ปิดเทอมนี้ สสวท. กระตุ้นต่อมคิดพิชิตปัญหาฟิสิกส์หรรษา กับ “ไขปริศนาวิทยากล” EZ WebmasterMarch 21, 2025 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ชวนหรรษาพาสนุกคิดช่วงปิดเทอม รักฟิสิกส์กับ “ไขปริศนาวิทยากล” วีดิทัศน์สั้น 2 นาทีไม่มีเครียด กระตุ้นต่อมคิดสารพัดตอน อาทิ ต้มน้ำด้วยเตาไมโครเวฟ เผากระดาษทำไมไม่ไหม้ รถไฟเหาะตีลังกา รถล่องหน มนุษย์จอมพลัง เลี้ยงเปลือกไข่บนขอบจาน เหรียญกระโดด กังหันรังสีและอีกหลากหลาย กระตุ้นให้นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อวิชาฟิสิกส์ผ่านการเรียนการสอนแบบฐานปัญหา (Problem Base Learning : PBL) ส่งเสริมให้น้อง ๆ… รวมเฉลยทุกวิชา A-Level 68 EZ WebmasterMarch 21, 2025 รวมเฉลยทุกวิชา A-Level 68 จาก ทปอ. หากน้อง ๆ มีข้อโต้แย้งเฉลยสามารถกดในระบบเพื่อทักท้วงได้ A-Level 61 Math1 วิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 A-Level 62 Math2 วิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 2… มอนเดลีซ สำเร็จภารกิจ “โรงเรียนรักษ์โลก แยกขยะลุ้นโชคกับมอนเดลีซ ปี 3” ปลูกฝังวัฒนธรรมแยกขยะให้แก่เยาวชนไทยกว่า 20,000 คน เพื่อโลกสีเขียวที่ยั่งยืน EZ WebmasterMarch 21, 2025 โครงการ “โรงเรียนรักษ์โลก แยกขยะลุ้นโชคกับมอนเดลีซ ปี 3” จัดขึ้นโดย บริษัท มอนเดลีซ อินเตอร์เนชันแนล (ประเทศไทย) จำกัด ร่วมกับ กรุงเทพมหานคร และ แทรชลัคกี้ ได้บรรลุเป้าหมายสำคัญในการสร้างจิตสำนึกด้านสิ่งแวดล้อมแก่เยาวชนไทย ด้วยความมุ่งมั่นในการขับเคลื่อนพฤติกรรมการจัดการขยะอย่างยั่งยืน โดยโครงการนี้ได้ปลูกฝังแนวคิดการคัดแยกขยะให้กับนักเรียนมากกว่า… วิทยาลัยทองสุข เปิดรับนักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2568 ครั้งใหญ่ ครบทุกระดับ ปริญญาตรี ปริญญาโทและปริญญาเอก พร้อม INTERNATIONAL PROGRAM tui sakrapeeMarch 20, 2025 วิทยาลัยทองสุข Thongsook College รับสมัครนักศึกษาใหม่ ปี 2568 ภาคเรียนที่ 1 เริ่มเรียน มิถุนายน 2568 #ระดับปริญญาตรี –หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต B.B.A. สาขาวิชาการจัดการ 4 ปี สาขาวิชาการจัดการ… นักศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค EZ WebmasterMarch 21, 2025 ศาสตราจารย์ นายแพทย์ปิยะมิตร ศรีธรา อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า ปัจจุบันโลกกำลังเผชิญกับกระแสความเปลี่ยนแปลงใหญ่ๆ ใน 6 มิติ 1. สังคมสูงวัย (Aging Society) ในอีก 8 ปีข้างหน้า ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุระดับสุดยอด (Super… ฟินแลนด์ครองแชมป์ 8 ปีซ้อน ประเทศที่มีความสุขที่สุดในโลก 2025 ไทยขยับขึ้นอันดับ 49 EZ WebmasterMarch 21, 2025 ฟินแลนด์ ยังคงรักษาตำแหน่งประเทศที่มีความสุขที่สุดในโลกเป็นปีที่ 8 ติดต่อกัน ตามรายงานความสุขโลก (World Happiness Report) ประจำปี 2025 ซึ่งจัดทำโดยศูนย์วิจัยความเป็นอยู่ที่ดี (Wellbeing Research Centre) แห่งมหาวิทยาลัยอ็อกซ์ฟอร์ด รายงานนี้เผยแพร่ในช่วงวันความสุขสากล (International Day of Happiness)… สจล. ร่วมกับโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์อินเตอร์เนชั่นแนล พัฒนาหลักสูตรและการจัดการเนื้อหาสู่การเรียนในแพลตฟอร์มออนไลน์ EZ WebmasterMarch 21, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี อธิการบดี และรศ. นพ.ทวีสิน ตันประยูร ประธานปฏิบัติการด้านการแพทย์ โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์อินเตอร์เนชั่นแนล ร่วมกันลงนามในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ เพื่อการพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเนื้อหาการเรียนรู้ออนไลน์ ผ่าน KMITL Masterclass ซึ่งเป็นแพลตฟอร์มออนไลน์ของ… นักศึกษา มทร.ธัญบุรี โชว์ไอเดีย “กระเป๋าผ้าทอใยไผ่” ตอบโจทย์ความยั่งยืน ในนิทรรศการศิลปนิพนธ์ 2025 tui sakrapeeMarch 20, 2025 นักศึกษาชั้นปีที่ 4 จากภาควิชาศิลปะการออกแบบและเทคโนโลยี คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้ร่วมกันจัดนิทรรศการศิลปนิพนธ์เพื่อเผยแพร่ผลงานสู่สาธารณชน พร้อมฝึกประสบการณ์จริงในการจัดแสดงผลงานออกแบบ ภายในงานได้รวบรวมผลงานจาก 4 สาขาวิชา ได้แก่ ออกแบบนิเทศศิลป์ ออกแบบภายใน ออกแบบผลิตภัณฑ์ และนวัตกรรมการออกแบบผลิตภัณฑ์ร่วมสมัย จัดขึ้น ณ ศูนย์การค้ายูเนี่ยน มอลล์ โซน CoEvent Studio กรุงเทพฯ… ทุนดีดี สกสค. ร่วมกับ CP All มอบ 100 ทุนเรียนฟรี 100% ระดับ ปวช. ปวส. และปริญญาตรี EZ WebmasterMarch 21, 2025 กสค. ร่วมกับ CP All มอบทุนเรียนฟรี !! 100% ล่าสุดขยายโอกาสเพิ่มอีก 9 สาขาใหม่ เพิ่มทางเลือกให้เยาวชนก้าวไกล ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ศึกษาที่วิทยาลัยปัญญาภิวัฒน์ และศูนย์การเรียนฯ ทั่วประเทศ 20 แห่ง ทุนการศึกษาระดับ… ให้ทุนเยาวชน ODOS Summer Camp ไปเรียนซัมเมอร์ต่างประเทศ 6 สัปดาห์ เริ่มสมัครได้ 24 มี.ค.นี้ EZ WebmasterMarch 21, 2025 ODOS Summer Camp ทุนการศึกษาระยะสั้น 6 สัปดาห์ เพื่อกระจายโอกาสให้เด็กไทยทุกคนได้มีโอกาสไปเรียนซัมเมอร์ต่างประเทศ เปิดหูเปิดตา ค้นหาตัวตน และสร้างแรงบันดาลใจในการเรียนรู้ โดยไม่จำเป็นต้องเป็นเด็กเก่ง เด็กเรียน หรือเด็กหน้าห้อง เปิดรับเยาวชนที่มีคุณสมบัติดังนี้ – สัญชาติไทย – อายุไม่เกิน… ธนาคารแห่งประเทศไทย เปิดรับสมัครทุนระดับปริญญาโทขึ้นไป เรียนต่อที่ประเทศอังกฤษ EZ WebmasterMarch 17, 2025 ประกาศเปิดรับสมัครทุนการศึกษา Dr. Puey Ungphakorn Centenary Scholarship ประจำปี 2568 ธนาคารแห่งประเทศไทย เปิดรับสมัครทุนการศึกษาระดับปริญญาโทขึ้นไป เพื่อศึกษาต่อที่ The London School of Economics and Political… กสศ. ร่วมกับคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ให้ทุนเรียนฟรี ผู้ช่วยพยาบาล EZ WebmasterMarch 17, 2025 กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา(กสศ.)ร่วมกับคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ——————————————————- “รับสมัครนักศึกษาเพื่อรับทุน” หลักสูตรประกาศนียบัตรผู้ช่วยพยาบาล (PN) (สำหรับนักศึกษา PN รุ่นที่ 3) *** เรียนฟรี!! รับค่าใช้จ่ายเดือนละ 7,500 บาท จบแล้วไม่ต้องใช้ทุน **** จำนวน… ครู-อาจารย์ มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค EZ WebmasterMarch 21, 2025 ศาสตราจารย์ นายแพทย์ปิยะมิตร ศรีธรา อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า ปัจจุบันโลกกำลังเผชิญกับกระแสความเปลี่ยนแปลงใหญ่ๆ ใน 6 มิติ 1. สังคมสูงวัย (Aging Society) ในอีก 8 ปีข้างหน้า ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุระดับสุดยอด (Super… รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน EZ WebmasterMarch 21, 2025 รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน พร้อมจ่ายเงินอุดหนุนการศึกษาและพัฒนาอาชีพ ผ่านกสศ. ขณะที่ Microsoft หนุน ศูนย์ดิจิทัลชุมชน ยกระดับทักษะAI เพิ่มโอกาสมีงานทำ พร้อมจับมือ UNICEF สร้าง 1… Kahoot! เปิดตัว Kahoot! Energize ปฏิวัติการประชุมให้มีพลังและสร้างผลกระทบที่เหนือกว่า EZ WebmasterMarch 21, 2025 เปลี่ยนทุกการนำเสนอในที่ทำงานให้กลายเป็นการสื่อสารสองทาง สร้างประสบการณ์ที่น่าสนใจ เต็มไปด้วยความมีชีวิตชีวาและการมีส่วนร่วมที่แท้จริง กระตุ้นการมีส่วนร่วมจากผู้ฟังและขับเคลื่อน ผลลัพธ์ทางธุรกิจไปอีกขั้นด้วย Kahoot! Energize Kahoot! (คาฮู้ด) ผู้นำด้านการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมระดับโลกได้เปิดตัวเครื่องมือใหม่ Kahoot! Energize ที่จะเปลี่ยนทุกการประชุม การฝึกอบรม หรือกิจกรรมต่างๆ ให้กลายเป็นช่วงเวลาที่เต็มไปด้วยพลังและความสนุก พร้อมกระตุ้นการมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ สร้างผลกระทบที่มีความหมาย และขับเคลื่อนธุรกิจไปข้างหน้า การพัฒนา Kahoot! Energize ต่อยอดจากรูปแบบการเรียนรู้และการมีส่วนร่วม อันเป็นเอกลักษณ์ที่ได้รับความนิยมของ Kahoot! แต่เพิ่มความสามารถในการใช้งานในสภาพแวดล้อมการทำงานที่หลากหลาย… สมศ. เน้นย้ำการประเมินคุณภาพภายนอก ปี 67-71 ลดวันประเมิน On site ขยายสู่รูปแบบออนไลน์ สร้างมาตรฐานในการแข่งขันระดับอาเซียน EZ WebmasterMarch 20, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยในการประชุมรับฟังความคิดเห็น (ร่าง) กรอบแนวทางการประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษาที่จัดการเรียนรู้ในสังกัดกรมส่งเสริมการเรียนรู้ (สกร.) โดยเน้นย้ำเรื่อง “แนวคิดและทิศทางการประกันคุณภาพภายนอก” ว่า การประกันคุณภาพภายนอกไม่ใช่เป็น “การตรวจสอบ” แต่เป็นเครื่องมือที่ช่วยส่งเสริมการพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษาอย่างแท้จริง… กิจกรรม รวมพลังสีชมพูจุฬาฯ กลับบ้านสู่ร่มจามจุรี ในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” EZ WebmasterMarch 14, 2025 สมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (สนจ.) เชิญชวนชาวจุฬาฯ ทั้งนิสิตเก่าและนิสิตปัจจุบัน เดินทางกลับบ้านในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” ร่วมฉลองวาระสำคัญ ครบรอบ 108 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในบรรยากาศแห่งความรักความสามัคคี และความผูกพันของเหล่าน้องพี่สีชมพู ภายใต้ร่มเงาของจามจุรี นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย… สจล. ผนึกกำลังตำรวจภูธรภาค 2 และบริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จำกัด (สำนักงานใหญ่) พัฒนาโครงการ “AI Robot รับแจ้งความ” ประมวลผลถูกต้องและมีประสิทธิภาพ EZ WebmasterMarch 13, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี ร่วมด้วยพลตำรวจโท ยิ่งยศ เทพจำนงค์ (คนที่ 3 จากซ้าย) ผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 2… สจล. ร่วมกับกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน มุ่งยกระดับฝีมือแรงงาน สอดคล้องความต้องการในอนาคต EZ WebmasterMarch 10, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี และนายเดชา พฤกษ์พัฒนรักษ์ (คนที่ 3 จากซ้าย) อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ได้ลงในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการร่วมกัน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่นักศึกษาของสถาบันก่อนเข้าสู่ตลาดแรงงานในสาขาอาชีพต่าง… ปิดฉาก “HigherEd for PWD” ระยะที่ 1 เสริมสมรรถนะคนพิการสู่ตลาดแรงงานจริง EZ WebmasterMarch 10, 2025 เมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2568 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) ร่วมกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) และมหาวิทยาลัยเครือข่าย 5 แห่ง จัดแถลงข่าวสรุปผลและปิดโครงการการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาศักยภาพคนพิการเพื่อการประกอบอาชีพ ผ่านโมเดลการฝึกอบรม-ฝึกงานคนพิการ มจธ. HigherEd for PWD ระยะที่ 1 ซึ่งเป็นโครงการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อพัฒนาศักยภาพคนพิการสู่การประกอบอาชีพในตลาดแรงงานจริง ที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ซึ่งจัดขึ้น ณ ห้อง Auditorium ชั้น 3 อาคารการเรียนรู้พหุวิทยาการ (LX) มจธ. บางมด กรุงเทพฯ โดยได้รับเกียรติจาก นายวราวุธ… Search for: Search EZ Webmaster December 25, 2019 EZ Webmaster December 25, 2019 ส่องระบบการศึกษาของ “อินเดีย” อีกหนึ่งประเทศที่ติดอันดับการเรียนต่อของนักศึกษาต่างชาติ ประเทศอินเดียเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 7 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับ2 รองจากจีน เป็นประเทศที่มีวัฒนธรรมยุคแรกๆ ของโลก มีประชาธิปไตยที่เก่าแก่และเข้มแข็งเป็นอย่างมาก ในขณะเดียวกันก็เป็นประเทศที่มีความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และระบบการศึกษาที่มีคุณภาพติดอันดับโลก โดยอินเดียติดอันดับประเทศที่น่าไปศึกษาต่อทั้งในระดับเอเชียและระดับโลก นอกจากนี้ยังเป็นประเทศที่มีมหาวิทยาลัยและวิทยาลัยกว่า 20,000 แห่ง ที่สร้างมาเพื่อรองรับจำนวนนักศึกษากว่า 8 ล้านคนในช่วงเวลาระหว่างปี 2000 – 2010 อินเดียประกอบด้วยประชากรหลายชนเผ่าหลากหลายวัฒนธรรมประเพณี และศาสนา รวมทั้งภาษาที่ใช้ในการสื่อสารก็มีมากกว่าแปดร้อยภาษา นอกจากนี้ยอินเดียยังเคยเป็นอาณานิคมของสหราชอาณาจักรอยู่นานเกือบสองร้อยปี ทำให้เป็นประเทศที่มีภาษาอังกฤษที่หยั่งรากลึก และถูกใช้เป็นภาษาทางราชการมานานกว่าร้อยปี ทำให้พื้นฐานภาษาอังกฤษของคนอินเดียถูกจัดอันดับให้อยู่ในระดับต้นๆ ของเอเชีย สำหรับนักศึกษาต่างชาติที่จะไปศึกษาต่อที่อินเดียนั้น จะได้พบกับการศึกษาที่อินเดียแบ่งออกเป็นหลายระบบ ซึ่งแต่ละระบบจะมีภาษาอังกฤษเป็นภาคบังคับ เท่ากับว่าผู้เรียนจะได้ศึกษาวิชาการที่เข้มข้นและยังได้เรียนภาษาอังกฤษกับเจ้าของภาษาโดยตรงอีกด้วย สำหรับระบบการศึกษาในอินเดีย การศึกษาขั้นพื้นฐานในโรงเรียนของอินเดียจะแบ่งออกเป็น ประถม มัธยมต้น และมัธยมปลาย (Grade 11-12) โดยแบ่งหลักสูตรออกเป็น: 1.ระดับอนุบาล (Kindergarten) >> อนุบาล 1 – อนุบาล 3 2.ระดับประถมศึกษา (Primary Education) >> ประถมศึกษา 1 – ประถมศึกษา 6 3.ระดับมัธยมศึกษา (Secondary Education) มัธยมศึกษาตอนต้น (High School Education) >> มัธยมศึกษาปีที่ 1 – มัธยมศึกษาปีที่ 4 มัธยมศึกษตอนปลาย (Higher School Education) >> มัธยมศึกษาปีที่ 5 – มัธยมศึกษาปีที่ 6 4.ระดับอุดมศึกษา (Higher Education) -ระดับปริญญาตรี (Bachelor Degree) -ระดับปริญญาโท (Master Degree) -ระดับ Master of Philosophy (M.Phil) -ระดับปริญญาเอก (Doctoral Degree) สำหรับระบบการเรียนของโรงเรียนในประเทศอินเดียแบ่งออกเป็น 2 หลักสูตรใหญ่ๆ คือ หลักสูตรที่จัดตั้งโดยรัฐบาลอินเดีย โรงเรียนระบบ CBSE (Central Board of Scondary Education) โรงเรียนระบบ ICSE (Indian Certificate of Secondary Education) โดยทั้งสองระบบนี้จะใช้ภาษาอังกฤษในการเรียน การสอนเท่านั้น และมีภาษาที่ 2 ให้เลือกคือ เยอรมัน ฝรั่งเศส ญี่ปุ่น ซึ่งความแตกต่างของ 2 ระบบ คือหนังสือเรียนจะไม่เหมือนกัน แต่เนื้อหาจะไปในทางเดียวกัน เนื่องจากทั้ง 2 ระบบ ขึ้นกับกระทรวงศึกษาธิการของอินเดียเหมือนกัน แต่แบ่งเป็น 2 ระบบ เนื่องจากอินเดียเป็นประเทศใหญ่และมีประชากรมาก หากมีหน่วยงานดูแลเพียงหน่วยงานเดียวจะไม่สามารถดูแลได้ทั่วถึง โดยในอดีตจะขึ้นกับระบบ CBSE เป็นส่วนใหญ่ แต่ในปัจจุบันระบบที่มีโรงเรียนจดทะเบียนมากที่สุดคือ CBSE โดยทั้ง 2 ระบบนี้ เมื่อเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 จนจบแล้วก็จะได้รับอนุญาตให้เรียนต่อในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (Secondary School) คือมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 4 หรือที่อินเดียเรียนว่า Class 7 – 10 ในชั้นเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 4 (Class 10) เด็กจะต้องทำคะแนนให้ดีและเมื่อขึ้นระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ม. 5 – 6 (Classs 11 – 12) นักเรียนจะต้องนำผลการสอบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มาวัดผลเพื่อเลือกสาขาที่จะเรียน ดังนี้ คะแนน 65% – 80% ขึ้นไปจะเลือกได้ทั้งสายวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ และสายศิลป์ คะแนน 40% – 64% สามารถเลือกสายศิลป์ได้ ซึ่งสำหรับเด็กที่จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 (Class 10) จากประเทศไทยและต้องการศึกษาต่อในสายวิชาใดได้บ้าง โรงเรียนที่ขึ้นกับกองกรรมาธิการศึกษาอินเดียทั้ง 2 ระบบนั้น ได้รับการรับรองวิทยาฐานะจากกระทรวงศึกษาธิการไทยทุกโรงเรียน เมื่อเรียนจบมัธยมศึกษาปีที่ 6 (Class 12) จากอินเดียแล้วสามารถนำไปเข้ามหาวิทยาลัยและวิทยาลัยทุกแห่งในประเทศไทยได้เลย และหากต้องการศึกษาต่อในประเทศอื่น เช่น อเมริกา อังกฤษ ออสเตรเลีย ฯลฯ ก็สามารถนำไปเข้าศึกษาระดับปริญญาตรีได้เลย หรือหากต้องศึกษาในประเทศอินเดียก็สามารถศึกษาในระดับปริญญาตรีได้เช่นกัน หลักสูตรนานาชาติ ระบบ IGCSE (International General Certificate of Secondary Education) ซึ่งในระบบนี้จะเริ่มสอบตั้งแต่ม.3 หรือ Class 9 โดยเมื่อนักเรียนจบม.2 หรือ Class 8 แล้ว หากจะเรียนระบบ IGCSE (International General Certificate of Secondary Education) หรือเรียกอีกอย่างว่า University of Cambridge System นักเรียนจะต้องเลือกเรียน 5 วิชา เมื่อสอบผ่านครบ 5 วิชา (โดยปกติแล้วนักเรียนจะสอบผ่านได้ภายใน 2 ปี) เมื่อผ่านละจะได้ประกาศนียบัตร O Level ซึ่งเมืองไทยเทียบเท่า ม.6 และสามารถนำกลับมหาวิทยาลัยในประเทศไทยได้เลย เช่น มหาวิทยาลัยอินเตอร์ มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์ภาคอินเตอร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ภาคอินเตอร์ แต่ถ้าน้องๆประสงค์จะไปเรียนต่อมหาวิทยาลัยในประเทศอื่นๆ น้องๆ จะต้องเรียนต่ออีก 3 วิชาซึ่งเมื่อสอบผ่านอีก 3 วิชาแล้ว น้องๆจะต้องรับประกาศนียบัตร A Level ซึ่งใช้เข้าเรียนต่อมหาวิทยาลัยได้เลย ระบบนี้ น้องๆจะประหยัดเวลาได้ 2 ปี หาจบหลักสูตร O Level แล้วน้องๆ กลับมาเรียนต่อมหาวิทยาลัยในประเทศไทย International Bacalareatr (IB) หรือหลักสูตรนานาชาติ หลักสูตร IB บริหารจัดการโดย International Baccalaureate Organization (IBO) ซึ่งเป็นองค์กรไม่แสวงหาผลกำไรจากสวิตเซอร์แลนด์ หลักสูตร IB แบ่งออกเป็น 3 ระดับ คือ The Primary Year Programme (อนุบาล ถึง เกรด 5) The Middle Year Programma (เกรด 6-10) The Diploma Programma (เกรด 11-12) การศึกษาขั้นสูงหรือระดับอุดมศึกษา สถาบันการศึกษาขั้นสูงที่จัดการเรียนการสอน ในระดับปริญญาตรี-โท-เอก ได้แก่ มหาวิทยาลัย รวมถึงมหาวิทยาลัยเฉพาะทางด้านเกษตรกรรมและแพทยศาสตร์ โดยแบ่งออกเป็น มหาวิทยาลัยส่วนกลาง (central universities) และมหาวิทยาลัยของรัฐ (state universities) สถาบันที่ได้รับการรับรองวิทยะฐานะเทียบเท่ามหาวิทยาลัย (deemed universities) ซึ่งมักมีขนาดเล็กและเปิดสอนวิชาเฉพาะทาง สถาบันที่มีความสำคัญระดับชาติหรือสถาบันที่เทียบเท่ามหาวิทยาลัย ซึ่งได้รับงบประมาณสนับสนุนจากรัฐบาลหรือก่อตั้งโดยรัฐบาล รวมถึงสถาบันเทคโนโลยีแห่งอินเดีย (Indian Institute of Technology – IIT) ซึ่งปัจจุบันมี 15 แห่งทั่วประเทศ และสถาบันการจัดการแห่งอินเดีย (Indian Institute of Management) ซึ่งปัจจุบันมี 6 แห่งทั่วประเทศ วิทยาลัยเทคโนโลยีและมหาวิทยาลัยเปิด สถาบันวิจัยภายใต้การกำกับดูแลของสภาวิจัยด้านสังคมศาสตร์อินเดีย (Indian Council of Social Science Research) ศูนย์ปฏิบัติการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ และวิทยาลัยกว่า 10,000 แห่งทั่วประเทศ ซึ่งอยู่ภายใต้การควบคุมดูแลของมหาวิทยาลัย สถาบันการศึกษาของเอกชน ซึ่งรวมถึงสถาบันสอนภาษา สถาบันกวดวิชา สถาบันสอนวิชาคอมพิวเตอร์ ค่าเล่าเรียน ในอินเดียจะแตกต่างกันไปในแต่ละสถาบัน โดยมหาวิทยาลัยรัฐจะได้มีค่าเล่าเรียนที่ถูกกว่าเอกชนเนื่องจากได้รับการสนับสนุนจากรัฐ โดยพลเมืองอินเดียจะต้องจ่ายค่าเล่าเรียนต่อปีสูงสุด 100 เหรียญ (ประมาณ 3,200 บาท) เพื่อเข้าเรียนต่อในมหาวิทยาลัยรัฐ ในขณะที่วิทยาลัยเอกชนอาจมีค่าเล่าเรียนสูงกว่าอยู่ที่ 400 – 25,000 เหรียญต่อปี (ประมาณ 13,000 – 817,000 บาท) ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสถาบันและหลักสูตรที่เลือกเรียนด้วย โดยสำหรับนักศึกษาต่างชาติก็มีทุนช่วยเหลือสำหรับนักศึกษาต่างชาติทั้งแบบช่วยเหลือบางส่วนและแบบเต็มจำนวนอีกด้วย สำหรับนักศึกษาต่างชาติที่กำลังมองหาประเทศในการไปเรียนต่อที่มีระดับการศึกษาที่มีคุณภาพ มีสถาบันการศึกษาให้เลือกกว่า 20,000 แห่ง มีแหล่งรวมวัฒนธรรม และมีหลักสูตรการเรียนที่มีคุณภาพทั้งด้านวิชาการและภาษาแล้วล่ะก็ “อินเดีย” ก็นับว่าเป็นอีกหนึ่งตัวเลือกที่น่าสนใจไม่น้อยเลยทีเดียว ขอบคุณข้อมูลจาก :https://www.scholarship.in.th/masters-degrees-in-india-2019/ :http://sameaf.mfa.go.th/th/education/detail.php?ID=3246 :http://goodythailand.com/pagecontent.asp?id=17457 :https://gbc-goody.com ขอบคุณรูปภาพจาก : https://moneydoneright.com/how-to-save-money-while-studying-abroad/ : https://www.thestatesman.com/books-education/paradigm-shift-indian-education-1502743171.html : https://spontaneousorder.in/indias-human-capital/ : https://www.technologyforyou.org/study-in-india-programme-launched-with-the-launch-of-study-in-india-portal-by-smt-sushma-swaraj-in-new-delhi/ EZ Webmaster Related Posts ปิดเทอมนี้ สสวท. กระตุ้นต่อมคิดพิชิตปัญหาฟิสิกส์หรรษา กับ “ไขปริศนาวิทยากล” มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค รวมเฉลยทุกวิชา A-Level 68 ฟินแลนด์ครองแชมป์ 8 ปีซ้อน ประเทศที่มีความสุขที่สุดในโลก 2025 ไทยขยับขึ้นอันดับ 49 สจล. ร่วมกับโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์อินเตอร์เนชั่นแนล พัฒนาหลักสูตรและการจัดการเนื้อหาสู่การเรียนในแพลตฟอร์มออนไลน์ Post navigation PREVIOUS Previous post: รู้ก่อนไปเรียนต่อ… ค่าใช้จ่ายในการไปเรียนต่อประเทศอังกฤษและอเมริกาNEXT Next post: แนะสายอาชีพมาแรงแห่งอนาคต “อาชีพดูแลผู้สูงอายุ” Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
รวมเฉลยทุกวิชา A-Level 68 EZ WebmasterMarch 21, 2025 รวมเฉลยทุกวิชา A-Level 68 จาก ทปอ. หากน้อง ๆ มีข้อโต้แย้งเฉลยสามารถกดในระบบเพื่อทักท้วงได้ A-Level 61 Math1 วิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 A-Level 62 Math2 วิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 2… มอนเดลีซ สำเร็จภารกิจ “โรงเรียนรักษ์โลก แยกขยะลุ้นโชคกับมอนเดลีซ ปี 3” ปลูกฝังวัฒนธรรมแยกขยะให้แก่เยาวชนไทยกว่า 20,000 คน เพื่อโลกสีเขียวที่ยั่งยืน EZ WebmasterMarch 21, 2025 โครงการ “โรงเรียนรักษ์โลก แยกขยะลุ้นโชคกับมอนเดลีซ ปี 3” จัดขึ้นโดย บริษัท มอนเดลีซ อินเตอร์เนชันแนล (ประเทศไทย) จำกัด ร่วมกับ กรุงเทพมหานคร และ แทรชลัคกี้ ได้บรรลุเป้าหมายสำคัญในการสร้างจิตสำนึกด้านสิ่งแวดล้อมแก่เยาวชนไทย ด้วยความมุ่งมั่นในการขับเคลื่อนพฤติกรรมการจัดการขยะอย่างยั่งยืน โดยโครงการนี้ได้ปลูกฝังแนวคิดการคัดแยกขยะให้กับนักเรียนมากกว่า… วิทยาลัยทองสุข เปิดรับนักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2568 ครั้งใหญ่ ครบทุกระดับ ปริญญาตรี ปริญญาโทและปริญญาเอก พร้อม INTERNATIONAL PROGRAM tui sakrapeeMarch 20, 2025 วิทยาลัยทองสุข Thongsook College รับสมัครนักศึกษาใหม่ ปี 2568 ภาคเรียนที่ 1 เริ่มเรียน มิถุนายน 2568 #ระดับปริญญาตรี –หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต B.B.A. สาขาวิชาการจัดการ 4 ปี สาขาวิชาการจัดการ… นักศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค EZ WebmasterMarch 21, 2025 ศาสตราจารย์ นายแพทย์ปิยะมิตร ศรีธรา อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า ปัจจุบันโลกกำลังเผชิญกับกระแสความเปลี่ยนแปลงใหญ่ๆ ใน 6 มิติ 1. สังคมสูงวัย (Aging Society) ในอีก 8 ปีข้างหน้า ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุระดับสุดยอด (Super… ฟินแลนด์ครองแชมป์ 8 ปีซ้อน ประเทศที่มีความสุขที่สุดในโลก 2025 ไทยขยับขึ้นอันดับ 49 EZ WebmasterMarch 21, 2025 ฟินแลนด์ ยังคงรักษาตำแหน่งประเทศที่มีความสุขที่สุดในโลกเป็นปีที่ 8 ติดต่อกัน ตามรายงานความสุขโลก (World Happiness Report) ประจำปี 2025 ซึ่งจัดทำโดยศูนย์วิจัยความเป็นอยู่ที่ดี (Wellbeing Research Centre) แห่งมหาวิทยาลัยอ็อกซ์ฟอร์ด รายงานนี้เผยแพร่ในช่วงวันความสุขสากล (International Day of Happiness)… สจล. ร่วมกับโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์อินเตอร์เนชั่นแนล พัฒนาหลักสูตรและการจัดการเนื้อหาสู่การเรียนในแพลตฟอร์มออนไลน์ EZ WebmasterMarch 21, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี อธิการบดี และรศ. นพ.ทวีสิน ตันประยูร ประธานปฏิบัติการด้านการแพทย์ โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์อินเตอร์เนชั่นแนล ร่วมกันลงนามในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ เพื่อการพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเนื้อหาการเรียนรู้ออนไลน์ ผ่าน KMITL Masterclass ซึ่งเป็นแพลตฟอร์มออนไลน์ของ… นักศึกษา มทร.ธัญบุรี โชว์ไอเดีย “กระเป๋าผ้าทอใยไผ่” ตอบโจทย์ความยั่งยืน ในนิทรรศการศิลปนิพนธ์ 2025 tui sakrapeeMarch 20, 2025 นักศึกษาชั้นปีที่ 4 จากภาควิชาศิลปะการออกแบบและเทคโนโลยี คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้ร่วมกันจัดนิทรรศการศิลปนิพนธ์เพื่อเผยแพร่ผลงานสู่สาธารณชน พร้อมฝึกประสบการณ์จริงในการจัดแสดงผลงานออกแบบ ภายในงานได้รวบรวมผลงานจาก 4 สาขาวิชา ได้แก่ ออกแบบนิเทศศิลป์ ออกแบบภายใน ออกแบบผลิตภัณฑ์ และนวัตกรรมการออกแบบผลิตภัณฑ์ร่วมสมัย จัดขึ้น ณ ศูนย์การค้ายูเนี่ยน มอลล์ โซน CoEvent Studio กรุงเทพฯ… ทุนดีดี สกสค. ร่วมกับ CP All มอบ 100 ทุนเรียนฟรี 100% ระดับ ปวช. ปวส. และปริญญาตรี EZ WebmasterMarch 21, 2025 กสค. ร่วมกับ CP All มอบทุนเรียนฟรี !! 100% ล่าสุดขยายโอกาสเพิ่มอีก 9 สาขาใหม่ เพิ่มทางเลือกให้เยาวชนก้าวไกล ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ศึกษาที่วิทยาลัยปัญญาภิวัฒน์ และศูนย์การเรียนฯ ทั่วประเทศ 20 แห่ง ทุนการศึกษาระดับ… ให้ทุนเยาวชน ODOS Summer Camp ไปเรียนซัมเมอร์ต่างประเทศ 6 สัปดาห์ เริ่มสมัครได้ 24 มี.ค.นี้ EZ WebmasterMarch 21, 2025 ODOS Summer Camp ทุนการศึกษาระยะสั้น 6 สัปดาห์ เพื่อกระจายโอกาสให้เด็กไทยทุกคนได้มีโอกาสไปเรียนซัมเมอร์ต่างประเทศ เปิดหูเปิดตา ค้นหาตัวตน และสร้างแรงบันดาลใจในการเรียนรู้ โดยไม่จำเป็นต้องเป็นเด็กเก่ง เด็กเรียน หรือเด็กหน้าห้อง เปิดรับเยาวชนที่มีคุณสมบัติดังนี้ – สัญชาติไทย – อายุไม่เกิน… ธนาคารแห่งประเทศไทย เปิดรับสมัครทุนระดับปริญญาโทขึ้นไป เรียนต่อที่ประเทศอังกฤษ EZ WebmasterMarch 17, 2025 ประกาศเปิดรับสมัครทุนการศึกษา Dr. Puey Ungphakorn Centenary Scholarship ประจำปี 2568 ธนาคารแห่งประเทศไทย เปิดรับสมัครทุนการศึกษาระดับปริญญาโทขึ้นไป เพื่อศึกษาต่อที่ The London School of Economics and Political… กสศ. ร่วมกับคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ให้ทุนเรียนฟรี ผู้ช่วยพยาบาล EZ WebmasterMarch 17, 2025 กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา(กสศ.)ร่วมกับคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ——————————————————- “รับสมัครนักศึกษาเพื่อรับทุน” หลักสูตรประกาศนียบัตรผู้ช่วยพยาบาล (PN) (สำหรับนักศึกษา PN รุ่นที่ 3) *** เรียนฟรี!! รับค่าใช้จ่ายเดือนละ 7,500 บาท จบแล้วไม่ต้องใช้ทุน **** จำนวน… ครู-อาจารย์ มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค EZ WebmasterMarch 21, 2025 ศาสตราจารย์ นายแพทย์ปิยะมิตร ศรีธรา อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า ปัจจุบันโลกกำลังเผชิญกับกระแสความเปลี่ยนแปลงใหญ่ๆ ใน 6 มิติ 1. สังคมสูงวัย (Aging Society) ในอีก 8 ปีข้างหน้า ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุระดับสุดยอด (Super… รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน EZ WebmasterMarch 21, 2025 รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน พร้อมจ่ายเงินอุดหนุนการศึกษาและพัฒนาอาชีพ ผ่านกสศ. ขณะที่ Microsoft หนุน ศูนย์ดิจิทัลชุมชน ยกระดับทักษะAI เพิ่มโอกาสมีงานทำ พร้อมจับมือ UNICEF สร้าง 1… Kahoot! เปิดตัว Kahoot! Energize ปฏิวัติการประชุมให้มีพลังและสร้างผลกระทบที่เหนือกว่า EZ WebmasterMarch 21, 2025 เปลี่ยนทุกการนำเสนอในที่ทำงานให้กลายเป็นการสื่อสารสองทาง สร้างประสบการณ์ที่น่าสนใจ เต็มไปด้วยความมีชีวิตชีวาและการมีส่วนร่วมที่แท้จริง กระตุ้นการมีส่วนร่วมจากผู้ฟังและขับเคลื่อน ผลลัพธ์ทางธุรกิจไปอีกขั้นด้วย Kahoot! Energize Kahoot! (คาฮู้ด) ผู้นำด้านการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมระดับโลกได้เปิดตัวเครื่องมือใหม่ Kahoot! Energize ที่จะเปลี่ยนทุกการประชุม การฝึกอบรม หรือกิจกรรมต่างๆ ให้กลายเป็นช่วงเวลาที่เต็มไปด้วยพลังและความสนุก พร้อมกระตุ้นการมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ สร้างผลกระทบที่มีความหมาย และขับเคลื่อนธุรกิจไปข้างหน้า การพัฒนา Kahoot! Energize ต่อยอดจากรูปแบบการเรียนรู้และการมีส่วนร่วม อันเป็นเอกลักษณ์ที่ได้รับความนิยมของ Kahoot! แต่เพิ่มความสามารถในการใช้งานในสภาพแวดล้อมการทำงานที่หลากหลาย… สมศ. เน้นย้ำการประเมินคุณภาพภายนอก ปี 67-71 ลดวันประเมิน On site ขยายสู่รูปแบบออนไลน์ สร้างมาตรฐานในการแข่งขันระดับอาเซียน EZ WebmasterMarch 20, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยในการประชุมรับฟังความคิดเห็น (ร่าง) กรอบแนวทางการประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษาที่จัดการเรียนรู้ในสังกัดกรมส่งเสริมการเรียนรู้ (สกร.) โดยเน้นย้ำเรื่อง “แนวคิดและทิศทางการประกันคุณภาพภายนอก” ว่า การประกันคุณภาพภายนอกไม่ใช่เป็น “การตรวจสอบ” แต่เป็นเครื่องมือที่ช่วยส่งเสริมการพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษาอย่างแท้จริง… กิจกรรม รวมพลังสีชมพูจุฬาฯ กลับบ้านสู่ร่มจามจุรี ในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” EZ WebmasterMarch 14, 2025 สมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (สนจ.) เชิญชวนชาวจุฬาฯ ทั้งนิสิตเก่าและนิสิตปัจจุบัน เดินทางกลับบ้านในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” ร่วมฉลองวาระสำคัญ ครบรอบ 108 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในบรรยากาศแห่งความรักความสามัคคี และความผูกพันของเหล่าน้องพี่สีชมพู ภายใต้ร่มเงาของจามจุรี นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย… สจล. ผนึกกำลังตำรวจภูธรภาค 2 และบริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จำกัด (สำนักงานใหญ่) พัฒนาโครงการ “AI Robot รับแจ้งความ” ประมวลผลถูกต้องและมีประสิทธิภาพ EZ WebmasterMarch 13, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี ร่วมด้วยพลตำรวจโท ยิ่งยศ เทพจำนงค์ (คนที่ 3 จากซ้าย) ผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 2… สจล. ร่วมกับกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน มุ่งยกระดับฝีมือแรงงาน สอดคล้องความต้องการในอนาคต EZ WebmasterMarch 10, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี และนายเดชา พฤกษ์พัฒนรักษ์ (คนที่ 3 จากซ้าย) อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ได้ลงในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการร่วมกัน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่นักศึกษาของสถาบันก่อนเข้าสู่ตลาดแรงงานในสาขาอาชีพต่าง… ปิดฉาก “HigherEd for PWD” ระยะที่ 1 เสริมสมรรถนะคนพิการสู่ตลาดแรงงานจริง EZ WebmasterMarch 10, 2025 เมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2568 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) ร่วมกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) และมหาวิทยาลัยเครือข่าย 5 แห่ง จัดแถลงข่าวสรุปผลและปิดโครงการการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาศักยภาพคนพิการเพื่อการประกอบอาชีพ ผ่านโมเดลการฝึกอบรม-ฝึกงานคนพิการ มจธ. HigherEd for PWD ระยะที่ 1 ซึ่งเป็นโครงการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อพัฒนาศักยภาพคนพิการสู่การประกอบอาชีพในตลาดแรงงานจริง ที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ซึ่งจัดขึ้น ณ ห้อง Auditorium ชั้น 3 อาคารการเรียนรู้พหุวิทยาการ (LX) มจธ. บางมด กรุงเทพฯ โดยได้รับเกียรติจาก นายวราวุธ… Search for: Search EZ Webmaster December 25, 2019 EZ Webmaster December 25, 2019 ส่องระบบการศึกษาของ “อินเดีย” อีกหนึ่งประเทศที่ติดอันดับการเรียนต่อของนักศึกษาต่างชาติ ประเทศอินเดียเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 7 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับ2 รองจากจีน เป็นประเทศที่มีวัฒนธรรมยุคแรกๆ ของโลก มีประชาธิปไตยที่เก่าแก่และเข้มแข็งเป็นอย่างมาก ในขณะเดียวกันก็เป็นประเทศที่มีความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และระบบการศึกษาที่มีคุณภาพติดอันดับโลก โดยอินเดียติดอันดับประเทศที่น่าไปศึกษาต่อทั้งในระดับเอเชียและระดับโลก นอกจากนี้ยังเป็นประเทศที่มีมหาวิทยาลัยและวิทยาลัยกว่า 20,000 แห่ง ที่สร้างมาเพื่อรองรับจำนวนนักศึกษากว่า 8 ล้านคนในช่วงเวลาระหว่างปี 2000 – 2010 อินเดียประกอบด้วยประชากรหลายชนเผ่าหลากหลายวัฒนธรรมประเพณี และศาสนา รวมทั้งภาษาที่ใช้ในการสื่อสารก็มีมากกว่าแปดร้อยภาษา นอกจากนี้ยอินเดียยังเคยเป็นอาณานิคมของสหราชอาณาจักรอยู่นานเกือบสองร้อยปี ทำให้เป็นประเทศที่มีภาษาอังกฤษที่หยั่งรากลึก และถูกใช้เป็นภาษาทางราชการมานานกว่าร้อยปี ทำให้พื้นฐานภาษาอังกฤษของคนอินเดียถูกจัดอันดับให้อยู่ในระดับต้นๆ ของเอเชีย สำหรับนักศึกษาต่างชาติที่จะไปศึกษาต่อที่อินเดียนั้น จะได้พบกับการศึกษาที่อินเดียแบ่งออกเป็นหลายระบบ ซึ่งแต่ละระบบจะมีภาษาอังกฤษเป็นภาคบังคับ เท่ากับว่าผู้เรียนจะได้ศึกษาวิชาการที่เข้มข้นและยังได้เรียนภาษาอังกฤษกับเจ้าของภาษาโดยตรงอีกด้วย สำหรับระบบการศึกษาในอินเดีย การศึกษาขั้นพื้นฐานในโรงเรียนของอินเดียจะแบ่งออกเป็น ประถม มัธยมต้น และมัธยมปลาย (Grade 11-12) โดยแบ่งหลักสูตรออกเป็น: 1.ระดับอนุบาล (Kindergarten) >> อนุบาล 1 – อนุบาล 3 2.ระดับประถมศึกษา (Primary Education) >> ประถมศึกษา 1 – ประถมศึกษา 6 3.ระดับมัธยมศึกษา (Secondary Education) มัธยมศึกษาตอนต้น (High School Education) >> มัธยมศึกษาปีที่ 1 – มัธยมศึกษาปีที่ 4 มัธยมศึกษตอนปลาย (Higher School Education) >> มัธยมศึกษาปีที่ 5 – มัธยมศึกษาปีที่ 6 4.ระดับอุดมศึกษา (Higher Education) -ระดับปริญญาตรี (Bachelor Degree) -ระดับปริญญาโท (Master Degree) -ระดับ Master of Philosophy (M.Phil) -ระดับปริญญาเอก (Doctoral Degree) สำหรับระบบการเรียนของโรงเรียนในประเทศอินเดียแบ่งออกเป็น 2 หลักสูตรใหญ่ๆ คือ หลักสูตรที่จัดตั้งโดยรัฐบาลอินเดีย โรงเรียนระบบ CBSE (Central Board of Scondary Education) โรงเรียนระบบ ICSE (Indian Certificate of Secondary Education) โดยทั้งสองระบบนี้จะใช้ภาษาอังกฤษในการเรียน การสอนเท่านั้น และมีภาษาที่ 2 ให้เลือกคือ เยอรมัน ฝรั่งเศส ญี่ปุ่น ซึ่งความแตกต่างของ 2 ระบบ คือหนังสือเรียนจะไม่เหมือนกัน แต่เนื้อหาจะไปในทางเดียวกัน เนื่องจากทั้ง 2 ระบบ ขึ้นกับกระทรวงศึกษาธิการของอินเดียเหมือนกัน แต่แบ่งเป็น 2 ระบบ เนื่องจากอินเดียเป็นประเทศใหญ่และมีประชากรมาก หากมีหน่วยงานดูแลเพียงหน่วยงานเดียวจะไม่สามารถดูแลได้ทั่วถึง โดยในอดีตจะขึ้นกับระบบ CBSE เป็นส่วนใหญ่ แต่ในปัจจุบันระบบที่มีโรงเรียนจดทะเบียนมากที่สุดคือ CBSE โดยทั้ง 2 ระบบนี้ เมื่อเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 จนจบแล้วก็จะได้รับอนุญาตให้เรียนต่อในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (Secondary School) คือมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 4 หรือที่อินเดียเรียนว่า Class 7 – 10 ในชั้นเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 4 (Class 10) เด็กจะต้องทำคะแนนให้ดีและเมื่อขึ้นระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ม. 5 – 6 (Classs 11 – 12) นักเรียนจะต้องนำผลการสอบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มาวัดผลเพื่อเลือกสาขาที่จะเรียน ดังนี้ คะแนน 65% – 80% ขึ้นไปจะเลือกได้ทั้งสายวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ และสายศิลป์ คะแนน 40% – 64% สามารถเลือกสายศิลป์ได้ ซึ่งสำหรับเด็กที่จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 (Class 10) จากประเทศไทยและต้องการศึกษาต่อในสายวิชาใดได้บ้าง โรงเรียนที่ขึ้นกับกองกรรมาธิการศึกษาอินเดียทั้ง 2 ระบบนั้น ได้รับการรับรองวิทยาฐานะจากกระทรวงศึกษาธิการไทยทุกโรงเรียน เมื่อเรียนจบมัธยมศึกษาปีที่ 6 (Class 12) จากอินเดียแล้วสามารถนำไปเข้ามหาวิทยาลัยและวิทยาลัยทุกแห่งในประเทศไทยได้เลย และหากต้องการศึกษาต่อในประเทศอื่น เช่น อเมริกา อังกฤษ ออสเตรเลีย ฯลฯ ก็สามารถนำไปเข้าศึกษาระดับปริญญาตรีได้เลย หรือหากต้องศึกษาในประเทศอินเดียก็สามารถศึกษาในระดับปริญญาตรีได้เช่นกัน หลักสูตรนานาชาติ ระบบ IGCSE (International General Certificate of Secondary Education) ซึ่งในระบบนี้จะเริ่มสอบตั้งแต่ม.3 หรือ Class 9 โดยเมื่อนักเรียนจบม.2 หรือ Class 8 แล้ว หากจะเรียนระบบ IGCSE (International General Certificate of Secondary Education) หรือเรียกอีกอย่างว่า University of Cambridge System นักเรียนจะต้องเลือกเรียน 5 วิชา เมื่อสอบผ่านครบ 5 วิชา (โดยปกติแล้วนักเรียนจะสอบผ่านได้ภายใน 2 ปี) เมื่อผ่านละจะได้ประกาศนียบัตร O Level ซึ่งเมืองไทยเทียบเท่า ม.6 และสามารถนำกลับมหาวิทยาลัยในประเทศไทยได้เลย เช่น มหาวิทยาลัยอินเตอร์ มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์ภาคอินเตอร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ภาคอินเตอร์ แต่ถ้าน้องๆประสงค์จะไปเรียนต่อมหาวิทยาลัยในประเทศอื่นๆ น้องๆ จะต้องเรียนต่ออีก 3 วิชาซึ่งเมื่อสอบผ่านอีก 3 วิชาแล้ว น้องๆจะต้องรับประกาศนียบัตร A Level ซึ่งใช้เข้าเรียนต่อมหาวิทยาลัยได้เลย ระบบนี้ น้องๆจะประหยัดเวลาได้ 2 ปี หาจบหลักสูตร O Level แล้วน้องๆ กลับมาเรียนต่อมหาวิทยาลัยในประเทศไทย International Bacalareatr (IB) หรือหลักสูตรนานาชาติ หลักสูตร IB บริหารจัดการโดย International Baccalaureate Organization (IBO) ซึ่งเป็นองค์กรไม่แสวงหาผลกำไรจากสวิตเซอร์แลนด์ หลักสูตร IB แบ่งออกเป็น 3 ระดับ คือ The Primary Year Programme (อนุบาล ถึง เกรด 5) The Middle Year Programma (เกรด 6-10) The Diploma Programma (เกรด 11-12) การศึกษาขั้นสูงหรือระดับอุดมศึกษา สถาบันการศึกษาขั้นสูงที่จัดการเรียนการสอน ในระดับปริญญาตรี-โท-เอก ได้แก่ มหาวิทยาลัย รวมถึงมหาวิทยาลัยเฉพาะทางด้านเกษตรกรรมและแพทยศาสตร์ โดยแบ่งออกเป็น มหาวิทยาลัยส่วนกลาง (central universities) และมหาวิทยาลัยของรัฐ (state universities) สถาบันที่ได้รับการรับรองวิทยะฐานะเทียบเท่ามหาวิทยาลัย (deemed universities) ซึ่งมักมีขนาดเล็กและเปิดสอนวิชาเฉพาะทาง สถาบันที่มีความสำคัญระดับชาติหรือสถาบันที่เทียบเท่ามหาวิทยาลัย ซึ่งได้รับงบประมาณสนับสนุนจากรัฐบาลหรือก่อตั้งโดยรัฐบาล รวมถึงสถาบันเทคโนโลยีแห่งอินเดีย (Indian Institute of Technology – IIT) ซึ่งปัจจุบันมี 15 แห่งทั่วประเทศ และสถาบันการจัดการแห่งอินเดีย (Indian Institute of Management) ซึ่งปัจจุบันมี 6 แห่งทั่วประเทศ วิทยาลัยเทคโนโลยีและมหาวิทยาลัยเปิด สถาบันวิจัยภายใต้การกำกับดูแลของสภาวิจัยด้านสังคมศาสตร์อินเดีย (Indian Council of Social Science Research) ศูนย์ปฏิบัติการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ และวิทยาลัยกว่า 10,000 แห่งทั่วประเทศ ซึ่งอยู่ภายใต้การควบคุมดูแลของมหาวิทยาลัย สถาบันการศึกษาของเอกชน ซึ่งรวมถึงสถาบันสอนภาษา สถาบันกวดวิชา สถาบันสอนวิชาคอมพิวเตอร์ ค่าเล่าเรียน ในอินเดียจะแตกต่างกันไปในแต่ละสถาบัน โดยมหาวิทยาลัยรัฐจะได้มีค่าเล่าเรียนที่ถูกกว่าเอกชนเนื่องจากได้รับการสนับสนุนจากรัฐ โดยพลเมืองอินเดียจะต้องจ่ายค่าเล่าเรียนต่อปีสูงสุด 100 เหรียญ (ประมาณ 3,200 บาท) เพื่อเข้าเรียนต่อในมหาวิทยาลัยรัฐ ในขณะที่วิทยาลัยเอกชนอาจมีค่าเล่าเรียนสูงกว่าอยู่ที่ 400 – 25,000 เหรียญต่อปี (ประมาณ 13,000 – 817,000 บาท) ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสถาบันและหลักสูตรที่เลือกเรียนด้วย โดยสำหรับนักศึกษาต่างชาติก็มีทุนช่วยเหลือสำหรับนักศึกษาต่างชาติทั้งแบบช่วยเหลือบางส่วนและแบบเต็มจำนวนอีกด้วย สำหรับนักศึกษาต่างชาติที่กำลังมองหาประเทศในการไปเรียนต่อที่มีระดับการศึกษาที่มีคุณภาพ มีสถาบันการศึกษาให้เลือกกว่า 20,000 แห่ง มีแหล่งรวมวัฒนธรรม และมีหลักสูตรการเรียนที่มีคุณภาพทั้งด้านวิชาการและภาษาแล้วล่ะก็ “อินเดีย” ก็นับว่าเป็นอีกหนึ่งตัวเลือกที่น่าสนใจไม่น้อยเลยทีเดียว ขอบคุณข้อมูลจาก :https://www.scholarship.in.th/masters-degrees-in-india-2019/ :http://sameaf.mfa.go.th/th/education/detail.php?ID=3246 :http://goodythailand.com/pagecontent.asp?id=17457 :https://gbc-goody.com ขอบคุณรูปภาพจาก : https://moneydoneright.com/how-to-save-money-while-studying-abroad/ : https://www.thestatesman.com/books-education/paradigm-shift-indian-education-1502743171.html : https://spontaneousorder.in/indias-human-capital/ : https://www.technologyforyou.org/study-in-india-programme-launched-with-the-launch-of-study-in-india-portal-by-smt-sushma-swaraj-in-new-delhi/ EZ Webmaster Related Posts ปิดเทอมนี้ สสวท. กระตุ้นต่อมคิดพิชิตปัญหาฟิสิกส์หรรษา กับ “ไขปริศนาวิทยากล” มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค รวมเฉลยทุกวิชา A-Level 68 ฟินแลนด์ครองแชมป์ 8 ปีซ้อน ประเทศที่มีความสุขที่สุดในโลก 2025 ไทยขยับขึ้นอันดับ 49 สจล. ร่วมกับโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์อินเตอร์เนชั่นแนล พัฒนาหลักสูตรและการจัดการเนื้อหาสู่การเรียนในแพลตฟอร์มออนไลน์ Post navigation PREVIOUS Previous post: รู้ก่อนไปเรียนต่อ… ค่าใช้จ่ายในการไปเรียนต่อประเทศอังกฤษและอเมริกาNEXT Next post: แนะสายอาชีพมาแรงแห่งอนาคต “อาชีพดูแลผู้สูงอายุ” Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มอนเดลีซ สำเร็จภารกิจ “โรงเรียนรักษ์โลก แยกขยะลุ้นโชคกับมอนเดลีซ ปี 3” ปลูกฝังวัฒนธรรมแยกขยะให้แก่เยาวชนไทยกว่า 20,000 คน เพื่อโลกสีเขียวที่ยั่งยืน EZ WebmasterMarch 21, 2025 โครงการ “โรงเรียนรักษ์โลก แยกขยะลุ้นโชคกับมอนเดลีซ ปี 3” จัดขึ้นโดย บริษัท มอนเดลีซ อินเตอร์เนชันแนล (ประเทศไทย) จำกัด ร่วมกับ กรุงเทพมหานคร และ แทรชลัคกี้ ได้บรรลุเป้าหมายสำคัญในการสร้างจิตสำนึกด้านสิ่งแวดล้อมแก่เยาวชนไทย ด้วยความมุ่งมั่นในการขับเคลื่อนพฤติกรรมการจัดการขยะอย่างยั่งยืน โดยโครงการนี้ได้ปลูกฝังแนวคิดการคัดแยกขยะให้กับนักเรียนมากกว่า… วิทยาลัยทองสุข เปิดรับนักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2568 ครั้งใหญ่ ครบทุกระดับ ปริญญาตรี ปริญญาโทและปริญญาเอก พร้อม INTERNATIONAL PROGRAM tui sakrapeeMarch 20, 2025 วิทยาลัยทองสุข Thongsook College รับสมัครนักศึกษาใหม่ ปี 2568 ภาคเรียนที่ 1 เริ่มเรียน มิถุนายน 2568 #ระดับปริญญาตรี –หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต B.B.A. สาขาวิชาการจัดการ 4 ปี สาขาวิชาการจัดการ…
วิทยาลัยทองสุข เปิดรับนักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2568 ครั้งใหญ่ ครบทุกระดับ ปริญญาตรี ปริญญาโทและปริญญาเอก พร้อม INTERNATIONAL PROGRAM tui sakrapeeMarch 20, 2025 วิทยาลัยทองสุข Thongsook College รับสมัครนักศึกษาใหม่ ปี 2568 ภาคเรียนที่ 1 เริ่มเรียน มิถุนายน 2568 #ระดับปริญญาตรี –หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต B.B.A. สาขาวิชาการจัดการ 4 ปี สาขาวิชาการจัดการ…
มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค EZ WebmasterMarch 21, 2025 ศาสตราจารย์ นายแพทย์ปิยะมิตร ศรีธรา อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า ปัจจุบันโลกกำลังเผชิญกับกระแสความเปลี่ยนแปลงใหญ่ๆ ใน 6 มิติ 1. สังคมสูงวัย (Aging Society) ในอีก 8 ปีข้างหน้า ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุระดับสุดยอด (Super… ฟินแลนด์ครองแชมป์ 8 ปีซ้อน ประเทศที่มีความสุขที่สุดในโลก 2025 ไทยขยับขึ้นอันดับ 49 EZ WebmasterMarch 21, 2025 ฟินแลนด์ ยังคงรักษาตำแหน่งประเทศที่มีความสุขที่สุดในโลกเป็นปีที่ 8 ติดต่อกัน ตามรายงานความสุขโลก (World Happiness Report) ประจำปี 2025 ซึ่งจัดทำโดยศูนย์วิจัยความเป็นอยู่ที่ดี (Wellbeing Research Centre) แห่งมหาวิทยาลัยอ็อกซ์ฟอร์ด รายงานนี้เผยแพร่ในช่วงวันความสุขสากล (International Day of Happiness)… สจล. ร่วมกับโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์อินเตอร์เนชั่นแนล พัฒนาหลักสูตรและการจัดการเนื้อหาสู่การเรียนในแพลตฟอร์มออนไลน์ EZ WebmasterMarch 21, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี อธิการบดี และรศ. นพ.ทวีสิน ตันประยูร ประธานปฏิบัติการด้านการแพทย์ โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์อินเตอร์เนชั่นแนล ร่วมกันลงนามในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ เพื่อการพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเนื้อหาการเรียนรู้ออนไลน์ ผ่าน KMITL Masterclass ซึ่งเป็นแพลตฟอร์มออนไลน์ของ… นักศึกษา มทร.ธัญบุรี โชว์ไอเดีย “กระเป๋าผ้าทอใยไผ่” ตอบโจทย์ความยั่งยืน ในนิทรรศการศิลปนิพนธ์ 2025 tui sakrapeeMarch 20, 2025 นักศึกษาชั้นปีที่ 4 จากภาควิชาศิลปะการออกแบบและเทคโนโลยี คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้ร่วมกันจัดนิทรรศการศิลปนิพนธ์เพื่อเผยแพร่ผลงานสู่สาธารณชน พร้อมฝึกประสบการณ์จริงในการจัดแสดงผลงานออกแบบ ภายในงานได้รวบรวมผลงานจาก 4 สาขาวิชา ได้แก่ ออกแบบนิเทศศิลป์ ออกแบบภายใน ออกแบบผลิตภัณฑ์ และนวัตกรรมการออกแบบผลิตภัณฑ์ร่วมสมัย จัดขึ้น ณ ศูนย์การค้ายูเนี่ยน มอลล์ โซน CoEvent Studio กรุงเทพฯ… ทุนดีดี สกสค. ร่วมกับ CP All มอบ 100 ทุนเรียนฟรี 100% ระดับ ปวช. ปวส. และปริญญาตรี EZ WebmasterMarch 21, 2025 กสค. ร่วมกับ CP All มอบทุนเรียนฟรี !! 100% ล่าสุดขยายโอกาสเพิ่มอีก 9 สาขาใหม่ เพิ่มทางเลือกให้เยาวชนก้าวไกล ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ศึกษาที่วิทยาลัยปัญญาภิวัฒน์ และศูนย์การเรียนฯ ทั่วประเทศ 20 แห่ง ทุนการศึกษาระดับ… ให้ทุนเยาวชน ODOS Summer Camp ไปเรียนซัมเมอร์ต่างประเทศ 6 สัปดาห์ เริ่มสมัครได้ 24 มี.ค.นี้ EZ WebmasterMarch 21, 2025 ODOS Summer Camp ทุนการศึกษาระยะสั้น 6 สัปดาห์ เพื่อกระจายโอกาสให้เด็กไทยทุกคนได้มีโอกาสไปเรียนซัมเมอร์ต่างประเทศ เปิดหูเปิดตา ค้นหาตัวตน และสร้างแรงบันดาลใจในการเรียนรู้ โดยไม่จำเป็นต้องเป็นเด็กเก่ง เด็กเรียน หรือเด็กหน้าห้อง เปิดรับเยาวชนที่มีคุณสมบัติดังนี้ – สัญชาติไทย – อายุไม่เกิน… ธนาคารแห่งประเทศไทย เปิดรับสมัครทุนระดับปริญญาโทขึ้นไป เรียนต่อที่ประเทศอังกฤษ EZ WebmasterMarch 17, 2025 ประกาศเปิดรับสมัครทุนการศึกษา Dr. Puey Ungphakorn Centenary Scholarship ประจำปี 2568 ธนาคารแห่งประเทศไทย เปิดรับสมัครทุนการศึกษาระดับปริญญาโทขึ้นไป เพื่อศึกษาต่อที่ The London School of Economics and Political… กสศ. ร่วมกับคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ให้ทุนเรียนฟรี ผู้ช่วยพยาบาล EZ WebmasterMarch 17, 2025 กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา(กสศ.)ร่วมกับคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ——————————————————- “รับสมัครนักศึกษาเพื่อรับทุน” หลักสูตรประกาศนียบัตรผู้ช่วยพยาบาล (PN) (สำหรับนักศึกษา PN รุ่นที่ 3) *** เรียนฟรี!! รับค่าใช้จ่ายเดือนละ 7,500 บาท จบแล้วไม่ต้องใช้ทุน **** จำนวน… ครู-อาจารย์ มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค EZ WebmasterMarch 21, 2025 ศาสตราจารย์ นายแพทย์ปิยะมิตร ศรีธรา อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า ปัจจุบันโลกกำลังเผชิญกับกระแสความเปลี่ยนแปลงใหญ่ๆ ใน 6 มิติ 1. สังคมสูงวัย (Aging Society) ในอีก 8 ปีข้างหน้า ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุระดับสุดยอด (Super… รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน EZ WebmasterMarch 21, 2025 รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน พร้อมจ่ายเงินอุดหนุนการศึกษาและพัฒนาอาชีพ ผ่านกสศ. ขณะที่ Microsoft หนุน ศูนย์ดิจิทัลชุมชน ยกระดับทักษะAI เพิ่มโอกาสมีงานทำ พร้อมจับมือ UNICEF สร้าง 1… Kahoot! เปิดตัว Kahoot! Energize ปฏิวัติการประชุมให้มีพลังและสร้างผลกระทบที่เหนือกว่า EZ WebmasterMarch 21, 2025 เปลี่ยนทุกการนำเสนอในที่ทำงานให้กลายเป็นการสื่อสารสองทาง สร้างประสบการณ์ที่น่าสนใจ เต็มไปด้วยความมีชีวิตชีวาและการมีส่วนร่วมที่แท้จริง กระตุ้นการมีส่วนร่วมจากผู้ฟังและขับเคลื่อน ผลลัพธ์ทางธุรกิจไปอีกขั้นด้วย Kahoot! Energize Kahoot! (คาฮู้ด) ผู้นำด้านการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมระดับโลกได้เปิดตัวเครื่องมือใหม่ Kahoot! Energize ที่จะเปลี่ยนทุกการประชุม การฝึกอบรม หรือกิจกรรมต่างๆ ให้กลายเป็นช่วงเวลาที่เต็มไปด้วยพลังและความสนุก พร้อมกระตุ้นการมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ สร้างผลกระทบที่มีความหมาย และขับเคลื่อนธุรกิจไปข้างหน้า การพัฒนา Kahoot! Energize ต่อยอดจากรูปแบบการเรียนรู้และการมีส่วนร่วม อันเป็นเอกลักษณ์ที่ได้รับความนิยมของ Kahoot! แต่เพิ่มความสามารถในการใช้งานในสภาพแวดล้อมการทำงานที่หลากหลาย… สมศ. เน้นย้ำการประเมินคุณภาพภายนอก ปี 67-71 ลดวันประเมิน On site ขยายสู่รูปแบบออนไลน์ สร้างมาตรฐานในการแข่งขันระดับอาเซียน EZ WebmasterMarch 20, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยในการประชุมรับฟังความคิดเห็น (ร่าง) กรอบแนวทางการประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษาที่จัดการเรียนรู้ในสังกัดกรมส่งเสริมการเรียนรู้ (สกร.) โดยเน้นย้ำเรื่อง “แนวคิดและทิศทางการประกันคุณภาพภายนอก” ว่า การประกันคุณภาพภายนอกไม่ใช่เป็น “การตรวจสอบ” แต่เป็นเครื่องมือที่ช่วยส่งเสริมการพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษาอย่างแท้จริง… กิจกรรม รวมพลังสีชมพูจุฬาฯ กลับบ้านสู่ร่มจามจุรี ในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” EZ WebmasterMarch 14, 2025 สมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (สนจ.) เชิญชวนชาวจุฬาฯ ทั้งนิสิตเก่าและนิสิตปัจจุบัน เดินทางกลับบ้านในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” ร่วมฉลองวาระสำคัญ ครบรอบ 108 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในบรรยากาศแห่งความรักความสามัคคี และความผูกพันของเหล่าน้องพี่สีชมพู ภายใต้ร่มเงาของจามจุรี นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย… สจล. ผนึกกำลังตำรวจภูธรภาค 2 และบริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จำกัด (สำนักงานใหญ่) พัฒนาโครงการ “AI Robot รับแจ้งความ” ประมวลผลถูกต้องและมีประสิทธิภาพ EZ WebmasterMarch 13, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี ร่วมด้วยพลตำรวจโท ยิ่งยศ เทพจำนงค์ (คนที่ 3 จากซ้าย) ผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 2… สจล. ร่วมกับกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน มุ่งยกระดับฝีมือแรงงาน สอดคล้องความต้องการในอนาคต EZ WebmasterMarch 10, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี และนายเดชา พฤกษ์พัฒนรักษ์ (คนที่ 3 จากซ้าย) อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ได้ลงในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการร่วมกัน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่นักศึกษาของสถาบันก่อนเข้าสู่ตลาดแรงงานในสาขาอาชีพต่าง… ปิดฉาก “HigherEd for PWD” ระยะที่ 1 เสริมสมรรถนะคนพิการสู่ตลาดแรงงานจริง EZ WebmasterMarch 10, 2025 เมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2568 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) ร่วมกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) และมหาวิทยาลัยเครือข่าย 5 แห่ง จัดแถลงข่าวสรุปผลและปิดโครงการการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาศักยภาพคนพิการเพื่อการประกอบอาชีพ ผ่านโมเดลการฝึกอบรม-ฝึกงานคนพิการ มจธ. HigherEd for PWD ระยะที่ 1 ซึ่งเป็นโครงการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อพัฒนาศักยภาพคนพิการสู่การประกอบอาชีพในตลาดแรงงานจริง ที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ซึ่งจัดขึ้น ณ ห้อง Auditorium ชั้น 3 อาคารการเรียนรู้พหุวิทยาการ (LX) มจธ. บางมด กรุงเทพฯ โดยได้รับเกียรติจาก นายวราวุธ… Search for: Search EZ Webmaster December 25, 2019 EZ Webmaster December 25, 2019 ส่องระบบการศึกษาของ “อินเดีย” อีกหนึ่งประเทศที่ติดอันดับการเรียนต่อของนักศึกษาต่างชาติ ประเทศอินเดียเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 7 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับ2 รองจากจีน เป็นประเทศที่มีวัฒนธรรมยุคแรกๆ ของโลก มีประชาธิปไตยที่เก่าแก่และเข้มแข็งเป็นอย่างมาก ในขณะเดียวกันก็เป็นประเทศที่มีความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และระบบการศึกษาที่มีคุณภาพติดอันดับโลก โดยอินเดียติดอันดับประเทศที่น่าไปศึกษาต่อทั้งในระดับเอเชียและระดับโลก นอกจากนี้ยังเป็นประเทศที่มีมหาวิทยาลัยและวิทยาลัยกว่า 20,000 แห่ง ที่สร้างมาเพื่อรองรับจำนวนนักศึกษากว่า 8 ล้านคนในช่วงเวลาระหว่างปี 2000 – 2010 อินเดียประกอบด้วยประชากรหลายชนเผ่าหลากหลายวัฒนธรรมประเพณี และศาสนา รวมทั้งภาษาที่ใช้ในการสื่อสารก็มีมากกว่าแปดร้อยภาษา นอกจากนี้ยอินเดียยังเคยเป็นอาณานิคมของสหราชอาณาจักรอยู่นานเกือบสองร้อยปี ทำให้เป็นประเทศที่มีภาษาอังกฤษที่หยั่งรากลึก และถูกใช้เป็นภาษาทางราชการมานานกว่าร้อยปี ทำให้พื้นฐานภาษาอังกฤษของคนอินเดียถูกจัดอันดับให้อยู่ในระดับต้นๆ ของเอเชีย สำหรับนักศึกษาต่างชาติที่จะไปศึกษาต่อที่อินเดียนั้น จะได้พบกับการศึกษาที่อินเดียแบ่งออกเป็นหลายระบบ ซึ่งแต่ละระบบจะมีภาษาอังกฤษเป็นภาคบังคับ เท่ากับว่าผู้เรียนจะได้ศึกษาวิชาการที่เข้มข้นและยังได้เรียนภาษาอังกฤษกับเจ้าของภาษาโดยตรงอีกด้วย สำหรับระบบการศึกษาในอินเดีย การศึกษาขั้นพื้นฐานในโรงเรียนของอินเดียจะแบ่งออกเป็น ประถม มัธยมต้น และมัธยมปลาย (Grade 11-12) โดยแบ่งหลักสูตรออกเป็น: 1.ระดับอนุบาล (Kindergarten) >> อนุบาล 1 – อนุบาล 3 2.ระดับประถมศึกษา (Primary Education) >> ประถมศึกษา 1 – ประถมศึกษา 6 3.ระดับมัธยมศึกษา (Secondary Education) มัธยมศึกษาตอนต้น (High School Education) >> มัธยมศึกษาปีที่ 1 – มัธยมศึกษาปีที่ 4 มัธยมศึกษตอนปลาย (Higher School Education) >> มัธยมศึกษาปีที่ 5 – มัธยมศึกษาปีที่ 6 4.ระดับอุดมศึกษา (Higher Education) -ระดับปริญญาตรี (Bachelor Degree) -ระดับปริญญาโท (Master Degree) -ระดับ Master of Philosophy (M.Phil) -ระดับปริญญาเอก (Doctoral Degree) สำหรับระบบการเรียนของโรงเรียนในประเทศอินเดียแบ่งออกเป็น 2 หลักสูตรใหญ่ๆ คือ หลักสูตรที่จัดตั้งโดยรัฐบาลอินเดีย โรงเรียนระบบ CBSE (Central Board of Scondary Education) โรงเรียนระบบ ICSE (Indian Certificate of Secondary Education) โดยทั้งสองระบบนี้จะใช้ภาษาอังกฤษในการเรียน การสอนเท่านั้น และมีภาษาที่ 2 ให้เลือกคือ เยอรมัน ฝรั่งเศส ญี่ปุ่น ซึ่งความแตกต่างของ 2 ระบบ คือหนังสือเรียนจะไม่เหมือนกัน แต่เนื้อหาจะไปในทางเดียวกัน เนื่องจากทั้ง 2 ระบบ ขึ้นกับกระทรวงศึกษาธิการของอินเดียเหมือนกัน แต่แบ่งเป็น 2 ระบบ เนื่องจากอินเดียเป็นประเทศใหญ่และมีประชากรมาก หากมีหน่วยงานดูแลเพียงหน่วยงานเดียวจะไม่สามารถดูแลได้ทั่วถึง โดยในอดีตจะขึ้นกับระบบ CBSE เป็นส่วนใหญ่ แต่ในปัจจุบันระบบที่มีโรงเรียนจดทะเบียนมากที่สุดคือ CBSE โดยทั้ง 2 ระบบนี้ เมื่อเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 จนจบแล้วก็จะได้รับอนุญาตให้เรียนต่อในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (Secondary School) คือมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 4 หรือที่อินเดียเรียนว่า Class 7 – 10 ในชั้นเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 4 (Class 10) เด็กจะต้องทำคะแนนให้ดีและเมื่อขึ้นระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ม. 5 – 6 (Classs 11 – 12) นักเรียนจะต้องนำผลการสอบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มาวัดผลเพื่อเลือกสาขาที่จะเรียน ดังนี้ คะแนน 65% – 80% ขึ้นไปจะเลือกได้ทั้งสายวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ และสายศิลป์ คะแนน 40% – 64% สามารถเลือกสายศิลป์ได้ ซึ่งสำหรับเด็กที่จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 (Class 10) จากประเทศไทยและต้องการศึกษาต่อในสายวิชาใดได้บ้าง โรงเรียนที่ขึ้นกับกองกรรมาธิการศึกษาอินเดียทั้ง 2 ระบบนั้น ได้รับการรับรองวิทยาฐานะจากกระทรวงศึกษาธิการไทยทุกโรงเรียน เมื่อเรียนจบมัธยมศึกษาปีที่ 6 (Class 12) จากอินเดียแล้วสามารถนำไปเข้ามหาวิทยาลัยและวิทยาลัยทุกแห่งในประเทศไทยได้เลย และหากต้องการศึกษาต่อในประเทศอื่น เช่น อเมริกา อังกฤษ ออสเตรเลีย ฯลฯ ก็สามารถนำไปเข้าศึกษาระดับปริญญาตรีได้เลย หรือหากต้องศึกษาในประเทศอินเดียก็สามารถศึกษาในระดับปริญญาตรีได้เช่นกัน หลักสูตรนานาชาติ ระบบ IGCSE (International General Certificate of Secondary Education) ซึ่งในระบบนี้จะเริ่มสอบตั้งแต่ม.3 หรือ Class 9 โดยเมื่อนักเรียนจบม.2 หรือ Class 8 แล้ว หากจะเรียนระบบ IGCSE (International General Certificate of Secondary Education) หรือเรียกอีกอย่างว่า University of Cambridge System นักเรียนจะต้องเลือกเรียน 5 วิชา เมื่อสอบผ่านครบ 5 วิชา (โดยปกติแล้วนักเรียนจะสอบผ่านได้ภายใน 2 ปี) เมื่อผ่านละจะได้ประกาศนียบัตร O Level ซึ่งเมืองไทยเทียบเท่า ม.6 และสามารถนำกลับมหาวิทยาลัยในประเทศไทยได้เลย เช่น มหาวิทยาลัยอินเตอร์ มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์ภาคอินเตอร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ภาคอินเตอร์ แต่ถ้าน้องๆประสงค์จะไปเรียนต่อมหาวิทยาลัยในประเทศอื่นๆ น้องๆ จะต้องเรียนต่ออีก 3 วิชาซึ่งเมื่อสอบผ่านอีก 3 วิชาแล้ว น้องๆจะต้องรับประกาศนียบัตร A Level ซึ่งใช้เข้าเรียนต่อมหาวิทยาลัยได้เลย ระบบนี้ น้องๆจะประหยัดเวลาได้ 2 ปี หาจบหลักสูตร O Level แล้วน้องๆ กลับมาเรียนต่อมหาวิทยาลัยในประเทศไทย International Bacalareatr (IB) หรือหลักสูตรนานาชาติ หลักสูตร IB บริหารจัดการโดย International Baccalaureate Organization (IBO) ซึ่งเป็นองค์กรไม่แสวงหาผลกำไรจากสวิตเซอร์แลนด์ หลักสูตร IB แบ่งออกเป็น 3 ระดับ คือ The Primary Year Programme (อนุบาล ถึง เกรด 5) The Middle Year Programma (เกรด 6-10) The Diploma Programma (เกรด 11-12) การศึกษาขั้นสูงหรือระดับอุดมศึกษา สถาบันการศึกษาขั้นสูงที่จัดการเรียนการสอน ในระดับปริญญาตรี-โท-เอก ได้แก่ มหาวิทยาลัย รวมถึงมหาวิทยาลัยเฉพาะทางด้านเกษตรกรรมและแพทยศาสตร์ โดยแบ่งออกเป็น มหาวิทยาลัยส่วนกลาง (central universities) และมหาวิทยาลัยของรัฐ (state universities) สถาบันที่ได้รับการรับรองวิทยะฐานะเทียบเท่ามหาวิทยาลัย (deemed universities) ซึ่งมักมีขนาดเล็กและเปิดสอนวิชาเฉพาะทาง สถาบันที่มีความสำคัญระดับชาติหรือสถาบันที่เทียบเท่ามหาวิทยาลัย ซึ่งได้รับงบประมาณสนับสนุนจากรัฐบาลหรือก่อตั้งโดยรัฐบาล รวมถึงสถาบันเทคโนโลยีแห่งอินเดีย (Indian Institute of Technology – IIT) ซึ่งปัจจุบันมี 15 แห่งทั่วประเทศ และสถาบันการจัดการแห่งอินเดีย (Indian Institute of Management) ซึ่งปัจจุบันมี 6 แห่งทั่วประเทศ วิทยาลัยเทคโนโลยีและมหาวิทยาลัยเปิด สถาบันวิจัยภายใต้การกำกับดูแลของสภาวิจัยด้านสังคมศาสตร์อินเดีย (Indian Council of Social Science Research) ศูนย์ปฏิบัติการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ และวิทยาลัยกว่า 10,000 แห่งทั่วประเทศ ซึ่งอยู่ภายใต้การควบคุมดูแลของมหาวิทยาลัย สถาบันการศึกษาของเอกชน ซึ่งรวมถึงสถาบันสอนภาษา สถาบันกวดวิชา สถาบันสอนวิชาคอมพิวเตอร์ ค่าเล่าเรียน ในอินเดียจะแตกต่างกันไปในแต่ละสถาบัน โดยมหาวิทยาลัยรัฐจะได้มีค่าเล่าเรียนที่ถูกกว่าเอกชนเนื่องจากได้รับการสนับสนุนจากรัฐ โดยพลเมืองอินเดียจะต้องจ่ายค่าเล่าเรียนต่อปีสูงสุด 100 เหรียญ (ประมาณ 3,200 บาท) เพื่อเข้าเรียนต่อในมหาวิทยาลัยรัฐ ในขณะที่วิทยาลัยเอกชนอาจมีค่าเล่าเรียนสูงกว่าอยู่ที่ 400 – 25,000 เหรียญต่อปี (ประมาณ 13,000 – 817,000 บาท) ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสถาบันและหลักสูตรที่เลือกเรียนด้วย โดยสำหรับนักศึกษาต่างชาติก็มีทุนช่วยเหลือสำหรับนักศึกษาต่างชาติทั้งแบบช่วยเหลือบางส่วนและแบบเต็มจำนวนอีกด้วย สำหรับนักศึกษาต่างชาติที่กำลังมองหาประเทศในการไปเรียนต่อที่มีระดับการศึกษาที่มีคุณภาพ มีสถาบันการศึกษาให้เลือกกว่า 20,000 แห่ง มีแหล่งรวมวัฒนธรรม และมีหลักสูตรการเรียนที่มีคุณภาพทั้งด้านวิชาการและภาษาแล้วล่ะก็ “อินเดีย” ก็นับว่าเป็นอีกหนึ่งตัวเลือกที่น่าสนใจไม่น้อยเลยทีเดียว ขอบคุณข้อมูลจาก :https://www.scholarship.in.th/masters-degrees-in-india-2019/ :http://sameaf.mfa.go.th/th/education/detail.php?ID=3246 :http://goodythailand.com/pagecontent.asp?id=17457 :https://gbc-goody.com ขอบคุณรูปภาพจาก : https://moneydoneright.com/how-to-save-money-while-studying-abroad/ : https://www.thestatesman.com/books-education/paradigm-shift-indian-education-1502743171.html : https://spontaneousorder.in/indias-human-capital/ : https://www.technologyforyou.org/study-in-india-programme-launched-with-the-launch-of-study-in-india-portal-by-smt-sushma-swaraj-in-new-delhi/ EZ Webmaster Related Posts ปิดเทอมนี้ สสวท. กระตุ้นต่อมคิดพิชิตปัญหาฟิสิกส์หรรษา กับ “ไขปริศนาวิทยากล” มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค รวมเฉลยทุกวิชา A-Level 68 ฟินแลนด์ครองแชมป์ 8 ปีซ้อน ประเทศที่มีความสุขที่สุดในโลก 2025 ไทยขยับขึ้นอันดับ 49 สจล. ร่วมกับโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์อินเตอร์เนชั่นแนล พัฒนาหลักสูตรและการจัดการเนื้อหาสู่การเรียนในแพลตฟอร์มออนไลน์ Post navigation PREVIOUS Previous post: รู้ก่อนไปเรียนต่อ… ค่าใช้จ่ายในการไปเรียนต่อประเทศอังกฤษและอเมริกาNEXT Next post: แนะสายอาชีพมาแรงแห่งอนาคต “อาชีพดูแลผู้สูงอายุ” Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ฟินแลนด์ครองแชมป์ 8 ปีซ้อน ประเทศที่มีความสุขที่สุดในโลก 2025 ไทยขยับขึ้นอันดับ 49 EZ WebmasterMarch 21, 2025 ฟินแลนด์ ยังคงรักษาตำแหน่งประเทศที่มีความสุขที่สุดในโลกเป็นปีที่ 8 ติดต่อกัน ตามรายงานความสุขโลก (World Happiness Report) ประจำปี 2025 ซึ่งจัดทำโดยศูนย์วิจัยความเป็นอยู่ที่ดี (Wellbeing Research Centre) แห่งมหาวิทยาลัยอ็อกซ์ฟอร์ด รายงานนี้เผยแพร่ในช่วงวันความสุขสากล (International Day of Happiness)… สจล. ร่วมกับโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์อินเตอร์เนชั่นแนล พัฒนาหลักสูตรและการจัดการเนื้อหาสู่การเรียนในแพลตฟอร์มออนไลน์ EZ WebmasterMarch 21, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี อธิการบดี และรศ. นพ.ทวีสิน ตันประยูร ประธานปฏิบัติการด้านการแพทย์ โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์อินเตอร์เนชั่นแนล ร่วมกันลงนามในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ เพื่อการพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเนื้อหาการเรียนรู้ออนไลน์ ผ่าน KMITL Masterclass ซึ่งเป็นแพลตฟอร์มออนไลน์ของ… นักศึกษา มทร.ธัญบุรี โชว์ไอเดีย “กระเป๋าผ้าทอใยไผ่” ตอบโจทย์ความยั่งยืน ในนิทรรศการศิลปนิพนธ์ 2025 tui sakrapeeMarch 20, 2025 นักศึกษาชั้นปีที่ 4 จากภาควิชาศิลปะการออกแบบและเทคโนโลยี คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้ร่วมกันจัดนิทรรศการศิลปนิพนธ์เพื่อเผยแพร่ผลงานสู่สาธารณชน พร้อมฝึกประสบการณ์จริงในการจัดแสดงผลงานออกแบบ ภายในงานได้รวบรวมผลงานจาก 4 สาขาวิชา ได้แก่ ออกแบบนิเทศศิลป์ ออกแบบภายใน ออกแบบผลิตภัณฑ์ และนวัตกรรมการออกแบบผลิตภัณฑ์ร่วมสมัย จัดขึ้น ณ ศูนย์การค้ายูเนี่ยน มอลล์ โซน CoEvent Studio กรุงเทพฯ… ทุนดีดี สกสค. ร่วมกับ CP All มอบ 100 ทุนเรียนฟรี 100% ระดับ ปวช. ปวส. และปริญญาตรี EZ WebmasterMarch 21, 2025 กสค. ร่วมกับ CP All มอบทุนเรียนฟรี !! 100% ล่าสุดขยายโอกาสเพิ่มอีก 9 สาขาใหม่ เพิ่มทางเลือกให้เยาวชนก้าวไกล ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ศึกษาที่วิทยาลัยปัญญาภิวัฒน์ และศูนย์การเรียนฯ ทั่วประเทศ 20 แห่ง ทุนการศึกษาระดับ… ให้ทุนเยาวชน ODOS Summer Camp ไปเรียนซัมเมอร์ต่างประเทศ 6 สัปดาห์ เริ่มสมัครได้ 24 มี.ค.นี้ EZ WebmasterMarch 21, 2025 ODOS Summer Camp ทุนการศึกษาระยะสั้น 6 สัปดาห์ เพื่อกระจายโอกาสให้เด็กไทยทุกคนได้มีโอกาสไปเรียนซัมเมอร์ต่างประเทศ เปิดหูเปิดตา ค้นหาตัวตน และสร้างแรงบันดาลใจในการเรียนรู้ โดยไม่จำเป็นต้องเป็นเด็กเก่ง เด็กเรียน หรือเด็กหน้าห้อง เปิดรับเยาวชนที่มีคุณสมบัติดังนี้ – สัญชาติไทย – อายุไม่เกิน… ธนาคารแห่งประเทศไทย เปิดรับสมัครทุนระดับปริญญาโทขึ้นไป เรียนต่อที่ประเทศอังกฤษ EZ WebmasterMarch 17, 2025 ประกาศเปิดรับสมัครทุนการศึกษา Dr. Puey Ungphakorn Centenary Scholarship ประจำปี 2568 ธนาคารแห่งประเทศไทย เปิดรับสมัครทุนการศึกษาระดับปริญญาโทขึ้นไป เพื่อศึกษาต่อที่ The London School of Economics and Political… กสศ. ร่วมกับคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ให้ทุนเรียนฟรี ผู้ช่วยพยาบาล EZ WebmasterMarch 17, 2025 กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา(กสศ.)ร่วมกับคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ——————————————————- “รับสมัครนักศึกษาเพื่อรับทุน” หลักสูตรประกาศนียบัตรผู้ช่วยพยาบาล (PN) (สำหรับนักศึกษา PN รุ่นที่ 3) *** เรียนฟรี!! รับค่าใช้จ่ายเดือนละ 7,500 บาท จบแล้วไม่ต้องใช้ทุน **** จำนวน… ครู-อาจารย์ มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค EZ WebmasterMarch 21, 2025 ศาสตราจารย์ นายแพทย์ปิยะมิตร ศรีธรา อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า ปัจจุบันโลกกำลังเผชิญกับกระแสความเปลี่ยนแปลงใหญ่ๆ ใน 6 มิติ 1. สังคมสูงวัย (Aging Society) ในอีก 8 ปีข้างหน้า ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุระดับสุดยอด (Super… รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน EZ WebmasterMarch 21, 2025 รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน พร้อมจ่ายเงินอุดหนุนการศึกษาและพัฒนาอาชีพ ผ่านกสศ. ขณะที่ Microsoft หนุน ศูนย์ดิจิทัลชุมชน ยกระดับทักษะAI เพิ่มโอกาสมีงานทำ พร้อมจับมือ UNICEF สร้าง 1… Kahoot! เปิดตัว Kahoot! Energize ปฏิวัติการประชุมให้มีพลังและสร้างผลกระทบที่เหนือกว่า EZ WebmasterMarch 21, 2025 เปลี่ยนทุกการนำเสนอในที่ทำงานให้กลายเป็นการสื่อสารสองทาง สร้างประสบการณ์ที่น่าสนใจ เต็มไปด้วยความมีชีวิตชีวาและการมีส่วนร่วมที่แท้จริง กระตุ้นการมีส่วนร่วมจากผู้ฟังและขับเคลื่อน ผลลัพธ์ทางธุรกิจไปอีกขั้นด้วย Kahoot! Energize Kahoot! (คาฮู้ด) ผู้นำด้านการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมระดับโลกได้เปิดตัวเครื่องมือใหม่ Kahoot! Energize ที่จะเปลี่ยนทุกการประชุม การฝึกอบรม หรือกิจกรรมต่างๆ ให้กลายเป็นช่วงเวลาที่เต็มไปด้วยพลังและความสนุก พร้อมกระตุ้นการมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ สร้างผลกระทบที่มีความหมาย และขับเคลื่อนธุรกิจไปข้างหน้า การพัฒนา Kahoot! Energize ต่อยอดจากรูปแบบการเรียนรู้และการมีส่วนร่วม อันเป็นเอกลักษณ์ที่ได้รับความนิยมของ Kahoot! แต่เพิ่มความสามารถในการใช้งานในสภาพแวดล้อมการทำงานที่หลากหลาย… สมศ. เน้นย้ำการประเมินคุณภาพภายนอก ปี 67-71 ลดวันประเมิน On site ขยายสู่รูปแบบออนไลน์ สร้างมาตรฐานในการแข่งขันระดับอาเซียน EZ WebmasterMarch 20, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยในการประชุมรับฟังความคิดเห็น (ร่าง) กรอบแนวทางการประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษาที่จัดการเรียนรู้ในสังกัดกรมส่งเสริมการเรียนรู้ (สกร.) โดยเน้นย้ำเรื่อง “แนวคิดและทิศทางการประกันคุณภาพภายนอก” ว่า การประกันคุณภาพภายนอกไม่ใช่เป็น “การตรวจสอบ” แต่เป็นเครื่องมือที่ช่วยส่งเสริมการพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษาอย่างแท้จริง… กิจกรรม รวมพลังสีชมพูจุฬาฯ กลับบ้านสู่ร่มจามจุรี ในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” EZ WebmasterMarch 14, 2025 สมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (สนจ.) เชิญชวนชาวจุฬาฯ ทั้งนิสิตเก่าและนิสิตปัจจุบัน เดินทางกลับบ้านในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” ร่วมฉลองวาระสำคัญ ครบรอบ 108 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในบรรยากาศแห่งความรักความสามัคคี และความผูกพันของเหล่าน้องพี่สีชมพู ภายใต้ร่มเงาของจามจุรี นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย… สจล. ผนึกกำลังตำรวจภูธรภาค 2 และบริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จำกัด (สำนักงานใหญ่) พัฒนาโครงการ “AI Robot รับแจ้งความ” ประมวลผลถูกต้องและมีประสิทธิภาพ EZ WebmasterMarch 13, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี ร่วมด้วยพลตำรวจโท ยิ่งยศ เทพจำนงค์ (คนที่ 3 จากซ้าย) ผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 2… สจล. ร่วมกับกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน มุ่งยกระดับฝีมือแรงงาน สอดคล้องความต้องการในอนาคต EZ WebmasterMarch 10, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี และนายเดชา พฤกษ์พัฒนรักษ์ (คนที่ 3 จากซ้าย) อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ได้ลงในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการร่วมกัน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่นักศึกษาของสถาบันก่อนเข้าสู่ตลาดแรงงานในสาขาอาชีพต่าง… ปิดฉาก “HigherEd for PWD” ระยะที่ 1 เสริมสมรรถนะคนพิการสู่ตลาดแรงงานจริง EZ WebmasterMarch 10, 2025 เมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2568 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) ร่วมกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) และมหาวิทยาลัยเครือข่าย 5 แห่ง จัดแถลงข่าวสรุปผลและปิดโครงการการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาศักยภาพคนพิการเพื่อการประกอบอาชีพ ผ่านโมเดลการฝึกอบรม-ฝึกงานคนพิการ มจธ. HigherEd for PWD ระยะที่ 1 ซึ่งเป็นโครงการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อพัฒนาศักยภาพคนพิการสู่การประกอบอาชีพในตลาดแรงงานจริง ที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ซึ่งจัดขึ้น ณ ห้อง Auditorium ชั้น 3 อาคารการเรียนรู้พหุวิทยาการ (LX) มจธ. บางมด กรุงเทพฯ โดยได้รับเกียรติจาก นายวราวุธ… Search for: Search EZ Webmaster December 25, 2019 EZ Webmaster December 25, 2019 ส่องระบบการศึกษาของ “อินเดีย” อีกหนึ่งประเทศที่ติดอันดับการเรียนต่อของนักศึกษาต่างชาติ ประเทศอินเดียเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 7 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับ2 รองจากจีน เป็นประเทศที่มีวัฒนธรรมยุคแรกๆ ของโลก มีประชาธิปไตยที่เก่าแก่และเข้มแข็งเป็นอย่างมาก ในขณะเดียวกันก็เป็นประเทศที่มีความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และระบบการศึกษาที่มีคุณภาพติดอันดับโลก โดยอินเดียติดอันดับประเทศที่น่าไปศึกษาต่อทั้งในระดับเอเชียและระดับโลก นอกจากนี้ยังเป็นประเทศที่มีมหาวิทยาลัยและวิทยาลัยกว่า 20,000 แห่ง ที่สร้างมาเพื่อรองรับจำนวนนักศึกษากว่า 8 ล้านคนในช่วงเวลาระหว่างปี 2000 – 2010 อินเดียประกอบด้วยประชากรหลายชนเผ่าหลากหลายวัฒนธรรมประเพณี และศาสนา รวมทั้งภาษาที่ใช้ในการสื่อสารก็มีมากกว่าแปดร้อยภาษา นอกจากนี้ยอินเดียยังเคยเป็นอาณานิคมของสหราชอาณาจักรอยู่นานเกือบสองร้อยปี ทำให้เป็นประเทศที่มีภาษาอังกฤษที่หยั่งรากลึก และถูกใช้เป็นภาษาทางราชการมานานกว่าร้อยปี ทำให้พื้นฐานภาษาอังกฤษของคนอินเดียถูกจัดอันดับให้อยู่ในระดับต้นๆ ของเอเชีย สำหรับนักศึกษาต่างชาติที่จะไปศึกษาต่อที่อินเดียนั้น จะได้พบกับการศึกษาที่อินเดียแบ่งออกเป็นหลายระบบ ซึ่งแต่ละระบบจะมีภาษาอังกฤษเป็นภาคบังคับ เท่ากับว่าผู้เรียนจะได้ศึกษาวิชาการที่เข้มข้นและยังได้เรียนภาษาอังกฤษกับเจ้าของภาษาโดยตรงอีกด้วย สำหรับระบบการศึกษาในอินเดีย การศึกษาขั้นพื้นฐานในโรงเรียนของอินเดียจะแบ่งออกเป็น ประถม มัธยมต้น และมัธยมปลาย (Grade 11-12) โดยแบ่งหลักสูตรออกเป็น: 1.ระดับอนุบาล (Kindergarten) >> อนุบาล 1 – อนุบาล 3 2.ระดับประถมศึกษา (Primary Education) >> ประถมศึกษา 1 – ประถมศึกษา 6 3.ระดับมัธยมศึกษา (Secondary Education) มัธยมศึกษาตอนต้น (High School Education) >> มัธยมศึกษาปีที่ 1 – มัธยมศึกษาปีที่ 4 มัธยมศึกษตอนปลาย (Higher School Education) >> มัธยมศึกษาปีที่ 5 – มัธยมศึกษาปีที่ 6 4.ระดับอุดมศึกษา (Higher Education) -ระดับปริญญาตรี (Bachelor Degree) -ระดับปริญญาโท (Master Degree) -ระดับ Master of Philosophy (M.Phil) -ระดับปริญญาเอก (Doctoral Degree) สำหรับระบบการเรียนของโรงเรียนในประเทศอินเดียแบ่งออกเป็น 2 หลักสูตรใหญ่ๆ คือ หลักสูตรที่จัดตั้งโดยรัฐบาลอินเดีย โรงเรียนระบบ CBSE (Central Board of Scondary Education) โรงเรียนระบบ ICSE (Indian Certificate of Secondary Education) โดยทั้งสองระบบนี้จะใช้ภาษาอังกฤษในการเรียน การสอนเท่านั้น และมีภาษาที่ 2 ให้เลือกคือ เยอรมัน ฝรั่งเศส ญี่ปุ่น ซึ่งความแตกต่างของ 2 ระบบ คือหนังสือเรียนจะไม่เหมือนกัน แต่เนื้อหาจะไปในทางเดียวกัน เนื่องจากทั้ง 2 ระบบ ขึ้นกับกระทรวงศึกษาธิการของอินเดียเหมือนกัน แต่แบ่งเป็น 2 ระบบ เนื่องจากอินเดียเป็นประเทศใหญ่และมีประชากรมาก หากมีหน่วยงานดูแลเพียงหน่วยงานเดียวจะไม่สามารถดูแลได้ทั่วถึง โดยในอดีตจะขึ้นกับระบบ CBSE เป็นส่วนใหญ่ แต่ในปัจจุบันระบบที่มีโรงเรียนจดทะเบียนมากที่สุดคือ CBSE โดยทั้ง 2 ระบบนี้ เมื่อเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 จนจบแล้วก็จะได้รับอนุญาตให้เรียนต่อในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (Secondary School) คือมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 4 หรือที่อินเดียเรียนว่า Class 7 – 10 ในชั้นเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 4 (Class 10) เด็กจะต้องทำคะแนนให้ดีและเมื่อขึ้นระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ม. 5 – 6 (Classs 11 – 12) นักเรียนจะต้องนำผลการสอบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มาวัดผลเพื่อเลือกสาขาที่จะเรียน ดังนี้ คะแนน 65% – 80% ขึ้นไปจะเลือกได้ทั้งสายวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ และสายศิลป์ คะแนน 40% – 64% สามารถเลือกสายศิลป์ได้ ซึ่งสำหรับเด็กที่จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 (Class 10) จากประเทศไทยและต้องการศึกษาต่อในสายวิชาใดได้บ้าง โรงเรียนที่ขึ้นกับกองกรรมาธิการศึกษาอินเดียทั้ง 2 ระบบนั้น ได้รับการรับรองวิทยาฐานะจากกระทรวงศึกษาธิการไทยทุกโรงเรียน เมื่อเรียนจบมัธยมศึกษาปีที่ 6 (Class 12) จากอินเดียแล้วสามารถนำไปเข้ามหาวิทยาลัยและวิทยาลัยทุกแห่งในประเทศไทยได้เลย และหากต้องการศึกษาต่อในประเทศอื่น เช่น อเมริกา อังกฤษ ออสเตรเลีย ฯลฯ ก็สามารถนำไปเข้าศึกษาระดับปริญญาตรีได้เลย หรือหากต้องศึกษาในประเทศอินเดียก็สามารถศึกษาในระดับปริญญาตรีได้เช่นกัน หลักสูตรนานาชาติ ระบบ IGCSE (International General Certificate of Secondary Education) ซึ่งในระบบนี้จะเริ่มสอบตั้งแต่ม.3 หรือ Class 9 โดยเมื่อนักเรียนจบม.2 หรือ Class 8 แล้ว หากจะเรียนระบบ IGCSE (International General Certificate of Secondary Education) หรือเรียกอีกอย่างว่า University of Cambridge System นักเรียนจะต้องเลือกเรียน 5 วิชา เมื่อสอบผ่านครบ 5 วิชา (โดยปกติแล้วนักเรียนจะสอบผ่านได้ภายใน 2 ปี) เมื่อผ่านละจะได้ประกาศนียบัตร O Level ซึ่งเมืองไทยเทียบเท่า ม.6 และสามารถนำกลับมหาวิทยาลัยในประเทศไทยได้เลย เช่น มหาวิทยาลัยอินเตอร์ มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์ภาคอินเตอร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ภาคอินเตอร์ แต่ถ้าน้องๆประสงค์จะไปเรียนต่อมหาวิทยาลัยในประเทศอื่นๆ น้องๆ จะต้องเรียนต่ออีก 3 วิชาซึ่งเมื่อสอบผ่านอีก 3 วิชาแล้ว น้องๆจะต้องรับประกาศนียบัตร A Level ซึ่งใช้เข้าเรียนต่อมหาวิทยาลัยได้เลย ระบบนี้ น้องๆจะประหยัดเวลาได้ 2 ปี หาจบหลักสูตร O Level แล้วน้องๆ กลับมาเรียนต่อมหาวิทยาลัยในประเทศไทย International Bacalareatr (IB) หรือหลักสูตรนานาชาติ หลักสูตร IB บริหารจัดการโดย International Baccalaureate Organization (IBO) ซึ่งเป็นองค์กรไม่แสวงหาผลกำไรจากสวิตเซอร์แลนด์ หลักสูตร IB แบ่งออกเป็น 3 ระดับ คือ The Primary Year Programme (อนุบาล ถึง เกรด 5) The Middle Year Programma (เกรด 6-10) The Diploma Programma (เกรด 11-12) การศึกษาขั้นสูงหรือระดับอุดมศึกษา สถาบันการศึกษาขั้นสูงที่จัดการเรียนการสอน ในระดับปริญญาตรี-โท-เอก ได้แก่ มหาวิทยาลัย รวมถึงมหาวิทยาลัยเฉพาะทางด้านเกษตรกรรมและแพทยศาสตร์ โดยแบ่งออกเป็น มหาวิทยาลัยส่วนกลาง (central universities) และมหาวิทยาลัยของรัฐ (state universities) สถาบันที่ได้รับการรับรองวิทยะฐานะเทียบเท่ามหาวิทยาลัย (deemed universities) ซึ่งมักมีขนาดเล็กและเปิดสอนวิชาเฉพาะทาง สถาบันที่มีความสำคัญระดับชาติหรือสถาบันที่เทียบเท่ามหาวิทยาลัย ซึ่งได้รับงบประมาณสนับสนุนจากรัฐบาลหรือก่อตั้งโดยรัฐบาล รวมถึงสถาบันเทคโนโลยีแห่งอินเดีย (Indian Institute of Technology – IIT) ซึ่งปัจจุบันมี 15 แห่งทั่วประเทศ และสถาบันการจัดการแห่งอินเดีย (Indian Institute of Management) ซึ่งปัจจุบันมี 6 แห่งทั่วประเทศ วิทยาลัยเทคโนโลยีและมหาวิทยาลัยเปิด สถาบันวิจัยภายใต้การกำกับดูแลของสภาวิจัยด้านสังคมศาสตร์อินเดีย (Indian Council of Social Science Research) ศูนย์ปฏิบัติการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ และวิทยาลัยกว่า 10,000 แห่งทั่วประเทศ ซึ่งอยู่ภายใต้การควบคุมดูแลของมหาวิทยาลัย สถาบันการศึกษาของเอกชน ซึ่งรวมถึงสถาบันสอนภาษา สถาบันกวดวิชา สถาบันสอนวิชาคอมพิวเตอร์ ค่าเล่าเรียน ในอินเดียจะแตกต่างกันไปในแต่ละสถาบัน โดยมหาวิทยาลัยรัฐจะได้มีค่าเล่าเรียนที่ถูกกว่าเอกชนเนื่องจากได้รับการสนับสนุนจากรัฐ โดยพลเมืองอินเดียจะต้องจ่ายค่าเล่าเรียนต่อปีสูงสุด 100 เหรียญ (ประมาณ 3,200 บาท) เพื่อเข้าเรียนต่อในมหาวิทยาลัยรัฐ ในขณะที่วิทยาลัยเอกชนอาจมีค่าเล่าเรียนสูงกว่าอยู่ที่ 400 – 25,000 เหรียญต่อปี (ประมาณ 13,000 – 817,000 บาท) ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสถาบันและหลักสูตรที่เลือกเรียนด้วย โดยสำหรับนักศึกษาต่างชาติก็มีทุนช่วยเหลือสำหรับนักศึกษาต่างชาติทั้งแบบช่วยเหลือบางส่วนและแบบเต็มจำนวนอีกด้วย สำหรับนักศึกษาต่างชาติที่กำลังมองหาประเทศในการไปเรียนต่อที่มีระดับการศึกษาที่มีคุณภาพ มีสถาบันการศึกษาให้เลือกกว่า 20,000 แห่ง มีแหล่งรวมวัฒนธรรม และมีหลักสูตรการเรียนที่มีคุณภาพทั้งด้านวิชาการและภาษาแล้วล่ะก็ “อินเดีย” ก็นับว่าเป็นอีกหนึ่งตัวเลือกที่น่าสนใจไม่น้อยเลยทีเดียว ขอบคุณข้อมูลจาก :https://www.scholarship.in.th/masters-degrees-in-india-2019/ :http://sameaf.mfa.go.th/th/education/detail.php?ID=3246 :http://goodythailand.com/pagecontent.asp?id=17457 :https://gbc-goody.com ขอบคุณรูปภาพจาก : https://moneydoneright.com/how-to-save-money-while-studying-abroad/ : https://www.thestatesman.com/books-education/paradigm-shift-indian-education-1502743171.html : https://spontaneousorder.in/indias-human-capital/ : https://www.technologyforyou.org/study-in-india-programme-launched-with-the-launch-of-study-in-india-portal-by-smt-sushma-swaraj-in-new-delhi/ EZ Webmaster Related Posts ปิดเทอมนี้ สสวท. กระตุ้นต่อมคิดพิชิตปัญหาฟิสิกส์หรรษา กับ “ไขปริศนาวิทยากล” มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค รวมเฉลยทุกวิชา A-Level 68 ฟินแลนด์ครองแชมป์ 8 ปีซ้อน ประเทศที่มีความสุขที่สุดในโลก 2025 ไทยขยับขึ้นอันดับ 49 สจล. ร่วมกับโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์อินเตอร์เนชั่นแนล พัฒนาหลักสูตรและการจัดการเนื้อหาสู่การเรียนในแพลตฟอร์มออนไลน์ Post navigation PREVIOUS Previous post: รู้ก่อนไปเรียนต่อ… ค่าใช้จ่ายในการไปเรียนต่อประเทศอังกฤษและอเมริกาNEXT Next post: แนะสายอาชีพมาแรงแห่งอนาคต “อาชีพดูแลผู้สูงอายุ” Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
สจล. ร่วมกับโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์อินเตอร์เนชั่นแนล พัฒนาหลักสูตรและการจัดการเนื้อหาสู่การเรียนในแพลตฟอร์มออนไลน์ EZ WebmasterMarch 21, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี อธิการบดี และรศ. นพ.ทวีสิน ตันประยูร ประธานปฏิบัติการด้านการแพทย์ โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์อินเตอร์เนชั่นแนล ร่วมกันลงนามในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ เพื่อการพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเนื้อหาการเรียนรู้ออนไลน์ ผ่าน KMITL Masterclass ซึ่งเป็นแพลตฟอร์มออนไลน์ของ… นักศึกษา มทร.ธัญบุรี โชว์ไอเดีย “กระเป๋าผ้าทอใยไผ่” ตอบโจทย์ความยั่งยืน ในนิทรรศการศิลปนิพนธ์ 2025 tui sakrapeeMarch 20, 2025 นักศึกษาชั้นปีที่ 4 จากภาควิชาศิลปะการออกแบบและเทคโนโลยี คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้ร่วมกันจัดนิทรรศการศิลปนิพนธ์เพื่อเผยแพร่ผลงานสู่สาธารณชน พร้อมฝึกประสบการณ์จริงในการจัดแสดงผลงานออกแบบ ภายในงานได้รวบรวมผลงานจาก 4 สาขาวิชา ได้แก่ ออกแบบนิเทศศิลป์ ออกแบบภายใน ออกแบบผลิตภัณฑ์ และนวัตกรรมการออกแบบผลิตภัณฑ์ร่วมสมัย จัดขึ้น ณ ศูนย์การค้ายูเนี่ยน มอลล์ โซน CoEvent Studio กรุงเทพฯ…
นักศึกษา มทร.ธัญบุรี โชว์ไอเดีย “กระเป๋าผ้าทอใยไผ่” ตอบโจทย์ความยั่งยืน ในนิทรรศการศิลปนิพนธ์ 2025 tui sakrapeeMarch 20, 2025 นักศึกษาชั้นปีที่ 4 จากภาควิชาศิลปะการออกแบบและเทคโนโลยี คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้ร่วมกันจัดนิทรรศการศิลปนิพนธ์เพื่อเผยแพร่ผลงานสู่สาธารณชน พร้อมฝึกประสบการณ์จริงในการจัดแสดงผลงานออกแบบ ภายในงานได้รวบรวมผลงานจาก 4 สาขาวิชา ได้แก่ ออกแบบนิเทศศิลป์ ออกแบบภายใน ออกแบบผลิตภัณฑ์ และนวัตกรรมการออกแบบผลิตภัณฑ์ร่วมสมัย จัดขึ้น ณ ศูนย์การค้ายูเนี่ยน มอลล์ โซน CoEvent Studio กรุงเทพฯ…
สกสค. ร่วมกับ CP All มอบ 100 ทุนเรียนฟรี 100% ระดับ ปวช. ปวส. และปริญญาตรี EZ WebmasterMarch 21, 2025 กสค. ร่วมกับ CP All มอบทุนเรียนฟรี !! 100% ล่าสุดขยายโอกาสเพิ่มอีก 9 สาขาใหม่ เพิ่มทางเลือกให้เยาวชนก้าวไกล ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ศึกษาที่วิทยาลัยปัญญาภิวัฒน์ และศูนย์การเรียนฯ ทั่วประเทศ 20 แห่ง ทุนการศึกษาระดับ… ให้ทุนเยาวชน ODOS Summer Camp ไปเรียนซัมเมอร์ต่างประเทศ 6 สัปดาห์ เริ่มสมัครได้ 24 มี.ค.นี้ EZ WebmasterMarch 21, 2025 ODOS Summer Camp ทุนการศึกษาระยะสั้น 6 สัปดาห์ เพื่อกระจายโอกาสให้เด็กไทยทุกคนได้มีโอกาสไปเรียนซัมเมอร์ต่างประเทศ เปิดหูเปิดตา ค้นหาตัวตน และสร้างแรงบันดาลใจในการเรียนรู้ โดยไม่จำเป็นต้องเป็นเด็กเก่ง เด็กเรียน หรือเด็กหน้าห้อง เปิดรับเยาวชนที่มีคุณสมบัติดังนี้ – สัญชาติไทย – อายุไม่เกิน… ธนาคารแห่งประเทศไทย เปิดรับสมัครทุนระดับปริญญาโทขึ้นไป เรียนต่อที่ประเทศอังกฤษ EZ WebmasterMarch 17, 2025 ประกาศเปิดรับสมัครทุนการศึกษา Dr. Puey Ungphakorn Centenary Scholarship ประจำปี 2568 ธนาคารแห่งประเทศไทย เปิดรับสมัครทุนการศึกษาระดับปริญญาโทขึ้นไป เพื่อศึกษาต่อที่ The London School of Economics and Political… กสศ. ร่วมกับคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ให้ทุนเรียนฟรี ผู้ช่วยพยาบาล EZ WebmasterMarch 17, 2025 กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา(กสศ.)ร่วมกับคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ——————————————————- “รับสมัครนักศึกษาเพื่อรับทุน” หลักสูตรประกาศนียบัตรผู้ช่วยพยาบาล (PN) (สำหรับนักศึกษา PN รุ่นที่ 3) *** เรียนฟรี!! รับค่าใช้จ่ายเดือนละ 7,500 บาท จบแล้วไม่ต้องใช้ทุน **** จำนวน… ครู-อาจารย์ มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค EZ WebmasterMarch 21, 2025 ศาสตราจารย์ นายแพทย์ปิยะมิตร ศรีธรา อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า ปัจจุบันโลกกำลังเผชิญกับกระแสความเปลี่ยนแปลงใหญ่ๆ ใน 6 มิติ 1. สังคมสูงวัย (Aging Society) ในอีก 8 ปีข้างหน้า ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุระดับสุดยอด (Super… รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน EZ WebmasterMarch 21, 2025 รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน พร้อมจ่ายเงินอุดหนุนการศึกษาและพัฒนาอาชีพ ผ่านกสศ. ขณะที่ Microsoft หนุน ศูนย์ดิจิทัลชุมชน ยกระดับทักษะAI เพิ่มโอกาสมีงานทำ พร้อมจับมือ UNICEF สร้าง 1… Kahoot! เปิดตัว Kahoot! Energize ปฏิวัติการประชุมให้มีพลังและสร้างผลกระทบที่เหนือกว่า EZ WebmasterMarch 21, 2025 เปลี่ยนทุกการนำเสนอในที่ทำงานให้กลายเป็นการสื่อสารสองทาง สร้างประสบการณ์ที่น่าสนใจ เต็มไปด้วยความมีชีวิตชีวาและการมีส่วนร่วมที่แท้จริง กระตุ้นการมีส่วนร่วมจากผู้ฟังและขับเคลื่อน ผลลัพธ์ทางธุรกิจไปอีกขั้นด้วย Kahoot! Energize Kahoot! (คาฮู้ด) ผู้นำด้านการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมระดับโลกได้เปิดตัวเครื่องมือใหม่ Kahoot! Energize ที่จะเปลี่ยนทุกการประชุม การฝึกอบรม หรือกิจกรรมต่างๆ ให้กลายเป็นช่วงเวลาที่เต็มไปด้วยพลังและความสนุก พร้อมกระตุ้นการมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ สร้างผลกระทบที่มีความหมาย และขับเคลื่อนธุรกิจไปข้างหน้า การพัฒนา Kahoot! Energize ต่อยอดจากรูปแบบการเรียนรู้และการมีส่วนร่วม อันเป็นเอกลักษณ์ที่ได้รับความนิยมของ Kahoot! แต่เพิ่มความสามารถในการใช้งานในสภาพแวดล้อมการทำงานที่หลากหลาย… สมศ. เน้นย้ำการประเมินคุณภาพภายนอก ปี 67-71 ลดวันประเมิน On site ขยายสู่รูปแบบออนไลน์ สร้างมาตรฐานในการแข่งขันระดับอาเซียน EZ WebmasterMarch 20, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยในการประชุมรับฟังความคิดเห็น (ร่าง) กรอบแนวทางการประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษาที่จัดการเรียนรู้ในสังกัดกรมส่งเสริมการเรียนรู้ (สกร.) โดยเน้นย้ำเรื่อง “แนวคิดและทิศทางการประกันคุณภาพภายนอก” ว่า การประกันคุณภาพภายนอกไม่ใช่เป็น “การตรวจสอบ” แต่เป็นเครื่องมือที่ช่วยส่งเสริมการพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษาอย่างแท้จริง… กิจกรรม รวมพลังสีชมพูจุฬาฯ กลับบ้านสู่ร่มจามจุรี ในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” EZ WebmasterMarch 14, 2025 สมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (สนจ.) เชิญชวนชาวจุฬาฯ ทั้งนิสิตเก่าและนิสิตปัจจุบัน เดินทางกลับบ้านในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” ร่วมฉลองวาระสำคัญ ครบรอบ 108 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในบรรยากาศแห่งความรักความสามัคคี และความผูกพันของเหล่าน้องพี่สีชมพู ภายใต้ร่มเงาของจามจุรี นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย… สจล. ผนึกกำลังตำรวจภูธรภาค 2 และบริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จำกัด (สำนักงานใหญ่) พัฒนาโครงการ “AI Robot รับแจ้งความ” ประมวลผลถูกต้องและมีประสิทธิภาพ EZ WebmasterMarch 13, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี ร่วมด้วยพลตำรวจโท ยิ่งยศ เทพจำนงค์ (คนที่ 3 จากซ้าย) ผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 2… สจล. ร่วมกับกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน มุ่งยกระดับฝีมือแรงงาน สอดคล้องความต้องการในอนาคต EZ WebmasterMarch 10, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี และนายเดชา พฤกษ์พัฒนรักษ์ (คนที่ 3 จากซ้าย) อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ได้ลงในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการร่วมกัน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่นักศึกษาของสถาบันก่อนเข้าสู่ตลาดแรงงานในสาขาอาชีพต่าง… ปิดฉาก “HigherEd for PWD” ระยะที่ 1 เสริมสมรรถนะคนพิการสู่ตลาดแรงงานจริง EZ WebmasterMarch 10, 2025 เมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2568 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) ร่วมกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) และมหาวิทยาลัยเครือข่าย 5 แห่ง จัดแถลงข่าวสรุปผลและปิดโครงการการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาศักยภาพคนพิการเพื่อการประกอบอาชีพ ผ่านโมเดลการฝึกอบรม-ฝึกงานคนพิการ มจธ. HigherEd for PWD ระยะที่ 1 ซึ่งเป็นโครงการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อพัฒนาศักยภาพคนพิการสู่การประกอบอาชีพในตลาดแรงงานจริง ที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ซึ่งจัดขึ้น ณ ห้อง Auditorium ชั้น 3 อาคารการเรียนรู้พหุวิทยาการ (LX) มจธ. บางมด กรุงเทพฯ โดยได้รับเกียรติจาก นายวราวุธ… Search for: Search EZ Webmaster December 25, 2019 EZ Webmaster December 25, 2019 ส่องระบบการศึกษาของ “อินเดีย” อีกหนึ่งประเทศที่ติดอันดับการเรียนต่อของนักศึกษาต่างชาติ ประเทศอินเดียเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 7 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับ2 รองจากจีน เป็นประเทศที่มีวัฒนธรรมยุคแรกๆ ของโลก มีประชาธิปไตยที่เก่าแก่และเข้มแข็งเป็นอย่างมาก ในขณะเดียวกันก็เป็นประเทศที่มีความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และระบบการศึกษาที่มีคุณภาพติดอันดับโลก โดยอินเดียติดอันดับประเทศที่น่าไปศึกษาต่อทั้งในระดับเอเชียและระดับโลก นอกจากนี้ยังเป็นประเทศที่มีมหาวิทยาลัยและวิทยาลัยกว่า 20,000 แห่ง ที่สร้างมาเพื่อรองรับจำนวนนักศึกษากว่า 8 ล้านคนในช่วงเวลาระหว่างปี 2000 – 2010 อินเดียประกอบด้วยประชากรหลายชนเผ่าหลากหลายวัฒนธรรมประเพณี และศาสนา รวมทั้งภาษาที่ใช้ในการสื่อสารก็มีมากกว่าแปดร้อยภาษา นอกจากนี้ยอินเดียยังเคยเป็นอาณานิคมของสหราชอาณาจักรอยู่นานเกือบสองร้อยปี ทำให้เป็นประเทศที่มีภาษาอังกฤษที่หยั่งรากลึก และถูกใช้เป็นภาษาทางราชการมานานกว่าร้อยปี ทำให้พื้นฐานภาษาอังกฤษของคนอินเดียถูกจัดอันดับให้อยู่ในระดับต้นๆ ของเอเชีย สำหรับนักศึกษาต่างชาติที่จะไปศึกษาต่อที่อินเดียนั้น จะได้พบกับการศึกษาที่อินเดียแบ่งออกเป็นหลายระบบ ซึ่งแต่ละระบบจะมีภาษาอังกฤษเป็นภาคบังคับ เท่ากับว่าผู้เรียนจะได้ศึกษาวิชาการที่เข้มข้นและยังได้เรียนภาษาอังกฤษกับเจ้าของภาษาโดยตรงอีกด้วย สำหรับระบบการศึกษาในอินเดีย การศึกษาขั้นพื้นฐานในโรงเรียนของอินเดียจะแบ่งออกเป็น ประถม มัธยมต้น และมัธยมปลาย (Grade 11-12) โดยแบ่งหลักสูตรออกเป็น: 1.ระดับอนุบาล (Kindergarten) >> อนุบาล 1 – อนุบาล 3 2.ระดับประถมศึกษา (Primary Education) >> ประถมศึกษา 1 – ประถมศึกษา 6 3.ระดับมัธยมศึกษา (Secondary Education) มัธยมศึกษาตอนต้น (High School Education) >> มัธยมศึกษาปีที่ 1 – มัธยมศึกษาปีที่ 4 มัธยมศึกษตอนปลาย (Higher School Education) >> มัธยมศึกษาปีที่ 5 – มัธยมศึกษาปีที่ 6 4.ระดับอุดมศึกษา (Higher Education) -ระดับปริญญาตรี (Bachelor Degree) -ระดับปริญญาโท (Master Degree) -ระดับ Master of Philosophy (M.Phil) -ระดับปริญญาเอก (Doctoral Degree) สำหรับระบบการเรียนของโรงเรียนในประเทศอินเดียแบ่งออกเป็น 2 หลักสูตรใหญ่ๆ คือ หลักสูตรที่จัดตั้งโดยรัฐบาลอินเดีย โรงเรียนระบบ CBSE (Central Board of Scondary Education) โรงเรียนระบบ ICSE (Indian Certificate of Secondary Education) โดยทั้งสองระบบนี้จะใช้ภาษาอังกฤษในการเรียน การสอนเท่านั้น และมีภาษาที่ 2 ให้เลือกคือ เยอรมัน ฝรั่งเศส ญี่ปุ่น ซึ่งความแตกต่างของ 2 ระบบ คือหนังสือเรียนจะไม่เหมือนกัน แต่เนื้อหาจะไปในทางเดียวกัน เนื่องจากทั้ง 2 ระบบ ขึ้นกับกระทรวงศึกษาธิการของอินเดียเหมือนกัน แต่แบ่งเป็น 2 ระบบ เนื่องจากอินเดียเป็นประเทศใหญ่และมีประชากรมาก หากมีหน่วยงานดูแลเพียงหน่วยงานเดียวจะไม่สามารถดูแลได้ทั่วถึง โดยในอดีตจะขึ้นกับระบบ CBSE เป็นส่วนใหญ่ แต่ในปัจจุบันระบบที่มีโรงเรียนจดทะเบียนมากที่สุดคือ CBSE โดยทั้ง 2 ระบบนี้ เมื่อเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 จนจบแล้วก็จะได้รับอนุญาตให้เรียนต่อในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (Secondary School) คือมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 4 หรือที่อินเดียเรียนว่า Class 7 – 10 ในชั้นเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 4 (Class 10) เด็กจะต้องทำคะแนนให้ดีและเมื่อขึ้นระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ม. 5 – 6 (Classs 11 – 12) นักเรียนจะต้องนำผลการสอบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มาวัดผลเพื่อเลือกสาขาที่จะเรียน ดังนี้ คะแนน 65% – 80% ขึ้นไปจะเลือกได้ทั้งสายวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ และสายศิลป์ คะแนน 40% – 64% สามารถเลือกสายศิลป์ได้ ซึ่งสำหรับเด็กที่จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 (Class 10) จากประเทศไทยและต้องการศึกษาต่อในสายวิชาใดได้บ้าง โรงเรียนที่ขึ้นกับกองกรรมาธิการศึกษาอินเดียทั้ง 2 ระบบนั้น ได้รับการรับรองวิทยาฐานะจากกระทรวงศึกษาธิการไทยทุกโรงเรียน เมื่อเรียนจบมัธยมศึกษาปีที่ 6 (Class 12) จากอินเดียแล้วสามารถนำไปเข้ามหาวิทยาลัยและวิทยาลัยทุกแห่งในประเทศไทยได้เลย และหากต้องการศึกษาต่อในประเทศอื่น เช่น อเมริกา อังกฤษ ออสเตรเลีย ฯลฯ ก็สามารถนำไปเข้าศึกษาระดับปริญญาตรีได้เลย หรือหากต้องศึกษาในประเทศอินเดียก็สามารถศึกษาในระดับปริญญาตรีได้เช่นกัน หลักสูตรนานาชาติ ระบบ IGCSE (International General Certificate of Secondary Education) ซึ่งในระบบนี้จะเริ่มสอบตั้งแต่ม.3 หรือ Class 9 โดยเมื่อนักเรียนจบม.2 หรือ Class 8 แล้ว หากจะเรียนระบบ IGCSE (International General Certificate of Secondary Education) หรือเรียกอีกอย่างว่า University of Cambridge System นักเรียนจะต้องเลือกเรียน 5 วิชา เมื่อสอบผ่านครบ 5 วิชา (โดยปกติแล้วนักเรียนจะสอบผ่านได้ภายใน 2 ปี) เมื่อผ่านละจะได้ประกาศนียบัตร O Level ซึ่งเมืองไทยเทียบเท่า ม.6 และสามารถนำกลับมหาวิทยาลัยในประเทศไทยได้เลย เช่น มหาวิทยาลัยอินเตอร์ มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์ภาคอินเตอร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ภาคอินเตอร์ แต่ถ้าน้องๆประสงค์จะไปเรียนต่อมหาวิทยาลัยในประเทศอื่นๆ น้องๆ จะต้องเรียนต่ออีก 3 วิชาซึ่งเมื่อสอบผ่านอีก 3 วิชาแล้ว น้องๆจะต้องรับประกาศนียบัตร A Level ซึ่งใช้เข้าเรียนต่อมหาวิทยาลัยได้เลย ระบบนี้ น้องๆจะประหยัดเวลาได้ 2 ปี หาจบหลักสูตร O Level แล้วน้องๆ กลับมาเรียนต่อมหาวิทยาลัยในประเทศไทย International Bacalareatr (IB) หรือหลักสูตรนานาชาติ หลักสูตร IB บริหารจัดการโดย International Baccalaureate Organization (IBO) ซึ่งเป็นองค์กรไม่แสวงหาผลกำไรจากสวิตเซอร์แลนด์ หลักสูตร IB แบ่งออกเป็น 3 ระดับ คือ The Primary Year Programme (อนุบาล ถึง เกรด 5) The Middle Year Programma (เกรด 6-10) The Diploma Programma (เกรด 11-12) การศึกษาขั้นสูงหรือระดับอุดมศึกษา สถาบันการศึกษาขั้นสูงที่จัดการเรียนการสอน ในระดับปริญญาตรี-โท-เอก ได้แก่ มหาวิทยาลัย รวมถึงมหาวิทยาลัยเฉพาะทางด้านเกษตรกรรมและแพทยศาสตร์ โดยแบ่งออกเป็น มหาวิทยาลัยส่วนกลาง (central universities) และมหาวิทยาลัยของรัฐ (state universities) สถาบันที่ได้รับการรับรองวิทยะฐานะเทียบเท่ามหาวิทยาลัย (deemed universities) ซึ่งมักมีขนาดเล็กและเปิดสอนวิชาเฉพาะทาง สถาบันที่มีความสำคัญระดับชาติหรือสถาบันที่เทียบเท่ามหาวิทยาลัย ซึ่งได้รับงบประมาณสนับสนุนจากรัฐบาลหรือก่อตั้งโดยรัฐบาล รวมถึงสถาบันเทคโนโลยีแห่งอินเดีย (Indian Institute of Technology – IIT) ซึ่งปัจจุบันมี 15 แห่งทั่วประเทศ และสถาบันการจัดการแห่งอินเดีย (Indian Institute of Management) ซึ่งปัจจุบันมี 6 แห่งทั่วประเทศ วิทยาลัยเทคโนโลยีและมหาวิทยาลัยเปิด สถาบันวิจัยภายใต้การกำกับดูแลของสภาวิจัยด้านสังคมศาสตร์อินเดีย (Indian Council of Social Science Research) ศูนย์ปฏิบัติการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ และวิทยาลัยกว่า 10,000 แห่งทั่วประเทศ ซึ่งอยู่ภายใต้การควบคุมดูแลของมหาวิทยาลัย สถาบันการศึกษาของเอกชน ซึ่งรวมถึงสถาบันสอนภาษา สถาบันกวดวิชา สถาบันสอนวิชาคอมพิวเตอร์ ค่าเล่าเรียน ในอินเดียจะแตกต่างกันไปในแต่ละสถาบัน โดยมหาวิทยาลัยรัฐจะได้มีค่าเล่าเรียนที่ถูกกว่าเอกชนเนื่องจากได้รับการสนับสนุนจากรัฐ โดยพลเมืองอินเดียจะต้องจ่ายค่าเล่าเรียนต่อปีสูงสุด 100 เหรียญ (ประมาณ 3,200 บาท) เพื่อเข้าเรียนต่อในมหาวิทยาลัยรัฐ ในขณะที่วิทยาลัยเอกชนอาจมีค่าเล่าเรียนสูงกว่าอยู่ที่ 400 – 25,000 เหรียญต่อปี (ประมาณ 13,000 – 817,000 บาท) ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสถาบันและหลักสูตรที่เลือกเรียนด้วย โดยสำหรับนักศึกษาต่างชาติก็มีทุนช่วยเหลือสำหรับนักศึกษาต่างชาติทั้งแบบช่วยเหลือบางส่วนและแบบเต็มจำนวนอีกด้วย สำหรับนักศึกษาต่างชาติที่กำลังมองหาประเทศในการไปเรียนต่อที่มีระดับการศึกษาที่มีคุณภาพ มีสถาบันการศึกษาให้เลือกกว่า 20,000 แห่ง มีแหล่งรวมวัฒนธรรม และมีหลักสูตรการเรียนที่มีคุณภาพทั้งด้านวิชาการและภาษาแล้วล่ะก็ “อินเดีย” ก็นับว่าเป็นอีกหนึ่งตัวเลือกที่น่าสนใจไม่น้อยเลยทีเดียว ขอบคุณข้อมูลจาก :https://www.scholarship.in.th/masters-degrees-in-india-2019/ :http://sameaf.mfa.go.th/th/education/detail.php?ID=3246 :http://goodythailand.com/pagecontent.asp?id=17457 :https://gbc-goody.com ขอบคุณรูปภาพจาก : https://moneydoneright.com/how-to-save-money-while-studying-abroad/ : https://www.thestatesman.com/books-education/paradigm-shift-indian-education-1502743171.html : https://spontaneousorder.in/indias-human-capital/ : https://www.technologyforyou.org/study-in-india-programme-launched-with-the-launch-of-study-in-india-portal-by-smt-sushma-swaraj-in-new-delhi/ EZ Webmaster Related Posts ปิดเทอมนี้ สสวท. กระตุ้นต่อมคิดพิชิตปัญหาฟิสิกส์หรรษา กับ “ไขปริศนาวิทยากล” มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค รวมเฉลยทุกวิชา A-Level 68 ฟินแลนด์ครองแชมป์ 8 ปีซ้อน ประเทศที่มีความสุขที่สุดในโลก 2025 ไทยขยับขึ้นอันดับ 49 สจล. ร่วมกับโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์อินเตอร์เนชั่นแนล พัฒนาหลักสูตรและการจัดการเนื้อหาสู่การเรียนในแพลตฟอร์มออนไลน์ Post navigation PREVIOUS Previous post: รู้ก่อนไปเรียนต่อ… ค่าใช้จ่ายในการไปเรียนต่อประเทศอังกฤษและอเมริกาNEXT Next post: แนะสายอาชีพมาแรงแห่งอนาคต “อาชีพดูแลผู้สูงอายุ” Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ให้ทุนเยาวชน ODOS Summer Camp ไปเรียนซัมเมอร์ต่างประเทศ 6 สัปดาห์ เริ่มสมัครได้ 24 มี.ค.นี้ EZ WebmasterMarch 21, 2025 ODOS Summer Camp ทุนการศึกษาระยะสั้น 6 สัปดาห์ เพื่อกระจายโอกาสให้เด็กไทยทุกคนได้มีโอกาสไปเรียนซัมเมอร์ต่างประเทศ เปิดหูเปิดตา ค้นหาตัวตน และสร้างแรงบันดาลใจในการเรียนรู้ โดยไม่จำเป็นต้องเป็นเด็กเก่ง เด็กเรียน หรือเด็กหน้าห้อง เปิดรับเยาวชนที่มีคุณสมบัติดังนี้ – สัญชาติไทย – อายุไม่เกิน… ธนาคารแห่งประเทศไทย เปิดรับสมัครทุนระดับปริญญาโทขึ้นไป เรียนต่อที่ประเทศอังกฤษ EZ WebmasterMarch 17, 2025 ประกาศเปิดรับสมัครทุนการศึกษา Dr. Puey Ungphakorn Centenary Scholarship ประจำปี 2568 ธนาคารแห่งประเทศไทย เปิดรับสมัครทุนการศึกษาระดับปริญญาโทขึ้นไป เพื่อศึกษาต่อที่ The London School of Economics and Political… กสศ. ร่วมกับคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ให้ทุนเรียนฟรี ผู้ช่วยพยาบาล EZ WebmasterMarch 17, 2025 กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา(กสศ.)ร่วมกับคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ——————————————————- “รับสมัครนักศึกษาเพื่อรับทุน” หลักสูตรประกาศนียบัตรผู้ช่วยพยาบาล (PN) (สำหรับนักศึกษา PN รุ่นที่ 3) *** เรียนฟรี!! รับค่าใช้จ่ายเดือนละ 7,500 บาท จบแล้วไม่ต้องใช้ทุน **** จำนวน… ครู-อาจารย์ มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค EZ WebmasterMarch 21, 2025 ศาสตราจารย์ นายแพทย์ปิยะมิตร ศรีธรา อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า ปัจจุบันโลกกำลังเผชิญกับกระแสความเปลี่ยนแปลงใหญ่ๆ ใน 6 มิติ 1. สังคมสูงวัย (Aging Society) ในอีก 8 ปีข้างหน้า ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุระดับสุดยอด (Super… รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน EZ WebmasterMarch 21, 2025 รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน พร้อมจ่ายเงินอุดหนุนการศึกษาและพัฒนาอาชีพ ผ่านกสศ. ขณะที่ Microsoft หนุน ศูนย์ดิจิทัลชุมชน ยกระดับทักษะAI เพิ่มโอกาสมีงานทำ พร้อมจับมือ UNICEF สร้าง 1… Kahoot! เปิดตัว Kahoot! Energize ปฏิวัติการประชุมให้มีพลังและสร้างผลกระทบที่เหนือกว่า EZ WebmasterMarch 21, 2025 เปลี่ยนทุกการนำเสนอในที่ทำงานให้กลายเป็นการสื่อสารสองทาง สร้างประสบการณ์ที่น่าสนใจ เต็มไปด้วยความมีชีวิตชีวาและการมีส่วนร่วมที่แท้จริง กระตุ้นการมีส่วนร่วมจากผู้ฟังและขับเคลื่อน ผลลัพธ์ทางธุรกิจไปอีกขั้นด้วย Kahoot! Energize Kahoot! (คาฮู้ด) ผู้นำด้านการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมระดับโลกได้เปิดตัวเครื่องมือใหม่ Kahoot! Energize ที่จะเปลี่ยนทุกการประชุม การฝึกอบรม หรือกิจกรรมต่างๆ ให้กลายเป็นช่วงเวลาที่เต็มไปด้วยพลังและความสนุก พร้อมกระตุ้นการมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ สร้างผลกระทบที่มีความหมาย และขับเคลื่อนธุรกิจไปข้างหน้า การพัฒนา Kahoot! Energize ต่อยอดจากรูปแบบการเรียนรู้และการมีส่วนร่วม อันเป็นเอกลักษณ์ที่ได้รับความนิยมของ Kahoot! แต่เพิ่มความสามารถในการใช้งานในสภาพแวดล้อมการทำงานที่หลากหลาย… สมศ. เน้นย้ำการประเมินคุณภาพภายนอก ปี 67-71 ลดวันประเมิน On site ขยายสู่รูปแบบออนไลน์ สร้างมาตรฐานในการแข่งขันระดับอาเซียน EZ WebmasterMarch 20, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยในการประชุมรับฟังความคิดเห็น (ร่าง) กรอบแนวทางการประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษาที่จัดการเรียนรู้ในสังกัดกรมส่งเสริมการเรียนรู้ (สกร.) โดยเน้นย้ำเรื่อง “แนวคิดและทิศทางการประกันคุณภาพภายนอก” ว่า การประกันคุณภาพภายนอกไม่ใช่เป็น “การตรวจสอบ” แต่เป็นเครื่องมือที่ช่วยส่งเสริมการพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษาอย่างแท้จริง… กิจกรรม รวมพลังสีชมพูจุฬาฯ กลับบ้านสู่ร่มจามจุรี ในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” EZ WebmasterMarch 14, 2025 สมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (สนจ.) เชิญชวนชาวจุฬาฯ ทั้งนิสิตเก่าและนิสิตปัจจุบัน เดินทางกลับบ้านในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” ร่วมฉลองวาระสำคัญ ครบรอบ 108 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในบรรยากาศแห่งความรักความสามัคคี และความผูกพันของเหล่าน้องพี่สีชมพู ภายใต้ร่มเงาของจามจุรี นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย… สจล. ผนึกกำลังตำรวจภูธรภาค 2 และบริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จำกัด (สำนักงานใหญ่) พัฒนาโครงการ “AI Robot รับแจ้งความ” ประมวลผลถูกต้องและมีประสิทธิภาพ EZ WebmasterMarch 13, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี ร่วมด้วยพลตำรวจโท ยิ่งยศ เทพจำนงค์ (คนที่ 3 จากซ้าย) ผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 2… สจล. ร่วมกับกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน มุ่งยกระดับฝีมือแรงงาน สอดคล้องความต้องการในอนาคต EZ WebmasterMarch 10, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี และนายเดชา พฤกษ์พัฒนรักษ์ (คนที่ 3 จากซ้าย) อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ได้ลงในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการร่วมกัน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่นักศึกษาของสถาบันก่อนเข้าสู่ตลาดแรงงานในสาขาอาชีพต่าง… ปิดฉาก “HigherEd for PWD” ระยะที่ 1 เสริมสมรรถนะคนพิการสู่ตลาดแรงงานจริง EZ WebmasterMarch 10, 2025 เมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2568 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) ร่วมกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) และมหาวิทยาลัยเครือข่าย 5 แห่ง จัดแถลงข่าวสรุปผลและปิดโครงการการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาศักยภาพคนพิการเพื่อการประกอบอาชีพ ผ่านโมเดลการฝึกอบรม-ฝึกงานคนพิการ มจธ. HigherEd for PWD ระยะที่ 1 ซึ่งเป็นโครงการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อพัฒนาศักยภาพคนพิการสู่การประกอบอาชีพในตลาดแรงงานจริง ที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ซึ่งจัดขึ้น ณ ห้อง Auditorium ชั้น 3 อาคารการเรียนรู้พหุวิทยาการ (LX) มจธ. บางมด กรุงเทพฯ โดยได้รับเกียรติจาก นายวราวุธ… Search for: Search EZ Webmaster December 25, 2019 EZ Webmaster December 25, 2019 ส่องระบบการศึกษาของ “อินเดีย” อีกหนึ่งประเทศที่ติดอันดับการเรียนต่อของนักศึกษาต่างชาติ ประเทศอินเดียเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 7 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับ2 รองจากจีน เป็นประเทศที่มีวัฒนธรรมยุคแรกๆ ของโลก มีประชาธิปไตยที่เก่าแก่และเข้มแข็งเป็นอย่างมาก ในขณะเดียวกันก็เป็นประเทศที่มีความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และระบบการศึกษาที่มีคุณภาพติดอันดับโลก โดยอินเดียติดอันดับประเทศที่น่าไปศึกษาต่อทั้งในระดับเอเชียและระดับโลก นอกจากนี้ยังเป็นประเทศที่มีมหาวิทยาลัยและวิทยาลัยกว่า 20,000 แห่ง ที่สร้างมาเพื่อรองรับจำนวนนักศึกษากว่า 8 ล้านคนในช่วงเวลาระหว่างปี 2000 – 2010 อินเดียประกอบด้วยประชากรหลายชนเผ่าหลากหลายวัฒนธรรมประเพณี และศาสนา รวมทั้งภาษาที่ใช้ในการสื่อสารก็มีมากกว่าแปดร้อยภาษา นอกจากนี้ยอินเดียยังเคยเป็นอาณานิคมของสหราชอาณาจักรอยู่นานเกือบสองร้อยปี ทำให้เป็นประเทศที่มีภาษาอังกฤษที่หยั่งรากลึก และถูกใช้เป็นภาษาทางราชการมานานกว่าร้อยปี ทำให้พื้นฐานภาษาอังกฤษของคนอินเดียถูกจัดอันดับให้อยู่ในระดับต้นๆ ของเอเชีย สำหรับนักศึกษาต่างชาติที่จะไปศึกษาต่อที่อินเดียนั้น จะได้พบกับการศึกษาที่อินเดียแบ่งออกเป็นหลายระบบ ซึ่งแต่ละระบบจะมีภาษาอังกฤษเป็นภาคบังคับ เท่ากับว่าผู้เรียนจะได้ศึกษาวิชาการที่เข้มข้นและยังได้เรียนภาษาอังกฤษกับเจ้าของภาษาโดยตรงอีกด้วย สำหรับระบบการศึกษาในอินเดีย การศึกษาขั้นพื้นฐานในโรงเรียนของอินเดียจะแบ่งออกเป็น ประถม มัธยมต้น และมัธยมปลาย (Grade 11-12) โดยแบ่งหลักสูตรออกเป็น: 1.ระดับอนุบาล (Kindergarten) >> อนุบาล 1 – อนุบาล 3 2.ระดับประถมศึกษา (Primary Education) >> ประถมศึกษา 1 – ประถมศึกษา 6 3.ระดับมัธยมศึกษา (Secondary Education) มัธยมศึกษาตอนต้น (High School Education) >> มัธยมศึกษาปีที่ 1 – มัธยมศึกษาปีที่ 4 มัธยมศึกษตอนปลาย (Higher School Education) >> มัธยมศึกษาปีที่ 5 – มัธยมศึกษาปีที่ 6 4.ระดับอุดมศึกษา (Higher Education) -ระดับปริญญาตรี (Bachelor Degree) -ระดับปริญญาโท (Master Degree) -ระดับ Master of Philosophy (M.Phil) -ระดับปริญญาเอก (Doctoral Degree) สำหรับระบบการเรียนของโรงเรียนในประเทศอินเดียแบ่งออกเป็น 2 หลักสูตรใหญ่ๆ คือ หลักสูตรที่จัดตั้งโดยรัฐบาลอินเดีย โรงเรียนระบบ CBSE (Central Board of Scondary Education) โรงเรียนระบบ ICSE (Indian Certificate of Secondary Education) โดยทั้งสองระบบนี้จะใช้ภาษาอังกฤษในการเรียน การสอนเท่านั้น และมีภาษาที่ 2 ให้เลือกคือ เยอรมัน ฝรั่งเศส ญี่ปุ่น ซึ่งความแตกต่างของ 2 ระบบ คือหนังสือเรียนจะไม่เหมือนกัน แต่เนื้อหาจะไปในทางเดียวกัน เนื่องจากทั้ง 2 ระบบ ขึ้นกับกระทรวงศึกษาธิการของอินเดียเหมือนกัน แต่แบ่งเป็น 2 ระบบ เนื่องจากอินเดียเป็นประเทศใหญ่และมีประชากรมาก หากมีหน่วยงานดูแลเพียงหน่วยงานเดียวจะไม่สามารถดูแลได้ทั่วถึง โดยในอดีตจะขึ้นกับระบบ CBSE เป็นส่วนใหญ่ แต่ในปัจจุบันระบบที่มีโรงเรียนจดทะเบียนมากที่สุดคือ CBSE โดยทั้ง 2 ระบบนี้ เมื่อเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 จนจบแล้วก็จะได้รับอนุญาตให้เรียนต่อในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (Secondary School) คือมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 4 หรือที่อินเดียเรียนว่า Class 7 – 10 ในชั้นเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 4 (Class 10) เด็กจะต้องทำคะแนนให้ดีและเมื่อขึ้นระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ม. 5 – 6 (Classs 11 – 12) นักเรียนจะต้องนำผลการสอบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มาวัดผลเพื่อเลือกสาขาที่จะเรียน ดังนี้ คะแนน 65% – 80% ขึ้นไปจะเลือกได้ทั้งสายวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ และสายศิลป์ คะแนน 40% – 64% สามารถเลือกสายศิลป์ได้ ซึ่งสำหรับเด็กที่จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 (Class 10) จากประเทศไทยและต้องการศึกษาต่อในสายวิชาใดได้บ้าง โรงเรียนที่ขึ้นกับกองกรรมาธิการศึกษาอินเดียทั้ง 2 ระบบนั้น ได้รับการรับรองวิทยาฐานะจากกระทรวงศึกษาธิการไทยทุกโรงเรียน เมื่อเรียนจบมัธยมศึกษาปีที่ 6 (Class 12) จากอินเดียแล้วสามารถนำไปเข้ามหาวิทยาลัยและวิทยาลัยทุกแห่งในประเทศไทยได้เลย และหากต้องการศึกษาต่อในประเทศอื่น เช่น อเมริกา อังกฤษ ออสเตรเลีย ฯลฯ ก็สามารถนำไปเข้าศึกษาระดับปริญญาตรีได้เลย หรือหากต้องศึกษาในประเทศอินเดียก็สามารถศึกษาในระดับปริญญาตรีได้เช่นกัน หลักสูตรนานาชาติ ระบบ IGCSE (International General Certificate of Secondary Education) ซึ่งในระบบนี้จะเริ่มสอบตั้งแต่ม.3 หรือ Class 9 โดยเมื่อนักเรียนจบม.2 หรือ Class 8 แล้ว หากจะเรียนระบบ IGCSE (International General Certificate of Secondary Education) หรือเรียกอีกอย่างว่า University of Cambridge System นักเรียนจะต้องเลือกเรียน 5 วิชา เมื่อสอบผ่านครบ 5 วิชา (โดยปกติแล้วนักเรียนจะสอบผ่านได้ภายใน 2 ปี) เมื่อผ่านละจะได้ประกาศนียบัตร O Level ซึ่งเมืองไทยเทียบเท่า ม.6 และสามารถนำกลับมหาวิทยาลัยในประเทศไทยได้เลย เช่น มหาวิทยาลัยอินเตอร์ มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์ภาคอินเตอร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ภาคอินเตอร์ แต่ถ้าน้องๆประสงค์จะไปเรียนต่อมหาวิทยาลัยในประเทศอื่นๆ น้องๆ จะต้องเรียนต่ออีก 3 วิชาซึ่งเมื่อสอบผ่านอีก 3 วิชาแล้ว น้องๆจะต้องรับประกาศนียบัตร A Level ซึ่งใช้เข้าเรียนต่อมหาวิทยาลัยได้เลย ระบบนี้ น้องๆจะประหยัดเวลาได้ 2 ปี หาจบหลักสูตร O Level แล้วน้องๆ กลับมาเรียนต่อมหาวิทยาลัยในประเทศไทย International Bacalareatr (IB) หรือหลักสูตรนานาชาติ หลักสูตร IB บริหารจัดการโดย International Baccalaureate Organization (IBO) ซึ่งเป็นองค์กรไม่แสวงหาผลกำไรจากสวิตเซอร์แลนด์ หลักสูตร IB แบ่งออกเป็น 3 ระดับ คือ The Primary Year Programme (อนุบาล ถึง เกรด 5) The Middle Year Programma (เกรด 6-10) The Diploma Programma (เกรด 11-12) การศึกษาขั้นสูงหรือระดับอุดมศึกษา สถาบันการศึกษาขั้นสูงที่จัดการเรียนการสอน ในระดับปริญญาตรี-โท-เอก ได้แก่ มหาวิทยาลัย รวมถึงมหาวิทยาลัยเฉพาะทางด้านเกษตรกรรมและแพทยศาสตร์ โดยแบ่งออกเป็น มหาวิทยาลัยส่วนกลาง (central universities) และมหาวิทยาลัยของรัฐ (state universities) สถาบันที่ได้รับการรับรองวิทยะฐานะเทียบเท่ามหาวิทยาลัย (deemed universities) ซึ่งมักมีขนาดเล็กและเปิดสอนวิชาเฉพาะทาง สถาบันที่มีความสำคัญระดับชาติหรือสถาบันที่เทียบเท่ามหาวิทยาลัย ซึ่งได้รับงบประมาณสนับสนุนจากรัฐบาลหรือก่อตั้งโดยรัฐบาล รวมถึงสถาบันเทคโนโลยีแห่งอินเดีย (Indian Institute of Technology – IIT) ซึ่งปัจจุบันมี 15 แห่งทั่วประเทศ และสถาบันการจัดการแห่งอินเดีย (Indian Institute of Management) ซึ่งปัจจุบันมี 6 แห่งทั่วประเทศ วิทยาลัยเทคโนโลยีและมหาวิทยาลัยเปิด สถาบันวิจัยภายใต้การกำกับดูแลของสภาวิจัยด้านสังคมศาสตร์อินเดีย (Indian Council of Social Science Research) ศูนย์ปฏิบัติการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ และวิทยาลัยกว่า 10,000 แห่งทั่วประเทศ ซึ่งอยู่ภายใต้การควบคุมดูแลของมหาวิทยาลัย สถาบันการศึกษาของเอกชน ซึ่งรวมถึงสถาบันสอนภาษา สถาบันกวดวิชา สถาบันสอนวิชาคอมพิวเตอร์ ค่าเล่าเรียน ในอินเดียจะแตกต่างกันไปในแต่ละสถาบัน โดยมหาวิทยาลัยรัฐจะได้มีค่าเล่าเรียนที่ถูกกว่าเอกชนเนื่องจากได้รับการสนับสนุนจากรัฐ โดยพลเมืองอินเดียจะต้องจ่ายค่าเล่าเรียนต่อปีสูงสุด 100 เหรียญ (ประมาณ 3,200 บาท) เพื่อเข้าเรียนต่อในมหาวิทยาลัยรัฐ ในขณะที่วิทยาลัยเอกชนอาจมีค่าเล่าเรียนสูงกว่าอยู่ที่ 400 – 25,000 เหรียญต่อปี (ประมาณ 13,000 – 817,000 บาท) ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสถาบันและหลักสูตรที่เลือกเรียนด้วย โดยสำหรับนักศึกษาต่างชาติก็มีทุนช่วยเหลือสำหรับนักศึกษาต่างชาติทั้งแบบช่วยเหลือบางส่วนและแบบเต็มจำนวนอีกด้วย สำหรับนักศึกษาต่างชาติที่กำลังมองหาประเทศในการไปเรียนต่อที่มีระดับการศึกษาที่มีคุณภาพ มีสถาบันการศึกษาให้เลือกกว่า 20,000 แห่ง มีแหล่งรวมวัฒนธรรม และมีหลักสูตรการเรียนที่มีคุณภาพทั้งด้านวิชาการและภาษาแล้วล่ะก็ “อินเดีย” ก็นับว่าเป็นอีกหนึ่งตัวเลือกที่น่าสนใจไม่น้อยเลยทีเดียว ขอบคุณข้อมูลจาก :https://www.scholarship.in.th/masters-degrees-in-india-2019/ :http://sameaf.mfa.go.th/th/education/detail.php?ID=3246 :http://goodythailand.com/pagecontent.asp?id=17457 :https://gbc-goody.com ขอบคุณรูปภาพจาก : https://moneydoneright.com/how-to-save-money-while-studying-abroad/ : https://www.thestatesman.com/books-education/paradigm-shift-indian-education-1502743171.html : https://spontaneousorder.in/indias-human-capital/ : https://www.technologyforyou.org/study-in-india-programme-launched-with-the-launch-of-study-in-india-portal-by-smt-sushma-swaraj-in-new-delhi/ EZ Webmaster Related Posts ปิดเทอมนี้ สสวท. กระตุ้นต่อมคิดพิชิตปัญหาฟิสิกส์หรรษา กับ “ไขปริศนาวิทยากล” มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค รวมเฉลยทุกวิชา A-Level 68 ฟินแลนด์ครองแชมป์ 8 ปีซ้อน ประเทศที่มีความสุขที่สุดในโลก 2025 ไทยขยับขึ้นอันดับ 49 สจล. ร่วมกับโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์อินเตอร์เนชั่นแนล พัฒนาหลักสูตรและการจัดการเนื้อหาสู่การเรียนในแพลตฟอร์มออนไลน์ Post navigation PREVIOUS Previous post: รู้ก่อนไปเรียนต่อ… ค่าใช้จ่ายในการไปเรียนต่อประเทศอังกฤษและอเมริกาNEXT Next post: แนะสายอาชีพมาแรงแห่งอนาคต “อาชีพดูแลผู้สูงอายุ” Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ธนาคารแห่งประเทศไทย เปิดรับสมัครทุนระดับปริญญาโทขึ้นไป เรียนต่อที่ประเทศอังกฤษ EZ WebmasterMarch 17, 2025 ประกาศเปิดรับสมัครทุนการศึกษา Dr. Puey Ungphakorn Centenary Scholarship ประจำปี 2568 ธนาคารแห่งประเทศไทย เปิดรับสมัครทุนการศึกษาระดับปริญญาโทขึ้นไป เพื่อศึกษาต่อที่ The London School of Economics and Political… กสศ. ร่วมกับคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ให้ทุนเรียนฟรี ผู้ช่วยพยาบาล EZ WebmasterMarch 17, 2025 กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา(กสศ.)ร่วมกับคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ——————————————————- “รับสมัครนักศึกษาเพื่อรับทุน” หลักสูตรประกาศนียบัตรผู้ช่วยพยาบาล (PN) (สำหรับนักศึกษา PN รุ่นที่ 3) *** เรียนฟรี!! รับค่าใช้จ่ายเดือนละ 7,500 บาท จบแล้วไม่ต้องใช้ทุน **** จำนวน…
กสศ. ร่วมกับคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ให้ทุนเรียนฟรี ผู้ช่วยพยาบาล EZ WebmasterMarch 17, 2025 กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา(กสศ.)ร่วมกับคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ——————————————————- “รับสมัครนักศึกษาเพื่อรับทุน” หลักสูตรประกาศนียบัตรผู้ช่วยพยาบาล (PN) (สำหรับนักศึกษา PN รุ่นที่ 3) *** เรียนฟรี!! รับค่าใช้จ่ายเดือนละ 7,500 บาท จบแล้วไม่ต้องใช้ทุน **** จำนวน…
มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค EZ WebmasterMarch 21, 2025 ศาสตราจารย์ นายแพทย์ปิยะมิตร ศรีธรา อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า ปัจจุบันโลกกำลังเผชิญกับกระแสความเปลี่ยนแปลงใหญ่ๆ ใน 6 มิติ 1. สังคมสูงวัย (Aging Society) ในอีก 8 ปีข้างหน้า ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุระดับสุดยอด (Super… รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน EZ WebmasterMarch 21, 2025 รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน พร้อมจ่ายเงินอุดหนุนการศึกษาและพัฒนาอาชีพ ผ่านกสศ. ขณะที่ Microsoft หนุน ศูนย์ดิจิทัลชุมชน ยกระดับทักษะAI เพิ่มโอกาสมีงานทำ พร้อมจับมือ UNICEF สร้าง 1… Kahoot! เปิดตัว Kahoot! Energize ปฏิวัติการประชุมให้มีพลังและสร้างผลกระทบที่เหนือกว่า EZ WebmasterMarch 21, 2025 เปลี่ยนทุกการนำเสนอในที่ทำงานให้กลายเป็นการสื่อสารสองทาง สร้างประสบการณ์ที่น่าสนใจ เต็มไปด้วยความมีชีวิตชีวาและการมีส่วนร่วมที่แท้จริง กระตุ้นการมีส่วนร่วมจากผู้ฟังและขับเคลื่อน ผลลัพธ์ทางธุรกิจไปอีกขั้นด้วย Kahoot! Energize Kahoot! (คาฮู้ด) ผู้นำด้านการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมระดับโลกได้เปิดตัวเครื่องมือใหม่ Kahoot! Energize ที่จะเปลี่ยนทุกการประชุม การฝึกอบรม หรือกิจกรรมต่างๆ ให้กลายเป็นช่วงเวลาที่เต็มไปด้วยพลังและความสนุก พร้อมกระตุ้นการมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ สร้างผลกระทบที่มีความหมาย และขับเคลื่อนธุรกิจไปข้างหน้า การพัฒนา Kahoot! Energize ต่อยอดจากรูปแบบการเรียนรู้และการมีส่วนร่วม อันเป็นเอกลักษณ์ที่ได้รับความนิยมของ Kahoot! แต่เพิ่มความสามารถในการใช้งานในสภาพแวดล้อมการทำงานที่หลากหลาย… สมศ. เน้นย้ำการประเมินคุณภาพภายนอก ปี 67-71 ลดวันประเมิน On site ขยายสู่รูปแบบออนไลน์ สร้างมาตรฐานในการแข่งขันระดับอาเซียน EZ WebmasterMarch 20, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยในการประชุมรับฟังความคิดเห็น (ร่าง) กรอบแนวทางการประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษาที่จัดการเรียนรู้ในสังกัดกรมส่งเสริมการเรียนรู้ (สกร.) โดยเน้นย้ำเรื่อง “แนวคิดและทิศทางการประกันคุณภาพภายนอก” ว่า การประกันคุณภาพภายนอกไม่ใช่เป็น “การตรวจสอบ” แต่เป็นเครื่องมือที่ช่วยส่งเสริมการพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษาอย่างแท้จริง… กิจกรรม รวมพลังสีชมพูจุฬาฯ กลับบ้านสู่ร่มจามจุรี ในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” EZ WebmasterMarch 14, 2025 สมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (สนจ.) เชิญชวนชาวจุฬาฯ ทั้งนิสิตเก่าและนิสิตปัจจุบัน เดินทางกลับบ้านในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” ร่วมฉลองวาระสำคัญ ครบรอบ 108 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในบรรยากาศแห่งความรักความสามัคคี และความผูกพันของเหล่าน้องพี่สีชมพู ภายใต้ร่มเงาของจามจุรี นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย… สจล. ผนึกกำลังตำรวจภูธรภาค 2 และบริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จำกัด (สำนักงานใหญ่) พัฒนาโครงการ “AI Robot รับแจ้งความ” ประมวลผลถูกต้องและมีประสิทธิภาพ EZ WebmasterMarch 13, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี ร่วมด้วยพลตำรวจโท ยิ่งยศ เทพจำนงค์ (คนที่ 3 จากซ้าย) ผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 2… สจล. ร่วมกับกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน มุ่งยกระดับฝีมือแรงงาน สอดคล้องความต้องการในอนาคต EZ WebmasterMarch 10, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี และนายเดชา พฤกษ์พัฒนรักษ์ (คนที่ 3 จากซ้าย) อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ได้ลงในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการร่วมกัน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่นักศึกษาของสถาบันก่อนเข้าสู่ตลาดแรงงานในสาขาอาชีพต่าง… ปิดฉาก “HigherEd for PWD” ระยะที่ 1 เสริมสมรรถนะคนพิการสู่ตลาดแรงงานจริง EZ WebmasterMarch 10, 2025 เมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2568 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) ร่วมกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) และมหาวิทยาลัยเครือข่าย 5 แห่ง จัดแถลงข่าวสรุปผลและปิดโครงการการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาศักยภาพคนพิการเพื่อการประกอบอาชีพ ผ่านโมเดลการฝึกอบรม-ฝึกงานคนพิการ มจธ. HigherEd for PWD ระยะที่ 1 ซึ่งเป็นโครงการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อพัฒนาศักยภาพคนพิการสู่การประกอบอาชีพในตลาดแรงงานจริง ที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ซึ่งจัดขึ้น ณ ห้อง Auditorium ชั้น 3 อาคารการเรียนรู้พหุวิทยาการ (LX) มจธ. บางมด กรุงเทพฯ โดยได้รับเกียรติจาก นายวราวุธ… Search for: Search EZ Webmaster December 25, 2019 EZ Webmaster December 25, 2019 ส่องระบบการศึกษาของ “อินเดีย” อีกหนึ่งประเทศที่ติดอันดับการเรียนต่อของนักศึกษาต่างชาติ ประเทศอินเดียเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 7 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับ2 รองจากจีน เป็นประเทศที่มีวัฒนธรรมยุคแรกๆ ของโลก มีประชาธิปไตยที่เก่าแก่และเข้มแข็งเป็นอย่างมาก ในขณะเดียวกันก็เป็นประเทศที่มีความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และระบบการศึกษาที่มีคุณภาพติดอันดับโลก โดยอินเดียติดอันดับประเทศที่น่าไปศึกษาต่อทั้งในระดับเอเชียและระดับโลก นอกจากนี้ยังเป็นประเทศที่มีมหาวิทยาลัยและวิทยาลัยกว่า 20,000 แห่ง ที่สร้างมาเพื่อรองรับจำนวนนักศึกษากว่า 8 ล้านคนในช่วงเวลาระหว่างปี 2000 – 2010 อินเดียประกอบด้วยประชากรหลายชนเผ่าหลากหลายวัฒนธรรมประเพณี และศาสนา รวมทั้งภาษาที่ใช้ในการสื่อสารก็มีมากกว่าแปดร้อยภาษา นอกจากนี้ยอินเดียยังเคยเป็นอาณานิคมของสหราชอาณาจักรอยู่นานเกือบสองร้อยปี ทำให้เป็นประเทศที่มีภาษาอังกฤษที่หยั่งรากลึก และถูกใช้เป็นภาษาทางราชการมานานกว่าร้อยปี ทำให้พื้นฐานภาษาอังกฤษของคนอินเดียถูกจัดอันดับให้อยู่ในระดับต้นๆ ของเอเชีย สำหรับนักศึกษาต่างชาติที่จะไปศึกษาต่อที่อินเดียนั้น จะได้พบกับการศึกษาที่อินเดียแบ่งออกเป็นหลายระบบ ซึ่งแต่ละระบบจะมีภาษาอังกฤษเป็นภาคบังคับ เท่ากับว่าผู้เรียนจะได้ศึกษาวิชาการที่เข้มข้นและยังได้เรียนภาษาอังกฤษกับเจ้าของภาษาโดยตรงอีกด้วย สำหรับระบบการศึกษาในอินเดีย การศึกษาขั้นพื้นฐานในโรงเรียนของอินเดียจะแบ่งออกเป็น ประถม มัธยมต้น และมัธยมปลาย (Grade 11-12) โดยแบ่งหลักสูตรออกเป็น: 1.ระดับอนุบาล (Kindergarten) >> อนุบาล 1 – อนุบาล 3 2.ระดับประถมศึกษา (Primary Education) >> ประถมศึกษา 1 – ประถมศึกษา 6 3.ระดับมัธยมศึกษา (Secondary Education) มัธยมศึกษาตอนต้น (High School Education) >> มัธยมศึกษาปีที่ 1 – มัธยมศึกษาปีที่ 4 มัธยมศึกษตอนปลาย (Higher School Education) >> มัธยมศึกษาปีที่ 5 – มัธยมศึกษาปีที่ 6 4.ระดับอุดมศึกษา (Higher Education) -ระดับปริญญาตรี (Bachelor Degree) -ระดับปริญญาโท (Master Degree) -ระดับ Master of Philosophy (M.Phil) -ระดับปริญญาเอก (Doctoral Degree) สำหรับระบบการเรียนของโรงเรียนในประเทศอินเดียแบ่งออกเป็น 2 หลักสูตรใหญ่ๆ คือ หลักสูตรที่จัดตั้งโดยรัฐบาลอินเดีย โรงเรียนระบบ CBSE (Central Board of Scondary Education) โรงเรียนระบบ ICSE (Indian Certificate of Secondary Education) โดยทั้งสองระบบนี้จะใช้ภาษาอังกฤษในการเรียน การสอนเท่านั้น และมีภาษาที่ 2 ให้เลือกคือ เยอรมัน ฝรั่งเศส ญี่ปุ่น ซึ่งความแตกต่างของ 2 ระบบ คือหนังสือเรียนจะไม่เหมือนกัน แต่เนื้อหาจะไปในทางเดียวกัน เนื่องจากทั้ง 2 ระบบ ขึ้นกับกระทรวงศึกษาธิการของอินเดียเหมือนกัน แต่แบ่งเป็น 2 ระบบ เนื่องจากอินเดียเป็นประเทศใหญ่และมีประชากรมาก หากมีหน่วยงานดูแลเพียงหน่วยงานเดียวจะไม่สามารถดูแลได้ทั่วถึง โดยในอดีตจะขึ้นกับระบบ CBSE เป็นส่วนใหญ่ แต่ในปัจจุบันระบบที่มีโรงเรียนจดทะเบียนมากที่สุดคือ CBSE โดยทั้ง 2 ระบบนี้ เมื่อเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 จนจบแล้วก็จะได้รับอนุญาตให้เรียนต่อในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (Secondary School) คือมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 4 หรือที่อินเดียเรียนว่า Class 7 – 10 ในชั้นเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 4 (Class 10) เด็กจะต้องทำคะแนนให้ดีและเมื่อขึ้นระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ม. 5 – 6 (Classs 11 – 12) นักเรียนจะต้องนำผลการสอบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มาวัดผลเพื่อเลือกสาขาที่จะเรียน ดังนี้ คะแนน 65% – 80% ขึ้นไปจะเลือกได้ทั้งสายวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ และสายศิลป์ คะแนน 40% – 64% สามารถเลือกสายศิลป์ได้ ซึ่งสำหรับเด็กที่จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 (Class 10) จากประเทศไทยและต้องการศึกษาต่อในสายวิชาใดได้บ้าง โรงเรียนที่ขึ้นกับกองกรรมาธิการศึกษาอินเดียทั้ง 2 ระบบนั้น ได้รับการรับรองวิทยาฐานะจากกระทรวงศึกษาธิการไทยทุกโรงเรียน เมื่อเรียนจบมัธยมศึกษาปีที่ 6 (Class 12) จากอินเดียแล้วสามารถนำไปเข้ามหาวิทยาลัยและวิทยาลัยทุกแห่งในประเทศไทยได้เลย และหากต้องการศึกษาต่อในประเทศอื่น เช่น อเมริกา อังกฤษ ออสเตรเลีย ฯลฯ ก็สามารถนำไปเข้าศึกษาระดับปริญญาตรีได้เลย หรือหากต้องศึกษาในประเทศอินเดียก็สามารถศึกษาในระดับปริญญาตรีได้เช่นกัน หลักสูตรนานาชาติ ระบบ IGCSE (International General Certificate of Secondary Education) ซึ่งในระบบนี้จะเริ่มสอบตั้งแต่ม.3 หรือ Class 9 โดยเมื่อนักเรียนจบม.2 หรือ Class 8 แล้ว หากจะเรียนระบบ IGCSE (International General Certificate of Secondary Education) หรือเรียกอีกอย่างว่า University of Cambridge System นักเรียนจะต้องเลือกเรียน 5 วิชา เมื่อสอบผ่านครบ 5 วิชา (โดยปกติแล้วนักเรียนจะสอบผ่านได้ภายใน 2 ปี) เมื่อผ่านละจะได้ประกาศนียบัตร O Level ซึ่งเมืองไทยเทียบเท่า ม.6 และสามารถนำกลับมหาวิทยาลัยในประเทศไทยได้เลย เช่น มหาวิทยาลัยอินเตอร์ มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์ภาคอินเตอร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ภาคอินเตอร์ แต่ถ้าน้องๆประสงค์จะไปเรียนต่อมหาวิทยาลัยในประเทศอื่นๆ น้องๆ จะต้องเรียนต่ออีก 3 วิชาซึ่งเมื่อสอบผ่านอีก 3 วิชาแล้ว น้องๆจะต้องรับประกาศนียบัตร A Level ซึ่งใช้เข้าเรียนต่อมหาวิทยาลัยได้เลย ระบบนี้ น้องๆจะประหยัดเวลาได้ 2 ปี หาจบหลักสูตร O Level แล้วน้องๆ กลับมาเรียนต่อมหาวิทยาลัยในประเทศไทย International Bacalareatr (IB) หรือหลักสูตรนานาชาติ หลักสูตร IB บริหารจัดการโดย International Baccalaureate Organization (IBO) ซึ่งเป็นองค์กรไม่แสวงหาผลกำไรจากสวิตเซอร์แลนด์ หลักสูตร IB แบ่งออกเป็น 3 ระดับ คือ The Primary Year Programme (อนุบาล ถึง เกรด 5) The Middle Year Programma (เกรด 6-10) The Diploma Programma (เกรด 11-12) การศึกษาขั้นสูงหรือระดับอุดมศึกษา สถาบันการศึกษาขั้นสูงที่จัดการเรียนการสอน ในระดับปริญญาตรี-โท-เอก ได้แก่ มหาวิทยาลัย รวมถึงมหาวิทยาลัยเฉพาะทางด้านเกษตรกรรมและแพทยศาสตร์ โดยแบ่งออกเป็น มหาวิทยาลัยส่วนกลาง (central universities) และมหาวิทยาลัยของรัฐ (state universities) สถาบันที่ได้รับการรับรองวิทยะฐานะเทียบเท่ามหาวิทยาลัย (deemed universities) ซึ่งมักมีขนาดเล็กและเปิดสอนวิชาเฉพาะทาง สถาบันที่มีความสำคัญระดับชาติหรือสถาบันที่เทียบเท่ามหาวิทยาลัย ซึ่งได้รับงบประมาณสนับสนุนจากรัฐบาลหรือก่อตั้งโดยรัฐบาล รวมถึงสถาบันเทคโนโลยีแห่งอินเดีย (Indian Institute of Technology – IIT) ซึ่งปัจจุบันมี 15 แห่งทั่วประเทศ และสถาบันการจัดการแห่งอินเดีย (Indian Institute of Management) ซึ่งปัจจุบันมี 6 แห่งทั่วประเทศ วิทยาลัยเทคโนโลยีและมหาวิทยาลัยเปิด สถาบันวิจัยภายใต้การกำกับดูแลของสภาวิจัยด้านสังคมศาสตร์อินเดีย (Indian Council of Social Science Research) ศูนย์ปฏิบัติการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ และวิทยาลัยกว่า 10,000 แห่งทั่วประเทศ ซึ่งอยู่ภายใต้การควบคุมดูแลของมหาวิทยาลัย สถาบันการศึกษาของเอกชน ซึ่งรวมถึงสถาบันสอนภาษา สถาบันกวดวิชา สถาบันสอนวิชาคอมพิวเตอร์ ค่าเล่าเรียน ในอินเดียจะแตกต่างกันไปในแต่ละสถาบัน โดยมหาวิทยาลัยรัฐจะได้มีค่าเล่าเรียนที่ถูกกว่าเอกชนเนื่องจากได้รับการสนับสนุนจากรัฐ โดยพลเมืองอินเดียจะต้องจ่ายค่าเล่าเรียนต่อปีสูงสุด 100 เหรียญ (ประมาณ 3,200 บาท) เพื่อเข้าเรียนต่อในมหาวิทยาลัยรัฐ ในขณะที่วิทยาลัยเอกชนอาจมีค่าเล่าเรียนสูงกว่าอยู่ที่ 400 – 25,000 เหรียญต่อปี (ประมาณ 13,000 – 817,000 บาท) ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสถาบันและหลักสูตรที่เลือกเรียนด้วย โดยสำหรับนักศึกษาต่างชาติก็มีทุนช่วยเหลือสำหรับนักศึกษาต่างชาติทั้งแบบช่วยเหลือบางส่วนและแบบเต็มจำนวนอีกด้วย สำหรับนักศึกษาต่างชาติที่กำลังมองหาประเทศในการไปเรียนต่อที่มีระดับการศึกษาที่มีคุณภาพ มีสถาบันการศึกษาให้เลือกกว่า 20,000 แห่ง มีแหล่งรวมวัฒนธรรม และมีหลักสูตรการเรียนที่มีคุณภาพทั้งด้านวิชาการและภาษาแล้วล่ะก็ “อินเดีย” ก็นับว่าเป็นอีกหนึ่งตัวเลือกที่น่าสนใจไม่น้อยเลยทีเดียว ขอบคุณข้อมูลจาก :https://www.scholarship.in.th/masters-degrees-in-india-2019/ :http://sameaf.mfa.go.th/th/education/detail.php?ID=3246 :http://goodythailand.com/pagecontent.asp?id=17457 :https://gbc-goody.com ขอบคุณรูปภาพจาก : https://moneydoneright.com/how-to-save-money-while-studying-abroad/ : https://www.thestatesman.com/books-education/paradigm-shift-indian-education-1502743171.html : https://spontaneousorder.in/indias-human-capital/ : https://www.technologyforyou.org/study-in-india-programme-launched-with-the-launch-of-study-in-india-portal-by-smt-sushma-swaraj-in-new-delhi/ EZ Webmaster Related Posts ปิดเทอมนี้ สสวท. กระตุ้นต่อมคิดพิชิตปัญหาฟิสิกส์หรรษา กับ “ไขปริศนาวิทยากล” มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค รวมเฉลยทุกวิชา A-Level 68 ฟินแลนด์ครองแชมป์ 8 ปีซ้อน ประเทศที่มีความสุขที่สุดในโลก 2025 ไทยขยับขึ้นอันดับ 49 สจล. ร่วมกับโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์อินเตอร์เนชั่นแนล พัฒนาหลักสูตรและการจัดการเนื้อหาสู่การเรียนในแพลตฟอร์มออนไลน์ Post navigation PREVIOUS Previous post: รู้ก่อนไปเรียนต่อ… ค่าใช้จ่ายในการไปเรียนต่อประเทศอังกฤษและอเมริกาNEXT Next post: แนะสายอาชีพมาแรงแห่งอนาคต “อาชีพดูแลผู้สูงอายุ” Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน EZ WebmasterMarch 21, 2025 รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน พร้อมจ่ายเงินอุดหนุนการศึกษาและพัฒนาอาชีพ ผ่านกสศ. ขณะที่ Microsoft หนุน ศูนย์ดิจิทัลชุมชน ยกระดับทักษะAI เพิ่มโอกาสมีงานทำ พร้อมจับมือ UNICEF สร้าง 1… Kahoot! เปิดตัว Kahoot! Energize ปฏิวัติการประชุมให้มีพลังและสร้างผลกระทบที่เหนือกว่า EZ WebmasterMarch 21, 2025 เปลี่ยนทุกการนำเสนอในที่ทำงานให้กลายเป็นการสื่อสารสองทาง สร้างประสบการณ์ที่น่าสนใจ เต็มไปด้วยความมีชีวิตชีวาและการมีส่วนร่วมที่แท้จริง กระตุ้นการมีส่วนร่วมจากผู้ฟังและขับเคลื่อน ผลลัพธ์ทางธุรกิจไปอีกขั้นด้วย Kahoot! Energize Kahoot! (คาฮู้ด) ผู้นำด้านการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมระดับโลกได้เปิดตัวเครื่องมือใหม่ Kahoot! Energize ที่จะเปลี่ยนทุกการประชุม การฝึกอบรม หรือกิจกรรมต่างๆ ให้กลายเป็นช่วงเวลาที่เต็มไปด้วยพลังและความสนุก พร้อมกระตุ้นการมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ สร้างผลกระทบที่มีความหมาย และขับเคลื่อนธุรกิจไปข้างหน้า การพัฒนา Kahoot! Energize ต่อยอดจากรูปแบบการเรียนรู้และการมีส่วนร่วม อันเป็นเอกลักษณ์ที่ได้รับความนิยมของ Kahoot! แต่เพิ่มความสามารถในการใช้งานในสภาพแวดล้อมการทำงานที่หลากหลาย… สมศ. เน้นย้ำการประเมินคุณภาพภายนอก ปี 67-71 ลดวันประเมิน On site ขยายสู่รูปแบบออนไลน์ สร้างมาตรฐานในการแข่งขันระดับอาเซียน EZ WebmasterMarch 20, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยในการประชุมรับฟังความคิดเห็น (ร่าง) กรอบแนวทางการประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษาที่จัดการเรียนรู้ในสังกัดกรมส่งเสริมการเรียนรู้ (สกร.) โดยเน้นย้ำเรื่อง “แนวคิดและทิศทางการประกันคุณภาพภายนอก” ว่า การประกันคุณภาพภายนอกไม่ใช่เป็น “การตรวจสอบ” แต่เป็นเครื่องมือที่ช่วยส่งเสริมการพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษาอย่างแท้จริง… กิจกรรม รวมพลังสีชมพูจุฬาฯ กลับบ้านสู่ร่มจามจุรี ในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” EZ WebmasterMarch 14, 2025 สมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (สนจ.) เชิญชวนชาวจุฬาฯ ทั้งนิสิตเก่าและนิสิตปัจจุบัน เดินทางกลับบ้านในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” ร่วมฉลองวาระสำคัญ ครบรอบ 108 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในบรรยากาศแห่งความรักความสามัคคี และความผูกพันของเหล่าน้องพี่สีชมพู ภายใต้ร่มเงาของจามจุรี นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย… สจล. ผนึกกำลังตำรวจภูธรภาค 2 และบริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จำกัด (สำนักงานใหญ่) พัฒนาโครงการ “AI Robot รับแจ้งความ” ประมวลผลถูกต้องและมีประสิทธิภาพ EZ WebmasterMarch 13, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี ร่วมด้วยพลตำรวจโท ยิ่งยศ เทพจำนงค์ (คนที่ 3 จากซ้าย) ผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 2… สจล. ร่วมกับกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน มุ่งยกระดับฝีมือแรงงาน สอดคล้องความต้องการในอนาคต EZ WebmasterMarch 10, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี และนายเดชา พฤกษ์พัฒนรักษ์ (คนที่ 3 จากซ้าย) อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ได้ลงในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการร่วมกัน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่นักศึกษาของสถาบันก่อนเข้าสู่ตลาดแรงงานในสาขาอาชีพต่าง… ปิดฉาก “HigherEd for PWD” ระยะที่ 1 เสริมสมรรถนะคนพิการสู่ตลาดแรงงานจริง EZ WebmasterMarch 10, 2025 เมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2568 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) ร่วมกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) และมหาวิทยาลัยเครือข่าย 5 แห่ง จัดแถลงข่าวสรุปผลและปิดโครงการการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาศักยภาพคนพิการเพื่อการประกอบอาชีพ ผ่านโมเดลการฝึกอบรม-ฝึกงานคนพิการ มจธ. HigherEd for PWD ระยะที่ 1 ซึ่งเป็นโครงการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อพัฒนาศักยภาพคนพิการสู่การประกอบอาชีพในตลาดแรงงานจริง ที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ซึ่งจัดขึ้น ณ ห้อง Auditorium ชั้น 3 อาคารการเรียนรู้พหุวิทยาการ (LX) มจธ. บางมด กรุงเทพฯ โดยได้รับเกียรติจาก นายวราวุธ… Search for: Search EZ Webmaster December 25, 2019 EZ Webmaster December 25, 2019 ส่องระบบการศึกษาของ “อินเดีย” อีกหนึ่งประเทศที่ติดอันดับการเรียนต่อของนักศึกษาต่างชาติ ประเทศอินเดียเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 7 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับ2 รองจากจีน เป็นประเทศที่มีวัฒนธรรมยุคแรกๆ ของโลก มีประชาธิปไตยที่เก่าแก่และเข้มแข็งเป็นอย่างมาก ในขณะเดียวกันก็เป็นประเทศที่มีความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และระบบการศึกษาที่มีคุณภาพติดอันดับโลก โดยอินเดียติดอันดับประเทศที่น่าไปศึกษาต่อทั้งในระดับเอเชียและระดับโลก นอกจากนี้ยังเป็นประเทศที่มีมหาวิทยาลัยและวิทยาลัยกว่า 20,000 แห่ง ที่สร้างมาเพื่อรองรับจำนวนนักศึกษากว่า 8 ล้านคนในช่วงเวลาระหว่างปี 2000 – 2010 อินเดียประกอบด้วยประชากรหลายชนเผ่าหลากหลายวัฒนธรรมประเพณี และศาสนา รวมทั้งภาษาที่ใช้ในการสื่อสารก็มีมากกว่าแปดร้อยภาษา นอกจากนี้ยอินเดียยังเคยเป็นอาณานิคมของสหราชอาณาจักรอยู่นานเกือบสองร้อยปี ทำให้เป็นประเทศที่มีภาษาอังกฤษที่หยั่งรากลึก และถูกใช้เป็นภาษาทางราชการมานานกว่าร้อยปี ทำให้พื้นฐานภาษาอังกฤษของคนอินเดียถูกจัดอันดับให้อยู่ในระดับต้นๆ ของเอเชีย สำหรับนักศึกษาต่างชาติที่จะไปศึกษาต่อที่อินเดียนั้น จะได้พบกับการศึกษาที่อินเดียแบ่งออกเป็นหลายระบบ ซึ่งแต่ละระบบจะมีภาษาอังกฤษเป็นภาคบังคับ เท่ากับว่าผู้เรียนจะได้ศึกษาวิชาการที่เข้มข้นและยังได้เรียนภาษาอังกฤษกับเจ้าของภาษาโดยตรงอีกด้วย สำหรับระบบการศึกษาในอินเดีย การศึกษาขั้นพื้นฐานในโรงเรียนของอินเดียจะแบ่งออกเป็น ประถม มัธยมต้น และมัธยมปลาย (Grade 11-12) โดยแบ่งหลักสูตรออกเป็น: 1.ระดับอนุบาล (Kindergarten) >> อนุบาล 1 – อนุบาล 3 2.ระดับประถมศึกษา (Primary Education) >> ประถมศึกษา 1 – ประถมศึกษา 6 3.ระดับมัธยมศึกษา (Secondary Education) มัธยมศึกษาตอนต้น (High School Education) >> มัธยมศึกษาปีที่ 1 – มัธยมศึกษาปีที่ 4 มัธยมศึกษตอนปลาย (Higher School Education) >> มัธยมศึกษาปีที่ 5 – มัธยมศึกษาปีที่ 6 4.ระดับอุดมศึกษา (Higher Education) -ระดับปริญญาตรี (Bachelor Degree) -ระดับปริญญาโท (Master Degree) -ระดับ Master of Philosophy (M.Phil) -ระดับปริญญาเอก (Doctoral Degree) สำหรับระบบการเรียนของโรงเรียนในประเทศอินเดียแบ่งออกเป็น 2 หลักสูตรใหญ่ๆ คือ หลักสูตรที่จัดตั้งโดยรัฐบาลอินเดีย โรงเรียนระบบ CBSE (Central Board of Scondary Education) โรงเรียนระบบ ICSE (Indian Certificate of Secondary Education) โดยทั้งสองระบบนี้จะใช้ภาษาอังกฤษในการเรียน การสอนเท่านั้น และมีภาษาที่ 2 ให้เลือกคือ เยอรมัน ฝรั่งเศส ญี่ปุ่น ซึ่งความแตกต่างของ 2 ระบบ คือหนังสือเรียนจะไม่เหมือนกัน แต่เนื้อหาจะไปในทางเดียวกัน เนื่องจากทั้ง 2 ระบบ ขึ้นกับกระทรวงศึกษาธิการของอินเดียเหมือนกัน แต่แบ่งเป็น 2 ระบบ เนื่องจากอินเดียเป็นประเทศใหญ่และมีประชากรมาก หากมีหน่วยงานดูแลเพียงหน่วยงานเดียวจะไม่สามารถดูแลได้ทั่วถึง โดยในอดีตจะขึ้นกับระบบ CBSE เป็นส่วนใหญ่ แต่ในปัจจุบันระบบที่มีโรงเรียนจดทะเบียนมากที่สุดคือ CBSE โดยทั้ง 2 ระบบนี้ เมื่อเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 จนจบแล้วก็จะได้รับอนุญาตให้เรียนต่อในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (Secondary School) คือมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 4 หรือที่อินเดียเรียนว่า Class 7 – 10 ในชั้นเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 4 (Class 10) เด็กจะต้องทำคะแนนให้ดีและเมื่อขึ้นระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ม. 5 – 6 (Classs 11 – 12) นักเรียนจะต้องนำผลการสอบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มาวัดผลเพื่อเลือกสาขาที่จะเรียน ดังนี้ คะแนน 65% – 80% ขึ้นไปจะเลือกได้ทั้งสายวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ และสายศิลป์ คะแนน 40% – 64% สามารถเลือกสายศิลป์ได้ ซึ่งสำหรับเด็กที่จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 (Class 10) จากประเทศไทยและต้องการศึกษาต่อในสายวิชาใดได้บ้าง โรงเรียนที่ขึ้นกับกองกรรมาธิการศึกษาอินเดียทั้ง 2 ระบบนั้น ได้รับการรับรองวิทยาฐานะจากกระทรวงศึกษาธิการไทยทุกโรงเรียน เมื่อเรียนจบมัธยมศึกษาปีที่ 6 (Class 12) จากอินเดียแล้วสามารถนำไปเข้ามหาวิทยาลัยและวิทยาลัยทุกแห่งในประเทศไทยได้เลย และหากต้องการศึกษาต่อในประเทศอื่น เช่น อเมริกา อังกฤษ ออสเตรเลีย ฯลฯ ก็สามารถนำไปเข้าศึกษาระดับปริญญาตรีได้เลย หรือหากต้องศึกษาในประเทศอินเดียก็สามารถศึกษาในระดับปริญญาตรีได้เช่นกัน หลักสูตรนานาชาติ ระบบ IGCSE (International General Certificate of Secondary Education) ซึ่งในระบบนี้จะเริ่มสอบตั้งแต่ม.3 หรือ Class 9 โดยเมื่อนักเรียนจบม.2 หรือ Class 8 แล้ว หากจะเรียนระบบ IGCSE (International General Certificate of Secondary Education) หรือเรียกอีกอย่างว่า University of Cambridge System นักเรียนจะต้องเลือกเรียน 5 วิชา เมื่อสอบผ่านครบ 5 วิชา (โดยปกติแล้วนักเรียนจะสอบผ่านได้ภายใน 2 ปี) เมื่อผ่านละจะได้ประกาศนียบัตร O Level ซึ่งเมืองไทยเทียบเท่า ม.6 และสามารถนำกลับมหาวิทยาลัยในประเทศไทยได้เลย เช่น มหาวิทยาลัยอินเตอร์ มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์ภาคอินเตอร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ภาคอินเตอร์ แต่ถ้าน้องๆประสงค์จะไปเรียนต่อมหาวิทยาลัยในประเทศอื่นๆ น้องๆ จะต้องเรียนต่ออีก 3 วิชาซึ่งเมื่อสอบผ่านอีก 3 วิชาแล้ว น้องๆจะต้องรับประกาศนียบัตร A Level ซึ่งใช้เข้าเรียนต่อมหาวิทยาลัยได้เลย ระบบนี้ น้องๆจะประหยัดเวลาได้ 2 ปี หาจบหลักสูตร O Level แล้วน้องๆ กลับมาเรียนต่อมหาวิทยาลัยในประเทศไทย International Bacalareatr (IB) หรือหลักสูตรนานาชาติ หลักสูตร IB บริหารจัดการโดย International Baccalaureate Organization (IBO) ซึ่งเป็นองค์กรไม่แสวงหาผลกำไรจากสวิตเซอร์แลนด์ หลักสูตร IB แบ่งออกเป็น 3 ระดับ คือ The Primary Year Programme (อนุบาล ถึง เกรด 5) The Middle Year Programma (เกรด 6-10) The Diploma Programma (เกรด 11-12) การศึกษาขั้นสูงหรือระดับอุดมศึกษา สถาบันการศึกษาขั้นสูงที่จัดการเรียนการสอน ในระดับปริญญาตรี-โท-เอก ได้แก่ มหาวิทยาลัย รวมถึงมหาวิทยาลัยเฉพาะทางด้านเกษตรกรรมและแพทยศาสตร์ โดยแบ่งออกเป็น มหาวิทยาลัยส่วนกลาง (central universities) และมหาวิทยาลัยของรัฐ (state universities) สถาบันที่ได้รับการรับรองวิทยะฐานะเทียบเท่ามหาวิทยาลัย (deemed universities) ซึ่งมักมีขนาดเล็กและเปิดสอนวิชาเฉพาะทาง สถาบันที่มีความสำคัญระดับชาติหรือสถาบันที่เทียบเท่ามหาวิทยาลัย ซึ่งได้รับงบประมาณสนับสนุนจากรัฐบาลหรือก่อตั้งโดยรัฐบาล รวมถึงสถาบันเทคโนโลยีแห่งอินเดีย (Indian Institute of Technology – IIT) ซึ่งปัจจุบันมี 15 แห่งทั่วประเทศ และสถาบันการจัดการแห่งอินเดีย (Indian Institute of Management) ซึ่งปัจจุบันมี 6 แห่งทั่วประเทศ วิทยาลัยเทคโนโลยีและมหาวิทยาลัยเปิด สถาบันวิจัยภายใต้การกำกับดูแลของสภาวิจัยด้านสังคมศาสตร์อินเดีย (Indian Council of Social Science Research) ศูนย์ปฏิบัติการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ และวิทยาลัยกว่า 10,000 แห่งทั่วประเทศ ซึ่งอยู่ภายใต้การควบคุมดูแลของมหาวิทยาลัย สถาบันการศึกษาของเอกชน ซึ่งรวมถึงสถาบันสอนภาษา สถาบันกวดวิชา สถาบันสอนวิชาคอมพิวเตอร์ ค่าเล่าเรียน ในอินเดียจะแตกต่างกันไปในแต่ละสถาบัน โดยมหาวิทยาลัยรัฐจะได้มีค่าเล่าเรียนที่ถูกกว่าเอกชนเนื่องจากได้รับการสนับสนุนจากรัฐ โดยพลเมืองอินเดียจะต้องจ่ายค่าเล่าเรียนต่อปีสูงสุด 100 เหรียญ (ประมาณ 3,200 บาท) เพื่อเข้าเรียนต่อในมหาวิทยาลัยรัฐ ในขณะที่วิทยาลัยเอกชนอาจมีค่าเล่าเรียนสูงกว่าอยู่ที่ 400 – 25,000 เหรียญต่อปี (ประมาณ 13,000 – 817,000 บาท) ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสถาบันและหลักสูตรที่เลือกเรียนด้วย โดยสำหรับนักศึกษาต่างชาติก็มีทุนช่วยเหลือสำหรับนักศึกษาต่างชาติทั้งแบบช่วยเหลือบางส่วนและแบบเต็มจำนวนอีกด้วย สำหรับนักศึกษาต่างชาติที่กำลังมองหาประเทศในการไปเรียนต่อที่มีระดับการศึกษาที่มีคุณภาพ มีสถาบันการศึกษาให้เลือกกว่า 20,000 แห่ง มีแหล่งรวมวัฒนธรรม และมีหลักสูตรการเรียนที่มีคุณภาพทั้งด้านวิชาการและภาษาแล้วล่ะก็ “อินเดีย” ก็นับว่าเป็นอีกหนึ่งตัวเลือกที่น่าสนใจไม่น้อยเลยทีเดียว ขอบคุณข้อมูลจาก :https://www.scholarship.in.th/masters-degrees-in-india-2019/ :http://sameaf.mfa.go.th/th/education/detail.php?ID=3246 :http://goodythailand.com/pagecontent.asp?id=17457 :https://gbc-goody.com ขอบคุณรูปภาพจาก : https://moneydoneright.com/how-to-save-money-while-studying-abroad/ : https://www.thestatesman.com/books-education/paradigm-shift-indian-education-1502743171.html : https://spontaneousorder.in/indias-human-capital/ : https://www.technologyforyou.org/study-in-india-programme-launched-with-the-launch-of-study-in-india-portal-by-smt-sushma-swaraj-in-new-delhi/ EZ Webmaster Related Posts ปิดเทอมนี้ สสวท. กระตุ้นต่อมคิดพิชิตปัญหาฟิสิกส์หรรษา กับ “ไขปริศนาวิทยากล” มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค รวมเฉลยทุกวิชา A-Level 68 ฟินแลนด์ครองแชมป์ 8 ปีซ้อน ประเทศที่มีความสุขที่สุดในโลก 2025 ไทยขยับขึ้นอันดับ 49 สจล. ร่วมกับโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์อินเตอร์เนชั่นแนล พัฒนาหลักสูตรและการจัดการเนื้อหาสู่การเรียนในแพลตฟอร์มออนไลน์ Post navigation PREVIOUS Previous post: รู้ก่อนไปเรียนต่อ… ค่าใช้จ่ายในการไปเรียนต่อประเทศอังกฤษและอเมริกาNEXT Next post: แนะสายอาชีพมาแรงแห่งอนาคต “อาชีพดูแลผู้สูงอายุ” Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
Kahoot! เปิดตัว Kahoot! Energize ปฏิวัติการประชุมให้มีพลังและสร้างผลกระทบที่เหนือกว่า EZ WebmasterMarch 21, 2025 เปลี่ยนทุกการนำเสนอในที่ทำงานให้กลายเป็นการสื่อสารสองทาง สร้างประสบการณ์ที่น่าสนใจ เต็มไปด้วยความมีชีวิตชีวาและการมีส่วนร่วมที่แท้จริง กระตุ้นการมีส่วนร่วมจากผู้ฟังและขับเคลื่อน ผลลัพธ์ทางธุรกิจไปอีกขั้นด้วย Kahoot! Energize Kahoot! (คาฮู้ด) ผู้นำด้านการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมระดับโลกได้เปิดตัวเครื่องมือใหม่ Kahoot! Energize ที่จะเปลี่ยนทุกการประชุม การฝึกอบรม หรือกิจกรรมต่างๆ ให้กลายเป็นช่วงเวลาที่เต็มไปด้วยพลังและความสนุก พร้อมกระตุ้นการมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ สร้างผลกระทบที่มีความหมาย และขับเคลื่อนธุรกิจไปข้างหน้า การพัฒนา Kahoot! Energize ต่อยอดจากรูปแบบการเรียนรู้และการมีส่วนร่วม อันเป็นเอกลักษณ์ที่ได้รับความนิยมของ Kahoot! แต่เพิ่มความสามารถในการใช้งานในสภาพแวดล้อมการทำงานที่หลากหลาย… สมศ. เน้นย้ำการประเมินคุณภาพภายนอก ปี 67-71 ลดวันประเมิน On site ขยายสู่รูปแบบออนไลน์ สร้างมาตรฐานในการแข่งขันระดับอาเซียน EZ WebmasterMarch 20, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยในการประชุมรับฟังความคิดเห็น (ร่าง) กรอบแนวทางการประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษาที่จัดการเรียนรู้ในสังกัดกรมส่งเสริมการเรียนรู้ (สกร.) โดยเน้นย้ำเรื่อง “แนวคิดและทิศทางการประกันคุณภาพภายนอก” ว่า การประกันคุณภาพภายนอกไม่ใช่เป็น “การตรวจสอบ” แต่เป็นเครื่องมือที่ช่วยส่งเสริมการพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษาอย่างแท้จริง…
สมศ. เน้นย้ำการประเมินคุณภาพภายนอก ปี 67-71 ลดวันประเมิน On site ขยายสู่รูปแบบออนไลน์ สร้างมาตรฐานในการแข่งขันระดับอาเซียน EZ WebmasterMarch 20, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยในการประชุมรับฟังความคิดเห็น (ร่าง) กรอบแนวทางการประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษาที่จัดการเรียนรู้ในสังกัดกรมส่งเสริมการเรียนรู้ (สกร.) โดยเน้นย้ำเรื่อง “แนวคิดและทิศทางการประกันคุณภาพภายนอก” ว่า การประกันคุณภาพภายนอกไม่ใช่เป็น “การตรวจสอบ” แต่เป็นเครื่องมือที่ช่วยส่งเสริมการพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษาอย่างแท้จริง…
รวมพลังสีชมพูจุฬาฯ กลับบ้านสู่ร่มจามจุรี ในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” EZ WebmasterMarch 14, 2025 สมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (สนจ.) เชิญชวนชาวจุฬาฯ ทั้งนิสิตเก่าและนิสิตปัจจุบัน เดินทางกลับบ้านในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” ร่วมฉลองวาระสำคัญ ครบรอบ 108 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในบรรยากาศแห่งความรักความสามัคคี และความผูกพันของเหล่าน้องพี่สีชมพู ภายใต้ร่มเงาของจามจุรี นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย… สจล. ผนึกกำลังตำรวจภูธรภาค 2 และบริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จำกัด (สำนักงานใหญ่) พัฒนาโครงการ “AI Robot รับแจ้งความ” ประมวลผลถูกต้องและมีประสิทธิภาพ EZ WebmasterMarch 13, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี ร่วมด้วยพลตำรวจโท ยิ่งยศ เทพจำนงค์ (คนที่ 3 จากซ้าย) ผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 2… สจล. ร่วมกับกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน มุ่งยกระดับฝีมือแรงงาน สอดคล้องความต้องการในอนาคต EZ WebmasterMarch 10, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี และนายเดชา พฤกษ์พัฒนรักษ์ (คนที่ 3 จากซ้าย) อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ได้ลงในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการร่วมกัน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่นักศึกษาของสถาบันก่อนเข้าสู่ตลาดแรงงานในสาขาอาชีพต่าง… ปิดฉาก “HigherEd for PWD” ระยะที่ 1 เสริมสมรรถนะคนพิการสู่ตลาดแรงงานจริง EZ WebmasterMarch 10, 2025 เมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2568 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) ร่วมกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) และมหาวิทยาลัยเครือข่าย 5 แห่ง จัดแถลงข่าวสรุปผลและปิดโครงการการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาศักยภาพคนพิการเพื่อการประกอบอาชีพ ผ่านโมเดลการฝึกอบรม-ฝึกงานคนพิการ มจธ. HigherEd for PWD ระยะที่ 1 ซึ่งเป็นโครงการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อพัฒนาศักยภาพคนพิการสู่การประกอบอาชีพในตลาดแรงงานจริง ที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ซึ่งจัดขึ้น ณ ห้อง Auditorium ชั้น 3 อาคารการเรียนรู้พหุวิทยาการ (LX) มจธ. บางมด กรุงเทพฯ โดยได้รับเกียรติจาก นายวราวุธ… Search for: Search EZ Webmaster December 25, 2019 EZ Webmaster December 25, 2019 ส่องระบบการศึกษาของ “อินเดีย” อีกหนึ่งประเทศที่ติดอันดับการเรียนต่อของนักศึกษาต่างชาติ ประเทศอินเดียเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 7 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับ2 รองจากจีน เป็นประเทศที่มีวัฒนธรรมยุคแรกๆ ของโลก มีประชาธิปไตยที่เก่าแก่และเข้มแข็งเป็นอย่างมาก ในขณะเดียวกันก็เป็นประเทศที่มีความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และระบบการศึกษาที่มีคุณภาพติดอันดับโลก โดยอินเดียติดอันดับประเทศที่น่าไปศึกษาต่อทั้งในระดับเอเชียและระดับโลก นอกจากนี้ยังเป็นประเทศที่มีมหาวิทยาลัยและวิทยาลัยกว่า 20,000 แห่ง ที่สร้างมาเพื่อรองรับจำนวนนักศึกษากว่า 8 ล้านคนในช่วงเวลาระหว่างปี 2000 – 2010 อินเดียประกอบด้วยประชากรหลายชนเผ่าหลากหลายวัฒนธรรมประเพณี และศาสนา รวมทั้งภาษาที่ใช้ในการสื่อสารก็มีมากกว่าแปดร้อยภาษา นอกจากนี้ยอินเดียยังเคยเป็นอาณานิคมของสหราชอาณาจักรอยู่นานเกือบสองร้อยปี ทำให้เป็นประเทศที่มีภาษาอังกฤษที่หยั่งรากลึก และถูกใช้เป็นภาษาทางราชการมานานกว่าร้อยปี ทำให้พื้นฐานภาษาอังกฤษของคนอินเดียถูกจัดอันดับให้อยู่ในระดับต้นๆ ของเอเชีย สำหรับนักศึกษาต่างชาติที่จะไปศึกษาต่อที่อินเดียนั้น จะได้พบกับการศึกษาที่อินเดียแบ่งออกเป็นหลายระบบ ซึ่งแต่ละระบบจะมีภาษาอังกฤษเป็นภาคบังคับ เท่ากับว่าผู้เรียนจะได้ศึกษาวิชาการที่เข้มข้นและยังได้เรียนภาษาอังกฤษกับเจ้าของภาษาโดยตรงอีกด้วย สำหรับระบบการศึกษาในอินเดีย การศึกษาขั้นพื้นฐานในโรงเรียนของอินเดียจะแบ่งออกเป็น ประถม มัธยมต้น และมัธยมปลาย (Grade 11-12) โดยแบ่งหลักสูตรออกเป็น: 1.ระดับอนุบาล (Kindergarten) >> อนุบาล 1 – อนุบาล 3 2.ระดับประถมศึกษา (Primary Education) >> ประถมศึกษา 1 – ประถมศึกษา 6 3.ระดับมัธยมศึกษา (Secondary Education) มัธยมศึกษาตอนต้น (High School Education) >> มัธยมศึกษาปีที่ 1 – มัธยมศึกษาปีที่ 4 มัธยมศึกษตอนปลาย (Higher School Education) >> มัธยมศึกษาปีที่ 5 – มัธยมศึกษาปีที่ 6 4.ระดับอุดมศึกษา (Higher Education) -ระดับปริญญาตรี (Bachelor Degree) -ระดับปริญญาโท (Master Degree) -ระดับ Master of Philosophy (M.Phil) -ระดับปริญญาเอก (Doctoral Degree) สำหรับระบบการเรียนของโรงเรียนในประเทศอินเดียแบ่งออกเป็น 2 หลักสูตรใหญ่ๆ คือ หลักสูตรที่จัดตั้งโดยรัฐบาลอินเดีย โรงเรียนระบบ CBSE (Central Board of Scondary Education) โรงเรียนระบบ ICSE (Indian Certificate of Secondary Education) โดยทั้งสองระบบนี้จะใช้ภาษาอังกฤษในการเรียน การสอนเท่านั้น และมีภาษาที่ 2 ให้เลือกคือ เยอรมัน ฝรั่งเศส ญี่ปุ่น ซึ่งความแตกต่างของ 2 ระบบ คือหนังสือเรียนจะไม่เหมือนกัน แต่เนื้อหาจะไปในทางเดียวกัน เนื่องจากทั้ง 2 ระบบ ขึ้นกับกระทรวงศึกษาธิการของอินเดียเหมือนกัน แต่แบ่งเป็น 2 ระบบ เนื่องจากอินเดียเป็นประเทศใหญ่และมีประชากรมาก หากมีหน่วยงานดูแลเพียงหน่วยงานเดียวจะไม่สามารถดูแลได้ทั่วถึง โดยในอดีตจะขึ้นกับระบบ CBSE เป็นส่วนใหญ่ แต่ในปัจจุบันระบบที่มีโรงเรียนจดทะเบียนมากที่สุดคือ CBSE โดยทั้ง 2 ระบบนี้ เมื่อเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 จนจบแล้วก็จะได้รับอนุญาตให้เรียนต่อในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (Secondary School) คือมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 4 หรือที่อินเดียเรียนว่า Class 7 – 10 ในชั้นเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 4 (Class 10) เด็กจะต้องทำคะแนนให้ดีและเมื่อขึ้นระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ม. 5 – 6 (Classs 11 – 12) นักเรียนจะต้องนำผลการสอบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มาวัดผลเพื่อเลือกสาขาที่จะเรียน ดังนี้ คะแนน 65% – 80% ขึ้นไปจะเลือกได้ทั้งสายวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ และสายศิลป์ คะแนน 40% – 64% สามารถเลือกสายศิลป์ได้ ซึ่งสำหรับเด็กที่จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 (Class 10) จากประเทศไทยและต้องการศึกษาต่อในสายวิชาใดได้บ้าง โรงเรียนที่ขึ้นกับกองกรรมาธิการศึกษาอินเดียทั้ง 2 ระบบนั้น ได้รับการรับรองวิทยาฐานะจากกระทรวงศึกษาธิการไทยทุกโรงเรียน เมื่อเรียนจบมัธยมศึกษาปีที่ 6 (Class 12) จากอินเดียแล้วสามารถนำไปเข้ามหาวิทยาลัยและวิทยาลัยทุกแห่งในประเทศไทยได้เลย และหากต้องการศึกษาต่อในประเทศอื่น เช่น อเมริกา อังกฤษ ออสเตรเลีย ฯลฯ ก็สามารถนำไปเข้าศึกษาระดับปริญญาตรีได้เลย หรือหากต้องศึกษาในประเทศอินเดียก็สามารถศึกษาในระดับปริญญาตรีได้เช่นกัน หลักสูตรนานาชาติ ระบบ IGCSE (International General Certificate of Secondary Education) ซึ่งในระบบนี้จะเริ่มสอบตั้งแต่ม.3 หรือ Class 9 โดยเมื่อนักเรียนจบม.2 หรือ Class 8 แล้ว หากจะเรียนระบบ IGCSE (International General Certificate of Secondary Education) หรือเรียกอีกอย่างว่า University of Cambridge System นักเรียนจะต้องเลือกเรียน 5 วิชา เมื่อสอบผ่านครบ 5 วิชา (โดยปกติแล้วนักเรียนจะสอบผ่านได้ภายใน 2 ปี) เมื่อผ่านละจะได้ประกาศนียบัตร O Level ซึ่งเมืองไทยเทียบเท่า ม.6 และสามารถนำกลับมหาวิทยาลัยในประเทศไทยได้เลย เช่น มหาวิทยาลัยอินเตอร์ มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์ภาคอินเตอร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ภาคอินเตอร์ แต่ถ้าน้องๆประสงค์จะไปเรียนต่อมหาวิทยาลัยในประเทศอื่นๆ น้องๆ จะต้องเรียนต่ออีก 3 วิชาซึ่งเมื่อสอบผ่านอีก 3 วิชาแล้ว น้องๆจะต้องรับประกาศนียบัตร A Level ซึ่งใช้เข้าเรียนต่อมหาวิทยาลัยได้เลย ระบบนี้ น้องๆจะประหยัดเวลาได้ 2 ปี หาจบหลักสูตร O Level แล้วน้องๆ กลับมาเรียนต่อมหาวิทยาลัยในประเทศไทย International Bacalareatr (IB) หรือหลักสูตรนานาชาติ หลักสูตร IB บริหารจัดการโดย International Baccalaureate Organization (IBO) ซึ่งเป็นองค์กรไม่แสวงหาผลกำไรจากสวิตเซอร์แลนด์ หลักสูตร IB แบ่งออกเป็น 3 ระดับ คือ The Primary Year Programme (อนุบาล ถึง เกรด 5) The Middle Year Programma (เกรด 6-10) The Diploma Programma (เกรด 11-12) การศึกษาขั้นสูงหรือระดับอุดมศึกษา สถาบันการศึกษาขั้นสูงที่จัดการเรียนการสอน ในระดับปริญญาตรี-โท-เอก ได้แก่ มหาวิทยาลัย รวมถึงมหาวิทยาลัยเฉพาะทางด้านเกษตรกรรมและแพทยศาสตร์ โดยแบ่งออกเป็น มหาวิทยาลัยส่วนกลาง (central universities) และมหาวิทยาลัยของรัฐ (state universities) สถาบันที่ได้รับการรับรองวิทยะฐานะเทียบเท่ามหาวิทยาลัย (deemed universities) ซึ่งมักมีขนาดเล็กและเปิดสอนวิชาเฉพาะทาง สถาบันที่มีความสำคัญระดับชาติหรือสถาบันที่เทียบเท่ามหาวิทยาลัย ซึ่งได้รับงบประมาณสนับสนุนจากรัฐบาลหรือก่อตั้งโดยรัฐบาล รวมถึงสถาบันเทคโนโลยีแห่งอินเดีย (Indian Institute of Technology – IIT) ซึ่งปัจจุบันมี 15 แห่งทั่วประเทศ และสถาบันการจัดการแห่งอินเดีย (Indian Institute of Management) ซึ่งปัจจุบันมี 6 แห่งทั่วประเทศ วิทยาลัยเทคโนโลยีและมหาวิทยาลัยเปิด สถาบันวิจัยภายใต้การกำกับดูแลของสภาวิจัยด้านสังคมศาสตร์อินเดีย (Indian Council of Social Science Research) ศูนย์ปฏิบัติการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ และวิทยาลัยกว่า 10,000 แห่งทั่วประเทศ ซึ่งอยู่ภายใต้การควบคุมดูแลของมหาวิทยาลัย สถาบันการศึกษาของเอกชน ซึ่งรวมถึงสถาบันสอนภาษา สถาบันกวดวิชา สถาบันสอนวิชาคอมพิวเตอร์ ค่าเล่าเรียน ในอินเดียจะแตกต่างกันไปในแต่ละสถาบัน โดยมหาวิทยาลัยรัฐจะได้มีค่าเล่าเรียนที่ถูกกว่าเอกชนเนื่องจากได้รับการสนับสนุนจากรัฐ โดยพลเมืองอินเดียจะต้องจ่ายค่าเล่าเรียนต่อปีสูงสุด 100 เหรียญ (ประมาณ 3,200 บาท) เพื่อเข้าเรียนต่อในมหาวิทยาลัยรัฐ ในขณะที่วิทยาลัยเอกชนอาจมีค่าเล่าเรียนสูงกว่าอยู่ที่ 400 – 25,000 เหรียญต่อปี (ประมาณ 13,000 – 817,000 บาท) ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสถาบันและหลักสูตรที่เลือกเรียนด้วย โดยสำหรับนักศึกษาต่างชาติก็มีทุนช่วยเหลือสำหรับนักศึกษาต่างชาติทั้งแบบช่วยเหลือบางส่วนและแบบเต็มจำนวนอีกด้วย สำหรับนักศึกษาต่างชาติที่กำลังมองหาประเทศในการไปเรียนต่อที่มีระดับการศึกษาที่มีคุณภาพ มีสถาบันการศึกษาให้เลือกกว่า 20,000 แห่ง มีแหล่งรวมวัฒนธรรม และมีหลักสูตรการเรียนที่มีคุณภาพทั้งด้านวิชาการและภาษาแล้วล่ะก็ “อินเดีย” ก็นับว่าเป็นอีกหนึ่งตัวเลือกที่น่าสนใจไม่น้อยเลยทีเดียว ขอบคุณข้อมูลจาก :https://www.scholarship.in.th/masters-degrees-in-india-2019/ :http://sameaf.mfa.go.th/th/education/detail.php?ID=3246 :http://goodythailand.com/pagecontent.asp?id=17457 :https://gbc-goody.com ขอบคุณรูปภาพจาก : https://moneydoneright.com/how-to-save-money-while-studying-abroad/ : https://www.thestatesman.com/books-education/paradigm-shift-indian-education-1502743171.html : https://spontaneousorder.in/indias-human-capital/ : https://www.technologyforyou.org/study-in-india-programme-launched-with-the-launch-of-study-in-india-portal-by-smt-sushma-swaraj-in-new-delhi/ EZ Webmaster Related Posts ปิดเทอมนี้ สสวท. กระตุ้นต่อมคิดพิชิตปัญหาฟิสิกส์หรรษา กับ “ไขปริศนาวิทยากล” มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค รวมเฉลยทุกวิชา A-Level 68 ฟินแลนด์ครองแชมป์ 8 ปีซ้อน ประเทศที่มีความสุขที่สุดในโลก 2025 ไทยขยับขึ้นอันดับ 49 สจล. ร่วมกับโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์อินเตอร์เนชั่นแนล พัฒนาหลักสูตรและการจัดการเนื้อหาสู่การเรียนในแพลตฟอร์มออนไลน์ Post navigation PREVIOUS Previous post: รู้ก่อนไปเรียนต่อ… ค่าใช้จ่ายในการไปเรียนต่อประเทศอังกฤษและอเมริกาNEXT Next post: แนะสายอาชีพมาแรงแห่งอนาคต “อาชีพดูแลผู้สูงอายุ” Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
สจล. ผนึกกำลังตำรวจภูธรภาค 2 และบริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จำกัด (สำนักงานใหญ่) พัฒนาโครงการ “AI Robot รับแจ้งความ” ประมวลผลถูกต้องและมีประสิทธิภาพ EZ WebmasterMarch 13, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี ร่วมด้วยพลตำรวจโท ยิ่งยศ เทพจำนงค์ (คนที่ 3 จากซ้าย) ผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 2… สจล. ร่วมกับกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน มุ่งยกระดับฝีมือแรงงาน สอดคล้องความต้องการในอนาคต EZ WebmasterMarch 10, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี และนายเดชา พฤกษ์พัฒนรักษ์ (คนที่ 3 จากซ้าย) อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ได้ลงในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการร่วมกัน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่นักศึกษาของสถาบันก่อนเข้าสู่ตลาดแรงงานในสาขาอาชีพต่าง… ปิดฉาก “HigherEd for PWD” ระยะที่ 1 เสริมสมรรถนะคนพิการสู่ตลาดแรงงานจริง EZ WebmasterMarch 10, 2025 เมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2568 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) ร่วมกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) และมหาวิทยาลัยเครือข่าย 5 แห่ง จัดแถลงข่าวสรุปผลและปิดโครงการการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาศักยภาพคนพิการเพื่อการประกอบอาชีพ ผ่านโมเดลการฝึกอบรม-ฝึกงานคนพิการ มจธ. HigherEd for PWD ระยะที่ 1 ซึ่งเป็นโครงการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อพัฒนาศักยภาพคนพิการสู่การประกอบอาชีพในตลาดแรงงานจริง ที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ซึ่งจัดขึ้น ณ ห้อง Auditorium ชั้น 3 อาคารการเรียนรู้พหุวิทยาการ (LX) มจธ. บางมด กรุงเทพฯ โดยได้รับเกียรติจาก นายวราวุธ… Search for: Search
สจล. ร่วมกับกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน มุ่งยกระดับฝีมือแรงงาน สอดคล้องความต้องการในอนาคต EZ WebmasterMarch 10, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี และนายเดชา พฤกษ์พัฒนรักษ์ (คนที่ 3 จากซ้าย) อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ได้ลงในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการร่วมกัน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่นักศึกษาของสถาบันก่อนเข้าสู่ตลาดแรงงานในสาขาอาชีพต่าง… ปิดฉาก “HigherEd for PWD” ระยะที่ 1 เสริมสมรรถนะคนพิการสู่ตลาดแรงงานจริง EZ WebmasterMarch 10, 2025 เมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2568 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) ร่วมกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) และมหาวิทยาลัยเครือข่าย 5 แห่ง จัดแถลงข่าวสรุปผลและปิดโครงการการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาศักยภาพคนพิการเพื่อการประกอบอาชีพ ผ่านโมเดลการฝึกอบรม-ฝึกงานคนพิการ มจธ. HigherEd for PWD ระยะที่ 1 ซึ่งเป็นโครงการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อพัฒนาศักยภาพคนพิการสู่การประกอบอาชีพในตลาดแรงงานจริง ที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ซึ่งจัดขึ้น ณ ห้อง Auditorium ชั้น 3 อาคารการเรียนรู้พหุวิทยาการ (LX) มจธ. บางมด กรุงเทพฯ โดยได้รับเกียรติจาก นายวราวุธ…
ปิดฉาก “HigherEd for PWD” ระยะที่ 1 เสริมสมรรถนะคนพิการสู่ตลาดแรงงานจริง EZ WebmasterMarch 10, 2025 เมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2568 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) ร่วมกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) และมหาวิทยาลัยเครือข่าย 5 แห่ง จัดแถลงข่าวสรุปผลและปิดโครงการการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาศักยภาพคนพิการเพื่อการประกอบอาชีพ ผ่านโมเดลการฝึกอบรม-ฝึกงานคนพิการ มจธ. HigherEd for PWD ระยะที่ 1 ซึ่งเป็นโครงการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อพัฒนาศักยภาพคนพิการสู่การประกอบอาชีพในตลาดแรงงานจริง ที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ซึ่งจัดขึ้น ณ ห้อง Auditorium ชั้น 3 อาคารการเรียนรู้พหุวิทยาการ (LX) มจธ. บางมด กรุงเทพฯ โดยได้รับเกียรติจาก นายวราวุธ…
EZ Webmaster December 25, 2019 EZ Webmaster December 25, 2019 ส่องระบบการศึกษาของ “อินเดีย” อีกหนึ่งประเทศที่ติดอันดับการเรียนต่อของนักศึกษาต่างชาติ ประเทศอินเดียเป็นประเทศที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 7 ของโลก และมีประชากรมากเป็นอันดับ2 รองจากจีน เป็นประเทศที่มีวัฒนธรรมยุคแรกๆ ของโลก มีประชาธิปไตยที่เก่าแก่และเข้มแข็งเป็นอย่างมาก ในขณะเดียวกันก็เป็นประเทศที่มีความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และระบบการศึกษาที่มีคุณภาพติดอันดับโลก โดยอินเดียติดอันดับประเทศที่น่าไปศึกษาต่อทั้งในระดับเอเชียและระดับโลก นอกจากนี้ยังเป็นประเทศที่มีมหาวิทยาลัยและวิทยาลัยกว่า 20,000 แห่ง ที่สร้างมาเพื่อรองรับจำนวนนักศึกษากว่า 8 ล้านคนในช่วงเวลาระหว่างปี 2000 – 2010 อินเดียประกอบด้วยประชากรหลายชนเผ่าหลากหลายวัฒนธรรมประเพณี และศาสนา รวมทั้งภาษาที่ใช้ในการสื่อสารก็มีมากกว่าแปดร้อยภาษา นอกจากนี้ยอินเดียยังเคยเป็นอาณานิคมของสหราชอาณาจักรอยู่นานเกือบสองร้อยปี ทำให้เป็นประเทศที่มีภาษาอังกฤษที่หยั่งรากลึก และถูกใช้เป็นภาษาทางราชการมานานกว่าร้อยปี ทำให้พื้นฐานภาษาอังกฤษของคนอินเดียถูกจัดอันดับให้อยู่ในระดับต้นๆ ของเอเชีย สำหรับนักศึกษาต่างชาติที่จะไปศึกษาต่อที่อินเดียนั้น จะได้พบกับการศึกษาที่อินเดียแบ่งออกเป็นหลายระบบ ซึ่งแต่ละระบบจะมีภาษาอังกฤษเป็นภาคบังคับ เท่ากับว่าผู้เรียนจะได้ศึกษาวิชาการที่เข้มข้นและยังได้เรียนภาษาอังกฤษกับเจ้าของภาษาโดยตรงอีกด้วย สำหรับระบบการศึกษาในอินเดีย การศึกษาขั้นพื้นฐานในโรงเรียนของอินเดียจะแบ่งออกเป็น ประถม มัธยมต้น และมัธยมปลาย (Grade 11-12) โดยแบ่งหลักสูตรออกเป็น: 1.ระดับอนุบาล (Kindergarten) >> อนุบาล 1 – อนุบาล 3 2.ระดับประถมศึกษา (Primary Education) >> ประถมศึกษา 1 – ประถมศึกษา 6 3.ระดับมัธยมศึกษา (Secondary Education) มัธยมศึกษาตอนต้น (High School Education) >> มัธยมศึกษาปีที่ 1 – มัธยมศึกษาปีที่ 4 มัธยมศึกษตอนปลาย (Higher School Education) >> มัธยมศึกษาปีที่ 5 – มัธยมศึกษาปีที่ 6 4.ระดับอุดมศึกษา (Higher Education) -ระดับปริญญาตรี (Bachelor Degree) -ระดับปริญญาโท (Master Degree) -ระดับ Master of Philosophy (M.Phil) -ระดับปริญญาเอก (Doctoral Degree) สำหรับระบบการเรียนของโรงเรียนในประเทศอินเดียแบ่งออกเป็น 2 หลักสูตรใหญ่ๆ คือ หลักสูตรที่จัดตั้งโดยรัฐบาลอินเดีย โรงเรียนระบบ CBSE (Central Board of Scondary Education) โรงเรียนระบบ ICSE (Indian Certificate of Secondary Education) โดยทั้งสองระบบนี้จะใช้ภาษาอังกฤษในการเรียน การสอนเท่านั้น และมีภาษาที่ 2 ให้เลือกคือ เยอรมัน ฝรั่งเศส ญี่ปุ่น ซึ่งความแตกต่างของ 2 ระบบ คือหนังสือเรียนจะไม่เหมือนกัน แต่เนื้อหาจะไปในทางเดียวกัน เนื่องจากทั้ง 2 ระบบ ขึ้นกับกระทรวงศึกษาธิการของอินเดียเหมือนกัน แต่แบ่งเป็น 2 ระบบ เนื่องจากอินเดียเป็นประเทศใหญ่และมีประชากรมาก หากมีหน่วยงานดูแลเพียงหน่วยงานเดียวจะไม่สามารถดูแลได้ทั่วถึง โดยในอดีตจะขึ้นกับระบบ CBSE เป็นส่วนใหญ่ แต่ในปัจจุบันระบบที่มีโรงเรียนจดทะเบียนมากที่สุดคือ CBSE โดยทั้ง 2 ระบบนี้ เมื่อเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 จนจบแล้วก็จะได้รับอนุญาตให้เรียนต่อในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (Secondary School) คือมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 4 หรือที่อินเดียเรียนว่า Class 7 – 10 ในชั้นเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 4 (Class 10) เด็กจะต้องทำคะแนนให้ดีและเมื่อขึ้นระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ม. 5 – 6 (Classs 11 – 12) นักเรียนจะต้องนำผลการสอบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มาวัดผลเพื่อเลือกสาขาที่จะเรียน ดังนี้ คะแนน 65% – 80% ขึ้นไปจะเลือกได้ทั้งสายวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ และสายศิลป์ คะแนน 40% – 64% สามารถเลือกสายศิลป์ได้ ซึ่งสำหรับเด็กที่จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 (Class 10) จากประเทศไทยและต้องการศึกษาต่อในสายวิชาใดได้บ้าง โรงเรียนที่ขึ้นกับกองกรรมาธิการศึกษาอินเดียทั้ง 2 ระบบนั้น ได้รับการรับรองวิทยาฐานะจากกระทรวงศึกษาธิการไทยทุกโรงเรียน เมื่อเรียนจบมัธยมศึกษาปีที่ 6 (Class 12) จากอินเดียแล้วสามารถนำไปเข้ามหาวิทยาลัยและวิทยาลัยทุกแห่งในประเทศไทยได้เลย และหากต้องการศึกษาต่อในประเทศอื่น เช่น อเมริกา อังกฤษ ออสเตรเลีย ฯลฯ ก็สามารถนำไปเข้าศึกษาระดับปริญญาตรีได้เลย หรือหากต้องศึกษาในประเทศอินเดียก็สามารถศึกษาในระดับปริญญาตรีได้เช่นกัน หลักสูตรนานาชาติ ระบบ IGCSE (International General Certificate of Secondary Education) ซึ่งในระบบนี้จะเริ่มสอบตั้งแต่ม.3 หรือ Class 9 โดยเมื่อนักเรียนจบม.2 หรือ Class 8 แล้ว หากจะเรียนระบบ IGCSE (International General Certificate of Secondary Education) หรือเรียกอีกอย่างว่า University of Cambridge System นักเรียนจะต้องเลือกเรียน 5 วิชา เมื่อสอบผ่านครบ 5 วิชา (โดยปกติแล้วนักเรียนจะสอบผ่านได้ภายใน 2 ปี) เมื่อผ่านละจะได้ประกาศนียบัตร O Level ซึ่งเมืองไทยเทียบเท่า ม.6 และสามารถนำกลับมหาวิทยาลัยในประเทศไทยได้เลย เช่น มหาวิทยาลัยอินเตอร์ มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์ภาคอินเตอร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ภาคอินเตอร์ แต่ถ้าน้องๆประสงค์จะไปเรียนต่อมหาวิทยาลัยในประเทศอื่นๆ น้องๆ จะต้องเรียนต่ออีก 3 วิชาซึ่งเมื่อสอบผ่านอีก 3 วิชาแล้ว น้องๆจะต้องรับประกาศนียบัตร A Level ซึ่งใช้เข้าเรียนต่อมหาวิทยาลัยได้เลย ระบบนี้ น้องๆจะประหยัดเวลาได้ 2 ปี หาจบหลักสูตร O Level แล้วน้องๆ กลับมาเรียนต่อมหาวิทยาลัยในประเทศไทย International Bacalareatr (IB) หรือหลักสูตรนานาชาติ หลักสูตร IB บริหารจัดการโดย International Baccalaureate Organization (IBO) ซึ่งเป็นองค์กรไม่แสวงหาผลกำไรจากสวิตเซอร์แลนด์ หลักสูตร IB แบ่งออกเป็น 3 ระดับ คือ The Primary Year Programme (อนุบาล ถึง เกรด 5) The Middle Year Programma (เกรด 6-10) The Diploma Programma (เกรด 11-12) การศึกษาขั้นสูงหรือระดับอุดมศึกษา สถาบันการศึกษาขั้นสูงที่จัดการเรียนการสอน ในระดับปริญญาตรี-โท-เอก ได้แก่ มหาวิทยาลัย รวมถึงมหาวิทยาลัยเฉพาะทางด้านเกษตรกรรมและแพทยศาสตร์ โดยแบ่งออกเป็น มหาวิทยาลัยส่วนกลาง (central universities) และมหาวิทยาลัยของรัฐ (state universities) สถาบันที่ได้รับการรับรองวิทยะฐานะเทียบเท่ามหาวิทยาลัย (deemed universities) ซึ่งมักมีขนาดเล็กและเปิดสอนวิชาเฉพาะทาง สถาบันที่มีความสำคัญระดับชาติหรือสถาบันที่เทียบเท่ามหาวิทยาลัย ซึ่งได้รับงบประมาณสนับสนุนจากรัฐบาลหรือก่อตั้งโดยรัฐบาล รวมถึงสถาบันเทคโนโลยีแห่งอินเดีย (Indian Institute of Technology – IIT) ซึ่งปัจจุบันมี 15 แห่งทั่วประเทศ และสถาบันการจัดการแห่งอินเดีย (Indian Institute of Management) ซึ่งปัจจุบันมี 6 แห่งทั่วประเทศ วิทยาลัยเทคโนโลยีและมหาวิทยาลัยเปิด สถาบันวิจัยภายใต้การกำกับดูแลของสภาวิจัยด้านสังคมศาสตร์อินเดีย (Indian Council of Social Science Research) ศูนย์ปฏิบัติการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ และวิทยาลัยกว่า 10,000 แห่งทั่วประเทศ ซึ่งอยู่ภายใต้การควบคุมดูแลของมหาวิทยาลัย สถาบันการศึกษาของเอกชน ซึ่งรวมถึงสถาบันสอนภาษา สถาบันกวดวิชา สถาบันสอนวิชาคอมพิวเตอร์ ค่าเล่าเรียน ในอินเดียจะแตกต่างกันไปในแต่ละสถาบัน โดยมหาวิทยาลัยรัฐจะได้มีค่าเล่าเรียนที่ถูกกว่าเอกชนเนื่องจากได้รับการสนับสนุนจากรัฐ โดยพลเมืองอินเดียจะต้องจ่ายค่าเล่าเรียนต่อปีสูงสุด 100 เหรียญ (ประมาณ 3,200 บาท) เพื่อเข้าเรียนต่อในมหาวิทยาลัยรัฐ ในขณะที่วิทยาลัยเอกชนอาจมีค่าเล่าเรียนสูงกว่าอยู่ที่ 400 – 25,000 เหรียญต่อปี (ประมาณ 13,000 – 817,000 บาท) ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสถาบันและหลักสูตรที่เลือกเรียนด้วย โดยสำหรับนักศึกษาต่างชาติก็มีทุนช่วยเหลือสำหรับนักศึกษาต่างชาติทั้งแบบช่วยเหลือบางส่วนและแบบเต็มจำนวนอีกด้วย สำหรับนักศึกษาต่างชาติที่กำลังมองหาประเทศในการไปเรียนต่อที่มีระดับการศึกษาที่มีคุณภาพ มีสถาบันการศึกษาให้เลือกกว่า 20,000 แห่ง มีแหล่งรวมวัฒนธรรม และมีหลักสูตรการเรียนที่มีคุณภาพทั้งด้านวิชาการและภาษาแล้วล่ะก็ “อินเดีย” ก็นับว่าเป็นอีกหนึ่งตัวเลือกที่น่าสนใจไม่น้อยเลยทีเดียว ขอบคุณข้อมูลจาก :https://www.scholarship.in.th/masters-degrees-in-india-2019/ :http://sameaf.mfa.go.th/th/education/detail.php?ID=3246 :http://goodythailand.com/pagecontent.asp?id=17457 :https://gbc-goody.com ขอบคุณรูปภาพจาก : https://moneydoneright.com/how-to-save-money-while-studying-abroad/ : https://www.thestatesman.com/books-education/paradigm-shift-indian-education-1502743171.html : https://spontaneousorder.in/indias-human-capital/ : https://www.technologyforyou.org/study-in-india-programme-launched-with-the-launch-of-study-in-india-portal-by-smt-sushma-swaraj-in-new-delhi/
มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค
สจล. ร่วมกับโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์อินเตอร์เนชั่นแนล พัฒนาหลักสูตรและการจัดการเนื้อหาสู่การเรียนในแพลตฟอร์มออนไลน์