โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนแม่เมาะวิทยา EZ WebmasterJune 18, 2025 ความสุขเล็กๆ ในวันที่ได้ทำกิจกรรมร่วมกัน โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด พากิจกรรมดีๆ มาถึงโรงเรียนแม่เมาะวิทยา จ.ลำปาง วันที่18/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า (ครูแอน)… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนาน้อย EZ WebmasterJune 18, 2025 กิจกรรมนี้ มีแต่เสียงหัวเราะ ความอร่อย และรอยยิ้ม โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด พากิจกรรมดีๆ มาถึงโรงเรียนนาน้อย วันที่18/06/68 โดยวิทยากร ผศ.ดร.ตฤณกร เกตุกุลพันธ์… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสตรีศรีน่าน EZ WebmasterJune 18, 2025 เรียนรู้ เล่นให้สนุก แล้วความรู้จะตามมา! ณ โรงเรียนสตรีศรีน่าน สนุกสนานกับโครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนสตรีศรีน่าน จ.น่าน วันที่18/06/68 โดย… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเถินวิทยา EZ WebmasterJune 18, 2025 วันนี้น้องๆ นักเรียนโรงเรียนเถินวิทยา เต็มที่กับกิจกรรม Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนเถินวิทยา จ.ลำปาง วันที่18/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า (ครูแอน)… นักศึกษา ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา EZ WebmasterJune 18, 2025 วิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิทักษ์ ธรรมวาริน (คนที่ 4 จากซ้าย) คณบดีวิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สจล. และ Mr. Alfonso Martin (คนที่ 3… คณะมนุษยศาสตร์ ม.หอการค้าไทย จัดหลักสูตรรุกหน้าการันตี “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน!!” EZ WebmasterJune 18, 2025 “ภาษา” มิใช่เพียงเครื่องมือสื่อสารแต่เป็นกุญแจสำคัญในการเรียนรู้และเข้าใจวัฒนธรรม การคิดวิเคราะห์และสร้างสรรค์นวัตกรรม ผู้ที่มีทักษะด้านภาษาที่แข็งแกร่งจะสามารถเป็นข้อได้เปรียบหรือประสบความสำเร็จได้ในโลกที่เปลี่ยนแปลงและผู้คนทั่วโลกเชื่อมโยงสื่อสารถึงกันได้ในพริบตาแม้จะต่างชาติ ต่างภาษา ต่างวัฒนธรรม การเรียนรู้ฝึกฝนมีทักษะภาษาจึงมิใช่แค่รู้หรือพูดภาษานานาชาติได้เท่านั้น แต่การเรียนภาษาให้มีรายได้ดี มีอาชีพมั่นคง เป็นมนุษย์เงินเดือนอิสระ ถึงขั้นการันตีได้ว่า “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน !!! นั้นก็เป็นสิ่งเพิ่มมูลค่าและมีคุณค่าอย่างน่าภูมิใจ เฉกเช่นที่ล่าสุด Miss World… การตลาดดิจิทัลและระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย จัดกิจกรรมตอบแทนกลับคืนสังคม EZ WebmasterJune 17, 2025 นักศึกษากลุ่มวิชาการตลาดดิจิทัล และกลุ่มวิชาการบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ร่วมทำกิจกรรม Digital Marketing Innovation for Sustainability สร้างสรรค์ประสบการณ์ทางการตลาดดิจิทัลและการบริการสังคม โดยนักศึกษาได้เข้ากิจกรรมปล่อยสัตว์ทะเลที่ธนาคารปู จังหวัดระยอง และบริจากสิ่งของให้กับชมรมผู้พิการทางสติปัญญา จังหวัดชลบุรี ร่วมเรียนรู้การสร้างสรรค์สื่อสำหรับการสื่อสารทางการตลาดดิจิทัล เพื่อสร้างความรับผิดชอบต่อสังคมให้กับนักศึกษาและร่วมสร้างสรรค์สังคมให้น่าอยู่ต่อไป เรียนคณะบริหารธุรกิจแนวใหม่ต้องสัมผัสประสบการณ์แบบนักธุรกิจ ถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์จากคณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญรวมทั้งนักธุรกิจมืออาชีพ… “จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” EZ WebmasterJune 17, 2025 ในนามของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผมขอส่งความห่วงใยมายังพวกเราทุกคนที่กำลังใช้ชีวิตและศึกษาอยู่ในสหรัฐฯ โดยเฉพาะในช่วงเวลาที่มีความไม่แน่นอนเกี่ยวกับนโยบายวีซ่าที่อาจส่งผลต่อสิทธิในการศึกษา เมื่อไม่นานนี้ ผมและผู้บริหารจุฬาฯ มีโอกาสได้ไปเยือน Harvard และ MIT และได้พบกับนักศึกษาชาวไทยหลายคน ทุกคนต่างมีความมุ่งมั่น ตั้งใจ และอดทนในการใฝ่หาความรู้ เพื่อนำมาพัฒนาตนเอง สังคม และประเทศชาติ แม้จะอยู่ท่ามกลางความกังวลใจต่ออนาคตที่ยังไม่ชัดเจน ผมอยากบอกว่าพวกเราที่จุฬาฯ… ทุนดีดี SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ครู-อาจารย์ อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก tui sakrapeeJune 18, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา นำโดย รศ.ดร.ชุติกาญจน์ ศรีวิบูลย์ อธิการบดี พร้อมคณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย เดินทางเยือนโรงเรียนนานาชาติ Qingdao No.1 International School of Shandong Province (QISS) และ Qingdao University… กองกลาง มจพ. เยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ และจัดสัมมนาจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล ประจำปี 2568 EZ WebmasterJune 18, 2025 ผศ.ดร.สราวุฒิ สืบแย้ม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายการคลังและกิจการทั่วไป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยนางสาวรัตนา สุขเฉลิมศรี ผู้อำนวยการกองกลาง และบุคลากรกองกลาง เข้าเยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ มจพ. ณ ชั้น 3 สำนักงานหอสมุดกลาง โดยมีนางสาวพนารมย์ เกียรติลีลานันท์ และ… คณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล มจพ. ชูธงร่วมเครือข่ายจัดใหญ่การประชุมวิชาการ นวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (FIAC) 2025 EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร สมฤกษ์ จันทรอัมพร รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นเจ้าภาพร่วมในการจัดประชุมวิชาการด้านนวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (Food Innovation Asia Conference 2025) พร้อมด้วย รศ.ดร.รัชนี เจริญ คณบดีคณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล และคณะผู้บริหาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ… สมศ. พลิกโฉมการประเมินคุณภาพภายนอกด้วย AI ภายใต้ “ONESQA 5.0” เสริมความโปร่งใส แม่นยำ และพัฒนาอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 17, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยวิสัยทัศน์ และแนวทางการขับเคลื่อนองค์กรด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence – AI) ภายใต้ วิสัยทัศน์ ONESQA 5.0 โดยมุ่งเน้นการนำ AI เข้ามาใช้เพื่อเสริมประสิทธิภาพ ความโปร่งใส และความแม่นยำ ในกระบวนการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา พร้อมยกระดับสู่ความเป็นดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบบ ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster January 22, 2021 EZ Webmaster January 22, 2021 หลักสูตรการแต่งงานและครอบครัว หลักสูตรการแต่งงานและครอบครัว เรียนอะไรบ้าง เรียนไปเพื่ออะไร หลายประเทศในเอเชียตะวันออกมีอัตราการแต่งงานและการเกิดลดลงอย่างมาก แต่ชั้นเรียนของมหาวิทยาลัยดงกุกและมหาวิทยาลัยคยองฮีในกรุงโซลของเกาหลีใต้ มีเป้าหมายเพื่อจะแก้ปัญหาเหล่านั้น ในห้องเรียนที่มหาวิทยาลัยดงกุก ศาสตราจารย์ลีอึนจูสอนอยู่ในหลักสูตร ” การแต่งงานและครอบครัว (marriage and family) ” ชั้นเรียนนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อนำร่องความสัมพันธ์ช่วยคนหนุ่มสาวซึ่งอาจจะมีสักวันหนึ่งที่กับเจอคนที่เหมาะสม ให้มีประสบการณ์และความรู้ที่จะนำไปสู่การแต่งงานและสร้างครอบครัวในอนาคต ซึ่งชั้นเรียนนี้เป็นส่วนหนึ่งของความพยายามที่ขยายกว้างมากขึ้นในเกาหลี เพื่อแก้ไขปัญหาของคนหนุ่มสาวที่ไม่ได้แต่งงานและคนที่ไม่มีลูก นี่เป็นหัวข้อที่ซับซ้อนในประเทศที่มีบทบาททางเพศแบบดั้งเดิมมายาวนาน ซึ่งเริ่มเปลี่ยนแปลงเมื่อเศรษฐกิจเฟื่องฟูในทศวรรษ 1960 อัตราการเกิดที่หย่อนคล้อย มุมมองที่ฝังรากลึกว่า ผู้หญิงเกาหลีมีอาชีพเป็นแม่บ้านเป็นหลัก และผู้ชายเป็นผู้หาเลี้ยงครอบครัวนั้น มีผลกระทบอย่างมากต่อการที่ชายหนุ่มและหญิงสาวในปัจจุบันมองถึงการแต่งงานและการสร้างครอบครัว ในปี 2560 เกาหลีใต้มีอัตราการเกิดที่เลวร้ายที่สุดในประวัติศาสตร์ที่ อัตราส่วนการกำเนิดนั้นเท่ากับผู้หญิงต่อเด็ก 1.05 คน ซึ่งต่ำกว่าระดับ 2.01 ซึ่งเป็นมาตรฐานที่จำเป็นเพื่อให้ประชากรมีเสถียรภาพ แม้ว่ารัฐบาลจะใช้งบประมาณหลายพันล้านดอลลาร์ในการริเริ่ม เพื่อเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของชาติในทศวรรษที่ผ่านมา ซึ่งรวมถึงการให้ระยะเวลาการลาคลอดที่เพิ่มมากขึ้น การจ่ายค่ารักษาภาวะมีบุตรยาก และครอบครัวที่มีบุตรตั้งแต่สามคนขึ้นไปที่ได้รับสิทธิพิเศษในการเข้าถึงการดูแลเด็กของประชาชน เป็นต้น อัตราการเจริญพันธุ์ที่ลดลงเช่นเดียวกันนี้สามารถเห็นได้ในส่วนอื่น ๆ ของเอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น ไต้หวัน ญี่ปุ่น ฮ่องกง และสิงคโปร์ ในเกาหลีใต้ มีวลีใหม่ที่เกิดขึ้นนั่นคือ Sampo Generation คำว่า삼포세대 (สัมโป) หมายถึง“ การเลิกทำสามสิ่ง” ได้แก่ การจีบ การแต่งงานและการเลี้ยงลูก นั่นมาจากค่าครองชีพ และแรงกดดันในการทำงานที่เพิ่มสูงขึ้น จะส่งผลกระทบให้มีการชะลอการแต่งงานและการมีครอบครัว ศาสตราจารย์ลีกล่าวว่า ปรากฏการณ์นี้ได้พัฒนาขึ้นเป็นส่วนหนึ่งของสังคม เนื่องจากคนหนุ่มสาวกำลังดิ้นรนเพื่อหางานทำและอยากมีอิสระทางการเงินในระบบเศรษฐกิจที่เติบโตช้าและการว่างงานที่เพิ่มสูงขึ้น การวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่า ไม่ว่าจะสำหรับผู้หญิงหรือผู้ชาย ความกังวลทางการเงินนั้นเป็นตัวขัดขวางการแต่งงานที่ยิ่งใหญ่ที่สุด และพวกเขากำลังมองว่าเรื่องนี้เป็นเรื่องของการเลือกมากกว่าความจำเป็น ยกตัวอย่าง Ji-Won Kim วัย 24 ปีนักเรียนคนหนึ่งของ ศาสตราจารย์ลี เธอกล่าวว่า “คนรอบตัวของเธอไม่อยากแต่งงานเพราะต้องใช้จ่ายค่าเลี้ยงดูมากเพื่อดูแลลูกและส่งพวกเขาไปโรงเรียน อีกทั้งเธอยังมีเพื่อนผู้หญิงที่มักจะคิดว่า การจ่ายค่าเช่าด้วยตัวเอง ซื้อของที่ต้องการ เลี้ยงลูกหมาและแค่ไปออกเดทกันดีกว่าการที่ต้องแต่งงานมีลูก” ความทันสมัยที่ถูกกดทับ “มีคำกล่าวว่าชีวิตของคุณจะหายไปเมื่อคุณแต่งงานและมีลูก” Ji-Myeong Kim นักเรียนอีกคนของศาสตราจารย์ลี อายุ 24 ปี ไม่ต้องการที่จะลงหลักปักฐานหรือแต่งงาน แต่แฟนคนปัจจุบันของเขาต้องการความมั่นใจเกี่ยวกับทัศนคติภายในครอบครัวของเขา โดยในช่วงหลายทศวรรษที่ผ่านมาผู้หญิงเกาหลีที่เพิ่งแต่งงานใหม่ ถูกคาดหวังว่าจะออกจากครอบครัวของตัวเองและเข้าร่วมกับครอบครัวของสามี ซึ่งเทอจะจัดอยู่ในตำแหน่งที่ต่ำที่สุดในลำดับชั้นของบ้าน ดังนั้น คิมต้องทำให้แฟนสาวของเขามั่นใจว่าครอบครัวของเขา ไม่ได้ยึดติดกับวิถีแบบเดิม ๆ นั้นดังที่กล่าวมา Jean Yeung ศาสตราจารย์และผู้อำนวยการศูนย์วิจัยครอบครัวและประชากรแห่งมหาวิทยาลัยแห่งชาติสิงคโปร์ ชี้ให้เห็นว่าประเทศต่าง ๆ เช่น เกาหลีและสิงคโปร์มี “ความทันสมัยที่ถูกกดทับ” ซึ่งเป็นช่วงเวลาแห่งการเปลี่ยนแปลงทางสังคมอย่างรวดเร็วซึ่งมาพร้อมกับการก้าวไปข้างหน้าทางเศรษฐกิจที่สำคัญ “การเปลี่ยนแปลงที่อาจต้องใช้เวลาหนึ่งศตวรรษหรือมากกว่านั้นจึงจะเกิดขึ้นในยุโรป ใช้เวลาสองหรือสามทศวรรษจึงจะเกิดขึ้นในเอเชีย ในหลาย ๆ ด้านเศรษฐกิจการศึกษาและบทบาทของผู้หญิงเปลี่ยนไปอย่างรวดเร็วจนสถาบันและบรรทัดฐานทางสังคมไม่สามารถตามทัน” พื้นที่สำคัญอย่างหนึ่งที่ไม่สามารถตอบสนองความต้องการของครอบครัวสมัยใหม่ได้ คือ โลกขององค์กร ผู้หญิงหลายคนบอกว่า “ ไม่อยากกังวลกับการเลี้ยงดูลูกน้อย ในวัฒนธรรมองค์กรที่ไม่สามารถรองรับคุณแม่ที่ทำงานได้” Peter McDonald ศาสตราจารย์ด้านประชากรศาสตร์แห่งมหาวิทยาลัยเมลเบิร์นกล่าวว่า สำหรับนายจ้าง ชีวิตครอบครัวของบุคคลนั้นมีความสำคัญน้อยมากหรือแทบไม่มีเลย “เอเชียตะวันออกโดดเด่นด้วยความคาดหวังในส่วนของนายจ้างที่มีชั่วโมงการทำงานที่ยาวนานมากและการอุทิศตนให้กับงานเป็นอันดับแรกและสำคัญที่สุด” อีกประการหนึ่งที่อาจเป็นอุปสรรคต่อการแต่งงานสำหรับผู้หญิงคือความไม่เท่าเทียมกันทางเพศในการแบ่งงานบ้าน จากรายงานของ OECD ในปี 2015 ผู้ชายเกาหลีใช้เวลาทำงานบ้านโดยเฉลี่ยเพียง 45 นาทีต่อวันซึ่งน้อยกว่าหนึ่งในสามของค่าเฉลี่ย OECD การฝึกส่งข้อความหาคู่ ในหลักสูตรการแต่งงานและครอบครัว นักเรียนจะต้องทำงานร่วมกับคู่หูในแบบฝึกหัดต่าง ๆ นักเรียนเรียกมันว่า “การออกเดทแบบบังคับ” ในขณะที่ศาสตราจารย์ลีเรียกมันว่า “การจับคู่” คู่รักจะต้องทำภารกิจที่อาจจะต้องเผชิญในความสัมพันธ์จริง ๆ ในภายหลัง เช่น การไปเดทในราคาประหยัดวางแผนงานแต่งงานตามทฤษฎี และทำสัญญาการแต่งงานที่ครอบคลุมทุกอย่าง ตั้งแต่การแบ่งงานบ้านและรูปแบบการเลี้ยงดูซึ่งพ่อแม่ อีกทั้งพวกเขายังต้องกลับไปศึกษาพื้นฐานเกี่ยวกับเพศศึกษา เนื่องจากศาสตราจารย์ลีกล่าวว่า โรงเรียนนั้นมุ่งเน้นไปที่การสั่งสอนนักเรียนว่าอย่าตั้งครรภ์ แทนที่จะให้ความรู้ให้ตรงจุด ดังนั้นการเรียนพื้นฐานเกี่ยวกับเพศศึกษา จะทำให้ข้อมูลที่อาจทำให้พวกเขารู้สึกดีมากขึ้นเกี่ยวกับเรื่องเพศ และควบคุมภาวะเจริญพันธุ์ได้มากขึ้น นอกจากการเรียนการสอนในห้องแล้ว ผู้ที่เรียนในวิชานี้ยังต้องออกเดทกับคู่เดทอย่างน้อย 3 คนในหนึ่งเดือน และหลังจากที่ได้ทำความรู้จักกันแล้ว พวกเขาจะต้องบอกกับอาจารย์อีกด้วยว่ารู้สึกกับคนไหนเป็นพิเศษ นอกจากนี้ยังมีการบ้านที่เกี่ยวกับการออกเดทและอภิปรายเกี่ยวกับสถาณการณ์ที่คู่รักต้องเจอ เช่น กรณีทะเลาะหรือมีการหึงหวงกัน ผู้ที่เข้าเรียนจะมีโอกาสได้ทำความเข้าใจวิธีคิดของคนที่ตัวเองคบหา โดยคาดหวังว่าจะนำไปสู่การแก้ปัญหาหรือการคลี่คลายความขัดแย้งร่วมกันโดยไม่ใช้กำลังหรือความรุนแรง สิงคโปร์สร้างแรงจูงใจให้ผู้ปกครองผ่านโครงการ Baby Bonus ซึ่งมอบของขวัญเป็นเงินสดสำหรับเด็ก และยังจับคู่เงินออมของผู้ปกครองสำหรับอนาคตของบุตรหลาน แต่ห้าปีต่อมาดูเหมือนว่ามาตรการเหล่านี้ไม่ได้มีผลต่ออัตราการเกิดที่เพิ่มขึ้นมากนัก เกาหลีพยายามริเริ่มการสร้างสรรค์โครงการของตัวเอง ในปี 2010 พนักงานของกระทรวงสาธารณสุขสวัสดิการและกิจการครอบครัวในกรุงโซลได้รับคำสั่งให้กลับบ้านเร็วขึ้น ในวันพุธ หนึ่งครั้งต่อเดือนและใช้เวลาร่วมกับครอบครัว ซึ่งนี่เป็นการริเริ่มที่เรียกว่า “วันครอบครัว” สำหรับหลักสูตรนี้ จะเป็นหลักสูตรที่ให้นักเรียนทำความเข้าใจเกี่ยวกับตนเอง และเรียนรู้ตนเองให้มาก และที่สำคัญหลักสูตรนี้มีเพื่อเปลี่ยนทัศนคติของผู้หญิงเกาหลี เพื่อให้ผู้หญิงเกาหลีมีทัศนคติที่ดีต่อชีวิตครอบครัว และหลักสูตรนี้อาจจะเพิ่มอัตราการเกิดในอนาคตได้ แปลและเรียบเรียงจาก https://www.bbc.com/worklife/article/20180426-can-classes-help-seouls-marriage-phobic-singles EZ Webmaster Related Posts อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ รวมบุคคลสำคัญของแต่ละมหาวิทยาลัยไทย มาให้ทุกคนได้รู้กัน !! ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา เปิดรอบ 5 รับตรงอิสระ เรียน 6 สาขา ถึง 20 มิ.ย.นี้ สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ Post navigation PREVIOUS Previous post: ศูนย์หนังสือจุฬาฯ จัดกิจกรรมเขียน Blog รีวิวหนังสือเตรียมสอบNEXT Next post: อยากเรียนวิศวกรรมศาสตร์ ต้องทำอย่างไร ? Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนาน้อย EZ WebmasterJune 18, 2025 กิจกรรมนี้ มีแต่เสียงหัวเราะ ความอร่อย และรอยยิ้ม โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด พากิจกรรมดีๆ มาถึงโรงเรียนนาน้อย วันที่18/06/68 โดยวิทยากร ผศ.ดร.ตฤณกร เกตุกุลพันธ์… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสตรีศรีน่าน EZ WebmasterJune 18, 2025 เรียนรู้ เล่นให้สนุก แล้วความรู้จะตามมา! ณ โรงเรียนสตรีศรีน่าน สนุกสนานกับโครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนสตรีศรีน่าน จ.น่าน วันที่18/06/68 โดย… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเถินวิทยา EZ WebmasterJune 18, 2025 วันนี้น้องๆ นักเรียนโรงเรียนเถินวิทยา เต็มที่กับกิจกรรม Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนเถินวิทยา จ.ลำปาง วันที่18/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า (ครูแอน)… นักศึกษา ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา EZ WebmasterJune 18, 2025 วิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิทักษ์ ธรรมวาริน (คนที่ 4 จากซ้าย) คณบดีวิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สจล. และ Mr. Alfonso Martin (คนที่ 3… คณะมนุษยศาสตร์ ม.หอการค้าไทย จัดหลักสูตรรุกหน้าการันตี “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน!!” EZ WebmasterJune 18, 2025 “ภาษา” มิใช่เพียงเครื่องมือสื่อสารแต่เป็นกุญแจสำคัญในการเรียนรู้และเข้าใจวัฒนธรรม การคิดวิเคราะห์และสร้างสรรค์นวัตกรรม ผู้ที่มีทักษะด้านภาษาที่แข็งแกร่งจะสามารถเป็นข้อได้เปรียบหรือประสบความสำเร็จได้ในโลกที่เปลี่ยนแปลงและผู้คนทั่วโลกเชื่อมโยงสื่อสารถึงกันได้ในพริบตาแม้จะต่างชาติ ต่างภาษา ต่างวัฒนธรรม การเรียนรู้ฝึกฝนมีทักษะภาษาจึงมิใช่แค่รู้หรือพูดภาษานานาชาติได้เท่านั้น แต่การเรียนภาษาให้มีรายได้ดี มีอาชีพมั่นคง เป็นมนุษย์เงินเดือนอิสระ ถึงขั้นการันตีได้ว่า “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน !!! นั้นก็เป็นสิ่งเพิ่มมูลค่าและมีคุณค่าอย่างน่าภูมิใจ เฉกเช่นที่ล่าสุด Miss World… การตลาดดิจิทัลและระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย จัดกิจกรรมตอบแทนกลับคืนสังคม EZ WebmasterJune 17, 2025 นักศึกษากลุ่มวิชาการตลาดดิจิทัล และกลุ่มวิชาการบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ร่วมทำกิจกรรม Digital Marketing Innovation for Sustainability สร้างสรรค์ประสบการณ์ทางการตลาดดิจิทัลและการบริการสังคม โดยนักศึกษาได้เข้ากิจกรรมปล่อยสัตว์ทะเลที่ธนาคารปู จังหวัดระยอง และบริจากสิ่งของให้กับชมรมผู้พิการทางสติปัญญา จังหวัดชลบุรี ร่วมเรียนรู้การสร้างสรรค์สื่อสำหรับการสื่อสารทางการตลาดดิจิทัล เพื่อสร้างความรับผิดชอบต่อสังคมให้กับนักศึกษาและร่วมสร้างสรรค์สังคมให้น่าอยู่ต่อไป เรียนคณะบริหารธุรกิจแนวใหม่ต้องสัมผัสประสบการณ์แบบนักธุรกิจ ถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์จากคณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญรวมทั้งนักธุรกิจมืออาชีพ… “จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” EZ WebmasterJune 17, 2025 ในนามของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผมขอส่งความห่วงใยมายังพวกเราทุกคนที่กำลังใช้ชีวิตและศึกษาอยู่ในสหรัฐฯ โดยเฉพาะในช่วงเวลาที่มีความไม่แน่นอนเกี่ยวกับนโยบายวีซ่าที่อาจส่งผลต่อสิทธิในการศึกษา เมื่อไม่นานนี้ ผมและผู้บริหารจุฬาฯ มีโอกาสได้ไปเยือน Harvard และ MIT และได้พบกับนักศึกษาชาวไทยหลายคน ทุกคนต่างมีความมุ่งมั่น ตั้งใจ และอดทนในการใฝ่หาความรู้ เพื่อนำมาพัฒนาตนเอง สังคม และประเทศชาติ แม้จะอยู่ท่ามกลางความกังวลใจต่ออนาคตที่ยังไม่ชัดเจน ผมอยากบอกว่าพวกเราที่จุฬาฯ… ทุนดีดี SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ครู-อาจารย์ อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก tui sakrapeeJune 18, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา นำโดย รศ.ดร.ชุติกาญจน์ ศรีวิบูลย์ อธิการบดี พร้อมคณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย เดินทางเยือนโรงเรียนนานาชาติ Qingdao No.1 International School of Shandong Province (QISS) และ Qingdao University… กองกลาง มจพ. เยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ และจัดสัมมนาจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล ประจำปี 2568 EZ WebmasterJune 18, 2025 ผศ.ดร.สราวุฒิ สืบแย้ม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายการคลังและกิจการทั่วไป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยนางสาวรัตนา สุขเฉลิมศรี ผู้อำนวยการกองกลาง และบุคลากรกองกลาง เข้าเยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ มจพ. ณ ชั้น 3 สำนักงานหอสมุดกลาง โดยมีนางสาวพนารมย์ เกียรติลีลานันท์ และ… คณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล มจพ. ชูธงร่วมเครือข่ายจัดใหญ่การประชุมวิชาการ นวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (FIAC) 2025 EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร สมฤกษ์ จันทรอัมพร รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นเจ้าภาพร่วมในการจัดประชุมวิชาการด้านนวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (Food Innovation Asia Conference 2025) พร้อมด้วย รศ.ดร.รัชนี เจริญ คณบดีคณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล และคณะผู้บริหาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ… สมศ. พลิกโฉมการประเมินคุณภาพภายนอกด้วย AI ภายใต้ “ONESQA 5.0” เสริมความโปร่งใส แม่นยำ และพัฒนาอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 17, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยวิสัยทัศน์ และแนวทางการขับเคลื่อนองค์กรด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence – AI) ภายใต้ วิสัยทัศน์ ONESQA 5.0 โดยมุ่งเน้นการนำ AI เข้ามาใช้เพื่อเสริมประสิทธิภาพ ความโปร่งใส และความแม่นยำ ในกระบวนการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา พร้อมยกระดับสู่ความเป็นดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบบ ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster January 22, 2021 EZ Webmaster January 22, 2021 หลักสูตรการแต่งงานและครอบครัว หลักสูตรการแต่งงานและครอบครัว เรียนอะไรบ้าง เรียนไปเพื่ออะไร หลายประเทศในเอเชียตะวันออกมีอัตราการแต่งงานและการเกิดลดลงอย่างมาก แต่ชั้นเรียนของมหาวิทยาลัยดงกุกและมหาวิทยาลัยคยองฮีในกรุงโซลของเกาหลีใต้ มีเป้าหมายเพื่อจะแก้ปัญหาเหล่านั้น ในห้องเรียนที่มหาวิทยาลัยดงกุก ศาสตราจารย์ลีอึนจูสอนอยู่ในหลักสูตร ” การแต่งงานและครอบครัว (marriage and family) ” ชั้นเรียนนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อนำร่องความสัมพันธ์ช่วยคนหนุ่มสาวซึ่งอาจจะมีสักวันหนึ่งที่กับเจอคนที่เหมาะสม ให้มีประสบการณ์และความรู้ที่จะนำไปสู่การแต่งงานและสร้างครอบครัวในอนาคต ซึ่งชั้นเรียนนี้เป็นส่วนหนึ่งของความพยายามที่ขยายกว้างมากขึ้นในเกาหลี เพื่อแก้ไขปัญหาของคนหนุ่มสาวที่ไม่ได้แต่งงานและคนที่ไม่มีลูก นี่เป็นหัวข้อที่ซับซ้อนในประเทศที่มีบทบาททางเพศแบบดั้งเดิมมายาวนาน ซึ่งเริ่มเปลี่ยนแปลงเมื่อเศรษฐกิจเฟื่องฟูในทศวรรษ 1960 อัตราการเกิดที่หย่อนคล้อย มุมมองที่ฝังรากลึกว่า ผู้หญิงเกาหลีมีอาชีพเป็นแม่บ้านเป็นหลัก และผู้ชายเป็นผู้หาเลี้ยงครอบครัวนั้น มีผลกระทบอย่างมากต่อการที่ชายหนุ่มและหญิงสาวในปัจจุบันมองถึงการแต่งงานและการสร้างครอบครัว ในปี 2560 เกาหลีใต้มีอัตราการเกิดที่เลวร้ายที่สุดในประวัติศาสตร์ที่ อัตราส่วนการกำเนิดนั้นเท่ากับผู้หญิงต่อเด็ก 1.05 คน ซึ่งต่ำกว่าระดับ 2.01 ซึ่งเป็นมาตรฐานที่จำเป็นเพื่อให้ประชากรมีเสถียรภาพ แม้ว่ารัฐบาลจะใช้งบประมาณหลายพันล้านดอลลาร์ในการริเริ่ม เพื่อเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของชาติในทศวรรษที่ผ่านมา ซึ่งรวมถึงการให้ระยะเวลาการลาคลอดที่เพิ่มมากขึ้น การจ่ายค่ารักษาภาวะมีบุตรยาก และครอบครัวที่มีบุตรตั้งแต่สามคนขึ้นไปที่ได้รับสิทธิพิเศษในการเข้าถึงการดูแลเด็กของประชาชน เป็นต้น อัตราการเจริญพันธุ์ที่ลดลงเช่นเดียวกันนี้สามารถเห็นได้ในส่วนอื่น ๆ ของเอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น ไต้หวัน ญี่ปุ่น ฮ่องกง และสิงคโปร์ ในเกาหลีใต้ มีวลีใหม่ที่เกิดขึ้นนั่นคือ Sampo Generation คำว่า삼포세대 (สัมโป) หมายถึง“ การเลิกทำสามสิ่ง” ได้แก่ การจีบ การแต่งงานและการเลี้ยงลูก นั่นมาจากค่าครองชีพ และแรงกดดันในการทำงานที่เพิ่มสูงขึ้น จะส่งผลกระทบให้มีการชะลอการแต่งงานและการมีครอบครัว ศาสตราจารย์ลีกล่าวว่า ปรากฏการณ์นี้ได้พัฒนาขึ้นเป็นส่วนหนึ่งของสังคม เนื่องจากคนหนุ่มสาวกำลังดิ้นรนเพื่อหางานทำและอยากมีอิสระทางการเงินในระบบเศรษฐกิจที่เติบโตช้าและการว่างงานที่เพิ่มสูงขึ้น การวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่า ไม่ว่าจะสำหรับผู้หญิงหรือผู้ชาย ความกังวลทางการเงินนั้นเป็นตัวขัดขวางการแต่งงานที่ยิ่งใหญ่ที่สุด และพวกเขากำลังมองว่าเรื่องนี้เป็นเรื่องของการเลือกมากกว่าความจำเป็น ยกตัวอย่าง Ji-Won Kim วัย 24 ปีนักเรียนคนหนึ่งของ ศาสตราจารย์ลี เธอกล่าวว่า “คนรอบตัวของเธอไม่อยากแต่งงานเพราะต้องใช้จ่ายค่าเลี้ยงดูมากเพื่อดูแลลูกและส่งพวกเขาไปโรงเรียน อีกทั้งเธอยังมีเพื่อนผู้หญิงที่มักจะคิดว่า การจ่ายค่าเช่าด้วยตัวเอง ซื้อของที่ต้องการ เลี้ยงลูกหมาและแค่ไปออกเดทกันดีกว่าการที่ต้องแต่งงานมีลูก” ความทันสมัยที่ถูกกดทับ “มีคำกล่าวว่าชีวิตของคุณจะหายไปเมื่อคุณแต่งงานและมีลูก” Ji-Myeong Kim นักเรียนอีกคนของศาสตราจารย์ลี อายุ 24 ปี ไม่ต้องการที่จะลงหลักปักฐานหรือแต่งงาน แต่แฟนคนปัจจุบันของเขาต้องการความมั่นใจเกี่ยวกับทัศนคติภายในครอบครัวของเขา โดยในช่วงหลายทศวรรษที่ผ่านมาผู้หญิงเกาหลีที่เพิ่งแต่งงานใหม่ ถูกคาดหวังว่าจะออกจากครอบครัวของตัวเองและเข้าร่วมกับครอบครัวของสามี ซึ่งเทอจะจัดอยู่ในตำแหน่งที่ต่ำที่สุดในลำดับชั้นของบ้าน ดังนั้น คิมต้องทำให้แฟนสาวของเขามั่นใจว่าครอบครัวของเขา ไม่ได้ยึดติดกับวิถีแบบเดิม ๆ นั้นดังที่กล่าวมา Jean Yeung ศาสตราจารย์และผู้อำนวยการศูนย์วิจัยครอบครัวและประชากรแห่งมหาวิทยาลัยแห่งชาติสิงคโปร์ ชี้ให้เห็นว่าประเทศต่าง ๆ เช่น เกาหลีและสิงคโปร์มี “ความทันสมัยที่ถูกกดทับ” ซึ่งเป็นช่วงเวลาแห่งการเปลี่ยนแปลงทางสังคมอย่างรวดเร็วซึ่งมาพร้อมกับการก้าวไปข้างหน้าทางเศรษฐกิจที่สำคัญ “การเปลี่ยนแปลงที่อาจต้องใช้เวลาหนึ่งศตวรรษหรือมากกว่านั้นจึงจะเกิดขึ้นในยุโรป ใช้เวลาสองหรือสามทศวรรษจึงจะเกิดขึ้นในเอเชีย ในหลาย ๆ ด้านเศรษฐกิจการศึกษาและบทบาทของผู้หญิงเปลี่ยนไปอย่างรวดเร็วจนสถาบันและบรรทัดฐานทางสังคมไม่สามารถตามทัน” พื้นที่สำคัญอย่างหนึ่งที่ไม่สามารถตอบสนองความต้องการของครอบครัวสมัยใหม่ได้ คือ โลกขององค์กร ผู้หญิงหลายคนบอกว่า “ ไม่อยากกังวลกับการเลี้ยงดูลูกน้อย ในวัฒนธรรมองค์กรที่ไม่สามารถรองรับคุณแม่ที่ทำงานได้” Peter McDonald ศาสตราจารย์ด้านประชากรศาสตร์แห่งมหาวิทยาลัยเมลเบิร์นกล่าวว่า สำหรับนายจ้าง ชีวิตครอบครัวของบุคคลนั้นมีความสำคัญน้อยมากหรือแทบไม่มีเลย “เอเชียตะวันออกโดดเด่นด้วยความคาดหวังในส่วนของนายจ้างที่มีชั่วโมงการทำงานที่ยาวนานมากและการอุทิศตนให้กับงานเป็นอันดับแรกและสำคัญที่สุด” อีกประการหนึ่งที่อาจเป็นอุปสรรคต่อการแต่งงานสำหรับผู้หญิงคือความไม่เท่าเทียมกันทางเพศในการแบ่งงานบ้าน จากรายงานของ OECD ในปี 2015 ผู้ชายเกาหลีใช้เวลาทำงานบ้านโดยเฉลี่ยเพียง 45 นาทีต่อวันซึ่งน้อยกว่าหนึ่งในสามของค่าเฉลี่ย OECD การฝึกส่งข้อความหาคู่ ในหลักสูตรการแต่งงานและครอบครัว นักเรียนจะต้องทำงานร่วมกับคู่หูในแบบฝึกหัดต่าง ๆ นักเรียนเรียกมันว่า “การออกเดทแบบบังคับ” ในขณะที่ศาสตราจารย์ลีเรียกมันว่า “การจับคู่” คู่รักจะต้องทำภารกิจที่อาจจะต้องเผชิญในความสัมพันธ์จริง ๆ ในภายหลัง เช่น การไปเดทในราคาประหยัดวางแผนงานแต่งงานตามทฤษฎี และทำสัญญาการแต่งงานที่ครอบคลุมทุกอย่าง ตั้งแต่การแบ่งงานบ้านและรูปแบบการเลี้ยงดูซึ่งพ่อแม่ อีกทั้งพวกเขายังต้องกลับไปศึกษาพื้นฐานเกี่ยวกับเพศศึกษา เนื่องจากศาสตราจารย์ลีกล่าวว่า โรงเรียนนั้นมุ่งเน้นไปที่การสั่งสอนนักเรียนว่าอย่าตั้งครรภ์ แทนที่จะให้ความรู้ให้ตรงจุด ดังนั้นการเรียนพื้นฐานเกี่ยวกับเพศศึกษา จะทำให้ข้อมูลที่อาจทำให้พวกเขารู้สึกดีมากขึ้นเกี่ยวกับเรื่องเพศ และควบคุมภาวะเจริญพันธุ์ได้มากขึ้น นอกจากการเรียนการสอนในห้องแล้ว ผู้ที่เรียนในวิชานี้ยังต้องออกเดทกับคู่เดทอย่างน้อย 3 คนในหนึ่งเดือน และหลังจากที่ได้ทำความรู้จักกันแล้ว พวกเขาจะต้องบอกกับอาจารย์อีกด้วยว่ารู้สึกกับคนไหนเป็นพิเศษ นอกจากนี้ยังมีการบ้านที่เกี่ยวกับการออกเดทและอภิปรายเกี่ยวกับสถาณการณ์ที่คู่รักต้องเจอ เช่น กรณีทะเลาะหรือมีการหึงหวงกัน ผู้ที่เข้าเรียนจะมีโอกาสได้ทำความเข้าใจวิธีคิดของคนที่ตัวเองคบหา โดยคาดหวังว่าจะนำไปสู่การแก้ปัญหาหรือการคลี่คลายความขัดแย้งร่วมกันโดยไม่ใช้กำลังหรือความรุนแรง สิงคโปร์สร้างแรงจูงใจให้ผู้ปกครองผ่านโครงการ Baby Bonus ซึ่งมอบของขวัญเป็นเงินสดสำหรับเด็ก และยังจับคู่เงินออมของผู้ปกครองสำหรับอนาคตของบุตรหลาน แต่ห้าปีต่อมาดูเหมือนว่ามาตรการเหล่านี้ไม่ได้มีผลต่ออัตราการเกิดที่เพิ่มขึ้นมากนัก เกาหลีพยายามริเริ่มการสร้างสรรค์โครงการของตัวเอง ในปี 2010 พนักงานของกระทรวงสาธารณสุขสวัสดิการและกิจการครอบครัวในกรุงโซลได้รับคำสั่งให้กลับบ้านเร็วขึ้น ในวันพุธ หนึ่งครั้งต่อเดือนและใช้เวลาร่วมกับครอบครัว ซึ่งนี่เป็นการริเริ่มที่เรียกว่า “วันครอบครัว” สำหรับหลักสูตรนี้ จะเป็นหลักสูตรที่ให้นักเรียนทำความเข้าใจเกี่ยวกับตนเอง และเรียนรู้ตนเองให้มาก และที่สำคัญหลักสูตรนี้มีเพื่อเปลี่ยนทัศนคติของผู้หญิงเกาหลี เพื่อให้ผู้หญิงเกาหลีมีทัศนคติที่ดีต่อชีวิตครอบครัว และหลักสูตรนี้อาจจะเพิ่มอัตราการเกิดในอนาคตได้ แปลและเรียบเรียงจาก https://www.bbc.com/worklife/article/20180426-can-classes-help-seouls-marriage-phobic-singles EZ Webmaster Related Posts อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ รวมบุคคลสำคัญของแต่ละมหาวิทยาลัยไทย มาให้ทุกคนได้รู้กัน !! ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา เปิดรอบ 5 รับตรงอิสระ เรียน 6 สาขา ถึง 20 มิ.ย.นี้ สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ Post navigation PREVIOUS Previous post: ศูนย์หนังสือจุฬาฯ จัดกิจกรรมเขียน Blog รีวิวหนังสือเตรียมสอบNEXT Next post: อยากเรียนวิศวกรรมศาสตร์ ต้องทำอย่างไร ? Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสตรีศรีน่าน EZ WebmasterJune 18, 2025 เรียนรู้ เล่นให้สนุก แล้วความรู้จะตามมา! ณ โรงเรียนสตรีศรีน่าน สนุกสนานกับโครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนสตรีศรีน่าน จ.น่าน วันที่18/06/68 โดย… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเถินวิทยา EZ WebmasterJune 18, 2025 วันนี้น้องๆ นักเรียนโรงเรียนเถินวิทยา เต็มที่กับกิจกรรม Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนเถินวิทยา จ.ลำปาง วันที่18/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า (ครูแอน)…
โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเถินวิทยา EZ WebmasterJune 18, 2025 วันนี้น้องๆ นักเรียนโรงเรียนเถินวิทยา เต็มที่กับกิจกรรม Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนเถินวิทยา จ.ลำปาง วันที่18/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า (ครูแอน)…
ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา EZ WebmasterJune 18, 2025 วิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิทักษ์ ธรรมวาริน (คนที่ 4 จากซ้าย) คณบดีวิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สจล. และ Mr. Alfonso Martin (คนที่ 3… คณะมนุษยศาสตร์ ม.หอการค้าไทย จัดหลักสูตรรุกหน้าการันตี “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน!!” EZ WebmasterJune 18, 2025 “ภาษา” มิใช่เพียงเครื่องมือสื่อสารแต่เป็นกุญแจสำคัญในการเรียนรู้และเข้าใจวัฒนธรรม การคิดวิเคราะห์และสร้างสรรค์นวัตกรรม ผู้ที่มีทักษะด้านภาษาที่แข็งแกร่งจะสามารถเป็นข้อได้เปรียบหรือประสบความสำเร็จได้ในโลกที่เปลี่ยนแปลงและผู้คนทั่วโลกเชื่อมโยงสื่อสารถึงกันได้ในพริบตาแม้จะต่างชาติ ต่างภาษา ต่างวัฒนธรรม การเรียนรู้ฝึกฝนมีทักษะภาษาจึงมิใช่แค่รู้หรือพูดภาษานานาชาติได้เท่านั้น แต่การเรียนภาษาให้มีรายได้ดี มีอาชีพมั่นคง เป็นมนุษย์เงินเดือนอิสระ ถึงขั้นการันตีได้ว่า “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน !!! นั้นก็เป็นสิ่งเพิ่มมูลค่าและมีคุณค่าอย่างน่าภูมิใจ เฉกเช่นที่ล่าสุด Miss World… การตลาดดิจิทัลและระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย จัดกิจกรรมตอบแทนกลับคืนสังคม EZ WebmasterJune 17, 2025 นักศึกษากลุ่มวิชาการตลาดดิจิทัล และกลุ่มวิชาการบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ร่วมทำกิจกรรม Digital Marketing Innovation for Sustainability สร้างสรรค์ประสบการณ์ทางการตลาดดิจิทัลและการบริการสังคม โดยนักศึกษาได้เข้ากิจกรรมปล่อยสัตว์ทะเลที่ธนาคารปู จังหวัดระยอง และบริจากสิ่งของให้กับชมรมผู้พิการทางสติปัญญา จังหวัดชลบุรี ร่วมเรียนรู้การสร้างสรรค์สื่อสำหรับการสื่อสารทางการตลาดดิจิทัล เพื่อสร้างความรับผิดชอบต่อสังคมให้กับนักศึกษาและร่วมสร้างสรรค์สังคมให้น่าอยู่ต่อไป เรียนคณะบริหารธุรกิจแนวใหม่ต้องสัมผัสประสบการณ์แบบนักธุรกิจ ถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์จากคณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญรวมทั้งนักธุรกิจมืออาชีพ… “จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” EZ WebmasterJune 17, 2025 ในนามของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผมขอส่งความห่วงใยมายังพวกเราทุกคนที่กำลังใช้ชีวิตและศึกษาอยู่ในสหรัฐฯ โดยเฉพาะในช่วงเวลาที่มีความไม่แน่นอนเกี่ยวกับนโยบายวีซ่าที่อาจส่งผลต่อสิทธิในการศึกษา เมื่อไม่นานนี้ ผมและผู้บริหารจุฬาฯ มีโอกาสได้ไปเยือน Harvard และ MIT และได้พบกับนักศึกษาชาวไทยหลายคน ทุกคนต่างมีความมุ่งมั่น ตั้งใจ และอดทนในการใฝ่หาความรู้ เพื่อนำมาพัฒนาตนเอง สังคม และประเทศชาติ แม้จะอยู่ท่ามกลางความกังวลใจต่ออนาคตที่ยังไม่ชัดเจน ผมอยากบอกว่าพวกเราที่จุฬาฯ… ทุนดีดี SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ครู-อาจารย์ อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก tui sakrapeeJune 18, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา นำโดย รศ.ดร.ชุติกาญจน์ ศรีวิบูลย์ อธิการบดี พร้อมคณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย เดินทางเยือนโรงเรียนนานาชาติ Qingdao No.1 International School of Shandong Province (QISS) และ Qingdao University… กองกลาง มจพ. เยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ และจัดสัมมนาจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล ประจำปี 2568 EZ WebmasterJune 18, 2025 ผศ.ดร.สราวุฒิ สืบแย้ม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายการคลังและกิจการทั่วไป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยนางสาวรัตนา สุขเฉลิมศรี ผู้อำนวยการกองกลาง และบุคลากรกองกลาง เข้าเยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ มจพ. ณ ชั้น 3 สำนักงานหอสมุดกลาง โดยมีนางสาวพนารมย์ เกียรติลีลานันท์ และ… คณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล มจพ. ชูธงร่วมเครือข่ายจัดใหญ่การประชุมวิชาการ นวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (FIAC) 2025 EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร สมฤกษ์ จันทรอัมพร รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นเจ้าภาพร่วมในการจัดประชุมวิชาการด้านนวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (Food Innovation Asia Conference 2025) พร้อมด้วย รศ.ดร.รัชนี เจริญ คณบดีคณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล และคณะผู้บริหาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ… สมศ. พลิกโฉมการประเมินคุณภาพภายนอกด้วย AI ภายใต้ “ONESQA 5.0” เสริมความโปร่งใส แม่นยำ และพัฒนาอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 17, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยวิสัยทัศน์ และแนวทางการขับเคลื่อนองค์กรด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence – AI) ภายใต้ วิสัยทัศน์ ONESQA 5.0 โดยมุ่งเน้นการนำ AI เข้ามาใช้เพื่อเสริมประสิทธิภาพ ความโปร่งใส และความแม่นยำ ในกระบวนการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา พร้อมยกระดับสู่ความเป็นดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบบ ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster January 22, 2021 EZ Webmaster January 22, 2021 หลักสูตรการแต่งงานและครอบครัว หลักสูตรการแต่งงานและครอบครัว เรียนอะไรบ้าง เรียนไปเพื่ออะไร หลายประเทศในเอเชียตะวันออกมีอัตราการแต่งงานและการเกิดลดลงอย่างมาก แต่ชั้นเรียนของมหาวิทยาลัยดงกุกและมหาวิทยาลัยคยองฮีในกรุงโซลของเกาหลีใต้ มีเป้าหมายเพื่อจะแก้ปัญหาเหล่านั้น ในห้องเรียนที่มหาวิทยาลัยดงกุก ศาสตราจารย์ลีอึนจูสอนอยู่ในหลักสูตร ” การแต่งงานและครอบครัว (marriage and family) ” ชั้นเรียนนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อนำร่องความสัมพันธ์ช่วยคนหนุ่มสาวซึ่งอาจจะมีสักวันหนึ่งที่กับเจอคนที่เหมาะสม ให้มีประสบการณ์และความรู้ที่จะนำไปสู่การแต่งงานและสร้างครอบครัวในอนาคต ซึ่งชั้นเรียนนี้เป็นส่วนหนึ่งของความพยายามที่ขยายกว้างมากขึ้นในเกาหลี เพื่อแก้ไขปัญหาของคนหนุ่มสาวที่ไม่ได้แต่งงานและคนที่ไม่มีลูก นี่เป็นหัวข้อที่ซับซ้อนในประเทศที่มีบทบาททางเพศแบบดั้งเดิมมายาวนาน ซึ่งเริ่มเปลี่ยนแปลงเมื่อเศรษฐกิจเฟื่องฟูในทศวรรษ 1960 อัตราการเกิดที่หย่อนคล้อย มุมมองที่ฝังรากลึกว่า ผู้หญิงเกาหลีมีอาชีพเป็นแม่บ้านเป็นหลัก และผู้ชายเป็นผู้หาเลี้ยงครอบครัวนั้น มีผลกระทบอย่างมากต่อการที่ชายหนุ่มและหญิงสาวในปัจจุบันมองถึงการแต่งงานและการสร้างครอบครัว ในปี 2560 เกาหลีใต้มีอัตราการเกิดที่เลวร้ายที่สุดในประวัติศาสตร์ที่ อัตราส่วนการกำเนิดนั้นเท่ากับผู้หญิงต่อเด็ก 1.05 คน ซึ่งต่ำกว่าระดับ 2.01 ซึ่งเป็นมาตรฐานที่จำเป็นเพื่อให้ประชากรมีเสถียรภาพ แม้ว่ารัฐบาลจะใช้งบประมาณหลายพันล้านดอลลาร์ในการริเริ่ม เพื่อเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของชาติในทศวรรษที่ผ่านมา ซึ่งรวมถึงการให้ระยะเวลาการลาคลอดที่เพิ่มมากขึ้น การจ่ายค่ารักษาภาวะมีบุตรยาก และครอบครัวที่มีบุตรตั้งแต่สามคนขึ้นไปที่ได้รับสิทธิพิเศษในการเข้าถึงการดูแลเด็กของประชาชน เป็นต้น อัตราการเจริญพันธุ์ที่ลดลงเช่นเดียวกันนี้สามารถเห็นได้ในส่วนอื่น ๆ ของเอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น ไต้หวัน ญี่ปุ่น ฮ่องกง และสิงคโปร์ ในเกาหลีใต้ มีวลีใหม่ที่เกิดขึ้นนั่นคือ Sampo Generation คำว่า삼포세대 (สัมโป) หมายถึง“ การเลิกทำสามสิ่ง” ได้แก่ การจีบ การแต่งงานและการเลี้ยงลูก นั่นมาจากค่าครองชีพ และแรงกดดันในการทำงานที่เพิ่มสูงขึ้น จะส่งผลกระทบให้มีการชะลอการแต่งงานและการมีครอบครัว ศาสตราจารย์ลีกล่าวว่า ปรากฏการณ์นี้ได้พัฒนาขึ้นเป็นส่วนหนึ่งของสังคม เนื่องจากคนหนุ่มสาวกำลังดิ้นรนเพื่อหางานทำและอยากมีอิสระทางการเงินในระบบเศรษฐกิจที่เติบโตช้าและการว่างงานที่เพิ่มสูงขึ้น การวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่า ไม่ว่าจะสำหรับผู้หญิงหรือผู้ชาย ความกังวลทางการเงินนั้นเป็นตัวขัดขวางการแต่งงานที่ยิ่งใหญ่ที่สุด และพวกเขากำลังมองว่าเรื่องนี้เป็นเรื่องของการเลือกมากกว่าความจำเป็น ยกตัวอย่าง Ji-Won Kim วัย 24 ปีนักเรียนคนหนึ่งของ ศาสตราจารย์ลี เธอกล่าวว่า “คนรอบตัวของเธอไม่อยากแต่งงานเพราะต้องใช้จ่ายค่าเลี้ยงดูมากเพื่อดูแลลูกและส่งพวกเขาไปโรงเรียน อีกทั้งเธอยังมีเพื่อนผู้หญิงที่มักจะคิดว่า การจ่ายค่าเช่าด้วยตัวเอง ซื้อของที่ต้องการ เลี้ยงลูกหมาและแค่ไปออกเดทกันดีกว่าการที่ต้องแต่งงานมีลูก” ความทันสมัยที่ถูกกดทับ “มีคำกล่าวว่าชีวิตของคุณจะหายไปเมื่อคุณแต่งงานและมีลูก” Ji-Myeong Kim นักเรียนอีกคนของศาสตราจารย์ลี อายุ 24 ปี ไม่ต้องการที่จะลงหลักปักฐานหรือแต่งงาน แต่แฟนคนปัจจุบันของเขาต้องการความมั่นใจเกี่ยวกับทัศนคติภายในครอบครัวของเขา โดยในช่วงหลายทศวรรษที่ผ่านมาผู้หญิงเกาหลีที่เพิ่งแต่งงานใหม่ ถูกคาดหวังว่าจะออกจากครอบครัวของตัวเองและเข้าร่วมกับครอบครัวของสามี ซึ่งเทอจะจัดอยู่ในตำแหน่งที่ต่ำที่สุดในลำดับชั้นของบ้าน ดังนั้น คิมต้องทำให้แฟนสาวของเขามั่นใจว่าครอบครัวของเขา ไม่ได้ยึดติดกับวิถีแบบเดิม ๆ นั้นดังที่กล่าวมา Jean Yeung ศาสตราจารย์และผู้อำนวยการศูนย์วิจัยครอบครัวและประชากรแห่งมหาวิทยาลัยแห่งชาติสิงคโปร์ ชี้ให้เห็นว่าประเทศต่าง ๆ เช่น เกาหลีและสิงคโปร์มี “ความทันสมัยที่ถูกกดทับ” ซึ่งเป็นช่วงเวลาแห่งการเปลี่ยนแปลงทางสังคมอย่างรวดเร็วซึ่งมาพร้อมกับการก้าวไปข้างหน้าทางเศรษฐกิจที่สำคัญ “การเปลี่ยนแปลงที่อาจต้องใช้เวลาหนึ่งศตวรรษหรือมากกว่านั้นจึงจะเกิดขึ้นในยุโรป ใช้เวลาสองหรือสามทศวรรษจึงจะเกิดขึ้นในเอเชีย ในหลาย ๆ ด้านเศรษฐกิจการศึกษาและบทบาทของผู้หญิงเปลี่ยนไปอย่างรวดเร็วจนสถาบันและบรรทัดฐานทางสังคมไม่สามารถตามทัน” พื้นที่สำคัญอย่างหนึ่งที่ไม่สามารถตอบสนองความต้องการของครอบครัวสมัยใหม่ได้ คือ โลกขององค์กร ผู้หญิงหลายคนบอกว่า “ ไม่อยากกังวลกับการเลี้ยงดูลูกน้อย ในวัฒนธรรมองค์กรที่ไม่สามารถรองรับคุณแม่ที่ทำงานได้” Peter McDonald ศาสตราจารย์ด้านประชากรศาสตร์แห่งมหาวิทยาลัยเมลเบิร์นกล่าวว่า สำหรับนายจ้าง ชีวิตครอบครัวของบุคคลนั้นมีความสำคัญน้อยมากหรือแทบไม่มีเลย “เอเชียตะวันออกโดดเด่นด้วยความคาดหวังในส่วนของนายจ้างที่มีชั่วโมงการทำงานที่ยาวนานมากและการอุทิศตนให้กับงานเป็นอันดับแรกและสำคัญที่สุด” อีกประการหนึ่งที่อาจเป็นอุปสรรคต่อการแต่งงานสำหรับผู้หญิงคือความไม่เท่าเทียมกันทางเพศในการแบ่งงานบ้าน จากรายงานของ OECD ในปี 2015 ผู้ชายเกาหลีใช้เวลาทำงานบ้านโดยเฉลี่ยเพียง 45 นาทีต่อวันซึ่งน้อยกว่าหนึ่งในสามของค่าเฉลี่ย OECD การฝึกส่งข้อความหาคู่ ในหลักสูตรการแต่งงานและครอบครัว นักเรียนจะต้องทำงานร่วมกับคู่หูในแบบฝึกหัดต่าง ๆ นักเรียนเรียกมันว่า “การออกเดทแบบบังคับ” ในขณะที่ศาสตราจารย์ลีเรียกมันว่า “การจับคู่” คู่รักจะต้องทำภารกิจที่อาจจะต้องเผชิญในความสัมพันธ์จริง ๆ ในภายหลัง เช่น การไปเดทในราคาประหยัดวางแผนงานแต่งงานตามทฤษฎี และทำสัญญาการแต่งงานที่ครอบคลุมทุกอย่าง ตั้งแต่การแบ่งงานบ้านและรูปแบบการเลี้ยงดูซึ่งพ่อแม่ อีกทั้งพวกเขายังต้องกลับไปศึกษาพื้นฐานเกี่ยวกับเพศศึกษา เนื่องจากศาสตราจารย์ลีกล่าวว่า โรงเรียนนั้นมุ่งเน้นไปที่การสั่งสอนนักเรียนว่าอย่าตั้งครรภ์ แทนที่จะให้ความรู้ให้ตรงจุด ดังนั้นการเรียนพื้นฐานเกี่ยวกับเพศศึกษา จะทำให้ข้อมูลที่อาจทำให้พวกเขารู้สึกดีมากขึ้นเกี่ยวกับเรื่องเพศ และควบคุมภาวะเจริญพันธุ์ได้มากขึ้น นอกจากการเรียนการสอนในห้องแล้ว ผู้ที่เรียนในวิชานี้ยังต้องออกเดทกับคู่เดทอย่างน้อย 3 คนในหนึ่งเดือน และหลังจากที่ได้ทำความรู้จักกันแล้ว พวกเขาจะต้องบอกกับอาจารย์อีกด้วยว่ารู้สึกกับคนไหนเป็นพิเศษ นอกจากนี้ยังมีการบ้านที่เกี่ยวกับการออกเดทและอภิปรายเกี่ยวกับสถาณการณ์ที่คู่รักต้องเจอ เช่น กรณีทะเลาะหรือมีการหึงหวงกัน ผู้ที่เข้าเรียนจะมีโอกาสได้ทำความเข้าใจวิธีคิดของคนที่ตัวเองคบหา โดยคาดหวังว่าจะนำไปสู่การแก้ปัญหาหรือการคลี่คลายความขัดแย้งร่วมกันโดยไม่ใช้กำลังหรือความรุนแรง สิงคโปร์สร้างแรงจูงใจให้ผู้ปกครองผ่านโครงการ Baby Bonus ซึ่งมอบของขวัญเป็นเงินสดสำหรับเด็ก และยังจับคู่เงินออมของผู้ปกครองสำหรับอนาคตของบุตรหลาน แต่ห้าปีต่อมาดูเหมือนว่ามาตรการเหล่านี้ไม่ได้มีผลต่ออัตราการเกิดที่เพิ่มขึ้นมากนัก เกาหลีพยายามริเริ่มการสร้างสรรค์โครงการของตัวเอง ในปี 2010 พนักงานของกระทรวงสาธารณสุขสวัสดิการและกิจการครอบครัวในกรุงโซลได้รับคำสั่งให้กลับบ้านเร็วขึ้น ในวันพุธ หนึ่งครั้งต่อเดือนและใช้เวลาร่วมกับครอบครัว ซึ่งนี่เป็นการริเริ่มที่เรียกว่า “วันครอบครัว” สำหรับหลักสูตรนี้ จะเป็นหลักสูตรที่ให้นักเรียนทำความเข้าใจเกี่ยวกับตนเอง และเรียนรู้ตนเองให้มาก และที่สำคัญหลักสูตรนี้มีเพื่อเปลี่ยนทัศนคติของผู้หญิงเกาหลี เพื่อให้ผู้หญิงเกาหลีมีทัศนคติที่ดีต่อชีวิตครอบครัว และหลักสูตรนี้อาจจะเพิ่มอัตราการเกิดในอนาคตได้ แปลและเรียบเรียงจาก https://www.bbc.com/worklife/article/20180426-can-classes-help-seouls-marriage-phobic-singles EZ Webmaster Related Posts อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ รวมบุคคลสำคัญของแต่ละมหาวิทยาลัยไทย มาให้ทุกคนได้รู้กัน !! ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา เปิดรอบ 5 รับตรงอิสระ เรียน 6 สาขา ถึง 20 มิ.ย.นี้ สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ Post navigation PREVIOUS Previous post: ศูนย์หนังสือจุฬาฯ จัดกิจกรรมเขียน Blog รีวิวหนังสือเตรียมสอบNEXT Next post: อยากเรียนวิศวกรรมศาสตร์ ต้องทำอย่างไร ? Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
คณะมนุษยศาสตร์ ม.หอการค้าไทย จัดหลักสูตรรุกหน้าการันตี “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน!!” EZ WebmasterJune 18, 2025 “ภาษา” มิใช่เพียงเครื่องมือสื่อสารแต่เป็นกุญแจสำคัญในการเรียนรู้และเข้าใจวัฒนธรรม การคิดวิเคราะห์และสร้างสรรค์นวัตกรรม ผู้ที่มีทักษะด้านภาษาที่แข็งแกร่งจะสามารถเป็นข้อได้เปรียบหรือประสบความสำเร็จได้ในโลกที่เปลี่ยนแปลงและผู้คนทั่วโลกเชื่อมโยงสื่อสารถึงกันได้ในพริบตาแม้จะต่างชาติ ต่างภาษา ต่างวัฒนธรรม การเรียนรู้ฝึกฝนมีทักษะภาษาจึงมิใช่แค่รู้หรือพูดภาษานานาชาติได้เท่านั้น แต่การเรียนภาษาให้มีรายได้ดี มีอาชีพมั่นคง เป็นมนุษย์เงินเดือนอิสระ ถึงขั้นการันตีได้ว่า “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน !!! นั้นก็เป็นสิ่งเพิ่มมูลค่าและมีคุณค่าอย่างน่าภูมิใจ เฉกเช่นที่ล่าสุด Miss World… การตลาดดิจิทัลและระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย จัดกิจกรรมตอบแทนกลับคืนสังคม EZ WebmasterJune 17, 2025 นักศึกษากลุ่มวิชาการตลาดดิจิทัล และกลุ่มวิชาการบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ร่วมทำกิจกรรม Digital Marketing Innovation for Sustainability สร้างสรรค์ประสบการณ์ทางการตลาดดิจิทัลและการบริการสังคม โดยนักศึกษาได้เข้ากิจกรรมปล่อยสัตว์ทะเลที่ธนาคารปู จังหวัดระยอง และบริจากสิ่งของให้กับชมรมผู้พิการทางสติปัญญา จังหวัดชลบุรี ร่วมเรียนรู้การสร้างสรรค์สื่อสำหรับการสื่อสารทางการตลาดดิจิทัล เพื่อสร้างความรับผิดชอบต่อสังคมให้กับนักศึกษาและร่วมสร้างสรรค์สังคมให้น่าอยู่ต่อไป เรียนคณะบริหารธุรกิจแนวใหม่ต้องสัมผัสประสบการณ์แบบนักธุรกิจ ถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์จากคณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญรวมทั้งนักธุรกิจมืออาชีพ… “จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” EZ WebmasterJune 17, 2025 ในนามของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผมขอส่งความห่วงใยมายังพวกเราทุกคนที่กำลังใช้ชีวิตและศึกษาอยู่ในสหรัฐฯ โดยเฉพาะในช่วงเวลาที่มีความไม่แน่นอนเกี่ยวกับนโยบายวีซ่าที่อาจส่งผลต่อสิทธิในการศึกษา เมื่อไม่นานนี้ ผมและผู้บริหารจุฬาฯ มีโอกาสได้ไปเยือน Harvard และ MIT และได้พบกับนักศึกษาชาวไทยหลายคน ทุกคนต่างมีความมุ่งมั่น ตั้งใจ และอดทนในการใฝ่หาความรู้ เพื่อนำมาพัฒนาตนเอง สังคม และประเทศชาติ แม้จะอยู่ท่ามกลางความกังวลใจต่ออนาคตที่ยังไม่ชัดเจน ผมอยากบอกว่าพวกเราที่จุฬาฯ… ทุนดีดี SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ครู-อาจารย์ อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก tui sakrapeeJune 18, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา นำโดย รศ.ดร.ชุติกาญจน์ ศรีวิบูลย์ อธิการบดี พร้อมคณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย เดินทางเยือนโรงเรียนนานาชาติ Qingdao No.1 International School of Shandong Province (QISS) และ Qingdao University… กองกลาง มจพ. เยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ และจัดสัมมนาจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล ประจำปี 2568 EZ WebmasterJune 18, 2025 ผศ.ดร.สราวุฒิ สืบแย้ม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายการคลังและกิจการทั่วไป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยนางสาวรัตนา สุขเฉลิมศรี ผู้อำนวยการกองกลาง และบุคลากรกองกลาง เข้าเยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ มจพ. ณ ชั้น 3 สำนักงานหอสมุดกลาง โดยมีนางสาวพนารมย์ เกียรติลีลานันท์ และ… คณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล มจพ. ชูธงร่วมเครือข่ายจัดใหญ่การประชุมวิชาการ นวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (FIAC) 2025 EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร สมฤกษ์ จันทรอัมพร รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นเจ้าภาพร่วมในการจัดประชุมวิชาการด้านนวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (Food Innovation Asia Conference 2025) พร้อมด้วย รศ.ดร.รัชนี เจริญ คณบดีคณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล และคณะผู้บริหาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ… สมศ. พลิกโฉมการประเมินคุณภาพภายนอกด้วย AI ภายใต้ “ONESQA 5.0” เสริมความโปร่งใส แม่นยำ และพัฒนาอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 17, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยวิสัยทัศน์ และแนวทางการขับเคลื่อนองค์กรด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence – AI) ภายใต้ วิสัยทัศน์ ONESQA 5.0 โดยมุ่งเน้นการนำ AI เข้ามาใช้เพื่อเสริมประสิทธิภาพ ความโปร่งใส และความแม่นยำ ในกระบวนการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา พร้อมยกระดับสู่ความเป็นดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบบ ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster January 22, 2021 EZ Webmaster January 22, 2021 หลักสูตรการแต่งงานและครอบครัว หลักสูตรการแต่งงานและครอบครัว เรียนอะไรบ้าง เรียนไปเพื่ออะไร หลายประเทศในเอเชียตะวันออกมีอัตราการแต่งงานและการเกิดลดลงอย่างมาก แต่ชั้นเรียนของมหาวิทยาลัยดงกุกและมหาวิทยาลัยคยองฮีในกรุงโซลของเกาหลีใต้ มีเป้าหมายเพื่อจะแก้ปัญหาเหล่านั้น ในห้องเรียนที่มหาวิทยาลัยดงกุก ศาสตราจารย์ลีอึนจูสอนอยู่ในหลักสูตร ” การแต่งงานและครอบครัว (marriage and family) ” ชั้นเรียนนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อนำร่องความสัมพันธ์ช่วยคนหนุ่มสาวซึ่งอาจจะมีสักวันหนึ่งที่กับเจอคนที่เหมาะสม ให้มีประสบการณ์และความรู้ที่จะนำไปสู่การแต่งงานและสร้างครอบครัวในอนาคต ซึ่งชั้นเรียนนี้เป็นส่วนหนึ่งของความพยายามที่ขยายกว้างมากขึ้นในเกาหลี เพื่อแก้ไขปัญหาของคนหนุ่มสาวที่ไม่ได้แต่งงานและคนที่ไม่มีลูก นี่เป็นหัวข้อที่ซับซ้อนในประเทศที่มีบทบาททางเพศแบบดั้งเดิมมายาวนาน ซึ่งเริ่มเปลี่ยนแปลงเมื่อเศรษฐกิจเฟื่องฟูในทศวรรษ 1960 อัตราการเกิดที่หย่อนคล้อย มุมมองที่ฝังรากลึกว่า ผู้หญิงเกาหลีมีอาชีพเป็นแม่บ้านเป็นหลัก และผู้ชายเป็นผู้หาเลี้ยงครอบครัวนั้น มีผลกระทบอย่างมากต่อการที่ชายหนุ่มและหญิงสาวในปัจจุบันมองถึงการแต่งงานและการสร้างครอบครัว ในปี 2560 เกาหลีใต้มีอัตราการเกิดที่เลวร้ายที่สุดในประวัติศาสตร์ที่ อัตราส่วนการกำเนิดนั้นเท่ากับผู้หญิงต่อเด็ก 1.05 คน ซึ่งต่ำกว่าระดับ 2.01 ซึ่งเป็นมาตรฐานที่จำเป็นเพื่อให้ประชากรมีเสถียรภาพ แม้ว่ารัฐบาลจะใช้งบประมาณหลายพันล้านดอลลาร์ในการริเริ่ม เพื่อเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของชาติในทศวรรษที่ผ่านมา ซึ่งรวมถึงการให้ระยะเวลาการลาคลอดที่เพิ่มมากขึ้น การจ่ายค่ารักษาภาวะมีบุตรยาก และครอบครัวที่มีบุตรตั้งแต่สามคนขึ้นไปที่ได้รับสิทธิพิเศษในการเข้าถึงการดูแลเด็กของประชาชน เป็นต้น อัตราการเจริญพันธุ์ที่ลดลงเช่นเดียวกันนี้สามารถเห็นได้ในส่วนอื่น ๆ ของเอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น ไต้หวัน ญี่ปุ่น ฮ่องกง และสิงคโปร์ ในเกาหลีใต้ มีวลีใหม่ที่เกิดขึ้นนั่นคือ Sampo Generation คำว่า삼포세대 (สัมโป) หมายถึง“ การเลิกทำสามสิ่ง” ได้แก่ การจีบ การแต่งงานและการเลี้ยงลูก นั่นมาจากค่าครองชีพ และแรงกดดันในการทำงานที่เพิ่มสูงขึ้น จะส่งผลกระทบให้มีการชะลอการแต่งงานและการมีครอบครัว ศาสตราจารย์ลีกล่าวว่า ปรากฏการณ์นี้ได้พัฒนาขึ้นเป็นส่วนหนึ่งของสังคม เนื่องจากคนหนุ่มสาวกำลังดิ้นรนเพื่อหางานทำและอยากมีอิสระทางการเงินในระบบเศรษฐกิจที่เติบโตช้าและการว่างงานที่เพิ่มสูงขึ้น การวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่า ไม่ว่าจะสำหรับผู้หญิงหรือผู้ชาย ความกังวลทางการเงินนั้นเป็นตัวขัดขวางการแต่งงานที่ยิ่งใหญ่ที่สุด และพวกเขากำลังมองว่าเรื่องนี้เป็นเรื่องของการเลือกมากกว่าความจำเป็น ยกตัวอย่าง Ji-Won Kim วัย 24 ปีนักเรียนคนหนึ่งของ ศาสตราจารย์ลี เธอกล่าวว่า “คนรอบตัวของเธอไม่อยากแต่งงานเพราะต้องใช้จ่ายค่าเลี้ยงดูมากเพื่อดูแลลูกและส่งพวกเขาไปโรงเรียน อีกทั้งเธอยังมีเพื่อนผู้หญิงที่มักจะคิดว่า การจ่ายค่าเช่าด้วยตัวเอง ซื้อของที่ต้องการ เลี้ยงลูกหมาและแค่ไปออกเดทกันดีกว่าการที่ต้องแต่งงานมีลูก” ความทันสมัยที่ถูกกดทับ “มีคำกล่าวว่าชีวิตของคุณจะหายไปเมื่อคุณแต่งงานและมีลูก” Ji-Myeong Kim นักเรียนอีกคนของศาสตราจารย์ลี อายุ 24 ปี ไม่ต้องการที่จะลงหลักปักฐานหรือแต่งงาน แต่แฟนคนปัจจุบันของเขาต้องการความมั่นใจเกี่ยวกับทัศนคติภายในครอบครัวของเขา โดยในช่วงหลายทศวรรษที่ผ่านมาผู้หญิงเกาหลีที่เพิ่งแต่งงานใหม่ ถูกคาดหวังว่าจะออกจากครอบครัวของตัวเองและเข้าร่วมกับครอบครัวของสามี ซึ่งเทอจะจัดอยู่ในตำแหน่งที่ต่ำที่สุดในลำดับชั้นของบ้าน ดังนั้น คิมต้องทำให้แฟนสาวของเขามั่นใจว่าครอบครัวของเขา ไม่ได้ยึดติดกับวิถีแบบเดิม ๆ นั้นดังที่กล่าวมา Jean Yeung ศาสตราจารย์และผู้อำนวยการศูนย์วิจัยครอบครัวและประชากรแห่งมหาวิทยาลัยแห่งชาติสิงคโปร์ ชี้ให้เห็นว่าประเทศต่าง ๆ เช่น เกาหลีและสิงคโปร์มี “ความทันสมัยที่ถูกกดทับ” ซึ่งเป็นช่วงเวลาแห่งการเปลี่ยนแปลงทางสังคมอย่างรวดเร็วซึ่งมาพร้อมกับการก้าวไปข้างหน้าทางเศรษฐกิจที่สำคัญ “การเปลี่ยนแปลงที่อาจต้องใช้เวลาหนึ่งศตวรรษหรือมากกว่านั้นจึงจะเกิดขึ้นในยุโรป ใช้เวลาสองหรือสามทศวรรษจึงจะเกิดขึ้นในเอเชีย ในหลาย ๆ ด้านเศรษฐกิจการศึกษาและบทบาทของผู้หญิงเปลี่ยนไปอย่างรวดเร็วจนสถาบันและบรรทัดฐานทางสังคมไม่สามารถตามทัน” พื้นที่สำคัญอย่างหนึ่งที่ไม่สามารถตอบสนองความต้องการของครอบครัวสมัยใหม่ได้ คือ โลกขององค์กร ผู้หญิงหลายคนบอกว่า “ ไม่อยากกังวลกับการเลี้ยงดูลูกน้อย ในวัฒนธรรมองค์กรที่ไม่สามารถรองรับคุณแม่ที่ทำงานได้” Peter McDonald ศาสตราจารย์ด้านประชากรศาสตร์แห่งมหาวิทยาลัยเมลเบิร์นกล่าวว่า สำหรับนายจ้าง ชีวิตครอบครัวของบุคคลนั้นมีความสำคัญน้อยมากหรือแทบไม่มีเลย “เอเชียตะวันออกโดดเด่นด้วยความคาดหวังในส่วนของนายจ้างที่มีชั่วโมงการทำงานที่ยาวนานมากและการอุทิศตนให้กับงานเป็นอันดับแรกและสำคัญที่สุด” อีกประการหนึ่งที่อาจเป็นอุปสรรคต่อการแต่งงานสำหรับผู้หญิงคือความไม่เท่าเทียมกันทางเพศในการแบ่งงานบ้าน จากรายงานของ OECD ในปี 2015 ผู้ชายเกาหลีใช้เวลาทำงานบ้านโดยเฉลี่ยเพียง 45 นาทีต่อวันซึ่งน้อยกว่าหนึ่งในสามของค่าเฉลี่ย OECD การฝึกส่งข้อความหาคู่ ในหลักสูตรการแต่งงานและครอบครัว นักเรียนจะต้องทำงานร่วมกับคู่หูในแบบฝึกหัดต่าง ๆ นักเรียนเรียกมันว่า “การออกเดทแบบบังคับ” ในขณะที่ศาสตราจารย์ลีเรียกมันว่า “การจับคู่” คู่รักจะต้องทำภารกิจที่อาจจะต้องเผชิญในความสัมพันธ์จริง ๆ ในภายหลัง เช่น การไปเดทในราคาประหยัดวางแผนงานแต่งงานตามทฤษฎี และทำสัญญาการแต่งงานที่ครอบคลุมทุกอย่าง ตั้งแต่การแบ่งงานบ้านและรูปแบบการเลี้ยงดูซึ่งพ่อแม่ อีกทั้งพวกเขายังต้องกลับไปศึกษาพื้นฐานเกี่ยวกับเพศศึกษา เนื่องจากศาสตราจารย์ลีกล่าวว่า โรงเรียนนั้นมุ่งเน้นไปที่การสั่งสอนนักเรียนว่าอย่าตั้งครรภ์ แทนที่จะให้ความรู้ให้ตรงจุด ดังนั้นการเรียนพื้นฐานเกี่ยวกับเพศศึกษา จะทำให้ข้อมูลที่อาจทำให้พวกเขารู้สึกดีมากขึ้นเกี่ยวกับเรื่องเพศ และควบคุมภาวะเจริญพันธุ์ได้มากขึ้น นอกจากการเรียนการสอนในห้องแล้ว ผู้ที่เรียนในวิชานี้ยังต้องออกเดทกับคู่เดทอย่างน้อย 3 คนในหนึ่งเดือน และหลังจากที่ได้ทำความรู้จักกันแล้ว พวกเขาจะต้องบอกกับอาจารย์อีกด้วยว่ารู้สึกกับคนไหนเป็นพิเศษ นอกจากนี้ยังมีการบ้านที่เกี่ยวกับการออกเดทและอภิปรายเกี่ยวกับสถาณการณ์ที่คู่รักต้องเจอ เช่น กรณีทะเลาะหรือมีการหึงหวงกัน ผู้ที่เข้าเรียนจะมีโอกาสได้ทำความเข้าใจวิธีคิดของคนที่ตัวเองคบหา โดยคาดหวังว่าจะนำไปสู่การแก้ปัญหาหรือการคลี่คลายความขัดแย้งร่วมกันโดยไม่ใช้กำลังหรือความรุนแรง สิงคโปร์สร้างแรงจูงใจให้ผู้ปกครองผ่านโครงการ Baby Bonus ซึ่งมอบของขวัญเป็นเงินสดสำหรับเด็ก และยังจับคู่เงินออมของผู้ปกครองสำหรับอนาคตของบุตรหลาน แต่ห้าปีต่อมาดูเหมือนว่ามาตรการเหล่านี้ไม่ได้มีผลต่ออัตราการเกิดที่เพิ่มขึ้นมากนัก เกาหลีพยายามริเริ่มการสร้างสรรค์โครงการของตัวเอง ในปี 2010 พนักงานของกระทรวงสาธารณสุขสวัสดิการและกิจการครอบครัวในกรุงโซลได้รับคำสั่งให้กลับบ้านเร็วขึ้น ในวันพุธ หนึ่งครั้งต่อเดือนและใช้เวลาร่วมกับครอบครัว ซึ่งนี่เป็นการริเริ่มที่เรียกว่า “วันครอบครัว” สำหรับหลักสูตรนี้ จะเป็นหลักสูตรที่ให้นักเรียนทำความเข้าใจเกี่ยวกับตนเอง และเรียนรู้ตนเองให้มาก และที่สำคัญหลักสูตรนี้มีเพื่อเปลี่ยนทัศนคติของผู้หญิงเกาหลี เพื่อให้ผู้หญิงเกาหลีมีทัศนคติที่ดีต่อชีวิตครอบครัว และหลักสูตรนี้อาจจะเพิ่มอัตราการเกิดในอนาคตได้ แปลและเรียบเรียงจาก https://www.bbc.com/worklife/article/20180426-can-classes-help-seouls-marriage-phobic-singles EZ Webmaster Related Posts อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ รวมบุคคลสำคัญของแต่ละมหาวิทยาลัยไทย มาให้ทุกคนได้รู้กัน !! ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา เปิดรอบ 5 รับตรงอิสระ เรียน 6 สาขา ถึง 20 มิ.ย.นี้ สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ Post navigation PREVIOUS Previous post: ศูนย์หนังสือจุฬาฯ จัดกิจกรรมเขียน Blog รีวิวหนังสือเตรียมสอบNEXT Next post: อยากเรียนวิศวกรรมศาสตร์ ต้องทำอย่างไร ? Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
การตลาดดิจิทัลและระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย จัดกิจกรรมตอบแทนกลับคืนสังคม EZ WebmasterJune 17, 2025 นักศึกษากลุ่มวิชาการตลาดดิจิทัล และกลุ่มวิชาการบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ร่วมทำกิจกรรม Digital Marketing Innovation for Sustainability สร้างสรรค์ประสบการณ์ทางการตลาดดิจิทัลและการบริการสังคม โดยนักศึกษาได้เข้ากิจกรรมปล่อยสัตว์ทะเลที่ธนาคารปู จังหวัดระยอง และบริจากสิ่งของให้กับชมรมผู้พิการทางสติปัญญา จังหวัดชลบุรี ร่วมเรียนรู้การสร้างสรรค์สื่อสำหรับการสื่อสารทางการตลาดดิจิทัล เพื่อสร้างความรับผิดชอบต่อสังคมให้กับนักศึกษาและร่วมสร้างสรรค์สังคมให้น่าอยู่ต่อไป เรียนคณะบริหารธุรกิจแนวใหม่ต้องสัมผัสประสบการณ์แบบนักธุรกิจ ถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์จากคณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญรวมทั้งนักธุรกิจมืออาชีพ… “จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” EZ WebmasterJune 17, 2025 ในนามของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผมขอส่งความห่วงใยมายังพวกเราทุกคนที่กำลังใช้ชีวิตและศึกษาอยู่ในสหรัฐฯ โดยเฉพาะในช่วงเวลาที่มีความไม่แน่นอนเกี่ยวกับนโยบายวีซ่าที่อาจส่งผลต่อสิทธิในการศึกษา เมื่อไม่นานนี้ ผมและผู้บริหารจุฬาฯ มีโอกาสได้ไปเยือน Harvard และ MIT และได้พบกับนักศึกษาชาวไทยหลายคน ทุกคนต่างมีความมุ่งมั่น ตั้งใจ และอดทนในการใฝ่หาความรู้ เพื่อนำมาพัฒนาตนเอง สังคม และประเทศชาติ แม้จะอยู่ท่ามกลางความกังวลใจต่ออนาคตที่ยังไม่ชัดเจน ผมอยากบอกว่าพวกเราที่จุฬาฯ…
“จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” EZ WebmasterJune 17, 2025 ในนามของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผมขอส่งความห่วงใยมายังพวกเราทุกคนที่กำลังใช้ชีวิตและศึกษาอยู่ในสหรัฐฯ โดยเฉพาะในช่วงเวลาที่มีความไม่แน่นอนเกี่ยวกับนโยบายวีซ่าที่อาจส่งผลต่อสิทธิในการศึกษา เมื่อไม่นานนี้ ผมและผู้บริหารจุฬาฯ มีโอกาสได้ไปเยือน Harvard และ MIT และได้พบกับนักศึกษาชาวไทยหลายคน ทุกคนต่างมีความมุ่งมั่น ตั้งใจ และอดทนในการใฝ่หาความรู้ เพื่อนำมาพัฒนาตนเอง สังคม และประเทศชาติ แม้จะอยู่ท่ามกลางความกังวลใจต่ออนาคตที่ยังไม่ชัดเจน ผมอยากบอกว่าพวกเราที่จุฬาฯ…
SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ครู-อาจารย์ อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก tui sakrapeeJune 18, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา นำโดย รศ.ดร.ชุติกาญจน์ ศรีวิบูลย์ อธิการบดี พร้อมคณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย เดินทางเยือนโรงเรียนนานาชาติ Qingdao No.1 International School of Shandong Province (QISS) และ Qingdao University… กองกลาง มจพ. เยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ และจัดสัมมนาจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล ประจำปี 2568 EZ WebmasterJune 18, 2025 ผศ.ดร.สราวุฒิ สืบแย้ม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายการคลังและกิจการทั่วไป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยนางสาวรัตนา สุขเฉลิมศรี ผู้อำนวยการกองกลาง และบุคลากรกองกลาง เข้าเยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ มจพ. ณ ชั้น 3 สำนักงานหอสมุดกลาง โดยมีนางสาวพนารมย์ เกียรติลีลานันท์ และ… คณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล มจพ. ชูธงร่วมเครือข่ายจัดใหญ่การประชุมวิชาการ นวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (FIAC) 2025 EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร สมฤกษ์ จันทรอัมพร รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นเจ้าภาพร่วมในการจัดประชุมวิชาการด้านนวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (Food Innovation Asia Conference 2025) พร้อมด้วย รศ.ดร.รัชนี เจริญ คณบดีคณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล และคณะผู้บริหาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ… สมศ. พลิกโฉมการประเมินคุณภาพภายนอกด้วย AI ภายใต้ “ONESQA 5.0” เสริมความโปร่งใส แม่นยำ และพัฒนาอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 17, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยวิสัยทัศน์ และแนวทางการขับเคลื่อนองค์กรด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence – AI) ภายใต้ วิสัยทัศน์ ONESQA 5.0 โดยมุ่งเน้นการนำ AI เข้ามาใช้เพื่อเสริมประสิทธิภาพ ความโปร่งใส และความแม่นยำ ในกระบวนการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา พร้อมยกระดับสู่ความเป็นดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบบ ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster January 22, 2021 EZ Webmaster January 22, 2021 หลักสูตรการแต่งงานและครอบครัว หลักสูตรการแต่งงานและครอบครัว เรียนอะไรบ้าง เรียนไปเพื่ออะไร หลายประเทศในเอเชียตะวันออกมีอัตราการแต่งงานและการเกิดลดลงอย่างมาก แต่ชั้นเรียนของมหาวิทยาลัยดงกุกและมหาวิทยาลัยคยองฮีในกรุงโซลของเกาหลีใต้ มีเป้าหมายเพื่อจะแก้ปัญหาเหล่านั้น ในห้องเรียนที่มหาวิทยาลัยดงกุก ศาสตราจารย์ลีอึนจูสอนอยู่ในหลักสูตร ” การแต่งงานและครอบครัว (marriage and family) ” ชั้นเรียนนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อนำร่องความสัมพันธ์ช่วยคนหนุ่มสาวซึ่งอาจจะมีสักวันหนึ่งที่กับเจอคนที่เหมาะสม ให้มีประสบการณ์และความรู้ที่จะนำไปสู่การแต่งงานและสร้างครอบครัวในอนาคต ซึ่งชั้นเรียนนี้เป็นส่วนหนึ่งของความพยายามที่ขยายกว้างมากขึ้นในเกาหลี เพื่อแก้ไขปัญหาของคนหนุ่มสาวที่ไม่ได้แต่งงานและคนที่ไม่มีลูก นี่เป็นหัวข้อที่ซับซ้อนในประเทศที่มีบทบาททางเพศแบบดั้งเดิมมายาวนาน ซึ่งเริ่มเปลี่ยนแปลงเมื่อเศรษฐกิจเฟื่องฟูในทศวรรษ 1960 อัตราการเกิดที่หย่อนคล้อย มุมมองที่ฝังรากลึกว่า ผู้หญิงเกาหลีมีอาชีพเป็นแม่บ้านเป็นหลัก และผู้ชายเป็นผู้หาเลี้ยงครอบครัวนั้น มีผลกระทบอย่างมากต่อการที่ชายหนุ่มและหญิงสาวในปัจจุบันมองถึงการแต่งงานและการสร้างครอบครัว ในปี 2560 เกาหลีใต้มีอัตราการเกิดที่เลวร้ายที่สุดในประวัติศาสตร์ที่ อัตราส่วนการกำเนิดนั้นเท่ากับผู้หญิงต่อเด็ก 1.05 คน ซึ่งต่ำกว่าระดับ 2.01 ซึ่งเป็นมาตรฐานที่จำเป็นเพื่อให้ประชากรมีเสถียรภาพ แม้ว่ารัฐบาลจะใช้งบประมาณหลายพันล้านดอลลาร์ในการริเริ่ม เพื่อเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของชาติในทศวรรษที่ผ่านมา ซึ่งรวมถึงการให้ระยะเวลาการลาคลอดที่เพิ่มมากขึ้น การจ่ายค่ารักษาภาวะมีบุตรยาก และครอบครัวที่มีบุตรตั้งแต่สามคนขึ้นไปที่ได้รับสิทธิพิเศษในการเข้าถึงการดูแลเด็กของประชาชน เป็นต้น อัตราการเจริญพันธุ์ที่ลดลงเช่นเดียวกันนี้สามารถเห็นได้ในส่วนอื่น ๆ ของเอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น ไต้หวัน ญี่ปุ่น ฮ่องกง และสิงคโปร์ ในเกาหลีใต้ มีวลีใหม่ที่เกิดขึ้นนั่นคือ Sampo Generation คำว่า삼포세대 (สัมโป) หมายถึง“ การเลิกทำสามสิ่ง” ได้แก่ การจีบ การแต่งงานและการเลี้ยงลูก นั่นมาจากค่าครองชีพ และแรงกดดันในการทำงานที่เพิ่มสูงขึ้น จะส่งผลกระทบให้มีการชะลอการแต่งงานและการมีครอบครัว ศาสตราจารย์ลีกล่าวว่า ปรากฏการณ์นี้ได้พัฒนาขึ้นเป็นส่วนหนึ่งของสังคม เนื่องจากคนหนุ่มสาวกำลังดิ้นรนเพื่อหางานทำและอยากมีอิสระทางการเงินในระบบเศรษฐกิจที่เติบโตช้าและการว่างงานที่เพิ่มสูงขึ้น การวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่า ไม่ว่าจะสำหรับผู้หญิงหรือผู้ชาย ความกังวลทางการเงินนั้นเป็นตัวขัดขวางการแต่งงานที่ยิ่งใหญ่ที่สุด และพวกเขากำลังมองว่าเรื่องนี้เป็นเรื่องของการเลือกมากกว่าความจำเป็น ยกตัวอย่าง Ji-Won Kim วัย 24 ปีนักเรียนคนหนึ่งของ ศาสตราจารย์ลี เธอกล่าวว่า “คนรอบตัวของเธอไม่อยากแต่งงานเพราะต้องใช้จ่ายค่าเลี้ยงดูมากเพื่อดูแลลูกและส่งพวกเขาไปโรงเรียน อีกทั้งเธอยังมีเพื่อนผู้หญิงที่มักจะคิดว่า การจ่ายค่าเช่าด้วยตัวเอง ซื้อของที่ต้องการ เลี้ยงลูกหมาและแค่ไปออกเดทกันดีกว่าการที่ต้องแต่งงานมีลูก” ความทันสมัยที่ถูกกดทับ “มีคำกล่าวว่าชีวิตของคุณจะหายไปเมื่อคุณแต่งงานและมีลูก” Ji-Myeong Kim นักเรียนอีกคนของศาสตราจารย์ลี อายุ 24 ปี ไม่ต้องการที่จะลงหลักปักฐานหรือแต่งงาน แต่แฟนคนปัจจุบันของเขาต้องการความมั่นใจเกี่ยวกับทัศนคติภายในครอบครัวของเขา โดยในช่วงหลายทศวรรษที่ผ่านมาผู้หญิงเกาหลีที่เพิ่งแต่งงานใหม่ ถูกคาดหวังว่าจะออกจากครอบครัวของตัวเองและเข้าร่วมกับครอบครัวของสามี ซึ่งเทอจะจัดอยู่ในตำแหน่งที่ต่ำที่สุดในลำดับชั้นของบ้าน ดังนั้น คิมต้องทำให้แฟนสาวของเขามั่นใจว่าครอบครัวของเขา ไม่ได้ยึดติดกับวิถีแบบเดิม ๆ นั้นดังที่กล่าวมา Jean Yeung ศาสตราจารย์และผู้อำนวยการศูนย์วิจัยครอบครัวและประชากรแห่งมหาวิทยาลัยแห่งชาติสิงคโปร์ ชี้ให้เห็นว่าประเทศต่าง ๆ เช่น เกาหลีและสิงคโปร์มี “ความทันสมัยที่ถูกกดทับ” ซึ่งเป็นช่วงเวลาแห่งการเปลี่ยนแปลงทางสังคมอย่างรวดเร็วซึ่งมาพร้อมกับการก้าวไปข้างหน้าทางเศรษฐกิจที่สำคัญ “การเปลี่ยนแปลงที่อาจต้องใช้เวลาหนึ่งศตวรรษหรือมากกว่านั้นจึงจะเกิดขึ้นในยุโรป ใช้เวลาสองหรือสามทศวรรษจึงจะเกิดขึ้นในเอเชีย ในหลาย ๆ ด้านเศรษฐกิจการศึกษาและบทบาทของผู้หญิงเปลี่ยนไปอย่างรวดเร็วจนสถาบันและบรรทัดฐานทางสังคมไม่สามารถตามทัน” พื้นที่สำคัญอย่างหนึ่งที่ไม่สามารถตอบสนองความต้องการของครอบครัวสมัยใหม่ได้ คือ โลกขององค์กร ผู้หญิงหลายคนบอกว่า “ ไม่อยากกังวลกับการเลี้ยงดูลูกน้อย ในวัฒนธรรมองค์กรที่ไม่สามารถรองรับคุณแม่ที่ทำงานได้” Peter McDonald ศาสตราจารย์ด้านประชากรศาสตร์แห่งมหาวิทยาลัยเมลเบิร์นกล่าวว่า สำหรับนายจ้าง ชีวิตครอบครัวของบุคคลนั้นมีความสำคัญน้อยมากหรือแทบไม่มีเลย “เอเชียตะวันออกโดดเด่นด้วยความคาดหวังในส่วนของนายจ้างที่มีชั่วโมงการทำงานที่ยาวนานมากและการอุทิศตนให้กับงานเป็นอันดับแรกและสำคัญที่สุด” อีกประการหนึ่งที่อาจเป็นอุปสรรคต่อการแต่งงานสำหรับผู้หญิงคือความไม่เท่าเทียมกันทางเพศในการแบ่งงานบ้าน จากรายงานของ OECD ในปี 2015 ผู้ชายเกาหลีใช้เวลาทำงานบ้านโดยเฉลี่ยเพียง 45 นาทีต่อวันซึ่งน้อยกว่าหนึ่งในสามของค่าเฉลี่ย OECD การฝึกส่งข้อความหาคู่ ในหลักสูตรการแต่งงานและครอบครัว นักเรียนจะต้องทำงานร่วมกับคู่หูในแบบฝึกหัดต่าง ๆ นักเรียนเรียกมันว่า “การออกเดทแบบบังคับ” ในขณะที่ศาสตราจารย์ลีเรียกมันว่า “การจับคู่” คู่รักจะต้องทำภารกิจที่อาจจะต้องเผชิญในความสัมพันธ์จริง ๆ ในภายหลัง เช่น การไปเดทในราคาประหยัดวางแผนงานแต่งงานตามทฤษฎี และทำสัญญาการแต่งงานที่ครอบคลุมทุกอย่าง ตั้งแต่การแบ่งงานบ้านและรูปแบบการเลี้ยงดูซึ่งพ่อแม่ อีกทั้งพวกเขายังต้องกลับไปศึกษาพื้นฐานเกี่ยวกับเพศศึกษา เนื่องจากศาสตราจารย์ลีกล่าวว่า โรงเรียนนั้นมุ่งเน้นไปที่การสั่งสอนนักเรียนว่าอย่าตั้งครรภ์ แทนที่จะให้ความรู้ให้ตรงจุด ดังนั้นการเรียนพื้นฐานเกี่ยวกับเพศศึกษา จะทำให้ข้อมูลที่อาจทำให้พวกเขารู้สึกดีมากขึ้นเกี่ยวกับเรื่องเพศ และควบคุมภาวะเจริญพันธุ์ได้มากขึ้น นอกจากการเรียนการสอนในห้องแล้ว ผู้ที่เรียนในวิชานี้ยังต้องออกเดทกับคู่เดทอย่างน้อย 3 คนในหนึ่งเดือน และหลังจากที่ได้ทำความรู้จักกันแล้ว พวกเขาจะต้องบอกกับอาจารย์อีกด้วยว่ารู้สึกกับคนไหนเป็นพิเศษ นอกจากนี้ยังมีการบ้านที่เกี่ยวกับการออกเดทและอภิปรายเกี่ยวกับสถาณการณ์ที่คู่รักต้องเจอ เช่น กรณีทะเลาะหรือมีการหึงหวงกัน ผู้ที่เข้าเรียนจะมีโอกาสได้ทำความเข้าใจวิธีคิดของคนที่ตัวเองคบหา โดยคาดหวังว่าจะนำไปสู่การแก้ปัญหาหรือการคลี่คลายความขัดแย้งร่วมกันโดยไม่ใช้กำลังหรือความรุนแรง สิงคโปร์สร้างแรงจูงใจให้ผู้ปกครองผ่านโครงการ Baby Bonus ซึ่งมอบของขวัญเป็นเงินสดสำหรับเด็ก และยังจับคู่เงินออมของผู้ปกครองสำหรับอนาคตของบุตรหลาน แต่ห้าปีต่อมาดูเหมือนว่ามาตรการเหล่านี้ไม่ได้มีผลต่ออัตราการเกิดที่เพิ่มขึ้นมากนัก เกาหลีพยายามริเริ่มการสร้างสรรค์โครงการของตัวเอง ในปี 2010 พนักงานของกระทรวงสาธารณสุขสวัสดิการและกิจการครอบครัวในกรุงโซลได้รับคำสั่งให้กลับบ้านเร็วขึ้น ในวันพุธ หนึ่งครั้งต่อเดือนและใช้เวลาร่วมกับครอบครัว ซึ่งนี่เป็นการริเริ่มที่เรียกว่า “วันครอบครัว” สำหรับหลักสูตรนี้ จะเป็นหลักสูตรที่ให้นักเรียนทำความเข้าใจเกี่ยวกับตนเอง และเรียนรู้ตนเองให้มาก และที่สำคัญหลักสูตรนี้มีเพื่อเปลี่ยนทัศนคติของผู้หญิงเกาหลี เพื่อให้ผู้หญิงเกาหลีมีทัศนคติที่ดีต่อชีวิตครอบครัว และหลักสูตรนี้อาจจะเพิ่มอัตราการเกิดในอนาคตได้ แปลและเรียบเรียงจาก https://www.bbc.com/worklife/article/20180426-can-classes-help-seouls-marriage-phobic-singles EZ Webmaster Related Posts อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ รวมบุคคลสำคัญของแต่ละมหาวิทยาลัยไทย มาให้ทุกคนได้รู้กัน !! ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา เปิดรอบ 5 รับตรงอิสระ เรียน 6 สาขา ถึง 20 มิ.ย.นี้ สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ Post navigation PREVIOUS Previous post: ศูนย์หนังสือจุฬาฯ จัดกิจกรรมเขียน Blog รีวิวหนังสือเตรียมสอบNEXT Next post: อยากเรียนวิศวกรรมศาสตร์ ต้องทำอย่างไร ? Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ครู-อาจารย์ อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก tui sakrapeeJune 18, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา นำโดย รศ.ดร.ชุติกาญจน์ ศรีวิบูลย์ อธิการบดี พร้อมคณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย เดินทางเยือนโรงเรียนนานาชาติ Qingdao No.1 International School of Shandong Province (QISS) และ Qingdao University… กองกลาง มจพ. เยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ และจัดสัมมนาจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล ประจำปี 2568 EZ WebmasterJune 18, 2025 ผศ.ดร.สราวุฒิ สืบแย้ม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายการคลังและกิจการทั่วไป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยนางสาวรัตนา สุขเฉลิมศรี ผู้อำนวยการกองกลาง และบุคลากรกองกลาง เข้าเยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ มจพ. ณ ชั้น 3 สำนักงานหอสมุดกลาง โดยมีนางสาวพนารมย์ เกียรติลีลานันท์ และ… คณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล มจพ. ชูธงร่วมเครือข่ายจัดใหญ่การประชุมวิชาการ นวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (FIAC) 2025 EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร สมฤกษ์ จันทรอัมพร รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นเจ้าภาพร่วมในการจัดประชุมวิชาการด้านนวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (Food Innovation Asia Conference 2025) พร้อมด้วย รศ.ดร.รัชนี เจริญ คณบดีคณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล และคณะผู้บริหาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ… สมศ. พลิกโฉมการประเมินคุณภาพภายนอกด้วย AI ภายใต้ “ONESQA 5.0” เสริมความโปร่งใส แม่นยำ และพัฒนาอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 17, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยวิสัยทัศน์ และแนวทางการขับเคลื่อนองค์กรด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence – AI) ภายใต้ วิสัยทัศน์ ONESQA 5.0 โดยมุ่งเน้นการนำ AI เข้ามาใช้เพื่อเสริมประสิทธิภาพ ความโปร่งใส และความแม่นยำ ในกระบวนการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา พร้อมยกระดับสู่ความเป็นดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบบ ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster January 22, 2021 EZ Webmaster January 22, 2021 หลักสูตรการแต่งงานและครอบครัว หลักสูตรการแต่งงานและครอบครัว เรียนอะไรบ้าง เรียนไปเพื่ออะไร หลายประเทศในเอเชียตะวันออกมีอัตราการแต่งงานและการเกิดลดลงอย่างมาก แต่ชั้นเรียนของมหาวิทยาลัยดงกุกและมหาวิทยาลัยคยองฮีในกรุงโซลของเกาหลีใต้ มีเป้าหมายเพื่อจะแก้ปัญหาเหล่านั้น ในห้องเรียนที่มหาวิทยาลัยดงกุก ศาสตราจารย์ลีอึนจูสอนอยู่ในหลักสูตร ” การแต่งงานและครอบครัว (marriage and family) ” ชั้นเรียนนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อนำร่องความสัมพันธ์ช่วยคนหนุ่มสาวซึ่งอาจจะมีสักวันหนึ่งที่กับเจอคนที่เหมาะสม ให้มีประสบการณ์และความรู้ที่จะนำไปสู่การแต่งงานและสร้างครอบครัวในอนาคต ซึ่งชั้นเรียนนี้เป็นส่วนหนึ่งของความพยายามที่ขยายกว้างมากขึ้นในเกาหลี เพื่อแก้ไขปัญหาของคนหนุ่มสาวที่ไม่ได้แต่งงานและคนที่ไม่มีลูก นี่เป็นหัวข้อที่ซับซ้อนในประเทศที่มีบทบาททางเพศแบบดั้งเดิมมายาวนาน ซึ่งเริ่มเปลี่ยนแปลงเมื่อเศรษฐกิจเฟื่องฟูในทศวรรษ 1960 อัตราการเกิดที่หย่อนคล้อย มุมมองที่ฝังรากลึกว่า ผู้หญิงเกาหลีมีอาชีพเป็นแม่บ้านเป็นหลัก และผู้ชายเป็นผู้หาเลี้ยงครอบครัวนั้น มีผลกระทบอย่างมากต่อการที่ชายหนุ่มและหญิงสาวในปัจจุบันมองถึงการแต่งงานและการสร้างครอบครัว ในปี 2560 เกาหลีใต้มีอัตราการเกิดที่เลวร้ายที่สุดในประวัติศาสตร์ที่ อัตราส่วนการกำเนิดนั้นเท่ากับผู้หญิงต่อเด็ก 1.05 คน ซึ่งต่ำกว่าระดับ 2.01 ซึ่งเป็นมาตรฐานที่จำเป็นเพื่อให้ประชากรมีเสถียรภาพ แม้ว่ารัฐบาลจะใช้งบประมาณหลายพันล้านดอลลาร์ในการริเริ่ม เพื่อเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของชาติในทศวรรษที่ผ่านมา ซึ่งรวมถึงการให้ระยะเวลาการลาคลอดที่เพิ่มมากขึ้น การจ่ายค่ารักษาภาวะมีบุตรยาก และครอบครัวที่มีบุตรตั้งแต่สามคนขึ้นไปที่ได้รับสิทธิพิเศษในการเข้าถึงการดูแลเด็กของประชาชน เป็นต้น อัตราการเจริญพันธุ์ที่ลดลงเช่นเดียวกันนี้สามารถเห็นได้ในส่วนอื่น ๆ ของเอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น ไต้หวัน ญี่ปุ่น ฮ่องกง และสิงคโปร์ ในเกาหลีใต้ มีวลีใหม่ที่เกิดขึ้นนั่นคือ Sampo Generation คำว่า삼포세대 (สัมโป) หมายถึง“ การเลิกทำสามสิ่ง” ได้แก่ การจีบ การแต่งงานและการเลี้ยงลูก นั่นมาจากค่าครองชีพ และแรงกดดันในการทำงานที่เพิ่มสูงขึ้น จะส่งผลกระทบให้มีการชะลอการแต่งงานและการมีครอบครัว ศาสตราจารย์ลีกล่าวว่า ปรากฏการณ์นี้ได้พัฒนาขึ้นเป็นส่วนหนึ่งของสังคม เนื่องจากคนหนุ่มสาวกำลังดิ้นรนเพื่อหางานทำและอยากมีอิสระทางการเงินในระบบเศรษฐกิจที่เติบโตช้าและการว่างงานที่เพิ่มสูงขึ้น การวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่า ไม่ว่าจะสำหรับผู้หญิงหรือผู้ชาย ความกังวลทางการเงินนั้นเป็นตัวขัดขวางการแต่งงานที่ยิ่งใหญ่ที่สุด และพวกเขากำลังมองว่าเรื่องนี้เป็นเรื่องของการเลือกมากกว่าความจำเป็น ยกตัวอย่าง Ji-Won Kim วัย 24 ปีนักเรียนคนหนึ่งของ ศาสตราจารย์ลี เธอกล่าวว่า “คนรอบตัวของเธอไม่อยากแต่งงานเพราะต้องใช้จ่ายค่าเลี้ยงดูมากเพื่อดูแลลูกและส่งพวกเขาไปโรงเรียน อีกทั้งเธอยังมีเพื่อนผู้หญิงที่มักจะคิดว่า การจ่ายค่าเช่าด้วยตัวเอง ซื้อของที่ต้องการ เลี้ยงลูกหมาและแค่ไปออกเดทกันดีกว่าการที่ต้องแต่งงานมีลูก” ความทันสมัยที่ถูกกดทับ “มีคำกล่าวว่าชีวิตของคุณจะหายไปเมื่อคุณแต่งงานและมีลูก” Ji-Myeong Kim นักเรียนอีกคนของศาสตราจารย์ลี อายุ 24 ปี ไม่ต้องการที่จะลงหลักปักฐานหรือแต่งงาน แต่แฟนคนปัจจุบันของเขาต้องการความมั่นใจเกี่ยวกับทัศนคติภายในครอบครัวของเขา โดยในช่วงหลายทศวรรษที่ผ่านมาผู้หญิงเกาหลีที่เพิ่งแต่งงานใหม่ ถูกคาดหวังว่าจะออกจากครอบครัวของตัวเองและเข้าร่วมกับครอบครัวของสามี ซึ่งเทอจะจัดอยู่ในตำแหน่งที่ต่ำที่สุดในลำดับชั้นของบ้าน ดังนั้น คิมต้องทำให้แฟนสาวของเขามั่นใจว่าครอบครัวของเขา ไม่ได้ยึดติดกับวิถีแบบเดิม ๆ นั้นดังที่กล่าวมา Jean Yeung ศาสตราจารย์และผู้อำนวยการศูนย์วิจัยครอบครัวและประชากรแห่งมหาวิทยาลัยแห่งชาติสิงคโปร์ ชี้ให้เห็นว่าประเทศต่าง ๆ เช่น เกาหลีและสิงคโปร์มี “ความทันสมัยที่ถูกกดทับ” ซึ่งเป็นช่วงเวลาแห่งการเปลี่ยนแปลงทางสังคมอย่างรวดเร็วซึ่งมาพร้อมกับการก้าวไปข้างหน้าทางเศรษฐกิจที่สำคัญ “การเปลี่ยนแปลงที่อาจต้องใช้เวลาหนึ่งศตวรรษหรือมากกว่านั้นจึงจะเกิดขึ้นในยุโรป ใช้เวลาสองหรือสามทศวรรษจึงจะเกิดขึ้นในเอเชีย ในหลาย ๆ ด้านเศรษฐกิจการศึกษาและบทบาทของผู้หญิงเปลี่ยนไปอย่างรวดเร็วจนสถาบันและบรรทัดฐานทางสังคมไม่สามารถตามทัน” พื้นที่สำคัญอย่างหนึ่งที่ไม่สามารถตอบสนองความต้องการของครอบครัวสมัยใหม่ได้ คือ โลกขององค์กร ผู้หญิงหลายคนบอกว่า “ ไม่อยากกังวลกับการเลี้ยงดูลูกน้อย ในวัฒนธรรมองค์กรที่ไม่สามารถรองรับคุณแม่ที่ทำงานได้” Peter McDonald ศาสตราจารย์ด้านประชากรศาสตร์แห่งมหาวิทยาลัยเมลเบิร์นกล่าวว่า สำหรับนายจ้าง ชีวิตครอบครัวของบุคคลนั้นมีความสำคัญน้อยมากหรือแทบไม่มีเลย “เอเชียตะวันออกโดดเด่นด้วยความคาดหวังในส่วนของนายจ้างที่มีชั่วโมงการทำงานที่ยาวนานมากและการอุทิศตนให้กับงานเป็นอันดับแรกและสำคัญที่สุด” อีกประการหนึ่งที่อาจเป็นอุปสรรคต่อการแต่งงานสำหรับผู้หญิงคือความไม่เท่าเทียมกันทางเพศในการแบ่งงานบ้าน จากรายงานของ OECD ในปี 2015 ผู้ชายเกาหลีใช้เวลาทำงานบ้านโดยเฉลี่ยเพียง 45 นาทีต่อวันซึ่งน้อยกว่าหนึ่งในสามของค่าเฉลี่ย OECD การฝึกส่งข้อความหาคู่ ในหลักสูตรการแต่งงานและครอบครัว นักเรียนจะต้องทำงานร่วมกับคู่หูในแบบฝึกหัดต่าง ๆ นักเรียนเรียกมันว่า “การออกเดทแบบบังคับ” ในขณะที่ศาสตราจารย์ลีเรียกมันว่า “การจับคู่” คู่รักจะต้องทำภารกิจที่อาจจะต้องเผชิญในความสัมพันธ์จริง ๆ ในภายหลัง เช่น การไปเดทในราคาประหยัดวางแผนงานแต่งงานตามทฤษฎี และทำสัญญาการแต่งงานที่ครอบคลุมทุกอย่าง ตั้งแต่การแบ่งงานบ้านและรูปแบบการเลี้ยงดูซึ่งพ่อแม่ อีกทั้งพวกเขายังต้องกลับไปศึกษาพื้นฐานเกี่ยวกับเพศศึกษา เนื่องจากศาสตราจารย์ลีกล่าวว่า โรงเรียนนั้นมุ่งเน้นไปที่การสั่งสอนนักเรียนว่าอย่าตั้งครรภ์ แทนที่จะให้ความรู้ให้ตรงจุด ดังนั้นการเรียนพื้นฐานเกี่ยวกับเพศศึกษา จะทำให้ข้อมูลที่อาจทำให้พวกเขารู้สึกดีมากขึ้นเกี่ยวกับเรื่องเพศ และควบคุมภาวะเจริญพันธุ์ได้มากขึ้น นอกจากการเรียนการสอนในห้องแล้ว ผู้ที่เรียนในวิชานี้ยังต้องออกเดทกับคู่เดทอย่างน้อย 3 คนในหนึ่งเดือน และหลังจากที่ได้ทำความรู้จักกันแล้ว พวกเขาจะต้องบอกกับอาจารย์อีกด้วยว่ารู้สึกกับคนไหนเป็นพิเศษ นอกจากนี้ยังมีการบ้านที่เกี่ยวกับการออกเดทและอภิปรายเกี่ยวกับสถาณการณ์ที่คู่รักต้องเจอ เช่น กรณีทะเลาะหรือมีการหึงหวงกัน ผู้ที่เข้าเรียนจะมีโอกาสได้ทำความเข้าใจวิธีคิดของคนที่ตัวเองคบหา โดยคาดหวังว่าจะนำไปสู่การแก้ปัญหาหรือการคลี่คลายความขัดแย้งร่วมกันโดยไม่ใช้กำลังหรือความรุนแรง สิงคโปร์สร้างแรงจูงใจให้ผู้ปกครองผ่านโครงการ Baby Bonus ซึ่งมอบของขวัญเป็นเงินสดสำหรับเด็ก และยังจับคู่เงินออมของผู้ปกครองสำหรับอนาคตของบุตรหลาน แต่ห้าปีต่อมาดูเหมือนว่ามาตรการเหล่านี้ไม่ได้มีผลต่ออัตราการเกิดที่เพิ่มขึ้นมากนัก เกาหลีพยายามริเริ่มการสร้างสรรค์โครงการของตัวเอง ในปี 2010 พนักงานของกระทรวงสาธารณสุขสวัสดิการและกิจการครอบครัวในกรุงโซลได้รับคำสั่งให้กลับบ้านเร็วขึ้น ในวันพุธ หนึ่งครั้งต่อเดือนและใช้เวลาร่วมกับครอบครัว ซึ่งนี่เป็นการริเริ่มที่เรียกว่า “วันครอบครัว” สำหรับหลักสูตรนี้ จะเป็นหลักสูตรที่ให้นักเรียนทำความเข้าใจเกี่ยวกับตนเอง และเรียนรู้ตนเองให้มาก และที่สำคัญหลักสูตรนี้มีเพื่อเปลี่ยนทัศนคติของผู้หญิงเกาหลี เพื่อให้ผู้หญิงเกาหลีมีทัศนคติที่ดีต่อชีวิตครอบครัว และหลักสูตรนี้อาจจะเพิ่มอัตราการเกิดในอนาคตได้ แปลและเรียบเรียงจาก https://www.bbc.com/worklife/article/20180426-can-classes-help-seouls-marriage-phobic-singles EZ Webmaster Related Posts อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ รวมบุคคลสำคัญของแต่ละมหาวิทยาลัยไทย มาให้ทุกคนได้รู้กัน !! ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา เปิดรอบ 5 รับตรงอิสระ เรียน 6 สาขา ถึง 20 มิ.ย.นี้ สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ Post navigation PREVIOUS Previous post: ศูนย์หนังสือจุฬาฯ จัดกิจกรรมเขียน Blog รีวิวหนังสือเตรียมสอบNEXT Next post: อยากเรียนวิศวกรรมศาสตร์ ต้องทำอย่างไร ? Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025…
เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025…
อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก tui sakrapeeJune 18, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา นำโดย รศ.ดร.ชุติกาญจน์ ศรีวิบูลย์ อธิการบดี พร้อมคณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย เดินทางเยือนโรงเรียนนานาชาติ Qingdao No.1 International School of Shandong Province (QISS) และ Qingdao University… กองกลาง มจพ. เยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ และจัดสัมมนาจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล ประจำปี 2568 EZ WebmasterJune 18, 2025 ผศ.ดร.สราวุฒิ สืบแย้ม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายการคลังและกิจการทั่วไป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยนางสาวรัตนา สุขเฉลิมศรี ผู้อำนวยการกองกลาง และบุคลากรกองกลาง เข้าเยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ มจพ. ณ ชั้น 3 สำนักงานหอสมุดกลาง โดยมีนางสาวพนารมย์ เกียรติลีลานันท์ และ… คณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล มจพ. ชูธงร่วมเครือข่ายจัดใหญ่การประชุมวิชาการ นวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (FIAC) 2025 EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร สมฤกษ์ จันทรอัมพร รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นเจ้าภาพร่วมในการจัดประชุมวิชาการด้านนวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (Food Innovation Asia Conference 2025) พร้อมด้วย รศ.ดร.รัชนี เจริญ คณบดีคณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล และคณะผู้บริหาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ… สมศ. พลิกโฉมการประเมินคุณภาพภายนอกด้วย AI ภายใต้ “ONESQA 5.0” เสริมความโปร่งใส แม่นยำ และพัฒนาอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 17, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยวิสัยทัศน์ และแนวทางการขับเคลื่อนองค์กรด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence – AI) ภายใต้ วิสัยทัศน์ ONESQA 5.0 โดยมุ่งเน้นการนำ AI เข้ามาใช้เพื่อเสริมประสิทธิภาพ ความโปร่งใส และความแม่นยำ ในกระบวนการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา พร้อมยกระดับสู่ความเป็นดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบบ ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster January 22, 2021 EZ Webmaster January 22, 2021 หลักสูตรการแต่งงานและครอบครัว หลักสูตรการแต่งงานและครอบครัว เรียนอะไรบ้าง เรียนไปเพื่ออะไร หลายประเทศในเอเชียตะวันออกมีอัตราการแต่งงานและการเกิดลดลงอย่างมาก แต่ชั้นเรียนของมหาวิทยาลัยดงกุกและมหาวิทยาลัยคยองฮีในกรุงโซลของเกาหลีใต้ มีเป้าหมายเพื่อจะแก้ปัญหาเหล่านั้น ในห้องเรียนที่มหาวิทยาลัยดงกุก ศาสตราจารย์ลีอึนจูสอนอยู่ในหลักสูตร ” การแต่งงานและครอบครัว (marriage and family) ” ชั้นเรียนนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อนำร่องความสัมพันธ์ช่วยคนหนุ่มสาวซึ่งอาจจะมีสักวันหนึ่งที่กับเจอคนที่เหมาะสม ให้มีประสบการณ์และความรู้ที่จะนำไปสู่การแต่งงานและสร้างครอบครัวในอนาคต ซึ่งชั้นเรียนนี้เป็นส่วนหนึ่งของความพยายามที่ขยายกว้างมากขึ้นในเกาหลี เพื่อแก้ไขปัญหาของคนหนุ่มสาวที่ไม่ได้แต่งงานและคนที่ไม่มีลูก นี่เป็นหัวข้อที่ซับซ้อนในประเทศที่มีบทบาททางเพศแบบดั้งเดิมมายาวนาน ซึ่งเริ่มเปลี่ยนแปลงเมื่อเศรษฐกิจเฟื่องฟูในทศวรรษ 1960 อัตราการเกิดที่หย่อนคล้อย มุมมองที่ฝังรากลึกว่า ผู้หญิงเกาหลีมีอาชีพเป็นแม่บ้านเป็นหลัก และผู้ชายเป็นผู้หาเลี้ยงครอบครัวนั้น มีผลกระทบอย่างมากต่อการที่ชายหนุ่มและหญิงสาวในปัจจุบันมองถึงการแต่งงานและการสร้างครอบครัว ในปี 2560 เกาหลีใต้มีอัตราการเกิดที่เลวร้ายที่สุดในประวัติศาสตร์ที่ อัตราส่วนการกำเนิดนั้นเท่ากับผู้หญิงต่อเด็ก 1.05 คน ซึ่งต่ำกว่าระดับ 2.01 ซึ่งเป็นมาตรฐานที่จำเป็นเพื่อให้ประชากรมีเสถียรภาพ แม้ว่ารัฐบาลจะใช้งบประมาณหลายพันล้านดอลลาร์ในการริเริ่ม เพื่อเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของชาติในทศวรรษที่ผ่านมา ซึ่งรวมถึงการให้ระยะเวลาการลาคลอดที่เพิ่มมากขึ้น การจ่ายค่ารักษาภาวะมีบุตรยาก และครอบครัวที่มีบุตรตั้งแต่สามคนขึ้นไปที่ได้รับสิทธิพิเศษในการเข้าถึงการดูแลเด็กของประชาชน เป็นต้น อัตราการเจริญพันธุ์ที่ลดลงเช่นเดียวกันนี้สามารถเห็นได้ในส่วนอื่น ๆ ของเอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น ไต้หวัน ญี่ปุ่น ฮ่องกง และสิงคโปร์ ในเกาหลีใต้ มีวลีใหม่ที่เกิดขึ้นนั่นคือ Sampo Generation คำว่า삼포세대 (สัมโป) หมายถึง“ การเลิกทำสามสิ่ง” ได้แก่ การจีบ การแต่งงานและการเลี้ยงลูก นั่นมาจากค่าครองชีพ และแรงกดดันในการทำงานที่เพิ่มสูงขึ้น จะส่งผลกระทบให้มีการชะลอการแต่งงานและการมีครอบครัว ศาสตราจารย์ลีกล่าวว่า ปรากฏการณ์นี้ได้พัฒนาขึ้นเป็นส่วนหนึ่งของสังคม เนื่องจากคนหนุ่มสาวกำลังดิ้นรนเพื่อหางานทำและอยากมีอิสระทางการเงินในระบบเศรษฐกิจที่เติบโตช้าและการว่างงานที่เพิ่มสูงขึ้น การวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่า ไม่ว่าจะสำหรับผู้หญิงหรือผู้ชาย ความกังวลทางการเงินนั้นเป็นตัวขัดขวางการแต่งงานที่ยิ่งใหญ่ที่สุด และพวกเขากำลังมองว่าเรื่องนี้เป็นเรื่องของการเลือกมากกว่าความจำเป็น ยกตัวอย่าง Ji-Won Kim วัย 24 ปีนักเรียนคนหนึ่งของ ศาสตราจารย์ลี เธอกล่าวว่า “คนรอบตัวของเธอไม่อยากแต่งงานเพราะต้องใช้จ่ายค่าเลี้ยงดูมากเพื่อดูแลลูกและส่งพวกเขาไปโรงเรียน อีกทั้งเธอยังมีเพื่อนผู้หญิงที่มักจะคิดว่า การจ่ายค่าเช่าด้วยตัวเอง ซื้อของที่ต้องการ เลี้ยงลูกหมาและแค่ไปออกเดทกันดีกว่าการที่ต้องแต่งงานมีลูก” ความทันสมัยที่ถูกกดทับ “มีคำกล่าวว่าชีวิตของคุณจะหายไปเมื่อคุณแต่งงานและมีลูก” Ji-Myeong Kim นักเรียนอีกคนของศาสตราจารย์ลี อายุ 24 ปี ไม่ต้องการที่จะลงหลักปักฐานหรือแต่งงาน แต่แฟนคนปัจจุบันของเขาต้องการความมั่นใจเกี่ยวกับทัศนคติภายในครอบครัวของเขา โดยในช่วงหลายทศวรรษที่ผ่านมาผู้หญิงเกาหลีที่เพิ่งแต่งงานใหม่ ถูกคาดหวังว่าจะออกจากครอบครัวของตัวเองและเข้าร่วมกับครอบครัวของสามี ซึ่งเทอจะจัดอยู่ในตำแหน่งที่ต่ำที่สุดในลำดับชั้นของบ้าน ดังนั้น คิมต้องทำให้แฟนสาวของเขามั่นใจว่าครอบครัวของเขา ไม่ได้ยึดติดกับวิถีแบบเดิม ๆ นั้นดังที่กล่าวมา Jean Yeung ศาสตราจารย์และผู้อำนวยการศูนย์วิจัยครอบครัวและประชากรแห่งมหาวิทยาลัยแห่งชาติสิงคโปร์ ชี้ให้เห็นว่าประเทศต่าง ๆ เช่น เกาหลีและสิงคโปร์มี “ความทันสมัยที่ถูกกดทับ” ซึ่งเป็นช่วงเวลาแห่งการเปลี่ยนแปลงทางสังคมอย่างรวดเร็วซึ่งมาพร้อมกับการก้าวไปข้างหน้าทางเศรษฐกิจที่สำคัญ “การเปลี่ยนแปลงที่อาจต้องใช้เวลาหนึ่งศตวรรษหรือมากกว่านั้นจึงจะเกิดขึ้นในยุโรป ใช้เวลาสองหรือสามทศวรรษจึงจะเกิดขึ้นในเอเชีย ในหลาย ๆ ด้านเศรษฐกิจการศึกษาและบทบาทของผู้หญิงเปลี่ยนไปอย่างรวดเร็วจนสถาบันและบรรทัดฐานทางสังคมไม่สามารถตามทัน” พื้นที่สำคัญอย่างหนึ่งที่ไม่สามารถตอบสนองความต้องการของครอบครัวสมัยใหม่ได้ คือ โลกขององค์กร ผู้หญิงหลายคนบอกว่า “ ไม่อยากกังวลกับการเลี้ยงดูลูกน้อย ในวัฒนธรรมองค์กรที่ไม่สามารถรองรับคุณแม่ที่ทำงานได้” Peter McDonald ศาสตราจารย์ด้านประชากรศาสตร์แห่งมหาวิทยาลัยเมลเบิร์นกล่าวว่า สำหรับนายจ้าง ชีวิตครอบครัวของบุคคลนั้นมีความสำคัญน้อยมากหรือแทบไม่มีเลย “เอเชียตะวันออกโดดเด่นด้วยความคาดหวังในส่วนของนายจ้างที่มีชั่วโมงการทำงานที่ยาวนานมากและการอุทิศตนให้กับงานเป็นอันดับแรกและสำคัญที่สุด” อีกประการหนึ่งที่อาจเป็นอุปสรรคต่อการแต่งงานสำหรับผู้หญิงคือความไม่เท่าเทียมกันทางเพศในการแบ่งงานบ้าน จากรายงานของ OECD ในปี 2015 ผู้ชายเกาหลีใช้เวลาทำงานบ้านโดยเฉลี่ยเพียง 45 นาทีต่อวันซึ่งน้อยกว่าหนึ่งในสามของค่าเฉลี่ย OECD การฝึกส่งข้อความหาคู่ ในหลักสูตรการแต่งงานและครอบครัว นักเรียนจะต้องทำงานร่วมกับคู่หูในแบบฝึกหัดต่าง ๆ นักเรียนเรียกมันว่า “การออกเดทแบบบังคับ” ในขณะที่ศาสตราจารย์ลีเรียกมันว่า “การจับคู่” คู่รักจะต้องทำภารกิจที่อาจจะต้องเผชิญในความสัมพันธ์จริง ๆ ในภายหลัง เช่น การไปเดทในราคาประหยัดวางแผนงานแต่งงานตามทฤษฎี และทำสัญญาการแต่งงานที่ครอบคลุมทุกอย่าง ตั้งแต่การแบ่งงานบ้านและรูปแบบการเลี้ยงดูซึ่งพ่อแม่ อีกทั้งพวกเขายังต้องกลับไปศึกษาพื้นฐานเกี่ยวกับเพศศึกษา เนื่องจากศาสตราจารย์ลีกล่าวว่า โรงเรียนนั้นมุ่งเน้นไปที่การสั่งสอนนักเรียนว่าอย่าตั้งครรภ์ แทนที่จะให้ความรู้ให้ตรงจุด ดังนั้นการเรียนพื้นฐานเกี่ยวกับเพศศึกษา จะทำให้ข้อมูลที่อาจทำให้พวกเขารู้สึกดีมากขึ้นเกี่ยวกับเรื่องเพศ และควบคุมภาวะเจริญพันธุ์ได้มากขึ้น นอกจากการเรียนการสอนในห้องแล้ว ผู้ที่เรียนในวิชานี้ยังต้องออกเดทกับคู่เดทอย่างน้อย 3 คนในหนึ่งเดือน และหลังจากที่ได้ทำความรู้จักกันแล้ว พวกเขาจะต้องบอกกับอาจารย์อีกด้วยว่ารู้สึกกับคนไหนเป็นพิเศษ นอกจากนี้ยังมีการบ้านที่เกี่ยวกับการออกเดทและอภิปรายเกี่ยวกับสถาณการณ์ที่คู่รักต้องเจอ เช่น กรณีทะเลาะหรือมีการหึงหวงกัน ผู้ที่เข้าเรียนจะมีโอกาสได้ทำความเข้าใจวิธีคิดของคนที่ตัวเองคบหา โดยคาดหวังว่าจะนำไปสู่การแก้ปัญหาหรือการคลี่คลายความขัดแย้งร่วมกันโดยไม่ใช้กำลังหรือความรุนแรง สิงคโปร์สร้างแรงจูงใจให้ผู้ปกครองผ่านโครงการ Baby Bonus ซึ่งมอบของขวัญเป็นเงินสดสำหรับเด็ก และยังจับคู่เงินออมของผู้ปกครองสำหรับอนาคตของบุตรหลาน แต่ห้าปีต่อมาดูเหมือนว่ามาตรการเหล่านี้ไม่ได้มีผลต่ออัตราการเกิดที่เพิ่มขึ้นมากนัก เกาหลีพยายามริเริ่มการสร้างสรรค์โครงการของตัวเอง ในปี 2010 พนักงานของกระทรวงสาธารณสุขสวัสดิการและกิจการครอบครัวในกรุงโซลได้รับคำสั่งให้กลับบ้านเร็วขึ้น ในวันพุธ หนึ่งครั้งต่อเดือนและใช้เวลาร่วมกับครอบครัว ซึ่งนี่เป็นการริเริ่มที่เรียกว่า “วันครอบครัว” สำหรับหลักสูตรนี้ จะเป็นหลักสูตรที่ให้นักเรียนทำความเข้าใจเกี่ยวกับตนเอง และเรียนรู้ตนเองให้มาก และที่สำคัญหลักสูตรนี้มีเพื่อเปลี่ยนทัศนคติของผู้หญิงเกาหลี เพื่อให้ผู้หญิงเกาหลีมีทัศนคติที่ดีต่อชีวิตครอบครัว และหลักสูตรนี้อาจจะเพิ่มอัตราการเกิดในอนาคตได้ แปลและเรียบเรียงจาก https://www.bbc.com/worklife/article/20180426-can-classes-help-seouls-marriage-phobic-singles EZ Webmaster Related Posts อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ รวมบุคคลสำคัญของแต่ละมหาวิทยาลัยไทย มาให้ทุกคนได้รู้กัน !! ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา เปิดรอบ 5 รับตรงอิสระ เรียน 6 สาขา ถึง 20 มิ.ย.นี้ สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ Post navigation PREVIOUS Previous post: ศูนย์หนังสือจุฬาฯ จัดกิจกรรมเขียน Blog รีวิวหนังสือเตรียมสอบNEXT Next post: อยากเรียนวิศวกรรมศาสตร์ ต้องทำอย่างไร ? Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
กองกลาง มจพ. เยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ และจัดสัมมนาจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล ประจำปี 2568 EZ WebmasterJune 18, 2025 ผศ.ดร.สราวุฒิ สืบแย้ม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายการคลังและกิจการทั่วไป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยนางสาวรัตนา สุขเฉลิมศรี ผู้อำนวยการกองกลาง และบุคลากรกองกลาง เข้าเยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ มจพ. ณ ชั้น 3 สำนักงานหอสมุดกลาง โดยมีนางสาวพนารมย์ เกียรติลีลานันท์ และ… คณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล มจพ. ชูธงร่วมเครือข่ายจัดใหญ่การประชุมวิชาการ นวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (FIAC) 2025 EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร สมฤกษ์ จันทรอัมพร รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นเจ้าภาพร่วมในการจัดประชุมวิชาการด้านนวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (Food Innovation Asia Conference 2025) พร้อมด้วย รศ.ดร.รัชนี เจริญ คณบดีคณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล และคณะผู้บริหาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ… สมศ. พลิกโฉมการประเมินคุณภาพภายนอกด้วย AI ภายใต้ “ONESQA 5.0” เสริมความโปร่งใส แม่นยำ และพัฒนาอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 17, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยวิสัยทัศน์ และแนวทางการขับเคลื่อนองค์กรด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence – AI) ภายใต้ วิสัยทัศน์ ONESQA 5.0 โดยมุ่งเน้นการนำ AI เข้ามาใช้เพื่อเสริมประสิทธิภาพ ความโปร่งใส และความแม่นยำ ในกระบวนการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา พร้อมยกระดับสู่ความเป็นดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบบ ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster January 22, 2021 EZ Webmaster January 22, 2021 หลักสูตรการแต่งงานและครอบครัว หลักสูตรการแต่งงานและครอบครัว เรียนอะไรบ้าง เรียนไปเพื่ออะไร หลายประเทศในเอเชียตะวันออกมีอัตราการแต่งงานและการเกิดลดลงอย่างมาก แต่ชั้นเรียนของมหาวิทยาลัยดงกุกและมหาวิทยาลัยคยองฮีในกรุงโซลของเกาหลีใต้ มีเป้าหมายเพื่อจะแก้ปัญหาเหล่านั้น ในห้องเรียนที่มหาวิทยาลัยดงกุก ศาสตราจารย์ลีอึนจูสอนอยู่ในหลักสูตร ” การแต่งงานและครอบครัว (marriage and family) ” ชั้นเรียนนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อนำร่องความสัมพันธ์ช่วยคนหนุ่มสาวซึ่งอาจจะมีสักวันหนึ่งที่กับเจอคนที่เหมาะสม ให้มีประสบการณ์และความรู้ที่จะนำไปสู่การแต่งงานและสร้างครอบครัวในอนาคต ซึ่งชั้นเรียนนี้เป็นส่วนหนึ่งของความพยายามที่ขยายกว้างมากขึ้นในเกาหลี เพื่อแก้ไขปัญหาของคนหนุ่มสาวที่ไม่ได้แต่งงานและคนที่ไม่มีลูก นี่เป็นหัวข้อที่ซับซ้อนในประเทศที่มีบทบาททางเพศแบบดั้งเดิมมายาวนาน ซึ่งเริ่มเปลี่ยนแปลงเมื่อเศรษฐกิจเฟื่องฟูในทศวรรษ 1960 อัตราการเกิดที่หย่อนคล้อย มุมมองที่ฝังรากลึกว่า ผู้หญิงเกาหลีมีอาชีพเป็นแม่บ้านเป็นหลัก และผู้ชายเป็นผู้หาเลี้ยงครอบครัวนั้น มีผลกระทบอย่างมากต่อการที่ชายหนุ่มและหญิงสาวในปัจจุบันมองถึงการแต่งงานและการสร้างครอบครัว ในปี 2560 เกาหลีใต้มีอัตราการเกิดที่เลวร้ายที่สุดในประวัติศาสตร์ที่ อัตราส่วนการกำเนิดนั้นเท่ากับผู้หญิงต่อเด็ก 1.05 คน ซึ่งต่ำกว่าระดับ 2.01 ซึ่งเป็นมาตรฐานที่จำเป็นเพื่อให้ประชากรมีเสถียรภาพ แม้ว่ารัฐบาลจะใช้งบประมาณหลายพันล้านดอลลาร์ในการริเริ่ม เพื่อเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของชาติในทศวรรษที่ผ่านมา ซึ่งรวมถึงการให้ระยะเวลาการลาคลอดที่เพิ่มมากขึ้น การจ่ายค่ารักษาภาวะมีบุตรยาก และครอบครัวที่มีบุตรตั้งแต่สามคนขึ้นไปที่ได้รับสิทธิพิเศษในการเข้าถึงการดูแลเด็กของประชาชน เป็นต้น อัตราการเจริญพันธุ์ที่ลดลงเช่นเดียวกันนี้สามารถเห็นได้ในส่วนอื่น ๆ ของเอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น ไต้หวัน ญี่ปุ่น ฮ่องกง และสิงคโปร์ ในเกาหลีใต้ มีวลีใหม่ที่เกิดขึ้นนั่นคือ Sampo Generation คำว่า삼포세대 (สัมโป) หมายถึง“ การเลิกทำสามสิ่ง” ได้แก่ การจีบ การแต่งงานและการเลี้ยงลูก นั่นมาจากค่าครองชีพ และแรงกดดันในการทำงานที่เพิ่มสูงขึ้น จะส่งผลกระทบให้มีการชะลอการแต่งงานและการมีครอบครัว ศาสตราจารย์ลีกล่าวว่า ปรากฏการณ์นี้ได้พัฒนาขึ้นเป็นส่วนหนึ่งของสังคม เนื่องจากคนหนุ่มสาวกำลังดิ้นรนเพื่อหางานทำและอยากมีอิสระทางการเงินในระบบเศรษฐกิจที่เติบโตช้าและการว่างงานที่เพิ่มสูงขึ้น การวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่า ไม่ว่าจะสำหรับผู้หญิงหรือผู้ชาย ความกังวลทางการเงินนั้นเป็นตัวขัดขวางการแต่งงานที่ยิ่งใหญ่ที่สุด และพวกเขากำลังมองว่าเรื่องนี้เป็นเรื่องของการเลือกมากกว่าความจำเป็น ยกตัวอย่าง Ji-Won Kim วัย 24 ปีนักเรียนคนหนึ่งของ ศาสตราจารย์ลี เธอกล่าวว่า “คนรอบตัวของเธอไม่อยากแต่งงานเพราะต้องใช้จ่ายค่าเลี้ยงดูมากเพื่อดูแลลูกและส่งพวกเขาไปโรงเรียน อีกทั้งเธอยังมีเพื่อนผู้หญิงที่มักจะคิดว่า การจ่ายค่าเช่าด้วยตัวเอง ซื้อของที่ต้องการ เลี้ยงลูกหมาและแค่ไปออกเดทกันดีกว่าการที่ต้องแต่งงานมีลูก” ความทันสมัยที่ถูกกดทับ “มีคำกล่าวว่าชีวิตของคุณจะหายไปเมื่อคุณแต่งงานและมีลูก” Ji-Myeong Kim นักเรียนอีกคนของศาสตราจารย์ลี อายุ 24 ปี ไม่ต้องการที่จะลงหลักปักฐานหรือแต่งงาน แต่แฟนคนปัจจุบันของเขาต้องการความมั่นใจเกี่ยวกับทัศนคติภายในครอบครัวของเขา โดยในช่วงหลายทศวรรษที่ผ่านมาผู้หญิงเกาหลีที่เพิ่งแต่งงานใหม่ ถูกคาดหวังว่าจะออกจากครอบครัวของตัวเองและเข้าร่วมกับครอบครัวของสามี ซึ่งเทอจะจัดอยู่ในตำแหน่งที่ต่ำที่สุดในลำดับชั้นของบ้าน ดังนั้น คิมต้องทำให้แฟนสาวของเขามั่นใจว่าครอบครัวของเขา ไม่ได้ยึดติดกับวิถีแบบเดิม ๆ นั้นดังที่กล่าวมา Jean Yeung ศาสตราจารย์และผู้อำนวยการศูนย์วิจัยครอบครัวและประชากรแห่งมหาวิทยาลัยแห่งชาติสิงคโปร์ ชี้ให้เห็นว่าประเทศต่าง ๆ เช่น เกาหลีและสิงคโปร์มี “ความทันสมัยที่ถูกกดทับ” ซึ่งเป็นช่วงเวลาแห่งการเปลี่ยนแปลงทางสังคมอย่างรวดเร็วซึ่งมาพร้อมกับการก้าวไปข้างหน้าทางเศรษฐกิจที่สำคัญ “การเปลี่ยนแปลงที่อาจต้องใช้เวลาหนึ่งศตวรรษหรือมากกว่านั้นจึงจะเกิดขึ้นในยุโรป ใช้เวลาสองหรือสามทศวรรษจึงจะเกิดขึ้นในเอเชีย ในหลาย ๆ ด้านเศรษฐกิจการศึกษาและบทบาทของผู้หญิงเปลี่ยนไปอย่างรวดเร็วจนสถาบันและบรรทัดฐานทางสังคมไม่สามารถตามทัน” พื้นที่สำคัญอย่างหนึ่งที่ไม่สามารถตอบสนองความต้องการของครอบครัวสมัยใหม่ได้ คือ โลกขององค์กร ผู้หญิงหลายคนบอกว่า “ ไม่อยากกังวลกับการเลี้ยงดูลูกน้อย ในวัฒนธรรมองค์กรที่ไม่สามารถรองรับคุณแม่ที่ทำงานได้” Peter McDonald ศาสตราจารย์ด้านประชากรศาสตร์แห่งมหาวิทยาลัยเมลเบิร์นกล่าวว่า สำหรับนายจ้าง ชีวิตครอบครัวของบุคคลนั้นมีความสำคัญน้อยมากหรือแทบไม่มีเลย “เอเชียตะวันออกโดดเด่นด้วยความคาดหวังในส่วนของนายจ้างที่มีชั่วโมงการทำงานที่ยาวนานมากและการอุทิศตนให้กับงานเป็นอันดับแรกและสำคัญที่สุด” อีกประการหนึ่งที่อาจเป็นอุปสรรคต่อการแต่งงานสำหรับผู้หญิงคือความไม่เท่าเทียมกันทางเพศในการแบ่งงานบ้าน จากรายงานของ OECD ในปี 2015 ผู้ชายเกาหลีใช้เวลาทำงานบ้านโดยเฉลี่ยเพียง 45 นาทีต่อวันซึ่งน้อยกว่าหนึ่งในสามของค่าเฉลี่ย OECD การฝึกส่งข้อความหาคู่ ในหลักสูตรการแต่งงานและครอบครัว นักเรียนจะต้องทำงานร่วมกับคู่หูในแบบฝึกหัดต่าง ๆ นักเรียนเรียกมันว่า “การออกเดทแบบบังคับ” ในขณะที่ศาสตราจารย์ลีเรียกมันว่า “การจับคู่” คู่รักจะต้องทำภารกิจที่อาจจะต้องเผชิญในความสัมพันธ์จริง ๆ ในภายหลัง เช่น การไปเดทในราคาประหยัดวางแผนงานแต่งงานตามทฤษฎี และทำสัญญาการแต่งงานที่ครอบคลุมทุกอย่าง ตั้งแต่การแบ่งงานบ้านและรูปแบบการเลี้ยงดูซึ่งพ่อแม่ อีกทั้งพวกเขายังต้องกลับไปศึกษาพื้นฐานเกี่ยวกับเพศศึกษา เนื่องจากศาสตราจารย์ลีกล่าวว่า โรงเรียนนั้นมุ่งเน้นไปที่การสั่งสอนนักเรียนว่าอย่าตั้งครรภ์ แทนที่จะให้ความรู้ให้ตรงจุด ดังนั้นการเรียนพื้นฐานเกี่ยวกับเพศศึกษา จะทำให้ข้อมูลที่อาจทำให้พวกเขารู้สึกดีมากขึ้นเกี่ยวกับเรื่องเพศ และควบคุมภาวะเจริญพันธุ์ได้มากขึ้น นอกจากการเรียนการสอนในห้องแล้ว ผู้ที่เรียนในวิชานี้ยังต้องออกเดทกับคู่เดทอย่างน้อย 3 คนในหนึ่งเดือน และหลังจากที่ได้ทำความรู้จักกันแล้ว พวกเขาจะต้องบอกกับอาจารย์อีกด้วยว่ารู้สึกกับคนไหนเป็นพิเศษ นอกจากนี้ยังมีการบ้านที่เกี่ยวกับการออกเดทและอภิปรายเกี่ยวกับสถาณการณ์ที่คู่รักต้องเจอ เช่น กรณีทะเลาะหรือมีการหึงหวงกัน ผู้ที่เข้าเรียนจะมีโอกาสได้ทำความเข้าใจวิธีคิดของคนที่ตัวเองคบหา โดยคาดหวังว่าจะนำไปสู่การแก้ปัญหาหรือการคลี่คลายความขัดแย้งร่วมกันโดยไม่ใช้กำลังหรือความรุนแรง สิงคโปร์สร้างแรงจูงใจให้ผู้ปกครองผ่านโครงการ Baby Bonus ซึ่งมอบของขวัญเป็นเงินสดสำหรับเด็ก และยังจับคู่เงินออมของผู้ปกครองสำหรับอนาคตของบุตรหลาน แต่ห้าปีต่อมาดูเหมือนว่ามาตรการเหล่านี้ไม่ได้มีผลต่ออัตราการเกิดที่เพิ่มขึ้นมากนัก เกาหลีพยายามริเริ่มการสร้างสรรค์โครงการของตัวเอง ในปี 2010 พนักงานของกระทรวงสาธารณสุขสวัสดิการและกิจการครอบครัวในกรุงโซลได้รับคำสั่งให้กลับบ้านเร็วขึ้น ในวันพุธ หนึ่งครั้งต่อเดือนและใช้เวลาร่วมกับครอบครัว ซึ่งนี่เป็นการริเริ่มที่เรียกว่า “วันครอบครัว” สำหรับหลักสูตรนี้ จะเป็นหลักสูตรที่ให้นักเรียนทำความเข้าใจเกี่ยวกับตนเอง และเรียนรู้ตนเองให้มาก และที่สำคัญหลักสูตรนี้มีเพื่อเปลี่ยนทัศนคติของผู้หญิงเกาหลี เพื่อให้ผู้หญิงเกาหลีมีทัศนคติที่ดีต่อชีวิตครอบครัว และหลักสูตรนี้อาจจะเพิ่มอัตราการเกิดในอนาคตได้ แปลและเรียบเรียงจาก https://www.bbc.com/worklife/article/20180426-can-classes-help-seouls-marriage-phobic-singles EZ Webmaster Related Posts อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ รวมบุคคลสำคัญของแต่ละมหาวิทยาลัยไทย มาให้ทุกคนได้รู้กัน !! ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา เปิดรอบ 5 รับตรงอิสระ เรียน 6 สาขา ถึง 20 มิ.ย.นี้ สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ Post navigation PREVIOUS Previous post: ศูนย์หนังสือจุฬาฯ จัดกิจกรรมเขียน Blog รีวิวหนังสือเตรียมสอบNEXT Next post: อยากเรียนวิศวกรรมศาสตร์ ต้องทำอย่างไร ? Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
คณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล มจพ. ชูธงร่วมเครือข่ายจัดใหญ่การประชุมวิชาการ นวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (FIAC) 2025 EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร สมฤกษ์ จันทรอัมพร รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นเจ้าภาพร่วมในการจัดประชุมวิชาการด้านนวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (Food Innovation Asia Conference 2025) พร้อมด้วย รศ.ดร.รัชนี เจริญ คณบดีคณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล และคณะผู้บริหาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ… สมศ. พลิกโฉมการประเมินคุณภาพภายนอกด้วย AI ภายใต้ “ONESQA 5.0” เสริมความโปร่งใส แม่นยำ และพัฒนาอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 17, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยวิสัยทัศน์ และแนวทางการขับเคลื่อนองค์กรด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence – AI) ภายใต้ วิสัยทัศน์ ONESQA 5.0 โดยมุ่งเน้นการนำ AI เข้ามาใช้เพื่อเสริมประสิทธิภาพ ความโปร่งใส และความแม่นยำ ในกระบวนการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา พร้อมยกระดับสู่ความเป็นดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบบ ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ…
สมศ. พลิกโฉมการประเมินคุณภาพภายนอกด้วย AI ภายใต้ “ONESQA 5.0” เสริมความโปร่งใส แม่นยำ และพัฒนาอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 17, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยวิสัยทัศน์ และแนวทางการขับเคลื่อนองค์กรด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence – AI) ภายใต้ วิสัยทัศน์ ONESQA 5.0 โดยมุ่งเน้นการนำ AI เข้ามาใช้เพื่อเสริมประสิทธิภาพ ความโปร่งใส และความแม่นยำ ในกระบวนการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา พร้อมยกระดับสู่ความเป็นดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบบ ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ…
กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster January 22, 2021 EZ Webmaster January 22, 2021 หลักสูตรการแต่งงานและครอบครัว หลักสูตรการแต่งงานและครอบครัว เรียนอะไรบ้าง เรียนไปเพื่ออะไร หลายประเทศในเอเชียตะวันออกมีอัตราการแต่งงานและการเกิดลดลงอย่างมาก แต่ชั้นเรียนของมหาวิทยาลัยดงกุกและมหาวิทยาลัยคยองฮีในกรุงโซลของเกาหลีใต้ มีเป้าหมายเพื่อจะแก้ปัญหาเหล่านั้น ในห้องเรียนที่มหาวิทยาลัยดงกุก ศาสตราจารย์ลีอึนจูสอนอยู่ในหลักสูตร ” การแต่งงานและครอบครัว (marriage and family) ” ชั้นเรียนนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อนำร่องความสัมพันธ์ช่วยคนหนุ่มสาวซึ่งอาจจะมีสักวันหนึ่งที่กับเจอคนที่เหมาะสม ให้มีประสบการณ์และความรู้ที่จะนำไปสู่การแต่งงานและสร้างครอบครัวในอนาคต ซึ่งชั้นเรียนนี้เป็นส่วนหนึ่งของความพยายามที่ขยายกว้างมากขึ้นในเกาหลี เพื่อแก้ไขปัญหาของคนหนุ่มสาวที่ไม่ได้แต่งงานและคนที่ไม่มีลูก นี่เป็นหัวข้อที่ซับซ้อนในประเทศที่มีบทบาททางเพศแบบดั้งเดิมมายาวนาน ซึ่งเริ่มเปลี่ยนแปลงเมื่อเศรษฐกิจเฟื่องฟูในทศวรรษ 1960 อัตราการเกิดที่หย่อนคล้อย มุมมองที่ฝังรากลึกว่า ผู้หญิงเกาหลีมีอาชีพเป็นแม่บ้านเป็นหลัก และผู้ชายเป็นผู้หาเลี้ยงครอบครัวนั้น มีผลกระทบอย่างมากต่อการที่ชายหนุ่มและหญิงสาวในปัจจุบันมองถึงการแต่งงานและการสร้างครอบครัว ในปี 2560 เกาหลีใต้มีอัตราการเกิดที่เลวร้ายที่สุดในประวัติศาสตร์ที่ อัตราส่วนการกำเนิดนั้นเท่ากับผู้หญิงต่อเด็ก 1.05 คน ซึ่งต่ำกว่าระดับ 2.01 ซึ่งเป็นมาตรฐานที่จำเป็นเพื่อให้ประชากรมีเสถียรภาพ แม้ว่ารัฐบาลจะใช้งบประมาณหลายพันล้านดอลลาร์ในการริเริ่ม เพื่อเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของชาติในทศวรรษที่ผ่านมา ซึ่งรวมถึงการให้ระยะเวลาการลาคลอดที่เพิ่มมากขึ้น การจ่ายค่ารักษาภาวะมีบุตรยาก และครอบครัวที่มีบุตรตั้งแต่สามคนขึ้นไปที่ได้รับสิทธิพิเศษในการเข้าถึงการดูแลเด็กของประชาชน เป็นต้น อัตราการเจริญพันธุ์ที่ลดลงเช่นเดียวกันนี้สามารถเห็นได้ในส่วนอื่น ๆ ของเอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น ไต้หวัน ญี่ปุ่น ฮ่องกง และสิงคโปร์ ในเกาหลีใต้ มีวลีใหม่ที่เกิดขึ้นนั่นคือ Sampo Generation คำว่า삼포세대 (สัมโป) หมายถึง“ การเลิกทำสามสิ่ง” ได้แก่ การจีบ การแต่งงานและการเลี้ยงลูก นั่นมาจากค่าครองชีพ และแรงกดดันในการทำงานที่เพิ่มสูงขึ้น จะส่งผลกระทบให้มีการชะลอการแต่งงานและการมีครอบครัว ศาสตราจารย์ลีกล่าวว่า ปรากฏการณ์นี้ได้พัฒนาขึ้นเป็นส่วนหนึ่งของสังคม เนื่องจากคนหนุ่มสาวกำลังดิ้นรนเพื่อหางานทำและอยากมีอิสระทางการเงินในระบบเศรษฐกิจที่เติบโตช้าและการว่างงานที่เพิ่มสูงขึ้น การวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่า ไม่ว่าจะสำหรับผู้หญิงหรือผู้ชาย ความกังวลทางการเงินนั้นเป็นตัวขัดขวางการแต่งงานที่ยิ่งใหญ่ที่สุด และพวกเขากำลังมองว่าเรื่องนี้เป็นเรื่องของการเลือกมากกว่าความจำเป็น ยกตัวอย่าง Ji-Won Kim วัย 24 ปีนักเรียนคนหนึ่งของ ศาสตราจารย์ลี เธอกล่าวว่า “คนรอบตัวของเธอไม่อยากแต่งงานเพราะต้องใช้จ่ายค่าเลี้ยงดูมากเพื่อดูแลลูกและส่งพวกเขาไปโรงเรียน อีกทั้งเธอยังมีเพื่อนผู้หญิงที่มักจะคิดว่า การจ่ายค่าเช่าด้วยตัวเอง ซื้อของที่ต้องการ เลี้ยงลูกหมาและแค่ไปออกเดทกันดีกว่าการที่ต้องแต่งงานมีลูก” ความทันสมัยที่ถูกกดทับ “มีคำกล่าวว่าชีวิตของคุณจะหายไปเมื่อคุณแต่งงานและมีลูก” Ji-Myeong Kim นักเรียนอีกคนของศาสตราจารย์ลี อายุ 24 ปี ไม่ต้องการที่จะลงหลักปักฐานหรือแต่งงาน แต่แฟนคนปัจจุบันของเขาต้องการความมั่นใจเกี่ยวกับทัศนคติภายในครอบครัวของเขา โดยในช่วงหลายทศวรรษที่ผ่านมาผู้หญิงเกาหลีที่เพิ่งแต่งงานใหม่ ถูกคาดหวังว่าจะออกจากครอบครัวของตัวเองและเข้าร่วมกับครอบครัวของสามี ซึ่งเทอจะจัดอยู่ในตำแหน่งที่ต่ำที่สุดในลำดับชั้นของบ้าน ดังนั้น คิมต้องทำให้แฟนสาวของเขามั่นใจว่าครอบครัวของเขา ไม่ได้ยึดติดกับวิถีแบบเดิม ๆ นั้นดังที่กล่าวมา Jean Yeung ศาสตราจารย์และผู้อำนวยการศูนย์วิจัยครอบครัวและประชากรแห่งมหาวิทยาลัยแห่งชาติสิงคโปร์ ชี้ให้เห็นว่าประเทศต่าง ๆ เช่น เกาหลีและสิงคโปร์มี “ความทันสมัยที่ถูกกดทับ” ซึ่งเป็นช่วงเวลาแห่งการเปลี่ยนแปลงทางสังคมอย่างรวดเร็วซึ่งมาพร้อมกับการก้าวไปข้างหน้าทางเศรษฐกิจที่สำคัญ “การเปลี่ยนแปลงที่อาจต้องใช้เวลาหนึ่งศตวรรษหรือมากกว่านั้นจึงจะเกิดขึ้นในยุโรป ใช้เวลาสองหรือสามทศวรรษจึงจะเกิดขึ้นในเอเชีย ในหลาย ๆ ด้านเศรษฐกิจการศึกษาและบทบาทของผู้หญิงเปลี่ยนไปอย่างรวดเร็วจนสถาบันและบรรทัดฐานทางสังคมไม่สามารถตามทัน” พื้นที่สำคัญอย่างหนึ่งที่ไม่สามารถตอบสนองความต้องการของครอบครัวสมัยใหม่ได้ คือ โลกขององค์กร ผู้หญิงหลายคนบอกว่า “ ไม่อยากกังวลกับการเลี้ยงดูลูกน้อย ในวัฒนธรรมองค์กรที่ไม่สามารถรองรับคุณแม่ที่ทำงานได้” Peter McDonald ศาสตราจารย์ด้านประชากรศาสตร์แห่งมหาวิทยาลัยเมลเบิร์นกล่าวว่า สำหรับนายจ้าง ชีวิตครอบครัวของบุคคลนั้นมีความสำคัญน้อยมากหรือแทบไม่มีเลย “เอเชียตะวันออกโดดเด่นด้วยความคาดหวังในส่วนของนายจ้างที่มีชั่วโมงการทำงานที่ยาวนานมากและการอุทิศตนให้กับงานเป็นอันดับแรกและสำคัญที่สุด” อีกประการหนึ่งที่อาจเป็นอุปสรรคต่อการแต่งงานสำหรับผู้หญิงคือความไม่เท่าเทียมกันทางเพศในการแบ่งงานบ้าน จากรายงานของ OECD ในปี 2015 ผู้ชายเกาหลีใช้เวลาทำงานบ้านโดยเฉลี่ยเพียง 45 นาทีต่อวันซึ่งน้อยกว่าหนึ่งในสามของค่าเฉลี่ย OECD การฝึกส่งข้อความหาคู่ ในหลักสูตรการแต่งงานและครอบครัว นักเรียนจะต้องทำงานร่วมกับคู่หูในแบบฝึกหัดต่าง ๆ นักเรียนเรียกมันว่า “การออกเดทแบบบังคับ” ในขณะที่ศาสตราจารย์ลีเรียกมันว่า “การจับคู่” คู่รักจะต้องทำภารกิจที่อาจจะต้องเผชิญในความสัมพันธ์จริง ๆ ในภายหลัง เช่น การไปเดทในราคาประหยัดวางแผนงานแต่งงานตามทฤษฎี และทำสัญญาการแต่งงานที่ครอบคลุมทุกอย่าง ตั้งแต่การแบ่งงานบ้านและรูปแบบการเลี้ยงดูซึ่งพ่อแม่ อีกทั้งพวกเขายังต้องกลับไปศึกษาพื้นฐานเกี่ยวกับเพศศึกษา เนื่องจากศาสตราจารย์ลีกล่าวว่า โรงเรียนนั้นมุ่งเน้นไปที่การสั่งสอนนักเรียนว่าอย่าตั้งครรภ์ แทนที่จะให้ความรู้ให้ตรงจุด ดังนั้นการเรียนพื้นฐานเกี่ยวกับเพศศึกษา จะทำให้ข้อมูลที่อาจทำให้พวกเขารู้สึกดีมากขึ้นเกี่ยวกับเรื่องเพศ และควบคุมภาวะเจริญพันธุ์ได้มากขึ้น นอกจากการเรียนการสอนในห้องแล้ว ผู้ที่เรียนในวิชานี้ยังต้องออกเดทกับคู่เดทอย่างน้อย 3 คนในหนึ่งเดือน และหลังจากที่ได้ทำความรู้จักกันแล้ว พวกเขาจะต้องบอกกับอาจารย์อีกด้วยว่ารู้สึกกับคนไหนเป็นพิเศษ นอกจากนี้ยังมีการบ้านที่เกี่ยวกับการออกเดทและอภิปรายเกี่ยวกับสถาณการณ์ที่คู่รักต้องเจอ เช่น กรณีทะเลาะหรือมีการหึงหวงกัน ผู้ที่เข้าเรียนจะมีโอกาสได้ทำความเข้าใจวิธีคิดของคนที่ตัวเองคบหา โดยคาดหวังว่าจะนำไปสู่การแก้ปัญหาหรือการคลี่คลายความขัดแย้งร่วมกันโดยไม่ใช้กำลังหรือความรุนแรง สิงคโปร์สร้างแรงจูงใจให้ผู้ปกครองผ่านโครงการ Baby Bonus ซึ่งมอบของขวัญเป็นเงินสดสำหรับเด็ก และยังจับคู่เงินออมของผู้ปกครองสำหรับอนาคตของบุตรหลาน แต่ห้าปีต่อมาดูเหมือนว่ามาตรการเหล่านี้ไม่ได้มีผลต่ออัตราการเกิดที่เพิ่มขึ้นมากนัก เกาหลีพยายามริเริ่มการสร้างสรรค์โครงการของตัวเอง ในปี 2010 พนักงานของกระทรวงสาธารณสุขสวัสดิการและกิจการครอบครัวในกรุงโซลได้รับคำสั่งให้กลับบ้านเร็วขึ้น ในวันพุธ หนึ่งครั้งต่อเดือนและใช้เวลาร่วมกับครอบครัว ซึ่งนี่เป็นการริเริ่มที่เรียกว่า “วันครอบครัว” สำหรับหลักสูตรนี้ จะเป็นหลักสูตรที่ให้นักเรียนทำความเข้าใจเกี่ยวกับตนเอง และเรียนรู้ตนเองให้มาก และที่สำคัญหลักสูตรนี้มีเพื่อเปลี่ยนทัศนคติของผู้หญิงเกาหลี เพื่อให้ผู้หญิงเกาหลีมีทัศนคติที่ดีต่อชีวิตครอบครัว และหลักสูตรนี้อาจจะเพิ่มอัตราการเกิดในอนาคตได้ แปลและเรียบเรียงจาก https://www.bbc.com/worklife/article/20180426-can-classes-help-seouls-marriage-phobic-singles EZ Webmaster Related Posts อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ รวมบุคคลสำคัญของแต่ละมหาวิทยาลัยไทย มาให้ทุกคนได้รู้กัน !! ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา เปิดรอบ 5 รับตรงอิสระ เรียน 6 สาขา ถึง 20 มิ.ย.นี้ สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ Post navigation PREVIOUS Previous post: ศูนย์หนังสือจุฬาฯ จัดกิจกรรมเขียน Blog รีวิวหนังสือเตรียมสอบNEXT Next post: อยากเรียนวิศวกรรมศาสตร์ ต้องทำอย่างไร ? Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
“40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search
ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ…
ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ…
EZ Webmaster January 22, 2021 EZ Webmaster January 22, 2021 หลักสูตรการแต่งงานและครอบครัว หลักสูตรการแต่งงานและครอบครัว เรียนอะไรบ้าง เรียนไปเพื่ออะไร หลายประเทศในเอเชียตะวันออกมีอัตราการแต่งงานและการเกิดลดลงอย่างมาก แต่ชั้นเรียนของมหาวิทยาลัยดงกุกและมหาวิทยาลัยคยองฮีในกรุงโซลของเกาหลีใต้ มีเป้าหมายเพื่อจะแก้ปัญหาเหล่านั้น ในห้องเรียนที่มหาวิทยาลัยดงกุก ศาสตราจารย์ลีอึนจูสอนอยู่ในหลักสูตร ” การแต่งงานและครอบครัว (marriage and family) ” ชั้นเรียนนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อนำร่องความสัมพันธ์ช่วยคนหนุ่มสาวซึ่งอาจจะมีสักวันหนึ่งที่กับเจอคนที่เหมาะสม ให้มีประสบการณ์และความรู้ที่จะนำไปสู่การแต่งงานและสร้างครอบครัวในอนาคต ซึ่งชั้นเรียนนี้เป็นส่วนหนึ่งของความพยายามที่ขยายกว้างมากขึ้นในเกาหลี เพื่อแก้ไขปัญหาของคนหนุ่มสาวที่ไม่ได้แต่งงานและคนที่ไม่มีลูก นี่เป็นหัวข้อที่ซับซ้อนในประเทศที่มีบทบาททางเพศแบบดั้งเดิมมายาวนาน ซึ่งเริ่มเปลี่ยนแปลงเมื่อเศรษฐกิจเฟื่องฟูในทศวรรษ 1960 อัตราการเกิดที่หย่อนคล้อย มุมมองที่ฝังรากลึกว่า ผู้หญิงเกาหลีมีอาชีพเป็นแม่บ้านเป็นหลัก และผู้ชายเป็นผู้หาเลี้ยงครอบครัวนั้น มีผลกระทบอย่างมากต่อการที่ชายหนุ่มและหญิงสาวในปัจจุบันมองถึงการแต่งงานและการสร้างครอบครัว ในปี 2560 เกาหลีใต้มีอัตราการเกิดที่เลวร้ายที่สุดในประวัติศาสตร์ที่ อัตราส่วนการกำเนิดนั้นเท่ากับผู้หญิงต่อเด็ก 1.05 คน ซึ่งต่ำกว่าระดับ 2.01 ซึ่งเป็นมาตรฐานที่จำเป็นเพื่อให้ประชากรมีเสถียรภาพ แม้ว่ารัฐบาลจะใช้งบประมาณหลายพันล้านดอลลาร์ในการริเริ่ม เพื่อเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของชาติในทศวรรษที่ผ่านมา ซึ่งรวมถึงการให้ระยะเวลาการลาคลอดที่เพิ่มมากขึ้น การจ่ายค่ารักษาภาวะมีบุตรยาก และครอบครัวที่มีบุตรตั้งแต่สามคนขึ้นไปที่ได้รับสิทธิพิเศษในการเข้าถึงการดูแลเด็กของประชาชน เป็นต้น อัตราการเจริญพันธุ์ที่ลดลงเช่นเดียวกันนี้สามารถเห็นได้ในส่วนอื่น ๆ ของเอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น ไต้หวัน ญี่ปุ่น ฮ่องกง และสิงคโปร์ ในเกาหลีใต้ มีวลีใหม่ที่เกิดขึ้นนั่นคือ Sampo Generation คำว่า삼포세대 (สัมโป) หมายถึง“ การเลิกทำสามสิ่ง” ได้แก่ การจีบ การแต่งงานและการเลี้ยงลูก นั่นมาจากค่าครองชีพ และแรงกดดันในการทำงานที่เพิ่มสูงขึ้น จะส่งผลกระทบให้มีการชะลอการแต่งงานและการมีครอบครัว ศาสตราจารย์ลีกล่าวว่า ปรากฏการณ์นี้ได้พัฒนาขึ้นเป็นส่วนหนึ่งของสังคม เนื่องจากคนหนุ่มสาวกำลังดิ้นรนเพื่อหางานทำและอยากมีอิสระทางการเงินในระบบเศรษฐกิจที่เติบโตช้าและการว่างงานที่เพิ่มสูงขึ้น การวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่า ไม่ว่าจะสำหรับผู้หญิงหรือผู้ชาย ความกังวลทางการเงินนั้นเป็นตัวขัดขวางการแต่งงานที่ยิ่งใหญ่ที่สุด และพวกเขากำลังมองว่าเรื่องนี้เป็นเรื่องของการเลือกมากกว่าความจำเป็น ยกตัวอย่าง Ji-Won Kim วัย 24 ปีนักเรียนคนหนึ่งของ ศาสตราจารย์ลี เธอกล่าวว่า “คนรอบตัวของเธอไม่อยากแต่งงานเพราะต้องใช้จ่ายค่าเลี้ยงดูมากเพื่อดูแลลูกและส่งพวกเขาไปโรงเรียน อีกทั้งเธอยังมีเพื่อนผู้หญิงที่มักจะคิดว่า การจ่ายค่าเช่าด้วยตัวเอง ซื้อของที่ต้องการ เลี้ยงลูกหมาและแค่ไปออกเดทกันดีกว่าการที่ต้องแต่งงานมีลูก” ความทันสมัยที่ถูกกดทับ “มีคำกล่าวว่าชีวิตของคุณจะหายไปเมื่อคุณแต่งงานและมีลูก” Ji-Myeong Kim นักเรียนอีกคนของศาสตราจารย์ลี อายุ 24 ปี ไม่ต้องการที่จะลงหลักปักฐานหรือแต่งงาน แต่แฟนคนปัจจุบันของเขาต้องการความมั่นใจเกี่ยวกับทัศนคติภายในครอบครัวของเขา โดยในช่วงหลายทศวรรษที่ผ่านมาผู้หญิงเกาหลีที่เพิ่งแต่งงานใหม่ ถูกคาดหวังว่าจะออกจากครอบครัวของตัวเองและเข้าร่วมกับครอบครัวของสามี ซึ่งเทอจะจัดอยู่ในตำแหน่งที่ต่ำที่สุดในลำดับชั้นของบ้าน ดังนั้น คิมต้องทำให้แฟนสาวของเขามั่นใจว่าครอบครัวของเขา ไม่ได้ยึดติดกับวิถีแบบเดิม ๆ นั้นดังที่กล่าวมา Jean Yeung ศาสตราจารย์และผู้อำนวยการศูนย์วิจัยครอบครัวและประชากรแห่งมหาวิทยาลัยแห่งชาติสิงคโปร์ ชี้ให้เห็นว่าประเทศต่าง ๆ เช่น เกาหลีและสิงคโปร์มี “ความทันสมัยที่ถูกกดทับ” ซึ่งเป็นช่วงเวลาแห่งการเปลี่ยนแปลงทางสังคมอย่างรวดเร็วซึ่งมาพร้อมกับการก้าวไปข้างหน้าทางเศรษฐกิจที่สำคัญ “การเปลี่ยนแปลงที่อาจต้องใช้เวลาหนึ่งศตวรรษหรือมากกว่านั้นจึงจะเกิดขึ้นในยุโรป ใช้เวลาสองหรือสามทศวรรษจึงจะเกิดขึ้นในเอเชีย ในหลาย ๆ ด้านเศรษฐกิจการศึกษาและบทบาทของผู้หญิงเปลี่ยนไปอย่างรวดเร็วจนสถาบันและบรรทัดฐานทางสังคมไม่สามารถตามทัน” พื้นที่สำคัญอย่างหนึ่งที่ไม่สามารถตอบสนองความต้องการของครอบครัวสมัยใหม่ได้ คือ โลกขององค์กร ผู้หญิงหลายคนบอกว่า “ ไม่อยากกังวลกับการเลี้ยงดูลูกน้อย ในวัฒนธรรมองค์กรที่ไม่สามารถรองรับคุณแม่ที่ทำงานได้” Peter McDonald ศาสตราจารย์ด้านประชากรศาสตร์แห่งมหาวิทยาลัยเมลเบิร์นกล่าวว่า สำหรับนายจ้าง ชีวิตครอบครัวของบุคคลนั้นมีความสำคัญน้อยมากหรือแทบไม่มีเลย “เอเชียตะวันออกโดดเด่นด้วยความคาดหวังในส่วนของนายจ้างที่มีชั่วโมงการทำงานที่ยาวนานมากและการอุทิศตนให้กับงานเป็นอันดับแรกและสำคัญที่สุด” อีกประการหนึ่งที่อาจเป็นอุปสรรคต่อการแต่งงานสำหรับผู้หญิงคือความไม่เท่าเทียมกันทางเพศในการแบ่งงานบ้าน จากรายงานของ OECD ในปี 2015 ผู้ชายเกาหลีใช้เวลาทำงานบ้านโดยเฉลี่ยเพียง 45 นาทีต่อวันซึ่งน้อยกว่าหนึ่งในสามของค่าเฉลี่ย OECD การฝึกส่งข้อความหาคู่ ในหลักสูตรการแต่งงานและครอบครัว นักเรียนจะต้องทำงานร่วมกับคู่หูในแบบฝึกหัดต่าง ๆ นักเรียนเรียกมันว่า “การออกเดทแบบบังคับ” ในขณะที่ศาสตราจารย์ลีเรียกมันว่า “การจับคู่” คู่รักจะต้องทำภารกิจที่อาจจะต้องเผชิญในความสัมพันธ์จริง ๆ ในภายหลัง เช่น การไปเดทในราคาประหยัดวางแผนงานแต่งงานตามทฤษฎี และทำสัญญาการแต่งงานที่ครอบคลุมทุกอย่าง ตั้งแต่การแบ่งงานบ้านและรูปแบบการเลี้ยงดูซึ่งพ่อแม่ อีกทั้งพวกเขายังต้องกลับไปศึกษาพื้นฐานเกี่ยวกับเพศศึกษา เนื่องจากศาสตราจารย์ลีกล่าวว่า โรงเรียนนั้นมุ่งเน้นไปที่การสั่งสอนนักเรียนว่าอย่าตั้งครรภ์ แทนที่จะให้ความรู้ให้ตรงจุด ดังนั้นการเรียนพื้นฐานเกี่ยวกับเพศศึกษา จะทำให้ข้อมูลที่อาจทำให้พวกเขารู้สึกดีมากขึ้นเกี่ยวกับเรื่องเพศ และควบคุมภาวะเจริญพันธุ์ได้มากขึ้น นอกจากการเรียนการสอนในห้องแล้ว ผู้ที่เรียนในวิชานี้ยังต้องออกเดทกับคู่เดทอย่างน้อย 3 คนในหนึ่งเดือน และหลังจากที่ได้ทำความรู้จักกันแล้ว พวกเขาจะต้องบอกกับอาจารย์อีกด้วยว่ารู้สึกกับคนไหนเป็นพิเศษ นอกจากนี้ยังมีการบ้านที่เกี่ยวกับการออกเดทและอภิปรายเกี่ยวกับสถาณการณ์ที่คู่รักต้องเจอ เช่น กรณีทะเลาะหรือมีการหึงหวงกัน ผู้ที่เข้าเรียนจะมีโอกาสได้ทำความเข้าใจวิธีคิดของคนที่ตัวเองคบหา โดยคาดหวังว่าจะนำไปสู่การแก้ปัญหาหรือการคลี่คลายความขัดแย้งร่วมกันโดยไม่ใช้กำลังหรือความรุนแรง สิงคโปร์สร้างแรงจูงใจให้ผู้ปกครองผ่านโครงการ Baby Bonus ซึ่งมอบของขวัญเป็นเงินสดสำหรับเด็ก และยังจับคู่เงินออมของผู้ปกครองสำหรับอนาคตของบุตรหลาน แต่ห้าปีต่อมาดูเหมือนว่ามาตรการเหล่านี้ไม่ได้มีผลต่ออัตราการเกิดที่เพิ่มขึ้นมากนัก เกาหลีพยายามริเริ่มการสร้างสรรค์โครงการของตัวเอง ในปี 2010 พนักงานของกระทรวงสาธารณสุขสวัสดิการและกิจการครอบครัวในกรุงโซลได้รับคำสั่งให้กลับบ้านเร็วขึ้น ในวันพุธ หนึ่งครั้งต่อเดือนและใช้เวลาร่วมกับครอบครัว ซึ่งนี่เป็นการริเริ่มที่เรียกว่า “วันครอบครัว” สำหรับหลักสูตรนี้ จะเป็นหลักสูตรที่ให้นักเรียนทำความเข้าใจเกี่ยวกับตนเอง และเรียนรู้ตนเองให้มาก และที่สำคัญหลักสูตรนี้มีเพื่อเปลี่ยนทัศนคติของผู้หญิงเกาหลี เพื่อให้ผู้หญิงเกาหลีมีทัศนคติที่ดีต่อชีวิตครอบครัว และหลักสูตรนี้อาจจะเพิ่มอัตราการเกิดในอนาคตได้ แปลและเรียบเรียงจาก https://www.bbc.com/worklife/article/20180426-can-classes-help-seouls-marriage-phobic-singles
อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก