ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง EZ WebmasterJune 13, 2025 วันนี้ทั้งเล่น ทั้งได้ความรู้ ทั้งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนนางรอง จ.บุรีรัมย์ วันที่13/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า… นักศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI… ทุนดีดี เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search tui sakrapee January 27, 2023 tui sakrapee January 27, 2023 การแบ่งปันความรู้ สู่รางวัลเรียนดี ‘วิศวกรรมสถานฯ’ หนุ่มวิศวะโยธา มทร.ธัญบุรี “เราได้ – เพื่อนก็ได้” คือเสน่ห์อย่างหนึ่งของการติว และเป็นจุดเริ่มต้นให้ นายเตมีย์ ทับเที่ยง หรือ “ปัตร” หนุ่มวิศวกรรมโยธา ชั้นปีที่ 4 มทร.ธัญบุรี เลือกใช้เพื่อเป็นกลยุทธ์หนึ่งของการเรียนวิศวะ จนได้รับเหรียญรางวัลเรียนดี 1 ใน 48 คนทั่วประเทศ จากวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ประจำปี 2565 นายเตมีย์ ทับเที่ยง “ปัตร” เป็นหนุ่มใต้ จ.สุราษฎร์ธานี หลังเรียนจบจากโรงเรียนเกาะพะงันศึกษา ก็มุ่งตรงต่อปริญญาตรีที่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ในด้านครอบครัวคุณพ่อทำธุรกิจด้านอาหาร ส่วนแม่ทำงานในหน่วยงานรัฐแห่งหนึ่ง มีพี่น้องทั้งหมด 3 คน โดยตนเป็นลูกคนกลาง ค่าใช้จ่ายทางบ้านก็เยอะ จึงต้องกู้เรียน จากกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.) ตั้งแต่อยู่ ม.5 จนถึงตอนนี้ “ด้วยความเป็นครอบครัวจากสุราษฎร์ฯ เปลี่ยนมาอยู่หอพักตามลำพัง สำหรับชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัย เป็นเรื่องที่ต้องปรับตัวมากพอสมควร เงินที่ใช้จ่ายทุกวันนี้มาจาก 2 ทาง คือเงินที่แม่ส่งมาให้ กับ กยศ. การจัดสรรค่าใช้จ่ายก็ยากเช่นเดียวกับการที่เราต้องปรับตัว” ตอนนี้กำลังเรียนวิศวกรรมโยธา เหตุผลที่เลือกเรียนเพราะอยากเอาความรู้ด้านวิศวกร ไม่ว่าจะเป็นการออกแบบ สำรวจ วิเคราะห์ ก่อสร้าง บำรุงรักษา รวมถึงบริหารจัดการ ซึ่งความรู้เหล่านี้อยากเอากลับไปพัฒนาบ้านเกิด ที่เกาะพงัน และตอนนี้ผมเรียนอยู่ ชั้นปีที่ 4 โดยเกรดเฉลี่ยสะสมล่าสุด 3.94 และได้รับเหรียญรางวัลเรียนดี ประจำปี พ.ศ. 2565 จากนายเกษม วัฒนชัย องคมนตรี ผู้แทนพระองค์ที่ศาลาสหทัยสมาคม ในพระบรมมหาราชวัง โดยวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (สวท.) ซึ่งคณะกรรมการบริหารกองทุนเพื่อการศึกษาและวิจัยทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เป็นผู้คัดเลือก จากทั้งหมด 48 คนทั่วประเทศ “เป็นรางวัลที่ผมดีใจมากที่สุด เหมือนเราก้าวไปอีกขั้นหนึ่งของความสำเร็จ ก่อนที่จะเรียนจบ และรางวัลนี้ทำให้ใครหลายคนมีรอยยิ้มที่ร่วมดีใจไปกับผมด้วย โดยเฉพาะแม่” เรียนยังไงถึงได้ดี คำถามที่ชวนให้หาคำตอบ ปัตร เล่าว่า จากประสบการณ์ตอนเรียนมัธยม ได้เรียนกับเพื่อน ทำรายงานกับเพื่อน ติวกับเพื่อน มันแฮปปี้มาก แล้วก็สอบผ่านโดยที่ผลเป็นที่น่าพอใจ เลยเกิดความคิดที่ว่า “เรียนและติวไปพร้อมกัน” มันไปได้ไกลกว่าการเรียนและติวคนเดียวเพียงลำพัง ผมเริ่มเรียนและติวกับเพื่อนตั้งแต่ปีแรกที่เข้ามาเรียนที่ มทร.ธัญบุรี เลย แม้จะมีเสียงกระทบมาบ้าง ในทำนองอวดเก่ง หาแสง อะไรทำนองนี้ ผมก็ยืนยันว่า “ไม่ได้หาแสงจากการติวหรือการสอนเพื่อน” แต่เป็นการย้ำเตือนความรู้ ทบทวนในสิ่งที่เรียนมาแล้วไปพร้อม ๆ กันกับแก๊งเพื่อน เพราะอะไรก็ตามถ้าเรียนมาแล้ว หากไม่ทิ้งไป ไม่ได้ทบทวน รับรองได้เลย 90 กว่าเปอร์เซ็นต์ลืมแน่นอน ซึ่งถือเป็นกลยุทธ์หนึ่งของการเรียนวิศวะ ที่พาผมและเพื่อนก้าวข้ามความยากในเส้นทางวิศวะมาได้ถึงตอนนี้ ขณะเดียวกัน ต้องไม่ลืมที่จะแบ่งเวลาทบทวนเรื่องที่เรียนมาด้วยตัวเองร่วมด้วย เมื่อเจอขั้นตอนไหน จุดไหนที่งง ๆ ให้ถามอาจารย์โดยตรง อย่าปล่อยผ่านไป เมื่อเครียดและเหนื่อยล้าจากการเรียน ปัตรเล่าว่า ตนเลือกทำกิจกรรม มีทั้งกิจกรรมตอนว่างจริง ๆ ก็จะเล่นเกมส์ เพราะเกมส์ทำให้สมองตื่นตัว รู้จักคิดแบบมีชั้นเชิง และเคยอ่านในอินเทอร์เน็ตเขาบอกว่า เกมส์ช่วยชะลอความแก่ได้ เพราะบางเกมส์เมื่อเราเล่นชนะ ร่างกายเราจะหลั่งสารแห่งความสุข หากไม่เล่นเกมส์ก็จะออกกำลัง โดยเฉพาะวิ่งและแบตมินตันภายในมหาวิทยาลัย อีกกิจกรรมประเภทหนึ่งที่สำคัญไม่แพ้กัน คือกิจกรรมที่มหาวิทยาลัย คณะ หรือภาควิชาจัดขึ้น เราก็เข้าไปช่วย เข้าไปมีส่วนร่วมในสโมสรนักศึกษาฯ “อันนี้ทำให้เราได้เพื่อนเพิ่มขึ้น ได้เรียนรู้วิธีการทำงาน การแก้ปัญหาร่วมกัน” โดยปัตรยืนยันว่า สำหรับตนแล้ว ถ้าเรียนอย่างเดียว คงเครียด คงปวดหัวแน่ ๆ และน่าจะส่งผลต่อสุขภาพ ดังนั้นกิจกรรมนอกเหนือจากการเรียนเป็นสิ่งสำคัญ ที่จะบรรเทาและเยียวยาได้ ภายใต้การบริหารจัดการอย่างสมดุล ปัตร เล่าอีกด้วยว่า เวลาที่มีปัญหาหรือรู้สึกท้อ จะเลือกจัดการชีวิตโดยการหาที่ปรึกษาที่ไว้ใจ บอกเล่าเรื่องราวเหล่านั้น เชื่อไหมว่าเมื่อได้บอกออกไปแล้ว สิ่งแรกที่ได้คือเราได้ความสบายใจ โล่งใจ สองเราได้ตัวเลือก หรือคำตอบมากขึ้น เห็นทางออกมากขึ้น โดยมากจะไปปรึกษากับท่านอาจารย์ ผศ.สุคม ลิปิเลิศ ส่วนอีกท่านหนึ่งที่ชอบสไตล์การสอนก็คือ รศ.ดร.ปิติศานต์ กร้ำมาตร รวมถึงพี่ ๆ ที่เป็นเจ้าหน้าที่ในภาควิชา “การที่เรามีหลักยึด หรือมีต้นแบบที่ดี มันเป็นส่วนเสริมให้ชีวิตเราดีขึ้น มั่นคงขึ้น” “เรื่องราวและเทคนิคเฉพาะตัวของการเรียน เป็นสิ่งที่ผมใช้จริง ใช้อยู่ถึงตอนนี้ อาจจะดูธรรมดาทั่วไป แต่มันช่วยตีกรอบ และเป็นการปักหมุดที่สำคัญ ให้ผมตั้งเป้าหมายและเดินได้อย่างมั่นใจ ส่วนในอนาคต เส้นทางเริ่มชัดเจนขึ้น ทั้งการเป็นวิศกรอย่างเต็มตัว กลับไปทำงานที่บ้านเกิด อีกทางหนึ่งคือเรียนต่อ พัฒนาตนเองเพิ่มเติมด้านภาษา หากได้รับทุนการศึกษา ก็จะเป็นโอกาสที่ดีมาก อีกด้านหนึ่งก็อยากเป็นอาจารย์ เพราะเชื่อว่าตนเองสื่อสารและถ่ายทอดได้ดี อันนี้ผมได้ยินฟีคแบคจากเพื่อนในกลุ่มมา” ปัตร อธิบาย นี่เป็นการเผยเทคนิคเล็ก ๆ ของหนุ่มวิศวะ มทร.ธัญบุรี ที่มีแนวคิด “เรียนและติวไปพร้อมกันนะ” อาจจะจุดประเด็นต้นแบบให้กับรุ่นน้องและเพื่อนคนอื่นต่อไปได้ด้วย . อลงกรณ์ รัตตะเวทิน กองประชาสัมพันธ์ มทร.ธัญบุรี. tui sakrapee Related Posts คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” รวมบุคคลสำคัญของแต่ละมหาวิทยาลัยไทย มาให้ทุกคนได้รู้กัน !! Post navigation PREVIOUS Previous post: Google Scholar JANUARY 2023 จัดอันดับ “จุฬาฯ” ที่ 1 ประเทศ “สวนสุนันทา” ยังยืน 1 ราชภัฏ “มทร.ธัญบุรี” ที่ 1 กลุ่มราชมงคล “ม.รังสิต” อันดับ 1 ม.เอกชนอีกสมัยNEXT Next post: มหาวิทยาลัยมหิดล เปิด 20 คอร์สเรียนออนไลน์ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง EZ WebmasterJune 13, 2025 วันนี้ทั้งเล่น ทั้งได้ความรู้ ทั้งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนนางรอง จ.บุรีรัมย์ วันที่13/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า… นักศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI… ทุนดีดี เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search tui sakrapee January 27, 2023 tui sakrapee January 27, 2023 การแบ่งปันความรู้ สู่รางวัลเรียนดี ‘วิศวกรรมสถานฯ’ หนุ่มวิศวะโยธา มทร.ธัญบุรี “เราได้ – เพื่อนก็ได้” คือเสน่ห์อย่างหนึ่งของการติว และเป็นจุดเริ่มต้นให้ นายเตมีย์ ทับเที่ยง หรือ “ปัตร” หนุ่มวิศวกรรมโยธา ชั้นปีที่ 4 มทร.ธัญบุรี เลือกใช้เพื่อเป็นกลยุทธ์หนึ่งของการเรียนวิศวะ จนได้รับเหรียญรางวัลเรียนดี 1 ใน 48 คนทั่วประเทศ จากวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ประจำปี 2565 นายเตมีย์ ทับเที่ยง “ปัตร” เป็นหนุ่มใต้ จ.สุราษฎร์ธานี หลังเรียนจบจากโรงเรียนเกาะพะงันศึกษา ก็มุ่งตรงต่อปริญญาตรีที่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ในด้านครอบครัวคุณพ่อทำธุรกิจด้านอาหาร ส่วนแม่ทำงานในหน่วยงานรัฐแห่งหนึ่ง มีพี่น้องทั้งหมด 3 คน โดยตนเป็นลูกคนกลาง ค่าใช้จ่ายทางบ้านก็เยอะ จึงต้องกู้เรียน จากกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.) ตั้งแต่อยู่ ม.5 จนถึงตอนนี้ “ด้วยความเป็นครอบครัวจากสุราษฎร์ฯ เปลี่ยนมาอยู่หอพักตามลำพัง สำหรับชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัย เป็นเรื่องที่ต้องปรับตัวมากพอสมควร เงินที่ใช้จ่ายทุกวันนี้มาจาก 2 ทาง คือเงินที่แม่ส่งมาให้ กับ กยศ. การจัดสรรค่าใช้จ่ายก็ยากเช่นเดียวกับการที่เราต้องปรับตัว” ตอนนี้กำลังเรียนวิศวกรรมโยธา เหตุผลที่เลือกเรียนเพราะอยากเอาความรู้ด้านวิศวกร ไม่ว่าจะเป็นการออกแบบ สำรวจ วิเคราะห์ ก่อสร้าง บำรุงรักษา รวมถึงบริหารจัดการ ซึ่งความรู้เหล่านี้อยากเอากลับไปพัฒนาบ้านเกิด ที่เกาะพงัน และตอนนี้ผมเรียนอยู่ ชั้นปีที่ 4 โดยเกรดเฉลี่ยสะสมล่าสุด 3.94 และได้รับเหรียญรางวัลเรียนดี ประจำปี พ.ศ. 2565 จากนายเกษม วัฒนชัย องคมนตรี ผู้แทนพระองค์ที่ศาลาสหทัยสมาคม ในพระบรมมหาราชวัง โดยวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (สวท.) ซึ่งคณะกรรมการบริหารกองทุนเพื่อการศึกษาและวิจัยทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เป็นผู้คัดเลือก จากทั้งหมด 48 คนทั่วประเทศ “เป็นรางวัลที่ผมดีใจมากที่สุด เหมือนเราก้าวไปอีกขั้นหนึ่งของความสำเร็จ ก่อนที่จะเรียนจบ และรางวัลนี้ทำให้ใครหลายคนมีรอยยิ้มที่ร่วมดีใจไปกับผมด้วย โดยเฉพาะแม่” เรียนยังไงถึงได้ดี คำถามที่ชวนให้หาคำตอบ ปัตร เล่าว่า จากประสบการณ์ตอนเรียนมัธยม ได้เรียนกับเพื่อน ทำรายงานกับเพื่อน ติวกับเพื่อน มันแฮปปี้มาก แล้วก็สอบผ่านโดยที่ผลเป็นที่น่าพอใจ เลยเกิดความคิดที่ว่า “เรียนและติวไปพร้อมกัน” มันไปได้ไกลกว่าการเรียนและติวคนเดียวเพียงลำพัง ผมเริ่มเรียนและติวกับเพื่อนตั้งแต่ปีแรกที่เข้ามาเรียนที่ มทร.ธัญบุรี เลย แม้จะมีเสียงกระทบมาบ้าง ในทำนองอวดเก่ง หาแสง อะไรทำนองนี้ ผมก็ยืนยันว่า “ไม่ได้หาแสงจากการติวหรือการสอนเพื่อน” แต่เป็นการย้ำเตือนความรู้ ทบทวนในสิ่งที่เรียนมาแล้วไปพร้อม ๆ กันกับแก๊งเพื่อน เพราะอะไรก็ตามถ้าเรียนมาแล้ว หากไม่ทิ้งไป ไม่ได้ทบทวน รับรองได้เลย 90 กว่าเปอร์เซ็นต์ลืมแน่นอน ซึ่งถือเป็นกลยุทธ์หนึ่งของการเรียนวิศวะ ที่พาผมและเพื่อนก้าวข้ามความยากในเส้นทางวิศวะมาได้ถึงตอนนี้ ขณะเดียวกัน ต้องไม่ลืมที่จะแบ่งเวลาทบทวนเรื่องที่เรียนมาด้วยตัวเองร่วมด้วย เมื่อเจอขั้นตอนไหน จุดไหนที่งง ๆ ให้ถามอาจารย์โดยตรง อย่าปล่อยผ่านไป เมื่อเครียดและเหนื่อยล้าจากการเรียน ปัตรเล่าว่า ตนเลือกทำกิจกรรม มีทั้งกิจกรรมตอนว่างจริง ๆ ก็จะเล่นเกมส์ เพราะเกมส์ทำให้สมองตื่นตัว รู้จักคิดแบบมีชั้นเชิง และเคยอ่านในอินเทอร์เน็ตเขาบอกว่า เกมส์ช่วยชะลอความแก่ได้ เพราะบางเกมส์เมื่อเราเล่นชนะ ร่างกายเราจะหลั่งสารแห่งความสุข หากไม่เล่นเกมส์ก็จะออกกำลัง โดยเฉพาะวิ่งและแบตมินตันภายในมหาวิทยาลัย อีกกิจกรรมประเภทหนึ่งที่สำคัญไม่แพ้กัน คือกิจกรรมที่มหาวิทยาลัย คณะ หรือภาควิชาจัดขึ้น เราก็เข้าไปช่วย เข้าไปมีส่วนร่วมในสโมสรนักศึกษาฯ “อันนี้ทำให้เราได้เพื่อนเพิ่มขึ้น ได้เรียนรู้วิธีการทำงาน การแก้ปัญหาร่วมกัน” โดยปัตรยืนยันว่า สำหรับตนแล้ว ถ้าเรียนอย่างเดียว คงเครียด คงปวดหัวแน่ ๆ และน่าจะส่งผลต่อสุขภาพ ดังนั้นกิจกรรมนอกเหนือจากการเรียนเป็นสิ่งสำคัญ ที่จะบรรเทาและเยียวยาได้ ภายใต้การบริหารจัดการอย่างสมดุล ปัตร เล่าอีกด้วยว่า เวลาที่มีปัญหาหรือรู้สึกท้อ จะเลือกจัดการชีวิตโดยการหาที่ปรึกษาที่ไว้ใจ บอกเล่าเรื่องราวเหล่านั้น เชื่อไหมว่าเมื่อได้บอกออกไปแล้ว สิ่งแรกที่ได้คือเราได้ความสบายใจ โล่งใจ สองเราได้ตัวเลือก หรือคำตอบมากขึ้น เห็นทางออกมากขึ้น โดยมากจะไปปรึกษากับท่านอาจารย์ ผศ.สุคม ลิปิเลิศ ส่วนอีกท่านหนึ่งที่ชอบสไตล์การสอนก็คือ รศ.ดร.ปิติศานต์ กร้ำมาตร รวมถึงพี่ ๆ ที่เป็นเจ้าหน้าที่ในภาควิชา “การที่เรามีหลักยึด หรือมีต้นแบบที่ดี มันเป็นส่วนเสริมให้ชีวิตเราดีขึ้น มั่นคงขึ้น” “เรื่องราวและเทคนิคเฉพาะตัวของการเรียน เป็นสิ่งที่ผมใช้จริง ใช้อยู่ถึงตอนนี้ อาจจะดูธรรมดาทั่วไป แต่มันช่วยตีกรอบ และเป็นการปักหมุดที่สำคัญ ให้ผมตั้งเป้าหมายและเดินได้อย่างมั่นใจ ส่วนในอนาคต เส้นทางเริ่มชัดเจนขึ้น ทั้งการเป็นวิศกรอย่างเต็มตัว กลับไปทำงานที่บ้านเกิด อีกทางหนึ่งคือเรียนต่อ พัฒนาตนเองเพิ่มเติมด้านภาษา หากได้รับทุนการศึกษา ก็จะเป็นโอกาสที่ดีมาก อีกด้านหนึ่งก็อยากเป็นอาจารย์ เพราะเชื่อว่าตนเองสื่อสารและถ่ายทอดได้ดี อันนี้ผมได้ยินฟีคแบคจากเพื่อนในกลุ่มมา” ปัตร อธิบาย นี่เป็นการเผยเทคนิคเล็ก ๆ ของหนุ่มวิศวะ มทร.ธัญบุรี ที่มีแนวคิด “เรียนและติวไปพร้อมกันนะ” อาจจะจุดประเด็นต้นแบบให้กับรุ่นน้องและเพื่อนคนอื่นต่อไปได้ด้วย . อลงกรณ์ รัตตะเวทิน กองประชาสัมพันธ์ มทร.ธัญบุรี. tui sakrapee Related Posts คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” รวมบุคคลสำคัญของแต่ละมหาวิทยาลัยไทย มาให้ทุกคนได้รู้กัน !! Post navigation PREVIOUS Previous post: Google Scholar JANUARY 2023 จัดอันดับ “จุฬาฯ” ที่ 1 ประเทศ “สวนสุนันทา” ยังยืน 1 ราชภัฏ “มทร.ธัญบุรี” ที่ 1 กลุ่มราชมงคล “ม.รังสิต” อันดับ 1 ม.เอกชนอีกสมัยNEXT Next post: มหาวิทยาลัยมหิดล เปิด 20 คอร์สเรียนออนไลน์ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง EZ WebmasterJune 13, 2025 วันนี้ทั้งเล่น ทั้งได้ความรู้ ทั้งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนนางรอง จ.บุรีรัมย์ วันที่13/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า…
โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง EZ WebmasterJune 13, 2025 วันนี้ทั้งเล่น ทั้งได้ความรู้ ทั้งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนนางรอง จ.บุรีรัมย์ วันที่13/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า…
คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI… ทุนดีดี เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search tui sakrapee January 27, 2023 tui sakrapee January 27, 2023 การแบ่งปันความรู้ สู่รางวัลเรียนดี ‘วิศวกรรมสถานฯ’ หนุ่มวิศวะโยธา มทร.ธัญบุรี “เราได้ – เพื่อนก็ได้” คือเสน่ห์อย่างหนึ่งของการติว และเป็นจุดเริ่มต้นให้ นายเตมีย์ ทับเที่ยง หรือ “ปัตร” หนุ่มวิศวกรรมโยธา ชั้นปีที่ 4 มทร.ธัญบุรี เลือกใช้เพื่อเป็นกลยุทธ์หนึ่งของการเรียนวิศวะ จนได้รับเหรียญรางวัลเรียนดี 1 ใน 48 คนทั่วประเทศ จากวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ประจำปี 2565 นายเตมีย์ ทับเที่ยง “ปัตร” เป็นหนุ่มใต้ จ.สุราษฎร์ธานี หลังเรียนจบจากโรงเรียนเกาะพะงันศึกษา ก็มุ่งตรงต่อปริญญาตรีที่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ในด้านครอบครัวคุณพ่อทำธุรกิจด้านอาหาร ส่วนแม่ทำงานในหน่วยงานรัฐแห่งหนึ่ง มีพี่น้องทั้งหมด 3 คน โดยตนเป็นลูกคนกลาง ค่าใช้จ่ายทางบ้านก็เยอะ จึงต้องกู้เรียน จากกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.) ตั้งแต่อยู่ ม.5 จนถึงตอนนี้ “ด้วยความเป็นครอบครัวจากสุราษฎร์ฯ เปลี่ยนมาอยู่หอพักตามลำพัง สำหรับชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัย เป็นเรื่องที่ต้องปรับตัวมากพอสมควร เงินที่ใช้จ่ายทุกวันนี้มาจาก 2 ทาง คือเงินที่แม่ส่งมาให้ กับ กยศ. การจัดสรรค่าใช้จ่ายก็ยากเช่นเดียวกับการที่เราต้องปรับตัว” ตอนนี้กำลังเรียนวิศวกรรมโยธา เหตุผลที่เลือกเรียนเพราะอยากเอาความรู้ด้านวิศวกร ไม่ว่าจะเป็นการออกแบบ สำรวจ วิเคราะห์ ก่อสร้าง บำรุงรักษา รวมถึงบริหารจัดการ ซึ่งความรู้เหล่านี้อยากเอากลับไปพัฒนาบ้านเกิด ที่เกาะพงัน และตอนนี้ผมเรียนอยู่ ชั้นปีที่ 4 โดยเกรดเฉลี่ยสะสมล่าสุด 3.94 และได้รับเหรียญรางวัลเรียนดี ประจำปี พ.ศ. 2565 จากนายเกษม วัฒนชัย องคมนตรี ผู้แทนพระองค์ที่ศาลาสหทัยสมาคม ในพระบรมมหาราชวัง โดยวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (สวท.) ซึ่งคณะกรรมการบริหารกองทุนเพื่อการศึกษาและวิจัยทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เป็นผู้คัดเลือก จากทั้งหมด 48 คนทั่วประเทศ “เป็นรางวัลที่ผมดีใจมากที่สุด เหมือนเราก้าวไปอีกขั้นหนึ่งของความสำเร็จ ก่อนที่จะเรียนจบ และรางวัลนี้ทำให้ใครหลายคนมีรอยยิ้มที่ร่วมดีใจไปกับผมด้วย โดยเฉพาะแม่” เรียนยังไงถึงได้ดี คำถามที่ชวนให้หาคำตอบ ปัตร เล่าว่า จากประสบการณ์ตอนเรียนมัธยม ได้เรียนกับเพื่อน ทำรายงานกับเพื่อน ติวกับเพื่อน มันแฮปปี้มาก แล้วก็สอบผ่านโดยที่ผลเป็นที่น่าพอใจ เลยเกิดความคิดที่ว่า “เรียนและติวไปพร้อมกัน” มันไปได้ไกลกว่าการเรียนและติวคนเดียวเพียงลำพัง ผมเริ่มเรียนและติวกับเพื่อนตั้งแต่ปีแรกที่เข้ามาเรียนที่ มทร.ธัญบุรี เลย แม้จะมีเสียงกระทบมาบ้าง ในทำนองอวดเก่ง หาแสง อะไรทำนองนี้ ผมก็ยืนยันว่า “ไม่ได้หาแสงจากการติวหรือการสอนเพื่อน” แต่เป็นการย้ำเตือนความรู้ ทบทวนในสิ่งที่เรียนมาแล้วไปพร้อม ๆ กันกับแก๊งเพื่อน เพราะอะไรก็ตามถ้าเรียนมาแล้ว หากไม่ทิ้งไป ไม่ได้ทบทวน รับรองได้เลย 90 กว่าเปอร์เซ็นต์ลืมแน่นอน ซึ่งถือเป็นกลยุทธ์หนึ่งของการเรียนวิศวะ ที่พาผมและเพื่อนก้าวข้ามความยากในเส้นทางวิศวะมาได้ถึงตอนนี้ ขณะเดียวกัน ต้องไม่ลืมที่จะแบ่งเวลาทบทวนเรื่องที่เรียนมาด้วยตัวเองร่วมด้วย เมื่อเจอขั้นตอนไหน จุดไหนที่งง ๆ ให้ถามอาจารย์โดยตรง อย่าปล่อยผ่านไป เมื่อเครียดและเหนื่อยล้าจากการเรียน ปัตรเล่าว่า ตนเลือกทำกิจกรรม มีทั้งกิจกรรมตอนว่างจริง ๆ ก็จะเล่นเกมส์ เพราะเกมส์ทำให้สมองตื่นตัว รู้จักคิดแบบมีชั้นเชิง และเคยอ่านในอินเทอร์เน็ตเขาบอกว่า เกมส์ช่วยชะลอความแก่ได้ เพราะบางเกมส์เมื่อเราเล่นชนะ ร่างกายเราจะหลั่งสารแห่งความสุข หากไม่เล่นเกมส์ก็จะออกกำลัง โดยเฉพาะวิ่งและแบตมินตันภายในมหาวิทยาลัย อีกกิจกรรมประเภทหนึ่งที่สำคัญไม่แพ้กัน คือกิจกรรมที่มหาวิทยาลัย คณะ หรือภาควิชาจัดขึ้น เราก็เข้าไปช่วย เข้าไปมีส่วนร่วมในสโมสรนักศึกษาฯ “อันนี้ทำให้เราได้เพื่อนเพิ่มขึ้น ได้เรียนรู้วิธีการทำงาน การแก้ปัญหาร่วมกัน” โดยปัตรยืนยันว่า สำหรับตนแล้ว ถ้าเรียนอย่างเดียว คงเครียด คงปวดหัวแน่ ๆ และน่าจะส่งผลต่อสุขภาพ ดังนั้นกิจกรรมนอกเหนือจากการเรียนเป็นสิ่งสำคัญ ที่จะบรรเทาและเยียวยาได้ ภายใต้การบริหารจัดการอย่างสมดุล ปัตร เล่าอีกด้วยว่า เวลาที่มีปัญหาหรือรู้สึกท้อ จะเลือกจัดการชีวิตโดยการหาที่ปรึกษาที่ไว้ใจ บอกเล่าเรื่องราวเหล่านั้น เชื่อไหมว่าเมื่อได้บอกออกไปแล้ว สิ่งแรกที่ได้คือเราได้ความสบายใจ โล่งใจ สองเราได้ตัวเลือก หรือคำตอบมากขึ้น เห็นทางออกมากขึ้น โดยมากจะไปปรึกษากับท่านอาจารย์ ผศ.สุคม ลิปิเลิศ ส่วนอีกท่านหนึ่งที่ชอบสไตล์การสอนก็คือ รศ.ดร.ปิติศานต์ กร้ำมาตร รวมถึงพี่ ๆ ที่เป็นเจ้าหน้าที่ในภาควิชา “การที่เรามีหลักยึด หรือมีต้นแบบที่ดี มันเป็นส่วนเสริมให้ชีวิตเราดีขึ้น มั่นคงขึ้น” “เรื่องราวและเทคนิคเฉพาะตัวของการเรียน เป็นสิ่งที่ผมใช้จริง ใช้อยู่ถึงตอนนี้ อาจจะดูธรรมดาทั่วไป แต่มันช่วยตีกรอบ และเป็นการปักหมุดที่สำคัญ ให้ผมตั้งเป้าหมายและเดินได้อย่างมั่นใจ ส่วนในอนาคต เส้นทางเริ่มชัดเจนขึ้น ทั้งการเป็นวิศกรอย่างเต็มตัว กลับไปทำงานที่บ้านเกิด อีกทางหนึ่งคือเรียนต่อ พัฒนาตนเองเพิ่มเติมด้านภาษา หากได้รับทุนการศึกษา ก็จะเป็นโอกาสที่ดีมาก อีกด้านหนึ่งก็อยากเป็นอาจารย์ เพราะเชื่อว่าตนเองสื่อสารและถ่ายทอดได้ดี อันนี้ผมได้ยินฟีคแบคจากเพื่อนในกลุ่มมา” ปัตร อธิบาย นี่เป็นการเผยเทคนิคเล็ก ๆ ของหนุ่มวิศวะ มทร.ธัญบุรี ที่มีแนวคิด “เรียนและติวไปพร้อมกันนะ” อาจจะจุดประเด็นต้นแบบให้กับรุ่นน้องและเพื่อนคนอื่นต่อไปได้ด้วย . อลงกรณ์ รัตตะเวทิน กองประชาสัมพันธ์ มทร.ธัญบุรี. tui sakrapee Related Posts คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” รวมบุคคลสำคัญของแต่ละมหาวิทยาลัยไทย มาให้ทุกคนได้รู้กัน !! Post navigation PREVIOUS Previous post: Google Scholar JANUARY 2023 จัดอันดับ “จุฬาฯ” ที่ 1 ประเทศ “สวนสุนันทา” ยังยืน 1 ราชภัฏ “มทร.ธัญบุรี” ที่ 1 กลุ่มราชมงคล “ม.รังสิต” อันดับ 1 ม.เอกชนอีกสมัยNEXT Next post: มหาวิทยาลัยมหิดล เปิด 20 คอร์สเรียนออนไลน์ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI… ทุนดีดี เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search tui sakrapee January 27, 2023 tui sakrapee January 27, 2023 การแบ่งปันความรู้ สู่รางวัลเรียนดี ‘วิศวกรรมสถานฯ’ หนุ่มวิศวะโยธา มทร.ธัญบุรี “เราได้ – เพื่อนก็ได้” คือเสน่ห์อย่างหนึ่งของการติว และเป็นจุดเริ่มต้นให้ นายเตมีย์ ทับเที่ยง หรือ “ปัตร” หนุ่มวิศวกรรมโยธา ชั้นปีที่ 4 มทร.ธัญบุรี เลือกใช้เพื่อเป็นกลยุทธ์หนึ่งของการเรียนวิศวะ จนได้รับเหรียญรางวัลเรียนดี 1 ใน 48 คนทั่วประเทศ จากวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ประจำปี 2565 นายเตมีย์ ทับเที่ยง “ปัตร” เป็นหนุ่มใต้ จ.สุราษฎร์ธานี หลังเรียนจบจากโรงเรียนเกาะพะงันศึกษา ก็มุ่งตรงต่อปริญญาตรีที่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ในด้านครอบครัวคุณพ่อทำธุรกิจด้านอาหาร ส่วนแม่ทำงานในหน่วยงานรัฐแห่งหนึ่ง มีพี่น้องทั้งหมด 3 คน โดยตนเป็นลูกคนกลาง ค่าใช้จ่ายทางบ้านก็เยอะ จึงต้องกู้เรียน จากกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.) ตั้งแต่อยู่ ม.5 จนถึงตอนนี้ “ด้วยความเป็นครอบครัวจากสุราษฎร์ฯ เปลี่ยนมาอยู่หอพักตามลำพัง สำหรับชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัย เป็นเรื่องที่ต้องปรับตัวมากพอสมควร เงินที่ใช้จ่ายทุกวันนี้มาจาก 2 ทาง คือเงินที่แม่ส่งมาให้ กับ กยศ. การจัดสรรค่าใช้จ่ายก็ยากเช่นเดียวกับการที่เราต้องปรับตัว” ตอนนี้กำลังเรียนวิศวกรรมโยธา เหตุผลที่เลือกเรียนเพราะอยากเอาความรู้ด้านวิศวกร ไม่ว่าจะเป็นการออกแบบ สำรวจ วิเคราะห์ ก่อสร้าง บำรุงรักษา รวมถึงบริหารจัดการ ซึ่งความรู้เหล่านี้อยากเอากลับไปพัฒนาบ้านเกิด ที่เกาะพงัน และตอนนี้ผมเรียนอยู่ ชั้นปีที่ 4 โดยเกรดเฉลี่ยสะสมล่าสุด 3.94 และได้รับเหรียญรางวัลเรียนดี ประจำปี พ.ศ. 2565 จากนายเกษม วัฒนชัย องคมนตรี ผู้แทนพระองค์ที่ศาลาสหทัยสมาคม ในพระบรมมหาราชวัง โดยวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (สวท.) ซึ่งคณะกรรมการบริหารกองทุนเพื่อการศึกษาและวิจัยทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เป็นผู้คัดเลือก จากทั้งหมด 48 คนทั่วประเทศ “เป็นรางวัลที่ผมดีใจมากที่สุด เหมือนเราก้าวไปอีกขั้นหนึ่งของความสำเร็จ ก่อนที่จะเรียนจบ และรางวัลนี้ทำให้ใครหลายคนมีรอยยิ้มที่ร่วมดีใจไปกับผมด้วย โดยเฉพาะแม่” เรียนยังไงถึงได้ดี คำถามที่ชวนให้หาคำตอบ ปัตร เล่าว่า จากประสบการณ์ตอนเรียนมัธยม ได้เรียนกับเพื่อน ทำรายงานกับเพื่อน ติวกับเพื่อน มันแฮปปี้มาก แล้วก็สอบผ่านโดยที่ผลเป็นที่น่าพอใจ เลยเกิดความคิดที่ว่า “เรียนและติวไปพร้อมกัน” มันไปได้ไกลกว่าการเรียนและติวคนเดียวเพียงลำพัง ผมเริ่มเรียนและติวกับเพื่อนตั้งแต่ปีแรกที่เข้ามาเรียนที่ มทร.ธัญบุรี เลย แม้จะมีเสียงกระทบมาบ้าง ในทำนองอวดเก่ง หาแสง อะไรทำนองนี้ ผมก็ยืนยันว่า “ไม่ได้หาแสงจากการติวหรือการสอนเพื่อน” แต่เป็นการย้ำเตือนความรู้ ทบทวนในสิ่งที่เรียนมาแล้วไปพร้อม ๆ กันกับแก๊งเพื่อน เพราะอะไรก็ตามถ้าเรียนมาแล้ว หากไม่ทิ้งไป ไม่ได้ทบทวน รับรองได้เลย 90 กว่าเปอร์เซ็นต์ลืมแน่นอน ซึ่งถือเป็นกลยุทธ์หนึ่งของการเรียนวิศวะ ที่พาผมและเพื่อนก้าวข้ามความยากในเส้นทางวิศวะมาได้ถึงตอนนี้ ขณะเดียวกัน ต้องไม่ลืมที่จะแบ่งเวลาทบทวนเรื่องที่เรียนมาด้วยตัวเองร่วมด้วย เมื่อเจอขั้นตอนไหน จุดไหนที่งง ๆ ให้ถามอาจารย์โดยตรง อย่าปล่อยผ่านไป เมื่อเครียดและเหนื่อยล้าจากการเรียน ปัตรเล่าว่า ตนเลือกทำกิจกรรม มีทั้งกิจกรรมตอนว่างจริง ๆ ก็จะเล่นเกมส์ เพราะเกมส์ทำให้สมองตื่นตัว รู้จักคิดแบบมีชั้นเชิง และเคยอ่านในอินเทอร์เน็ตเขาบอกว่า เกมส์ช่วยชะลอความแก่ได้ เพราะบางเกมส์เมื่อเราเล่นชนะ ร่างกายเราจะหลั่งสารแห่งความสุข หากไม่เล่นเกมส์ก็จะออกกำลัง โดยเฉพาะวิ่งและแบตมินตันภายในมหาวิทยาลัย อีกกิจกรรมประเภทหนึ่งที่สำคัญไม่แพ้กัน คือกิจกรรมที่มหาวิทยาลัย คณะ หรือภาควิชาจัดขึ้น เราก็เข้าไปช่วย เข้าไปมีส่วนร่วมในสโมสรนักศึกษาฯ “อันนี้ทำให้เราได้เพื่อนเพิ่มขึ้น ได้เรียนรู้วิธีการทำงาน การแก้ปัญหาร่วมกัน” โดยปัตรยืนยันว่า สำหรับตนแล้ว ถ้าเรียนอย่างเดียว คงเครียด คงปวดหัวแน่ ๆ และน่าจะส่งผลต่อสุขภาพ ดังนั้นกิจกรรมนอกเหนือจากการเรียนเป็นสิ่งสำคัญ ที่จะบรรเทาและเยียวยาได้ ภายใต้การบริหารจัดการอย่างสมดุล ปัตร เล่าอีกด้วยว่า เวลาที่มีปัญหาหรือรู้สึกท้อ จะเลือกจัดการชีวิตโดยการหาที่ปรึกษาที่ไว้ใจ บอกเล่าเรื่องราวเหล่านั้น เชื่อไหมว่าเมื่อได้บอกออกไปแล้ว สิ่งแรกที่ได้คือเราได้ความสบายใจ โล่งใจ สองเราได้ตัวเลือก หรือคำตอบมากขึ้น เห็นทางออกมากขึ้น โดยมากจะไปปรึกษากับท่านอาจารย์ ผศ.สุคม ลิปิเลิศ ส่วนอีกท่านหนึ่งที่ชอบสไตล์การสอนก็คือ รศ.ดร.ปิติศานต์ กร้ำมาตร รวมถึงพี่ ๆ ที่เป็นเจ้าหน้าที่ในภาควิชา “การที่เรามีหลักยึด หรือมีต้นแบบที่ดี มันเป็นส่วนเสริมให้ชีวิตเราดีขึ้น มั่นคงขึ้น” “เรื่องราวและเทคนิคเฉพาะตัวของการเรียน เป็นสิ่งที่ผมใช้จริง ใช้อยู่ถึงตอนนี้ อาจจะดูธรรมดาทั่วไป แต่มันช่วยตีกรอบ และเป็นการปักหมุดที่สำคัญ ให้ผมตั้งเป้าหมายและเดินได้อย่างมั่นใจ ส่วนในอนาคต เส้นทางเริ่มชัดเจนขึ้น ทั้งการเป็นวิศกรอย่างเต็มตัว กลับไปทำงานที่บ้านเกิด อีกทางหนึ่งคือเรียนต่อ พัฒนาตนเองเพิ่มเติมด้านภาษา หากได้รับทุนการศึกษา ก็จะเป็นโอกาสที่ดีมาก อีกด้านหนึ่งก็อยากเป็นอาจารย์ เพราะเชื่อว่าตนเองสื่อสารและถ่ายทอดได้ดี อันนี้ผมได้ยินฟีคแบคจากเพื่อนในกลุ่มมา” ปัตร อธิบาย นี่เป็นการเผยเทคนิคเล็ก ๆ ของหนุ่มวิศวะ มทร.ธัญบุรี ที่มีแนวคิด “เรียนและติวไปพร้อมกันนะ” อาจจะจุดประเด็นต้นแบบให้กับรุ่นน้องและเพื่อนคนอื่นต่อไปได้ด้วย . อลงกรณ์ รัตตะเวทิน กองประชาสัมพันธ์ มทร.ธัญบุรี. tui sakrapee Related Posts คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” รวมบุคคลสำคัญของแต่ละมหาวิทยาลัยไทย มาให้ทุกคนได้รู้กัน !! Post navigation PREVIOUS Previous post: Google Scholar JANUARY 2023 จัดอันดับ “จุฬาฯ” ที่ 1 ประเทศ “สวนสุนันทา” ยังยืน 1 ราชภัฏ “มทร.ธัญบุรี” ที่ 1 กลุ่มราชมงคล “ม.รังสิต” อันดับ 1 ม.เอกชนอีกสมัยNEXT Next post: มหาวิทยาลัยมหิดล เปิด 20 คอร์สเรียนออนไลน์ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI…
รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI…
เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search tui sakrapee January 27, 2023 tui sakrapee January 27, 2023 การแบ่งปันความรู้ สู่รางวัลเรียนดี ‘วิศวกรรมสถานฯ’ หนุ่มวิศวะโยธา มทร.ธัญบุรี “เราได้ – เพื่อนก็ได้” คือเสน่ห์อย่างหนึ่งของการติว และเป็นจุดเริ่มต้นให้ นายเตมีย์ ทับเที่ยง หรือ “ปัตร” หนุ่มวิศวกรรมโยธา ชั้นปีที่ 4 มทร.ธัญบุรี เลือกใช้เพื่อเป็นกลยุทธ์หนึ่งของการเรียนวิศวะ จนได้รับเหรียญรางวัลเรียนดี 1 ใน 48 คนทั่วประเทศ จากวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ประจำปี 2565 นายเตมีย์ ทับเที่ยง “ปัตร” เป็นหนุ่มใต้ จ.สุราษฎร์ธานี หลังเรียนจบจากโรงเรียนเกาะพะงันศึกษา ก็มุ่งตรงต่อปริญญาตรีที่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ในด้านครอบครัวคุณพ่อทำธุรกิจด้านอาหาร ส่วนแม่ทำงานในหน่วยงานรัฐแห่งหนึ่ง มีพี่น้องทั้งหมด 3 คน โดยตนเป็นลูกคนกลาง ค่าใช้จ่ายทางบ้านก็เยอะ จึงต้องกู้เรียน จากกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.) ตั้งแต่อยู่ ม.5 จนถึงตอนนี้ “ด้วยความเป็นครอบครัวจากสุราษฎร์ฯ เปลี่ยนมาอยู่หอพักตามลำพัง สำหรับชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัย เป็นเรื่องที่ต้องปรับตัวมากพอสมควร เงินที่ใช้จ่ายทุกวันนี้มาจาก 2 ทาง คือเงินที่แม่ส่งมาให้ กับ กยศ. การจัดสรรค่าใช้จ่ายก็ยากเช่นเดียวกับการที่เราต้องปรับตัว” ตอนนี้กำลังเรียนวิศวกรรมโยธา เหตุผลที่เลือกเรียนเพราะอยากเอาความรู้ด้านวิศวกร ไม่ว่าจะเป็นการออกแบบ สำรวจ วิเคราะห์ ก่อสร้าง บำรุงรักษา รวมถึงบริหารจัดการ ซึ่งความรู้เหล่านี้อยากเอากลับไปพัฒนาบ้านเกิด ที่เกาะพงัน และตอนนี้ผมเรียนอยู่ ชั้นปีที่ 4 โดยเกรดเฉลี่ยสะสมล่าสุด 3.94 และได้รับเหรียญรางวัลเรียนดี ประจำปี พ.ศ. 2565 จากนายเกษม วัฒนชัย องคมนตรี ผู้แทนพระองค์ที่ศาลาสหทัยสมาคม ในพระบรมมหาราชวัง โดยวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (สวท.) ซึ่งคณะกรรมการบริหารกองทุนเพื่อการศึกษาและวิจัยทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เป็นผู้คัดเลือก จากทั้งหมด 48 คนทั่วประเทศ “เป็นรางวัลที่ผมดีใจมากที่สุด เหมือนเราก้าวไปอีกขั้นหนึ่งของความสำเร็จ ก่อนที่จะเรียนจบ และรางวัลนี้ทำให้ใครหลายคนมีรอยยิ้มที่ร่วมดีใจไปกับผมด้วย โดยเฉพาะแม่” เรียนยังไงถึงได้ดี คำถามที่ชวนให้หาคำตอบ ปัตร เล่าว่า จากประสบการณ์ตอนเรียนมัธยม ได้เรียนกับเพื่อน ทำรายงานกับเพื่อน ติวกับเพื่อน มันแฮปปี้มาก แล้วก็สอบผ่านโดยที่ผลเป็นที่น่าพอใจ เลยเกิดความคิดที่ว่า “เรียนและติวไปพร้อมกัน” มันไปได้ไกลกว่าการเรียนและติวคนเดียวเพียงลำพัง ผมเริ่มเรียนและติวกับเพื่อนตั้งแต่ปีแรกที่เข้ามาเรียนที่ มทร.ธัญบุรี เลย แม้จะมีเสียงกระทบมาบ้าง ในทำนองอวดเก่ง หาแสง อะไรทำนองนี้ ผมก็ยืนยันว่า “ไม่ได้หาแสงจากการติวหรือการสอนเพื่อน” แต่เป็นการย้ำเตือนความรู้ ทบทวนในสิ่งที่เรียนมาแล้วไปพร้อม ๆ กันกับแก๊งเพื่อน เพราะอะไรก็ตามถ้าเรียนมาแล้ว หากไม่ทิ้งไป ไม่ได้ทบทวน รับรองได้เลย 90 กว่าเปอร์เซ็นต์ลืมแน่นอน ซึ่งถือเป็นกลยุทธ์หนึ่งของการเรียนวิศวะ ที่พาผมและเพื่อนก้าวข้ามความยากในเส้นทางวิศวะมาได้ถึงตอนนี้ ขณะเดียวกัน ต้องไม่ลืมที่จะแบ่งเวลาทบทวนเรื่องที่เรียนมาด้วยตัวเองร่วมด้วย เมื่อเจอขั้นตอนไหน จุดไหนที่งง ๆ ให้ถามอาจารย์โดยตรง อย่าปล่อยผ่านไป เมื่อเครียดและเหนื่อยล้าจากการเรียน ปัตรเล่าว่า ตนเลือกทำกิจกรรม มีทั้งกิจกรรมตอนว่างจริง ๆ ก็จะเล่นเกมส์ เพราะเกมส์ทำให้สมองตื่นตัว รู้จักคิดแบบมีชั้นเชิง และเคยอ่านในอินเทอร์เน็ตเขาบอกว่า เกมส์ช่วยชะลอความแก่ได้ เพราะบางเกมส์เมื่อเราเล่นชนะ ร่างกายเราจะหลั่งสารแห่งความสุข หากไม่เล่นเกมส์ก็จะออกกำลัง โดยเฉพาะวิ่งและแบตมินตันภายในมหาวิทยาลัย อีกกิจกรรมประเภทหนึ่งที่สำคัญไม่แพ้กัน คือกิจกรรมที่มหาวิทยาลัย คณะ หรือภาควิชาจัดขึ้น เราก็เข้าไปช่วย เข้าไปมีส่วนร่วมในสโมสรนักศึกษาฯ “อันนี้ทำให้เราได้เพื่อนเพิ่มขึ้น ได้เรียนรู้วิธีการทำงาน การแก้ปัญหาร่วมกัน” โดยปัตรยืนยันว่า สำหรับตนแล้ว ถ้าเรียนอย่างเดียว คงเครียด คงปวดหัวแน่ ๆ และน่าจะส่งผลต่อสุขภาพ ดังนั้นกิจกรรมนอกเหนือจากการเรียนเป็นสิ่งสำคัญ ที่จะบรรเทาและเยียวยาได้ ภายใต้การบริหารจัดการอย่างสมดุล ปัตร เล่าอีกด้วยว่า เวลาที่มีปัญหาหรือรู้สึกท้อ จะเลือกจัดการชีวิตโดยการหาที่ปรึกษาที่ไว้ใจ บอกเล่าเรื่องราวเหล่านั้น เชื่อไหมว่าเมื่อได้บอกออกไปแล้ว สิ่งแรกที่ได้คือเราได้ความสบายใจ โล่งใจ สองเราได้ตัวเลือก หรือคำตอบมากขึ้น เห็นทางออกมากขึ้น โดยมากจะไปปรึกษากับท่านอาจารย์ ผศ.สุคม ลิปิเลิศ ส่วนอีกท่านหนึ่งที่ชอบสไตล์การสอนก็คือ รศ.ดร.ปิติศานต์ กร้ำมาตร รวมถึงพี่ ๆ ที่เป็นเจ้าหน้าที่ในภาควิชา “การที่เรามีหลักยึด หรือมีต้นแบบที่ดี มันเป็นส่วนเสริมให้ชีวิตเราดีขึ้น มั่นคงขึ้น” “เรื่องราวและเทคนิคเฉพาะตัวของการเรียน เป็นสิ่งที่ผมใช้จริง ใช้อยู่ถึงตอนนี้ อาจจะดูธรรมดาทั่วไป แต่มันช่วยตีกรอบ และเป็นการปักหมุดที่สำคัญ ให้ผมตั้งเป้าหมายและเดินได้อย่างมั่นใจ ส่วนในอนาคต เส้นทางเริ่มชัดเจนขึ้น ทั้งการเป็นวิศกรอย่างเต็มตัว กลับไปทำงานที่บ้านเกิด อีกทางหนึ่งคือเรียนต่อ พัฒนาตนเองเพิ่มเติมด้านภาษา หากได้รับทุนการศึกษา ก็จะเป็นโอกาสที่ดีมาก อีกด้านหนึ่งก็อยากเป็นอาจารย์ เพราะเชื่อว่าตนเองสื่อสารและถ่ายทอดได้ดี อันนี้ผมได้ยินฟีคแบคจากเพื่อนในกลุ่มมา” ปัตร อธิบาย นี่เป็นการเผยเทคนิคเล็ก ๆ ของหนุ่มวิศวะ มทร.ธัญบุรี ที่มีแนวคิด “เรียนและติวไปพร้อมกันนะ” อาจจะจุดประเด็นต้นแบบให้กับรุ่นน้องและเพื่อนคนอื่นต่อไปได้ด้วย . อลงกรณ์ รัตตะเวทิน กองประชาสัมพันธ์ มทร.ธัญบุรี. tui sakrapee Related Posts คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” รวมบุคคลสำคัญของแต่ละมหาวิทยาลัยไทย มาให้ทุกคนได้รู้กัน !! Post navigation PREVIOUS Previous post: Google Scholar JANUARY 2023 จัดอันดับ “จุฬาฯ” ที่ 1 ประเทศ “สวนสุนันทา” ยังยืน 1 ราชภัฏ “มทร.ธัญบุรี” ที่ 1 กลุ่มราชมงคล “ม.รังสิต” อันดับ 1 ม.เอกชนอีกสมัยNEXT Next post: มหาวิทยาลัยมหิดล เปิด 20 คอร์สเรียนออนไลน์ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search tui sakrapee January 27, 2023 tui sakrapee January 27, 2023 การแบ่งปันความรู้ สู่รางวัลเรียนดี ‘วิศวกรรมสถานฯ’ หนุ่มวิศวะโยธา มทร.ธัญบุรี “เราได้ – เพื่อนก็ได้” คือเสน่ห์อย่างหนึ่งของการติว และเป็นจุดเริ่มต้นให้ นายเตมีย์ ทับเที่ยง หรือ “ปัตร” หนุ่มวิศวกรรมโยธา ชั้นปีที่ 4 มทร.ธัญบุรี เลือกใช้เพื่อเป็นกลยุทธ์หนึ่งของการเรียนวิศวะ จนได้รับเหรียญรางวัลเรียนดี 1 ใน 48 คนทั่วประเทศ จากวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ประจำปี 2565 นายเตมีย์ ทับเที่ยง “ปัตร” เป็นหนุ่มใต้ จ.สุราษฎร์ธานี หลังเรียนจบจากโรงเรียนเกาะพะงันศึกษา ก็มุ่งตรงต่อปริญญาตรีที่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ในด้านครอบครัวคุณพ่อทำธุรกิจด้านอาหาร ส่วนแม่ทำงานในหน่วยงานรัฐแห่งหนึ่ง มีพี่น้องทั้งหมด 3 คน โดยตนเป็นลูกคนกลาง ค่าใช้จ่ายทางบ้านก็เยอะ จึงต้องกู้เรียน จากกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.) ตั้งแต่อยู่ ม.5 จนถึงตอนนี้ “ด้วยความเป็นครอบครัวจากสุราษฎร์ฯ เปลี่ยนมาอยู่หอพักตามลำพัง สำหรับชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัย เป็นเรื่องที่ต้องปรับตัวมากพอสมควร เงินที่ใช้จ่ายทุกวันนี้มาจาก 2 ทาง คือเงินที่แม่ส่งมาให้ กับ กยศ. การจัดสรรค่าใช้จ่ายก็ยากเช่นเดียวกับการที่เราต้องปรับตัว” ตอนนี้กำลังเรียนวิศวกรรมโยธา เหตุผลที่เลือกเรียนเพราะอยากเอาความรู้ด้านวิศวกร ไม่ว่าจะเป็นการออกแบบ สำรวจ วิเคราะห์ ก่อสร้าง บำรุงรักษา รวมถึงบริหารจัดการ ซึ่งความรู้เหล่านี้อยากเอากลับไปพัฒนาบ้านเกิด ที่เกาะพงัน และตอนนี้ผมเรียนอยู่ ชั้นปีที่ 4 โดยเกรดเฉลี่ยสะสมล่าสุด 3.94 และได้รับเหรียญรางวัลเรียนดี ประจำปี พ.ศ. 2565 จากนายเกษม วัฒนชัย องคมนตรี ผู้แทนพระองค์ที่ศาลาสหทัยสมาคม ในพระบรมมหาราชวัง โดยวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (สวท.) ซึ่งคณะกรรมการบริหารกองทุนเพื่อการศึกษาและวิจัยทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เป็นผู้คัดเลือก จากทั้งหมด 48 คนทั่วประเทศ “เป็นรางวัลที่ผมดีใจมากที่สุด เหมือนเราก้าวไปอีกขั้นหนึ่งของความสำเร็จ ก่อนที่จะเรียนจบ และรางวัลนี้ทำให้ใครหลายคนมีรอยยิ้มที่ร่วมดีใจไปกับผมด้วย โดยเฉพาะแม่” เรียนยังไงถึงได้ดี คำถามที่ชวนให้หาคำตอบ ปัตร เล่าว่า จากประสบการณ์ตอนเรียนมัธยม ได้เรียนกับเพื่อน ทำรายงานกับเพื่อน ติวกับเพื่อน มันแฮปปี้มาก แล้วก็สอบผ่านโดยที่ผลเป็นที่น่าพอใจ เลยเกิดความคิดที่ว่า “เรียนและติวไปพร้อมกัน” มันไปได้ไกลกว่าการเรียนและติวคนเดียวเพียงลำพัง ผมเริ่มเรียนและติวกับเพื่อนตั้งแต่ปีแรกที่เข้ามาเรียนที่ มทร.ธัญบุรี เลย แม้จะมีเสียงกระทบมาบ้าง ในทำนองอวดเก่ง หาแสง อะไรทำนองนี้ ผมก็ยืนยันว่า “ไม่ได้หาแสงจากการติวหรือการสอนเพื่อน” แต่เป็นการย้ำเตือนความรู้ ทบทวนในสิ่งที่เรียนมาแล้วไปพร้อม ๆ กันกับแก๊งเพื่อน เพราะอะไรก็ตามถ้าเรียนมาแล้ว หากไม่ทิ้งไป ไม่ได้ทบทวน รับรองได้เลย 90 กว่าเปอร์เซ็นต์ลืมแน่นอน ซึ่งถือเป็นกลยุทธ์หนึ่งของการเรียนวิศวะ ที่พาผมและเพื่อนก้าวข้ามความยากในเส้นทางวิศวะมาได้ถึงตอนนี้ ขณะเดียวกัน ต้องไม่ลืมที่จะแบ่งเวลาทบทวนเรื่องที่เรียนมาด้วยตัวเองร่วมด้วย เมื่อเจอขั้นตอนไหน จุดไหนที่งง ๆ ให้ถามอาจารย์โดยตรง อย่าปล่อยผ่านไป เมื่อเครียดและเหนื่อยล้าจากการเรียน ปัตรเล่าว่า ตนเลือกทำกิจกรรม มีทั้งกิจกรรมตอนว่างจริง ๆ ก็จะเล่นเกมส์ เพราะเกมส์ทำให้สมองตื่นตัว รู้จักคิดแบบมีชั้นเชิง และเคยอ่านในอินเทอร์เน็ตเขาบอกว่า เกมส์ช่วยชะลอความแก่ได้ เพราะบางเกมส์เมื่อเราเล่นชนะ ร่างกายเราจะหลั่งสารแห่งความสุข หากไม่เล่นเกมส์ก็จะออกกำลัง โดยเฉพาะวิ่งและแบตมินตันภายในมหาวิทยาลัย อีกกิจกรรมประเภทหนึ่งที่สำคัญไม่แพ้กัน คือกิจกรรมที่มหาวิทยาลัย คณะ หรือภาควิชาจัดขึ้น เราก็เข้าไปช่วย เข้าไปมีส่วนร่วมในสโมสรนักศึกษาฯ “อันนี้ทำให้เราได้เพื่อนเพิ่มขึ้น ได้เรียนรู้วิธีการทำงาน การแก้ปัญหาร่วมกัน” โดยปัตรยืนยันว่า สำหรับตนแล้ว ถ้าเรียนอย่างเดียว คงเครียด คงปวดหัวแน่ ๆ และน่าจะส่งผลต่อสุขภาพ ดังนั้นกิจกรรมนอกเหนือจากการเรียนเป็นสิ่งสำคัญ ที่จะบรรเทาและเยียวยาได้ ภายใต้การบริหารจัดการอย่างสมดุล ปัตร เล่าอีกด้วยว่า เวลาที่มีปัญหาหรือรู้สึกท้อ จะเลือกจัดการชีวิตโดยการหาที่ปรึกษาที่ไว้ใจ บอกเล่าเรื่องราวเหล่านั้น เชื่อไหมว่าเมื่อได้บอกออกไปแล้ว สิ่งแรกที่ได้คือเราได้ความสบายใจ โล่งใจ สองเราได้ตัวเลือก หรือคำตอบมากขึ้น เห็นทางออกมากขึ้น โดยมากจะไปปรึกษากับท่านอาจารย์ ผศ.สุคม ลิปิเลิศ ส่วนอีกท่านหนึ่งที่ชอบสไตล์การสอนก็คือ รศ.ดร.ปิติศานต์ กร้ำมาตร รวมถึงพี่ ๆ ที่เป็นเจ้าหน้าที่ในภาควิชา “การที่เรามีหลักยึด หรือมีต้นแบบที่ดี มันเป็นส่วนเสริมให้ชีวิตเราดีขึ้น มั่นคงขึ้น” “เรื่องราวและเทคนิคเฉพาะตัวของการเรียน เป็นสิ่งที่ผมใช้จริง ใช้อยู่ถึงตอนนี้ อาจจะดูธรรมดาทั่วไป แต่มันช่วยตีกรอบ และเป็นการปักหมุดที่สำคัญ ให้ผมตั้งเป้าหมายและเดินได้อย่างมั่นใจ ส่วนในอนาคต เส้นทางเริ่มชัดเจนขึ้น ทั้งการเป็นวิศกรอย่างเต็มตัว กลับไปทำงานที่บ้านเกิด อีกทางหนึ่งคือเรียนต่อ พัฒนาตนเองเพิ่มเติมด้านภาษา หากได้รับทุนการศึกษา ก็จะเป็นโอกาสที่ดีมาก อีกด้านหนึ่งก็อยากเป็นอาจารย์ เพราะเชื่อว่าตนเองสื่อสารและถ่ายทอดได้ดี อันนี้ผมได้ยินฟีคแบคจากเพื่อนในกลุ่มมา” ปัตร อธิบาย นี่เป็นการเผยเทคนิคเล็ก ๆ ของหนุ่มวิศวะ มทร.ธัญบุรี ที่มีแนวคิด “เรียนและติวไปพร้อมกันนะ” อาจจะจุดประเด็นต้นแบบให้กับรุ่นน้องและเพื่อนคนอื่นต่อไปได้ด้วย . อลงกรณ์ รัตตะเวทิน กองประชาสัมพันธ์ มทร.ธัญบุรี. tui sakrapee Related Posts คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” รวมบุคคลสำคัญของแต่ละมหาวิทยาลัยไทย มาให้ทุกคนได้รู้กัน !! Post navigation PREVIOUS Previous post: Google Scholar JANUARY 2023 จัดอันดับ “จุฬาฯ” ที่ 1 ประเทศ “สวนสุนันทา” ยังยืน 1 ราชภัฏ “มทร.ธัญบุรี” ที่ 1 กลุ่มราชมงคล “ม.รังสิต” อันดับ 1 ม.เอกชนอีกสมัยNEXT Next post: มหาวิทยาลัยมหิดล เปิด 20 คอร์สเรียนออนไลน์ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ…
เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ…
คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search tui sakrapee January 27, 2023 tui sakrapee January 27, 2023 การแบ่งปันความรู้ สู่รางวัลเรียนดี ‘วิศวกรรมสถานฯ’ หนุ่มวิศวะโยธา มทร.ธัญบุรี “เราได้ – เพื่อนก็ได้” คือเสน่ห์อย่างหนึ่งของการติว และเป็นจุดเริ่มต้นให้ นายเตมีย์ ทับเที่ยง หรือ “ปัตร” หนุ่มวิศวกรรมโยธา ชั้นปีที่ 4 มทร.ธัญบุรี เลือกใช้เพื่อเป็นกลยุทธ์หนึ่งของการเรียนวิศวะ จนได้รับเหรียญรางวัลเรียนดี 1 ใน 48 คนทั่วประเทศ จากวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ประจำปี 2565 นายเตมีย์ ทับเที่ยง “ปัตร” เป็นหนุ่มใต้ จ.สุราษฎร์ธานี หลังเรียนจบจากโรงเรียนเกาะพะงันศึกษา ก็มุ่งตรงต่อปริญญาตรีที่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ในด้านครอบครัวคุณพ่อทำธุรกิจด้านอาหาร ส่วนแม่ทำงานในหน่วยงานรัฐแห่งหนึ่ง มีพี่น้องทั้งหมด 3 คน โดยตนเป็นลูกคนกลาง ค่าใช้จ่ายทางบ้านก็เยอะ จึงต้องกู้เรียน จากกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.) ตั้งแต่อยู่ ม.5 จนถึงตอนนี้ “ด้วยความเป็นครอบครัวจากสุราษฎร์ฯ เปลี่ยนมาอยู่หอพักตามลำพัง สำหรับชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัย เป็นเรื่องที่ต้องปรับตัวมากพอสมควร เงินที่ใช้จ่ายทุกวันนี้มาจาก 2 ทาง คือเงินที่แม่ส่งมาให้ กับ กยศ. การจัดสรรค่าใช้จ่ายก็ยากเช่นเดียวกับการที่เราต้องปรับตัว” ตอนนี้กำลังเรียนวิศวกรรมโยธา เหตุผลที่เลือกเรียนเพราะอยากเอาความรู้ด้านวิศวกร ไม่ว่าจะเป็นการออกแบบ สำรวจ วิเคราะห์ ก่อสร้าง บำรุงรักษา รวมถึงบริหารจัดการ ซึ่งความรู้เหล่านี้อยากเอากลับไปพัฒนาบ้านเกิด ที่เกาะพงัน และตอนนี้ผมเรียนอยู่ ชั้นปีที่ 4 โดยเกรดเฉลี่ยสะสมล่าสุด 3.94 และได้รับเหรียญรางวัลเรียนดี ประจำปี พ.ศ. 2565 จากนายเกษม วัฒนชัย องคมนตรี ผู้แทนพระองค์ที่ศาลาสหทัยสมาคม ในพระบรมมหาราชวัง โดยวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (สวท.) ซึ่งคณะกรรมการบริหารกองทุนเพื่อการศึกษาและวิจัยทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เป็นผู้คัดเลือก จากทั้งหมด 48 คนทั่วประเทศ “เป็นรางวัลที่ผมดีใจมากที่สุด เหมือนเราก้าวไปอีกขั้นหนึ่งของความสำเร็จ ก่อนที่จะเรียนจบ และรางวัลนี้ทำให้ใครหลายคนมีรอยยิ้มที่ร่วมดีใจไปกับผมด้วย โดยเฉพาะแม่” เรียนยังไงถึงได้ดี คำถามที่ชวนให้หาคำตอบ ปัตร เล่าว่า จากประสบการณ์ตอนเรียนมัธยม ได้เรียนกับเพื่อน ทำรายงานกับเพื่อน ติวกับเพื่อน มันแฮปปี้มาก แล้วก็สอบผ่านโดยที่ผลเป็นที่น่าพอใจ เลยเกิดความคิดที่ว่า “เรียนและติวไปพร้อมกัน” มันไปได้ไกลกว่าการเรียนและติวคนเดียวเพียงลำพัง ผมเริ่มเรียนและติวกับเพื่อนตั้งแต่ปีแรกที่เข้ามาเรียนที่ มทร.ธัญบุรี เลย แม้จะมีเสียงกระทบมาบ้าง ในทำนองอวดเก่ง หาแสง อะไรทำนองนี้ ผมก็ยืนยันว่า “ไม่ได้หาแสงจากการติวหรือการสอนเพื่อน” แต่เป็นการย้ำเตือนความรู้ ทบทวนในสิ่งที่เรียนมาแล้วไปพร้อม ๆ กันกับแก๊งเพื่อน เพราะอะไรก็ตามถ้าเรียนมาแล้ว หากไม่ทิ้งไป ไม่ได้ทบทวน รับรองได้เลย 90 กว่าเปอร์เซ็นต์ลืมแน่นอน ซึ่งถือเป็นกลยุทธ์หนึ่งของการเรียนวิศวะ ที่พาผมและเพื่อนก้าวข้ามความยากในเส้นทางวิศวะมาได้ถึงตอนนี้ ขณะเดียวกัน ต้องไม่ลืมที่จะแบ่งเวลาทบทวนเรื่องที่เรียนมาด้วยตัวเองร่วมด้วย เมื่อเจอขั้นตอนไหน จุดไหนที่งง ๆ ให้ถามอาจารย์โดยตรง อย่าปล่อยผ่านไป เมื่อเครียดและเหนื่อยล้าจากการเรียน ปัตรเล่าว่า ตนเลือกทำกิจกรรม มีทั้งกิจกรรมตอนว่างจริง ๆ ก็จะเล่นเกมส์ เพราะเกมส์ทำให้สมองตื่นตัว รู้จักคิดแบบมีชั้นเชิง และเคยอ่านในอินเทอร์เน็ตเขาบอกว่า เกมส์ช่วยชะลอความแก่ได้ เพราะบางเกมส์เมื่อเราเล่นชนะ ร่างกายเราจะหลั่งสารแห่งความสุข หากไม่เล่นเกมส์ก็จะออกกำลัง โดยเฉพาะวิ่งและแบตมินตันภายในมหาวิทยาลัย อีกกิจกรรมประเภทหนึ่งที่สำคัญไม่แพ้กัน คือกิจกรรมที่มหาวิทยาลัย คณะ หรือภาควิชาจัดขึ้น เราก็เข้าไปช่วย เข้าไปมีส่วนร่วมในสโมสรนักศึกษาฯ “อันนี้ทำให้เราได้เพื่อนเพิ่มขึ้น ได้เรียนรู้วิธีการทำงาน การแก้ปัญหาร่วมกัน” โดยปัตรยืนยันว่า สำหรับตนแล้ว ถ้าเรียนอย่างเดียว คงเครียด คงปวดหัวแน่ ๆ และน่าจะส่งผลต่อสุขภาพ ดังนั้นกิจกรรมนอกเหนือจากการเรียนเป็นสิ่งสำคัญ ที่จะบรรเทาและเยียวยาได้ ภายใต้การบริหารจัดการอย่างสมดุล ปัตร เล่าอีกด้วยว่า เวลาที่มีปัญหาหรือรู้สึกท้อ จะเลือกจัดการชีวิตโดยการหาที่ปรึกษาที่ไว้ใจ บอกเล่าเรื่องราวเหล่านั้น เชื่อไหมว่าเมื่อได้บอกออกไปแล้ว สิ่งแรกที่ได้คือเราได้ความสบายใจ โล่งใจ สองเราได้ตัวเลือก หรือคำตอบมากขึ้น เห็นทางออกมากขึ้น โดยมากจะไปปรึกษากับท่านอาจารย์ ผศ.สุคม ลิปิเลิศ ส่วนอีกท่านหนึ่งที่ชอบสไตล์การสอนก็คือ รศ.ดร.ปิติศานต์ กร้ำมาตร รวมถึงพี่ ๆ ที่เป็นเจ้าหน้าที่ในภาควิชา “การที่เรามีหลักยึด หรือมีต้นแบบที่ดี มันเป็นส่วนเสริมให้ชีวิตเราดีขึ้น มั่นคงขึ้น” “เรื่องราวและเทคนิคเฉพาะตัวของการเรียน เป็นสิ่งที่ผมใช้จริง ใช้อยู่ถึงตอนนี้ อาจจะดูธรรมดาทั่วไป แต่มันช่วยตีกรอบ และเป็นการปักหมุดที่สำคัญ ให้ผมตั้งเป้าหมายและเดินได้อย่างมั่นใจ ส่วนในอนาคต เส้นทางเริ่มชัดเจนขึ้น ทั้งการเป็นวิศกรอย่างเต็มตัว กลับไปทำงานที่บ้านเกิด อีกทางหนึ่งคือเรียนต่อ พัฒนาตนเองเพิ่มเติมด้านภาษา หากได้รับทุนการศึกษา ก็จะเป็นโอกาสที่ดีมาก อีกด้านหนึ่งก็อยากเป็นอาจารย์ เพราะเชื่อว่าตนเองสื่อสารและถ่ายทอดได้ดี อันนี้ผมได้ยินฟีคแบคจากเพื่อนในกลุ่มมา” ปัตร อธิบาย นี่เป็นการเผยเทคนิคเล็ก ๆ ของหนุ่มวิศวะ มทร.ธัญบุรี ที่มีแนวคิด “เรียนและติวไปพร้อมกันนะ” อาจจะจุดประเด็นต้นแบบให้กับรุ่นน้องและเพื่อนคนอื่นต่อไปได้ด้วย . อลงกรณ์ รัตตะเวทิน กองประชาสัมพันธ์ มทร.ธัญบุรี. tui sakrapee Related Posts คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” รวมบุคคลสำคัญของแต่ละมหาวิทยาลัยไทย มาให้ทุกคนได้รู้กัน !! Post navigation PREVIOUS Previous post: Google Scholar JANUARY 2023 จัดอันดับ “จุฬาฯ” ที่ 1 ประเทศ “สวนสุนันทา” ยังยืน 1 ราชภัฏ “มทร.ธัญบุรี” ที่ 1 กลุ่มราชมงคล “ม.รังสิต” อันดับ 1 ม.เอกชนอีกสมัยNEXT Next post: มหาวิทยาลัยมหิดล เปิด 20 คอร์สเรียนออนไลน์ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search tui sakrapee January 27, 2023 tui sakrapee January 27, 2023 การแบ่งปันความรู้ สู่รางวัลเรียนดี ‘วิศวกรรมสถานฯ’ หนุ่มวิศวะโยธา มทร.ธัญบุรี “เราได้ – เพื่อนก็ได้” คือเสน่ห์อย่างหนึ่งของการติว และเป็นจุดเริ่มต้นให้ นายเตมีย์ ทับเที่ยง หรือ “ปัตร” หนุ่มวิศวกรรมโยธา ชั้นปีที่ 4 มทร.ธัญบุรี เลือกใช้เพื่อเป็นกลยุทธ์หนึ่งของการเรียนวิศวะ จนได้รับเหรียญรางวัลเรียนดี 1 ใน 48 คนทั่วประเทศ จากวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ประจำปี 2565 นายเตมีย์ ทับเที่ยง “ปัตร” เป็นหนุ่มใต้ จ.สุราษฎร์ธานี หลังเรียนจบจากโรงเรียนเกาะพะงันศึกษา ก็มุ่งตรงต่อปริญญาตรีที่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ในด้านครอบครัวคุณพ่อทำธุรกิจด้านอาหาร ส่วนแม่ทำงานในหน่วยงานรัฐแห่งหนึ่ง มีพี่น้องทั้งหมด 3 คน โดยตนเป็นลูกคนกลาง ค่าใช้จ่ายทางบ้านก็เยอะ จึงต้องกู้เรียน จากกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.) ตั้งแต่อยู่ ม.5 จนถึงตอนนี้ “ด้วยความเป็นครอบครัวจากสุราษฎร์ฯ เปลี่ยนมาอยู่หอพักตามลำพัง สำหรับชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัย เป็นเรื่องที่ต้องปรับตัวมากพอสมควร เงินที่ใช้จ่ายทุกวันนี้มาจาก 2 ทาง คือเงินที่แม่ส่งมาให้ กับ กยศ. การจัดสรรค่าใช้จ่ายก็ยากเช่นเดียวกับการที่เราต้องปรับตัว” ตอนนี้กำลังเรียนวิศวกรรมโยธา เหตุผลที่เลือกเรียนเพราะอยากเอาความรู้ด้านวิศวกร ไม่ว่าจะเป็นการออกแบบ สำรวจ วิเคราะห์ ก่อสร้าง บำรุงรักษา รวมถึงบริหารจัดการ ซึ่งความรู้เหล่านี้อยากเอากลับไปพัฒนาบ้านเกิด ที่เกาะพงัน และตอนนี้ผมเรียนอยู่ ชั้นปีที่ 4 โดยเกรดเฉลี่ยสะสมล่าสุด 3.94 และได้รับเหรียญรางวัลเรียนดี ประจำปี พ.ศ. 2565 จากนายเกษม วัฒนชัย องคมนตรี ผู้แทนพระองค์ที่ศาลาสหทัยสมาคม ในพระบรมมหาราชวัง โดยวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (สวท.) ซึ่งคณะกรรมการบริหารกองทุนเพื่อการศึกษาและวิจัยทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เป็นผู้คัดเลือก จากทั้งหมด 48 คนทั่วประเทศ “เป็นรางวัลที่ผมดีใจมากที่สุด เหมือนเราก้าวไปอีกขั้นหนึ่งของความสำเร็จ ก่อนที่จะเรียนจบ และรางวัลนี้ทำให้ใครหลายคนมีรอยยิ้มที่ร่วมดีใจไปกับผมด้วย โดยเฉพาะแม่” เรียนยังไงถึงได้ดี คำถามที่ชวนให้หาคำตอบ ปัตร เล่าว่า จากประสบการณ์ตอนเรียนมัธยม ได้เรียนกับเพื่อน ทำรายงานกับเพื่อน ติวกับเพื่อน มันแฮปปี้มาก แล้วก็สอบผ่านโดยที่ผลเป็นที่น่าพอใจ เลยเกิดความคิดที่ว่า “เรียนและติวไปพร้อมกัน” มันไปได้ไกลกว่าการเรียนและติวคนเดียวเพียงลำพัง ผมเริ่มเรียนและติวกับเพื่อนตั้งแต่ปีแรกที่เข้ามาเรียนที่ มทร.ธัญบุรี เลย แม้จะมีเสียงกระทบมาบ้าง ในทำนองอวดเก่ง หาแสง อะไรทำนองนี้ ผมก็ยืนยันว่า “ไม่ได้หาแสงจากการติวหรือการสอนเพื่อน” แต่เป็นการย้ำเตือนความรู้ ทบทวนในสิ่งที่เรียนมาแล้วไปพร้อม ๆ กันกับแก๊งเพื่อน เพราะอะไรก็ตามถ้าเรียนมาแล้ว หากไม่ทิ้งไป ไม่ได้ทบทวน รับรองได้เลย 90 กว่าเปอร์เซ็นต์ลืมแน่นอน ซึ่งถือเป็นกลยุทธ์หนึ่งของการเรียนวิศวะ ที่พาผมและเพื่อนก้าวข้ามความยากในเส้นทางวิศวะมาได้ถึงตอนนี้ ขณะเดียวกัน ต้องไม่ลืมที่จะแบ่งเวลาทบทวนเรื่องที่เรียนมาด้วยตัวเองร่วมด้วย เมื่อเจอขั้นตอนไหน จุดไหนที่งง ๆ ให้ถามอาจารย์โดยตรง อย่าปล่อยผ่านไป เมื่อเครียดและเหนื่อยล้าจากการเรียน ปัตรเล่าว่า ตนเลือกทำกิจกรรม มีทั้งกิจกรรมตอนว่างจริง ๆ ก็จะเล่นเกมส์ เพราะเกมส์ทำให้สมองตื่นตัว รู้จักคิดแบบมีชั้นเชิง และเคยอ่านในอินเทอร์เน็ตเขาบอกว่า เกมส์ช่วยชะลอความแก่ได้ เพราะบางเกมส์เมื่อเราเล่นชนะ ร่างกายเราจะหลั่งสารแห่งความสุข หากไม่เล่นเกมส์ก็จะออกกำลัง โดยเฉพาะวิ่งและแบตมินตันภายในมหาวิทยาลัย อีกกิจกรรมประเภทหนึ่งที่สำคัญไม่แพ้กัน คือกิจกรรมที่มหาวิทยาลัย คณะ หรือภาควิชาจัดขึ้น เราก็เข้าไปช่วย เข้าไปมีส่วนร่วมในสโมสรนักศึกษาฯ “อันนี้ทำให้เราได้เพื่อนเพิ่มขึ้น ได้เรียนรู้วิธีการทำงาน การแก้ปัญหาร่วมกัน” โดยปัตรยืนยันว่า สำหรับตนแล้ว ถ้าเรียนอย่างเดียว คงเครียด คงปวดหัวแน่ ๆ และน่าจะส่งผลต่อสุขภาพ ดังนั้นกิจกรรมนอกเหนือจากการเรียนเป็นสิ่งสำคัญ ที่จะบรรเทาและเยียวยาได้ ภายใต้การบริหารจัดการอย่างสมดุล ปัตร เล่าอีกด้วยว่า เวลาที่มีปัญหาหรือรู้สึกท้อ จะเลือกจัดการชีวิตโดยการหาที่ปรึกษาที่ไว้ใจ บอกเล่าเรื่องราวเหล่านั้น เชื่อไหมว่าเมื่อได้บอกออกไปแล้ว สิ่งแรกที่ได้คือเราได้ความสบายใจ โล่งใจ สองเราได้ตัวเลือก หรือคำตอบมากขึ้น เห็นทางออกมากขึ้น โดยมากจะไปปรึกษากับท่านอาจารย์ ผศ.สุคม ลิปิเลิศ ส่วนอีกท่านหนึ่งที่ชอบสไตล์การสอนก็คือ รศ.ดร.ปิติศานต์ กร้ำมาตร รวมถึงพี่ ๆ ที่เป็นเจ้าหน้าที่ในภาควิชา “การที่เรามีหลักยึด หรือมีต้นแบบที่ดี มันเป็นส่วนเสริมให้ชีวิตเราดีขึ้น มั่นคงขึ้น” “เรื่องราวและเทคนิคเฉพาะตัวของการเรียน เป็นสิ่งที่ผมใช้จริง ใช้อยู่ถึงตอนนี้ อาจจะดูธรรมดาทั่วไป แต่มันช่วยตีกรอบ และเป็นการปักหมุดที่สำคัญ ให้ผมตั้งเป้าหมายและเดินได้อย่างมั่นใจ ส่วนในอนาคต เส้นทางเริ่มชัดเจนขึ้น ทั้งการเป็นวิศกรอย่างเต็มตัว กลับไปทำงานที่บ้านเกิด อีกทางหนึ่งคือเรียนต่อ พัฒนาตนเองเพิ่มเติมด้านภาษา หากได้รับทุนการศึกษา ก็จะเป็นโอกาสที่ดีมาก อีกด้านหนึ่งก็อยากเป็นอาจารย์ เพราะเชื่อว่าตนเองสื่อสารและถ่ายทอดได้ดี อันนี้ผมได้ยินฟีคแบคจากเพื่อนในกลุ่มมา” ปัตร อธิบาย นี่เป็นการเผยเทคนิคเล็ก ๆ ของหนุ่มวิศวะ มทร.ธัญบุรี ที่มีแนวคิด “เรียนและติวไปพร้อมกันนะ” อาจจะจุดประเด็นต้นแบบให้กับรุ่นน้องและเพื่อนคนอื่นต่อไปได้ด้วย . อลงกรณ์ รัตตะเวทิน กองประชาสัมพันธ์ มทร.ธัญบุรี. tui sakrapee Related Posts คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” รวมบุคคลสำคัญของแต่ละมหาวิทยาลัยไทย มาให้ทุกคนได้รู้กัน !! Post navigation PREVIOUS Previous post: Google Scholar JANUARY 2023 จัดอันดับ “จุฬาฯ” ที่ 1 ประเทศ “สวนสุนันทา” ยังยืน 1 ราชภัฏ “มทร.ธัญบุรี” ที่ 1 กลุ่มราชมงคล “ม.รังสิต” อันดับ 1 ม.เอกชนอีกสมัยNEXT Next post: มหาวิทยาลัยมหิดล เปิด 20 คอร์สเรียนออนไลน์ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief…
เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief…
“40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search tui sakrapee January 27, 2023 tui sakrapee January 27, 2023 การแบ่งปันความรู้ สู่รางวัลเรียนดี ‘วิศวกรรมสถานฯ’ หนุ่มวิศวะโยธา มทร.ธัญบุรี “เราได้ – เพื่อนก็ได้” คือเสน่ห์อย่างหนึ่งของการติว และเป็นจุดเริ่มต้นให้ นายเตมีย์ ทับเที่ยง หรือ “ปัตร” หนุ่มวิศวกรรมโยธา ชั้นปีที่ 4 มทร.ธัญบุรี เลือกใช้เพื่อเป็นกลยุทธ์หนึ่งของการเรียนวิศวะ จนได้รับเหรียญรางวัลเรียนดี 1 ใน 48 คนทั่วประเทศ จากวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ประจำปี 2565 นายเตมีย์ ทับเที่ยง “ปัตร” เป็นหนุ่มใต้ จ.สุราษฎร์ธานี หลังเรียนจบจากโรงเรียนเกาะพะงันศึกษา ก็มุ่งตรงต่อปริญญาตรีที่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ในด้านครอบครัวคุณพ่อทำธุรกิจด้านอาหาร ส่วนแม่ทำงานในหน่วยงานรัฐแห่งหนึ่ง มีพี่น้องทั้งหมด 3 คน โดยตนเป็นลูกคนกลาง ค่าใช้จ่ายทางบ้านก็เยอะ จึงต้องกู้เรียน จากกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.) ตั้งแต่อยู่ ม.5 จนถึงตอนนี้ “ด้วยความเป็นครอบครัวจากสุราษฎร์ฯ เปลี่ยนมาอยู่หอพักตามลำพัง สำหรับชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัย เป็นเรื่องที่ต้องปรับตัวมากพอสมควร เงินที่ใช้จ่ายทุกวันนี้มาจาก 2 ทาง คือเงินที่แม่ส่งมาให้ กับ กยศ. การจัดสรรค่าใช้จ่ายก็ยากเช่นเดียวกับการที่เราต้องปรับตัว” ตอนนี้กำลังเรียนวิศวกรรมโยธา เหตุผลที่เลือกเรียนเพราะอยากเอาความรู้ด้านวิศวกร ไม่ว่าจะเป็นการออกแบบ สำรวจ วิเคราะห์ ก่อสร้าง บำรุงรักษา รวมถึงบริหารจัดการ ซึ่งความรู้เหล่านี้อยากเอากลับไปพัฒนาบ้านเกิด ที่เกาะพงัน และตอนนี้ผมเรียนอยู่ ชั้นปีที่ 4 โดยเกรดเฉลี่ยสะสมล่าสุด 3.94 และได้รับเหรียญรางวัลเรียนดี ประจำปี พ.ศ. 2565 จากนายเกษม วัฒนชัย องคมนตรี ผู้แทนพระองค์ที่ศาลาสหทัยสมาคม ในพระบรมมหาราชวัง โดยวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (สวท.) ซึ่งคณะกรรมการบริหารกองทุนเพื่อการศึกษาและวิจัยทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เป็นผู้คัดเลือก จากทั้งหมด 48 คนทั่วประเทศ “เป็นรางวัลที่ผมดีใจมากที่สุด เหมือนเราก้าวไปอีกขั้นหนึ่งของความสำเร็จ ก่อนที่จะเรียนจบ และรางวัลนี้ทำให้ใครหลายคนมีรอยยิ้มที่ร่วมดีใจไปกับผมด้วย โดยเฉพาะแม่” เรียนยังไงถึงได้ดี คำถามที่ชวนให้หาคำตอบ ปัตร เล่าว่า จากประสบการณ์ตอนเรียนมัธยม ได้เรียนกับเพื่อน ทำรายงานกับเพื่อน ติวกับเพื่อน มันแฮปปี้มาก แล้วก็สอบผ่านโดยที่ผลเป็นที่น่าพอใจ เลยเกิดความคิดที่ว่า “เรียนและติวไปพร้อมกัน” มันไปได้ไกลกว่าการเรียนและติวคนเดียวเพียงลำพัง ผมเริ่มเรียนและติวกับเพื่อนตั้งแต่ปีแรกที่เข้ามาเรียนที่ มทร.ธัญบุรี เลย แม้จะมีเสียงกระทบมาบ้าง ในทำนองอวดเก่ง หาแสง อะไรทำนองนี้ ผมก็ยืนยันว่า “ไม่ได้หาแสงจากการติวหรือการสอนเพื่อน” แต่เป็นการย้ำเตือนความรู้ ทบทวนในสิ่งที่เรียนมาแล้วไปพร้อม ๆ กันกับแก๊งเพื่อน เพราะอะไรก็ตามถ้าเรียนมาแล้ว หากไม่ทิ้งไป ไม่ได้ทบทวน รับรองได้เลย 90 กว่าเปอร์เซ็นต์ลืมแน่นอน ซึ่งถือเป็นกลยุทธ์หนึ่งของการเรียนวิศวะ ที่พาผมและเพื่อนก้าวข้ามความยากในเส้นทางวิศวะมาได้ถึงตอนนี้ ขณะเดียวกัน ต้องไม่ลืมที่จะแบ่งเวลาทบทวนเรื่องที่เรียนมาด้วยตัวเองร่วมด้วย เมื่อเจอขั้นตอนไหน จุดไหนที่งง ๆ ให้ถามอาจารย์โดยตรง อย่าปล่อยผ่านไป เมื่อเครียดและเหนื่อยล้าจากการเรียน ปัตรเล่าว่า ตนเลือกทำกิจกรรม มีทั้งกิจกรรมตอนว่างจริง ๆ ก็จะเล่นเกมส์ เพราะเกมส์ทำให้สมองตื่นตัว รู้จักคิดแบบมีชั้นเชิง และเคยอ่านในอินเทอร์เน็ตเขาบอกว่า เกมส์ช่วยชะลอความแก่ได้ เพราะบางเกมส์เมื่อเราเล่นชนะ ร่างกายเราจะหลั่งสารแห่งความสุข หากไม่เล่นเกมส์ก็จะออกกำลัง โดยเฉพาะวิ่งและแบตมินตันภายในมหาวิทยาลัย อีกกิจกรรมประเภทหนึ่งที่สำคัญไม่แพ้กัน คือกิจกรรมที่มหาวิทยาลัย คณะ หรือภาควิชาจัดขึ้น เราก็เข้าไปช่วย เข้าไปมีส่วนร่วมในสโมสรนักศึกษาฯ “อันนี้ทำให้เราได้เพื่อนเพิ่มขึ้น ได้เรียนรู้วิธีการทำงาน การแก้ปัญหาร่วมกัน” โดยปัตรยืนยันว่า สำหรับตนแล้ว ถ้าเรียนอย่างเดียว คงเครียด คงปวดหัวแน่ ๆ และน่าจะส่งผลต่อสุขภาพ ดังนั้นกิจกรรมนอกเหนือจากการเรียนเป็นสิ่งสำคัญ ที่จะบรรเทาและเยียวยาได้ ภายใต้การบริหารจัดการอย่างสมดุล ปัตร เล่าอีกด้วยว่า เวลาที่มีปัญหาหรือรู้สึกท้อ จะเลือกจัดการชีวิตโดยการหาที่ปรึกษาที่ไว้ใจ บอกเล่าเรื่องราวเหล่านั้น เชื่อไหมว่าเมื่อได้บอกออกไปแล้ว สิ่งแรกที่ได้คือเราได้ความสบายใจ โล่งใจ สองเราได้ตัวเลือก หรือคำตอบมากขึ้น เห็นทางออกมากขึ้น โดยมากจะไปปรึกษากับท่านอาจารย์ ผศ.สุคม ลิปิเลิศ ส่วนอีกท่านหนึ่งที่ชอบสไตล์การสอนก็คือ รศ.ดร.ปิติศานต์ กร้ำมาตร รวมถึงพี่ ๆ ที่เป็นเจ้าหน้าที่ในภาควิชา “การที่เรามีหลักยึด หรือมีต้นแบบที่ดี มันเป็นส่วนเสริมให้ชีวิตเราดีขึ้น มั่นคงขึ้น” “เรื่องราวและเทคนิคเฉพาะตัวของการเรียน เป็นสิ่งที่ผมใช้จริง ใช้อยู่ถึงตอนนี้ อาจจะดูธรรมดาทั่วไป แต่มันช่วยตีกรอบ และเป็นการปักหมุดที่สำคัญ ให้ผมตั้งเป้าหมายและเดินได้อย่างมั่นใจ ส่วนในอนาคต เส้นทางเริ่มชัดเจนขึ้น ทั้งการเป็นวิศกรอย่างเต็มตัว กลับไปทำงานที่บ้านเกิด อีกทางหนึ่งคือเรียนต่อ พัฒนาตนเองเพิ่มเติมด้านภาษา หากได้รับทุนการศึกษา ก็จะเป็นโอกาสที่ดีมาก อีกด้านหนึ่งก็อยากเป็นอาจารย์ เพราะเชื่อว่าตนเองสื่อสารและถ่ายทอดได้ดี อันนี้ผมได้ยินฟีคแบคจากเพื่อนในกลุ่มมา” ปัตร อธิบาย นี่เป็นการเผยเทคนิคเล็ก ๆ ของหนุ่มวิศวะ มทร.ธัญบุรี ที่มีแนวคิด “เรียนและติวไปพร้อมกันนะ” อาจจะจุดประเด็นต้นแบบให้กับรุ่นน้องและเพื่อนคนอื่นต่อไปได้ด้วย . อลงกรณ์ รัตตะเวทิน กองประชาสัมพันธ์ มทร.ธัญบุรี. tui sakrapee Related Posts คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” รวมบุคคลสำคัญของแต่ละมหาวิทยาลัยไทย มาให้ทุกคนได้รู้กัน !! Post navigation PREVIOUS Previous post: Google Scholar JANUARY 2023 จัดอันดับ “จุฬาฯ” ที่ 1 ประเทศ “สวนสุนันทา” ยังยืน 1 ราชภัฏ “มทร.ธัญบุรี” ที่ 1 กลุ่มราชมงคล “ม.รังสิต” อันดับ 1 ม.เอกชนอีกสมัยNEXT Next post: มหาวิทยาลัยมหิดล เปิด 20 คอร์สเรียนออนไลน์ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search
ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน…
สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน…
tui sakrapee January 27, 2023 tui sakrapee January 27, 2023 การแบ่งปันความรู้ สู่รางวัลเรียนดี ‘วิศวกรรมสถานฯ’ หนุ่มวิศวะโยธา มทร.ธัญบุรี “เราได้ – เพื่อนก็ได้” คือเสน่ห์อย่างหนึ่งของการติว และเป็นจุดเริ่มต้นให้ นายเตมีย์ ทับเที่ยง หรือ “ปัตร” หนุ่มวิศวกรรมโยธา ชั้นปีที่ 4 มทร.ธัญบุรี เลือกใช้เพื่อเป็นกลยุทธ์หนึ่งของการเรียนวิศวะ จนได้รับเหรียญรางวัลเรียนดี 1 ใน 48 คนทั่วประเทศ จากวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ประจำปี 2565 นายเตมีย์ ทับเที่ยง “ปัตร” เป็นหนุ่มใต้ จ.สุราษฎร์ธานี หลังเรียนจบจากโรงเรียนเกาะพะงันศึกษา ก็มุ่งตรงต่อปริญญาตรีที่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ในด้านครอบครัวคุณพ่อทำธุรกิจด้านอาหาร ส่วนแม่ทำงานในหน่วยงานรัฐแห่งหนึ่ง มีพี่น้องทั้งหมด 3 คน โดยตนเป็นลูกคนกลาง ค่าใช้จ่ายทางบ้านก็เยอะ จึงต้องกู้เรียน จากกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.) ตั้งแต่อยู่ ม.5 จนถึงตอนนี้ “ด้วยความเป็นครอบครัวจากสุราษฎร์ฯ เปลี่ยนมาอยู่หอพักตามลำพัง สำหรับชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัย เป็นเรื่องที่ต้องปรับตัวมากพอสมควร เงินที่ใช้จ่ายทุกวันนี้มาจาก 2 ทาง คือเงินที่แม่ส่งมาให้ กับ กยศ. การจัดสรรค่าใช้จ่ายก็ยากเช่นเดียวกับการที่เราต้องปรับตัว” ตอนนี้กำลังเรียนวิศวกรรมโยธา เหตุผลที่เลือกเรียนเพราะอยากเอาความรู้ด้านวิศวกร ไม่ว่าจะเป็นการออกแบบ สำรวจ วิเคราะห์ ก่อสร้าง บำรุงรักษา รวมถึงบริหารจัดการ ซึ่งความรู้เหล่านี้อยากเอากลับไปพัฒนาบ้านเกิด ที่เกาะพงัน และตอนนี้ผมเรียนอยู่ ชั้นปีที่ 4 โดยเกรดเฉลี่ยสะสมล่าสุด 3.94 และได้รับเหรียญรางวัลเรียนดี ประจำปี พ.ศ. 2565 จากนายเกษม วัฒนชัย องคมนตรี ผู้แทนพระองค์ที่ศาลาสหทัยสมาคม ในพระบรมมหาราชวัง โดยวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (สวท.) ซึ่งคณะกรรมการบริหารกองทุนเพื่อการศึกษาและวิจัยทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เป็นผู้คัดเลือก จากทั้งหมด 48 คนทั่วประเทศ “เป็นรางวัลที่ผมดีใจมากที่สุด เหมือนเราก้าวไปอีกขั้นหนึ่งของความสำเร็จ ก่อนที่จะเรียนจบ และรางวัลนี้ทำให้ใครหลายคนมีรอยยิ้มที่ร่วมดีใจไปกับผมด้วย โดยเฉพาะแม่” เรียนยังไงถึงได้ดี คำถามที่ชวนให้หาคำตอบ ปัตร เล่าว่า จากประสบการณ์ตอนเรียนมัธยม ได้เรียนกับเพื่อน ทำรายงานกับเพื่อน ติวกับเพื่อน มันแฮปปี้มาก แล้วก็สอบผ่านโดยที่ผลเป็นที่น่าพอใจ เลยเกิดความคิดที่ว่า “เรียนและติวไปพร้อมกัน” มันไปได้ไกลกว่าการเรียนและติวคนเดียวเพียงลำพัง ผมเริ่มเรียนและติวกับเพื่อนตั้งแต่ปีแรกที่เข้ามาเรียนที่ มทร.ธัญบุรี เลย แม้จะมีเสียงกระทบมาบ้าง ในทำนองอวดเก่ง หาแสง อะไรทำนองนี้ ผมก็ยืนยันว่า “ไม่ได้หาแสงจากการติวหรือการสอนเพื่อน” แต่เป็นการย้ำเตือนความรู้ ทบทวนในสิ่งที่เรียนมาแล้วไปพร้อม ๆ กันกับแก๊งเพื่อน เพราะอะไรก็ตามถ้าเรียนมาแล้ว หากไม่ทิ้งไป ไม่ได้ทบทวน รับรองได้เลย 90 กว่าเปอร์เซ็นต์ลืมแน่นอน ซึ่งถือเป็นกลยุทธ์หนึ่งของการเรียนวิศวะ ที่พาผมและเพื่อนก้าวข้ามความยากในเส้นทางวิศวะมาได้ถึงตอนนี้ ขณะเดียวกัน ต้องไม่ลืมที่จะแบ่งเวลาทบทวนเรื่องที่เรียนมาด้วยตัวเองร่วมด้วย เมื่อเจอขั้นตอนไหน จุดไหนที่งง ๆ ให้ถามอาจารย์โดยตรง อย่าปล่อยผ่านไป เมื่อเครียดและเหนื่อยล้าจากการเรียน ปัตรเล่าว่า ตนเลือกทำกิจกรรม มีทั้งกิจกรรมตอนว่างจริง ๆ ก็จะเล่นเกมส์ เพราะเกมส์ทำให้สมองตื่นตัว รู้จักคิดแบบมีชั้นเชิง และเคยอ่านในอินเทอร์เน็ตเขาบอกว่า เกมส์ช่วยชะลอความแก่ได้ เพราะบางเกมส์เมื่อเราเล่นชนะ ร่างกายเราจะหลั่งสารแห่งความสุข หากไม่เล่นเกมส์ก็จะออกกำลัง โดยเฉพาะวิ่งและแบตมินตันภายในมหาวิทยาลัย อีกกิจกรรมประเภทหนึ่งที่สำคัญไม่แพ้กัน คือกิจกรรมที่มหาวิทยาลัย คณะ หรือภาควิชาจัดขึ้น เราก็เข้าไปช่วย เข้าไปมีส่วนร่วมในสโมสรนักศึกษาฯ “อันนี้ทำให้เราได้เพื่อนเพิ่มขึ้น ได้เรียนรู้วิธีการทำงาน การแก้ปัญหาร่วมกัน” โดยปัตรยืนยันว่า สำหรับตนแล้ว ถ้าเรียนอย่างเดียว คงเครียด คงปวดหัวแน่ ๆ และน่าจะส่งผลต่อสุขภาพ ดังนั้นกิจกรรมนอกเหนือจากการเรียนเป็นสิ่งสำคัญ ที่จะบรรเทาและเยียวยาได้ ภายใต้การบริหารจัดการอย่างสมดุล ปัตร เล่าอีกด้วยว่า เวลาที่มีปัญหาหรือรู้สึกท้อ จะเลือกจัดการชีวิตโดยการหาที่ปรึกษาที่ไว้ใจ บอกเล่าเรื่องราวเหล่านั้น เชื่อไหมว่าเมื่อได้บอกออกไปแล้ว สิ่งแรกที่ได้คือเราได้ความสบายใจ โล่งใจ สองเราได้ตัวเลือก หรือคำตอบมากขึ้น เห็นทางออกมากขึ้น โดยมากจะไปปรึกษากับท่านอาจารย์ ผศ.สุคม ลิปิเลิศ ส่วนอีกท่านหนึ่งที่ชอบสไตล์การสอนก็คือ รศ.ดร.ปิติศานต์ กร้ำมาตร รวมถึงพี่ ๆ ที่เป็นเจ้าหน้าที่ในภาควิชา “การที่เรามีหลักยึด หรือมีต้นแบบที่ดี มันเป็นส่วนเสริมให้ชีวิตเราดีขึ้น มั่นคงขึ้น” “เรื่องราวและเทคนิคเฉพาะตัวของการเรียน เป็นสิ่งที่ผมใช้จริง ใช้อยู่ถึงตอนนี้ อาจจะดูธรรมดาทั่วไป แต่มันช่วยตีกรอบ และเป็นการปักหมุดที่สำคัญ ให้ผมตั้งเป้าหมายและเดินได้อย่างมั่นใจ ส่วนในอนาคต เส้นทางเริ่มชัดเจนขึ้น ทั้งการเป็นวิศกรอย่างเต็มตัว กลับไปทำงานที่บ้านเกิด อีกทางหนึ่งคือเรียนต่อ พัฒนาตนเองเพิ่มเติมด้านภาษา หากได้รับทุนการศึกษา ก็จะเป็นโอกาสที่ดีมาก อีกด้านหนึ่งก็อยากเป็นอาจารย์ เพราะเชื่อว่าตนเองสื่อสารและถ่ายทอดได้ดี อันนี้ผมได้ยินฟีคแบคจากเพื่อนในกลุ่มมา” ปัตร อธิบาย นี่เป็นการเผยเทคนิคเล็ก ๆ ของหนุ่มวิศวะ มทร.ธัญบุรี ที่มีแนวคิด “เรียนและติวไปพร้อมกันนะ” อาจจะจุดประเด็นต้นแบบให้กับรุ่นน้องและเพื่อนคนอื่นต่อไปได้ด้วย . อลงกรณ์ รัตตะเวทิน กองประชาสัมพันธ์ มทร.ธัญบุรี.
แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่