ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง EZ WebmasterJune 13, 2025 วันนี้ทั้งเล่น ทั้งได้ความรู้ ทั้งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนนางรอง จ.บุรีรัมย์ วันที่13/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า… นักศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI… ทุนดีดี 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search tui sakrapee August 28, 2020 tui sakrapee August 28, 2020 จุฬาฯ ร่วมจัดตั้ง “ศูนย์ปฏิบัติการศิลปกรรมดิจิทัล ศูนย์รวมองค์ความรู้ และงานด้านดิจิทัลอาร์ตระดับนานาชาติ จุฬาฯ ร่วมจัดตั้ง “ศูนย์ปฏิบัติการศิลปกรรมดิจิทัล” (FAAMAI Digital Arts Hub) สร้างองค์ความรู้ เร่งพัฒนาศักยภาพบุคลากรไทย ยกระดับประเทศไทยสู่ฮับดิจิทัลอาร์ตของภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมมือสำนักงานจัดการทรัพย์สินจุฬาฯ และปิโก (ไทยแลนด์) จัดตั้ง “ศูนย์ปฏิบัติการศิลปกรรมดิจิทัล” หรือ FAAMAI Digital Arts Hub เป็นศูนย์รวม องค์ความรู้ด้านดิจิทัลอาร์ตของภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ผนวกองค์ความรู้ด้านศิลปะ และเทคโนโลยีด้านดิจิทัล สร้างกระแสตื่นตัวด้านดิจิทัลอาร์ตให้เกิดขึ้นอย่างกว้างขวาง เร่งสร้างคน เติมเต็มความต้องการบุคลากรด้านดิจิทัลอาร์ตที่กำลังขาดแคลนทั่วโลก จนัธ เที่ยงสุรินทร์ ผู้อํานวยการศูนย์ปฏิบัติการศิลปกรรมดิจิทัล หรือ FAAMAI Digital Arts Hub เปิดเผยว่า “ดิจิทัลอาร์ตคือการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะของศิลปิน ควบคู่ไปกับเทคโนโลยี ในบางครั้ง ยังรวมผู้ชมเข้าไปมีปฏิสัมพันธ์กับผลงานได้อีกด้วย เทคโนโลยีดิจิทัลได้เปิดพรมแดนศิลปะแบบใหม่ให้ทั้ง ตัวศิลปินและผู้ชมได้สัมผัสประสบการณ์ใหม่ซึ่งศิลปะแบบดั้งเดิมไม่สามารถทำได้ ในประเทศไทยดิจิทัลอาร์ตเป็นสาขาวิชาที่ยังมีโอกาสเติบโตอีกมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสร้างงานในลักษณะข้ามสาขา ไม่ว่าจะเป็นงานด้านภาพ เสียง หรือศิลปะการแสดง จนัธ กล่าวว่าโครงการศูนย์ปฏิบัติการศิลปกรรมดิจิทัล หรือ FAAMAI (Fine and Applied Arts Multidisciplinary Art Innovation Program) เป็นโครงการที่ริเริ่มโดยคณาจารย์ในคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาฯ ได้รับการสนับสนุนด้านเงินทุนและความช่วยเหลือด้านการบริหารจัดการจากโครงการสร้างเสริมพลังจุฬาฯ กองทุนศตวรรษที่ 2 (C2F) ภายใต้การดูแลของคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาฯ ได้ลงนามความตกลงความร่วมมือกับสำนักงานจัดการทรัพย์สินจุฬาฯ (PMCU) ซึ่งให้ความอนุเคราะห์เรื่องสถานที่ตั้ง ณ บริเวณพื้นที่ด้านข้างอุทยาน 100 ปี จุฬาฯ ตลอดจนสาธารณูปโภคพื้นฐาน และบริษัทปิโก (ไทยแลนด์) จำกัด (มหาชน) ให้ความอนุเคราะห์ในเรื่องโครงสร้างโดมยักษ์ FAAMAI Dome ซึ่งเป็นโดมเส้นผ่านศูนย์กลาง 35 เมตร ความสูง 17.5 เมตร เป็นโดมที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย และเอเชียแปซิฟิก ตั้งอยู่บริเวณด้านหลังอุทยาน 100 ปี จุฬาฯ รวมทั้งถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับการนำเทคโนโลยีใหม่ๆ มาผสานกับผลงานศิลปะ ทำให้ดิจิทัลอาร์ตน่าสนใจมากยิ่งขึ้น ตลอดจนพัฒนาองค์ความรู้ด้านดิจิทัลอาร์ตผ่านกิจกรรมต่างๆ เช่น โครงการประกวด และเวิร์คช็อปต่างๆ “FAAMAI Digital Arts Hub เป็นศูนย์รวมองค์ความรู้ และงานด้านดิจิทัลอาร์ตของนิสิต นักศึกษา นักวิจัย ศิลปินไทยและต่างประเทศ ตลอดจนบุคคลทั่วไป เพื่อเป็นการพัฒนาศักยภาพของนิสิตและคณาจารย์ในด้านดิจิทัลอาร์ตให้ทัดเทียมกับระดับนานาชาติ ทั้งในแง่ของการสร้างสรรค์ผลงานและความรู้ในด้านเทคโนโลยีใหม่ ในระยะยาวก่อให้เกิดการขับเคลื่อนด้านเศรษฐกิจของประเทศนอกจากกิจกรรมทางศิลปะแล้ว พื้นที่นี้ ยังเปิดให้บริการแก่หน่วยงานและองค์กรภายนอก เพื่อใช้สำหรับจัดกิจกรรมต่างๆ เช่น นิทรรศการ อีเว้นท์ งานประชุม ฯลฯ เพื่อสร้างโอกาสทางธุรกิจ และสร้างภาพลักษณ์ให้สินค้าและบริการให้มีความเป็นนวัตกรรม ตื่นเต้น และทันสมัย รวมทั้งเพื่อกระตุ้นให้เกิดกิจกรรมในชุมชน สร้างความตื่นตัวและสีสัน สร้างการมีส่วนร่วมและความภาคภูมิใจให้คนในชุมชน ตลอดจนสร้างรายได้ให้กับร้านค้าในชุมชนอีกด้วย” ผู้อำนวยการโครงการฯ กล่าวเสริม ศ.ดร.บุษกร บิณฑสันต์ คณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาฯ เปิดเผยว่า คณะฯ มีพันธกิจในการผลิตศิลปินบัณฑิตที่มีความรู้ความชำนาญด้านทักษะและความคิดสร้างสรรค์ เป็นผู้ริเริ่ม บุกเบิก แสวงหา คิดเป็น ทำเป็น แก้ปัญหาเป็น เพื่ออนุรักษ์ส่งเสริมและเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมเพื่อสังคมไทยสืบไป “เมื่อยุคสมัยเปลี่ยนไปสู่ยุคดิจิทัล เราจึงควรใช้ประโยชน์จากสื่อดิจิทัลในมิติของการอนุรักษ์และเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมของชุมชนให้เต็มที่ ซึ่งแต่ละชุมชนก็จะมีศิลปวัฒนธรรมและประเพณีอันเป็นเอกลักษณ์ และมีเสน่ห์เป็นของตัวเอง ดังนั้นเมื่อเกิดดิจิทัลอาร์ตขึ้นจะช่วยให้ง่ายต่อการสร้างการรับรู้ การส่งต่อและเผยแพร่ศิลปะในวงกว้าง ในขณะเดียวกันยังช่วยเปิดโลกทัศน์ในการเรียนรู้สิ่งใหม่ สร้างความรื่นรมย์ ผ่อนคลาย ตลอดจนสร้างความภาคภูมิใจให้กับคนในชุมชนอีกด้วย” ศ.ดร.บุษกร กล่าว ศ.ดร.บุษกร กล่าวเพิ่มเติมว่า บุคลากรและศิลปินด้านดิจิทัลอาร์ตแขนงต่างๆ ในประเทศไทยถือว่ายังมีน้อยเมื่อเทียบกับประเทศอื่นๆ แต่เราก็มีบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญและมีศิลปินที่มีชื่อเสียงในระดับโลกด้วยเช่นกัน ดังนั้นในฐานะที่คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาฯ เป็นแหล่งบ่มเพาะและสร้างศิลปินแขนงต่างๆ จึงควรสนับสนุนและส่งเสริมให้เกิดการตื่นตัวด้านดิจิทัลอาร์ตในประเทศไทยอย่างเป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น เพราะศาสตร์ด้านนี้จะเข้ามามีบทบาทที่สำคัญต่อโลกของเรา หากเราสามารถพัฒนาบุคลากรเพื่อเข้าสู่อุตสาหกรรมนี้ได้ ก็จะส่งผลต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ปัจจุบันนักเรียน นิสิตนักศึกษาให้ความสนใจเข้ามาเรียนเกี่ยวกับดิจิทัลอาร์ตเพิ่มมากขึ้น เพราะคนไทยเป็นหนึ่งในประเทศที่มีบุคลากรที่มีความสามารถและศักยภาพสูง ดังนั้นหากเรายิ่งกระตุ้นให้เยาวชนไทยเห็นความสำคัญของดิจิทัลอาร์ต เราก็จะมีบุคลากรและศิลปินที่ เข้ามาทำงานในตลาดดิจิทัลอาร์ตเพิ่มมากขึ้นเท่านั้น คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาฯ จึงมุ่งสร้างพันธมิตรและเครือข่ายทั้งกับภาครัฐและเอกชน รวมทั้งระดับสากลมาโดยตลอด ไม่ว่าจะเป็นทางด้านองค์ความรู้ทางวิชาการ ด้านเทคโนโลยี และนวัตกรรมใหม่ๆ ตลอดจนศิลปินผู้ผลิตผลงานดิจิทัลอาร์ต โดยร่วมมือกับ Bauhaus University มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงด้านดิจิทัลอาร์ตระดับโลก วางแผนร่วมจัดเวิร์คช็อป ถ่ายทอดองค์ความรู้ให้นิสิตนักศึกษาและบุคลากรของไทย สำหรับกิจกรรมที่จะเกิดขึ้นต่อไปในศูนย์ปฏิบัติการศิลปกรรมดิจิทัล จะเป็นโครงการประกวด “FAAMAI Digital Arts Competition 2020” ในหัวข้อ “New World” (Covid-19, Expectation of New Generation, Global warming, Digital disruption, Generation Gap) จัดการแข่งขันในระดับเยาวชน และระดับอุดมศึกษาอายุไม่เกิน 25 ปี โดยสามารถเลือกส่งผลงานเข้าประกวดได้ 3 ประเภท ได้แก่ Creative Coding, Film & Animation และ Interdisciplinary Art ชิงถ้วยรางวัล ประกาศนียบัตรเชิดชูเกียรติ และ Adobe License ผู้สนใจสามารถสมัคร และส่งผลงานเข้าประกวดได้ตั้งแต่ 3 กันยายน – 31 ตุลาคม 2563 ผู้สนใจกิจกรรมและข่าวสารต่างๆ ของ FAAMAI Digital Arts Hub สามารถติดตามได้ที่ www.chulafaamai.com และ Facebook: Faamai Digital Arts Hub และ IG: faamai_digital_cu tui sakrapee Related Posts เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก รวมบุคคลสำคัญของแต่ละมหาวิทยาลัยไทย มาให้ทุกคนได้รู้กัน !! ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา เปิดรอบ 5 รับตรงอิสระ เรียน 6 สาขา ถึง 20 มิ.ย.นี้ Post navigation PREVIOUS Previous post: สวนสุนันทาจัดพิธีไหว้ครูดนตรี ประจำปี’63NEXT Next post: จุฬาฯ พร้อมคลี่ปมความเห็นต่าง ระดมวิชาการและข้อเท็จจริงพร้อมรับฟังความเห็นที่หลากหลาย Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง EZ WebmasterJune 13, 2025 วันนี้ทั้งเล่น ทั้งได้ความรู้ ทั้งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนนางรอง จ.บุรีรัมย์ วันที่13/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า… นักศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI… ทุนดีดี 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search tui sakrapee August 28, 2020 tui sakrapee August 28, 2020 จุฬาฯ ร่วมจัดตั้ง “ศูนย์ปฏิบัติการศิลปกรรมดิจิทัล ศูนย์รวมองค์ความรู้ และงานด้านดิจิทัลอาร์ตระดับนานาชาติ จุฬาฯ ร่วมจัดตั้ง “ศูนย์ปฏิบัติการศิลปกรรมดิจิทัล” (FAAMAI Digital Arts Hub) สร้างองค์ความรู้ เร่งพัฒนาศักยภาพบุคลากรไทย ยกระดับประเทศไทยสู่ฮับดิจิทัลอาร์ตของภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมมือสำนักงานจัดการทรัพย์สินจุฬาฯ และปิโก (ไทยแลนด์) จัดตั้ง “ศูนย์ปฏิบัติการศิลปกรรมดิจิทัล” หรือ FAAMAI Digital Arts Hub เป็นศูนย์รวม องค์ความรู้ด้านดิจิทัลอาร์ตของภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ผนวกองค์ความรู้ด้านศิลปะ และเทคโนโลยีด้านดิจิทัล สร้างกระแสตื่นตัวด้านดิจิทัลอาร์ตให้เกิดขึ้นอย่างกว้างขวาง เร่งสร้างคน เติมเต็มความต้องการบุคลากรด้านดิจิทัลอาร์ตที่กำลังขาดแคลนทั่วโลก จนัธ เที่ยงสุรินทร์ ผู้อํานวยการศูนย์ปฏิบัติการศิลปกรรมดิจิทัล หรือ FAAMAI Digital Arts Hub เปิดเผยว่า “ดิจิทัลอาร์ตคือการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะของศิลปิน ควบคู่ไปกับเทคโนโลยี ในบางครั้ง ยังรวมผู้ชมเข้าไปมีปฏิสัมพันธ์กับผลงานได้อีกด้วย เทคโนโลยีดิจิทัลได้เปิดพรมแดนศิลปะแบบใหม่ให้ทั้ง ตัวศิลปินและผู้ชมได้สัมผัสประสบการณ์ใหม่ซึ่งศิลปะแบบดั้งเดิมไม่สามารถทำได้ ในประเทศไทยดิจิทัลอาร์ตเป็นสาขาวิชาที่ยังมีโอกาสเติบโตอีกมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสร้างงานในลักษณะข้ามสาขา ไม่ว่าจะเป็นงานด้านภาพ เสียง หรือศิลปะการแสดง จนัธ กล่าวว่าโครงการศูนย์ปฏิบัติการศิลปกรรมดิจิทัล หรือ FAAMAI (Fine and Applied Arts Multidisciplinary Art Innovation Program) เป็นโครงการที่ริเริ่มโดยคณาจารย์ในคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาฯ ได้รับการสนับสนุนด้านเงินทุนและความช่วยเหลือด้านการบริหารจัดการจากโครงการสร้างเสริมพลังจุฬาฯ กองทุนศตวรรษที่ 2 (C2F) ภายใต้การดูแลของคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาฯ ได้ลงนามความตกลงความร่วมมือกับสำนักงานจัดการทรัพย์สินจุฬาฯ (PMCU) ซึ่งให้ความอนุเคราะห์เรื่องสถานที่ตั้ง ณ บริเวณพื้นที่ด้านข้างอุทยาน 100 ปี จุฬาฯ ตลอดจนสาธารณูปโภคพื้นฐาน และบริษัทปิโก (ไทยแลนด์) จำกัด (มหาชน) ให้ความอนุเคราะห์ในเรื่องโครงสร้างโดมยักษ์ FAAMAI Dome ซึ่งเป็นโดมเส้นผ่านศูนย์กลาง 35 เมตร ความสูง 17.5 เมตร เป็นโดมที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย และเอเชียแปซิฟิก ตั้งอยู่บริเวณด้านหลังอุทยาน 100 ปี จุฬาฯ รวมทั้งถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับการนำเทคโนโลยีใหม่ๆ มาผสานกับผลงานศิลปะ ทำให้ดิจิทัลอาร์ตน่าสนใจมากยิ่งขึ้น ตลอดจนพัฒนาองค์ความรู้ด้านดิจิทัลอาร์ตผ่านกิจกรรมต่างๆ เช่น โครงการประกวด และเวิร์คช็อปต่างๆ “FAAMAI Digital Arts Hub เป็นศูนย์รวมองค์ความรู้ และงานด้านดิจิทัลอาร์ตของนิสิต นักศึกษา นักวิจัย ศิลปินไทยและต่างประเทศ ตลอดจนบุคคลทั่วไป เพื่อเป็นการพัฒนาศักยภาพของนิสิตและคณาจารย์ในด้านดิจิทัลอาร์ตให้ทัดเทียมกับระดับนานาชาติ ทั้งในแง่ของการสร้างสรรค์ผลงานและความรู้ในด้านเทคโนโลยีใหม่ ในระยะยาวก่อให้เกิดการขับเคลื่อนด้านเศรษฐกิจของประเทศนอกจากกิจกรรมทางศิลปะแล้ว พื้นที่นี้ ยังเปิดให้บริการแก่หน่วยงานและองค์กรภายนอก เพื่อใช้สำหรับจัดกิจกรรมต่างๆ เช่น นิทรรศการ อีเว้นท์ งานประชุม ฯลฯ เพื่อสร้างโอกาสทางธุรกิจ และสร้างภาพลักษณ์ให้สินค้าและบริการให้มีความเป็นนวัตกรรม ตื่นเต้น และทันสมัย รวมทั้งเพื่อกระตุ้นให้เกิดกิจกรรมในชุมชน สร้างความตื่นตัวและสีสัน สร้างการมีส่วนร่วมและความภาคภูมิใจให้คนในชุมชน ตลอดจนสร้างรายได้ให้กับร้านค้าในชุมชนอีกด้วย” ผู้อำนวยการโครงการฯ กล่าวเสริม ศ.ดร.บุษกร บิณฑสันต์ คณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาฯ เปิดเผยว่า คณะฯ มีพันธกิจในการผลิตศิลปินบัณฑิตที่มีความรู้ความชำนาญด้านทักษะและความคิดสร้างสรรค์ เป็นผู้ริเริ่ม บุกเบิก แสวงหา คิดเป็น ทำเป็น แก้ปัญหาเป็น เพื่ออนุรักษ์ส่งเสริมและเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมเพื่อสังคมไทยสืบไป “เมื่อยุคสมัยเปลี่ยนไปสู่ยุคดิจิทัล เราจึงควรใช้ประโยชน์จากสื่อดิจิทัลในมิติของการอนุรักษ์และเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมของชุมชนให้เต็มที่ ซึ่งแต่ละชุมชนก็จะมีศิลปวัฒนธรรมและประเพณีอันเป็นเอกลักษณ์ และมีเสน่ห์เป็นของตัวเอง ดังนั้นเมื่อเกิดดิจิทัลอาร์ตขึ้นจะช่วยให้ง่ายต่อการสร้างการรับรู้ การส่งต่อและเผยแพร่ศิลปะในวงกว้าง ในขณะเดียวกันยังช่วยเปิดโลกทัศน์ในการเรียนรู้สิ่งใหม่ สร้างความรื่นรมย์ ผ่อนคลาย ตลอดจนสร้างความภาคภูมิใจให้กับคนในชุมชนอีกด้วย” ศ.ดร.บุษกร กล่าว ศ.ดร.บุษกร กล่าวเพิ่มเติมว่า บุคลากรและศิลปินด้านดิจิทัลอาร์ตแขนงต่างๆ ในประเทศไทยถือว่ายังมีน้อยเมื่อเทียบกับประเทศอื่นๆ แต่เราก็มีบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญและมีศิลปินที่มีชื่อเสียงในระดับโลกด้วยเช่นกัน ดังนั้นในฐานะที่คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาฯ เป็นแหล่งบ่มเพาะและสร้างศิลปินแขนงต่างๆ จึงควรสนับสนุนและส่งเสริมให้เกิดการตื่นตัวด้านดิจิทัลอาร์ตในประเทศไทยอย่างเป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น เพราะศาสตร์ด้านนี้จะเข้ามามีบทบาทที่สำคัญต่อโลกของเรา หากเราสามารถพัฒนาบุคลากรเพื่อเข้าสู่อุตสาหกรรมนี้ได้ ก็จะส่งผลต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ปัจจุบันนักเรียน นิสิตนักศึกษาให้ความสนใจเข้ามาเรียนเกี่ยวกับดิจิทัลอาร์ตเพิ่มมากขึ้น เพราะคนไทยเป็นหนึ่งในประเทศที่มีบุคลากรที่มีความสามารถและศักยภาพสูง ดังนั้นหากเรายิ่งกระตุ้นให้เยาวชนไทยเห็นความสำคัญของดิจิทัลอาร์ต เราก็จะมีบุคลากรและศิลปินที่ เข้ามาทำงานในตลาดดิจิทัลอาร์ตเพิ่มมากขึ้นเท่านั้น คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาฯ จึงมุ่งสร้างพันธมิตรและเครือข่ายทั้งกับภาครัฐและเอกชน รวมทั้งระดับสากลมาโดยตลอด ไม่ว่าจะเป็นทางด้านองค์ความรู้ทางวิชาการ ด้านเทคโนโลยี และนวัตกรรมใหม่ๆ ตลอดจนศิลปินผู้ผลิตผลงานดิจิทัลอาร์ต โดยร่วมมือกับ Bauhaus University มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงด้านดิจิทัลอาร์ตระดับโลก วางแผนร่วมจัดเวิร์คช็อป ถ่ายทอดองค์ความรู้ให้นิสิตนักศึกษาและบุคลากรของไทย สำหรับกิจกรรมที่จะเกิดขึ้นต่อไปในศูนย์ปฏิบัติการศิลปกรรมดิจิทัล จะเป็นโครงการประกวด “FAAMAI Digital Arts Competition 2020” ในหัวข้อ “New World” (Covid-19, Expectation of New Generation, Global warming, Digital disruption, Generation Gap) จัดการแข่งขันในระดับเยาวชน และระดับอุดมศึกษาอายุไม่เกิน 25 ปี โดยสามารถเลือกส่งผลงานเข้าประกวดได้ 3 ประเภท ได้แก่ Creative Coding, Film & Animation และ Interdisciplinary Art ชิงถ้วยรางวัล ประกาศนียบัตรเชิดชูเกียรติ และ Adobe License ผู้สนใจสามารถสมัคร และส่งผลงานเข้าประกวดได้ตั้งแต่ 3 กันยายน – 31 ตุลาคม 2563 ผู้สนใจกิจกรรมและข่าวสารต่างๆ ของ FAAMAI Digital Arts Hub สามารถติดตามได้ที่ www.chulafaamai.com และ Facebook: Faamai Digital Arts Hub และ IG: faamai_digital_cu tui sakrapee Related Posts เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก รวมบุคคลสำคัญของแต่ละมหาวิทยาลัยไทย มาให้ทุกคนได้รู้กัน !! ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา เปิดรอบ 5 รับตรงอิสระ เรียน 6 สาขา ถึง 20 มิ.ย.นี้ Post navigation PREVIOUS Previous post: สวนสุนันทาจัดพิธีไหว้ครูดนตรี ประจำปี’63NEXT Next post: จุฬาฯ พร้อมคลี่ปมความเห็นต่าง ระดมวิชาการและข้อเท็จจริงพร้อมรับฟังความเห็นที่หลากหลาย Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง EZ WebmasterJune 13, 2025 วันนี้ทั้งเล่น ทั้งได้ความรู้ ทั้งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนนางรอง จ.บุรีรัมย์ วันที่13/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า…
โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง EZ WebmasterJune 13, 2025 วันนี้ทั้งเล่น ทั้งได้ความรู้ ทั้งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนนางรอง จ.บุรีรัมย์ วันที่13/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า…
คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI… ทุนดีดี 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search tui sakrapee August 28, 2020 tui sakrapee August 28, 2020 จุฬาฯ ร่วมจัดตั้ง “ศูนย์ปฏิบัติการศิลปกรรมดิจิทัล ศูนย์รวมองค์ความรู้ และงานด้านดิจิทัลอาร์ตระดับนานาชาติ จุฬาฯ ร่วมจัดตั้ง “ศูนย์ปฏิบัติการศิลปกรรมดิจิทัล” (FAAMAI Digital Arts Hub) สร้างองค์ความรู้ เร่งพัฒนาศักยภาพบุคลากรไทย ยกระดับประเทศไทยสู่ฮับดิจิทัลอาร์ตของภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมมือสำนักงานจัดการทรัพย์สินจุฬาฯ และปิโก (ไทยแลนด์) จัดตั้ง “ศูนย์ปฏิบัติการศิลปกรรมดิจิทัล” หรือ FAAMAI Digital Arts Hub เป็นศูนย์รวม องค์ความรู้ด้านดิจิทัลอาร์ตของภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ผนวกองค์ความรู้ด้านศิลปะ และเทคโนโลยีด้านดิจิทัล สร้างกระแสตื่นตัวด้านดิจิทัลอาร์ตให้เกิดขึ้นอย่างกว้างขวาง เร่งสร้างคน เติมเต็มความต้องการบุคลากรด้านดิจิทัลอาร์ตที่กำลังขาดแคลนทั่วโลก จนัธ เที่ยงสุรินทร์ ผู้อํานวยการศูนย์ปฏิบัติการศิลปกรรมดิจิทัล หรือ FAAMAI Digital Arts Hub เปิดเผยว่า “ดิจิทัลอาร์ตคือการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะของศิลปิน ควบคู่ไปกับเทคโนโลยี ในบางครั้ง ยังรวมผู้ชมเข้าไปมีปฏิสัมพันธ์กับผลงานได้อีกด้วย เทคโนโลยีดิจิทัลได้เปิดพรมแดนศิลปะแบบใหม่ให้ทั้ง ตัวศิลปินและผู้ชมได้สัมผัสประสบการณ์ใหม่ซึ่งศิลปะแบบดั้งเดิมไม่สามารถทำได้ ในประเทศไทยดิจิทัลอาร์ตเป็นสาขาวิชาที่ยังมีโอกาสเติบโตอีกมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสร้างงานในลักษณะข้ามสาขา ไม่ว่าจะเป็นงานด้านภาพ เสียง หรือศิลปะการแสดง จนัธ กล่าวว่าโครงการศูนย์ปฏิบัติการศิลปกรรมดิจิทัล หรือ FAAMAI (Fine and Applied Arts Multidisciplinary Art Innovation Program) เป็นโครงการที่ริเริ่มโดยคณาจารย์ในคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาฯ ได้รับการสนับสนุนด้านเงินทุนและความช่วยเหลือด้านการบริหารจัดการจากโครงการสร้างเสริมพลังจุฬาฯ กองทุนศตวรรษที่ 2 (C2F) ภายใต้การดูแลของคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาฯ ได้ลงนามความตกลงความร่วมมือกับสำนักงานจัดการทรัพย์สินจุฬาฯ (PMCU) ซึ่งให้ความอนุเคราะห์เรื่องสถานที่ตั้ง ณ บริเวณพื้นที่ด้านข้างอุทยาน 100 ปี จุฬาฯ ตลอดจนสาธารณูปโภคพื้นฐาน และบริษัทปิโก (ไทยแลนด์) จำกัด (มหาชน) ให้ความอนุเคราะห์ในเรื่องโครงสร้างโดมยักษ์ FAAMAI Dome ซึ่งเป็นโดมเส้นผ่านศูนย์กลาง 35 เมตร ความสูง 17.5 เมตร เป็นโดมที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย และเอเชียแปซิฟิก ตั้งอยู่บริเวณด้านหลังอุทยาน 100 ปี จุฬาฯ รวมทั้งถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับการนำเทคโนโลยีใหม่ๆ มาผสานกับผลงานศิลปะ ทำให้ดิจิทัลอาร์ตน่าสนใจมากยิ่งขึ้น ตลอดจนพัฒนาองค์ความรู้ด้านดิจิทัลอาร์ตผ่านกิจกรรมต่างๆ เช่น โครงการประกวด และเวิร์คช็อปต่างๆ “FAAMAI Digital Arts Hub เป็นศูนย์รวมองค์ความรู้ และงานด้านดิจิทัลอาร์ตของนิสิต นักศึกษา นักวิจัย ศิลปินไทยและต่างประเทศ ตลอดจนบุคคลทั่วไป เพื่อเป็นการพัฒนาศักยภาพของนิสิตและคณาจารย์ในด้านดิจิทัลอาร์ตให้ทัดเทียมกับระดับนานาชาติ ทั้งในแง่ของการสร้างสรรค์ผลงานและความรู้ในด้านเทคโนโลยีใหม่ ในระยะยาวก่อให้เกิดการขับเคลื่อนด้านเศรษฐกิจของประเทศนอกจากกิจกรรมทางศิลปะแล้ว พื้นที่นี้ ยังเปิดให้บริการแก่หน่วยงานและองค์กรภายนอก เพื่อใช้สำหรับจัดกิจกรรมต่างๆ เช่น นิทรรศการ อีเว้นท์ งานประชุม ฯลฯ เพื่อสร้างโอกาสทางธุรกิจ และสร้างภาพลักษณ์ให้สินค้าและบริการให้มีความเป็นนวัตกรรม ตื่นเต้น และทันสมัย รวมทั้งเพื่อกระตุ้นให้เกิดกิจกรรมในชุมชน สร้างความตื่นตัวและสีสัน สร้างการมีส่วนร่วมและความภาคภูมิใจให้คนในชุมชน ตลอดจนสร้างรายได้ให้กับร้านค้าในชุมชนอีกด้วย” ผู้อำนวยการโครงการฯ กล่าวเสริม ศ.ดร.บุษกร บิณฑสันต์ คณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาฯ เปิดเผยว่า คณะฯ มีพันธกิจในการผลิตศิลปินบัณฑิตที่มีความรู้ความชำนาญด้านทักษะและความคิดสร้างสรรค์ เป็นผู้ริเริ่ม บุกเบิก แสวงหา คิดเป็น ทำเป็น แก้ปัญหาเป็น เพื่ออนุรักษ์ส่งเสริมและเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมเพื่อสังคมไทยสืบไป “เมื่อยุคสมัยเปลี่ยนไปสู่ยุคดิจิทัล เราจึงควรใช้ประโยชน์จากสื่อดิจิทัลในมิติของการอนุรักษ์และเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมของชุมชนให้เต็มที่ ซึ่งแต่ละชุมชนก็จะมีศิลปวัฒนธรรมและประเพณีอันเป็นเอกลักษณ์ และมีเสน่ห์เป็นของตัวเอง ดังนั้นเมื่อเกิดดิจิทัลอาร์ตขึ้นจะช่วยให้ง่ายต่อการสร้างการรับรู้ การส่งต่อและเผยแพร่ศิลปะในวงกว้าง ในขณะเดียวกันยังช่วยเปิดโลกทัศน์ในการเรียนรู้สิ่งใหม่ สร้างความรื่นรมย์ ผ่อนคลาย ตลอดจนสร้างความภาคภูมิใจให้กับคนในชุมชนอีกด้วย” ศ.ดร.บุษกร กล่าว ศ.ดร.บุษกร กล่าวเพิ่มเติมว่า บุคลากรและศิลปินด้านดิจิทัลอาร์ตแขนงต่างๆ ในประเทศไทยถือว่ายังมีน้อยเมื่อเทียบกับประเทศอื่นๆ แต่เราก็มีบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญและมีศิลปินที่มีชื่อเสียงในระดับโลกด้วยเช่นกัน ดังนั้นในฐานะที่คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาฯ เป็นแหล่งบ่มเพาะและสร้างศิลปินแขนงต่างๆ จึงควรสนับสนุนและส่งเสริมให้เกิดการตื่นตัวด้านดิจิทัลอาร์ตในประเทศไทยอย่างเป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น เพราะศาสตร์ด้านนี้จะเข้ามามีบทบาทที่สำคัญต่อโลกของเรา หากเราสามารถพัฒนาบุคลากรเพื่อเข้าสู่อุตสาหกรรมนี้ได้ ก็จะส่งผลต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ปัจจุบันนักเรียน นิสิตนักศึกษาให้ความสนใจเข้ามาเรียนเกี่ยวกับดิจิทัลอาร์ตเพิ่มมากขึ้น เพราะคนไทยเป็นหนึ่งในประเทศที่มีบุคลากรที่มีความสามารถและศักยภาพสูง ดังนั้นหากเรายิ่งกระตุ้นให้เยาวชนไทยเห็นความสำคัญของดิจิทัลอาร์ต เราก็จะมีบุคลากรและศิลปินที่ เข้ามาทำงานในตลาดดิจิทัลอาร์ตเพิ่มมากขึ้นเท่านั้น คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาฯ จึงมุ่งสร้างพันธมิตรและเครือข่ายทั้งกับภาครัฐและเอกชน รวมทั้งระดับสากลมาโดยตลอด ไม่ว่าจะเป็นทางด้านองค์ความรู้ทางวิชาการ ด้านเทคโนโลยี และนวัตกรรมใหม่ๆ ตลอดจนศิลปินผู้ผลิตผลงานดิจิทัลอาร์ต โดยร่วมมือกับ Bauhaus University มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงด้านดิจิทัลอาร์ตระดับโลก วางแผนร่วมจัดเวิร์คช็อป ถ่ายทอดองค์ความรู้ให้นิสิตนักศึกษาและบุคลากรของไทย สำหรับกิจกรรมที่จะเกิดขึ้นต่อไปในศูนย์ปฏิบัติการศิลปกรรมดิจิทัล จะเป็นโครงการประกวด “FAAMAI Digital Arts Competition 2020” ในหัวข้อ “New World” (Covid-19, Expectation of New Generation, Global warming, Digital disruption, Generation Gap) จัดการแข่งขันในระดับเยาวชน และระดับอุดมศึกษาอายุไม่เกิน 25 ปี โดยสามารถเลือกส่งผลงานเข้าประกวดได้ 3 ประเภท ได้แก่ Creative Coding, Film & Animation และ Interdisciplinary Art ชิงถ้วยรางวัล ประกาศนียบัตรเชิดชูเกียรติ และ Adobe License ผู้สนใจสามารถสมัคร และส่งผลงานเข้าประกวดได้ตั้งแต่ 3 กันยายน – 31 ตุลาคม 2563 ผู้สนใจกิจกรรมและข่าวสารต่างๆ ของ FAAMAI Digital Arts Hub สามารถติดตามได้ที่ www.chulafaamai.com และ Facebook: Faamai Digital Arts Hub และ IG: faamai_digital_cu tui sakrapee Related Posts เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก รวมบุคคลสำคัญของแต่ละมหาวิทยาลัยไทย มาให้ทุกคนได้รู้กัน !! ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา เปิดรอบ 5 รับตรงอิสระ เรียน 6 สาขา ถึง 20 มิ.ย.นี้ Post navigation PREVIOUS Previous post: สวนสุนันทาจัดพิธีไหว้ครูดนตรี ประจำปี’63NEXT Next post: จุฬาฯ พร้อมคลี่ปมความเห็นต่าง ระดมวิชาการและข้อเท็จจริงพร้อมรับฟังความเห็นที่หลากหลาย Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI… ทุนดีดี 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search tui sakrapee August 28, 2020 tui sakrapee August 28, 2020 จุฬาฯ ร่วมจัดตั้ง “ศูนย์ปฏิบัติการศิลปกรรมดิจิทัล ศูนย์รวมองค์ความรู้ และงานด้านดิจิทัลอาร์ตระดับนานาชาติ จุฬาฯ ร่วมจัดตั้ง “ศูนย์ปฏิบัติการศิลปกรรมดิจิทัล” (FAAMAI Digital Arts Hub) สร้างองค์ความรู้ เร่งพัฒนาศักยภาพบุคลากรไทย ยกระดับประเทศไทยสู่ฮับดิจิทัลอาร์ตของภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมมือสำนักงานจัดการทรัพย์สินจุฬาฯ และปิโก (ไทยแลนด์) จัดตั้ง “ศูนย์ปฏิบัติการศิลปกรรมดิจิทัล” หรือ FAAMAI Digital Arts Hub เป็นศูนย์รวม องค์ความรู้ด้านดิจิทัลอาร์ตของภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ผนวกองค์ความรู้ด้านศิลปะ และเทคโนโลยีด้านดิจิทัล สร้างกระแสตื่นตัวด้านดิจิทัลอาร์ตให้เกิดขึ้นอย่างกว้างขวาง เร่งสร้างคน เติมเต็มความต้องการบุคลากรด้านดิจิทัลอาร์ตที่กำลังขาดแคลนทั่วโลก จนัธ เที่ยงสุรินทร์ ผู้อํานวยการศูนย์ปฏิบัติการศิลปกรรมดิจิทัล หรือ FAAMAI Digital Arts Hub เปิดเผยว่า “ดิจิทัลอาร์ตคือการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะของศิลปิน ควบคู่ไปกับเทคโนโลยี ในบางครั้ง ยังรวมผู้ชมเข้าไปมีปฏิสัมพันธ์กับผลงานได้อีกด้วย เทคโนโลยีดิจิทัลได้เปิดพรมแดนศิลปะแบบใหม่ให้ทั้ง ตัวศิลปินและผู้ชมได้สัมผัสประสบการณ์ใหม่ซึ่งศิลปะแบบดั้งเดิมไม่สามารถทำได้ ในประเทศไทยดิจิทัลอาร์ตเป็นสาขาวิชาที่ยังมีโอกาสเติบโตอีกมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสร้างงานในลักษณะข้ามสาขา ไม่ว่าจะเป็นงานด้านภาพ เสียง หรือศิลปะการแสดง จนัธ กล่าวว่าโครงการศูนย์ปฏิบัติการศิลปกรรมดิจิทัล หรือ FAAMAI (Fine and Applied Arts Multidisciplinary Art Innovation Program) เป็นโครงการที่ริเริ่มโดยคณาจารย์ในคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาฯ ได้รับการสนับสนุนด้านเงินทุนและความช่วยเหลือด้านการบริหารจัดการจากโครงการสร้างเสริมพลังจุฬาฯ กองทุนศตวรรษที่ 2 (C2F) ภายใต้การดูแลของคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาฯ ได้ลงนามความตกลงความร่วมมือกับสำนักงานจัดการทรัพย์สินจุฬาฯ (PMCU) ซึ่งให้ความอนุเคราะห์เรื่องสถานที่ตั้ง ณ บริเวณพื้นที่ด้านข้างอุทยาน 100 ปี จุฬาฯ ตลอดจนสาธารณูปโภคพื้นฐาน และบริษัทปิโก (ไทยแลนด์) จำกัด (มหาชน) ให้ความอนุเคราะห์ในเรื่องโครงสร้างโดมยักษ์ FAAMAI Dome ซึ่งเป็นโดมเส้นผ่านศูนย์กลาง 35 เมตร ความสูง 17.5 เมตร เป็นโดมที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย และเอเชียแปซิฟิก ตั้งอยู่บริเวณด้านหลังอุทยาน 100 ปี จุฬาฯ รวมทั้งถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับการนำเทคโนโลยีใหม่ๆ มาผสานกับผลงานศิลปะ ทำให้ดิจิทัลอาร์ตน่าสนใจมากยิ่งขึ้น ตลอดจนพัฒนาองค์ความรู้ด้านดิจิทัลอาร์ตผ่านกิจกรรมต่างๆ เช่น โครงการประกวด และเวิร์คช็อปต่างๆ “FAAMAI Digital Arts Hub เป็นศูนย์รวมองค์ความรู้ และงานด้านดิจิทัลอาร์ตของนิสิต นักศึกษา นักวิจัย ศิลปินไทยและต่างประเทศ ตลอดจนบุคคลทั่วไป เพื่อเป็นการพัฒนาศักยภาพของนิสิตและคณาจารย์ในด้านดิจิทัลอาร์ตให้ทัดเทียมกับระดับนานาชาติ ทั้งในแง่ของการสร้างสรรค์ผลงานและความรู้ในด้านเทคโนโลยีใหม่ ในระยะยาวก่อให้เกิดการขับเคลื่อนด้านเศรษฐกิจของประเทศนอกจากกิจกรรมทางศิลปะแล้ว พื้นที่นี้ ยังเปิดให้บริการแก่หน่วยงานและองค์กรภายนอก เพื่อใช้สำหรับจัดกิจกรรมต่างๆ เช่น นิทรรศการ อีเว้นท์ งานประชุม ฯลฯ เพื่อสร้างโอกาสทางธุรกิจ และสร้างภาพลักษณ์ให้สินค้าและบริการให้มีความเป็นนวัตกรรม ตื่นเต้น และทันสมัย รวมทั้งเพื่อกระตุ้นให้เกิดกิจกรรมในชุมชน สร้างความตื่นตัวและสีสัน สร้างการมีส่วนร่วมและความภาคภูมิใจให้คนในชุมชน ตลอดจนสร้างรายได้ให้กับร้านค้าในชุมชนอีกด้วย” ผู้อำนวยการโครงการฯ กล่าวเสริม ศ.ดร.บุษกร บิณฑสันต์ คณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาฯ เปิดเผยว่า คณะฯ มีพันธกิจในการผลิตศิลปินบัณฑิตที่มีความรู้ความชำนาญด้านทักษะและความคิดสร้างสรรค์ เป็นผู้ริเริ่ม บุกเบิก แสวงหา คิดเป็น ทำเป็น แก้ปัญหาเป็น เพื่ออนุรักษ์ส่งเสริมและเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมเพื่อสังคมไทยสืบไป “เมื่อยุคสมัยเปลี่ยนไปสู่ยุคดิจิทัล เราจึงควรใช้ประโยชน์จากสื่อดิจิทัลในมิติของการอนุรักษ์และเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมของชุมชนให้เต็มที่ ซึ่งแต่ละชุมชนก็จะมีศิลปวัฒนธรรมและประเพณีอันเป็นเอกลักษณ์ และมีเสน่ห์เป็นของตัวเอง ดังนั้นเมื่อเกิดดิจิทัลอาร์ตขึ้นจะช่วยให้ง่ายต่อการสร้างการรับรู้ การส่งต่อและเผยแพร่ศิลปะในวงกว้าง ในขณะเดียวกันยังช่วยเปิดโลกทัศน์ในการเรียนรู้สิ่งใหม่ สร้างความรื่นรมย์ ผ่อนคลาย ตลอดจนสร้างความภาคภูมิใจให้กับคนในชุมชนอีกด้วย” ศ.ดร.บุษกร กล่าว ศ.ดร.บุษกร กล่าวเพิ่มเติมว่า บุคลากรและศิลปินด้านดิจิทัลอาร์ตแขนงต่างๆ ในประเทศไทยถือว่ายังมีน้อยเมื่อเทียบกับประเทศอื่นๆ แต่เราก็มีบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญและมีศิลปินที่มีชื่อเสียงในระดับโลกด้วยเช่นกัน ดังนั้นในฐานะที่คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาฯ เป็นแหล่งบ่มเพาะและสร้างศิลปินแขนงต่างๆ จึงควรสนับสนุนและส่งเสริมให้เกิดการตื่นตัวด้านดิจิทัลอาร์ตในประเทศไทยอย่างเป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น เพราะศาสตร์ด้านนี้จะเข้ามามีบทบาทที่สำคัญต่อโลกของเรา หากเราสามารถพัฒนาบุคลากรเพื่อเข้าสู่อุตสาหกรรมนี้ได้ ก็จะส่งผลต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ปัจจุบันนักเรียน นิสิตนักศึกษาให้ความสนใจเข้ามาเรียนเกี่ยวกับดิจิทัลอาร์ตเพิ่มมากขึ้น เพราะคนไทยเป็นหนึ่งในประเทศที่มีบุคลากรที่มีความสามารถและศักยภาพสูง ดังนั้นหากเรายิ่งกระตุ้นให้เยาวชนไทยเห็นความสำคัญของดิจิทัลอาร์ต เราก็จะมีบุคลากรและศิลปินที่ เข้ามาทำงานในตลาดดิจิทัลอาร์ตเพิ่มมากขึ้นเท่านั้น คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาฯ จึงมุ่งสร้างพันธมิตรและเครือข่ายทั้งกับภาครัฐและเอกชน รวมทั้งระดับสากลมาโดยตลอด ไม่ว่าจะเป็นทางด้านองค์ความรู้ทางวิชาการ ด้านเทคโนโลยี และนวัตกรรมใหม่ๆ ตลอดจนศิลปินผู้ผลิตผลงานดิจิทัลอาร์ต โดยร่วมมือกับ Bauhaus University มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงด้านดิจิทัลอาร์ตระดับโลก วางแผนร่วมจัดเวิร์คช็อป ถ่ายทอดองค์ความรู้ให้นิสิตนักศึกษาและบุคลากรของไทย สำหรับกิจกรรมที่จะเกิดขึ้นต่อไปในศูนย์ปฏิบัติการศิลปกรรมดิจิทัล จะเป็นโครงการประกวด “FAAMAI Digital Arts Competition 2020” ในหัวข้อ “New World” (Covid-19, Expectation of New Generation, Global warming, Digital disruption, Generation Gap) จัดการแข่งขันในระดับเยาวชน และระดับอุดมศึกษาอายุไม่เกิน 25 ปี โดยสามารถเลือกส่งผลงานเข้าประกวดได้ 3 ประเภท ได้แก่ Creative Coding, Film & Animation และ Interdisciplinary Art ชิงถ้วยรางวัล ประกาศนียบัตรเชิดชูเกียรติ และ Adobe License ผู้สนใจสามารถสมัคร และส่งผลงานเข้าประกวดได้ตั้งแต่ 3 กันยายน – 31 ตุลาคม 2563 ผู้สนใจกิจกรรมและข่าวสารต่างๆ ของ FAAMAI Digital Arts Hub สามารถติดตามได้ที่ www.chulafaamai.com และ Facebook: Faamai Digital Arts Hub และ IG: faamai_digital_cu tui sakrapee Related Posts เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก รวมบุคคลสำคัญของแต่ละมหาวิทยาลัยไทย มาให้ทุกคนได้รู้กัน !! ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา เปิดรอบ 5 รับตรงอิสระ เรียน 6 สาขา ถึง 20 มิ.ย.นี้ Post navigation PREVIOUS Previous post: สวนสุนันทาจัดพิธีไหว้ครูดนตรี ประจำปี’63NEXT Next post: จุฬาฯ พร้อมคลี่ปมความเห็นต่าง ระดมวิชาการและข้อเท็จจริงพร้อมรับฟังความเห็นที่หลากหลาย Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI…
รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI…
8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search tui sakrapee August 28, 2020 tui sakrapee August 28, 2020 จุฬาฯ ร่วมจัดตั้ง “ศูนย์ปฏิบัติการศิลปกรรมดิจิทัล ศูนย์รวมองค์ความรู้ และงานด้านดิจิทัลอาร์ตระดับนานาชาติ จุฬาฯ ร่วมจัดตั้ง “ศูนย์ปฏิบัติการศิลปกรรมดิจิทัล” (FAAMAI Digital Arts Hub) สร้างองค์ความรู้ เร่งพัฒนาศักยภาพบุคลากรไทย ยกระดับประเทศไทยสู่ฮับดิจิทัลอาร์ตของภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมมือสำนักงานจัดการทรัพย์สินจุฬาฯ และปิโก (ไทยแลนด์) จัดตั้ง “ศูนย์ปฏิบัติการศิลปกรรมดิจิทัล” หรือ FAAMAI Digital Arts Hub เป็นศูนย์รวม องค์ความรู้ด้านดิจิทัลอาร์ตของภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ผนวกองค์ความรู้ด้านศิลปะ และเทคโนโลยีด้านดิจิทัล สร้างกระแสตื่นตัวด้านดิจิทัลอาร์ตให้เกิดขึ้นอย่างกว้างขวาง เร่งสร้างคน เติมเต็มความต้องการบุคลากรด้านดิจิทัลอาร์ตที่กำลังขาดแคลนทั่วโลก จนัธ เที่ยงสุรินทร์ ผู้อํานวยการศูนย์ปฏิบัติการศิลปกรรมดิจิทัล หรือ FAAMAI Digital Arts Hub เปิดเผยว่า “ดิจิทัลอาร์ตคือการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะของศิลปิน ควบคู่ไปกับเทคโนโลยี ในบางครั้ง ยังรวมผู้ชมเข้าไปมีปฏิสัมพันธ์กับผลงานได้อีกด้วย เทคโนโลยีดิจิทัลได้เปิดพรมแดนศิลปะแบบใหม่ให้ทั้ง ตัวศิลปินและผู้ชมได้สัมผัสประสบการณ์ใหม่ซึ่งศิลปะแบบดั้งเดิมไม่สามารถทำได้ ในประเทศไทยดิจิทัลอาร์ตเป็นสาขาวิชาที่ยังมีโอกาสเติบโตอีกมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสร้างงานในลักษณะข้ามสาขา ไม่ว่าจะเป็นงานด้านภาพ เสียง หรือศิลปะการแสดง จนัธ กล่าวว่าโครงการศูนย์ปฏิบัติการศิลปกรรมดิจิทัล หรือ FAAMAI (Fine and Applied Arts Multidisciplinary Art Innovation Program) เป็นโครงการที่ริเริ่มโดยคณาจารย์ในคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาฯ ได้รับการสนับสนุนด้านเงินทุนและความช่วยเหลือด้านการบริหารจัดการจากโครงการสร้างเสริมพลังจุฬาฯ กองทุนศตวรรษที่ 2 (C2F) ภายใต้การดูแลของคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาฯ ได้ลงนามความตกลงความร่วมมือกับสำนักงานจัดการทรัพย์สินจุฬาฯ (PMCU) ซึ่งให้ความอนุเคราะห์เรื่องสถานที่ตั้ง ณ บริเวณพื้นที่ด้านข้างอุทยาน 100 ปี จุฬาฯ ตลอดจนสาธารณูปโภคพื้นฐาน และบริษัทปิโก (ไทยแลนด์) จำกัด (มหาชน) ให้ความอนุเคราะห์ในเรื่องโครงสร้างโดมยักษ์ FAAMAI Dome ซึ่งเป็นโดมเส้นผ่านศูนย์กลาง 35 เมตร ความสูง 17.5 เมตร เป็นโดมที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย และเอเชียแปซิฟิก ตั้งอยู่บริเวณด้านหลังอุทยาน 100 ปี จุฬาฯ รวมทั้งถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับการนำเทคโนโลยีใหม่ๆ มาผสานกับผลงานศิลปะ ทำให้ดิจิทัลอาร์ตน่าสนใจมากยิ่งขึ้น ตลอดจนพัฒนาองค์ความรู้ด้านดิจิทัลอาร์ตผ่านกิจกรรมต่างๆ เช่น โครงการประกวด และเวิร์คช็อปต่างๆ “FAAMAI Digital Arts Hub เป็นศูนย์รวมองค์ความรู้ และงานด้านดิจิทัลอาร์ตของนิสิต นักศึกษา นักวิจัย ศิลปินไทยและต่างประเทศ ตลอดจนบุคคลทั่วไป เพื่อเป็นการพัฒนาศักยภาพของนิสิตและคณาจารย์ในด้านดิจิทัลอาร์ตให้ทัดเทียมกับระดับนานาชาติ ทั้งในแง่ของการสร้างสรรค์ผลงานและความรู้ในด้านเทคโนโลยีใหม่ ในระยะยาวก่อให้เกิดการขับเคลื่อนด้านเศรษฐกิจของประเทศนอกจากกิจกรรมทางศิลปะแล้ว พื้นที่นี้ ยังเปิดให้บริการแก่หน่วยงานและองค์กรภายนอก เพื่อใช้สำหรับจัดกิจกรรมต่างๆ เช่น นิทรรศการ อีเว้นท์ งานประชุม ฯลฯ เพื่อสร้างโอกาสทางธุรกิจ และสร้างภาพลักษณ์ให้สินค้าและบริการให้มีความเป็นนวัตกรรม ตื่นเต้น และทันสมัย รวมทั้งเพื่อกระตุ้นให้เกิดกิจกรรมในชุมชน สร้างความตื่นตัวและสีสัน สร้างการมีส่วนร่วมและความภาคภูมิใจให้คนในชุมชน ตลอดจนสร้างรายได้ให้กับร้านค้าในชุมชนอีกด้วย” ผู้อำนวยการโครงการฯ กล่าวเสริม ศ.ดร.บุษกร บิณฑสันต์ คณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาฯ เปิดเผยว่า คณะฯ มีพันธกิจในการผลิตศิลปินบัณฑิตที่มีความรู้ความชำนาญด้านทักษะและความคิดสร้างสรรค์ เป็นผู้ริเริ่ม บุกเบิก แสวงหา คิดเป็น ทำเป็น แก้ปัญหาเป็น เพื่ออนุรักษ์ส่งเสริมและเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมเพื่อสังคมไทยสืบไป “เมื่อยุคสมัยเปลี่ยนไปสู่ยุคดิจิทัล เราจึงควรใช้ประโยชน์จากสื่อดิจิทัลในมิติของการอนุรักษ์และเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมของชุมชนให้เต็มที่ ซึ่งแต่ละชุมชนก็จะมีศิลปวัฒนธรรมและประเพณีอันเป็นเอกลักษณ์ และมีเสน่ห์เป็นของตัวเอง ดังนั้นเมื่อเกิดดิจิทัลอาร์ตขึ้นจะช่วยให้ง่ายต่อการสร้างการรับรู้ การส่งต่อและเผยแพร่ศิลปะในวงกว้าง ในขณะเดียวกันยังช่วยเปิดโลกทัศน์ในการเรียนรู้สิ่งใหม่ สร้างความรื่นรมย์ ผ่อนคลาย ตลอดจนสร้างความภาคภูมิใจให้กับคนในชุมชนอีกด้วย” ศ.ดร.บุษกร กล่าว ศ.ดร.บุษกร กล่าวเพิ่มเติมว่า บุคลากรและศิลปินด้านดิจิทัลอาร์ตแขนงต่างๆ ในประเทศไทยถือว่ายังมีน้อยเมื่อเทียบกับประเทศอื่นๆ แต่เราก็มีบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญและมีศิลปินที่มีชื่อเสียงในระดับโลกด้วยเช่นกัน ดังนั้นในฐานะที่คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาฯ เป็นแหล่งบ่มเพาะและสร้างศิลปินแขนงต่างๆ จึงควรสนับสนุนและส่งเสริมให้เกิดการตื่นตัวด้านดิจิทัลอาร์ตในประเทศไทยอย่างเป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น เพราะศาสตร์ด้านนี้จะเข้ามามีบทบาทที่สำคัญต่อโลกของเรา หากเราสามารถพัฒนาบุคลากรเพื่อเข้าสู่อุตสาหกรรมนี้ได้ ก็จะส่งผลต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ปัจจุบันนักเรียน นิสิตนักศึกษาให้ความสนใจเข้ามาเรียนเกี่ยวกับดิจิทัลอาร์ตเพิ่มมากขึ้น เพราะคนไทยเป็นหนึ่งในประเทศที่มีบุคลากรที่มีความสามารถและศักยภาพสูง ดังนั้นหากเรายิ่งกระตุ้นให้เยาวชนไทยเห็นความสำคัญของดิจิทัลอาร์ต เราก็จะมีบุคลากรและศิลปินที่ เข้ามาทำงานในตลาดดิจิทัลอาร์ตเพิ่มมากขึ้นเท่านั้น คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาฯ จึงมุ่งสร้างพันธมิตรและเครือข่ายทั้งกับภาครัฐและเอกชน รวมทั้งระดับสากลมาโดยตลอด ไม่ว่าจะเป็นทางด้านองค์ความรู้ทางวิชาการ ด้านเทคโนโลยี และนวัตกรรมใหม่ๆ ตลอดจนศิลปินผู้ผลิตผลงานดิจิทัลอาร์ต โดยร่วมมือกับ Bauhaus University มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงด้านดิจิทัลอาร์ตระดับโลก วางแผนร่วมจัดเวิร์คช็อป ถ่ายทอดองค์ความรู้ให้นิสิตนักศึกษาและบุคลากรของไทย สำหรับกิจกรรมที่จะเกิดขึ้นต่อไปในศูนย์ปฏิบัติการศิลปกรรมดิจิทัล จะเป็นโครงการประกวด “FAAMAI Digital Arts Competition 2020” ในหัวข้อ “New World” (Covid-19, Expectation of New Generation, Global warming, Digital disruption, Generation Gap) จัดการแข่งขันในระดับเยาวชน และระดับอุดมศึกษาอายุไม่เกิน 25 ปี โดยสามารถเลือกส่งผลงานเข้าประกวดได้ 3 ประเภท ได้แก่ Creative Coding, Film & Animation และ Interdisciplinary Art ชิงถ้วยรางวัล ประกาศนียบัตรเชิดชูเกียรติ และ Adobe License ผู้สนใจสามารถสมัคร และส่งผลงานเข้าประกวดได้ตั้งแต่ 3 กันยายน – 31 ตุลาคม 2563 ผู้สนใจกิจกรรมและข่าวสารต่างๆ ของ FAAMAI Digital Arts Hub สามารถติดตามได้ที่ www.chulafaamai.com และ Facebook: Faamai Digital Arts Hub และ IG: faamai_digital_cu tui sakrapee Related Posts เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก รวมบุคคลสำคัญของแต่ละมหาวิทยาลัยไทย มาให้ทุกคนได้รู้กัน !! ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา เปิดรอบ 5 รับตรงอิสระ เรียน 6 สาขา ถึง 20 มิ.ย.นี้ Post navigation PREVIOUS Previous post: สวนสุนันทาจัดพิธีไหว้ครูดนตรี ประจำปี’63NEXT Next post: จุฬาฯ พร้อมคลี่ปมความเห็นต่าง ระดมวิชาการและข้อเท็จจริงพร้อมรับฟังความเห็นที่หลากหลาย Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search tui sakrapee August 28, 2020 tui sakrapee August 28, 2020 จุฬาฯ ร่วมจัดตั้ง “ศูนย์ปฏิบัติการศิลปกรรมดิจิทัล ศูนย์รวมองค์ความรู้ และงานด้านดิจิทัลอาร์ตระดับนานาชาติ จุฬาฯ ร่วมจัดตั้ง “ศูนย์ปฏิบัติการศิลปกรรมดิจิทัล” (FAAMAI Digital Arts Hub) สร้างองค์ความรู้ เร่งพัฒนาศักยภาพบุคลากรไทย ยกระดับประเทศไทยสู่ฮับดิจิทัลอาร์ตของภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมมือสำนักงานจัดการทรัพย์สินจุฬาฯ และปิโก (ไทยแลนด์) จัดตั้ง “ศูนย์ปฏิบัติการศิลปกรรมดิจิทัล” หรือ FAAMAI Digital Arts Hub เป็นศูนย์รวม องค์ความรู้ด้านดิจิทัลอาร์ตของภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ผนวกองค์ความรู้ด้านศิลปะ และเทคโนโลยีด้านดิจิทัล สร้างกระแสตื่นตัวด้านดิจิทัลอาร์ตให้เกิดขึ้นอย่างกว้างขวาง เร่งสร้างคน เติมเต็มความต้องการบุคลากรด้านดิจิทัลอาร์ตที่กำลังขาดแคลนทั่วโลก จนัธ เที่ยงสุรินทร์ ผู้อํานวยการศูนย์ปฏิบัติการศิลปกรรมดิจิทัล หรือ FAAMAI Digital Arts Hub เปิดเผยว่า “ดิจิทัลอาร์ตคือการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะของศิลปิน ควบคู่ไปกับเทคโนโลยี ในบางครั้ง ยังรวมผู้ชมเข้าไปมีปฏิสัมพันธ์กับผลงานได้อีกด้วย เทคโนโลยีดิจิทัลได้เปิดพรมแดนศิลปะแบบใหม่ให้ทั้ง ตัวศิลปินและผู้ชมได้สัมผัสประสบการณ์ใหม่ซึ่งศิลปะแบบดั้งเดิมไม่สามารถทำได้ ในประเทศไทยดิจิทัลอาร์ตเป็นสาขาวิชาที่ยังมีโอกาสเติบโตอีกมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสร้างงานในลักษณะข้ามสาขา ไม่ว่าจะเป็นงานด้านภาพ เสียง หรือศิลปะการแสดง จนัธ กล่าวว่าโครงการศูนย์ปฏิบัติการศิลปกรรมดิจิทัล หรือ FAAMAI (Fine and Applied Arts Multidisciplinary Art Innovation Program) เป็นโครงการที่ริเริ่มโดยคณาจารย์ในคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาฯ ได้รับการสนับสนุนด้านเงินทุนและความช่วยเหลือด้านการบริหารจัดการจากโครงการสร้างเสริมพลังจุฬาฯ กองทุนศตวรรษที่ 2 (C2F) ภายใต้การดูแลของคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาฯ ได้ลงนามความตกลงความร่วมมือกับสำนักงานจัดการทรัพย์สินจุฬาฯ (PMCU) ซึ่งให้ความอนุเคราะห์เรื่องสถานที่ตั้ง ณ บริเวณพื้นที่ด้านข้างอุทยาน 100 ปี จุฬาฯ ตลอดจนสาธารณูปโภคพื้นฐาน และบริษัทปิโก (ไทยแลนด์) จำกัด (มหาชน) ให้ความอนุเคราะห์ในเรื่องโครงสร้างโดมยักษ์ FAAMAI Dome ซึ่งเป็นโดมเส้นผ่านศูนย์กลาง 35 เมตร ความสูง 17.5 เมตร เป็นโดมที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย และเอเชียแปซิฟิก ตั้งอยู่บริเวณด้านหลังอุทยาน 100 ปี จุฬาฯ รวมทั้งถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับการนำเทคโนโลยีใหม่ๆ มาผสานกับผลงานศิลปะ ทำให้ดิจิทัลอาร์ตน่าสนใจมากยิ่งขึ้น ตลอดจนพัฒนาองค์ความรู้ด้านดิจิทัลอาร์ตผ่านกิจกรรมต่างๆ เช่น โครงการประกวด และเวิร์คช็อปต่างๆ “FAAMAI Digital Arts Hub เป็นศูนย์รวมองค์ความรู้ และงานด้านดิจิทัลอาร์ตของนิสิต นักศึกษา นักวิจัย ศิลปินไทยและต่างประเทศ ตลอดจนบุคคลทั่วไป เพื่อเป็นการพัฒนาศักยภาพของนิสิตและคณาจารย์ในด้านดิจิทัลอาร์ตให้ทัดเทียมกับระดับนานาชาติ ทั้งในแง่ของการสร้างสรรค์ผลงานและความรู้ในด้านเทคโนโลยีใหม่ ในระยะยาวก่อให้เกิดการขับเคลื่อนด้านเศรษฐกิจของประเทศนอกจากกิจกรรมทางศิลปะแล้ว พื้นที่นี้ ยังเปิดให้บริการแก่หน่วยงานและองค์กรภายนอก เพื่อใช้สำหรับจัดกิจกรรมต่างๆ เช่น นิทรรศการ อีเว้นท์ งานประชุม ฯลฯ เพื่อสร้างโอกาสทางธุรกิจ และสร้างภาพลักษณ์ให้สินค้าและบริการให้มีความเป็นนวัตกรรม ตื่นเต้น และทันสมัย รวมทั้งเพื่อกระตุ้นให้เกิดกิจกรรมในชุมชน สร้างความตื่นตัวและสีสัน สร้างการมีส่วนร่วมและความภาคภูมิใจให้คนในชุมชน ตลอดจนสร้างรายได้ให้กับร้านค้าในชุมชนอีกด้วย” ผู้อำนวยการโครงการฯ กล่าวเสริม ศ.ดร.บุษกร บิณฑสันต์ คณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาฯ เปิดเผยว่า คณะฯ มีพันธกิจในการผลิตศิลปินบัณฑิตที่มีความรู้ความชำนาญด้านทักษะและความคิดสร้างสรรค์ เป็นผู้ริเริ่ม บุกเบิก แสวงหา คิดเป็น ทำเป็น แก้ปัญหาเป็น เพื่ออนุรักษ์ส่งเสริมและเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมเพื่อสังคมไทยสืบไป “เมื่อยุคสมัยเปลี่ยนไปสู่ยุคดิจิทัล เราจึงควรใช้ประโยชน์จากสื่อดิจิทัลในมิติของการอนุรักษ์และเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมของชุมชนให้เต็มที่ ซึ่งแต่ละชุมชนก็จะมีศิลปวัฒนธรรมและประเพณีอันเป็นเอกลักษณ์ และมีเสน่ห์เป็นของตัวเอง ดังนั้นเมื่อเกิดดิจิทัลอาร์ตขึ้นจะช่วยให้ง่ายต่อการสร้างการรับรู้ การส่งต่อและเผยแพร่ศิลปะในวงกว้าง ในขณะเดียวกันยังช่วยเปิดโลกทัศน์ในการเรียนรู้สิ่งใหม่ สร้างความรื่นรมย์ ผ่อนคลาย ตลอดจนสร้างความภาคภูมิใจให้กับคนในชุมชนอีกด้วย” ศ.ดร.บุษกร กล่าว ศ.ดร.บุษกร กล่าวเพิ่มเติมว่า บุคลากรและศิลปินด้านดิจิทัลอาร์ตแขนงต่างๆ ในประเทศไทยถือว่ายังมีน้อยเมื่อเทียบกับประเทศอื่นๆ แต่เราก็มีบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญและมีศิลปินที่มีชื่อเสียงในระดับโลกด้วยเช่นกัน ดังนั้นในฐานะที่คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาฯ เป็นแหล่งบ่มเพาะและสร้างศิลปินแขนงต่างๆ จึงควรสนับสนุนและส่งเสริมให้เกิดการตื่นตัวด้านดิจิทัลอาร์ตในประเทศไทยอย่างเป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น เพราะศาสตร์ด้านนี้จะเข้ามามีบทบาทที่สำคัญต่อโลกของเรา หากเราสามารถพัฒนาบุคลากรเพื่อเข้าสู่อุตสาหกรรมนี้ได้ ก็จะส่งผลต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ปัจจุบันนักเรียน นิสิตนักศึกษาให้ความสนใจเข้ามาเรียนเกี่ยวกับดิจิทัลอาร์ตเพิ่มมากขึ้น เพราะคนไทยเป็นหนึ่งในประเทศที่มีบุคลากรที่มีความสามารถและศักยภาพสูง ดังนั้นหากเรายิ่งกระตุ้นให้เยาวชนไทยเห็นความสำคัญของดิจิทัลอาร์ต เราก็จะมีบุคลากรและศิลปินที่ เข้ามาทำงานในตลาดดิจิทัลอาร์ตเพิ่มมากขึ้นเท่านั้น คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาฯ จึงมุ่งสร้างพันธมิตรและเครือข่ายทั้งกับภาครัฐและเอกชน รวมทั้งระดับสากลมาโดยตลอด ไม่ว่าจะเป็นทางด้านองค์ความรู้ทางวิชาการ ด้านเทคโนโลยี และนวัตกรรมใหม่ๆ ตลอดจนศิลปินผู้ผลิตผลงานดิจิทัลอาร์ต โดยร่วมมือกับ Bauhaus University มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงด้านดิจิทัลอาร์ตระดับโลก วางแผนร่วมจัดเวิร์คช็อป ถ่ายทอดองค์ความรู้ให้นิสิตนักศึกษาและบุคลากรของไทย สำหรับกิจกรรมที่จะเกิดขึ้นต่อไปในศูนย์ปฏิบัติการศิลปกรรมดิจิทัล จะเป็นโครงการประกวด “FAAMAI Digital Arts Competition 2020” ในหัวข้อ “New World” (Covid-19, Expectation of New Generation, Global warming, Digital disruption, Generation Gap) จัดการแข่งขันในระดับเยาวชน และระดับอุดมศึกษาอายุไม่เกิน 25 ปี โดยสามารถเลือกส่งผลงานเข้าประกวดได้ 3 ประเภท ได้แก่ Creative Coding, Film & Animation และ Interdisciplinary Art ชิงถ้วยรางวัล ประกาศนียบัตรเชิดชูเกียรติ และ Adobe License ผู้สนใจสามารถสมัคร และส่งผลงานเข้าประกวดได้ตั้งแต่ 3 กันยายน – 31 ตุลาคม 2563 ผู้สนใจกิจกรรมและข่าวสารต่างๆ ของ FAAMAI Digital Arts Hub สามารถติดตามได้ที่ www.chulafaamai.com และ Facebook: Faamai Digital Arts Hub และ IG: faamai_digital_cu tui sakrapee Related Posts เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก รวมบุคคลสำคัญของแต่ละมหาวิทยาลัยไทย มาให้ทุกคนได้รู้กัน !! ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา เปิดรอบ 5 รับตรงอิสระ เรียน 6 สาขา ถึง 20 มิ.ย.นี้ Post navigation PREVIOUS Previous post: สวนสุนันทาจัดพิธีไหว้ครูดนตรี ประจำปี’63NEXT Next post: จุฬาฯ พร้อมคลี่ปมความเห็นต่าง ระดมวิชาการและข้อเท็จจริงพร้อมรับฟังความเห็นที่หลากหลาย Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่…
รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่…
คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search tui sakrapee August 28, 2020 tui sakrapee August 28, 2020 จุฬาฯ ร่วมจัดตั้ง “ศูนย์ปฏิบัติการศิลปกรรมดิจิทัล ศูนย์รวมองค์ความรู้ และงานด้านดิจิทัลอาร์ตระดับนานาชาติ จุฬาฯ ร่วมจัดตั้ง “ศูนย์ปฏิบัติการศิลปกรรมดิจิทัล” (FAAMAI Digital Arts Hub) สร้างองค์ความรู้ เร่งพัฒนาศักยภาพบุคลากรไทย ยกระดับประเทศไทยสู่ฮับดิจิทัลอาร์ตของภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมมือสำนักงานจัดการทรัพย์สินจุฬาฯ และปิโก (ไทยแลนด์) จัดตั้ง “ศูนย์ปฏิบัติการศิลปกรรมดิจิทัล” หรือ FAAMAI Digital Arts Hub เป็นศูนย์รวม องค์ความรู้ด้านดิจิทัลอาร์ตของภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ผนวกองค์ความรู้ด้านศิลปะ และเทคโนโลยีด้านดิจิทัล สร้างกระแสตื่นตัวด้านดิจิทัลอาร์ตให้เกิดขึ้นอย่างกว้างขวาง เร่งสร้างคน เติมเต็มความต้องการบุคลากรด้านดิจิทัลอาร์ตที่กำลังขาดแคลนทั่วโลก จนัธ เที่ยงสุรินทร์ ผู้อํานวยการศูนย์ปฏิบัติการศิลปกรรมดิจิทัล หรือ FAAMAI Digital Arts Hub เปิดเผยว่า “ดิจิทัลอาร์ตคือการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะของศิลปิน ควบคู่ไปกับเทคโนโลยี ในบางครั้ง ยังรวมผู้ชมเข้าไปมีปฏิสัมพันธ์กับผลงานได้อีกด้วย เทคโนโลยีดิจิทัลได้เปิดพรมแดนศิลปะแบบใหม่ให้ทั้ง ตัวศิลปินและผู้ชมได้สัมผัสประสบการณ์ใหม่ซึ่งศิลปะแบบดั้งเดิมไม่สามารถทำได้ ในประเทศไทยดิจิทัลอาร์ตเป็นสาขาวิชาที่ยังมีโอกาสเติบโตอีกมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสร้างงานในลักษณะข้ามสาขา ไม่ว่าจะเป็นงานด้านภาพ เสียง หรือศิลปะการแสดง จนัธ กล่าวว่าโครงการศูนย์ปฏิบัติการศิลปกรรมดิจิทัล หรือ FAAMAI (Fine and Applied Arts Multidisciplinary Art Innovation Program) เป็นโครงการที่ริเริ่มโดยคณาจารย์ในคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาฯ ได้รับการสนับสนุนด้านเงินทุนและความช่วยเหลือด้านการบริหารจัดการจากโครงการสร้างเสริมพลังจุฬาฯ กองทุนศตวรรษที่ 2 (C2F) ภายใต้การดูแลของคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาฯ ได้ลงนามความตกลงความร่วมมือกับสำนักงานจัดการทรัพย์สินจุฬาฯ (PMCU) ซึ่งให้ความอนุเคราะห์เรื่องสถานที่ตั้ง ณ บริเวณพื้นที่ด้านข้างอุทยาน 100 ปี จุฬาฯ ตลอดจนสาธารณูปโภคพื้นฐาน และบริษัทปิโก (ไทยแลนด์) จำกัด (มหาชน) ให้ความอนุเคราะห์ในเรื่องโครงสร้างโดมยักษ์ FAAMAI Dome ซึ่งเป็นโดมเส้นผ่านศูนย์กลาง 35 เมตร ความสูง 17.5 เมตร เป็นโดมที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย และเอเชียแปซิฟิก ตั้งอยู่บริเวณด้านหลังอุทยาน 100 ปี จุฬาฯ รวมทั้งถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับการนำเทคโนโลยีใหม่ๆ มาผสานกับผลงานศิลปะ ทำให้ดิจิทัลอาร์ตน่าสนใจมากยิ่งขึ้น ตลอดจนพัฒนาองค์ความรู้ด้านดิจิทัลอาร์ตผ่านกิจกรรมต่างๆ เช่น โครงการประกวด และเวิร์คช็อปต่างๆ “FAAMAI Digital Arts Hub เป็นศูนย์รวมองค์ความรู้ และงานด้านดิจิทัลอาร์ตของนิสิต นักศึกษา นักวิจัย ศิลปินไทยและต่างประเทศ ตลอดจนบุคคลทั่วไป เพื่อเป็นการพัฒนาศักยภาพของนิสิตและคณาจารย์ในด้านดิจิทัลอาร์ตให้ทัดเทียมกับระดับนานาชาติ ทั้งในแง่ของการสร้างสรรค์ผลงานและความรู้ในด้านเทคโนโลยีใหม่ ในระยะยาวก่อให้เกิดการขับเคลื่อนด้านเศรษฐกิจของประเทศนอกจากกิจกรรมทางศิลปะแล้ว พื้นที่นี้ ยังเปิดให้บริการแก่หน่วยงานและองค์กรภายนอก เพื่อใช้สำหรับจัดกิจกรรมต่างๆ เช่น นิทรรศการ อีเว้นท์ งานประชุม ฯลฯ เพื่อสร้างโอกาสทางธุรกิจ และสร้างภาพลักษณ์ให้สินค้าและบริการให้มีความเป็นนวัตกรรม ตื่นเต้น และทันสมัย รวมทั้งเพื่อกระตุ้นให้เกิดกิจกรรมในชุมชน สร้างความตื่นตัวและสีสัน สร้างการมีส่วนร่วมและความภาคภูมิใจให้คนในชุมชน ตลอดจนสร้างรายได้ให้กับร้านค้าในชุมชนอีกด้วย” ผู้อำนวยการโครงการฯ กล่าวเสริม ศ.ดร.บุษกร บิณฑสันต์ คณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาฯ เปิดเผยว่า คณะฯ มีพันธกิจในการผลิตศิลปินบัณฑิตที่มีความรู้ความชำนาญด้านทักษะและความคิดสร้างสรรค์ เป็นผู้ริเริ่ม บุกเบิก แสวงหา คิดเป็น ทำเป็น แก้ปัญหาเป็น เพื่ออนุรักษ์ส่งเสริมและเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมเพื่อสังคมไทยสืบไป “เมื่อยุคสมัยเปลี่ยนไปสู่ยุคดิจิทัล เราจึงควรใช้ประโยชน์จากสื่อดิจิทัลในมิติของการอนุรักษ์และเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมของชุมชนให้เต็มที่ ซึ่งแต่ละชุมชนก็จะมีศิลปวัฒนธรรมและประเพณีอันเป็นเอกลักษณ์ และมีเสน่ห์เป็นของตัวเอง ดังนั้นเมื่อเกิดดิจิทัลอาร์ตขึ้นจะช่วยให้ง่ายต่อการสร้างการรับรู้ การส่งต่อและเผยแพร่ศิลปะในวงกว้าง ในขณะเดียวกันยังช่วยเปิดโลกทัศน์ในการเรียนรู้สิ่งใหม่ สร้างความรื่นรมย์ ผ่อนคลาย ตลอดจนสร้างความภาคภูมิใจให้กับคนในชุมชนอีกด้วย” ศ.ดร.บุษกร กล่าว ศ.ดร.บุษกร กล่าวเพิ่มเติมว่า บุคลากรและศิลปินด้านดิจิทัลอาร์ตแขนงต่างๆ ในประเทศไทยถือว่ายังมีน้อยเมื่อเทียบกับประเทศอื่นๆ แต่เราก็มีบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญและมีศิลปินที่มีชื่อเสียงในระดับโลกด้วยเช่นกัน ดังนั้นในฐานะที่คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาฯ เป็นแหล่งบ่มเพาะและสร้างศิลปินแขนงต่างๆ จึงควรสนับสนุนและส่งเสริมให้เกิดการตื่นตัวด้านดิจิทัลอาร์ตในประเทศไทยอย่างเป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น เพราะศาสตร์ด้านนี้จะเข้ามามีบทบาทที่สำคัญต่อโลกของเรา หากเราสามารถพัฒนาบุคลากรเพื่อเข้าสู่อุตสาหกรรมนี้ได้ ก็จะส่งผลต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ปัจจุบันนักเรียน นิสิตนักศึกษาให้ความสนใจเข้ามาเรียนเกี่ยวกับดิจิทัลอาร์ตเพิ่มมากขึ้น เพราะคนไทยเป็นหนึ่งในประเทศที่มีบุคลากรที่มีความสามารถและศักยภาพสูง ดังนั้นหากเรายิ่งกระตุ้นให้เยาวชนไทยเห็นความสำคัญของดิจิทัลอาร์ต เราก็จะมีบุคลากรและศิลปินที่ เข้ามาทำงานในตลาดดิจิทัลอาร์ตเพิ่มมากขึ้นเท่านั้น คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาฯ จึงมุ่งสร้างพันธมิตรและเครือข่ายทั้งกับภาครัฐและเอกชน รวมทั้งระดับสากลมาโดยตลอด ไม่ว่าจะเป็นทางด้านองค์ความรู้ทางวิชาการ ด้านเทคโนโลยี และนวัตกรรมใหม่ๆ ตลอดจนศิลปินผู้ผลิตผลงานดิจิทัลอาร์ต โดยร่วมมือกับ Bauhaus University มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงด้านดิจิทัลอาร์ตระดับโลก วางแผนร่วมจัดเวิร์คช็อป ถ่ายทอดองค์ความรู้ให้นิสิตนักศึกษาและบุคลากรของไทย สำหรับกิจกรรมที่จะเกิดขึ้นต่อไปในศูนย์ปฏิบัติการศิลปกรรมดิจิทัล จะเป็นโครงการประกวด “FAAMAI Digital Arts Competition 2020” ในหัวข้อ “New World” (Covid-19, Expectation of New Generation, Global warming, Digital disruption, Generation Gap) จัดการแข่งขันในระดับเยาวชน และระดับอุดมศึกษาอายุไม่เกิน 25 ปี โดยสามารถเลือกส่งผลงานเข้าประกวดได้ 3 ประเภท ได้แก่ Creative Coding, Film & Animation และ Interdisciplinary Art ชิงถ้วยรางวัล ประกาศนียบัตรเชิดชูเกียรติ และ Adobe License ผู้สนใจสามารถสมัคร และส่งผลงานเข้าประกวดได้ตั้งแต่ 3 กันยายน – 31 ตุลาคม 2563 ผู้สนใจกิจกรรมและข่าวสารต่างๆ ของ FAAMAI Digital Arts Hub สามารถติดตามได้ที่ www.chulafaamai.com และ Facebook: Faamai Digital Arts Hub และ IG: faamai_digital_cu tui sakrapee Related Posts เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก รวมบุคคลสำคัญของแต่ละมหาวิทยาลัยไทย มาให้ทุกคนได้รู้กัน !! ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา เปิดรอบ 5 รับตรงอิสระ เรียน 6 สาขา ถึง 20 มิ.ย.นี้ Post navigation PREVIOUS Previous post: สวนสุนันทาจัดพิธีไหว้ครูดนตรี ประจำปี’63NEXT Next post: จุฬาฯ พร้อมคลี่ปมความเห็นต่าง ระดมวิชาการและข้อเท็จจริงพร้อมรับฟังความเห็นที่หลากหลาย Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search tui sakrapee August 28, 2020 tui sakrapee August 28, 2020 จุฬาฯ ร่วมจัดตั้ง “ศูนย์ปฏิบัติการศิลปกรรมดิจิทัล ศูนย์รวมองค์ความรู้ และงานด้านดิจิทัลอาร์ตระดับนานาชาติ จุฬาฯ ร่วมจัดตั้ง “ศูนย์ปฏิบัติการศิลปกรรมดิจิทัล” (FAAMAI Digital Arts Hub) สร้างองค์ความรู้ เร่งพัฒนาศักยภาพบุคลากรไทย ยกระดับประเทศไทยสู่ฮับดิจิทัลอาร์ตของภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมมือสำนักงานจัดการทรัพย์สินจุฬาฯ และปิโก (ไทยแลนด์) จัดตั้ง “ศูนย์ปฏิบัติการศิลปกรรมดิจิทัล” หรือ FAAMAI Digital Arts Hub เป็นศูนย์รวม องค์ความรู้ด้านดิจิทัลอาร์ตของภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ผนวกองค์ความรู้ด้านศิลปะ และเทคโนโลยีด้านดิจิทัล สร้างกระแสตื่นตัวด้านดิจิทัลอาร์ตให้เกิดขึ้นอย่างกว้างขวาง เร่งสร้างคน เติมเต็มความต้องการบุคลากรด้านดิจิทัลอาร์ตที่กำลังขาดแคลนทั่วโลก จนัธ เที่ยงสุรินทร์ ผู้อํานวยการศูนย์ปฏิบัติการศิลปกรรมดิจิทัล หรือ FAAMAI Digital Arts Hub เปิดเผยว่า “ดิจิทัลอาร์ตคือการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะของศิลปิน ควบคู่ไปกับเทคโนโลยี ในบางครั้ง ยังรวมผู้ชมเข้าไปมีปฏิสัมพันธ์กับผลงานได้อีกด้วย เทคโนโลยีดิจิทัลได้เปิดพรมแดนศิลปะแบบใหม่ให้ทั้ง ตัวศิลปินและผู้ชมได้สัมผัสประสบการณ์ใหม่ซึ่งศิลปะแบบดั้งเดิมไม่สามารถทำได้ ในประเทศไทยดิจิทัลอาร์ตเป็นสาขาวิชาที่ยังมีโอกาสเติบโตอีกมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสร้างงานในลักษณะข้ามสาขา ไม่ว่าจะเป็นงานด้านภาพ เสียง หรือศิลปะการแสดง จนัธ กล่าวว่าโครงการศูนย์ปฏิบัติการศิลปกรรมดิจิทัล หรือ FAAMAI (Fine and Applied Arts Multidisciplinary Art Innovation Program) เป็นโครงการที่ริเริ่มโดยคณาจารย์ในคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาฯ ได้รับการสนับสนุนด้านเงินทุนและความช่วยเหลือด้านการบริหารจัดการจากโครงการสร้างเสริมพลังจุฬาฯ กองทุนศตวรรษที่ 2 (C2F) ภายใต้การดูแลของคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาฯ ได้ลงนามความตกลงความร่วมมือกับสำนักงานจัดการทรัพย์สินจุฬาฯ (PMCU) ซึ่งให้ความอนุเคราะห์เรื่องสถานที่ตั้ง ณ บริเวณพื้นที่ด้านข้างอุทยาน 100 ปี จุฬาฯ ตลอดจนสาธารณูปโภคพื้นฐาน และบริษัทปิโก (ไทยแลนด์) จำกัด (มหาชน) ให้ความอนุเคราะห์ในเรื่องโครงสร้างโดมยักษ์ FAAMAI Dome ซึ่งเป็นโดมเส้นผ่านศูนย์กลาง 35 เมตร ความสูง 17.5 เมตร เป็นโดมที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย และเอเชียแปซิฟิก ตั้งอยู่บริเวณด้านหลังอุทยาน 100 ปี จุฬาฯ รวมทั้งถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับการนำเทคโนโลยีใหม่ๆ มาผสานกับผลงานศิลปะ ทำให้ดิจิทัลอาร์ตน่าสนใจมากยิ่งขึ้น ตลอดจนพัฒนาองค์ความรู้ด้านดิจิทัลอาร์ตผ่านกิจกรรมต่างๆ เช่น โครงการประกวด และเวิร์คช็อปต่างๆ “FAAMAI Digital Arts Hub เป็นศูนย์รวมองค์ความรู้ และงานด้านดิจิทัลอาร์ตของนิสิต นักศึกษา นักวิจัย ศิลปินไทยและต่างประเทศ ตลอดจนบุคคลทั่วไป เพื่อเป็นการพัฒนาศักยภาพของนิสิตและคณาจารย์ในด้านดิจิทัลอาร์ตให้ทัดเทียมกับระดับนานาชาติ ทั้งในแง่ของการสร้างสรรค์ผลงานและความรู้ในด้านเทคโนโลยีใหม่ ในระยะยาวก่อให้เกิดการขับเคลื่อนด้านเศรษฐกิจของประเทศนอกจากกิจกรรมทางศิลปะแล้ว พื้นที่นี้ ยังเปิดให้บริการแก่หน่วยงานและองค์กรภายนอก เพื่อใช้สำหรับจัดกิจกรรมต่างๆ เช่น นิทรรศการ อีเว้นท์ งานประชุม ฯลฯ เพื่อสร้างโอกาสทางธุรกิจ และสร้างภาพลักษณ์ให้สินค้าและบริการให้มีความเป็นนวัตกรรม ตื่นเต้น และทันสมัย รวมทั้งเพื่อกระตุ้นให้เกิดกิจกรรมในชุมชน สร้างความตื่นตัวและสีสัน สร้างการมีส่วนร่วมและความภาคภูมิใจให้คนในชุมชน ตลอดจนสร้างรายได้ให้กับร้านค้าในชุมชนอีกด้วย” ผู้อำนวยการโครงการฯ กล่าวเสริม ศ.ดร.บุษกร บิณฑสันต์ คณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาฯ เปิดเผยว่า คณะฯ มีพันธกิจในการผลิตศิลปินบัณฑิตที่มีความรู้ความชำนาญด้านทักษะและความคิดสร้างสรรค์ เป็นผู้ริเริ่ม บุกเบิก แสวงหา คิดเป็น ทำเป็น แก้ปัญหาเป็น เพื่ออนุรักษ์ส่งเสริมและเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมเพื่อสังคมไทยสืบไป “เมื่อยุคสมัยเปลี่ยนไปสู่ยุคดิจิทัล เราจึงควรใช้ประโยชน์จากสื่อดิจิทัลในมิติของการอนุรักษ์และเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมของชุมชนให้เต็มที่ ซึ่งแต่ละชุมชนก็จะมีศิลปวัฒนธรรมและประเพณีอันเป็นเอกลักษณ์ และมีเสน่ห์เป็นของตัวเอง ดังนั้นเมื่อเกิดดิจิทัลอาร์ตขึ้นจะช่วยให้ง่ายต่อการสร้างการรับรู้ การส่งต่อและเผยแพร่ศิลปะในวงกว้าง ในขณะเดียวกันยังช่วยเปิดโลกทัศน์ในการเรียนรู้สิ่งใหม่ สร้างความรื่นรมย์ ผ่อนคลาย ตลอดจนสร้างความภาคภูมิใจให้กับคนในชุมชนอีกด้วย” ศ.ดร.บุษกร กล่าว ศ.ดร.บุษกร กล่าวเพิ่มเติมว่า บุคลากรและศิลปินด้านดิจิทัลอาร์ตแขนงต่างๆ ในประเทศไทยถือว่ายังมีน้อยเมื่อเทียบกับประเทศอื่นๆ แต่เราก็มีบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญและมีศิลปินที่มีชื่อเสียงในระดับโลกด้วยเช่นกัน ดังนั้นในฐานะที่คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาฯ เป็นแหล่งบ่มเพาะและสร้างศิลปินแขนงต่างๆ จึงควรสนับสนุนและส่งเสริมให้เกิดการตื่นตัวด้านดิจิทัลอาร์ตในประเทศไทยอย่างเป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น เพราะศาสตร์ด้านนี้จะเข้ามามีบทบาทที่สำคัญต่อโลกของเรา หากเราสามารถพัฒนาบุคลากรเพื่อเข้าสู่อุตสาหกรรมนี้ได้ ก็จะส่งผลต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ปัจจุบันนักเรียน นิสิตนักศึกษาให้ความสนใจเข้ามาเรียนเกี่ยวกับดิจิทัลอาร์ตเพิ่มมากขึ้น เพราะคนไทยเป็นหนึ่งในประเทศที่มีบุคลากรที่มีความสามารถและศักยภาพสูง ดังนั้นหากเรายิ่งกระตุ้นให้เยาวชนไทยเห็นความสำคัญของดิจิทัลอาร์ต เราก็จะมีบุคลากรและศิลปินที่ เข้ามาทำงานในตลาดดิจิทัลอาร์ตเพิ่มมากขึ้นเท่านั้น คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาฯ จึงมุ่งสร้างพันธมิตรและเครือข่ายทั้งกับภาครัฐและเอกชน รวมทั้งระดับสากลมาโดยตลอด ไม่ว่าจะเป็นทางด้านองค์ความรู้ทางวิชาการ ด้านเทคโนโลยี และนวัตกรรมใหม่ๆ ตลอดจนศิลปินผู้ผลิตผลงานดิจิทัลอาร์ต โดยร่วมมือกับ Bauhaus University มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงด้านดิจิทัลอาร์ตระดับโลก วางแผนร่วมจัดเวิร์คช็อป ถ่ายทอดองค์ความรู้ให้นิสิตนักศึกษาและบุคลากรของไทย สำหรับกิจกรรมที่จะเกิดขึ้นต่อไปในศูนย์ปฏิบัติการศิลปกรรมดิจิทัล จะเป็นโครงการประกวด “FAAMAI Digital Arts Competition 2020” ในหัวข้อ “New World” (Covid-19, Expectation of New Generation, Global warming, Digital disruption, Generation Gap) จัดการแข่งขันในระดับเยาวชน และระดับอุดมศึกษาอายุไม่เกิน 25 ปี โดยสามารถเลือกส่งผลงานเข้าประกวดได้ 3 ประเภท ได้แก่ Creative Coding, Film & Animation และ Interdisciplinary Art ชิงถ้วยรางวัล ประกาศนียบัตรเชิดชูเกียรติ และ Adobe License ผู้สนใจสามารถสมัคร และส่งผลงานเข้าประกวดได้ตั้งแต่ 3 กันยายน – 31 ตุลาคม 2563 ผู้สนใจกิจกรรมและข่าวสารต่างๆ ของ FAAMAI Digital Arts Hub สามารถติดตามได้ที่ www.chulafaamai.com และ Facebook: Faamai Digital Arts Hub และ IG: faamai_digital_cu tui sakrapee Related Posts เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก รวมบุคคลสำคัญของแต่ละมหาวิทยาลัยไทย มาให้ทุกคนได้รู้กัน !! ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา เปิดรอบ 5 รับตรงอิสระ เรียน 6 สาขา ถึง 20 มิ.ย.นี้ Post navigation PREVIOUS Previous post: สวนสุนันทาจัดพิธีไหว้ครูดนตรี ประจำปี’63NEXT Next post: จุฬาฯ พร้อมคลี่ปมความเห็นต่าง ระดมวิชาการและข้อเท็จจริงพร้อมรับฟังความเห็นที่หลากหลาย Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief…
เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief…
“40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search tui sakrapee August 28, 2020 tui sakrapee August 28, 2020 จุฬาฯ ร่วมจัดตั้ง “ศูนย์ปฏิบัติการศิลปกรรมดิจิทัล ศูนย์รวมองค์ความรู้ และงานด้านดิจิทัลอาร์ตระดับนานาชาติ จุฬาฯ ร่วมจัดตั้ง “ศูนย์ปฏิบัติการศิลปกรรมดิจิทัล” (FAAMAI Digital Arts Hub) สร้างองค์ความรู้ เร่งพัฒนาศักยภาพบุคลากรไทย ยกระดับประเทศไทยสู่ฮับดิจิทัลอาร์ตของภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมมือสำนักงานจัดการทรัพย์สินจุฬาฯ และปิโก (ไทยแลนด์) จัดตั้ง “ศูนย์ปฏิบัติการศิลปกรรมดิจิทัล” หรือ FAAMAI Digital Arts Hub เป็นศูนย์รวม องค์ความรู้ด้านดิจิทัลอาร์ตของภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ผนวกองค์ความรู้ด้านศิลปะ และเทคโนโลยีด้านดิจิทัล สร้างกระแสตื่นตัวด้านดิจิทัลอาร์ตให้เกิดขึ้นอย่างกว้างขวาง เร่งสร้างคน เติมเต็มความต้องการบุคลากรด้านดิจิทัลอาร์ตที่กำลังขาดแคลนทั่วโลก จนัธ เที่ยงสุรินทร์ ผู้อํานวยการศูนย์ปฏิบัติการศิลปกรรมดิจิทัล หรือ FAAMAI Digital Arts Hub เปิดเผยว่า “ดิจิทัลอาร์ตคือการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะของศิลปิน ควบคู่ไปกับเทคโนโลยี ในบางครั้ง ยังรวมผู้ชมเข้าไปมีปฏิสัมพันธ์กับผลงานได้อีกด้วย เทคโนโลยีดิจิทัลได้เปิดพรมแดนศิลปะแบบใหม่ให้ทั้ง ตัวศิลปินและผู้ชมได้สัมผัสประสบการณ์ใหม่ซึ่งศิลปะแบบดั้งเดิมไม่สามารถทำได้ ในประเทศไทยดิจิทัลอาร์ตเป็นสาขาวิชาที่ยังมีโอกาสเติบโตอีกมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสร้างงานในลักษณะข้ามสาขา ไม่ว่าจะเป็นงานด้านภาพ เสียง หรือศิลปะการแสดง จนัธ กล่าวว่าโครงการศูนย์ปฏิบัติการศิลปกรรมดิจิทัล หรือ FAAMAI (Fine and Applied Arts Multidisciplinary Art Innovation Program) เป็นโครงการที่ริเริ่มโดยคณาจารย์ในคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาฯ ได้รับการสนับสนุนด้านเงินทุนและความช่วยเหลือด้านการบริหารจัดการจากโครงการสร้างเสริมพลังจุฬาฯ กองทุนศตวรรษที่ 2 (C2F) ภายใต้การดูแลของคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาฯ ได้ลงนามความตกลงความร่วมมือกับสำนักงานจัดการทรัพย์สินจุฬาฯ (PMCU) ซึ่งให้ความอนุเคราะห์เรื่องสถานที่ตั้ง ณ บริเวณพื้นที่ด้านข้างอุทยาน 100 ปี จุฬาฯ ตลอดจนสาธารณูปโภคพื้นฐาน และบริษัทปิโก (ไทยแลนด์) จำกัด (มหาชน) ให้ความอนุเคราะห์ในเรื่องโครงสร้างโดมยักษ์ FAAMAI Dome ซึ่งเป็นโดมเส้นผ่านศูนย์กลาง 35 เมตร ความสูง 17.5 เมตร เป็นโดมที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย และเอเชียแปซิฟิก ตั้งอยู่บริเวณด้านหลังอุทยาน 100 ปี จุฬาฯ รวมทั้งถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับการนำเทคโนโลยีใหม่ๆ มาผสานกับผลงานศิลปะ ทำให้ดิจิทัลอาร์ตน่าสนใจมากยิ่งขึ้น ตลอดจนพัฒนาองค์ความรู้ด้านดิจิทัลอาร์ตผ่านกิจกรรมต่างๆ เช่น โครงการประกวด และเวิร์คช็อปต่างๆ “FAAMAI Digital Arts Hub เป็นศูนย์รวมองค์ความรู้ และงานด้านดิจิทัลอาร์ตของนิสิต นักศึกษา นักวิจัย ศิลปินไทยและต่างประเทศ ตลอดจนบุคคลทั่วไป เพื่อเป็นการพัฒนาศักยภาพของนิสิตและคณาจารย์ในด้านดิจิทัลอาร์ตให้ทัดเทียมกับระดับนานาชาติ ทั้งในแง่ของการสร้างสรรค์ผลงานและความรู้ในด้านเทคโนโลยีใหม่ ในระยะยาวก่อให้เกิดการขับเคลื่อนด้านเศรษฐกิจของประเทศนอกจากกิจกรรมทางศิลปะแล้ว พื้นที่นี้ ยังเปิดให้บริการแก่หน่วยงานและองค์กรภายนอก เพื่อใช้สำหรับจัดกิจกรรมต่างๆ เช่น นิทรรศการ อีเว้นท์ งานประชุม ฯลฯ เพื่อสร้างโอกาสทางธุรกิจ และสร้างภาพลักษณ์ให้สินค้าและบริการให้มีความเป็นนวัตกรรม ตื่นเต้น และทันสมัย รวมทั้งเพื่อกระตุ้นให้เกิดกิจกรรมในชุมชน สร้างความตื่นตัวและสีสัน สร้างการมีส่วนร่วมและความภาคภูมิใจให้คนในชุมชน ตลอดจนสร้างรายได้ให้กับร้านค้าในชุมชนอีกด้วย” ผู้อำนวยการโครงการฯ กล่าวเสริม ศ.ดร.บุษกร บิณฑสันต์ คณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาฯ เปิดเผยว่า คณะฯ มีพันธกิจในการผลิตศิลปินบัณฑิตที่มีความรู้ความชำนาญด้านทักษะและความคิดสร้างสรรค์ เป็นผู้ริเริ่ม บุกเบิก แสวงหา คิดเป็น ทำเป็น แก้ปัญหาเป็น เพื่ออนุรักษ์ส่งเสริมและเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมเพื่อสังคมไทยสืบไป “เมื่อยุคสมัยเปลี่ยนไปสู่ยุคดิจิทัล เราจึงควรใช้ประโยชน์จากสื่อดิจิทัลในมิติของการอนุรักษ์และเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมของชุมชนให้เต็มที่ ซึ่งแต่ละชุมชนก็จะมีศิลปวัฒนธรรมและประเพณีอันเป็นเอกลักษณ์ และมีเสน่ห์เป็นของตัวเอง ดังนั้นเมื่อเกิดดิจิทัลอาร์ตขึ้นจะช่วยให้ง่ายต่อการสร้างการรับรู้ การส่งต่อและเผยแพร่ศิลปะในวงกว้าง ในขณะเดียวกันยังช่วยเปิดโลกทัศน์ในการเรียนรู้สิ่งใหม่ สร้างความรื่นรมย์ ผ่อนคลาย ตลอดจนสร้างความภาคภูมิใจให้กับคนในชุมชนอีกด้วย” ศ.ดร.บุษกร กล่าว ศ.ดร.บุษกร กล่าวเพิ่มเติมว่า บุคลากรและศิลปินด้านดิจิทัลอาร์ตแขนงต่างๆ ในประเทศไทยถือว่ายังมีน้อยเมื่อเทียบกับประเทศอื่นๆ แต่เราก็มีบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญและมีศิลปินที่มีชื่อเสียงในระดับโลกด้วยเช่นกัน ดังนั้นในฐานะที่คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาฯ เป็นแหล่งบ่มเพาะและสร้างศิลปินแขนงต่างๆ จึงควรสนับสนุนและส่งเสริมให้เกิดการตื่นตัวด้านดิจิทัลอาร์ตในประเทศไทยอย่างเป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น เพราะศาสตร์ด้านนี้จะเข้ามามีบทบาทที่สำคัญต่อโลกของเรา หากเราสามารถพัฒนาบุคลากรเพื่อเข้าสู่อุตสาหกรรมนี้ได้ ก็จะส่งผลต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ปัจจุบันนักเรียน นิสิตนักศึกษาให้ความสนใจเข้ามาเรียนเกี่ยวกับดิจิทัลอาร์ตเพิ่มมากขึ้น เพราะคนไทยเป็นหนึ่งในประเทศที่มีบุคลากรที่มีความสามารถและศักยภาพสูง ดังนั้นหากเรายิ่งกระตุ้นให้เยาวชนไทยเห็นความสำคัญของดิจิทัลอาร์ต เราก็จะมีบุคลากรและศิลปินที่ เข้ามาทำงานในตลาดดิจิทัลอาร์ตเพิ่มมากขึ้นเท่านั้น คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาฯ จึงมุ่งสร้างพันธมิตรและเครือข่ายทั้งกับภาครัฐและเอกชน รวมทั้งระดับสากลมาโดยตลอด ไม่ว่าจะเป็นทางด้านองค์ความรู้ทางวิชาการ ด้านเทคโนโลยี และนวัตกรรมใหม่ๆ ตลอดจนศิลปินผู้ผลิตผลงานดิจิทัลอาร์ต โดยร่วมมือกับ Bauhaus University มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงด้านดิจิทัลอาร์ตระดับโลก วางแผนร่วมจัดเวิร์คช็อป ถ่ายทอดองค์ความรู้ให้นิสิตนักศึกษาและบุคลากรของไทย สำหรับกิจกรรมที่จะเกิดขึ้นต่อไปในศูนย์ปฏิบัติการศิลปกรรมดิจิทัล จะเป็นโครงการประกวด “FAAMAI Digital Arts Competition 2020” ในหัวข้อ “New World” (Covid-19, Expectation of New Generation, Global warming, Digital disruption, Generation Gap) จัดการแข่งขันในระดับเยาวชน และระดับอุดมศึกษาอายุไม่เกิน 25 ปี โดยสามารถเลือกส่งผลงานเข้าประกวดได้ 3 ประเภท ได้แก่ Creative Coding, Film & Animation และ Interdisciplinary Art ชิงถ้วยรางวัล ประกาศนียบัตรเชิดชูเกียรติ และ Adobe License ผู้สนใจสามารถสมัคร และส่งผลงานเข้าประกวดได้ตั้งแต่ 3 กันยายน – 31 ตุลาคม 2563 ผู้สนใจกิจกรรมและข่าวสารต่างๆ ของ FAAMAI Digital Arts Hub สามารถติดตามได้ที่ www.chulafaamai.com และ Facebook: Faamai Digital Arts Hub และ IG: faamai_digital_cu tui sakrapee Related Posts เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก รวมบุคคลสำคัญของแต่ละมหาวิทยาลัยไทย มาให้ทุกคนได้รู้กัน !! ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา เปิดรอบ 5 รับตรงอิสระ เรียน 6 สาขา ถึง 20 มิ.ย.นี้ Post navigation PREVIOUS Previous post: สวนสุนันทาจัดพิธีไหว้ครูดนตรี ประจำปี’63NEXT Next post: จุฬาฯ พร้อมคลี่ปมความเห็นต่าง ระดมวิชาการและข้อเท็จจริงพร้อมรับฟังความเห็นที่หลากหลาย Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search
ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน…
สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน…
tui sakrapee August 28, 2020 tui sakrapee August 28, 2020 จุฬาฯ ร่วมจัดตั้ง “ศูนย์ปฏิบัติการศิลปกรรมดิจิทัล ศูนย์รวมองค์ความรู้ และงานด้านดิจิทัลอาร์ตระดับนานาชาติ จุฬาฯ ร่วมจัดตั้ง “ศูนย์ปฏิบัติการศิลปกรรมดิจิทัล” (FAAMAI Digital Arts Hub) สร้างองค์ความรู้ เร่งพัฒนาศักยภาพบุคลากรไทย ยกระดับประเทศไทยสู่ฮับดิจิทัลอาร์ตของภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมมือสำนักงานจัดการทรัพย์สินจุฬาฯ และปิโก (ไทยแลนด์) จัดตั้ง “ศูนย์ปฏิบัติการศิลปกรรมดิจิทัล” หรือ FAAMAI Digital Arts Hub เป็นศูนย์รวม องค์ความรู้ด้านดิจิทัลอาร์ตของภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ผนวกองค์ความรู้ด้านศิลปะ และเทคโนโลยีด้านดิจิทัล สร้างกระแสตื่นตัวด้านดิจิทัลอาร์ตให้เกิดขึ้นอย่างกว้างขวาง เร่งสร้างคน เติมเต็มความต้องการบุคลากรด้านดิจิทัลอาร์ตที่กำลังขาดแคลนทั่วโลก จนัธ เที่ยงสุรินทร์ ผู้อํานวยการศูนย์ปฏิบัติการศิลปกรรมดิจิทัล หรือ FAAMAI Digital Arts Hub เปิดเผยว่า “ดิจิทัลอาร์ตคือการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะของศิลปิน ควบคู่ไปกับเทคโนโลยี ในบางครั้ง ยังรวมผู้ชมเข้าไปมีปฏิสัมพันธ์กับผลงานได้อีกด้วย เทคโนโลยีดิจิทัลได้เปิดพรมแดนศิลปะแบบใหม่ให้ทั้ง ตัวศิลปินและผู้ชมได้สัมผัสประสบการณ์ใหม่ซึ่งศิลปะแบบดั้งเดิมไม่สามารถทำได้ ในประเทศไทยดิจิทัลอาร์ตเป็นสาขาวิชาที่ยังมีโอกาสเติบโตอีกมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการสร้างงานในลักษณะข้ามสาขา ไม่ว่าจะเป็นงานด้านภาพ เสียง หรือศิลปะการแสดง จนัธ กล่าวว่าโครงการศูนย์ปฏิบัติการศิลปกรรมดิจิทัล หรือ FAAMAI (Fine and Applied Arts Multidisciplinary Art Innovation Program) เป็นโครงการที่ริเริ่มโดยคณาจารย์ในคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาฯ ได้รับการสนับสนุนด้านเงินทุนและความช่วยเหลือด้านการบริหารจัดการจากโครงการสร้างเสริมพลังจุฬาฯ กองทุนศตวรรษที่ 2 (C2F) ภายใต้การดูแลของคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาฯ ได้ลงนามความตกลงความร่วมมือกับสำนักงานจัดการทรัพย์สินจุฬาฯ (PMCU) ซึ่งให้ความอนุเคราะห์เรื่องสถานที่ตั้ง ณ บริเวณพื้นที่ด้านข้างอุทยาน 100 ปี จุฬาฯ ตลอดจนสาธารณูปโภคพื้นฐาน และบริษัทปิโก (ไทยแลนด์) จำกัด (มหาชน) ให้ความอนุเคราะห์ในเรื่องโครงสร้างโดมยักษ์ FAAMAI Dome ซึ่งเป็นโดมเส้นผ่านศูนย์กลาง 35 เมตร ความสูง 17.5 เมตร เป็นโดมที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย และเอเชียแปซิฟิก ตั้งอยู่บริเวณด้านหลังอุทยาน 100 ปี จุฬาฯ รวมทั้งถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับการนำเทคโนโลยีใหม่ๆ มาผสานกับผลงานศิลปะ ทำให้ดิจิทัลอาร์ตน่าสนใจมากยิ่งขึ้น ตลอดจนพัฒนาองค์ความรู้ด้านดิจิทัลอาร์ตผ่านกิจกรรมต่างๆ เช่น โครงการประกวด และเวิร์คช็อปต่างๆ “FAAMAI Digital Arts Hub เป็นศูนย์รวมองค์ความรู้ และงานด้านดิจิทัลอาร์ตของนิสิต นักศึกษา นักวิจัย ศิลปินไทยและต่างประเทศ ตลอดจนบุคคลทั่วไป เพื่อเป็นการพัฒนาศักยภาพของนิสิตและคณาจารย์ในด้านดิจิทัลอาร์ตให้ทัดเทียมกับระดับนานาชาติ ทั้งในแง่ของการสร้างสรรค์ผลงานและความรู้ในด้านเทคโนโลยีใหม่ ในระยะยาวก่อให้เกิดการขับเคลื่อนด้านเศรษฐกิจของประเทศนอกจากกิจกรรมทางศิลปะแล้ว พื้นที่นี้ ยังเปิดให้บริการแก่หน่วยงานและองค์กรภายนอก เพื่อใช้สำหรับจัดกิจกรรมต่างๆ เช่น นิทรรศการ อีเว้นท์ งานประชุม ฯลฯ เพื่อสร้างโอกาสทางธุรกิจ และสร้างภาพลักษณ์ให้สินค้าและบริการให้มีความเป็นนวัตกรรม ตื่นเต้น และทันสมัย รวมทั้งเพื่อกระตุ้นให้เกิดกิจกรรมในชุมชน สร้างความตื่นตัวและสีสัน สร้างการมีส่วนร่วมและความภาคภูมิใจให้คนในชุมชน ตลอดจนสร้างรายได้ให้กับร้านค้าในชุมชนอีกด้วย” ผู้อำนวยการโครงการฯ กล่าวเสริม ศ.ดร.บุษกร บิณฑสันต์ คณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาฯ เปิดเผยว่า คณะฯ มีพันธกิจในการผลิตศิลปินบัณฑิตที่มีความรู้ความชำนาญด้านทักษะและความคิดสร้างสรรค์ เป็นผู้ริเริ่ม บุกเบิก แสวงหา คิดเป็น ทำเป็น แก้ปัญหาเป็น เพื่ออนุรักษ์ส่งเสริมและเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมเพื่อสังคมไทยสืบไป “เมื่อยุคสมัยเปลี่ยนไปสู่ยุคดิจิทัล เราจึงควรใช้ประโยชน์จากสื่อดิจิทัลในมิติของการอนุรักษ์และเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมของชุมชนให้เต็มที่ ซึ่งแต่ละชุมชนก็จะมีศิลปวัฒนธรรมและประเพณีอันเป็นเอกลักษณ์ และมีเสน่ห์เป็นของตัวเอง ดังนั้นเมื่อเกิดดิจิทัลอาร์ตขึ้นจะช่วยให้ง่ายต่อการสร้างการรับรู้ การส่งต่อและเผยแพร่ศิลปะในวงกว้าง ในขณะเดียวกันยังช่วยเปิดโลกทัศน์ในการเรียนรู้สิ่งใหม่ สร้างความรื่นรมย์ ผ่อนคลาย ตลอดจนสร้างความภาคภูมิใจให้กับคนในชุมชนอีกด้วย” ศ.ดร.บุษกร กล่าว ศ.ดร.บุษกร กล่าวเพิ่มเติมว่า บุคลากรและศิลปินด้านดิจิทัลอาร์ตแขนงต่างๆ ในประเทศไทยถือว่ายังมีน้อยเมื่อเทียบกับประเทศอื่นๆ แต่เราก็มีบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญและมีศิลปินที่มีชื่อเสียงในระดับโลกด้วยเช่นกัน ดังนั้นในฐานะที่คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาฯ เป็นแหล่งบ่มเพาะและสร้างศิลปินแขนงต่างๆ จึงควรสนับสนุนและส่งเสริมให้เกิดการตื่นตัวด้านดิจิทัลอาร์ตในประเทศไทยอย่างเป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น เพราะศาสตร์ด้านนี้จะเข้ามามีบทบาทที่สำคัญต่อโลกของเรา หากเราสามารถพัฒนาบุคลากรเพื่อเข้าสู่อุตสาหกรรมนี้ได้ ก็จะส่งผลต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ปัจจุบันนักเรียน นิสิตนักศึกษาให้ความสนใจเข้ามาเรียนเกี่ยวกับดิจิทัลอาร์ตเพิ่มมากขึ้น เพราะคนไทยเป็นหนึ่งในประเทศที่มีบุคลากรที่มีความสามารถและศักยภาพสูง ดังนั้นหากเรายิ่งกระตุ้นให้เยาวชนไทยเห็นความสำคัญของดิจิทัลอาร์ต เราก็จะมีบุคลากรและศิลปินที่ เข้ามาทำงานในตลาดดิจิทัลอาร์ตเพิ่มมากขึ้นเท่านั้น คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาฯ จึงมุ่งสร้างพันธมิตรและเครือข่ายทั้งกับภาครัฐและเอกชน รวมทั้งระดับสากลมาโดยตลอด ไม่ว่าจะเป็นทางด้านองค์ความรู้ทางวิชาการ ด้านเทคโนโลยี และนวัตกรรมใหม่ๆ ตลอดจนศิลปินผู้ผลิตผลงานดิจิทัลอาร์ต โดยร่วมมือกับ Bauhaus University มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงด้านดิจิทัลอาร์ตระดับโลก วางแผนร่วมจัดเวิร์คช็อป ถ่ายทอดองค์ความรู้ให้นิสิตนักศึกษาและบุคลากรของไทย สำหรับกิจกรรมที่จะเกิดขึ้นต่อไปในศูนย์ปฏิบัติการศิลปกรรมดิจิทัล จะเป็นโครงการประกวด “FAAMAI Digital Arts Competition 2020” ในหัวข้อ “New World” (Covid-19, Expectation of New Generation, Global warming, Digital disruption, Generation Gap) จัดการแข่งขันในระดับเยาวชน และระดับอุดมศึกษาอายุไม่เกิน 25 ปี โดยสามารถเลือกส่งผลงานเข้าประกวดได้ 3 ประเภท ได้แก่ Creative Coding, Film & Animation และ Interdisciplinary Art ชิงถ้วยรางวัล ประกาศนียบัตรเชิดชูเกียรติ และ Adobe License ผู้สนใจสามารถสมัคร และส่งผลงานเข้าประกวดได้ตั้งแต่ 3 กันยายน – 31 ตุลาคม 2563 ผู้สนใจกิจกรรมและข่าวสารต่างๆ ของ FAAMAI Digital Arts Hub สามารถติดตามได้ที่ www.chulafaamai.com และ Facebook: Faamai Digital Arts Hub และ IG: faamai_digital_cu
“40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน
ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก