ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง EZ WebmasterJune 13, 2025 วันนี้ทั้งเล่น ทั้งได้ความรู้ ทั้งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนนางรอง จ.บุรีรัมย์ วันที่13/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า… นักศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI… ทุนดีดี 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster July 11, 2022 EZ Webmaster July 11, 2022 PISA ช่วยลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาได้อย่างไร ? ในรอบ 10 ปีมานี้ เราต่างพูดถึงเรื่องของความเหลื่อมล้ำกันมากขึ้นทุกวัน อาจเป็นเพราะสินทรัพย์ของคนไทยมากกว่า 77% ไปกระจุกตัวอยู่กับคนรวยที่สุด ซึ่งเป็นคนเพียง 10% ของประชากรทั้งหมด และเราก็กลายเป็นประเทศที่มีความเหลื่อมล้ำมากที่สุดในโลก เรียกกันง่าย ๆ ว่า ‘รวยกระจุก จนกระจาย’ ปัญหานี้ไม่ได้เป็นเฉพาะในประเทศไทย แต่เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคมทุนนิยมทั่วโลกที่ใช้ระบบเศรษฐกิจเสรี อาจเป็นเพราะระบบเศรษฐกิจแบบนี้ ช่วยให้คนที่มีเงินมากหาเงินง่าย ในขณะที่คนส่วนใหญ่ซึ่งมีรายได้น้อยจะหาทางที่จะเพิ่มรายได้ยากขึ้นเรื่อย ๆ ผมเชื่อว่า ถ้าเราวัดความเหลื่อมล้ำด้านการศึกษาในประเทศไทย เราคงมี ความเหลื่อมล้ำด้านการศึกษา สูงระดับโลกเช่นกัน โอกาสของกลุ่มคนรายได้น้อยจะเข้าเรียนในโรงเรียนดี ๆ ได้ยากมาก นิสิต นักศึกษาในมหาวิทยาลัยชั้นนำของประเทศส่วนใหญ่ก็เป็นกลุ่มรายได้สูง เราคงเคยได้ยินเรื่องของ การสอบ PISA ซึ่งเป็นโครงการที่จัดทำโดย องค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (Organisation for Economic Co-operation and Development หรือ OECD) และมีประเทศต่าง ๆ เข้าร่วมโครงการนี้จำนวนมาก ทั้งประเทศที่เป็นสมาชิกและไม่ได้เป็นสมาชิก โครงการนี้ ไม่ใช่เพียงแค่การสอบเพื่อวัดคุณภาพการจัดการศึกษาของนานาชาติ แต่ยังมีการวิจัยเพื่อช่วยลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาอีกด้วย การสอบ PISA เป็นการประเมินเด็กอายุ 15 ปีว่า มีความรู้ มีทักษะที่จะสามารถใช้ชีวิตและทำงานในอนาคตได้ดีเพียงใด งานวิจัยของ OECD ผ่านข้อสอบ PISA ชี้ชัดว่า แม้การศึกษาที่มีคุณภาพนั้นจำเป็นต้องมีทรัพยากรที่เพียงพอ แต่ประเทศกำลังพัฒนาซึ่งมีทรัพยากรน้อยก็สามารถทำให้นักเรียนมีผลการเรียนดีได้ และมีความเป็นเลิศทางการศึกษาได้ โดยไม่จำเป็นต้องเกิดจากการใช้จ่ายที่สูงเสมอไป เรื่องนี้สำคัญมากต่อประเทศไทยที่มีความเหลื่อมล้ำสูงระดับโลก เพราะถ้าเราสร้างการศึกษาที่มีดี และมีความตั้งใจในการกระจายโอกาส นั่นคือ การสร้างความเสมอภาคทางการศึกษา ซึ่งจะช่วยให้นักเรียนที่ด้อยโอกาส สามารถเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพได้ เราก็จะลดความเหลื่อมล้ำได้มาก เพราะสำหรับเด็กด้อยโอกาสเหล่านี้ การเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ นั่นคือ ทางเดียวของเขาที่จะยกระดับรายได้ ชีวิตความเป็นอยู่และฐานะของครอบครัว กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) ได้ร่วมมือกับองค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (Organisation for Economic Co-operation and Development หรือ OECD) เพื่อหาข้อมูลความรู้ นำมาสู่การนำเสนอนโยบาย แนวทางจัดการ เพื่อให้นักเรียนทุกคนได้มีโอกาสเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ ไม่ว่าเขาจะยากจน ด้อยโอกาส หรืออยู่ห่างไกล ถ้าเรามีนโยบายที่ดี มีการจัดสรรงบประมาณที่เหมาะสม ทั้งในระดับกระทรวงและโรงเรียน เราก็จะสามารถช่วยกันลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาอย่างเป็นรูปธรรมในประเทศไทย ข้อค้นพบของโครงการ คือ การที่นักเรียนมีสมรรถนะต่ำนั้น ไม่ได้เป็นผลมาจากปัจจัยเสี่ยงอันใดอันหนึ่งเพียงอย่างเดียว แต่เกิดจากการสะสมของอุปสรรคและการด้อยโอกาสที่ส่งผลกระทบต่อพวกเขาตลอดชีวิต การวัดสมรรถนะของเด็กอายุ 15 นั้น คือตัวชี้ว่า เขาได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพเพียงใด และการศึกษาที่ได้รับไม่ได้เป็นเพียงแค่ระบบของโรงเรียน แต่มันหมายถึงครอบครัวและสังคมอีกด้วย เด็กที่ครอบครัวยากจนมักจะได้รับการศึกษาที่ด้อยคุณภาพและเด็กที่อยู่ในครอบครัวยากจนก็จะมีปัจจัยเสี่ยงมากกว่าเด็กทั่วไป นั่นคือ ภูมิหลังของนักเรียนจะส่งผลกระทบต่อนักเรียนทุกคน ผลการศึกษาในกลุ่มประเทศใน OECD พบว่า โรงเรียนที่นักเรียนมีสมรรถนะตํ่าจํานวนมาก มักจะเป็นโรงเรียนที่มีทรัพยากรทางการศึกษาน้อยกว่าและขาดแคลนครูมากกว่า นักเรียนที่มีสมรรถนะตํ่ามักจะมีความพยายาม แรงจูงใจ และความมั่นใจน้อยกว่านักเรียนที่มีสมรรถนะดีกว่า และนักเรียนที่มีสมรรถนะตํ่ามักจะการขาดเรียนมากกว่าอีกด้วย ดังนั้น แค่เพียงการสนับสนุนของครู และการให้กำลังใจจากครูและโรงเรียน จะช่วยให้เด็กมีสมรรถนะสูงขึ้น ซึ่งก็เป็นการช่วยสร้างความเสมอภาคซึ่งครูทำได้ จากรายงานการวิจัยของ OECD ผ่านข้อสอบ PISA ได้เสนอว่า ผู้กําหนดนโยบายควรกำหนดให้การจัดการปัญหาที่นักเรียนมีสมรรถนะตํ่า (ซึ่งในประเทศไทย มีจำนวนนักเรียนที่มีสมรรถนะต่ำเป็นจำนวนมาก) ให้เป็นนโยบายที่มีความสําคัญอันดับต้น ๆ ประเทศที่มีการกระจายทรัพยากรทางการศึกษาที่ดี คือมีความเสมอภาคมากกว่า จะช่วยแก้ปัญหาที่นักเรียนมีสมรรถนะต่ำลดลง การสอบ PISA แสดงให้เห็นว่า การลงทุนในการศึกษาปฐมวัยทําให้เกิดผลตอบแทนที่ค่อนข้างสูง ในทางตรงกันข้ามการลงทุนในตอนที่นักเรียนตามคนอื่นไม่ทันแล้ว มักมีต้นทุนในการดําเนินการสูงกว่าและมีประสิทธิภาพตํ่ากว่า แม้ว่าการพัฒนาทักษะจะสามารถทําได้ในทุกช่วงอายุก็ตาม ข้อมูลที่ได้จากการสอบ PISA แสดงให้เห็นว่า ครอบครัวที่มีรายได้สูงมักลงทุนในการศึกษาโดยการซื้อหนังสือ ส่งลูกเข้าศูนย์พัฒนาเด็กปฐมวัยที่มีคุณภาพสูง มีกิจกรรมการเรียนรู้ที่เข้มข้น และการสอนพิเศษแบบตัวต่อตัวเมื่อจําเป็น ในขณะเดียวกัน ครอบครัวรายได้ตํ่า ผู้ปกครองไม่มีความสามารถในการเลี้ยงดูและสนับสนุนความต้องการของเด็ก อีกทั้งประสบการณ์ความยากจนในช่วงวัยเด็กและวัยรุ่นตอนต้นมักจะส่งผลให้ทักษะด้านสติปัญญา (cognitive) พัฒนาได้ช้ากว่าและมีสุขภาพที่แย่กว่า นั่นคือเหตุผลที่ทําให้ความเสมอภาคทางการศึกษาเป็นหัวใจสําคัญของการสร้างโอกาสในการเติบโตอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม เด็กควรได้รับโอกาสที่จะพัฒนาตนเองด้วยการศึกษาที่ดี จากการจัดสรรทรัพยากรให้มีประสิทธิภาพ ซึ่งจะส่งผลทางสังคมคือ นักเรียนที่ยากจนจะมีโอกาสใช้ความตั้งใจ ความพยายามในการเรียน และประสบความสำเร็จได้ แม้จะมีพื้นฐานรอบครัวที่ยากจน การศึกษาที่ดีไม่ใช่มีไว้แค่สำหรับผู้ที่มีฐานะร่ำรวย เราอาจต้องทบทวนวิธีการจัดงบประมาณของเราที่ไม่สอดคล้องกับข้อเสนอนี้ เช่น นโยบายเรียนฟรีแบบทั่วถึง จนถึงมัธยมปลาย แต่เป็นการเรียนฟรีที่มีคุณภาพแตกต่างกันมากในโรงเรียนห่างไกลและโรงเรียนในเมือง เราใช้ระบบงบประมาณรายหัว ทำให้โรงเรียนที่มีนักเรียนจำนวนมากได้งบประมาณสูงมาก ส่วนโรงเรียนที่มีนักเรียนจำนวนน้อยได้งบประมาณต่ำเกินกว่าจะจัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพได้ เราอาจจะคิดว่าการเท่ากันคือความเท่าเทียม แต่การเท่ากันแบบนี้ ยิ่งทำให้เกิดความเหลื่อมล้ำมากขึ้น เพราะเท่ากัน (Equality) ไม่ใช่ ความเสมอภาค (Equity) ในประเทศส่วนใหญ่ มีนโยบายการศึกษาที่ครอบคลุมไปถึงเด็กแรกเกิด เขาสนับสนุนให้ครอบครัวสามารถให้การศึกษาและจัดสรรงบประมาณกับการสร้างสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมการเรียนรู้ รวมทั้งมีนโยบายเพิ่มการมีส่วนร่วมของประชาชน OECD ได้นำเสนอแนวคิดอีกหลายเรื่องเพื่อสร้างความเสมอภาคทางการศึกษา เช่น การจัดสรรทรัพยากรเพื่อสร้างสภาพแวดล้อมในโรงเรียนที่ส่งเสริมการเรียนรู้ การเสนอโปรแกรมพิเศษสําหรับนักเรียนที่เป็นผู้อพยพ นักเรียนที่เป็นชนกลุ่มน้อย และนักเรียนในชนบท การลดความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงการศึกษาปฐมวัย นอกเหนือจากนี้แล้วยังจัด โครงการ PISA for school เพื่อช่วยพัฒนาในระดับโรงเรียน ซึ่งกองทุนเสมอภาคเพื่อการศึกษาของไทย (กสศ.) ได้เข้าร่วมโครงการและนำข้อมูลต่าง ๆ มาใช้เพื่อให้โรงเรียนมีส่วนในการลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา ช่วยสร้างโอกาสให้กับเด็ก ๆ ในโรงเรียนได้รับการศึกษาที่ดีได้อย่างเท่าเทียม ไม่ว่าจะมีฐานะแตกต่างกันอย่างไร ผลลัพธ์ของโครงการ PISA for school แสดงให้เห็นว่า ภายในโรงเรียนเดียวกันก็สามารถบรรลุถึงความเป็นเลิศทางการศึกษาและความเสมอภาคได้ นั่นคือ นักเรียนสามารถเป็นผู้ที่ประสบความสําเร็จในระดับสูงได้ ในขณะที่ผลกระทบทางฐานะครอบครัวมีผลต่อสมรรถนะของพวกเขาเพียงเล็กน้อย การวิเคราะห์ได้ชี้ให้เห็นถึงลักษณะบางอย่างที่ช่วยให้นักเรียนด้อยโอกาสประสบความสําเร็จ เช่น โรงเรียนที่มีบรรยากาศทางระเบียบวินัย (Disciplinary climate) ที่ดีกว่าจะมีความเป็นไปได้ที่นักเรียนด้อยโอกาสจะมีสมรรถนะดีกว่าโรงเรียนที่มีสภาพแวดล้อมที่วุ่นวาย การเรียนที่มีระบบระเบียบเป็นประโยชน์กับนักเรียนทุกคน โดยเฉพาะอย่างยิ่งนักเรียนที่มีความเสี่ยง ระบบระเบียบจะช่วยให้นักเรียนจะสามารถตั้งใจและจดจ่ออยู่กับบทเรียน และครูจะสามารถให้คำแนะนําที่ไม่ช้าหรือเร็วเกินไปได้ บรรยากาศ (เชิงบวก) ของโรงเรียนเป็นอีกปัจจัยที่ช่วยสนับสนุนการเรียนของนักเรียนที่ด้อยโอกาส และเรื่องที่น่าสนใจมากคือ ผลการเรียนมีความสัมพันธ์เพียงเล็กน้อยกับจํานวนทรัพยากรมนุษย์และทรัพยากรวัตถุที่มีอยู่ในโรงเรียนของพวกเขา ถึงเวลาที่เราต้องกล้าเปลี่ยนแปลงหลายเรื่อง ถ้าเราเห็นความสำคัญของลูกหลานและการเปลี่ยนแปลงที่จะได้ผลนั้นต้องไม่ใช่คิดแบบเก่า ทำแบบเดิม แต่ต้องใช้ข้อมูลจริง ใช้ความรู้และความตั้งใจจริงของทุกภาคส่วนโดยมีจุดหมายร่วมกัน นั่นคืออนาคตของประเทศ อ.วิริยะ ฤาชัยพาณิชย์ EZ Webmaster Related Posts ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง Post navigation PREVIOUS Previous post: มมส บายศรีสู่ขวัญน้องใหม่ ผูกข้อต่อแขนรับขวัญ สืบสานวัฒนธรรมอันดีงามNEXT Next post: PISA ลดการกลั่นแกล้งในโรงเรียนได้อย่างไร ? Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง EZ WebmasterJune 13, 2025 วันนี้ทั้งเล่น ทั้งได้ความรู้ ทั้งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนนางรอง จ.บุรีรัมย์ วันที่13/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า… นักศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI… ทุนดีดี 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster July 11, 2022 EZ Webmaster July 11, 2022 PISA ช่วยลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาได้อย่างไร ? ในรอบ 10 ปีมานี้ เราต่างพูดถึงเรื่องของความเหลื่อมล้ำกันมากขึ้นทุกวัน อาจเป็นเพราะสินทรัพย์ของคนไทยมากกว่า 77% ไปกระจุกตัวอยู่กับคนรวยที่สุด ซึ่งเป็นคนเพียง 10% ของประชากรทั้งหมด และเราก็กลายเป็นประเทศที่มีความเหลื่อมล้ำมากที่สุดในโลก เรียกกันง่าย ๆ ว่า ‘รวยกระจุก จนกระจาย’ ปัญหานี้ไม่ได้เป็นเฉพาะในประเทศไทย แต่เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคมทุนนิยมทั่วโลกที่ใช้ระบบเศรษฐกิจเสรี อาจเป็นเพราะระบบเศรษฐกิจแบบนี้ ช่วยให้คนที่มีเงินมากหาเงินง่าย ในขณะที่คนส่วนใหญ่ซึ่งมีรายได้น้อยจะหาทางที่จะเพิ่มรายได้ยากขึ้นเรื่อย ๆ ผมเชื่อว่า ถ้าเราวัดความเหลื่อมล้ำด้านการศึกษาในประเทศไทย เราคงมี ความเหลื่อมล้ำด้านการศึกษา สูงระดับโลกเช่นกัน โอกาสของกลุ่มคนรายได้น้อยจะเข้าเรียนในโรงเรียนดี ๆ ได้ยากมาก นิสิต นักศึกษาในมหาวิทยาลัยชั้นนำของประเทศส่วนใหญ่ก็เป็นกลุ่มรายได้สูง เราคงเคยได้ยินเรื่องของ การสอบ PISA ซึ่งเป็นโครงการที่จัดทำโดย องค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (Organisation for Economic Co-operation and Development หรือ OECD) และมีประเทศต่าง ๆ เข้าร่วมโครงการนี้จำนวนมาก ทั้งประเทศที่เป็นสมาชิกและไม่ได้เป็นสมาชิก โครงการนี้ ไม่ใช่เพียงแค่การสอบเพื่อวัดคุณภาพการจัดการศึกษาของนานาชาติ แต่ยังมีการวิจัยเพื่อช่วยลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาอีกด้วย การสอบ PISA เป็นการประเมินเด็กอายุ 15 ปีว่า มีความรู้ มีทักษะที่จะสามารถใช้ชีวิตและทำงานในอนาคตได้ดีเพียงใด งานวิจัยของ OECD ผ่านข้อสอบ PISA ชี้ชัดว่า แม้การศึกษาที่มีคุณภาพนั้นจำเป็นต้องมีทรัพยากรที่เพียงพอ แต่ประเทศกำลังพัฒนาซึ่งมีทรัพยากรน้อยก็สามารถทำให้นักเรียนมีผลการเรียนดีได้ และมีความเป็นเลิศทางการศึกษาได้ โดยไม่จำเป็นต้องเกิดจากการใช้จ่ายที่สูงเสมอไป เรื่องนี้สำคัญมากต่อประเทศไทยที่มีความเหลื่อมล้ำสูงระดับโลก เพราะถ้าเราสร้างการศึกษาที่มีดี และมีความตั้งใจในการกระจายโอกาส นั่นคือ การสร้างความเสมอภาคทางการศึกษา ซึ่งจะช่วยให้นักเรียนที่ด้อยโอกาส สามารถเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพได้ เราก็จะลดความเหลื่อมล้ำได้มาก เพราะสำหรับเด็กด้อยโอกาสเหล่านี้ การเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ นั่นคือ ทางเดียวของเขาที่จะยกระดับรายได้ ชีวิตความเป็นอยู่และฐานะของครอบครัว กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) ได้ร่วมมือกับองค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (Organisation for Economic Co-operation and Development หรือ OECD) เพื่อหาข้อมูลความรู้ นำมาสู่การนำเสนอนโยบาย แนวทางจัดการ เพื่อให้นักเรียนทุกคนได้มีโอกาสเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ ไม่ว่าเขาจะยากจน ด้อยโอกาส หรืออยู่ห่างไกล ถ้าเรามีนโยบายที่ดี มีการจัดสรรงบประมาณที่เหมาะสม ทั้งในระดับกระทรวงและโรงเรียน เราก็จะสามารถช่วยกันลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาอย่างเป็นรูปธรรมในประเทศไทย ข้อค้นพบของโครงการ คือ การที่นักเรียนมีสมรรถนะต่ำนั้น ไม่ได้เป็นผลมาจากปัจจัยเสี่ยงอันใดอันหนึ่งเพียงอย่างเดียว แต่เกิดจากการสะสมของอุปสรรคและการด้อยโอกาสที่ส่งผลกระทบต่อพวกเขาตลอดชีวิต การวัดสมรรถนะของเด็กอายุ 15 นั้น คือตัวชี้ว่า เขาได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพเพียงใด และการศึกษาที่ได้รับไม่ได้เป็นเพียงแค่ระบบของโรงเรียน แต่มันหมายถึงครอบครัวและสังคมอีกด้วย เด็กที่ครอบครัวยากจนมักจะได้รับการศึกษาที่ด้อยคุณภาพและเด็กที่อยู่ในครอบครัวยากจนก็จะมีปัจจัยเสี่ยงมากกว่าเด็กทั่วไป นั่นคือ ภูมิหลังของนักเรียนจะส่งผลกระทบต่อนักเรียนทุกคน ผลการศึกษาในกลุ่มประเทศใน OECD พบว่า โรงเรียนที่นักเรียนมีสมรรถนะตํ่าจํานวนมาก มักจะเป็นโรงเรียนที่มีทรัพยากรทางการศึกษาน้อยกว่าและขาดแคลนครูมากกว่า นักเรียนที่มีสมรรถนะตํ่ามักจะมีความพยายาม แรงจูงใจ และความมั่นใจน้อยกว่านักเรียนที่มีสมรรถนะดีกว่า และนักเรียนที่มีสมรรถนะตํ่ามักจะการขาดเรียนมากกว่าอีกด้วย ดังนั้น แค่เพียงการสนับสนุนของครู และการให้กำลังใจจากครูและโรงเรียน จะช่วยให้เด็กมีสมรรถนะสูงขึ้น ซึ่งก็เป็นการช่วยสร้างความเสมอภาคซึ่งครูทำได้ จากรายงานการวิจัยของ OECD ผ่านข้อสอบ PISA ได้เสนอว่า ผู้กําหนดนโยบายควรกำหนดให้การจัดการปัญหาที่นักเรียนมีสมรรถนะตํ่า (ซึ่งในประเทศไทย มีจำนวนนักเรียนที่มีสมรรถนะต่ำเป็นจำนวนมาก) ให้เป็นนโยบายที่มีความสําคัญอันดับต้น ๆ ประเทศที่มีการกระจายทรัพยากรทางการศึกษาที่ดี คือมีความเสมอภาคมากกว่า จะช่วยแก้ปัญหาที่นักเรียนมีสมรรถนะต่ำลดลง การสอบ PISA แสดงให้เห็นว่า การลงทุนในการศึกษาปฐมวัยทําให้เกิดผลตอบแทนที่ค่อนข้างสูง ในทางตรงกันข้ามการลงทุนในตอนที่นักเรียนตามคนอื่นไม่ทันแล้ว มักมีต้นทุนในการดําเนินการสูงกว่าและมีประสิทธิภาพตํ่ากว่า แม้ว่าการพัฒนาทักษะจะสามารถทําได้ในทุกช่วงอายุก็ตาม ข้อมูลที่ได้จากการสอบ PISA แสดงให้เห็นว่า ครอบครัวที่มีรายได้สูงมักลงทุนในการศึกษาโดยการซื้อหนังสือ ส่งลูกเข้าศูนย์พัฒนาเด็กปฐมวัยที่มีคุณภาพสูง มีกิจกรรมการเรียนรู้ที่เข้มข้น และการสอนพิเศษแบบตัวต่อตัวเมื่อจําเป็น ในขณะเดียวกัน ครอบครัวรายได้ตํ่า ผู้ปกครองไม่มีความสามารถในการเลี้ยงดูและสนับสนุนความต้องการของเด็ก อีกทั้งประสบการณ์ความยากจนในช่วงวัยเด็กและวัยรุ่นตอนต้นมักจะส่งผลให้ทักษะด้านสติปัญญา (cognitive) พัฒนาได้ช้ากว่าและมีสุขภาพที่แย่กว่า นั่นคือเหตุผลที่ทําให้ความเสมอภาคทางการศึกษาเป็นหัวใจสําคัญของการสร้างโอกาสในการเติบโตอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม เด็กควรได้รับโอกาสที่จะพัฒนาตนเองด้วยการศึกษาที่ดี จากการจัดสรรทรัพยากรให้มีประสิทธิภาพ ซึ่งจะส่งผลทางสังคมคือ นักเรียนที่ยากจนจะมีโอกาสใช้ความตั้งใจ ความพยายามในการเรียน และประสบความสำเร็จได้ แม้จะมีพื้นฐานรอบครัวที่ยากจน การศึกษาที่ดีไม่ใช่มีไว้แค่สำหรับผู้ที่มีฐานะร่ำรวย เราอาจต้องทบทวนวิธีการจัดงบประมาณของเราที่ไม่สอดคล้องกับข้อเสนอนี้ เช่น นโยบายเรียนฟรีแบบทั่วถึง จนถึงมัธยมปลาย แต่เป็นการเรียนฟรีที่มีคุณภาพแตกต่างกันมากในโรงเรียนห่างไกลและโรงเรียนในเมือง เราใช้ระบบงบประมาณรายหัว ทำให้โรงเรียนที่มีนักเรียนจำนวนมากได้งบประมาณสูงมาก ส่วนโรงเรียนที่มีนักเรียนจำนวนน้อยได้งบประมาณต่ำเกินกว่าจะจัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพได้ เราอาจจะคิดว่าการเท่ากันคือความเท่าเทียม แต่การเท่ากันแบบนี้ ยิ่งทำให้เกิดความเหลื่อมล้ำมากขึ้น เพราะเท่ากัน (Equality) ไม่ใช่ ความเสมอภาค (Equity) ในประเทศส่วนใหญ่ มีนโยบายการศึกษาที่ครอบคลุมไปถึงเด็กแรกเกิด เขาสนับสนุนให้ครอบครัวสามารถให้การศึกษาและจัดสรรงบประมาณกับการสร้างสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมการเรียนรู้ รวมทั้งมีนโยบายเพิ่มการมีส่วนร่วมของประชาชน OECD ได้นำเสนอแนวคิดอีกหลายเรื่องเพื่อสร้างความเสมอภาคทางการศึกษา เช่น การจัดสรรทรัพยากรเพื่อสร้างสภาพแวดล้อมในโรงเรียนที่ส่งเสริมการเรียนรู้ การเสนอโปรแกรมพิเศษสําหรับนักเรียนที่เป็นผู้อพยพ นักเรียนที่เป็นชนกลุ่มน้อย และนักเรียนในชนบท การลดความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงการศึกษาปฐมวัย นอกเหนือจากนี้แล้วยังจัด โครงการ PISA for school เพื่อช่วยพัฒนาในระดับโรงเรียน ซึ่งกองทุนเสมอภาคเพื่อการศึกษาของไทย (กสศ.) ได้เข้าร่วมโครงการและนำข้อมูลต่าง ๆ มาใช้เพื่อให้โรงเรียนมีส่วนในการลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา ช่วยสร้างโอกาสให้กับเด็ก ๆ ในโรงเรียนได้รับการศึกษาที่ดีได้อย่างเท่าเทียม ไม่ว่าจะมีฐานะแตกต่างกันอย่างไร ผลลัพธ์ของโครงการ PISA for school แสดงให้เห็นว่า ภายในโรงเรียนเดียวกันก็สามารถบรรลุถึงความเป็นเลิศทางการศึกษาและความเสมอภาคได้ นั่นคือ นักเรียนสามารถเป็นผู้ที่ประสบความสําเร็จในระดับสูงได้ ในขณะที่ผลกระทบทางฐานะครอบครัวมีผลต่อสมรรถนะของพวกเขาเพียงเล็กน้อย การวิเคราะห์ได้ชี้ให้เห็นถึงลักษณะบางอย่างที่ช่วยให้นักเรียนด้อยโอกาสประสบความสําเร็จ เช่น โรงเรียนที่มีบรรยากาศทางระเบียบวินัย (Disciplinary climate) ที่ดีกว่าจะมีความเป็นไปได้ที่นักเรียนด้อยโอกาสจะมีสมรรถนะดีกว่าโรงเรียนที่มีสภาพแวดล้อมที่วุ่นวาย การเรียนที่มีระบบระเบียบเป็นประโยชน์กับนักเรียนทุกคน โดยเฉพาะอย่างยิ่งนักเรียนที่มีความเสี่ยง ระบบระเบียบจะช่วยให้นักเรียนจะสามารถตั้งใจและจดจ่ออยู่กับบทเรียน และครูจะสามารถให้คำแนะนําที่ไม่ช้าหรือเร็วเกินไปได้ บรรยากาศ (เชิงบวก) ของโรงเรียนเป็นอีกปัจจัยที่ช่วยสนับสนุนการเรียนของนักเรียนที่ด้อยโอกาส และเรื่องที่น่าสนใจมากคือ ผลการเรียนมีความสัมพันธ์เพียงเล็กน้อยกับจํานวนทรัพยากรมนุษย์และทรัพยากรวัตถุที่มีอยู่ในโรงเรียนของพวกเขา ถึงเวลาที่เราต้องกล้าเปลี่ยนแปลงหลายเรื่อง ถ้าเราเห็นความสำคัญของลูกหลานและการเปลี่ยนแปลงที่จะได้ผลนั้นต้องไม่ใช่คิดแบบเก่า ทำแบบเดิม แต่ต้องใช้ข้อมูลจริง ใช้ความรู้และความตั้งใจจริงของทุกภาคส่วนโดยมีจุดหมายร่วมกัน นั่นคืออนาคตของประเทศ อ.วิริยะ ฤาชัยพาณิชย์ EZ Webmaster Related Posts ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง Post navigation PREVIOUS Previous post: มมส บายศรีสู่ขวัญน้องใหม่ ผูกข้อต่อแขนรับขวัญ สืบสานวัฒนธรรมอันดีงามNEXT Next post: PISA ลดการกลั่นแกล้งในโรงเรียนได้อย่างไร ? Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง EZ WebmasterJune 13, 2025 วันนี้ทั้งเล่น ทั้งได้ความรู้ ทั้งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนนางรอง จ.บุรีรัมย์ วันที่13/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า…
โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง EZ WebmasterJune 13, 2025 วันนี้ทั้งเล่น ทั้งได้ความรู้ ทั้งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนนางรอง จ.บุรีรัมย์ วันที่13/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า…
คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI… ทุนดีดี 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster July 11, 2022 EZ Webmaster July 11, 2022 PISA ช่วยลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาได้อย่างไร ? ในรอบ 10 ปีมานี้ เราต่างพูดถึงเรื่องของความเหลื่อมล้ำกันมากขึ้นทุกวัน อาจเป็นเพราะสินทรัพย์ของคนไทยมากกว่า 77% ไปกระจุกตัวอยู่กับคนรวยที่สุด ซึ่งเป็นคนเพียง 10% ของประชากรทั้งหมด และเราก็กลายเป็นประเทศที่มีความเหลื่อมล้ำมากที่สุดในโลก เรียกกันง่าย ๆ ว่า ‘รวยกระจุก จนกระจาย’ ปัญหานี้ไม่ได้เป็นเฉพาะในประเทศไทย แต่เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคมทุนนิยมทั่วโลกที่ใช้ระบบเศรษฐกิจเสรี อาจเป็นเพราะระบบเศรษฐกิจแบบนี้ ช่วยให้คนที่มีเงินมากหาเงินง่าย ในขณะที่คนส่วนใหญ่ซึ่งมีรายได้น้อยจะหาทางที่จะเพิ่มรายได้ยากขึ้นเรื่อย ๆ ผมเชื่อว่า ถ้าเราวัดความเหลื่อมล้ำด้านการศึกษาในประเทศไทย เราคงมี ความเหลื่อมล้ำด้านการศึกษา สูงระดับโลกเช่นกัน โอกาสของกลุ่มคนรายได้น้อยจะเข้าเรียนในโรงเรียนดี ๆ ได้ยากมาก นิสิต นักศึกษาในมหาวิทยาลัยชั้นนำของประเทศส่วนใหญ่ก็เป็นกลุ่มรายได้สูง เราคงเคยได้ยินเรื่องของ การสอบ PISA ซึ่งเป็นโครงการที่จัดทำโดย องค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (Organisation for Economic Co-operation and Development หรือ OECD) และมีประเทศต่าง ๆ เข้าร่วมโครงการนี้จำนวนมาก ทั้งประเทศที่เป็นสมาชิกและไม่ได้เป็นสมาชิก โครงการนี้ ไม่ใช่เพียงแค่การสอบเพื่อวัดคุณภาพการจัดการศึกษาของนานาชาติ แต่ยังมีการวิจัยเพื่อช่วยลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาอีกด้วย การสอบ PISA เป็นการประเมินเด็กอายุ 15 ปีว่า มีความรู้ มีทักษะที่จะสามารถใช้ชีวิตและทำงานในอนาคตได้ดีเพียงใด งานวิจัยของ OECD ผ่านข้อสอบ PISA ชี้ชัดว่า แม้การศึกษาที่มีคุณภาพนั้นจำเป็นต้องมีทรัพยากรที่เพียงพอ แต่ประเทศกำลังพัฒนาซึ่งมีทรัพยากรน้อยก็สามารถทำให้นักเรียนมีผลการเรียนดีได้ และมีความเป็นเลิศทางการศึกษาได้ โดยไม่จำเป็นต้องเกิดจากการใช้จ่ายที่สูงเสมอไป เรื่องนี้สำคัญมากต่อประเทศไทยที่มีความเหลื่อมล้ำสูงระดับโลก เพราะถ้าเราสร้างการศึกษาที่มีดี และมีความตั้งใจในการกระจายโอกาส นั่นคือ การสร้างความเสมอภาคทางการศึกษา ซึ่งจะช่วยให้นักเรียนที่ด้อยโอกาส สามารถเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพได้ เราก็จะลดความเหลื่อมล้ำได้มาก เพราะสำหรับเด็กด้อยโอกาสเหล่านี้ การเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ นั่นคือ ทางเดียวของเขาที่จะยกระดับรายได้ ชีวิตความเป็นอยู่และฐานะของครอบครัว กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) ได้ร่วมมือกับองค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (Organisation for Economic Co-operation and Development หรือ OECD) เพื่อหาข้อมูลความรู้ นำมาสู่การนำเสนอนโยบาย แนวทางจัดการ เพื่อให้นักเรียนทุกคนได้มีโอกาสเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ ไม่ว่าเขาจะยากจน ด้อยโอกาส หรืออยู่ห่างไกล ถ้าเรามีนโยบายที่ดี มีการจัดสรรงบประมาณที่เหมาะสม ทั้งในระดับกระทรวงและโรงเรียน เราก็จะสามารถช่วยกันลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาอย่างเป็นรูปธรรมในประเทศไทย ข้อค้นพบของโครงการ คือ การที่นักเรียนมีสมรรถนะต่ำนั้น ไม่ได้เป็นผลมาจากปัจจัยเสี่ยงอันใดอันหนึ่งเพียงอย่างเดียว แต่เกิดจากการสะสมของอุปสรรคและการด้อยโอกาสที่ส่งผลกระทบต่อพวกเขาตลอดชีวิต การวัดสมรรถนะของเด็กอายุ 15 นั้น คือตัวชี้ว่า เขาได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพเพียงใด และการศึกษาที่ได้รับไม่ได้เป็นเพียงแค่ระบบของโรงเรียน แต่มันหมายถึงครอบครัวและสังคมอีกด้วย เด็กที่ครอบครัวยากจนมักจะได้รับการศึกษาที่ด้อยคุณภาพและเด็กที่อยู่ในครอบครัวยากจนก็จะมีปัจจัยเสี่ยงมากกว่าเด็กทั่วไป นั่นคือ ภูมิหลังของนักเรียนจะส่งผลกระทบต่อนักเรียนทุกคน ผลการศึกษาในกลุ่มประเทศใน OECD พบว่า โรงเรียนที่นักเรียนมีสมรรถนะตํ่าจํานวนมาก มักจะเป็นโรงเรียนที่มีทรัพยากรทางการศึกษาน้อยกว่าและขาดแคลนครูมากกว่า นักเรียนที่มีสมรรถนะตํ่ามักจะมีความพยายาม แรงจูงใจ และความมั่นใจน้อยกว่านักเรียนที่มีสมรรถนะดีกว่า และนักเรียนที่มีสมรรถนะตํ่ามักจะการขาดเรียนมากกว่าอีกด้วย ดังนั้น แค่เพียงการสนับสนุนของครู และการให้กำลังใจจากครูและโรงเรียน จะช่วยให้เด็กมีสมรรถนะสูงขึ้น ซึ่งก็เป็นการช่วยสร้างความเสมอภาคซึ่งครูทำได้ จากรายงานการวิจัยของ OECD ผ่านข้อสอบ PISA ได้เสนอว่า ผู้กําหนดนโยบายควรกำหนดให้การจัดการปัญหาที่นักเรียนมีสมรรถนะตํ่า (ซึ่งในประเทศไทย มีจำนวนนักเรียนที่มีสมรรถนะต่ำเป็นจำนวนมาก) ให้เป็นนโยบายที่มีความสําคัญอันดับต้น ๆ ประเทศที่มีการกระจายทรัพยากรทางการศึกษาที่ดี คือมีความเสมอภาคมากกว่า จะช่วยแก้ปัญหาที่นักเรียนมีสมรรถนะต่ำลดลง การสอบ PISA แสดงให้เห็นว่า การลงทุนในการศึกษาปฐมวัยทําให้เกิดผลตอบแทนที่ค่อนข้างสูง ในทางตรงกันข้ามการลงทุนในตอนที่นักเรียนตามคนอื่นไม่ทันแล้ว มักมีต้นทุนในการดําเนินการสูงกว่าและมีประสิทธิภาพตํ่ากว่า แม้ว่าการพัฒนาทักษะจะสามารถทําได้ในทุกช่วงอายุก็ตาม ข้อมูลที่ได้จากการสอบ PISA แสดงให้เห็นว่า ครอบครัวที่มีรายได้สูงมักลงทุนในการศึกษาโดยการซื้อหนังสือ ส่งลูกเข้าศูนย์พัฒนาเด็กปฐมวัยที่มีคุณภาพสูง มีกิจกรรมการเรียนรู้ที่เข้มข้น และการสอนพิเศษแบบตัวต่อตัวเมื่อจําเป็น ในขณะเดียวกัน ครอบครัวรายได้ตํ่า ผู้ปกครองไม่มีความสามารถในการเลี้ยงดูและสนับสนุนความต้องการของเด็ก อีกทั้งประสบการณ์ความยากจนในช่วงวัยเด็กและวัยรุ่นตอนต้นมักจะส่งผลให้ทักษะด้านสติปัญญา (cognitive) พัฒนาได้ช้ากว่าและมีสุขภาพที่แย่กว่า นั่นคือเหตุผลที่ทําให้ความเสมอภาคทางการศึกษาเป็นหัวใจสําคัญของการสร้างโอกาสในการเติบโตอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม เด็กควรได้รับโอกาสที่จะพัฒนาตนเองด้วยการศึกษาที่ดี จากการจัดสรรทรัพยากรให้มีประสิทธิภาพ ซึ่งจะส่งผลทางสังคมคือ นักเรียนที่ยากจนจะมีโอกาสใช้ความตั้งใจ ความพยายามในการเรียน และประสบความสำเร็จได้ แม้จะมีพื้นฐานรอบครัวที่ยากจน การศึกษาที่ดีไม่ใช่มีไว้แค่สำหรับผู้ที่มีฐานะร่ำรวย เราอาจต้องทบทวนวิธีการจัดงบประมาณของเราที่ไม่สอดคล้องกับข้อเสนอนี้ เช่น นโยบายเรียนฟรีแบบทั่วถึง จนถึงมัธยมปลาย แต่เป็นการเรียนฟรีที่มีคุณภาพแตกต่างกันมากในโรงเรียนห่างไกลและโรงเรียนในเมือง เราใช้ระบบงบประมาณรายหัว ทำให้โรงเรียนที่มีนักเรียนจำนวนมากได้งบประมาณสูงมาก ส่วนโรงเรียนที่มีนักเรียนจำนวนน้อยได้งบประมาณต่ำเกินกว่าจะจัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพได้ เราอาจจะคิดว่าการเท่ากันคือความเท่าเทียม แต่การเท่ากันแบบนี้ ยิ่งทำให้เกิดความเหลื่อมล้ำมากขึ้น เพราะเท่ากัน (Equality) ไม่ใช่ ความเสมอภาค (Equity) ในประเทศส่วนใหญ่ มีนโยบายการศึกษาที่ครอบคลุมไปถึงเด็กแรกเกิด เขาสนับสนุนให้ครอบครัวสามารถให้การศึกษาและจัดสรรงบประมาณกับการสร้างสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมการเรียนรู้ รวมทั้งมีนโยบายเพิ่มการมีส่วนร่วมของประชาชน OECD ได้นำเสนอแนวคิดอีกหลายเรื่องเพื่อสร้างความเสมอภาคทางการศึกษา เช่น การจัดสรรทรัพยากรเพื่อสร้างสภาพแวดล้อมในโรงเรียนที่ส่งเสริมการเรียนรู้ การเสนอโปรแกรมพิเศษสําหรับนักเรียนที่เป็นผู้อพยพ นักเรียนที่เป็นชนกลุ่มน้อย และนักเรียนในชนบท การลดความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงการศึกษาปฐมวัย นอกเหนือจากนี้แล้วยังจัด โครงการ PISA for school เพื่อช่วยพัฒนาในระดับโรงเรียน ซึ่งกองทุนเสมอภาคเพื่อการศึกษาของไทย (กสศ.) ได้เข้าร่วมโครงการและนำข้อมูลต่าง ๆ มาใช้เพื่อให้โรงเรียนมีส่วนในการลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา ช่วยสร้างโอกาสให้กับเด็ก ๆ ในโรงเรียนได้รับการศึกษาที่ดีได้อย่างเท่าเทียม ไม่ว่าจะมีฐานะแตกต่างกันอย่างไร ผลลัพธ์ของโครงการ PISA for school แสดงให้เห็นว่า ภายในโรงเรียนเดียวกันก็สามารถบรรลุถึงความเป็นเลิศทางการศึกษาและความเสมอภาคได้ นั่นคือ นักเรียนสามารถเป็นผู้ที่ประสบความสําเร็จในระดับสูงได้ ในขณะที่ผลกระทบทางฐานะครอบครัวมีผลต่อสมรรถนะของพวกเขาเพียงเล็กน้อย การวิเคราะห์ได้ชี้ให้เห็นถึงลักษณะบางอย่างที่ช่วยให้นักเรียนด้อยโอกาสประสบความสําเร็จ เช่น โรงเรียนที่มีบรรยากาศทางระเบียบวินัย (Disciplinary climate) ที่ดีกว่าจะมีความเป็นไปได้ที่นักเรียนด้อยโอกาสจะมีสมรรถนะดีกว่าโรงเรียนที่มีสภาพแวดล้อมที่วุ่นวาย การเรียนที่มีระบบระเบียบเป็นประโยชน์กับนักเรียนทุกคน โดยเฉพาะอย่างยิ่งนักเรียนที่มีความเสี่ยง ระบบระเบียบจะช่วยให้นักเรียนจะสามารถตั้งใจและจดจ่ออยู่กับบทเรียน และครูจะสามารถให้คำแนะนําที่ไม่ช้าหรือเร็วเกินไปได้ บรรยากาศ (เชิงบวก) ของโรงเรียนเป็นอีกปัจจัยที่ช่วยสนับสนุนการเรียนของนักเรียนที่ด้อยโอกาส และเรื่องที่น่าสนใจมากคือ ผลการเรียนมีความสัมพันธ์เพียงเล็กน้อยกับจํานวนทรัพยากรมนุษย์และทรัพยากรวัตถุที่มีอยู่ในโรงเรียนของพวกเขา ถึงเวลาที่เราต้องกล้าเปลี่ยนแปลงหลายเรื่อง ถ้าเราเห็นความสำคัญของลูกหลานและการเปลี่ยนแปลงที่จะได้ผลนั้นต้องไม่ใช่คิดแบบเก่า ทำแบบเดิม แต่ต้องใช้ข้อมูลจริง ใช้ความรู้และความตั้งใจจริงของทุกภาคส่วนโดยมีจุดหมายร่วมกัน นั่นคืออนาคตของประเทศ อ.วิริยะ ฤาชัยพาณิชย์ EZ Webmaster Related Posts ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง Post navigation PREVIOUS Previous post: มมส บายศรีสู่ขวัญน้องใหม่ ผูกข้อต่อแขนรับขวัญ สืบสานวัฒนธรรมอันดีงามNEXT Next post: PISA ลดการกลั่นแกล้งในโรงเรียนได้อย่างไร ? Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI… ทุนดีดี 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster July 11, 2022 EZ Webmaster July 11, 2022 PISA ช่วยลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาได้อย่างไร ? ในรอบ 10 ปีมานี้ เราต่างพูดถึงเรื่องของความเหลื่อมล้ำกันมากขึ้นทุกวัน อาจเป็นเพราะสินทรัพย์ของคนไทยมากกว่า 77% ไปกระจุกตัวอยู่กับคนรวยที่สุด ซึ่งเป็นคนเพียง 10% ของประชากรทั้งหมด และเราก็กลายเป็นประเทศที่มีความเหลื่อมล้ำมากที่สุดในโลก เรียกกันง่าย ๆ ว่า ‘รวยกระจุก จนกระจาย’ ปัญหานี้ไม่ได้เป็นเฉพาะในประเทศไทย แต่เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคมทุนนิยมทั่วโลกที่ใช้ระบบเศรษฐกิจเสรี อาจเป็นเพราะระบบเศรษฐกิจแบบนี้ ช่วยให้คนที่มีเงินมากหาเงินง่าย ในขณะที่คนส่วนใหญ่ซึ่งมีรายได้น้อยจะหาทางที่จะเพิ่มรายได้ยากขึ้นเรื่อย ๆ ผมเชื่อว่า ถ้าเราวัดความเหลื่อมล้ำด้านการศึกษาในประเทศไทย เราคงมี ความเหลื่อมล้ำด้านการศึกษา สูงระดับโลกเช่นกัน โอกาสของกลุ่มคนรายได้น้อยจะเข้าเรียนในโรงเรียนดี ๆ ได้ยากมาก นิสิต นักศึกษาในมหาวิทยาลัยชั้นนำของประเทศส่วนใหญ่ก็เป็นกลุ่มรายได้สูง เราคงเคยได้ยินเรื่องของ การสอบ PISA ซึ่งเป็นโครงการที่จัดทำโดย องค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (Organisation for Economic Co-operation and Development หรือ OECD) และมีประเทศต่าง ๆ เข้าร่วมโครงการนี้จำนวนมาก ทั้งประเทศที่เป็นสมาชิกและไม่ได้เป็นสมาชิก โครงการนี้ ไม่ใช่เพียงแค่การสอบเพื่อวัดคุณภาพการจัดการศึกษาของนานาชาติ แต่ยังมีการวิจัยเพื่อช่วยลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาอีกด้วย การสอบ PISA เป็นการประเมินเด็กอายุ 15 ปีว่า มีความรู้ มีทักษะที่จะสามารถใช้ชีวิตและทำงานในอนาคตได้ดีเพียงใด งานวิจัยของ OECD ผ่านข้อสอบ PISA ชี้ชัดว่า แม้การศึกษาที่มีคุณภาพนั้นจำเป็นต้องมีทรัพยากรที่เพียงพอ แต่ประเทศกำลังพัฒนาซึ่งมีทรัพยากรน้อยก็สามารถทำให้นักเรียนมีผลการเรียนดีได้ และมีความเป็นเลิศทางการศึกษาได้ โดยไม่จำเป็นต้องเกิดจากการใช้จ่ายที่สูงเสมอไป เรื่องนี้สำคัญมากต่อประเทศไทยที่มีความเหลื่อมล้ำสูงระดับโลก เพราะถ้าเราสร้างการศึกษาที่มีดี และมีความตั้งใจในการกระจายโอกาส นั่นคือ การสร้างความเสมอภาคทางการศึกษา ซึ่งจะช่วยให้นักเรียนที่ด้อยโอกาส สามารถเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพได้ เราก็จะลดความเหลื่อมล้ำได้มาก เพราะสำหรับเด็กด้อยโอกาสเหล่านี้ การเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ นั่นคือ ทางเดียวของเขาที่จะยกระดับรายได้ ชีวิตความเป็นอยู่และฐานะของครอบครัว กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) ได้ร่วมมือกับองค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (Organisation for Economic Co-operation and Development หรือ OECD) เพื่อหาข้อมูลความรู้ นำมาสู่การนำเสนอนโยบาย แนวทางจัดการ เพื่อให้นักเรียนทุกคนได้มีโอกาสเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ ไม่ว่าเขาจะยากจน ด้อยโอกาส หรืออยู่ห่างไกล ถ้าเรามีนโยบายที่ดี มีการจัดสรรงบประมาณที่เหมาะสม ทั้งในระดับกระทรวงและโรงเรียน เราก็จะสามารถช่วยกันลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาอย่างเป็นรูปธรรมในประเทศไทย ข้อค้นพบของโครงการ คือ การที่นักเรียนมีสมรรถนะต่ำนั้น ไม่ได้เป็นผลมาจากปัจจัยเสี่ยงอันใดอันหนึ่งเพียงอย่างเดียว แต่เกิดจากการสะสมของอุปสรรคและการด้อยโอกาสที่ส่งผลกระทบต่อพวกเขาตลอดชีวิต การวัดสมรรถนะของเด็กอายุ 15 นั้น คือตัวชี้ว่า เขาได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพเพียงใด และการศึกษาที่ได้รับไม่ได้เป็นเพียงแค่ระบบของโรงเรียน แต่มันหมายถึงครอบครัวและสังคมอีกด้วย เด็กที่ครอบครัวยากจนมักจะได้รับการศึกษาที่ด้อยคุณภาพและเด็กที่อยู่ในครอบครัวยากจนก็จะมีปัจจัยเสี่ยงมากกว่าเด็กทั่วไป นั่นคือ ภูมิหลังของนักเรียนจะส่งผลกระทบต่อนักเรียนทุกคน ผลการศึกษาในกลุ่มประเทศใน OECD พบว่า โรงเรียนที่นักเรียนมีสมรรถนะตํ่าจํานวนมาก มักจะเป็นโรงเรียนที่มีทรัพยากรทางการศึกษาน้อยกว่าและขาดแคลนครูมากกว่า นักเรียนที่มีสมรรถนะตํ่ามักจะมีความพยายาม แรงจูงใจ และความมั่นใจน้อยกว่านักเรียนที่มีสมรรถนะดีกว่า และนักเรียนที่มีสมรรถนะตํ่ามักจะการขาดเรียนมากกว่าอีกด้วย ดังนั้น แค่เพียงการสนับสนุนของครู และการให้กำลังใจจากครูและโรงเรียน จะช่วยให้เด็กมีสมรรถนะสูงขึ้น ซึ่งก็เป็นการช่วยสร้างความเสมอภาคซึ่งครูทำได้ จากรายงานการวิจัยของ OECD ผ่านข้อสอบ PISA ได้เสนอว่า ผู้กําหนดนโยบายควรกำหนดให้การจัดการปัญหาที่นักเรียนมีสมรรถนะตํ่า (ซึ่งในประเทศไทย มีจำนวนนักเรียนที่มีสมรรถนะต่ำเป็นจำนวนมาก) ให้เป็นนโยบายที่มีความสําคัญอันดับต้น ๆ ประเทศที่มีการกระจายทรัพยากรทางการศึกษาที่ดี คือมีความเสมอภาคมากกว่า จะช่วยแก้ปัญหาที่นักเรียนมีสมรรถนะต่ำลดลง การสอบ PISA แสดงให้เห็นว่า การลงทุนในการศึกษาปฐมวัยทําให้เกิดผลตอบแทนที่ค่อนข้างสูง ในทางตรงกันข้ามการลงทุนในตอนที่นักเรียนตามคนอื่นไม่ทันแล้ว มักมีต้นทุนในการดําเนินการสูงกว่าและมีประสิทธิภาพตํ่ากว่า แม้ว่าการพัฒนาทักษะจะสามารถทําได้ในทุกช่วงอายุก็ตาม ข้อมูลที่ได้จากการสอบ PISA แสดงให้เห็นว่า ครอบครัวที่มีรายได้สูงมักลงทุนในการศึกษาโดยการซื้อหนังสือ ส่งลูกเข้าศูนย์พัฒนาเด็กปฐมวัยที่มีคุณภาพสูง มีกิจกรรมการเรียนรู้ที่เข้มข้น และการสอนพิเศษแบบตัวต่อตัวเมื่อจําเป็น ในขณะเดียวกัน ครอบครัวรายได้ตํ่า ผู้ปกครองไม่มีความสามารถในการเลี้ยงดูและสนับสนุนความต้องการของเด็ก อีกทั้งประสบการณ์ความยากจนในช่วงวัยเด็กและวัยรุ่นตอนต้นมักจะส่งผลให้ทักษะด้านสติปัญญา (cognitive) พัฒนาได้ช้ากว่าและมีสุขภาพที่แย่กว่า นั่นคือเหตุผลที่ทําให้ความเสมอภาคทางการศึกษาเป็นหัวใจสําคัญของการสร้างโอกาสในการเติบโตอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม เด็กควรได้รับโอกาสที่จะพัฒนาตนเองด้วยการศึกษาที่ดี จากการจัดสรรทรัพยากรให้มีประสิทธิภาพ ซึ่งจะส่งผลทางสังคมคือ นักเรียนที่ยากจนจะมีโอกาสใช้ความตั้งใจ ความพยายามในการเรียน และประสบความสำเร็จได้ แม้จะมีพื้นฐานรอบครัวที่ยากจน การศึกษาที่ดีไม่ใช่มีไว้แค่สำหรับผู้ที่มีฐานะร่ำรวย เราอาจต้องทบทวนวิธีการจัดงบประมาณของเราที่ไม่สอดคล้องกับข้อเสนอนี้ เช่น นโยบายเรียนฟรีแบบทั่วถึง จนถึงมัธยมปลาย แต่เป็นการเรียนฟรีที่มีคุณภาพแตกต่างกันมากในโรงเรียนห่างไกลและโรงเรียนในเมือง เราใช้ระบบงบประมาณรายหัว ทำให้โรงเรียนที่มีนักเรียนจำนวนมากได้งบประมาณสูงมาก ส่วนโรงเรียนที่มีนักเรียนจำนวนน้อยได้งบประมาณต่ำเกินกว่าจะจัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพได้ เราอาจจะคิดว่าการเท่ากันคือความเท่าเทียม แต่การเท่ากันแบบนี้ ยิ่งทำให้เกิดความเหลื่อมล้ำมากขึ้น เพราะเท่ากัน (Equality) ไม่ใช่ ความเสมอภาค (Equity) ในประเทศส่วนใหญ่ มีนโยบายการศึกษาที่ครอบคลุมไปถึงเด็กแรกเกิด เขาสนับสนุนให้ครอบครัวสามารถให้การศึกษาและจัดสรรงบประมาณกับการสร้างสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมการเรียนรู้ รวมทั้งมีนโยบายเพิ่มการมีส่วนร่วมของประชาชน OECD ได้นำเสนอแนวคิดอีกหลายเรื่องเพื่อสร้างความเสมอภาคทางการศึกษา เช่น การจัดสรรทรัพยากรเพื่อสร้างสภาพแวดล้อมในโรงเรียนที่ส่งเสริมการเรียนรู้ การเสนอโปรแกรมพิเศษสําหรับนักเรียนที่เป็นผู้อพยพ นักเรียนที่เป็นชนกลุ่มน้อย และนักเรียนในชนบท การลดความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงการศึกษาปฐมวัย นอกเหนือจากนี้แล้วยังจัด โครงการ PISA for school เพื่อช่วยพัฒนาในระดับโรงเรียน ซึ่งกองทุนเสมอภาคเพื่อการศึกษาของไทย (กสศ.) ได้เข้าร่วมโครงการและนำข้อมูลต่าง ๆ มาใช้เพื่อให้โรงเรียนมีส่วนในการลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา ช่วยสร้างโอกาสให้กับเด็ก ๆ ในโรงเรียนได้รับการศึกษาที่ดีได้อย่างเท่าเทียม ไม่ว่าจะมีฐานะแตกต่างกันอย่างไร ผลลัพธ์ของโครงการ PISA for school แสดงให้เห็นว่า ภายในโรงเรียนเดียวกันก็สามารถบรรลุถึงความเป็นเลิศทางการศึกษาและความเสมอภาคได้ นั่นคือ นักเรียนสามารถเป็นผู้ที่ประสบความสําเร็จในระดับสูงได้ ในขณะที่ผลกระทบทางฐานะครอบครัวมีผลต่อสมรรถนะของพวกเขาเพียงเล็กน้อย การวิเคราะห์ได้ชี้ให้เห็นถึงลักษณะบางอย่างที่ช่วยให้นักเรียนด้อยโอกาสประสบความสําเร็จ เช่น โรงเรียนที่มีบรรยากาศทางระเบียบวินัย (Disciplinary climate) ที่ดีกว่าจะมีความเป็นไปได้ที่นักเรียนด้อยโอกาสจะมีสมรรถนะดีกว่าโรงเรียนที่มีสภาพแวดล้อมที่วุ่นวาย การเรียนที่มีระบบระเบียบเป็นประโยชน์กับนักเรียนทุกคน โดยเฉพาะอย่างยิ่งนักเรียนที่มีความเสี่ยง ระบบระเบียบจะช่วยให้นักเรียนจะสามารถตั้งใจและจดจ่ออยู่กับบทเรียน และครูจะสามารถให้คำแนะนําที่ไม่ช้าหรือเร็วเกินไปได้ บรรยากาศ (เชิงบวก) ของโรงเรียนเป็นอีกปัจจัยที่ช่วยสนับสนุนการเรียนของนักเรียนที่ด้อยโอกาส และเรื่องที่น่าสนใจมากคือ ผลการเรียนมีความสัมพันธ์เพียงเล็กน้อยกับจํานวนทรัพยากรมนุษย์และทรัพยากรวัตถุที่มีอยู่ในโรงเรียนของพวกเขา ถึงเวลาที่เราต้องกล้าเปลี่ยนแปลงหลายเรื่อง ถ้าเราเห็นความสำคัญของลูกหลานและการเปลี่ยนแปลงที่จะได้ผลนั้นต้องไม่ใช่คิดแบบเก่า ทำแบบเดิม แต่ต้องใช้ข้อมูลจริง ใช้ความรู้และความตั้งใจจริงของทุกภาคส่วนโดยมีจุดหมายร่วมกัน นั่นคืออนาคตของประเทศ อ.วิริยะ ฤาชัยพาณิชย์ EZ Webmaster Related Posts ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง Post navigation PREVIOUS Previous post: มมส บายศรีสู่ขวัญน้องใหม่ ผูกข้อต่อแขนรับขวัญ สืบสานวัฒนธรรมอันดีงามNEXT Next post: PISA ลดการกลั่นแกล้งในโรงเรียนได้อย่างไร ? Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI…
รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI…
8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster July 11, 2022 EZ Webmaster July 11, 2022 PISA ช่วยลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาได้อย่างไร ? ในรอบ 10 ปีมานี้ เราต่างพูดถึงเรื่องของความเหลื่อมล้ำกันมากขึ้นทุกวัน อาจเป็นเพราะสินทรัพย์ของคนไทยมากกว่า 77% ไปกระจุกตัวอยู่กับคนรวยที่สุด ซึ่งเป็นคนเพียง 10% ของประชากรทั้งหมด และเราก็กลายเป็นประเทศที่มีความเหลื่อมล้ำมากที่สุดในโลก เรียกกันง่าย ๆ ว่า ‘รวยกระจุก จนกระจาย’ ปัญหานี้ไม่ได้เป็นเฉพาะในประเทศไทย แต่เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคมทุนนิยมทั่วโลกที่ใช้ระบบเศรษฐกิจเสรี อาจเป็นเพราะระบบเศรษฐกิจแบบนี้ ช่วยให้คนที่มีเงินมากหาเงินง่าย ในขณะที่คนส่วนใหญ่ซึ่งมีรายได้น้อยจะหาทางที่จะเพิ่มรายได้ยากขึ้นเรื่อย ๆ ผมเชื่อว่า ถ้าเราวัดความเหลื่อมล้ำด้านการศึกษาในประเทศไทย เราคงมี ความเหลื่อมล้ำด้านการศึกษา สูงระดับโลกเช่นกัน โอกาสของกลุ่มคนรายได้น้อยจะเข้าเรียนในโรงเรียนดี ๆ ได้ยากมาก นิสิต นักศึกษาในมหาวิทยาลัยชั้นนำของประเทศส่วนใหญ่ก็เป็นกลุ่มรายได้สูง เราคงเคยได้ยินเรื่องของ การสอบ PISA ซึ่งเป็นโครงการที่จัดทำโดย องค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (Organisation for Economic Co-operation and Development หรือ OECD) และมีประเทศต่าง ๆ เข้าร่วมโครงการนี้จำนวนมาก ทั้งประเทศที่เป็นสมาชิกและไม่ได้เป็นสมาชิก โครงการนี้ ไม่ใช่เพียงแค่การสอบเพื่อวัดคุณภาพการจัดการศึกษาของนานาชาติ แต่ยังมีการวิจัยเพื่อช่วยลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาอีกด้วย การสอบ PISA เป็นการประเมินเด็กอายุ 15 ปีว่า มีความรู้ มีทักษะที่จะสามารถใช้ชีวิตและทำงานในอนาคตได้ดีเพียงใด งานวิจัยของ OECD ผ่านข้อสอบ PISA ชี้ชัดว่า แม้การศึกษาที่มีคุณภาพนั้นจำเป็นต้องมีทรัพยากรที่เพียงพอ แต่ประเทศกำลังพัฒนาซึ่งมีทรัพยากรน้อยก็สามารถทำให้นักเรียนมีผลการเรียนดีได้ และมีความเป็นเลิศทางการศึกษาได้ โดยไม่จำเป็นต้องเกิดจากการใช้จ่ายที่สูงเสมอไป เรื่องนี้สำคัญมากต่อประเทศไทยที่มีความเหลื่อมล้ำสูงระดับโลก เพราะถ้าเราสร้างการศึกษาที่มีดี และมีความตั้งใจในการกระจายโอกาส นั่นคือ การสร้างความเสมอภาคทางการศึกษา ซึ่งจะช่วยให้นักเรียนที่ด้อยโอกาส สามารถเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพได้ เราก็จะลดความเหลื่อมล้ำได้มาก เพราะสำหรับเด็กด้อยโอกาสเหล่านี้ การเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ นั่นคือ ทางเดียวของเขาที่จะยกระดับรายได้ ชีวิตความเป็นอยู่และฐานะของครอบครัว กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) ได้ร่วมมือกับองค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (Organisation for Economic Co-operation and Development หรือ OECD) เพื่อหาข้อมูลความรู้ นำมาสู่การนำเสนอนโยบาย แนวทางจัดการ เพื่อให้นักเรียนทุกคนได้มีโอกาสเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ ไม่ว่าเขาจะยากจน ด้อยโอกาส หรืออยู่ห่างไกล ถ้าเรามีนโยบายที่ดี มีการจัดสรรงบประมาณที่เหมาะสม ทั้งในระดับกระทรวงและโรงเรียน เราก็จะสามารถช่วยกันลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาอย่างเป็นรูปธรรมในประเทศไทย ข้อค้นพบของโครงการ คือ การที่นักเรียนมีสมรรถนะต่ำนั้น ไม่ได้เป็นผลมาจากปัจจัยเสี่ยงอันใดอันหนึ่งเพียงอย่างเดียว แต่เกิดจากการสะสมของอุปสรรคและการด้อยโอกาสที่ส่งผลกระทบต่อพวกเขาตลอดชีวิต การวัดสมรรถนะของเด็กอายุ 15 นั้น คือตัวชี้ว่า เขาได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพเพียงใด และการศึกษาที่ได้รับไม่ได้เป็นเพียงแค่ระบบของโรงเรียน แต่มันหมายถึงครอบครัวและสังคมอีกด้วย เด็กที่ครอบครัวยากจนมักจะได้รับการศึกษาที่ด้อยคุณภาพและเด็กที่อยู่ในครอบครัวยากจนก็จะมีปัจจัยเสี่ยงมากกว่าเด็กทั่วไป นั่นคือ ภูมิหลังของนักเรียนจะส่งผลกระทบต่อนักเรียนทุกคน ผลการศึกษาในกลุ่มประเทศใน OECD พบว่า โรงเรียนที่นักเรียนมีสมรรถนะตํ่าจํานวนมาก มักจะเป็นโรงเรียนที่มีทรัพยากรทางการศึกษาน้อยกว่าและขาดแคลนครูมากกว่า นักเรียนที่มีสมรรถนะตํ่ามักจะมีความพยายาม แรงจูงใจ และความมั่นใจน้อยกว่านักเรียนที่มีสมรรถนะดีกว่า และนักเรียนที่มีสมรรถนะตํ่ามักจะการขาดเรียนมากกว่าอีกด้วย ดังนั้น แค่เพียงการสนับสนุนของครู และการให้กำลังใจจากครูและโรงเรียน จะช่วยให้เด็กมีสมรรถนะสูงขึ้น ซึ่งก็เป็นการช่วยสร้างความเสมอภาคซึ่งครูทำได้ จากรายงานการวิจัยของ OECD ผ่านข้อสอบ PISA ได้เสนอว่า ผู้กําหนดนโยบายควรกำหนดให้การจัดการปัญหาที่นักเรียนมีสมรรถนะตํ่า (ซึ่งในประเทศไทย มีจำนวนนักเรียนที่มีสมรรถนะต่ำเป็นจำนวนมาก) ให้เป็นนโยบายที่มีความสําคัญอันดับต้น ๆ ประเทศที่มีการกระจายทรัพยากรทางการศึกษาที่ดี คือมีความเสมอภาคมากกว่า จะช่วยแก้ปัญหาที่นักเรียนมีสมรรถนะต่ำลดลง การสอบ PISA แสดงให้เห็นว่า การลงทุนในการศึกษาปฐมวัยทําให้เกิดผลตอบแทนที่ค่อนข้างสูง ในทางตรงกันข้ามการลงทุนในตอนที่นักเรียนตามคนอื่นไม่ทันแล้ว มักมีต้นทุนในการดําเนินการสูงกว่าและมีประสิทธิภาพตํ่ากว่า แม้ว่าการพัฒนาทักษะจะสามารถทําได้ในทุกช่วงอายุก็ตาม ข้อมูลที่ได้จากการสอบ PISA แสดงให้เห็นว่า ครอบครัวที่มีรายได้สูงมักลงทุนในการศึกษาโดยการซื้อหนังสือ ส่งลูกเข้าศูนย์พัฒนาเด็กปฐมวัยที่มีคุณภาพสูง มีกิจกรรมการเรียนรู้ที่เข้มข้น และการสอนพิเศษแบบตัวต่อตัวเมื่อจําเป็น ในขณะเดียวกัน ครอบครัวรายได้ตํ่า ผู้ปกครองไม่มีความสามารถในการเลี้ยงดูและสนับสนุนความต้องการของเด็ก อีกทั้งประสบการณ์ความยากจนในช่วงวัยเด็กและวัยรุ่นตอนต้นมักจะส่งผลให้ทักษะด้านสติปัญญา (cognitive) พัฒนาได้ช้ากว่าและมีสุขภาพที่แย่กว่า นั่นคือเหตุผลที่ทําให้ความเสมอภาคทางการศึกษาเป็นหัวใจสําคัญของการสร้างโอกาสในการเติบโตอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม เด็กควรได้รับโอกาสที่จะพัฒนาตนเองด้วยการศึกษาที่ดี จากการจัดสรรทรัพยากรให้มีประสิทธิภาพ ซึ่งจะส่งผลทางสังคมคือ นักเรียนที่ยากจนจะมีโอกาสใช้ความตั้งใจ ความพยายามในการเรียน และประสบความสำเร็จได้ แม้จะมีพื้นฐานรอบครัวที่ยากจน การศึกษาที่ดีไม่ใช่มีไว้แค่สำหรับผู้ที่มีฐานะร่ำรวย เราอาจต้องทบทวนวิธีการจัดงบประมาณของเราที่ไม่สอดคล้องกับข้อเสนอนี้ เช่น นโยบายเรียนฟรีแบบทั่วถึง จนถึงมัธยมปลาย แต่เป็นการเรียนฟรีที่มีคุณภาพแตกต่างกันมากในโรงเรียนห่างไกลและโรงเรียนในเมือง เราใช้ระบบงบประมาณรายหัว ทำให้โรงเรียนที่มีนักเรียนจำนวนมากได้งบประมาณสูงมาก ส่วนโรงเรียนที่มีนักเรียนจำนวนน้อยได้งบประมาณต่ำเกินกว่าจะจัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพได้ เราอาจจะคิดว่าการเท่ากันคือความเท่าเทียม แต่การเท่ากันแบบนี้ ยิ่งทำให้เกิดความเหลื่อมล้ำมากขึ้น เพราะเท่ากัน (Equality) ไม่ใช่ ความเสมอภาค (Equity) ในประเทศส่วนใหญ่ มีนโยบายการศึกษาที่ครอบคลุมไปถึงเด็กแรกเกิด เขาสนับสนุนให้ครอบครัวสามารถให้การศึกษาและจัดสรรงบประมาณกับการสร้างสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมการเรียนรู้ รวมทั้งมีนโยบายเพิ่มการมีส่วนร่วมของประชาชน OECD ได้นำเสนอแนวคิดอีกหลายเรื่องเพื่อสร้างความเสมอภาคทางการศึกษา เช่น การจัดสรรทรัพยากรเพื่อสร้างสภาพแวดล้อมในโรงเรียนที่ส่งเสริมการเรียนรู้ การเสนอโปรแกรมพิเศษสําหรับนักเรียนที่เป็นผู้อพยพ นักเรียนที่เป็นชนกลุ่มน้อย และนักเรียนในชนบท การลดความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงการศึกษาปฐมวัย นอกเหนือจากนี้แล้วยังจัด โครงการ PISA for school เพื่อช่วยพัฒนาในระดับโรงเรียน ซึ่งกองทุนเสมอภาคเพื่อการศึกษาของไทย (กสศ.) ได้เข้าร่วมโครงการและนำข้อมูลต่าง ๆ มาใช้เพื่อให้โรงเรียนมีส่วนในการลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา ช่วยสร้างโอกาสให้กับเด็ก ๆ ในโรงเรียนได้รับการศึกษาที่ดีได้อย่างเท่าเทียม ไม่ว่าจะมีฐานะแตกต่างกันอย่างไร ผลลัพธ์ของโครงการ PISA for school แสดงให้เห็นว่า ภายในโรงเรียนเดียวกันก็สามารถบรรลุถึงความเป็นเลิศทางการศึกษาและความเสมอภาคได้ นั่นคือ นักเรียนสามารถเป็นผู้ที่ประสบความสําเร็จในระดับสูงได้ ในขณะที่ผลกระทบทางฐานะครอบครัวมีผลต่อสมรรถนะของพวกเขาเพียงเล็กน้อย การวิเคราะห์ได้ชี้ให้เห็นถึงลักษณะบางอย่างที่ช่วยให้นักเรียนด้อยโอกาสประสบความสําเร็จ เช่น โรงเรียนที่มีบรรยากาศทางระเบียบวินัย (Disciplinary climate) ที่ดีกว่าจะมีความเป็นไปได้ที่นักเรียนด้อยโอกาสจะมีสมรรถนะดีกว่าโรงเรียนที่มีสภาพแวดล้อมที่วุ่นวาย การเรียนที่มีระบบระเบียบเป็นประโยชน์กับนักเรียนทุกคน โดยเฉพาะอย่างยิ่งนักเรียนที่มีความเสี่ยง ระบบระเบียบจะช่วยให้นักเรียนจะสามารถตั้งใจและจดจ่ออยู่กับบทเรียน และครูจะสามารถให้คำแนะนําที่ไม่ช้าหรือเร็วเกินไปได้ บรรยากาศ (เชิงบวก) ของโรงเรียนเป็นอีกปัจจัยที่ช่วยสนับสนุนการเรียนของนักเรียนที่ด้อยโอกาส และเรื่องที่น่าสนใจมากคือ ผลการเรียนมีความสัมพันธ์เพียงเล็กน้อยกับจํานวนทรัพยากรมนุษย์และทรัพยากรวัตถุที่มีอยู่ในโรงเรียนของพวกเขา ถึงเวลาที่เราต้องกล้าเปลี่ยนแปลงหลายเรื่อง ถ้าเราเห็นความสำคัญของลูกหลานและการเปลี่ยนแปลงที่จะได้ผลนั้นต้องไม่ใช่คิดแบบเก่า ทำแบบเดิม แต่ต้องใช้ข้อมูลจริง ใช้ความรู้และความตั้งใจจริงของทุกภาคส่วนโดยมีจุดหมายร่วมกัน นั่นคืออนาคตของประเทศ อ.วิริยะ ฤาชัยพาณิชย์ EZ Webmaster Related Posts ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง Post navigation PREVIOUS Previous post: มมส บายศรีสู่ขวัญน้องใหม่ ผูกข้อต่อแขนรับขวัญ สืบสานวัฒนธรรมอันดีงามNEXT Next post: PISA ลดการกลั่นแกล้งในโรงเรียนได้อย่างไร ? Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster July 11, 2022 EZ Webmaster July 11, 2022 PISA ช่วยลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาได้อย่างไร ? ในรอบ 10 ปีมานี้ เราต่างพูดถึงเรื่องของความเหลื่อมล้ำกันมากขึ้นทุกวัน อาจเป็นเพราะสินทรัพย์ของคนไทยมากกว่า 77% ไปกระจุกตัวอยู่กับคนรวยที่สุด ซึ่งเป็นคนเพียง 10% ของประชากรทั้งหมด และเราก็กลายเป็นประเทศที่มีความเหลื่อมล้ำมากที่สุดในโลก เรียกกันง่าย ๆ ว่า ‘รวยกระจุก จนกระจาย’ ปัญหานี้ไม่ได้เป็นเฉพาะในประเทศไทย แต่เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคมทุนนิยมทั่วโลกที่ใช้ระบบเศรษฐกิจเสรี อาจเป็นเพราะระบบเศรษฐกิจแบบนี้ ช่วยให้คนที่มีเงินมากหาเงินง่าย ในขณะที่คนส่วนใหญ่ซึ่งมีรายได้น้อยจะหาทางที่จะเพิ่มรายได้ยากขึ้นเรื่อย ๆ ผมเชื่อว่า ถ้าเราวัดความเหลื่อมล้ำด้านการศึกษาในประเทศไทย เราคงมี ความเหลื่อมล้ำด้านการศึกษา สูงระดับโลกเช่นกัน โอกาสของกลุ่มคนรายได้น้อยจะเข้าเรียนในโรงเรียนดี ๆ ได้ยากมาก นิสิต นักศึกษาในมหาวิทยาลัยชั้นนำของประเทศส่วนใหญ่ก็เป็นกลุ่มรายได้สูง เราคงเคยได้ยินเรื่องของ การสอบ PISA ซึ่งเป็นโครงการที่จัดทำโดย องค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (Organisation for Economic Co-operation and Development หรือ OECD) และมีประเทศต่าง ๆ เข้าร่วมโครงการนี้จำนวนมาก ทั้งประเทศที่เป็นสมาชิกและไม่ได้เป็นสมาชิก โครงการนี้ ไม่ใช่เพียงแค่การสอบเพื่อวัดคุณภาพการจัดการศึกษาของนานาชาติ แต่ยังมีการวิจัยเพื่อช่วยลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาอีกด้วย การสอบ PISA เป็นการประเมินเด็กอายุ 15 ปีว่า มีความรู้ มีทักษะที่จะสามารถใช้ชีวิตและทำงานในอนาคตได้ดีเพียงใด งานวิจัยของ OECD ผ่านข้อสอบ PISA ชี้ชัดว่า แม้การศึกษาที่มีคุณภาพนั้นจำเป็นต้องมีทรัพยากรที่เพียงพอ แต่ประเทศกำลังพัฒนาซึ่งมีทรัพยากรน้อยก็สามารถทำให้นักเรียนมีผลการเรียนดีได้ และมีความเป็นเลิศทางการศึกษาได้ โดยไม่จำเป็นต้องเกิดจากการใช้จ่ายที่สูงเสมอไป เรื่องนี้สำคัญมากต่อประเทศไทยที่มีความเหลื่อมล้ำสูงระดับโลก เพราะถ้าเราสร้างการศึกษาที่มีดี และมีความตั้งใจในการกระจายโอกาส นั่นคือ การสร้างความเสมอภาคทางการศึกษา ซึ่งจะช่วยให้นักเรียนที่ด้อยโอกาส สามารถเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพได้ เราก็จะลดความเหลื่อมล้ำได้มาก เพราะสำหรับเด็กด้อยโอกาสเหล่านี้ การเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ นั่นคือ ทางเดียวของเขาที่จะยกระดับรายได้ ชีวิตความเป็นอยู่และฐานะของครอบครัว กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) ได้ร่วมมือกับองค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (Organisation for Economic Co-operation and Development หรือ OECD) เพื่อหาข้อมูลความรู้ นำมาสู่การนำเสนอนโยบาย แนวทางจัดการ เพื่อให้นักเรียนทุกคนได้มีโอกาสเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ ไม่ว่าเขาจะยากจน ด้อยโอกาส หรืออยู่ห่างไกล ถ้าเรามีนโยบายที่ดี มีการจัดสรรงบประมาณที่เหมาะสม ทั้งในระดับกระทรวงและโรงเรียน เราก็จะสามารถช่วยกันลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาอย่างเป็นรูปธรรมในประเทศไทย ข้อค้นพบของโครงการ คือ การที่นักเรียนมีสมรรถนะต่ำนั้น ไม่ได้เป็นผลมาจากปัจจัยเสี่ยงอันใดอันหนึ่งเพียงอย่างเดียว แต่เกิดจากการสะสมของอุปสรรคและการด้อยโอกาสที่ส่งผลกระทบต่อพวกเขาตลอดชีวิต การวัดสมรรถนะของเด็กอายุ 15 นั้น คือตัวชี้ว่า เขาได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพเพียงใด และการศึกษาที่ได้รับไม่ได้เป็นเพียงแค่ระบบของโรงเรียน แต่มันหมายถึงครอบครัวและสังคมอีกด้วย เด็กที่ครอบครัวยากจนมักจะได้รับการศึกษาที่ด้อยคุณภาพและเด็กที่อยู่ในครอบครัวยากจนก็จะมีปัจจัยเสี่ยงมากกว่าเด็กทั่วไป นั่นคือ ภูมิหลังของนักเรียนจะส่งผลกระทบต่อนักเรียนทุกคน ผลการศึกษาในกลุ่มประเทศใน OECD พบว่า โรงเรียนที่นักเรียนมีสมรรถนะตํ่าจํานวนมาก มักจะเป็นโรงเรียนที่มีทรัพยากรทางการศึกษาน้อยกว่าและขาดแคลนครูมากกว่า นักเรียนที่มีสมรรถนะตํ่ามักจะมีความพยายาม แรงจูงใจ และความมั่นใจน้อยกว่านักเรียนที่มีสมรรถนะดีกว่า และนักเรียนที่มีสมรรถนะตํ่ามักจะการขาดเรียนมากกว่าอีกด้วย ดังนั้น แค่เพียงการสนับสนุนของครู และการให้กำลังใจจากครูและโรงเรียน จะช่วยให้เด็กมีสมรรถนะสูงขึ้น ซึ่งก็เป็นการช่วยสร้างความเสมอภาคซึ่งครูทำได้ จากรายงานการวิจัยของ OECD ผ่านข้อสอบ PISA ได้เสนอว่า ผู้กําหนดนโยบายควรกำหนดให้การจัดการปัญหาที่นักเรียนมีสมรรถนะตํ่า (ซึ่งในประเทศไทย มีจำนวนนักเรียนที่มีสมรรถนะต่ำเป็นจำนวนมาก) ให้เป็นนโยบายที่มีความสําคัญอันดับต้น ๆ ประเทศที่มีการกระจายทรัพยากรทางการศึกษาที่ดี คือมีความเสมอภาคมากกว่า จะช่วยแก้ปัญหาที่นักเรียนมีสมรรถนะต่ำลดลง การสอบ PISA แสดงให้เห็นว่า การลงทุนในการศึกษาปฐมวัยทําให้เกิดผลตอบแทนที่ค่อนข้างสูง ในทางตรงกันข้ามการลงทุนในตอนที่นักเรียนตามคนอื่นไม่ทันแล้ว มักมีต้นทุนในการดําเนินการสูงกว่าและมีประสิทธิภาพตํ่ากว่า แม้ว่าการพัฒนาทักษะจะสามารถทําได้ในทุกช่วงอายุก็ตาม ข้อมูลที่ได้จากการสอบ PISA แสดงให้เห็นว่า ครอบครัวที่มีรายได้สูงมักลงทุนในการศึกษาโดยการซื้อหนังสือ ส่งลูกเข้าศูนย์พัฒนาเด็กปฐมวัยที่มีคุณภาพสูง มีกิจกรรมการเรียนรู้ที่เข้มข้น และการสอนพิเศษแบบตัวต่อตัวเมื่อจําเป็น ในขณะเดียวกัน ครอบครัวรายได้ตํ่า ผู้ปกครองไม่มีความสามารถในการเลี้ยงดูและสนับสนุนความต้องการของเด็ก อีกทั้งประสบการณ์ความยากจนในช่วงวัยเด็กและวัยรุ่นตอนต้นมักจะส่งผลให้ทักษะด้านสติปัญญา (cognitive) พัฒนาได้ช้ากว่าและมีสุขภาพที่แย่กว่า นั่นคือเหตุผลที่ทําให้ความเสมอภาคทางการศึกษาเป็นหัวใจสําคัญของการสร้างโอกาสในการเติบโตอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม เด็กควรได้รับโอกาสที่จะพัฒนาตนเองด้วยการศึกษาที่ดี จากการจัดสรรทรัพยากรให้มีประสิทธิภาพ ซึ่งจะส่งผลทางสังคมคือ นักเรียนที่ยากจนจะมีโอกาสใช้ความตั้งใจ ความพยายามในการเรียน และประสบความสำเร็จได้ แม้จะมีพื้นฐานรอบครัวที่ยากจน การศึกษาที่ดีไม่ใช่มีไว้แค่สำหรับผู้ที่มีฐานะร่ำรวย เราอาจต้องทบทวนวิธีการจัดงบประมาณของเราที่ไม่สอดคล้องกับข้อเสนอนี้ เช่น นโยบายเรียนฟรีแบบทั่วถึง จนถึงมัธยมปลาย แต่เป็นการเรียนฟรีที่มีคุณภาพแตกต่างกันมากในโรงเรียนห่างไกลและโรงเรียนในเมือง เราใช้ระบบงบประมาณรายหัว ทำให้โรงเรียนที่มีนักเรียนจำนวนมากได้งบประมาณสูงมาก ส่วนโรงเรียนที่มีนักเรียนจำนวนน้อยได้งบประมาณต่ำเกินกว่าจะจัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพได้ เราอาจจะคิดว่าการเท่ากันคือความเท่าเทียม แต่การเท่ากันแบบนี้ ยิ่งทำให้เกิดความเหลื่อมล้ำมากขึ้น เพราะเท่ากัน (Equality) ไม่ใช่ ความเสมอภาค (Equity) ในประเทศส่วนใหญ่ มีนโยบายการศึกษาที่ครอบคลุมไปถึงเด็กแรกเกิด เขาสนับสนุนให้ครอบครัวสามารถให้การศึกษาและจัดสรรงบประมาณกับการสร้างสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมการเรียนรู้ รวมทั้งมีนโยบายเพิ่มการมีส่วนร่วมของประชาชน OECD ได้นำเสนอแนวคิดอีกหลายเรื่องเพื่อสร้างความเสมอภาคทางการศึกษา เช่น การจัดสรรทรัพยากรเพื่อสร้างสภาพแวดล้อมในโรงเรียนที่ส่งเสริมการเรียนรู้ การเสนอโปรแกรมพิเศษสําหรับนักเรียนที่เป็นผู้อพยพ นักเรียนที่เป็นชนกลุ่มน้อย และนักเรียนในชนบท การลดความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงการศึกษาปฐมวัย นอกเหนือจากนี้แล้วยังจัด โครงการ PISA for school เพื่อช่วยพัฒนาในระดับโรงเรียน ซึ่งกองทุนเสมอภาคเพื่อการศึกษาของไทย (กสศ.) ได้เข้าร่วมโครงการและนำข้อมูลต่าง ๆ มาใช้เพื่อให้โรงเรียนมีส่วนในการลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา ช่วยสร้างโอกาสให้กับเด็ก ๆ ในโรงเรียนได้รับการศึกษาที่ดีได้อย่างเท่าเทียม ไม่ว่าจะมีฐานะแตกต่างกันอย่างไร ผลลัพธ์ของโครงการ PISA for school แสดงให้เห็นว่า ภายในโรงเรียนเดียวกันก็สามารถบรรลุถึงความเป็นเลิศทางการศึกษาและความเสมอภาคได้ นั่นคือ นักเรียนสามารถเป็นผู้ที่ประสบความสําเร็จในระดับสูงได้ ในขณะที่ผลกระทบทางฐานะครอบครัวมีผลต่อสมรรถนะของพวกเขาเพียงเล็กน้อย การวิเคราะห์ได้ชี้ให้เห็นถึงลักษณะบางอย่างที่ช่วยให้นักเรียนด้อยโอกาสประสบความสําเร็จ เช่น โรงเรียนที่มีบรรยากาศทางระเบียบวินัย (Disciplinary climate) ที่ดีกว่าจะมีความเป็นไปได้ที่นักเรียนด้อยโอกาสจะมีสมรรถนะดีกว่าโรงเรียนที่มีสภาพแวดล้อมที่วุ่นวาย การเรียนที่มีระบบระเบียบเป็นประโยชน์กับนักเรียนทุกคน โดยเฉพาะอย่างยิ่งนักเรียนที่มีความเสี่ยง ระบบระเบียบจะช่วยให้นักเรียนจะสามารถตั้งใจและจดจ่ออยู่กับบทเรียน และครูจะสามารถให้คำแนะนําที่ไม่ช้าหรือเร็วเกินไปได้ บรรยากาศ (เชิงบวก) ของโรงเรียนเป็นอีกปัจจัยที่ช่วยสนับสนุนการเรียนของนักเรียนที่ด้อยโอกาส และเรื่องที่น่าสนใจมากคือ ผลการเรียนมีความสัมพันธ์เพียงเล็กน้อยกับจํานวนทรัพยากรมนุษย์และทรัพยากรวัตถุที่มีอยู่ในโรงเรียนของพวกเขา ถึงเวลาที่เราต้องกล้าเปลี่ยนแปลงหลายเรื่อง ถ้าเราเห็นความสำคัญของลูกหลานและการเปลี่ยนแปลงที่จะได้ผลนั้นต้องไม่ใช่คิดแบบเก่า ทำแบบเดิม แต่ต้องใช้ข้อมูลจริง ใช้ความรู้และความตั้งใจจริงของทุกภาคส่วนโดยมีจุดหมายร่วมกัน นั่นคืออนาคตของประเทศ อ.วิริยะ ฤาชัยพาณิชย์ EZ Webmaster Related Posts ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง Post navigation PREVIOUS Previous post: มมส บายศรีสู่ขวัญน้องใหม่ ผูกข้อต่อแขนรับขวัญ สืบสานวัฒนธรรมอันดีงามNEXT Next post: PISA ลดการกลั่นแกล้งในโรงเรียนได้อย่างไร ? Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่…
รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่…
คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster July 11, 2022 EZ Webmaster July 11, 2022 PISA ช่วยลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาได้อย่างไร ? ในรอบ 10 ปีมานี้ เราต่างพูดถึงเรื่องของความเหลื่อมล้ำกันมากขึ้นทุกวัน อาจเป็นเพราะสินทรัพย์ของคนไทยมากกว่า 77% ไปกระจุกตัวอยู่กับคนรวยที่สุด ซึ่งเป็นคนเพียง 10% ของประชากรทั้งหมด และเราก็กลายเป็นประเทศที่มีความเหลื่อมล้ำมากที่สุดในโลก เรียกกันง่าย ๆ ว่า ‘รวยกระจุก จนกระจาย’ ปัญหานี้ไม่ได้เป็นเฉพาะในประเทศไทย แต่เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคมทุนนิยมทั่วโลกที่ใช้ระบบเศรษฐกิจเสรี อาจเป็นเพราะระบบเศรษฐกิจแบบนี้ ช่วยให้คนที่มีเงินมากหาเงินง่าย ในขณะที่คนส่วนใหญ่ซึ่งมีรายได้น้อยจะหาทางที่จะเพิ่มรายได้ยากขึ้นเรื่อย ๆ ผมเชื่อว่า ถ้าเราวัดความเหลื่อมล้ำด้านการศึกษาในประเทศไทย เราคงมี ความเหลื่อมล้ำด้านการศึกษา สูงระดับโลกเช่นกัน โอกาสของกลุ่มคนรายได้น้อยจะเข้าเรียนในโรงเรียนดี ๆ ได้ยากมาก นิสิต นักศึกษาในมหาวิทยาลัยชั้นนำของประเทศส่วนใหญ่ก็เป็นกลุ่มรายได้สูง เราคงเคยได้ยินเรื่องของ การสอบ PISA ซึ่งเป็นโครงการที่จัดทำโดย องค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (Organisation for Economic Co-operation and Development หรือ OECD) และมีประเทศต่าง ๆ เข้าร่วมโครงการนี้จำนวนมาก ทั้งประเทศที่เป็นสมาชิกและไม่ได้เป็นสมาชิก โครงการนี้ ไม่ใช่เพียงแค่การสอบเพื่อวัดคุณภาพการจัดการศึกษาของนานาชาติ แต่ยังมีการวิจัยเพื่อช่วยลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาอีกด้วย การสอบ PISA เป็นการประเมินเด็กอายุ 15 ปีว่า มีความรู้ มีทักษะที่จะสามารถใช้ชีวิตและทำงานในอนาคตได้ดีเพียงใด งานวิจัยของ OECD ผ่านข้อสอบ PISA ชี้ชัดว่า แม้การศึกษาที่มีคุณภาพนั้นจำเป็นต้องมีทรัพยากรที่เพียงพอ แต่ประเทศกำลังพัฒนาซึ่งมีทรัพยากรน้อยก็สามารถทำให้นักเรียนมีผลการเรียนดีได้ และมีความเป็นเลิศทางการศึกษาได้ โดยไม่จำเป็นต้องเกิดจากการใช้จ่ายที่สูงเสมอไป เรื่องนี้สำคัญมากต่อประเทศไทยที่มีความเหลื่อมล้ำสูงระดับโลก เพราะถ้าเราสร้างการศึกษาที่มีดี และมีความตั้งใจในการกระจายโอกาส นั่นคือ การสร้างความเสมอภาคทางการศึกษา ซึ่งจะช่วยให้นักเรียนที่ด้อยโอกาส สามารถเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพได้ เราก็จะลดความเหลื่อมล้ำได้มาก เพราะสำหรับเด็กด้อยโอกาสเหล่านี้ การเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ นั่นคือ ทางเดียวของเขาที่จะยกระดับรายได้ ชีวิตความเป็นอยู่และฐานะของครอบครัว กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) ได้ร่วมมือกับองค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (Organisation for Economic Co-operation and Development หรือ OECD) เพื่อหาข้อมูลความรู้ นำมาสู่การนำเสนอนโยบาย แนวทางจัดการ เพื่อให้นักเรียนทุกคนได้มีโอกาสเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ ไม่ว่าเขาจะยากจน ด้อยโอกาส หรืออยู่ห่างไกล ถ้าเรามีนโยบายที่ดี มีการจัดสรรงบประมาณที่เหมาะสม ทั้งในระดับกระทรวงและโรงเรียน เราก็จะสามารถช่วยกันลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาอย่างเป็นรูปธรรมในประเทศไทย ข้อค้นพบของโครงการ คือ การที่นักเรียนมีสมรรถนะต่ำนั้น ไม่ได้เป็นผลมาจากปัจจัยเสี่ยงอันใดอันหนึ่งเพียงอย่างเดียว แต่เกิดจากการสะสมของอุปสรรคและการด้อยโอกาสที่ส่งผลกระทบต่อพวกเขาตลอดชีวิต การวัดสมรรถนะของเด็กอายุ 15 นั้น คือตัวชี้ว่า เขาได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพเพียงใด และการศึกษาที่ได้รับไม่ได้เป็นเพียงแค่ระบบของโรงเรียน แต่มันหมายถึงครอบครัวและสังคมอีกด้วย เด็กที่ครอบครัวยากจนมักจะได้รับการศึกษาที่ด้อยคุณภาพและเด็กที่อยู่ในครอบครัวยากจนก็จะมีปัจจัยเสี่ยงมากกว่าเด็กทั่วไป นั่นคือ ภูมิหลังของนักเรียนจะส่งผลกระทบต่อนักเรียนทุกคน ผลการศึกษาในกลุ่มประเทศใน OECD พบว่า โรงเรียนที่นักเรียนมีสมรรถนะตํ่าจํานวนมาก มักจะเป็นโรงเรียนที่มีทรัพยากรทางการศึกษาน้อยกว่าและขาดแคลนครูมากกว่า นักเรียนที่มีสมรรถนะตํ่ามักจะมีความพยายาม แรงจูงใจ และความมั่นใจน้อยกว่านักเรียนที่มีสมรรถนะดีกว่า และนักเรียนที่มีสมรรถนะตํ่ามักจะการขาดเรียนมากกว่าอีกด้วย ดังนั้น แค่เพียงการสนับสนุนของครู และการให้กำลังใจจากครูและโรงเรียน จะช่วยให้เด็กมีสมรรถนะสูงขึ้น ซึ่งก็เป็นการช่วยสร้างความเสมอภาคซึ่งครูทำได้ จากรายงานการวิจัยของ OECD ผ่านข้อสอบ PISA ได้เสนอว่า ผู้กําหนดนโยบายควรกำหนดให้การจัดการปัญหาที่นักเรียนมีสมรรถนะตํ่า (ซึ่งในประเทศไทย มีจำนวนนักเรียนที่มีสมรรถนะต่ำเป็นจำนวนมาก) ให้เป็นนโยบายที่มีความสําคัญอันดับต้น ๆ ประเทศที่มีการกระจายทรัพยากรทางการศึกษาที่ดี คือมีความเสมอภาคมากกว่า จะช่วยแก้ปัญหาที่นักเรียนมีสมรรถนะต่ำลดลง การสอบ PISA แสดงให้เห็นว่า การลงทุนในการศึกษาปฐมวัยทําให้เกิดผลตอบแทนที่ค่อนข้างสูง ในทางตรงกันข้ามการลงทุนในตอนที่นักเรียนตามคนอื่นไม่ทันแล้ว มักมีต้นทุนในการดําเนินการสูงกว่าและมีประสิทธิภาพตํ่ากว่า แม้ว่าการพัฒนาทักษะจะสามารถทําได้ในทุกช่วงอายุก็ตาม ข้อมูลที่ได้จากการสอบ PISA แสดงให้เห็นว่า ครอบครัวที่มีรายได้สูงมักลงทุนในการศึกษาโดยการซื้อหนังสือ ส่งลูกเข้าศูนย์พัฒนาเด็กปฐมวัยที่มีคุณภาพสูง มีกิจกรรมการเรียนรู้ที่เข้มข้น และการสอนพิเศษแบบตัวต่อตัวเมื่อจําเป็น ในขณะเดียวกัน ครอบครัวรายได้ตํ่า ผู้ปกครองไม่มีความสามารถในการเลี้ยงดูและสนับสนุนความต้องการของเด็ก อีกทั้งประสบการณ์ความยากจนในช่วงวัยเด็กและวัยรุ่นตอนต้นมักจะส่งผลให้ทักษะด้านสติปัญญา (cognitive) พัฒนาได้ช้ากว่าและมีสุขภาพที่แย่กว่า นั่นคือเหตุผลที่ทําให้ความเสมอภาคทางการศึกษาเป็นหัวใจสําคัญของการสร้างโอกาสในการเติบโตอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม เด็กควรได้รับโอกาสที่จะพัฒนาตนเองด้วยการศึกษาที่ดี จากการจัดสรรทรัพยากรให้มีประสิทธิภาพ ซึ่งจะส่งผลทางสังคมคือ นักเรียนที่ยากจนจะมีโอกาสใช้ความตั้งใจ ความพยายามในการเรียน และประสบความสำเร็จได้ แม้จะมีพื้นฐานรอบครัวที่ยากจน การศึกษาที่ดีไม่ใช่มีไว้แค่สำหรับผู้ที่มีฐานะร่ำรวย เราอาจต้องทบทวนวิธีการจัดงบประมาณของเราที่ไม่สอดคล้องกับข้อเสนอนี้ เช่น นโยบายเรียนฟรีแบบทั่วถึง จนถึงมัธยมปลาย แต่เป็นการเรียนฟรีที่มีคุณภาพแตกต่างกันมากในโรงเรียนห่างไกลและโรงเรียนในเมือง เราใช้ระบบงบประมาณรายหัว ทำให้โรงเรียนที่มีนักเรียนจำนวนมากได้งบประมาณสูงมาก ส่วนโรงเรียนที่มีนักเรียนจำนวนน้อยได้งบประมาณต่ำเกินกว่าจะจัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพได้ เราอาจจะคิดว่าการเท่ากันคือความเท่าเทียม แต่การเท่ากันแบบนี้ ยิ่งทำให้เกิดความเหลื่อมล้ำมากขึ้น เพราะเท่ากัน (Equality) ไม่ใช่ ความเสมอภาค (Equity) ในประเทศส่วนใหญ่ มีนโยบายการศึกษาที่ครอบคลุมไปถึงเด็กแรกเกิด เขาสนับสนุนให้ครอบครัวสามารถให้การศึกษาและจัดสรรงบประมาณกับการสร้างสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมการเรียนรู้ รวมทั้งมีนโยบายเพิ่มการมีส่วนร่วมของประชาชน OECD ได้นำเสนอแนวคิดอีกหลายเรื่องเพื่อสร้างความเสมอภาคทางการศึกษา เช่น การจัดสรรทรัพยากรเพื่อสร้างสภาพแวดล้อมในโรงเรียนที่ส่งเสริมการเรียนรู้ การเสนอโปรแกรมพิเศษสําหรับนักเรียนที่เป็นผู้อพยพ นักเรียนที่เป็นชนกลุ่มน้อย และนักเรียนในชนบท การลดความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงการศึกษาปฐมวัย นอกเหนือจากนี้แล้วยังจัด โครงการ PISA for school เพื่อช่วยพัฒนาในระดับโรงเรียน ซึ่งกองทุนเสมอภาคเพื่อการศึกษาของไทย (กสศ.) ได้เข้าร่วมโครงการและนำข้อมูลต่าง ๆ มาใช้เพื่อให้โรงเรียนมีส่วนในการลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา ช่วยสร้างโอกาสให้กับเด็ก ๆ ในโรงเรียนได้รับการศึกษาที่ดีได้อย่างเท่าเทียม ไม่ว่าจะมีฐานะแตกต่างกันอย่างไร ผลลัพธ์ของโครงการ PISA for school แสดงให้เห็นว่า ภายในโรงเรียนเดียวกันก็สามารถบรรลุถึงความเป็นเลิศทางการศึกษาและความเสมอภาคได้ นั่นคือ นักเรียนสามารถเป็นผู้ที่ประสบความสําเร็จในระดับสูงได้ ในขณะที่ผลกระทบทางฐานะครอบครัวมีผลต่อสมรรถนะของพวกเขาเพียงเล็กน้อย การวิเคราะห์ได้ชี้ให้เห็นถึงลักษณะบางอย่างที่ช่วยให้นักเรียนด้อยโอกาสประสบความสําเร็จ เช่น โรงเรียนที่มีบรรยากาศทางระเบียบวินัย (Disciplinary climate) ที่ดีกว่าจะมีความเป็นไปได้ที่นักเรียนด้อยโอกาสจะมีสมรรถนะดีกว่าโรงเรียนที่มีสภาพแวดล้อมที่วุ่นวาย การเรียนที่มีระบบระเบียบเป็นประโยชน์กับนักเรียนทุกคน โดยเฉพาะอย่างยิ่งนักเรียนที่มีความเสี่ยง ระบบระเบียบจะช่วยให้นักเรียนจะสามารถตั้งใจและจดจ่ออยู่กับบทเรียน และครูจะสามารถให้คำแนะนําที่ไม่ช้าหรือเร็วเกินไปได้ บรรยากาศ (เชิงบวก) ของโรงเรียนเป็นอีกปัจจัยที่ช่วยสนับสนุนการเรียนของนักเรียนที่ด้อยโอกาส และเรื่องที่น่าสนใจมากคือ ผลการเรียนมีความสัมพันธ์เพียงเล็กน้อยกับจํานวนทรัพยากรมนุษย์และทรัพยากรวัตถุที่มีอยู่ในโรงเรียนของพวกเขา ถึงเวลาที่เราต้องกล้าเปลี่ยนแปลงหลายเรื่อง ถ้าเราเห็นความสำคัญของลูกหลานและการเปลี่ยนแปลงที่จะได้ผลนั้นต้องไม่ใช่คิดแบบเก่า ทำแบบเดิม แต่ต้องใช้ข้อมูลจริง ใช้ความรู้และความตั้งใจจริงของทุกภาคส่วนโดยมีจุดหมายร่วมกัน นั่นคืออนาคตของประเทศ อ.วิริยะ ฤาชัยพาณิชย์ EZ Webmaster Related Posts ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง Post navigation PREVIOUS Previous post: มมส บายศรีสู่ขวัญน้องใหม่ ผูกข้อต่อแขนรับขวัญ สืบสานวัฒนธรรมอันดีงามNEXT Next post: PISA ลดการกลั่นแกล้งในโรงเรียนได้อย่างไร ? Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster July 11, 2022 EZ Webmaster July 11, 2022 PISA ช่วยลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาได้อย่างไร ? ในรอบ 10 ปีมานี้ เราต่างพูดถึงเรื่องของความเหลื่อมล้ำกันมากขึ้นทุกวัน อาจเป็นเพราะสินทรัพย์ของคนไทยมากกว่า 77% ไปกระจุกตัวอยู่กับคนรวยที่สุด ซึ่งเป็นคนเพียง 10% ของประชากรทั้งหมด และเราก็กลายเป็นประเทศที่มีความเหลื่อมล้ำมากที่สุดในโลก เรียกกันง่าย ๆ ว่า ‘รวยกระจุก จนกระจาย’ ปัญหานี้ไม่ได้เป็นเฉพาะในประเทศไทย แต่เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคมทุนนิยมทั่วโลกที่ใช้ระบบเศรษฐกิจเสรี อาจเป็นเพราะระบบเศรษฐกิจแบบนี้ ช่วยให้คนที่มีเงินมากหาเงินง่าย ในขณะที่คนส่วนใหญ่ซึ่งมีรายได้น้อยจะหาทางที่จะเพิ่มรายได้ยากขึ้นเรื่อย ๆ ผมเชื่อว่า ถ้าเราวัดความเหลื่อมล้ำด้านการศึกษาในประเทศไทย เราคงมี ความเหลื่อมล้ำด้านการศึกษา สูงระดับโลกเช่นกัน โอกาสของกลุ่มคนรายได้น้อยจะเข้าเรียนในโรงเรียนดี ๆ ได้ยากมาก นิสิต นักศึกษาในมหาวิทยาลัยชั้นนำของประเทศส่วนใหญ่ก็เป็นกลุ่มรายได้สูง เราคงเคยได้ยินเรื่องของ การสอบ PISA ซึ่งเป็นโครงการที่จัดทำโดย องค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (Organisation for Economic Co-operation and Development หรือ OECD) และมีประเทศต่าง ๆ เข้าร่วมโครงการนี้จำนวนมาก ทั้งประเทศที่เป็นสมาชิกและไม่ได้เป็นสมาชิก โครงการนี้ ไม่ใช่เพียงแค่การสอบเพื่อวัดคุณภาพการจัดการศึกษาของนานาชาติ แต่ยังมีการวิจัยเพื่อช่วยลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาอีกด้วย การสอบ PISA เป็นการประเมินเด็กอายุ 15 ปีว่า มีความรู้ มีทักษะที่จะสามารถใช้ชีวิตและทำงานในอนาคตได้ดีเพียงใด งานวิจัยของ OECD ผ่านข้อสอบ PISA ชี้ชัดว่า แม้การศึกษาที่มีคุณภาพนั้นจำเป็นต้องมีทรัพยากรที่เพียงพอ แต่ประเทศกำลังพัฒนาซึ่งมีทรัพยากรน้อยก็สามารถทำให้นักเรียนมีผลการเรียนดีได้ และมีความเป็นเลิศทางการศึกษาได้ โดยไม่จำเป็นต้องเกิดจากการใช้จ่ายที่สูงเสมอไป เรื่องนี้สำคัญมากต่อประเทศไทยที่มีความเหลื่อมล้ำสูงระดับโลก เพราะถ้าเราสร้างการศึกษาที่มีดี และมีความตั้งใจในการกระจายโอกาส นั่นคือ การสร้างความเสมอภาคทางการศึกษา ซึ่งจะช่วยให้นักเรียนที่ด้อยโอกาส สามารถเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพได้ เราก็จะลดความเหลื่อมล้ำได้มาก เพราะสำหรับเด็กด้อยโอกาสเหล่านี้ การเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ นั่นคือ ทางเดียวของเขาที่จะยกระดับรายได้ ชีวิตความเป็นอยู่และฐานะของครอบครัว กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) ได้ร่วมมือกับองค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (Organisation for Economic Co-operation and Development หรือ OECD) เพื่อหาข้อมูลความรู้ นำมาสู่การนำเสนอนโยบาย แนวทางจัดการ เพื่อให้นักเรียนทุกคนได้มีโอกาสเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ ไม่ว่าเขาจะยากจน ด้อยโอกาส หรืออยู่ห่างไกล ถ้าเรามีนโยบายที่ดี มีการจัดสรรงบประมาณที่เหมาะสม ทั้งในระดับกระทรวงและโรงเรียน เราก็จะสามารถช่วยกันลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาอย่างเป็นรูปธรรมในประเทศไทย ข้อค้นพบของโครงการ คือ การที่นักเรียนมีสมรรถนะต่ำนั้น ไม่ได้เป็นผลมาจากปัจจัยเสี่ยงอันใดอันหนึ่งเพียงอย่างเดียว แต่เกิดจากการสะสมของอุปสรรคและการด้อยโอกาสที่ส่งผลกระทบต่อพวกเขาตลอดชีวิต การวัดสมรรถนะของเด็กอายุ 15 นั้น คือตัวชี้ว่า เขาได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพเพียงใด และการศึกษาที่ได้รับไม่ได้เป็นเพียงแค่ระบบของโรงเรียน แต่มันหมายถึงครอบครัวและสังคมอีกด้วย เด็กที่ครอบครัวยากจนมักจะได้รับการศึกษาที่ด้อยคุณภาพและเด็กที่อยู่ในครอบครัวยากจนก็จะมีปัจจัยเสี่ยงมากกว่าเด็กทั่วไป นั่นคือ ภูมิหลังของนักเรียนจะส่งผลกระทบต่อนักเรียนทุกคน ผลการศึกษาในกลุ่มประเทศใน OECD พบว่า โรงเรียนที่นักเรียนมีสมรรถนะตํ่าจํานวนมาก มักจะเป็นโรงเรียนที่มีทรัพยากรทางการศึกษาน้อยกว่าและขาดแคลนครูมากกว่า นักเรียนที่มีสมรรถนะตํ่ามักจะมีความพยายาม แรงจูงใจ และความมั่นใจน้อยกว่านักเรียนที่มีสมรรถนะดีกว่า และนักเรียนที่มีสมรรถนะตํ่ามักจะการขาดเรียนมากกว่าอีกด้วย ดังนั้น แค่เพียงการสนับสนุนของครู และการให้กำลังใจจากครูและโรงเรียน จะช่วยให้เด็กมีสมรรถนะสูงขึ้น ซึ่งก็เป็นการช่วยสร้างความเสมอภาคซึ่งครูทำได้ จากรายงานการวิจัยของ OECD ผ่านข้อสอบ PISA ได้เสนอว่า ผู้กําหนดนโยบายควรกำหนดให้การจัดการปัญหาที่นักเรียนมีสมรรถนะตํ่า (ซึ่งในประเทศไทย มีจำนวนนักเรียนที่มีสมรรถนะต่ำเป็นจำนวนมาก) ให้เป็นนโยบายที่มีความสําคัญอันดับต้น ๆ ประเทศที่มีการกระจายทรัพยากรทางการศึกษาที่ดี คือมีความเสมอภาคมากกว่า จะช่วยแก้ปัญหาที่นักเรียนมีสมรรถนะต่ำลดลง การสอบ PISA แสดงให้เห็นว่า การลงทุนในการศึกษาปฐมวัยทําให้เกิดผลตอบแทนที่ค่อนข้างสูง ในทางตรงกันข้ามการลงทุนในตอนที่นักเรียนตามคนอื่นไม่ทันแล้ว มักมีต้นทุนในการดําเนินการสูงกว่าและมีประสิทธิภาพตํ่ากว่า แม้ว่าการพัฒนาทักษะจะสามารถทําได้ในทุกช่วงอายุก็ตาม ข้อมูลที่ได้จากการสอบ PISA แสดงให้เห็นว่า ครอบครัวที่มีรายได้สูงมักลงทุนในการศึกษาโดยการซื้อหนังสือ ส่งลูกเข้าศูนย์พัฒนาเด็กปฐมวัยที่มีคุณภาพสูง มีกิจกรรมการเรียนรู้ที่เข้มข้น และการสอนพิเศษแบบตัวต่อตัวเมื่อจําเป็น ในขณะเดียวกัน ครอบครัวรายได้ตํ่า ผู้ปกครองไม่มีความสามารถในการเลี้ยงดูและสนับสนุนความต้องการของเด็ก อีกทั้งประสบการณ์ความยากจนในช่วงวัยเด็กและวัยรุ่นตอนต้นมักจะส่งผลให้ทักษะด้านสติปัญญา (cognitive) พัฒนาได้ช้ากว่าและมีสุขภาพที่แย่กว่า นั่นคือเหตุผลที่ทําให้ความเสมอภาคทางการศึกษาเป็นหัวใจสําคัญของการสร้างโอกาสในการเติบโตอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม เด็กควรได้รับโอกาสที่จะพัฒนาตนเองด้วยการศึกษาที่ดี จากการจัดสรรทรัพยากรให้มีประสิทธิภาพ ซึ่งจะส่งผลทางสังคมคือ นักเรียนที่ยากจนจะมีโอกาสใช้ความตั้งใจ ความพยายามในการเรียน และประสบความสำเร็จได้ แม้จะมีพื้นฐานรอบครัวที่ยากจน การศึกษาที่ดีไม่ใช่มีไว้แค่สำหรับผู้ที่มีฐานะร่ำรวย เราอาจต้องทบทวนวิธีการจัดงบประมาณของเราที่ไม่สอดคล้องกับข้อเสนอนี้ เช่น นโยบายเรียนฟรีแบบทั่วถึง จนถึงมัธยมปลาย แต่เป็นการเรียนฟรีที่มีคุณภาพแตกต่างกันมากในโรงเรียนห่างไกลและโรงเรียนในเมือง เราใช้ระบบงบประมาณรายหัว ทำให้โรงเรียนที่มีนักเรียนจำนวนมากได้งบประมาณสูงมาก ส่วนโรงเรียนที่มีนักเรียนจำนวนน้อยได้งบประมาณต่ำเกินกว่าจะจัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพได้ เราอาจจะคิดว่าการเท่ากันคือความเท่าเทียม แต่การเท่ากันแบบนี้ ยิ่งทำให้เกิดความเหลื่อมล้ำมากขึ้น เพราะเท่ากัน (Equality) ไม่ใช่ ความเสมอภาค (Equity) ในประเทศส่วนใหญ่ มีนโยบายการศึกษาที่ครอบคลุมไปถึงเด็กแรกเกิด เขาสนับสนุนให้ครอบครัวสามารถให้การศึกษาและจัดสรรงบประมาณกับการสร้างสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมการเรียนรู้ รวมทั้งมีนโยบายเพิ่มการมีส่วนร่วมของประชาชน OECD ได้นำเสนอแนวคิดอีกหลายเรื่องเพื่อสร้างความเสมอภาคทางการศึกษา เช่น การจัดสรรทรัพยากรเพื่อสร้างสภาพแวดล้อมในโรงเรียนที่ส่งเสริมการเรียนรู้ การเสนอโปรแกรมพิเศษสําหรับนักเรียนที่เป็นผู้อพยพ นักเรียนที่เป็นชนกลุ่มน้อย และนักเรียนในชนบท การลดความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงการศึกษาปฐมวัย นอกเหนือจากนี้แล้วยังจัด โครงการ PISA for school เพื่อช่วยพัฒนาในระดับโรงเรียน ซึ่งกองทุนเสมอภาคเพื่อการศึกษาของไทย (กสศ.) ได้เข้าร่วมโครงการและนำข้อมูลต่าง ๆ มาใช้เพื่อให้โรงเรียนมีส่วนในการลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา ช่วยสร้างโอกาสให้กับเด็ก ๆ ในโรงเรียนได้รับการศึกษาที่ดีได้อย่างเท่าเทียม ไม่ว่าจะมีฐานะแตกต่างกันอย่างไร ผลลัพธ์ของโครงการ PISA for school แสดงให้เห็นว่า ภายในโรงเรียนเดียวกันก็สามารถบรรลุถึงความเป็นเลิศทางการศึกษาและความเสมอภาคได้ นั่นคือ นักเรียนสามารถเป็นผู้ที่ประสบความสําเร็จในระดับสูงได้ ในขณะที่ผลกระทบทางฐานะครอบครัวมีผลต่อสมรรถนะของพวกเขาเพียงเล็กน้อย การวิเคราะห์ได้ชี้ให้เห็นถึงลักษณะบางอย่างที่ช่วยให้นักเรียนด้อยโอกาสประสบความสําเร็จ เช่น โรงเรียนที่มีบรรยากาศทางระเบียบวินัย (Disciplinary climate) ที่ดีกว่าจะมีความเป็นไปได้ที่นักเรียนด้อยโอกาสจะมีสมรรถนะดีกว่าโรงเรียนที่มีสภาพแวดล้อมที่วุ่นวาย การเรียนที่มีระบบระเบียบเป็นประโยชน์กับนักเรียนทุกคน โดยเฉพาะอย่างยิ่งนักเรียนที่มีความเสี่ยง ระบบระเบียบจะช่วยให้นักเรียนจะสามารถตั้งใจและจดจ่ออยู่กับบทเรียน และครูจะสามารถให้คำแนะนําที่ไม่ช้าหรือเร็วเกินไปได้ บรรยากาศ (เชิงบวก) ของโรงเรียนเป็นอีกปัจจัยที่ช่วยสนับสนุนการเรียนของนักเรียนที่ด้อยโอกาส และเรื่องที่น่าสนใจมากคือ ผลการเรียนมีความสัมพันธ์เพียงเล็กน้อยกับจํานวนทรัพยากรมนุษย์และทรัพยากรวัตถุที่มีอยู่ในโรงเรียนของพวกเขา ถึงเวลาที่เราต้องกล้าเปลี่ยนแปลงหลายเรื่อง ถ้าเราเห็นความสำคัญของลูกหลานและการเปลี่ยนแปลงที่จะได้ผลนั้นต้องไม่ใช่คิดแบบเก่า ทำแบบเดิม แต่ต้องใช้ข้อมูลจริง ใช้ความรู้และความตั้งใจจริงของทุกภาคส่วนโดยมีจุดหมายร่วมกัน นั่นคืออนาคตของประเทศ อ.วิริยะ ฤาชัยพาณิชย์ EZ Webmaster Related Posts ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง Post navigation PREVIOUS Previous post: มมส บายศรีสู่ขวัญน้องใหม่ ผูกข้อต่อแขนรับขวัญ สืบสานวัฒนธรรมอันดีงามNEXT Next post: PISA ลดการกลั่นแกล้งในโรงเรียนได้อย่างไร ? Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief…
เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief…
“40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster July 11, 2022 EZ Webmaster July 11, 2022 PISA ช่วยลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาได้อย่างไร ? ในรอบ 10 ปีมานี้ เราต่างพูดถึงเรื่องของความเหลื่อมล้ำกันมากขึ้นทุกวัน อาจเป็นเพราะสินทรัพย์ของคนไทยมากกว่า 77% ไปกระจุกตัวอยู่กับคนรวยที่สุด ซึ่งเป็นคนเพียง 10% ของประชากรทั้งหมด และเราก็กลายเป็นประเทศที่มีความเหลื่อมล้ำมากที่สุดในโลก เรียกกันง่าย ๆ ว่า ‘รวยกระจุก จนกระจาย’ ปัญหานี้ไม่ได้เป็นเฉพาะในประเทศไทย แต่เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคมทุนนิยมทั่วโลกที่ใช้ระบบเศรษฐกิจเสรี อาจเป็นเพราะระบบเศรษฐกิจแบบนี้ ช่วยให้คนที่มีเงินมากหาเงินง่าย ในขณะที่คนส่วนใหญ่ซึ่งมีรายได้น้อยจะหาทางที่จะเพิ่มรายได้ยากขึ้นเรื่อย ๆ ผมเชื่อว่า ถ้าเราวัดความเหลื่อมล้ำด้านการศึกษาในประเทศไทย เราคงมี ความเหลื่อมล้ำด้านการศึกษา สูงระดับโลกเช่นกัน โอกาสของกลุ่มคนรายได้น้อยจะเข้าเรียนในโรงเรียนดี ๆ ได้ยากมาก นิสิต นักศึกษาในมหาวิทยาลัยชั้นนำของประเทศส่วนใหญ่ก็เป็นกลุ่มรายได้สูง เราคงเคยได้ยินเรื่องของ การสอบ PISA ซึ่งเป็นโครงการที่จัดทำโดย องค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (Organisation for Economic Co-operation and Development หรือ OECD) และมีประเทศต่าง ๆ เข้าร่วมโครงการนี้จำนวนมาก ทั้งประเทศที่เป็นสมาชิกและไม่ได้เป็นสมาชิก โครงการนี้ ไม่ใช่เพียงแค่การสอบเพื่อวัดคุณภาพการจัดการศึกษาของนานาชาติ แต่ยังมีการวิจัยเพื่อช่วยลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาอีกด้วย การสอบ PISA เป็นการประเมินเด็กอายุ 15 ปีว่า มีความรู้ มีทักษะที่จะสามารถใช้ชีวิตและทำงานในอนาคตได้ดีเพียงใด งานวิจัยของ OECD ผ่านข้อสอบ PISA ชี้ชัดว่า แม้การศึกษาที่มีคุณภาพนั้นจำเป็นต้องมีทรัพยากรที่เพียงพอ แต่ประเทศกำลังพัฒนาซึ่งมีทรัพยากรน้อยก็สามารถทำให้นักเรียนมีผลการเรียนดีได้ และมีความเป็นเลิศทางการศึกษาได้ โดยไม่จำเป็นต้องเกิดจากการใช้จ่ายที่สูงเสมอไป เรื่องนี้สำคัญมากต่อประเทศไทยที่มีความเหลื่อมล้ำสูงระดับโลก เพราะถ้าเราสร้างการศึกษาที่มีดี และมีความตั้งใจในการกระจายโอกาส นั่นคือ การสร้างความเสมอภาคทางการศึกษา ซึ่งจะช่วยให้นักเรียนที่ด้อยโอกาส สามารถเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพได้ เราก็จะลดความเหลื่อมล้ำได้มาก เพราะสำหรับเด็กด้อยโอกาสเหล่านี้ การเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ นั่นคือ ทางเดียวของเขาที่จะยกระดับรายได้ ชีวิตความเป็นอยู่และฐานะของครอบครัว กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) ได้ร่วมมือกับองค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (Organisation for Economic Co-operation and Development หรือ OECD) เพื่อหาข้อมูลความรู้ นำมาสู่การนำเสนอนโยบาย แนวทางจัดการ เพื่อให้นักเรียนทุกคนได้มีโอกาสเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ ไม่ว่าเขาจะยากจน ด้อยโอกาส หรืออยู่ห่างไกล ถ้าเรามีนโยบายที่ดี มีการจัดสรรงบประมาณที่เหมาะสม ทั้งในระดับกระทรวงและโรงเรียน เราก็จะสามารถช่วยกันลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาอย่างเป็นรูปธรรมในประเทศไทย ข้อค้นพบของโครงการ คือ การที่นักเรียนมีสมรรถนะต่ำนั้น ไม่ได้เป็นผลมาจากปัจจัยเสี่ยงอันใดอันหนึ่งเพียงอย่างเดียว แต่เกิดจากการสะสมของอุปสรรคและการด้อยโอกาสที่ส่งผลกระทบต่อพวกเขาตลอดชีวิต การวัดสมรรถนะของเด็กอายุ 15 นั้น คือตัวชี้ว่า เขาได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพเพียงใด และการศึกษาที่ได้รับไม่ได้เป็นเพียงแค่ระบบของโรงเรียน แต่มันหมายถึงครอบครัวและสังคมอีกด้วย เด็กที่ครอบครัวยากจนมักจะได้รับการศึกษาที่ด้อยคุณภาพและเด็กที่อยู่ในครอบครัวยากจนก็จะมีปัจจัยเสี่ยงมากกว่าเด็กทั่วไป นั่นคือ ภูมิหลังของนักเรียนจะส่งผลกระทบต่อนักเรียนทุกคน ผลการศึกษาในกลุ่มประเทศใน OECD พบว่า โรงเรียนที่นักเรียนมีสมรรถนะตํ่าจํานวนมาก มักจะเป็นโรงเรียนที่มีทรัพยากรทางการศึกษาน้อยกว่าและขาดแคลนครูมากกว่า นักเรียนที่มีสมรรถนะตํ่ามักจะมีความพยายาม แรงจูงใจ และความมั่นใจน้อยกว่านักเรียนที่มีสมรรถนะดีกว่า และนักเรียนที่มีสมรรถนะตํ่ามักจะการขาดเรียนมากกว่าอีกด้วย ดังนั้น แค่เพียงการสนับสนุนของครู และการให้กำลังใจจากครูและโรงเรียน จะช่วยให้เด็กมีสมรรถนะสูงขึ้น ซึ่งก็เป็นการช่วยสร้างความเสมอภาคซึ่งครูทำได้ จากรายงานการวิจัยของ OECD ผ่านข้อสอบ PISA ได้เสนอว่า ผู้กําหนดนโยบายควรกำหนดให้การจัดการปัญหาที่นักเรียนมีสมรรถนะตํ่า (ซึ่งในประเทศไทย มีจำนวนนักเรียนที่มีสมรรถนะต่ำเป็นจำนวนมาก) ให้เป็นนโยบายที่มีความสําคัญอันดับต้น ๆ ประเทศที่มีการกระจายทรัพยากรทางการศึกษาที่ดี คือมีความเสมอภาคมากกว่า จะช่วยแก้ปัญหาที่นักเรียนมีสมรรถนะต่ำลดลง การสอบ PISA แสดงให้เห็นว่า การลงทุนในการศึกษาปฐมวัยทําให้เกิดผลตอบแทนที่ค่อนข้างสูง ในทางตรงกันข้ามการลงทุนในตอนที่นักเรียนตามคนอื่นไม่ทันแล้ว มักมีต้นทุนในการดําเนินการสูงกว่าและมีประสิทธิภาพตํ่ากว่า แม้ว่าการพัฒนาทักษะจะสามารถทําได้ในทุกช่วงอายุก็ตาม ข้อมูลที่ได้จากการสอบ PISA แสดงให้เห็นว่า ครอบครัวที่มีรายได้สูงมักลงทุนในการศึกษาโดยการซื้อหนังสือ ส่งลูกเข้าศูนย์พัฒนาเด็กปฐมวัยที่มีคุณภาพสูง มีกิจกรรมการเรียนรู้ที่เข้มข้น และการสอนพิเศษแบบตัวต่อตัวเมื่อจําเป็น ในขณะเดียวกัน ครอบครัวรายได้ตํ่า ผู้ปกครองไม่มีความสามารถในการเลี้ยงดูและสนับสนุนความต้องการของเด็ก อีกทั้งประสบการณ์ความยากจนในช่วงวัยเด็กและวัยรุ่นตอนต้นมักจะส่งผลให้ทักษะด้านสติปัญญา (cognitive) พัฒนาได้ช้ากว่าและมีสุขภาพที่แย่กว่า นั่นคือเหตุผลที่ทําให้ความเสมอภาคทางการศึกษาเป็นหัวใจสําคัญของการสร้างโอกาสในการเติบโตอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม เด็กควรได้รับโอกาสที่จะพัฒนาตนเองด้วยการศึกษาที่ดี จากการจัดสรรทรัพยากรให้มีประสิทธิภาพ ซึ่งจะส่งผลทางสังคมคือ นักเรียนที่ยากจนจะมีโอกาสใช้ความตั้งใจ ความพยายามในการเรียน และประสบความสำเร็จได้ แม้จะมีพื้นฐานรอบครัวที่ยากจน การศึกษาที่ดีไม่ใช่มีไว้แค่สำหรับผู้ที่มีฐานะร่ำรวย เราอาจต้องทบทวนวิธีการจัดงบประมาณของเราที่ไม่สอดคล้องกับข้อเสนอนี้ เช่น นโยบายเรียนฟรีแบบทั่วถึง จนถึงมัธยมปลาย แต่เป็นการเรียนฟรีที่มีคุณภาพแตกต่างกันมากในโรงเรียนห่างไกลและโรงเรียนในเมือง เราใช้ระบบงบประมาณรายหัว ทำให้โรงเรียนที่มีนักเรียนจำนวนมากได้งบประมาณสูงมาก ส่วนโรงเรียนที่มีนักเรียนจำนวนน้อยได้งบประมาณต่ำเกินกว่าจะจัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพได้ เราอาจจะคิดว่าการเท่ากันคือความเท่าเทียม แต่การเท่ากันแบบนี้ ยิ่งทำให้เกิดความเหลื่อมล้ำมากขึ้น เพราะเท่ากัน (Equality) ไม่ใช่ ความเสมอภาค (Equity) ในประเทศส่วนใหญ่ มีนโยบายการศึกษาที่ครอบคลุมไปถึงเด็กแรกเกิด เขาสนับสนุนให้ครอบครัวสามารถให้การศึกษาและจัดสรรงบประมาณกับการสร้างสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมการเรียนรู้ รวมทั้งมีนโยบายเพิ่มการมีส่วนร่วมของประชาชน OECD ได้นำเสนอแนวคิดอีกหลายเรื่องเพื่อสร้างความเสมอภาคทางการศึกษา เช่น การจัดสรรทรัพยากรเพื่อสร้างสภาพแวดล้อมในโรงเรียนที่ส่งเสริมการเรียนรู้ การเสนอโปรแกรมพิเศษสําหรับนักเรียนที่เป็นผู้อพยพ นักเรียนที่เป็นชนกลุ่มน้อย และนักเรียนในชนบท การลดความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงการศึกษาปฐมวัย นอกเหนือจากนี้แล้วยังจัด โครงการ PISA for school เพื่อช่วยพัฒนาในระดับโรงเรียน ซึ่งกองทุนเสมอภาคเพื่อการศึกษาของไทย (กสศ.) ได้เข้าร่วมโครงการและนำข้อมูลต่าง ๆ มาใช้เพื่อให้โรงเรียนมีส่วนในการลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา ช่วยสร้างโอกาสให้กับเด็ก ๆ ในโรงเรียนได้รับการศึกษาที่ดีได้อย่างเท่าเทียม ไม่ว่าจะมีฐานะแตกต่างกันอย่างไร ผลลัพธ์ของโครงการ PISA for school แสดงให้เห็นว่า ภายในโรงเรียนเดียวกันก็สามารถบรรลุถึงความเป็นเลิศทางการศึกษาและความเสมอภาคได้ นั่นคือ นักเรียนสามารถเป็นผู้ที่ประสบความสําเร็จในระดับสูงได้ ในขณะที่ผลกระทบทางฐานะครอบครัวมีผลต่อสมรรถนะของพวกเขาเพียงเล็กน้อย การวิเคราะห์ได้ชี้ให้เห็นถึงลักษณะบางอย่างที่ช่วยให้นักเรียนด้อยโอกาสประสบความสําเร็จ เช่น โรงเรียนที่มีบรรยากาศทางระเบียบวินัย (Disciplinary climate) ที่ดีกว่าจะมีความเป็นไปได้ที่นักเรียนด้อยโอกาสจะมีสมรรถนะดีกว่าโรงเรียนที่มีสภาพแวดล้อมที่วุ่นวาย การเรียนที่มีระบบระเบียบเป็นประโยชน์กับนักเรียนทุกคน โดยเฉพาะอย่างยิ่งนักเรียนที่มีความเสี่ยง ระบบระเบียบจะช่วยให้นักเรียนจะสามารถตั้งใจและจดจ่ออยู่กับบทเรียน และครูจะสามารถให้คำแนะนําที่ไม่ช้าหรือเร็วเกินไปได้ บรรยากาศ (เชิงบวก) ของโรงเรียนเป็นอีกปัจจัยที่ช่วยสนับสนุนการเรียนของนักเรียนที่ด้อยโอกาส และเรื่องที่น่าสนใจมากคือ ผลการเรียนมีความสัมพันธ์เพียงเล็กน้อยกับจํานวนทรัพยากรมนุษย์และทรัพยากรวัตถุที่มีอยู่ในโรงเรียนของพวกเขา ถึงเวลาที่เราต้องกล้าเปลี่ยนแปลงหลายเรื่อง ถ้าเราเห็นความสำคัญของลูกหลานและการเปลี่ยนแปลงที่จะได้ผลนั้นต้องไม่ใช่คิดแบบเก่า ทำแบบเดิม แต่ต้องใช้ข้อมูลจริง ใช้ความรู้และความตั้งใจจริงของทุกภาคส่วนโดยมีจุดหมายร่วมกัน นั่นคืออนาคตของประเทศ อ.วิริยะ ฤาชัยพาณิชย์ EZ Webmaster Related Posts ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง Post navigation PREVIOUS Previous post: มมส บายศรีสู่ขวัญน้องใหม่ ผูกข้อต่อแขนรับขวัญ สืบสานวัฒนธรรมอันดีงามNEXT Next post: PISA ลดการกลั่นแกล้งในโรงเรียนได้อย่างไร ? Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search
ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน…
สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน…
EZ Webmaster July 11, 2022 EZ Webmaster July 11, 2022 PISA ช่วยลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาได้อย่างไร ? ในรอบ 10 ปีมานี้ เราต่างพูดถึงเรื่องของความเหลื่อมล้ำกันมากขึ้นทุกวัน อาจเป็นเพราะสินทรัพย์ของคนไทยมากกว่า 77% ไปกระจุกตัวอยู่กับคนรวยที่สุด ซึ่งเป็นคนเพียง 10% ของประชากรทั้งหมด และเราก็กลายเป็นประเทศที่มีความเหลื่อมล้ำมากที่สุดในโลก เรียกกันง่าย ๆ ว่า ‘รวยกระจุก จนกระจาย’ ปัญหานี้ไม่ได้เป็นเฉพาะในประเทศไทย แต่เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคมทุนนิยมทั่วโลกที่ใช้ระบบเศรษฐกิจเสรี อาจเป็นเพราะระบบเศรษฐกิจแบบนี้ ช่วยให้คนที่มีเงินมากหาเงินง่าย ในขณะที่คนส่วนใหญ่ซึ่งมีรายได้น้อยจะหาทางที่จะเพิ่มรายได้ยากขึ้นเรื่อย ๆ ผมเชื่อว่า ถ้าเราวัดความเหลื่อมล้ำด้านการศึกษาในประเทศไทย เราคงมี ความเหลื่อมล้ำด้านการศึกษา สูงระดับโลกเช่นกัน โอกาสของกลุ่มคนรายได้น้อยจะเข้าเรียนในโรงเรียนดี ๆ ได้ยากมาก นิสิต นักศึกษาในมหาวิทยาลัยชั้นนำของประเทศส่วนใหญ่ก็เป็นกลุ่มรายได้สูง เราคงเคยได้ยินเรื่องของ การสอบ PISA ซึ่งเป็นโครงการที่จัดทำโดย องค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (Organisation for Economic Co-operation and Development หรือ OECD) และมีประเทศต่าง ๆ เข้าร่วมโครงการนี้จำนวนมาก ทั้งประเทศที่เป็นสมาชิกและไม่ได้เป็นสมาชิก โครงการนี้ ไม่ใช่เพียงแค่การสอบเพื่อวัดคุณภาพการจัดการศึกษาของนานาชาติ แต่ยังมีการวิจัยเพื่อช่วยลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาอีกด้วย การสอบ PISA เป็นการประเมินเด็กอายุ 15 ปีว่า มีความรู้ มีทักษะที่จะสามารถใช้ชีวิตและทำงานในอนาคตได้ดีเพียงใด งานวิจัยของ OECD ผ่านข้อสอบ PISA ชี้ชัดว่า แม้การศึกษาที่มีคุณภาพนั้นจำเป็นต้องมีทรัพยากรที่เพียงพอ แต่ประเทศกำลังพัฒนาซึ่งมีทรัพยากรน้อยก็สามารถทำให้นักเรียนมีผลการเรียนดีได้ และมีความเป็นเลิศทางการศึกษาได้ โดยไม่จำเป็นต้องเกิดจากการใช้จ่ายที่สูงเสมอไป เรื่องนี้สำคัญมากต่อประเทศไทยที่มีความเหลื่อมล้ำสูงระดับโลก เพราะถ้าเราสร้างการศึกษาที่มีดี และมีความตั้งใจในการกระจายโอกาส นั่นคือ การสร้างความเสมอภาคทางการศึกษา ซึ่งจะช่วยให้นักเรียนที่ด้อยโอกาส สามารถเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพได้ เราก็จะลดความเหลื่อมล้ำได้มาก เพราะสำหรับเด็กด้อยโอกาสเหล่านี้ การเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ นั่นคือ ทางเดียวของเขาที่จะยกระดับรายได้ ชีวิตความเป็นอยู่และฐานะของครอบครัว กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) ได้ร่วมมือกับองค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (Organisation for Economic Co-operation and Development หรือ OECD) เพื่อหาข้อมูลความรู้ นำมาสู่การนำเสนอนโยบาย แนวทางจัดการ เพื่อให้นักเรียนทุกคนได้มีโอกาสเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ ไม่ว่าเขาจะยากจน ด้อยโอกาส หรืออยู่ห่างไกล ถ้าเรามีนโยบายที่ดี มีการจัดสรรงบประมาณที่เหมาะสม ทั้งในระดับกระทรวงและโรงเรียน เราก็จะสามารถช่วยกันลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาอย่างเป็นรูปธรรมในประเทศไทย ข้อค้นพบของโครงการ คือ การที่นักเรียนมีสมรรถนะต่ำนั้น ไม่ได้เป็นผลมาจากปัจจัยเสี่ยงอันใดอันหนึ่งเพียงอย่างเดียว แต่เกิดจากการสะสมของอุปสรรคและการด้อยโอกาสที่ส่งผลกระทบต่อพวกเขาตลอดชีวิต การวัดสมรรถนะของเด็กอายุ 15 นั้น คือตัวชี้ว่า เขาได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพเพียงใด และการศึกษาที่ได้รับไม่ได้เป็นเพียงแค่ระบบของโรงเรียน แต่มันหมายถึงครอบครัวและสังคมอีกด้วย เด็กที่ครอบครัวยากจนมักจะได้รับการศึกษาที่ด้อยคุณภาพและเด็กที่อยู่ในครอบครัวยากจนก็จะมีปัจจัยเสี่ยงมากกว่าเด็กทั่วไป นั่นคือ ภูมิหลังของนักเรียนจะส่งผลกระทบต่อนักเรียนทุกคน ผลการศึกษาในกลุ่มประเทศใน OECD พบว่า โรงเรียนที่นักเรียนมีสมรรถนะตํ่าจํานวนมาก มักจะเป็นโรงเรียนที่มีทรัพยากรทางการศึกษาน้อยกว่าและขาดแคลนครูมากกว่า นักเรียนที่มีสมรรถนะตํ่ามักจะมีความพยายาม แรงจูงใจ และความมั่นใจน้อยกว่านักเรียนที่มีสมรรถนะดีกว่า และนักเรียนที่มีสมรรถนะตํ่ามักจะการขาดเรียนมากกว่าอีกด้วย ดังนั้น แค่เพียงการสนับสนุนของครู และการให้กำลังใจจากครูและโรงเรียน จะช่วยให้เด็กมีสมรรถนะสูงขึ้น ซึ่งก็เป็นการช่วยสร้างความเสมอภาคซึ่งครูทำได้ จากรายงานการวิจัยของ OECD ผ่านข้อสอบ PISA ได้เสนอว่า ผู้กําหนดนโยบายควรกำหนดให้การจัดการปัญหาที่นักเรียนมีสมรรถนะตํ่า (ซึ่งในประเทศไทย มีจำนวนนักเรียนที่มีสมรรถนะต่ำเป็นจำนวนมาก) ให้เป็นนโยบายที่มีความสําคัญอันดับต้น ๆ ประเทศที่มีการกระจายทรัพยากรทางการศึกษาที่ดี คือมีความเสมอภาคมากกว่า จะช่วยแก้ปัญหาที่นักเรียนมีสมรรถนะต่ำลดลง การสอบ PISA แสดงให้เห็นว่า การลงทุนในการศึกษาปฐมวัยทําให้เกิดผลตอบแทนที่ค่อนข้างสูง ในทางตรงกันข้ามการลงทุนในตอนที่นักเรียนตามคนอื่นไม่ทันแล้ว มักมีต้นทุนในการดําเนินการสูงกว่าและมีประสิทธิภาพตํ่ากว่า แม้ว่าการพัฒนาทักษะจะสามารถทําได้ในทุกช่วงอายุก็ตาม ข้อมูลที่ได้จากการสอบ PISA แสดงให้เห็นว่า ครอบครัวที่มีรายได้สูงมักลงทุนในการศึกษาโดยการซื้อหนังสือ ส่งลูกเข้าศูนย์พัฒนาเด็กปฐมวัยที่มีคุณภาพสูง มีกิจกรรมการเรียนรู้ที่เข้มข้น และการสอนพิเศษแบบตัวต่อตัวเมื่อจําเป็น ในขณะเดียวกัน ครอบครัวรายได้ตํ่า ผู้ปกครองไม่มีความสามารถในการเลี้ยงดูและสนับสนุนความต้องการของเด็ก อีกทั้งประสบการณ์ความยากจนในช่วงวัยเด็กและวัยรุ่นตอนต้นมักจะส่งผลให้ทักษะด้านสติปัญญา (cognitive) พัฒนาได้ช้ากว่าและมีสุขภาพที่แย่กว่า นั่นคือเหตุผลที่ทําให้ความเสมอภาคทางการศึกษาเป็นหัวใจสําคัญของการสร้างโอกาสในการเติบโตอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม เด็กควรได้รับโอกาสที่จะพัฒนาตนเองด้วยการศึกษาที่ดี จากการจัดสรรทรัพยากรให้มีประสิทธิภาพ ซึ่งจะส่งผลทางสังคมคือ นักเรียนที่ยากจนจะมีโอกาสใช้ความตั้งใจ ความพยายามในการเรียน และประสบความสำเร็จได้ แม้จะมีพื้นฐานรอบครัวที่ยากจน การศึกษาที่ดีไม่ใช่มีไว้แค่สำหรับผู้ที่มีฐานะร่ำรวย เราอาจต้องทบทวนวิธีการจัดงบประมาณของเราที่ไม่สอดคล้องกับข้อเสนอนี้ เช่น นโยบายเรียนฟรีแบบทั่วถึง จนถึงมัธยมปลาย แต่เป็นการเรียนฟรีที่มีคุณภาพแตกต่างกันมากในโรงเรียนห่างไกลและโรงเรียนในเมือง เราใช้ระบบงบประมาณรายหัว ทำให้โรงเรียนที่มีนักเรียนจำนวนมากได้งบประมาณสูงมาก ส่วนโรงเรียนที่มีนักเรียนจำนวนน้อยได้งบประมาณต่ำเกินกว่าจะจัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพได้ เราอาจจะคิดว่าการเท่ากันคือความเท่าเทียม แต่การเท่ากันแบบนี้ ยิ่งทำให้เกิดความเหลื่อมล้ำมากขึ้น เพราะเท่ากัน (Equality) ไม่ใช่ ความเสมอภาค (Equity) ในประเทศส่วนใหญ่ มีนโยบายการศึกษาที่ครอบคลุมไปถึงเด็กแรกเกิด เขาสนับสนุนให้ครอบครัวสามารถให้การศึกษาและจัดสรรงบประมาณกับการสร้างสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมการเรียนรู้ รวมทั้งมีนโยบายเพิ่มการมีส่วนร่วมของประชาชน OECD ได้นำเสนอแนวคิดอีกหลายเรื่องเพื่อสร้างความเสมอภาคทางการศึกษา เช่น การจัดสรรทรัพยากรเพื่อสร้างสภาพแวดล้อมในโรงเรียนที่ส่งเสริมการเรียนรู้ การเสนอโปรแกรมพิเศษสําหรับนักเรียนที่เป็นผู้อพยพ นักเรียนที่เป็นชนกลุ่มน้อย และนักเรียนในชนบท การลดความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงการศึกษาปฐมวัย นอกเหนือจากนี้แล้วยังจัด โครงการ PISA for school เพื่อช่วยพัฒนาในระดับโรงเรียน ซึ่งกองทุนเสมอภาคเพื่อการศึกษาของไทย (กสศ.) ได้เข้าร่วมโครงการและนำข้อมูลต่าง ๆ มาใช้เพื่อให้โรงเรียนมีส่วนในการลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา ช่วยสร้างโอกาสให้กับเด็ก ๆ ในโรงเรียนได้รับการศึกษาที่ดีได้อย่างเท่าเทียม ไม่ว่าจะมีฐานะแตกต่างกันอย่างไร ผลลัพธ์ของโครงการ PISA for school แสดงให้เห็นว่า ภายในโรงเรียนเดียวกันก็สามารถบรรลุถึงความเป็นเลิศทางการศึกษาและความเสมอภาคได้ นั่นคือ นักเรียนสามารถเป็นผู้ที่ประสบความสําเร็จในระดับสูงได้ ในขณะที่ผลกระทบทางฐานะครอบครัวมีผลต่อสมรรถนะของพวกเขาเพียงเล็กน้อย การวิเคราะห์ได้ชี้ให้เห็นถึงลักษณะบางอย่างที่ช่วยให้นักเรียนด้อยโอกาสประสบความสําเร็จ เช่น โรงเรียนที่มีบรรยากาศทางระเบียบวินัย (Disciplinary climate) ที่ดีกว่าจะมีความเป็นไปได้ที่นักเรียนด้อยโอกาสจะมีสมรรถนะดีกว่าโรงเรียนที่มีสภาพแวดล้อมที่วุ่นวาย การเรียนที่มีระบบระเบียบเป็นประโยชน์กับนักเรียนทุกคน โดยเฉพาะอย่างยิ่งนักเรียนที่มีความเสี่ยง ระบบระเบียบจะช่วยให้นักเรียนจะสามารถตั้งใจและจดจ่ออยู่กับบทเรียน และครูจะสามารถให้คำแนะนําที่ไม่ช้าหรือเร็วเกินไปได้ บรรยากาศ (เชิงบวก) ของโรงเรียนเป็นอีกปัจจัยที่ช่วยสนับสนุนการเรียนของนักเรียนที่ด้อยโอกาส และเรื่องที่น่าสนใจมากคือ ผลการเรียนมีความสัมพันธ์เพียงเล็กน้อยกับจํานวนทรัพยากรมนุษย์และทรัพยากรวัตถุที่มีอยู่ในโรงเรียนของพวกเขา ถึงเวลาที่เราต้องกล้าเปลี่ยนแปลงหลายเรื่อง ถ้าเราเห็นความสำคัญของลูกหลานและการเปลี่ยนแปลงที่จะได้ผลนั้นต้องไม่ใช่คิดแบบเก่า ทำแบบเดิม แต่ต้องใช้ข้อมูลจริง ใช้ความรู้และความตั้งใจจริงของทุกภาคส่วนโดยมีจุดหมายร่วมกัน นั่นคืออนาคตของประเทศ อ.วิริยะ ฤาชัยพาณิชย์