โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนพานพิทยาคม EZ WebmasterJune 17, 2025 มาทำให้วันธรรมดา กลายเป็นวันพิเศษกันเถอะ! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนพานพิทยาคม จ.เชียงราย วันที่17/06/68 โดยวิทยากร ผศ.ดร.ตฤณกร เกตุกุลพันธ์ #teamTaro โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย EZ WebmasterJune 17, 2025 กิจกรรมนี้มีแต่รอยยิ้มและความอบอุ่น ยิ่งทำยิ่งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย จ.เชียงใหม่ วันที่16/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า (ครูแอน)… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนแม่ริมวิทยาคม EZ WebmasterJune 17, 2025 สร้างความสุข สร้างความทรงจำดีๆ ให้เด็กๆ ทุกคน โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนแม่ริมวิทยาคม จ.เชียงใหม่ วันที่16/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสุรธรรมพิทักษ์ EZ WebmasterJune 17, 2025 วันนี้มีรอยยิ้ม เสียงหัวเราะ และความสนุกมาเต็มเปี่ยม! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนสุรธรรมพิทักษ์ จ.นครราชสีมา วันที่16/06/68 โดยวิทยากรอ.ธารา อิสสระ (พี่แฮนด์… นักศึกษา การตลาดดิจิทัลและระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย จัดกิจกรรมตอบแทนกลับคืนสังคม EZ WebmasterJune 17, 2025 นักศึกษากลุ่มวิชาการตลาดดิจิทัล และกลุ่มวิชาการบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ร่วมทำกิจกรรม Digital Marketing Innovation for Sustainability สร้างสรรค์ประสบการณ์ทางการตลาดดิจิทัลและการบริการสังคม โดยนักศึกษาได้เข้ากิจกรรมปล่อยสัตว์ทะเลที่ธนาคารปู จังหวัดระยอง และบริจากสิ่งของให้กับชมรมผู้พิการทางสติปัญญา จังหวัดชลบุรี ร่วมเรียนรู้การสร้างสรรค์สื่อสำหรับการสื่อสารทางการตลาดดิจิทัล เพื่อสร้างความรับผิดชอบต่อสังคมให้กับนักศึกษาและร่วมสร้างสรรค์สังคมให้น่าอยู่ต่อไป เรียนคณะบริหารธุรกิจแนวใหม่ต้องสัมผัสประสบการณ์แบบนักธุรกิจ ถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์จากคณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญรวมทั้งนักธุรกิจมืออาชีพ… “จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” EZ WebmasterJune 17, 2025 ในนามของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผมขอส่งความห่วงใยมายังพวกเราทุกคนที่กำลังใช้ชีวิตและศึกษาอยู่ในสหรัฐฯ โดยเฉพาะในช่วงเวลาที่มีความไม่แน่นอนเกี่ยวกับนโยบายวีซ่าที่อาจส่งผลต่อสิทธิในการศึกษา เมื่อไม่นานนี้ ผมและผู้บริหารจุฬาฯ มีโอกาสได้ไปเยือน Harvard และ MIT และได้พบกับนักศึกษาชาวไทยหลายคน ทุกคนต่างมีความมุ่งมั่น ตั้งใจ และอดทนในการใฝ่หาความรู้ เพื่อนำมาพัฒนาตนเอง สังคม และประเทศชาติ แม้จะอยู่ท่ามกลางความกังวลใจต่ออนาคตที่ยังไม่ชัดเจน ผมอยากบอกว่าพวกเราที่จุฬาฯ… คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… ทุนดีดี 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster September 1, 2020 EZ Webmaster September 1, 2020 รวมมหาวิทยาลัยที่เปิดสอนสาขาโลจิสติกส์ในประเทศไทย สาขาโลจิสติกส์เรียนที่ไหนดี ? มีที่ไหนเปิดสอนบ้าง ? สำหรับน้อง ๆ คนไหนที่สนใจจะเรียนต่อทางด้านนี้แต่ยังไม่รู้ว่าจะเลือกเรียนที่ไหนดี วันนี้พี่มีมหาวิทยาลัยที่เปิดสอนสาขานี้มาฝากกัน จะเป็นที่ไหนบ้าง ใช่ที่ที่น้อง ๆ หมายตาเอาไว้หรือเปล่า ตามมาดูกันได้เลย สาขาวิชาโลจิสติกส์ เกี่ยวข้องกับการจัดการระบบขนส่ง หรือการเคลื่อนย้ายสินค้าและบริการ ทั้งภาคพื้นดิน ทางเรือ และทางอากาศ แต่โลจิสติกส์ไม่ใช่แค่เรื่องของการขนส่งเท่านั้น สายงานด้านนี้ยังรวมไปถึงกระบวนการ วิธีการ การวางแผนสินค้าคงคลัง การจัดเก็บ ควบคุม การบริหารธุรกิจ รวมถึงต้องเข้าใจเกี่ยวกับการเงิน การตลาดเบื้องต้นในการทำธุรกิจอีกด้วย มหาวิทยาลัย และวิทยาลัยโลจิสติกส์ที่เปิดสาขาโลจิสติกส์ในประเทศไทย วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน มหาวิทยาลัยศรีปทุม สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน วิทยาเขตบางเขน วิทยาเขตชลบุรี วิทยาเขตขอนแก่น วิทยาลัยบริหารธุรกิจนวัตกรรมและการบัญชี (CIBA DPU) มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ สาขาวิชาการจัดการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานสมัยใหม่ หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต 4 ปี (ภาคปกติ) หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต 4 ปี (วันเสาร์-วันอาทิตย์) หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต 2 ปี (เทียบโอนภาคปกติ) หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต 2 ปี (เทียบโอน วันอาทิตย์) วิทยาลัยนวัตกรรมด้านเทคโนโลยีและวิศวกรรมศาสตร์ (CITE) มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ สาขาวิศวกรรมการจัดการและโลจิสติกส์ หลักสูตรภาคปกติ ระดับปริญญาตรี (4 ปี) สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 6 (ทุกสาย) หรือ ปวช. ทุกสาขาวิชา หลักสูตรเทียบโอน ระดับปริญญาตรี (3 ปี) สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ทุกสาขาวิชา หลักสูตรเทียบโอน ภาคพิเศษ ระดับปริญญาตรี (3 ปี) ภาค เสาร์-อาทิตย์ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ทุกสาขาวิชา หรือต้องการปริญญาใบที่สอง สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ คณะการจัดการโลจิสติกส์และการคมนาคมขนส่ง เปิดสอน 3 วิชาเอก การจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน การจัดการการคมนาคมขนส่ง การจัดการสถานีและพื้นที่ วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก คณะโลจิสติกส์และเทคโนโลยีการบิน หลักสูตรบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ (Department of Logistics Management)หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (ต่อเนื่อง) สาขาวิชาการจัดการการขนส่งสินค้าทางอากาศ (Department of Air cargo Management) คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สาขาสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ระหว่างประเทศ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยกรุงเทพสุวรรณภูมิ สาขาการจัดการโลจิสติกส์ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยเกริก สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์ สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ สาขาวิชาบริหารธุรกิจอุตสาหกรรมและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หลักสูตร 4 ปี ที่ศูนย์รังสิต บริหารธุรกิจระหว่างประเทศ โลจิสติกส์และการขนส่ง หลักสูตร 5 ปี ตรี-โท ที่ท่าพระจันทร์ หลักสูตรควบบริหารธุรกิจบัณฑิต (การจัดการแบบบูรณาการ) และวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารโลจิสติกส์และปฏิบัติการ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง สาขาวิชาการจัดการธุรกิจการบิน (ธุรกิจโลจิสติกส์ทางการบิน) มหาวิทยาลัยภาคกลาง สาขาการตลาดและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยรังสิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ (วิทยาเขตสะพานใหม่ , วิทยาเขตรังสิต) สาขาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง โครงการพิเศษบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการธุรกิจบริการ วิชาเอกการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ สาขาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์ สาขาการจัดการโลจิสติกส์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต สาขาการขนส่งระหว่างประเทศ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน มหาวิทยาลัยธนบุรี สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี สาขาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ สาขาการวิเคราะห์โลจิสติกส์และการจัดการซัพพลายเชน (หลักสูตรนานาชาติ) คณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยนานาชาติแสตมฟอร์ด สาขาวิชาบริหารธุรกิจ กลุ่มวิชาการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน คณะบริหารธุรกิจและการบัญชี มหาวิทยาลัยปทุมธานี สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมและโลจิสติกส์ คณะสถิติประยุกต์ (GSAS) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ คณะวิทยาการจัดการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยนครพนม สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา สาขาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ คณะเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยทักษิณ สาขาวิชาบริหารธุรกิจ คณะนิติศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น คณะนิติศาสตร์ กลุ่มวิชากฎหมายเกี่ยวกับโลจิสติกส์ คณะเทคโนโลยี วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม คณะเทคโนโลยี สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน คณะพาณิชยนาวีนานาชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา สาขาวิชาวิศวกรรมต่อเรือและเครื่องกลเรือ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การเดินเรือ สาขาวิชาการขนส่งทางทะเล คณะโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยบูรพา หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการค้าระหว่างประเทศและการจัดการโลจิสติกส์ สาขาวิชาธุรกิจพาณิชยนาวี สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมพาณิชยนาวี หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ สาขาวิชาวิทยาการเดินเรือ (5 ปี) วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยบูรพา หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ (หลักสูตรนานาชาติ) มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และการค้าชายแดน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สาขาวิชาวิศวกรรมโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม สาขาวิศวกรรมโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยศิลปากร สาขาวิศวกรรมการจัดการและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สาขาวิชาวิศวกรรมโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ-โลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ สาขาวิศวกรรมโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร สาขาโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ สาขาวิศวกรรมโลจิสติกส์ คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมอุตสาหการและโลจิสติกส์ สำนักวิชาเทคโนโลยีสังคม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการ กลุ่มวิชาเฉพาะการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ศูนย์การศึกษาจังหวัดนครปฐม หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ ใช้คะแนนอะไรบ้างในการเรียนโลจิสติกส์ แบบที่ 1 GAT + PAT1 แบบที่ 2 GAT + PAT1 + PAT2 เรียนโลจิสติกส์จบไปทำงานอะไรได้บ้าง? หลังจากเรียนจบหลักสูตรในระดับปริญญาตรีแล้ว มาถึงเส้นทางอาชีพและการทำงานบ้าง งานด้านโลจิสติกส์และซับพลายเชน ถือเป็นอีกสายงานที่ตลาดในประเทศและต่างประเทศมีความต้องการบุคลากรเพิ่มมากขึ้น เพื่อรองรับการเติบโตของภาคธุรกิจและบริการ และนี่คือสายงานและตำแหน่งที่น้อง ๆ บัณฑิตสาขานี้สามารถทำได้ ระดับปฏิบัติการ เช่น ฝ่ายจัดซื้อ ฝ่ายผลิต ฝ่ายจัดส่งและคลังสินค้า ฝ่ายควบคุมวัตถุดิบ ฝ่ายซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ฝ่ายการขนส่ง ซึ่งในประเทศไทยมีบริษัททางขนส่งสินค้ามากกว่า 500 แห่ง รวมถึงบริษัทนำเข้าส่ง-ออก ระดับบริหาร เช่น นักวิเคราะห์ด้านโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน, นักวางแผน วัตถุดิบ การผลิต หรือการกระจายสินค้า, นักวิเคราะห์กระบวนการทางธุรกิจ ประกอบธุรกิจส่วนตัว เช่น นำเข้าและส่งออก ผู้ให้บริการทางด้านโลจิสติกส์ ตัวแทนขนส่งทางบก ทางทะเล หรือทางอากาศ รับราชการ รับราชการในหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น กรมการขนส่งทางน้ำและพาณิชย์นาวี กรมประมง กรมการขนส่งทางอากาศ กรมศุลกากร และหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง งานสายวิชาการ เช่น นักวิชาการ นักวิจัย อาจารย์ในสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ หรือเรียนต่อระดับสูงขึ้น สาขาโลจิสติกส์นี้เป็นอีกหนึ่งที่มีความต้องการคนทำงานเพิ่มขึ้นทุกปี และเป็นสาขาที่กำลังมาแรงในปัจจุบัน มีหลาย ๆ มหาวิทยาลัยที่กำลังเปิดสอน สำหรับน้อง ๆ คนไหนที่ชอบในด้านนี้ เรียนจบแล้วมีงานทำรับรอง พี่ขอแนะนำสาขานี้เลย ขอบคุณข้อมูลจาก Logisticscafe.com, Admission premium และ Campus-star.com EZ Webmaster Related Posts โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนพานพิทยาคม โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนแม่ริมวิทยาคม โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสุรธรรมพิทักษ์ โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเชียงรายวิทยาคม Post navigation PREVIOUS Previous post: #รับตรง64 ม.หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ เปิดรับสมัครนศ.ป.ตรี ปี 64 แค่ยื่น GPAX พร้อมสอบสัมภาษณ์เท่านั้น!NEXT Next post: วิศวกรรมชีวการแพทย์ ม.รังสิต จับมือวิทยาลัยการอาชีพกุมภวาปี ลงนามร่วมพัฒนาหลักสูตรอาชีวศึกษาทุกระดับชั้น Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย EZ WebmasterJune 17, 2025 กิจกรรมนี้มีแต่รอยยิ้มและความอบอุ่น ยิ่งทำยิ่งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย จ.เชียงใหม่ วันที่16/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า (ครูแอน)… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนแม่ริมวิทยาคม EZ WebmasterJune 17, 2025 สร้างความสุข สร้างความทรงจำดีๆ ให้เด็กๆ ทุกคน โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนแม่ริมวิทยาคม จ.เชียงใหม่ วันที่16/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสุรธรรมพิทักษ์ EZ WebmasterJune 17, 2025 วันนี้มีรอยยิ้ม เสียงหัวเราะ และความสนุกมาเต็มเปี่ยม! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนสุรธรรมพิทักษ์ จ.นครราชสีมา วันที่16/06/68 โดยวิทยากรอ.ธารา อิสสระ (พี่แฮนด์… นักศึกษา การตลาดดิจิทัลและระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย จัดกิจกรรมตอบแทนกลับคืนสังคม EZ WebmasterJune 17, 2025 นักศึกษากลุ่มวิชาการตลาดดิจิทัล และกลุ่มวิชาการบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ร่วมทำกิจกรรม Digital Marketing Innovation for Sustainability สร้างสรรค์ประสบการณ์ทางการตลาดดิจิทัลและการบริการสังคม โดยนักศึกษาได้เข้ากิจกรรมปล่อยสัตว์ทะเลที่ธนาคารปู จังหวัดระยอง และบริจากสิ่งของให้กับชมรมผู้พิการทางสติปัญญา จังหวัดชลบุรี ร่วมเรียนรู้การสร้างสรรค์สื่อสำหรับการสื่อสารทางการตลาดดิจิทัล เพื่อสร้างความรับผิดชอบต่อสังคมให้กับนักศึกษาและร่วมสร้างสรรค์สังคมให้น่าอยู่ต่อไป เรียนคณะบริหารธุรกิจแนวใหม่ต้องสัมผัสประสบการณ์แบบนักธุรกิจ ถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์จากคณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญรวมทั้งนักธุรกิจมืออาชีพ… “จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” EZ WebmasterJune 17, 2025 ในนามของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผมขอส่งความห่วงใยมายังพวกเราทุกคนที่กำลังใช้ชีวิตและศึกษาอยู่ในสหรัฐฯ โดยเฉพาะในช่วงเวลาที่มีความไม่แน่นอนเกี่ยวกับนโยบายวีซ่าที่อาจส่งผลต่อสิทธิในการศึกษา เมื่อไม่นานนี้ ผมและผู้บริหารจุฬาฯ มีโอกาสได้ไปเยือน Harvard และ MIT และได้พบกับนักศึกษาชาวไทยหลายคน ทุกคนต่างมีความมุ่งมั่น ตั้งใจ และอดทนในการใฝ่หาความรู้ เพื่อนำมาพัฒนาตนเอง สังคม และประเทศชาติ แม้จะอยู่ท่ามกลางความกังวลใจต่ออนาคตที่ยังไม่ชัดเจน ผมอยากบอกว่าพวกเราที่จุฬาฯ… คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… ทุนดีดี 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster September 1, 2020 EZ Webmaster September 1, 2020 รวมมหาวิทยาลัยที่เปิดสอนสาขาโลจิสติกส์ในประเทศไทย สาขาโลจิสติกส์เรียนที่ไหนดี ? มีที่ไหนเปิดสอนบ้าง ? สำหรับน้อง ๆ คนไหนที่สนใจจะเรียนต่อทางด้านนี้แต่ยังไม่รู้ว่าจะเลือกเรียนที่ไหนดี วันนี้พี่มีมหาวิทยาลัยที่เปิดสอนสาขานี้มาฝากกัน จะเป็นที่ไหนบ้าง ใช่ที่ที่น้อง ๆ หมายตาเอาไว้หรือเปล่า ตามมาดูกันได้เลย สาขาวิชาโลจิสติกส์ เกี่ยวข้องกับการจัดการระบบขนส่ง หรือการเคลื่อนย้ายสินค้าและบริการ ทั้งภาคพื้นดิน ทางเรือ และทางอากาศ แต่โลจิสติกส์ไม่ใช่แค่เรื่องของการขนส่งเท่านั้น สายงานด้านนี้ยังรวมไปถึงกระบวนการ วิธีการ การวางแผนสินค้าคงคลัง การจัดเก็บ ควบคุม การบริหารธุรกิจ รวมถึงต้องเข้าใจเกี่ยวกับการเงิน การตลาดเบื้องต้นในการทำธุรกิจอีกด้วย มหาวิทยาลัย และวิทยาลัยโลจิสติกส์ที่เปิดสาขาโลจิสติกส์ในประเทศไทย วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน มหาวิทยาลัยศรีปทุม สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน วิทยาเขตบางเขน วิทยาเขตชลบุรี วิทยาเขตขอนแก่น วิทยาลัยบริหารธุรกิจนวัตกรรมและการบัญชี (CIBA DPU) มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ สาขาวิชาการจัดการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานสมัยใหม่ หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต 4 ปี (ภาคปกติ) หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต 4 ปี (วันเสาร์-วันอาทิตย์) หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต 2 ปี (เทียบโอนภาคปกติ) หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต 2 ปี (เทียบโอน วันอาทิตย์) วิทยาลัยนวัตกรรมด้านเทคโนโลยีและวิศวกรรมศาสตร์ (CITE) มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ สาขาวิศวกรรมการจัดการและโลจิสติกส์ หลักสูตรภาคปกติ ระดับปริญญาตรี (4 ปี) สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 6 (ทุกสาย) หรือ ปวช. ทุกสาขาวิชา หลักสูตรเทียบโอน ระดับปริญญาตรี (3 ปี) สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ทุกสาขาวิชา หลักสูตรเทียบโอน ภาคพิเศษ ระดับปริญญาตรี (3 ปี) ภาค เสาร์-อาทิตย์ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ทุกสาขาวิชา หรือต้องการปริญญาใบที่สอง สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ คณะการจัดการโลจิสติกส์และการคมนาคมขนส่ง เปิดสอน 3 วิชาเอก การจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน การจัดการการคมนาคมขนส่ง การจัดการสถานีและพื้นที่ วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก คณะโลจิสติกส์และเทคโนโลยีการบิน หลักสูตรบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ (Department of Logistics Management)หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (ต่อเนื่อง) สาขาวิชาการจัดการการขนส่งสินค้าทางอากาศ (Department of Air cargo Management) คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สาขาสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ระหว่างประเทศ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยกรุงเทพสุวรรณภูมิ สาขาการจัดการโลจิสติกส์ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยเกริก สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์ สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ สาขาวิชาบริหารธุรกิจอุตสาหกรรมและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หลักสูตร 4 ปี ที่ศูนย์รังสิต บริหารธุรกิจระหว่างประเทศ โลจิสติกส์และการขนส่ง หลักสูตร 5 ปี ตรี-โท ที่ท่าพระจันทร์ หลักสูตรควบบริหารธุรกิจบัณฑิต (การจัดการแบบบูรณาการ) และวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารโลจิสติกส์และปฏิบัติการ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง สาขาวิชาการจัดการธุรกิจการบิน (ธุรกิจโลจิสติกส์ทางการบิน) มหาวิทยาลัยภาคกลาง สาขาการตลาดและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยรังสิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ (วิทยาเขตสะพานใหม่ , วิทยาเขตรังสิต) สาขาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง โครงการพิเศษบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการธุรกิจบริการ วิชาเอกการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ สาขาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์ สาขาการจัดการโลจิสติกส์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต สาขาการขนส่งระหว่างประเทศ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน มหาวิทยาลัยธนบุรี สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี สาขาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ สาขาการวิเคราะห์โลจิสติกส์และการจัดการซัพพลายเชน (หลักสูตรนานาชาติ) คณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยนานาชาติแสตมฟอร์ด สาขาวิชาบริหารธุรกิจ กลุ่มวิชาการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน คณะบริหารธุรกิจและการบัญชี มหาวิทยาลัยปทุมธานี สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมและโลจิสติกส์ คณะสถิติประยุกต์ (GSAS) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ คณะวิทยาการจัดการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยนครพนม สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา สาขาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ คณะเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยทักษิณ สาขาวิชาบริหารธุรกิจ คณะนิติศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น คณะนิติศาสตร์ กลุ่มวิชากฎหมายเกี่ยวกับโลจิสติกส์ คณะเทคโนโลยี วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม คณะเทคโนโลยี สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน คณะพาณิชยนาวีนานาชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา สาขาวิชาวิศวกรรมต่อเรือและเครื่องกลเรือ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การเดินเรือ สาขาวิชาการขนส่งทางทะเล คณะโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยบูรพา หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการค้าระหว่างประเทศและการจัดการโลจิสติกส์ สาขาวิชาธุรกิจพาณิชยนาวี สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมพาณิชยนาวี หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ สาขาวิชาวิทยาการเดินเรือ (5 ปี) วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยบูรพา หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ (หลักสูตรนานาชาติ) มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และการค้าชายแดน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สาขาวิชาวิศวกรรมโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม สาขาวิศวกรรมโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยศิลปากร สาขาวิศวกรรมการจัดการและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สาขาวิชาวิศวกรรมโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ-โลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ สาขาวิศวกรรมโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร สาขาโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ สาขาวิศวกรรมโลจิสติกส์ คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมอุตสาหการและโลจิสติกส์ สำนักวิชาเทคโนโลยีสังคม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการ กลุ่มวิชาเฉพาะการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ศูนย์การศึกษาจังหวัดนครปฐม หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ ใช้คะแนนอะไรบ้างในการเรียนโลจิสติกส์ แบบที่ 1 GAT + PAT1 แบบที่ 2 GAT + PAT1 + PAT2 เรียนโลจิสติกส์จบไปทำงานอะไรได้บ้าง? หลังจากเรียนจบหลักสูตรในระดับปริญญาตรีแล้ว มาถึงเส้นทางอาชีพและการทำงานบ้าง งานด้านโลจิสติกส์และซับพลายเชน ถือเป็นอีกสายงานที่ตลาดในประเทศและต่างประเทศมีความต้องการบุคลากรเพิ่มมากขึ้น เพื่อรองรับการเติบโตของภาคธุรกิจและบริการ และนี่คือสายงานและตำแหน่งที่น้อง ๆ บัณฑิตสาขานี้สามารถทำได้ ระดับปฏิบัติการ เช่น ฝ่ายจัดซื้อ ฝ่ายผลิต ฝ่ายจัดส่งและคลังสินค้า ฝ่ายควบคุมวัตถุดิบ ฝ่ายซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ฝ่ายการขนส่ง ซึ่งในประเทศไทยมีบริษัททางขนส่งสินค้ามากกว่า 500 แห่ง รวมถึงบริษัทนำเข้าส่ง-ออก ระดับบริหาร เช่น นักวิเคราะห์ด้านโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน, นักวางแผน วัตถุดิบ การผลิต หรือการกระจายสินค้า, นักวิเคราะห์กระบวนการทางธุรกิจ ประกอบธุรกิจส่วนตัว เช่น นำเข้าและส่งออก ผู้ให้บริการทางด้านโลจิสติกส์ ตัวแทนขนส่งทางบก ทางทะเล หรือทางอากาศ รับราชการ รับราชการในหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น กรมการขนส่งทางน้ำและพาณิชย์นาวี กรมประมง กรมการขนส่งทางอากาศ กรมศุลกากร และหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง งานสายวิชาการ เช่น นักวิชาการ นักวิจัย อาจารย์ในสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ หรือเรียนต่อระดับสูงขึ้น สาขาโลจิสติกส์นี้เป็นอีกหนึ่งที่มีความต้องการคนทำงานเพิ่มขึ้นทุกปี และเป็นสาขาที่กำลังมาแรงในปัจจุบัน มีหลาย ๆ มหาวิทยาลัยที่กำลังเปิดสอน สำหรับน้อง ๆ คนไหนที่ชอบในด้านนี้ เรียนจบแล้วมีงานทำรับรอง พี่ขอแนะนำสาขานี้เลย ขอบคุณข้อมูลจาก Logisticscafe.com, Admission premium และ Campus-star.com EZ Webmaster Related Posts โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนพานพิทยาคม โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนแม่ริมวิทยาคม โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสุรธรรมพิทักษ์ โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเชียงรายวิทยาคม Post navigation PREVIOUS Previous post: #รับตรง64 ม.หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ เปิดรับสมัครนศ.ป.ตรี ปี 64 แค่ยื่น GPAX พร้อมสอบสัมภาษณ์เท่านั้น!NEXT Next post: วิศวกรรมชีวการแพทย์ ม.รังสิต จับมือวิทยาลัยการอาชีพกุมภวาปี ลงนามร่วมพัฒนาหลักสูตรอาชีวศึกษาทุกระดับชั้น Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนแม่ริมวิทยาคม EZ WebmasterJune 17, 2025 สร้างความสุข สร้างความทรงจำดีๆ ให้เด็กๆ ทุกคน โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนแม่ริมวิทยาคม จ.เชียงใหม่ วันที่16/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสุรธรรมพิทักษ์ EZ WebmasterJune 17, 2025 วันนี้มีรอยยิ้ม เสียงหัวเราะ และความสนุกมาเต็มเปี่ยม! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนสุรธรรมพิทักษ์ จ.นครราชสีมา วันที่16/06/68 โดยวิทยากรอ.ธารา อิสสระ (พี่แฮนด์…
โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสุรธรรมพิทักษ์ EZ WebmasterJune 17, 2025 วันนี้มีรอยยิ้ม เสียงหัวเราะ และความสนุกมาเต็มเปี่ยม! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนสุรธรรมพิทักษ์ จ.นครราชสีมา วันที่16/06/68 โดยวิทยากรอ.ธารา อิสสระ (พี่แฮนด์…
การตลาดดิจิทัลและระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย จัดกิจกรรมตอบแทนกลับคืนสังคม EZ WebmasterJune 17, 2025 นักศึกษากลุ่มวิชาการตลาดดิจิทัล และกลุ่มวิชาการบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ร่วมทำกิจกรรม Digital Marketing Innovation for Sustainability สร้างสรรค์ประสบการณ์ทางการตลาดดิจิทัลและการบริการสังคม โดยนักศึกษาได้เข้ากิจกรรมปล่อยสัตว์ทะเลที่ธนาคารปู จังหวัดระยอง และบริจากสิ่งของให้กับชมรมผู้พิการทางสติปัญญา จังหวัดชลบุรี ร่วมเรียนรู้การสร้างสรรค์สื่อสำหรับการสื่อสารทางการตลาดดิจิทัล เพื่อสร้างความรับผิดชอบต่อสังคมให้กับนักศึกษาและร่วมสร้างสรรค์สังคมให้น่าอยู่ต่อไป เรียนคณะบริหารธุรกิจแนวใหม่ต้องสัมผัสประสบการณ์แบบนักธุรกิจ ถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์จากคณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญรวมทั้งนักธุรกิจมืออาชีพ… “จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” EZ WebmasterJune 17, 2025 ในนามของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผมขอส่งความห่วงใยมายังพวกเราทุกคนที่กำลังใช้ชีวิตและศึกษาอยู่ในสหรัฐฯ โดยเฉพาะในช่วงเวลาที่มีความไม่แน่นอนเกี่ยวกับนโยบายวีซ่าที่อาจส่งผลต่อสิทธิในการศึกษา เมื่อไม่นานนี้ ผมและผู้บริหารจุฬาฯ มีโอกาสได้ไปเยือน Harvard และ MIT และได้พบกับนักศึกษาชาวไทยหลายคน ทุกคนต่างมีความมุ่งมั่น ตั้งใจ และอดทนในการใฝ่หาความรู้ เพื่อนำมาพัฒนาตนเอง สังคม และประเทศชาติ แม้จะอยู่ท่ามกลางความกังวลใจต่ออนาคตที่ยังไม่ชัดเจน ผมอยากบอกว่าพวกเราที่จุฬาฯ… คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… ทุนดีดี 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster September 1, 2020 EZ Webmaster September 1, 2020 รวมมหาวิทยาลัยที่เปิดสอนสาขาโลจิสติกส์ในประเทศไทย สาขาโลจิสติกส์เรียนที่ไหนดี ? มีที่ไหนเปิดสอนบ้าง ? สำหรับน้อง ๆ คนไหนที่สนใจจะเรียนต่อทางด้านนี้แต่ยังไม่รู้ว่าจะเลือกเรียนที่ไหนดี วันนี้พี่มีมหาวิทยาลัยที่เปิดสอนสาขานี้มาฝากกัน จะเป็นที่ไหนบ้าง ใช่ที่ที่น้อง ๆ หมายตาเอาไว้หรือเปล่า ตามมาดูกันได้เลย สาขาวิชาโลจิสติกส์ เกี่ยวข้องกับการจัดการระบบขนส่ง หรือการเคลื่อนย้ายสินค้าและบริการ ทั้งภาคพื้นดิน ทางเรือ และทางอากาศ แต่โลจิสติกส์ไม่ใช่แค่เรื่องของการขนส่งเท่านั้น สายงานด้านนี้ยังรวมไปถึงกระบวนการ วิธีการ การวางแผนสินค้าคงคลัง การจัดเก็บ ควบคุม การบริหารธุรกิจ รวมถึงต้องเข้าใจเกี่ยวกับการเงิน การตลาดเบื้องต้นในการทำธุรกิจอีกด้วย มหาวิทยาลัย และวิทยาลัยโลจิสติกส์ที่เปิดสาขาโลจิสติกส์ในประเทศไทย วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน มหาวิทยาลัยศรีปทุม สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน วิทยาเขตบางเขน วิทยาเขตชลบุรี วิทยาเขตขอนแก่น วิทยาลัยบริหารธุรกิจนวัตกรรมและการบัญชี (CIBA DPU) มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ สาขาวิชาการจัดการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานสมัยใหม่ หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต 4 ปี (ภาคปกติ) หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต 4 ปี (วันเสาร์-วันอาทิตย์) หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต 2 ปี (เทียบโอนภาคปกติ) หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต 2 ปี (เทียบโอน วันอาทิตย์) วิทยาลัยนวัตกรรมด้านเทคโนโลยีและวิศวกรรมศาสตร์ (CITE) มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ สาขาวิศวกรรมการจัดการและโลจิสติกส์ หลักสูตรภาคปกติ ระดับปริญญาตรี (4 ปี) สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 6 (ทุกสาย) หรือ ปวช. ทุกสาขาวิชา หลักสูตรเทียบโอน ระดับปริญญาตรี (3 ปี) สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ทุกสาขาวิชา หลักสูตรเทียบโอน ภาคพิเศษ ระดับปริญญาตรี (3 ปี) ภาค เสาร์-อาทิตย์ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ทุกสาขาวิชา หรือต้องการปริญญาใบที่สอง สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ คณะการจัดการโลจิสติกส์และการคมนาคมขนส่ง เปิดสอน 3 วิชาเอก การจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน การจัดการการคมนาคมขนส่ง การจัดการสถานีและพื้นที่ วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก คณะโลจิสติกส์และเทคโนโลยีการบิน หลักสูตรบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ (Department of Logistics Management)หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (ต่อเนื่อง) สาขาวิชาการจัดการการขนส่งสินค้าทางอากาศ (Department of Air cargo Management) คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สาขาสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ระหว่างประเทศ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยกรุงเทพสุวรรณภูมิ สาขาการจัดการโลจิสติกส์ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยเกริก สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์ สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ สาขาวิชาบริหารธุรกิจอุตสาหกรรมและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หลักสูตร 4 ปี ที่ศูนย์รังสิต บริหารธุรกิจระหว่างประเทศ โลจิสติกส์และการขนส่ง หลักสูตร 5 ปี ตรี-โท ที่ท่าพระจันทร์ หลักสูตรควบบริหารธุรกิจบัณฑิต (การจัดการแบบบูรณาการ) และวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารโลจิสติกส์และปฏิบัติการ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง สาขาวิชาการจัดการธุรกิจการบิน (ธุรกิจโลจิสติกส์ทางการบิน) มหาวิทยาลัยภาคกลาง สาขาการตลาดและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยรังสิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ (วิทยาเขตสะพานใหม่ , วิทยาเขตรังสิต) สาขาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง โครงการพิเศษบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการธุรกิจบริการ วิชาเอกการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ สาขาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์ สาขาการจัดการโลจิสติกส์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต สาขาการขนส่งระหว่างประเทศ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน มหาวิทยาลัยธนบุรี สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี สาขาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ สาขาการวิเคราะห์โลจิสติกส์และการจัดการซัพพลายเชน (หลักสูตรนานาชาติ) คณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยนานาชาติแสตมฟอร์ด สาขาวิชาบริหารธุรกิจ กลุ่มวิชาการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน คณะบริหารธุรกิจและการบัญชี มหาวิทยาลัยปทุมธานี สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมและโลจิสติกส์ คณะสถิติประยุกต์ (GSAS) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ คณะวิทยาการจัดการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยนครพนม สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา สาขาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ คณะเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยทักษิณ สาขาวิชาบริหารธุรกิจ คณะนิติศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น คณะนิติศาสตร์ กลุ่มวิชากฎหมายเกี่ยวกับโลจิสติกส์ คณะเทคโนโลยี วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม คณะเทคโนโลยี สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน คณะพาณิชยนาวีนานาชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา สาขาวิชาวิศวกรรมต่อเรือและเครื่องกลเรือ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การเดินเรือ สาขาวิชาการขนส่งทางทะเล คณะโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยบูรพา หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการค้าระหว่างประเทศและการจัดการโลจิสติกส์ สาขาวิชาธุรกิจพาณิชยนาวี สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมพาณิชยนาวี หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ สาขาวิชาวิทยาการเดินเรือ (5 ปี) วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยบูรพา หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ (หลักสูตรนานาชาติ) มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และการค้าชายแดน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สาขาวิชาวิศวกรรมโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม สาขาวิศวกรรมโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยศิลปากร สาขาวิศวกรรมการจัดการและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สาขาวิชาวิศวกรรมโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ-โลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ สาขาวิศวกรรมโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร สาขาโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ สาขาวิศวกรรมโลจิสติกส์ คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมอุตสาหการและโลจิสติกส์ สำนักวิชาเทคโนโลยีสังคม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการ กลุ่มวิชาเฉพาะการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ศูนย์การศึกษาจังหวัดนครปฐม หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ ใช้คะแนนอะไรบ้างในการเรียนโลจิสติกส์ แบบที่ 1 GAT + PAT1 แบบที่ 2 GAT + PAT1 + PAT2 เรียนโลจิสติกส์จบไปทำงานอะไรได้บ้าง? หลังจากเรียนจบหลักสูตรในระดับปริญญาตรีแล้ว มาถึงเส้นทางอาชีพและการทำงานบ้าง งานด้านโลจิสติกส์และซับพลายเชน ถือเป็นอีกสายงานที่ตลาดในประเทศและต่างประเทศมีความต้องการบุคลากรเพิ่มมากขึ้น เพื่อรองรับการเติบโตของภาคธุรกิจและบริการ และนี่คือสายงานและตำแหน่งที่น้อง ๆ บัณฑิตสาขานี้สามารถทำได้ ระดับปฏิบัติการ เช่น ฝ่ายจัดซื้อ ฝ่ายผลิต ฝ่ายจัดส่งและคลังสินค้า ฝ่ายควบคุมวัตถุดิบ ฝ่ายซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ฝ่ายการขนส่ง ซึ่งในประเทศไทยมีบริษัททางขนส่งสินค้ามากกว่า 500 แห่ง รวมถึงบริษัทนำเข้าส่ง-ออก ระดับบริหาร เช่น นักวิเคราะห์ด้านโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน, นักวางแผน วัตถุดิบ การผลิต หรือการกระจายสินค้า, นักวิเคราะห์กระบวนการทางธุรกิจ ประกอบธุรกิจส่วนตัว เช่น นำเข้าและส่งออก ผู้ให้บริการทางด้านโลจิสติกส์ ตัวแทนขนส่งทางบก ทางทะเล หรือทางอากาศ รับราชการ รับราชการในหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น กรมการขนส่งทางน้ำและพาณิชย์นาวี กรมประมง กรมการขนส่งทางอากาศ กรมศุลกากร และหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง งานสายวิชาการ เช่น นักวิชาการ นักวิจัย อาจารย์ในสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ หรือเรียนต่อระดับสูงขึ้น สาขาโลจิสติกส์นี้เป็นอีกหนึ่งที่มีความต้องการคนทำงานเพิ่มขึ้นทุกปี และเป็นสาขาที่กำลังมาแรงในปัจจุบัน มีหลาย ๆ มหาวิทยาลัยที่กำลังเปิดสอน สำหรับน้อง ๆ คนไหนที่ชอบในด้านนี้ เรียนจบแล้วมีงานทำรับรอง พี่ขอแนะนำสาขานี้เลย ขอบคุณข้อมูลจาก Logisticscafe.com, Admission premium และ Campus-star.com EZ Webmaster Related Posts โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนพานพิทยาคม โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนแม่ริมวิทยาคม โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสุรธรรมพิทักษ์ โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเชียงรายวิทยาคม Post navigation PREVIOUS Previous post: #รับตรง64 ม.หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ เปิดรับสมัครนศ.ป.ตรี ปี 64 แค่ยื่น GPAX พร้อมสอบสัมภาษณ์เท่านั้น!NEXT Next post: วิศวกรรมชีวการแพทย์ ม.รังสิต จับมือวิทยาลัยการอาชีพกุมภวาปี ลงนามร่วมพัฒนาหลักสูตรอาชีวศึกษาทุกระดับชั้น Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
“จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” EZ WebmasterJune 17, 2025 ในนามของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผมขอส่งความห่วงใยมายังพวกเราทุกคนที่กำลังใช้ชีวิตและศึกษาอยู่ในสหรัฐฯ โดยเฉพาะในช่วงเวลาที่มีความไม่แน่นอนเกี่ยวกับนโยบายวีซ่าที่อาจส่งผลต่อสิทธิในการศึกษา เมื่อไม่นานนี้ ผมและผู้บริหารจุฬาฯ มีโอกาสได้ไปเยือน Harvard และ MIT และได้พบกับนักศึกษาชาวไทยหลายคน ทุกคนต่างมีความมุ่งมั่น ตั้งใจ และอดทนในการใฝ่หาความรู้ เพื่อนำมาพัฒนาตนเอง สังคม และประเทศชาติ แม้จะอยู่ท่ามกลางความกังวลใจต่ออนาคตที่ยังไม่ชัดเจน ผมอยากบอกว่าพวกเราที่จุฬาฯ… คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… ทุนดีดี 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster September 1, 2020 EZ Webmaster September 1, 2020 รวมมหาวิทยาลัยที่เปิดสอนสาขาโลจิสติกส์ในประเทศไทย สาขาโลจิสติกส์เรียนที่ไหนดี ? มีที่ไหนเปิดสอนบ้าง ? สำหรับน้อง ๆ คนไหนที่สนใจจะเรียนต่อทางด้านนี้แต่ยังไม่รู้ว่าจะเลือกเรียนที่ไหนดี วันนี้พี่มีมหาวิทยาลัยที่เปิดสอนสาขานี้มาฝากกัน จะเป็นที่ไหนบ้าง ใช่ที่ที่น้อง ๆ หมายตาเอาไว้หรือเปล่า ตามมาดูกันได้เลย สาขาวิชาโลจิสติกส์ เกี่ยวข้องกับการจัดการระบบขนส่ง หรือการเคลื่อนย้ายสินค้าและบริการ ทั้งภาคพื้นดิน ทางเรือ และทางอากาศ แต่โลจิสติกส์ไม่ใช่แค่เรื่องของการขนส่งเท่านั้น สายงานด้านนี้ยังรวมไปถึงกระบวนการ วิธีการ การวางแผนสินค้าคงคลัง การจัดเก็บ ควบคุม การบริหารธุรกิจ รวมถึงต้องเข้าใจเกี่ยวกับการเงิน การตลาดเบื้องต้นในการทำธุรกิจอีกด้วย มหาวิทยาลัย และวิทยาลัยโลจิสติกส์ที่เปิดสาขาโลจิสติกส์ในประเทศไทย วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน มหาวิทยาลัยศรีปทุม สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน วิทยาเขตบางเขน วิทยาเขตชลบุรี วิทยาเขตขอนแก่น วิทยาลัยบริหารธุรกิจนวัตกรรมและการบัญชี (CIBA DPU) มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ สาขาวิชาการจัดการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานสมัยใหม่ หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต 4 ปี (ภาคปกติ) หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต 4 ปี (วันเสาร์-วันอาทิตย์) หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต 2 ปี (เทียบโอนภาคปกติ) หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต 2 ปี (เทียบโอน วันอาทิตย์) วิทยาลัยนวัตกรรมด้านเทคโนโลยีและวิศวกรรมศาสตร์ (CITE) มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ สาขาวิศวกรรมการจัดการและโลจิสติกส์ หลักสูตรภาคปกติ ระดับปริญญาตรี (4 ปี) สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 6 (ทุกสาย) หรือ ปวช. ทุกสาขาวิชา หลักสูตรเทียบโอน ระดับปริญญาตรี (3 ปี) สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ทุกสาขาวิชา หลักสูตรเทียบโอน ภาคพิเศษ ระดับปริญญาตรี (3 ปี) ภาค เสาร์-อาทิตย์ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ทุกสาขาวิชา หรือต้องการปริญญาใบที่สอง สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ คณะการจัดการโลจิสติกส์และการคมนาคมขนส่ง เปิดสอน 3 วิชาเอก การจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน การจัดการการคมนาคมขนส่ง การจัดการสถานีและพื้นที่ วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก คณะโลจิสติกส์และเทคโนโลยีการบิน หลักสูตรบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ (Department of Logistics Management)หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (ต่อเนื่อง) สาขาวิชาการจัดการการขนส่งสินค้าทางอากาศ (Department of Air cargo Management) คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สาขาสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ระหว่างประเทศ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยกรุงเทพสุวรรณภูมิ สาขาการจัดการโลจิสติกส์ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยเกริก สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์ สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ สาขาวิชาบริหารธุรกิจอุตสาหกรรมและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หลักสูตร 4 ปี ที่ศูนย์รังสิต บริหารธุรกิจระหว่างประเทศ โลจิสติกส์และการขนส่ง หลักสูตร 5 ปี ตรี-โท ที่ท่าพระจันทร์ หลักสูตรควบบริหารธุรกิจบัณฑิต (การจัดการแบบบูรณาการ) และวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารโลจิสติกส์และปฏิบัติการ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง สาขาวิชาการจัดการธุรกิจการบิน (ธุรกิจโลจิสติกส์ทางการบิน) มหาวิทยาลัยภาคกลาง สาขาการตลาดและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยรังสิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ (วิทยาเขตสะพานใหม่ , วิทยาเขตรังสิต) สาขาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง โครงการพิเศษบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการธุรกิจบริการ วิชาเอกการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ สาขาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์ สาขาการจัดการโลจิสติกส์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต สาขาการขนส่งระหว่างประเทศ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน มหาวิทยาลัยธนบุรี สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี สาขาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ สาขาการวิเคราะห์โลจิสติกส์และการจัดการซัพพลายเชน (หลักสูตรนานาชาติ) คณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยนานาชาติแสตมฟอร์ด สาขาวิชาบริหารธุรกิจ กลุ่มวิชาการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน คณะบริหารธุรกิจและการบัญชี มหาวิทยาลัยปทุมธานี สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมและโลจิสติกส์ คณะสถิติประยุกต์ (GSAS) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ คณะวิทยาการจัดการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยนครพนม สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา สาขาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ คณะเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยทักษิณ สาขาวิชาบริหารธุรกิจ คณะนิติศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น คณะนิติศาสตร์ กลุ่มวิชากฎหมายเกี่ยวกับโลจิสติกส์ คณะเทคโนโลยี วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม คณะเทคโนโลยี สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน คณะพาณิชยนาวีนานาชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา สาขาวิชาวิศวกรรมต่อเรือและเครื่องกลเรือ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การเดินเรือ สาขาวิชาการขนส่งทางทะเล คณะโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยบูรพา หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการค้าระหว่างประเทศและการจัดการโลจิสติกส์ สาขาวิชาธุรกิจพาณิชยนาวี สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมพาณิชยนาวี หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ สาขาวิชาวิทยาการเดินเรือ (5 ปี) วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยบูรพา หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ (หลักสูตรนานาชาติ) มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และการค้าชายแดน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สาขาวิชาวิศวกรรมโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม สาขาวิศวกรรมโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยศิลปากร สาขาวิศวกรรมการจัดการและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สาขาวิชาวิศวกรรมโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ-โลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ สาขาวิศวกรรมโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร สาขาโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ สาขาวิศวกรรมโลจิสติกส์ คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมอุตสาหการและโลจิสติกส์ สำนักวิชาเทคโนโลยีสังคม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการ กลุ่มวิชาเฉพาะการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ศูนย์การศึกษาจังหวัดนครปฐม หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ ใช้คะแนนอะไรบ้างในการเรียนโลจิสติกส์ แบบที่ 1 GAT + PAT1 แบบที่ 2 GAT + PAT1 + PAT2 เรียนโลจิสติกส์จบไปทำงานอะไรได้บ้าง? หลังจากเรียนจบหลักสูตรในระดับปริญญาตรีแล้ว มาถึงเส้นทางอาชีพและการทำงานบ้าง งานด้านโลจิสติกส์และซับพลายเชน ถือเป็นอีกสายงานที่ตลาดในประเทศและต่างประเทศมีความต้องการบุคลากรเพิ่มมากขึ้น เพื่อรองรับการเติบโตของภาคธุรกิจและบริการ และนี่คือสายงานและตำแหน่งที่น้อง ๆ บัณฑิตสาขานี้สามารถทำได้ ระดับปฏิบัติการ เช่น ฝ่ายจัดซื้อ ฝ่ายผลิต ฝ่ายจัดส่งและคลังสินค้า ฝ่ายควบคุมวัตถุดิบ ฝ่ายซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ฝ่ายการขนส่ง ซึ่งในประเทศไทยมีบริษัททางขนส่งสินค้ามากกว่า 500 แห่ง รวมถึงบริษัทนำเข้าส่ง-ออก ระดับบริหาร เช่น นักวิเคราะห์ด้านโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน, นักวางแผน วัตถุดิบ การผลิต หรือการกระจายสินค้า, นักวิเคราะห์กระบวนการทางธุรกิจ ประกอบธุรกิจส่วนตัว เช่น นำเข้าและส่งออก ผู้ให้บริการทางด้านโลจิสติกส์ ตัวแทนขนส่งทางบก ทางทะเล หรือทางอากาศ รับราชการ รับราชการในหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น กรมการขนส่งทางน้ำและพาณิชย์นาวี กรมประมง กรมการขนส่งทางอากาศ กรมศุลกากร และหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง งานสายวิชาการ เช่น นักวิชาการ นักวิจัย อาจารย์ในสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ หรือเรียนต่อระดับสูงขึ้น สาขาโลจิสติกส์นี้เป็นอีกหนึ่งที่มีความต้องการคนทำงานเพิ่มขึ้นทุกปี และเป็นสาขาที่กำลังมาแรงในปัจจุบัน มีหลาย ๆ มหาวิทยาลัยที่กำลังเปิดสอน สำหรับน้อง ๆ คนไหนที่ชอบในด้านนี้ เรียนจบแล้วมีงานทำรับรอง พี่ขอแนะนำสาขานี้เลย ขอบคุณข้อมูลจาก Logisticscafe.com, Admission premium และ Campus-star.com EZ Webmaster Related Posts โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนพานพิทยาคม โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนแม่ริมวิทยาคม โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสุรธรรมพิทักษ์ โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเชียงรายวิทยาคม Post navigation PREVIOUS Previous post: #รับตรง64 ม.หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ เปิดรับสมัครนศ.ป.ตรี ปี 64 แค่ยื่น GPAX พร้อมสอบสัมภาษณ์เท่านั้น!NEXT Next post: วิศวกรรมชีวการแพทย์ ม.รังสิต จับมือวิทยาลัยการอาชีพกุมภวาปี ลงนามร่วมพัฒนาหลักสูตรอาชีวศึกษาทุกระดับชั้น Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)…
เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)…
8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster September 1, 2020 EZ Webmaster September 1, 2020 รวมมหาวิทยาลัยที่เปิดสอนสาขาโลจิสติกส์ในประเทศไทย สาขาโลจิสติกส์เรียนที่ไหนดี ? มีที่ไหนเปิดสอนบ้าง ? สำหรับน้อง ๆ คนไหนที่สนใจจะเรียนต่อทางด้านนี้แต่ยังไม่รู้ว่าจะเลือกเรียนที่ไหนดี วันนี้พี่มีมหาวิทยาลัยที่เปิดสอนสาขานี้มาฝากกัน จะเป็นที่ไหนบ้าง ใช่ที่ที่น้อง ๆ หมายตาเอาไว้หรือเปล่า ตามมาดูกันได้เลย สาขาวิชาโลจิสติกส์ เกี่ยวข้องกับการจัดการระบบขนส่ง หรือการเคลื่อนย้ายสินค้าและบริการ ทั้งภาคพื้นดิน ทางเรือ และทางอากาศ แต่โลจิสติกส์ไม่ใช่แค่เรื่องของการขนส่งเท่านั้น สายงานด้านนี้ยังรวมไปถึงกระบวนการ วิธีการ การวางแผนสินค้าคงคลัง การจัดเก็บ ควบคุม การบริหารธุรกิจ รวมถึงต้องเข้าใจเกี่ยวกับการเงิน การตลาดเบื้องต้นในการทำธุรกิจอีกด้วย มหาวิทยาลัย และวิทยาลัยโลจิสติกส์ที่เปิดสาขาโลจิสติกส์ในประเทศไทย วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน มหาวิทยาลัยศรีปทุม สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน วิทยาเขตบางเขน วิทยาเขตชลบุรี วิทยาเขตขอนแก่น วิทยาลัยบริหารธุรกิจนวัตกรรมและการบัญชี (CIBA DPU) มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ สาขาวิชาการจัดการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานสมัยใหม่ หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต 4 ปี (ภาคปกติ) หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต 4 ปี (วันเสาร์-วันอาทิตย์) หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต 2 ปี (เทียบโอนภาคปกติ) หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต 2 ปี (เทียบโอน วันอาทิตย์) วิทยาลัยนวัตกรรมด้านเทคโนโลยีและวิศวกรรมศาสตร์ (CITE) มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ สาขาวิศวกรรมการจัดการและโลจิสติกส์ หลักสูตรภาคปกติ ระดับปริญญาตรี (4 ปี) สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 6 (ทุกสาย) หรือ ปวช. ทุกสาขาวิชา หลักสูตรเทียบโอน ระดับปริญญาตรี (3 ปี) สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ทุกสาขาวิชา หลักสูตรเทียบโอน ภาคพิเศษ ระดับปริญญาตรี (3 ปี) ภาค เสาร์-อาทิตย์ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ทุกสาขาวิชา หรือต้องการปริญญาใบที่สอง สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ คณะการจัดการโลจิสติกส์และการคมนาคมขนส่ง เปิดสอน 3 วิชาเอก การจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน การจัดการการคมนาคมขนส่ง การจัดการสถานีและพื้นที่ วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก คณะโลจิสติกส์และเทคโนโลยีการบิน หลักสูตรบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ (Department of Logistics Management)หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (ต่อเนื่อง) สาขาวิชาการจัดการการขนส่งสินค้าทางอากาศ (Department of Air cargo Management) คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สาขาสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ระหว่างประเทศ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยกรุงเทพสุวรรณภูมิ สาขาการจัดการโลจิสติกส์ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยเกริก สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์ สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ สาขาวิชาบริหารธุรกิจอุตสาหกรรมและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หลักสูตร 4 ปี ที่ศูนย์รังสิต บริหารธุรกิจระหว่างประเทศ โลจิสติกส์และการขนส่ง หลักสูตร 5 ปี ตรี-โท ที่ท่าพระจันทร์ หลักสูตรควบบริหารธุรกิจบัณฑิต (การจัดการแบบบูรณาการ) และวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารโลจิสติกส์และปฏิบัติการ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง สาขาวิชาการจัดการธุรกิจการบิน (ธุรกิจโลจิสติกส์ทางการบิน) มหาวิทยาลัยภาคกลาง สาขาการตลาดและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยรังสิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ (วิทยาเขตสะพานใหม่ , วิทยาเขตรังสิต) สาขาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง โครงการพิเศษบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการธุรกิจบริการ วิชาเอกการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ สาขาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์ สาขาการจัดการโลจิสติกส์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต สาขาการขนส่งระหว่างประเทศ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน มหาวิทยาลัยธนบุรี สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี สาขาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ สาขาการวิเคราะห์โลจิสติกส์และการจัดการซัพพลายเชน (หลักสูตรนานาชาติ) คณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยนานาชาติแสตมฟอร์ด สาขาวิชาบริหารธุรกิจ กลุ่มวิชาการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน คณะบริหารธุรกิจและการบัญชี มหาวิทยาลัยปทุมธานี สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมและโลจิสติกส์ คณะสถิติประยุกต์ (GSAS) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ คณะวิทยาการจัดการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยนครพนม สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา สาขาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ คณะเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยทักษิณ สาขาวิชาบริหารธุรกิจ คณะนิติศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น คณะนิติศาสตร์ กลุ่มวิชากฎหมายเกี่ยวกับโลจิสติกส์ คณะเทคโนโลยี วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม คณะเทคโนโลยี สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน คณะพาณิชยนาวีนานาชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา สาขาวิชาวิศวกรรมต่อเรือและเครื่องกลเรือ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การเดินเรือ สาขาวิชาการขนส่งทางทะเล คณะโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยบูรพา หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการค้าระหว่างประเทศและการจัดการโลจิสติกส์ สาขาวิชาธุรกิจพาณิชยนาวี สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมพาณิชยนาวี หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ สาขาวิชาวิทยาการเดินเรือ (5 ปี) วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยบูรพา หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ (หลักสูตรนานาชาติ) มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และการค้าชายแดน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สาขาวิชาวิศวกรรมโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม สาขาวิศวกรรมโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยศิลปากร สาขาวิศวกรรมการจัดการและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สาขาวิชาวิศวกรรมโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ-โลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ สาขาวิศวกรรมโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร สาขาโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ สาขาวิศวกรรมโลจิสติกส์ คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมอุตสาหการและโลจิสติกส์ สำนักวิชาเทคโนโลยีสังคม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการ กลุ่มวิชาเฉพาะการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ศูนย์การศึกษาจังหวัดนครปฐม หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ ใช้คะแนนอะไรบ้างในการเรียนโลจิสติกส์ แบบที่ 1 GAT + PAT1 แบบที่ 2 GAT + PAT1 + PAT2 เรียนโลจิสติกส์จบไปทำงานอะไรได้บ้าง? หลังจากเรียนจบหลักสูตรในระดับปริญญาตรีแล้ว มาถึงเส้นทางอาชีพและการทำงานบ้าง งานด้านโลจิสติกส์และซับพลายเชน ถือเป็นอีกสายงานที่ตลาดในประเทศและต่างประเทศมีความต้องการบุคลากรเพิ่มมากขึ้น เพื่อรองรับการเติบโตของภาคธุรกิจและบริการ และนี่คือสายงานและตำแหน่งที่น้อง ๆ บัณฑิตสาขานี้สามารถทำได้ ระดับปฏิบัติการ เช่น ฝ่ายจัดซื้อ ฝ่ายผลิต ฝ่ายจัดส่งและคลังสินค้า ฝ่ายควบคุมวัตถุดิบ ฝ่ายซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ฝ่ายการขนส่ง ซึ่งในประเทศไทยมีบริษัททางขนส่งสินค้ามากกว่า 500 แห่ง รวมถึงบริษัทนำเข้าส่ง-ออก ระดับบริหาร เช่น นักวิเคราะห์ด้านโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน, นักวางแผน วัตถุดิบ การผลิต หรือการกระจายสินค้า, นักวิเคราะห์กระบวนการทางธุรกิจ ประกอบธุรกิจส่วนตัว เช่น นำเข้าและส่งออก ผู้ให้บริการทางด้านโลจิสติกส์ ตัวแทนขนส่งทางบก ทางทะเล หรือทางอากาศ รับราชการ รับราชการในหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น กรมการขนส่งทางน้ำและพาณิชย์นาวี กรมประมง กรมการขนส่งทางอากาศ กรมศุลกากร และหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง งานสายวิชาการ เช่น นักวิชาการ นักวิจัย อาจารย์ในสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ หรือเรียนต่อระดับสูงขึ้น สาขาโลจิสติกส์นี้เป็นอีกหนึ่งที่มีความต้องการคนทำงานเพิ่มขึ้นทุกปี และเป็นสาขาที่กำลังมาแรงในปัจจุบัน มีหลาย ๆ มหาวิทยาลัยที่กำลังเปิดสอน สำหรับน้อง ๆ คนไหนที่ชอบในด้านนี้ เรียนจบแล้วมีงานทำรับรอง พี่ขอแนะนำสาขานี้เลย ขอบคุณข้อมูลจาก Logisticscafe.com, Admission premium และ Campus-star.com EZ Webmaster Related Posts โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนพานพิทยาคม โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนแม่ริมวิทยาคม โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสุรธรรมพิทักษ์ โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเชียงรายวิทยาคม Post navigation PREVIOUS Previous post: #รับตรง64 ม.หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ เปิดรับสมัครนศ.ป.ตรี ปี 64 แค่ยื่น GPAX พร้อมสอบสัมภาษณ์เท่านั้น!NEXT Next post: วิศวกรรมชีวการแพทย์ ม.รังสิต จับมือวิทยาลัยการอาชีพกุมภวาปี ลงนามร่วมพัฒนาหลักสูตรอาชีวศึกษาทุกระดับชั้น Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster September 1, 2020 EZ Webmaster September 1, 2020 รวมมหาวิทยาลัยที่เปิดสอนสาขาโลจิสติกส์ในประเทศไทย สาขาโลจิสติกส์เรียนที่ไหนดี ? มีที่ไหนเปิดสอนบ้าง ? สำหรับน้อง ๆ คนไหนที่สนใจจะเรียนต่อทางด้านนี้แต่ยังไม่รู้ว่าจะเลือกเรียนที่ไหนดี วันนี้พี่มีมหาวิทยาลัยที่เปิดสอนสาขานี้มาฝากกัน จะเป็นที่ไหนบ้าง ใช่ที่ที่น้อง ๆ หมายตาเอาไว้หรือเปล่า ตามมาดูกันได้เลย สาขาวิชาโลจิสติกส์ เกี่ยวข้องกับการจัดการระบบขนส่ง หรือการเคลื่อนย้ายสินค้าและบริการ ทั้งภาคพื้นดิน ทางเรือ และทางอากาศ แต่โลจิสติกส์ไม่ใช่แค่เรื่องของการขนส่งเท่านั้น สายงานด้านนี้ยังรวมไปถึงกระบวนการ วิธีการ การวางแผนสินค้าคงคลัง การจัดเก็บ ควบคุม การบริหารธุรกิจ รวมถึงต้องเข้าใจเกี่ยวกับการเงิน การตลาดเบื้องต้นในการทำธุรกิจอีกด้วย มหาวิทยาลัย และวิทยาลัยโลจิสติกส์ที่เปิดสาขาโลจิสติกส์ในประเทศไทย วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน มหาวิทยาลัยศรีปทุม สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน วิทยาเขตบางเขน วิทยาเขตชลบุรี วิทยาเขตขอนแก่น วิทยาลัยบริหารธุรกิจนวัตกรรมและการบัญชี (CIBA DPU) มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ สาขาวิชาการจัดการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานสมัยใหม่ หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต 4 ปี (ภาคปกติ) หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต 4 ปี (วันเสาร์-วันอาทิตย์) หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต 2 ปี (เทียบโอนภาคปกติ) หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต 2 ปี (เทียบโอน วันอาทิตย์) วิทยาลัยนวัตกรรมด้านเทคโนโลยีและวิศวกรรมศาสตร์ (CITE) มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ สาขาวิศวกรรมการจัดการและโลจิสติกส์ หลักสูตรภาคปกติ ระดับปริญญาตรี (4 ปี) สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 6 (ทุกสาย) หรือ ปวช. ทุกสาขาวิชา หลักสูตรเทียบโอน ระดับปริญญาตรี (3 ปี) สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ทุกสาขาวิชา หลักสูตรเทียบโอน ภาคพิเศษ ระดับปริญญาตรี (3 ปี) ภาค เสาร์-อาทิตย์ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ทุกสาขาวิชา หรือต้องการปริญญาใบที่สอง สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ คณะการจัดการโลจิสติกส์และการคมนาคมขนส่ง เปิดสอน 3 วิชาเอก การจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน การจัดการการคมนาคมขนส่ง การจัดการสถานีและพื้นที่ วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก คณะโลจิสติกส์และเทคโนโลยีการบิน หลักสูตรบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ (Department of Logistics Management)หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (ต่อเนื่อง) สาขาวิชาการจัดการการขนส่งสินค้าทางอากาศ (Department of Air cargo Management) คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สาขาสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ระหว่างประเทศ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยกรุงเทพสุวรรณภูมิ สาขาการจัดการโลจิสติกส์ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยเกริก สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์ สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ สาขาวิชาบริหารธุรกิจอุตสาหกรรมและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หลักสูตร 4 ปี ที่ศูนย์รังสิต บริหารธุรกิจระหว่างประเทศ โลจิสติกส์และการขนส่ง หลักสูตร 5 ปี ตรี-โท ที่ท่าพระจันทร์ หลักสูตรควบบริหารธุรกิจบัณฑิต (การจัดการแบบบูรณาการ) และวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารโลจิสติกส์และปฏิบัติการ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง สาขาวิชาการจัดการธุรกิจการบิน (ธุรกิจโลจิสติกส์ทางการบิน) มหาวิทยาลัยภาคกลาง สาขาการตลาดและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยรังสิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ (วิทยาเขตสะพานใหม่ , วิทยาเขตรังสิต) สาขาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง โครงการพิเศษบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการธุรกิจบริการ วิชาเอกการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ สาขาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์ สาขาการจัดการโลจิสติกส์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต สาขาการขนส่งระหว่างประเทศ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน มหาวิทยาลัยธนบุรี สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี สาขาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ สาขาการวิเคราะห์โลจิสติกส์และการจัดการซัพพลายเชน (หลักสูตรนานาชาติ) คณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยนานาชาติแสตมฟอร์ด สาขาวิชาบริหารธุรกิจ กลุ่มวิชาการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน คณะบริหารธุรกิจและการบัญชี มหาวิทยาลัยปทุมธานี สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมและโลจิสติกส์ คณะสถิติประยุกต์ (GSAS) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ คณะวิทยาการจัดการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยนครพนม สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา สาขาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ คณะเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยทักษิณ สาขาวิชาบริหารธุรกิจ คณะนิติศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น คณะนิติศาสตร์ กลุ่มวิชากฎหมายเกี่ยวกับโลจิสติกส์ คณะเทคโนโลยี วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม คณะเทคโนโลยี สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน คณะพาณิชยนาวีนานาชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา สาขาวิชาวิศวกรรมต่อเรือและเครื่องกลเรือ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การเดินเรือ สาขาวิชาการขนส่งทางทะเล คณะโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยบูรพา หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการค้าระหว่างประเทศและการจัดการโลจิสติกส์ สาขาวิชาธุรกิจพาณิชยนาวี สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมพาณิชยนาวี หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ สาขาวิชาวิทยาการเดินเรือ (5 ปี) วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยบูรพา หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ (หลักสูตรนานาชาติ) มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และการค้าชายแดน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สาขาวิชาวิศวกรรมโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม สาขาวิศวกรรมโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยศิลปากร สาขาวิศวกรรมการจัดการและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สาขาวิชาวิศวกรรมโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ-โลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ สาขาวิศวกรรมโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร สาขาโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ สาขาวิศวกรรมโลจิสติกส์ คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมอุตสาหการและโลจิสติกส์ สำนักวิชาเทคโนโลยีสังคม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการ กลุ่มวิชาเฉพาะการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ศูนย์การศึกษาจังหวัดนครปฐม หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ ใช้คะแนนอะไรบ้างในการเรียนโลจิสติกส์ แบบที่ 1 GAT + PAT1 แบบที่ 2 GAT + PAT1 + PAT2 เรียนโลจิสติกส์จบไปทำงานอะไรได้บ้าง? หลังจากเรียนจบหลักสูตรในระดับปริญญาตรีแล้ว มาถึงเส้นทางอาชีพและการทำงานบ้าง งานด้านโลจิสติกส์และซับพลายเชน ถือเป็นอีกสายงานที่ตลาดในประเทศและต่างประเทศมีความต้องการบุคลากรเพิ่มมากขึ้น เพื่อรองรับการเติบโตของภาคธุรกิจและบริการ และนี่คือสายงานและตำแหน่งที่น้อง ๆ บัณฑิตสาขานี้สามารถทำได้ ระดับปฏิบัติการ เช่น ฝ่ายจัดซื้อ ฝ่ายผลิต ฝ่ายจัดส่งและคลังสินค้า ฝ่ายควบคุมวัตถุดิบ ฝ่ายซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ฝ่ายการขนส่ง ซึ่งในประเทศไทยมีบริษัททางขนส่งสินค้ามากกว่า 500 แห่ง รวมถึงบริษัทนำเข้าส่ง-ออก ระดับบริหาร เช่น นักวิเคราะห์ด้านโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน, นักวางแผน วัตถุดิบ การผลิต หรือการกระจายสินค้า, นักวิเคราะห์กระบวนการทางธุรกิจ ประกอบธุรกิจส่วนตัว เช่น นำเข้าและส่งออก ผู้ให้บริการทางด้านโลจิสติกส์ ตัวแทนขนส่งทางบก ทางทะเล หรือทางอากาศ รับราชการ รับราชการในหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น กรมการขนส่งทางน้ำและพาณิชย์นาวี กรมประมง กรมการขนส่งทางอากาศ กรมศุลกากร และหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง งานสายวิชาการ เช่น นักวิชาการ นักวิจัย อาจารย์ในสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ หรือเรียนต่อระดับสูงขึ้น สาขาโลจิสติกส์นี้เป็นอีกหนึ่งที่มีความต้องการคนทำงานเพิ่มขึ้นทุกปี และเป็นสาขาที่กำลังมาแรงในปัจจุบัน มีหลาย ๆ มหาวิทยาลัยที่กำลังเปิดสอน สำหรับน้อง ๆ คนไหนที่ชอบในด้านนี้ เรียนจบแล้วมีงานทำรับรอง พี่ขอแนะนำสาขานี้เลย ขอบคุณข้อมูลจาก Logisticscafe.com, Admission premium และ Campus-star.com EZ Webmaster Related Posts โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนพานพิทยาคม โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนแม่ริมวิทยาคม โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสุรธรรมพิทักษ์ โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเชียงรายวิทยาคม Post navigation PREVIOUS Previous post: #รับตรง64 ม.หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ เปิดรับสมัครนศ.ป.ตรี ปี 64 แค่ยื่น GPAX พร้อมสอบสัมภาษณ์เท่านั้น!NEXT Next post: วิศวกรรมชีวการแพทย์ ม.รังสิต จับมือวิทยาลัยการอาชีพกุมภวาปี ลงนามร่วมพัฒนาหลักสูตรอาชีวศึกษาทุกระดับชั้น Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่…
รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่…
คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster September 1, 2020 EZ Webmaster September 1, 2020 รวมมหาวิทยาลัยที่เปิดสอนสาขาโลจิสติกส์ในประเทศไทย สาขาโลจิสติกส์เรียนที่ไหนดี ? มีที่ไหนเปิดสอนบ้าง ? สำหรับน้อง ๆ คนไหนที่สนใจจะเรียนต่อทางด้านนี้แต่ยังไม่รู้ว่าจะเลือกเรียนที่ไหนดี วันนี้พี่มีมหาวิทยาลัยที่เปิดสอนสาขานี้มาฝากกัน จะเป็นที่ไหนบ้าง ใช่ที่ที่น้อง ๆ หมายตาเอาไว้หรือเปล่า ตามมาดูกันได้เลย สาขาวิชาโลจิสติกส์ เกี่ยวข้องกับการจัดการระบบขนส่ง หรือการเคลื่อนย้ายสินค้าและบริการ ทั้งภาคพื้นดิน ทางเรือ และทางอากาศ แต่โลจิสติกส์ไม่ใช่แค่เรื่องของการขนส่งเท่านั้น สายงานด้านนี้ยังรวมไปถึงกระบวนการ วิธีการ การวางแผนสินค้าคงคลัง การจัดเก็บ ควบคุม การบริหารธุรกิจ รวมถึงต้องเข้าใจเกี่ยวกับการเงิน การตลาดเบื้องต้นในการทำธุรกิจอีกด้วย มหาวิทยาลัย และวิทยาลัยโลจิสติกส์ที่เปิดสาขาโลจิสติกส์ในประเทศไทย วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน มหาวิทยาลัยศรีปทุม สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน วิทยาเขตบางเขน วิทยาเขตชลบุรี วิทยาเขตขอนแก่น วิทยาลัยบริหารธุรกิจนวัตกรรมและการบัญชี (CIBA DPU) มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ สาขาวิชาการจัดการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานสมัยใหม่ หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต 4 ปี (ภาคปกติ) หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต 4 ปี (วันเสาร์-วันอาทิตย์) หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต 2 ปี (เทียบโอนภาคปกติ) หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต 2 ปี (เทียบโอน วันอาทิตย์) วิทยาลัยนวัตกรรมด้านเทคโนโลยีและวิศวกรรมศาสตร์ (CITE) มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ สาขาวิศวกรรมการจัดการและโลจิสติกส์ หลักสูตรภาคปกติ ระดับปริญญาตรี (4 ปี) สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 6 (ทุกสาย) หรือ ปวช. ทุกสาขาวิชา หลักสูตรเทียบโอน ระดับปริญญาตรี (3 ปี) สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ทุกสาขาวิชา หลักสูตรเทียบโอน ภาคพิเศษ ระดับปริญญาตรี (3 ปี) ภาค เสาร์-อาทิตย์ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ทุกสาขาวิชา หรือต้องการปริญญาใบที่สอง สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ คณะการจัดการโลจิสติกส์และการคมนาคมขนส่ง เปิดสอน 3 วิชาเอก การจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน การจัดการการคมนาคมขนส่ง การจัดการสถานีและพื้นที่ วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก คณะโลจิสติกส์และเทคโนโลยีการบิน หลักสูตรบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ (Department of Logistics Management)หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (ต่อเนื่อง) สาขาวิชาการจัดการการขนส่งสินค้าทางอากาศ (Department of Air cargo Management) คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สาขาสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ระหว่างประเทศ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยกรุงเทพสุวรรณภูมิ สาขาการจัดการโลจิสติกส์ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยเกริก สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์ สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ สาขาวิชาบริหารธุรกิจอุตสาหกรรมและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หลักสูตร 4 ปี ที่ศูนย์รังสิต บริหารธุรกิจระหว่างประเทศ โลจิสติกส์และการขนส่ง หลักสูตร 5 ปี ตรี-โท ที่ท่าพระจันทร์ หลักสูตรควบบริหารธุรกิจบัณฑิต (การจัดการแบบบูรณาการ) และวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารโลจิสติกส์และปฏิบัติการ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง สาขาวิชาการจัดการธุรกิจการบิน (ธุรกิจโลจิสติกส์ทางการบิน) มหาวิทยาลัยภาคกลาง สาขาการตลาดและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยรังสิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ (วิทยาเขตสะพานใหม่ , วิทยาเขตรังสิต) สาขาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง โครงการพิเศษบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการธุรกิจบริการ วิชาเอกการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ สาขาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์ สาขาการจัดการโลจิสติกส์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต สาขาการขนส่งระหว่างประเทศ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน มหาวิทยาลัยธนบุรี สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี สาขาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ สาขาการวิเคราะห์โลจิสติกส์และการจัดการซัพพลายเชน (หลักสูตรนานาชาติ) คณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยนานาชาติแสตมฟอร์ด สาขาวิชาบริหารธุรกิจ กลุ่มวิชาการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน คณะบริหารธุรกิจและการบัญชี มหาวิทยาลัยปทุมธานี สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมและโลจิสติกส์ คณะสถิติประยุกต์ (GSAS) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ คณะวิทยาการจัดการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยนครพนม สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา สาขาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ คณะเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยทักษิณ สาขาวิชาบริหารธุรกิจ คณะนิติศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น คณะนิติศาสตร์ กลุ่มวิชากฎหมายเกี่ยวกับโลจิสติกส์ คณะเทคโนโลยี วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม คณะเทคโนโลยี สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน คณะพาณิชยนาวีนานาชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา สาขาวิชาวิศวกรรมต่อเรือและเครื่องกลเรือ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การเดินเรือ สาขาวิชาการขนส่งทางทะเล คณะโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยบูรพา หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการค้าระหว่างประเทศและการจัดการโลจิสติกส์ สาขาวิชาธุรกิจพาณิชยนาวี สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมพาณิชยนาวี หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ สาขาวิชาวิทยาการเดินเรือ (5 ปี) วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยบูรพา หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ (หลักสูตรนานาชาติ) มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และการค้าชายแดน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สาขาวิชาวิศวกรรมโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม สาขาวิศวกรรมโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยศิลปากร สาขาวิศวกรรมการจัดการและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สาขาวิชาวิศวกรรมโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ-โลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ สาขาวิศวกรรมโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร สาขาโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ สาขาวิศวกรรมโลจิสติกส์ คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมอุตสาหการและโลจิสติกส์ สำนักวิชาเทคโนโลยีสังคม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการ กลุ่มวิชาเฉพาะการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ศูนย์การศึกษาจังหวัดนครปฐม หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ ใช้คะแนนอะไรบ้างในการเรียนโลจิสติกส์ แบบที่ 1 GAT + PAT1 แบบที่ 2 GAT + PAT1 + PAT2 เรียนโลจิสติกส์จบไปทำงานอะไรได้บ้าง? หลังจากเรียนจบหลักสูตรในระดับปริญญาตรีแล้ว มาถึงเส้นทางอาชีพและการทำงานบ้าง งานด้านโลจิสติกส์และซับพลายเชน ถือเป็นอีกสายงานที่ตลาดในประเทศและต่างประเทศมีความต้องการบุคลากรเพิ่มมากขึ้น เพื่อรองรับการเติบโตของภาคธุรกิจและบริการ และนี่คือสายงานและตำแหน่งที่น้อง ๆ บัณฑิตสาขานี้สามารถทำได้ ระดับปฏิบัติการ เช่น ฝ่ายจัดซื้อ ฝ่ายผลิต ฝ่ายจัดส่งและคลังสินค้า ฝ่ายควบคุมวัตถุดิบ ฝ่ายซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ฝ่ายการขนส่ง ซึ่งในประเทศไทยมีบริษัททางขนส่งสินค้ามากกว่า 500 แห่ง รวมถึงบริษัทนำเข้าส่ง-ออก ระดับบริหาร เช่น นักวิเคราะห์ด้านโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน, นักวางแผน วัตถุดิบ การผลิต หรือการกระจายสินค้า, นักวิเคราะห์กระบวนการทางธุรกิจ ประกอบธุรกิจส่วนตัว เช่น นำเข้าและส่งออก ผู้ให้บริการทางด้านโลจิสติกส์ ตัวแทนขนส่งทางบก ทางทะเล หรือทางอากาศ รับราชการ รับราชการในหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น กรมการขนส่งทางน้ำและพาณิชย์นาวี กรมประมง กรมการขนส่งทางอากาศ กรมศุลกากร และหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง งานสายวิชาการ เช่น นักวิชาการ นักวิจัย อาจารย์ในสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ หรือเรียนต่อระดับสูงขึ้น สาขาโลจิสติกส์นี้เป็นอีกหนึ่งที่มีความต้องการคนทำงานเพิ่มขึ้นทุกปี และเป็นสาขาที่กำลังมาแรงในปัจจุบัน มีหลาย ๆ มหาวิทยาลัยที่กำลังเปิดสอน สำหรับน้อง ๆ คนไหนที่ชอบในด้านนี้ เรียนจบแล้วมีงานทำรับรอง พี่ขอแนะนำสาขานี้เลย ขอบคุณข้อมูลจาก Logisticscafe.com, Admission premium และ Campus-star.com EZ Webmaster Related Posts โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนพานพิทยาคม โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนแม่ริมวิทยาคม โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสุรธรรมพิทักษ์ โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเชียงรายวิทยาคม Post navigation PREVIOUS Previous post: #รับตรง64 ม.หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ เปิดรับสมัครนศ.ป.ตรี ปี 64 แค่ยื่น GPAX พร้อมสอบสัมภาษณ์เท่านั้น!NEXT Next post: วิศวกรรมชีวการแพทย์ ม.รังสิต จับมือวิทยาลัยการอาชีพกุมภวาปี ลงนามร่วมพัฒนาหลักสูตรอาชีวศึกษาทุกระดับชั้น Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster September 1, 2020 EZ Webmaster September 1, 2020 รวมมหาวิทยาลัยที่เปิดสอนสาขาโลจิสติกส์ในประเทศไทย สาขาโลจิสติกส์เรียนที่ไหนดี ? มีที่ไหนเปิดสอนบ้าง ? สำหรับน้อง ๆ คนไหนที่สนใจจะเรียนต่อทางด้านนี้แต่ยังไม่รู้ว่าจะเลือกเรียนที่ไหนดี วันนี้พี่มีมหาวิทยาลัยที่เปิดสอนสาขานี้มาฝากกัน จะเป็นที่ไหนบ้าง ใช่ที่ที่น้อง ๆ หมายตาเอาไว้หรือเปล่า ตามมาดูกันได้เลย สาขาวิชาโลจิสติกส์ เกี่ยวข้องกับการจัดการระบบขนส่ง หรือการเคลื่อนย้ายสินค้าและบริการ ทั้งภาคพื้นดิน ทางเรือ และทางอากาศ แต่โลจิสติกส์ไม่ใช่แค่เรื่องของการขนส่งเท่านั้น สายงานด้านนี้ยังรวมไปถึงกระบวนการ วิธีการ การวางแผนสินค้าคงคลัง การจัดเก็บ ควบคุม การบริหารธุรกิจ รวมถึงต้องเข้าใจเกี่ยวกับการเงิน การตลาดเบื้องต้นในการทำธุรกิจอีกด้วย มหาวิทยาลัย และวิทยาลัยโลจิสติกส์ที่เปิดสาขาโลจิสติกส์ในประเทศไทย วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน มหาวิทยาลัยศรีปทุม สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน วิทยาเขตบางเขน วิทยาเขตชลบุรี วิทยาเขตขอนแก่น วิทยาลัยบริหารธุรกิจนวัตกรรมและการบัญชี (CIBA DPU) มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ สาขาวิชาการจัดการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานสมัยใหม่ หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต 4 ปี (ภาคปกติ) หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต 4 ปี (วันเสาร์-วันอาทิตย์) หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต 2 ปี (เทียบโอนภาคปกติ) หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต 2 ปี (เทียบโอน วันอาทิตย์) วิทยาลัยนวัตกรรมด้านเทคโนโลยีและวิศวกรรมศาสตร์ (CITE) มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ สาขาวิศวกรรมการจัดการและโลจิสติกส์ หลักสูตรภาคปกติ ระดับปริญญาตรี (4 ปี) สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 6 (ทุกสาย) หรือ ปวช. ทุกสาขาวิชา หลักสูตรเทียบโอน ระดับปริญญาตรี (3 ปี) สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ทุกสาขาวิชา หลักสูตรเทียบโอน ภาคพิเศษ ระดับปริญญาตรี (3 ปี) ภาค เสาร์-อาทิตย์ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ทุกสาขาวิชา หรือต้องการปริญญาใบที่สอง สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ คณะการจัดการโลจิสติกส์และการคมนาคมขนส่ง เปิดสอน 3 วิชาเอก การจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน การจัดการการคมนาคมขนส่ง การจัดการสถานีและพื้นที่ วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก คณะโลจิสติกส์และเทคโนโลยีการบิน หลักสูตรบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ (Department of Logistics Management)หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (ต่อเนื่อง) สาขาวิชาการจัดการการขนส่งสินค้าทางอากาศ (Department of Air cargo Management) คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สาขาสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ระหว่างประเทศ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยกรุงเทพสุวรรณภูมิ สาขาการจัดการโลจิสติกส์ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยเกริก สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์ สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ สาขาวิชาบริหารธุรกิจอุตสาหกรรมและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หลักสูตร 4 ปี ที่ศูนย์รังสิต บริหารธุรกิจระหว่างประเทศ โลจิสติกส์และการขนส่ง หลักสูตร 5 ปี ตรี-โท ที่ท่าพระจันทร์ หลักสูตรควบบริหารธุรกิจบัณฑิต (การจัดการแบบบูรณาการ) และวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารโลจิสติกส์และปฏิบัติการ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง สาขาวิชาการจัดการธุรกิจการบิน (ธุรกิจโลจิสติกส์ทางการบิน) มหาวิทยาลัยภาคกลาง สาขาการตลาดและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยรังสิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ (วิทยาเขตสะพานใหม่ , วิทยาเขตรังสิต) สาขาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง โครงการพิเศษบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการธุรกิจบริการ วิชาเอกการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ สาขาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์ สาขาการจัดการโลจิสติกส์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต สาขาการขนส่งระหว่างประเทศ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน มหาวิทยาลัยธนบุรี สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี สาขาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ สาขาการวิเคราะห์โลจิสติกส์และการจัดการซัพพลายเชน (หลักสูตรนานาชาติ) คณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยนานาชาติแสตมฟอร์ด สาขาวิชาบริหารธุรกิจ กลุ่มวิชาการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน คณะบริหารธุรกิจและการบัญชี มหาวิทยาลัยปทุมธานี สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมและโลจิสติกส์ คณะสถิติประยุกต์ (GSAS) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ คณะวิทยาการจัดการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยนครพนม สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา สาขาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ คณะเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยทักษิณ สาขาวิชาบริหารธุรกิจ คณะนิติศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น คณะนิติศาสตร์ กลุ่มวิชากฎหมายเกี่ยวกับโลจิสติกส์ คณะเทคโนโลยี วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม คณะเทคโนโลยี สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน คณะพาณิชยนาวีนานาชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา สาขาวิชาวิศวกรรมต่อเรือและเครื่องกลเรือ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การเดินเรือ สาขาวิชาการขนส่งทางทะเล คณะโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยบูรพา หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการค้าระหว่างประเทศและการจัดการโลจิสติกส์ สาขาวิชาธุรกิจพาณิชยนาวี สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมพาณิชยนาวี หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ สาขาวิชาวิทยาการเดินเรือ (5 ปี) วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยบูรพา หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ (หลักสูตรนานาชาติ) มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และการค้าชายแดน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สาขาวิชาวิศวกรรมโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม สาขาวิศวกรรมโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยศิลปากร สาขาวิศวกรรมการจัดการและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สาขาวิชาวิศวกรรมโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ-โลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ สาขาวิศวกรรมโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร สาขาโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ สาขาวิศวกรรมโลจิสติกส์ คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมอุตสาหการและโลจิสติกส์ สำนักวิชาเทคโนโลยีสังคม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการ กลุ่มวิชาเฉพาะการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ศูนย์การศึกษาจังหวัดนครปฐม หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ ใช้คะแนนอะไรบ้างในการเรียนโลจิสติกส์ แบบที่ 1 GAT + PAT1 แบบที่ 2 GAT + PAT1 + PAT2 เรียนโลจิสติกส์จบไปทำงานอะไรได้บ้าง? หลังจากเรียนจบหลักสูตรในระดับปริญญาตรีแล้ว มาถึงเส้นทางอาชีพและการทำงานบ้าง งานด้านโลจิสติกส์และซับพลายเชน ถือเป็นอีกสายงานที่ตลาดในประเทศและต่างประเทศมีความต้องการบุคลากรเพิ่มมากขึ้น เพื่อรองรับการเติบโตของภาคธุรกิจและบริการ และนี่คือสายงานและตำแหน่งที่น้อง ๆ บัณฑิตสาขานี้สามารถทำได้ ระดับปฏิบัติการ เช่น ฝ่ายจัดซื้อ ฝ่ายผลิต ฝ่ายจัดส่งและคลังสินค้า ฝ่ายควบคุมวัตถุดิบ ฝ่ายซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ฝ่ายการขนส่ง ซึ่งในประเทศไทยมีบริษัททางขนส่งสินค้ามากกว่า 500 แห่ง รวมถึงบริษัทนำเข้าส่ง-ออก ระดับบริหาร เช่น นักวิเคราะห์ด้านโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน, นักวางแผน วัตถุดิบ การผลิต หรือการกระจายสินค้า, นักวิเคราะห์กระบวนการทางธุรกิจ ประกอบธุรกิจส่วนตัว เช่น นำเข้าและส่งออก ผู้ให้บริการทางด้านโลจิสติกส์ ตัวแทนขนส่งทางบก ทางทะเล หรือทางอากาศ รับราชการ รับราชการในหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น กรมการขนส่งทางน้ำและพาณิชย์นาวี กรมประมง กรมการขนส่งทางอากาศ กรมศุลกากร และหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง งานสายวิชาการ เช่น นักวิชาการ นักวิจัย อาจารย์ในสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ หรือเรียนต่อระดับสูงขึ้น สาขาโลจิสติกส์นี้เป็นอีกหนึ่งที่มีความต้องการคนทำงานเพิ่มขึ้นทุกปี และเป็นสาขาที่กำลังมาแรงในปัจจุบัน มีหลาย ๆ มหาวิทยาลัยที่กำลังเปิดสอน สำหรับน้อง ๆ คนไหนที่ชอบในด้านนี้ เรียนจบแล้วมีงานทำรับรอง พี่ขอแนะนำสาขานี้เลย ขอบคุณข้อมูลจาก Logisticscafe.com, Admission premium และ Campus-star.com EZ Webmaster Related Posts โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนพานพิทยาคม โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนแม่ริมวิทยาคม โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสุรธรรมพิทักษ์ โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเชียงรายวิทยาคม Post navigation PREVIOUS Previous post: #รับตรง64 ม.หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ เปิดรับสมัครนศ.ป.ตรี ปี 64 แค่ยื่น GPAX พร้อมสอบสัมภาษณ์เท่านั้น!NEXT Next post: วิศวกรรมชีวการแพทย์ ม.รังสิต จับมือวิทยาลัยการอาชีพกุมภวาปี ลงนามร่วมพัฒนาหลักสูตรอาชีวศึกษาทุกระดับชั้น Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief…
เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief…
“40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster September 1, 2020 EZ Webmaster September 1, 2020 รวมมหาวิทยาลัยที่เปิดสอนสาขาโลจิสติกส์ในประเทศไทย สาขาโลจิสติกส์เรียนที่ไหนดี ? มีที่ไหนเปิดสอนบ้าง ? สำหรับน้อง ๆ คนไหนที่สนใจจะเรียนต่อทางด้านนี้แต่ยังไม่รู้ว่าจะเลือกเรียนที่ไหนดี วันนี้พี่มีมหาวิทยาลัยที่เปิดสอนสาขานี้มาฝากกัน จะเป็นที่ไหนบ้าง ใช่ที่ที่น้อง ๆ หมายตาเอาไว้หรือเปล่า ตามมาดูกันได้เลย สาขาวิชาโลจิสติกส์ เกี่ยวข้องกับการจัดการระบบขนส่ง หรือการเคลื่อนย้ายสินค้าและบริการ ทั้งภาคพื้นดิน ทางเรือ และทางอากาศ แต่โลจิสติกส์ไม่ใช่แค่เรื่องของการขนส่งเท่านั้น สายงานด้านนี้ยังรวมไปถึงกระบวนการ วิธีการ การวางแผนสินค้าคงคลัง การจัดเก็บ ควบคุม การบริหารธุรกิจ รวมถึงต้องเข้าใจเกี่ยวกับการเงิน การตลาดเบื้องต้นในการทำธุรกิจอีกด้วย มหาวิทยาลัย และวิทยาลัยโลจิสติกส์ที่เปิดสาขาโลจิสติกส์ในประเทศไทย วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน มหาวิทยาลัยศรีปทุม สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน วิทยาเขตบางเขน วิทยาเขตชลบุรี วิทยาเขตขอนแก่น วิทยาลัยบริหารธุรกิจนวัตกรรมและการบัญชี (CIBA DPU) มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ สาขาวิชาการจัดการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานสมัยใหม่ หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต 4 ปี (ภาคปกติ) หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต 4 ปี (วันเสาร์-วันอาทิตย์) หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต 2 ปี (เทียบโอนภาคปกติ) หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต 2 ปี (เทียบโอน วันอาทิตย์) วิทยาลัยนวัตกรรมด้านเทคโนโลยีและวิศวกรรมศาสตร์ (CITE) มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ สาขาวิศวกรรมการจัดการและโลจิสติกส์ หลักสูตรภาคปกติ ระดับปริญญาตรี (4 ปี) สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 6 (ทุกสาย) หรือ ปวช. ทุกสาขาวิชา หลักสูตรเทียบโอน ระดับปริญญาตรี (3 ปี) สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ทุกสาขาวิชา หลักสูตรเทียบโอน ภาคพิเศษ ระดับปริญญาตรี (3 ปี) ภาค เสาร์-อาทิตย์ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ทุกสาขาวิชา หรือต้องการปริญญาใบที่สอง สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ คณะการจัดการโลจิสติกส์และการคมนาคมขนส่ง เปิดสอน 3 วิชาเอก การจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน การจัดการการคมนาคมขนส่ง การจัดการสถานีและพื้นที่ วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก คณะโลจิสติกส์และเทคโนโลยีการบิน หลักสูตรบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ (Department of Logistics Management)หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (ต่อเนื่อง) สาขาวิชาการจัดการการขนส่งสินค้าทางอากาศ (Department of Air cargo Management) คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สาขาสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ระหว่างประเทศ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยกรุงเทพสุวรรณภูมิ สาขาการจัดการโลจิสติกส์ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยเกริก สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์ สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ สาขาวิชาบริหารธุรกิจอุตสาหกรรมและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หลักสูตร 4 ปี ที่ศูนย์รังสิต บริหารธุรกิจระหว่างประเทศ โลจิสติกส์และการขนส่ง หลักสูตร 5 ปี ตรี-โท ที่ท่าพระจันทร์ หลักสูตรควบบริหารธุรกิจบัณฑิต (การจัดการแบบบูรณาการ) และวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารโลจิสติกส์และปฏิบัติการ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง สาขาวิชาการจัดการธุรกิจการบิน (ธุรกิจโลจิสติกส์ทางการบิน) มหาวิทยาลัยภาคกลาง สาขาการตลาดและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยรังสิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ (วิทยาเขตสะพานใหม่ , วิทยาเขตรังสิต) สาขาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง โครงการพิเศษบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการธุรกิจบริการ วิชาเอกการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ สาขาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์ สาขาการจัดการโลจิสติกส์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต สาขาการขนส่งระหว่างประเทศ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน มหาวิทยาลัยธนบุรี สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี สาขาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ สาขาการวิเคราะห์โลจิสติกส์และการจัดการซัพพลายเชน (หลักสูตรนานาชาติ) คณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยนานาชาติแสตมฟอร์ด สาขาวิชาบริหารธุรกิจ กลุ่มวิชาการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน คณะบริหารธุรกิจและการบัญชี มหาวิทยาลัยปทุมธานี สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมและโลจิสติกส์ คณะสถิติประยุกต์ (GSAS) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ คณะวิทยาการจัดการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยนครพนม สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา สาขาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ คณะเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยทักษิณ สาขาวิชาบริหารธุรกิจ คณะนิติศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น คณะนิติศาสตร์ กลุ่มวิชากฎหมายเกี่ยวกับโลจิสติกส์ คณะเทคโนโลยี วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม คณะเทคโนโลยี สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน คณะพาณิชยนาวีนานาชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา สาขาวิชาวิศวกรรมต่อเรือและเครื่องกลเรือ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การเดินเรือ สาขาวิชาการขนส่งทางทะเล คณะโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยบูรพา หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการค้าระหว่างประเทศและการจัดการโลจิสติกส์ สาขาวิชาธุรกิจพาณิชยนาวี สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมพาณิชยนาวี หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ สาขาวิชาวิทยาการเดินเรือ (5 ปี) วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยบูรพา หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ (หลักสูตรนานาชาติ) มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และการค้าชายแดน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สาขาวิชาวิศวกรรมโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม สาขาวิศวกรรมโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยศิลปากร สาขาวิศวกรรมการจัดการและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สาขาวิชาวิศวกรรมโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ-โลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ สาขาวิศวกรรมโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร สาขาโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ สาขาวิศวกรรมโลจิสติกส์ คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมอุตสาหการและโลจิสติกส์ สำนักวิชาเทคโนโลยีสังคม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการ กลุ่มวิชาเฉพาะการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ศูนย์การศึกษาจังหวัดนครปฐม หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ ใช้คะแนนอะไรบ้างในการเรียนโลจิสติกส์ แบบที่ 1 GAT + PAT1 แบบที่ 2 GAT + PAT1 + PAT2 เรียนโลจิสติกส์จบไปทำงานอะไรได้บ้าง? หลังจากเรียนจบหลักสูตรในระดับปริญญาตรีแล้ว มาถึงเส้นทางอาชีพและการทำงานบ้าง งานด้านโลจิสติกส์และซับพลายเชน ถือเป็นอีกสายงานที่ตลาดในประเทศและต่างประเทศมีความต้องการบุคลากรเพิ่มมากขึ้น เพื่อรองรับการเติบโตของภาคธุรกิจและบริการ และนี่คือสายงานและตำแหน่งที่น้อง ๆ บัณฑิตสาขานี้สามารถทำได้ ระดับปฏิบัติการ เช่น ฝ่ายจัดซื้อ ฝ่ายผลิต ฝ่ายจัดส่งและคลังสินค้า ฝ่ายควบคุมวัตถุดิบ ฝ่ายซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ฝ่ายการขนส่ง ซึ่งในประเทศไทยมีบริษัททางขนส่งสินค้ามากกว่า 500 แห่ง รวมถึงบริษัทนำเข้าส่ง-ออก ระดับบริหาร เช่น นักวิเคราะห์ด้านโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน, นักวางแผน วัตถุดิบ การผลิต หรือการกระจายสินค้า, นักวิเคราะห์กระบวนการทางธุรกิจ ประกอบธุรกิจส่วนตัว เช่น นำเข้าและส่งออก ผู้ให้บริการทางด้านโลจิสติกส์ ตัวแทนขนส่งทางบก ทางทะเล หรือทางอากาศ รับราชการ รับราชการในหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น กรมการขนส่งทางน้ำและพาณิชย์นาวี กรมประมง กรมการขนส่งทางอากาศ กรมศุลกากร และหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง งานสายวิชาการ เช่น นักวิชาการ นักวิจัย อาจารย์ในสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ หรือเรียนต่อระดับสูงขึ้น สาขาโลจิสติกส์นี้เป็นอีกหนึ่งที่มีความต้องการคนทำงานเพิ่มขึ้นทุกปี และเป็นสาขาที่กำลังมาแรงในปัจจุบัน มีหลาย ๆ มหาวิทยาลัยที่กำลังเปิดสอน สำหรับน้อง ๆ คนไหนที่ชอบในด้านนี้ เรียนจบแล้วมีงานทำรับรอง พี่ขอแนะนำสาขานี้เลย ขอบคุณข้อมูลจาก Logisticscafe.com, Admission premium และ Campus-star.com EZ Webmaster Related Posts โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนพานพิทยาคม โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนแม่ริมวิทยาคม โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสุรธรรมพิทักษ์ โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเชียงรายวิทยาคม Post navigation PREVIOUS Previous post: #รับตรง64 ม.หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ เปิดรับสมัครนศ.ป.ตรี ปี 64 แค่ยื่น GPAX พร้อมสอบสัมภาษณ์เท่านั้น!NEXT Next post: วิศวกรรมชีวการแพทย์ ม.รังสิต จับมือวิทยาลัยการอาชีพกุมภวาปี ลงนามร่วมพัฒนาหลักสูตรอาชีวศึกษาทุกระดับชั้น Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search
ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน…
สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน…
EZ Webmaster September 1, 2020 EZ Webmaster September 1, 2020 รวมมหาวิทยาลัยที่เปิดสอนสาขาโลจิสติกส์ในประเทศไทย สาขาโลจิสติกส์เรียนที่ไหนดี ? มีที่ไหนเปิดสอนบ้าง ? สำหรับน้อง ๆ คนไหนที่สนใจจะเรียนต่อทางด้านนี้แต่ยังไม่รู้ว่าจะเลือกเรียนที่ไหนดี วันนี้พี่มีมหาวิทยาลัยที่เปิดสอนสาขานี้มาฝากกัน จะเป็นที่ไหนบ้าง ใช่ที่ที่น้อง ๆ หมายตาเอาไว้หรือเปล่า ตามมาดูกันได้เลย สาขาวิชาโลจิสติกส์ เกี่ยวข้องกับการจัดการระบบขนส่ง หรือการเคลื่อนย้ายสินค้าและบริการ ทั้งภาคพื้นดิน ทางเรือ และทางอากาศ แต่โลจิสติกส์ไม่ใช่แค่เรื่องของการขนส่งเท่านั้น สายงานด้านนี้ยังรวมไปถึงกระบวนการ วิธีการ การวางแผนสินค้าคงคลัง การจัดเก็บ ควบคุม การบริหารธุรกิจ รวมถึงต้องเข้าใจเกี่ยวกับการเงิน การตลาดเบื้องต้นในการทำธุรกิจอีกด้วย มหาวิทยาลัย และวิทยาลัยโลจิสติกส์ที่เปิดสาขาโลจิสติกส์ในประเทศไทย วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน มหาวิทยาลัยศรีปทุม สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน วิทยาเขตบางเขน วิทยาเขตชลบุรี วิทยาเขตขอนแก่น วิทยาลัยบริหารธุรกิจนวัตกรรมและการบัญชี (CIBA DPU) มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ สาขาวิชาการจัดการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานสมัยใหม่ หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต 4 ปี (ภาคปกติ) หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต 4 ปี (วันเสาร์-วันอาทิตย์) หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต 2 ปี (เทียบโอนภาคปกติ) หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต 2 ปี (เทียบโอน วันอาทิตย์) วิทยาลัยนวัตกรรมด้านเทคโนโลยีและวิศวกรรมศาสตร์ (CITE) มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ สาขาวิศวกรรมการจัดการและโลจิสติกส์ หลักสูตรภาคปกติ ระดับปริญญาตรี (4 ปี) สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 6 (ทุกสาย) หรือ ปวช. ทุกสาขาวิชา หลักสูตรเทียบโอน ระดับปริญญาตรี (3 ปี) สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ทุกสาขาวิชา หลักสูตรเทียบโอน ภาคพิเศษ ระดับปริญญาตรี (3 ปี) ภาค เสาร์-อาทิตย์ สำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ทุกสาขาวิชา หรือต้องการปริญญาใบที่สอง สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ คณะการจัดการโลจิสติกส์และการคมนาคมขนส่ง เปิดสอน 3 วิชาเอก การจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน การจัดการการคมนาคมขนส่ง การจัดการสถานีและพื้นที่ วิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก คณะโลจิสติกส์และเทคโนโลยีการบิน หลักสูตรบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ (Department of Logistics Management)หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต (ต่อเนื่อง) สาขาวิชาการจัดการการขนส่งสินค้าทางอากาศ (Department of Air cargo Management) คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สาขาสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ระหว่างประเทศ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยกรุงเทพสุวรรณภูมิ สาขาการจัดการโลจิสติกส์ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยเกริก สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์ สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ สาขาวิชาบริหารธุรกิจอุตสาหกรรมและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หลักสูตร 4 ปี ที่ศูนย์รังสิต บริหารธุรกิจระหว่างประเทศ โลจิสติกส์และการขนส่ง หลักสูตร 5 ปี ตรี-โท ที่ท่าพระจันทร์ หลักสูตรควบบริหารธุรกิจบัณฑิต (การจัดการแบบบูรณาการ) และวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารโลจิสติกส์และปฏิบัติการ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง สาขาวิชาการจัดการธุรกิจการบิน (ธุรกิจโลจิสติกส์ทางการบิน) มหาวิทยาลัยภาคกลาง สาขาการตลาดและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยรังสิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ (วิทยาเขตสะพานใหม่ , วิทยาเขตรังสิต) สาขาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง โครงการพิเศษบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการธุรกิจบริการ วิชาเอกการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ สาขาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์ สาขาการจัดการโลจิสติกส์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต สาขาการขนส่งระหว่างประเทศ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน มหาวิทยาลัยธนบุรี สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี สาขาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ สาขาการวิเคราะห์โลจิสติกส์และการจัดการซัพพลายเชน (หลักสูตรนานาชาติ) คณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยนานาชาติแสตมฟอร์ด สาขาวิชาบริหารธุรกิจ กลุ่มวิชาการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน คณะบริหารธุรกิจและการบัญชี มหาวิทยาลัยปทุมธานี สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมและโลจิสติกส์ คณะสถิติประยุกต์ (GSAS) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ คณะวิทยาการจัดการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยนครพนม สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา สาขาการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ คณะเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยทักษิณ สาขาวิชาบริหารธุรกิจ คณะนิติศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น คณะนิติศาสตร์ กลุ่มวิชากฎหมายเกี่ยวกับโลจิสติกส์ คณะเทคโนโลยี วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม คณะเทคโนโลยี สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน คณะพาณิชยนาวีนานาชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา สาขาวิชาวิศวกรรมต่อเรือและเครื่องกลเรือ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การเดินเรือ สาขาวิชาการขนส่งทางทะเล คณะโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยบูรพา หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการค้าระหว่างประเทศและการจัดการโลจิสติกส์ สาขาวิชาธุรกิจพาณิชยนาวี สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมพาณิชยนาวี หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ สาขาวิชาวิทยาการเดินเรือ (5 ปี) วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยบูรพา หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ (หลักสูตรนานาชาติ) มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และการค้าชายแดน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สาขาวิชาวิศวกรรมโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม สาขาวิศวกรรมโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยศิลปากร สาขาวิศวกรรมการจัดการและโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สาขาวิชาวิศวกรรมโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ-โลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ สาขาวิศวกรรมโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร สาขาโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ สาขาวิศวกรรมโลจิสติกส์ คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมอุตสาหการและโลจิสติกส์ สำนักวิชาเทคโนโลยีสังคม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการ กลุ่มวิชาเฉพาะการจัดการโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ศูนย์การศึกษาจังหวัดนครปฐม หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ ใช้คะแนนอะไรบ้างในการเรียนโลจิสติกส์ แบบที่ 1 GAT + PAT1 แบบที่ 2 GAT + PAT1 + PAT2 เรียนโลจิสติกส์จบไปทำงานอะไรได้บ้าง? หลังจากเรียนจบหลักสูตรในระดับปริญญาตรีแล้ว มาถึงเส้นทางอาชีพและการทำงานบ้าง งานด้านโลจิสติกส์และซับพลายเชน ถือเป็นอีกสายงานที่ตลาดในประเทศและต่างประเทศมีความต้องการบุคลากรเพิ่มมากขึ้น เพื่อรองรับการเติบโตของภาคธุรกิจและบริการ และนี่คือสายงานและตำแหน่งที่น้อง ๆ บัณฑิตสาขานี้สามารถทำได้ ระดับปฏิบัติการ เช่น ฝ่ายจัดซื้อ ฝ่ายผลิต ฝ่ายจัดส่งและคลังสินค้า ฝ่ายควบคุมวัตถุดิบ ฝ่ายซัพพลายเชนและโลจิสติกส์ ฝ่ายการขนส่ง ซึ่งในประเทศไทยมีบริษัททางขนส่งสินค้ามากกว่า 500 แห่ง รวมถึงบริษัทนำเข้าส่ง-ออก ระดับบริหาร เช่น นักวิเคราะห์ด้านโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน, นักวางแผน วัตถุดิบ การผลิต หรือการกระจายสินค้า, นักวิเคราะห์กระบวนการทางธุรกิจ ประกอบธุรกิจส่วนตัว เช่น นำเข้าและส่งออก ผู้ให้บริการทางด้านโลจิสติกส์ ตัวแทนขนส่งทางบก ทางทะเล หรือทางอากาศ รับราชการ รับราชการในหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น กรมการขนส่งทางน้ำและพาณิชย์นาวี กรมประมง กรมการขนส่งทางอากาศ กรมศุลกากร และหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง งานสายวิชาการ เช่น นักวิชาการ นักวิจัย อาจารย์ในสาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ หรือเรียนต่อระดับสูงขึ้น สาขาโลจิสติกส์นี้เป็นอีกหนึ่งที่มีความต้องการคนทำงานเพิ่มขึ้นทุกปี และเป็นสาขาที่กำลังมาแรงในปัจจุบัน มีหลาย ๆ มหาวิทยาลัยที่กำลังเปิดสอน สำหรับน้อง ๆ คนไหนที่ชอบในด้านนี้ เรียนจบแล้วมีงานทำรับรอง พี่ขอแนะนำสาขานี้เลย ขอบคุณข้อมูลจาก Logisticscafe.com, Admission premium และ Campus-star.com