โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนประจวบวิทยาลัย EZ WebmasterJune 20, 2025 วันนี้ทั้งเล่น ทั้งได้ความรู้ ทั้งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนประจวบวิทยาลัย จ.ประจวบคีรีขันธ์ วันที่20/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสามร้อยยอดวิทยาคม EZ WebmasterJune 20, 2025 กิจกรรมสร้างสรรค์ ความสุขเล็กๆ ที่ยิ่งสนุกสนาน โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนสามร้อยยอดวิทยาคม จ.ประจวบคีรีขันธ์ วันที่20/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศ EZ WebmasterJune 20, 2025 มาทำให้วันธรรมดา กลายเป็นวันพิเศษกันเถอะ! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศ จ.เพชรบุรี วันที่20/06/68 โดยวิทยากร อ.ธารา อิสสระ (พี่แฮนด์… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนรัตนราษฎร์บำรุง EZ WebmasterJune 20, 2025 สร้างความสุข สร้างความทรงจำดีๆ ให้เด็กๆ ทุกคน โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนรัตนราษฎร์บำรุง จ.ราชบุรี วันที่19/06/68 โดยวิทยากร อ.ธารา… นักศึกษา โรงเรียนปลอดมือถือ! อังกฤษ-ออสเตรเลียเริ่มแล้ว ดึงเด็กกลับมาสนใจครูในห้องเรียน EZ WebmasterJune 20, 2025 วันที่ 10 มิถุนายน 2568 – ในช่วงหลายเดือนที่ผ่านมา แวดวงการศึกษาในประเทศพัฒนาแล้วต่างให้ความสนใจประเด็น “โรงเรียนปลอดโทรศัพท์มือถือ (Phone-Free School)” อย่างจริงจัง ล่าสุดมีความเคลื่อนไหวชัดเจนจาก ประเทศอังกฤษและออสเตรเลีย ที่เริ่มนำร่องมาตรการควบคุมการใช้อุปกรณ์ดิจิทัลในโรงเรียนระดับมัธยมอย่างเข้มงวด จากรายงานของ สำนักข่าว BBC ระบุว่า… มธ. ปักหมุดหลักสูตร ‘AI Ethics’ หนุนบริบทใหม่ของห้องเรียนทันโลก สร้างจุดยืนคนรุ่นใหม่ ‘ใช้เอไออย่างมีจริยธรรม’ พร้อมเดินหน้าวางหมุดหมายระบบการศึกษาไทย กับการปลุกการใช้เทคฯ คู่ธรรมาภิบาล คาดเริ่มเปิดลงทะเบียนพร้อมเรียนจริง สิงหาคม 68 นี้ EZ WebmasterJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) ตอกย้ำจุดยืนเชิงรุกต่อการเปลี่ยนผ่านของโลกยุคดิจิทัล ผ่านการพัฒนาหลักสูตร “AI Ethics” หรือจริยธรรมปัญญาประดิษฐ์ ภายใต้ยุทธศาสตร์ Thammasat Next Century เตรียมความพร้อมให้เยาวชนไทยมีทั้งความรู้ ความสามารถ และความรับผิดชอบในการใช้งานเทคโนโลยีอย่างเหมาะสม โดยเฉพาะในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อที่ปัญญาประดิษฐ์กำลังกลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวัน ทั้งในห้องเรียน ที่ทำงาน และบนแพลตฟอร์มออนไลน์ต่าง ๆ โดยหลักสูตรนี้ถูกวางให้เป็นรากฐานสำคัญของระบบการศึกษายุคใหม่ ที่ไม่เพียงเน้นทักษะด้านเทคนิคเท่านั้น แต่ยังปลูกฝังค่านิยมที่ถูกต้องในการอยู่ร่วมกับเทคโนโลยี พร้อมชี้ให้เห็นถึงความเสี่ยงของ AI ที่เกิดจาก… 11 สาเหตุลึกซึ้ง ทำไมการศึกษาไทยยังตกต่ำ? เสียงสะท้อนจากครูชนบท สู่คำถามใหญ่ของสังคม EZ WebmasterJune 19, 2025 ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ประเทศไทยกำลังเผชิญกับวิกฤตคุณภาพทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง แม้จะมีความพยายามปฏิรูปหลายครั้ง แต่กลับไม่สามารถยกระดับการเรียนรู้ให้เทียบเท่าประเทศเพื่อนบ้านได้อย่างแท้จริงนายสานิตย์ พลศรี นายกสมาคมครูชนบทจังหวัดชัยภูมิ ในหัวข้อ “สาเหตุของปัญหาคุณภาพด้านการศึกษาประเทศไทยที่ตกต่ำ” ซึ่งกำลังถูกส่งต่ออย่างกว้างขวางในโซเชียลมีเดียและกลุ่มไลน์ของคนในแวดวงการศึกษาเสียงสะท้อนจากผู้ที่อยู่ในภาคสนามจริงอย่างนายสานิตย์ ทำให้เราได้เห็นภาพที่ชัดเจนมากขึ้นว่า ปัญหาไม่ได้อยู่ที่ตัวนักเรียนหรือครูเพียงลำพัง แต่เป็นผลสะสมจากโครงสร้าง ระบบ และการบริหารที่ผิดทิศผิดทางมานานจึงเป็นการเปิดประเด็นให้สังคมได้ทบทวนร่วมกันว่า หากเราไม่เริ่ม “เปลี่ยนจริง” คุณภาพการศึกษาของไทยอาจยิ่งตกต่ำลงกว่าที่เป็นอยู่ 11… ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา EZ WebmasterJune 18, 2025 วิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิทักษ์ ธรรมวาริน (คนที่ 4 จากซ้าย) คณบดีวิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สจล. และ Mr. Alfonso Martin (คนที่ 3… ทุนดีดี ทุนImperial Athletes Sport InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 20, 2025 Imperial College London เสนอทุนการศึกษา Imperial Athletes Sport เพื่อสนับสนุนนักกีฬาที่มีพรสวรรค์สำหรับปีการศึกษา 2025/2026 โดยเปิดโอกาสให้เลือกเรียนในหลากหลายสาขาวิชา เปิดรับใบสมัครถึง 4 สิงหาคม 2025 หากคุณกำลังแข่งขันในระดับภูมิภาค ระดับชาติ หรือระดับนานาชาติในกีฬาของคุณ และแสดงให้เห็นถึงพรสวรรค์… Kazan Global Youth Summit InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 19, 2025 เชิญเยาวชนสมัครคัดเลือกเข้าร่วมการประชุม Kazan Global Youth Summit ครั้งที่ 4 ระหว่างวันที่ 27 – 30 สิงหาคม 2568 ณ เมืองคาซาน สาธารณรัฐตาตาร์สตาน สหพันธรัฐรัสเซีย จัดโดยรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐตาตาร์สตาน… SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… ครู-อาจารย์ สวนสุนันทาให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากหลักสูตรครูทหารของกองทัพบกรุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากหลักสูตรครูทหารของกองทัพบกรุ่นที่ 5 วันที่ 20 มิถุนายน 2568 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากหลักสูตรการฝึกอบรมครูทหารของกองทัพบก รุ่นที่ 5 กรมยุทธศึกษาทหารบก ณ ห้องประชุมช่อแก้ว โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อแลกเปลี่ยนองค์ความรู้และประสบการณ์ด้านการบริหารจัดการและเทคโนโลยีทางการศึกษา กิจกรรมเริ่มต้นตั้งแต่เวลา 08.30 น. ด้วยการลงทะเบียนและรับฟังการกล่าวต้อนรับโดย รองศาสตราจารย์… จุฬาฯ ผงาดอันดับ Top 44 ของโลกด้านความยั่งยืน ใน THE Impact Rankings 2025 ครองอันดับ 1 ของไทยอีกครั้ง tui sakrapeeJune 20, 2025 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยผงาดอันดับ Top 44 ของโลก และครองอันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทยอีกครั้งหนึ่ง จากการจัดอันดับโดย Times Higher Education Impact Rankings 2025 ด้วยผลงานที่โดดเด่นในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนและสร้างผลกระทบสูงต่อสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง SDG 9… หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 📚เริ่มเรียน กรกฎาคม 2568 ถึง มกราคม 2569 ทุกวันพฤหัสบดี 11:00 – 18:00 น.… มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster May 22, 2025 EZ Webmaster May 22, 2025 “Smart Film ฟิล์มอัจฉริยะ” ฝีมือนักศึกษา มจธ. ปรับแสงได้-ผลิตพลังงานเอง แก้ปัญหาบ้านร้อนอย่างยั่งยืน ในวันที่โลกกำลังเผชิญกับวิกฤตพลังงานและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซึ่งการแก้ปัญหานั้นพลังของคนรุ่นใหม่ที่เต็มไปด้วยความคิดสร้างสรรค์สำคัญอย่างยิ่งต่อการสร้างนวัตกรรมเพื่อโลก เช่นเดียวกับนวัตกรรมของนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) อย่างผลงานวิจัยต้นแบบ “ฟิล์มจัดการพลังงานปรับความสว่างภายในอาคารที่ผลิตพลังงานได้ด้วยตัวเอง” หรือ “ฟิล์มอัจฉริยะ” ที่สามารถปรับระดับความโปร่งใสของฟิล์มให้เหมาะกับความสว่างของห้องได้เอง พร้อมใช้แสงอาทิตย์ในการผลิตกระแสไฟฟ้า เพื่อหล่อเลี้ยงระบบได้เอง เป็นแนวทางใหม่ที่ตอบโจทย์การใช้พลังงานในอาคารยุคใหม่ ที่ต้องการทั้งความยั่งยืน ความสวยงาม และความสะดวกสบายในการใช้งาน นวัตกรรมนี้คิดค้นโดยทีม “Power Maker” ซึ่งประกอบด้วย 3 นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ ประกอบด้วย จิรารัตน์ งานรุ่งเรือง, ภัชรพร ชัยแก้ว จากภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม และ ศศิธรณ์ พิกุลแก้ว จากภาควิชาวิศวกรรมเครื่องมือและวัสดุ โดยมี รศ. ดร.สุรวุฒิ ช่วงโชติ อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมเครื่องมือและวัสดุ คณะวิศวกรรมศาสตร์ และ รศ. ดร.ภาติญา เขมาชีวะกุล อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา “จุดเริ่มต้นเกิดจากการที่พวกเราสังเกตเห็นปัญหาการใช้พลังงานในอาคารที่มีกระจกเป็นวัสดุหลัก อย่าง อาคารสำนักงานหรือมหาวิทยาลัย ที่มักมีปัญหาแสงแดดส่องเข้ามามากเกินไปจนต้องปิดม่านบังแสงและเปิดไฟในเวลากลางวัน หรือเปิดแอร์ให้แรงขึ้นเพื่อจัดการกับความร้อนภายนอก ซึ่งพวกเรามองว่าเรื่องนี้เป็นการใช้พลังงานอย่างไม่คุ้มค่า ทั้งที่แสงแดดนั้นสามารถเป็นแหล่งพลังงานได้หากได้รับการจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ จึงนำปัญหาเหล่านี้ไปปรึกษาที่ปรึกษาในกลุ่มวิจัย Research Center of Advanced Materials for Energy and Environmental Technology (MEET)” จิรารัตน์ ตัวแทนทีมกล่าวถึงจุดเริ่มต้นของโครงการ โดยนวัตกรรมนี้เป็นการผสานสองเทคโนโลยีสำคัญเข้าด้วยกัน ได้แก่ “ฟิล์มอิเล็กโทรโครมิก (Electrochromic Film)” ที่สามารถควบคุมความโปร่งใสของฟิล์มได้ตามการจ่ายไฟฟ้า ที่ไปกระตุ้นการจัดเรียงโครงสร้างผลึกในวัสดุ และ “เซลล์แสงอาทิตย์ (Solar Cell)” ที่ถูกผนึกอยู่ในแผ่นฟิล์มที่สามารถเปลี่ยนพลังงานแสงที่ตกกระทบให้กลายเป็นพลังงานไฟฟ้าเพื่อนำไปใช้ในระบบได้ทันที ฟิล์มนี้ช่วยควบคุมปริมาณแสงที่ผ่านเข้ามาในห้อง ทำให้ลดความร้อนจากรังสีอินฟราเรดจึงช่วยประหยัดการใช้แอร์ ลดรังสียูวีที่ทำลายผิวและของใช้ในห้อง และยังปล่อยให้แสงส่องเข้ามาให้พอดีกับความต้องการ ช่วยลดการใช้หลอดไฟไปพร้อมกัน “พวกเราเริ่มพัฒนาแบบจำลองขนาดเล็ก 1×2 ตารางเมตร โดยจำลองพื้นที่ที่ใช้ติดตั้งภายในบ้าน และคำนวณกำลังไฟฟ้าที่ฟิล์มสามารถผลิตได้ใน 1 ปี เทียบกับการใช้งานอุปกรณ์ไฟฟ้าต่าง ๆ ผลลัพธ์ที่ได้คือ ฟิล์มต้นแบบนี้สามารถผลิตไฟฟ้าได้ตามมาตรฐานของเซลล์ที่นำมาใช้ และลดการใช้พลังงานไฟฟ้าในอาคารได้ถึง 22% ต่อปี ถือได้ว่าฟิล์มสามารถจ่ายไฟให้กับอุปกรณ์พื้นฐานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีศักยภาพในการลดภาระการใช้ไฟฟ้าจากโครงข่ายหลักของประเทศ ฟิล์มนี้จึงสามารถลดการใช้พลังงานและลดต้นทุนค่าไฟฟ้าได้อย่างเห็นผล รวมถึงสามารถผลิตไฟฟ้าเพื่อจ่ายให้กับอุปกรณ์ไฟฟ้าขนาดเล็กอย่างหลอดไฟ LED ได้อีกด้วย” ศศิธรณ์ เล่าถึงกระบวนการทดลองและผลกระทบที่เกิดขึ้น ความโดดเด่นของฟิล์มอัจฉริยะต้นแบบนี้ คือ สามารถติดตั้งได้โดยไม่ต้องเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของอาคาร ผู้ใช้งานเพียงแจ้งขนาดกระจกที่ต้องการติดตั้ง ทีมก็สามารถออกแบบฟิล์มตามขนาดจริงและผลิตได้ทันที ด้วยแนวคิด “Plug and Play” ที่ทำให้ผู้ใช้ไม่ต้องรื้อถอนหรือปรับแต่งระบบไฟฟ้าใด ๆ เพิ่มเติม เหมาะกับกลุ่มเป้าหมายที่ต้องการเห็นผลลัพธ์อย่างรวดเร็ว และต้องการปรับเปลี่ยนอาคารสู่แนวทางการใช้พลังงานสะอาดอย่างเป็นรูปธรรม “อีกสิ่งที่ทำให้นวัตกรรมนี้แตกต่างจากฟิล์มทั่วไปในท้องตลาด คือ ความสามารถในการ “คิดและปรับตัวได้” ทีมกำลังพัฒนาต้นแบบให้กลายเป็น “Smart Devices” อย่างเต็มรูปแบบ โดยจะฝังเซนเซอร์วัดความเข้มแสงและอุณหภูมิ รวมถึงมีระบบประมวลผลเพื่อตรวจจับกิจกรรมในห้องและปรับระดับความสว่างของฟิล์มอัตโนมัติ ตามช่วงเวลาหรือประเภทของกิจกรรม เช่น การอ่านหนังสือ การประชุม หรือการพักผ่อนในช่วงกลางวัน ทั้งหมดนี้จะทำให้ฟิล์มสามารถควบคุมตัวเองได้แบบ Real-Time ตอบสนองกับผู้ใช้ในชีวิตจริงอย่างชาญฉลาด” ภัชรพร อธิบาย นอกจากนี้ยังให้ความสำคัญกับ “ความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม” โดยเลือกใช้วัสดุที่สามารถรีไซเคิลได้ง่าย มีการออกแบบโมดูลของแผงเซลล์ให้สามารถถอดเปลี่ยนหรือแยกชิ้นได้เมื่อหมดอายุการใช้งาน ไม่ก่อให้เกิดมลพิษตกค้าง และช่วยลดปริมาณขยะอิเล็กทรอนิกส์ในอนาคต ซึ่งทั้งหมดนี้สอดคล้องกับเป้าหมาย “Net Zero Emission” ที่องค์กรระดับนานาชาติให้ความสำคัญ แม้ฟิล์มนี้ยังอยู่ในขั้นต้นแบบ แต่ทีม Power Maker ก็เริ่มได้รับความสนใจจากผู้ประกอบการ (จากการเสนอผลงานในงานหนึ่ง) และตั้งเป้าวางแผนพัฒนาต่อยอด พร้อมทั้งเตรียมเข้าสู่กระบวนการจดอนุสิทธิบัตรเพื่อปกป้องทรัพย์สินทางปัญญา ทีมยังวางแผนการผลิตในระดับอุตสาหกรรมร่วมกับภาคเอกชนในอนาคต เพื่อให้สามารถตอบสนองตลาดที่ต้องการเปลี่ยนผ่านสู่พลังงานสะอาดและเทคโนโลยีสีเขียว “อีกเรื่องที่สำคัญมากสำหรับพวกเราก็คือ การได้เรียนรู้ร่วมกัน พวกเรามาจากต่างภาควิชา ต้องช่วยกันคิด ทำงานเป็นทีม พวกเราแลกเปลี่ยนความคิดและคุยกันเยอะมาก เพื่อหาทางออกที่ทุกคนเข้าใจตรงกัน และการได้ฝึกการสื่อสารกับทั้งผู้ใช้ คนที่ให้การสนับสนุน รวมถึงอาจารย์ที่ปรึกษา มันเป็นประสบการณ์ที่ทำให้รู้สึกเหมือนได้ลองทำงานจริงก่อนจะไปเจอของจริงหลังเรียนจบ”ศศิธรณ์ กล่าวด้วยรอยยิ้ม รศ. ดร.สุรวุฒิ และ รศ. ดร.ภาติญา ที่ปรึกษาโครงการ เห็นตรงกันว่า “การได้ลงมือทำงานจากโจทย์ปัญหาจริง และสามารถพัฒนานวัตกรรมที่มีศักยภาพต่อยอดสู่ระดับอุตสาหกรรมได้นั้น เป็นประสบการณ์อันมีคุณค่า ไม่เพียงแต่ช่วยยกระดับทักษะของทีมเท่านั้น แต่ยังเป็นการสร้างโปรไฟล์ที่โดดเด่น ช่วยให้นักศึกษาพร้อมเข้าสู่ตลาดแรงงานอย่างมั่นใจ และสามารถตอบโจทย์ความต้องการของภาคอุตสาหกรรมได้” และแม้ว่าฟิล์มอัจฉริยะนี้จะยังเป็นเพียงต้นแบบ แต่ก็สะท้อนให้เห็นว่า ถ้าเปิดโอกาสให้คนรุ่นใหม่ได้ลองคิด ลองทำจริง พวกเขาก็พร้อมจะสร้างสิ่งใหม่ๆ ที่มีความหมาย และช่วยเปลี่ยนอนาคตของโลกใบนี้ให้ดีขึ้นได้ EZ Webmaster Related Posts โรงเรียนปลอดมือถือ! อังกฤษ-ออสเตรเลียเริ่มแล้ว ดึงเด็กกลับมาสนใจครูในห้องเรียน มธ. ปักหมุดหลักสูตร ‘AI Ethics’ หนุนบริบทใหม่ของห้องเรียนทันโลก สร้างจุดยืนคนรุ่นใหม่ ‘ใช้เอไออย่างมีจริยธรรม’ พร้อมเดินหน้าวางหมุดหมายระบบการศึกษาไทย กับการปลุกการใช้เทคฯ คู่ธรรมาภิบาล คาดเริ่มเปิดลงทะเบียนพร้อมเรียนจริง สิงหาคม 68 นี้ 11 สาเหตุลึกซึ้ง ทำไมการศึกษาไทยยังตกต่ำ? เสียงสะท้อนจากครูชนบท สู่คำถามใหญ่ของสังคม ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ ม.หอการค้าไทย จัดหลักสูตรรุกหน้าการันตี “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน!!” Post navigation PREVIOUS Previous post: สถาปัตย์ ม.รังสิต จัดเวิร์กชอปชวนน้องม.ปลายค้นหาตัวตน ปูพื้นฐานอาชีพสถาปนิก พร้อมรับทุนฯ 5,000 บาทNEXT Next post: ดีป้า และ อาลีบาบา คลาวด์ จัดประกวดวิดีโอสั้นที่ผลิตด้วยเครื่องมือ AI ภายใต้โครงการ “Eye for Thailand” Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสามร้อยยอดวิทยาคม EZ WebmasterJune 20, 2025 กิจกรรมสร้างสรรค์ ความสุขเล็กๆ ที่ยิ่งสนุกสนาน โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนสามร้อยยอดวิทยาคม จ.ประจวบคีรีขันธ์ วันที่20/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศ EZ WebmasterJune 20, 2025 มาทำให้วันธรรมดา กลายเป็นวันพิเศษกันเถอะ! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศ จ.เพชรบุรี วันที่20/06/68 โดยวิทยากร อ.ธารา อิสสระ (พี่แฮนด์… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนรัตนราษฎร์บำรุง EZ WebmasterJune 20, 2025 สร้างความสุข สร้างความทรงจำดีๆ ให้เด็กๆ ทุกคน โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนรัตนราษฎร์บำรุง จ.ราชบุรี วันที่19/06/68 โดยวิทยากร อ.ธารา… นักศึกษา โรงเรียนปลอดมือถือ! อังกฤษ-ออสเตรเลียเริ่มแล้ว ดึงเด็กกลับมาสนใจครูในห้องเรียน EZ WebmasterJune 20, 2025 วันที่ 10 มิถุนายน 2568 – ในช่วงหลายเดือนที่ผ่านมา แวดวงการศึกษาในประเทศพัฒนาแล้วต่างให้ความสนใจประเด็น “โรงเรียนปลอดโทรศัพท์มือถือ (Phone-Free School)” อย่างจริงจัง ล่าสุดมีความเคลื่อนไหวชัดเจนจาก ประเทศอังกฤษและออสเตรเลีย ที่เริ่มนำร่องมาตรการควบคุมการใช้อุปกรณ์ดิจิทัลในโรงเรียนระดับมัธยมอย่างเข้มงวด จากรายงานของ สำนักข่าว BBC ระบุว่า… มธ. ปักหมุดหลักสูตร ‘AI Ethics’ หนุนบริบทใหม่ของห้องเรียนทันโลก สร้างจุดยืนคนรุ่นใหม่ ‘ใช้เอไออย่างมีจริยธรรม’ พร้อมเดินหน้าวางหมุดหมายระบบการศึกษาไทย กับการปลุกการใช้เทคฯ คู่ธรรมาภิบาล คาดเริ่มเปิดลงทะเบียนพร้อมเรียนจริง สิงหาคม 68 นี้ EZ WebmasterJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) ตอกย้ำจุดยืนเชิงรุกต่อการเปลี่ยนผ่านของโลกยุคดิจิทัล ผ่านการพัฒนาหลักสูตร “AI Ethics” หรือจริยธรรมปัญญาประดิษฐ์ ภายใต้ยุทธศาสตร์ Thammasat Next Century เตรียมความพร้อมให้เยาวชนไทยมีทั้งความรู้ ความสามารถ และความรับผิดชอบในการใช้งานเทคโนโลยีอย่างเหมาะสม โดยเฉพาะในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อที่ปัญญาประดิษฐ์กำลังกลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวัน ทั้งในห้องเรียน ที่ทำงาน และบนแพลตฟอร์มออนไลน์ต่าง ๆ โดยหลักสูตรนี้ถูกวางให้เป็นรากฐานสำคัญของระบบการศึกษายุคใหม่ ที่ไม่เพียงเน้นทักษะด้านเทคนิคเท่านั้น แต่ยังปลูกฝังค่านิยมที่ถูกต้องในการอยู่ร่วมกับเทคโนโลยี พร้อมชี้ให้เห็นถึงความเสี่ยงของ AI ที่เกิดจาก… 11 สาเหตุลึกซึ้ง ทำไมการศึกษาไทยยังตกต่ำ? เสียงสะท้อนจากครูชนบท สู่คำถามใหญ่ของสังคม EZ WebmasterJune 19, 2025 ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ประเทศไทยกำลังเผชิญกับวิกฤตคุณภาพทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง แม้จะมีความพยายามปฏิรูปหลายครั้ง แต่กลับไม่สามารถยกระดับการเรียนรู้ให้เทียบเท่าประเทศเพื่อนบ้านได้อย่างแท้จริงนายสานิตย์ พลศรี นายกสมาคมครูชนบทจังหวัดชัยภูมิ ในหัวข้อ “สาเหตุของปัญหาคุณภาพด้านการศึกษาประเทศไทยที่ตกต่ำ” ซึ่งกำลังถูกส่งต่ออย่างกว้างขวางในโซเชียลมีเดียและกลุ่มไลน์ของคนในแวดวงการศึกษาเสียงสะท้อนจากผู้ที่อยู่ในภาคสนามจริงอย่างนายสานิตย์ ทำให้เราได้เห็นภาพที่ชัดเจนมากขึ้นว่า ปัญหาไม่ได้อยู่ที่ตัวนักเรียนหรือครูเพียงลำพัง แต่เป็นผลสะสมจากโครงสร้าง ระบบ และการบริหารที่ผิดทิศผิดทางมานานจึงเป็นการเปิดประเด็นให้สังคมได้ทบทวนร่วมกันว่า หากเราไม่เริ่ม “เปลี่ยนจริง” คุณภาพการศึกษาของไทยอาจยิ่งตกต่ำลงกว่าที่เป็นอยู่ 11… ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา EZ WebmasterJune 18, 2025 วิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิทักษ์ ธรรมวาริน (คนที่ 4 จากซ้าย) คณบดีวิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สจล. และ Mr. Alfonso Martin (คนที่ 3… ทุนดีดี ทุนImperial Athletes Sport InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 20, 2025 Imperial College London เสนอทุนการศึกษา Imperial Athletes Sport เพื่อสนับสนุนนักกีฬาที่มีพรสวรรค์สำหรับปีการศึกษา 2025/2026 โดยเปิดโอกาสให้เลือกเรียนในหลากหลายสาขาวิชา เปิดรับใบสมัครถึง 4 สิงหาคม 2025 หากคุณกำลังแข่งขันในระดับภูมิภาค ระดับชาติ หรือระดับนานาชาติในกีฬาของคุณ และแสดงให้เห็นถึงพรสวรรค์… Kazan Global Youth Summit InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 19, 2025 เชิญเยาวชนสมัครคัดเลือกเข้าร่วมการประชุม Kazan Global Youth Summit ครั้งที่ 4 ระหว่างวันที่ 27 – 30 สิงหาคม 2568 ณ เมืองคาซาน สาธารณรัฐตาตาร์สตาน สหพันธรัฐรัสเซีย จัดโดยรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐตาตาร์สตาน… SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… ครู-อาจารย์ สวนสุนันทาให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากหลักสูตรครูทหารของกองทัพบกรุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากหลักสูตรครูทหารของกองทัพบกรุ่นที่ 5 วันที่ 20 มิถุนายน 2568 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากหลักสูตรการฝึกอบรมครูทหารของกองทัพบก รุ่นที่ 5 กรมยุทธศึกษาทหารบก ณ ห้องประชุมช่อแก้ว โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อแลกเปลี่ยนองค์ความรู้และประสบการณ์ด้านการบริหารจัดการและเทคโนโลยีทางการศึกษา กิจกรรมเริ่มต้นตั้งแต่เวลา 08.30 น. ด้วยการลงทะเบียนและรับฟังการกล่าวต้อนรับโดย รองศาสตราจารย์… จุฬาฯ ผงาดอันดับ Top 44 ของโลกด้านความยั่งยืน ใน THE Impact Rankings 2025 ครองอันดับ 1 ของไทยอีกครั้ง tui sakrapeeJune 20, 2025 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยผงาดอันดับ Top 44 ของโลก และครองอันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทยอีกครั้งหนึ่ง จากการจัดอันดับโดย Times Higher Education Impact Rankings 2025 ด้วยผลงานที่โดดเด่นในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนและสร้างผลกระทบสูงต่อสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง SDG 9… หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 📚เริ่มเรียน กรกฎาคม 2568 ถึง มกราคม 2569 ทุกวันพฤหัสบดี 11:00 – 18:00 น.… มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster May 22, 2025 EZ Webmaster May 22, 2025 “Smart Film ฟิล์มอัจฉริยะ” ฝีมือนักศึกษา มจธ. ปรับแสงได้-ผลิตพลังงานเอง แก้ปัญหาบ้านร้อนอย่างยั่งยืน ในวันที่โลกกำลังเผชิญกับวิกฤตพลังงานและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซึ่งการแก้ปัญหานั้นพลังของคนรุ่นใหม่ที่เต็มไปด้วยความคิดสร้างสรรค์สำคัญอย่างยิ่งต่อการสร้างนวัตกรรมเพื่อโลก เช่นเดียวกับนวัตกรรมของนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) อย่างผลงานวิจัยต้นแบบ “ฟิล์มจัดการพลังงานปรับความสว่างภายในอาคารที่ผลิตพลังงานได้ด้วยตัวเอง” หรือ “ฟิล์มอัจฉริยะ” ที่สามารถปรับระดับความโปร่งใสของฟิล์มให้เหมาะกับความสว่างของห้องได้เอง พร้อมใช้แสงอาทิตย์ในการผลิตกระแสไฟฟ้า เพื่อหล่อเลี้ยงระบบได้เอง เป็นแนวทางใหม่ที่ตอบโจทย์การใช้พลังงานในอาคารยุคใหม่ ที่ต้องการทั้งความยั่งยืน ความสวยงาม และความสะดวกสบายในการใช้งาน นวัตกรรมนี้คิดค้นโดยทีม “Power Maker” ซึ่งประกอบด้วย 3 นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ ประกอบด้วย จิรารัตน์ งานรุ่งเรือง, ภัชรพร ชัยแก้ว จากภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม และ ศศิธรณ์ พิกุลแก้ว จากภาควิชาวิศวกรรมเครื่องมือและวัสดุ โดยมี รศ. ดร.สุรวุฒิ ช่วงโชติ อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมเครื่องมือและวัสดุ คณะวิศวกรรมศาสตร์ และ รศ. ดร.ภาติญา เขมาชีวะกุล อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา “จุดเริ่มต้นเกิดจากการที่พวกเราสังเกตเห็นปัญหาการใช้พลังงานในอาคารที่มีกระจกเป็นวัสดุหลัก อย่าง อาคารสำนักงานหรือมหาวิทยาลัย ที่มักมีปัญหาแสงแดดส่องเข้ามามากเกินไปจนต้องปิดม่านบังแสงและเปิดไฟในเวลากลางวัน หรือเปิดแอร์ให้แรงขึ้นเพื่อจัดการกับความร้อนภายนอก ซึ่งพวกเรามองว่าเรื่องนี้เป็นการใช้พลังงานอย่างไม่คุ้มค่า ทั้งที่แสงแดดนั้นสามารถเป็นแหล่งพลังงานได้หากได้รับการจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ จึงนำปัญหาเหล่านี้ไปปรึกษาที่ปรึกษาในกลุ่มวิจัย Research Center of Advanced Materials for Energy and Environmental Technology (MEET)” จิรารัตน์ ตัวแทนทีมกล่าวถึงจุดเริ่มต้นของโครงการ โดยนวัตกรรมนี้เป็นการผสานสองเทคโนโลยีสำคัญเข้าด้วยกัน ได้แก่ “ฟิล์มอิเล็กโทรโครมิก (Electrochromic Film)” ที่สามารถควบคุมความโปร่งใสของฟิล์มได้ตามการจ่ายไฟฟ้า ที่ไปกระตุ้นการจัดเรียงโครงสร้างผลึกในวัสดุ และ “เซลล์แสงอาทิตย์ (Solar Cell)” ที่ถูกผนึกอยู่ในแผ่นฟิล์มที่สามารถเปลี่ยนพลังงานแสงที่ตกกระทบให้กลายเป็นพลังงานไฟฟ้าเพื่อนำไปใช้ในระบบได้ทันที ฟิล์มนี้ช่วยควบคุมปริมาณแสงที่ผ่านเข้ามาในห้อง ทำให้ลดความร้อนจากรังสีอินฟราเรดจึงช่วยประหยัดการใช้แอร์ ลดรังสียูวีที่ทำลายผิวและของใช้ในห้อง และยังปล่อยให้แสงส่องเข้ามาให้พอดีกับความต้องการ ช่วยลดการใช้หลอดไฟไปพร้อมกัน “พวกเราเริ่มพัฒนาแบบจำลองขนาดเล็ก 1×2 ตารางเมตร โดยจำลองพื้นที่ที่ใช้ติดตั้งภายในบ้าน และคำนวณกำลังไฟฟ้าที่ฟิล์มสามารถผลิตได้ใน 1 ปี เทียบกับการใช้งานอุปกรณ์ไฟฟ้าต่าง ๆ ผลลัพธ์ที่ได้คือ ฟิล์มต้นแบบนี้สามารถผลิตไฟฟ้าได้ตามมาตรฐานของเซลล์ที่นำมาใช้ และลดการใช้พลังงานไฟฟ้าในอาคารได้ถึง 22% ต่อปี ถือได้ว่าฟิล์มสามารถจ่ายไฟให้กับอุปกรณ์พื้นฐานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีศักยภาพในการลดภาระการใช้ไฟฟ้าจากโครงข่ายหลักของประเทศ ฟิล์มนี้จึงสามารถลดการใช้พลังงานและลดต้นทุนค่าไฟฟ้าได้อย่างเห็นผล รวมถึงสามารถผลิตไฟฟ้าเพื่อจ่ายให้กับอุปกรณ์ไฟฟ้าขนาดเล็กอย่างหลอดไฟ LED ได้อีกด้วย” ศศิธรณ์ เล่าถึงกระบวนการทดลองและผลกระทบที่เกิดขึ้น ความโดดเด่นของฟิล์มอัจฉริยะต้นแบบนี้ คือ สามารถติดตั้งได้โดยไม่ต้องเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของอาคาร ผู้ใช้งานเพียงแจ้งขนาดกระจกที่ต้องการติดตั้ง ทีมก็สามารถออกแบบฟิล์มตามขนาดจริงและผลิตได้ทันที ด้วยแนวคิด “Plug and Play” ที่ทำให้ผู้ใช้ไม่ต้องรื้อถอนหรือปรับแต่งระบบไฟฟ้าใด ๆ เพิ่มเติม เหมาะกับกลุ่มเป้าหมายที่ต้องการเห็นผลลัพธ์อย่างรวดเร็ว และต้องการปรับเปลี่ยนอาคารสู่แนวทางการใช้พลังงานสะอาดอย่างเป็นรูปธรรม “อีกสิ่งที่ทำให้นวัตกรรมนี้แตกต่างจากฟิล์มทั่วไปในท้องตลาด คือ ความสามารถในการ “คิดและปรับตัวได้” ทีมกำลังพัฒนาต้นแบบให้กลายเป็น “Smart Devices” อย่างเต็มรูปแบบ โดยจะฝังเซนเซอร์วัดความเข้มแสงและอุณหภูมิ รวมถึงมีระบบประมวลผลเพื่อตรวจจับกิจกรรมในห้องและปรับระดับความสว่างของฟิล์มอัตโนมัติ ตามช่วงเวลาหรือประเภทของกิจกรรม เช่น การอ่านหนังสือ การประชุม หรือการพักผ่อนในช่วงกลางวัน ทั้งหมดนี้จะทำให้ฟิล์มสามารถควบคุมตัวเองได้แบบ Real-Time ตอบสนองกับผู้ใช้ในชีวิตจริงอย่างชาญฉลาด” ภัชรพร อธิบาย นอกจากนี้ยังให้ความสำคัญกับ “ความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม” โดยเลือกใช้วัสดุที่สามารถรีไซเคิลได้ง่าย มีการออกแบบโมดูลของแผงเซลล์ให้สามารถถอดเปลี่ยนหรือแยกชิ้นได้เมื่อหมดอายุการใช้งาน ไม่ก่อให้เกิดมลพิษตกค้าง และช่วยลดปริมาณขยะอิเล็กทรอนิกส์ในอนาคต ซึ่งทั้งหมดนี้สอดคล้องกับเป้าหมาย “Net Zero Emission” ที่องค์กรระดับนานาชาติให้ความสำคัญ แม้ฟิล์มนี้ยังอยู่ในขั้นต้นแบบ แต่ทีม Power Maker ก็เริ่มได้รับความสนใจจากผู้ประกอบการ (จากการเสนอผลงานในงานหนึ่ง) และตั้งเป้าวางแผนพัฒนาต่อยอด พร้อมทั้งเตรียมเข้าสู่กระบวนการจดอนุสิทธิบัตรเพื่อปกป้องทรัพย์สินทางปัญญา ทีมยังวางแผนการผลิตในระดับอุตสาหกรรมร่วมกับภาคเอกชนในอนาคต เพื่อให้สามารถตอบสนองตลาดที่ต้องการเปลี่ยนผ่านสู่พลังงานสะอาดและเทคโนโลยีสีเขียว “อีกเรื่องที่สำคัญมากสำหรับพวกเราก็คือ การได้เรียนรู้ร่วมกัน พวกเรามาจากต่างภาควิชา ต้องช่วยกันคิด ทำงานเป็นทีม พวกเราแลกเปลี่ยนความคิดและคุยกันเยอะมาก เพื่อหาทางออกที่ทุกคนเข้าใจตรงกัน และการได้ฝึกการสื่อสารกับทั้งผู้ใช้ คนที่ให้การสนับสนุน รวมถึงอาจารย์ที่ปรึกษา มันเป็นประสบการณ์ที่ทำให้รู้สึกเหมือนได้ลองทำงานจริงก่อนจะไปเจอของจริงหลังเรียนจบ”ศศิธรณ์ กล่าวด้วยรอยยิ้ม รศ. ดร.สุรวุฒิ และ รศ. ดร.ภาติญา ที่ปรึกษาโครงการ เห็นตรงกันว่า “การได้ลงมือทำงานจากโจทย์ปัญหาจริง และสามารถพัฒนานวัตกรรมที่มีศักยภาพต่อยอดสู่ระดับอุตสาหกรรมได้นั้น เป็นประสบการณ์อันมีคุณค่า ไม่เพียงแต่ช่วยยกระดับทักษะของทีมเท่านั้น แต่ยังเป็นการสร้างโปรไฟล์ที่โดดเด่น ช่วยให้นักศึกษาพร้อมเข้าสู่ตลาดแรงงานอย่างมั่นใจ และสามารถตอบโจทย์ความต้องการของภาคอุตสาหกรรมได้” และแม้ว่าฟิล์มอัจฉริยะนี้จะยังเป็นเพียงต้นแบบ แต่ก็สะท้อนให้เห็นว่า ถ้าเปิดโอกาสให้คนรุ่นใหม่ได้ลองคิด ลองทำจริง พวกเขาก็พร้อมจะสร้างสิ่งใหม่ๆ ที่มีความหมาย และช่วยเปลี่ยนอนาคตของโลกใบนี้ให้ดีขึ้นได้ EZ Webmaster Related Posts โรงเรียนปลอดมือถือ! อังกฤษ-ออสเตรเลียเริ่มแล้ว ดึงเด็กกลับมาสนใจครูในห้องเรียน มธ. ปักหมุดหลักสูตร ‘AI Ethics’ หนุนบริบทใหม่ของห้องเรียนทันโลก สร้างจุดยืนคนรุ่นใหม่ ‘ใช้เอไออย่างมีจริยธรรม’ พร้อมเดินหน้าวางหมุดหมายระบบการศึกษาไทย กับการปลุกการใช้เทคฯ คู่ธรรมาภิบาล คาดเริ่มเปิดลงทะเบียนพร้อมเรียนจริง สิงหาคม 68 นี้ 11 สาเหตุลึกซึ้ง ทำไมการศึกษาไทยยังตกต่ำ? เสียงสะท้อนจากครูชนบท สู่คำถามใหญ่ของสังคม ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ ม.หอการค้าไทย จัดหลักสูตรรุกหน้าการันตี “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน!!” Post navigation PREVIOUS Previous post: สถาปัตย์ ม.รังสิต จัดเวิร์กชอปชวนน้องม.ปลายค้นหาตัวตน ปูพื้นฐานอาชีพสถาปนิก พร้อมรับทุนฯ 5,000 บาทNEXT Next post: ดีป้า และ อาลีบาบา คลาวด์ จัดประกวดวิดีโอสั้นที่ผลิตด้วยเครื่องมือ AI ภายใต้โครงการ “Eye for Thailand” Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศ EZ WebmasterJune 20, 2025 มาทำให้วันธรรมดา กลายเป็นวันพิเศษกันเถอะ! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศ จ.เพชรบุรี วันที่20/06/68 โดยวิทยากร อ.ธารา อิสสระ (พี่แฮนด์… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนรัตนราษฎร์บำรุง EZ WebmasterJune 20, 2025 สร้างความสุข สร้างความทรงจำดีๆ ให้เด็กๆ ทุกคน โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนรัตนราษฎร์บำรุง จ.ราชบุรี วันที่19/06/68 โดยวิทยากร อ.ธารา…
โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนรัตนราษฎร์บำรุง EZ WebmasterJune 20, 2025 สร้างความสุข สร้างความทรงจำดีๆ ให้เด็กๆ ทุกคน โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนรัตนราษฎร์บำรุง จ.ราชบุรี วันที่19/06/68 โดยวิทยากร อ.ธารา…
โรงเรียนปลอดมือถือ! อังกฤษ-ออสเตรเลียเริ่มแล้ว ดึงเด็กกลับมาสนใจครูในห้องเรียน EZ WebmasterJune 20, 2025 วันที่ 10 มิถุนายน 2568 – ในช่วงหลายเดือนที่ผ่านมา แวดวงการศึกษาในประเทศพัฒนาแล้วต่างให้ความสนใจประเด็น “โรงเรียนปลอดโทรศัพท์มือถือ (Phone-Free School)” อย่างจริงจัง ล่าสุดมีความเคลื่อนไหวชัดเจนจาก ประเทศอังกฤษและออสเตรเลีย ที่เริ่มนำร่องมาตรการควบคุมการใช้อุปกรณ์ดิจิทัลในโรงเรียนระดับมัธยมอย่างเข้มงวด จากรายงานของ สำนักข่าว BBC ระบุว่า… มธ. ปักหมุดหลักสูตร ‘AI Ethics’ หนุนบริบทใหม่ของห้องเรียนทันโลก สร้างจุดยืนคนรุ่นใหม่ ‘ใช้เอไออย่างมีจริยธรรม’ พร้อมเดินหน้าวางหมุดหมายระบบการศึกษาไทย กับการปลุกการใช้เทคฯ คู่ธรรมาภิบาล คาดเริ่มเปิดลงทะเบียนพร้อมเรียนจริง สิงหาคม 68 นี้ EZ WebmasterJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) ตอกย้ำจุดยืนเชิงรุกต่อการเปลี่ยนผ่านของโลกยุคดิจิทัล ผ่านการพัฒนาหลักสูตร “AI Ethics” หรือจริยธรรมปัญญาประดิษฐ์ ภายใต้ยุทธศาสตร์ Thammasat Next Century เตรียมความพร้อมให้เยาวชนไทยมีทั้งความรู้ ความสามารถ และความรับผิดชอบในการใช้งานเทคโนโลยีอย่างเหมาะสม โดยเฉพาะในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อที่ปัญญาประดิษฐ์กำลังกลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวัน ทั้งในห้องเรียน ที่ทำงาน และบนแพลตฟอร์มออนไลน์ต่าง ๆ โดยหลักสูตรนี้ถูกวางให้เป็นรากฐานสำคัญของระบบการศึกษายุคใหม่ ที่ไม่เพียงเน้นทักษะด้านเทคนิคเท่านั้น แต่ยังปลูกฝังค่านิยมที่ถูกต้องในการอยู่ร่วมกับเทคโนโลยี พร้อมชี้ให้เห็นถึงความเสี่ยงของ AI ที่เกิดจาก… 11 สาเหตุลึกซึ้ง ทำไมการศึกษาไทยยังตกต่ำ? เสียงสะท้อนจากครูชนบท สู่คำถามใหญ่ของสังคม EZ WebmasterJune 19, 2025 ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ประเทศไทยกำลังเผชิญกับวิกฤตคุณภาพทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง แม้จะมีความพยายามปฏิรูปหลายครั้ง แต่กลับไม่สามารถยกระดับการเรียนรู้ให้เทียบเท่าประเทศเพื่อนบ้านได้อย่างแท้จริงนายสานิตย์ พลศรี นายกสมาคมครูชนบทจังหวัดชัยภูมิ ในหัวข้อ “สาเหตุของปัญหาคุณภาพด้านการศึกษาประเทศไทยที่ตกต่ำ” ซึ่งกำลังถูกส่งต่ออย่างกว้างขวางในโซเชียลมีเดียและกลุ่มไลน์ของคนในแวดวงการศึกษาเสียงสะท้อนจากผู้ที่อยู่ในภาคสนามจริงอย่างนายสานิตย์ ทำให้เราได้เห็นภาพที่ชัดเจนมากขึ้นว่า ปัญหาไม่ได้อยู่ที่ตัวนักเรียนหรือครูเพียงลำพัง แต่เป็นผลสะสมจากโครงสร้าง ระบบ และการบริหารที่ผิดทิศผิดทางมานานจึงเป็นการเปิดประเด็นให้สังคมได้ทบทวนร่วมกันว่า หากเราไม่เริ่ม “เปลี่ยนจริง” คุณภาพการศึกษาของไทยอาจยิ่งตกต่ำลงกว่าที่เป็นอยู่ 11… ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา EZ WebmasterJune 18, 2025 วิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิทักษ์ ธรรมวาริน (คนที่ 4 จากซ้าย) คณบดีวิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สจล. และ Mr. Alfonso Martin (คนที่ 3… ทุนดีดี ทุนImperial Athletes Sport InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 20, 2025 Imperial College London เสนอทุนการศึกษา Imperial Athletes Sport เพื่อสนับสนุนนักกีฬาที่มีพรสวรรค์สำหรับปีการศึกษา 2025/2026 โดยเปิดโอกาสให้เลือกเรียนในหลากหลายสาขาวิชา เปิดรับใบสมัครถึง 4 สิงหาคม 2025 หากคุณกำลังแข่งขันในระดับภูมิภาค ระดับชาติ หรือระดับนานาชาติในกีฬาของคุณ และแสดงให้เห็นถึงพรสวรรค์… Kazan Global Youth Summit InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 19, 2025 เชิญเยาวชนสมัครคัดเลือกเข้าร่วมการประชุม Kazan Global Youth Summit ครั้งที่ 4 ระหว่างวันที่ 27 – 30 สิงหาคม 2568 ณ เมืองคาซาน สาธารณรัฐตาตาร์สตาน สหพันธรัฐรัสเซีย จัดโดยรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐตาตาร์สตาน… SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… ครู-อาจารย์ สวนสุนันทาให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากหลักสูตรครูทหารของกองทัพบกรุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากหลักสูตรครูทหารของกองทัพบกรุ่นที่ 5 วันที่ 20 มิถุนายน 2568 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากหลักสูตรการฝึกอบรมครูทหารของกองทัพบก รุ่นที่ 5 กรมยุทธศึกษาทหารบก ณ ห้องประชุมช่อแก้ว โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อแลกเปลี่ยนองค์ความรู้และประสบการณ์ด้านการบริหารจัดการและเทคโนโลยีทางการศึกษา กิจกรรมเริ่มต้นตั้งแต่เวลา 08.30 น. ด้วยการลงทะเบียนและรับฟังการกล่าวต้อนรับโดย รองศาสตราจารย์… จุฬาฯ ผงาดอันดับ Top 44 ของโลกด้านความยั่งยืน ใน THE Impact Rankings 2025 ครองอันดับ 1 ของไทยอีกครั้ง tui sakrapeeJune 20, 2025 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยผงาดอันดับ Top 44 ของโลก และครองอันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทยอีกครั้งหนึ่ง จากการจัดอันดับโดย Times Higher Education Impact Rankings 2025 ด้วยผลงานที่โดดเด่นในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนและสร้างผลกระทบสูงต่อสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง SDG 9… หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 📚เริ่มเรียน กรกฎาคม 2568 ถึง มกราคม 2569 ทุกวันพฤหัสบดี 11:00 – 18:00 น.… มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster May 22, 2025 EZ Webmaster May 22, 2025 “Smart Film ฟิล์มอัจฉริยะ” ฝีมือนักศึกษา มจธ. ปรับแสงได้-ผลิตพลังงานเอง แก้ปัญหาบ้านร้อนอย่างยั่งยืน ในวันที่โลกกำลังเผชิญกับวิกฤตพลังงานและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซึ่งการแก้ปัญหานั้นพลังของคนรุ่นใหม่ที่เต็มไปด้วยความคิดสร้างสรรค์สำคัญอย่างยิ่งต่อการสร้างนวัตกรรมเพื่อโลก เช่นเดียวกับนวัตกรรมของนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) อย่างผลงานวิจัยต้นแบบ “ฟิล์มจัดการพลังงานปรับความสว่างภายในอาคารที่ผลิตพลังงานได้ด้วยตัวเอง” หรือ “ฟิล์มอัจฉริยะ” ที่สามารถปรับระดับความโปร่งใสของฟิล์มให้เหมาะกับความสว่างของห้องได้เอง พร้อมใช้แสงอาทิตย์ในการผลิตกระแสไฟฟ้า เพื่อหล่อเลี้ยงระบบได้เอง เป็นแนวทางใหม่ที่ตอบโจทย์การใช้พลังงานในอาคารยุคใหม่ ที่ต้องการทั้งความยั่งยืน ความสวยงาม และความสะดวกสบายในการใช้งาน นวัตกรรมนี้คิดค้นโดยทีม “Power Maker” ซึ่งประกอบด้วย 3 นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ ประกอบด้วย จิรารัตน์ งานรุ่งเรือง, ภัชรพร ชัยแก้ว จากภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม และ ศศิธรณ์ พิกุลแก้ว จากภาควิชาวิศวกรรมเครื่องมือและวัสดุ โดยมี รศ. ดร.สุรวุฒิ ช่วงโชติ อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมเครื่องมือและวัสดุ คณะวิศวกรรมศาสตร์ และ รศ. ดร.ภาติญา เขมาชีวะกุล อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา “จุดเริ่มต้นเกิดจากการที่พวกเราสังเกตเห็นปัญหาการใช้พลังงานในอาคารที่มีกระจกเป็นวัสดุหลัก อย่าง อาคารสำนักงานหรือมหาวิทยาลัย ที่มักมีปัญหาแสงแดดส่องเข้ามามากเกินไปจนต้องปิดม่านบังแสงและเปิดไฟในเวลากลางวัน หรือเปิดแอร์ให้แรงขึ้นเพื่อจัดการกับความร้อนภายนอก ซึ่งพวกเรามองว่าเรื่องนี้เป็นการใช้พลังงานอย่างไม่คุ้มค่า ทั้งที่แสงแดดนั้นสามารถเป็นแหล่งพลังงานได้หากได้รับการจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ จึงนำปัญหาเหล่านี้ไปปรึกษาที่ปรึกษาในกลุ่มวิจัย Research Center of Advanced Materials for Energy and Environmental Technology (MEET)” จิรารัตน์ ตัวแทนทีมกล่าวถึงจุดเริ่มต้นของโครงการ โดยนวัตกรรมนี้เป็นการผสานสองเทคโนโลยีสำคัญเข้าด้วยกัน ได้แก่ “ฟิล์มอิเล็กโทรโครมิก (Electrochromic Film)” ที่สามารถควบคุมความโปร่งใสของฟิล์มได้ตามการจ่ายไฟฟ้า ที่ไปกระตุ้นการจัดเรียงโครงสร้างผลึกในวัสดุ และ “เซลล์แสงอาทิตย์ (Solar Cell)” ที่ถูกผนึกอยู่ในแผ่นฟิล์มที่สามารถเปลี่ยนพลังงานแสงที่ตกกระทบให้กลายเป็นพลังงานไฟฟ้าเพื่อนำไปใช้ในระบบได้ทันที ฟิล์มนี้ช่วยควบคุมปริมาณแสงที่ผ่านเข้ามาในห้อง ทำให้ลดความร้อนจากรังสีอินฟราเรดจึงช่วยประหยัดการใช้แอร์ ลดรังสียูวีที่ทำลายผิวและของใช้ในห้อง และยังปล่อยให้แสงส่องเข้ามาให้พอดีกับความต้องการ ช่วยลดการใช้หลอดไฟไปพร้อมกัน “พวกเราเริ่มพัฒนาแบบจำลองขนาดเล็ก 1×2 ตารางเมตร โดยจำลองพื้นที่ที่ใช้ติดตั้งภายในบ้าน และคำนวณกำลังไฟฟ้าที่ฟิล์มสามารถผลิตได้ใน 1 ปี เทียบกับการใช้งานอุปกรณ์ไฟฟ้าต่าง ๆ ผลลัพธ์ที่ได้คือ ฟิล์มต้นแบบนี้สามารถผลิตไฟฟ้าได้ตามมาตรฐานของเซลล์ที่นำมาใช้ และลดการใช้พลังงานไฟฟ้าในอาคารได้ถึง 22% ต่อปี ถือได้ว่าฟิล์มสามารถจ่ายไฟให้กับอุปกรณ์พื้นฐานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีศักยภาพในการลดภาระการใช้ไฟฟ้าจากโครงข่ายหลักของประเทศ ฟิล์มนี้จึงสามารถลดการใช้พลังงานและลดต้นทุนค่าไฟฟ้าได้อย่างเห็นผล รวมถึงสามารถผลิตไฟฟ้าเพื่อจ่ายให้กับอุปกรณ์ไฟฟ้าขนาดเล็กอย่างหลอดไฟ LED ได้อีกด้วย” ศศิธรณ์ เล่าถึงกระบวนการทดลองและผลกระทบที่เกิดขึ้น ความโดดเด่นของฟิล์มอัจฉริยะต้นแบบนี้ คือ สามารถติดตั้งได้โดยไม่ต้องเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของอาคาร ผู้ใช้งานเพียงแจ้งขนาดกระจกที่ต้องการติดตั้ง ทีมก็สามารถออกแบบฟิล์มตามขนาดจริงและผลิตได้ทันที ด้วยแนวคิด “Plug and Play” ที่ทำให้ผู้ใช้ไม่ต้องรื้อถอนหรือปรับแต่งระบบไฟฟ้าใด ๆ เพิ่มเติม เหมาะกับกลุ่มเป้าหมายที่ต้องการเห็นผลลัพธ์อย่างรวดเร็ว และต้องการปรับเปลี่ยนอาคารสู่แนวทางการใช้พลังงานสะอาดอย่างเป็นรูปธรรม “อีกสิ่งที่ทำให้นวัตกรรมนี้แตกต่างจากฟิล์มทั่วไปในท้องตลาด คือ ความสามารถในการ “คิดและปรับตัวได้” ทีมกำลังพัฒนาต้นแบบให้กลายเป็น “Smart Devices” อย่างเต็มรูปแบบ โดยจะฝังเซนเซอร์วัดความเข้มแสงและอุณหภูมิ รวมถึงมีระบบประมวลผลเพื่อตรวจจับกิจกรรมในห้องและปรับระดับความสว่างของฟิล์มอัตโนมัติ ตามช่วงเวลาหรือประเภทของกิจกรรม เช่น การอ่านหนังสือ การประชุม หรือการพักผ่อนในช่วงกลางวัน ทั้งหมดนี้จะทำให้ฟิล์มสามารถควบคุมตัวเองได้แบบ Real-Time ตอบสนองกับผู้ใช้ในชีวิตจริงอย่างชาญฉลาด” ภัชรพร อธิบาย นอกจากนี้ยังให้ความสำคัญกับ “ความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม” โดยเลือกใช้วัสดุที่สามารถรีไซเคิลได้ง่าย มีการออกแบบโมดูลของแผงเซลล์ให้สามารถถอดเปลี่ยนหรือแยกชิ้นได้เมื่อหมดอายุการใช้งาน ไม่ก่อให้เกิดมลพิษตกค้าง และช่วยลดปริมาณขยะอิเล็กทรอนิกส์ในอนาคต ซึ่งทั้งหมดนี้สอดคล้องกับเป้าหมาย “Net Zero Emission” ที่องค์กรระดับนานาชาติให้ความสำคัญ แม้ฟิล์มนี้ยังอยู่ในขั้นต้นแบบ แต่ทีม Power Maker ก็เริ่มได้รับความสนใจจากผู้ประกอบการ (จากการเสนอผลงานในงานหนึ่ง) และตั้งเป้าวางแผนพัฒนาต่อยอด พร้อมทั้งเตรียมเข้าสู่กระบวนการจดอนุสิทธิบัตรเพื่อปกป้องทรัพย์สินทางปัญญา ทีมยังวางแผนการผลิตในระดับอุตสาหกรรมร่วมกับภาคเอกชนในอนาคต เพื่อให้สามารถตอบสนองตลาดที่ต้องการเปลี่ยนผ่านสู่พลังงานสะอาดและเทคโนโลยีสีเขียว “อีกเรื่องที่สำคัญมากสำหรับพวกเราก็คือ การได้เรียนรู้ร่วมกัน พวกเรามาจากต่างภาควิชา ต้องช่วยกันคิด ทำงานเป็นทีม พวกเราแลกเปลี่ยนความคิดและคุยกันเยอะมาก เพื่อหาทางออกที่ทุกคนเข้าใจตรงกัน และการได้ฝึกการสื่อสารกับทั้งผู้ใช้ คนที่ให้การสนับสนุน รวมถึงอาจารย์ที่ปรึกษา มันเป็นประสบการณ์ที่ทำให้รู้สึกเหมือนได้ลองทำงานจริงก่อนจะไปเจอของจริงหลังเรียนจบ”ศศิธรณ์ กล่าวด้วยรอยยิ้ม รศ. ดร.สุรวุฒิ และ รศ. ดร.ภาติญา ที่ปรึกษาโครงการ เห็นตรงกันว่า “การได้ลงมือทำงานจากโจทย์ปัญหาจริง และสามารถพัฒนานวัตกรรมที่มีศักยภาพต่อยอดสู่ระดับอุตสาหกรรมได้นั้น เป็นประสบการณ์อันมีคุณค่า ไม่เพียงแต่ช่วยยกระดับทักษะของทีมเท่านั้น แต่ยังเป็นการสร้างโปรไฟล์ที่โดดเด่น ช่วยให้นักศึกษาพร้อมเข้าสู่ตลาดแรงงานอย่างมั่นใจ และสามารถตอบโจทย์ความต้องการของภาคอุตสาหกรรมได้” และแม้ว่าฟิล์มอัจฉริยะนี้จะยังเป็นเพียงต้นแบบ แต่ก็สะท้อนให้เห็นว่า ถ้าเปิดโอกาสให้คนรุ่นใหม่ได้ลองคิด ลองทำจริง พวกเขาก็พร้อมจะสร้างสิ่งใหม่ๆ ที่มีความหมาย และช่วยเปลี่ยนอนาคตของโลกใบนี้ให้ดีขึ้นได้ EZ Webmaster Related Posts โรงเรียนปลอดมือถือ! อังกฤษ-ออสเตรเลียเริ่มแล้ว ดึงเด็กกลับมาสนใจครูในห้องเรียน มธ. ปักหมุดหลักสูตร ‘AI Ethics’ หนุนบริบทใหม่ของห้องเรียนทันโลก สร้างจุดยืนคนรุ่นใหม่ ‘ใช้เอไออย่างมีจริยธรรม’ พร้อมเดินหน้าวางหมุดหมายระบบการศึกษาไทย กับการปลุกการใช้เทคฯ คู่ธรรมาภิบาล คาดเริ่มเปิดลงทะเบียนพร้อมเรียนจริง สิงหาคม 68 นี้ 11 สาเหตุลึกซึ้ง ทำไมการศึกษาไทยยังตกต่ำ? เสียงสะท้อนจากครูชนบท สู่คำถามใหญ่ของสังคม ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ ม.หอการค้าไทย จัดหลักสูตรรุกหน้าการันตี “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน!!” Post navigation PREVIOUS Previous post: สถาปัตย์ ม.รังสิต จัดเวิร์กชอปชวนน้องม.ปลายค้นหาตัวตน ปูพื้นฐานอาชีพสถาปนิก พร้อมรับทุนฯ 5,000 บาทNEXT Next post: ดีป้า และ อาลีบาบา คลาวด์ จัดประกวดวิดีโอสั้นที่ผลิตด้วยเครื่องมือ AI ภายใต้โครงการ “Eye for Thailand” Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มธ. ปักหมุดหลักสูตร ‘AI Ethics’ หนุนบริบทใหม่ของห้องเรียนทันโลก สร้างจุดยืนคนรุ่นใหม่ ‘ใช้เอไออย่างมีจริยธรรม’ พร้อมเดินหน้าวางหมุดหมายระบบการศึกษาไทย กับการปลุกการใช้เทคฯ คู่ธรรมาภิบาล คาดเริ่มเปิดลงทะเบียนพร้อมเรียนจริง สิงหาคม 68 นี้ EZ WebmasterJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) ตอกย้ำจุดยืนเชิงรุกต่อการเปลี่ยนผ่านของโลกยุคดิจิทัล ผ่านการพัฒนาหลักสูตร “AI Ethics” หรือจริยธรรมปัญญาประดิษฐ์ ภายใต้ยุทธศาสตร์ Thammasat Next Century เตรียมความพร้อมให้เยาวชนไทยมีทั้งความรู้ ความสามารถ และความรับผิดชอบในการใช้งานเทคโนโลยีอย่างเหมาะสม โดยเฉพาะในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อที่ปัญญาประดิษฐ์กำลังกลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวัน ทั้งในห้องเรียน ที่ทำงาน และบนแพลตฟอร์มออนไลน์ต่าง ๆ โดยหลักสูตรนี้ถูกวางให้เป็นรากฐานสำคัญของระบบการศึกษายุคใหม่ ที่ไม่เพียงเน้นทักษะด้านเทคนิคเท่านั้น แต่ยังปลูกฝังค่านิยมที่ถูกต้องในการอยู่ร่วมกับเทคโนโลยี พร้อมชี้ให้เห็นถึงความเสี่ยงของ AI ที่เกิดจาก… 11 สาเหตุลึกซึ้ง ทำไมการศึกษาไทยยังตกต่ำ? เสียงสะท้อนจากครูชนบท สู่คำถามใหญ่ของสังคม EZ WebmasterJune 19, 2025 ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ประเทศไทยกำลังเผชิญกับวิกฤตคุณภาพทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง แม้จะมีความพยายามปฏิรูปหลายครั้ง แต่กลับไม่สามารถยกระดับการเรียนรู้ให้เทียบเท่าประเทศเพื่อนบ้านได้อย่างแท้จริงนายสานิตย์ พลศรี นายกสมาคมครูชนบทจังหวัดชัยภูมิ ในหัวข้อ “สาเหตุของปัญหาคุณภาพด้านการศึกษาประเทศไทยที่ตกต่ำ” ซึ่งกำลังถูกส่งต่ออย่างกว้างขวางในโซเชียลมีเดียและกลุ่มไลน์ของคนในแวดวงการศึกษาเสียงสะท้อนจากผู้ที่อยู่ในภาคสนามจริงอย่างนายสานิตย์ ทำให้เราได้เห็นภาพที่ชัดเจนมากขึ้นว่า ปัญหาไม่ได้อยู่ที่ตัวนักเรียนหรือครูเพียงลำพัง แต่เป็นผลสะสมจากโครงสร้าง ระบบ และการบริหารที่ผิดทิศผิดทางมานานจึงเป็นการเปิดประเด็นให้สังคมได้ทบทวนร่วมกันว่า หากเราไม่เริ่ม “เปลี่ยนจริง” คุณภาพการศึกษาของไทยอาจยิ่งตกต่ำลงกว่าที่เป็นอยู่ 11… ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา EZ WebmasterJune 18, 2025 วิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิทักษ์ ธรรมวาริน (คนที่ 4 จากซ้าย) คณบดีวิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สจล. และ Mr. Alfonso Martin (คนที่ 3… ทุนดีดี ทุนImperial Athletes Sport InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 20, 2025 Imperial College London เสนอทุนการศึกษา Imperial Athletes Sport เพื่อสนับสนุนนักกีฬาที่มีพรสวรรค์สำหรับปีการศึกษา 2025/2026 โดยเปิดโอกาสให้เลือกเรียนในหลากหลายสาขาวิชา เปิดรับใบสมัครถึง 4 สิงหาคม 2025 หากคุณกำลังแข่งขันในระดับภูมิภาค ระดับชาติ หรือระดับนานาชาติในกีฬาของคุณ และแสดงให้เห็นถึงพรสวรรค์… Kazan Global Youth Summit InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 19, 2025 เชิญเยาวชนสมัครคัดเลือกเข้าร่วมการประชุม Kazan Global Youth Summit ครั้งที่ 4 ระหว่างวันที่ 27 – 30 สิงหาคม 2568 ณ เมืองคาซาน สาธารณรัฐตาตาร์สตาน สหพันธรัฐรัสเซีย จัดโดยรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐตาตาร์สตาน… SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… ครู-อาจารย์ สวนสุนันทาให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากหลักสูตรครูทหารของกองทัพบกรุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากหลักสูตรครูทหารของกองทัพบกรุ่นที่ 5 วันที่ 20 มิถุนายน 2568 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากหลักสูตรการฝึกอบรมครูทหารของกองทัพบก รุ่นที่ 5 กรมยุทธศึกษาทหารบก ณ ห้องประชุมช่อแก้ว โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อแลกเปลี่ยนองค์ความรู้และประสบการณ์ด้านการบริหารจัดการและเทคโนโลยีทางการศึกษา กิจกรรมเริ่มต้นตั้งแต่เวลา 08.30 น. ด้วยการลงทะเบียนและรับฟังการกล่าวต้อนรับโดย รองศาสตราจารย์… จุฬาฯ ผงาดอันดับ Top 44 ของโลกด้านความยั่งยืน ใน THE Impact Rankings 2025 ครองอันดับ 1 ของไทยอีกครั้ง tui sakrapeeJune 20, 2025 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยผงาดอันดับ Top 44 ของโลก และครองอันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทยอีกครั้งหนึ่ง จากการจัดอันดับโดย Times Higher Education Impact Rankings 2025 ด้วยผลงานที่โดดเด่นในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนและสร้างผลกระทบสูงต่อสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง SDG 9… หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 📚เริ่มเรียน กรกฎาคม 2568 ถึง มกราคม 2569 ทุกวันพฤหัสบดี 11:00 – 18:00 น.… มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster May 22, 2025 EZ Webmaster May 22, 2025 “Smart Film ฟิล์มอัจฉริยะ” ฝีมือนักศึกษา มจธ. ปรับแสงได้-ผลิตพลังงานเอง แก้ปัญหาบ้านร้อนอย่างยั่งยืน ในวันที่โลกกำลังเผชิญกับวิกฤตพลังงานและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซึ่งการแก้ปัญหานั้นพลังของคนรุ่นใหม่ที่เต็มไปด้วยความคิดสร้างสรรค์สำคัญอย่างยิ่งต่อการสร้างนวัตกรรมเพื่อโลก เช่นเดียวกับนวัตกรรมของนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) อย่างผลงานวิจัยต้นแบบ “ฟิล์มจัดการพลังงานปรับความสว่างภายในอาคารที่ผลิตพลังงานได้ด้วยตัวเอง” หรือ “ฟิล์มอัจฉริยะ” ที่สามารถปรับระดับความโปร่งใสของฟิล์มให้เหมาะกับความสว่างของห้องได้เอง พร้อมใช้แสงอาทิตย์ในการผลิตกระแสไฟฟ้า เพื่อหล่อเลี้ยงระบบได้เอง เป็นแนวทางใหม่ที่ตอบโจทย์การใช้พลังงานในอาคารยุคใหม่ ที่ต้องการทั้งความยั่งยืน ความสวยงาม และความสะดวกสบายในการใช้งาน นวัตกรรมนี้คิดค้นโดยทีม “Power Maker” ซึ่งประกอบด้วย 3 นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ ประกอบด้วย จิรารัตน์ งานรุ่งเรือง, ภัชรพร ชัยแก้ว จากภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม และ ศศิธรณ์ พิกุลแก้ว จากภาควิชาวิศวกรรมเครื่องมือและวัสดุ โดยมี รศ. ดร.สุรวุฒิ ช่วงโชติ อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมเครื่องมือและวัสดุ คณะวิศวกรรมศาสตร์ และ รศ. ดร.ภาติญา เขมาชีวะกุล อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา “จุดเริ่มต้นเกิดจากการที่พวกเราสังเกตเห็นปัญหาการใช้พลังงานในอาคารที่มีกระจกเป็นวัสดุหลัก อย่าง อาคารสำนักงานหรือมหาวิทยาลัย ที่มักมีปัญหาแสงแดดส่องเข้ามามากเกินไปจนต้องปิดม่านบังแสงและเปิดไฟในเวลากลางวัน หรือเปิดแอร์ให้แรงขึ้นเพื่อจัดการกับความร้อนภายนอก ซึ่งพวกเรามองว่าเรื่องนี้เป็นการใช้พลังงานอย่างไม่คุ้มค่า ทั้งที่แสงแดดนั้นสามารถเป็นแหล่งพลังงานได้หากได้รับการจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ จึงนำปัญหาเหล่านี้ไปปรึกษาที่ปรึกษาในกลุ่มวิจัย Research Center of Advanced Materials for Energy and Environmental Technology (MEET)” จิรารัตน์ ตัวแทนทีมกล่าวถึงจุดเริ่มต้นของโครงการ โดยนวัตกรรมนี้เป็นการผสานสองเทคโนโลยีสำคัญเข้าด้วยกัน ได้แก่ “ฟิล์มอิเล็กโทรโครมิก (Electrochromic Film)” ที่สามารถควบคุมความโปร่งใสของฟิล์มได้ตามการจ่ายไฟฟ้า ที่ไปกระตุ้นการจัดเรียงโครงสร้างผลึกในวัสดุ และ “เซลล์แสงอาทิตย์ (Solar Cell)” ที่ถูกผนึกอยู่ในแผ่นฟิล์มที่สามารถเปลี่ยนพลังงานแสงที่ตกกระทบให้กลายเป็นพลังงานไฟฟ้าเพื่อนำไปใช้ในระบบได้ทันที ฟิล์มนี้ช่วยควบคุมปริมาณแสงที่ผ่านเข้ามาในห้อง ทำให้ลดความร้อนจากรังสีอินฟราเรดจึงช่วยประหยัดการใช้แอร์ ลดรังสียูวีที่ทำลายผิวและของใช้ในห้อง และยังปล่อยให้แสงส่องเข้ามาให้พอดีกับความต้องการ ช่วยลดการใช้หลอดไฟไปพร้อมกัน “พวกเราเริ่มพัฒนาแบบจำลองขนาดเล็ก 1×2 ตารางเมตร โดยจำลองพื้นที่ที่ใช้ติดตั้งภายในบ้าน และคำนวณกำลังไฟฟ้าที่ฟิล์มสามารถผลิตได้ใน 1 ปี เทียบกับการใช้งานอุปกรณ์ไฟฟ้าต่าง ๆ ผลลัพธ์ที่ได้คือ ฟิล์มต้นแบบนี้สามารถผลิตไฟฟ้าได้ตามมาตรฐานของเซลล์ที่นำมาใช้ และลดการใช้พลังงานไฟฟ้าในอาคารได้ถึง 22% ต่อปี ถือได้ว่าฟิล์มสามารถจ่ายไฟให้กับอุปกรณ์พื้นฐานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีศักยภาพในการลดภาระการใช้ไฟฟ้าจากโครงข่ายหลักของประเทศ ฟิล์มนี้จึงสามารถลดการใช้พลังงานและลดต้นทุนค่าไฟฟ้าได้อย่างเห็นผล รวมถึงสามารถผลิตไฟฟ้าเพื่อจ่ายให้กับอุปกรณ์ไฟฟ้าขนาดเล็กอย่างหลอดไฟ LED ได้อีกด้วย” ศศิธรณ์ เล่าถึงกระบวนการทดลองและผลกระทบที่เกิดขึ้น ความโดดเด่นของฟิล์มอัจฉริยะต้นแบบนี้ คือ สามารถติดตั้งได้โดยไม่ต้องเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของอาคาร ผู้ใช้งานเพียงแจ้งขนาดกระจกที่ต้องการติดตั้ง ทีมก็สามารถออกแบบฟิล์มตามขนาดจริงและผลิตได้ทันที ด้วยแนวคิด “Plug and Play” ที่ทำให้ผู้ใช้ไม่ต้องรื้อถอนหรือปรับแต่งระบบไฟฟ้าใด ๆ เพิ่มเติม เหมาะกับกลุ่มเป้าหมายที่ต้องการเห็นผลลัพธ์อย่างรวดเร็ว และต้องการปรับเปลี่ยนอาคารสู่แนวทางการใช้พลังงานสะอาดอย่างเป็นรูปธรรม “อีกสิ่งที่ทำให้นวัตกรรมนี้แตกต่างจากฟิล์มทั่วไปในท้องตลาด คือ ความสามารถในการ “คิดและปรับตัวได้” ทีมกำลังพัฒนาต้นแบบให้กลายเป็น “Smart Devices” อย่างเต็มรูปแบบ โดยจะฝังเซนเซอร์วัดความเข้มแสงและอุณหภูมิ รวมถึงมีระบบประมวลผลเพื่อตรวจจับกิจกรรมในห้องและปรับระดับความสว่างของฟิล์มอัตโนมัติ ตามช่วงเวลาหรือประเภทของกิจกรรม เช่น การอ่านหนังสือ การประชุม หรือการพักผ่อนในช่วงกลางวัน ทั้งหมดนี้จะทำให้ฟิล์มสามารถควบคุมตัวเองได้แบบ Real-Time ตอบสนองกับผู้ใช้ในชีวิตจริงอย่างชาญฉลาด” ภัชรพร อธิบาย นอกจากนี้ยังให้ความสำคัญกับ “ความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม” โดยเลือกใช้วัสดุที่สามารถรีไซเคิลได้ง่าย มีการออกแบบโมดูลของแผงเซลล์ให้สามารถถอดเปลี่ยนหรือแยกชิ้นได้เมื่อหมดอายุการใช้งาน ไม่ก่อให้เกิดมลพิษตกค้าง และช่วยลดปริมาณขยะอิเล็กทรอนิกส์ในอนาคต ซึ่งทั้งหมดนี้สอดคล้องกับเป้าหมาย “Net Zero Emission” ที่องค์กรระดับนานาชาติให้ความสำคัญ แม้ฟิล์มนี้ยังอยู่ในขั้นต้นแบบ แต่ทีม Power Maker ก็เริ่มได้รับความสนใจจากผู้ประกอบการ (จากการเสนอผลงานในงานหนึ่ง) และตั้งเป้าวางแผนพัฒนาต่อยอด พร้อมทั้งเตรียมเข้าสู่กระบวนการจดอนุสิทธิบัตรเพื่อปกป้องทรัพย์สินทางปัญญา ทีมยังวางแผนการผลิตในระดับอุตสาหกรรมร่วมกับภาคเอกชนในอนาคต เพื่อให้สามารถตอบสนองตลาดที่ต้องการเปลี่ยนผ่านสู่พลังงานสะอาดและเทคโนโลยีสีเขียว “อีกเรื่องที่สำคัญมากสำหรับพวกเราก็คือ การได้เรียนรู้ร่วมกัน พวกเรามาจากต่างภาควิชา ต้องช่วยกันคิด ทำงานเป็นทีม พวกเราแลกเปลี่ยนความคิดและคุยกันเยอะมาก เพื่อหาทางออกที่ทุกคนเข้าใจตรงกัน และการได้ฝึกการสื่อสารกับทั้งผู้ใช้ คนที่ให้การสนับสนุน รวมถึงอาจารย์ที่ปรึกษา มันเป็นประสบการณ์ที่ทำให้รู้สึกเหมือนได้ลองทำงานจริงก่อนจะไปเจอของจริงหลังเรียนจบ”ศศิธรณ์ กล่าวด้วยรอยยิ้ม รศ. ดร.สุรวุฒิ และ รศ. ดร.ภาติญา ที่ปรึกษาโครงการ เห็นตรงกันว่า “การได้ลงมือทำงานจากโจทย์ปัญหาจริง และสามารถพัฒนานวัตกรรมที่มีศักยภาพต่อยอดสู่ระดับอุตสาหกรรมได้นั้น เป็นประสบการณ์อันมีคุณค่า ไม่เพียงแต่ช่วยยกระดับทักษะของทีมเท่านั้น แต่ยังเป็นการสร้างโปรไฟล์ที่โดดเด่น ช่วยให้นักศึกษาพร้อมเข้าสู่ตลาดแรงงานอย่างมั่นใจ และสามารถตอบโจทย์ความต้องการของภาคอุตสาหกรรมได้” และแม้ว่าฟิล์มอัจฉริยะนี้จะยังเป็นเพียงต้นแบบ แต่ก็สะท้อนให้เห็นว่า ถ้าเปิดโอกาสให้คนรุ่นใหม่ได้ลองคิด ลองทำจริง พวกเขาก็พร้อมจะสร้างสิ่งใหม่ๆ ที่มีความหมาย และช่วยเปลี่ยนอนาคตของโลกใบนี้ให้ดีขึ้นได้ EZ Webmaster Related Posts โรงเรียนปลอดมือถือ! อังกฤษ-ออสเตรเลียเริ่มแล้ว ดึงเด็กกลับมาสนใจครูในห้องเรียน มธ. ปักหมุดหลักสูตร ‘AI Ethics’ หนุนบริบทใหม่ของห้องเรียนทันโลก สร้างจุดยืนคนรุ่นใหม่ ‘ใช้เอไออย่างมีจริยธรรม’ พร้อมเดินหน้าวางหมุดหมายระบบการศึกษาไทย กับการปลุกการใช้เทคฯ คู่ธรรมาภิบาล คาดเริ่มเปิดลงทะเบียนพร้อมเรียนจริง สิงหาคม 68 นี้ 11 สาเหตุลึกซึ้ง ทำไมการศึกษาไทยยังตกต่ำ? เสียงสะท้อนจากครูชนบท สู่คำถามใหญ่ของสังคม ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ ม.หอการค้าไทย จัดหลักสูตรรุกหน้าการันตี “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน!!” Post navigation PREVIOUS Previous post: สถาปัตย์ ม.รังสิต จัดเวิร์กชอปชวนน้องม.ปลายค้นหาตัวตน ปูพื้นฐานอาชีพสถาปนิก พร้อมรับทุนฯ 5,000 บาทNEXT Next post: ดีป้า และ อาลีบาบา คลาวด์ จัดประกวดวิดีโอสั้นที่ผลิตด้วยเครื่องมือ AI ภายใต้โครงการ “Eye for Thailand” Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
11 สาเหตุลึกซึ้ง ทำไมการศึกษาไทยยังตกต่ำ? เสียงสะท้อนจากครูชนบท สู่คำถามใหญ่ของสังคม EZ WebmasterJune 19, 2025 ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ประเทศไทยกำลังเผชิญกับวิกฤตคุณภาพทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง แม้จะมีความพยายามปฏิรูปหลายครั้ง แต่กลับไม่สามารถยกระดับการเรียนรู้ให้เทียบเท่าประเทศเพื่อนบ้านได้อย่างแท้จริงนายสานิตย์ พลศรี นายกสมาคมครูชนบทจังหวัดชัยภูมิ ในหัวข้อ “สาเหตุของปัญหาคุณภาพด้านการศึกษาประเทศไทยที่ตกต่ำ” ซึ่งกำลังถูกส่งต่ออย่างกว้างขวางในโซเชียลมีเดียและกลุ่มไลน์ของคนในแวดวงการศึกษาเสียงสะท้อนจากผู้ที่อยู่ในภาคสนามจริงอย่างนายสานิตย์ ทำให้เราได้เห็นภาพที่ชัดเจนมากขึ้นว่า ปัญหาไม่ได้อยู่ที่ตัวนักเรียนหรือครูเพียงลำพัง แต่เป็นผลสะสมจากโครงสร้าง ระบบ และการบริหารที่ผิดทิศผิดทางมานานจึงเป็นการเปิดประเด็นให้สังคมได้ทบทวนร่วมกันว่า หากเราไม่เริ่ม “เปลี่ยนจริง” คุณภาพการศึกษาของไทยอาจยิ่งตกต่ำลงกว่าที่เป็นอยู่ 11… ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา EZ WebmasterJune 18, 2025 วิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิทักษ์ ธรรมวาริน (คนที่ 4 จากซ้าย) คณบดีวิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สจล. และ Mr. Alfonso Martin (คนที่ 3…
ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา EZ WebmasterJune 18, 2025 วิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิทักษ์ ธรรมวาริน (คนที่ 4 จากซ้าย) คณบดีวิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สจล. และ Mr. Alfonso Martin (คนที่ 3…
ทุนImperial Athletes Sport InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 20, 2025 Imperial College London เสนอทุนการศึกษา Imperial Athletes Sport เพื่อสนับสนุนนักกีฬาที่มีพรสวรรค์สำหรับปีการศึกษา 2025/2026 โดยเปิดโอกาสให้เลือกเรียนในหลากหลายสาขาวิชา เปิดรับใบสมัครถึง 4 สิงหาคม 2025 หากคุณกำลังแข่งขันในระดับภูมิภาค ระดับชาติ หรือระดับนานาชาติในกีฬาของคุณ และแสดงให้เห็นถึงพรสวรรค์… Kazan Global Youth Summit InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 19, 2025 เชิญเยาวชนสมัครคัดเลือกเข้าร่วมการประชุม Kazan Global Youth Summit ครั้งที่ 4 ระหว่างวันที่ 27 – 30 สิงหาคม 2568 ณ เมืองคาซาน สาธารณรัฐตาตาร์สตาน สหพันธรัฐรัสเซีย จัดโดยรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐตาตาร์สตาน… SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… ครู-อาจารย์ สวนสุนันทาให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากหลักสูตรครูทหารของกองทัพบกรุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากหลักสูตรครูทหารของกองทัพบกรุ่นที่ 5 วันที่ 20 มิถุนายน 2568 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากหลักสูตรการฝึกอบรมครูทหารของกองทัพบก รุ่นที่ 5 กรมยุทธศึกษาทหารบก ณ ห้องประชุมช่อแก้ว โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อแลกเปลี่ยนองค์ความรู้และประสบการณ์ด้านการบริหารจัดการและเทคโนโลยีทางการศึกษา กิจกรรมเริ่มต้นตั้งแต่เวลา 08.30 น. ด้วยการลงทะเบียนและรับฟังการกล่าวต้อนรับโดย รองศาสตราจารย์… จุฬาฯ ผงาดอันดับ Top 44 ของโลกด้านความยั่งยืน ใน THE Impact Rankings 2025 ครองอันดับ 1 ของไทยอีกครั้ง tui sakrapeeJune 20, 2025 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยผงาดอันดับ Top 44 ของโลก และครองอันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทยอีกครั้งหนึ่ง จากการจัดอันดับโดย Times Higher Education Impact Rankings 2025 ด้วยผลงานที่โดดเด่นในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนและสร้างผลกระทบสูงต่อสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง SDG 9… หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 📚เริ่มเรียน กรกฎาคม 2568 ถึง มกราคม 2569 ทุกวันพฤหัสบดี 11:00 – 18:00 น.… มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster May 22, 2025 EZ Webmaster May 22, 2025 “Smart Film ฟิล์มอัจฉริยะ” ฝีมือนักศึกษา มจธ. ปรับแสงได้-ผลิตพลังงานเอง แก้ปัญหาบ้านร้อนอย่างยั่งยืน ในวันที่โลกกำลังเผชิญกับวิกฤตพลังงานและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซึ่งการแก้ปัญหานั้นพลังของคนรุ่นใหม่ที่เต็มไปด้วยความคิดสร้างสรรค์สำคัญอย่างยิ่งต่อการสร้างนวัตกรรมเพื่อโลก เช่นเดียวกับนวัตกรรมของนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) อย่างผลงานวิจัยต้นแบบ “ฟิล์มจัดการพลังงานปรับความสว่างภายในอาคารที่ผลิตพลังงานได้ด้วยตัวเอง” หรือ “ฟิล์มอัจฉริยะ” ที่สามารถปรับระดับความโปร่งใสของฟิล์มให้เหมาะกับความสว่างของห้องได้เอง พร้อมใช้แสงอาทิตย์ในการผลิตกระแสไฟฟ้า เพื่อหล่อเลี้ยงระบบได้เอง เป็นแนวทางใหม่ที่ตอบโจทย์การใช้พลังงานในอาคารยุคใหม่ ที่ต้องการทั้งความยั่งยืน ความสวยงาม และความสะดวกสบายในการใช้งาน นวัตกรรมนี้คิดค้นโดยทีม “Power Maker” ซึ่งประกอบด้วย 3 นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ ประกอบด้วย จิรารัตน์ งานรุ่งเรือง, ภัชรพร ชัยแก้ว จากภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม และ ศศิธรณ์ พิกุลแก้ว จากภาควิชาวิศวกรรมเครื่องมือและวัสดุ โดยมี รศ. ดร.สุรวุฒิ ช่วงโชติ อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมเครื่องมือและวัสดุ คณะวิศวกรรมศาสตร์ และ รศ. ดร.ภาติญา เขมาชีวะกุล อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา “จุดเริ่มต้นเกิดจากการที่พวกเราสังเกตเห็นปัญหาการใช้พลังงานในอาคารที่มีกระจกเป็นวัสดุหลัก อย่าง อาคารสำนักงานหรือมหาวิทยาลัย ที่มักมีปัญหาแสงแดดส่องเข้ามามากเกินไปจนต้องปิดม่านบังแสงและเปิดไฟในเวลากลางวัน หรือเปิดแอร์ให้แรงขึ้นเพื่อจัดการกับความร้อนภายนอก ซึ่งพวกเรามองว่าเรื่องนี้เป็นการใช้พลังงานอย่างไม่คุ้มค่า ทั้งที่แสงแดดนั้นสามารถเป็นแหล่งพลังงานได้หากได้รับการจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ จึงนำปัญหาเหล่านี้ไปปรึกษาที่ปรึกษาในกลุ่มวิจัย Research Center of Advanced Materials for Energy and Environmental Technology (MEET)” จิรารัตน์ ตัวแทนทีมกล่าวถึงจุดเริ่มต้นของโครงการ โดยนวัตกรรมนี้เป็นการผสานสองเทคโนโลยีสำคัญเข้าด้วยกัน ได้แก่ “ฟิล์มอิเล็กโทรโครมิก (Electrochromic Film)” ที่สามารถควบคุมความโปร่งใสของฟิล์มได้ตามการจ่ายไฟฟ้า ที่ไปกระตุ้นการจัดเรียงโครงสร้างผลึกในวัสดุ และ “เซลล์แสงอาทิตย์ (Solar Cell)” ที่ถูกผนึกอยู่ในแผ่นฟิล์มที่สามารถเปลี่ยนพลังงานแสงที่ตกกระทบให้กลายเป็นพลังงานไฟฟ้าเพื่อนำไปใช้ในระบบได้ทันที ฟิล์มนี้ช่วยควบคุมปริมาณแสงที่ผ่านเข้ามาในห้อง ทำให้ลดความร้อนจากรังสีอินฟราเรดจึงช่วยประหยัดการใช้แอร์ ลดรังสียูวีที่ทำลายผิวและของใช้ในห้อง และยังปล่อยให้แสงส่องเข้ามาให้พอดีกับความต้องการ ช่วยลดการใช้หลอดไฟไปพร้อมกัน “พวกเราเริ่มพัฒนาแบบจำลองขนาดเล็ก 1×2 ตารางเมตร โดยจำลองพื้นที่ที่ใช้ติดตั้งภายในบ้าน และคำนวณกำลังไฟฟ้าที่ฟิล์มสามารถผลิตได้ใน 1 ปี เทียบกับการใช้งานอุปกรณ์ไฟฟ้าต่าง ๆ ผลลัพธ์ที่ได้คือ ฟิล์มต้นแบบนี้สามารถผลิตไฟฟ้าได้ตามมาตรฐานของเซลล์ที่นำมาใช้ และลดการใช้พลังงานไฟฟ้าในอาคารได้ถึง 22% ต่อปี ถือได้ว่าฟิล์มสามารถจ่ายไฟให้กับอุปกรณ์พื้นฐานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีศักยภาพในการลดภาระการใช้ไฟฟ้าจากโครงข่ายหลักของประเทศ ฟิล์มนี้จึงสามารถลดการใช้พลังงานและลดต้นทุนค่าไฟฟ้าได้อย่างเห็นผล รวมถึงสามารถผลิตไฟฟ้าเพื่อจ่ายให้กับอุปกรณ์ไฟฟ้าขนาดเล็กอย่างหลอดไฟ LED ได้อีกด้วย” ศศิธรณ์ เล่าถึงกระบวนการทดลองและผลกระทบที่เกิดขึ้น ความโดดเด่นของฟิล์มอัจฉริยะต้นแบบนี้ คือ สามารถติดตั้งได้โดยไม่ต้องเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของอาคาร ผู้ใช้งานเพียงแจ้งขนาดกระจกที่ต้องการติดตั้ง ทีมก็สามารถออกแบบฟิล์มตามขนาดจริงและผลิตได้ทันที ด้วยแนวคิด “Plug and Play” ที่ทำให้ผู้ใช้ไม่ต้องรื้อถอนหรือปรับแต่งระบบไฟฟ้าใด ๆ เพิ่มเติม เหมาะกับกลุ่มเป้าหมายที่ต้องการเห็นผลลัพธ์อย่างรวดเร็ว และต้องการปรับเปลี่ยนอาคารสู่แนวทางการใช้พลังงานสะอาดอย่างเป็นรูปธรรม “อีกสิ่งที่ทำให้นวัตกรรมนี้แตกต่างจากฟิล์มทั่วไปในท้องตลาด คือ ความสามารถในการ “คิดและปรับตัวได้” ทีมกำลังพัฒนาต้นแบบให้กลายเป็น “Smart Devices” อย่างเต็มรูปแบบ โดยจะฝังเซนเซอร์วัดความเข้มแสงและอุณหภูมิ รวมถึงมีระบบประมวลผลเพื่อตรวจจับกิจกรรมในห้องและปรับระดับความสว่างของฟิล์มอัตโนมัติ ตามช่วงเวลาหรือประเภทของกิจกรรม เช่น การอ่านหนังสือ การประชุม หรือการพักผ่อนในช่วงกลางวัน ทั้งหมดนี้จะทำให้ฟิล์มสามารถควบคุมตัวเองได้แบบ Real-Time ตอบสนองกับผู้ใช้ในชีวิตจริงอย่างชาญฉลาด” ภัชรพร อธิบาย นอกจากนี้ยังให้ความสำคัญกับ “ความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม” โดยเลือกใช้วัสดุที่สามารถรีไซเคิลได้ง่าย มีการออกแบบโมดูลของแผงเซลล์ให้สามารถถอดเปลี่ยนหรือแยกชิ้นได้เมื่อหมดอายุการใช้งาน ไม่ก่อให้เกิดมลพิษตกค้าง และช่วยลดปริมาณขยะอิเล็กทรอนิกส์ในอนาคต ซึ่งทั้งหมดนี้สอดคล้องกับเป้าหมาย “Net Zero Emission” ที่องค์กรระดับนานาชาติให้ความสำคัญ แม้ฟิล์มนี้ยังอยู่ในขั้นต้นแบบ แต่ทีม Power Maker ก็เริ่มได้รับความสนใจจากผู้ประกอบการ (จากการเสนอผลงานในงานหนึ่ง) และตั้งเป้าวางแผนพัฒนาต่อยอด พร้อมทั้งเตรียมเข้าสู่กระบวนการจดอนุสิทธิบัตรเพื่อปกป้องทรัพย์สินทางปัญญา ทีมยังวางแผนการผลิตในระดับอุตสาหกรรมร่วมกับภาคเอกชนในอนาคต เพื่อให้สามารถตอบสนองตลาดที่ต้องการเปลี่ยนผ่านสู่พลังงานสะอาดและเทคโนโลยีสีเขียว “อีกเรื่องที่สำคัญมากสำหรับพวกเราก็คือ การได้เรียนรู้ร่วมกัน พวกเรามาจากต่างภาควิชา ต้องช่วยกันคิด ทำงานเป็นทีม พวกเราแลกเปลี่ยนความคิดและคุยกันเยอะมาก เพื่อหาทางออกที่ทุกคนเข้าใจตรงกัน และการได้ฝึกการสื่อสารกับทั้งผู้ใช้ คนที่ให้การสนับสนุน รวมถึงอาจารย์ที่ปรึกษา มันเป็นประสบการณ์ที่ทำให้รู้สึกเหมือนได้ลองทำงานจริงก่อนจะไปเจอของจริงหลังเรียนจบ”ศศิธรณ์ กล่าวด้วยรอยยิ้ม รศ. ดร.สุรวุฒิ และ รศ. ดร.ภาติญา ที่ปรึกษาโครงการ เห็นตรงกันว่า “การได้ลงมือทำงานจากโจทย์ปัญหาจริง และสามารถพัฒนานวัตกรรมที่มีศักยภาพต่อยอดสู่ระดับอุตสาหกรรมได้นั้น เป็นประสบการณ์อันมีคุณค่า ไม่เพียงแต่ช่วยยกระดับทักษะของทีมเท่านั้น แต่ยังเป็นการสร้างโปรไฟล์ที่โดดเด่น ช่วยให้นักศึกษาพร้อมเข้าสู่ตลาดแรงงานอย่างมั่นใจ และสามารถตอบโจทย์ความต้องการของภาคอุตสาหกรรมได้” และแม้ว่าฟิล์มอัจฉริยะนี้จะยังเป็นเพียงต้นแบบ แต่ก็สะท้อนให้เห็นว่า ถ้าเปิดโอกาสให้คนรุ่นใหม่ได้ลองคิด ลองทำจริง พวกเขาก็พร้อมจะสร้างสิ่งใหม่ๆ ที่มีความหมาย และช่วยเปลี่ยนอนาคตของโลกใบนี้ให้ดีขึ้นได้ EZ Webmaster Related Posts โรงเรียนปลอดมือถือ! อังกฤษ-ออสเตรเลียเริ่มแล้ว ดึงเด็กกลับมาสนใจครูในห้องเรียน มธ. ปักหมุดหลักสูตร ‘AI Ethics’ หนุนบริบทใหม่ของห้องเรียนทันโลก สร้างจุดยืนคนรุ่นใหม่ ‘ใช้เอไออย่างมีจริยธรรม’ พร้อมเดินหน้าวางหมุดหมายระบบการศึกษาไทย กับการปลุกการใช้เทคฯ คู่ธรรมาภิบาล คาดเริ่มเปิดลงทะเบียนพร้อมเรียนจริง สิงหาคม 68 นี้ 11 สาเหตุลึกซึ้ง ทำไมการศึกษาไทยยังตกต่ำ? เสียงสะท้อนจากครูชนบท สู่คำถามใหญ่ของสังคม ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ ม.หอการค้าไทย จัดหลักสูตรรุกหน้าการันตี “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน!!” Post navigation PREVIOUS Previous post: สถาปัตย์ ม.รังสิต จัดเวิร์กชอปชวนน้องม.ปลายค้นหาตัวตน ปูพื้นฐานอาชีพสถาปนิก พร้อมรับทุนฯ 5,000 บาทNEXT Next post: ดีป้า และ อาลีบาบา คลาวด์ จัดประกวดวิดีโอสั้นที่ผลิตด้วยเครื่องมือ AI ภายใต้โครงการ “Eye for Thailand” Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
Kazan Global Youth Summit InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 19, 2025 เชิญเยาวชนสมัครคัดเลือกเข้าร่วมการประชุม Kazan Global Youth Summit ครั้งที่ 4 ระหว่างวันที่ 27 – 30 สิงหาคม 2568 ณ เมืองคาซาน สาธารณรัฐตาตาร์สตาน สหพันธรัฐรัสเซีย จัดโดยรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐตาตาร์สตาน… SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… ครู-อาจารย์ สวนสุนันทาให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากหลักสูตรครูทหารของกองทัพบกรุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากหลักสูตรครูทหารของกองทัพบกรุ่นที่ 5 วันที่ 20 มิถุนายน 2568 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากหลักสูตรการฝึกอบรมครูทหารของกองทัพบก รุ่นที่ 5 กรมยุทธศึกษาทหารบก ณ ห้องประชุมช่อแก้ว โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อแลกเปลี่ยนองค์ความรู้และประสบการณ์ด้านการบริหารจัดการและเทคโนโลยีทางการศึกษา กิจกรรมเริ่มต้นตั้งแต่เวลา 08.30 น. ด้วยการลงทะเบียนและรับฟังการกล่าวต้อนรับโดย รองศาสตราจารย์… จุฬาฯ ผงาดอันดับ Top 44 ของโลกด้านความยั่งยืน ใน THE Impact Rankings 2025 ครองอันดับ 1 ของไทยอีกครั้ง tui sakrapeeJune 20, 2025 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยผงาดอันดับ Top 44 ของโลก และครองอันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทยอีกครั้งหนึ่ง จากการจัดอันดับโดย Times Higher Education Impact Rankings 2025 ด้วยผลงานที่โดดเด่นในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนและสร้างผลกระทบสูงต่อสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง SDG 9… หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 📚เริ่มเรียน กรกฎาคม 2568 ถึง มกราคม 2569 ทุกวันพฤหัสบดี 11:00 – 18:00 น.… มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster May 22, 2025 EZ Webmaster May 22, 2025 “Smart Film ฟิล์มอัจฉริยะ” ฝีมือนักศึกษา มจธ. ปรับแสงได้-ผลิตพลังงานเอง แก้ปัญหาบ้านร้อนอย่างยั่งยืน ในวันที่โลกกำลังเผชิญกับวิกฤตพลังงานและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซึ่งการแก้ปัญหานั้นพลังของคนรุ่นใหม่ที่เต็มไปด้วยความคิดสร้างสรรค์สำคัญอย่างยิ่งต่อการสร้างนวัตกรรมเพื่อโลก เช่นเดียวกับนวัตกรรมของนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) อย่างผลงานวิจัยต้นแบบ “ฟิล์มจัดการพลังงานปรับความสว่างภายในอาคารที่ผลิตพลังงานได้ด้วยตัวเอง” หรือ “ฟิล์มอัจฉริยะ” ที่สามารถปรับระดับความโปร่งใสของฟิล์มให้เหมาะกับความสว่างของห้องได้เอง พร้อมใช้แสงอาทิตย์ในการผลิตกระแสไฟฟ้า เพื่อหล่อเลี้ยงระบบได้เอง เป็นแนวทางใหม่ที่ตอบโจทย์การใช้พลังงานในอาคารยุคใหม่ ที่ต้องการทั้งความยั่งยืน ความสวยงาม และความสะดวกสบายในการใช้งาน นวัตกรรมนี้คิดค้นโดยทีม “Power Maker” ซึ่งประกอบด้วย 3 นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ ประกอบด้วย จิรารัตน์ งานรุ่งเรือง, ภัชรพร ชัยแก้ว จากภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม และ ศศิธรณ์ พิกุลแก้ว จากภาควิชาวิศวกรรมเครื่องมือและวัสดุ โดยมี รศ. ดร.สุรวุฒิ ช่วงโชติ อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมเครื่องมือและวัสดุ คณะวิศวกรรมศาสตร์ และ รศ. ดร.ภาติญา เขมาชีวะกุล อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา “จุดเริ่มต้นเกิดจากการที่พวกเราสังเกตเห็นปัญหาการใช้พลังงานในอาคารที่มีกระจกเป็นวัสดุหลัก อย่าง อาคารสำนักงานหรือมหาวิทยาลัย ที่มักมีปัญหาแสงแดดส่องเข้ามามากเกินไปจนต้องปิดม่านบังแสงและเปิดไฟในเวลากลางวัน หรือเปิดแอร์ให้แรงขึ้นเพื่อจัดการกับความร้อนภายนอก ซึ่งพวกเรามองว่าเรื่องนี้เป็นการใช้พลังงานอย่างไม่คุ้มค่า ทั้งที่แสงแดดนั้นสามารถเป็นแหล่งพลังงานได้หากได้รับการจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ จึงนำปัญหาเหล่านี้ไปปรึกษาที่ปรึกษาในกลุ่มวิจัย Research Center of Advanced Materials for Energy and Environmental Technology (MEET)” จิรารัตน์ ตัวแทนทีมกล่าวถึงจุดเริ่มต้นของโครงการ โดยนวัตกรรมนี้เป็นการผสานสองเทคโนโลยีสำคัญเข้าด้วยกัน ได้แก่ “ฟิล์มอิเล็กโทรโครมิก (Electrochromic Film)” ที่สามารถควบคุมความโปร่งใสของฟิล์มได้ตามการจ่ายไฟฟ้า ที่ไปกระตุ้นการจัดเรียงโครงสร้างผลึกในวัสดุ และ “เซลล์แสงอาทิตย์ (Solar Cell)” ที่ถูกผนึกอยู่ในแผ่นฟิล์มที่สามารถเปลี่ยนพลังงานแสงที่ตกกระทบให้กลายเป็นพลังงานไฟฟ้าเพื่อนำไปใช้ในระบบได้ทันที ฟิล์มนี้ช่วยควบคุมปริมาณแสงที่ผ่านเข้ามาในห้อง ทำให้ลดความร้อนจากรังสีอินฟราเรดจึงช่วยประหยัดการใช้แอร์ ลดรังสียูวีที่ทำลายผิวและของใช้ในห้อง และยังปล่อยให้แสงส่องเข้ามาให้พอดีกับความต้องการ ช่วยลดการใช้หลอดไฟไปพร้อมกัน “พวกเราเริ่มพัฒนาแบบจำลองขนาดเล็ก 1×2 ตารางเมตร โดยจำลองพื้นที่ที่ใช้ติดตั้งภายในบ้าน และคำนวณกำลังไฟฟ้าที่ฟิล์มสามารถผลิตได้ใน 1 ปี เทียบกับการใช้งานอุปกรณ์ไฟฟ้าต่าง ๆ ผลลัพธ์ที่ได้คือ ฟิล์มต้นแบบนี้สามารถผลิตไฟฟ้าได้ตามมาตรฐานของเซลล์ที่นำมาใช้ และลดการใช้พลังงานไฟฟ้าในอาคารได้ถึง 22% ต่อปี ถือได้ว่าฟิล์มสามารถจ่ายไฟให้กับอุปกรณ์พื้นฐานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีศักยภาพในการลดภาระการใช้ไฟฟ้าจากโครงข่ายหลักของประเทศ ฟิล์มนี้จึงสามารถลดการใช้พลังงานและลดต้นทุนค่าไฟฟ้าได้อย่างเห็นผล รวมถึงสามารถผลิตไฟฟ้าเพื่อจ่ายให้กับอุปกรณ์ไฟฟ้าขนาดเล็กอย่างหลอดไฟ LED ได้อีกด้วย” ศศิธรณ์ เล่าถึงกระบวนการทดลองและผลกระทบที่เกิดขึ้น ความโดดเด่นของฟิล์มอัจฉริยะต้นแบบนี้ คือ สามารถติดตั้งได้โดยไม่ต้องเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของอาคาร ผู้ใช้งานเพียงแจ้งขนาดกระจกที่ต้องการติดตั้ง ทีมก็สามารถออกแบบฟิล์มตามขนาดจริงและผลิตได้ทันที ด้วยแนวคิด “Plug and Play” ที่ทำให้ผู้ใช้ไม่ต้องรื้อถอนหรือปรับแต่งระบบไฟฟ้าใด ๆ เพิ่มเติม เหมาะกับกลุ่มเป้าหมายที่ต้องการเห็นผลลัพธ์อย่างรวดเร็ว และต้องการปรับเปลี่ยนอาคารสู่แนวทางการใช้พลังงานสะอาดอย่างเป็นรูปธรรม “อีกสิ่งที่ทำให้นวัตกรรมนี้แตกต่างจากฟิล์มทั่วไปในท้องตลาด คือ ความสามารถในการ “คิดและปรับตัวได้” ทีมกำลังพัฒนาต้นแบบให้กลายเป็น “Smart Devices” อย่างเต็มรูปแบบ โดยจะฝังเซนเซอร์วัดความเข้มแสงและอุณหภูมิ รวมถึงมีระบบประมวลผลเพื่อตรวจจับกิจกรรมในห้องและปรับระดับความสว่างของฟิล์มอัตโนมัติ ตามช่วงเวลาหรือประเภทของกิจกรรม เช่น การอ่านหนังสือ การประชุม หรือการพักผ่อนในช่วงกลางวัน ทั้งหมดนี้จะทำให้ฟิล์มสามารถควบคุมตัวเองได้แบบ Real-Time ตอบสนองกับผู้ใช้ในชีวิตจริงอย่างชาญฉลาด” ภัชรพร อธิบาย นอกจากนี้ยังให้ความสำคัญกับ “ความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม” โดยเลือกใช้วัสดุที่สามารถรีไซเคิลได้ง่าย มีการออกแบบโมดูลของแผงเซลล์ให้สามารถถอดเปลี่ยนหรือแยกชิ้นได้เมื่อหมดอายุการใช้งาน ไม่ก่อให้เกิดมลพิษตกค้าง และช่วยลดปริมาณขยะอิเล็กทรอนิกส์ในอนาคต ซึ่งทั้งหมดนี้สอดคล้องกับเป้าหมาย “Net Zero Emission” ที่องค์กรระดับนานาชาติให้ความสำคัญ แม้ฟิล์มนี้ยังอยู่ในขั้นต้นแบบ แต่ทีม Power Maker ก็เริ่มได้รับความสนใจจากผู้ประกอบการ (จากการเสนอผลงานในงานหนึ่ง) และตั้งเป้าวางแผนพัฒนาต่อยอด พร้อมทั้งเตรียมเข้าสู่กระบวนการจดอนุสิทธิบัตรเพื่อปกป้องทรัพย์สินทางปัญญา ทีมยังวางแผนการผลิตในระดับอุตสาหกรรมร่วมกับภาคเอกชนในอนาคต เพื่อให้สามารถตอบสนองตลาดที่ต้องการเปลี่ยนผ่านสู่พลังงานสะอาดและเทคโนโลยีสีเขียว “อีกเรื่องที่สำคัญมากสำหรับพวกเราก็คือ การได้เรียนรู้ร่วมกัน พวกเรามาจากต่างภาควิชา ต้องช่วยกันคิด ทำงานเป็นทีม พวกเราแลกเปลี่ยนความคิดและคุยกันเยอะมาก เพื่อหาทางออกที่ทุกคนเข้าใจตรงกัน และการได้ฝึกการสื่อสารกับทั้งผู้ใช้ คนที่ให้การสนับสนุน รวมถึงอาจารย์ที่ปรึกษา มันเป็นประสบการณ์ที่ทำให้รู้สึกเหมือนได้ลองทำงานจริงก่อนจะไปเจอของจริงหลังเรียนจบ”ศศิธรณ์ กล่าวด้วยรอยยิ้ม รศ. ดร.สุรวุฒิ และ รศ. ดร.ภาติญา ที่ปรึกษาโครงการ เห็นตรงกันว่า “การได้ลงมือทำงานจากโจทย์ปัญหาจริง และสามารถพัฒนานวัตกรรมที่มีศักยภาพต่อยอดสู่ระดับอุตสาหกรรมได้นั้น เป็นประสบการณ์อันมีคุณค่า ไม่เพียงแต่ช่วยยกระดับทักษะของทีมเท่านั้น แต่ยังเป็นการสร้างโปรไฟล์ที่โดดเด่น ช่วยให้นักศึกษาพร้อมเข้าสู่ตลาดแรงงานอย่างมั่นใจ และสามารถตอบโจทย์ความต้องการของภาคอุตสาหกรรมได้” และแม้ว่าฟิล์มอัจฉริยะนี้จะยังเป็นเพียงต้นแบบ แต่ก็สะท้อนให้เห็นว่า ถ้าเปิดโอกาสให้คนรุ่นใหม่ได้ลองคิด ลองทำจริง พวกเขาก็พร้อมจะสร้างสิ่งใหม่ๆ ที่มีความหมาย และช่วยเปลี่ยนอนาคตของโลกใบนี้ให้ดีขึ้นได้ EZ Webmaster Related Posts โรงเรียนปลอดมือถือ! อังกฤษ-ออสเตรเลียเริ่มแล้ว ดึงเด็กกลับมาสนใจครูในห้องเรียน มธ. ปักหมุดหลักสูตร ‘AI Ethics’ หนุนบริบทใหม่ของห้องเรียนทันโลก สร้างจุดยืนคนรุ่นใหม่ ‘ใช้เอไออย่างมีจริยธรรม’ พร้อมเดินหน้าวางหมุดหมายระบบการศึกษาไทย กับการปลุกการใช้เทคฯ คู่ธรรมาภิบาล คาดเริ่มเปิดลงทะเบียนพร้อมเรียนจริง สิงหาคม 68 นี้ 11 สาเหตุลึกซึ้ง ทำไมการศึกษาไทยยังตกต่ำ? เสียงสะท้อนจากครูชนบท สู่คำถามใหญ่ของสังคม ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ ม.หอการค้าไทย จัดหลักสูตรรุกหน้าการันตี “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน!!” Post navigation PREVIOUS Previous post: สถาปัตย์ ม.รังสิต จัดเวิร์กชอปชวนน้องม.ปลายค้นหาตัวตน ปูพื้นฐานอาชีพสถาปนิก พร้อมรับทุนฯ 5,000 บาทNEXT Next post: ดีป้า และ อาลีบาบา คลาวด์ จัดประกวดวิดีโอสั้นที่ผลิตด้วยเครื่องมือ AI ภายใต้โครงการ “Eye for Thailand” Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม…
ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม…
สวนสุนันทาให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากหลักสูตรครูทหารของกองทัพบกรุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากหลักสูตรครูทหารของกองทัพบกรุ่นที่ 5 วันที่ 20 มิถุนายน 2568 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากหลักสูตรการฝึกอบรมครูทหารของกองทัพบก รุ่นที่ 5 กรมยุทธศึกษาทหารบก ณ ห้องประชุมช่อแก้ว โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อแลกเปลี่ยนองค์ความรู้และประสบการณ์ด้านการบริหารจัดการและเทคโนโลยีทางการศึกษา กิจกรรมเริ่มต้นตั้งแต่เวลา 08.30 น. ด้วยการลงทะเบียนและรับฟังการกล่าวต้อนรับโดย รองศาสตราจารย์… จุฬาฯ ผงาดอันดับ Top 44 ของโลกด้านความยั่งยืน ใน THE Impact Rankings 2025 ครองอันดับ 1 ของไทยอีกครั้ง tui sakrapeeJune 20, 2025 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยผงาดอันดับ Top 44 ของโลก และครองอันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทยอีกครั้งหนึ่ง จากการจัดอันดับโดย Times Higher Education Impact Rankings 2025 ด้วยผลงานที่โดดเด่นในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนและสร้างผลกระทบสูงต่อสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง SDG 9… หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 📚เริ่มเรียน กรกฎาคม 2568 ถึง มกราคม 2569 ทุกวันพฤหัสบดี 11:00 – 18:00 น.… มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster May 22, 2025 EZ Webmaster May 22, 2025 “Smart Film ฟิล์มอัจฉริยะ” ฝีมือนักศึกษา มจธ. ปรับแสงได้-ผลิตพลังงานเอง แก้ปัญหาบ้านร้อนอย่างยั่งยืน ในวันที่โลกกำลังเผชิญกับวิกฤตพลังงานและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซึ่งการแก้ปัญหานั้นพลังของคนรุ่นใหม่ที่เต็มไปด้วยความคิดสร้างสรรค์สำคัญอย่างยิ่งต่อการสร้างนวัตกรรมเพื่อโลก เช่นเดียวกับนวัตกรรมของนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) อย่างผลงานวิจัยต้นแบบ “ฟิล์มจัดการพลังงานปรับความสว่างภายในอาคารที่ผลิตพลังงานได้ด้วยตัวเอง” หรือ “ฟิล์มอัจฉริยะ” ที่สามารถปรับระดับความโปร่งใสของฟิล์มให้เหมาะกับความสว่างของห้องได้เอง พร้อมใช้แสงอาทิตย์ในการผลิตกระแสไฟฟ้า เพื่อหล่อเลี้ยงระบบได้เอง เป็นแนวทางใหม่ที่ตอบโจทย์การใช้พลังงานในอาคารยุคใหม่ ที่ต้องการทั้งความยั่งยืน ความสวยงาม และความสะดวกสบายในการใช้งาน นวัตกรรมนี้คิดค้นโดยทีม “Power Maker” ซึ่งประกอบด้วย 3 นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ ประกอบด้วย จิรารัตน์ งานรุ่งเรือง, ภัชรพร ชัยแก้ว จากภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม และ ศศิธรณ์ พิกุลแก้ว จากภาควิชาวิศวกรรมเครื่องมือและวัสดุ โดยมี รศ. ดร.สุรวุฒิ ช่วงโชติ อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมเครื่องมือและวัสดุ คณะวิศวกรรมศาสตร์ และ รศ. ดร.ภาติญา เขมาชีวะกุล อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา “จุดเริ่มต้นเกิดจากการที่พวกเราสังเกตเห็นปัญหาการใช้พลังงานในอาคารที่มีกระจกเป็นวัสดุหลัก อย่าง อาคารสำนักงานหรือมหาวิทยาลัย ที่มักมีปัญหาแสงแดดส่องเข้ามามากเกินไปจนต้องปิดม่านบังแสงและเปิดไฟในเวลากลางวัน หรือเปิดแอร์ให้แรงขึ้นเพื่อจัดการกับความร้อนภายนอก ซึ่งพวกเรามองว่าเรื่องนี้เป็นการใช้พลังงานอย่างไม่คุ้มค่า ทั้งที่แสงแดดนั้นสามารถเป็นแหล่งพลังงานได้หากได้รับการจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ จึงนำปัญหาเหล่านี้ไปปรึกษาที่ปรึกษาในกลุ่มวิจัย Research Center of Advanced Materials for Energy and Environmental Technology (MEET)” จิรารัตน์ ตัวแทนทีมกล่าวถึงจุดเริ่มต้นของโครงการ โดยนวัตกรรมนี้เป็นการผสานสองเทคโนโลยีสำคัญเข้าด้วยกัน ได้แก่ “ฟิล์มอิเล็กโทรโครมิก (Electrochromic Film)” ที่สามารถควบคุมความโปร่งใสของฟิล์มได้ตามการจ่ายไฟฟ้า ที่ไปกระตุ้นการจัดเรียงโครงสร้างผลึกในวัสดุ และ “เซลล์แสงอาทิตย์ (Solar Cell)” ที่ถูกผนึกอยู่ในแผ่นฟิล์มที่สามารถเปลี่ยนพลังงานแสงที่ตกกระทบให้กลายเป็นพลังงานไฟฟ้าเพื่อนำไปใช้ในระบบได้ทันที ฟิล์มนี้ช่วยควบคุมปริมาณแสงที่ผ่านเข้ามาในห้อง ทำให้ลดความร้อนจากรังสีอินฟราเรดจึงช่วยประหยัดการใช้แอร์ ลดรังสียูวีที่ทำลายผิวและของใช้ในห้อง และยังปล่อยให้แสงส่องเข้ามาให้พอดีกับความต้องการ ช่วยลดการใช้หลอดไฟไปพร้อมกัน “พวกเราเริ่มพัฒนาแบบจำลองขนาดเล็ก 1×2 ตารางเมตร โดยจำลองพื้นที่ที่ใช้ติดตั้งภายในบ้าน และคำนวณกำลังไฟฟ้าที่ฟิล์มสามารถผลิตได้ใน 1 ปี เทียบกับการใช้งานอุปกรณ์ไฟฟ้าต่าง ๆ ผลลัพธ์ที่ได้คือ ฟิล์มต้นแบบนี้สามารถผลิตไฟฟ้าได้ตามมาตรฐานของเซลล์ที่นำมาใช้ และลดการใช้พลังงานไฟฟ้าในอาคารได้ถึง 22% ต่อปี ถือได้ว่าฟิล์มสามารถจ่ายไฟให้กับอุปกรณ์พื้นฐานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีศักยภาพในการลดภาระการใช้ไฟฟ้าจากโครงข่ายหลักของประเทศ ฟิล์มนี้จึงสามารถลดการใช้พลังงานและลดต้นทุนค่าไฟฟ้าได้อย่างเห็นผล รวมถึงสามารถผลิตไฟฟ้าเพื่อจ่ายให้กับอุปกรณ์ไฟฟ้าขนาดเล็กอย่างหลอดไฟ LED ได้อีกด้วย” ศศิธรณ์ เล่าถึงกระบวนการทดลองและผลกระทบที่เกิดขึ้น ความโดดเด่นของฟิล์มอัจฉริยะต้นแบบนี้ คือ สามารถติดตั้งได้โดยไม่ต้องเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของอาคาร ผู้ใช้งานเพียงแจ้งขนาดกระจกที่ต้องการติดตั้ง ทีมก็สามารถออกแบบฟิล์มตามขนาดจริงและผลิตได้ทันที ด้วยแนวคิด “Plug and Play” ที่ทำให้ผู้ใช้ไม่ต้องรื้อถอนหรือปรับแต่งระบบไฟฟ้าใด ๆ เพิ่มเติม เหมาะกับกลุ่มเป้าหมายที่ต้องการเห็นผลลัพธ์อย่างรวดเร็ว และต้องการปรับเปลี่ยนอาคารสู่แนวทางการใช้พลังงานสะอาดอย่างเป็นรูปธรรม “อีกสิ่งที่ทำให้นวัตกรรมนี้แตกต่างจากฟิล์มทั่วไปในท้องตลาด คือ ความสามารถในการ “คิดและปรับตัวได้” ทีมกำลังพัฒนาต้นแบบให้กลายเป็น “Smart Devices” อย่างเต็มรูปแบบ โดยจะฝังเซนเซอร์วัดความเข้มแสงและอุณหภูมิ รวมถึงมีระบบประมวลผลเพื่อตรวจจับกิจกรรมในห้องและปรับระดับความสว่างของฟิล์มอัตโนมัติ ตามช่วงเวลาหรือประเภทของกิจกรรม เช่น การอ่านหนังสือ การประชุม หรือการพักผ่อนในช่วงกลางวัน ทั้งหมดนี้จะทำให้ฟิล์มสามารถควบคุมตัวเองได้แบบ Real-Time ตอบสนองกับผู้ใช้ในชีวิตจริงอย่างชาญฉลาด” ภัชรพร อธิบาย นอกจากนี้ยังให้ความสำคัญกับ “ความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม” โดยเลือกใช้วัสดุที่สามารถรีไซเคิลได้ง่าย มีการออกแบบโมดูลของแผงเซลล์ให้สามารถถอดเปลี่ยนหรือแยกชิ้นได้เมื่อหมดอายุการใช้งาน ไม่ก่อให้เกิดมลพิษตกค้าง และช่วยลดปริมาณขยะอิเล็กทรอนิกส์ในอนาคต ซึ่งทั้งหมดนี้สอดคล้องกับเป้าหมาย “Net Zero Emission” ที่องค์กรระดับนานาชาติให้ความสำคัญ แม้ฟิล์มนี้ยังอยู่ในขั้นต้นแบบ แต่ทีม Power Maker ก็เริ่มได้รับความสนใจจากผู้ประกอบการ (จากการเสนอผลงานในงานหนึ่ง) และตั้งเป้าวางแผนพัฒนาต่อยอด พร้อมทั้งเตรียมเข้าสู่กระบวนการจดอนุสิทธิบัตรเพื่อปกป้องทรัพย์สินทางปัญญา ทีมยังวางแผนการผลิตในระดับอุตสาหกรรมร่วมกับภาคเอกชนในอนาคต เพื่อให้สามารถตอบสนองตลาดที่ต้องการเปลี่ยนผ่านสู่พลังงานสะอาดและเทคโนโลยีสีเขียว “อีกเรื่องที่สำคัญมากสำหรับพวกเราก็คือ การได้เรียนรู้ร่วมกัน พวกเรามาจากต่างภาควิชา ต้องช่วยกันคิด ทำงานเป็นทีม พวกเราแลกเปลี่ยนความคิดและคุยกันเยอะมาก เพื่อหาทางออกที่ทุกคนเข้าใจตรงกัน และการได้ฝึกการสื่อสารกับทั้งผู้ใช้ คนที่ให้การสนับสนุน รวมถึงอาจารย์ที่ปรึกษา มันเป็นประสบการณ์ที่ทำให้รู้สึกเหมือนได้ลองทำงานจริงก่อนจะไปเจอของจริงหลังเรียนจบ”ศศิธรณ์ กล่าวด้วยรอยยิ้ม รศ. ดร.สุรวุฒิ และ รศ. ดร.ภาติญา ที่ปรึกษาโครงการ เห็นตรงกันว่า “การได้ลงมือทำงานจากโจทย์ปัญหาจริง และสามารถพัฒนานวัตกรรมที่มีศักยภาพต่อยอดสู่ระดับอุตสาหกรรมได้นั้น เป็นประสบการณ์อันมีคุณค่า ไม่เพียงแต่ช่วยยกระดับทักษะของทีมเท่านั้น แต่ยังเป็นการสร้างโปรไฟล์ที่โดดเด่น ช่วยให้นักศึกษาพร้อมเข้าสู่ตลาดแรงงานอย่างมั่นใจ และสามารถตอบโจทย์ความต้องการของภาคอุตสาหกรรมได้” และแม้ว่าฟิล์มอัจฉริยะนี้จะยังเป็นเพียงต้นแบบ แต่ก็สะท้อนให้เห็นว่า ถ้าเปิดโอกาสให้คนรุ่นใหม่ได้ลองคิด ลองทำจริง พวกเขาก็พร้อมจะสร้างสิ่งใหม่ๆ ที่มีความหมาย และช่วยเปลี่ยนอนาคตของโลกใบนี้ให้ดีขึ้นได้ EZ Webmaster Related Posts โรงเรียนปลอดมือถือ! อังกฤษ-ออสเตรเลียเริ่มแล้ว ดึงเด็กกลับมาสนใจครูในห้องเรียน มธ. ปักหมุดหลักสูตร ‘AI Ethics’ หนุนบริบทใหม่ของห้องเรียนทันโลก สร้างจุดยืนคนรุ่นใหม่ ‘ใช้เอไออย่างมีจริยธรรม’ พร้อมเดินหน้าวางหมุดหมายระบบการศึกษาไทย กับการปลุกการใช้เทคฯ คู่ธรรมาภิบาล คาดเริ่มเปิดลงทะเบียนพร้อมเรียนจริง สิงหาคม 68 นี้ 11 สาเหตุลึกซึ้ง ทำไมการศึกษาไทยยังตกต่ำ? เสียงสะท้อนจากครูชนบท สู่คำถามใหญ่ของสังคม ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ ม.หอการค้าไทย จัดหลักสูตรรุกหน้าการันตี “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน!!” Post navigation PREVIOUS Previous post: สถาปัตย์ ม.รังสิต จัดเวิร์กชอปชวนน้องม.ปลายค้นหาตัวตน ปูพื้นฐานอาชีพสถาปนิก พร้อมรับทุนฯ 5,000 บาทNEXT Next post: ดีป้า และ อาลีบาบา คลาวด์ จัดประกวดวิดีโอสั้นที่ผลิตด้วยเครื่องมือ AI ภายใต้โครงการ “Eye for Thailand” Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
จุฬาฯ ผงาดอันดับ Top 44 ของโลกด้านความยั่งยืน ใน THE Impact Rankings 2025 ครองอันดับ 1 ของไทยอีกครั้ง tui sakrapeeJune 20, 2025 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยผงาดอันดับ Top 44 ของโลก และครองอันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทยอีกครั้งหนึ่ง จากการจัดอันดับโดย Times Higher Education Impact Rankings 2025 ด้วยผลงานที่โดดเด่นในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนและสร้างผลกระทบสูงต่อสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง SDG 9… หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 📚เริ่มเรียน กรกฎาคม 2568 ถึง มกราคม 2569 ทุกวันพฤหัสบดี 11:00 – 18:00 น.… มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster May 22, 2025 EZ Webmaster May 22, 2025 “Smart Film ฟิล์มอัจฉริยะ” ฝีมือนักศึกษา มจธ. ปรับแสงได้-ผลิตพลังงานเอง แก้ปัญหาบ้านร้อนอย่างยั่งยืน ในวันที่โลกกำลังเผชิญกับวิกฤตพลังงานและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซึ่งการแก้ปัญหานั้นพลังของคนรุ่นใหม่ที่เต็มไปด้วยความคิดสร้างสรรค์สำคัญอย่างยิ่งต่อการสร้างนวัตกรรมเพื่อโลก เช่นเดียวกับนวัตกรรมของนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) อย่างผลงานวิจัยต้นแบบ “ฟิล์มจัดการพลังงานปรับความสว่างภายในอาคารที่ผลิตพลังงานได้ด้วยตัวเอง” หรือ “ฟิล์มอัจฉริยะ” ที่สามารถปรับระดับความโปร่งใสของฟิล์มให้เหมาะกับความสว่างของห้องได้เอง พร้อมใช้แสงอาทิตย์ในการผลิตกระแสไฟฟ้า เพื่อหล่อเลี้ยงระบบได้เอง เป็นแนวทางใหม่ที่ตอบโจทย์การใช้พลังงานในอาคารยุคใหม่ ที่ต้องการทั้งความยั่งยืน ความสวยงาม และความสะดวกสบายในการใช้งาน นวัตกรรมนี้คิดค้นโดยทีม “Power Maker” ซึ่งประกอบด้วย 3 นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ ประกอบด้วย จิรารัตน์ งานรุ่งเรือง, ภัชรพร ชัยแก้ว จากภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม และ ศศิธรณ์ พิกุลแก้ว จากภาควิชาวิศวกรรมเครื่องมือและวัสดุ โดยมี รศ. ดร.สุรวุฒิ ช่วงโชติ อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมเครื่องมือและวัสดุ คณะวิศวกรรมศาสตร์ และ รศ. ดร.ภาติญา เขมาชีวะกุล อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา “จุดเริ่มต้นเกิดจากการที่พวกเราสังเกตเห็นปัญหาการใช้พลังงานในอาคารที่มีกระจกเป็นวัสดุหลัก อย่าง อาคารสำนักงานหรือมหาวิทยาลัย ที่มักมีปัญหาแสงแดดส่องเข้ามามากเกินไปจนต้องปิดม่านบังแสงและเปิดไฟในเวลากลางวัน หรือเปิดแอร์ให้แรงขึ้นเพื่อจัดการกับความร้อนภายนอก ซึ่งพวกเรามองว่าเรื่องนี้เป็นการใช้พลังงานอย่างไม่คุ้มค่า ทั้งที่แสงแดดนั้นสามารถเป็นแหล่งพลังงานได้หากได้รับการจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ จึงนำปัญหาเหล่านี้ไปปรึกษาที่ปรึกษาในกลุ่มวิจัย Research Center of Advanced Materials for Energy and Environmental Technology (MEET)” จิรารัตน์ ตัวแทนทีมกล่าวถึงจุดเริ่มต้นของโครงการ โดยนวัตกรรมนี้เป็นการผสานสองเทคโนโลยีสำคัญเข้าด้วยกัน ได้แก่ “ฟิล์มอิเล็กโทรโครมิก (Electrochromic Film)” ที่สามารถควบคุมความโปร่งใสของฟิล์มได้ตามการจ่ายไฟฟ้า ที่ไปกระตุ้นการจัดเรียงโครงสร้างผลึกในวัสดุ และ “เซลล์แสงอาทิตย์ (Solar Cell)” ที่ถูกผนึกอยู่ในแผ่นฟิล์มที่สามารถเปลี่ยนพลังงานแสงที่ตกกระทบให้กลายเป็นพลังงานไฟฟ้าเพื่อนำไปใช้ในระบบได้ทันที ฟิล์มนี้ช่วยควบคุมปริมาณแสงที่ผ่านเข้ามาในห้อง ทำให้ลดความร้อนจากรังสีอินฟราเรดจึงช่วยประหยัดการใช้แอร์ ลดรังสียูวีที่ทำลายผิวและของใช้ในห้อง และยังปล่อยให้แสงส่องเข้ามาให้พอดีกับความต้องการ ช่วยลดการใช้หลอดไฟไปพร้อมกัน “พวกเราเริ่มพัฒนาแบบจำลองขนาดเล็ก 1×2 ตารางเมตร โดยจำลองพื้นที่ที่ใช้ติดตั้งภายในบ้าน และคำนวณกำลังไฟฟ้าที่ฟิล์มสามารถผลิตได้ใน 1 ปี เทียบกับการใช้งานอุปกรณ์ไฟฟ้าต่าง ๆ ผลลัพธ์ที่ได้คือ ฟิล์มต้นแบบนี้สามารถผลิตไฟฟ้าได้ตามมาตรฐานของเซลล์ที่นำมาใช้ และลดการใช้พลังงานไฟฟ้าในอาคารได้ถึง 22% ต่อปี ถือได้ว่าฟิล์มสามารถจ่ายไฟให้กับอุปกรณ์พื้นฐานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีศักยภาพในการลดภาระการใช้ไฟฟ้าจากโครงข่ายหลักของประเทศ ฟิล์มนี้จึงสามารถลดการใช้พลังงานและลดต้นทุนค่าไฟฟ้าได้อย่างเห็นผล รวมถึงสามารถผลิตไฟฟ้าเพื่อจ่ายให้กับอุปกรณ์ไฟฟ้าขนาดเล็กอย่างหลอดไฟ LED ได้อีกด้วย” ศศิธรณ์ เล่าถึงกระบวนการทดลองและผลกระทบที่เกิดขึ้น ความโดดเด่นของฟิล์มอัจฉริยะต้นแบบนี้ คือ สามารถติดตั้งได้โดยไม่ต้องเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของอาคาร ผู้ใช้งานเพียงแจ้งขนาดกระจกที่ต้องการติดตั้ง ทีมก็สามารถออกแบบฟิล์มตามขนาดจริงและผลิตได้ทันที ด้วยแนวคิด “Plug and Play” ที่ทำให้ผู้ใช้ไม่ต้องรื้อถอนหรือปรับแต่งระบบไฟฟ้าใด ๆ เพิ่มเติม เหมาะกับกลุ่มเป้าหมายที่ต้องการเห็นผลลัพธ์อย่างรวดเร็ว และต้องการปรับเปลี่ยนอาคารสู่แนวทางการใช้พลังงานสะอาดอย่างเป็นรูปธรรม “อีกสิ่งที่ทำให้นวัตกรรมนี้แตกต่างจากฟิล์มทั่วไปในท้องตลาด คือ ความสามารถในการ “คิดและปรับตัวได้” ทีมกำลังพัฒนาต้นแบบให้กลายเป็น “Smart Devices” อย่างเต็มรูปแบบ โดยจะฝังเซนเซอร์วัดความเข้มแสงและอุณหภูมิ รวมถึงมีระบบประมวลผลเพื่อตรวจจับกิจกรรมในห้องและปรับระดับความสว่างของฟิล์มอัตโนมัติ ตามช่วงเวลาหรือประเภทของกิจกรรม เช่น การอ่านหนังสือ การประชุม หรือการพักผ่อนในช่วงกลางวัน ทั้งหมดนี้จะทำให้ฟิล์มสามารถควบคุมตัวเองได้แบบ Real-Time ตอบสนองกับผู้ใช้ในชีวิตจริงอย่างชาญฉลาด” ภัชรพร อธิบาย นอกจากนี้ยังให้ความสำคัญกับ “ความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม” โดยเลือกใช้วัสดุที่สามารถรีไซเคิลได้ง่าย มีการออกแบบโมดูลของแผงเซลล์ให้สามารถถอดเปลี่ยนหรือแยกชิ้นได้เมื่อหมดอายุการใช้งาน ไม่ก่อให้เกิดมลพิษตกค้าง และช่วยลดปริมาณขยะอิเล็กทรอนิกส์ในอนาคต ซึ่งทั้งหมดนี้สอดคล้องกับเป้าหมาย “Net Zero Emission” ที่องค์กรระดับนานาชาติให้ความสำคัญ แม้ฟิล์มนี้ยังอยู่ในขั้นต้นแบบ แต่ทีม Power Maker ก็เริ่มได้รับความสนใจจากผู้ประกอบการ (จากการเสนอผลงานในงานหนึ่ง) และตั้งเป้าวางแผนพัฒนาต่อยอด พร้อมทั้งเตรียมเข้าสู่กระบวนการจดอนุสิทธิบัตรเพื่อปกป้องทรัพย์สินทางปัญญา ทีมยังวางแผนการผลิตในระดับอุตสาหกรรมร่วมกับภาคเอกชนในอนาคต เพื่อให้สามารถตอบสนองตลาดที่ต้องการเปลี่ยนผ่านสู่พลังงานสะอาดและเทคโนโลยีสีเขียว “อีกเรื่องที่สำคัญมากสำหรับพวกเราก็คือ การได้เรียนรู้ร่วมกัน พวกเรามาจากต่างภาควิชา ต้องช่วยกันคิด ทำงานเป็นทีม พวกเราแลกเปลี่ยนความคิดและคุยกันเยอะมาก เพื่อหาทางออกที่ทุกคนเข้าใจตรงกัน และการได้ฝึกการสื่อสารกับทั้งผู้ใช้ คนที่ให้การสนับสนุน รวมถึงอาจารย์ที่ปรึกษา มันเป็นประสบการณ์ที่ทำให้รู้สึกเหมือนได้ลองทำงานจริงก่อนจะไปเจอของจริงหลังเรียนจบ”ศศิธรณ์ กล่าวด้วยรอยยิ้ม รศ. ดร.สุรวุฒิ และ รศ. ดร.ภาติญา ที่ปรึกษาโครงการ เห็นตรงกันว่า “การได้ลงมือทำงานจากโจทย์ปัญหาจริง และสามารถพัฒนานวัตกรรมที่มีศักยภาพต่อยอดสู่ระดับอุตสาหกรรมได้นั้น เป็นประสบการณ์อันมีคุณค่า ไม่เพียงแต่ช่วยยกระดับทักษะของทีมเท่านั้น แต่ยังเป็นการสร้างโปรไฟล์ที่โดดเด่น ช่วยให้นักศึกษาพร้อมเข้าสู่ตลาดแรงงานอย่างมั่นใจ และสามารถตอบโจทย์ความต้องการของภาคอุตสาหกรรมได้” และแม้ว่าฟิล์มอัจฉริยะนี้จะยังเป็นเพียงต้นแบบ แต่ก็สะท้อนให้เห็นว่า ถ้าเปิดโอกาสให้คนรุ่นใหม่ได้ลองคิด ลองทำจริง พวกเขาก็พร้อมจะสร้างสิ่งใหม่ๆ ที่มีความหมาย และช่วยเปลี่ยนอนาคตของโลกใบนี้ให้ดีขึ้นได้ EZ Webmaster Related Posts โรงเรียนปลอดมือถือ! อังกฤษ-ออสเตรเลียเริ่มแล้ว ดึงเด็กกลับมาสนใจครูในห้องเรียน มธ. ปักหมุดหลักสูตร ‘AI Ethics’ หนุนบริบทใหม่ของห้องเรียนทันโลก สร้างจุดยืนคนรุ่นใหม่ ‘ใช้เอไออย่างมีจริยธรรม’ พร้อมเดินหน้าวางหมุดหมายระบบการศึกษาไทย กับการปลุกการใช้เทคฯ คู่ธรรมาภิบาล คาดเริ่มเปิดลงทะเบียนพร้อมเรียนจริง สิงหาคม 68 นี้ 11 สาเหตุลึกซึ้ง ทำไมการศึกษาไทยยังตกต่ำ? เสียงสะท้อนจากครูชนบท สู่คำถามใหญ่ของสังคม ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ ม.หอการค้าไทย จัดหลักสูตรรุกหน้าการันตี “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน!!” Post navigation PREVIOUS Previous post: สถาปัตย์ ม.รังสิต จัดเวิร์กชอปชวนน้องม.ปลายค้นหาตัวตน ปูพื้นฐานอาชีพสถาปนิก พร้อมรับทุนฯ 5,000 บาทNEXT Next post: ดีป้า และ อาลีบาบา คลาวด์ จัดประกวดวิดีโอสั้นที่ผลิตด้วยเครื่องมือ AI ภายใต้โครงการ “Eye for Thailand” Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 📚เริ่มเรียน กรกฎาคม 2568 ถึง มกราคม 2569 ทุกวันพฤหัสบดี 11:00 – 18:00 น.… มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ…
มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ…
กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster May 22, 2025 EZ Webmaster May 22, 2025 “Smart Film ฟิล์มอัจฉริยะ” ฝีมือนักศึกษา มจธ. ปรับแสงได้-ผลิตพลังงานเอง แก้ปัญหาบ้านร้อนอย่างยั่งยืน ในวันที่โลกกำลังเผชิญกับวิกฤตพลังงานและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซึ่งการแก้ปัญหานั้นพลังของคนรุ่นใหม่ที่เต็มไปด้วยความคิดสร้างสรรค์สำคัญอย่างยิ่งต่อการสร้างนวัตกรรมเพื่อโลก เช่นเดียวกับนวัตกรรมของนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) อย่างผลงานวิจัยต้นแบบ “ฟิล์มจัดการพลังงานปรับความสว่างภายในอาคารที่ผลิตพลังงานได้ด้วยตัวเอง” หรือ “ฟิล์มอัจฉริยะ” ที่สามารถปรับระดับความโปร่งใสของฟิล์มให้เหมาะกับความสว่างของห้องได้เอง พร้อมใช้แสงอาทิตย์ในการผลิตกระแสไฟฟ้า เพื่อหล่อเลี้ยงระบบได้เอง เป็นแนวทางใหม่ที่ตอบโจทย์การใช้พลังงานในอาคารยุคใหม่ ที่ต้องการทั้งความยั่งยืน ความสวยงาม และความสะดวกสบายในการใช้งาน นวัตกรรมนี้คิดค้นโดยทีม “Power Maker” ซึ่งประกอบด้วย 3 นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ ประกอบด้วย จิรารัตน์ งานรุ่งเรือง, ภัชรพร ชัยแก้ว จากภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม และ ศศิธรณ์ พิกุลแก้ว จากภาควิชาวิศวกรรมเครื่องมือและวัสดุ โดยมี รศ. ดร.สุรวุฒิ ช่วงโชติ อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมเครื่องมือและวัสดุ คณะวิศวกรรมศาสตร์ และ รศ. ดร.ภาติญา เขมาชีวะกุล อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา “จุดเริ่มต้นเกิดจากการที่พวกเราสังเกตเห็นปัญหาการใช้พลังงานในอาคารที่มีกระจกเป็นวัสดุหลัก อย่าง อาคารสำนักงานหรือมหาวิทยาลัย ที่มักมีปัญหาแสงแดดส่องเข้ามามากเกินไปจนต้องปิดม่านบังแสงและเปิดไฟในเวลากลางวัน หรือเปิดแอร์ให้แรงขึ้นเพื่อจัดการกับความร้อนภายนอก ซึ่งพวกเรามองว่าเรื่องนี้เป็นการใช้พลังงานอย่างไม่คุ้มค่า ทั้งที่แสงแดดนั้นสามารถเป็นแหล่งพลังงานได้หากได้รับการจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ จึงนำปัญหาเหล่านี้ไปปรึกษาที่ปรึกษาในกลุ่มวิจัย Research Center of Advanced Materials for Energy and Environmental Technology (MEET)” จิรารัตน์ ตัวแทนทีมกล่าวถึงจุดเริ่มต้นของโครงการ โดยนวัตกรรมนี้เป็นการผสานสองเทคโนโลยีสำคัญเข้าด้วยกัน ได้แก่ “ฟิล์มอิเล็กโทรโครมิก (Electrochromic Film)” ที่สามารถควบคุมความโปร่งใสของฟิล์มได้ตามการจ่ายไฟฟ้า ที่ไปกระตุ้นการจัดเรียงโครงสร้างผลึกในวัสดุ และ “เซลล์แสงอาทิตย์ (Solar Cell)” ที่ถูกผนึกอยู่ในแผ่นฟิล์มที่สามารถเปลี่ยนพลังงานแสงที่ตกกระทบให้กลายเป็นพลังงานไฟฟ้าเพื่อนำไปใช้ในระบบได้ทันที ฟิล์มนี้ช่วยควบคุมปริมาณแสงที่ผ่านเข้ามาในห้อง ทำให้ลดความร้อนจากรังสีอินฟราเรดจึงช่วยประหยัดการใช้แอร์ ลดรังสียูวีที่ทำลายผิวและของใช้ในห้อง และยังปล่อยให้แสงส่องเข้ามาให้พอดีกับความต้องการ ช่วยลดการใช้หลอดไฟไปพร้อมกัน “พวกเราเริ่มพัฒนาแบบจำลองขนาดเล็ก 1×2 ตารางเมตร โดยจำลองพื้นที่ที่ใช้ติดตั้งภายในบ้าน และคำนวณกำลังไฟฟ้าที่ฟิล์มสามารถผลิตได้ใน 1 ปี เทียบกับการใช้งานอุปกรณ์ไฟฟ้าต่าง ๆ ผลลัพธ์ที่ได้คือ ฟิล์มต้นแบบนี้สามารถผลิตไฟฟ้าได้ตามมาตรฐานของเซลล์ที่นำมาใช้ และลดการใช้พลังงานไฟฟ้าในอาคารได้ถึง 22% ต่อปี ถือได้ว่าฟิล์มสามารถจ่ายไฟให้กับอุปกรณ์พื้นฐานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีศักยภาพในการลดภาระการใช้ไฟฟ้าจากโครงข่ายหลักของประเทศ ฟิล์มนี้จึงสามารถลดการใช้พลังงานและลดต้นทุนค่าไฟฟ้าได้อย่างเห็นผล รวมถึงสามารถผลิตไฟฟ้าเพื่อจ่ายให้กับอุปกรณ์ไฟฟ้าขนาดเล็กอย่างหลอดไฟ LED ได้อีกด้วย” ศศิธรณ์ เล่าถึงกระบวนการทดลองและผลกระทบที่เกิดขึ้น ความโดดเด่นของฟิล์มอัจฉริยะต้นแบบนี้ คือ สามารถติดตั้งได้โดยไม่ต้องเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของอาคาร ผู้ใช้งานเพียงแจ้งขนาดกระจกที่ต้องการติดตั้ง ทีมก็สามารถออกแบบฟิล์มตามขนาดจริงและผลิตได้ทันที ด้วยแนวคิด “Plug and Play” ที่ทำให้ผู้ใช้ไม่ต้องรื้อถอนหรือปรับแต่งระบบไฟฟ้าใด ๆ เพิ่มเติม เหมาะกับกลุ่มเป้าหมายที่ต้องการเห็นผลลัพธ์อย่างรวดเร็ว และต้องการปรับเปลี่ยนอาคารสู่แนวทางการใช้พลังงานสะอาดอย่างเป็นรูปธรรม “อีกสิ่งที่ทำให้นวัตกรรมนี้แตกต่างจากฟิล์มทั่วไปในท้องตลาด คือ ความสามารถในการ “คิดและปรับตัวได้” ทีมกำลังพัฒนาต้นแบบให้กลายเป็น “Smart Devices” อย่างเต็มรูปแบบ โดยจะฝังเซนเซอร์วัดความเข้มแสงและอุณหภูมิ รวมถึงมีระบบประมวลผลเพื่อตรวจจับกิจกรรมในห้องและปรับระดับความสว่างของฟิล์มอัตโนมัติ ตามช่วงเวลาหรือประเภทของกิจกรรม เช่น การอ่านหนังสือ การประชุม หรือการพักผ่อนในช่วงกลางวัน ทั้งหมดนี้จะทำให้ฟิล์มสามารถควบคุมตัวเองได้แบบ Real-Time ตอบสนองกับผู้ใช้ในชีวิตจริงอย่างชาญฉลาด” ภัชรพร อธิบาย นอกจากนี้ยังให้ความสำคัญกับ “ความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม” โดยเลือกใช้วัสดุที่สามารถรีไซเคิลได้ง่าย มีการออกแบบโมดูลของแผงเซลล์ให้สามารถถอดเปลี่ยนหรือแยกชิ้นได้เมื่อหมดอายุการใช้งาน ไม่ก่อให้เกิดมลพิษตกค้าง และช่วยลดปริมาณขยะอิเล็กทรอนิกส์ในอนาคต ซึ่งทั้งหมดนี้สอดคล้องกับเป้าหมาย “Net Zero Emission” ที่องค์กรระดับนานาชาติให้ความสำคัญ แม้ฟิล์มนี้ยังอยู่ในขั้นต้นแบบ แต่ทีม Power Maker ก็เริ่มได้รับความสนใจจากผู้ประกอบการ (จากการเสนอผลงานในงานหนึ่ง) และตั้งเป้าวางแผนพัฒนาต่อยอด พร้อมทั้งเตรียมเข้าสู่กระบวนการจดอนุสิทธิบัตรเพื่อปกป้องทรัพย์สินทางปัญญา ทีมยังวางแผนการผลิตในระดับอุตสาหกรรมร่วมกับภาคเอกชนในอนาคต เพื่อให้สามารถตอบสนองตลาดที่ต้องการเปลี่ยนผ่านสู่พลังงานสะอาดและเทคโนโลยีสีเขียว “อีกเรื่องที่สำคัญมากสำหรับพวกเราก็คือ การได้เรียนรู้ร่วมกัน พวกเรามาจากต่างภาควิชา ต้องช่วยกันคิด ทำงานเป็นทีม พวกเราแลกเปลี่ยนความคิดและคุยกันเยอะมาก เพื่อหาทางออกที่ทุกคนเข้าใจตรงกัน และการได้ฝึกการสื่อสารกับทั้งผู้ใช้ คนที่ให้การสนับสนุน รวมถึงอาจารย์ที่ปรึกษา มันเป็นประสบการณ์ที่ทำให้รู้สึกเหมือนได้ลองทำงานจริงก่อนจะไปเจอของจริงหลังเรียนจบ”ศศิธรณ์ กล่าวด้วยรอยยิ้ม รศ. ดร.สุรวุฒิ และ รศ. ดร.ภาติญา ที่ปรึกษาโครงการ เห็นตรงกันว่า “การได้ลงมือทำงานจากโจทย์ปัญหาจริง และสามารถพัฒนานวัตกรรมที่มีศักยภาพต่อยอดสู่ระดับอุตสาหกรรมได้นั้น เป็นประสบการณ์อันมีคุณค่า ไม่เพียงแต่ช่วยยกระดับทักษะของทีมเท่านั้น แต่ยังเป็นการสร้างโปรไฟล์ที่โดดเด่น ช่วยให้นักศึกษาพร้อมเข้าสู่ตลาดแรงงานอย่างมั่นใจ และสามารถตอบโจทย์ความต้องการของภาคอุตสาหกรรมได้” และแม้ว่าฟิล์มอัจฉริยะนี้จะยังเป็นเพียงต้นแบบ แต่ก็สะท้อนให้เห็นว่า ถ้าเปิดโอกาสให้คนรุ่นใหม่ได้ลองคิด ลองทำจริง พวกเขาก็พร้อมจะสร้างสิ่งใหม่ๆ ที่มีความหมาย และช่วยเปลี่ยนอนาคตของโลกใบนี้ให้ดีขึ้นได้ EZ Webmaster Related Posts โรงเรียนปลอดมือถือ! อังกฤษ-ออสเตรเลียเริ่มแล้ว ดึงเด็กกลับมาสนใจครูในห้องเรียน มธ. ปักหมุดหลักสูตร ‘AI Ethics’ หนุนบริบทใหม่ของห้องเรียนทันโลก สร้างจุดยืนคนรุ่นใหม่ ‘ใช้เอไออย่างมีจริยธรรม’ พร้อมเดินหน้าวางหมุดหมายระบบการศึกษาไทย กับการปลุกการใช้เทคฯ คู่ธรรมาภิบาล คาดเริ่มเปิดลงทะเบียนพร้อมเรียนจริง สิงหาคม 68 นี้ 11 สาเหตุลึกซึ้ง ทำไมการศึกษาไทยยังตกต่ำ? เสียงสะท้อนจากครูชนบท สู่คำถามใหญ่ของสังคม ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ ม.หอการค้าไทย จัดหลักสูตรรุกหน้าการันตี “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน!!” Post navigation PREVIOUS Previous post: สถาปัตย์ ม.รังสิต จัดเวิร์กชอปชวนน้องม.ปลายค้นหาตัวตน ปูพื้นฐานอาชีพสถาปนิก พร้อมรับทุนฯ 5,000 บาทNEXT Next post: ดีป้า และ อาลีบาบา คลาวด์ จัดประกวดวิดีโอสั้นที่ผลิตด้วยเครื่องมือ AI ภายใต้โครงการ “Eye for Thailand” Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
“40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search
ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ…
ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ…
EZ Webmaster May 22, 2025 EZ Webmaster May 22, 2025 “Smart Film ฟิล์มอัจฉริยะ” ฝีมือนักศึกษา มจธ. ปรับแสงได้-ผลิตพลังงานเอง แก้ปัญหาบ้านร้อนอย่างยั่งยืน ในวันที่โลกกำลังเผชิญกับวิกฤตพลังงานและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซึ่งการแก้ปัญหานั้นพลังของคนรุ่นใหม่ที่เต็มไปด้วยความคิดสร้างสรรค์สำคัญอย่างยิ่งต่อการสร้างนวัตกรรมเพื่อโลก เช่นเดียวกับนวัตกรรมของนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) อย่างผลงานวิจัยต้นแบบ “ฟิล์มจัดการพลังงานปรับความสว่างภายในอาคารที่ผลิตพลังงานได้ด้วยตัวเอง” หรือ “ฟิล์มอัจฉริยะ” ที่สามารถปรับระดับความโปร่งใสของฟิล์มให้เหมาะกับความสว่างของห้องได้เอง พร้อมใช้แสงอาทิตย์ในการผลิตกระแสไฟฟ้า เพื่อหล่อเลี้ยงระบบได้เอง เป็นแนวทางใหม่ที่ตอบโจทย์การใช้พลังงานในอาคารยุคใหม่ ที่ต้องการทั้งความยั่งยืน ความสวยงาม และความสะดวกสบายในการใช้งาน นวัตกรรมนี้คิดค้นโดยทีม “Power Maker” ซึ่งประกอบด้วย 3 นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ ประกอบด้วย จิรารัตน์ งานรุ่งเรือง, ภัชรพร ชัยแก้ว จากภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม และ ศศิธรณ์ พิกุลแก้ว จากภาควิชาวิศวกรรมเครื่องมือและวัสดุ โดยมี รศ. ดร.สุรวุฒิ ช่วงโชติ อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมเครื่องมือและวัสดุ คณะวิศวกรรมศาสตร์ และ รศ. ดร.ภาติญา เขมาชีวะกุล อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา “จุดเริ่มต้นเกิดจากการที่พวกเราสังเกตเห็นปัญหาการใช้พลังงานในอาคารที่มีกระจกเป็นวัสดุหลัก อย่าง อาคารสำนักงานหรือมหาวิทยาลัย ที่มักมีปัญหาแสงแดดส่องเข้ามามากเกินไปจนต้องปิดม่านบังแสงและเปิดไฟในเวลากลางวัน หรือเปิดแอร์ให้แรงขึ้นเพื่อจัดการกับความร้อนภายนอก ซึ่งพวกเรามองว่าเรื่องนี้เป็นการใช้พลังงานอย่างไม่คุ้มค่า ทั้งที่แสงแดดนั้นสามารถเป็นแหล่งพลังงานได้หากได้รับการจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ จึงนำปัญหาเหล่านี้ไปปรึกษาที่ปรึกษาในกลุ่มวิจัย Research Center of Advanced Materials for Energy and Environmental Technology (MEET)” จิรารัตน์ ตัวแทนทีมกล่าวถึงจุดเริ่มต้นของโครงการ โดยนวัตกรรมนี้เป็นการผสานสองเทคโนโลยีสำคัญเข้าด้วยกัน ได้แก่ “ฟิล์มอิเล็กโทรโครมิก (Electrochromic Film)” ที่สามารถควบคุมความโปร่งใสของฟิล์มได้ตามการจ่ายไฟฟ้า ที่ไปกระตุ้นการจัดเรียงโครงสร้างผลึกในวัสดุ และ “เซลล์แสงอาทิตย์ (Solar Cell)” ที่ถูกผนึกอยู่ในแผ่นฟิล์มที่สามารถเปลี่ยนพลังงานแสงที่ตกกระทบให้กลายเป็นพลังงานไฟฟ้าเพื่อนำไปใช้ในระบบได้ทันที ฟิล์มนี้ช่วยควบคุมปริมาณแสงที่ผ่านเข้ามาในห้อง ทำให้ลดความร้อนจากรังสีอินฟราเรดจึงช่วยประหยัดการใช้แอร์ ลดรังสียูวีที่ทำลายผิวและของใช้ในห้อง และยังปล่อยให้แสงส่องเข้ามาให้พอดีกับความต้องการ ช่วยลดการใช้หลอดไฟไปพร้อมกัน “พวกเราเริ่มพัฒนาแบบจำลองขนาดเล็ก 1×2 ตารางเมตร โดยจำลองพื้นที่ที่ใช้ติดตั้งภายในบ้าน และคำนวณกำลังไฟฟ้าที่ฟิล์มสามารถผลิตได้ใน 1 ปี เทียบกับการใช้งานอุปกรณ์ไฟฟ้าต่าง ๆ ผลลัพธ์ที่ได้คือ ฟิล์มต้นแบบนี้สามารถผลิตไฟฟ้าได้ตามมาตรฐานของเซลล์ที่นำมาใช้ และลดการใช้พลังงานไฟฟ้าในอาคารได้ถึง 22% ต่อปี ถือได้ว่าฟิล์มสามารถจ่ายไฟให้กับอุปกรณ์พื้นฐานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีศักยภาพในการลดภาระการใช้ไฟฟ้าจากโครงข่ายหลักของประเทศ ฟิล์มนี้จึงสามารถลดการใช้พลังงานและลดต้นทุนค่าไฟฟ้าได้อย่างเห็นผล รวมถึงสามารถผลิตไฟฟ้าเพื่อจ่ายให้กับอุปกรณ์ไฟฟ้าขนาดเล็กอย่างหลอดไฟ LED ได้อีกด้วย” ศศิธรณ์ เล่าถึงกระบวนการทดลองและผลกระทบที่เกิดขึ้น ความโดดเด่นของฟิล์มอัจฉริยะต้นแบบนี้ คือ สามารถติดตั้งได้โดยไม่ต้องเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของอาคาร ผู้ใช้งานเพียงแจ้งขนาดกระจกที่ต้องการติดตั้ง ทีมก็สามารถออกแบบฟิล์มตามขนาดจริงและผลิตได้ทันที ด้วยแนวคิด “Plug and Play” ที่ทำให้ผู้ใช้ไม่ต้องรื้อถอนหรือปรับแต่งระบบไฟฟ้าใด ๆ เพิ่มเติม เหมาะกับกลุ่มเป้าหมายที่ต้องการเห็นผลลัพธ์อย่างรวดเร็ว และต้องการปรับเปลี่ยนอาคารสู่แนวทางการใช้พลังงานสะอาดอย่างเป็นรูปธรรม “อีกสิ่งที่ทำให้นวัตกรรมนี้แตกต่างจากฟิล์มทั่วไปในท้องตลาด คือ ความสามารถในการ “คิดและปรับตัวได้” ทีมกำลังพัฒนาต้นแบบให้กลายเป็น “Smart Devices” อย่างเต็มรูปแบบ โดยจะฝังเซนเซอร์วัดความเข้มแสงและอุณหภูมิ รวมถึงมีระบบประมวลผลเพื่อตรวจจับกิจกรรมในห้องและปรับระดับความสว่างของฟิล์มอัตโนมัติ ตามช่วงเวลาหรือประเภทของกิจกรรม เช่น การอ่านหนังสือ การประชุม หรือการพักผ่อนในช่วงกลางวัน ทั้งหมดนี้จะทำให้ฟิล์มสามารถควบคุมตัวเองได้แบบ Real-Time ตอบสนองกับผู้ใช้ในชีวิตจริงอย่างชาญฉลาด” ภัชรพร อธิบาย นอกจากนี้ยังให้ความสำคัญกับ “ความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม” โดยเลือกใช้วัสดุที่สามารถรีไซเคิลได้ง่าย มีการออกแบบโมดูลของแผงเซลล์ให้สามารถถอดเปลี่ยนหรือแยกชิ้นได้เมื่อหมดอายุการใช้งาน ไม่ก่อให้เกิดมลพิษตกค้าง และช่วยลดปริมาณขยะอิเล็กทรอนิกส์ในอนาคต ซึ่งทั้งหมดนี้สอดคล้องกับเป้าหมาย “Net Zero Emission” ที่องค์กรระดับนานาชาติให้ความสำคัญ แม้ฟิล์มนี้ยังอยู่ในขั้นต้นแบบ แต่ทีม Power Maker ก็เริ่มได้รับความสนใจจากผู้ประกอบการ (จากการเสนอผลงานในงานหนึ่ง) และตั้งเป้าวางแผนพัฒนาต่อยอด พร้อมทั้งเตรียมเข้าสู่กระบวนการจดอนุสิทธิบัตรเพื่อปกป้องทรัพย์สินทางปัญญา ทีมยังวางแผนการผลิตในระดับอุตสาหกรรมร่วมกับภาคเอกชนในอนาคต เพื่อให้สามารถตอบสนองตลาดที่ต้องการเปลี่ยนผ่านสู่พลังงานสะอาดและเทคโนโลยีสีเขียว “อีกเรื่องที่สำคัญมากสำหรับพวกเราก็คือ การได้เรียนรู้ร่วมกัน พวกเรามาจากต่างภาควิชา ต้องช่วยกันคิด ทำงานเป็นทีม พวกเราแลกเปลี่ยนความคิดและคุยกันเยอะมาก เพื่อหาทางออกที่ทุกคนเข้าใจตรงกัน และการได้ฝึกการสื่อสารกับทั้งผู้ใช้ คนที่ให้การสนับสนุน รวมถึงอาจารย์ที่ปรึกษา มันเป็นประสบการณ์ที่ทำให้รู้สึกเหมือนได้ลองทำงานจริงก่อนจะไปเจอของจริงหลังเรียนจบ”ศศิธรณ์ กล่าวด้วยรอยยิ้ม รศ. ดร.สุรวุฒิ และ รศ. ดร.ภาติญา ที่ปรึกษาโครงการ เห็นตรงกันว่า “การได้ลงมือทำงานจากโจทย์ปัญหาจริง และสามารถพัฒนานวัตกรรมที่มีศักยภาพต่อยอดสู่ระดับอุตสาหกรรมได้นั้น เป็นประสบการณ์อันมีคุณค่า ไม่เพียงแต่ช่วยยกระดับทักษะของทีมเท่านั้น แต่ยังเป็นการสร้างโปรไฟล์ที่โดดเด่น ช่วยให้นักศึกษาพร้อมเข้าสู่ตลาดแรงงานอย่างมั่นใจ และสามารถตอบโจทย์ความต้องการของภาคอุตสาหกรรมได้” และแม้ว่าฟิล์มอัจฉริยะนี้จะยังเป็นเพียงต้นแบบ แต่ก็สะท้อนให้เห็นว่า ถ้าเปิดโอกาสให้คนรุ่นใหม่ได้ลองคิด ลองทำจริง พวกเขาก็พร้อมจะสร้างสิ่งใหม่ๆ ที่มีความหมาย และช่วยเปลี่ยนอนาคตของโลกใบนี้ให้ดีขึ้นได้
มธ. ปักหมุดหลักสูตร ‘AI Ethics’ หนุนบริบทใหม่ของห้องเรียนทันโลก สร้างจุดยืนคนรุ่นใหม่ ‘ใช้เอไออย่างมีจริยธรรม’ พร้อมเดินหน้าวางหมุดหมายระบบการศึกษาไทย กับการปลุกการใช้เทคฯ คู่ธรรมาภิบาล คาดเริ่มเปิดลงทะเบียนพร้อมเรียนจริง สิงหาคม 68 นี้
ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา