่อ ต้องมีการวางแผนใหม่ก่อนซึ่งเป็นไปได้ยากสำหรับตอนนี้” “ยกเลิกหรือไม่ยกเลิกก็ได้ แต่ถ้าจะมีต่อต้องจัดในวันธรรมดา ไม่เบียดเบียนวันหยุดของเด็ก” อันดับ 3 ควรมีต่อไป โดยผู้แสดงความคิดเห็นกลุ่มนี้ให้เหตุผลดังต่อไปนี้ “โอเน็ตควรมีต่อแต่ต้องปรับระบบให้ได้มาตรฐานอย่างแท้จริง ไม่ควรมีการให้ติวเพิ่มเติม เพราะจะกลายเป็นทั้งภาระของครูและนักเรียน และจะไม่ใช่การวัดระดับความรู้ในโรงเรียนอย่างแท้จริง” “ควรมีต่อแค่ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เท่านั้นเพราะใช้เป็นคะแนนยื่นเข้ามหาวิทยาลัย ส่วนในระดับชั้นอื่น ๆ ไม่ได้มีความจำเป็น” “ควรมีเพื่อวัดคุณภาพการศึกษาให้ได้มาตรฐาน แต่ควรหยุดค่านิยมในการนำคะแนนมาใช้เปรียบเทียบแต่ละโรงเรียน” “ควรมีเพราะให้เด็กได้วัดระดับความรู้ของตนเอง ไม่งั้นเด็กจะเรียนแบบทิ้ง ๆ ขว้าง ๆ “ควรมีต่อแต่ต้องมีเพื่อนำข้อมูลมาพัฒนาคุณภาพครู คุณภาพโรงเรียน ไม่ใช่มีเพื่อจัดการแข่งขัน” “ต้องมีเพราะการยกเลิกจะทำให้ครูละเลยการสอน ไม่สนใจที่จะพัฒนาการสอน” นอกเหนือจากนี้แล้ว ความคิดเห็นบางส่วนยังแสดงให้เห็นว่า แม้ในปัจจุบัน ประกาศกระทรวงศึกษาธิการได้แจ้งนโยบายการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานโอเน็ตว่า การเข้าทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (โอเน็ต) ให้เป็นไปตามความสมัครใจและเป็นสิทธิ์ส่วนตัวโดยเฉพาะของนักเรียน ตั้งแต่ปีการศึกษา 2563 เป็นต้นไป แต่ก็เป็นอิสระในการเข้าสอบที่ไม่จริง เพราะหลาย ๆ โรงเรียนยังมีการบังคับทางอ้อมด้วยการไม่ออกใบปพ. (เอกสารประเมินผลตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน) ซึ่งจำเป็นต่อการเข้าศึกษาต่อในโรงเรียนหรือมหาวิทยาลัยในอนาคต หากนักเรียนไม่ยอมเข้าสอบ O-NET . หากมองให้ลึกจะพบว่าการสอบโอเน็ตนับว่าเป็นการสอบที่มีประโยชน์หากเป็นการสอบที่ถูกนำมาใช้ตามวัตถุสงค์แรก คือ เอาผลคะแนนมาเพื่อใช้ประเมินระบบการศึกษา นำมาพัฒนาหลักสูตร พัฒนาบุคลากรในระบบการศึกษา โดยที่ข้อสอบนั้นจำเป็นที่จะต้องสอดคล้องกับการเรียนการสอนที่มีภายในโรงเรียนเพื่อชี้ให้เห็นจุดกำเนิดของปัญหา แต่ในปัจจุบันกลายเป็นว่าเนื้อหาของข้อสอบโอเน็ตไม่ตรงกับเนื้อหาที่มีตามโรงเรียน ทางรียนเรียนต้องจัดการติวเพิ่มเติมให้กับนักเรียนก่อนสอล นักเรียนหลายคนจำเป็นที่จะต้องลงเรียนเพิ่มเติมเพราะต้องใช้คะแนนสอบในส่วนนี้เพื่อเข้าศึกษาต่อ อีกหนึ่งสิ่งทำให้เกิดการฉุกคิดเกี่ยวกับความจำเป็นข้อสอบโอเน็ตคือประเทศไทยมีการจัดการสอบโอเน็ตมาหลายปีแล้ว แต่ระบบการศึกษายังไม่ดีขึ้น ปัญหาอยู่ที่ครู นักเรียน ข้อสอบ? หรือเกิดจากการที่ผลการประเมินผ่านโอเน็ตในแต่ละครั้งนี้ไม่เคยได้ถูกนำไปใช้เพื่อพัฒนาระบบการศึกษาอย่างแท้จริง ด้านดร.วิริยะ ฤาชัยพาณิชย์ นักวิชาการอิสระและในฐานะผู้ก่อตั้ง Eduzones ได้แสดงมุมมองเกี่ยวกับ O-NET ไว้ว่า “ปัจจุบันข้อสอบโอเน็ตไม่สามารถวัดอะไรได้ เพราะเกิดความผิดพลาดหลายประการ เริ่มตั้งแต่ให้เด็กทั้งประเทศสอบ ต่อมาคือการนำข้อสอบโอเน็ตไปเป็นเครื่องมือในการวัดว่าโรงเรียนไหนดี โรงเรียนไหนไม่ดี อีกทั้งผลคะแนนโอเน็ตมีผลต่อการกู้กยศ. (กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา) ที่สำคัญคือการนำเด็กธรรมดาไปจัดอยู่ในกลุ่มของเด็กพิเศษเพราะไม่ต้องการให้เด็กธรรมดาที่ทำคะแนนได้ไม่ดีมาเป็นตัวถ่วงคะแนนเฉลี่ย ซ้ำยังได้งบประมาณเพิ่มขึ้น” ดร.วิริยะยังได้เสนอแนวทางแก้ไขการสอบโอเน็ตเพิ่มเติมอีกว่า “ต้องใช้โอเน็ตให้เป็นเครื่องมือมอนิเตอร์โดยการสุ่มการสอบเพื่อวัดประสิทธิภาพในการจัดการระบบการศึกษา ซึ่งวิธีการสุ่มนี้จะช่วยลดงบประมาณ อีกทั้งยังต้องไม่มีการประกาศผลคะแนนหรือใช้ประโยชน์ในการเรียนต่อหรือสอบต่อ แต่ตราบใดที่โอเน็ตยังเป็นรูปแบบเดิมเด็กก็ยังคงต้องติวเพิ่มเติมกันอีกต่อไป” . เราอาจสรุปผลจากการสำรวจครั้งนี้ได้ว่าประเด็นหลักของการถกเถียงเกี่ยวกับความจำเป็นของการสอบโอเน็ตนี้อาจไม่ได้มาจากการมีข้อสอบชนิดนี้อยู่แต่มาจาก“การจัดสอบโอเน็ตไม่มีรูปแบบที่ตรงกับบริบทเพื่อพัฒนาการศึกษาอีกต่อไป แต่กลับถูกใช้เป็นเครื่องมือที่ทำให้เกิดความเหลื่อมล้ำในระบบการศึกษา” เพราะแม้จะมีทั้งคอมเมนต์ที่เห็นด้วยกับการไปต่อของข้อสอบโอเน็ต คอมเมนต์ที่ต้องการให้ยกเลิก หรือความคิดเห็นอื่น ๆ นอกเหนือ แต่สิ่งหนึ่งที่ทั้ง 3 ฝ่ายมีความเห็นตรงกันคือการสอบโอเน็ตต้องมีการปรับปรุง เปลี่ยนรูปแบบการสอบโอเน็ต เนื้อหาต้องเป็นเนื้อหาที่วัดระดับการเรียนการสอนในโรงเรียนไม่ใช่การวัดระดับความพร้อมของแต่ละโรงเรียนในการติวเพิ่มเติม อีกทั้งผลคะแนนต้องใช้เพื่อพัฒนาโรงเรียนให้ได้มาตรฐานเท่าเทียมกันในแต่ละพื้นที่ ไม่ใช่เป็นเครื่องมือในการเปรียบเทียบ และยกย่องโรงเรียนที่มีผลคะแนนที่สูงกว่า หากข้อสอบโอเน็ตสามารถปรับปรุง เปลี่ยนแปลง และพัฒนาได้ การสอบโอเน็ตก็จะกลายเป็นข้อสอบที่มีประโยชน์ต่อระบบการศึกษาอย่างแท้จริง แสดงความคิดเห็นเพิมเติ่มได้ที่ https://www.facebook.com/ajWiriya/posts/501084138039601 https://www.facebook.com/eduzonesdotcom/posts/10159798018616171 EZ Webmaster Related Posts สัปดาห์สุดท้าย!ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา เปิดรับรอบที่ 2 Quota 8 สาขา พร้อมมอบทุนเพชรสุนันทา เรียนการออกแบบแฟชั่น เด็กสาธิตสวนสุนันทาคว้ารางวัลศิลปะระดับโลก! สร้างชื่อเสียงให้ไทยบนเวทีนานาชาติ พิธีบวงสรวงสิ่งศักดิ์สิทธิ์และพิธีทำบุญเนื่องในวันคล้ายวันสถาปนา โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยศิลปากร (มัธยมศึกษา) นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มทร.ธัญบุรี คิดค้น 2 ผลิตภัณฑ์ ยับยั้งและลดการเน่าเสียผลผลิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาจับมือบริษัท ควีน โฟรเซ่น ฟรุต จำกัด ร่วมพัฒนาอนาคตการศึกษาไทย Post navigation PREVIOUS Previous post: “วัยเรียน”ก็รวยได้ถ้าใช้เงินเป็น! ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยได้เปิดพิพิธภัณฑ์เรียนรู้การลงทุน (INVESTORY) โฉมใหม่ ปี 2565NEXT Next post: รู้ก่อน รักษาทัน ลดเสี่ยงเสียชีวิต ชุดตรวจมะเร็งปากมดลูกด้วยปัสสาวะ นวัตกรรมเพื่อสุขภาพผู้หญิงจากจุฬาฯ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
สัปดาห์สุดท้าย!ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา เปิดรับรอบที่ 2 Quota 8 สาขา พร้อมมอบทุนเพชรสุนันทา เรียนการออกแบบแฟชั่น tui sakrapeeMarch 27, 2025 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดรับสมัครคัดเลือกนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญเข้าศึกษาในโครงการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาระดับปริญญาตรี ระบบโควตา ประเภทความสามารถทางวิชาการ และประเภทความสามารถพิเศษ ประจำปีการศึกษา 2568 (รอบที่ 2 Quota) พร้อมรับสมัครคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษา ภาคปกติ ระดับปริญญาตรี ในโครงการทุนเพชรสุนันทา กำหนดการรับสมัคร สาขาที่รับสมัครคณะศิลปกรรมศาสตร์ คุณสมบัติเฉพาะ… ปิดเทอมแสนเบิกบานกับนิทานจุดประกาย EZ WebmasterMarch 27, 2025 “กาลครั้งหนึ่งนานมาแล้ว ในอาณาจักรแห่งหนึ่ง………………” ลองขึ้นต้นด้วยอารัมภบทแบบนี้ ทายซิอะไรกำลังจะตามมา ใช่เลย นิทานกำลังจะเริ่มแล้ว น้องๆ ตาแป๋วรอใจจดใจจ่อ “นิทาน” ไม่ใช่แค่เรื่องเล่าชวนฝันนะ แต่ยังเป็นสื่อจุดประกายจินตนาการ ส่งเสริมการเรียนรู้ตามธรรมชาติให้เด็กๆ โดยเฉพาะน้องๆ วัยใสด้วยนะ ช่วงปิดเทอมนี้เลยทำให้อยากชวนผู้ปกครอง คุณพ่อ คุณแม่ ไปท่องโลกนิทานกับช่อง youtube ปฐมวัย…
ปิดเทอมแสนเบิกบานกับนิทานจุดประกาย EZ WebmasterMarch 27, 2025 “กาลครั้งหนึ่งนานมาแล้ว ในอาณาจักรแห่งหนึ่ง………………” ลองขึ้นต้นด้วยอารัมภบทแบบนี้ ทายซิอะไรกำลังจะตามมา ใช่เลย นิทานกำลังจะเริ่มแล้ว น้องๆ ตาแป๋วรอใจจดใจจ่อ “นิทาน” ไม่ใช่แค่เรื่องเล่าชวนฝันนะ แต่ยังเป็นสื่อจุดประกายจินตนาการ ส่งเสริมการเรียนรู้ตามธรรมชาติให้เด็กๆ โดยเฉพาะน้องๆ วัยใสด้วยนะ ช่วงปิดเทอมนี้เลยทำให้อยากชวนผู้ปกครอง คุณพ่อ คุณแม่ ไปท่องโลกนิทานกับช่อง youtube ปฐมวัย…
มธ. รับสมัครนักศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสหวิทยาการ ประจำปีการศึกษา 2568 EZ WebmasterMarch 27, 2025 วิทยาลัยสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เปิดรับสมัครนักศึกษาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสหวิทยาการ (จัดการเรียนการสอนที่ท่าพระจันทร์) มี 2 แผนการศึกษา ดังนี้ แผน 1.1 (ทเฉพาะวิทยานิพนธ์) แผน 2.1 (ศึกษารายวิชาและทำวิทยานิพนธ์) หลักฐานประกอบการสมัคร 3.1 ใบสมัครของหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสหวิทยาการ… มทร.ธัญบุรี เปิดกว้างทุกวัย เพื่อเรียนรู้ตลอดชีพ ธนาคารหน่วยกิต “40 หลักสูตร ป.ตรี” tui sakrapeeMarch 26, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) เปิดรับสมัครผู้สนใจเข้าร่วมโครงการการเรียนรู้ตลอดชีวิตในระบบเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ (ธนาคารหน่วยกิต) หลักสูตรระดับปริญญาตรี ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2568 ตั้งแต่วันที่ 24 มี.ค. ถึง 30 พ.ค. 2568 โดยไม่มีค่าใช้จ่ายในการสมัคร… เปิดรับอาสาสมัครศิริราช รอบทำกิจกรรม เดือน พ.ค.-ก.ค. 68 ทุกกิจกรรมมีใบรับรองการทำกิจกรรม EZ WebmasterMarch 26, 2025 ตารางการรับอาสาสมัครรอบทำกิจกรรม เดือน พฤษภาคม – กรกฏาคม 68 (กิจกรรมที่อยู่ในเว็บไซต์ตอนนี้เป็นรอบเก่ามีผู้เข้าร่วมเต็มทั้งหมดแล้วค่ะ รอบใหม่จะเปิดตามวันเวลาที่แจ้งด้านล่างนี้เท่านั้น*) ขอให้อาสาเป็นผู้สมัครและกดเลือกกิจกรรมด้วยตนเองนะคะ – 31 ก.ค. 68 **เนื่องจากวันที่ 5 พ.ค. เป็นวันหยุด จะขอเริ่มตั้งแต่วันที่วันที่ 6 พ.ค.… ซีไอเอ็มบี ไทย เปิดสมัครทุนการศึกษา CIMB ASEAN Scholarship ประจำปี 2568 EZ WebmasterMarch 26, 2025 ธนาคาร ซีไอเอ็มบี ไทย จำกัด (มหาชน) เปิดรับนักเรียน นักศึกษา ที่กำลังจะเข้าศึกษาต่อ ในระดับปริญญาตรี จากทุกสาขาวิชา เพื่อคัดเลือกเข้ารับ CIMB ASEAN Scholarship ซึ่งเป็นทุนการศึกษาเต็มจำนวน ที่ครอบคลุมค่าเล่าเรียนทั้งหมด (ค่าใช้จ่ายในการสมัครเรียน ค่าเทอม… ทุนดีดี มหาวิทยาลัยอัลอัซฮัร กรุงไคโร สาธารณรัฐอาหรับอียิปต์ มอบ 160 ทุนให้นักศึกษาจากประเทศไทย EZ WebmasterMarch 27, 2025 มหาวิทยาลัยอัลอัซฮัร กรุงไคโร สาธารณรัฐอาหรับอียิปต์ มอบทุนการศึกษาแก่นักศึกษาจากประเทศไทย จำนวน 160 ทุน ในปีการศึกษา 2025/2026 (2568/2569) โดยจำแนกเป็น ทุนนการศึกษาสาขาอิสลามศึกษา จำนวน 80 ทุน เฉพาะนักเรียนที่จบการศึกษาระดับอิสลามศึกษาตอนปลาย (ซานาวี) #จากโรงเรียนที่ได้รับรองวิทยฐานะ ประกาศนียบัตรระดับอิสลามศึกษาตอนปลาย (ซานาวี)… Peking U.ให้ทุนป.ตรี-เอก InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศMarch 27, 2025 Peking University กำลังให้ทุนสำหรับนักศึกษาต่างชาติที่โดดเด่น ทุนนี้ก่อตั้งขึ้นในปี 2012 โดยให้การสนับสนุนนักศึกษาระดับปริญญาตรี โท และเอก(ไม่จำกัดสาขาวิชา) โดยให้ความช่วยเหลือทางการเงินเต็มจำนวนหรือบางส่วน รวมถึงค่าเล่าเรียน เงินเดือน และประกันสุขภาพ เปิดรับสมัครช่วงมีนาคมถึงเมษายน ทุกปี เพื่อให้มีสิทธิ์ได้รับทุน ผู้สมัครจะต้องเป็นนักศึกษาต่างชาติที่ได้รับข้อเสนอให้เข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยปักกิ่งในฐานะนักศึกษาปีหนึ่ง จะต้องไม่เป็นผู้รับทุนการศึกษาอื่นใด และไม่ควรลงทะเบียนในโปรแกรมปริญญาวิชาชีพ… สัปดาห์สุดท้าย!ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา เปิดรับรอบที่ 2 Quota 8 สาขา พร้อมมอบทุนเพชรสุนันทา เรียนการออกแบบแฟชั่น tui sakrapeeMarch 27, 2025 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดรับสมัครคัดเลือกนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญเข้าศึกษาในโครงการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาระดับปริญญาตรี ระบบโควตา ประเภทความสามารถทางวิชาการ และประเภทความสามารถพิเศษ ประจำปีการศึกษา 2568 (รอบที่ 2 Quota) พร้อมรับสมัครคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษา ภาคปกติ ระดับปริญญาตรี ในโครงการทุนเพชรสุนันทา กำหนดการรับสมัคร สาขาที่รับสมัครคณะศิลปกรรมศาสตร์ คุณสมบัติเฉพาะ… #ODOSSummerCamp InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศMarch 26, 2025 โอกาสที่จะได้ทุนไปค่ายฤดูร้อนที่ออสเตรเลีย กับ ทุน #ODOSSummerCamp มาถึงแล้ว! น้อง ๆ ตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ขึ้นไปและมีอายุไม่เกิน 19 ปี จาก 928 อำเภอทั่วประเทศสามารถสมัครเพื่อขอทุนนี้ผ่านแอปพลิเคชัน ‘ทางรัฐ’ สมัครได้ตั้งแต่วันนี้ –… ครู-อาจารย์ มจธ. คิดค้น “นวัตกรรมการผลิตซิลิกาด้วยเทคโนโลยีชีวภาพ” ต้นทุนต่ำ คุณภาพสูง พร้อมพลิกโฉมอุตสาหกรรมไทย EZ WebmasterMarch 27, 2025 นักวิจัย มจธ.พัฒนากระบวนการผลิต ไบโอซิลิกา (Biosilica) จากแกลบข้าว ด้วยกระบวนการชีวภาพ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและไร้สารเคมีตกค้าง พร้อมส่งต่อเทคโนโลยีเพื่อนำไปใช้ในอุตสาหกรรมต่างๆ เช่น เครื่องสำอาง เวชสำอาง ยา และยาง ซึ่งเป็นก้าวสำคัญที่ช่วยให้ประเทศไทยลดการพึ่งพาซิลิกานำเข้า และส่งเสริมเศรษฐกิจหมุนเวียนของประเทศ ซิลิกา (Silica) เป็นวัตถุดิบสำคัญในหลายอุตสาหกรรมของไทย ตั้งแต่ยางรถยนต์ เครื่องสำอาง เวชภัณฑ์… โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “ดร.ชุมพล พรประภา” เป็นนายกสภา ม.ศรีนครินทรวิโรฒ tui sakrapeeMarch 26, 2025 ราชกิจจานุเบกษาเผยแพร่ ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “ชุมพล พรประภา” ดำรงตำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ แทนวิจิตร ศรีสอ้าน ที่ถึงแก่อนิจกรรม ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 142 ตอนพิเศษ 147 ง เมื่อวันที่ 25… สอศ. ปั้นผู้อำนวยการอาชีวะยุคใหม่! เสริมภาวะผู้นำ-วิสัยทัศน์ ทันโลกการศึกษา EZ WebmasterMarch 26, 2025 วันที่ 26 มีนาคม 2568 นายยศพล เวณุโกเศศ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (เลขาธิการ กอศ.) เป็นประธานเปิดโครงการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และบรรยายพิเศษ “Growth Mindset: แนวคิดเชิงบวกและการเติบโตขององค์กร” โดยนางธิติมา โรจน์วัชราภิบาล ผู้อำนวยการ… ไทย จ่อขยับอันดับการศึกษา หลังอัตราการรู้หนังสือของประชากร พุ่งสูง 98.83% จากการสำรวจอัตราการรู้หนังสือของประชากร EZ WebmasterMarch 26, 2025 เมื่อวันที่ 26 มีนาคม ที่สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (สกศ.) นายประวิต เอราวรรณ์ เลขาธิการสภาการศึกษา กล่าวในงานแถลงผลการสำรวจการรู้หนังสือของประชากรไทย ปี 2568 โดยมี นายธนากร ดอนเหนือ อธิบดีกรมส่งเสริมการเรียนรู้ (สกร.) เข้าร่วม นายประวิต… กิจกรรม สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ ร่วมพิธีวางพานพุ่มและพิธีตักบาตร เนื่องในวันครบรอบ ๑๐๘ ปี แห่งการสถาปนาจุฬาฯ EZ WebmasterMarch 27, 2025 สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินร่วมพิธีวางพานพุ่มสักการะพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระปิยมหาราชและสมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า และพิธีตักบาตร เนื่องในวันครบรอบ ๑๐๘ ปี แห่งการสถาปนาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมี นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ และ นายอรรษิษฐ์ สัมพันธรัตน์ ประธานการจัดงานคืนเหย้าชาวจุฬาฯ… พิธีเปิดกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) ภายใต้โครงการพัฒนามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมผ้าไทยสู่สากล ประจำปี ๒๕๖๘ EZ WebmasterMarch 26, 2025 นางสาวลิปิการ์ กำลังชัย รองธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรม รักษาราชการแทนอธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรมเป็นประธานพิธิเปิด และร่วมรับฟังการบรรยายกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) พร้อมด้วยนางสาวศิวพร ฉันทไกรวัฒน์ ผู้อำนวยการกลุ่มเผยแพร่และต่อยอดมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมเข้าร่วมงาน โดยวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญด้านผ้าไทย การออกแบบและแฟชั่น อาทิ ผศ.ดร.รวิเทพ มุสิกะปาน ผศ.ดร.วุฒิไกร… เปิดรับอาสาสมัครศิริราช รอบทำกิจกรรม เดือน พ.ค.-ก.ค. 68 ทุกกิจกรรมมีใบรับรองการทำกิจกรรม EZ WebmasterMarch 26, 2025 ตารางการรับอาสาสมัครรอบทำกิจกรรม เดือน พฤษภาคม – กรกฏาคม 68 (กิจกรรมที่อยู่ในเว็บไซต์ตอนนี้เป็นรอบเก่ามีผู้เข้าร่วมเต็มทั้งหมดแล้วค่ะ รอบใหม่จะเปิดตามวันเวลาที่แจ้งด้านล่างนี้เท่านั้น*) ขอให้อาสาเป็นผู้สมัครและกดเลือกกิจกรรมด้วยตนเองนะคะ – 31 ก.ค. 68 **เนื่องจากวันที่ 5 พ.ค. เป็นวันหยุด จะขอเริ่มตั้งแต่วันที่วันที่ 6 พ.ค.… เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน รับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน EZ WebmasterMarch 24, 2025 เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน เกม Let’s School เกมแนวบริหารโรงเรียนในฝัน ที่จะให้เรารับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน อยากให้โรงเรียนเป็นแบบไหนก็ปรับเล่นได้เลย ดูอารมณ์นักเรียกได้ด้วยว่ามีความสุขมั้ย? แถมตอนนี้ยังมีอัปเดตแมพใหม่พร้อมซัพไทยด้วยนะ Let’s School โหลดเล่นได้ที่ Steam :… Search for: Search EZ Webmaster February 24, 2022 EZ Webmaster February 24, 2022 O-NET ควรไปต่อหรือพอแค่นี้ — บทสรุปจากผลสำรวจความคิดเห็นผ่านแฟนเพจ Eduzones และ Wiriyah Eduzones O-NET ควรไปต่อหรือพอแค่นี้— บทสรุปจากผลสำรวจ การสอบโอเน็ต หรือ O-NET (Ordinary National Educational Test) เป็นการวัดผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนที่ต้องการวัดผ่านการจัดการทดสอบในระดับชาติ โดยมีสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (สทศ.) เป็นผู้ดำเนินการออกข้อสอบและจัดสอบทั่วประเทศ ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบความรู้ของนักเรียนในระระดับชั้นประถมศึกปีที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่ในปัจจุบันกลายข้อสอบชนิดนี้ตกเป็นประเด็นในการถกเถียงอย่างร้อนแรงว่า O-NET นี้มีประโยชน์ต่อนักเรียนจริงหรอ? ข้อสอบชนิfนี้ควรยกเลิกหรือควรไปต่อเช่นเดิม? . จากผลการสำรวจผ่านเฟสบุ๊กแฟนเพจ Eduzones และ Wiriyah Eduzones โดยเก็บข้อมูลภายในวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2565 จำนวนทั้งสิ้น 200 คอมเมนต์ พบว่ามีการแสดงความคิดเห็นเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้ อันดับ 1 ควรยกเลิก โดยผู้แสดงความคิดเห็นกลุ่มนี้ให้เหตุผลว่า “การสอบโอเน็ตทั้งสร้างภาระในแก่คุณครู ยังสามารถทั้งความเครียดและความกดดันให้แก่นักเรียน” “ควรยกเลิก ถ้าต้องการวัดคุณภาพครูควรเปลี่ยนเป็นการสำรวจความเห็นนักเรียน และผู้ปกครอง ควรให้เด็กนำเวลาไปปสนใจกับการสอบเข้าโรงเรียนที่จะศึกษาต่อ” “ไม่มีประโยชน์ เปลืองงบประมาณ” “ควรยกเลิกเพราะการสอบโอเน็ตกลายเป็นเครื่องมือที่คุณครู หรือผอ.ใช้ไม่ให้น้อยหน้ากว่าโรงเรียนอื่น” “ควรยกเลิกเพราะเป็นความเหลื่อมล้ำ กลายเป็นแหล่งหาเงินของสถาบันกวดวิชา” “ควรยกเลิก และควรเปลี่ยนข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัยเป็นข้อสอบเดียวกันทั้งประเทศเพราะ O-NET GAT/PAT กลายเป็นการใช้งบประมาณโดยใช้เหตุ มีการนำเงินไปใช้ด้วยเหตุผลในการศึกษาดูงานต่างประเทศแต่ไม่เคยนำกลับมาพัฒนากับระบบการศึกษาไทย” อันดับ 2 ความคิดเห็นอื่น ๆ ที่ไม่บ่งชี้ว่าควรยกเลิกหรือไปต่อ โดยมีความคิดเห็นเกี่ยวกับการให้ “รื้อทั้งระบบการศึกษา” เป็นจำนวนมากที่สุด รองลงมาเป็นคนคิดเห็นนอกเหนือดังนี้ “มีหรือไม่ก็ได้ แต่ต้องไม่เอามาจัดลำดับครู โรงเรียน หรือผอ.” “ควรเปลี่ยนให้เป็นการสอบตามความสมัครใจ” “มีหรือไม่ก็มีค่าเท่ากัน เพราะต่อให้มีก็ไม่ได้มีการนำข้อมูลมาเพื่อแก้ไขหรือปรับปรุงระบบการศึกษา ส่วนถ้ายกเลิกก็เป็นการปล่อยให้ครูไม่สนใจคุณภาพการสอนของตนเอง” “ไม่ว่าจะยกเลิกหรือไปต่อ ต้องมีการวางแผนใหม่ก่อนซึ่งเป็นไปได้ยากสำหรับตอนนี้” “ยกเลิกหรือไม่ยกเลิกก็ได้ แต่ถ้าจะมีต่อต้องจัดในวันธรรมดา ไม่เบียดเบียนวันหยุดของเด็ก” อันดับ 3 ควรมีต่อไป โดยผู้แสดงความคิดเห็นกลุ่มนี้ให้เหตุผลดังต่อไปนี้ “โอเน็ตควรมีต่อแต่ต้องปรับระบบให้ได้มาตรฐานอย่างแท้จริง ไม่ควรมีการให้ติวเพิ่มเติม เพราะจะกลายเป็นทั้งภาระของครูและนักเรียน และจะไม่ใช่การวัดระดับความรู้ในโรงเรียนอย่างแท้จริง” “ควรมีต่อแค่ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เท่านั้นเพราะใช้เป็นคะแนนยื่นเข้ามหาวิทยาลัย ส่วนในระดับชั้นอื่น ๆ ไม่ได้มีความจำเป็น” “ควรมีเพื่อวัดคุณภาพการศึกษาให้ได้มาตรฐาน แต่ควรหยุดค่านิยมในการนำคะแนนมาใช้เปรียบเทียบแต่ละโรงเรียน” “ควรมีเพราะให้เด็กได้วัดระดับความรู้ของตนเอง ไม่งั้นเด็กจะเรียนแบบทิ้ง ๆ ขว้าง ๆ “ควรมีต่อแต่ต้องมีเพื่อนำข้อมูลมาพัฒนาคุณภาพครู คุณภาพโรงเรียน ไม่ใช่มีเพื่อจัดการแข่งขัน” “ต้องมีเพราะการยกเลิกจะทำให้ครูละเลยการสอน ไม่สนใจที่จะพัฒนาการสอน” นอกเหนือจากนี้แล้ว ความคิดเห็นบางส่วนยังแสดงให้เห็นว่า แม้ในปัจจุบัน ประกาศกระทรวงศึกษาธิการได้แจ้งนโยบายการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานโอเน็ตว่า การเข้าทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (โอเน็ต) ให้เป็นไปตามความสมัครใจและเป็นสิทธิ์ส่วนตัวโดยเฉพาะของนักเรียน ตั้งแต่ปีการศึกษา 2563 เป็นต้นไป แต่ก็เป็นอิสระในการเข้าสอบที่ไม่จริง เพราะหลาย ๆ โรงเรียนยังมีการบังคับทางอ้อมด้วยการไม่ออกใบปพ. (เอกสารประเมินผลตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน) ซึ่งจำเป็นต่อการเข้าศึกษาต่อในโรงเรียนหรือมหาวิทยาลัยในอนาคต หากนักเรียนไม่ยอมเข้าสอบ O-NET . หากมองให้ลึกจะพบว่าการสอบโอเน็ตนับว่าเป็นการสอบที่มีประโยชน์หากเป็นการสอบที่ถูกนำมาใช้ตามวัตถุสงค์แรก คือ เอาผลคะแนนมาเพื่อใช้ประเมินระบบการศึกษา นำมาพัฒนาหลักสูตร พัฒนาบุคลากรในระบบการศึกษา โดยที่ข้อสอบนั้นจำเป็นที่จะต้องสอดคล้องกับการเรียนการสอนที่มีภายในโรงเรียนเพื่อชี้ให้เห็นจุดกำเนิดของปัญหา แต่ในปัจจุบันกลายเป็นว่าเนื้อหาของข้อสอบโอเน็ตไม่ตรงกับเนื้อหาที่มีตามโรงเรียน ทางรียนเรียนต้องจัดการติวเพิ่มเติมให้กับนักเรียนก่อนสอล นักเรียนหลายคนจำเป็นที่จะต้องลงเรียนเพิ่มเติมเพราะต้องใช้คะแนนสอบในส่วนนี้เพื่อเข้าศึกษาต่อ อีกหนึ่งสิ่งทำให้เกิดการฉุกคิดเกี่ยวกับความจำเป็นข้อสอบโอเน็ตคือประเทศไทยมีการจัดการสอบโอเน็ตมาหลายปีแล้ว แต่ระบบการศึกษายังไม่ดีขึ้น ปัญหาอยู่ที่ครู นักเรียน ข้อสอบ? หรือเกิดจากการที่ผลการประเมินผ่านโอเน็ตในแต่ละครั้งนี้ไม่เคยได้ถูกนำไปใช้เพื่อพัฒนาระบบการศึกษาอย่างแท้จริง ด้านดร.วิริยะ ฤาชัยพาณิชย์ นักวิชาการอิสระและในฐานะผู้ก่อตั้ง Eduzones ได้แสดงมุมมองเกี่ยวกับ O-NET ไว้ว่า “ปัจจุบันข้อสอบโอเน็ตไม่สามารถวัดอะไรได้ เพราะเกิดความผิดพลาดหลายประการ เริ่มตั้งแต่ให้เด็กทั้งประเทศสอบ ต่อมาคือการนำข้อสอบโอเน็ตไปเป็นเครื่องมือในการวัดว่าโรงเรียนไหนดี โรงเรียนไหนไม่ดี อีกทั้งผลคะแนนโอเน็ตมีผลต่อการกู้กยศ. (กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา) ที่สำคัญคือการนำเด็กธรรมดาไปจัดอยู่ในกลุ่มของเด็กพิเศษเพราะไม่ต้องการให้เด็กธรรมดาที่ทำคะแนนได้ไม่ดีมาเป็นตัวถ่วงคะแนนเฉลี่ย ซ้ำยังได้งบประมาณเพิ่มขึ้น” ดร.วิริยะยังได้เสนอแนวทางแก้ไขการสอบโอเน็ตเพิ่มเติมอีกว่า “ต้องใช้โอเน็ตให้เป็นเครื่องมือมอนิเตอร์โดยการสุ่มการสอบเพื่อวัดประสิทธิภาพในการจัดการระบบการศึกษา ซึ่งวิธีการสุ่มนี้จะช่วยลดงบประมาณ อีกทั้งยังต้องไม่มีการประกาศผลคะแนนหรือใช้ประโยชน์ในการเรียนต่อหรือสอบต่อ แต่ตราบใดที่โอเน็ตยังเป็นรูปแบบเดิมเด็กก็ยังคงต้องติวเพิ่มเติมกันอีกต่อไป” . เราอาจสรุปผลจากการสำรวจครั้งนี้ได้ว่าประเด็นหลักของการถกเถียงเกี่ยวกับความจำเป็นของการสอบโอเน็ตนี้อาจไม่ได้มาจากการมีข้อสอบชนิดนี้อยู่แต่มาจาก“การจัดสอบโอเน็ตไม่มีรูปแบบที่ตรงกับบริบทเพื่อพัฒนาการศึกษาอีกต่อไป แต่กลับถูกใช้เป็นเครื่องมือที่ทำให้เกิดความเหลื่อมล้ำในระบบการศึกษา” เพราะแม้จะมีทั้งคอมเมนต์ที่เห็นด้วยกับการไปต่อของข้อสอบโอเน็ต คอมเมนต์ที่ต้องการให้ยกเลิก หรือความคิดเห็นอื่น ๆ นอกเหนือ แต่สิ่งหนึ่งที่ทั้ง 3 ฝ่ายมีความเห็นตรงกันคือการสอบโอเน็ตต้องมีการปรับปรุง เปลี่ยนรูปแบบการสอบโอเน็ต เนื้อหาต้องเป็นเนื้อหาที่วัดระดับการเรียนการสอนในโรงเรียนไม่ใช่การวัดระดับความพร้อมของแต่ละโรงเรียนในการติวเพิ่มเติม อีกทั้งผลคะแนนต้องใช้เพื่อพัฒนาโรงเรียนให้ได้มาตรฐานเท่าเทียมกันในแต่ละพื้นที่ ไม่ใช่เป็นเครื่องมือในการเปรียบเทียบ และยกย่องโรงเรียนที่มีผลคะแนนที่สูงกว่า หากข้อสอบโอเน็ตสามารถปรับปรุง เปลี่ยนแปลง และพัฒนาได้ การสอบโอเน็ตก็จะกลายเป็นข้อสอบที่มีประโยชน์ต่อระบบการศึกษาอย่างแท้จริง แสดงความคิดเห็นเพิมเติ่มได้ที่ https://www.facebook.com/ajWiriya/posts/501084138039601 https://www.facebook.com/eduzonesdotcom/posts/10159798018616171 EZ Webmaster Related Posts สัปดาห์สุดท้าย!ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา เปิดรับรอบที่ 2 Quota 8 สาขา พร้อมมอบทุนเพชรสุนันทา เรียนการออกแบบแฟชั่น เด็กสาธิตสวนสุนันทาคว้ารางวัลศิลปะระดับโลก! สร้างชื่อเสียงให้ไทยบนเวทีนานาชาติ พิธีบวงสรวงสิ่งศักดิ์สิทธิ์และพิธีทำบุญเนื่องในวันคล้ายวันสถาปนา โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยศิลปากร (มัธยมศึกษา) นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มทร.ธัญบุรี คิดค้น 2 ผลิตภัณฑ์ ยับยั้งและลดการเน่าเสียผลผลิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาจับมือบริษัท ควีน โฟรเซ่น ฟรุต จำกัด ร่วมพัฒนาอนาคตการศึกษาไทย Post navigation PREVIOUS Previous post: “วัยเรียน”ก็รวยได้ถ้าใช้เงินเป็น! ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยได้เปิดพิพิธภัณฑ์เรียนรู้การลงทุน (INVESTORY) โฉมใหม่ ปี 2565NEXT Next post: รู้ก่อน รักษาทัน ลดเสี่ยงเสียชีวิต ชุดตรวจมะเร็งปากมดลูกด้วยปัสสาวะ นวัตกรรมเพื่อสุขภาพผู้หญิงจากจุฬาฯ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มทร.ธัญบุรี เปิดกว้างทุกวัย เพื่อเรียนรู้ตลอดชีพ ธนาคารหน่วยกิต “40 หลักสูตร ป.ตรี” tui sakrapeeMarch 26, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) เปิดรับสมัครผู้สนใจเข้าร่วมโครงการการเรียนรู้ตลอดชีวิตในระบบเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ (ธนาคารหน่วยกิต) หลักสูตรระดับปริญญาตรี ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2568 ตั้งแต่วันที่ 24 มี.ค. ถึง 30 พ.ค. 2568 โดยไม่มีค่าใช้จ่ายในการสมัคร… เปิดรับอาสาสมัครศิริราช รอบทำกิจกรรม เดือน พ.ค.-ก.ค. 68 ทุกกิจกรรมมีใบรับรองการทำกิจกรรม EZ WebmasterMarch 26, 2025 ตารางการรับอาสาสมัครรอบทำกิจกรรม เดือน พฤษภาคม – กรกฏาคม 68 (กิจกรรมที่อยู่ในเว็บไซต์ตอนนี้เป็นรอบเก่ามีผู้เข้าร่วมเต็มทั้งหมดแล้วค่ะ รอบใหม่จะเปิดตามวันเวลาที่แจ้งด้านล่างนี้เท่านั้น*) ขอให้อาสาเป็นผู้สมัครและกดเลือกกิจกรรมด้วยตนเองนะคะ – 31 ก.ค. 68 **เนื่องจากวันที่ 5 พ.ค. เป็นวันหยุด จะขอเริ่มตั้งแต่วันที่วันที่ 6 พ.ค.… ซีไอเอ็มบี ไทย เปิดสมัครทุนการศึกษา CIMB ASEAN Scholarship ประจำปี 2568 EZ WebmasterMarch 26, 2025 ธนาคาร ซีไอเอ็มบี ไทย จำกัด (มหาชน) เปิดรับนักเรียน นักศึกษา ที่กำลังจะเข้าศึกษาต่อ ในระดับปริญญาตรี จากทุกสาขาวิชา เพื่อคัดเลือกเข้ารับ CIMB ASEAN Scholarship ซึ่งเป็นทุนการศึกษาเต็มจำนวน ที่ครอบคลุมค่าเล่าเรียนทั้งหมด (ค่าใช้จ่ายในการสมัครเรียน ค่าเทอม… ทุนดีดี มหาวิทยาลัยอัลอัซฮัร กรุงไคโร สาธารณรัฐอาหรับอียิปต์ มอบ 160 ทุนให้นักศึกษาจากประเทศไทย EZ WebmasterMarch 27, 2025 มหาวิทยาลัยอัลอัซฮัร กรุงไคโร สาธารณรัฐอาหรับอียิปต์ มอบทุนการศึกษาแก่นักศึกษาจากประเทศไทย จำนวน 160 ทุน ในปีการศึกษา 2025/2026 (2568/2569) โดยจำแนกเป็น ทุนนการศึกษาสาขาอิสลามศึกษา จำนวน 80 ทุน เฉพาะนักเรียนที่จบการศึกษาระดับอิสลามศึกษาตอนปลาย (ซานาวี) #จากโรงเรียนที่ได้รับรองวิทยฐานะ ประกาศนียบัตรระดับอิสลามศึกษาตอนปลาย (ซานาวี)… Peking U.ให้ทุนป.ตรี-เอก InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศMarch 27, 2025 Peking University กำลังให้ทุนสำหรับนักศึกษาต่างชาติที่โดดเด่น ทุนนี้ก่อตั้งขึ้นในปี 2012 โดยให้การสนับสนุนนักศึกษาระดับปริญญาตรี โท และเอก(ไม่จำกัดสาขาวิชา) โดยให้ความช่วยเหลือทางการเงินเต็มจำนวนหรือบางส่วน รวมถึงค่าเล่าเรียน เงินเดือน และประกันสุขภาพ เปิดรับสมัครช่วงมีนาคมถึงเมษายน ทุกปี เพื่อให้มีสิทธิ์ได้รับทุน ผู้สมัครจะต้องเป็นนักศึกษาต่างชาติที่ได้รับข้อเสนอให้เข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยปักกิ่งในฐานะนักศึกษาปีหนึ่ง จะต้องไม่เป็นผู้รับทุนการศึกษาอื่นใด และไม่ควรลงทะเบียนในโปรแกรมปริญญาวิชาชีพ… สัปดาห์สุดท้าย!ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา เปิดรับรอบที่ 2 Quota 8 สาขา พร้อมมอบทุนเพชรสุนันทา เรียนการออกแบบแฟชั่น tui sakrapeeMarch 27, 2025 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดรับสมัครคัดเลือกนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญเข้าศึกษาในโครงการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาระดับปริญญาตรี ระบบโควตา ประเภทความสามารถทางวิชาการ และประเภทความสามารถพิเศษ ประจำปีการศึกษา 2568 (รอบที่ 2 Quota) พร้อมรับสมัครคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษา ภาคปกติ ระดับปริญญาตรี ในโครงการทุนเพชรสุนันทา กำหนดการรับสมัคร สาขาที่รับสมัครคณะศิลปกรรมศาสตร์ คุณสมบัติเฉพาะ… #ODOSSummerCamp InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศMarch 26, 2025 โอกาสที่จะได้ทุนไปค่ายฤดูร้อนที่ออสเตรเลีย กับ ทุน #ODOSSummerCamp มาถึงแล้ว! น้อง ๆ ตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ขึ้นไปและมีอายุไม่เกิน 19 ปี จาก 928 อำเภอทั่วประเทศสามารถสมัครเพื่อขอทุนนี้ผ่านแอปพลิเคชัน ‘ทางรัฐ’ สมัครได้ตั้งแต่วันนี้ –… ครู-อาจารย์ มจธ. คิดค้น “นวัตกรรมการผลิตซิลิกาด้วยเทคโนโลยีชีวภาพ” ต้นทุนต่ำ คุณภาพสูง พร้อมพลิกโฉมอุตสาหกรรมไทย EZ WebmasterMarch 27, 2025 นักวิจัย มจธ.พัฒนากระบวนการผลิต ไบโอซิลิกา (Biosilica) จากแกลบข้าว ด้วยกระบวนการชีวภาพ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและไร้สารเคมีตกค้าง พร้อมส่งต่อเทคโนโลยีเพื่อนำไปใช้ในอุตสาหกรรมต่างๆ เช่น เครื่องสำอาง เวชสำอาง ยา และยาง ซึ่งเป็นก้าวสำคัญที่ช่วยให้ประเทศไทยลดการพึ่งพาซิลิกานำเข้า และส่งเสริมเศรษฐกิจหมุนเวียนของประเทศ ซิลิกา (Silica) เป็นวัตถุดิบสำคัญในหลายอุตสาหกรรมของไทย ตั้งแต่ยางรถยนต์ เครื่องสำอาง เวชภัณฑ์… โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “ดร.ชุมพล พรประภา” เป็นนายกสภา ม.ศรีนครินทรวิโรฒ tui sakrapeeMarch 26, 2025 ราชกิจจานุเบกษาเผยแพร่ ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “ชุมพล พรประภา” ดำรงตำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ แทนวิจิตร ศรีสอ้าน ที่ถึงแก่อนิจกรรม ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 142 ตอนพิเศษ 147 ง เมื่อวันที่ 25… สอศ. ปั้นผู้อำนวยการอาชีวะยุคใหม่! เสริมภาวะผู้นำ-วิสัยทัศน์ ทันโลกการศึกษา EZ WebmasterMarch 26, 2025 วันที่ 26 มีนาคม 2568 นายยศพล เวณุโกเศศ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (เลขาธิการ กอศ.) เป็นประธานเปิดโครงการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และบรรยายพิเศษ “Growth Mindset: แนวคิดเชิงบวกและการเติบโตขององค์กร” โดยนางธิติมา โรจน์วัชราภิบาล ผู้อำนวยการ… ไทย จ่อขยับอันดับการศึกษา หลังอัตราการรู้หนังสือของประชากร พุ่งสูง 98.83% จากการสำรวจอัตราการรู้หนังสือของประชากร EZ WebmasterMarch 26, 2025 เมื่อวันที่ 26 มีนาคม ที่สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (สกศ.) นายประวิต เอราวรรณ์ เลขาธิการสภาการศึกษา กล่าวในงานแถลงผลการสำรวจการรู้หนังสือของประชากรไทย ปี 2568 โดยมี นายธนากร ดอนเหนือ อธิบดีกรมส่งเสริมการเรียนรู้ (สกร.) เข้าร่วม นายประวิต… กิจกรรม สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ ร่วมพิธีวางพานพุ่มและพิธีตักบาตร เนื่องในวันครบรอบ ๑๐๘ ปี แห่งการสถาปนาจุฬาฯ EZ WebmasterMarch 27, 2025 สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินร่วมพิธีวางพานพุ่มสักการะพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระปิยมหาราชและสมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า และพิธีตักบาตร เนื่องในวันครบรอบ ๑๐๘ ปี แห่งการสถาปนาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมี นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ และ นายอรรษิษฐ์ สัมพันธรัตน์ ประธานการจัดงานคืนเหย้าชาวจุฬาฯ… พิธีเปิดกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) ภายใต้โครงการพัฒนามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมผ้าไทยสู่สากล ประจำปี ๒๕๖๘ EZ WebmasterMarch 26, 2025 นางสาวลิปิการ์ กำลังชัย รองธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรม รักษาราชการแทนอธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรมเป็นประธานพิธิเปิด และร่วมรับฟังการบรรยายกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) พร้อมด้วยนางสาวศิวพร ฉันทไกรวัฒน์ ผู้อำนวยการกลุ่มเผยแพร่และต่อยอดมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมเข้าร่วมงาน โดยวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญด้านผ้าไทย การออกแบบและแฟชั่น อาทิ ผศ.ดร.รวิเทพ มุสิกะปาน ผศ.ดร.วุฒิไกร… เปิดรับอาสาสมัครศิริราช รอบทำกิจกรรม เดือน พ.ค.-ก.ค. 68 ทุกกิจกรรมมีใบรับรองการทำกิจกรรม EZ WebmasterMarch 26, 2025 ตารางการรับอาสาสมัครรอบทำกิจกรรม เดือน พฤษภาคม – กรกฏาคม 68 (กิจกรรมที่อยู่ในเว็บไซต์ตอนนี้เป็นรอบเก่ามีผู้เข้าร่วมเต็มทั้งหมดแล้วค่ะ รอบใหม่จะเปิดตามวันเวลาที่แจ้งด้านล่างนี้เท่านั้น*) ขอให้อาสาเป็นผู้สมัครและกดเลือกกิจกรรมด้วยตนเองนะคะ – 31 ก.ค. 68 **เนื่องจากวันที่ 5 พ.ค. เป็นวันหยุด จะขอเริ่มตั้งแต่วันที่วันที่ 6 พ.ค.… เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน รับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน EZ WebmasterMarch 24, 2025 เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน เกม Let’s School เกมแนวบริหารโรงเรียนในฝัน ที่จะให้เรารับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน อยากให้โรงเรียนเป็นแบบไหนก็ปรับเล่นได้เลย ดูอารมณ์นักเรียกได้ด้วยว่ามีความสุขมั้ย? แถมตอนนี้ยังมีอัปเดตแมพใหม่พร้อมซัพไทยด้วยนะ Let’s School โหลดเล่นได้ที่ Steam :… Search for: Search EZ Webmaster February 24, 2022 EZ Webmaster February 24, 2022 O-NET ควรไปต่อหรือพอแค่นี้ — บทสรุปจากผลสำรวจความคิดเห็นผ่านแฟนเพจ Eduzones และ Wiriyah Eduzones O-NET ควรไปต่อหรือพอแค่นี้— บทสรุปจากผลสำรวจ การสอบโอเน็ต หรือ O-NET (Ordinary National Educational Test) เป็นการวัดผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนที่ต้องการวัดผ่านการจัดการทดสอบในระดับชาติ โดยมีสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (สทศ.) เป็นผู้ดำเนินการออกข้อสอบและจัดสอบทั่วประเทศ ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบความรู้ของนักเรียนในระระดับชั้นประถมศึกปีที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่ในปัจจุบันกลายข้อสอบชนิดนี้ตกเป็นประเด็นในการถกเถียงอย่างร้อนแรงว่า O-NET นี้มีประโยชน์ต่อนักเรียนจริงหรอ? ข้อสอบชนิfนี้ควรยกเลิกหรือควรไปต่อเช่นเดิม? . จากผลการสำรวจผ่านเฟสบุ๊กแฟนเพจ Eduzones และ Wiriyah Eduzones โดยเก็บข้อมูลภายในวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2565 จำนวนทั้งสิ้น 200 คอมเมนต์ พบว่ามีการแสดงความคิดเห็นเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้ อันดับ 1 ควรยกเลิก โดยผู้แสดงความคิดเห็นกลุ่มนี้ให้เหตุผลว่า “การสอบโอเน็ตทั้งสร้างภาระในแก่คุณครู ยังสามารถทั้งความเครียดและความกดดันให้แก่นักเรียน” “ควรยกเลิก ถ้าต้องการวัดคุณภาพครูควรเปลี่ยนเป็นการสำรวจความเห็นนักเรียน และผู้ปกครอง ควรให้เด็กนำเวลาไปปสนใจกับการสอบเข้าโรงเรียนที่จะศึกษาต่อ” “ไม่มีประโยชน์ เปลืองงบประมาณ” “ควรยกเลิกเพราะการสอบโอเน็ตกลายเป็นเครื่องมือที่คุณครู หรือผอ.ใช้ไม่ให้น้อยหน้ากว่าโรงเรียนอื่น” “ควรยกเลิกเพราะเป็นความเหลื่อมล้ำ กลายเป็นแหล่งหาเงินของสถาบันกวดวิชา” “ควรยกเลิก และควรเปลี่ยนข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัยเป็นข้อสอบเดียวกันทั้งประเทศเพราะ O-NET GAT/PAT กลายเป็นการใช้งบประมาณโดยใช้เหตุ มีการนำเงินไปใช้ด้วยเหตุผลในการศึกษาดูงานต่างประเทศแต่ไม่เคยนำกลับมาพัฒนากับระบบการศึกษาไทย” อันดับ 2 ความคิดเห็นอื่น ๆ ที่ไม่บ่งชี้ว่าควรยกเลิกหรือไปต่อ โดยมีความคิดเห็นเกี่ยวกับการให้ “รื้อทั้งระบบการศึกษา” เป็นจำนวนมากที่สุด รองลงมาเป็นคนคิดเห็นนอกเหนือดังนี้ “มีหรือไม่ก็ได้ แต่ต้องไม่เอามาจัดลำดับครู โรงเรียน หรือผอ.” “ควรเปลี่ยนให้เป็นการสอบตามความสมัครใจ” “มีหรือไม่ก็มีค่าเท่ากัน เพราะต่อให้มีก็ไม่ได้มีการนำข้อมูลมาเพื่อแก้ไขหรือปรับปรุงระบบการศึกษา ส่วนถ้ายกเลิกก็เป็นการปล่อยให้ครูไม่สนใจคุณภาพการสอนของตนเอง” “ไม่ว่าจะยกเลิกหรือไปต่อ ต้องมีการวางแผนใหม่ก่อนซึ่งเป็นไปได้ยากสำหรับตอนนี้” “ยกเลิกหรือไม่ยกเลิกก็ได้ แต่ถ้าจะมีต่อต้องจัดในวันธรรมดา ไม่เบียดเบียนวันหยุดของเด็ก” อันดับ 3 ควรมีต่อไป โดยผู้แสดงความคิดเห็นกลุ่มนี้ให้เหตุผลดังต่อไปนี้ “โอเน็ตควรมีต่อแต่ต้องปรับระบบให้ได้มาตรฐานอย่างแท้จริง ไม่ควรมีการให้ติวเพิ่มเติม เพราะจะกลายเป็นทั้งภาระของครูและนักเรียน และจะไม่ใช่การวัดระดับความรู้ในโรงเรียนอย่างแท้จริง” “ควรมีต่อแค่ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เท่านั้นเพราะใช้เป็นคะแนนยื่นเข้ามหาวิทยาลัย ส่วนในระดับชั้นอื่น ๆ ไม่ได้มีความจำเป็น” “ควรมีเพื่อวัดคุณภาพการศึกษาให้ได้มาตรฐาน แต่ควรหยุดค่านิยมในการนำคะแนนมาใช้เปรียบเทียบแต่ละโรงเรียน” “ควรมีเพราะให้เด็กได้วัดระดับความรู้ของตนเอง ไม่งั้นเด็กจะเรียนแบบทิ้ง ๆ ขว้าง ๆ “ควรมีต่อแต่ต้องมีเพื่อนำข้อมูลมาพัฒนาคุณภาพครู คุณภาพโรงเรียน ไม่ใช่มีเพื่อจัดการแข่งขัน” “ต้องมีเพราะการยกเลิกจะทำให้ครูละเลยการสอน ไม่สนใจที่จะพัฒนาการสอน” นอกเหนือจากนี้แล้ว ความคิดเห็นบางส่วนยังแสดงให้เห็นว่า แม้ในปัจจุบัน ประกาศกระทรวงศึกษาธิการได้แจ้งนโยบายการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานโอเน็ตว่า การเข้าทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (โอเน็ต) ให้เป็นไปตามความสมัครใจและเป็นสิทธิ์ส่วนตัวโดยเฉพาะของนักเรียน ตั้งแต่ปีการศึกษา 2563 เป็นต้นไป แต่ก็เป็นอิสระในการเข้าสอบที่ไม่จริง เพราะหลาย ๆ โรงเรียนยังมีการบังคับทางอ้อมด้วยการไม่ออกใบปพ. (เอกสารประเมินผลตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน) ซึ่งจำเป็นต่อการเข้าศึกษาต่อในโรงเรียนหรือมหาวิทยาลัยในอนาคต หากนักเรียนไม่ยอมเข้าสอบ O-NET . หากมองให้ลึกจะพบว่าการสอบโอเน็ตนับว่าเป็นการสอบที่มีประโยชน์หากเป็นการสอบที่ถูกนำมาใช้ตามวัตถุสงค์แรก คือ เอาผลคะแนนมาเพื่อใช้ประเมินระบบการศึกษา นำมาพัฒนาหลักสูตร พัฒนาบุคลากรในระบบการศึกษา โดยที่ข้อสอบนั้นจำเป็นที่จะต้องสอดคล้องกับการเรียนการสอนที่มีภายในโรงเรียนเพื่อชี้ให้เห็นจุดกำเนิดของปัญหา แต่ในปัจจุบันกลายเป็นว่าเนื้อหาของข้อสอบโอเน็ตไม่ตรงกับเนื้อหาที่มีตามโรงเรียน ทางรียนเรียนต้องจัดการติวเพิ่มเติมให้กับนักเรียนก่อนสอล นักเรียนหลายคนจำเป็นที่จะต้องลงเรียนเพิ่มเติมเพราะต้องใช้คะแนนสอบในส่วนนี้เพื่อเข้าศึกษาต่อ อีกหนึ่งสิ่งทำให้เกิดการฉุกคิดเกี่ยวกับความจำเป็นข้อสอบโอเน็ตคือประเทศไทยมีการจัดการสอบโอเน็ตมาหลายปีแล้ว แต่ระบบการศึกษายังไม่ดีขึ้น ปัญหาอยู่ที่ครู นักเรียน ข้อสอบ? หรือเกิดจากการที่ผลการประเมินผ่านโอเน็ตในแต่ละครั้งนี้ไม่เคยได้ถูกนำไปใช้เพื่อพัฒนาระบบการศึกษาอย่างแท้จริง ด้านดร.วิริยะ ฤาชัยพาณิชย์ นักวิชาการอิสระและในฐานะผู้ก่อตั้ง Eduzones ได้แสดงมุมมองเกี่ยวกับ O-NET ไว้ว่า “ปัจจุบันข้อสอบโอเน็ตไม่สามารถวัดอะไรได้ เพราะเกิดความผิดพลาดหลายประการ เริ่มตั้งแต่ให้เด็กทั้งประเทศสอบ ต่อมาคือการนำข้อสอบโอเน็ตไปเป็นเครื่องมือในการวัดว่าโรงเรียนไหนดี โรงเรียนไหนไม่ดี อีกทั้งผลคะแนนโอเน็ตมีผลต่อการกู้กยศ. (กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา) ที่สำคัญคือการนำเด็กธรรมดาไปจัดอยู่ในกลุ่มของเด็กพิเศษเพราะไม่ต้องการให้เด็กธรรมดาที่ทำคะแนนได้ไม่ดีมาเป็นตัวถ่วงคะแนนเฉลี่ย ซ้ำยังได้งบประมาณเพิ่มขึ้น” ดร.วิริยะยังได้เสนอแนวทางแก้ไขการสอบโอเน็ตเพิ่มเติมอีกว่า “ต้องใช้โอเน็ตให้เป็นเครื่องมือมอนิเตอร์โดยการสุ่มการสอบเพื่อวัดประสิทธิภาพในการจัดการระบบการศึกษา ซึ่งวิธีการสุ่มนี้จะช่วยลดงบประมาณ อีกทั้งยังต้องไม่มีการประกาศผลคะแนนหรือใช้ประโยชน์ในการเรียนต่อหรือสอบต่อ แต่ตราบใดที่โอเน็ตยังเป็นรูปแบบเดิมเด็กก็ยังคงต้องติวเพิ่มเติมกันอีกต่อไป” . เราอาจสรุปผลจากการสำรวจครั้งนี้ได้ว่าประเด็นหลักของการถกเถียงเกี่ยวกับความจำเป็นของการสอบโอเน็ตนี้อาจไม่ได้มาจากการมีข้อสอบชนิดนี้อยู่แต่มาจาก“การจัดสอบโอเน็ตไม่มีรูปแบบที่ตรงกับบริบทเพื่อพัฒนาการศึกษาอีกต่อไป แต่กลับถูกใช้เป็นเครื่องมือที่ทำให้เกิดความเหลื่อมล้ำในระบบการศึกษา” เพราะแม้จะมีทั้งคอมเมนต์ที่เห็นด้วยกับการไปต่อของข้อสอบโอเน็ต คอมเมนต์ที่ต้องการให้ยกเลิก หรือความคิดเห็นอื่น ๆ นอกเหนือ แต่สิ่งหนึ่งที่ทั้ง 3 ฝ่ายมีความเห็นตรงกันคือการสอบโอเน็ตต้องมีการปรับปรุง เปลี่ยนรูปแบบการสอบโอเน็ต เนื้อหาต้องเป็นเนื้อหาที่วัดระดับการเรียนการสอนในโรงเรียนไม่ใช่การวัดระดับความพร้อมของแต่ละโรงเรียนในการติวเพิ่มเติม อีกทั้งผลคะแนนต้องใช้เพื่อพัฒนาโรงเรียนให้ได้มาตรฐานเท่าเทียมกันในแต่ละพื้นที่ ไม่ใช่เป็นเครื่องมือในการเปรียบเทียบ และยกย่องโรงเรียนที่มีผลคะแนนที่สูงกว่า หากข้อสอบโอเน็ตสามารถปรับปรุง เปลี่ยนแปลง และพัฒนาได้ การสอบโอเน็ตก็จะกลายเป็นข้อสอบที่มีประโยชน์ต่อระบบการศึกษาอย่างแท้จริง แสดงความคิดเห็นเพิมเติ่มได้ที่ https://www.facebook.com/ajWiriya/posts/501084138039601 https://www.facebook.com/eduzonesdotcom/posts/10159798018616171 EZ Webmaster Related Posts สัปดาห์สุดท้าย!ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา เปิดรับรอบที่ 2 Quota 8 สาขา พร้อมมอบทุนเพชรสุนันทา เรียนการออกแบบแฟชั่น เด็กสาธิตสวนสุนันทาคว้ารางวัลศิลปะระดับโลก! สร้างชื่อเสียงให้ไทยบนเวทีนานาชาติ พิธีบวงสรวงสิ่งศักดิ์สิทธิ์และพิธีทำบุญเนื่องในวันคล้ายวันสถาปนา โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยศิลปากร (มัธยมศึกษา) นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มทร.ธัญบุรี คิดค้น 2 ผลิตภัณฑ์ ยับยั้งและลดการเน่าเสียผลผลิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาจับมือบริษัท ควีน โฟรเซ่น ฟรุต จำกัด ร่วมพัฒนาอนาคตการศึกษาไทย Post navigation PREVIOUS Previous post: “วัยเรียน”ก็รวยได้ถ้าใช้เงินเป็น! ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยได้เปิดพิพิธภัณฑ์เรียนรู้การลงทุน (INVESTORY) โฉมใหม่ ปี 2565NEXT Next post: รู้ก่อน รักษาทัน ลดเสี่ยงเสียชีวิต ชุดตรวจมะเร็งปากมดลูกด้วยปัสสาวะ นวัตกรรมเพื่อสุขภาพผู้หญิงจากจุฬาฯ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เปิดรับอาสาสมัครศิริราช รอบทำกิจกรรม เดือน พ.ค.-ก.ค. 68 ทุกกิจกรรมมีใบรับรองการทำกิจกรรม EZ WebmasterMarch 26, 2025 ตารางการรับอาสาสมัครรอบทำกิจกรรม เดือน พฤษภาคม – กรกฏาคม 68 (กิจกรรมที่อยู่ในเว็บไซต์ตอนนี้เป็นรอบเก่ามีผู้เข้าร่วมเต็มทั้งหมดแล้วค่ะ รอบใหม่จะเปิดตามวันเวลาที่แจ้งด้านล่างนี้เท่านั้น*) ขอให้อาสาเป็นผู้สมัครและกดเลือกกิจกรรมด้วยตนเองนะคะ – 31 ก.ค. 68 **เนื่องจากวันที่ 5 พ.ค. เป็นวันหยุด จะขอเริ่มตั้งแต่วันที่วันที่ 6 พ.ค.… ซีไอเอ็มบี ไทย เปิดสมัครทุนการศึกษา CIMB ASEAN Scholarship ประจำปี 2568 EZ WebmasterMarch 26, 2025 ธนาคาร ซีไอเอ็มบี ไทย จำกัด (มหาชน) เปิดรับนักเรียน นักศึกษา ที่กำลังจะเข้าศึกษาต่อ ในระดับปริญญาตรี จากทุกสาขาวิชา เพื่อคัดเลือกเข้ารับ CIMB ASEAN Scholarship ซึ่งเป็นทุนการศึกษาเต็มจำนวน ที่ครอบคลุมค่าเล่าเรียนทั้งหมด (ค่าใช้จ่ายในการสมัครเรียน ค่าเทอม…
ซีไอเอ็มบี ไทย เปิดสมัครทุนการศึกษา CIMB ASEAN Scholarship ประจำปี 2568 EZ WebmasterMarch 26, 2025 ธนาคาร ซีไอเอ็มบี ไทย จำกัด (มหาชน) เปิดรับนักเรียน นักศึกษา ที่กำลังจะเข้าศึกษาต่อ ในระดับปริญญาตรี จากทุกสาขาวิชา เพื่อคัดเลือกเข้ารับ CIMB ASEAN Scholarship ซึ่งเป็นทุนการศึกษาเต็มจำนวน ที่ครอบคลุมค่าเล่าเรียนทั้งหมด (ค่าใช้จ่ายในการสมัครเรียน ค่าเทอม…
มหาวิทยาลัยอัลอัซฮัร กรุงไคโร สาธารณรัฐอาหรับอียิปต์ มอบ 160 ทุนให้นักศึกษาจากประเทศไทย EZ WebmasterMarch 27, 2025 มหาวิทยาลัยอัลอัซฮัร กรุงไคโร สาธารณรัฐอาหรับอียิปต์ มอบทุนการศึกษาแก่นักศึกษาจากประเทศไทย จำนวน 160 ทุน ในปีการศึกษา 2025/2026 (2568/2569) โดยจำแนกเป็น ทุนนการศึกษาสาขาอิสลามศึกษา จำนวน 80 ทุน เฉพาะนักเรียนที่จบการศึกษาระดับอิสลามศึกษาตอนปลาย (ซานาวี) #จากโรงเรียนที่ได้รับรองวิทยฐานะ ประกาศนียบัตรระดับอิสลามศึกษาตอนปลาย (ซานาวี)… Peking U.ให้ทุนป.ตรี-เอก InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศMarch 27, 2025 Peking University กำลังให้ทุนสำหรับนักศึกษาต่างชาติที่โดดเด่น ทุนนี้ก่อตั้งขึ้นในปี 2012 โดยให้การสนับสนุนนักศึกษาระดับปริญญาตรี โท และเอก(ไม่จำกัดสาขาวิชา) โดยให้ความช่วยเหลือทางการเงินเต็มจำนวนหรือบางส่วน รวมถึงค่าเล่าเรียน เงินเดือน และประกันสุขภาพ เปิดรับสมัครช่วงมีนาคมถึงเมษายน ทุกปี เพื่อให้มีสิทธิ์ได้รับทุน ผู้สมัครจะต้องเป็นนักศึกษาต่างชาติที่ได้รับข้อเสนอให้เข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยปักกิ่งในฐานะนักศึกษาปีหนึ่ง จะต้องไม่เป็นผู้รับทุนการศึกษาอื่นใด และไม่ควรลงทะเบียนในโปรแกรมปริญญาวิชาชีพ… สัปดาห์สุดท้าย!ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา เปิดรับรอบที่ 2 Quota 8 สาขา พร้อมมอบทุนเพชรสุนันทา เรียนการออกแบบแฟชั่น tui sakrapeeMarch 27, 2025 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดรับสมัครคัดเลือกนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญเข้าศึกษาในโครงการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาระดับปริญญาตรี ระบบโควตา ประเภทความสามารถทางวิชาการ และประเภทความสามารถพิเศษ ประจำปีการศึกษา 2568 (รอบที่ 2 Quota) พร้อมรับสมัครคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษา ภาคปกติ ระดับปริญญาตรี ในโครงการทุนเพชรสุนันทา กำหนดการรับสมัคร สาขาที่รับสมัครคณะศิลปกรรมศาสตร์ คุณสมบัติเฉพาะ… #ODOSSummerCamp InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศMarch 26, 2025 โอกาสที่จะได้ทุนไปค่ายฤดูร้อนที่ออสเตรเลีย กับ ทุน #ODOSSummerCamp มาถึงแล้ว! น้อง ๆ ตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ขึ้นไปและมีอายุไม่เกิน 19 ปี จาก 928 อำเภอทั่วประเทศสามารถสมัครเพื่อขอทุนนี้ผ่านแอปพลิเคชัน ‘ทางรัฐ’ สมัครได้ตั้งแต่วันนี้ –… ครู-อาจารย์ มจธ. คิดค้น “นวัตกรรมการผลิตซิลิกาด้วยเทคโนโลยีชีวภาพ” ต้นทุนต่ำ คุณภาพสูง พร้อมพลิกโฉมอุตสาหกรรมไทย EZ WebmasterMarch 27, 2025 นักวิจัย มจธ.พัฒนากระบวนการผลิต ไบโอซิลิกา (Biosilica) จากแกลบข้าว ด้วยกระบวนการชีวภาพ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและไร้สารเคมีตกค้าง พร้อมส่งต่อเทคโนโลยีเพื่อนำไปใช้ในอุตสาหกรรมต่างๆ เช่น เครื่องสำอาง เวชสำอาง ยา และยาง ซึ่งเป็นก้าวสำคัญที่ช่วยให้ประเทศไทยลดการพึ่งพาซิลิกานำเข้า และส่งเสริมเศรษฐกิจหมุนเวียนของประเทศ ซิลิกา (Silica) เป็นวัตถุดิบสำคัญในหลายอุตสาหกรรมของไทย ตั้งแต่ยางรถยนต์ เครื่องสำอาง เวชภัณฑ์… โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “ดร.ชุมพล พรประภา” เป็นนายกสภา ม.ศรีนครินทรวิโรฒ tui sakrapeeMarch 26, 2025 ราชกิจจานุเบกษาเผยแพร่ ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “ชุมพล พรประภา” ดำรงตำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ แทนวิจิตร ศรีสอ้าน ที่ถึงแก่อนิจกรรม ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 142 ตอนพิเศษ 147 ง เมื่อวันที่ 25… สอศ. ปั้นผู้อำนวยการอาชีวะยุคใหม่! เสริมภาวะผู้นำ-วิสัยทัศน์ ทันโลกการศึกษา EZ WebmasterMarch 26, 2025 วันที่ 26 มีนาคม 2568 นายยศพล เวณุโกเศศ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (เลขาธิการ กอศ.) เป็นประธานเปิดโครงการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และบรรยายพิเศษ “Growth Mindset: แนวคิดเชิงบวกและการเติบโตขององค์กร” โดยนางธิติมา โรจน์วัชราภิบาล ผู้อำนวยการ… ไทย จ่อขยับอันดับการศึกษา หลังอัตราการรู้หนังสือของประชากร พุ่งสูง 98.83% จากการสำรวจอัตราการรู้หนังสือของประชากร EZ WebmasterMarch 26, 2025 เมื่อวันที่ 26 มีนาคม ที่สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (สกศ.) นายประวิต เอราวรรณ์ เลขาธิการสภาการศึกษา กล่าวในงานแถลงผลการสำรวจการรู้หนังสือของประชากรไทย ปี 2568 โดยมี นายธนากร ดอนเหนือ อธิบดีกรมส่งเสริมการเรียนรู้ (สกร.) เข้าร่วม นายประวิต… กิจกรรม สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ ร่วมพิธีวางพานพุ่มและพิธีตักบาตร เนื่องในวันครบรอบ ๑๐๘ ปี แห่งการสถาปนาจุฬาฯ EZ WebmasterMarch 27, 2025 สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินร่วมพิธีวางพานพุ่มสักการะพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระปิยมหาราชและสมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า และพิธีตักบาตร เนื่องในวันครบรอบ ๑๐๘ ปี แห่งการสถาปนาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมี นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ และ นายอรรษิษฐ์ สัมพันธรัตน์ ประธานการจัดงานคืนเหย้าชาวจุฬาฯ… พิธีเปิดกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) ภายใต้โครงการพัฒนามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมผ้าไทยสู่สากล ประจำปี ๒๕๖๘ EZ WebmasterMarch 26, 2025 นางสาวลิปิการ์ กำลังชัย รองธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรม รักษาราชการแทนอธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรมเป็นประธานพิธิเปิด และร่วมรับฟังการบรรยายกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) พร้อมด้วยนางสาวศิวพร ฉันทไกรวัฒน์ ผู้อำนวยการกลุ่มเผยแพร่และต่อยอดมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมเข้าร่วมงาน โดยวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญด้านผ้าไทย การออกแบบและแฟชั่น อาทิ ผศ.ดร.รวิเทพ มุสิกะปาน ผศ.ดร.วุฒิไกร… เปิดรับอาสาสมัครศิริราช รอบทำกิจกรรม เดือน พ.ค.-ก.ค. 68 ทุกกิจกรรมมีใบรับรองการทำกิจกรรม EZ WebmasterMarch 26, 2025 ตารางการรับอาสาสมัครรอบทำกิจกรรม เดือน พฤษภาคม – กรกฏาคม 68 (กิจกรรมที่อยู่ในเว็บไซต์ตอนนี้เป็นรอบเก่ามีผู้เข้าร่วมเต็มทั้งหมดแล้วค่ะ รอบใหม่จะเปิดตามวันเวลาที่แจ้งด้านล่างนี้เท่านั้น*) ขอให้อาสาเป็นผู้สมัครและกดเลือกกิจกรรมด้วยตนเองนะคะ – 31 ก.ค. 68 **เนื่องจากวันที่ 5 พ.ค. เป็นวันหยุด จะขอเริ่มตั้งแต่วันที่วันที่ 6 พ.ค.… เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน รับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน EZ WebmasterMarch 24, 2025 เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน เกม Let’s School เกมแนวบริหารโรงเรียนในฝัน ที่จะให้เรารับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน อยากให้โรงเรียนเป็นแบบไหนก็ปรับเล่นได้เลย ดูอารมณ์นักเรียกได้ด้วยว่ามีความสุขมั้ย? แถมตอนนี้ยังมีอัปเดตแมพใหม่พร้อมซัพไทยด้วยนะ Let’s School โหลดเล่นได้ที่ Steam :… Search for: Search EZ Webmaster February 24, 2022 EZ Webmaster February 24, 2022 O-NET ควรไปต่อหรือพอแค่นี้ — บทสรุปจากผลสำรวจความคิดเห็นผ่านแฟนเพจ Eduzones และ Wiriyah Eduzones O-NET ควรไปต่อหรือพอแค่นี้— บทสรุปจากผลสำรวจ การสอบโอเน็ต หรือ O-NET (Ordinary National Educational Test) เป็นการวัดผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนที่ต้องการวัดผ่านการจัดการทดสอบในระดับชาติ โดยมีสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (สทศ.) เป็นผู้ดำเนินการออกข้อสอบและจัดสอบทั่วประเทศ ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบความรู้ของนักเรียนในระระดับชั้นประถมศึกปีที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่ในปัจจุบันกลายข้อสอบชนิดนี้ตกเป็นประเด็นในการถกเถียงอย่างร้อนแรงว่า O-NET นี้มีประโยชน์ต่อนักเรียนจริงหรอ? ข้อสอบชนิfนี้ควรยกเลิกหรือควรไปต่อเช่นเดิม? . จากผลการสำรวจผ่านเฟสบุ๊กแฟนเพจ Eduzones และ Wiriyah Eduzones โดยเก็บข้อมูลภายในวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2565 จำนวนทั้งสิ้น 200 คอมเมนต์ พบว่ามีการแสดงความคิดเห็นเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้ อันดับ 1 ควรยกเลิก โดยผู้แสดงความคิดเห็นกลุ่มนี้ให้เหตุผลว่า “การสอบโอเน็ตทั้งสร้างภาระในแก่คุณครู ยังสามารถทั้งความเครียดและความกดดันให้แก่นักเรียน” “ควรยกเลิก ถ้าต้องการวัดคุณภาพครูควรเปลี่ยนเป็นการสำรวจความเห็นนักเรียน และผู้ปกครอง ควรให้เด็กนำเวลาไปปสนใจกับการสอบเข้าโรงเรียนที่จะศึกษาต่อ” “ไม่มีประโยชน์ เปลืองงบประมาณ” “ควรยกเลิกเพราะการสอบโอเน็ตกลายเป็นเครื่องมือที่คุณครู หรือผอ.ใช้ไม่ให้น้อยหน้ากว่าโรงเรียนอื่น” “ควรยกเลิกเพราะเป็นความเหลื่อมล้ำ กลายเป็นแหล่งหาเงินของสถาบันกวดวิชา” “ควรยกเลิก และควรเปลี่ยนข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัยเป็นข้อสอบเดียวกันทั้งประเทศเพราะ O-NET GAT/PAT กลายเป็นการใช้งบประมาณโดยใช้เหตุ มีการนำเงินไปใช้ด้วยเหตุผลในการศึกษาดูงานต่างประเทศแต่ไม่เคยนำกลับมาพัฒนากับระบบการศึกษาไทย” อันดับ 2 ความคิดเห็นอื่น ๆ ที่ไม่บ่งชี้ว่าควรยกเลิกหรือไปต่อ โดยมีความคิดเห็นเกี่ยวกับการให้ “รื้อทั้งระบบการศึกษา” เป็นจำนวนมากที่สุด รองลงมาเป็นคนคิดเห็นนอกเหนือดังนี้ “มีหรือไม่ก็ได้ แต่ต้องไม่เอามาจัดลำดับครู โรงเรียน หรือผอ.” “ควรเปลี่ยนให้เป็นการสอบตามความสมัครใจ” “มีหรือไม่ก็มีค่าเท่ากัน เพราะต่อให้มีก็ไม่ได้มีการนำข้อมูลมาเพื่อแก้ไขหรือปรับปรุงระบบการศึกษา ส่วนถ้ายกเลิกก็เป็นการปล่อยให้ครูไม่สนใจคุณภาพการสอนของตนเอง” “ไม่ว่าจะยกเลิกหรือไปต่อ ต้องมีการวางแผนใหม่ก่อนซึ่งเป็นไปได้ยากสำหรับตอนนี้” “ยกเลิกหรือไม่ยกเลิกก็ได้ แต่ถ้าจะมีต่อต้องจัดในวันธรรมดา ไม่เบียดเบียนวันหยุดของเด็ก” อันดับ 3 ควรมีต่อไป โดยผู้แสดงความคิดเห็นกลุ่มนี้ให้เหตุผลดังต่อไปนี้ “โอเน็ตควรมีต่อแต่ต้องปรับระบบให้ได้มาตรฐานอย่างแท้จริง ไม่ควรมีการให้ติวเพิ่มเติม เพราะจะกลายเป็นทั้งภาระของครูและนักเรียน และจะไม่ใช่การวัดระดับความรู้ในโรงเรียนอย่างแท้จริง” “ควรมีต่อแค่ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เท่านั้นเพราะใช้เป็นคะแนนยื่นเข้ามหาวิทยาลัย ส่วนในระดับชั้นอื่น ๆ ไม่ได้มีความจำเป็น” “ควรมีเพื่อวัดคุณภาพการศึกษาให้ได้มาตรฐาน แต่ควรหยุดค่านิยมในการนำคะแนนมาใช้เปรียบเทียบแต่ละโรงเรียน” “ควรมีเพราะให้เด็กได้วัดระดับความรู้ของตนเอง ไม่งั้นเด็กจะเรียนแบบทิ้ง ๆ ขว้าง ๆ “ควรมีต่อแต่ต้องมีเพื่อนำข้อมูลมาพัฒนาคุณภาพครู คุณภาพโรงเรียน ไม่ใช่มีเพื่อจัดการแข่งขัน” “ต้องมีเพราะการยกเลิกจะทำให้ครูละเลยการสอน ไม่สนใจที่จะพัฒนาการสอน” นอกเหนือจากนี้แล้ว ความคิดเห็นบางส่วนยังแสดงให้เห็นว่า แม้ในปัจจุบัน ประกาศกระทรวงศึกษาธิการได้แจ้งนโยบายการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานโอเน็ตว่า การเข้าทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (โอเน็ต) ให้เป็นไปตามความสมัครใจและเป็นสิทธิ์ส่วนตัวโดยเฉพาะของนักเรียน ตั้งแต่ปีการศึกษา 2563 เป็นต้นไป แต่ก็เป็นอิสระในการเข้าสอบที่ไม่จริง เพราะหลาย ๆ โรงเรียนยังมีการบังคับทางอ้อมด้วยการไม่ออกใบปพ. (เอกสารประเมินผลตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน) ซึ่งจำเป็นต่อการเข้าศึกษาต่อในโรงเรียนหรือมหาวิทยาลัยในอนาคต หากนักเรียนไม่ยอมเข้าสอบ O-NET . หากมองให้ลึกจะพบว่าการสอบโอเน็ตนับว่าเป็นการสอบที่มีประโยชน์หากเป็นการสอบที่ถูกนำมาใช้ตามวัตถุสงค์แรก คือ เอาผลคะแนนมาเพื่อใช้ประเมินระบบการศึกษา นำมาพัฒนาหลักสูตร พัฒนาบุคลากรในระบบการศึกษา โดยที่ข้อสอบนั้นจำเป็นที่จะต้องสอดคล้องกับการเรียนการสอนที่มีภายในโรงเรียนเพื่อชี้ให้เห็นจุดกำเนิดของปัญหา แต่ในปัจจุบันกลายเป็นว่าเนื้อหาของข้อสอบโอเน็ตไม่ตรงกับเนื้อหาที่มีตามโรงเรียน ทางรียนเรียนต้องจัดการติวเพิ่มเติมให้กับนักเรียนก่อนสอล นักเรียนหลายคนจำเป็นที่จะต้องลงเรียนเพิ่มเติมเพราะต้องใช้คะแนนสอบในส่วนนี้เพื่อเข้าศึกษาต่อ อีกหนึ่งสิ่งทำให้เกิดการฉุกคิดเกี่ยวกับความจำเป็นข้อสอบโอเน็ตคือประเทศไทยมีการจัดการสอบโอเน็ตมาหลายปีแล้ว แต่ระบบการศึกษายังไม่ดีขึ้น ปัญหาอยู่ที่ครู นักเรียน ข้อสอบ? หรือเกิดจากการที่ผลการประเมินผ่านโอเน็ตในแต่ละครั้งนี้ไม่เคยได้ถูกนำไปใช้เพื่อพัฒนาระบบการศึกษาอย่างแท้จริง ด้านดร.วิริยะ ฤาชัยพาณิชย์ นักวิชาการอิสระและในฐานะผู้ก่อตั้ง Eduzones ได้แสดงมุมมองเกี่ยวกับ O-NET ไว้ว่า “ปัจจุบันข้อสอบโอเน็ตไม่สามารถวัดอะไรได้ เพราะเกิดความผิดพลาดหลายประการ เริ่มตั้งแต่ให้เด็กทั้งประเทศสอบ ต่อมาคือการนำข้อสอบโอเน็ตไปเป็นเครื่องมือในการวัดว่าโรงเรียนไหนดี โรงเรียนไหนไม่ดี อีกทั้งผลคะแนนโอเน็ตมีผลต่อการกู้กยศ. (กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา) ที่สำคัญคือการนำเด็กธรรมดาไปจัดอยู่ในกลุ่มของเด็กพิเศษเพราะไม่ต้องการให้เด็กธรรมดาที่ทำคะแนนได้ไม่ดีมาเป็นตัวถ่วงคะแนนเฉลี่ย ซ้ำยังได้งบประมาณเพิ่มขึ้น” ดร.วิริยะยังได้เสนอแนวทางแก้ไขการสอบโอเน็ตเพิ่มเติมอีกว่า “ต้องใช้โอเน็ตให้เป็นเครื่องมือมอนิเตอร์โดยการสุ่มการสอบเพื่อวัดประสิทธิภาพในการจัดการระบบการศึกษา ซึ่งวิธีการสุ่มนี้จะช่วยลดงบประมาณ อีกทั้งยังต้องไม่มีการประกาศผลคะแนนหรือใช้ประโยชน์ในการเรียนต่อหรือสอบต่อ แต่ตราบใดที่โอเน็ตยังเป็นรูปแบบเดิมเด็กก็ยังคงต้องติวเพิ่มเติมกันอีกต่อไป” . เราอาจสรุปผลจากการสำรวจครั้งนี้ได้ว่าประเด็นหลักของการถกเถียงเกี่ยวกับความจำเป็นของการสอบโอเน็ตนี้อาจไม่ได้มาจากการมีข้อสอบชนิดนี้อยู่แต่มาจาก“การจัดสอบโอเน็ตไม่มีรูปแบบที่ตรงกับบริบทเพื่อพัฒนาการศึกษาอีกต่อไป แต่กลับถูกใช้เป็นเครื่องมือที่ทำให้เกิดความเหลื่อมล้ำในระบบการศึกษา” เพราะแม้จะมีทั้งคอมเมนต์ที่เห็นด้วยกับการไปต่อของข้อสอบโอเน็ต คอมเมนต์ที่ต้องการให้ยกเลิก หรือความคิดเห็นอื่น ๆ นอกเหนือ แต่สิ่งหนึ่งที่ทั้ง 3 ฝ่ายมีความเห็นตรงกันคือการสอบโอเน็ตต้องมีการปรับปรุง เปลี่ยนรูปแบบการสอบโอเน็ต เนื้อหาต้องเป็นเนื้อหาที่วัดระดับการเรียนการสอนในโรงเรียนไม่ใช่การวัดระดับความพร้อมของแต่ละโรงเรียนในการติวเพิ่มเติม อีกทั้งผลคะแนนต้องใช้เพื่อพัฒนาโรงเรียนให้ได้มาตรฐานเท่าเทียมกันในแต่ละพื้นที่ ไม่ใช่เป็นเครื่องมือในการเปรียบเทียบ และยกย่องโรงเรียนที่มีผลคะแนนที่สูงกว่า หากข้อสอบโอเน็ตสามารถปรับปรุง เปลี่ยนแปลง และพัฒนาได้ การสอบโอเน็ตก็จะกลายเป็นข้อสอบที่มีประโยชน์ต่อระบบการศึกษาอย่างแท้จริง แสดงความคิดเห็นเพิมเติ่มได้ที่ https://www.facebook.com/ajWiriya/posts/501084138039601 https://www.facebook.com/eduzonesdotcom/posts/10159798018616171 EZ Webmaster Related Posts สัปดาห์สุดท้าย!ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา เปิดรับรอบที่ 2 Quota 8 สาขา พร้อมมอบทุนเพชรสุนันทา เรียนการออกแบบแฟชั่น เด็กสาธิตสวนสุนันทาคว้ารางวัลศิลปะระดับโลก! สร้างชื่อเสียงให้ไทยบนเวทีนานาชาติ พิธีบวงสรวงสิ่งศักดิ์สิทธิ์และพิธีทำบุญเนื่องในวันคล้ายวันสถาปนา โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยศิลปากร (มัธยมศึกษา) นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มทร.ธัญบุรี คิดค้น 2 ผลิตภัณฑ์ ยับยั้งและลดการเน่าเสียผลผลิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาจับมือบริษัท ควีน โฟรเซ่น ฟรุต จำกัด ร่วมพัฒนาอนาคตการศึกษาไทย Post navigation PREVIOUS Previous post: “วัยเรียน”ก็รวยได้ถ้าใช้เงินเป็น! ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยได้เปิดพิพิธภัณฑ์เรียนรู้การลงทุน (INVESTORY) โฉมใหม่ ปี 2565NEXT Next post: รู้ก่อน รักษาทัน ลดเสี่ยงเสียชีวิต ชุดตรวจมะเร็งปากมดลูกด้วยปัสสาวะ นวัตกรรมเพื่อสุขภาพผู้หญิงจากจุฬาฯ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
Peking U.ให้ทุนป.ตรี-เอก InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศMarch 27, 2025 Peking University กำลังให้ทุนสำหรับนักศึกษาต่างชาติที่โดดเด่น ทุนนี้ก่อตั้งขึ้นในปี 2012 โดยให้การสนับสนุนนักศึกษาระดับปริญญาตรี โท และเอก(ไม่จำกัดสาขาวิชา) โดยให้ความช่วยเหลือทางการเงินเต็มจำนวนหรือบางส่วน รวมถึงค่าเล่าเรียน เงินเดือน และประกันสุขภาพ เปิดรับสมัครช่วงมีนาคมถึงเมษายน ทุกปี เพื่อให้มีสิทธิ์ได้รับทุน ผู้สมัครจะต้องเป็นนักศึกษาต่างชาติที่ได้รับข้อเสนอให้เข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยปักกิ่งในฐานะนักศึกษาปีหนึ่ง จะต้องไม่เป็นผู้รับทุนการศึกษาอื่นใด และไม่ควรลงทะเบียนในโปรแกรมปริญญาวิชาชีพ… สัปดาห์สุดท้าย!ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา เปิดรับรอบที่ 2 Quota 8 สาขา พร้อมมอบทุนเพชรสุนันทา เรียนการออกแบบแฟชั่น tui sakrapeeMarch 27, 2025 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดรับสมัครคัดเลือกนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญเข้าศึกษาในโครงการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาระดับปริญญาตรี ระบบโควตา ประเภทความสามารถทางวิชาการ และประเภทความสามารถพิเศษ ประจำปีการศึกษา 2568 (รอบที่ 2 Quota) พร้อมรับสมัครคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษา ภาคปกติ ระดับปริญญาตรี ในโครงการทุนเพชรสุนันทา กำหนดการรับสมัคร สาขาที่รับสมัครคณะศิลปกรรมศาสตร์ คุณสมบัติเฉพาะ… #ODOSSummerCamp InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศMarch 26, 2025 โอกาสที่จะได้ทุนไปค่ายฤดูร้อนที่ออสเตรเลีย กับ ทุน #ODOSSummerCamp มาถึงแล้ว! น้อง ๆ ตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ขึ้นไปและมีอายุไม่เกิน 19 ปี จาก 928 อำเภอทั่วประเทศสามารถสมัครเพื่อขอทุนนี้ผ่านแอปพลิเคชัน ‘ทางรัฐ’ สมัครได้ตั้งแต่วันนี้ –… ครู-อาจารย์ มจธ. คิดค้น “นวัตกรรมการผลิตซิลิกาด้วยเทคโนโลยีชีวภาพ” ต้นทุนต่ำ คุณภาพสูง พร้อมพลิกโฉมอุตสาหกรรมไทย EZ WebmasterMarch 27, 2025 นักวิจัย มจธ.พัฒนากระบวนการผลิต ไบโอซิลิกา (Biosilica) จากแกลบข้าว ด้วยกระบวนการชีวภาพ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและไร้สารเคมีตกค้าง พร้อมส่งต่อเทคโนโลยีเพื่อนำไปใช้ในอุตสาหกรรมต่างๆ เช่น เครื่องสำอาง เวชสำอาง ยา และยาง ซึ่งเป็นก้าวสำคัญที่ช่วยให้ประเทศไทยลดการพึ่งพาซิลิกานำเข้า และส่งเสริมเศรษฐกิจหมุนเวียนของประเทศ ซิลิกา (Silica) เป็นวัตถุดิบสำคัญในหลายอุตสาหกรรมของไทย ตั้งแต่ยางรถยนต์ เครื่องสำอาง เวชภัณฑ์… โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “ดร.ชุมพล พรประภา” เป็นนายกสภา ม.ศรีนครินทรวิโรฒ tui sakrapeeMarch 26, 2025 ราชกิจจานุเบกษาเผยแพร่ ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “ชุมพล พรประภา” ดำรงตำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ แทนวิจิตร ศรีสอ้าน ที่ถึงแก่อนิจกรรม ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 142 ตอนพิเศษ 147 ง เมื่อวันที่ 25… สอศ. ปั้นผู้อำนวยการอาชีวะยุคใหม่! เสริมภาวะผู้นำ-วิสัยทัศน์ ทันโลกการศึกษา EZ WebmasterMarch 26, 2025 วันที่ 26 มีนาคม 2568 นายยศพล เวณุโกเศศ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (เลขาธิการ กอศ.) เป็นประธานเปิดโครงการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และบรรยายพิเศษ “Growth Mindset: แนวคิดเชิงบวกและการเติบโตขององค์กร” โดยนางธิติมา โรจน์วัชราภิบาล ผู้อำนวยการ… ไทย จ่อขยับอันดับการศึกษา หลังอัตราการรู้หนังสือของประชากร พุ่งสูง 98.83% จากการสำรวจอัตราการรู้หนังสือของประชากร EZ WebmasterMarch 26, 2025 เมื่อวันที่ 26 มีนาคม ที่สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (สกศ.) นายประวิต เอราวรรณ์ เลขาธิการสภาการศึกษา กล่าวในงานแถลงผลการสำรวจการรู้หนังสือของประชากรไทย ปี 2568 โดยมี นายธนากร ดอนเหนือ อธิบดีกรมส่งเสริมการเรียนรู้ (สกร.) เข้าร่วม นายประวิต… กิจกรรม สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ ร่วมพิธีวางพานพุ่มและพิธีตักบาตร เนื่องในวันครบรอบ ๑๐๘ ปี แห่งการสถาปนาจุฬาฯ EZ WebmasterMarch 27, 2025 สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินร่วมพิธีวางพานพุ่มสักการะพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระปิยมหาราชและสมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า และพิธีตักบาตร เนื่องในวันครบรอบ ๑๐๘ ปี แห่งการสถาปนาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมี นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ และ นายอรรษิษฐ์ สัมพันธรัตน์ ประธานการจัดงานคืนเหย้าชาวจุฬาฯ… พิธีเปิดกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) ภายใต้โครงการพัฒนามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมผ้าไทยสู่สากล ประจำปี ๒๕๖๘ EZ WebmasterMarch 26, 2025 นางสาวลิปิการ์ กำลังชัย รองธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรม รักษาราชการแทนอธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรมเป็นประธานพิธิเปิด และร่วมรับฟังการบรรยายกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) พร้อมด้วยนางสาวศิวพร ฉันทไกรวัฒน์ ผู้อำนวยการกลุ่มเผยแพร่และต่อยอดมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมเข้าร่วมงาน โดยวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญด้านผ้าไทย การออกแบบและแฟชั่น อาทิ ผศ.ดร.รวิเทพ มุสิกะปาน ผศ.ดร.วุฒิไกร… เปิดรับอาสาสมัครศิริราช รอบทำกิจกรรม เดือน พ.ค.-ก.ค. 68 ทุกกิจกรรมมีใบรับรองการทำกิจกรรม EZ WebmasterMarch 26, 2025 ตารางการรับอาสาสมัครรอบทำกิจกรรม เดือน พฤษภาคม – กรกฏาคม 68 (กิจกรรมที่อยู่ในเว็บไซต์ตอนนี้เป็นรอบเก่ามีผู้เข้าร่วมเต็มทั้งหมดแล้วค่ะ รอบใหม่จะเปิดตามวันเวลาที่แจ้งด้านล่างนี้เท่านั้น*) ขอให้อาสาเป็นผู้สมัครและกดเลือกกิจกรรมด้วยตนเองนะคะ – 31 ก.ค. 68 **เนื่องจากวันที่ 5 พ.ค. เป็นวันหยุด จะขอเริ่มตั้งแต่วันที่วันที่ 6 พ.ค.… เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน รับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน EZ WebmasterMarch 24, 2025 เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน เกม Let’s School เกมแนวบริหารโรงเรียนในฝัน ที่จะให้เรารับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน อยากให้โรงเรียนเป็นแบบไหนก็ปรับเล่นได้เลย ดูอารมณ์นักเรียกได้ด้วยว่ามีความสุขมั้ย? แถมตอนนี้ยังมีอัปเดตแมพใหม่พร้อมซัพไทยด้วยนะ Let’s School โหลดเล่นได้ที่ Steam :… Search for: Search EZ Webmaster February 24, 2022 EZ Webmaster February 24, 2022 O-NET ควรไปต่อหรือพอแค่นี้ — บทสรุปจากผลสำรวจความคิดเห็นผ่านแฟนเพจ Eduzones และ Wiriyah Eduzones O-NET ควรไปต่อหรือพอแค่นี้— บทสรุปจากผลสำรวจ การสอบโอเน็ต หรือ O-NET (Ordinary National Educational Test) เป็นการวัดผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนที่ต้องการวัดผ่านการจัดการทดสอบในระดับชาติ โดยมีสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (สทศ.) เป็นผู้ดำเนินการออกข้อสอบและจัดสอบทั่วประเทศ ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบความรู้ของนักเรียนในระระดับชั้นประถมศึกปีที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่ในปัจจุบันกลายข้อสอบชนิดนี้ตกเป็นประเด็นในการถกเถียงอย่างร้อนแรงว่า O-NET นี้มีประโยชน์ต่อนักเรียนจริงหรอ? ข้อสอบชนิfนี้ควรยกเลิกหรือควรไปต่อเช่นเดิม? . จากผลการสำรวจผ่านเฟสบุ๊กแฟนเพจ Eduzones และ Wiriyah Eduzones โดยเก็บข้อมูลภายในวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2565 จำนวนทั้งสิ้น 200 คอมเมนต์ พบว่ามีการแสดงความคิดเห็นเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้ อันดับ 1 ควรยกเลิก โดยผู้แสดงความคิดเห็นกลุ่มนี้ให้เหตุผลว่า “การสอบโอเน็ตทั้งสร้างภาระในแก่คุณครู ยังสามารถทั้งความเครียดและความกดดันให้แก่นักเรียน” “ควรยกเลิก ถ้าต้องการวัดคุณภาพครูควรเปลี่ยนเป็นการสำรวจความเห็นนักเรียน และผู้ปกครอง ควรให้เด็กนำเวลาไปปสนใจกับการสอบเข้าโรงเรียนที่จะศึกษาต่อ” “ไม่มีประโยชน์ เปลืองงบประมาณ” “ควรยกเลิกเพราะการสอบโอเน็ตกลายเป็นเครื่องมือที่คุณครู หรือผอ.ใช้ไม่ให้น้อยหน้ากว่าโรงเรียนอื่น” “ควรยกเลิกเพราะเป็นความเหลื่อมล้ำ กลายเป็นแหล่งหาเงินของสถาบันกวดวิชา” “ควรยกเลิก และควรเปลี่ยนข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัยเป็นข้อสอบเดียวกันทั้งประเทศเพราะ O-NET GAT/PAT กลายเป็นการใช้งบประมาณโดยใช้เหตุ มีการนำเงินไปใช้ด้วยเหตุผลในการศึกษาดูงานต่างประเทศแต่ไม่เคยนำกลับมาพัฒนากับระบบการศึกษาไทย” อันดับ 2 ความคิดเห็นอื่น ๆ ที่ไม่บ่งชี้ว่าควรยกเลิกหรือไปต่อ โดยมีความคิดเห็นเกี่ยวกับการให้ “รื้อทั้งระบบการศึกษา” เป็นจำนวนมากที่สุด รองลงมาเป็นคนคิดเห็นนอกเหนือดังนี้ “มีหรือไม่ก็ได้ แต่ต้องไม่เอามาจัดลำดับครู โรงเรียน หรือผอ.” “ควรเปลี่ยนให้เป็นการสอบตามความสมัครใจ” “มีหรือไม่ก็มีค่าเท่ากัน เพราะต่อให้มีก็ไม่ได้มีการนำข้อมูลมาเพื่อแก้ไขหรือปรับปรุงระบบการศึกษา ส่วนถ้ายกเลิกก็เป็นการปล่อยให้ครูไม่สนใจคุณภาพการสอนของตนเอง” “ไม่ว่าจะยกเลิกหรือไปต่อ ต้องมีการวางแผนใหม่ก่อนซึ่งเป็นไปได้ยากสำหรับตอนนี้” “ยกเลิกหรือไม่ยกเลิกก็ได้ แต่ถ้าจะมีต่อต้องจัดในวันธรรมดา ไม่เบียดเบียนวันหยุดของเด็ก” อันดับ 3 ควรมีต่อไป โดยผู้แสดงความคิดเห็นกลุ่มนี้ให้เหตุผลดังต่อไปนี้ “โอเน็ตควรมีต่อแต่ต้องปรับระบบให้ได้มาตรฐานอย่างแท้จริง ไม่ควรมีการให้ติวเพิ่มเติม เพราะจะกลายเป็นทั้งภาระของครูและนักเรียน และจะไม่ใช่การวัดระดับความรู้ในโรงเรียนอย่างแท้จริง” “ควรมีต่อแค่ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เท่านั้นเพราะใช้เป็นคะแนนยื่นเข้ามหาวิทยาลัย ส่วนในระดับชั้นอื่น ๆ ไม่ได้มีความจำเป็น” “ควรมีเพื่อวัดคุณภาพการศึกษาให้ได้มาตรฐาน แต่ควรหยุดค่านิยมในการนำคะแนนมาใช้เปรียบเทียบแต่ละโรงเรียน” “ควรมีเพราะให้เด็กได้วัดระดับความรู้ของตนเอง ไม่งั้นเด็กจะเรียนแบบทิ้ง ๆ ขว้าง ๆ “ควรมีต่อแต่ต้องมีเพื่อนำข้อมูลมาพัฒนาคุณภาพครู คุณภาพโรงเรียน ไม่ใช่มีเพื่อจัดการแข่งขัน” “ต้องมีเพราะการยกเลิกจะทำให้ครูละเลยการสอน ไม่สนใจที่จะพัฒนาการสอน” นอกเหนือจากนี้แล้ว ความคิดเห็นบางส่วนยังแสดงให้เห็นว่า แม้ในปัจจุบัน ประกาศกระทรวงศึกษาธิการได้แจ้งนโยบายการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานโอเน็ตว่า การเข้าทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (โอเน็ต) ให้เป็นไปตามความสมัครใจและเป็นสิทธิ์ส่วนตัวโดยเฉพาะของนักเรียน ตั้งแต่ปีการศึกษา 2563 เป็นต้นไป แต่ก็เป็นอิสระในการเข้าสอบที่ไม่จริง เพราะหลาย ๆ โรงเรียนยังมีการบังคับทางอ้อมด้วยการไม่ออกใบปพ. (เอกสารประเมินผลตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน) ซึ่งจำเป็นต่อการเข้าศึกษาต่อในโรงเรียนหรือมหาวิทยาลัยในอนาคต หากนักเรียนไม่ยอมเข้าสอบ O-NET . หากมองให้ลึกจะพบว่าการสอบโอเน็ตนับว่าเป็นการสอบที่มีประโยชน์หากเป็นการสอบที่ถูกนำมาใช้ตามวัตถุสงค์แรก คือ เอาผลคะแนนมาเพื่อใช้ประเมินระบบการศึกษา นำมาพัฒนาหลักสูตร พัฒนาบุคลากรในระบบการศึกษา โดยที่ข้อสอบนั้นจำเป็นที่จะต้องสอดคล้องกับการเรียนการสอนที่มีภายในโรงเรียนเพื่อชี้ให้เห็นจุดกำเนิดของปัญหา แต่ในปัจจุบันกลายเป็นว่าเนื้อหาของข้อสอบโอเน็ตไม่ตรงกับเนื้อหาที่มีตามโรงเรียน ทางรียนเรียนต้องจัดการติวเพิ่มเติมให้กับนักเรียนก่อนสอล นักเรียนหลายคนจำเป็นที่จะต้องลงเรียนเพิ่มเติมเพราะต้องใช้คะแนนสอบในส่วนนี้เพื่อเข้าศึกษาต่อ อีกหนึ่งสิ่งทำให้เกิดการฉุกคิดเกี่ยวกับความจำเป็นข้อสอบโอเน็ตคือประเทศไทยมีการจัดการสอบโอเน็ตมาหลายปีแล้ว แต่ระบบการศึกษายังไม่ดีขึ้น ปัญหาอยู่ที่ครู นักเรียน ข้อสอบ? หรือเกิดจากการที่ผลการประเมินผ่านโอเน็ตในแต่ละครั้งนี้ไม่เคยได้ถูกนำไปใช้เพื่อพัฒนาระบบการศึกษาอย่างแท้จริง ด้านดร.วิริยะ ฤาชัยพาณิชย์ นักวิชาการอิสระและในฐานะผู้ก่อตั้ง Eduzones ได้แสดงมุมมองเกี่ยวกับ O-NET ไว้ว่า “ปัจจุบันข้อสอบโอเน็ตไม่สามารถวัดอะไรได้ เพราะเกิดความผิดพลาดหลายประการ เริ่มตั้งแต่ให้เด็กทั้งประเทศสอบ ต่อมาคือการนำข้อสอบโอเน็ตไปเป็นเครื่องมือในการวัดว่าโรงเรียนไหนดี โรงเรียนไหนไม่ดี อีกทั้งผลคะแนนโอเน็ตมีผลต่อการกู้กยศ. (กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา) ที่สำคัญคือการนำเด็กธรรมดาไปจัดอยู่ในกลุ่มของเด็กพิเศษเพราะไม่ต้องการให้เด็กธรรมดาที่ทำคะแนนได้ไม่ดีมาเป็นตัวถ่วงคะแนนเฉลี่ย ซ้ำยังได้งบประมาณเพิ่มขึ้น” ดร.วิริยะยังได้เสนอแนวทางแก้ไขการสอบโอเน็ตเพิ่มเติมอีกว่า “ต้องใช้โอเน็ตให้เป็นเครื่องมือมอนิเตอร์โดยการสุ่มการสอบเพื่อวัดประสิทธิภาพในการจัดการระบบการศึกษา ซึ่งวิธีการสุ่มนี้จะช่วยลดงบประมาณ อีกทั้งยังต้องไม่มีการประกาศผลคะแนนหรือใช้ประโยชน์ในการเรียนต่อหรือสอบต่อ แต่ตราบใดที่โอเน็ตยังเป็นรูปแบบเดิมเด็กก็ยังคงต้องติวเพิ่มเติมกันอีกต่อไป” . เราอาจสรุปผลจากการสำรวจครั้งนี้ได้ว่าประเด็นหลักของการถกเถียงเกี่ยวกับความจำเป็นของการสอบโอเน็ตนี้อาจไม่ได้มาจากการมีข้อสอบชนิดนี้อยู่แต่มาจาก“การจัดสอบโอเน็ตไม่มีรูปแบบที่ตรงกับบริบทเพื่อพัฒนาการศึกษาอีกต่อไป แต่กลับถูกใช้เป็นเครื่องมือที่ทำให้เกิดความเหลื่อมล้ำในระบบการศึกษา” เพราะแม้จะมีทั้งคอมเมนต์ที่เห็นด้วยกับการไปต่อของข้อสอบโอเน็ต คอมเมนต์ที่ต้องการให้ยกเลิก หรือความคิดเห็นอื่น ๆ นอกเหนือ แต่สิ่งหนึ่งที่ทั้ง 3 ฝ่ายมีความเห็นตรงกันคือการสอบโอเน็ตต้องมีการปรับปรุง เปลี่ยนรูปแบบการสอบโอเน็ต เนื้อหาต้องเป็นเนื้อหาที่วัดระดับการเรียนการสอนในโรงเรียนไม่ใช่การวัดระดับความพร้อมของแต่ละโรงเรียนในการติวเพิ่มเติม อีกทั้งผลคะแนนต้องใช้เพื่อพัฒนาโรงเรียนให้ได้มาตรฐานเท่าเทียมกันในแต่ละพื้นที่ ไม่ใช่เป็นเครื่องมือในการเปรียบเทียบ และยกย่องโรงเรียนที่มีผลคะแนนที่สูงกว่า หากข้อสอบโอเน็ตสามารถปรับปรุง เปลี่ยนแปลง และพัฒนาได้ การสอบโอเน็ตก็จะกลายเป็นข้อสอบที่มีประโยชน์ต่อระบบการศึกษาอย่างแท้จริง แสดงความคิดเห็นเพิมเติ่มได้ที่ https://www.facebook.com/ajWiriya/posts/501084138039601 https://www.facebook.com/eduzonesdotcom/posts/10159798018616171 EZ Webmaster Related Posts สัปดาห์สุดท้าย!ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา เปิดรับรอบที่ 2 Quota 8 สาขา พร้อมมอบทุนเพชรสุนันทา เรียนการออกแบบแฟชั่น เด็กสาธิตสวนสุนันทาคว้ารางวัลศิลปะระดับโลก! สร้างชื่อเสียงให้ไทยบนเวทีนานาชาติ พิธีบวงสรวงสิ่งศักดิ์สิทธิ์และพิธีทำบุญเนื่องในวันคล้ายวันสถาปนา โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยศิลปากร (มัธยมศึกษา) นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มทร.ธัญบุรี คิดค้น 2 ผลิตภัณฑ์ ยับยั้งและลดการเน่าเสียผลผลิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาจับมือบริษัท ควีน โฟรเซ่น ฟรุต จำกัด ร่วมพัฒนาอนาคตการศึกษาไทย Post navigation PREVIOUS Previous post: “วัยเรียน”ก็รวยได้ถ้าใช้เงินเป็น! ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยได้เปิดพิพิธภัณฑ์เรียนรู้การลงทุน (INVESTORY) โฉมใหม่ ปี 2565NEXT Next post: รู้ก่อน รักษาทัน ลดเสี่ยงเสียชีวิต ชุดตรวจมะเร็งปากมดลูกด้วยปัสสาวะ นวัตกรรมเพื่อสุขภาพผู้หญิงจากจุฬาฯ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
สัปดาห์สุดท้าย!ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา เปิดรับรอบที่ 2 Quota 8 สาขา พร้อมมอบทุนเพชรสุนันทา เรียนการออกแบบแฟชั่น tui sakrapeeMarch 27, 2025 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดรับสมัครคัดเลือกนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายสายสามัญเข้าศึกษาในโครงการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาระดับปริญญาตรี ระบบโควตา ประเภทความสามารถทางวิชาการ และประเภทความสามารถพิเศษ ประจำปีการศึกษา 2568 (รอบที่ 2 Quota) พร้อมรับสมัครคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษา ภาคปกติ ระดับปริญญาตรี ในโครงการทุนเพชรสุนันทา กำหนดการรับสมัคร สาขาที่รับสมัครคณะศิลปกรรมศาสตร์ คุณสมบัติเฉพาะ… #ODOSSummerCamp InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศMarch 26, 2025 โอกาสที่จะได้ทุนไปค่ายฤดูร้อนที่ออสเตรเลีย กับ ทุน #ODOSSummerCamp มาถึงแล้ว! น้อง ๆ ตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ขึ้นไปและมีอายุไม่เกิน 19 ปี จาก 928 อำเภอทั่วประเทศสามารถสมัครเพื่อขอทุนนี้ผ่านแอปพลิเคชัน ‘ทางรัฐ’ สมัครได้ตั้งแต่วันนี้ –…
#ODOSSummerCamp InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศMarch 26, 2025 โอกาสที่จะได้ทุนไปค่ายฤดูร้อนที่ออสเตรเลีย กับ ทุน #ODOSSummerCamp มาถึงแล้ว! น้อง ๆ ตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ขึ้นไปและมีอายุไม่เกิน 19 ปี จาก 928 อำเภอทั่วประเทศสามารถสมัครเพื่อขอทุนนี้ผ่านแอปพลิเคชัน ‘ทางรัฐ’ สมัครได้ตั้งแต่วันนี้ –…
มจธ. คิดค้น “นวัตกรรมการผลิตซิลิกาด้วยเทคโนโลยีชีวภาพ” ต้นทุนต่ำ คุณภาพสูง พร้อมพลิกโฉมอุตสาหกรรมไทย EZ WebmasterMarch 27, 2025 นักวิจัย มจธ.พัฒนากระบวนการผลิต ไบโอซิลิกา (Biosilica) จากแกลบข้าว ด้วยกระบวนการชีวภาพ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและไร้สารเคมีตกค้าง พร้อมส่งต่อเทคโนโลยีเพื่อนำไปใช้ในอุตสาหกรรมต่างๆ เช่น เครื่องสำอาง เวชสำอาง ยา และยาง ซึ่งเป็นก้าวสำคัญที่ช่วยให้ประเทศไทยลดการพึ่งพาซิลิกานำเข้า และส่งเสริมเศรษฐกิจหมุนเวียนของประเทศ ซิลิกา (Silica) เป็นวัตถุดิบสำคัญในหลายอุตสาหกรรมของไทย ตั้งแต่ยางรถยนต์ เครื่องสำอาง เวชภัณฑ์… โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “ดร.ชุมพล พรประภา” เป็นนายกสภา ม.ศรีนครินทรวิโรฒ tui sakrapeeMarch 26, 2025 ราชกิจจานุเบกษาเผยแพร่ ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “ชุมพล พรประภา” ดำรงตำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ แทนวิจิตร ศรีสอ้าน ที่ถึงแก่อนิจกรรม ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 142 ตอนพิเศษ 147 ง เมื่อวันที่ 25… สอศ. ปั้นผู้อำนวยการอาชีวะยุคใหม่! เสริมภาวะผู้นำ-วิสัยทัศน์ ทันโลกการศึกษา EZ WebmasterMarch 26, 2025 วันที่ 26 มีนาคม 2568 นายยศพล เวณุโกเศศ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (เลขาธิการ กอศ.) เป็นประธานเปิดโครงการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และบรรยายพิเศษ “Growth Mindset: แนวคิดเชิงบวกและการเติบโตขององค์กร” โดยนางธิติมา โรจน์วัชราภิบาล ผู้อำนวยการ… ไทย จ่อขยับอันดับการศึกษา หลังอัตราการรู้หนังสือของประชากร พุ่งสูง 98.83% จากการสำรวจอัตราการรู้หนังสือของประชากร EZ WebmasterMarch 26, 2025 เมื่อวันที่ 26 มีนาคม ที่สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (สกศ.) นายประวิต เอราวรรณ์ เลขาธิการสภาการศึกษา กล่าวในงานแถลงผลการสำรวจการรู้หนังสือของประชากรไทย ปี 2568 โดยมี นายธนากร ดอนเหนือ อธิบดีกรมส่งเสริมการเรียนรู้ (สกร.) เข้าร่วม นายประวิต… กิจกรรม สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ ร่วมพิธีวางพานพุ่มและพิธีตักบาตร เนื่องในวันครบรอบ ๑๐๘ ปี แห่งการสถาปนาจุฬาฯ EZ WebmasterMarch 27, 2025 สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินร่วมพิธีวางพานพุ่มสักการะพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระปิยมหาราชและสมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า และพิธีตักบาตร เนื่องในวันครบรอบ ๑๐๘ ปี แห่งการสถาปนาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมี นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ และ นายอรรษิษฐ์ สัมพันธรัตน์ ประธานการจัดงานคืนเหย้าชาวจุฬาฯ… พิธีเปิดกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) ภายใต้โครงการพัฒนามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมผ้าไทยสู่สากล ประจำปี ๒๕๖๘ EZ WebmasterMarch 26, 2025 นางสาวลิปิการ์ กำลังชัย รองธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรม รักษาราชการแทนอธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรมเป็นประธานพิธิเปิด และร่วมรับฟังการบรรยายกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) พร้อมด้วยนางสาวศิวพร ฉันทไกรวัฒน์ ผู้อำนวยการกลุ่มเผยแพร่และต่อยอดมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมเข้าร่วมงาน โดยวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญด้านผ้าไทย การออกแบบและแฟชั่น อาทิ ผศ.ดร.รวิเทพ มุสิกะปาน ผศ.ดร.วุฒิไกร… เปิดรับอาสาสมัครศิริราช รอบทำกิจกรรม เดือน พ.ค.-ก.ค. 68 ทุกกิจกรรมมีใบรับรองการทำกิจกรรม EZ WebmasterMarch 26, 2025 ตารางการรับอาสาสมัครรอบทำกิจกรรม เดือน พฤษภาคม – กรกฏาคม 68 (กิจกรรมที่อยู่ในเว็บไซต์ตอนนี้เป็นรอบเก่ามีผู้เข้าร่วมเต็มทั้งหมดแล้วค่ะ รอบใหม่จะเปิดตามวันเวลาที่แจ้งด้านล่างนี้เท่านั้น*) ขอให้อาสาเป็นผู้สมัครและกดเลือกกิจกรรมด้วยตนเองนะคะ – 31 ก.ค. 68 **เนื่องจากวันที่ 5 พ.ค. เป็นวันหยุด จะขอเริ่มตั้งแต่วันที่วันที่ 6 พ.ค.… เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน รับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน EZ WebmasterMarch 24, 2025 เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน เกม Let’s School เกมแนวบริหารโรงเรียนในฝัน ที่จะให้เรารับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน อยากให้โรงเรียนเป็นแบบไหนก็ปรับเล่นได้เลย ดูอารมณ์นักเรียกได้ด้วยว่ามีความสุขมั้ย? แถมตอนนี้ยังมีอัปเดตแมพใหม่พร้อมซัพไทยด้วยนะ Let’s School โหลดเล่นได้ที่ Steam :… Search for: Search EZ Webmaster February 24, 2022 EZ Webmaster February 24, 2022 O-NET ควรไปต่อหรือพอแค่นี้ — บทสรุปจากผลสำรวจความคิดเห็นผ่านแฟนเพจ Eduzones และ Wiriyah Eduzones O-NET ควรไปต่อหรือพอแค่นี้— บทสรุปจากผลสำรวจ การสอบโอเน็ต หรือ O-NET (Ordinary National Educational Test) เป็นการวัดผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนที่ต้องการวัดผ่านการจัดการทดสอบในระดับชาติ โดยมีสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (สทศ.) เป็นผู้ดำเนินการออกข้อสอบและจัดสอบทั่วประเทศ ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบความรู้ของนักเรียนในระระดับชั้นประถมศึกปีที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่ในปัจจุบันกลายข้อสอบชนิดนี้ตกเป็นประเด็นในการถกเถียงอย่างร้อนแรงว่า O-NET นี้มีประโยชน์ต่อนักเรียนจริงหรอ? ข้อสอบชนิfนี้ควรยกเลิกหรือควรไปต่อเช่นเดิม? . จากผลการสำรวจผ่านเฟสบุ๊กแฟนเพจ Eduzones และ Wiriyah Eduzones โดยเก็บข้อมูลภายในวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2565 จำนวนทั้งสิ้น 200 คอมเมนต์ พบว่ามีการแสดงความคิดเห็นเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้ อันดับ 1 ควรยกเลิก โดยผู้แสดงความคิดเห็นกลุ่มนี้ให้เหตุผลว่า “การสอบโอเน็ตทั้งสร้างภาระในแก่คุณครู ยังสามารถทั้งความเครียดและความกดดันให้แก่นักเรียน” “ควรยกเลิก ถ้าต้องการวัดคุณภาพครูควรเปลี่ยนเป็นการสำรวจความเห็นนักเรียน และผู้ปกครอง ควรให้เด็กนำเวลาไปปสนใจกับการสอบเข้าโรงเรียนที่จะศึกษาต่อ” “ไม่มีประโยชน์ เปลืองงบประมาณ” “ควรยกเลิกเพราะการสอบโอเน็ตกลายเป็นเครื่องมือที่คุณครู หรือผอ.ใช้ไม่ให้น้อยหน้ากว่าโรงเรียนอื่น” “ควรยกเลิกเพราะเป็นความเหลื่อมล้ำ กลายเป็นแหล่งหาเงินของสถาบันกวดวิชา” “ควรยกเลิก และควรเปลี่ยนข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัยเป็นข้อสอบเดียวกันทั้งประเทศเพราะ O-NET GAT/PAT กลายเป็นการใช้งบประมาณโดยใช้เหตุ มีการนำเงินไปใช้ด้วยเหตุผลในการศึกษาดูงานต่างประเทศแต่ไม่เคยนำกลับมาพัฒนากับระบบการศึกษาไทย” อันดับ 2 ความคิดเห็นอื่น ๆ ที่ไม่บ่งชี้ว่าควรยกเลิกหรือไปต่อ โดยมีความคิดเห็นเกี่ยวกับการให้ “รื้อทั้งระบบการศึกษา” เป็นจำนวนมากที่สุด รองลงมาเป็นคนคิดเห็นนอกเหนือดังนี้ “มีหรือไม่ก็ได้ แต่ต้องไม่เอามาจัดลำดับครู โรงเรียน หรือผอ.” “ควรเปลี่ยนให้เป็นการสอบตามความสมัครใจ” “มีหรือไม่ก็มีค่าเท่ากัน เพราะต่อให้มีก็ไม่ได้มีการนำข้อมูลมาเพื่อแก้ไขหรือปรับปรุงระบบการศึกษา ส่วนถ้ายกเลิกก็เป็นการปล่อยให้ครูไม่สนใจคุณภาพการสอนของตนเอง” “ไม่ว่าจะยกเลิกหรือไปต่อ ต้องมีการวางแผนใหม่ก่อนซึ่งเป็นไปได้ยากสำหรับตอนนี้” “ยกเลิกหรือไม่ยกเลิกก็ได้ แต่ถ้าจะมีต่อต้องจัดในวันธรรมดา ไม่เบียดเบียนวันหยุดของเด็ก” อันดับ 3 ควรมีต่อไป โดยผู้แสดงความคิดเห็นกลุ่มนี้ให้เหตุผลดังต่อไปนี้ “โอเน็ตควรมีต่อแต่ต้องปรับระบบให้ได้มาตรฐานอย่างแท้จริง ไม่ควรมีการให้ติวเพิ่มเติม เพราะจะกลายเป็นทั้งภาระของครูและนักเรียน และจะไม่ใช่การวัดระดับความรู้ในโรงเรียนอย่างแท้จริง” “ควรมีต่อแค่ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เท่านั้นเพราะใช้เป็นคะแนนยื่นเข้ามหาวิทยาลัย ส่วนในระดับชั้นอื่น ๆ ไม่ได้มีความจำเป็น” “ควรมีเพื่อวัดคุณภาพการศึกษาให้ได้มาตรฐาน แต่ควรหยุดค่านิยมในการนำคะแนนมาใช้เปรียบเทียบแต่ละโรงเรียน” “ควรมีเพราะให้เด็กได้วัดระดับความรู้ของตนเอง ไม่งั้นเด็กจะเรียนแบบทิ้ง ๆ ขว้าง ๆ “ควรมีต่อแต่ต้องมีเพื่อนำข้อมูลมาพัฒนาคุณภาพครู คุณภาพโรงเรียน ไม่ใช่มีเพื่อจัดการแข่งขัน” “ต้องมีเพราะการยกเลิกจะทำให้ครูละเลยการสอน ไม่สนใจที่จะพัฒนาการสอน” นอกเหนือจากนี้แล้ว ความคิดเห็นบางส่วนยังแสดงให้เห็นว่า แม้ในปัจจุบัน ประกาศกระทรวงศึกษาธิการได้แจ้งนโยบายการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานโอเน็ตว่า การเข้าทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (โอเน็ต) ให้เป็นไปตามความสมัครใจและเป็นสิทธิ์ส่วนตัวโดยเฉพาะของนักเรียน ตั้งแต่ปีการศึกษา 2563 เป็นต้นไป แต่ก็เป็นอิสระในการเข้าสอบที่ไม่จริง เพราะหลาย ๆ โรงเรียนยังมีการบังคับทางอ้อมด้วยการไม่ออกใบปพ. (เอกสารประเมินผลตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน) ซึ่งจำเป็นต่อการเข้าศึกษาต่อในโรงเรียนหรือมหาวิทยาลัยในอนาคต หากนักเรียนไม่ยอมเข้าสอบ O-NET . หากมองให้ลึกจะพบว่าการสอบโอเน็ตนับว่าเป็นการสอบที่มีประโยชน์หากเป็นการสอบที่ถูกนำมาใช้ตามวัตถุสงค์แรก คือ เอาผลคะแนนมาเพื่อใช้ประเมินระบบการศึกษา นำมาพัฒนาหลักสูตร พัฒนาบุคลากรในระบบการศึกษา โดยที่ข้อสอบนั้นจำเป็นที่จะต้องสอดคล้องกับการเรียนการสอนที่มีภายในโรงเรียนเพื่อชี้ให้เห็นจุดกำเนิดของปัญหา แต่ในปัจจุบันกลายเป็นว่าเนื้อหาของข้อสอบโอเน็ตไม่ตรงกับเนื้อหาที่มีตามโรงเรียน ทางรียนเรียนต้องจัดการติวเพิ่มเติมให้กับนักเรียนก่อนสอล นักเรียนหลายคนจำเป็นที่จะต้องลงเรียนเพิ่มเติมเพราะต้องใช้คะแนนสอบในส่วนนี้เพื่อเข้าศึกษาต่อ อีกหนึ่งสิ่งทำให้เกิดการฉุกคิดเกี่ยวกับความจำเป็นข้อสอบโอเน็ตคือประเทศไทยมีการจัดการสอบโอเน็ตมาหลายปีแล้ว แต่ระบบการศึกษายังไม่ดีขึ้น ปัญหาอยู่ที่ครู นักเรียน ข้อสอบ? หรือเกิดจากการที่ผลการประเมินผ่านโอเน็ตในแต่ละครั้งนี้ไม่เคยได้ถูกนำไปใช้เพื่อพัฒนาระบบการศึกษาอย่างแท้จริง ด้านดร.วิริยะ ฤาชัยพาณิชย์ นักวิชาการอิสระและในฐานะผู้ก่อตั้ง Eduzones ได้แสดงมุมมองเกี่ยวกับ O-NET ไว้ว่า “ปัจจุบันข้อสอบโอเน็ตไม่สามารถวัดอะไรได้ เพราะเกิดความผิดพลาดหลายประการ เริ่มตั้งแต่ให้เด็กทั้งประเทศสอบ ต่อมาคือการนำข้อสอบโอเน็ตไปเป็นเครื่องมือในการวัดว่าโรงเรียนไหนดี โรงเรียนไหนไม่ดี อีกทั้งผลคะแนนโอเน็ตมีผลต่อการกู้กยศ. (กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา) ที่สำคัญคือการนำเด็กธรรมดาไปจัดอยู่ในกลุ่มของเด็กพิเศษเพราะไม่ต้องการให้เด็กธรรมดาที่ทำคะแนนได้ไม่ดีมาเป็นตัวถ่วงคะแนนเฉลี่ย ซ้ำยังได้งบประมาณเพิ่มขึ้น” ดร.วิริยะยังได้เสนอแนวทางแก้ไขการสอบโอเน็ตเพิ่มเติมอีกว่า “ต้องใช้โอเน็ตให้เป็นเครื่องมือมอนิเตอร์โดยการสุ่มการสอบเพื่อวัดประสิทธิภาพในการจัดการระบบการศึกษา ซึ่งวิธีการสุ่มนี้จะช่วยลดงบประมาณ อีกทั้งยังต้องไม่มีการประกาศผลคะแนนหรือใช้ประโยชน์ในการเรียนต่อหรือสอบต่อ แต่ตราบใดที่โอเน็ตยังเป็นรูปแบบเดิมเด็กก็ยังคงต้องติวเพิ่มเติมกันอีกต่อไป” . เราอาจสรุปผลจากการสำรวจครั้งนี้ได้ว่าประเด็นหลักของการถกเถียงเกี่ยวกับความจำเป็นของการสอบโอเน็ตนี้อาจไม่ได้มาจากการมีข้อสอบชนิดนี้อยู่แต่มาจาก“การจัดสอบโอเน็ตไม่มีรูปแบบที่ตรงกับบริบทเพื่อพัฒนาการศึกษาอีกต่อไป แต่กลับถูกใช้เป็นเครื่องมือที่ทำให้เกิดความเหลื่อมล้ำในระบบการศึกษา” เพราะแม้จะมีทั้งคอมเมนต์ที่เห็นด้วยกับการไปต่อของข้อสอบโอเน็ต คอมเมนต์ที่ต้องการให้ยกเลิก หรือความคิดเห็นอื่น ๆ นอกเหนือ แต่สิ่งหนึ่งที่ทั้ง 3 ฝ่ายมีความเห็นตรงกันคือการสอบโอเน็ตต้องมีการปรับปรุง เปลี่ยนรูปแบบการสอบโอเน็ต เนื้อหาต้องเป็นเนื้อหาที่วัดระดับการเรียนการสอนในโรงเรียนไม่ใช่การวัดระดับความพร้อมของแต่ละโรงเรียนในการติวเพิ่มเติม อีกทั้งผลคะแนนต้องใช้เพื่อพัฒนาโรงเรียนให้ได้มาตรฐานเท่าเทียมกันในแต่ละพื้นที่ ไม่ใช่เป็นเครื่องมือในการเปรียบเทียบ และยกย่องโรงเรียนที่มีผลคะแนนที่สูงกว่า หากข้อสอบโอเน็ตสามารถปรับปรุง เปลี่ยนแปลง และพัฒนาได้ การสอบโอเน็ตก็จะกลายเป็นข้อสอบที่มีประโยชน์ต่อระบบการศึกษาอย่างแท้จริง แสดงความคิดเห็นเพิมเติ่มได้ที่ https://www.facebook.com/ajWiriya/posts/501084138039601 https://www.facebook.com/eduzonesdotcom/posts/10159798018616171 EZ Webmaster Related Posts สัปดาห์สุดท้าย!ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา เปิดรับรอบที่ 2 Quota 8 สาขา พร้อมมอบทุนเพชรสุนันทา เรียนการออกแบบแฟชั่น เด็กสาธิตสวนสุนันทาคว้ารางวัลศิลปะระดับโลก! สร้างชื่อเสียงให้ไทยบนเวทีนานาชาติ พิธีบวงสรวงสิ่งศักดิ์สิทธิ์และพิธีทำบุญเนื่องในวันคล้ายวันสถาปนา โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยศิลปากร (มัธยมศึกษา) นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มทร.ธัญบุรี คิดค้น 2 ผลิตภัณฑ์ ยับยั้งและลดการเน่าเสียผลผลิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาจับมือบริษัท ควีน โฟรเซ่น ฟรุต จำกัด ร่วมพัฒนาอนาคตการศึกษาไทย Post navigation PREVIOUS Previous post: “วัยเรียน”ก็รวยได้ถ้าใช้เงินเป็น! ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยได้เปิดพิพิธภัณฑ์เรียนรู้การลงทุน (INVESTORY) โฉมใหม่ ปี 2565NEXT Next post: รู้ก่อน รักษาทัน ลดเสี่ยงเสียชีวิต ชุดตรวจมะเร็งปากมดลูกด้วยปัสสาวะ นวัตกรรมเพื่อสุขภาพผู้หญิงจากจุฬาฯ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “ดร.ชุมพล พรประภา” เป็นนายกสภา ม.ศรีนครินทรวิโรฒ tui sakrapeeMarch 26, 2025 ราชกิจจานุเบกษาเผยแพร่ ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “ชุมพล พรประภา” ดำรงตำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ แทนวิจิตร ศรีสอ้าน ที่ถึงแก่อนิจกรรม ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 142 ตอนพิเศษ 147 ง เมื่อวันที่ 25… สอศ. ปั้นผู้อำนวยการอาชีวะยุคใหม่! เสริมภาวะผู้นำ-วิสัยทัศน์ ทันโลกการศึกษา EZ WebmasterMarch 26, 2025 วันที่ 26 มีนาคม 2568 นายยศพล เวณุโกเศศ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (เลขาธิการ กอศ.) เป็นประธานเปิดโครงการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และบรรยายพิเศษ “Growth Mindset: แนวคิดเชิงบวกและการเติบโตขององค์กร” โดยนางธิติมา โรจน์วัชราภิบาล ผู้อำนวยการ… ไทย จ่อขยับอันดับการศึกษา หลังอัตราการรู้หนังสือของประชากร พุ่งสูง 98.83% จากการสำรวจอัตราการรู้หนังสือของประชากร EZ WebmasterMarch 26, 2025 เมื่อวันที่ 26 มีนาคม ที่สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (สกศ.) นายประวิต เอราวรรณ์ เลขาธิการสภาการศึกษา กล่าวในงานแถลงผลการสำรวจการรู้หนังสือของประชากรไทย ปี 2568 โดยมี นายธนากร ดอนเหนือ อธิบดีกรมส่งเสริมการเรียนรู้ (สกร.) เข้าร่วม นายประวิต… กิจกรรม สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ ร่วมพิธีวางพานพุ่มและพิธีตักบาตร เนื่องในวันครบรอบ ๑๐๘ ปี แห่งการสถาปนาจุฬาฯ EZ WebmasterMarch 27, 2025 สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินร่วมพิธีวางพานพุ่มสักการะพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระปิยมหาราชและสมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า และพิธีตักบาตร เนื่องในวันครบรอบ ๑๐๘ ปี แห่งการสถาปนาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมี นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ และ นายอรรษิษฐ์ สัมพันธรัตน์ ประธานการจัดงานคืนเหย้าชาวจุฬาฯ… พิธีเปิดกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) ภายใต้โครงการพัฒนามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมผ้าไทยสู่สากล ประจำปี ๒๕๖๘ EZ WebmasterMarch 26, 2025 นางสาวลิปิการ์ กำลังชัย รองธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรม รักษาราชการแทนอธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรมเป็นประธานพิธิเปิด และร่วมรับฟังการบรรยายกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) พร้อมด้วยนางสาวศิวพร ฉันทไกรวัฒน์ ผู้อำนวยการกลุ่มเผยแพร่และต่อยอดมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมเข้าร่วมงาน โดยวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญด้านผ้าไทย การออกแบบและแฟชั่น อาทิ ผศ.ดร.รวิเทพ มุสิกะปาน ผศ.ดร.วุฒิไกร… เปิดรับอาสาสมัครศิริราช รอบทำกิจกรรม เดือน พ.ค.-ก.ค. 68 ทุกกิจกรรมมีใบรับรองการทำกิจกรรม EZ WebmasterMarch 26, 2025 ตารางการรับอาสาสมัครรอบทำกิจกรรม เดือน พฤษภาคม – กรกฏาคม 68 (กิจกรรมที่อยู่ในเว็บไซต์ตอนนี้เป็นรอบเก่ามีผู้เข้าร่วมเต็มทั้งหมดแล้วค่ะ รอบใหม่จะเปิดตามวันเวลาที่แจ้งด้านล่างนี้เท่านั้น*) ขอให้อาสาเป็นผู้สมัครและกดเลือกกิจกรรมด้วยตนเองนะคะ – 31 ก.ค. 68 **เนื่องจากวันที่ 5 พ.ค. เป็นวันหยุด จะขอเริ่มตั้งแต่วันที่วันที่ 6 พ.ค.… เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน รับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน EZ WebmasterMarch 24, 2025 เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน เกม Let’s School เกมแนวบริหารโรงเรียนในฝัน ที่จะให้เรารับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน อยากให้โรงเรียนเป็นแบบไหนก็ปรับเล่นได้เลย ดูอารมณ์นักเรียกได้ด้วยว่ามีความสุขมั้ย? แถมตอนนี้ยังมีอัปเดตแมพใหม่พร้อมซัพไทยด้วยนะ Let’s School โหลดเล่นได้ที่ Steam :… Search for: Search EZ Webmaster February 24, 2022 EZ Webmaster February 24, 2022 O-NET ควรไปต่อหรือพอแค่นี้ — บทสรุปจากผลสำรวจความคิดเห็นผ่านแฟนเพจ Eduzones และ Wiriyah Eduzones O-NET ควรไปต่อหรือพอแค่นี้— บทสรุปจากผลสำรวจ การสอบโอเน็ต หรือ O-NET (Ordinary National Educational Test) เป็นการวัดผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนที่ต้องการวัดผ่านการจัดการทดสอบในระดับชาติ โดยมีสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (สทศ.) เป็นผู้ดำเนินการออกข้อสอบและจัดสอบทั่วประเทศ ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบความรู้ของนักเรียนในระระดับชั้นประถมศึกปีที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่ในปัจจุบันกลายข้อสอบชนิดนี้ตกเป็นประเด็นในการถกเถียงอย่างร้อนแรงว่า O-NET นี้มีประโยชน์ต่อนักเรียนจริงหรอ? ข้อสอบชนิfนี้ควรยกเลิกหรือควรไปต่อเช่นเดิม? . จากผลการสำรวจผ่านเฟสบุ๊กแฟนเพจ Eduzones และ Wiriyah Eduzones โดยเก็บข้อมูลภายในวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2565 จำนวนทั้งสิ้น 200 คอมเมนต์ พบว่ามีการแสดงความคิดเห็นเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้ อันดับ 1 ควรยกเลิก โดยผู้แสดงความคิดเห็นกลุ่มนี้ให้เหตุผลว่า “การสอบโอเน็ตทั้งสร้างภาระในแก่คุณครู ยังสามารถทั้งความเครียดและความกดดันให้แก่นักเรียน” “ควรยกเลิก ถ้าต้องการวัดคุณภาพครูควรเปลี่ยนเป็นการสำรวจความเห็นนักเรียน และผู้ปกครอง ควรให้เด็กนำเวลาไปปสนใจกับการสอบเข้าโรงเรียนที่จะศึกษาต่อ” “ไม่มีประโยชน์ เปลืองงบประมาณ” “ควรยกเลิกเพราะการสอบโอเน็ตกลายเป็นเครื่องมือที่คุณครู หรือผอ.ใช้ไม่ให้น้อยหน้ากว่าโรงเรียนอื่น” “ควรยกเลิกเพราะเป็นความเหลื่อมล้ำ กลายเป็นแหล่งหาเงินของสถาบันกวดวิชา” “ควรยกเลิก และควรเปลี่ยนข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัยเป็นข้อสอบเดียวกันทั้งประเทศเพราะ O-NET GAT/PAT กลายเป็นการใช้งบประมาณโดยใช้เหตุ มีการนำเงินไปใช้ด้วยเหตุผลในการศึกษาดูงานต่างประเทศแต่ไม่เคยนำกลับมาพัฒนากับระบบการศึกษาไทย” อันดับ 2 ความคิดเห็นอื่น ๆ ที่ไม่บ่งชี้ว่าควรยกเลิกหรือไปต่อ โดยมีความคิดเห็นเกี่ยวกับการให้ “รื้อทั้งระบบการศึกษา” เป็นจำนวนมากที่สุด รองลงมาเป็นคนคิดเห็นนอกเหนือดังนี้ “มีหรือไม่ก็ได้ แต่ต้องไม่เอามาจัดลำดับครู โรงเรียน หรือผอ.” “ควรเปลี่ยนให้เป็นการสอบตามความสมัครใจ” “มีหรือไม่ก็มีค่าเท่ากัน เพราะต่อให้มีก็ไม่ได้มีการนำข้อมูลมาเพื่อแก้ไขหรือปรับปรุงระบบการศึกษา ส่วนถ้ายกเลิกก็เป็นการปล่อยให้ครูไม่สนใจคุณภาพการสอนของตนเอง” “ไม่ว่าจะยกเลิกหรือไปต่อ ต้องมีการวางแผนใหม่ก่อนซึ่งเป็นไปได้ยากสำหรับตอนนี้” “ยกเลิกหรือไม่ยกเลิกก็ได้ แต่ถ้าจะมีต่อต้องจัดในวันธรรมดา ไม่เบียดเบียนวันหยุดของเด็ก” อันดับ 3 ควรมีต่อไป โดยผู้แสดงความคิดเห็นกลุ่มนี้ให้เหตุผลดังต่อไปนี้ “โอเน็ตควรมีต่อแต่ต้องปรับระบบให้ได้มาตรฐานอย่างแท้จริง ไม่ควรมีการให้ติวเพิ่มเติม เพราะจะกลายเป็นทั้งภาระของครูและนักเรียน และจะไม่ใช่การวัดระดับความรู้ในโรงเรียนอย่างแท้จริง” “ควรมีต่อแค่ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เท่านั้นเพราะใช้เป็นคะแนนยื่นเข้ามหาวิทยาลัย ส่วนในระดับชั้นอื่น ๆ ไม่ได้มีความจำเป็น” “ควรมีเพื่อวัดคุณภาพการศึกษาให้ได้มาตรฐาน แต่ควรหยุดค่านิยมในการนำคะแนนมาใช้เปรียบเทียบแต่ละโรงเรียน” “ควรมีเพราะให้เด็กได้วัดระดับความรู้ของตนเอง ไม่งั้นเด็กจะเรียนแบบทิ้ง ๆ ขว้าง ๆ “ควรมีต่อแต่ต้องมีเพื่อนำข้อมูลมาพัฒนาคุณภาพครู คุณภาพโรงเรียน ไม่ใช่มีเพื่อจัดการแข่งขัน” “ต้องมีเพราะการยกเลิกจะทำให้ครูละเลยการสอน ไม่สนใจที่จะพัฒนาการสอน” นอกเหนือจากนี้แล้ว ความคิดเห็นบางส่วนยังแสดงให้เห็นว่า แม้ในปัจจุบัน ประกาศกระทรวงศึกษาธิการได้แจ้งนโยบายการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานโอเน็ตว่า การเข้าทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (โอเน็ต) ให้เป็นไปตามความสมัครใจและเป็นสิทธิ์ส่วนตัวโดยเฉพาะของนักเรียน ตั้งแต่ปีการศึกษา 2563 เป็นต้นไป แต่ก็เป็นอิสระในการเข้าสอบที่ไม่จริง เพราะหลาย ๆ โรงเรียนยังมีการบังคับทางอ้อมด้วยการไม่ออกใบปพ. (เอกสารประเมินผลตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน) ซึ่งจำเป็นต่อการเข้าศึกษาต่อในโรงเรียนหรือมหาวิทยาลัยในอนาคต หากนักเรียนไม่ยอมเข้าสอบ O-NET . หากมองให้ลึกจะพบว่าการสอบโอเน็ตนับว่าเป็นการสอบที่มีประโยชน์หากเป็นการสอบที่ถูกนำมาใช้ตามวัตถุสงค์แรก คือ เอาผลคะแนนมาเพื่อใช้ประเมินระบบการศึกษา นำมาพัฒนาหลักสูตร พัฒนาบุคลากรในระบบการศึกษา โดยที่ข้อสอบนั้นจำเป็นที่จะต้องสอดคล้องกับการเรียนการสอนที่มีภายในโรงเรียนเพื่อชี้ให้เห็นจุดกำเนิดของปัญหา แต่ในปัจจุบันกลายเป็นว่าเนื้อหาของข้อสอบโอเน็ตไม่ตรงกับเนื้อหาที่มีตามโรงเรียน ทางรียนเรียนต้องจัดการติวเพิ่มเติมให้กับนักเรียนก่อนสอล นักเรียนหลายคนจำเป็นที่จะต้องลงเรียนเพิ่มเติมเพราะต้องใช้คะแนนสอบในส่วนนี้เพื่อเข้าศึกษาต่อ อีกหนึ่งสิ่งทำให้เกิดการฉุกคิดเกี่ยวกับความจำเป็นข้อสอบโอเน็ตคือประเทศไทยมีการจัดการสอบโอเน็ตมาหลายปีแล้ว แต่ระบบการศึกษายังไม่ดีขึ้น ปัญหาอยู่ที่ครู นักเรียน ข้อสอบ? หรือเกิดจากการที่ผลการประเมินผ่านโอเน็ตในแต่ละครั้งนี้ไม่เคยได้ถูกนำไปใช้เพื่อพัฒนาระบบการศึกษาอย่างแท้จริง ด้านดร.วิริยะ ฤาชัยพาณิชย์ นักวิชาการอิสระและในฐานะผู้ก่อตั้ง Eduzones ได้แสดงมุมมองเกี่ยวกับ O-NET ไว้ว่า “ปัจจุบันข้อสอบโอเน็ตไม่สามารถวัดอะไรได้ เพราะเกิดความผิดพลาดหลายประการ เริ่มตั้งแต่ให้เด็กทั้งประเทศสอบ ต่อมาคือการนำข้อสอบโอเน็ตไปเป็นเครื่องมือในการวัดว่าโรงเรียนไหนดี โรงเรียนไหนไม่ดี อีกทั้งผลคะแนนโอเน็ตมีผลต่อการกู้กยศ. (กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา) ที่สำคัญคือการนำเด็กธรรมดาไปจัดอยู่ในกลุ่มของเด็กพิเศษเพราะไม่ต้องการให้เด็กธรรมดาที่ทำคะแนนได้ไม่ดีมาเป็นตัวถ่วงคะแนนเฉลี่ย ซ้ำยังได้งบประมาณเพิ่มขึ้น” ดร.วิริยะยังได้เสนอแนวทางแก้ไขการสอบโอเน็ตเพิ่มเติมอีกว่า “ต้องใช้โอเน็ตให้เป็นเครื่องมือมอนิเตอร์โดยการสุ่มการสอบเพื่อวัดประสิทธิภาพในการจัดการระบบการศึกษา ซึ่งวิธีการสุ่มนี้จะช่วยลดงบประมาณ อีกทั้งยังต้องไม่มีการประกาศผลคะแนนหรือใช้ประโยชน์ในการเรียนต่อหรือสอบต่อ แต่ตราบใดที่โอเน็ตยังเป็นรูปแบบเดิมเด็กก็ยังคงต้องติวเพิ่มเติมกันอีกต่อไป” . เราอาจสรุปผลจากการสำรวจครั้งนี้ได้ว่าประเด็นหลักของการถกเถียงเกี่ยวกับความจำเป็นของการสอบโอเน็ตนี้อาจไม่ได้มาจากการมีข้อสอบชนิดนี้อยู่แต่มาจาก“การจัดสอบโอเน็ตไม่มีรูปแบบที่ตรงกับบริบทเพื่อพัฒนาการศึกษาอีกต่อไป แต่กลับถูกใช้เป็นเครื่องมือที่ทำให้เกิดความเหลื่อมล้ำในระบบการศึกษา” เพราะแม้จะมีทั้งคอมเมนต์ที่เห็นด้วยกับการไปต่อของข้อสอบโอเน็ต คอมเมนต์ที่ต้องการให้ยกเลิก หรือความคิดเห็นอื่น ๆ นอกเหนือ แต่สิ่งหนึ่งที่ทั้ง 3 ฝ่ายมีความเห็นตรงกันคือการสอบโอเน็ตต้องมีการปรับปรุง เปลี่ยนรูปแบบการสอบโอเน็ต เนื้อหาต้องเป็นเนื้อหาที่วัดระดับการเรียนการสอนในโรงเรียนไม่ใช่การวัดระดับความพร้อมของแต่ละโรงเรียนในการติวเพิ่มเติม อีกทั้งผลคะแนนต้องใช้เพื่อพัฒนาโรงเรียนให้ได้มาตรฐานเท่าเทียมกันในแต่ละพื้นที่ ไม่ใช่เป็นเครื่องมือในการเปรียบเทียบ และยกย่องโรงเรียนที่มีผลคะแนนที่สูงกว่า หากข้อสอบโอเน็ตสามารถปรับปรุง เปลี่ยนแปลง และพัฒนาได้ การสอบโอเน็ตก็จะกลายเป็นข้อสอบที่มีประโยชน์ต่อระบบการศึกษาอย่างแท้จริง แสดงความคิดเห็นเพิมเติ่มได้ที่ https://www.facebook.com/ajWiriya/posts/501084138039601 https://www.facebook.com/eduzonesdotcom/posts/10159798018616171 EZ Webmaster Related Posts สัปดาห์สุดท้าย!ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา เปิดรับรอบที่ 2 Quota 8 สาขา พร้อมมอบทุนเพชรสุนันทา เรียนการออกแบบแฟชั่น เด็กสาธิตสวนสุนันทาคว้ารางวัลศิลปะระดับโลก! สร้างชื่อเสียงให้ไทยบนเวทีนานาชาติ พิธีบวงสรวงสิ่งศักดิ์สิทธิ์และพิธีทำบุญเนื่องในวันคล้ายวันสถาปนา โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยศิลปากร (มัธยมศึกษา) นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มทร.ธัญบุรี คิดค้น 2 ผลิตภัณฑ์ ยับยั้งและลดการเน่าเสียผลผลิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาจับมือบริษัท ควีน โฟรเซ่น ฟรุต จำกัด ร่วมพัฒนาอนาคตการศึกษาไทย Post navigation PREVIOUS Previous post: “วัยเรียน”ก็รวยได้ถ้าใช้เงินเป็น! ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยได้เปิดพิพิธภัณฑ์เรียนรู้การลงทุน (INVESTORY) โฉมใหม่ ปี 2565NEXT Next post: รู้ก่อน รักษาทัน ลดเสี่ยงเสียชีวิต ชุดตรวจมะเร็งปากมดลูกด้วยปัสสาวะ นวัตกรรมเพื่อสุขภาพผู้หญิงจากจุฬาฯ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
สอศ. ปั้นผู้อำนวยการอาชีวะยุคใหม่! เสริมภาวะผู้นำ-วิสัยทัศน์ ทันโลกการศึกษา EZ WebmasterMarch 26, 2025 วันที่ 26 มีนาคม 2568 นายยศพล เวณุโกเศศ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (เลขาธิการ กอศ.) เป็นประธานเปิดโครงการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และบรรยายพิเศษ “Growth Mindset: แนวคิดเชิงบวกและการเติบโตขององค์กร” โดยนางธิติมา โรจน์วัชราภิบาล ผู้อำนวยการ… ไทย จ่อขยับอันดับการศึกษา หลังอัตราการรู้หนังสือของประชากร พุ่งสูง 98.83% จากการสำรวจอัตราการรู้หนังสือของประชากร EZ WebmasterMarch 26, 2025 เมื่อวันที่ 26 มีนาคม ที่สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (สกศ.) นายประวิต เอราวรรณ์ เลขาธิการสภาการศึกษา กล่าวในงานแถลงผลการสำรวจการรู้หนังสือของประชากรไทย ปี 2568 โดยมี นายธนากร ดอนเหนือ อธิบดีกรมส่งเสริมการเรียนรู้ (สกร.) เข้าร่วม นายประวิต…
ไทย จ่อขยับอันดับการศึกษา หลังอัตราการรู้หนังสือของประชากร พุ่งสูง 98.83% จากการสำรวจอัตราการรู้หนังสือของประชากร EZ WebmasterMarch 26, 2025 เมื่อวันที่ 26 มีนาคม ที่สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (สกศ.) นายประวิต เอราวรรณ์ เลขาธิการสภาการศึกษา กล่าวในงานแถลงผลการสำรวจการรู้หนังสือของประชากรไทย ปี 2568 โดยมี นายธนากร ดอนเหนือ อธิบดีกรมส่งเสริมการเรียนรู้ (สกร.) เข้าร่วม นายประวิต…
สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ ร่วมพิธีวางพานพุ่มและพิธีตักบาตร เนื่องในวันครบรอบ ๑๐๘ ปี แห่งการสถาปนาจุฬาฯ EZ WebmasterMarch 27, 2025 สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินร่วมพิธีวางพานพุ่มสักการะพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระปิยมหาราชและสมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า และพิธีตักบาตร เนื่องในวันครบรอบ ๑๐๘ ปี แห่งการสถาปนาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมี นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ และ นายอรรษิษฐ์ สัมพันธรัตน์ ประธานการจัดงานคืนเหย้าชาวจุฬาฯ… พิธีเปิดกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) ภายใต้โครงการพัฒนามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมผ้าไทยสู่สากล ประจำปี ๒๕๖๘ EZ WebmasterMarch 26, 2025 นางสาวลิปิการ์ กำลังชัย รองธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรม รักษาราชการแทนอธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรมเป็นประธานพิธิเปิด และร่วมรับฟังการบรรยายกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) พร้อมด้วยนางสาวศิวพร ฉันทไกรวัฒน์ ผู้อำนวยการกลุ่มเผยแพร่และต่อยอดมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมเข้าร่วมงาน โดยวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญด้านผ้าไทย การออกแบบและแฟชั่น อาทิ ผศ.ดร.รวิเทพ มุสิกะปาน ผศ.ดร.วุฒิไกร… เปิดรับอาสาสมัครศิริราช รอบทำกิจกรรม เดือน พ.ค.-ก.ค. 68 ทุกกิจกรรมมีใบรับรองการทำกิจกรรม EZ WebmasterMarch 26, 2025 ตารางการรับอาสาสมัครรอบทำกิจกรรม เดือน พฤษภาคม – กรกฏาคม 68 (กิจกรรมที่อยู่ในเว็บไซต์ตอนนี้เป็นรอบเก่ามีผู้เข้าร่วมเต็มทั้งหมดแล้วค่ะ รอบใหม่จะเปิดตามวันเวลาที่แจ้งด้านล่างนี้เท่านั้น*) ขอให้อาสาเป็นผู้สมัครและกดเลือกกิจกรรมด้วยตนเองนะคะ – 31 ก.ค. 68 **เนื่องจากวันที่ 5 พ.ค. เป็นวันหยุด จะขอเริ่มตั้งแต่วันที่วันที่ 6 พ.ค.… เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน รับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน EZ WebmasterMarch 24, 2025 เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน เกม Let’s School เกมแนวบริหารโรงเรียนในฝัน ที่จะให้เรารับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน อยากให้โรงเรียนเป็นแบบไหนก็ปรับเล่นได้เลย ดูอารมณ์นักเรียกได้ด้วยว่ามีความสุขมั้ย? แถมตอนนี้ยังมีอัปเดตแมพใหม่พร้อมซัพไทยด้วยนะ Let’s School โหลดเล่นได้ที่ Steam :… Search for: Search EZ Webmaster February 24, 2022 EZ Webmaster February 24, 2022 O-NET ควรไปต่อหรือพอแค่นี้ — บทสรุปจากผลสำรวจความคิดเห็นผ่านแฟนเพจ Eduzones และ Wiriyah Eduzones O-NET ควรไปต่อหรือพอแค่นี้— บทสรุปจากผลสำรวจ การสอบโอเน็ต หรือ O-NET (Ordinary National Educational Test) เป็นการวัดผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนที่ต้องการวัดผ่านการจัดการทดสอบในระดับชาติ โดยมีสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (สทศ.) เป็นผู้ดำเนินการออกข้อสอบและจัดสอบทั่วประเทศ ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบความรู้ของนักเรียนในระระดับชั้นประถมศึกปีที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่ในปัจจุบันกลายข้อสอบชนิดนี้ตกเป็นประเด็นในการถกเถียงอย่างร้อนแรงว่า O-NET นี้มีประโยชน์ต่อนักเรียนจริงหรอ? ข้อสอบชนิfนี้ควรยกเลิกหรือควรไปต่อเช่นเดิม? . จากผลการสำรวจผ่านเฟสบุ๊กแฟนเพจ Eduzones และ Wiriyah Eduzones โดยเก็บข้อมูลภายในวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2565 จำนวนทั้งสิ้น 200 คอมเมนต์ พบว่ามีการแสดงความคิดเห็นเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้ อันดับ 1 ควรยกเลิก โดยผู้แสดงความคิดเห็นกลุ่มนี้ให้เหตุผลว่า “การสอบโอเน็ตทั้งสร้างภาระในแก่คุณครู ยังสามารถทั้งความเครียดและความกดดันให้แก่นักเรียน” “ควรยกเลิก ถ้าต้องการวัดคุณภาพครูควรเปลี่ยนเป็นการสำรวจความเห็นนักเรียน และผู้ปกครอง ควรให้เด็กนำเวลาไปปสนใจกับการสอบเข้าโรงเรียนที่จะศึกษาต่อ” “ไม่มีประโยชน์ เปลืองงบประมาณ” “ควรยกเลิกเพราะการสอบโอเน็ตกลายเป็นเครื่องมือที่คุณครู หรือผอ.ใช้ไม่ให้น้อยหน้ากว่าโรงเรียนอื่น” “ควรยกเลิกเพราะเป็นความเหลื่อมล้ำ กลายเป็นแหล่งหาเงินของสถาบันกวดวิชา” “ควรยกเลิก และควรเปลี่ยนข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัยเป็นข้อสอบเดียวกันทั้งประเทศเพราะ O-NET GAT/PAT กลายเป็นการใช้งบประมาณโดยใช้เหตุ มีการนำเงินไปใช้ด้วยเหตุผลในการศึกษาดูงานต่างประเทศแต่ไม่เคยนำกลับมาพัฒนากับระบบการศึกษาไทย” อันดับ 2 ความคิดเห็นอื่น ๆ ที่ไม่บ่งชี้ว่าควรยกเลิกหรือไปต่อ โดยมีความคิดเห็นเกี่ยวกับการให้ “รื้อทั้งระบบการศึกษา” เป็นจำนวนมากที่สุด รองลงมาเป็นคนคิดเห็นนอกเหนือดังนี้ “มีหรือไม่ก็ได้ แต่ต้องไม่เอามาจัดลำดับครู โรงเรียน หรือผอ.” “ควรเปลี่ยนให้เป็นการสอบตามความสมัครใจ” “มีหรือไม่ก็มีค่าเท่ากัน เพราะต่อให้มีก็ไม่ได้มีการนำข้อมูลมาเพื่อแก้ไขหรือปรับปรุงระบบการศึกษา ส่วนถ้ายกเลิกก็เป็นการปล่อยให้ครูไม่สนใจคุณภาพการสอนของตนเอง” “ไม่ว่าจะยกเลิกหรือไปต่อ ต้องมีการวางแผนใหม่ก่อนซึ่งเป็นไปได้ยากสำหรับตอนนี้” “ยกเลิกหรือไม่ยกเลิกก็ได้ แต่ถ้าจะมีต่อต้องจัดในวันธรรมดา ไม่เบียดเบียนวันหยุดของเด็ก” อันดับ 3 ควรมีต่อไป โดยผู้แสดงความคิดเห็นกลุ่มนี้ให้เหตุผลดังต่อไปนี้ “โอเน็ตควรมีต่อแต่ต้องปรับระบบให้ได้มาตรฐานอย่างแท้จริง ไม่ควรมีการให้ติวเพิ่มเติม เพราะจะกลายเป็นทั้งภาระของครูและนักเรียน และจะไม่ใช่การวัดระดับความรู้ในโรงเรียนอย่างแท้จริง” “ควรมีต่อแค่ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เท่านั้นเพราะใช้เป็นคะแนนยื่นเข้ามหาวิทยาลัย ส่วนในระดับชั้นอื่น ๆ ไม่ได้มีความจำเป็น” “ควรมีเพื่อวัดคุณภาพการศึกษาให้ได้มาตรฐาน แต่ควรหยุดค่านิยมในการนำคะแนนมาใช้เปรียบเทียบแต่ละโรงเรียน” “ควรมีเพราะให้เด็กได้วัดระดับความรู้ของตนเอง ไม่งั้นเด็กจะเรียนแบบทิ้ง ๆ ขว้าง ๆ “ควรมีต่อแต่ต้องมีเพื่อนำข้อมูลมาพัฒนาคุณภาพครู คุณภาพโรงเรียน ไม่ใช่มีเพื่อจัดการแข่งขัน” “ต้องมีเพราะการยกเลิกจะทำให้ครูละเลยการสอน ไม่สนใจที่จะพัฒนาการสอน” นอกเหนือจากนี้แล้ว ความคิดเห็นบางส่วนยังแสดงให้เห็นว่า แม้ในปัจจุบัน ประกาศกระทรวงศึกษาธิการได้แจ้งนโยบายการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานโอเน็ตว่า การเข้าทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (โอเน็ต) ให้เป็นไปตามความสมัครใจและเป็นสิทธิ์ส่วนตัวโดยเฉพาะของนักเรียน ตั้งแต่ปีการศึกษา 2563 เป็นต้นไป แต่ก็เป็นอิสระในการเข้าสอบที่ไม่จริง เพราะหลาย ๆ โรงเรียนยังมีการบังคับทางอ้อมด้วยการไม่ออกใบปพ. (เอกสารประเมินผลตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน) ซึ่งจำเป็นต่อการเข้าศึกษาต่อในโรงเรียนหรือมหาวิทยาลัยในอนาคต หากนักเรียนไม่ยอมเข้าสอบ O-NET . หากมองให้ลึกจะพบว่าการสอบโอเน็ตนับว่าเป็นการสอบที่มีประโยชน์หากเป็นการสอบที่ถูกนำมาใช้ตามวัตถุสงค์แรก คือ เอาผลคะแนนมาเพื่อใช้ประเมินระบบการศึกษา นำมาพัฒนาหลักสูตร พัฒนาบุคลากรในระบบการศึกษา โดยที่ข้อสอบนั้นจำเป็นที่จะต้องสอดคล้องกับการเรียนการสอนที่มีภายในโรงเรียนเพื่อชี้ให้เห็นจุดกำเนิดของปัญหา แต่ในปัจจุบันกลายเป็นว่าเนื้อหาของข้อสอบโอเน็ตไม่ตรงกับเนื้อหาที่มีตามโรงเรียน ทางรียนเรียนต้องจัดการติวเพิ่มเติมให้กับนักเรียนก่อนสอล นักเรียนหลายคนจำเป็นที่จะต้องลงเรียนเพิ่มเติมเพราะต้องใช้คะแนนสอบในส่วนนี้เพื่อเข้าศึกษาต่อ อีกหนึ่งสิ่งทำให้เกิดการฉุกคิดเกี่ยวกับความจำเป็นข้อสอบโอเน็ตคือประเทศไทยมีการจัดการสอบโอเน็ตมาหลายปีแล้ว แต่ระบบการศึกษายังไม่ดีขึ้น ปัญหาอยู่ที่ครู นักเรียน ข้อสอบ? หรือเกิดจากการที่ผลการประเมินผ่านโอเน็ตในแต่ละครั้งนี้ไม่เคยได้ถูกนำไปใช้เพื่อพัฒนาระบบการศึกษาอย่างแท้จริง ด้านดร.วิริยะ ฤาชัยพาณิชย์ นักวิชาการอิสระและในฐานะผู้ก่อตั้ง Eduzones ได้แสดงมุมมองเกี่ยวกับ O-NET ไว้ว่า “ปัจจุบันข้อสอบโอเน็ตไม่สามารถวัดอะไรได้ เพราะเกิดความผิดพลาดหลายประการ เริ่มตั้งแต่ให้เด็กทั้งประเทศสอบ ต่อมาคือการนำข้อสอบโอเน็ตไปเป็นเครื่องมือในการวัดว่าโรงเรียนไหนดี โรงเรียนไหนไม่ดี อีกทั้งผลคะแนนโอเน็ตมีผลต่อการกู้กยศ. (กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา) ที่สำคัญคือการนำเด็กธรรมดาไปจัดอยู่ในกลุ่มของเด็กพิเศษเพราะไม่ต้องการให้เด็กธรรมดาที่ทำคะแนนได้ไม่ดีมาเป็นตัวถ่วงคะแนนเฉลี่ย ซ้ำยังได้งบประมาณเพิ่มขึ้น” ดร.วิริยะยังได้เสนอแนวทางแก้ไขการสอบโอเน็ตเพิ่มเติมอีกว่า “ต้องใช้โอเน็ตให้เป็นเครื่องมือมอนิเตอร์โดยการสุ่มการสอบเพื่อวัดประสิทธิภาพในการจัดการระบบการศึกษา ซึ่งวิธีการสุ่มนี้จะช่วยลดงบประมาณ อีกทั้งยังต้องไม่มีการประกาศผลคะแนนหรือใช้ประโยชน์ในการเรียนต่อหรือสอบต่อ แต่ตราบใดที่โอเน็ตยังเป็นรูปแบบเดิมเด็กก็ยังคงต้องติวเพิ่มเติมกันอีกต่อไป” . เราอาจสรุปผลจากการสำรวจครั้งนี้ได้ว่าประเด็นหลักของการถกเถียงเกี่ยวกับความจำเป็นของการสอบโอเน็ตนี้อาจไม่ได้มาจากการมีข้อสอบชนิดนี้อยู่แต่มาจาก“การจัดสอบโอเน็ตไม่มีรูปแบบที่ตรงกับบริบทเพื่อพัฒนาการศึกษาอีกต่อไป แต่กลับถูกใช้เป็นเครื่องมือที่ทำให้เกิดความเหลื่อมล้ำในระบบการศึกษา” เพราะแม้จะมีทั้งคอมเมนต์ที่เห็นด้วยกับการไปต่อของข้อสอบโอเน็ต คอมเมนต์ที่ต้องการให้ยกเลิก หรือความคิดเห็นอื่น ๆ นอกเหนือ แต่สิ่งหนึ่งที่ทั้ง 3 ฝ่ายมีความเห็นตรงกันคือการสอบโอเน็ตต้องมีการปรับปรุง เปลี่ยนรูปแบบการสอบโอเน็ต เนื้อหาต้องเป็นเนื้อหาที่วัดระดับการเรียนการสอนในโรงเรียนไม่ใช่การวัดระดับความพร้อมของแต่ละโรงเรียนในการติวเพิ่มเติม อีกทั้งผลคะแนนต้องใช้เพื่อพัฒนาโรงเรียนให้ได้มาตรฐานเท่าเทียมกันในแต่ละพื้นที่ ไม่ใช่เป็นเครื่องมือในการเปรียบเทียบ และยกย่องโรงเรียนที่มีผลคะแนนที่สูงกว่า หากข้อสอบโอเน็ตสามารถปรับปรุง เปลี่ยนแปลง และพัฒนาได้ การสอบโอเน็ตก็จะกลายเป็นข้อสอบที่มีประโยชน์ต่อระบบการศึกษาอย่างแท้จริง แสดงความคิดเห็นเพิมเติ่มได้ที่ https://www.facebook.com/ajWiriya/posts/501084138039601 https://www.facebook.com/eduzonesdotcom/posts/10159798018616171 EZ Webmaster Related Posts สัปดาห์สุดท้าย!ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา เปิดรับรอบที่ 2 Quota 8 สาขา พร้อมมอบทุนเพชรสุนันทา เรียนการออกแบบแฟชั่น เด็กสาธิตสวนสุนันทาคว้ารางวัลศิลปะระดับโลก! สร้างชื่อเสียงให้ไทยบนเวทีนานาชาติ พิธีบวงสรวงสิ่งศักดิ์สิทธิ์และพิธีทำบุญเนื่องในวันคล้ายวันสถาปนา โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยศิลปากร (มัธยมศึกษา) นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มทร.ธัญบุรี คิดค้น 2 ผลิตภัณฑ์ ยับยั้งและลดการเน่าเสียผลผลิต มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาจับมือบริษัท ควีน โฟรเซ่น ฟรุต จำกัด ร่วมพัฒนาอนาคตการศึกษาไทย Post navigation PREVIOUS Previous post: “วัยเรียน”ก็รวยได้ถ้าใช้เงินเป็น! ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยได้เปิดพิพิธภัณฑ์เรียนรู้การลงทุน (INVESTORY) โฉมใหม่ ปี 2565NEXT Next post: รู้ก่อน รักษาทัน ลดเสี่ยงเสียชีวิต ชุดตรวจมะเร็งปากมดลูกด้วยปัสสาวะ นวัตกรรมเพื่อสุขภาพผู้หญิงจากจุฬาฯ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
พิธีเปิดกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) ภายใต้โครงการพัฒนามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมผ้าไทยสู่สากล ประจำปี ๒๕๖๘ EZ WebmasterMarch 26, 2025 นางสาวลิปิการ์ กำลังชัย รองธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรม รักษาราชการแทนอธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรมเป็นประธานพิธิเปิด และร่วมรับฟังการบรรยายกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) พร้อมด้วยนางสาวศิวพร ฉันทไกรวัฒน์ ผู้อำนวยการกลุ่มเผยแพร่และต่อยอดมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมเข้าร่วมงาน โดยวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญด้านผ้าไทย การออกแบบและแฟชั่น อาทิ ผศ.ดร.รวิเทพ มุสิกะปาน ผศ.ดร.วุฒิไกร… เปิดรับอาสาสมัครศิริราช รอบทำกิจกรรม เดือน พ.ค.-ก.ค. 68 ทุกกิจกรรมมีใบรับรองการทำกิจกรรม EZ WebmasterMarch 26, 2025 ตารางการรับอาสาสมัครรอบทำกิจกรรม เดือน พฤษภาคม – กรกฏาคม 68 (กิจกรรมที่อยู่ในเว็บไซต์ตอนนี้เป็นรอบเก่ามีผู้เข้าร่วมเต็มทั้งหมดแล้วค่ะ รอบใหม่จะเปิดตามวันเวลาที่แจ้งด้านล่างนี้เท่านั้น*) ขอให้อาสาเป็นผู้สมัครและกดเลือกกิจกรรมด้วยตนเองนะคะ – 31 ก.ค. 68 **เนื่องจากวันที่ 5 พ.ค. เป็นวันหยุด จะขอเริ่มตั้งแต่วันที่วันที่ 6 พ.ค.… เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน รับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน EZ WebmasterMarch 24, 2025 เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน เกม Let’s School เกมแนวบริหารโรงเรียนในฝัน ที่จะให้เรารับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน อยากให้โรงเรียนเป็นแบบไหนก็ปรับเล่นได้เลย ดูอารมณ์นักเรียกได้ด้วยว่ามีความสุขมั้ย? แถมตอนนี้ยังมีอัปเดตแมพใหม่พร้อมซัพไทยด้วยนะ Let’s School โหลดเล่นได้ที่ Steam :… Search for: Search
เปิดรับอาสาสมัครศิริราช รอบทำกิจกรรม เดือน พ.ค.-ก.ค. 68 ทุกกิจกรรมมีใบรับรองการทำกิจกรรม EZ WebmasterMarch 26, 2025 ตารางการรับอาสาสมัครรอบทำกิจกรรม เดือน พฤษภาคม – กรกฏาคม 68 (กิจกรรมที่อยู่ในเว็บไซต์ตอนนี้เป็นรอบเก่ามีผู้เข้าร่วมเต็มทั้งหมดแล้วค่ะ รอบใหม่จะเปิดตามวันเวลาที่แจ้งด้านล่างนี้เท่านั้น*) ขอให้อาสาเป็นผู้สมัครและกดเลือกกิจกรรมด้วยตนเองนะคะ – 31 ก.ค. 68 **เนื่องจากวันที่ 5 พ.ค. เป็นวันหยุด จะขอเริ่มตั้งแต่วันที่วันที่ 6 พ.ค.… เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน รับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน EZ WebmasterMarch 24, 2025 เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน เกม Let’s School เกมแนวบริหารโรงเรียนในฝัน ที่จะให้เรารับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน อยากให้โรงเรียนเป็นแบบไหนก็ปรับเล่นได้เลย ดูอารมณ์นักเรียกได้ด้วยว่ามีความสุขมั้ย? แถมตอนนี้ยังมีอัปเดตแมพใหม่พร้อมซัพไทยด้วยนะ Let’s School โหลดเล่นได้ที่ Steam :…
เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน รับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน EZ WebmasterMarch 24, 2025 เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน เกม Let’s School เกมแนวบริหารโรงเรียนในฝัน ที่จะให้เรารับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน อยากให้โรงเรียนเป็นแบบไหนก็ปรับเล่นได้เลย ดูอารมณ์นักเรียกได้ด้วยว่ามีความสุขมั้ย? แถมตอนนี้ยังมีอัปเดตแมพใหม่พร้อมซัพไทยด้วยนะ Let’s School โหลดเล่นได้ที่ Steam :…
EZ Webmaster February 24, 2022 EZ Webmaster February 24, 2022 O-NET ควรไปต่อหรือพอแค่นี้ — บทสรุปจากผลสำรวจความคิดเห็นผ่านแฟนเพจ Eduzones และ Wiriyah Eduzones O-NET ควรไปต่อหรือพอแค่นี้— บทสรุปจากผลสำรวจ การสอบโอเน็ต หรือ O-NET (Ordinary National Educational Test) เป็นการวัดผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนที่ต้องการวัดผ่านการจัดการทดสอบในระดับชาติ โดยมีสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (สทศ.) เป็นผู้ดำเนินการออกข้อสอบและจัดสอบทั่วประเทศ ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบความรู้ของนักเรียนในระระดับชั้นประถมศึกปีที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่ในปัจจุบันกลายข้อสอบชนิดนี้ตกเป็นประเด็นในการถกเถียงอย่างร้อนแรงว่า O-NET นี้มีประโยชน์ต่อนักเรียนจริงหรอ? ข้อสอบชนิfนี้ควรยกเลิกหรือควรไปต่อเช่นเดิม? . จากผลการสำรวจผ่านเฟสบุ๊กแฟนเพจ Eduzones และ Wiriyah Eduzones โดยเก็บข้อมูลภายในวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2565 จำนวนทั้งสิ้น 200 คอมเมนต์ พบว่ามีการแสดงความคิดเห็นเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้ อันดับ 1 ควรยกเลิก โดยผู้แสดงความคิดเห็นกลุ่มนี้ให้เหตุผลว่า “การสอบโอเน็ตทั้งสร้างภาระในแก่คุณครู ยังสามารถทั้งความเครียดและความกดดันให้แก่นักเรียน” “ควรยกเลิก ถ้าต้องการวัดคุณภาพครูควรเปลี่ยนเป็นการสำรวจความเห็นนักเรียน และผู้ปกครอง ควรให้เด็กนำเวลาไปปสนใจกับการสอบเข้าโรงเรียนที่จะศึกษาต่อ” “ไม่มีประโยชน์ เปลืองงบประมาณ” “ควรยกเลิกเพราะการสอบโอเน็ตกลายเป็นเครื่องมือที่คุณครู หรือผอ.ใช้ไม่ให้น้อยหน้ากว่าโรงเรียนอื่น” “ควรยกเลิกเพราะเป็นความเหลื่อมล้ำ กลายเป็นแหล่งหาเงินของสถาบันกวดวิชา” “ควรยกเลิก และควรเปลี่ยนข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัยเป็นข้อสอบเดียวกันทั้งประเทศเพราะ O-NET GAT/PAT กลายเป็นการใช้งบประมาณโดยใช้เหตุ มีการนำเงินไปใช้ด้วยเหตุผลในการศึกษาดูงานต่างประเทศแต่ไม่เคยนำกลับมาพัฒนากับระบบการศึกษาไทย” อันดับ 2 ความคิดเห็นอื่น ๆ ที่ไม่บ่งชี้ว่าควรยกเลิกหรือไปต่อ โดยมีความคิดเห็นเกี่ยวกับการให้ “รื้อทั้งระบบการศึกษา” เป็นจำนวนมากที่สุด รองลงมาเป็นคนคิดเห็นนอกเหนือดังนี้ “มีหรือไม่ก็ได้ แต่ต้องไม่เอามาจัดลำดับครู โรงเรียน หรือผอ.” “ควรเปลี่ยนให้เป็นการสอบตามความสมัครใจ” “มีหรือไม่ก็มีค่าเท่ากัน เพราะต่อให้มีก็ไม่ได้มีการนำข้อมูลมาเพื่อแก้ไขหรือปรับปรุงระบบการศึกษา ส่วนถ้ายกเลิกก็เป็นการปล่อยให้ครูไม่สนใจคุณภาพการสอนของตนเอง” “ไม่ว่าจะยกเลิกหรือไปต่อ ต้องมีการวางแผนใหม่ก่อนซึ่งเป็นไปได้ยากสำหรับตอนนี้” “ยกเลิกหรือไม่ยกเลิกก็ได้ แต่ถ้าจะมีต่อต้องจัดในวันธรรมดา ไม่เบียดเบียนวันหยุดของเด็ก” อันดับ 3 ควรมีต่อไป โดยผู้แสดงความคิดเห็นกลุ่มนี้ให้เหตุผลดังต่อไปนี้ “โอเน็ตควรมีต่อแต่ต้องปรับระบบให้ได้มาตรฐานอย่างแท้จริง ไม่ควรมีการให้ติวเพิ่มเติม เพราะจะกลายเป็นทั้งภาระของครูและนักเรียน และจะไม่ใช่การวัดระดับความรู้ในโรงเรียนอย่างแท้จริง” “ควรมีต่อแค่ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เท่านั้นเพราะใช้เป็นคะแนนยื่นเข้ามหาวิทยาลัย ส่วนในระดับชั้นอื่น ๆ ไม่ได้มีความจำเป็น” “ควรมีเพื่อวัดคุณภาพการศึกษาให้ได้มาตรฐาน แต่ควรหยุดค่านิยมในการนำคะแนนมาใช้เปรียบเทียบแต่ละโรงเรียน” “ควรมีเพราะให้เด็กได้วัดระดับความรู้ของตนเอง ไม่งั้นเด็กจะเรียนแบบทิ้ง ๆ ขว้าง ๆ “ควรมีต่อแต่ต้องมีเพื่อนำข้อมูลมาพัฒนาคุณภาพครู คุณภาพโรงเรียน ไม่ใช่มีเพื่อจัดการแข่งขัน” “ต้องมีเพราะการยกเลิกจะทำให้ครูละเลยการสอน ไม่สนใจที่จะพัฒนาการสอน” นอกเหนือจากนี้แล้ว ความคิดเห็นบางส่วนยังแสดงให้เห็นว่า แม้ในปัจจุบัน ประกาศกระทรวงศึกษาธิการได้แจ้งนโยบายการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานโอเน็ตว่า การเข้าทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (โอเน็ต) ให้เป็นไปตามความสมัครใจและเป็นสิทธิ์ส่วนตัวโดยเฉพาะของนักเรียน ตั้งแต่ปีการศึกษา 2563 เป็นต้นไป แต่ก็เป็นอิสระในการเข้าสอบที่ไม่จริง เพราะหลาย ๆ โรงเรียนยังมีการบังคับทางอ้อมด้วยการไม่ออกใบปพ. (เอกสารประเมินผลตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน) ซึ่งจำเป็นต่อการเข้าศึกษาต่อในโรงเรียนหรือมหาวิทยาลัยในอนาคต หากนักเรียนไม่ยอมเข้าสอบ O-NET . หากมองให้ลึกจะพบว่าการสอบโอเน็ตนับว่าเป็นการสอบที่มีประโยชน์หากเป็นการสอบที่ถูกนำมาใช้ตามวัตถุสงค์แรก คือ เอาผลคะแนนมาเพื่อใช้ประเมินระบบการศึกษา นำมาพัฒนาหลักสูตร พัฒนาบุคลากรในระบบการศึกษา โดยที่ข้อสอบนั้นจำเป็นที่จะต้องสอดคล้องกับการเรียนการสอนที่มีภายในโรงเรียนเพื่อชี้ให้เห็นจุดกำเนิดของปัญหา แต่ในปัจจุบันกลายเป็นว่าเนื้อหาของข้อสอบโอเน็ตไม่ตรงกับเนื้อหาที่มีตามโรงเรียน ทางรียนเรียนต้องจัดการติวเพิ่มเติมให้กับนักเรียนก่อนสอล นักเรียนหลายคนจำเป็นที่จะต้องลงเรียนเพิ่มเติมเพราะต้องใช้คะแนนสอบในส่วนนี้เพื่อเข้าศึกษาต่อ อีกหนึ่งสิ่งทำให้เกิดการฉุกคิดเกี่ยวกับความจำเป็นข้อสอบโอเน็ตคือประเทศไทยมีการจัดการสอบโอเน็ตมาหลายปีแล้ว แต่ระบบการศึกษายังไม่ดีขึ้น ปัญหาอยู่ที่ครู นักเรียน ข้อสอบ? หรือเกิดจากการที่ผลการประเมินผ่านโอเน็ตในแต่ละครั้งนี้ไม่เคยได้ถูกนำไปใช้เพื่อพัฒนาระบบการศึกษาอย่างแท้จริง ด้านดร.วิริยะ ฤาชัยพาณิชย์ นักวิชาการอิสระและในฐานะผู้ก่อตั้ง Eduzones ได้แสดงมุมมองเกี่ยวกับ O-NET ไว้ว่า “ปัจจุบันข้อสอบโอเน็ตไม่สามารถวัดอะไรได้ เพราะเกิดความผิดพลาดหลายประการ เริ่มตั้งแต่ให้เด็กทั้งประเทศสอบ ต่อมาคือการนำข้อสอบโอเน็ตไปเป็นเครื่องมือในการวัดว่าโรงเรียนไหนดี โรงเรียนไหนไม่ดี อีกทั้งผลคะแนนโอเน็ตมีผลต่อการกู้กยศ. (กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา) ที่สำคัญคือการนำเด็กธรรมดาไปจัดอยู่ในกลุ่มของเด็กพิเศษเพราะไม่ต้องการให้เด็กธรรมดาที่ทำคะแนนได้ไม่ดีมาเป็นตัวถ่วงคะแนนเฉลี่ย ซ้ำยังได้งบประมาณเพิ่มขึ้น” ดร.วิริยะยังได้เสนอแนวทางแก้ไขการสอบโอเน็ตเพิ่มเติมอีกว่า “ต้องใช้โอเน็ตให้เป็นเครื่องมือมอนิเตอร์โดยการสุ่มการสอบเพื่อวัดประสิทธิภาพในการจัดการระบบการศึกษา ซึ่งวิธีการสุ่มนี้จะช่วยลดงบประมาณ อีกทั้งยังต้องไม่มีการประกาศผลคะแนนหรือใช้ประโยชน์ในการเรียนต่อหรือสอบต่อ แต่ตราบใดที่โอเน็ตยังเป็นรูปแบบเดิมเด็กก็ยังคงต้องติวเพิ่มเติมกันอีกต่อไป” . เราอาจสรุปผลจากการสำรวจครั้งนี้ได้ว่าประเด็นหลักของการถกเถียงเกี่ยวกับความจำเป็นของการสอบโอเน็ตนี้อาจไม่ได้มาจากการมีข้อสอบชนิดนี้อยู่แต่มาจาก“การจัดสอบโอเน็ตไม่มีรูปแบบที่ตรงกับบริบทเพื่อพัฒนาการศึกษาอีกต่อไป แต่กลับถูกใช้เป็นเครื่องมือที่ทำให้เกิดความเหลื่อมล้ำในระบบการศึกษา” เพราะแม้จะมีทั้งคอมเมนต์ที่เห็นด้วยกับการไปต่อของข้อสอบโอเน็ต คอมเมนต์ที่ต้องการให้ยกเลิก หรือความคิดเห็นอื่น ๆ นอกเหนือ แต่สิ่งหนึ่งที่ทั้ง 3 ฝ่ายมีความเห็นตรงกันคือการสอบโอเน็ตต้องมีการปรับปรุง เปลี่ยนรูปแบบการสอบโอเน็ต เนื้อหาต้องเป็นเนื้อหาที่วัดระดับการเรียนการสอนในโรงเรียนไม่ใช่การวัดระดับความพร้อมของแต่ละโรงเรียนในการติวเพิ่มเติม อีกทั้งผลคะแนนต้องใช้เพื่อพัฒนาโรงเรียนให้ได้มาตรฐานเท่าเทียมกันในแต่ละพื้นที่ ไม่ใช่เป็นเครื่องมือในการเปรียบเทียบ และยกย่องโรงเรียนที่มีผลคะแนนที่สูงกว่า หากข้อสอบโอเน็ตสามารถปรับปรุง เปลี่ยนแปลง และพัฒนาได้ การสอบโอเน็ตก็จะกลายเป็นข้อสอบที่มีประโยชน์ต่อระบบการศึกษาอย่างแท้จริง แสดงความคิดเห็นเพิมเติ่มได้ที่ https://www.facebook.com/ajWiriya/posts/501084138039601 https://www.facebook.com/eduzonesdotcom/posts/10159798018616171
สัปดาห์สุดท้าย!ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา เปิดรับรอบที่ 2 Quota 8 สาขา พร้อมมอบทุนเพชรสุนันทา เรียนการออกแบบแฟชั่น
พิธีบวงสรวงสิ่งศักดิ์สิทธิ์และพิธีทำบุญเนื่องในวันคล้ายวันสถาปนา โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยศิลปากร (มัธยมศึกษา)