โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณ์ราชวิทยาลัย เชียงราย EZ WebmasterJune 17, 2025 วันนี้ทั้งเล่น ทั้งได้ความรู้ ทั้งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณ์ราชวิทยาลัย เชียงราย จ.เชียงราย วันที่17/06/68 โดยวิทยากร ผศ.ดร.ตฤณกร… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนช่องฟ้าซินเซิงวาณิชบำรุง EZ WebmasterJune 17, 2025 กิจกรรมสร้างสรรค์ ความสุขเล็กๆ ที่ยิ่งสนุกสนาน โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนช่องฟ้าซินเซิงวาณิชบำรุง จ.เชียงใหม่ วันที่17/06/68โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า (ครูแอน)… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนพานพิทยาคม EZ WebmasterJune 17, 2025 มาทำให้วันธรรมดา กลายเป็นวันพิเศษกันเถอะ! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนพานพิทยาคม จ.เชียงราย วันที่17/06/68 โดยวิทยากร ผศ.ดร.ตฤณกร เกตุกุลพันธ์ #teamTaro โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย EZ WebmasterJune 17, 2025 กิจกรรมนี้มีแต่รอยยิ้มและความอบอุ่น ยิ่งทำยิ่งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย จ.เชียงใหม่ วันที่16/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า (ครูแอน)… นักศึกษา การตลาดดิจิทัลและระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย จัดกิจกรรมตอบแทนกลับคืนสังคม EZ WebmasterJune 17, 2025 นักศึกษากลุ่มวิชาการตลาดดิจิทัล และกลุ่มวิชาการบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ร่วมทำกิจกรรม Digital Marketing Innovation for Sustainability สร้างสรรค์ประสบการณ์ทางการตลาดดิจิทัลและการบริการสังคม โดยนักศึกษาได้เข้ากิจกรรมปล่อยสัตว์ทะเลที่ธนาคารปู จังหวัดระยอง และบริจากสิ่งของให้กับชมรมผู้พิการทางสติปัญญา จังหวัดชลบุรี ร่วมเรียนรู้การสร้างสรรค์สื่อสำหรับการสื่อสารทางการตลาดดิจิทัล เพื่อสร้างความรับผิดชอบต่อสังคมให้กับนักศึกษาและร่วมสร้างสรรค์สังคมให้น่าอยู่ต่อไป เรียนคณะบริหารธุรกิจแนวใหม่ต้องสัมผัสประสบการณ์แบบนักธุรกิจ ถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์จากคณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญรวมทั้งนักธุรกิจมืออาชีพ… “จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” EZ WebmasterJune 17, 2025 ในนามของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผมขอส่งความห่วงใยมายังพวกเราทุกคนที่กำลังใช้ชีวิตและศึกษาอยู่ในสหรัฐฯ โดยเฉพาะในช่วงเวลาที่มีความไม่แน่นอนเกี่ยวกับนโยบายวีซ่าที่อาจส่งผลต่อสิทธิในการศึกษา เมื่อไม่นานนี้ ผมและผู้บริหารจุฬาฯ มีโอกาสได้ไปเยือน Harvard และ MIT และได้พบกับนักศึกษาชาวไทยหลายคน ทุกคนต่างมีความมุ่งมั่น ตั้งใจ และอดทนในการใฝ่หาความรู้ เพื่อนำมาพัฒนาตนเอง สังคม และประเทศชาติ แม้จะอยู่ท่ามกลางความกังวลใจต่ออนาคตที่ยังไม่ชัดเจน ผมอยากบอกว่าพวกเราที่จุฬาฯ… คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… ทุนดีดี ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… ครู-อาจารย์ สมศ. พลิกโฉมการประเมินคุณภาพภายนอกด้วย AI ภายใต้ “ONESQA 5.0” เสริมความโปร่งใส แม่นยำ และพัฒนาอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 17, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยวิสัยทัศน์ และแนวทางการขับเคลื่อนองค์กรด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence – AI) ภายใต้ วิสัยทัศน์ ONESQA 5.0 โดยมุ่งเน้นการนำ AI เข้ามาใช้เพื่อเสริมประสิทธิภาพ ความโปร่งใส และความแม่นยำ ในกระบวนการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา พร้อมยกระดับสู่ความเป็นดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบบ ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ… คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster July 19, 2021 EZ Webmaster July 19, 2021 เจาะลึกเรื่องน่ารู้ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มีชื่ออังกฤษว่า Thammasat University; อักษรย่อคือ มธ. – TU เป็นมหาวิทยาลัยแห่งที่สองของประเทศไทย ก่อตั้งในชื่อ “มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง” (มธก.) จากแนวคิดของศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ที่ต้องการจัดตั้งมหาวิทยาลัยที่เน้นการเรียนการสอนเรื่องประชาธิปไตย และจากการรัฐประหารเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2490 ทำให้มหาวิทยาลัยได้รับผลกระทบอย่างมาก ผู้ประศาสน์การ ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ต้องลี้ภัยการเมืองไปอยู่ต่างประเทศ ชื่อมหาวิทยาลัยถูกตัดคำว่า “การเมือง” ออก เปลี่ยนเป็น “มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์” มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ตั้งอยู่ที่ไหน? มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มี 4 วิทยาเขตได้แก่ ท่าพระจันทร์ ศูนย์รังสิต ศูนย์พัทยา ศูนย์ลำปาง สถานที่สำคัญมหาวิทยาลัย ตึกโดม เป็นอาคารหลังแรกของมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์ ภายในอาคารโดม เมื่อเดินจากบันไดกลางขึ้นไปบนชั้น 2 ห้องแรกจะเป็นห้องทำงานของบุคคลสำคัญของมหาวิทยาลัย นั่นคือ ศาสตราจารย์ ดร. ปรีดี พนมยงค์ นั่นเอง ซึ่งห้องเดียวกันนี้ในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นศูนย์บัญชาการขบวนการเสรีไทยที่มีนายปรีดี พนมยงค์ เป็นผู้นำ โดยทำงาน ร่วมกับคณะเสรีไทยสายอังกฤษและสายสหรัฐอเมริกา หอประชุมใหญ่ ถูกนำมาใช้ในการทำกิจกรรมต่าง ๆ ของทางมหาวิทยาลัย ไม่ว่าจะเป็นกิจกรรมเกี่ยวกับการไหว้ครู การพระราชทานปริญญาบัตร รวมทั้งยังใช้เป็นห้องเรียนในวิชาพื้นฐาน สำหรับวิชาที่มีนักศึกษาระดับพันคนขึ้นไป ลานปรีดี และอนสุรณ์สถานปรีดี พนมยงค์ ก่อสร้างขึ้นเพื่อรำลึกถึงนายปรีดี พนมยงค์ รัฐบุรุษ อาวุโสผู้นำขนวนการเสรีไทย และบุคคลสำคัญของมหาวิทยาลัยมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง ภายหลังการถึงแก่อสัญกรรมอย่างสงบเมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2526 ที่ประเทศฝรั่งเศส ลานโพธิ์ สัญลักษณ์ของการต่อสู้เพื่อประชาธิปไตยของธรรมศาสตร์และสังคมไทย นับตั้งแต่ เหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 ที่ขบวนการนิสิตนักศึกษาประชาชนร่วมกันต่อสู้เพื่อเรียกร้อง รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตย กำแพงวังหน้า วังหน้าเป็นที่ประทับของพระมหาอุปราช เนื่องจากในสมัยรัชกาลที่ 1 เมื่อมีการสร้างพระราชวังหลวงในปี พ.ศ. 2325 สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท กรมพระราชวังบวรสถานมงคล ได้ทรงสร้างวังหน้าขึ้นพร้อมกันทางด้านทิศเหนือของพระราชวังหลวง และอยู่ชิดกับฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา ต่อมามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้สร้างอาคารอเนกประสงค์ 2 ขึ้นใหม่ จึงมีการขุดพื้นดินต่าง ๆ และเป็นจุดเริ่มต้นของการจัดแสดงรูปร่างของกำแพงวังหน้าให้นักศึกษาและประชาชนทั่วไปได้ชื่นชมว่า กาลครั้งหนึ่ง พื้นที่บริเวณนี้เป็นสถานที่ตั้งของวังหน้า สนามฟุตบอล บริเวณที่เป็นอาคารอเนกประสงค์ในปัจจุบันนี้ ในยุคแรกของมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง เป็นที่ตั้งของอาคารเรียนและอาคารที่พักของนักเรียนโรงเรียนเตรียมมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง หรือ ต.มธก.ในระหว่างปี พ.ศ. 2481-2488 บุคคลสำคัญของมหาวิทยาลัย ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ศาสตราจารย์ป๋วย อึ๊งภากรณ์ ศาสตราจารย์สัญญา ธรรมศักดิ์ สีประจำมหาวิทยาลัย สีประจำมหาวิทยาลัย คือ สีเหลือง-แดง หลักฐานว่าสีเหลือง-แดงคือสีประจำมหาลัยนั้นไม่เด่นชัด รู้เพียงว่า นายปรีดี พนมยงค์ เป็นผู้เลือก ซึ่งอาจมาจากความต้องการเอาสีเหลือง ซึ่งเป็นสีของศาสนาเหมือนดังธรรมจักร กับสีแดง ซึ่งแสดงความเข้มข้นคือ เลือด ต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัย ต้นหางนกยูง มีความเป็นมาคือ เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2506 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ได้เสด็จพระราชดำเนินมาทรงดนตรีที่หอประชุมใหญ่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และได้ทรงปลูกต้นหางนกยูง จำนวน 5 ต้นประชุมใหญ่เพื่อให้เป็นต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัย ตามที่นักศึกษาขอพระราชทาน ซึ่งผู้ขอคือ นายวิทยา สุขดำรง ตราธรรมจักรประจำมหาวิทยาลัย ตราธรรมจักรของมหาวิทยาลัย มีความหมายว่า สถาบันแห่งนี้ยึดถือคติธรรมของพุทธศาสนาเป็นหลักกล่อมเกลาบัณฑิต กึ่งกลางธรรมจักร คือ พานรัฐธรรมนูญ หมายถึง การยึดมั่น เชิดชูรัฐธรรมนูญ เป็นหลักการที่ทางมหาวิทยาลัยยึดถือ และประพฤติปฏิบัติเสมอมา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เปิดสอนคณะอะไรบ้าง? แต่เดิมตอนเป็น มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง วิชาที่เปิดสอนมี 2 แขนงคือ หลักสูตรธรรมศาสตรบัณฑิตและวิชาการบัญชี เมื่อเกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2490 หลักสูตรการศึกษาธรรมศาสตรบัณฑิตเปลี่ยนแปลงไป กลายเป็นการจัดการเรียนการสอนแยกออกเป็น 4 คณะ คือ คณะนิติศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี ปัจจุบันมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เปิดสอนทั้งหมด 19 คณะ 7 วิทยาลัย 5 สถาบัน ได้แก่ คณะนิติศาสตร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี คณะรัฐศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์ คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะศิลปศาสตร์ คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง คณะศิลปกรรมศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ คณะสหเวชศาสตร์ คณะทันตแพทยศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ คณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ วิทยาลัย วิทยาลัยพัฒนศาสตร์ ป๋วย อึ้งภากรณ์ วิทยาลัยนวัตกรรม วิทยาลัยสหวิทยาการ วิทยาลัยโลกคดีศึกษา สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธs วิทยาลัยนานาชาติ ปรีดี พนมยงค์ วิทยาลัยแพทยศาสตร์นานาชาติจุฬาภรณ์ สถาบัน สถาบันเสริมศึกษาและทรัพยากรมนุษย์ สถาบันไทยคดีศึกษา สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา สถาบันภาษา สถาบันอาณาบริเวณศึกษา ไม่บังคับเรื่องการแต่งกาย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เป็นมหาวิทยาลัยที่ให้เสรีในเรื่องการแต่งกายเข้าเรียน เพราะไม่มีการบังคับให้นักศึกษาใส่ชุดนักศึกษาในวันที่ไปเรียนปกติ แต่ถ้ามีสอบก็หรือพิธีการต่าง ๆ ต้องใส่ชุดนักศึกษาตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด มหาลัยธรรมศาสตร์ดูแลห้างสรรพสินค้า 2 แห่งได้แก่ TU Dome จะมีศูนย์อาหาร ร้านค้าชั้นนำ ร้านค้าต่าง ๆ เช่น MK, KFC, ร้านหนังสือ, ร้านอินเตอร์เน็ต เป็นต้น อินเตอร์โซน จะมีห้องเธียร์เตอร์ ห้องอบรม ห้องสัมมนา ลานกิจกรรม และศูนย์บริการ ร้านค้าต่าง ๆ รอบอาคาร เช่น สระว่ายน้ำ, ธนาคาร, ร้านถ่ายรูป เป็นต้น มหาลัยธรรมศาสตร์มีแอปให้คำปรึกษาด้านสุขภาพจิต แอปมีชื่อว่า mildmood เป็นแอปให้คำปรึกษาและดูแลสุขภาพจิต ถ้านักศึกษาเกิดความเครียดหรือมีปัญหาต่าง ๆ สามารถทำแบบทดสอบทางจิตวิทยา เพื่อประเมินสุขภาพจิต และมีวิธีดูแลตัวเองเบื้องต้นเมื่อเกิดความเครียด โดยมีนักจิตวิทยา และจิตแพทย์ เป็นผู้เชี่ยวชาญในการช่วยพัฒนาระบบ งานฟุตบอลประจำประเพณี ในแต่ละปีจะมีการแข่งขันฟุตบอลระหว่างมหาลัยธรรมศาสตร์กับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จะสลับกับเป็นเจ้าภาพ ถ้าปีไหนใครได้เป็นเจ้าภาพก็ขึ้นชื่อด้วยมหาวิทยาลัยนั้น เช่น ปีนี้มหาลัยธรรมศาสตร์เป็นเจ้าภาพก็จะใช้ชื่อว่า “งานฟุตบอลประจำปีธรรมศาสตร์-จุฬาฯ” เว็บไซต์ : https://tu.ac.th/ Facebook : thammasat.uni EZ Webmaster Related Posts โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณ์ราชวิทยาลัย เชียงราย โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนช่องฟ้าซินเซิงวาณิชบำรุง โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนพานพิทยาคม โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนแม่ริมวิทยาคม Post navigation PREVIOUS Previous post: “สวนสุนันทา” ประกาศลดค่าเทอมป.ตรีทุกชั้นปี 20% พร้อมคืนค่าแท็บเล็ตนักศึกษาปี1NEXT Next post: เจาะลึกเรื่องน่ารู้ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนช่องฟ้าซินเซิงวาณิชบำรุง EZ WebmasterJune 17, 2025 กิจกรรมสร้างสรรค์ ความสุขเล็กๆ ที่ยิ่งสนุกสนาน โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนช่องฟ้าซินเซิงวาณิชบำรุง จ.เชียงใหม่ วันที่17/06/68โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า (ครูแอน)… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนพานพิทยาคม EZ WebmasterJune 17, 2025 มาทำให้วันธรรมดา กลายเป็นวันพิเศษกันเถอะ! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนพานพิทยาคม จ.เชียงราย วันที่17/06/68 โดยวิทยากร ผศ.ดร.ตฤณกร เกตุกุลพันธ์ #teamTaro โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย EZ WebmasterJune 17, 2025 กิจกรรมนี้มีแต่รอยยิ้มและความอบอุ่น ยิ่งทำยิ่งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย จ.เชียงใหม่ วันที่16/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า (ครูแอน)… นักศึกษา การตลาดดิจิทัลและระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย จัดกิจกรรมตอบแทนกลับคืนสังคม EZ WebmasterJune 17, 2025 นักศึกษากลุ่มวิชาการตลาดดิจิทัล และกลุ่มวิชาการบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ร่วมทำกิจกรรม Digital Marketing Innovation for Sustainability สร้างสรรค์ประสบการณ์ทางการตลาดดิจิทัลและการบริการสังคม โดยนักศึกษาได้เข้ากิจกรรมปล่อยสัตว์ทะเลที่ธนาคารปู จังหวัดระยอง และบริจากสิ่งของให้กับชมรมผู้พิการทางสติปัญญา จังหวัดชลบุรี ร่วมเรียนรู้การสร้างสรรค์สื่อสำหรับการสื่อสารทางการตลาดดิจิทัล เพื่อสร้างความรับผิดชอบต่อสังคมให้กับนักศึกษาและร่วมสร้างสรรค์สังคมให้น่าอยู่ต่อไป เรียนคณะบริหารธุรกิจแนวใหม่ต้องสัมผัสประสบการณ์แบบนักธุรกิจ ถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์จากคณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญรวมทั้งนักธุรกิจมืออาชีพ… “จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” EZ WebmasterJune 17, 2025 ในนามของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผมขอส่งความห่วงใยมายังพวกเราทุกคนที่กำลังใช้ชีวิตและศึกษาอยู่ในสหรัฐฯ โดยเฉพาะในช่วงเวลาที่มีความไม่แน่นอนเกี่ยวกับนโยบายวีซ่าที่อาจส่งผลต่อสิทธิในการศึกษา เมื่อไม่นานนี้ ผมและผู้บริหารจุฬาฯ มีโอกาสได้ไปเยือน Harvard และ MIT และได้พบกับนักศึกษาชาวไทยหลายคน ทุกคนต่างมีความมุ่งมั่น ตั้งใจ และอดทนในการใฝ่หาความรู้ เพื่อนำมาพัฒนาตนเอง สังคม และประเทศชาติ แม้จะอยู่ท่ามกลางความกังวลใจต่ออนาคตที่ยังไม่ชัดเจน ผมอยากบอกว่าพวกเราที่จุฬาฯ… คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… ทุนดีดี ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… ครู-อาจารย์ สมศ. พลิกโฉมการประเมินคุณภาพภายนอกด้วย AI ภายใต้ “ONESQA 5.0” เสริมความโปร่งใส แม่นยำ และพัฒนาอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 17, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยวิสัยทัศน์ และแนวทางการขับเคลื่อนองค์กรด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence – AI) ภายใต้ วิสัยทัศน์ ONESQA 5.0 โดยมุ่งเน้นการนำ AI เข้ามาใช้เพื่อเสริมประสิทธิภาพ ความโปร่งใส และความแม่นยำ ในกระบวนการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา พร้อมยกระดับสู่ความเป็นดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบบ ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ… คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster July 19, 2021 EZ Webmaster July 19, 2021 เจาะลึกเรื่องน่ารู้ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มีชื่ออังกฤษว่า Thammasat University; อักษรย่อคือ มธ. – TU เป็นมหาวิทยาลัยแห่งที่สองของประเทศไทย ก่อตั้งในชื่อ “มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง” (มธก.) จากแนวคิดของศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ที่ต้องการจัดตั้งมหาวิทยาลัยที่เน้นการเรียนการสอนเรื่องประชาธิปไตย และจากการรัฐประหารเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2490 ทำให้มหาวิทยาลัยได้รับผลกระทบอย่างมาก ผู้ประศาสน์การ ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ต้องลี้ภัยการเมืองไปอยู่ต่างประเทศ ชื่อมหาวิทยาลัยถูกตัดคำว่า “การเมือง” ออก เปลี่ยนเป็น “มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์” มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ตั้งอยู่ที่ไหน? มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มี 4 วิทยาเขตได้แก่ ท่าพระจันทร์ ศูนย์รังสิต ศูนย์พัทยา ศูนย์ลำปาง สถานที่สำคัญมหาวิทยาลัย ตึกโดม เป็นอาคารหลังแรกของมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์ ภายในอาคารโดม เมื่อเดินจากบันไดกลางขึ้นไปบนชั้น 2 ห้องแรกจะเป็นห้องทำงานของบุคคลสำคัญของมหาวิทยาลัย นั่นคือ ศาสตราจารย์ ดร. ปรีดี พนมยงค์ นั่นเอง ซึ่งห้องเดียวกันนี้ในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นศูนย์บัญชาการขบวนการเสรีไทยที่มีนายปรีดี พนมยงค์ เป็นผู้นำ โดยทำงาน ร่วมกับคณะเสรีไทยสายอังกฤษและสายสหรัฐอเมริกา หอประชุมใหญ่ ถูกนำมาใช้ในการทำกิจกรรมต่าง ๆ ของทางมหาวิทยาลัย ไม่ว่าจะเป็นกิจกรรมเกี่ยวกับการไหว้ครู การพระราชทานปริญญาบัตร รวมทั้งยังใช้เป็นห้องเรียนในวิชาพื้นฐาน สำหรับวิชาที่มีนักศึกษาระดับพันคนขึ้นไป ลานปรีดี และอนสุรณ์สถานปรีดี พนมยงค์ ก่อสร้างขึ้นเพื่อรำลึกถึงนายปรีดี พนมยงค์ รัฐบุรุษ อาวุโสผู้นำขนวนการเสรีไทย และบุคคลสำคัญของมหาวิทยาลัยมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง ภายหลังการถึงแก่อสัญกรรมอย่างสงบเมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2526 ที่ประเทศฝรั่งเศส ลานโพธิ์ สัญลักษณ์ของการต่อสู้เพื่อประชาธิปไตยของธรรมศาสตร์และสังคมไทย นับตั้งแต่ เหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 ที่ขบวนการนิสิตนักศึกษาประชาชนร่วมกันต่อสู้เพื่อเรียกร้อง รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตย กำแพงวังหน้า วังหน้าเป็นที่ประทับของพระมหาอุปราช เนื่องจากในสมัยรัชกาลที่ 1 เมื่อมีการสร้างพระราชวังหลวงในปี พ.ศ. 2325 สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท กรมพระราชวังบวรสถานมงคล ได้ทรงสร้างวังหน้าขึ้นพร้อมกันทางด้านทิศเหนือของพระราชวังหลวง และอยู่ชิดกับฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา ต่อมามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้สร้างอาคารอเนกประสงค์ 2 ขึ้นใหม่ จึงมีการขุดพื้นดินต่าง ๆ และเป็นจุดเริ่มต้นของการจัดแสดงรูปร่างของกำแพงวังหน้าให้นักศึกษาและประชาชนทั่วไปได้ชื่นชมว่า กาลครั้งหนึ่ง พื้นที่บริเวณนี้เป็นสถานที่ตั้งของวังหน้า สนามฟุตบอล บริเวณที่เป็นอาคารอเนกประสงค์ในปัจจุบันนี้ ในยุคแรกของมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง เป็นที่ตั้งของอาคารเรียนและอาคารที่พักของนักเรียนโรงเรียนเตรียมมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง หรือ ต.มธก.ในระหว่างปี พ.ศ. 2481-2488 บุคคลสำคัญของมหาวิทยาลัย ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ศาสตราจารย์ป๋วย อึ๊งภากรณ์ ศาสตราจารย์สัญญา ธรรมศักดิ์ สีประจำมหาวิทยาลัย สีประจำมหาวิทยาลัย คือ สีเหลือง-แดง หลักฐานว่าสีเหลือง-แดงคือสีประจำมหาลัยนั้นไม่เด่นชัด รู้เพียงว่า นายปรีดี พนมยงค์ เป็นผู้เลือก ซึ่งอาจมาจากความต้องการเอาสีเหลือง ซึ่งเป็นสีของศาสนาเหมือนดังธรรมจักร กับสีแดง ซึ่งแสดงความเข้มข้นคือ เลือด ต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัย ต้นหางนกยูง มีความเป็นมาคือ เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2506 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ได้เสด็จพระราชดำเนินมาทรงดนตรีที่หอประชุมใหญ่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และได้ทรงปลูกต้นหางนกยูง จำนวน 5 ต้นประชุมใหญ่เพื่อให้เป็นต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัย ตามที่นักศึกษาขอพระราชทาน ซึ่งผู้ขอคือ นายวิทยา สุขดำรง ตราธรรมจักรประจำมหาวิทยาลัย ตราธรรมจักรของมหาวิทยาลัย มีความหมายว่า สถาบันแห่งนี้ยึดถือคติธรรมของพุทธศาสนาเป็นหลักกล่อมเกลาบัณฑิต กึ่งกลางธรรมจักร คือ พานรัฐธรรมนูญ หมายถึง การยึดมั่น เชิดชูรัฐธรรมนูญ เป็นหลักการที่ทางมหาวิทยาลัยยึดถือ และประพฤติปฏิบัติเสมอมา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เปิดสอนคณะอะไรบ้าง? แต่เดิมตอนเป็น มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง วิชาที่เปิดสอนมี 2 แขนงคือ หลักสูตรธรรมศาสตรบัณฑิตและวิชาการบัญชี เมื่อเกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2490 หลักสูตรการศึกษาธรรมศาสตรบัณฑิตเปลี่ยนแปลงไป กลายเป็นการจัดการเรียนการสอนแยกออกเป็น 4 คณะ คือ คณะนิติศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี ปัจจุบันมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เปิดสอนทั้งหมด 19 คณะ 7 วิทยาลัย 5 สถาบัน ได้แก่ คณะนิติศาสตร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี คณะรัฐศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์ คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะศิลปศาสตร์ คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง คณะศิลปกรรมศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ คณะสหเวชศาสตร์ คณะทันตแพทยศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ คณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ วิทยาลัย วิทยาลัยพัฒนศาสตร์ ป๋วย อึ้งภากรณ์ วิทยาลัยนวัตกรรม วิทยาลัยสหวิทยาการ วิทยาลัยโลกคดีศึกษา สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธs วิทยาลัยนานาชาติ ปรีดี พนมยงค์ วิทยาลัยแพทยศาสตร์นานาชาติจุฬาภรณ์ สถาบัน สถาบันเสริมศึกษาและทรัพยากรมนุษย์ สถาบันไทยคดีศึกษา สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา สถาบันภาษา สถาบันอาณาบริเวณศึกษา ไม่บังคับเรื่องการแต่งกาย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เป็นมหาวิทยาลัยที่ให้เสรีในเรื่องการแต่งกายเข้าเรียน เพราะไม่มีการบังคับให้นักศึกษาใส่ชุดนักศึกษาในวันที่ไปเรียนปกติ แต่ถ้ามีสอบก็หรือพิธีการต่าง ๆ ต้องใส่ชุดนักศึกษาตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด มหาลัยธรรมศาสตร์ดูแลห้างสรรพสินค้า 2 แห่งได้แก่ TU Dome จะมีศูนย์อาหาร ร้านค้าชั้นนำ ร้านค้าต่าง ๆ เช่น MK, KFC, ร้านหนังสือ, ร้านอินเตอร์เน็ต เป็นต้น อินเตอร์โซน จะมีห้องเธียร์เตอร์ ห้องอบรม ห้องสัมมนา ลานกิจกรรม และศูนย์บริการ ร้านค้าต่าง ๆ รอบอาคาร เช่น สระว่ายน้ำ, ธนาคาร, ร้านถ่ายรูป เป็นต้น มหาลัยธรรมศาสตร์มีแอปให้คำปรึกษาด้านสุขภาพจิต แอปมีชื่อว่า mildmood เป็นแอปให้คำปรึกษาและดูแลสุขภาพจิต ถ้านักศึกษาเกิดความเครียดหรือมีปัญหาต่าง ๆ สามารถทำแบบทดสอบทางจิตวิทยา เพื่อประเมินสุขภาพจิต และมีวิธีดูแลตัวเองเบื้องต้นเมื่อเกิดความเครียด โดยมีนักจิตวิทยา และจิตแพทย์ เป็นผู้เชี่ยวชาญในการช่วยพัฒนาระบบ งานฟุตบอลประจำประเพณี ในแต่ละปีจะมีการแข่งขันฟุตบอลระหว่างมหาลัยธรรมศาสตร์กับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จะสลับกับเป็นเจ้าภาพ ถ้าปีไหนใครได้เป็นเจ้าภาพก็ขึ้นชื่อด้วยมหาวิทยาลัยนั้น เช่น ปีนี้มหาลัยธรรมศาสตร์เป็นเจ้าภาพก็จะใช้ชื่อว่า “งานฟุตบอลประจำปีธรรมศาสตร์-จุฬาฯ” เว็บไซต์ : https://tu.ac.th/ Facebook : thammasat.uni EZ Webmaster Related Posts โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณ์ราชวิทยาลัย เชียงราย โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนช่องฟ้าซินเซิงวาณิชบำรุง โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนพานพิทยาคม โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนแม่ริมวิทยาคม Post navigation PREVIOUS Previous post: “สวนสุนันทา” ประกาศลดค่าเทอมป.ตรีทุกชั้นปี 20% พร้อมคืนค่าแท็บเล็ตนักศึกษาปี1NEXT Next post: เจาะลึกเรื่องน่ารู้ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนพานพิทยาคม EZ WebmasterJune 17, 2025 มาทำให้วันธรรมดา กลายเป็นวันพิเศษกันเถอะ! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนพานพิทยาคม จ.เชียงราย วันที่17/06/68 โดยวิทยากร ผศ.ดร.ตฤณกร เกตุกุลพันธ์ #teamTaro โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย EZ WebmasterJune 17, 2025 กิจกรรมนี้มีแต่รอยยิ้มและความอบอุ่น ยิ่งทำยิ่งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย จ.เชียงใหม่ วันที่16/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า (ครูแอน)…
โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย EZ WebmasterJune 17, 2025 กิจกรรมนี้มีแต่รอยยิ้มและความอบอุ่น ยิ่งทำยิ่งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย จ.เชียงใหม่ วันที่16/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า (ครูแอน)…
การตลาดดิจิทัลและระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย จัดกิจกรรมตอบแทนกลับคืนสังคม EZ WebmasterJune 17, 2025 นักศึกษากลุ่มวิชาการตลาดดิจิทัล และกลุ่มวิชาการบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ร่วมทำกิจกรรม Digital Marketing Innovation for Sustainability สร้างสรรค์ประสบการณ์ทางการตลาดดิจิทัลและการบริการสังคม โดยนักศึกษาได้เข้ากิจกรรมปล่อยสัตว์ทะเลที่ธนาคารปู จังหวัดระยอง และบริจากสิ่งของให้กับชมรมผู้พิการทางสติปัญญา จังหวัดชลบุรี ร่วมเรียนรู้การสร้างสรรค์สื่อสำหรับการสื่อสารทางการตลาดดิจิทัล เพื่อสร้างความรับผิดชอบต่อสังคมให้กับนักศึกษาและร่วมสร้างสรรค์สังคมให้น่าอยู่ต่อไป เรียนคณะบริหารธุรกิจแนวใหม่ต้องสัมผัสประสบการณ์แบบนักธุรกิจ ถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์จากคณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญรวมทั้งนักธุรกิจมืออาชีพ… “จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” EZ WebmasterJune 17, 2025 ในนามของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผมขอส่งความห่วงใยมายังพวกเราทุกคนที่กำลังใช้ชีวิตและศึกษาอยู่ในสหรัฐฯ โดยเฉพาะในช่วงเวลาที่มีความไม่แน่นอนเกี่ยวกับนโยบายวีซ่าที่อาจส่งผลต่อสิทธิในการศึกษา เมื่อไม่นานนี้ ผมและผู้บริหารจุฬาฯ มีโอกาสได้ไปเยือน Harvard และ MIT และได้พบกับนักศึกษาชาวไทยหลายคน ทุกคนต่างมีความมุ่งมั่น ตั้งใจ และอดทนในการใฝ่หาความรู้ เพื่อนำมาพัฒนาตนเอง สังคม และประเทศชาติ แม้จะอยู่ท่ามกลางความกังวลใจต่ออนาคตที่ยังไม่ชัดเจน ผมอยากบอกว่าพวกเราที่จุฬาฯ… คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… ทุนดีดี ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… ครู-อาจารย์ สมศ. พลิกโฉมการประเมินคุณภาพภายนอกด้วย AI ภายใต้ “ONESQA 5.0” เสริมความโปร่งใส แม่นยำ และพัฒนาอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 17, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยวิสัยทัศน์ และแนวทางการขับเคลื่อนองค์กรด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence – AI) ภายใต้ วิสัยทัศน์ ONESQA 5.0 โดยมุ่งเน้นการนำ AI เข้ามาใช้เพื่อเสริมประสิทธิภาพ ความโปร่งใส และความแม่นยำ ในกระบวนการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา พร้อมยกระดับสู่ความเป็นดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบบ ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ… คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster July 19, 2021 EZ Webmaster July 19, 2021 เจาะลึกเรื่องน่ารู้ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มีชื่ออังกฤษว่า Thammasat University; อักษรย่อคือ มธ. – TU เป็นมหาวิทยาลัยแห่งที่สองของประเทศไทย ก่อตั้งในชื่อ “มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง” (มธก.) จากแนวคิดของศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ที่ต้องการจัดตั้งมหาวิทยาลัยที่เน้นการเรียนการสอนเรื่องประชาธิปไตย และจากการรัฐประหารเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2490 ทำให้มหาวิทยาลัยได้รับผลกระทบอย่างมาก ผู้ประศาสน์การ ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ต้องลี้ภัยการเมืองไปอยู่ต่างประเทศ ชื่อมหาวิทยาลัยถูกตัดคำว่า “การเมือง” ออก เปลี่ยนเป็น “มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์” มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ตั้งอยู่ที่ไหน? มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มี 4 วิทยาเขตได้แก่ ท่าพระจันทร์ ศูนย์รังสิต ศูนย์พัทยา ศูนย์ลำปาง สถานที่สำคัญมหาวิทยาลัย ตึกโดม เป็นอาคารหลังแรกของมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์ ภายในอาคารโดม เมื่อเดินจากบันไดกลางขึ้นไปบนชั้น 2 ห้องแรกจะเป็นห้องทำงานของบุคคลสำคัญของมหาวิทยาลัย นั่นคือ ศาสตราจารย์ ดร. ปรีดี พนมยงค์ นั่นเอง ซึ่งห้องเดียวกันนี้ในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นศูนย์บัญชาการขบวนการเสรีไทยที่มีนายปรีดี พนมยงค์ เป็นผู้นำ โดยทำงาน ร่วมกับคณะเสรีไทยสายอังกฤษและสายสหรัฐอเมริกา หอประชุมใหญ่ ถูกนำมาใช้ในการทำกิจกรรมต่าง ๆ ของทางมหาวิทยาลัย ไม่ว่าจะเป็นกิจกรรมเกี่ยวกับการไหว้ครู การพระราชทานปริญญาบัตร รวมทั้งยังใช้เป็นห้องเรียนในวิชาพื้นฐาน สำหรับวิชาที่มีนักศึกษาระดับพันคนขึ้นไป ลานปรีดี และอนสุรณ์สถานปรีดี พนมยงค์ ก่อสร้างขึ้นเพื่อรำลึกถึงนายปรีดี พนมยงค์ รัฐบุรุษ อาวุโสผู้นำขนวนการเสรีไทย และบุคคลสำคัญของมหาวิทยาลัยมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง ภายหลังการถึงแก่อสัญกรรมอย่างสงบเมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2526 ที่ประเทศฝรั่งเศส ลานโพธิ์ สัญลักษณ์ของการต่อสู้เพื่อประชาธิปไตยของธรรมศาสตร์และสังคมไทย นับตั้งแต่ เหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 ที่ขบวนการนิสิตนักศึกษาประชาชนร่วมกันต่อสู้เพื่อเรียกร้อง รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตย กำแพงวังหน้า วังหน้าเป็นที่ประทับของพระมหาอุปราช เนื่องจากในสมัยรัชกาลที่ 1 เมื่อมีการสร้างพระราชวังหลวงในปี พ.ศ. 2325 สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท กรมพระราชวังบวรสถานมงคล ได้ทรงสร้างวังหน้าขึ้นพร้อมกันทางด้านทิศเหนือของพระราชวังหลวง และอยู่ชิดกับฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา ต่อมามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้สร้างอาคารอเนกประสงค์ 2 ขึ้นใหม่ จึงมีการขุดพื้นดินต่าง ๆ และเป็นจุดเริ่มต้นของการจัดแสดงรูปร่างของกำแพงวังหน้าให้นักศึกษาและประชาชนทั่วไปได้ชื่นชมว่า กาลครั้งหนึ่ง พื้นที่บริเวณนี้เป็นสถานที่ตั้งของวังหน้า สนามฟุตบอล บริเวณที่เป็นอาคารอเนกประสงค์ในปัจจุบันนี้ ในยุคแรกของมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง เป็นที่ตั้งของอาคารเรียนและอาคารที่พักของนักเรียนโรงเรียนเตรียมมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง หรือ ต.มธก.ในระหว่างปี พ.ศ. 2481-2488 บุคคลสำคัญของมหาวิทยาลัย ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ศาสตราจารย์ป๋วย อึ๊งภากรณ์ ศาสตราจารย์สัญญา ธรรมศักดิ์ สีประจำมหาวิทยาลัย สีประจำมหาวิทยาลัย คือ สีเหลือง-แดง หลักฐานว่าสีเหลือง-แดงคือสีประจำมหาลัยนั้นไม่เด่นชัด รู้เพียงว่า นายปรีดี พนมยงค์ เป็นผู้เลือก ซึ่งอาจมาจากความต้องการเอาสีเหลือง ซึ่งเป็นสีของศาสนาเหมือนดังธรรมจักร กับสีแดง ซึ่งแสดงความเข้มข้นคือ เลือด ต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัย ต้นหางนกยูง มีความเป็นมาคือ เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2506 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ได้เสด็จพระราชดำเนินมาทรงดนตรีที่หอประชุมใหญ่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และได้ทรงปลูกต้นหางนกยูง จำนวน 5 ต้นประชุมใหญ่เพื่อให้เป็นต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัย ตามที่นักศึกษาขอพระราชทาน ซึ่งผู้ขอคือ นายวิทยา สุขดำรง ตราธรรมจักรประจำมหาวิทยาลัย ตราธรรมจักรของมหาวิทยาลัย มีความหมายว่า สถาบันแห่งนี้ยึดถือคติธรรมของพุทธศาสนาเป็นหลักกล่อมเกลาบัณฑิต กึ่งกลางธรรมจักร คือ พานรัฐธรรมนูญ หมายถึง การยึดมั่น เชิดชูรัฐธรรมนูญ เป็นหลักการที่ทางมหาวิทยาลัยยึดถือ และประพฤติปฏิบัติเสมอมา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เปิดสอนคณะอะไรบ้าง? แต่เดิมตอนเป็น มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง วิชาที่เปิดสอนมี 2 แขนงคือ หลักสูตรธรรมศาสตรบัณฑิตและวิชาการบัญชี เมื่อเกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2490 หลักสูตรการศึกษาธรรมศาสตรบัณฑิตเปลี่ยนแปลงไป กลายเป็นการจัดการเรียนการสอนแยกออกเป็น 4 คณะ คือ คณะนิติศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี ปัจจุบันมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เปิดสอนทั้งหมด 19 คณะ 7 วิทยาลัย 5 สถาบัน ได้แก่ คณะนิติศาสตร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี คณะรัฐศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์ คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะศิลปศาสตร์ คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง คณะศิลปกรรมศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ คณะสหเวชศาสตร์ คณะทันตแพทยศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ คณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ วิทยาลัย วิทยาลัยพัฒนศาสตร์ ป๋วย อึ้งภากรณ์ วิทยาลัยนวัตกรรม วิทยาลัยสหวิทยาการ วิทยาลัยโลกคดีศึกษา สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธs วิทยาลัยนานาชาติ ปรีดี พนมยงค์ วิทยาลัยแพทยศาสตร์นานาชาติจุฬาภรณ์ สถาบัน สถาบันเสริมศึกษาและทรัพยากรมนุษย์ สถาบันไทยคดีศึกษา สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา สถาบันภาษา สถาบันอาณาบริเวณศึกษา ไม่บังคับเรื่องการแต่งกาย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เป็นมหาวิทยาลัยที่ให้เสรีในเรื่องการแต่งกายเข้าเรียน เพราะไม่มีการบังคับให้นักศึกษาใส่ชุดนักศึกษาในวันที่ไปเรียนปกติ แต่ถ้ามีสอบก็หรือพิธีการต่าง ๆ ต้องใส่ชุดนักศึกษาตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด มหาลัยธรรมศาสตร์ดูแลห้างสรรพสินค้า 2 แห่งได้แก่ TU Dome จะมีศูนย์อาหาร ร้านค้าชั้นนำ ร้านค้าต่าง ๆ เช่น MK, KFC, ร้านหนังสือ, ร้านอินเตอร์เน็ต เป็นต้น อินเตอร์โซน จะมีห้องเธียร์เตอร์ ห้องอบรม ห้องสัมมนา ลานกิจกรรม และศูนย์บริการ ร้านค้าต่าง ๆ รอบอาคาร เช่น สระว่ายน้ำ, ธนาคาร, ร้านถ่ายรูป เป็นต้น มหาลัยธรรมศาสตร์มีแอปให้คำปรึกษาด้านสุขภาพจิต แอปมีชื่อว่า mildmood เป็นแอปให้คำปรึกษาและดูแลสุขภาพจิต ถ้านักศึกษาเกิดความเครียดหรือมีปัญหาต่าง ๆ สามารถทำแบบทดสอบทางจิตวิทยา เพื่อประเมินสุขภาพจิต และมีวิธีดูแลตัวเองเบื้องต้นเมื่อเกิดความเครียด โดยมีนักจิตวิทยา และจิตแพทย์ เป็นผู้เชี่ยวชาญในการช่วยพัฒนาระบบ งานฟุตบอลประจำประเพณี ในแต่ละปีจะมีการแข่งขันฟุตบอลระหว่างมหาลัยธรรมศาสตร์กับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จะสลับกับเป็นเจ้าภาพ ถ้าปีไหนใครได้เป็นเจ้าภาพก็ขึ้นชื่อด้วยมหาวิทยาลัยนั้น เช่น ปีนี้มหาลัยธรรมศาสตร์เป็นเจ้าภาพก็จะใช้ชื่อว่า “งานฟุตบอลประจำปีธรรมศาสตร์-จุฬาฯ” เว็บไซต์ : https://tu.ac.th/ Facebook : thammasat.uni EZ Webmaster Related Posts โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณ์ราชวิทยาลัย เชียงราย โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนช่องฟ้าซินเซิงวาณิชบำรุง โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนพานพิทยาคม โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนแม่ริมวิทยาคม Post navigation PREVIOUS Previous post: “สวนสุนันทา” ประกาศลดค่าเทอมป.ตรีทุกชั้นปี 20% พร้อมคืนค่าแท็บเล็ตนักศึกษาปี1NEXT Next post: เจาะลึกเรื่องน่ารู้ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
“จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” EZ WebmasterJune 17, 2025 ในนามของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผมขอส่งความห่วงใยมายังพวกเราทุกคนที่กำลังใช้ชีวิตและศึกษาอยู่ในสหรัฐฯ โดยเฉพาะในช่วงเวลาที่มีความไม่แน่นอนเกี่ยวกับนโยบายวีซ่าที่อาจส่งผลต่อสิทธิในการศึกษา เมื่อไม่นานนี้ ผมและผู้บริหารจุฬาฯ มีโอกาสได้ไปเยือน Harvard และ MIT และได้พบกับนักศึกษาชาวไทยหลายคน ทุกคนต่างมีความมุ่งมั่น ตั้งใจ และอดทนในการใฝ่หาความรู้ เพื่อนำมาพัฒนาตนเอง สังคม และประเทศชาติ แม้จะอยู่ท่ามกลางความกังวลใจต่ออนาคตที่ยังไม่ชัดเจน ผมอยากบอกว่าพวกเราที่จุฬาฯ… คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… ทุนดีดี ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… ครู-อาจารย์ สมศ. พลิกโฉมการประเมินคุณภาพภายนอกด้วย AI ภายใต้ “ONESQA 5.0” เสริมความโปร่งใส แม่นยำ และพัฒนาอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 17, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยวิสัยทัศน์ และแนวทางการขับเคลื่อนองค์กรด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence – AI) ภายใต้ วิสัยทัศน์ ONESQA 5.0 โดยมุ่งเน้นการนำ AI เข้ามาใช้เพื่อเสริมประสิทธิภาพ ความโปร่งใส และความแม่นยำ ในกระบวนการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา พร้อมยกระดับสู่ความเป็นดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบบ ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ… คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster July 19, 2021 EZ Webmaster July 19, 2021 เจาะลึกเรื่องน่ารู้ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มีชื่ออังกฤษว่า Thammasat University; อักษรย่อคือ มธ. – TU เป็นมหาวิทยาลัยแห่งที่สองของประเทศไทย ก่อตั้งในชื่อ “มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง” (มธก.) จากแนวคิดของศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ที่ต้องการจัดตั้งมหาวิทยาลัยที่เน้นการเรียนการสอนเรื่องประชาธิปไตย และจากการรัฐประหารเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2490 ทำให้มหาวิทยาลัยได้รับผลกระทบอย่างมาก ผู้ประศาสน์การ ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ต้องลี้ภัยการเมืองไปอยู่ต่างประเทศ ชื่อมหาวิทยาลัยถูกตัดคำว่า “การเมือง” ออก เปลี่ยนเป็น “มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์” มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ตั้งอยู่ที่ไหน? มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มี 4 วิทยาเขตได้แก่ ท่าพระจันทร์ ศูนย์รังสิต ศูนย์พัทยา ศูนย์ลำปาง สถานที่สำคัญมหาวิทยาลัย ตึกโดม เป็นอาคารหลังแรกของมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์ ภายในอาคารโดม เมื่อเดินจากบันไดกลางขึ้นไปบนชั้น 2 ห้องแรกจะเป็นห้องทำงานของบุคคลสำคัญของมหาวิทยาลัย นั่นคือ ศาสตราจารย์ ดร. ปรีดี พนมยงค์ นั่นเอง ซึ่งห้องเดียวกันนี้ในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นศูนย์บัญชาการขบวนการเสรีไทยที่มีนายปรีดี พนมยงค์ เป็นผู้นำ โดยทำงาน ร่วมกับคณะเสรีไทยสายอังกฤษและสายสหรัฐอเมริกา หอประชุมใหญ่ ถูกนำมาใช้ในการทำกิจกรรมต่าง ๆ ของทางมหาวิทยาลัย ไม่ว่าจะเป็นกิจกรรมเกี่ยวกับการไหว้ครู การพระราชทานปริญญาบัตร รวมทั้งยังใช้เป็นห้องเรียนในวิชาพื้นฐาน สำหรับวิชาที่มีนักศึกษาระดับพันคนขึ้นไป ลานปรีดี และอนสุรณ์สถานปรีดี พนมยงค์ ก่อสร้างขึ้นเพื่อรำลึกถึงนายปรีดี พนมยงค์ รัฐบุรุษ อาวุโสผู้นำขนวนการเสรีไทย และบุคคลสำคัญของมหาวิทยาลัยมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง ภายหลังการถึงแก่อสัญกรรมอย่างสงบเมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2526 ที่ประเทศฝรั่งเศส ลานโพธิ์ สัญลักษณ์ของการต่อสู้เพื่อประชาธิปไตยของธรรมศาสตร์และสังคมไทย นับตั้งแต่ เหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 ที่ขบวนการนิสิตนักศึกษาประชาชนร่วมกันต่อสู้เพื่อเรียกร้อง รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตย กำแพงวังหน้า วังหน้าเป็นที่ประทับของพระมหาอุปราช เนื่องจากในสมัยรัชกาลที่ 1 เมื่อมีการสร้างพระราชวังหลวงในปี พ.ศ. 2325 สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท กรมพระราชวังบวรสถานมงคล ได้ทรงสร้างวังหน้าขึ้นพร้อมกันทางด้านทิศเหนือของพระราชวังหลวง และอยู่ชิดกับฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา ต่อมามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้สร้างอาคารอเนกประสงค์ 2 ขึ้นใหม่ จึงมีการขุดพื้นดินต่าง ๆ และเป็นจุดเริ่มต้นของการจัดแสดงรูปร่างของกำแพงวังหน้าให้นักศึกษาและประชาชนทั่วไปได้ชื่นชมว่า กาลครั้งหนึ่ง พื้นที่บริเวณนี้เป็นสถานที่ตั้งของวังหน้า สนามฟุตบอล บริเวณที่เป็นอาคารอเนกประสงค์ในปัจจุบันนี้ ในยุคแรกของมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง เป็นที่ตั้งของอาคารเรียนและอาคารที่พักของนักเรียนโรงเรียนเตรียมมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง หรือ ต.มธก.ในระหว่างปี พ.ศ. 2481-2488 บุคคลสำคัญของมหาวิทยาลัย ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ศาสตราจารย์ป๋วย อึ๊งภากรณ์ ศาสตราจารย์สัญญา ธรรมศักดิ์ สีประจำมหาวิทยาลัย สีประจำมหาวิทยาลัย คือ สีเหลือง-แดง หลักฐานว่าสีเหลือง-แดงคือสีประจำมหาลัยนั้นไม่เด่นชัด รู้เพียงว่า นายปรีดี พนมยงค์ เป็นผู้เลือก ซึ่งอาจมาจากความต้องการเอาสีเหลือง ซึ่งเป็นสีของศาสนาเหมือนดังธรรมจักร กับสีแดง ซึ่งแสดงความเข้มข้นคือ เลือด ต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัย ต้นหางนกยูง มีความเป็นมาคือ เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2506 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ได้เสด็จพระราชดำเนินมาทรงดนตรีที่หอประชุมใหญ่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และได้ทรงปลูกต้นหางนกยูง จำนวน 5 ต้นประชุมใหญ่เพื่อให้เป็นต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัย ตามที่นักศึกษาขอพระราชทาน ซึ่งผู้ขอคือ นายวิทยา สุขดำรง ตราธรรมจักรประจำมหาวิทยาลัย ตราธรรมจักรของมหาวิทยาลัย มีความหมายว่า สถาบันแห่งนี้ยึดถือคติธรรมของพุทธศาสนาเป็นหลักกล่อมเกลาบัณฑิต กึ่งกลางธรรมจักร คือ พานรัฐธรรมนูญ หมายถึง การยึดมั่น เชิดชูรัฐธรรมนูญ เป็นหลักการที่ทางมหาวิทยาลัยยึดถือ และประพฤติปฏิบัติเสมอมา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เปิดสอนคณะอะไรบ้าง? แต่เดิมตอนเป็น มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง วิชาที่เปิดสอนมี 2 แขนงคือ หลักสูตรธรรมศาสตรบัณฑิตและวิชาการบัญชี เมื่อเกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2490 หลักสูตรการศึกษาธรรมศาสตรบัณฑิตเปลี่ยนแปลงไป กลายเป็นการจัดการเรียนการสอนแยกออกเป็น 4 คณะ คือ คณะนิติศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี ปัจจุบันมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เปิดสอนทั้งหมด 19 คณะ 7 วิทยาลัย 5 สถาบัน ได้แก่ คณะนิติศาสตร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี คณะรัฐศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์ คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะศิลปศาสตร์ คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง คณะศิลปกรรมศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ คณะสหเวชศาสตร์ คณะทันตแพทยศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ คณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ วิทยาลัย วิทยาลัยพัฒนศาสตร์ ป๋วย อึ้งภากรณ์ วิทยาลัยนวัตกรรม วิทยาลัยสหวิทยาการ วิทยาลัยโลกคดีศึกษา สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธs วิทยาลัยนานาชาติ ปรีดี พนมยงค์ วิทยาลัยแพทยศาสตร์นานาชาติจุฬาภรณ์ สถาบัน สถาบันเสริมศึกษาและทรัพยากรมนุษย์ สถาบันไทยคดีศึกษา สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา สถาบันภาษา สถาบันอาณาบริเวณศึกษา ไม่บังคับเรื่องการแต่งกาย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เป็นมหาวิทยาลัยที่ให้เสรีในเรื่องการแต่งกายเข้าเรียน เพราะไม่มีการบังคับให้นักศึกษาใส่ชุดนักศึกษาในวันที่ไปเรียนปกติ แต่ถ้ามีสอบก็หรือพิธีการต่าง ๆ ต้องใส่ชุดนักศึกษาตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด มหาลัยธรรมศาสตร์ดูแลห้างสรรพสินค้า 2 แห่งได้แก่ TU Dome จะมีศูนย์อาหาร ร้านค้าชั้นนำ ร้านค้าต่าง ๆ เช่น MK, KFC, ร้านหนังสือ, ร้านอินเตอร์เน็ต เป็นต้น อินเตอร์โซน จะมีห้องเธียร์เตอร์ ห้องอบรม ห้องสัมมนา ลานกิจกรรม และศูนย์บริการ ร้านค้าต่าง ๆ รอบอาคาร เช่น สระว่ายน้ำ, ธนาคาร, ร้านถ่ายรูป เป็นต้น มหาลัยธรรมศาสตร์มีแอปให้คำปรึกษาด้านสุขภาพจิต แอปมีชื่อว่า mildmood เป็นแอปให้คำปรึกษาและดูแลสุขภาพจิต ถ้านักศึกษาเกิดความเครียดหรือมีปัญหาต่าง ๆ สามารถทำแบบทดสอบทางจิตวิทยา เพื่อประเมินสุขภาพจิต และมีวิธีดูแลตัวเองเบื้องต้นเมื่อเกิดความเครียด โดยมีนักจิตวิทยา และจิตแพทย์ เป็นผู้เชี่ยวชาญในการช่วยพัฒนาระบบ งานฟุตบอลประจำประเพณี ในแต่ละปีจะมีการแข่งขันฟุตบอลระหว่างมหาลัยธรรมศาสตร์กับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จะสลับกับเป็นเจ้าภาพ ถ้าปีไหนใครได้เป็นเจ้าภาพก็ขึ้นชื่อด้วยมหาวิทยาลัยนั้น เช่น ปีนี้มหาลัยธรรมศาสตร์เป็นเจ้าภาพก็จะใช้ชื่อว่า “งานฟุตบอลประจำปีธรรมศาสตร์-จุฬาฯ” เว็บไซต์ : https://tu.ac.th/ Facebook : thammasat.uni EZ Webmaster Related Posts โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณ์ราชวิทยาลัย เชียงราย โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนช่องฟ้าซินเซิงวาณิชบำรุง โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนพานพิทยาคม โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนแม่ริมวิทยาคม Post navigation PREVIOUS Previous post: “สวนสุนันทา” ประกาศลดค่าเทอมป.ตรีทุกชั้นปี 20% พร้อมคืนค่าแท็บเล็ตนักศึกษาปี1NEXT Next post: เจาะลึกเรื่องน่ารู้ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)…
เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)…
ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… ครู-อาจารย์ สมศ. พลิกโฉมการประเมินคุณภาพภายนอกด้วย AI ภายใต้ “ONESQA 5.0” เสริมความโปร่งใส แม่นยำ และพัฒนาอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 17, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยวิสัยทัศน์ และแนวทางการขับเคลื่อนองค์กรด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence – AI) ภายใต้ วิสัยทัศน์ ONESQA 5.0 โดยมุ่งเน้นการนำ AI เข้ามาใช้เพื่อเสริมประสิทธิภาพ ความโปร่งใส และความแม่นยำ ในกระบวนการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา พร้อมยกระดับสู่ความเป็นดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบบ ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ… คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster July 19, 2021 EZ Webmaster July 19, 2021 เจาะลึกเรื่องน่ารู้ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มีชื่ออังกฤษว่า Thammasat University; อักษรย่อคือ มธ. – TU เป็นมหาวิทยาลัยแห่งที่สองของประเทศไทย ก่อตั้งในชื่อ “มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง” (มธก.) จากแนวคิดของศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ที่ต้องการจัดตั้งมหาวิทยาลัยที่เน้นการเรียนการสอนเรื่องประชาธิปไตย และจากการรัฐประหารเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2490 ทำให้มหาวิทยาลัยได้รับผลกระทบอย่างมาก ผู้ประศาสน์การ ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ต้องลี้ภัยการเมืองไปอยู่ต่างประเทศ ชื่อมหาวิทยาลัยถูกตัดคำว่า “การเมือง” ออก เปลี่ยนเป็น “มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์” มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ตั้งอยู่ที่ไหน? มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มี 4 วิทยาเขตได้แก่ ท่าพระจันทร์ ศูนย์รังสิต ศูนย์พัทยา ศูนย์ลำปาง สถานที่สำคัญมหาวิทยาลัย ตึกโดม เป็นอาคารหลังแรกของมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์ ภายในอาคารโดม เมื่อเดินจากบันไดกลางขึ้นไปบนชั้น 2 ห้องแรกจะเป็นห้องทำงานของบุคคลสำคัญของมหาวิทยาลัย นั่นคือ ศาสตราจารย์ ดร. ปรีดี พนมยงค์ นั่นเอง ซึ่งห้องเดียวกันนี้ในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นศูนย์บัญชาการขบวนการเสรีไทยที่มีนายปรีดี พนมยงค์ เป็นผู้นำ โดยทำงาน ร่วมกับคณะเสรีไทยสายอังกฤษและสายสหรัฐอเมริกา หอประชุมใหญ่ ถูกนำมาใช้ในการทำกิจกรรมต่าง ๆ ของทางมหาวิทยาลัย ไม่ว่าจะเป็นกิจกรรมเกี่ยวกับการไหว้ครู การพระราชทานปริญญาบัตร รวมทั้งยังใช้เป็นห้องเรียนในวิชาพื้นฐาน สำหรับวิชาที่มีนักศึกษาระดับพันคนขึ้นไป ลานปรีดี และอนสุรณ์สถานปรีดี พนมยงค์ ก่อสร้างขึ้นเพื่อรำลึกถึงนายปรีดี พนมยงค์ รัฐบุรุษ อาวุโสผู้นำขนวนการเสรีไทย และบุคคลสำคัญของมหาวิทยาลัยมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง ภายหลังการถึงแก่อสัญกรรมอย่างสงบเมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2526 ที่ประเทศฝรั่งเศส ลานโพธิ์ สัญลักษณ์ของการต่อสู้เพื่อประชาธิปไตยของธรรมศาสตร์และสังคมไทย นับตั้งแต่ เหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 ที่ขบวนการนิสิตนักศึกษาประชาชนร่วมกันต่อสู้เพื่อเรียกร้อง รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตย กำแพงวังหน้า วังหน้าเป็นที่ประทับของพระมหาอุปราช เนื่องจากในสมัยรัชกาลที่ 1 เมื่อมีการสร้างพระราชวังหลวงในปี พ.ศ. 2325 สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท กรมพระราชวังบวรสถานมงคล ได้ทรงสร้างวังหน้าขึ้นพร้อมกันทางด้านทิศเหนือของพระราชวังหลวง และอยู่ชิดกับฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา ต่อมามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้สร้างอาคารอเนกประสงค์ 2 ขึ้นใหม่ จึงมีการขุดพื้นดินต่าง ๆ และเป็นจุดเริ่มต้นของการจัดแสดงรูปร่างของกำแพงวังหน้าให้นักศึกษาและประชาชนทั่วไปได้ชื่นชมว่า กาลครั้งหนึ่ง พื้นที่บริเวณนี้เป็นสถานที่ตั้งของวังหน้า สนามฟุตบอล บริเวณที่เป็นอาคารอเนกประสงค์ในปัจจุบันนี้ ในยุคแรกของมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง เป็นที่ตั้งของอาคารเรียนและอาคารที่พักของนักเรียนโรงเรียนเตรียมมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง หรือ ต.มธก.ในระหว่างปี พ.ศ. 2481-2488 บุคคลสำคัญของมหาวิทยาลัย ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ศาสตราจารย์ป๋วย อึ๊งภากรณ์ ศาสตราจารย์สัญญา ธรรมศักดิ์ สีประจำมหาวิทยาลัย สีประจำมหาวิทยาลัย คือ สีเหลือง-แดง หลักฐานว่าสีเหลือง-แดงคือสีประจำมหาลัยนั้นไม่เด่นชัด รู้เพียงว่า นายปรีดี พนมยงค์ เป็นผู้เลือก ซึ่งอาจมาจากความต้องการเอาสีเหลือง ซึ่งเป็นสีของศาสนาเหมือนดังธรรมจักร กับสีแดง ซึ่งแสดงความเข้มข้นคือ เลือด ต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัย ต้นหางนกยูง มีความเป็นมาคือ เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2506 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ได้เสด็จพระราชดำเนินมาทรงดนตรีที่หอประชุมใหญ่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และได้ทรงปลูกต้นหางนกยูง จำนวน 5 ต้นประชุมใหญ่เพื่อให้เป็นต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัย ตามที่นักศึกษาขอพระราชทาน ซึ่งผู้ขอคือ นายวิทยา สุขดำรง ตราธรรมจักรประจำมหาวิทยาลัย ตราธรรมจักรของมหาวิทยาลัย มีความหมายว่า สถาบันแห่งนี้ยึดถือคติธรรมของพุทธศาสนาเป็นหลักกล่อมเกลาบัณฑิต กึ่งกลางธรรมจักร คือ พานรัฐธรรมนูญ หมายถึง การยึดมั่น เชิดชูรัฐธรรมนูญ เป็นหลักการที่ทางมหาวิทยาลัยยึดถือ และประพฤติปฏิบัติเสมอมา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เปิดสอนคณะอะไรบ้าง? แต่เดิมตอนเป็น มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง วิชาที่เปิดสอนมี 2 แขนงคือ หลักสูตรธรรมศาสตรบัณฑิตและวิชาการบัญชี เมื่อเกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2490 หลักสูตรการศึกษาธรรมศาสตรบัณฑิตเปลี่ยนแปลงไป กลายเป็นการจัดการเรียนการสอนแยกออกเป็น 4 คณะ คือ คณะนิติศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี ปัจจุบันมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เปิดสอนทั้งหมด 19 คณะ 7 วิทยาลัย 5 สถาบัน ได้แก่ คณะนิติศาสตร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี คณะรัฐศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์ คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะศิลปศาสตร์ คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง คณะศิลปกรรมศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ คณะสหเวชศาสตร์ คณะทันตแพทยศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ คณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ วิทยาลัย วิทยาลัยพัฒนศาสตร์ ป๋วย อึ้งภากรณ์ วิทยาลัยนวัตกรรม วิทยาลัยสหวิทยาการ วิทยาลัยโลกคดีศึกษา สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธs วิทยาลัยนานาชาติ ปรีดี พนมยงค์ วิทยาลัยแพทยศาสตร์นานาชาติจุฬาภรณ์ สถาบัน สถาบันเสริมศึกษาและทรัพยากรมนุษย์ สถาบันไทยคดีศึกษา สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา สถาบันภาษา สถาบันอาณาบริเวณศึกษา ไม่บังคับเรื่องการแต่งกาย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เป็นมหาวิทยาลัยที่ให้เสรีในเรื่องการแต่งกายเข้าเรียน เพราะไม่มีการบังคับให้นักศึกษาใส่ชุดนักศึกษาในวันที่ไปเรียนปกติ แต่ถ้ามีสอบก็หรือพิธีการต่าง ๆ ต้องใส่ชุดนักศึกษาตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด มหาลัยธรรมศาสตร์ดูแลห้างสรรพสินค้า 2 แห่งได้แก่ TU Dome จะมีศูนย์อาหาร ร้านค้าชั้นนำ ร้านค้าต่าง ๆ เช่น MK, KFC, ร้านหนังสือ, ร้านอินเตอร์เน็ต เป็นต้น อินเตอร์โซน จะมีห้องเธียร์เตอร์ ห้องอบรม ห้องสัมมนา ลานกิจกรรม และศูนย์บริการ ร้านค้าต่าง ๆ รอบอาคาร เช่น สระว่ายน้ำ, ธนาคาร, ร้านถ่ายรูป เป็นต้น มหาลัยธรรมศาสตร์มีแอปให้คำปรึกษาด้านสุขภาพจิต แอปมีชื่อว่า mildmood เป็นแอปให้คำปรึกษาและดูแลสุขภาพจิต ถ้านักศึกษาเกิดความเครียดหรือมีปัญหาต่าง ๆ สามารถทำแบบทดสอบทางจิตวิทยา เพื่อประเมินสุขภาพจิต และมีวิธีดูแลตัวเองเบื้องต้นเมื่อเกิดความเครียด โดยมีนักจิตวิทยา และจิตแพทย์ เป็นผู้เชี่ยวชาญในการช่วยพัฒนาระบบ งานฟุตบอลประจำประเพณี ในแต่ละปีจะมีการแข่งขันฟุตบอลระหว่างมหาลัยธรรมศาสตร์กับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จะสลับกับเป็นเจ้าภาพ ถ้าปีไหนใครได้เป็นเจ้าภาพก็ขึ้นชื่อด้วยมหาวิทยาลัยนั้น เช่น ปีนี้มหาลัยธรรมศาสตร์เป็นเจ้าภาพก็จะใช้ชื่อว่า “งานฟุตบอลประจำปีธรรมศาสตร์-จุฬาฯ” เว็บไซต์ : https://tu.ac.th/ Facebook : thammasat.uni EZ Webmaster Related Posts โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณ์ราชวิทยาลัย เชียงราย โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนช่องฟ้าซินเซิงวาณิชบำรุง โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนพานพิทยาคม โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนแม่ริมวิทยาคม Post navigation PREVIOUS Previous post: “สวนสุนันทา” ประกาศลดค่าเทอมป.ตรีทุกชั้นปี 20% พร้อมคืนค่าแท็บเล็ตนักศึกษาปี1NEXT Next post: เจาะลึกเรื่องน่ารู้ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… ครู-อาจารย์ สมศ. พลิกโฉมการประเมินคุณภาพภายนอกด้วย AI ภายใต้ “ONESQA 5.0” เสริมความโปร่งใส แม่นยำ และพัฒนาอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 17, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยวิสัยทัศน์ และแนวทางการขับเคลื่อนองค์กรด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence – AI) ภายใต้ วิสัยทัศน์ ONESQA 5.0 โดยมุ่งเน้นการนำ AI เข้ามาใช้เพื่อเสริมประสิทธิภาพ ความโปร่งใส และความแม่นยำ ในกระบวนการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา พร้อมยกระดับสู่ความเป็นดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบบ ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ… คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster July 19, 2021 EZ Webmaster July 19, 2021 เจาะลึกเรื่องน่ารู้ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มีชื่ออังกฤษว่า Thammasat University; อักษรย่อคือ มธ. – TU เป็นมหาวิทยาลัยแห่งที่สองของประเทศไทย ก่อตั้งในชื่อ “มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง” (มธก.) จากแนวคิดของศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ที่ต้องการจัดตั้งมหาวิทยาลัยที่เน้นการเรียนการสอนเรื่องประชาธิปไตย และจากการรัฐประหารเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2490 ทำให้มหาวิทยาลัยได้รับผลกระทบอย่างมาก ผู้ประศาสน์การ ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ต้องลี้ภัยการเมืองไปอยู่ต่างประเทศ ชื่อมหาวิทยาลัยถูกตัดคำว่า “การเมือง” ออก เปลี่ยนเป็น “มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์” มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ตั้งอยู่ที่ไหน? มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มี 4 วิทยาเขตได้แก่ ท่าพระจันทร์ ศูนย์รังสิต ศูนย์พัทยา ศูนย์ลำปาง สถานที่สำคัญมหาวิทยาลัย ตึกโดม เป็นอาคารหลังแรกของมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์ ภายในอาคารโดม เมื่อเดินจากบันไดกลางขึ้นไปบนชั้น 2 ห้องแรกจะเป็นห้องทำงานของบุคคลสำคัญของมหาวิทยาลัย นั่นคือ ศาสตราจารย์ ดร. ปรีดี พนมยงค์ นั่นเอง ซึ่งห้องเดียวกันนี้ในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นศูนย์บัญชาการขบวนการเสรีไทยที่มีนายปรีดี พนมยงค์ เป็นผู้นำ โดยทำงาน ร่วมกับคณะเสรีไทยสายอังกฤษและสายสหรัฐอเมริกา หอประชุมใหญ่ ถูกนำมาใช้ในการทำกิจกรรมต่าง ๆ ของทางมหาวิทยาลัย ไม่ว่าจะเป็นกิจกรรมเกี่ยวกับการไหว้ครู การพระราชทานปริญญาบัตร รวมทั้งยังใช้เป็นห้องเรียนในวิชาพื้นฐาน สำหรับวิชาที่มีนักศึกษาระดับพันคนขึ้นไป ลานปรีดี และอนสุรณ์สถานปรีดี พนมยงค์ ก่อสร้างขึ้นเพื่อรำลึกถึงนายปรีดี พนมยงค์ รัฐบุรุษ อาวุโสผู้นำขนวนการเสรีไทย และบุคคลสำคัญของมหาวิทยาลัยมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง ภายหลังการถึงแก่อสัญกรรมอย่างสงบเมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2526 ที่ประเทศฝรั่งเศส ลานโพธิ์ สัญลักษณ์ของการต่อสู้เพื่อประชาธิปไตยของธรรมศาสตร์และสังคมไทย นับตั้งแต่ เหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 ที่ขบวนการนิสิตนักศึกษาประชาชนร่วมกันต่อสู้เพื่อเรียกร้อง รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตย กำแพงวังหน้า วังหน้าเป็นที่ประทับของพระมหาอุปราช เนื่องจากในสมัยรัชกาลที่ 1 เมื่อมีการสร้างพระราชวังหลวงในปี พ.ศ. 2325 สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท กรมพระราชวังบวรสถานมงคล ได้ทรงสร้างวังหน้าขึ้นพร้อมกันทางด้านทิศเหนือของพระราชวังหลวง และอยู่ชิดกับฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา ต่อมามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้สร้างอาคารอเนกประสงค์ 2 ขึ้นใหม่ จึงมีการขุดพื้นดินต่าง ๆ และเป็นจุดเริ่มต้นของการจัดแสดงรูปร่างของกำแพงวังหน้าให้นักศึกษาและประชาชนทั่วไปได้ชื่นชมว่า กาลครั้งหนึ่ง พื้นที่บริเวณนี้เป็นสถานที่ตั้งของวังหน้า สนามฟุตบอล บริเวณที่เป็นอาคารอเนกประสงค์ในปัจจุบันนี้ ในยุคแรกของมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง เป็นที่ตั้งของอาคารเรียนและอาคารที่พักของนักเรียนโรงเรียนเตรียมมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง หรือ ต.มธก.ในระหว่างปี พ.ศ. 2481-2488 บุคคลสำคัญของมหาวิทยาลัย ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ศาสตราจารย์ป๋วย อึ๊งภากรณ์ ศาสตราจารย์สัญญา ธรรมศักดิ์ สีประจำมหาวิทยาลัย สีประจำมหาวิทยาลัย คือ สีเหลือง-แดง หลักฐานว่าสีเหลือง-แดงคือสีประจำมหาลัยนั้นไม่เด่นชัด รู้เพียงว่า นายปรีดี พนมยงค์ เป็นผู้เลือก ซึ่งอาจมาจากความต้องการเอาสีเหลือง ซึ่งเป็นสีของศาสนาเหมือนดังธรรมจักร กับสีแดง ซึ่งแสดงความเข้มข้นคือ เลือด ต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัย ต้นหางนกยูง มีความเป็นมาคือ เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2506 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ได้เสด็จพระราชดำเนินมาทรงดนตรีที่หอประชุมใหญ่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และได้ทรงปลูกต้นหางนกยูง จำนวน 5 ต้นประชุมใหญ่เพื่อให้เป็นต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัย ตามที่นักศึกษาขอพระราชทาน ซึ่งผู้ขอคือ นายวิทยา สุขดำรง ตราธรรมจักรประจำมหาวิทยาลัย ตราธรรมจักรของมหาวิทยาลัย มีความหมายว่า สถาบันแห่งนี้ยึดถือคติธรรมของพุทธศาสนาเป็นหลักกล่อมเกลาบัณฑิต กึ่งกลางธรรมจักร คือ พานรัฐธรรมนูญ หมายถึง การยึดมั่น เชิดชูรัฐธรรมนูญ เป็นหลักการที่ทางมหาวิทยาลัยยึดถือ และประพฤติปฏิบัติเสมอมา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เปิดสอนคณะอะไรบ้าง? แต่เดิมตอนเป็น มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง วิชาที่เปิดสอนมี 2 แขนงคือ หลักสูตรธรรมศาสตรบัณฑิตและวิชาการบัญชี เมื่อเกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2490 หลักสูตรการศึกษาธรรมศาสตรบัณฑิตเปลี่ยนแปลงไป กลายเป็นการจัดการเรียนการสอนแยกออกเป็น 4 คณะ คือ คณะนิติศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี ปัจจุบันมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เปิดสอนทั้งหมด 19 คณะ 7 วิทยาลัย 5 สถาบัน ได้แก่ คณะนิติศาสตร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี คณะรัฐศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์ คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะศิลปศาสตร์ คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง คณะศิลปกรรมศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ คณะสหเวชศาสตร์ คณะทันตแพทยศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ คณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ วิทยาลัย วิทยาลัยพัฒนศาสตร์ ป๋วย อึ้งภากรณ์ วิทยาลัยนวัตกรรม วิทยาลัยสหวิทยาการ วิทยาลัยโลกคดีศึกษา สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธs วิทยาลัยนานาชาติ ปรีดี พนมยงค์ วิทยาลัยแพทยศาสตร์นานาชาติจุฬาภรณ์ สถาบัน สถาบันเสริมศึกษาและทรัพยากรมนุษย์ สถาบันไทยคดีศึกษา สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา สถาบันภาษา สถาบันอาณาบริเวณศึกษา ไม่บังคับเรื่องการแต่งกาย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เป็นมหาวิทยาลัยที่ให้เสรีในเรื่องการแต่งกายเข้าเรียน เพราะไม่มีการบังคับให้นักศึกษาใส่ชุดนักศึกษาในวันที่ไปเรียนปกติ แต่ถ้ามีสอบก็หรือพิธีการต่าง ๆ ต้องใส่ชุดนักศึกษาตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด มหาลัยธรรมศาสตร์ดูแลห้างสรรพสินค้า 2 แห่งได้แก่ TU Dome จะมีศูนย์อาหาร ร้านค้าชั้นนำ ร้านค้าต่าง ๆ เช่น MK, KFC, ร้านหนังสือ, ร้านอินเตอร์เน็ต เป็นต้น อินเตอร์โซน จะมีห้องเธียร์เตอร์ ห้องอบรม ห้องสัมมนา ลานกิจกรรม และศูนย์บริการ ร้านค้าต่าง ๆ รอบอาคาร เช่น สระว่ายน้ำ, ธนาคาร, ร้านถ่ายรูป เป็นต้น มหาลัยธรรมศาสตร์มีแอปให้คำปรึกษาด้านสุขภาพจิต แอปมีชื่อว่า mildmood เป็นแอปให้คำปรึกษาและดูแลสุขภาพจิต ถ้านักศึกษาเกิดความเครียดหรือมีปัญหาต่าง ๆ สามารถทำแบบทดสอบทางจิตวิทยา เพื่อประเมินสุขภาพจิต และมีวิธีดูแลตัวเองเบื้องต้นเมื่อเกิดความเครียด โดยมีนักจิตวิทยา และจิตแพทย์ เป็นผู้เชี่ยวชาญในการช่วยพัฒนาระบบ งานฟุตบอลประจำประเพณี ในแต่ละปีจะมีการแข่งขันฟุตบอลระหว่างมหาลัยธรรมศาสตร์กับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จะสลับกับเป็นเจ้าภาพ ถ้าปีไหนใครได้เป็นเจ้าภาพก็ขึ้นชื่อด้วยมหาวิทยาลัยนั้น เช่น ปีนี้มหาลัยธรรมศาสตร์เป็นเจ้าภาพก็จะใช้ชื่อว่า “งานฟุตบอลประจำปีธรรมศาสตร์-จุฬาฯ” เว็บไซต์ : https://tu.ac.th/ Facebook : thammasat.uni EZ Webmaster Related Posts โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณ์ราชวิทยาลัย เชียงราย โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนช่องฟ้าซินเซิงวาณิชบำรุง โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนพานพิทยาคม โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนแม่ริมวิทยาคม Post navigation PREVIOUS Previous post: “สวนสุนันทา” ประกาศลดค่าเทอมป.ตรีทุกชั้นปี 20% พร้อมคืนค่าแท็บเล็ตนักศึกษาปี1NEXT Next post: เจาะลึกเรื่องน่ารู้ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1…
ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1…
สมศ. พลิกโฉมการประเมินคุณภาพภายนอกด้วย AI ภายใต้ “ONESQA 5.0” เสริมความโปร่งใส แม่นยำ และพัฒนาอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 17, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยวิสัยทัศน์ และแนวทางการขับเคลื่อนองค์กรด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence – AI) ภายใต้ วิสัยทัศน์ ONESQA 5.0 โดยมุ่งเน้นการนำ AI เข้ามาใช้เพื่อเสริมประสิทธิภาพ ความโปร่งใส และความแม่นยำ ในกระบวนการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา พร้อมยกระดับสู่ความเป็นดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบบ ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ… คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster July 19, 2021 EZ Webmaster July 19, 2021 เจาะลึกเรื่องน่ารู้ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มีชื่ออังกฤษว่า Thammasat University; อักษรย่อคือ มธ. – TU เป็นมหาวิทยาลัยแห่งที่สองของประเทศไทย ก่อตั้งในชื่อ “มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง” (มธก.) จากแนวคิดของศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ที่ต้องการจัดตั้งมหาวิทยาลัยที่เน้นการเรียนการสอนเรื่องประชาธิปไตย และจากการรัฐประหารเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2490 ทำให้มหาวิทยาลัยได้รับผลกระทบอย่างมาก ผู้ประศาสน์การ ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ต้องลี้ภัยการเมืองไปอยู่ต่างประเทศ ชื่อมหาวิทยาลัยถูกตัดคำว่า “การเมือง” ออก เปลี่ยนเป็น “มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์” มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ตั้งอยู่ที่ไหน? มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มี 4 วิทยาเขตได้แก่ ท่าพระจันทร์ ศูนย์รังสิต ศูนย์พัทยา ศูนย์ลำปาง สถานที่สำคัญมหาวิทยาลัย ตึกโดม เป็นอาคารหลังแรกของมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์ ภายในอาคารโดม เมื่อเดินจากบันไดกลางขึ้นไปบนชั้น 2 ห้องแรกจะเป็นห้องทำงานของบุคคลสำคัญของมหาวิทยาลัย นั่นคือ ศาสตราจารย์ ดร. ปรีดี พนมยงค์ นั่นเอง ซึ่งห้องเดียวกันนี้ในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นศูนย์บัญชาการขบวนการเสรีไทยที่มีนายปรีดี พนมยงค์ เป็นผู้นำ โดยทำงาน ร่วมกับคณะเสรีไทยสายอังกฤษและสายสหรัฐอเมริกา หอประชุมใหญ่ ถูกนำมาใช้ในการทำกิจกรรมต่าง ๆ ของทางมหาวิทยาลัย ไม่ว่าจะเป็นกิจกรรมเกี่ยวกับการไหว้ครู การพระราชทานปริญญาบัตร รวมทั้งยังใช้เป็นห้องเรียนในวิชาพื้นฐาน สำหรับวิชาที่มีนักศึกษาระดับพันคนขึ้นไป ลานปรีดี และอนสุรณ์สถานปรีดี พนมยงค์ ก่อสร้างขึ้นเพื่อรำลึกถึงนายปรีดี พนมยงค์ รัฐบุรุษ อาวุโสผู้นำขนวนการเสรีไทย และบุคคลสำคัญของมหาวิทยาลัยมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง ภายหลังการถึงแก่อสัญกรรมอย่างสงบเมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2526 ที่ประเทศฝรั่งเศส ลานโพธิ์ สัญลักษณ์ของการต่อสู้เพื่อประชาธิปไตยของธรรมศาสตร์และสังคมไทย นับตั้งแต่ เหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 ที่ขบวนการนิสิตนักศึกษาประชาชนร่วมกันต่อสู้เพื่อเรียกร้อง รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตย กำแพงวังหน้า วังหน้าเป็นที่ประทับของพระมหาอุปราช เนื่องจากในสมัยรัชกาลที่ 1 เมื่อมีการสร้างพระราชวังหลวงในปี พ.ศ. 2325 สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท กรมพระราชวังบวรสถานมงคล ได้ทรงสร้างวังหน้าขึ้นพร้อมกันทางด้านทิศเหนือของพระราชวังหลวง และอยู่ชิดกับฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา ต่อมามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้สร้างอาคารอเนกประสงค์ 2 ขึ้นใหม่ จึงมีการขุดพื้นดินต่าง ๆ และเป็นจุดเริ่มต้นของการจัดแสดงรูปร่างของกำแพงวังหน้าให้นักศึกษาและประชาชนทั่วไปได้ชื่นชมว่า กาลครั้งหนึ่ง พื้นที่บริเวณนี้เป็นสถานที่ตั้งของวังหน้า สนามฟุตบอล บริเวณที่เป็นอาคารอเนกประสงค์ในปัจจุบันนี้ ในยุคแรกของมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง เป็นที่ตั้งของอาคารเรียนและอาคารที่พักของนักเรียนโรงเรียนเตรียมมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง หรือ ต.มธก.ในระหว่างปี พ.ศ. 2481-2488 บุคคลสำคัญของมหาวิทยาลัย ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ศาสตราจารย์ป๋วย อึ๊งภากรณ์ ศาสตราจารย์สัญญา ธรรมศักดิ์ สีประจำมหาวิทยาลัย สีประจำมหาวิทยาลัย คือ สีเหลือง-แดง หลักฐานว่าสีเหลือง-แดงคือสีประจำมหาลัยนั้นไม่เด่นชัด รู้เพียงว่า นายปรีดี พนมยงค์ เป็นผู้เลือก ซึ่งอาจมาจากความต้องการเอาสีเหลือง ซึ่งเป็นสีของศาสนาเหมือนดังธรรมจักร กับสีแดง ซึ่งแสดงความเข้มข้นคือ เลือด ต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัย ต้นหางนกยูง มีความเป็นมาคือ เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2506 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ได้เสด็จพระราชดำเนินมาทรงดนตรีที่หอประชุมใหญ่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และได้ทรงปลูกต้นหางนกยูง จำนวน 5 ต้นประชุมใหญ่เพื่อให้เป็นต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัย ตามที่นักศึกษาขอพระราชทาน ซึ่งผู้ขอคือ นายวิทยา สุขดำรง ตราธรรมจักรประจำมหาวิทยาลัย ตราธรรมจักรของมหาวิทยาลัย มีความหมายว่า สถาบันแห่งนี้ยึดถือคติธรรมของพุทธศาสนาเป็นหลักกล่อมเกลาบัณฑิต กึ่งกลางธรรมจักร คือ พานรัฐธรรมนูญ หมายถึง การยึดมั่น เชิดชูรัฐธรรมนูญ เป็นหลักการที่ทางมหาวิทยาลัยยึดถือ และประพฤติปฏิบัติเสมอมา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เปิดสอนคณะอะไรบ้าง? แต่เดิมตอนเป็น มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง วิชาที่เปิดสอนมี 2 แขนงคือ หลักสูตรธรรมศาสตรบัณฑิตและวิชาการบัญชี เมื่อเกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2490 หลักสูตรการศึกษาธรรมศาสตรบัณฑิตเปลี่ยนแปลงไป กลายเป็นการจัดการเรียนการสอนแยกออกเป็น 4 คณะ คือ คณะนิติศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี ปัจจุบันมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เปิดสอนทั้งหมด 19 คณะ 7 วิทยาลัย 5 สถาบัน ได้แก่ คณะนิติศาสตร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี คณะรัฐศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์ คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะศิลปศาสตร์ คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง คณะศิลปกรรมศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ คณะสหเวชศาสตร์ คณะทันตแพทยศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ คณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ วิทยาลัย วิทยาลัยพัฒนศาสตร์ ป๋วย อึ้งภากรณ์ วิทยาลัยนวัตกรรม วิทยาลัยสหวิทยาการ วิทยาลัยโลกคดีศึกษา สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธs วิทยาลัยนานาชาติ ปรีดี พนมยงค์ วิทยาลัยแพทยศาสตร์นานาชาติจุฬาภรณ์ สถาบัน สถาบันเสริมศึกษาและทรัพยากรมนุษย์ สถาบันไทยคดีศึกษา สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา สถาบันภาษา สถาบันอาณาบริเวณศึกษา ไม่บังคับเรื่องการแต่งกาย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เป็นมหาวิทยาลัยที่ให้เสรีในเรื่องการแต่งกายเข้าเรียน เพราะไม่มีการบังคับให้นักศึกษาใส่ชุดนักศึกษาในวันที่ไปเรียนปกติ แต่ถ้ามีสอบก็หรือพิธีการต่าง ๆ ต้องใส่ชุดนักศึกษาตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด มหาลัยธรรมศาสตร์ดูแลห้างสรรพสินค้า 2 แห่งได้แก่ TU Dome จะมีศูนย์อาหาร ร้านค้าชั้นนำ ร้านค้าต่าง ๆ เช่น MK, KFC, ร้านหนังสือ, ร้านอินเตอร์เน็ต เป็นต้น อินเตอร์โซน จะมีห้องเธียร์เตอร์ ห้องอบรม ห้องสัมมนา ลานกิจกรรม และศูนย์บริการ ร้านค้าต่าง ๆ รอบอาคาร เช่น สระว่ายน้ำ, ธนาคาร, ร้านถ่ายรูป เป็นต้น มหาลัยธรรมศาสตร์มีแอปให้คำปรึกษาด้านสุขภาพจิต แอปมีชื่อว่า mildmood เป็นแอปให้คำปรึกษาและดูแลสุขภาพจิต ถ้านักศึกษาเกิดความเครียดหรือมีปัญหาต่าง ๆ สามารถทำแบบทดสอบทางจิตวิทยา เพื่อประเมินสุขภาพจิต และมีวิธีดูแลตัวเองเบื้องต้นเมื่อเกิดความเครียด โดยมีนักจิตวิทยา และจิตแพทย์ เป็นผู้เชี่ยวชาญในการช่วยพัฒนาระบบ งานฟุตบอลประจำประเพณี ในแต่ละปีจะมีการแข่งขันฟุตบอลระหว่างมหาลัยธรรมศาสตร์กับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จะสลับกับเป็นเจ้าภาพ ถ้าปีไหนใครได้เป็นเจ้าภาพก็ขึ้นชื่อด้วยมหาวิทยาลัยนั้น เช่น ปีนี้มหาลัยธรรมศาสตร์เป็นเจ้าภาพก็จะใช้ชื่อว่า “งานฟุตบอลประจำปีธรรมศาสตร์-จุฬาฯ” เว็บไซต์ : https://tu.ac.th/ Facebook : thammasat.uni EZ Webmaster Related Posts โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณ์ราชวิทยาลัย เชียงราย โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนช่องฟ้าซินเซิงวาณิชบำรุง โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนพานพิทยาคม โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนแม่ริมวิทยาคม Post navigation PREVIOUS Previous post: “สวนสุนันทา” ประกาศลดค่าเทอมป.ตรีทุกชั้นปี 20% พร้อมคืนค่าแท็บเล็ตนักศึกษาปี1NEXT Next post: เจาะลึกเรื่องน่ารู้ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster July 19, 2021 EZ Webmaster July 19, 2021 เจาะลึกเรื่องน่ารู้ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มีชื่ออังกฤษว่า Thammasat University; อักษรย่อคือ มธ. – TU เป็นมหาวิทยาลัยแห่งที่สองของประเทศไทย ก่อตั้งในชื่อ “มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง” (มธก.) จากแนวคิดของศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ที่ต้องการจัดตั้งมหาวิทยาลัยที่เน้นการเรียนการสอนเรื่องประชาธิปไตย และจากการรัฐประหารเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2490 ทำให้มหาวิทยาลัยได้รับผลกระทบอย่างมาก ผู้ประศาสน์การ ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ต้องลี้ภัยการเมืองไปอยู่ต่างประเทศ ชื่อมหาวิทยาลัยถูกตัดคำว่า “การเมือง” ออก เปลี่ยนเป็น “มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์” มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ตั้งอยู่ที่ไหน? มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มี 4 วิทยาเขตได้แก่ ท่าพระจันทร์ ศูนย์รังสิต ศูนย์พัทยา ศูนย์ลำปาง สถานที่สำคัญมหาวิทยาลัย ตึกโดม เป็นอาคารหลังแรกของมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์ ภายในอาคารโดม เมื่อเดินจากบันไดกลางขึ้นไปบนชั้น 2 ห้องแรกจะเป็นห้องทำงานของบุคคลสำคัญของมหาวิทยาลัย นั่นคือ ศาสตราจารย์ ดร. ปรีดี พนมยงค์ นั่นเอง ซึ่งห้องเดียวกันนี้ในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นศูนย์บัญชาการขบวนการเสรีไทยที่มีนายปรีดี พนมยงค์ เป็นผู้นำ โดยทำงาน ร่วมกับคณะเสรีไทยสายอังกฤษและสายสหรัฐอเมริกา หอประชุมใหญ่ ถูกนำมาใช้ในการทำกิจกรรมต่าง ๆ ของทางมหาวิทยาลัย ไม่ว่าจะเป็นกิจกรรมเกี่ยวกับการไหว้ครู การพระราชทานปริญญาบัตร รวมทั้งยังใช้เป็นห้องเรียนในวิชาพื้นฐาน สำหรับวิชาที่มีนักศึกษาระดับพันคนขึ้นไป ลานปรีดี และอนสุรณ์สถานปรีดี พนมยงค์ ก่อสร้างขึ้นเพื่อรำลึกถึงนายปรีดี พนมยงค์ รัฐบุรุษ อาวุโสผู้นำขนวนการเสรีไทย และบุคคลสำคัญของมหาวิทยาลัยมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง ภายหลังการถึงแก่อสัญกรรมอย่างสงบเมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2526 ที่ประเทศฝรั่งเศส ลานโพธิ์ สัญลักษณ์ของการต่อสู้เพื่อประชาธิปไตยของธรรมศาสตร์และสังคมไทย นับตั้งแต่ เหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 ที่ขบวนการนิสิตนักศึกษาประชาชนร่วมกันต่อสู้เพื่อเรียกร้อง รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตย กำแพงวังหน้า วังหน้าเป็นที่ประทับของพระมหาอุปราช เนื่องจากในสมัยรัชกาลที่ 1 เมื่อมีการสร้างพระราชวังหลวงในปี พ.ศ. 2325 สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท กรมพระราชวังบวรสถานมงคล ได้ทรงสร้างวังหน้าขึ้นพร้อมกันทางด้านทิศเหนือของพระราชวังหลวง และอยู่ชิดกับฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา ต่อมามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้สร้างอาคารอเนกประสงค์ 2 ขึ้นใหม่ จึงมีการขุดพื้นดินต่าง ๆ และเป็นจุดเริ่มต้นของการจัดแสดงรูปร่างของกำแพงวังหน้าให้นักศึกษาและประชาชนทั่วไปได้ชื่นชมว่า กาลครั้งหนึ่ง พื้นที่บริเวณนี้เป็นสถานที่ตั้งของวังหน้า สนามฟุตบอล บริเวณที่เป็นอาคารอเนกประสงค์ในปัจจุบันนี้ ในยุคแรกของมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง เป็นที่ตั้งของอาคารเรียนและอาคารที่พักของนักเรียนโรงเรียนเตรียมมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง หรือ ต.มธก.ในระหว่างปี พ.ศ. 2481-2488 บุคคลสำคัญของมหาวิทยาลัย ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ศาสตราจารย์ป๋วย อึ๊งภากรณ์ ศาสตราจารย์สัญญา ธรรมศักดิ์ สีประจำมหาวิทยาลัย สีประจำมหาวิทยาลัย คือ สีเหลือง-แดง หลักฐานว่าสีเหลือง-แดงคือสีประจำมหาลัยนั้นไม่เด่นชัด รู้เพียงว่า นายปรีดี พนมยงค์ เป็นผู้เลือก ซึ่งอาจมาจากความต้องการเอาสีเหลือง ซึ่งเป็นสีของศาสนาเหมือนดังธรรมจักร กับสีแดง ซึ่งแสดงความเข้มข้นคือ เลือด ต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัย ต้นหางนกยูง มีความเป็นมาคือ เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2506 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ได้เสด็จพระราชดำเนินมาทรงดนตรีที่หอประชุมใหญ่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และได้ทรงปลูกต้นหางนกยูง จำนวน 5 ต้นประชุมใหญ่เพื่อให้เป็นต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัย ตามที่นักศึกษาขอพระราชทาน ซึ่งผู้ขอคือ นายวิทยา สุขดำรง ตราธรรมจักรประจำมหาวิทยาลัย ตราธรรมจักรของมหาวิทยาลัย มีความหมายว่า สถาบันแห่งนี้ยึดถือคติธรรมของพุทธศาสนาเป็นหลักกล่อมเกลาบัณฑิต กึ่งกลางธรรมจักร คือ พานรัฐธรรมนูญ หมายถึง การยึดมั่น เชิดชูรัฐธรรมนูญ เป็นหลักการที่ทางมหาวิทยาลัยยึดถือ และประพฤติปฏิบัติเสมอมา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เปิดสอนคณะอะไรบ้าง? แต่เดิมตอนเป็น มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง วิชาที่เปิดสอนมี 2 แขนงคือ หลักสูตรธรรมศาสตรบัณฑิตและวิชาการบัญชี เมื่อเกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2490 หลักสูตรการศึกษาธรรมศาสตรบัณฑิตเปลี่ยนแปลงไป กลายเป็นการจัดการเรียนการสอนแยกออกเป็น 4 คณะ คือ คณะนิติศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี ปัจจุบันมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เปิดสอนทั้งหมด 19 คณะ 7 วิทยาลัย 5 สถาบัน ได้แก่ คณะนิติศาสตร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี คณะรัฐศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์ คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะศิลปศาสตร์ คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง คณะศิลปกรรมศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ คณะสหเวชศาสตร์ คณะทันตแพทยศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ คณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ วิทยาลัย วิทยาลัยพัฒนศาสตร์ ป๋วย อึ้งภากรณ์ วิทยาลัยนวัตกรรม วิทยาลัยสหวิทยาการ วิทยาลัยโลกคดีศึกษา สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธs วิทยาลัยนานาชาติ ปรีดี พนมยงค์ วิทยาลัยแพทยศาสตร์นานาชาติจุฬาภรณ์ สถาบัน สถาบันเสริมศึกษาและทรัพยากรมนุษย์ สถาบันไทยคดีศึกษา สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา สถาบันภาษา สถาบันอาณาบริเวณศึกษา ไม่บังคับเรื่องการแต่งกาย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เป็นมหาวิทยาลัยที่ให้เสรีในเรื่องการแต่งกายเข้าเรียน เพราะไม่มีการบังคับให้นักศึกษาใส่ชุดนักศึกษาในวันที่ไปเรียนปกติ แต่ถ้ามีสอบก็หรือพิธีการต่าง ๆ ต้องใส่ชุดนักศึกษาตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด มหาลัยธรรมศาสตร์ดูแลห้างสรรพสินค้า 2 แห่งได้แก่ TU Dome จะมีศูนย์อาหาร ร้านค้าชั้นนำ ร้านค้าต่าง ๆ เช่น MK, KFC, ร้านหนังสือ, ร้านอินเตอร์เน็ต เป็นต้น อินเตอร์โซน จะมีห้องเธียร์เตอร์ ห้องอบรม ห้องสัมมนา ลานกิจกรรม และศูนย์บริการ ร้านค้าต่าง ๆ รอบอาคาร เช่น สระว่ายน้ำ, ธนาคาร, ร้านถ่ายรูป เป็นต้น มหาลัยธรรมศาสตร์มีแอปให้คำปรึกษาด้านสุขภาพจิต แอปมีชื่อว่า mildmood เป็นแอปให้คำปรึกษาและดูแลสุขภาพจิต ถ้านักศึกษาเกิดความเครียดหรือมีปัญหาต่าง ๆ สามารถทำแบบทดสอบทางจิตวิทยา เพื่อประเมินสุขภาพจิต และมีวิธีดูแลตัวเองเบื้องต้นเมื่อเกิดความเครียด โดยมีนักจิตวิทยา และจิตแพทย์ เป็นผู้เชี่ยวชาญในการช่วยพัฒนาระบบ งานฟุตบอลประจำประเพณี ในแต่ละปีจะมีการแข่งขันฟุตบอลระหว่างมหาลัยธรรมศาสตร์กับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จะสลับกับเป็นเจ้าภาพ ถ้าปีไหนใครได้เป็นเจ้าภาพก็ขึ้นชื่อด้วยมหาวิทยาลัยนั้น เช่น ปีนี้มหาลัยธรรมศาสตร์เป็นเจ้าภาพก็จะใช้ชื่อว่า “งานฟุตบอลประจำปีธรรมศาสตร์-จุฬาฯ” เว็บไซต์ : https://tu.ac.th/ Facebook : thammasat.uni EZ Webmaster Related Posts โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณ์ราชวิทยาลัย เชียงราย โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนช่องฟ้าซินเซิงวาณิชบำรุง โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนพานพิทยาคม โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนแม่ริมวิทยาคม Post navigation PREVIOUS Previous post: “สวนสุนันทา” ประกาศลดค่าเทอมป.ตรีทุกชั้นปี 20% พร้อมคืนค่าแท็บเล็ตนักศึกษาปี1NEXT Next post: เจาะลึกเรื่องน่ารู้ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้…
สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้…
“40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster July 19, 2021 EZ Webmaster July 19, 2021 เจาะลึกเรื่องน่ารู้ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มีชื่ออังกฤษว่า Thammasat University; อักษรย่อคือ มธ. – TU เป็นมหาวิทยาลัยแห่งที่สองของประเทศไทย ก่อตั้งในชื่อ “มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง” (มธก.) จากแนวคิดของศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ที่ต้องการจัดตั้งมหาวิทยาลัยที่เน้นการเรียนการสอนเรื่องประชาธิปไตย และจากการรัฐประหารเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2490 ทำให้มหาวิทยาลัยได้รับผลกระทบอย่างมาก ผู้ประศาสน์การ ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ต้องลี้ภัยการเมืองไปอยู่ต่างประเทศ ชื่อมหาวิทยาลัยถูกตัดคำว่า “การเมือง” ออก เปลี่ยนเป็น “มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์” มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ตั้งอยู่ที่ไหน? มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มี 4 วิทยาเขตได้แก่ ท่าพระจันทร์ ศูนย์รังสิต ศูนย์พัทยา ศูนย์ลำปาง สถานที่สำคัญมหาวิทยาลัย ตึกโดม เป็นอาคารหลังแรกของมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์ ภายในอาคารโดม เมื่อเดินจากบันไดกลางขึ้นไปบนชั้น 2 ห้องแรกจะเป็นห้องทำงานของบุคคลสำคัญของมหาวิทยาลัย นั่นคือ ศาสตราจารย์ ดร. ปรีดี พนมยงค์ นั่นเอง ซึ่งห้องเดียวกันนี้ในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นศูนย์บัญชาการขบวนการเสรีไทยที่มีนายปรีดี พนมยงค์ เป็นผู้นำ โดยทำงาน ร่วมกับคณะเสรีไทยสายอังกฤษและสายสหรัฐอเมริกา หอประชุมใหญ่ ถูกนำมาใช้ในการทำกิจกรรมต่าง ๆ ของทางมหาวิทยาลัย ไม่ว่าจะเป็นกิจกรรมเกี่ยวกับการไหว้ครู การพระราชทานปริญญาบัตร รวมทั้งยังใช้เป็นห้องเรียนในวิชาพื้นฐาน สำหรับวิชาที่มีนักศึกษาระดับพันคนขึ้นไป ลานปรีดี และอนสุรณ์สถานปรีดี พนมยงค์ ก่อสร้างขึ้นเพื่อรำลึกถึงนายปรีดี พนมยงค์ รัฐบุรุษ อาวุโสผู้นำขนวนการเสรีไทย และบุคคลสำคัญของมหาวิทยาลัยมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง ภายหลังการถึงแก่อสัญกรรมอย่างสงบเมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2526 ที่ประเทศฝรั่งเศส ลานโพธิ์ สัญลักษณ์ของการต่อสู้เพื่อประชาธิปไตยของธรรมศาสตร์และสังคมไทย นับตั้งแต่ เหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 ที่ขบวนการนิสิตนักศึกษาประชาชนร่วมกันต่อสู้เพื่อเรียกร้อง รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตย กำแพงวังหน้า วังหน้าเป็นที่ประทับของพระมหาอุปราช เนื่องจากในสมัยรัชกาลที่ 1 เมื่อมีการสร้างพระราชวังหลวงในปี พ.ศ. 2325 สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท กรมพระราชวังบวรสถานมงคล ได้ทรงสร้างวังหน้าขึ้นพร้อมกันทางด้านทิศเหนือของพระราชวังหลวง และอยู่ชิดกับฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา ต่อมามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้สร้างอาคารอเนกประสงค์ 2 ขึ้นใหม่ จึงมีการขุดพื้นดินต่าง ๆ และเป็นจุดเริ่มต้นของการจัดแสดงรูปร่างของกำแพงวังหน้าให้นักศึกษาและประชาชนทั่วไปได้ชื่นชมว่า กาลครั้งหนึ่ง พื้นที่บริเวณนี้เป็นสถานที่ตั้งของวังหน้า สนามฟุตบอล บริเวณที่เป็นอาคารอเนกประสงค์ในปัจจุบันนี้ ในยุคแรกของมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง เป็นที่ตั้งของอาคารเรียนและอาคารที่พักของนักเรียนโรงเรียนเตรียมมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง หรือ ต.มธก.ในระหว่างปี พ.ศ. 2481-2488 บุคคลสำคัญของมหาวิทยาลัย ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ศาสตราจารย์ป๋วย อึ๊งภากรณ์ ศาสตราจารย์สัญญา ธรรมศักดิ์ สีประจำมหาวิทยาลัย สีประจำมหาวิทยาลัย คือ สีเหลือง-แดง หลักฐานว่าสีเหลือง-แดงคือสีประจำมหาลัยนั้นไม่เด่นชัด รู้เพียงว่า นายปรีดี พนมยงค์ เป็นผู้เลือก ซึ่งอาจมาจากความต้องการเอาสีเหลือง ซึ่งเป็นสีของศาสนาเหมือนดังธรรมจักร กับสีแดง ซึ่งแสดงความเข้มข้นคือ เลือด ต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัย ต้นหางนกยูง มีความเป็นมาคือ เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2506 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ได้เสด็จพระราชดำเนินมาทรงดนตรีที่หอประชุมใหญ่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และได้ทรงปลูกต้นหางนกยูง จำนวน 5 ต้นประชุมใหญ่เพื่อให้เป็นต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัย ตามที่นักศึกษาขอพระราชทาน ซึ่งผู้ขอคือ นายวิทยา สุขดำรง ตราธรรมจักรประจำมหาวิทยาลัย ตราธรรมจักรของมหาวิทยาลัย มีความหมายว่า สถาบันแห่งนี้ยึดถือคติธรรมของพุทธศาสนาเป็นหลักกล่อมเกลาบัณฑิต กึ่งกลางธรรมจักร คือ พานรัฐธรรมนูญ หมายถึง การยึดมั่น เชิดชูรัฐธรรมนูญ เป็นหลักการที่ทางมหาวิทยาลัยยึดถือ และประพฤติปฏิบัติเสมอมา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เปิดสอนคณะอะไรบ้าง? แต่เดิมตอนเป็น มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง วิชาที่เปิดสอนมี 2 แขนงคือ หลักสูตรธรรมศาสตรบัณฑิตและวิชาการบัญชี เมื่อเกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2490 หลักสูตรการศึกษาธรรมศาสตรบัณฑิตเปลี่ยนแปลงไป กลายเป็นการจัดการเรียนการสอนแยกออกเป็น 4 คณะ คือ คณะนิติศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี ปัจจุบันมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เปิดสอนทั้งหมด 19 คณะ 7 วิทยาลัย 5 สถาบัน ได้แก่ คณะนิติศาสตร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี คณะรัฐศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์ คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะศิลปศาสตร์ คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง คณะศิลปกรรมศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ คณะสหเวชศาสตร์ คณะทันตแพทยศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ คณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ วิทยาลัย วิทยาลัยพัฒนศาสตร์ ป๋วย อึ้งภากรณ์ วิทยาลัยนวัตกรรม วิทยาลัยสหวิทยาการ วิทยาลัยโลกคดีศึกษา สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธs วิทยาลัยนานาชาติ ปรีดี พนมยงค์ วิทยาลัยแพทยศาสตร์นานาชาติจุฬาภรณ์ สถาบัน สถาบันเสริมศึกษาและทรัพยากรมนุษย์ สถาบันไทยคดีศึกษา สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา สถาบันภาษา สถาบันอาณาบริเวณศึกษา ไม่บังคับเรื่องการแต่งกาย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เป็นมหาวิทยาลัยที่ให้เสรีในเรื่องการแต่งกายเข้าเรียน เพราะไม่มีการบังคับให้นักศึกษาใส่ชุดนักศึกษาในวันที่ไปเรียนปกติ แต่ถ้ามีสอบก็หรือพิธีการต่าง ๆ ต้องใส่ชุดนักศึกษาตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด มหาลัยธรรมศาสตร์ดูแลห้างสรรพสินค้า 2 แห่งได้แก่ TU Dome จะมีศูนย์อาหาร ร้านค้าชั้นนำ ร้านค้าต่าง ๆ เช่น MK, KFC, ร้านหนังสือ, ร้านอินเตอร์เน็ต เป็นต้น อินเตอร์โซน จะมีห้องเธียร์เตอร์ ห้องอบรม ห้องสัมมนา ลานกิจกรรม และศูนย์บริการ ร้านค้าต่าง ๆ รอบอาคาร เช่น สระว่ายน้ำ, ธนาคาร, ร้านถ่ายรูป เป็นต้น มหาลัยธรรมศาสตร์มีแอปให้คำปรึกษาด้านสุขภาพจิต แอปมีชื่อว่า mildmood เป็นแอปให้คำปรึกษาและดูแลสุขภาพจิต ถ้านักศึกษาเกิดความเครียดหรือมีปัญหาต่าง ๆ สามารถทำแบบทดสอบทางจิตวิทยา เพื่อประเมินสุขภาพจิต และมีวิธีดูแลตัวเองเบื้องต้นเมื่อเกิดความเครียด โดยมีนักจิตวิทยา และจิตแพทย์ เป็นผู้เชี่ยวชาญในการช่วยพัฒนาระบบ งานฟุตบอลประจำประเพณี ในแต่ละปีจะมีการแข่งขันฟุตบอลระหว่างมหาลัยธรรมศาสตร์กับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จะสลับกับเป็นเจ้าภาพ ถ้าปีไหนใครได้เป็นเจ้าภาพก็ขึ้นชื่อด้วยมหาวิทยาลัยนั้น เช่น ปีนี้มหาลัยธรรมศาสตร์เป็นเจ้าภาพก็จะใช้ชื่อว่า “งานฟุตบอลประจำปีธรรมศาสตร์-จุฬาฯ” เว็บไซต์ : https://tu.ac.th/ Facebook : thammasat.uni EZ Webmaster Related Posts โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณ์ราชวิทยาลัย เชียงราย โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนช่องฟ้าซินเซิงวาณิชบำรุง โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนพานพิทยาคม โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนแม่ริมวิทยาคม Post navigation PREVIOUS Previous post: “สวนสุนันทา” ประกาศลดค่าเทอมป.ตรีทุกชั้นปี 20% พร้อมคืนค่าแท็บเล็ตนักศึกษาปี1NEXT Next post: เจาะลึกเรื่องน่ารู้ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search
ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน…
สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน…
EZ Webmaster July 19, 2021 EZ Webmaster July 19, 2021 เจาะลึกเรื่องน่ารู้ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มีชื่ออังกฤษว่า Thammasat University; อักษรย่อคือ มธ. – TU เป็นมหาวิทยาลัยแห่งที่สองของประเทศไทย ก่อตั้งในชื่อ “มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง” (มธก.) จากแนวคิดของศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ที่ต้องการจัดตั้งมหาวิทยาลัยที่เน้นการเรียนการสอนเรื่องประชาธิปไตย และจากการรัฐประหารเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2490 ทำให้มหาวิทยาลัยได้รับผลกระทบอย่างมาก ผู้ประศาสน์การ ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ต้องลี้ภัยการเมืองไปอยู่ต่างประเทศ ชื่อมหาวิทยาลัยถูกตัดคำว่า “การเมือง” ออก เปลี่ยนเป็น “มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์” มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ตั้งอยู่ที่ไหน? มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มี 4 วิทยาเขตได้แก่ ท่าพระจันทร์ ศูนย์รังสิต ศูนย์พัทยา ศูนย์ลำปาง สถานที่สำคัญมหาวิทยาลัย ตึกโดม เป็นอาคารหลังแรกของมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์ ภายในอาคารโดม เมื่อเดินจากบันไดกลางขึ้นไปบนชั้น 2 ห้องแรกจะเป็นห้องทำงานของบุคคลสำคัญของมหาวิทยาลัย นั่นคือ ศาสตราจารย์ ดร. ปรีดี พนมยงค์ นั่นเอง ซึ่งห้องเดียวกันนี้ในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นศูนย์บัญชาการขบวนการเสรีไทยที่มีนายปรีดี พนมยงค์ เป็นผู้นำ โดยทำงาน ร่วมกับคณะเสรีไทยสายอังกฤษและสายสหรัฐอเมริกา หอประชุมใหญ่ ถูกนำมาใช้ในการทำกิจกรรมต่าง ๆ ของทางมหาวิทยาลัย ไม่ว่าจะเป็นกิจกรรมเกี่ยวกับการไหว้ครู การพระราชทานปริญญาบัตร รวมทั้งยังใช้เป็นห้องเรียนในวิชาพื้นฐาน สำหรับวิชาที่มีนักศึกษาระดับพันคนขึ้นไป ลานปรีดี และอนสุรณ์สถานปรีดี พนมยงค์ ก่อสร้างขึ้นเพื่อรำลึกถึงนายปรีดี พนมยงค์ รัฐบุรุษ อาวุโสผู้นำขนวนการเสรีไทย และบุคคลสำคัญของมหาวิทยาลัยมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง ภายหลังการถึงแก่อสัญกรรมอย่างสงบเมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2526 ที่ประเทศฝรั่งเศส ลานโพธิ์ สัญลักษณ์ของการต่อสู้เพื่อประชาธิปไตยของธรรมศาสตร์และสังคมไทย นับตั้งแต่ เหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 ที่ขบวนการนิสิตนักศึกษาประชาชนร่วมกันต่อสู้เพื่อเรียกร้อง รัฐธรรมนูญและประชาธิปไตย กำแพงวังหน้า วังหน้าเป็นที่ประทับของพระมหาอุปราช เนื่องจากในสมัยรัชกาลที่ 1 เมื่อมีการสร้างพระราชวังหลวงในปี พ.ศ. 2325 สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท กรมพระราชวังบวรสถานมงคล ได้ทรงสร้างวังหน้าขึ้นพร้อมกันทางด้านทิศเหนือของพระราชวังหลวง และอยู่ชิดกับฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา ต่อมามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้สร้างอาคารอเนกประสงค์ 2 ขึ้นใหม่ จึงมีการขุดพื้นดินต่าง ๆ และเป็นจุดเริ่มต้นของการจัดแสดงรูปร่างของกำแพงวังหน้าให้นักศึกษาและประชาชนทั่วไปได้ชื่นชมว่า กาลครั้งหนึ่ง พื้นที่บริเวณนี้เป็นสถานที่ตั้งของวังหน้า สนามฟุตบอล บริเวณที่เป็นอาคารอเนกประสงค์ในปัจจุบันนี้ ในยุคแรกของมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง เป็นที่ตั้งของอาคารเรียนและอาคารที่พักของนักเรียนโรงเรียนเตรียมมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง หรือ ต.มธก.ในระหว่างปี พ.ศ. 2481-2488 บุคคลสำคัญของมหาวิทยาลัย ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ศาสตราจารย์ป๋วย อึ๊งภากรณ์ ศาสตราจารย์สัญญา ธรรมศักดิ์ สีประจำมหาวิทยาลัย สีประจำมหาวิทยาลัย คือ สีเหลือง-แดง หลักฐานว่าสีเหลือง-แดงคือสีประจำมหาลัยนั้นไม่เด่นชัด รู้เพียงว่า นายปรีดี พนมยงค์ เป็นผู้เลือก ซึ่งอาจมาจากความต้องการเอาสีเหลือง ซึ่งเป็นสีของศาสนาเหมือนดังธรรมจักร กับสีแดง ซึ่งแสดงความเข้มข้นคือ เลือด ต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัย ต้นหางนกยูง มีความเป็นมาคือ เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2506 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ได้เสด็จพระราชดำเนินมาทรงดนตรีที่หอประชุมใหญ่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และได้ทรงปลูกต้นหางนกยูง จำนวน 5 ต้นประชุมใหญ่เพื่อให้เป็นต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัย ตามที่นักศึกษาขอพระราชทาน ซึ่งผู้ขอคือ นายวิทยา สุขดำรง ตราธรรมจักรประจำมหาวิทยาลัย ตราธรรมจักรของมหาวิทยาลัย มีความหมายว่า สถาบันแห่งนี้ยึดถือคติธรรมของพุทธศาสนาเป็นหลักกล่อมเกลาบัณฑิต กึ่งกลางธรรมจักร คือ พานรัฐธรรมนูญ หมายถึง การยึดมั่น เชิดชูรัฐธรรมนูญ เป็นหลักการที่ทางมหาวิทยาลัยยึดถือ และประพฤติปฏิบัติเสมอมา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เปิดสอนคณะอะไรบ้าง? แต่เดิมตอนเป็น มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง วิชาที่เปิดสอนมี 2 แขนงคือ หลักสูตรธรรมศาสตรบัณฑิตและวิชาการบัญชี เมื่อเกิดรัฐประหารเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2490 หลักสูตรการศึกษาธรรมศาสตรบัณฑิตเปลี่ยนแปลงไป กลายเป็นการจัดการเรียนการสอนแยกออกเป็น 4 คณะ คือ คณะนิติศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี ปัจจุบันมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เปิดสอนทั้งหมด 19 คณะ 7 วิทยาลัย 5 สถาบัน ได้แก่ คณะนิติศาสตร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี คณะรัฐศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์ คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะศิลปศาสตร์ คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง คณะศิลปกรรมศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ คณะสหเวชศาสตร์ คณะทันตแพทยศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ คณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ วิทยาลัย วิทยาลัยพัฒนศาสตร์ ป๋วย อึ้งภากรณ์ วิทยาลัยนวัตกรรม วิทยาลัยสหวิทยาการ วิทยาลัยโลกคดีศึกษา สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธs วิทยาลัยนานาชาติ ปรีดี พนมยงค์ วิทยาลัยแพทยศาสตร์นานาชาติจุฬาภรณ์ สถาบัน สถาบันเสริมศึกษาและทรัพยากรมนุษย์ สถาบันไทยคดีศึกษา สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา สถาบันภาษา สถาบันอาณาบริเวณศึกษา ไม่บังคับเรื่องการแต่งกาย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เป็นมหาวิทยาลัยที่ให้เสรีในเรื่องการแต่งกายเข้าเรียน เพราะไม่มีการบังคับให้นักศึกษาใส่ชุดนักศึกษาในวันที่ไปเรียนปกติ แต่ถ้ามีสอบก็หรือพิธีการต่าง ๆ ต้องใส่ชุดนักศึกษาตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด มหาลัยธรรมศาสตร์ดูแลห้างสรรพสินค้า 2 แห่งได้แก่ TU Dome จะมีศูนย์อาหาร ร้านค้าชั้นนำ ร้านค้าต่าง ๆ เช่น MK, KFC, ร้านหนังสือ, ร้านอินเตอร์เน็ต เป็นต้น อินเตอร์โซน จะมีห้องเธียร์เตอร์ ห้องอบรม ห้องสัมมนา ลานกิจกรรม และศูนย์บริการ ร้านค้าต่าง ๆ รอบอาคาร เช่น สระว่ายน้ำ, ธนาคาร, ร้านถ่ายรูป เป็นต้น มหาลัยธรรมศาสตร์มีแอปให้คำปรึกษาด้านสุขภาพจิต แอปมีชื่อว่า mildmood เป็นแอปให้คำปรึกษาและดูแลสุขภาพจิต ถ้านักศึกษาเกิดความเครียดหรือมีปัญหาต่าง ๆ สามารถทำแบบทดสอบทางจิตวิทยา เพื่อประเมินสุขภาพจิต และมีวิธีดูแลตัวเองเบื้องต้นเมื่อเกิดความเครียด โดยมีนักจิตวิทยา และจิตแพทย์ เป็นผู้เชี่ยวชาญในการช่วยพัฒนาระบบ งานฟุตบอลประจำประเพณี ในแต่ละปีจะมีการแข่งขันฟุตบอลระหว่างมหาลัยธรรมศาสตร์กับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จะสลับกับเป็นเจ้าภาพ ถ้าปีไหนใครได้เป็นเจ้าภาพก็ขึ้นชื่อด้วยมหาวิทยาลัยนั้น เช่น ปีนี้มหาลัยธรรมศาสตร์เป็นเจ้าภาพก็จะใช้ชื่อว่า “งานฟุตบอลประจำปีธรรมศาสตร์-จุฬาฯ” เว็บไซต์ : https://tu.ac.th/ Facebook : thammasat.uni
โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณ์ราชวิทยาลัย เชียงราย