โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย EZ WebmasterJune 17, 2025 กิจกรรมนี้มีแต่รอยยิ้มและความอบอุ่น ยิ่งทำยิ่งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย จ.เชียงใหม่ วันที่16/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า (ครูแอน)… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนแม่ริมวิทยาคม EZ WebmasterJune 17, 2025 สร้างความสุข สร้างความทรงจำดีๆ ให้เด็กๆ ทุกคน โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนแม่ริมวิทยาคม จ.เชียงใหม่ วันที่16/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสุรธรรมพิทักษ์ EZ WebmasterJune 17, 2025 วันนี้มีรอยยิ้ม เสียงหัวเราะ และความสนุกมาเต็มเปี่ยม! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนสุรธรรมพิทักษ์ จ.นครราชสีมา วันที่16/06/68 โดยวิทยากรอ.ธารา อิสสระ (พี่แฮนด์… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเชียงรายวิทยาคม EZ WebmasterJune 17, 2025 เรียนรู้ เล่นให้สนุก แล้วความรู้จะตามมา! ณ โรงเรียนเชียงรายวิทยาคม สนุกสนานกับโครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนเชียงรายวิทยาคม จ.เชียงรายวันที่16/06/68 โดยวิทยากร :… นักศึกษา “จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” EZ WebmasterJune 17, 2025 ในนามของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผมขอส่งความห่วงใยมายังพวกเราทุกคนที่กำลังใช้ชีวิตและศึกษาอยู่ในสหรัฐฯ โดยเฉพาะในช่วงเวลาที่มีความไม่แน่นอนเกี่ยวกับนโยบายวีซ่าที่อาจส่งผลต่อสิทธิในการศึกษา เมื่อไม่นานนี้ ผมและผู้บริหารจุฬาฯ มีโอกาสได้ไปเยือน Harvard และ MIT และได้พบกับนักศึกษาชาวไทยหลายคน ทุกคนต่างมีความมุ่งมั่น ตั้งใจ และอดทนในการใฝ่หาความรู้ เพื่อนำมาพัฒนาตนเอง สังคม และประเทศชาติ แม้จะอยู่ท่ามกลางความกังวลใจต่ออนาคตที่ยังไม่ชัดเจน ผมอยากบอกว่าพวกเราที่จุฬาฯ… คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… ทุนดีดี 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster April 20, 2022 EZ Webmaster April 20, 2022 ใบปริญญายังจำเป็นหรือไม่ในยุคปัจจุบัน? ใบปริญญายังจำเป็นหรือไม่ในยุคปัจจุบัน? ใบปริญญาหรือใบสำคัญแสดงการจบการศึกษาจากสถาบันต่างๆนั้นถูกให้ค่ามาตั้งแต่ยุคก่อนๆ ว่าเป็นใบเบิกทางที่การันตีความประสบความสำเร็จในชีวิตได้ และยังเชื่อกันว่าการมีใบปริญญายังสามารถชี้วัดความรู้ความสามารถของคนนั้นๆได้อีกด้วย ซึ่งในปัจจุบันนี้ ความสำคัญของ“ใบปริญญา” กลายเป็นข้อถกเถียงและมีผู้แสดงความคิดเห็นอย่างหลากหลายถึงประเด็นที่ว่า ใบปริญญาไม่สามารถใช้เป็นหลักประกันรายได้และความมั่นคงในชีวิตได้จริงหรือ? วันนี้ Eduzones จะมาทำการสรุปผลสำรวจความคิดเห็นจากโพสต์ “ยุคนี้ใบปริญญาไม่สามารถใช้เป็นหลักประกันรายได้และความมั่นคงให้ชีวิตได้อีกแล้ว” ทางเฟสบุ๊กแฟนเพจ Eduzones โดยเริ่มเก็บข้อมูลภายในวันที่ 20 เมษายน 2565 มีผู้คนเข้ามาแสดงความคิดเห็นมากมายหลายเสียงด้วยกัน โดยความเห็นแตกต่างกันเป็นจำนวน 3 กลุ่มใหญ่ๆ ดังนี้ ความคิดเห็นอันดับที่ 1 ยังเห็นว่าใบปริญญานั้นจำเป็นและมีผลอย่างมากในยุคนี้ โดยส่วนใหญ่ให้เหตุผลว่าใบปริญญาสำคัญมากเพราะเป็นคุณสมบัติที่บริษัทในประเทศไทยพิจารณาเป็นอย่างต้นๆในการรับสมัครพนักงาน เพราะมองว่าการมีงานทำสะท้อนให้เห็นถึงความมั่นคงในชีวิต “ประเทศนี้ยึดติดกับวุฒิการศึกษา เพราะฉะนั้นใบปริญญาจึงสำคัญมาก” “ถ้าจะสมัครงานจะต้องใช้ใบปริญญาในการสมัครงานก่อนเป็นอย่างแรก ถึงจะมีงานทำ” “ใบผ่านทางใบแรกก็คือใบปริญญา” “ใบปริญญาเป็นตัวกำหนดฐานเงินเดือนเเละใบเบิกทางเข้าบริษัทชั้นนำที่มีสวัสดิการดีๆ ” “ไปสมัครงานที่ไหนก็ต้องยื่น” “ที่มีอาชีพทำอยู่ทุกวันนี้ก็ใบปริญญา ประสบการณ์ที่ได้รับระหว่างรอใบปริญญามันให้พื้นฐานในการดำเนินชีวิตอย่างดี แต่ต้องเป็นปริญญาที่ตั้งใจทำด้วยตัวเองจริง ๆ ” ความคิดเห็นอันดับที่ 2 ยังคิดว่าใบปริญญามีความสำคัญแค่สำหรับคนที่ต้องการใช้เพื่อทำงานเฉพาะในแต่ละด้าน หากไม่ได้มีความคิดจะทำงานตามบริษัทหรือทำงานเฉพาะด้านที่จำเป็นต้องมีใบรับรองการศึกษาในด้านนั้นๆ ใบปริญญาก็ไม่สำคัญเสมอไป สามารถใช้ชีวิตอยู่และปรับตัวให้มีความสุขได้ “อยู่ที่ว่าคุณจะเลือกเติบโตสายไหน ถ้าเป็นร้านค้า งานค้าขาย หรือธุรกิจต่อจากทางบ้านใบปริญญาอาจไม่ใช่สิ่งจำเป็น แต่งานบางสายที่ปริญญาไม่สำคัญตอนรับทำงาน แต่เมื่อถึงเวลานึงวุฒิการศึกษาจะเป็นตัวตัดสินตำแหน่งการเลื่อนขั้น แม้กระทั่งงานช่างที่หลายคนว่าไม่ต้องใช้ บางทีก็ใช้เพื่อเลื่อนตำแหน่งที่สูงขึ้นในการทำงาน แต่ใบปริญญาก็ไม่ได้การันตีว่าจะมีชีวิตมั่นคง แต่มีไว้เพื่อเป็นใบเบิกทาง สู่ความก้าวหน้าในสายงานได้” “ปริญญาทุกใบมีคุณค่ามีความศักสิทธิ์ สังเกตได้จากที่ผู้เรียน เรียนแล้วมีความสุขและสามารถนำไปใช้ได้จริง” “เรียนเพื่อนเป็นรากฐานของอาชีพ ไม่ว่าจะจบอะไรมาก็แล้วแต่ ความรู้ที่เรียนมาถ้าเอามาปรับใช้ย่อมเกิดประโยชน์เสมอ” “จะเรียนหรือไม่เรียนก็ไม่ได้การันตีความสำเร็จอะไรทั้งนั้น มันอยู่ที่ตัวบุคคล” ความคิดเห็นอันดับที่ 3 มีความเชื่อว่าในยุคนี้ใบปริญญาไม่สามารถใช้เป็นหลักประกันความมั่นคงในชีวิตได้โดยให้เหตุผลดังนี้ “ใช่ ผู้ใหญ่โกหกเด็กมาตลอด เรียนเยอะไม่ได้บอกว่าจะรวย” “จบป.ตรี เงินเดือน 7,000 บาท” “มีเรื่องอำนาจเข้ามาเกี่ยวข้อง ไม่ได้จบปริญญาก็มีรายได้ที่มั่นคงได้” และนอกเหนือจากนี้ยังมีความคิดเห็นที่สะท้อนให้เห็นในแง่มุมที่ว่า สังคมไทยยังมีการใช้ใบปริญญาเพื่อวัดค่าของคนอยู่ ซึ่งอาจปลูกฝังมาจากครอบครัว หรือชุดความคิดที่ส่งต่อกันมารุ่นสู่รุ่น ซึ่งอาจไม่ได้มองว่าใบปริญญาจะใช้เป็นหลักประกันความมั่นคงในชีวิตได้ แต่ต้องการจะมีไว้เพื่อเป็นหน้าเป็นตาให้ครอบครัว และใช้เพียงเพื่อยกระดับฐานะทางสังคมของตัวเอง ด้านดร. วิริยะ ฤๅชัยพาณิชย์ นักวิชาการอิสระและในฐานะผู้ก่อตั้ง Eduzones ได้แสดงมุมมองเกี่ยวกับเรื่องใบปริญญาไว้ว่า “เด็กที่เข้าโรงเรียน เขายิ่งเรียนมากขึ้นก็เสี่ยงมากขึ้น เพราะเรื่องที่เรียนอาจไม่มีประโยชน์อะไรในชีวิตหรือเรียนความรู้ที่ล้าหลังเกินจะใช้ประโยชน์จริงการเรียนจึงมีเป้าหมายเพียงเพื่อสอบ เรียนเพื่อให้ได้ปริญญาหลายคนต้อง กู้ กยศ.เพื่อ เรียนต่อเหมือนการปีนสูงขึ้นยิ่งเสี่ยงมากขึ้น และถ้าเด็กๆจำนวนมากคิดอย่างนี้เรียนอย่างนี้ก็จะกลายเป็นความเสี่ยงเชิงระบบ ประเทศก็อยู่ในอันตรายได้” จากการสรุปผลสำรวจเรื่อง “ยุคนี้ใบปริญญาไม่สามารถใช้เป็นหลักประกันรายได้และความมั่นคงให้ชีวิตได้อีกแล้ว” นั้นได้รับความสนใจจากชาว Eduzones เป็นอย่างมาก มีทั้งคนเห็นด้วยและไม่เห็นด้วยพร้อมแสดงเหตุผลในแนวทางความคิดที่แตกต่างกันไป สุดท้ายนี้หากว่าเพื่อนๆ มีความคิดเห็นเพิ่มเติมเกี่ยวกับเรื่องนี้ล่ะก็ สามารถมาร่วมแชร์ความคิดเห็นกันได้ที่ Click EZ Webmaster Related Posts “จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนแม่ริมวิทยาคม โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสุรธรรมพิทักษ์ โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเชียงรายวิทยาคม Post navigation PREVIOUS Previous post: สุดเจ๋ง ! บัณฑิตคณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย เรียนจบได้งานทำทันที สวนกระแสวิกฤต โควิด 19NEXT Next post: เดินหน้าไปกว่าครึ่ง ‘มทร.ธัญบุรี’ ก้าวสู่ ม.ในกำกับรัฐ อธิการบดีชี้ใกล้ความจริง พร้อมเผยข่าวดี ติดโผ “มหาวิทยาลัยสีเขียว” ยืนอันดับ 11 ของประเทศ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนแม่ริมวิทยาคม EZ WebmasterJune 17, 2025 สร้างความสุข สร้างความทรงจำดีๆ ให้เด็กๆ ทุกคน โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนแม่ริมวิทยาคม จ.เชียงใหม่ วันที่16/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสุรธรรมพิทักษ์ EZ WebmasterJune 17, 2025 วันนี้มีรอยยิ้ม เสียงหัวเราะ และความสนุกมาเต็มเปี่ยม! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนสุรธรรมพิทักษ์ จ.นครราชสีมา วันที่16/06/68 โดยวิทยากรอ.ธารา อิสสระ (พี่แฮนด์… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเชียงรายวิทยาคม EZ WebmasterJune 17, 2025 เรียนรู้ เล่นให้สนุก แล้วความรู้จะตามมา! ณ โรงเรียนเชียงรายวิทยาคม สนุกสนานกับโครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนเชียงรายวิทยาคม จ.เชียงรายวันที่16/06/68 โดยวิทยากร :… นักศึกษา “จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” EZ WebmasterJune 17, 2025 ในนามของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผมขอส่งความห่วงใยมายังพวกเราทุกคนที่กำลังใช้ชีวิตและศึกษาอยู่ในสหรัฐฯ โดยเฉพาะในช่วงเวลาที่มีความไม่แน่นอนเกี่ยวกับนโยบายวีซ่าที่อาจส่งผลต่อสิทธิในการศึกษา เมื่อไม่นานนี้ ผมและผู้บริหารจุฬาฯ มีโอกาสได้ไปเยือน Harvard และ MIT และได้พบกับนักศึกษาชาวไทยหลายคน ทุกคนต่างมีความมุ่งมั่น ตั้งใจ และอดทนในการใฝ่หาความรู้ เพื่อนำมาพัฒนาตนเอง สังคม และประเทศชาติ แม้จะอยู่ท่ามกลางความกังวลใจต่ออนาคตที่ยังไม่ชัดเจน ผมอยากบอกว่าพวกเราที่จุฬาฯ… คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… ทุนดีดี 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster April 20, 2022 EZ Webmaster April 20, 2022 ใบปริญญายังจำเป็นหรือไม่ในยุคปัจจุบัน? ใบปริญญายังจำเป็นหรือไม่ในยุคปัจจุบัน? ใบปริญญาหรือใบสำคัญแสดงการจบการศึกษาจากสถาบันต่างๆนั้นถูกให้ค่ามาตั้งแต่ยุคก่อนๆ ว่าเป็นใบเบิกทางที่การันตีความประสบความสำเร็จในชีวิตได้ และยังเชื่อกันว่าการมีใบปริญญายังสามารถชี้วัดความรู้ความสามารถของคนนั้นๆได้อีกด้วย ซึ่งในปัจจุบันนี้ ความสำคัญของ“ใบปริญญา” กลายเป็นข้อถกเถียงและมีผู้แสดงความคิดเห็นอย่างหลากหลายถึงประเด็นที่ว่า ใบปริญญาไม่สามารถใช้เป็นหลักประกันรายได้และความมั่นคงในชีวิตได้จริงหรือ? วันนี้ Eduzones จะมาทำการสรุปผลสำรวจความคิดเห็นจากโพสต์ “ยุคนี้ใบปริญญาไม่สามารถใช้เป็นหลักประกันรายได้และความมั่นคงให้ชีวิตได้อีกแล้ว” ทางเฟสบุ๊กแฟนเพจ Eduzones โดยเริ่มเก็บข้อมูลภายในวันที่ 20 เมษายน 2565 มีผู้คนเข้ามาแสดงความคิดเห็นมากมายหลายเสียงด้วยกัน โดยความเห็นแตกต่างกันเป็นจำนวน 3 กลุ่มใหญ่ๆ ดังนี้ ความคิดเห็นอันดับที่ 1 ยังเห็นว่าใบปริญญานั้นจำเป็นและมีผลอย่างมากในยุคนี้ โดยส่วนใหญ่ให้เหตุผลว่าใบปริญญาสำคัญมากเพราะเป็นคุณสมบัติที่บริษัทในประเทศไทยพิจารณาเป็นอย่างต้นๆในการรับสมัครพนักงาน เพราะมองว่าการมีงานทำสะท้อนให้เห็นถึงความมั่นคงในชีวิต “ประเทศนี้ยึดติดกับวุฒิการศึกษา เพราะฉะนั้นใบปริญญาจึงสำคัญมาก” “ถ้าจะสมัครงานจะต้องใช้ใบปริญญาในการสมัครงานก่อนเป็นอย่างแรก ถึงจะมีงานทำ” “ใบผ่านทางใบแรกก็คือใบปริญญา” “ใบปริญญาเป็นตัวกำหนดฐานเงินเดือนเเละใบเบิกทางเข้าบริษัทชั้นนำที่มีสวัสดิการดีๆ ” “ไปสมัครงานที่ไหนก็ต้องยื่น” “ที่มีอาชีพทำอยู่ทุกวันนี้ก็ใบปริญญา ประสบการณ์ที่ได้รับระหว่างรอใบปริญญามันให้พื้นฐานในการดำเนินชีวิตอย่างดี แต่ต้องเป็นปริญญาที่ตั้งใจทำด้วยตัวเองจริง ๆ ” ความคิดเห็นอันดับที่ 2 ยังคิดว่าใบปริญญามีความสำคัญแค่สำหรับคนที่ต้องการใช้เพื่อทำงานเฉพาะในแต่ละด้าน หากไม่ได้มีความคิดจะทำงานตามบริษัทหรือทำงานเฉพาะด้านที่จำเป็นต้องมีใบรับรองการศึกษาในด้านนั้นๆ ใบปริญญาก็ไม่สำคัญเสมอไป สามารถใช้ชีวิตอยู่และปรับตัวให้มีความสุขได้ “อยู่ที่ว่าคุณจะเลือกเติบโตสายไหน ถ้าเป็นร้านค้า งานค้าขาย หรือธุรกิจต่อจากทางบ้านใบปริญญาอาจไม่ใช่สิ่งจำเป็น แต่งานบางสายที่ปริญญาไม่สำคัญตอนรับทำงาน แต่เมื่อถึงเวลานึงวุฒิการศึกษาจะเป็นตัวตัดสินตำแหน่งการเลื่อนขั้น แม้กระทั่งงานช่างที่หลายคนว่าไม่ต้องใช้ บางทีก็ใช้เพื่อเลื่อนตำแหน่งที่สูงขึ้นในการทำงาน แต่ใบปริญญาก็ไม่ได้การันตีว่าจะมีชีวิตมั่นคง แต่มีไว้เพื่อเป็นใบเบิกทาง สู่ความก้าวหน้าในสายงานได้” “ปริญญาทุกใบมีคุณค่ามีความศักสิทธิ์ สังเกตได้จากที่ผู้เรียน เรียนแล้วมีความสุขและสามารถนำไปใช้ได้จริง” “เรียนเพื่อนเป็นรากฐานของอาชีพ ไม่ว่าจะจบอะไรมาก็แล้วแต่ ความรู้ที่เรียนมาถ้าเอามาปรับใช้ย่อมเกิดประโยชน์เสมอ” “จะเรียนหรือไม่เรียนก็ไม่ได้การันตีความสำเร็จอะไรทั้งนั้น มันอยู่ที่ตัวบุคคล” ความคิดเห็นอันดับที่ 3 มีความเชื่อว่าในยุคนี้ใบปริญญาไม่สามารถใช้เป็นหลักประกันความมั่นคงในชีวิตได้โดยให้เหตุผลดังนี้ “ใช่ ผู้ใหญ่โกหกเด็กมาตลอด เรียนเยอะไม่ได้บอกว่าจะรวย” “จบป.ตรี เงินเดือน 7,000 บาท” “มีเรื่องอำนาจเข้ามาเกี่ยวข้อง ไม่ได้จบปริญญาก็มีรายได้ที่มั่นคงได้” และนอกเหนือจากนี้ยังมีความคิดเห็นที่สะท้อนให้เห็นในแง่มุมที่ว่า สังคมไทยยังมีการใช้ใบปริญญาเพื่อวัดค่าของคนอยู่ ซึ่งอาจปลูกฝังมาจากครอบครัว หรือชุดความคิดที่ส่งต่อกันมารุ่นสู่รุ่น ซึ่งอาจไม่ได้มองว่าใบปริญญาจะใช้เป็นหลักประกันความมั่นคงในชีวิตได้ แต่ต้องการจะมีไว้เพื่อเป็นหน้าเป็นตาให้ครอบครัว และใช้เพียงเพื่อยกระดับฐานะทางสังคมของตัวเอง ด้านดร. วิริยะ ฤๅชัยพาณิชย์ นักวิชาการอิสระและในฐานะผู้ก่อตั้ง Eduzones ได้แสดงมุมมองเกี่ยวกับเรื่องใบปริญญาไว้ว่า “เด็กที่เข้าโรงเรียน เขายิ่งเรียนมากขึ้นก็เสี่ยงมากขึ้น เพราะเรื่องที่เรียนอาจไม่มีประโยชน์อะไรในชีวิตหรือเรียนความรู้ที่ล้าหลังเกินจะใช้ประโยชน์จริงการเรียนจึงมีเป้าหมายเพียงเพื่อสอบ เรียนเพื่อให้ได้ปริญญาหลายคนต้อง กู้ กยศ.เพื่อ เรียนต่อเหมือนการปีนสูงขึ้นยิ่งเสี่ยงมากขึ้น และถ้าเด็กๆจำนวนมากคิดอย่างนี้เรียนอย่างนี้ก็จะกลายเป็นความเสี่ยงเชิงระบบ ประเทศก็อยู่ในอันตรายได้” จากการสรุปผลสำรวจเรื่อง “ยุคนี้ใบปริญญาไม่สามารถใช้เป็นหลักประกันรายได้และความมั่นคงให้ชีวิตได้อีกแล้ว” นั้นได้รับความสนใจจากชาว Eduzones เป็นอย่างมาก มีทั้งคนเห็นด้วยและไม่เห็นด้วยพร้อมแสดงเหตุผลในแนวทางความคิดที่แตกต่างกันไป สุดท้ายนี้หากว่าเพื่อนๆ มีความคิดเห็นเพิ่มเติมเกี่ยวกับเรื่องนี้ล่ะก็ สามารถมาร่วมแชร์ความคิดเห็นกันได้ที่ Click EZ Webmaster Related Posts “จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนแม่ริมวิทยาคม โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสุรธรรมพิทักษ์ โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเชียงรายวิทยาคม Post navigation PREVIOUS Previous post: สุดเจ๋ง ! บัณฑิตคณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย เรียนจบได้งานทำทันที สวนกระแสวิกฤต โควิด 19NEXT Next post: เดินหน้าไปกว่าครึ่ง ‘มทร.ธัญบุรี’ ก้าวสู่ ม.ในกำกับรัฐ อธิการบดีชี้ใกล้ความจริง พร้อมเผยข่าวดี ติดโผ “มหาวิทยาลัยสีเขียว” ยืนอันดับ 11 ของประเทศ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสุรธรรมพิทักษ์ EZ WebmasterJune 17, 2025 วันนี้มีรอยยิ้ม เสียงหัวเราะ และความสนุกมาเต็มเปี่ยม! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนสุรธรรมพิทักษ์ จ.นครราชสีมา วันที่16/06/68 โดยวิทยากรอ.ธารา อิสสระ (พี่แฮนด์… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเชียงรายวิทยาคม EZ WebmasterJune 17, 2025 เรียนรู้ เล่นให้สนุก แล้วความรู้จะตามมา! ณ โรงเรียนเชียงรายวิทยาคม สนุกสนานกับโครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนเชียงรายวิทยาคม จ.เชียงรายวันที่16/06/68 โดยวิทยากร :…
โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเชียงรายวิทยาคม EZ WebmasterJune 17, 2025 เรียนรู้ เล่นให้สนุก แล้วความรู้จะตามมา! ณ โรงเรียนเชียงรายวิทยาคม สนุกสนานกับโครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนเชียงรายวิทยาคม จ.เชียงรายวันที่16/06/68 โดยวิทยากร :…
“จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” EZ WebmasterJune 17, 2025 ในนามของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผมขอส่งความห่วงใยมายังพวกเราทุกคนที่กำลังใช้ชีวิตและศึกษาอยู่ในสหรัฐฯ โดยเฉพาะในช่วงเวลาที่มีความไม่แน่นอนเกี่ยวกับนโยบายวีซ่าที่อาจส่งผลต่อสิทธิในการศึกษา เมื่อไม่นานนี้ ผมและผู้บริหารจุฬาฯ มีโอกาสได้ไปเยือน Harvard และ MIT และได้พบกับนักศึกษาชาวไทยหลายคน ทุกคนต่างมีความมุ่งมั่น ตั้งใจ และอดทนในการใฝ่หาความรู้ เพื่อนำมาพัฒนาตนเอง สังคม และประเทศชาติ แม้จะอยู่ท่ามกลางความกังวลใจต่ออนาคตที่ยังไม่ชัดเจน ผมอยากบอกว่าพวกเราที่จุฬาฯ… คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… ทุนดีดี 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster April 20, 2022 EZ Webmaster April 20, 2022 ใบปริญญายังจำเป็นหรือไม่ในยุคปัจจุบัน? ใบปริญญายังจำเป็นหรือไม่ในยุคปัจจุบัน? ใบปริญญาหรือใบสำคัญแสดงการจบการศึกษาจากสถาบันต่างๆนั้นถูกให้ค่ามาตั้งแต่ยุคก่อนๆ ว่าเป็นใบเบิกทางที่การันตีความประสบความสำเร็จในชีวิตได้ และยังเชื่อกันว่าการมีใบปริญญายังสามารถชี้วัดความรู้ความสามารถของคนนั้นๆได้อีกด้วย ซึ่งในปัจจุบันนี้ ความสำคัญของ“ใบปริญญา” กลายเป็นข้อถกเถียงและมีผู้แสดงความคิดเห็นอย่างหลากหลายถึงประเด็นที่ว่า ใบปริญญาไม่สามารถใช้เป็นหลักประกันรายได้และความมั่นคงในชีวิตได้จริงหรือ? วันนี้ Eduzones จะมาทำการสรุปผลสำรวจความคิดเห็นจากโพสต์ “ยุคนี้ใบปริญญาไม่สามารถใช้เป็นหลักประกันรายได้และความมั่นคงให้ชีวิตได้อีกแล้ว” ทางเฟสบุ๊กแฟนเพจ Eduzones โดยเริ่มเก็บข้อมูลภายในวันที่ 20 เมษายน 2565 มีผู้คนเข้ามาแสดงความคิดเห็นมากมายหลายเสียงด้วยกัน โดยความเห็นแตกต่างกันเป็นจำนวน 3 กลุ่มใหญ่ๆ ดังนี้ ความคิดเห็นอันดับที่ 1 ยังเห็นว่าใบปริญญานั้นจำเป็นและมีผลอย่างมากในยุคนี้ โดยส่วนใหญ่ให้เหตุผลว่าใบปริญญาสำคัญมากเพราะเป็นคุณสมบัติที่บริษัทในประเทศไทยพิจารณาเป็นอย่างต้นๆในการรับสมัครพนักงาน เพราะมองว่าการมีงานทำสะท้อนให้เห็นถึงความมั่นคงในชีวิต “ประเทศนี้ยึดติดกับวุฒิการศึกษา เพราะฉะนั้นใบปริญญาจึงสำคัญมาก” “ถ้าจะสมัครงานจะต้องใช้ใบปริญญาในการสมัครงานก่อนเป็นอย่างแรก ถึงจะมีงานทำ” “ใบผ่านทางใบแรกก็คือใบปริญญา” “ใบปริญญาเป็นตัวกำหนดฐานเงินเดือนเเละใบเบิกทางเข้าบริษัทชั้นนำที่มีสวัสดิการดีๆ ” “ไปสมัครงานที่ไหนก็ต้องยื่น” “ที่มีอาชีพทำอยู่ทุกวันนี้ก็ใบปริญญา ประสบการณ์ที่ได้รับระหว่างรอใบปริญญามันให้พื้นฐานในการดำเนินชีวิตอย่างดี แต่ต้องเป็นปริญญาที่ตั้งใจทำด้วยตัวเองจริง ๆ ” ความคิดเห็นอันดับที่ 2 ยังคิดว่าใบปริญญามีความสำคัญแค่สำหรับคนที่ต้องการใช้เพื่อทำงานเฉพาะในแต่ละด้าน หากไม่ได้มีความคิดจะทำงานตามบริษัทหรือทำงานเฉพาะด้านที่จำเป็นต้องมีใบรับรองการศึกษาในด้านนั้นๆ ใบปริญญาก็ไม่สำคัญเสมอไป สามารถใช้ชีวิตอยู่และปรับตัวให้มีความสุขได้ “อยู่ที่ว่าคุณจะเลือกเติบโตสายไหน ถ้าเป็นร้านค้า งานค้าขาย หรือธุรกิจต่อจากทางบ้านใบปริญญาอาจไม่ใช่สิ่งจำเป็น แต่งานบางสายที่ปริญญาไม่สำคัญตอนรับทำงาน แต่เมื่อถึงเวลานึงวุฒิการศึกษาจะเป็นตัวตัดสินตำแหน่งการเลื่อนขั้น แม้กระทั่งงานช่างที่หลายคนว่าไม่ต้องใช้ บางทีก็ใช้เพื่อเลื่อนตำแหน่งที่สูงขึ้นในการทำงาน แต่ใบปริญญาก็ไม่ได้การันตีว่าจะมีชีวิตมั่นคง แต่มีไว้เพื่อเป็นใบเบิกทาง สู่ความก้าวหน้าในสายงานได้” “ปริญญาทุกใบมีคุณค่ามีความศักสิทธิ์ สังเกตได้จากที่ผู้เรียน เรียนแล้วมีความสุขและสามารถนำไปใช้ได้จริง” “เรียนเพื่อนเป็นรากฐานของอาชีพ ไม่ว่าจะจบอะไรมาก็แล้วแต่ ความรู้ที่เรียนมาถ้าเอามาปรับใช้ย่อมเกิดประโยชน์เสมอ” “จะเรียนหรือไม่เรียนก็ไม่ได้การันตีความสำเร็จอะไรทั้งนั้น มันอยู่ที่ตัวบุคคล” ความคิดเห็นอันดับที่ 3 มีความเชื่อว่าในยุคนี้ใบปริญญาไม่สามารถใช้เป็นหลักประกันความมั่นคงในชีวิตได้โดยให้เหตุผลดังนี้ “ใช่ ผู้ใหญ่โกหกเด็กมาตลอด เรียนเยอะไม่ได้บอกว่าจะรวย” “จบป.ตรี เงินเดือน 7,000 บาท” “มีเรื่องอำนาจเข้ามาเกี่ยวข้อง ไม่ได้จบปริญญาก็มีรายได้ที่มั่นคงได้” และนอกเหนือจากนี้ยังมีความคิดเห็นที่สะท้อนให้เห็นในแง่มุมที่ว่า สังคมไทยยังมีการใช้ใบปริญญาเพื่อวัดค่าของคนอยู่ ซึ่งอาจปลูกฝังมาจากครอบครัว หรือชุดความคิดที่ส่งต่อกันมารุ่นสู่รุ่น ซึ่งอาจไม่ได้มองว่าใบปริญญาจะใช้เป็นหลักประกันความมั่นคงในชีวิตได้ แต่ต้องการจะมีไว้เพื่อเป็นหน้าเป็นตาให้ครอบครัว และใช้เพียงเพื่อยกระดับฐานะทางสังคมของตัวเอง ด้านดร. วิริยะ ฤๅชัยพาณิชย์ นักวิชาการอิสระและในฐานะผู้ก่อตั้ง Eduzones ได้แสดงมุมมองเกี่ยวกับเรื่องใบปริญญาไว้ว่า “เด็กที่เข้าโรงเรียน เขายิ่งเรียนมากขึ้นก็เสี่ยงมากขึ้น เพราะเรื่องที่เรียนอาจไม่มีประโยชน์อะไรในชีวิตหรือเรียนความรู้ที่ล้าหลังเกินจะใช้ประโยชน์จริงการเรียนจึงมีเป้าหมายเพียงเพื่อสอบ เรียนเพื่อให้ได้ปริญญาหลายคนต้อง กู้ กยศ.เพื่อ เรียนต่อเหมือนการปีนสูงขึ้นยิ่งเสี่ยงมากขึ้น และถ้าเด็กๆจำนวนมากคิดอย่างนี้เรียนอย่างนี้ก็จะกลายเป็นความเสี่ยงเชิงระบบ ประเทศก็อยู่ในอันตรายได้” จากการสรุปผลสำรวจเรื่อง “ยุคนี้ใบปริญญาไม่สามารถใช้เป็นหลักประกันรายได้และความมั่นคงให้ชีวิตได้อีกแล้ว” นั้นได้รับความสนใจจากชาว Eduzones เป็นอย่างมาก มีทั้งคนเห็นด้วยและไม่เห็นด้วยพร้อมแสดงเหตุผลในแนวทางความคิดที่แตกต่างกันไป สุดท้ายนี้หากว่าเพื่อนๆ มีความคิดเห็นเพิ่มเติมเกี่ยวกับเรื่องนี้ล่ะก็ สามารถมาร่วมแชร์ความคิดเห็นกันได้ที่ Click EZ Webmaster Related Posts “จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนแม่ริมวิทยาคม โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสุรธรรมพิทักษ์ โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเชียงรายวิทยาคม Post navigation PREVIOUS Previous post: สุดเจ๋ง ! บัณฑิตคณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย เรียนจบได้งานทำทันที สวนกระแสวิกฤต โควิด 19NEXT Next post: เดินหน้าไปกว่าครึ่ง ‘มทร.ธัญบุรี’ ก้าวสู่ ม.ในกำกับรัฐ อธิการบดีชี้ใกล้ความจริง พร้อมเผยข่าวดี ติดโผ “มหาวิทยาลัยสีเขียว” ยืนอันดับ 11 ของประเทศ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… ทุนดีดี 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster April 20, 2022 EZ Webmaster April 20, 2022 ใบปริญญายังจำเป็นหรือไม่ในยุคปัจจุบัน? ใบปริญญายังจำเป็นหรือไม่ในยุคปัจจุบัน? ใบปริญญาหรือใบสำคัญแสดงการจบการศึกษาจากสถาบันต่างๆนั้นถูกให้ค่ามาตั้งแต่ยุคก่อนๆ ว่าเป็นใบเบิกทางที่การันตีความประสบความสำเร็จในชีวิตได้ และยังเชื่อกันว่าการมีใบปริญญายังสามารถชี้วัดความรู้ความสามารถของคนนั้นๆได้อีกด้วย ซึ่งในปัจจุบันนี้ ความสำคัญของ“ใบปริญญา” กลายเป็นข้อถกเถียงและมีผู้แสดงความคิดเห็นอย่างหลากหลายถึงประเด็นที่ว่า ใบปริญญาไม่สามารถใช้เป็นหลักประกันรายได้และความมั่นคงในชีวิตได้จริงหรือ? วันนี้ Eduzones จะมาทำการสรุปผลสำรวจความคิดเห็นจากโพสต์ “ยุคนี้ใบปริญญาไม่สามารถใช้เป็นหลักประกันรายได้และความมั่นคงให้ชีวิตได้อีกแล้ว” ทางเฟสบุ๊กแฟนเพจ Eduzones โดยเริ่มเก็บข้อมูลภายในวันที่ 20 เมษายน 2565 มีผู้คนเข้ามาแสดงความคิดเห็นมากมายหลายเสียงด้วยกัน โดยความเห็นแตกต่างกันเป็นจำนวน 3 กลุ่มใหญ่ๆ ดังนี้ ความคิดเห็นอันดับที่ 1 ยังเห็นว่าใบปริญญานั้นจำเป็นและมีผลอย่างมากในยุคนี้ โดยส่วนใหญ่ให้เหตุผลว่าใบปริญญาสำคัญมากเพราะเป็นคุณสมบัติที่บริษัทในประเทศไทยพิจารณาเป็นอย่างต้นๆในการรับสมัครพนักงาน เพราะมองว่าการมีงานทำสะท้อนให้เห็นถึงความมั่นคงในชีวิต “ประเทศนี้ยึดติดกับวุฒิการศึกษา เพราะฉะนั้นใบปริญญาจึงสำคัญมาก” “ถ้าจะสมัครงานจะต้องใช้ใบปริญญาในการสมัครงานก่อนเป็นอย่างแรก ถึงจะมีงานทำ” “ใบผ่านทางใบแรกก็คือใบปริญญา” “ใบปริญญาเป็นตัวกำหนดฐานเงินเดือนเเละใบเบิกทางเข้าบริษัทชั้นนำที่มีสวัสดิการดีๆ ” “ไปสมัครงานที่ไหนก็ต้องยื่น” “ที่มีอาชีพทำอยู่ทุกวันนี้ก็ใบปริญญา ประสบการณ์ที่ได้รับระหว่างรอใบปริญญามันให้พื้นฐานในการดำเนินชีวิตอย่างดี แต่ต้องเป็นปริญญาที่ตั้งใจทำด้วยตัวเองจริง ๆ ” ความคิดเห็นอันดับที่ 2 ยังคิดว่าใบปริญญามีความสำคัญแค่สำหรับคนที่ต้องการใช้เพื่อทำงานเฉพาะในแต่ละด้าน หากไม่ได้มีความคิดจะทำงานตามบริษัทหรือทำงานเฉพาะด้านที่จำเป็นต้องมีใบรับรองการศึกษาในด้านนั้นๆ ใบปริญญาก็ไม่สำคัญเสมอไป สามารถใช้ชีวิตอยู่และปรับตัวให้มีความสุขได้ “อยู่ที่ว่าคุณจะเลือกเติบโตสายไหน ถ้าเป็นร้านค้า งานค้าขาย หรือธุรกิจต่อจากทางบ้านใบปริญญาอาจไม่ใช่สิ่งจำเป็น แต่งานบางสายที่ปริญญาไม่สำคัญตอนรับทำงาน แต่เมื่อถึงเวลานึงวุฒิการศึกษาจะเป็นตัวตัดสินตำแหน่งการเลื่อนขั้น แม้กระทั่งงานช่างที่หลายคนว่าไม่ต้องใช้ บางทีก็ใช้เพื่อเลื่อนตำแหน่งที่สูงขึ้นในการทำงาน แต่ใบปริญญาก็ไม่ได้การันตีว่าจะมีชีวิตมั่นคง แต่มีไว้เพื่อเป็นใบเบิกทาง สู่ความก้าวหน้าในสายงานได้” “ปริญญาทุกใบมีคุณค่ามีความศักสิทธิ์ สังเกตได้จากที่ผู้เรียน เรียนแล้วมีความสุขและสามารถนำไปใช้ได้จริง” “เรียนเพื่อนเป็นรากฐานของอาชีพ ไม่ว่าจะจบอะไรมาก็แล้วแต่ ความรู้ที่เรียนมาถ้าเอามาปรับใช้ย่อมเกิดประโยชน์เสมอ” “จะเรียนหรือไม่เรียนก็ไม่ได้การันตีความสำเร็จอะไรทั้งนั้น มันอยู่ที่ตัวบุคคล” ความคิดเห็นอันดับที่ 3 มีความเชื่อว่าในยุคนี้ใบปริญญาไม่สามารถใช้เป็นหลักประกันความมั่นคงในชีวิตได้โดยให้เหตุผลดังนี้ “ใช่ ผู้ใหญ่โกหกเด็กมาตลอด เรียนเยอะไม่ได้บอกว่าจะรวย” “จบป.ตรี เงินเดือน 7,000 บาท” “มีเรื่องอำนาจเข้ามาเกี่ยวข้อง ไม่ได้จบปริญญาก็มีรายได้ที่มั่นคงได้” และนอกเหนือจากนี้ยังมีความคิดเห็นที่สะท้อนให้เห็นในแง่มุมที่ว่า สังคมไทยยังมีการใช้ใบปริญญาเพื่อวัดค่าของคนอยู่ ซึ่งอาจปลูกฝังมาจากครอบครัว หรือชุดความคิดที่ส่งต่อกันมารุ่นสู่รุ่น ซึ่งอาจไม่ได้มองว่าใบปริญญาจะใช้เป็นหลักประกันความมั่นคงในชีวิตได้ แต่ต้องการจะมีไว้เพื่อเป็นหน้าเป็นตาให้ครอบครัว และใช้เพียงเพื่อยกระดับฐานะทางสังคมของตัวเอง ด้านดร. วิริยะ ฤๅชัยพาณิชย์ นักวิชาการอิสระและในฐานะผู้ก่อตั้ง Eduzones ได้แสดงมุมมองเกี่ยวกับเรื่องใบปริญญาไว้ว่า “เด็กที่เข้าโรงเรียน เขายิ่งเรียนมากขึ้นก็เสี่ยงมากขึ้น เพราะเรื่องที่เรียนอาจไม่มีประโยชน์อะไรในชีวิตหรือเรียนความรู้ที่ล้าหลังเกินจะใช้ประโยชน์จริงการเรียนจึงมีเป้าหมายเพียงเพื่อสอบ เรียนเพื่อให้ได้ปริญญาหลายคนต้อง กู้ กยศ.เพื่อ เรียนต่อเหมือนการปีนสูงขึ้นยิ่งเสี่ยงมากขึ้น และถ้าเด็กๆจำนวนมากคิดอย่างนี้เรียนอย่างนี้ก็จะกลายเป็นความเสี่ยงเชิงระบบ ประเทศก็อยู่ในอันตรายได้” จากการสรุปผลสำรวจเรื่อง “ยุคนี้ใบปริญญาไม่สามารถใช้เป็นหลักประกันรายได้และความมั่นคงให้ชีวิตได้อีกแล้ว” นั้นได้รับความสนใจจากชาว Eduzones เป็นอย่างมาก มีทั้งคนเห็นด้วยและไม่เห็นด้วยพร้อมแสดงเหตุผลในแนวทางความคิดที่แตกต่างกันไป สุดท้ายนี้หากว่าเพื่อนๆ มีความคิดเห็นเพิ่มเติมเกี่ยวกับเรื่องนี้ล่ะก็ สามารถมาร่วมแชร์ความคิดเห็นกันได้ที่ Click EZ Webmaster Related Posts “จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนแม่ริมวิทยาคม โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสุรธรรมพิทักษ์ โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเชียงรายวิทยาคม Post navigation PREVIOUS Previous post: สุดเจ๋ง ! บัณฑิตคณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย เรียนจบได้งานทำทันที สวนกระแสวิกฤต โควิด 19NEXT Next post: เดินหน้าไปกว่าครึ่ง ‘มทร.ธัญบุรี’ ก้าวสู่ ม.ในกำกับรัฐ อธิการบดีชี้ใกล้ความจริง พร้อมเผยข่าวดี ติดโผ “มหาวิทยาลัยสีเขียว” ยืนอันดับ 11 ของประเทศ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา…
แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา…
8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster April 20, 2022 EZ Webmaster April 20, 2022 ใบปริญญายังจำเป็นหรือไม่ในยุคปัจจุบัน? ใบปริญญายังจำเป็นหรือไม่ในยุคปัจจุบัน? ใบปริญญาหรือใบสำคัญแสดงการจบการศึกษาจากสถาบันต่างๆนั้นถูกให้ค่ามาตั้งแต่ยุคก่อนๆ ว่าเป็นใบเบิกทางที่การันตีความประสบความสำเร็จในชีวิตได้ และยังเชื่อกันว่าการมีใบปริญญายังสามารถชี้วัดความรู้ความสามารถของคนนั้นๆได้อีกด้วย ซึ่งในปัจจุบันนี้ ความสำคัญของ“ใบปริญญา” กลายเป็นข้อถกเถียงและมีผู้แสดงความคิดเห็นอย่างหลากหลายถึงประเด็นที่ว่า ใบปริญญาไม่สามารถใช้เป็นหลักประกันรายได้และความมั่นคงในชีวิตได้จริงหรือ? วันนี้ Eduzones จะมาทำการสรุปผลสำรวจความคิดเห็นจากโพสต์ “ยุคนี้ใบปริญญาไม่สามารถใช้เป็นหลักประกันรายได้และความมั่นคงให้ชีวิตได้อีกแล้ว” ทางเฟสบุ๊กแฟนเพจ Eduzones โดยเริ่มเก็บข้อมูลภายในวันที่ 20 เมษายน 2565 มีผู้คนเข้ามาแสดงความคิดเห็นมากมายหลายเสียงด้วยกัน โดยความเห็นแตกต่างกันเป็นจำนวน 3 กลุ่มใหญ่ๆ ดังนี้ ความคิดเห็นอันดับที่ 1 ยังเห็นว่าใบปริญญานั้นจำเป็นและมีผลอย่างมากในยุคนี้ โดยส่วนใหญ่ให้เหตุผลว่าใบปริญญาสำคัญมากเพราะเป็นคุณสมบัติที่บริษัทในประเทศไทยพิจารณาเป็นอย่างต้นๆในการรับสมัครพนักงาน เพราะมองว่าการมีงานทำสะท้อนให้เห็นถึงความมั่นคงในชีวิต “ประเทศนี้ยึดติดกับวุฒิการศึกษา เพราะฉะนั้นใบปริญญาจึงสำคัญมาก” “ถ้าจะสมัครงานจะต้องใช้ใบปริญญาในการสมัครงานก่อนเป็นอย่างแรก ถึงจะมีงานทำ” “ใบผ่านทางใบแรกก็คือใบปริญญา” “ใบปริญญาเป็นตัวกำหนดฐานเงินเดือนเเละใบเบิกทางเข้าบริษัทชั้นนำที่มีสวัสดิการดีๆ ” “ไปสมัครงานที่ไหนก็ต้องยื่น” “ที่มีอาชีพทำอยู่ทุกวันนี้ก็ใบปริญญา ประสบการณ์ที่ได้รับระหว่างรอใบปริญญามันให้พื้นฐานในการดำเนินชีวิตอย่างดี แต่ต้องเป็นปริญญาที่ตั้งใจทำด้วยตัวเองจริง ๆ ” ความคิดเห็นอันดับที่ 2 ยังคิดว่าใบปริญญามีความสำคัญแค่สำหรับคนที่ต้องการใช้เพื่อทำงานเฉพาะในแต่ละด้าน หากไม่ได้มีความคิดจะทำงานตามบริษัทหรือทำงานเฉพาะด้านที่จำเป็นต้องมีใบรับรองการศึกษาในด้านนั้นๆ ใบปริญญาก็ไม่สำคัญเสมอไป สามารถใช้ชีวิตอยู่และปรับตัวให้มีความสุขได้ “อยู่ที่ว่าคุณจะเลือกเติบโตสายไหน ถ้าเป็นร้านค้า งานค้าขาย หรือธุรกิจต่อจากทางบ้านใบปริญญาอาจไม่ใช่สิ่งจำเป็น แต่งานบางสายที่ปริญญาไม่สำคัญตอนรับทำงาน แต่เมื่อถึงเวลานึงวุฒิการศึกษาจะเป็นตัวตัดสินตำแหน่งการเลื่อนขั้น แม้กระทั่งงานช่างที่หลายคนว่าไม่ต้องใช้ บางทีก็ใช้เพื่อเลื่อนตำแหน่งที่สูงขึ้นในการทำงาน แต่ใบปริญญาก็ไม่ได้การันตีว่าจะมีชีวิตมั่นคง แต่มีไว้เพื่อเป็นใบเบิกทาง สู่ความก้าวหน้าในสายงานได้” “ปริญญาทุกใบมีคุณค่ามีความศักสิทธิ์ สังเกตได้จากที่ผู้เรียน เรียนแล้วมีความสุขและสามารถนำไปใช้ได้จริง” “เรียนเพื่อนเป็นรากฐานของอาชีพ ไม่ว่าจะจบอะไรมาก็แล้วแต่ ความรู้ที่เรียนมาถ้าเอามาปรับใช้ย่อมเกิดประโยชน์เสมอ” “จะเรียนหรือไม่เรียนก็ไม่ได้การันตีความสำเร็จอะไรทั้งนั้น มันอยู่ที่ตัวบุคคล” ความคิดเห็นอันดับที่ 3 มีความเชื่อว่าในยุคนี้ใบปริญญาไม่สามารถใช้เป็นหลักประกันความมั่นคงในชีวิตได้โดยให้เหตุผลดังนี้ “ใช่ ผู้ใหญ่โกหกเด็กมาตลอด เรียนเยอะไม่ได้บอกว่าจะรวย” “จบป.ตรี เงินเดือน 7,000 บาท” “มีเรื่องอำนาจเข้ามาเกี่ยวข้อง ไม่ได้จบปริญญาก็มีรายได้ที่มั่นคงได้” และนอกเหนือจากนี้ยังมีความคิดเห็นที่สะท้อนให้เห็นในแง่มุมที่ว่า สังคมไทยยังมีการใช้ใบปริญญาเพื่อวัดค่าของคนอยู่ ซึ่งอาจปลูกฝังมาจากครอบครัว หรือชุดความคิดที่ส่งต่อกันมารุ่นสู่รุ่น ซึ่งอาจไม่ได้มองว่าใบปริญญาจะใช้เป็นหลักประกันความมั่นคงในชีวิตได้ แต่ต้องการจะมีไว้เพื่อเป็นหน้าเป็นตาให้ครอบครัว และใช้เพียงเพื่อยกระดับฐานะทางสังคมของตัวเอง ด้านดร. วิริยะ ฤๅชัยพาณิชย์ นักวิชาการอิสระและในฐานะผู้ก่อตั้ง Eduzones ได้แสดงมุมมองเกี่ยวกับเรื่องใบปริญญาไว้ว่า “เด็กที่เข้าโรงเรียน เขายิ่งเรียนมากขึ้นก็เสี่ยงมากขึ้น เพราะเรื่องที่เรียนอาจไม่มีประโยชน์อะไรในชีวิตหรือเรียนความรู้ที่ล้าหลังเกินจะใช้ประโยชน์จริงการเรียนจึงมีเป้าหมายเพียงเพื่อสอบ เรียนเพื่อให้ได้ปริญญาหลายคนต้อง กู้ กยศ.เพื่อ เรียนต่อเหมือนการปีนสูงขึ้นยิ่งเสี่ยงมากขึ้น และถ้าเด็กๆจำนวนมากคิดอย่างนี้เรียนอย่างนี้ก็จะกลายเป็นความเสี่ยงเชิงระบบ ประเทศก็อยู่ในอันตรายได้” จากการสรุปผลสำรวจเรื่อง “ยุคนี้ใบปริญญาไม่สามารถใช้เป็นหลักประกันรายได้และความมั่นคงให้ชีวิตได้อีกแล้ว” นั้นได้รับความสนใจจากชาว Eduzones เป็นอย่างมาก มีทั้งคนเห็นด้วยและไม่เห็นด้วยพร้อมแสดงเหตุผลในแนวทางความคิดที่แตกต่างกันไป สุดท้ายนี้หากว่าเพื่อนๆ มีความคิดเห็นเพิ่มเติมเกี่ยวกับเรื่องนี้ล่ะก็ สามารถมาร่วมแชร์ความคิดเห็นกันได้ที่ Click EZ Webmaster Related Posts “จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนแม่ริมวิทยาคม โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสุรธรรมพิทักษ์ โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเชียงรายวิทยาคม Post navigation PREVIOUS Previous post: สุดเจ๋ง ! บัณฑิตคณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย เรียนจบได้งานทำทันที สวนกระแสวิกฤต โควิด 19NEXT Next post: เดินหน้าไปกว่าครึ่ง ‘มทร.ธัญบุรี’ ก้าวสู่ ม.ในกำกับรัฐ อธิการบดีชี้ใกล้ความจริง พร้อมเผยข่าวดี ติดโผ “มหาวิทยาลัยสีเขียว” ยืนอันดับ 11 ของประเทศ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster April 20, 2022 EZ Webmaster April 20, 2022 ใบปริญญายังจำเป็นหรือไม่ในยุคปัจจุบัน? ใบปริญญายังจำเป็นหรือไม่ในยุคปัจจุบัน? ใบปริญญาหรือใบสำคัญแสดงการจบการศึกษาจากสถาบันต่างๆนั้นถูกให้ค่ามาตั้งแต่ยุคก่อนๆ ว่าเป็นใบเบิกทางที่การันตีความประสบความสำเร็จในชีวิตได้ และยังเชื่อกันว่าการมีใบปริญญายังสามารถชี้วัดความรู้ความสามารถของคนนั้นๆได้อีกด้วย ซึ่งในปัจจุบันนี้ ความสำคัญของ“ใบปริญญา” กลายเป็นข้อถกเถียงและมีผู้แสดงความคิดเห็นอย่างหลากหลายถึงประเด็นที่ว่า ใบปริญญาไม่สามารถใช้เป็นหลักประกันรายได้และความมั่นคงในชีวิตได้จริงหรือ? วันนี้ Eduzones จะมาทำการสรุปผลสำรวจความคิดเห็นจากโพสต์ “ยุคนี้ใบปริญญาไม่สามารถใช้เป็นหลักประกันรายได้และความมั่นคงให้ชีวิตได้อีกแล้ว” ทางเฟสบุ๊กแฟนเพจ Eduzones โดยเริ่มเก็บข้อมูลภายในวันที่ 20 เมษายน 2565 มีผู้คนเข้ามาแสดงความคิดเห็นมากมายหลายเสียงด้วยกัน โดยความเห็นแตกต่างกันเป็นจำนวน 3 กลุ่มใหญ่ๆ ดังนี้ ความคิดเห็นอันดับที่ 1 ยังเห็นว่าใบปริญญานั้นจำเป็นและมีผลอย่างมากในยุคนี้ โดยส่วนใหญ่ให้เหตุผลว่าใบปริญญาสำคัญมากเพราะเป็นคุณสมบัติที่บริษัทในประเทศไทยพิจารณาเป็นอย่างต้นๆในการรับสมัครพนักงาน เพราะมองว่าการมีงานทำสะท้อนให้เห็นถึงความมั่นคงในชีวิต “ประเทศนี้ยึดติดกับวุฒิการศึกษา เพราะฉะนั้นใบปริญญาจึงสำคัญมาก” “ถ้าจะสมัครงานจะต้องใช้ใบปริญญาในการสมัครงานก่อนเป็นอย่างแรก ถึงจะมีงานทำ” “ใบผ่านทางใบแรกก็คือใบปริญญา” “ใบปริญญาเป็นตัวกำหนดฐานเงินเดือนเเละใบเบิกทางเข้าบริษัทชั้นนำที่มีสวัสดิการดีๆ ” “ไปสมัครงานที่ไหนก็ต้องยื่น” “ที่มีอาชีพทำอยู่ทุกวันนี้ก็ใบปริญญา ประสบการณ์ที่ได้รับระหว่างรอใบปริญญามันให้พื้นฐานในการดำเนินชีวิตอย่างดี แต่ต้องเป็นปริญญาที่ตั้งใจทำด้วยตัวเองจริง ๆ ” ความคิดเห็นอันดับที่ 2 ยังคิดว่าใบปริญญามีความสำคัญแค่สำหรับคนที่ต้องการใช้เพื่อทำงานเฉพาะในแต่ละด้าน หากไม่ได้มีความคิดจะทำงานตามบริษัทหรือทำงานเฉพาะด้านที่จำเป็นต้องมีใบรับรองการศึกษาในด้านนั้นๆ ใบปริญญาก็ไม่สำคัญเสมอไป สามารถใช้ชีวิตอยู่และปรับตัวให้มีความสุขได้ “อยู่ที่ว่าคุณจะเลือกเติบโตสายไหน ถ้าเป็นร้านค้า งานค้าขาย หรือธุรกิจต่อจากทางบ้านใบปริญญาอาจไม่ใช่สิ่งจำเป็น แต่งานบางสายที่ปริญญาไม่สำคัญตอนรับทำงาน แต่เมื่อถึงเวลานึงวุฒิการศึกษาจะเป็นตัวตัดสินตำแหน่งการเลื่อนขั้น แม้กระทั่งงานช่างที่หลายคนว่าไม่ต้องใช้ บางทีก็ใช้เพื่อเลื่อนตำแหน่งที่สูงขึ้นในการทำงาน แต่ใบปริญญาก็ไม่ได้การันตีว่าจะมีชีวิตมั่นคง แต่มีไว้เพื่อเป็นใบเบิกทาง สู่ความก้าวหน้าในสายงานได้” “ปริญญาทุกใบมีคุณค่ามีความศักสิทธิ์ สังเกตได้จากที่ผู้เรียน เรียนแล้วมีความสุขและสามารถนำไปใช้ได้จริง” “เรียนเพื่อนเป็นรากฐานของอาชีพ ไม่ว่าจะจบอะไรมาก็แล้วแต่ ความรู้ที่เรียนมาถ้าเอามาปรับใช้ย่อมเกิดประโยชน์เสมอ” “จะเรียนหรือไม่เรียนก็ไม่ได้การันตีความสำเร็จอะไรทั้งนั้น มันอยู่ที่ตัวบุคคล” ความคิดเห็นอันดับที่ 3 มีความเชื่อว่าในยุคนี้ใบปริญญาไม่สามารถใช้เป็นหลักประกันความมั่นคงในชีวิตได้โดยให้เหตุผลดังนี้ “ใช่ ผู้ใหญ่โกหกเด็กมาตลอด เรียนเยอะไม่ได้บอกว่าจะรวย” “จบป.ตรี เงินเดือน 7,000 บาท” “มีเรื่องอำนาจเข้ามาเกี่ยวข้อง ไม่ได้จบปริญญาก็มีรายได้ที่มั่นคงได้” และนอกเหนือจากนี้ยังมีความคิดเห็นที่สะท้อนให้เห็นในแง่มุมที่ว่า สังคมไทยยังมีการใช้ใบปริญญาเพื่อวัดค่าของคนอยู่ ซึ่งอาจปลูกฝังมาจากครอบครัว หรือชุดความคิดที่ส่งต่อกันมารุ่นสู่รุ่น ซึ่งอาจไม่ได้มองว่าใบปริญญาจะใช้เป็นหลักประกันความมั่นคงในชีวิตได้ แต่ต้องการจะมีไว้เพื่อเป็นหน้าเป็นตาให้ครอบครัว และใช้เพียงเพื่อยกระดับฐานะทางสังคมของตัวเอง ด้านดร. วิริยะ ฤๅชัยพาณิชย์ นักวิชาการอิสระและในฐานะผู้ก่อตั้ง Eduzones ได้แสดงมุมมองเกี่ยวกับเรื่องใบปริญญาไว้ว่า “เด็กที่เข้าโรงเรียน เขายิ่งเรียนมากขึ้นก็เสี่ยงมากขึ้น เพราะเรื่องที่เรียนอาจไม่มีประโยชน์อะไรในชีวิตหรือเรียนความรู้ที่ล้าหลังเกินจะใช้ประโยชน์จริงการเรียนจึงมีเป้าหมายเพียงเพื่อสอบ เรียนเพื่อให้ได้ปริญญาหลายคนต้อง กู้ กยศ.เพื่อ เรียนต่อเหมือนการปีนสูงขึ้นยิ่งเสี่ยงมากขึ้น และถ้าเด็กๆจำนวนมากคิดอย่างนี้เรียนอย่างนี้ก็จะกลายเป็นความเสี่ยงเชิงระบบ ประเทศก็อยู่ในอันตรายได้” จากการสรุปผลสำรวจเรื่อง “ยุคนี้ใบปริญญาไม่สามารถใช้เป็นหลักประกันรายได้และความมั่นคงให้ชีวิตได้อีกแล้ว” นั้นได้รับความสนใจจากชาว Eduzones เป็นอย่างมาก มีทั้งคนเห็นด้วยและไม่เห็นด้วยพร้อมแสดงเหตุผลในแนวทางความคิดที่แตกต่างกันไป สุดท้ายนี้หากว่าเพื่อนๆ มีความคิดเห็นเพิ่มเติมเกี่ยวกับเรื่องนี้ล่ะก็ สามารถมาร่วมแชร์ความคิดเห็นกันได้ที่ Click EZ Webmaster Related Posts “จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนแม่ริมวิทยาคม โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสุรธรรมพิทักษ์ โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเชียงรายวิทยาคม Post navigation PREVIOUS Previous post: สุดเจ๋ง ! บัณฑิตคณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย เรียนจบได้งานทำทันที สวนกระแสวิกฤต โควิด 19NEXT Next post: เดินหน้าไปกว่าครึ่ง ‘มทร.ธัญบุรี’ ก้าวสู่ ม.ในกำกับรัฐ อธิการบดีชี้ใกล้ความจริง พร้อมเผยข่าวดี ติดโผ “มหาวิทยาลัยสีเขียว” ยืนอันดับ 11 ของประเทศ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่…
รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่…
คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster April 20, 2022 EZ Webmaster April 20, 2022 ใบปริญญายังจำเป็นหรือไม่ในยุคปัจจุบัน? ใบปริญญายังจำเป็นหรือไม่ในยุคปัจจุบัน? ใบปริญญาหรือใบสำคัญแสดงการจบการศึกษาจากสถาบันต่างๆนั้นถูกให้ค่ามาตั้งแต่ยุคก่อนๆ ว่าเป็นใบเบิกทางที่การันตีความประสบความสำเร็จในชีวิตได้ และยังเชื่อกันว่าการมีใบปริญญายังสามารถชี้วัดความรู้ความสามารถของคนนั้นๆได้อีกด้วย ซึ่งในปัจจุบันนี้ ความสำคัญของ“ใบปริญญา” กลายเป็นข้อถกเถียงและมีผู้แสดงความคิดเห็นอย่างหลากหลายถึงประเด็นที่ว่า ใบปริญญาไม่สามารถใช้เป็นหลักประกันรายได้และความมั่นคงในชีวิตได้จริงหรือ? วันนี้ Eduzones จะมาทำการสรุปผลสำรวจความคิดเห็นจากโพสต์ “ยุคนี้ใบปริญญาไม่สามารถใช้เป็นหลักประกันรายได้และความมั่นคงให้ชีวิตได้อีกแล้ว” ทางเฟสบุ๊กแฟนเพจ Eduzones โดยเริ่มเก็บข้อมูลภายในวันที่ 20 เมษายน 2565 มีผู้คนเข้ามาแสดงความคิดเห็นมากมายหลายเสียงด้วยกัน โดยความเห็นแตกต่างกันเป็นจำนวน 3 กลุ่มใหญ่ๆ ดังนี้ ความคิดเห็นอันดับที่ 1 ยังเห็นว่าใบปริญญานั้นจำเป็นและมีผลอย่างมากในยุคนี้ โดยส่วนใหญ่ให้เหตุผลว่าใบปริญญาสำคัญมากเพราะเป็นคุณสมบัติที่บริษัทในประเทศไทยพิจารณาเป็นอย่างต้นๆในการรับสมัครพนักงาน เพราะมองว่าการมีงานทำสะท้อนให้เห็นถึงความมั่นคงในชีวิต “ประเทศนี้ยึดติดกับวุฒิการศึกษา เพราะฉะนั้นใบปริญญาจึงสำคัญมาก” “ถ้าจะสมัครงานจะต้องใช้ใบปริญญาในการสมัครงานก่อนเป็นอย่างแรก ถึงจะมีงานทำ” “ใบผ่านทางใบแรกก็คือใบปริญญา” “ใบปริญญาเป็นตัวกำหนดฐานเงินเดือนเเละใบเบิกทางเข้าบริษัทชั้นนำที่มีสวัสดิการดีๆ ” “ไปสมัครงานที่ไหนก็ต้องยื่น” “ที่มีอาชีพทำอยู่ทุกวันนี้ก็ใบปริญญา ประสบการณ์ที่ได้รับระหว่างรอใบปริญญามันให้พื้นฐานในการดำเนินชีวิตอย่างดี แต่ต้องเป็นปริญญาที่ตั้งใจทำด้วยตัวเองจริง ๆ ” ความคิดเห็นอันดับที่ 2 ยังคิดว่าใบปริญญามีความสำคัญแค่สำหรับคนที่ต้องการใช้เพื่อทำงานเฉพาะในแต่ละด้าน หากไม่ได้มีความคิดจะทำงานตามบริษัทหรือทำงานเฉพาะด้านที่จำเป็นต้องมีใบรับรองการศึกษาในด้านนั้นๆ ใบปริญญาก็ไม่สำคัญเสมอไป สามารถใช้ชีวิตอยู่และปรับตัวให้มีความสุขได้ “อยู่ที่ว่าคุณจะเลือกเติบโตสายไหน ถ้าเป็นร้านค้า งานค้าขาย หรือธุรกิจต่อจากทางบ้านใบปริญญาอาจไม่ใช่สิ่งจำเป็น แต่งานบางสายที่ปริญญาไม่สำคัญตอนรับทำงาน แต่เมื่อถึงเวลานึงวุฒิการศึกษาจะเป็นตัวตัดสินตำแหน่งการเลื่อนขั้น แม้กระทั่งงานช่างที่หลายคนว่าไม่ต้องใช้ บางทีก็ใช้เพื่อเลื่อนตำแหน่งที่สูงขึ้นในการทำงาน แต่ใบปริญญาก็ไม่ได้การันตีว่าจะมีชีวิตมั่นคง แต่มีไว้เพื่อเป็นใบเบิกทาง สู่ความก้าวหน้าในสายงานได้” “ปริญญาทุกใบมีคุณค่ามีความศักสิทธิ์ สังเกตได้จากที่ผู้เรียน เรียนแล้วมีความสุขและสามารถนำไปใช้ได้จริง” “เรียนเพื่อนเป็นรากฐานของอาชีพ ไม่ว่าจะจบอะไรมาก็แล้วแต่ ความรู้ที่เรียนมาถ้าเอามาปรับใช้ย่อมเกิดประโยชน์เสมอ” “จะเรียนหรือไม่เรียนก็ไม่ได้การันตีความสำเร็จอะไรทั้งนั้น มันอยู่ที่ตัวบุคคล” ความคิดเห็นอันดับที่ 3 มีความเชื่อว่าในยุคนี้ใบปริญญาไม่สามารถใช้เป็นหลักประกันความมั่นคงในชีวิตได้โดยให้เหตุผลดังนี้ “ใช่ ผู้ใหญ่โกหกเด็กมาตลอด เรียนเยอะไม่ได้บอกว่าจะรวย” “จบป.ตรี เงินเดือน 7,000 บาท” “มีเรื่องอำนาจเข้ามาเกี่ยวข้อง ไม่ได้จบปริญญาก็มีรายได้ที่มั่นคงได้” และนอกเหนือจากนี้ยังมีความคิดเห็นที่สะท้อนให้เห็นในแง่มุมที่ว่า สังคมไทยยังมีการใช้ใบปริญญาเพื่อวัดค่าของคนอยู่ ซึ่งอาจปลูกฝังมาจากครอบครัว หรือชุดความคิดที่ส่งต่อกันมารุ่นสู่รุ่น ซึ่งอาจไม่ได้มองว่าใบปริญญาจะใช้เป็นหลักประกันความมั่นคงในชีวิตได้ แต่ต้องการจะมีไว้เพื่อเป็นหน้าเป็นตาให้ครอบครัว และใช้เพียงเพื่อยกระดับฐานะทางสังคมของตัวเอง ด้านดร. วิริยะ ฤๅชัยพาณิชย์ นักวิชาการอิสระและในฐานะผู้ก่อตั้ง Eduzones ได้แสดงมุมมองเกี่ยวกับเรื่องใบปริญญาไว้ว่า “เด็กที่เข้าโรงเรียน เขายิ่งเรียนมากขึ้นก็เสี่ยงมากขึ้น เพราะเรื่องที่เรียนอาจไม่มีประโยชน์อะไรในชีวิตหรือเรียนความรู้ที่ล้าหลังเกินจะใช้ประโยชน์จริงการเรียนจึงมีเป้าหมายเพียงเพื่อสอบ เรียนเพื่อให้ได้ปริญญาหลายคนต้อง กู้ กยศ.เพื่อ เรียนต่อเหมือนการปีนสูงขึ้นยิ่งเสี่ยงมากขึ้น และถ้าเด็กๆจำนวนมากคิดอย่างนี้เรียนอย่างนี้ก็จะกลายเป็นความเสี่ยงเชิงระบบ ประเทศก็อยู่ในอันตรายได้” จากการสรุปผลสำรวจเรื่อง “ยุคนี้ใบปริญญาไม่สามารถใช้เป็นหลักประกันรายได้และความมั่นคงให้ชีวิตได้อีกแล้ว” นั้นได้รับความสนใจจากชาว Eduzones เป็นอย่างมาก มีทั้งคนเห็นด้วยและไม่เห็นด้วยพร้อมแสดงเหตุผลในแนวทางความคิดที่แตกต่างกันไป สุดท้ายนี้หากว่าเพื่อนๆ มีความคิดเห็นเพิ่มเติมเกี่ยวกับเรื่องนี้ล่ะก็ สามารถมาร่วมแชร์ความคิดเห็นกันได้ที่ Click EZ Webmaster Related Posts “จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนแม่ริมวิทยาคม โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสุรธรรมพิทักษ์ โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเชียงรายวิทยาคม Post navigation PREVIOUS Previous post: สุดเจ๋ง ! บัณฑิตคณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย เรียนจบได้งานทำทันที สวนกระแสวิกฤต โควิด 19NEXT Next post: เดินหน้าไปกว่าครึ่ง ‘มทร.ธัญบุรี’ ก้าวสู่ ม.ในกำกับรัฐ อธิการบดีชี้ใกล้ความจริง พร้อมเผยข่าวดี ติดโผ “มหาวิทยาลัยสีเขียว” ยืนอันดับ 11 ของประเทศ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster April 20, 2022 EZ Webmaster April 20, 2022 ใบปริญญายังจำเป็นหรือไม่ในยุคปัจจุบัน? ใบปริญญายังจำเป็นหรือไม่ในยุคปัจจุบัน? ใบปริญญาหรือใบสำคัญแสดงการจบการศึกษาจากสถาบันต่างๆนั้นถูกให้ค่ามาตั้งแต่ยุคก่อนๆ ว่าเป็นใบเบิกทางที่การันตีความประสบความสำเร็จในชีวิตได้ และยังเชื่อกันว่าการมีใบปริญญายังสามารถชี้วัดความรู้ความสามารถของคนนั้นๆได้อีกด้วย ซึ่งในปัจจุบันนี้ ความสำคัญของ“ใบปริญญา” กลายเป็นข้อถกเถียงและมีผู้แสดงความคิดเห็นอย่างหลากหลายถึงประเด็นที่ว่า ใบปริญญาไม่สามารถใช้เป็นหลักประกันรายได้และความมั่นคงในชีวิตได้จริงหรือ? วันนี้ Eduzones จะมาทำการสรุปผลสำรวจความคิดเห็นจากโพสต์ “ยุคนี้ใบปริญญาไม่สามารถใช้เป็นหลักประกันรายได้และความมั่นคงให้ชีวิตได้อีกแล้ว” ทางเฟสบุ๊กแฟนเพจ Eduzones โดยเริ่มเก็บข้อมูลภายในวันที่ 20 เมษายน 2565 มีผู้คนเข้ามาแสดงความคิดเห็นมากมายหลายเสียงด้วยกัน โดยความเห็นแตกต่างกันเป็นจำนวน 3 กลุ่มใหญ่ๆ ดังนี้ ความคิดเห็นอันดับที่ 1 ยังเห็นว่าใบปริญญานั้นจำเป็นและมีผลอย่างมากในยุคนี้ โดยส่วนใหญ่ให้เหตุผลว่าใบปริญญาสำคัญมากเพราะเป็นคุณสมบัติที่บริษัทในประเทศไทยพิจารณาเป็นอย่างต้นๆในการรับสมัครพนักงาน เพราะมองว่าการมีงานทำสะท้อนให้เห็นถึงความมั่นคงในชีวิต “ประเทศนี้ยึดติดกับวุฒิการศึกษา เพราะฉะนั้นใบปริญญาจึงสำคัญมาก” “ถ้าจะสมัครงานจะต้องใช้ใบปริญญาในการสมัครงานก่อนเป็นอย่างแรก ถึงจะมีงานทำ” “ใบผ่านทางใบแรกก็คือใบปริญญา” “ใบปริญญาเป็นตัวกำหนดฐานเงินเดือนเเละใบเบิกทางเข้าบริษัทชั้นนำที่มีสวัสดิการดีๆ ” “ไปสมัครงานที่ไหนก็ต้องยื่น” “ที่มีอาชีพทำอยู่ทุกวันนี้ก็ใบปริญญา ประสบการณ์ที่ได้รับระหว่างรอใบปริญญามันให้พื้นฐานในการดำเนินชีวิตอย่างดี แต่ต้องเป็นปริญญาที่ตั้งใจทำด้วยตัวเองจริง ๆ ” ความคิดเห็นอันดับที่ 2 ยังคิดว่าใบปริญญามีความสำคัญแค่สำหรับคนที่ต้องการใช้เพื่อทำงานเฉพาะในแต่ละด้าน หากไม่ได้มีความคิดจะทำงานตามบริษัทหรือทำงานเฉพาะด้านที่จำเป็นต้องมีใบรับรองการศึกษาในด้านนั้นๆ ใบปริญญาก็ไม่สำคัญเสมอไป สามารถใช้ชีวิตอยู่และปรับตัวให้มีความสุขได้ “อยู่ที่ว่าคุณจะเลือกเติบโตสายไหน ถ้าเป็นร้านค้า งานค้าขาย หรือธุรกิจต่อจากทางบ้านใบปริญญาอาจไม่ใช่สิ่งจำเป็น แต่งานบางสายที่ปริญญาไม่สำคัญตอนรับทำงาน แต่เมื่อถึงเวลานึงวุฒิการศึกษาจะเป็นตัวตัดสินตำแหน่งการเลื่อนขั้น แม้กระทั่งงานช่างที่หลายคนว่าไม่ต้องใช้ บางทีก็ใช้เพื่อเลื่อนตำแหน่งที่สูงขึ้นในการทำงาน แต่ใบปริญญาก็ไม่ได้การันตีว่าจะมีชีวิตมั่นคง แต่มีไว้เพื่อเป็นใบเบิกทาง สู่ความก้าวหน้าในสายงานได้” “ปริญญาทุกใบมีคุณค่ามีความศักสิทธิ์ สังเกตได้จากที่ผู้เรียน เรียนแล้วมีความสุขและสามารถนำไปใช้ได้จริง” “เรียนเพื่อนเป็นรากฐานของอาชีพ ไม่ว่าจะจบอะไรมาก็แล้วแต่ ความรู้ที่เรียนมาถ้าเอามาปรับใช้ย่อมเกิดประโยชน์เสมอ” “จะเรียนหรือไม่เรียนก็ไม่ได้การันตีความสำเร็จอะไรทั้งนั้น มันอยู่ที่ตัวบุคคล” ความคิดเห็นอันดับที่ 3 มีความเชื่อว่าในยุคนี้ใบปริญญาไม่สามารถใช้เป็นหลักประกันความมั่นคงในชีวิตได้โดยให้เหตุผลดังนี้ “ใช่ ผู้ใหญ่โกหกเด็กมาตลอด เรียนเยอะไม่ได้บอกว่าจะรวย” “จบป.ตรี เงินเดือน 7,000 บาท” “มีเรื่องอำนาจเข้ามาเกี่ยวข้อง ไม่ได้จบปริญญาก็มีรายได้ที่มั่นคงได้” และนอกเหนือจากนี้ยังมีความคิดเห็นที่สะท้อนให้เห็นในแง่มุมที่ว่า สังคมไทยยังมีการใช้ใบปริญญาเพื่อวัดค่าของคนอยู่ ซึ่งอาจปลูกฝังมาจากครอบครัว หรือชุดความคิดที่ส่งต่อกันมารุ่นสู่รุ่น ซึ่งอาจไม่ได้มองว่าใบปริญญาจะใช้เป็นหลักประกันความมั่นคงในชีวิตได้ แต่ต้องการจะมีไว้เพื่อเป็นหน้าเป็นตาให้ครอบครัว และใช้เพียงเพื่อยกระดับฐานะทางสังคมของตัวเอง ด้านดร. วิริยะ ฤๅชัยพาณิชย์ นักวิชาการอิสระและในฐานะผู้ก่อตั้ง Eduzones ได้แสดงมุมมองเกี่ยวกับเรื่องใบปริญญาไว้ว่า “เด็กที่เข้าโรงเรียน เขายิ่งเรียนมากขึ้นก็เสี่ยงมากขึ้น เพราะเรื่องที่เรียนอาจไม่มีประโยชน์อะไรในชีวิตหรือเรียนความรู้ที่ล้าหลังเกินจะใช้ประโยชน์จริงการเรียนจึงมีเป้าหมายเพียงเพื่อสอบ เรียนเพื่อให้ได้ปริญญาหลายคนต้อง กู้ กยศ.เพื่อ เรียนต่อเหมือนการปีนสูงขึ้นยิ่งเสี่ยงมากขึ้น และถ้าเด็กๆจำนวนมากคิดอย่างนี้เรียนอย่างนี้ก็จะกลายเป็นความเสี่ยงเชิงระบบ ประเทศก็อยู่ในอันตรายได้” จากการสรุปผลสำรวจเรื่อง “ยุคนี้ใบปริญญาไม่สามารถใช้เป็นหลักประกันรายได้และความมั่นคงให้ชีวิตได้อีกแล้ว” นั้นได้รับความสนใจจากชาว Eduzones เป็นอย่างมาก มีทั้งคนเห็นด้วยและไม่เห็นด้วยพร้อมแสดงเหตุผลในแนวทางความคิดที่แตกต่างกันไป สุดท้ายนี้หากว่าเพื่อนๆ มีความคิดเห็นเพิ่มเติมเกี่ยวกับเรื่องนี้ล่ะก็ สามารถมาร่วมแชร์ความคิดเห็นกันได้ที่ Click EZ Webmaster Related Posts “จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนแม่ริมวิทยาคม โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสุรธรรมพิทักษ์ โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเชียงรายวิทยาคม Post navigation PREVIOUS Previous post: สุดเจ๋ง ! บัณฑิตคณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย เรียนจบได้งานทำทันที สวนกระแสวิกฤต โควิด 19NEXT Next post: เดินหน้าไปกว่าครึ่ง ‘มทร.ธัญบุรี’ ก้าวสู่ ม.ในกำกับรัฐ อธิการบดีชี้ใกล้ความจริง พร้อมเผยข่าวดี ติดโผ “มหาวิทยาลัยสีเขียว” ยืนอันดับ 11 ของประเทศ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief…
เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief…
“40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster April 20, 2022 EZ Webmaster April 20, 2022 ใบปริญญายังจำเป็นหรือไม่ในยุคปัจจุบัน? ใบปริญญายังจำเป็นหรือไม่ในยุคปัจจุบัน? ใบปริญญาหรือใบสำคัญแสดงการจบการศึกษาจากสถาบันต่างๆนั้นถูกให้ค่ามาตั้งแต่ยุคก่อนๆ ว่าเป็นใบเบิกทางที่การันตีความประสบความสำเร็จในชีวิตได้ และยังเชื่อกันว่าการมีใบปริญญายังสามารถชี้วัดความรู้ความสามารถของคนนั้นๆได้อีกด้วย ซึ่งในปัจจุบันนี้ ความสำคัญของ“ใบปริญญา” กลายเป็นข้อถกเถียงและมีผู้แสดงความคิดเห็นอย่างหลากหลายถึงประเด็นที่ว่า ใบปริญญาไม่สามารถใช้เป็นหลักประกันรายได้และความมั่นคงในชีวิตได้จริงหรือ? วันนี้ Eduzones จะมาทำการสรุปผลสำรวจความคิดเห็นจากโพสต์ “ยุคนี้ใบปริญญาไม่สามารถใช้เป็นหลักประกันรายได้และความมั่นคงให้ชีวิตได้อีกแล้ว” ทางเฟสบุ๊กแฟนเพจ Eduzones โดยเริ่มเก็บข้อมูลภายในวันที่ 20 เมษายน 2565 มีผู้คนเข้ามาแสดงความคิดเห็นมากมายหลายเสียงด้วยกัน โดยความเห็นแตกต่างกันเป็นจำนวน 3 กลุ่มใหญ่ๆ ดังนี้ ความคิดเห็นอันดับที่ 1 ยังเห็นว่าใบปริญญานั้นจำเป็นและมีผลอย่างมากในยุคนี้ โดยส่วนใหญ่ให้เหตุผลว่าใบปริญญาสำคัญมากเพราะเป็นคุณสมบัติที่บริษัทในประเทศไทยพิจารณาเป็นอย่างต้นๆในการรับสมัครพนักงาน เพราะมองว่าการมีงานทำสะท้อนให้เห็นถึงความมั่นคงในชีวิต “ประเทศนี้ยึดติดกับวุฒิการศึกษา เพราะฉะนั้นใบปริญญาจึงสำคัญมาก” “ถ้าจะสมัครงานจะต้องใช้ใบปริญญาในการสมัครงานก่อนเป็นอย่างแรก ถึงจะมีงานทำ” “ใบผ่านทางใบแรกก็คือใบปริญญา” “ใบปริญญาเป็นตัวกำหนดฐานเงินเดือนเเละใบเบิกทางเข้าบริษัทชั้นนำที่มีสวัสดิการดีๆ ” “ไปสมัครงานที่ไหนก็ต้องยื่น” “ที่มีอาชีพทำอยู่ทุกวันนี้ก็ใบปริญญา ประสบการณ์ที่ได้รับระหว่างรอใบปริญญามันให้พื้นฐานในการดำเนินชีวิตอย่างดี แต่ต้องเป็นปริญญาที่ตั้งใจทำด้วยตัวเองจริง ๆ ” ความคิดเห็นอันดับที่ 2 ยังคิดว่าใบปริญญามีความสำคัญแค่สำหรับคนที่ต้องการใช้เพื่อทำงานเฉพาะในแต่ละด้าน หากไม่ได้มีความคิดจะทำงานตามบริษัทหรือทำงานเฉพาะด้านที่จำเป็นต้องมีใบรับรองการศึกษาในด้านนั้นๆ ใบปริญญาก็ไม่สำคัญเสมอไป สามารถใช้ชีวิตอยู่และปรับตัวให้มีความสุขได้ “อยู่ที่ว่าคุณจะเลือกเติบโตสายไหน ถ้าเป็นร้านค้า งานค้าขาย หรือธุรกิจต่อจากทางบ้านใบปริญญาอาจไม่ใช่สิ่งจำเป็น แต่งานบางสายที่ปริญญาไม่สำคัญตอนรับทำงาน แต่เมื่อถึงเวลานึงวุฒิการศึกษาจะเป็นตัวตัดสินตำแหน่งการเลื่อนขั้น แม้กระทั่งงานช่างที่หลายคนว่าไม่ต้องใช้ บางทีก็ใช้เพื่อเลื่อนตำแหน่งที่สูงขึ้นในการทำงาน แต่ใบปริญญาก็ไม่ได้การันตีว่าจะมีชีวิตมั่นคง แต่มีไว้เพื่อเป็นใบเบิกทาง สู่ความก้าวหน้าในสายงานได้” “ปริญญาทุกใบมีคุณค่ามีความศักสิทธิ์ สังเกตได้จากที่ผู้เรียน เรียนแล้วมีความสุขและสามารถนำไปใช้ได้จริง” “เรียนเพื่อนเป็นรากฐานของอาชีพ ไม่ว่าจะจบอะไรมาก็แล้วแต่ ความรู้ที่เรียนมาถ้าเอามาปรับใช้ย่อมเกิดประโยชน์เสมอ” “จะเรียนหรือไม่เรียนก็ไม่ได้การันตีความสำเร็จอะไรทั้งนั้น มันอยู่ที่ตัวบุคคล” ความคิดเห็นอันดับที่ 3 มีความเชื่อว่าในยุคนี้ใบปริญญาไม่สามารถใช้เป็นหลักประกันความมั่นคงในชีวิตได้โดยให้เหตุผลดังนี้ “ใช่ ผู้ใหญ่โกหกเด็กมาตลอด เรียนเยอะไม่ได้บอกว่าจะรวย” “จบป.ตรี เงินเดือน 7,000 บาท” “มีเรื่องอำนาจเข้ามาเกี่ยวข้อง ไม่ได้จบปริญญาก็มีรายได้ที่มั่นคงได้” และนอกเหนือจากนี้ยังมีความคิดเห็นที่สะท้อนให้เห็นในแง่มุมที่ว่า สังคมไทยยังมีการใช้ใบปริญญาเพื่อวัดค่าของคนอยู่ ซึ่งอาจปลูกฝังมาจากครอบครัว หรือชุดความคิดที่ส่งต่อกันมารุ่นสู่รุ่น ซึ่งอาจไม่ได้มองว่าใบปริญญาจะใช้เป็นหลักประกันความมั่นคงในชีวิตได้ แต่ต้องการจะมีไว้เพื่อเป็นหน้าเป็นตาให้ครอบครัว และใช้เพียงเพื่อยกระดับฐานะทางสังคมของตัวเอง ด้านดร. วิริยะ ฤๅชัยพาณิชย์ นักวิชาการอิสระและในฐานะผู้ก่อตั้ง Eduzones ได้แสดงมุมมองเกี่ยวกับเรื่องใบปริญญาไว้ว่า “เด็กที่เข้าโรงเรียน เขายิ่งเรียนมากขึ้นก็เสี่ยงมากขึ้น เพราะเรื่องที่เรียนอาจไม่มีประโยชน์อะไรในชีวิตหรือเรียนความรู้ที่ล้าหลังเกินจะใช้ประโยชน์จริงการเรียนจึงมีเป้าหมายเพียงเพื่อสอบ เรียนเพื่อให้ได้ปริญญาหลายคนต้อง กู้ กยศ.เพื่อ เรียนต่อเหมือนการปีนสูงขึ้นยิ่งเสี่ยงมากขึ้น และถ้าเด็กๆจำนวนมากคิดอย่างนี้เรียนอย่างนี้ก็จะกลายเป็นความเสี่ยงเชิงระบบ ประเทศก็อยู่ในอันตรายได้” จากการสรุปผลสำรวจเรื่อง “ยุคนี้ใบปริญญาไม่สามารถใช้เป็นหลักประกันรายได้และความมั่นคงให้ชีวิตได้อีกแล้ว” นั้นได้รับความสนใจจากชาว Eduzones เป็นอย่างมาก มีทั้งคนเห็นด้วยและไม่เห็นด้วยพร้อมแสดงเหตุผลในแนวทางความคิดที่แตกต่างกันไป สุดท้ายนี้หากว่าเพื่อนๆ มีความคิดเห็นเพิ่มเติมเกี่ยวกับเรื่องนี้ล่ะก็ สามารถมาร่วมแชร์ความคิดเห็นกันได้ที่ Click EZ Webmaster Related Posts “จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนแม่ริมวิทยาคม โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสุรธรรมพิทักษ์ โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเชียงรายวิทยาคม Post navigation PREVIOUS Previous post: สุดเจ๋ง ! บัณฑิตคณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย เรียนจบได้งานทำทันที สวนกระแสวิกฤต โควิด 19NEXT Next post: เดินหน้าไปกว่าครึ่ง ‘มทร.ธัญบุรี’ ก้าวสู่ ม.ในกำกับรัฐ อธิการบดีชี้ใกล้ความจริง พร้อมเผยข่าวดี ติดโผ “มหาวิทยาลัยสีเขียว” ยืนอันดับ 11 ของประเทศ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search
ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน…
สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน…
EZ Webmaster April 20, 2022 EZ Webmaster April 20, 2022 ใบปริญญายังจำเป็นหรือไม่ในยุคปัจจุบัน? ใบปริญญายังจำเป็นหรือไม่ในยุคปัจจุบัน? ใบปริญญาหรือใบสำคัญแสดงการจบการศึกษาจากสถาบันต่างๆนั้นถูกให้ค่ามาตั้งแต่ยุคก่อนๆ ว่าเป็นใบเบิกทางที่การันตีความประสบความสำเร็จในชีวิตได้ และยังเชื่อกันว่าการมีใบปริญญายังสามารถชี้วัดความรู้ความสามารถของคนนั้นๆได้อีกด้วย ซึ่งในปัจจุบันนี้ ความสำคัญของ“ใบปริญญา” กลายเป็นข้อถกเถียงและมีผู้แสดงความคิดเห็นอย่างหลากหลายถึงประเด็นที่ว่า ใบปริญญาไม่สามารถใช้เป็นหลักประกันรายได้และความมั่นคงในชีวิตได้จริงหรือ? วันนี้ Eduzones จะมาทำการสรุปผลสำรวจความคิดเห็นจากโพสต์ “ยุคนี้ใบปริญญาไม่สามารถใช้เป็นหลักประกันรายได้และความมั่นคงให้ชีวิตได้อีกแล้ว” ทางเฟสบุ๊กแฟนเพจ Eduzones โดยเริ่มเก็บข้อมูลภายในวันที่ 20 เมษายน 2565 มีผู้คนเข้ามาแสดงความคิดเห็นมากมายหลายเสียงด้วยกัน โดยความเห็นแตกต่างกันเป็นจำนวน 3 กลุ่มใหญ่ๆ ดังนี้ ความคิดเห็นอันดับที่ 1 ยังเห็นว่าใบปริญญานั้นจำเป็นและมีผลอย่างมากในยุคนี้ โดยส่วนใหญ่ให้เหตุผลว่าใบปริญญาสำคัญมากเพราะเป็นคุณสมบัติที่บริษัทในประเทศไทยพิจารณาเป็นอย่างต้นๆในการรับสมัครพนักงาน เพราะมองว่าการมีงานทำสะท้อนให้เห็นถึงความมั่นคงในชีวิต “ประเทศนี้ยึดติดกับวุฒิการศึกษา เพราะฉะนั้นใบปริญญาจึงสำคัญมาก” “ถ้าจะสมัครงานจะต้องใช้ใบปริญญาในการสมัครงานก่อนเป็นอย่างแรก ถึงจะมีงานทำ” “ใบผ่านทางใบแรกก็คือใบปริญญา” “ใบปริญญาเป็นตัวกำหนดฐานเงินเดือนเเละใบเบิกทางเข้าบริษัทชั้นนำที่มีสวัสดิการดีๆ ” “ไปสมัครงานที่ไหนก็ต้องยื่น” “ที่มีอาชีพทำอยู่ทุกวันนี้ก็ใบปริญญา ประสบการณ์ที่ได้รับระหว่างรอใบปริญญามันให้พื้นฐานในการดำเนินชีวิตอย่างดี แต่ต้องเป็นปริญญาที่ตั้งใจทำด้วยตัวเองจริง ๆ ” ความคิดเห็นอันดับที่ 2 ยังคิดว่าใบปริญญามีความสำคัญแค่สำหรับคนที่ต้องการใช้เพื่อทำงานเฉพาะในแต่ละด้าน หากไม่ได้มีความคิดจะทำงานตามบริษัทหรือทำงานเฉพาะด้านที่จำเป็นต้องมีใบรับรองการศึกษาในด้านนั้นๆ ใบปริญญาก็ไม่สำคัญเสมอไป สามารถใช้ชีวิตอยู่และปรับตัวให้มีความสุขได้ “อยู่ที่ว่าคุณจะเลือกเติบโตสายไหน ถ้าเป็นร้านค้า งานค้าขาย หรือธุรกิจต่อจากทางบ้านใบปริญญาอาจไม่ใช่สิ่งจำเป็น แต่งานบางสายที่ปริญญาไม่สำคัญตอนรับทำงาน แต่เมื่อถึงเวลานึงวุฒิการศึกษาจะเป็นตัวตัดสินตำแหน่งการเลื่อนขั้น แม้กระทั่งงานช่างที่หลายคนว่าไม่ต้องใช้ บางทีก็ใช้เพื่อเลื่อนตำแหน่งที่สูงขึ้นในการทำงาน แต่ใบปริญญาก็ไม่ได้การันตีว่าจะมีชีวิตมั่นคง แต่มีไว้เพื่อเป็นใบเบิกทาง สู่ความก้าวหน้าในสายงานได้” “ปริญญาทุกใบมีคุณค่ามีความศักสิทธิ์ สังเกตได้จากที่ผู้เรียน เรียนแล้วมีความสุขและสามารถนำไปใช้ได้จริง” “เรียนเพื่อนเป็นรากฐานของอาชีพ ไม่ว่าจะจบอะไรมาก็แล้วแต่ ความรู้ที่เรียนมาถ้าเอามาปรับใช้ย่อมเกิดประโยชน์เสมอ” “จะเรียนหรือไม่เรียนก็ไม่ได้การันตีความสำเร็จอะไรทั้งนั้น มันอยู่ที่ตัวบุคคล” ความคิดเห็นอันดับที่ 3 มีความเชื่อว่าในยุคนี้ใบปริญญาไม่สามารถใช้เป็นหลักประกันความมั่นคงในชีวิตได้โดยให้เหตุผลดังนี้ “ใช่ ผู้ใหญ่โกหกเด็กมาตลอด เรียนเยอะไม่ได้บอกว่าจะรวย” “จบป.ตรี เงินเดือน 7,000 บาท” “มีเรื่องอำนาจเข้ามาเกี่ยวข้อง ไม่ได้จบปริญญาก็มีรายได้ที่มั่นคงได้” และนอกเหนือจากนี้ยังมีความคิดเห็นที่สะท้อนให้เห็นในแง่มุมที่ว่า สังคมไทยยังมีการใช้ใบปริญญาเพื่อวัดค่าของคนอยู่ ซึ่งอาจปลูกฝังมาจากครอบครัว หรือชุดความคิดที่ส่งต่อกันมารุ่นสู่รุ่น ซึ่งอาจไม่ได้มองว่าใบปริญญาจะใช้เป็นหลักประกันความมั่นคงในชีวิตได้ แต่ต้องการจะมีไว้เพื่อเป็นหน้าเป็นตาให้ครอบครัว และใช้เพียงเพื่อยกระดับฐานะทางสังคมของตัวเอง ด้านดร. วิริยะ ฤๅชัยพาณิชย์ นักวิชาการอิสระและในฐานะผู้ก่อตั้ง Eduzones ได้แสดงมุมมองเกี่ยวกับเรื่องใบปริญญาไว้ว่า “เด็กที่เข้าโรงเรียน เขายิ่งเรียนมากขึ้นก็เสี่ยงมากขึ้น เพราะเรื่องที่เรียนอาจไม่มีประโยชน์อะไรในชีวิตหรือเรียนความรู้ที่ล้าหลังเกินจะใช้ประโยชน์จริงการเรียนจึงมีเป้าหมายเพียงเพื่อสอบ เรียนเพื่อให้ได้ปริญญาหลายคนต้อง กู้ กยศ.เพื่อ เรียนต่อเหมือนการปีนสูงขึ้นยิ่งเสี่ยงมากขึ้น และถ้าเด็กๆจำนวนมากคิดอย่างนี้เรียนอย่างนี้ก็จะกลายเป็นความเสี่ยงเชิงระบบ ประเทศก็อยู่ในอันตรายได้” จากการสรุปผลสำรวจเรื่อง “ยุคนี้ใบปริญญาไม่สามารถใช้เป็นหลักประกันรายได้และความมั่นคงให้ชีวิตได้อีกแล้ว” นั้นได้รับความสนใจจากชาว Eduzones เป็นอย่างมาก มีทั้งคนเห็นด้วยและไม่เห็นด้วยพร้อมแสดงเหตุผลในแนวทางความคิดที่แตกต่างกันไป สุดท้ายนี้หากว่าเพื่อนๆ มีความคิดเห็นเพิ่มเติมเกี่ยวกับเรื่องนี้ล่ะก็ สามารถมาร่วมแชร์ความคิดเห็นกันได้ที่ Click