ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง EZ WebmasterJune 13, 2025 วันนี้ทั้งเล่น ทั้งได้ความรู้ ทั้งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนนางรอง จ.บุรีรัมย์ วันที่13/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า… นักศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI… ทุนดีดี เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster September 27, 2021 EZ Webmaster September 27, 2021 พร้อม! สจล. ขานรับแนวคิด สธ. หนุน “Universal Prevention” ป้องกันติดเชื้อโควิดขั้นสูง รุดเสนอใช้ “Super Computer” ขับเคลื่อนประเทศ-เพิ่มศักยภาพวิจัยไทย พร้อมเปิดตัว “เอไอคัดกรองสายพันธุ์มิว” เทคโนโลยีตั้งรับสุดล้ำ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) ขานรับมาตรการกระทรวงสาธารณสุข “ป้องกันการติดเชื้อโควิดขั้นสูง” (Universal Prevention for COVID-19) หลังพบเชื้อโควิดดื้อภูมิ-กลายพันธุ์ในต่างประเทศ พร้อมเสนอใช้เทคโนโลยีซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super Computer) ของมหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล (CMKL) เป็นกลไกหนึ่งบริหารประเทศในสถานการณ์โควิด ตอกย้ำด้วยผลสำเร็จงานวิจัย “เอไอคัดกรองสายพันธุ์ มิว” (C.1.2) หนุนทีมแพทย์เฝ้าระวังเชื้อประชิดไทย พบประสิทธิภาพตรวจถูกต้องกว่า 99% ใน 30 วินาที โดยเป็นผลมาจากการเรียนรู้เชิงลึกข้อมูลรหัสพันธุกรรม 13,457 ชุดข้อมูล จากคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ทั้งนี้ หน่วยงานภาคการศึกษา องค์กรธุรกิจ ตลอดจนนักวิจัยที่สนใจสามารถติดต่อเพื่อขอใช้ประโยชน์เชิงพื้นที่หรือเทคโนโลยีขั้นสูงของ CMKL สามารถติดต่อได้ที่ โทร. 06-5878-5000 (ในวันและเวลาราชการ) สำหรับกิจกรรมลงนามความร่วมมือทางวิชาการระหว่าง มหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล (CMKL) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (KMITL) และ โรงพยาบาลพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร (KMCH) จัดขึ้นเมื่อเร็ว ๆ นี้ ณ สำนักหอสมุดกลาง สจล. ติดตามความเคลื่อนไหวกิจกรรมของ สจล. ได้ที่ www.facebook.com/kmitlofficial และ www.kmitl.ac.th ศ. ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ อธิการบดี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เปิดเผยว่า แม้นานาประเทศจะมีมาตรการเชิงรุกเพื่อรับมือกับสถานการณ์โควิด-19 แต่ทั้งนี้ในปัจจุบันกลับพบว่า เชื้อโควิดมีความแข็งแรง สามารถหนีภูมิได้มากขึ้น ตลอดจนสามารถกลายพันธุ์ได้ในที่สุด ดังนั้น การมีเทคโนโลยีขั้นสูงอย่าง ‘ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์’ (Super Computer) เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ประสิทธิภาพสูง ทั้งด้านการประมวลผล พื้นที่จัดเก็บข้อมูล สัญญาณอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง การเทรนนิ่งเอไอ (AI Training) ฯลฯ เข้ามาช่วยเหลือในการพัฒนางานวิจัย เช่น เอไอตรวจโควิดกลายพันธุ์ ผ่านคลาวด์ เซิร์ฟเวอร์ (Cloud Server) ที่สามารถคัดกรองสายพันธุ์โควิด พร้อมระบุตำแหน่งที่พบได้อย่างแม่นยำใน 30 วินาที ที่ช่วยลดการใช้สูญเสียเวลาและทรัพยากรของทีมแพทย์ในการวิเคราะห์สายพันธุ์ ฯลฯ ซึ่งจะช่วยให้ไทยมีเทคโนโลยีที่เข้ามาช่วยบริหารจัดการระบบต่าง ๆ ได้อย่างมีเสถียรภาพมากยิ่งขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิด “ป้องกันการติดเชื้อโควิดขั้นสูง” (Universal Prevention for COVID-19) ของกระทรวงสาธารณสุข (สธ.) ทั้งนี้ สจล. มีข้อเสนอแนะว่าหากหน่วยงานภาครัฐ องค์กรภาคเอกชน นำเทคโนโลยีดังกล่าวที่ในปัจจุบันมีใช้แล้วที่ มหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล (CMKL) มหาวิทยาลัยชั้นนำด้าน AI Technology ระดับอาเซียน ภายใต้ความร่วมมือระหว่าง สจล. กับ มหาวิทยาลัยคาร์เนกีเมลลอน (Carnegie Mellon University) สถาบันการศึกษาที่เชี่ยวชาญด้านหลักสูตรวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ชั้นนำของโลก ประเทศสหรัฐอเมริกา ไปใช้ประโยชน์หรือบูรณาการร่วมกับบิ๊กเดต้า (Big Data) ที่เกี่ยวกับของการบริหารสถานการณ์โควิด การบริหารจัดการเพื่อลดการสูญเสียจากการดำเนินธุรกิจ/อุตสาหกรรม ฯลฯ ถือเป็นกระบวนการหนึ่งในการทดสอบเชิงวิจัย/เตรียมพร้อมระบบสาธารณสุข-การแพทย์ไทย ให้สามารถรับมือกับโรคอุบัติใหม่ได้ในอนาคต หรือกระทั่งในภาคธุรกิจจะมีส่วนช่วยลดต้นทุนการผลิต เพิ่มประสิทธิภาพการทำงานและคุณภาพสินค้าอย่างยั่งยืน ล่าสุด สจล. จึงได้ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการกับ มหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล (CMKL) และ โรงพยาบาลพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร (KMCH) เพื่อผลักดันเทคโนโลยี ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ ในการขับเคลื่อนประเทศ เพิ่มประสิทธิภาพในการใช้งานด้าน AI ในการวิจัย เช่น งานวิจัยด้านการแพทย์ ตลอดจนขยายผลวิจัย/นวัตกรรม สู่การผลักดันการใช้เทคโนโลยีขับเคลื่อนภาคธุรกิจและอุตสาหกรรม ตลอดจนยกระดับคุณภาพชีวิตและเศรษฐกิจไทยได้ในอนาคต รศ. ดร.สุพันธุ์ ตั้งจิตกุศลมั่น อธิการบดีมหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล (CMKL) กล่าวต่อว่า Super Computer (Apex) นับเป็นเทคโนโลยีขั้นสูงที่มีส่วนสำคัญ ในการช่วยนักวิจัยพัฒนา “งานวิจัยเชิงปัญญาประดิษฐ์” (Apex-Goliath) หรืองานวิจัยเชิงทดลองที่ช่วยให้นักวิจัยเห็นผลลัพธ์ในระยะสั้น เนื่องจากมีกระบวนการจัดเก็บข้อมูลและคอมพิวเตอร์คลัสเตอร์สำหรับปัญญาประดิษฐ์ ระบบคอมพิวเตอร์สมรรถนะสูง และการประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ เช่น ช่วยให้นักวิจัยสามารถสร้างแบบจำลอง (Render) ขนาดใหญ่ได้ภายในครึ่งชั่วโมง จากปกติที่ต้องใช้เวลานานถึง 720 ชั่วโมง ฯลฯ โดยที่ผ่านมา เทคโนโลยีดังกล่าวได้มีส่วนสำคัญในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้คนและสิ่งแวดล้อมจำนวนมาก อาทิ “AI ตรวจโควิดกลายพันธุ์ ผ่าน Cloud Server” ที่ล่าสุดสามารถตรวจหาโควิดสายพันธุ์ใหม่ที่ค้นพบแล้วในต่างประเทศได้สำเร็จ “AI คัดแยกขวดรีไซเคิล” ผู้ช่วยนักคัดแยกขวดแก้วเพื่อนำไปรีไซเคิล ที่ช่วยประหยัดเวลาในการคัดแยกขยะ พร้อมทั้งลดการเกิด Carbon Footprint ชั้นบรรยากาศ ทั้งนี้ หน่วยงานภาคการศึกษา องค์กรธุรกิจ ตลอดจนนักวิจัยที่สนใจสามารถติดต่อเพื่อขอใช้ประโยชน์เชิงพื้นที่หรือเทคโนโลยีขั้นสูงของ CMKL สามารถติดต่อได้ที่ โทร. 06-5878-5000 (ในวันและเวลาราชการ) รศ. ดร.ศิริเดช บุญแสง คณบดี คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เปิดเผยว่าที่ผ่านมา ทีมวิจัย ได้เปิดตัวผลสำเร็จการพัฒนางานวิจัย “AI ตรวจโควิดกลายพันธุ์ ผ่านคลาวด์ เซิร์ฟเวอร์” (Cloud Server) หรือ “ปัญญาประดิษฐ์ ซีร่า คอร์” (CiRA CORE) ที่ได้รับความร่วมมือทางเทคโนโลยีขั้นสูงอย่าง “เอไอ ซุปเปอร์ คอมพิวเตอร์” (AI Super Computer) เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ประสิทธิภาพสูงโดยเฉพาะเทรนนิ่งเอไอ (AI Training) จากมหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล (CMKL) มหาวิทยาลัยชั้นนำด้านเทคโนโลยีเอไอ (AI Technology) ระดับอาเซียน เป็นผลให้ AI มีความสามารถในการแยกแยะตำแหน่งโควิดกลายพันธุ์ (VOC) และ บ่งชี้เชื้อโควิดกลายพันธุ์ได้หลายสายพันธุ์ได้อย่างถูกต้องถึง 99% ใน 30 วินาที อันเกิดจากกระบวนการเรียนรู้เชิงลึก (Deep Learning) ข้อมูลรหัสพันธุกรรมของเชื้อโควิดที่มีจีโนมถึง 30,000 ตำแหน่ง จากฐานข้อมูลรหัสพันธุกรรมของจุลชีพ “GISAID” ทั้งนี้ กระบวนการทำงานของเอไอเพื่อตรวจหาสายพันธุ์ มี 3 ขั้นตอน ดังนี้ ‘Input Data’ นำเข้าข้อมูลสารพันธุกรรมทั้งหมด หรือจีโนมที่ได้ทั้งแบบเดี่ยว หรือแบบหลายจีโนมพร้อมกัน ‘Data processing’ ประมวลผลชุดข้อมูลโดย AI ที่ผ่านการเรียนรู้ชุดข้อมูลเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ‘Output Data’ แสดงผลข้อมูลสารพันธุกรรมในลักษณะของชื่อสายพันธุ์ โดยหากตรวจพบเชื้อกลายพันธุ์จะแสดงผลเป็นสีแดง พร้อมแสดงตำแหน่งกลายพันธุ์ (VOCs) บนจีโนม กรณีที่ตรวจไม่พบเชื้อจะแสดงผลเป็นสีเทา โดยที่ล่าสุดจากความสามารถด้านการตรวจหาสายพันธุ์มิว ได้นั้น เป็นผลจากการได้รับการสนับสนุนชุดข้อมูลรหัสพันธุกรรมกว่า 13,457 ชุดข้อมูล จากคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ที่ได้ทำการศึกษาวิจัยเพื่อเฝ้าระวังการเข้ามาของสายพันธุ์ดังกล่าว เนื่องจากพบข้อมูล ณ วันที่ 6 กันยายน 2564 ว่ามีจำนวนผู้ติดเชื้อโควิดสายพันธุ์มิว ในประเทศโคลัมเบีย สหรัฐอเมริกา และสเปน มากกว่า 6,091 ราย (covSPECTRUM (ethz.ch)) ด้าน ศาสตราจารย์ นายแพทย์ อนันต์ ศรีเกียรติขจร คณบดี คณะแพทยศาสตร์ สจล. และประธานคณะกรรมการบริหารโรงพยาบาลพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร (KMCH) และกล่าวปิดท้ายว่า เทคโนโลยี AI ตรวจโควิดกลายพันธุ์ ผ่าน Cloud Server ในทางการแพทย์และสาธารณสุข นับได้ว่าเป็นหนึ่งในเทคโนโลยีเชิงรุกและเชิงรับ ที่มีส่วนช่วยในการเฝ้าระวังของโควิดพันธุ์ใหม่ในสายพันธุ์ต่าง ๆ ตลอดจนสนับสนุนการทำงานของบุคลากรทางการแพทย์ในการค้นหาผู้ติดเชื้อได้โดยสะดวกและรวดเร็วในอีกรูปแบบหนึ่ง ทั้งนี้ หากไทยสามารถดำเนินการสร้างภูมิคุ้มกันหมู่แก่ประชาชนในประเทศโดยภาพรวมได้ ในสัดส่วนที่มากกว่า 70% ของประชากรทั้งหมด จะเป็นการป้องกันประเทศเข้าสู่โควิดระลอกที่ 5 ได้อย่างแน่นอน ขณะที่การสร้างภูมิคุ้มกันหมู่ของนักศึกษาและบุคลากร ตลอดจนกลุ่มคนที่ทำงานเพื่อสาธารณะในพื้นที่ สจล. และบริเวณใกล้เคียง ภายใต้นโยบายของกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เพื่อเตรียมความพร้อมสถาบันฯ ให้สามารถเปิดทำการเรียนการสอนได้ปกตินั้น สามารถให้บริการวัคซีนโดยภาพรวมได้เป็นจำนวนรวม 67,585 โดส (ข้อมูล ณ วันที่ 23 กันยายน 2564) EZ Webmaster Related Posts “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา อัปสกิลฟรี! เรียนรู้ “AI ใน Canva” กับจุฬาฯ คอร์สออนไลน์ 11 บท ครบจบใน 1 ชั่วโมง Post navigation PREVIOUS Previous post: “สวนสุนันทาพารอด” รับเทมเพลต “Portfolio SSRU limited edition” ฟรี ที่นี่ที่เดียว ยื่นเข้าได้ทุกคณะ ทุกสาขาNEXT Next post: รวมวิชาเฉพาะ ของแต่ละมหาวิทยาลัย มีอะไรบ้าง ใช้เข้าคณะอะไร รอบไหนบ้าง Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง EZ WebmasterJune 13, 2025 วันนี้ทั้งเล่น ทั้งได้ความรู้ ทั้งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนนางรอง จ.บุรีรัมย์ วันที่13/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า… นักศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI… ทุนดีดี เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster September 27, 2021 EZ Webmaster September 27, 2021 พร้อม! สจล. ขานรับแนวคิด สธ. หนุน “Universal Prevention” ป้องกันติดเชื้อโควิดขั้นสูง รุดเสนอใช้ “Super Computer” ขับเคลื่อนประเทศ-เพิ่มศักยภาพวิจัยไทย พร้อมเปิดตัว “เอไอคัดกรองสายพันธุ์มิว” เทคโนโลยีตั้งรับสุดล้ำ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) ขานรับมาตรการกระทรวงสาธารณสุข “ป้องกันการติดเชื้อโควิดขั้นสูง” (Universal Prevention for COVID-19) หลังพบเชื้อโควิดดื้อภูมิ-กลายพันธุ์ในต่างประเทศ พร้อมเสนอใช้เทคโนโลยีซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super Computer) ของมหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล (CMKL) เป็นกลไกหนึ่งบริหารประเทศในสถานการณ์โควิด ตอกย้ำด้วยผลสำเร็จงานวิจัย “เอไอคัดกรองสายพันธุ์ มิว” (C.1.2) หนุนทีมแพทย์เฝ้าระวังเชื้อประชิดไทย พบประสิทธิภาพตรวจถูกต้องกว่า 99% ใน 30 วินาที โดยเป็นผลมาจากการเรียนรู้เชิงลึกข้อมูลรหัสพันธุกรรม 13,457 ชุดข้อมูล จากคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ทั้งนี้ หน่วยงานภาคการศึกษา องค์กรธุรกิจ ตลอดจนนักวิจัยที่สนใจสามารถติดต่อเพื่อขอใช้ประโยชน์เชิงพื้นที่หรือเทคโนโลยีขั้นสูงของ CMKL สามารถติดต่อได้ที่ โทร. 06-5878-5000 (ในวันและเวลาราชการ) สำหรับกิจกรรมลงนามความร่วมมือทางวิชาการระหว่าง มหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล (CMKL) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (KMITL) และ โรงพยาบาลพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร (KMCH) จัดขึ้นเมื่อเร็ว ๆ นี้ ณ สำนักหอสมุดกลาง สจล. ติดตามความเคลื่อนไหวกิจกรรมของ สจล. ได้ที่ www.facebook.com/kmitlofficial และ www.kmitl.ac.th ศ. ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ อธิการบดี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เปิดเผยว่า แม้นานาประเทศจะมีมาตรการเชิงรุกเพื่อรับมือกับสถานการณ์โควิด-19 แต่ทั้งนี้ในปัจจุบันกลับพบว่า เชื้อโควิดมีความแข็งแรง สามารถหนีภูมิได้มากขึ้น ตลอดจนสามารถกลายพันธุ์ได้ในที่สุด ดังนั้น การมีเทคโนโลยีขั้นสูงอย่าง ‘ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์’ (Super Computer) เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ประสิทธิภาพสูง ทั้งด้านการประมวลผล พื้นที่จัดเก็บข้อมูล สัญญาณอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง การเทรนนิ่งเอไอ (AI Training) ฯลฯ เข้ามาช่วยเหลือในการพัฒนางานวิจัย เช่น เอไอตรวจโควิดกลายพันธุ์ ผ่านคลาวด์ เซิร์ฟเวอร์ (Cloud Server) ที่สามารถคัดกรองสายพันธุ์โควิด พร้อมระบุตำแหน่งที่พบได้อย่างแม่นยำใน 30 วินาที ที่ช่วยลดการใช้สูญเสียเวลาและทรัพยากรของทีมแพทย์ในการวิเคราะห์สายพันธุ์ ฯลฯ ซึ่งจะช่วยให้ไทยมีเทคโนโลยีที่เข้ามาช่วยบริหารจัดการระบบต่าง ๆ ได้อย่างมีเสถียรภาพมากยิ่งขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิด “ป้องกันการติดเชื้อโควิดขั้นสูง” (Universal Prevention for COVID-19) ของกระทรวงสาธารณสุข (สธ.) ทั้งนี้ สจล. มีข้อเสนอแนะว่าหากหน่วยงานภาครัฐ องค์กรภาคเอกชน นำเทคโนโลยีดังกล่าวที่ในปัจจุบันมีใช้แล้วที่ มหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล (CMKL) มหาวิทยาลัยชั้นนำด้าน AI Technology ระดับอาเซียน ภายใต้ความร่วมมือระหว่าง สจล. กับ มหาวิทยาลัยคาร์เนกีเมลลอน (Carnegie Mellon University) สถาบันการศึกษาที่เชี่ยวชาญด้านหลักสูตรวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ชั้นนำของโลก ประเทศสหรัฐอเมริกา ไปใช้ประโยชน์หรือบูรณาการร่วมกับบิ๊กเดต้า (Big Data) ที่เกี่ยวกับของการบริหารสถานการณ์โควิด การบริหารจัดการเพื่อลดการสูญเสียจากการดำเนินธุรกิจ/อุตสาหกรรม ฯลฯ ถือเป็นกระบวนการหนึ่งในการทดสอบเชิงวิจัย/เตรียมพร้อมระบบสาธารณสุข-การแพทย์ไทย ให้สามารถรับมือกับโรคอุบัติใหม่ได้ในอนาคต หรือกระทั่งในภาคธุรกิจจะมีส่วนช่วยลดต้นทุนการผลิต เพิ่มประสิทธิภาพการทำงานและคุณภาพสินค้าอย่างยั่งยืน ล่าสุด สจล. จึงได้ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการกับ มหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล (CMKL) และ โรงพยาบาลพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร (KMCH) เพื่อผลักดันเทคโนโลยี ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ ในการขับเคลื่อนประเทศ เพิ่มประสิทธิภาพในการใช้งานด้าน AI ในการวิจัย เช่น งานวิจัยด้านการแพทย์ ตลอดจนขยายผลวิจัย/นวัตกรรม สู่การผลักดันการใช้เทคโนโลยีขับเคลื่อนภาคธุรกิจและอุตสาหกรรม ตลอดจนยกระดับคุณภาพชีวิตและเศรษฐกิจไทยได้ในอนาคต รศ. ดร.สุพันธุ์ ตั้งจิตกุศลมั่น อธิการบดีมหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล (CMKL) กล่าวต่อว่า Super Computer (Apex) นับเป็นเทคโนโลยีขั้นสูงที่มีส่วนสำคัญ ในการช่วยนักวิจัยพัฒนา “งานวิจัยเชิงปัญญาประดิษฐ์” (Apex-Goliath) หรืองานวิจัยเชิงทดลองที่ช่วยให้นักวิจัยเห็นผลลัพธ์ในระยะสั้น เนื่องจากมีกระบวนการจัดเก็บข้อมูลและคอมพิวเตอร์คลัสเตอร์สำหรับปัญญาประดิษฐ์ ระบบคอมพิวเตอร์สมรรถนะสูง และการประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ เช่น ช่วยให้นักวิจัยสามารถสร้างแบบจำลอง (Render) ขนาดใหญ่ได้ภายในครึ่งชั่วโมง จากปกติที่ต้องใช้เวลานานถึง 720 ชั่วโมง ฯลฯ โดยที่ผ่านมา เทคโนโลยีดังกล่าวได้มีส่วนสำคัญในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้คนและสิ่งแวดล้อมจำนวนมาก อาทิ “AI ตรวจโควิดกลายพันธุ์ ผ่าน Cloud Server” ที่ล่าสุดสามารถตรวจหาโควิดสายพันธุ์ใหม่ที่ค้นพบแล้วในต่างประเทศได้สำเร็จ “AI คัดแยกขวดรีไซเคิล” ผู้ช่วยนักคัดแยกขวดแก้วเพื่อนำไปรีไซเคิล ที่ช่วยประหยัดเวลาในการคัดแยกขยะ พร้อมทั้งลดการเกิด Carbon Footprint ชั้นบรรยากาศ ทั้งนี้ หน่วยงานภาคการศึกษา องค์กรธุรกิจ ตลอดจนนักวิจัยที่สนใจสามารถติดต่อเพื่อขอใช้ประโยชน์เชิงพื้นที่หรือเทคโนโลยีขั้นสูงของ CMKL สามารถติดต่อได้ที่ โทร. 06-5878-5000 (ในวันและเวลาราชการ) รศ. ดร.ศิริเดช บุญแสง คณบดี คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เปิดเผยว่าที่ผ่านมา ทีมวิจัย ได้เปิดตัวผลสำเร็จการพัฒนางานวิจัย “AI ตรวจโควิดกลายพันธุ์ ผ่านคลาวด์ เซิร์ฟเวอร์” (Cloud Server) หรือ “ปัญญาประดิษฐ์ ซีร่า คอร์” (CiRA CORE) ที่ได้รับความร่วมมือทางเทคโนโลยีขั้นสูงอย่าง “เอไอ ซุปเปอร์ คอมพิวเตอร์” (AI Super Computer) เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ประสิทธิภาพสูงโดยเฉพาะเทรนนิ่งเอไอ (AI Training) จากมหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล (CMKL) มหาวิทยาลัยชั้นนำด้านเทคโนโลยีเอไอ (AI Technology) ระดับอาเซียน เป็นผลให้ AI มีความสามารถในการแยกแยะตำแหน่งโควิดกลายพันธุ์ (VOC) และ บ่งชี้เชื้อโควิดกลายพันธุ์ได้หลายสายพันธุ์ได้อย่างถูกต้องถึง 99% ใน 30 วินาที อันเกิดจากกระบวนการเรียนรู้เชิงลึก (Deep Learning) ข้อมูลรหัสพันธุกรรมของเชื้อโควิดที่มีจีโนมถึง 30,000 ตำแหน่ง จากฐานข้อมูลรหัสพันธุกรรมของจุลชีพ “GISAID” ทั้งนี้ กระบวนการทำงานของเอไอเพื่อตรวจหาสายพันธุ์ มี 3 ขั้นตอน ดังนี้ ‘Input Data’ นำเข้าข้อมูลสารพันธุกรรมทั้งหมด หรือจีโนมที่ได้ทั้งแบบเดี่ยว หรือแบบหลายจีโนมพร้อมกัน ‘Data processing’ ประมวลผลชุดข้อมูลโดย AI ที่ผ่านการเรียนรู้ชุดข้อมูลเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ‘Output Data’ แสดงผลข้อมูลสารพันธุกรรมในลักษณะของชื่อสายพันธุ์ โดยหากตรวจพบเชื้อกลายพันธุ์จะแสดงผลเป็นสีแดง พร้อมแสดงตำแหน่งกลายพันธุ์ (VOCs) บนจีโนม กรณีที่ตรวจไม่พบเชื้อจะแสดงผลเป็นสีเทา โดยที่ล่าสุดจากความสามารถด้านการตรวจหาสายพันธุ์มิว ได้นั้น เป็นผลจากการได้รับการสนับสนุนชุดข้อมูลรหัสพันธุกรรมกว่า 13,457 ชุดข้อมูล จากคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ที่ได้ทำการศึกษาวิจัยเพื่อเฝ้าระวังการเข้ามาของสายพันธุ์ดังกล่าว เนื่องจากพบข้อมูล ณ วันที่ 6 กันยายน 2564 ว่ามีจำนวนผู้ติดเชื้อโควิดสายพันธุ์มิว ในประเทศโคลัมเบีย สหรัฐอเมริกา และสเปน มากกว่า 6,091 ราย (covSPECTRUM (ethz.ch)) ด้าน ศาสตราจารย์ นายแพทย์ อนันต์ ศรีเกียรติขจร คณบดี คณะแพทยศาสตร์ สจล. และประธานคณะกรรมการบริหารโรงพยาบาลพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร (KMCH) และกล่าวปิดท้ายว่า เทคโนโลยี AI ตรวจโควิดกลายพันธุ์ ผ่าน Cloud Server ในทางการแพทย์และสาธารณสุข นับได้ว่าเป็นหนึ่งในเทคโนโลยีเชิงรุกและเชิงรับ ที่มีส่วนช่วยในการเฝ้าระวังของโควิดพันธุ์ใหม่ในสายพันธุ์ต่าง ๆ ตลอดจนสนับสนุนการทำงานของบุคลากรทางการแพทย์ในการค้นหาผู้ติดเชื้อได้โดยสะดวกและรวดเร็วในอีกรูปแบบหนึ่ง ทั้งนี้ หากไทยสามารถดำเนินการสร้างภูมิคุ้มกันหมู่แก่ประชาชนในประเทศโดยภาพรวมได้ ในสัดส่วนที่มากกว่า 70% ของประชากรทั้งหมด จะเป็นการป้องกันประเทศเข้าสู่โควิดระลอกที่ 5 ได้อย่างแน่นอน ขณะที่การสร้างภูมิคุ้มกันหมู่ของนักศึกษาและบุคลากร ตลอดจนกลุ่มคนที่ทำงานเพื่อสาธารณะในพื้นที่ สจล. และบริเวณใกล้เคียง ภายใต้นโยบายของกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เพื่อเตรียมความพร้อมสถาบันฯ ให้สามารถเปิดทำการเรียนการสอนได้ปกตินั้น สามารถให้บริการวัคซีนโดยภาพรวมได้เป็นจำนวนรวม 67,585 โดส (ข้อมูล ณ วันที่ 23 กันยายน 2564) EZ Webmaster Related Posts “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา อัปสกิลฟรี! เรียนรู้ “AI ใน Canva” กับจุฬาฯ คอร์สออนไลน์ 11 บท ครบจบใน 1 ชั่วโมง Post navigation PREVIOUS Previous post: “สวนสุนันทาพารอด” รับเทมเพลต “Portfolio SSRU limited edition” ฟรี ที่นี่ที่เดียว ยื่นเข้าได้ทุกคณะ ทุกสาขาNEXT Next post: รวมวิชาเฉพาะ ของแต่ละมหาวิทยาลัย มีอะไรบ้าง ใช้เข้าคณะอะไร รอบไหนบ้าง Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง EZ WebmasterJune 13, 2025 วันนี้ทั้งเล่น ทั้งได้ความรู้ ทั้งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนนางรอง จ.บุรีรัมย์ วันที่13/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า…
โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง EZ WebmasterJune 13, 2025 วันนี้ทั้งเล่น ทั้งได้ความรู้ ทั้งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนนางรอง จ.บุรีรัมย์ วันที่13/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า…
คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI… ทุนดีดี เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster September 27, 2021 EZ Webmaster September 27, 2021 พร้อม! สจล. ขานรับแนวคิด สธ. หนุน “Universal Prevention” ป้องกันติดเชื้อโควิดขั้นสูง รุดเสนอใช้ “Super Computer” ขับเคลื่อนประเทศ-เพิ่มศักยภาพวิจัยไทย พร้อมเปิดตัว “เอไอคัดกรองสายพันธุ์มิว” เทคโนโลยีตั้งรับสุดล้ำ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) ขานรับมาตรการกระทรวงสาธารณสุข “ป้องกันการติดเชื้อโควิดขั้นสูง” (Universal Prevention for COVID-19) หลังพบเชื้อโควิดดื้อภูมิ-กลายพันธุ์ในต่างประเทศ พร้อมเสนอใช้เทคโนโลยีซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super Computer) ของมหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล (CMKL) เป็นกลไกหนึ่งบริหารประเทศในสถานการณ์โควิด ตอกย้ำด้วยผลสำเร็จงานวิจัย “เอไอคัดกรองสายพันธุ์ มิว” (C.1.2) หนุนทีมแพทย์เฝ้าระวังเชื้อประชิดไทย พบประสิทธิภาพตรวจถูกต้องกว่า 99% ใน 30 วินาที โดยเป็นผลมาจากการเรียนรู้เชิงลึกข้อมูลรหัสพันธุกรรม 13,457 ชุดข้อมูล จากคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ทั้งนี้ หน่วยงานภาคการศึกษา องค์กรธุรกิจ ตลอดจนนักวิจัยที่สนใจสามารถติดต่อเพื่อขอใช้ประโยชน์เชิงพื้นที่หรือเทคโนโลยีขั้นสูงของ CMKL สามารถติดต่อได้ที่ โทร. 06-5878-5000 (ในวันและเวลาราชการ) สำหรับกิจกรรมลงนามความร่วมมือทางวิชาการระหว่าง มหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล (CMKL) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (KMITL) และ โรงพยาบาลพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร (KMCH) จัดขึ้นเมื่อเร็ว ๆ นี้ ณ สำนักหอสมุดกลาง สจล. ติดตามความเคลื่อนไหวกิจกรรมของ สจล. ได้ที่ www.facebook.com/kmitlofficial และ www.kmitl.ac.th ศ. ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ อธิการบดี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เปิดเผยว่า แม้นานาประเทศจะมีมาตรการเชิงรุกเพื่อรับมือกับสถานการณ์โควิด-19 แต่ทั้งนี้ในปัจจุบันกลับพบว่า เชื้อโควิดมีความแข็งแรง สามารถหนีภูมิได้มากขึ้น ตลอดจนสามารถกลายพันธุ์ได้ในที่สุด ดังนั้น การมีเทคโนโลยีขั้นสูงอย่าง ‘ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์’ (Super Computer) เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ประสิทธิภาพสูง ทั้งด้านการประมวลผล พื้นที่จัดเก็บข้อมูล สัญญาณอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง การเทรนนิ่งเอไอ (AI Training) ฯลฯ เข้ามาช่วยเหลือในการพัฒนางานวิจัย เช่น เอไอตรวจโควิดกลายพันธุ์ ผ่านคลาวด์ เซิร์ฟเวอร์ (Cloud Server) ที่สามารถคัดกรองสายพันธุ์โควิด พร้อมระบุตำแหน่งที่พบได้อย่างแม่นยำใน 30 วินาที ที่ช่วยลดการใช้สูญเสียเวลาและทรัพยากรของทีมแพทย์ในการวิเคราะห์สายพันธุ์ ฯลฯ ซึ่งจะช่วยให้ไทยมีเทคโนโลยีที่เข้ามาช่วยบริหารจัดการระบบต่าง ๆ ได้อย่างมีเสถียรภาพมากยิ่งขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิด “ป้องกันการติดเชื้อโควิดขั้นสูง” (Universal Prevention for COVID-19) ของกระทรวงสาธารณสุข (สธ.) ทั้งนี้ สจล. มีข้อเสนอแนะว่าหากหน่วยงานภาครัฐ องค์กรภาคเอกชน นำเทคโนโลยีดังกล่าวที่ในปัจจุบันมีใช้แล้วที่ มหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล (CMKL) มหาวิทยาลัยชั้นนำด้าน AI Technology ระดับอาเซียน ภายใต้ความร่วมมือระหว่าง สจล. กับ มหาวิทยาลัยคาร์เนกีเมลลอน (Carnegie Mellon University) สถาบันการศึกษาที่เชี่ยวชาญด้านหลักสูตรวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ชั้นนำของโลก ประเทศสหรัฐอเมริกา ไปใช้ประโยชน์หรือบูรณาการร่วมกับบิ๊กเดต้า (Big Data) ที่เกี่ยวกับของการบริหารสถานการณ์โควิด การบริหารจัดการเพื่อลดการสูญเสียจากการดำเนินธุรกิจ/อุตสาหกรรม ฯลฯ ถือเป็นกระบวนการหนึ่งในการทดสอบเชิงวิจัย/เตรียมพร้อมระบบสาธารณสุข-การแพทย์ไทย ให้สามารถรับมือกับโรคอุบัติใหม่ได้ในอนาคต หรือกระทั่งในภาคธุรกิจจะมีส่วนช่วยลดต้นทุนการผลิต เพิ่มประสิทธิภาพการทำงานและคุณภาพสินค้าอย่างยั่งยืน ล่าสุด สจล. จึงได้ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการกับ มหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล (CMKL) และ โรงพยาบาลพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร (KMCH) เพื่อผลักดันเทคโนโลยี ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ ในการขับเคลื่อนประเทศ เพิ่มประสิทธิภาพในการใช้งานด้าน AI ในการวิจัย เช่น งานวิจัยด้านการแพทย์ ตลอดจนขยายผลวิจัย/นวัตกรรม สู่การผลักดันการใช้เทคโนโลยีขับเคลื่อนภาคธุรกิจและอุตสาหกรรม ตลอดจนยกระดับคุณภาพชีวิตและเศรษฐกิจไทยได้ในอนาคต รศ. ดร.สุพันธุ์ ตั้งจิตกุศลมั่น อธิการบดีมหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล (CMKL) กล่าวต่อว่า Super Computer (Apex) นับเป็นเทคโนโลยีขั้นสูงที่มีส่วนสำคัญ ในการช่วยนักวิจัยพัฒนา “งานวิจัยเชิงปัญญาประดิษฐ์” (Apex-Goliath) หรืองานวิจัยเชิงทดลองที่ช่วยให้นักวิจัยเห็นผลลัพธ์ในระยะสั้น เนื่องจากมีกระบวนการจัดเก็บข้อมูลและคอมพิวเตอร์คลัสเตอร์สำหรับปัญญาประดิษฐ์ ระบบคอมพิวเตอร์สมรรถนะสูง และการประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ เช่น ช่วยให้นักวิจัยสามารถสร้างแบบจำลอง (Render) ขนาดใหญ่ได้ภายในครึ่งชั่วโมง จากปกติที่ต้องใช้เวลานานถึง 720 ชั่วโมง ฯลฯ โดยที่ผ่านมา เทคโนโลยีดังกล่าวได้มีส่วนสำคัญในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้คนและสิ่งแวดล้อมจำนวนมาก อาทิ “AI ตรวจโควิดกลายพันธุ์ ผ่าน Cloud Server” ที่ล่าสุดสามารถตรวจหาโควิดสายพันธุ์ใหม่ที่ค้นพบแล้วในต่างประเทศได้สำเร็จ “AI คัดแยกขวดรีไซเคิล” ผู้ช่วยนักคัดแยกขวดแก้วเพื่อนำไปรีไซเคิล ที่ช่วยประหยัดเวลาในการคัดแยกขยะ พร้อมทั้งลดการเกิด Carbon Footprint ชั้นบรรยากาศ ทั้งนี้ หน่วยงานภาคการศึกษา องค์กรธุรกิจ ตลอดจนนักวิจัยที่สนใจสามารถติดต่อเพื่อขอใช้ประโยชน์เชิงพื้นที่หรือเทคโนโลยีขั้นสูงของ CMKL สามารถติดต่อได้ที่ โทร. 06-5878-5000 (ในวันและเวลาราชการ) รศ. ดร.ศิริเดช บุญแสง คณบดี คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เปิดเผยว่าที่ผ่านมา ทีมวิจัย ได้เปิดตัวผลสำเร็จการพัฒนางานวิจัย “AI ตรวจโควิดกลายพันธุ์ ผ่านคลาวด์ เซิร์ฟเวอร์” (Cloud Server) หรือ “ปัญญาประดิษฐ์ ซีร่า คอร์” (CiRA CORE) ที่ได้รับความร่วมมือทางเทคโนโลยีขั้นสูงอย่าง “เอไอ ซุปเปอร์ คอมพิวเตอร์” (AI Super Computer) เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ประสิทธิภาพสูงโดยเฉพาะเทรนนิ่งเอไอ (AI Training) จากมหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล (CMKL) มหาวิทยาลัยชั้นนำด้านเทคโนโลยีเอไอ (AI Technology) ระดับอาเซียน เป็นผลให้ AI มีความสามารถในการแยกแยะตำแหน่งโควิดกลายพันธุ์ (VOC) และ บ่งชี้เชื้อโควิดกลายพันธุ์ได้หลายสายพันธุ์ได้อย่างถูกต้องถึง 99% ใน 30 วินาที อันเกิดจากกระบวนการเรียนรู้เชิงลึก (Deep Learning) ข้อมูลรหัสพันธุกรรมของเชื้อโควิดที่มีจีโนมถึง 30,000 ตำแหน่ง จากฐานข้อมูลรหัสพันธุกรรมของจุลชีพ “GISAID” ทั้งนี้ กระบวนการทำงานของเอไอเพื่อตรวจหาสายพันธุ์ มี 3 ขั้นตอน ดังนี้ ‘Input Data’ นำเข้าข้อมูลสารพันธุกรรมทั้งหมด หรือจีโนมที่ได้ทั้งแบบเดี่ยว หรือแบบหลายจีโนมพร้อมกัน ‘Data processing’ ประมวลผลชุดข้อมูลโดย AI ที่ผ่านการเรียนรู้ชุดข้อมูลเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ‘Output Data’ แสดงผลข้อมูลสารพันธุกรรมในลักษณะของชื่อสายพันธุ์ โดยหากตรวจพบเชื้อกลายพันธุ์จะแสดงผลเป็นสีแดง พร้อมแสดงตำแหน่งกลายพันธุ์ (VOCs) บนจีโนม กรณีที่ตรวจไม่พบเชื้อจะแสดงผลเป็นสีเทา โดยที่ล่าสุดจากความสามารถด้านการตรวจหาสายพันธุ์มิว ได้นั้น เป็นผลจากการได้รับการสนับสนุนชุดข้อมูลรหัสพันธุกรรมกว่า 13,457 ชุดข้อมูล จากคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ที่ได้ทำการศึกษาวิจัยเพื่อเฝ้าระวังการเข้ามาของสายพันธุ์ดังกล่าว เนื่องจากพบข้อมูล ณ วันที่ 6 กันยายน 2564 ว่ามีจำนวนผู้ติดเชื้อโควิดสายพันธุ์มิว ในประเทศโคลัมเบีย สหรัฐอเมริกา และสเปน มากกว่า 6,091 ราย (covSPECTRUM (ethz.ch)) ด้าน ศาสตราจารย์ นายแพทย์ อนันต์ ศรีเกียรติขจร คณบดี คณะแพทยศาสตร์ สจล. และประธานคณะกรรมการบริหารโรงพยาบาลพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร (KMCH) และกล่าวปิดท้ายว่า เทคโนโลยี AI ตรวจโควิดกลายพันธุ์ ผ่าน Cloud Server ในทางการแพทย์และสาธารณสุข นับได้ว่าเป็นหนึ่งในเทคโนโลยีเชิงรุกและเชิงรับ ที่มีส่วนช่วยในการเฝ้าระวังของโควิดพันธุ์ใหม่ในสายพันธุ์ต่าง ๆ ตลอดจนสนับสนุนการทำงานของบุคลากรทางการแพทย์ในการค้นหาผู้ติดเชื้อได้โดยสะดวกและรวดเร็วในอีกรูปแบบหนึ่ง ทั้งนี้ หากไทยสามารถดำเนินการสร้างภูมิคุ้มกันหมู่แก่ประชาชนในประเทศโดยภาพรวมได้ ในสัดส่วนที่มากกว่า 70% ของประชากรทั้งหมด จะเป็นการป้องกันประเทศเข้าสู่โควิดระลอกที่ 5 ได้อย่างแน่นอน ขณะที่การสร้างภูมิคุ้มกันหมู่ของนักศึกษาและบุคลากร ตลอดจนกลุ่มคนที่ทำงานเพื่อสาธารณะในพื้นที่ สจล. และบริเวณใกล้เคียง ภายใต้นโยบายของกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เพื่อเตรียมความพร้อมสถาบันฯ ให้สามารถเปิดทำการเรียนการสอนได้ปกตินั้น สามารถให้บริการวัคซีนโดยภาพรวมได้เป็นจำนวนรวม 67,585 โดส (ข้อมูล ณ วันที่ 23 กันยายน 2564) EZ Webmaster Related Posts “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา อัปสกิลฟรี! เรียนรู้ “AI ใน Canva” กับจุฬาฯ คอร์สออนไลน์ 11 บท ครบจบใน 1 ชั่วโมง Post navigation PREVIOUS Previous post: “สวนสุนันทาพารอด” รับเทมเพลต “Portfolio SSRU limited edition” ฟรี ที่นี่ที่เดียว ยื่นเข้าได้ทุกคณะ ทุกสาขาNEXT Next post: รวมวิชาเฉพาะ ของแต่ละมหาวิทยาลัย มีอะไรบ้าง ใช้เข้าคณะอะไร รอบไหนบ้าง Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI… ทุนดีดี เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster September 27, 2021 EZ Webmaster September 27, 2021 พร้อม! สจล. ขานรับแนวคิด สธ. หนุน “Universal Prevention” ป้องกันติดเชื้อโควิดขั้นสูง รุดเสนอใช้ “Super Computer” ขับเคลื่อนประเทศ-เพิ่มศักยภาพวิจัยไทย พร้อมเปิดตัว “เอไอคัดกรองสายพันธุ์มิว” เทคโนโลยีตั้งรับสุดล้ำ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) ขานรับมาตรการกระทรวงสาธารณสุข “ป้องกันการติดเชื้อโควิดขั้นสูง” (Universal Prevention for COVID-19) หลังพบเชื้อโควิดดื้อภูมิ-กลายพันธุ์ในต่างประเทศ พร้อมเสนอใช้เทคโนโลยีซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super Computer) ของมหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล (CMKL) เป็นกลไกหนึ่งบริหารประเทศในสถานการณ์โควิด ตอกย้ำด้วยผลสำเร็จงานวิจัย “เอไอคัดกรองสายพันธุ์ มิว” (C.1.2) หนุนทีมแพทย์เฝ้าระวังเชื้อประชิดไทย พบประสิทธิภาพตรวจถูกต้องกว่า 99% ใน 30 วินาที โดยเป็นผลมาจากการเรียนรู้เชิงลึกข้อมูลรหัสพันธุกรรม 13,457 ชุดข้อมูล จากคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ทั้งนี้ หน่วยงานภาคการศึกษา องค์กรธุรกิจ ตลอดจนนักวิจัยที่สนใจสามารถติดต่อเพื่อขอใช้ประโยชน์เชิงพื้นที่หรือเทคโนโลยีขั้นสูงของ CMKL สามารถติดต่อได้ที่ โทร. 06-5878-5000 (ในวันและเวลาราชการ) สำหรับกิจกรรมลงนามความร่วมมือทางวิชาการระหว่าง มหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล (CMKL) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (KMITL) และ โรงพยาบาลพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร (KMCH) จัดขึ้นเมื่อเร็ว ๆ นี้ ณ สำนักหอสมุดกลาง สจล. ติดตามความเคลื่อนไหวกิจกรรมของ สจล. ได้ที่ www.facebook.com/kmitlofficial และ www.kmitl.ac.th ศ. ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ อธิการบดี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เปิดเผยว่า แม้นานาประเทศจะมีมาตรการเชิงรุกเพื่อรับมือกับสถานการณ์โควิด-19 แต่ทั้งนี้ในปัจจุบันกลับพบว่า เชื้อโควิดมีความแข็งแรง สามารถหนีภูมิได้มากขึ้น ตลอดจนสามารถกลายพันธุ์ได้ในที่สุด ดังนั้น การมีเทคโนโลยีขั้นสูงอย่าง ‘ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์’ (Super Computer) เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ประสิทธิภาพสูง ทั้งด้านการประมวลผล พื้นที่จัดเก็บข้อมูล สัญญาณอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง การเทรนนิ่งเอไอ (AI Training) ฯลฯ เข้ามาช่วยเหลือในการพัฒนางานวิจัย เช่น เอไอตรวจโควิดกลายพันธุ์ ผ่านคลาวด์ เซิร์ฟเวอร์ (Cloud Server) ที่สามารถคัดกรองสายพันธุ์โควิด พร้อมระบุตำแหน่งที่พบได้อย่างแม่นยำใน 30 วินาที ที่ช่วยลดการใช้สูญเสียเวลาและทรัพยากรของทีมแพทย์ในการวิเคราะห์สายพันธุ์ ฯลฯ ซึ่งจะช่วยให้ไทยมีเทคโนโลยีที่เข้ามาช่วยบริหารจัดการระบบต่าง ๆ ได้อย่างมีเสถียรภาพมากยิ่งขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิด “ป้องกันการติดเชื้อโควิดขั้นสูง” (Universal Prevention for COVID-19) ของกระทรวงสาธารณสุข (สธ.) ทั้งนี้ สจล. มีข้อเสนอแนะว่าหากหน่วยงานภาครัฐ องค์กรภาคเอกชน นำเทคโนโลยีดังกล่าวที่ในปัจจุบันมีใช้แล้วที่ มหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล (CMKL) มหาวิทยาลัยชั้นนำด้าน AI Technology ระดับอาเซียน ภายใต้ความร่วมมือระหว่าง สจล. กับ มหาวิทยาลัยคาร์เนกีเมลลอน (Carnegie Mellon University) สถาบันการศึกษาที่เชี่ยวชาญด้านหลักสูตรวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ชั้นนำของโลก ประเทศสหรัฐอเมริกา ไปใช้ประโยชน์หรือบูรณาการร่วมกับบิ๊กเดต้า (Big Data) ที่เกี่ยวกับของการบริหารสถานการณ์โควิด การบริหารจัดการเพื่อลดการสูญเสียจากการดำเนินธุรกิจ/อุตสาหกรรม ฯลฯ ถือเป็นกระบวนการหนึ่งในการทดสอบเชิงวิจัย/เตรียมพร้อมระบบสาธารณสุข-การแพทย์ไทย ให้สามารถรับมือกับโรคอุบัติใหม่ได้ในอนาคต หรือกระทั่งในภาคธุรกิจจะมีส่วนช่วยลดต้นทุนการผลิต เพิ่มประสิทธิภาพการทำงานและคุณภาพสินค้าอย่างยั่งยืน ล่าสุด สจล. จึงได้ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการกับ มหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล (CMKL) และ โรงพยาบาลพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร (KMCH) เพื่อผลักดันเทคโนโลยี ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ ในการขับเคลื่อนประเทศ เพิ่มประสิทธิภาพในการใช้งานด้าน AI ในการวิจัย เช่น งานวิจัยด้านการแพทย์ ตลอดจนขยายผลวิจัย/นวัตกรรม สู่การผลักดันการใช้เทคโนโลยีขับเคลื่อนภาคธุรกิจและอุตสาหกรรม ตลอดจนยกระดับคุณภาพชีวิตและเศรษฐกิจไทยได้ในอนาคต รศ. ดร.สุพันธุ์ ตั้งจิตกุศลมั่น อธิการบดีมหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล (CMKL) กล่าวต่อว่า Super Computer (Apex) นับเป็นเทคโนโลยีขั้นสูงที่มีส่วนสำคัญ ในการช่วยนักวิจัยพัฒนา “งานวิจัยเชิงปัญญาประดิษฐ์” (Apex-Goliath) หรืองานวิจัยเชิงทดลองที่ช่วยให้นักวิจัยเห็นผลลัพธ์ในระยะสั้น เนื่องจากมีกระบวนการจัดเก็บข้อมูลและคอมพิวเตอร์คลัสเตอร์สำหรับปัญญาประดิษฐ์ ระบบคอมพิวเตอร์สมรรถนะสูง และการประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ เช่น ช่วยให้นักวิจัยสามารถสร้างแบบจำลอง (Render) ขนาดใหญ่ได้ภายในครึ่งชั่วโมง จากปกติที่ต้องใช้เวลานานถึง 720 ชั่วโมง ฯลฯ โดยที่ผ่านมา เทคโนโลยีดังกล่าวได้มีส่วนสำคัญในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้คนและสิ่งแวดล้อมจำนวนมาก อาทิ “AI ตรวจโควิดกลายพันธุ์ ผ่าน Cloud Server” ที่ล่าสุดสามารถตรวจหาโควิดสายพันธุ์ใหม่ที่ค้นพบแล้วในต่างประเทศได้สำเร็จ “AI คัดแยกขวดรีไซเคิล” ผู้ช่วยนักคัดแยกขวดแก้วเพื่อนำไปรีไซเคิล ที่ช่วยประหยัดเวลาในการคัดแยกขยะ พร้อมทั้งลดการเกิด Carbon Footprint ชั้นบรรยากาศ ทั้งนี้ หน่วยงานภาคการศึกษา องค์กรธุรกิจ ตลอดจนนักวิจัยที่สนใจสามารถติดต่อเพื่อขอใช้ประโยชน์เชิงพื้นที่หรือเทคโนโลยีขั้นสูงของ CMKL สามารถติดต่อได้ที่ โทร. 06-5878-5000 (ในวันและเวลาราชการ) รศ. ดร.ศิริเดช บุญแสง คณบดี คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เปิดเผยว่าที่ผ่านมา ทีมวิจัย ได้เปิดตัวผลสำเร็จการพัฒนางานวิจัย “AI ตรวจโควิดกลายพันธุ์ ผ่านคลาวด์ เซิร์ฟเวอร์” (Cloud Server) หรือ “ปัญญาประดิษฐ์ ซีร่า คอร์” (CiRA CORE) ที่ได้รับความร่วมมือทางเทคโนโลยีขั้นสูงอย่าง “เอไอ ซุปเปอร์ คอมพิวเตอร์” (AI Super Computer) เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ประสิทธิภาพสูงโดยเฉพาะเทรนนิ่งเอไอ (AI Training) จากมหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล (CMKL) มหาวิทยาลัยชั้นนำด้านเทคโนโลยีเอไอ (AI Technology) ระดับอาเซียน เป็นผลให้ AI มีความสามารถในการแยกแยะตำแหน่งโควิดกลายพันธุ์ (VOC) และ บ่งชี้เชื้อโควิดกลายพันธุ์ได้หลายสายพันธุ์ได้อย่างถูกต้องถึง 99% ใน 30 วินาที อันเกิดจากกระบวนการเรียนรู้เชิงลึก (Deep Learning) ข้อมูลรหัสพันธุกรรมของเชื้อโควิดที่มีจีโนมถึง 30,000 ตำแหน่ง จากฐานข้อมูลรหัสพันธุกรรมของจุลชีพ “GISAID” ทั้งนี้ กระบวนการทำงานของเอไอเพื่อตรวจหาสายพันธุ์ มี 3 ขั้นตอน ดังนี้ ‘Input Data’ นำเข้าข้อมูลสารพันธุกรรมทั้งหมด หรือจีโนมที่ได้ทั้งแบบเดี่ยว หรือแบบหลายจีโนมพร้อมกัน ‘Data processing’ ประมวลผลชุดข้อมูลโดย AI ที่ผ่านการเรียนรู้ชุดข้อมูลเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ‘Output Data’ แสดงผลข้อมูลสารพันธุกรรมในลักษณะของชื่อสายพันธุ์ โดยหากตรวจพบเชื้อกลายพันธุ์จะแสดงผลเป็นสีแดง พร้อมแสดงตำแหน่งกลายพันธุ์ (VOCs) บนจีโนม กรณีที่ตรวจไม่พบเชื้อจะแสดงผลเป็นสีเทา โดยที่ล่าสุดจากความสามารถด้านการตรวจหาสายพันธุ์มิว ได้นั้น เป็นผลจากการได้รับการสนับสนุนชุดข้อมูลรหัสพันธุกรรมกว่า 13,457 ชุดข้อมูล จากคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ที่ได้ทำการศึกษาวิจัยเพื่อเฝ้าระวังการเข้ามาของสายพันธุ์ดังกล่าว เนื่องจากพบข้อมูล ณ วันที่ 6 กันยายน 2564 ว่ามีจำนวนผู้ติดเชื้อโควิดสายพันธุ์มิว ในประเทศโคลัมเบีย สหรัฐอเมริกา และสเปน มากกว่า 6,091 ราย (covSPECTRUM (ethz.ch)) ด้าน ศาสตราจารย์ นายแพทย์ อนันต์ ศรีเกียรติขจร คณบดี คณะแพทยศาสตร์ สจล. และประธานคณะกรรมการบริหารโรงพยาบาลพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร (KMCH) และกล่าวปิดท้ายว่า เทคโนโลยี AI ตรวจโควิดกลายพันธุ์ ผ่าน Cloud Server ในทางการแพทย์และสาธารณสุข นับได้ว่าเป็นหนึ่งในเทคโนโลยีเชิงรุกและเชิงรับ ที่มีส่วนช่วยในการเฝ้าระวังของโควิดพันธุ์ใหม่ในสายพันธุ์ต่าง ๆ ตลอดจนสนับสนุนการทำงานของบุคลากรทางการแพทย์ในการค้นหาผู้ติดเชื้อได้โดยสะดวกและรวดเร็วในอีกรูปแบบหนึ่ง ทั้งนี้ หากไทยสามารถดำเนินการสร้างภูมิคุ้มกันหมู่แก่ประชาชนในประเทศโดยภาพรวมได้ ในสัดส่วนที่มากกว่า 70% ของประชากรทั้งหมด จะเป็นการป้องกันประเทศเข้าสู่โควิดระลอกที่ 5 ได้อย่างแน่นอน ขณะที่การสร้างภูมิคุ้มกันหมู่ของนักศึกษาและบุคลากร ตลอดจนกลุ่มคนที่ทำงานเพื่อสาธารณะในพื้นที่ สจล. และบริเวณใกล้เคียง ภายใต้นโยบายของกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เพื่อเตรียมความพร้อมสถาบันฯ ให้สามารถเปิดทำการเรียนการสอนได้ปกตินั้น สามารถให้บริการวัคซีนโดยภาพรวมได้เป็นจำนวนรวม 67,585 โดส (ข้อมูล ณ วันที่ 23 กันยายน 2564) EZ Webmaster Related Posts “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา อัปสกิลฟรี! เรียนรู้ “AI ใน Canva” กับจุฬาฯ คอร์สออนไลน์ 11 บท ครบจบใน 1 ชั่วโมง Post navigation PREVIOUS Previous post: “สวนสุนันทาพารอด” รับเทมเพลต “Portfolio SSRU limited edition” ฟรี ที่นี่ที่เดียว ยื่นเข้าได้ทุกคณะ ทุกสาขาNEXT Next post: รวมวิชาเฉพาะ ของแต่ละมหาวิทยาลัย มีอะไรบ้าง ใช้เข้าคณะอะไร รอบไหนบ้าง Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI…
รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI…
เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster September 27, 2021 EZ Webmaster September 27, 2021 พร้อม! สจล. ขานรับแนวคิด สธ. หนุน “Universal Prevention” ป้องกันติดเชื้อโควิดขั้นสูง รุดเสนอใช้ “Super Computer” ขับเคลื่อนประเทศ-เพิ่มศักยภาพวิจัยไทย พร้อมเปิดตัว “เอไอคัดกรองสายพันธุ์มิว” เทคโนโลยีตั้งรับสุดล้ำ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) ขานรับมาตรการกระทรวงสาธารณสุข “ป้องกันการติดเชื้อโควิดขั้นสูง” (Universal Prevention for COVID-19) หลังพบเชื้อโควิดดื้อภูมิ-กลายพันธุ์ในต่างประเทศ พร้อมเสนอใช้เทคโนโลยีซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super Computer) ของมหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล (CMKL) เป็นกลไกหนึ่งบริหารประเทศในสถานการณ์โควิด ตอกย้ำด้วยผลสำเร็จงานวิจัย “เอไอคัดกรองสายพันธุ์ มิว” (C.1.2) หนุนทีมแพทย์เฝ้าระวังเชื้อประชิดไทย พบประสิทธิภาพตรวจถูกต้องกว่า 99% ใน 30 วินาที โดยเป็นผลมาจากการเรียนรู้เชิงลึกข้อมูลรหัสพันธุกรรม 13,457 ชุดข้อมูล จากคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ทั้งนี้ หน่วยงานภาคการศึกษา องค์กรธุรกิจ ตลอดจนนักวิจัยที่สนใจสามารถติดต่อเพื่อขอใช้ประโยชน์เชิงพื้นที่หรือเทคโนโลยีขั้นสูงของ CMKL สามารถติดต่อได้ที่ โทร. 06-5878-5000 (ในวันและเวลาราชการ) สำหรับกิจกรรมลงนามความร่วมมือทางวิชาการระหว่าง มหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล (CMKL) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (KMITL) และ โรงพยาบาลพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร (KMCH) จัดขึ้นเมื่อเร็ว ๆ นี้ ณ สำนักหอสมุดกลาง สจล. ติดตามความเคลื่อนไหวกิจกรรมของ สจล. ได้ที่ www.facebook.com/kmitlofficial และ www.kmitl.ac.th ศ. ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ อธิการบดี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เปิดเผยว่า แม้นานาประเทศจะมีมาตรการเชิงรุกเพื่อรับมือกับสถานการณ์โควิด-19 แต่ทั้งนี้ในปัจจุบันกลับพบว่า เชื้อโควิดมีความแข็งแรง สามารถหนีภูมิได้มากขึ้น ตลอดจนสามารถกลายพันธุ์ได้ในที่สุด ดังนั้น การมีเทคโนโลยีขั้นสูงอย่าง ‘ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์’ (Super Computer) เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ประสิทธิภาพสูง ทั้งด้านการประมวลผล พื้นที่จัดเก็บข้อมูล สัญญาณอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง การเทรนนิ่งเอไอ (AI Training) ฯลฯ เข้ามาช่วยเหลือในการพัฒนางานวิจัย เช่น เอไอตรวจโควิดกลายพันธุ์ ผ่านคลาวด์ เซิร์ฟเวอร์ (Cloud Server) ที่สามารถคัดกรองสายพันธุ์โควิด พร้อมระบุตำแหน่งที่พบได้อย่างแม่นยำใน 30 วินาที ที่ช่วยลดการใช้สูญเสียเวลาและทรัพยากรของทีมแพทย์ในการวิเคราะห์สายพันธุ์ ฯลฯ ซึ่งจะช่วยให้ไทยมีเทคโนโลยีที่เข้ามาช่วยบริหารจัดการระบบต่าง ๆ ได้อย่างมีเสถียรภาพมากยิ่งขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิด “ป้องกันการติดเชื้อโควิดขั้นสูง” (Universal Prevention for COVID-19) ของกระทรวงสาธารณสุข (สธ.) ทั้งนี้ สจล. มีข้อเสนอแนะว่าหากหน่วยงานภาครัฐ องค์กรภาคเอกชน นำเทคโนโลยีดังกล่าวที่ในปัจจุบันมีใช้แล้วที่ มหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล (CMKL) มหาวิทยาลัยชั้นนำด้าน AI Technology ระดับอาเซียน ภายใต้ความร่วมมือระหว่าง สจล. กับ มหาวิทยาลัยคาร์เนกีเมลลอน (Carnegie Mellon University) สถาบันการศึกษาที่เชี่ยวชาญด้านหลักสูตรวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ชั้นนำของโลก ประเทศสหรัฐอเมริกา ไปใช้ประโยชน์หรือบูรณาการร่วมกับบิ๊กเดต้า (Big Data) ที่เกี่ยวกับของการบริหารสถานการณ์โควิด การบริหารจัดการเพื่อลดการสูญเสียจากการดำเนินธุรกิจ/อุตสาหกรรม ฯลฯ ถือเป็นกระบวนการหนึ่งในการทดสอบเชิงวิจัย/เตรียมพร้อมระบบสาธารณสุข-การแพทย์ไทย ให้สามารถรับมือกับโรคอุบัติใหม่ได้ในอนาคต หรือกระทั่งในภาคธุรกิจจะมีส่วนช่วยลดต้นทุนการผลิต เพิ่มประสิทธิภาพการทำงานและคุณภาพสินค้าอย่างยั่งยืน ล่าสุด สจล. จึงได้ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการกับ มหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล (CMKL) และ โรงพยาบาลพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร (KMCH) เพื่อผลักดันเทคโนโลยี ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ ในการขับเคลื่อนประเทศ เพิ่มประสิทธิภาพในการใช้งานด้าน AI ในการวิจัย เช่น งานวิจัยด้านการแพทย์ ตลอดจนขยายผลวิจัย/นวัตกรรม สู่การผลักดันการใช้เทคโนโลยีขับเคลื่อนภาคธุรกิจและอุตสาหกรรม ตลอดจนยกระดับคุณภาพชีวิตและเศรษฐกิจไทยได้ในอนาคต รศ. ดร.สุพันธุ์ ตั้งจิตกุศลมั่น อธิการบดีมหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล (CMKL) กล่าวต่อว่า Super Computer (Apex) นับเป็นเทคโนโลยีขั้นสูงที่มีส่วนสำคัญ ในการช่วยนักวิจัยพัฒนา “งานวิจัยเชิงปัญญาประดิษฐ์” (Apex-Goliath) หรืองานวิจัยเชิงทดลองที่ช่วยให้นักวิจัยเห็นผลลัพธ์ในระยะสั้น เนื่องจากมีกระบวนการจัดเก็บข้อมูลและคอมพิวเตอร์คลัสเตอร์สำหรับปัญญาประดิษฐ์ ระบบคอมพิวเตอร์สมรรถนะสูง และการประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ เช่น ช่วยให้นักวิจัยสามารถสร้างแบบจำลอง (Render) ขนาดใหญ่ได้ภายในครึ่งชั่วโมง จากปกติที่ต้องใช้เวลานานถึง 720 ชั่วโมง ฯลฯ โดยที่ผ่านมา เทคโนโลยีดังกล่าวได้มีส่วนสำคัญในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้คนและสิ่งแวดล้อมจำนวนมาก อาทิ “AI ตรวจโควิดกลายพันธุ์ ผ่าน Cloud Server” ที่ล่าสุดสามารถตรวจหาโควิดสายพันธุ์ใหม่ที่ค้นพบแล้วในต่างประเทศได้สำเร็จ “AI คัดแยกขวดรีไซเคิล” ผู้ช่วยนักคัดแยกขวดแก้วเพื่อนำไปรีไซเคิล ที่ช่วยประหยัดเวลาในการคัดแยกขยะ พร้อมทั้งลดการเกิด Carbon Footprint ชั้นบรรยากาศ ทั้งนี้ หน่วยงานภาคการศึกษา องค์กรธุรกิจ ตลอดจนนักวิจัยที่สนใจสามารถติดต่อเพื่อขอใช้ประโยชน์เชิงพื้นที่หรือเทคโนโลยีขั้นสูงของ CMKL สามารถติดต่อได้ที่ โทร. 06-5878-5000 (ในวันและเวลาราชการ) รศ. ดร.ศิริเดช บุญแสง คณบดี คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เปิดเผยว่าที่ผ่านมา ทีมวิจัย ได้เปิดตัวผลสำเร็จการพัฒนางานวิจัย “AI ตรวจโควิดกลายพันธุ์ ผ่านคลาวด์ เซิร์ฟเวอร์” (Cloud Server) หรือ “ปัญญาประดิษฐ์ ซีร่า คอร์” (CiRA CORE) ที่ได้รับความร่วมมือทางเทคโนโลยีขั้นสูงอย่าง “เอไอ ซุปเปอร์ คอมพิวเตอร์” (AI Super Computer) เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ประสิทธิภาพสูงโดยเฉพาะเทรนนิ่งเอไอ (AI Training) จากมหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล (CMKL) มหาวิทยาลัยชั้นนำด้านเทคโนโลยีเอไอ (AI Technology) ระดับอาเซียน เป็นผลให้ AI มีความสามารถในการแยกแยะตำแหน่งโควิดกลายพันธุ์ (VOC) และ บ่งชี้เชื้อโควิดกลายพันธุ์ได้หลายสายพันธุ์ได้อย่างถูกต้องถึง 99% ใน 30 วินาที อันเกิดจากกระบวนการเรียนรู้เชิงลึก (Deep Learning) ข้อมูลรหัสพันธุกรรมของเชื้อโควิดที่มีจีโนมถึง 30,000 ตำแหน่ง จากฐานข้อมูลรหัสพันธุกรรมของจุลชีพ “GISAID” ทั้งนี้ กระบวนการทำงานของเอไอเพื่อตรวจหาสายพันธุ์ มี 3 ขั้นตอน ดังนี้ ‘Input Data’ นำเข้าข้อมูลสารพันธุกรรมทั้งหมด หรือจีโนมที่ได้ทั้งแบบเดี่ยว หรือแบบหลายจีโนมพร้อมกัน ‘Data processing’ ประมวลผลชุดข้อมูลโดย AI ที่ผ่านการเรียนรู้ชุดข้อมูลเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ‘Output Data’ แสดงผลข้อมูลสารพันธุกรรมในลักษณะของชื่อสายพันธุ์ โดยหากตรวจพบเชื้อกลายพันธุ์จะแสดงผลเป็นสีแดง พร้อมแสดงตำแหน่งกลายพันธุ์ (VOCs) บนจีโนม กรณีที่ตรวจไม่พบเชื้อจะแสดงผลเป็นสีเทา โดยที่ล่าสุดจากความสามารถด้านการตรวจหาสายพันธุ์มิว ได้นั้น เป็นผลจากการได้รับการสนับสนุนชุดข้อมูลรหัสพันธุกรรมกว่า 13,457 ชุดข้อมูล จากคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ที่ได้ทำการศึกษาวิจัยเพื่อเฝ้าระวังการเข้ามาของสายพันธุ์ดังกล่าว เนื่องจากพบข้อมูล ณ วันที่ 6 กันยายน 2564 ว่ามีจำนวนผู้ติดเชื้อโควิดสายพันธุ์มิว ในประเทศโคลัมเบีย สหรัฐอเมริกา และสเปน มากกว่า 6,091 ราย (covSPECTRUM (ethz.ch)) ด้าน ศาสตราจารย์ นายแพทย์ อนันต์ ศรีเกียรติขจร คณบดี คณะแพทยศาสตร์ สจล. และประธานคณะกรรมการบริหารโรงพยาบาลพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร (KMCH) และกล่าวปิดท้ายว่า เทคโนโลยี AI ตรวจโควิดกลายพันธุ์ ผ่าน Cloud Server ในทางการแพทย์และสาธารณสุข นับได้ว่าเป็นหนึ่งในเทคโนโลยีเชิงรุกและเชิงรับ ที่มีส่วนช่วยในการเฝ้าระวังของโควิดพันธุ์ใหม่ในสายพันธุ์ต่าง ๆ ตลอดจนสนับสนุนการทำงานของบุคลากรทางการแพทย์ในการค้นหาผู้ติดเชื้อได้โดยสะดวกและรวดเร็วในอีกรูปแบบหนึ่ง ทั้งนี้ หากไทยสามารถดำเนินการสร้างภูมิคุ้มกันหมู่แก่ประชาชนในประเทศโดยภาพรวมได้ ในสัดส่วนที่มากกว่า 70% ของประชากรทั้งหมด จะเป็นการป้องกันประเทศเข้าสู่โควิดระลอกที่ 5 ได้อย่างแน่นอน ขณะที่การสร้างภูมิคุ้มกันหมู่ของนักศึกษาและบุคลากร ตลอดจนกลุ่มคนที่ทำงานเพื่อสาธารณะในพื้นที่ สจล. และบริเวณใกล้เคียง ภายใต้นโยบายของกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เพื่อเตรียมความพร้อมสถาบันฯ ให้สามารถเปิดทำการเรียนการสอนได้ปกตินั้น สามารถให้บริการวัคซีนโดยภาพรวมได้เป็นจำนวนรวม 67,585 โดส (ข้อมูล ณ วันที่ 23 กันยายน 2564) EZ Webmaster Related Posts “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา อัปสกิลฟรี! เรียนรู้ “AI ใน Canva” กับจุฬาฯ คอร์สออนไลน์ 11 บท ครบจบใน 1 ชั่วโมง Post navigation PREVIOUS Previous post: “สวนสุนันทาพารอด” รับเทมเพลต “Portfolio SSRU limited edition” ฟรี ที่นี่ที่เดียว ยื่นเข้าได้ทุกคณะ ทุกสาขาNEXT Next post: รวมวิชาเฉพาะ ของแต่ละมหาวิทยาลัย มีอะไรบ้าง ใช้เข้าคณะอะไร รอบไหนบ้าง Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster September 27, 2021 EZ Webmaster September 27, 2021 พร้อม! สจล. ขานรับแนวคิด สธ. หนุน “Universal Prevention” ป้องกันติดเชื้อโควิดขั้นสูง รุดเสนอใช้ “Super Computer” ขับเคลื่อนประเทศ-เพิ่มศักยภาพวิจัยไทย พร้อมเปิดตัว “เอไอคัดกรองสายพันธุ์มิว” เทคโนโลยีตั้งรับสุดล้ำ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) ขานรับมาตรการกระทรวงสาธารณสุข “ป้องกันการติดเชื้อโควิดขั้นสูง” (Universal Prevention for COVID-19) หลังพบเชื้อโควิดดื้อภูมิ-กลายพันธุ์ในต่างประเทศ พร้อมเสนอใช้เทคโนโลยีซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super Computer) ของมหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล (CMKL) เป็นกลไกหนึ่งบริหารประเทศในสถานการณ์โควิด ตอกย้ำด้วยผลสำเร็จงานวิจัย “เอไอคัดกรองสายพันธุ์ มิว” (C.1.2) หนุนทีมแพทย์เฝ้าระวังเชื้อประชิดไทย พบประสิทธิภาพตรวจถูกต้องกว่า 99% ใน 30 วินาที โดยเป็นผลมาจากการเรียนรู้เชิงลึกข้อมูลรหัสพันธุกรรม 13,457 ชุดข้อมูล จากคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ทั้งนี้ หน่วยงานภาคการศึกษา องค์กรธุรกิจ ตลอดจนนักวิจัยที่สนใจสามารถติดต่อเพื่อขอใช้ประโยชน์เชิงพื้นที่หรือเทคโนโลยีขั้นสูงของ CMKL สามารถติดต่อได้ที่ โทร. 06-5878-5000 (ในวันและเวลาราชการ) สำหรับกิจกรรมลงนามความร่วมมือทางวิชาการระหว่าง มหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล (CMKL) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (KMITL) และ โรงพยาบาลพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร (KMCH) จัดขึ้นเมื่อเร็ว ๆ นี้ ณ สำนักหอสมุดกลาง สจล. ติดตามความเคลื่อนไหวกิจกรรมของ สจล. ได้ที่ www.facebook.com/kmitlofficial และ www.kmitl.ac.th ศ. ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ อธิการบดี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เปิดเผยว่า แม้นานาประเทศจะมีมาตรการเชิงรุกเพื่อรับมือกับสถานการณ์โควิด-19 แต่ทั้งนี้ในปัจจุบันกลับพบว่า เชื้อโควิดมีความแข็งแรง สามารถหนีภูมิได้มากขึ้น ตลอดจนสามารถกลายพันธุ์ได้ในที่สุด ดังนั้น การมีเทคโนโลยีขั้นสูงอย่าง ‘ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์’ (Super Computer) เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ประสิทธิภาพสูง ทั้งด้านการประมวลผล พื้นที่จัดเก็บข้อมูล สัญญาณอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง การเทรนนิ่งเอไอ (AI Training) ฯลฯ เข้ามาช่วยเหลือในการพัฒนางานวิจัย เช่น เอไอตรวจโควิดกลายพันธุ์ ผ่านคลาวด์ เซิร์ฟเวอร์ (Cloud Server) ที่สามารถคัดกรองสายพันธุ์โควิด พร้อมระบุตำแหน่งที่พบได้อย่างแม่นยำใน 30 วินาที ที่ช่วยลดการใช้สูญเสียเวลาและทรัพยากรของทีมแพทย์ในการวิเคราะห์สายพันธุ์ ฯลฯ ซึ่งจะช่วยให้ไทยมีเทคโนโลยีที่เข้ามาช่วยบริหารจัดการระบบต่าง ๆ ได้อย่างมีเสถียรภาพมากยิ่งขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิด “ป้องกันการติดเชื้อโควิดขั้นสูง” (Universal Prevention for COVID-19) ของกระทรวงสาธารณสุข (สธ.) ทั้งนี้ สจล. มีข้อเสนอแนะว่าหากหน่วยงานภาครัฐ องค์กรภาคเอกชน นำเทคโนโลยีดังกล่าวที่ในปัจจุบันมีใช้แล้วที่ มหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล (CMKL) มหาวิทยาลัยชั้นนำด้าน AI Technology ระดับอาเซียน ภายใต้ความร่วมมือระหว่าง สจล. กับ มหาวิทยาลัยคาร์เนกีเมลลอน (Carnegie Mellon University) สถาบันการศึกษาที่เชี่ยวชาญด้านหลักสูตรวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ชั้นนำของโลก ประเทศสหรัฐอเมริกา ไปใช้ประโยชน์หรือบูรณาการร่วมกับบิ๊กเดต้า (Big Data) ที่เกี่ยวกับของการบริหารสถานการณ์โควิด การบริหารจัดการเพื่อลดการสูญเสียจากการดำเนินธุรกิจ/อุตสาหกรรม ฯลฯ ถือเป็นกระบวนการหนึ่งในการทดสอบเชิงวิจัย/เตรียมพร้อมระบบสาธารณสุข-การแพทย์ไทย ให้สามารถรับมือกับโรคอุบัติใหม่ได้ในอนาคต หรือกระทั่งในภาคธุรกิจจะมีส่วนช่วยลดต้นทุนการผลิต เพิ่มประสิทธิภาพการทำงานและคุณภาพสินค้าอย่างยั่งยืน ล่าสุด สจล. จึงได้ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการกับ มหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล (CMKL) และ โรงพยาบาลพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร (KMCH) เพื่อผลักดันเทคโนโลยี ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ ในการขับเคลื่อนประเทศ เพิ่มประสิทธิภาพในการใช้งานด้าน AI ในการวิจัย เช่น งานวิจัยด้านการแพทย์ ตลอดจนขยายผลวิจัย/นวัตกรรม สู่การผลักดันการใช้เทคโนโลยีขับเคลื่อนภาคธุรกิจและอุตสาหกรรม ตลอดจนยกระดับคุณภาพชีวิตและเศรษฐกิจไทยได้ในอนาคต รศ. ดร.สุพันธุ์ ตั้งจิตกุศลมั่น อธิการบดีมหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล (CMKL) กล่าวต่อว่า Super Computer (Apex) นับเป็นเทคโนโลยีขั้นสูงที่มีส่วนสำคัญ ในการช่วยนักวิจัยพัฒนา “งานวิจัยเชิงปัญญาประดิษฐ์” (Apex-Goliath) หรืองานวิจัยเชิงทดลองที่ช่วยให้นักวิจัยเห็นผลลัพธ์ในระยะสั้น เนื่องจากมีกระบวนการจัดเก็บข้อมูลและคอมพิวเตอร์คลัสเตอร์สำหรับปัญญาประดิษฐ์ ระบบคอมพิวเตอร์สมรรถนะสูง และการประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ เช่น ช่วยให้นักวิจัยสามารถสร้างแบบจำลอง (Render) ขนาดใหญ่ได้ภายในครึ่งชั่วโมง จากปกติที่ต้องใช้เวลานานถึง 720 ชั่วโมง ฯลฯ โดยที่ผ่านมา เทคโนโลยีดังกล่าวได้มีส่วนสำคัญในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้คนและสิ่งแวดล้อมจำนวนมาก อาทิ “AI ตรวจโควิดกลายพันธุ์ ผ่าน Cloud Server” ที่ล่าสุดสามารถตรวจหาโควิดสายพันธุ์ใหม่ที่ค้นพบแล้วในต่างประเทศได้สำเร็จ “AI คัดแยกขวดรีไซเคิล” ผู้ช่วยนักคัดแยกขวดแก้วเพื่อนำไปรีไซเคิล ที่ช่วยประหยัดเวลาในการคัดแยกขยะ พร้อมทั้งลดการเกิด Carbon Footprint ชั้นบรรยากาศ ทั้งนี้ หน่วยงานภาคการศึกษา องค์กรธุรกิจ ตลอดจนนักวิจัยที่สนใจสามารถติดต่อเพื่อขอใช้ประโยชน์เชิงพื้นที่หรือเทคโนโลยีขั้นสูงของ CMKL สามารถติดต่อได้ที่ โทร. 06-5878-5000 (ในวันและเวลาราชการ) รศ. ดร.ศิริเดช บุญแสง คณบดี คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เปิดเผยว่าที่ผ่านมา ทีมวิจัย ได้เปิดตัวผลสำเร็จการพัฒนางานวิจัย “AI ตรวจโควิดกลายพันธุ์ ผ่านคลาวด์ เซิร์ฟเวอร์” (Cloud Server) หรือ “ปัญญาประดิษฐ์ ซีร่า คอร์” (CiRA CORE) ที่ได้รับความร่วมมือทางเทคโนโลยีขั้นสูงอย่าง “เอไอ ซุปเปอร์ คอมพิวเตอร์” (AI Super Computer) เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ประสิทธิภาพสูงโดยเฉพาะเทรนนิ่งเอไอ (AI Training) จากมหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล (CMKL) มหาวิทยาลัยชั้นนำด้านเทคโนโลยีเอไอ (AI Technology) ระดับอาเซียน เป็นผลให้ AI มีความสามารถในการแยกแยะตำแหน่งโควิดกลายพันธุ์ (VOC) และ บ่งชี้เชื้อโควิดกลายพันธุ์ได้หลายสายพันธุ์ได้อย่างถูกต้องถึง 99% ใน 30 วินาที อันเกิดจากกระบวนการเรียนรู้เชิงลึก (Deep Learning) ข้อมูลรหัสพันธุกรรมของเชื้อโควิดที่มีจีโนมถึง 30,000 ตำแหน่ง จากฐานข้อมูลรหัสพันธุกรรมของจุลชีพ “GISAID” ทั้งนี้ กระบวนการทำงานของเอไอเพื่อตรวจหาสายพันธุ์ มี 3 ขั้นตอน ดังนี้ ‘Input Data’ นำเข้าข้อมูลสารพันธุกรรมทั้งหมด หรือจีโนมที่ได้ทั้งแบบเดี่ยว หรือแบบหลายจีโนมพร้อมกัน ‘Data processing’ ประมวลผลชุดข้อมูลโดย AI ที่ผ่านการเรียนรู้ชุดข้อมูลเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ‘Output Data’ แสดงผลข้อมูลสารพันธุกรรมในลักษณะของชื่อสายพันธุ์ โดยหากตรวจพบเชื้อกลายพันธุ์จะแสดงผลเป็นสีแดง พร้อมแสดงตำแหน่งกลายพันธุ์ (VOCs) บนจีโนม กรณีที่ตรวจไม่พบเชื้อจะแสดงผลเป็นสีเทา โดยที่ล่าสุดจากความสามารถด้านการตรวจหาสายพันธุ์มิว ได้นั้น เป็นผลจากการได้รับการสนับสนุนชุดข้อมูลรหัสพันธุกรรมกว่า 13,457 ชุดข้อมูล จากคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ที่ได้ทำการศึกษาวิจัยเพื่อเฝ้าระวังการเข้ามาของสายพันธุ์ดังกล่าว เนื่องจากพบข้อมูล ณ วันที่ 6 กันยายน 2564 ว่ามีจำนวนผู้ติดเชื้อโควิดสายพันธุ์มิว ในประเทศโคลัมเบีย สหรัฐอเมริกา และสเปน มากกว่า 6,091 ราย (covSPECTRUM (ethz.ch)) ด้าน ศาสตราจารย์ นายแพทย์ อนันต์ ศรีเกียรติขจร คณบดี คณะแพทยศาสตร์ สจล. และประธานคณะกรรมการบริหารโรงพยาบาลพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร (KMCH) และกล่าวปิดท้ายว่า เทคโนโลยี AI ตรวจโควิดกลายพันธุ์ ผ่าน Cloud Server ในทางการแพทย์และสาธารณสุข นับได้ว่าเป็นหนึ่งในเทคโนโลยีเชิงรุกและเชิงรับ ที่มีส่วนช่วยในการเฝ้าระวังของโควิดพันธุ์ใหม่ในสายพันธุ์ต่าง ๆ ตลอดจนสนับสนุนการทำงานของบุคลากรทางการแพทย์ในการค้นหาผู้ติดเชื้อได้โดยสะดวกและรวดเร็วในอีกรูปแบบหนึ่ง ทั้งนี้ หากไทยสามารถดำเนินการสร้างภูมิคุ้มกันหมู่แก่ประชาชนในประเทศโดยภาพรวมได้ ในสัดส่วนที่มากกว่า 70% ของประชากรทั้งหมด จะเป็นการป้องกันประเทศเข้าสู่โควิดระลอกที่ 5 ได้อย่างแน่นอน ขณะที่การสร้างภูมิคุ้มกันหมู่ของนักศึกษาและบุคลากร ตลอดจนกลุ่มคนที่ทำงานเพื่อสาธารณะในพื้นที่ สจล. และบริเวณใกล้เคียง ภายใต้นโยบายของกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เพื่อเตรียมความพร้อมสถาบันฯ ให้สามารถเปิดทำการเรียนการสอนได้ปกตินั้น สามารถให้บริการวัคซีนโดยภาพรวมได้เป็นจำนวนรวม 67,585 โดส (ข้อมูล ณ วันที่ 23 กันยายน 2564) EZ Webmaster Related Posts “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา อัปสกิลฟรี! เรียนรู้ “AI ใน Canva” กับจุฬาฯ คอร์สออนไลน์ 11 บท ครบจบใน 1 ชั่วโมง Post navigation PREVIOUS Previous post: “สวนสุนันทาพารอด” รับเทมเพลต “Portfolio SSRU limited edition” ฟรี ที่นี่ที่เดียว ยื่นเข้าได้ทุกคณะ ทุกสาขาNEXT Next post: รวมวิชาเฉพาะ ของแต่ละมหาวิทยาลัย มีอะไรบ้าง ใช้เข้าคณะอะไร รอบไหนบ้าง Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ…
เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ…
คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster September 27, 2021 EZ Webmaster September 27, 2021 พร้อม! สจล. ขานรับแนวคิด สธ. หนุน “Universal Prevention” ป้องกันติดเชื้อโควิดขั้นสูง รุดเสนอใช้ “Super Computer” ขับเคลื่อนประเทศ-เพิ่มศักยภาพวิจัยไทย พร้อมเปิดตัว “เอไอคัดกรองสายพันธุ์มิว” เทคโนโลยีตั้งรับสุดล้ำ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) ขานรับมาตรการกระทรวงสาธารณสุข “ป้องกันการติดเชื้อโควิดขั้นสูง” (Universal Prevention for COVID-19) หลังพบเชื้อโควิดดื้อภูมิ-กลายพันธุ์ในต่างประเทศ พร้อมเสนอใช้เทคโนโลยีซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super Computer) ของมหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล (CMKL) เป็นกลไกหนึ่งบริหารประเทศในสถานการณ์โควิด ตอกย้ำด้วยผลสำเร็จงานวิจัย “เอไอคัดกรองสายพันธุ์ มิว” (C.1.2) หนุนทีมแพทย์เฝ้าระวังเชื้อประชิดไทย พบประสิทธิภาพตรวจถูกต้องกว่า 99% ใน 30 วินาที โดยเป็นผลมาจากการเรียนรู้เชิงลึกข้อมูลรหัสพันธุกรรม 13,457 ชุดข้อมูล จากคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ทั้งนี้ หน่วยงานภาคการศึกษา องค์กรธุรกิจ ตลอดจนนักวิจัยที่สนใจสามารถติดต่อเพื่อขอใช้ประโยชน์เชิงพื้นที่หรือเทคโนโลยีขั้นสูงของ CMKL สามารถติดต่อได้ที่ โทร. 06-5878-5000 (ในวันและเวลาราชการ) สำหรับกิจกรรมลงนามความร่วมมือทางวิชาการระหว่าง มหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล (CMKL) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (KMITL) และ โรงพยาบาลพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร (KMCH) จัดขึ้นเมื่อเร็ว ๆ นี้ ณ สำนักหอสมุดกลาง สจล. ติดตามความเคลื่อนไหวกิจกรรมของ สจล. ได้ที่ www.facebook.com/kmitlofficial และ www.kmitl.ac.th ศ. ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ อธิการบดี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เปิดเผยว่า แม้นานาประเทศจะมีมาตรการเชิงรุกเพื่อรับมือกับสถานการณ์โควิด-19 แต่ทั้งนี้ในปัจจุบันกลับพบว่า เชื้อโควิดมีความแข็งแรง สามารถหนีภูมิได้มากขึ้น ตลอดจนสามารถกลายพันธุ์ได้ในที่สุด ดังนั้น การมีเทคโนโลยีขั้นสูงอย่าง ‘ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์’ (Super Computer) เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ประสิทธิภาพสูง ทั้งด้านการประมวลผล พื้นที่จัดเก็บข้อมูล สัญญาณอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง การเทรนนิ่งเอไอ (AI Training) ฯลฯ เข้ามาช่วยเหลือในการพัฒนางานวิจัย เช่น เอไอตรวจโควิดกลายพันธุ์ ผ่านคลาวด์ เซิร์ฟเวอร์ (Cloud Server) ที่สามารถคัดกรองสายพันธุ์โควิด พร้อมระบุตำแหน่งที่พบได้อย่างแม่นยำใน 30 วินาที ที่ช่วยลดการใช้สูญเสียเวลาและทรัพยากรของทีมแพทย์ในการวิเคราะห์สายพันธุ์ ฯลฯ ซึ่งจะช่วยให้ไทยมีเทคโนโลยีที่เข้ามาช่วยบริหารจัดการระบบต่าง ๆ ได้อย่างมีเสถียรภาพมากยิ่งขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิด “ป้องกันการติดเชื้อโควิดขั้นสูง” (Universal Prevention for COVID-19) ของกระทรวงสาธารณสุข (สธ.) ทั้งนี้ สจล. มีข้อเสนอแนะว่าหากหน่วยงานภาครัฐ องค์กรภาคเอกชน นำเทคโนโลยีดังกล่าวที่ในปัจจุบันมีใช้แล้วที่ มหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล (CMKL) มหาวิทยาลัยชั้นนำด้าน AI Technology ระดับอาเซียน ภายใต้ความร่วมมือระหว่าง สจล. กับ มหาวิทยาลัยคาร์เนกีเมลลอน (Carnegie Mellon University) สถาบันการศึกษาที่เชี่ยวชาญด้านหลักสูตรวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ชั้นนำของโลก ประเทศสหรัฐอเมริกา ไปใช้ประโยชน์หรือบูรณาการร่วมกับบิ๊กเดต้า (Big Data) ที่เกี่ยวกับของการบริหารสถานการณ์โควิด การบริหารจัดการเพื่อลดการสูญเสียจากการดำเนินธุรกิจ/อุตสาหกรรม ฯลฯ ถือเป็นกระบวนการหนึ่งในการทดสอบเชิงวิจัย/เตรียมพร้อมระบบสาธารณสุข-การแพทย์ไทย ให้สามารถรับมือกับโรคอุบัติใหม่ได้ในอนาคต หรือกระทั่งในภาคธุรกิจจะมีส่วนช่วยลดต้นทุนการผลิต เพิ่มประสิทธิภาพการทำงานและคุณภาพสินค้าอย่างยั่งยืน ล่าสุด สจล. จึงได้ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการกับ มหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล (CMKL) และ โรงพยาบาลพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร (KMCH) เพื่อผลักดันเทคโนโลยี ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ ในการขับเคลื่อนประเทศ เพิ่มประสิทธิภาพในการใช้งานด้าน AI ในการวิจัย เช่น งานวิจัยด้านการแพทย์ ตลอดจนขยายผลวิจัย/นวัตกรรม สู่การผลักดันการใช้เทคโนโลยีขับเคลื่อนภาคธุรกิจและอุตสาหกรรม ตลอดจนยกระดับคุณภาพชีวิตและเศรษฐกิจไทยได้ในอนาคต รศ. ดร.สุพันธุ์ ตั้งจิตกุศลมั่น อธิการบดีมหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล (CMKL) กล่าวต่อว่า Super Computer (Apex) นับเป็นเทคโนโลยีขั้นสูงที่มีส่วนสำคัญ ในการช่วยนักวิจัยพัฒนา “งานวิจัยเชิงปัญญาประดิษฐ์” (Apex-Goliath) หรืองานวิจัยเชิงทดลองที่ช่วยให้นักวิจัยเห็นผลลัพธ์ในระยะสั้น เนื่องจากมีกระบวนการจัดเก็บข้อมูลและคอมพิวเตอร์คลัสเตอร์สำหรับปัญญาประดิษฐ์ ระบบคอมพิวเตอร์สมรรถนะสูง และการประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ เช่น ช่วยให้นักวิจัยสามารถสร้างแบบจำลอง (Render) ขนาดใหญ่ได้ภายในครึ่งชั่วโมง จากปกติที่ต้องใช้เวลานานถึง 720 ชั่วโมง ฯลฯ โดยที่ผ่านมา เทคโนโลยีดังกล่าวได้มีส่วนสำคัญในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้คนและสิ่งแวดล้อมจำนวนมาก อาทิ “AI ตรวจโควิดกลายพันธุ์ ผ่าน Cloud Server” ที่ล่าสุดสามารถตรวจหาโควิดสายพันธุ์ใหม่ที่ค้นพบแล้วในต่างประเทศได้สำเร็จ “AI คัดแยกขวดรีไซเคิล” ผู้ช่วยนักคัดแยกขวดแก้วเพื่อนำไปรีไซเคิล ที่ช่วยประหยัดเวลาในการคัดแยกขยะ พร้อมทั้งลดการเกิด Carbon Footprint ชั้นบรรยากาศ ทั้งนี้ หน่วยงานภาคการศึกษา องค์กรธุรกิจ ตลอดจนนักวิจัยที่สนใจสามารถติดต่อเพื่อขอใช้ประโยชน์เชิงพื้นที่หรือเทคโนโลยีขั้นสูงของ CMKL สามารถติดต่อได้ที่ โทร. 06-5878-5000 (ในวันและเวลาราชการ) รศ. ดร.ศิริเดช บุญแสง คณบดี คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เปิดเผยว่าที่ผ่านมา ทีมวิจัย ได้เปิดตัวผลสำเร็จการพัฒนางานวิจัย “AI ตรวจโควิดกลายพันธุ์ ผ่านคลาวด์ เซิร์ฟเวอร์” (Cloud Server) หรือ “ปัญญาประดิษฐ์ ซีร่า คอร์” (CiRA CORE) ที่ได้รับความร่วมมือทางเทคโนโลยีขั้นสูงอย่าง “เอไอ ซุปเปอร์ คอมพิวเตอร์” (AI Super Computer) เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ประสิทธิภาพสูงโดยเฉพาะเทรนนิ่งเอไอ (AI Training) จากมหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล (CMKL) มหาวิทยาลัยชั้นนำด้านเทคโนโลยีเอไอ (AI Technology) ระดับอาเซียน เป็นผลให้ AI มีความสามารถในการแยกแยะตำแหน่งโควิดกลายพันธุ์ (VOC) และ บ่งชี้เชื้อโควิดกลายพันธุ์ได้หลายสายพันธุ์ได้อย่างถูกต้องถึง 99% ใน 30 วินาที อันเกิดจากกระบวนการเรียนรู้เชิงลึก (Deep Learning) ข้อมูลรหัสพันธุกรรมของเชื้อโควิดที่มีจีโนมถึง 30,000 ตำแหน่ง จากฐานข้อมูลรหัสพันธุกรรมของจุลชีพ “GISAID” ทั้งนี้ กระบวนการทำงานของเอไอเพื่อตรวจหาสายพันธุ์ มี 3 ขั้นตอน ดังนี้ ‘Input Data’ นำเข้าข้อมูลสารพันธุกรรมทั้งหมด หรือจีโนมที่ได้ทั้งแบบเดี่ยว หรือแบบหลายจีโนมพร้อมกัน ‘Data processing’ ประมวลผลชุดข้อมูลโดย AI ที่ผ่านการเรียนรู้ชุดข้อมูลเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ‘Output Data’ แสดงผลข้อมูลสารพันธุกรรมในลักษณะของชื่อสายพันธุ์ โดยหากตรวจพบเชื้อกลายพันธุ์จะแสดงผลเป็นสีแดง พร้อมแสดงตำแหน่งกลายพันธุ์ (VOCs) บนจีโนม กรณีที่ตรวจไม่พบเชื้อจะแสดงผลเป็นสีเทา โดยที่ล่าสุดจากความสามารถด้านการตรวจหาสายพันธุ์มิว ได้นั้น เป็นผลจากการได้รับการสนับสนุนชุดข้อมูลรหัสพันธุกรรมกว่า 13,457 ชุดข้อมูล จากคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ที่ได้ทำการศึกษาวิจัยเพื่อเฝ้าระวังการเข้ามาของสายพันธุ์ดังกล่าว เนื่องจากพบข้อมูล ณ วันที่ 6 กันยายน 2564 ว่ามีจำนวนผู้ติดเชื้อโควิดสายพันธุ์มิว ในประเทศโคลัมเบีย สหรัฐอเมริกา และสเปน มากกว่า 6,091 ราย (covSPECTRUM (ethz.ch)) ด้าน ศาสตราจารย์ นายแพทย์ อนันต์ ศรีเกียรติขจร คณบดี คณะแพทยศาสตร์ สจล. และประธานคณะกรรมการบริหารโรงพยาบาลพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร (KMCH) และกล่าวปิดท้ายว่า เทคโนโลยี AI ตรวจโควิดกลายพันธุ์ ผ่าน Cloud Server ในทางการแพทย์และสาธารณสุข นับได้ว่าเป็นหนึ่งในเทคโนโลยีเชิงรุกและเชิงรับ ที่มีส่วนช่วยในการเฝ้าระวังของโควิดพันธุ์ใหม่ในสายพันธุ์ต่าง ๆ ตลอดจนสนับสนุนการทำงานของบุคลากรทางการแพทย์ในการค้นหาผู้ติดเชื้อได้โดยสะดวกและรวดเร็วในอีกรูปแบบหนึ่ง ทั้งนี้ หากไทยสามารถดำเนินการสร้างภูมิคุ้มกันหมู่แก่ประชาชนในประเทศโดยภาพรวมได้ ในสัดส่วนที่มากกว่า 70% ของประชากรทั้งหมด จะเป็นการป้องกันประเทศเข้าสู่โควิดระลอกที่ 5 ได้อย่างแน่นอน ขณะที่การสร้างภูมิคุ้มกันหมู่ของนักศึกษาและบุคลากร ตลอดจนกลุ่มคนที่ทำงานเพื่อสาธารณะในพื้นที่ สจล. และบริเวณใกล้เคียง ภายใต้นโยบายของกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เพื่อเตรียมความพร้อมสถาบันฯ ให้สามารถเปิดทำการเรียนการสอนได้ปกตินั้น สามารถให้บริการวัคซีนโดยภาพรวมได้เป็นจำนวนรวม 67,585 โดส (ข้อมูล ณ วันที่ 23 กันยายน 2564) EZ Webmaster Related Posts “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา อัปสกิลฟรี! เรียนรู้ “AI ใน Canva” กับจุฬาฯ คอร์สออนไลน์ 11 บท ครบจบใน 1 ชั่วโมง Post navigation PREVIOUS Previous post: “สวนสุนันทาพารอด” รับเทมเพลต “Portfolio SSRU limited edition” ฟรี ที่นี่ที่เดียว ยื่นเข้าได้ทุกคณะ ทุกสาขาNEXT Next post: รวมวิชาเฉพาะ ของแต่ละมหาวิทยาลัย มีอะไรบ้าง ใช้เข้าคณะอะไร รอบไหนบ้าง Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster September 27, 2021 EZ Webmaster September 27, 2021 พร้อม! สจล. ขานรับแนวคิด สธ. หนุน “Universal Prevention” ป้องกันติดเชื้อโควิดขั้นสูง รุดเสนอใช้ “Super Computer” ขับเคลื่อนประเทศ-เพิ่มศักยภาพวิจัยไทย พร้อมเปิดตัว “เอไอคัดกรองสายพันธุ์มิว” เทคโนโลยีตั้งรับสุดล้ำ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) ขานรับมาตรการกระทรวงสาธารณสุข “ป้องกันการติดเชื้อโควิดขั้นสูง” (Universal Prevention for COVID-19) หลังพบเชื้อโควิดดื้อภูมิ-กลายพันธุ์ในต่างประเทศ พร้อมเสนอใช้เทคโนโลยีซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super Computer) ของมหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล (CMKL) เป็นกลไกหนึ่งบริหารประเทศในสถานการณ์โควิด ตอกย้ำด้วยผลสำเร็จงานวิจัย “เอไอคัดกรองสายพันธุ์ มิว” (C.1.2) หนุนทีมแพทย์เฝ้าระวังเชื้อประชิดไทย พบประสิทธิภาพตรวจถูกต้องกว่า 99% ใน 30 วินาที โดยเป็นผลมาจากการเรียนรู้เชิงลึกข้อมูลรหัสพันธุกรรม 13,457 ชุดข้อมูล จากคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ทั้งนี้ หน่วยงานภาคการศึกษา องค์กรธุรกิจ ตลอดจนนักวิจัยที่สนใจสามารถติดต่อเพื่อขอใช้ประโยชน์เชิงพื้นที่หรือเทคโนโลยีขั้นสูงของ CMKL สามารถติดต่อได้ที่ โทร. 06-5878-5000 (ในวันและเวลาราชการ) สำหรับกิจกรรมลงนามความร่วมมือทางวิชาการระหว่าง มหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล (CMKL) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (KMITL) และ โรงพยาบาลพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร (KMCH) จัดขึ้นเมื่อเร็ว ๆ นี้ ณ สำนักหอสมุดกลาง สจล. ติดตามความเคลื่อนไหวกิจกรรมของ สจล. ได้ที่ www.facebook.com/kmitlofficial และ www.kmitl.ac.th ศ. ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ อธิการบดี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เปิดเผยว่า แม้นานาประเทศจะมีมาตรการเชิงรุกเพื่อรับมือกับสถานการณ์โควิด-19 แต่ทั้งนี้ในปัจจุบันกลับพบว่า เชื้อโควิดมีความแข็งแรง สามารถหนีภูมิได้มากขึ้น ตลอดจนสามารถกลายพันธุ์ได้ในที่สุด ดังนั้น การมีเทคโนโลยีขั้นสูงอย่าง ‘ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์’ (Super Computer) เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ประสิทธิภาพสูง ทั้งด้านการประมวลผล พื้นที่จัดเก็บข้อมูล สัญญาณอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง การเทรนนิ่งเอไอ (AI Training) ฯลฯ เข้ามาช่วยเหลือในการพัฒนางานวิจัย เช่น เอไอตรวจโควิดกลายพันธุ์ ผ่านคลาวด์ เซิร์ฟเวอร์ (Cloud Server) ที่สามารถคัดกรองสายพันธุ์โควิด พร้อมระบุตำแหน่งที่พบได้อย่างแม่นยำใน 30 วินาที ที่ช่วยลดการใช้สูญเสียเวลาและทรัพยากรของทีมแพทย์ในการวิเคราะห์สายพันธุ์ ฯลฯ ซึ่งจะช่วยให้ไทยมีเทคโนโลยีที่เข้ามาช่วยบริหารจัดการระบบต่าง ๆ ได้อย่างมีเสถียรภาพมากยิ่งขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิด “ป้องกันการติดเชื้อโควิดขั้นสูง” (Universal Prevention for COVID-19) ของกระทรวงสาธารณสุข (สธ.) ทั้งนี้ สจล. มีข้อเสนอแนะว่าหากหน่วยงานภาครัฐ องค์กรภาคเอกชน นำเทคโนโลยีดังกล่าวที่ในปัจจุบันมีใช้แล้วที่ มหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล (CMKL) มหาวิทยาลัยชั้นนำด้าน AI Technology ระดับอาเซียน ภายใต้ความร่วมมือระหว่าง สจล. กับ มหาวิทยาลัยคาร์เนกีเมลลอน (Carnegie Mellon University) สถาบันการศึกษาที่เชี่ยวชาญด้านหลักสูตรวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ชั้นนำของโลก ประเทศสหรัฐอเมริกา ไปใช้ประโยชน์หรือบูรณาการร่วมกับบิ๊กเดต้า (Big Data) ที่เกี่ยวกับของการบริหารสถานการณ์โควิด การบริหารจัดการเพื่อลดการสูญเสียจากการดำเนินธุรกิจ/อุตสาหกรรม ฯลฯ ถือเป็นกระบวนการหนึ่งในการทดสอบเชิงวิจัย/เตรียมพร้อมระบบสาธารณสุข-การแพทย์ไทย ให้สามารถรับมือกับโรคอุบัติใหม่ได้ในอนาคต หรือกระทั่งในภาคธุรกิจจะมีส่วนช่วยลดต้นทุนการผลิต เพิ่มประสิทธิภาพการทำงานและคุณภาพสินค้าอย่างยั่งยืน ล่าสุด สจล. จึงได้ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการกับ มหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล (CMKL) และ โรงพยาบาลพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร (KMCH) เพื่อผลักดันเทคโนโลยี ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ ในการขับเคลื่อนประเทศ เพิ่มประสิทธิภาพในการใช้งานด้าน AI ในการวิจัย เช่น งานวิจัยด้านการแพทย์ ตลอดจนขยายผลวิจัย/นวัตกรรม สู่การผลักดันการใช้เทคโนโลยีขับเคลื่อนภาคธุรกิจและอุตสาหกรรม ตลอดจนยกระดับคุณภาพชีวิตและเศรษฐกิจไทยได้ในอนาคต รศ. ดร.สุพันธุ์ ตั้งจิตกุศลมั่น อธิการบดีมหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล (CMKL) กล่าวต่อว่า Super Computer (Apex) นับเป็นเทคโนโลยีขั้นสูงที่มีส่วนสำคัญ ในการช่วยนักวิจัยพัฒนา “งานวิจัยเชิงปัญญาประดิษฐ์” (Apex-Goliath) หรืองานวิจัยเชิงทดลองที่ช่วยให้นักวิจัยเห็นผลลัพธ์ในระยะสั้น เนื่องจากมีกระบวนการจัดเก็บข้อมูลและคอมพิวเตอร์คลัสเตอร์สำหรับปัญญาประดิษฐ์ ระบบคอมพิวเตอร์สมรรถนะสูง และการประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ เช่น ช่วยให้นักวิจัยสามารถสร้างแบบจำลอง (Render) ขนาดใหญ่ได้ภายในครึ่งชั่วโมง จากปกติที่ต้องใช้เวลานานถึง 720 ชั่วโมง ฯลฯ โดยที่ผ่านมา เทคโนโลยีดังกล่าวได้มีส่วนสำคัญในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้คนและสิ่งแวดล้อมจำนวนมาก อาทิ “AI ตรวจโควิดกลายพันธุ์ ผ่าน Cloud Server” ที่ล่าสุดสามารถตรวจหาโควิดสายพันธุ์ใหม่ที่ค้นพบแล้วในต่างประเทศได้สำเร็จ “AI คัดแยกขวดรีไซเคิล” ผู้ช่วยนักคัดแยกขวดแก้วเพื่อนำไปรีไซเคิล ที่ช่วยประหยัดเวลาในการคัดแยกขยะ พร้อมทั้งลดการเกิด Carbon Footprint ชั้นบรรยากาศ ทั้งนี้ หน่วยงานภาคการศึกษา องค์กรธุรกิจ ตลอดจนนักวิจัยที่สนใจสามารถติดต่อเพื่อขอใช้ประโยชน์เชิงพื้นที่หรือเทคโนโลยีขั้นสูงของ CMKL สามารถติดต่อได้ที่ โทร. 06-5878-5000 (ในวันและเวลาราชการ) รศ. ดร.ศิริเดช บุญแสง คณบดี คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เปิดเผยว่าที่ผ่านมา ทีมวิจัย ได้เปิดตัวผลสำเร็จการพัฒนางานวิจัย “AI ตรวจโควิดกลายพันธุ์ ผ่านคลาวด์ เซิร์ฟเวอร์” (Cloud Server) หรือ “ปัญญาประดิษฐ์ ซีร่า คอร์” (CiRA CORE) ที่ได้รับความร่วมมือทางเทคโนโลยีขั้นสูงอย่าง “เอไอ ซุปเปอร์ คอมพิวเตอร์” (AI Super Computer) เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ประสิทธิภาพสูงโดยเฉพาะเทรนนิ่งเอไอ (AI Training) จากมหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล (CMKL) มหาวิทยาลัยชั้นนำด้านเทคโนโลยีเอไอ (AI Technology) ระดับอาเซียน เป็นผลให้ AI มีความสามารถในการแยกแยะตำแหน่งโควิดกลายพันธุ์ (VOC) และ บ่งชี้เชื้อโควิดกลายพันธุ์ได้หลายสายพันธุ์ได้อย่างถูกต้องถึง 99% ใน 30 วินาที อันเกิดจากกระบวนการเรียนรู้เชิงลึก (Deep Learning) ข้อมูลรหัสพันธุกรรมของเชื้อโควิดที่มีจีโนมถึง 30,000 ตำแหน่ง จากฐานข้อมูลรหัสพันธุกรรมของจุลชีพ “GISAID” ทั้งนี้ กระบวนการทำงานของเอไอเพื่อตรวจหาสายพันธุ์ มี 3 ขั้นตอน ดังนี้ ‘Input Data’ นำเข้าข้อมูลสารพันธุกรรมทั้งหมด หรือจีโนมที่ได้ทั้งแบบเดี่ยว หรือแบบหลายจีโนมพร้อมกัน ‘Data processing’ ประมวลผลชุดข้อมูลโดย AI ที่ผ่านการเรียนรู้ชุดข้อมูลเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ‘Output Data’ แสดงผลข้อมูลสารพันธุกรรมในลักษณะของชื่อสายพันธุ์ โดยหากตรวจพบเชื้อกลายพันธุ์จะแสดงผลเป็นสีแดง พร้อมแสดงตำแหน่งกลายพันธุ์ (VOCs) บนจีโนม กรณีที่ตรวจไม่พบเชื้อจะแสดงผลเป็นสีเทา โดยที่ล่าสุดจากความสามารถด้านการตรวจหาสายพันธุ์มิว ได้นั้น เป็นผลจากการได้รับการสนับสนุนชุดข้อมูลรหัสพันธุกรรมกว่า 13,457 ชุดข้อมูล จากคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ที่ได้ทำการศึกษาวิจัยเพื่อเฝ้าระวังการเข้ามาของสายพันธุ์ดังกล่าว เนื่องจากพบข้อมูล ณ วันที่ 6 กันยายน 2564 ว่ามีจำนวนผู้ติดเชื้อโควิดสายพันธุ์มิว ในประเทศโคลัมเบีย สหรัฐอเมริกา และสเปน มากกว่า 6,091 ราย (covSPECTRUM (ethz.ch)) ด้าน ศาสตราจารย์ นายแพทย์ อนันต์ ศรีเกียรติขจร คณบดี คณะแพทยศาสตร์ สจล. และประธานคณะกรรมการบริหารโรงพยาบาลพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร (KMCH) และกล่าวปิดท้ายว่า เทคโนโลยี AI ตรวจโควิดกลายพันธุ์ ผ่าน Cloud Server ในทางการแพทย์และสาธารณสุข นับได้ว่าเป็นหนึ่งในเทคโนโลยีเชิงรุกและเชิงรับ ที่มีส่วนช่วยในการเฝ้าระวังของโควิดพันธุ์ใหม่ในสายพันธุ์ต่าง ๆ ตลอดจนสนับสนุนการทำงานของบุคลากรทางการแพทย์ในการค้นหาผู้ติดเชื้อได้โดยสะดวกและรวดเร็วในอีกรูปแบบหนึ่ง ทั้งนี้ หากไทยสามารถดำเนินการสร้างภูมิคุ้มกันหมู่แก่ประชาชนในประเทศโดยภาพรวมได้ ในสัดส่วนที่มากกว่า 70% ของประชากรทั้งหมด จะเป็นการป้องกันประเทศเข้าสู่โควิดระลอกที่ 5 ได้อย่างแน่นอน ขณะที่การสร้างภูมิคุ้มกันหมู่ของนักศึกษาและบุคลากร ตลอดจนกลุ่มคนที่ทำงานเพื่อสาธารณะในพื้นที่ สจล. และบริเวณใกล้เคียง ภายใต้นโยบายของกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เพื่อเตรียมความพร้อมสถาบันฯ ให้สามารถเปิดทำการเรียนการสอนได้ปกตินั้น สามารถให้บริการวัคซีนโดยภาพรวมได้เป็นจำนวนรวม 67,585 โดส (ข้อมูล ณ วันที่ 23 กันยายน 2564) EZ Webmaster Related Posts “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา อัปสกิลฟรี! เรียนรู้ “AI ใน Canva” กับจุฬาฯ คอร์สออนไลน์ 11 บท ครบจบใน 1 ชั่วโมง Post navigation PREVIOUS Previous post: “สวนสุนันทาพารอด” รับเทมเพลต “Portfolio SSRU limited edition” ฟรี ที่นี่ที่เดียว ยื่นเข้าได้ทุกคณะ ทุกสาขาNEXT Next post: รวมวิชาเฉพาะ ของแต่ละมหาวิทยาลัย มีอะไรบ้าง ใช้เข้าคณะอะไร รอบไหนบ้าง Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief…
เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief…
“40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster September 27, 2021 EZ Webmaster September 27, 2021 พร้อม! สจล. ขานรับแนวคิด สธ. หนุน “Universal Prevention” ป้องกันติดเชื้อโควิดขั้นสูง รุดเสนอใช้ “Super Computer” ขับเคลื่อนประเทศ-เพิ่มศักยภาพวิจัยไทย พร้อมเปิดตัว “เอไอคัดกรองสายพันธุ์มิว” เทคโนโลยีตั้งรับสุดล้ำ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) ขานรับมาตรการกระทรวงสาธารณสุข “ป้องกันการติดเชื้อโควิดขั้นสูง” (Universal Prevention for COVID-19) หลังพบเชื้อโควิดดื้อภูมิ-กลายพันธุ์ในต่างประเทศ พร้อมเสนอใช้เทคโนโลยีซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super Computer) ของมหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล (CMKL) เป็นกลไกหนึ่งบริหารประเทศในสถานการณ์โควิด ตอกย้ำด้วยผลสำเร็จงานวิจัย “เอไอคัดกรองสายพันธุ์ มิว” (C.1.2) หนุนทีมแพทย์เฝ้าระวังเชื้อประชิดไทย พบประสิทธิภาพตรวจถูกต้องกว่า 99% ใน 30 วินาที โดยเป็นผลมาจากการเรียนรู้เชิงลึกข้อมูลรหัสพันธุกรรม 13,457 ชุดข้อมูล จากคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ทั้งนี้ หน่วยงานภาคการศึกษา องค์กรธุรกิจ ตลอดจนนักวิจัยที่สนใจสามารถติดต่อเพื่อขอใช้ประโยชน์เชิงพื้นที่หรือเทคโนโลยีขั้นสูงของ CMKL สามารถติดต่อได้ที่ โทร. 06-5878-5000 (ในวันและเวลาราชการ) สำหรับกิจกรรมลงนามความร่วมมือทางวิชาการระหว่าง มหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล (CMKL) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (KMITL) และ โรงพยาบาลพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร (KMCH) จัดขึ้นเมื่อเร็ว ๆ นี้ ณ สำนักหอสมุดกลาง สจล. ติดตามความเคลื่อนไหวกิจกรรมของ สจล. ได้ที่ www.facebook.com/kmitlofficial และ www.kmitl.ac.th ศ. ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ อธิการบดี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เปิดเผยว่า แม้นานาประเทศจะมีมาตรการเชิงรุกเพื่อรับมือกับสถานการณ์โควิด-19 แต่ทั้งนี้ในปัจจุบันกลับพบว่า เชื้อโควิดมีความแข็งแรง สามารถหนีภูมิได้มากขึ้น ตลอดจนสามารถกลายพันธุ์ได้ในที่สุด ดังนั้น การมีเทคโนโลยีขั้นสูงอย่าง ‘ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์’ (Super Computer) เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ประสิทธิภาพสูง ทั้งด้านการประมวลผล พื้นที่จัดเก็บข้อมูล สัญญาณอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง การเทรนนิ่งเอไอ (AI Training) ฯลฯ เข้ามาช่วยเหลือในการพัฒนางานวิจัย เช่น เอไอตรวจโควิดกลายพันธุ์ ผ่านคลาวด์ เซิร์ฟเวอร์ (Cloud Server) ที่สามารถคัดกรองสายพันธุ์โควิด พร้อมระบุตำแหน่งที่พบได้อย่างแม่นยำใน 30 วินาที ที่ช่วยลดการใช้สูญเสียเวลาและทรัพยากรของทีมแพทย์ในการวิเคราะห์สายพันธุ์ ฯลฯ ซึ่งจะช่วยให้ไทยมีเทคโนโลยีที่เข้ามาช่วยบริหารจัดการระบบต่าง ๆ ได้อย่างมีเสถียรภาพมากยิ่งขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิด “ป้องกันการติดเชื้อโควิดขั้นสูง” (Universal Prevention for COVID-19) ของกระทรวงสาธารณสุข (สธ.) ทั้งนี้ สจล. มีข้อเสนอแนะว่าหากหน่วยงานภาครัฐ องค์กรภาคเอกชน นำเทคโนโลยีดังกล่าวที่ในปัจจุบันมีใช้แล้วที่ มหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล (CMKL) มหาวิทยาลัยชั้นนำด้าน AI Technology ระดับอาเซียน ภายใต้ความร่วมมือระหว่าง สจล. กับ มหาวิทยาลัยคาร์เนกีเมลลอน (Carnegie Mellon University) สถาบันการศึกษาที่เชี่ยวชาญด้านหลักสูตรวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ชั้นนำของโลก ประเทศสหรัฐอเมริกา ไปใช้ประโยชน์หรือบูรณาการร่วมกับบิ๊กเดต้า (Big Data) ที่เกี่ยวกับของการบริหารสถานการณ์โควิด การบริหารจัดการเพื่อลดการสูญเสียจากการดำเนินธุรกิจ/อุตสาหกรรม ฯลฯ ถือเป็นกระบวนการหนึ่งในการทดสอบเชิงวิจัย/เตรียมพร้อมระบบสาธารณสุข-การแพทย์ไทย ให้สามารถรับมือกับโรคอุบัติใหม่ได้ในอนาคต หรือกระทั่งในภาคธุรกิจจะมีส่วนช่วยลดต้นทุนการผลิต เพิ่มประสิทธิภาพการทำงานและคุณภาพสินค้าอย่างยั่งยืน ล่าสุด สจล. จึงได้ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการกับ มหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล (CMKL) และ โรงพยาบาลพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร (KMCH) เพื่อผลักดันเทคโนโลยี ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ ในการขับเคลื่อนประเทศ เพิ่มประสิทธิภาพในการใช้งานด้าน AI ในการวิจัย เช่น งานวิจัยด้านการแพทย์ ตลอดจนขยายผลวิจัย/นวัตกรรม สู่การผลักดันการใช้เทคโนโลยีขับเคลื่อนภาคธุรกิจและอุตสาหกรรม ตลอดจนยกระดับคุณภาพชีวิตและเศรษฐกิจไทยได้ในอนาคต รศ. ดร.สุพันธุ์ ตั้งจิตกุศลมั่น อธิการบดีมหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล (CMKL) กล่าวต่อว่า Super Computer (Apex) นับเป็นเทคโนโลยีขั้นสูงที่มีส่วนสำคัญ ในการช่วยนักวิจัยพัฒนา “งานวิจัยเชิงปัญญาประดิษฐ์” (Apex-Goliath) หรืองานวิจัยเชิงทดลองที่ช่วยให้นักวิจัยเห็นผลลัพธ์ในระยะสั้น เนื่องจากมีกระบวนการจัดเก็บข้อมูลและคอมพิวเตอร์คลัสเตอร์สำหรับปัญญาประดิษฐ์ ระบบคอมพิวเตอร์สมรรถนะสูง และการประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ เช่น ช่วยให้นักวิจัยสามารถสร้างแบบจำลอง (Render) ขนาดใหญ่ได้ภายในครึ่งชั่วโมง จากปกติที่ต้องใช้เวลานานถึง 720 ชั่วโมง ฯลฯ โดยที่ผ่านมา เทคโนโลยีดังกล่าวได้มีส่วนสำคัญในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้คนและสิ่งแวดล้อมจำนวนมาก อาทิ “AI ตรวจโควิดกลายพันธุ์ ผ่าน Cloud Server” ที่ล่าสุดสามารถตรวจหาโควิดสายพันธุ์ใหม่ที่ค้นพบแล้วในต่างประเทศได้สำเร็จ “AI คัดแยกขวดรีไซเคิล” ผู้ช่วยนักคัดแยกขวดแก้วเพื่อนำไปรีไซเคิล ที่ช่วยประหยัดเวลาในการคัดแยกขยะ พร้อมทั้งลดการเกิด Carbon Footprint ชั้นบรรยากาศ ทั้งนี้ หน่วยงานภาคการศึกษา องค์กรธุรกิจ ตลอดจนนักวิจัยที่สนใจสามารถติดต่อเพื่อขอใช้ประโยชน์เชิงพื้นที่หรือเทคโนโลยีขั้นสูงของ CMKL สามารถติดต่อได้ที่ โทร. 06-5878-5000 (ในวันและเวลาราชการ) รศ. ดร.ศิริเดช บุญแสง คณบดี คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เปิดเผยว่าที่ผ่านมา ทีมวิจัย ได้เปิดตัวผลสำเร็จการพัฒนางานวิจัย “AI ตรวจโควิดกลายพันธุ์ ผ่านคลาวด์ เซิร์ฟเวอร์” (Cloud Server) หรือ “ปัญญาประดิษฐ์ ซีร่า คอร์” (CiRA CORE) ที่ได้รับความร่วมมือทางเทคโนโลยีขั้นสูงอย่าง “เอไอ ซุปเปอร์ คอมพิวเตอร์” (AI Super Computer) เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ประสิทธิภาพสูงโดยเฉพาะเทรนนิ่งเอไอ (AI Training) จากมหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล (CMKL) มหาวิทยาลัยชั้นนำด้านเทคโนโลยีเอไอ (AI Technology) ระดับอาเซียน เป็นผลให้ AI มีความสามารถในการแยกแยะตำแหน่งโควิดกลายพันธุ์ (VOC) และ บ่งชี้เชื้อโควิดกลายพันธุ์ได้หลายสายพันธุ์ได้อย่างถูกต้องถึง 99% ใน 30 วินาที อันเกิดจากกระบวนการเรียนรู้เชิงลึก (Deep Learning) ข้อมูลรหัสพันธุกรรมของเชื้อโควิดที่มีจีโนมถึง 30,000 ตำแหน่ง จากฐานข้อมูลรหัสพันธุกรรมของจุลชีพ “GISAID” ทั้งนี้ กระบวนการทำงานของเอไอเพื่อตรวจหาสายพันธุ์ มี 3 ขั้นตอน ดังนี้ ‘Input Data’ นำเข้าข้อมูลสารพันธุกรรมทั้งหมด หรือจีโนมที่ได้ทั้งแบบเดี่ยว หรือแบบหลายจีโนมพร้อมกัน ‘Data processing’ ประมวลผลชุดข้อมูลโดย AI ที่ผ่านการเรียนรู้ชุดข้อมูลเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ‘Output Data’ แสดงผลข้อมูลสารพันธุกรรมในลักษณะของชื่อสายพันธุ์ โดยหากตรวจพบเชื้อกลายพันธุ์จะแสดงผลเป็นสีแดง พร้อมแสดงตำแหน่งกลายพันธุ์ (VOCs) บนจีโนม กรณีที่ตรวจไม่พบเชื้อจะแสดงผลเป็นสีเทา โดยที่ล่าสุดจากความสามารถด้านการตรวจหาสายพันธุ์มิว ได้นั้น เป็นผลจากการได้รับการสนับสนุนชุดข้อมูลรหัสพันธุกรรมกว่า 13,457 ชุดข้อมูล จากคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ที่ได้ทำการศึกษาวิจัยเพื่อเฝ้าระวังการเข้ามาของสายพันธุ์ดังกล่าว เนื่องจากพบข้อมูล ณ วันที่ 6 กันยายน 2564 ว่ามีจำนวนผู้ติดเชื้อโควิดสายพันธุ์มิว ในประเทศโคลัมเบีย สหรัฐอเมริกา และสเปน มากกว่า 6,091 ราย (covSPECTRUM (ethz.ch)) ด้าน ศาสตราจารย์ นายแพทย์ อนันต์ ศรีเกียรติขจร คณบดี คณะแพทยศาสตร์ สจล. และประธานคณะกรรมการบริหารโรงพยาบาลพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร (KMCH) และกล่าวปิดท้ายว่า เทคโนโลยี AI ตรวจโควิดกลายพันธุ์ ผ่าน Cloud Server ในทางการแพทย์และสาธารณสุข นับได้ว่าเป็นหนึ่งในเทคโนโลยีเชิงรุกและเชิงรับ ที่มีส่วนช่วยในการเฝ้าระวังของโควิดพันธุ์ใหม่ในสายพันธุ์ต่าง ๆ ตลอดจนสนับสนุนการทำงานของบุคลากรทางการแพทย์ในการค้นหาผู้ติดเชื้อได้โดยสะดวกและรวดเร็วในอีกรูปแบบหนึ่ง ทั้งนี้ หากไทยสามารถดำเนินการสร้างภูมิคุ้มกันหมู่แก่ประชาชนในประเทศโดยภาพรวมได้ ในสัดส่วนที่มากกว่า 70% ของประชากรทั้งหมด จะเป็นการป้องกันประเทศเข้าสู่โควิดระลอกที่ 5 ได้อย่างแน่นอน ขณะที่การสร้างภูมิคุ้มกันหมู่ของนักศึกษาและบุคลากร ตลอดจนกลุ่มคนที่ทำงานเพื่อสาธารณะในพื้นที่ สจล. และบริเวณใกล้เคียง ภายใต้นโยบายของกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เพื่อเตรียมความพร้อมสถาบันฯ ให้สามารถเปิดทำการเรียนการสอนได้ปกตินั้น สามารถให้บริการวัคซีนโดยภาพรวมได้เป็นจำนวนรวม 67,585 โดส (ข้อมูล ณ วันที่ 23 กันยายน 2564) EZ Webmaster Related Posts “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา อัปสกิลฟรี! เรียนรู้ “AI ใน Canva” กับจุฬาฯ คอร์สออนไลน์ 11 บท ครบจบใน 1 ชั่วโมง Post navigation PREVIOUS Previous post: “สวนสุนันทาพารอด” รับเทมเพลต “Portfolio SSRU limited edition” ฟรี ที่นี่ที่เดียว ยื่นเข้าได้ทุกคณะ ทุกสาขาNEXT Next post: รวมวิชาเฉพาะ ของแต่ละมหาวิทยาลัย มีอะไรบ้าง ใช้เข้าคณะอะไร รอบไหนบ้าง Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search
ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน…
สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน…
EZ Webmaster September 27, 2021 EZ Webmaster September 27, 2021 พร้อม! สจล. ขานรับแนวคิด สธ. หนุน “Universal Prevention” ป้องกันติดเชื้อโควิดขั้นสูง รุดเสนอใช้ “Super Computer” ขับเคลื่อนประเทศ-เพิ่มศักยภาพวิจัยไทย พร้อมเปิดตัว “เอไอคัดกรองสายพันธุ์มิว” เทคโนโลยีตั้งรับสุดล้ำ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) ขานรับมาตรการกระทรวงสาธารณสุข “ป้องกันการติดเชื้อโควิดขั้นสูง” (Universal Prevention for COVID-19) หลังพบเชื้อโควิดดื้อภูมิ-กลายพันธุ์ในต่างประเทศ พร้อมเสนอใช้เทคโนโลยีซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super Computer) ของมหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล (CMKL) เป็นกลไกหนึ่งบริหารประเทศในสถานการณ์โควิด ตอกย้ำด้วยผลสำเร็จงานวิจัย “เอไอคัดกรองสายพันธุ์ มิว” (C.1.2) หนุนทีมแพทย์เฝ้าระวังเชื้อประชิดไทย พบประสิทธิภาพตรวจถูกต้องกว่า 99% ใน 30 วินาที โดยเป็นผลมาจากการเรียนรู้เชิงลึกข้อมูลรหัสพันธุกรรม 13,457 ชุดข้อมูล จากคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ทั้งนี้ หน่วยงานภาคการศึกษา องค์กรธุรกิจ ตลอดจนนักวิจัยที่สนใจสามารถติดต่อเพื่อขอใช้ประโยชน์เชิงพื้นที่หรือเทคโนโลยีขั้นสูงของ CMKL สามารถติดต่อได้ที่ โทร. 06-5878-5000 (ในวันและเวลาราชการ) สำหรับกิจกรรมลงนามความร่วมมือทางวิชาการระหว่าง มหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล (CMKL) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (KMITL) และ โรงพยาบาลพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร (KMCH) จัดขึ้นเมื่อเร็ว ๆ นี้ ณ สำนักหอสมุดกลาง สจล. ติดตามความเคลื่อนไหวกิจกรรมของ สจล. ได้ที่ www.facebook.com/kmitlofficial และ www.kmitl.ac.th ศ. ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ อธิการบดี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เปิดเผยว่า แม้นานาประเทศจะมีมาตรการเชิงรุกเพื่อรับมือกับสถานการณ์โควิด-19 แต่ทั้งนี้ในปัจจุบันกลับพบว่า เชื้อโควิดมีความแข็งแรง สามารถหนีภูมิได้มากขึ้น ตลอดจนสามารถกลายพันธุ์ได้ในที่สุด ดังนั้น การมีเทคโนโลยีขั้นสูงอย่าง ‘ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์’ (Super Computer) เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ประสิทธิภาพสูง ทั้งด้านการประมวลผล พื้นที่จัดเก็บข้อมูล สัญญาณอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง การเทรนนิ่งเอไอ (AI Training) ฯลฯ เข้ามาช่วยเหลือในการพัฒนางานวิจัย เช่น เอไอตรวจโควิดกลายพันธุ์ ผ่านคลาวด์ เซิร์ฟเวอร์ (Cloud Server) ที่สามารถคัดกรองสายพันธุ์โควิด พร้อมระบุตำแหน่งที่พบได้อย่างแม่นยำใน 30 วินาที ที่ช่วยลดการใช้สูญเสียเวลาและทรัพยากรของทีมแพทย์ในการวิเคราะห์สายพันธุ์ ฯลฯ ซึ่งจะช่วยให้ไทยมีเทคโนโลยีที่เข้ามาช่วยบริหารจัดการระบบต่าง ๆ ได้อย่างมีเสถียรภาพมากยิ่งขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิด “ป้องกันการติดเชื้อโควิดขั้นสูง” (Universal Prevention for COVID-19) ของกระทรวงสาธารณสุข (สธ.) ทั้งนี้ สจล. มีข้อเสนอแนะว่าหากหน่วยงานภาครัฐ องค์กรภาคเอกชน นำเทคโนโลยีดังกล่าวที่ในปัจจุบันมีใช้แล้วที่ มหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล (CMKL) มหาวิทยาลัยชั้นนำด้าน AI Technology ระดับอาเซียน ภายใต้ความร่วมมือระหว่าง สจล. กับ มหาวิทยาลัยคาร์เนกีเมลลอน (Carnegie Mellon University) สถาบันการศึกษาที่เชี่ยวชาญด้านหลักสูตรวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ชั้นนำของโลก ประเทศสหรัฐอเมริกา ไปใช้ประโยชน์หรือบูรณาการร่วมกับบิ๊กเดต้า (Big Data) ที่เกี่ยวกับของการบริหารสถานการณ์โควิด การบริหารจัดการเพื่อลดการสูญเสียจากการดำเนินธุรกิจ/อุตสาหกรรม ฯลฯ ถือเป็นกระบวนการหนึ่งในการทดสอบเชิงวิจัย/เตรียมพร้อมระบบสาธารณสุข-การแพทย์ไทย ให้สามารถรับมือกับโรคอุบัติใหม่ได้ในอนาคต หรือกระทั่งในภาคธุรกิจจะมีส่วนช่วยลดต้นทุนการผลิต เพิ่มประสิทธิภาพการทำงานและคุณภาพสินค้าอย่างยั่งยืน ล่าสุด สจล. จึงได้ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการกับ มหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล (CMKL) และ โรงพยาบาลพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร (KMCH) เพื่อผลักดันเทคโนโลยี ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ ในการขับเคลื่อนประเทศ เพิ่มประสิทธิภาพในการใช้งานด้าน AI ในการวิจัย เช่น งานวิจัยด้านการแพทย์ ตลอดจนขยายผลวิจัย/นวัตกรรม สู่การผลักดันการใช้เทคโนโลยีขับเคลื่อนภาคธุรกิจและอุตสาหกรรม ตลอดจนยกระดับคุณภาพชีวิตและเศรษฐกิจไทยได้ในอนาคต รศ. ดร.สุพันธุ์ ตั้งจิตกุศลมั่น อธิการบดีมหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล (CMKL) กล่าวต่อว่า Super Computer (Apex) นับเป็นเทคโนโลยีขั้นสูงที่มีส่วนสำคัญ ในการช่วยนักวิจัยพัฒนา “งานวิจัยเชิงปัญญาประดิษฐ์” (Apex-Goliath) หรืองานวิจัยเชิงทดลองที่ช่วยให้นักวิจัยเห็นผลลัพธ์ในระยะสั้น เนื่องจากมีกระบวนการจัดเก็บข้อมูลและคอมพิวเตอร์คลัสเตอร์สำหรับปัญญาประดิษฐ์ ระบบคอมพิวเตอร์สมรรถนะสูง และการประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ เช่น ช่วยให้นักวิจัยสามารถสร้างแบบจำลอง (Render) ขนาดใหญ่ได้ภายในครึ่งชั่วโมง จากปกติที่ต้องใช้เวลานานถึง 720 ชั่วโมง ฯลฯ โดยที่ผ่านมา เทคโนโลยีดังกล่าวได้มีส่วนสำคัญในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้คนและสิ่งแวดล้อมจำนวนมาก อาทิ “AI ตรวจโควิดกลายพันธุ์ ผ่าน Cloud Server” ที่ล่าสุดสามารถตรวจหาโควิดสายพันธุ์ใหม่ที่ค้นพบแล้วในต่างประเทศได้สำเร็จ “AI คัดแยกขวดรีไซเคิล” ผู้ช่วยนักคัดแยกขวดแก้วเพื่อนำไปรีไซเคิล ที่ช่วยประหยัดเวลาในการคัดแยกขยะ พร้อมทั้งลดการเกิด Carbon Footprint ชั้นบรรยากาศ ทั้งนี้ หน่วยงานภาคการศึกษา องค์กรธุรกิจ ตลอดจนนักวิจัยที่สนใจสามารถติดต่อเพื่อขอใช้ประโยชน์เชิงพื้นที่หรือเทคโนโลยีขั้นสูงของ CMKL สามารถติดต่อได้ที่ โทร. 06-5878-5000 (ในวันและเวลาราชการ) รศ. ดร.ศิริเดช บุญแสง คณบดี คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เปิดเผยว่าที่ผ่านมา ทีมวิจัย ได้เปิดตัวผลสำเร็จการพัฒนางานวิจัย “AI ตรวจโควิดกลายพันธุ์ ผ่านคลาวด์ เซิร์ฟเวอร์” (Cloud Server) หรือ “ปัญญาประดิษฐ์ ซีร่า คอร์” (CiRA CORE) ที่ได้รับความร่วมมือทางเทคโนโลยีขั้นสูงอย่าง “เอไอ ซุปเปอร์ คอมพิวเตอร์” (AI Super Computer) เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ประสิทธิภาพสูงโดยเฉพาะเทรนนิ่งเอไอ (AI Training) จากมหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล (CMKL) มหาวิทยาลัยชั้นนำด้านเทคโนโลยีเอไอ (AI Technology) ระดับอาเซียน เป็นผลให้ AI มีความสามารถในการแยกแยะตำแหน่งโควิดกลายพันธุ์ (VOC) และ บ่งชี้เชื้อโควิดกลายพันธุ์ได้หลายสายพันธุ์ได้อย่างถูกต้องถึง 99% ใน 30 วินาที อันเกิดจากกระบวนการเรียนรู้เชิงลึก (Deep Learning) ข้อมูลรหัสพันธุกรรมของเชื้อโควิดที่มีจีโนมถึง 30,000 ตำแหน่ง จากฐานข้อมูลรหัสพันธุกรรมของจุลชีพ “GISAID” ทั้งนี้ กระบวนการทำงานของเอไอเพื่อตรวจหาสายพันธุ์ มี 3 ขั้นตอน ดังนี้ ‘Input Data’ นำเข้าข้อมูลสารพันธุกรรมทั้งหมด หรือจีโนมที่ได้ทั้งแบบเดี่ยว หรือแบบหลายจีโนมพร้อมกัน ‘Data processing’ ประมวลผลชุดข้อมูลโดย AI ที่ผ่านการเรียนรู้ชุดข้อมูลเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ‘Output Data’ แสดงผลข้อมูลสารพันธุกรรมในลักษณะของชื่อสายพันธุ์ โดยหากตรวจพบเชื้อกลายพันธุ์จะแสดงผลเป็นสีแดง พร้อมแสดงตำแหน่งกลายพันธุ์ (VOCs) บนจีโนม กรณีที่ตรวจไม่พบเชื้อจะแสดงผลเป็นสีเทา โดยที่ล่าสุดจากความสามารถด้านการตรวจหาสายพันธุ์มิว ได้นั้น เป็นผลจากการได้รับการสนับสนุนชุดข้อมูลรหัสพันธุกรรมกว่า 13,457 ชุดข้อมูล จากคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ที่ได้ทำการศึกษาวิจัยเพื่อเฝ้าระวังการเข้ามาของสายพันธุ์ดังกล่าว เนื่องจากพบข้อมูล ณ วันที่ 6 กันยายน 2564 ว่ามีจำนวนผู้ติดเชื้อโควิดสายพันธุ์มิว ในประเทศโคลัมเบีย สหรัฐอเมริกา และสเปน มากกว่า 6,091 ราย (covSPECTRUM (ethz.ch)) ด้าน ศาสตราจารย์ นายแพทย์ อนันต์ ศรีเกียรติขจร คณบดี คณะแพทยศาสตร์ สจล. และประธานคณะกรรมการบริหารโรงพยาบาลพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร (KMCH) และกล่าวปิดท้ายว่า เทคโนโลยี AI ตรวจโควิดกลายพันธุ์ ผ่าน Cloud Server ในทางการแพทย์และสาธารณสุข นับได้ว่าเป็นหนึ่งในเทคโนโลยีเชิงรุกและเชิงรับ ที่มีส่วนช่วยในการเฝ้าระวังของโควิดพันธุ์ใหม่ในสายพันธุ์ต่าง ๆ ตลอดจนสนับสนุนการทำงานของบุคลากรทางการแพทย์ในการค้นหาผู้ติดเชื้อได้โดยสะดวกและรวดเร็วในอีกรูปแบบหนึ่ง ทั้งนี้ หากไทยสามารถดำเนินการสร้างภูมิคุ้มกันหมู่แก่ประชาชนในประเทศโดยภาพรวมได้ ในสัดส่วนที่มากกว่า 70% ของประชากรทั้งหมด จะเป็นการป้องกันประเทศเข้าสู่โควิดระลอกที่ 5 ได้อย่างแน่นอน ขณะที่การสร้างภูมิคุ้มกันหมู่ของนักศึกษาและบุคลากร ตลอดจนกลุ่มคนที่ทำงานเพื่อสาธารณะในพื้นที่ สจล. และบริเวณใกล้เคียง ภายใต้นโยบายของกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เพื่อเตรียมความพร้อมสถาบันฯ ให้สามารถเปิดทำการเรียนการสอนได้ปกตินั้น สามารถให้บริการวัคซีนโดยภาพรวมได้เป็นจำนวนรวม 67,585 โดส (ข้อมูล ณ วันที่ 23 กันยายน 2564)
“40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน
ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก
ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน
สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา