ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง EZ WebmasterJune 13, 2025 วันนี้ทั้งเล่น ทั้งได้ความรู้ ทั้งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนนางรอง จ.บุรีรัมย์ วันที่13/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า… นักศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI… ทุนดีดี ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… นิสิตป.ตรีร่วมโครงการEAS InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 13, 2025 โอกาสดี! นักศึกษาระดับปริญญาตรีชาวไทย อายุระหว่าง 18-26 ปี ที่สนใจในประเด็นอาเซียน และสนใจอยากเป็นนักการทูต สถานทูตออสเตรเลียประจำประเทศไทยแจ้งข่าว เปิดรับสมัครโครงการ Model East Asia Summit (EAS) 2025 ส่งใบสมัครก่อนวันที่ 4 ก.ค.… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster April 20, 2022 EZ Webmaster April 20, 2022 คุยกันเรื่องอาหาร? – รีวิวคณะเทคโนโลยีคหกรรม สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร! คุยกันเรื่องอาหาร? – รีวิวเทคโนโลยีคหกรรม อาหารและโภชนาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ในช่วงสถานการณ์โควิด 19 ที่ผ่านมา น้อง ๆ หลายคนก็ได้มีเวลาอยู่กับตัวเองมากขึ้น ได้ใช้เวลาว่างในการทำสิ่งต่าง ๆ ซึ่งการใช้เวลาว่างเหล่านี้เนี้ย พี่ออมเชื่อว่าทำให้น้อง ๆ หลายคนเกิดแรงบันดาลใจในการศึกษาต่อด้านต่าง ๆ นับว่าเป็นเรื่องที่ดีมากเลยค่ะที่เราได้เจอในสิ่งที่ชอบ พี่ออมคิดว่า การทำอาหาร การทำขนม เป็นอีกหนึ่งงานอดิเรกยอดฮิตที่น้อง ๆ บางคนอาจจะเพิ่งค้นพบความสามารถของตัวเองหลังจากได้ใช้เวลาไปกับมันใช่ไหมคะ วันนี้พี่ออมจะพาน้อง ๆ ไปพบกับ พี่เบส วัชรินทร์ สายเครือคำ รุ่นพี่ชั้นปีที่ 3 คณะเทคโนโลยีคหกรรม สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร กันค่ะ “เราเชื่อว่ามีหลายคนสงสัยนะว่าการเรียนคหกรรม อาหารและโภชนาการแบบเราคือ ต้องทำอาหารเป็นตั้งแต่แรกไหม ต้องทำอาหารอร่อยไหม บอกตรงนี้เลยนะว่าเราก็เป็นคนนึงไม่ได้ทำอาหารเป็นตั้งแต่แรก พอเข้ามาเรียนก็ได้เรียนรู้อะไรใหม่ ๆ มากขึ้นทั้งที่ไม่เคยมีพื้นฐานมาก่อน ถ้าถามว่าตอนนี้ทำอาหารได้อร่อยเลยไหมก็ไม่ได้ขนาดนั้น” วัชรินทร์หยุดหัวเราะก่อนอธิบายต่อ “แต่อย่างน้อยเราก็มีความกล้าที่จะทำอาหารมากขึ้น รู้วิธีการใช้เครื่องมือ อุปกรณ์การเลือกวัตถุดิบให้ถูกหลัก วัชรินทร์อธิบายเกี่ยวกับการเรียนคหกรรม อาหารและโภชนาการให้เราฟังว่า “ไม่อยากให้รู้สึกว่าเราทำอาหารไม่เป็นเลยจะมาเรียนคหกรรมแบบนี้ได้จริงหรอ อย่างของมอเราเขาก็เริ่มสอนตั้งแต่พื้นฐานเลยนะ ตอนที่เราเข้าไปปีหนึ่งเขาก็เริ่มสอนตั้งแต่วิธีการลับมีด การใช้มีด การใช้อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องครัวต่าง ๆ การเลือกวัตถุดิบ มั่นใจได้เลยว่าต่อให้คนที่ไม่เคยทำอาหารมาก่อนก็มาเรียนรู้ในมหาวิทยาลัยได้” วัชรินทร์เงียบไปครู่หนึ่งก่อนอธิบายต่อว่า “แต่ว่าการเรียนคหกรรม อาหารและโภชนาการมันไม่ใช่การเรียนทำอาหารอย่างเดียวนะ มันก็ครอบคลุมตามชื่อคณะเลย เราจะได้เรียนทั้งโภชนาการอาหาร ความปลอดภัยของอาหารในโรงพยาบาล ถ้าถามว่ามันคืออะไร มันก็คือการเรียนเกี่ยวกับอาหารของคนไข้การแยกประเภทชนิดอาหารที่เหมาะกับคนไข้ในแต่ละโรค โรคไตห้ามกินอะไร โรคหัวใจห้ามกินอะไร เรียนเรื่องสารปรุงแต่งและสารแปรรูปที่เป็นอันตรายต่ออาหารในแต่ละชนิด เราสามารถใส่ได้ในปริมาณแค่ไหนที่จะไม่เป็นอันตรายต่อร่างกาย เอาจริง ๆ พอเรียนอันนี้แล้วมีระแวงเกี่ยวกับการกินอาหารเพิ่มขึ้นนะ เพราะเรารู้ถึงโทษและประโยชน์ของสารแต่ละชนิดว่ามันส่งผลยังไงกับร่างกายบ้าง มารยาทบนโต๊ะอาหาร การแกะสลักผลไม้ การพับผ้าที่เราเคยเห็นตามโต๊ะอาหารในโรงแรม พูดรวม ๆ ก็จะเรียนทุกเรื่องที่เกี่ยวกับอาหาร” เราไม่จำเป็นจะต้องมีพื้นฐานอะไรเลยก็ได้ ขอแค่มีความตั้งใจ เพราะอาจารย์จะเริ่มสอนเราตั้งแต่ 0 ไปจนกว่าเราจะสามารถทำได้ด้วยตัวเอง ไม่ได้บอกว่าจบไปแล้วจะต้องทำอาหารอร่อยแน่นอน แต่ว่าอย่างน้อยเราจะมีความกล้าในการอาหารได้ด้วยตนเอง วัชรินทร์เล่าให้เราเกี่ยวกับ วิชาอาหารตะวันตก ซึ่งเป็นวิชาโปรดของเธอว่า “วิชาอาหารตะวันตกเป็นวิชาที่เราชอบมากที่สุดเลย เพราะรู้สึกว่ากรรมวิธีในการทำอาหารตะวันตกไม่ยุ่งยากเหมือนอาหารไทย อันนี้ไม่ได้ว่าอาหารไทยนะแต่เป็นความชอบส่วนตัวของเราเฉย ๆ” วัชรินทร์รีบส่ายมือไปมากพร้อมยิ้มร่า ก่อนพูดต่อว่า “นอกจากการทำอาหารแล้วก็เรียนรวมไปถึงการใช้อุปกรณ์บนโต๊ะอาหาร เหมือนที่หลาย ๆ คนอาจจะเคยมีโอกาสได้ไปสัมผัส หรือไปทานอาหารในโรงแรม เราก็จะเห็นว่าเขามีช้อนส้อมหลายแบบใช่ไหม เราก็จะได้เรียนว่าช้อนประเภทนี้ใช้กับซุปนะ ส้อมอันนี้ใช้กับอาหารประเภทนี้นะ เอาจริง ๆ มันก็คือเรื่องของมารยาทบนโต๊ะอาหารแหละ ส่วนหนึ่งที่เราสนใจก็เพราะรู้สึกว่ามันเป็นสิ่งที่เราไม่คุ้นเคย แตกต่างไปจากของไทย เรามองว่าความรู้ในวิชานี้มันน่าสนใจและก็สามารถนำไปใช้ได้จริงในชีวิตประจำวัน” วัชรินทร์ทวนคำถามก่อนตอบให้เราฟังว่า “ถ้าถามว่าแล้วแบบนี้คนที่เขาทำอาหารได้ดีกว่า มีฝีมือกว่าจะได้เกรดดีมากกว่าไหม มันก็มีผลแต่ว่าเล็กน้อยมาก เพราะว่าส่วนใหญ่อาจารย์จะให้สูตรและวิธีทำมาเหมือนกันอยู่แล้ว แล้วเราก็ทำตามสูตรอาหารที่อาหารได้มา ซึ่งในหลาย ๆ ครั้งเขาก็ให้ทำอาหารกันเป็นกลุ่มอะ เราก็จะได้รสชาติที่เห็นตรงกันว่าอร่อยนะ ไม่ใช้แค่ใช้เราเป็นคนตัดสินเพียงคนเดียว อาจารย์จะมาช่วยดู ไม่ได้ปล่อยให้เราทำเองหมดเลย เพราะงั้นเกรดก็ไม่ได้ออกมมต่างกันมากจนเรารู้สึกเสียความมั่นใจแน่นอน” ในสถานการณ์โควิด 19 ที่ผ่านมาทำให้หลายมหาวิทยาลัยปรับรูปแบบการเรียน วัชรินทร์ช่วยเล่าความเปลี่ยนแปลงนี้ให้เราฟังว่า “สมัยตอนเราอยู่ปี 1 เราก็ต้องเรียนในห้องตามปกติเลยเหมือนมหาวิทยาลัยทั่วไป มีเข้าแล็บ เข้าครัวทำอาหารตามปกติ ทั้งพวกครัวไทย พวกครัวเบเกอรี แต่ว่าก็จะเน้นทฤษฎีเป็นหลักก่อนนะ เพิ่งมาเริ่มปฏิบัติเยอะ ๆ ตอนปี 2 พอมีโควิดมา รูปแบบการเรียนการสอนก็เปลี่ยนไป เราก็จะไม่ได้ไปเรียนที่มหาลัย เปลี่ยนมาเป็นเรียนออนไลน์แทน หลายคนก็สงสัยใช่ไหมว่าแล้วแบบนี้จะเรียนทำอาหารได้ยังไง อาจารย์เขาจะส่งสูตรอาหาร วัตถุดิบมา พร้อมแนบวิดีโอมาให้เรา เราก็มีหน้าที่ในการทำตามโดยที่ต้องถ่ายรูป อัดวิดีโอตอนทำอาหารนั้น ๆ ส่งกลับไปให้อาจารย์ประเมินตามเกณฑ์ของเขา ส่วนการสอบก็จะมีทั้งสอบแบบทฤษฎีและสอบปฏิบัติรายบุคคล” วัชรินทร์ยังเล่าความรู้สึกของตัวเองเพิ่มเติมให้เราฟังอีกว่า “เอาจริง ๆ เราค่อนข้างสอบการสอบปฏิบัติรายบุคคลนะ พอคนอื่นได้ยินอาจจะรู้สึกว่ามันน่ากลัว ไม่กดดันหรอ ในมุมเราเรามองว่าง่ายกว่าตอนเรียนด้วยซ้ำ เพราะเราสามารถเลือกเมนูที่เราชอบ เมนูที่เราถนัด หรือบางครั้งอาจารย์ก็อาจจะให้โจทย์มาเเล้วเราก็ทำตาม เขาก็จะประเมินให้คะเเนนตามหัวข้อต่าง ๆ เราว่ามันก็ได้เปรียบตรงที่เราสามารถเลือกเองได้แต่ส่วนใหญ่ก็จะเป็นเมนูที่เราเคยเรียนมาก่อนหน้านี้แล้ว” รุ่นพี่คหกรรม สาขาวิชาอาหารและโภชนาการได้ทิ้งท้ายไว้กับพวกเรา “ไม่อยากให้น้อง ๆ รู้สึกกลัวการเรียนทำอาหารเพราะว่ายังไม่เคยทำ หรือคิดว่าตัวเองทำได้ไม่ดีเพราะว่าถ้าแค่เราชอบหรือมีใจอยากจะลองทำอาหารก็สามารถมาเรียนได้ ไม่จำเป็นว่าต้องทำอาหารเก่ง มีพื้นฐานเพราะอาจารย์ที่คณะได้สอนเราต้องแต่เริ่มต้น คอยให้คำปรึกษาได้ดีทั้งเรื่องการเรียนหรือเรื่องการใช้ชีวิตในมหาลัย พวกอุปกรณ์ในการเรียนก็ส่งเสริมให้การเรียนมีคุณภาพมากขึ้น เพื่อน ๆ แต่ละคนก็ดีคอยช่วยเหลือกันตลอด เป็นคณะที่เรียนสนุกเลยแหละ เรียกง่าย ๆ ก็คือสภาพแวดล้อมดีไม่ทำให้เราเครียด ไม่ทำให้เรากดดันจนเกินไป ใครที่ชอบการทำอาหารแล้วยังไม่มีคณะในใจก็ลองมาเรียนคณะคหกรรมศาสตร์ของมหาลัยเราได้เลย” เราก็เป็นคนนึงที่เคยทำอาหารไม่เป็นเลย ทำอาหารไม่อร่อยเลย แต่อย่าให้ความกลัวมาเป็นอุปสรรคให้เราไม่ได้ทำในสิ่งที่ชอบ ขอแค่รักการทำอาหาร มีใจที่อยากจะทำ ที่เหลือเราจะสามารถเรียนรู้ได้เอง วัชรินทร์ สายเครือคำ คณะเทคโนโลยีคหกรรม สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ มหาวิทยาลัยราชมงคลพระนคร ข้อมูลหลักสูตร – คณะเทคโนโลยีคหกรรม สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร – หลักสูตรศิลปศาสตร์บัณฑิต (ปริญญาตรี 4 ปี) – ค่าเล่าเรียน : ประมาณ 13,000 บาทต่อเทอม – รายละเอียดเพิ่มเติม : เว็บไซต์ : คลิก Facebook : คลิก Twitter : คลิก EZ Webmaster Related Posts ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง Post navigation PREVIOUS Previous post: ทีเคพาร์ค ชวนสร้างสรรค์โปรเจกต์เพื่อสังคม ในโครงการ TK Dreammakers พื้นที่เยาวชนปั้นฝันNEXT Next post: สุดเจ๋ง ! บัณฑิตคณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย เรียนจบได้งานทำทันที สวนกระแสวิกฤต โควิด 19 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง EZ WebmasterJune 13, 2025 วันนี้ทั้งเล่น ทั้งได้ความรู้ ทั้งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนนางรอง จ.บุรีรัมย์ วันที่13/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า… นักศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI… ทุนดีดี ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… นิสิตป.ตรีร่วมโครงการEAS InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 13, 2025 โอกาสดี! นักศึกษาระดับปริญญาตรีชาวไทย อายุระหว่าง 18-26 ปี ที่สนใจในประเด็นอาเซียน และสนใจอยากเป็นนักการทูต สถานทูตออสเตรเลียประจำประเทศไทยแจ้งข่าว เปิดรับสมัครโครงการ Model East Asia Summit (EAS) 2025 ส่งใบสมัครก่อนวันที่ 4 ก.ค.… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster April 20, 2022 EZ Webmaster April 20, 2022 คุยกันเรื่องอาหาร? – รีวิวคณะเทคโนโลยีคหกรรม สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร! คุยกันเรื่องอาหาร? – รีวิวเทคโนโลยีคหกรรม อาหารและโภชนาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ในช่วงสถานการณ์โควิด 19 ที่ผ่านมา น้อง ๆ หลายคนก็ได้มีเวลาอยู่กับตัวเองมากขึ้น ได้ใช้เวลาว่างในการทำสิ่งต่าง ๆ ซึ่งการใช้เวลาว่างเหล่านี้เนี้ย พี่ออมเชื่อว่าทำให้น้อง ๆ หลายคนเกิดแรงบันดาลใจในการศึกษาต่อด้านต่าง ๆ นับว่าเป็นเรื่องที่ดีมากเลยค่ะที่เราได้เจอในสิ่งที่ชอบ พี่ออมคิดว่า การทำอาหาร การทำขนม เป็นอีกหนึ่งงานอดิเรกยอดฮิตที่น้อง ๆ บางคนอาจจะเพิ่งค้นพบความสามารถของตัวเองหลังจากได้ใช้เวลาไปกับมันใช่ไหมคะ วันนี้พี่ออมจะพาน้อง ๆ ไปพบกับ พี่เบส วัชรินทร์ สายเครือคำ รุ่นพี่ชั้นปีที่ 3 คณะเทคโนโลยีคหกรรม สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร กันค่ะ “เราเชื่อว่ามีหลายคนสงสัยนะว่าการเรียนคหกรรม อาหารและโภชนาการแบบเราคือ ต้องทำอาหารเป็นตั้งแต่แรกไหม ต้องทำอาหารอร่อยไหม บอกตรงนี้เลยนะว่าเราก็เป็นคนนึงไม่ได้ทำอาหารเป็นตั้งแต่แรก พอเข้ามาเรียนก็ได้เรียนรู้อะไรใหม่ ๆ มากขึ้นทั้งที่ไม่เคยมีพื้นฐานมาก่อน ถ้าถามว่าตอนนี้ทำอาหารได้อร่อยเลยไหมก็ไม่ได้ขนาดนั้น” วัชรินทร์หยุดหัวเราะก่อนอธิบายต่อ “แต่อย่างน้อยเราก็มีความกล้าที่จะทำอาหารมากขึ้น รู้วิธีการใช้เครื่องมือ อุปกรณ์การเลือกวัตถุดิบให้ถูกหลัก วัชรินทร์อธิบายเกี่ยวกับการเรียนคหกรรม อาหารและโภชนาการให้เราฟังว่า “ไม่อยากให้รู้สึกว่าเราทำอาหารไม่เป็นเลยจะมาเรียนคหกรรมแบบนี้ได้จริงหรอ อย่างของมอเราเขาก็เริ่มสอนตั้งแต่พื้นฐานเลยนะ ตอนที่เราเข้าไปปีหนึ่งเขาก็เริ่มสอนตั้งแต่วิธีการลับมีด การใช้มีด การใช้อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องครัวต่าง ๆ การเลือกวัตถุดิบ มั่นใจได้เลยว่าต่อให้คนที่ไม่เคยทำอาหารมาก่อนก็มาเรียนรู้ในมหาวิทยาลัยได้” วัชรินทร์เงียบไปครู่หนึ่งก่อนอธิบายต่อว่า “แต่ว่าการเรียนคหกรรม อาหารและโภชนาการมันไม่ใช่การเรียนทำอาหารอย่างเดียวนะ มันก็ครอบคลุมตามชื่อคณะเลย เราจะได้เรียนทั้งโภชนาการอาหาร ความปลอดภัยของอาหารในโรงพยาบาล ถ้าถามว่ามันคืออะไร มันก็คือการเรียนเกี่ยวกับอาหารของคนไข้การแยกประเภทชนิดอาหารที่เหมาะกับคนไข้ในแต่ละโรค โรคไตห้ามกินอะไร โรคหัวใจห้ามกินอะไร เรียนเรื่องสารปรุงแต่งและสารแปรรูปที่เป็นอันตรายต่ออาหารในแต่ละชนิด เราสามารถใส่ได้ในปริมาณแค่ไหนที่จะไม่เป็นอันตรายต่อร่างกาย เอาจริง ๆ พอเรียนอันนี้แล้วมีระแวงเกี่ยวกับการกินอาหารเพิ่มขึ้นนะ เพราะเรารู้ถึงโทษและประโยชน์ของสารแต่ละชนิดว่ามันส่งผลยังไงกับร่างกายบ้าง มารยาทบนโต๊ะอาหาร การแกะสลักผลไม้ การพับผ้าที่เราเคยเห็นตามโต๊ะอาหารในโรงแรม พูดรวม ๆ ก็จะเรียนทุกเรื่องที่เกี่ยวกับอาหาร” เราไม่จำเป็นจะต้องมีพื้นฐานอะไรเลยก็ได้ ขอแค่มีความตั้งใจ เพราะอาจารย์จะเริ่มสอนเราตั้งแต่ 0 ไปจนกว่าเราจะสามารถทำได้ด้วยตัวเอง ไม่ได้บอกว่าจบไปแล้วจะต้องทำอาหารอร่อยแน่นอน แต่ว่าอย่างน้อยเราจะมีความกล้าในการอาหารได้ด้วยตนเอง วัชรินทร์เล่าให้เราเกี่ยวกับ วิชาอาหารตะวันตก ซึ่งเป็นวิชาโปรดของเธอว่า “วิชาอาหารตะวันตกเป็นวิชาที่เราชอบมากที่สุดเลย เพราะรู้สึกว่ากรรมวิธีในการทำอาหารตะวันตกไม่ยุ่งยากเหมือนอาหารไทย อันนี้ไม่ได้ว่าอาหารไทยนะแต่เป็นความชอบส่วนตัวของเราเฉย ๆ” วัชรินทร์รีบส่ายมือไปมากพร้อมยิ้มร่า ก่อนพูดต่อว่า “นอกจากการทำอาหารแล้วก็เรียนรวมไปถึงการใช้อุปกรณ์บนโต๊ะอาหาร เหมือนที่หลาย ๆ คนอาจจะเคยมีโอกาสได้ไปสัมผัส หรือไปทานอาหารในโรงแรม เราก็จะเห็นว่าเขามีช้อนส้อมหลายแบบใช่ไหม เราก็จะได้เรียนว่าช้อนประเภทนี้ใช้กับซุปนะ ส้อมอันนี้ใช้กับอาหารประเภทนี้นะ เอาจริง ๆ มันก็คือเรื่องของมารยาทบนโต๊ะอาหารแหละ ส่วนหนึ่งที่เราสนใจก็เพราะรู้สึกว่ามันเป็นสิ่งที่เราไม่คุ้นเคย แตกต่างไปจากของไทย เรามองว่าความรู้ในวิชานี้มันน่าสนใจและก็สามารถนำไปใช้ได้จริงในชีวิตประจำวัน” วัชรินทร์ทวนคำถามก่อนตอบให้เราฟังว่า “ถ้าถามว่าแล้วแบบนี้คนที่เขาทำอาหารได้ดีกว่า มีฝีมือกว่าจะได้เกรดดีมากกว่าไหม มันก็มีผลแต่ว่าเล็กน้อยมาก เพราะว่าส่วนใหญ่อาจารย์จะให้สูตรและวิธีทำมาเหมือนกันอยู่แล้ว แล้วเราก็ทำตามสูตรอาหารที่อาหารได้มา ซึ่งในหลาย ๆ ครั้งเขาก็ให้ทำอาหารกันเป็นกลุ่มอะ เราก็จะได้รสชาติที่เห็นตรงกันว่าอร่อยนะ ไม่ใช้แค่ใช้เราเป็นคนตัดสินเพียงคนเดียว อาจารย์จะมาช่วยดู ไม่ได้ปล่อยให้เราทำเองหมดเลย เพราะงั้นเกรดก็ไม่ได้ออกมมต่างกันมากจนเรารู้สึกเสียความมั่นใจแน่นอน” ในสถานการณ์โควิด 19 ที่ผ่านมาทำให้หลายมหาวิทยาลัยปรับรูปแบบการเรียน วัชรินทร์ช่วยเล่าความเปลี่ยนแปลงนี้ให้เราฟังว่า “สมัยตอนเราอยู่ปี 1 เราก็ต้องเรียนในห้องตามปกติเลยเหมือนมหาวิทยาลัยทั่วไป มีเข้าแล็บ เข้าครัวทำอาหารตามปกติ ทั้งพวกครัวไทย พวกครัวเบเกอรี แต่ว่าก็จะเน้นทฤษฎีเป็นหลักก่อนนะ เพิ่งมาเริ่มปฏิบัติเยอะ ๆ ตอนปี 2 พอมีโควิดมา รูปแบบการเรียนการสอนก็เปลี่ยนไป เราก็จะไม่ได้ไปเรียนที่มหาลัย เปลี่ยนมาเป็นเรียนออนไลน์แทน หลายคนก็สงสัยใช่ไหมว่าแล้วแบบนี้จะเรียนทำอาหารได้ยังไง อาจารย์เขาจะส่งสูตรอาหาร วัตถุดิบมา พร้อมแนบวิดีโอมาให้เรา เราก็มีหน้าที่ในการทำตามโดยที่ต้องถ่ายรูป อัดวิดีโอตอนทำอาหารนั้น ๆ ส่งกลับไปให้อาจารย์ประเมินตามเกณฑ์ของเขา ส่วนการสอบก็จะมีทั้งสอบแบบทฤษฎีและสอบปฏิบัติรายบุคคล” วัชรินทร์ยังเล่าความรู้สึกของตัวเองเพิ่มเติมให้เราฟังอีกว่า “เอาจริง ๆ เราค่อนข้างสอบการสอบปฏิบัติรายบุคคลนะ พอคนอื่นได้ยินอาจจะรู้สึกว่ามันน่ากลัว ไม่กดดันหรอ ในมุมเราเรามองว่าง่ายกว่าตอนเรียนด้วยซ้ำ เพราะเราสามารถเลือกเมนูที่เราชอบ เมนูที่เราถนัด หรือบางครั้งอาจารย์ก็อาจจะให้โจทย์มาเเล้วเราก็ทำตาม เขาก็จะประเมินให้คะเเนนตามหัวข้อต่าง ๆ เราว่ามันก็ได้เปรียบตรงที่เราสามารถเลือกเองได้แต่ส่วนใหญ่ก็จะเป็นเมนูที่เราเคยเรียนมาก่อนหน้านี้แล้ว” รุ่นพี่คหกรรม สาขาวิชาอาหารและโภชนาการได้ทิ้งท้ายไว้กับพวกเรา “ไม่อยากให้น้อง ๆ รู้สึกกลัวการเรียนทำอาหารเพราะว่ายังไม่เคยทำ หรือคิดว่าตัวเองทำได้ไม่ดีเพราะว่าถ้าแค่เราชอบหรือมีใจอยากจะลองทำอาหารก็สามารถมาเรียนได้ ไม่จำเป็นว่าต้องทำอาหารเก่ง มีพื้นฐานเพราะอาจารย์ที่คณะได้สอนเราต้องแต่เริ่มต้น คอยให้คำปรึกษาได้ดีทั้งเรื่องการเรียนหรือเรื่องการใช้ชีวิตในมหาลัย พวกอุปกรณ์ในการเรียนก็ส่งเสริมให้การเรียนมีคุณภาพมากขึ้น เพื่อน ๆ แต่ละคนก็ดีคอยช่วยเหลือกันตลอด เป็นคณะที่เรียนสนุกเลยแหละ เรียกง่าย ๆ ก็คือสภาพแวดล้อมดีไม่ทำให้เราเครียด ไม่ทำให้เรากดดันจนเกินไป ใครที่ชอบการทำอาหารแล้วยังไม่มีคณะในใจก็ลองมาเรียนคณะคหกรรมศาสตร์ของมหาลัยเราได้เลย” เราก็เป็นคนนึงที่เคยทำอาหารไม่เป็นเลย ทำอาหารไม่อร่อยเลย แต่อย่าให้ความกลัวมาเป็นอุปสรรคให้เราไม่ได้ทำในสิ่งที่ชอบ ขอแค่รักการทำอาหาร มีใจที่อยากจะทำ ที่เหลือเราจะสามารถเรียนรู้ได้เอง วัชรินทร์ สายเครือคำ คณะเทคโนโลยีคหกรรม สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ มหาวิทยาลัยราชมงคลพระนคร ข้อมูลหลักสูตร – คณะเทคโนโลยีคหกรรม สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร – หลักสูตรศิลปศาสตร์บัณฑิต (ปริญญาตรี 4 ปี) – ค่าเล่าเรียน : ประมาณ 13,000 บาทต่อเทอม – รายละเอียดเพิ่มเติม : เว็บไซต์ : คลิก Facebook : คลิก Twitter : คลิก EZ Webmaster Related Posts ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง Post navigation PREVIOUS Previous post: ทีเคพาร์ค ชวนสร้างสรรค์โปรเจกต์เพื่อสังคม ในโครงการ TK Dreammakers พื้นที่เยาวชนปั้นฝันNEXT Next post: สุดเจ๋ง ! บัณฑิตคณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย เรียนจบได้งานทำทันที สวนกระแสวิกฤต โควิด 19 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง EZ WebmasterJune 13, 2025 วันนี้ทั้งเล่น ทั้งได้ความรู้ ทั้งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนนางรอง จ.บุรีรัมย์ วันที่13/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า…
โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง EZ WebmasterJune 13, 2025 วันนี้ทั้งเล่น ทั้งได้ความรู้ ทั้งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนนางรอง จ.บุรีรัมย์ วันที่13/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า…
คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI… ทุนดีดี ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… นิสิตป.ตรีร่วมโครงการEAS InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 13, 2025 โอกาสดี! นักศึกษาระดับปริญญาตรีชาวไทย อายุระหว่าง 18-26 ปี ที่สนใจในประเด็นอาเซียน และสนใจอยากเป็นนักการทูต สถานทูตออสเตรเลียประจำประเทศไทยแจ้งข่าว เปิดรับสมัครโครงการ Model East Asia Summit (EAS) 2025 ส่งใบสมัครก่อนวันที่ 4 ก.ค.… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster April 20, 2022 EZ Webmaster April 20, 2022 คุยกันเรื่องอาหาร? – รีวิวคณะเทคโนโลยีคหกรรม สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร! คุยกันเรื่องอาหาร? – รีวิวเทคโนโลยีคหกรรม อาหารและโภชนาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ในช่วงสถานการณ์โควิด 19 ที่ผ่านมา น้อง ๆ หลายคนก็ได้มีเวลาอยู่กับตัวเองมากขึ้น ได้ใช้เวลาว่างในการทำสิ่งต่าง ๆ ซึ่งการใช้เวลาว่างเหล่านี้เนี้ย พี่ออมเชื่อว่าทำให้น้อง ๆ หลายคนเกิดแรงบันดาลใจในการศึกษาต่อด้านต่าง ๆ นับว่าเป็นเรื่องที่ดีมากเลยค่ะที่เราได้เจอในสิ่งที่ชอบ พี่ออมคิดว่า การทำอาหาร การทำขนม เป็นอีกหนึ่งงานอดิเรกยอดฮิตที่น้อง ๆ บางคนอาจจะเพิ่งค้นพบความสามารถของตัวเองหลังจากได้ใช้เวลาไปกับมันใช่ไหมคะ วันนี้พี่ออมจะพาน้อง ๆ ไปพบกับ พี่เบส วัชรินทร์ สายเครือคำ รุ่นพี่ชั้นปีที่ 3 คณะเทคโนโลยีคหกรรม สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร กันค่ะ “เราเชื่อว่ามีหลายคนสงสัยนะว่าการเรียนคหกรรม อาหารและโภชนาการแบบเราคือ ต้องทำอาหารเป็นตั้งแต่แรกไหม ต้องทำอาหารอร่อยไหม บอกตรงนี้เลยนะว่าเราก็เป็นคนนึงไม่ได้ทำอาหารเป็นตั้งแต่แรก พอเข้ามาเรียนก็ได้เรียนรู้อะไรใหม่ ๆ มากขึ้นทั้งที่ไม่เคยมีพื้นฐานมาก่อน ถ้าถามว่าตอนนี้ทำอาหารได้อร่อยเลยไหมก็ไม่ได้ขนาดนั้น” วัชรินทร์หยุดหัวเราะก่อนอธิบายต่อ “แต่อย่างน้อยเราก็มีความกล้าที่จะทำอาหารมากขึ้น รู้วิธีการใช้เครื่องมือ อุปกรณ์การเลือกวัตถุดิบให้ถูกหลัก วัชรินทร์อธิบายเกี่ยวกับการเรียนคหกรรม อาหารและโภชนาการให้เราฟังว่า “ไม่อยากให้รู้สึกว่าเราทำอาหารไม่เป็นเลยจะมาเรียนคหกรรมแบบนี้ได้จริงหรอ อย่างของมอเราเขาก็เริ่มสอนตั้งแต่พื้นฐานเลยนะ ตอนที่เราเข้าไปปีหนึ่งเขาก็เริ่มสอนตั้งแต่วิธีการลับมีด การใช้มีด การใช้อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องครัวต่าง ๆ การเลือกวัตถุดิบ มั่นใจได้เลยว่าต่อให้คนที่ไม่เคยทำอาหารมาก่อนก็มาเรียนรู้ในมหาวิทยาลัยได้” วัชรินทร์เงียบไปครู่หนึ่งก่อนอธิบายต่อว่า “แต่ว่าการเรียนคหกรรม อาหารและโภชนาการมันไม่ใช่การเรียนทำอาหารอย่างเดียวนะ มันก็ครอบคลุมตามชื่อคณะเลย เราจะได้เรียนทั้งโภชนาการอาหาร ความปลอดภัยของอาหารในโรงพยาบาล ถ้าถามว่ามันคืออะไร มันก็คือการเรียนเกี่ยวกับอาหารของคนไข้การแยกประเภทชนิดอาหารที่เหมาะกับคนไข้ในแต่ละโรค โรคไตห้ามกินอะไร โรคหัวใจห้ามกินอะไร เรียนเรื่องสารปรุงแต่งและสารแปรรูปที่เป็นอันตรายต่ออาหารในแต่ละชนิด เราสามารถใส่ได้ในปริมาณแค่ไหนที่จะไม่เป็นอันตรายต่อร่างกาย เอาจริง ๆ พอเรียนอันนี้แล้วมีระแวงเกี่ยวกับการกินอาหารเพิ่มขึ้นนะ เพราะเรารู้ถึงโทษและประโยชน์ของสารแต่ละชนิดว่ามันส่งผลยังไงกับร่างกายบ้าง มารยาทบนโต๊ะอาหาร การแกะสลักผลไม้ การพับผ้าที่เราเคยเห็นตามโต๊ะอาหารในโรงแรม พูดรวม ๆ ก็จะเรียนทุกเรื่องที่เกี่ยวกับอาหาร” เราไม่จำเป็นจะต้องมีพื้นฐานอะไรเลยก็ได้ ขอแค่มีความตั้งใจ เพราะอาจารย์จะเริ่มสอนเราตั้งแต่ 0 ไปจนกว่าเราจะสามารถทำได้ด้วยตัวเอง ไม่ได้บอกว่าจบไปแล้วจะต้องทำอาหารอร่อยแน่นอน แต่ว่าอย่างน้อยเราจะมีความกล้าในการอาหารได้ด้วยตนเอง วัชรินทร์เล่าให้เราเกี่ยวกับ วิชาอาหารตะวันตก ซึ่งเป็นวิชาโปรดของเธอว่า “วิชาอาหารตะวันตกเป็นวิชาที่เราชอบมากที่สุดเลย เพราะรู้สึกว่ากรรมวิธีในการทำอาหารตะวันตกไม่ยุ่งยากเหมือนอาหารไทย อันนี้ไม่ได้ว่าอาหารไทยนะแต่เป็นความชอบส่วนตัวของเราเฉย ๆ” วัชรินทร์รีบส่ายมือไปมากพร้อมยิ้มร่า ก่อนพูดต่อว่า “นอกจากการทำอาหารแล้วก็เรียนรวมไปถึงการใช้อุปกรณ์บนโต๊ะอาหาร เหมือนที่หลาย ๆ คนอาจจะเคยมีโอกาสได้ไปสัมผัส หรือไปทานอาหารในโรงแรม เราก็จะเห็นว่าเขามีช้อนส้อมหลายแบบใช่ไหม เราก็จะได้เรียนว่าช้อนประเภทนี้ใช้กับซุปนะ ส้อมอันนี้ใช้กับอาหารประเภทนี้นะ เอาจริง ๆ มันก็คือเรื่องของมารยาทบนโต๊ะอาหารแหละ ส่วนหนึ่งที่เราสนใจก็เพราะรู้สึกว่ามันเป็นสิ่งที่เราไม่คุ้นเคย แตกต่างไปจากของไทย เรามองว่าความรู้ในวิชานี้มันน่าสนใจและก็สามารถนำไปใช้ได้จริงในชีวิตประจำวัน” วัชรินทร์ทวนคำถามก่อนตอบให้เราฟังว่า “ถ้าถามว่าแล้วแบบนี้คนที่เขาทำอาหารได้ดีกว่า มีฝีมือกว่าจะได้เกรดดีมากกว่าไหม มันก็มีผลแต่ว่าเล็กน้อยมาก เพราะว่าส่วนใหญ่อาจารย์จะให้สูตรและวิธีทำมาเหมือนกันอยู่แล้ว แล้วเราก็ทำตามสูตรอาหารที่อาหารได้มา ซึ่งในหลาย ๆ ครั้งเขาก็ให้ทำอาหารกันเป็นกลุ่มอะ เราก็จะได้รสชาติที่เห็นตรงกันว่าอร่อยนะ ไม่ใช้แค่ใช้เราเป็นคนตัดสินเพียงคนเดียว อาจารย์จะมาช่วยดู ไม่ได้ปล่อยให้เราทำเองหมดเลย เพราะงั้นเกรดก็ไม่ได้ออกมมต่างกันมากจนเรารู้สึกเสียความมั่นใจแน่นอน” ในสถานการณ์โควิด 19 ที่ผ่านมาทำให้หลายมหาวิทยาลัยปรับรูปแบบการเรียน วัชรินทร์ช่วยเล่าความเปลี่ยนแปลงนี้ให้เราฟังว่า “สมัยตอนเราอยู่ปี 1 เราก็ต้องเรียนในห้องตามปกติเลยเหมือนมหาวิทยาลัยทั่วไป มีเข้าแล็บ เข้าครัวทำอาหารตามปกติ ทั้งพวกครัวไทย พวกครัวเบเกอรี แต่ว่าก็จะเน้นทฤษฎีเป็นหลักก่อนนะ เพิ่งมาเริ่มปฏิบัติเยอะ ๆ ตอนปี 2 พอมีโควิดมา รูปแบบการเรียนการสอนก็เปลี่ยนไป เราก็จะไม่ได้ไปเรียนที่มหาลัย เปลี่ยนมาเป็นเรียนออนไลน์แทน หลายคนก็สงสัยใช่ไหมว่าแล้วแบบนี้จะเรียนทำอาหารได้ยังไง อาจารย์เขาจะส่งสูตรอาหาร วัตถุดิบมา พร้อมแนบวิดีโอมาให้เรา เราก็มีหน้าที่ในการทำตามโดยที่ต้องถ่ายรูป อัดวิดีโอตอนทำอาหารนั้น ๆ ส่งกลับไปให้อาจารย์ประเมินตามเกณฑ์ของเขา ส่วนการสอบก็จะมีทั้งสอบแบบทฤษฎีและสอบปฏิบัติรายบุคคล” วัชรินทร์ยังเล่าความรู้สึกของตัวเองเพิ่มเติมให้เราฟังอีกว่า “เอาจริง ๆ เราค่อนข้างสอบการสอบปฏิบัติรายบุคคลนะ พอคนอื่นได้ยินอาจจะรู้สึกว่ามันน่ากลัว ไม่กดดันหรอ ในมุมเราเรามองว่าง่ายกว่าตอนเรียนด้วยซ้ำ เพราะเราสามารถเลือกเมนูที่เราชอบ เมนูที่เราถนัด หรือบางครั้งอาจารย์ก็อาจจะให้โจทย์มาเเล้วเราก็ทำตาม เขาก็จะประเมินให้คะเเนนตามหัวข้อต่าง ๆ เราว่ามันก็ได้เปรียบตรงที่เราสามารถเลือกเองได้แต่ส่วนใหญ่ก็จะเป็นเมนูที่เราเคยเรียนมาก่อนหน้านี้แล้ว” รุ่นพี่คหกรรม สาขาวิชาอาหารและโภชนาการได้ทิ้งท้ายไว้กับพวกเรา “ไม่อยากให้น้อง ๆ รู้สึกกลัวการเรียนทำอาหารเพราะว่ายังไม่เคยทำ หรือคิดว่าตัวเองทำได้ไม่ดีเพราะว่าถ้าแค่เราชอบหรือมีใจอยากจะลองทำอาหารก็สามารถมาเรียนได้ ไม่จำเป็นว่าต้องทำอาหารเก่ง มีพื้นฐานเพราะอาจารย์ที่คณะได้สอนเราต้องแต่เริ่มต้น คอยให้คำปรึกษาได้ดีทั้งเรื่องการเรียนหรือเรื่องการใช้ชีวิตในมหาลัย พวกอุปกรณ์ในการเรียนก็ส่งเสริมให้การเรียนมีคุณภาพมากขึ้น เพื่อน ๆ แต่ละคนก็ดีคอยช่วยเหลือกันตลอด เป็นคณะที่เรียนสนุกเลยแหละ เรียกง่าย ๆ ก็คือสภาพแวดล้อมดีไม่ทำให้เราเครียด ไม่ทำให้เรากดดันจนเกินไป ใครที่ชอบการทำอาหารแล้วยังไม่มีคณะในใจก็ลองมาเรียนคณะคหกรรมศาสตร์ของมหาลัยเราได้เลย” เราก็เป็นคนนึงที่เคยทำอาหารไม่เป็นเลย ทำอาหารไม่อร่อยเลย แต่อย่าให้ความกลัวมาเป็นอุปสรรคให้เราไม่ได้ทำในสิ่งที่ชอบ ขอแค่รักการทำอาหาร มีใจที่อยากจะทำ ที่เหลือเราจะสามารถเรียนรู้ได้เอง วัชรินทร์ สายเครือคำ คณะเทคโนโลยีคหกรรม สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ มหาวิทยาลัยราชมงคลพระนคร ข้อมูลหลักสูตร – คณะเทคโนโลยีคหกรรม สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร – หลักสูตรศิลปศาสตร์บัณฑิต (ปริญญาตรี 4 ปี) – ค่าเล่าเรียน : ประมาณ 13,000 บาทต่อเทอม – รายละเอียดเพิ่มเติม : เว็บไซต์ : คลิก Facebook : คลิก Twitter : คลิก EZ Webmaster Related Posts ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง Post navigation PREVIOUS Previous post: ทีเคพาร์ค ชวนสร้างสรรค์โปรเจกต์เพื่อสังคม ในโครงการ TK Dreammakers พื้นที่เยาวชนปั้นฝันNEXT Next post: สุดเจ๋ง ! บัณฑิตคณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย เรียนจบได้งานทำทันที สวนกระแสวิกฤต โควิด 19 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI… ทุนดีดี ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… นิสิตป.ตรีร่วมโครงการEAS InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 13, 2025 โอกาสดี! นักศึกษาระดับปริญญาตรีชาวไทย อายุระหว่าง 18-26 ปี ที่สนใจในประเด็นอาเซียน และสนใจอยากเป็นนักการทูต สถานทูตออสเตรเลียประจำประเทศไทยแจ้งข่าว เปิดรับสมัครโครงการ Model East Asia Summit (EAS) 2025 ส่งใบสมัครก่อนวันที่ 4 ก.ค.… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster April 20, 2022 EZ Webmaster April 20, 2022 คุยกันเรื่องอาหาร? – รีวิวคณะเทคโนโลยีคหกรรม สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร! คุยกันเรื่องอาหาร? – รีวิวเทคโนโลยีคหกรรม อาหารและโภชนาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ในช่วงสถานการณ์โควิด 19 ที่ผ่านมา น้อง ๆ หลายคนก็ได้มีเวลาอยู่กับตัวเองมากขึ้น ได้ใช้เวลาว่างในการทำสิ่งต่าง ๆ ซึ่งการใช้เวลาว่างเหล่านี้เนี้ย พี่ออมเชื่อว่าทำให้น้อง ๆ หลายคนเกิดแรงบันดาลใจในการศึกษาต่อด้านต่าง ๆ นับว่าเป็นเรื่องที่ดีมากเลยค่ะที่เราได้เจอในสิ่งที่ชอบ พี่ออมคิดว่า การทำอาหาร การทำขนม เป็นอีกหนึ่งงานอดิเรกยอดฮิตที่น้อง ๆ บางคนอาจจะเพิ่งค้นพบความสามารถของตัวเองหลังจากได้ใช้เวลาไปกับมันใช่ไหมคะ วันนี้พี่ออมจะพาน้อง ๆ ไปพบกับ พี่เบส วัชรินทร์ สายเครือคำ รุ่นพี่ชั้นปีที่ 3 คณะเทคโนโลยีคหกรรม สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร กันค่ะ “เราเชื่อว่ามีหลายคนสงสัยนะว่าการเรียนคหกรรม อาหารและโภชนาการแบบเราคือ ต้องทำอาหารเป็นตั้งแต่แรกไหม ต้องทำอาหารอร่อยไหม บอกตรงนี้เลยนะว่าเราก็เป็นคนนึงไม่ได้ทำอาหารเป็นตั้งแต่แรก พอเข้ามาเรียนก็ได้เรียนรู้อะไรใหม่ ๆ มากขึ้นทั้งที่ไม่เคยมีพื้นฐานมาก่อน ถ้าถามว่าตอนนี้ทำอาหารได้อร่อยเลยไหมก็ไม่ได้ขนาดนั้น” วัชรินทร์หยุดหัวเราะก่อนอธิบายต่อ “แต่อย่างน้อยเราก็มีความกล้าที่จะทำอาหารมากขึ้น รู้วิธีการใช้เครื่องมือ อุปกรณ์การเลือกวัตถุดิบให้ถูกหลัก วัชรินทร์อธิบายเกี่ยวกับการเรียนคหกรรม อาหารและโภชนาการให้เราฟังว่า “ไม่อยากให้รู้สึกว่าเราทำอาหารไม่เป็นเลยจะมาเรียนคหกรรมแบบนี้ได้จริงหรอ อย่างของมอเราเขาก็เริ่มสอนตั้งแต่พื้นฐานเลยนะ ตอนที่เราเข้าไปปีหนึ่งเขาก็เริ่มสอนตั้งแต่วิธีการลับมีด การใช้มีด การใช้อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องครัวต่าง ๆ การเลือกวัตถุดิบ มั่นใจได้เลยว่าต่อให้คนที่ไม่เคยทำอาหารมาก่อนก็มาเรียนรู้ในมหาวิทยาลัยได้” วัชรินทร์เงียบไปครู่หนึ่งก่อนอธิบายต่อว่า “แต่ว่าการเรียนคหกรรม อาหารและโภชนาการมันไม่ใช่การเรียนทำอาหารอย่างเดียวนะ มันก็ครอบคลุมตามชื่อคณะเลย เราจะได้เรียนทั้งโภชนาการอาหาร ความปลอดภัยของอาหารในโรงพยาบาล ถ้าถามว่ามันคืออะไร มันก็คือการเรียนเกี่ยวกับอาหารของคนไข้การแยกประเภทชนิดอาหารที่เหมาะกับคนไข้ในแต่ละโรค โรคไตห้ามกินอะไร โรคหัวใจห้ามกินอะไร เรียนเรื่องสารปรุงแต่งและสารแปรรูปที่เป็นอันตรายต่ออาหารในแต่ละชนิด เราสามารถใส่ได้ในปริมาณแค่ไหนที่จะไม่เป็นอันตรายต่อร่างกาย เอาจริง ๆ พอเรียนอันนี้แล้วมีระแวงเกี่ยวกับการกินอาหารเพิ่มขึ้นนะ เพราะเรารู้ถึงโทษและประโยชน์ของสารแต่ละชนิดว่ามันส่งผลยังไงกับร่างกายบ้าง มารยาทบนโต๊ะอาหาร การแกะสลักผลไม้ การพับผ้าที่เราเคยเห็นตามโต๊ะอาหารในโรงแรม พูดรวม ๆ ก็จะเรียนทุกเรื่องที่เกี่ยวกับอาหาร” เราไม่จำเป็นจะต้องมีพื้นฐานอะไรเลยก็ได้ ขอแค่มีความตั้งใจ เพราะอาจารย์จะเริ่มสอนเราตั้งแต่ 0 ไปจนกว่าเราจะสามารถทำได้ด้วยตัวเอง ไม่ได้บอกว่าจบไปแล้วจะต้องทำอาหารอร่อยแน่นอน แต่ว่าอย่างน้อยเราจะมีความกล้าในการอาหารได้ด้วยตนเอง วัชรินทร์เล่าให้เราเกี่ยวกับ วิชาอาหารตะวันตก ซึ่งเป็นวิชาโปรดของเธอว่า “วิชาอาหารตะวันตกเป็นวิชาที่เราชอบมากที่สุดเลย เพราะรู้สึกว่ากรรมวิธีในการทำอาหารตะวันตกไม่ยุ่งยากเหมือนอาหารไทย อันนี้ไม่ได้ว่าอาหารไทยนะแต่เป็นความชอบส่วนตัวของเราเฉย ๆ” วัชรินทร์รีบส่ายมือไปมากพร้อมยิ้มร่า ก่อนพูดต่อว่า “นอกจากการทำอาหารแล้วก็เรียนรวมไปถึงการใช้อุปกรณ์บนโต๊ะอาหาร เหมือนที่หลาย ๆ คนอาจจะเคยมีโอกาสได้ไปสัมผัส หรือไปทานอาหารในโรงแรม เราก็จะเห็นว่าเขามีช้อนส้อมหลายแบบใช่ไหม เราก็จะได้เรียนว่าช้อนประเภทนี้ใช้กับซุปนะ ส้อมอันนี้ใช้กับอาหารประเภทนี้นะ เอาจริง ๆ มันก็คือเรื่องของมารยาทบนโต๊ะอาหารแหละ ส่วนหนึ่งที่เราสนใจก็เพราะรู้สึกว่ามันเป็นสิ่งที่เราไม่คุ้นเคย แตกต่างไปจากของไทย เรามองว่าความรู้ในวิชานี้มันน่าสนใจและก็สามารถนำไปใช้ได้จริงในชีวิตประจำวัน” วัชรินทร์ทวนคำถามก่อนตอบให้เราฟังว่า “ถ้าถามว่าแล้วแบบนี้คนที่เขาทำอาหารได้ดีกว่า มีฝีมือกว่าจะได้เกรดดีมากกว่าไหม มันก็มีผลแต่ว่าเล็กน้อยมาก เพราะว่าส่วนใหญ่อาจารย์จะให้สูตรและวิธีทำมาเหมือนกันอยู่แล้ว แล้วเราก็ทำตามสูตรอาหารที่อาหารได้มา ซึ่งในหลาย ๆ ครั้งเขาก็ให้ทำอาหารกันเป็นกลุ่มอะ เราก็จะได้รสชาติที่เห็นตรงกันว่าอร่อยนะ ไม่ใช้แค่ใช้เราเป็นคนตัดสินเพียงคนเดียว อาจารย์จะมาช่วยดู ไม่ได้ปล่อยให้เราทำเองหมดเลย เพราะงั้นเกรดก็ไม่ได้ออกมมต่างกันมากจนเรารู้สึกเสียความมั่นใจแน่นอน” ในสถานการณ์โควิด 19 ที่ผ่านมาทำให้หลายมหาวิทยาลัยปรับรูปแบบการเรียน วัชรินทร์ช่วยเล่าความเปลี่ยนแปลงนี้ให้เราฟังว่า “สมัยตอนเราอยู่ปี 1 เราก็ต้องเรียนในห้องตามปกติเลยเหมือนมหาวิทยาลัยทั่วไป มีเข้าแล็บ เข้าครัวทำอาหารตามปกติ ทั้งพวกครัวไทย พวกครัวเบเกอรี แต่ว่าก็จะเน้นทฤษฎีเป็นหลักก่อนนะ เพิ่งมาเริ่มปฏิบัติเยอะ ๆ ตอนปี 2 พอมีโควิดมา รูปแบบการเรียนการสอนก็เปลี่ยนไป เราก็จะไม่ได้ไปเรียนที่มหาลัย เปลี่ยนมาเป็นเรียนออนไลน์แทน หลายคนก็สงสัยใช่ไหมว่าแล้วแบบนี้จะเรียนทำอาหารได้ยังไง อาจารย์เขาจะส่งสูตรอาหาร วัตถุดิบมา พร้อมแนบวิดีโอมาให้เรา เราก็มีหน้าที่ในการทำตามโดยที่ต้องถ่ายรูป อัดวิดีโอตอนทำอาหารนั้น ๆ ส่งกลับไปให้อาจารย์ประเมินตามเกณฑ์ของเขา ส่วนการสอบก็จะมีทั้งสอบแบบทฤษฎีและสอบปฏิบัติรายบุคคล” วัชรินทร์ยังเล่าความรู้สึกของตัวเองเพิ่มเติมให้เราฟังอีกว่า “เอาจริง ๆ เราค่อนข้างสอบการสอบปฏิบัติรายบุคคลนะ พอคนอื่นได้ยินอาจจะรู้สึกว่ามันน่ากลัว ไม่กดดันหรอ ในมุมเราเรามองว่าง่ายกว่าตอนเรียนด้วยซ้ำ เพราะเราสามารถเลือกเมนูที่เราชอบ เมนูที่เราถนัด หรือบางครั้งอาจารย์ก็อาจจะให้โจทย์มาเเล้วเราก็ทำตาม เขาก็จะประเมินให้คะเเนนตามหัวข้อต่าง ๆ เราว่ามันก็ได้เปรียบตรงที่เราสามารถเลือกเองได้แต่ส่วนใหญ่ก็จะเป็นเมนูที่เราเคยเรียนมาก่อนหน้านี้แล้ว” รุ่นพี่คหกรรม สาขาวิชาอาหารและโภชนาการได้ทิ้งท้ายไว้กับพวกเรา “ไม่อยากให้น้อง ๆ รู้สึกกลัวการเรียนทำอาหารเพราะว่ายังไม่เคยทำ หรือคิดว่าตัวเองทำได้ไม่ดีเพราะว่าถ้าแค่เราชอบหรือมีใจอยากจะลองทำอาหารก็สามารถมาเรียนได้ ไม่จำเป็นว่าต้องทำอาหารเก่ง มีพื้นฐานเพราะอาจารย์ที่คณะได้สอนเราต้องแต่เริ่มต้น คอยให้คำปรึกษาได้ดีทั้งเรื่องการเรียนหรือเรื่องการใช้ชีวิตในมหาลัย พวกอุปกรณ์ในการเรียนก็ส่งเสริมให้การเรียนมีคุณภาพมากขึ้น เพื่อน ๆ แต่ละคนก็ดีคอยช่วยเหลือกันตลอด เป็นคณะที่เรียนสนุกเลยแหละ เรียกง่าย ๆ ก็คือสภาพแวดล้อมดีไม่ทำให้เราเครียด ไม่ทำให้เรากดดันจนเกินไป ใครที่ชอบการทำอาหารแล้วยังไม่มีคณะในใจก็ลองมาเรียนคณะคหกรรมศาสตร์ของมหาลัยเราได้เลย” เราก็เป็นคนนึงที่เคยทำอาหารไม่เป็นเลย ทำอาหารไม่อร่อยเลย แต่อย่าให้ความกลัวมาเป็นอุปสรรคให้เราไม่ได้ทำในสิ่งที่ชอบ ขอแค่รักการทำอาหาร มีใจที่อยากจะทำ ที่เหลือเราจะสามารถเรียนรู้ได้เอง วัชรินทร์ สายเครือคำ คณะเทคโนโลยีคหกรรม สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ มหาวิทยาลัยราชมงคลพระนคร ข้อมูลหลักสูตร – คณะเทคโนโลยีคหกรรม สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร – หลักสูตรศิลปศาสตร์บัณฑิต (ปริญญาตรี 4 ปี) – ค่าเล่าเรียน : ประมาณ 13,000 บาทต่อเทอม – รายละเอียดเพิ่มเติม : เว็บไซต์ : คลิก Facebook : คลิก Twitter : คลิก EZ Webmaster Related Posts ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง Post navigation PREVIOUS Previous post: ทีเคพาร์ค ชวนสร้างสรรค์โปรเจกต์เพื่อสังคม ในโครงการ TK Dreammakers พื้นที่เยาวชนปั้นฝันNEXT Next post: สุดเจ๋ง ! บัณฑิตคณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย เรียนจบได้งานทำทันที สวนกระแสวิกฤต โควิด 19 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI…
รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI…
ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… นิสิตป.ตรีร่วมโครงการEAS InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 13, 2025 โอกาสดี! นักศึกษาระดับปริญญาตรีชาวไทย อายุระหว่าง 18-26 ปี ที่สนใจในประเด็นอาเซียน และสนใจอยากเป็นนักการทูต สถานทูตออสเตรเลียประจำประเทศไทยแจ้งข่าว เปิดรับสมัครโครงการ Model East Asia Summit (EAS) 2025 ส่งใบสมัครก่อนวันที่ 4 ก.ค.… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster April 20, 2022 EZ Webmaster April 20, 2022 คุยกันเรื่องอาหาร? – รีวิวคณะเทคโนโลยีคหกรรม สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร! คุยกันเรื่องอาหาร? – รีวิวเทคโนโลยีคหกรรม อาหารและโภชนาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ในช่วงสถานการณ์โควิด 19 ที่ผ่านมา น้อง ๆ หลายคนก็ได้มีเวลาอยู่กับตัวเองมากขึ้น ได้ใช้เวลาว่างในการทำสิ่งต่าง ๆ ซึ่งการใช้เวลาว่างเหล่านี้เนี้ย พี่ออมเชื่อว่าทำให้น้อง ๆ หลายคนเกิดแรงบันดาลใจในการศึกษาต่อด้านต่าง ๆ นับว่าเป็นเรื่องที่ดีมากเลยค่ะที่เราได้เจอในสิ่งที่ชอบ พี่ออมคิดว่า การทำอาหาร การทำขนม เป็นอีกหนึ่งงานอดิเรกยอดฮิตที่น้อง ๆ บางคนอาจจะเพิ่งค้นพบความสามารถของตัวเองหลังจากได้ใช้เวลาไปกับมันใช่ไหมคะ วันนี้พี่ออมจะพาน้อง ๆ ไปพบกับ พี่เบส วัชรินทร์ สายเครือคำ รุ่นพี่ชั้นปีที่ 3 คณะเทคโนโลยีคหกรรม สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร กันค่ะ “เราเชื่อว่ามีหลายคนสงสัยนะว่าการเรียนคหกรรม อาหารและโภชนาการแบบเราคือ ต้องทำอาหารเป็นตั้งแต่แรกไหม ต้องทำอาหารอร่อยไหม บอกตรงนี้เลยนะว่าเราก็เป็นคนนึงไม่ได้ทำอาหารเป็นตั้งแต่แรก พอเข้ามาเรียนก็ได้เรียนรู้อะไรใหม่ ๆ มากขึ้นทั้งที่ไม่เคยมีพื้นฐานมาก่อน ถ้าถามว่าตอนนี้ทำอาหารได้อร่อยเลยไหมก็ไม่ได้ขนาดนั้น” วัชรินทร์หยุดหัวเราะก่อนอธิบายต่อ “แต่อย่างน้อยเราก็มีความกล้าที่จะทำอาหารมากขึ้น รู้วิธีการใช้เครื่องมือ อุปกรณ์การเลือกวัตถุดิบให้ถูกหลัก วัชรินทร์อธิบายเกี่ยวกับการเรียนคหกรรม อาหารและโภชนาการให้เราฟังว่า “ไม่อยากให้รู้สึกว่าเราทำอาหารไม่เป็นเลยจะมาเรียนคหกรรมแบบนี้ได้จริงหรอ อย่างของมอเราเขาก็เริ่มสอนตั้งแต่พื้นฐานเลยนะ ตอนที่เราเข้าไปปีหนึ่งเขาก็เริ่มสอนตั้งแต่วิธีการลับมีด การใช้มีด การใช้อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องครัวต่าง ๆ การเลือกวัตถุดิบ มั่นใจได้เลยว่าต่อให้คนที่ไม่เคยทำอาหารมาก่อนก็มาเรียนรู้ในมหาวิทยาลัยได้” วัชรินทร์เงียบไปครู่หนึ่งก่อนอธิบายต่อว่า “แต่ว่าการเรียนคหกรรม อาหารและโภชนาการมันไม่ใช่การเรียนทำอาหารอย่างเดียวนะ มันก็ครอบคลุมตามชื่อคณะเลย เราจะได้เรียนทั้งโภชนาการอาหาร ความปลอดภัยของอาหารในโรงพยาบาล ถ้าถามว่ามันคืออะไร มันก็คือการเรียนเกี่ยวกับอาหารของคนไข้การแยกประเภทชนิดอาหารที่เหมาะกับคนไข้ในแต่ละโรค โรคไตห้ามกินอะไร โรคหัวใจห้ามกินอะไร เรียนเรื่องสารปรุงแต่งและสารแปรรูปที่เป็นอันตรายต่ออาหารในแต่ละชนิด เราสามารถใส่ได้ในปริมาณแค่ไหนที่จะไม่เป็นอันตรายต่อร่างกาย เอาจริง ๆ พอเรียนอันนี้แล้วมีระแวงเกี่ยวกับการกินอาหารเพิ่มขึ้นนะ เพราะเรารู้ถึงโทษและประโยชน์ของสารแต่ละชนิดว่ามันส่งผลยังไงกับร่างกายบ้าง มารยาทบนโต๊ะอาหาร การแกะสลักผลไม้ การพับผ้าที่เราเคยเห็นตามโต๊ะอาหารในโรงแรม พูดรวม ๆ ก็จะเรียนทุกเรื่องที่เกี่ยวกับอาหาร” เราไม่จำเป็นจะต้องมีพื้นฐานอะไรเลยก็ได้ ขอแค่มีความตั้งใจ เพราะอาจารย์จะเริ่มสอนเราตั้งแต่ 0 ไปจนกว่าเราจะสามารถทำได้ด้วยตัวเอง ไม่ได้บอกว่าจบไปแล้วจะต้องทำอาหารอร่อยแน่นอน แต่ว่าอย่างน้อยเราจะมีความกล้าในการอาหารได้ด้วยตนเอง วัชรินทร์เล่าให้เราเกี่ยวกับ วิชาอาหารตะวันตก ซึ่งเป็นวิชาโปรดของเธอว่า “วิชาอาหารตะวันตกเป็นวิชาที่เราชอบมากที่สุดเลย เพราะรู้สึกว่ากรรมวิธีในการทำอาหารตะวันตกไม่ยุ่งยากเหมือนอาหารไทย อันนี้ไม่ได้ว่าอาหารไทยนะแต่เป็นความชอบส่วนตัวของเราเฉย ๆ” วัชรินทร์รีบส่ายมือไปมากพร้อมยิ้มร่า ก่อนพูดต่อว่า “นอกจากการทำอาหารแล้วก็เรียนรวมไปถึงการใช้อุปกรณ์บนโต๊ะอาหาร เหมือนที่หลาย ๆ คนอาจจะเคยมีโอกาสได้ไปสัมผัส หรือไปทานอาหารในโรงแรม เราก็จะเห็นว่าเขามีช้อนส้อมหลายแบบใช่ไหม เราก็จะได้เรียนว่าช้อนประเภทนี้ใช้กับซุปนะ ส้อมอันนี้ใช้กับอาหารประเภทนี้นะ เอาจริง ๆ มันก็คือเรื่องของมารยาทบนโต๊ะอาหารแหละ ส่วนหนึ่งที่เราสนใจก็เพราะรู้สึกว่ามันเป็นสิ่งที่เราไม่คุ้นเคย แตกต่างไปจากของไทย เรามองว่าความรู้ในวิชานี้มันน่าสนใจและก็สามารถนำไปใช้ได้จริงในชีวิตประจำวัน” วัชรินทร์ทวนคำถามก่อนตอบให้เราฟังว่า “ถ้าถามว่าแล้วแบบนี้คนที่เขาทำอาหารได้ดีกว่า มีฝีมือกว่าจะได้เกรดดีมากกว่าไหม มันก็มีผลแต่ว่าเล็กน้อยมาก เพราะว่าส่วนใหญ่อาจารย์จะให้สูตรและวิธีทำมาเหมือนกันอยู่แล้ว แล้วเราก็ทำตามสูตรอาหารที่อาหารได้มา ซึ่งในหลาย ๆ ครั้งเขาก็ให้ทำอาหารกันเป็นกลุ่มอะ เราก็จะได้รสชาติที่เห็นตรงกันว่าอร่อยนะ ไม่ใช้แค่ใช้เราเป็นคนตัดสินเพียงคนเดียว อาจารย์จะมาช่วยดู ไม่ได้ปล่อยให้เราทำเองหมดเลย เพราะงั้นเกรดก็ไม่ได้ออกมมต่างกันมากจนเรารู้สึกเสียความมั่นใจแน่นอน” ในสถานการณ์โควิด 19 ที่ผ่านมาทำให้หลายมหาวิทยาลัยปรับรูปแบบการเรียน วัชรินทร์ช่วยเล่าความเปลี่ยนแปลงนี้ให้เราฟังว่า “สมัยตอนเราอยู่ปี 1 เราก็ต้องเรียนในห้องตามปกติเลยเหมือนมหาวิทยาลัยทั่วไป มีเข้าแล็บ เข้าครัวทำอาหารตามปกติ ทั้งพวกครัวไทย พวกครัวเบเกอรี แต่ว่าก็จะเน้นทฤษฎีเป็นหลักก่อนนะ เพิ่งมาเริ่มปฏิบัติเยอะ ๆ ตอนปี 2 พอมีโควิดมา รูปแบบการเรียนการสอนก็เปลี่ยนไป เราก็จะไม่ได้ไปเรียนที่มหาลัย เปลี่ยนมาเป็นเรียนออนไลน์แทน หลายคนก็สงสัยใช่ไหมว่าแล้วแบบนี้จะเรียนทำอาหารได้ยังไง อาจารย์เขาจะส่งสูตรอาหาร วัตถุดิบมา พร้อมแนบวิดีโอมาให้เรา เราก็มีหน้าที่ในการทำตามโดยที่ต้องถ่ายรูป อัดวิดีโอตอนทำอาหารนั้น ๆ ส่งกลับไปให้อาจารย์ประเมินตามเกณฑ์ของเขา ส่วนการสอบก็จะมีทั้งสอบแบบทฤษฎีและสอบปฏิบัติรายบุคคล” วัชรินทร์ยังเล่าความรู้สึกของตัวเองเพิ่มเติมให้เราฟังอีกว่า “เอาจริง ๆ เราค่อนข้างสอบการสอบปฏิบัติรายบุคคลนะ พอคนอื่นได้ยินอาจจะรู้สึกว่ามันน่ากลัว ไม่กดดันหรอ ในมุมเราเรามองว่าง่ายกว่าตอนเรียนด้วยซ้ำ เพราะเราสามารถเลือกเมนูที่เราชอบ เมนูที่เราถนัด หรือบางครั้งอาจารย์ก็อาจจะให้โจทย์มาเเล้วเราก็ทำตาม เขาก็จะประเมินให้คะเเนนตามหัวข้อต่าง ๆ เราว่ามันก็ได้เปรียบตรงที่เราสามารถเลือกเองได้แต่ส่วนใหญ่ก็จะเป็นเมนูที่เราเคยเรียนมาก่อนหน้านี้แล้ว” รุ่นพี่คหกรรม สาขาวิชาอาหารและโภชนาการได้ทิ้งท้ายไว้กับพวกเรา “ไม่อยากให้น้อง ๆ รู้สึกกลัวการเรียนทำอาหารเพราะว่ายังไม่เคยทำ หรือคิดว่าตัวเองทำได้ไม่ดีเพราะว่าถ้าแค่เราชอบหรือมีใจอยากจะลองทำอาหารก็สามารถมาเรียนได้ ไม่จำเป็นว่าต้องทำอาหารเก่ง มีพื้นฐานเพราะอาจารย์ที่คณะได้สอนเราต้องแต่เริ่มต้น คอยให้คำปรึกษาได้ดีทั้งเรื่องการเรียนหรือเรื่องการใช้ชีวิตในมหาลัย พวกอุปกรณ์ในการเรียนก็ส่งเสริมให้การเรียนมีคุณภาพมากขึ้น เพื่อน ๆ แต่ละคนก็ดีคอยช่วยเหลือกันตลอด เป็นคณะที่เรียนสนุกเลยแหละ เรียกง่าย ๆ ก็คือสภาพแวดล้อมดีไม่ทำให้เราเครียด ไม่ทำให้เรากดดันจนเกินไป ใครที่ชอบการทำอาหารแล้วยังไม่มีคณะในใจก็ลองมาเรียนคณะคหกรรมศาสตร์ของมหาลัยเราได้เลย” เราก็เป็นคนนึงที่เคยทำอาหารไม่เป็นเลย ทำอาหารไม่อร่อยเลย แต่อย่าให้ความกลัวมาเป็นอุปสรรคให้เราไม่ได้ทำในสิ่งที่ชอบ ขอแค่รักการทำอาหาร มีใจที่อยากจะทำ ที่เหลือเราจะสามารถเรียนรู้ได้เอง วัชรินทร์ สายเครือคำ คณะเทคโนโลยีคหกรรม สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ มหาวิทยาลัยราชมงคลพระนคร ข้อมูลหลักสูตร – คณะเทคโนโลยีคหกรรม สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร – หลักสูตรศิลปศาสตร์บัณฑิต (ปริญญาตรี 4 ปี) – ค่าเล่าเรียน : ประมาณ 13,000 บาทต่อเทอม – รายละเอียดเพิ่มเติม : เว็บไซต์ : คลิก Facebook : คลิก Twitter : คลิก EZ Webmaster Related Posts ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง Post navigation PREVIOUS Previous post: ทีเคพาร์ค ชวนสร้างสรรค์โปรเจกต์เพื่อสังคม ในโครงการ TK Dreammakers พื้นที่เยาวชนปั้นฝันNEXT Next post: สุดเจ๋ง ! บัณฑิตคณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย เรียนจบได้งานทำทันที สวนกระแสวิกฤต โควิด 19 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… นิสิตป.ตรีร่วมโครงการEAS InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 13, 2025 โอกาสดี! นักศึกษาระดับปริญญาตรีชาวไทย อายุระหว่าง 18-26 ปี ที่สนใจในประเด็นอาเซียน และสนใจอยากเป็นนักการทูต สถานทูตออสเตรเลียประจำประเทศไทยแจ้งข่าว เปิดรับสมัครโครงการ Model East Asia Summit (EAS) 2025 ส่งใบสมัครก่อนวันที่ 4 ก.ค.… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster April 20, 2022 EZ Webmaster April 20, 2022 คุยกันเรื่องอาหาร? – รีวิวคณะเทคโนโลยีคหกรรม สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร! คุยกันเรื่องอาหาร? – รีวิวเทคโนโลยีคหกรรม อาหารและโภชนาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ในช่วงสถานการณ์โควิด 19 ที่ผ่านมา น้อง ๆ หลายคนก็ได้มีเวลาอยู่กับตัวเองมากขึ้น ได้ใช้เวลาว่างในการทำสิ่งต่าง ๆ ซึ่งการใช้เวลาว่างเหล่านี้เนี้ย พี่ออมเชื่อว่าทำให้น้อง ๆ หลายคนเกิดแรงบันดาลใจในการศึกษาต่อด้านต่าง ๆ นับว่าเป็นเรื่องที่ดีมากเลยค่ะที่เราได้เจอในสิ่งที่ชอบ พี่ออมคิดว่า การทำอาหาร การทำขนม เป็นอีกหนึ่งงานอดิเรกยอดฮิตที่น้อง ๆ บางคนอาจจะเพิ่งค้นพบความสามารถของตัวเองหลังจากได้ใช้เวลาไปกับมันใช่ไหมคะ วันนี้พี่ออมจะพาน้อง ๆ ไปพบกับ พี่เบส วัชรินทร์ สายเครือคำ รุ่นพี่ชั้นปีที่ 3 คณะเทคโนโลยีคหกรรม สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร กันค่ะ “เราเชื่อว่ามีหลายคนสงสัยนะว่าการเรียนคหกรรม อาหารและโภชนาการแบบเราคือ ต้องทำอาหารเป็นตั้งแต่แรกไหม ต้องทำอาหารอร่อยไหม บอกตรงนี้เลยนะว่าเราก็เป็นคนนึงไม่ได้ทำอาหารเป็นตั้งแต่แรก พอเข้ามาเรียนก็ได้เรียนรู้อะไรใหม่ ๆ มากขึ้นทั้งที่ไม่เคยมีพื้นฐานมาก่อน ถ้าถามว่าตอนนี้ทำอาหารได้อร่อยเลยไหมก็ไม่ได้ขนาดนั้น” วัชรินทร์หยุดหัวเราะก่อนอธิบายต่อ “แต่อย่างน้อยเราก็มีความกล้าที่จะทำอาหารมากขึ้น รู้วิธีการใช้เครื่องมือ อุปกรณ์การเลือกวัตถุดิบให้ถูกหลัก วัชรินทร์อธิบายเกี่ยวกับการเรียนคหกรรม อาหารและโภชนาการให้เราฟังว่า “ไม่อยากให้รู้สึกว่าเราทำอาหารไม่เป็นเลยจะมาเรียนคหกรรมแบบนี้ได้จริงหรอ อย่างของมอเราเขาก็เริ่มสอนตั้งแต่พื้นฐานเลยนะ ตอนที่เราเข้าไปปีหนึ่งเขาก็เริ่มสอนตั้งแต่วิธีการลับมีด การใช้มีด การใช้อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องครัวต่าง ๆ การเลือกวัตถุดิบ มั่นใจได้เลยว่าต่อให้คนที่ไม่เคยทำอาหารมาก่อนก็มาเรียนรู้ในมหาวิทยาลัยได้” วัชรินทร์เงียบไปครู่หนึ่งก่อนอธิบายต่อว่า “แต่ว่าการเรียนคหกรรม อาหารและโภชนาการมันไม่ใช่การเรียนทำอาหารอย่างเดียวนะ มันก็ครอบคลุมตามชื่อคณะเลย เราจะได้เรียนทั้งโภชนาการอาหาร ความปลอดภัยของอาหารในโรงพยาบาล ถ้าถามว่ามันคืออะไร มันก็คือการเรียนเกี่ยวกับอาหารของคนไข้การแยกประเภทชนิดอาหารที่เหมาะกับคนไข้ในแต่ละโรค โรคไตห้ามกินอะไร โรคหัวใจห้ามกินอะไร เรียนเรื่องสารปรุงแต่งและสารแปรรูปที่เป็นอันตรายต่ออาหารในแต่ละชนิด เราสามารถใส่ได้ในปริมาณแค่ไหนที่จะไม่เป็นอันตรายต่อร่างกาย เอาจริง ๆ พอเรียนอันนี้แล้วมีระแวงเกี่ยวกับการกินอาหารเพิ่มขึ้นนะ เพราะเรารู้ถึงโทษและประโยชน์ของสารแต่ละชนิดว่ามันส่งผลยังไงกับร่างกายบ้าง มารยาทบนโต๊ะอาหาร การแกะสลักผลไม้ การพับผ้าที่เราเคยเห็นตามโต๊ะอาหารในโรงแรม พูดรวม ๆ ก็จะเรียนทุกเรื่องที่เกี่ยวกับอาหาร” เราไม่จำเป็นจะต้องมีพื้นฐานอะไรเลยก็ได้ ขอแค่มีความตั้งใจ เพราะอาจารย์จะเริ่มสอนเราตั้งแต่ 0 ไปจนกว่าเราจะสามารถทำได้ด้วยตัวเอง ไม่ได้บอกว่าจบไปแล้วจะต้องทำอาหารอร่อยแน่นอน แต่ว่าอย่างน้อยเราจะมีความกล้าในการอาหารได้ด้วยตนเอง วัชรินทร์เล่าให้เราเกี่ยวกับ วิชาอาหารตะวันตก ซึ่งเป็นวิชาโปรดของเธอว่า “วิชาอาหารตะวันตกเป็นวิชาที่เราชอบมากที่สุดเลย เพราะรู้สึกว่ากรรมวิธีในการทำอาหารตะวันตกไม่ยุ่งยากเหมือนอาหารไทย อันนี้ไม่ได้ว่าอาหารไทยนะแต่เป็นความชอบส่วนตัวของเราเฉย ๆ” วัชรินทร์รีบส่ายมือไปมากพร้อมยิ้มร่า ก่อนพูดต่อว่า “นอกจากการทำอาหารแล้วก็เรียนรวมไปถึงการใช้อุปกรณ์บนโต๊ะอาหาร เหมือนที่หลาย ๆ คนอาจจะเคยมีโอกาสได้ไปสัมผัส หรือไปทานอาหารในโรงแรม เราก็จะเห็นว่าเขามีช้อนส้อมหลายแบบใช่ไหม เราก็จะได้เรียนว่าช้อนประเภทนี้ใช้กับซุปนะ ส้อมอันนี้ใช้กับอาหารประเภทนี้นะ เอาจริง ๆ มันก็คือเรื่องของมารยาทบนโต๊ะอาหารแหละ ส่วนหนึ่งที่เราสนใจก็เพราะรู้สึกว่ามันเป็นสิ่งที่เราไม่คุ้นเคย แตกต่างไปจากของไทย เรามองว่าความรู้ในวิชานี้มันน่าสนใจและก็สามารถนำไปใช้ได้จริงในชีวิตประจำวัน” วัชรินทร์ทวนคำถามก่อนตอบให้เราฟังว่า “ถ้าถามว่าแล้วแบบนี้คนที่เขาทำอาหารได้ดีกว่า มีฝีมือกว่าจะได้เกรดดีมากกว่าไหม มันก็มีผลแต่ว่าเล็กน้อยมาก เพราะว่าส่วนใหญ่อาจารย์จะให้สูตรและวิธีทำมาเหมือนกันอยู่แล้ว แล้วเราก็ทำตามสูตรอาหารที่อาหารได้มา ซึ่งในหลาย ๆ ครั้งเขาก็ให้ทำอาหารกันเป็นกลุ่มอะ เราก็จะได้รสชาติที่เห็นตรงกันว่าอร่อยนะ ไม่ใช้แค่ใช้เราเป็นคนตัดสินเพียงคนเดียว อาจารย์จะมาช่วยดู ไม่ได้ปล่อยให้เราทำเองหมดเลย เพราะงั้นเกรดก็ไม่ได้ออกมมต่างกันมากจนเรารู้สึกเสียความมั่นใจแน่นอน” ในสถานการณ์โควิด 19 ที่ผ่านมาทำให้หลายมหาวิทยาลัยปรับรูปแบบการเรียน วัชรินทร์ช่วยเล่าความเปลี่ยนแปลงนี้ให้เราฟังว่า “สมัยตอนเราอยู่ปี 1 เราก็ต้องเรียนในห้องตามปกติเลยเหมือนมหาวิทยาลัยทั่วไป มีเข้าแล็บ เข้าครัวทำอาหารตามปกติ ทั้งพวกครัวไทย พวกครัวเบเกอรี แต่ว่าก็จะเน้นทฤษฎีเป็นหลักก่อนนะ เพิ่งมาเริ่มปฏิบัติเยอะ ๆ ตอนปี 2 พอมีโควิดมา รูปแบบการเรียนการสอนก็เปลี่ยนไป เราก็จะไม่ได้ไปเรียนที่มหาลัย เปลี่ยนมาเป็นเรียนออนไลน์แทน หลายคนก็สงสัยใช่ไหมว่าแล้วแบบนี้จะเรียนทำอาหารได้ยังไง อาจารย์เขาจะส่งสูตรอาหาร วัตถุดิบมา พร้อมแนบวิดีโอมาให้เรา เราก็มีหน้าที่ในการทำตามโดยที่ต้องถ่ายรูป อัดวิดีโอตอนทำอาหารนั้น ๆ ส่งกลับไปให้อาจารย์ประเมินตามเกณฑ์ของเขา ส่วนการสอบก็จะมีทั้งสอบแบบทฤษฎีและสอบปฏิบัติรายบุคคล” วัชรินทร์ยังเล่าความรู้สึกของตัวเองเพิ่มเติมให้เราฟังอีกว่า “เอาจริง ๆ เราค่อนข้างสอบการสอบปฏิบัติรายบุคคลนะ พอคนอื่นได้ยินอาจจะรู้สึกว่ามันน่ากลัว ไม่กดดันหรอ ในมุมเราเรามองว่าง่ายกว่าตอนเรียนด้วยซ้ำ เพราะเราสามารถเลือกเมนูที่เราชอบ เมนูที่เราถนัด หรือบางครั้งอาจารย์ก็อาจจะให้โจทย์มาเเล้วเราก็ทำตาม เขาก็จะประเมินให้คะเเนนตามหัวข้อต่าง ๆ เราว่ามันก็ได้เปรียบตรงที่เราสามารถเลือกเองได้แต่ส่วนใหญ่ก็จะเป็นเมนูที่เราเคยเรียนมาก่อนหน้านี้แล้ว” รุ่นพี่คหกรรม สาขาวิชาอาหารและโภชนาการได้ทิ้งท้ายไว้กับพวกเรา “ไม่อยากให้น้อง ๆ รู้สึกกลัวการเรียนทำอาหารเพราะว่ายังไม่เคยทำ หรือคิดว่าตัวเองทำได้ไม่ดีเพราะว่าถ้าแค่เราชอบหรือมีใจอยากจะลองทำอาหารก็สามารถมาเรียนได้ ไม่จำเป็นว่าต้องทำอาหารเก่ง มีพื้นฐานเพราะอาจารย์ที่คณะได้สอนเราต้องแต่เริ่มต้น คอยให้คำปรึกษาได้ดีทั้งเรื่องการเรียนหรือเรื่องการใช้ชีวิตในมหาลัย พวกอุปกรณ์ในการเรียนก็ส่งเสริมให้การเรียนมีคุณภาพมากขึ้น เพื่อน ๆ แต่ละคนก็ดีคอยช่วยเหลือกันตลอด เป็นคณะที่เรียนสนุกเลยแหละ เรียกง่าย ๆ ก็คือสภาพแวดล้อมดีไม่ทำให้เราเครียด ไม่ทำให้เรากดดันจนเกินไป ใครที่ชอบการทำอาหารแล้วยังไม่มีคณะในใจก็ลองมาเรียนคณะคหกรรมศาสตร์ของมหาลัยเราได้เลย” เราก็เป็นคนนึงที่เคยทำอาหารไม่เป็นเลย ทำอาหารไม่อร่อยเลย แต่อย่าให้ความกลัวมาเป็นอุปสรรคให้เราไม่ได้ทำในสิ่งที่ชอบ ขอแค่รักการทำอาหาร มีใจที่อยากจะทำ ที่เหลือเราจะสามารถเรียนรู้ได้เอง วัชรินทร์ สายเครือคำ คณะเทคโนโลยีคหกรรม สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ มหาวิทยาลัยราชมงคลพระนคร ข้อมูลหลักสูตร – คณะเทคโนโลยีคหกรรม สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร – หลักสูตรศิลปศาสตร์บัณฑิต (ปริญญาตรี 4 ปี) – ค่าเล่าเรียน : ประมาณ 13,000 บาทต่อเทอม – รายละเอียดเพิ่มเติม : เว็บไซต์ : คลิก Facebook : คลิก Twitter : คลิก EZ Webmaster Related Posts ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง Post navigation PREVIOUS Previous post: ทีเคพาร์ค ชวนสร้างสรรค์โปรเจกต์เพื่อสังคม ในโครงการ TK Dreammakers พื้นที่เยาวชนปั้นฝันNEXT Next post: สุดเจ๋ง ! บัณฑิตคณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย เรียนจบได้งานทำทันที สวนกระแสวิกฤต โควิด 19 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… นิสิตป.ตรีร่วมโครงการEAS InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 13, 2025 โอกาสดี! นักศึกษาระดับปริญญาตรีชาวไทย อายุระหว่าง 18-26 ปี ที่สนใจในประเด็นอาเซียน และสนใจอยากเป็นนักการทูต สถานทูตออสเตรเลียประจำประเทศไทยแจ้งข่าว เปิดรับสมัครโครงการ Model East Asia Summit (EAS) 2025 ส่งใบสมัครก่อนวันที่ 4 ก.ค.…
นิสิตป.ตรีร่วมโครงการEAS InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 13, 2025 โอกาสดี! นักศึกษาระดับปริญญาตรีชาวไทย อายุระหว่าง 18-26 ปี ที่สนใจในประเด็นอาเซียน และสนใจอยากเป็นนักการทูต สถานทูตออสเตรเลียประจำประเทศไทยแจ้งข่าว เปิดรับสมัครโครงการ Model East Asia Summit (EAS) 2025 ส่งใบสมัครก่อนวันที่ 4 ก.ค.…
คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster April 20, 2022 EZ Webmaster April 20, 2022 คุยกันเรื่องอาหาร? – รีวิวคณะเทคโนโลยีคหกรรม สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร! คุยกันเรื่องอาหาร? – รีวิวเทคโนโลยีคหกรรม อาหารและโภชนาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ในช่วงสถานการณ์โควิด 19 ที่ผ่านมา น้อง ๆ หลายคนก็ได้มีเวลาอยู่กับตัวเองมากขึ้น ได้ใช้เวลาว่างในการทำสิ่งต่าง ๆ ซึ่งการใช้เวลาว่างเหล่านี้เนี้ย พี่ออมเชื่อว่าทำให้น้อง ๆ หลายคนเกิดแรงบันดาลใจในการศึกษาต่อด้านต่าง ๆ นับว่าเป็นเรื่องที่ดีมากเลยค่ะที่เราได้เจอในสิ่งที่ชอบ พี่ออมคิดว่า การทำอาหาร การทำขนม เป็นอีกหนึ่งงานอดิเรกยอดฮิตที่น้อง ๆ บางคนอาจจะเพิ่งค้นพบความสามารถของตัวเองหลังจากได้ใช้เวลาไปกับมันใช่ไหมคะ วันนี้พี่ออมจะพาน้อง ๆ ไปพบกับ พี่เบส วัชรินทร์ สายเครือคำ รุ่นพี่ชั้นปีที่ 3 คณะเทคโนโลยีคหกรรม สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร กันค่ะ “เราเชื่อว่ามีหลายคนสงสัยนะว่าการเรียนคหกรรม อาหารและโภชนาการแบบเราคือ ต้องทำอาหารเป็นตั้งแต่แรกไหม ต้องทำอาหารอร่อยไหม บอกตรงนี้เลยนะว่าเราก็เป็นคนนึงไม่ได้ทำอาหารเป็นตั้งแต่แรก พอเข้ามาเรียนก็ได้เรียนรู้อะไรใหม่ ๆ มากขึ้นทั้งที่ไม่เคยมีพื้นฐานมาก่อน ถ้าถามว่าตอนนี้ทำอาหารได้อร่อยเลยไหมก็ไม่ได้ขนาดนั้น” วัชรินทร์หยุดหัวเราะก่อนอธิบายต่อ “แต่อย่างน้อยเราก็มีความกล้าที่จะทำอาหารมากขึ้น รู้วิธีการใช้เครื่องมือ อุปกรณ์การเลือกวัตถุดิบให้ถูกหลัก วัชรินทร์อธิบายเกี่ยวกับการเรียนคหกรรม อาหารและโภชนาการให้เราฟังว่า “ไม่อยากให้รู้สึกว่าเราทำอาหารไม่เป็นเลยจะมาเรียนคหกรรมแบบนี้ได้จริงหรอ อย่างของมอเราเขาก็เริ่มสอนตั้งแต่พื้นฐานเลยนะ ตอนที่เราเข้าไปปีหนึ่งเขาก็เริ่มสอนตั้งแต่วิธีการลับมีด การใช้มีด การใช้อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องครัวต่าง ๆ การเลือกวัตถุดิบ มั่นใจได้เลยว่าต่อให้คนที่ไม่เคยทำอาหารมาก่อนก็มาเรียนรู้ในมหาวิทยาลัยได้” วัชรินทร์เงียบไปครู่หนึ่งก่อนอธิบายต่อว่า “แต่ว่าการเรียนคหกรรม อาหารและโภชนาการมันไม่ใช่การเรียนทำอาหารอย่างเดียวนะ มันก็ครอบคลุมตามชื่อคณะเลย เราจะได้เรียนทั้งโภชนาการอาหาร ความปลอดภัยของอาหารในโรงพยาบาล ถ้าถามว่ามันคืออะไร มันก็คือการเรียนเกี่ยวกับอาหารของคนไข้การแยกประเภทชนิดอาหารที่เหมาะกับคนไข้ในแต่ละโรค โรคไตห้ามกินอะไร โรคหัวใจห้ามกินอะไร เรียนเรื่องสารปรุงแต่งและสารแปรรูปที่เป็นอันตรายต่ออาหารในแต่ละชนิด เราสามารถใส่ได้ในปริมาณแค่ไหนที่จะไม่เป็นอันตรายต่อร่างกาย เอาจริง ๆ พอเรียนอันนี้แล้วมีระแวงเกี่ยวกับการกินอาหารเพิ่มขึ้นนะ เพราะเรารู้ถึงโทษและประโยชน์ของสารแต่ละชนิดว่ามันส่งผลยังไงกับร่างกายบ้าง มารยาทบนโต๊ะอาหาร การแกะสลักผลไม้ การพับผ้าที่เราเคยเห็นตามโต๊ะอาหารในโรงแรม พูดรวม ๆ ก็จะเรียนทุกเรื่องที่เกี่ยวกับอาหาร” เราไม่จำเป็นจะต้องมีพื้นฐานอะไรเลยก็ได้ ขอแค่มีความตั้งใจ เพราะอาจารย์จะเริ่มสอนเราตั้งแต่ 0 ไปจนกว่าเราจะสามารถทำได้ด้วยตัวเอง ไม่ได้บอกว่าจบไปแล้วจะต้องทำอาหารอร่อยแน่นอน แต่ว่าอย่างน้อยเราจะมีความกล้าในการอาหารได้ด้วยตนเอง วัชรินทร์เล่าให้เราเกี่ยวกับ วิชาอาหารตะวันตก ซึ่งเป็นวิชาโปรดของเธอว่า “วิชาอาหารตะวันตกเป็นวิชาที่เราชอบมากที่สุดเลย เพราะรู้สึกว่ากรรมวิธีในการทำอาหารตะวันตกไม่ยุ่งยากเหมือนอาหารไทย อันนี้ไม่ได้ว่าอาหารไทยนะแต่เป็นความชอบส่วนตัวของเราเฉย ๆ” วัชรินทร์รีบส่ายมือไปมากพร้อมยิ้มร่า ก่อนพูดต่อว่า “นอกจากการทำอาหารแล้วก็เรียนรวมไปถึงการใช้อุปกรณ์บนโต๊ะอาหาร เหมือนที่หลาย ๆ คนอาจจะเคยมีโอกาสได้ไปสัมผัส หรือไปทานอาหารในโรงแรม เราก็จะเห็นว่าเขามีช้อนส้อมหลายแบบใช่ไหม เราก็จะได้เรียนว่าช้อนประเภทนี้ใช้กับซุปนะ ส้อมอันนี้ใช้กับอาหารประเภทนี้นะ เอาจริง ๆ มันก็คือเรื่องของมารยาทบนโต๊ะอาหารแหละ ส่วนหนึ่งที่เราสนใจก็เพราะรู้สึกว่ามันเป็นสิ่งที่เราไม่คุ้นเคย แตกต่างไปจากของไทย เรามองว่าความรู้ในวิชานี้มันน่าสนใจและก็สามารถนำไปใช้ได้จริงในชีวิตประจำวัน” วัชรินทร์ทวนคำถามก่อนตอบให้เราฟังว่า “ถ้าถามว่าแล้วแบบนี้คนที่เขาทำอาหารได้ดีกว่า มีฝีมือกว่าจะได้เกรดดีมากกว่าไหม มันก็มีผลแต่ว่าเล็กน้อยมาก เพราะว่าส่วนใหญ่อาจารย์จะให้สูตรและวิธีทำมาเหมือนกันอยู่แล้ว แล้วเราก็ทำตามสูตรอาหารที่อาหารได้มา ซึ่งในหลาย ๆ ครั้งเขาก็ให้ทำอาหารกันเป็นกลุ่มอะ เราก็จะได้รสชาติที่เห็นตรงกันว่าอร่อยนะ ไม่ใช้แค่ใช้เราเป็นคนตัดสินเพียงคนเดียว อาจารย์จะมาช่วยดู ไม่ได้ปล่อยให้เราทำเองหมดเลย เพราะงั้นเกรดก็ไม่ได้ออกมมต่างกันมากจนเรารู้สึกเสียความมั่นใจแน่นอน” ในสถานการณ์โควิด 19 ที่ผ่านมาทำให้หลายมหาวิทยาลัยปรับรูปแบบการเรียน วัชรินทร์ช่วยเล่าความเปลี่ยนแปลงนี้ให้เราฟังว่า “สมัยตอนเราอยู่ปี 1 เราก็ต้องเรียนในห้องตามปกติเลยเหมือนมหาวิทยาลัยทั่วไป มีเข้าแล็บ เข้าครัวทำอาหารตามปกติ ทั้งพวกครัวไทย พวกครัวเบเกอรี แต่ว่าก็จะเน้นทฤษฎีเป็นหลักก่อนนะ เพิ่งมาเริ่มปฏิบัติเยอะ ๆ ตอนปี 2 พอมีโควิดมา รูปแบบการเรียนการสอนก็เปลี่ยนไป เราก็จะไม่ได้ไปเรียนที่มหาลัย เปลี่ยนมาเป็นเรียนออนไลน์แทน หลายคนก็สงสัยใช่ไหมว่าแล้วแบบนี้จะเรียนทำอาหารได้ยังไง อาจารย์เขาจะส่งสูตรอาหาร วัตถุดิบมา พร้อมแนบวิดีโอมาให้เรา เราก็มีหน้าที่ในการทำตามโดยที่ต้องถ่ายรูป อัดวิดีโอตอนทำอาหารนั้น ๆ ส่งกลับไปให้อาจารย์ประเมินตามเกณฑ์ของเขา ส่วนการสอบก็จะมีทั้งสอบแบบทฤษฎีและสอบปฏิบัติรายบุคคล” วัชรินทร์ยังเล่าความรู้สึกของตัวเองเพิ่มเติมให้เราฟังอีกว่า “เอาจริง ๆ เราค่อนข้างสอบการสอบปฏิบัติรายบุคคลนะ พอคนอื่นได้ยินอาจจะรู้สึกว่ามันน่ากลัว ไม่กดดันหรอ ในมุมเราเรามองว่าง่ายกว่าตอนเรียนด้วยซ้ำ เพราะเราสามารถเลือกเมนูที่เราชอบ เมนูที่เราถนัด หรือบางครั้งอาจารย์ก็อาจจะให้โจทย์มาเเล้วเราก็ทำตาม เขาก็จะประเมินให้คะเเนนตามหัวข้อต่าง ๆ เราว่ามันก็ได้เปรียบตรงที่เราสามารถเลือกเองได้แต่ส่วนใหญ่ก็จะเป็นเมนูที่เราเคยเรียนมาก่อนหน้านี้แล้ว” รุ่นพี่คหกรรม สาขาวิชาอาหารและโภชนาการได้ทิ้งท้ายไว้กับพวกเรา “ไม่อยากให้น้อง ๆ รู้สึกกลัวการเรียนทำอาหารเพราะว่ายังไม่เคยทำ หรือคิดว่าตัวเองทำได้ไม่ดีเพราะว่าถ้าแค่เราชอบหรือมีใจอยากจะลองทำอาหารก็สามารถมาเรียนได้ ไม่จำเป็นว่าต้องทำอาหารเก่ง มีพื้นฐานเพราะอาจารย์ที่คณะได้สอนเราต้องแต่เริ่มต้น คอยให้คำปรึกษาได้ดีทั้งเรื่องการเรียนหรือเรื่องการใช้ชีวิตในมหาลัย พวกอุปกรณ์ในการเรียนก็ส่งเสริมให้การเรียนมีคุณภาพมากขึ้น เพื่อน ๆ แต่ละคนก็ดีคอยช่วยเหลือกันตลอด เป็นคณะที่เรียนสนุกเลยแหละ เรียกง่าย ๆ ก็คือสภาพแวดล้อมดีไม่ทำให้เราเครียด ไม่ทำให้เรากดดันจนเกินไป ใครที่ชอบการทำอาหารแล้วยังไม่มีคณะในใจก็ลองมาเรียนคณะคหกรรมศาสตร์ของมหาลัยเราได้เลย” เราก็เป็นคนนึงที่เคยทำอาหารไม่เป็นเลย ทำอาหารไม่อร่อยเลย แต่อย่าให้ความกลัวมาเป็นอุปสรรคให้เราไม่ได้ทำในสิ่งที่ชอบ ขอแค่รักการทำอาหาร มีใจที่อยากจะทำ ที่เหลือเราจะสามารถเรียนรู้ได้เอง วัชรินทร์ สายเครือคำ คณะเทคโนโลยีคหกรรม สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ มหาวิทยาลัยราชมงคลพระนคร ข้อมูลหลักสูตร – คณะเทคโนโลยีคหกรรม สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร – หลักสูตรศิลปศาสตร์บัณฑิต (ปริญญาตรี 4 ปี) – ค่าเล่าเรียน : ประมาณ 13,000 บาทต่อเทอม – รายละเอียดเพิ่มเติม : เว็บไซต์ : คลิก Facebook : คลิก Twitter : คลิก EZ Webmaster Related Posts ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง Post navigation PREVIOUS Previous post: ทีเคพาร์ค ชวนสร้างสรรค์โปรเจกต์เพื่อสังคม ในโครงการ TK Dreammakers พื้นที่เยาวชนปั้นฝันNEXT Next post: สุดเจ๋ง ! บัณฑิตคณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย เรียนจบได้งานทำทันที สวนกระแสวิกฤต โควิด 19 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster April 20, 2022 EZ Webmaster April 20, 2022 คุยกันเรื่องอาหาร? – รีวิวคณะเทคโนโลยีคหกรรม สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร! คุยกันเรื่องอาหาร? – รีวิวเทคโนโลยีคหกรรม อาหารและโภชนาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ในช่วงสถานการณ์โควิด 19 ที่ผ่านมา น้อง ๆ หลายคนก็ได้มีเวลาอยู่กับตัวเองมากขึ้น ได้ใช้เวลาว่างในการทำสิ่งต่าง ๆ ซึ่งการใช้เวลาว่างเหล่านี้เนี้ย พี่ออมเชื่อว่าทำให้น้อง ๆ หลายคนเกิดแรงบันดาลใจในการศึกษาต่อด้านต่าง ๆ นับว่าเป็นเรื่องที่ดีมากเลยค่ะที่เราได้เจอในสิ่งที่ชอบ พี่ออมคิดว่า การทำอาหาร การทำขนม เป็นอีกหนึ่งงานอดิเรกยอดฮิตที่น้อง ๆ บางคนอาจจะเพิ่งค้นพบความสามารถของตัวเองหลังจากได้ใช้เวลาไปกับมันใช่ไหมคะ วันนี้พี่ออมจะพาน้อง ๆ ไปพบกับ พี่เบส วัชรินทร์ สายเครือคำ รุ่นพี่ชั้นปีที่ 3 คณะเทคโนโลยีคหกรรม สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร กันค่ะ “เราเชื่อว่ามีหลายคนสงสัยนะว่าการเรียนคหกรรม อาหารและโภชนาการแบบเราคือ ต้องทำอาหารเป็นตั้งแต่แรกไหม ต้องทำอาหารอร่อยไหม บอกตรงนี้เลยนะว่าเราก็เป็นคนนึงไม่ได้ทำอาหารเป็นตั้งแต่แรก พอเข้ามาเรียนก็ได้เรียนรู้อะไรใหม่ ๆ มากขึ้นทั้งที่ไม่เคยมีพื้นฐานมาก่อน ถ้าถามว่าตอนนี้ทำอาหารได้อร่อยเลยไหมก็ไม่ได้ขนาดนั้น” วัชรินทร์หยุดหัวเราะก่อนอธิบายต่อ “แต่อย่างน้อยเราก็มีความกล้าที่จะทำอาหารมากขึ้น รู้วิธีการใช้เครื่องมือ อุปกรณ์การเลือกวัตถุดิบให้ถูกหลัก วัชรินทร์อธิบายเกี่ยวกับการเรียนคหกรรม อาหารและโภชนาการให้เราฟังว่า “ไม่อยากให้รู้สึกว่าเราทำอาหารไม่เป็นเลยจะมาเรียนคหกรรมแบบนี้ได้จริงหรอ อย่างของมอเราเขาก็เริ่มสอนตั้งแต่พื้นฐานเลยนะ ตอนที่เราเข้าไปปีหนึ่งเขาก็เริ่มสอนตั้งแต่วิธีการลับมีด การใช้มีด การใช้อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องครัวต่าง ๆ การเลือกวัตถุดิบ มั่นใจได้เลยว่าต่อให้คนที่ไม่เคยทำอาหารมาก่อนก็มาเรียนรู้ในมหาวิทยาลัยได้” วัชรินทร์เงียบไปครู่หนึ่งก่อนอธิบายต่อว่า “แต่ว่าการเรียนคหกรรม อาหารและโภชนาการมันไม่ใช่การเรียนทำอาหารอย่างเดียวนะ มันก็ครอบคลุมตามชื่อคณะเลย เราจะได้เรียนทั้งโภชนาการอาหาร ความปลอดภัยของอาหารในโรงพยาบาล ถ้าถามว่ามันคืออะไร มันก็คือการเรียนเกี่ยวกับอาหารของคนไข้การแยกประเภทชนิดอาหารที่เหมาะกับคนไข้ในแต่ละโรค โรคไตห้ามกินอะไร โรคหัวใจห้ามกินอะไร เรียนเรื่องสารปรุงแต่งและสารแปรรูปที่เป็นอันตรายต่ออาหารในแต่ละชนิด เราสามารถใส่ได้ในปริมาณแค่ไหนที่จะไม่เป็นอันตรายต่อร่างกาย เอาจริง ๆ พอเรียนอันนี้แล้วมีระแวงเกี่ยวกับการกินอาหารเพิ่มขึ้นนะ เพราะเรารู้ถึงโทษและประโยชน์ของสารแต่ละชนิดว่ามันส่งผลยังไงกับร่างกายบ้าง มารยาทบนโต๊ะอาหาร การแกะสลักผลไม้ การพับผ้าที่เราเคยเห็นตามโต๊ะอาหารในโรงแรม พูดรวม ๆ ก็จะเรียนทุกเรื่องที่เกี่ยวกับอาหาร” เราไม่จำเป็นจะต้องมีพื้นฐานอะไรเลยก็ได้ ขอแค่มีความตั้งใจ เพราะอาจารย์จะเริ่มสอนเราตั้งแต่ 0 ไปจนกว่าเราจะสามารถทำได้ด้วยตัวเอง ไม่ได้บอกว่าจบไปแล้วจะต้องทำอาหารอร่อยแน่นอน แต่ว่าอย่างน้อยเราจะมีความกล้าในการอาหารได้ด้วยตนเอง วัชรินทร์เล่าให้เราเกี่ยวกับ วิชาอาหารตะวันตก ซึ่งเป็นวิชาโปรดของเธอว่า “วิชาอาหารตะวันตกเป็นวิชาที่เราชอบมากที่สุดเลย เพราะรู้สึกว่ากรรมวิธีในการทำอาหารตะวันตกไม่ยุ่งยากเหมือนอาหารไทย อันนี้ไม่ได้ว่าอาหารไทยนะแต่เป็นความชอบส่วนตัวของเราเฉย ๆ” วัชรินทร์รีบส่ายมือไปมากพร้อมยิ้มร่า ก่อนพูดต่อว่า “นอกจากการทำอาหารแล้วก็เรียนรวมไปถึงการใช้อุปกรณ์บนโต๊ะอาหาร เหมือนที่หลาย ๆ คนอาจจะเคยมีโอกาสได้ไปสัมผัส หรือไปทานอาหารในโรงแรม เราก็จะเห็นว่าเขามีช้อนส้อมหลายแบบใช่ไหม เราก็จะได้เรียนว่าช้อนประเภทนี้ใช้กับซุปนะ ส้อมอันนี้ใช้กับอาหารประเภทนี้นะ เอาจริง ๆ มันก็คือเรื่องของมารยาทบนโต๊ะอาหารแหละ ส่วนหนึ่งที่เราสนใจก็เพราะรู้สึกว่ามันเป็นสิ่งที่เราไม่คุ้นเคย แตกต่างไปจากของไทย เรามองว่าความรู้ในวิชานี้มันน่าสนใจและก็สามารถนำไปใช้ได้จริงในชีวิตประจำวัน” วัชรินทร์ทวนคำถามก่อนตอบให้เราฟังว่า “ถ้าถามว่าแล้วแบบนี้คนที่เขาทำอาหารได้ดีกว่า มีฝีมือกว่าจะได้เกรดดีมากกว่าไหม มันก็มีผลแต่ว่าเล็กน้อยมาก เพราะว่าส่วนใหญ่อาจารย์จะให้สูตรและวิธีทำมาเหมือนกันอยู่แล้ว แล้วเราก็ทำตามสูตรอาหารที่อาหารได้มา ซึ่งในหลาย ๆ ครั้งเขาก็ให้ทำอาหารกันเป็นกลุ่มอะ เราก็จะได้รสชาติที่เห็นตรงกันว่าอร่อยนะ ไม่ใช้แค่ใช้เราเป็นคนตัดสินเพียงคนเดียว อาจารย์จะมาช่วยดู ไม่ได้ปล่อยให้เราทำเองหมดเลย เพราะงั้นเกรดก็ไม่ได้ออกมมต่างกันมากจนเรารู้สึกเสียความมั่นใจแน่นอน” ในสถานการณ์โควิด 19 ที่ผ่านมาทำให้หลายมหาวิทยาลัยปรับรูปแบบการเรียน วัชรินทร์ช่วยเล่าความเปลี่ยนแปลงนี้ให้เราฟังว่า “สมัยตอนเราอยู่ปี 1 เราก็ต้องเรียนในห้องตามปกติเลยเหมือนมหาวิทยาลัยทั่วไป มีเข้าแล็บ เข้าครัวทำอาหารตามปกติ ทั้งพวกครัวไทย พวกครัวเบเกอรี แต่ว่าก็จะเน้นทฤษฎีเป็นหลักก่อนนะ เพิ่งมาเริ่มปฏิบัติเยอะ ๆ ตอนปี 2 พอมีโควิดมา รูปแบบการเรียนการสอนก็เปลี่ยนไป เราก็จะไม่ได้ไปเรียนที่มหาลัย เปลี่ยนมาเป็นเรียนออนไลน์แทน หลายคนก็สงสัยใช่ไหมว่าแล้วแบบนี้จะเรียนทำอาหารได้ยังไง อาจารย์เขาจะส่งสูตรอาหาร วัตถุดิบมา พร้อมแนบวิดีโอมาให้เรา เราก็มีหน้าที่ในการทำตามโดยที่ต้องถ่ายรูป อัดวิดีโอตอนทำอาหารนั้น ๆ ส่งกลับไปให้อาจารย์ประเมินตามเกณฑ์ของเขา ส่วนการสอบก็จะมีทั้งสอบแบบทฤษฎีและสอบปฏิบัติรายบุคคล” วัชรินทร์ยังเล่าความรู้สึกของตัวเองเพิ่มเติมให้เราฟังอีกว่า “เอาจริง ๆ เราค่อนข้างสอบการสอบปฏิบัติรายบุคคลนะ พอคนอื่นได้ยินอาจจะรู้สึกว่ามันน่ากลัว ไม่กดดันหรอ ในมุมเราเรามองว่าง่ายกว่าตอนเรียนด้วยซ้ำ เพราะเราสามารถเลือกเมนูที่เราชอบ เมนูที่เราถนัด หรือบางครั้งอาจารย์ก็อาจจะให้โจทย์มาเเล้วเราก็ทำตาม เขาก็จะประเมินให้คะเเนนตามหัวข้อต่าง ๆ เราว่ามันก็ได้เปรียบตรงที่เราสามารถเลือกเองได้แต่ส่วนใหญ่ก็จะเป็นเมนูที่เราเคยเรียนมาก่อนหน้านี้แล้ว” รุ่นพี่คหกรรม สาขาวิชาอาหารและโภชนาการได้ทิ้งท้ายไว้กับพวกเรา “ไม่อยากให้น้อง ๆ รู้สึกกลัวการเรียนทำอาหารเพราะว่ายังไม่เคยทำ หรือคิดว่าตัวเองทำได้ไม่ดีเพราะว่าถ้าแค่เราชอบหรือมีใจอยากจะลองทำอาหารก็สามารถมาเรียนได้ ไม่จำเป็นว่าต้องทำอาหารเก่ง มีพื้นฐานเพราะอาจารย์ที่คณะได้สอนเราต้องแต่เริ่มต้น คอยให้คำปรึกษาได้ดีทั้งเรื่องการเรียนหรือเรื่องการใช้ชีวิตในมหาลัย พวกอุปกรณ์ในการเรียนก็ส่งเสริมให้การเรียนมีคุณภาพมากขึ้น เพื่อน ๆ แต่ละคนก็ดีคอยช่วยเหลือกันตลอด เป็นคณะที่เรียนสนุกเลยแหละ เรียกง่าย ๆ ก็คือสภาพแวดล้อมดีไม่ทำให้เราเครียด ไม่ทำให้เรากดดันจนเกินไป ใครที่ชอบการทำอาหารแล้วยังไม่มีคณะในใจก็ลองมาเรียนคณะคหกรรมศาสตร์ของมหาลัยเราได้เลย” เราก็เป็นคนนึงที่เคยทำอาหารไม่เป็นเลย ทำอาหารไม่อร่อยเลย แต่อย่าให้ความกลัวมาเป็นอุปสรรคให้เราไม่ได้ทำในสิ่งที่ชอบ ขอแค่รักการทำอาหาร มีใจที่อยากจะทำ ที่เหลือเราจะสามารถเรียนรู้ได้เอง วัชรินทร์ สายเครือคำ คณะเทคโนโลยีคหกรรม สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ มหาวิทยาลัยราชมงคลพระนคร ข้อมูลหลักสูตร – คณะเทคโนโลยีคหกรรม สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร – หลักสูตรศิลปศาสตร์บัณฑิต (ปริญญาตรี 4 ปี) – ค่าเล่าเรียน : ประมาณ 13,000 บาทต่อเทอม – รายละเอียดเพิ่มเติม : เว็บไซต์ : คลิก Facebook : คลิก Twitter : คลิก EZ Webmaster Related Posts ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง Post navigation PREVIOUS Previous post: ทีเคพาร์ค ชวนสร้างสรรค์โปรเจกต์เพื่อสังคม ในโครงการ TK Dreammakers พื้นที่เยาวชนปั้นฝันNEXT Next post: สุดเจ๋ง ! บัณฑิตคณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย เรียนจบได้งานทำทันที สวนกระแสวิกฤต โควิด 19 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief…
เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief…
“40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster April 20, 2022 EZ Webmaster April 20, 2022 คุยกันเรื่องอาหาร? – รีวิวคณะเทคโนโลยีคหกรรม สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร! คุยกันเรื่องอาหาร? – รีวิวเทคโนโลยีคหกรรม อาหารและโภชนาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ในช่วงสถานการณ์โควิด 19 ที่ผ่านมา น้อง ๆ หลายคนก็ได้มีเวลาอยู่กับตัวเองมากขึ้น ได้ใช้เวลาว่างในการทำสิ่งต่าง ๆ ซึ่งการใช้เวลาว่างเหล่านี้เนี้ย พี่ออมเชื่อว่าทำให้น้อง ๆ หลายคนเกิดแรงบันดาลใจในการศึกษาต่อด้านต่าง ๆ นับว่าเป็นเรื่องที่ดีมากเลยค่ะที่เราได้เจอในสิ่งที่ชอบ พี่ออมคิดว่า การทำอาหาร การทำขนม เป็นอีกหนึ่งงานอดิเรกยอดฮิตที่น้อง ๆ บางคนอาจจะเพิ่งค้นพบความสามารถของตัวเองหลังจากได้ใช้เวลาไปกับมันใช่ไหมคะ วันนี้พี่ออมจะพาน้อง ๆ ไปพบกับ พี่เบส วัชรินทร์ สายเครือคำ รุ่นพี่ชั้นปีที่ 3 คณะเทคโนโลยีคหกรรม สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร กันค่ะ “เราเชื่อว่ามีหลายคนสงสัยนะว่าการเรียนคหกรรม อาหารและโภชนาการแบบเราคือ ต้องทำอาหารเป็นตั้งแต่แรกไหม ต้องทำอาหารอร่อยไหม บอกตรงนี้เลยนะว่าเราก็เป็นคนนึงไม่ได้ทำอาหารเป็นตั้งแต่แรก พอเข้ามาเรียนก็ได้เรียนรู้อะไรใหม่ ๆ มากขึ้นทั้งที่ไม่เคยมีพื้นฐานมาก่อน ถ้าถามว่าตอนนี้ทำอาหารได้อร่อยเลยไหมก็ไม่ได้ขนาดนั้น” วัชรินทร์หยุดหัวเราะก่อนอธิบายต่อ “แต่อย่างน้อยเราก็มีความกล้าที่จะทำอาหารมากขึ้น รู้วิธีการใช้เครื่องมือ อุปกรณ์การเลือกวัตถุดิบให้ถูกหลัก วัชรินทร์อธิบายเกี่ยวกับการเรียนคหกรรม อาหารและโภชนาการให้เราฟังว่า “ไม่อยากให้รู้สึกว่าเราทำอาหารไม่เป็นเลยจะมาเรียนคหกรรมแบบนี้ได้จริงหรอ อย่างของมอเราเขาก็เริ่มสอนตั้งแต่พื้นฐานเลยนะ ตอนที่เราเข้าไปปีหนึ่งเขาก็เริ่มสอนตั้งแต่วิธีการลับมีด การใช้มีด การใช้อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องครัวต่าง ๆ การเลือกวัตถุดิบ มั่นใจได้เลยว่าต่อให้คนที่ไม่เคยทำอาหารมาก่อนก็มาเรียนรู้ในมหาวิทยาลัยได้” วัชรินทร์เงียบไปครู่หนึ่งก่อนอธิบายต่อว่า “แต่ว่าการเรียนคหกรรม อาหารและโภชนาการมันไม่ใช่การเรียนทำอาหารอย่างเดียวนะ มันก็ครอบคลุมตามชื่อคณะเลย เราจะได้เรียนทั้งโภชนาการอาหาร ความปลอดภัยของอาหารในโรงพยาบาล ถ้าถามว่ามันคืออะไร มันก็คือการเรียนเกี่ยวกับอาหารของคนไข้การแยกประเภทชนิดอาหารที่เหมาะกับคนไข้ในแต่ละโรค โรคไตห้ามกินอะไร โรคหัวใจห้ามกินอะไร เรียนเรื่องสารปรุงแต่งและสารแปรรูปที่เป็นอันตรายต่ออาหารในแต่ละชนิด เราสามารถใส่ได้ในปริมาณแค่ไหนที่จะไม่เป็นอันตรายต่อร่างกาย เอาจริง ๆ พอเรียนอันนี้แล้วมีระแวงเกี่ยวกับการกินอาหารเพิ่มขึ้นนะ เพราะเรารู้ถึงโทษและประโยชน์ของสารแต่ละชนิดว่ามันส่งผลยังไงกับร่างกายบ้าง มารยาทบนโต๊ะอาหาร การแกะสลักผลไม้ การพับผ้าที่เราเคยเห็นตามโต๊ะอาหารในโรงแรม พูดรวม ๆ ก็จะเรียนทุกเรื่องที่เกี่ยวกับอาหาร” เราไม่จำเป็นจะต้องมีพื้นฐานอะไรเลยก็ได้ ขอแค่มีความตั้งใจ เพราะอาจารย์จะเริ่มสอนเราตั้งแต่ 0 ไปจนกว่าเราจะสามารถทำได้ด้วยตัวเอง ไม่ได้บอกว่าจบไปแล้วจะต้องทำอาหารอร่อยแน่นอน แต่ว่าอย่างน้อยเราจะมีความกล้าในการอาหารได้ด้วยตนเอง วัชรินทร์เล่าให้เราเกี่ยวกับ วิชาอาหารตะวันตก ซึ่งเป็นวิชาโปรดของเธอว่า “วิชาอาหารตะวันตกเป็นวิชาที่เราชอบมากที่สุดเลย เพราะรู้สึกว่ากรรมวิธีในการทำอาหารตะวันตกไม่ยุ่งยากเหมือนอาหารไทย อันนี้ไม่ได้ว่าอาหารไทยนะแต่เป็นความชอบส่วนตัวของเราเฉย ๆ” วัชรินทร์รีบส่ายมือไปมากพร้อมยิ้มร่า ก่อนพูดต่อว่า “นอกจากการทำอาหารแล้วก็เรียนรวมไปถึงการใช้อุปกรณ์บนโต๊ะอาหาร เหมือนที่หลาย ๆ คนอาจจะเคยมีโอกาสได้ไปสัมผัส หรือไปทานอาหารในโรงแรม เราก็จะเห็นว่าเขามีช้อนส้อมหลายแบบใช่ไหม เราก็จะได้เรียนว่าช้อนประเภทนี้ใช้กับซุปนะ ส้อมอันนี้ใช้กับอาหารประเภทนี้นะ เอาจริง ๆ มันก็คือเรื่องของมารยาทบนโต๊ะอาหารแหละ ส่วนหนึ่งที่เราสนใจก็เพราะรู้สึกว่ามันเป็นสิ่งที่เราไม่คุ้นเคย แตกต่างไปจากของไทย เรามองว่าความรู้ในวิชานี้มันน่าสนใจและก็สามารถนำไปใช้ได้จริงในชีวิตประจำวัน” วัชรินทร์ทวนคำถามก่อนตอบให้เราฟังว่า “ถ้าถามว่าแล้วแบบนี้คนที่เขาทำอาหารได้ดีกว่า มีฝีมือกว่าจะได้เกรดดีมากกว่าไหม มันก็มีผลแต่ว่าเล็กน้อยมาก เพราะว่าส่วนใหญ่อาจารย์จะให้สูตรและวิธีทำมาเหมือนกันอยู่แล้ว แล้วเราก็ทำตามสูตรอาหารที่อาหารได้มา ซึ่งในหลาย ๆ ครั้งเขาก็ให้ทำอาหารกันเป็นกลุ่มอะ เราก็จะได้รสชาติที่เห็นตรงกันว่าอร่อยนะ ไม่ใช้แค่ใช้เราเป็นคนตัดสินเพียงคนเดียว อาจารย์จะมาช่วยดู ไม่ได้ปล่อยให้เราทำเองหมดเลย เพราะงั้นเกรดก็ไม่ได้ออกมมต่างกันมากจนเรารู้สึกเสียความมั่นใจแน่นอน” ในสถานการณ์โควิด 19 ที่ผ่านมาทำให้หลายมหาวิทยาลัยปรับรูปแบบการเรียน วัชรินทร์ช่วยเล่าความเปลี่ยนแปลงนี้ให้เราฟังว่า “สมัยตอนเราอยู่ปี 1 เราก็ต้องเรียนในห้องตามปกติเลยเหมือนมหาวิทยาลัยทั่วไป มีเข้าแล็บ เข้าครัวทำอาหารตามปกติ ทั้งพวกครัวไทย พวกครัวเบเกอรี แต่ว่าก็จะเน้นทฤษฎีเป็นหลักก่อนนะ เพิ่งมาเริ่มปฏิบัติเยอะ ๆ ตอนปี 2 พอมีโควิดมา รูปแบบการเรียนการสอนก็เปลี่ยนไป เราก็จะไม่ได้ไปเรียนที่มหาลัย เปลี่ยนมาเป็นเรียนออนไลน์แทน หลายคนก็สงสัยใช่ไหมว่าแล้วแบบนี้จะเรียนทำอาหารได้ยังไง อาจารย์เขาจะส่งสูตรอาหาร วัตถุดิบมา พร้อมแนบวิดีโอมาให้เรา เราก็มีหน้าที่ในการทำตามโดยที่ต้องถ่ายรูป อัดวิดีโอตอนทำอาหารนั้น ๆ ส่งกลับไปให้อาจารย์ประเมินตามเกณฑ์ของเขา ส่วนการสอบก็จะมีทั้งสอบแบบทฤษฎีและสอบปฏิบัติรายบุคคล” วัชรินทร์ยังเล่าความรู้สึกของตัวเองเพิ่มเติมให้เราฟังอีกว่า “เอาจริง ๆ เราค่อนข้างสอบการสอบปฏิบัติรายบุคคลนะ พอคนอื่นได้ยินอาจจะรู้สึกว่ามันน่ากลัว ไม่กดดันหรอ ในมุมเราเรามองว่าง่ายกว่าตอนเรียนด้วยซ้ำ เพราะเราสามารถเลือกเมนูที่เราชอบ เมนูที่เราถนัด หรือบางครั้งอาจารย์ก็อาจจะให้โจทย์มาเเล้วเราก็ทำตาม เขาก็จะประเมินให้คะเเนนตามหัวข้อต่าง ๆ เราว่ามันก็ได้เปรียบตรงที่เราสามารถเลือกเองได้แต่ส่วนใหญ่ก็จะเป็นเมนูที่เราเคยเรียนมาก่อนหน้านี้แล้ว” รุ่นพี่คหกรรม สาขาวิชาอาหารและโภชนาการได้ทิ้งท้ายไว้กับพวกเรา “ไม่อยากให้น้อง ๆ รู้สึกกลัวการเรียนทำอาหารเพราะว่ายังไม่เคยทำ หรือคิดว่าตัวเองทำได้ไม่ดีเพราะว่าถ้าแค่เราชอบหรือมีใจอยากจะลองทำอาหารก็สามารถมาเรียนได้ ไม่จำเป็นว่าต้องทำอาหารเก่ง มีพื้นฐานเพราะอาจารย์ที่คณะได้สอนเราต้องแต่เริ่มต้น คอยให้คำปรึกษาได้ดีทั้งเรื่องการเรียนหรือเรื่องการใช้ชีวิตในมหาลัย พวกอุปกรณ์ในการเรียนก็ส่งเสริมให้การเรียนมีคุณภาพมากขึ้น เพื่อน ๆ แต่ละคนก็ดีคอยช่วยเหลือกันตลอด เป็นคณะที่เรียนสนุกเลยแหละ เรียกง่าย ๆ ก็คือสภาพแวดล้อมดีไม่ทำให้เราเครียด ไม่ทำให้เรากดดันจนเกินไป ใครที่ชอบการทำอาหารแล้วยังไม่มีคณะในใจก็ลองมาเรียนคณะคหกรรมศาสตร์ของมหาลัยเราได้เลย” เราก็เป็นคนนึงที่เคยทำอาหารไม่เป็นเลย ทำอาหารไม่อร่อยเลย แต่อย่าให้ความกลัวมาเป็นอุปสรรคให้เราไม่ได้ทำในสิ่งที่ชอบ ขอแค่รักการทำอาหาร มีใจที่อยากจะทำ ที่เหลือเราจะสามารถเรียนรู้ได้เอง วัชรินทร์ สายเครือคำ คณะเทคโนโลยีคหกรรม สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ มหาวิทยาลัยราชมงคลพระนคร ข้อมูลหลักสูตร – คณะเทคโนโลยีคหกรรม สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร – หลักสูตรศิลปศาสตร์บัณฑิต (ปริญญาตรี 4 ปี) – ค่าเล่าเรียน : ประมาณ 13,000 บาทต่อเทอม – รายละเอียดเพิ่มเติม : เว็บไซต์ : คลิก Facebook : คลิก Twitter : คลิก EZ Webmaster Related Posts ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง Post navigation PREVIOUS Previous post: ทีเคพาร์ค ชวนสร้างสรรค์โปรเจกต์เพื่อสังคม ในโครงการ TK Dreammakers พื้นที่เยาวชนปั้นฝันNEXT Next post: สุดเจ๋ง ! บัณฑิตคณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย เรียนจบได้งานทำทันที สวนกระแสวิกฤต โควิด 19 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search
ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน…
สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน…
EZ Webmaster April 20, 2022 EZ Webmaster April 20, 2022 คุยกันเรื่องอาหาร? – รีวิวคณะเทคโนโลยีคหกรรม สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร! คุยกันเรื่องอาหาร? – รีวิวเทคโนโลยีคหกรรม อาหารและโภชนาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ในช่วงสถานการณ์โควิด 19 ที่ผ่านมา น้อง ๆ หลายคนก็ได้มีเวลาอยู่กับตัวเองมากขึ้น ได้ใช้เวลาว่างในการทำสิ่งต่าง ๆ ซึ่งการใช้เวลาว่างเหล่านี้เนี้ย พี่ออมเชื่อว่าทำให้น้อง ๆ หลายคนเกิดแรงบันดาลใจในการศึกษาต่อด้านต่าง ๆ นับว่าเป็นเรื่องที่ดีมากเลยค่ะที่เราได้เจอในสิ่งที่ชอบ พี่ออมคิดว่า การทำอาหาร การทำขนม เป็นอีกหนึ่งงานอดิเรกยอดฮิตที่น้อง ๆ บางคนอาจจะเพิ่งค้นพบความสามารถของตัวเองหลังจากได้ใช้เวลาไปกับมันใช่ไหมคะ วันนี้พี่ออมจะพาน้อง ๆ ไปพบกับ พี่เบส วัชรินทร์ สายเครือคำ รุ่นพี่ชั้นปีที่ 3 คณะเทคโนโลยีคหกรรม สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร กันค่ะ “เราเชื่อว่ามีหลายคนสงสัยนะว่าการเรียนคหกรรม อาหารและโภชนาการแบบเราคือ ต้องทำอาหารเป็นตั้งแต่แรกไหม ต้องทำอาหารอร่อยไหม บอกตรงนี้เลยนะว่าเราก็เป็นคนนึงไม่ได้ทำอาหารเป็นตั้งแต่แรก พอเข้ามาเรียนก็ได้เรียนรู้อะไรใหม่ ๆ มากขึ้นทั้งที่ไม่เคยมีพื้นฐานมาก่อน ถ้าถามว่าตอนนี้ทำอาหารได้อร่อยเลยไหมก็ไม่ได้ขนาดนั้น” วัชรินทร์หยุดหัวเราะก่อนอธิบายต่อ “แต่อย่างน้อยเราก็มีความกล้าที่จะทำอาหารมากขึ้น รู้วิธีการใช้เครื่องมือ อุปกรณ์การเลือกวัตถุดิบให้ถูกหลัก วัชรินทร์อธิบายเกี่ยวกับการเรียนคหกรรม อาหารและโภชนาการให้เราฟังว่า “ไม่อยากให้รู้สึกว่าเราทำอาหารไม่เป็นเลยจะมาเรียนคหกรรมแบบนี้ได้จริงหรอ อย่างของมอเราเขาก็เริ่มสอนตั้งแต่พื้นฐานเลยนะ ตอนที่เราเข้าไปปีหนึ่งเขาก็เริ่มสอนตั้งแต่วิธีการลับมีด การใช้มีด การใช้อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องครัวต่าง ๆ การเลือกวัตถุดิบ มั่นใจได้เลยว่าต่อให้คนที่ไม่เคยทำอาหารมาก่อนก็มาเรียนรู้ในมหาวิทยาลัยได้” วัชรินทร์เงียบไปครู่หนึ่งก่อนอธิบายต่อว่า “แต่ว่าการเรียนคหกรรม อาหารและโภชนาการมันไม่ใช่การเรียนทำอาหารอย่างเดียวนะ มันก็ครอบคลุมตามชื่อคณะเลย เราจะได้เรียนทั้งโภชนาการอาหาร ความปลอดภัยของอาหารในโรงพยาบาล ถ้าถามว่ามันคืออะไร มันก็คือการเรียนเกี่ยวกับอาหารของคนไข้การแยกประเภทชนิดอาหารที่เหมาะกับคนไข้ในแต่ละโรค โรคไตห้ามกินอะไร โรคหัวใจห้ามกินอะไร เรียนเรื่องสารปรุงแต่งและสารแปรรูปที่เป็นอันตรายต่ออาหารในแต่ละชนิด เราสามารถใส่ได้ในปริมาณแค่ไหนที่จะไม่เป็นอันตรายต่อร่างกาย เอาจริง ๆ พอเรียนอันนี้แล้วมีระแวงเกี่ยวกับการกินอาหารเพิ่มขึ้นนะ เพราะเรารู้ถึงโทษและประโยชน์ของสารแต่ละชนิดว่ามันส่งผลยังไงกับร่างกายบ้าง มารยาทบนโต๊ะอาหาร การแกะสลักผลไม้ การพับผ้าที่เราเคยเห็นตามโต๊ะอาหารในโรงแรม พูดรวม ๆ ก็จะเรียนทุกเรื่องที่เกี่ยวกับอาหาร” เราไม่จำเป็นจะต้องมีพื้นฐานอะไรเลยก็ได้ ขอแค่มีความตั้งใจ เพราะอาจารย์จะเริ่มสอนเราตั้งแต่ 0 ไปจนกว่าเราจะสามารถทำได้ด้วยตัวเอง ไม่ได้บอกว่าจบไปแล้วจะต้องทำอาหารอร่อยแน่นอน แต่ว่าอย่างน้อยเราจะมีความกล้าในการอาหารได้ด้วยตนเอง วัชรินทร์เล่าให้เราเกี่ยวกับ วิชาอาหารตะวันตก ซึ่งเป็นวิชาโปรดของเธอว่า “วิชาอาหารตะวันตกเป็นวิชาที่เราชอบมากที่สุดเลย เพราะรู้สึกว่ากรรมวิธีในการทำอาหารตะวันตกไม่ยุ่งยากเหมือนอาหารไทย อันนี้ไม่ได้ว่าอาหารไทยนะแต่เป็นความชอบส่วนตัวของเราเฉย ๆ” วัชรินทร์รีบส่ายมือไปมากพร้อมยิ้มร่า ก่อนพูดต่อว่า “นอกจากการทำอาหารแล้วก็เรียนรวมไปถึงการใช้อุปกรณ์บนโต๊ะอาหาร เหมือนที่หลาย ๆ คนอาจจะเคยมีโอกาสได้ไปสัมผัส หรือไปทานอาหารในโรงแรม เราก็จะเห็นว่าเขามีช้อนส้อมหลายแบบใช่ไหม เราก็จะได้เรียนว่าช้อนประเภทนี้ใช้กับซุปนะ ส้อมอันนี้ใช้กับอาหารประเภทนี้นะ เอาจริง ๆ มันก็คือเรื่องของมารยาทบนโต๊ะอาหารแหละ ส่วนหนึ่งที่เราสนใจก็เพราะรู้สึกว่ามันเป็นสิ่งที่เราไม่คุ้นเคย แตกต่างไปจากของไทย เรามองว่าความรู้ในวิชานี้มันน่าสนใจและก็สามารถนำไปใช้ได้จริงในชีวิตประจำวัน” วัชรินทร์ทวนคำถามก่อนตอบให้เราฟังว่า “ถ้าถามว่าแล้วแบบนี้คนที่เขาทำอาหารได้ดีกว่า มีฝีมือกว่าจะได้เกรดดีมากกว่าไหม มันก็มีผลแต่ว่าเล็กน้อยมาก เพราะว่าส่วนใหญ่อาจารย์จะให้สูตรและวิธีทำมาเหมือนกันอยู่แล้ว แล้วเราก็ทำตามสูตรอาหารที่อาหารได้มา ซึ่งในหลาย ๆ ครั้งเขาก็ให้ทำอาหารกันเป็นกลุ่มอะ เราก็จะได้รสชาติที่เห็นตรงกันว่าอร่อยนะ ไม่ใช้แค่ใช้เราเป็นคนตัดสินเพียงคนเดียว อาจารย์จะมาช่วยดู ไม่ได้ปล่อยให้เราทำเองหมดเลย เพราะงั้นเกรดก็ไม่ได้ออกมมต่างกันมากจนเรารู้สึกเสียความมั่นใจแน่นอน” ในสถานการณ์โควิด 19 ที่ผ่านมาทำให้หลายมหาวิทยาลัยปรับรูปแบบการเรียน วัชรินทร์ช่วยเล่าความเปลี่ยนแปลงนี้ให้เราฟังว่า “สมัยตอนเราอยู่ปี 1 เราก็ต้องเรียนในห้องตามปกติเลยเหมือนมหาวิทยาลัยทั่วไป มีเข้าแล็บ เข้าครัวทำอาหารตามปกติ ทั้งพวกครัวไทย พวกครัวเบเกอรี แต่ว่าก็จะเน้นทฤษฎีเป็นหลักก่อนนะ เพิ่งมาเริ่มปฏิบัติเยอะ ๆ ตอนปี 2 พอมีโควิดมา รูปแบบการเรียนการสอนก็เปลี่ยนไป เราก็จะไม่ได้ไปเรียนที่มหาลัย เปลี่ยนมาเป็นเรียนออนไลน์แทน หลายคนก็สงสัยใช่ไหมว่าแล้วแบบนี้จะเรียนทำอาหารได้ยังไง อาจารย์เขาจะส่งสูตรอาหาร วัตถุดิบมา พร้อมแนบวิดีโอมาให้เรา เราก็มีหน้าที่ในการทำตามโดยที่ต้องถ่ายรูป อัดวิดีโอตอนทำอาหารนั้น ๆ ส่งกลับไปให้อาจารย์ประเมินตามเกณฑ์ของเขา ส่วนการสอบก็จะมีทั้งสอบแบบทฤษฎีและสอบปฏิบัติรายบุคคล” วัชรินทร์ยังเล่าความรู้สึกของตัวเองเพิ่มเติมให้เราฟังอีกว่า “เอาจริง ๆ เราค่อนข้างสอบการสอบปฏิบัติรายบุคคลนะ พอคนอื่นได้ยินอาจจะรู้สึกว่ามันน่ากลัว ไม่กดดันหรอ ในมุมเราเรามองว่าง่ายกว่าตอนเรียนด้วยซ้ำ เพราะเราสามารถเลือกเมนูที่เราชอบ เมนูที่เราถนัด หรือบางครั้งอาจารย์ก็อาจจะให้โจทย์มาเเล้วเราก็ทำตาม เขาก็จะประเมินให้คะเเนนตามหัวข้อต่าง ๆ เราว่ามันก็ได้เปรียบตรงที่เราสามารถเลือกเองได้แต่ส่วนใหญ่ก็จะเป็นเมนูที่เราเคยเรียนมาก่อนหน้านี้แล้ว” รุ่นพี่คหกรรม สาขาวิชาอาหารและโภชนาการได้ทิ้งท้ายไว้กับพวกเรา “ไม่อยากให้น้อง ๆ รู้สึกกลัวการเรียนทำอาหารเพราะว่ายังไม่เคยทำ หรือคิดว่าตัวเองทำได้ไม่ดีเพราะว่าถ้าแค่เราชอบหรือมีใจอยากจะลองทำอาหารก็สามารถมาเรียนได้ ไม่จำเป็นว่าต้องทำอาหารเก่ง มีพื้นฐานเพราะอาจารย์ที่คณะได้สอนเราต้องแต่เริ่มต้น คอยให้คำปรึกษาได้ดีทั้งเรื่องการเรียนหรือเรื่องการใช้ชีวิตในมหาลัย พวกอุปกรณ์ในการเรียนก็ส่งเสริมให้การเรียนมีคุณภาพมากขึ้น เพื่อน ๆ แต่ละคนก็ดีคอยช่วยเหลือกันตลอด เป็นคณะที่เรียนสนุกเลยแหละ เรียกง่าย ๆ ก็คือสภาพแวดล้อมดีไม่ทำให้เราเครียด ไม่ทำให้เรากดดันจนเกินไป ใครที่ชอบการทำอาหารแล้วยังไม่มีคณะในใจก็ลองมาเรียนคณะคหกรรมศาสตร์ของมหาลัยเราได้เลย” เราก็เป็นคนนึงที่เคยทำอาหารไม่เป็นเลย ทำอาหารไม่อร่อยเลย แต่อย่าให้ความกลัวมาเป็นอุปสรรคให้เราไม่ได้ทำในสิ่งที่ชอบ ขอแค่รักการทำอาหาร มีใจที่อยากจะทำ ที่เหลือเราจะสามารถเรียนรู้ได้เอง วัชรินทร์ สายเครือคำ คณะเทคโนโลยีคหกรรม สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ มหาวิทยาลัยราชมงคลพระนคร ข้อมูลหลักสูตร – คณะเทคโนโลยีคหกรรม สาขาวิชาอาหารและโภชนาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร – หลักสูตรศิลปศาสตร์บัณฑิต (ปริญญาตรี 4 ปี) – ค่าเล่าเรียน : ประมาณ 13,000 บาทต่อเทอม – รายละเอียดเพิ่มเติม : เว็บไซต์ : คลิก Facebook : คลิก Twitter : คลิก