คณิตศาสตร์กับ การคิดคะแนนเลือกตั้ง : วิธีการคำนวณจากสสวท.

ช่วงการเลือกตั้งแบบนี้ สงสัยกันไหมคะว่า เมื่อได้คะแนนมาแล้วต้องคำนวณอย่างไร? วันนี้สสสวท. เผยคณิตศาสตร์กับการคิดคะแนนเลือกตั้ง : วิธีการคำนวณจากสสวท. โดยใช้เพียงความรู้คณิตศาสตร์ระดับ ม.ต้น ก็สามารถทำความเข้าใจได้ไม่ยาก  .  ในการเลือกตั้ง ผู้มีสิทธิเลือกตั้งจะได้รับบัตรเลือกตั้ง จำนวน 2 ใบ ได้แก่  บัตรสีม่วง เลือกผู้สมัครตามเขตเลือกตั้งของตนเอง 1 คน โดย ส.ส. แบบแบ่งเขตเลือกตั้ง จะได้มาจากผู้สมัครที่ได้รับคะแนนสูงสุดของแต่ละเขตเลือกตั้งจาก 400 เขตเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งละ 1 คน รวมจำนวน ส.ส. แบบแบ่งเขตเลือกตั้งทั้งหมด 400 คน จะเห็นว่าการหา ส.ส. แบบแบ่งเขต เป็นการใช้ความรู้เรื่อง ฐานนิยม กล่าวคือผู้ได้รับเลือกเป็น ส.ส. ในแต่ละเขต ก็คือ ฐานนิยมของผู้สมัครของแต่ละเขตนั่นเองของผู้สมัครของแต่ละเขตนั่นเอง บัตรสีเขียว ใช้ในการเลือกพรรคการเมืองที่ต้องการ จำนวน 1 พรรค ซึ่งเป็นการออกเสียงลงคะแนนเลือกตั้งบัญชีรายชื่อผู้สมัครที่พรรคการเมืองนั้นจัดทำขึ้น โดยการคำนวณสัดส่วนของ ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อทั้งหมด 100 คน จากแต่ละพรรค มีวิธีการดังนี้ นำผลคะแนนทั้งหมดที่ทุกพรรคการเมืองได้รับจากการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อหารด้วย 100 ผลลัพธ์ที่ได้ให้ถือเป็นคะแนนเฉลี่ยต่อ ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อ 1 คน นำคะแนนรวมจากการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อที่แต่ละพรรคการเมืองได้รับ หารด้วยคะแนนเฉลี่ยตามข้อ 1) ผลลัพธ์ที่ได้เฉพาะส่วนที่เป็นจำนวนเต็มคือจำนวน ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อที่พรรคการเมืองนั้นได้รับ ในกรณีที่จำนวน ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อที่ทุกพรรคได้รับรวมกันไม่ครบ 100 คน ให้พิจารณาเศษที่ได้จากผลลัพธ์ในข้อ 2) โดยพรรคที่มีเศษมากที่สุดจะได้รับ ส.ส. แบบบัญชีรายชื่ออีก 1 คน เรียงตามลำดับ จนกว่าจะมีจำนวน ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อที่ทุกพรรคได้รับรวมกันครบ 100 คน  .  .  จะเห็นว่าหลักการคำนวณสัดส่วนของ ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อ ได้มาจากการนำความรู้เกี่ยวกับ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต การหาผลหารและเศษ และการเปรียบเทียบทศนิยม มาประยุกต์ใช้นั่นเอง  .  ขอขอบคุณแหล่งที่ : คลิก
ช่วงการเลือกตั้งแบบนี้ สงสัยกันไหมคะว่า เมื่อได้คะแนนมาแล้วต้องคำนวณอย่างไร? วันนี้สสสวท. เผยคณิตศาสตร์กับการคิดคะแนนเลือกตั้ง : วิธีการคำนวณจากสสวท. โดยใช้เพียงความรู้คณิตศาสตร์ระดับ ม.ต้น ก็สามารถทำความเข้าใจได้ไม่ยาก . ในการเลือกตั้ง ผู้มีสิทธิเลือกตั้งจะได้รับบัตรเลือกตั้ง จำนวน 2 ใบ ได้แก่ บัตรสีม่วง เลือกผู้สมัครตามเขตเลือกตั้งของตนเอง 1 คน โดย ส.ส. แบบแบ่งเขตเลือกตั้ง จะได้มาจากผู้สมัครที่ได้รับคะแนนสูงสุดของแต่ละเขตเลือกตั้งจาก 400 เขตเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งละ 1 คน รวมจำนวน ส.ส. แบบแบ่งเขตเลือกตั้งทั้งหมด 400 คน จะเห็นว่าการหา ส.ส. แบบแบ่งเขต เป็นการใช้ความรู้เรื่อง ฐานนิยม กล่าวคือผู้ได้รับเลือกเป็น ส.ส. ในแต่ละเขต ก็คือ ฐานนิยมของผู้สมัครของแต่ละเขตนั่นเองของผู้สมัครของแต่ละเขตนั่นเอง บัตรสีเขียว ใช้ในการเลือกพรรคการเมืองที่ต้องการ จำนวน 1 พรรค ซึ่งเป็นการออกเสียงลงคะแนนเลือกตั้งบัญชีรายชื่อผู้สมัครที่พรรคการเมืองนั้นจัดทำขึ้น โดยการคำนวณสัดส่วนของ ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อทั้งหมด 100 คน จากแต่ละพรรค มีวิธีการดังนี้ นำผลคะแนนทั้งหมดที่ทุกพรรคการเมืองได้รับจากการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อหารด้วย 100 ผลลัพธ์ที่ได้ให้ถือเป็นคะแนนเฉลี่ยต่อ ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อ 1 คน นำคะแนนรวมจากการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อที่แต่ละพรรคการเมืองได้รับ หารด้วยคะแนนเฉลี่ยตามข้อ 1) ผลลัพธ์ที่ได้เฉพาะส่วนที่เป็นจำนวนเต็มคือจำนวน ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อที่พรรคการเมืองนั้นได้รับ ในกรณีที่จำนวน ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อที่ทุกพรรคได้รับรวมกันไม่ครบ 100 คน ให้พิจารณาเศษที่ได้จากผลลัพธ์ในข้อ 2) โดยพรรคที่มีเศษมากที่สุดจะได้รับ ส.ส. แบบบัญชีรายชื่ออีก 1 คน เรียงตามลำดับ จนกว่าจะมีจำนวน ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อที่ทุกพรรคได้รับรวมกันครบ 100 คน . . จะเห็นว่าหลักการคำนวณสัดส่วนของ ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อ ได้มาจากการนำความรู้เกี่ยวกับ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต การหาผลหารและเศษ และการเปรียบเทียบทศนิยม มาประยุกต์ใช้นั่นเอง . ขอขอบคุณแหล่งที่ : คลิก

ช่วงการเลือกตั้งแบบนี้ สงสัยกันไหมคะว่า เมื่อได้คะแนนมาแล้วต้องคำนวณอย่างไร? วันนี้สสสวท. เผยคณิตศาสตร์กับการคิดคะแนนเลือกตั้ง : วิธีการคำนวณจากสสวท. โดยใช้เพียงความรู้คณิตศาสตร์ระดับ ม.ต้น ก็สามารถทำความเข้าใจได้ไม่ยาก

.

ในการเลือกตั้ง ผู้มีสิทธิเลือกตั้งจะได้รับบัตรเลือกตั้ง จำนวน 2 ใบ ได้แก่

  1. บัตรสีม่วง เลือกผู้สมัครตามเขตเลือกตั้งของตนเอง 1 คน โดย ส.ส. แบบแบ่งเขตเลือกตั้ง จะได้มาจากผู้สมัครที่ได้รับคะแนนสูงสุดของแต่ละเขตเลือกตั้งจาก 400 เขตเลือกตั้ง เขตเลือกตั้งละ 1 คน รวมจำนวน ส.ส. แบบแบ่งเขตเลือกตั้งทั้งหมด 400 คน จะเห็นว่าการหา ส.ส. แบบแบ่งเขต เป็นการใช้ความรู้เรื่อง ฐานนิยม กล่าวคือผู้ได้รับเลือกเป็น ส.ส. ในแต่ละเขต ก็คือ ฐานนิยมของผู้สมัครของแต่ละเขตนั่นเองของผู้สมัครของแต่ละเขตนั่นเอง
  2. บัตรสีเขียว ใช้ในการเลือกพรรคการเมืองที่ต้องการ จำนวน 1 พรรค ซึ่งเป็นการออกเสียงลงคะแนนเลือกตั้งบัญชีรายชื่อผู้สมัครที่พรรคการเมืองนั้นจัดทำขึ้น โดยการคำนวณสัดส่วนของ ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อทั้งหมด 100 คน จากแต่ละพรรค มีวิธีการดังนี้
    • นำผลคะแนนทั้งหมดที่ทุกพรรคการเมืองได้รับจากการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อหารด้วย 100 ผลลัพธ์ที่ได้ให้ถือเป็นคะแนนเฉลี่ยต่อ ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อ 1 คน
    • นำคะแนนรวมจากการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อที่แต่ละพรรคการเมืองได้รับ หารด้วยคะแนนเฉลี่ยตามข้อ 1) ผลลัพธ์ที่ได้เฉพาะส่วนที่เป็นจำนวนเต็มคือจำนวน ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อที่พรรคการเมืองนั้นได้รับ
    • ในกรณีที่จำนวน ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อที่ทุกพรรคได้รับรวมกันไม่ครบ 100 คน ให้พิจารณาเศษที่ได้จากผลลัพธ์ในข้อ 2) โดยพรรคที่มีเศษมากที่สุดจะได้รับ ส.ส. แบบบัญชีรายชื่ออีก 1 คน เรียงตามลำดับ จนกว่าจะมีจำนวน ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อที่ทุกพรรคได้รับรวมกันครบ 100 คน

.

.

จะเห็นว่าหลักการคำนวณสัดส่วนของ ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อ ได้มาจากการนำความรู้เกี่ยวกับ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต การหาผลหารและเศษ และการเปรียบเทียบทศนิยม มาประยุกต์ใช้นั่นเอง

.

ขอขอบคุณแหล่งที่ : คลิก

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *