สสวท. เชิญใช้ฟรี “คลังคำศัพท์” รับเปิดเทอมใหม่ มัดรวมศัพท์ในหนังสือเรียนวิชาที่ สสวท. พัฒนา EZ WebmasterJune 19, 2025 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) เชิญครูนักเรียนใช้งาน “คลังคำศัพท์” วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี โดย สสวท.ได้จัดทำพจนานุกรมศัพท์วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี (escivocab) ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ ที่ยึดหลักการเขียนและการใช้คำศัพท์ตามเกณฑ์ของราชบัณฑิตยสถาน ซึ่งได้รวบรวมคำศัพท์ที่อยู่ในหนังสือเรียนสาระการเรียนรู้วิชาต่าง ๆ ที่ สสวท.พัฒนาและเผยแพร่ในสถานศึกษา ประกอบด้วยศัพท์บัญญัติทั้งภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และคำอธิบาย คลิกใช้งานฟรีที่คลังความรู้ SciMath สสวท. https://www.scimath.org/escivocab 11 สาเหตุลึกซึ้ง ทำไมการศึกษาไทยยังตกต่ำ? เสียงสะท้อนจากครูชนบท สู่คำถามใหญ่ของสังคม EZ WebmasterJune 19, 2025 ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ประเทศไทยกำลังเผชิญกับวิกฤตคุณภาพทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง แม้จะมีความพยายามปฏิรูปหลายครั้ง แต่กลับไม่สามารถยกระดับการเรียนรู้ให้เทียบเท่าประเทศเพื่อนบ้านได้อย่างแท้จริงนายสานิตย์ พลศรี นายกสมาคมครูชนบทจังหวัดชัยภูมิ ในหัวข้อ “สาเหตุของปัญหาคุณภาพด้านการศึกษาประเทศไทยที่ตกต่ำ” ซึ่งกำลังถูกส่งต่ออย่างกว้างขวางในโซเชียลมีเดียและกลุ่มไลน์ของคนในแวดวงการศึกษาเสียงสะท้อนจากผู้ที่อยู่ในภาคสนามจริงอย่างนายสานิตย์ ทำให้เราได้เห็นภาพที่ชัดเจนมากขึ้นว่า ปัญหาไม่ได้อยู่ที่ตัวนักเรียนหรือครูเพียงลำพัง แต่เป็นผลสะสมจากโครงสร้าง ระบบ และการบริหารที่ผิดทิศผิดทางมานานจึงเป็นการเปิดประเด็นให้สังคมได้ทบทวนร่วมกันว่า หากเราไม่เริ่ม “เปลี่ยนจริง” คุณภาพการศึกษาของไทยอาจยิ่งตกต่ำลงกว่าที่เป็นอยู่ 11… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนธารทองพิทยาคม EZ WebmasterJune 19, 2025 อีกหนึ่งความทรงจำดีๆ ในโรงเรียนธารทองพทยาคม กับโครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนธารทองพิทยาคม จ.บุรีรัมย์ วันที่ 13/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนแม่เมาะวิทยา EZ WebmasterJune 18, 2025 ความสุขเล็กๆ ในวันที่ได้ทำกิจกรรมร่วมกัน โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด พากิจกรรมดีๆ มาถึงโรงเรียนแม่เมาะวิทยา จ.ลำปาง วันที่18/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า (ครูแอน)… นักศึกษา มธ. ปักหมุดหลักสูตร ‘AI Ethics’ หนุนบริบทใหม่ของห้องเรียนทันโลก สร้างจุดยืนคนรุ่นใหม่ ‘ใช้เอไออย่างมีจริยธรรม’ พร้อมเดินหน้าวางหมุดหมายระบบการศึกษาไทย กับการปลุกการใช้เทคฯ คู่ธรรมาภิบาล คาดเริ่มเปิดลงทะเบียนพร้อมเรียนจริง สิงหาคม 68 นี้ EZ WebmasterJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) ตอกย้ำจุดยืนเชิงรุกต่อการเปลี่ยนผ่านของโลกยุคดิจิทัล ผ่านการพัฒนาหลักสูตร “AI Ethics” หรือจริยธรรมปัญญาประดิษฐ์ ภายใต้ยุทธศาสตร์ Thammasat Next Century เตรียมความพร้อมให้เยาวชนไทยมีทั้งความรู้ ความสามารถ และความรับผิดชอบในการใช้งานเทคโนโลยีอย่างเหมาะสม โดยเฉพาะในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อที่ปัญญาประดิษฐ์กำลังกลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวัน ทั้งในห้องเรียน ที่ทำงาน และบนแพลตฟอร์มออนไลน์ต่าง ๆ โดยหลักสูตรนี้ถูกวางให้เป็นรากฐานสำคัญของระบบการศึกษายุคใหม่ ที่ไม่เพียงเน้นทักษะด้านเทคนิคเท่านั้น แต่ยังปลูกฝังค่านิยมที่ถูกต้องในการอยู่ร่วมกับเทคโนโลยี พร้อมชี้ให้เห็นถึงความเสี่ยงของ AI ที่เกิดจาก… 11 สาเหตุลึกซึ้ง ทำไมการศึกษาไทยยังตกต่ำ? เสียงสะท้อนจากครูชนบท สู่คำถามใหญ่ของสังคม EZ WebmasterJune 19, 2025 ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ประเทศไทยกำลังเผชิญกับวิกฤตคุณภาพทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง แม้จะมีความพยายามปฏิรูปหลายครั้ง แต่กลับไม่สามารถยกระดับการเรียนรู้ให้เทียบเท่าประเทศเพื่อนบ้านได้อย่างแท้จริงนายสานิตย์ พลศรี นายกสมาคมครูชนบทจังหวัดชัยภูมิ ในหัวข้อ “สาเหตุของปัญหาคุณภาพด้านการศึกษาประเทศไทยที่ตกต่ำ” ซึ่งกำลังถูกส่งต่ออย่างกว้างขวางในโซเชียลมีเดียและกลุ่มไลน์ของคนในแวดวงการศึกษาเสียงสะท้อนจากผู้ที่อยู่ในภาคสนามจริงอย่างนายสานิตย์ ทำให้เราได้เห็นภาพที่ชัดเจนมากขึ้นว่า ปัญหาไม่ได้อยู่ที่ตัวนักเรียนหรือครูเพียงลำพัง แต่เป็นผลสะสมจากโครงสร้าง ระบบ และการบริหารที่ผิดทิศผิดทางมานานจึงเป็นการเปิดประเด็นให้สังคมได้ทบทวนร่วมกันว่า หากเราไม่เริ่ม “เปลี่ยนจริง” คุณภาพการศึกษาของไทยอาจยิ่งตกต่ำลงกว่าที่เป็นอยู่ 11… ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา EZ WebmasterJune 18, 2025 วิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิทักษ์ ธรรมวาริน (คนที่ 4 จากซ้าย) คณบดีวิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สจล. และ Mr. Alfonso Martin (คนที่ 3… คณะมนุษยศาสตร์ ม.หอการค้าไทย จัดหลักสูตรรุกหน้าการันตี “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน!!” EZ WebmasterJune 18, 2025 “ภาษา” มิใช่เพียงเครื่องมือสื่อสารแต่เป็นกุญแจสำคัญในการเรียนรู้และเข้าใจวัฒนธรรม การคิดวิเคราะห์และสร้างสรรค์นวัตกรรม ผู้ที่มีทักษะด้านภาษาที่แข็งแกร่งจะสามารถเป็นข้อได้เปรียบหรือประสบความสำเร็จได้ในโลกที่เปลี่ยนแปลงและผู้คนทั่วโลกเชื่อมโยงสื่อสารถึงกันได้ในพริบตาแม้จะต่างชาติ ต่างภาษา ต่างวัฒนธรรม การเรียนรู้ฝึกฝนมีทักษะภาษาจึงมิใช่แค่รู้หรือพูดภาษานานาชาติได้เท่านั้น แต่การเรียนภาษาให้มีรายได้ดี มีอาชีพมั่นคง เป็นมนุษย์เงินเดือนอิสระ ถึงขั้นการันตีได้ว่า “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน !!! นั้นก็เป็นสิ่งเพิ่มมูลค่าและมีคุณค่าอย่างน่าภูมิใจ เฉกเช่นที่ล่าสุด Miss World… ทุนดีดี Kazan Global Youth Summit InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 19, 2025 เชิญเยาวชนสมัครคัดเลือกเข้าร่วมการประชุม Kazan Global Youth Summit ครั้งที่ 4 ระหว่างวันที่ 27 – 30 สิงหาคม 2568 ณ เมืองคาซาน สาธารณรัฐตาตาร์สตาน สหพันธรัฐรัสเซีย จัดโดยรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐตาตาร์สตาน… SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… ครู-อาจารย์ มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ… สจล. เดินหน้ากระชับความร่วมมือทางวิชาการ กับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของจีน EZ WebmasterJune 19, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เดินหน้ากระชับความสัมพันธ์ทางวิชาการกับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งเป็นพันธมิตรที่มีความร่วมมือกันมานานกว่า 20 ปี เพื่อหารือขยายความร่วมมือเชิงลึกในสาขาวิศวกรรมขั้นสูง โดยเฉพาะด้าน Aerospace, Mechatronics, Automation และ Astronautics ซึ่ง HIT ถือเป็นสถาบันชั้นนำของจีนในด้านนี้ พร้อมทั้งหารือแนวทางความร่วมมือด้านการแลกเปลี่ยนนักศึกษา นักวิจัย และการพัฒนาโครงการ Joint Degree ในอนาคต รองศาสตราจารย์… อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก tui sakrapeeJune 18, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา นำโดย รศ.ดร.ชุติกาญจน์ ศรีวิบูลย์ อธิการบดี พร้อมคณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย เดินทางเยือนโรงเรียนนานาชาติ Qingdao No.1 International School of Shandong Province (QISS) และ Qingdao University… กองกลาง มจพ. เยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ และจัดสัมมนาจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล ประจำปี 2568 EZ WebmasterJune 18, 2025 ผศ.ดร.สราวุฒิ สืบแย้ม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายการคลังและกิจการทั่วไป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยนางสาวรัตนา สุขเฉลิมศรี ผู้อำนวยการกองกลาง และบุคลากรกองกลาง เข้าเยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ มจพ. ณ ชั้น 3 สำนักงานหอสมุดกลาง โดยมีนางสาวพนารมย์ เกียรติลีลานันท์ และ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster January 12, 2022 EZ Webmaster January 12, 2022 เปิดไอเดียบริหารโรงเรียนมัธยม “รัฐ-เอกชน” สะท้อน “บิ๊กร็อค 2” รับปีเสือ พร้อมส่องโมเดลการ “เพิ่มอิสระ” “เพิ่มแอคทีฟเลินนิ่ง” รับเด็ก GEN ใหม่ ท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงของโลกที่ดำเนินไปอย่างรวดเร็ว อิทธิพลจากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี และนวัตกรรมต่างๆ ได้เข้ามามีบทบาทกับวิถีการดำเนินชีวิตของผู้คนในทุกช่วงวัย การเข้าถึงข้อมูลข่าวสารและองค์ความรู้ในปัจจุบันไร้ซึ่งข้อจำกัดทั้งในด้านเวลาและสถานที่ การเรียนรู้จึงไม่ได้ถูกจำกัดอยู่แค่ภายในห้องเรียนหรือสถานศึกษา อีกทั้ง สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ที่ยืดเยื้อมาเป็นเวลานานกว่าสองปี ทำให้เด็กและเยาวชนต้องปรับตัวกับ การเรียนออนไลน์ที่บ้านและเผชิญกับสภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้ออำนวยต่อการเรียนรู้นำไปสู่ปัญหาที่ตามมาจำนวนมาก เช่น ขาดการมีส่วนร่วม/ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน ผู้เรียนขาดสมาธิกับการเรียนผ่านจอเป็นเวลานาน ซึ่งส่งผลให้ประสิทธิภาพในการเรียนรู้ลดลง นับเป็นอีกหนึ่งความท้าทายของสถาบันการศึกษาและครูผู้สอนที่ต้องปรับระบบการศึกษาเพื่อรับมือกับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะการสนับสนุนให้ครูผู้สอนพัฒนาศักยภาพและทักษะในการออกแบบการจัดการเรียนการสอนและอาศัยเทคโนโลยีเข้ามาเป็นเครื่องมือสำคัญ ปรับบทบาทจากผู้ที่ถ่ายทอดเนื้อหาตามหลักสูตรอยู่ฝ่ายเดียว สู่การเป็น ‘โค้ชชิ่ง’ (Coaching) ที่มีส่วนสำคัญในการกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนมีส่วนร่วม (Active Learning) เน้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมกับกระบวนการเรียนรู้ในทุกขั้นตอน โดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางของการเรียนรู้ ผ่านกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะที่สามารถนำไปใช้ในการดำเนินชีวิตจริง และสามารถรับมือกับกับความเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 แม้ว่ามีสถานศึกษาหลายแห่งนำรูปแบบการจัดการเรียนรู้ดังกล่าวมาปรับใช้บ้างแล้ว แต่ก็ยังเป็นเรื่องที่ต้องกระตุ้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งระบบต่อไป เพื่อตอบสนองต่อการพัฒนาของสังคมโลกยุคใหม่อย่างแท้จริง โดยวันนี้จะพาไปทำความรู้จักกับแนวคิดการบริหารสถานศึกษา จากสองผู้บริหารโรงเรียนดังสังกัดรัฐและสังกัดเอกชน ถึงแนวทางการปรับการจัดการเรียนการสอนในช่วงวิกฤตโควิด-19 ว่ามีวิธีการเตรียมความพร้อมรับมือและแนวทางการปรับการจัดการเรียนการสอนท่ามกลางบริบทที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างไร “ห้องเรียนกลับด้าน เปลี่ยนบ้านให้เป็นคลาสกิจกรรม” รศ.ดร.วิวัฒน์ เรืองเลิศปัญญากุล กรรมการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา และรักษาการผู้อำนวยการโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ กล่าวว่า สิ่งที่สำคัญที่สุดในการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning คือ การสร้างการมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ของผู้เรียน โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ได้เตรียมรับมือกับสถานการณ์โควิด-19 ด้วยการอบรมครูผู้สอนล่วงหน้า ตั้งแต่ก่อนภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 ให้ครูทุกคนมีทักษะด้านเทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอนรูปแบบออนไลน์ มีความสามารถในการจัดทำและตัดต่อสื่อการสอนรูปแบบคลิปวีดีโอ เพื่อนำมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนแบบ “Flipped Classroom” หรือห้องเรียนกลับด้าน เป็นวิธีการที่ให้นักเรียนได้เรียนจากคลิปวีดีโอที่ครูผู้สอนในแต่ละวิชาเป็นผู้จัดทำด้วยตัวเองที่บ้านก่อน แล้วจึงนำประเด็นต่างๆ จากเนื้อหามาแลกเปลี่ยนหรือถกเถียงกันอีกครั้งในห้องเรียนออนไลน์ โดยแบ่งสัดส่วนเป็นช่วงที่ให้นักเรียนกับครูผู้สอนได้เจอหน้าและโต้ตอบกัน (Synchronous Learning) ออกเป็นร้อยละ 70 และอีกร้อยละ 30 คือช่วงเวลาที่นักเรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านระบบสื่อการเรียนการสอน (Asynchronous Learning) ซึ่งโรงเรียนได้ทำแบบสอบถามความคิดเห็นจากนักเรียนเป็นประจำทุกเดือน เพื่อนำผลตอบรับจากนักเรียนมาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนในช่วงวิกฤตที่ผ่านมา “อย่างไรก็ตาม แม้จะมีเทคโนโลยีมากมายที่เข้ามาสนับสนุนการเรียนรู้ระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แต่อีกเรื่องที่โรงเรียนให้ความสำคัญคือ ทัศนคติของครูที่ต้องเคารพความแตกต่างของนักเรียนแต่ละคน เพราะนักเรียนแต่ละคนมีวิธีการเรียนรู้ ความรวดเร็วในการเรียนรู้ และความสนใจที่แตกต่างกัน รวมทั้งทีมผู้บริหารสถานศึกษาที่ต้องบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมและสร้างบรรยากาศในการจัดการเรียนการสอน สนับสนุนให้ครูและนักเรียนอยู่ในบรรยากาศที่ดีที่สุดในการเรียนรู้ จัดหาอุปกรณ์ และสรรหาบุคลากรเพื่อรองรับการเรียนการสอนภายใต้บริบทที่เปลี่ยนไปในปัจจุบัน ให้การเรียนการสอนคงไว้ซึ่งประสิทธิภาพมากที่สุด” “Think-Pair-Share เติมเต็มการเรียนรู้ สร้างการมีส่วนร่วม ด้วยเทคนิคเพื่อนคู่คิด” ในด้านฝั่งโรงเรียนเอกชน นางวราภรณ์ ทรัพย์สมบูรณ์ รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการและมาตรฐานคุณภาพ ปฏิบัติหน้าที่ผู้อำนวยการโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย ได้เปิดเผยว่า โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัยได้เริ่มนำรูปแบบการเรียนการสอนแบบ Active Learning มาปรับใช้ตั้งแต่ก่อนเกิดสถานการณ์โควิด-19 ทำให้ครูผู้สอนมีประสบการณ์และสามารถนำมาปรับใช้กับการสอนรูปแบบออนไลน์ในช่วงที่ผ่านมาได้เป็นอย่างดี โดยยึดแนวคิดสำคัญของการสร้างการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม คือ “เต็มใจเรียนรู้” และ “สนุกกับการมีส่วนร่วม” การจัดการเรียนการสอนแบบโครงงานเป็นฐาน (Project Based Learning) และการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problems Based Learning) ถูกนำมาใช้ในกลุ่มการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และกลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ค้นคว้าและลงมือปฏิบัติจริงจากกิจกรรมการทดลองซึ่งสามารถทำได้เองที่บ้าน โดยยึดจากเรื่องรอบตัวในชีวิตประจำวันที่นักเรียนสนใจ ส่วนครูผู้สอนมีบทบาทในการกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ และปรับความยากง่ายของโจทย์ให้เป็นไปตามระดับชั้น นอกจากนี้โรงเรียนยังใช้การจัดการเรียนการสอนแบบสะท้อนคิด (Think Pair Share) และการจัดการเรียนการสอนที่เน้นแบบร่วมมือ (Collaborative Learning Group) ด้วยกิจกรรมการแบ่งกลุ่มหรือจับคู่ ให้นักเรียนได้พูดคุยถึงประเด็นปัญหาที่แต่ละคนสนใจ และนำมาร่วมกันคิดวิเคราะห์เพื่อหาคำตอบและนำเสนอร่วมกันในชั้นเรียน วิธีการนี้ทำให้นักเรียนได้เกิดการแลกเปลี่ยนความคิด และมีส่วนร่วมในชั้นเรียนอย่างเท่าเทียม รวมถึงเพิ่มทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่นอีกด้วย “ในระยะแรกครูผู้สอนอาจยังมีความกังวล เนื่องจากไม่คุ้นชินกับการปรับการเรียนการสอน ทางโรงเรียนได้ใช้วิธีการ Peer Coaching หรือเพื่อนช่วยเพื่อน ให้เพื่อนครูในกลุ่มสาระในช่วงวัยเดียวกันคอยนิเทศการสอนเพื่อพัฒนาครูร่วมกัน เพื่อให้การสอนมีประสิทธิภาพมากที่สุด นอกจากนี้ โรงเรียนยังได้เห็นความสำคัญของความคิดเห็นจากนักเรียน ซึ่งนับเป็นสิ่งที่สำคัญมากในการนำไปปรับปรุงวิธีการจัดการเรียนการสอน โดยเฉพาะนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาของโรงเรียน ที่มีความกล้าแสดงออกและสามารถเสนอแนะถึงวิธีการสอน รวมทั้งเสียงจากผู้ปกครองที่ช่วยเสนอแนวคิดใหม่ๆ มาโดยตลอด เพื่อร่วมกันพัฒนาการจัดการเรียนการสอนตามแนวทางการเรียนรู้ร่วมกันต่อไป” อย่างไรก็ดี กระบวนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาสมรรถนะแบบผู้เรียนสร้างความรู้ด้วยตนเองข้างต้น ถือเป็นหนึ่งในภารกิจการปฏิรูประบบการศึกษาไทยของ คณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา ที่ได้กำหนดกรอบการปฏิรูประบบการศึกษาไทยเชิงนโยบาย ด้านการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนสู่การเรียนรู้ฐานสมรรถนะ เพื่อตอบสนองการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 หรือ บิ๊กร็อคที่ 2 ที่มีเป้าหมายให้ผู้เรียนในทุกระดับชั้นเป็นผู้มีความรู้และทักษะในการดำรงชีวิตในโลกยุคใหม่ เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมและโลก ส่วนหนึ่งของตัวอย่างความสำเร็จ คือ โมเดลในการปรับเปลี่ยนกระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning โดย กระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) ผ่านโรงเรียนต้นแบบ 30 โรงเรียน ที่นักเรียนสามารถสร้างสรรค์นวัตกรรมขึ้นกว่า 1,500 นวัตกรรม และกำลังเร่งขยายผลไปยังพื้นที่อื่นๆ ให้ครอบคลุมสถานศึกษาทั่วประเทศโดยเร็ว ติดตามความเคลื่อนไหวกิจกรรม ของ คณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา ได้ใน 4 ช่องทาง ดังนี้ เว็บไซต์ https://www.thaiedreform2022.org เฟซบุ๊กแฟนเพจ https://web.facebook.com/Thaiedreform2022 ยูทูบช่อง ‘thaiedreform2022’ และทวิตเตอร์ https://twitter.com/Thaiedreform22 EZ Webmaster Related Posts มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 สจล. เดินหน้ากระชับความร่วมมือทางวิชาการ กับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของจีน อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก กองกลาง มจพ. เยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ และจัดสัมมนาจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล ประจำปี 2568 คณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล มจพ. ชูธงร่วมเครือข่ายจัดใหญ่การประชุมวิชาการ นวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (FIAC) 2025 Post navigation PREVIOUS Previous post: นศ.บริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทยเพิ่มลุคสีผมเรียนออนไลน์ต้อนรับเปิดเทอม ผ่อนคลายสถานการณ์โควิด-19NEXT Next post: สิ่งต้องรู้ก่อนสมัครสอบ GAT/PAT & วิชาสามัญ TCAS65 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
11 สาเหตุลึกซึ้ง ทำไมการศึกษาไทยยังตกต่ำ? เสียงสะท้อนจากครูชนบท สู่คำถามใหญ่ของสังคม EZ WebmasterJune 19, 2025 ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ประเทศไทยกำลังเผชิญกับวิกฤตคุณภาพทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง แม้จะมีความพยายามปฏิรูปหลายครั้ง แต่กลับไม่สามารถยกระดับการเรียนรู้ให้เทียบเท่าประเทศเพื่อนบ้านได้อย่างแท้จริงนายสานิตย์ พลศรี นายกสมาคมครูชนบทจังหวัดชัยภูมิ ในหัวข้อ “สาเหตุของปัญหาคุณภาพด้านการศึกษาประเทศไทยที่ตกต่ำ” ซึ่งกำลังถูกส่งต่ออย่างกว้างขวางในโซเชียลมีเดียและกลุ่มไลน์ของคนในแวดวงการศึกษาเสียงสะท้อนจากผู้ที่อยู่ในภาคสนามจริงอย่างนายสานิตย์ ทำให้เราได้เห็นภาพที่ชัดเจนมากขึ้นว่า ปัญหาไม่ได้อยู่ที่ตัวนักเรียนหรือครูเพียงลำพัง แต่เป็นผลสะสมจากโครงสร้าง ระบบ และการบริหารที่ผิดทิศผิดทางมานานจึงเป็นการเปิดประเด็นให้สังคมได้ทบทวนร่วมกันว่า หากเราไม่เริ่ม “เปลี่ยนจริง” คุณภาพการศึกษาของไทยอาจยิ่งตกต่ำลงกว่าที่เป็นอยู่ 11… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนธารทองพิทยาคม EZ WebmasterJune 19, 2025 อีกหนึ่งความทรงจำดีๆ ในโรงเรียนธารทองพทยาคม กับโครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนธารทองพิทยาคม จ.บุรีรัมย์ วันที่ 13/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนแม่เมาะวิทยา EZ WebmasterJune 18, 2025 ความสุขเล็กๆ ในวันที่ได้ทำกิจกรรมร่วมกัน โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด พากิจกรรมดีๆ มาถึงโรงเรียนแม่เมาะวิทยา จ.ลำปาง วันที่18/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า (ครูแอน)… นักศึกษา มธ. ปักหมุดหลักสูตร ‘AI Ethics’ หนุนบริบทใหม่ของห้องเรียนทันโลก สร้างจุดยืนคนรุ่นใหม่ ‘ใช้เอไออย่างมีจริยธรรม’ พร้อมเดินหน้าวางหมุดหมายระบบการศึกษาไทย กับการปลุกการใช้เทคฯ คู่ธรรมาภิบาล คาดเริ่มเปิดลงทะเบียนพร้อมเรียนจริง สิงหาคม 68 นี้ EZ WebmasterJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) ตอกย้ำจุดยืนเชิงรุกต่อการเปลี่ยนผ่านของโลกยุคดิจิทัล ผ่านการพัฒนาหลักสูตร “AI Ethics” หรือจริยธรรมปัญญาประดิษฐ์ ภายใต้ยุทธศาสตร์ Thammasat Next Century เตรียมความพร้อมให้เยาวชนไทยมีทั้งความรู้ ความสามารถ และความรับผิดชอบในการใช้งานเทคโนโลยีอย่างเหมาะสม โดยเฉพาะในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อที่ปัญญาประดิษฐ์กำลังกลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวัน ทั้งในห้องเรียน ที่ทำงาน และบนแพลตฟอร์มออนไลน์ต่าง ๆ โดยหลักสูตรนี้ถูกวางให้เป็นรากฐานสำคัญของระบบการศึกษายุคใหม่ ที่ไม่เพียงเน้นทักษะด้านเทคนิคเท่านั้น แต่ยังปลูกฝังค่านิยมที่ถูกต้องในการอยู่ร่วมกับเทคโนโลยี พร้อมชี้ให้เห็นถึงความเสี่ยงของ AI ที่เกิดจาก… 11 สาเหตุลึกซึ้ง ทำไมการศึกษาไทยยังตกต่ำ? เสียงสะท้อนจากครูชนบท สู่คำถามใหญ่ของสังคม EZ WebmasterJune 19, 2025 ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ประเทศไทยกำลังเผชิญกับวิกฤตคุณภาพทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง แม้จะมีความพยายามปฏิรูปหลายครั้ง แต่กลับไม่สามารถยกระดับการเรียนรู้ให้เทียบเท่าประเทศเพื่อนบ้านได้อย่างแท้จริงนายสานิตย์ พลศรี นายกสมาคมครูชนบทจังหวัดชัยภูมิ ในหัวข้อ “สาเหตุของปัญหาคุณภาพด้านการศึกษาประเทศไทยที่ตกต่ำ” ซึ่งกำลังถูกส่งต่ออย่างกว้างขวางในโซเชียลมีเดียและกลุ่มไลน์ของคนในแวดวงการศึกษาเสียงสะท้อนจากผู้ที่อยู่ในภาคสนามจริงอย่างนายสานิตย์ ทำให้เราได้เห็นภาพที่ชัดเจนมากขึ้นว่า ปัญหาไม่ได้อยู่ที่ตัวนักเรียนหรือครูเพียงลำพัง แต่เป็นผลสะสมจากโครงสร้าง ระบบ และการบริหารที่ผิดทิศผิดทางมานานจึงเป็นการเปิดประเด็นให้สังคมได้ทบทวนร่วมกันว่า หากเราไม่เริ่ม “เปลี่ยนจริง” คุณภาพการศึกษาของไทยอาจยิ่งตกต่ำลงกว่าที่เป็นอยู่ 11… ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา EZ WebmasterJune 18, 2025 วิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิทักษ์ ธรรมวาริน (คนที่ 4 จากซ้าย) คณบดีวิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สจล. และ Mr. Alfonso Martin (คนที่ 3… คณะมนุษยศาสตร์ ม.หอการค้าไทย จัดหลักสูตรรุกหน้าการันตี “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน!!” EZ WebmasterJune 18, 2025 “ภาษา” มิใช่เพียงเครื่องมือสื่อสารแต่เป็นกุญแจสำคัญในการเรียนรู้และเข้าใจวัฒนธรรม การคิดวิเคราะห์และสร้างสรรค์นวัตกรรม ผู้ที่มีทักษะด้านภาษาที่แข็งแกร่งจะสามารถเป็นข้อได้เปรียบหรือประสบความสำเร็จได้ในโลกที่เปลี่ยนแปลงและผู้คนทั่วโลกเชื่อมโยงสื่อสารถึงกันได้ในพริบตาแม้จะต่างชาติ ต่างภาษา ต่างวัฒนธรรม การเรียนรู้ฝึกฝนมีทักษะภาษาจึงมิใช่แค่รู้หรือพูดภาษานานาชาติได้เท่านั้น แต่การเรียนภาษาให้มีรายได้ดี มีอาชีพมั่นคง เป็นมนุษย์เงินเดือนอิสระ ถึงขั้นการันตีได้ว่า “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน !!! นั้นก็เป็นสิ่งเพิ่มมูลค่าและมีคุณค่าอย่างน่าภูมิใจ เฉกเช่นที่ล่าสุด Miss World… ทุนดีดี Kazan Global Youth Summit InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 19, 2025 เชิญเยาวชนสมัครคัดเลือกเข้าร่วมการประชุม Kazan Global Youth Summit ครั้งที่ 4 ระหว่างวันที่ 27 – 30 สิงหาคม 2568 ณ เมืองคาซาน สาธารณรัฐตาตาร์สตาน สหพันธรัฐรัสเซีย จัดโดยรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐตาตาร์สตาน… SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… ครู-อาจารย์ มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ… สจล. เดินหน้ากระชับความร่วมมือทางวิชาการ กับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของจีน EZ WebmasterJune 19, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เดินหน้ากระชับความสัมพันธ์ทางวิชาการกับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งเป็นพันธมิตรที่มีความร่วมมือกันมานานกว่า 20 ปี เพื่อหารือขยายความร่วมมือเชิงลึกในสาขาวิศวกรรมขั้นสูง โดยเฉพาะด้าน Aerospace, Mechatronics, Automation และ Astronautics ซึ่ง HIT ถือเป็นสถาบันชั้นนำของจีนในด้านนี้ พร้อมทั้งหารือแนวทางความร่วมมือด้านการแลกเปลี่ยนนักศึกษา นักวิจัย และการพัฒนาโครงการ Joint Degree ในอนาคต รองศาสตราจารย์… อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก tui sakrapeeJune 18, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา นำโดย รศ.ดร.ชุติกาญจน์ ศรีวิบูลย์ อธิการบดี พร้อมคณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย เดินทางเยือนโรงเรียนนานาชาติ Qingdao No.1 International School of Shandong Province (QISS) และ Qingdao University… กองกลาง มจพ. เยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ และจัดสัมมนาจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล ประจำปี 2568 EZ WebmasterJune 18, 2025 ผศ.ดร.สราวุฒิ สืบแย้ม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายการคลังและกิจการทั่วไป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยนางสาวรัตนา สุขเฉลิมศรี ผู้อำนวยการกองกลาง และบุคลากรกองกลาง เข้าเยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ มจพ. ณ ชั้น 3 สำนักงานหอสมุดกลาง โดยมีนางสาวพนารมย์ เกียรติลีลานันท์ และ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster January 12, 2022 EZ Webmaster January 12, 2022 เปิดไอเดียบริหารโรงเรียนมัธยม “รัฐ-เอกชน” สะท้อน “บิ๊กร็อค 2” รับปีเสือ พร้อมส่องโมเดลการ “เพิ่มอิสระ” “เพิ่มแอคทีฟเลินนิ่ง” รับเด็ก GEN ใหม่ ท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงของโลกที่ดำเนินไปอย่างรวดเร็ว อิทธิพลจากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี และนวัตกรรมต่างๆ ได้เข้ามามีบทบาทกับวิถีการดำเนินชีวิตของผู้คนในทุกช่วงวัย การเข้าถึงข้อมูลข่าวสารและองค์ความรู้ในปัจจุบันไร้ซึ่งข้อจำกัดทั้งในด้านเวลาและสถานที่ การเรียนรู้จึงไม่ได้ถูกจำกัดอยู่แค่ภายในห้องเรียนหรือสถานศึกษา อีกทั้ง สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ที่ยืดเยื้อมาเป็นเวลานานกว่าสองปี ทำให้เด็กและเยาวชนต้องปรับตัวกับ การเรียนออนไลน์ที่บ้านและเผชิญกับสภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้ออำนวยต่อการเรียนรู้นำไปสู่ปัญหาที่ตามมาจำนวนมาก เช่น ขาดการมีส่วนร่วม/ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน ผู้เรียนขาดสมาธิกับการเรียนผ่านจอเป็นเวลานาน ซึ่งส่งผลให้ประสิทธิภาพในการเรียนรู้ลดลง นับเป็นอีกหนึ่งความท้าทายของสถาบันการศึกษาและครูผู้สอนที่ต้องปรับระบบการศึกษาเพื่อรับมือกับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะการสนับสนุนให้ครูผู้สอนพัฒนาศักยภาพและทักษะในการออกแบบการจัดการเรียนการสอนและอาศัยเทคโนโลยีเข้ามาเป็นเครื่องมือสำคัญ ปรับบทบาทจากผู้ที่ถ่ายทอดเนื้อหาตามหลักสูตรอยู่ฝ่ายเดียว สู่การเป็น ‘โค้ชชิ่ง’ (Coaching) ที่มีส่วนสำคัญในการกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนมีส่วนร่วม (Active Learning) เน้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมกับกระบวนการเรียนรู้ในทุกขั้นตอน โดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางของการเรียนรู้ ผ่านกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะที่สามารถนำไปใช้ในการดำเนินชีวิตจริง และสามารถรับมือกับกับความเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 แม้ว่ามีสถานศึกษาหลายแห่งนำรูปแบบการจัดการเรียนรู้ดังกล่าวมาปรับใช้บ้างแล้ว แต่ก็ยังเป็นเรื่องที่ต้องกระตุ้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งระบบต่อไป เพื่อตอบสนองต่อการพัฒนาของสังคมโลกยุคใหม่อย่างแท้จริง โดยวันนี้จะพาไปทำความรู้จักกับแนวคิดการบริหารสถานศึกษา จากสองผู้บริหารโรงเรียนดังสังกัดรัฐและสังกัดเอกชน ถึงแนวทางการปรับการจัดการเรียนการสอนในช่วงวิกฤตโควิด-19 ว่ามีวิธีการเตรียมความพร้อมรับมือและแนวทางการปรับการจัดการเรียนการสอนท่ามกลางบริบทที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างไร “ห้องเรียนกลับด้าน เปลี่ยนบ้านให้เป็นคลาสกิจกรรม” รศ.ดร.วิวัฒน์ เรืองเลิศปัญญากุล กรรมการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา และรักษาการผู้อำนวยการโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ กล่าวว่า สิ่งที่สำคัญที่สุดในการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning คือ การสร้างการมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ของผู้เรียน โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ได้เตรียมรับมือกับสถานการณ์โควิด-19 ด้วยการอบรมครูผู้สอนล่วงหน้า ตั้งแต่ก่อนภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 ให้ครูทุกคนมีทักษะด้านเทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอนรูปแบบออนไลน์ มีความสามารถในการจัดทำและตัดต่อสื่อการสอนรูปแบบคลิปวีดีโอ เพื่อนำมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนแบบ “Flipped Classroom” หรือห้องเรียนกลับด้าน เป็นวิธีการที่ให้นักเรียนได้เรียนจากคลิปวีดีโอที่ครูผู้สอนในแต่ละวิชาเป็นผู้จัดทำด้วยตัวเองที่บ้านก่อน แล้วจึงนำประเด็นต่างๆ จากเนื้อหามาแลกเปลี่ยนหรือถกเถียงกันอีกครั้งในห้องเรียนออนไลน์ โดยแบ่งสัดส่วนเป็นช่วงที่ให้นักเรียนกับครูผู้สอนได้เจอหน้าและโต้ตอบกัน (Synchronous Learning) ออกเป็นร้อยละ 70 และอีกร้อยละ 30 คือช่วงเวลาที่นักเรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านระบบสื่อการเรียนการสอน (Asynchronous Learning) ซึ่งโรงเรียนได้ทำแบบสอบถามความคิดเห็นจากนักเรียนเป็นประจำทุกเดือน เพื่อนำผลตอบรับจากนักเรียนมาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนในช่วงวิกฤตที่ผ่านมา “อย่างไรก็ตาม แม้จะมีเทคโนโลยีมากมายที่เข้ามาสนับสนุนการเรียนรู้ระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แต่อีกเรื่องที่โรงเรียนให้ความสำคัญคือ ทัศนคติของครูที่ต้องเคารพความแตกต่างของนักเรียนแต่ละคน เพราะนักเรียนแต่ละคนมีวิธีการเรียนรู้ ความรวดเร็วในการเรียนรู้ และความสนใจที่แตกต่างกัน รวมทั้งทีมผู้บริหารสถานศึกษาที่ต้องบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมและสร้างบรรยากาศในการจัดการเรียนการสอน สนับสนุนให้ครูและนักเรียนอยู่ในบรรยากาศที่ดีที่สุดในการเรียนรู้ จัดหาอุปกรณ์ และสรรหาบุคลากรเพื่อรองรับการเรียนการสอนภายใต้บริบทที่เปลี่ยนไปในปัจจุบัน ให้การเรียนการสอนคงไว้ซึ่งประสิทธิภาพมากที่สุด” “Think-Pair-Share เติมเต็มการเรียนรู้ สร้างการมีส่วนร่วม ด้วยเทคนิคเพื่อนคู่คิด” ในด้านฝั่งโรงเรียนเอกชน นางวราภรณ์ ทรัพย์สมบูรณ์ รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการและมาตรฐานคุณภาพ ปฏิบัติหน้าที่ผู้อำนวยการโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย ได้เปิดเผยว่า โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัยได้เริ่มนำรูปแบบการเรียนการสอนแบบ Active Learning มาปรับใช้ตั้งแต่ก่อนเกิดสถานการณ์โควิด-19 ทำให้ครูผู้สอนมีประสบการณ์และสามารถนำมาปรับใช้กับการสอนรูปแบบออนไลน์ในช่วงที่ผ่านมาได้เป็นอย่างดี โดยยึดแนวคิดสำคัญของการสร้างการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม คือ “เต็มใจเรียนรู้” และ “สนุกกับการมีส่วนร่วม” การจัดการเรียนการสอนแบบโครงงานเป็นฐาน (Project Based Learning) และการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problems Based Learning) ถูกนำมาใช้ในกลุ่มการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และกลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ค้นคว้าและลงมือปฏิบัติจริงจากกิจกรรมการทดลองซึ่งสามารถทำได้เองที่บ้าน โดยยึดจากเรื่องรอบตัวในชีวิตประจำวันที่นักเรียนสนใจ ส่วนครูผู้สอนมีบทบาทในการกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ และปรับความยากง่ายของโจทย์ให้เป็นไปตามระดับชั้น นอกจากนี้โรงเรียนยังใช้การจัดการเรียนการสอนแบบสะท้อนคิด (Think Pair Share) และการจัดการเรียนการสอนที่เน้นแบบร่วมมือ (Collaborative Learning Group) ด้วยกิจกรรมการแบ่งกลุ่มหรือจับคู่ ให้นักเรียนได้พูดคุยถึงประเด็นปัญหาที่แต่ละคนสนใจ และนำมาร่วมกันคิดวิเคราะห์เพื่อหาคำตอบและนำเสนอร่วมกันในชั้นเรียน วิธีการนี้ทำให้นักเรียนได้เกิดการแลกเปลี่ยนความคิด และมีส่วนร่วมในชั้นเรียนอย่างเท่าเทียม รวมถึงเพิ่มทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่นอีกด้วย “ในระยะแรกครูผู้สอนอาจยังมีความกังวล เนื่องจากไม่คุ้นชินกับการปรับการเรียนการสอน ทางโรงเรียนได้ใช้วิธีการ Peer Coaching หรือเพื่อนช่วยเพื่อน ให้เพื่อนครูในกลุ่มสาระในช่วงวัยเดียวกันคอยนิเทศการสอนเพื่อพัฒนาครูร่วมกัน เพื่อให้การสอนมีประสิทธิภาพมากที่สุด นอกจากนี้ โรงเรียนยังได้เห็นความสำคัญของความคิดเห็นจากนักเรียน ซึ่งนับเป็นสิ่งที่สำคัญมากในการนำไปปรับปรุงวิธีการจัดการเรียนการสอน โดยเฉพาะนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาของโรงเรียน ที่มีความกล้าแสดงออกและสามารถเสนอแนะถึงวิธีการสอน รวมทั้งเสียงจากผู้ปกครองที่ช่วยเสนอแนวคิดใหม่ๆ มาโดยตลอด เพื่อร่วมกันพัฒนาการจัดการเรียนการสอนตามแนวทางการเรียนรู้ร่วมกันต่อไป” อย่างไรก็ดี กระบวนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาสมรรถนะแบบผู้เรียนสร้างความรู้ด้วยตนเองข้างต้น ถือเป็นหนึ่งในภารกิจการปฏิรูประบบการศึกษาไทยของ คณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา ที่ได้กำหนดกรอบการปฏิรูประบบการศึกษาไทยเชิงนโยบาย ด้านการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนสู่การเรียนรู้ฐานสมรรถนะ เพื่อตอบสนองการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 หรือ บิ๊กร็อคที่ 2 ที่มีเป้าหมายให้ผู้เรียนในทุกระดับชั้นเป็นผู้มีความรู้และทักษะในการดำรงชีวิตในโลกยุคใหม่ เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมและโลก ส่วนหนึ่งของตัวอย่างความสำเร็จ คือ โมเดลในการปรับเปลี่ยนกระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning โดย กระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) ผ่านโรงเรียนต้นแบบ 30 โรงเรียน ที่นักเรียนสามารถสร้างสรรค์นวัตกรรมขึ้นกว่า 1,500 นวัตกรรม และกำลังเร่งขยายผลไปยังพื้นที่อื่นๆ ให้ครอบคลุมสถานศึกษาทั่วประเทศโดยเร็ว ติดตามความเคลื่อนไหวกิจกรรม ของ คณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา ได้ใน 4 ช่องทาง ดังนี้ เว็บไซต์ https://www.thaiedreform2022.org เฟซบุ๊กแฟนเพจ https://web.facebook.com/Thaiedreform2022 ยูทูบช่อง ‘thaiedreform2022’ และทวิตเตอร์ https://twitter.com/Thaiedreform22 EZ Webmaster Related Posts มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 สจล. เดินหน้ากระชับความร่วมมือทางวิชาการ กับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของจีน อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก กองกลาง มจพ. เยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ และจัดสัมมนาจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล ประจำปี 2568 คณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล มจพ. ชูธงร่วมเครือข่ายจัดใหญ่การประชุมวิชาการ นวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (FIAC) 2025 Post navigation PREVIOUS Previous post: นศ.บริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทยเพิ่มลุคสีผมเรียนออนไลน์ต้อนรับเปิดเทอม ผ่อนคลายสถานการณ์โควิด-19NEXT Next post: สิ่งต้องรู้ก่อนสมัครสอบ GAT/PAT & วิชาสามัญ TCAS65 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนธารทองพิทยาคม EZ WebmasterJune 19, 2025 อีกหนึ่งความทรงจำดีๆ ในโรงเรียนธารทองพทยาคม กับโครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนธารทองพิทยาคม จ.บุรีรัมย์ วันที่ 13/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนแม่เมาะวิทยา EZ WebmasterJune 18, 2025 ความสุขเล็กๆ ในวันที่ได้ทำกิจกรรมร่วมกัน โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด พากิจกรรมดีๆ มาถึงโรงเรียนแม่เมาะวิทยา จ.ลำปาง วันที่18/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า (ครูแอน)…
โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนแม่เมาะวิทยา EZ WebmasterJune 18, 2025 ความสุขเล็กๆ ในวันที่ได้ทำกิจกรรมร่วมกัน โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด พากิจกรรมดีๆ มาถึงโรงเรียนแม่เมาะวิทยา จ.ลำปาง วันที่18/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า (ครูแอน)…
มธ. ปักหมุดหลักสูตร ‘AI Ethics’ หนุนบริบทใหม่ของห้องเรียนทันโลก สร้างจุดยืนคนรุ่นใหม่ ‘ใช้เอไออย่างมีจริยธรรม’ พร้อมเดินหน้าวางหมุดหมายระบบการศึกษาไทย กับการปลุกการใช้เทคฯ คู่ธรรมาภิบาล คาดเริ่มเปิดลงทะเบียนพร้อมเรียนจริง สิงหาคม 68 นี้ EZ WebmasterJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) ตอกย้ำจุดยืนเชิงรุกต่อการเปลี่ยนผ่านของโลกยุคดิจิทัล ผ่านการพัฒนาหลักสูตร “AI Ethics” หรือจริยธรรมปัญญาประดิษฐ์ ภายใต้ยุทธศาสตร์ Thammasat Next Century เตรียมความพร้อมให้เยาวชนไทยมีทั้งความรู้ ความสามารถ และความรับผิดชอบในการใช้งานเทคโนโลยีอย่างเหมาะสม โดยเฉพาะในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อที่ปัญญาประดิษฐ์กำลังกลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวัน ทั้งในห้องเรียน ที่ทำงาน และบนแพลตฟอร์มออนไลน์ต่าง ๆ โดยหลักสูตรนี้ถูกวางให้เป็นรากฐานสำคัญของระบบการศึกษายุคใหม่ ที่ไม่เพียงเน้นทักษะด้านเทคนิคเท่านั้น แต่ยังปลูกฝังค่านิยมที่ถูกต้องในการอยู่ร่วมกับเทคโนโลยี พร้อมชี้ให้เห็นถึงความเสี่ยงของ AI ที่เกิดจาก… 11 สาเหตุลึกซึ้ง ทำไมการศึกษาไทยยังตกต่ำ? เสียงสะท้อนจากครูชนบท สู่คำถามใหญ่ของสังคม EZ WebmasterJune 19, 2025 ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ประเทศไทยกำลังเผชิญกับวิกฤตคุณภาพทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง แม้จะมีความพยายามปฏิรูปหลายครั้ง แต่กลับไม่สามารถยกระดับการเรียนรู้ให้เทียบเท่าประเทศเพื่อนบ้านได้อย่างแท้จริงนายสานิตย์ พลศรี นายกสมาคมครูชนบทจังหวัดชัยภูมิ ในหัวข้อ “สาเหตุของปัญหาคุณภาพด้านการศึกษาประเทศไทยที่ตกต่ำ” ซึ่งกำลังถูกส่งต่ออย่างกว้างขวางในโซเชียลมีเดียและกลุ่มไลน์ของคนในแวดวงการศึกษาเสียงสะท้อนจากผู้ที่อยู่ในภาคสนามจริงอย่างนายสานิตย์ ทำให้เราได้เห็นภาพที่ชัดเจนมากขึ้นว่า ปัญหาไม่ได้อยู่ที่ตัวนักเรียนหรือครูเพียงลำพัง แต่เป็นผลสะสมจากโครงสร้าง ระบบ และการบริหารที่ผิดทิศผิดทางมานานจึงเป็นการเปิดประเด็นให้สังคมได้ทบทวนร่วมกันว่า หากเราไม่เริ่ม “เปลี่ยนจริง” คุณภาพการศึกษาของไทยอาจยิ่งตกต่ำลงกว่าที่เป็นอยู่ 11… ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา EZ WebmasterJune 18, 2025 วิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิทักษ์ ธรรมวาริน (คนที่ 4 จากซ้าย) คณบดีวิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สจล. และ Mr. Alfonso Martin (คนที่ 3… คณะมนุษยศาสตร์ ม.หอการค้าไทย จัดหลักสูตรรุกหน้าการันตี “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน!!” EZ WebmasterJune 18, 2025 “ภาษา” มิใช่เพียงเครื่องมือสื่อสารแต่เป็นกุญแจสำคัญในการเรียนรู้และเข้าใจวัฒนธรรม การคิดวิเคราะห์และสร้างสรรค์นวัตกรรม ผู้ที่มีทักษะด้านภาษาที่แข็งแกร่งจะสามารถเป็นข้อได้เปรียบหรือประสบความสำเร็จได้ในโลกที่เปลี่ยนแปลงและผู้คนทั่วโลกเชื่อมโยงสื่อสารถึงกันได้ในพริบตาแม้จะต่างชาติ ต่างภาษา ต่างวัฒนธรรม การเรียนรู้ฝึกฝนมีทักษะภาษาจึงมิใช่แค่รู้หรือพูดภาษานานาชาติได้เท่านั้น แต่การเรียนภาษาให้มีรายได้ดี มีอาชีพมั่นคง เป็นมนุษย์เงินเดือนอิสระ ถึงขั้นการันตีได้ว่า “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน !!! นั้นก็เป็นสิ่งเพิ่มมูลค่าและมีคุณค่าอย่างน่าภูมิใจ เฉกเช่นที่ล่าสุด Miss World… ทุนดีดี Kazan Global Youth Summit InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 19, 2025 เชิญเยาวชนสมัครคัดเลือกเข้าร่วมการประชุม Kazan Global Youth Summit ครั้งที่ 4 ระหว่างวันที่ 27 – 30 สิงหาคม 2568 ณ เมืองคาซาน สาธารณรัฐตาตาร์สตาน สหพันธรัฐรัสเซีย จัดโดยรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐตาตาร์สตาน… SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… ครู-อาจารย์ มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ… สจล. เดินหน้ากระชับความร่วมมือทางวิชาการ กับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของจีน EZ WebmasterJune 19, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เดินหน้ากระชับความสัมพันธ์ทางวิชาการกับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งเป็นพันธมิตรที่มีความร่วมมือกันมานานกว่า 20 ปี เพื่อหารือขยายความร่วมมือเชิงลึกในสาขาวิศวกรรมขั้นสูง โดยเฉพาะด้าน Aerospace, Mechatronics, Automation และ Astronautics ซึ่ง HIT ถือเป็นสถาบันชั้นนำของจีนในด้านนี้ พร้อมทั้งหารือแนวทางความร่วมมือด้านการแลกเปลี่ยนนักศึกษา นักวิจัย และการพัฒนาโครงการ Joint Degree ในอนาคต รองศาสตราจารย์… อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก tui sakrapeeJune 18, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา นำโดย รศ.ดร.ชุติกาญจน์ ศรีวิบูลย์ อธิการบดี พร้อมคณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย เดินทางเยือนโรงเรียนนานาชาติ Qingdao No.1 International School of Shandong Province (QISS) และ Qingdao University… กองกลาง มจพ. เยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ และจัดสัมมนาจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล ประจำปี 2568 EZ WebmasterJune 18, 2025 ผศ.ดร.สราวุฒิ สืบแย้ม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายการคลังและกิจการทั่วไป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยนางสาวรัตนา สุขเฉลิมศรี ผู้อำนวยการกองกลาง และบุคลากรกองกลาง เข้าเยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ มจพ. ณ ชั้น 3 สำนักงานหอสมุดกลาง โดยมีนางสาวพนารมย์ เกียรติลีลานันท์ และ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster January 12, 2022 EZ Webmaster January 12, 2022 เปิดไอเดียบริหารโรงเรียนมัธยม “รัฐ-เอกชน” สะท้อน “บิ๊กร็อค 2” รับปีเสือ พร้อมส่องโมเดลการ “เพิ่มอิสระ” “เพิ่มแอคทีฟเลินนิ่ง” รับเด็ก GEN ใหม่ ท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงของโลกที่ดำเนินไปอย่างรวดเร็ว อิทธิพลจากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี และนวัตกรรมต่างๆ ได้เข้ามามีบทบาทกับวิถีการดำเนินชีวิตของผู้คนในทุกช่วงวัย การเข้าถึงข้อมูลข่าวสารและองค์ความรู้ในปัจจุบันไร้ซึ่งข้อจำกัดทั้งในด้านเวลาและสถานที่ การเรียนรู้จึงไม่ได้ถูกจำกัดอยู่แค่ภายในห้องเรียนหรือสถานศึกษา อีกทั้ง สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ที่ยืดเยื้อมาเป็นเวลานานกว่าสองปี ทำให้เด็กและเยาวชนต้องปรับตัวกับ การเรียนออนไลน์ที่บ้านและเผชิญกับสภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้ออำนวยต่อการเรียนรู้นำไปสู่ปัญหาที่ตามมาจำนวนมาก เช่น ขาดการมีส่วนร่วม/ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน ผู้เรียนขาดสมาธิกับการเรียนผ่านจอเป็นเวลานาน ซึ่งส่งผลให้ประสิทธิภาพในการเรียนรู้ลดลง นับเป็นอีกหนึ่งความท้าทายของสถาบันการศึกษาและครูผู้สอนที่ต้องปรับระบบการศึกษาเพื่อรับมือกับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะการสนับสนุนให้ครูผู้สอนพัฒนาศักยภาพและทักษะในการออกแบบการจัดการเรียนการสอนและอาศัยเทคโนโลยีเข้ามาเป็นเครื่องมือสำคัญ ปรับบทบาทจากผู้ที่ถ่ายทอดเนื้อหาตามหลักสูตรอยู่ฝ่ายเดียว สู่การเป็น ‘โค้ชชิ่ง’ (Coaching) ที่มีส่วนสำคัญในการกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนมีส่วนร่วม (Active Learning) เน้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมกับกระบวนการเรียนรู้ในทุกขั้นตอน โดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางของการเรียนรู้ ผ่านกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะที่สามารถนำไปใช้ในการดำเนินชีวิตจริง และสามารถรับมือกับกับความเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 แม้ว่ามีสถานศึกษาหลายแห่งนำรูปแบบการจัดการเรียนรู้ดังกล่าวมาปรับใช้บ้างแล้ว แต่ก็ยังเป็นเรื่องที่ต้องกระตุ้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งระบบต่อไป เพื่อตอบสนองต่อการพัฒนาของสังคมโลกยุคใหม่อย่างแท้จริง โดยวันนี้จะพาไปทำความรู้จักกับแนวคิดการบริหารสถานศึกษา จากสองผู้บริหารโรงเรียนดังสังกัดรัฐและสังกัดเอกชน ถึงแนวทางการปรับการจัดการเรียนการสอนในช่วงวิกฤตโควิด-19 ว่ามีวิธีการเตรียมความพร้อมรับมือและแนวทางการปรับการจัดการเรียนการสอนท่ามกลางบริบทที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างไร “ห้องเรียนกลับด้าน เปลี่ยนบ้านให้เป็นคลาสกิจกรรม” รศ.ดร.วิวัฒน์ เรืองเลิศปัญญากุล กรรมการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา และรักษาการผู้อำนวยการโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ กล่าวว่า สิ่งที่สำคัญที่สุดในการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning คือ การสร้างการมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ของผู้เรียน โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ได้เตรียมรับมือกับสถานการณ์โควิด-19 ด้วยการอบรมครูผู้สอนล่วงหน้า ตั้งแต่ก่อนภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 ให้ครูทุกคนมีทักษะด้านเทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอนรูปแบบออนไลน์ มีความสามารถในการจัดทำและตัดต่อสื่อการสอนรูปแบบคลิปวีดีโอ เพื่อนำมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนแบบ “Flipped Classroom” หรือห้องเรียนกลับด้าน เป็นวิธีการที่ให้นักเรียนได้เรียนจากคลิปวีดีโอที่ครูผู้สอนในแต่ละวิชาเป็นผู้จัดทำด้วยตัวเองที่บ้านก่อน แล้วจึงนำประเด็นต่างๆ จากเนื้อหามาแลกเปลี่ยนหรือถกเถียงกันอีกครั้งในห้องเรียนออนไลน์ โดยแบ่งสัดส่วนเป็นช่วงที่ให้นักเรียนกับครูผู้สอนได้เจอหน้าและโต้ตอบกัน (Synchronous Learning) ออกเป็นร้อยละ 70 และอีกร้อยละ 30 คือช่วงเวลาที่นักเรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านระบบสื่อการเรียนการสอน (Asynchronous Learning) ซึ่งโรงเรียนได้ทำแบบสอบถามความคิดเห็นจากนักเรียนเป็นประจำทุกเดือน เพื่อนำผลตอบรับจากนักเรียนมาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนในช่วงวิกฤตที่ผ่านมา “อย่างไรก็ตาม แม้จะมีเทคโนโลยีมากมายที่เข้ามาสนับสนุนการเรียนรู้ระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แต่อีกเรื่องที่โรงเรียนให้ความสำคัญคือ ทัศนคติของครูที่ต้องเคารพความแตกต่างของนักเรียนแต่ละคน เพราะนักเรียนแต่ละคนมีวิธีการเรียนรู้ ความรวดเร็วในการเรียนรู้ และความสนใจที่แตกต่างกัน รวมทั้งทีมผู้บริหารสถานศึกษาที่ต้องบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมและสร้างบรรยากาศในการจัดการเรียนการสอน สนับสนุนให้ครูและนักเรียนอยู่ในบรรยากาศที่ดีที่สุดในการเรียนรู้ จัดหาอุปกรณ์ และสรรหาบุคลากรเพื่อรองรับการเรียนการสอนภายใต้บริบทที่เปลี่ยนไปในปัจจุบัน ให้การเรียนการสอนคงไว้ซึ่งประสิทธิภาพมากที่สุด” “Think-Pair-Share เติมเต็มการเรียนรู้ สร้างการมีส่วนร่วม ด้วยเทคนิคเพื่อนคู่คิด” ในด้านฝั่งโรงเรียนเอกชน นางวราภรณ์ ทรัพย์สมบูรณ์ รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการและมาตรฐานคุณภาพ ปฏิบัติหน้าที่ผู้อำนวยการโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย ได้เปิดเผยว่า โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัยได้เริ่มนำรูปแบบการเรียนการสอนแบบ Active Learning มาปรับใช้ตั้งแต่ก่อนเกิดสถานการณ์โควิด-19 ทำให้ครูผู้สอนมีประสบการณ์และสามารถนำมาปรับใช้กับการสอนรูปแบบออนไลน์ในช่วงที่ผ่านมาได้เป็นอย่างดี โดยยึดแนวคิดสำคัญของการสร้างการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม คือ “เต็มใจเรียนรู้” และ “สนุกกับการมีส่วนร่วม” การจัดการเรียนการสอนแบบโครงงานเป็นฐาน (Project Based Learning) และการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problems Based Learning) ถูกนำมาใช้ในกลุ่มการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และกลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ค้นคว้าและลงมือปฏิบัติจริงจากกิจกรรมการทดลองซึ่งสามารถทำได้เองที่บ้าน โดยยึดจากเรื่องรอบตัวในชีวิตประจำวันที่นักเรียนสนใจ ส่วนครูผู้สอนมีบทบาทในการกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ และปรับความยากง่ายของโจทย์ให้เป็นไปตามระดับชั้น นอกจากนี้โรงเรียนยังใช้การจัดการเรียนการสอนแบบสะท้อนคิด (Think Pair Share) และการจัดการเรียนการสอนที่เน้นแบบร่วมมือ (Collaborative Learning Group) ด้วยกิจกรรมการแบ่งกลุ่มหรือจับคู่ ให้นักเรียนได้พูดคุยถึงประเด็นปัญหาที่แต่ละคนสนใจ และนำมาร่วมกันคิดวิเคราะห์เพื่อหาคำตอบและนำเสนอร่วมกันในชั้นเรียน วิธีการนี้ทำให้นักเรียนได้เกิดการแลกเปลี่ยนความคิด และมีส่วนร่วมในชั้นเรียนอย่างเท่าเทียม รวมถึงเพิ่มทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่นอีกด้วย “ในระยะแรกครูผู้สอนอาจยังมีความกังวล เนื่องจากไม่คุ้นชินกับการปรับการเรียนการสอน ทางโรงเรียนได้ใช้วิธีการ Peer Coaching หรือเพื่อนช่วยเพื่อน ให้เพื่อนครูในกลุ่มสาระในช่วงวัยเดียวกันคอยนิเทศการสอนเพื่อพัฒนาครูร่วมกัน เพื่อให้การสอนมีประสิทธิภาพมากที่สุด นอกจากนี้ โรงเรียนยังได้เห็นความสำคัญของความคิดเห็นจากนักเรียน ซึ่งนับเป็นสิ่งที่สำคัญมากในการนำไปปรับปรุงวิธีการจัดการเรียนการสอน โดยเฉพาะนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาของโรงเรียน ที่มีความกล้าแสดงออกและสามารถเสนอแนะถึงวิธีการสอน รวมทั้งเสียงจากผู้ปกครองที่ช่วยเสนอแนวคิดใหม่ๆ มาโดยตลอด เพื่อร่วมกันพัฒนาการจัดการเรียนการสอนตามแนวทางการเรียนรู้ร่วมกันต่อไป” อย่างไรก็ดี กระบวนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาสมรรถนะแบบผู้เรียนสร้างความรู้ด้วยตนเองข้างต้น ถือเป็นหนึ่งในภารกิจการปฏิรูประบบการศึกษาไทยของ คณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา ที่ได้กำหนดกรอบการปฏิรูประบบการศึกษาไทยเชิงนโยบาย ด้านการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนสู่การเรียนรู้ฐานสมรรถนะ เพื่อตอบสนองการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 หรือ บิ๊กร็อคที่ 2 ที่มีเป้าหมายให้ผู้เรียนในทุกระดับชั้นเป็นผู้มีความรู้และทักษะในการดำรงชีวิตในโลกยุคใหม่ เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมและโลก ส่วนหนึ่งของตัวอย่างความสำเร็จ คือ โมเดลในการปรับเปลี่ยนกระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning โดย กระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) ผ่านโรงเรียนต้นแบบ 30 โรงเรียน ที่นักเรียนสามารถสร้างสรรค์นวัตกรรมขึ้นกว่า 1,500 นวัตกรรม และกำลังเร่งขยายผลไปยังพื้นที่อื่นๆ ให้ครอบคลุมสถานศึกษาทั่วประเทศโดยเร็ว ติดตามความเคลื่อนไหวกิจกรรม ของ คณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา ได้ใน 4 ช่องทาง ดังนี้ เว็บไซต์ https://www.thaiedreform2022.org เฟซบุ๊กแฟนเพจ https://web.facebook.com/Thaiedreform2022 ยูทูบช่อง ‘thaiedreform2022’ และทวิตเตอร์ https://twitter.com/Thaiedreform22 EZ Webmaster Related Posts มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 สจล. เดินหน้ากระชับความร่วมมือทางวิชาการ กับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของจีน อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก กองกลาง มจพ. เยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ และจัดสัมมนาจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล ประจำปี 2568 คณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล มจพ. ชูธงร่วมเครือข่ายจัดใหญ่การประชุมวิชาการ นวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (FIAC) 2025 Post navigation PREVIOUS Previous post: นศ.บริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทยเพิ่มลุคสีผมเรียนออนไลน์ต้อนรับเปิดเทอม ผ่อนคลายสถานการณ์โควิด-19NEXT Next post: สิ่งต้องรู้ก่อนสมัครสอบ GAT/PAT & วิชาสามัญ TCAS65 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
11 สาเหตุลึกซึ้ง ทำไมการศึกษาไทยยังตกต่ำ? เสียงสะท้อนจากครูชนบท สู่คำถามใหญ่ของสังคม EZ WebmasterJune 19, 2025 ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ประเทศไทยกำลังเผชิญกับวิกฤตคุณภาพทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง แม้จะมีความพยายามปฏิรูปหลายครั้ง แต่กลับไม่สามารถยกระดับการเรียนรู้ให้เทียบเท่าประเทศเพื่อนบ้านได้อย่างแท้จริงนายสานิตย์ พลศรี นายกสมาคมครูชนบทจังหวัดชัยภูมิ ในหัวข้อ “สาเหตุของปัญหาคุณภาพด้านการศึกษาประเทศไทยที่ตกต่ำ” ซึ่งกำลังถูกส่งต่ออย่างกว้างขวางในโซเชียลมีเดียและกลุ่มไลน์ของคนในแวดวงการศึกษาเสียงสะท้อนจากผู้ที่อยู่ในภาคสนามจริงอย่างนายสานิตย์ ทำให้เราได้เห็นภาพที่ชัดเจนมากขึ้นว่า ปัญหาไม่ได้อยู่ที่ตัวนักเรียนหรือครูเพียงลำพัง แต่เป็นผลสะสมจากโครงสร้าง ระบบ และการบริหารที่ผิดทิศผิดทางมานานจึงเป็นการเปิดประเด็นให้สังคมได้ทบทวนร่วมกันว่า หากเราไม่เริ่ม “เปลี่ยนจริง” คุณภาพการศึกษาของไทยอาจยิ่งตกต่ำลงกว่าที่เป็นอยู่ 11… ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา EZ WebmasterJune 18, 2025 วิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิทักษ์ ธรรมวาริน (คนที่ 4 จากซ้าย) คณบดีวิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สจล. และ Mr. Alfonso Martin (คนที่ 3… คณะมนุษยศาสตร์ ม.หอการค้าไทย จัดหลักสูตรรุกหน้าการันตี “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน!!” EZ WebmasterJune 18, 2025 “ภาษา” มิใช่เพียงเครื่องมือสื่อสารแต่เป็นกุญแจสำคัญในการเรียนรู้และเข้าใจวัฒนธรรม การคิดวิเคราะห์และสร้างสรรค์นวัตกรรม ผู้ที่มีทักษะด้านภาษาที่แข็งแกร่งจะสามารถเป็นข้อได้เปรียบหรือประสบความสำเร็จได้ในโลกที่เปลี่ยนแปลงและผู้คนทั่วโลกเชื่อมโยงสื่อสารถึงกันได้ในพริบตาแม้จะต่างชาติ ต่างภาษา ต่างวัฒนธรรม การเรียนรู้ฝึกฝนมีทักษะภาษาจึงมิใช่แค่รู้หรือพูดภาษานานาชาติได้เท่านั้น แต่การเรียนภาษาให้มีรายได้ดี มีอาชีพมั่นคง เป็นมนุษย์เงินเดือนอิสระ ถึงขั้นการันตีได้ว่า “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน !!! นั้นก็เป็นสิ่งเพิ่มมูลค่าและมีคุณค่าอย่างน่าภูมิใจ เฉกเช่นที่ล่าสุด Miss World… ทุนดีดี Kazan Global Youth Summit InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 19, 2025 เชิญเยาวชนสมัครคัดเลือกเข้าร่วมการประชุม Kazan Global Youth Summit ครั้งที่ 4 ระหว่างวันที่ 27 – 30 สิงหาคม 2568 ณ เมืองคาซาน สาธารณรัฐตาตาร์สตาน สหพันธรัฐรัสเซีย จัดโดยรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐตาตาร์สตาน… SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… ครู-อาจารย์ มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ… สจล. เดินหน้ากระชับความร่วมมือทางวิชาการ กับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของจีน EZ WebmasterJune 19, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เดินหน้ากระชับความสัมพันธ์ทางวิชาการกับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งเป็นพันธมิตรที่มีความร่วมมือกันมานานกว่า 20 ปี เพื่อหารือขยายความร่วมมือเชิงลึกในสาขาวิศวกรรมขั้นสูง โดยเฉพาะด้าน Aerospace, Mechatronics, Automation และ Astronautics ซึ่ง HIT ถือเป็นสถาบันชั้นนำของจีนในด้านนี้ พร้อมทั้งหารือแนวทางความร่วมมือด้านการแลกเปลี่ยนนักศึกษา นักวิจัย และการพัฒนาโครงการ Joint Degree ในอนาคต รองศาสตราจารย์… อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก tui sakrapeeJune 18, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา นำโดย รศ.ดร.ชุติกาญจน์ ศรีวิบูลย์ อธิการบดี พร้อมคณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย เดินทางเยือนโรงเรียนนานาชาติ Qingdao No.1 International School of Shandong Province (QISS) และ Qingdao University… กองกลาง มจพ. เยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ และจัดสัมมนาจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล ประจำปี 2568 EZ WebmasterJune 18, 2025 ผศ.ดร.สราวุฒิ สืบแย้ม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายการคลังและกิจการทั่วไป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยนางสาวรัตนา สุขเฉลิมศรี ผู้อำนวยการกองกลาง และบุคลากรกองกลาง เข้าเยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ มจพ. ณ ชั้น 3 สำนักงานหอสมุดกลาง โดยมีนางสาวพนารมย์ เกียรติลีลานันท์ และ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster January 12, 2022 EZ Webmaster January 12, 2022 เปิดไอเดียบริหารโรงเรียนมัธยม “รัฐ-เอกชน” สะท้อน “บิ๊กร็อค 2” รับปีเสือ พร้อมส่องโมเดลการ “เพิ่มอิสระ” “เพิ่มแอคทีฟเลินนิ่ง” รับเด็ก GEN ใหม่ ท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงของโลกที่ดำเนินไปอย่างรวดเร็ว อิทธิพลจากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี และนวัตกรรมต่างๆ ได้เข้ามามีบทบาทกับวิถีการดำเนินชีวิตของผู้คนในทุกช่วงวัย การเข้าถึงข้อมูลข่าวสารและองค์ความรู้ในปัจจุบันไร้ซึ่งข้อจำกัดทั้งในด้านเวลาและสถานที่ การเรียนรู้จึงไม่ได้ถูกจำกัดอยู่แค่ภายในห้องเรียนหรือสถานศึกษา อีกทั้ง สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ที่ยืดเยื้อมาเป็นเวลานานกว่าสองปี ทำให้เด็กและเยาวชนต้องปรับตัวกับ การเรียนออนไลน์ที่บ้านและเผชิญกับสภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้ออำนวยต่อการเรียนรู้นำไปสู่ปัญหาที่ตามมาจำนวนมาก เช่น ขาดการมีส่วนร่วม/ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน ผู้เรียนขาดสมาธิกับการเรียนผ่านจอเป็นเวลานาน ซึ่งส่งผลให้ประสิทธิภาพในการเรียนรู้ลดลง นับเป็นอีกหนึ่งความท้าทายของสถาบันการศึกษาและครูผู้สอนที่ต้องปรับระบบการศึกษาเพื่อรับมือกับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะการสนับสนุนให้ครูผู้สอนพัฒนาศักยภาพและทักษะในการออกแบบการจัดการเรียนการสอนและอาศัยเทคโนโลยีเข้ามาเป็นเครื่องมือสำคัญ ปรับบทบาทจากผู้ที่ถ่ายทอดเนื้อหาตามหลักสูตรอยู่ฝ่ายเดียว สู่การเป็น ‘โค้ชชิ่ง’ (Coaching) ที่มีส่วนสำคัญในการกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนมีส่วนร่วม (Active Learning) เน้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมกับกระบวนการเรียนรู้ในทุกขั้นตอน โดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางของการเรียนรู้ ผ่านกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะที่สามารถนำไปใช้ในการดำเนินชีวิตจริง และสามารถรับมือกับกับความเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 แม้ว่ามีสถานศึกษาหลายแห่งนำรูปแบบการจัดการเรียนรู้ดังกล่าวมาปรับใช้บ้างแล้ว แต่ก็ยังเป็นเรื่องที่ต้องกระตุ้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งระบบต่อไป เพื่อตอบสนองต่อการพัฒนาของสังคมโลกยุคใหม่อย่างแท้จริง โดยวันนี้จะพาไปทำความรู้จักกับแนวคิดการบริหารสถานศึกษา จากสองผู้บริหารโรงเรียนดังสังกัดรัฐและสังกัดเอกชน ถึงแนวทางการปรับการจัดการเรียนการสอนในช่วงวิกฤตโควิด-19 ว่ามีวิธีการเตรียมความพร้อมรับมือและแนวทางการปรับการจัดการเรียนการสอนท่ามกลางบริบทที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างไร “ห้องเรียนกลับด้าน เปลี่ยนบ้านให้เป็นคลาสกิจกรรม” รศ.ดร.วิวัฒน์ เรืองเลิศปัญญากุล กรรมการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา และรักษาการผู้อำนวยการโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ กล่าวว่า สิ่งที่สำคัญที่สุดในการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning คือ การสร้างการมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ของผู้เรียน โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ได้เตรียมรับมือกับสถานการณ์โควิด-19 ด้วยการอบรมครูผู้สอนล่วงหน้า ตั้งแต่ก่อนภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 ให้ครูทุกคนมีทักษะด้านเทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอนรูปแบบออนไลน์ มีความสามารถในการจัดทำและตัดต่อสื่อการสอนรูปแบบคลิปวีดีโอ เพื่อนำมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนแบบ “Flipped Classroom” หรือห้องเรียนกลับด้าน เป็นวิธีการที่ให้นักเรียนได้เรียนจากคลิปวีดีโอที่ครูผู้สอนในแต่ละวิชาเป็นผู้จัดทำด้วยตัวเองที่บ้านก่อน แล้วจึงนำประเด็นต่างๆ จากเนื้อหามาแลกเปลี่ยนหรือถกเถียงกันอีกครั้งในห้องเรียนออนไลน์ โดยแบ่งสัดส่วนเป็นช่วงที่ให้นักเรียนกับครูผู้สอนได้เจอหน้าและโต้ตอบกัน (Synchronous Learning) ออกเป็นร้อยละ 70 และอีกร้อยละ 30 คือช่วงเวลาที่นักเรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านระบบสื่อการเรียนการสอน (Asynchronous Learning) ซึ่งโรงเรียนได้ทำแบบสอบถามความคิดเห็นจากนักเรียนเป็นประจำทุกเดือน เพื่อนำผลตอบรับจากนักเรียนมาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนในช่วงวิกฤตที่ผ่านมา “อย่างไรก็ตาม แม้จะมีเทคโนโลยีมากมายที่เข้ามาสนับสนุนการเรียนรู้ระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แต่อีกเรื่องที่โรงเรียนให้ความสำคัญคือ ทัศนคติของครูที่ต้องเคารพความแตกต่างของนักเรียนแต่ละคน เพราะนักเรียนแต่ละคนมีวิธีการเรียนรู้ ความรวดเร็วในการเรียนรู้ และความสนใจที่แตกต่างกัน รวมทั้งทีมผู้บริหารสถานศึกษาที่ต้องบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมและสร้างบรรยากาศในการจัดการเรียนการสอน สนับสนุนให้ครูและนักเรียนอยู่ในบรรยากาศที่ดีที่สุดในการเรียนรู้ จัดหาอุปกรณ์ และสรรหาบุคลากรเพื่อรองรับการเรียนการสอนภายใต้บริบทที่เปลี่ยนไปในปัจจุบัน ให้การเรียนการสอนคงไว้ซึ่งประสิทธิภาพมากที่สุด” “Think-Pair-Share เติมเต็มการเรียนรู้ สร้างการมีส่วนร่วม ด้วยเทคนิคเพื่อนคู่คิด” ในด้านฝั่งโรงเรียนเอกชน นางวราภรณ์ ทรัพย์สมบูรณ์ รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการและมาตรฐานคุณภาพ ปฏิบัติหน้าที่ผู้อำนวยการโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย ได้เปิดเผยว่า โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัยได้เริ่มนำรูปแบบการเรียนการสอนแบบ Active Learning มาปรับใช้ตั้งแต่ก่อนเกิดสถานการณ์โควิด-19 ทำให้ครูผู้สอนมีประสบการณ์และสามารถนำมาปรับใช้กับการสอนรูปแบบออนไลน์ในช่วงที่ผ่านมาได้เป็นอย่างดี โดยยึดแนวคิดสำคัญของการสร้างการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม คือ “เต็มใจเรียนรู้” และ “สนุกกับการมีส่วนร่วม” การจัดการเรียนการสอนแบบโครงงานเป็นฐาน (Project Based Learning) และการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problems Based Learning) ถูกนำมาใช้ในกลุ่มการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และกลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ค้นคว้าและลงมือปฏิบัติจริงจากกิจกรรมการทดลองซึ่งสามารถทำได้เองที่บ้าน โดยยึดจากเรื่องรอบตัวในชีวิตประจำวันที่นักเรียนสนใจ ส่วนครูผู้สอนมีบทบาทในการกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ และปรับความยากง่ายของโจทย์ให้เป็นไปตามระดับชั้น นอกจากนี้โรงเรียนยังใช้การจัดการเรียนการสอนแบบสะท้อนคิด (Think Pair Share) และการจัดการเรียนการสอนที่เน้นแบบร่วมมือ (Collaborative Learning Group) ด้วยกิจกรรมการแบ่งกลุ่มหรือจับคู่ ให้นักเรียนได้พูดคุยถึงประเด็นปัญหาที่แต่ละคนสนใจ และนำมาร่วมกันคิดวิเคราะห์เพื่อหาคำตอบและนำเสนอร่วมกันในชั้นเรียน วิธีการนี้ทำให้นักเรียนได้เกิดการแลกเปลี่ยนความคิด และมีส่วนร่วมในชั้นเรียนอย่างเท่าเทียม รวมถึงเพิ่มทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่นอีกด้วย “ในระยะแรกครูผู้สอนอาจยังมีความกังวล เนื่องจากไม่คุ้นชินกับการปรับการเรียนการสอน ทางโรงเรียนได้ใช้วิธีการ Peer Coaching หรือเพื่อนช่วยเพื่อน ให้เพื่อนครูในกลุ่มสาระในช่วงวัยเดียวกันคอยนิเทศการสอนเพื่อพัฒนาครูร่วมกัน เพื่อให้การสอนมีประสิทธิภาพมากที่สุด นอกจากนี้ โรงเรียนยังได้เห็นความสำคัญของความคิดเห็นจากนักเรียน ซึ่งนับเป็นสิ่งที่สำคัญมากในการนำไปปรับปรุงวิธีการจัดการเรียนการสอน โดยเฉพาะนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาของโรงเรียน ที่มีความกล้าแสดงออกและสามารถเสนอแนะถึงวิธีการสอน รวมทั้งเสียงจากผู้ปกครองที่ช่วยเสนอแนวคิดใหม่ๆ มาโดยตลอด เพื่อร่วมกันพัฒนาการจัดการเรียนการสอนตามแนวทางการเรียนรู้ร่วมกันต่อไป” อย่างไรก็ดี กระบวนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาสมรรถนะแบบผู้เรียนสร้างความรู้ด้วยตนเองข้างต้น ถือเป็นหนึ่งในภารกิจการปฏิรูประบบการศึกษาไทยของ คณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา ที่ได้กำหนดกรอบการปฏิรูประบบการศึกษาไทยเชิงนโยบาย ด้านการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนสู่การเรียนรู้ฐานสมรรถนะ เพื่อตอบสนองการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 หรือ บิ๊กร็อคที่ 2 ที่มีเป้าหมายให้ผู้เรียนในทุกระดับชั้นเป็นผู้มีความรู้และทักษะในการดำรงชีวิตในโลกยุคใหม่ เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมและโลก ส่วนหนึ่งของตัวอย่างความสำเร็จ คือ โมเดลในการปรับเปลี่ยนกระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning โดย กระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) ผ่านโรงเรียนต้นแบบ 30 โรงเรียน ที่นักเรียนสามารถสร้างสรรค์นวัตกรรมขึ้นกว่า 1,500 นวัตกรรม และกำลังเร่งขยายผลไปยังพื้นที่อื่นๆ ให้ครอบคลุมสถานศึกษาทั่วประเทศโดยเร็ว ติดตามความเคลื่อนไหวกิจกรรม ของ คณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา ได้ใน 4 ช่องทาง ดังนี้ เว็บไซต์ https://www.thaiedreform2022.org เฟซบุ๊กแฟนเพจ https://web.facebook.com/Thaiedreform2022 ยูทูบช่อง ‘thaiedreform2022’ และทวิตเตอร์ https://twitter.com/Thaiedreform22 EZ Webmaster Related Posts มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 สจล. เดินหน้ากระชับความร่วมมือทางวิชาการ กับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของจีน อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก กองกลาง มจพ. เยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ และจัดสัมมนาจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล ประจำปี 2568 คณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล มจพ. ชูธงร่วมเครือข่ายจัดใหญ่การประชุมวิชาการ นวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (FIAC) 2025 Post navigation PREVIOUS Previous post: นศ.บริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทยเพิ่มลุคสีผมเรียนออนไลน์ต้อนรับเปิดเทอม ผ่อนคลายสถานการณ์โควิด-19NEXT Next post: สิ่งต้องรู้ก่อนสมัครสอบ GAT/PAT & วิชาสามัญ TCAS65 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา EZ WebmasterJune 18, 2025 วิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิทักษ์ ธรรมวาริน (คนที่ 4 จากซ้าย) คณบดีวิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สจล. และ Mr. Alfonso Martin (คนที่ 3… คณะมนุษยศาสตร์ ม.หอการค้าไทย จัดหลักสูตรรุกหน้าการันตี “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน!!” EZ WebmasterJune 18, 2025 “ภาษา” มิใช่เพียงเครื่องมือสื่อสารแต่เป็นกุญแจสำคัญในการเรียนรู้และเข้าใจวัฒนธรรม การคิดวิเคราะห์และสร้างสรรค์นวัตกรรม ผู้ที่มีทักษะด้านภาษาที่แข็งแกร่งจะสามารถเป็นข้อได้เปรียบหรือประสบความสำเร็จได้ในโลกที่เปลี่ยนแปลงและผู้คนทั่วโลกเชื่อมโยงสื่อสารถึงกันได้ในพริบตาแม้จะต่างชาติ ต่างภาษา ต่างวัฒนธรรม การเรียนรู้ฝึกฝนมีทักษะภาษาจึงมิใช่แค่รู้หรือพูดภาษานานาชาติได้เท่านั้น แต่การเรียนภาษาให้มีรายได้ดี มีอาชีพมั่นคง เป็นมนุษย์เงินเดือนอิสระ ถึงขั้นการันตีได้ว่า “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน !!! นั้นก็เป็นสิ่งเพิ่มมูลค่าและมีคุณค่าอย่างน่าภูมิใจ เฉกเช่นที่ล่าสุด Miss World…
คณะมนุษยศาสตร์ ม.หอการค้าไทย จัดหลักสูตรรุกหน้าการันตี “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน!!” EZ WebmasterJune 18, 2025 “ภาษา” มิใช่เพียงเครื่องมือสื่อสารแต่เป็นกุญแจสำคัญในการเรียนรู้และเข้าใจวัฒนธรรม การคิดวิเคราะห์และสร้างสรรค์นวัตกรรม ผู้ที่มีทักษะด้านภาษาที่แข็งแกร่งจะสามารถเป็นข้อได้เปรียบหรือประสบความสำเร็จได้ในโลกที่เปลี่ยนแปลงและผู้คนทั่วโลกเชื่อมโยงสื่อสารถึงกันได้ในพริบตาแม้จะต่างชาติ ต่างภาษา ต่างวัฒนธรรม การเรียนรู้ฝึกฝนมีทักษะภาษาจึงมิใช่แค่รู้หรือพูดภาษานานาชาติได้เท่านั้น แต่การเรียนภาษาให้มีรายได้ดี มีอาชีพมั่นคง เป็นมนุษย์เงินเดือนอิสระ ถึงขั้นการันตีได้ว่า “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน !!! นั้นก็เป็นสิ่งเพิ่มมูลค่าและมีคุณค่าอย่างน่าภูมิใจ เฉกเช่นที่ล่าสุด Miss World…
Kazan Global Youth Summit InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 19, 2025 เชิญเยาวชนสมัครคัดเลือกเข้าร่วมการประชุม Kazan Global Youth Summit ครั้งที่ 4 ระหว่างวันที่ 27 – 30 สิงหาคม 2568 ณ เมืองคาซาน สาธารณรัฐตาตาร์สตาน สหพันธรัฐรัสเซีย จัดโดยรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐตาตาร์สตาน… SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… ครู-อาจารย์ มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ… สจล. เดินหน้ากระชับความร่วมมือทางวิชาการ กับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของจีน EZ WebmasterJune 19, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เดินหน้ากระชับความสัมพันธ์ทางวิชาการกับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งเป็นพันธมิตรที่มีความร่วมมือกันมานานกว่า 20 ปี เพื่อหารือขยายความร่วมมือเชิงลึกในสาขาวิศวกรรมขั้นสูง โดยเฉพาะด้าน Aerospace, Mechatronics, Automation และ Astronautics ซึ่ง HIT ถือเป็นสถาบันชั้นนำของจีนในด้านนี้ พร้อมทั้งหารือแนวทางความร่วมมือด้านการแลกเปลี่ยนนักศึกษา นักวิจัย และการพัฒนาโครงการ Joint Degree ในอนาคต รองศาสตราจารย์… อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก tui sakrapeeJune 18, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา นำโดย รศ.ดร.ชุติกาญจน์ ศรีวิบูลย์ อธิการบดี พร้อมคณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย เดินทางเยือนโรงเรียนนานาชาติ Qingdao No.1 International School of Shandong Province (QISS) และ Qingdao University… กองกลาง มจพ. เยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ และจัดสัมมนาจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล ประจำปี 2568 EZ WebmasterJune 18, 2025 ผศ.ดร.สราวุฒิ สืบแย้ม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายการคลังและกิจการทั่วไป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยนางสาวรัตนา สุขเฉลิมศรี ผู้อำนวยการกองกลาง และบุคลากรกองกลาง เข้าเยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ มจพ. ณ ชั้น 3 สำนักงานหอสมุดกลาง โดยมีนางสาวพนารมย์ เกียรติลีลานันท์ และ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster January 12, 2022 EZ Webmaster January 12, 2022 เปิดไอเดียบริหารโรงเรียนมัธยม “รัฐ-เอกชน” สะท้อน “บิ๊กร็อค 2” รับปีเสือ พร้อมส่องโมเดลการ “เพิ่มอิสระ” “เพิ่มแอคทีฟเลินนิ่ง” รับเด็ก GEN ใหม่ ท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงของโลกที่ดำเนินไปอย่างรวดเร็ว อิทธิพลจากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี และนวัตกรรมต่างๆ ได้เข้ามามีบทบาทกับวิถีการดำเนินชีวิตของผู้คนในทุกช่วงวัย การเข้าถึงข้อมูลข่าวสารและองค์ความรู้ในปัจจุบันไร้ซึ่งข้อจำกัดทั้งในด้านเวลาและสถานที่ การเรียนรู้จึงไม่ได้ถูกจำกัดอยู่แค่ภายในห้องเรียนหรือสถานศึกษา อีกทั้ง สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ที่ยืดเยื้อมาเป็นเวลานานกว่าสองปี ทำให้เด็กและเยาวชนต้องปรับตัวกับ การเรียนออนไลน์ที่บ้านและเผชิญกับสภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้ออำนวยต่อการเรียนรู้นำไปสู่ปัญหาที่ตามมาจำนวนมาก เช่น ขาดการมีส่วนร่วม/ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน ผู้เรียนขาดสมาธิกับการเรียนผ่านจอเป็นเวลานาน ซึ่งส่งผลให้ประสิทธิภาพในการเรียนรู้ลดลง นับเป็นอีกหนึ่งความท้าทายของสถาบันการศึกษาและครูผู้สอนที่ต้องปรับระบบการศึกษาเพื่อรับมือกับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะการสนับสนุนให้ครูผู้สอนพัฒนาศักยภาพและทักษะในการออกแบบการจัดการเรียนการสอนและอาศัยเทคโนโลยีเข้ามาเป็นเครื่องมือสำคัญ ปรับบทบาทจากผู้ที่ถ่ายทอดเนื้อหาตามหลักสูตรอยู่ฝ่ายเดียว สู่การเป็น ‘โค้ชชิ่ง’ (Coaching) ที่มีส่วนสำคัญในการกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนมีส่วนร่วม (Active Learning) เน้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมกับกระบวนการเรียนรู้ในทุกขั้นตอน โดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางของการเรียนรู้ ผ่านกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะที่สามารถนำไปใช้ในการดำเนินชีวิตจริง และสามารถรับมือกับกับความเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 แม้ว่ามีสถานศึกษาหลายแห่งนำรูปแบบการจัดการเรียนรู้ดังกล่าวมาปรับใช้บ้างแล้ว แต่ก็ยังเป็นเรื่องที่ต้องกระตุ้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งระบบต่อไป เพื่อตอบสนองต่อการพัฒนาของสังคมโลกยุคใหม่อย่างแท้จริง โดยวันนี้จะพาไปทำความรู้จักกับแนวคิดการบริหารสถานศึกษา จากสองผู้บริหารโรงเรียนดังสังกัดรัฐและสังกัดเอกชน ถึงแนวทางการปรับการจัดการเรียนการสอนในช่วงวิกฤตโควิด-19 ว่ามีวิธีการเตรียมความพร้อมรับมือและแนวทางการปรับการจัดการเรียนการสอนท่ามกลางบริบทที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างไร “ห้องเรียนกลับด้าน เปลี่ยนบ้านให้เป็นคลาสกิจกรรม” รศ.ดร.วิวัฒน์ เรืองเลิศปัญญากุล กรรมการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา และรักษาการผู้อำนวยการโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ กล่าวว่า สิ่งที่สำคัญที่สุดในการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning คือ การสร้างการมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ของผู้เรียน โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ได้เตรียมรับมือกับสถานการณ์โควิด-19 ด้วยการอบรมครูผู้สอนล่วงหน้า ตั้งแต่ก่อนภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 ให้ครูทุกคนมีทักษะด้านเทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอนรูปแบบออนไลน์ มีความสามารถในการจัดทำและตัดต่อสื่อการสอนรูปแบบคลิปวีดีโอ เพื่อนำมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนแบบ “Flipped Classroom” หรือห้องเรียนกลับด้าน เป็นวิธีการที่ให้นักเรียนได้เรียนจากคลิปวีดีโอที่ครูผู้สอนในแต่ละวิชาเป็นผู้จัดทำด้วยตัวเองที่บ้านก่อน แล้วจึงนำประเด็นต่างๆ จากเนื้อหามาแลกเปลี่ยนหรือถกเถียงกันอีกครั้งในห้องเรียนออนไลน์ โดยแบ่งสัดส่วนเป็นช่วงที่ให้นักเรียนกับครูผู้สอนได้เจอหน้าและโต้ตอบกัน (Synchronous Learning) ออกเป็นร้อยละ 70 และอีกร้อยละ 30 คือช่วงเวลาที่นักเรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านระบบสื่อการเรียนการสอน (Asynchronous Learning) ซึ่งโรงเรียนได้ทำแบบสอบถามความคิดเห็นจากนักเรียนเป็นประจำทุกเดือน เพื่อนำผลตอบรับจากนักเรียนมาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนในช่วงวิกฤตที่ผ่านมา “อย่างไรก็ตาม แม้จะมีเทคโนโลยีมากมายที่เข้ามาสนับสนุนการเรียนรู้ระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แต่อีกเรื่องที่โรงเรียนให้ความสำคัญคือ ทัศนคติของครูที่ต้องเคารพความแตกต่างของนักเรียนแต่ละคน เพราะนักเรียนแต่ละคนมีวิธีการเรียนรู้ ความรวดเร็วในการเรียนรู้ และความสนใจที่แตกต่างกัน รวมทั้งทีมผู้บริหารสถานศึกษาที่ต้องบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมและสร้างบรรยากาศในการจัดการเรียนการสอน สนับสนุนให้ครูและนักเรียนอยู่ในบรรยากาศที่ดีที่สุดในการเรียนรู้ จัดหาอุปกรณ์ และสรรหาบุคลากรเพื่อรองรับการเรียนการสอนภายใต้บริบทที่เปลี่ยนไปในปัจจุบัน ให้การเรียนการสอนคงไว้ซึ่งประสิทธิภาพมากที่สุด” “Think-Pair-Share เติมเต็มการเรียนรู้ สร้างการมีส่วนร่วม ด้วยเทคนิคเพื่อนคู่คิด” ในด้านฝั่งโรงเรียนเอกชน นางวราภรณ์ ทรัพย์สมบูรณ์ รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการและมาตรฐานคุณภาพ ปฏิบัติหน้าที่ผู้อำนวยการโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย ได้เปิดเผยว่า โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัยได้เริ่มนำรูปแบบการเรียนการสอนแบบ Active Learning มาปรับใช้ตั้งแต่ก่อนเกิดสถานการณ์โควิด-19 ทำให้ครูผู้สอนมีประสบการณ์และสามารถนำมาปรับใช้กับการสอนรูปแบบออนไลน์ในช่วงที่ผ่านมาได้เป็นอย่างดี โดยยึดแนวคิดสำคัญของการสร้างการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม คือ “เต็มใจเรียนรู้” และ “สนุกกับการมีส่วนร่วม” การจัดการเรียนการสอนแบบโครงงานเป็นฐาน (Project Based Learning) และการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problems Based Learning) ถูกนำมาใช้ในกลุ่มการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และกลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ค้นคว้าและลงมือปฏิบัติจริงจากกิจกรรมการทดลองซึ่งสามารถทำได้เองที่บ้าน โดยยึดจากเรื่องรอบตัวในชีวิตประจำวันที่นักเรียนสนใจ ส่วนครูผู้สอนมีบทบาทในการกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ และปรับความยากง่ายของโจทย์ให้เป็นไปตามระดับชั้น นอกจากนี้โรงเรียนยังใช้การจัดการเรียนการสอนแบบสะท้อนคิด (Think Pair Share) และการจัดการเรียนการสอนที่เน้นแบบร่วมมือ (Collaborative Learning Group) ด้วยกิจกรรมการแบ่งกลุ่มหรือจับคู่ ให้นักเรียนได้พูดคุยถึงประเด็นปัญหาที่แต่ละคนสนใจ และนำมาร่วมกันคิดวิเคราะห์เพื่อหาคำตอบและนำเสนอร่วมกันในชั้นเรียน วิธีการนี้ทำให้นักเรียนได้เกิดการแลกเปลี่ยนความคิด และมีส่วนร่วมในชั้นเรียนอย่างเท่าเทียม รวมถึงเพิ่มทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่นอีกด้วย “ในระยะแรกครูผู้สอนอาจยังมีความกังวล เนื่องจากไม่คุ้นชินกับการปรับการเรียนการสอน ทางโรงเรียนได้ใช้วิธีการ Peer Coaching หรือเพื่อนช่วยเพื่อน ให้เพื่อนครูในกลุ่มสาระในช่วงวัยเดียวกันคอยนิเทศการสอนเพื่อพัฒนาครูร่วมกัน เพื่อให้การสอนมีประสิทธิภาพมากที่สุด นอกจากนี้ โรงเรียนยังได้เห็นความสำคัญของความคิดเห็นจากนักเรียน ซึ่งนับเป็นสิ่งที่สำคัญมากในการนำไปปรับปรุงวิธีการจัดการเรียนการสอน โดยเฉพาะนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาของโรงเรียน ที่มีความกล้าแสดงออกและสามารถเสนอแนะถึงวิธีการสอน รวมทั้งเสียงจากผู้ปกครองที่ช่วยเสนอแนวคิดใหม่ๆ มาโดยตลอด เพื่อร่วมกันพัฒนาการจัดการเรียนการสอนตามแนวทางการเรียนรู้ร่วมกันต่อไป” อย่างไรก็ดี กระบวนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาสมรรถนะแบบผู้เรียนสร้างความรู้ด้วยตนเองข้างต้น ถือเป็นหนึ่งในภารกิจการปฏิรูประบบการศึกษาไทยของ คณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา ที่ได้กำหนดกรอบการปฏิรูประบบการศึกษาไทยเชิงนโยบาย ด้านการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนสู่การเรียนรู้ฐานสมรรถนะ เพื่อตอบสนองการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 หรือ บิ๊กร็อคที่ 2 ที่มีเป้าหมายให้ผู้เรียนในทุกระดับชั้นเป็นผู้มีความรู้และทักษะในการดำรงชีวิตในโลกยุคใหม่ เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมและโลก ส่วนหนึ่งของตัวอย่างความสำเร็จ คือ โมเดลในการปรับเปลี่ยนกระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning โดย กระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) ผ่านโรงเรียนต้นแบบ 30 โรงเรียน ที่นักเรียนสามารถสร้างสรรค์นวัตกรรมขึ้นกว่า 1,500 นวัตกรรม และกำลังเร่งขยายผลไปยังพื้นที่อื่นๆ ให้ครอบคลุมสถานศึกษาทั่วประเทศโดยเร็ว ติดตามความเคลื่อนไหวกิจกรรม ของ คณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา ได้ใน 4 ช่องทาง ดังนี้ เว็บไซต์ https://www.thaiedreform2022.org เฟซบุ๊กแฟนเพจ https://web.facebook.com/Thaiedreform2022 ยูทูบช่อง ‘thaiedreform2022’ และทวิตเตอร์ https://twitter.com/Thaiedreform22 EZ Webmaster Related Posts มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 สจล. เดินหน้ากระชับความร่วมมือทางวิชาการ กับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของจีน อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก กองกลาง มจพ. เยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ และจัดสัมมนาจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล ประจำปี 2568 คณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล มจพ. ชูธงร่วมเครือข่ายจัดใหญ่การประชุมวิชาการ นวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (FIAC) 2025 Post navigation PREVIOUS Previous post: นศ.บริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทยเพิ่มลุคสีผมเรียนออนไลน์ต้อนรับเปิดเทอม ผ่อนคลายสถานการณ์โควิด-19NEXT Next post: สิ่งต้องรู้ก่อนสมัครสอบ GAT/PAT & วิชาสามัญ TCAS65 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… ครู-อาจารย์ มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ… สจล. เดินหน้ากระชับความร่วมมือทางวิชาการ กับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของจีน EZ WebmasterJune 19, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เดินหน้ากระชับความสัมพันธ์ทางวิชาการกับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งเป็นพันธมิตรที่มีความร่วมมือกันมานานกว่า 20 ปี เพื่อหารือขยายความร่วมมือเชิงลึกในสาขาวิศวกรรมขั้นสูง โดยเฉพาะด้าน Aerospace, Mechatronics, Automation และ Astronautics ซึ่ง HIT ถือเป็นสถาบันชั้นนำของจีนในด้านนี้ พร้อมทั้งหารือแนวทางความร่วมมือด้านการแลกเปลี่ยนนักศึกษา นักวิจัย และการพัฒนาโครงการ Joint Degree ในอนาคต รองศาสตราจารย์… อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก tui sakrapeeJune 18, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา นำโดย รศ.ดร.ชุติกาญจน์ ศรีวิบูลย์ อธิการบดี พร้อมคณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย เดินทางเยือนโรงเรียนนานาชาติ Qingdao No.1 International School of Shandong Province (QISS) และ Qingdao University… กองกลาง มจพ. เยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ และจัดสัมมนาจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล ประจำปี 2568 EZ WebmasterJune 18, 2025 ผศ.ดร.สราวุฒิ สืบแย้ม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายการคลังและกิจการทั่วไป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยนางสาวรัตนา สุขเฉลิมศรี ผู้อำนวยการกองกลาง และบุคลากรกองกลาง เข้าเยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ มจพ. ณ ชั้น 3 สำนักงานหอสมุดกลาง โดยมีนางสาวพนารมย์ เกียรติลีลานันท์ และ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster January 12, 2022 EZ Webmaster January 12, 2022 เปิดไอเดียบริหารโรงเรียนมัธยม “รัฐ-เอกชน” สะท้อน “บิ๊กร็อค 2” รับปีเสือ พร้อมส่องโมเดลการ “เพิ่มอิสระ” “เพิ่มแอคทีฟเลินนิ่ง” รับเด็ก GEN ใหม่ ท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงของโลกที่ดำเนินไปอย่างรวดเร็ว อิทธิพลจากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี และนวัตกรรมต่างๆ ได้เข้ามามีบทบาทกับวิถีการดำเนินชีวิตของผู้คนในทุกช่วงวัย การเข้าถึงข้อมูลข่าวสารและองค์ความรู้ในปัจจุบันไร้ซึ่งข้อจำกัดทั้งในด้านเวลาและสถานที่ การเรียนรู้จึงไม่ได้ถูกจำกัดอยู่แค่ภายในห้องเรียนหรือสถานศึกษา อีกทั้ง สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ที่ยืดเยื้อมาเป็นเวลานานกว่าสองปี ทำให้เด็กและเยาวชนต้องปรับตัวกับ การเรียนออนไลน์ที่บ้านและเผชิญกับสภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้ออำนวยต่อการเรียนรู้นำไปสู่ปัญหาที่ตามมาจำนวนมาก เช่น ขาดการมีส่วนร่วม/ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน ผู้เรียนขาดสมาธิกับการเรียนผ่านจอเป็นเวลานาน ซึ่งส่งผลให้ประสิทธิภาพในการเรียนรู้ลดลง นับเป็นอีกหนึ่งความท้าทายของสถาบันการศึกษาและครูผู้สอนที่ต้องปรับระบบการศึกษาเพื่อรับมือกับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะการสนับสนุนให้ครูผู้สอนพัฒนาศักยภาพและทักษะในการออกแบบการจัดการเรียนการสอนและอาศัยเทคโนโลยีเข้ามาเป็นเครื่องมือสำคัญ ปรับบทบาทจากผู้ที่ถ่ายทอดเนื้อหาตามหลักสูตรอยู่ฝ่ายเดียว สู่การเป็น ‘โค้ชชิ่ง’ (Coaching) ที่มีส่วนสำคัญในการกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนมีส่วนร่วม (Active Learning) เน้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมกับกระบวนการเรียนรู้ในทุกขั้นตอน โดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางของการเรียนรู้ ผ่านกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะที่สามารถนำไปใช้ในการดำเนินชีวิตจริง และสามารถรับมือกับกับความเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 แม้ว่ามีสถานศึกษาหลายแห่งนำรูปแบบการจัดการเรียนรู้ดังกล่าวมาปรับใช้บ้างแล้ว แต่ก็ยังเป็นเรื่องที่ต้องกระตุ้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งระบบต่อไป เพื่อตอบสนองต่อการพัฒนาของสังคมโลกยุคใหม่อย่างแท้จริง โดยวันนี้จะพาไปทำความรู้จักกับแนวคิดการบริหารสถานศึกษา จากสองผู้บริหารโรงเรียนดังสังกัดรัฐและสังกัดเอกชน ถึงแนวทางการปรับการจัดการเรียนการสอนในช่วงวิกฤตโควิด-19 ว่ามีวิธีการเตรียมความพร้อมรับมือและแนวทางการปรับการจัดการเรียนการสอนท่ามกลางบริบทที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างไร “ห้องเรียนกลับด้าน เปลี่ยนบ้านให้เป็นคลาสกิจกรรม” รศ.ดร.วิวัฒน์ เรืองเลิศปัญญากุล กรรมการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา และรักษาการผู้อำนวยการโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ กล่าวว่า สิ่งที่สำคัญที่สุดในการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning คือ การสร้างการมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ของผู้เรียน โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ได้เตรียมรับมือกับสถานการณ์โควิด-19 ด้วยการอบรมครูผู้สอนล่วงหน้า ตั้งแต่ก่อนภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 ให้ครูทุกคนมีทักษะด้านเทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอนรูปแบบออนไลน์ มีความสามารถในการจัดทำและตัดต่อสื่อการสอนรูปแบบคลิปวีดีโอ เพื่อนำมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนแบบ “Flipped Classroom” หรือห้องเรียนกลับด้าน เป็นวิธีการที่ให้นักเรียนได้เรียนจากคลิปวีดีโอที่ครูผู้สอนในแต่ละวิชาเป็นผู้จัดทำด้วยตัวเองที่บ้านก่อน แล้วจึงนำประเด็นต่างๆ จากเนื้อหามาแลกเปลี่ยนหรือถกเถียงกันอีกครั้งในห้องเรียนออนไลน์ โดยแบ่งสัดส่วนเป็นช่วงที่ให้นักเรียนกับครูผู้สอนได้เจอหน้าและโต้ตอบกัน (Synchronous Learning) ออกเป็นร้อยละ 70 และอีกร้อยละ 30 คือช่วงเวลาที่นักเรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านระบบสื่อการเรียนการสอน (Asynchronous Learning) ซึ่งโรงเรียนได้ทำแบบสอบถามความคิดเห็นจากนักเรียนเป็นประจำทุกเดือน เพื่อนำผลตอบรับจากนักเรียนมาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนในช่วงวิกฤตที่ผ่านมา “อย่างไรก็ตาม แม้จะมีเทคโนโลยีมากมายที่เข้ามาสนับสนุนการเรียนรู้ระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แต่อีกเรื่องที่โรงเรียนให้ความสำคัญคือ ทัศนคติของครูที่ต้องเคารพความแตกต่างของนักเรียนแต่ละคน เพราะนักเรียนแต่ละคนมีวิธีการเรียนรู้ ความรวดเร็วในการเรียนรู้ และความสนใจที่แตกต่างกัน รวมทั้งทีมผู้บริหารสถานศึกษาที่ต้องบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมและสร้างบรรยากาศในการจัดการเรียนการสอน สนับสนุนให้ครูและนักเรียนอยู่ในบรรยากาศที่ดีที่สุดในการเรียนรู้ จัดหาอุปกรณ์ และสรรหาบุคลากรเพื่อรองรับการเรียนการสอนภายใต้บริบทที่เปลี่ยนไปในปัจจุบัน ให้การเรียนการสอนคงไว้ซึ่งประสิทธิภาพมากที่สุด” “Think-Pair-Share เติมเต็มการเรียนรู้ สร้างการมีส่วนร่วม ด้วยเทคนิคเพื่อนคู่คิด” ในด้านฝั่งโรงเรียนเอกชน นางวราภรณ์ ทรัพย์สมบูรณ์ รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการและมาตรฐานคุณภาพ ปฏิบัติหน้าที่ผู้อำนวยการโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย ได้เปิดเผยว่า โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัยได้เริ่มนำรูปแบบการเรียนการสอนแบบ Active Learning มาปรับใช้ตั้งแต่ก่อนเกิดสถานการณ์โควิด-19 ทำให้ครูผู้สอนมีประสบการณ์และสามารถนำมาปรับใช้กับการสอนรูปแบบออนไลน์ในช่วงที่ผ่านมาได้เป็นอย่างดี โดยยึดแนวคิดสำคัญของการสร้างการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม คือ “เต็มใจเรียนรู้” และ “สนุกกับการมีส่วนร่วม” การจัดการเรียนการสอนแบบโครงงานเป็นฐาน (Project Based Learning) และการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problems Based Learning) ถูกนำมาใช้ในกลุ่มการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และกลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ค้นคว้าและลงมือปฏิบัติจริงจากกิจกรรมการทดลองซึ่งสามารถทำได้เองที่บ้าน โดยยึดจากเรื่องรอบตัวในชีวิตประจำวันที่นักเรียนสนใจ ส่วนครูผู้สอนมีบทบาทในการกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ และปรับความยากง่ายของโจทย์ให้เป็นไปตามระดับชั้น นอกจากนี้โรงเรียนยังใช้การจัดการเรียนการสอนแบบสะท้อนคิด (Think Pair Share) และการจัดการเรียนการสอนที่เน้นแบบร่วมมือ (Collaborative Learning Group) ด้วยกิจกรรมการแบ่งกลุ่มหรือจับคู่ ให้นักเรียนได้พูดคุยถึงประเด็นปัญหาที่แต่ละคนสนใจ และนำมาร่วมกันคิดวิเคราะห์เพื่อหาคำตอบและนำเสนอร่วมกันในชั้นเรียน วิธีการนี้ทำให้นักเรียนได้เกิดการแลกเปลี่ยนความคิด และมีส่วนร่วมในชั้นเรียนอย่างเท่าเทียม รวมถึงเพิ่มทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่นอีกด้วย “ในระยะแรกครูผู้สอนอาจยังมีความกังวล เนื่องจากไม่คุ้นชินกับการปรับการเรียนการสอน ทางโรงเรียนได้ใช้วิธีการ Peer Coaching หรือเพื่อนช่วยเพื่อน ให้เพื่อนครูในกลุ่มสาระในช่วงวัยเดียวกันคอยนิเทศการสอนเพื่อพัฒนาครูร่วมกัน เพื่อให้การสอนมีประสิทธิภาพมากที่สุด นอกจากนี้ โรงเรียนยังได้เห็นความสำคัญของความคิดเห็นจากนักเรียน ซึ่งนับเป็นสิ่งที่สำคัญมากในการนำไปปรับปรุงวิธีการจัดการเรียนการสอน โดยเฉพาะนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาของโรงเรียน ที่มีความกล้าแสดงออกและสามารถเสนอแนะถึงวิธีการสอน รวมทั้งเสียงจากผู้ปกครองที่ช่วยเสนอแนวคิดใหม่ๆ มาโดยตลอด เพื่อร่วมกันพัฒนาการจัดการเรียนการสอนตามแนวทางการเรียนรู้ร่วมกันต่อไป” อย่างไรก็ดี กระบวนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาสมรรถนะแบบผู้เรียนสร้างความรู้ด้วยตนเองข้างต้น ถือเป็นหนึ่งในภารกิจการปฏิรูประบบการศึกษาไทยของ คณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา ที่ได้กำหนดกรอบการปฏิรูประบบการศึกษาไทยเชิงนโยบาย ด้านการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนสู่การเรียนรู้ฐานสมรรถนะ เพื่อตอบสนองการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 หรือ บิ๊กร็อคที่ 2 ที่มีเป้าหมายให้ผู้เรียนในทุกระดับชั้นเป็นผู้มีความรู้และทักษะในการดำรงชีวิตในโลกยุคใหม่ เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมและโลก ส่วนหนึ่งของตัวอย่างความสำเร็จ คือ โมเดลในการปรับเปลี่ยนกระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning โดย กระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) ผ่านโรงเรียนต้นแบบ 30 โรงเรียน ที่นักเรียนสามารถสร้างสรรค์นวัตกรรมขึ้นกว่า 1,500 นวัตกรรม และกำลังเร่งขยายผลไปยังพื้นที่อื่นๆ ให้ครอบคลุมสถานศึกษาทั่วประเทศโดยเร็ว ติดตามความเคลื่อนไหวกิจกรรม ของ คณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา ได้ใน 4 ช่องทาง ดังนี้ เว็บไซต์ https://www.thaiedreform2022.org เฟซบุ๊กแฟนเพจ https://web.facebook.com/Thaiedreform2022 ยูทูบช่อง ‘thaiedreform2022’ และทวิตเตอร์ https://twitter.com/Thaiedreform22 EZ Webmaster Related Posts มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 สจล. เดินหน้ากระชับความร่วมมือทางวิชาการ กับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของจีน อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก กองกลาง มจพ. เยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ และจัดสัมมนาจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล ประจำปี 2568 คณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล มจพ. ชูธงร่วมเครือข่ายจัดใหญ่การประชุมวิชาการ นวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (FIAC) 2025 Post navigation PREVIOUS Previous post: นศ.บริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทยเพิ่มลุคสีผมเรียนออนไลน์ต้อนรับเปิดเทอม ผ่อนคลายสถานการณ์โควิด-19NEXT Next post: สิ่งต้องรู้ก่อนสมัครสอบ GAT/PAT & วิชาสามัญ TCAS65 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)…
8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)…
มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ… สจล. เดินหน้ากระชับความร่วมมือทางวิชาการ กับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของจีน EZ WebmasterJune 19, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เดินหน้ากระชับความสัมพันธ์ทางวิชาการกับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งเป็นพันธมิตรที่มีความร่วมมือกันมานานกว่า 20 ปี เพื่อหารือขยายความร่วมมือเชิงลึกในสาขาวิศวกรรมขั้นสูง โดยเฉพาะด้าน Aerospace, Mechatronics, Automation และ Astronautics ซึ่ง HIT ถือเป็นสถาบันชั้นนำของจีนในด้านนี้ พร้อมทั้งหารือแนวทางความร่วมมือด้านการแลกเปลี่ยนนักศึกษา นักวิจัย และการพัฒนาโครงการ Joint Degree ในอนาคต รองศาสตราจารย์… อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก tui sakrapeeJune 18, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา นำโดย รศ.ดร.ชุติกาญจน์ ศรีวิบูลย์ อธิการบดี พร้อมคณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย เดินทางเยือนโรงเรียนนานาชาติ Qingdao No.1 International School of Shandong Province (QISS) และ Qingdao University… กองกลาง มจพ. เยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ และจัดสัมมนาจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล ประจำปี 2568 EZ WebmasterJune 18, 2025 ผศ.ดร.สราวุฒิ สืบแย้ม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายการคลังและกิจการทั่วไป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยนางสาวรัตนา สุขเฉลิมศรี ผู้อำนวยการกองกลาง และบุคลากรกองกลาง เข้าเยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ มจพ. ณ ชั้น 3 สำนักงานหอสมุดกลาง โดยมีนางสาวพนารมย์ เกียรติลีลานันท์ และ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster January 12, 2022 EZ Webmaster January 12, 2022 เปิดไอเดียบริหารโรงเรียนมัธยม “รัฐ-เอกชน” สะท้อน “บิ๊กร็อค 2” รับปีเสือ พร้อมส่องโมเดลการ “เพิ่มอิสระ” “เพิ่มแอคทีฟเลินนิ่ง” รับเด็ก GEN ใหม่ ท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงของโลกที่ดำเนินไปอย่างรวดเร็ว อิทธิพลจากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี และนวัตกรรมต่างๆ ได้เข้ามามีบทบาทกับวิถีการดำเนินชีวิตของผู้คนในทุกช่วงวัย การเข้าถึงข้อมูลข่าวสารและองค์ความรู้ในปัจจุบันไร้ซึ่งข้อจำกัดทั้งในด้านเวลาและสถานที่ การเรียนรู้จึงไม่ได้ถูกจำกัดอยู่แค่ภายในห้องเรียนหรือสถานศึกษา อีกทั้ง สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ที่ยืดเยื้อมาเป็นเวลานานกว่าสองปี ทำให้เด็กและเยาวชนต้องปรับตัวกับ การเรียนออนไลน์ที่บ้านและเผชิญกับสภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้ออำนวยต่อการเรียนรู้นำไปสู่ปัญหาที่ตามมาจำนวนมาก เช่น ขาดการมีส่วนร่วม/ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน ผู้เรียนขาดสมาธิกับการเรียนผ่านจอเป็นเวลานาน ซึ่งส่งผลให้ประสิทธิภาพในการเรียนรู้ลดลง นับเป็นอีกหนึ่งความท้าทายของสถาบันการศึกษาและครูผู้สอนที่ต้องปรับระบบการศึกษาเพื่อรับมือกับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะการสนับสนุนให้ครูผู้สอนพัฒนาศักยภาพและทักษะในการออกแบบการจัดการเรียนการสอนและอาศัยเทคโนโลยีเข้ามาเป็นเครื่องมือสำคัญ ปรับบทบาทจากผู้ที่ถ่ายทอดเนื้อหาตามหลักสูตรอยู่ฝ่ายเดียว สู่การเป็น ‘โค้ชชิ่ง’ (Coaching) ที่มีส่วนสำคัญในการกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนมีส่วนร่วม (Active Learning) เน้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมกับกระบวนการเรียนรู้ในทุกขั้นตอน โดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางของการเรียนรู้ ผ่านกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะที่สามารถนำไปใช้ในการดำเนินชีวิตจริง และสามารถรับมือกับกับความเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 แม้ว่ามีสถานศึกษาหลายแห่งนำรูปแบบการจัดการเรียนรู้ดังกล่าวมาปรับใช้บ้างแล้ว แต่ก็ยังเป็นเรื่องที่ต้องกระตุ้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งระบบต่อไป เพื่อตอบสนองต่อการพัฒนาของสังคมโลกยุคใหม่อย่างแท้จริง โดยวันนี้จะพาไปทำความรู้จักกับแนวคิดการบริหารสถานศึกษา จากสองผู้บริหารโรงเรียนดังสังกัดรัฐและสังกัดเอกชน ถึงแนวทางการปรับการจัดการเรียนการสอนในช่วงวิกฤตโควิด-19 ว่ามีวิธีการเตรียมความพร้อมรับมือและแนวทางการปรับการจัดการเรียนการสอนท่ามกลางบริบทที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างไร “ห้องเรียนกลับด้าน เปลี่ยนบ้านให้เป็นคลาสกิจกรรม” รศ.ดร.วิวัฒน์ เรืองเลิศปัญญากุล กรรมการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา และรักษาการผู้อำนวยการโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ กล่าวว่า สิ่งที่สำคัญที่สุดในการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning คือ การสร้างการมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ของผู้เรียน โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ได้เตรียมรับมือกับสถานการณ์โควิด-19 ด้วยการอบรมครูผู้สอนล่วงหน้า ตั้งแต่ก่อนภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 ให้ครูทุกคนมีทักษะด้านเทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอนรูปแบบออนไลน์ มีความสามารถในการจัดทำและตัดต่อสื่อการสอนรูปแบบคลิปวีดีโอ เพื่อนำมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนแบบ “Flipped Classroom” หรือห้องเรียนกลับด้าน เป็นวิธีการที่ให้นักเรียนได้เรียนจากคลิปวีดีโอที่ครูผู้สอนในแต่ละวิชาเป็นผู้จัดทำด้วยตัวเองที่บ้านก่อน แล้วจึงนำประเด็นต่างๆ จากเนื้อหามาแลกเปลี่ยนหรือถกเถียงกันอีกครั้งในห้องเรียนออนไลน์ โดยแบ่งสัดส่วนเป็นช่วงที่ให้นักเรียนกับครูผู้สอนได้เจอหน้าและโต้ตอบกัน (Synchronous Learning) ออกเป็นร้อยละ 70 และอีกร้อยละ 30 คือช่วงเวลาที่นักเรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านระบบสื่อการเรียนการสอน (Asynchronous Learning) ซึ่งโรงเรียนได้ทำแบบสอบถามความคิดเห็นจากนักเรียนเป็นประจำทุกเดือน เพื่อนำผลตอบรับจากนักเรียนมาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนในช่วงวิกฤตที่ผ่านมา “อย่างไรก็ตาม แม้จะมีเทคโนโลยีมากมายที่เข้ามาสนับสนุนการเรียนรู้ระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แต่อีกเรื่องที่โรงเรียนให้ความสำคัญคือ ทัศนคติของครูที่ต้องเคารพความแตกต่างของนักเรียนแต่ละคน เพราะนักเรียนแต่ละคนมีวิธีการเรียนรู้ ความรวดเร็วในการเรียนรู้ และความสนใจที่แตกต่างกัน รวมทั้งทีมผู้บริหารสถานศึกษาที่ต้องบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมและสร้างบรรยากาศในการจัดการเรียนการสอน สนับสนุนให้ครูและนักเรียนอยู่ในบรรยากาศที่ดีที่สุดในการเรียนรู้ จัดหาอุปกรณ์ และสรรหาบุคลากรเพื่อรองรับการเรียนการสอนภายใต้บริบทที่เปลี่ยนไปในปัจจุบัน ให้การเรียนการสอนคงไว้ซึ่งประสิทธิภาพมากที่สุด” “Think-Pair-Share เติมเต็มการเรียนรู้ สร้างการมีส่วนร่วม ด้วยเทคนิคเพื่อนคู่คิด” ในด้านฝั่งโรงเรียนเอกชน นางวราภรณ์ ทรัพย์สมบูรณ์ รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการและมาตรฐานคุณภาพ ปฏิบัติหน้าที่ผู้อำนวยการโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย ได้เปิดเผยว่า โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัยได้เริ่มนำรูปแบบการเรียนการสอนแบบ Active Learning มาปรับใช้ตั้งแต่ก่อนเกิดสถานการณ์โควิด-19 ทำให้ครูผู้สอนมีประสบการณ์และสามารถนำมาปรับใช้กับการสอนรูปแบบออนไลน์ในช่วงที่ผ่านมาได้เป็นอย่างดี โดยยึดแนวคิดสำคัญของการสร้างการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม คือ “เต็มใจเรียนรู้” และ “สนุกกับการมีส่วนร่วม” การจัดการเรียนการสอนแบบโครงงานเป็นฐาน (Project Based Learning) และการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problems Based Learning) ถูกนำมาใช้ในกลุ่มการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และกลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ค้นคว้าและลงมือปฏิบัติจริงจากกิจกรรมการทดลองซึ่งสามารถทำได้เองที่บ้าน โดยยึดจากเรื่องรอบตัวในชีวิตประจำวันที่นักเรียนสนใจ ส่วนครูผู้สอนมีบทบาทในการกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ และปรับความยากง่ายของโจทย์ให้เป็นไปตามระดับชั้น นอกจากนี้โรงเรียนยังใช้การจัดการเรียนการสอนแบบสะท้อนคิด (Think Pair Share) และการจัดการเรียนการสอนที่เน้นแบบร่วมมือ (Collaborative Learning Group) ด้วยกิจกรรมการแบ่งกลุ่มหรือจับคู่ ให้นักเรียนได้พูดคุยถึงประเด็นปัญหาที่แต่ละคนสนใจ และนำมาร่วมกันคิดวิเคราะห์เพื่อหาคำตอบและนำเสนอร่วมกันในชั้นเรียน วิธีการนี้ทำให้นักเรียนได้เกิดการแลกเปลี่ยนความคิด และมีส่วนร่วมในชั้นเรียนอย่างเท่าเทียม รวมถึงเพิ่มทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่นอีกด้วย “ในระยะแรกครูผู้สอนอาจยังมีความกังวล เนื่องจากไม่คุ้นชินกับการปรับการเรียนการสอน ทางโรงเรียนได้ใช้วิธีการ Peer Coaching หรือเพื่อนช่วยเพื่อน ให้เพื่อนครูในกลุ่มสาระในช่วงวัยเดียวกันคอยนิเทศการสอนเพื่อพัฒนาครูร่วมกัน เพื่อให้การสอนมีประสิทธิภาพมากที่สุด นอกจากนี้ โรงเรียนยังได้เห็นความสำคัญของความคิดเห็นจากนักเรียน ซึ่งนับเป็นสิ่งที่สำคัญมากในการนำไปปรับปรุงวิธีการจัดการเรียนการสอน โดยเฉพาะนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาของโรงเรียน ที่มีความกล้าแสดงออกและสามารถเสนอแนะถึงวิธีการสอน รวมทั้งเสียงจากผู้ปกครองที่ช่วยเสนอแนวคิดใหม่ๆ มาโดยตลอด เพื่อร่วมกันพัฒนาการจัดการเรียนการสอนตามแนวทางการเรียนรู้ร่วมกันต่อไป” อย่างไรก็ดี กระบวนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาสมรรถนะแบบผู้เรียนสร้างความรู้ด้วยตนเองข้างต้น ถือเป็นหนึ่งในภารกิจการปฏิรูประบบการศึกษาไทยของ คณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา ที่ได้กำหนดกรอบการปฏิรูประบบการศึกษาไทยเชิงนโยบาย ด้านการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนสู่การเรียนรู้ฐานสมรรถนะ เพื่อตอบสนองการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 หรือ บิ๊กร็อคที่ 2 ที่มีเป้าหมายให้ผู้เรียนในทุกระดับชั้นเป็นผู้มีความรู้และทักษะในการดำรงชีวิตในโลกยุคใหม่ เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมและโลก ส่วนหนึ่งของตัวอย่างความสำเร็จ คือ โมเดลในการปรับเปลี่ยนกระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning โดย กระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) ผ่านโรงเรียนต้นแบบ 30 โรงเรียน ที่นักเรียนสามารถสร้างสรรค์นวัตกรรมขึ้นกว่า 1,500 นวัตกรรม และกำลังเร่งขยายผลไปยังพื้นที่อื่นๆ ให้ครอบคลุมสถานศึกษาทั่วประเทศโดยเร็ว ติดตามความเคลื่อนไหวกิจกรรม ของ คณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา ได้ใน 4 ช่องทาง ดังนี้ เว็บไซต์ https://www.thaiedreform2022.org เฟซบุ๊กแฟนเพจ https://web.facebook.com/Thaiedreform2022 ยูทูบช่อง ‘thaiedreform2022’ และทวิตเตอร์ https://twitter.com/Thaiedreform22 EZ Webmaster Related Posts มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 สจล. เดินหน้ากระชับความร่วมมือทางวิชาการ กับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของจีน อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก กองกลาง มจพ. เยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ และจัดสัมมนาจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล ประจำปี 2568 คณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล มจพ. ชูธงร่วมเครือข่ายจัดใหญ่การประชุมวิชาการ นวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (FIAC) 2025 Post navigation PREVIOUS Previous post: นศ.บริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทยเพิ่มลุคสีผมเรียนออนไลน์ต้อนรับเปิดเทอม ผ่อนคลายสถานการณ์โควิด-19NEXT Next post: สิ่งต้องรู้ก่อนสมัครสอบ GAT/PAT & วิชาสามัญ TCAS65 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
สจล. เดินหน้ากระชับความร่วมมือทางวิชาการ กับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของจีน EZ WebmasterJune 19, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เดินหน้ากระชับความสัมพันธ์ทางวิชาการกับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งเป็นพันธมิตรที่มีความร่วมมือกันมานานกว่า 20 ปี เพื่อหารือขยายความร่วมมือเชิงลึกในสาขาวิศวกรรมขั้นสูง โดยเฉพาะด้าน Aerospace, Mechatronics, Automation และ Astronautics ซึ่ง HIT ถือเป็นสถาบันชั้นนำของจีนในด้านนี้ พร้อมทั้งหารือแนวทางความร่วมมือด้านการแลกเปลี่ยนนักศึกษา นักวิจัย และการพัฒนาโครงการ Joint Degree ในอนาคต รองศาสตราจารย์… อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก tui sakrapeeJune 18, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา นำโดย รศ.ดร.ชุติกาญจน์ ศรีวิบูลย์ อธิการบดี พร้อมคณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย เดินทางเยือนโรงเรียนนานาชาติ Qingdao No.1 International School of Shandong Province (QISS) และ Qingdao University… กองกลาง มจพ. เยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ และจัดสัมมนาจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล ประจำปี 2568 EZ WebmasterJune 18, 2025 ผศ.ดร.สราวุฒิ สืบแย้ม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายการคลังและกิจการทั่วไป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยนางสาวรัตนา สุขเฉลิมศรี ผู้อำนวยการกองกลาง และบุคลากรกองกลาง เข้าเยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ มจพ. ณ ชั้น 3 สำนักงานหอสมุดกลาง โดยมีนางสาวพนารมย์ เกียรติลีลานันท์ และ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster January 12, 2022 EZ Webmaster January 12, 2022 เปิดไอเดียบริหารโรงเรียนมัธยม “รัฐ-เอกชน” สะท้อน “บิ๊กร็อค 2” รับปีเสือ พร้อมส่องโมเดลการ “เพิ่มอิสระ” “เพิ่มแอคทีฟเลินนิ่ง” รับเด็ก GEN ใหม่ ท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงของโลกที่ดำเนินไปอย่างรวดเร็ว อิทธิพลจากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี และนวัตกรรมต่างๆ ได้เข้ามามีบทบาทกับวิถีการดำเนินชีวิตของผู้คนในทุกช่วงวัย การเข้าถึงข้อมูลข่าวสารและองค์ความรู้ในปัจจุบันไร้ซึ่งข้อจำกัดทั้งในด้านเวลาและสถานที่ การเรียนรู้จึงไม่ได้ถูกจำกัดอยู่แค่ภายในห้องเรียนหรือสถานศึกษา อีกทั้ง สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ที่ยืดเยื้อมาเป็นเวลานานกว่าสองปี ทำให้เด็กและเยาวชนต้องปรับตัวกับ การเรียนออนไลน์ที่บ้านและเผชิญกับสภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้ออำนวยต่อการเรียนรู้นำไปสู่ปัญหาที่ตามมาจำนวนมาก เช่น ขาดการมีส่วนร่วม/ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน ผู้เรียนขาดสมาธิกับการเรียนผ่านจอเป็นเวลานาน ซึ่งส่งผลให้ประสิทธิภาพในการเรียนรู้ลดลง นับเป็นอีกหนึ่งความท้าทายของสถาบันการศึกษาและครูผู้สอนที่ต้องปรับระบบการศึกษาเพื่อรับมือกับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะการสนับสนุนให้ครูผู้สอนพัฒนาศักยภาพและทักษะในการออกแบบการจัดการเรียนการสอนและอาศัยเทคโนโลยีเข้ามาเป็นเครื่องมือสำคัญ ปรับบทบาทจากผู้ที่ถ่ายทอดเนื้อหาตามหลักสูตรอยู่ฝ่ายเดียว สู่การเป็น ‘โค้ชชิ่ง’ (Coaching) ที่มีส่วนสำคัญในการกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนมีส่วนร่วม (Active Learning) เน้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมกับกระบวนการเรียนรู้ในทุกขั้นตอน โดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางของการเรียนรู้ ผ่านกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะที่สามารถนำไปใช้ในการดำเนินชีวิตจริง และสามารถรับมือกับกับความเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 แม้ว่ามีสถานศึกษาหลายแห่งนำรูปแบบการจัดการเรียนรู้ดังกล่าวมาปรับใช้บ้างแล้ว แต่ก็ยังเป็นเรื่องที่ต้องกระตุ้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งระบบต่อไป เพื่อตอบสนองต่อการพัฒนาของสังคมโลกยุคใหม่อย่างแท้จริง โดยวันนี้จะพาไปทำความรู้จักกับแนวคิดการบริหารสถานศึกษา จากสองผู้บริหารโรงเรียนดังสังกัดรัฐและสังกัดเอกชน ถึงแนวทางการปรับการจัดการเรียนการสอนในช่วงวิกฤตโควิด-19 ว่ามีวิธีการเตรียมความพร้อมรับมือและแนวทางการปรับการจัดการเรียนการสอนท่ามกลางบริบทที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างไร “ห้องเรียนกลับด้าน เปลี่ยนบ้านให้เป็นคลาสกิจกรรม” รศ.ดร.วิวัฒน์ เรืองเลิศปัญญากุล กรรมการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา และรักษาการผู้อำนวยการโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ กล่าวว่า สิ่งที่สำคัญที่สุดในการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning คือ การสร้างการมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ของผู้เรียน โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ได้เตรียมรับมือกับสถานการณ์โควิด-19 ด้วยการอบรมครูผู้สอนล่วงหน้า ตั้งแต่ก่อนภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 ให้ครูทุกคนมีทักษะด้านเทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอนรูปแบบออนไลน์ มีความสามารถในการจัดทำและตัดต่อสื่อการสอนรูปแบบคลิปวีดีโอ เพื่อนำมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนแบบ “Flipped Classroom” หรือห้องเรียนกลับด้าน เป็นวิธีการที่ให้นักเรียนได้เรียนจากคลิปวีดีโอที่ครูผู้สอนในแต่ละวิชาเป็นผู้จัดทำด้วยตัวเองที่บ้านก่อน แล้วจึงนำประเด็นต่างๆ จากเนื้อหามาแลกเปลี่ยนหรือถกเถียงกันอีกครั้งในห้องเรียนออนไลน์ โดยแบ่งสัดส่วนเป็นช่วงที่ให้นักเรียนกับครูผู้สอนได้เจอหน้าและโต้ตอบกัน (Synchronous Learning) ออกเป็นร้อยละ 70 และอีกร้อยละ 30 คือช่วงเวลาที่นักเรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านระบบสื่อการเรียนการสอน (Asynchronous Learning) ซึ่งโรงเรียนได้ทำแบบสอบถามความคิดเห็นจากนักเรียนเป็นประจำทุกเดือน เพื่อนำผลตอบรับจากนักเรียนมาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนในช่วงวิกฤตที่ผ่านมา “อย่างไรก็ตาม แม้จะมีเทคโนโลยีมากมายที่เข้ามาสนับสนุนการเรียนรู้ระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แต่อีกเรื่องที่โรงเรียนให้ความสำคัญคือ ทัศนคติของครูที่ต้องเคารพความแตกต่างของนักเรียนแต่ละคน เพราะนักเรียนแต่ละคนมีวิธีการเรียนรู้ ความรวดเร็วในการเรียนรู้ และความสนใจที่แตกต่างกัน รวมทั้งทีมผู้บริหารสถานศึกษาที่ต้องบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมและสร้างบรรยากาศในการจัดการเรียนการสอน สนับสนุนให้ครูและนักเรียนอยู่ในบรรยากาศที่ดีที่สุดในการเรียนรู้ จัดหาอุปกรณ์ และสรรหาบุคลากรเพื่อรองรับการเรียนการสอนภายใต้บริบทที่เปลี่ยนไปในปัจจุบัน ให้การเรียนการสอนคงไว้ซึ่งประสิทธิภาพมากที่สุด” “Think-Pair-Share เติมเต็มการเรียนรู้ สร้างการมีส่วนร่วม ด้วยเทคนิคเพื่อนคู่คิด” ในด้านฝั่งโรงเรียนเอกชน นางวราภรณ์ ทรัพย์สมบูรณ์ รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการและมาตรฐานคุณภาพ ปฏิบัติหน้าที่ผู้อำนวยการโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย ได้เปิดเผยว่า โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัยได้เริ่มนำรูปแบบการเรียนการสอนแบบ Active Learning มาปรับใช้ตั้งแต่ก่อนเกิดสถานการณ์โควิด-19 ทำให้ครูผู้สอนมีประสบการณ์และสามารถนำมาปรับใช้กับการสอนรูปแบบออนไลน์ในช่วงที่ผ่านมาได้เป็นอย่างดี โดยยึดแนวคิดสำคัญของการสร้างการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม คือ “เต็มใจเรียนรู้” และ “สนุกกับการมีส่วนร่วม” การจัดการเรียนการสอนแบบโครงงานเป็นฐาน (Project Based Learning) และการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problems Based Learning) ถูกนำมาใช้ในกลุ่มการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และกลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ค้นคว้าและลงมือปฏิบัติจริงจากกิจกรรมการทดลองซึ่งสามารถทำได้เองที่บ้าน โดยยึดจากเรื่องรอบตัวในชีวิตประจำวันที่นักเรียนสนใจ ส่วนครูผู้สอนมีบทบาทในการกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ และปรับความยากง่ายของโจทย์ให้เป็นไปตามระดับชั้น นอกจากนี้โรงเรียนยังใช้การจัดการเรียนการสอนแบบสะท้อนคิด (Think Pair Share) และการจัดการเรียนการสอนที่เน้นแบบร่วมมือ (Collaborative Learning Group) ด้วยกิจกรรมการแบ่งกลุ่มหรือจับคู่ ให้นักเรียนได้พูดคุยถึงประเด็นปัญหาที่แต่ละคนสนใจ และนำมาร่วมกันคิดวิเคราะห์เพื่อหาคำตอบและนำเสนอร่วมกันในชั้นเรียน วิธีการนี้ทำให้นักเรียนได้เกิดการแลกเปลี่ยนความคิด และมีส่วนร่วมในชั้นเรียนอย่างเท่าเทียม รวมถึงเพิ่มทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่นอีกด้วย “ในระยะแรกครูผู้สอนอาจยังมีความกังวล เนื่องจากไม่คุ้นชินกับการปรับการเรียนการสอน ทางโรงเรียนได้ใช้วิธีการ Peer Coaching หรือเพื่อนช่วยเพื่อน ให้เพื่อนครูในกลุ่มสาระในช่วงวัยเดียวกันคอยนิเทศการสอนเพื่อพัฒนาครูร่วมกัน เพื่อให้การสอนมีประสิทธิภาพมากที่สุด นอกจากนี้ โรงเรียนยังได้เห็นความสำคัญของความคิดเห็นจากนักเรียน ซึ่งนับเป็นสิ่งที่สำคัญมากในการนำไปปรับปรุงวิธีการจัดการเรียนการสอน โดยเฉพาะนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาของโรงเรียน ที่มีความกล้าแสดงออกและสามารถเสนอแนะถึงวิธีการสอน รวมทั้งเสียงจากผู้ปกครองที่ช่วยเสนอแนวคิดใหม่ๆ มาโดยตลอด เพื่อร่วมกันพัฒนาการจัดการเรียนการสอนตามแนวทางการเรียนรู้ร่วมกันต่อไป” อย่างไรก็ดี กระบวนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาสมรรถนะแบบผู้เรียนสร้างความรู้ด้วยตนเองข้างต้น ถือเป็นหนึ่งในภารกิจการปฏิรูประบบการศึกษาไทยของ คณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา ที่ได้กำหนดกรอบการปฏิรูประบบการศึกษาไทยเชิงนโยบาย ด้านการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนสู่การเรียนรู้ฐานสมรรถนะ เพื่อตอบสนองการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 หรือ บิ๊กร็อคที่ 2 ที่มีเป้าหมายให้ผู้เรียนในทุกระดับชั้นเป็นผู้มีความรู้และทักษะในการดำรงชีวิตในโลกยุคใหม่ เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมและโลก ส่วนหนึ่งของตัวอย่างความสำเร็จ คือ โมเดลในการปรับเปลี่ยนกระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning โดย กระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) ผ่านโรงเรียนต้นแบบ 30 โรงเรียน ที่นักเรียนสามารถสร้างสรรค์นวัตกรรมขึ้นกว่า 1,500 นวัตกรรม และกำลังเร่งขยายผลไปยังพื้นที่อื่นๆ ให้ครอบคลุมสถานศึกษาทั่วประเทศโดยเร็ว ติดตามความเคลื่อนไหวกิจกรรม ของ คณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา ได้ใน 4 ช่องทาง ดังนี้ เว็บไซต์ https://www.thaiedreform2022.org เฟซบุ๊กแฟนเพจ https://web.facebook.com/Thaiedreform2022 ยูทูบช่อง ‘thaiedreform2022’ และทวิตเตอร์ https://twitter.com/Thaiedreform22 EZ Webmaster Related Posts มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 สจล. เดินหน้ากระชับความร่วมมือทางวิชาการ กับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของจีน อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก กองกลาง มจพ. เยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ และจัดสัมมนาจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล ประจำปี 2568 คณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล มจพ. ชูธงร่วมเครือข่ายจัดใหญ่การประชุมวิชาการ นวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (FIAC) 2025 Post navigation PREVIOUS Previous post: นศ.บริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทยเพิ่มลุคสีผมเรียนออนไลน์ต้อนรับเปิดเทอม ผ่อนคลายสถานการณ์โควิด-19NEXT Next post: สิ่งต้องรู้ก่อนสมัครสอบ GAT/PAT & วิชาสามัญ TCAS65 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก tui sakrapeeJune 18, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา นำโดย รศ.ดร.ชุติกาญจน์ ศรีวิบูลย์ อธิการบดี พร้อมคณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย เดินทางเยือนโรงเรียนนานาชาติ Qingdao No.1 International School of Shandong Province (QISS) และ Qingdao University… กองกลาง มจพ. เยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ และจัดสัมมนาจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล ประจำปี 2568 EZ WebmasterJune 18, 2025 ผศ.ดร.สราวุฒิ สืบแย้ม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายการคลังและกิจการทั่วไป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยนางสาวรัตนา สุขเฉลิมศรี ผู้อำนวยการกองกลาง และบุคลากรกองกลาง เข้าเยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ มจพ. ณ ชั้น 3 สำนักงานหอสมุดกลาง โดยมีนางสาวพนารมย์ เกียรติลีลานันท์ และ…
กองกลาง มจพ. เยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ และจัดสัมมนาจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล ประจำปี 2568 EZ WebmasterJune 18, 2025 ผศ.ดร.สราวุฒิ สืบแย้ม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายการคลังและกิจการทั่วไป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยนางสาวรัตนา สุขเฉลิมศรี ผู้อำนวยการกองกลาง และบุคลากรกองกลาง เข้าเยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ มจพ. ณ ชั้น 3 สำนักงานหอสมุดกลาง โดยมีนางสาวพนารมย์ เกียรติลีลานันท์ และ…
กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster January 12, 2022 EZ Webmaster January 12, 2022 เปิดไอเดียบริหารโรงเรียนมัธยม “รัฐ-เอกชน” สะท้อน “บิ๊กร็อค 2” รับปีเสือ พร้อมส่องโมเดลการ “เพิ่มอิสระ” “เพิ่มแอคทีฟเลินนิ่ง” รับเด็ก GEN ใหม่ ท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงของโลกที่ดำเนินไปอย่างรวดเร็ว อิทธิพลจากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี และนวัตกรรมต่างๆ ได้เข้ามามีบทบาทกับวิถีการดำเนินชีวิตของผู้คนในทุกช่วงวัย การเข้าถึงข้อมูลข่าวสารและองค์ความรู้ในปัจจุบันไร้ซึ่งข้อจำกัดทั้งในด้านเวลาและสถานที่ การเรียนรู้จึงไม่ได้ถูกจำกัดอยู่แค่ภายในห้องเรียนหรือสถานศึกษา อีกทั้ง สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ที่ยืดเยื้อมาเป็นเวลานานกว่าสองปี ทำให้เด็กและเยาวชนต้องปรับตัวกับ การเรียนออนไลน์ที่บ้านและเผชิญกับสภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้ออำนวยต่อการเรียนรู้นำไปสู่ปัญหาที่ตามมาจำนวนมาก เช่น ขาดการมีส่วนร่วม/ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน ผู้เรียนขาดสมาธิกับการเรียนผ่านจอเป็นเวลานาน ซึ่งส่งผลให้ประสิทธิภาพในการเรียนรู้ลดลง นับเป็นอีกหนึ่งความท้าทายของสถาบันการศึกษาและครูผู้สอนที่ต้องปรับระบบการศึกษาเพื่อรับมือกับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะการสนับสนุนให้ครูผู้สอนพัฒนาศักยภาพและทักษะในการออกแบบการจัดการเรียนการสอนและอาศัยเทคโนโลยีเข้ามาเป็นเครื่องมือสำคัญ ปรับบทบาทจากผู้ที่ถ่ายทอดเนื้อหาตามหลักสูตรอยู่ฝ่ายเดียว สู่การเป็น ‘โค้ชชิ่ง’ (Coaching) ที่มีส่วนสำคัญในการกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนมีส่วนร่วม (Active Learning) เน้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมกับกระบวนการเรียนรู้ในทุกขั้นตอน โดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางของการเรียนรู้ ผ่านกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะที่สามารถนำไปใช้ในการดำเนินชีวิตจริง และสามารถรับมือกับกับความเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 แม้ว่ามีสถานศึกษาหลายแห่งนำรูปแบบการจัดการเรียนรู้ดังกล่าวมาปรับใช้บ้างแล้ว แต่ก็ยังเป็นเรื่องที่ต้องกระตุ้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งระบบต่อไป เพื่อตอบสนองต่อการพัฒนาของสังคมโลกยุคใหม่อย่างแท้จริง โดยวันนี้จะพาไปทำความรู้จักกับแนวคิดการบริหารสถานศึกษา จากสองผู้บริหารโรงเรียนดังสังกัดรัฐและสังกัดเอกชน ถึงแนวทางการปรับการจัดการเรียนการสอนในช่วงวิกฤตโควิด-19 ว่ามีวิธีการเตรียมความพร้อมรับมือและแนวทางการปรับการจัดการเรียนการสอนท่ามกลางบริบทที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างไร “ห้องเรียนกลับด้าน เปลี่ยนบ้านให้เป็นคลาสกิจกรรม” รศ.ดร.วิวัฒน์ เรืองเลิศปัญญากุล กรรมการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา และรักษาการผู้อำนวยการโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ กล่าวว่า สิ่งที่สำคัญที่สุดในการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning คือ การสร้างการมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ของผู้เรียน โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ได้เตรียมรับมือกับสถานการณ์โควิด-19 ด้วยการอบรมครูผู้สอนล่วงหน้า ตั้งแต่ก่อนภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 ให้ครูทุกคนมีทักษะด้านเทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอนรูปแบบออนไลน์ มีความสามารถในการจัดทำและตัดต่อสื่อการสอนรูปแบบคลิปวีดีโอ เพื่อนำมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนแบบ “Flipped Classroom” หรือห้องเรียนกลับด้าน เป็นวิธีการที่ให้นักเรียนได้เรียนจากคลิปวีดีโอที่ครูผู้สอนในแต่ละวิชาเป็นผู้จัดทำด้วยตัวเองที่บ้านก่อน แล้วจึงนำประเด็นต่างๆ จากเนื้อหามาแลกเปลี่ยนหรือถกเถียงกันอีกครั้งในห้องเรียนออนไลน์ โดยแบ่งสัดส่วนเป็นช่วงที่ให้นักเรียนกับครูผู้สอนได้เจอหน้าและโต้ตอบกัน (Synchronous Learning) ออกเป็นร้อยละ 70 และอีกร้อยละ 30 คือช่วงเวลาที่นักเรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านระบบสื่อการเรียนการสอน (Asynchronous Learning) ซึ่งโรงเรียนได้ทำแบบสอบถามความคิดเห็นจากนักเรียนเป็นประจำทุกเดือน เพื่อนำผลตอบรับจากนักเรียนมาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนในช่วงวิกฤตที่ผ่านมา “อย่างไรก็ตาม แม้จะมีเทคโนโลยีมากมายที่เข้ามาสนับสนุนการเรียนรู้ระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แต่อีกเรื่องที่โรงเรียนให้ความสำคัญคือ ทัศนคติของครูที่ต้องเคารพความแตกต่างของนักเรียนแต่ละคน เพราะนักเรียนแต่ละคนมีวิธีการเรียนรู้ ความรวดเร็วในการเรียนรู้ และความสนใจที่แตกต่างกัน รวมทั้งทีมผู้บริหารสถานศึกษาที่ต้องบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมและสร้างบรรยากาศในการจัดการเรียนการสอน สนับสนุนให้ครูและนักเรียนอยู่ในบรรยากาศที่ดีที่สุดในการเรียนรู้ จัดหาอุปกรณ์ และสรรหาบุคลากรเพื่อรองรับการเรียนการสอนภายใต้บริบทที่เปลี่ยนไปในปัจจุบัน ให้การเรียนการสอนคงไว้ซึ่งประสิทธิภาพมากที่สุด” “Think-Pair-Share เติมเต็มการเรียนรู้ สร้างการมีส่วนร่วม ด้วยเทคนิคเพื่อนคู่คิด” ในด้านฝั่งโรงเรียนเอกชน นางวราภรณ์ ทรัพย์สมบูรณ์ รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการและมาตรฐานคุณภาพ ปฏิบัติหน้าที่ผู้อำนวยการโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย ได้เปิดเผยว่า โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัยได้เริ่มนำรูปแบบการเรียนการสอนแบบ Active Learning มาปรับใช้ตั้งแต่ก่อนเกิดสถานการณ์โควิด-19 ทำให้ครูผู้สอนมีประสบการณ์และสามารถนำมาปรับใช้กับการสอนรูปแบบออนไลน์ในช่วงที่ผ่านมาได้เป็นอย่างดี โดยยึดแนวคิดสำคัญของการสร้างการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม คือ “เต็มใจเรียนรู้” และ “สนุกกับการมีส่วนร่วม” การจัดการเรียนการสอนแบบโครงงานเป็นฐาน (Project Based Learning) และการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problems Based Learning) ถูกนำมาใช้ในกลุ่มการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และกลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ค้นคว้าและลงมือปฏิบัติจริงจากกิจกรรมการทดลองซึ่งสามารถทำได้เองที่บ้าน โดยยึดจากเรื่องรอบตัวในชีวิตประจำวันที่นักเรียนสนใจ ส่วนครูผู้สอนมีบทบาทในการกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ และปรับความยากง่ายของโจทย์ให้เป็นไปตามระดับชั้น นอกจากนี้โรงเรียนยังใช้การจัดการเรียนการสอนแบบสะท้อนคิด (Think Pair Share) และการจัดการเรียนการสอนที่เน้นแบบร่วมมือ (Collaborative Learning Group) ด้วยกิจกรรมการแบ่งกลุ่มหรือจับคู่ ให้นักเรียนได้พูดคุยถึงประเด็นปัญหาที่แต่ละคนสนใจ และนำมาร่วมกันคิดวิเคราะห์เพื่อหาคำตอบและนำเสนอร่วมกันในชั้นเรียน วิธีการนี้ทำให้นักเรียนได้เกิดการแลกเปลี่ยนความคิด และมีส่วนร่วมในชั้นเรียนอย่างเท่าเทียม รวมถึงเพิ่มทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่นอีกด้วย “ในระยะแรกครูผู้สอนอาจยังมีความกังวล เนื่องจากไม่คุ้นชินกับการปรับการเรียนการสอน ทางโรงเรียนได้ใช้วิธีการ Peer Coaching หรือเพื่อนช่วยเพื่อน ให้เพื่อนครูในกลุ่มสาระในช่วงวัยเดียวกันคอยนิเทศการสอนเพื่อพัฒนาครูร่วมกัน เพื่อให้การสอนมีประสิทธิภาพมากที่สุด นอกจากนี้ โรงเรียนยังได้เห็นความสำคัญของความคิดเห็นจากนักเรียน ซึ่งนับเป็นสิ่งที่สำคัญมากในการนำไปปรับปรุงวิธีการจัดการเรียนการสอน โดยเฉพาะนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาของโรงเรียน ที่มีความกล้าแสดงออกและสามารถเสนอแนะถึงวิธีการสอน รวมทั้งเสียงจากผู้ปกครองที่ช่วยเสนอแนวคิดใหม่ๆ มาโดยตลอด เพื่อร่วมกันพัฒนาการจัดการเรียนการสอนตามแนวทางการเรียนรู้ร่วมกันต่อไป” อย่างไรก็ดี กระบวนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาสมรรถนะแบบผู้เรียนสร้างความรู้ด้วยตนเองข้างต้น ถือเป็นหนึ่งในภารกิจการปฏิรูประบบการศึกษาไทยของ คณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา ที่ได้กำหนดกรอบการปฏิรูประบบการศึกษาไทยเชิงนโยบาย ด้านการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนสู่การเรียนรู้ฐานสมรรถนะ เพื่อตอบสนองการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 หรือ บิ๊กร็อคที่ 2 ที่มีเป้าหมายให้ผู้เรียนในทุกระดับชั้นเป็นผู้มีความรู้และทักษะในการดำรงชีวิตในโลกยุคใหม่ เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมและโลก ส่วนหนึ่งของตัวอย่างความสำเร็จ คือ โมเดลในการปรับเปลี่ยนกระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning โดย กระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) ผ่านโรงเรียนต้นแบบ 30 โรงเรียน ที่นักเรียนสามารถสร้างสรรค์นวัตกรรมขึ้นกว่า 1,500 นวัตกรรม และกำลังเร่งขยายผลไปยังพื้นที่อื่นๆ ให้ครอบคลุมสถานศึกษาทั่วประเทศโดยเร็ว ติดตามความเคลื่อนไหวกิจกรรม ของ คณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา ได้ใน 4 ช่องทาง ดังนี้ เว็บไซต์ https://www.thaiedreform2022.org เฟซบุ๊กแฟนเพจ https://web.facebook.com/Thaiedreform2022 ยูทูบช่อง ‘thaiedreform2022’ และทวิตเตอร์ https://twitter.com/Thaiedreform22 EZ Webmaster Related Posts มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 สจล. เดินหน้ากระชับความร่วมมือทางวิชาการ กับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของจีน อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก กองกลาง มจพ. เยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ และจัดสัมมนาจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล ประจำปี 2568 คณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล มจพ. ชูธงร่วมเครือข่ายจัดใหญ่การประชุมวิชาการ นวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (FIAC) 2025 Post navigation PREVIOUS Previous post: นศ.บริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทยเพิ่มลุคสีผมเรียนออนไลน์ต้อนรับเปิดเทอม ผ่อนคลายสถานการณ์โควิด-19NEXT Next post: สิ่งต้องรู้ก่อนสมัครสอบ GAT/PAT & วิชาสามัญ TCAS65 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
“40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search
ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ…
ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ…
EZ Webmaster January 12, 2022 EZ Webmaster January 12, 2022 เปิดไอเดียบริหารโรงเรียนมัธยม “รัฐ-เอกชน” สะท้อน “บิ๊กร็อค 2” รับปีเสือ พร้อมส่องโมเดลการ “เพิ่มอิสระ” “เพิ่มแอคทีฟเลินนิ่ง” รับเด็ก GEN ใหม่ ท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงของโลกที่ดำเนินไปอย่างรวดเร็ว อิทธิพลจากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี และนวัตกรรมต่างๆ ได้เข้ามามีบทบาทกับวิถีการดำเนินชีวิตของผู้คนในทุกช่วงวัย การเข้าถึงข้อมูลข่าวสารและองค์ความรู้ในปัจจุบันไร้ซึ่งข้อจำกัดทั้งในด้านเวลาและสถานที่ การเรียนรู้จึงไม่ได้ถูกจำกัดอยู่แค่ภายในห้องเรียนหรือสถานศึกษา อีกทั้ง สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ที่ยืดเยื้อมาเป็นเวลานานกว่าสองปี ทำให้เด็กและเยาวชนต้องปรับตัวกับ การเรียนออนไลน์ที่บ้านและเผชิญกับสภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้ออำนวยต่อการเรียนรู้นำไปสู่ปัญหาที่ตามมาจำนวนมาก เช่น ขาดการมีส่วนร่วม/ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน ผู้เรียนขาดสมาธิกับการเรียนผ่านจอเป็นเวลานาน ซึ่งส่งผลให้ประสิทธิภาพในการเรียนรู้ลดลง นับเป็นอีกหนึ่งความท้าทายของสถาบันการศึกษาและครูผู้สอนที่ต้องปรับระบบการศึกษาเพื่อรับมือกับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะการสนับสนุนให้ครูผู้สอนพัฒนาศักยภาพและทักษะในการออกแบบการจัดการเรียนการสอนและอาศัยเทคโนโลยีเข้ามาเป็นเครื่องมือสำคัญ ปรับบทบาทจากผู้ที่ถ่ายทอดเนื้อหาตามหลักสูตรอยู่ฝ่ายเดียว สู่การเป็น ‘โค้ชชิ่ง’ (Coaching) ที่มีส่วนสำคัญในการกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนมีส่วนร่วม (Active Learning) เน้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมกับกระบวนการเรียนรู้ในทุกขั้นตอน โดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางของการเรียนรู้ ผ่านกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะที่สามารถนำไปใช้ในการดำเนินชีวิตจริง และสามารถรับมือกับกับความเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 แม้ว่ามีสถานศึกษาหลายแห่งนำรูปแบบการจัดการเรียนรู้ดังกล่าวมาปรับใช้บ้างแล้ว แต่ก็ยังเป็นเรื่องที่ต้องกระตุ้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งระบบต่อไป เพื่อตอบสนองต่อการพัฒนาของสังคมโลกยุคใหม่อย่างแท้จริง โดยวันนี้จะพาไปทำความรู้จักกับแนวคิดการบริหารสถานศึกษา จากสองผู้บริหารโรงเรียนดังสังกัดรัฐและสังกัดเอกชน ถึงแนวทางการปรับการจัดการเรียนการสอนในช่วงวิกฤตโควิด-19 ว่ามีวิธีการเตรียมความพร้อมรับมือและแนวทางการปรับการจัดการเรียนการสอนท่ามกลางบริบทที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างไร “ห้องเรียนกลับด้าน เปลี่ยนบ้านให้เป็นคลาสกิจกรรม” รศ.ดร.วิวัฒน์ เรืองเลิศปัญญากุล กรรมการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา และรักษาการผู้อำนวยการโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ กล่าวว่า สิ่งที่สำคัญที่สุดในการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning คือ การสร้างการมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ของผู้เรียน โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ได้เตรียมรับมือกับสถานการณ์โควิด-19 ด้วยการอบรมครูผู้สอนล่วงหน้า ตั้งแต่ก่อนภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 ให้ครูทุกคนมีทักษะด้านเทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอนรูปแบบออนไลน์ มีความสามารถในการจัดทำและตัดต่อสื่อการสอนรูปแบบคลิปวีดีโอ เพื่อนำมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนแบบ “Flipped Classroom” หรือห้องเรียนกลับด้าน เป็นวิธีการที่ให้นักเรียนได้เรียนจากคลิปวีดีโอที่ครูผู้สอนในแต่ละวิชาเป็นผู้จัดทำด้วยตัวเองที่บ้านก่อน แล้วจึงนำประเด็นต่างๆ จากเนื้อหามาแลกเปลี่ยนหรือถกเถียงกันอีกครั้งในห้องเรียนออนไลน์ โดยแบ่งสัดส่วนเป็นช่วงที่ให้นักเรียนกับครูผู้สอนได้เจอหน้าและโต้ตอบกัน (Synchronous Learning) ออกเป็นร้อยละ 70 และอีกร้อยละ 30 คือช่วงเวลาที่นักเรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านระบบสื่อการเรียนการสอน (Asynchronous Learning) ซึ่งโรงเรียนได้ทำแบบสอบถามความคิดเห็นจากนักเรียนเป็นประจำทุกเดือน เพื่อนำผลตอบรับจากนักเรียนมาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนในช่วงวิกฤตที่ผ่านมา “อย่างไรก็ตาม แม้จะมีเทคโนโลยีมากมายที่เข้ามาสนับสนุนการเรียนรู้ระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แต่อีกเรื่องที่โรงเรียนให้ความสำคัญคือ ทัศนคติของครูที่ต้องเคารพความแตกต่างของนักเรียนแต่ละคน เพราะนักเรียนแต่ละคนมีวิธีการเรียนรู้ ความรวดเร็วในการเรียนรู้ และความสนใจที่แตกต่างกัน รวมทั้งทีมผู้บริหารสถานศึกษาที่ต้องบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมและสร้างบรรยากาศในการจัดการเรียนการสอน สนับสนุนให้ครูและนักเรียนอยู่ในบรรยากาศที่ดีที่สุดในการเรียนรู้ จัดหาอุปกรณ์ และสรรหาบุคลากรเพื่อรองรับการเรียนการสอนภายใต้บริบทที่เปลี่ยนไปในปัจจุบัน ให้การเรียนการสอนคงไว้ซึ่งประสิทธิภาพมากที่สุด” “Think-Pair-Share เติมเต็มการเรียนรู้ สร้างการมีส่วนร่วม ด้วยเทคนิคเพื่อนคู่คิด” ในด้านฝั่งโรงเรียนเอกชน นางวราภรณ์ ทรัพย์สมบูรณ์ รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการและมาตรฐานคุณภาพ ปฏิบัติหน้าที่ผู้อำนวยการโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย ได้เปิดเผยว่า โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัยได้เริ่มนำรูปแบบการเรียนการสอนแบบ Active Learning มาปรับใช้ตั้งแต่ก่อนเกิดสถานการณ์โควิด-19 ทำให้ครูผู้สอนมีประสบการณ์และสามารถนำมาปรับใช้กับการสอนรูปแบบออนไลน์ในช่วงที่ผ่านมาได้เป็นอย่างดี โดยยึดแนวคิดสำคัญของการสร้างการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม คือ “เต็มใจเรียนรู้” และ “สนุกกับการมีส่วนร่วม” การจัดการเรียนการสอนแบบโครงงานเป็นฐาน (Project Based Learning) และการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problems Based Learning) ถูกนำมาใช้ในกลุ่มการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และกลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ค้นคว้าและลงมือปฏิบัติจริงจากกิจกรรมการทดลองซึ่งสามารถทำได้เองที่บ้าน โดยยึดจากเรื่องรอบตัวในชีวิตประจำวันที่นักเรียนสนใจ ส่วนครูผู้สอนมีบทบาทในการกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ และปรับความยากง่ายของโจทย์ให้เป็นไปตามระดับชั้น นอกจากนี้โรงเรียนยังใช้การจัดการเรียนการสอนแบบสะท้อนคิด (Think Pair Share) และการจัดการเรียนการสอนที่เน้นแบบร่วมมือ (Collaborative Learning Group) ด้วยกิจกรรมการแบ่งกลุ่มหรือจับคู่ ให้นักเรียนได้พูดคุยถึงประเด็นปัญหาที่แต่ละคนสนใจ และนำมาร่วมกันคิดวิเคราะห์เพื่อหาคำตอบและนำเสนอร่วมกันในชั้นเรียน วิธีการนี้ทำให้นักเรียนได้เกิดการแลกเปลี่ยนความคิด และมีส่วนร่วมในชั้นเรียนอย่างเท่าเทียม รวมถึงเพิ่มทักษะการทำงานร่วมกับผู้อื่นอีกด้วย “ในระยะแรกครูผู้สอนอาจยังมีความกังวล เนื่องจากไม่คุ้นชินกับการปรับการเรียนการสอน ทางโรงเรียนได้ใช้วิธีการ Peer Coaching หรือเพื่อนช่วยเพื่อน ให้เพื่อนครูในกลุ่มสาระในช่วงวัยเดียวกันคอยนิเทศการสอนเพื่อพัฒนาครูร่วมกัน เพื่อให้การสอนมีประสิทธิภาพมากที่สุด นอกจากนี้ โรงเรียนยังได้เห็นความสำคัญของความคิดเห็นจากนักเรียน ซึ่งนับเป็นสิ่งที่สำคัญมากในการนำไปปรับปรุงวิธีการจัดการเรียนการสอน โดยเฉพาะนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาของโรงเรียน ที่มีความกล้าแสดงออกและสามารถเสนอแนะถึงวิธีการสอน รวมทั้งเสียงจากผู้ปกครองที่ช่วยเสนอแนวคิดใหม่ๆ มาโดยตลอด เพื่อร่วมกันพัฒนาการจัดการเรียนการสอนตามแนวทางการเรียนรู้ร่วมกันต่อไป” อย่างไรก็ดี กระบวนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาสมรรถนะแบบผู้เรียนสร้างความรู้ด้วยตนเองข้างต้น ถือเป็นหนึ่งในภารกิจการปฏิรูประบบการศึกษาไทยของ คณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา ที่ได้กำหนดกรอบการปฏิรูประบบการศึกษาไทยเชิงนโยบาย ด้านการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนสู่การเรียนรู้ฐานสมรรถนะ เพื่อตอบสนองการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 หรือ บิ๊กร็อคที่ 2 ที่มีเป้าหมายให้ผู้เรียนในทุกระดับชั้นเป็นผู้มีความรู้และทักษะในการดำรงชีวิตในโลกยุคใหม่ เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมและโลก ส่วนหนึ่งของตัวอย่างความสำเร็จ คือ โมเดลในการปรับเปลี่ยนกระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning โดย กระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) ผ่านโรงเรียนต้นแบบ 30 โรงเรียน ที่นักเรียนสามารถสร้างสรรค์นวัตกรรมขึ้นกว่า 1,500 นวัตกรรม และกำลังเร่งขยายผลไปยังพื้นที่อื่นๆ ให้ครอบคลุมสถานศึกษาทั่วประเทศโดยเร็ว ติดตามความเคลื่อนไหวกิจกรรม ของ คณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา ได้ใน 4 ช่องทาง ดังนี้ เว็บไซต์ https://www.thaiedreform2022.org เฟซบุ๊กแฟนเพจ https://web.facebook.com/Thaiedreform2022 ยูทูบช่อง ‘thaiedreform2022’ และทวิตเตอร์ https://twitter.com/Thaiedreform22
สจล. เดินหน้ากระชับความร่วมมือทางวิชาการ กับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของจีน
อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก
คณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล มจพ. ชูธงร่วมเครือข่ายจัดใหญ่การประชุมวิชาการ นวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (FIAC) 2025