ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง EZ WebmasterJune 13, 2025 วันนี้ทั้งเล่น ทั้งได้ความรู้ ทั้งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนนางรอง จ.บุรีรัมย์ วันที่13/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า… นักศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI… ทุนดีดี 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster March 17, 2021 EZ Webmaster March 17, 2021 การจัดสอบธรรมศึกษา ยังจำเป็นหรือไม่ ? “ธรรมศึกษา ยังจำเป็นต้องสอบหรือไม่ ?” สวัสดีค่ะ วันนี้ทีมงาน Eduzones มีหัวข้อที่น่าสนใจมานำเสนอ และอยากให้ทุกคนมาแสดงความคิดเห็นร่วมกัน เกี่ยวกับวิชาธรรมศึกษา ธรรมศึกษานั้นเป็นวิชาเรียนเกี่ยวกับพุทธศาสนา ในอดีตมีสำหรับภิกษุสามเณร แต่ในปัจจุบันนั้นก็ได้มีการเรียนการสอนสำหรับบุคคลธรรมดาทั่วไปด้วย ซึ่งหลาย ๆ คนน่าจะคุ้นเคยกันดีเพราะอาจจะเคยผ่านการสอบมาแล้วด้วยซ้ำ และปัจจุบันนี้ก็ยังมีการสอบธรรมสนามหลวงของน้อง ๆ วัยมัธยม ซึ่งจะจัดสอบขึ้นทุกปี ถ้านับจากก่อกำเนิดวิชานี้ขึ้นมา จนถึงปัจจุบันก็รวม ๆ ร้อยกว่าปีแล้ว แต่การสอบธรรมศึกษานั้นไม่ได้ส่งผลต่อเกรดหรือการเรียนต่อมหาวิทยาลัย ซึ่งเหตุนี้เองจึงเกิดประเด็นให้ผู้คนได้ขบคิดกันว่าแล้วการสอบธรรมศึกษา สอบไปเพื่ออะไร และมีประโยชน์ต่อผู้สอบจริงหรือไม่ ? ธรรมศึกษาคืออะไร ? ธรรมศึกษา มาจากการศึกษาพระพุทธศาสนาของไทยตั้งแต่สมัยโบราณ ในอดีตธรรมศึกษาจะเป็นวิชาเรียนสำหรับภิกษุสามเณร ซึ่งศึกษาเป็นภาษาบาลี ที่เรียกว่า การศึกษาพระปริยัติธรรม แต่ว่าเป็นสิ่งที่เรียนยากสำหรับสามเณรทั่วไป จึงส่งผลให้ภิกษุสามเณรมีความรู้ในด้านนี้น้อย และไม่มีใครช่วยพระในกิจการทางศาสนาทั้งด้านความรู้ การปกครอง หรือสั่งสอนประชาชน ก็เลยให้มีวิชาธรรมศึกษาขึ้นมา ในปี พ.ศ.2435 และได้มีเรียนการสอนเป็นภาษาไทย จนปี พ.ศ. 2454 มีการจัดสอบขึ้นครั้งแรก ต่อจากนั้นมาก็ได้มีการปรับเปลี่ยนหลักสูตรตลอดมา ต่อมา พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหลวงชินวรสิริวัฒน์ สมเด็จพระสังฆราชเจ้า วัดราชบพิธฯ เลยเห็นว่า การศึกษาวิชาธรรมศึกษา ไม่ได้มีประโยชน์ต่อทางพุทธศาสนาเท่านั้น แต่อาจจะให้ประโยชน์กับคนทั่วไปด้วย โดยเฉพาะข้าราชการครู เลยเกิดหลักสูตรนักธรรมสำหรับฆราวาสขึ้น เรียกว่า ธรรมศึกษา โดยมี 3 ชั้น คือ ชั้นตรี ชั้นโท ชั้นเอก ซึ่งมีเนื้อหาแบบเดียวกันกับหลักสูตรนักธรรมของภิกษุสามเณร ซึ่งได้เปิดสอบธรรมศึกษาตรีครั้งแรก เมื่อ พ.ศ. 2472 และเปิดสอบครบทุกชั้นในเวลาต่อมา หลักสูตรธรรมศึกษาที่ใช้ในปัจจุบัน มีอะไรบ้าง ? วิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม เรียงความกระทู้ธรรม คือ การเขียนเรียงความอธิบายเนื้อหาให้ตามที่ธรรมสุภาษิตที่กำหนดให้ โดยอ้างอิงเหตุผลจากหนังสือพุทธสุภาษิต ให้สอดคล้องกันและสมเหตุสมผล และการตอบนั้นควรตอบจำนวน 2 หน้าขึ้นไป โดยมีการเว้นบรรทัด วิชาธรรมวิภาค ธรรมวิภาค คือ การจัดหมวดหมู่ แยกแยะธรรมะไว้เป็นหมวด หรือหัวข้อเพื่อให้ง่ายต่อการศึกษา โดยวิชาธรรมวิภาคเป็นการตอบคำถามตามที่กำหนดให้ โดยอ้างอิงจากหนังสือนวโกวาทแผนกธรรมวิภาคและคิหิปฏิบัติ วิชาอนุพุทธประวัติ อนุพุทธประวัติ คือ เรื่องที่กล่าวถึงความเป็นไปในชีวประวัติ และปฏิปทาของหมู่ชนผู้ได้สดับฟังคำสั่งสอนของพระบรมศาสดา แล้วนำไปประพฤติปฏิบัติตามคำสั่งสอนนั้น แล้วรู้ตามจนสามารถดับกิเลสได้โดยสิ้นเชิง โดยจำเป็นการตอบคำถามที่เกี่ยวกับชีวประวัติของพระสาวก อ้างอิงจากหนังสืออนุพุทธประวัติ พระนิพนธ์ สมเด็จพระสังฆราช (สา ปุสฺสเทวมหาเถร) และศาสนพิธี เล่ม 2 ขององค์การศึกษา วิชาวินัย วินัย คือ พุทธบัญญัติเกี่ยวกับความประพฤติ ความเป็นอยู่ ขนบธรรมเนียมและการดำเนินกิจการต่างๆ ของภิกษุสงฆ์และภิกษุณีสงฆ์ โดยการตอบข้อสอบวิชาวินัยจะอ้างอิงจากหนังสืออุโบสถศีลของพระศรีรัตนโมลี (ชัยวัฒน์ ปญฺญาสิริ) โดยข้อสอบธรรมศึกษานั้น จะมีทั้งข้อกาและข้อเขียน ซึ่งก่อนการสอบจะต้องมีการเรียนเพิ่มเติม เช่น อ่านหนังสือ หรือการติวโดยคุณครูในโรงเรียนหรือจากพระสงฆ์โดยตรง ในปัจจุบันยังมีจัดสอบธรรมศึกษาขึ้นทุกปี หรือที่เรียกว่าสอบไล่นักธรรม และถึงแม้จะมีการสอบมาทุกปีก็ตาม แต่ก็ยังมีกระแสที่ต้องทำให้พูดถึงความสำคัญของการสอบธรรมศึกษาของเด็กนักเรียนอยู่เสมอ จนไปถึงประเด็นที่มีการสนับสนุนชำแหละการบังคับสอบธรรมศึกษาของสื่อสังคมออนไลน์หลายแหล่ง ซึ่งมีเนื้อความและเหตุผลที่เห็นสมควรว่าควรชำแหละการบังคับสอบธรรมศึกษานั้นจะมีลักษณะเดียวกัน เช่น นักเรียนบางคนไม่ได้นับถือศาสนาพุทธแต่ต้องโดนทางโรงเรียนบังคับสอบ การโกงระหว่างการสอบ การได้ประโยชน์ในการเลื่อนตำแหน่งของสงฆ์ ความรู้ในข้อสอบนั้นไม่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้จริง คะแนนการสอบไม่มีผลต่อการยื่นเข้ามหาวิทยาลัย หลักสูตรธรรมศึกษานั้นมีมานานกว่าร้อยปีในขณะที่การศึกษาปัจจุบันพัฒนาไปไกลแล้ว ปัยหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นทำให้ผู้คนส่วนใหญ่ไม่เข้าใจในจุดประสงค์ของการสอบธรรมศึกษา ซึ่งมีบ่อยครั้งที่คำถามเหล่านี้ปรากฎตามเว็บไซต์ต่าง ๆ โดยเฉพาะเว็บบอร์ดที่สามารถถาม-ตอบได้ อย่าง www.pantip.com ทำไมถึงมีการตั้งคำถามว่าทำไมต้องสอบ ? อย่างที่เรารู้กันดีว่าวิชาธรรมศึกษานั้นมีมาเป็นร้อยปี แต่ทำไมผู้คนที่สอบวิชานี้ถึงไม่เข้าใจในวัตถุประสงค์ของการสอบ นั่นก็อาจจะเป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นว่าการจัดสอบธรรมศึกษาไม่ได้ให้ประโยชน์กับผู้ที่สอบ มิหนำซ้ำผู้คนมากมายยังออกมาเรียกร้องให้มีการชำแหละระบบการสอบอีกด้วย นอกจากการตั้งคำถามในกระทู้ pantip.com แล้ว ยังมีการแสดงความคิดเห็นจากการตั้งกระทู้บนเฟซบุ๊ก Wiriyah Eduzones โดย ท่าน ดร.วิริยะ ผู้ก่อตั้ง Eduzones.com เกี่ยวกับประเด็นการสอบวิชาธรรมศึกษา ซึ่งความคิดเห็นมีทั้งเนื้อหาที่แสดงถึงการไม่เห็นด้วยและการสนับสนุนให้มีการสอบธรรมศึกษาต่อไป ทุกประเด็นที่มีการพูดถึงการสอบธรรมศึกษา ส่งผลให้ย้อนกลับมาคิดว่า “การสอบธรรมศึกษา มีความจำเป็นต่อนักเรียนไทยจริงหรือไม่ ?” ปัญหาที่เกิดขึ้นในสนามสอบธรรมศึกษานั้นเกิดขึ้นทุกปีจนกลายเป็นปัญหาเรื้อรัง เช่น การโกงข้อสอบ การลอกข้อสอบ การบอกข้อสอบโดยตรง ด้วยปัญหาที่เกิดขึ้นมานี้ทำให้บ่อยครั้งที่มีการเกิดการเรียกร้องให้มีการชำแหละการสอบธรรมศึกษา ถึงเวลาแล้วหรือยังที่การศึกษาไทยควรปรับเปลี่ยน ไม่ใช่แค่เรียนเพื่อจำแล้วนำไปสอบเลื่อนขั้น แล้วการสอบธรรมศึกษาสามารถวัดอะไรได้ในตัวเด็ก ๆ การที่เด็กสอบไม่ผ่านสามารถบ่งบอกได้หรือไม่ว่าบุคคลนั้นไม่เข้าใจในหลักพุทธธรรม แล้วผู้ที่สอบผ่านสามารถถูกยกย่องว่าเป็นพุทธศาสนิกชนที่ดีได้เลยหรือไม่ ? การจัดสอบธรรมศึกษา จะเป็นการสร้างประโยชน์ให้ใคร หรือใครได้ผลประโยชน์จากการสอบครั้งนี้ แล้วนักเรียนได้อะไรจากการสอบธรรมศึกษาหรือได้แค่เกียรติบัตรไว้เพื่อตั้งโชว์เฉย ๆ ? แล้วผู้อ่านล่ะคะ มีความคิดเห็นว่าอย่างไรกัน ยังจำเป็นหรือไม่ ที่ต้องมีการสอบธรรมศึกษา ? EZ Webmaster Related Posts ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง TK Park พาเปิดบทเรียนอันทรงคุณค่า จาก “คุณหญิงกษมา” กว่า 50 ปี บนเส้นทางการศึกษา กับบทบาทผู้ต่อจิ๊กซอว์ “การเรียนรู้” ให้สังคมไทย พร้อมเจาะ “7 บทเรียนที่ต้องเรียนรู้” พาไทยสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ได้แบบไม่รู้จบ Post navigation PREVIOUS Previous post: OPEN HOUSE สวนสุนันทา เปิดบ้านออนไลน์ ทุกคณะ ทุกสาขามาพบเต็มอิ่มจุใจ 2 วันรวดNEXT Next post: สรุป #เลื่อนสอบ เหตุใดนักเรียนม.6 จึงมาเรียกร้องขอเลื่อนสอบ TCAS ? Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง EZ WebmasterJune 13, 2025 วันนี้ทั้งเล่น ทั้งได้ความรู้ ทั้งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนนางรอง จ.บุรีรัมย์ วันที่13/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า… นักศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI… ทุนดีดี 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster March 17, 2021 EZ Webmaster March 17, 2021 การจัดสอบธรรมศึกษา ยังจำเป็นหรือไม่ ? “ธรรมศึกษา ยังจำเป็นต้องสอบหรือไม่ ?” สวัสดีค่ะ วันนี้ทีมงาน Eduzones มีหัวข้อที่น่าสนใจมานำเสนอ และอยากให้ทุกคนมาแสดงความคิดเห็นร่วมกัน เกี่ยวกับวิชาธรรมศึกษา ธรรมศึกษานั้นเป็นวิชาเรียนเกี่ยวกับพุทธศาสนา ในอดีตมีสำหรับภิกษุสามเณร แต่ในปัจจุบันนั้นก็ได้มีการเรียนการสอนสำหรับบุคคลธรรมดาทั่วไปด้วย ซึ่งหลาย ๆ คนน่าจะคุ้นเคยกันดีเพราะอาจจะเคยผ่านการสอบมาแล้วด้วยซ้ำ และปัจจุบันนี้ก็ยังมีการสอบธรรมสนามหลวงของน้อง ๆ วัยมัธยม ซึ่งจะจัดสอบขึ้นทุกปี ถ้านับจากก่อกำเนิดวิชานี้ขึ้นมา จนถึงปัจจุบันก็รวม ๆ ร้อยกว่าปีแล้ว แต่การสอบธรรมศึกษานั้นไม่ได้ส่งผลต่อเกรดหรือการเรียนต่อมหาวิทยาลัย ซึ่งเหตุนี้เองจึงเกิดประเด็นให้ผู้คนได้ขบคิดกันว่าแล้วการสอบธรรมศึกษา สอบไปเพื่ออะไร และมีประโยชน์ต่อผู้สอบจริงหรือไม่ ? ธรรมศึกษาคืออะไร ? ธรรมศึกษา มาจากการศึกษาพระพุทธศาสนาของไทยตั้งแต่สมัยโบราณ ในอดีตธรรมศึกษาจะเป็นวิชาเรียนสำหรับภิกษุสามเณร ซึ่งศึกษาเป็นภาษาบาลี ที่เรียกว่า การศึกษาพระปริยัติธรรม แต่ว่าเป็นสิ่งที่เรียนยากสำหรับสามเณรทั่วไป จึงส่งผลให้ภิกษุสามเณรมีความรู้ในด้านนี้น้อย และไม่มีใครช่วยพระในกิจการทางศาสนาทั้งด้านความรู้ การปกครอง หรือสั่งสอนประชาชน ก็เลยให้มีวิชาธรรมศึกษาขึ้นมา ในปี พ.ศ.2435 และได้มีเรียนการสอนเป็นภาษาไทย จนปี พ.ศ. 2454 มีการจัดสอบขึ้นครั้งแรก ต่อจากนั้นมาก็ได้มีการปรับเปลี่ยนหลักสูตรตลอดมา ต่อมา พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหลวงชินวรสิริวัฒน์ สมเด็จพระสังฆราชเจ้า วัดราชบพิธฯ เลยเห็นว่า การศึกษาวิชาธรรมศึกษา ไม่ได้มีประโยชน์ต่อทางพุทธศาสนาเท่านั้น แต่อาจจะให้ประโยชน์กับคนทั่วไปด้วย โดยเฉพาะข้าราชการครู เลยเกิดหลักสูตรนักธรรมสำหรับฆราวาสขึ้น เรียกว่า ธรรมศึกษา โดยมี 3 ชั้น คือ ชั้นตรี ชั้นโท ชั้นเอก ซึ่งมีเนื้อหาแบบเดียวกันกับหลักสูตรนักธรรมของภิกษุสามเณร ซึ่งได้เปิดสอบธรรมศึกษาตรีครั้งแรก เมื่อ พ.ศ. 2472 และเปิดสอบครบทุกชั้นในเวลาต่อมา หลักสูตรธรรมศึกษาที่ใช้ในปัจจุบัน มีอะไรบ้าง ? วิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม เรียงความกระทู้ธรรม คือ การเขียนเรียงความอธิบายเนื้อหาให้ตามที่ธรรมสุภาษิตที่กำหนดให้ โดยอ้างอิงเหตุผลจากหนังสือพุทธสุภาษิต ให้สอดคล้องกันและสมเหตุสมผล และการตอบนั้นควรตอบจำนวน 2 หน้าขึ้นไป โดยมีการเว้นบรรทัด วิชาธรรมวิภาค ธรรมวิภาค คือ การจัดหมวดหมู่ แยกแยะธรรมะไว้เป็นหมวด หรือหัวข้อเพื่อให้ง่ายต่อการศึกษา โดยวิชาธรรมวิภาคเป็นการตอบคำถามตามที่กำหนดให้ โดยอ้างอิงจากหนังสือนวโกวาทแผนกธรรมวิภาคและคิหิปฏิบัติ วิชาอนุพุทธประวัติ อนุพุทธประวัติ คือ เรื่องที่กล่าวถึงความเป็นไปในชีวประวัติ และปฏิปทาของหมู่ชนผู้ได้สดับฟังคำสั่งสอนของพระบรมศาสดา แล้วนำไปประพฤติปฏิบัติตามคำสั่งสอนนั้น แล้วรู้ตามจนสามารถดับกิเลสได้โดยสิ้นเชิง โดยจำเป็นการตอบคำถามที่เกี่ยวกับชีวประวัติของพระสาวก อ้างอิงจากหนังสืออนุพุทธประวัติ พระนิพนธ์ สมเด็จพระสังฆราช (สา ปุสฺสเทวมหาเถร) และศาสนพิธี เล่ม 2 ขององค์การศึกษา วิชาวินัย วินัย คือ พุทธบัญญัติเกี่ยวกับความประพฤติ ความเป็นอยู่ ขนบธรรมเนียมและการดำเนินกิจการต่างๆ ของภิกษุสงฆ์และภิกษุณีสงฆ์ โดยการตอบข้อสอบวิชาวินัยจะอ้างอิงจากหนังสืออุโบสถศีลของพระศรีรัตนโมลี (ชัยวัฒน์ ปญฺญาสิริ) โดยข้อสอบธรรมศึกษานั้น จะมีทั้งข้อกาและข้อเขียน ซึ่งก่อนการสอบจะต้องมีการเรียนเพิ่มเติม เช่น อ่านหนังสือ หรือการติวโดยคุณครูในโรงเรียนหรือจากพระสงฆ์โดยตรง ในปัจจุบันยังมีจัดสอบธรรมศึกษาขึ้นทุกปี หรือที่เรียกว่าสอบไล่นักธรรม และถึงแม้จะมีการสอบมาทุกปีก็ตาม แต่ก็ยังมีกระแสที่ต้องทำให้พูดถึงความสำคัญของการสอบธรรมศึกษาของเด็กนักเรียนอยู่เสมอ จนไปถึงประเด็นที่มีการสนับสนุนชำแหละการบังคับสอบธรรมศึกษาของสื่อสังคมออนไลน์หลายแหล่ง ซึ่งมีเนื้อความและเหตุผลที่เห็นสมควรว่าควรชำแหละการบังคับสอบธรรมศึกษานั้นจะมีลักษณะเดียวกัน เช่น นักเรียนบางคนไม่ได้นับถือศาสนาพุทธแต่ต้องโดนทางโรงเรียนบังคับสอบ การโกงระหว่างการสอบ การได้ประโยชน์ในการเลื่อนตำแหน่งของสงฆ์ ความรู้ในข้อสอบนั้นไม่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้จริง คะแนนการสอบไม่มีผลต่อการยื่นเข้ามหาวิทยาลัย หลักสูตรธรรมศึกษานั้นมีมานานกว่าร้อยปีในขณะที่การศึกษาปัจจุบันพัฒนาไปไกลแล้ว ปัยหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นทำให้ผู้คนส่วนใหญ่ไม่เข้าใจในจุดประสงค์ของการสอบธรรมศึกษา ซึ่งมีบ่อยครั้งที่คำถามเหล่านี้ปรากฎตามเว็บไซต์ต่าง ๆ โดยเฉพาะเว็บบอร์ดที่สามารถถาม-ตอบได้ อย่าง www.pantip.com ทำไมถึงมีการตั้งคำถามว่าทำไมต้องสอบ ? อย่างที่เรารู้กันดีว่าวิชาธรรมศึกษานั้นมีมาเป็นร้อยปี แต่ทำไมผู้คนที่สอบวิชานี้ถึงไม่เข้าใจในวัตถุประสงค์ของการสอบ นั่นก็อาจจะเป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นว่าการจัดสอบธรรมศึกษาไม่ได้ให้ประโยชน์กับผู้ที่สอบ มิหนำซ้ำผู้คนมากมายยังออกมาเรียกร้องให้มีการชำแหละระบบการสอบอีกด้วย นอกจากการตั้งคำถามในกระทู้ pantip.com แล้ว ยังมีการแสดงความคิดเห็นจากการตั้งกระทู้บนเฟซบุ๊ก Wiriyah Eduzones โดย ท่าน ดร.วิริยะ ผู้ก่อตั้ง Eduzones.com เกี่ยวกับประเด็นการสอบวิชาธรรมศึกษา ซึ่งความคิดเห็นมีทั้งเนื้อหาที่แสดงถึงการไม่เห็นด้วยและการสนับสนุนให้มีการสอบธรรมศึกษาต่อไป ทุกประเด็นที่มีการพูดถึงการสอบธรรมศึกษา ส่งผลให้ย้อนกลับมาคิดว่า “การสอบธรรมศึกษา มีความจำเป็นต่อนักเรียนไทยจริงหรือไม่ ?” ปัญหาที่เกิดขึ้นในสนามสอบธรรมศึกษานั้นเกิดขึ้นทุกปีจนกลายเป็นปัญหาเรื้อรัง เช่น การโกงข้อสอบ การลอกข้อสอบ การบอกข้อสอบโดยตรง ด้วยปัญหาที่เกิดขึ้นมานี้ทำให้บ่อยครั้งที่มีการเกิดการเรียกร้องให้มีการชำแหละการสอบธรรมศึกษา ถึงเวลาแล้วหรือยังที่การศึกษาไทยควรปรับเปลี่ยน ไม่ใช่แค่เรียนเพื่อจำแล้วนำไปสอบเลื่อนขั้น แล้วการสอบธรรมศึกษาสามารถวัดอะไรได้ในตัวเด็ก ๆ การที่เด็กสอบไม่ผ่านสามารถบ่งบอกได้หรือไม่ว่าบุคคลนั้นไม่เข้าใจในหลักพุทธธรรม แล้วผู้ที่สอบผ่านสามารถถูกยกย่องว่าเป็นพุทธศาสนิกชนที่ดีได้เลยหรือไม่ ? การจัดสอบธรรมศึกษา จะเป็นการสร้างประโยชน์ให้ใคร หรือใครได้ผลประโยชน์จากการสอบครั้งนี้ แล้วนักเรียนได้อะไรจากการสอบธรรมศึกษาหรือได้แค่เกียรติบัตรไว้เพื่อตั้งโชว์เฉย ๆ ? แล้วผู้อ่านล่ะคะ มีความคิดเห็นว่าอย่างไรกัน ยังจำเป็นหรือไม่ ที่ต้องมีการสอบธรรมศึกษา ? EZ Webmaster Related Posts ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง TK Park พาเปิดบทเรียนอันทรงคุณค่า จาก “คุณหญิงกษมา” กว่า 50 ปี บนเส้นทางการศึกษา กับบทบาทผู้ต่อจิ๊กซอว์ “การเรียนรู้” ให้สังคมไทย พร้อมเจาะ “7 บทเรียนที่ต้องเรียนรู้” พาไทยสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ได้แบบไม่รู้จบ Post navigation PREVIOUS Previous post: OPEN HOUSE สวนสุนันทา เปิดบ้านออนไลน์ ทุกคณะ ทุกสาขามาพบเต็มอิ่มจุใจ 2 วันรวดNEXT Next post: สรุป #เลื่อนสอบ เหตุใดนักเรียนม.6 จึงมาเรียกร้องขอเลื่อนสอบ TCAS ? Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง EZ WebmasterJune 13, 2025 วันนี้ทั้งเล่น ทั้งได้ความรู้ ทั้งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนนางรอง จ.บุรีรัมย์ วันที่13/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า…
โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง EZ WebmasterJune 13, 2025 วันนี้ทั้งเล่น ทั้งได้ความรู้ ทั้งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนนางรอง จ.บุรีรัมย์ วันที่13/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า…
คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI… ทุนดีดี 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster March 17, 2021 EZ Webmaster March 17, 2021 การจัดสอบธรรมศึกษา ยังจำเป็นหรือไม่ ? “ธรรมศึกษา ยังจำเป็นต้องสอบหรือไม่ ?” สวัสดีค่ะ วันนี้ทีมงาน Eduzones มีหัวข้อที่น่าสนใจมานำเสนอ และอยากให้ทุกคนมาแสดงความคิดเห็นร่วมกัน เกี่ยวกับวิชาธรรมศึกษา ธรรมศึกษานั้นเป็นวิชาเรียนเกี่ยวกับพุทธศาสนา ในอดีตมีสำหรับภิกษุสามเณร แต่ในปัจจุบันนั้นก็ได้มีการเรียนการสอนสำหรับบุคคลธรรมดาทั่วไปด้วย ซึ่งหลาย ๆ คนน่าจะคุ้นเคยกันดีเพราะอาจจะเคยผ่านการสอบมาแล้วด้วยซ้ำ และปัจจุบันนี้ก็ยังมีการสอบธรรมสนามหลวงของน้อง ๆ วัยมัธยม ซึ่งจะจัดสอบขึ้นทุกปี ถ้านับจากก่อกำเนิดวิชานี้ขึ้นมา จนถึงปัจจุบันก็รวม ๆ ร้อยกว่าปีแล้ว แต่การสอบธรรมศึกษานั้นไม่ได้ส่งผลต่อเกรดหรือการเรียนต่อมหาวิทยาลัย ซึ่งเหตุนี้เองจึงเกิดประเด็นให้ผู้คนได้ขบคิดกันว่าแล้วการสอบธรรมศึกษา สอบไปเพื่ออะไร และมีประโยชน์ต่อผู้สอบจริงหรือไม่ ? ธรรมศึกษาคืออะไร ? ธรรมศึกษา มาจากการศึกษาพระพุทธศาสนาของไทยตั้งแต่สมัยโบราณ ในอดีตธรรมศึกษาจะเป็นวิชาเรียนสำหรับภิกษุสามเณร ซึ่งศึกษาเป็นภาษาบาลี ที่เรียกว่า การศึกษาพระปริยัติธรรม แต่ว่าเป็นสิ่งที่เรียนยากสำหรับสามเณรทั่วไป จึงส่งผลให้ภิกษุสามเณรมีความรู้ในด้านนี้น้อย และไม่มีใครช่วยพระในกิจการทางศาสนาทั้งด้านความรู้ การปกครอง หรือสั่งสอนประชาชน ก็เลยให้มีวิชาธรรมศึกษาขึ้นมา ในปี พ.ศ.2435 และได้มีเรียนการสอนเป็นภาษาไทย จนปี พ.ศ. 2454 มีการจัดสอบขึ้นครั้งแรก ต่อจากนั้นมาก็ได้มีการปรับเปลี่ยนหลักสูตรตลอดมา ต่อมา พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหลวงชินวรสิริวัฒน์ สมเด็จพระสังฆราชเจ้า วัดราชบพิธฯ เลยเห็นว่า การศึกษาวิชาธรรมศึกษา ไม่ได้มีประโยชน์ต่อทางพุทธศาสนาเท่านั้น แต่อาจจะให้ประโยชน์กับคนทั่วไปด้วย โดยเฉพาะข้าราชการครู เลยเกิดหลักสูตรนักธรรมสำหรับฆราวาสขึ้น เรียกว่า ธรรมศึกษา โดยมี 3 ชั้น คือ ชั้นตรี ชั้นโท ชั้นเอก ซึ่งมีเนื้อหาแบบเดียวกันกับหลักสูตรนักธรรมของภิกษุสามเณร ซึ่งได้เปิดสอบธรรมศึกษาตรีครั้งแรก เมื่อ พ.ศ. 2472 และเปิดสอบครบทุกชั้นในเวลาต่อมา หลักสูตรธรรมศึกษาที่ใช้ในปัจจุบัน มีอะไรบ้าง ? วิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม เรียงความกระทู้ธรรม คือ การเขียนเรียงความอธิบายเนื้อหาให้ตามที่ธรรมสุภาษิตที่กำหนดให้ โดยอ้างอิงเหตุผลจากหนังสือพุทธสุภาษิต ให้สอดคล้องกันและสมเหตุสมผล และการตอบนั้นควรตอบจำนวน 2 หน้าขึ้นไป โดยมีการเว้นบรรทัด วิชาธรรมวิภาค ธรรมวิภาค คือ การจัดหมวดหมู่ แยกแยะธรรมะไว้เป็นหมวด หรือหัวข้อเพื่อให้ง่ายต่อการศึกษา โดยวิชาธรรมวิภาคเป็นการตอบคำถามตามที่กำหนดให้ โดยอ้างอิงจากหนังสือนวโกวาทแผนกธรรมวิภาคและคิหิปฏิบัติ วิชาอนุพุทธประวัติ อนุพุทธประวัติ คือ เรื่องที่กล่าวถึงความเป็นไปในชีวประวัติ และปฏิปทาของหมู่ชนผู้ได้สดับฟังคำสั่งสอนของพระบรมศาสดา แล้วนำไปประพฤติปฏิบัติตามคำสั่งสอนนั้น แล้วรู้ตามจนสามารถดับกิเลสได้โดยสิ้นเชิง โดยจำเป็นการตอบคำถามที่เกี่ยวกับชีวประวัติของพระสาวก อ้างอิงจากหนังสืออนุพุทธประวัติ พระนิพนธ์ สมเด็จพระสังฆราช (สา ปุสฺสเทวมหาเถร) และศาสนพิธี เล่ม 2 ขององค์การศึกษา วิชาวินัย วินัย คือ พุทธบัญญัติเกี่ยวกับความประพฤติ ความเป็นอยู่ ขนบธรรมเนียมและการดำเนินกิจการต่างๆ ของภิกษุสงฆ์และภิกษุณีสงฆ์ โดยการตอบข้อสอบวิชาวินัยจะอ้างอิงจากหนังสืออุโบสถศีลของพระศรีรัตนโมลี (ชัยวัฒน์ ปญฺญาสิริ) โดยข้อสอบธรรมศึกษานั้น จะมีทั้งข้อกาและข้อเขียน ซึ่งก่อนการสอบจะต้องมีการเรียนเพิ่มเติม เช่น อ่านหนังสือ หรือการติวโดยคุณครูในโรงเรียนหรือจากพระสงฆ์โดยตรง ในปัจจุบันยังมีจัดสอบธรรมศึกษาขึ้นทุกปี หรือที่เรียกว่าสอบไล่นักธรรม และถึงแม้จะมีการสอบมาทุกปีก็ตาม แต่ก็ยังมีกระแสที่ต้องทำให้พูดถึงความสำคัญของการสอบธรรมศึกษาของเด็กนักเรียนอยู่เสมอ จนไปถึงประเด็นที่มีการสนับสนุนชำแหละการบังคับสอบธรรมศึกษาของสื่อสังคมออนไลน์หลายแหล่ง ซึ่งมีเนื้อความและเหตุผลที่เห็นสมควรว่าควรชำแหละการบังคับสอบธรรมศึกษานั้นจะมีลักษณะเดียวกัน เช่น นักเรียนบางคนไม่ได้นับถือศาสนาพุทธแต่ต้องโดนทางโรงเรียนบังคับสอบ การโกงระหว่างการสอบ การได้ประโยชน์ในการเลื่อนตำแหน่งของสงฆ์ ความรู้ในข้อสอบนั้นไม่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้จริง คะแนนการสอบไม่มีผลต่อการยื่นเข้ามหาวิทยาลัย หลักสูตรธรรมศึกษานั้นมีมานานกว่าร้อยปีในขณะที่การศึกษาปัจจุบันพัฒนาไปไกลแล้ว ปัยหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นทำให้ผู้คนส่วนใหญ่ไม่เข้าใจในจุดประสงค์ของการสอบธรรมศึกษา ซึ่งมีบ่อยครั้งที่คำถามเหล่านี้ปรากฎตามเว็บไซต์ต่าง ๆ โดยเฉพาะเว็บบอร์ดที่สามารถถาม-ตอบได้ อย่าง www.pantip.com ทำไมถึงมีการตั้งคำถามว่าทำไมต้องสอบ ? อย่างที่เรารู้กันดีว่าวิชาธรรมศึกษานั้นมีมาเป็นร้อยปี แต่ทำไมผู้คนที่สอบวิชานี้ถึงไม่เข้าใจในวัตถุประสงค์ของการสอบ นั่นก็อาจจะเป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นว่าการจัดสอบธรรมศึกษาไม่ได้ให้ประโยชน์กับผู้ที่สอบ มิหนำซ้ำผู้คนมากมายยังออกมาเรียกร้องให้มีการชำแหละระบบการสอบอีกด้วย นอกจากการตั้งคำถามในกระทู้ pantip.com แล้ว ยังมีการแสดงความคิดเห็นจากการตั้งกระทู้บนเฟซบุ๊ก Wiriyah Eduzones โดย ท่าน ดร.วิริยะ ผู้ก่อตั้ง Eduzones.com เกี่ยวกับประเด็นการสอบวิชาธรรมศึกษา ซึ่งความคิดเห็นมีทั้งเนื้อหาที่แสดงถึงการไม่เห็นด้วยและการสนับสนุนให้มีการสอบธรรมศึกษาต่อไป ทุกประเด็นที่มีการพูดถึงการสอบธรรมศึกษา ส่งผลให้ย้อนกลับมาคิดว่า “การสอบธรรมศึกษา มีความจำเป็นต่อนักเรียนไทยจริงหรือไม่ ?” ปัญหาที่เกิดขึ้นในสนามสอบธรรมศึกษานั้นเกิดขึ้นทุกปีจนกลายเป็นปัญหาเรื้อรัง เช่น การโกงข้อสอบ การลอกข้อสอบ การบอกข้อสอบโดยตรง ด้วยปัญหาที่เกิดขึ้นมานี้ทำให้บ่อยครั้งที่มีการเกิดการเรียกร้องให้มีการชำแหละการสอบธรรมศึกษา ถึงเวลาแล้วหรือยังที่การศึกษาไทยควรปรับเปลี่ยน ไม่ใช่แค่เรียนเพื่อจำแล้วนำไปสอบเลื่อนขั้น แล้วการสอบธรรมศึกษาสามารถวัดอะไรได้ในตัวเด็ก ๆ การที่เด็กสอบไม่ผ่านสามารถบ่งบอกได้หรือไม่ว่าบุคคลนั้นไม่เข้าใจในหลักพุทธธรรม แล้วผู้ที่สอบผ่านสามารถถูกยกย่องว่าเป็นพุทธศาสนิกชนที่ดีได้เลยหรือไม่ ? การจัดสอบธรรมศึกษา จะเป็นการสร้างประโยชน์ให้ใคร หรือใครได้ผลประโยชน์จากการสอบครั้งนี้ แล้วนักเรียนได้อะไรจากการสอบธรรมศึกษาหรือได้แค่เกียรติบัตรไว้เพื่อตั้งโชว์เฉย ๆ ? แล้วผู้อ่านล่ะคะ มีความคิดเห็นว่าอย่างไรกัน ยังจำเป็นหรือไม่ ที่ต้องมีการสอบธรรมศึกษา ? EZ Webmaster Related Posts ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง TK Park พาเปิดบทเรียนอันทรงคุณค่า จาก “คุณหญิงกษมา” กว่า 50 ปี บนเส้นทางการศึกษา กับบทบาทผู้ต่อจิ๊กซอว์ “การเรียนรู้” ให้สังคมไทย พร้อมเจาะ “7 บทเรียนที่ต้องเรียนรู้” พาไทยสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ได้แบบไม่รู้จบ Post navigation PREVIOUS Previous post: OPEN HOUSE สวนสุนันทา เปิดบ้านออนไลน์ ทุกคณะ ทุกสาขามาพบเต็มอิ่มจุใจ 2 วันรวดNEXT Next post: สรุป #เลื่อนสอบ เหตุใดนักเรียนม.6 จึงมาเรียกร้องขอเลื่อนสอบ TCAS ? Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI… ทุนดีดี 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster March 17, 2021 EZ Webmaster March 17, 2021 การจัดสอบธรรมศึกษา ยังจำเป็นหรือไม่ ? “ธรรมศึกษา ยังจำเป็นต้องสอบหรือไม่ ?” สวัสดีค่ะ วันนี้ทีมงาน Eduzones มีหัวข้อที่น่าสนใจมานำเสนอ และอยากให้ทุกคนมาแสดงความคิดเห็นร่วมกัน เกี่ยวกับวิชาธรรมศึกษา ธรรมศึกษานั้นเป็นวิชาเรียนเกี่ยวกับพุทธศาสนา ในอดีตมีสำหรับภิกษุสามเณร แต่ในปัจจุบันนั้นก็ได้มีการเรียนการสอนสำหรับบุคคลธรรมดาทั่วไปด้วย ซึ่งหลาย ๆ คนน่าจะคุ้นเคยกันดีเพราะอาจจะเคยผ่านการสอบมาแล้วด้วยซ้ำ และปัจจุบันนี้ก็ยังมีการสอบธรรมสนามหลวงของน้อง ๆ วัยมัธยม ซึ่งจะจัดสอบขึ้นทุกปี ถ้านับจากก่อกำเนิดวิชานี้ขึ้นมา จนถึงปัจจุบันก็รวม ๆ ร้อยกว่าปีแล้ว แต่การสอบธรรมศึกษานั้นไม่ได้ส่งผลต่อเกรดหรือการเรียนต่อมหาวิทยาลัย ซึ่งเหตุนี้เองจึงเกิดประเด็นให้ผู้คนได้ขบคิดกันว่าแล้วการสอบธรรมศึกษา สอบไปเพื่ออะไร และมีประโยชน์ต่อผู้สอบจริงหรือไม่ ? ธรรมศึกษาคืออะไร ? ธรรมศึกษา มาจากการศึกษาพระพุทธศาสนาของไทยตั้งแต่สมัยโบราณ ในอดีตธรรมศึกษาจะเป็นวิชาเรียนสำหรับภิกษุสามเณร ซึ่งศึกษาเป็นภาษาบาลี ที่เรียกว่า การศึกษาพระปริยัติธรรม แต่ว่าเป็นสิ่งที่เรียนยากสำหรับสามเณรทั่วไป จึงส่งผลให้ภิกษุสามเณรมีความรู้ในด้านนี้น้อย และไม่มีใครช่วยพระในกิจการทางศาสนาทั้งด้านความรู้ การปกครอง หรือสั่งสอนประชาชน ก็เลยให้มีวิชาธรรมศึกษาขึ้นมา ในปี พ.ศ.2435 และได้มีเรียนการสอนเป็นภาษาไทย จนปี พ.ศ. 2454 มีการจัดสอบขึ้นครั้งแรก ต่อจากนั้นมาก็ได้มีการปรับเปลี่ยนหลักสูตรตลอดมา ต่อมา พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหลวงชินวรสิริวัฒน์ สมเด็จพระสังฆราชเจ้า วัดราชบพิธฯ เลยเห็นว่า การศึกษาวิชาธรรมศึกษา ไม่ได้มีประโยชน์ต่อทางพุทธศาสนาเท่านั้น แต่อาจจะให้ประโยชน์กับคนทั่วไปด้วย โดยเฉพาะข้าราชการครู เลยเกิดหลักสูตรนักธรรมสำหรับฆราวาสขึ้น เรียกว่า ธรรมศึกษา โดยมี 3 ชั้น คือ ชั้นตรี ชั้นโท ชั้นเอก ซึ่งมีเนื้อหาแบบเดียวกันกับหลักสูตรนักธรรมของภิกษุสามเณร ซึ่งได้เปิดสอบธรรมศึกษาตรีครั้งแรก เมื่อ พ.ศ. 2472 และเปิดสอบครบทุกชั้นในเวลาต่อมา หลักสูตรธรรมศึกษาที่ใช้ในปัจจุบัน มีอะไรบ้าง ? วิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม เรียงความกระทู้ธรรม คือ การเขียนเรียงความอธิบายเนื้อหาให้ตามที่ธรรมสุภาษิตที่กำหนดให้ โดยอ้างอิงเหตุผลจากหนังสือพุทธสุภาษิต ให้สอดคล้องกันและสมเหตุสมผล และการตอบนั้นควรตอบจำนวน 2 หน้าขึ้นไป โดยมีการเว้นบรรทัด วิชาธรรมวิภาค ธรรมวิภาค คือ การจัดหมวดหมู่ แยกแยะธรรมะไว้เป็นหมวด หรือหัวข้อเพื่อให้ง่ายต่อการศึกษา โดยวิชาธรรมวิภาคเป็นการตอบคำถามตามที่กำหนดให้ โดยอ้างอิงจากหนังสือนวโกวาทแผนกธรรมวิภาคและคิหิปฏิบัติ วิชาอนุพุทธประวัติ อนุพุทธประวัติ คือ เรื่องที่กล่าวถึงความเป็นไปในชีวประวัติ และปฏิปทาของหมู่ชนผู้ได้สดับฟังคำสั่งสอนของพระบรมศาสดา แล้วนำไปประพฤติปฏิบัติตามคำสั่งสอนนั้น แล้วรู้ตามจนสามารถดับกิเลสได้โดยสิ้นเชิง โดยจำเป็นการตอบคำถามที่เกี่ยวกับชีวประวัติของพระสาวก อ้างอิงจากหนังสืออนุพุทธประวัติ พระนิพนธ์ สมเด็จพระสังฆราช (สา ปุสฺสเทวมหาเถร) และศาสนพิธี เล่ม 2 ขององค์การศึกษา วิชาวินัย วินัย คือ พุทธบัญญัติเกี่ยวกับความประพฤติ ความเป็นอยู่ ขนบธรรมเนียมและการดำเนินกิจการต่างๆ ของภิกษุสงฆ์และภิกษุณีสงฆ์ โดยการตอบข้อสอบวิชาวินัยจะอ้างอิงจากหนังสืออุโบสถศีลของพระศรีรัตนโมลี (ชัยวัฒน์ ปญฺญาสิริ) โดยข้อสอบธรรมศึกษานั้น จะมีทั้งข้อกาและข้อเขียน ซึ่งก่อนการสอบจะต้องมีการเรียนเพิ่มเติม เช่น อ่านหนังสือ หรือการติวโดยคุณครูในโรงเรียนหรือจากพระสงฆ์โดยตรง ในปัจจุบันยังมีจัดสอบธรรมศึกษาขึ้นทุกปี หรือที่เรียกว่าสอบไล่นักธรรม และถึงแม้จะมีการสอบมาทุกปีก็ตาม แต่ก็ยังมีกระแสที่ต้องทำให้พูดถึงความสำคัญของการสอบธรรมศึกษาของเด็กนักเรียนอยู่เสมอ จนไปถึงประเด็นที่มีการสนับสนุนชำแหละการบังคับสอบธรรมศึกษาของสื่อสังคมออนไลน์หลายแหล่ง ซึ่งมีเนื้อความและเหตุผลที่เห็นสมควรว่าควรชำแหละการบังคับสอบธรรมศึกษานั้นจะมีลักษณะเดียวกัน เช่น นักเรียนบางคนไม่ได้นับถือศาสนาพุทธแต่ต้องโดนทางโรงเรียนบังคับสอบ การโกงระหว่างการสอบ การได้ประโยชน์ในการเลื่อนตำแหน่งของสงฆ์ ความรู้ในข้อสอบนั้นไม่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้จริง คะแนนการสอบไม่มีผลต่อการยื่นเข้ามหาวิทยาลัย หลักสูตรธรรมศึกษานั้นมีมานานกว่าร้อยปีในขณะที่การศึกษาปัจจุบันพัฒนาไปไกลแล้ว ปัยหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นทำให้ผู้คนส่วนใหญ่ไม่เข้าใจในจุดประสงค์ของการสอบธรรมศึกษา ซึ่งมีบ่อยครั้งที่คำถามเหล่านี้ปรากฎตามเว็บไซต์ต่าง ๆ โดยเฉพาะเว็บบอร์ดที่สามารถถาม-ตอบได้ อย่าง www.pantip.com ทำไมถึงมีการตั้งคำถามว่าทำไมต้องสอบ ? อย่างที่เรารู้กันดีว่าวิชาธรรมศึกษานั้นมีมาเป็นร้อยปี แต่ทำไมผู้คนที่สอบวิชานี้ถึงไม่เข้าใจในวัตถุประสงค์ของการสอบ นั่นก็อาจจะเป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นว่าการจัดสอบธรรมศึกษาไม่ได้ให้ประโยชน์กับผู้ที่สอบ มิหนำซ้ำผู้คนมากมายยังออกมาเรียกร้องให้มีการชำแหละระบบการสอบอีกด้วย นอกจากการตั้งคำถามในกระทู้ pantip.com แล้ว ยังมีการแสดงความคิดเห็นจากการตั้งกระทู้บนเฟซบุ๊ก Wiriyah Eduzones โดย ท่าน ดร.วิริยะ ผู้ก่อตั้ง Eduzones.com เกี่ยวกับประเด็นการสอบวิชาธรรมศึกษา ซึ่งความคิดเห็นมีทั้งเนื้อหาที่แสดงถึงการไม่เห็นด้วยและการสนับสนุนให้มีการสอบธรรมศึกษาต่อไป ทุกประเด็นที่มีการพูดถึงการสอบธรรมศึกษา ส่งผลให้ย้อนกลับมาคิดว่า “การสอบธรรมศึกษา มีความจำเป็นต่อนักเรียนไทยจริงหรือไม่ ?” ปัญหาที่เกิดขึ้นในสนามสอบธรรมศึกษานั้นเกิดขึ้นทุกปีจนกลายเป็นปัญหาเรื้อรัง เช่น การโกงข้อสอบ การลอกข้อสอบ การบอกข้อสอบโดยตรง ด้วยปัญหาที่เกิดขึ้นมานี้ทำให้บ่อยครั้งที่มีการเกิดการเรียกร้องให้มีการชำแหละการสอบธรรมศึกษา ถึงเวลาแล้วหรือยังที่การศึกษาไทยควรปรับเปลี่ยน ไม่ใช่แค่เรียนเพื่อจำแล้วนำไปสอบเลื่อนขั้น แล้วการสอบธรรมศึกษาสามารถวัดอะไรได้ในตัวเด็ก ๆ การที่เด็กสอบไม่ผ่านสามารถบ่งบอกได้หรือไม่ว่าบุคคลนั้นไม่เข้าใจในหลักพุทธธรรม แล้วผู้ที่สอบผ่านสามารถถูกยกย่องว่าเป็นพุทธศาสนิกชนที่ดีได้เลยหรือไม่ ? การจัดสอบธรรมศึกษา จะเป็นการสร้างประโยชน์ให้ใคร หรือใครได้ผลประโยชน์จากการสอบครั้งนี้ แล้วนักเรียนได้อะไรจากการสอบธรรมศึกษาหรือได้แค่เกียรติบัตรไว้เพื่อตั้งโชว์เฉย ๆ ? แล้วผู้อ่านล่ะคะ มีความคิดเห็นว่าอย่างไรกัน ยังจำเป็นหรือไม่ ที่ต้องมีการสอบธรรมศึกษา ? EZ Webmaster Related Posts ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง TK Park พาเปิดบทเรียนอันทรงคุณค่า จาก “คุณหญิงกษมา” กว่า 50 ปี บนเส้นทางการศึกษา กับบทบาทผู้ต่อจิ๊กซอว์ “การเรียนรู้” ให้สังคมไทย พร้อมเจาะ “7 บทเรียนที่ต้องเรียนรู้” พาไทยสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ได้แบบไม่รู้จบ Post navigation PREVIOUS Previous post: OPEN HOUSE สวนสุนันทา เปิดบ้านออนไลน์ ทุกคณะ ทุกสาขามาพบเต็มอิ่มจุใจ 2 วันรวดNEXT Next post: สรุป #เลื่อนสอบ เหตุใดนักเรียนม.6 จึงมาเรียกร้องขอเลื่อนสอบ TCAS ? Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI…
รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI…
8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster March 17, 2021 EZ Webmaster March 17, 2021 การจัดสอบธรรมศึกษา ยังจำเป็นหรือไม่ ? “ธรรมศึกษา ยังจำเป็นต้องสอบหรือไม่ ?” สวัสดีค่ะ วันนี้ทีมงาน Eduzones มีหัวข้อที่น่าสนใจมานำเสนอ และอยากให้ทุกคนมาแสดงความคิดเห็นร่วมกัน เกี่ยวกับวิชาธรรมศึกษา ธรรมศึกษานั้นเป็นวิชาเรียนเกี่ยวกับพุทธศาสนา ในอดีตมีสำหรับภิกษุสามเณร แต่ในปัจจุบันนั้นก็ได้มีการเรียนการสอนสำหรับบุคคลธรรมดาทั่วไปด้วย ซึ่งหลาย ๆ คนน่าจะคุ้นเคยกันดีเพราะอาจจะเคยผ่านการสอบมาแล้วด้วยซ้ำ และปัจจุบันนี้ก็ยังมีการสอบธรรมสนามหลวงของน้อง ๆ วัยมัธยม ซึ่งจะจัดสอบขึ้นทุกปี ถ้านับจากก่อกำเนิดวิชานี้ขึ้นมา จนถึงปัจจุบันก็รวม ๆ ร้อยกว่าปีแล้ว แต่การสอบธรรมศึกษานั้นไม่ได้ส่งผลต่อเกรดหรือการเรียนต่อมหาวิทยาลัย ซึ่งเหตุนี้เองจึงเกิดประเด็นให้ผู้คนได้ขบคิดกันว่าแล้วการสอบธรรมศึกษา สอบไปเพื่ออะไร และมีประโยชน์ต่อผู้สอบจริงหรือไม่ ? ธรรมศึกษาคืออะไร ? ธรรมศึกษา มาจากการศึกษาพระพุทธศาสนาของไทยตั้งแต่สมัยโบราณ ในอดีตธรรมศึกษาจะเป็นวิชาเรียนสำหรับภิกษุสามเณร ซึ่งศึกษาเป็นภาษาบาลี ที่เรียกว่า การศึกษาพระปริยัติธรรม แต่ว่าเป็นสิ่งที่เรียนยากสำหรับสามเณรทั่วไป จึงส่งผลให้ภิกษุสามเณรมีความรู้ในด้านนี้น้อย และไม่มีใครช่วยพระในกิจการทางศาสนาทั้งด้านความรู้ การปกครอง หรือสั่งสอนประชาชน ก็เลยให้มีวิชาธรรมศึกษาขึ้นมา ในปี พ.ศ.2435 และได้มีเรียนการสอนเป็นภาษาไทย จนปี พ.ศ. 2454 มีการจัดสอบขึ้นครั้งแรก ต่อจากนั้นมาก็ได้มีการปรับเปลี่ยนหลักสูตรตลอดมา ต่อมา พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหลวงชินวรสิริวัฒน์ สมเด็จพระสังฆราชเจ้า วัดราชบพิธฯ เลยเห็นว่า การศึกษาวิชาธรรมศึกษา ไม่ได้มีประโยชน์ต่อทางพุทธศาสนาเท่านั้น แต่อาจจะให้ประโยชน์กับคนทั่วไปด้วย โดยเฉพาะข้าราชการครู เลยเกิดหลักสูตรนักธรรมสำหรับฆราวาสขึ้น เรียกว่า ธรรมศึกษา โดยมี 3 ชั้น คือ ชั้นตรี ชั้นโท ชั้นเอก ซึ่งมีเนื้อหาแบบเดียวกันกับหลักสูตรนักธรรมของภิกษุสามเณร ซึ่งได้เปิดสอบธรรมศึกษาตรีครั้งแรก เมื่อ พ.ศ. 2472 และเปิดสอบครบทุกชั้นในเวลาต่อมา หลักสูตรธรรมศึกษาที่ใช้ในปัจจุบัน มีอะไรบ้าง ? วิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม เรียงความกระทู้ธรรม คือ การเขียนเรียงความอธิบายเนื้อหาให้ตามที่ธรรมสุภาษิตที่กำหนดให้ โดยอ้างอิงเหตุผลจากหนังสือพุทธสุภาษิต ให้สอดคล้องกันและสมเหตุสมผล และการตอบนั้นควรตอบจำนวน 2 หน้าขึ้นไป โดยมีการเว้นบรรทัด วิชาธรรมวิภาค ธรรมวิภาค คือ การจัดหมวดหมู่ แยกแยะธรรมะไว้เป็นหมวด หรือหัวข้อเพื่อให้ง่ายต่อการศึกษา โดยวิชาธรรมวิภาคเป็นการตอบคำถามตามที่กำหนดให้ โดยอ้างอิงจากหนังสือนวโกวาทแผนกธรรมวิภาคและคิหิปฏิบัติ วิชาอนุพุทธประวัติ อนุพุทธประวัติ คือ เรื่องที่กล่าวถึงความเป็นไปในชีวประวัติ และปฏิปทาของหมู่ชนผู้ได้สดับฟังคำสั่งสอนของพระบรมศาสดา แล้วนำไปประพฤติปฏิบัติตามคำสั่งสอนนั้น แล้วรู้ตามจนสามารถดับกิเลสได้โดยสิ้นเชิง โดยจำเป็นการตอบคำถามที่เกี่ยวกับชีวประวัติของพระสาวก อ้างอิงจากหนังสืออนุพุทธประวัติ พระนิพนธ์ สมเด็จพระสังฆราช (สา ปุสฺสเทวมหาเถร) และศาสนพิธี เล่ม 2 ขององค์การศึกษา วิชาวินัย วินัย คือ พุทธบัญญัติเกี่ยวกับความประพฤติ ความเป็นอยู่ ขนบธรรมเนียมและการดำเนินกิจการต่างๆ ของภิกษุสงฆ์และภิกษุณีสงฆ์ โดยการตอบข้อสอบวิชาวินัยจะอ้างอิงจากหนังสืออุโบสถศีลของพระศรีรัตนโมลี (ชัยวัฒน์ ปญฺญาสิริ) โดยข้อสอบธรรมศึกษานั้น จะมีทั้งข้อกาและข้อเขียน ซึ่งก่อนการสอบจะต้องมีการเรียนเพิ่มเติม เช่น อ่านหนังสือ หรือการติวโดยคุณครูในโรงเรียนหรือจากพระสงฆ์โดยตรง ในปัจจุบันยังมีจัดสอบธรรมศึกษาขึ้นทุกปี หรือที่เรียกว่าสอบไล่นักธรรม และถึงแม้จะมีการสอบมาทุกปีก็ตาม แต่ก็ยังมีกระแสที่ต้องทำให้พูดถึงความสำคัญของการสอบธรรมศึกษาของเด็กนักเรียนอยู่เสมอ จนไปถึงประเด็นที่มีการสนับสนุนชำแหละการบังคับสอบธรรมศึกษาของสื่อสังคมออนไลน์หลายแหล่ง ซึ่งมีเนื้อความและเหตุผลที่เห็นสมควรว่าควรชำแหละการบังคับสอบธรรมศึกษานั้นจะมีลักษณะเดียวกัน เช่น นักเรียนบางคนไม่ได้นับถือศาสนาพุทธแต่ต้องโดนทางโรงเรียนบังคับสอบ การโกงระหว่างการสอบ การได้ประโยชน์ในการเลื่อนตำแหน่งของสงฆ์ ความรู้ในข้อสอบนั้นไม่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้จริง คะแนนการสอบไม่มีผลต่อการยื่นเข้ามหาวิทยาลัย หลักสูตรธรรมศึกษานั้นมีมานานกว่าร้อยปีในขณะที่การศึกษาปัจจุบันพัฒนาไปไกลแล้ว ปัยหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นทำให้ผู้คนส่วนใหญ่ไม่เข้าใจในจุดประสงค์ของการสอบธรรมศึกษา ซึ่งมีบ่อยครั้งที่คำถามเหล่านี้ปรากฎตามเว็บไซต์ต่าง ๆ โดยเฉพาะเว็บบอร์ดที่สามารถถาม-ตอบได้ อย่าง www.pantip.com ทำไมถึงมีการตั้งคำถามว่าทำไมต้องสอบ ? อย่างที่เรารู้กันดีว่าวิชาธรรมศึกษานั้นมีมาเป็นร้อยปี แต่ทำไมผู้คนที่สอบวิชานี้ถึงไม่เข้าใจในวัตถุประสงค์ของการสอบ นั่นก็อาจจะเป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นว่าการจัดสอบธรรมศึกษาไม่ได้ให้ประโยชน์กับผู้ที่สอบ มิหนำซ้ำผู้คนมากมายยังออกมาเรียกร้องให้มีการชำแหละระบบการสอบอีกด้วย นอกจากการตั้งคำถามในกระทู้ pantip.com แล้ว ยังมีการแสดงความคิดเห็นจากการตั้งกระทู้บนเฟซบุ๊ก Wiriyah Eduzones โดย ท่าน ดร.วิริยะ ผู้ก่อตั้ง Eduzones.com เกี่ยวกับประเด็นการสอบวิชาธรรมศึกษา ซึ่งความคิดเห็นมีทั้งเนื้อหาที่แสดงถึงการไม่เห็นด้วยและการสนับสนุนให้มีการสอบธรรมศึกษาต่อไป ทุกประเด็นที่มีการพูดถึงการสอบธรรมศึกษา ส่งผลให้ย้อนกลับมาคิดว่า “การสอบธรรมศึกษา มีความจำเป็นต่อนักเรียนไทยจริงหรือไม่ ?” ปัญหาที่เกิดขึ้นในสนามสอบธรรมศึกษานั้นเกิดขึ้นทุกปีจนกลายเป็นปัญหาเรื้อรัง เช่น การโกงข้อสอบ การลอกข้อสอบ การบอกข้อสอบโดยตรง ด้วยปัญหาที่เกิดขึ้นมานี้ทำให้บ่อยครั้งที่มีการเกิดการเรียกร้องให้มีการชำแหละการสอบธรรมศึกษา ถึงเวลาแล้วหรือยังที่การศึกษาไทยควรปรับเปลี่ยน ไม่ใช่แค่เรียนเพื่อจำแล้วนำไปสอบเลื่อนขั้น แล้วการสอบธรรมศึกษาสามารถวัดอะไรได้ในตัวเด็ก ๆ การที่เด็กสอบไม่ผ่านสามารถบ่งบอกได้หรือไม่ว่าบุคคลนั้นไม่เข้าใจในหลักพุทธธรรม แล้วผู้ที่สอบผ่านสามารถถูกยกย่องว่าเป็นพุทธศาสนิกชนที่ดีได้เลยหรือไม่ ? การจัดสอบธรรมศึกษา จะเป็นการสร้างประโยชน์ให้ใคร หรือใครได้ผลประโยชน์จากการสอบครั้งนี้ แล้วนักเรียนได้อะไรจากการสอบธรรมศึกษาหรือได้แค่เกียรติบัตรไว้เพื่อตั้งโชว์เฉย ๆ ? แล้วผู้อ่านล่ะคะ มีความคิดเห็นว่าอย่างไรกัน ยังจำเป็นหรือไม่ ที่ต้องมีการสอบธรรมศึกษา ? EZ Webmaster Related Posts ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง TK Park พาเปิดบทเรียนอันทรงคุณค่า จาก “คุณหญิงกษมา” กว่า 50 ปี บนเส้นทางการศึกษา กับบทบาทผู้ต่อจิ๊กซอว์ “การเรียนรู้” ให้สังคมไทย พร้อมเจาะ “7 บทเรียนที่ต้องเรียนรู้” พาไทยสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ได้แบบไม่รู้จบ Post navigation PREVIOUS Previous post: OPEN HOUSE สวนสุนันทา เปิดบ้านออนไลน์ ทุกคณะ ทุกสาขามาพบเต็มอิ่มจุใจ 2 วันรวดNEXT Next post: สรุป #เลื่อนสอบ เหตุใดนักเรียนม.6 จึงมาเรียกร้องขอเลื่อนสอบ TCAS ? Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster March 17, 2021 EZ Webmaster March 17, 2021 การจัดสอบธรรมศึกษา ยังจำเป็นหรือไม่ ? “ธรรมศึกษา ยังจำเป็นต้องสอบหรือไม่ ?” สวัสดีค่ะ วันนี้ทีมงาน Eduzones มีหัวข้อที่น่าสนใจมานำเสนอ และอยากให้ทุกคนมาแสดงความคิดเห็นร่วมกัน เกี่ยวกับวิชาธรรมศึกษา ธรรมศึกษานั้นเป็นวิชาเรียนเกี่ยวกับพุทธศาสนา ในอดีตมีสำหรับภิกษุสามเณร แต่ในปัจจุบันนั้นก็ได้มีการเรียนการสอนสำหรับบุคคลธรรมดาทั่วไปด้วย ซึ่งหลาย ๆ คนน่าจะคุ้นเคยกันดีเพราะอาจจะเคยผ่านการสอบมาแล้วด้วยซ้ำ และปัจจุบันนี้ก็ยังมีการสอบธรรมสนามหลวงของน้อง ๆ วัยมัธยม ซึ่งจะจัดสอบขึ้นทุกปี ถ้านับจากก่อกำเนิดวิชานี้ขึ้นมา จนถึงปัจจุบันก็รวม ๆ ร้อยกว่าปีแล้ว แต่การสอบธรรมศึกษานั้นไม่ได้ส่งผลต่อเกรดหรือการเรียนต่อมหาวิทยาลัย ซึ่งเหตุนี้เองจึงเกิดประเด็นให้ผู้คนได้ขบคิดกันว่าแล้วการสอบธรรมศึกษา สอบไปเพื่ออะไร และมีประโยชน์ต่อผู้สอบจริงหรือไม่ ? ธรรมศึกษาคืออะไร ? ธรรมศึกษา มาจากการศึกษาพระพุทธศาสนาของไทยตั้งแต่สมัยโบราณ ในอดีตธรรมศึกษาจะเป็นวิชาเรียนสำหรับภิกษุสามเณร ซึ่งศึกษาเป็นภาษาบาลี ที่เรียกว่า การศึกษาพระปริยัติธรรม แต่ว่าเป็นสิ่งที่เรียนยากสำหรับสามเณรทั่วไป จึงส่งผลให้ภิกษุสามเณรมีความรู้ในด้านนี้น้อย และไม่มีใครช่วยพระในกิจการทางศาสนาทั้งด้านความรู้ การปกครอง หรือสั่งสอนประชาชน ก็เลยให้มีวิชาธรรมศึกษาขึ้นมา ในปี พ.ศ.2435 และได้มีเรียนการสอนเป็นภาษาไทย จนปี พ.ศ. 2454 มีการจัดสอบขึ้นครั้งแรก ต่อจากนั้นมาก็ได้มีการปรับเปลี่ยนหลักสูตรตลอดมา ต่อมา พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหลวงชินวรสิริวัฒน์ สมเด็จพระสังฆราชเจ้า วัดราชบพิธฯ เลยเห็นว่า การศึกษาวิชาธรรมศึกษา ไม่ได้มีประโยชน์ต่อทางพุทธศาสนาเท่านั้น แต่อาจจะให้ประโยชน์กับคนทั่วไปด้วย โดยเฉพาะข้าราชการครู เลยเกิดหลักสูตรนักธรรมสำหรับฆราวาสขึ้น เรียกว่า ธรรมศึกษา โดยมี 3 ชั้น คือ ชั้นตรี ชั้นโท ชั้นเอก ซึ่งมีเนื้อหาแบบเดียวกันกับหลักสูตรนักธรรมของภิกษุสามเณร ซึ่งได้เปิดสอบธรรมศึกษาตรีครั้งแรก เมื่อ พ.ศ. 2472 และเปิดสอบครบทุกชั้นในเวลาต่อมา หลักสูตรธรรมศึกษาที่ใช้ในปัจจุบัน มีอะไรบ้าง ? วิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม เรียงความกระทู้ธรรม คือ การเขียนเรียงความอธิบายเนื้อหาให้ตามที่ธรรมสุภาษิตที่กำหนดให้ โดยอ้างอิงเหตุผลจากหนังสือพุทธสุภาษิต ให้สอดคล้องกันและสมเหตุสมผล และการตอบนั้นควรตอบจำนวน 2 หน้าขึ้นไป โดยมีการเว้นบรรทัด วิชาธรรมวิภาค ธรรมวิภาค คือ การจัดหมวดหมู่ แยกแยะธรรมะไว้เป็นหมวด หรือหัวข้อเพื่อให้ง่ายต่อการศึกษา โดยวิชาธรรมวิภาคเป็นการตอบคำถามตามที่กำหนดให้ โดยอ้างอิงจากหนังสือนวโกวาทแผนกธรรมวิภาคและคิหิปฏิบัติ วิชาอนุพุทธประวัติ อนุพุทธประวัติ คือ เรื่องที่กล่าวถึงความเป็นไปในชีวประวัติ และปฏิปทาของหมู่ชนผู้ได้สดับฟังคำสั่งสอนของพระบรมศาสดา แล้วนำไปประพฤติปฏิบัติตามคำสั่งสอนนั้น แล้วรู้ตามจนสามารถดับกิเลสได้โดยสิ้นเชิง โดยจำเป็นการตอบคำถามที่เกี่ยวกับชีวประวัติของพระสาวก อ้างอิงจากหนังสืออนุพุทธประวัติ พระนิพนธ์ สมเด็จพระสังฆราช (สา ปุสฺสเทวมหาเถร) และศาสนพิธี เล่ม 2 ขององค์การศึกษา วิชาวินัย วินัย คือ พุทธบัญญัติเกี่ยวกับความประพฤติ ความเป็นอยู่ ขนบธรรมเนียมและการดำเนินกิจการต่างๆ ของภิกษุสงฆ์และภิกษุณีสงฆ์ โดยการตอบข้อสอบวิชาวินัยจะอ้างอิงจากหนังสืออุโบสถศีลของพระศรีรัตนโมลี (ชัยวัฒน์ ปญฺญาสิริ) โดยข้อสอบธรรมศึกษานั้น จะมีทั้งข้อกาและข้อเขียน ซึ่งก่อนการสอบจะต้องมีการเรียนเพิ่มเติม เช่น อ่านหนังสือ หรือการติวโดยคุณครูในโรงเรียนหรือจากพระสงฆ์โดยตรง ในปัจจุบันยังมีจัดสอบธรรมศึกษาขึ้นทุกปี หรือที่เรียกว่าสอบไล่นักธรรม และถึงแม้จะมีการสอบมาทุกปีก็ตาม แต่ก็ยังมีกระแสที่ต้องทำให้พูดถึงความสำคัญของการสอบธรรมศึกษาของเด็กนักเรียนอยู่เสมอ จนไปถึงประเด็นที่มีการสนับสนุนชำแหละการบังคับสอบธรรมศึกษาของสื่อสังคมออนไลน์หลายแหล่ง ซึ่งมีเนื้อความและเหตุผลที่เห็นสมควรว่าควรชำแหละการบังคับสอบธรรมศึกษานั้นจะมีลักษณะเดียวกัน เช่น นักเรียนบางคนไม่ได้นับถือศาสนาพุทธแต่ต้องโดนทางโรงเรียนบังคับสอบ การโกงระหว่างการสอบ การได้ประโยชน์ในการเลื่อนตำแหน่งของสงฆ์ ความรู้ในข้อสอบนั้นไม่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้จริง คะแนนการสอบไม่มีผลต่อการยื่นเข้ามหาวิทยาลัย หลักสูตรธรรมศึกษานั้นมีมานานกว่าร้อยปีในขณะที่การศึกษาปัจจุบันพัฒนาไปไกลแล้ว ปัยหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นทำให้ผู้คนส่วนใหญ่ไม่เข้าใจในจุดประสงค์ของการสอบธรรมศึกษา ซึ่งมีบ่อยครั้งที่คำถามเหล่านี้ปรากฎตามเว็บไซต์ต่าง ๆ โดยเฉพาะเว็บบอร์ดที่สามารถถาม-ตอบได้ อย่าง www.pantip.com ทำไมถึงมีการตั้งคำถามว่าทำไมต้องสอบ ? อย่างที่เรารู้กันดีว่าวิชาธรรมศึกษานั้นมีมาเป็นร้อยปี แต่ทำไมผู้คนที่สอบวิชานี้ถึงไม่เข้าใจในวัตถุประสงค์ของการสอบ นั่นก็อาจจะเป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นว่าการจัดสอบธรรมศึกษาไม่ได้ให้ประโยชน์กับผู้ที่สอบ มิหนำซ้ำผู้คนมากมายยังออกมาเรียกร้องให้มีการชำแหละระบบการสอบอีกด้วย นอกจากการตั้งคำถามในกระทู้ pantip.com แล้ว ยังมีการแสดงความคิดเห็นจากการตั้งกระทู้บนเฟซบุ๊ก Wiriyah Eduzones โดย ท่าน ดร.วิริยะ ผู้ก่อตั้ง Eduzones.com เกี่ยวกับประเด็นการสอบวิชาธรรมศึกษา ซึ่งความคิดเห็นมีทั้งเนื้อหาที่แสดงถึงการไม่เห็นด้วยและการสนับสนุนให้มีการสอบธรรมศึกษาต่อไป ทุกประเด็นที่มีการพูดถึงการสอบธรรมศึกษา ส่งผลให้ย้อนกลับมาคิดว่า “การสอบธรรมศึกษา มีความจำเป็นต่อนักเรียนไทยจริงหรือไม่ ?” ปัญหาที่เกิดขึ้นในสนามสอบธรรมศึกษานั้นเกิดขึ้นทุกปีจนกลายเป็นปัญหาเรื้อรัง เช่น การโกงข้อสอบ การลอกข้อสอบ การบอกข้อสอบโดยตรง ด้วยปัญหาที่เกิดขึ้นมานี้ทำให้บ่อยครั้งที่มีการเกิดการเรียกร้องให้มีการชำแหละการสอบธรรมศึกษา ถึงเวลาแล้วหรือยังที่การศึกษาไทยควรปรับเปลี่ยน ไม่ใช่แค่เรียนเพื่อจำแล้วนำไปสอบเลื่อนขั้น แล้วการสอบธรรมศึกษาสามารถวัดอะไรได้ในตัวเด็ก ๆ การที่เด็กสอบไม่ผ่านสามารถบ่งบอกได้หรือไม่ว่าบุคคลนั้นไม่เข้าใจในหลักพุทธธรรม แล้วผู้ที่สอบผ่านสามารถถูกยกย่องว่าเป็นพุทธศาสนิกชนที่ดีได้เลยหรือไม่ ? การจัดสอบธรรมศึกษา จะเป็นการสร้างประโยชน์ให้ใคร หรือใครได้ผลประโยชน์จากการสอบครั้งนี้ แล้วนักเรียนได้อะไรจากการสอบธรรมศึกษาหรือได้แค่เกียรติบัตรไว้เพื่อตั้งโชว์เฉย ๆ ? แล้วผู้อ่านล่ะคะ มีความคิดเห็นว่าอย่างไรกัน ยังจำเป็นหรือไม่ ที่ต้องมีการสอบธรรมศึกษา ? EZ Webmaster Related Posts ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง TK Park พาเปิดบทเรียนอันทรงคุณค่า จาก “คุณหญิงกษมา” กว่า 50 ปี บนเส้นทางการศึกษา กับบทบาทผู้ต่อจิ๊กซอว์ “การเรียนรู้” ให้สังคมไทย พร้อมเจาะ “7 บทเรียนที่ต้องเรียนรู้” พาไทยสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ได้แบบไม่รู้จบ Post navigation PREVIOUS Previous post: OPEN HOUSE สวนสุนันทา เปิดบ้านออนไลน์ ทุกคณะ ทุกสาขามาพบเต็มอิ่มจุใจ 2 วันรวดNEXT Next post: สรุป #เลื่อนสอบ เหตุใดนักเรียนม.6 จึงมาเรียกร้องขอเลื่อนสอบ TCAS ? Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่…
รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่…
คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster March 17, 2021 EZ Webmaster March 17, 2021 การจัดสอบธรรมศึกษา ยังจำเป็นหรือไม่ ? “ธรรมศึกษา ยังจำเป็นต้องสอบหรือไม่ ?” สวัสดีค่ะ วันนี้ทีมงาน Eduzones มีหัวข้อที่น่าสนใจมานำเสนอ และอยากให้ทุกคนมาแสดงความคิดเห็นร่วมกัน เกี่ยวกับวิชาธรรมศึกษา ธรรมศึกษานั้นเป็นวิชาเรียนเกี่ยวกับพุทธศาสนา ในอดีตมีสำหรับภิกษุสามเณร แต่ในปัจจุบันนั้นก็ได้มีการเรียนการสอนสำหรับบุคคลธรรมดาทั่วไปด้วย ซึ่งหลาย ๆ คนน่าจะคุ้นเคยกันดีเพราะอาจจะเคยผ่านการสอบมาแล้วด้วยซ้ำ และปัจจุบันนี้ก็ยังมีการสอบธรรมสนามหลวงของน้อง ๆ วัยมัธยม ซึ่งจะจัดสอบขึ้นทุกปี ถ้านับจากก่อกำเนิดวิชานี้ขึ้นมา จนถึงปัจจุบันก็รวม ๆ ร้อยกว่าปีแล้ว แต่การสอบธรรมศึกษานั้นไม่ได้ส่งผลต่อเกรดหรือการเรียนต่อมหาวิทยาลัย ซึ่งเหตุนี้เองจึงเกิดประเด็นให้ผู้คนได้ขบคิดกันว่าแล้วการสอบธรรมศึกษา สอบไปเพื่ออะไร และมีประโยชน์ต่อผู้สอบจริงหรือไม่ ? ธรรมศึกษาคืออะไร ? ธรรมศึกษา มาจากการศึกษาพระพุทธศาสนาของไทยตั้งแต่สมัยโบราณ ในอดีตธรรมศึกษาจะเป็นวิชาเรียนสำหรับภิกษุสามเณร ซึ่งศึกษาเป็นภาษาบาลี ที่เรียกว่า การศึกษาพระปริยัติธรรม แต่ว่าเป็นสิ่งที่เรียนยากสำหรับสามเณรทั่วไป จึงส่งผลให้ภิกษุสามเณรมีความรู้ในด้านนี้น้อย และไม่มีใครช่วยพระในกิจการทางศาสนาทั้งด้านความรู้ การปกครอง หรือสั่งสอนประชาชน ก็เลยให้มีวิชาธรรมศึกษาขึ้นมา ในปี พ.ศ.2435 และได้มีเรียนการสอนเป็นภาษาไทย จนปี พ.ศ. 2454 มีการจัดสอบขึ้นครั้งแรก ต่อจากนั้นมาก็ได้มีการปรับเปลี่ยนหลักสูตรตลอดมา ต่อมา พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหลวงชินวรสิริวัฒน์ สมเด็จพระสังฆราชเจ้า วัดราชบพิธฯ เลยเห็นว่า การศึกษาวิชาธรรมศึกษา ไม่ได้มีประโยชน์ต่อทางพุทธศาสนาเท่านั้น แต่อาจจะให้ประโยชน์กับคนทั่วไปด้วย โดยเฉพาะข้าราชการครู เลยเกิดหลักสูตรนักธรรมสำหรับฆราวาสขึ้น เรียกว่า ธรรมศึกษา โดยมี 3 ชั้น คือ ชั้นตรี ชั้นโท ชั้นเอก ซึ่งมีเนื้อหาแบบเดียวกันกับหลักสูตรนักธรรมของภิกษุสามเณร ซึ่งได้เปิดสอบธรรมศึกษาตรีครั้งแรก เมื่อ พ.ศ. 2472 และเปิดสอบครบทุกชั้นในเวลาต่อมา หลักสูตรธรรมศึกษาที่ใช้ในปัจจุบัน มีอะไรบ้าง ? วิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม เรียงความกระทู้ธรรม คือ การเขียนเรียงความอธิบายเนื้อหาให้ตามที่ธรรมสุภาษิตที่กำหนดให้ โดยอ้างอิงเหตุผลจากหนังสือพุทธสุภาษิต ให้สอดคล้องกันและสมเหตุสมผล และการตอบนั้นควรตอบจำนวน 2 หน้าขึ้นไป โดยมีการเว้นบรรทัด วิชาธรรมวิภาค ธรรมวิภาค คือ การจัดหมวดหมู่ แยกแยะธรรมะไว้เป็นหมวด หรือหัวข้อเพื่อให้ง่ายต่อการศึกษา โดยวิชาธรรมวิภาคเป็นการตอบคำถามตามที่กำหนดให้ โดยอ้างอิงจากหนังสือนวโกวาทแผนกธรรมวิภาคและคิหิปฏิบัติ วิชาอนุพุทธประวัติ อนุพุทธประวัติ คือ เรื่องที่กล่าวถึงความเป็นไปในชีวประวัติ และปฏิปทาของหมู่ชนผู้ได้สดับฟังคำสั่งสอนของพระบรมศาสดา แล้วนำไปประพฤติปฏิบัติตามคำสั่งสอนนั้น แล้วรู้ตามจนสามารถดับกิเลสได้โดยสิ้นเชิง โดยจำเป็นการตอบคำถามที่เกี่ยวกับชีวประวัติของพระสาวก อ้างอิงจากหนังสืออนุพุทธประวัติ พระนิพนธ์ สมเด็จพระสังฆราช (สา ปุสฺสเทวมหาเถร) และศาสนพิธี เล่ม 2 ขององค์การศึกษา วิชาวินัย วินัย คือ พุทธบัญญัติเกี่ยวกับความประพฤติ ความเป็นอยู่ ขนบธรรมเนียมและการดำเนินกิจการต่างๆ ของภิกษุสงฆ์และภิกษุณีสงฆ์ โดยการตอบข้อสอบวิชาวินัยจะอ้างอิงจากหนังสืออุโบสถศีลของพระศรีรัตนโมลี (ชัยวัฒน์ ปญฺญาสิริ) โดยข้อสอบธรรมศึกษานั้น จะมีทั้งข้อกาและข้อเขียน ซึ่งก่อนการสอบจะต้องมีการเรียนเพิ่มเติม เช่น อ่านหนังสือ หรือการติวโดยคุณครูในโรงเรียนหรือจากพระสงฆ์โดยตรง ในปัจจุบันยังมีจัดสอบธรรมศึกษาขึ้นทุกปี หรือที่เรียกว่าสอบไล่นักธรรม และถึงแม้จะมีการสอบมาทุกปีก็ตาม แต่ก็ยังมีกระแสที่ต้องทำให้พูดถึงความสำคัญของการสอบธรรมศึกษาของเด็กนักเรียนอยู่เสมอ จนไปถึงประเด็นที่มีการสนับสนุนชำแหละการบังคับสอบธรรมศึกษาของสื่อสังคมออนไลน์หลายแหล่ง ซึ่งมีเนื้อความและเหตุผลที่เห็นสมควรว่าควรชำแหละการบังคับสอบธรรมศึกษานั้นจะมีลักษณะเดียวกัน เช่น นักเรียนบางคนไม่ได้นับถือศาสนาพุทธแต่ต้องโดนทางโรงเรียนบังคับสอบ การโกงระหว่างการสอบ การได้ประโยชน์ในการเลื่อนตำแหน่งของสงฆ์ ความรู้ในข้อสอบนั้นไม่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้จริง คะแนนการสอบไม่มีผลต่อการยื่นเข้ามหาวิทยาลัย หลักสูตรธรรมศึกษานั้นมีมานานกว่าร้อยปีในขณะที่การศึกษาปัจจุบันพัฒนาไปไกลแล้ว ปัยหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นทำให้ผู้คนส่วนใหญ่ไม่เข้าใจในจุดประสงค์ของการสอบธรรมศึกษา ซึ่งมีบ่อยครั้งที่คำถามเหล่านี้ปรากฎตามเว็บไซต์ต่าง ๆ โดยเฉพาะเว็บบอร์ดที่สามารถถาม-ตอบได้ อย่าง www.pantip.com ทำไมถึงมีการตั้งคำถามว่าทำไมต้องสอบ ? อย่างที่เรารู้กันดีว่าวิชาธรรมศึกษานั้นมีมาเป็นร้อยปี แต่ทำไมผู้คนที่สอบวิชานี้ถึงไม่เข้าใจในวัตถุประสงค์ของการสอบ นั่นก็อาจจะเป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นว่าการจัดสอบธรรมศึกษาไม่ได้ให้ประโยชน์กับผู้ที่สอบ มิหนำซ้ำผู้คนมากมายยังออกมาเรียกร้องให้มีการชำแหละระบบการสอบอีกด้วย นอกจากการตั้งคำถามในกระทู้ pantip.com แล้ว ยังมีการแสดงความคิดเห็นจากการตั้งกระทู้บนเฟซบุ๊ก Wiriyah Eduzones โดย ท่าน ดร.วิริยะ ผู้ก่อตั้ง Eduzones.com เกี่ยวกับประเด็นการสอบวิชาธรรมศึกษา ซึ่งความคิดเห็นมีทั้งเนื้อหาที่แสดงถึงการไม่เห็นด้วยและการสนับสนุนให้มีการสอบธรรมศึกษาต่อไป ทุกประเด็นที่มีการพูดถึงการสอบธรรมศึกษา ส่งผลให้ย้อนกลับมาคิดว่า “การสอบธรรมศึกษา มีความจำเป็นต่อนักเรียนไทยจริงหรือไม่ ?” ปัญหาที่เกิดขึ้นในสนามสอบธรรมศึกษานั้นเกิดขึ้นทุกปีจนกลายเป็นปัญหาเรื้อรัง เช่น การโกงข้อสอบ การลอกข้อสอบ การบอกข้อสอบโดยตรง ด้วยปัญหาที่เกิดขึ้นมานี้ทำให้บ่อยครั้งที่มีการเกิดการเรียกร้องให้มีการชำแหละการสอบธรรมศึกษา ถึงเวลาแล้วหรือยังที่การศึกษาไทยควรปรับเปลี่ยน ไม่ใช่แค่เรียนเพื่อจำแล้วนำไปสอบเลื่อนขั้น แล้วการสอบธรรมศึกษาสามารถวัดอะไรได้ในตัวเด็ก ๆ การที่เด็กสอบไม่ผ่านสามารถบ่งบอกได้หรือไม่ว่าบุคคลนั้นไม่เข้าใจในหลักพุทธธรรม แล้วผู้ที่สอบผ่านสามารถถูกยกย่องว่าเป็นพุทธศาสนิกชนที่ดีได้เลยหรือไม่ ? การจัดสอบธรรมศึกษา จะเป็นการสร้างประโยชน์ให้ใคร หรือใครได้ผลประโยชน์จากการสอบครั้งนี้ แล้วนักเรียนได้อะไรจากการสอบธรรมศึกษาหรือได้แค่เกียรติบัตรไว้เพื่อตั้งโชว์เฉย ๆ ? แล้วผู้อ่านล่ะคะ มีความคิดเห็นว่าอย่างไรกัน ยังจำเป็นหรือไม่ ที่ต้องมีการสอบธรรมศึกษา ? EZ Webmaster Related Posts ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง TK Park พาเปิดบทเรียนอันทรงคุณค่า จาก “คุณหญิงกษมา” กว่า 50 ปี บนเส้นทางการศึกษา กับบทบาทผู้ต่อจิ๊กซอว์ “การเรียนรู้” ให้สังคมไทย พร้อมเจาะ “7 บทเรียนที่ต้องเรียนรู้” พาไทยสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ได้แบบไม่รู้จบ Post navigation PREVIOUS Previous post: OPEN HOUSE สวนสุนันทา เปิดบ้านออนไลน์ ทุกคณะ ทุกสาขามาพบเต็มอิ่มจุใจ 2 วันรวดNEXT Next post: สรุป #เลื่อนสอบ เหตุใดนักเรียนม.6 จึงมาเรียกร้องขอเลื่อนสอบ TCAS ? Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster March 17, 2021 EZ Webmaster March 17, 2021 การจัดสอบธรรมศึกษา ยังจำเป็นหรือไม่ ? “ธรรมศึกษา ยังจำเป็นต้องสอบหรือไม่ ?” สวัสดีค่ะ วันนี้ทีมงาน Eduzones มีหัวข้อที่น่าสนใจมานำเสนอ และอยากให้ทุกคนมาแสดงความคิดเห็นร่วมกัน เกี่ยวกับวิชาธรรมศึกษา ธรรมศึกษานั้นเป็นวิชาเรียนเกี่ยวกับพุทธศาสนา ในอดีตมีสำหรับภิกษุสามเณร แต่ในปัจจุบันนั้นก็ได้มีการเรียนการสอนสำหรับบุคคลธรรมดาทั่วไปด้วย ซึ่งหลาย ๆ คนน่าจะคุ้นเคยกันดีเพราะอาจจะเคยผ่านการสอบมาแล้วด้วยซ้ำ และปัจจุบันนี้ก็ยังมีการสอบธรรมสนามหลวงของน้อง ๆ วัยมัธยม ซึ่งจะจัดสอบขึ้นทุกปี ถ้านับจากก่อกำเนิดวิชานี้ขึ้นมา จนถึงปัจจุบันก็รวม ๆ ร้อยกว่าปีแล้ว แต่การสอบธรรมศึกษานั้นไม่ได้ส่งผลต่อเกรดหรือการเรียนต่อมหาวิทยาลัย ซึ่งเหตุนี้เองจึงเกิดประเด็นให้ผู้คนได้ขบคิดกันว่าแล้วการสอบธรรมศึกษา สอบไปเพื่ออะไร และมีประโยชน์ต่อผู้สอบจริงหรือไม่ ? ธรรมศึกษาคืออะไร ? ธรรมศึกษา มาจากการศึกษาพระพุทธศาสนาของไทยตั้งแต่สมัยโบราณ ในอดีตธรรมศึกษาจะเป็นวิชาเรียนสำหรับภิกษุสามเณร ซึ่งศึกษาเป็นภาษาบาลี ที่เรียกว่า การศึกษาพระปริยัติธรรม แต่ว่าเป็นสิ่งที่เรียนยากสำหรับสามเณรทั่วไป จึงส่งผลให้ภิกษุสามเณรมีความรู้ในด้านนี้น้อย และไม่มีใครช่วยพระในกิจการทางศาสนาทั้งด้านความรู้ การปกครอง หรือสั่งสอนประชาชน ก็เลยให้มีวิชาธรรมศึกษาขึ้นมา ในปี พ.ศ.2435 และได้มีเรียนการสอนเป็นภาษาไทย จนปี พ.ศ. 2454 มีการจัดสอบขึ้นครั้งแรก ต่อจากนั้นมาก็ได้มีการปรับเปลี่ยนหลักสูตรตลอดมา ต่อมา พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหลวงชินวรสิริวัฒน์ สมเด็จพระสังฆราชเจ้า วัดราชบพิธฯ เลยเห็นว่า การศึกษาวิชาธรรมศึกษา ไม่ได้มีประโยชน์ต่อทางพุทธศาสนาเท่านั้น แต่อาจจะให้ประโยชน์กับคนทั่วไปด้วย โดยเฉพาะข้าราชการครู เลยเกิดหลักสูตรนักธรรมสำหรับฆราวาสขึ้น เรียกว่า ธรรมศึกษา โดยมี 3 ชั้น คือ ชั้นตรี ชั้นโท ชั้นเอก ซึ่งมีเนื้อหาแบบเดียวกันกับหลักสูตรนักธรรมของภิกษุสามเณร ซึ่งได้เปิดสอบธรรมศึกษาตรีครั้งแรก เมื่อ พ.ศ. 2472 และเปิดสอบครบทุกชั้นในเวลาต่อมา หลักสูตรธรรมศึกษาที่ใช้ในปัจจุบัน มีอะไรบ้าง ? วิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม เรียงความกระทู้ธรรม คือ การเขียนเรียงความอธิบายเนื้อหาให้ตามที่ธรรมสุภาษิตที่กำหนดให้ โดยอ้างอิงเหตุผลจากหนังสือพุทธสุภาษิต ให้สอดคล้องกันและสมเหตุสมผล และการตอบนั้นควรตอบจำนวน 2 หน้าขึ้นไป โดยมีการเว้นบรรทัด วิชาธรรมวิภาค ธรรมวิภาค คือ การจัดหมวดหมู่ แยกแยะธรรมะไว้เป็นหมวด หรือหัวข้อเพื่อให้ง่ายต่อการศึกษา โดยวิชาธรรมวิภาคเป็นการตอบคำถามตามที่กำหนดให้ โดยอ้างอิงจากหนังสือนวโกวาทแผนกธรรมวิภาคและคิหิปฏิบัติ วิชาอนุพุทธประวัติ อนุพุทธประวัติ คือ เรื่องที่กล่าวถึงความเป็นไปในชีวประวัติ และปฏิปทาของหมู่ชนผู้ได้สดับฟังคำสั่งสอนของพระบรมศาสดา แล้วนำไปประพฤติปฏิบัติตามคำสั่งสอนนั้น แล้วรู้ตามจนสามารถดับกิเลสได้โดยสิ้นเชิง โดยจำเป็นการตอบคำถามที่เกี่ยวกับชีวประวัติของพระสาวก อ้างอิงจากหนังสืออนุพุทธประวัติ พระนิพนธ์ สมเด็จพระสังฆราช (สา ปุสฺสเทวมหาเถร) และศาสนพิธี เล่ม 2 ขององค์การศึกษา วิชาวินัย วินัย คือ พุทธบัญญัติเกี่ยวกับความประพฤติ ความเป็นอยู่ ขนบธรรมเนียมและการดำเนินกิจการต่างๆ ของภิกษุสงฆ์และภิกษุณีสงฆ์ โดยการตอบข้อสอบวิชาวินัยจะอ้างอิงจากหนังสืออุโบสถศีลของพระศรีรัตนโมลี (ชัยวัฒน์ ปญฺญาสิริ) โดยข้อสอบธรรมศึกษานั้น จะมีทั้งข้อกาและข้อเขียน ซึ่งก่อนการสอบจะต้องมีการเรียนเพิ่มเติม เช่น อ่านหนังสือ หรือการติวโดยคุณครูในโรงเรียนหรือจากพระสงฆ์โดยตรง ในปัจจุบันยังมีจัดสอบธรรมศึกษาขึ้นทุกปี หรือที่เรียกว่าสอบไล่นักธรรม และถึงแม้จะมีการสอบมาทุกปีก็ตาม แต่ก็ยังมีกระแสที่ต้องทำให้พูดถึงความสำคัญของการสอบธรรมศึกษาของเด็กนักเรียนอยู่เสมอ จนไปถึงประเด็นที่มีการสนับสนุนชำแหละการบังคับสอบธรรมศึกษาของสื่อสังคมออนไลน์หลายแหล่ง ซึ่งมีเนื้อความและเหตุผลที่เห็นสมควรว่าควรชำแหละการบังคับสอบธรรมศึกษานั้นจะมีลักษณะเดียวกัน เช่น นักเรียนบางคนไม่ได้นับถือศาสนาพุทธแต่ต้องโดนทางโรงเรียนบังคับสอบ การโกงระหว่างการสอบ การได้ประโยชน์ในการเลื่อนตำแหน่งของสงฆ์ ความรู้ในข้อสอบนั้นไม่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้จริง คะแนนการสอบไม่มีผลต่อการยื่นเข้ามหาวิทยาลัย หลักสูตรธรรมศึกษานั้นมีมานานกว่าร้อยปีในขณะที่การศึกษาปัจจุบันพัฒนาไปไกลแล้ว ปัยหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นทำให้ผู้คนส่วนใหญ่ไม่เข้าใจในจุดประสงค์ของการสอบธรรมศึกษา ซึ่งมีบ่อยครั้งที่คำถามเหล่านี้ปรากฎตามเว็บไซต์ต่าง ๆ โดยเฉพาะเว็บบอร์ดที่สามารถถาม-ตอบได้ อย่าง www.pantip.com ทำไมถึงมีการตั้งคำถามว่าทำไมต้องสอบ ? อย่างที่เรารู้กันดีว่าวิชาธรรมศึกษานั้นมีมาเป็นร้อยปี แต่ทำไมผู้คนที่สอบวิชานี้ถึงไม่เข้าใจในวัตถุประสงค์ของการสอบ นั่นก็อาจจะเป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นว่าการจัดสอบธรรมศึกษาไม่ได้ให้ประโยชน์กับผู้ที่สอบ มิหนำซ้ำผู้คนมากมายยังออกมาเรียกร้องให้มีการชำแหละระบบการสอบอีกด้วย นอกจากการตั้งคำถามในกระทู้ pantip.com แล้ว ยังมีการแสดงความคิดเห็นจากการตั้งกระทู้บนเฟซบุ๊ก Wiriyah Eduzones โดย ท่าน ดร.วิริยะ ผู้ก่อตั้ง Eduzones.com เกี่ยวกับประเด็นการสอบวิชาธรรมศึกษา ซึ่งความคิดเห็นมีทั้งเนื้อหาที่แสดงถึงการไม่เห็นด้วยและการสนับสนุนให้มีการสอบธรรมศึกษาต่อไป ทุกประเด็นที่มีการพูดถึงการสอบธรรมศึกษา ส่งผลให้ย้อนกลับมาคิดว่า “การสอบธรรมศึกษา มีความจำเป็นต่อนักเรียนไทยจริงหรือไม่ ?” ปัญหาที่เกิดขึ้นในสนามสอบธรรมศึกษานั้นเกิดขึ้นทุกปีจนกลายเป็นปัญหาเรื้อรัง เช่น การโกงข้อสอบ การลอกข้อสอบ การบอกข้อสอบโดยตรง ด้วยปัญหาที่เกิดขึ้นมานี้ทำให้บ่อยครั้งที่มีการเกิดการเรียกร้องให้มีการชำแหละการสอบธรรมศึกษา ถึงเวลาแล้วหรือยังที่การศึกษาไทยควรปรับเปลี่ยน ไม่ใช่แค่เรียนเพื่อจำแล้วนำไปสอบเลื่อนขั้น แล้วการสอบธรรมศึกษาสามารถวัดอะไรได้ในตัวเด็ก ๆ การที่เด็กสอบไม่ผ่านสามารถบ่งบอกได้หรือไม่ว่าบุคคลนั้นไม่เข้าใจในหลักพุทธธรรม แล้วผู้ที่สอบผ่านสามารถถูกยกย่องว่าเป็นพุทธศาสนิกชนที่ดีได้เลยหรือไม่ ? การจัดสอบธรรมศึกษา จะเป็นการสร้างประโยชน์ให้ใคร หรือใครได้ผลประโยชน์จากการสอบครั้งนี้ แล้วนักเรียนได้อะไรจากการสอบธรรมศึกษาหรือได้แค่เกียรติบัตรไว้เพื่อตั้งโชว์เฉย ๆ ? แล้วผู้อ่านล่ะคะ มีความคิดเห็นว่าอย่างไรกัน ยังจำเป็นหรือไม่ ที่ต้องมีการสอบธรรมศึกษา ? EZ Webmaster Related Posts ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง TK Park พาเปิดบทเรียนอันทรงคุณค่า จาก “คุณหญิงกษมา” กว่า 50 ปี บนเส้นทางการศึกษา กับบทบาทผู้ต่อจิ๊กซอว์ “การเรียนรู้” ให้สังคมไทย พร้อมเจาะ “7 บทเรียนที่ต้องเรียนรู้” พาไทยสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ได้แบบไม่รู้จบ Post navigation PREVIOUS Previous post: OPEN HOUSE สวนสุนันทา เปิดบ้านออนไลน์ ทุกคณะ ทุกสาขามาพบเต็มอิ่มจุใจ 2 วันรวดNEXT Next post: สรุป #เลื่อนสอบ เหตุใดนักเรียนม.6 จึงมาเรียกร้องขอเลื่อนสอบ TCAS ? Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief…
เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief…
“40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster March 17, 2021 EZ Webmaster March 17, 2021 การจัดสอบธรรมศึกษา ยังจำเป็นหรือไม่ ? “ธรรมศึกษา ยังจำเป็นต้องสอบหรือไม่ ?” สวัสดีค่ะ วันนี้ทีมงาน Eduzones มีหัวข้อที่น่าสนใจมานำเสนอ และอยากให้ทุกคนมาแสดงความคิดเห็นร่วมกัน เกี่ยวกับวิชาธรรมศึกษา ธรรมศึกษานั้นเป็นวิชาเรียนเกี่ยวกับพุทธศาสนา ในอดีตมีสำหรับภิกษุสามเณร แต่ในปัจจุบันนั้นก็ได้มีการเรียนการสอนสำหรับบุคคลธรรมดาทั่วไปด้วย ซึ่งหลาย ๆ คนน่าจะคุ้นเคยกันดีเพราะอาจจะเคยผ่านการสอบมาแล้วด้วยซ้ำ และปัจจุบันนี้ก็ยังมีการสอบธรรมสนามหลวงของน้อง ๆ วัยมัธยม ซึ่งจะจัดสอบขึ้นทุกปี ถ้านับจากก่อกำเนิดวิชานี้ขึ้นมา จนถึงปัจจุบันก็รวม ๆ ร้อยกว่าปีแล้ว แต่การสอบธรรมศึกษานั้นไม่ได้ส่งผลต่อเกรดหรือการเรียนต่อมหาวิทยาลัย ซึ่งเหตุนี้เองจึงเกิดประเด็นให้ผู้คนได้ขบคิดกันว่าแล้วการสอบธรรมศึกษา สอบไปเพื่ออะไร และมีประโยชน์ต่อผู้สอบจริงหรือไม่ ? ธรรมศึกษาคืออะไร ? ธรรมศึกษา มาจากการศึกษาพระพุทธศาสนาของไทยตั้งแต่สมัยโบราณ ในอดีตธรรมศึกษาจะเป็นวิชาเรียนสำหรับภิกษุสามเณร ซึ่งศึกษาเป็นภาษาบาลี ที่เรียกว่า การศึกษาพระปริยัติธรรม แต่ว่าเป็นสิ่งที่เรียนยากสำหรับสามเณรทั่วไป จึงส่งผลให้ภิกษุสามเณรมีความรู้ในด้านนี้น้อย และไม่มีใครช่วยพระในกิจการทางศาสนาทั้งด้านความรู้ การปกครอง หรือสั่งสอนประชาชน ก็เลยให้มีวิชาธรรมศึกษาขึ้นมา ในปี พ.ศ.2435 และได้มีเรียนการสอนเป็นภาษาไทย จนปี พ.ศ. 2454 มีการจัดสอบขึ้นครั้งแรก ต่อจากนั้นมาก็ได้มีการปรับเปลี่ยนหลักสูตรตลอดมา ต่อมา พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหลวงชินวรสิริวัฒน์ สมเด็จพระสังฆราชเจ้า วัดราชบพิธฯ เลยเห็นว่า การศึกษาวิชาธรรมศึกษา ไม่ได้มีประโยชน์ต่อทางพุทธศาสนาเท่านั้น แต่อาจจะให้ประโยชน์กับคนทั่วไปด้วย โดยเฉพาะข้าราชการครู เลยเกิดหลักสูตรนักธรรมสำหรับฆราวาสขึ้น เรียกว่า ธรรมศึกษา โดยมี 3 ชั้น คือ ชั้นตรี ชั้นโท ชั้นเอก ซึ่งมีเนื้อหาแบบเดียวกันกับหลักสูตรนักธรรมของภิกษุสามเณร ซึ่งได้เปิดสอบธรรมศึกษาตรีครั้งแรก เมื่อ พ.ศ. 2472 และเปิดสอบครบทุกชั้นในเวลาต่อมา หลักสูตรธรรมศึกษาที่ใช้ในปัจจุบัน มีอะไรบ้าง ? วิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม เรียงความกระทู้ธรรม คือ การเขียนเรียงความอธิบายเนื้อหาให้ตามที่ธรรมสุภาษิตที่กำหนดให้ โดยอ้างอิงเหตุผลจากหนังสือพุทธสุภาษิต ให้สอดคล้องกันและสมเหตุสมผล และการตอบนั้นควรตอบจำนวน 2 หน้าขึ้นไป โดยมีการเว้นบรรทัด วิชาธรรมวิภาค ธรรมวิภาค คือ การจัดหมวดหมู่ แยกแยะธรรมะไว้เป็นหมวด หรือหัวข้อเพื่อให้ง่ายต่อการศึกษา โดยวิชาธรรมวิภาคเป็นการตอบคำถามตามที่กำหนดให้ โดยอ้างอิงจากหนังสือนวโกวาทแผนกธรรมวิภาคและคิหิปฏิบัติ วิชาอนุพุทธประวัติ อนุพุทธประวัติ คือ เรื่องที่กล่าวถึงความเป็นไปในชีวประวัติ และปฏิปทาของหมู่ชนผู้ได้สดับฟังคำสั่งสอนของพระบรมศาสดา แล้วนำไปประพฤติปฏิบัติตามคำสั่งสอนนั้น แล้วรู้ตามจนสามารถดับกิเลสได้โดยสิ้นเชิง โดยจำเป็นการตอบคำถามที่เกี่ยวกับชีวประวัติของพระสาวก อ้างอิงจากหนังสืออนุพุทธประวัติ พระนิพนธ์ สมเด็จพระสังฆราช (สา ปุสฺสเทวมหาเถร) และศาสนพิธี เล่ม 2 ขององค์การศึกษา วิชาวินัย วินัย คือ พุทธบัญญัติเกี่ยวกับความประพฤติ ความเป็นอยู่ ขนบธรรมเนียมและการดำเนินกิจการต่างๆ ของภิกษุสงฆ์และภิกษุณีสงฆ์ โดยการตอบข้อสอบวิชาวินัยจะอ้างอิงจากหนังสืออุโบสถศีลของพระศรีรัตนโมลี (ชัยวัฒน์ ปญฺญาสิริ) โดยข้อสอบธรรมศึกษานั้น จะมีทั้งข้อกาและข้อเขียน ซึ่งก่อนการสอบจะต้องมีการเรียนเพิ่มเติม เช่น อ่านหนังสือ หรือการติวโดยคุณครูในโรงเรียนหรือจากพระสงฆ์โดยตรง ในปัจจุบันยังมีจัดสอบธรรมศึกษาขึ้นทุกปี หรือที่เรียกว่าสอบไล่นักธรรม และถึงแม้จะมีการสอบมาทุกปีก็ตาม แต่ก็ยังมีกระแสที่ต้องทำให้พูดถึงความสำคัญของการสอบธรรมศึกษาของเด็กนักเรียนอยู่เสมอ จนไปถึงประเด็นที่มีการสนับสนุนชำแหละการบังคับสอบธรรมศึกษาของสื่อสังคมออนไลน์หลายแหล่ง ซึ่งมีเนื้อความและเหตุผลที่เห็นสมควรว่าควรชำแหละการบังคับสอบธรรมศึกษานั้นจะมีลักษณะเดียวกัน เช่น นักเรียนบางคนไม่ได้นับถือศาสนาพุทธแต่ต้องโดนทางโรงเรียนบังคับสอบ การโกงระหว่างการสอบ การได้ประโยชน์ในการเลื่อนตำแหน่งของสงฆ์ ความรู้ในข้อสอบนั้นไม่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้จริง คะแนนการสอบไม่มีผลต่อการยื่นเข้ามหาวิทยาลัย หลักสูตรธรรมศึกษานั้นมีมานานกว่าร้อยปีในขณะที่การศึกษาปัจจุบันพัฒนาไปไกลแล้ว ปัยหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นทำให้ผู้คนส่วนใหญ่ไม่เข้าใจในจุดประสงค์ของการสอบธรรมศึกษา ซึ่งมีบ่อยครั้งที่คำถามเหล่านี้ปรากฎตามเว็บไซต์ต่าง ๆ โดยเฉพาะเว็บบอร์ดที่สามารถถาม-ตอบได้ อย่าง www.pantip.com ทำไมถึงมีการตั้งคำถามว่าทำไมต้องสอบ ? อย่างที่เรารู้กันดีว่าวิชาธรรมศึกษานั้นมีมาเป็นร้อยปี แต่ทำไมผู้คนที่สอบวิชานี้ถึงไม่เข้าใจในวัตถุประสงค์ของการสอบ นั่นก็อาจจะเป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นว่าการจัดสอบธรรมศึกษาไม่ได้ให้ประโยชน์กับผู้ที่สอบ มิหนำซ้ำผู้คนมากมายยังออกมาเรียกร้องให้มีการชำแหละระบบการสอบอีกด้วย นอกจากการตั้งคำถามในกระทู้ pantip.com แล้ว ยังมีการแสดงความคิดเห็นจากการตั้งกระทู้บนเฟซบุ๊ก Wiriyah Eduzones โดย ท่าน ดร.วิริยะ ผู้ก่อตั้ง Eduzones.com เกี่ยวกับประเด็นการสอบวิชาธรรมศึกษา ซึ่งความคิดเห็นมีทั้งเนื้อหาที่แสดงถึงการไม่เห็นด้วยและการสนับสนุนให้มีการสอบธรรมศึกษาต่อไป ทุกประเด็นที่มีการพูดถึงการสอบธรรมศึกษา ส่งผลให้ย้อนกลับมาคิดว่า “การสอบธรรมศึกษา มีความจำเป็นต่อนักเรียนไทยจริงหรือไม่ ?” ปัญหาที่เกิดขึ้นในสนามสอบธรรมศึกษานั้นเกิดขึ้นทุกปีจนกลายเป็นปัญหาเรื้อรัง เช่น การโกงข้อสอบ การลอกข้อสอบ การบอกข้อสอบโดยตรง ด้วยปัญหาที่เกิดขึ้นมานี้ทำให้บ่อยครั้งที่มีการเกิดการเรียกร้องให้มีการชำแหละการสอบธรรมศึกษา ถึงเวลาแล้วหรือยังที่การศึกษาไทยควรปรับเปลี่ยน ไม่ใช่แค่เรียนเพื่อจำแล้วนำไปสอบเลื่อนขั้น แล้วการสอบธรรมศึกษาสามารถวัดอะไรได้ในตัวเด็ก ๆ การที่เด็กสอบไม่ผ่านสามารถบ่งบอกได้หรือไม่ว่าบุคคลนั้นไม่เข้าใจในหลักพุทธธรรม แล้วผู้ที่สอบผ่านสามารถถูกยกย่องว่าเป็นพุทธศาสนิกชนที่ดีได้เลยหรือไม่ ? การจัดสอบธรรมศึกษา จะเป็นการสร้างประโยชน์ให้ใคร หรือใครได้ผลประโยชน์จากการสอบครั้งนี้ แล้วนักเรียนได้อะไรจากการสอบธรรมศึกษาหรือได้แค่เกียรติบัตรไว้เพื่อตั้งโชว์เฉย ๆ ? แล้วผู้อ่านล่ะคะ มีความคิดเห็นว่าอย่างไรกัน ยังจำเป็นหรือไม่ ที่ต้องมีการสอบธรรมศึกษา ? EZ Webmaster Related Posts ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง TK Park พาเปิดบทเรียนอันทรงคุณค่า จาก “คุณหญิงกษมา” กว่า 50 ปี บนเส้นทางการศึกษา กับบทบาทผู้ต่อจิ๊กซอว์ “การเรียนรู้” ให้สังคมไทย พร้อมเจาะ “7 บทเรียนที่ต้องเรียนรู้” พาไทยสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ได้แบบไม่รู้จบ Post navigation PREVIOUS Previous post: OPEN HOUSE สวนสุนันทา เปิดบ้านออนไลน์ ทุกคณะ ทุกสาขามาพบเต็มอิ่มจุใจ 2 วันรวดNEXT Next post: สรุป #เลื่อนสอบ เหตุใดนักเรียนม.6 จึงมาเรียกร้องขอเลื่อนสอบ TCAS ? Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search
ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน…
สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน…
EZ Webmaster March 17, 2021 EZ Webmaster March 17, 2021 การจัดสอบธรรมศึกษา ยังจำเป็นหรือไม่ ? “ธรรมศึกษา ยังจำเป็นต้องสอบหรือไม่ ?” สวัสดีค่ะ วันนี้ทีมงาน Eduzones มีหัวข้อที่น่าสนใจมานำเสนอ และอยากให้ทุกคนมาแสดงความคิดเห็นร่วมกัน เกี่ยวกับวิชาธรรมศึกษา ธรรมศึกษานั้นเป็นวิชาเรียนเกี่ยวกับพุทธศาสนา ในอดีตมีสำหรับภิกษุสามเณร แต่ในปัจจุบันนั้นก็ได้มีการเรียนการสอนสำหรับบุคคลธรรมดาทั่วไปด้วย ซึ่งหลาย ๆ คนน่าจะคุ้นเคยกันดีเพราะอาจจะเคยผ่านการสอบมาแล้วด้วยซ้ำ และปัจจุบันนี้ก็ยังมีการสอบธรรมสนามหลวงของน้อง ๆ วัยมัธยม ซึ่งจะจัดสอบขึ้นทุกปี ถ้านับจากก่อกำเนิดวิชานี้ขึ้นมา จนถึงปัจจุบันก็รวม ๆ ร้อยกว่าปีแล้ว แต่การสอบธรรมศึกษานั้นไม่ได้ส่งผลต่อเกรดหรือการเรียนต่อมหาวิทยาลัย ซึ่งเหตุนี้เองจึงเกิดประเด็นให้ผู้คนได้ขบคิดกันว่าแล้วการสอบธรรมศึกษา สอบไปเพื่ออะไร และมีประโยชน์ต่อผู้สอบจริงหรือไม่ ? ธรรมศึกษาคืออะไร ? ธรรมศึกษา มาจากการศึกษาพระพุทธศาสนาของไทยตั้งแต่สมัยโบราณ ในอดีตธรรมศึกษาจะเป็นวิชาเรียนสำหรับภิกษุสามเณร ซึ่งศึกษาเป็นภาษาบาลี ที่เรียกว่า การศึกษาพระปริยัติธรรม แต่ว่าเป็นสิ่งที่เรียนยากสำหรับสามเณรทั่วไป จึงส่งผลให้ภิกษุสามเณรมีความรู้ในด้านนี้น้อย และไม่มีใครช่วยพระในกิจการทางศาสนาทั้งด้านความรู้ การปกครอง หรือสั่งสอนประชาชน ก็เลยให้มีวิชาธรรมศึกษาขึ้นมา ในปี พ.ศ.2435 และได้มีเรียนการสอนเป็นภาษาไทย จนปี พ.ศ. 2454 มีการจัดสอบขึ้นครั้งแรก ต่อจากนั้นมาก็ได้มีการปรับเปลี่ยนหลักสูตรตลอดมา ต่อมา พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหลวงชินวรสิริวัฒน์ สมเด็จพระสังฆราชเจ้า วัดราชบพิธฯ เลยเห็นว่า การศึกษาวิชาธรรมศึกษา ไม่ได้มีประโยชน์ต่อทางพุทธศาสนาเท่านั้น แต่อาจจะให้ประโยชน์กับคนทั่วไปด้วย โดยเฉพาะข้าราชการครู เลยเกิดหลักสูตรนักธรรมสำหรับฆราวาสขึ้น เรียกว่า ธรรมศึกษา โดยมี 3 ชั้น คือ ชั้นตรี ชั้นโท ชั้นเอก ซึ่งมีเนื้อหาแบบเดียวกันกับหลักสูตรนักธรรมของภิกษุสามเณร ซึ่งได้เปิดสอบธรรมศึกษาตรีครั้งแรก เมื่อ พ.ศ. 2472 และเปิดสอบครบทุกชั้นในเวลาต่อมา หลักสูตรธรรมศึกษาที่ใช้ในปัจจุบัน มีอะไรบ้าง ? วิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม เรียงความกระทู้ธรรม คือ การเขียนเรียงความอธิบายเนื้อหาให้ตามที่ธรรมสุภาษิตที่กำหนดให้ โดยอ้างอิงเหตุผลจากหนังสือพุทธสุภาษิต ให้สอดคล้องกันและสมเหตุสมผล และการตอบนั้นควรตอบจำนวน 2 หน้าขึ้นไป โดยมีการเว้นบรรทัด วิชาธรรมวิภาค ธรรมวิภาค คือ การจัดหมวดหมู่ แยกแยะธรรมะไว้เป็นหมวด หรือหัวข้อเพื่อให้ง่ายต่อการศึกษา โดยวิชาธรรมวิภาคเป็นการตอบคำถามตามที่กำหนดให้ โดยอ้างอิงจากหนังสือนวโกวาทแผนกธรรมวิภาคและคิหิปฏิบัติ วิชาอนุพุทธประวัติ อนุพุทธประวัติ คือ เรื่องที่กล่าวถึงความเป็นไปในชีวประวัติ และปฏิปทาของหมู่ชนผู้ได้สดับฟังคำสั่งสอนของพระบรมศาสดา แล้วนำไปประพฤติปฏิบัติตามคำสั่งสอนนั้น แล้วรู้ตามจนสามารถดับกิเลสได้โดยสิ้นเชิง โดยจำเป็นการตอบคำถามที่เกี่ยวกับชีวประวัติของพระสาวก อ้างอิงจากหนังสืออนุพุทธประวัติ พระนิพนธ์ สมเด็จพระสังฆราช (สา ปุสฺสเทวมหาเถร) และศาสนพิธี เล่ม 2 ขององค์การศึกษา วิชาวินัย วินัย คือ พุทธบัญญัติเกี่ยวกับความประพฤติ ความเป็นอยู่ ขนบธรรมเนียมและการดำเนินกิจการต่างๆ ของภิกษุสงฆ์และภิกษุณีสงฆ์ โดยการตอบข้อสอบวิชาวินัยจะอ้างอิงจากหนังสืออุโบสถศีลของพระศรีรัตนโมลี (ชัยวัฒน์ ปญฺญาสิริ) โดยข้อสอบธรรมศึกษานั้น จะมีทั้งข้อกาและข้อเขียน ซึ่งก่อนการสอบจะต้องมีการเรียนเพิ่มเติม เช่น อ่านหนังสือ หรือการติวโดยคุณครูในโรงเรียนหรือจากพระสงฆ์โดยตรง ในปัจจุบันยังมีจัดสอบธรรมศึกษาขึ้นทุกปี หรือที่เรียกว่าสอบไล่นักธรรม และถึงแม้จะมีการสอบมาทุกปีก็ตาม แต่ก็ยังมีกระแสที่ต้องทำให้พูดถึงความสำคัญของการสอบธรรมศึกษาของเด็กนักเรียนอยู่เสมอ จนไปถึงประเด็นที่มีการสนับสนุนชำแหละการบังคับสอบธรรมศึกษาของสื่อสังคมออนไลน์หลายแหล่ง ซึ่งมีเนื้อความและเหตุผลที่เห็นสมควรว่าควรชำแหละการบังคับสอบธรรมศึกษานั้นจะมีลักษณะเดียวกัน เช่น นักเรียนบางคนไม่ได้นับถือศาสนาพุทธแต่ต้องโดนทางโรงเรียนบังคับสอบ การโกงระหว่างการสอบ การได้ประโยชน์ในการเลื่อนตำแหน่งของสงฆ์ ความรู้ในข้อสอบนั้นไม่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้จริง คะแนนการสอบไม่มีผลต่อการยื่นเข้ามหาวิทยาลัย หลักสูตรธรรมศึกษานั้นมีมานานกว่าร้อยปีในขณะที่การศึกษาปัจจุบันพัฒนาไปไกลแล้ว ปัยหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นทำให้ผู้คนส่วนใหญ่ไม่เข้าใจในจุดประสงค์ของการสอบธรรมศึกษา ซึ่งมีบ่อยครั้งที่คำถามเหล่านี้ปรากฎตามเว็บไซต์ต่าง ๆ โดยเฉพาะเว็บบอร์ดที่สามารถถาม-ตอบได้ อย่าง www.pantip.com ทำไมถึงมีการตั้งคำถามว่าทำไมต้องสอบ ? อย่างที่เรารู้กันดีว่าวิชาธรรมศึกษานั้นมีมาเป็นร้อยปี แต่ทำไมผู้คนที่สอบวิชานี้ถึงไม่เข้าใจในวัตถุประสงค์ของการสอบ นั่นก็อาจจะเป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นว่าการจัดสอบธรรมศึกษาไม่ได้ให้ประโยชน์กับผู้ที่สอบ มิหนำซ้ำผู้คนมากมายยังออกมาเรียกร้องให้มีการชำแหละระบบการสอบอีกด้วย นอกจากการตั้งคำถามในกระทู้ pantip.com แล้ว ยังมีการแสดงความคิดเห็นจากการตั้งกระทู้บนเฟซบุ๊ก Wiriyah Eduzones โดย ท่าน ดร.วิริยะ ผู้ก่อตั้ง Eduzones.com เกี่ยวกับประเด็นการสอบวิชาธรรมศึกษา ซึ่งความคิดเห็นมีทั้งเนื้อหาที่แสดงถึงการไม่เห็นด้วยและการสนับสนุนให้มีการสอบธรรมศึกษาต่อไป ทุกประเด็นที่มีการพูดถึงการสอบธรรมศึกษา ส่งผลให้ย้อนกลับมาคิดว่า “การสอบธรรมศึกษา มีความจำเป็นต่อนักเรียนไทยจริงหรือไม่ ?” ปัญหาที่เกิดขึ้นในสนามสอบธรรมศึกษานั้นเกิดขึ้นทุกปีจนกลายเป็นปัญหาเรื้อรัง เช่น การโกงข้อสอบ การลอกข้อสอบ การบอกข้อสอบโดยตรง ด้วยปัญหาที่เกิดขึ้นมานี้ทำให้บ่อยครั้งที่มีการเกิดการเรียกร้องให้มีการชำแหละการสอบธรรมศึกษา ถึงเวลาแล้วหรือยังที่การศึกษาไทยควรปรับเปลี่ยน ไม่ใช่แค่เรียนเพื่อจำแล้วนำไปสอบเลื่อนขั้น แล้วการสอบธรรมศึกษาสามารถวัดอะไรได้ในตัวเด็ก ๆ การที่เด็กสอบไม่ผ่านสามารถบ่งบอกได้หรือไม่ว่าบุคคลนั้นไม่เข้าใจในหลักพุทธธรรม แล้วผู้ที่สอบผ่านสามารถถูกยกย่องว่าเป็นพุทธศาสนิกชนที่ดีได้เลยหรือไม่ ? การจัดสอบธรรมศึกษา จะเป็นการสร้างประโยชน์ให้ใคร หรือใครได้ผลประโยชน์จากการสอบครั้งนี้ แล้วนักเรียนได้อะไรจากการสอบธรรมศึกษาหรือได้แค่เกียรติบัตรไว้เพื่อตั้งโชว์เฉย ๆ ? แล้วผู้อ่านล่ะคะ มีความคิดเห็นว่าอย่างไรกัน ยังจำเป็นหรือไม่ ที่ต้องมีการสอบธรรมศึกษา ?
TK Park พาเปิดบทเรียนอันทรงคุณค่า จาก “คุณหญิงกษมา” กว่า 50 ปี บนเส้นทางการศึกษา กับบทบาทผู้ต่อจิ๊กซอว์ “การเรียนรู้” ให้สังคมไทย พร้อมเจาะ “7 บทเรียนที่ต้องเรียนรู้” พาไทยสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ได้แบบไม่รู้จบ