เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง EZ WebmasterJune 13, 2025 วันนี้ทั้งเล่น ทั้งได้ความรู้ ทั้งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนนางรอง จ.บุรีรัมย์ วันที่13/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า… TK Park พาเปิดบทเรียนอันทรงคุณค่า จาก “คุณหญิงกษมา” กว่า 50 ปี บนเส้นทางการศึกษา กับบทบาทผู้ต่อจิ๊กซอว์ “การเรียนรู้” ให้สังคมไทย พร้อมเจาะ “7 บทเรียนที่ต้องเรียนรู้” พาไทยสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ได้แบบไม่รู้จบ EZ WebmasterJune 13, 2025 หากย้อนกลับไปเมื่อหลายสิบปีก่อน ภาพจำของห้องสมุดในสายตาคนไทยมักเป็นพื้นที่เคร่งขรึม คร่ำเคร่ง และเป็นทางการ กระทั่งในปี 2548 การก่อตั้ง สถาบันอุทยานการเรียนรู้ TK Park ได้กลายเป็นจุดเปลี่ยนสำคัญ ด้วยแนวคิด “ห้องสมุดมีชีวิต” ที่เปลี่ยนห้องสมุดให้เป็นพื้นที่แห่งการเรียนรู้ที่สนุก สร้างสรรค์ และมีชีวิตชีวา ทั้งยังจุดประกายให้สังคมไทยเริ่มมองการเรียนรู้นอกห้องเรียนอย่างจริงจัง เพราะการเรียนรู้ไม่ควรถูกจำกัดอยู่เพียงในตำรา แต่ควรเป็นวัฒนธรรมของสังคม… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนหนองกี่พิทยาคม EZ WebmasterJune 13, 2025 ความสุขเล็กๆ ในวันที่ได้ทำกิจกรรมร่วมกัน โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด พากิจกรรมดีๆ มาถึงโรงเรียนหนองกี่พิทยาคม จ.บุรีรัมย์ วันที่13/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า (ครูแอน)… นักศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI… ทุนดีดี เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… นิสิตป.ตรีร่วมโครงการEAS InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 13, 2025 โอกาสดี! นักศึกษาระดับปริญญาตรีชาวไทย อายุระหว่าง 18-26 ปี ที่สนใจในประเด็นอาเซียน และสนใจอยากเป็นนักการทูต สถานทูตออสเตรเลียประจำประเทศไทยแจ้งข่าว เปิดรับสมัครโครงการ Model East Asia Summit (EAS) 2025 ส่งใบสมัครก่อนวันที่ 4 ก.ค.… โครงการYouth for Peace InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 12, 2025 Youth for Peace: UNESCO intercultural leadership programme หรือโครงการเยาวชนเพื่อสันติภาพ: ผู้นำยูเนสโกต่างวัฒนธรรม ดำเนินการโดยองค์กรยูเนสโก กำลังเปิดรับเยาวชน อายุระหว่าง 25 – 45 ปี กำหนดปิดรับสมัครในวันที่ 22 กรกฎาคม 2568 องค์การยูเนสโกได้เชิญชวนเยาวชนที่มีอายุระหว่าง 25 –… ทุนกฎหมายที่ออสเตรเลีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 11, 2025 UNSW Master of Laws International Scholarships ที่ University of New South Wales (UNSW) สำหรับนักศึกษาต่างชาติ ประจำปีการศึกษา 2025-2026 ทุนมีมูลค่า 20,000… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster May 4, 2020 EZ Webmaster May 4, 2020 ผู้นำนักศึกษา มจพ. ขานรับการจัดการเรียนการสอนออนไลน์สู้เชื้อโรค COVID-19 ผลกระทบการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด -19 ทำให้มหาวิทยาลัยที่สังกัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม โดยเฉพาะกลุ่มครูอาจารย์และบรรดานักเรียน นักศึกษา กลายเป็นผู้ที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 เป็นลำดับต้น ๆ เพราะหลายสถาบันการศึกษาได้เริ่มใช้มาตรการงดการเรียนการสอนชั่วคราวเพื่อจำกัดและควบคุมการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด -19 ทำให้ในช่วงนี้อาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาจึงต้องปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอนมาเป็น ‘การสอนแบบออนไลน์ แทน แล้วในส่วนของนักศึกษาล่ะ !! เขาเหล่านั้นมีแผนและเตรียมรับมือกับการจัดการเรียนการสอนอย่างไร ? วันนี้วิบวับ สัมภาษณ์รัว ๆ ผู้นำนักศึกษา มจพ. ที่ขานรับการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ เป็นใครกันบ้างมาดูกัน 1. นายวรปรัชญ์ ห่อแก้ว ชื่อเล่น “ธง” ที่ปรึกษานายกองค์การนักศึกษา กำลังศึกษาชั้นปีที่ 5 สาขา วิศวกรรมไฟฟ้า ภาควิชาครุศาสตร์ไฟฟ้า คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สำหรับตัวผม “คิดว่าการเปลี่ยนแปลงทางด้านการเรียนการสอนต้องปรับตัวกันเยอะทีเดียว เนื่องจากเราต้องรักษาระยะห่างทางสังคม” แต่ปัจจุบันเทคโนโลยีสามารถรวมกลุ่มคน สำหรับจัดการเรียนการสอนบนโลก Social เป็นทางออกที่ดีครับ แถมยังสามารถเรียนได้หลาย ๆ คน ที่สามารถพูดคุยโต้ตอบกันเหมือนอยู่ใกล้ ๆ กัน ตัวนักศึกษาต้องทำความเข้าใจในการใช้แอปพลิเคชันต่าง ๆ ที่จะนำมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนผ่านระบบออนไลน์ สำหรับอาจารย์ผู้สอนก็เตรียมพร้อมสำหรับรูปแบบการจัดการเรียนการสอน สื่อที่นำมาใช้และออกแบบเนื้อหาให้เหมาะสมกับการเรียนการสอนผ่านระบบออนไลน์อีกด้วย 2. นายพิสิฏฐ์พศ โสภาพร ชื่อเล่น “บิว” นายกองค์การนักศึกษา กำลังศึกษาอยู่ชั้นปีที่ 4 สาขาวิชา เทคโนโลยีวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (EnET) วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ตามที่ มจพ. ได้ประกาศ เรื่อง แนวทางในการดำเนินการเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน ในช่วงเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19) ฉบับที่ 2 นั้น สำหรับตัวผมก็ได้เตรียมแผนการรับมือ สำหรับการเรียนออนไลน์ คือ “การศึกษาหาข้อมูลเกี่ยวกับโปรแกรมต่าง ๆ ที่จะต้องใช้ในการเรียนออนไลน์ พร้อมฝึกฝนการใช้โปรแกรมให้คล่อง จะได้ไม่เสียเวลาเมื่อได้ใช้งานจริง” และที่สำคัญต้องมีความรับผิดชอบต่อตัวเอง ตื่นเช้า ๆ เรียนตามตารางเวลาเรียน และตั้งใจฟังอาจารย์ผู้สอน รวมถึงบันทึกวิดีโอการสอนของอาจารย์ไว้ เอาไว้ดูย้อนหลังเพื่อทบทวนความเข้าใจเพื่อเติมครับ 3. นายเชาว์วัฒน์สุวรรณภูเต ชื่อเล่น “เบ็นช์” นายกสโมสรนักศึกษาคณะสถาปัตยกรรม และการออกแบบ กำลังจะขึ้นชั้นปีที่ 4 สาขาวิชาการจัดการงานออกแบบภายในและพัฒนาธุรกิจ คณะสถาปัตยกรรมและการออกแบบ ในส่วนของแผนรับมือคือ ผม “ได้มีการเตรียมโปรแกรมด้านการเรียนการสอนเเล้ว รวมถึงติดตามข้อมูลข่าวสารจากทั้งตัวของอาจารย์ หรือจากมหาลัยอยู่ตลอดเวลา” ส่วนแนวทางรับมือนั้นที่จะต้องเรียนออนไลน์ ช่วงแรกก็อาจจะเป็นเรื่องยากของทั้งตัวอาจารย์และนักศึกษา ทั้งในเรื่องของความไม่คุ้นเคย ระเบียบของตัวนักศึกษาและอาจารย์ รวมไปถึงการปรับตัวการสอนของตัวอาจารย์เอง แต่ตัวผมก็มองว่ามันจะช่วยให้การเรียนการสอนมันมีมิติมากขึ้นไม่จำเป็นต้องเรียนในห้องตลอดเวลา ตัวนักศึกษาและอาจารย์ก็มีการเรียนรู้แลกเปลี่ยนข้อมูล และบางทีวิกฤต COVID-19 นี้อาจจะทำให้ มจพ. มีความคิดแนวทางในการเรียนการสอนผ่านออนไลน์ที่ช่วยในการเรียนการสอนในอนาคตก็ได้ครับ 4. น.ส.อทิตา บุญมา ชื่อเล่น “กิ๊ฟ” นายกสโมสรนักศึกษาคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม กำลังศึกษา อยู่ชั้นปีที่ 3 สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า ภาควิชาครุศาสตร์ไฟฟ้า คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สำหรับช่วงนี้สิ่งที่ควรทำที่สุดคือ ตระหนักถึงมาตรการเฝ้าระวังให้มาก ควรจะปฏิบัติตามแบบแผนอย่างเคร่งครัด ให้สอดคล้องมาตรการของรัฐ “อยู่บ้าน หยุดเชื้อ เพื่อชาติ” เพื่อสอดรับกับมาตรการ Work from home ที่ทางมหาวิทยาลัยกำหนด ในส่วนการเรียนการสอนออนไลน์ ควรศึกษาโปรเเกรม Zoom เป็น App ที่เหมาะกับการเรียนการสอนในช่วงนี้ ด้วยการทำงานของโปรเเกรมเป็นระบบ VDO conference ซึ่งสอดคล้องตามนโยบายของรัฐ และฝากถึงเพื่อน ๆ ทุกคนด้วย 5. นายนันทวัฒน์ คนหมั่น ชื่อเล่น “ต่อ” นายกสโมสรนักศึกษาคณะพัฒนาธุรกิจและอุตสาหกรรม (BID) กำลังศึกษาชั้นปีที่ 3 ภาควิชาพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรมและทรัพยากรมนุษย์(BBR) คณะพัฒนาธุรกิจและอุตสาหกรรม(BID) สิ่งที่ยังคงน่าเป็นห่วง คือ การแก้ปัญหาโดยการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ ซึ่งต่างก็มีทั้งข้อดีและข้อเสียตามมา ในส่วนของข้อดี ทำให้เกิดความสะดวกในการเรียนการสอน นักศึกษาสามารถเรียนออนไลน์แม้จะอยู่ที่พักอาศัย ในส่วนของข้อเสีย มักจะเกิดจากเรื่องอุปกรณ์หรือสัญญาณเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ทำให้มีผลกระทบต่อการเรียนการสอน แนวทางในการแก้ปัญหานี้ ผมว่า “ควรเตรียมความพร้อมของตัวเองให้มากที่สุด” แต่ในส่วนของปัญหาภายนอกที่ไม่สามารถแก้ไขได้ ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องของอุปกรณ์หรือสัญญาณเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ควรจะแจ้งให้กับอาจารย์ประจำวิชาได้รับทราบ และเข้าใจถึงปัญหาที่เกิดขึ้น จะเป็นการปรับตัวของอาจารย์และนักศึกษา เป็นการแสดงออกถึงการปรับตัวให้เข้าสถานการณ์และการแสดงถึงความรับผิดชอบ ความพร้อม ความตั้งใจ ที่มากกว่าครั้งไหน ๆ 6. นายนพรัตน์ มากมี ชื่อเล่น “เบนซ์” นายกสโมสรนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม กำลังศึกษาอยู่ชั้นปีที่ 3 สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมซ่อมบำรุงอากาศยาน (ACET) สำหรับผม “การเรียนออนไลน์ก็ต้องหาโปรแกรมที่ค่อนข้างจัดระบบได้ง่าย เช่น Microsoft Team เพราะโปรแกรมสามารถแยกเป็นหลาย ๆ วิชาได้ และสามารถดูประวัติการแชร์ไฟล์ได้สะดวกตรงที่ตัวช่วยการใช้งานเยอะครับ” การปรับตัวเมื่อเรียนออนไลน์ ต้องปรับตัวเยอะขึ้นมาก ๆ เลยนะครับ ปกติการไปเรียนในคลาสจะมีแรงกระตุ้นในการไปเรียนให้ทันเวลาคือ ต้องตื่นล่วงหน้าอย่างน้อย 1-2 ชั่วโมง แต่การเรียนออนไลน์เรียนอยู่ที่บ้านจะไม่ค่อยมีแรงกระตุ้นในการเรียน อาจจะงีบพักระหว่างเรียนได้ ควรมีระเบียบในตัวเองให้มากขึ้น และการเรียนออนไลน์อาจจะได้งานมาทำเยอะมากกว่าการไปเรียนในคลาส เราจึงต้องจัดสรรเวลาในส่วนนี้ให้ดีเช่นกันครับ เราต้องชนะ COVID-19 ไปด้วยกันครับ “ใช้ชีวิตให้มีความสุขครับ” 7. นายนครินทร์ ตะโกเนียม ชื่อเล่น “ริว หรือ รองปริ๊นซ์” รองนายกสโมสรนักศึกษาคณะ วิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี กำลังศึกษาอยู่ชั้นปีที่ 3 สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมอุตสาหการและโลจิสติกส์ (ILet) คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี (EAT) มจพ. สำหรับผม “ในช่วงนี้นักศึกษาบางส่วนได้มีการเรียนออนไลน์ ตามรายวิชาที่ได้ลงทะเบียนเรียน โดยการเรียนผ่านโปรแกรมต่าง ๆ ก็ทำให้เราได้เรียนรู้ในสิ่งที่เราไม่เคยได้เรียน เช่น การใช้โปรแกรม” แผนการเรียนการออนไลน์ของผมคิดว่าช่วงนี้แหละคือ โอกาสทองของพวกเราที่จะหาความรู้และเรียนรู้เกี่ยวกับสิ่งทั้งหลายเหล่านี้ เราอยู่บ้าน หยุดเชื้อ เพื่อชาติ และเพิ่มระยะห่างทางสังคม (Social distancing) ช่วงนี้เหมาะมากที่จะเรียนออนไลน์เพื่อเพิ่มศักยภาพด้านความรู้ของเรา ทั้งการใช้โปรแกรมและเนื้อหาที่ผู้สอนได้ตั้งใจจัดเตรียมไว้ให้พวกเรา 8. นายธนกฤต ศรีบุญเรือง ชื่อเล่น “เตอร์” รองนายกองค์การนักศึกษาฝ่ายนักศึกษาสัมพันธ์ กำลัง ศึกษาอยู่ชั้นปีที่ 4 ภาควิชาครุศาสตร์ไฟฟ้า คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม ในส่วนตัวผมแล้วได้เตรียมตัวสำหรับปีการศึกษา 2563 ที่กำลังจะมาถึง โดยการเตรียมความพร้อมการเรียนออนไลน์ไว้แล้ว ไม่ว่าจะเป็นด้านซอฟแวร์ที่ใช้ในการเรียนการสอนรูปแบบออนไลน์ ศึกษาขั้นตอนการใช้งานของซอฟแวร์ และสัญญาณการเชื่อมต่อ ส่วนด้านฮาร์ดแวร์ที่จะช่วยให้การเรียนของเรามีประสิทธิภาพได้ใกล้เคียงกับห้องเรียนจริงมากที่สุด เช่น ตรวจสอบไมค์ ลำโพง อุปกรณ์อื่น ๆ ที่ใช้ประกอบการเรียนการสอนให้มีความพร้อมต่อการศึกษาในสถานการณ์นี้ครับ การเรียนการสอนต่อไปภายใต้วิกฤติโรคระบาดนี้ ทั้งการสอนสดที่นักเรียนนิสิตนักศึกษาสามารถมีปฏิสัมพันธ์กับผู้สอนได้ทันที คือเห็นหน้าเห็นตาโต้ตอบสอบถามคุยกันได้ หรือแม้แต่ความจำเป็นจะต้องทำงาน ร่วมกัน ยังสามารถทำผ่านทางออนไลน์ด้วยเครื่องมือทันสมัยต่าง ๆ อาทิ กูเกิลไดรฟ์ ด้วยความไม่แน่นอนของ สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อโรค COVID-19 นั้น เราต้องมีสติ มีความอดทนพึ่งพาตนเอง มีความพยายามเข้าใจกันและกันนั้นมีความจำเป็น เพื่อให้สังคมผ่านพ้นวิกฤตินี้ไปได้ ดังเช่นปรากฏการณ์ absolute digital ที่บังคับให้ทุกคนต้องปรับตัวมาใช้ online & on demand กันแบบฉับพลัน นับตั้งแต่การใช้ชีวิตประจำวัน เช่น การช็อปปิ้ง การติดต่อสื่อสาร ไปจนถึงการเปลี่ยนรูปแบบในการทำงานมาเป็นการประชุมออนไลน์ โลกหลังการศึกษายุคโควิดจบไป มันคือโอกาสและความเป็นไปได้ที่รออยู่ไม่ควรทิ้งเวลาให้สูญเปล่า EZ Webmaster Related Posts คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” รวมบุคคลสำคัญของแต่ละมหาวิทยาลัยไทย มาให้ทุกคนได้รู้กัน !! Post navigation PREVIOUS Previous post: สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา เปิดรับนักศึกษาใหม่ ปี 63 ภายใต้แนวคิด “เรียนคู่งาน-งานคู่เรียน” ถึง 30 พฤษภาคมนี้NEXT Next post: เคลียร์ทุกเรื่อง ที่มา/วิธีการคัดเลือก/วิธีการจัดอันดับ/อะไรคือปัจจัยเสี่ยง Admission 2563 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง EZ WebmasterJune 13, 2025 วันนี้ทั้งเล่น ทั้งได้ความรู้ ทั้งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนนางรอง จ.บุรีรัมย์ วันที่13/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า… TK Park พาเปิดบทเรียนอันทรงคุณค่า จาก “คุณหญิงกษมา” กว่า 50 ปี บนเส้นทางการศึกษา กับบทบาทผู้ต่อจิ๊กซอว์ “การเรียนรู้” ให้สังคมไทย พร้อมเจาะ “7 บทเรียนที่ต้องเรียนรู้” พาไทยสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ได้แบบไม่รู้จบ EZ WebmasterJune 13, 2025 หากย้อนกลับไปเมื่อหลายสิบปีก่อน ภาพจำของห้องสมุดในสายตาคนไทยมักเป็นพื้นที่เคร่งขรึม คร่ำเคร่ง และเป็นทางการ กระทั่งในปี 2548 การก่อตั้ง สถาบันอุทยานการเรียนรู้ TK Park ได้กลายเป็นจุดเปลี่ยนสำคัญ ด้วยแนวคิด “ห้องสมุดมีชีวิต” ที่เปลี่ยนห้องสมุดให้เป็นพื้นที่แห่งการเรียนรู้ที่สนุก สร้างสรรค์ และมีชีวิตชีวา ทั้งยังจุดประกายให้สังคมไทยเริ่มมองการเรียนรู้นอกห้องเรียนอย่างจริงจัง เพราะการเรียนรู้ไม่ควรถูกจำกัดอยู่เพียงในตำรา แต่ควรเป็นวัฒนธรรมของสังคม… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนหนองกี่พิทยาคม EZ WebmasterJune 13, 2025 ความสุขเล็กๆ ในวันที่ได้ทำกิจกรรมร่วมกัน โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด พากิจกรรมดีๆ มาถึงโรงเรียนหนองกี่พิทยาคม จ.บุรีรัมย์ วันที่13/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า (ครูแอน)… นักศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI… ทุนดีดี เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… นิสิตป.ตรีร่วมโครงการEAS InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 13, 2025 โอกาสดี! นักศึกษาระดับปริญญาตรีชาวไทย อายุระหว่าง 18-26 ปี ที่สนใจในประเด็นอาเซียน และสนใจอยากเป็นนักการทูต สถานทูตออสเตรเลียประจำประเทศไทยแจ้งข่าว เปิดรับสมัครโครงการ Model East Asia Summit (EAS) 2025 ส่งใบสมัครก่อนวันที่ 4 ก.ค.… โครงการYouth for Peace InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 12, 2025 Youth for Peace: UNESCO intercultural leadership programme หรือโครงการเยาวชนเพื่อสันติภาพ: ผู้นำยูเนสโกต่างวัฒนธรรม ดำเนินการโดยองค์กรยูเนสโก กำลังเปิดรับเยาวชน อายุระหว่าง 25 – 45 ปี กำหนดปิดรับสมัครในวันที่ 22 กรกฎาคม 2568 องค์การยูเนสโกได้เชิญชวนเยาวชนที่มีอายุระหว่าง 25 –… ทุนกฎหมายที่ออสเตรเลีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 11, 2025 UNSW Master of Laws International Scholarships ที่ University of New South Wales (UNSW) สำหรับนักศึกษาต่างชาติ ประจำปีการศึกษา 2025-2026 ทุนมีมูลค่า 20,000… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster May 4, 2020 EZ Webmaster May 4, 2020 ผู้นำนักศึกษา มจพ. ขานรับการจัดการเรียนการสอนออนไลน์สู้เชื้อโรค COVID-19 ผลกระทบการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด -19 ทำให้มหาวิทยาลัยที่สังกัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม โดยเฉพาะกลุ่มครูอาจารย์และบรรดานักเรียน นักศึกษา กลายเป็นผู้ที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 เป็นลำดับต้น ๆ เพราะหลายสถาบันการศึกษาได้เริ่มใช้มาตรการงดการเรียนการสอนชั่วคราวเพื่อจำกัดและควบคุมการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด -19 ทำให้ในช่วงนี้อาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาจึงต้องปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอนมาเป็น ‘การสอนแบบออนไลน์ แทน แล้วในส่วนของนักศึกษาล่ะ !! เขาเหล่านั้นมีแผนและเตรียมรับมือกับการจัดการเรียนการสอนอย่างไร ? วันนี้วิบวับ สัมภาษณ์รัว ๆ ผู้นำนักศึกษา มจพ. ที่ขานรับการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ เป็นใครกันบ้างมาดูกัน 1. นายวรปรัชญ์ ห่อแก้ว ชื่อเล่น “ธง” ที่ปรึกษานายกองค์การนักศึกษา กำลังศึกษาชั้นปีที่ 5 สาขา วิศวกรรมไฟฟ้า ภาควิชาครุศาสตร์ไฟฟ้า คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สำหรับตัวผม “คิดว่าการเปลี่ยนแปลงทางด้านการเรียนการสอนต้องปรับตัวกันเยอะทีเดียว เนื่องจากเราต้องรักษาระยะห่างทางสังคม” แต่ปัจจุบันเทคโนโลยีสามารถรวมกลุ่มคน สำหรับจัดการเรียนการสอนบนโลก Social เป็นทางออกที่ดีครับ แถมยังสามารถเรียนได้หลาย ๆ คน ที่สามารถพูดคุยโต้ตอบกันเหมือนอยู่ใกล้ ๆ กัน ตัวนักศึกษาต้องทำความเข้าใจในการใช้แอปพลิเคชันต่าง ๆ ที่จะนำมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนผ่านระบบออนไลน์ สำหรับอาจารย์ผู้สอนก็เตรียมพร้อมสำหรับรูปแบบการจัดการเรียนการสอน สื่อที่นำมาใช้และออกแบบเนื้อหาให้เหมาะสมกับการเรียนการสอนผ่านระบบออนไลน์อีกด้วย 2. นายพิสิฏฐ์พศ โสภาพร ชื่อเล่น “บิว” นายกองค์การนักศึกษา กำลังศึกษาอยู่ชั้นปีที่ 4 สาขาวิชา เทคโนโลยีวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (EnET) วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ตามที่ มจพ. ได้ประกาศ เรื่อง แนวทางในการดำเนินการเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน ในช่วงเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19) ฉบับที่ 2 นั้น สำหรับตัวผมก็ได้เตรียมแผนการรับมือ สำหรับการเรียนออนไลน์ คือ “การศึกษาหาข้อมูลเกี่ยวกับโปรแกรมต่าง ๆ ที่จะต้องใช้ในการเรียนออนไลน์ พร้อมฝึกฝนการใช้โปรแกรมให้คล่อง จะได้ไม่เสียเวลาเมื่อได้ใช้งานจริง” และที่สำคัญต้องมีความรับผิดชอบต่อตัวเอง ตื่นเช้า ๆ เรียนตามตารางเวลาเรียน และตั้งใจฟังอาจารย์ผู้สอน รวมถึงบันทึกวิดีโอการสอนของอาจารย์ไว้ เอาไว้ดูย้อนหลังเพื่อทบทวนความเข้าใจเพื่อเติมครับ 3. นายเชาว์วัฒน์สุวรรณภูเต ชื่อเล่น “เบ็นช์” นายกสโมสรนักศึกษาคณะสถาปัตยกรรม และการออกแบบ กำลังจะขึ้นชั้นปีที่ 4 สาขาวิชาการจัดการงานออกแบบภายในและพัฒนาธุรกิจ คณะสถาปัตยกรรมและการออกแบบ ในส่วนของแผนรับมือคือ ผม “ได้มีการเตรียมโปรแกรมด้านการเรียนการสอนเเล้ว รวมถึงติดตามข้อมูลข่าวสารจากทั้งตัวของอาจารย์ หรือจากมหาลัยอยู่ตลอดเวลา” ส่วนแนวทางรับมือนั้นที่จะต้องเรียนออนไลน์ ช่วงแรกก็อาจจะเป็นเรื่องยากของทั้งตัวอาจารย์และนักศึกษา ทั้งในเรื่องของความไม่คุ้นเคย ระเบียบของตัวนักศึกษาและอาจารย์ รวมไปถึงการปรับตัวการสอนของตัวอาจารย์เอง แต่ตัวผมก็มองว่ามันจะช่วยให้การเรียนการสอนมันมีมิติมากขึ้นไม่จำเป็นต้องเรียนในห้องตลอดเวลา ตัวนักศึกษาและอาจารย์ก็มีการเรียนรู้แลกเปลี่ยนข้อมูล และบางทีวิกฤต COVID-19 นี้อาจจะทำให้ มจพ. มีความคิดแนวทางในการเรียนการสอนผ่านออนไลน์ที่ช่วยในการเรียนการสอนในอนาคตก็ได้ครับ 4. น.ส.อทิตา บุญมา ชื่อเล่น “กิ๊ฟ” นายกสโมสรนักศึกษาคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม กำลังศึกษา อยู่ชั้นปีที่ 3 สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า ภาควิชาครุศาสตร์ไฟฟ้า คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สำหรับช่วงนี้สิ่งที่ควรทำที่สุดคือ ตระหนักถึงมาตรการเฝ้าระวังให้มาก ควรจะปฏิบัติตามแบบแผนอย่างเคร่งครัด ให้สอดคล้องมาตรการของรัฐ “อยู่บ้าน หยุดเชื้อ เพื่อชาติ” เพื่อสอดรับกับมาตรการ Work from home ที่ทางมหาวิทยาลัยกำหนด ในส่วนการเรียนการสอนออนไลน์ ควรศึกษาโปรเเกรม Zoom เป็น App ที่เหมาะกับการเรียนการสอนในช่วงนี้ ด้วยการทำงานของโปรเเกรมเป็นระบบ VDO conference ซึ่งสอดคล้องตามนโยบายของรัฐ และฝากถึงเพื่อน ๆ ทุกคนด้วย 5. นายนันทวัฒน์ คนหมั่น ชื่อเล่น “ต่อ” นายกสโมสรนักศึกษาคณะพัฒนาธุรกิจและอุตสาหกรรม (BID) กำลังศึกษาชั้นปีที่ 3 ภาควิชาพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรมและทรัพยากรมนุษย์(BBR) คณะพัฒนาธุรกิจและอุตสาหกรรม(BID) สิ่งที่ยังคงน่าเป็นห่วง คือ การแก้ปัญหาโดยการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ ซึ่งต่างก็มีทั้งข้อดีและข้อเสียตามมา ในส่วนของข้อดี ทำให้เกิดความสะดวกในการเรียนการสอน นักศึกษาสามารถเรียนออนไลน์แม้จะอยู่ที่พักอาศัย ในส่วนของข้อเสีย มักจะเกิดจากเรื่องอุปกรณ์หรือสัญญาณเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ทำให้มีผลกระทบต่อการเรียนการสอน แนวทางในการแก้ปัญหานี้ ผมว่า “ควรเตรียมความพร้อมของตัวเองให้มากที่สุด” แต่ในส่วนของปัญหาภายนอกที่ไม่สามารถแก้ไขได้ ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องของอุปกรณ์หรือสัญญาณเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ควรจะแจ้งให้กับอาจารย์ประจำวิชาได้รับทราบ และเข้าใจถึงปัญหาที่เกิดขึ้น จะเป็นการปรับตัวของอาจารย์และนักศึกษา เป็นการแสดงออกถึงการปรับตัวให้เข้าสถานการณ์และการแสดงถึงความรับผิดชอบ ความพร้อม ความตั้งใจ ที่มากกว่าครั้งไหน ๆ 6. นายนพรัตน์ มากมี ชื่อเล่น “เบนซ์” นายกสโมสรนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม กำลังศึกษาอยู่ชั้นปีที่ 3 สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมซ่อมบำรุงอากาศยาน (ACET) สำหรับผม “การเรียนออนไลน์ก็ต้องหาโปรแกรมที่ค่อนข้างจัดระบบได้ง่าย เช่น Microsoft Team เพราะโปรแกรมสามารถแยกเป็นหลาย ๆ วิชาได้ และสามารถดูประวัติการแชร์ไฟล์ได้สะดวกตรงที่ตัวช่วยการใช้งานเยอะครับ” การปรับตัวเมื่อเรียนออนไลน์ ต้องปรับตัวเยอะขึ้นมาก ๆ เลยนะครับ ปกติการไปเรียนในคลาสจะมีแรงกระตุ้นในการไปเรียนให้ทันเวลาคือ ต้องตื่นล่วงหน้าอย่างน้อย 1-2 ชั่วโมง แต่การเรียนออนไลน์เรียนอยู่ที่บ้านจะไม่ค่อยมีแรงกระตุ้นในการเรียน อาจจะงีบพักระหว่างเรียนได้ ควรมีระเบียบในตัวเองให้มากขึ้น และการเรียนออนไลน์อาจจะได้งานมาทำเยอะมากกว่าการไปเรียนในคลาส เราจึงต้องจัดสรรเวลาในส่วนนี้ให้ดีเช่นกันครับ เราต้องชนะ COVID-19 ไปด้วยกันครับ “ใช้ชีวิตให้มีความสุขครับ” 7. นายนครินทร์ ตะโกเนียม ชื่อเล่น “ริว หรือ รองปริ๊นซ์” รองนายกสโมสรนักศึกษาคณะ วิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี กำลังศึกษาอยู่ชั้นปีที่ 3 สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมอุตสาหการและโลจิสติกส์ (ILet) คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี (EAT) มจพ. สำหรับผม “ในช่วงนี้นักศึกษาบางส่วนได้มีการเรียนออนไลน์ ตามรายวิชาที่ได้ลงทะเบียนเรียน โดยการเรียนผ่านโปรแกรมต่าง ๆ ก็ทำให้เราได้เรียนรู้ในสิ่งที่เราไม่เคยได้เรียน เช่น การใช้โปรแกรม” แผนการเรียนการออนไลน์ของผมคิดว่าช่วงนี้แหละคือ โอกาสทองของพวกเราที่จะหาความรู้และเรียนรู้เกี่ยวกับสิ่งทั้งหลายเหล่านี้ เราอยู่บ้าน หยุดเชื้อ เพื่อชาติ และเพิ่มระยะห่างทางสังคม (Social distancing) ช่วงนี้เหมาะมากที่จะเรียนออนไลน์เพื่อเพิ่มศักยภาพด้านความรู้ของเรา ทั้งการใช้โปรแกรมและเนื้อหาที่ผู้สอนได้ตั้งใจจัดเตรียมไว้ให้พวกเรา 8. นายธนกฤต ศรีบุญเรือง ชื่อเล่น “เตอร์” รองนายกองค์การนักศึกษาฝ่ายนักศึกษาสัมพันธ์ กำลัง ศึกษาอยู่ชั้นปีที่ 4 ภาควิชาครุศาสตร์ไฟฟ้า คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม ในส่วนตัวผมแล้วได้เตรียมตัวสำหรับปีการศึกษา 2563 ที่กำลังจะมาถึง โดยการเตรียมความพร้อมการเรียนออนไลน์ไว้แล้ว ไม่ว่าจะเป็นด้านซอฟแวร์ที่ใช้ในการเรียนการสอนรูปแบบออนไลน์ ศึกษาขั้นตอนการใช้งานของซอฟแวร์ และสัญญาณการเชื่อมต่อ ส่วนด้านฮาร์ดแวร์ที่จะช่วยให้การเรียนของเรามีประสิทธิภาพได้ใกล้เคียงกับห้องเรียนจริงมากที่สุด เช่น ตรวจสอบไมค์ ลำโพง อุปกรณ์อื่น ๆ ที่ใช้ประกอบการเรียนการสอนให้มีความพร้อมต่อการศึกษาในสถานการณ์นี้ครับ การเรียนการสอนต่อไปภายใต้วิกฤติโรคระบาดนี้ ทั้งการสอนสดที่นักเรียนนิสิตนักศึกษาสามารถมีปฏิสัมพันธ์กับผู้สอนได้ทันที คือเห็นหน้าเห็นตาโต้ตอบสอบถามคุยกันได้ หรือแม้แต่ความจำเป็นจะต้องทำงาน ร่วมกัน ยังสามารถทำผ่านทางออนไลน์ด้วยเครื่องมือทันสมัยต่าง ๆ อาทิ กูเกิลไดรฟ์ ด้วยความไม่แน่นอนของ สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อโรค COVID-19 นั้น เราต้องมีสติ มีความอดทนพึ่งพาตนเอง มีความพยายามเข้าใจกันและกันนั้นมีความจำเป็น เพื่อให้สังคมผ่านพ้นวิกฤตินี้ไปได้ ดังเช่นปรากฏการณ์ absolute digital ที่บังคับให้ทุกคนต้องปรับตัวมาใช้ online & on demand กันแบบฉับพลัน นับตั้งแต่การใช้ชีวิตประจำวัน เช่น การช็อปปิ้ง การติดต่อสื่อสาร ไปจนถึงการเปลี่ยนรูปแบบในการทำงานมาเป็นการประชุมออนไลน์ โลกหลังการศึกษายุคโควิดจบไป มันคือโอกาสและความเป็นไปได้ที่รออยู่ไม่ควรทิ้งเวลาให้สูญเปล่า EZ Webmaster Related Posts คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” รวมบุคคลสำคัญของแต่ละมหาวิทยาลัยไทย มาให้ทุกคนได้รู้กัน !! Post navigation PREVIOUS Previous post: สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา เปิดรับนักศึกษาใหม่ ปี 63 ภายใต้แนวคิด “เรียนคู่งาน-งานคู่เรียน” ถึง 30 พฤษภาคมนี้NEXT Next post: เคลียร์ทุกเรื่อง ที่มา/วิธีการคัดเลือก/วิธีการจัดอันดับ/อะไรคือปัจจัยเสี่ยง Admission 2563 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
TK Park พาเปิดบทเรียนอันทรงคุณค่า จาก “คุณหญิงกษมา” กว่า 50 ปี บนเส้นทางการศึกษา กับบทบาทผู้ต่อจิ๊กซอว์ “การเรียนรู้” ให้สังคมไทย พร้อมเจาะ “7 บทเรียนที่ต้องเรียนรู้” พาไทยสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ได้แบบไม่รู้จบ EZ WebmasterJune 13, 2025 หากย้อนกลับไปเมื่อหลายสิบปีก่อน ภาพจำของห้องสมุดในสายตาคนไทยมักเป็นพื้นที่เคร่งขรึม คร่ำเคร่ง และเป็นทางการ กระทั่งในปี 2548 การก่อตั้ง สถาบันอุทยานการเรียนรู้ TK Park ได้กลายเป็นจุดเปลี่ยนสำคัญ ด้วยแนวคิด “ห้องสมุดมีชีวิต” ที่เปลี่ยนห้องสมุดให้เป็นพื้นที่แห่งการเรียนรู้ที่สนุก สร้างสรรค์ และมีชีวิตชีวา ทั้งยังจุดประกายให้สังคมไทยเริ่มมองการเรียนรู้นอกห้องเรียนอย่างจริงจัง เพราะการเรียนรู้ไม่ควรถูกจำกัดอยู่เพียงในตำรา แต่ควรเป็นวัฒนธรรมของสังคม… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนหนองกี่พิทยาคม EZ WebmasterJune 13, 2025 ความสุขเล็กๆ ในวันที่ได้ทำกิจกรรมร่วมกัน โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด พากิจกรรมดีๆ มาถึงโรงเรียนหนองกี่พิทยาคม จ.บุรีรัมย์ วันที่13/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า (ครูแอน)…
โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนหนองกี่พิทยาคม EZ WebmasterJune 13, 2025 ความสุขเล็กๆ ในวันที่ได้ทำกิจกรรมร่วมกัน โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด พากิจกรรมดีๆ มาถึงโรงเรียนหนองกี่พิทยาคม จ.บุรีรัมย์ วันที่13/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า (ครูแอน)…
คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI… ทุนดีดี เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… นิสิตป.ตรีร่วมโครงการEAS InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 13, 2025 โอกาสดี! นักศึกษาระดับปริญญาตรีชาวไทย อายุระหว่าง 18-26 ปี ที่สนใจในประเด็นอาเซียน และสนใจอยากเป็นนักการทูต สถานทูตออสเตรเลียประจำประเทศไทยแจ้งข่าว เปิดรับสมัครโครงการ Model East Asia Summit (EAS) 2025 ส่งใบสมัครก่อนวันที่ 4 ก.ค.… โครงการYouth for Peace InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 12, 2025 Youth for Peace: UNESCO intercultural leadership programme หรือโครงการเยาวชนเพื่อสันติภาพ: ผู้นำยูเนสโกต่างวัฒนธรรม ดำเนินการโดยองค์กรยูเนสโก กำลังเปิดรับเยาวชน อายุระหว่าง 25 – 45 ปี กำหนดปิดรับสมัครในวันที่ 22 กรกฎาคม 2568 องค์การยูเนสโกได้เชิญชวนเยาวชนที่มีอายุระหว่าง 25 –… ทุนกฎหมายที่ออสเตรเลีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 11, 2025 UNSW Master of Laws International Scholarships ที่ University of New South Wales (UNSW) สำหรับนักศึกษาต่างชาติ ประจำปีการศึกษา 2025-2026 ทุนมีมูลค่า 20,000… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster May 4, 2020 EZ Webmaster May 4, 2020 ผู้นำนักศึกษา มจพ. ขานรับการจัดการเรียนการสอนออนไลน์สู้เชื้อโรค COVID-19 ผลกระทบการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด -19 ทำให้มหาวิทยาลัยที่สังกัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม โดยเฉพาะกลุ่มครูอาจารย์และบรรดานักเรียน นักศึกษา กลายเป็นผู้ที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 เป็นลำดับต้น ๆ เพราะหลายสถาบันการศึกษาได้เริ่มใช้มาตรการงดการเรียนการสอนชั่วคราวเพื่อจำกัดและควบคุมการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด -19 ทำให้ในช่วงนี้อาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาจึงต้องปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอนมาเป็น ‘การสอนแบบออนไลน์ แทน แล้วในส่วนของนักศึกษาล่ะ !! เขาเหล่านั้นมีแผนและเตรียมรับมือกับการจัดการเรียนการสอนอย่างไร ? วันนี้วิบวับ สัมภาษณ์รัว ๆ ผู้นำนักศึกษา มจพ. ที่ขานรับการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ เป็นใครกันบ้างมาดูกัน 1. นายวรปรัชญ์ ห่อแก้ว ชื่อเล่น “ธง” ที่ปรึกษานายกองค์การนักศึกษา กำลังศึกษาชั้นปีที่ 5 สาขา วิศวกรรมไฟฟ้า ภาควิชาครุศาสตร์ไฟฟ้า คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สำหรับตัวผม “คิดว่าการเปลี่ยนแปลงทางด้านการเรียนการสอนต้องปรับตัวกันเยอะทีเดียว เนื่องจากเราต้องรักษาระยะห่างทางสังคม” แต่ปัจจุบันเทคโนโลยีสามารถรวมกลุ่มคน สำหรับจัดการเรียนการสอนบนโลก Social เป็นทางออกที่ดีครับ แถมยังสามารถเรียนได้หลาย ๆ คน ที่สามารถพูดคุยโต้ตอบกันเหมือนอยู่ใกล้ ๆ กัน ตัวนักศึกษาต้องทำความเข้าใจในการใช้แอปพลิเคชันต่าง ๆ ที่จะนำมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนผ่านระบบออนไลน์ สำหรับอาจารย์ผู้สอนก็เตรียมพร้อมสำหรับรูปแบบการจัดการเรียนการสอน สื่อที่นำมาใช้และออกแบบเนื้อหาให้เหมาะสมกับการเรียนการสอนผ่านระบบออนไลน์อีกด้วย 2. นายพิสิฏฐ์พศ โสภาพร ชื่อเล่น “บิว” นายกองค์การนักศึกษา กำลังศึกษาอยู่ชั้นปีที่ 4 สาขาวิชา เทคโนโลยีวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (EnET) วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ตามที่ มจพ. ได้ประกาศ เรื่อง แนวทางในการดำเนินการเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน ในช่วงเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19) ฉบับที่ 2 นั้น สำหรับตัวผมก็ได้เตรียมแผนการรับมือ สำหรับการเรียนออนไลน์ คือ “การศึกษาหาข้อมูลเกี่ยวกับโปรแกรมต่าง ๆ ที่จะต้องใช้ในการเรียนออนไลน์ พร้อมฝึกฝนการใช้โปรแกรมให้คล่อง จะได้ไม่เสียเวลาเมื่อได้ใช้งานจริง” และที่สำคัญต้องมีความรับผิดชอบต่อตัวเอง ตื่นเช้า ๆ เรียนตามตารางเวลาเรียน และตั้งใจฟังอาจารย์ผู้สอน รวมถึงบันทึกวิดีโอการสอนของอาจารย์ไว้ เอาไว้ดูย้อนหลังเพื่อทบทวนความเข้าใจเพื่อเติมครับ 3. นายเชาว์วัฒน์สุวรรณภูเต ชื่อเล่น “เบ็นช์” นายกสโมสรนักศึกษาคณะสถาปัตยกรรม และการออกแบบ กำลังจะขึ้นชั้นปีที่ 4 สาขาวิชาการจัดการงานออกแบบภายในและพัฒนาธุรกิจ คณะสถาปัตยกรรมและการออกแบบ ในส่วนของแผนรับมือคือ ผม “ได้มีการเตรียมโปรแกรมด้านการเรียนการสอนเเล้ว รวมถึงติดตามข้อมูลข่าวสารจากทั้งตัวของอาจารย์ หรือจากมหาลัยอยู่ตลอดเวลา” ส่วนแนวทางรับมือนั้นที่จะต้องเรียนออนไลน์ ช่วงแรกก็อาจจะเป็นเรื่องยากของทั้งตัวอาจารย์และนักศึกษา ทั้งในเรื่องของความไม่คุ้นเคย ระเบียบของตัวนักศึกษาและอาจารย์ รวมไปถึงการปรับตัวการสอนของตัวอาจารย์เอง แต่ตัวผมก็มองว่ามันจะช่วยให้การเรียนการสอนมันมีมิติมากขึ้นไม่จำเป็นต้องเรียนในห้องตลอดเวลา ตัวนักศึกษาและอาจารย์ก็มีการเรียนรู้แลกเปลี่ยนข้อมูล และบางทีวิกฤต COVID-19 นี้อาจจะทำให้ มจพ. มีความคิดแนวทางในการเรียนการสอนผ่านออนไลน์ที่ช่วยในการเรียนการสอนในอนาคตก็ได้ครับ 4. น.ส.อทิตา บุญมา ชื่อเล่น “กิ๊ฟ” นายกสโมสรนักศึกษาคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม กำลังศึกษา อยู่ชั้นปีที่ 3 สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า ภาควิชาครุศาสตร์ไฟฟ้า คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สำหรับช่วงนี้สิ่งที่ควรทำที่สุดคือ ตระหนักถึงมาตรการเฝ้าระวังให้มาก ควรจะปฏิบัติตามแบบแผนอย่างเคร่งครัด ให้สอดคล้องมาตรการของรัฐ “อยู่บ้าน หยุดเชื้อ เพื่อชาติ” เพื่อสอดรับกับมาตรการ Work from home ที่ทางมหาวิทยาลัยกำหนด ในส่วนการเรียนการสอนออนไลน์ ควรศึกษาโปรเเกรม Zoom เป็น App ที่เหมาะกับการเรียนการสอนในช่วงนี้ ด้วยการทำงานของโปรเเกรมเป็นระบบ VDO conference ซึ่งสอดคล้องตามนโยบายของรัฐ และฝากถึงเพื่อน ๆ ทุกคนด้วย 5. นายนันทวัฒน์ คนหมั่น ชื่อเล่น “ต่อ” นายกสโมสรนักศึกษาคณะพัฒนาธุรกิจและอุตสาหกรรม (BID) กำลังศึกษาชั้นปีที่ 3 ภาควิชาพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรมและทรัพยากรมนุษย์(BBR) คณะพัฒนาธุรกิจและอุตสาหกรรม(BID) สิ่งที่ยังคงน่าเป็นห่วง คือ การแก้ปัญหาโดยการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ ซึ่งต่างก็มีทั้งข้อดีและข้อเสียตามมา ในส่วนของข้อดี ทำให้เกิดความสะดวกในการเรียนการสอน นักศึกษาสามารถเรียนออนไลน์แม้จะอยู่ที่พักอาศัย ในส่วนของข้อเสีย มักจะเกิดจากเรื่องอุปกรณ์หรือสัญญาณเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ทำให้มีผลกระทบต่อการเรียนการสอน แนวทางในการแก้ปัญหานี้ ผมว่า “ควรเตรียมความพร้อมของตัวเองให้มากที่สุด” แต่ในส่วนของปัญหาภายนอกที่ไม่สามารถแก้ไขได้ ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องของอุปกรณ์หรือสัญญาณเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ควรจะแจ้งให้กับอาจารย์ประจำวิชาได้รับทราบ และเข้าใจถึงปัญหาที่เกิดขึ้น จะเป็นการปรับตัวของอาจารย์และนักศึกษา เป็นการแสดงออกถึงการปรับตัวให้เข้าสถานการณ์และการแสดงถึงความรับผิดชอบ ความพร้อม ความตั้งใจ ที่มากกว่าครั้งไหน ๆ 6. นายนพรัตน์ มากมี ชื่อเล่น “เบนซ์” นายกสโมสรนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม กำลังศึกษาอยู่ชั้นปีที่ 3 สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมซ่อมบำรุงอากาศยาน (ACET) สำหรับผม “การเรียนออนไลน์ก็ต้องหาโปรแกรมที่ค่อนข้างจัดระบบได้ง่าย เช่น Microsoft Team เพราะโปรแกรมสามารถแยกเป็นหลาย ๆ วิชาได้ และสามารถดูประวัติการแชร์ไฟล์ได้สะดวกตรงที่ตัวช่วยการใช้งานเยอะครับ” การปรับตัวเมื่อเรียนออนไลน์ ต้องปรับตัวเยอะขึ้นมาก ๆ เลยนะครับ ปกติการไปเรียนในคลาสจะมีแรงกระตุ้นในการไปเรียนให้ทันเวลาคือ ต้องตื่นล่วงหน้าอย่างน้อย 1-2 ชั่วโมง แต่การเรียนออนไลน์เรียนอยู่ที่บ้านจะไม่ค่อยมีแรงกระตุ้นในการเรียน อาจจะงีบพักระหว่างเรียนได้ ควรมีระเบียบในตัวเองให้มากขึ้น และการเรียนออนไลน์อาจจะได้งานมาทำเยอะมากกว่าการไปเรียนในคลาส เราจึงต้องจัดสรรเวลาในส่วนนี้ให้ดีเช่นกันครับ เราต้องชนะ COVID-19 ไปด้วยกันครับ “ใช้ชีวิตให้มีความสุขครับ” 7. นายนครินทร์ ตะโกเนียม ชื่อเล่น “ริว หรือ รองปริ๊นซ์” รองนายกสโมสรนักศึกษาคณะ วิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี กำลังศึกษาอยู่ชั้นปีที่ 3 สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมอุตสาหการและโลจิสติกส์ (ILet) คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี (EAT) มจพ. สำหรับผม “ในช่วงนี้นักศึกษาบางส่วนได้มีการเรียนออนไลน์ ตามรายวิชาที่ได้ลงทะเบียนเรียน โดยการเรียนผ่านโปรแกรมต่าง ๆ ก็ทำให้เราได้เรียนรู้ในสิ่งที่เราไม่เคยได้เรียน เช่น การใช้โปรแกรม” แผนการเรียนการออนไลน์ของผมคิดว่าช่วงนี้แหละคือ โอกาสทองของพวกเราที่จะหาความรู้และเรียนรู้เกี่ยวกับสิ่งทั้งหลายเหล่านี้ เราอยู่บ้าน หยุดเชื้อ เพื่อชาติ และเพิ่มระยะห่างทางสังคม (Social distancing) ช่วงนี้เหมาะมากที่จะเรียนออนไลน์เพื่อเพิ่มศักยภาพด้านความรู้ของเรา ทั้งการใช้โปรแกรมและเนื้อหาที่ผู้สอนได้ตั้งใจจัดเตรียมไว้ให้พวกเรา 8. นายธนกฤต ศรีบุญเรือง ชื่อเล่น “เตอร์” รองนายกองค์การนักศึกษาฝ่ายนักศึกษาสัมพันธ์ กำลัง ศึกษาอยู่ชั้นปีที่ 4 ภาควิชาครุศาสตร์ไฟฟ้า คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม ในส่วนตัวผมแล้วได้เตรียมตัวสำหรับปีการศึกษา 2563 ที่กำลังจะมาถึง โดยการเตรียมความพร้อมการเรียนออนไลน์ไว้แล้ว ไม่ว่าจะเป็นด้านซอฟแวร์ที่ใช้ในการเรียนการสอนรูปแบบออนไลน์ ศึกษาขั้นตอนการใช้งานของซอฟแวร์ และสัญญาณการเชื่อมต่อ ส่วนด้านฮาร์ดแวร์ที่จะช่วยให้การเรียนของเรามีประสิทธิภาพได้ใกล้เคียงกับห้องเรียนจริงมากที่สุด เช่น ตรวจสอบไมค์ ลำโพง อุปกรณ์อื่น ๆ ที่ใช้ประกอบการเรียนการสอนให้มีความพร้อมต่อการศึกษาในสถานการณ์นี้ครับ การเรียนการสอนต่อไปภายใต้วิกฤติโรคระบาดนี้ ทั้งการสอนสดที่นักเรียนนิสิตนักศึกษาสามารถมีปฏิสัมพันธ์กับผู้สอนได้ทันที คือเห็นหน้าเห็นตาโต้ตอบสอบถามคุยกันได้ หรือแม้แต่ความจำเป็นจะต้องทำงาน ร่วมกัน ยังสามารถทำผ่านทางออนไลน์ด้วยเครื่องมือทันสมัยต่าง ๆ อาทิ กูเกิลไดรฟ์ ด้วยความไม่แน่นอนของ สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อโรค COVID-19 นั้น เราต้องมีสติ มีความอดทนพึ่งพาตนเอง มีความพยายามเข้าใจกันและกันนั้นมีความจำเป็น เพื่อให้สังคมผ่านพ้นวิกฤตินี้ไปได้ ดังเช่นปรากฏการณ์ absolute digital ที่บังคับให้ทุกคนต้องปรับตัวมาใช้ online & on demand กันแบบฉับพลัน นับตั้งแต่การใช้ชีวิตประจำวัน เช่น การช็อปปิ้ง การติดต่อสื่อสาร ไปจนถึงการเปลี่ยนรูปแบบในการทำงานมาเป็นการประชุมออนไลน์ โลกหลังการศึกษายุคโควิดจบไป มันคือโอกาสและความเป็นไปได้ที่รออยู่ไม่ควรทิ้งเวลาให้สูญเปล่า EZ Webmaster Related Posts คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” รวมบุคคลสำคัญของแต่ละมหาวิทยาลัยไทย มาให้ทุกคนได้รู้กัน !! Post navigation PREVIOUS Previous post: สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา เปิดรับนักศึกษาใหม่ ปี 63 ภายใต้แนวคิด “เรียนคู่งาน-งานคู่เรียน” ถึง 30 พฤษภาคมนี้NEXT Next post: เคลียร์ทุกเรื่อง ที่มา/วิธีการคัดเลือก/วิธีการจัดอันดับ/อะไรคือปัจจัยเสี่ยง Admission 2563 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI… ทุนดีดี เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… นิสิตป.ตรีร่วมโครงการEAS InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 13, 2025 โอกาสดี! นักศึกษาระดับปริญญาตรีชาวไทย อายุระหว่าง 18-26 ปี ที่สนใจในประเด็นอาเซียน และสนใจอยากเป็นนักการทูต สถานทูตออสเตรเลียประจำประเทศไทยแจ้งข่าว เปิดรับสมัครโครงการ Model East Asia Summit (EAS) 2025 ส่งใบสมัครก่อนวันที่ 4 ก.ค.… โครงการYouth for Peace InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 12, 2025 Youth for Peace: UNESCO intercultural leadership programme หรือโครงการเยาวชนเพื่อสันติภาพ: ผู้นำยูเนสโกต่างวัฒนธรรม ดำเนินการโดยองค์กรยูเนสโก กำลังเปิดรับเยาวชน อายุระหว่าง 25 – 45 ปี กำหนดปิดรับสมัครในวันที่ 22 กรกฎาคม 2568 องค์การยูเนสโกได้เชิญชวนเยาวชนที่มีอายุระหว่าง 25 –… ทุนกฎหมายที่ออสเตรเลีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 11, 2025 UNSW Master of Laws International Scholarships ที่ University of New South Wales (UNSW) สำหรับนักศึกษาต่างชาติ ประจำปีการศึกษา 2025-2026 ทุนมีมูลค่า 20,000… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster May 4, 2020 EZ Webmaster May 4, 2020 ผู้นำนักศึกษา มจพ. ขานรับการจัดการเรียนการสอนออนไลน์สู้เชื้อโรค COVID-19 ผลกระทบการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด -19 ทำให้มหาวิทยาลัยที่สังกัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม โดยเฉพาะกลุ่มครูอาจารย์และบรรดานักเรียน นักศึกษา กลายเป็นผู้ที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 เป็นลำดับต้น ๆ เพราะหลายสถาบันการศึกษาได้เริ่มใช้มาตรการงดการเรียนการสอนชั่วคราวเพื่อจำกัดและควบคุมการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด -19 ทำให้ในช่วงนี้อาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาจึงต้องปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอนมาเป็น ‘การสอนแบบออนไลน์ แทน แล้วในส่วนของนักศึกษาล่ะ !! เขาเหล่านั้นมีแผนและเตรียมรับมือกับการจัดการเรียนการสอนอย่างไร ? วันนี้วิบวับ สัมภาษณ์รัว ๆ ผู้นำนักศึกษา มจพ. ที่ขานรับการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ เป็นใครกันบ้างมาดูกัน 1. นายวรปรัชญ์ ห่อแก้ว ชื่อเล่น “ธง” ที่ปรึกษานายกองค์การนักศึกษา กำลังศึกษาชั้นปีที่ 5 สาขา วิศวกรรมไฟฟ้า ภาควิชาครุศาสตร์ไฟฟ้า คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สำหรับตัวผม “คิดว่าการเปลี่ยนแปลงทางด้านการเรียนการสอนต้องปรับตัวกันเยอะทีเดียว เนื่องจากเราต้องรักษาระยะห่างทางสังคม” แต่ปัจจุบันเทคโนโลยีสามารถรวมกลุ่มคน สำหรับจัดการเรียนการสอนบนโลก Social เป็นทางออกที่ดีครับ แถมยังสามารถเรียนได้หลาย ๆ คน ที่สามารถพูดคุยโต้ตอบกันเหมือนอยู่ใกล้ ๆ กัน ตัวนักศึกษาต้องทำความเข้าใจในการใช้แอปพลิเคชันต่าง ๆ ที่จะนำมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนผ่านระบบออนไลน์ สำหรับอาจารย์ผู้สอนก็เตรียมพร้อมสำหรับรูปแบบการจัดการเรียนการสอน สื่อที่นำมาใช้และออกแบบเนื้อหาให้เหมาะสมกับการเรียนการสอนผ่านระบบออนไลน์อีกด้วย 2. นายพิสิฏฐ์พศ โสภาพร ชื่อเล่น “บิว” นายกองค์การนักศึกษา กำลังศึกษาอยู่ชั้นปีที่ 4 สาขาวิชา เทคโนโลยีวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (EnET) วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ตามที่ มจพ. ได้ประกาศ เรื่อง แนวทางในการดำเนินการเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน ในช่วงเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19) ฉบับที่ 2 นั้น สำหรับตัวผมก็ได้เตรียมแผนการรับมือ สำหรับการเรียนออนไลน์ คือ “การศึกษาหาข้อมูลเกี่ยวกับโปรแกรมต่าง ๆ ที่จะต้องใช้ในการเรียนออนไลน์ พร้อมฝึกฝนการใช้โปรแกรมให้คล่อง จะได้ไม่เสียเวลาเมื่อได้ใช้งานจริง” และที่สำคัญต้องมีความรับผิดชอบต่อตัวเอง ตื่นเช้า ๆ เรียนตามตารางเวลาเรียน และตั้งใจฟังอาจารย์ผู้สอน รวมถึงบันทึกวิดีโอการสอนของอาจารย์ไว้ เอาไว้ดูย้อนหลังเพื่อทบทวนความเข้าใจเพื่อเติมครับ 3. นายเชาว์วัฒน์สุวรรณภูเต ชื่อเล่น “เบ็นช์” นายกสโมสรนักศึกษาคณะสถาปัตยกรรม และการออกแบบ กำลังจะขึ้นชั้นปีที่ 4 สาขาวิชาการจัดการงานออกแบบภายในและพัฒนาธุรกิจ คณะสถาปัตยกรรมและการออกแบบ ในส่วนของแผนรับมือคือ ผม “ได้มีการเตรียมโปรแกรมด้านการเรียนการสอนเเล้ว รวมถึงติดตามข้อมูลข่าวสารจากทั้งตัวของอาจารย์ หรือจากมหาลัยอยู่ตลอดเวลา” ส่วนแนวทางรับมือนั้นที่จะต้องเรียนออนไลน์ ช่วงแรกก็อาจจะเป็นเรื่องยากของทั้งตัวอาจารย์และนักศึกษา ทั้งในเรื่องของความไม่คุ้นเคย ระเบียบของตัวนักศึกษาและอาจารย์ รวมไปถึงการปรับตัวการสอนของตัวอาจารย์เอง แต่ตัวผมก็มองว่ามันจะช่วยให้การเรียนการสอนมันมีมิติมากขึ้นไม่จำเป็นต้องเรียนในห้องตลอดเวลา ตัวนักศึกษาและอาจารย์ก็มีการเรียนรู้แลกเปลี่ยนข้อมูล และบางทีวิกฤต COVID-19 นี้อาจจะทำให้ มจพ. มีความคิดแนวทางในการเรียนการสอนผ่านออนไลน์ที่ช่วยในการเรียนการสอนในอนาคตก็ได้ครับ 4. น.ส.อทิตา บุญมา ชื่อเล่น “กิ๊ฟ” นายกสโมสรนักศึกษาคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม กำลังศึกษา อยู่ชั้นปีที่ 3 สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า ภาควิชาครุศาสตร์ไฟฟ้า คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สำหรับช่วงนี้สิ่งที่ควรทำที่สุดคือ ตระหนักถึงมาตรการเฝ้าระวังให้มาก ควรจะปฏิบัติตามแบบแผนอย่างเคร่งครัด ให้สอดคล้องมาตรการของรัฐ “อยู่บ้าน หยุดเชื้อ เพื่อชาติ” เพื่อสอดรับกับมาตรการ Work from home ที่ทางมหาวิทยาลัยกำหนด ในส่วนการเรียนการสอนออนไลน์ ควรศึกษาโปรเเกรม Zoom เป็น App ที่เหมาะกับการเรียนการสอนในช่วงนี้ ด้วยการทำงานของโปรเเกรมเป็นระบบ VDO conference ซึ่งสอดคล้องตามนโยบายของรัฐ และฝากถึงเพื่อน ๆ ทุกคนด้วย 5. นายนันทวัฒน์ คนหมั่น ชื่อเล่น “ต่อ” นายกสโมสรนักศึกษาคณะพัฒนาธุรกิจและอุตสาหกรรม (BID) กำลังศึกษาชั้นปีที่ 3 ภาควิชาพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรมและทรัพยากรมนุษย์(BBR) คณะพัฒนาธุรกิจและอุตสาหกรรม(BID) สิ่งที่ยังคงน่าเป็นห่วง คือ การแก้ปัญหาโดยการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ ซึ่งต่างก็มีทั้งข้อดีและข้อเสียตามมา ในส่วนของข้อดี ทำให้เกิดความสะดวกในการเรียนการสอน นักศึกษาสามารถเรียนออนไลน์แม้จะอยู่ที่พักอาศัย ในส่วนของข้อเสีย มักจะเกิดจากเรื่องอุปกรณ์หรือสัญญาณเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ทำให้มีผลกระทบต่อการเรียนการสอน แนวทางในการแก้ปัญหานี้ ผมว่า “ควรเตรียมความพร้อมของตัวเองให้มากที่สุด” แต่ในส่วนของปัญหาภายนอกที่ไม่สามารถแก้ไขได้ ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องของอุปกรณ์หรือสัญญาณเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ควรจะแจ้งให้กับอาจารย์ประจำวิชาได้รับทราบ และเข้าใจถึงปัญหาที่เกิดขึ้น จะเป็นการปรับตัวของอาจารย์และนักศึกษา เป็นการแสดงออกถึงการปรับตัวให้เข้าสถานการณ์และการแสดงถึงความรับผิดชอบ ความพร้อม ความตั้งใจ ที่มากกว่าครั้งไหน ๆ 6. นายนพรัตน์ มากมี ชื่อเล่น “เบนซ์” นายกสโมสรนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม กำลังศึกษาอยู่ชั้นปีที่ 3 สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมซ่อมบำรุงอากาศยาน (ACET) สำหรับผม “การเรียนออนไลน์ก็ต้องหาโปรแกรมที่ค่อนข้างจัดระบบได้ง่าย เช่น Microsoft Team เพราะโปรแกรมสามารถแยกเป็นหลาย ๆ วิชาได้ และสามารถดูประวัติการแชร์ไฟล์ได้สะดวกตรงที่ตัวช่วยการใช้งานเยอะครับ” การปรับตัวเมื่อเรียนออนไลน์ ต้องปรับตัวเยอะขึ้นมาก ๆ เลยนะครับ ปกติการไปเรียนในคลาสจะมีแรงกระตุ้นในการไปเรียนให้ทันเวลาคือ ต้องตื่นล่วงหน้าอย่างน้อย 1-2 ชั่วโมง แต่การเรียนออนไลน์เรียนอยู่ที่บ้านจะไม่ค่อยมีแรงกระตุ้นในการเรียน อาจจะงีบพักระหว่างเรียนได้ ควรมีระเบียบในตัวเองให้มากขึ้น และการเรียนออนไลน์อาจจะได้งานมาทำเยอะมากกว่าการไปเรียนในคลาส เราจึงต้องจัดสรรเวลาในส่วนนี้ให้ดีเช่นกันครับ เราต้องชนะ COVID-19 ไปด้วยกันครับ “ใช้ชีวิตให้มีความสุขครับ” 7. นายนครินทร์ ตะโกเนียม ชื่อเล่น “ริว หรือ รองปริ๊นซ์” รองนายกสโมสรนักศึกษาคณะ วิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี กำลังศึกษาอยู่ชั้นปีที่ 3 สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมอุตสาหการและโลจิสติกส์ (ILet) คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี (EAT) มจพ. สำหรับผม “ในช่วงนี้นักศึกษาบางส่วนได้มีการเรียนออนไลน์ ตามรายวิชาที่ได้ลงทะเบียนเรียน โดยการเรียนผ่านโปรแกรมต่าง ๆ ก็ทำให้เราได้เรียนรู้ในสิ่งที่เราไม่เคยได้เรียน เช่น การใช้โปรแกรม” แผนการเรียนการออนไลน์ของผมคิดว่าช่วงนี้แหละคือ โอกาสทองของพวกเราที่จะหาความรู้และเรียนรู้เกี่ยวกับสิ่งทั้งหลายเหล่านี้ เราอยู่บ้าน หยุดเชื้อ เพื่อชาติ และเพิ่มระยะห่างทางสังคม (Social distancing) ช่วงนี้เหมาะมากที่จะเรียนออนไลน์เพื่อเพิ่มศักยภาพด้านความรู้ของเรา ทั้งการใช้โปรแกรมและเนื้อหาที่ผู้สอนได้ตั้งใจจัดเตรียมไว้ให้พวกเรา 8. นายธนกฤต ศรีบุญเรือง ชื่อเล่น “เตอร์” รองนายกองค์การนักศึกษาฝ่ายนักศึกษาสัมพันธ์ กำลัง ศึกษาอยู่ชั้นปีที่ 4 ภาควิชาครุศาสตร์ไฟฟ้า คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม ในส่วนตัวผมแล้วได้เตรียมตัวสำหรับปีการศึกษา 2563 ที่กำลังจะมาถึง โดยการเตรียมความพร้อมการเรียนออนไลน์ไว้แล้ว ไม่ว่าจะเป็นด้านซอฟแวร์ที่ใช้ในการเรียนการสอนรูปแบบออนไลน์ ศึกษาขั้นตอนการใช้งานของซอฟแวร์ และสัญญาณการเชื่อมต่อ ส่วนด้านฮาร์ดแวร์ที่จะช่วยให้การเรียนของเรามีประสิทธิภาพได้ใกล้เคียงกับห้องเรียนจริงมากที่สุด เช่น ตรวจสอบไมค์ ลำโพง อุปกรณ์อื่น ๆ ที่ใช้ประกอบการเรียนการสอนให้มีความพร้อมต่อการศึกษาในสถานการณ์นี้ครับ การเรียนการสอนต่อไปภายใต้วิกฤติโรคระบาดนี้ ทั้งการสอนสดที่นักเรียนนิสิตนักศึกษาสามารถมีปฏิสัมพันธ์กับผู้สอนได้ทันที คือเห็นหน้าเห็นตาโต้ตอบสอบถามคุยกันได้ หรือแม้แต่ความจำเป็นจะต้องทำงาน ร่วมกัน ยังสามารถทำผ่านทางออนไลน์ด้วยเครื่องมือทันสมัยต่าง ๆ อาทิ กูเกิลไดรฟ์ ด้วยความไม่แน่นอนของ สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อโรค COVID-19 นั้น เราต้องมีสติ มีความอดทนพึ่งพาตนเอง มีความพยายามเข้าใจกันและกันนั้นมีความจำเป็น เพื่อให้สังคมผ่านพ้นวิกฤตินี้ไปได้ ดังเช่นปรากฏการณ์ absolute digital ที่บังคับให้ทุกคนต้องปรับตัวมาใช้ online & on demand กันแบบฉับพลัน นับตั้งแต่การใช้ชีวิตประจำวัน เช่น การช็อปปิ้ง การติดต่อสื่อสาร ไปจนถึงการเปลี่ยนรูปแบบในการทำงานมาเป็นการประชุมออนไลน์ โลกหลังการศึกษายุคโควิดจบไป มันคือโอกาสและความเป็นไปได้ที่รออยู่ไม่ควรทิ้งเวลาให้สูญเปล่า EZ Webmaster Related Posts คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” รวมบุคคลสำคัญของแต่ละมหาวิทยาลัยไทย มาให้ทุกคนได้รู้กัน !! Post navigation PREVIOUS Previous post: สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา เปิดรับนักศึกษาใหม่ ปี 63 ภายใต้แนวคิด “เรียนคู่งาน-งานคู่เรียน” ถึง 30 พฤษภาคมนี้NEXT Next post: เคลียร์ทุกเรื่อง ที่มา/วิธีการคัดเลือก/วิธีการจัดอันดับ/อะไรคือปัจจัยเสี่ยง Admission 2563 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI…
รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI…
เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… นิสิตป.ตรีร่วมโครงการEAS InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 13, 2025 โอกาสดี! นักศึกษาระดับปริญญาตรีชาวไทย อายุระหว่าง 18-26 ปี ที่สนใจในประเด็นอาเซียน และสนใจอยากเป็นนักการทูต สถานทูตออสเตรเลียประจำประเทศไทยแจ้งข่าว เปิดรับสมัครโครงการ Model East Asia Summit (EAS) 2025 ส่งใบสมัครก่อนวันที่ 4 ก.ค.… โครงการYouth for Peace InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 12, 2025 Youth for Peace: UNESCO intercultural leadership programme หรือโครงการเยาวชนเพื่อสันติภาพ: ผู้นำยูเนสโกต่างวัฒนธรรม ดำเนินการโดยองค์กรยูเนสโก กำลังเปิดรับเยาวชน อายุระหว่าง 25 – 45 ปี กำหนดปิดรับสมัครในวันที่ 22 กรกฎาคม 2568 องค์การยูเนสโกได้เชิญชวนเยาวชนที่มีอายุระหว่าง 25 –… ทุนกฎหมายที่ออสเตรเลีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 11, 2025 UNSW Master of Laws International Scholarships ที่ University of New South Wales (UNSW) สำหรับนักศึกษาต่างชาติ ประจำปีการศึกษา 2025-2026 ทุนมีมูลค่า 20,000… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster May 4, 2020 EZ Webmaster May 4, 2020 ผู้นำนักศึกษา มจพ. ขานรับการจัดการเรียนการสอนออนไลน์สู้เชื้อโรค COVID-19 ผลกระทบการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด -19 ทำให้มหาวิทยาลัยที่สังกัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม โดยเฉพาะกลุ่มครูอาจารย์และบรรดานักเรียน นักศึกษา กลายเป็นผู้ที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 เป็นลำดับต้น ๆ เพราะหลายสถาบันการศึกษาได้เริ่มใช้มาตรการงดการเรียนการสอนชั่วคราวเพื่อจำกัดและควบคุมการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด -19 ทำให้ในช่วงนี้อาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาจึงต้องปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอนมาเป็น ‘การสอนแบบออนไลน์ แทน แล้วในส่วนของนักศึกษาล่ะ !! เขาเหล่านั้นมีแผนและเตรียมรับมือกับการจัดการเรียนการสอนอย่างไร ? วันนี้วิบวับ สัมภาษณ์รัว ๆ ผู้นำนักศึกษา มจพ. ที่ขานรับการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ เป็นใครกันบ้างมาดูกัน 1. นายวรปรัชญ์ ห่อแก้ว ชื่อเล่น “ธง” ที่ปรึกษานายกองค์การนักศึกษา กำลังศึกษาชั้นปีที่ 5 สาขา วิศวกรรมไฟฟ้า ภาควิชาครุศาสตร์ไฟฟ้า คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สำหรับตัวผม “คิดว่าการเปลี่ยนแปลงทางด้านการเรียนการสอนต้องปรับตัวกันเยอะทีเดียว เนื่องจากเราต้องรักษาระยะห่างทางสังคม” แต่ปัจจุบันเทคโนโลยีสามารถรวมกลุ่มคน สำหรับจัดการเรียนการสอนบนโลก Social เป็นทางออกที่ดีครับ แถมยังสามารถเรียนได้หลาย ๆ คน ที่สามารถพูดคุยโต้ตอบกันเหมือนอยู่ใกล้ ๆ กัน ตัวนักศึกษาต้องทำความเข้าใจในการใช้แอปพลิเคชันต่าง ๆ ที่จะนำมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนผ่านระบบออนไลน์ สำหรับอาจารย์ผู้สอนก็เตรียมพร้อมสำหรับรูปแบบการจัดการเรียนการสอน สื่อที่นำมาใช้และออกแบบเนื้อหาให้เหมาะสมกับการเรียนการสอนผ่านระบบออนไลน์อีกด้วย 2. นายพิสิฏฐ์พศ โสภาพร ชื่อเล่น “บิว” นายกองค์การนักศึกษา กำลังศึกษาอยู่ชั้นปีที่ 4 สาขาวิชา เทคโนโลยีวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (EnET) วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ตามที่ มจพ. ได้ประกาศ เรื่อง แนวทางในการดำเนินการเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน ในช่วงเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19) ฉบับที่ 2 นั้น สำหรับตัวผมก็ได้เตรียมแผนการรับมือ สำหรับการเรียนออนไลน์ คือ “การศึกษาหาข้อมูลเกี่ยวกับโปรแกรมต่าง ๆ ที่จะต้องใช้ในการเรียนออนไลน์ พร้อมฝึกฝนการใช้โปรแกรมให้คล่อง จะได้ไม่เสียเวลาเมื่อได้ใช้งานจริง” และที่สำคัญต้องมีความรับผิดชอบต่อตัวเอง ตื่นเช้า ๆ เรียนตามตารางเวลาเรียน และตั้งใจฟังอาจารย์ผู้สอน รวมถึงบันทึกวิดีโอการสอนของอาจารย์ไว้ เอาไว้ดูย้อนหลังเพื่อทบทวนความเข้าใจเพื่อเติมครับ 3. นายเชาว์วัฒน์สุวรรณภูเต ชื่อเล่น “เบ็นช์” นายกสโมสรนักศึกษาคณะสถาปัตยกรรม และการออกแบบ กำลังจะขึ้นชั้นปีที่ 4 สาขาวิชาการจัดการงานออกแบบภายในและพัฒนาธุรกิจ คณะสถาปัตยกรรมและการออกแบบ ในส่วนของแผนรับมือคือ ผม “ได้มีการเตรียมโปรแกรมด้านการเรียนการสอนเเล้ว รวมถึงติดตามข้อมูลข่าวสารจากทั้งตัวของอาจารย์ หรือจากมหาลัยอยู่ตลอดเวลา” ส่วนแนวทางรับมือนั้นที่จะต้องเรียนออนไลน์ ช่วงแรกก็อาจจะเป็นเรื่องยากของทั้งตัวอาจารย์และนักศึกษา ทั้งในเรื่องของความไม่คุ้นเคย ระเบียบของตัวนักศึกษาและอาจารย์ รวมไปถึงการปรับตัวการสอนของตัวอาจารย์เอง แต่ตัวผมก็มองว่ามันจะช่วยให้การเรียนการสอนมันมีมิติมากขึ้นไม่จำเป็นต้องเรียนในห้องตลอดเวลา ตัวนักศึกษาและอาจารย์ก็มีการเรียนรู้แลกเปลี่ยนข้อมูล และบางทีวิกฤต COVID-19 นี้อาจจะทำให้ มจพ. มีความคิดแนวทางในการเรียนการสอนผ่านออนไลน์ที่ช่วยในการเรียนการสอนในอนาคตก็ได้ครับ 4. น.ส.อทิตา บุญมา ชื่อเล่น “กิ๊ฟ” นายกสโมสรนักศึกษาคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม กำลังศึกษา อยู่ชั้นปีที่ 3 สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า ภาควิชาครุศาสตร์ไฟฟ้า คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สำหรับช่วงนี้สิ่งที่ควรทำที่สุดคือ ตระหนักถึงมาตรการเฝ้าระวังให้มาก ควรจะปฏิบัติตามแบบแผนอย่างเคร่งครัด ให้สอดคล้องมาตรการของรัฐ “อยู่บ้าน หยุดเชื้อ เพื่อชาติ” เพื่อสอดรับกับมาตรการ Work from home ที่ทางมหาวิทยาลัยกำหนด ในส่วนการเรียนการสอนออนไลน์ ควรศึกษาโปรเเกรม Zoom เป็น App ที่เหมาะกับการเรียนการสอนในช่วงนี้ ด้วยการทำงานของโปรเเกรมเป็นระบบ VDO conference ซึ่งสอดคล้องตามนโยบายของรัฐ และฝากถึงเพื่อน ๆ ทุกคนด้วย 5. นายนันทวัฒน์ คนหมั่น ชื่อเล่น “ต่อ” นายกสโมสรนักศึกษาคณะพัฒนาธุรกิจและอุตสาหกรรม (BID) กำลังศึกษาชั้นปีที่ 3 ภาควิชาพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรมและทรัพยากรมนุษย์(BBR) คณะพัฒนาธุรกิจและอุตสาหกรรม(BID) สิ่งที่ยังคงน่าเป็นห่วง คือ การแก้ปัญหาโดยการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ ซึ่งต่างก็มีทั้งข้อดีและข้อเสียตามมา ในส่วนของข้อดี ทำให้เกิดความสะดวกในการเรียนการสอน นักศึกษาสามารถเรียนออนไลน์แม้จะอยู่ที่พักอาศัย ในส่วนของข้อเสีย มักจะเกิดจากเรื่องอุปกรณ์หรือสัญญาณเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ทำให้มีผลกระทบต่อการเรียนการสอน แนวทางในการแก้ปัญหานี้ ผมว่า “ควรเตรียมความพร้อมของตัวเองให้มากที่สุด” แต่ในส่วนของปัญหาภายนอกที่ไม่สามารถแก้ไขได้ ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องของอุปกรณ์หรือสัญญาณเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ควรจะแจ้งให้กับอาจารย์ประจำวิชาได้รับทราบ และเข้าใจถึงปัญหาที่เกิดขึ้น จะเป็นการปรับตัวของอาจารย์และนักศึกษา เป็นการแสดงออกถึงการปรับตัวให้เข้าสถานการณ์และการแสดงถึงความรับผิดชอบ ความพร้อม ความตั้งใจ ที่มากกว่าครั้งไหน ๆ 6. นายนพรัตน์ มากมี ชื่อเล่น “เบนซ์” นายกสโมสรนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม กำลังศึกษาอยู่ชั้นปีที่ 3 สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมซ่อมบำรุงอากาศยาน (ACET) สำหรับผม “การเรียนออนไลน์ก็ต้องหาโปรแกรมที่ค่อนข้างจัดระบบได้ง่าย เช่น Microsoft Team เพราะโปรแกรมสามารถแยกเป็นหลาย ๆ วิชาได้ และสามารถดูประวัติการแชร์ไฟล์ได้สะดวกตรงที่ตัวช่วยการใช้งานเยอะครับ” การปรับตัวเมื่อเรียนออนไลน์ ต้องปรับตัวเยอะขึ้นมาก ๆ เลยนะครับ ปกติการไปเรียนในคลาสจะมีแรงกระตุ้นในการไปเรียนให้ทันเวลาคือ ต้องตื่นล่วงหน้าอย่างน้อย 1-2 ชั่วโมง แต่การเรียนออนไลน์เรียนอยู่ที่บ้านจะไม่ค่อยมีแรงกระตุ้นในการเรียน อาจจะงีบพักระหว่างเรียนได้ ควรมีระเบียบในตัวเองให้มากขึ้น และการเรียนออนไลน์อาจจะได้งานมาทำเยอะมากกว่าการไปเรียนในคลาส เราจึงต้องจัดสรรเวลาในส่วนนี้ให้ดีเช่นกันครับ เราต้องชนะ COVID-19 ไปด้วยกันครับ “ใช้ชีวิตให้มีความสุขครับ” 7. นายนครินทร์ ตะโกเนียม ชื่อเล่น “ริว หรือ รองปริ๊นซ์” รองนายกสโมสรนักศึกษาคณะ วิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี กำลังศึกษาอยู่ชั้นปีที่ 3 สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมอุตสาหการและโลจิสติกส์ (ILet) คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี (EAT) มจพ. สำหรับผม “ในช่วงนี้นักศึกษาบางส่วนได้มีการเรียนออนไลน์ ตามรายวิชาที่ได้ลงทะเบียนเรียน โดยการเรียนผ่านโปรแกรมต่าง ๆ ก็ทำให้เราได้เรียนรู้ในสิ่งที่เราไม่เคยได้เรียน เช่น การใช้โปรแกรม” แผนการเรียนการออนไลน์ของผมคิดว่าช่วงนี้แหละคือ โอกาสทองของพวกเราที่จะหาความรู้และเรียนรู้เกี่ยวกับสิ่งทั้งหลายเหล่านี้ เราอยู่บ้าน หยุดเชื้อ เพื่อชาติ และเพิ่มระยะห่างทางสังคม (Social distancing) ช่วงนี้เหมาะมากที่จะเรียนออนไลน์เพื่อเพิ่มศักยภาพด้านความรู้ของเรา ทั้งการใช้โปรแกรมและเนื้อหาที่ผู้สอนได้ตั้งใจจัดเตรียมไว้ให้พวกเรา 8. นายธนกฤต ศรีบุญเรือง ชื่อเล่น “เตอร์” รองนายกองค์การนักศึกษาฝ่ายนักศึกษาสัมพันธ์ กำลัง ศึกษาอยู่ชั้นปีที่ 4 ภาควิชาครุศาสตร์ไฟฟ้า คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม ในส่วนตัวผมแล้วได้เตรียมตัวสำหรับปีการศึกษา 2563 ที่กำลังจะมาถึง โดยการเตรียมความพร้อมการเรียนออนไลน์ไว้แล้ว ไม่ว่าจะเป็นด้านซอฟแวร์ที่ใช้ในการเรียนการสอนรูปแบบออนไลน์ ศึกษาขั้นตอนการใช้งานของซอฟแวร์ และสัญญาณการเชื่อมต่อ ส่วนด้านฮาร์ดแวร์ที่จะช่วยให้การเรียนของเรามีประสิทธิภาพได้ใกล้เคียงกับห้องเรียนจริงมากที่สุด เช่น ตรวจสอบไมค์ ลำโพง อุปกรณ์อื่น ๆ ที่ใช้ประกอบการเรียนการสอนให้มีความพร้อมต่อการศึกษาในสถานการณ์นี้ครับ การเรียนการสอนต่อไปภายใต้วิกฤติโรคระบาดนี้ ทั้งการสอนสดที่นักเรียนนิสิตนักศึกษาสามารถมีปฏิสัมพันธ์กับผู้สอนได้ทันที คือเห็นหน้าเห็นตาโต้ตอบสอบถามคุยกันได้ หรือแม้แต่ความจำเป็นจะต้องทำงาน ร่วมกัน ยังสามารถทำผ่านทางออนไลน์ด้วยเครื่องมือทันสมัยต่าง ๆ อาทิ กูเกิลไดรฟ์ ด้วยความไม่แน่นอนของ สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อโรค COVID-19 นั้น เราต้องมีสติ มีความอดทนพึ่งพาตนเอง มีความพยายามเข้าใจกันและกันนั้นมีความจำเป็น เพื่อให้สังคมผ่านพ้นวิกฤตินี้ไปได้ ดังเช่นปรากฏการณ์ absolute digital ที่บังคับให้ทุกคนต้องปรับตัวมาใช้ online & on demand กันแบบฉับพลัน นับตั้งแต่การใช้ชีวิตประจำวัน เช่น การช็อปปิ้ง การติดต่อสื่อสาร ไปจนถึงการเปลี่ยนรูปแบบในการทำงานมาเป็นการประชุมออนไลน์ โลกหลังการศึกษายุคโควิดจบไป มันคือโอกาสและความเป็นไปได้ที่รออยู่ไม่ควรทิ้งเวลาให้สูญเปล่า EZ Webmaster Related Posts คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” รวมบุคคลสำคัญของแต่ละมหาวิทยาลัยไทย มาให้ทุกคนได้รู้กัน !! Post navigation PREVIOUS Previous post: สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา เปิดรับนักศึกษาใหม่ ปี 63 ภายใต้แนวคิด “เรียนคู่งาน-งานคู่เรียน” ถึง 30 พฤษภาคมนี้NEXT Next post: เคลียร์ทุกเรื่อง ที่มา/วิธีการคัดเลือก/วิธีการจัดอันดับ/อะไรคือปัจจัยเสี่ยง Admission 2563 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
นิสิตป.ตรีร่วมโครงการEAS InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 13, 2025 โอกาสดี! นักศึกษาระดับปริญญาตรีชาวไทย อายุระหว่าง 18-26 ปี ที่สนใจในประเด็นอาเซียน และสนใจอยากเป็นนักการทูต สถานทูตออสเตรเลียประจำประเทศไทยแจ้งข่าว เปิดรับสมัครโครงการ Model East Asia Summit (EAS) 2025 ส่งใบสมัครก่อนวันที่ 4 ก.ค.… โครงการYouth for Peace InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 12, 2025 Youth for Peace: UNESCO intercultural leadership programme หรือโครงการเยาวชนเพื่อสันติภาพ: ผู้นำยูเนสโกต่างวัฒนธรรม ดำเนินการโดยองค์กรยูเนสโก กำลังเปิดรับเยาวชน อายุระหว่าง 25 – 45 ปี กำหนดปิดรับสมัครในวันที่ 22 กรกฎาคม 2568 องค์การยูเนสโกได้เชิญชวนเยาวชนที่มีอายุระหว่าง 25 –… ทุนกฎหมายที่ออสเตรเลีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 11, 2025 UNSW Master of Laws International Scholarships ที่ University of New South Wales (UNSW) สำหรับนักศึกษาต่างชาติ ประจำปีการศึกษา 2025-2026 ทุนมีมูลค่า 20,000… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster May 4, 2020 EZ Webmaster May 4, 2020 ผู้นำนักศึกษา มจพ. ขานรับการจัดการเรียนการสอนออนไลน์สู้เชื้อโรค COVID-19 ผลกระทบการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด -19 ทำให้มหาวิทยาลัยที่สังกัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม โดยเฉพาะกลุ่มครูอาจารย์และบรรดานักเรียน นักศึกษา กลายเป็นผู้ที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 เป็นลำดับต้น ๆ เพราะหลายสถาบันการศึกษาได้เริ่มใช้มาตรการงดการเรียนการสอนชั่วคราวเพื่อจำกัดและควบคุมการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด -19 ทำให้ในช่วงนี้อาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาจึงต้องปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอนมาเป็น ‘การสอนแบบออนไลน์ แทน แล้วในส่วนของนักศึกษาล่ะ !! เขาเหล่านั้นมีแผนและเตรียมรับมือกับการจัดการเรียนการสอนอย่างไร ? วันนี้วิบวับ สัมภาษณ์รัว ๆ ผู้นำนักศึกษา มจพ. ที่ขานรับการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ เป็นใครกันบ้างมาดูกัน 1. นายวรปรัชญ์ ห่อแก้ว ชื่อเล่น “ธง” ที่ปรึกษานายกองค์การนักศึกษา กำลังศึกษาชั้นปีที่ 5 สาขา วิศวกรรมไฟฟ้า ภาควิชาครุศาสตร์ไฟฟ้า คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สำหรับตัวผม “คิดว่าการเปลี่ยนแปลงทางด้านการเรียนการสอนต้องปรับตัวกันเยอะทีเดียว เนื่องจากเราต้องรักษาระยะห่างทางสังคม” แต่ปัจจุบันเทคโนโลยีสามารถรวมกลุ่มคน สำหรับจัดการเรียนการสอนบนโลก Social เป็นทางออกที่ดีครับ แถมยังสามารถเรียนได้หลาย ๆ คน ที่สามารถพูดคุยโต้ตอบกันเหมือนอยู่ใกล้ ๆ กัน ตัวนักศึกษาต้องทำความเข้าใจในการใช้แอปพลิเคชันต่าง ๆ ที่จะนำมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนผ่านระบบออนไลน์ สำหรับอาจารย์ผู้สอนก็เตรียมพร้อมสำหรับรูปแบบการจัดการเรียนการสอน สื่อที่นำมาใช้และออกแบบเนื้อหาให้เหมาะสมกับการเรียนการสอนผ่านระบบออนไลน์อีกด้วย 2. นายพิสิฏฐ์พศ โสภาพร ชื่อเล่น “บิว” นายกองค์การนักศึกษา กำลังศึกษาอยู่ชั้นปีที่ 4 สาขาวิชา เทคโนโลยีวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (EnET) วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ตามที่ มจพ. ได้ประกาศ เรื่อง แนวทางในการดำเนินการเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน ในช่วงเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19) ฉบับที่ 2 นั้น สำหรับตัวผมก็ได้เตรียมแผนการรับมือ สำหรับการเรียนออนไลน์ คือ “การศึกษาหาข้อมูลเกี่ยวกับโปรแกรมต่าง ๆ ที่จะต้องใช้ในการเรียนออนไลน์ พร้อมฝึกฝนการใช้โปรแกรมให้คล่อง จะได้ไม่เสียเวลาเมื่อได้ใช้งานจริง” และที่สำคัญต้องมีความรับผิดชอบต่อตัวเอง ตื่นเช้า ๆ เรียนตามตารางเวลาเรียน และตั้งใจฟังอาจารย์ผู้สอน รวมถึงบันทึกวิดีโอการสอนของอาจารย์ไว้ เอาไว้ดูย้อนหลังเพื่อทบทวนความเข้าใจเพื่อเติมครับ 3. นายเชาว์วัฒน์สุวรรณภูเต ชื่อเล่น “เบ็นช์” นายกสโมสรนักศึกษาคณะสถาปัตยกรรม และการออกแบบ กำลังจะขึ้นชั้นปีที่ 4 สาขาวิชาการจัดการงานออกแบบภายในและพัฒนาธุรกิจ คณะสถาปัตยกรรมและการออกแบบ ในส่วนของแผนรับมือคือ ผม “ได้มีการเตรียมโปรแกรมด้านการเรียนการสอนเเล้ว รวมถึงติดตามข้อมูลข่าวสารจากทั้งตัวของอาจารย์ หรือจากมหาลัยอยู่ตลอดเวลา” ส่วนแนวทางรับมือนั้นที่จะต้องเรียนออนไลน์ ช่วงแรกก็อาจจะเป็นเรื่องยากของทั้งตัวอาจารย์และนักศึกษา ทั้งในเรื่องของความไม่คุ้นเคย ระเบียบของตัวนักศึกษาและอาจารย์ รวมไปถึงการปรับตัวการสอนของตัวอาจารย์เอง แต่ตัวผมก็มองว่ามันจะช่วยให้การเรียนการสอนมันมีมิติมากขึ้นไม่จำเป็นต้องเรียนในห้องตลอดเวลา ตัวนักศึกษาและอาจารย์ก็มีการเรียนรู้แลกเปลี่ยนข้อมูล และบางทีวิกฤต COVID-19 นี้อาจจะทำให้ มจพ. มีความคิดแนวทางในการเรียนการสอนผ่านออนไลน์ที่ช่วยในการเรียนการสอนในอนาคตก็ได้ครับ 4. น.ส.อทิตา บุญมา ชื่อเล่น “กิ๊ฟ” นายกสโมสรนักศึกษาคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม กำลังศึกษา อยู่ชั้นปีที่ 3 สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า ภาควิชาครุศาสตร์ไฟฟ้า คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สำหรับช่วงนี้สิ่งที่ควรทำที่สุดคือ ตระหนักถึงมาตรการเฝ้าระวังให้มาก ควรจะปฏิบัติตามแบบแผนอย่างเคร่งครัด ให้สอดคล้องมาตรการของรัฐ “อยู่บ้าน หยุดเชื้อ เพื่อชาติ” เพื่อสอดรับกับมาตรการ Work from home ที่ทางมหาวิทยาลัยกำหนด ในส่วนการเรียนการสอนออนไลน์ ควรศึกษาโปรเเกรม Zoom เป็น App ที่เหมาะกับการเรียนการสอนในช่วงนี้ ด้วยการทำงานของโปรเเกรมเป็นระบบ VDO conference ซึ่งสอดคล้องตามนโยบายของรัฐ และฝากถึงเพื่อน ๆ ทุกคนด้วย 5. นายนันทวัฒน์ คนหมั่น ชื่อเล่น “ต่อ” นายกสโมสรนักศึกษาคณะพัฒนาธุรกิจและอุตสาหกรรม (BID) กำลังศึกษาชั้นปีที่ 3 ภาควิชาพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรมและทรัพยากรมนุษย์(BBR) คณะพัฒนาธุรกิจและอุตสาหกรรม(BID) สิ่งที่ยังคงน่าเป็นห่วง คือ การแก้ปัญหาโดยการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ ซึ่งต่างก็มีทั้งข้อดีและข้อเสียตามมา ในส่วนของข้อดี ทำให้เกิดความสะดวกในการเรียนการสอน นักศึกษาสามารถเรียนออนไลน์แม้จะอยู่ที่พักอาศัย ในส่วนของข้อเสีย มักจะเกิดจากเรื่องอุปกรณ์หรือสัญญาณเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ทำให้มีผลกระทบต่อการเรียนการสอน แนวทางในการแก้ปัญหานี้ ผมว่า “ควรเตรียมความพร้อมของตัวเองให้มากที่สุด” แต่ในส่วนของปัญหาภายนอกที่ไม่สามารถแก้ไขได้ ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องของอุปกรณ์หรือสัญญาณเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ควรจะแจ้งให้กับอาจารย์ประจำวิชาได้รับทราบ และเข้าใจถึงปัญหาที่เกิดขึ้น จะเป็นการปรับตัวของอาจารย์และนักศึกษา เป็นการแสดงออกถึงการปรับตัวให้เข้าสถานการณ์และการแสดงถึงความรับผิดชอบ ความพร้อม ความตั้งใจ ที่มากกว่าครั้งไหน ๆ 6. นายนพรัตน์ มากมี ชื่อเล่น “เบนซ์” นายกสโมสรนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม กำลังศึกษาอยู่ชั้นปีที่ 3 สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมซ่อมบำรุงอากาศยาน (ACET) สำหรับผม “การเรียนออนไลน์ก็ต้องหาโปรแกรมที่ค่อนข้างจัดระบบได้ง่าย เช่น Microsoft Team เพราะโปรแกรมสามารถแยกเป็นหลาย ๆ วิชาได้ และสามารถดูประวัติการแชร์ไฟล์ได้สะดวกตรงที่ตัวช่วยการใช้งานเยอะครับ” การปรับตัวเมื่อเรียนออนไลน์ ต้องปรับตัวเยอะขึ้นมาก ๆ เลยนะครับ ปกติการไปเรียนในคลาสจะมีแรงกระตุ้นในการไปเรียนให้ทันเวลาคือ ต้องตื่นล่วงหน้าอย่างน้อย 1-2 ชั่วโมง แต่การเรียนออนไลน์เรียนอยู่ที่บ้านจะไม่ค่อยมีแรงกระตุ้นในการเรียน อาจจะงีบพักระหว่างเรียนได้ ควรมีระเบียบในตัวเองให้มากขึ้น และการเรียนออนไลน์อาจจะได้งานมาทำเยอะมากกว่าการไปเรียนในคลาส เราจึงต้องจัดสรรเวลาในส่วนนี้ให้ดีเช่นกันครับ เราต้องชนะ COVID-19 ไปด้วยกันครับ “ใช้ชีวิตให้มีความสุขครับ” 7. นายนครินทร์ ตะโกเนียม ชื่อเล่น “ริว หรือ รองปริ๊นซ์” รองนายกสโมสรนักศึกษาคณะ วิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี กำลังศึกษาอยู่ชั้นปีที่ 3 สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมอุตสาหการและโลจิสติกส์ (ILet) คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี (EAT) มจพ. สำหรับผม “ในช่วงนี้นักศึกษาบางส่วนได้มีการเรียนออนไลน์ ตามรายวิชาที่ได้ลงทะเบียนเรียน โดยการเรียนผ่านโปรแกรมต่าง ๆ ก็ทำให้เราได้เรียนรู้ในสิ่งที่เราไม่เคยได้เรียน เช่น การใช้โปรแกรม” แผนการเรียนการออนไลน์ของผมคิดว่าช่วงนี้แหละคือ โอกาสทองของพวกเราที่จะหาความรู้และเรียนรู้เกี่ยวกับสิ่งทั้งหลายเหล่านี้ เราอยู่บ้าน หยุดเชื้อ เพื่อชาติ และเพิ่มระยะห่างทางสังคม (Social distancing) ช่วงนี้เหมาะมากที่จะเรียนออนไลน์เพื่อเพิ่มศักยภาพด้านความรู้ของเรา ทั้งการใช้โปรแกรมและเนื้อหาที่ผู้สอนได้ตั้งใจจัดเตรียมไว้ให้พวกเรา 8. นายธนกฤต ศรีบุญเรือง ชื่อเล่น “เตอร์” รองนายกองค์การนักศึกษาฝ่ายนักศึกษาสัมพันธ์ กำลัง ศึกษาอยู่ชั้นปีที่ 4 ภาควิชาครุศาสตร์ไฟฟ้า คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม ในส่วนตัวผมแล้วได้เตรียมตัวสำหรับปีการศึกษา 2563 ที่กำลังจะมาถึง โดยการเตรียมความพร้อมการเรียนออนไลน์ไว้แล้ว ไม่ว่าจะเป็นด้านซอฟแวร์ที่ใช้ในการเรียนการสอนรูปแบบออนไลน์ ศึกษาขั้นตอนการใช้งานของซอฟแวร์ และสัญญาณการเชื่อมต่อ ส่วนด้านฮาร์ดแวร์ที่จะช่วยให้การเรียนของเรามีประสิทธิภาพได้ใกล้เคียงกับห้องเรียนจริงมากที่สุด เช่น ตรวจสอบไมค์ ลำโพง อุปกรณ์อื่น ๆ ที่ใช้ประกอบการเรียนการสอนให้มีความพร้อมต่อการศึกษาในสถานการณ์นี้ครับ การเรียนการสอนต่อไปภายใต้วิกฤติโรคระบาดนี้ ทั้งการสอนสดที่นักเรียนนิสิตนักศึกษาสามารถมีปฏิสัมพันธ์กับผู้สอนได้ทันที คือเห็นหน้าเห็นตาโต้ตอบสอบถามคุยกันได้ หรือแม้แต่ความจำเป็นจะต้องทำงาน ร่วมกัน ยังสามารถทำผ่านทางออนไลน์ด้วยเครื่องมือทันสมัยต่าง ๆ อาทิ กูเกิลไดรฟ์ ด้วยความไม่แน่นอนของ สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อโรค COVID-19 นั้น เราต้องมีสติ มีความอดทนพึ่งพาตนเอง มีความพยายามเข้าใจกันและกันนั้นมีความจำเป็น เพื่อให้สังคมผ่านพ้นวิกฤตินี้ไปได้ ดังเช่นปรากฏการณ์ absolute digital ที่บังคับให้ทุกคนต้องปรับตัวมาใช้ online & on demand กันแบบฉับพลัน นับตั้งแต่การใช้ชีวิตประจำวัน เช่น การช็อปปิ้ง การติดต่อสื่อสาร ไปจนถึงการเปลี่ยนรูปแบบในการทำงานมาเป็นการประชุมออนไลน์ โลกหลังการศึกษายุคโควิดจบไป มันคือโอกาสและความเป็นไปได้ที่รออยู่ไม่ควรทิ้งเวลาให้สูญเปล่า EZ Webmaster Related Posts คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” รวมบุคคลสำคัญของแต่ละมหาวิทยาลัยไทย มาให้ทุกคนได้รู้กัน !! Post navigation PREVIOUS Previous post: สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา เปิดรับนักศึกษาใหม่ ปี 63 ภายใต้แนวคิด “เรียนคู่งาน-งานคู่เรียน” ถึง 30 พฤษภาคมนี้NEXT Next post: เคลียร์ทุกเรื่อง ที่มา/วิธีการคัดเลือก/วิธีการจัดอันดับ/อะไรคือปัจจัยเสี่ยง Admission 2563 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
โครงการYouth for Peace InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 12, 2025 Youth for Peace: UNESCO intercultural leadership programme หรือโครงการเยาวชนเพื่อสันติภาพ: ผู้นำยูเนสโกต่างวัฒนธรรม ดำเนินการโดยองค์กรยูเนสโก กำลังเปิดรับเยาวชน อายุระหว่าง 25 – 45 ปี กำหนดปิดรับสมัครในวันที่ 22 กรกฎาคม 2568 องค์การยูเนสโกได้เชิญชวนเยาวชนที่มีอายุระหว่าง 25 –… ทุนกฎหมายที่ออสเตรเลีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 11, 2025 UNSW Master of Laws International Scholarships ที่ University of New South Wales (UNSW) สำหรับนักศึกษาต่างชาติ ประจำปีการศึกษา 2025-2026 ทุนมีมูลค่า 20,000…
ทุนกฎหมายที่ออสเตรเลีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 11, 2025 UNSW Master of Laws International Scholarships ที่ University of New South Wales (UNSW) สำหรับนักศึกษาต่างชาติ ประจำปีการศึกษา 2025-2026 ทุนมีมูลค่า 20,000…
คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster May 4, 2020 EZ Webmaster May 4, 2020 ผู้นำนักศึกษา มจพ. ขานรับการจัดการเรียนการสอนออนไลน์สู้เชื้อโรค COVID-19 ผลกระทบการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด -19 ทำให้มหาวิทยาลัยที่สังกัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม โดยเฉพาะกลุ่มครูอาจารย์และบรรดานักเรียน นักศึกษา กลายเป็นผู้ที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 เป็นลำดับต้น ๆ เพราะหลายสถาบันการศึกษาได้เริ่มใช้มาตรการงดการเรียนการสอนชั่วคราวเพื่อจำกัดและควบคุมการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด -19 ทำให้ในช่วงนี้อาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาจึงต้องปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอนมาเป็น ‘การสอนแบบออนไลน์ แทน แล้วในส่วนของนักศึกษาล่ะ !! เขาเหล่านั้นมีแผนและเตรียมรับมือกับการจัดการเรียนการสอนอย่างไร ? วันนี้วิบวับ สัมภาษณ์รัว ๆ ผู้นำนักศึกษา มจพ. ที่ขานรับการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ เป็นใครกันบ้างมาดูกัน 1. นายวรปรัชญ์ ห่อแก้ว ชื่อเล่น “ธง” ที่ปรึกษานายกองค์การนักศึกษา กำลังศึกษาชั้นปีที่ 5 สาขา วิศวกรรมไฟฟ้า ภาควิชาครุศาสตร์ไฟฟ้า คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สำหรับตัวผม “คิดว่าการเปลี่ยนแปลงทางด้านการเรียนการสอนต้องปรับตัวกันเยอะทีเดียว เนื่องจากเราต้องรักษาระยะห่างทางสังคม” แต่ปัจจุบันเทคโนโลยีสามารถรวมกลุ่มคน สำหรับจัดการเรียนการสอนบนโลก Social เป็นทางออกที่ดีครับ แถมยังสามารถเรียนได้หลาย ๆ คน ที่สามารถพูดคุยโต้ตอบกันเหมือนอยู่ใกล้ ๆ กัน ตัวนักศึกษาต้องทำความเข้าใจในการใช้แอปพลิเคชันต่าง ๆ ที่จะนำมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนผ่านระบบออนไลน์ สำหรับอาจารย์ผู้สอนก็เตรียมพร้อมสำหรับรูปแบบการจัดการเรียนการสอน สื่อที่นำมาใช้และออกแบบเนื้อหาให้เหมาะสมกับการเรียนการสอนผ่านระบบออนไลน์อีกด้วย 2. นายพิสิฏฐ์พศ โสภาพร ชื่อเล่น “บิว” นายกองค์การนักศึกษา กำลังศึกษาอยู่ชั้นปีที่ 4 สาขาวิชา เทคโนโลยีวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (EnET) วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ตามที่ มจพ. ได้ประกาศ เรื่อง แนวทางในการดำเนินการเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน ในช่วงเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19) ฉบับที่ 2 นั้น สำหรับตัวผมก็ได้เตรียมแผนการรับมือ สำหรับการเรียนออนไลน์ คือ “การศึกษาหาข้อมูลเกี่ยวกับโปรแกรมต่าง ๆ ที่จะต้องใช้ในการเรียนออนไลน์ พร้อมฝึกฝนการใช้โปรแกรมให้คล่อง จะได้ไม่เสียเวลาเมื่อได้ใช้งานจริง” และที่สำคัญต้องมีความรับผิดชอบต่อตัวเอง ตื่นเช้า ๆ เรียนตามตารางเวลาเรียน และตั้งใจฟังอาจารย์ผู้สอน รวมถึงบันทึกวิดีโอการสอนของอาจารย์ไว้ เอาไว้ดูย้อนหลังเพื่อทบทวนความเข้าใจเพื่อเติมครับ 3. นายเชาว์วัฒน์สุวรรณภูเต ชื่อเล่น “เบ็นช์” นายกสโมสรนักศึกษาคณะสถาปัตยกรรม และการออกแบบ กำลังจะขึ้นชั้นปีที่ 4 สาขาวิชาการจัดการงานออกแบบภายในและพัฒนาธุรกิจ คณะสถาปัตยกรรมและการออกแบบ ในส่วนของแผนรับมือคือ ผม “ได้มีการเตรียมโปรแกรมด้านการเรียนการสอนเเล้ว รวมถึงติดตามข้อมูลข่าวสารจากทั้งตัวของอาจารย์ หรือจากมหาลัยอยู่ตลอดเวลา” ส่วนแนวทางรับมือนั้นที่จะต้องเรียนออนไลน์ ช่วงแรกก็อาจจะเป็นเรื่องยากของทั้งตัวอาจารย์และนักศึกษา ทั้งในเรื่องของความไม่คุ้นเคย ระเบียบของตัวนักศึกษาและอาจารย์ รวมไปถึงการปรับตัวการสอนของตัวอาจารย์เอง แต่ตัวผมก็มองว่ามันจะช่วยให้การเรียนการสอนมันมีมิติมากขึ้นไม่จำเป็นต้องเรียนในห้องตลอดเวลา ตัวนักศึกษาและอาจารย์ก็มีการเรียนรู้แลกเปลี่ยนข้อมูล และบางทีวิกฤต COVID-19 นี้อาจจะทำให้ มจพ. มีความคิดแนวทางในการเรียนการสอนผ่านออนไลน์ที่ช่วยในการเรียนการสอนในอนาคตก็ได้ครับ 4. น.ส.อทิตา บุญมา ชื่อเล่น “กิ๊ฟ” นายกสโมสรนักศึกษาคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม กำลังศึกษา อยู่ชั้นปีที่ 3 สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า ภาควิชาครุศาสตร์ไฟฟ้า คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สำหรับช่วงนี้สิ่งที่ควรทำที่สุดคือ ตระหนักถึงมาตรการเฝ้าระวังให้มาก ควรจะปฏิบัติตามแบบแผนอย่างเคร่งครัด ให้สอดคล้องมาตรการของรัฐ “อยู่บ้าน หยุดเชื้อ เพื่อชาติ” เพื่อสอดรับกับมาตรการ Work from home ที่ทางมหาวิทยาลัยกำหนด ในส่วนการเรียนการสอนออนไลน์ ควรศึกษาโปรเเกรม Zoom เป็น App ที่เหมาะกับการเรียนการสอนในช่วงนี้ ด้วยการทำงานของโปรเเกรมเป็นระบบ VDO conference ซึ่งสอดคล้องตามนโยบายของรัฐ และฝากถึงเพื่อน ๆ ทุกคนด้วย 5. นายนันทวัฒน์ คนหมั่น ชื่อเล่น “ต่อ” นายกสโมสรนักศึกษาคณะพัฒนาธุรกิจและอุตสาหกรรม (BID) กำลังศึกษาชั้นปีที่ 3 ภาควิชาพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรมและทรัพยากรมนุษย์(BBR) คณะพัฒนาธุรกิจและอุตสาหกรรม(BID) สิ่งที่ยังคงน่าเป็นห่วง คือ การแก้ปัญหาโดยการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ ซึ่งต่างก็มีทั้งข้อดีและข้อเสียตามมา ในส่วนของข้อดี ทำให้เกิดความสะดวกในการเรียนการสอน นักศึกษาสามารถเรียนออนไลน์แม้จะอยู่ที่พักอาศัย ในส่วนของข้อเสีย มักจะเกิดจากเรื่องอุปกรณ์หรือสัญญาณเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ทำให้มีผลกระทบต่อการเรียนการสอน แนวทางในการแก้ปัญหานี้ ผมว่า “ควรเตรียมความพร้อมของตัวเองให้มากที่สุด” แต่ในส่วนของปัญหาภายนอกที่ไม่สามารถแก้ไขได้ ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องของอุปกรณ์หรือสัญญาณเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ควรจะแจ้งให้กับอาจารย์ประจำวิชาได้รับทราบ และเข้าใจถึงปัญหาที่เกิดขึ้น จะเป็นการปรับตัวของอาจารย์และนักศึกษา เป็นการแสดงออกถึงการปรับตัวให้เข้าสถานการณ์และการแสดงถึงความรับผิดชอบ ความพร้อม ความตั้งใจ ที่มากกว่าครั้งไหน ๆ 6. นายนพรัตน์ มากมี ชื่อเล่น “เบนซ์” นายกสโมสรนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม กำลังศึกษาอยู่ชั้นปีที่ 3 สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมซ่อมบำรุงอากาศยาน (ACET) สำหรับผม “การเรียนออนไลน์ก็ต้องหาโปรแกรมที่ค่อนข้างจัดระบบได้ง่าย เช่น Microsoft Team เพราะโปรแกรมสามารถแยกเป็นหลาย ๆ วิชาได้ และสามารถดูประวัติการแชร์ไฟล์ได้สะดวกตรงที่ตัวช่วยการใช้งานเยอะครับ” การปรับตัวเมื่อเรียนออนไลน์ ต้องปรับตัวเยอะขึ้นมาก ๆ เลยนะครับ ปกติการไปเรียนในคลาสจะมีแรงกระตุ้นในการไปเรียนให้ทันเวลาคือ ต้องตื่นล่วงหน้าอย่างน้อย 1-2 ชั่วโมง แต่การเรียนออนไลน์เรียนอยู่ที่บ้านจะไม่ค่อยมีแรงกระตุ้นในการเรียน อาจจะงีบพักระหว่างเรียนได้ ควรมีระเบียบในตัวเองให้มากขึ้น และการเรียนออนไลน์อาจจะได้งานมาทำเยอะมากกว่าการไปเรียนในคลาส เราจึงต้องจัดสรรเวลาในส่วนนี้ให้ดีเช่นกันครับ เราต้องชนะ COVID-19 ไปด้วยกันครับ “ใช้ชีวิตให้มีความสุขครับ” 7. นายนครินทร์ ตะโกเนียม ชื่อเล่น “ริว หรือ รองปริ๊นซ์” รองนายกสโมสรนักศึกษาคณะ วิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี กำลังศึกษาอยู่ชั้นปีที่ 3 สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมอุตสาหการและโลจิสติกส์ (ILet) คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี (EAT) มจพ. สำหรับผม “ในช่วงนี้นักศึกษาบางส่วนได้มีการเรียนออนไลน์ ตามรายวิชาที่ได้ลงทะเบียนเรียน โดยการเรียนผ่านโปรแกรมต่าง ๆ ก็ทำให้เราได้เรียนรู้ในสิ่งที่เราไม่เคยได้เรียน เช่น การใช้โปรแกรม” แผนการเรียนการออนไลน์ของผมคิดว่าช่วงนี้แหละคือ โอกาสทองของพวกเราที่จะหาความรู้และเรียนรู้เกี่ยวกับสิ่งทั้งหลายเหล่านี้ เราอยู่บ้าน หยุดเชื้อ เพื่อชาติ และเพิ่มระยะห่างทางสังคม (Social distancing) ช่วงนี้เหมาะมากที่จะเรียนออนไลน์เพื่อเพิ่มศักยภาพด้านความรู้ของเรา ทั้งการใช้โปรแกรมและเนื้อหาที่ผู้สอนได้ตั้งใจจัดเตรียมไว้ให้พวกเรา 8. นายธนกฤต ศรีบุญเรือง ชื่อเล่น “เตอร์” รองนายกองค์การนักศึกษาฝ่ายนักศึกษาสัมพันธ์ กำลัง ศึกษาอยู่ชั้นปีที่ 4 ภาควิชาครุศาสตร์ไฟฟ้า คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม ในส่วนตัวผมแล้วได้เตรียมตัวสำหรับปีการศึกษา 2563 ที่กำลังจะมาถึง โดยการเตรียมความพร้อมการเรียนออนไลน์ไว้แล้ว ไม่ว่าจะเป็นด้านซอฟแวร์ที่ใช้ในการเรียนการสอนรูปแบบออนไลน์ ศึกษาขั้นตอนการใช้งานของซอฟแวร์ และสัญญาณการเชื่อมต่อ ส่วนด้านฮาร์ดแวร์ที่จะช่วยให้การเรียนของเรามีประสิทธิภาพได้ใกล้เคียงกับห้องเรียนจริงมากที่สุด เช่น ตรวจสอบไมค์ ลำโพง อุปกรณ์อื่น ๆ ที่ใช้ประกอบการเรียนการสอนให้มีความพร้อมต่อการศึกษาในสถานการณ์นี้ครับ การเรียนการสอนต่อไปภายใต้วิกฤติโรคระบาดนี้ ทั้งการสอนสดที่นักเรียนนิสิตนักศึกษาสามารถมีปฏิสัมพันธ์กับผู้สอนได้ทันที คือเห็นหน้าเห็นตาโต้ตอบสอบถามคุยกันได้ หรือแม้แต่ความจำเป็นจะต้องทำงาน ร่วมกัน ยังสามารถทำผ่านทางออนไลน์ด้วยเครื่องมือทันสมัยต่าง ๆ อาทิ กูเกิลไดรฟ์ ด้วยความไม่แน่นอนของ สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อโรค COVID-19 นั้น เราต้องมีสติ มีความอดทนพึ่งพาตนเอง มีความพยายามเข้าใจกันและกันนั้นมีความจำเป็น เพื่อให้สังคมผ่านพ้นวิกฤตินี้ไปได้ ดังเช่นปรากฏการณ์ absolute digital ที่บังคับให้ทุกคนต้องปรับตัวมาใช้ online & on demand กันแบบฉับพลัน นับตั้งแต่การใช้ชีวิตประจำวัน เช่น การช็อปปิ้ง การติดต่อสื่อสาร ไปจนถึงการเปลี่ยนรูปแบบในการทำงานมาเป็นการประชุมออนไลน์ โลกหลังการศึกษายุคโควิดจบไป มันคือโอกาสและความเป็นไปได้ที่รออยู่ไม่ควรทิ้งเวลาให้สูญเปล่า EZ Webmaster Related Posts คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” รวมบุคคลสำคัญของแต่ละมหาวิทยาลัยไทย มาให้ทุกคนได้รู้กัน !! Post navigation PREVIOUS Previous post: สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา เปิดรับนักศึกษาใหม่ ปี 63 ภายใต้แนวคิด “เรียนคู่งาน-งานคู่เรียน” ถึง 30 พฤษภาคมนี้NEXT Next post: เคลียร์ทุกเรื่อง ที่มา/วิธีการคัดเลือก/วิธีการจัดอันดับ/อะไรคือปัจจัยเสี่ยง Admission 2563 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster May 4, 2020 EZ Webmaster May 4, 2020 ผู้นำนักศึกษา มจพ. ขานรับการจัดการเรียนการสอนออนไลน์สู้เชื้อโรค COVID-19 ผลกระทบการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด -19 ทำให้มหาวิทยาลัยที่สังกัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม โดยเฉพาะกลุ่มครูอาจารย์และบรรดานักเรียน นักศึกษา กลายเป็นผู้ที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 เป็นลำดับต้น ๆ เพราะหลายสถาบันการศึกษาได้เริ่มใช้มาตรการงดการเรียนการสอนชั่วคราวเพื่อจำกัดและควบคุมการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด -19 ทำให้ในช่วงนี้อาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาจึงต้องปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอนมาเป็น ‘การสอนแบบออนไลน์ แทน แล้วในส่วนของนักศึกษาล่ะ !! เขาเหล่านั้นมีแผนและเตรียมรับมือกับการจัดการเรียนการสอนอย่างไร ? วันนี้วิบวับ สัมภาษณ์รัว ๆ ผู้นำนักศึกษา มจพ. ที่ขานรับการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ เป็นใครกันบ้างมาดูกัน 1. นายวรปรัชญ์ ห่อแก้ว ชื่อเล่น “ธง” ที่ปรึกษานายกองค์การนักศึกษา กำลังศึกษาชั้นปีที่ 5 สาขา วิศวกรรมไฟฟ้า ภาควิชาครุศาสตร์ไฟฟ้า คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สำหรับตัวผม “คิดว่าการเปลี่ยนแปลงทางด้านการเรียนการสอนต้องปรับตัวกันเยอะทีเดียว เนื่องจากเราต้องรักษาระยะห่างทางสังคม” แต่ปัจจุบันเทคโนโลยีสามารถรวมกลุ่มคน สำหรับจัดการเรียนการสอนบนโลก Social เป็นทางออกที่ดีครับ แถมยังสามารถเรียนได้หลาย ๆ คน ที่สามารถพูดคุยโต้ตอบกันเหมือนอยู่ใกล้ ๆ กัน ตัวนักศึกษาต้องทำความเข้าใจในการใช้แอปพลิเคชันต่าง ๆ ที่จะนำมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนผ่านระบบออนไลน์ สำหรับอาจารย์ผู้สอนก็เตรียมพร้อมสำหรับรูปแบบการจัดการเรียนการสอน สื่อที่นำมาใช้และออกแบบเนื้อหาให้เหมาะสมกับการเรียนการสอนผ่านระบบออนไลน์อีกด้วย 2. นายพิสิฏฐ์พศ โสภาพร ชื่อเล่น “บิว” นายกองค์การนักศึกษา กำลังศึกษาอยู่ชั้นปีที่ 4 สาขาวิชา เทคโนโลยีวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (EnET) วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ตามที่ มจพ. ได้ประกาศ เรื่อง แนวทางในการดำเนินการเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน ในช่วงเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19) ฉบับที่ 2 นั้น สำหรับตัวผมก็ได้เตรียมแผนการรับมือ สำหรับการเรียนออนไลน์ คือ “การศึกษาหาข้อมูลเกี่ยวกับโปรแกรมต่าง ๆ ที่จะต้องใช้ในการเรียนออนไลน์ พร้อมฝึกฝนการใช้โปรแกรมให้คล่อง จะได้ไม่เสียเวลาเมื่อได้ใช้งานจริง” และที่สำคัญต้องมีความรับผิดชอบต่อตัวเอง ตื่นเช้า ๆ เรียนตามตารางเวลาเรียน และตั้งใจฟังอาจารย์ผู้สอน รวมถึงบันทึกวิดีโอการสอนของอาจารย์ไว้ เอาไว้ดูย้อนหลังเพื่อทบทวนความเข้าใจเพื่อเติมครับ 3. นายเชาว์วัฒน์สุวรรณภูเต ชื่อเล่น “เบ็นช์” นายกสโมสรนักศึกษาคณะสถาปัตยกรรม และการออกแบบ กำลังจะขึ้นชั้นปีที่ 4 สาขาวิชาการจัดการงานออกแบบภายในและพัฒนาธุรกิจ คณะสถาปัตยกรรมและการออกแบบ ในส่วนของแผนรับมือคือ ผม “ได้มีการเตรียมโปรแกรมด้านการเรียนการสอนเเล้ว รวมถึงติดตามข้อมูลข่าวสารจากทั้งตัวของอาจารย์ หรือจากมหาลัยอยู่ตลอดเวลา” ส่วนแนวทางรับมือนั้นที่จะต้องเรียนออนไลน์ ช่วงแรกก็อาจจะเป็นเรื่องยากของทั้งตัวอาจารย์และนักศึกษา ทั้งในเรื่องของความไม่คุ้นเคย ระเบียบของตัวนักศึกษาและอาจารย์ รวมไปถึงการปรับตัวการสอนของตัวอาจารย์เอง แต่ตัวผมก็มองว่ามันจะช่วยให้การเรียนการสอนมันมีมิติมากขึ้นไม่จำเป็นต้องเรียนในห้องตลอดเวลา ตัวนักศึกษาและอาจารย์ก็มีการเรียนรู้แลกเปลี่ยนข้อมูล และบางทีวิกฤต COVID-19 นี้อาจจะทำให้ มจพ. มีความคิดแนวทางในการเรียนการสอนผ่านออนไลน์ที่ช่วยในการเรียนการสอนในอนาคตก็ได้ครับ 4. น.ส.อทิตา บุญมา ชื่อเล่น “กิ๊ฟ” นายกสโมสรนักศึกษาคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม กำลังศึกษา อยู่ชั้นปีที่ 3 สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า ภาควิชาครุศาสตร์ไฟฟ้า คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สำหรับช่วงนี้สิ่งที่ควรทำที่สุดคือ ตระหนักถึงมาตรการเฝ้าระวังให้มาก ควรจะปฏิบัติตามแบบแผนอย่างเคร่งครัด ให้สอดคล้องมาตรการของรัฐ “อยู่บ้าน หยุดเชื้อ เพื่อชาติ” เพื่อสอดรับกับมาตรการ Work from home ที่ทางมหาวิทยาลัยกำหนด ในส่วนการเรียนการสอนออนไลน์ ควรศึกษาโปรเเกรม Zoom เป็น App ที่เหมาะกับการเรียนการสอนในช่วงนี้ ด้วยการทำงานของโปรเเกรมเป็นระบบ VDO conference ซึ่งสอดคล้องตามนโยบายของรัฐ และฝากถึงเพื่อน ๆ ทุกคนด้วย 5. นายนันทวัฒน์ คนหมั่น ชื่อเล่น “ต่อ” นายกสโมสรนักศึกษาคณะพัฒนาธุรกิจและอุตสาหกรรม (BID) กำลังศึกษาชั้นปีที่ 3 ภาควิชาพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรมและทรัพยากรมนุษย์(BBR) คณะพัฒนาธุรกิจและอุตสาหกรรม(BID) สิ่งที่ยังคงน่าเป็นห่วง คือ การแก้ปัญหาโดยการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ ซึ่งต่างก็มีทั้งข้อดีและข้อเสียตามมา ในส่วนของข้อดี ทำให้เกิดความสะดวกในการเรียนการสอน นักศึกษาสามารถเรียนออนไลน์แม้จะอยู่ที่พักอาศัย ในส่วนของข้อเสีย มักจะเกิดจากเรื่องอุปกรณ์หรือสัญญาณเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ทำให้มีผลกระทบต่อการเรียนการสอน แนวทางในการแก้ปัญหานี้ ผมว่า “ควรเตรียมความพร้อมของตัวเองให้มากที่สุด” แต่ในส่วนของปัญหาภายนอกที่ไม่สามารถแก้ไขได้ ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องของอุปกรณ์หรือสัญญาณเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ควรจะแจ้งให้กับอาจารย์ประจำวิชาได้รับทราบ และเข้าใจถึงปัญหาที่เกิดขึ้น จะเป็นการปรับตัวของอาจารย์และนักศึกษา เป็นการแสดงออกถึงการปรับตัวให้เข้าสถานการณ์และการแสดงถึงความรับผิดชอบ ความพร้อม ความตั้งใจ ที่มากกว่าครั้งไหน ๆ 6. นายนพรัตน์ มากมี ชื่อเล่น “เบนซ์” นายกสโมสรนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม กำลังศึกษาอยู่ชั้นปีที่ 3 สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมซ่อมบำรุงอากาศยาน (ACET) สำหรับผม “การเรียนออนไลน์ก็ต้องหาโปรแกรมที่ค่อนข้างจัดระบบได้ง่าย เช่น Microsoft Team เพราะโปรแกรมสามารถแยกเป็นหลาย ๆ วิชาได้ และสามารถดูประวัติการแชร์ไฟล์ได้สะดวกตรงที่ตัวช่วยการใช้งานเยอะครับ” การปรับตัวเมื่อเรียนออนไลน์ ต้องปรับตัวเยอะขึ้นมาก ๆ เลยนะครับ ปกติการไปเรียนในคลาสจะมีแรงกระตุ้นในการไปเรียนให้ทันเวลาคือ ต้องตื่นล่วงหน้าอย่างน้อย 1-2 ชั่วโมง แต่การเรียนออนไลน์เรียนอยู่ที่บ้านจะไม่ค่อยมีแรงกระตุ้นในการเรียน อาจจะงีบพักระหว่างเรียนได้ ควรมีระเบียบในตัวเองให้มากขึ้น และการเรียนออนไลน์อาจจะได้งานมาทำเยอะมากกว่าการไปเรียนในคลาส เราจึงต้องจัดสรรเวลาในส่วนนี้ให้ดีเช่นกันครับ เราต้องชนะ COVID-19 ไปด้วยกันครับ “ใช้ชีวิตให้มีความสุขครับ” 7. นายนครินทร์ ตะโกเนียม ชื่อเล่น “ริว หรือ รองปริ๊นซ์” รองนายกสโมสรนักศึกษาคณะ วิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี กำลังศึกษาอยู่ชั้นปีที่ 3 สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมอุตสาหการและโลจิสติกส์ (ILet) คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี (EAT) มจพ. สำหรับผม “ในช่วงนี้นักศึกษาบางส่วนได้มีการเรียนออนไลน์ ตามรายวิชาที่ได้ลงทะเบียนเรียน โดยการเรียนผ่านโปรแกรมต่าง ๆ ก็ทำให้เราได้เรียนรู้ในสิ่งที่เราไม่เคยได้เรียน เช่น การใช้โปรแกรม” แผนการเรียนการออนไลน์ของผมคิดว่าช่วงนี้แหละคือ โอกาสทองของพวกเราที่จะหาความรู้และเรียนรู้เกี่ยวกับสิ่งทั้งหลายเหล่านี้ เราอยู่บ้าน หยุดเชื้อ เพื่อชาติ และเพิ่มระยะห่างทางสังคม (Social distancing) ช่วงนี้เหมาะมากที่จะเรียนออนไลน์เพื่อเพิ่มศักยภาพด้านความรู้ของเรา ทั้งการใช้โปรแกรมและเนื้อหาที่ผู้สอนได้ตั้งใจจัดเตรียมไว้ให้พวกเรา 8. นายธนกฤต ศรีบุญเรือง ชื่อเล่น “เตอร์” รองนายกองค์การนักศึกษาฝ่ายนักศึกษาสัมพันธ์ กำลัง ศึกษาอยู่ชั้นปีที่ 4 ภาควิชาครุศาสตร์ไฟฟ้า คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม ในส่วนตัวผมแล้วได้เตรียมตัวสำหรับปีการศึกษา 2563 ที่กำลังจะมาถึง โดยการเตรียมความพร้อมการเรียนออนไลน์ไว้แล้ว ไม่ว่าจะเป็นด้านซอฟแวร์ที่ใช้ในการเรียนการสอนรูปแบบออนไลน์ ศึกษาขั้นตอนการใช้งานของซอฟแวร์ และสัญญาณการเชื่อมต่อ ส่วนด้านฮาร์ดแวร์ที่จะช่วยให้การเรียนของเรามีประสิทธิภาพได้ใกล้เคียงกับห้องเรียนจริงมากที่สุด เช่น ตรวจสอบไมค์ ลำโพง อุปกรณ์อื่น ๆ ที่ใช้ประกอบการเรียนการสอนให้มีความพร้อมต่อการศึกษาในสถานการณ์นี้ครับ การเรียนการสอนต่อไปภายใต้วิกฤติโรคระบาดนี้ ทั้งการสอนสดที่นักเรียนนิสิตนักศึกษาสามารถมีปฏิสัมพันธ์กับผู้สอนได้ทันที คือเห็นหน้าเห็นตาโต้ตอบสอบถามคุยกันได้ หรือแม้แต่ความจำเป็นจะต้องทำงาน ร่วมกัน ยังสามารถทำผ่านทางออนไลน์ด้วยเครื่องมือทันสมัยต่าง ๆ อาทิ กูเกิลไดรฟ์ ด้วยความไม่แน่นอนของ สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อโรค COVID-19 นั้น เราต้องมีสติ มีความอดทนพึ่งพาตนเอง มีความพยายามเข้าใจกันและกันนั้นมีความจำเป็น เพื่อให้สังคมผ่านพ้นวิกฤตินี้ไปได้ ดังเช่นปรากฏการณ์ absolute digital ที่บังคับให้ทุกคนต้องปรับตัวมาใช้ online & on demand กันแบบฉับพลัน นับตั้งแต่การใช้ชีวิตประจำวัน เช่น การช็อปปิ้ง การติดต่อสื่อสาร ไปจนถึงการเปลี่ยนรูปแบบในการทำงานมาเป็นการประชุมออนไลน์ โลกหลังการศึกษายุคโควิดจบไป มันคือโอกาสและความเป็นไปได้ที่รออยู่ไม่ควรทิ้งเวลาให้สูญเปล่า EZ Webmaster Related Posts คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” รวมบุคคลสำคัญของแต่ละมหาวิทยาลัยไทย มาให้ทุกคนได้รู้กัน !! Post navigation PREVIOUS Previous post: สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา เปิดรับนักศึกษาใหม่ ปี 63 ภายใต้แนวคิด “เรียนคู่งาน-งานคู่เรียน” ถึง 30 พฤษภาคมนี้NEXT Next post: เคลียร์ทุกเรื่อง ที่มา/วิธีการคัดเลือก/วิธีการจัดอันดับ/อะไรคือปัจจัยเสี่ยง Admission 2563 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief…
เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief…
“40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster May 4, 2020 EZ Webmaster May 4, 2020 ผู้นำนักศึกษา มจพ. ขานรับการจัดการเรียนการสอนออนไลน์สู้เชื้อโรค COVID-19 ผลกระทบการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด -19 ทำให้มหาวิทยาลัยที่สังกัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม โดยเฉพาะกลุ่มครูอาจารย์และบรรดานักเรียน นักศึกษา กลายเป็นผู้ที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 เป็นลำดับต้น ๆ เพราะหลายสถาบันการศึกษาได้เริ่มใช้มาตรการงดการเรียนการสอนชั่วคราวเพื่อจำกัดและควบคุมการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด -19 ทำให้ในช่วงนี้อาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาจึงต้องปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอนมาเป็น ‘การสอนแบบออนไลน์ แทน แล้วในส่วนของนักศึกษาล่ะ !! เขาเหล่านั้นมีแผนและเตรียมรับมือกับการจัดการเรียนการสอนอย่างไร ? วันนี้วิบวับ สัมภาษณ์รัว ๆ ผู้นำนักศึกษา มจพ. ที่ขานรับการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ เป็นใครกันบ้างมาดูกัน 1. นายวรปรัชญ์ ห่อแก้ว ชื่อเล่น “ธง” ที่ปรึกษานายกองค์การนักศึกษา กำลังศึกษาชั้นปีที่ 5 สาขา วิศวกรรมไฟฟ้า ภาควิชาครุศาสตร์ไฟฟ้า คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สำหรับตัวผม “คิดว่าการเปลี่ยนแปลงทางด้านการเรียนการสอนต้องปรับตัวกันเยอะทีเดียว เนื่องจากเราต้องรักษาระยะห่างทางสังคม” แต่ปัจจุบันเทคโนโลยีสามารถรวมกลุ่มคน สำหรับจัดการเรียนการสอนบนโลก Social เป็นทางออกที่ดีครับ แถมยังสามารถเรียนได้หลาย ๆ คน ที่สามารถพูดคุยโต้ตอบกันเหมือนอยู่ใกล้ ๆ กัน ตัวนักศึกษาต้องทำความเข้าใจในการใช้แอปพลิเคชันต่าง ๆ ที่จะนำมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนผ่านระบบออนไลน์ สำหรับอาจารย์ผู้สอนก็เตรียมพร้อมสำหรับรูปแบบการจัดการเรียนการสอน สื่อที่นำมาใช้และออกแบบเนื้อหาให้เหมาะสมกับการเรียนการสอนผ่านระบบออนไลน์อีกด้วย 2. นายพิสิฏฐ์พศ โสภาพร ชื่อเล่น “บิว” นายกองค์การนักศึกษา กำลังศึกษาอยู่ชั้นปีที่ 4 สาขาวิชา เทคโนโลยีวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (EnET) วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ตามที่ มจพ. ได้ประกาศ เรื่อง แนวทางในการดำเนินการเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน ในช่วงเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19) ฉบับที่ 2 นั้น สำหรับตัวผมก็ได้เตรียมแผนการรับมือ สำหรับการเรียนออนไลน์ คือ “การศึกษาหาข้อมูลเกี่ยวกับโปรแกรมต่าง ๆ ที่จะต้องใช้ในการเรียนออนไลน์ พร้อมฝึกฝนการใช้โปรแกรมให้คล่อง จะได้ไม่เสียเวลาเมื่อได้ใช้งานจริง” และที่สำคัญต้องมีความรับผิดชอบต่อตัวเอง ตื่นเช้า ๆ เรียนตามตารางเวลาเรียน และตั้งใจฟังอาจารย์ผู้สอน รวมถึงบันทึกวิดีโอการสอนของอาจารย์ไว้ เอาไว้ดูย้อนหลังเพื่อทบทวนความเข้าใจเพื่อเติมครับ 3. นายเชาว์วัฒน์สุวรรณภูเต ชื่อเล่น “เบ็นช์” นายกสโมสรนักศึกษาคณะสถาปัตยกรรม และการออกแบบ กำลังจะขึ้นชั้นปีที่ 4 สาขาวิชาการจัดการงานออกแบบภายในและพัฒนาธุรกิจ คณะสถาปัตยกรรมและการออกแบบ ในส่วนของแผนรับมือคือ ผม “ได้มีการเตรียมโปรแกรมด้านการเรียนการสอนเเล้ว รวมถึงติดตามข้อมูลข่าวสารจากทั้งตัวของอาจารย์ หรือจากมหาลัยอยู่ตลอดเวลา” ส่วนแนวทางรับมือนั้นที่จะต้องเรียนออนไลน์ ช่วงแรกก็อาจจะเป็นเรื่องยากของทั้งตัวอาจารย์และนักศึกษา ทั้งในเรื่องของความไม่คุ้นเคย ระเบียบของตัวนักศึกษาและอาจารย์ รวมไปถึงการปรับตัวการสอนของตัวอาจารย์เอง แต่ตัวผมก็มองว่ามันจะช่วยให้การเรียนการสอนมันมีมิติมากขึ้นไม่จำเป็นต้องเรียนในห้องตลอดเวลา ตัวนักศึกษาและอาจารย์ก็มีการเรียนรู้แลกเปลี่ยนข้อมูล และบางทีวิกฤต COVID-19 นี้อาจจะทำให้ มจพ. มีความคิดแนวทางในการเรียนการสอนผ่านออนไลน์ที่ช่วยในการเรียนการสอนในอนาคตก็ได้ครับ 4. น.ส.อทิตา บุญมา ชื่อเล่น “กิ๊ฟ” นายกสโมสรนักศึกษาคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม กำลังศึกษา อยู่ชั้นปีที่ 3 สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า ภาควิชาครุศาสตร์ไฟฟ้า คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สำหรับช่วงนี้สิ่งที่ควรทำที่สุดคือ ตระหนักถึงมาตรการเฝ้าระวังให้มาก ควรจะปฏิบัติตามแบบแผนอย่างเคร่งครัด ให้สอดคล้องมาตรการของรัฐ “อยู่บ้าน หยุดเชื้อ เพื่อชาติ” เพื่อสอดรับกับมาตรการ Work from home ที่ทางมหาวิทยาลัยกำหนด ในส่วนการเรียนการสอนออนไลน์ ควรศึกษาโปรเเกรม Zoom เป็น App ที่เหมาะกับการเรียนการสอนในช่วงนี้ ด้วยการทำงานของโปรเเกรมเป็นระบบ VDO conference ซึ่งสอดคล้องตามนโยบายของรัฐ และฝากถึงเพื่อน ๆ ทุกคนด้วย 5. นายนันทวัฒน์ คนหมั่น ชื่อเล่น “ต่อ” นายกสโมสรนักศึกษาคณะพัฒนาธุรกิจและอุตสาหกรรม (BID) กำลังศึกษาชั้นปีที่ 3 ภาควิชาพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรมและทรัพยากรมนุษย์(BBR) คณะพัฒนาธุรกิจและอุตสาหกรรม(BID) สิ่งที่ยังคงน่าเป็นห่วง คือ การแก้ปัญหาโดยการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ ซึ่งต่างก็มีทั้งข้อดีและข้อเสียตามมา ในส่วนของข้อดี ทำให้เกิดความสะดวกในการเรียนการสอน นักศึกษาสามารถเรียนออนไลน์แม้จะอยู่ที่พักอาศัย ในส่วนของข้อเสีย มักจะเกิดจากเรื่องอุปกรณ์หรือสัญญาณเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ทำให้มีผลกระทบต่อการเรียนการสอน แนวทางในการแก้ปัญหานี้ ผมว่า “ควรเตรียมความพร้อมของตัวเองให้มากที่สุด” แต่ในส่วนของปัญหาภายนอกที่ไม่สามารถแก้ไขได้ ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องของอุปกรณ์หรือสัญญาณเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ควรจะแจ้งให้กับอาจารย์ประจำวิชาได้รับทราบ และเข้าใจถึงปัญหาที่เกิดขึ้น จะเป็นการปรับตัวของอาจารย์และนักศึกษา เป็นการแสดงออกถึงการปรับตัวให้เข้าสถานการณ์และการแสดงถึงความรับผิดชอบ ความพร้อม ความตั้งใจ ที่มากกว่าครั้งไหน ๆ 6. นายนพรัตน์ มากมี ชื่อเล่น “เบนซ์” นายกสโมสรนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม กำลังศึกษาอยู่ชั้นปีที่ 3 สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมซ่อมบำรุงอากาศยาน (ACET) สำหรับผม “การเรียนออนไลน์ก็ต้องหาโปรแกรมที่ค่อนข้างจัดระบบได้ง่าย เช่น Microsoft Team เพราะโปรแกรมสามารถแยกเป็นหลาย ๆ วิชาได้ และสามารถดูประวัติการแชร์ไฟล์ได้สะดวกตรงที่ตัวช่วยการใช้งานเยอะครับ” การปรับตัวเมื่อเรียนออนไลน์ ต้องปรับตัวเยอะขึ้นมาก ๆ เลยนะครับ ปกติการไปเรียนในคลาสจะมีแรงกระตุ้นในการไปเรียนให้ทันเวลาคือ ต้องตื่นล่วงหน้าอย่างน้อย 1-2 ชั่วโมง แต่การเรียนออนไลน์เรียนอยู่ที่บ้านจะไม่ค่อยมีแรงกระตุ้นในการเรียน อาจจะงีบพักระหว่างเรียนได้ ควรมีระเบียบในตัวเองให้มากขึ้น และการเรียนออนไลน์อาจจะได้งานมาทำเยอะมากกว่าการไปเรียนในคลาส เราจึงต้องจัดสรรเวลาในส่วนนี้ให้ดีเช่นกันครับ เราต้องชนะ COVID-19 ไปด้วยกันครับ “ใช้ชีวิตให้มีความสุขครับ” 7. นายนครินทร์ ตะโกเนียม ชื่อเล่น “ริว หรือ รองปริ๊นซ์” รองนายกสโมสรนักศึกษาคณะ วิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี กำลังศึกษาอยู่ชั้นปีที่ 3 สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมอุตสาหการและโลจิสติกส์ (ILet) คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี (EAT) มจพ. สำหรับผม “ในช่วงนี้นักศึกษาบางส่วนได้มีการเรียนออนไลน์ ตามรายวิชาที่ได้ลงทะเบียนเรียน โดยการเรียนผ่านโปรแกรมต่าง ๆ ก็ทำให้เราได้เรียนรู้ในสิ่งที่เราไม่เคยได้เรียน เช่น การใช้โปรแกรม” แผนการเรียนการออนไลน์ของผมคิดว่าช่วงนี้แหละคือ โอกาสทองของพวกเราที่จะหาความรู้และเรียนรู้เกี่ยวกับสิ่งทั้งหลายเหล่านี้ เราอยู่บ้าน หยุดเชื้อ เพื่อชาติ และเพิ่มระยะห่างทางสังคม (Social distancing) ช่วงนี้เหมาะมากที่จะเรียนออนไลน์เพื่อเพิ่มศักยภาพด้านความรู้ของเรา ทั้งการใช้โปรแกรมและเนื้อหาที่ผู้สอนได้ตั้งใจจัดเตรียมไว้ให้พวกเรา 8. นายธนกฤต ศรีบุญเรือง ชื่อเล่น “เตอร์” รองนายกองค์การนักศึกษาฝ่ายนักศึกษาสัมพันธ์ กำลัง ศึกษาอยู่ชั้นปีที่ 4 ภาควิชาครุศาสตร์ไฟฟ้า คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม ในส่วนตัวผมแล้วได้เตรียมตัวสำหรับปีการศึกษา 2563 ที่กำลังจะมาถึง โดยการเตรียมความพร้อมการเรียนออนไลน์ไว้แล้ว ไม่ว่าจะเป็นด้านซอฟแวร์ที่ใช้ในการเรียนการสอนรูปแบบออนไลน์ ศึกษาขั้นตอนการใช้งานของซอฟแวร์ และสัญญาณการเชื่อมต่อ ส่วนด้านฮาร์ดแวร์ที่จะช่วยให้การเรียนของเรามีประสิทธิภาพได้ใกล้เคียงกับห้องเรียนจริงมากที่สุด เช่น ตรวจสอบไมค์ ลำโพง อุปกรณ์อื่น ๆ ที่ใช้ประกอบการเรียนการสอนให้มีความพร้อมต่อการศึกษาในสถานการณ์นี้ครับ การเรียนการสอนต่อไปภายใต้วิกฤติโรคระบาดนี้ ทั้งการสอนสดที่นักเรียนนิสิตนักศึกษาสามารถมีปฏิสัมพันธ์กับผู้สอนได้ทันที คือเห็นหน้าเห็นตาโต้ตอบสอบถามคุยกันได้ หรือแม้แต่ความจำเป็นจะต้องทำงาน ร่วมกัน ยังสามารถทำผ่านทางออนไลน์ด้วยเครื่องมือทันสมัยต่าง ๆ อาทิ กูเกิลไดรฟ์ ด้วยความไม่แน่นอนของ สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อโรค COVID-19 นั้น เราต้องมีสติ มีความอดทนพึ่งพาตนเอง มีความพยายามเข้าใจกันและกันนั้นมีความจำเป็น เพื่อให้สังคมผ่านพ้นวิกฤตินี้ไปได้ ดังเช่นปรากฏการณ์ absolute digital ที่บังคับให้ทุกคนต้องปรับตัวมาใช้ online & on demand กันแบบฉับพลัน นับตั้งแต่การใช้ชีวิตประจำวัน เช่น การช็อปปิ้ง การติดต่อสื่อสาร ไปจนถึงการเปลี่ยนรูปแบบในการทำงานมาเป็นการประชุมออนไลน์ โลกหลังการศึกษายุคโควิดจบไป มันคือโอกาสและความเป็นไปได้ที่รออยู่ไม่ควรทิ้งเวลาให้สูญเปล่า EZ Webmaster Related Posts คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” รวมบุคคลสำคัญของแต่ละมหาวิทยาลัยไทย มาให้ทุกคนได้รู้กัน !! Post navigation PREVIOUS Previous post: สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา เปิดรับนักศึกษาใหม่ ปี 63 ภายใต้แนวคิด “เรียนคู่งาน-งานคู่เรียน” ถึง 30 พฤษภาคมนี้NEXT Next post: เคลียร์ทุกเรื่อง ที่มา/วิธีการคัดเลือก/วิธีการจัดอันดับ/อะไรคือปัจจัยเสี่ยง Admission 2563 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search
ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน…
สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน…
EZ Webmaster May 4, 2020 EZ Webmaster May 4, 2020 ผู้นำนักศึกษา มจพ. ขานรับการจัดการเรียนการสอนออนไลน์สู้เชื้อโรค COVID-19 ผลกระทบการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด -19 ทำให้มหาวิทยาลัยที่สังกัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม โดยเฉพาะกลุ่มครูอาจารย์และบรรดานักเรียน นักศึกษา กลายเป็นผู้ที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 เป็นลำดับต้น ๆ เพราะหลายสถาบันการศึกษาได้เริ่มใช้มาตรการงดการเรียนการสอนชั่วคราวเพื่อจำกัดและควบคุมการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด -19 ทำให้ในช่วงนี้อาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาจึงต้องปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอนมาเป็น ‘การสอนแบบออนไลน์ แทน แล้วในส่วนของนักศึกษาล่ะ !! เขาเหล่านั้นมีแผนและเตรียมรับมือกับการจัดการเรียนการสอนอย่างไร ? วันนี้วิบวับ สัมภาษณ์รัว ๆ ผู้นำนักศึกษา มจพ. ที่ขานรับการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ เป็นใครกันบ้างมาดูกัน 1. นายวรปรัชญ์ ห่อแก้ว ชื่อเล่น “ธง” ที่ปรึกษานายกองค์การนักศึกษา กำลังศึกษาชั้นปีที่ 5 สาขา วิศวกรรมไฟฟ้า ภาควิชาครุศาสตร์ไฟฟ้า คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สำหรับตัวผม “คิดว่าการเปลี่ยนแปลงทางด้านการเรียนการสอนต้องปรับตัวกันเยอะทีเดียว เนื่องจากเราต้องรักษาระยะห่างทางสังคม” แต่ปัจจุบันเทคโนโลยีสามารถรวมกลุ่มคน สำหรับจัดการเรียนการสอนบนโลก Social เป็นทางออกที่ดีครับ แถมยังสามารถเรียนได้หลาย ๆ คน ที่สามารถพูดคุยโต้ตอบกันเหมือนอยู่ใกล้ ๆ กัน ตัวนักศึกษาต้องทำความเข้าใจในการใช้แอปพลิเคชันต่าง ๆ ที่จะนำมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนผ่านระบบออนไลน์ สำหรับอาจารย์ผู้สอนก็เตรียมพร้อมสำหรับรูปแบบการจัดการเรียนการสอน สื่อที่นำมาใช้และออกแบบเนื้อหาให้เหมาะสมกับการเรียนการสอนผ่านระบบออนไลน์อีกด้วย 2. นายพิสิฏฐ์พศ โสภาพร ชื่อเล่น “บิว” นายกองค์การนักศึกษา กำลังศึกษาอยู่ชั้นปีที่ 4 สาขาวิชา เทคโนโลยีวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (EnET) วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ตามที่ มจพ. ได้ประกาศ เรื่อง แนวทางในการดำเนินการเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน ในช่วงเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19) ฉบับที่ 2 นั้น สำหรับตัวผมก็ได้เตรียมแผนการรับมือ สำหรับการเรียนออนไลน์ คือ “การศึกษาหาข้อมูลเกี่ยวกับโปรแกรมต่าง ๆ ที่จะต้องใช้ในการเรียนออนไลน์ พร้อมฝึกฝนการใช้โปรแกรมให้คล่อง จะได้ไม่เสียเวลาเมื่อได้ใช้งานจริง” และที่สำคัญต้องมีความรับผิดชอบต่อตัวเอง ตื่นเช้า ๆ เรียนตามตารางเวลาเรียน และตั้งใจฟังอาจารย์ผู้สอน รวมถึงบันทึกวิดีโอการสอนของอาจารย์ไว้ เอาไว้ดูย้อนหลังเพื่อทบทวนความเข้าใจเพื่อเติมครับ 3. นายเชาว์วัฒน์สุวรรณภูเต ชื่อเล่น “เบ็นช์” นายกสโมสรนักศึกษาคณะสถาปัตยกรรม และการออกแบบ กำลังจะขึ้นชั้นปีที่ 4 สาขาวิชาการจัดการงานออกแบบภายในและพัฒนาธุรกิจ คณะสถาปัตยกรรมและการออกแบบ ในส่วนของแผนรับมือคือ ผม “ได้มีการเตรียมโปรแกรมด้านการเรียนการสอนเเล้ว รวมถึงติดตามข้อมูลข่าวสารจากทั้งตัวของอาจารย์ หรือจากมหาลัยอยู่ตลอดเวลา” ส่วนแนวทางรับมือนั้นที่จะต้องเรียนออนไลน์ ช่วงแรกก็อาจจะเป็นเรื่องยากของทั้งตัวอาจารย์และนักศึกษา ทั้งในเรื่องของความไม่คุ้นเคย ระเบียบของตัวนักศึกษาและอาจารย์ รวมไปถึงการปรับตัวการสอนของตัวอาจารย์เอง แต่ตัวผมก็มองว่ามันจะช่วยให้การเรียนการสอนมันมีมิติมากขึ้นไม่จำเป็นต้องเรียนในห้องตลอดเวลา ตัวนักศึกษาและอาจารย์ก็มีการเรียนรู้แลกเปลี่ยนข้อมูล และบางทีวิกฤต COVID-19 นี้อาจจะทำให้ มจพ. มีความคิดแนวทางในการเรียนการสอนผ่านออนไลน์ที่ช่วยในการเรียนการสอนในอนาคตก็ได้ครับ 4. น.ส.อทิตา บุญมา ชื่อเล่น “กิ๊ฟ” นายกสโมสรนักศึกษาคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม กำลังศึกษา อยู่ชั้นปีที่ 3 สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า ภาควิชาครุศาสตร์ไฟฟ้า คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สำหรับช่วงนี้สิ่งที่ควรทำที่สุดคือ ตระหนักถึงมาตรการเฝ้าระวังให้มาก ควรจะปฏิบัติตามแบบแผนอย่างเคร่งครัด ให้สอดคล้องมาตรการของรัฐ “อยู่บ้าน หยุดเชื้อ เพื่อชาติ” เพื่อสอดรับกับมาตรการ Work from home ที่ทางมหาวิทยาลัยกำหนด ในส่วนการเรียนการสอนออนไลน์ ควรศึกษาโปรเเกรม Zoom เป็น App ที่เหมาะกับการเรียนการสอนในช่วงนี้ ด้วยการทำงานของโปรเเกรมเป็นระบบ VDO conference ซึ่งสอดคล้องตามนโยบายของรัฐ และฝากถึงเพื่อน ๆ ทุกคนด้วย 5. นายนันทวัฒน์ คนหมั่น ชื่อเล่น “ต่อ” นายกสโมสรนักศึกษาคณะพัฒนาธุรกิจและอุตสาหกรรม (BID) กำลังศึกษาชั้นปีที่ 3 ภาควิชาพัฒนาธุรกิจอุตสาหกรรมและทรัพยากรมนุษย์(BBR) คณะพัฒนาธุรกิจและอุตสาหกรรม(BID) สิ่งที่ยังคงน่าเป็นห่วง คือ การแก้ปัญหาโดยการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ ซึ่งต่างก็มีทั้งข้อดีและข้อเสียตามมา ในส่วนของข้อดี ทำให้เกิดความสะดวกในการเรียนการสอน นักศึกษาสามารถเรียนออนไลน์แม้จะอยู่ที่พักอาศัย ในส่วนของข้อเสีย มักจะเกิดจากเรื่องอุปกรณ์หรือสัญญาณเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ทำให้มีผลกระทบต่อการเรียนการสอน แนวทางในการแก้ปัญหานี้ ผมว่า “ควรเตรียมความพร้อมของตัวเองให้มากที่สุด” แต่ในส่วนของปัญหาภายนอกที่ไม่สามารถแก้ไขได้ ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องของอุปกรณ์หรือสัญญาณเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ควรจะแจ้งให้กับอาจารย์ประจำวิชาได้รับทราบ และเข้าใจถึงปัญหาที่เกิดขึ้น จะเป็นการปรับตัวของอาจารย์และนักศึกษา เป็นการแสดงออกถึงการปรับตัวให้เข้าสถานการณ์และการแสดงถึงความรับผิดชอบ ความพร้อม ความตั้งใจ ที่มากกว่าครั้งไหน ๆ 6. นายนพรัตน์ มากมี ชื่อเล่น “เบนซ์” นายกสโมสรนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม กำลังศึกษาอยู่ชั้นปีที่ 3 สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมซ่อมบำรุงอากาศยาน (ACET) สำหรับผม “การเรียนออนไลน์ก็ต้องหาโปรแกรมที่ค่อนข้างจัดระบบได้ง่าย เช่น Microsoft Team เพราะโปรแกรมสามารถแยกเป็นหลาย ๆ วิชาได้ และสามารถดูประวัติการแชร์ไฟล์ได้สะดวกตรงที่ตัวช่วยการใช้งานเยอะครับ” การปรับตัวเมื่อเรียนออนไลน์ ต้องปรับตัวเยอะขึ้นมาก ๆ เลยนะครับ ปกติการไปเรียนในคลาสจะมีแรงกระตุ้นในการไปเรียนให้ทันเวลาคือ ต้องตื่นล่วงหน้าอย่างน้อย 1-2 ชั่วโมง แต่การเรียนออนไลน์เรียนอยู่ที่บ้านจะไม่ค่อยมีแรงกระตุ้นในการเรียน อาจจะงีบพักระหว่างเรียนได้ ควรมีระเบียบในตัวเองให้มากขึ้น และการเรียนออนไลน์อาจจะได้งานมาทำเยอะมากกว่าการไปเรียนในคลาส เราจึงต้องจัดสรรเวลาในส่วนนี้ให้ดีเช่นกันครับ เราต้องชนะ COVID-19 ไปด้วยกันครับ “ใช้ชีวิตให้มีความสุขครับ” 7. นายนครินทร์ ตะโกเนียม ชื่อเล่น “ริว หรือ รองปริ๊นซ์” รองนายกสโมสรนักศึกษาคณะ วิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี กำลังศึกษาอยู่ชั้นปีที่ 3 สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมอุตสาหการและโลจิสติกส์ (ILet) คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี (EAT) มจพ. สำหรับผม “ในช่วงนี้นักศึกษาบางส่วนได้มีการเรียนออนไลน์ ตามรายวิชาที่ได้ลงทะเบียนเรียน โดยการเรียนผ่านโปรแกรมต่าง ๆ ก็ทำให้เราได้เรียนรู้ในสิ่งที่เราไม่เคยได้เรียน เช่น การใช้โปรแกรม” แผนการเรียนการออนไลน์ของผมคิดว่าช่วงนี้แหละคือ โอกาสทองของพวกเราที่จะหาความรู้และเรียนรู้เกี่ยวกับสิ่งทั้งหลายเหล่านี้ เราอยู่บ้าน หยุดเชื้อ เพื่อชาติ และเพิ่มระยะห่างทางสังคม (Social distancing) ช่วงนี้เหมาะมากที่จะเรียนออนไลน์เพื่อเพิ่มศักยภาพด้านความรู้ของเรา ทั้งการใช้โปรแกรมและเนื้อหาที่ผู้สอนได้ตั้งใจจัดเตรียมไว้ให้พวกเรา 8. นายธนกฤต ศรีบุญเรือง ชื่อเล่น “เตอร์” รองนายกองค์การนักศึกษาฝ่ายนักศึกษาสัมพันธ์ กำลัง ศึกษาอยู่ชั้นปีที่ 4 ภาควิชาครุศาสตร์ไฟฟ้า คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม ในส่วนตัวผมแล้วได้เตรียมตัวสำหรับปีการศึกษา 2563 ที่กำลังจะมาถึง โดยการเตรียมความพร้อมการเรียนออนไลน์ไว้แล้ว ไม่ว่าจะเป็นด้านซอฟแวร์ที่ใช้ในการเรียนการสอนรูปแบบออนไลน์ ศึกษาขั้นตอนการใช้งานของซอฟแวร์ และสัญญาณการเชื่อมต่อ ส่วนด้านฮาร์ดแวร์ที่จะช่วยให้การเรียนของเรามีประสิทธิภาพได้ใกล้เคียงกับห้องเรียนจริงมากที่สุด เช่น ตรวจสอบไมค์ ลำโพง อุปกรณ์อื่น ๆ ที่ใช้ประกอบการเรียนการสอนให้มีความพร้อมต่อการศึกษาในสถานการณ์นี้ครับ การเรียนการสอนต่อไปภายใต้วิกฤติโรคระบาดนี้ ทั้งการสอนสดที่นักเรียนนิสิตนักศึกษาสามารถมีปฏิสัมพันธ์กับผู้สอนได้ทันที คือเห็นหน้าเห็นตาโต้ตอบสอบถามคุยกันได้ หรือแม้แต่ความจำเป็นจะต้องทำงาน ร่วมกัน ยังสามารถทำผ่านทางออนไลน์ด้วยเครื่องมือทันสมัยต่าง ๆ อาทิ กูเกิลไดรฟ์ ด้วยความไม่แน่นอนของ สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อโรค COVID-19 นั้น เราต้องมีสติ มีความอดทนพึ่งพาตนเอง มีความพยายามเข้าใจกันและกันนั้นมีความจำเป็น เพื่อให้สังคมผ่านพ้นวิกฤตินี้ไปได้ ดังเช่นปรากฏการณ์ absolute digital ที่บังคับให้ทุกคนต้องปรับตัวมาใช้ online & on demand กันแบบฉับพลัน นับตั้งแต่การใช้ชีวิตประจำวัน เช่น การช็อปปิ้ง การติดต่อสื่อสาร ไปจนถึงการเปลี่ยนรูปแบบในการทำงานมาเป็นการประชุมออนไลน์ โลกหลังการศึกษายุคโควิดจบไป มันคือโอกาสและความเป็นไปได้ที่รออยู่ไม่ควรทิ้งเวลาให้สูญเปล่า
แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่