โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนประจวบวิทยาลัย EZ WebmasterJune 20, 2025 วันนี้ทั้งเล่น ทั้งได้ความรู้ ทั้งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนประจวบวิทยาลัย จ.ประจวบคีรีขันธ์ วันที่20/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสามร้อยยอดวิทยาคม EZ WebmasterJune 20, 2025 กิจกรรมสร้างสรรค์ ความสุขเล็กๆ ที่ยิ่งสนุกสนาน โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนสามร้อยยอดวิทยาคม จ.ประจวบคีรีขันธ์ วันที่20/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศ EZ WebmasterJune 20, 2025 มาทำให้วันธรรมดา กลายเป็นวันพิเศษกันเถอะ! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศ จ.เพชรบุรี วันที่20/06/68 โดยวิทยากร อ.ธารา อิสสระ (พี่แฮนด์… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนรัตนราษฎร์บำรุง EZ WebmasterJune 20, 2025 สร้างความสุข สร้างความทรงจำดีๆ ให้เด็กๆ ทุกคน โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนรัตนราษฎร์บำรุง จ.ราชบุรี วันที่19/06/68 โดยวิทยากร อ.ธารา… นักศึกษา โรงเรียนปลอดมือถือ! อังกฤษ-ออสเตรเลียเริ่มแล้ว ดึงเด็กกลับมาสนใจครูในห้องเรียน EZ WebmasterJune 20, 2025 วันที่ 10 มิถุนายน 2568 – ในช่วงหลายเดือนที่ผ่านมา แวดวงการศึกษาในประเทศพัฒนาแล้วต่างให้ความสนใจประเด็น “โรงเรียนปลอดโทรศัพท์มือถือ (Phone-Free School)” อย่างจริงจัง ล่าสุดมีความเคลื่อนไหวชัดเจนจาก ประเทศอังกฤษและออสเตรเลีย ที่เริ่มนำร่องมาตรการควบคุมการใช้อุปกรณ์ดิจิทัลในโรงเรียนระดับมัธยมอย่างเข้มงวด จากรายงานของ สำนักข่าว BBC ระบุว่า… มธ. ปักหมุดหลักสูตร ‘AI Ethics’ หนุนบริบทใหม่ของห้องเรียนทันโลก สร้างจุดยืนคนรุ่นใหม่ ‘ใช้เอไออย่างมีจริยธรรม’ พร้อมเดินหน้าวางหมุดหมายระบบการศึกษาไทย กับการปลุกการใช้เทคฯ คู่ธรรมาภิบาล คาดเริ่มเปิดลงทะเบียนพร้อมเรียนจริง สิงหาคม 68 นี้ EZ WebmasterJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) ตอกย้ำจุดยืนเชิงรุกต่อการเปลี่ยนผ่านของโลกยุคดิจิทัล ผ่านการพัฒนาหลักสูตร “AI Ethics” หรือจริยธรรมปัญญาประดิษฐ์ ภายใต้ยุทธศาสตร์ Thammasat Next Century เตรียมความพร้อมให้เยาวชนไทยมีทั้งความรู้ ความสามารถ และความรับผิดชอบในการใช้งานเทคโนโลยีอย่างเหมาะสม โดยเฉพาะในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อที่ปัญญาประดิษฐ์กำลังกลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวัน ทั้งในห้องเรียน ที่ทำงาน และบนแพลตฟอร์มออนไลน์ต่าง ๆ โดยหลักสูตรนี้ถูกวางให้เป็นรากฐานสำคัญของระบบการศึกษายุคใหม่ ที่ไม่เพียงเน้นทักษะด้านเทคนิคเท่านั้น แต่ยังปลูกฝังค่านิยมที่ถูกต้องในการอยู่ร่วมกับเทคโนโลยี พร้อมชี้ให้เห็นถึงความเสี่ยงของ AI ที่เกิดจาก… 11 สาเหตุลึกซึ้ง ทำไมการศึกษาไทยยังตกต่ำ? เสียงสะท้อนจากครูชนบท สู่คำถามใหญ่ของสังคม EZ WebmasterJune 19, 2025 ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ประเทศไทยกำลังเผชิญกับวิกฤตคุณภาพทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง แม้จะมีความพยายามปฏิรูปหลายครั้ง แต่กลับไม่สามารถยกระดับการเรียนรู้ให้เทียบเท่าประเทศเพื่อนบ้านได้อย่างแท้จริงนายสานิตย์ พลศรี นายกสมาคมครูชนบทจังหวัดชัยภูมิ ในหัวข้อ “สาเหตุของปัญหาคุณภาพด้านการศึกษาประเทศไทยที่ตกต่ำ” ซึ่งกำลังถูกส่งต่ออย่างกว้างขวางในโซเชียลมีเดียและกลุ่มไลน์ของคนในแวดวงการศึกษาเสียงสะท้อนจากผู้ที่อยู่ในภาคสนามจริงอย่างนายสานิตย์ ทำให้เราได้เห็นภาพที่ชัดเจนมากขึ้นว่า ปัญหาไม่ได้อยู่ที่ตัวนักเรียนหรือครูเพียงลำพัง แต่เป็นผลสะสมจากโครงสร้าง ระบบ และการบริหารที่ผิดทิศผิดทางมานานจึงเป็นการเปิดประเด็นให้สังคมได้ทบทวนร่วมกันว่า หากเราไม่เริ่ม “เปลี่ยนจริง” คุณภาพการศึกษาของไทยอาจยิ่งตกต่ำลงกว่าที่เป็นอยู่ 11… ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา EZ WebmasterJune 18, 2025 วิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิทักษ์ ธรรมวาริน (คนที่ 4 จากซ้าย) คณบดีวิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สจล. และ Mr. Alfonso Martin (คนที่ 3… ทุนดีดี ทุนImperial Athletes Sport InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 20, 2025 Imperial College London เสนอทุนการศึกษา Imperial Athletes Sport เพื่อสนับสนุนนักกีฬาที่มีพรสวรรค์สำหรับปีการศึกษา 2025/2026 โดยเปิดโอกาสให้เลือกเรียนในหลากหลายสาขาวิชา เปิดรับใบสมัครถึง 4 สิงหาคม 2025 หากคุณกำลังแข่งขันในระดับภูมิภาค ระดับชาติ หรือระดับนานาชาติในกีฬาของคุณ และแสดงให้เห็นถึงพรสวรรค์… Kazan Global Youth Summit InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 19, 2025 เชิญเยาวชนสมัครคัดเลือกเข้าร่วมการประชุม Kazan Global Youth Summit ครั้งที่ 4 ระหว่างวันที่ 27 – 30 สิงหาคม 2568 ณ เมืองคาซาน สาธารณรัฐตาตาร์สตาน สหพันธรัฐรัสเซีย จัดโดยรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐตาตาร์สตาน… SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… ครู-อาจารย์ จุฬาฯ ผงาดอันดับ Top 44 ของโลกด้านความยั่งยืน ใน THE Impact Rankings 2025 ครองอันดับ 1 ของไทยอีกครั้ง tui sakrapeeJune 20, 2025 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยผงาดอันดับ Top 44 ของโลก และครองอันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทยอีกครั้งหนึ่ง จากการจัดอันดับโดย Times Higher Education Impact Rankings 2025 ด้วยผลงานที่โดดเด่นในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนและสร้างผลกระทบสูงต่อสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง SDG 9… หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 📚เริ่มเรียน กรกฎาคม 2568 ถึง มกราคม 2569 ทุกวันพฤหัสบดี 11:00 – 18:00 น.… มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ… สจล. เดินหน้ากระชับความร่วมมือทางวิชาการ กับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของจีน EZ WebmasterJune 19, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เดินหน้ากระชับความสัมพันธ์ทางวิชาการกับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งเป็นพันธมิตรที่มีความร่วมมือกันมานานกว่า 20 ปี เพื่อหารือขยายความร่วมมือเชิงลึกในสาขาวิศวกรรมขั้นสูง โดยเฉพาะด้าน Aerospace, Mechatronics, Automation และ Astronautics ซึ่ง HIT ถือเป็นสถาบันชั้นนำของจีนในด้านนี้ พร้อมทั้งหารือแนวทางความร่วมมือด้านการแลกเปลี่ยนนักศึกษา นักวิจัย และการพัฒนาโครงการ Joint Degree ในอนาคต รองศาสตราจารย์… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster January 15, 2021 EZ Webmaster January 15, 2021 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ EP.6 : สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน สวัสดีค่ะทุกคน พี่ ๆ ทีมงานเอ็ดดูโซนจะพาทุกคนมาทำความรู้จักกับสาขาวิชาทั้ง 7 ซึ่งเป็นสาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ พ.ศ. 2562 – พ.ศ. 2565 ที่ทาง ครม. มีมติให้เป็น 7 สาขาที่ต้องการพัฒนากำลังคนและเป็นสาขาอาชีพที่จำเป็นเร่งด่วนต่อการพัฒนาประเทศ ได้แก่ 1.สาขาอาชีพโลจิสติกส์โครงสร้างพื้นฐาน 2.สาขาอาชีพโลจิสติกส์และซัพพลายเชน 3.สาขาหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ 4.สาขาอาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์ 5.สาขาอาชีพอาหารและเกษตร 6.สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน และ 7.สาขาอาชีพแม่พิมพ์ และเราก็ได้แนะนำไป 5 สาขากันแล้ว ในวันนี้ก็เดินทางมาถึง EP.6 สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ซึ่งเป็นอีกอาชีพหนึ่งที่มีความโด่งดังมากและเขาว่ากันว่า เป็นอาชีพที่เงินเดือนเยอะมาก ๆ พูดแบบนี้พี่ชักจะอยากรู้แล้วล่ะค่ะว่าสาขานี้เรียนยังไง ต้องทำอะไรบ้าง แล้วจบไปจะทำอะไรนะ แล้วน้อง ๆ ล่ะคะอยากรู้กันไหมเอ่ย ถ้าอยากรู้ก็ตามพี่ไปดูพร้อม ๆ กันเลยค่า สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงงานทดแทน การใช้พลังงานของมนุษย์ในปัจจุบันนี้มีมากขึ้นทุกวัน ทั้งใช้ในการดำเนินชีวิต ในการประกอบอาชีพ และอื่น ๆ อีกมากมาย เพราะด้วยความต้องการที่จะสร้างความสะดวกสบายให้กับตัวเอง ซึ่งเชื้อเพลิงหรือพลังงานที่ใช้กันส่วนมากเป็นพลังงานที่ใช้แล้วหมดไป ด้วยเหตุนี้จึงจำเป็นที่จะต้องมีการคิดค้นพลังงานทดแทนขึ้นเพื่อให้สามารถเอามาใช้แทนพลังงานจริง ๆ ได้ และทำให้พลังงานยังคงไม่หมดไปจากโลกใบนี้ ซึ่งสาขาวิชานี้เป็นสายอาชีพที่ขาดตลาด และตลาดแรงงานมีความต้องการเป็นอย่างมาก เมื่อเรียนจบไปไม่ตกงาน มีงานทำแน่นอน ว่าแต่สาขาวิชาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ และพลังงานทดแทนเรียนเกี่ยวกับอะไรบ้าง จบแล้วทำงานด้านไหนดี มีมหาวิทยาลัยที่ไหนเปิดบ้าง อย่ามัวรอช้า ไปดูกันเลย สาขาปิโตรเลียม สาขาปิโตรเลียมเรียนอะไรบ้าง ? อย่างที่เข้าใจกันดีว่าปิโตรเลียมจะเป็นงานที่เกี่ยวกับการขุดเจาะน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ซึ่งสาขานี้ก็จะศึกษาเกี่ยวกับการสำรวจการเจาะ การสกัดและการผลิตน้ำมัน จากแหล่งใต้ผิวดิน ซึ่งจะเรียนรู้ทุกขั้นตอนการผลิตก็ว่าได้ โดยมีทั้งการออกแบบ ศึกษา และวางแผนการผลิตน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ซึ่งในการศึกษาสาขาวิชาปิโตรเลียมจะศึกษาเน้นไปทางฟิสิกส์ เพราะเป็นความรู้ที่เกี่ยวกับหลักการ ความสัมพันธ์กับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ เพื่อมาประเมินการผลิตน้ำมัน และยังมีคณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ และอิเล็กทรอนิกส์ การเขียนโปรแกรม การวางแผนวงจรไฟฟ้า การบริหารและการจัดการทางเคมี อีกทั้งยังมีการออกแบบเพื่อสำรวจและผลิตปิโตรเลียม จบไปทำงานอะไร ? – วิศวกรรังวัด – วิศวกรเหมืองแร่ – วิศวกรเคมี – วิศวกรความปลอดภัย – นักเดินเรือ – หน่วยงานราชการ ได้แก่ กองเชื้อเพลิง กรมทรัพยากรธรณี กรมพลังงานทหาร อาจารย์มหาวิทยาลัย – บริษัทน้ำมัน ได้แก่ ปตท. สำรวจและผลิต Thai shell, Unocal, chevron – บริษัทเกี่ยวเนื่องกับอุตสาหกรรมน้ำมัน ได้แก่ บริษัทจำพวก service companies ได้แก่ schlumberger, halliburt on, baker hugh, BJ service, soientific Drilling และ อื่น ๆ มหาวิทยาลัยที่เปิดสอนหลักสูตรสาขางานปิโตรเลียม – วิศวกรรมปิโตรเลียม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย – Engineering Program in Geotechnologyม.สุรนารี – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีปิโตรเลียม – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมปิโตรเลียม – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – หลักสูตรวิศวกรรมปิโตรเคมี ภาควิชาวิศวกรรมปิโตรเคมี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้า สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าเรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าเป็นสาที่ศึกษาเกี่ยวกับระบบผลิตไฟฟ้า การดูแลบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าช่วยให้ยืดอายุการใช้งานและรักษาประสิทธิภาพในการผลิตไฟฟ้า เพื่อให้เกิดผลผลิตด้านพลังงานไฟฟ้าให้ได้มากที่สุด สาขานี้จึงเรียนตั้งแต่ตรวจสอบและควบคุมระบบผลิตไฟฟ้า ตรวจเช็คความปกติของเครื่องจักร อุปกรณ์ ตรวจสอบและเก็บข้อมูลการผลิตและใช้พลังงานไฟฟ้า จัดทำแผนบำรุงเชิงป้องกัน และจัดทำแผนการปรับเปลี่ยนและซ่อมบำรุงเครื่องอุปกรณ์ เพื่อให้ระบบผลิตไฟฟ้ามีความสมบูรณ์และใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความปลอดภัยต่อผู้ใช้นั่นเอง สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าจบไปทำงานอะไร ? -ผู้ปฏิบัติงานในส่วนการควบคุมกระบวนการผลิตไฟฟ้า “มหาวิทยาลัยที่เปิดสอนหลักสูตรสาขางานปิโตรเลียม” – วิศวกรรมปิโตรเลียม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย – Engineering Program in Geotechnology มหาวิทยาลัยสุรนารี – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีปิโตรเลียม – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมปิโตรเลียม – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – หลักสูตรวิศวกรรมปิโตรเคมี ภาควิชาวิศวกรรมปิโตรเคมี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้า สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าเรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าจะศึกษาครอบคลุมเกี่ยวกับระบบการการผลิตไฟฟ้าไปจนถึงการส่งกระแสไฟฟ้า ซึ่งผู้เรียนจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับระบบไฟฟ้า ระบบผลิตไฟฟ้า ควบคุมการทำงานของเครื่องกำเนิดไฟฟ้า วิเคราะห์และแก้ไขปัญหาออกแบบการปรับปรุง และวางแผนการซ่อมบำรุงในการผลิตไฟฟ้า วางแผน ควบคุมการสั่งการดำเนินงานของสถานีผลิตไฟฟ้า และในการทำงานจริงจึงมีความจำเป็นในการที่ต้องศึกษาเกี่ยวกับการเดินสายไฟเพื่อส่งกระแสไฟฟ้า การจ่ายโหลดพลังงานไฟฟ้า และยังด้องมีความสามารถในการประสานงานเจ้าหน้าที่ควบคุมสั่งจ่ายไฟ อีกทั้งเตรียมพร้อมกับภาวะฉุกเฉินของเครื่องมือภายในพื้นที่ควบคุม สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าจบไปทำงานอะไร ? – วิศวกรด้านไฟฟ้ากำลัง – เจ้าหน้าที่ติดตั้งระบบไฟฟ้า – งานออกแบบระบบไฟฟ้า – งานเขียนโปรแกรมควบคุมไฟฟ้า – งานออกแบบระบบส่องสว่าง สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์เรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์จะศึกษาเกี่ยวกับระบบผลิตไฟฟ้าของระบบโซลาร์เซลล์ ศึกษาโครงสร้างและหลักการทำงานของโซลาร์เซลล์ การต่อแผงโซล่าเซลล์ใช้งานกับระบบไฟฟ้าภายในอาคาร ร่วมกับการต่อเชื่อมระบบจำหน่ายไฟฟ้า นอกจากจะศึกษาเกี่ยวกับการควบคุมกระบวนการผลิตกระแสไฟฟ้าจากโซลาร์เซลล์แล้ง ยังศึกษาเกี่ยวกับการวางแผนและสั่งการดำเนินงานของสถานีผลิตไฟฟ้า ดูแลบำรุงรักษาโซลาร์เซลล์ การดูแลบำรุงรักษาตัวแปลงกระแสไฟฟ้า และระบบเชื่อมต่อต่าง ๆ และการติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์จบไปทำงานอะไร ? – ผู้ปฏิบัติงานด้านการขายระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ – ผู้ปฏิบัติงานด้านติดตั้ง ซ่อมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ – ผู้ปฏิบัติงานด้านออกแบบระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ ทั้ง 3 สาขานี้อาชีพที่เกี่ยวกับกลุ่มพลังงานและพลังงานทดแทน สามารถศึกษาต่อได้ที่มหาวิทยาลัยต่อไปนี้ – สาขาวิชาไฟฟ้า สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา – สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า วิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต – ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี – ภาควิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ – สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น – มหาวิทยาลัยศรีปทุม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยนครพนม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยนครพนม วิทยาลัยธาตุพนม สาขาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยนเรศวร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ – มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา วิทยาศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง คณะเทคโนโลยีการอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฏร์ธานี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี คณะเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี เทคโนโลยีการเกษตร สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตวังไกลกังวล คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตศาลายา คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรมและการจัดการ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคขอนแก่น คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคขอนแก่น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดนครราชสีมา คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสกลนคร คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสกลนคร คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสุรินทร์ เทคโนโลยีการเกษตร สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยขอนแก่น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – อิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสารและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าอุตสาหกรรมและพลังงาน – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ บัณฑิตวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์นานาชาติสิรินธรไทย-เยอรมัน สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง – มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยบูรพา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยพะเยา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร – มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์และทรัพยากร สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและพลังงาน – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขตชุมพร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาเขตรังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยปทุมธานี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยรังสิต คณะวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ – มหาวิทยาลัยรังสิต คณะวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยสยาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและพลังงาน – มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ คณะบัณฑิตวิทยาลัย สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – วิทยาลัยเทคโนโลยีจิตรลดา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้ากำลัง – วิทยาลัยพิชญบัณฑิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง เป็นยังไงบ้างคะน้อง ๆ กับสาขาอาชีพปิโตรเลียม เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ได้เห็นกันแล้วใช่ไหมเอ่ย กับหลักสูตรที่เกี่ยวกับสาขาอาชีพปิโตรเลียม เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ซึ่งสาขาวิชานี้เหมาะสำหรับน้อง ๆ ที่ชอบเกี่ยวกับวิชาเคมี ชอบทำการทดลอง ได้คิดค้นสารหรือพลังงานต่าง ๆ เพื่อเป็นพลังงานทดแทนในอนาคต ซึ่งทั้ง 3 หลักสูตรนี้ก็จะมีการเรียนการสอนที่แตกต่างกันไป แต่ละหลักสูตรก็จะมีจุดเด่นเฉพาะตัว น้อง ๆ สามารถนำจุดเด่นทั้งหมดนี้ มาพิจารณาในการเลือกวิชาชีพที่จะศึกษาต่อ และแน่นอนว่าสาขาอาชีพทั้ง 7 สาขาตามกรอบคุณวุฒิที่พี่ ๆ ได้นำมาแนะนำน้อง ๆ นั้น เป็นสาขาอาชีพที่ตลาดแรงงานต้องการและเมื่อเรียนจบไปมีงานรับรองแน่นอน และสำหรับ EP ต่อไปจะเป็นสาขาวิชาชีพไหน ใช่สาขาวิชาชีพที่น้อง ๆ สนใจหรือเปล่า อย่าลืมติดตามข่าวสารกันนะคะเด็ก ๆ หากน้อง ๆ คนไหนอยากรู้ว่า 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิมีอะไรบ้างสามารถเช็กได้ที่ EP.1 สาขาอาชีพโลจิสติกส์โครงสร้างพื้นฐาน คลิก EP.2 สาขาอาชีพโลจิสติกส์และซัพพลายเชน คลิก EP.3 สาขาหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ คลิก EP.4 สาขาอาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์ คลิก EP.5 สาขาอาชีพอาหารและเกษตร คลิก EP.6 สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงาน คลิก EP.7 สาขาอาชีพแม่พิมพ์ คลิก EZ Webmaster Related Posts โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนประจวบวิทยาลัย โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสามร้อยยอดวิทยาคม โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศ โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนรัตนราษฎร์บำรุง โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี Post navigation PREVIOUS Previous post: 7 อาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิ EP. 5 : สาขาอาชีพอาหารและเกษตรNEXT Next post: 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ EP.7 : สาขาอาชีพแม่พิมพ์ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสามร้อยยอดวิทยาคม EZ WebmasterJune 20, 2025 กิจกรรมสร้างสรรค์ ความสุขเล็กๆ ที่ยิ่งสนุกสนาน โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนสามร้อยยอดวิทยาคม จ.ประจวบคีรีขันธ์ วันที่20/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศ EZ WebmasterJune 20, 2025 มาทำให้วันธรรมดา กลายเป็นวันพิเศษกันเถอะ! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศ จ.เพชรบุรี วันที่20/06/68 โดยวิทยากร อ.ธารา อิสสระ (พี่แฮนด์… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนรัตนราษฎร์บำรุง EZ WebmasterJune 20, 2025 สร้างความสุข สร้างความทรงจำดีๆ ให้เด็กๆ ทุกคน โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนรัตนราษฎร์บำรุง จ.ราชบุรี วันที่19/06/68 โดยวิทยากร อ.ธารา… นักศึกษา โรงเรียนปลอดมือถือ! อังกฤษ-ออสเตรเลียเริ่มแล้ว ดึงเด็กกลับมาสนใจครูในห้องเรียน EZ WebmasterJune 20, 2025 วันที่ 10 มิถุนายน 2568 – ในช่วงหลายเดือนที่ผ่านมา แวดวงการศึกษาในประเทศพัฒนาแล้วต่างให้ความสนใจประเด็น “โรงเรียนปลอดโทรศัพท์มือถือ (Phone-Free School)” อย่างจริงจัง ล่าสุดมีความเคลื่อนไหวชัดเจนจาก ประเทศอังกฤษและออสเตรเลีย ที่เริ่มนำร่องมาตรการควบคุมการใช้อุปกรณ์ดิจิทัลในโรงเรียนระดับมัธยมอย่างเข้มงวด จากรายงานของ สำนักข่าว BBC ระบุว่า… มธ. ปักหมุดหลักสูตร ‘AI Ethics’ หนุนบริบทใหม่ของห้องเรียนทันโลก สร้างจุดยืนคนรุ่นใหม่ ‘ใช้เอไออย่างมีจริยธรรม’ พร้อมเดินหน้าวางหมุดหมายระบบการศึกษาไทย กับการปลุกการใช้เทคฯ คู่ธรรมาภิบาล คาดเริ่มเปิดลงทะเบียนพร้อมเรียนจริง สิงหาคม 68 นี้ EZ WebmasterJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) ตอกย้ำจุดยืนเชิงรุกต่อการเปลี่ยนผ่านของโลกยุคดิจิทัล ผ่านการพัฒนาหลักสูตร “AI Ethics” หรือจริยธรรมปัญญาประดิษฐ์ ภายใต้ยุทธศาสตร์ Thammasat Next Century เตรียมความพร้อมให้เยาวชนไทยมีทั้งความรู้ ความสามารถ และความรับผิดชอบในการใช้งานเทคโนโลยีอย่างเหมาะสม โดยเฉพาะในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อที่ปัญญาประดิษฐ์กำลังกลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวัน ทั้งในห้องเรียน ที่ทำงาน และบนแพลตฟอร์มออนไลน์ต่าง ๆ โดยหลักสูตรนี้ถูกวางให้เป็นรากฐานสำคัญของระบบการศึกษายุคใหม่ ที่ไม่เพียงเน้นทักษะด้านเทคนิคเท่านั้น แต่ยังปลูกฝังค่านิยมที่ถูกต้องในการอยู่ร่วมกับเทคโนโลยี พร้อมชี้ให้เห็นถึงความเสี่ยงของ AI ที่เกิดจาก… 11 สาเหตุลึกซึ้ง ทำไมการศึกษาไทยยังตกต่ำ? เสียงสะท้อนจากครูชนบท สู่คำถามใหญ่ของสังคม EZ WebmasterJune 19, 2025 ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ประเทศไทยกำลังเผชิญกับวิกฤตคุณภาพทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง แม้จะมีความพยายามปฏิรูปหลายครั้ง แต่กลับไม่สามารถยกระดับการเรียนรู้ให้เทียบเท่าประเทศเพื่อนบ้านได้อย่างแท้จริงนายสานิตย์ พลศรี นายกสมาคมครูชนบทจังหวัดชัยภูมิ ในหัวข้อ “สาเหตุของปัญหาคุณภาพด้านการศึกษาประเทศไทยที่ตกต่ำ” ซึ่งกำลังถูกส่งต่ออย่างกว้างขวางในโซเชียลมีเดียและกลุ่มไลน์ของคนในแวดวงการศึกษาเสียงสะท้อนจากผู้ที่อยู่ในภาคสนามจริงอย่างนายสานิตย์ ทำให้เราได้เห็นภาพที่ชัดเจนมากขึ้นว่า ปัญหาไม่ได้อยู่ที่ตัวนักเรียนหรือครูเพียงลำพัง แต่เป็นผลสะสมจากโครงสร้าง ระบบ และการบริหารที่ผิดทิศผิดทางมานานจึงเป็นการเปิดประเด็นให้สังคมได้ทบทวนร่วมกันว่า หากเราไม่เริ่ม “เปลี่ยนจริง” คุณภาพการศึกษาของไทยอาจยิ่งตกต่ำลงกว่าที่เป็นอยู่ 11… ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา EZ WebmasterJune 18, 2025 วิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิทักษ์ ธรรมวาริน (คนที่ 4 จากซ้าย) คณบดีวิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สจล. และ Mr. Alfonso Martin (คนที่ 3… ทุนดีดี ทุนImperial Athletes Sport InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 20, 2025 Imperial College London เสนอทุนการศึกษา Imperial Athletes Sport เพื่อสนับสนุนนักกีฬาที่มีพรสวรรค์สำหรับปีการศึกษา 2025/2026 โดยเปิดโอกาสให้เลือกเรียนในหลากหลายสาขาวิชา เปิดรับใบสมัครถึง 4 สิงหาคม 2025 หากคุณกำลังแข่งขันในระดับภูมิภาค ระดับชาติ หรือระดับนานาชาติในกีฬาของคุณ และแสดงให้เห็นถึงพรสวรรค์… Kazan Global Youth Summit InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 19, 2025 เชิญเยาวชนสมัครคัดเลือกเข้าร่วมการประชุม Kazan Global Youth Summit ครั้งที่ 4 ระหว่างวันที่ 27 – 30 สิงหาคม 2568 ณ เมืองคาซาน สาธารณรัฐตาตาร์สตาน สหพันธรัฐรัสเซีย จัดโดยรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐตาตาร์สตาน… SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… ครู-อาจารย์ จุฬาฯ ผงาดอันดับ Top 44 ของโลกด้านความยั่งยืน ใน THE Impact Rankings 2025 ครองอันดับ 1 ของไทยอีกครั้ง tui sakrapeeJune 20, 2025 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยผงาดอันดับ Top 44 ของโลก และครองอันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทยอีกครั้งหนึ่ง จากการจัดอันดับโดย Times Higher Education Impact Rankings 2025 ด้วยผลงานที่โดดเด่นในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนและสร้างผลกระทบสูงต่อสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง SDG 9… หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 📚เริ่มเรียน กรกฎาคม 2568 ถึง มกราคม 2569 ทุกวันพฤหัสบดี 11:00 – 18:00 น.… มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ… สจล. เดินหน้ากระชับความร่วมมือทางวิชาการ กับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของจีน EZ WebmasterJune 19, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เดินหน้ากระชับความสัมพันธ์ทางวิชาการกับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งเป็นพันธมิตรที่มีความร่วมมือกันมานานกว่า 20 ปี เพื่อหารือขยายความร่วมมือเชิงลึกในสาขาวิศวกรรมขั้นสูง โดยเฉพาะด้าน Aerospace, Mechatronics, Automation และ Astronautics ซึ่ง HIT ถือเป็นสถาบันชั้นนำของจีนในด้านนี้ พร้อมทั้งหารือแนวทางความร่วมมือด้านการแลกเปลี่ยนนักศึกษา นักวิจัย และการพัฒนาโครงการ Joint Degree ในอนาคต รองศาสตราจารย์… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster January 15, 2021 EZ Webmaster January 15, 2021 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ EP.6 : สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน สวัสดีค่ะทุกคน พี่ ๆ ทีมงานเอ็ดดูโซนจะพาทุกคนมาทำความรู้จักกับสาขาวิชาทั้ง 7 ซึ่งเป็นสาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ พ.ศ. 2562 – พ.ศ. 2565 ที่ทาง ครม. มีมติให้เป็น 7 สาขาที่ต้องการพัฒนากำลังคนและเป็นสาขาอาชีพที่จำเป็นเร่งด่วนต่อการพัฒนาประเทศ ได้แก่ 1.สาขาอาชีพโลจิสติกส์โครงสร้างพื้นฐาน 2.สาขาอาชีพโลจิสติกส์และซัพพลายเชน 3.สาขาหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ 4.สาขาอาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์ 5.สาขาอาชีพอาหารและเกษตร 6.สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน และ 7.สาขาอาชีพแม่พิมพ์ และเราก็ได้แนะนำไป 5 สาขากันแล้ว ในวันนี้ก็เดินทางมาถึง EP.6 สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ซึ่งเป็นอีกอาชีพหนึ่งที่มีความโด่งดังมากและเขาว่ากันว่า เป็นอาชีพที่เงินเดือนเยอะมาก ๆ พูดแบบนี้พี่ชักจะอยากรู้แล้วล่ะค่ะว่าสาขานี้เรียนยังไง ต้องทำอะไรบ้าง แล้วจบไปจะทำอะไรนะ แล้วน้อง ๆ ล่ะคะอยากรู้กันไหมเอ่ย ถ้าอยากรู้ก็ตามพี่ไปดูพร้อม ๆ กันเลยค่า สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงงานทดแทน การใช้พลังงานของมนุษย์ในปัจจุบันนี้มีมากขึ้นทุกวัน ทั้งใช้ในการดำเนินชีวิต ในการประกอบอาชีพ และอื่น ๆ อีกมากมาย เพราะด้วยความต้องการที่จะสร้างความสะดวกสบายให้กับตัวเอง ซึ่งเชื้อเพลิงหรือพลังงานที่ใช้กันส่วนมากเป็นพลังงานที่ใช้แล้วหมดไป ด้วยเหตุนี้จึงจำเป็นที่จะต้องมีการคิดค้นพลังงานทดแทนขึ้นเพื่อให้สามารถเอามาใช้แทนพลังงานจริง ๆ ได้ และทำให้พลังงานยังคงไม่หมดไปจากโลกใบนี้ ซึ่งสาขาวิชานี้เป็นสายอาชีพที่ขาดตลาด และตลาดแรงงานมีความต้องการเป็นอย่างมาก เมื่อเรียนจบไปไม่ตกงาน มีงานทำแน่นอน ว่าแต่สาขาวิชาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ และพลังงานทดแทนเรียนเกี่ยวกับอะไรบ้าง จบแล้วทำงานด้านไหนดี มีมหาวิทยาลัยที่ไหนเปิดบ้าง อย่ามัวรอช้า ไปดูกันเลย สาขาปิโตรเลียม สาขาปิโตรเลียมเรียนอะไรบ้าง ? อย่างที่เข้าใจกันดีว่าปิโตรเลียมจะเป็นงานที่เกี่ยวกับการขุดเจาะน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ซึ่งสาขานี้ก็จะศึกษาเกี่ยวกับการสำรวจการเจาะ การสกัดและการผลิตน้ำมัน จากแหล่งใต้ผิวดิน ซึ่งจะเรียนรู้ทุกขั้นตอนการผลิตก็ว่าได้ โดยมีทั้งการออกแบบ ศึกษา และวางแผนการผลิตน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ซึ่งในการศึกษาสาขาวิชาปิโตรเลียมจะศึกษาเน้นไปทางฟิสิกส์ เพราะเป็นความรู้ที่เกี่ยวกับหลักการ ความสัมพันธ์กับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ เพื่อมาประเมินการผลิตน้ำมัน และยังมีคณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ และอิเล็กทรอนิกส์ การเขียนโปรแกรม การวางแผนวงจรไฟฟ้า การบริหารและการจัดการทางเคมี อีกทั้งยังมีการออกแบบเพื่อสำรวจและผลิตปิโตรเลียม จบไปทำงานอะไร ? – วิศวกรรังวัด – วิศวกรเหมืองแร่ – วิศวกรเคมี – วิศวกรความปลอดภัย – นักเดินเรือ – หน่วยงานราชการ ได้แก่ กองเชื้อเพลิง กรมทรัพยากรธรณี กรมพลังงานทหาร อาจารย์มหาวิทยาลัย – บริษัทน้ำมัน ได้แก่ ปตท. สำรวจและผลิต Thai shell, Unocal, chevron – บริษัทเกี่ยวเนื่องกับอุตสาหกรรมน้ำมัน ได้แก่ บริษัทจำพวก service companies ได้แก่ schlumberger, halliburt on, baker hugh, BJ service, soientific Drilling และ อื่น ๆ มหาวิทยาลัยที่เปิดสอนหลักสูตรสาขางานปิโตรเลียม – วิศวกรรมปิโตรเลียม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย – Engineering Program in Geotechnologyม.สุรนารี – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีปิโตรเลียม – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมปิโตรเลียม – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – หลักสูตรวิศวกรรมปิโตรเคมี ภาควิชาวิศวกรรมปิโตรเคมี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้า สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าเรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าเป็นสาที่ศึกษาเกี่ยวกับระบบผลิตไฟฟ้า การดูแลบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าช่วยให้ยืดอายุการใช้งานและรักษาประสิทธิภาพในการผลิตไฟฟ้า เพื่อให้เกิดผลผลิตด้านพลังงานไฟฟ้าให้ได้มากที่สุด สาขานี้จึงเรียนตั้งแต่ตรวจสอบและควบคุมระบบผลิตไฟฟ้า ตรวจเช็คความปกติของเครื่องจักร อุปกรณ์ ตรวจสอบและเก็บข้อมูลการผลิตและใช้พลังงานไฟฟ้า จัดทำแผนบำรุงเชิงป้องกัน และจัดทำแผนการปรับเปลี่ยนและซ่อมบำรุงเครื่องอุปกรณ์ เพื่อให้ระบบผลิตไฟฟ้ามีความสมบูรณ์และใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความปลอดภัยต่อผู้ใช้นั่นเอง สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าจบไปทำงานอะไร ? -ผู้ปฏิบัติงานในส่วนการควบคุมกระบวนการผลิตไฟฟ้า “มหาวิทยาลัยที่เปิดสอนหลักสูตรสาขางานปิโตรเลียม” – วิศวกรรมปิโตรเลียม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย – Engineering Program in Geotechnology มหาวิทยาลัยสุรนารี – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีปิโตรเลียม – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมปิโตรเลียม – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – หลักสูตรวิศวกรรมปิโตรเคมี ภาควิชาวิศวกรรมปิโตรเคมี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้า สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าเรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าจะศึกษาครอบคลุมเกี่ยวกับระบบการการผลิตไฟฟ้าไปจนถึงการส่งกระแสไฟฟ้า ซึ่งผู้เรียนจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับระบบไฟฟ้า ระบบผลิตไฟฟ้า ควบคุมการทำงานของเครื่องกำเนิดไฟฟ้า วิเคราะห์และแก้ไขปัญหาออกแบบการปรับปรุง และวางแผนการซ่อมบำรุงในการผลิตไฟฟ้า วางแผน ควบคุมการสั่งการดำเนินงานของสถานีผลิตไฟฟ้า และในการทำงานจริงจึงมีความจำเป็นในการที่ต้องศึกษาเกี่ยวกับการเดินสายไฟเพื่อส่งกระแสไฟฟ้า การจ่ายโหลดพลังงานไฟฟ้า และยังด้องมีความสามารถในการประสานงานเจ้าหน้าที่ควบคุมสั่งจ่ายไฟ อีกทั้งเตรียมพร้อมกับภาวะฉุกเฉินของเครื่องมือภายในพื้นที่ควบคุม สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าจบไปทำงานอะไร ? – วิศวกรด้านไฟฟ้ากำลัง – เจ้าหน้าที่ติดตั้งระบบไฟฟ้า – งานออกแบบระบบไฟฟ้า – งานเขียนโปรแกรมควบคุมไฟฟ้า – งานออกแบบระบบส่องสว่าง สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์เรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์จะศึกษาเกี่ยวกับระบบผลิตไฟฟ้าของระบบโซลาร์เซลล์ ศึกษาโครงสร้างและหลักการทำงานของโซลาร์เซลล์ การต่อแผงโซล่าเซลล์ใช้งานกับระบบไฟฟ้าภายในอาคาร ร่วมกับการต่อเชื่อมระบบจำหน่ายไฟฟ้า นอกจากจะศึกษาเกี่ยวกับการควบคุมกระบวนการผลิตกระแสไฟฟ้าจากโซลาร์เซลล์แล้ง ยังศึกษาเกี่ยวกับการวางแผนและสั่งการดำเนินงานของสถานีผลิตไฟฟ้า ดูแลบำรุงรักษาโซลาร์เซลล์ การดูแลบำรุงรักษาตัวแปลงกระแสไฟฟ้า และระบบเชื่อมต่อต่าง ๆ และการติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์จบไปทำงานอะไร ? – ผู้ปฏิบัติงานด้านการขายระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ – ผู้ปฏิบัติงานด้านติดตั้ง ซ่อมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ – ผู้ปฏิบัติงานด้านออกแบบระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ ทั้ง 3 สาขานี้อาชีพที่เกี่ยวกับกลุ่มพลังงานและพลังงานทดแทน สามารถศึกษาต่อได้ที่มหาวิทยาลัยต่อไปนี้ – สาขาวิชาไฟฟ้า สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา – สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า วิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต – ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี – ภาควิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ – สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น – มหาวิทยาลัยศรีปทุม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยนครพนม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยนครพนม วิทยาลัยธาตุพนม สาขาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยนเรศวร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ – มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา วิทยาศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง คณะเทคโนโลยีการอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฏร์ธานี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี คณะเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี เทคโนโลยีการเกษตร สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตวังไกลกังวล คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตศาลายา คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรมและการจัดการ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคขอนแก่น คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคขอนแก่น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดนครราชสีมา คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสกลนคร คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสกลนคร คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสุรินทร์ เทคโนโลยีการเกษตร สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยขอนแก่น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – อิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสารและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าอุตสาหกรรมและพลังงาน – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ บัณฑิตวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์นานาชาติสิรินธรไทย-เยอรมัน สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง – มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยบูรพา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยพะเยา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร – มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์และทรัพยากร สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและพลังงาน – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขตชุมพร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาเขตรังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยปทุมธานี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยรังสิต คณะวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ – มหาวิทยาลัยรังสิต คณะวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยสยาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและพลังงาน – มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ คณะบัณฑิตวิทยาลัย สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – วิทยาลัยเทคโนโลยีจิตรลดา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้ากำลัง – วิทยาลัยพิชญบัณฑิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง เป็นยังไงบ้างคะน้อง ๆ กับสาขาอาชีพปิโตรเลียม เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ได้เห็นกันแล้วใช่ไหมเอ่ย กับหลักสูตรที่เกี่ยวกับสาขาอาชีพปิโตรเลียม เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ซึ่งสาขาวิชานี้เหมาะสำหรับน้อง ๆ ที่ชอบเกี่ยวกับวิชาเคมี ชอบทำการทดลอง ได้คิดค้นสารหรือพลังงานต่าง ๆ เพื่อเป็นพลังงานทดแทนในอนาคต ซึ่งทั้ง 3 หลักสูตรนี้ก็จะมีการเรียนการสอนที่แตกต่างกันไป แต่ละหลักสูตรก็จะมีจุดเด่นเฉพาะตัว น้อง ๆ สามารถนำจุดเด่นทั้งหมดนี้ มาพิจารณาในการเลือกวิชาชีพที่จะศึกษาต่อ และแน่นอนว่าสาขาอาชีพทั้ง 7 สาขาตามกรอบคุณวุฒิที่พี่ ๆ ได้นำมาแนะนำน้อง ๆ นั้น เป็นสาขาอาชีพที่ตลาดแรงงานต้องการและเมื่อเรียนจบไปมีงานรับรองแน่นอน และสำหรับ EP ต่อไปจะเป็นสาขาวิชาชีพไหน ใช่สาขาวิชาชีพที่น้อง ๆ สนใจหรือเปล่า อย่าลืมติดตามข่าวสารกันนะคะเด็ก ๆ หากน้อง ๆ คนไหนอยากรู้ว่า 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิมีอะไรบ้างสามารถเช็กได้ที่ EP.1 สาขาอาชีพโลจิสติกส์โครงสร้างพื้นฐาน คลิก EP.2 สาขาอาชีพโลจิสติกส์และซัพพลายเชน คลิก EP.3 สาขาหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ คลิก EP.4 สาขาอาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์ คลิก EP.5 สาขาอาชีพอาหารและเกษตร คลิก EP.6 สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงาน คลิก EP.7 สาขาอาชีพแม่พิมพ์ คลิก EZ Webmaster Related Posts โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนประจวบวิทยาลัย โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสามร้อยยอดวิทยาคม โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศ โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนรัตนราษฎร์บำรุง โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี Post navigation PREVIOUS Previous post: 7 อาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิ EP. 5 : สาขาอาชีพอาหารและเกษตรNEXT Next post: 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ EP.7 : สาขาอาชีพแม่พิมพ์ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศ EZ WebmasterJune 20, 2025 มาทำให้วันธรรมดา กลายเป็นวันพิเศษกันเถอะ! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศ จ.เพชรบุรี วันที่20/06/68 โดยวิทยากร อ.ธารา อิสสระ (พี่แฮนด์… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนรัตนราษฎร์บำรุง EZ WebmasterJune 20, 2025 สร้างความสุข สร้างความทรงจำดีๆ ให้เด็กๆ ทุกคน โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนรัตนราษฎร์บำรุง จ.ราชบุรี วันที่19/06/68 โดยวิทยากร อ.ธารา…
โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนรัตนราษฎร์บำรุง EZ WebmasterJune 20, 2025 สร้างความสุข สร้างความทรงจำดีๆ ให้เด็กๆ ทุกคน โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนรัตนราษฎร์บำรุง จ.ราชบุรี วันที่19/06/68 โดยวิทยากร อ.ธารา…
โรงเรียนปลอดมือถือ! อังกฤษ-ออสเตรเลียเริ่มแล้ว ดึงเด็กกลับมาสนใจครูในห้องเรียน EZ WebmasterJune 20, 2025 วันที่ 10 มิถุนายน 2568 – ในช่วงหลายเดือนที่ผ่านมา แวดวงการศึกษาในประเทศพัฒนาแล้วต่างให้ความสนใจประเด็น “โรงเรียนปลอดโทรศัพท์มือถือ (Phone-Free School)” อย่างจริงจัง ล่าสุดมีความเคลื่อนไหวชัดเจนจาก ประเทศอังกฤษและออสเตรเลีย ที่เริ่มนำร่องมาตรการควบคุมการใช้อุปกรณ์ดิจิทัลในโรงเรียนระดับมัธยมอย่างเข้มงวด จากรายงานของ สำนักข่าว BBC ระบุว่า… มธ. ปักหมุดหลักสูตร ‘AI Ethics’ หนุนบริบทใหม่ของห้องเรียนทันโลก สร้างจุดยืนคนรุ่นใหม่ ‘ใช้เอไออย่างมีจริยธรรม’ พร้อมเดินหน้าวางหมุดหมายระบบการศึกษาไทย กับการปลุกการใช้เทคฯ คู่ธรรมาภิบาล คาดเริ่มเปิดลงทะเบียนพร้อมเรียนจริง สิงหาคม 68 นี้ EZ WebmasterJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) ตอกย้ำจุดยืนเชิงรุกต่อการเปลี่ยนผ่านของโลกยุคดิจิทัล ผ่านการพัฒนาหลักสูตร “AI Ethics” หรือจริยธรรมปัญญาประดิษฐ์ ภายใต้ยุทธศาสตร์ Thammasat Next Century เตรียมความพร้อมให้เยาวชนไทยมีทั้งความรู้ ความสามารถ และความรับผิดชอบในการใช้งานเทคโนโลยีอย่างเหมาะสม โดยเฉพาะในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อที่ปัญญาประดิษฐ์กำลังกลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวัน ทั้งในห้องเรียน ที่ทำงาน และบนแพลตฟอร์มออนไลน์ต่าง ๆ โดยหลักสูตรนี้ถูกวางให้เป็นรากฐานสำคัญของระบบการศึกษายุคใหม่ ที่ไม่เพียงเน้นทักษะด้านเทคนิคเท่านั้น แต่ยังปลูกฝังค่านิยมที่ถูกต้องในการอยู่ร่วมกับเทคโนโลยี พร้อมชี้ให้เห็นถึงความเสี่ยงของ AI ที่เกิดจาก… 11 สาเหตุลึกซึ้ง ทำไมการศึกษาไทยยังตกต่ำ? เสียงสะท้อนจากครูชนบท สู่คำถามใหญ่ของสังคม EZ WebmasterJune 19, 2025 ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ประเทศไทยกำลังเผชิญกับวิกฤตคุณภาพทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง แม้จะมีความพยายามปฏิรูปหลายครั้ง แต่กลับไม่สามารถยกระดับการเรียนรู้ให้เทียบเท่าประเทศเพื่อนบ้านได้อย่างแท้จริงนายสานิตย์ พลศรี นายกสมาคมครูชนบทจังหวัดชัยภูมิ ในหัวข้อ “สาเหตุของปัญหาคุณภาพด้านการศึกษาประเทศไทยที่ตกต่ำ” ซึ่งกำลังถูกส่งต่ออย่างกว้างขวางในโซเชียลมีเดียและกลุ่มไลน์ของคนในแวดวงการศึกษาเสียงสะท้อนจากผู้ที่อยู่ในภาคสนามจริงอย่างนายสานิตย์ ทำให้เราได้เห็นภาพที่ชัดเจนมากขึ้นว่า ปัญหาไม่ได้อยู่ที่ตัวนักเรียนหรือครูเพียงลำพัง แต่เป็นผลสะสมจากโครงสร้าง ระบบ และการบริหารที่ผิดทิศผิดทางมานานจึงเป็นการเปิดประเด็นให้สังคมได้ทบทวนร่วมกันว่า หากเราไม่เริ่ม “เปลี่ยนจริง” คุณภาพการศึกษาของไทยอาจยิ่งตกต่ำลงกว่าที่เป็นอยู่ 11… ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา EZ WebmasterJune 18, 2025 วิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิทักษ์ ธรรมวาริน (คนที่ 4 จากซ้าย) คณบดีวิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สจล. และ Mr. Alfonso Martin (คนที่ 3… ทุนดีดี ทุนImperial Athletes Sport InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 20, 2025 Imperial College London เสนอทุนการศึกษา Imperial Athletes Sport เพื่อสนับสนุนนักกีฬาที่มีพรสวรรค์สำหรับปีการศึกษา 2025/2026 โดยเปิดโอกาสให้เลือกเรียนในหลากหลายสาขาวิชา เปิดรับใบสมัครถึง 4 สิงหาคม 2025 หากคุณกำลังแข่งขันในระดับภูมิภาค ระดับชาติ หรือระดับนานาชาติในกีฬาของคุณ และแสดงให้เห็นถึงพรสวรรค์… Kazan Global Youth Summit InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 19, 2025 เชิญเยาวชนสมัครคัดเลือกเข้าร่วมการประชุม Kazan Global Youth Summit ครั้งที่ 4 ระหว่างวันที่ 27 – 30 สิงหาคม 2568 ณ เมืองคาซาน สาธารณรัฐตาตาร์สตาน สหพันธรัฐรัสเซีย จัดโดยรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐตาตาร์สตาน… SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… ครู-อาจารย์ จุฬาฯ ผงาดอันดับ Top 44 ของโลกด้านความยั่งยืน ใน THE Impact Rankings 2025 ครองอันดับ 1 ของไทยอีกครั้ง tui sakrapeeJune 20, 2025 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยผงาดอันดับ Top 44 ของโลก และครองอันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทยอีกครั้งหนึ่ง จากการจัดอันดับโดย Times Higher Education Impact Rankings 2025 ด้วยผลงานที่โดดเด่นในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนและสร้างผลกระทบสูงต่อสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง SDG 9… หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 📚เริ่มเรียน กรกฎาคม 2568 ถึง มกราคม 2569 ทุกวันพฤหัสบดี 11:00 – 18:00 น.… มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ… สจล. เดินหน้ากระชับความร่วมมือทางวิชาการ กับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของจีน EZ WebmasterJune 19, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เดินหน้ากระชับความสัมพันธ์ทางวิชาการกับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งเป็นพันธมิตรที่มีความร่วมมือกันมานานกว่า 20 ปี เพื่อหารือขยายความร่วมมือเชิงลึกในสาขาวิศวกรรมขั้นสูง โดยเฉพาะด้าน Aerospace, Mechatronics, Automation และ Astronautics ซึ่ง HIT ถือเป็นสถาบันชั้นนำของจีนในด้านนี้ พร้อมทั้งหารือแนวทางความร่วมมือด้านการแลกเปลี่ยนนักศึกษา นักวิจัย และการพัฒนาโครงการ Joint Degree ในอนาคต รองศาสตราจารย์… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster January 15, 2021 EZ Webmaster January 15, 2021 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ EP.6 : สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน สวัสดีค่ะทุกคน พี่ ๆ ทีมงานเอ็ดดูโซนจะพาทุกคนมาทำความรู้จักกับสาขาวิชาทั้ง 7 ซึ่งเป็นสาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ พ.ศ. 2562 – พ.ศ. 2565 ที่ทาง ครม. มีมติให้เป็น 7 สาขาที่ต้องการพัฒนากำลังคนและเป็นสาขาอาชีพที่จำเป็นเร่งด่วนต่อการพัฒนาประเทศ ได้แก่ 1.สาขาอาชีพโลจิสติกส์โครงสร้างพื้นฐาน 2.สาขาอาชีพโลจิสติกส์และซัพพลายเชน 3.สาขาหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ 4.สาขาอาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์ 5.สาขาอาชีพอาหารและเกษตร 6.สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน และ 7.สาขาอาชีพแม่พิมพ์ และเราก็ได้แนะนำไป 5 สาขากันแล้ว ในวันนี้ก็เดินทางมาถึง EP.6 สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ซึ่งเป็นอีกอาชีพหนึ่งที่มีความโด่งดังมากและเขาว่ากันว่า เป็นอาชีพที่เงินเดือนเยอะมาก ๆ พูดแบบนี้พี่ชักจะอยากรู้แล้วล่ะค่ะว่าสาขานี้เรียนยังไง ต้องทำอะไรบ้าง แล้วจบไปจะทำอะไรนะ แล้วน้อง ๆ ล่ะคะอยากรู้กันไหมเอ่ย ถ้าอยากรู้ก็ตามพี่ไปดูพร้อม ๆ กันเลยค่า สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงงานทดแทน การใช้พลังงานของมนุษย์ในปัจจุบันนี้มีมากขึ้นทุกวัน ทั้งใช้ในการดำเนินชีวิต ในการประกอบอาชีพ และอื่น ๆ อีกมากมาย เพราะด้วยความต้องการที่จะสร้างความสะดวกสบายให้กับตัวเอง ซึ่งเชื้อเพลิงหรือพลังงานที่ใช้กันส่วนมากเป็นพลังงานที่ใช้แล้วหมดไป ด้วยเหตุนี้จึงจำเป็นที่จะต้องมีการคิดค้นพลังงานทดแทนขึ้นเพื่อให้สามารถเอามาใช้แทนพลังงานจริง ๆ ได้ และทำให้พลังงานยังคงไม่หมดไปจากโลกใบนี้ ซึ่งสาขาวิชานี้เป็นสายอาชีพที่ขาดตลาด และตลาดแรงงานมีความต้องการเป็นอย่างมาก เมื่อเรียนจบไปไม่ตกงาน มีงานทำแน่นอน ว่าแต่สาขาวิชาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ และพลังงานทดแทนเรียนเกี่ยวกับอะไรบ้าง จบแล้วทำงานด้านไหนดี มีมหาวิทยาลัยที่ไหนเปิดบ้าง อย่ามัวรอช้า ไปดูกันเลย สาขาปิโตรเลียม สาขาปิโตรเลียมเรียนอะไรบ้าง ? อย่างที่เข้าใจกันดีว่าปิโตรเลียมจะเป็นงานที่เกี่ยวกับการขุดเจาะน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ซึ่งสาขานี้ก็จะศึกษาเกี่ยวกับการสำรวจการเจาะ การสกัดและการผลิตน้ำมัน จากแหล่งใต้ผิวดิน ซึ่งจะเรียนรู้ทุกขั้นตอนการผลิตก็ว่าได้ โดยมีทั้งการออกแบบ ศึกษา และวางแผนการผลิตน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ซึ่งในการศึกษาสาขาวิชาปิโตรเลียมจะศึกษาเน้นไปทางฟิสิกส์ เพราะเป็นความรู้ที่เกี่ยวกับหลักการ ความสัมพันธ์กับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ เพื่อมาประเมินการผลิตน้ำมัน และยังมีคณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ และอิเล็กทรอนิกส์ การเขียนโปรแกรม การวางแผนวงจรไฟฟ้า การบริหารและการจัดการทางเคมี อีกทั้งยังมีการออกแบบเพื่อสำรวจและผลิตปิโตรเลียม จบไปทำงานอะไร ? – วิศวกรรังวัด – วิศวกรเหมืองแร่ – วิศวกรเคมี – วิศวกรความปลอดภัย – นักเดินเรือ – หน่วยงานราชการ ได้แก่ กองเชื้อเพลิง กรมทรัพยากรธรณี กรมพลังงานทหาร อาจารย์มหาวิทยาลัย – บริษัทน้ำมัน ได้แก่ ปตท. สำรวจและผลิต Thai shell, Unocal, chevron – บริษัทเกี่ยวเนื่องกับอุตสาหกรรมน้ำมัน ได้แก่ บริษัทจำพวก service companies ได้แก่ schlumberger, halliburt on, baker hugh, BJ service, soientific Drilling และ อื่น ๆ มหาวิทยาลัยที่เปิดสอนหลักสูตรสาขางานปิโตรเลียม – วิศวกรรมปิโตรเลียม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย – Engineering Program in Geotechnologyม.สุรนารี – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีปิโตรเลียม – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมปิโตรเลียม – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – หลักสูตรวิศวกรรมปิโตรเคมี ภาควิชาวิศวกรรมปิโตรเคมี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้า สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าเรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าเป็นสาที่ศึกษาเกี่ยวกับระบบผลิตไฟฟ้า การดูแลบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าช่วยให้ยืดอายุการใช้งานและรักษาประสิทธิภาพในการผลิตไฟฟ้า เพื่อให้เกิดผลผลิตด้านพลังงานไฟฟ้าให้ได้มากที่สุด สาขานี้จึงเรียนตั้งแต่ตรวจสอบและควบคุมระบบผลิตไฟฟ้า ตรวจเช็คความปกติของเครื่องจักร อุปกรณ์ ตรวจสอบและเก็บข้อมูลการผลิตและใช้พลังงานไฟฟ้า จัดทำแผนบำรุงเชิงป้องกัน และจัดทำแผนการปรับเปลี่ยนและซ่อมบำรุงเครื่องอุปกรณ์ เพื่อให้ระบบผลิตไฟฟ้ามีความสมบูรณ์และใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความปลอดภัยต่อผู้ใช้นั่นเอง สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าจบไปทำงานอะไร ? -ผู้ปฏิบัติงานในส่วนการควบคุมกระบวนการผลิตไฟฟ้า “มหาวิทยาลัยที่เปิดสอนหลักสูตรสาขางานปิโตรเลียม” – วิศวกรรมปิโตรเลียม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย – Engineering Program in Geotechnology มหาวิทยาลัยสุรนารี – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีปิโตรเลียม – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมปิโตรเลียม – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – หลักสูตรวิศวกรรมปิโตรเคมี ภาควิชาวิศวกรรมปิโตรเคมี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้า สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าเรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าจะศึกษาครอบคลุมเกี่ยวกับระบบการการผลิตไฟฟ้าไปจนถึงการส่งกระแสไฟฟ้า ซึ่งผู้เรียนจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับระบบไฟฟ้า ระบบผลิตไฟฟ้า ควบคุมการทำงานของเครื่องกำเนิดไฟฟ้า วิเคราะห์และแก้ไขปัญหาออกแบบการปรับปรุง และวางแผนการซ่อมบำรุงในการผลิตไฟฟ้า วางแผน ควบคุมการสั่งการดำเนินงานของสถานีผลิตไฟฟ้า และในการทำงานจริงจึงมีความจำเป็นในการที่ต้องศึกษาเกี่ยวกับการเดินสายไฟเพื่อส่งกระแสไฟฟ้า การจ่ายโหลดพลังงานไฟฟ้า และยังด้องมีความสามารถในการประสานงานเจ้าหน้าที่ควบคุมสั่งจ่ายไฟ อีกทั้งเตรียมพร้อมกับภาวะฉุกเฉินของเครื่องมือภายในพื้นที่ควบคุม สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าจบไปทำงานอะไร ? – วิศวกรด้านไฟฟ้ากำลัง – เจ้าหน้าที่ติดตั้งระบบไฟฟ้า – งานออกแบบระบบไฟฟ้า – งานเขียนโปรแกรมควบคุมไฟฟ้า – งานออกแบบระบบส่องสว่าง สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์เรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์จะศึกษาเกี่ยวกับระบบผลิตไฟฟ้าของระบบโซลาร์เซลล์ ศึกษาโครงสร้างและหลักการทำงานของโซลาร์เซลล์ การต่อแผงโซล่าเซลล์ใช้งานกับระบบไฟฟ้าภายในอาคาร ร่วมกับการต่อเชื่อมระบบจำหน่ายไฟฟ้า นอกจากจะศึกษาเกี่ยวกับการควบคุมกระบวนการผลิตกระแสไฟฟ้าจากโซลาร์เซลล์แล้ง ยังศึกษาเกี่ยวกับการวางแผนและสั่งการดำเนินงานของสถานีผลิตไฟฟ้า ดูแลบำรุงรักษาโซลาร์เซลล์ การดูแลบำรุงรักษาตัวแปลงกระแสไฟฟ้า และระบบเชื่อมต่อต่าง ๆ และการติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์จบไปทำงานอะไร ? – ผู้ปฏิบัติงานด้านการขายระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ – ผู้ปฏิบัติงานด้านติดตั้ง ซ่อมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ – ผู้ปฏิบัติงานด้านออกแบบระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ ทั้ง 3 สาขานี้อาชีพที่เกี่ยวกับกลุ่มพลังงานและพลังงานทดแทน สามารถศึกษาต่อได้ที่มหาวิทยาลัยต่อไปนี้ – สาขาวิชาไฟฟ้า สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา – สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า วิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต – ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี – ภาควิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ – สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น – มหาวิทยาลัยศรีปทุม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยนครพนม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยนครพนม วิทยาลัยธาตุพนม สาขาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยนเรศวร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ – มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา วิทยาศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง คณะเทคโนโลยีการอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฏร์ธานี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี คณะเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี เทคโนโลยีการเกษตร สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตวังไกลกังวล คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตศาลายา คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรมและการจัดการ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคขอนแก่น คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคขอนแก่น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดนครราชสีมา คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสกลนคร คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสกลนคร คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสุรินทร์ เทคโนโลยีการเกษตร สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยขอนแก่น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – อิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสารและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าอุตสาหกรรมและพลังงาน – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ บัณฑิตวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์นานาชาติสิรินธรไทย-เยอรมัน สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง – มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยบูรพา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยพะเยา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร – มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์และทรัพยากร สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและพลังงาน – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขตชุมพร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาเขตรังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยปทุมธานี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยรังสิต คณะวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ – มหาวิทยาลัยรังสิต คณะวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยสยาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและพลังงาน – มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ คณะบัณฑิตวิทยาลัย สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – วิทยาลัยเทคโนโลยีจิตรลดา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้ากำลัง – วิทยาลัยพิชญบัณฑิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง เป็นยังไงบ้างคะน้อง ๆ กับสาขาอาชีพปิโตรเลียม เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ได้เห็นกันแล้วใช่ไหมเอ่ย กับหลักสูตรที่เกี่ยวกับสาขาอาชีพปิโตรเลียม เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ซึ่งสาขาวิชานี้เหมาะสำหรับน้อง ๆ ที่ชอบเกี่ยวกับวิชาเคมี ชอบทำการทดลอง ได้คิดค้นสารหรือพลังงานต่าง ๆ เพื่อเป็นพลังงานทดแทนในอนาคต ซึ่งทั้ง 3 หลักสูตรนี้ก็จะมีการเรียนการสอนที่แตกต่างกันไป แต่ละหลักสูตรก็จะมีจุดเด่นเฉพาะตัว น้อง ๆ สามารถนำจุดเด่นทั้งหมดนี้ มาพิจารณาในการเลือกวิชาชีพที่จะศึกษาต่อ และแน่นอนว่าสาขาอาชีพทั้ง 7 สาขาตามกรอบคุณวุฒิที่พี่ ๆ ได้นำมาแนะนำน้อง ๆ นั้น เป็นสาขาอาชีพที่ตลาดแรงงานต้องการและเมื่อเรียนจบไปมีงานรับรองแน่นอน และสำหรับ EP ต่อไปจะเป็นสาขาวิชาชีพไหน ใช่สาขาวิชาชีพที่น้อง ๆ สนใจหรือเปล่า อย่าลืมติดตามข่าวสารกันนะคะเด็ก ๆ หากน้อง ๆ คนไหนอยากรู้ว่า 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิมีอะไรบ้างสามารถเช็กได้ที่ EP.1 สาขาอาชีพโลจิสติกส์โครงสร้างพื้นฐาน คลิก EP.2 สาขาอาชีพโลจิสติกส์และซัพพลายเชน คลิก EP.3 สาขาหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ คลิก EP.4 สาขาอาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์ คลิก EP.5 สาขาอาชีพอาหารและเกษตร คลิก EP.6 สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงาน คลิก EP.7 สาขาอาชีพแม่พิมพ์ คลิก EZ Webmaster Related Posts โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนประจวบวิทยาลัย โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสามร้อยยอดวิทยาคม โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศ โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนรัตนราษฎร์บำรุง โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี Post navigation PREVIOUS Previous post: 7 อาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิ EP. 5 : สาขาอาชีพอาหารและเกษตรNEXT Next post: 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ EP.7 : สาขาอาชีพแม่พิมพ์ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มธ. ปักหมุดหลักสูตร ‘AI Ethics’ หนุนบริบทใหม่ของห้องเรียนทันโลก สร้างจุดยืนคนรุ่นใหม่ ‘ใช้เอไออย่างมีจริยธรรม’ พร้อมเดินหน้าวางหมุดหมายระบบการศึกษาไทย กับการปลุกการใช้เทคฯ คู่ธรรมาภิบาล คาดเริ่มเปิดลงทะเบียนพร้อมเรียนจริง สิงหาคม 68 นี้ EZ WebmasterJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) ตอกย้ำจุดยืนเชิงรุกต่อการเปลี่ยนผ่านของโลกยุคดิจิทัล ผ่านการพัฒนาหลักสูตร “AI Ethics” หรือจริยธรรมปัญญาประดิษฐ์ ภายใต้ยุทธศาสตร์ Thammasat Next Century เตรียมความพร้อมให้เยาวชนไทยมีทั้งความรู้ ความสามารถ และความรับผิดชอบในการใช้งานเทคโนโลยีอย่างเหมาะสม โดยเฉพาะในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อที่ปัญญาประดิษฐ์กำลังกลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวัน ทั้งในห้องเรียน ที่ทำงาน และบนแพลตฟอร์มออนไลน์ต่าง ๆ โดยหลักสูตรนี้ถูกวางให้เป็นรากฐานสำคัญของระบบการศึกษายุคใหม่ ที่ไม่เพียงเน้นทักษะด้านเทคนิคเท่านั้น แต่ยังปลูกฝังค่านิยมที่ถูกต้องในการอยู่ร่วมกับเทคโนโลยี พร้อมชี้ให้เห็นถึงความเสี่ยงของ AI ที่เกิดจาก… 11 สาเหตุลึกซึ้ง ทำไมการศึกษาไทยยังตกต่ำ? เสียงสะท้อนจากครูชนบท สู่คำถามใหญ่ของสังคม EZ WebmasterJune 19, 2025 ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ประเทศไทยกำลังเผชิญกับวิกฤตคุณภาพทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง แม้จะมีความพยายามปฏิรูปหลายครั้ง แต่กลับไม่สามารถยกระดับการเรียนรู้ให้เทียบเท่าประเทศเพื่อนบ้านได้อย่างแท้จริงนายสานิตย์ พลศรี นายกสมาคมครูชนบทจังหวัดชัยภูมิ ในหัวข้อ “สาเหตุของปัญหาคุณภาพด้านการศึกษาประเทศไทยที่ตกต่ำ” ซึ่งกำลังถูกส่งต่ออย่างกว้างขวางในโซเชียลมีเดียและกลุ่มไลน์ของคนในแวดวงการศึกษาเสียงสะท้อนจากผู้ที่อยู่ในภาคสนามจริงอย่างนายสานิตย์ ทำให้เราได้เห็นภาพที่ชัดเจนมากขึ้นว่า ปัญหาไม่ได้อยู่ที่ตัวนักเรียนหรือครูเพียงลำพัง แต่เป็นผลสะสมจากโครงสร้าง ระบบ และการบริหารที่ผิดทิศผิดทางมานานจึงเป็นการเปิดประเด็นให้สังคมได้ทบทวนร่วมกันว่า หากเราไม่เริ่ม “เปลี่ยนจริง” คุณภาพการศึกษาของไทยอาจยิ่งตกต่ำลงกว่าที่เป็นอยู่ 11… ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา EZ WebmasterJune 18, 2025 วิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิทักษ์ ธรรมวาริน (คนที่ 4 จากซ้าย) คณบดีวิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สจล. และ Mr. Alfonso Martin (คนที่ 3… ทุนดีดี ทุนImperial Athletes Sport InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 20, 2025 Imperial College London เสนอทุนการศึกษา Imperial Athletes Sport เพื่อสนับสนุนนักกีฬาที่มีพรสวรรค์สำหรับปีการศึกษา 2025/2026 โดยเปิดโอกาสให้เลือกเรียนในหลากหลายสาขาวิชา เปิดรับใบสมัครถึง 4 สิงหาคม 2025 หากคุณกำลังแข่งขันในระดับภูมิภาค ระดับชาติ หรือระดับนานาชาติในกีฬาของคุณ และแสดงให้เห็นถึงพรสวรรค์… Kazan Global Youth Summit InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 19, 2025 เชิญเยาวชนสมัครคัดเลือกเข้าร่วมการประชุม Kazan Global Youth Summit ครั้งที่ 4 ระหว่างวันที่ 27 – 30 สิงหาคม 2568 ณ เมืองคาซาน สาธารณรัฐตาตาร์สตาน สหพันธรัฐรัสเซีย จัดโดยรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐตาตาร์สตาน… SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… ครู-อาจารย์ จุฬาฯ ผงาดอันดับ Top 44 ของโลกด้านความยั่งยืน ใน THE Impact Rankings 2025 ครองอันดับ 1 ของไทยอีกครั้ง tui sakrapeeJune 20, 2025 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยผงาดอันดับ Top 44 ของโลก และครองอันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทยอีกครั้งหนึ่ง จากการจัดอันดับโดย Times Higher Education Impact Rankings 2025 ด้วยผลงานที่โดดเด่นในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนและสร้างผลกระทบสูงต่อสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง SDG 9… หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 📚เริ่มเรียน กรกฎาคม 2568 ถึง มกราคม 2569 ทุกวันพฤหัสบดี 11:00 – 18:00 น.… มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ… สจล. เดินหน้ากระชับความร่วมมือทางวิชาการ กับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของจีน EZ WebmasterJune 19, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เดินหน้ากระชับความสัมพันธ์ทางวิชาการกับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งเป็นพันธมิตรที่มีความร่วมมือกันมานานกว่า 20 ปี เพื่อหารือขยายความร่วมมือเชิงลึกในสาขาวิศวกรรมขั้นสูง โดยเฉพาะด้าน Aerospace, Mechatronics, Automation และ Astronautics ซึ่ง HIT ถือเป็นสถาบันชั้นนำของจีนในด้านนี้ พร้อมทั้งหารือแนวทางความร่วมมือด้านการแลกเปลี่ยนนักศึกษา นักวิจัย และการพัฒนาโครงการ Joint Degree ในอนาคต รองศาสตราจารย์… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster January 15, 2021 EZ Webmaster January 15, 2021 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ EP.6 : สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน สวัสดีค่ะทุกคน พี่ ๆ ทีมงานเอ็ดดูโซนจะพาทุกคนมาทำความรู้จักกับสาขาวิชาทั้ง 7 ซึ่งเป็นสาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ พ.ศ. 2562 – พ.ศ. 2565 ที่ทาง ครม. มีมติให้เป็น 7 สาขาที่ต้องการพัฒนากำลังคนและเป็นสาขาอาชีพที่จำเป็นเร่งด่วนต่อการพัฒนาประเทศ ได้แก่ 1.สาขาอาชีพโลจิสติกส์โครงสร้างพื้นฐาน 2.สาขาอาชีพโลจิสติกส์และซัพพลายเชน 3.สาขาหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ 4.สาขาอาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์ 5.สาขาอาชีพอาหารและเกษตร 6.สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน และ 7.สาขาอาชีพแม่พิมพ์ และเราก็ได้แนะนำไป 5 สาขากันแล้ว ในวันนี้ก็เดินทางมาถึง EP.6 สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ซึ่งเป็นอีกอาชีพหนึ่งที่มีความโด่งดังมากและเขาว่ากันว่า เป็นอาชีพที่เงินเดือนเยอะมาก ๆ พูดแบบนี้พี่ชักจะอยากรู้แล้วล่ะค่ะว่าสาขานี้เรียนยังไง ต้องทำอะไรบ้าง แล้วจบไปจะทำอะไรนะ แล้วน้อง ๆ ล่ะคะอยากรู้กันไหมเอ่ย ถ้าอยากรู้ก็ตามพี่ไปดูพร้อม ๆ กันเลยค่า สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงงานทดแทน การใช้พลังงานของมนุษย์ในปัจจุบันนี้มีมากขึ้นทุกวัน ทั้งใช้ในการดำเนินชีวิต ในการประกอบอาชีพ และอื่น ๆ อีกมากมาย เพราะด้วยความต้องการที่จะสร้างความสะดวกสบายให้กับตัวเอง ซึ่งเชื้อเพลิงหรือพลังงานที่ใช้กันส่วนมากเป็นพลังงานที่ใช้แล้วหมดไป ด้วยเหตุนี้จึงจำเป็นที่จะต้องมีการคิดค้นพลังงานทดแทนขึ้นเพื่อให้สามารถเอามาใช้แทนพลังงานจริง ๆ ได้ และทำให้พลังงานยังคงไม่หมดไปจากโลกใบนี้ ซึ่งสาขาวิชานี้เป็นสายอาชีพที่ขาดตลาด และตลาดแรงงานมีความต้องการเป็นอย่างมาก เมื่อเรียนจบไปไม่ตกงาน มีงานทำแน่นอน ว่าแต่สาขาวิชาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ และพลังงานทดแทนเรียนเกี่ยวกับอะไรบ้าง จบแล้วทำงานด้านไหนดี มีมหาวิทยาลัยที่ไหนเปิดบ้าง อย่ามัวรอช้า ไปดูกันเลย สาขาปิโตรเลียม สาขาปิโตรเลียมเรียนอะไรบ้าง ? อย่างที่เข้าใจกันดีว่าปิโตรเลียมจะเป็นงานที่เกี่ยวกับการขุดเจาะน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ซึ่งสาขานี้ก็จะศึกษาเกี่ยวกับการสำรวจการเจาะ การสกัดและการผลิตน้ำมัน จากแหล่งใต้ผิวดิน ซึ่งจะเรียนรู้ทุกขั้นตอนการผลิตก็ว่าได้ โดยมีทั้งการออกแบบ ศึกษา และวางแผนการผลิตน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ซึ่งในการศึกษาสาขาวิชาปิโตรเลียมจะศึกษาเน้นไปทางฟิสิกส์ เพราะเป็นความรู้ที่เกี่ยวกับหลักการ ความสัมพันธ์กับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ เพื่อมาประเมินการผลิตน้ำมัน และยังมีคณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ และอิเล็กทรอนิกส์ การเขียนโปรแกรม การวางแผนวงจรไฟฟ้า การบริหารและการจัดการทางเคมี อีกทั้งยังมีการออกแบบเพื่อสำรวจและผลิตปิโตรเลียม จบไปทำงานอะไร ? – วิศวกรรังวัด – วิศวกรเหมืองแร่ – วิศวกรเคมี – วิศวกรความปลอดภัย – นักเดินเรือ – หน่วยงานราชการ ได้แก่ กองเชื้อเพลิง กรมทรัพยากรธรณี กรมพลังงานทหาร อาจารย์มหาวิทยาลัย – บริษัทน้ำมัน ได้แก่ ปตท. สำรวจและผลิต Thai shell, Unocal, chevron – บริษัทเกี่ยวเนื่องกับอุตสาหกรรมน้ำมัน ได้แก่ บริษัทจำพวก service companies ได้แก่ schlumberger, halliburt on, baker hugh, BJ service, soientific Drilling และ อื่น ๆ มหาวิทยาลัยที่เปิดสอนหลักสูตรสาขางานปิโตรเลียม – วิศวกรรมปิโตรเลียม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย – Engineering Program in Geotechnologyม.สุรนารี – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีปิโตรเลียม – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมปิโตรเลียม – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – หลักสูตรวิศวกรรมปิโตรเคมี ภาควิชาวิศวกรรมปิโตรเคมี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้า สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าเรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าเป็นสาที่ศึกษาเกี่ยวกับระบบผลิตไฟฟ้า การดูแลบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าช่วยให้ยืดอายุการใช้งานและรักษาประสิทธิภาพในการผลิตไฟฟ้า เพื่อให้เกิดผลผลิตด้านพลังงานไฟฟ้าให้ได้มากที่สุด สาขานี้จึงเรียนตั้งแต่ตรวจสอบและควบคุมระบบผลิตไฟฟ้า ตรวจเช็คความปกติของเครื่องจักร อุปกรณ์ ตรวจสอบและเก็บข้อมูลการผลิตและใช้พลังงานไฟฟ้า จัดทำแผนบำรุงเชิงป้องกัน และจัดทำแผนการปรับเปลี่ยนและซ่อมบำรุงเครื่องอุปกรณ์ เพื่อให้ระบบผลิตไฟฟ้ามีความสมบูรณ์และใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความปลอดภัยต่อผู้ใช้นั่นเอง สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าจบไปทำงานอะไร ? -ผู้ปฏิบัติงานในส่วนการควบคุมกระบวนการผลิตไฟฟ้า “มหาวิทยาลัยที่เปิดสอนหลักสูตรสาขางานปิโตรเลียม” – วิศวกรรมปิโตรเลียม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย – Engineering Program in Geotechnology มหาวิทยาลัยสุรนารี – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีปิโตรเลียม – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมปิโตรเลียม – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – หลักสูตรวิศวกรรมปิโตรเคมี ภาควิชาวิศวกรรมปิโตรเคมี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้า สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าเรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าจะศึกษาครอบคลุมเกี่ยวกับระบบการการผลิตไฟฟ้าไปจนถึงการส่งกระแสไฟฟ้า ซึ่งผู้เรียนจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับระบบไฟฟ้า ระบบผลิตไฟฟ้า ควบคุมการทำงานของเครื่องกำเนิดไฟฟ้า วิเคราะห์และแก้ไขปัญหาออกแบบการปรับปรุง และวางแผนการซ่อมบำรุงในการผลิตไฟฟ้า วางแผน ควบคุมการสั่งการดำเนินงานของสถานีผลิตไฟฟ้า และในการทำงานจริงจึงมีความจำเป็นในการที่ต้องศึกษาเกี่ยวกับการเดินสายไฟเพื่อส่งกระแสไฟฟ้า การจ่ายโหลดพลังงานไฟฟ้า และยังด้องมีความสามารถในการประสานงานเจ้าหน้าที่ควบคุมสั่งจ่ายไฟ อีกทั้งเตรียมพร้อมกับภาวะฉุกเฉินของเครื่องมือภายในพื้นที่ควบคุม สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าจบไปทำงานอะไร ? – วิศวกรด้านไฟฟ้ากำลัง – เจ้าหน้าที่ติดตั้งระบบไฟฟ้า – งานออกแบบระบบไฟฟ้า – งานเขียนโปรแกรมควบคุมไฟฟ้า – งานออกแบบระบบส่องสว่าง สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์เรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์จะศึกษาเกี่ยวกับระบบผลิตไฟฟ้าของระบบโซลาร์เซลล์ ศึกษาโครงสร้างและหลักการทำงานของโซลาร์เซลล์ การต่อแผงโซล่าเซลล์ใช้งานกับระบบไฟฟ้าภายในอาคาร ร่วมกับการต่อเชื่อมระบบจำหน่ายไฟฟ้า นอกจากจะศึกษาเกี่ยวกับการควบคุมกระบวนการผลิตกระแสไฟฟ้าจากโซลาร์เซลล์แล้ง ยังศึกษาเกี่ยวกับการวางแผนและสั่งการดำเนินงานของสถานีผลิตไฟฟ้า ดูแลบำรุงรักษาโซลาร์เซลล์ การดูแลบำรุงรักษาตัวแปลงกระแสไฟฟ้า และระบบเชื่อมต่อต่าง ๆ และการติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์จบไปทำงานอะไร ? – ผู้ปฏิบัติงานด้านการขายระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ – ผู้ปฏิบัติงานด้านติดตั้ง ซ่อมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ – ผู้ปฏิบัติงานด้านออกแบบระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ ทั้ง 3 สาขานี้อาชีพที่เกี่ยวกับกลุ่มพลังงานและพลังงานทดแทน สามารถศึกษาต่อได้ที่มหาวิทยาลัยต่อไปนี้ – สาขาวิชาไฟฟ้า สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา – สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า วิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต – ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี – ภาควิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ – สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น – มหาวิทยาลัยศรีปทุม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยนครพนม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยนครพนม วิทยาลัยธาตุพนม สาขาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยนเรศวร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ – มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา วิทยาศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง คณะเทคโนโลยีการอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฏร์ธานี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี คณะเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี เทคโนโลยีการเกษตร สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตวังไกลกังวล คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตศาลายา คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรมและการจัดการ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคขอนแก่น คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคขอนแก่น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดนครราชสีมา คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสกลนคร คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสกลนคร คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสุรินทร์ เทคโนโลยีการเกษตร สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยขอนแก่น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – อิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสารและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าอุตสาหกรรมและพลังงาน – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ บัณฑิตวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์นานาชาติสิรินธรไทย-เยอรมัน สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง – มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยบูรพา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยพะเยา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร – มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์และทรัพยากร สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและพลังงาน – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขตชุมพร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาเขตรังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยปทุมธานี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยรังสิต คณะวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ – มหาวิทยาลัยรังสิต คณะวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยสยาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและพลังงาน – มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ คณะบัณฑิตวิทยาลัย สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – วิทยาลัยเทคโนโลยีจิตรลดา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้ากำลัง – วิทยาลัยพิชญบัณฑิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง เป็นยังไงบ้างคะน้อง ๆ กับสาขาอาชีพปิโตรเลียม เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ได้เห็นกันแล้วใช่ไหมเอ่ย กับหลักสูตรที่เกี่ยวกับสาขาอาชีพปิโตรเลียม เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ซึ่งสาขาวิชานี้เหมาะสำหรับน้อง ๆ ที่ชอบเกี่ยวกับวิชาเคมี ชอบทำการทดลอง ได้คิดค้นสารหรือพลังงานต่าง ๆ เพื่อเป็นพลังงานทดแทนในอนาคต ซึ่งทั้ง 3 หลักสูตรนี้ก็จะมีการเรียนการสอนที่แตกต่างกันไป แต่ละหลักสูตรก็จะมีจุดเด่นเฉพาะตัว น้อง ๆ สามารถนำจุดเด่นทั้งหมดนี้ มาพิจารณาในการเลือกวิชาชีพที่จะศึกษาต่อ และแน่นอนว่าสาขาอาชีพทั้ง 7 สาขาตามกรอบคุณวุฒิที่พี่ ๆ ได้นำมาแนะนำน้อง ๆ นั้น เป็นสาขาอาชีพที่ตลาดแรงงานต้องการและเมื่อเรียนจบไปมีงานรับรองแน่นอน และสำหรับ EP ต่อไปจะเป็นสาขาวิชาชีพไหน ใช่สาขาวิชาชีพที่น้อง ๆ สนใจหรือเปล่า อย่าลืมติดตามข่าวสารกันนะคะเด็ก ๆ หากน้อง ๆ คนไหนอยากรู้ว่า 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิมีอะไรบ้างสามารถเช็กได้ที่ EP.1 สาขาอาชีพโลจิสติกส์โครงสร้างพื้นฐาน คลิก EP.2 สาขาอาชีพโลจิสติกส์และซัพพลายเชน คลิก EP.3 สาขาหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ คลิก EP.4 สาขาอาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์ คลิก EP.5 สาขาอาชีพอาหารและเกษตร คลิก EP.6 สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงาน คลิก EP.7 สาขาอาชีพแม่พิมพ์ คลิก EZ Webmaster Related Posts โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนประจวบวิทยาลัย โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสามร้อยยอดวิทยาคม โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศ โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนรัตนราษฎร์บำรุง โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี Post navigation PREVIOUS Previous post: 7 อาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิ EP. 5 : สาขาอาชีพอาหารและเกษตรNEXT Next post: 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ EP.7 : สาขาอาชีพแม่พิมพ์ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
11 สาเหตุลึกซึ้ง ทำไมการศึกษาไทยยังตกต่ำ? เสียงสะท้อนจากครูชนบท สู่คำถามใหญ่ของสังคม EZ WebmasterJune 19, 2025 ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ประเทศไทยกำลังเผชิญกับวิกฤตคุณภาพทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง แม้จะมีความพยายามปฏิรูปหลายครั้ง แต่กลับไม่สามารถยกระดับการเรียนรู้ให้เทียบเท่าประเทศเพื่อนบ้านได้อย่างแท้จริงนายสานิตย์ พลศรี นายกสมาคมครูชนบทจังหวัดชัยภูมิ ในหัวข้อ “สาเหตุของปัญหาคุณภาพด้านการศึกษาประเทศไทยที่ตกต่ำ” ซึ่งกำลังถูกส่งต่ออย่างกว้างขวางในโซเชียลมีเดียและกลุ่มไลน์ของคนในแวดวงการศึกษาเสียงสะท้อนจากผู้ที่อยู่ในภาคสนามจริงอย่างนายสานิตย์ ทำให้เราได้เห็นภาพที่ชัดเจนมากขึ้นว่า ปัญหาไม่ได้อยู่ที่ตัวนักเรียนหรือครูเพียงลำพัง แต่เป็นผลสะสมจากโครงสร้าง ระบบ และการบริหารที่ผิดทิศผิดทางมานานจึงเป็นการเปิดประเด็นให้สังคมได้ทบทวนร่วมกันว่า หากเราไม่เริ่ม “เปลี่ยนจริง” คุณภาพการศึกษาของไทยอาจยิ่งตกต่ำลงกว่าที่เป็นอยู่ 11… ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา EZ WebmasterJune 18, 2025 วิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิทักษ์ ธรรมวาริน (คนที่ 4 จากซ้าย) คณบดีวิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สจล. และ Mr. Alfonso Martin (คนที่ 3…
ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา EZ WebmasterJune 18, 2025 วิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิทักษ์ ธรรมวาริน (คนที่ 4 จากซ้าย) คณบดีวิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สจล. และ Mr. Alfonso Martin (คนที่ 3…
ทุนImperial Athletes Sport InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 20, 2025 Imperial College London เสนอทุนการศึกษา Imperial Athletes Sport เพื่อสนับสนุนนักกีฬาที่มีพรสวรรค์สำหรับปีการศึกษา 2025/2026 โดยเปิดโอกาสให้เลือกเรียนในหลากหลายสาขาวิชา เปิดรับใบสมัครถึง 4 สิงหาคม 2025 หากคุณกำลังแข่งขันในระดับภูมิภาค ระดับชาติ หรือระดับนานาชาติในกีฬาของคุณ และแสดงให้เห็นถึงพรสวรรค์… Kazan Global Youth Summit InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 19, 2025 เชิญเยาวชนสมัครคัดเลือกเข้าร่วมการประชุม Kazan Global Youth Summit ครั้งที่ 4 ระหว่างวันที่ 27 – 30 สิงหาคม 2568 ณ เมืองคาซาน สาธารณรัฐตาตาร์สตาน สหพันธรัฐรัสเซีย จัดโดยรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐตาตาร์สตาน… SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… ครู-อาจารย์ จุฬาฯ ผงาดอันดับ Top 44 ของโลกด้านความยั่งยืน ใน THE Impact Rankings 2025 ครองอันดับ 1 ของไทยอีกครั้ง tui sakrapeeJune 20, 2025 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยผงาดอันดับ Top 44 ของโลก และครองอันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทยอีกครั้งหนึ่ง จากการจัดอันดับโดย Times Higher Education Impact Rankings 2025 ด้วยผลงานที่โดดเด่นในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนและสร้างผลกระทบสูงต่อสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง SDG 9… หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 📚เริ่มเรียน กรกฎาคม 2568 ถึง มกราคม 2569 ทุกวันพฤหัสบดี 11:00 – 18:00 น.… มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ… สจล. เดินหน้ากระชับความร่วมมือทางวิชาการ กับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของจีน EZ WebmasterJune 19, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เดินหน้ากระชับความสัมพันธ์ทางวิชาการกับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งเป็นพันธมิตรที่มีความร่วมมือกันมานานกว่า 20 ปี เพื่อหารือขยายความร่วมมือเชิงลึกในสาขาวิศวกรรมขั้นสูง โดยเฉพาะด้าน Aerospace, Mechatronics, Automation และ Astronautics ซึ่ง HIT ถือเป็นสถาบันชั้นนำของจีนในด้านนี้ พร้อมทั้งหารือแนวทางความร่วมมือด้านการแลกเปลี่ยนนักศึกษา นักวิจัย และการพัฒนาโครงการ Joint Degree ในอนาคต รองศาสตราจารย์… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster January 15, 2021 EZ Webmaster January 15, 2021 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ EP.6 : สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน สวัสดีค่ะทุกคน พี่ ๆ ทีมงานเอ็ดดูโซนจะพาทุกคนมาทำความรู้จักกับสาขาวิชาทั้ง 7 ซึ่งเป็นสาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ พ.ศ. 2562 – พ.ศ. 2565 ที่ทาง ครม. มีมติให้เป็น 7 สาขาที่ต้องการพัฒนากำลังคนและเป็นสาขาอาชีพที่จำเป็นเร่งด่วนต่อการพัฒนาประเทศ ได้แก่ 1.สาขาอาชีพโลจิสติกส์โครงสร้างพื้นฐาน 2.สาขาอาชีพโลจิสติกส์และซัพพลายเชน 3.สาขาหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ 4.สาขาอาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์ 5.สาขาอาชีพอาหารและเกษตร 6.สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน และ 7.สาขาอาชีพแม่พิมพ์ และเราก็ได้แนะนำไป 5 สาขากันแล้ว ในวันนี้ก็เดินทางมาถึง EP.6 สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ซึ่งเป็นอีกอาชีพหนึ่งที่มีความโด่งดังมากและเขาว่ากันว่า เป็นอาชีพที่เงินเดือนเยอะมาก ๆ พูดแบบนี้พี่ชักจะอยากรู้แล้วล่ะค่ะว่าสาขานี้เรียนยังไง ต้องทำอะไรบ้าง แล้วจบไปจะทำอะไรนะ แล้วน้อง ๆ ล่ะคะอยากรู้กันไหมเอ่ย ถ้าอยากรู้ก็ตามพี่ไปดูพร้อม ๆ กันเลยค่า สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงงานทดแทน การใช้พลังงานของมนุษย์ในปัจจุบันนี้มีมากขึ้นทุกวัน ทั้งใช้ในการดำเนินชีวิต ในการประกอบอาชีพ และอื่น ๆ อีกมากมาย เพราะด้วยความต้องการที่จะสร้างความสะดวกสบายให้กับตัวเอง ซึ่งเชื้อเพลิงหรือพลังงานที่ใช้กันส่วนมากเป็นพลังงานที่ใช้แล้วหมดไป ด้วยเหตุนี้จึงจำเป็นที่จะต้องมีการคิดค้นพลังงานทดแทนขึ้นเพื่อให้สามารถเอามาใช้แทนพลังงานจริง ๆ ได้ และทำให้พลังงานยังคงไม่หมดไปจากโลกใบนี้ ซึ่งสาขาวิชานี้เป็นสายอาชีพที่ขาดตลาด และตลาดแรงงานมีความต้องการเป็นอย่างมาก เมื่อเรียนจบไปไม่ตกงาน มีงานทำแน่นอน ว่าแต่สาขาวิชาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ และพลังงานทดแทนเรียนเกี่ยวกับอะไรบ้าง จบแล้วทำงานด้านไหนดี มีมหาวิทยาลัยที่ไหนเปิดบ้าง อย่ามัวรอช้า ไปดูกันเลย สาขาปิโตรเลียม สาขาปิโตรเลียมเรียนอะไรบ้าง ? อย่างที่เข้าใจกันดีว่าปิโตรเลียมจะเป็นงานที่เกี่ยวกับการขุดเจาะน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ซึ่งสาขานี้ก็จะศึกษาเกี่ยวกับการสำรวจการเจาะ การสกัดและการผลิตน้ำมัน จากแหล่งใต้ผิวดิน ซึ่งจะเรียนรู้ทุกขั้นตอนการผลิตก็ว่าได้ โดยมีทั้งการออกแบบ ศึกษา และวางแผนการผลิตน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ซึ่งในการศึกษาสาขาวิชาปิโตรเลียมจะศึกษาเน้นไปทางฟิสิกส์ เพราะเป็นความรู้ที่เกี่ยวกับหลักการ ความสัมพันธ์กับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ เพื่อมาประเมินการผลิตน้ำมัน และยังมีคณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ และอิเล็กทรอนิกส์ การเขียนโปรแกรม การวางแผนวงจรไฟฟ้า การบริหารและการจัดการทางเคมี อีกทั้งยังมีการออกแบบเพื่อสำรวจและผลิตปิโตรเลียม จบไปทำงานอะไร ? – วิศวกรรังวัด – วิศวกรเหมืองแร่ – วิศวกรเคมี – วิศวกรความปลอดภัย – นักเดินเรือ – หน่วยงานราชการ ได้แก่ กองเชื้อเพลิง กรมทรัพยากรธรณี กรมพลังงานทหาร อาจารย์มหาวิทยาลัย – บริษัทน้ำมัน ได้แก่ ปตท. สำรวจและผลิต Thai shell, Unocal, chevron – บริษัทเกี่ยวเนื่องกับอุตสาหกรรมน้ำมัน ได้แก่ บริษัทจำพวก service companies ได้แก่ schlumberger, halliburt on, baker hugh, BJ service, soientific Drilling และ อื่น ๆ มหาวิทยาลัยที่เปิดสอนหลักสูตรสาขางานปิโตรเลียม – วิศวกรรมปิโตรเลียม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย – Engineering Program in Geotechnologyม.สุรนารี – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีปิโตรเลียม – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมปิโตรเลียม – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – หลักสูตรวิศวกรรมปิโตรเคมี ภาควิชาวิศวกรรมปิโตรเคมี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้า สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าเรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าเป็นสาที่ศึกษาเกี่ยวกับระบบผลิตไฟฟ้า การดูแลบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าช่วยให้ยืดอายุการใช้งานและรักษาประสิทธิภาพในการผลิตไฟฟ้า เพื่อให้เกิดผลผลิตด้านพลังงานไฟฟ้าให้ได้มากที่สุด สาขานี้จึงเรียนตั้งแต่ตรวจสอบและควบคุมระบบผลิตไฟฟ้า ตรวจเช็คความปกติของเครื่องจักร อุปกรณ์ ตรวจสอบและเก็บข้อมูลการผลิตและใช้พลังงานไฟฟ้า จัดทำแผนบำรุงเชิงป้องกัน และจัดทำแผนการปรับเปลี่ยนและซ่อมบำรุงเครื่องอุปกรณ์ เพื่อให้ระบบผลิตไฟฟ้ามีความสมบูรณ์และใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความปลอดภัยต่อผู้ใช้นั่นเอง สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าจบไปทำงานอะไร ? -ผู้ปฏิบัติงานในส่วนการควบคุมกระบวนการผลิตไฟฟ้า “มหาวิทยาลัยที่เปิดสอนหลักสูตรสาขางานปิโตรเลียม” – วิศวกรรมปิโตรเลียม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย – Engineering Program in Geotechnology มหาวิทยาลัยสุรนารี – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีปิโตรเลียม – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมปิโตรเลียม – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – หลักสูตรวิศวกรรมปิโตรเคมี ภาควิชาวิศวกรรมปิโตรเคมี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้า สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าเรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าจะศึกษาครอบคลุมเกี่ยวกับระบบการการผลิตไฟฟ้าไปจนถึงการส่งกระแสไฟฟ้า ซึ่งผู้เรียนจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับระบบไฟฟ้า ระบบผลิตไฟฟ้า ควบคุมการทำงานของเครื่องกำเนิดไฟฟ้า วิเคราะห์และแก้ไขปัญหาออกแบบการปรับปรุง และวางแผนการซ่อมบำรุงในการผลิตไฟฟ้า วางแผน ควบคุมการสั่งการดำเนินงานของสถานีผลิตไฟฟ้า และในการทำงานจริงจึงมีความจำเป็นในการที่ต้องศึกษาเกี่ยวกับการเดินสายไฟเพื่อส่งกระแสไฟฟ้า การจ่ายโหลดพลังงานไฟฟ้า และยังด้องมีความสามารถในการประสานงานเจ้าหน้าที่ควบคุมสั่งจ่ายไฟ อีกทั้งเตรียมพร้อมกับภาวะฉุกเฉินของเครื่องมือภายในพื้นที่ควบคุม สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าจบไปทำงานอะไร ? – วิศวกรด้านไฟฟ้ากำลัง – เจ้าหน้าที่ติดตั้งระบบไฟฟ้า – งานออกแบบระบบไฟฟ้า – งานเขียนโปรแกรมควบคุมไฟฟ้า – งานออกแบบระบบส่องสว่าง สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์เรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์จะศึกษาเกี่ยวกับระบบผลิตไฟฟ้าของระบบโซลาร์เซลล์ ศึกษาโครงสร้างและหลักการทำงานของโซลาร์เซลล์ การต่อแผงโซล่าเซลล์ใช้งานกับระบบไฟฟ้าภายในอาคาร ร่วมกับการต่อเชื่อมระบบจำหน่ายไฟฟ้า นอกจากจะศึกษาเกี่ยวกับการควบคุมกระบวนการผลิตกระแสไฟฟ้าจากโซลาร์เซลล์แล้ง ยังศึกษาเกี่ยวกับการวางแผนและสั่งการดำเนินงานของสถานีผลิตไฟฟ้า ดูแลบำรุงรักษาโซลาร์เซลล์ การดูแลบำรุงรักษาตัวแปลงกระแสไฟฟ้า และระบบเชื่อมต่อต่าง ๆ และการติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์จบไปทำงานอะไร ? – ผู้ปฏิบัติงานด้านการขายระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ – ผู้ปฏิบัติงานด้านติดตั้ง ซ่อมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ – ผู้ปฏิบัติงานด้านออกแบบระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ ทั้ง 3 สาขานี้อาชีพที่เกี่ยวกับกลุ่มพลังงานและพลังงานทดแทน สามารถศึกษาต่อได้ที่มหาวิทยาลัยต่อไปนี้ – สาขาวิชาไฟฟ้า สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา – สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า วิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต – ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี – ภาควิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ – สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น – มหาวิทยาลัยศรีปทุม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยนครพนม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยนครพนม วิทยาลัยธาตุพนม สาขาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยนเรศวร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ – มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา วิทยาศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง คณะเทคโนโลยีการอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฏร์ธานี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี คณะเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี เทคโนโลยีการเกษตร สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตวังไกลกังวล คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตศาลายา คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรมและการจัดการ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคขอนแก่น คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคขอนแก่น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดนครราชสีมา คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสกลนคร คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสกลนคร คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสุรินทร์ เทคโนโลยีการเกษตร สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยขอนแก่น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – อิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสารและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าอุตสาหกรรมและพลังงาน – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ บัณฑิตวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์นานาชาติสิรินธรไทย-เยอรมัน สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง – มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยบูรพา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยพะเยา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร – มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์และทรัพยากร สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและพลังงาน – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขตชุมพร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาเขตรังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยปทุมธานี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยรังสิต คณะวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ – มหาวิทยาลัยรังสิต คณะวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยสยาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและพลังงาน – มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ คณะบัณฑิตวิทยาลัย สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – วิทยาลัยเทคโนโลยีจิตรลดา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้ากำลัง – วิทยาลัยพิชญบัณฑิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง เป็นยังไงบ้างคะน้อง ๆ กับสาขาอาชีพปิโตรเลียม เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ได้เห็นกันแล้วใช่ไหมเอ่ย กับหลักสูตรที่เกี่ยวกับสาขาอาชีพปิโตรเลียม เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ซึ่งสาขาวิชานี้เหมาะสำหรับน้อง ๆ ที่ชอบเกี่ยวกับวิชาเคมี ชอบทำการทดลอง ได้คิดค้นสารหรือพลังงานต่าง ๆ เพื่อเป็นพลังงานทดแทนในอนาคต ซึ่งทั้ง 3 หลักสูตรนี้ก็จะมีการเรียนการสอนที่แตกต่างกันไป แต่ละหลักสูตรก็จะมีจุดเด่นเฉพาะตัว น้อง ๆ สามารถนำจุดเด่นทั้งหมดนี้ มาพิจารณาในการเลือกวิชาชีพที่จะศึกษาต่อ และแน่นอนว่าสาขาอาชีพทั้ง 7 สาขาตามกรอบคุณวุฒิที่พี่ ๆ ได้นำมาแนะนำน้อง ๆ นั้น เป็นสาขาอาชีพที่ตลาดแรงงานต้องการและเมื่อเรียนจบไปมีงานรับรองแน่นอน และสำหรับ EP ต่อไปจะเป็นสาขาวิชาชีพไหน ใช่สาขาวิชาชีพที่น้อง ๆ สนใจหรือเปล่า อย่าลืมติดตามข่าวสารกันนะคะเด็ก ๆ หากน้อง ๆ คนไหนอยากรู้ว่า 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิมีอะไรบ้างสามารถเช็กได้ที่ EP.1 สาขาอาชีพโลจิสติกส์โครงสร้างพื้นฐาน คลิก EP.2 สาขาอาชีพโลจิสติกส์และซัพพลายเชน คลิก EP.3 สาขาหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ คลิก EP.4 สาขาอาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์ คลิก EP.5 สาขาอาชีพอาหารและเกษตร คลิก EP.6 สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงาน คลิก EP.7 สาขาอาชีพแม่พิมพ์ คลิก EZ Webmaster Related Posts โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนประจวบวิทยาลัย โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสามร้อยยอดวิทยาคม โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศ โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนรัตนราษฎร์บำรุง โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี Post navigation PREVIOUS Previous post: 7 อาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิ EP. 5 : สาขาอาชีพอาหารและเกษตรNEXT Next post: 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ EP.7 : สาขาอาชีพแม่พิมพ์ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
Kazan Global Youth Summit InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 19, 2025 เชิญเยาวชนสมัครคัดเลือกเข้าร่วมการประชุม Kazan Global Youth Summit ครั้งที่ 4 ระหว่างวันที่ 27 – 30 สิงหาคม 2568 ณ เมืองคาซาน สาธารณรัฐตาตาร์สตาน สหพันธรัฐรัสเซีย จัดโดยรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐตาตาร์สตาน… SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… ครู-อาจารย์ จุฬาฯ ผงาดอันดับ Top 44 ของโลกด้านความยั่งยืน ใน THE Impact Rankings 2025 ครองอันดับ 1 ของไทยอีกครั้ง tui sakrapeeJune 20, 2025 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยผงาดอันดับ Top 44 ของโลก และครองอันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทยอีกครั้งหนึ่ง จากการจัดอันดับโดย Times Higher Education Impact Rankings 2025 ด้วยผลงานที่โดดเด่นในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนและสร้างผลกระทบสูงต่อสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง SDG 9… หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 📚เริ่มเรียน กรกฎาคม 2568 ถึง มกราคม 2569 ทุกวันพฤหัสบดี 11:00 – 18:00 น.… มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ… สจล. เดินหน้ากระชับความร่วมมือทางวิชาการ กับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของจีน EZ WebmasterJune 19, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เดินหน้ากระชับความสัมพันธ์ทางวิชาการกับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งเป็นพันธมิตรที่มีความร่วมมือกันมานานกว่า 20 ปี เพื่อหารือขยายความร่วมมือเชิงลึกในสาขาวิศวกรรมขั้นสูง โดยเฉพาะด้าน Aerospace, Mechatronics, Automation และ Astronautics ซึ่ง HIT ถือเป็นสถาบันชั้นนำของจีนในด้านนี้ พร้อมทั้งหารือแนวทางความร่วมมือด้านการแลกเปลี่ยนนักศึกษา นักวิจัย และการพัฒนาโครงการ Joint Degree ในอนาคต รองศาสตราจารย์… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster January 15, 2021 EZ Webmaster January 15, 2021 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ EP.6 : สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน สวัสดีค่ะทุกคน พี่ ๆ ทีมงานเอ็ดดูโซนจะพาทุกคนมาทำความรู้จักกับสาขาวิชาทั้ง 7 ซึ่งเป็นสาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ พ.ศ. 2562 – พ.ศ. 2565 ที่ทาง ครม. มีมติให้เป็น 7 สาขาที่ต้องการพัฒนากำลังคนและเป็นสาขาอาชีพที่จำเป็นเร่งด่วนต่อการพัฒนาประเทศ ได้แก่ 1.สาขาอาชีพโลจิสติกส์โครงสร้างพื้นฐาน 2.สาขาอาชีพโลจิสติกส์และซัพพลายเชน 3.สาขาหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ 4.สาขาอาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์ 5.สาขาอาชีพอาหารและเกษตร 6.สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน และ 7.สาขาอาชีพแม่พิมพ์ และเราก็ได้แนะนำไป 5 สาขากันแล้ว ในวันนี้ก็เดินทางมาถึง EP.6 สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ซึ่งเป็นอีกอาชีพหนึ่งที่มีความโด่งดังมากและเขาว่ากันว่า เป็นอาชีพที่เงินเดือนเยอะมาก ๆ พูดแบบนี้พี่ชักจะอยากรู้แล้วล่ะค่ะว่าสาขานี้เรียนยังไง ต้องทำอะไรบ้าง แล้วจบไปจะทำอะไรนะ แล้วน้อง ๆ ล่ะคะอยากรู้กันไหมเอ่ย ถ้าอยากรู้ก็ตามพี่ไปดูพร้อม ๆ กันเลยค่า สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงงานทดแทน การใช้พลังงานของมนุษย์ในปัจจุบันนี้มีมากขึ้นทุกวัน ทั้งใช้ในการดำเนินชีวิต ในการประกอบอาชีพ และอื่น ๆ อีกมากมาย เพราะด้วยความต้องการที่จะสร้างความสะดวกสบายให้กับตัวเอง ซึ่งเชื้อเพลิงหรือพลังงานที่ใช้กันส่วนมากเป็นพลังงานที่ใช้แล้วหมดไป ด้วยเหตุนี้จึงจำเป็นที่จะต้องมีการคิดค้นพลังงานทดแทนขึ้นเพื่อให้สามารถเอามาใช้แทนพลังงานจริง ๆ ได้ และทำให้พลังงานยังคงไม่หมดไปจากโลกใบนี้ ซึ่งสาขาวิชานี้เป็นสายอาชีพที่ขาดตลาด และตลาดแรงงานมีความต้องการเป็นอย่างมาก เมื่อเรียนจบไปไม่ตกงาน มีงานทำแน่นอน ว่าแต่สาขาวิชาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ และพลังงานทดแทนเรียนเกี่ยวกับอะไรบ้าง จบแล้วทำงานด้านไหนดี มีมหาวิทยาลัยที่ไหนเปิดบ้าง อย่ามัวรอช้า ไปดูกันเลย สาขาปิโตรเลียม สาขาปิโตรเลียมเรียนอะไรบ้าง ? อย่างที่เข้าใจกันดีว่าปิโตรเลียมจะเป็นงานที่เกี่ยวกับการขุดเจาะน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ซึ่งสาขานี้ก็จะศึกษาเกี่ยวกับการสำรวจการเจาะ การสกัดและการผลิตน้ำมัน จากแหล่งใต้ผิวดิน ซึ่งจะเรียนรู้ทุกขั้นตอนการผลิตก็ว่าได้ โดยมีทั้งการออกแบบ ศึกษา และวางแผนการผลิตน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ซึ่งในการศึกษาสาขาวิชาปิโตรเลียมจะศึกษาเน้นไปทางฟิสิกส์ เพราะเป็นความรู้ที่เกี่ยวกับหลักการ ความสัมพันธ์กับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ เพื่อมาประเมินการผลิตน้ำมัน และยังมีคณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ และอิเล็กทรอนิกส์ การเขียนโปรแกรม การวางแผนวงจรไฟฟ้า การบริหารและการจัดการทางเคมี อีกทั้งยังมีการออกแบบเพื่อสำรวจและผลิตปิโตรเลียม จบไปทำงานอะไร ? – วิศวกรรังวัด – วิศวกรเหมืองแร่ – วิศวกรเคมี – วิศวกรความปลอดภัย – นักเดินเรือ – หน่วยงานราชการ ได้แก่ กองเชื้อเพลิง กรมทรัพยากรธรณี กรมพลังงานทหาร อาจารย์มหาวิทยาลัย – บริษัทน้ำมัน ได้แก่ ปตท. สำรวจและผลิต Thai shell, Unocal, chevron – บริษัทเกี่ยวเนื่องกับอุตสาหกรรมน้ำมัน ได้แก่ บริษัทจำพวก service companies ได้แก่ schlumberger, halliburt on, baker hugh, BJ service, soientific Drilling และ อื่น ๆ มหาวิทยาลัยที่เปิดสอนหลักสูตรสาขางานปิโตรเลียม – วิศวกรรมปิโตรเลียม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย – Engineering Program in Geotechnologyม.สุรนารี – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีปิโตรเลียม – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมปิโตรเลียม – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – หลักสูตรวิศวกรรมปิโตรเคมี ภาควิชาวิศวกรรมปิโตรเคมี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้า สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าเรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าเป็นสาที่ศึกษาเกี่ยวกับระบบผลิตไฟฟ้า การดูแลบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าช่วยให้ยืดอายุการใช้งานและรักษาประสิทธิภาพในการผลิตไฟฟ้า เพื่อให้เกิดผลผลิตด้านพลังงานไฟฟ้าให้ได้มากที่สุด สาขานี้จึงเรียนตั้งแต่ตรวจสอบและควบคุมระบบผลิตไฟฟ้า ตรวจเช็คความปกติของเครื่องจักร อุปกรณ์ ตรวจสอบและเก็บข้อมูลการผลิตและใช้พลังงานไฟฟ้า จัดทำแผนบำรุงเชิงป้องกัน และจัดทำแผนการปรับเปลี่ยนและซ่อมบำรุงเครื่องอุปกรณ์ เพื่อให้ระบบผลิตไฟฟ้ามีความสมบูรณ์และใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความปลอดภัยต่อผู้ใช้นั่นเอง สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าจบไปทำงานอะไร ? -ผู้ปฏิบัติงานในส่วนการควบคุมกระบวนการผลิตไฟฟ้า “มหาวิทยาลัยที่เปิดสอนหลักสูตรสาขางานปิโตรเลียม” – วิศวกรรมปิโตรเลียม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย – Engineering Program in Geotechnology มหาวิทยาลัยสุรนารี – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีปิโตรเลียม – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมปิโตรเลียม – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – หลักสูตรวิศวกรรมปิโตรเคมี ภาควิชาวิศวกรรมปิโตรเคมี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้า สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าเรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าจะศึกษาครอบคลุมเกี่ยวกับระบบการการผลิตไฟฟ้าไปจนถึงการส่งกระแสไฟฟ้า ซึ่งผู้เรียนจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับระบบไฟฟ้า ระบบผลิตไฟฟ้า ควบคุมการทำงานของเครื่องกำเนิดไฟฟ้า วิเคราะห์และแก้ไขปัญหาออกแบบการปรับปรุง และวางแผนการซ่อมบำรุงในการผลิตไฟฟ้า วางแผน ควบคุมการสั่งการดำเนินงานของสถานีผลิตไฟฟ้า และในการทำงานจริงจึงมีความจำเป็นในการที่ต้องศึกษาเกี่ยวกับการเดินสายไฟเพื่อส่งกระแสไฟฟ้า การจ่ายโหลดพลังงานไฟฟ้า และยังด้องมีความสามารถในการประสานงานเจ้าหน้าที่ควบคุมสั่งจ่ายไฟ อีกทั้งเตรียมพร้อมกับภาวะฉุกเฉินของเครื่องมือภายในพื้นที่ควบคุม สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าจบไปทำงานอะไร ? – วิศวกรด้านไฟฟ้ากำลัง – เจ้าหน้าที่ติดตั้งระบบไฟฟ้า – งานออกแบบระบบไฟฟ้า – งานเขียนโปรแกรมควบคุมไฟฟ้า – งานออกแบบระบบส่องสว่าง สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์เรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์จะศึกษาเกี่ยวกับระบบผลิตไฟฟ้าของระบบโซลาร์เซลล์ ศึกษาโครงสร้างและหลักการทำงานของโซลาร์เซลล์ การต่อแผงโซล่าเซลล์ใช้งานกับระบบไฟฟ้าภายในอาคาร ร่วมกับการต่อเชื่อมระบบจำหน่ายไฟฟ้า นอกจากจะศึกษาเกี่ยวกับการควบคุมกระบวนการผลิตกระแสไฟฟ้าจากโซลาร์เซลล์แล้ง ยังศึกษาเกี่ยวกับการวางแผนและสั่งการดำเนินงานของสถานีผลิตไฟฟ้า ดูแลบำรุงรักษาโซลาร์เซลล์ การดูแลบำรุงรักษาตัวแปลงกระแสไฟฟ้า และระบบเชื่อมต่อต่าง ๆ และการติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์จบไปทำงานอะไร ? – ผู้ปฏิบัติงานด้านการขายระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ – ผู้ปฏิบัติงานด้านติดตั้ง ซ่อมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ – ผู้ปฏิบัติงานด้านออกแบบระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ ทั้ง 3 สาขานี้อาชีพที่เกี่ยวกับกลุ่มพลังงานและพลังงานทดแทน สามารถศึกษาต่อได้ที่มหาวิทยาลัยต่อไปนี้ – สาขาวิชาไฟฟ้า สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา – สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า วิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต – ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี – ภาควิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ – สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น – มหาวิทยาลัยศรีปทุม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยนครพนม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยนครพนม วิทยาลัยธาตุพนม สาขาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยนเรศวร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ – มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา วิทยาศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง คณะเทคโนโลยีการอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฏร์ธานี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี คณะเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี เทคโนโลยีการเกษตร สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตวังไกลกังวล คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตศาลายา คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรมและการจัดการ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคขอนแก่น คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคขอนแก่น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดนครราชสีมา คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสกลนคร คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสกลนคร คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสุรินทร์ เทคโนโลยีการเกษตร สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยขอนแก่น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – อิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสารและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าอุตสาหกรรมและพลังงาน – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ บัณฑิตวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์นานาชาติสิรินธรไทย-เยอรมัน สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง – มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยบูรพา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยพะเยา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร – มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์และทรัพยากร สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและพลังงาน – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขตชุมพร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาเขตรังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยปทุมธานี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยรังสิต คณะวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ – มหาวิทยาลัยรังสิต คณะวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยสยาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและพลังงาน – มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ คณะบัณฑิตวิทยาลัย สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – วิทยาลัยเทคโนโลยีจิตรลดา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้ากำลัง – วิทยาลัยพิชญบัณฑิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง เป็นยังไงบ้างคะน้อง ๆ กับสาขาอาชีพปิโตรเลียม เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ได้เห็นกันแล้วใช่ไหมเอ่ย กับหลักสูตรที่เกี่ยวกับสาขาอาชีพปิโตรเลียม เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ซึ่งสาขาวิชานี้เหมาะสำหรับน้อง ๆ ที่ชอบเกี่ยวกับวิชาเคมี ชอบทำการทดลอง ได้คิดค้นสารหรือพลังงานต่าง ๆ เพื่อเป็นพลังงานทดแทนในอนาคต ซึ่งทั้ง 3 หลักสูตรนี้ก็จะมีการเรียนการสอนที่แตกต่างกันไป แต่ละหลักสูตรก็จะมีจุดเด่นเฉพาะตัว น้อง ๆ สามารถนำจุดเด่นทั้งหมดนี้ มาพิจารณาในการเลือกวิชาชีพที่จะศึกษาต่อ และแน่นอนว่าสาขาอาชีพทั้ง 7 สาขาตามกรอบคุณวุฒิที่พี่ ๆ ได้นำมาแนะนำน้อง ๆ นั้น เป็นสาขาอาชีพที่ตลาดแรงงานต้องการและเมื่อเรียนจบไปมีงานรับรองแน่นอน และสำหรับ EP ต่อไปจะเป็นสาขาวิชาชีพไหน ใช่สาขาวิชาชีพที่น้อง ๆ สนใจหรือเปล่า อย่าลืมติดตามข่าวสารกันนะคะเด็ก ๆ หากน้อง ๆ คนไหนอยากรู้ว่า 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิมีอะไรบ้างสามารถเช็กได้ที่ EP.1 สาขาอาชีพโลจิสติกส์โครงสร้างพื้นฐาน คลิก EP.2 สาขาอาชีพโลจิสติกส์และซัพพลายเชน คลิก EP.3 สาขาหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ คลิก EP.4 สาขาอาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์ คลิก EP.5 สาขาอาชีพอาหารและเกษตร คลิก EP.6 สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงาน คลิก EP.7 สาขาอาชีพแม่พิมพ์ คลิก EZ Webmaster Related Posts โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนประจวบวิทยาลัย โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสามร้อยยอดวิทยาคม โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศ โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนรัตนราษฎร์บำรุง โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี Post navigation PREVIOUS Previous post: 7 อาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิ EP. 5 : สาขาอาชีพอาหารและเกษตรNEXT Next post: 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ EP.7 : สาขาอาชีพแม่พิมพ์ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม…
ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม…
จุฬาฯ ผงาดอันดับ Top 44 ของโลกด้านความยั่งยืน ใน THE Impact Rankings 2025 ครองอันดับ 1 ของไทยอีกครั้ง tui sakrapeeJune 20, 2025 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยผงาดอันดับ Top 44 ของโลก และครองอันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทยอีกครั้งหนึ่ง จากการจัดอันดับโดย Times Higher Education Impact Rankings 2025 ด้วยผลงานที่โดดเด่นในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนและสร้างผลกระทบสูงต่อสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง SDG 9… หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 📚เริ่มเรียน กรกฎาคม 2568 ถึง มกราคม 2569 ทุกวันพฤหัสบดี 11:00 – 18:00 น.… มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ… สจล. เดินหน้ากระชับความร่วมมือทางวิชาการ กับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของจีน EZ WebmasterJune 19, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เดินหน้ากระชับความสัมพันธ์ทางวิชาการกับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งเป็นพันธมิตรที่มีความร่วมมือกันมานานกว่า 20 ปี เพื่อหารือขยายความร่วมมือเชิงลึกในสาขาวิศวกรรมขั้นสูง โดยเฉพาะด้าน Aerospace, Mechatronics, Automation และ Astronautics ซึ่ง HIT ถือเป็นสถาบันชั้นนำของจีนในด้านนี้ พร้อมทั้งหารือแนวทางความร่วมมือด้านการแลกเปลี่ยนนักศึกษา นักวิจัย และการพัฒนาโครงการ Joint Degree ในอนาคต รองศาสตราจารย์… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster January 15, 2021 EZ Webmaster January 15, 2021 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ EP.6 : สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน สวัสดีค่ะทุกคน พี่ ๆ ทีมงานเอ็ดดูโซนจะพาทุกคนมาทำความรู้จักกับสาขาวิชาทั้ง 7 ซึ่งเป็นสาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ พ.ศ. 2562 – พ.ศ. 2565 ที่ทาง ครม. มีมติให้เป็น 7 สาขาที่ต้องการพัฒนากำลังคนและเป็นสาขาอาชีพที่จำเป็นเร่งด่วนต่อการพัฒนาประเทศ ได้แก่ 1.สาขาอาชีพโลจิสติกส์โครงสร้างพื้นฐาน 2.สาขาอาชีพโลจิสติกส์และซัพพลายเชน 3.สาขาหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ 4.สาขาอาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์ 5.สาขาอาชีพอาหารและเกษตร 6.สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน และ 7.สาขาอาชีพแม่พิมพ์ และเราก็ได้แนะนำไป 5 สาขากันแล้ว ในวันนี้ก็เดินทางมาถึง EP.6 สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ซึ่งเป็นอีกอาชีพหนึ่งที่มีความโด่งดังมากและเขาว่ากันว่า เป็นอาชีพที่เงินเดือนเยอะมาก ๆ พูดแบบนี้พี่ชักจะอยากรู้แล้วล่ะค่ะว่าสาขานี้เรียนยังไง ต้องทำอะไรบ้าง แล้วจบไปจะทำอะไรนะ แล้วน้อง ๆ ล่ะคะอยากรู้กันไหมเอ่ย ถ้าอยากรู้ก็ตามพี่ไปดูพร้อม ๆ กันเลยค่า สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงงานทดแทน การใช้พลังงานของมนุษย์ในปัจจุบันนี้มีมากขึ้นทุกวัน ทั้งใช้ในการดำเนินชีวิต ในการประกอบอาชีพ และอื่น ๆ อีกมากมาย เพราะด้วยความต้องการที่จะสร้างความสะดวกสบายให้กับตัวเอง ซึ่งเชื้อเพลิงหรือพลังงานที่ใช้กันส่วนมากเป็นพลังงานที่ใช้แล้วหมดไป ด้วยเหตุนี้จึงจำเป็นที่จะต้องมีการคิดค้นพลังงานทดแทนขึ้นเพื่อให้สามารถเอามาใช้แทนพลังงานจริง ๆ ได้ และทำให้พลังงานยังคงไม่หมดไปจากโลกใบนี้ ซึ่งสาขาวิชานี้เป็นสายอาชีพที่ขาดตลาด และตลาดแรงงานมีความต้องการเป็นอย่างมาก เมื่อเรียนจบไปไม่ตกงาน มีงานทำแน่นอน ว่าแต่สาขาวิชาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ และพลังงานทดแทนเรียนเกี่ยวกับอะไรบ้าง จบแล้วทำงานด้านไหนดี มีมหาวิทยาลัยที่ไหนเปิดบ้าง อย่ามัวรอช้า ไปดูกันเลย สาขาปิโตรเลียม สาขาปิโตรเลียมเรียนอะไรบ้าง ? อย่างที่เข้าใจกันดีว่าปิโตรเลียมจะเป็นงานที่เกี่ยวกับการขุดเจาะน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ซึ่งสาขานี้ก็จะศึกษาเกี่ยวกับการสำรวจการเจาะ การสกัดและการผลิตน้ำมัน จากแหล่งใต้ผิวดิน ซึ่งจะเรียนรู้ทุกขั้นตอนการผลิตก็ว่าได้ โดยมีทั้งการออกแบบ ศึกษา และวางแผนการผลิตน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ซึ่งในการศึกษาสาขาวิชาปิโตรเลียมจะศึกษาเน้นไปทางฟิสิกส์ เพราะเป็นความรู้ที่เกี่ยวกับหลักการ ความสัมพันธ์กับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ เพื่อมาประเมินการผลิตน้ำมัน และยังมีคณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ และอิเล็กทรอนิกส์ การเขียนโปรแกรม การวางแผนวงจรไฟฟ้า การบริหารและการจัดการทางเคมี อีกทั้งยังมีการออกแบบเพื่อสำรวจและผลิตปิโตรเลียม จบไปทำงานอะไร ? – วิศวกรรังวัด – วิศวกรเหมืองแร่ – วิศวกรเคมี – วิศวกรความปลอดภัย – นักเดินเรือ – หน่วยงานราชการ ได้แก่ กองเชื้อเพลิง กรมทรัพยากรธรณี กรมพลังงานทหาร อาจารย์มหาวิทยาลัย – บริษัทน้ำมัน ได้แก่ ปตท. สำรวจและผลิต Thai shell, Unocal, chevron – บริษัทเกี่ยวเนื่องกับอุตสาหกรรมน้ำมัน ได้แก่ บริษัทจำพวก service companies ได้แก่ schlumberger, halliburt on, baker hugh, BJ service, soientific Drilling และ อื่น ๆ มหาวิทยาลัยที่เปิดสอนหลักสูตรสาขางานปิโตรเลียม – วิศวกรรมปิโตรเลียม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย – Engineering Program in Geotechnologyม.สุรนารี – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีปิโตรเลียม – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมปิโตรเลียม – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – หลักสูตรวิศวกรรมปิโตรเคมี ภาควิชาวิศวกรรมปิโตรเคมี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้า สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าเรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าเป็นสาที่ศึกษาเกี่ยวกับระบบผลิตไฟฟ้า การดูแลบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าช่วยให้ยืดอายุการใช้งานและรักษาประสิทธิภาพในการผลิตไฟฟ้า เพื่อให้เกิดผลผลิตด้านพลังงานไฟฟ้าให้ได้มากที่สุด สาขานี้จึงเรียนตั้งแต่ตรวจสอบและควบคุมระบบผลิตไฟฟ้า ตรวจเช็คความปกติของเครื่องจักร อุปกรณ์ ตรวจสอบและเก็บข้อมูลการผลิตและใช้พลังงานไฟฟ้า จัดทำแผนบำรุงเชิงป้องกัน และจัดทำแผนการปรับเปลี่ยนและซ่อมบำรุงเครื่องอุปกรณ์ เพื่อให้ระบบผลิตไฟฟ้ามีความสมบูรณ์และใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความปลอดภัยต่อผู้ใช้นั่นเอง สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าจบไปทำงานอะไร ? -ผู้ปฏิบัติงานในส่วนการควบคุมกระบวนการผลิตไฟฟ้า “มหาวิทยาลัยที่เปิดสอนหลักสูตรสาขางานปิโตรเลียม” – วิศวกรรมปิโตรเลียม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย – Engineering Program in Geotechnology มหาวิทยาลัยสุรนารี – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีปิโตรเลียม – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมปิโตรเลียม – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – หลักสูตรวิศวกรรมปิโตรเคมี ภาควิชาวิศวกรรมปิโตรเคมี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้า สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าเรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าจะศึกษาครอบคลุมเกี่ยวกับระบบการการผลิตไฟฟ้าไปจนถึงการส่งกระแสไฟฟ้า ซึ่งผู้เรียนจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับระบบไฟฟ้า ระบบผลิตไฟฟ้า ควบคุมการทำงานของเครื่องกำเนิดไฟฟ้า วิเคราะห์และแก้ไขปัญหาออกแบบการปรับปรุง และวางแผนการซ่อมบำรุงในการผลิตไฟฟ้า วางแผน ควบคุมการสั่งการดำเนินงานของสถานีผลิตไฟฟ้า และในการทำงานจริงจึงมีความจำเป็นในการที่ต้องศึกษาเกี่ยวกับการเดินสายไฟเพื่อส่งกระแสไฟฟ้า การจ่ายโหลดพลังงานไฟฟ้า และยังด้องมีความสามารถในการประสานงานเจ้าหน้าที่ควบคุมสั่งจ่ายไฟ อีกทั้งเตรียมพร้อมกับภาวะฉุกเฉินของเครื่องมือภายในพื้นที่ควบคุม สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าจบไปทำงานอะไร ? – วิศวกรด้านไฟฟ้ากำลัง – เจ้าหน้าที่ติดตั้งระบบไฟฟ้า – งานออกแบบระบบไฟฟ้า – งานเขียนโปรแกรมควบคุมไฟฟ้า – งานออกแบบระบบส่องสว่าง สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์เรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์จะศึกษาเกี่ยวกับระบบผลิตไฟฟ้าของระบบโซลาร์เซลล์ ศึกษาโครงสร้างและหลักการทำงานของโซลาร์เซลล์ การต่อแผงโซล่าเซลล์ใช้งานกับระบบไฟฟ้าภายในอาคาร ร่วมกับการต่อเชื่อมระบบจำหน่ายไฟฟ้า นอกจากจะศึกษาเกี่ยวกับการควบคุมกระบวนการผลิตกระแสไฟฟ้าจากโซลาร์เซลล์แล้ง ยังศึกษาเกี่ยวกับการวางแผนและสั่งการดำเนินงานของสถานีผลิตไฟฟ้า ดูแลบำรุงรักษาโซลาร์เซลล์ การดูแลบำรุงรักษาตัวแปลงกระแสไฟฟ้า และระบบเชื่อมต่อต่าง ๆ และการติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์จบไปทำงานอะไร ? – ผู้ปฏิบัติงานด้านการขายระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ – ผู้ปฏิบัติงานด้านติดตั้ง ซ่อมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ – ผู้ปฏิบัติงานด้านออกแบบระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ ทั้ง 3 สาขานี้อาชีพที่เกี่ยวกับกลุ่มพลังงานและพลังงานทดแทน สามารถศึกษาต่อได้ที่มหาวิทยาลัยต่อไปนี้ – สาขาวิชาไฟฟ้า สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา – สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า วิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต – ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี – ภาควิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ – สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น – มหาวิทยาลัยศรีปทุม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยนครพนม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยนครพนม วิทยาลัยธาตุพนม สาขาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยนเรศวร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ – มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา วิทยาศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง คณะเทคโนโลยีการอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฏร์ธานี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี คณะเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี เทคโนโลยีการเกษตร สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตวังไกลกังวล คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตศาลายา คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรมและการจัดการ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคขอนแก่น คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคขอนแก่น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดนครราชสีมา คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสกลนคร คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสกลนคร คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสุรินทร์ เทคโนโลยีการเกษตร สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยขอนแก่น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – อิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสารและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าอุตสาหกรรมและพลังงาน – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ บัณฑิตวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์นานาชาติสิรินธรไทย-เยอรมัน สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง – มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยบูรพา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยพะเยา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร – มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์และทรัพยากร สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและพลังงาน – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขตชุมพร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาเขตรังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยปทุมธานี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยรังสิต คณะวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ – มหาวิทยาลัยรังสิต คณะวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยสยาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและพลังงาน – มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ คณะบัณฑิตวิทยาลัย สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – วิทยาลัยเทคโนโลยีจิตรลดา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้ากำลัง – วิทยาลัยพิชญบัณฑิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง เป็นยังไงบ้างคะน้อง ๆ กับสาขาอาชีพปิโตรเลียม เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ได้เห็นกันแล้วใช่ไหมเอ่ย กับหลักสูตรที่เกี่ยวกับสาขาอาชีพปิโตรเลียม เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ซึ่งสาขาวิชานี้เหมาะสำหรับน้อง ๆ ที่ชอบเกี่ยวกับวิชาเคมี ชอบทำการทดลอง ได้คิดค้นสารหรือพลังงานต่าง ๆ เพื่อเป็นพลังงานทดแทนในอนาคต ซึ่งทั้ง 3 หลักสูตรนี้ก็จะมีการเรียนการสอนที่แตกต่างกันไป แต่ละหลักสูตรก็จะมีจุดเด่นเฉพาะตัว น้อง ๆ สามารถนำจุดเด่นทั้งหมดนี้ มาพิจารณาในการเลือกวิชาชีพที่จะศึกษาต่อ และแน่นอนว่าสาขาอาชีพทั้ง 7 สาขาตามกรอบคุณวุฒิที่พี่ ๆ ได้นำมาแนะนำน้อง ๆ นั้น เป็นสาขาอาชีพที่ตลาดแรงงานต้องการและเมื่อเรียนจบไปมีงานรับรองแน่นอน และสำหรับ EP ต่อไปจะเป็นสาขาวิชาชีพไหน ใช่สาขาวิชาชีพที่น้อง ๆ สนใจหรือเปล่า อย่าลืมติดตามข่าวสารกันนะคะเด็ก ๆ หากน้อง ๆ คนไหนอยากรู้ว่า 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิมีอะไรบ้างสามารถเช็กได้ที่ EP.1 สาขาอาชีพโลจิสติกส์โครงสร้างพื้นฐาน คลิก EP.2 สาขาอาชีพโลจิสติกส์และซัพพลายเชน คลิก EP.3 สาขาหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ คลิก EP.4 สาขาอาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์ คลิก EP.5 สาขาอาชีพอาหารและเกษตร คลิก EP.6 สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงาน คลิก EP.7 สาขาอาชีพแม่พิมพ์ คลิก EZ Webmaster Related Posts โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนประจวบวิทยาลัย โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสามร้อยยอดวิทยาคม โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศ โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนรัตนราษฎร์บำรุง โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี Post navigation PREVIOUS Previous post: 7 อาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิ EP. 5 : สาขาอาชีพอาหารและเกษตรNEXT Next post: 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ EP.7 : สาขาอาชีพแม่พิมพ์ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 📚เริ่มเรียน กรกฎาคม 2568 ถึง มกราคม 2569 ทุกวันพฤหัสบดี 11:00 – 18:00 น.… มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ… สจล. เดินหน้ากระชับความร่วมมือทางวิชาการ กับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของจีน EZ WebmasterJune 19, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เดินหน้ากระชับความสัมพันธ์ทางวิชาการกับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งเป็นพันธมิตรที่มีความร่วมมือกันมานานกว่า 20 ปี เพื่อหารือขยายความร่วมมือเชิงลึกในสาขาวิศวกรรมขั้นสูง โดยเฉพาะด้าน Aerospace, Mechatronics, Automation และ Astronautics ซึ่ง HIT ถือเป็นสถาบันชั้นนำของจีนในด้านนี้ พร้อมทั้งหารือแนวทางความร่วมมือด้านการแลกเปลี่ยนนักศึกษา นักวิจัย และการพัฒนาโครงการ Joint Degree ในอนาคต รองศาสตราจารย์… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster January 15, 2021 EZ Webmaster January 15, 2021 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ EP.6 : สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน สวัสดีค่ะทุกคน พี่ ๆ ทีมงานเอ็ดดูโซนจะพาทุกคนมาทำความรู้จักกับสาขาวิชาทั้ง 7 ซึ่งเป็นสาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ พ.ศ. 2562 – พ.ศ. 2565 ที่ทาง ครม. มีมติให้เป็น 7 สาขาที่ต้องการพัฒนากำลังคนและเป็นสาขาอาชีพที่จำเป็นเร่งด่วนต่อการพัฒนาประเทศ ได้แก่ 1.สาขาอาชีพโลจิสติกส์โครงสร้างพื้นฐาน 2.สาขาอาชีพโลจิสติกส์และซัพพลายเชน 3.สาขาหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ 4.สาขาอาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์ 5.สาขาอาชีพอาหารและเกษตร 6.สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน และ 7.สาขาอาชีพแม่พิมพ์ และเราก็ได้แนะนำไป 5 สาขากันแล้ว ในวันนี้ก็เดินทางมาถึง EP.6 สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ซึ่งเป็นอีกอาชีพหนึ่งที่มีความโด่งดังมากและเขาว่ากันว่า เป็นอาชีพที่เงินเดือนเยอะมาก ๆ พูดแบบนี้พี่ชักจะอยากรู้แล้วล่ะค่ะว่าสาขานี้เรียนยังไง ต้องทำอะไรบ้าง แล้วจบไปจะทำอะไรนะ แล้วน้อง ๆ ล่ะคะอยากรู้กันไหมเอ่ย ถ้าอยากรู้ก็ตามพี่ไปดูพร้อม ๆ กันเลยค่า สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงงานทดแทน การใช้พลังงานของมนุษย์ในปัจจุบันนี้มีมากขึ้นทุกวัน ทั้งใช้ในการดำเนินชีวิต ในการประกอบอาชีพ และอื่น ๆ อีกมากมาย เพราะด้วยความต้องการที่จะสร้างความสะดวกสบายให้กับตัวเอง ซึ่งเชื้อเพลิงหรือพลังงานที่ใช้กันส่วนมากเป็นพลังงานที่ใช้แล้วหมดไป ด้วยเหตุนี้จึงจำเป็นที่จะต้องมีการคิดค้นพลังงานทดแทนขึ้นเพื่อให้สามารถเอามาใช้แทนพลังงานจริง ๆ ได้ และทำให้พลังงานยังคงไม่หมดไปจากโลกใบนี้ ซึ่งสาขาวิชานี้เป็นสายอาชีพที่ขาดตลาด และตลาดแรงงานมีความต้องการเป็นอย่างมาก เมื่อเรียนจบไปไม่ตกงาน มีงานทำแน่นอน ว่าแต่สาขาวิชาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ และพลังงานทดแทนเรียนเกี่ยวกับอะไรบ้าง จบแล้วทำงานด้านไหนดี มีมหาวิทยาลัยที่ไหนเปิดบ้าง อย่ามัวรอช้า ไปดูกันเลย สาขาปิโตรเลียม สาขาปิโตรเลียมเรียนอะไรบ้าง ? อย่างที่เข้าใจกันดีว่าปิโตรเลียมจะเป็นงานที่เกี่ยวกับการขุดเจาะน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ซึ่งสาขานี้ก็จะศึกษาเกี่ยวกับการสำรวจการเจาะ การสกัดและการผลิตน้ำมัน จากแหล่งใต้ผิวดิน ซึ่งจะเรียนรู้ทุกขั้นตอนการผลิตก็ว่าได้ โดยมีทั้งการออกแบบ ศึกษา และวางแผนการผลิตน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ซึ่งในการศึกษาสาขาวิชาปิโตรเลียมจะศึกษาเน้นไปทางฟิสิกส์ เพราะเป็นความรู้ที่เกี่ยวกับหลักการ ความสัมพันธ์กับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ เพื่อมาประเมินการผลิตน้ำมัน และยังมีคณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ และอิเล็กทรอนิกส์ การเขียนโปรแกรม การวางแผนวงจรไฟฟ้า การบริหารและการจัดการทางเคมี อีกทั้งยังมีการออกแบบเพื่อสำรวจและผลิตปิโตรเลียม จบไปทำงานอะไร ? – วิศวกรรังวัด – วิศวกรเหมืองแร่ – วิศวกรเคมี – วิศวกรความปลอดภัย – นักเดินเรือ – หน่วยงานราชการ ได้แก่ กองเชื้อเพลิง กรมทรัพยากรธรณี กรมพลังงานทหาร อาจารย์มหาวิทยาลัย – บริษัทน้ำมัน ได้แก่ ปตท. สำรวจและผลิต Thai shell, Unocal, chevron – บริษัทเกี่ยวเนื่องกับอุตสาหกรรมน้ำมัน ได้แก่ บริษัทจำพวก service companies ได้แก่ schlumberger, halliburt on, baker hugh, BJ service, soientific Drilling และ อื่น ๆ มหาวิทยาลัยที่เปิดสอนหลักสูตรสาขางานปิโตรเลียม – วิศวกรรมปิโตรเลียม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย – Engineering Program in Geotechnologyม.สุรนารี – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีปิโตรเลียม – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมปิโตรเลียม – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – หลักสูตรวิศวกรรมปิโตรเคมี ภาควิชาวิศวกรรมปิโตรเคมี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้า สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าเรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าเป็นสาที่ศึกษาเกี่ยวกับระบบผลิตไฟฟ้า การดูแลบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าช่วยให้ยืดอายุการใช้งานและรักษาประสิทธิภาพในการผลิตไฟฟ้า เพื่อให้เกิดผลผลิตด้านพลังงานไฟฟ้าให้ได้มากที่สุด สาขานี้จึงเรียนตั้งแต่ตรวจสอบและควบคุมระบบผลิตไฟฟ้า ตรวจเช็คความปกติของเครื่องจักร อุปกรณ์ ตรวจสอบและเก็บข้อมูลการผลิตและใช้พลังงานไฟฟ้า จัดทำแผนบำรุงเชิงป้องกัน และจัดทำแผนการปรับเปลี่ยนและซ่อมบำรุงเครื่องอุปกรณ์ เพื่อให้ระบบผลิตไฟฟ้ามีความสมบูรณ์และใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความปลอดภัยต่อผู้ใช้นั่นเอง สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าจบไปทำงานอะไร ? -ผู้ปฏิบัติงานในส่วนการควบคุมกระบวนการผลิตไฟฟ้า “มหาวิทยาลัยที่เปิดสอนหลักสูตรสาขางานปิโตรเลียม” – วิศวกรรมปิโตรเลียม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย – Engineering Program in Geotechnology มหาวิทยาลัยสุรนารี – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีปิโตรเลียม – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมปิโตรเลียม – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – หลักสูตรวิศวกรรมปิโตรเคมี ภาควิชาวิศวกรรมปิโตรเคมี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้า สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าเรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าจะศึกษาครอบคลุมเกี่ยวกับระบบการการผลิตไฟฟ้าไปจนถึงการส่งกระแสไฟฟ้า ซึ่งผู้เรียนจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับระบบไฟฟ้า ระบบผลิตไฟฟ้า ควบคุมการทำงานของเครื่องกำเนิดไฟฟ้า วิเคราะห์และแก้ไขปัญหาออกแบบการปรับปรุง และวางแผนการซ่อมบำรุงในการผลิตไฟฟ้า วางแผน ควบคุมการสั่งการดำเนินงานของสถานีผลิตไฟฟ้า และในการทำงานจริงจึงมีความจำเป็นในการที่ต้องศึกษาเกี่ยวกับการเดินสายไฟเพื่อส่งกระแสไฟฟ้า การจ่ายโหลดพลังงานไฟฟ้า และยังด้องมีความสามารถในการประสานงานเจ้าหน้าที่ควบคุมสั่งจ่ายไฟ อีกทั้งเตรียมพร้อมกับภาวะฉุกเฉินของเครื่องมือภายในพื้นที่ควบคุม สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าจบไปทำงานอะไร ? – วิศวกรด้านไฟฟ้ากำลัง – เจ้าหน้าที่ติดตั้งระบบไฟฟ้า – งานออกแบบระบบไฟฟ้า – งานเขียนโปรแกรมควบคุมไฟฟ้า – งานออกแบบระบบส่องสว่าง สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์เรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์จะศึกษาเกี่ยวกับระบบผลิตไฟฟ้าของระบบโซลาร์เซลล์ ศึกษาโครงสร้างและหลักการทำงานของโซลาร์เซลล์ การต่อแผงโซล่าเซลล์ใช้งานกับระบบไฟฟ้าภายในอาคาร ร่วมกับการต่อเชื่อมระบบจำหน่ายไฟฟ้า นอกจากจะศึกษาเกี่ยวกับการควบคุมกระบวนการผลิตกระแสไฟฟ้าจากโซลาร์เซลล์แล้ง ยังศึกษาเกี่ยวกับการวางแผนและสั่งการดำเนินงานของสถานีผลิตไฟฟ้า ดูแลบำรุงรักษาโซลาร์เซลล์ การดูแลบำรุงรักษาตัวแปลงกระแสไฟฟ้า และระบบเชื่อมต่อต่าง ๆ และการติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์จบไปทำงานอะไร ? – ผู้ปฏิบัติงานด้านการขายระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ – ผู้ปฏิบัติงานด้านติดตั้ง ซ่อมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ – ผู้ปฏิบัติงานด้านออกแบบระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ ทั้ง 3 สาขานี้อาชีพที่เกี่ยวกับกลุ่มพลังงานและพลังงานทดแทน สามารถศึกษาต่อได้ที่มหาวิทยาลัยต่อไปนี้ – สาขาวิชาไฟฟ้า สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา – สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า วิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต – ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี – ภาควิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ – สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น – มหาวิทยาลัยศรีปทุม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยนครพนม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยนครพนม วิทยาลัยธาตุพนม สาขาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยนเรศวร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ – มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา วิทยาศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง คณะเทคโนโลยีการอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฏร์ธานี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี คณะเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี เทคโนโลยีการเกษตร สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตวังไกลกังวล คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตศาลายา คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรมและการจัดการ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคขอนแก่น คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคขอนแก่น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดนครราชสีมา คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสกลนคร คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสกลนคร คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสุรินทร์ เทคโนโลยีการเกษตร สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยขอนแก่น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – อิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสารและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าอุตสาหกรรมและพลังงาน – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ บัณฑิตวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์นานาชาติสิรินธรไทย-เยอรมัน สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง – มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยบูรพา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยพะเยา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร – มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์และทรัพยากร สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและพลังงาน – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขตชุมพร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาเขตรังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยปทุมธานี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยรังสิต คณะวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ – มหาวิทยาลัยรังสิต คณะวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยสยาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและพลังงาน – มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ คณะบัณฑิตวิทยาลัย สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – วิทยาลัยเทคโนโลยีจิตรลดา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้ากำลัง – วิทยาลัยพิชญบัณฑิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง เป็นยังไงบ้างคะน้อง ๆ กับสาขาอาชีพปิโตรเลียม เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ได้เห็นกันแล้วใช่ไหมเอ่ย กับหลักสูตรที่เกี่ยวกับสาขาอาชีพปิโตรเลียม เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ซึ่งสาขาวิชานี้เหมาะสำหรับน้อง ๆ ที่ชอบเกี่ยวกับวิชาเคมี ชอบทำการทดลอง ได้คิดค้นสารหรือพลังงานต่าง ๆ เพื่อเป็นพลังงานทดแทนในอนาคต ซึ่งทั้ง 3 หลักสูตรนี้ก็จะมีการเรียนการสอนที่แตกต่างกันไป แต่ละหลักสูตรก็จะมีจุดเด่นเฉพาะตัว น้อง ๆ สามารถนำจุดเด่นทั้งหมดนี้ มาพิจารณาในการเลือกวิชาชีพที่จะศึกษาต่อ และแน่นอนว่าสาขาอาชีพทั้ง 7 สาขาตามกรอบคุณวุฒิที่พี่ ๆ ได้นำมาแนะนำน้อง ๆ นั้น เป็นสาขาอาชีพที่ตลาดแรงงานต้องการและเมื่อเรียนจบไปมีงานรับรองแน่นอน และสำหรับ EP ต่อไปจะเป็นสาขาวิชาชีพไหน ใช่สาขาวิชาชีพที่น้อง ๆ สนใจหรือเปล่า อย่าลืมติดตามข่าวสารกันนะคะเด็ก ๆ หากน้อง ๆ คนไหนอยากรู้ว่า 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิมีอะไรบ้างสามารถเช็กได้ที่ EP.1 สาขาอาชีพโลจิสติกส์โครงสร้างพื้นฐาน คลิก EP.2 สาขาอาชีพโลจิสติกส์และซัพพลายเชน คลิก EP.3 สาขาหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ คลิก EP.4 สาขาอาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์ คลิก EP.5 สาขาอาชีพอาหารและเกษตร คลิก EP.6 สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงาน คลิก EP.7 สาขาอาชีพแม่พิมพ์ คลิก EZ Webmaster Related Posts โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนประจวบวิทยาลัย โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสามร้อยยอดวิทยาคม โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศ โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนรัตนราษฎร์บำรุง โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี Post navigation PREVIOUS Previous post: 7 อาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิ EP. 5 : สาขาอาชีพอาหารและเกษตรNEXT Next post: 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ EP.7 : สาขาอาชีพแม่พิมพ์ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ… สจล. เดินหน้ากระชับความร่วมมือทางวิชาการ กับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของจีน EZ WebmasterJune 19, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เดินหน้ากระชับความสัมพันธ์ทางวิชาการกับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งเป็นพันธมิตรที่มีความร่วมมือกันมานานกว่า 20 ปี เพื่อหารือขยายความร่วมมือเชิงลึกในสาขาวิศวกรรมขั้นสูง โดยเฉพาะด้าน Aerospace, Mechatronics, Automation และ Astronautics ซึ่ง HIT ถือเป็นสถาบันชั้นนำของจีนในด้านนี้ พร้อมทั้งหารือแนวทางความร่วมมือด้านการแลกเปลี่ยนนักศึกษา นักวิจัย และการพัฒนาโครงการ Joint Degree ในอนาคต รองศาสตราจารย์…
สจล. เดินหน้ากระชับความร่วมมือทางวิชาการ กับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของจีน EZ WebmasterJune 19, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เดินหน้ากระชับความสัมพันธ์ทางวิชาการกับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งเป็นพันธมิตรที่มีความร่วมมือกันมานานกว่า 20 ปี เพื่อหารือขยายความร่วมมือเชิงลึกในสาขาวิศวกรรมขั้นสูง โดยเฉพาะด้าน Aerospace, Mechatronics, Automation และ Astronautics ซึ่ง HIT ถือเป็นสถาบันชั้นนำของจีนในด้านนี้ พร้อมทั้งหารือแนวทางความร่วมมือด้านการแลกเปลี่ยนนักศึกษา นักวิจัย และการพัฒนาโครงการ Joint Degree ในอนาคต รองศาสตราจารย์…
กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster January 15, 2021 EZ Webmaster January 15, 2021 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ EP.6 : สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน สวัสดีค่ะทุกคน พี่ ๆ ทีมงานเอ็ดดูโซนจะพาทุกคนมาทำความรู้จักกับสาขาวิชาทั้ง 7 ซึ่งเป็นสาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ พ.ศ. 2562 – พ.ศ. 2565 ที่ทาง ครม. มีมติให้เป็น 7 สาขาที่ต้องการพัฒนากำลังคนและเป็นสาขาอาชีพที่จำเป็นเร่งด่วนต่อการพัฒนาประเทศ ได้แก่ 1.สาขาอาชีพโลจิสติกส์โครงสร้างพื้นฐาน 2.สาขาอาชีพโลจิสติกส์และซัพพลายเชน 3.สาขาหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ 4.สาขาอาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์ 5.สาขาอาชีพอาหารและเกษตร 6.สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน และ 7.สาขาอาชีพแม่พิมพ์ และเราก็ได้แนะนำไป 5 สาขากันแล้ว ในวันนี้ก็เดินทางมาถึง EP.6 สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ซึ่งเป็นอีกอาชีพหนึ่งที่มีความโด่งดังมากและเขาว่ากันว่า เป็นอาชีพที่เงินเดือนเยอะมาก ๆ พูดแบบนี้พี่ชักจะอยากรู้แล้วล่ะค่ะว่าสาขานี้เรียนยังไง ต้องทำอะไรบ้าง แล้วจบไปจะทำอะไรนะ แล้วน้อง ๆ ล่ะคะอยากรู้กันไหมเอ่ย ถ้าอยากรู้ก็ตามพี่ไปดูพร้อม ๆ กันเลยค่า สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงงานทดแทน การใช้พลังงานของมนุษย์ในปัจจุบันนี้มีมากขึ้นทุกวัน ทั้งใช้ในการดำเนินชีวิต ในการประกอบอาชีพ และอื่น ๆ อีกมากมาย เพราะด้วยความต้องการที่จะสร้างความสะดวกสบายให้กับตัวเอง ซึ่งเชื้อเพลิงหรือพลังงานที่ใช้กันส่วนมากเป็นพลังงานที่ใช้แล้วหมดไป ด้วยเหตุนี้จึงจำเป็นที่จะต้องมีการคิดค้นพลังงานทดแทนขึ้นเพื่อให้สามารถเอามาใช้แทนพลังงานจริง ๆ ได้ และทำให้พลังงานยังคงไม่หมดไปจากโลกใบนี้ ซึ่งสาขาวิชานี้เป็นสายอาชีพที่ขาดตลาด และตลาดแรงงานมีความต้องการเป็นอย่างมาก เมื่อเรียนจบไปไม่ตกงาน มีงานทำแน่นอน ว่าแต่สาขาวิชาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ และพลังงานทดแทนเรียนเกี่ยวกับอะไรบ้าง จบแล้วทำงานด้านไหนดี มีมหาวิทยาลัยที่ไหนเปิดบ้าง อย่ามัวรอช้า ไปดูกันเลย สาขาปิโตรเลียม สาขาปิโตรเลียมเรียนอะไรบ้าง ? อย่างที่เข้าใจกันดีว่าปิโตรเลียมจะเป็นงานที่เกี่ยวกับการขุดเจาะน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ซึ่งสาขานี้ก็จะศึกษาเกี่ยวกับการสำรวจการเจาะ การสกัดและการผลิตน้ำมัน จากแหล่งใต้ผิวดิน ซึ่งจะเรียนรู้ทุกขั้นตอนการผลิตก็ว่าได้ โดยมีทั้งการออกแบบ ศึกษา และวางแผนการผลิตน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ซึ่งในการศึกษาสาขาวิชาปิโตรเลียมจะศึกษาเน้นไปทางฟิสิกส์ เพราะเป็นความรู้ที่เกี่ยวกับหลักการ ความสัมพันธ์กับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ เพื่อมาประเมินการผลิตน้ำมัน และยังมีคณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ และอิเล็กทรอนิกส์ การเขียนโปรแกรม การวางแผนวงจรไฟฟ้า การบริหารและการจัดการทางเคมี อีกทั้งยังมีการออกแบบเพื่อสำรวจและผลิตปิโตรเลียม จบไปทำงานอะไร ? – วิศวกรรังวัด – วิศวกรเหมืองแร่ – วิศวกรเคมี – วิศวกรความปลอดภัย – นักเดินเรือ – หน่วยงานราชการ ได้แก่ กองเชื้อเพลิง กรมทรัพยากรธรณี กรมพลังงานทหาร อาจารย์มหาวิทยาลัย – บริษัทน้ำมัน ได้แก่ ปตท. สำรวจและผลิต Thai shell, Unocal, chevron – บริษัทเกี่ยวเนื่องกับอุตสาหกรรมน้ำมัน ได้แก่ บริษัทจำพวก service companies ได้แก่ schlumberger, halliburt on, baker hugh, BJ service, soientific Drilling และ อื่น ๆ มหาวิทยาลัยที่เปิดสอนหลักสูตรสาขางานปิโตรเลียม – วิศวกรรมปิโตรเลียม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย – Engineering Program in Geotechnologyม.สุรนารี – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีปิโตรเลียม – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมปิโตรเลียม – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – หลักสูตรวิศวกรรมปิโตรเคมี ภาควิชาวิศวกรรมปิโตรเคมี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้า สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าเรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าเป็นสาที่ศึกษาเกี่ยวกับระบบผลิตไฟฟ้า การดูแลบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าช่วยให้ยืดอายุการใช้งานและรักษาประสิทธิภาพในการผลิตไฟฟ้า เพื่อให้เกิดผลผลิตด้านพลังงานไฟฟ้าให้ได้มากที่สุด สาขานี้จึงเรียนตั้งแต่ตรวจสอบและควบคุมระบบผลิตไฟฟ้า ตรวจเช็คความปกติของเครื่องจักร อุปกรณ์ ตรวจสอบและเก็บข้อมูลการผลิตและใช้พลังงานไฟฟ้า จัดทำแผนบำรุงเชิงป้องกัน และจัดทำแผนการปรับเปลี่ยนและซ่อมบำรุงเครื่องอุปกรณ์ เพื่อให้ระบบผลิตไฟฟ้ามีความสมบูรณ์และใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความปลอดภัยต่อผู้ใช้นั่นเอง สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าจบไปทำงานอะไร ? -ผู้ปฏิบัติงานในส่วนการควบคุมกระบวนการผลิตไฟฟ้า “มหาวิทยาลัยที่เปิดสอนหลักสูตรสาขางานปิโตรเลียม” – วิศวกรรมปิโตรเลียม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย – Engineering Program in Geotechnology มหาวิทยาลัยสุรนารี – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีปิโตรเลียม – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมปิโตรเลียม – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – หลักสูตรวิศวกรรมปิโตรเคมี ภาควิชาวิศวกรรมปิโตรเคมี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้า สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าเรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าจะศึกษาครอบคลุมเกี่ยวกับระบบการการผลิตไฟฟ้าไปจนถึงการส่งกระแสไฟฟ้า ซึ่งผู้เรียนจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับระบบไฟฟ้า ระบบผลิตไฟฟ้า ควบคุมการทำงานของเครื่องกำเนิดไฟฟ้า วิเคราะห์และแก้ไขปัญหาออกแบบการปรับปรุง และวางแผนการซ่อมบำรุงในการผลิตไฟฟ้า วางแผน ควบคุมการสั่งการดำเนินงานของสถานีผลิตไฟฟ้า และในการทำงานจริงจึงมีความจำเป็นในการที่ต้องศึกษาเกี่ยวกับการเดินสายไฟเพื่อส่งกระแสไฟฟ้า การจ่ายโหลดพลังงานไฟฟ้า และยังด้องมีความสามารถในการประสานงานเจ้าหน้าที่ควบคุมสั่งจ่ายไฟ อีกทั้งเตรียมพร้อมกับภาวะฉุกเฉินของเครื่องมือภายในพื้นที่ควบคุม สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าจบไปทำงานอะไร ? – วิศวกรด้านไฟฟ้ากำลัง – เจ้าหน้าที่ติดตั้งระบบไฟฟ้า – งานออกแบบระบบไฟฟ้า – งานเขียนโปรแกรมควบคุมไฟฟ้า – งานออกแบบระบบส่องสว่าง สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์เรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์จะศึกษาเกี่ยวกับระบบผลิตไฟฟ้าของระบบโซลาร์เซลล์ ศึกษาโครงสร้างและหลักการทำงานของโซลาร์เซลล์ การต่อแผงโซล่าเซลล์ใช้งานกับระบบไฟฟ้าภายในอาคาร ร่วมกับการต่อเชื่อมระบบจำหน่ายไฟฟ้า นอกจากจะศึกษาเกี่ยวกับการควบคุมกระบวนการผลิตกระแสไฟฟ้าจากโซลาร์เซลล์แล้ง ยังศึกษาเกี่ยวกับการวางแผนและสั่งการดำเนินงานของสถานีผลิตไฟฟ้า ดูแลบำรุงรักษาโซลาร์เซลล์ การดูแลบำรุงรักษาตัวแปลงกระแสไฟฟ้า และระบบเชื่อมต่อต่าง ๆ และการติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์จบไปทำงานอะไร ? – ผู้ปฏิบัติงานด้านการขายระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ – ผู้ปฏิบัติงานด้านติดตั้ง ซ่อมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ – ผู้ปฏิบัติงานด้านออกแบบระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ ทั้ง 3 สาขานี้อาชีพที่เกี่ยวกับกลุ่มพลังงานและพลังงานทดแทน สามารถศึกษาต่อได้ที่มหาวิทยาลัยต่อไปนี้ – สาขาวิชาไฟฟ้า สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา – สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า วิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต – ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี – ภาควิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ – สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น – มหาวิทยาลัยศรีปทุม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยนครพนม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยนครพนม วิทยาลัยธาตุพนม สาขาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยนเรศวร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ – มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา วิทยาศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง คณะเทคโนโลยีการอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฏร์ธานี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี คณะเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี เทคโนโลยีการเกษตร สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตวังไกลกังวล คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตศาลายา คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรมและการจัดการ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคขอนแก่น คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคขอนแก่น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดนครราชสีมา คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสกลนคร คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสกลนคร คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสุรินทร์ เทคโนโลยีการเกษตร สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยขอนแก่น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – อิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสารและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าอุตสาหกรรมและพลังงาน – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ บัณฑิตวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์นานาชาติสิรินธรไทย-เยอรมัน สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง – มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยบูรพา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยพะเยา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร – มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์และทรัพยากร สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและพลังงาน – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขตชุมพร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาเขตรังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยปทุมธานี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยรังสิต คณะวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ – มหาวิทยาลัยรังสิต คณะวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยสยาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและพลังงาน – มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ คณะบัณฑิตวิทยาลัย สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – วิทยาลัยเทคโนโลยีจิตรลดา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้ากำลัง – วิทยาลัยพิชญบัณฑิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง เป็นยังไงบ้างคะน้อง ๆ กับสาขาอาชีพปิโตรเลียม เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ได้เห็นกันแล้วใช่ไหมเอ่ย กับหลักสูตรที่เกี่ยวกับสาขาอาชีพปิโตรเลียม เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ซึ่งสาขาวิชานี้เหมาะสำหรับน้อง ๆ ที่ชอบเกี่ยวกับวิชาเคมี ชอบทำการทดลอง ได้คิดค้นสารหรือพลังงานต่าง ๆ เพื่อเป็นพลังงานทดแทนในอนาคต ซึ่งทั้ง 3 หลักสูตรนี้ก็จะมีการเรียนการสอนที่แตกต่างกันไป แต่ละหลักสูตรก็จะมีจุดเด่นเฉพาะตัว น้อง ๆ สามารถนำจุดเด่นทั้งหมดนี้ มาพิจารณาในการเลือกวิชาชีพที่จะศึกษาต่อ และแน่นอนว่าสาขาอาชีพทั้ง 7 สาขาตามกรอบคุณวุฒิที่พี่ ๆ ได้นำมาแนะนำน้อง ๆ นั้น เป็นสาขาอาชีพที่ตลาดแรงงานต้องการและเมื่อเรียนจบไปมีงานรับรองแน่นอน และสำหรับ EP ต่อไปจะเป็นสาขาวิชาชีพไหน ใช่สาขาวิชาชีพที่น้อง ๆ สนใจหรือเปล่า อย่าลืมติดตามข่าวสารกันนะคะเด็ก ๆ หากน้อง ๆ คนไหนอยากรู้ว่า 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิมีอะไรบ้างสามารถเช็กได้ที่ EP.1 สาขาอาชีพโลจิสติกส์โครงสร้างพื้นฐาน คลิก EP.2 สาขาอาชีพโลจิสติกส์และซัพพลายเชน คลิก EP.3 สาขาหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ คลิก EP.4 สาขาอาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์ คลิก EP.5 สาขาอาชีพอาหารและเกษตร คลิก EP.6 สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงาน คลิก EP.7 สาขาอาชีพแม่พิมพ์ คลิก EZ Webmaster Related Posts โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนประจวบวิทยาลัย โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสามร้อยยอดวิทยาคม โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศ โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนรัตนราษฎร์บำรุง โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี Post navigation PREVIOUS Previous post: 7 อาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิ EP. 5 : สาขาอาชีพอาหารและเกษตรNEXT Next post: 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ EP.7 : สาขาอาชีพแม่พิมพ์ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
“40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search
ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ…
ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ…
EZ Webmaster January 15, 2021 EZ Webmaster January 15, 2021 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ EP.6 : สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน สวัสดีค่ะทุกคน พี่ ๆ ทีมงานเอ็ดดูโซนจะพาทุกคนมาทำความรู้จักกับสาขาวิชาทั้ง 7 ซึ่งเป็นสาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ พ.ศ. 2562 – พ.ศ. 2565 ที่ทาง ครม. มีมติให้เป็น 7 สาขาที่ต้องการพัฒนากำลังคนและเป็นสาขาอาชีพที่จำเป็นเร่งด่วนต่อการพัฒนาประเทศ ได้แก่ 1.สาขาอาชีพโลจิสติกส์โครงสร้างพื้นฐาน 2.สาขาอาชีพโลจิสติกส์และซัพพลายเชน 3.สาขาหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ 4.สาขาอาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์ 5.สาขาอาชีพอาหารและเกษตร 6.สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน และ 7.สาขาอาชีพแม่พิมพ์ และเราก็ได้แนะนำไป 5 สาขากันแล้ว ในวันนี้ก็เดินทางมาถึง EP.6 สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ซึ่งเป็นอีกอาชีพหนึ่งที่มีความโด่งดังมากและเขาว่ากันว่า เป็นอาชีพที่เงินเดือนเยอะมาก ๆ พูดแบบนี้พี่ชักจะอยากรู้แล้วล่ะค่ะว่าสาขานี้เรียนยังไง ต้องทำอะไรบ้าง แล้วจบไปจะทำอะไรนะ แล้วน้อง ๆ ล่ะคะอยากรู้กันไหมเอ่ย ถ้าอยากรู้ก็ตามพี่ไปดูพร้อม ๆ กันเลยค่า สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงงานทดแทน การใช้พลังงานของมนุษย์ในปัจจุบันนี้มีมากขึ้นทุกวัน ทั้งใช้ในการดำเนินชีวิต ในการประกอบอาชีพ และอื่น ๆ อีกมากมาย เพราะด้วยความต้องการที่จะสร้างความสะดวกสบายให้กับตัวเอง ซึ่งเชื้อเพลิงหรือพลังงานที่ใช้กันส่วนมากเป็นพลังงานที่ใช้แล้วหมดไป ด้วยเหตุนี้จึงจำเป็นที่จะต้องมีการคิดค้นพลังงานทดแทนขึ้นเพื่อให้สามารถเอามาใช้แทนพลังงานจริง ๆ ได้ และทำให้พลังงานยังคงไม่หมดไปจากโลกใบนี้ ซึ่งสาขาวิชานี้เป็นสายอาชีพที่ขาดตลาด และตลาดแรงงานมีความต้องการเป็นอย่างมาก เมื่อเรียนจบไปไม่ตกงาน มีงานทำแน่นอน ว่าแต่สาขาวิชาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ และพลังงานทดแทนเรียนเกี่ยวกับอะไรบ้าง จบแล้วทำงานด้านไหนดี มีมหาวิทยาลัยที่ไหนเปิดบ้าง อย่ามัวรอช้า ไปดูกันเลย สาขาปิโตรเลียม สาขาปิโตรเลียมเรียนอะไรบ้าง ? อย่างที่เข้าใจกันดีว่าปิโตรเลียมจะเป็นงานที่เกี่ยวกับการขุดเจาะน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ซึ่งสาขานี้ก็จะศึกษาเกี่ยวกับการสำรวจการเจาะ การสกัดและการผลิตน้ำมัน จากแหล่งใต้ผิวดิน ซึ่งจะเรียนรู้ทุกขั้นตอนการผลิตก็ว่าได้ โดยมีทั้งการออกแบบ ศึกษา และวางแผนการผลิตน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ซึ่งในการศึกษาสาขาวิชาปิโตรเลียมจะศึกษาเน้นไปทางฟิสิกส์ เพราะเป็นความรู้ที่เกี่ยวกับหลักการ ความสัมพันธ์กับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ เพื่อมาประเมินการผลิตน้ำมัน และยังมีคณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ และอิเล็กทรอนิกส์ การเขียนโปรแกรม การวางแผนวงจรไฟฟ้า การบริหารและการจัดการทางเคมี อีกทั้งยังมีการออกแบบเพื่อสำรวจและผลิตปิโตรเลียม จบไปทำงานอะไร ? – วิศวกรรังวัด – วิศวกรเหมืองแร่ – วิศวกรเคมี – วิศวกรความปลอดภัย – นักเดินเรือ – หน่วยงานราชการ ได้แก่ กองเชื้อเพลิง กรมทรัพยากรธรณี กรมพลังงานทหาร อาจารย์มหาวิทยาลัย – บริษัทน้ำมัน ได้แก่ ปตท. สำรวจและผลิต Thai shell, Unocal, chevron – บริษัทเกี่ยวเนื่องกับอุตสาหกรรมน้ำมัน ได้แก่ บริษัทจำพวก service companies ได้แก่ schlumberger, halliburt on, baker hugh, BJ service, soientific Drilling และ อื่น ๆ มหาวิทยาลัยที่เปิดสอนหลักสูตรสาขางานปิโตรเลียม – วิศวกรรมปิโตรเลียม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย – Engineering Program in Geotechnologyม.สุรนารี – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีปิโตรเลียม – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมปิโตรเลียม – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – หลักสูตรวิศวกรรมปิโตรเคมี ภาควิชาวิศวกรรมปิโตรเคมี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้า สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าเรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าเป็นสาที่ศึกษาเกี่ยวกับระบบผลิตไฟฟ้า การดูแลบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าช่วยให้ยืดอายุการใช้งานและรักษาประสิทธิภาพในการผลิตไฟฟ้า เพื่อให้เกิดผลผลิตด้านพลังงานไฟฟ้าให้ได้มากที่สุด สาขานี้จึงเรียนตั้งแต่ตรวจสอบและควบคุมระบบผลิตไฟฟ้า ตรวจเช็คความปกติของเครื่องจักร อุปกรณ์ ตรวจสอบและเก็บข้อมูลการผลิตและใช้พลังงานไฟฟ้า จัดทำแผนบำรุงเชิงป้องกัน และจัดทำแผนการปรับเปลี่ยนและซ่อมบำรุงเครื่องอุปกรณ์ เพื่อให้ระบบผลิตไฟฟ้ามีความสมบูรณ์และใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความปลอดภัยต่อผู้ใช้นั่นเอง สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าจบไปทำงานอะไร ? -ผู้ปฏิบัติงานในส่วนการควบคุมกระบวนการผลิตไฟฟ้า “มหาวิทยาลัยที่เปิดสอนหลักสูตรสาขางานปิโตรเลียม” – วิศวกรรมปิโตรเลียม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย – Engineering Program in Geotechnology มหาวิทยาลัยสุรนารี – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีปิโตรเลียม – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมปิโตรเลียม – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – หลักสูตรวิศวกรรมปิโตรเคมี ภาควิชาวิศวกรรมปิโตรเคมี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้า สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าเรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าจะศึกษาครอบคลุมเกี่ยวกับระบบการการผลิตไฟฟ้าไปจนถึงการส่งกระแสไฟฟ้า ซึ่งผู้เรียนจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับระบบไฟฟ้า ระบบผลิตไฟฟ้า ควบคุมการทำงานของเครื่องกำเนิดไฟฟ้า วิเคราะห์และแก้ไขปัญหาออกแบบการปรับปรุง และวางแผนการซ่อมบำรุงในการผลิตไฟฟ้า วางแผน ควบคุมการสั่งการดำเนินงานของสถานีผลิตไฟฟ้า และในการทำงานจริงจึงมีความจำเป็นในการที่ต้องศึกษาเกี่ยวกับการเดินสายไฟเพื่อส่งกระแสไฟฟ้า การจ่ายโหลดพลังงานไฟฟ้า และยังด้องมีความสามารถในการประสานงานเจ้าหน้าที่ควบคุมสั่งจ่ายไฟ อีกทั้งเตรียมพร้อมกับภาวะฉุกเฉินของเครื่องมือภายในพื้นที่ควบคุม สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าจบไปทำงานอะไร ? – วิศวกรด้านไฟฟ้ากำลัง – เจ้าหน้าที่ติดตั้งระบบไฟฟ้า – งานออกแบบระบบไฟฟ้า – งานเขียนโปรแกรมควบคุมไฟฟ้า – งานออกแบบระบบส่องสว่าง สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์เรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์จะศึกษาเกี่ยวกับระบบผลิตไฟฟ้าของระบบโซลาร์เซลล์ ศึกษาโครงสร้างและหลักการทำงานของโซลาร์เซลล์ การต่อแผงโซล่าเซลล์ใช้งานกับระบบไฟฟ้าภายในอาคาร ร่วมกับการต่อเชื่อมระบบจำหน่ายไฟฟ้า นอกจากจะศึกษาเกี่ยวกับการควบคุมกระบวนการผลิตกระแสไฟฟ้าจากโซลาร์เซลล์แล้ง ยังศึกษาเกี่ยวกับการวางแผนและสั่งการดำเนินงานของสถานีผลิตไฟฟ้า ดูแลบำรุงรักษาโซลาร์เซลล์ การดูแลบำรุงรักษาตัวแปลงกระแสไฟฟ้า และระบบเชื่อมต่อต่าง ๆ และการติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์จบไปทำงานอะไร ? – ผู้ปฏิบัติงานด้านการขายระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ – ผู้ปฏิบัติงานด้านติดตั้ง ซ่อมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ – ผู้ปฏิบัติงานด้านออกแบบระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ ทั้ง 3 สาขานี้อาชีพที่เกี่ยวกับกลุ่มพลังงานและพลังงานทดแทน สามารถศึกษาต่อได้ที่มหาวิทยาลัยต่อไปนี้ – สาขาวิชาไฟฟ้า สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา – สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า วิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต – ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี – ภาควิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ – สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น – มหาวิทยาลัยศรีปทุม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยนครพนม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยนครพนม วิทยาลัยธาตุพนม สาขาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยนเรศวร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ – มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา วิทยาศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง คณะเทคโนโลยีการอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฏร์ธานี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี คณะเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี เทคโนโลยีการเกษตร สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตวังไกลกังวล คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตศาลายา คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรมและการจัดการ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคขอนแก่น คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคขอนแก่น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดนครราชสีมา คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสกลนคร คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสกลนคร คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสุรินทร์ เทคโนโลยีการเกษตร สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยขอนแก่น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – อิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสารและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าอุตสาหกรรมและพลังงาน – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ บัณฑิตวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์นานาชาติสิรินธรไทย-เยอรมัน สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง – มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยบูรพา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยพะเยา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร – มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์และทรัพยากร สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและพลังงาน – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขตชุมพร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาเขตรังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยปทุมธานี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยรังสิต คณะวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ – มหาวิทยาลัยรังสิต คณะวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยสยาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและพลังงาน – มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ คณะบัณฑิตวิทยาลัย สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – วิทยาลัยเทคโนโลยีจิตรลดา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้ากำลัง – วิทยาลัยพิชญบัณฑิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง เป็นยังไงบ้างคะน้อง ๆ กับสาขาอาชีพปิโตรเลียม เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ได้เห็นกันแล้วใช่ไหมเอ่ย กับหลักสูตรที่เกี่ยวกับสาขาอาชีพปิโตรเลียม เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ซึ่งสาขาวิชานี้เหมาะสำหรับน้อง ๆ ที่ชอบเกี่ยวกับวิชาเคมี ชอบทำการทดลอง ได้คิดค้นสารหรือพลังงานต่าง ๆ เพื่อเป็นพลังงานทดแทนในอนาคต ซึ่งทั้ง 3 หลักสูตรนี้ก็จะมีการเรียนการสอนที่แตกต่างกันไป แต่ละหลักสูตรก็จะมีจุดเด่นเฉพาะตัว น้อง ๆ สามารถนำจุดเด่นทั้งหมดนี้ มาพิจารณาในการเลือกวิชาชีพที่จะศึกษาต่อ และแน่นอนว่าสาขาอาชีพทั้ง 7 สาขาตามกรอบคุณวุฒิที่พี่ ๆ ได้นำมาแนะนำน้อง ๆ นั้น เป็นสาขาอาชีพที่ตลาดแรงงานต้องการและเมื่อเรียนจบไปมีงานรับรองแน่นอน และสำหรับ EP ต่อไปจะเป็นสาขาวิชาชีพไหน ใช่สาขาวิชาชีพที่น้อง ๆ สนใจหรือเปล่า อย่าลืมติดตามข่าวสารกันนะคะเด็ก ๆ หากน้อง ๆ คนไหนอยากรู้ว่า 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิมีอะไรบ้างสามารถเช็กได้ที่ EP.1 สาขาอาชีพโลจิสติกส์โครงสร้างพื้นฐาน คลิก EP.2 สาขาอาชีพโลจิสติกส์และซัพพลายเชน คลิก EP.3 สาขาหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ คลิก EP.4 สาขาอาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์ คลิก EP.5 สาขาอาชีพอาหารและเกษตร คลิก EP.6 สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงาน คลิก EP.7 สาขาอาชีพแม่พิมพ์ คลิก
โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี