#DEK68 โอด ควรเลื่อนสอบ หรือไม่? EZ WebmasterDecember 2, 2024 จากกรณีที่กำลังเป็นประเด็นร้อนแรงในตอนนี้ ทั้งใน X และ Facebook เพจ ทปอ. ประกาศเลื่อนสอบ จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง ที่กำลังประสบภัยน้ำท่วมทำให้ เด็กไม่สามารถออกไปสนามสอบได้ การ #เลื่อนสอบทั่วประเทศ จากการสอบถาม และ ได้รับคำตอบมา ก็ยังคงไปเป็นได้ยาก เพราะอาจจะมีผลกระทบกับคนที่ไม่เกี่ยวข้องเป็นจำนวนมาก… สิ่งที่ #dek68 ต้องเตรียมในการเข้าสอบ #TGAT #TPAT #TCAS68 EZ WebmasterDecember 2, 2024 1.เตรียมเอกสารเข้าสอบ ได้แก่ 1.1 บัตรประจำตัวผู้เข้าสอบ พิมพ์ที่ https://student.mytcas.com แบบสีหรือขาวดำก็ได้ น้อง ๆ สามารถเลือกแสดงบัตรประจำตัวผู้เข้าสอบจากหน้าจอโทรศัพท์ได้ แต่ไม่อนุญาตให้นำโทรศัพท์เข้าห้องสอบ ต้องหาที่ฝากเอง (พี่แฮนด์ว่าปริ้นสะดวกกว่าครับ) 1.2 หลักฐานแสดงตน ได้แก่ บัตรประจำตัวประชาชน passport… ซีพี ออลล์-เซเว่นฯ สร้าง “ผู้ประกอบการจิ๋ว” ยกระดับโรงเรียน CONNEXT ED พัฒนาทักษะวิชาการควบคู่วิชาชีพ สร้างรายได้สู่ชุมชน EZ WebmasterNovember 29, 2024 ซีพี ออลล์-เซเว่น อีเลฟเว่น เดินหน้าพลิกโฉมโรงเรียน CONNEXT ED เฟสที่ 6 ผ่านโมเดล “ผู้ประกอบการจิ๋ว” ต่อเนื่อง ดึงผู้บริหาร-ครู-นักเรียน 6 โรงเรียนเจ้าของผลิตภัณฑ์ชุมชนเด่นจาก 6 ภูมิภาค ผ้ามัดย้อมดาวเรือง-กระเป๋าจากกระจูด-ไซรัปอ้อย-กรอบรูปถมทอง-ยาดมสมุนไพรไม้หอม-ข้าวพื้นเมือง ร่วมเวิร์คช็อปพัฒนาทักษะการเป็นผู้ประกอบการ… ครบรอบ 26 ปี “มูลนิธิดำรงชัยธรรม” บนเส้นทางแห่งการให้ด้านการศึกษา เดินหน้าสร้างบุคลากรคุณภาพสู่สังคม EZ WebmasterNovember 29, 2024 “มูลนิธิดำรงชัยธรรม” ก่อตั้งโดย คุณไพบูลย์ ดำรงชัยธรรม ตามเจตนารมณ์ที่จะส่งเสริมและสนับสนุนด้านการศึกษาให้กับเยาวชนของชาติ เพราะการศึกษาถือเป็นรากฐานสำคัญในการพัฒนาศักยภาพอย่างยั่งยืน เพื่อก้าวไปสู่ความสำเร็จในชีวิตและยังเป็นแรงขับเคลื่อนสำคัญในการพัฒนาประเทศ ด้วยเหตุนี้จึงริเริ่มโครงการ “ทุนสร้างคน สร้างบัณฑิต”เพื่อมอบโอกาสด้านการศึกษาให้กับเยาวชนไทยที่เรียนดี ประพฤติดี กิจกรรมเด่น แต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ โดยไม่มีภาระผูกพันต้องใช้คืน มุ่งหวังให้บัณฑิตเป็นคนเก่งและดี สร้างสรรค์สิ่งดีงามกลับคืนสู่สังคม ดังเจตนารมณ์ “ไม่ใช่แค่ให้โตได้ แต่อยากให้โตดี” ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมามูลนิธิดำรงชัยธรรมได้ส่งเสริมสนับสนุนเงินทุนด้านการศึกษา มาอย่างต่อเนื่องเป็นระยะเวลา 26 ปี โดยได้มอบทุนการศึกษาไปแล้วจำนวน 829 ทุน รวมเป็นจำนวนเงินกว่า 350 ล้านบาท และยังคงเดินหน้าสนับสนุนด้านการศึกษา เพื่อสร้างรากฐานของความยั่งยืนให้กับเยาวชนผู้ซึ่งจะเติบโตเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศต่อไปในอนาคต… นักศึกษา #DEK68 โอด ควรเลื่อนสอบ หรือไม่? EZ WebmasterDecember 2, 2024 จากกรณีที่กำลังเป็นประเด็นร้อนแรงในตอนนี้ ทั้งใน X และ Facebook เพจ ทปอ. ประกาศเลื่อนสอบ จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง ที่กำลังประสบภัยน้ำท่วมทำให้ เด็กไม่สามารถออกไปสนามสอบได้ การ #เลื่อนสอบทั่วประเทศ จากการสอบถาม และ ได้รับคำตอบมา ก็ยังคงไปเป็นได้ยาก เพราะอาจจะมีผลกระทบกับคนที่ไม่เกี่ยวข้องเป็นจำนวนมาก… ที่แรกของไทย และใน Southeast Asia! CMMU วิทยาลัยการจัดการ ม.มหิดล ได้รับรองสองมาตรฐานการศึกษาระดับโลก AMBA และ BGA ตอกย้ำเบอร์ 1 สถาบันการศึกษาด้านการจัดการ และเป็นผู้นำด้านความยั่งยืน EZ WebmasterDecember 2, 2024 วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล หรือ CMMUสร้างประวัติศาสตร์หน้าใหม่ของวงการการศึกษาไทย ขึ้นแท่นสถาบันการศึกษาแห่งแรกในประเทศไทยและ Southeast Asia ที่ได้รับรองมาตรฐานคุณภาพการศึกษาด้านบริหารธุรกิจ AMBA (Association of MBAs) และ BGA (Business Graduates Association) ตอกย้ำความเป็นสถาบันการศึกษาระดับแถวหน้าของโลก เบอร์ 1 ด้านหลักสูตรการบริหารจัดการธุรกิจ และเป็นผู้นำด้านความยั่งยืน พร้อมปั้นผู้นำแห่งอนาคตที่ครบเครื่องทั้งความรู้ ความสามารถ และมีจิตสำนึกรับผิดชอบต่อสังคม รองศาสตราจารย์… พิธีถวายปริญญาบัตรแก่พระบัณฑิตและบัณฑิต โครงการการศึกษาพิเศษพระสงฆ์ ณ วัดไตรมิตร tui sakrapeeNovember 29, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดพิธีถวายปริญญาบัตรแก่พระบัณฑิตและบัณฑิต ในโครงการจัดการศึกษาภาคพิเศษสำหรับพระภิกษุสามเณร ณ พระมหามณฑปพระพุทธมหาสุวรรณปฏิมากร วัดไตรมิตรวิทยารามวรวิหาร กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2567 โดยพิธีครั้งนี้สะท้อนถึงความมุ่งมั่นของมหาวิทยาลัยในการส่งเสริมการศึกษาและพัฒนาความรู้แก่คณะสงฆ์ไทย งานเริ่มต้นด้วย รศ.ดร.ฤๅเดช เกิดวิชัย นายกสภามหาวิทยาลัย เป็นประธานฝ่ายฆราวาส นำพานกรวยดอกไม้สดถวายแด่… จิตวิทยาที่สำคัญ สำหรับครู! EZ WebmasterNovember 29, 2024 หนังสือ “จิตวิทยาสำหรับครู” เป็นหนังสือที่มุ่งเน้นหลักการคิดจิตวิทยาสำหรับคุณครู มาประยุกษ์ในการสอนโดยไปถึงการจัดการเรียนการสอนในห้องเรียน หนังสือเล่มนี้มีเป้าหมายเพื่อช่วยครูเข้าใจพัฒนาการทางจิตวิทยาของนักเรียน รวมถึงการเข้าใจและจัดการกับพฤติกรรมต่าง ๆ ที่อาจจะเสี่ยงเกิดขึ้นในห้องเรียน และความหมายสำหรับจิตวิทยาสำหรับมีความหมายดังข้อความต่อไปนี้ เพราะในสมัยโบราณเชื่อกันว่า จิต หรือ วิญญาณ เป็นสิ่งที่เราสามารถที่จะควบคุมอาการหรือกิริยาบทต่างๆ ของร่างกายและยังเป็นตำกำหนดพฤติกรรมของมนุษย์จึงเป็นไปตามความเชื่อและความรู้สึก ซึ่งอาจจะได้รับรู้ของมนุษย์มีขีดจำกัดและไม่ได้มีการศึกษาอย่างมีระเบียบแบบแผนและไม่อาจพิสูจน์ได้จริง แต่ต่อมาเมื่อวิทยาการการศึกษาเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์เจริญก้าวหน้าขึ้น และสังเกตุได้จากการทดลองได้… ทุนดีดี ศอ.บต.จับมือซีพี ออลล์ เปิดให้ 400 ทุน เพื่อเด็กชายแดนใต้เรียนต่อระดับ ปวช. ปวส.และปริญญาตรี tui sakrapeeNovember 20, 2024 ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) ร่วมกับ บริษัท ซีพี ออลล์ จำกัด (มหาชน) จะดำเนินการรับสมัครและคัดเลือกเยาวชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ประกอบไปด้วย จังหวัด สงขลา จังหวัดสตูล จังหวัดปัตตานีจังหวัดยะลา และจังหวัดนราธิวาส เพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)… เปิดให้ทุนเยาวชนขาดแคลนทุนทรัพย์ มีความตั้งใจเรียนต่อระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา tui sakrapeeNovember 8, 2024 มูลนิธิพูนพลัง เปิดโอกาสให้เยาวชนได้เรียนต่อ ในโครงการ ทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2568 สำหรับนักเรียน นักศึกษาที่จะศึกษาในระดับ ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ในปีการศึกษา 2568 ลักษณะโครงการ โครงการทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ แต่มีความตั้งใจศึกษาเล่าเรียน และได้พยายามช่วยเหลือตนเอง… มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… ครู-อาจารย์ สสวท. ร่วมขับเคลื่อนการศึกษาด้วยองค์ความรู้จาก PISA ชวนใช้งานแผนขับเคลื่อนและสื่อออนไลน์เพื่อยกระดับฟรี EZ WebmasterDecember 2, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ร่วมกับทุกภาคส่วนในการขับเคลื่อนเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา โดยใช้องค์ความรู้จาก PISA ในการจัดทำแผนการขับเคลื่อน เอกสาร รวมทั้งสื่อต่าง ๆ เพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้และพัฒนาสมรรถนะด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และการอ่านของนักเรียนให้สูงขึ้น ครู ผู้สนใจสามารถศึกษาแผนการขับเคลื่อน ชุดพัฒนาความฉลาดรู้ วีดิทัศน์การอบรม ตลอดจนสื่อต่าง ๆ… สถาบันวิจัยและพัฒนา มทร.ธัญบุรี จัดงาน”การเผยแพร่ผลสำเร็จและจับคู่ธุรกิจ” ยกระดับผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปด้วยนวัตกรรม tui sakrapeeNovember 29, 2024 เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2567 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ได้จัดงาน “การเผยแพร่ผลสำเร็จและจับคู่ธุรกิจ (Business Matching and Showcase)” ภายใต้กิจกรรมยกระดับและสร้างมูลค่าเพิ่มผลิตภัณฑ์เกษตรแปรรูปด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม (อาหารแปรรูป) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ณ… Degree Plus ส่ง TOP Green หลักสูตรสำหรับผู้บริหารยุคใหม่ ต่อยอด Lifelong Learning สำหรับผู้นำธุรกิจระดับสูงในไทย EZ WebmasterNovember 29, 2024 Degree Plus แพลตฟอร์มการพัฒนาการเรียนรู้สำหรับผู้บริหาร ในเครือ LEARN Corporation ร่วมกับ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดตัว “TOP Green” หลักสูตรที่ออกแบบมาเพื่อพัฒนาผู้บริหารยุคใหม่ที่มุ่งเน้นการขับเคลื่อนธุรกิจในทิศทางของความยั่งยืน โดยมุ่งตอบโจทย์การเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) และเตรียมความพร้อมให้ผู้นำองค์กรระดับสูงในไทยสามารถนำความรู้ด้านความยั่งยืนมาใช้ในการพัฒนาองค์กรให้เติบโตอย่างยั่งยืนทั้งในแง่ของเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม หลักสูตร TOP Green ได้รับความร่วมมือจากภาครัฐและองค์กรชั้นนำ เช่น กรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม, หอการค้าไทยและสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย, ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย, สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และ UN Global… จิตวิทยาที่สำคัญ สำหรับครู! EZ WebmasterNovember 29, 2024 หนังสือ “จิตวิทยาสำหรับครู” เป็นหนังสือที่มุ่งเน้นหลักการคิดจิตวิทยาสำหรับคุณครู มาประยุกษ์ในการสอนโดยไปถึงการจัดการเรียนการสอนในห้องเรียน หนังสือเล่มนี้มีเป้าหมายเพื่อช่วยครูเข้าใจพัฒนาการทางจิตวิทยาของนักเรียน รวมถึงการเข้าใจและจัดการกับพฤติกรรมต่าง ๆ ที่อาจจะเสี่ยงเกิดขึ้นในห้องเรียน และความหมายสำหรับจิตวิทยาสำหรับมีความหมายดังข้อความต่อไปนี้ เพราะในสมัยโบราณเชื่อกันว่า จิต หรือ วิญญาณ เป็นสิ่งที่เราสามารถที่จะควบคุมอาการหรือกิริยาบทต่างๆ ของร่างกายและยังเป็นตำกำหนดพฤติกรรมของมนุษย์จึงเป็นไปตามความเชื่อและความรู้สึก ซึ่งอาจจะได้รับรู้ของมนุษย์มีขีดจำกัดและไม่ได้มีการศึกษาอย่างมีระเบียบแบบแผนและไม่อาจพิสูจน์ได้จริง แต่ต่อมาเมื่อวิทยาการการศึกษาเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์เจริญก้าวหน้าขึ้น และสังเกตุได้จากการทดลองได้… กิจกรรม วิศวกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี จัดอบรม ระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ tui sakrapeeNovember 27, 2024 รองศาสตราจารย์ ดร.สรพงษ์ ภวสุปรีย์ คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) เผยว่า ศูนย์พัฒนาทักษะอุตสาหกรรม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี ร่วมกับภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า จัดโครงการฝึกอบรมหลักสูตร ระบบกักเก็บพลังงานและสถานการณ์การพัฒนาการของแบตเตอรี่ (Energy Storage System (ESS) and The… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI EZ WebmasterNovember 27, 2024 เติบโตอย่างยิ่งใหญ่กว่าที่เคย iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI พร้อมพาวงการครีเอเตอร์ก้าวสู่เส้นทางแห่งไอคอนนิก งานที่รวบรวมเหล่า ครีเอเตอร์กว่า 100 คนเพื่อเปิดโอกาสให้ได้มีส่วนทำงานกับแบรนด์ต่าง ๆ จนได้กระแสตอบรับอย่างล้นหลาม บรรยากาศภายในงานเต็มไปด้วยความคึกคัก ยิ่งใหญ่ ตื่นตาตื่นใจกว่าที่เคยและผู้คนที่หลั่งไหลเข้ามาภายในงานเป็นจำนวนมากเพือมาเข้าร่วมการพูดแบ่งปันประสบการณ์ของเหล่า ครีเอเตอร์… “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” เปิดบ้าน “สวนสุนันทา” วิชาการแน่น บันเทิงสนุก จัดเต็ม 17-18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 27, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม… EMPATHY: วิถีของผู้นำผ่านเวทีนางงามโลก EZ WebmasterNovember 22, 2024 สะเทือน!!! เวทีนางงาม Miss Universe 2024 เมื่อตัวแทนสาวงามจากประเทศไทยน้องโอปอล-สุชาตา ช่วงศรี ตอบคำถามรอบ 5 คนสุดท้ายเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2024 ที่ผ่านมาด้วยน้ำเสียง สายตา ท่าทาง และบุคลิกภาพที่เต็มเปี่ยมไปด้วยความมั่นใจและสง่างามเรียกเสียงปรบมือสนั่นลั่นดินแดนจังโก้ จาก… Search for: Search EZ Webmaster May 4, 2020 EZ Webmaster May 4, 2020 เคลียร์ทุกเรื่อง ที่มา/วิธีการคัดเลือก/วิธีการจัดอันดับ/อะไรคือปัจจัยเสี่ยง Admission 2563 แอดมิชชัน ถือเป็นสิ่งสำคัญมากๆอีกเรื่องหนึ่งในชีวิตของน้องๆ ม.6 ในทุกๆปีนะครับ เพราะถือว่าเป็นสะพานในการพาน้องๆไปสู่ความฝันหรือเป้าหมายที่ต้องการหลังจากฝ่าฝันสอบมาอย่างดุเดือดตลอดปีการศึกษาของ ม.6 ซึ่งแน่นอนว่าน้องๆแต่ละคนก็ต้องการความกระจ่างและความมั่นใจมากที่สุดก่อนที่จะทำการเลือกคณะ ซึ่งก็มีหลากหลายคำถามเข้ามาที่พี่แฮนด์มากมายทั้งวิธีการการเลือก แนวโน้มแต่ละคณะ และคำถามอื่นๆ พี่แฮนด์จึงเขียนบทความเพื่อไขข้อสงสัยในหลายเรื่องสำหรับแอดมิชชัน แอดมิชชัน หรือน้องๆอาจจะเรียกว่าแอดกลาง ก็คือการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา (Central University Admissions System – CUAS ) จัดการคัดเลือกโดย ทปอ. นำมาใช้ครั้งแรกเมื่อปี 2549 แทนการคัดเลือกแบบเอนทรานซ์นั่นเอง ซึ่งจุดประสงค์หลักที่นำระบบแอดมิชชันมาใช้แทนระบบเก่าอย่างเอนทรานซ์ก็เพราะว่า การเอนทรานซ์ จะเน้นในการสอบเพียงอย่างเดียว ทำให้เด็กๆทิ้งการเรียนในห้องเรียน ไปมุ่งมั่นติวกันเพียงอย่างเดียว แต่การแอดมิชชันจะมีการนำเกรดเฉลี่ยในโรงเรียนมาใช้ด้วย ทำให้เด็กๆต้องสนใจวิชาในห้องเรียนไม่สามารถทิ้งได้(แต่สุดท้ายเด็กไทยก็ยังติวกันเหมือนเดิมนะครับ อิๆ) องค์ประกอบของแอดมิชชัน แอดมิชชันจะมีคะแนนรวมทั้ง 30,000 คะแนน จากองค์ประกอบ4ตัว ดังต่อไปนี้ 1.GPAX คือเกรดเฉลี่ยสะสม 6 ภาคเรียน ตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย ม.4-ม.6 ของนักเรียน โดย GPAX ใช้เป็นสัดส่วนในแอดมิชชัน 20% หรือ6,000คะแนนทุกคณะ 2. O-NET (Ordinary National Education Test) หรือการสอบทางการศึกษาแห่งชาติขั้นพื้นฐาน เป็นการสอบพร้อมทั้งหมดของเด็ก ม.6 ทั่วประเทศ จะมีการสอบทั้งหมด 5 วิชาได้แก่ คณิตศาสตร์,ภาษาอังกฤษ,ภาษาไทย,สังคม.วิทยาศาสตร์ โดย O-NET ใช้เป็นสัดส่วนในแอดมิชชัน 30% หรือ9,000คะแนนทุกคณะ 3. GAT (Genetal Aptitude Test) หรือการสอบความถนัดทั่วไป คะแนนเต็ม 300 คะแนน ข้อสอบGAT ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ GAT ไทย ซึ่งจะเน้นเนื้อหาทางด้าน การอ่าน เขียน คิดวิเคราะห์ และ GAT ภาษาอังกฤษ อย่างละ 150 คะแนน โดย GAT ใช้เป็นสัดส่วนในแอดมิชชัน 10-50% หรือ3,000-15,000คะแนนแล้วแต่คณะ 4. PAT (Professional Aptitude Test) หรือการสอบความถนัดทางวิชาชีพ เป็นข้อสอบที่ยากเพราะเป็นเนื่อหาที่ไม่มีสอนในโรงเรียน โดยจะมรทั้งหมด 7 PAT ด้วยกัน ได้แก่ PAT1 คณิตศาสตร์ PAT2 วิทยาศาสตร์ PAT3 พื้นฐานวิศวกรรม PAT4 พื้นฐานสถาปัตยกรรม PAT5 พื้นฐานความเป็นครู PAT6 ศิลปกรรม และPAT7วิชาด้านภาษาอื่นๆนอกเหนือจากภาษาอังกฤษ โดย PAT ใช้เป็นสัดส่วนในแอดมิชชัน 0-40% หรือ0-12,000คะแนนแล้วแต่คณะ สัดส่วนองค์ประกอบแต่ละกลุ่มคณะ สัดส่วนองค์ประกอบของแอดมิชชันจะแบ่งเป็น 13 กลุ่มดังนี้ **จุดสังเกตขององค์ประกอบแต่ละกลุ่มคณะขอให้น้องๆจำง่ายๆว่า GPAX(20%) และ O-NET(30%) มีสัดส่วนคงที่ทุกกลุ่มคณะ แต่ละกลุ่มแตกต่างกันตรง GAT และ PAT เท่านั้น สถิติผู้สมัครและสอบติดแอดมิชชัน พี่แฮนด์เอาสถิติตั้งแต่ปี 53 ที่เริ่มใช้ GAT PAT เป็นปีแรก มาให้ดูกันนะครับ ปี 53 จำนวนผู้สมัคร 98,143 คน มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 70,003 คน หลุดแอดมิชชัน 28,140 คน ปี 54 จำนวนผู้สมัคร 123,260 คน มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 78,096 คน หลุดแอดมิชชัน 45,164 คน ปี 55 จำนวนผู้สมัคร 122,169 คน มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 82,102 คน หลุดแอดมิชชัน 40,067 คน ปี 56 จำนวนผู้สมัคร 113,400 คน มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 83,955 คน หลุดแอดมิชชัน 29,445 คน ปี 57 จำนวนผู้สมัคร 99,767 คน แอดมิชชันติด มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 80,880 คน หลุดแอดมิชชัน 18,887 คน ปี 58 จำนวนผู้สมัคร 124,648 คน แอดมิชชันติด มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 91,813 คน หลุดแอดมิชชัน 32,835 คน ปี 59 จำนวนผู้สมัคร 105,046 คน แอดมิชชันติด มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 85,834 คน หลุดแอดมิชชัน 19,212 คน ปี 60 จำนวนผู้สมัคร 81,232 คน แอดมิชชันติด มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 70,689 คน หลุดแอดมิชชัน 10,543 คน ปี 61 จำนวนผู้สมัคร 54,782 คน แอดมิชชันติด มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 44,476 คน หลุดแอดมิชชัน 10,306 คน ปี 62 จำนวนผู้สมัคร 122,523 คน แอดมิชชันติด มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 52,315 คน หลุดแอดมิชชัน 20,093 คน เห็นจำนวนสถิติอย่างงี้ก็เพิ่งอย่าไปเครียดอะไรนะครับ เพราะที่จริงแล้วยอดผู้สมัครทุกปีนั้น น้อยกว่ายอดรับตามระเบียบการทุกปี แต่ที่มีคนไม่ติดนั้นก็เพราะว่า ส่วนใหญ่ก็จะไปเลือกคณะเดียวกันซะเยอะ ทำให้มีคนหลุดแอดทุกปี และที่สำคัญจะเห็นเลยว่าจำนวนนั้นลดลงเรื่อยๆทุกปี การคิดคะแนนแอดมิชชัน การคิดคะแนน GPAX ใช้ GPAX ร้อยละ 20 GPAX ให้คิดเทียบคะแนนเต็มเป็น 300 คะแนน วิธีคิด 1. ให้นํา GPAX คูณกับ 75 เพื่อแปลงค่าผลการเรียนเฉลี่ยเป็นคะแนนเต็ม 300 คะแนน 2. ให้นําคะแนน GPAX ที่แปลงค่าเป็นคะแนนแล้วคูณกับค่าน้ําหนักที่กําหนด จะได้เป็นคะแนน GPAX ตัวอย่าง ผู้สมัครมีผลการเรียนเฉลี่ย (GPAX) = 2.93 วิธีคิด ขั้นที่ 1 ใ ให้นํา GPAX คูณด้วย 75 จะได้คะแนนดังนี้ คะแนน GPAX (2.93 × 75) = 219.75 คะแนน ขั้นที่ 2 นําคะแนน GPAX คูณด้วยค่าน้ําหนักที่กําหนดไว้ คือ 20% คะแนน GPAX (219.75 × 20) = 4,395 คะแนน จากคะแนนเต็ม 6,000 คะแนน วิธีการคิดคะแนน O-NET 1. ให้นําคะแนนสอบวิชา O-NET แต่ละวิชาของผู้สมัครคูณกับ 3 (กําหนด ให้คะแนนเต็มแต่ละวิชาเท่ากับ 300) 2. นําคะแนนในข้อ 1 คูณกับค่าน้ําหนักที่กําหนด 3. นําคะแนนแต่ละวิชาในข้อ 2 มารวมกันจะได้คะแนนรวมของ O-NET ตัวอย่าง ผู้มัครมีคะแนน O-NET ดังนี้ วิชา 01 = 63.00, 02 = 75.00, 03 = 71.00, 04 = 81.00 05 = 87.00 ขั้นที่ 1 นําคะแนนแต่ละวิชาของผู้สมัครคูณด้วย 3(ยกเว้นวิชา 06 ไม่ต่องคูณ) ดังนี้ คะแนน O-NET วิชา 01 (63.00 × 3) = 189 วิชา 02 (75.00 × 3) = 225 วิชา 03 (71.00 × 3) = 213 วิชา 04 (81.00 × 3) = 243 วิชา 05 (87.00 × 3) = 261 ขั้นที่ 2 นําคะแนนที่คูณด้วย 3 คูณด้วยค่าน้ําหนัก ดังนี้ คะแนน O-NET วิชา 01 (189 × 6) = 1,134 วิชา 02 (225 × 6) = 1,350 วิชา 03 (213 × 6) = 1,278 วิชา 04 (261 × 6) = 1,458 วิชา 05 (261 × 6) = 1,566 ขั้นที่ 3 นําคะแนน O-NET ที่คูณด้วยค่าน้ําหนักแล้ว มารวมกันดังนี้ คะแนน O-NET (1,134 + 1,350 + 1,278 + 1,458 + 1,566) คะแนนรวม O-NET = 6,786 คะแนน (จากคะแนน 9,000 คะแนน) วิธีการคิดคะแนน GAT, PAT 1. นําคะแนนสอบ GAT และ PAT ของผู้สมัครคูณกับค่าน้ําหนักที่กําหนด 2. นําคะแนนแต่ละวิชาจากข้อ 1 มารวมกันจะได้คะแนนรวมของ GAT และ/ PATตัวอย่าง วิธีการคิดคะแนน GAT และ PAT ของผู้สมัครเข้าศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ ต้องการเลือกคณะวิศวกรรมศาสตร์ กําหนดให้สอบ O-NET 5 กลุ่มสาระฯ คือ รหัส 01,02,03,04 และ 05 แต่ละวิชาให้ค่าน้ําหนักร้อยละ 6 วิชา GAT (รหัส 85) ให้ค่าน้ําหนักร้อยละ 15 วิชา PAT 2 (รหัส 72) ให้ค่าน้ําหนักร้อยละ 15 วิชา PAT 3 (รหัส 73) ให้ค่าน้ําหนักร้อยละ 20 ผู้สมัครมีคะแนนแต่ละวิชาดังนี้ วิธีคิดขั้นที่ 1 นําคะแนน GAT และ PAT ของผู้สมัครคูณกับค่าน้ําหนัก คะแนน GAT (265 × 15) = 3,975 คะแนน คะแนน PAT 2 (210 × 15) = 3,150คะแนน คะแนน PAT 3 (250 × 20) = 5,000คะแนน คะแนนรวม GAT และ PAT (3,975 + 3,150 + 5,000) = 12,125 คะแนนการคิดคะแนนรวม คะแนนรวม = คะแนน GPAX + คะแนน O-NET + คะแนน GAT และ/หรือ คะแนน PAT(นำคะแนนทุกอย่างมาบวกกัน) นี่ก็คือวิธีการคิดคะแนนที่ใช้ในการคัดเลือกในระบบแอดมิชชันนะครับ น้องๆคนไหนอยากคิดคะแนนตัวเองก็ลองคิดได้เลยนะครับ แต่อย่าไปคิดบวกเกินให้ตัวเองละ มันไม่ดีเน้อ อิอิ การยื่นเลือกคณะ การยื่นเลือกคณะของแอดมิชชันนั้น ปีนี้จะเลือกกัน หลังจากที่น้องๆม.6 ได้ทราบผลคะแนนทุกตัวที่ใช้เป็นองค์ประกอบแล้ว โดยน้องๆจะสามารถเลือกได้ทั้งหมด 4 อันดับ จะเลือกคณะอะไรมหาวิทยาลัยใดก็ได้ มหาวิทยาลัยเดียวกันก็ได้ โดยจะสมัครทางเว๊บไซท์ http:/mytcas.com/โดยวิธีการคิดเลือกคณะจะเป็นดังนี้1.ระบบจะรวบรวมคะแนนอันดับ1 ของน้องๆ ทุกคนมาเรียงไว้จากมากไปหาน้อย เช่น คณะวิศวะ จุฬา รับ100 คน ระบบก็จะนำคนที่เลือกคณะวิศวะจุฬาทั้งหมดนำคะแนนมาเรียงกัน ใครอยู่อันดับ1-100 ก็คือติดไป *คนที่ไม่เลือกไม่มีสิทธิ์ติดนะครับ*2.ระบบจะเลือกคนที่มีคะแนนมากที่สุด เข้าสู่แต่ละคณะให้ครบตามจำนวนที่รับ คนที่คะแนนไม่ติดคณะใดเลย ถือว่าตกพิจารณาในอันดับแรก ก็จะถูกพิจารณาคะแนนในอันดับที่2 ต่อไป3.เมื่อพิจารณาแล้วพบว่าคะแนนในอันดับ2 สูงกว่าคนที่ผ่านการพิจารณาในรอบแรก คะแนนใหม่ก็จะนำมาแทรก ดังนั้นคนที่ได้คะแนนต่ำสุดในรอบแรกของแต่ละคณะก็จะตกไปถ้าน้องไม่ติดอันดับ 1 ระบบก็จะนำคะแนนของน้องไปแข่งที่อันดับต่อไป ไม่ติดก็จะนำไปอันดับต่อไปเรื่อยๆ จนถึงอันดับ4 โดยถ้าคะแนนถึงอันดับไหนก็จะติดอันดับนั้นเลย ไม่นำคะแนนไปแข่งในอันดับถัดไปและที่สำคัญ จำไว้เลยว่าคะแนนสำคัญกว่าอันดับ ถึงแม้เราเลือกคณะเดียวกับคู่แข่ง แต่เราอันดับ3 คู่แข่งเค้าเลือกไว้อันดับ 1 ถ้าเราไม่ได้ติดอันดับ 1และ 2 จนมาถึงอันดับ3 ถ้าเราคะแนนมากกว่าก็ไม่ต้องกังวลอะไรครับ เราก็ติดก่อนแน่นอน แม้ว่าเราจะเลือกคณะนี้ไว้เป็นอันดับ3ก็ตาม ** เพราะฉะนั้นอันดับแรกเลยของการเลือกคณะคือเลือกคณะที่เราอยากเรียนมากที่สุด อยากเข้าไปที่สุด ไว้อันดับ1 เท่านั้น!! เรียกว่าเลือกตามความฝันไปเลยครับ ไม่ต้องห่วงคะแนน อะไรใดๆทั้งสิ้น เพราะหากติดคณะที่เราไม่อยากเรียน จะได้ไม่ต้องมานั่งเสียใจ เพราะโอกาสมาจากการเลือก ถ้าเราไม่เลือกก็คือไม่มีโอกาส ถึงแม้บางคนจะมองว่าโอกาสจะน้อยนิด แต่ก็ยังถือว่ามีโอกาส ถ้าไม่เลือกเลยโอกาสคือเท่ากับ 0 ครับ!! – การเลือกคณะที่เรียงลงมานั้น ต้องเริ่มคำนึงถึงโอกาสสอบติดมากขึ้นเรื่อยๆ เพื่อเป็นการรองรับกัน ให้น้องๆลองนึกภาพถึงการตกจากที่สูงนะครับ คือตกลงมาแล้ว เบาะชั้น1 รับไม่อยู่ก็ยังมีชั้น2 ชั้น3 ชั้น4 รองรับต่อๆกัน ทำให้ไม่ตกถึงฟื้น(หลุดแอด) โดยการดูโอกาสสอบติดดูได้จากอะไร ส่วนมากที่น้องๆดูก็จะมีคะแนนขั้นต่ำของปีที่ผ่านๆมา แต่ด้วยเทคโนโลยีสมัยนี้น้องๆสามารถนำคะแนนของน้องๆมาประเมินได้จากโปรแกรมประเมินโอกาสต่างๆที่ตอนนี้มีอยู่หลายเว๊บ ซึ่งในอนา่คตรับรองว่าจะมีของ dek ad แน่นอนครับ ยกตัวอย่างการเรียงอันดับ อันดับ1 อย่างที่บอก เลือกไปเลยครับ คณะที่ชอบที่รักที่สุด ไม่ต้องสนใจโอกาสสอบติด ส่วนคณะที่ตามมา ต้องเลือกคณะที่่โอกาสสอบติดเปอร์เซ็นสูงขึ้นเรื่อยๆ เช่น อันดับ2 50% อันดับ3ควร 70-80% อันดับ4ควร 90% ขึ้นไป เอาให้ปลอดภัยที่สุด ให้นอนหลับสบาย แบบไร้กังวลมากที่สุด ประมาณนี้ครับ เพื่อเป็นการรองรับกันและความปลอดภัยป้องกันไม่ให้เกิดการหลุดแอด แต่ถ้าถามว่าถ้าอยากเสี่ยงได้ไหม ก็ต้องแยกเป็นกรณีๆไปเช่นกรณีเด็กซิ่ว มีที่เรียนมหาวิทยาลัยอยู่แล้ว แต่อาจไม่ได้เรียนในคณะที่ชอบอยากมาซิ่วใหม่ ก็เสี่ยงไปเลยครับเต็มที่ หรือน้องๆที่อาจจะติดรับตรงไปแล้วแต่ยังสามารถมาแอดได้ ก็สามารถจัดการความเสี่ยงได้ด้วยตัวเองเต็มที่เช่นกัน แต่สิ่งที่สำคัญสุดไม่ว่าพร้อมเสี่ยงหรือไม่พร้อมเสี่ยงก็คือการวางอันดับ อย่างน้อยๆก็ควรวางอันดับให้เป็นไปตามโอกาสที่น่าจะติด เพราะถ้าวางไปมั่วๆมันก็จะเป็นการเสียอันดับและเสียโอกาสโดยใช่เหตุครับ มาถึงอีกคำถามที่น้องๆถามมามากที่สุดก็คือเรื่องแนวโน้มต่างๆกับจะเช็คได้อย่างไรว่าคณะไหนมีความเสี่ยงมากน้อยเท่าไหร่ เลือกคณะดูแต่คะแนนต่ำสุดได้มั้ย ดูได้ครับ แต่อย่าลืมว่าคะแนนต่ำสุดของคณะต่างๆเมื่อปีแล้ว ไม่ได้เป็นคะแนนที่ตั้งไว้นิ่งๆมันสามารถขยับไปขยับมาได้ เพราะคะแนนมันมาจากการเลือก เพราะฉะนั้นคะแนนมันสามารถขึ้นๆลงๆได้ตลอด ซึ่งสิ่งที่เป็นปัจจัยทำให้คะแนนเปลี่ยนไปจะได้แก่ . 1.คะแนนสอบในแต่ละปี คะแนนสอบในที่นี้หมายถึงคะแนนสอบในแต่ละปีของ O-NET หรือ GAT PAT เพราะถ้าคะแนนเฉลี่ยตัวไหนขึ้นโดดเด่นก็จะพอคาดการณ์ได้เลยครับว่าคณะที่ใช้คะแนนตั้งนั้นในสัดส่วนก็จะมีโอกาสที่คะแนนสอบจะเพิ่มขึ้นอย่างแน่นอน . 2.จำนวนผู้สมัคร(คนเลือกเยอะ) แน่นอนครับคณะไหนหากมีการแข่งขันสูงคือมีผู้สมัครเยอะ คณะนั้นก็จะกลายเป็นคณะยอดฮิตมีคะแนนสูงขึ้นอย่างแน่นอน หรือแค่การดูจำนวนผู้สมัครในบางวิชาเราก็พอจะคาดการณ์ได้แล้วว่าคณะไหนมีแนวโน้มที่คะแนนจะขึ้น . 3.จำนวนการรับนักศึกษา จำนวนรับก็เป็นอีกสิ่งหนึ่งที่ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นจะส่งผลถึงคะแนนอย่างแน่นอน โดยเฉพาะคณะที่มีการปรับจำนวนการรับให้น้อยลงจากปีก่อนเยอะ ก็มีแนวโน้มที่คะแนนปีนี้จะสูงขึ้นอย่างแน่นอน . 4.คณะที่มีการเปลี่ยนเกณฑ์ ในทุกๆปีที่มีคณะที่มีการเปลียนเกณฑ์จะมีการสวิงอย่างเห็นได้ชัด ไม่ว่าจะเป็นคณะพยาบาลเมื่อตอนปี57 ที่มีปรับสัดส่วนการใช้ PAT2 ให้มากขึ้น10% ทำให้คะแนนในปีนั้นพยาบาลต่ำลงมากค่อนข้างเยอะ และส่งมาถึงปีที่ผ่านมาที่ทำให้คะแนนของคณะพยาบาลสวิงขึ้นมาเพราะคนแห่กันเลือกเพราะเห็นว่าคะแนนต่ำนั่นเอง อย่างปีหน้าก็จะมีเปลี่ยนเกณฑ์ของคณะสัตวแพทย์ อันนี้ก็จะมีผลแน่นอน . 5.คณะที่มีคะแนนสวิง(คะแนนต่ำสุดปีที่ผ่านมา ขึ้นๆลงๆ) ถามว่าคณะที่มีคะแนนสวิงจะเกี่ยวอะไร จะเกี่ยวก็ตรงมันมีผลทางจิตวิทยาที่แหละครับ บางคณะที่คะแนนสูงมากๆสูงเกินไปที่ใจเด็กในปีนั้นจะยอมรับก็อาจจะลงลงต่ำเรี่ยดินได้ เพราะว่าการเจียมตัวที่น้องๆเห็นว่าคะแนนสูง คงจะเอื้อมไม่ถึงก็เลยเลือกที่จะมาเลือก ซึ่งตัวอย่างอย่างนี้ก็จะมีให้เห็นแทบทุกปีนะครับ หรือคณะที่คะแนนต่ำมากๆ ก็อาจจะสวิงขึ้นมาสูงปรี๊ดเลยก็ได้เพราะคนจะแห่กันเลือกเพราะเห็นว่าคะแนนมันต่ำมากนั่นเอง . 6.เทรนด์ เทรนด์ในที่นี้ก็จะหมายถึงกระแสความฮิตของวัยรุ่นน้องวัยแอดในแต่ละปีว่ามีความนิยมเรื่องอะไร เรื่องมีความนิยมในคณะอะไร ซึ่งในสมัยก่อนก็จะอาจจะเคยเห็นว่ากระแสคณะนิเทศมาแรงมากๆ หรือในช่วงแอดปี4-5ปีก่อนกระแสคณะในอาชีพเสรีอาเซียนจะกลายเป็นคณะฮิตขึ้นมา ซึ่งในช่วงนี้เท่าที่พี่แฮนด์ดูก็จะเป็นคณะทางสายครูกับทางคณะทางด้านภาษาอังกฤษ หรือเกี่ยวกับกระแสดิจิทัล ที่คนจะสมัครเยอะมีคะแนนสูงขึ้นมา >>>> น้องๆสามารถ ปรึกษาการเลือกคณะแอดมิชชัน ด้วยวิธีง่ายๆเพียง 1. เข้าไปใช้โปรแกรม EZ (EZ ADMISSION) โปรแกรมช่วย ADMISSION ที่มีความแม่นยำสูง ที่สำคัญ ใช้ฟรี!! ได้ที่ >> http://ezadmissions.eduzones.com/ 2. เซฟรูปผลการคำนวณเลือกคณะของน้องๆ 3. นำไปโพสต์ขอคำปรึกษาจากพี่แฮนด์ที่ Line@ P’Hand Eduzones แอดเลยที่ >> @handyeduzones ง่ายๆเพียงเท่านี้ รับรองแอดมิชชั่นปีนี้ น้องๆไม่หลุดชัวร์!!! ครับ ———————————————————————————————————– EZ Webmaster Related Posts #DEK68 โอด ควรเลื่อนสอบ หรือไม่? สิ่งที่ #dek68 ต้องเตรียมในการเข้าสอบ #TGAT #TPAT #TCAS68 ซีพี ออลล์-เซเว่นฯ สร้าง “ผู้ประกอบการจิ๋ว” ยกระดับโรงเรียน CONNEXT ED พัฒนาทักษะวิชาการควบคู่วิชาชีพ สร้างรายได้สู่ชุมชน ครบรอบ 26 ปี “มูลนิธิดำรงชัยธรรม” บนเส้นทางแห่งการให้ด้านการศึกษา เดินหน้าสร้างบุคลากรคุณภาพสู่สังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดตัว ‘ChulaGENIE’ ร่วมกับ Google Cloud Post navigation PREVIOUS Previous post: ผู้นำนักศึกษา มจพ. ขานรับการจัดการเรียนการสอนออนไลน์สู้เชื้อโรค COVID-19NEXT Next post: E-Book Talk Like A Pro โดย อาจารย์วิริยะ ฤๅชัยพาณิชย์
สิ่งที่ #dek68 ต้องเตรียมในการเข้าสอบ #TGAT #TPAT #TCAS68 EZ WebmasterDecember 2, 2024 1.เตรียมเอกสารเข้าสอบ ได้แก่ 1.1 บัตรประจำตัวผู้เข้าสอบ พิมพ์ที่ https://student.mytcas.com แบบสีหรือขาวดำก็ได้ น้อง ๆ สามารถเลือกแสดงบัตรประจำตัวผู้เข้าสอบจากหน้าจอโทรศัพท์ได้ แต่ไม่อนุญาตให้นำโทรศัพท์เข้าห้องสอบ ต้องหาที่ฝากเอง (พี่แฮนด์ว่าปริ้นสะดวกกว่าครับ) 1.2 หลักฐานแสดงตน ได้แก่ บัตรประจำตัวประชาชน passport… ซีพี ออลล์-เซเว่นฯ สร้าง “ผู้ประกอบการจิ๋ว” ยกระดับโรงเรียน CONNEXT ED พัฒนาทักษะวิชาการควบคู่วิชาชีพ สร้างรายได้สู่ชุมชน EZ WebmasterNovember 29, 2024 ซีพี ออลล์-เซเว่น อีเลฟเว่น เดินหน้าพลิกโฉมโรงเรียน CONNEXT ED เฟสที่ 6 ผ่านโมเดล “ผู้ประกอบการจิ๋ว” ต่อเนื่อง ดึงผู้บริหาร-ครู-นักเรียน 6 โรงเรียนเจ้าของผลิตภัณฑ์ชุมชนเด่นจาก 6 ภูมิภาค ผ้ามัดย้อมดาวเรือง-กระเป๋าจากกระจูด-ไซรัปอ้อย-กรอบรูปถมทอง-ยาดมสมุนไพรไม้หอม-ข้าวพื้นเมือง ร่วมเวิร์คช็อปพัฒนาทักษะการเป็นผู้ประกอบการ… ครบรอบ 26 ปี “มูลนิธิดำรงชัยธรรม” บนเส้นทางแห่งการให้ด้านการศึกษา เดินหน้าสร้างบุคลากรคุณภาพสู่สังคม EZ WebmasterNovember 29, 2024 “มูลนิธิดำรงชัยธรรม” ก่อตั้งโดย คุณไพบูลย์ ดำรงชัยธรรม ตามเจตนารมณ์ที่จะส่งเสริมและสนับสนุนด้านการศึกษาให้กับเยาวชนของชาติ เพราะการศึกษาถือเป็นรากฐานสำคัญในการพัฒนาศักยภาพอย่างยั่งยืน เพื่อก้าวไปสู่ความสำเร็จในชีวิตและยังเป็นแรงขับเคลื่อนสำคัญในการพัฒนาประเทศ ด้วยเหตุนี้จึงริเริ่มโครงการ “ทุนสร้างคน สร้างบัณฑิต”เพื่อมอบโอกาสด้านการศึกษาให้กับเยาวชนไทยที่เรียนดี ประพฤติดี กิจกรรมเด่น แต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ โดยไม่มีภาระผูกพันต้องใช้คืน มุ่งหวังให้บัณฑิตเป็นคนเก่งและดี สร้างสรรค์สิ่งดีงามกลับคืนสู่สังคม ดังเจตนารมณ์ “ไม่ใช่แค่ให้โตได้ แต่อยากให้โตดี” ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมามูลนิธิดำรงชัยธรรมได้ส่งเสริมสนับสนุนเงินทุนด้านการศึกษา มาอย่างต่อเนื่องเป็นระยะเวลา 26 ปี โดยได้มอบทุนการศึกษาไปแล้วจำนวน 829 ทุน รวมเป็นจำนวนเงินกว่า 350 ล้านบาท และยังคงเดินหน้าสนับสนุนด้านการศึกษา เพื่อสร้างรากฐานของความยั่งยืนให้กับเยาวชนผู้ซึ่งจะเติบโตเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศต่อไปในอนาคต… นักศึกษา #DEK68 โอด ควรเลื่อนสอบ หรือไม่? EZ WebmasterDecember 2, 2024 จากกรณีที่กำลังเป็นประเด็นร้อนแรงในตอนนี้ ทั้งใน X และ Facebook เพจ ทปอ. ประกาศเลื่อนสอบ จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง ที่กำลังประสบภัยน้ำท่วมทำให้ เด็กไม่สามารถออกไปสนามสอบได้ การ #เลื่อนสอบทั่วประเทศ จากการสอบถาม และ ได้รับคำตอบมา ก็ยังคงไปเป็นได้ยาก เพราะอาจจะมีผลกระทบกับคนที่ไม่เกี่ยวข้องเป็นจำนวนมาก… ที่แรกของไทย และใน Southeast Asia! CMMU วิทยาลัยการจัดการ ม.มหิดล ได้รับรองสองมาตรฐานการศึกษาระดับโลก AMBA และ BGA ตอกย้ำเบอร์ 1 สถาบันการศึกษาด้านการจัดการ และเป็นผู้นำด้านความยั่งยืน EZ WebmasterDecember 2, 2024 วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล หรือ CMMUสร้างประวัติศาสตร์หน้าใหม่ของวงการการศึกษาไทย ขึ้นแท่นสถาบันการศึกษาแห่งแรกในประเทศไทยและ Southeast Asia ที่ได้รับรองมาตรฐานคุณภาพการศึกษาด้านบริหารธุรกิจ AMBA (Association of MBAs) และ BGA (Business Graduates Association) ตอกย้ำความเป็นสถาบันการศึกษาระดับแถวหน้าของโลก เบอร์ 1 ด้านหลักสูตรการบริหารจัดการธุรกิจ และเป็นผู้นำด้านความยั่งยืน พร้อมปั้นผู้นำแห่งอนาคตที่ครบเครื่องทั้งความรู้ ความสามารถ และมีจิตสำนึกรับผิดชอบต่อสังคม รองศาสตราจารย์… พิธีถวายปริญญาบัตรแก่พระบัณฑิตและบัณฑิต โครงการการศึกษาพิเศษพระสงฆ์ ณ วัดไตรมิตร tui sakrapeeNovember 29, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดพิธีถวายปริญญาบัตรแก่พระบัณฑิตและบัณฑิต ในโครงการจัดการศึกษาภาคพิเศษสำหรับพระภิกษุสามเณร ณ พระมหามณฑปพระพุทธมหาสุวรรณปฏิมากร วัดไตรมิตรวิทยารามวรวิหาร กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2567 โดยพิธีครั้งนี้สะท้อนถึงความมุ่งมั่นของมหาวิทยาลัยในการส่งเสริมการศึกษาและพัฒนาความรู้แก่คณะสงฆ์ไทย งานเริ่มต้นด้วย รศ.ดร.ฤๅเดช เกิดวิชัย นายกสภามหาวิทยาลัย เป็นประธานฝ่ายฆราวาส นำพานกรวยดอกไม้สดถวายแด่… จิตวิทยาที่สำคัญ สำหรับครู! EZ WebmasterNovember 29, 2024 หนังสือ “จิตวิทยาสำหรับครู” เป็นหนังสือที่มุ่งเน้นหลักการคิดจิตวิทยาสำหรับคุณครู มาประยุกษ์ในการสอนโดยไปถึงการจัดการเรียนการสอนในห้องเรียน หนังสือเล่มนี้มีเป้าหมายเพื่อช่วยครูเข้าใจพัฒนาการทางจิตวิทยาของนักเรียน รวมถึงการเข้าใจและจัดการกับพฤติกรรมต่าง ๆ ที่อาจจะเสี่ยงเกิดขึ้นในห้องเรียน และความหมายสำหรับจิตวิทยาสำหรับมีความหมายดังข้อความต่อไปนี้ เพราะในสมัยโบราณเชื่อกันว่า จิต หรือ วิญญาณ เป็นสิ่งที่เราสามารถที่จะควบคุมอาการหรือกิริยาบทต่างๆ ของร่างกายและยังเป็นตำกำหนดพฤติกรรมของมนุษย์จึงเป็นไปตามความเชื่อและความรู้สึก ซึ่งอาจจะได้รับรู้ของมนุษย์มีขีดจำกัดและไม่ได้มีการศึกษาอย่างมีระเบียบแบบแผนและไม่อาจพิสูจน์ได้จริง แต่ต่อมาเมื่อวิทยาการการศึกษาเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์เจริญก้าวหน้าขึ้น และสังเกตุได้จากการทดลองได้… ทุนดีดี ศอ.บต.จับมือซีพี ออลล์ เปิดให้ 400 ทุน เพื่อเด็กชายแดนใต้เรียนต่อระดับ ปวช. ปวส.และปริญญาตรี tui sakrapeeNovember 20, 2024 ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) ร่วมกับ บริษัท ซีพี ออลล์ จำกัด (มหาชน) จะดำเนินการรับสมัครและคัดเลือกเยาวชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ประกอบไปด้วย จังหวัด สงขลา จังหวัดสตูล จังหวัดปัตตานีจังหวัดยะลา และจังหวัดนราธิวาส เพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)… เปิดให้ทุนเยาวชนขาดแคลนทุนทรัพย์ มีความตั้งใจเรียนต่อระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา tui sakrapeeNovember 8, 2024 มูลนิธิพูนพลัง เปิดโอกาสให้เยาวชนได้เรียนต่อ ในโครงการ ทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2568 สำหรับนักเรียน นักศึกษาที่จะศึกษาในระดับ ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ในปีการศึกษา 2568 ลักษณะโครงการ โครงการทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ แต่มีความตั้งใจศึกษาเล่าเรียน และได้พยายามช่วยเหลือตนเอง… มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… ครู-อาจารย์ สสวท. ร่วมขับเคลื่อนการศึกษาด้วยองค์ความรู้จาก PISA ชวนใช้งานแผนขับเคลื่อนและสื่อออนไลน์เพื่อยกระดับฟรี EZ WebmasterDecember 2, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ร่วมกับทุกภาคส่วนในการขับเคลื่อนเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา โดยใช้องค์ความรู้จาก PISA ในการจัดทำแผนการขับเคลื่อน เอกสาร รวมทั้งสื่อต่าง ๆ เพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้และพัฒนาสมรรถนะด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และการอ่านของนักเรียนให้สูงขึ้น ครู ผู้สนใจสามารถศึกษาแผนการขับเคลื่อน ชุดพัฒนาความฉลาดรู้ วีดิทัศน์การอบรม ตลอดจนสื่อต่าง ๆ… สถาบันวิจัยและพัฒนา มทร.ธัญบุรี จัดงาน”การเผยแพร่ผลสำเร็จและจับคู่ธุรกิจ” ยกระดับผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปด้วยนวัตกรรม tui sakrapeeNovember 29, 2024 เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2567 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ได้จัดงาน “การเผยแพร่ผลสำเร็จและจับคู่ธุรกิจ (Business Matching and Showcase)” ภายใต้กิจกรรมยกระดับและสร้างมูลค่าเพิ่มผลิตภัณฑ์เกษตรแปรรูปด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม (อาหารแปรรูป) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ณ… Degree Plus ส่ง TOP Green หลักสูตรสำหรับผู้บริหารยุคใหม่ ต่อยอด Lifelong Learning สำหรับผู้นำธุรกิจระดับสูงในไทย EZ WebmasterNovember 29, 2024 Degree Plus แพลตฟอร์มการพัฒนาการเรียนรู้สำหรับผู้บริหาร ในเครือ LEARN Corporation ร่วมกับ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดตัว “TOP Green” หลักสูตรที่ออกแบบมาเพื่อพัฒนาผู้บริหารยุคใหม่ที่มุ่งเน้นการขับเคลื่อนธุรกิจในทิศทางของความยั่งยืน โดยมุ่งตอบโจทย์การเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) และเตรียมความพร้อมให้ผู้นำองค์กรระดับสูงในไทยสามารถนำความรู้ด้านความยั่งยืนมาใช้ในการพัฒนาองค์กรให้เติบโตอย่างยั่งยืนทั้งในแง่ของเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม หลักสูตร TOP Green ได้รับความร่วมมือจากภาครัฐและองค์กรชั้นนำ เช่น กรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม, หอการค้าไทยและสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย, ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย, สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และ UN Global… จิตวิทยาที่สำคัญ สำหรับครู! EZ WebmasterNovember 29, 2024 หนังสือ “จิตวิทยาสำหรับครู” เป็นหนังสือที่มุ่งเน้นหลักการคิดจิตวิทยาสำหรับคุณครู มาประยุกษ์ในการสอนโดยไปถึงการจัดการเรียนการสอนในห้องเรียน หนังสือเล่มนี้มีเป้าหมายเพื่อช่วยครูเข้าใจพัฒนาการทางจิตวิทยาของนักเรียน รวมถึงการเข้าใจและจัดการกับพฤติกรรมต่าง ๆ ที่อาจจะเสี่ยงเกิดขึ้นในห้องเรียน และความหมายสำหรับจิตวิทยาสำหรับมีความหมายดังข้อความต่อไปนี้ เพราะในสมัยโบราณเชื่อกันว่า จิต หรือ วิญญาณ เป็นสิ่งที่เราสามารถที่จะควบคุมอาการหรือกิริยาบทต่างๆ ของร่างกายและยังเป็นตำกำหนดพฤติกรรมของมนุษย์จึงเป็นไปตามความเชื่อและความรู้สึก ซึ่งอาจจะได้รับรู้ของมนุษย์มีขีดจำกัดและไม่ได้มีการศึกษาอย่างมีระเบียบแบบแผนและไม่อาจพิสูจน์ได้จริง แต่ต่อมาเมื่อวิทยาการการศึกษาเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์เจริญก้าวหน้าขึ้น และสังเกตุได้จากการทดลองได้… กิจกรรม วิศวกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี จัดอบรม ระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ tui sakrapeeNovember 27, 2024 รองศาสตราจารย์ ดร.สรพงษ์ ภวสุปรีย์ คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) เผยว่า ศูนย์พัฒนาทักษะอุตสาหกรรม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี ร่วมกับภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า จัดโครงการฝึกอบรมหลักสูตร ระบบกักเก็บพลังงานและสถานการณ์การพัฒนาการของแบตเตอรี่ (Energy Storage System (ESS) and The… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI EZ WebmasterNovember 27, 2024 เติบโตอย่างยิ่งใหญ่กว่าที่เคย iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI พร้อมพาวงการครีเอเตอร์ก้าวสู่เส้นทางแห่งไอคอนนิก งานที่รวบรวมเหล่า ครีเอเตอร์กว่า 100 คนเพื่อเปิดโอกาสให้ได้มีส่วนทำงานกับแบรนด์ต่าง ๆ จนได้กระแสตอบรับอย่างล้นหลาม บรรยากาศภายในงานเต็มไปด้วยความคึกคัก ยิ่งใหญ่ ตื่นตาตื่นใจกว่าที่เคยและผู้คนที่หลั่งไหลเข้ามาภายในงานเป็นจำนวนมากเพือมาเข้าร่วมการพูดแบ่งปันประสบการณ์ของเหล่า ครีเอเตอร์… “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” เปิดบ้าน “สวนสุนันทา” วิชาการแน่น บันเทิงสนุก จัดเต็ม 17-18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 27, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม… EMPATHY: วิถีของผู้นำผ่านเวทีนางงามโลก EZ WebmasterNovember 22, 2024 สะเทือน!!! เวทีนางงาม Miss Universe 2024 เมื่อตัวแทนสาวงามจากประเทศไทยน้องโอปอล-สุชาตา ช่วงศรี ตอบคำถามรอบ 5 คนสุดท้ายเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2024 ที่ผ่านมาด้วยน้ำเสียง สายตา ท่าทาง และบุคลิกภาพที่เต็มเปี่ยมไปด้วยความมั่นใจและสง่างามเรียกเสียงปรบมือสนั่นลั่นดินแดนจังโก้ จาก… Search for: Search EZ Webmaster May 4, 2020 EZ Webmaster May 4, 2020 เคลียร์ทุกเรื่อง ที่มา/วิธีการคัดเลือก/วิธีการจัดอันดับ/อะไรคือปัจจัยเสี่ยง Admission 2563 แอดมิชชัน ถือเป็นสิ่งสำคัญมากๆอีกเรื่องหนึ่งในชีวิตของน้องๆ ม.6 ในทุกๆปีนะครับ เพราะถือว่าเป็นสะพานในการพาน้องๆไปสู่ความฝันหรือเป้าหมายที่ต้องการหลังจากฝ่าฝันสอบมาอย่างดุเดือดตลอดปีการศึกษาของ ม.6 ซึ่งแน่นอนว่าน้องๆแต่ละคนก็ต้องการความกระจ่างและความมั่นใจมากที่สุดก่อนที่จะทำการเลือกคณะ ซึ่งก็มีหลากหลายคำถามเข้ามาที่พี่แฮนด์มากมายทั้งวิธีการการเลือก แนวโน้มแต่ละคณะ และคำถามอื่นๆ พี่แฮนด์จึงเขียนบทความเพื่อไขข้อสงสัยในหลายเรื่องสำหรับแอดมิชชัน แอดมิชชัน หรือน้องๆอาจจะเรียกว่าแอดกลาง ก็คือการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา (Central University Admissions System – CUAS ) จัดการคัดเลือกโดย ทปอ. นำมาใช้ครั้งแรกเมื่อปี 2549 แทนการคัดเลือกแบบเอนทรานซ์นั่นเอง ซึ่งจุดประสงค์หลักที่นำระบบแอดมิชชันมาใช้แทนระบบเก่าอย่างเอนทรานซ์ก็เพราะว่า การเอนทรานซ์ จะเน้นในการสอบเพียงอย่างเดียว ทำให้เด็กๆทิ้งการเรียนในห้องเรียน ไปมุ่งมั่นติวกันเพียงอย่างเดียว แต่การแอดมิชชันจะมีการนำเกรดเฉลี่ยในโรงเรียนมาใช้ด้วย ทำให้เด็กๆต้องสนใจวิชาในห้องเรียนไม่สามารถทิ้งได้(แต่สุดท้ายเด็กไทยก็ยังติวกันเหมือนเดิมนะครับ อิๆ) องค์ประกอบของแอดมิชชัน แอดมิชชันจะมีคะแนนรวมทั้ง 30,000 คะแนน จากองค์ประกอบ4ตัว ดังต่อไปนี้ 1.GPAX คือเกรดเฉลี่ยสะสม 6 ภาคเรียน ตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย ม.4-ม.6 ของนักเรียน โดย GPAX ใช้เป็นสัดส่วนในแอดมิชชัน 20% หรือ6,000คะแนนทุกคณะ 2. O-NET (Ordinary National Education Test) หรือการสอบทางการศึกษาแห่งชาติขั้นพื้นฐาน เป็นการสอบพร้อมทั้งหมดของเด็ก ม.6 ทั่วประเทศ จะมีการสอบทั้งหมด 5 วิชาได้แก่ คณิตศาสตร์,ภาษาอังกฤษ,ภาษาไทย,สังคม.วิทยาศาสตร์ โดย O-NET ใช้เป็นสัดส่วนในแอดมิชชัน 30% หรือ9,000คะแนนทุกคณะ 3. GAT (Genetal Aptitude Test) หรือการสอบความถนัดทั่วไป คะแนนเต็ม 300 คะแนน ข้อสอบGAT ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ GAT ไทย ซึ่งจะเน้นเนื้อหาทางด้าน การอ่าน เขียน คิดวิเคราะห์ และ GAT ภาษาอังกฤษ อย่างละ 150 คะแนน โดย GAT ใช้เป็นสัดส่วนในแอดมิชชัน 10-50% หรือ3,000-15,000คะแนนแล้วแต่คณะ 4. PAT (Professional Aptitude Test) หรือการสอบความถนัดทางวิชาชีพ เป็นข้อสอบที่ยากเพราะเป็นเนื่อหาที่ไม่มีสอนในโรงเรียน โดยจะมรทั้งหมด 7 PAT ด้วยกัน ได้แก่ PAT1 คณิตศาสตร์ PAT2 วิทยาศาสตร์ PAT3 พื้นฐานวิศวกรรม PAT4 พื้นฐานสถาปัตยกรรม PAT5 พื้นฐานความเป็นครู PAT6 ศิลปกรรม และPAT7วิชาด้านภาษาอื่นๆนอกเหนือจากภาษาอังกฤษ โดย PAT ใช้เป็นสัดส่วนในแอดมิชชัน 0-40% หรือ0-12,000คะแนนแล้วแต่คณะ สัดส่วนองค์ประกอบแต่ละกลุ่มคณะ สัดส่วนองค์ประกอบของแอดมิชชันจะแบ่งเป็น 13 กลุ่มดังนี้ **จุดสังเกตขององค์ประกอบแต่ละกลุ่มคณะขอให้น้องๆจำง่ายๆว่า GPAX(20%) และ O-NET(30%) มีสัดส่วนคงที่ทุกกลุ่มคณะ แต่ละกลุ่มแตกต่างกันตรง GAT และ PAT เท่านั้น สถิติผู้สมัครและสอบติดแอดมิชชัน พี่แฮนด์เอาสถิติตั้งแต่ปี 53 ที่เริ่มใช้ GAT PAT เป็นปีแรก มาให้ดูกันนะครับ ปี 53 จำนวนผู้สมัคร 98,143 คน มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 70,003 คน หลุดแอดมิชชัน 28,140 คน ปี 54 จำนวนผู้สมัคร 123,260 คน มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 78,096 คน หลุดแอดมิชชัน 45,164 คน ปี 55 จำนวนผู้สมัคร 122,169 คน มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 82,102 คน หลุดแอดมิชชัน 40,067 คน ปี 56 จำนวนผู้สมัคร 113,400 คน มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 83,955 คน หลุดแอดมิชชัน 29,445 คน ปี 57 จำนวนผู้สมัคร 99,767 คน แอดมิชชันติด มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 80,880 คน หลุดแอดมิชชัน 18,887 คน ปี 58 จำนวนผู้สมัคร 124,648 คน แอดมิชชันติด มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 91,813 คน หลุดแอดมิชชัน 32,835 คน ปี 59 จำนวนผู้สมัคร 105,046 คน แอดมิชชันติด มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 85,834 คน หลุดแอดมิชชัน 19,212 คน ปี 60 จำนวนผู้สมัคร 81,232 คน แอดมิชชันติด มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 70,689 คน หลุดแอดมิชชัน 10,543 คน ปี 61 จำนวนผู้สมัคร 54,782 คน แอดมิชชันติด มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 44,476 คน หลุดแอดมิชชัน 10,306 คน ปี 62 จำนวนผู้สมัคร 122,523 คน แอดมิชชันติด มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 52,315 คน หลุดแอดมิชชัน 20,093 คน เห็นจำนวนสถิติอย่างงี้ก็เพิ่งอย่าไปเครียดอะไรนะครับ เพราะที่จริงแล้วยอดผู้สมัครทุกปีนั้น น้อยกว่ายอดรับตามระเบียบการทุกปี แต่ที่มีคนไม่ติดนั้นก็เพราะว่า ส่วนใหญ่ก็จะไปเลือกคณะเดียวกันซะเยอะ ทำให้มีคนหลุดแอดทุกปี และที่สำคัญจะเห็นเลยว่าจำนวนนั้นลดลงเรื่อยๆทุกปี การคิดคะแนนแอดมิชชัน การคิดคะแนน GPAX ใช้ GPAX ร้อยละ 20 GPAX ให้คิดเทียบคะแนนเต็มเป็น 300 คะแนน วิธีคิด 1. ให้นํา GPAX คูณกับ 75 เพื่อแปลงค่าผลการเรียนเฉลี่ยเป็นคะแนนเต็ม 300 คะแนน 2. ให้นําคะแนน GPAX ที่แปลงค่าเป็นคะแนนแล้วคูณกับค่าน้ําหนักที่กําหนด จะได้เป็นคะแนน GPAX ตัวอย่าง ผู้สมัครมีผลการเรียนเฉลี่ย (GPAX) = 2.93 วิธีคิด ขั้นที่ 1 ใ ให้นํา GPAX คูณด้วย 75 จะได้คะแนนดังนี้ คะแนน GPAX (2.93 × 75) = 219.75 คะแนน ขั้นที่ 2 นําคะแนน GPAX คูณด้วยค่าน้ําหนักที่กําหนดไว้ คือ 20% คะแนน GPAX (219.75 × 20) = 4,395 คะแนน จากคะแนนเต็ม 6,000 คะแนน วิธีการคิดคะแนน O-NET 1. ให้นําคะแนนสอบวิชา O-NET แต่ละวิชาของผู้สมัครคูณกับ 3 (กําหนด ให้คะแนนเต็มแต่ละวิชาเท่ากับ 300) 2. นําคะแนนในข้อ 1 คูณกับค่าน้ําหนักที่กําหนด 3. นําคะแนนแต่ละวิชาในข้อ 2 มารวมกันจะได้คะแนนรวมของ O-NET ตัวอย่าง ผู้มัครมีคะแนน O-NET ดังนี้ วิชา 01 = 63.00, 02 = 75.00, 03 = 71.00, 04 = 81.00 05 = 87.00 ขั้นที่ 1 นําคะแนนแต่ละวิชาของผู้สมัครคูณด้วย 3(ยกเว้นวิชา 06 ไม่ต่องคูณ) ดังนี้ คะแนน O-NET วิชา 01 (63.00 × 3) = 189 วิชา 02 (75.00 × 3) = 225 วิชา 03 (71.00 × 3) = 213 วิชา 04 (81.00 × 3) = 243 วิชา 05 (87.00 × 3) = 261 ขั้นที่ 2 นําคะแนนที่คูณด้วย 3 คูณด้วยค่าน้ําหนัก ดังนี้ คะแนน O-NET วิชา 01 (189 × 6) = 1,134 วิชา 02 (225 × 6) = 1,350 วิชา 03 (213 × 6) = 1,278 วิชา 04 (261 × 6) = 1,458 วิชา 05 (261 × 6) = 1,566 ขั้นที่ 3 นําคะแนน O-NET ที่คูณด้วยค่าน้ําหนักแล้ว มารวมกันดังนี้ คะแนน O-NET (1,134 + 1,350 + 1,278 + 1,458 + 1,566) คะแนนรวม O-NET = 6,786 คะแนน (จากคะแนน 9,000 คะแนน) วิธีการคิดคะแนน GAT, PAT 1. นําคะแนนสอบ GAT และ PAT ของผู้สมัครคูณกับค่าน้ําหนักที่กําหนด 2. นําคะแนนแต่ละวิชาจากข้อ 1 มารวมกันจะได้คะแนนรวมของ GAT และ/ PATตัวอย่าง วิธีการคิดคะแนน GAT และ PAT ของผู้สมัครเข้าศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ ต้องการเลือกคณะวิศวกรรมศาสตร์ กําหนดให้สอบ O-NET 5 กลุ่มสาระฯ คือ รหัส 01,02,03,04 และ 05 แต่ละวิชาให้ค่าน้ําหนักร้อยละ 6 วิชา GAT (รหัส 85) ให้ค่าน้ําหนักร้อยละ 15 วิชา PAT 2 (รหัส 72) ให้ค่าน้ําหนักร้อยละ 15 วิชา PAT 3 (รหัส 73) ให้ค่าน้ําหนักร้อยละ 20 ผู้สมัครมีคะแนนแต่ละวิชาดังนี้ วิธีคิดขั้นที่ 1 นําคะแนน GAT และ PAT ของผู้สมัครคูณกับค่าน้ําหนัก คะแนน GAT (265 × 15) = 3,975 คะแนน คะแนน PAT 2 (210 × 15) = 3,150คะแนน คะแนน PAT 3 (250 × 20) = 5,000คะแนน คะแนนรวม GAT และ PAT (3,975 + 3,150 + 5,000) = 12,125 คะแนนการคิดคะแนนรวม คะแนนรวม = คะแนน GPAX + คะแนน O-NET + คะแนน GAT และ/หรือ คะแนน PAT(นำคะแนนทุกอย่างมาบวกกัน) นี่ก็คือวิธีการคิดคะแนนที่ใช้ในการคัดเลือกในระบบแอดมิชชันนะครับ น้องๆคนไหนอยากคิดคะแนนตัวเองก็ลองคิดได้เลยนะครับ แต่อย่าไปคิดบวกเกินให้ตัวเองละ มันไม่ดีเน้อ อิอิ การยื่นเลือกคณะ การยื่นเลือกคณะของแอดมิชชันนั้น ปีนี้จะเลือกกัน หลังจากที่น้องๆม.6 ได้ทราบผลคะแนนทุกตัวที่ใช้เป็นองค์ประกอบแล้ว โดยน้องๆจะสามารถเลือกได้ทั้งหมด 4 อันดับ จะเลือกคณะอะไรมหาวิทยาลัยใดก็ได้ มหาวิทยาลัยเดียวกันก็ได้ โดยจะสมัครทางเว๊บไซท์ http:/mytcas.com/โดยวิธีการคิดเลือกคณะจะเป็นดังนี้1.ระบบจะรวบรวมคะแนนอันดับ1 ของน้องๆ ทุกคนมาเรียงไว้จากมากไปหาน้อย เช่น คณะวิศวะ จุฬา รับ100 คน ระบบก็จะนำคนที่เลือกคณะวิศวะจุฬาทั้งหมดนำคะแนนมาเรียงกัน ใครอยู่อันดับ1-100 ก็คือติดไป *คนที่ไม่เลือกไม่มีสิทธิ์ติดนะครับ*2.ระบบจะเลือกคนที่มีคะแนนมากที่สุด เข้าสู่แต่ละคณะให้ครบตามจำนวนที่รับ คนที่คะแนนไม่ติดคณะใดเลย ถือว่าตกพิจารณาในอันดับแรก ก็จะถูกพิจารณาคะแนนในอันดับที่2 ต่อไป3.เมื่อพิจารณาแล้วพบว่าคะแนนในอันดับ2 สูงกว่าคนที่ผ่านการพิจารณาในรอบแรก คะแนนใหม่ก็จะนำมาแทรก ดังนั้นคนที่ได้คะแนนต่ำสุดในรอบแรกของแต่ละคณะก็จะตกไปถ้าน้องไม่ติดอันดับ 1 ระบบก็จะนำคะแนนของน้องไปแข่งที่อันดับต่อไป ไม่ติดก็จะนำไปอันดับต่อไปเรื่อยๆ จนถึงอันดับ4 โดยถ้าคะแนนถึงอันดับไหนก็จะติดอันดับนั้นเลย ไม่นำคะแนนไปแข่งในอันดับถัดไปและที่สำคัญ จำไว้เลยว่าคะแนนสำคัญกว่าอันดับ ถึงแม้เราเลือกคณะเดียวกับคู่แข่ง แต่เราอันดับ3 คู่แข่งเค้าเลือกไว้อันดับ 1 ถ้าเราไม่ได้ติดอันดับ 1และ 2 จนมาถึงอันดับ3 ถ้าเราคะแนนมากกว่าก็ไม่ต้องกังวลอะไรครับ เราก็ติดก่อนแน่นอน แม้ว่าเราจะเลือกคณะนี้ไว้เป็นอันดับ3ก็ตาม ** เพราะฉะนั้นอันดับแรกเลยของการเลือกคณะคือเลือกคณะที่เราอยากเรียนมากที่สุด อยากเข้าไปที่สุด ไว้อันดับ1 เท่านั้น!! เรียกว่าเลือกตามความฝันไปเลยครับ ไม่ต้องห่วงคะแนน อะไรใดๆทั้งสิ้น เพราะหากติดคณะที่เราไม่อยากเรียน จะได้ไม่ต้องมานั่งเสียใจ เพราะโอกาสมาจากการเลือก ถ้าเราไม่เลือกก็คือไม่มีโอกาส ถึงแม้บางคนจะมองว่าโอกาสจะน้อยนิด แต่ก็ยังถือว่ามีโอกาส ถ้าไม่เลือกเลยโอกาสคือเท่ากับ 0 ครับ!! – การเลือกคณะที่เรียงลงมานั้น ต้องเริ่มคำนึงถึงโอกาสสอบติดมากขึ้นเรื่อยๆ เพื่อเป็นการรองรับกัน ให้น้องๆลองนึกภาพถึงการตกจากที่สูงนะครับ คือตกลงมาแล้ว เบาะชั้น1 รับไม่อยู่ก็ยังมีชั้น2 ชั้น3 ชั้น4 รองรับต่อๆกัน ทำให้ไม่ตกถึงฟื้น(หลุดแอด) โดยการดูโอกาสสอบติดดูได้จากอะไร ส่วนมากที่น้องๆดูก็จะมีคะแนนขั้นต่ำของปีที่ผ่านๆมา แต่ด้วยเทคโนโลยีสมัยนี้น้องๆสามารถนำคะแนนของน้องๆมาประเมินได้จากโปรแกรมประเมินโอกาสต่างๆที่ตอนนี้มีอยู่หลายเว๊บ ซึ่งในอนา่คตรับรองว่าจะมีของ dek ad แน่นอนครับ ยกตัวอย่างการเรียงอันดับ อันดับ1 อย่างที่บอก เลือกไปเลยครับ คณะที่ชอบที่รักที่สุด ไม่ต้องสนใจโอกาสสอบติด ส่วนคณะที่ตามมา ต้องเลือกคณะที่่โอกาสสอบติดเปอร์เซ็นสูงขึ้นเรื่อยๆ เช่น อันดับ2 50% อันดับ3ควร 70-80% อันดับ4ควร 90% ขึ้นไป เอาให้ปลอดภัยที่สุด ให้นอนหลับสบาย แบบไร้กังวลมากที่สุด ประมาณนี้ครับ เพื่อเป็นการรองรับกันและความปลอดภัยป้องกันไม่ให้เกิดการหลุดแอด แต่ถ้าถามว่าถ้าอยากเสี่ยงได้ไหม ก็ต้องแยกเป็นกรณีๆไปเช่นกรณีเด็กซิ่ว มีที่เรียนมหาวิทยาลัยอยู่แล้ว แต่อาจไม่ได้เรียนในคณะที่ชอบอยากมาซิ่วใหม่ ก็เสี่ยงไปเลยครับเต็มที่ หรือน้องๆที่อาจจะติดรับตรงไปแล้วแต่ยังสามารถมาแอดได้ ก็สามารถจัดการความเสี่ยงได้ด้วยตัวเองเต็มที่เช่นกัน แต่สิ่งที่สำคัญสุดไม่ว่าพร้อมเสี่ยงหรือไม่พร้อมเสี่ยงก็คือการวางอันดับ อย่างน้อยๆก็ควรวางอันดับให้เป็นไปตามโอกาสที่น่าจะติด เพราะถ้าวางไปมั่วๆมันก็จะเป็นการเสียอันดับและเสียโอกาสโดยใช่เหตุครับ มาถึงอีกคำถามที่น้องๆถามมามากที่สุดก็คือเรื่องแนวโน้มต่างๆกับจะเช็คได้อย่างไรว่าคณะไหนมีความเสี่ยงมากน้อยเท่าไหร่ เลือกคณะดูแต่คะแนนต่ำสุดได้มั้ย ดูได้ครับ แต่อย่าลืมว่าคะแนนต่ำสุดของคณะต่างๆเมื่อปีแล้ว ไม่ได้เป็นคะแนนที่ตั้งไว้นิ่งๆมันสามารถขยับไปขยับมาได้ เพราะคะแนนมันมาจากการเลือก เพราะฉะนั้นคะแนนมันสามารถขึ้นๆลงๆได้ตลอด ซึ่งสิ่งที่เป็นปัจจัยทำให้คะแนนเปลี่ยนไปจะได้แก่ . 1.คะแนนสอบในแต่ละปี คะแนนสอบในที่นี้หมายถึงคะแนนสอบในแต่ละปีของ O-NET หรือ GAT PAT เพราะถ้าคะแนนเฉลี่ยตัวไหนขึ้นโดดเด่นก็จะพอคาดการณ์ได้เลยครับว่าคณะที่ใช้คะแนนตั้งนั้นในสัดส่วนก็จะมีโอกาสที่คะแนนสอบจะเพิ่มขึ้นอย่างแน่นอน . 2.จำนวนผู้สมัคร(คนเลือกเยอะ) แน่นอนครับคณะไหนหากมีการแข่งขันสูงคือมีผู้สมัครเยอะ คณะนั้นก็จะกลายเป็นคณะยอดฮิตมีคะแนนสูงขึ้นอย่างแน่นอน หรือแค่การดูจำนวนผู้สมัครในบางวิชาเราก็พอจะคาดการณ์ได้แล้วว่าคณะไหนมีแนวโน้มที่คะแนนจะขึ้น . 3.จำนวนการรับนักศึกษา จำนวนรับก็เป็นอีกสิ่งหนึ่งที่ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นจะส่งผลถึงคะแนนอย่างแน่นอน โดยเฉพาะคณะที่มีการปรับจำนวนการรับให้น้อยลงจากปีก่อนเยอะ ก็มีแนวโน้มที่คะแนนปีนี้จะสูงขึ้นอย่างแน่นอน . 4.คณะที่มีการเปลี่ยนเกณฑ์ ในทุกๆปีที่มีคณะที่มีการเปลียนเกณฑ์จะมีการสวิงอย่างเห็นได้ชัด ไม่ว่าจะเป็นคณะพยาบาลเมื่อตอนปี57 ที่มีปรับสัดส่วนการใช้ PAT2 ให้มากขึ้น10% ทำให้คะแนนในปีนั้นพยาบาลต่ำลงมากค่อนข้างเยอะ และส่งมาถึงปีที่ผ่านมาที่ทำให้คะแนนของคณะพยาบาลสวิงขึ้นมาเพราะคนแห่กันเลือกเพราะเห็นว่าคะแนนต่ำนั่นเอง อย่างปีหน้าก็จะมีเปลี่ยนเกณฑ์ของคณะสัตวแพทย์ อันนี้ก็จะมีผลแน่นอน . 5.คณะที่มีคะแนนสวิง(คะแนนต่ำสุดปีที่ผ่านมา ขึ้นๆลงๆ) ถามว่าคณะที่มีคะแนนสวิงจะเกี่ยวอะไร จะเกี่ยวก็ตรงมันมีผลทางจิตวิทยาที่แหละครับ บางคณะที่คะแนนสูงมากๆสูงเกินไปที่ใจเด็กในปีนั้นจะยอมรับก็อาจจะลงลงต่ำเรี่ยดินได้ เพราะว่าการเจียมตัวที่น้องๆเห็นว่าคะแนนสูง คงจะเอื้อมไม่ถึงก็เลยเลือกที่จะมาเลือก ซึ่งตัวอย่างอย่างนี้ก็จะมีให้เห็นแทบทุกปีนะครับ หรือคณะที่คะแนนต่ำมากๆ ก็อาจจะสวิงขึ้นมาสูงปรี๊ดเลยก็ได้เพราะคนจะแห่กันเลือกเพราะเห็นว่าคะแนนมันต่ำมากนั่นเอง . 6.เทรนด์ เทรนด์ในที่นี้ก็จะหมายถึงกระแสความฮิตของวัยรุ่นน้องวัยแอดในแต่ละปีว่ามีความนิยมเรื่องอะไร เรื่องมีความนิยมในคณะอะไร ซึ่งในสมัยก่อนก็จะอาจจะเคยเห็นว่ากระแสคณะนิเทศมาแรงมากๆ หรือในช่วงแอดปี4-5ปีก่อนกระแสคณะในอาชีพเสรีอาเซียนจะกลายเป็นคณะฮิตขึ้นมา ซึ่งในช่วงนี้เท่าที่พี่แฮนด์ดูก็จะเป็นคณะทางสายครูกับทางคณะทางด้านภาษาอังกฤษ หรือเกี่ยวกับกระแสดิจิทัล ที่คนจะสมัครเยอะมีคะแนนสูงขึ้นมา >>>> น้องๆสามารถ ปรึกษาการเลือกคณะแอดมิชชัน ด้วยวิธีง่ายๆเพียง 1. เข้าไปใช้โปรแกรม EZ (EZ ADMISSION) โปรแกรมช่วย ADMISSION ที่มีความแม่นยำสูง ที่สำคัญ ใช้ฟรี!! ได้ที่ >> http://ezadmissions.eduzones.com/ 2. เซฟรูปผลการคำนวณเลือกคณะของน้องๆ 3. นำไปโพสต์ขอคำปรึกษาจากพี่แฮนด์ที่ Line@ P’Hand Eduzones แอดเลยที่ >> @handyeduzones ง่ายๆเพียงเท่านี้ รับรองแอดมิชชั่นปีนี้ น้องๆไม่หลุดชัวร์!!! ครับ ———————————————————————————————————– EZ Webmaster Related Posts #DEK68 โอด ควรเลื่อนสอบ หรือไม่? สิ่งที่ #dek68 ต้องเตรียมในการเข้าสอบ #TGAT #TPAT #TCAS68 ซีพี ออลล์-เซเว่นฯ สร้าง “ผู้ประกอบการจิ๋ว” ยกระดับโรงเรียน CONNEXT ED พัฒนาทักษะวิชาการควบคู่วิชาชีพ สร้างรายได้สู่ชุมชน ครบรอบ 26 ปี “มูลนิธิดำรงชัยธรรม” บนเส้นทางแห่งการให้ด้านการศึกษา เดินหน้าสร้างบุคลากรคุณภาพสู่สังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดตัว ‘ChulaGENIE’ ร่วมกับ Google Cloud Post navigation PREVIOUS Previous post: ผู้นำนักศึกษา มจพ. ขานรับการจัดการเรียนการสอนออนไลน์สู้เชื้อโรค COVID-19NEXT Next post: E-Book Talk Like A Pro โดย อาจารย์วิริยะ ฤๅชัยพาณิชย์
ซีพี ออลล์-เซเว่นฯ สร้าง “ผู้ประกอบการจิ๋ว” ยกระดับโรงเรียน CONNEXT ED พัฒนาทักษะวิชาการควบคู่วิชาชีพ สร้างรายได้สู่ชุมชน EZ WebmasterNovember 29, 2024 ซีพี ออลล์-เซเว่น อีเลฟเว่น เดินหน้าพลิกโฉมโรงเรียน CONNEXT ED เฟสที่ 6 ผ่านโมเดล “ผู้ประกอบการจิ๋ว” ต่อเนื่อง ดึงผู้บริหาร-ครู-นักเรียน 6 โรงเรียนเจ้าของผลิตภัณฑ์ชุมชนเด่นจาก 6 ภูมิภาค ผ้ามัดย้อมดาวเรือง-กระเป๋าจากกระจูด-ไซรัปอ้อย-กรอบรูปถมทอง-ยาดมสมุนไพรไม้หอม-ข้าวพื้นเมือง ร่วมเวิร์คช็อปพัฒนาทักษะการเป็นผู้ประกอบการ… ครบรอบ 26 ปี “มูลนิธิดำรงชัยธรรม” บนเส้นทางแห่งการให้ด้านการศึกษา เดินหน้าสร้างบุคลากรคุณภาพสู่สังคม EZ WebmasterNovember 29, 2024 “มูลนิธิดำรงชัยธรรม” ก่อตั้งโดย คุณไพบูลย์ ดำรงชัยธรรม ตามเจตนารมณ์ที่จะส่งเสริมและสนับสนุนด้านการศึกษาให้กับเยาวชนของชาติ เพราะการศึกษาถือเป็นรากฐานสำคัญในการพัฒนาศักยภาพอย่างยั่งยืน เพื่อก้าวไปสู่ความสำเร็จในชีวิตและยังเป็นแรงขับเคลื่อนสำคัญในการพัฒนาประเทศ ด้วยเหตุนี้จึงริเริ่มโครงการ “ทุนสร้างคน สร้างบัณฑิต”เพื่อมอบโอกาสด้านการศึกษาให้กับเยาวชนไทยที่เรียนดี ประพฤติดี กิจกรรมเด่น แต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ โดยไม่มีภาระผูกพันต้องใช้คืน มุ่งหวังให้บัณฑิตเป็นคนเก่งและดี สร้างสรรค์สิ่งดีงามกลับคืนสู่สังคม ดังเจตนารมณ์ “ไม่ใช่แค่ให้โตได้ แต่อยากให้โตดี” ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมามูลนิธิดำรงชัยธรรมได้ส่งเสริมสนับสนุนเงินทุนด้านการศึกษา มาอย่างต่อเนื่องเป็นระยะเวลา 26 ปี โดยได้มอบทุนการศึกษาไปแล้วจำนวน 829 ทุน รวมเป็นจำนวนเงินกว่า 350 ล้านบาท และยังคงเดินหน้าสนับสนุนด้านการศึกษา เพื่อสร้างรากฐานของความยั่งยืนให้กับเยาวชนผู้ซึ่งจะเติบโตเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศต่อไปในอนาคต…
ครบรอบ 26 ปี “มูลนิธิดำรงชัยธรรม” บนเส้นทางแห่งการให้ด้านการศึกษา เดินหน้าสร้างบุคลากรคุณภาพสู่สังคม EZ WebmasterNovember 29, 2024 “มูลนิธิดำรงชัยธรรม” ก่อตั้งโดย คุณไพบูลย์ ดำรงชัยธรรม ตามเจตนารมณ์ที่จะส่งเสริมและสนับสนุนด้านการศึกษาให้กับเยาวชนของชาติ เพราะการศึกษาถือเป็นรากฐานสำคัญในการพัฒนาศักยภาพอย่างยั่งยืน เพื่อก้าวไปสู่ความสำเร็จในชีวิตและยังเป็นแรงขับเคลื่อนสำคัญในการพัฒนาประเทศ ด้วยเหตุนี้จึงริเริ่มโครงการ “ทุนสร้างคน สร้างบัณฑิต”เพื่อมอบโอกาสด้านการศึกษาให้กับเยาวชนไทยที่เรียนดี ประพฤติดี กิจกรรมเด่น แต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ โดยไม่มีภาระผูกพันต้องใช้คืน มุ่งหวังให้บัณฑิตเป็นคนเก่งและดี สร้างสรรค์สิ่งดีงามกลับคืนสู่สังคม ดังเจตนารมณ์ “ไม่ใช่แค่ให้โตได้ แต่อยากให้โตดี” ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมามูลนิธิดำรงชัยธรรมได้ส่งเสริมสนับสนุนเงินทุนด้านการศึกษา มาอย่างต่อเนื่องเป็นระยะเวลา 26 ปี โดยได้มอบทุนการศึกษาไปแล้วจำนวน 829 ทุน รวมเป็นจำนวนเงินกว่า 350 ล้านบาท และยังคงเดินหน้าสนับสนุนด้านการศึกษา เพื่อสร้างรากฐานของความยั่งยืนให้กับเยาวชนผู้ซึ่งจะเติบโตเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศต่อไปในอนาคต…
#DEK68 โอด ควรเลื่อนสอบ หรือไม่? EZ WebmasterDecember 2, 2024 จากกรณีที่กำลังเป็นประเด็นร้อนแรงในตอนนี้ ทั้งใน X และ Facebook เพจ ทปอ. ประกาศเลื่อนสอบ จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง ที่กำลังประสบภัยน้ำท่วมทำให้ เด็กไม่สามารถออกไปสนามสอบได้ การ #เลื่อนสอบทั่วประเทศ จากการสอบถาม และ ได้รับคำตอบมา ก็ยังคงไปเป็นได้ยาก เพราะอาจจะมีผลกระทบกับคนที่ไม่เกี่ยวข้องเป็นจำนวนมาก… ที่แรกของไทย และใน Southeast Asia! CMMU วิทยาลัยการจัดการ ม.มหิดล ได้รับรองสองมาตรฐานการศึกษาระดับโลก AMBA และ BGA ตอกย้ำเบอร์ 1 สถาบันการศึกษาด้านการจัดการ และเป็นผู้นำด้านความยั่งยืน EZ WebmasterDecember 2, 2024 วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล หรือ CMMUสร้างประวัติศาสตร์หน้าใหม่ของวงการการศึกษาไทย ขึ้นแท่นสถาบันการศึกษาแห่งแรกในประเทศไทยและ Southeast Asia ที่ได้รับรองมาตรฐานคุณภาพการศึกษาด้านบริหารธุรกิจ AMBA (Association of MBAs) และ BGA (Business Graduates Association) ตอกย้ำความเป็นสถาบันการศึกษาระดับแถวหน้าของโลก เบอร์ 1 ด้านหลักสูตรการบริหารจัดการธุรกิจ และเป็นผู้นำด้านความยั่งยืน พร้อมปั้นผู้นำแห่งอนาคตที่ครบเครื่องทั้งความรู้ ความสามารถ และมีจิตสำนึกรับผิดชอบต่อสังคม รองศาสตราจารย์… พิธีถวายปริญญาบัตรแก่พระบัณฑิตและบัณฑิต โครงการการศึกษาพิเศษพระสงฆ์ ณ วัดไตรมิตร tui sakrapeeNovember 29, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดพิธีถวายปริญญาบัตรแก่พระบัณฑิตและบัณฑิต ในโครงการจัดการศึกษาภาคพิเศษสำหรับพระภิกษุสามเณร ณ พระมหามณฑปพระพุทธมหาสุวรรณปฏิมากร วัดไตรมิตรวิทยารามวรวิหาร กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2567 โดยพิธีครั้งนี้สะท้อนถึงความมุ่งมั่นของมหาวิทยาลัยในการส่งเสริมการศึกษาและพัฒนาความรู้แก่คณะสงฆ์ไทย งานเริ่มต้นด้วย รศ.ดร.ฤๅเดช เกิดวิชัย นายกสภามหาวิทยาลัย เป็นประธานฝ่ายฆราวาส นำพานกรวยดอกไม้สดถวายแด่… จิตวิทยาที่สำคัญ สำหรับครู! EZ WebmasterNovember 29, 2024 หนังสือ “จิตวิทยาสำหรับครู” เป็นหนังสือที่มุ่งเน้นหลักการคิดจิตวิทยาสำหรับคุณครู มาประยุกษ์ในการสอนโดยไปถึงการจัดการเรียนการสอนในห้องเรียน หนังสือเล่มนี้มีเป้าหมายเพื่อช่วยครูเข้าใจพัฒนาการทางจิตวิทยาของนักเรียน รวมถึงการเข้าใจและจัดการกับพฤติกรรมต่าง ๆ ที่อาจจะเสี่ยงเกิดขึ้นในห้องเรียน และความหมายสำหรับจิตวิทยาสำหรับมีความหมายดังข้อความต่อไปนี้ เพราะในสมัยโบราณเชื่อกันว่า จิต หรือ วิญญาณ เป็นสิ่งที่เราสามารถที่จะควบคุมอาการหรือกิริยาบทต่างๆ ของร่างกายและยังเป็นตำกำหนดพฤติกรรมของมนุษย์จึงเป็นไปตามความเชื่อและความรู้สึก ซึ่งอาจจะได้รับรู้ของมนุษย์มีขีดจำกัดและไม่ได้มีการศึกษาอย่างมีระเบียบแบบแผนและไม่อาจพิสูจน์ได้จริง แต่ต่อมาเมื่อวิทยาการการศึกษาเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์เจริญก้าวหน้าขึ้น และสังเกตุได้จากการทดลองได้… ทุนดีดี ศอ.บต.จับมือซีพี ออลล์ เปิดให้ 400 ทุน เพื่อเด็กชายแดนใต้เรียนต่อระดับ ปวช. ปวส.และปริญญาตรี tui sakrapeeNovember 20, 2024 ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) ร่วมกับ บริษัท ซีพี ออลล์ จำกัด (มหาชน) จะดำเนินการรับสมัครและคัดเลือกเยาวชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ประกอบไปด้วย จังหวัด สงขลา จังหวัดสตูล จังหวัดปัตตานีจังหวัดยะลา และจังหวัดนราธิวาส เพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)… เปิดให้ทุนเยาวชนขาดแคลนทุนทรัพย์ มีความตั้งใจเรียนต่อระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา tui sakrapeeNovember 8, 2024 มูลนิธิพูนพลัง เปิดโอกาสให้เยาวชนได้เรียนต่อ ในโครงการ ทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2568 สำหรับนักเรียน นักศึกษาที่จะศึกษาในระดับ ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ในปีการศึกษา 2568 ลักษณะโครงการ โครงการทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ แต่มีความตั้งใจศึกษาเล่าเรียน และได้พยายามช่วยเหลือตนเอง… มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… ครู-อาจารย์ สสวท. ร่วมขับเคลื่อนการศึกษาด้วยองค์ความรู้จาก PISA ชวนใช้งานแผนขับเคลื่อนและสื่อออนไลน์เพื่อยกระดับฟรี EZ WebmasterDecember 2, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ร่วมกับทุกภาคส่วนในการขับเคลื่อนเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา โดยใช้องค์ความรู้จาก PISA ในการจัดทำแผนการขับเคลื่อน เอกสาร รวมทั้งสื่อต่าง ๆ เพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้และพัฒนาสมรรถนะด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และการอ่านของนักเรียนให้สูงขึ้น ครู ผู้สนใจสามารถศึกษาแผนการขับเคลื่อน ชุดพัฒนาความฉลาดรู้ วีดิทัศน์การอบรม ตลอดจนสื่อต่าง ๆ… สถาบันวิจัยและพัฒนา มทร.ธัญบุรี จัดงาน”การเผยแพร่ผลสำเร็จและจับคู่ธุรกิจ” ยกระดับผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปด้วยนวัตกรรม tui sakrapeeNovember 29, 2024 เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2567 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ได้จัดงาน “การเผยแพร่ผลสำเร็จและจับคู่ธุรกิจ (Business Matching and Showcase)” ภายใต้กิจกรรมยกระดับและสร้างมูลค่าเพิ่มผลิตภัณฑ์เกษตรแปรรูปด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม (อาหารแปรรูป) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ณ… Degree Plus ส่ง TOP Green หลักสูตรสำหรับผู้บริหารยุคใหม่ ต่อยอด Lifelong Learning สำหรับผู้นำธุรกิจระดับสูงในไทย EZ WebmasterNovember 29, 2024 Degree Plus แพลตฟอร์มการพัฒนาการเรียนรู้สำหรับผู้บริหาร ในเครือ LEARN Corporation ร่วมกับ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดตัว “TOP Green” หลักสูตรที่ออกแบบมาเพื่อพัฒนาผู้บริหารยุคใหม่ที่มุ่งเน้นการขับเคลื่อนธุรกิจในทิศทางของความยั่งยืน โดยมุ่งตอบโจทย์การเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) และเตรียมความพร้อมให้ผู้นำองค์กรระดับสูงในไทยสามารถนำความรู้ด้านความยั่งยืนมาใช้ในการพัฒนาองค์กรให้เติบโตอย่างยั่งยืนทั้งในแง่ของเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม หลักสูตร TOP Green ได้รับความร่วมมือจากภาครัฐและองค์กรชั้นนำ เช่น กรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม, หอการค้าไทยและสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย, ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย, สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และ UN Global… จิตวิทยาที่สำคัญ สำหรับครู! EZ WebmasterNovember 29, 2024 หนังสือ “จิตวิทยาสำหรับครู” เป็นหนังสือที่มุ่งเน้นหลักการคิดจิตวิทยาสำหรับคุณครู มาประยุกษ์ในการสอนโดยไปถึงการจัดการเรียนการสอนในห้องเรียน หนังสือเล่มนี้มีเป้าหมายเพื่อช่วยครูเข้าใจพัฒนาการทางจิตวิทยาของนักเรียน รวมถึงการเข้าใจและจัดการกับพฤติกรรมต่าง ๆ ที่อาจจะเสี่ยงเกิดขึ้นในห้องเรียน และความหมายสำหรับจิตวิทยาสำหรับมีความหมายดังข้อความต่อไปนี้ เพราะในสมัยโบราณเชื่อกันว่า จิต หรือ วิญญาณ เป็นสิ่งที่เราสามารถที่จะควบคุมอาการหรือกิริยาบทต่างๆ ของร่างกายและยังเป็นตำกำหนดพฤติกรรมของมนุษย์จึงเป็นไปตามความเชื่อและความรู้สึก ซึ่งอาจจะได้รับรู้ของมนุษย์มีขีดจำกัดและไม่ได้มีการศึกษาอย่างมีระเบียบแบบแผนและไม่อาจพิสูจน์ได้จริง แต่ต่อมาเมื่อวิทยาการการศึกษาเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์เจริญก้าวหน้าขึ้น และสังเกตุได้จากการทดลองได้… กิจกรรม วิศวกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี จัดอบรม ระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ tui sakrapeeNovember 27, 2024 รองศาสตราจารย์ ดร.สรพงษ์ ภวสุปรีย์ คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) เผยว่า ศูนย์พัฒนาทักษะอุตสาหกรรม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี ร่วมกับภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า จัดโครงการฝึกอบรมหลักสูตร ระบบกักเก็บพลังงานและสถานการณ์การพัฒนาการของแบตเตอรี่ (Energy Storage System (ESS) and The… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI EZ WebmasterNovember 27, 2024 เติบโตอย่างยิ่งใหญ่กว่าที่เคย iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI พร้อมพาวงการครีเอเตอร์ก้าวสู่เส้นทางแห่งไอคอนนิก งานที่รวบรวมเหล่า ครีเอเตอร์กว่า 100 คนเพื่อเปิดโอกาสให้ได้มีส่วนทำงานกับแบรนด์ต่าง ๆ จนได้กระแสตอบรับอย่างล้นหลาม บรรยากาศภายในงานเต็มไปด้วยความคึกคัก ยิ่งใหญ่ ตื่นตาตื่นใจกว่าที่เคยและผู้คนที่หลั่งไหลเข้ามาภายในงานเป็นจำนวนมากเพือมาเข้าร่วมการพูดแบ่งปันประสบการณ์ของเหล่า ครีเอเตอร์… “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” เปิดบ้าน “สวนสุนันทา” วิชาการแน่น บันเทิงสนุก จัดเต็ม 17-18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 27, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม… EMPATHY: วิถีของผู้นำผ่านเวทีนางงามโลก EZ WebmasterNovember 22, 2024 สะเทือน!!! เวทีนางงาม Miss Universe 2024 เมื่อตัวแทนสาวงามจากประเทศไทยน้องโอปอล-สุชาตา ช่วงศรี ตอบคำถามรอบ 5 คนสุดท้ายเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2024 ที่ผ่านมาด้วยน้ำเสียง สายตา ท่าทาง และบุคลิกภาพที่เต็มเปี่ยมไปด้วยความมั่นใจและสง่างามเรียกเสียงปรบมือสนั่นลั่นดินแดนจังโก้ จาก… Search for: Search EZ Webmaster May 4, 2020 EZ Webmaster May 4, 2020 เคลียร์ทุกเรื่อง ที่มา/วิธีการคัดเลือก/วิธีการจัดอันดับ/อะไรคือปัจจัยเสี่ยง Admission 2563 แอดมิชชัน ถือเป็นสิ่งสำคัญมากๆอีกเรื่องหนึ่งในชีวิตของน้องๆ ม.6 ในทุกๆปีนะครับ เพราะถือว่าเป็นสะพานในการพาน้องๆไปสู่ความฝันหรือเป้าหมายที่ต้องการหลังจากฝ่าฝันสอบมาอย่างดุเดือดตลอดปีการศึกษาของ ม.6 ซึ่งแน่นอนว่าน้องๆแต่ละคนก็ต้องการความกระจ่างและความมั่นใจมากที่สุดก่อนที่จะทำการเลือกคณะ ซึ่งก็มีหลากหลายคำถามเข้ามาที่พี่แฮนด์มากมายทั้งวิธีการการเลือก แนวโน้มแต่ละคณะ และคำถามอื่นๆ พี่แฮนด์จึงเขียนบทความเพื่อไขข้อสงสัยในหลายเรื่องสำหรับแอดมิชชัน แอดมิชชัน หรือน้องๆอาจจะเรียกว่าแอดกลาง ก็คือการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา (Central University Admissions System – CUAS ) จัดการคัดเลือกโดย ทปอ. นำมาใช้ครั้งแรกเมื่อปี 2549 แทนการคัดเลือกแบบเอนทรานซ์นั่นเอง ซึ่งจุดประสงค์หลักที่นำระบบแอดมิชชันมาใช้แทนระบบเก่าอย่างเอนทรานซ์ก็เพราะว่า การเอนทรานซ์ จะเน้นในการสอบเพียงอย่างเดียว ทำให้เด็กๆทิ้งการเรียนในห้องเรียน ไปมุ่งมั่นติวกันเพียงอย่างเดียว แต่การแอดมิชชันจะมีการนำเกรดเฉลี่ยในโรงเรียนมาใช้ด้วย ทำให้เด็กๆต้องสนใจวิชาในห้องเรียนไม่สามารถทิ้งได้(แต่สุดท้ายเด็กไทยก็ยังติวกันเหมือนเดิมนะครับ อิๆ) องค์ประกอบของแอดมิชชัน แอดมิชชันจะมีคะแนนรวมทั้ง 30,000 คะแนน จากองค์ประกอบ4ตัว ดังต่อไปนี้ 1.GPAX คือเกรดเฉลี่ยสะสม 6 ภาคเรียน ตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย ม.4-ม.6 ของนักเรียน โดย GPAX ใช้เป็นสัดส่วนในแอดมิชชัน 20% หรือ6,000คะแนนทุกคณะ 2. O-NET (Ordinary National Education Test) หรือการสอบทางการศึกษาแห่งชาติขั้นพื้นฐาน เป็นการสอบพร้อมทั้งหมดของเด็ก ม.6 ทั่วประเทศ จะมีการสอบทั้งหมด 5 วิชาได้แก่ คณิตศาสตร์,ภาษาอังกฤษ,ภาษาไทย,สังคม.วิทยาศาสตร์ โดย O-NET ใช้เป็นสัดส่วนในแอดมิชชัน 30% หรือ9,000คะแนนทุกคณะ 3. GAT (Genetal Aptitude Test) หรือการสอบความถนัดทั่วไป คะแนนเต็ม 300 คะแนน ข้อสอบGAT ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ GAT ไทย ซึ่งจะเน้นเนื้อหาทางด้าน การอ่าน เขียน คิดวิเคราะห์ และ GAT ภาษาอังกฤษ อย่างละ 150 คะแนน โดย GAT ใช้เป็นสัดส่วนในแอดมิชชัน 10-50% หรือ3,000-15,000คะแนนแล้วแต่คณะ 4. PAT (Professional Aptitude Test) หรือการสอบความถนัดทางวิชาชีพ เป็นข้อสอบที่ยากเพราะเป็นเนื่อหาที่ไม่มีสอนในโรงเรียน โดยจะมรทั้งหมด 7 PAT ด้วยกัน ได้แก่ PAT1 คณิตศาสตร์ PAT2 วิทยาศาสตร์ PAT3 พื้นฐานวิศวกรรม PAT4 พื้นฐานสถาปัตยกรรม PAT5 พื้นฐานความเป็นครู PAT6 ศิลปกรรม และPAT7วิชาด้านภาษาอื่นๆนอกเหนือจากภาษาอังกฤษ โดย PAT ใช้เป็นสัดส่วนในแอดมิชชัน 0-40% หรือ0-12,000คะแนนแล้วแต่คณะ สัดส่วนองค์ประกอบแต่ละกลุ่มคณะ สัดส่วนองค์ประกอบของแอดมิชชันจะแบ่งเป็น 13 กลุ่มดังนี้ **จุดสังเกตขององค์ประกอบแต่ละกลุ่มคณะขอให้น้องๆจำง่ายๆว่า GPAX(20%) และ O-NET(30%) มีสัดส่วนคงที่ทุกกลุ่มคณะ แต่ละกลุ่มแตกต่างกันตรง GAT และ PAT เท่านั้น สถิติผู้สมัครและสอบติดแอดมิชชัน พี่แฮนด์เอาสถิติตั้งแต่ปี 53 ที่เริ่มใช้ GAT PAT เป็นปีแรก มาให้ดูกันนะครับ ปี 53 จำนวนผู้สมัคร 98,143 คน มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 70,003 คน หลุดแอดมิชชัน 28,140 คน ปี 54 จำนวนผู้สมัคร 123,260 คน มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 78,096 คน หลุดแอดมิชชัน 45,164 คน ปี 55 จำนวนผู้สมัคร 122,169 คน มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 82,102 คน หลุดแอดมิชชัน 40,067 คน ปี 56 จำนวนผู้สมัคร 113,400 คน มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 83,955 คน หลุดแอดมิชชัน 29,445 คน ปี 57 จำนวนผู้สมัคร 99,767 คน แอดมิชชันติด มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 80,880 คน หลุดแอดมิชชัน 18,887 คน ปี 58 จำนวนผู้สมัคร 124,648 คน แอดมิชชันติด มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 91,813 คน หลุดแอดมิชชัน 32,835 คน ปี 59 จำนวนผู้สมัคร 105,046 คน แอดมิชชันติด มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 85,834 คน หลุดแอดมิชชัน 19,212 คน ปี 60 จำนวนผู้สมัคร 81,232 คน แอดมิชชันติด มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 70,689 คน หลุดแอดมิชชัน 10,543 คน ปี 61 จำนวนผู้สมัคร 54,782 คน แอดมิชชันติด มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 44,476 คน หลุดแอดมิชชัน 10,306 คน ปี 62 จำนวนผู้สมัคร 122,523 คน แอดมิชชันติด มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 52,315 คน หลุดแอดมิชชัน 20,093 คน เห็นจำนวนสถิติอย่างงี้ก็เพิ่งอย่าไปเครียดอะไรนะครับ เพราะที่จริงแล้วยอดผู้สมัครทุกปีนั้น น้อยกว่ายอดรับตามระเบียบการทุกปี แต่ที่มีคนไม่ติดนั้นก็เพราะว่า ส่วนใหญ่ก็จะไปเลือกคณะเดียวกันซะเยอะ ทำให้มีคนหลุดแอดทุกปี และที่สำคัญจะเห็นเลยว่าจำนวนนั้นลดลงเรื่อยๆทุกปี การคิดคะแนนแอดมิชชัน การคิดคะแนน GPAX ใช้ GPAX ร้อยละ 20 GPAX ให้คิดเทียบคะแนนเต็มเป็น 300 คะแนน วิธีคิด 1. ให้นํา GPAX คูณกับ 75 เพื่อแปลงค่าผลการเรียนเฉลี่ยเป็นคะแนนเต็ม 300 คะแนน 2. ให้นําคะแนน GPAX ที่แปลงค่าเป็นคะแนนแล้วคูณกับค่าน้ําหนักที่กําหนด จะได้เป็นคะแนน GPAX ตัวอย่าง ผู้สมัครมีผลการเรียนเฉลี่ย (GPAX) = 2.93 วิธีคิด ขั้นที่ 1 ใ ให้นํา GPAX คูณด้วย 75 จะได้คะแนนดังนี้ คะแนน GPAX (2.93 × 75) = 219.75 คะแนน ขั้นที่ 2 นําคะแนน GPAX คูณด้วยค่าน้ําหนักที่กําหนดไว้ คือ 20% คะแนน GPAX (219.75 × 20) = 4,395 คะแนน จากคะแนนเต็ม 6,000 คะแนน วิธีการคิดคะแนน O-NET 1. ให้นําคะแนนสอบวิชา O-NET แต่ละวิชาของผู้สมัครคูณกับ 3 (กําหนด ให้คะแนนเต็มแต่ละวิชาเท่ากับ 300) 2. นําคะแนนในข้อ 1 คูณกับค่าน้ําหนักที่กําหนด 3. นําคะแนนแต่ละวิชาในข้อ 2 มารวมกันจะได้คะแนนรวมของ O-NET ตัวอย่าง ผู้มัครมีคะแนน O-NET ดังนี้ วิชา 01 = 63.00, 02 = 75.00, 03 = 71.00, 04 = 81.00 05 = 87.00 ขั้นที่ 1 นําคะแนนแต่ละวิชาของผู้สมัครคูณด้วย 3(ยกเว้นวิชา 06 ไม่ต่องคูณ) ดังนี้ คะแนน O-NET วิชา 01 (63.00 × 3) = 189 วิชา 02 (75.00 × 3) = 225 วิชา 03 (71.00 × 3) = 213 วิชา 04 (81.00 × 3) = 243 วิชา 05 (87.00 × 3) = 261 ขั้นที่ 2 นําคะแนนที่คูณด้วย 3 คูณด้วยค่าน้ําหนัก ดังนี้ คะแนน O-NET วิชา 01 (189 × 6) = 1,134 วิชา 02 (225 × 6) = 1,350 วิชา 03 (213 × 6) = 1,278 วิชา 04 (261 × 6) = 1,458 วิชา 05 (261 × 6) = 1,566 ขั้นที่ 3 นําคะแนน O-NET ที่คูณด้วยค่าน้ําหนักแล้ว มารวมกันดังนี้ คะแนน O-NET (1,134 + 1,350 + 1,278 + 1,458 + 1,566) คะแนนรวม O-NET = 6,786 คะแนน (จากคะแนน 9,000 คะแนน) วิธีการคิดคะแนน GAT, PAT 1. นําคะแนนสอบ GAT และ PAT ของผู้สมัครคูณกับค่าน้ําหนักที่กําหนด 2. นําคะแนนแต่ละวิชาจากข้อ 1 มารวมกันจะได้คะแนนรวมของ GAT และ/ PATตัวอย่าง วิธีการคิดคะแนน GAT และ PAT ของผู้สมัครเข้าศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ ต้องการเลือกคณะวิศวกรรมศาสตร์ กําหนดให้สอบ O-NET 5 กลุ่มสาระฯ คือ รหัส 01,02,03,04 และ 05 แต่ละวิชาให้ค่าน้ําหนักร้อยละ 6 วิชา GAT (รหัส 85) ให้ค่าน้ําหนักร้อยละ 15 วิชา PAT 2 (รหัส 72) ให้ค่าน้ําหนักร้อยละ 15 วิชา PAT 3 (รหัส 73) ให้ค่าน้ําหนักร้อยละ 20 ผู้สมัครมีคะแนนแต่ละวิชาดังนี้ วิธีคิดขั้นที่ 1 นําคะแนน GAT และ PAT ของผู้สมัครคูณกับค่าน้ําหนัก คะแนน GAT (265 × 15) = 3,975 คะแนน คะแนน PAT 2 (210 × 15) = 3,150คะแนน คะแนน PAT 3 (250 × 20) = 5,000คะแนน คะแนนรวม GAT และ PAT (3,975 + 3,150 + 5,000) = 12,125 คะแนนการคิดคะแนนรวม คะแนนรวม = คะแนน GPAX + คะแนน O-NET + คะแนน GAT และ/หรือ คะแนน PAT(นำคะแนนทุกอย่างมาบวกกัน) นี่ก็คือวิธีการคิดคะแนนที่ใช้ในการคัดเลือกในระบบแอดมิชชันนะครับ น้องๆคนไหนอยากคิดคะแนนตัวเองก็ลองคิดได้เลยนะครับ แต่อย่าไปคิดบวกเกินให้ตัวเองละ มันไม่ดีเน้อ อิอิ การยื่นเลือกคณะ การยื่นเลือกคณะของแอดมิชชันนั้น ปีนี้จะเลือกกัน หลังจากที่น้องๆม.6 ได้ทราบผลคะแนนทุกตัวที่ใช้เป็นองค์ประกอบแล้ว โดยน้องๆจะสามารถเลือกได้ทั้งหมด 4 อันดับ จะเลือกคณะอะไรมหาวิทยาลัยใดก็ได้ มหาวิทยาลัยเดียวกันก็ได้ โดยจะสมัครทางเว๊บไซท์ http:/mytcas.com/โดยวิธีการคิดเลือกคณะจะเป็นดังนี้1.ระบบจะรวบรวมคะแนนอันดับ1 ของน้องๆ ทุกคนมาเรียงไว้จากมากไปหาน้อย เช่น คณะวิศวะ จุฬา รับ100 คน ระบบก็จะนำคนที่เลือกคณะวิศวะจุฬาทั้งหมดนำคะแนนมาเรียงกัน ใครอยู่อันดับ1-100 ก็คือติดไป *คนที่ไม่เลือกไม่มีสิทธิ์ติดนะครับ*2.ระบบจะเลือกคนที่มีคะแนนมากที่สุด เข้าสู่แต่ละคณะให้ครบตามจำนวนที่รับ คนที่คะแนนไม่ติดคณะใดเลย ถือว่าตกพิจารณาในอันดับแรก ก็จะถูกพิจารณาคะแนนในอันดับที่2 ต่อไป3.เมื่อพิจารณาแล้วพบว่าคะแนนในอันดับ2 สูงกว่าคนที่ผ่านการพิจารณาในรอบแรก คะแนนใหม่ก็จะนำมาแทรก ดังนั้นคนที่ได้คะแนนต่ำสุดในรอบแรกของแต่ละคณะก็จะตกไปถ้าน้องไม่ติดอันดับ 1 ระบบก็จะนำคะแนนของน้องไปแข่งที่อันดับต่อไป ไม่ติดก็จะนำไปอันดับต่อไปเรื่อยๆ จนถึงอันดับ4 โดยถ้าคะแนนถึงอันดับไหนก็จะติดอันดับนั้นเลย ไม่นำคะแนนไปแข่งในอันดับถัดไปและที่สำคัญ จำไว้เลยว่าคะแนนสำคัญกว่าอันดับ ถึงแม้เราเลือกคณะเดียวกับคู่แข่ง แต่เราอันดับ3 คู่แข่งเค้าเลือกไว้อันดับ 1 ถ้าเราไม่ได้ติดอันดับ 1และ 2 จนมาถึงอันดับ3 ถ้าเราคะแนนมากกว่าก็ไม่ต้องกังวลอะไรครับ เราก็ติดก่อนแน่นอน แม้ว่าเราจะเลือกคณะนี้ไว้เป็นอันดับ3ก็ตาม ** เพราะฉะนั้นอันดับแรกเลยของการเลือกคณะคือเลือกคณะที่เราอยากเรียนมากที่สุด อยากเข้าไปที่สุด ไว้อันดับ1 เท่านั้น!! เรียกว่าเลือกตามความฝันไปเลยครับ ไม่ต้องห่วงคะแนน อะไรใดๆทั้งสิ้น เพราะหากติดคณะที่เราไม่อยากเรียน จะได้ไม่ต้องมานั่งเสียใจ เพราะโอกาสมาจากการเลือก ถ้าเราไม่เลือกก็คือไม่มีโอกาส ถึงแม้บางคนจะมองว่าโอกาสจะน้อยนิด แต่ก็ยังถือว่ามีโอกาส ถ้าไม่เลือกเลยโอกาสคือเท่ากับ 0 ครับ!! – การเลือกคณะที่เรียงลงมานั้น ต้องเริ่มคำนึงถึงโอกาสสอบติดมากขึ้นเรื่อยๆ เพื่อเป็นการรองรับกัน ให้น้องๆลองนึกภาพถึงการตกจากที่สูงนะครับ คือตกลงมาแล้ว เบาะชั้น1 รับไม่อยู่ก็ยังมีชั้น2 ชั้น3 ชั้น4 รองรับต่อๆกัน ทำให้ไม่ตกถึงฟื้น(หลุดแอด) โดยการดูโอกาสสอบติดดูได้จากอะไร ส่วนมากที่น้องๆดูก็จะมีคะแนนขั้นต่ำของปีที่ผ่านๆมา แต่ด้วยเทคโนโลยีสมัยนี้น้องๆสามารถนำคะแนนของน้องๆมาประเมินได้จากโปรแกรมประเมินโอกาสต่างๆที่ตอนนี้มีอยู่หลายเว๊บ ซึ่งในอนา่คตรับรองว่าจะมีของ dek ad แน่นอนครับ ยกตัวอย่างการเรียงอันดับ อันดับ1 อย่างที่บอก เลือกไปเลยครับ คณะที่ชอบที่รักที่สุด ไม่ต้องสนใจโอกาสสอบติด ส่วนคณะที่ตามมา ต้องเลือกคณะที่่โอกาสสอบติดเปอร์เซ็นสูงขึ้นเรื่อยๆ เช่น อันดับ2 50% อันดับ3ควร 70-80% อันดับ4ควร 90% ขึ้นไป เอาให้ปลอดภัยที่สุด ให้นอนหลับสบาย แบบไร้กังวลมากที่สุด ประมาณนี้ครับ เพื่อเป็นการรองรับกันและความปลอดภัยป้องกันไม่ให้เกิดการหลุดแอด แต่ถ้าถามว่าถ้าอยากเสี่ยงได้ไหม ก็ต้องแยกเป็นกรณีๆไปเช่นกรณีเด็กซิ่ว มีที่เรียนมหาวิทยาลัยอยู่แล้ว แต่อาจไม่ได้เรียนในคณะที่ชอบอยากมาซิ่วใหม่ ก็เสี่ยงไปเลยครับเต็มที่ หรือน้องๆที่อาจจะติดรับตรงไปแล้วแต่ยังสามารถมาแอดได้ ก็สามารถจัดการความเสี่ยงได้ด้วยตัวเองเต็มที่เช่นกัน แต่สิ่งที่สำคัญสุดไม่ว่าพร้อมเสี่ยงหรือไม่พร้อมเสี่ยงก็คือการวางอันดับ อย่างน้อยๆก็ควรวางอันดับให้เป็นไปตามโอกาสที่น่าจะติด เพราะถ้าวางไปมั่วๆมันก็จะเป็นการเสียอันดับและเสียโอกาสโดยใช่เหตุครับ มาถึงอีกคำถามที่น้องๆถามมามากที่สุดก็คือเรื่องแนวโน้มต่างๆกับจะเช็คได้อย่างไรว่าคณะไหนมีความเสี่ยงมากน้อยเท่าไหร่ เลือกคณะดูแต่คะแนนต่ำสุดได้มั้ย ดูได้ครับ แต่อย่าลืมว่าคะแนนต่ำสุดของคณะต่างๆเมื่อปีแล้ว ไม่ได้เป็นคะแนนที่ตั้งไว้นิ่งๆมันสามารถขยับไปขยับมาได้ เพราะคะแนนมันมาจากการเลือก เพราะฉะนั้นคะแนนมันสามารถขึ้นๆลงๆได้ตลอด ซึ่งสิ่งที่เป็นปัจจัยทำให้คะแนนเปลี่ยนไปจะได้แก่ . 1.คะแนนสอบในแต่ละปี คะแนนสอบในที่นี้หมายถึงคะแนนสอบในแต่ละปีของ O-NET หรือ GAT PAT เพราะถ้าคะแนนเฉลี่ยตัวไหนขึ้นโดดเด่นก็จะพอคาดการณ์ได้เลยครับว่าคณะที่ใช้คะแนนตั้งนั้นในสัดส่วนก็จะมีโอกาสที่คะแนนสอบจะเพิ่มขึ้นอย่างแน่นอน . 2.จำนวนผู้สมัคร(คนเลือกเยอะ) แน่นอนครับคณะไหนหากมีการแข่งขันสูงคือมีผู้สมัครเยอะ คณะนั้นก็จะกลายเป็นคณะยอดฮิตมีคะแนนสูงขึ้นอย่างแน่นอน หรือแค่การดูจำนวนผู้สมัครในบางวิชาเราก็พอจะคาดการณ์ได้แล้วว่าคณะไหนมีแนวโน้มที่คะแนนจะขึ้น . 3.จำนวนการรับนักศึกษา จำนวนรับก็เป็นอีกสิ่งหนึ่งที่ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นจะส่งผลถึงคะแนนอย่างแน่นอน โดยเฉพาะคณะที่มีการปรับจำนวนการรับให้น้อยลงจากปีก่อนเยอะ ก็มีแนวโน้มที่คะแนนปีนี้จะสูงขึ้นอย่างแน่นอน . 4.คณะที่มีการเปลี่ยนเกณฑ์ ในทุกๆปีที่มีคณะที่มีการเปลียนเกณฑ์จะมีการสวิงอย่างเห็นได้ชัด ไม่ว่าจะเป็นคณะพยาบาลเมื่อตอนปี57 ที่มีปรับสัดส่วนการใช้ PAT2 ให้มากขึ้น10% ทำให้คะแนนในปีนั้นพยาบาลต่ำลงมากค่อนข้างเยอะ และส่งมาถึงปีที่ผ่านมาที่ทำให้คะแนนของคณะพยาบาลสวิงขึ้นมาเพราะคนแห่กันเลือกเพราะเห็นว่าคะแนนต่ำนั่นเอง อย่างปีหน้าก็จะมีเปลี่ยนเกณฑ์ของคณะสัตวแพทย์ อันนี้ก็จะมีผลแน่นอน . 5.คณะที่มีคะแนนสวิง(คะแนนต่ำสุดปีที่ผ่านมา ขึ้นๆลงๆ) ถามว่าคณะที่มีคะแนนสวิงจะเกี่ยวอะไร จะเกี่ยวก็ตรงมันมีผลทางจิตวิทยาที่แหละครับ บางคณะที่คะแนนสูงมากๆสูงเกินไปที่ใจเด็กในปีนั้นจะยอมรับก็อาจจะลงลงต่ำเรี่ยดินได้ เพราะว่าการเจียมตัวที่น้องๆเห็นว่าคะแนนสูง คงจะเอื้อมไม่ถึงก็เลยเลือกที่จะมาเลือก ซึ่งตัวอย่างอย่างนี้ก็จะมีให้เห็นแทบทุกปีนะครับ หรือคณะที่คะแนนต่ำมากๆ ก็อาจจะสวิงขึ้นมาสูงปรี๊ดเลยก็ได้เพราะคนจะแห่กันเลือกเพราะเห็นว่าคะแนนมันต่ำมากนั่นเอง . 6.เทรนด์ เทรนด์ในที่นี้ก็จะหมายถึงกระแสความฮิตของวัยรุ่นน้องวัยแอดในแต่ละปีว่ามีความนิยมเรื่องอะไร เรื่องมีความนิยมในคณะอะไร ซึ่งในสมัยก่อนก็จะอาจจะเคยเห็นว่ากระแสคณะนิเทศมาแรงมากๆ หรือในช่วงแอดปี4-5ปีก่อนกระแสคณะในอาชีพเสรีอาเซียนจะกลายเป็นคณะฮิตขึ้นมา ซึ่งในช่วงนี้เท่าที่พี่แฮนด์ดูก็จะเป็นคณะทางสายครูกับทางคณะทางด้านภาษาอังกฤษ หรือเกี่ยวกับกระแสดิจิทัล ที่คนจะสมัครเยอะมีคะแนนสูงขึ้นมา >>>> น้องๆสามารถ ปรึกษาการเลือกคณะแอดมิชชัน ด้วยวิธีง่ายๆเพียง 1. เข้าไปใช้โปรแกรม EZ (EZ ADMISSION) โปรแกรมช่วย ADMISSION ที่มีความแม่นยำสูง ที่สำคัญ ใช้ฟรี!! ได้ที่ >> http://ezadmissions.eduzones.com/ 2. เซฟรูปผลการคำนวณเลือกคณะของน้องๆ 3. นำไปโพสต์ขอคำปรึกษาจากพี่แฮนด์ที่ Line@ P’Hand Eduzones แอดเลยที่ >> @handyeduzones ง่ายๆเพียงเท่านี้ รับรองแอดมิชชั่นปีนี้ น้องๆไม่หลุดชัวร์!!! ครับ ———————————————————————————————————– EZ Webmaster Related Posts #DEK68 โอด ควรเลื่อนสอบ หรือไม่? สิ่งที่ #dek68 ต้องเตรียมในการเข้าสอบ #TGAT #TPAT #TCAS68 ซีพี ออลล์-เซเว่นฯ สร้าง “ผู้ประกอบการจิ๋ว” ยกระดับโรงเรียน CONNEXT ED พัฒนาทักษะวิชาการควบคู่วิชาชีพ สร้างรายได้สู่ชุมชน ครบรอบ 26 ปี “มูลนิธิดำรงชัยธรรม” บนเส้นทางแห่งการให้ด้านการศึกษา เดินหน้าสร้างบุคลากรคุณภาพสู่สังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดตัว ‘ChulaGENIE’ ร่วมกับ Google Cloud Post navigation PREVIOUS Previous post: ผู้นำนักศึกษา มจพ. ขานรับการจัดการเรียนการสอนออนไลน์สู้เชื้อโรค COVID-19NEXT Next post: E-Book Talk Like A Pro โดย อาจารย์วิริยะ ฤๅชัยพาณิชย์
ที่แรกของไทย และใน Southeast Asia! CMMU วิทยาลัยการจัดการ ม.มหิดล ได้รับรองสองมาตรฐานการศึกษาระดับโลก AMBA และ BGA ตอกย้ำเบอร์ 1 สถาบันการศึกษาด้านการจัดการ และเป็นผู้นำด้านความยั่งยืน EZ WebmasterDecember 2, 2024 วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล หรือ CMMUสร้างประวัติศาสตร์หน้าใหม่ของวงการการศึกษาไทย ขึ้นแท่นสถาบันการศึกษาแห่งแรกในประเทศไทยและ Southeast Asia ที่ได้รับรองมาตรฐานคุณภาพการศึกษาด้านบริหารธุรกิจ AMBA (Association of MBAs) และ BGA (Business Graduates Association) ตอกย้ำความเป็นสถาบันการศึกษาระดับแถวหน้าของโลก เบอร์ 1 ด้านหลักสูตรการบริหารจัดการธุรกิจ และเป็นผู้นำด้านความยั่งยืน พร้อมปั้นผู้นำแห่งอนาคตที่ครบเครื่องทั้งความรู้ ความสามารถ และมีจิตสำนึกรับผิดชอบต่อสังคม รองศาสตราจารย์… พิธีถวายปริญญาบัตรแก่พระบัณฑิตและบัณฑิต โครงการการศึกษาพิเศษพระสงฆ์ ณ วัดไตรมิตร tui sakrapeeNovember 29, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดพิธีถวายปริญญาบัตรแก่พระบัณฑิตและบัณฑิต ในโครงการจัดการศึกษาภาคพิเศษสำหรับพระภิกษุสามเณร ณ พระมหามณฑปพระพุทธมหาสุวรรณปฏิมากร วัดไตรมิตรวิทยารามวรวิหาร กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2567 โดยพิธีครั้งนี้สะท้อนถึงความมุ่งมั่นของมหาวิทยาลัยในการส่งเสริมการศึกษาและพัฒนาความรู้แก่คณะสงฆ์ไทย งานเริ่มต้นด้วย รศ.ดร.ฤๅเดช เกิดวิชัย นายกสภามหาวิทยาลัย เป็นประธานฝ่ายฆราวาส นำพานกรวยดอกไม้สดถวายแด่… จิตวิทยาที่สำคัญ สำหรับครู! EZ WebmasterNovember 29, 2024 หนังสือ “จิตวิทยาสำหรับครู” เป็นหนังสือที่มุ่งเน้นหลักการคิดจิตวิทยาสำหรับคุณครู มาประยุกษ์ในการสอนโดยไปถึงการจัดการเรียนการสอนในห้องเรียน หนังสือเล่มนี้มีเป้าหมายเพื่อช่วยครูเข้าใจพัฒนาการทางจิตวิทยาของนักเรียน รวมถึงการเข้าใจและจัดการกับพฤติกรรมต่าง ๆ ที่อาจจะเสี่ยงเกิดขึ้นในห้องเรียน และความหมายสำหรับจิตวิทยาสำหรับมีความหมายดังข้อความต่อไปนี้ เพราะในสมัยโบราณเชื่อกันว่า จิต หรือ วิญญาณ เป็นสิ่งที่เราสามารถที่จะควบคุมอาการหรือกิริยาบทต่างๆ ของร่างกายและยังเป็นตำกำหนดพฤติกรรมของมนุษย์จึงเป็นไปตามความเชื่อและความรู้สึก ซึ่งอาจจะได้รับรู้ของมนุษย์มีขีดจำกัดและไม่ได้มีการศึกษาอย่างมีระเบียบแบบแผนและไม่อาจพิสูจน์ได้จริง แต่ต่อมาเมื่อวิทยาการการศึกษาเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์เจริญก้าวหน้าขึ้น และสังเกตุได้จากการทดลองได้… ทุนดีดี ศอ.บต.จับมือซีพี ออลล์ เปิดให้ 400 ทุน เพื่อเด็กชายแดนใต้เรียนต่อระดับ ปวช. ปวส.และปริญญาตรี tui sakrapeeNovember 20, 2024 ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) ร่วมกับ บริษัท ซีพี ออลล์ จำกัด (มหาชน) จะดำเนินการรับสมัครและคัดเลือกเยาวชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ประกอบไปด้วย จังหวัด สงขลา จังหวัดสตูล จังหวัดปัตตานีจังหวัดยะลา และจังหวัดนราธิวาส เพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)… เปิดให้ทุนเยาวชนขาดแคลนทุนทรัพย์ มีความตั้งใจเรียนต่อระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา tui sakrapeeNovember 8, 2024 มูลนิธิพูนพลัง เปิดโอกาสให้เยาวชนได้เรียนต่อ ในโครงการ ทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2568 สำหรับนักเรียน นักศึกษาที่จะศึกษาในระดับ ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ในปีการศึกษา 2568 ลักษณะโครงการ โครงการทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ แต่มีความตั้งใจศึกษาเล่าเรียน และได้พยายามช่วยเหลือตนเอง… มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… ครู-อาจารย์ สสวท. ร่วมขับเคลื่อนการศึกษาด้วยองค์ความรู้จาก PISA ชวนใช้งานแผนขับเคลื่อนและสื่อออนไลน์เพื่อยกระดับฟรี EZ WebmasterDecember 2, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ร่วมกับทุกภาคส่วนในการขับเคลื่อนเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา โดยใช้องค์ความรู้จาก PISA ในการจัดทำแผนการขับเคลื่อน เอกสาร รวมทั้งสื่อต่าง ๆ เพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้และพัฒนาสมรรถนะด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และการอ่านของนักเรียนให้สูงขึ้น ครู ผู้สนใจสามารถศึกษาแผนการขับเคลื่อน ชุดพัฒนาความฉลาดรู้ วีดิทัศน์การอบรม ตลอดจนสื่อต่าง ๆ… สถาบันวิจัยและพัฒนา มทร.ธัญบุรี จัดงาน”การเผยแพร่ผลสำเร็จและจับคู่ธุรกิจ” ยกระดับผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปด้วยนวัตกรรม tui sakrapeeNovember 29, 2024 เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2567 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ได้จัดงาน “การเผยแพร่ผลสำเร็จและจับคู่ธุรกิจ (Business Matching and Showcase)” ภายใต้กิจกรรมยกระดับและสร้างมูลค่าเพิ่มผลิตภัณฑ์เกษตรแปรรูปด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม (อาหารแปรรูป) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ณ… Degree Plus ส่ง TOP Green หลักสูตรสำหรับผู้บริหารยุคใหม่ ต่อยอด Lifelong Learning สำหรับผู้นำธุรกิจระดับสูงในไทย EZ WebmasterNovember 29, 2024 Degree Plus แพลตฟอร์มการพัฒนาการเรียนรู้สำหรับผู้บริหาร ในเครือ LEARN Corporation ร่วมกับ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดตัว “TOP Green” หลักสูตรที่ออกแบบมาเพื่อพัฒนาผู้บริหารยุคใหม่ที่มุ่งเน้นการขับเคลื่อนธุรกิจในทิศทางของความยั่งยืน โดยมุ่งตอบโจทย์การเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) และเตรียมความพร้อมให้ผู้นำองค์กรระดับสูงในไทยสามารถนำความรู้ด้านความยั่งยืนมาใช้ในการพัฒนาองค์กรให้เติบโตอย่างยั่งยืนทั้งในแง่ของเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม หลักสูตร TOP Green ได้รับความร่วมมือจากภาครัฐและองค์กรชั้นนำ เช่น กรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม, หอการค้าไทยและสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย, ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย, สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และ UN Global… จิตวิทยาที่สำคัญ สำหรับครู! EZ WebmasterNovember 29, 2024 หนังสือ “จิตวิทยาสำหรับครู” เป็นหนังสือที่มุ่งเน้นหลักการคิดจิตวิทยาสำหรับคุณครู มาประยุกษ์ในการสอนโดยไปถึงการจัดการเรียนการสอนในห้องเรียน หนังสือเล่มนี้มีเป้าหมายเพื่อช่วยครูเข้าใจพัฒนาการทางจิตวิทยาของนักเรียน รวมถึงการเข้าใจและจัดการกับพฤติกรรมต่าง ๆ ที่อาจจะเสี่ยงเกิดขึ้นในห้องเรียน และความหมายสำหรับจิตวิทยาสำหรับมีความหมายดังข้อความต่อไปนี้ เพราะในสมัยโบราณเชื่อกันว่า จิต หรือ วิญญาณ เป็นสิ่งที่เราสามารถที่จะควบคุมอาการหรือกิริยาบทต่างๆ ของร่างกายและยังเป็นตำกำหนดพฤติกรรมของมนุษย์จึงเป็นไปตามความเชื่อและความรู้สึก ซึ่งอาจจะได้รับรู้ของมนุษย์มีขีดจำกัดและไม่ได้มีการศึกษาอย่างมีระเบียบแบบแผนและไม่อาจพิสูจน์ได้จริง แต่ต่อมาเมื่อวิทยาการการศึกษาเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์เจริญก้าวหน้าขึ้น และสังเกตุได้จากการทดลองได้… กิจกรรม วิศวกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี จัดอบรม ระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ tui sakrapeeNovember 27, 2024 รองศาสตราจารย์ ดร.สรพงษ์ ภวสุปรีย์ คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) เผยว่า ศูนย์พัฒนาทักษะอุตสาหกรรม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี ร่วมกับภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า จัดโครงการฝึกอบรมหลักสูตร ระบบกักเก็บพลังงานและสถานการณ์การพัฒนาการของแบตเตอรี่ (Energy Storage System (ESS) and The… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI EZ WebmasterNovember 27, 2024 เติบโตอย่างยิ่งใหญ่กว่าที่เคย iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI พร้อมพาวงการครีเอเตอร์ก้าวสู่เส้นทางแห่งไอคอนนิก งานที่รวบรวมเหล่า ครีเอเตอร์กว่า 100 คนเพื่อเปิดโอกาสให้ได้มีส่วนทำงานกับแบรนด์ต่าง ๆ จนได้กระแสตอบรับอย่างล้นหลาม บรรยากาศภายในงานเต็มไปด้วยความคึกคัก ยิ่งใหญ่ ตื่นตาตื่นใจกว่าที่เคยและผู้คนที่หลั่งไหลเข้ามาภายในงานเป็นจำนวนมากเพือมาเข้าร่วมการพูดแบ่งปันประสบการณ์ของเหล่า ครีเอเตอร์… “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” เปิดบ้าน “สวนสุนันทา” วิชาการแน่น บันเทิงสนุก จัดเต็ม 17-18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 27, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม… EMPATHY: วิถีของผู้นำผ่านเวทีนางงามโลก EZ WebmasterNovember 22, 2024 สะเทือน!!! เวทีนางงาม Miss Universe 2024 เมื่อตัวแทนสาวงามจากประเทศไทยน้องโอปอล-สุชาตา ช่วงศรี ตอบคำถามรอบ 5 คนสุดท้ายเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2024 ที่ผ่านมาด้วยน้ำเสียง สายตา ท่าทาง และบุคลิกภาพที่เต็มเปี่ยมไปด้วยความมั่นใจและสง่างามเรียกเสียงปรบมือสนั่นลั่นดินแดนจังโก้ จาก… Search for: Search EZ Webmaster May 4, 2020 EZ Webmaster May 4, 2020 เคลียร์ทุกเรื่อง ที่มา/วิธีการคัดเลือก/วิธีการจัดอันดับ/อะไรคือปัจจัยเสี่ยง Admission 2563 แอดมิชชัน ถือเป็นสิ่งสำคัญมากๆอีกเรื่องหนึ่งในชีวิตของน้องๆ ม.6 ในทุกๆปีนะครับ เพราะถือว่าเป็นสะพานในการพาน้องๆไปสู่ความฝันหรือเป้าหมายที่ต้องการหลังจากฝ่าฝันสอบมาอย่างดุเดือดตลอดปีการศึกษาของ ม.6 ซึ่งแน่นอนว่าน้องๆแต่ละคนก็ต้องการความกระจ่างและความมั่นใจมากที่สุดก่อนที่จะทำการเลือกคณะ ซึ่งก็มีหลากหลายคำถามเข้ามาที่พี่แฮนด์มากมายทั้งวิธีการการเลือก แนวโน้มแต่ละคณะ และคำถามอื่นๆ พี่แฮนด์จึงเขียนบทความเพื่อไขข้อสงสัยในหลายเรื่องสำหรับแอดมิชชัน แอดมิชชัน หรือน้องๆอาจจะเรียกว่าแอดกลาง ก็คือการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา (Central University Admissions System – CUAS ) จัดการคัดเลือกโดย ทปอ. นำมาใช้ครั้งแรกเมื่อปี 2549 แทนการคัดเลือกแบบเอนทรานซ์นั่นเอง ซึ่งจุดประสงค์หลักที่นำระบบแอดมิชชันมาใช้แทนระบบเก่าอย่างเอนทรานซ์ก็เพราะว่า การเอนทรานซ์ จะเน้นในการสอบเพียงอย่างเดียว ทำให้เด็กๆทิ้งการเรียนในห้องเรียน ไปมุ่งมั่นติวกันเพียงอย่างเดียว แต่การแอดมิชชันจะมีการนำเกรดเฉลี่ยในโรงเรียนมาใช้ด้วย ทำให้เด็กๆต้องสนใจวิชาในห้องเรียนไม่สามารถทิ้งได้(แต่สุดท้ายเด็กไทยก็ยังติวกันเหมือนเดิมนะครับ อิๆ) องค์ประกอบของแอดมิชชัน แอดมิชชันจะมีคะแนนรวมทั้ง 30,000 คะแนน จากองค์ประกอบ4ตัว ดังต่อไปนี้ 1.GPAX คือเกรดเฉลี่ยสะสม 6 ภาคเรียน ตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย ม.4-ม.6 ของนักเรียน โดย GPAX ใช้เป็นสัดส่วนในแอดมิชชัน 20% หรือ6,000คะแนนทุกคณะ 2. O-NET (Ordinary National Education Test) หรือการสอบทางการศึกษาแห่งชาติขั้นพื้นฐาน เป็นการสอบพร้อมทั้งหมดของเด็ก ม.6 ทั่วประเทศ จะมีการสอบทั้งหมด 5 วิชาได้แก่ คณิตศาสตร์,ภาษาอังกฤษ,ภาษาไทย,สังคม.วิทยาศาสตร์ โดย O-NET ใช้เป็นสัดส่วนในแอดมิชชัน 30% หรือ9,000คะแนนทุกคณะ 3. GAT (Genetal Aptitude Test) หรือการสอบความถนัดทั่วไป คะแนนเต็ม 300 คะแนน ข้อสอบGAT ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ GAT ไทย ซึ่งจะเน้นเนื้อหาทางด้าน การอ่าน เขียน คิดวิเคราะห์ และ GAT ภาษาอังกฤษ อย่างละ 150 คะแนน โดย GAT ใช้เป็นสัดส่วนในแอดมิชชัน 10-50% หรือ3,000-15,000คะแนนแล้วแต่คณะ 4. PAT (Professional Aptitude Test) หรือการสอบความถนัดทางวิชาชีพ เป็นข้อสอบที่ยากเพราะเป็นเนื่อหาที่ไม่มีสอนในโรงเรียน โดยจะมรทั้งหมด 7 PAT ด้วยกัน ได้แก่ PAT1 คณิตศาสตร์ PAT2 วิทยาศาสตร์ PAT3 พื้นฐานวิศวกรรม PAT4 พื้นฐานสถาปัตยกรรม PAT5 พื้นฐานความเป็นครู PAT6 ศิลปกรรม และPAT7วิชาด้านภาษาอื่นๆนอกเหนือจากภาษาอังกฤษ โดย PAT ใช้เป็นสัดส่วนในแอดมิชชัน 0-40% หรือ0-12,000คะแนนแล้วแต่คณะ สัดส่วนองค์ประกอบแต่ละกลุ่มคณะ สัดส่วนองค์ประกอบของแอดมิชชันจะแบ่งเป็น 13 กลุ่มดังนี้ **จุดสังเกตขององค์ประกอบแต่ละกลุ่มคณะขอให้น้องๆจำง่ายๆว่า GPAX(20%) และ O-NET(30%) มีสัดส่วนคงที่ทุกกลุ่มคณะ แต่ละกลุ่มแตกต่างกันตรง GAT และ PAT เท่านั้น สถิติผู้สมัครและสอบติดแอดมิชชัน พี่แฮนด์เอาสถิติตั้งแต่ปี 53 ที่เริ่มใช้ GAT PAT เป็นปีแรก มาให้ดูกันนะครับ ปี 53 จำนวนผู้สมัคร 98,143 คน มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 70,003 คน หลุดแอดมิชชัน 28,140 คน ปี 54 จำนวนผู้สมัคร 123,260 คน มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 78,096 คน หลุดแอดมิชชัน 45,164 คน ปี 55 จำนวนผู้สมัคร 122,169 คน มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 82,102 คน หลุดแอดมิชชัน 40,067 คน ปี 56 จำนวนผู้สมัคร 113,400 คน มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 83,955 คน หลุดแอดมิชชัน 29,445 คน ปี 57 จำนวนผู้สมัคร 99,767 คน แอดมิชชันติด มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 80,880 คน หลุดแอดมิชชัน 18,887 คน ปี 58 จำนวนผู้สมัคร 124,648 คน แอดมิชชันติด มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 91,813 คน หลุดแอดมิชชัน 32,835 คน ปี 59 จำนวนผู้สมัคร 105,046 คน แอดมิชชันติด มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 85,834 คน หลุดแอดมิชชัน 19,212 คน ปี 60 จำนวนผู้สมัคร 81,232 คน แอดมิชชันติด มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 70,689 คน หลุดแอดมิชชัน 10,543 คน ปี 61 จำนวนผู้สมัคร 54,782 คน แอดมิชชันติด มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 44,476 คน หลุดแอดมิชชัน 10,306 คน ปี 62 จำนวนผู้สมัคร 122,523 คน แอดมิชชันติด มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 52,315 คน หลุดแอดมิชชัน 20,093 คน เห็นจำนวนสถิติอย่างงี้ก็เพิ่งอย่าไปเครียดอะไรนะครับ เพราะที่จริงแล้วยอดผู้สมัครทุกปีนั้น น้อยกว่ายอดรับตามระเบียบการทุกปี แต่ที่มีคนไม่ติดนั้นก็เพราะว่า ส่วนใหญ่ก็จะไปเลือกคณะเดียวกันซะเยอะ ทำให้มีคนหลุดแอดทุกปี และที่สำคัญจะเห็นเลยว่าจำนวนนั้นลดลงเรื่อยๆทุกปี การคิดคะแนนแอดมิชชัน การคิดคะแนน GPAX ใช้ GPAX ร้อยละ 20 GPAX ให้คิดเทียบคะแนนเต็มเป็น 300 คะแนน วิธีคิด 1. ให้นํา GPAX คูณกับ 75 เพื่อแปลงค่าผลการเรียนเฉลี่ยเป็นคะแนนเต็ม 300 คะแนน 2. ให้นําคะแนน GPAX ที่แปลงค่าเป็นคะแนนแล้วคูณกับค่าน้ําหนักที่กําหนด จะได้เป็นคะแนน GPAX ตัวอย่าง ผู้สมัครมีผลการเรียนเฉลี่ย (GPAX) = 2.93 วิธีคิด ขั้นที่ 1 ใ ให้นํา GPAX คูณด้วย 75 จะได้คะแนนดังนี้ คะแนน GPAX (2.93 × 75) = 219.75 คะแนน ขั้นที่ 2 นําคะแนน GPAX คูณด้วยค่าน้ําหนักที่กําหนดไว้ คือ 20% คะแนน GPAX (219.75 × 20) = 4,395 คะแนน จากคะแนนเต็ม 6,000 คะแนน วิธีการคิดคะแนน O-NET 1. ให้นําคะแนนสอบวิชา O-NET แต่ละวิชาของผู้สมัครคูณกับ 3 (กําหนด ให้คะแนนเต็มแต่ละวิชาเท่ากับ 300) 2. นําคะแนนในข้อ 1 คูณกับค่าน้ําหนักที่กําหนด 3. นําคะแนนแต่ละวิชาในข้อ 2 มารวมกันจะได้คะแนนรวมของ O-NET ตัวอย่าง ผู้มัครมีคะแนน O-NET ดังนี้ วิชา 01 = 63.00, 02 = 75.00, 03 = 71.00, 04 = 81.00 05 = 87.00 ขั้นที่ 1 นําคะแนนแต่ละวิชาของผู้สมัครคูณด้วย 3(ยกเว้นวิชา 06 ไม่ต่องคูณ) ดังนี้ คะแนน O-NET วิชา 01 (63.00 × 3) = 189 วิชา 02 (75.00 × 3) = 225 วิชา 03 (71.00 × 3) = 213 วิชา 04 (81.00 × 3) = 243 วิชา 05 (87.00 × 3) = 261 ขั้นที่ 2 นําคะแนนที่คูณด้วย 3 คูณด้วยค่าน้ําหนัก ดังนี้ คะแนน O-NET วิชา 01 (189 × 6) = 1,134 วิชา 02 (225 × 6) = 1,350 วิชา 03 (213 × 6) = 1,278 วิชา 04 (261 × 6) = 1,458 วิชา 05 (261 × 6) = 1,566 ขั้นที่ 3 นําคะแนน O-NET ที่คูณด้วยค่าน้ําหนักแล้ว มารวมกันดังนี้ คะแนน O-NET (1,134 + 1,350 + 1,278 + 1,458 + 1,566) คะแนนรวม O-NET = 6,786 คะแนน (จากคะแนน 9,000 คะแนน) วิธีการคิดคะแนน GAT, PAT 1. นําคะแนนสอบ GAT และ PAT ของผู้สมัครคูณกับค่าน้ําหนักที่กําหนด 2. นําคะแนนแต่ละวิชาจากข้อ 1 มารวมกันจะได้คะแนนรวมของ GAT และ/ PATตัวอย่าง วิธีการคิดคะแนน GAT และ PAT ของผู้สมัครเข้าศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ ต้องการเลือกคณะวิศวกรรมศาสตร์ กําหนดให้สอบ O-NET 5 กลุ่มสาระฯ คือ รหัส 01,02,03,04 และ 05 แต่ละวิชาให้ค่าน้ําหนักร้อยละ 6 วิชา GAT (รหัส 85) ให้ค่าน้ําหนักร้อยละ 15 วิชา PAT 2 (รหัส 72) ให้ค่าน้ําหนักร้อยละ 15 วิชา PAT 3 (รหัส 73) ให้ค่าน้ําหนักร้อยละ 20 ผู้สมัครมีคะแนนแต่ละวิชาดังนี้ วิธีคิดขั้นที่ 1 นําคะแนน GAT และ PAT ของผู้สมัครคูณกับค่าน้ําหนัก คะแนน GAT (265 × 15) = 3,975 คะแนน คะแนน PAT 2 (210 × 15) = 3,150คะแนน คะแนน PAT 3 (250 × 20) = 5,000คะแนน คะแนนรวม GAT และ PAT (3,975 + 3,150 + 5,000) = 12,125 คะแนนการคิดคะแนนรวม คะแนนรวม = คะแนน GPAX + คะแนน O-NET + คะแนน GAT และ/หรือ คะแนน PAT(นำคะแนนทุกอย่างมาบวกกัน) นี่ก็คือวิธีการคิดคะแนนที่ใช้ในการคัดเลือกในระบบแอดมิชชันนะครับ น้องๆคนไหนอยากคิดคะแนนตัวเองก็ลองคิดได้เลยนะครับ แต่อย่าไปคิดบวกเกินให้ตัวเองละ มันไม่ดีเน้อ อิอิ การยื่นเลือกคณะ การยื่นเลือกคณะของแอดมิชชันนั้น ปีนี้จะเลือกกัน หลังจากที่น้องๆม.6 ได้ทราบผลคะแนนทุกตัวที่ใช้เป็นองค์ประกอบแล้ว โดยน้องๆจะสามารถเลือกได้ทั้งหมด 4 อันดับ จะเลือกคณะอะไรมหาวิทยาลัยใดก็ได้ มหาวิทยาลัยเดียวกันก็ได้ โดยจะสมัครทางเว๊บไซท์ http:/mytcas.com/โดยวิธีการคิดเลือกคณะจะเป็นดังนี้1.ระบบจะรวบรวมคะแนนอันดับ1 ของน้องๆ ทุกคนมาเรียงไว้จากมากไปหาน้อย เช่น คณะวิศวะ จุฬา รับ100 คน ระบบก็จะนำคนที่เลือกคณะวิศวะจุฬาทั้งหมดนำคะแนนมาเรียงกัน ใครอยู่อันดับ1-100 ก็คือติดไป *คนที่ไม่เลือกไม่มีสิทธิ์ติดนะครับ*2.ระบบจะเลือกคนที่มีคะแนนมากที่สุด เข้าสู่แต่ละคณะให้ครบตามจำนวนที่รับ คนที่คะแนนไม่ติดคณะใดเลย ถือว่าตกพิจารณาในอันดับแรก ก็จะถูกพิจารณาคะแนนในอันดับที่2 ต่อไป3.เมื่อพิจารณาแล้วพบว่าคะแนนในอันดับ2 สูงกว่าคนที่ผ่านการพิจารณาในรอบแรก คะแนนใหม่ก็จะนำมาแทรก ดังนั้นคนที่ได้คะแนนต่ำสุดในรอบแรกของแต่ละคณะก็จะตกไปถ้าน้องไม่ติดอันดับ 1 ระบบก็จะนำคะแนนของน้องไปแข่งที่อันดับต่อไป ไม่ติดก็จะนำไปอันดับต่อไปเรื่อยๆ จนถึงอันดับ4 โดยถ้าคะแนนถึงอันดับไหนก็จะติดอันดับนั้นเลย ไม่นำคะแนนไปแข่งในอันดับถัดไปและที่สำคัญ จำไว้เลยว่าคะแนนสำคัญกว่าอันดับ ถึงแม้เราเลือกคณะเดียวกับคู่แข่ง แต่เราอันดับ3 คู่แข่งเค้าเลือกไว้อันดับ 1 ถ้าเราไม่ได้ติดอันดับ 1และ 2 จนมาถึงอันดับ3 ถ้าเราคะแนนมากกว่าก็ไม่ต้องกังวลอะไรครับ เราก็ติดก่อนแน่นอน แม้ว่าเราจะเลือกคณะนี้ไว้เป็นอันดับ3ก็ตาม ** เพราะฉะนั้นอันดับแรกเลยของการเลือกคณะคือเลือกคณะที่เราอยากเรียนมากที่สุด อยากเข้าไปที่สุด ไว้อันดับ1 เท่านั้น!! เรียกว่าเลือกตามความฝันไปเลยครับ ไม่ต้องห่วงคะแนน อะไรใดๆทั้งสิ้น เพราะหากติดคณะที่เราไม่อยากเรียน จะได้ไม่ต้องมานั่งเสียใจ เพราะโอกาสมาจากการเลือก ถ้าเราไม่เลือกก็คือไม่มีโอกาส ถึงแม้บางคนจะมองว่าโอกาสจะน้อยนิด แต่ก็ยังถือว่ามีโอกาส ถ้าไม่เลือกเลยโอกาสคือเท่ากับ 0 ครับ!! – การเลือกคณะที่เรียงลงมานั้น ต้องเริ่มคำนึงถึงโอกาสสอบติดมากขึ้นเรื่อยๆ เพื่อเป็นการรองรับกัน ให้น้องๆลองนึกภาพถึงการตกจากที่สูงนะครับ คือตกลงมาแล้ว เบาะชั้น1 รับไม่อยู่ก็ยังมีชั้น2 ชั้น3 ชั้น4 รองรับต่อๆกัน ทำให้ไม่ตกถึงฟื้น(หลุดแอด) โดยการดูโอกาสสอบติดดูได้จากอะไร ส่วนมากที่น้องๆดูก็จะมีคะแนนขั้นต่ำของปีที่ผ่านๆมา แต่ด้วยเทคโนโลยีสมัยนี้น้องๆสามารถนำคะแนนของน้องๆมาประเมินได้จากโปรแกรมประเมินโอกาสต่างๆที่ตอนนี้มีอยู่หลายเว๊บ ซึ่งในอนา่คตรับรองว่าจะมีของ dek ad แน่นอนครับ ยกตัวอย่างการเรียงอันดับ อันดับ1 อย่างที่บอก เลือกไปเลยครับ คณะที่ชอบที่รักที่สุด ไม่ต้องสนใจโอกาสสอบติด ส่วนคณะที่ตามมา ต้องเลือกคณะที่่โอกาสสอบติดเปอร์เซ็นสูงขึ้นเรื่อยๆ เช่น อันดับ2 50% อันดับ3ควร 70-80% อันดับ4ควร 90% ขึ้นไป เอาให้ปลอดภัยที่สุด ให้นอนหลับสบาย แบบไร้กังวลมากที่สุด ประมาณนี้ครับ เพื่อเป็นการรองรับกันและความปลอดภัยป้องกันไม่ให้เกิดการหลุดแอด แต่ถ้าถามว่าถ้าอยากเสี่ยงได้ไหม ก็ต้องแยกเป็นกรณีๆไปเช่นกรณีเด็กซิ่ว มีที่เรียนมหาวิทยาลัยอยู่แล้ว แต่อาจไม่ได้เรียนในคณะที่ชอบอยากมาซิ่วใหม่ ก็เสี่ยงไปเลยครับเต็มที่ หรือน้องๆที่อาจจะติดรับตรงไปแล้วแต่ยังสามารถมาแอดได้ ก็สามารถจัดการความเสี่ยงได้ด้วยตัวเองเต็มที่เช่นกัน แต่สิ่งที่สำคัญสุดไม่ว่าพร้อมเสี่ยงหรือไม่พร้อมเสี่ยงก็คือการวางอันดับ อย่างน้อยๆก็ควรวางอันดับให้เป็นไปตามโอกาสที่น่าจะติด เพราะถ้าวางไปมั่วๆมันก็จะเป็นการเสียอันดับและเสียโอกาสโดยใช่เหตุครับ มาถึงอีกคำถามที่น้องๆถามมามากที่สุดก็คือเรื่องแนวโน้มต่างๆกับจะเช็คได้อย่างไรว่าคณะไหนมีความเสี่ยงมากน้อยเท่าไหร่ เลือกคณะดูแต่คะแนนต่ำสุดได้มั้ย ดูได้ครับ แต่อย่าลืมว่าคะแนนต่ำสุดของคณะต่างๆเมื่อปีแล้ว ไม่ได้เป็นคะแนนที่ตั้งไว้นิ่งๆมันสามารถขยับไปขยับมาได้ เพราะคะแนนมันมาจากการเลือก เพราะฉะนั้นคะแนนมันสามารถขึ้นๆลงๆได้ตลอด ซึ่งสิ่งที่เป็นปัจจัยทำให้คะแนนเปลี่ยนไปจะได้แก่ . 1.คะแนนสอบในแต่ละปี คะแนนสอบในที่นี้หมายถึงคะแนนสอบในแต่ละปีของ O-NET หรือ GAT PAT เพราะถ้าคะแนนเฉลี่ยตัวไหนขึ้นโดดเด่นก็จะพอคาดการณ์ได้เลยครับว่าคณะที่ใช้คะแนนตั้งนั้นในสัดส่วนก็จะมีโอกาสที่คะแนนสอบจะเพิ่มขึ้นอย่างแน่นอน . 2.จำนวนผู้สมัคร(คนเลือกเยอะ) แน่นอนครับคณะไหนหากมีการแข่งขันสูงคือมีผู้สมัครเยอะ คณะนั้นก็จะกลายเป็นคณะยอดฮิตมีคะแนนสูงขึ้นอย่างแน่นอน หรือแค่การดูจำนวนผู้สมัครในบางวิชาเราก็พอจะคาดการณ์ได้แล้วว่าคณะไหนมีแนวโน้มที่คะแนนจะขึ้น . 3.จำนวนการรับนักศึกษา จำนวนรับก็เป็นอีกสิ่งหนึ่งที่ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นจะส่งผลถึงคะแนนอย่างแน่นอน โดยเฉพาะคณะที่มีการปรับจำนวนการรับให้น้อยลงจากปีก่อนเยอะ ก็มีแนวโน้มที่คะแนนปีนี้จะสูงขึ้นอย่างแน่นอน . 4.คณะที่มีการเปลี่ยนเกณฑ์ ในทุกๆปีที่มีคณะที่มีการเปลียนเกณฑ์จะมีการสวิงอย่างเห็นได้ชัด ไม่ว่าจะเป็นคณะพยาบาลเมื่อตอนปี57 ที่มีปรับสัดส่วนการใช้ PAT2 ให้มากขึ้น10% ทำให้คะแนนในปีนั้นพยาบาลต่ำลงมากค่อนข้างเยอะ และส่งมาถึงปีที่ผ่านมาที่ทำให้คะแนนของคณะพยาบาลสวิงขึ้นมาเพราะคนแห่กันเลือกเพราะเห็นว่าคะแนนต่ำนั่นเอง อย่างปีหน้าก็จะมีเปลี่ยนเกณฑ์ของคณะสัตวแพทย์ อันนี้ก็จะมีผลแน่นอน . 5.คณะที่มีคะแนนสวิง(คะแนนต่ำสุดปีที่ผ่านมา ขึ้นๆลงๆ) ถามว่าคณะที่มีคะแนนสวิงจะเกี่ยวอะไร จะเกี่ยวก็ตรงมันมีผลทางจิตวิทยาที่แหละครับ บางคณะที่คะแนนสูงมากๆสูงเกินไปที่ใจเด็กในปีนั้นจะยอมรับก็อาจจะลงลงต่ำเรี่ยดินได้ เพราะว่าการเจียมตัวที่น้องๆเห็นว่าคะแนนสูง คงจะเอื้อมไม่ถึงก็เลยเลือกที่จะมาเลือก ซึ่งตัวอย่างอย่างนี้ก็จะมีให้เห็นแทบทุกปีนะครับ หรือคณะที่คะแนนต่ำมากๆ ก็อาจจะสวิงขึ้นมาสูงปรี๊ดเลยก็ได้เพราะคนจะแห่กันเลือกเพราะเห็นว่าคะแนนมันต่ำมากนั่นเอง . 6.เทรนด์ เทรนด์ในที่นี้ก็จะหมายถึงกระแสความฮิตของวัยรุ่นน้องวัยแอดในแต่ละปีว่ามีความนิยมเรื่องอะไร เรื่องมีความนิยมในคณะอะไร ซึ่งในสมัยก่อนก็จะอาจจะเคยเห็นว่ากระแสคณะนิเทศมาแรงมากๆ หรือในช่วงแอดปี4-5ปีก่อนกระแสคณะในอาชีพเสรีอาเซียนจะกลายเป็นคณะฮิตขึ้นมา ซึ่งในช่วงนี้เท่าที่พี่แฮนด์ดูก็จะเป็นคณะทางสายครูกับทางคณะทางด้านภาษาอังกฤษ หรือเกี่ยวกับกระแสดิจิทัล ที่คนจะสมัครเยอะมีคะแนนสูงขึ้นมา >>>> น้องๆสามารถ ปรึกษาการเลือกคณะแอดมิชชัน ด้วยวิธีง่ายๆเพียง 1. เข้าไปใช้โปรแกรม EZ (EZ ADMISSION) โปรแกรมช่วย ADMISSION ที่มีความแม่นยำสูง ที่สำคัญ ใช้ฟรี!! ได้ที่ >> http://ezadmissions.eduzones.com/ 2. เซฟรูปผลการคำนวณเลือกคณะของน้องๆ 3. นำไปโพสต์ขอคำปรึกษาจากพี่แฮนด์ที่ Line@ P’Hand Eduzones แอดเลยที่ >> @handyeduzones ง่ายๆเพียงเท่านี้ รับรองแอดมิชชั่นปีนี้ น้องๆไม่หลุดชัวร์!!! ครับ ———————————————————————————————————– EZ Webmaster Related Posts #DEK68 โอด ควรเลื่อนสอบ หรือไม่? สิ่งที่ #dek68 ต้องเตรียมในการเข้าสอบ #TGAT #TPAT #TCAS68 ซีพี ออลล์-เซเว่นฯ สร้าง “ผู้ประกอบการจิ๋ว” ยกระดับโรงเรียน CONNEXT ED พัฒนาทักษะวิชาการควบคู่วิชาชีพ สร้างรายได้สู่ชุมชน ครบรอบ 26 ปี “มูลนิธิดำรงชัยธรรม” บนเส้นทางแห่งการให้ด้านการศึกษา เดินหน้าสร้างบุคลากรคุณภาพสู่สังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดตัว ‘ChulaGENIE’ ร่วมกับ Google Cloud Post navigation PREVIOUS Previous post: ผู้นำนักศึกษา มจพ. ขานรับการจัดการเรียนการสอนออนไลน์สู้เชื้อโรค COVID-19NEXT Next post: E-Book Talk Like A Pro โดย อาจารย์วิริยะ ฤๅชัยพาณิชย์
พิธีถวายปริญญาบัตรแก่พระบัณฑิตและบัณฑิต โครงการการศึกษาพิเศษพระสงฆ์ ณ วัดไตรมิตร tui sakrapeeNovember 29, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดพิธีถวายปริญญาบัตรแก่พระบัณฑิตและบัณฑิต ในโครงการจัดการศึกษาภาคพิเศษสำหรับพระภิกษุสามเณร ณ พระมหามณฑปพระพุทธมหาสุวรรณปฏิมากร วัดไตรมิตรวิทยารามวรวิหาร กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2567 โดยพิธีครั้งนี้สะท้อนถึงความมุ่งมั่นของมหาวิทยาลัยในการส่งเสริมการศึกษาและพัฒนาความรู้แก่คณะสงฆ์ไทย งานเริ่มต้นด้วย รศ.ดร.ฤๅเดช เกิดวิชัย นายกสภามหาวิทยาลัย เป็นประธานฝ่ายฆราวาส นำพานกรวยดอกไม้สดถวายแด่… จิตวิทยาที่สำคัญ สำหรับครู! EZ WebmasterNovember 29, 2024 หนังสือ “จิตวิทยาสำหรับครู” เป็นหนังสือที่มุ่งเน้นหลักการคิดจิตวิทยาสำหรับคุณครู มาประยุกษ์ในการสอนโดยไปถึงการจัดการเรียนการสอนในห้องเรียน หนังสือเล่มนี้มีเป้าหมายเพื่อช่วยครูเข้าใจพัฒนาการทางจิตวิทยาของนักเรียน รวมถึงการเข้าใจและจัดการกับพฤติกรรมต่าง ๆ ที่อาจจะเสี่ยงเกิดขึ้นในห้องเรียน และความหมายสำหรับจิตวิทยาสำหรับมีความหมายดังข้อความต่อไปนี้ เพราะในสมัยโบราณเชื่อกันว่า จิต หรือ วิญญาณ เป็นสิ่งที่เราสามารถที่จะควบคุมอาการหรือกิริยาบทต่างๆ ของร่างกายและยังเป็นตำกำหนดพฤติกรรมของมนุษย์จึงเป็นไปตามความเชื่อและความรู้สึก ซึ่งอาจจะได้รับรู้ของมนุษย์มีขีดจำกัดและไม่ได้มีการศึกษาอย่างมีระเบียบแบบแผนและไม่อาจพิสูจน์ได้จริง แต่ต่อมาเมื่อวิทยาการการศึกษาเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์เจริญก้าวหน้าขึ้น และสังเกตุได้จากการทดลองได้…
จิตวิทยาที่สำคัญ สำหรับครู! EZ WebmasterNovember 29, 2024 หนังสือ “จิตวิทยาสำหรับครู” เป็นหนังสือที่มุ่งเน้นหลักการคิดจิตวิทยาสำหรับคุณครู มาประยุกษ์ในการสอนโดยไปถึงการจัดการเรียนการสอนในห้องเรียน หนังสือเล่มนี้มีเป้าหมายเพื่อช่วยครูเข้าใจพัฒนาการทางจิตวิทยาของนักเรียน รวมถึงการเข้าใจและจัดการกับพฤติกรรมต่าง ๆ ที่อาจจะเสี่ยงเกิดขึ้นในห้องเรียน และความหมายสำหรับจิตวิทยาสำหรับมีความหมายดังข้อความต่อไปนี้ เพราะในสมัยโบราณเชื่อกันว่า จิต หรือ วิญญาณ เป็นสิ่งที่เราสามารถที่จะควบคุมอาการหรือกิริยาบทต่างๆ ของร่างกายและยังเป็นตำกำหนดพฤติกรรมของมนุษย์จึงเป็นไปตามความเชื่อและความรู้สึก ซึ่งอาจจะได้รับรู้ของมนุษย์มีขีดจำกัดและไม่ได้มีการศึกษาอย่างมีระเบียบแบบแผนและไม่อาจพิสูจน์ได้จริง แต่ต่อมาเมื่อวิทยาการการศึกษาเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์เจริญก้าวหน้าขึ้น และสังเกตุได้จากการทดลองได้…
ศอ.บต.จับมือซีพี ออลล์ เปิดให้ 400 ทุน เพื่อเด็กชายแดนใต้เรียนต่อระดับ ปวช. ปวส.และปริญญาตรี tui sakrapeeNovember 20, 2024 ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) ร่วมกับ บริษัท ซีพี ออลล์ จำกัด (มหาชน) จะดำเนินการรับสมัครและคัดเลือกเยาวชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ประกอบไปด้วย จังหวัด สงขลา จังหวัดสตูล จังหวัดปัตตานีจังหวัดยะลา และจังหวัดนราธิวาส เพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)… เปิดให้ทุนเยาวชนขาดแคลนทุนทรัพย์ มีความตั้งใจเรียนต่อระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา tui sakrapeeNovember 8, 2024 มูลนิธิพูนพลัง เปิดโอกาสให้เยาวชนได้เรียนต่อ ในโครงการ ทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2568 สำหรับนักเรียน นักศึกษาที่จะศึกษาในระดับ ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ในปีการศึกษา 2568 ลักษณะโครงการ โครงการทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ แต่มีความตั้งใจศึกษาเล่าเรียน และได้พยายามช่วยเหลือตนเอง… มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… ครู-อาจารย์ สสวท. ร่วมขับเคลื่อนการศึกษาด้วยองค์ความรู้จาก PISA ชวนใช้งานแผนขับเคลื่อนและสื่อออนไลน์เพื่อยกระดับฟรี EZ WebmasterDecember 2, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ร่วมกับทุกภาคส่วนในการขับเคลื่อนเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา โดยใช้องค์ความรู้จาก PISA ในการจัดทำแผนการขับเคลื่อน เอกสาร รวมทั้งสื่อต่าง ๆ เพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้และพัฒนาสมรรถนะด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และการอ่านของนักเรียนให้สูงขึ้น ครู ผู้สนใจสามารถศึกษาแผนการขับเคลื่อน ชุดพัฒนาความฉลาดรู้ วีดิทัศน์การอบรม ตลอดจนสื่อต่าง ๆ… สถาบันวิจัยและพัฒนา มทร.ธัญบุรี จัดงาน”การเผยแพร่ผลสำเร็จและจับคู่ธุรกิจ” ยกระดับผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปด้วยนวัตกรรม tui sakrapeeNovember 29, 2024 เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2567 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ได้จัดงาน “การเผยแพร่ผลสำเร็จและจับคู่ธุรกิจ (Business Matching and Showcase)” ภายใต้กิจกรรมยกระดับและสร้างมูลค่าเพิ่มผลิตภัณฑ์เกษตรแปรรูปด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม (อาหารแปรรูป) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ณ… Degree Plus ส่ง TOP Green หลักสูตรสำหรับผู้บริหารยุคใหม่ ต่อยอด Lifelong Learning สำหรับผู้นำธุรกิจระดับสูงในไทย EZ WebmasterNovember 29, 2024 Degree Plus แพลตฟอร์มการพัฒนาการเรียนรู้สำหรับผู้บริหาร ในเครือ LEARN Corporation ร่วมกับ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดตัว “TOP Green” หลักสูตรที่ออกแบบมาเพื่อพัฒนาผู้บริหารยุคใหม่ที่มุ่งเน้นการขับเคลื่อนธุรกิจในทิศทางของความยั่งยืน โดยมุ่งตอบโจทย์การเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) และเตรียมความพร้อมให้ผู้นำองค์กรระดับสูงในไทยสามารถนำความรู้ด้านความยั่งยืนมาใช้ในการพัฒนาองค์กรให้เติบโตอย่างยั่งยืนทั้งในแง่ของเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม หลักสูตร TOP Green ได้รับความร่วมมือจากภาครัฐและองค์กรชั้นนำ เช่น กรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม, หอการค้าไทยและสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย, ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย, สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และ UN Global… จิตวิทยาที่สำคัญ สำหรับครู! EZ WebmasterNovember 29, 2024 หนังสือ “จิตวิทยาสำหรับครู” เป็นหนังสือที่มุ่งเน้นหลักการคิดจิตวิทยาสำหรับคุณครู มาประยุกษ์ในการสอนโดยไปถึงการจัดการเรียนการสอนในห้องเรียน หนังสือเล่มนี้มีเป้าหมายเพื่อช่วยครูเข้าใจพัฒนาการทางจิตวิทยาของนักเรียน รวมถึงการเข้าใจและจัดการกับพฤติกรรมต่าง ๆ ที่อาจจะเสี่ยงเกิดขึ้นในห้องเรียน และความหมายสำหรับจิตวิทยาสำหรับมีความหมายดังข้อความต่อไปนี้ เพราะในสมัยโบราณเชื่อกันว่า จิต หรือ วิญญาณ เป็นสิ่งที่เราสามารถที่จะควบคุมอาการหรือกิริยาบทต่างๆ ของร่างกายและยังเป็นตำกำหนดพฤติกรรมของมนุษย์จึงเป็นไปตามความเชื่อและความรู้สึก ซึ่งอาจจะได้รับรู้ของมนุษย์มีขีดจำกัดและไม่ได้มีการศึกษาอย่างมีระเบียบแบบแผนและไม่อาจพิสูจน์ได้จริง แต่ต่อมาเมื่อวิทยาการการศึกษาเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์เจริญก้าวหน้าขึ้น และสังเกตุได้จากการทดลองได้… กิจกรรม วิศวกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี จัดอบรม ระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ tui sakrapeeNovember 27, 2024 รองศาสตราจารย์ ดร.สรพงษ์ ภวสุปรีย์ คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) เผยว่า ศูนย์พัฒนาทักษะอุตสาหกรรม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี ร่วมกับภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า จัดโครงการฝึกอบรมหลักสูตร ระบบกักเก็บพลังงานและสถานการณ์การพัฒนาการของแบตเตอรี่ (Energy Storage System (ESS) and The… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI EZ WebmasterNovember 27, 2024 เติบโตอย่างยิ่งใหญ่กว่าที่เคย iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI พร้อมพาวงการครีเอเตอร์ก้าวสู่เส้นทางแห่งไอคอนนิก งานที่รวบรวมเหล่า ครีเอเตอร์กว่า 100 คนเพื่อเปิดโอกาสให้ได้มีส่วนทำงานกับแบรนด์ต่าง ๆ จนได้กระแสตอบรับอย่างล้นหลาม บรรยากาศภายในงานเต็มไปด้วยความคึกคัก ยิ่งใหญ่ ตื่นตาตื่นใจกว่าที่เคยและผู้คนที่หลั่งไหลเข้ามาภายในงานเป็นจำนวนมากเพือมาเข้าร่วมการพูดแบ่งปันประสบการณ์ของเหล่า ครีเอเตอร์… “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” เปิดบ้าน “สวนสุนันทา” วิชาการแน่น บันเทิงสนุก จัดเต็ม 17-18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 27, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม… EMPATHY: วิถีของผู้นำผ่านเวทีนางงามโลก EZ WebmasterNovember 22, 2024 สะเทือน!!! เวทีนางงาม Miss Universe 2024 เมื่อตัวแทนสาวงามจากประเทศไทยน้องโอปอล-สุชาตา ช่วงศรี ตอบคำถามรอบ 5 คนสุดท้ายเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2024 ที่ผ่านมาด้วยน้ำเสียง สายตา ท่าทาง และบุคลิกภาพที่เต็มเปี่ยมไปด้วยความมั่นใจและสง่างามเรียกเสียงปรบมือสนั่นลั่นดินแดนจังโก้ จาก… Search for: Search EZ Webmaster May 4, 2020 EZ Webmaster May 4, 2020 เคลียร์ทุกเรื่อง ที่มา/วิธีการคัดเลือก/วิธีการจัดอันดับ/อะไรคือปัจจัยเสี่ยง Admission 2563 แอดมิชชัน ถือเป็นสิ่งสำคัญมากๆอีกเรื่องหนึ่งในชีวิตของน้องๆ ม.6 ในทุกๆปีนะครับ เพราะถือว่าเป็นสะพานในการพาน้องๆไปสู่ความฝันหรือเป้าหมายที่ต้องการหลังจากฝ่าฝันสอบมาอย่างดุเดือดตลอดปีการศึกษาของ ม.6 ซึ่งแน่นอนว่าน้องๆแต่ละคนก็ต้องการความกระจ่างและความมั่นใจมากที่สุดก่อนที่จะทำการเลือกคณะ ซึ่งก็มีหลากหลายคำถามเข้ามาที่พี่แฮนด์มากมายทั้งวิธีการการเลือก แนวโน้มแต่ละคณะ และคำถามอื่นๆ พี่แฮนด์จึงเขียนบทความเพื่อไขข้อสงสัยในหลายเรื่องสำหรับแอดมิชชัน แอดมิชชัน หรือน้องๆอาจจะเรียกว่าแอดกลาง ก็คือการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา (Central University Admissions System – CUAS ) จัดการคัดเลือกโดย ทปอ. นำมาใช้ครั้งแรกเมื่อปี 2549 แทนการคัดเลือกแบบเอนทรานซ์นั่นเอง ซึ่งจุดประสงค์หลักที่นำระบบแอดมิชชันมาใช้แทนระบบเก่าอย่างเอนทรานซ์ก็เพราะว่า การเอนทรานซ์ จะเน้นในการสอบเพียงอย่างเดียว ทำให้เด็กๆทิ้งการเรียนในห้องเรียน ไปมุ่งมั่นติวกันเพียงอย่างเดียว แต่การแอดมิชชันจะมีการนำเกรดเฉลี่ยในโรงเรียนมาใช้ด้วย ทำให้เด็กๆต้องสนใจวิชาในห้องเรียนไม่สามารถทิ้งได้(แต่สุดท้ายเด็กไทยก็ยังติวกันเหมือนเดิมนะครับ อิๆ) องค์ประกอบของแอดมิชชัน แอดมิชชันจะมีคะแนนรวมทั้ง 30,000 คะแนน จากองค์ประกอบ4ตัว ดังต่อไปนี้ 1.GPAX คือเกรดเฉลี่ยสะสม 6 ภาคเรียน ตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย ม.4-ม.6 ของนักเรียน โดย GPAX ใช้เป็นสัดส่วนในแอดมิชชัน 20% หรือ6,000คะแนนทุกคณะ 2. O-NET (Ordinary National Education Test) หรือการสอบทางการศึกษาแห่งชาติขั้นพื้นฐาน เป็นการสอบพร้อมทั้งหมดของเด็ก ม.6 ทั่วประเทศ จะมีการสอบทั้งหมด 5 วิชาได้แก่ คณิตศาสตร์,ภาษาอังกฤษ,ภาษาไทย,สังคม.วิทยาศาสตร์ โดย O-NET ใช้เป็นสัดส่วนในแอดมิชชัน 30% หรือ9,000คะแนนทุกคณะ 3. GAT (Genetal Aptitude Test) หรือการสอบความถนัดทั่วไป คะแนนเต็ม 300 คะแนน ข้อสอบGAT ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ GAT ไทย ซึ่งจะเน้นเนื้อหาทางด้าน การอ่าน เขียน คิดวิเคราะห์ และ GAT ภาษาอังกฤษ อย่างละ 150 คะแนน โดย GAT ใช้เป็นสัดส่วนในแอดมิชชัน 10-50% หรือ3,000-15,000คะแนนแล้วแต่คณะ 4. PAT (Professional Aptitude Test) หรือการสอบความถนัดทางวิชาชีพ เป็นข้อสอบที่ยากเพราะเป็นเนื่อหาที่ไม่มีสอนในโรงเรียน โดยจะมรทั้งหมด 7 PAT ด้วยกัน ได้แก่ PAT1 คณิตศาสตร์ PAT2 วิทยาศาสตร์ PAT3 พื้นฐานวิศวกรรม PAT4 พื้นฐานสถาปัตยกรรม PAT5 พื้นฐานความเป็นครู PAT6 ศิลปกรรม และPAT7วิชาด้านภาษาอื่นๆนอกเหนือจากภาษาอังกฤษ โดย PAT ใช้เป็นสัดส่วนในแอดมิชชัน 0-40% หรือ0-12,000คะแนนแล้วแต่คณะ สัดส่วนองค์ประกอบแต่ละกลุ่มคณะ สัดส่วนองค์ประกอบของแอดมิชชันจะแบ่งเป็น 13 กลุ่มดังนี้ **จุดสังเกตขององค์ประกอบแต่ละกลุ่มคณะขอให้น้องๆจำง่ายๆว่า GPAX(20%) และ O-NET(30%) มีสัดส่วนคงที่ทุกกลุ่มคณะ แต่ละกลุ่มแตกต่างกันตรง GAT และ PAT เท่านั้น สถิติผู้สมัครและสอบติดแอดมิชชัน พี่แฮนด์เอาสถิติตั้งแต่ปี 53 ที่เริ่มใช้ GAT PAT เป็นปีแรก มาให้ดูกันนะครับ ปี 53 จำนวนผู้สมัคร 98,143 คน มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 70,003 คน หลุดแอดมิชชัน 28,140 คน ปี 54 จำนวนผู้สมัคร 123,260 คน มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 78,096 คน หลุดแอดมิชชัน 45,164 คน ปี 55 จำนวนผู้สมัคร 122,169 คน มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 82,102 คน หลุดแอดมิชชัน 40,067 คน ปี 56 จำนวนผู้สมัคร 113,400 คน มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 83,955 คน หลุดแอดมิชชัน 29,445 คน ปี 57 จำนวนผู้สมัคร 99,767 คน แอดมิชชันติด มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 80,880 คน หลุดแอดมิชชัน 18,887 คน ปี 58 จำนวนผู้สมัคร 124,648 คน แอดมิชชันติด มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 91,813 คน หลุดแอดมิชชัน 32,835 คน ปี 59 จำนวนผู้สมัคร 105,046 คน แอดมิชชันติด มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 85,834 คน หลุดแอดมิชชัน 19,212 คน ปี 60 จำนวนผู้สมัคร 81,232 คน แอดมิชชันติด มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 70,689 คน หลุดแอดมิชชัน 10,543 คน ปี 61 จำนวนผู้สมัคร 54,782 คน แอดมิชชันติด มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 44,476 คน หลุดแอดมิชชัน 10,306 คน ปี 62 จำนวนผู้สมัคร 122,523 คน แอดมิชชันติด มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 52,315 คน หลุดแอดมิชชัน 20,093 คน เห็นจำนวนสถิติอย่างงี้ก็เพิ่งอย่าไปเครียดอะไรนะครับ เพราะที่จริงแล้วยอดผู้สมัครทุกปีนั้น น้อยกว่ายอดรับตามระเบียบการทุกปี แต่ที่มีคนไม่ติดนั้นก็เพราะว่า ส่วนใหญ่ก็จะไปเลือกคณะเดียวกันซะเยอะ ทำให้มีคนหลุดแอดทุกปี และที่สำคัญจะเห็นเลยว่าจำนวนนั้นลดลงเรื่อยๆทุกปี การคิดคะแนนแอดมิชชัน การคิดคะแนน GPAX ใช้ GPAX ร้อยละ 20 GPAX ให้คิดเทียบคะแนนเต็มเป็น 300 คะแนน วิธีคิด 1. ให้นํา GPAX คูณกับ 75 เพื่อแปลงค่าผลการเรียนเฉลี่ยเป็นคะแนนเต็ม 300 คะแนน 2. ให้นําคะแนน GPAX ที่แปลงค่าเป็นคะแนนแล้วคูณกับค่าน้ําหนักที่กําหนด จะได้เป็นคะแนน GPAX ตัวอย่าง ผู้สมัครมีผลการเรียนเฉลี่ย (GPAX) = 2.93 วิธีคิด ขั้นที่ 1 ใ ให้นํา GPAX คูณด้วย 75 จะได้คะแนนดังนี้ คะแนน GPAX (2.93 × 75) = 219.75 คะแนน ขั้นที่ 2 นําคะแนน GPAX คูณด้วยค่าน้ําหนักที่กําหนดไว้ คือ 20% คะแนน GPAX (219.75 × 20) = 4,395 คะแนน จากคะแนนเต็ม 6,000 คะแนน วิธีการคิดคะแนน O-NET 1. ให้นําคะแนนสอบวิชา O-NET แต่ละวิชาของผู้สมัครคูณกับ 3 (กําหนด ให้คะแนนเต็มแต่ละวิชาเท่ากับ 300) 2. นําคะแนนในข้อ 1 คูณกับค่าน้ําหนักที่กําหนด 3. นําคะแนนแต่ละวิชาในข้อ 2 มารวมกันจะได้คะแนนรวมของ O-NET ตัวอย่าง ผู้มัครมีคะแนน O-NET ดังนี้ วิชา 01 = 63.00, 02 = 75.00, 03 = 71.00, 04 = 81.00 05 = 87.00 ขั้นที่ 1 นําคะแนนแต่ละวิชาของผู้สมัครคูณด้วย 3(ยกเว้นวิชา 06 ไม่ต่องคูณ) ดังนี้ คะแนน O-NET วิชา 01 (63.00 × 3) = 189 วิชา 02 (75.00 × 3) = 225 วิชา 03 (71.00 × 3) = 213 วิชา 04 (81.00 × 3) = 243 วิชา 05 (87.00 × 3) = 261 ขั้นที่ 2 นําคะแนนที่คูณด้วย 3 คูณด้วยค่าน้ําหนัก ดังนี้ คะแนน O-NET วิชา 01 (189 × 6) = 1,134 วิชา 02 (225 × 6) = 1,350 วิชา 03 (213 × 6) = 1,278 วิชา 04 (261 × 6) = 1,458 วิชา 05 (261 × 6) = 1,566 ขั้นที่ 3 นําคะแนน O-NET ที่คูณด้วยค่าน้ําหนักแล้ว มารวมกันดังนี้ คะแนน O-NET (1,134 + 1,350 + 1,278 + 1,458 + 1,566) คะแนนรวม O-NET = 6,786 คะแนน (จากคะแนน 9,000 คะแนน) วิธีการคิดคะแนน GAT, PAT 1. นําคะแนนสอบ GAT และ PAT ของผู้สมัครคูณกับค่าน้ําหนักที่กําหนด 2. นําคะแนนแต่ละวิชาจากข้อ 1 มารวมกันจะได้คะแนนรวมของ GAT และ/ PATตัวอย่าง วิธีการคิดคะแนน GAT และ PAT ของผู้สมัครเข้าศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ ต้องการเลือกคณะวิศวกรรมศาสตร์ กําหนดให้สอบ O-NET 5 กลุ่มสาระฯ คือ รหัส 01,02,03,04 และ 05 แต่ละวิชาให้ค่าน้ําหนักร้อยละ 6 วิชา GAT (รหัส 85) ให้ค่าน้ําหนักร้อยละ 15 วิชา PAT 2 (รหัส 72) ให้ค่าน้ําหนักร้อยละ 15 วิชา PAT 3 (รหัส 73) ให้ค่าน้ําหนักร้อยละ 20 ผู้สมัครมีคะแนนแต่ละวิชาดังนี้ วิธีคิดขั้นที่ 1 นําคะแนน GAT และ PAT ของผู้สมัครคูณกับค่าน้ําหนัก คะแนน GAT (265 × 15) = 3,975 คะแนน คะแนน PAT 2 (210 × 15) = 3,150คะแนน คะแนน PAT 3 (250 × 20) = 5,000คะแนน คะแนนรวม GAT และ PAT (3,975 + 3,150 + 5,000) = 12,125 คะแนนการคิดคะแนนรวม คะแนนรวม = คะแนน GPAX + คะแนน O-NET + คะแนน GAT และ/หรือ คะแนน PAT(นำคะแนนทุกอย่างมาบวกกัน) นี่ก็คือวิธีการคิดคะแนนที่ใช้ในการคัดเลือกในระบบแอดมิชชันนะครับ น้องๆคนไหนอยากคิดคะแนนตัวเองก็ลองคิดได้เลยนะครับ แต่อย่าไปคิดบวกเกินให้ตัวเองละ มันไม่ดีเน้อ อิอิ การยื่นเลือกคณะ การยื่นเลือกคณะของแอดมิชชันนั้น ปีนี้จะเลือกกัน หลังจากที่น้องๆม.6 ได้ทราบผลคะแนนทุกตัวที่ใช้เป็นองค์ประกอบแล้ว โดยน้องๆจะสามารถเลือกได้ทั้งหมด 4 อันดับ จะเลือกคณะอะไรมหาวิทยาลัยใดก็ได้ มหาวิทยาลัยเดียวกันก็ได้ โดยจะสมัครทางเว๊บไซท์ http:/mytcas.com/โดยวิธีการคิดเลือกคณะจะเป็นดังนี้1.ระบบจะรวบรวมคะแนนอันดับ1 ของน้องๆ ทุกคนมาเรียงไว้จากมากไปหาน้อย เช่น คณะวิศวะ จุฬา รับ100 คน ระบบก็จะนำคนที่เลือกคณะวิศวะจุฬาทั้งหมดนำคะแนนมาเรียงกัน ใครอยู่อันดับ1-100 ก็คือติดไป *คนที่ไม่เลือกไม่มีสิทธิ์ติดนะครับ*2.ระบบจะเลือกคนที่มีคะแนนมากที่สุด เข้าสู่แต่ละคณะให้ครบตามจำนวนที่รับ คนที่คะแนนไม่ติดคณะใดเลย ถือว่าตกพิจารณาในอันดับแรก ก็จะถูกพิจารณาคะแนนในอันดับที่2 ต่อไป3.เมื่อพิจารณาแล้วพบว่าคะแนนในอันดับ2 สูงกว่าคนที่ผ่านการพิจารณาในรอบแรก คะแนนใหม่ก็จะนำมาแทรก ดังนั้นคนที่ได้คะแนนต่ำสุดในรอบแรกของแต่ละคณะก็จะตกไปถ้าน้องไม่ติดอันดับ 1 ระบบก็จะนำคะแนนของน้องไปแข่งที่อันดับต่อไป ไม่ติดก็จะนำไปอันดับต่อไปเรื่อยๆ จนถึงอันดับ4 โดยถ้าคะแนนถึงอันดับไหนก็จะติดอันดับนั้นเลย ไม่นำคะแนนไปแข่งในอันดับถัดไปและที่สำคัญ จำไว้เลยว่าคะแนนสำคัญกว่าอันดับ ถึงแม้เราเลือกคณะเดียวกับคู่แข่ง แต่เราอันดับ3 คู่แข่งเค้าเลือกไว้อันดับ 1 ถ้าเราไม่ได้ติดอันดับ 1และ 2 จนมาถึงอันดับ3 ถ้าเราคะแนนมากกว่าก็ไม่ต้องกังวลอะไรครับ เราก็ติดก่อนแน่นอน แม้ว่าเราจะเลือกคณะนี้ไว้เป็นอันดับ3ก็ตาม ** เพราะฉะนั้นอันดับแรกเลยของการเลือกคณะคือเลือกคณะที่เราอยากเรียนมากที่สุด อยากเข้าไปที่สุด ไว้อันดับ1 เท่านั้น!! เรียกว่าเลือกตามความฝันไปเลยครับ ไม่ต้องห่วงคะแนน อะไรใดๆทั้งสิ้น เพราะหากติดคณะที่เราไม่อยากเรียน จะได้ไม่ต้องมานั่งเสียใจ เพราะโอกาสมาจากการเลือก ถ้าเราไม่เลือกก็คือไม่มีโอกาส ถึงแม้บางคนจะมองว่าโอกาสจะน้อยนิด แต่ก็ยังถือว่ามีโอกาส ถ้าไม่เลือกเลยโอกาสคือเท่ากับ 0 ครับ!! – การเลือกคณะที่เรียงลงมานั้น ต้องเริ่มคำนึงถึงโอกาสสอบติดมากขึ้นเรื่อยๆ เพื่อเป็นการรองรับกัน ให้น้องๆลองนึกภาพถึงการตกจากที่สูงนะครับ คือตกลงมาแล้ว เบาะชั้น1 รับไม่อยู่ก็ยังมีชั้น2 ชั้น3 ชั้น4 รองรับต่อๆกัน ทำให้ไม่ตกถึงฟื้น(หลุดแอด) โดยการดูโอกาสสอบติดดูได้จากอะไร ส่วนมากที่น้องๆดูก็จะมีคะแนนขั้นต่ำของปีที่ผ่านๆมา แต่ด้วยเทคโนโลยีสมัยนี้น้องๆสามารถนำคะแนนของน้องๆมาประเมินได้จากโปรแกรมประเมินโอกาสต่างๆที่ตอนนี้มีอยู่หลายเว๊บ ซึ่งในอนา่คตรับรองว่าจะมีของ dek ad แน่นอนครับ ยกตัวอย่างการเรียงอันดับ อันดับ1 อย่างที่บอก เลือกไปเลยครับ คณะที่ชอบที่รักที่สุด ไม่ต้องสนใจโอกาสสอบติด ส่วนคณะที่ตามมา ต้องเลือกคณะที่่โอกาสสอบติดเปอร์เซ็นสูงขึ้นเรื่อยๆ เช่น อันดับ2 50% อันดับ3ควร 70-80% อันดับ4ควร 90% ขึ้นไป เอาให้ปลอดภัยที่สุด ให้นอนหลับสบาย แบบไร้กังวลมากที่สุด ประมาณนี้ครับ เพื่อเป็นการรองรับกันและความปลอดภัยป้องกันไม่ให้เกิดการหลุดแอด แต่ถ้าถามว่าถ้าอยากเสี่ยงได้ไหม ก็ต้องแยกเป็นกรณีๆไปเช่นกรณีเด็กซิ่ว มีที่เรียนมหาวิทยาลัยอยู่แล้ว แต่อาจไม่ได้เรียนในคณะที่ชอบอยากมาซิ่วใหม่ ก็เสี่ยงไปเลยครับเต็มที่ หรือน้องๆที่อาจจะติดรับตรงไปแล้วแต่ยังสามารถมาแอดได้ ก็สามารถจัดการความเสี่ยงได้ด้วยตัวเองเต็มที่เช่นกัน แต่สิ่งที่สำคัญสุดไม่ว่าพร้อมเสี่ยงหรือไม่พร้อมเสี่ยงก็คือการวางอันดับ อย่างน้อยๆก็ควรวางอันดับให้เป็นไปตามโอกาสที่น่าจะติด เพราะถ้าวางไปมั่วๆมันก็จะเป็นการเสียอันดับและเสียโอกาสโดยใช่เหตุครับ มาถึงอีกคำถามที่น้องๆถามมามากที่สุดก็คือเรื่องแนวโน้มต่างๆกับจะเช็คได้อย่างไรว่าคณะไหนมีความเสี่ยงมากน้อยเท่าไหร่ เลือกคณะดูแต่คะแนนต่ำสุดได้มั้ย ดูได้ครับ แต่อย่าลืมว่าคะแนนต่ำสุดของคณะต่างๆเมื่อปีแล้ว ไม่ได้เป็นคะแนนที่ตั้งไว้นิ่งๆมันสามารถขยับไปขยับมาได้ เพราะคะแนนมันมาจากการเลือก เพราะฉะนั้นคะแนนมันสามารถขึ้นๆลงๆได้ตลอด ซึ่งสิ่งที่เป็นปัจจัยทำให้คะแนนเปลี่ยนไปจะได้แก่ . 1.คะแนนสอบในแต่ละปี คะแนนสอบในที่นี้หมายถึงคะแนนสอบในแต่ละปีของ O-NET หรือ GAT PAT เพราะถ้าคะแนนเฉลี่ยตัวไหนขึ้นโดดเด่นก็จะพอคาดการณ์ได้เลยครับว่าคณะที่ใช้คะแนนตั้งนั้นในสัดส่วนก็จะมีโอกาสที่คะแนนสอบจะเพิ่มขึ้นอย่างแน่นอน . 2.จำนวนผู้สมัคร(คนเลือกเยอะ) แน่นอนครับคณะไหนหากมีการแข่งขันสูงคือมีผู้สมัครเยอะ คณะนั้นก็จะกลายเป็นคณะยอดฮิตมีคะแนนสูงขึ้นอย่างแน่นอน หรือแค่การดูจำนวนผู้สมัครในบางวิชาเราก็พอจะคาดการณ์ได้แล้วว่าคณะไหนมีแนวโน้มที่คะแนนจะขึ้น . 3.จำนวนการรับนักศึกษา จำนวนรับก็เป็นอีกสิ่งหนึ่งที่ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นจะส่งผลถึงคะแนนอย่างแน่นอน โดยเฉพาะคณะที่มีการปรับจำนวนการรับให้น้อยลงจากปีก่อนเยอะ ก็มีแนวโน้มที่คะแนนปีนี้จะสูงขึ้นอย่างแน่นอน . 4.คณะที่มีการเปลี่ยนเกณฑ์ ในทุกๆปีที่มีคณะที่มีการเปลียนเกณฑ์จะมีการสวิงอย่างเห็นได้ชัด ไม่ว่าจะเป็นคณะพยาบาลเมื่อตอนปี57 ที่มีปรับสัดส่วนการใช้ PAT2 ให้มากขึ้น10% ทำให้คะแนนในปีนั้นพยาบาลต่ำลงมากค่อนข้างเยอะ และส่งมาถึงปีที่ผ่านมาที่ทำให้คะแนนของคณะพยาบาลสวิงขึ้นมาเพราะคนแห่กันเลือกเพราะเห็นว่าคะแนนต่ำนั่นเอง อย่างปีหน้าก็จะมีเปลี่ยนเกณฑ์ของคณะสัตวแพทย์ อันนี้ก็จะมีผลแน่นอน . 5.คณะที่มีคะแนนสวิง(คะแนนต่ำสุดปีที่ผ่านมา ขึ้นๆลงๆ) ถามว่าคณะที่มีคะแนนสวิงจะเกี่ยวอะไร จะเกี่ยวก็ตรงมันมีผลทางจิตวิทยาที่แหละครับ บางคณะที่คะแนนสูงมากๆสูงเกินไปที่ใจเด็กในปีนั้นจะยอมรับก็อาจจะลงลงต่ำเรี่ยดินได้ เพราะว่าการเจียมตัวที่น้องๆเห็นว่าคะแนนสูง คงจะเอื้อมไม่ถึงก็เลยเลือกที่จะมาเลือก ซึ่งตัวอย่างอย่างนี้ก็จะมีให้เห็นแทบทุกปีนะครับ หรือคณะที่คะแนนต่ำมากๆ ก็อาจจะสวิงขึ้นมาสูงปรี๊ดเลยก็ได้เพราะคนจะแห่กันเลือกเพราะเห็นว่าคะแนนมันต่ำมากนั่นเอง . 6.เทรนด์ เทรนด์ในที่นี้ก็จะหมายถึงกระแสความฮิตของวัยรุ่นน้องวัยแอดในแต่ละปีว่ามีความนิยมเรื่องอะไร เรื่องมีความนิยมในคณะอะไร ซึ่งในสมัยก่อนก็จะอาจจะเคยเห็นว่ากระแสคณะนิเทศมาแรงมากๆ หรือในช่วงแอดปี4-5ปีก่อนกระแสคณะในอาชีพเสรีอาเซียนจะกลายเป็นคณะฮิตขึ้นมา ซึ่งในช่วงนี้เท่าที่พี่แฮนด์ดูก็จะเป็นคณะทางสายครูกับทางคณะทางด้านภาษาอังกฤษ หรือเกี่ยวกับกระแสดิจิทัล ที่คนจะสมัครเยอะมีคะแนนสูงขึ้นมา >>>> น้องๆสามารถ ปรึกษาการเลือกคณะแอดมิชชัน ด้วยวิธีง่ายๆเพียง 1. เข้าไปใช้โปรแกรม EZ (EZ ADMISSION) โปรแกรมช่วย ADMISSION ที่มีความแม่นยำสูง ที่สำคัญ ใช้ฟรี!! ได้ที่ >> http://ezadmissions.eduzones.com/ 2. เซฟรูปผลการคำนวณเลือกคณะของน้องๆ 3. นำไปโพสต์ขอคำปรึกษาจากพี่แฮนด์ที่ Line@ P’Hand Eduzones แอดเลยที่ >> @handyeduzones ง่ายๆเพียงเท่านี้ รับรองแอดมิชชั่นปีนี้ น้องๆไม่หลุดชัวร์!!! ครับ ———————————————————————————————————– EZ Webmaster Related Posts #DEK68 โอด ควรเลื่อนสอบ หรือไม่? สิ่งที่ #dek68 ต้องเตรียมในการเข้าสอบ #TGAT #TPAT #TCAS68 ซีพี ออลล์-เซเว่นฯ สร้าง “ผู้ประกอบการจิ๋ว” ยกระดับโรงเรียน CONNEXT ED พัฒนาทักษะวิชาการควบคู่วิชาชีพ สร้างรายได้สู่ชุมชน ครบรอบ 26 ปี “มูลนิธิดำรงชัยธรรม” บนเส้นทางแห่งการให้ด้านการศึกษา เดินหน้าสร้างบุคลากรคุณภาพสู่สังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดตัว ‘ChulaGENIE’ ร่วมกับ Google Cloud Post navigation PREVIOUS Previous post: ผู้นำนักศึกษา มจพ. ขานรับการจัดการเรียนการสอนออนไลน์สู้เชื้อโรค COVID-19NEXT Next post: E-Book Talk Like A Pro โดย อาจารย์วิริยะ ฤๅชัยพาณิชย์
เปิดให้ทุนเยาวชนขาดแคลนทุนทรัพย์ มีความตั้งใจเรียนต่อระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา tui sakrapeeNovember 8, 2024 มูลนิธิพูนพลัง เปิดโอกาสให้เยาวชนได้เรียนต่อ ในโครงการ ทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2568 สำหรับนักเรียน นักศึกษาที่จะศึกษาในระดับ ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ในปีการศึกษา 2568 ลักษณะโครงการ โครงการทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ แต่มีความตั้งใจศึกษาเล่าเรียน และได้พยายามช่วยเหลือตนเอง… มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… ครู-อาจารย์ สสวท. ร่วมขับเคลื่อนการศึกษาด้วยองค์ความรู้จาก PISA ชวนใช้งานแผนขับเคลื่อนและสื่อออนไลน์เพื่อยกระดับฟรี EZ WebmasterDecember 2, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ร่วมกับทุกภาคส่วนในการขับเคลื่อนเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา โดยใช้องค์ความรู้จาก PISA ในการจัดทำแผนการขับเคลื่อน เอกสาร รวมทั้งสื่อต่าง ๆ เพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้และพัฒนาสมรรถนะด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และการอ่านของนักเรียนให้สูงขึ้น ครู ผู้สนใจสามารถศึกษาแผนการขับเคลื่อน ชุดพัฒนาความฉลาดรู้ วีดิทัศน์การอบรม ตลอดจนสื่อต่าง ๆ… สถาบันวิจัยและพัฒนา มทร.ธัญบุรี จัดงาน”การเผยแพร่ผลสำเร็จและจับคู่ธุรกิจ” ยกระดับผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปด้วยนวัตกรรม tui sakrapeeNovember 29, 2024 เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2567 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ได้จัดงาน “การเผยแพร่ผลสำเร็จและจับคู่ธุรกิจ (Business Matching and Showcase)” ภายใต้กิจกรรมยกระดับและสร้างมูลค่าเพิ่มผลิตภัณฑ์เกษตรแปรรูปด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม (อาหารแปรรูป) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ณ… Degree Plus ส่ง TOP Green หลักสูตรสำหรับผู้บริหารยุคใหม่ ต่อยอด Lifelong Learning สำหรับผู้นำธุรกิจระดับสูงในไทย EZ WebmasterNovember 29, 2024 Degree Plus แพลตฟอร์มการพัฒนาการเรียนรู้สำหรับผู้บริหาร ในเครือ LEARN Corporation ร่วมกับ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดตัว “TOP Green” หลักสูตรที่ออกแบบมาเพื่อพัฒนาผู้บริหารยุคใหม่ที่มุ่งเน้นการขับเคลื่อนธุรกิจในทิศทางของความยั่งยืน โดยมุ่งตอบโจทย์การเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) และเตรียมความพร้อมให้ผู้นำองค์กรระดับสูงในไทยสามารถนำความรู้ด้านความยั่งยืนมาใช้ในการพัฒนาองค์กรให้เติบโตอย่างยั่งยืนทั้งในแง่ของเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม หลักสูตร TOP Green ได้รับความร่วมมือจากภาครัฐและองค์กรชั้นนำ เช่น กรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม, หอการค้าไทยและสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย, ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย, สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และ UN Global… จิตวิทยาที่สำคัญ สำหรับครู! EZ WebmasterNovember 29, 2024 หนังสือ “จิตวิทยาสำหรับครู” เป็นหนังสือที่มุ่งเน้นหลักการคิดจิตวิทยาสำหรับคุณครู มาประยุกษ์ในการสอนโดยไปถึงการจัดการเรียนการสอนในห้องเรียน หนังสือเล่มนี้มีเป้าหมายเพื่อช่วยครูเข้าใจพัฒนาการทางจิตวิทยาของนักเรียน รวมถึงการเข้าใจและจัดการกับพฤติกรรมต่าง ๆ ที่อาจจะเสี่ยงเกิดขึ้นในห้องเรียน และความหมายสำหรับจิตวิทยาสำหรับมีความหมายดังข้อความต่อไปนี้ เพราะในสมัยโบราณเชื่อกันว่า จิต หรือ วิญญาณ เป็นสิ่งที่เราสามารถที่จะควบคุมอาการหรือกิริยาบทต่างๆ ของร่างกายและยังเป็นตำกำหนดพฤติกรรมของมนุษย์จึงเป็นไปตามความเชื่อและความรู้สึก ซึ่งอาจจะได้รับรู้ของมนุษย์มีขีดจำกัดและไม่ได้มีการศึกษาอย่างมีระเบียบแบบแผนและไม่อาจพิสูจน์ได้จริง แต่ต่อมาเมื่อวิทยาการการศึกษาเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์เจริญก้าวหน้าขึ้น และสังเกตุได้จากการทดลองได้… กิจกรรม วิศวกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี จัดอบรม ระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ tui sakrapeeNovember 27, 2024 รองศาสตราจารย์ ดร.สรพงษ์ ภวสุปรีย์ คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) เผยว่า ศูนย์พัฒนาทักษะอุตสาหกรรม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี ร่วมกับภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า จัดโครงการฝึกอบรมหลักสูตร ระบบกักเก็บพลังงานและสถานการณ์การพัฒนาการของแบตเตอรี่ (Energy Storage System (ESS) and The… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI EZ WebmasterNovember 27, 2024 เติบโตอย่างยิ่งใหญ่กว่าที่เคย iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI พร้อมพาวงการครีเอเตอร์ก้าวสู่เส้นทางแห่งไอคอนนิก งานที่รวบรวมเหล่า ครีเอเตอร์กว่า 100 คนเพื่อเปิดโอกาสให้ได้มีส่วนทำงานกับแบรนด์ต่าง ๆ จนได้กระแสตอบรับอย่างล้นหลาม บรรยากาศภายในงานเต็มไปด้วยความคึกคัก ยิ่งใหญ่ ตื่นตาตื่นใจกว่าที่เคยและผู้คนที่หลั่งไหลเข้ามาภายในงานเป็นจำนวนมากเพือมาเข้าร่วมการพูดแบ่งปันประสบการณ์ของเหล่า ครีเอเตอร์… “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” เปิดบ้าน “สวนสุนันทา” วิชาการแน่น บันเทิงสนุก จัดเต็ม 17-18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 27, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม… EMPATHY: วิถีของผู้นำผ่านเวทีนางงามโลก EZ WebmasterNovember 22, 2024 สะเทือน!!! เวทีนางงาม Miss Universe 2024 เมื่อตัวแทนสาวงามจากประเทศไทยน้องโอปอล-สุชาตา ช่วงศรี ตอบคำถามรอบ 5 คนสุดท้ายเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2024 ที่ผ่านมาด้วยน้ำเสียง สายตา ท่าทาง และบุคลิกภาพที่เต็มเปี่ยมไปด้วยความมั่นใจและสง่างามเรียกเสียงปรบมือสนั่นลั่นดินแดนจังโก้ จาก… Search for: Search EZ Webmaster May 4, 2020 EZ Webmaster May 4, 2020 เคลียร์ทุกเรื่อง ที่มา/วิธีการคัดเลือก/วิธีการจัดอันดับ/อะไรคือปัจจัยเสี่ยง Admission 2563 แอดมิชชัน ถือเป็นสิ่งสำคัญมากๆอีกเรื่องหนึ่งในชีวิตของน้องๆ ม.6 ในทุกๆปีนะครับ เพราะถือว่าเป็นสะพานในการพาน้องๆไปสู่ความฝันหรือเป้าหมายที่ต้องการหลังจากฝ่าฝันสอบมาอย่างดุเดือดตลอดปีการศึกษาของ ม.6 ซึ่งแน่นอนว่าน้องๆแต่ละคนก็ต้องการความกระจ่างและความมั่นใจมากที่สุดก่อนที่จะทำการเลือกคณะ ซึ่งก็มีหลากหลายคำถามเข้ามาที่พี่แฮนด์มากมายทั้งวิธีการการเลือก แนวโน้มแต่ละคณะ และคำถามอื่นๆ พี่แฮนด์จึงเขียนบทความเพื่อไขข้อสงสัยในหลายเรื่องสำหรับแอดมิชชัน แอดมิชชัน หรือน้องๆอาจจะเรียกว่าแอดกลาง ก็คือการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา (Central University Admissions System – CUAS ) จัดการคัดเลือกโดย ทปอ. นำมาใช้ครั้งแรกเมื่อปี 2549 แทนการคัดเลือกแบบเอนทรานซ์นั่นเอง ซึ่งจุดประสงค์หลักที่นำระบบแอดมิชชันมาใช้แทนระบบเก่าอย่างเอนทรานซ์ก็เพราะว่า การเอนทรานซ์ จะเน้นในการสอบเพียงอย่างเดียว ทำให้เด็กๆทิ้งการเรียนในห้องเรียน ไปมุ่งมั่นติวกันเพียงอย่างเดียว แต่การแอดมิชชันจะมีการนำเกรดเฉลี่ยในโรงเรียนมาใช้ด้วย ทำให้เด็กๆต้องสนใจวิชาในห้องเรียนไม่สามารถทิ้งได้(แต่สุดท้ายเด็กไทยก็ยังติวกันเหมือนเดิมนะครับ อิๆ) องค์ประกอบของแอดมิชชัน แอดมิชชันจะมีคะแนนรวมทั้ง 30,000 คะแนน จากองค์ประกอบ4ตัว ดังต่อไปนี้ 1.GPAX คือเกรดเฉลี่ยสะสม 6 ภาคเรียน ตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย ม.4-ม.6 ของนักเรียน โดย GPAX ใช้เป็นสัดส่วนในแอดมิชชัน 20% หรือ6,000คะแนนทุกคณะ 2. O-NET (Ordinary National Education Test) หรือการสอบทางการศึกษาแห่งชาติขั้นพื้นฐาน เป็นการสอบพร้อมทั้งหมดของเด็ก ม.6 ทั่วประเทศ จะมีการสอบทั้งหมด 5 วิชาได้แก่ คณิตศาสตร์,ภาษาอังกฤษ,ภาษาไทย,สังคม.วิทยาศาสตร์ โดย O-NET ใช้เป็นสัดส่วนในแอดมิชชัน 30% หรือ9,000คะแนนทุกคณะ 3. GAT (Genetal Aptitude Test) หรือการสอบความถนัดทั่วไป คะแนนเต็ม 300 คะแนน ข้อสอบGAT ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ GAT ไทย ซึ่งจะเน้นเนื้อหาทางด้าน การอ่าน เขียน คิดวิเคราะห์ และ GAT ภาษาอังกฤษ อย่างละ 150 คะแนน โดย GAT ใช้เป็นสัดส่วนในแอดมิชชัน 10-50% หรือ3,000-15,000คะแนนแล้วแต่คณะ 4. PAT (Professional Aptitude Test) หรือการสอบความถนัดทางวิชาชีพ เป็นข้อสอบที่ยากเพราะเป็นเนื่อหาที่ไม่มีสอนในโรงเรียน โดยจะมรทั้งหมด 7 PAT ด้วยกัน ได้แก่ PAT1 คณิตศาสตร์ PAT2 วิทยาศาสตร์ PAT3 พื้นฐานวิศวกรรม PAT4 พื้นฐานสถาปัตยกรรม PAT5 พื้นฐานความเป็นครู PAT6 ศิลปกรรม และPAT7วิชาด้านภาษาอื่นๆนอกเหนือจากภาษาอังกฤษ โดย PAT ใช้เป็นสัดส่วนในแอดมิชชัน 0-40% หรือ0-12,000คะแนนแล้วแต่คณะ สัดส่วนองค์ประกอบแต่ละกลุ่มคณะ สัดส่วนองค์ประกอบของแอดมิชชันจะแบ่งเป็น 13 กลุ่มดังนี้ **จุดสังเกตขององค์ประกอบแต่ละกลุ่มคณะขอให้น้องๆจำง่ายๆว่า GPAX(20%) และ O-NET(30%) มีสัดส่วนคงที่ทุกกลุ่มคณะ แต่ละกลุ่มแตกต่างกันตรง GAT และ PAT เท่านั้น สถิติผู้สมัครและสอบติดแอดมิชชัน พี่แฮนด์เอาสถิติตั้งแต่ปี 53 ที่เริ่มใช้ GAT PAT เป็นปีแรก มาให้ดูกันนะครับ ปี 53 จำนวนผู้สมัคร 98,143 คน มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 70,003 คน หลุดแอดมิชชัน 28,140 คน ปี 54 จำนวนผู้สมัคร 123,260 คน มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 78,096 คน หลุดแอดมิชชัน 45,164 คน ปี 55 จำนวนผู้สมัคร 122,169 คน มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 82,102 คน หลุดแอดมิชชัน 40,067 คน ปี 56 จำนวนผู้สมัคร 113,400 คน มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 83,955 คน หลุดแอดมิชชัน 29,445 คน ปี 57 จำนวนผู้สมัคร 99,767 คน แอดมิชชันติด มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 80,880 คน หลุดแอดมิชชัน 18,887 คน ปี 58 จำนวนผู้สมัคร 124,648 คน แอดมิชชันติด มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 91,813 คน หลุดแอดมิชชัน 32,835 คน ปี 59 จำนวนผู้สมัคร 105,046 คน แอดมิชชันติด มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 85,834 คน หลุดแอดมิชชัน 19,212 คน ปี 60 จำนวนผู้สมัคร 81,232 คน แอดมิชชันติด มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 70,689 คน หลุดแอดมิชชัน 10,543 คน ปี 61 จำนวนผู้สมัคร 54,782 คน แอดมิชชันติด มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 44,476 คน หลุดแอดมิชชัน 10,306 คน ปี 62 จำนวนผู้สมัคร 122,523 คน แอดมิชชันติด มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 52,315 คน หลุดแอดมิชชัน 20,093 คน เห็นจำนวนสถิติอย่างงี้ก็เพิ่งอย่าไปเครียดอะไรนะครับ เพราะที่จริงแล้วยอดผู้สมัครทุกปีนั้น น้อยกว่ายอดรับตามระเบียบการทุกปี แต่ที่มีคนไม่ติดนั้นก็เพราะว่า ส่วนใหญ่ก็จะไปเลือกคณะเดียวกันซะเยอะ ทำให้มีคนหลุดแอดทุกปี และที่สำคัญจะเห็นเลยว่าจำนวนนั้นลดลงเรื่อยๆทุกปี การคิดคะแนนแอดมิชชัน การคิดคะแนน GPAX ใช้ GPAX ร้อยละ 20 GPAX ให้คิดเทียบคะแนนเต็มเป็น 300 คะแนน วิธีคิด 1. ให้นํา GPAX คูณกับ 75 เพื่อแปลงค่าผลการเรียนเฉลี่ยเป็นคะแนนเต็ม 300 คะแนน 2. ให้นําคะแนน GPAX ที่แปลงค่าเป็นคะแนนแล้วคูณกับค่าน้ําหนักที่กําหนด จะได้เป็นคะแนน GPAX ตัวอย่าง ผู้สมัครมีผลการเรียนเฉลี่ย (GPAX) = 2.93 วิธีคิด ขั้นที่ 1 ใ ให้นํา GPAX คูณด้วย 75 จะได้คะแนนดังนี้ คะแนน GPAX (2.93 × 75) = 219.75 คะแนน ขั้นที่ 2 นําคะแนน GPAX คูณด้วยค่าน้ําหนักที่กําหนดไว้ คือ 20% คะแนน GPAX (219.75 × 20) = 4,395 คะแนน จากคะแนนเต็ม 6,000 คะแนน วิธีการคิดคะแนน O-NET 1. ให้นําคะแนนสอบวิชา O-NET แต่ละวิชาของผู้สมัครคูณกับ 3 (กําหนด ให้คะแนนเต็มแต่ละวิชาเท่ากับ 300) 2. นําคะแนนในข้อ 1 คูณกับค่าน้ําหนักที่กําหนด 3. นําคะแนนแต่ละวิชาในข้อ 2 มารวมกันจะได้คะแนนรวมของ O-NET ตัวอย่าง ผู้มัครมีคะแนน O-NET ดังนี้ วิชา 01 = 63.00, 02 = 75.00, 03 = 71.00, 04 = 81.00 05 = 87.00 ขั้นที่ 1 นําคะแนนแต่ละวิชาของผู้สมัครคูณด้วย 3(ยกเว้นวิชา 06 ไม่ต่องคูณ) ดังนี้ คะแนน O-NET วิชา 01 (63.00 × 3) = 189 วิชา 02 (75.00 × 3) = 225 วิชา 03 (71.00 × 3) = 213 วิชา 04 (81.00 × 3) = 243 วิชา 05 (87.00 × 3) = 261 ขั้นที่ 2 นําคะแนนที่คูณด้วย 3 คูณด้วยค่าน้ําหนัก ดังนี้ คะแนน O-NET วิชา 01 (189 × 6) = 1,134 วิชา 02 (225 × 6) = 1,350 วิชา 03 (213 × 6) = 1,278 วิชา 04 (261 × 6) = 1,458 วิชา 05 (261 × 6) = 1,566 ขั้นที่ 3 นําคะแนน O-NET ที่คูณด้วยค่าน้ําหนักแล้ว มารวมกันดังนี้ คะแนน O-NET (1,134 + 1,350 + 1,278 + 1,458 + 1,566) คะแนนรวม O-NET = 6,786 คะแนน (จากคะแนน 9,000 คะแนน) วิธีการคิดคะแนน GAT, PAT 1. นําคะแนนสอบ GAT และ PAT ของผู้สมัครคูณกับค่าน้ําหนักที่กําหนด 2. นําคะแนนแต่ละวิชาจากข้อ 1 มารวมกันจะได้คะแนนรวมของ GAT และ/ PATตัวอย่าง วิธีการคิดคะแนน GAT และ PAT ของผู้สมัครเข้าศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ ต้องการเลือกคณะวิศวกรรมศาสตร์ กําหนดให้สอบ O-NET 5 กลุ่มสาระฯ คือ รหัส 01,02,03,04 และ 05 แต่ละวิชาให้ค่าน้ําหนักร้อยละ 6 วิชา GAT (รหัส 85) ให้ค่าน้ําหนักร้อยละ 15 วิชา PAT 2 (รหัส 72) ให้ค่าน้ําหนักร้อยละ 15 วิชา PAT 3 (รหัส 73) ให้ค่าน้ําหนักร้อยละ 20 ผู้สมัครมีคะแนนแต่ละวิชาดังนี้ วิธีคิดขั้นที่ 1 นําคะแนน GAT และ PAT ของผู้สมัครคูณกับค่าน้ําหนัก คะแนน GAT (265 × 15) = 3,975 คะแนน คะแนน PAT 2 (210 × 15) = 3,150คะแนน คะแนน PAT 3 (250 × 20) = 5,000คะแนน คะแนนรวม GAT และ PAT (3,975 + 3,150 + 5,000) = 12,125 คะแนนการคิดคะแนนรวม คะแนนรวม = คะแนน GPAX + คะแนน O-NET + คะแนน GAT และ/หรือ คะแนน PAT(นำคะแนนทุกอย่างมาบวกกัน) นี่ก็คือวิธีการคิดคะแนนที่ใช้ในการคัดเลือกในระบบแอดมิชชันนะครับ น้องๆคนไหนอยากคิดคะแนนตัวเองก็ลองคิดได้เลยนะครับ แต่อย่าไปคิดบวกเกินให้ตัวเองละ มันไม่ดีเน้อ อิอิ การยื่นเลือกคณะ การยื่นเลือกคณะของแอดมิชชันนั้น ปีนี้จะเลือกกัน หลังจากที่น้องๆม.6 ได้ทราบผลคะแนนทุกตัวที่ใช้เป็นองค์ประกอบแล้ว โดยน้องๆจะสามารถเลือกได้ทั้งหมด 4 อันดับ จะเลือกคณะอะไรมหาวิทยาลัยใดก็ได้ มหาวิทยาลัยเดียวกันก็ได้ โดยจะสมัครทางเว๊บไซท์ http:/mytcas.com/โดยวิธีการคิดเลือกคณะจะเป็นดังนี้1.ระบบจะรวบรวมคะแนนอันดับ1 ของน้องๆ ทุกคนมาเรียงไว้จากมากไปหาน้อย เช่น คณะวิศวะ จุฬา รับ100 คน ระบบก็จะนำคนที่เลือกคณะวิศวะจุฬาทั้งหมดนำคะแนนมาเรียงกัน ใครอยู่อันดับ1-100 ก็คือติดไป *คนที่ไม่เลือกไม่มีสิทธิ์ติดนะครับ*2.ระบบจะเลือกคนที่มีคะแนนมากที่สุด เข้าสู่แต่ละคณะให้ครบตามจำนวนที่รับ คนที่คะแนนไม่ติดคณะใดเลย ถือว่าตกพิจารณาในอันดับแรก ก็จะถูกพิจารณาคะแนนในอันดับที่2 ต่อไป3.เมื่อพิจารณาแล้วพบว่าคะแนนในอันดับ2 สูงกว่าคนที่ผ่านการพิจารณาในรอบแรก คะแนนใหม่ก็จะนำมาแทรก ดังนั้นคนที่ได้คะแนนต่ำสุดในรอบแรกของแต่ละคณะก็จะตกไปถ้าน้องไม่ติดอันดับ 1 ระบบก็จะนำคะแนนของน้องไปแข่งที่อันดับต่อไป ไม่ติดก็จะนำไปอันดับต่อไปเรื่อยๆ จนถึงอันดับ4 โดยถ้าคะแนนถึงอันดับไหนก็จะติดอันดับนั้นเลย ไม่นำคะแนนไปแข่งในอันดับถัดไปและที่สำคัญ จำไว้เลยว่าคะแนนสำคัญกว่าอันดับ ถึงแม้เราเลือกคณะเดียวกับคู่แข่ง แต่เราอันดับ3 คู่แข่งเค้าเลือกไว้อันดับ 1 ถ้าเราไม่ได้ติดอันดับ 1และ 2 จนมาถึงอันดับ3 ถ้าเราคะแนนมากกว่าก็ไม่ต้องกังวลอะไรครับ เราก็ติดก่อนแน่นอน แม้ว่าเราจะเลือกคณะนี้ไว้เป็นอันดับ3ก็ตาม ** เพราะฉะนั้นอันดับแรกเลยของการเลือกคณะคือเลือกคณะที่เราอยากเรียนมากที่สุด อยากเข้าไปที่สุด ไว้อันดับ1 เท่านั้น!! เรียกว่าเลือกตามความฝันไปเลยครับ ไม่ต้องห่วงคะแนน อะไรใดๆทั้งสิ้น เพราะหากติดคณะที่เราไม่อยากเรียน จะได้ไม่ต้องมานั่งเสียใจ เพราะโอกาสมาจากการเลือก ถ้าเราไม่เลือกก็คือไม่มีโอกาส ถึงแม้บางคนจะมองว่าโอกาสจะน้อยนิด แต่ก็ยังถือว่ามีโอกาส ถ้าไม่เลือกเลยโอกาสคือเท่ากับ 0 ครับ!! – การเลือกคณะที่เรียงลงมานั้น ต้องเริ่มคำนึงถึงโอกาสสอบติดมากขึ้นเรื่อยๆ เพื่อเป็นการรองรับกัน ให้น้องๆลองนึกภาพถึงการตกจากที่สูงนะครับ คือตกลงมาแล้ว เบาะชั้น1 รับไม่อยู่ก็ยังมีชั้น2 ชั้น3 ชั้น4 รองรับต่อๆกัน ทำให้ไม่ตกถึงฟื้น(หลุดแอด) โดยการดูโอกาสสอบติดดูได้จากอะไร ส่วนมากที่น้องๆดูก็จะมีคะแนนขั้นต่ำของปีที่ผ่านๆมา แต่ด้วยเทคโนโลยีสมัยนี้น้องๆสามารถนำคะแนนของน้องๆมาประเมินได้จากโปรแกรมประเมินโอกาสต่างๆที่ตอนนี้มีอยู่หลายเว๊บ ซึ่งในอนา่คตรับรองว่าจะมีของ dek ad แน่นอนครับ ยกตัวอย่างการเรียงอันดับ อันดับ1 อย่างที่บอก เลือกไปเลยครับ คณะที่ชอบที่รักที่สุด ไม่ต้องสนใจโอกาสสอบติด ส่วนคณะที่ตามมา ต้องเลือกคณะที่่โอกาสสอบติดเปอร์เซ็นสูงขึ้นเรื่อยๆ เช่น อันดับ2 50% อันดับ3ควร 70-80% อันดับ4ควร 90% ขึ้นไป เอาให้ปลอดภัยที่สุด ให้นอนหลับสบาย แบบไร้กังวลมากที่สุด ประมาณนี้ครับ เพื่อเป็นการรองรับกันและความปลอดภัยป้องกันไม่ให้เกิดการหลุดแอด แต่ถ้าถามว่าถ้าอยากเสี่ยงได้ไหม ก็ต้องแยกเป็นกรณีๆไปเช่นกรณีเด็กซิ่ว มีที่เรียนมหาวิทยาลัยอยู่แล้ว แต่อาจไม่ได้เรียนในคณะที่ชอบอยากมาซิ่วใหม่ ก็เสี่ยงไปเลยครับเต็มที่ หรือน้องๆที่อาจจะติดรับตรงไปแล้วแต่ยังสามารถมาแอดได้ ก็สามารถจัดการความเสี่ยงได้ด้วยตัวเองเต็มที่เช่นกัน แต่สิ่งที่สำคัญสุดไม่ว่าพร้อมเสี่ยงหรือไม่พร้อมเสี่ยงก็คือการวางอันดับ อย่างน้อยๆก็ควรวางอันดับให้เป็นไปตามโอกาสที่น่าจะติด เพราะถ้าวางไปมั่วๆมันก็จะเป็นการเสียอันดับและเสียโอกาสโดยใช่เหตุครับ มาถึงอีกคำถามที่น้องๆถามมามากที่สุดก็คือเรื่องแนวโน้มต่างๆกับจะเช็คได้อย่างไรว่าคณะไหนมีความเสี่ยงมากน้อยเท่าไหร่ เลือกคณะดูแต่คะแนนต่ำสุดได้มั้ย ดูได้ครับ แต่อย่าลืมว่าคะแนนต่ำสุดของคณะต่างๆเมื่อปีแล้ว ไม่ได้เป็นคะแนนที่ตั้งไว้นิ่งๆมันสามารถขยับไปขยับมาได้ เพราะคะแนนมันมาจากการเลือก เพราะฉะนั้นคะแนนมันสามารถขึ้นๆลงๆได้ตลอด ซึ่งสิ่งที่เป็นปัจจัยทำให้คะแนนเปลี่ยนไปจะได้แก่ . 1.คะแนนสอบในแต่ละปี คะแนนสอบในที่นี้หมายถึงคะแนนสอบในแต่ละปีของ O-NET หรือ GAT PAT เพราะถ้าคะแนนเฉลี่ยตัวไหนขึ้นโดดเด่นก็จะพอคาดการณ์ได้เลยครับว่าคณะที่ใช้คะแนนตั้งนั้นในสัดส่วนก็จะมีโอกาสที่คะแนนสอบจะเพิ่มขึ้นอย่างแน่นอน . 2.จำนวนผู้สมัคร(คนเลือกเยอะ) แน่นอนครับคณะไหนหากมีการแข่งขันสูงคือมีผู้สมัครเยอะ คณะนั้นก็จะกลายเป็นคณะยอดฮิตมีคะแนนสูงขึ้นอย่างแน่นอน หรือแค่การดูจำนวนผู้สมัครในบางวิชาเราก็พอจะคาดการณ์ได้แล้วว่าคณะไหนมีแนวโน้มที่คะแนนจะขึ้น . 3.จำนวนการรับนักศึกษา จำนวนรับก็เป็นอีกสิ่งหนึ่งที่ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นจะส่งผลถึงคะแนนอย่างแน่นอน โดยเฉพาะคณะที่มีการปรับจำนวนการรับให้น้อยลงจากปีก่อนเยอะ ก็มีแนวโน้มที่คะแนนปีนี้จะสูงขึ้นอย่างแน่นอน . 4.คณะที่มีการเปลี่ยนเกณฑ์ ในทุกๆปีที่มีคณะที่มีการเปลียนเกณฑ์จะมีการสวิงอย่างเห็นได้ชัด ไม่ว่าจะเป็นคณะพยาบาลเมื่อตอนปี57 ที่มีปรับสัดส่วนการใช้ PAT2 ให้มากขึ้น10% ทำให้คะแนนในปีนั้นพยาบาลต่ำลงมากค่อนข้างเยอะ และส่งมาถึงปีที่ผ่านมาที่ทำให้คะแนนของคณะพยาบาลสวิงขึ้นมาเพราะคนแห่กันเลือกเพราะเห็นว่าคะแนนต่ำนั่นเอง อย่างปีหน้าก็จะมีเปลี่ยนเกณฑ์ของคณะสัตวแพทย์ อันนี้ก็จะมีผลแน่นอน . 5.คณะที่มีคะแนนสวิง(คะแนนต่ำสุดปีที่ผ่านมา ขึ้นๆลงๆ) ถามว่าคณะที่มีคะแนนสวิงจะเกี่ยวอะไร จะเกี่ยวก็ตรงมันมีผลทางจิตวิทยาที่แหละครับ บางคณะที่คะแนนสูงมากๆสูงเกินไปที่ใจเด็กในปีนั้นจะยอมรับก็อาจจะลงลงต่ำเรี่ยดินได้ เพราะว่าการเจียมตัวที่น้องๆเห็นว่าคะแนนสูง คงจะเอื้อมไม่ถึงก็เลยเลือกที่จะมาเลือก ซึ่งตัวอย่างอย่างนี้ก็จะมีให้เห็นแทบทุกปีนะครับ หรือคณะที่คะแนนต่ำมากๆ ก็อาจจะสวิงขึ้นมาสูงปรี๊ดเลยก็ได้เพราะคนจะแห่กันเลือกเพราะเห็นว่าคะแนนมันต่ำมากนั่นเอง . 6.เทรนด์ เทรนด์ในที่นี้ก็จะหมายถึงกระแสความฮิตของวัยรุ่นน้องวัยแอดในแต่ละปีว่ามีความนิยมเรื่องอะไร เรื่องมีความนิยมในคณะอะไร ซึ่งในสมัยก่อนก็จะอาจจะเคยเห็นว่ากระแสคณะนิเทศมาแรงมากๆ หรือในช่วงแอดปี4-5ปีก่อนกระแสคณะในอาชีพเสรีอาเซียนจะกลายเป็นคณะฮิตขึ้นมา ซึ่งในช่วงนี้เท่าที่พี่แฮนด์ดูก็จะเป็นคณะทางสายครูกับทางคณะทางด้านภาษาอังกฤษ หรือเกี่ยวกับกระแสดิจิทัล ที่คนจะสมัครเยอะมีคะแนนสูงขึ้นมา >>>> น้องๆสามารถ ปรึกษาการเลือกคณะแอดมิชชัน ด้วยวิธีง่ายๆเพียง 1. เข้าไปใช้โปรแกรม EZ (EZ ADMISSION) โปรแกรมช่วย ADMISSION ที่มีความแม่นยำสูง ที่สำคัญ ใช้ฟรี!! ได้ที่ >> http://ezadmissions.eduzones.com/ 2. เซฟรูปผลการคำนวณเลือกคณะของน้องๆ 3. นำไปโพสต์ขอคำปรึกษาจากพี่แฮนด์ที่ Line@ P’Hand Eduzones แอดเลยที่ >> @handyeduzones ง่ายๆเพียงเท่านี้ รับรองแอดมิชชั่นปีนี้ น้องๆไม่หลุดชัวร์!!! ครับ ———————————————————————————————————– EZ Webmaster Related Posts #DEK68 โอด ควรเลื่อนสอบ หรือไม่? สิ่งที่ #dek68 ต้องเตรียมในการเข้าสอบ #TGAT #TPAT #TCAS68 ซีพี ออลล์-เซเว่นฯ สร้าง “ผู้ประกอบการจิ๋ว” ยกระดับโรงเรียน CONNEXT ED พัฒนาทักษะวิชาการควบคู่วิชาชีพ สร้างรายได้สู่ชุมชน ครบรอบ 26 ปี “มูลนิธิดำรงชัยธรรม” บนเส้นทางแห่งการให้ด้านการศึกษา เดินหน้าสร้างบุคลากรคุณภาพสู่สังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดตัว ‘ChulaGENIE’ ร่วมกับ Google Cloud Post navigation PREVIOUS Previous post: ผู้นำนักศึกษา มจพ. ขานรับการจัดการเรียนการสอนออนไลน์สู้เชื้อโรค COVID-19NEXT Next post: E-Book Talk Like A Pro โดย อาจารย์วิริยะ ฤๅชัยพาณิชย์
มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป…
มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป…
สสวท. ร่วมขับเคลื่อนการศึกษาด้วยองค์ความรู้จาก PISA ชวนใช้งานแผนขับเคลื่อนและสื่อออนไลน์เพื่อยกระดับฟรี EZ WebmasterDecember 2, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ร่วมกับทุกภาคส่วนในการขับเคลื่อนเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา โดยใช้องค์ความรู้จาก PISA ในการจัดทำแผนการขับเคลื่อน เอกสาร รวมทั้งสื่อต่าง ๆ เพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้และพัฒนาสมรรถนะด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และการอ่านของนักเรียนให้สูงขึ้น ครู ผู้สนใจสามารถศึกษาแผนการขับเคลื่อน ชุดพัฒนาความฉลาดรู้ วีดิทัศน์การอบรม ตลอดจนสื่อต่าง ๆ… สถาบันวิจัยและพัฒนา มทร.ธัญบุรี จัดงาน”การเผยแพร่ผลสำเร็จและจับคู่ธุรกิจ” ยกระดับผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปด้วยนวัตกรรม tui sakrapeeNovember 29, 2024 เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2567 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ได้จัดงาน “การเผยแพร่ผลสำเร็จและจับคู่ธุรกิจ (Business Matching and Showcase)” ภายใต้กิจกรรมยกระดับและสร้างมูลค่าเพิ่มผลิตภัณฑ์เกษตรแปรรูปด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม (อาหารแปรรูป) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ณ… Degree Plus ส่ง TOP Green หลักสูตรสำหรับผู้บริหารยุคใหม่ ต่อยอด Lifelong Learning สำหรับผู้นำธุรกิจระดับสูงในไทย EZ WebmasterNovember 29, 2024 Degree Plus แพลตฟอร์มการพัฒนาการเรียนรู้สำหรับผู้บริหาร ในเครือ LEARN Corporation ร่วมกับ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดตัว “TOP Green” หลักสูตรที่ออกแบบมาเพื่อพัฒนาผู้บริหารยุคใหม่ที่มุ่งเน้นการขับเคลื่อนธุรกิจในทิศทางของความยั่งยืน โดยมุ่งตอบโจทย์การเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) และเตรียมความพร้อมให้ผู้นำองค์กรระดับสูงในไทยสามารถนำความรู้ด้านความยั่งยืนมาใช้ในการพัฒนาองค์กรให้เติบโตอย่างยั่งยืนทั้งในแง่ของเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม หลักสูตร TOP Green ได้รับความร่วมมือจากภาครัฐและองค์กรชั้นนำ เช่น กรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม, หอการค้าไทยและสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย, ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย, สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และ UN Global… จิตวิทยาที่สำคัญ สำหรับครู! EZ WebmasterNovember 29, 2024 หนังสือ “จิตวิทยาสำหรับครู” เป็นหนังสือที่มุ่งเน้นหลักการคิดจิตวิทยาสำหรับคุณครู มาประยุกษ์ในการสอนโดยไปถึงการจัดการเรียนการสอนในห้องเรียน หนังสือเล่มนี้มีเป้าหมายเพื่อช่วยครูเข้าใจพัฒนาการทางจิตวิทยาของนักเรียน รวมถึงการเข้าใจและจัดการกับพฤติกรรมต่าง ๆ ที่อาจจะเสี่ยงเกิดขึ้นในห้องเรียน และความหมายสำหรับจิตวิทยาสำหรับมีความหมายดังข้อความต่อไปนี้ เพราะในสมัยโบราณเชื่อกันว่า จิต หรือ วิญญาณ เป็นสิ่งที่เราสามารถที่จะควบคุมอาการหรือกิริยาบทต่างๆ ของร่างกายและยังเป็นตำกำหนดพฤติกรรมของมนุษย์จึงเป็นไปตามความเชื่อและความรู้สึก ซึ่งอาจจะได้รับรู้ของมนุษย์มีขีดจำกัดและไม่ได้มีการศึกษาอย่างมีระเบียบแบบแผนและไม่อาจพิสูจน์ได้จริง แต่ต่อมาเมื่อวิทยาการการศึกษาเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์เจริญก้าวหน้าขึ้น และสังเกตุได้จากการทดลองได้… กิจกรรม วิศวกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี จัดอบรม ระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ tui sakrapeeNovember 27, 2024 รองศาสตราจารย์ ดร.สรพงษ์ ภวสุปรีย์ คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) เผยว่า ศูนย์พัฒนาทักษะอุตสาหกรรม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี ร่วมกับภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า จัดโครงการฝึกอบรมหลักสูตร ระบบกักเก็บพลังงานและสถานการณ์การพัฒนาการของแบตเตอรี่ (Energy Storage System (ESS) and The… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI EZ WebmasterNovember 27, 2024 เติบโตอย่างยิ่งใหญ่กว่าที่เคย iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI พร้อมพาวงการครีเอเตอร์ก้าวสู่เส้นทางแห่งไอคอนนิก งานที่รวบรวมเหล่า ครีเอเตอร์กว่า 100 คนเพื่อเปิดโอกาสให้ได้มีส่วนทำงานกับแบรนด์ต่าง ๆ จนได้กระแสตอบรับอย่างล้นหลาม บรรยากาศภายในงานเต็มไปด้วยความคึกคัก ยิ่งใหญ่ ตื่นตาตื่นใจกว่าที่เคยและผู้คนที่หลั่งไหลเข้ามาภายในงานเป็นจำนวนมากเพือมาเข้าร่วมการพูดแบ่งปันประสบการณ์ของเหล่า ครีเอเตอร์… “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” เปิดบ้าน “สวนสุนันทา” วิชาการแน่น บันเทิงสนุก จัดเต็ม 17-18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 27, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม… EMPATHY: วิถีของผู้นำผ่านเวทีนางงามโลก EZ WebmasterNovember 22, 2024 สะเทือน!!! เวทีนางงาม Miss Universe 2024 เมื่อตัวแทนสาวงามจากประเทศไทยน้องโอปอล-สุชาตา ช่วงศรี ตอบคำถามรอบ 5 คนสุดท้ายเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2024 ที่ผ่านมาด้วยน้ำเสียง สายตา ท่าทาง และบุคลิกภาพที่เต็มเปี่ยมไปด้วยความมั่นใจและสง่างามเรียกเสียงปรบมือสนั่นลั่นดินแดนจังโก้ จาก… Search for: Search EZ Webmaster May 4, 2020 EZ Webmaster May 4, 2020 เคลียร์ทุกเรื่อง ที่มา/วิธีการคัดเลือก/วิธีการจัดอันดับ/อะไรคือปัจจัยเสี่ยง Admission 2563 แอดมิชชัน ถือเป็นสิ่งสำคัญมากๆอีกเรื่องหนึ่งในชีวิตของน้องๆ ม.6 ในทุกๆปีนะครับ เพราะถือว่าเป็นสะพานในการพาน้องๆไปสู่ความฝันหรือเป้าหมายที่ต้องการหลังจากฝ่าฝันสอบมาอย่างดุเดือดตลอดปีการศึกษาของ ม.6 ซึ่งแน่นอนว่าน้องๆแต่ละคนก็ต้องการความกระจ่างและความมั่นใจมากที่สุดก่อนที่จะทำการเลือกคณะ ซึ่งก็มีหลากหลายคำถามเข้ามาที่พี่แฮนด์มากมายทั้งวิธีการการเลือก แนวโน้มแต่ละคณะ และคำถามอื่นๆ พี่แฮนด์จึงเขียนบทความเพื่อไขข้อสงสัยในหลายเรื่องสำหรับแอดมิชชัน แอดมิชชัน หรือน้องๆอาจจะเรียกว่าแอดกลาง ก็คือการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา (Central University Admissions System – CUAS ) จัดการคัดเลือกโดย ทปอ. นำมาใช้ครั้งแรกเมื่อปี 2549 แทนการคัดเลือกแบบเอนทรานซ์นั่นเอง ซึ่งจุดประสงค์หลักที่นำระบบแอดมิชชันมาใช้แทนระบบเก่าอย่างเอนทรานซ์ก็เพราะว่า การเอนทรานซ์ จะเน้นในการสอบเพียงอย่างเดียว ทำให้เด็กๆทิ้งการเรียนในห้องเรียน ไปมุ่งมั่นติวกันเพียงอย่างเดียว แต่การแอดมิชชันจะมีการนำเกรดเฉลี่ยในโรงเรียนมาใช้ด้วย ทำให้เด็กๆต้องสนใจวิชาในห้องเรียนไม่สามารถทิ้งได้(แต่สุดท้ายเด็กไทยก็ยังติวกันเหมือนเดิมนะครับ อิๆ) องค์ประกอบของแอดมิชชัน แอดมิชชันจะมีคะแนนรวมทั้ง 30,000 คะแนน จากองค์ประกอบ4ตัว ดังต่อไปนี้ 1.GPAX คือเกรดเฉลี่ยสะสม 6 ภาคเรียน ตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย ม.4-ม.6 ของนักเรียน โดย GPAX ใช้เป็นสัดส่วนในแอดมิชชัน 20% หรือ6,000คะแนนทุกคณะ 2. O-NET (Ordinary National Education Test) หรือการสอบทางการศึกษาแห่งชาติขั้นพื้นฐาน เป็นการสอบพร้อมทั้งหมดของเด็ก ม.6 ทั่วประเทศ จะมีการสอบทั้งหมด 5 วิชาได้แก่ คณิตศาสตร์,ภาษาอังกฤษ,ภาษาไทย,สังคม.วิทยาศาสตร์ โดย O-NET ใช้เป็นสัดส่วนในแอดมิชชัน 30% หรือ9,000คะแนนทุกคณะ 3. GAT (Genetal Aptitude Test) หรือการสอบความถนัดทั่วไป คะแนนเต็ม 300 คะแนน ข้อสอบGAT ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ GAT ไทย ซึ่งจะเน้นเนื้อหาทางด้าน การอ่าน เขียน คิดวิเคราะห์ และ GAT ภาษาอังกฤษ อย่างละ 150 คะแนน โดย GAT ใช้เป็นสัดส่วนในแอดมิชชัน 10-50% หรือ3,000-15,000คะแนนแล้วแต่คณะ 4. PAT (Professional Aptitude Test) หรือการสอบความถนัดทางวิชาชีพ เป็นข้อสอบที่ยากเพราะเป็นเนื่อหาที่ไม่มีสอนในโรงเรียน โดยจะมรทั้งหมด 7 PAT ด้วยกัน ได้แก่ PAT1 คณิตศาสตร์ PAT2 วิทยาศาสตร์ PAT3 พื้นฐานวิศวกรรม PAT4 พื้นฐานสถาปัตยกรรม PAT5 พื้นฐานความเป็นครู PAT6 ศิลปกรรม และPAT7วิชาด้านภาษาอื่นๆนอกเหนือจากภาษาอังกฤษ โดย PAT ใช้เป็นสัดส่วนในแอดมิชชัน 0-40% หรือ0-12,000คะแนนแล้วแต่คณะ สัดส่วนองค์ประกอบแต่ละกลุ่มคณะ สัดส่วนองค์ประกอบของแอดมิชชันจะแบ่งเป็น 13 กลุ่มดังนี้ **จุดสังเกตขององค์ประกอบแต่ละกลุ่มคณะขอให้น้องๆจำง่ายๆว่า GPAX(20%) และ O-NET(30%) มีสัดส่วนคงที่ทุกกลุ่มคณะ แต่ละกลุ่มแตกต่างกันตรง GAT และ PAT เท่านั้น สถิติผู้สมัครและสอบติดแอดมิชชัน พี่แฮนด์เอาสถิติตั้งแต่ปี 53 ที่เริ่มใช้ GAT PAT เป็นปีแรก มาให้ดูกันนะครับ ปี 53 จำนวนผู้สมัคร 98,143 คน มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 70,003 คน หลุดแอดมิชชัน 28,140 คน ปี 54 จำนวนผู้สมัคร 123,260 คน มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 78,096 คน หลุดแอดมิชชัน 45,164 คน ปี 55 จำนวนผู้สมัคร 122,169 คน มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 82,102 คน หลุดแอดมิชชัน 40,067 คน ปี 56 จำนวนผู้สมัคร 113,400 คน มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 83,955 คน หลุดแอดมิชชัน 29,445 คน ปี 57 จำนวนผู้สมัคร 99,767 คน แอดมิชชันติด มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 80,880 คน หลุดแอดมิชชัน 18,887 คน ปี 58 จำนวนผู้สมัคร 124,648 คน แอดมิชชันติด มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 91,813 คน หลุดแอดมิชชัน 32,835 คน ปี 59 จำนวนผู้สมัคร 105,046 คน แอดมิชชันติด มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 85,834 คน หลุดแอดมิชชัน 19,212 คน ปี 60 จำนวนผู้สมัคร 81,232 คน แอดมิชชันติด มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 70,689 คน หลุดแอดมิชชัน 10,543 คน ปี 61 จำนวนผู้สมัคร 54,782 คน แอดมิชชันติด มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 44,476 คน หลุดแอดมิชชัน 10,306 คน ปี 62 จำนวนผู้สมัคร 122,523 คน แอดมิชชันติด มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 52,315 คน หลุดแอดมิชชัน 20,093 คน เห็นจำนวนสถิติอย่างงี้ก็เพิ่งอย่าไปเครียดอะไรนะครับ เพราะที่จริงแล้วยอดผู้สมัครทุกปีนั้น น้อยกว่ายอดรับตามระเบียบการทุกปี แต่ที่มีคนไม่ติดนั้นก็เพราะว่า ส่วนใหญ่ก็จะไปเลือกคณะเดียวกันซะเยอะ ทำให้มีคนหลุดแอดทุกปี และที่สำคัญจะเห็นเลยว่าจำนวนนั้นลดลงเรื่อยๆทุกปี การคิดคะแนนแอดมิชชัน การคิดคะแนน GPAX ใช้ GPAX ร้อยละ 20 GPAX ให้คิดเทียบคะแนนเต็มเป็น 300 คะแนน วิธีคิด 1. ให้นํา GPAX คูณกับ 75 เพื่อแปลงค่าผลการเรียนเฉลี่ยเป็นคะแนนเต็ม 300 คะแนน 2. ให้นําคะแนน GPAX ที่แปลงค่าเป็นคะแนนแล้วคูณกับค่าน้ําหนักที่กําหนด จะได้เป็นคะแนน GPAX ตัวอย่าง ผู้สมัครมีผลการเรียนเฉลี่ย (GPAX) = 2.93 วิธีคิด ขั้นที่ 1 ใ ให้นํา GPAX คูณด้วย 75 จะได้คะแนนดังนี้ คะแนน GPAX (2.93 × 75) = 219.75 คะแนน ขั้นที่ 2 นําคะแนน GPAX คูณด้วยค่าน้ําหนักที่กําหนดไว้ คือ 20% คะแนน GPAX (219.75 × 20) = 4,395 คะแนน จากคะแนนเต็ม 6,000 คะแนน วิธีการคิดคะแนน O-NET 1. ให้นําคะแนนสอบวิชา O-NET แต่ละวิชาของผู้สมัครคูณกับ 3 (กําหนด ให้คะแนนเต็มแต่ละวิชาเท่ากับ 300) 2. นําคะแนนในข้อ 1 คูณกับค่าน้ําหนักที่กําหนด 3. นําคะแนนแต่ละวิชาในข้อ 2 มารวมกันจะได้คะแนนรวมของ O-NET ตัวอย่าง ผู้มัครมีคะแนน O-NET ดังนี้ วิชา 01 = 63.00, 02 = 75.00, 03 = 71.00, 04 = 81.00 05 = 87.00 ขั้นที่ 1 นําคะแนนแต่ละวิชาของผู้สมัครคูณด้วย 3(ยกเว้นวิชา 06 ไม่ต่องคูณ) ดังนี้ คะแนน O-NET วิชา 01 (63.00 × 3) = 189 วิชา 02 (75.00 × 3) = 225 วิชา 03 (71.00 × 3) = 213 วิชา 04 (81.00 × 3) = 243 วิชา 05 (87.00 × 3) = 261 ขั้นที่ 2 นําคะแนนที่คูณด้วย 3 คูณด้วยค่าน้ําหนัก ดังนี้ คะแนน O-NET วิชา 01 (189 × 6) = 1,134 วิชา 02 (225 × 6) = 1,350 วิชา 03 (213 × 6) = 1,278 วิชา 04 (261 × 6) = 1,458 วิชา 05 (261 × 6) = 1,566 ขั้นที่ 3 นําคะแนน O-NET ที่คูณด้วยค่าน้ําหนักแล้ว มารวมกันดังนี้ คะแนน O-NET (1,134 + 1,350 + 1,278 + 1,458 + 1,566) คะแนนรวม O-NET = 6,786 คะแนน (จากคะแนน 9,000 คะแนน) วิธีการคิดคะแนน GAT, PAT 1. นําคะแนนสอบ GAT และ PAT ของผู้สมัครคูณกับค่าน้ําหนักที่กําหนด 2. นําคะแนนแต่ละวิชาจากข้อ 1 มารวมกันจะได้คะแนนรวมของ GAT และ/ PATตัวอย่าง วิธีการคิดคะแนน GAT และ PAT ของผู้สมัครเข้าศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ ต้องการเลือกคณะวิศวกรรมศาสตร์ กําหนดให้สอบ O-NET 5 กลุ่มสาระฯ คือ รหัส 01,02,03,04 และ 05 แต่ละวิชาให้ค่าน้ําหนักร้อยละ 6 วิชา GAT (รหัส 85) ให้ค่าน้ําหนักร้อยละ 15 วิชา PAT 2 (รหัส 72) ให้ค่าน้ําหนักร้อยละ 15 วิชา PAT 3 (รหัส 73) ให้ค่าน้ําหนักร้อยละ 20 ผู้สมัครมีคะแนนแต่ละวิชาดังนี้ วิธีคิดขั้นที่ 1 นําคะแนน GAT และ PAT ของผู้สมัครคูณกับค่าน้ําหนัก คะแนน GAT (265 × 15) = 3,975 คะแนน คะแนน PAT 2 (210 × 15) = 3,150คะแนน คะแนน PAT 3 (250 × 20) = 5,000คะแนน คะแนนรวม GAT และ PAT (3,975 + 3,150 + 5,000) = 12,125 คะแนนการคิดคะแนนรวม คะแนนรวม = คะแนน GPAX + คะแนน O-NET + คะแนน GAT และ/หรือ คะแนน PAT(นำคะแนนทุกอย่างมาบวกกัน) นี่ก็คือวิธีการคิดคะแนนที่ใช้ในการคัดเลือกในระบบแอดมิชชันนะครับ น้องๆคนไหนอยากคิดคะแนนตัวเองก็ลองคิดได้เลยนะครับ แต่อย่าไปคิดบวกเกินให้ตัวเองละ มันไม่ดีเน้อ อิอิ การยื่นเลือกคณะ การยื่นเลือกคณะของแอดมิชชันนั้น ปีนี้จะเลือกกัน หลังจากที่น้องๆม.6 ได้ทราบผลคะแนนทุกตัวที่ใช้เป็นองค์ประกอบแล้ว โดยน้องๆจะสามารถเลือกได้ทั้งหมด 4 อันดับ จะเลือกคณะอะไรมหาวิทยาลัยใดก็ได้ มหาวิทยาลัยเดียวกันก็ได้ โดยจะสมัครทางเว๊บไซท์ http:/mytcas.com/โดยวิธีการคิดเลือกคณะจะเป็นดังนี้1.ระบบจะรวบรวมคะแนนอันดับ1 ของน้องๆ ทุกคนมาเรียงไว้จากมากไปหาน้อย เช่น คณะวิศวะ จุฬา รับ100 คน ระบบก็จะนำคนที่เลือกคณะวิศวะจุฬาทั้งหมดนำคะแนนมาเรียงกัน ใครอยู่อันดับ1-100 ก็คือติดไป *คนที่ไม่เลือกไม่มีสิทธิ์ติดนะครับ*2.ระบบจะเลือกคนที่มีคะแนนมากที่สุด เข้าสู่แต่ละคณะให้ครบตามจำนวนที่รับ คนที่คะแนนไม่ติดคณะใดเลย ถือว่าตกพิจารณาในอันดับแรก ก็จะถูกพิจารณาคะแนนในอันดับที่2 ต่อไป3.เมื่อพิจารณาแล้วพบว่าคะแนนในอันดับ2 สูงกว่าคนที่ผ่านการพิจารณาในรอบแรก คะแนนใหม่ก็จะนำมาแทรก ดังนั้นคนที่ได้คะแนนต่ำสุดในรอบแรกของแต่ละคณะก็จะตกไปถ้าน้องไม่ติดอันดับ 1 ระบบก็จะนำคะแนนของน้องไปแข่งที่อันดับต่อไป ไม่ติดก็จะนำไปอันดับต่อไปเรื่อยๆ จนถึงอันดับ4 โดยถ้าคะแนนถึงอันดับไหนก็จะติดอันดับนั้นเลย ไม่นำคะแนนไปแข่งในอันดับถัดไปและที่สำคัญ จำไว้เลยว่าคะแนนสำคัญกว่าอันดับ ถึงแม้เราเลือกคณะเดียวกับคู่แข่ง แต่เราอันดับ3 คู่แข่งเค้าเลือกไว้อันดับ 1 ถ้าเราไม่ได้ติดอันดับ 1และ 2 จนมาถึงอันดับ3 ถ้าเราคะแนนมากกว่าก็ไม่ต้องกังวลอะไรครับ เราก็ติดก่อนแน่นอน แม้ว่าเราจะเลือกคณะนี้ไว้เป็นอันดับ3ก็ตาม ** เพราะฉะนั้นอันดับแรกเลยของการเลือกคณะคือเลือกคณะที่เราอยากเรียนมากที่สุด อยากเข้าไปที่สุด ไว้อันดับ1 เท่านั้น!! เรียกว่าเลือกตามความฝันไปเลยครับ ไม่ต้องห่วงคะแนน อะไรใดๆทั้งสิ้น เพราะหากติดคณะที่เราไม่อยากเรียน จะได้ไม่ต้องมานั่งเสียใจ เพราะโอกาสมาจากการเลือก ถ้าเราไม่เลือกก็คือไม่มีโอกาส ถึงแม้บางคนจะมองว่าโอกาสจะน้อยนิด แต่ก็ยังถือว่ามีโอกาส ถ้าไม่เลือกเลยโอกาสคือเท่ากับ 0 ครับ!! – การเลือกคณะที่เรียงลงมานั้น ต้องเริ่มคำนึงถึงโอกาสสอบติดมากขึ้นเรื่อยๆ เพื่อเป็นการรองรับกัน ให้น้องๆลองนึกภาพถึงการตกจากที่สูงนะครับ คือตกลงมาแล้ว เบาะชั้น1 รับไม่อยู่ก็ยังมีชั้น2 ชั้น3 ชั้น4 รองรับต่อๆกัน ทำให้ไม่ตกถึงฟื้น(หลุดแอด) โดยการดูโอกาสสอบติดดูได้จากอะไร ส่วนมากที่น้องๆดูก็จะมีคะแนนขั้นต่ำของปีที่ผ่านๆมา แต่ด้วยเทคโนโลยีสมัยนี้น้องๆสามารถนำคะแนนของน้องๆมาประเมินได้จากโปรแกรมประเมินโอกาสต่างๆที่ตอนนี้มีอยู่หลายเว๊บ ซึ่งในอนา่คตรับรองว่าจะมีของ dek ad แน่นอนครับ ยกตัวอย่างการเรียงอันดับ อันดับ1 อย่างที่บอก เลือกไปเลยครับ คณะที่ชอบที่รักที่สุด ไม่ต้องสนใจโอกาสสอบติด ส่วนคณะที่ตามมา ต้องเลือกคณะที่่โอกาสสอบติดเปอร์เซ็นสูงขึ้นเรื่อยๆ เช่น อันดับ2 50% อันดับ3ควร 70-80% อันดับ4ควร 90% ขึ้นไป เอาให้ปลอดภัยที่สุด ให้นอนหลับสบาย แบบไร้กังวลมากที่สุด ประมาณนี้ครับ เพื่อเป็นการรองรับกันและความปลอดภัยป้องกันไม่ให้เกิดการหลุดแอด แต่ถ้าถามว่าถ้าอยากเสี่ยงได้ไหม ก็ต้องแยกเป็นกรณีๆไปเช่นกรณีเด็กซิ่ว มีที่เรียนมหาวิทยาลัยอยู่แล้ว แต่อาจไม่ได้เรียนในคณะที่ชอบอยากมาซิ่วใหม่ ก็เสี่ยงไปเลยครับเต็มที่ หรือน้องๆที่อาจจะติดรับตรงไปแล้วแต่ยังสามารถมาแอดได้ ก็สามารถจัดการความเสี่ยงได้ด้วยตัวเองเต็มที่เช่นกัน แต่สิ่งที่สำคัญสุดไม่ว่าพร้อมเสี่ยงหรือไม่พร้อมเสี่ยงก็คือการวางอันดับ อย่างน้อยๆก็ควรวางอันดับให้เป็นไปตามโอกาสที่น่าจะติด เพราะถ้าวางไปมั่วๆมันก็จะเป็นการเสียอันดับและเสียโอกาสโดยใช่เหตุครับ มาถึงอีกคำถามที่น้องๆถามมามากที่สุดก็คือเรื่องแนวโน้มต่างๆกับจะเช็คได้อย่างไรว่าคณะไหนมีความเสี่ยงมากน้อยเท่าไหร่ เลือกคณะดูแต่คะแนนต่ำสุดได้มั้ย ดูได้ครับ แต่อย่าลืมว่าคะแนนต่ำสุดของคณะต่างๆเมื่อปีแล้ว ไม่ได้เป็นคะแนนที่ตั้งไว้นิ่งๆมันสามารถขยับไปขยับมาได้ เพราะคะแนนมันมาจากการเลือก เพราะฉะนั้นคะแนนมันสามารถขึ้นๆลงๆได้ตลอด ซึ่งสิ่งที่เป็นปัจจัยทำให้คะแนนเปลี่ยนไปจะได้แก่ . 1.คะแนนสอบในแต่ละปี คะแนนสอบในที่นี้หมายถึงคะแนนสอบในแต่ละปีของ O-NET หรือ GAT PAT เพราะถ้าคะแนนเฉลี่ยตัวไหนขึ้นโดดเด่นก็จะพอคาดการณ์ได้เลยครับว่าคณะที่ใช้คะแนนตั้งนั้นในสัดส่วนก็จะมีโอกาสที่คะแนนสอบจะเพิ่มขึ้นอย่างแน่นอน . 2.จำนวนผู้สมัคร(คนเลือกเยอะ) แน่นอนครับคณะไหนหากมีการแข่งขันสูงคือมีผู้สมัครเยอะ คณะนั้นก็จะกลายเป็นคณะยอดฮิตมีคะแนนสูงขึ้นอย่างแน่นอน หรือแค่การดูจำนวนผู้สมัครในบางวิชาเราก็พอจะคาดการณ์ได้แล้วว่าคณะไหนมีแนวโน้มที่คะแนนจะขึ้น . 3.จำนวนการรับนักศึกษา จำนวนรับก็เป็นอีกสิ่งหนึ่งที่ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นจะส่งผลถึงคะแนนอย่างแน่นอน โดยเฉพาะคณะที่มีการปรับจำนวนการรับให้น้อยลงจากปีก่อนเยอะ ก็มีแนวโน้มที่คะแนนปีนี้จะสูงขึ้นอย่างแน่นอน . 4.คณะที่มีการเปลี่ยนเกณฑ์ ในทุกๆปีที่มีคณะที่มีการเปลียนเกณฑ์จะมีการสวิงอย่างเห็นได้ชัด ไม่ว่าจะเป็นคณะพยาบาลเมื่อตอนปี57 ที่มีปรับสัดส่วนการใช้ PAT2 ให้มากขึ้น10% ทำให้คะแนนในปีนั้นพยาบาลต่ำลงมากค่อนข้างเยอะ และส่งมาถึงปีที่ผ่านมาที่ทำให้คะแนนของคณะพยาบาลสวิงขึ้นมาเพราะคนแห่กันเลือกเพราะเห็นว่าคะแนนต่ำนั่นเอง อย่างปีหน้าก็จะมีเปลี่ยนเกณฑ์ของคณะสัตวแพทย์ อันนี้ก็จะมีผลแน่นอน . 5.คณะที่มีคะแนนสวิง(คะแนนต่ำสุดปีที่ผ่านมา ขึ้นๆลงๆ) ถามว่าคณะที่มีคะแนนสวิงจะเกี่ยวอะไร จะเกี่ยวก็ตรงมันมีผลทางจิตวิทยาที่แหละครับ บางคณะที่คะแนนสูงมากๆสูงเกินไปที่ใจเด็กในปีนั้นจะยอมรับก็อาจจะลงลงต่ำเรี่ยดินได้ เพราะว่าการเจียมตัวที่น้องๆเห็นว่าคะแนนสูง คงจะเอื้อมไม่ถึงก็เลยเลือกที่จะมาเลือก ซึ่งตัวอย่างอย่างนี้ก็จะมีให้เห็นแทบทุกปีนะครับ หรือคณะที่คะแนนต่ำมากๆ ก็อาจจะสวิงขึ้นมาสูงปรี๊ดเลยก็ได้เพราะคนจะแห่กันเลือกเพราะเห็นว่าคะแนนมันต่ำมากนั่นเอง . 6.เทรนด์ เทรนด์ในที่นี้ก็จะหมายถึงกระแสความฮิตของวัยรุ่นน้องวัยแอดในแต่ละปีว่ามีความนิยมเรื่องอะไร เรื่องมีความนิยมในคณะอะไร ซึ่งในสมัยก่อนก็จะอาจจะเคยเห็นว่ากระแสคณะนิเทศมาแรงมากๆ หรือในช่วงแอดปี4-5ปีก่อนกระแสคณะในอาชีพเสรีอาเซียนจะกลายเป็นคณะฮิตขึ้นมา ซึ่งในช่วงนี้เท่าที่พี่แฮนด์ดูก็จะเป็นคณะทางสายครูกับทางคณะทางด้านภาษาอังกฤษ หรือเกี่ยวกับกระแสดิจิทัล ที่คนจะสมัครเยอะมีคะแนนสูงขึ้นมา >>>> น้องๆสามารถ ปรึกษาการเลือกคณะแอดมิชชัน ด้วยวิธีง่ายๆเพียง 1. เข้าไปใช้โปรแกรม EZ (EZ ADMISSION) โปรแกรมช่วย ADMISSION ที่มีความแม่นยำสูง ที่สำคัญ ใช้ฟรี!! ได้ที่ >> http://ezadmissions.eduzones.com/ 2. เซฟรูปผลการคำนวณเลือกคณะของน้องๆ 3. นำไปโพสต์ขอคำปรึกษาจากพี่แฮนด์ที่ Line@ P’Hand Eduzones แอดเลยที่ >> @handyeduzones ง่ายๆเพียงเท่านี้ รับรองแอดมิชชั่นปีนี้ น้องๆไม่หลุดชัวร์!!! ครับ ———————————————————————————————————– EZ Webmaster Related Posts #DEK68 โอด ควรเลื่อนสอบ หรือไม่? สิ่งที่ #dek68 ต้องเตรียมในการเข้าสอบ #TGAT #TPAT #TCAS68 ซีพี ออลล์-เซเว่นฯ สร้าง “ผู้ประกอบการจิ๋ว” ยกระดับโรงเรียน CONNEXT ED พัฒนาทักษะวิชาการควบคู่วิชาชีพ สร้างรายได้สู่ชุมชน ครบรอบ 26 ปี “มูลนิธิดำรงชัยธรรม” บนเส้นทางแห่งการให้ด้านการศึกษา เดินหน้าสร้างบุคลากรคุณภาพสู่สังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดตัว ‘ChulaGENIE’ ร่วมกับ Google Cloud Post navigation PREVIOUS Previous post: ผู้นำนักศึกษา มจพ. ขานรับการจัดการเรียนการสอนออนไลน์สู้เชื้อโรค COVID-19NEXT Next post: E-Book Talk Like A Pro โดย อาจารย์วิริยะ ฤๅชัยพาณิชย์
สถาบันวิจัยและพัฒนา มทร.ธัญบุรี จัดงาน”การเผยแพร่ผลสำเร็จและจับคู่ธุรกิจ” ยกระดับผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปด้วยนวัตกรรม tui sakrapeeNovember 29, 2024 เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2567 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ได้จัดงาน “การเผยแพร่ผลสำเร็จและจับคู่ธุรกิจ (Business Matching and Showcase)” ภายใต้กิจกรรมยกระดับและสร้างมูลค่าเพิ่มผลิตภัณฑ์เกษตรแปรรูปด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม (อาหารแปรรูป) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ณ… Degree Plus ส่ง TOP Green หลักสูตรสำหรับผู้บริหารยุคใหม่ ต่อยอด Lifelong Learning สำหรับผู้นำธุรกิจระดับสูงในไทย EZ WebmasterNovember 29, 2024 Degree Plus แพลตฟอร์มการพัฒนาการเรียนรู้สำหรับผู้บริหาร ในเครือ LEARN Corporation ร่วมกับ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดตัว “TOP Green” หลักสูตรที่ออกแบบมาเพื่อพัฒนาผู้บริหารยุคใหม่ที่มุ่งเน้นการขับเคลื่อนธุรกิจในทิศทางของความยั่งยืน โดยมุ่งตอบโจทย์การเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) และเตรียมความพร้อมให้ผู้นำองค์กรระดับสูงในไทยสามารถนำความรู้ด้านความยั่งยืนมาใช้ในการพัฒนาองค์กรให้เติบโตอย่างยั่งยืนทั้งในแง่ของเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม หลักสูตร TOP Green ได้รับความร่วมมือจากภาครัฐและองค์กรชั้นนำ เช่น กรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม, หอการค้าไทยและสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย, ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย, สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และ UN Global… จิตวิทยาที่สำคัญ สำหรับครู! EZ WebmasterNovember 29, 2024 หนังสือ “จิตวิทยาสำหรับครู” เป็นหนังสือที่มุ่งเน้นหลักการคิดจิตวิทยาสำหรับคุณครู มาประยุกษ์ในการสอนโดยไปถึงการจัดการเรียนการสอนในห้องเรียน หนังสือเล่มนี้มีเป้าหมายเพื่อช่วยครูเข้าใจพัฒนาการทางจิตวิทยาของนักเรียน รวมถึงการเข้าใจและจัดการกับพฤติกรรมต่าง ๆ ที่อาจจะเสี่ยงเกิดขึ้นในห้องเรียน และความหมายสำหรับจิตวิทยาสำหรับมีความหมายดังข้อความต่อไปนี้ เพราะในสมัยโบราณเชื่อกันว่า จิต หรือ วิญญาณ เป็นสิ่งที่เราสามารถที่จะควบคุมอาการหรือกิริยาบทต่างๆ ของร่างกายและยังเป็นตำกำหนดพฤติกรรมของมนุษย์จึงเป็นไปตามความเชื่อและความรู้สึก ซึ่งอาจจะได้รับรู้ของมนุษย์มีขีดจำกัดและไม่ได้มีการศึกษาอย่างมีระเบียบแบบแผนและไม่อาจพิสูจน์ได้จริง แต่ต่อมาเมื่อวิทยาการการศึกษาเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์เจริญก้าวหน้าขึ้น และสังเกตุได้จากการทดลองได้… กิจกรรม วิศวกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี จัดอบรม ระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ tui sakrapeeNovember 27, 2024 รองศาสตราจารย์ ดร.สรพงษ์ ภวสุปรีย์ คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) เผยว่า ศูนย์พัฒนาทักษะอุตสาหกรรม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี ร่วมกับภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า จัดโครงการฝึกอบรมหลักสูตร ระบบกักเก็บพลังงานและสถานการณ์การพัฒนาการของแบตเตอรี่ (Energy Storage System (ESS) and The… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI EZ WebmasterNovember 27, 2024 เติบโตอย่างยิ่งใหญ่กว่าที่เคย iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI พร้อมพาวงการครีเอเตอร์ก้าวสู่เส้นทางแห่งไอคอนนิก งานที่รวบรวมเหล่า ครีเอเตอร์กว่า 100 คนเพื่อเปิดโอกาสให้ได้มีส่วนทำงานกับแบรนด์ต่าง ๆ จนได้กระแสตอบรับอย่างล้นหลาม บรรยากาศภายในงานเต็มไปด้วยความคึกคัก ยิ่งใหญ่ ตื่นตาตื่นใจกว่าที่เคยและผู้คนที่หลั่งไหลเข้ามาภายในงานเป็นจำนวนมากเพือมาเข้าร่วมการพูดแบ่งปันประสบการณ์ของเหล่า ครีเอเตอร์… “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” เปิดบ้าน “สวนสุนันทา” วิชาการแน่น บันเทิงสนุก จัดเต็ม 17-18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 27, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม… EMPATHY: วิถีของผู้นำผ่านเวทีนางงามโลก EZ WebmasterNovember 22, 2024 สะเทือน!!! เวทีนางงาม Miss Universe 2024 เมื่อตัวแทนสาวงามจากประเทศไทยน้องโอปอล-สุชาตา ช่วงศรี ตอบคำถามรอบ 5 คนสุดท้ายเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2024 ที่ผ่านมาด้วยน้ำเสียง สายตา ท่าทาง และบุคลิกภาพที่เต็มเปี่ยมไปด้วยความมั่นใจและสง่างามเรียกเสียงปรบมือสนั่นลั่นดินแดนจังโก้ จาก… Search for: Search EZ Webmaster May 4, 2020 EZ Webmaster May 4, 2020 เคลียร์ทุกเรื่อง ที่มา/วิธีการคัดเลือก/วิธีการจัดอันดับ/อะไรคือปัจจัยเสี่ยง Admission 2563 แอดมิชชัน ถือเป็นสิ่งสำคัญมากๆอีกเรื่องหนึ่งในชีวิตของน้องๆ ม.6 ในทุกๆปีนะครับ เพราะถือว่าเป็นสะพานในการพาน้องๆไปสู่ความฝันหรือเป้าหมายที่ต้องการหลังจากฝ่าฝันสอบมาอย่างดุเดือดตลอดปีการศึกษาของ ม.6 ซึ่งแน่นอนว่าน้องๆแต่ละคนก็ต้องการความกระจ่างและความมั่นใจมากที่สุดก่อนที่จะทำการเลือกคณะ ซึ่งก็มีหลากหลายคำถามเข้ามาที่พี่แฮนด์มากมายทั้งวิธีการการเลือก แนวโน้มแต่ละคณะ และคำถามอื่นๆ พี่แฮนด์จึงเขียนบทความเพื่อไขข้อสงสัยในหลายเรื่องสำหรับแอดมิชชัน แอดมิชชัน หรือน้องๆอาจจะเรียกว่าแอดกลาง ก็คือการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา (Central University Admissions System – CUAS ) จัดการคัดเลือกโดย ทปอ. นำมาใช้ครั้งแรกเมื่อปี 2549 แทนการคัดเลือกแบบเอนทรานซ์นั่นเอง ซึ่งจุดประสงค์หลักที่นำระบบแอดมิชชันมาใช้แทนระบบเก่าอย่างเอนทรานซ์ก็เพราะว่า การเอนทรานซ์ จะเน้นในการสอบเพียงอย่างเดียว ทำให้เด็กๆทิ้งการเรียนในห้องเรียน ไปมุ่งมั่นติวกันเพียงอย่างเดียว แต่การแอดมิชชันจะมีการนำเกรดเฉลี่ยในโรงเรียนมาใช้ด้วย ทำให้เด็กๆต้องสนใจวิชาในห้องเรียนไม่สามารถทิ้งได้(แต่สุดท้ายเด็กไทยก็ยังติวกันเหมือนเดิมนะครับ อิๆ) องค์ประกอบของแอดมิชชัน แอดมิชชันจะมีคะแนนรวมทั้ง 30,000 คะแนน จากองค์ประกอบ4ตัว ดังต่อไปนี้ 1.GPAX คือเกรดเฉลี่ยสะสม 6 ภาคเรียน ตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย ม.4-ม.6 ของนักเรียน โดย GPAX ใช้เป็นสัดส่วนในแอดมิชชัน 20% หรือ6,000คะแนนทุกคณะ 2. O-NET (Ordinary National Education Test) หรือการสอบทางการศึกษาแห่งชาติขั้นพื้นฐาน เป็นการสอบพร้อมทั้งหมดของเด็ก ม.6 ทั่วประเทศ จะมีการสอบทั้งหมด 5 วิชาได้แก่ คณิตศาสตร์,ภาษาอังกฤษ,ภาษาไทย,สังคม.วิทยาศาสตร์ โดย O-NET ใช้เป็นสัดส่วนในแอดมิชชัน 30% หรือ9,000คะแนนทุกคณะ 3. GAT (Genetal Aptitude Test) หรือการสอบความถนัดทั่วไป คะแนนเต็ม 300 คะแนน ข้อสอบGAT ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ GAT ไทย ซึ่งจะเน้นเนื้อหาทางด้าน การอ่าน เขียน คิดวิเคราะห์ และ GAT ภาษาอังกฤษ อย่างละ 150 คะแนน โดย GAT ใช้เป็นสัดส่วนในแอดมิชชัน 10-50% หรือ3,000-15,000คะแนนแล้วแต่คณะ 4. PAT (Professional Aptitude Test) หรือการสอบความถนัดทางวิชาชีพ เป็นข้อสอบที่ยากเพราะเป็นเนื่อหาที่ไม่มีสอนในโรงเรียน โดยจะมรทั้งหมด 7 PAT ด้วยกัน ได้แก่ PAT1 คณิตศาสตร์ PAT2 วิทยาศาสตร์ PAT3 พื้นฐานวิศวกรรม PAT4 พื้นฐานสถาปัตยกรรม PAT5 พื้นฐานความเป็นครู PAT6 ศิลปกรรม และPAT7วิชาด้านภาษาอื่นๆนอกเหนือจากภาษาอังกฤษ โดย PAT ใช้เป็นสัดส่วนในแอดมิชชัน 0-40% หรือ0-12,000คะแนนแล้วแต่คณะ สัดส่วนองค์ประกอบแต่ละกลุ่มคณะ สัดส่วนองค์ประกอบของแอดมิชชันจะแบ่งเป็น 13 กลุ่มดังนี้ **จุดสังเกตขององค์ประกอบแต่ละกลุ่มคณะขอให้น้องๆจำง่ายๆว่า GPAX(20%) และ O-NET(30%) มีสัดส่วนคงที่ทุกกลุ่มคณะ แต่ละกลุ่มแตกต่างกันตรง GAT และ PAT เท่านั้น สถิติผู้สมัครและสอบติดแอดมิชชัน พี่แฮนด์เอาสถิติตั้งแต่ปี 53 ที่เริ่มใช้ GAT PAT เป็นปีแรก มาให้ดูกันนะครับ ปี 53 จำนวนผู้สมัคร 98,143 คน มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 70,003 คน หลุดแอดมิชชัน 28,140 คน ปี 54 จำนวนผู้สมัคร 123,260 คน มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 78,096 คน หลุดแอดมิชชัน 45,164 คน ปี 55 จำนวนผู้สมัคร 122,169 คน มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 82,102 คน หลุดแอดมิชชัน 40,067 คน ปี 56 จำนวนผู้สมัคร 113,400 คน มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 83,955 คน หลุดแอดมิชชัน 29,445 คน ปี 57 จำนวนผู้สมัคร 99,767 คน แอดมิชชันติด มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 80,880 คน หลุดแอดมิชชัน 18,887 คน ปี 58 จำนวนผู้สมัคร 124,648 คน แอดมิชชันติด มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 91,813 คน หลุดแอดมิชชัน 32,835 คน ปี 59 จำนวนผู้สมัคร 105,046 คน แอดมิชชันติด มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 85,834 คน หลุดแอดมิชชัน 19,212 คน ปี 60 จำนวนผู้สมัคร 81,232 คน แอดมิชชันติด มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 70,689 คน หลุดแอดมิชชัน 10,543 คน ปี 61 จำนวนผู้สมัคร 54,782 คน แอดมิชชันติด มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 44,476 คน หลุดแอดมิชชัน 10,306 คน ปี 62 จำนวนผู้สมัคร 122,523 คน แอดมิชชันติด มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 52,315 คน หลุดแอดมิชชัน 20,093 คน เห็นจำนวนสถิติอย่างงี้ก็เพิ่งอย่าไปเครียดอะไรนะครับ เพราะที่จริงแล้วยอดผู้สมัครทุกปีนั้น น้อยกว่ายอดรับตามระเบียบการทุกปี แต่ที่มีคนไม่ติดนั้นก็เพราะว่า ส่วนใหญ่ก็จะไปเลือกคณะเดียวกันซะเยอะ ทำให้มีคนหลุดแอดทุกปี และที่สำคัญจะเห็นเลยว่าจำนวนนั้นลดลงเรื่อยๆทุกปี การคิดคะแนนแอดมิชชัน การคิดคะแนน GPAX ใช้ GPAX ร้อยละ 20 GPAX ให้คิดเทียบคะแนนเต็มเป็น 300 คะแนน วิธีคิด 1. ให้นํา GPAX คูณกับ 75 เพื่อแปลงค่าผลการเรียนเฉลี่ยเป็นคะแนนเต็ม 300 คะแนน 2. ให้นําคะแนน GPAX ที่แปลงค่าเป็นคะแนนแล้วคูณกับค่าน้ําหนักที่กําหนด จะได้เป็นคะแนน GPAX ตัวอย่าง ผู้สมัครมีผลการเรียนเฉลี่ย (GPAX) = 2.93 วิธีคิด ขั้นที่ 1 ใ ให้นํา GPAX คูณด้วย 75 จะได้คะแนนดังนี้ คะแนน GPAX (2.93 × 75) = 219.75 คะแนน ขั้นที่ 2 นําคะแนน GPAX คูณด้วยค่าน้ําหนักที่กําหนดไว้ คือ 20% คะแนน GPAX (219.75 × 20) = 4,395 คะแนน จากคะแนนเต็ม 6,000 คะแนน วิธีการคิดคะแนน O-NET 1. ให้นําคะแนนสอบวิชา O-NET แต่ละวิชาของผู้สมัครคูณกับ 3 (กําหนด ให้คะแนนเต็มแต่ละวิชาเท่ากับ 300) 2. นําคะแนนในข้อ 1 คูณกับค่าน้ําหนักที่กําหนด 3. นําคะแนนแต่ละวิชาในข้อ 2 มารวมกันจะได้คะแนนรวมของ O-NET ตัวอย่าง ผู้มัครมีคะแนน O-NET ดังนี้ วิชา 01 = 63.00, 02 = 75.00, 03 = 71.00, 04 = 81.00 05 = 87.00 ขั้นที่ 1 นําคะแนนแต่ละวิชาของผู้สมัครคูณด้วย 3(ยกเว้นวิชา 06 ไม่ต่องคูณ) ดังนี้ คะแนน O-NET วิชา 01 (63.00 × 3) = 189 วิชา 02 (75.00 × 3) = 225 วิชา 03 (71.00 × 3) = 213 วิชา 04 (81.00 × 3) = 243 วิชา 05 (87.00 × 3) = 261 ขั้นที่ 2 นําคะแนนที่คูณด้วย 3 คูณด้วยค่าน้ําหนัก ดังนี้ คะแนน O-NET วิชา 01 (189 × 6) = 1,134 วิชา 02 (225 × 6) = 1,350 วิชา 03 (213 × 6) = 1,278 วิชา 04 (261 × 6) = 1,458 วิชา 05 (261 × 6) = 1,566 ขั้นที่ 3 นําคะแนน O-NET ที่คูณด้วยค่าน้ําหนักแล้ว มารวมกันดังนี้ คะแนน O-NET (1,134 + 1,350 + 1,278 + 1,458 + 1,566) คะแนนรวม O-NET = 6,786 คะแนน (จากคะแนน 9,000 คะแนน) วิธีการคิดคะแนน GAT, PAT 1. นําคะแนนสอบ GAT และ PAT ของผู้สมัครคูณกับค่าน้ําหนักที่กําหนด 2. นําคะแนนแต่ละวิชาจากข้อ 1 มารวมกันจะได้คะแนนรวมของ GAT และ/ PATตัวอย่าง วิธีการคิดคะแนน GAT และ PAT ของผู้สมัครเข้าศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ ต้องการเลือกคณะวิศวกรรมศาสตร์ กําหนดให้สอบ O-NET 5 กลุ่มสาระฯ คือ รหัส 01,02,03,04 และ 05 แต่ละวิชาให้ค่าน้ําหนักร้อยละ 6 วิชา GAT (รหัส 85) ให้ค่าน้ําหนักร้อยละ 15 วิชา PAT 2 (รหัส 72) ให้ค่าน้ําหนักร้อยละ 15 วิชา PAT 3 (รหัส 73) ให้ค่าน้ําหนักร้อยละ 20 ผู้สมัครมีคะแนนแต่ละวิชาดังนี้ วิธีคิดขั้นที่ 1 นําคะแนน GAT และ PAT ของผู้สมัครคูณกับค่าน้ําหนัก คะแนน GAT (265 × 15) = 3,975 คะแนน คะแนน PAT 2 (210 × 15) = 3,150คะแนน คะแนน PAT 3 (250 × 20) = 5,000คะแนน คะแนนรวม GAT และ PAT (3,975 + 3,150 + 5,000) = 12,125 คะแนนการคิดคะแนนรวม คะแนนรวม = คะแนน GPAX + คะแนน O-NET + คะแนน GAT และ/หรือ คะแนน PAT(นำคะแนนทุกอย่างมาบวกกัน) นี่ก็คือวิธีการคิดคะแนนที่ใช้ในการคัดเลือกในระบบแอดมิชชันนะครับ น้องๆคนไหนอยากคิดคะแนนตัวเองก็ลองคิดได้เลยนะครับ แต่อย่าไปคิดบวกเกินให้ตัวเองละ มันไม่ดีเน้อ อิอิ การยื่นเลือกคณะ การยื่นเลือกคณะของแอดมิชชันนั้น ปีนี้จะเลือกกัน หลังจากที่น้องๆม.6 ได้ทราบผลคะแนนทุกตัวที่ใช้เป็นองค์ประกอบแล้ว โดยน้องๆจะสามารถเลือกได้ทั้งหมด 4 อันดับ จะเลือกคณะอะไรมหาวิทยาลัยใดก็ได้ มหาวิทยาลัยเดียวกันก็ได้ โดยจะสมัครทางเว๊บไซท์ http:/mytcas.com/โดยวิธีการคิดเลือกคณะจะเป็นดังนี้1.ระบบจะรวบรวมคะแนนอันดับ1 ของน้องๆ ทุกคนมาเรียงไว้จากมากไปหาน้อย เช่น คณะวิศวะ จุฬา รับ100 คน ระบบก็จะนำคนที่เลือกคณะวิศวะจุฬาทั้งหมดนำคะแนนมาเรียงกัน ใครอยู่อันดับ1-100 ก็คือติดไป *คนที่ไม่เลือกไม่มีสิทธิ์ติดนะครับ*2.ระบบจะเลือกคนที่มีคะแนนมากที่สุด เข้าสู่แต่ละคณะให้ครบตามจำนวนที่รับ คนที่คะแนนไม่ติดคณะใดเลย ถือว่าตกพิจารณาในอันดับแรก ก็จะถูกพิจารณาคะแนนในอันดับที่2 ต่อไป3.เมื่อพิจารณาแล้วพบว่าคะแนนในอันดับ2 สูงกว่าคนที่ผ่านการพิจารณาในรอบแรก คะแนนใหม่ก็จะนำมาแทรก ดังนั้นคนที่ได้คะแนนต่ำสุดในรอบแรกของแต่ละคณะก็จะตกไปถ้าน้องไม่ติดอันดับ 1 ระบบก็จะนำคะแนนของน้องไปแข่งที่อันดับต่อไป ไม่ติดก็จะนำไปอันดับต่อไปเรื่อยๆ จนถึงอันดับ4 โดยถ้าคะแนนถึงอันดับไหนก็จะติดอันดับนั้นเลย ไม่นำคะแนนไปแข่งในอันดับถัดไปและที่สำคัญ จำไว้เลยว่าคะแนนสำคัญกว่าอันดับ ถึงแม้เราเลือกคณะเดียวกับคู่แข่ง แต่เราอันดับ3 คู่แข่งเค้าเลือกไว้อันดับ 1 ถ้าเราไม่ได้ติดอันดับ 1และ 2 จนมาถึงอันดับ3 ถ้าเราคะแนนมากกว่าก็ไม่ต้องกังวลอะไรครับ เราก็ติดก่อนแน่นอน แม้ว่าเราจะเลือกคณะนี้ไว้เป็นอันดับ3ก็ตาม ** เพราะฉะนั้นอันดับแรกเลยของการเลือกคณะคือเลือกคณะที่เราอยากเรียนมากที่สุด อยากเข้าไปที่สุด ไว้อันดับ1 เท่านั้น!! เรียกว่าเลือกตามความฝันไปเลยครับ ไม่ต้องห่วงคะแนน อะไรใดๆทั้งสิ้น เพราะหากติดคณะที่เราไม่อยากเรียน จะได้ไม่ต้องมานั่งเสียใจ เพราะโอกาสมาจากการเลือก ถ้าเราไม่เลือกก็คือไม่มีโอกาส ถึงแม้บางคนจะมองว่าโอกาสจะน้อยนิด แต่ก็ยังถือว่ามีโอกาส ถ้าไม่เลือกเลยโอกาสคือเท่ากับ 0 ครับ!! – การเลือกคณะที่เรียงลงมานั้น ต้องเริ่มคำนึงถึงโอกาสสอบติดมากขึ้นเรื่อยๆ เพื่อเป็นการรองรับกัน ให้น้องๆลองนึกภาพถึงการตกจากที่สูงนะครับ คือตกลงมาแล้ว เบาะชั้น1 รับไม่อยู่ก็ยังมีชั้น2 ชั้น3 ชั้น4 รองรับต่อๆกัน ทำให้ไม่ตกถึงฟื้น(หลุดแอด) โดยการดูโอกาสสอบติดดูได้จากอะไร ส่วนมากที่น้องๆดูก็จะมีคะแนนขั้นต่ำของปีที่ผ่านๆมา แต่ด้วยเทคโนโลยีสมัยนี้น้องๆสามารถนำคะแนนของน้องๆมาประเมินได้จากโปรแกรมประเมินโอกาสต่างๆที่ตอนนี้มีอยู่หลายเว๊บ ซึ่งในอนา่คตรับรองว่าจะมีของ dek ad แน่นอนครับ ยกตัวอย่างการเรียงอันดับ อันดับ1 อย่างที่บอก เลือกไปเลยครับ คณะที่ชอบที่รักที่สุด ไม่ต้องสนใจโอกาสสอบติด ส่วนคณะที่ตามมา ต้องเลือกคณะที่่โอกาสสอบติดเปอร์เซ็นสูงขึ้นเรื่อยๆ เช่น อันดับ2 50% อันดับ3ควร 70-80% อันดับ4ควร 90% ขึ้นไป เอาให้ปลอดภัยที่สุด ให้นอนหลับสบาย แบบไร้กังวลมากที่สุด ประมาณนี้ครับ เพื่อเป็นการรองรับกันและความปลอดภัยป้องกันไม่ให้เกิดการหลุดแอด แต่ถ้าถามว่าถ้าอยากเสี่ยงได้ไหม ก็ต้องแยกเป็นกรณีๆไปเช่นกรณีเด็กซิ่ว มีที่เรียนมหาวิทยาลัยอยู่แล้ว แต่อาจไม่ได้เรียนในคณะที่ชอบอยากมาซิ่วใหม่ ก็เสี่ยงไปเลยครับเต็มที่ หรือน้องๆที่อาจจะติดรับตรงไปแล้วแต่ยังสามารถมาแอดได้ ก็สามารถจัดการความเสี่ยงได้ด้วยตัวเองเต็มที่เช่นกัน แต่สิ่งที่สำคัญสุดไม่ว่าพร้อมเสี่ยงหรือไม่พร้อมเสี่ยงก็คือการวางอันดับ อย่างน้อยๆก็ควรวางอันดับให้เป็นไปตามโอกาสที่น่าจะติด เพราะถ้าวางไปมั่วๆมันก็จะเป็นการเสียอันดับและเสียโอกาสโดยใช่เหตุครับ มาถึงอีกคำถามที่น้องๆถามมามากที่สุดก็คือเรื่องแนวโน้มต่างๆกับจะเช็คได้อย่างไรว่าคณะไหนมีความเสี่ยงมากน้อยเท่าไหร่ เลือกคณะดูแต่คะแนนต่ำสุดได้มั้ย ดูได้ครับ แต่อย่าลืมว่าคะแนนต่ำสุดของคณะต่างๆเมื่อปีแล้ว ไม่ได้เป็นคะแนนที่ตั้งไว้นิ่งๆมันสามารถขยับไปขยับมาได้ เพราะคะแนนมันมาจากการเลือก เพราะฉะนั้นคะแนนมันสามารถขึ้นๆลงๆได้ตลอด ซึ่งสิ่งที่เป็นปัจจัยทำให้คะแนนเปลี่ยนไปจะได้แก่ . 1.คะแนนสอบในแต่ละปี คะแนนสอบในที่นี้หมายถึงคะแนนสอบในแต่ละปีของ O-NET หรือ GAT PAT เพราะถ้าคะแนนเฉลี่ยตัวไหนขึ้นโดดเด่นก็จะพอคาดการณ์ได้เลยครับว่าคณะที่ใช้คะแนนตั้งนั้นในสัดส่วนก็จะมีโอกาสที่คะแนนสอบจะเพิ่มขึ้นอย่างแน่นอน . 2.จำนวนผู้สมัคร(คนเลือกเยอะ) แน่นอนครับคณะไหนหากมีการแข่งขันสูงคือมีผู้สมัครเยอะ คณะนั้นก็จะกลายเป็นคณะยอดฮิตมีคะแนนสูงขึ้นอย่างแน่นอน หรือแค่การดูจำนวนผู้สมัครในบางวิชาเราก็พอจะคาดการณ์ได้แล้วว่าคณะไหนมีแนวโน้มที่คะแนนจะขึ้น . 3.จำนวนการรับนักศึกษา จำนวนรับก็เป็นอีกสิ่งหนึ่งที่ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นจะส่งผลถึงคะแนนอย่างแน่นอน โดยเฉพาะคณะที่มีการปรับจำนวนการรับให้น้อยลงจากปีก่อนเยอะ ก็มีแนวโน้มที่คะแนนปีนี้จะสูงขึ้นอย่างแน่นอน . 4.คณะที่มีการเปลี่ยนเกณฑ์ ในทุกๆปีที่มีคณะที่มีการเปลียนเกณฑ์จะมีการสวิงอย่างเห็นได้ชัด ไม่ว่าจะเป็นคณะพยาบาลเมื่อตอนปี57 ที่มีปรับสัดส่วนการใช้ PAT2 ให้มากขึ้น10% ทำให้คะแนนในปีนั้นพยาบาลต่ำลงมากค่อนข้างเยอะ และส่งมาถึงปีที่ผ่านมาที่ทำให้คะแนนของคณะพยาบาลสวิงขึ้นมาเพราะคนแห่กันเลือกเพราะเห็นว่าคะแนนต่ำนั่นเอง อย่างปีหน้าก็จะมีเปลี่ยนเกณฑ์ของคณะสัตวแพทย์ อันนี้ก็จะมีผลแน่นอน . 5.คณะที่มีคะแนนสวิง(คะแนนต่ำสุดปีที่ผ่านมา ขึ้นๆลงๆ) ถามว่าคณะที่มีคะแนนสวิงจะเกี่ยวอะไร จะเกี่ยวก็ตรงมันมีผลทางจิตวิทยาที่แหละครับ บางคณะที่คะแนนสูงมากๆสูงเกินไปที่ใจเด็กในปีนั้นจะยอมรับก็อาจจะลงลงต่ำเรี่ยดินได้ เพราะว่าการเจียมตัวที่น้องๆเห็นว่าคะแนนสูง คงจะเอื้อมไม่ถึงก็เลยเลือกที่จะมาเลือก ซึ่งตัวอย่างอย่างนี้ก็จะมีให้เห็นแทบทุกปีนะครับ หรือคณะที่คะแนนต่ำมากๆ ก็อาจจะสวิงขึ้นมาสูงปรี๊ดเลยก็ได้เพราะคนจะแห่กันเลือกเพราะเห็นว่าคะแนนมันต่ำมากนั่นเอง . 6.เทรนด์ เทรนด์ในที่นี้ก็จะหมายถึงกระแสความฮิตของวัยรุ่นน้องวัยแอดในแต่ละปีว่ามีความนิยมเรื่องอะไร เรื่องมีความนิยมในคณะอะไร ซึ่งในสมัยก่อนก็จะอาจจะเคยเห็นว่ากระแสคณะนิเทศมาแรงมากๆ หรือในช่วงแอดปี4-5ปีก่อนกระแสคณะในอาชีพเสรีอาเซียนจะกลายเป็นคณะฮิตขึ้นมา ซึ่งในช่วงนี้เท่าที่พี่แฮนด์ดูก็จะเป็นคณะทางสายครูกับทางคณะทางด้านภาษาอังกฤษ หรือเกี่ยวกับกระแสดิจิทัล ที่คนจะสมัครเยอะมีคะแนนสูงขึ้นมา >>>> น้องๆสามารถ ปรึกษาการเลือกคณะแอดมิชชัน ด้วยวิธีง่ายๆเพียง 1. เข้าไปใช้โปรแกรม EZ (EZ ADMISSION) โปรแกรมช่วย ADMISSION ที่มีความแม่นยำสูง ที่สำคัญ ใช้ฟรี!! ได้ที่ >> http://ezadmissions.eduzones.com/ 2. เซฟรูปผลการคำนวณเลือกคณะของน้องๆ 3. นำไปโพสต์ขอคำปรึกษาจากพี่แฮนด์ที่ Line@ P’Hand Eduzones แอดเลยที่ >> @handyeduzones ง่ายๆเพียงเท่านี้ รับรองแอดมิชชั่นปีนี้ น้องๆไม่หลุดชัวร์!!! ครับ ———————————————————————————————————– EZ Webmaster Related Posts #DEK68 โอด ควรเลื่อนสอบ หรือไม่? สิ่งที่ #dek68 ต้องเตรียมในการเข้าสอบ #TGAT #TPAT #TCAS68 ซีพี ออลล์-เซเว่นฯ สร้าง “ผู้ประกอบการจิ๋ว” ยกระดับโรงเรียน CONNEXT ED พัฒนาทักษะวิชาการควบคู่วิชาชีพ สร้างรายได้สู่ชุมชน ครบรอบ 26 ปี “มูลนิธิดำรงชัยธรรม” บนเส้นทางแห่งการให้ด้านการศึกษา เดินหน้าสร้างบุคลากรคุณภาพสู่สังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดตัว ‘ChulaGENIE’ ร่วมกับ Google Cloud Post navigation PREVIOUS Previous post: ผู้นำนักศึกษา มจพ. ขานรับการจัดการเรียนการสอนออนไลน์สู้เชื้อโรค COVID-19NEXT Next post: E-Book Talk Like A Pro โดย อาจารย์วิริยะ ฤๅชัยพาณิชย์
Degree Plus ส่ง TOP Green หลักสูตรสำหรับผู้บริหารยุคใหม่ ต่อยอด Lifelong Learning สำหรับผู้นำธุรกิจระดับสูงในไทย EZ WebmasterNovember 29, 2024 Degree Plus แพลตฟอร์มการพัฒนาการเรียนรู้สำหรับผู้บริหาร ในเครือ LEARN Corporation ร่วมกับ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดตัว “TOP Green” หลักสูตรที่ออกแบบมาเพื่อพัฒนาผู้บริหารยุคใหม่ที่มุ่งเน้นการขับเคลื่อนธุรกิจในทิศทางของความยั่งยืน โดยมุ่งตอบโจทย์การเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) และเตรียมความพร้อมให้ผู้นำองค์กรระดับสูงในไทยสามารถนำความรู้ด้านความยั่งยืนมาใช้ในการพัฒนาองค์กรให้เติบโตอย่างยั่งยืนทั้งในแง่ของเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม หลักสูตร TOP Green ได้รับความร่วมมือจากภาครัฐและองค์กรชั้นนำ เช่น กรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม, หอการค้าไทยและสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย, ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย, สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และ UN Global… จิตวิทยาที่สำคัญ สำหรับครู! EZ WebmasterNovember 29, 2024 หนังสือ “จิตวิทยาสำหรับครู” เป็นหนังสือที่มุ่งเน้นหลักการคิดจิตวิทยาสำหรับคุณครู มาประยุกษ์ในการสอนโดยไปถึงการจัดการเรียนการสอนในห้องเรียน หนังสือเล่มนี้มีเป้าหมายเพื่อช่วยครูเข้าใจพัฒนาการทางจิตวิทยาของนักเรียน รวมถึงการเข้าใจและจัดการกับพฤติกรรมต่าง ๆ ที่อาจจะเสี่ยงเกิดขึ้นในห้องเรียน และความหมายสำหรับจิตวิทยาสำหรับมีความหมายดังข้อความต่อไปนี้ เพราะในสมัยโบราณเชื่อกันว่า จิต หรือ วิญญาณ เป็นสิ่งที่เราสามารถที่จะควบคุมอาการหรือกิริยาบทต่างๆ ของร่างกายและยังเป็นตำกำหนดพฤติกรรมของมนุษย์จึงเป็นไปตามความเชื่อและความรู้สึก ซึ่งอาจจะได้รับรู้ของมนุษย์มีขีดจำกัดและไม่ได้มีการศึกษาอย่างมีระเบียบแบบแผนและไม่อาจพิสูจน์ได้จริง แต่ต่อมาเมื่อวิทยาการการศึกษาเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์เจริญก้าวหน้าขึ้น และสังเกตุได้จากการทดลองได้…
จิตวิทยาที่สำคัญ สำหรับครู! EZ WebmasterNovember 29, 2024 หนังสือ “จิตวิทยาสำหรับครู” เป็นหนังสือที่มุ่งเน้นหลักการคิดจิตวิทยาสำหรับคุณครู มาประยุกษ์ในการสอนโดยไปถึงการจัดการเรียนการสอนในห้องเรียน หนังสือเล่มนี้มีเป้าหมายเพื่อช่วยครูเข้าใจพัฒนาการทางจิตวิทยาของนักเรียน รวมถึงการเข้าใจและจัดการกับพฤติกรรมต่าง ๆ ที่อาจจะเสี่ยงเกิดขึ้นในห้องเรียน และความหมายสำหรับจิตวิทยาสำหรับมีความหมายดังข้อความต่อไปนี้ เพราะในสมัยโบราณเชื่อกันว่า จิต หรือ วิญญาณ เป็นสิ่งที่เราสามารถที่จะควบคุมอาการหรือกิริยาบทต่างๆ ของร่างกายและยังเป็นตำกำหนดพฤติกรรมของมนุษย์จึงเป็นไปตามความเชื่อและความรู้สึก ซึ่งอาจจะได้รับรู้ของมนุษย์มีขีดจำกัดและไม่ได้มีการศึกษาอย่างมีระเบียบแบบแผนและไม่อาจพิสูจน์ได้จริง แต่ต่อมาเมื่อวิทยาการการศึกษาเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์เจริญก้าวหน้าขึ้น และสังเกตุได้จากการทดลองได้…
วิศวกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี จัดอบรม ระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ tui sakrapeeNovember 27, 2024 รองศาสตราจารย์ ดร.สรพงษ์ ภวสุปรีย์ คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) เผยว่า ศูนย์พัฒนาทักษะอุตสาหกรรม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี ร่วมกับภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า จัดโครงการฝึกอบรมหลักสูตร ระบบกักเก็บพลังงานและสถานการณ์การพัฒนาการของแบตเตอรี่ (Energy Storage System (ESS) and The… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI EZ WebmasterNovember 27, 2024 เติบโตอย่างยิ่งใหญ่กว่าที่เคย iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI พร้อมพาวงการครีเอเตอร์ก้าวสู่เส้นทางแห่งไอคอนนิก งานที่รวบรวมเหล่า ครีเอเตอร์กว่า 100 คนเพื่อเปิดโอกาสให้ได้มีส่วนทำงานกับแบรนด์ต่าง ๆ จนได้กระแสตอบรับอย่างล้นหลาม บรรยากาศภายในงานเต็มไปด้วยความคึกคัก ยิ่งใหญ่ ตื่นตาตื่นใจกว่าที่เคยและผู้คนที่หลั่งไหลเข้ามาภายในงานเป็นจำนวนมากเพือมาเข้าร่วมการพูดแบ่งปันประสบการณ์ของเหล่า ครีเอเตอร์… “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” เปิดบ้าน “สวนสุนันทา” วิชาการแน่น บันเทิงสนุก จัดเต็ม 17-18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 27, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม… EMPATHY: วิถีของผู้นำผ่านเวทีนางงามโลก EZ WebmasterNovember 22, 2024 สะเทือน!!! เวทีนางงาม Miss Universe 2024 เมื่อตัวแทนสาวงามจากประเทศไทยน้องโอปอล-สุชาตา ช่วงศรี ตอบคำถามรอบ 5 คนสุดท้ายเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2024 ที่ผ่านมาด้วยน้ำเสียง สายตา ท่าทาง และบุคลิกภาพที่เต็มเปี่ยมไปด้วยความมั่นใจและสง่างามเรียกเสียงปรบมือสนั่นลั่นดินแดนจังโก้ จาก… Search for: Search EZ Webmaster May 4, 2020 EZ Webmaster May 4, 2020 เคลียร์ทุกเรื่อง ที่มา/วิธีการคัดเลือก/วิธีการจัดอันดับ/อะไรคือปัจจัยเสี่ยง Admission 2563 แอดมิชชัน ถือเป็นสิ่งสำคัญมากๆอีกเรื่องหนึ่งในชีวิตของน้องๆ ม.6 ในทุกๆปีนะครับ เพราะถือว่าเป็นสะพานในการพาน้องๆไปสู่ความฝันหรือเป้าหมายที่ต้องการหลังจากฝ่าฝันสอบมาอย่างดุเดือดตลอดปีการศึกษาของ ม.6 ซึ่งแน่นอนว่าน้องๆแต่ละคนก็ต้องการความกระจ่างและความมั่นใจมากที่สุดก่อนที่จะทำการเลือกคณะ ซึ่งก็มีหลากหลายคำถามเข้ามาที่พี่แฮนด์มากมายทั้งวิธีการการเลือก แนวโน้มแต่ละคณะ และคำถามอื่นๆ พี่แฮนด์จึงเขียนบทความเพื่อไขข้อสงสัยในหลายเรื่องสำหรับแอดมิชชัน แอดมิชชัน หรือน้องๆอาจจะเรียกว่าแอดกลาง ก็คือการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา (Central University Admissions System – CUAS ) จัดการคัดเลือกโดย ทปอ. นำมาใช้ครั้งแรกเมื่อปี 2549 แทนการคัดเลือกแบบเอนทรานซ์นั่นเอง ซึ่งจุดประสงค์หลักที่นำระบบแอดมิชชันมาใช้แทนระบบเก่าอย่างเอนทรานซ์ก็เพราะว่า การเอนทรานซ์ จะเน้นในการสอบเพียงอย่างเดียว ทำให้เด็กๆทิ้งการเรียนในห้องเรียน ไปมุ่งมั่นติวกันเพียงอย่างเดียว แต่การแอดมิชชันจะมีการนำเกรดเฉลี่ยในโรงเรียนมาใช้ด้วย ทำให้เด็กๆต้องสนใจวิชาในห้องเรียนไม่สามารถทิ้งได้(แต่สุดท้ายเด็กไทยก็ยังติวกันเหมือนเดิมนะครับ อิๆ) องค์ประกอบของแอดมิชชัน แอดมิชชันจะมีคะแนนรวมทั้ง 30,000 คะแนน จากองค์ประกอบ4ตัว ดังต่อไปนี้ 1.GPAX คือเกรดเฉลี่ยสะสม 6 ภาคเรียน ตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย ม.4-ม.6 ของนักเรียน โดย GPAX ใช้เป็นสัดส่วนในแอดมิชชัน 20% หรือ6,000คะแนนทุกคณะ 2. O-NET (Ordinary National Education Test) หรือการสอบทางการศึกษาแห่งชาติขั้นพื้นฐาน เป็นการสอบพร้อมทั้งหมดของเด็ก ม.6 ทั่วประเทศ จะมีการสอบทั้งหมด 5 วิชาได้แก่ คณิตศาสตร์,ภาษาอังกฤษ,ภาษาไทย,สังคม.วิทยาศาสตร์ โดย O-NET ใช้เป็นสัดส่วนในแอดมิชชัน 30% หรือ9,000คะแนนทุกคณะ 3. GAT (Genetal Aptitude Test) หรือการสอบความถนัดทั่วไป คะแนนเต็ม 300 คะแนน ข้อสอบGAT ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ GAT ไทย ซึ่งจะเน้นเนื้อหาทางด้าน การอ่าน เขียน คิดวิเคราะห์ และ GAT ภาษาอังกฤษ อย่างละ 150 คะแนน โดย GAT ใช้เป็นสัดส่วนในแอดมิชชัน 10-50% หรือ3,000-15,000คะแนนแล้วแต่คณะ 4. PAT (Professional Aptitude Test) หรือการสอบความถนัดทางวิชาชีพ เป็นข้อสอบที่ยากเพราะเป็นเนื่อหาที่ไม่มีสอนในโรงเรียน โดยจะมรทั้งหมด 7 PAT ด้วยกัน ได้แก่ PAT1 คณิตศาสตร์ PAT2 วิทยาศาสตร์ PAT3 พื้นฐานวิศวกรรม PAT4 พื้นฐานสถาปัตยกรรม PAT5 พื้นฐานความเป็นครู PAT6 ศิลปกรรม และPAT7วิชาด้านภาษาอื่นๆนอกเหนือจากภาษาอังกฤษ โดย PAT ใช้เป็นสัดส่วนในแอดมิชชัน 0-40% หรือ0-12,000คะแนนแล้วแต่คณะ สัดส่วนองค์ประกอบแต่ละกลุ่มคณะ สัดส่วนองค์ประกอบของแอดมิชชันจะแบ่งเป็น 13 กลุ่มดังนี้ **จุดสังเกตขององค์ประกอบแต่ละกลุ่มคณะขอให้น้องๆจำง่ายๆว่า GPAX(20%) และ O-NET(30%) มีสัดส่วนคงที่ทุกกลุ่มคณะ แต่ละกลุ่มแตกต่างกันตรง GAT และ PAT เท่านั้น สถิติผู้สมัครและสอบติดแอดมิชชัน พี่แฮนด์เอาสถิติตั้งแต่ปี 53 ที่เริ่มใช้ GAT PAT เป็นปีแรก มาให้ดูกันนะครับ ปี 53 จำนวนผู้สมัคร 98,143 คน มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 70,003 คน หลุดแอดมิชชัน 28,140 คน ปี 54 จำนวนผู้สมัคร 123,260 คน มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 78,096 คน หลุดแอดมิชชัน 45,164 คน ปี 55 จำนวนผู้สมัคร 122,169 คน มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 82,102 คน หลุดแอดมิชชัน 40,067 คน ปี 56 จำนวนผู้สมัคร 113,400 คน มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 83,955 คน หลุดแอดมิชชัน 29,445 คน ปี 57 จำนวนผู้สมัคร 99,767 คน แอดมิชชันติด มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 80,880 คน หลุดแอดมิชชัน 18,887 คน ปี 58 จำนวนผู้สมัคร 124,648 คน แอดมิชชันติด มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 91,813 คน หลุดแอดมิชชัน 32,835 คน ปี 59 จำนวนผู้สมัคร 105,046 คน แอดมิชชันติด มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 85,834 คน หลุดแอดมิชชัน 19,212 คน ปี 60 จำนวนผู้สมัคร 81,232 คน แอดมิชชันติด มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 70,689 คน หลุดแอดมิชชัน 10,543 คน ปี 61 จำนวนผู้สมัคร 54,782 คน แอดมิชชันติด มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 44,476 คน หลุดแอดมิชชัน 10,306 คน ปี 62 จำนวนผู้สมัคร 122,523 คน แอดมิชชันติด มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 52,315 คน หลุดแอดมิชชัน 20,093 คน เห็นจำนวนสถิติอย่างงี้ก็เพิ่งอย่าไปเครียดอะไรนะครับ เพราะที่จริงแล้วยอดผู้สมัครทุกปีนั้น น้อยกว่ายอดรับตามระเบียบการทุกปี แต่ที่มีคนไม่ติดนั้นก็เพราะว่า ส่วนใหญ่ก็จะไปเลือกคณะเดียวกันซะเยอะ ทำให้มีคนหลุดแอดทุกปี และที่สำคัญจะเห็นเลยว่าจำนวนนั้นลดลงเรื่อยๆทุกปี การคิดคะแนนแอดมิชชัน การคิดคะแนน GPAX ใช้ GPAX ร้อยละ 20 GPAX ให้คิดเทียบคะแนนเต็มเป็น 300 คะแนน วิธีคิด 1. ให้นํา GPAX คูณกับ 75 เพื่อแปลงค่าผลการเรียนเฉลี่ยเป็นคะแนนเต็ม 300 คะแนน 2. ให้นําคะแนน GPAX ที่แปลงค่าเป็นคะแนนแล้วคูณกับค่าน้ําหนักที่กําหนด จะได้เป็นคะแนน GPAX ตัวอย่าง ผู้สมัครมีผลการเรียนเฉลี่ย (GPAX) = 2.93 วิธีคิด ขั้นที่ 1 ใ ให้นํา GPAX คูณด้วย 75 จะได้คะแนนดังนี้ คะแนน GPAX (2.93 × 75) = 219.75 คะแนน ขั้นที่ 2 นําคะแนน GPAX คูณด้วยค่าน้ําหนักที่กําหนดไว้ คือ 20% คะแนน GPAX (219.75 × 20) = 4,395 คะแนน จากคะแนนเต็ม 6,000 คะแนน วิธีการคิดคะแนน O-NET 1. ให้นําคะแนนสอบวิชา O-NET แต่ละวิชาของผู้สมัครคูณกับ 3 (กําหนด ให้คะแนนเต็มแต่ละวิชาเท่ากับ 300) 2. นําคะแนนในข้อ 1 คูณกับค่าน้ําหนักที่กําหนด 3. นําคะแนนแต่ละวิชาในข้อ 2 มารวมกันจะได้คะแนนรวมของ O-NET ตัวอย่าง ผู้มัครมีคะแนน O-NET ดังนี้ วิชา 01 = 63.00, 02 = 75.00, 03 = 71.00, 04 = 81.00 05 = 87.00 ขั้นที่ 1 นําคะแนนแต่ละวิชาของผู้สมัครคูณด้วย 3(ยกเว้นวิชา 06 ไม่ต่องคูณ) ดังนี้ คะแนน O-NET วิชา 01 (63.00 × 3) = 189 วิชา 02 (75.00 × 3) = 225 วิชา 03 (71.00 × 3) = 213 วิชา 04 (81.00 × 3) = 243 วิชา 05 (87.00 × 3) = 261 ขั้นที่ 2 นําคะแนนที่คูณด้วย 3 คูณด้วยค่าน้ําหนัก ดังนี้ คะแนน O-NET วิชา 01 (189 × 6) = 1,134 วิชา 02 (225 × 6) = 1,350 วิชา 03 (213 × 6) = 1,278 วิชา 04 (261 × 6) = 1,458 วิชา 05 (261 × 6) = 1,566 ขั้นที่ 3 นําคะแนน O-NET ที่คูณด้วยค่าน้ําหนักแล้ว มารวมกันดังนี้ คะแนน O-NET (1,134 + 1,350 + 1,278 + 1,458 + 1,566) คะแนนรวม O-NET = 6,786 คะแนน (จากคะแนน 9,000 คะแนน) วิธีการคิดคะแนน GAT, PAT 1. นําคะแนนสอบ GAT และ PAT ของผู้สมัครคูณกับค่าน้ําหนักที่กําหนด 2. นําคะแนนแต่ละวิชาจากข้อ 1 มารวมกันจะได้คะแนนรวมของ GAT และ/ PATตัวอย่าง วิธีการคิดคะแนน GAT และ PAT ของผู้สมัครเข้าศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ ต้องการเลือกคณะวิศวกรรมศาสตร์ กําหนดให้สอบ O-NET 5 กลุ่มสาระฯ คือ รหัส 01,02,03,04 และ 05 แต่ละวิชาให้ค่าน้ําหนักร้อยละ 6 วิชา GAT (รหัส 85) ให้ค่าน้ําหนักร้อยละ 15 วิชา PAT 2 (รหัส 72) ให้ค่าน้ําหนักร้อยละ 15 วิชา PAT 3 (รหัส 73) ให้ค่าน้ําหนักร้อยละ 20 ผู้สมัครมีคะแนนแต่ละวิชาดังนี้ วิธีคิดขั้นที่ 1 นําคะแนน GAT และ PAT ของผู้สมัครคูณกับค่าน้ําหนัก คะแนน GAT (265 × 15) = 3,975 คะแนน คะแนน PAT 2 (210 × 15) = 3,150คะแนน คะแนน PAT 3 (250 × 20) = 5,000คะแนน คะแนนรวม GAT และ PAT (3,975 + 3,150 + 5,000) = 12,125 คะแนนการคิดคะแนนรวม คะแนนรวม = คะแนน GPAX + คะแนน O-NET + คะแนน GAT และ/หรือ คะแนน PAT(นำคะแนนทุกอย่างมาบวกกัน) นี่ก็คือวิธีการคิดคะแนนที่ใช้ในการคัดเลือกในระบบแอดมิชชันนะครับ น้องๆคนไหนอยากคิดคะแนนตัวเองก็ลองคิดได้เลยนะครับ แต่อย่าไปคิดบวกเกินให้ตัวเองละ มันไม่ดีเน้อ อิอิ การยื่นเลือกคณะ การยื่นเลือกคณะของแอดมิชชันนั้น ปีนี้จะเลือกกัน หลังจากที่น้องๆม.6 ได้ทราบผลคะแนนทุกตัวที่ใช้เป็นองค์ประกอบแล้ว โดยน้องๆจะสามารถเลือกได้ทั้งหมด 4 อันดับ จะเลือกคณะอะไรมหาวิทยาลัยใดก็ได้ มหาวิทยาลัยเดียวกันก็ได้ โดยจะสมัครทางเว๊บไซท์ http:/mytcas.com/โดยวิธีการคิดเลือกคณะจะเป็นดังนี้1.ระบบจะรวบรวมคะแนนอันดับ1 ของน้องๆ ทุกคนมาเรียงไว้จากมากไปหาน้อย เช่น คณะวิศวะ จุฬา รับ100 คน ระบบก็จะนำคนที่เลือกคณะวิศวะจุฬาทั้งหมดนำคะแนนมาเรียงกัน ใครอยู่อันดับ1-100 ก็คือติดไป *คนที่ไม่เลือกไม่มีสิทธิ์ติดนะครับ*2.ระบบจะเลือกคนที่มีคะแนนมากที่สุด เข้าสู่แต่ละคณะให้ครบตามจำนวนที่รับ คนที่คะแนนไม่ติดคณะใดเลย ถือว่าตกพิจารณาในอันดับแรก ก็จะถูกพิจารณาคะแนนในอันดับที่2 ต่อไป3.เมื่อพิจารณาแล้วพบว่าคะแนนในอันดับ2 สูงกว่าคนที่ผ่านการพิจารณาในรอบแรก คะแนนใหม่ก็จะนำมาแทรก ดังนั้นคนที่ได้คะแนนต่ำสุดในรอบแรกของแต่ละคณะก็จะตกไปถ้าน้องไม่ติดอันดับ 1 ระบบก็จะนำคะแนนของน้องไปแข่งที่อันดับต่อไป ไม่ติดก็จะนำไปอันดับต่อไปเรื่อยๆ จนถึงอันดับ4 โดยถ้าคะแนนถึงอันดับไหนก็จะติดอันดับนั้นเลย ไม่นำคะแนนไปแข่งในอันดับถัดไปและที่สำคัญ จำไว้เลยว่าคะแนนสำคัญกว่าอันดับ ถึงแม้เราเลือกคณะเดียวกับคู่แข่ง แต่เราอันดับ3 คู่แข่งเค้าเลือกไว้อันดับ 1 ถ้าเราไม่ได้ติดอันดับ 1และ 2 จนมาถึงอันดับ3 ถ้าเราคะแนนมากกว่าก็ไม่ต้องกังวลอะไรครับ เราก็ติดก่อนแน่นอน แม้ว่าเราจะเลือกคณะนี้ไว้เป็นอันดับ3ก็ตาม ** เพราะฉะนั้นอันดับแรกเลยของการเลือกคณะคือเลือกคณะที่เราอยากเรียนมากที่สุด อยากเข้าไปที่สุด ไว้อันดับ1 เท่านั้น!! เรียกว่าเลือกตามความฝันไปเลยครับ ไม่ต้องห่วงคะแนน อะไรใดๆทั้งสิ้น เพราะหากติดคณะที่เราไม่อยากเรียน จะได้ไม่ต้องมานั่งเสียใจ เพราะโอกาสมาจากการเลือก ถ้าเราไม่เลือกก็คือไม่มีโอกาส ถึงแม้บางคนจะมองว่าโอกาสจะน้อยนิด แต่ก็ยังถือว่ามีโอกาส ถ้าไม่เลือกเลยโอกาสคือเท่ากับ 0 ครับ!! – การเลือกคณะที่เรียงลงมานั้น ต้องเริ่มคำนึงถึงโอกาสสอบติดมากขึ้นเรื่อยๆ เพื่อเป็นการรองรับกัน ให้น้องๆลองนึกภาพถึงการตกจากที่สูงนะครับ คือตกลงมาแล้ว เบาะชั้น1 รับไม่อยู่ก็ยังมีชั้น2 ชั้น3 ชั้น4 รองรับต่อๆกัน ทำให้ไม่ตกถึงฟื้น(หลุดแอด) โดยการดูโอกาสสอบติดดูได้จากอะไร ส่วนมากที่น้องๆดูก็จะมีคะแนนขั้นต่ำของปีที่ผ่านๆมา แต่ด้วยเทคโนโลยีสมัยนี้น้องๆสามารถนำคะแนนของน้องๆมาประเมินได้จากโปรแกรมประเมินโอกาสต่างๆที่ตอนนี้มีอยู่หลายเว๊บ ซึ่งในอนา่คตรับรองว่าจะมีของ dek ad แน่นอนครับ ยกตัวอย่างการเรียงอันดับ อันดับ1 อย่างที่บอก เลือกไปเลยครับ คณะที่ชอบที่รักที่สุด ไม่ต้องสนใจโอกาสสอบติด ส่วนคณะที่ตามมา ต้องเลือกคณะที่่โอกาสสอบติดเปอร์เซ็นสูงขึ้นเรื่อยๆ เช่น อันดับ2 50% อันดับ3ควร 70-80% อันดับ4ควร 90% ขึ้นไป เอาให้ปลอดภัยที่สุด ให้นอนหลับสบาย แบบไร้กังวลมากที่สุด ประมาณนี้ครับ เพื่อเป็นการรองรับกันและความปลอดภัยป้องกันไม่ให้เกิดการหลุดแอด แต่ถ้าถามว่าถ้าอยากเสี่ยงได้ไหม ก็ต้องแยกเป็นกรณีๆไปเช่นกรณีเด็กซิ่ว มีที่เรียนมหาวิทยาลัยอยู่แล้ว แต่อาจไม่ได้เรียนในคณะที่ชอบอยากมาซิ่วใหม่ ก็เสี่ยงไปเลยครับเต็มที่ หรือน้องๆที่อาจจะติดรับตรงไปแล้วแต่ยังสามารถมาแอดได้ ก็สามารถจัดการความเสี่ยงได้ด้วยตัวเองเต็มที่เช่นกัน แต่สิ่งที่สำคัญสุดไม่ว่าพร้อมเสี่ยงหรือไม่พร้อมเสี่ยงก็คือการวางอันดับ อย่างน้อยๆก็ควรวางอันดับให้เป็นไปตามโอกาสที่น่าจะติด เพราะถ้าวางไปมั่วๆมันก็จะเป็นการเสียอันดับและเสียโอกาสโดยใช่เหตุครับ มาถึงอีกคำถามที่น้องๆถามมามากที่สุดก็คือเรื่องแนวโน้มต่างๆกับจะเช็คได้อย่างไรว่าคณะไหนมีความเสี่ยงมากน้อยเท่าไหร่ เลือกคณะดูแต่คะแนนต่ำสุดได้มั้ย ดูได้ครับ แต่อย่าลืมว่าคะแนนต่ำสุดของคณะต่างๆเมื่อปีแล้ว ไม่ได้เป็นคะแนนที่ตั้งไว้นิ่งๆมันสามารถขยับไปขยับมาได้ เพราะคะแนนมันมาจากการเลือก เพราะฉะนั้นคะแนนมันสามารถขึ้นๆลงๆได้ตลอด ซึ่งสิ่งที่เป็นปัจจัยทำให้คะแนนเปลี่ยนไปจะได้แก่ . 1.คะแนนสอบในแต่ละปี คะแนนสอบในที่นี้หมายถึงคะแนนสอบในแต่ละปีของ O-NET หรือ GAT PAT เพราะถ้าคะแนนเฉลี่ยตัวไหนขึ้นโดดเด่นก็จะพอคาดการณ์ได้เลยครับว่าคณะที่ใช้คะแนนตั้งนั้นในสัดส่วนก็จะมีโอกาสที่คะแนนสอบจะเพิ่มขึ้นอย่างแน่นอน . 2.จำนวนผู้สมัคร(คนเลือกเยอะ) แน่นอนครับคณะไหนหากมีการแข่งขันสูงคือมีผู้สมัครเยอะ คณะนั้นก็จะกลายเป็นคณะยอดฮิตมีคะแนนสูงขึ้นอย่างแน่นอน หรือแค่การดูจำนวนผู้สมัครในบางวิชาเราก็พอจะคาดการณ์ได้แล้วว่าคณะไหนมีแนวโน้มที่คะแนนจะขึ้น . 3.จำนวนการรับนักศึกษา จำนวนรับก็เป็นอีกสิ่งหนึ่งที่ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นจะส่งผลถึงคะแนนอย่างแน่นอน โดยเฉพาะคณะที่มีการปรับจำนวนการรับให้น้อยลงจากปีก่อนเยอะ ก็มีแนวโน้มที่คะแนนปีนี้จะสูงขึ้นอย่างแน่นอน . 4.คณะที่มีการเปลี่ยนเกณฑ์ ในทุกๆปีที่มีคณะที่มีการเปลียนเกณฑ์จะมีการสวิงอย่างเห็นได้ชัด ไม่ว่าจะเป็นคณะพยาบาลเมื่อตอนปี57 ที่มีปรับสัดส่วนการใช้ PAT2 ให้มากขึ้น10% ทำให้คะแนนในปีนั้นพยาบาลต่ำลงมากค่อนข้างเยอะ และส่งมาถึงปีที่ผ่านมาที่ทำให้คะแนนของคณะพยาบาลสวิงขึ้นมาเพราะคนแห่กันเลือกเพราะเห็นว่าคะแนนต่ำนั่นเอง อย่างปีหน้าก็จะมีเปลี่ยนเกณฑ์ของคณะสัตวแพทย์ อันนี้ก็จะมีผลแน่นอน . 5.คณะที่มีคะแนนสวิง(คะแนนต่ำสุดปีที่ผ่านมา ขึ้นๆลงๆ) ถามว่าคณะที่มีคะแนนสวิงจะเกี่ยวอะไร จะเกี่ยวก็ตรงมันมีผลทางจิตวิทยาที่แหละครับ บางคณะที่คะแนนสูงมากๆสูงเกินไปที่ใจเด็กในปีนั้นจะยอมรับก็อาจจะลงลงต่ำเรี่ยดินได้ เพราะว่าการเจียมตัวที่น้องๆเห็นว่าคะแนนสูง คงจะเอื้อมไม่ถึงก็เลยเลือกที่จะมาเลือก ซึ่งตัวอย่างอย่างนี้ก็จะมีให้เห็นแทบทุกปีนะครับ หรือคณะที่คะแนนต่ำมากๆ ก็อาจจะสวิงขึ้นมาสูงปรี๊ดเลยก็ได้เพราะคนจะแห่กันเลือกเพราะเห็นว่าคะแนนมันต่ำมากนั่นเอง . 6.เทรนด์ เทรนด์ในที่นี้ก็จะหมายถึงกระแสความฮิตของวัยรุ่นน้องวัยแอดในแต่ละปีว่ามีความนิยมเรื่องอะไร เรื่องมีความนิยมในคณะอะไร ซึ่งในสมัยก่อนก็จะอาจจะเคยเห็นว่ากระแสคณะนิเทศมาแรงมากๆ หรือในช่วงแอดปี4-5ปีก่อนกระแสคณะในอาชีพเสรีอาเซียนจะกลายเป็นคณะฮิตขึ้นมา ซึ่งในช่วงนี้เท่าที่พี่แฮนด์ดูก็จะเป็นคณะทางสายครูกับทางคณะทางด้านภาษาอังกฤษ หรือเกี่ยวกับกระแสดิจิทัล ที่คนจะสมัครเยอะมีคะแนนสูงขึ้นมา >>>> น้องๆสามารถ ปรึกษาการเลือกคณะแอดมิชชัน ด้วยวิธีง่ายๆเพียง 1. เข้าไปใช้โปรแกรม EZ (EZ ADMISSION) โปรแกรมช่วย ADMISSION ที่มีความแม่นยำสูง ที่สำคัญ ใช้ฟรี!! ได้ที่ >> http://ezadmissions.eduzones.com/ 2. เซฟรูปผลการคำนวณเลือกคณะของน้องๆ 3. นำไปโพสต์ขอคำปรึกษาจากพี่แฮนด์ที่ Line@ P’Hand Eduzones แอดเลยที่ >> @handyeduzones ง่ายๆเพียงเท่านี้ รับรองแอดมิชชั่นปีนี้ น้องๆไม่หลุดชัวร์!!! ครับ ———————————————————————————————————– EZ Webmaster Related Posts #DEK68 โอด ควรเลื่อนสอบ หรือไม่? สิ่งที่ #dek68 ต้องเตรียมในการเข้าสอบ #TGAT #TPAT #TCAS68 ซีพี ออลล์-เซเว่นฯ สร้าง “ผู้ประกอบการจิ๋ว” ยกระดับโรงเรียน CONNEXT ED พัฒนาทักษะวิชาการควบคู่วิชาชีพ สร้างรายได้สู่ชุมชน ครบรอบ 26 ปี “มูลนิธิดำรงชัยธรรม” บนเส้นทางแห่งการให้ด้านการศึกษา เดินหน้าสร้างบุคลากรคุณภาพสู่สังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดตัว ‘ChulaGENIE’ ร่วมกับ Google Cloud Post navigation PREVIOUS Previous post: ผู้นำนักศึกษา มจพ. ขานรับการจัดการเรียนการสอนออนไลน์สู้เชื้อโรค COVID-19NEXT Next post: E-Book Talk Like A Pro โดย อาจารย์วิริยะ ฤๅชัยพาณิชย์
iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI EZ WebmasterNovember 27, 2024 เติบโตอย่างยิ่งใหญ่กว่าที่เคย iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI พร้อมพาวงการครีเอเตอร์ก้าวสู่เส้นทางแห่งไอคอนนิก งานที่รวบรวมเหล่า ครีเอเตอร์กว่า 100 คนเพื่อเปิดโอกาสให้ได้มีส่วนทำงานกับแบรนด์ต่าง ๆ จนได้กระแสตอบรับอย่างล้นหลาม บรรยากาศภายในงานเต็มไปด้วยความคึกคัก ยิ่งใหญ่ ตื่นตาตื่นใจกว่าที่เคยและผู้คนที่หลั่งไหลเข้ามาภายในงานเป็นจำนวนมากเพือมาเข้าร่วมการพูดแบ่งปันประสบการณ์ของเหล่า ครีเอเตอร์… “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” เปิดบ้าน “สวนสุนันทา” วิชาการแน่น บันเทิงสนุก จัดเต็ม 17-18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 27, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม… EMPATHY: วิถีของผู้นำผ่านเวทีนางงามโลก EZ WebmasterNovember 22, 2024 สะเทือน!!! เวทีนางงาม Miss Universe 2024 เมื่อตัวแทนสาวงามจากประเทศไทยน้องโอปอล-สุชาตา ช่วงศรี ตอบคำถามรอบ 5 คนสุดท้ายเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2024 ที่ผ่านมาด้วยน้ำเสียง สายตา ท่าทาง และบุคลิกภาพที่เต็มเปี่ยมไปด้วยความมั่นใจและสง่างามเรียกเสียงปรบมือสนั่นลั่นดินแดนจังโก้ จาก… Search for: Search
“ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” เปิดบ้าน “สวนสุนันทา” วิชาการแน่น บันเทิงสนุก จัดเต็ม 17-18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 27, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม… EMPATHY: วิถีของผู้นำผ่านเวทีนางงามโลก EZ WebmasterNovember 22, 2024 สะเทือน!!! เวทีนางงาม Miss Universe 2024 เมื่อตัวแทนสาวงามจากประเทศไทยน้องโอปอล-สุชาตา ช่วงศรี ตอบคำถามรอบ 5 คนสุดท้ายเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2024 ที่ผ่านมาด้วยน้ำเสียง สายตา ท่าทาง และบุคลิกภาพที่เต็มเปี่ยมไปด้วยความมั่นใจและสง่างามเรียกเสียงปรบมือสนั่นลั่นดินแดนจังโก้ จาก…
EMPATHY: วิถีของผู้นำผ่านเวทีนางงามโลก EZ WebmasterNovember 22, 2024 สะเทือน!!! เวทีนางงาม Miss Universe 2024 เมื่อตัวแทนสาวงามจากประเทศไทยน้องโอปอล-สุชาตา ช่วงศรี ตอบคำถามรอบ 5 คนสุดท้ายเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2024 ที่ผ่านมาด้วยน้ำเสียง สายตา ท่าทาง และบุคลิกภาพที่เต็มเปี่ยมไปด้วยความมั่นใจและสง่างามเรียกเสียงปรบมือสนั่นลั่นดินแดนจังโก้ จาก…
EZ Webmaster May 4, 2020 EZ Webmaster May 4, 2020 เคลียร์ทุกเรื่อง ที่มา/วิธีการคัดเลือก/วิธีการจัดอันดับ/อะไรคือปัจจัยเสี่ยง Admission 2563 แอดมิชชัน ถือเป็นสิ่งสำคัญมากๆอีกเรื่องหนึ่งในชีวิตของน้องๆ ม.6 ในทุกๆปีนะครับ เพราะถือว่าเป็นสะพานในการพาน้องๆไปสู่ความฝันหรือเป้าหมายที่ต้องการหลังจากฝ่าฝันสอบมาอย่างดุเดือดตลอดปีการศึกษาของ ม.6 ซึ่งแน่นอนว่าน้องๆแต่ละคนก็ต้องการความกระจ่างและความมั่นใจมากที่สุดก่อนที่จะทำการเลือกคณะ ซึ่งก็มีหลากหลายคำถามเข้ามาที่พี่แฮนด์มากมายทั้งวิธีการการเลือก แนวโน้มแต่ละคณะ และคำถามอื่นๆ พี่แฮนด์จึงเขียนบทความเพื่อไขข้อสงสัยในหลายเรื่องสำหรับแอดมิชชัน แอดมิชชัน หรือน้องๆอาจจะเรียกว่าแอดกลาง ก็คือการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา (Central University Admissions System – CUAS ) จัดการคัดเลือกโดย ทปอ. นำมาใช้ครั้งแรกเมื่อปี 2549 แทนการคัดเลือกแบบเอนทรานซ์นั่นเอง ซึ่งจุดประสงค์หลักที่นำระบบแอดมิชชันมาใช้แทนระบบเก่าอย่างเอนทรานซ์ก็เพราะว่า การเอนทรานซ์ จะเน้นในการสอบเพียงอย่างเดียว ทำให้เด็กๆทิ้งการเรียนในห้องเรียน ไปมุ่งมั่นติวกันเพียงอย่างเดียว แต่การแอดมิชชันจะมีการนำเกรดเฉลี่ยในโรงเรียนมาใช้ด้วย ทำให้เด็กๆต้องสนใจวิชาในห้องเรียนไม่สามารถทิ้งได้(แต่สุดท้ายเด็กไทยก็ยังติวกันเหมือนเดิมนะครับ อิๆ) องค์ประกอบของแอดมิชชัน แอดมิชชันจะมีคะแนนรวมทั้ง 30,000 คะแนน จากองค์ประกอบ4ตัว ดังต่อไปนี้ 1.GPAX คือเกรดเฉลี่ยสะสม 6 ภาคเรียน ตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย ม.4-ม.6 ของนักเรียน โดย GPAX ใช้เป็นสัดส่วนในแอดมิชชัน 20% หรือ6,000คะแนนทุกคณะ 2. O-NET (Ordinary National Education Test) หรือการสอบทางการศึกษาแห่งชาติขั้นพื้นฐาน เป็นการสอบพร้อมทั้งหมดของเด็ก ม.6 ทั่วประเทศ จะมีการสอบทั้งหมด 5 วิชาได้แก่ คณิตศาสตร์,ภาษาอังกฤษ,ภาษาไทย,สังคม.วิทยาศาสตร์ โดย O-NET ใช้เป็นสัดส่วนในแอดมิชชัน 30% หรือ9,000คะแนนทุกคณะ 3. GAT (Genetal Aptitude Test) หรือการสอบความถนัดทั่วไป คะแนนเต็ม 300 คะแนน ข้อสอบGAT ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ GAT ไทย ซึ่งจะเน้นเนื้อหาทางด้าน การอ่าน เขียน คิดวิเคราะห์ และ GAT ภาษาอังกฤษ อย่างละ 150 คะแนน โดย GAT ใช้เป็นสัดส่วนในแอดมิชชัน 10-50% หรือ3,000-15,000คะแนนแล้วแต่คณะ 4. PAT (Professional Aptitude Test) หรือการสอบความถนัดทางวิชาชีพ เป็นข้อสอบที่ยากเพราะเป็นเนื่อหาที่ไม่มีสอนในโรงเรียน โดยจะมรทั้งหมด 7 PAT ด้วยกัน ได้แก่ PAT1 คณิตศาสตร์ PAT2 วิทยาศาสตร์ PAT3 พื้นฐานวิศวกรรม PAT4 พื้นฐานสถาปัตยกรรม PAT5 พื้นฐานความเป็นครู PAT6 ศิลปกรรม และPAT7วิชาด้านภาษาอื่นๆนอกเหนือจากภาษาอังกฤษ โดย PAT ใช้เป็นสัดส่วนในแอดมิชชัน 0-40% หรือ0-12,000คะแนนแล้วแต่คณะ สัดส่วนองค์ประกอบแต่ละกลุ่มคณะ สัดส่วนองค์ประกอบของแอดมิชชันจะแบ่งเป็น 13 กลุ่มดังนี้ **จุดสังเกตขององค์ประกอบแต่ละกลุ่มคณะขอให้น้องๆจำง่ายๆว่า GPAX(20%) และ O-NET(30%) มีสัดส่วนคงที่ทุกกลุ่มคณะ แต่ละกลุ่มแตกต่างกันตรง GAT และ PAT เท่านั้น สถิติผู้สมัครและสอบติดแอดมิชชัน พี่แฮนด์เอาสถิติตั้งแต่ปี 53 ที่เริ่มใช้ GAT PAT เป็นปีแรก มาให้ดูกันนะครับ ปี 53 จำนวนผู้สมัคร 98,143 คน มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 70,003 คน หลุดแอดมิชชัน 28,140 คน ปี 54 จำนวนผู้สมัคร 123,260 คน มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 78,096 คน หลุดแอดมิชชัน 45,164 คน ปี 55 จำนวนผู้สมัคร 122,169 คน มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 82,102 คน หลุดแอดมิชชัน 40,067 คน ปี 56 จำนวนผู้สมัคร 113,400 คน มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 83,955 คน หลุดแอดมิชชัน 29,445 คน ปี 57 จำนวนผู้สมัคร 99,767 คน แอดมิชชันติด มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 80,880 คน หลุดแอดมิชชัน 18,887 คน ปี 58 จำนวนผู้สมัคร 124,648 คน แอดมิชชันติด มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 91,813 คน หลุดแอดมิชชัน 32,835 คน ปี 59 จำนวนผู้สมัคร 105,046 คน แอดมิชชันติด มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 85,834 คน หลุดแอดมิชชัน 19,212 คน ปี 60 จำนวนผู้สมัคร 81,232 คน แอดมิชชันติด มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 70,689 คน หลุดแอดมิชชัน 10,543 คน ปี 61 จำนวนผู้สมัคร 54,782 คน แอดมิชชันติด มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 44,476 คน หลุดแอดมิชชัน 10,306 คน ปี 62 จำนวนผู้สมัคร 122,523 คน แอดมิชชันติด มีสิทธิ์สอบสัมภาษณ์ จำนวน 52,315 คน หลุดแอดมิชชัน 20,093 คน เห็นจำนวนสถิติอย่างงี้ก็เพิ่งอย่าไปเครียดอะไรนะครับ เพราะที่จริงแล้วยอดผู้สมัครทุกปีนั้น น้อยกว่ายอดรับตามระเบียบการทุกปี แต่ที่มีคนไม่ติดนั้นก็เพราะว่า ส่วนใหญ่ก็จะไปเลือกคณะเดียวกันซะเยอะ ทำให้มีคนหลุดแอดทุกปี และที่สำคัญจะเห็นเลยว่าจำนวนนั้นลดลงเรื่อยๆทุกปี การคิดคะแนนแอดมิชชัน การคิดคะแนน GPAX ใช้ GPAX ร้อยละ 20 GPAX ให้คิดเทียบคะแนนเต็มเป็น 300 คะแนน วิธีคิด 1. ให้นํา GPAX คูณกับ 75 เพื่อแปลงค่าผลการเรียนเฉลี่ยเป็นคะแนนเต็ม 300 คะแนน 2. ให้นําคะแนน GPAX ที่แปลงค่าเป็นคะแนนแล้วคูณกับค่าน้ําหนักที่กําหนด จะได้เป็นคะแนน GPAX ตัวอย่าง ผู้สมัครมีผลการเรียนเฉลี่ย (GPAX) = 2.93 วิธีคิด ขั้นที่ 1 ใ ให้นํา GPAX คูณด้วย 75 จะได้คะแนนดังนี้ คะแนน GPAX (2.93 × 75) = 219.75 คะแนน ขั้นที่ 2 นําคะแนน GPAX คูณด้วยค่าน้ําหนักที่กําหนดไว้ คือ 20% คะแนน GPAX (219.75 × 20) = 4,395 คะแนน จากคะแนนเต็ม 6,000 คะแนน วิธีการคิดคะแนน O-NET 1. ให้นําคะแนนสอบวิชา O-NET แต่ละวิชาของผู้สมัครคูณกับ 3 (กําหนด ให้คะแนนเต็มแต่ละวิชาเท่ากับ 300) 2. นําคะแนนในข้อ 1 คูณกับค่าน้ําหนักที่กําหนด 3. นําคะแนนแต่ละวิชาในข้อ 2 มารวมกันจะได้คะแนนรวมของ O-NET ตัวอย่าง ผู้มัครมีคะแนน O-NET ดังนี้ วิชา 01 = 63.00, 02 = 75.00, 03 = 71.00, 04 = 81.00 05 = 87.00 ขั้นที่ 1 นําคะแนนแต่ละวิชาของผู้สมัครคูณด้วย 3(ยกเว้นวิชา 06 ไม่ต่องคูณ) ดังนี้ คะแนน O-NET วิชา 01 (63.00 × 3) = 189 วิชา 02 (75.00 × 3) = 225 วิชา 03 (71.00 × 3) = 213 วิชา 04 (81.00 × 3) = 243 วิชา 05 (87.00 × 3) = 261 ขั้นที่ 2 นําคะแนนที่คูณด้วย 3 คูณด้วยค่าน้ําหนัก ดังนี้ คะแนน O-NET วิชา 01 (189 × 6) = 1,134 วิชา 02 (225 × 6) = 1,350 วิชา 03 (213 × 6) = 1,278 วิชา 04 (261 × 6) = 1,458 วิชา 05 (261 × 6) = 1,566 ขั้นที่ 3 นําคะแนน O-NET ที่คูณด้วยค่าน้ําหนักแล้ว มารวมกันดังนี้ คะแนน O-NET (1,134 + 1,350 + 1,278 + 1,458 + 1,566) คะแนนรวม O-NET = 6,786 คะแนน (จากคะแนน 9,000 คะแนน) วิธีการคิดคะแนน GAT, PAT 1. นําคะแนนสอบ GAT และ PAT ของผู้สมัครคูณกับค่าน้ําหนักที่กําหนด 2. นําคะแนนแต่ละวิชาจากข้อ 1 มารวมกันจะได้คะแนนรวมของ GAT และ/ PATตัวอย่าง วิธีการคิดคะแนน GAT และ PAT ของผู้สมัครเข้าศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ ต้องการเลือกคณะวิศวกรรมศาสตร์ กําหนดให้สอบ O-NET 5 กลุ่มสาระฯ คือ รหัส 01,02,03,04 และ 05 แต่ละวิชาให้ค่าน้ําหนักร้อยละ 6 วิชา GAT (รหัส 85) ให้ค่าน้ําหนักร้อยละ 15 วิชา PAT 2 (รหัส 72) ให้ค่าน้ําหนักร้อยละ 15 วิชา PAT 3 (รหัส 73) ให้ค่าน้ําหนักร้อยละ 20 ผู้สมัครมีคะแนนแต่ละวิชาดังนี้ วิธีคิดขั้นที่ 1 นําคะแนน GAT และ PAT ของผู้สมัครคูณกับค่าน้ําหนัก คะแนน GAT (265 × 15) = 3,975 คะแนน คะแนน PAT 2 (210 × 15) = 3,150คะแนน คะแนน PAT 3 (250 × 20) = 5,000คะแนน คะแนนรวม GAT และ PAT (3,975 + 3,150 + 5,000) = 12,125 คะแนนการคิดคะแนนรวม คะแนนรวม = คะแนน GPAX + คะแนน O-NET + คะแนน GAT และ/หรือ คะแนน PAT(นำคะแนนทุกอย่างมาบวกกัน) นี่ก็คือวิธีการคิดคะแนนที่ใช้ในการคัดเลือกในระบบแอดมิชชันนะครับ น้องๆคนไหนอยากคิดคะแนนตัวเองก็ลองคิดได้เลยนะครับ แต่อย่าไปคิดบวกเกินให้ตัวเองละ มันไม่ดีเน้อ อิอิ การยื่นเลือกคณะ การยื่นเลือกคณะของแอดมิชชันนั้น ปีนี้จะเลือกกัน หลังจากที่น้องๆม.6 ได้ทราบผลคะแนนทุกตัวที่ใช้เป็นองค์ประกอบแล้ว โดยน้องๆจะสามารถเลือกได้ทั้งหมด 4 อันดับ จะเลือกคณะอะไรมหาวิทยาลัยใดก็ได้ มหาวิทยาลัยเดียวกันก็ได้ โดยจะสมัครทางเว๊บไซท์ http:/mytcas.com/โดยวิธีการคิดเลือกคณะจะเป็นดังนี้1.ระบบจะรวบรวมคะแนนอันดับ1 ของน้องๆ ทุกคนมาเรียงไว้จากมากไปหาน้อย เช่น คณะวิศวะ จุฬา รับ100 คน ระบบก็จะนำคนที่เลือกคณะวิศวะจุฬาทั้งหมดนำคะแนนมาเรียงกัน ใครอยู่อันดับ1-100 ก็คือติดไป *คนที่ไม่เลือกไม่มีสิทธิ์ติดนะครับ*2.ระบบจะเลือกคนที่มีคะแนนมากที่สุด เข้าสู่แต่ละคณะให้ครบตามจำนวนที่รับ คนที่คะแนนไม่ติดคณะใดเลย ถือว่าตกพิจารณาในอันดับแรก ก็จะถูกพิจารณาคะแนนในอันดับที่2 ต่อไป3.เมื่อพิจารณาแล้วพบว่าคะแนนในอันดับ2 สูงกว่าคนที่ผ่านการพิจารณาในรอบแรก คะแนนใหม่ก็จะนำมาแทรก ดังนั้นคนที่ได้คะแนนต่ำสุดในรอบแรกของแต่ละคณะก็จะตกไปถ้าน้องไม่ติดอันดับ 1 ระบบก็จะนำคะแนนของน้องไปแข่งที่อันดับต่อไป ไม่ติดก็จะนำไปอันดับต่อไปเรื่อยๆ จนถึงอันดับ4 โดยถ้าคะแนนถึงอันดับไหนก็จะติดอันดับนั้นเลย ไม่นำคะแนนไปแข่งในอันดับถัดไปและที่สำคัญ จำไว้เลยว่าคะแนนสำคัญกว่าอันดับ ถึงแม้เราเลือกคณะเดียวกับคู่แข่ง แต่เราอันดับ3 คู่แข่งเค้าเลือกไว้อันดับ 1 ถ้าเราไม่ได้ติดอันดับ 1และ 2 จนมาถึงอันดับ3 ถ้าเราคะแนนมากกว่าก็ไม่ต้องกังวลอะไรครับ เราก็ติดก่อนแน่นอน แม้ว่าเราจะเลือกคณะนี้ไว้เป็นอันดับ3ก็ตาม ** เพราะฉะนั้นอันดับแรกเลยของการเลือกคณะคือเลือกคณะที่เราอยากเรียนมากที่สุด อยากเข้าไปที่สุด ไว้อันดับ1 เท่านั้น!! เรียกว่าเลือกตามความฝันไปเลยครับ ไม่ต้องห่วงคะแนน อะไรใดๆทั้งสิ้น เพราะหากติดคณะที่เราไม่อยากเรียน จะได้ไม่ต้องมานั่งเสียใจ เพราะโอกาสมาจากการเลือก ถ้าเราไม่เลือกก็คือไม่มีโอกาส ถึงแม้บางคนจะมองว่าโอกาสจะน้อยนิด แต่ก็ยังถือว่ามีโอกาส ถ้าไม่เลือกเลยโอกาสคือเท่ากับ 0 ครับ!! – การเลือกคณะที่เรียงลงมานั้น ต้องเริ่มคำนึงถึงโอกาสสอบติดมากขึ้นเรื่อยๆ เพื่อเป็นการรองรับกัน ให้น้องๆลองนึกภาพถึงการตกจากที่สูงนะครับ คือตกลงมาแล้ว เบาะชั้น1 รับไม่อยู่ก็ยังมีชั้น2 ชั้น3 ชั้น4 รองรับต่อๆกัน ทำให้ไม่ตกถึงฟื้น(หลุดแอด) โดยการดูโอกาสสอบติดดูได้จากอะไร ส่วนมากที่น้องๆดูก็จะมีคะแนนขั้นต่ำของปีที่ผ่านๆมา แต่ด้วยเทคโนโลยีสมัยนี้น้องๆสามารถนำคะแนนของน้องๆมาประเมินได้จากโปรแกรมประเมินโอกาสต่างๆที่ตอนนี้มีอยู่หลายเว๊บ ซึ่งในอนา่คตรับรองว่าจะมีของ dek ad แน่นอนครับ ยกตัวอย่างการเรียงอันดับ อันดับ1 อย่างที่บอก เลือกไปเลยครับ คณะที่ชอบที่รักที่สุด ไม่ต้องสนใจโอกาสสอบติด ส่วนคณะที่ตามมา ต้องเลือกคณะที่่โอกาสสอบติดเปอร์เซ็นสูงขึ้นเรื่อยๆ เช่น อันดับ2 50% อันดับ3ควร 70-80% อันดับ4ควร 90% ขึ้นไป เอาให้ปลอดภัยที่สุด ให้นอนหลับสบาย แบบไร้กังวลมากที่สุด ประมาณนี้ครับ เพื่อเป็นการรองรับกันและความปลอดภัยป้องกันไม่ให้เกิดการหลุดแอด แต่ถ้าถามว่าถ้าอยากเสี่ยงได้ไหม ก็ต้องแยกเป็นกรณีๆไปเช่นกรณีเด็กซิ่ว มีที่เรียนมหาวิทยาลัยอยู่แล้ว แต่อาจไม่ได้เรียนในคณะที่ชอบอยากมาซิ่วใหม่ ก็เสี่ยงไปเลยครับเต็มที่ หรือน้องๆที่อาจจะติดรับตรงไปแล้วแต่ยังสามารถมาแอดได้ ก็สามารถจัดการความเสี่ยงได้ด้วยตัวเองเต็มที่เช่นกัน แต่สิ่งที่สำคัญสุดไม่ว่าพร้อมเสี่ยงหรือไม่พร้อมเสี่ยงก็คือการวางอันดับ อย่างน้อยๆก็ควรวางอันดับให้เป็นไปตามโอกาสที่น่าจะติด เพราะถ้าวางไปมั่วๆมันก็จะเป็นการเสียอันดับและเสียโอกาสโดยใช่เหตุครับ มาถึงอีกคำถามที่น้องๆถามมามากที่สุดก็คือเรื่องแนวโน้มต่างๆกับจะเช็คได้อย่างไรว่าคณะไหนมีความเสี่ยงมากน้อยเท่าไหร่ เลือกคณะดูแต่คะแนนต่ำสุดได้มั้ย ดูได้ครับ แต่อย่าลืมว่าคะแนนต่ำสุดของคณะต่างๆเมื่อปีแล้ว ไม่ได้เป็นคะแนนที่ตั้งไว้นิ่งๆมันสามารถขยับไปขยับมาได้ เพราะคะแนนมันมาจากการเลือก เพราะฉะนั้นคะแนนมันสามารถขึ้นๆลงๆได้ตลอด ซึ่งสิ่งที่เป็นปัจจัยทำให้คะแนนเปลี่ยนไปจะได้แก่ . 1.คะแนนสอบในแต่ละปี คะแนนสอบในที่นี้หมายถึงคะแนนสอบในแต่ละปีของ O-NET หรือ GAT PAT เพราะถ้าคะแนนเฉลี่ยตัวไหนขึ้นโดดเด่นก็จะพอคาดการณ์ได้เลยครับว่าคณะที่ใช้คะแนนตั้งนั้นในสัดส่วนก็จะมีโอกาสที่คะแนนสอบจะเพิ่มขึ้นอย่างแน่นอน . 2.จำนวนผู้สมัคร(คนเลือกเยอะ) แน่นอนครับคณะไหนหากมีการแข่งขันสูงคือมีผู้สมัครเยอะ คณะนั้นก็จะกลายเป็นคณะยอดฮิตมีคะแนนสูงขึ้นอย่างแน่นอน หรือแค่การดูจำนวนผู้สมัครในบางวิชาเราก็พอจะคาดการณ์ได้แล้วว่าคณะไหนมีแนวโน้มที่คะแนนจะขึ้น . 3.จำนวนการรับนักศึกษา จำนวนรับก็เป็นอีกสิ่งหนึ่งที่ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นจะส่งผลถึงคะแนนอย่างแน่นอน โดยเฉพาะคณะที่มีการปรับจำนวนการรับให้น้อยลงจากปีก่อนเยอะ ก็มีแนวโน้มที่คะแนนปีนี้จะสูงขึ้นอย่างแน่นอน . 4.คณะที่มีการเปลี่ยนเกณฑ์ ในทุกๆปีที่มีคณะที่มีการเปลียนเกณฑ์จะมีการสวิงอย่างเห็นได้ชัด ไม่ว่าจะเป็นคณะพยาบาลเมื่อตอนปี57 ที่มีปรับสัดส่วนการใช้ PAT2 ให้มากขึ้น10% ทำให้คะแนนในปีนั้นพยาบาลต่ำลงมากค่อนข้างเยอะ และส่งมาถึงปีที่ผ่านมาที่ทำให้คะแนนของคณะพยาบาลสวิงขึ้นมาเพราะคนแห่กันเลือกเพราะเห็นว่าคะแนนต่ำนั่นเอง อย่างปีหน้าก็จะมีเปลี่ยนเกณฑ์ของคณะสัตวแพทย์ อันนี้ก็จะมีผลแน่นอน . 5.คณะที่มีคะแนนสวิง(คะแนนต่ำสุดปีที่ผ่านมา ขึ้นๆลงๆ) ถามว่าคณะที่มีคะแนนสวิงจะเกี่ยวอะไร จะเกี่ยวก็ตรงมันมีผลทางจิตวิทยาที่แหละครับ บางคณะที่คะแนนสูงมากๆสูงเกินไปที่ใจเด็กในปีนั้นจะยอมรับก็อาจจะลงลงต่ำเรี่ยดินได้ เพราะว่าการเจียมตัวที่น้องๆเห็นว่าคะแนนสูง คงจะเอื้อมไม่ถึงก็เลยเลือกที่จะมาเลือก ซึ่งตัวอย่างอย่างนี้ก็จะมีให้เห็นแทบทุกปีนะครับ หรือคณะที่คะแนนต่ำมากๆ ก็อาจจะสวิงขึ้นมาสูงปรี๊ดเลยก็ได้เพราะคนจะแห่กันเลือกเพราะเห็นว่าคะแนนมันต่ำมากนั่นเอง . 6.เทรนด์ เทรนด์ในที่นี้ก็จะหมายถึงกระแสความฮิตของวัยรุ่นน้องวัยแอดในแต่ละปีว่ามีความนิยมเรื่องอะไร เรื่องมีความนิยมในคณะอะไร ซึ่งในสมัยก่อนก็จะอาจจะเคยเห็นว่ากระแสคณะนิเทศมาแรงมากๆ หรือในช่วงแอดปี4-5ปีก่อนกระแสคณะในอาชีพเสรีอาเซียนจะกลายเป็นคณะฮิตขึ้นมา ซึ่งในช่วงนี้เท่าที่พี่แฮนด์ดูก็จะเป็นคณะทางสายครูกับทางคณะทางด้านภาษาอังกฤษ หรือเกี่ยวกับกระแสดิจิทัล ที่คนจะสมัครเยอะมีคะแนนสูงขึ้นมา >>>> น้องๆสามารถ ปรึกษาการเลือกคณะแอดมิชชัน ด้วยวิธีง่ายๆเพียง 1. เข้าไปใช้โปรแกรม EZ (EZ ADMISSION) โปรแกรมช่วย ADMISSION ที่มีความแม่นยำสูง ที่สำคัญ ใช้ฟรี!! ได้ที่ >> http://ezadmissions.eduzones.com/ 2. เซฟรูปผลการคำนวณเลือกคณะของน้องๆ 3. นำไปโพสต์ขอคำปรึกษาจากพี่แฮนด์ที่ Line@ P’Hand Eduzones แอดเลยที่ >> @handyeduzones ง่ายๆเพียงเท่านี้ รับรองแอดมิชชั่นปีนี้ น้องๆไม่หลุดชัวร์!!! ครับ ———————————————————————————————————–
ซีพี ออลล์-เซเว่นฯ สร้าง “ผู้ประกอบการจิ๋ว” ยกระดับโรงเรียน CONNEXT ED พัฒนาทักษะวิชาการควบคู่วิชาชีพ สร้างรายได้สู่ชุมชน