สสวท. เชิญใช้ฟรี “คลังคำศัพท์” รับเปิดเทอมใหม่ มัดรวมศัพท์ในหนังสือเรียนวิชาที่ สสวท. พัฒนา EZ WebmasterJune 19, 2025 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) เชิญครูนักเรียนใช้งาน “คลังคำศัพท์” วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี โดย สสวท.ได้จัดทำพจนานุกรมศัพท์วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี (escivocab) ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ ที่ยึดหลักการเขียนและการใช้คำศัพท์ตามเกณฑ์ของราชบัณฑิตยสถาน ซึ่งได้รวบรวมคำศัพท์ที่อยู่ในหนังสือเรียนสาระการเรียนรู้วิชาต่าง ๆ ที่ สสวท.พัฒนาและเผยแพร่ในสถานศึกษา ประกอบด้วยศัพท์บัญญัติทั้งภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และคำอธิบาย คลิกใช้งานฟรีที่คลังความรู้ SciMath สสวท. https://www.scimath.org/escivocab 11 สาเหตุลึกซึ้ง ทำไมการศึกษาไทยยังตกต่ำ? เสียงสะท้อนจากครูชนบท สู่คำถามใหญ่ของสังคม EZ WebmasterJune 19, 2025 ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ประเทศไทยกำลังเผชิญกับวิกฤตคุณภาพทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง แม้จะมีความพยายามปฏิรูปหลายครั้ง แต่กลับไม่สามารถยกระดับการเรียนรู้ให้เทียบเท่าประเทศเพื่อนบ้านได้อย่างแท้จริงนายสานิตย์ พลศรี นายกสมาคมครูชนบทจังหวัดชัยภูมิ ในหัวข้อ “สาเหตุของปัญหาคุณภาพด้านการศึกษาประเทศไทยที่ตกต่ำ” ซึ่งกำลังถูกส่งต่ออย่างกว้างขวางในโซเชียลมีเดียและกลุ่มไลน์ของคนในแวดวงการศึกษาเสียงสะท้อนจากผู้ที่อยู่ในภาคสนามจริงอย่างนายสานิตย์ ทำให้เราได้เห็นภาพที่ชัดเจนมากขึ้นว่า ปัญหาไม่ได้อยู่ที่ตัวนักเรียนหรือครูเพียงลำพัง แต่เป็นผลสะสมจากโครงสร้าง ระบบ และการบริหารที่ผิดทิศผิดทางมานานจึงเป็นการเปิดประเด็นให้สังคมได้ทบทวนร่วมกันว่า หากเราไม่เริ่ม “เปลี่ยนจริง” คุณภาพการศึกษาของไทยอาจยิ่งตกต่ำลงกว่าที่เป็นอยู่ 11… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนธารทองพิทยาคม EZ WebmasterJune 19, 2025 อีกหนึ่งความทรงจำดีๆ ในโรงเรียนธารทองพทยาคม กับโครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนธารทองพิทยาคม จ.บุรีรัมย์ วันที่ 13/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนแม่เมาะวิทยา EZ WebmasterJune 18, 2025 ความสุขเล็กๆ ในวันที่ได้ทำกิจกรรมร่วมกัน โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด พากิจกรรมดีๆ มาถึงโรงเรียนแม่เมาะวิทยา จ.ลำปาง วันที่18/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า (ครูแอน)… นักศึกษา มธ. ปักหมุดหลักสูตร ‘AI Ethics’ หนุนบริบทใหม่ของห้องเรียนทันโลก สร้างจุดยืนคนรุ่นใหม่ ‘ใช้เอไออย่างมีจริยธรรม’ พร้อมเดินหน้าวางหมุดหมายระบบการศึกษาไทย กับการปลุกการใช้เทคฯ คู่ธรรมาภิบาล คาดเริ่มเปิดลงทะเบียนพร้อมเรียนจริง สิงหาคม 68 นี้ EZ WebmasterJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) ตอกย้ำจุดยืนเชิงรุกต่อการเปลี่ยนผ่านของโลกยุคดิจิทัล ผ่านการพัฒนาหลักสูตร “AI Ethics” หรือจริยธรรมปัญญาประดิษฐ์ ภายใต้ยุทธศาสตร์ Thammasat Next Century เตรียมความพร้อมให้เยาวชนไทยมีทั้งความรู้ ความสามารถ และความรับผิดชอบในการใช้งานเทคโนโลยีอย่างเหมาะสม โดยเฉพาะในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อที่ปัญญาประดิษฐ์กำลังกลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวัน ทั้งในห้องเรียน ที่ทำงาน และบนแพลตฟอร์มออนไลน์ต่าง ๆ โดยหลักสูตรนี้ถูกวางให้เป็นรากฐานสำคัญของระบบการศึกษายุคใหม่ ที่ไม่เพียงเน้นทักษะด้านเทคนิคเท่านั้น แต่ยังปลูกฝังค่านิยมที่ถูกต้องในการอยู่ร่วมกับเทคโนโลยี พร้อมชี้ให้เห็นถึงความเสี่ยงของ AI ที่เกิดจาก… 11 สาเหตุลึกซึ้ง ทำไมการศึกษาไทยยังตกต่ำ? เสียงสะท้อนจากครูชนบท สู่คำถามใหญ่ของสังคม EZ WebmasterJune 19, 2025 ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ประเทศไทยกำลังเผชิญกับวิกฤตคุณภาพทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง แม้จะมีความพยายามปฏิรูปหลายครั้ง แต่กลับไม่สามารถยกระดับการเรียนรู้ให้เทียบเท่าประเทศเพื่อนบ้านได้อย่างแท้จริงนายสานิตย์ พลศรี นายกสมาคมครูชนบทจังหวัดชัยภูมิ ในหัวข้อ “สาเหตุของปัญหาคุณภาพด้านการศึกษาประเทศไทยที่ตกต่ำ” ซึ่งกำลังถูกส่งต่ออย่างกว้างขวางในโซเชียลมีเดียและกลุ่มไลน์ของคนในแวดวงการศึกษาเสียงสะท้อนจากผู้ที่อยู่ในภาคสนามจริงอย่างนายสานิตย์ ทำให้เราได้เห็นภาพที่ชัดเจนมากขึ้นว่า ปัญหาไม่ได้อยู่ที่ตัวนักเรียนหรือครูเพียงลำพัง แต่เป็นผลสะสมจากโครงสร้าง ระบบ และการบริหารที่ผิดทิศผิดทางมานานจึงเป็นการเปิดประเด็นให้สังคมได้ทบทวนร่วมกันว่า หากเราไม่เริ่ม “เปลี่ยนจริง” คุณภาพการศึกษาของไทยอาจยิ่งตกต่ำลงกว่าที่เป็นอยู่ 11… ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา EZ WebmasterJune 18, 2025 วิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิทักษ์ ธรรมวาริน (คนที่ 4 จากซ้าย) คณบดีวิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สจล. และ Mr. Alfonso Martin (คนที่ 3… คณะมนุษยศาสตร์ ม.หอการค้าไทย จัดหลักสูตรรุกหน้าการันตี “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน!!” EZ WebmasterJune 18, 2025 “ภาษา” มิใช่เพียงเครื่องมือสื่อสารแต่เป็นกุญแจสำคัญในการเรียนรู้และเข้าใจวัฒนธรรม การคิดวิเคราะห์และสร้างสรรค์นวัตกรรม ผู้ที่มีทักษะด้านภาษาที่แข็งแกร่งจะสามารถเป็นข้อได้เปรียบหรือประสบความสำเร็จได้ในโลกที่เปลี่ยนแปลงและผู้คนทั่วโลกเชื่อมโยงสื่อสารถึงกันได้ในพริบตาแม้จะต่างชาติ ต่างภาษา ต่างวัฒนธรรม การเรียนรู้ฝึกฝนมีทักษะภาษาจึงมิใช่แค่รู้หรือพูดภาษานานาชาติได้เท่านั้น แต่การเรียนภาษาให้มีรายได้ดี มีอาชีพมั่นคง เป็นมนุษย์เงินเดือนอิสระ ถึงขั้นการันตีได้ว่า “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน !!! นั้นก็เป็นสิ่งเพิ่มมูลค่าและมีคุณค่าอย่างน่าภูมิใจ เฉกเช่นที่ล่าสุด Miss World… ทุนดีดี Kazan Global Youth Summit InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 19, 2025 เชิญเยาวชนสมัครคัดเลือกเข้าร่วมการประชุม Kazan Global Youth Summit ครั้งที่ 4 ระหว่างวันที่ 27 – 30 สิงหาคม 2568 ณ เมืองคาซาน สาธารณรัฐตาตาร์สตาน สหพันธรัฐรัสเซีย จัดโดยรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐตาตาร์สตาน… SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… ครู-อาจารย์ มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ… สจล. เดินหน้ากระชับความร่วมมือทางวิชาการ กับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของจีน EZ WebmasterJune 19, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เดินหน้ากระชับความสัมพันธ์ทางวิชาการกับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งเป็นพันธมิตรที่มีความร่วมมือกันมานานกว่า 20 ปี เพื่อหารือขยายความร่วมมือเชิงลึกในสาขาวิศวกรรมขั้นสูง โดยเฉพาะด้าน Aerospace, Mechatronics, Automation และ Astronautics ซึ่ง HIT ถือเป็นสถาบันชั้นนำของจีนในด้านนี้ พร้อมทั้งหารือแนวทางความร่วมมือด้านการแลกเปลี่ยนนักศึกษา นักวิจัย และการพัฒนาโครงการ Joint Degree ในอนาคต รองศาสตราจารย์… อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก tui sakrapeeJune 18, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา นำโดย รศ.ดร.ชุติกาญจน์ ศรีวิบูลย์ อธิการบดี พร้อมคณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย เดินทางเยือนโรงเรียนนานาชาติ Qingdao No.1 International School of Shandong Province (QISS) และ Qingdao University… กองกลาง มจพ. เยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ และจัดสัมมนาจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล ประจำปี 2568 EZ WebmasterJune 18, 2025 ผศ.ดร.สราวุฒิ สืบแย้ม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายการคลังและกิจการทั่วไป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยนางสาวรัตนา สุขเฉลิมศรี ผู้อำนวยการกองกลาง และบุคลากรกองกลาง เข้าเยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ มจพ. ณ ชั้น 3 สำนักงานหอสมุดกลาง โดยมีนางสาวพนารมย์ เกียรติลีลานันท์ และ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster May 11, 2020 EZ Webmaster May 11, 2020 เรียนแบบ “อินเดียศึกษา รั้ว มธ.” พบคนหลากชาติ ทำงานหลากอาชีพได้ Multi-skill และ Multi-cultural ทักษะต้องมีของบัณฑิตยุคใหม่ ใครที่กำลังมองหาหลักสูตรการเรียนที่น่าสนใจ มีความเป็นอินเตอร์ อีกทั้งเป็นหลักสูตรที่แปลกใหม่ สามารถสร้างความโดดเด่น และแตกต่างให้กับโปรไฟล์ของเราได้ สิ่งสำคัญที่ต้องพิจารณา นอกจากรายวิชาที่น่าสนใจแล้ว อาจจะต้องพิจารณาให้ไกลถึงสิ่งที่โลกการทำงานต้องการในอนาคต นั่นก็คือ การมีความสามารถ และความเข้าใจในวัฒนธรรมที่หลากหลาย (Multi-skill, Multi-cultural) ซึ่งเป็นสิ่งที่บัณฑิตยุคใหม่ต้องมี “หลักสูตรอินเดียศึกษา” ของวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ (พีบีไอซี) มธ. เป็นอีกหนึ่งหลักสูตรที่นับว่าเป็นความแปลกใหม่ในเมืองไทย เพราะยังไม่มีที่ไหนเปิดสอน อีกทั้งหลักสูตรนี้มีความมุ่งมั่นปั้นบัณฑิตที่มีความรู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับประเทศอินเดียอย่างลึกซึ้ง ไม่ว่าจะเป็นด้านสังคม เศรษฐกิจ การเมือง ภาษาและวัฒนธรรม ซึ่งเป็นเครื่องการันตีว่าบัณฑิตที่จบการศึกษาจากหลักสูตรนี้จะมีความรู้ความสามารถในหลากหลายศาสตร์ รวมทั้งความเข้าใจในบริบทวัฒนธรรมที่หลากหลาย (Multi-skill, Multi-cultural) บทความนี้ จะพาไปพูดคุยกับศิษย์เก่าหลักสูตรอินเดียศึกษา พีบีไอซี มธ. ที่ผ่านการเรียนในหลักสูตรอินเดียศึกษาอย่างเข้มข้นเป็นเวลา 4 ปี อีกทั้งผ่านประสบการณ์แลกเปลี่ยนที่อินเดียมาเป็นเวลา 1 เทอมเต็ม ซึ่งพวกเขาเหล่านี้เรียกได้ว่าเป็นผู้ที่รู้ลึก รู้จริงเกี่ยวกับอินเดีย แต่ความรู้ลึก รู้จริงดังกล่าว จะได้เอาไปใช้อย่างไรกับชีวิตการทำงานบ้าง ไปติดตามกันเลย! นางสาวนันทิตา ดูเบย์ ศิษย์เก่าหลักสูตรอินเดียศึกษา วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ (พีบีไอซี) มธ. เล่าว่า ปัจจุบันตนทำงานในตำแหน่งเจ้าหน้าที่จัดหาทรัพยากร ในบริษัทข้ามชาติที่มีสำนักงานอยู่ในหลายประเทศทั่วโลก โดยทำหน้าที่ประสานงานกับสำนักงานในประเทศอินเดีย ซึ่งนับเป็นตำแหน่งงานที่หาคนไทยทำได้ยากมาก เพราะคนไทยน้อยคนที่สามารถใช้ภาษาฮินดีในระดับติดต่อสื่อสารได้ อีกทั้งต้องมีความรู้ความเข้าใจในวัฒนธรรมอินเดียเป็นอย่างดี ซึ่งเปรียบเสมือนอาวุธลับในการทำงานร่วมกับชาวอินเดีย ซึ่งตนมองว่าสิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งที่ได้จากการเรียนในหลักสูตรอินเดียศึกษา พีบีไอซี ไม่ได้เน้นการเรียนเฉพาะด้านภาษา แต่ยังเน้นด้านวัฒนธรรม สังคม เศรษฐกิจ การเมือง ตลอดจนการเจรจาทางธุรกิจกับอินเดีย ทำให้ตนได้รับโอกาสการทำงานดีๆ ที่ไม่คาดคิด “การเรียนตลอด 4 ปี คือการปรับตัว และรู้จักนำองค์ความรู้ในวิชาต่างๆ มาประยุกต์ใช้ รวมถึงความพร้อมในการเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ ดังเช่นประสบการณ์ที่ได้ไปแลกเปลี่ยนที่อินเดียเป็นเวลา 1 เทอม สิ่งเหล่านี้ทำให้เราเป็นที่ยอมรับในด้านความสามารถที่หลากหลาย (Multi-skill) ในโลกการทำงาน” นางสาวนันทิตา กล่าว นางสาวนันทิตา เล่าต่อว่า ตลอด 4 ปีที่ได้เรียนในหลักสูตรอินเดียศึกษา มีหลายวิชาที่เราสนุกไปกับการเรียนมากๆ แต่อีกใจหนึ่งก็คิดว่าจะได้นำความรู้เหล่านั้นมาใช้ในการทำงานหรือไม่ เพราะคิดว่าการที่เรารู้เรื่องอินเดียอย่างลึกซึ้ง อาจจะยังไม่เป็นที่ต้องการของตลาดงานในไทย แต่ตนได้ค้นพบว่ายังมีบริษัทข้ามชาติที่ตั้งอยู่ในไทยอีกมาก ที่มีส่วนงานที่ต้องประสานงานกับบริษัทในอินเดีย เนื่องจากอินเดียเป็นประเทศที่มีเศรษฐกิจขนาดใหญ่ และมีการดำเนินธุรกิจกับทั่วโลก ซึ่งบริษัทเหล่านี้ต้องการผู้ที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับอินเดียอย่างลึกซึ้ง อีกทั้งมีค่าตอบแทนที่ค่อนข้างสูงไม่แพ้บริษัทข้ามชาติอื่นๆ ในไทย ในขณะที่ ประเทศไทยยังมีผู้ที่รู้ลึก รู้จริงเกี่ยวกับอินเดีย และสามารถสื่อสารภาษาฮินดีได้น้อยมาก โดยประสบการณ์ส่วนตัวในการสมัครงานนั้น ชื่อหลักสูตร “อินเดียศึกษา” และรายวิชาในทรานสคริปต์ของเรา มีผลอย่างมากต่อการเรียกสัมภาษณ์และได้งาน เพราะรายวิชาที่เราได้เรียน ถือว่าครอบคลุมในทุกมิติของอินเดีย อีกทั้งประสบการณ์แลกเปลี่ยนที่ประเทศอินเดียเป็นเวลา 1 เทอม ยังเป็นเครื่องยืนยันว่าเราผ่านการใช้ชีวิตและกระบวนการ ดังคำกล่าวที่ว่า “ถ้าอยู่กับคนอินเดียได้ ก็สามารถอยู่กับคนทั้งโลกได้” ด้านศิษย์เก่าที่เลือกเรียนภาษาฮินดีเพิ่มเติมที่ประเทศอินเดีย ก่อนเข้าสู่โลกการทำงานจริงอย่าง นางสาวศศิกานต์ พ่วงรัก ศิษย์เก่าหลักสูตรอินเดียศึกษา วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ (พีบีไอซี) มธ. ได้เปิดเผยว่า หลังจากจบการศึกษาในหลักสูตรอินเดียศึกษา พีบีไอซี ตนตั้งเป้าหมายชัดเจนว่าอนาคตจะศึกษาต่อปริญญาโททางด้านภาษาฮินดีศาสตร์ ณ ประเทศอินเดีย และตั้งใจกลับมาทำงานด้านการศึกษาภาษาฮินดี จึงเป็นสาเหตุให้ตัดสินใจสมัครทุนฮินดีระยะสั้น ซึ่งเป็นทุนที่สนับสนุนโดยรัฐบาลอินเดีย ใช้เวลาในการเรียน 9 เดือน ที่ประเทศอินเดีย เพื่อเติมเต็มความรู้ภาษาฮินดีให้พร้อมศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น อีกทั้งยังเป็นการซึมซับประสบการณ์การใช้ชีวิตในประเทศอินเดียเพิ่มเติม นอกจากนี้ ตนยังตั้งใจทำหน้าที่เผยแพร่แง่มุมสุดอันซีนในอินเดีย ผ่านการเปิดเฟซบุ๊กแฟนเพจ “อินเดี่ยนแลนด์ แดนมหัศจรรย์” ที่บอกเล่าเรื่องราวต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น ประสบการณ์การใช้ชีวิตประจำวันที่มีทั้งเรื่องสนุก ลุ้น ตื่นเต้นในอินเดีย หรือจะเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่มี ‘หิมะตก’ ที่หลายคนคาดไม่ถึง ทั้งหมดนี้ ตนต้องการบอกเล่าเรื่องราว และสร้างความเข้าใจอินเดียในมุมมองใหม่ๆ ให้แก่คนไทย ว่าอินเดียยังมีอะไรที่น่าสนใจให้ค้นหาอีกมาก “หนึ่งในผลลัพธ์ของหลักสูตรอินเดียศึกษา คือการเข้าใจวัฒนธรรมที่หลากหลาย (Multi-Cultural) ของอินเดีย ทำให้เราเป็นคนที่มีมุมมองที่เปิดกว้างต่อการเรียนรู้มากขึ้น รวมถึงสามารถปรับตัวในสภาพแวดล้อมต่างๆ ได้ดี ไม่ว่าจะเป็นการทำงาน หรือการเรียนรู้ในสิ่งใหม่ๆ นอกจากนี้ อินเดียศึกษา ยังเป็นอีกอาณาบริเวณศึกษาที่ยังไม่ ‘Mass’ ในเมืองไทย หรือเรียกได้ว่าเป็นขุมทรัพย์ที่คนไทยจำนวนมากยังไม่ค้นพบ ยิ่งเรารู้จักอินเดียอย่างลึกซึ้งก่อนใคร ก็ยิ่งคว้าโอกาสที่มากมายได้ก่อนคนอื่น” นางสาวศศิกานต์ กล่าวทิ้งท้าย สำหรับผู้ที่สนใจสามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์ www.pbic.tu.ac.th หรือเฟซบุ๊ก EZ Webmaster Related Posts มธ. ปักหมุดหลักสูตร ‘AI Ethics’ หนุนบริบทใหม่ของห้องเรียนทันโลก สร้างจุดยืนคนรุ่นใหม่ ‘ใช้เอไออย่างมีจริยธรรม’ พร้อมเดินหน้าวางหมุดหมายระบบการศึกษาไทย กับการปลุกการใช้เทคฯ คู่ธรรมาภิบาล คาดเริ่มเปิดลงทะเบียนพร้อมเรียนจริง สิงหาคม 68 นี้ 11 สาเหตุลึกซึ้ง ทำไมการศึกษาไทยยังตกต่ำ? เสียงสะท้อนจากครูชนบท สู่คำถามใหญ่ของสังคม ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ ม.หอการค้าไทย จัดหลักสูตรรุกหน้าการันตี “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน!!” การตลาดดิจิทัลและระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย จัดกิจกรรมตอบแทนกลับคืนสังคม Post navigation PREVIOUS Previous post: Vatel Thailand นำเสนอหลักสูตรนานาชาติด้านบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโรงแรม เปิดโอกาสให้สำเร็จการศึกษาได้ภายใน 3 ปี พร้อมรับปริญญาบัตร 2 ใบNEXT Next post: มูลนิธิ EDF รับมอบกล่องบริจาคเงินเพื่อนักเรียนยากจน Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
11 สาเหตุลึกซึ้ง ทำไมการศึกษาไทยยังตกต่ำ? เสียงสะท้อนจากครูชนบท สู่คำถามใหญ่ของสังคม EZ WebmasterJune 19, 2025 ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ประเทศไทยกำลังเผชิญกับวิกฤตคุณภาพทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง แม้จะมีความพยายามปฏิรูปหลายครั้ง แต่กลับไม่สามารถยกระดับการเรียนรู้ให้เทียบเท่าประเทศเพื่อนบ้านได้อย่างแท้จริงนายสานิตย์ พลศรี นายกสมาคมครูชนบทจังหวัดชัยภูมิ ในหัวข้อ “สาเหตุของปัญหาคุณภาพด้านการศึกษาประเทศไทยที่ตกต่ำ” ซึ่งกำลังถูกส่งต่ออย่างกว้างขวางในโซเชียลมีเดียและกลุ่มไลน์ของคนในแวดวงการศึกษาเสียงสะท้อนจากผู้ที่อยู่ในภาคสนามจริงอย่างนายสานิตย์ ทำให้เราได้เห็นภาพที่ชัดเจนมากขึ้นว่า ปัญหาไม่ได้อยู่ที่ตัวนักเรียนหรือครูเพียงลำพัง แต่เป็นผลสะสมจากโครงสร้าง ระบบ และการบริหารที่ผิดทิศผิดทางมานานจึงเป็นการเปิดประเด็นให้สังคมได้ทบทวนร่วมกันว่า หากเราไม่เริ่ม “เปลี่ยนจริง” คุณภาพการศึกษาของไทยอาจยิ่งตกต่ำลงกว่าที่เป็นอยู่ 11… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนธารทองพิทยาคม EZ WebmasterJune 19, 2025 อีกหนึ่งความทรงจำดีๆ ในโรงเรียนธารทองพทยาคม กับโครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนธารทองพิทยาคม จ.บุรีรัมย์ วันที่ 13/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนแม่เมาะวิทยา EZ WebmasterJune 18, 2025 ความสุขเล็กๆ ในวันที่ได้ทำกิจกรรมร่วมกัน โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด พากิจกรรมดีๆ มาถึงโรงเรียนแม่เมาะวิทยา จ.ลำปาง วันที่18/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า (ครูแอน)… นักศึกษา มธ. ปักหมุดหลักสูตร ‘AI Ethics’ หนุนบริบทใหม่ของห้องเรียนทันโลก สร้างจุดยืนคนรุ่นใหม่ ‘ใช้เอไออย่างมีจริยธรรม’ พร้อมเดินหน้าวางหมุดหมายระบบการศึกษาไทย กับการปลุกการใช้เทคฯ คู่ธรรมาภิบาล คาดเริ่มเปิดลงทะเบียนพร้อมเรียนจริง สิงหาคม 68 นี้ EZ WebmasterJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) ตอกย้ำจุดยืนเชิงรุกต่อการเปลี่ยนผ่านของโลกยุคดิจิทัล ผ่านการพัฒนาหลักสูตร “AI Ethics” หรือจริยธรรมปัญญาประดิษฐ์ ภายใต้ยุทธศาสตร์ Thammasat Next Century เตรียมความพร้อมให้เยาวชนไทยมีทั้งความรู้ ความสามารถ และความรับผิดชอบในการใช้งานเทคโนโลยีอย่างเหมาะสม โดยเฉพาะในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อที่ปัญญาประดิษฐ์กำลังกลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวัน ทั้งในห้องเรียน ที่ทำงาน และบนแพลตฟอร์มออนไลน์ต่าง ๆ โดยหลักสูตรนี้ถูกวางให้เป็นรากฐานสำคัญของระบบการศึกษายุคใหม่ ที่ไม่เพียงเน้นทักษะด้านเทคนิคเท่านั้น แต่ยังปลูกฝังค่านิยมที่ถูกต้องในการอยู่ร่วมกับเทคโนโลยี พร้อมชี้ให้เห็นถึงความเสี่ยงของ AI ที่เกิดจาก… 11 สาเหตุลึกซึ้ง ทำไมการศึกษาไทยยังตกต่ำ? เสียงสะท้อนจากครูชนบท สู่คำถามใหญ่ของสังคม EZ WebmasterJune 19, 2025 ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ประเทศไทยกำลังเผชิญกับวิกฤตคุณภาพทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง แม้จะมีความพยายามปฏิรูปหลายครั้ง แต่กลับไม่สามารถยกระดับการเรียนรู้ให้เทียบเท่าประเทศเพื่อนบ้านได้อย่างแท้จริงนายสานิตย์ พลศรี นายกสมาคมครูชนบทจังหวัดชัยภูมิ ในหัวข้อ “สาเหตุของปัญหาคุณภาพด้านการศึกษาประเทศไทยที่ตกต่ำ” ซึ่งกำลังถูกส่งต่ออย่างกว้างขวางในโซเชียลมีเดียและกลุ่มไลน์ของคนในแวดวงการศึกษาเสียงสะท้อนจากผู้ที่อยู่ในภาคสนามจริงอย่างนายสานิตย์ ทำให้เราได้เห็นภาพที่ชัดเจนมากขึ้นว่า ปัญหาไม่ได้อยู่ที่ตัวนักเรียนหรือครูเพียงลำพัง แต่เป็นผลสะสมจากโครงสร้าง ระบบ และการบริหารที่ผิดทิศผิดทางมานานจึงเป็นการเปิดประเด็นให้สังคมได้ทบทวนร่วมกันว่า หากเราไม่เริ่ม “เปลี่ยนจริง” คุณภาพการศึกษาของไทยอาจยิ่งตกต่ำลงกว่าที่เป็นอยู่ 11… ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา EZ WebmasterJune 18, 2025 วิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิทักษ์ ธรรมวาริน (คนที่ 4 จากซ้าย) คณบดีวิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สจล. และ Mr. Alfonso Martin (คนที่ 3… คณะมนุษยศาสตร์ ม.หอการค้าไทย จัดหลักสูตรรุกหน้าการันตี “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน!!” EZ WebmasterJune 18, 2025 “ภาษา” มิใช่เพียงเครื่องมือสื่อสารแต่เป็นกุญแจสำคัญในการเรียนรู้และเข้าใจวัฒนธรรม การคิดวิเคราะห์และสร้างสรรค์นวัตกรรม ผู้ที่มีทักษะด้านภาษาที่แข็งแกร่งจะสามารถเป็นข้อได้เปรียบหรือประสบความสำเร็จได้ในโลกที่เปลี่ยนแปลงและผู้คนทั่วโลกเชื่อมโยงสื่อสารถึงกันได้ในพริบตาแม้จะต่างชาติ ต่างภาษา ต่างวัฒนธรรม การเรียนรู้ฝึกฝนมีทักษะภาษาจึงมิใช่แค่รู้หรือพูดภาษานานาชาติได้เท่านั้น แต่การเรียนภาษาให้มีรายได้ดี มีอาชีพมั่นคง เป็นมนุษย์เงินเดือนอิสระ ถึงขั้นการันตีได้ว่า “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน !!! นั้นก็เป็นสิ่งเพิ่มมูลค่าและมีคุณค่าอย่างน่าภูมิใจ เฉกเช่นที่ล่าสุด Miss World… ทุนดีดี Kazan Global Youth Summit InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 19, 2025 เชิญเยาวชนสมัครคัดเลือกเข้าร่วมการประชุม Kazan Global Youth Summit ครั้งที่ 4 ระหว่างวันที่ 27 – 30 สิงหาคม 2568 ณ เมืองคาซาน สาธารณรัฐตาตาร์สตาน สหพันธรัฐรัสเซีย จัดโดยรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐตาตาร์สตาน… SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… ครู-อาจารย์ มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ… สจล. เดินหน้ากระชับความร่วมมือทางวิชาการ กับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของจีน EZ WebmasterJune 19, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เดินหน้ากระชับความสัมพันธ์ทางวิชาการกับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งเป็นพันธมิตรที่มีความร่วมมือกันมานานกว่า 20 ปี เพื่อหารือขยายความร่วมมือเชิงลึกในสาขาวิศวกรรมขั้นสูง โดยเฉพาะด้าน Aerospace, Mechatronics, Automation และ Astronautics ซึ่ง HIT ถือเป็นสถาบันชั้นนำของจีนในด้านนี้ พร้อมทั้งหารือแนวทางความร่วมมือด้านการแลกเปลี่ยนนักศึกษา นักวิจัย และการพัฒนาโครงการ Joint Degree ในอนาคต รองศาสตราจารย์… อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก tui sakrapeeJune 18, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา นำโดย รศ.ดร.ชุติกาญจน์ ศรีวิบูลย์ อธิการบดี พร้อมคณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย เดินทางเยือนโรงเรียนนานาชาติ Qingdao No.1 International School of Shandong Province (QISS) และ Qingdao University… กองกลาง มจพ. เยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ และจัดสัมมนาจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล ประจำปี 2568 EZ WebmasterJune 18, 2025 ผศ.ดร.สราวุฒิ สืบแย้ม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายการคลังและกิจการทั่วไป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยนางสาวรัตนา สุขเฉลิมศรี ผู้อำนวยการกองกลาง และบุคลากรกองกลาง เข้าเยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ มจพ. ณ ชั้น 3 สำนักงานหอสมุดกลาง โดยมีนางสาวพนารมย์ เกียรติลีลานันท์ และ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster May 11, 2020 EZ Webmaster May 11, 2020 เรียนแบบ “อินเดียศึกษา รั้ว มธ.” พบคนหลากชาติ ทำงานหลากอาชีพได้ Multi-skill และ Multi-cultural ทักษะต้องมีของบัณฑิตยุคใหม่ ใครที่กำลังมองหาหลักสูตรการเรียนที่น่าสนใจ มีความเป็นอินเตอร์ อีกทั้งเป็นหลักสูตรที่แปลกใหม่ สามารถสร้างความโดดเด่น และแตกต่างให้กับโปรไฟล์ของเราได้ สิ่งสำคัญที่ต้องพิจารณา นอกจากรายวิชาที่น่าสนใจแล้ว อาจจะต้องพิจารณาให้ไกลถึงสิ่งที่โลกการทำงานต้องการในอนาคต นั่นก็คือ การมีความสามารถ และความเข้าใจในวัฒนธรรมที่หลากหลาย (Multi-skill, Multi-cultural) ซึ่งเป็นสิ่งที่บัณฑิตยุคใหม่ต้องมี “หลักสูตรอินเดียศึกษา” ของวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ (พีบีไอซี) มธ. เป็นอีกหนึ่งหลักสูตรที่นับว่าเป็นความแปลกใหม่ในเมืองไทย เพราะยังไม่มีที่ไหนเปิดสอน อีกทั้งหลักสูตรนี้มีความมุ่งมั่นปั้นบัณฑิตที่มีความรู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับประเทศอินเดียอย่างลึกซึ้ง ไม่ว่าจะเป็นด้านสังคม เศรษฐกิจ การเมือง ภาษาและวัฒนธรรม ซึ่งเป็นเครื่องการันตีว่าบัณฑิตที่จบการศึกษาจากหลักสูตรนี้จะมีความรู้ความสามารถในหลากหลายศาสตร์ รวมทั้งความเข้าใจในบริบทวัฒนธรรมที่หลากหลาย (Multi-skill, Multi-cultural) บทความนี้ จะพาไปพูดคุยกับศิษย์เก่าหลักสูตรอินเดียศึกษา พีบีไอซี มธ. ที่ผ่านการเรียนในหลักสูตรอินเดียศึกษาอย่างเข้มข้นเป็นเวลา 4 ปี อีกทั้งผ่านประสบการณ์แลกเปลี่ยนที่อินเดียมาเป็นเวลา 1 เทอมเต็ม ซึ่งพวกเขาเหล่านี้เรียกได้ว่าเป็นผู้ที่รู้ลึก รู้จริงเกี่ยวกับอินเดีย แต่ความรู้ลึก รู้จริงดังกล่าว จะได้เอาไปใช้อย่างไรกับชีวิตการทำงานบ้าง ไปติดตามกันเลย! นางสาวนันทิตา ดูเบย์ ศิษย์เก่าหลักสูตรอินเดียศึกษา วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ (พีบีไอซี) มธ. เล่าว่า ปัจจุบันตนทำงานในตำแหน่งเจ้าหน้าที่จัดหาทรัพยากร ในบริษัทข้ามชาติที่มีสำนักงานอยู่ในหลายประเทศทั่วโลก โดยทำหน้าที่ประสานงานกับสำนักงานในประเทศอินเดีย ซึ่งนับเป็นตำแหน่งงานที่หาคนไทยทำได้ยากมาก เพราะคนไทยน้อยคนที่สามารถใช้ภาษาฮินดีในระดับติดต่อสื่อสารได้ อีกทั้งต้องมีความรู้ความเข้าใจในวัฒนธรรมอินเดียเป็นอย่างดี ซึ่งเปรียบเสมือนอาวุธลับในการทำงานร่วมกับชาวอินเดีย ซึ่งตนมองว่าสิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งที่ได้จากการเรียนในหลักสูตรอินเดียศึกษา พีบีไอซี ไม่ได้เน้นการเรียนเฉพาะด้านภาษา แต่ยังเน้นด้านวัฒนธรรม สังคม เศรษฐกิจ การเมือง ตลอดจนการเจรจาทางธุรกิจกับอินเดีย ทำให้ตนได้รับโอกาสการทำงานดีๆ ที่ไม่คาดคิด “การเรียนตลอด 4 ปี คือการปรับตัว และรู้จักนำองค์ความรู้ในวิชาต่างๆ มาประยุกต์ใช้ รวมถึงความพร้อมในการเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ ดังเช่นประสบการณ์ที่ได้ไปแลกเปลี่ยนที่อินเดียเป็นเวลา 1 เทอม สิ่งเหล่านี้ทำให้เราเป็นที่ยอมรับในด้านความสามารถที่หลากหลาย (Multi-skill) ในโลกการทำงาน” นางสาวนันทิตา กล่าว นางสาวนันทิตา เล่าต่อว่า ตลอด 4 ปีที่ได้เรียนในหลักสูตรอินเดียศึกษา มีหลายวิชาที่เราสนุกไปกับการเรียนมากๆ แต่อีกใจหนึ่งก็คิดว่าจะได้นำความรู้เหล่านั้นมาใช้ในการทำงานหรือไม่ เพราะคิดว่าการที่เรารู้เรื่องอินเดียอย่างลึกซึ้ง อาจจะยังไม่เป็นที่ต้องการของตลาดงานในไทย แต่ตนได้ค้นพบว่ายังมีบริษัทข้ามชาติที่ตั้งอยู่ในไทยอีกมาก ที่มีส่วนงานที่ต้องประสานงานกับบริษัทในอินเดีย เนื่องจากอินเดียเป็นประเทศที่มีเศรษฐกิจขนาดใหญ่ และมีการดำเนินธุรกิจกับทั่วโลก ซึ่งบริษัทเหล่านี้ต้องการผู้ที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับอินเดียอย่างลึกซึ้ง อีกทั้งมีค่าตอบแทนที่ค่อนข้างสูงไม่แพ้บริษัทข้ามชาติอื่นๆ ในไทย ในขณะที่ ประเทศไทยยังมีผู้ที่รู้ลึก รู้จริงเกี่ยวกับอินเดีย และสามารถสื่อสารภาษาฮินดีได้น้อยมาก โดยประสบการณ์ส่วนตัวในการสมัครงานนั้น ชื่อหลักสูตร “อินเดียศึกษา” และรายวิชาในทรานสคริปต์ของเรา มีผลอย่างมากต่อการเรียกสัมภาษณ์และได้งาน เพราะรายวิชาที่เราได้เรียน ถือว่าครอบคลุมในทุกมิติของอินเดีย อีกทั้งประสบการณ์แลกเปลี่ยนที่ประเทศอินเดียเป็นเวลา 1 เทอม ยังเป็นเครื่องยืนยันว่าเราผ่านการใช้ชีวิตและกระบวนการ ดังคำกล่าวที่ว่า “ถ้าอยู่กับคนอินเดียได้ ก็สามารถอยู่กับคนทั้งโลกได้” ด้านศิษย์เก่าที่เลือกเรียนภาษาฮินดีเพิ่มเติมที่ประเทศอินเดีย ก่อนเข้าสู่โลกการทำงานจริงอย่าง นางสาวศศิกานต์ พ่วงรัก ศิษย์เก่าหลักสูตรอินเดียศึกษา วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ (พีบีไอซี) มธ. ได้เปิดเผยว่า หลังจากจบการศึกษาในหลักสูตรอินเดียศึกษา พีบีไอซี ตนตั้งเป้าหมายชัดเจนว่าอนาคตจะศึกษาต่อปริญญาโททางด้านภาษาฮินดีศาสตร์ ณ ประเทศอินเดีย และตั้งใจกลับมาทำงานด้านการศึกษาภาษาฮินดี จึงเป็นสาเหตุให้ตัดสินใจสมัครทุนฮินดีระยะสั้น ซึ่งเป็นทุนที่สนับสนุนโดยรัฐบาลอินเดีย ใช้เวลาในการเรียน 9 เดือน ที่ประเทศอินเดีย เพื่อเติมเต็มความรู้ภาษาฮินดีให้พร้อมศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น อีกทั้งยังเป็นการซึมซับประสบการณ์การใช้ชีวิตในประเทศอินเดียเพิ่มเติม นอกจากนี้ ตนยังตั้งใจทำหน้าที่เผยแพร่แง่มุมสุดอันซีนในอินเดีย ผ่านการเปิดเฟซบุ๊กแฟนเพจ “อินเดี่ยนแลนด์ แดนมหัศจรรย์” ที่บอกเล่าเรื่องราวต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น ประสบการณ์การใช้ชีวิตประจำวันที่มีทั้งเรื่องสนุก ลุ้น ตื่นเต้นในอินเดีย หรือจะเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่มี ‘หิมะตก’ ที่หลายคนคาดไม่ถึง ทั้งหมดนี้ ตนต้องการบอกเล่าเรื่องราว และสร้างความเข้าใจอินเดียในมุมมองใหม่ๆ ให้แก่คนไทย ว่าอินเดียยังมีอะไรที่น่าสนใจให้ค้นหาอีกมาก “หนึ่งในผลลัพธ์ของหลักสูตรอินเดียศึกษา คือการเข้าใจวัฒนธรรมที่หลากหลาย (Multi-Cultural) ของอินเดีย ทำให้เราเป็นคนที่มีมุมมองที่เปิดกว้างต่อการเรียนรู้มากขึ้น รวมถึงสามารถปรับตัวในสภาพแวดล้อมต่างๆ ได้ดี ไม่ว่าจะเป็นการทำงาน หรือการเรียนรู้ในสิ่งใหม่ๆ นอกจากนี้ อินเดียศึกษา ยังเป็นอีกอาณาบริเวณศึกษาที่ยังไม่ ‘Mass’ ในเมืองไทย หรือเรียกได้ว่าเป็นขุมทรัพย์ที่คนไทยจำนวนมากยังไม่ค้นพบ ยิ่งเรารู้จักอินเดียอย่างลึกซึ้งก่อนใคร ก็ยิ่งคว้าโอกาสที่มากมายได้ก่อนคนอื่น” นางสาวศศิกานต์ กล่าวทิ้งท้าย สำหรับผู้ที่สนใจสามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์ www.pbic.tu.ac.th หรือเฟซบุ๊ก EZ Webmaster Related Posts มธ. ปักหมุดหลักสูตร ‘AI Ethics’ หนุนบริบทใหม่ของห้องเรียนทันโลก สร้างจุดยืนคนรุ่นใหม่ ‘ใช้เอไออย่างมีจริยธรรม’ พร้อมเดินหน้าวางหมุดหมายระบบการศึกษาไทย กับการปลุกการใช้เทคฯ คู่ธรรมาภิบาล คาดเริ่มเปิดลงทะเบียนพร้อมเรียนจริง สิงหาคม 68 นี้ 11 สาเหตุลึกซึ้ง ทำไมการศึกษาไทยยังตกต่ำ? เสียงสะท้อนจากครูชนบท สู่คำถามใหญ่ของสังคม ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ ม.หอการค้าไทย จัดหลักสูตรรุกหน้าการันตี “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน!!” การตลาดดิจิทัลและระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย จัดกิจกรรมตอบแทนกลับคืนสังคม Post navigation PREVIOUS Previous post: Vatel Thailand นำเสนอหลักสูตรนานาชาติด้านบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโรงแรม เปิดโอกาสให้สำเร็จการศึกษาได้ภายใน 3 ปี พร้อมรับปริญญาบัตร 2 ใบNEXT Next post: มูลนิธิ EDF รับมอบกล่องบริจาคเงินเพื่อนักเรียนยากจน Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนธารทองพิทยาคม EZ WebmasterJune 19, 2025 อีกหนึ่งความทรงจำดีๆ ในโรงเรียนธารทองพทยาคม กับโครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนธารทองพิทยาคม จ.บุรีรัมย์ วันที่ 13/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนแม่เมาะวิทยา EZ WebmasterJune 18, 2025 ความสุขเล็กๆ ในวันที่ได้ทำกิจกรรมร่วมกัน โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด พากิจกรรมดีๆ มาถึงโรงเรียนแม่เมาะวิทยา จ.ลำปาง วันที่18/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า (ครูแอน)…
โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนแม่เมาะวิทยา EZ WebmasterJune 18, 2025 ความสุขเล็กๆ ในวันที่ได้ทำกิจกรรมร่วมกัน โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด พากิจกรรมดีๆ มาถึงโรงเรียนแม่เมาะวิทยา จ.ลำปาง วันที่18/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า (ครูแอน)…
มธ. ปักหมุดหลักสูตร ‘AI Ethics’ หนุนบริบทใหม่ของห้องเรียนทันโลก สร้างจุดยืนคนรุ่นใหม่ ‘ใช้เอไออย่างมีจริยธรรม’ พร้อมเดินหน้าวางหมุดหมายระบบการศึกษาไทย กับการปลุกการใช้เทคฯ คู่ธรรมาภิบาล คาดเริ่มเปิดลงทะเบียนพร้อมเรียนจริง สิงหาคม 68 นี้ EZ WebmasterJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) ตอกย้ำจุดยืนเชิงรุกต่อการเปลี่ยนผ่านของโลกยุคดิจิทัล ผ่านการพัฒนาหลักสูตร “AI Ethics” หรือจริยธรรมปัญญาประดิษฐ์ ภายใต้ยุทธศาสตร์ Thammasat Next Century เตรียมความพร้อมให้เยาวชนไทยมีทั้งความรู้ ความสามารถ และความรับผิดชอบในการใช้งานเทคโนโลยีอย่างเหมาะสม โดยเฉพาะในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อที่ปัญญาประดิษฐ์กำลังกลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวัน ทั้งในห้องเรียน ที่ทำงาน และบนแพลตฟอร์มออนไลน์ต่าง ๆ โดยหลักสูตรนี้ถูกวางให้เป็นรากฐานสำคัญของระบบการศึกษายุคใหม่ ที่ไม่เพียงเน้นทักษะด้านเทคนิคเท่านั้น แต่ยังปลูกฝังค่านิยมที่ถูกต้องในการอยู่ร่วมกับเทคโนโลยี พร้อมชี้ให้เห็นถึงความเสี่ยงของ AI ที่เกิดจาก… 11 สาเหตุลึกซึ้ง ทำไมการศึกษาไทยยังตกต่ำ? เสียงสะท้อนจากครูชนบท สู่คำถามใหญ่ของสังคม EZ WebmasterJune 19, 2025 ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ประเทศไทยกำลังเผชิญกับวิกฤตคุณภาพทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง แม้จะมีความพยายามปฏิรูปหลายครั้ง แต่กลับไม่สามารถยกระดับการเรียนรู้ให้เทียบเท่าประเทศเพื่อนบ้านได้อย่างแท้จริงนายสานิตย์ พลศรี นายกสมาคมครูชนบทจังหวัดชัยภูมิ ในหัวข้อ “สาเหตุของปัญหาคุณภาพด้านการศึกษาประเทศไทยที่ตกต่ำ” ซึ่งกำลังถูกส่งต่ออย่างกว้างขวางในโซเชียลมีเดียและกลุ่มไลน์ของคนในแวดวงการศึกษาเสียงสะท้อนจากผู้ที่อยู่ในภาคสนามจริงอย่างนายสานิตย์ ทำให้เราได้เห็นภาพที่ชัดเจนมากขึ้นว่า ปัญหาไม่ได้อยู่ที่ตัวนักเรียนหรือครูเพียงลำพัง แต่เป็นผลสะสมจากโครงสร้าง ระบบ และการบริหารที่ผิดทิศผิดทางมานานจึงเป็นการเปิดประเด็นให้สังคมได้ทบทวนร่วมกันว่า หากเราไม่เริ่ม “เปลี่ยนจริง” คุณภาพการศึกษาของไทยอาจยิ่งตกต่ำลงกว่าที่เป็นอยู่ 11… ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา EZ WebmasterJune 18, 2025 วิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิทักษ์ ธรรมวาริน (คนที่ 4 จากซ้าย) คณบดีวิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สจล. และ Mr. Alfonso Martin (คนที่ 3… คณะมนุษยศาสตร์ ม.หอการค้าไทย จัดหลักสูตรรุกหน้าการันตี “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน!!” EZ WebmasterJune 18, 2025 “ภาษา” มิใช่เพียงเครื่องมือสื่อสารแต่เป็นกุญแจสำคัญในการเรียนรู้และเข้าใจวัฒนธรรม การคิดวิเคราะห์และสร้างสรรค์นวัตกรรม ผู้ที่มีทักษะด้านภาษาที่แข็งแกร่งจะสามารถเป็นข้อได้เปรียบหรือประสบความสำเร็จได้ในโลกที่เปลี่ยนแปลงและผู้คนทั่วโลกเชื่อมโยงสื่อสารถึงกันได้ในพริบตาแม้จะต่างชาติ ต่างภาษา ต่างวัฒนธรรม การเรียนรู้ฝึกฝนมีทักษะภาษาจึงมิใช่แค่รู้หรือพูดภาษานานาชาติได้เท่านั้น แต่การเรียนภาษาให้มีรายได้ดี มีอาชีพมั่นคง เป็นมนุษย์เงินเดือนอิสระ ถึงขั้นการันตีได้ว่า “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน !!! นั้นก็เป็นสิ่งเพิ่มมูลค่าและมีคุณค่าอย่างน่าภูมิใจ เฉกเช่นที่ล่าสุด Miss World… ทุนดีดี Kazan Global Youth Summit InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 19, 2025 เชิญเยาวชนสมัครคัดเลือกเข้าร่วมการประชุม Kazan Global Youth Summit ครั้งที่ 4 ระหว่างวันที่ 27 – 30 สิงหาคม 2568 ณ เมืองคาซาน สาธารณรัฐตาตาร์สตาน สหพันธรัฐรัสเซีย จัดโดยรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐตาตาร์สตาน… SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… ครู-อาจารย์ มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ… สจล. เดินหน้ากระชับความร่วมมือทางวิชาการ กับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของจีน EZ WebmasterJune 19, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เดินหน้ากระชับความสัมพันธ์ทางวิชาการกับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งเป็นพันธมิตรที่มีความร่วมมือกันมานานกว่า 20 ปี เพื่อหารือขยายความร่วมมือเชิงลึกในสาขาวิศวกรรมขั้นสูง โดยเฉพาะด้าน Aerospace, Mechatronics, Automation และ Astronautics ซึ่ง HIT ถือเป็นสถาบันชั้นนำของจีนในด้านนี้ พร้อมทั้งหารือแนวทางความร่วมมือด้านการแลกเปลี่ยนนักศึกษา นักวิจัย และการพัฒนาโครงการ Joint Degree ในอนาคต รองศาสตราจารย์… อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก tui sakrapeeJune 18, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา นำโดย รศ.ดร.ชุติกาญจน์ ศรีวิบูลย์ อธิการบดี พร้อมคณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย เดินทางเยือนโรงเรียนนานาชาติ Qingdao No.1 International School of Shandong Province (QISS) และ Qingdao University… กองกลาง มจพ. เยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ และจัดสัมมนาจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล ประจำปี 2568 EZ WebmasterJune 18, 2025 ผศ.ดร.สราวุฒิ สืบแย้ม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายการคลังและกิจการทั่วไป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยนางสาวรัตนา สุขเฉลิมศรี ผู้อำนวยการกองกลาง และบุคลากรกองกลาง เข้าเยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ มจพ. ณ ชั้น 3 สำนักงานหอสมุดกลาง โดยมีนางสาวพนารมย์ เกียรติลีลานันท์ และ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster May 11, 2020 EZ Webmaster May 11, 2020 เรียนแบบ “อินเดียศึกษา รั้ว มธ.” พบคนหลากชาติ ทำงานหลากอาชีพได้ Multi-skill และ Multi-cultural ทักษะต้องมีของบัณฑิตยุคใหม่ ใครที่กำลังมองหาหลักสูตรการเรียนที่น่าสนใจ มีความเป็นอินเตอร์ อีกทั้งเป็นหลักสูตรที่แปลกใหม่ สามารถสร้างความโดดเด่น และแตกต่างให้กับโปรไฟล์ของเราได้ สิ่งสำคัญที่ต้องพิจารณา นอกจากรายวิชาที่น่าสนใจแล้ว อาจจะต้องพิจารณาให้ไกลถึงสิ่งที่โลกการทำงานต้องการในอนาคต นั่นก็คือ การมีความสามารถ และความเข้าใจในวัฒนธรรมที่หลากหลาย (Multi-skill, Multi-cultural) ซึ่งเป็นสิ่งที่บัณฑิตยุคใหม่ต้องมี “หลักสูตรอินเดียศึกษา” ของวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ (พีบีไอซี) มธ. เป็นอีกหนึ่งหลักสูตรที่นับว่าเป็นความแปลกใหม่ในเมืองไทย เพราะยังไม่มีที่ไหนเปิดสอน อีกทั้งหลักสูตรนี้มีความมุ่งมั่นปั้นบัณฑิตที่มีความรู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับประเทศอินเดียอย่างลึกซึ้ง ไม่ว่าจะเป็นด้านสังคม เศรษฐกิจ การเมือง ภาษาและวัฒนธรรม ซึ่งเป็นเครื่องการันตีว่าบัณฑิตที่จบการศึกษาจากหลักสูตรนี้จะมีความรู้ความสามารถในหลากหลายศาสตร์ รวมทั้งความเข้าใจในบริบทวัฒนธรรมที่หลากหลาย (Multi-skill, Multi-cultural) บทความนี้ จะพาไปพูดคุยกับศิษย์เก่าหลักสูตรอินเดียศึกษา พีบีไอซี มธ. ที่ผ่านการเรียนในหลักสูตรอินเดียศึกษาอย่างเข้มข้นเป็นเวลา 4 ปี อีกทั้งผ่านประสบการณ์แลกเปลี่ยนที่อินเดียมาเป็นเวลา 1 เทอมเต็ม ซึ่งพวกเขาเหล่านี้เรียกได้ว่าเป็นผู้ที่รู้ลึก รู้จริงเกี่ยวกับอินเดีย แต่ความรู้ลึก รู้จริงดังกล่าว จะได้เอาไปใช้อย่างไรกับชีวิตการทำงานบ้าง ไปติดตามกันเลย! นางสาวนันทิตา ดูเบย์ ศิษย์เก่าหลักสูตรอินเดียศึกษา วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ (พีบีไอซี) มธ. เล่าว่า ปัจจุบันตนทำงานในตำแหน่งเจ้าหน้าที่จัดหาทรัพยากร ในบริษัทข้ามชาติที่มีสำนักงานอยู่ในหลายประเทศทั่วโลก โดยทำหน้าที่ประสานงานกับสำนักงานในประเทศอินเดีย ซึ่งนับเป็นตำแหน่งงานที่หาคนไทยทำได้ยากมาก เพราะคนไทยน้อยคนที่สามารถใช้ภาษาฮินดีในระดับติดต่อสื่อสารได้ อีกทั้งต้องมีความรู้ความเข้าใจในวัฒนธรรมอินเดียเป็นอย่างดี ซึ่งเปรียบเสมือนอาวุธลับในการทำงานร่วมกับชาวอินเดีย ซึ่งตนมองว่าสิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งที่ได้จากการเรียนในหลักสูตรอินเดียศึกษา พีบีไอซี ไม่ได้เน้นการเรียนเฉพาะด้านภาษา แต่ยังเน้นด้านวัฒนธรรม สังคม เศรษฐกิจ การเมือง ตลอดจนการเจรจาทางธุรกิจกับอินเดีย ทำให้ตนได้รับโอกาสการทำงานดีๆ ที่ไม่คาดคิด “การเรียนตลอด 4 ปี คือการปรับตัว และรู้จักนำองค์ความรู้ในวิชาต่างๆ มาประยุกต์ใช้ รวมถึงความพร้อมในการเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ ดังเช่นประสบการณ์ที่ได้ไปแลกเปลี่ยนที่อินเดียเป็นเวลา 1 เทอม สิ่งเหล่านี้ทำให้เราเป็นที่ยอมรับในด้านความสามารถที่หลากหลาย (Multi-skill) ในโลกการทำงาน” นางสาวนันทิตา กล่าว นางสาวนันทิตา เล่าต่อว่า ตลอด 4 ปีที่ได้เรียนในหลักสูตรอินเดียศึกษา มีหลายวิชาที่เราสนุกไปกับการเรียนมากๆ แต่อีกใจหนึ่งก็คิดว่าจะได้นำความรู้เหล่านั้นมาใช้ในการทำงานหรือไม่ เพราะคิดว่าการที่เรารู้เรื่องอินเดียอย่างลึกซึ้ง อาจจะยังไม่เป็นที่ต้องการของตลาดงานในไทย แต่ตนได้ค้นพบว่ายังมีบริษัทข้ามชาติที่ตั้งอยู่ในไทยอีกมาก ที่มีส่วนงานที่ต้องประสานงานกับบริษัทในอินเดีย เนื่องจากอินเดียเป็นประเทศที่มีเศรษฐกิจขนาดใหญ่ และมีการดำเนินธุรกิจกับทั่วโลก ซึ่งบริษัทเหล่านี้ต้องการผู้ที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับอินเดียอย่างลึกซึ้ง อีกทั้งมีค่าตอบแทนที่ค่อนข้างสูงไม่แพ้บริษัทข้ามชาติอื่นๆ ในไทย ในขณะที่ ประเทศไทยยังมีผู้ที่รู้ลึก รู้จริงเกี่ยวกับอินเดีย และสามารถสื่อสารภาษาฮินดีได้น้อยมาก โดยประสบการณ์ส่วนตัวในการสมัครงานนั้น ชื่อหลักสูตร “อินเดียศึกษา” และรายวิชาในทรานสคริปต์ของเรา มีผลอย่างมากต่อการเรียกสัมภาษณ์และได้งาน เพราะรายวิชาที่เราได้เรียน ถือว่าครอบคลุมในทุกมิติของอินเดีย อีกทั้งประสบการณ์แลกเปลี่ยนที่ประเทศอินเดียเป็นเวลา 1 เทอม ยังเป็นเครื่องยืนยันว่าเราผ่านการใช้ชีวิตและกระบวนการ ดังคำกล่าวที่ว่า “ถ้าอยู่กับคนอินเดียได้ ก็สามารถอยู่กับคนทั้งโลกได้” ด้านศิษย์เก่าที่เลือกเรียนภาษาฮินดีเพิ่มเติมที่ประเทศอินเดีย ก่อนเข้าสู่โลกการทำงานจริงอย่าง นางสาวศศิกานต์ พ่วงรัก ศิษย์เก่าหลักสูตรอินเดียศึกษา วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ (พีบีไอซี) มธ. ได้เปิดเผยว่า หลังจากจบการศึกษาในหลักสูตรอินเดียศึกษา พีบีไอซี ตนตั้งเป้าหมายชัดเจนว่าอนาคตจะศึกษาต่อปริญญาโททางด้านภาษาฮินดีศาสตร์ ณ ประเทศอินเดีย และตั้งใจกลับมาทำงานด้านการศึกษาภาษาฮินดี จึงเป็นสาเหตุให้ตัดสินใจสมัครทุนฮินดีระยะสั้น ซึ่งเป็นทุนที่สนับสนุนโดยรัฐบาลอินเดีย ใช้เวลาในการเรียน 9 เดือน ที่ประเทศอินเดีย เพื่อเติมเต็มความรู้ภาษาฮินดีให้พร้อมศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น อีกทั้งยังเป็นการซึมซับประสบการณ์การใช้ชีวิตในประเทศอินเดียเพิ่มเติม นอกจากนี้ ตนยังตั้งใจทำหน้าที่เผยแพร่แง่มุมสุดอันซีนในอินเดีย ผ่านการเปิดเฟซบุ๊กแฟนเพจ “อินเดี่ยนแลนด์ แดนมหัศจรรย์” ที่บอกเล่าเรื่องราวต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น ประสบการณ์การใช้ชีวิตประจำวันที่มีทั้งเรื่องสนุก ลุ้น ตื่นเต้นในอินเดีย หรือจะเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่มี ‘หิมะตก’ ที่หลายคนคาดไม่ถึง ทั้งหมดนี้ ตนต้องการบอกเล่าเรื่องราว และสร้างความเข้าใจอินเดียในมุมมองใหม่ๆ ให้แก่คนไทย ว่าอินเดียยังมีอะไรที่น่าสนใจให้ค้นหาอีกมาก “หนึ่งในผลลัพธ์ของหลักสูตรอินเดียศึกษา คือการเข้าใจวัฒนธรรมที่หลากหลาย (Multi-Cultural) ของอินเดีย ทำให้เราเป็นคนที่มีมุมมองที่เปิดกว้างต่อการเรียนรู้มากขึ้น รวมถึงสามารถปรับตัวในสภาพแวดล้อมต่างๆ ได้ดี ไม่ว่าจะเป็นการทำงาน หรือการเรียนรู้ในสิ่งใหม่ๆ นอกจากนี้ อินเดียศึกษา ยังเป็นอีกอาณาบริเวณศึกษาที่ยังไม่ ‘Mass’ ในเมืองไทย หรือเรียกได้ว่าเป็นขุมทรัพย์ที่คนไทยจำนวนมากยังไม่ค้นพบ ยิ่งเรารู้จักอินเดียอย่างลึกซึ้งก่อนใคร ก็ยิ่งคว้าโอกาสที่มากมายได้ก่อนคนอื่น” นางสาวศศิกานต์ กล่าวทิ้งท้าย สำหรับผู้ที่สนใจสามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์ www.pbic.tu.ac.th หรือเฟซบุ๊ก EZ Webmaster Related Posts มธ. ปักหมุดหลักสูตร ‘AI Ethics’ หนุนบริบทใหม่ของห้องเรียนทันโลก สร้างจุดยืนคนรุ่นใหม่ ‘ใช้เอไออย่างมีจริยธรรม’ พร้อมเดินหน้าวางหมุดหมายระบบการศึกษาไทย กับการปลุกการใช้เทคฯ คู่ธรรมาภิบาล คาดเริ่มเปิดลงทะเบียนพร้อมเรียนจริง สิงหาคม 68 นี้ 11 สาเหตุลึกซึ้ง ทำไมการศึกษาไทยยังตกต่ำ? เสียงสะท้อนจากครูชนบท สู่คำถามใหญ่ของสังคม ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ ม.หอการค้าไทย จัดหลักสูตรรุกหน้าการันตี “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน!!” การตลาดดิจิทัลและระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย จัดกิจกรรมตอบแทนกลับคืนสังคม Post navigation PREVIOUS Previous post: Vatel Thailand นำเสนอหลักสูตรนานาชาติด้านบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโรงแรม เปิดโอกาสให้สำเร็จการศึกษาได้ภายใน 3 ปี พร้อมรับปริญญาบัตร 2 ใบNEXT Next post: มูลนิธิ EDF รับมอบกล่องบริจาคเงินเพื่อนักเรียนยากจน Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
11 สาเหตุลึกซึ้ง ทำไมการศึกษาไทยยังตกต่ำ? เสียงสะท้อนจากครูชนบท สู่คำถามใหญ่ของสังคม EZ WebmasterJune 19, 2025 ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ประเทศไทยกำลังเผชิญกับวิกฤตคุณภาพทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง แม้จะมีความพยายามปฏิรูปหลายครั้ง แต่กลับไม่สามารถยกระดับการเรียนรู้ให้เทียบเท่าประเทศเพื่อนบ้านได้อย่างแท้จริงนายสานิตย์ พลศรี นายกสมาคมครูชนบทจังหวัดชัยภูมิ ในหัวข้อ “สาเหตุของปัญหาคุณภาพด้านการศึกษาประเทศไทยที่ตกต่ำ” ซึ่งกำลังถูกส่งต่ออย่างกว้างขวางในโซเชียลมีเดียและกลุ่มไลน์ของคนในแวดวงการศึกษาเสียงสะท้อนจากผู้ที่อยู่ในภาคสนามจริงอย่างนายสานิตย์ ทำให้เราได้เห็นภาพที่ชัดเจนมากขึ้นว่า ปัญหาไม่ได้อยู่ที่ตัวนักเรียนหรือครูเพียงลำพัง แต่เป็นผลสะสมจากโครงสร้าง ระบบ และการบริหารที่ผิดทิศผิดทางมานานจึงเป็นการเปิดประเด็นให้สังคมได้ทบทวนร่วมกันว่า หากเราไม่เริ่ม “เปลี่ยนจริง” คุณภาพการศึกษาของไทยอาจยิ่งตกต่ำลงกว่าที่เป็นอยู่ 11… ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา EZ WebmasterJune 18, 2025 วิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิทักษ์ ธรรมวาริน (คนที่ 4 จากซ้าย) คณบดีวิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สจล. และ Mr. Alfonso Martin (คนที่ 3… คณะมนุษยศาสตร์ ม.หอการค้าไทย จัดหลักสูตรรุกหน้าการันตี “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน!!” EZ WebmasterJune 18, 2025 “ภาษา” มิใช่เพียงเครื่องมือสื่อสารแต่เป็นกุญแจสำคัญในการเรียนรู้และเข้าใจวัฒนธรรม การคิดวิเคราะห์และสร้างสรรค์นวัตกรรม ผู้ที่มีทักษะด้านภาษาที่แข็งแกร่งจะสามารถเป็นข้อได้เปรียบหรือประสบความสำเร็จได้ในโลกที่เปลี่ยนแปลงและผู้คนทั่วโลกเชื่อมโยงสื่อสารถึงกันได้ในพริบตาแม้จะต่างชาติ ต่างภาษา ต่างวัฒนธรรม การเรียนรู้ฝึกฝนมีทักษะภาษาจึงมิใช่แค่รู้หรือพูดภาษานานาชาติได้เท่านั้น แต่การเรียนภาษาให้มีรายได้ดี มีอาชีพมั่นคง เป็นมนุษย์เงินเดือนอิสระ ถึงขั้นการันตีได้ว่า “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน !!! นั้นก็เป็นสิ่งเพิ่มมูลค่าและมีคุณค่าอย่างน่าภูมิใจ เฉกเช่นที่ล่าสุด Miss World… ทุนดีดี Kazan Global Youth Summit InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 19, 2025 เชิญเยาวชนสมัครคัดเลือกเข้าร่วมการประชุม Kazan Global Youth Summit ครั้งที่ 4 ระหว่างวันที่ 27 – 30 สิงหาคม 2568 ณ เมืองคาซาน สาธารณรัฐตาตาร์สตาน สหพันธรัฐรัสเซีย จัดโดยรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐตาตาร์สตาน… SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… ครู-อาจารย์ มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ… สจล. เดินหน้ากระชับความร่วมมือทางวิชาการ กับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของจีน EZ WebmasterJune 19, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เดินหน้ากระชับความสัมพันธ์ทางวิชาการกับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งเป็นพันธมิตรที่มีความร่วมมือกันมานานกว่า 20 ปี เพื่อหารือขยายความร่วมมือเชิงลึกในสาขาวิศวกรรมขั้นสูง โดยเฉพาะด้าน Aerospace, Mechatronics, Automation และ Astronautics ซึ่ง HIT ถือเป็นสถาบันชั้นนำของจีนในด้านนี้ พร้อมทั้งหารือแนวทางความร่วมมือด้านการแลกเปลี่ยนนักศึกษา นักวิจัย และการพัฒนาโครงการ Joint Degree ในอนาคต รองศาสตราจารย์… อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก tui sakrapeeJune 18, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา นำโดย รศ.ดร.ชุติกาญจน์ ศรีวิบูลย์ อธิการบดี พร้อมคณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย เดินทางเยือนโรงเรียนนานาชาติ Qingdao No.1 International School of Shandong Province (QISS) และ Qingdao University… กองกลาง มจพ. เยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ และจัดสัมมนาจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล ประจำปี 2568 EZ WebmasterJune 18, 2025 ผศ.ดร.สราวุฒิ สืบแย้ม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายการคลังและกิจการทั่วไป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยนางสาวรัตนา สุขเฉลิมศรี ผู้อำนวยการกองกลาง และบุคลากรกองกลาง เข้าเยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ มจพ. ณ ชั้น 3 สำนักงานหอสมุดกลาง โดยมีนางสาวพนารมย์ เกียรติลีลานันท์ และ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster May 11, 2020 EZ Webmaster May 11, 2020 เรียนแบบ “อินเดียศึกษา รั้ว มธ.” พบคนหลากชาติ ทำงานหลากอาชีพได้ Multi-skill และ Multi-cultural ทักษะต้องมีของบัณฑิตยุคใหม่ ใครที่กำลังมองหาหลักสูตรการเรียนที่น่าสนใจ มีความเป็นอินเตอร์ อีกทั้งเป็นหลักสูตรที่แปลกใหม่ สามารถสร้างความโดดเด่น และแตกต่างให้กับโปรไฟล์ของเราได้ สิ่งสำคัญที่ต้องพิจารณา นอกจากรายวิชาที่น่าสนใจแล้ว อาจจะต้องพิจารณาให้ไกลถึงสิ่งที่โลกการทำงานต้องการในอนาคต นั่นก็คือ การมีความสามารถ และความเข้าใจในวัฒนธรรมที่หลากหลาย (Multi-skill, Multi-cultural) ซึ่งเป็นสิ่งที่บัณฑิตยุคใหม่ต้องมี “หลักสูตรอินเดียศึกษา” ของวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ (พีบีไอซี) มธ. เป็นอีกหนึ่งหลักสูตรที่นับว่าเป็นความแปลกใหม่ในเมืองไทย เพราะยังไม่มีที่ไหนเปิดสอน อีกทั้งหลักสูตรนี้มีความมุ่งมั่นปั้นบัณฑิตที่มีความรู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับประเทศอินเดียอย่างลึกซึ้ง ไม่ว่าจะเป็นด้านสังคม เศรษฐกิจ การเมือง ภาษาและวัฒนธรรม ซึ่งเป็นเครื่องการันตีว่าบัณฑิตที่จบการศึกษาจากหลักสูตรนี้จะมีความรู้ความสามารถในหลากหลายศาสตร์ รวมทั้งความเข้าใจในบริบทวัฒนธรรมที่หลากหลาย (Multi-skill, Multi-cultural) บทความนี้ จะพาไปพูดคุยกับศิษย์เก่าหลักสูตรอินเดียศึกษา พีบีไอซี มธ. ที่ผ่านการเรียนในหลักสูตรอินเดียศึกษาอย่างเข้มข้นเป็นเวลา 4 ปี อีกทั้งผ่านประสบการณ์แลกเปลี่ยนที่อินเดียมาเป็นเวลา 1 เทอมเต็ม ซึ่งพวกเขาเหล่านี้เรียกได้ว่าเป็นผู้ที่รู้ลึก รู้จริงเกี่ยวกับอินเดีย แต่ความรู้ลึก รู้จริงดังกล่าว จะได้เอาไปใช้อย่างไรกับชีวิตการทำงานบ้าง ไปติดตามกันเลย! นางสาวนันทิตา ดูเบย์ ศิษย์เก่าหลักสูตรอินเดียศึกษา วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ (พีบีไอซี) มธ. เล่าว่า ปัจจุบันตนทำงานในตำแหน่งเจ้าหน้าที่จัดหาทรัพยากร ในบริษัทข้ามชาติที่มีสำนักงานอยู่ในหลายประเทศทั่วโลก โดยทำหน้าที่ประสานงานกับสำนักงานในประเทศอินเดีย ซึ่งนับเป็นตำแหน่งงานที่หาคนไทยทำได้ยากมาก เพราะคนไทยน้อยคนที่สามารถใช้ภาษาฮินดีในระดับติดต่อสื่อสารได้ อีกทั้งต้องมีความรู้ความเข้าใจในวัฒนธรรมอินเดียเป็นอย่างดี ซึ่งเปรียบเสมือนอาวุธลับในการทำงานร่วมกับชาวอินเดีย ซึ่งตนมองว่าสิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งที่ได้จากการเรียนในหลักสูตรอินเดียศึกษา พีบีไอซี ไม่ได้เน้นการเรียนเฉพาะด้านภาษา แต่ยังเน้นด้านวัฒนธรรม สังคม เศรษฐกิจ การเมือง ตลอดจนการเจรจาทางธุรกิจกับอินเดีย ทำให้ตนได้รับโอกาสการทำงานดีๆ ที่ไม่คาดคิด “การเรียนตลอด 4 ปี คือการปรับตัว และรู้จักนำองค์ความรู้ในวิชาต่างๆ มาประยุกต์ใช้ รวมถึงความพร้อมในการเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ ดังเช่นประสบการณ์ที่ได้ไปแลกเปลี่ยนที่อินเดียเป็นเวลา 1 เทอม สิ่งเหล่านี้ทำให้เราเป็นที่ยอมรับในด้านความสามารถที่หลากหลาย (Multi-skill) ในโลกการทำงาน” นางสาวนันทิตา กล่าว นางสาวนันทิตา เล่าต่อว่า ตลอด 4 ปีที่ได้เรียนในหลักสูตรอินเดียศึกษา มีหลายวิชาที่เราสนุกไปกับการเรียนมากๆ แต่อีกใจหนึ่งก็คิดว่าจะได้นำความรู้เหล่านั้นมาใช้ในการทำงานหรือไม่ เพราะคิดว่าการที่เรารู้เรื่องอินเดียอย่างลึกซึ้ง อาจจะยังไม่เป็นที่ต้องการของตลาดงานในไทย แต่ตนได้ค้นพบว่ายังมีบริษัทข้ามชาติที่ตั้งอยู่ในไทยอีกมาก ที่มีส่วนงานที่ต้องประสานงานกับบริษัทในอินเดีย เนื่องจากอินเดียเป็นประเทศที่มีเศรษฐกิจขนาดใหญ่ และมีการดำเนินธุรกิจกับทั่วโลก ซึ่งบริษัทเหล่านี้ต้องการผู้ที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับอินเดียอย่างลึกซึ้ง อีกทั้งมีค่าตอบแทนที่ค่อนข้างสูงไม่แพ้บริษัทข้ามชาติอื่นๆ ในไทย ในขณะที่ ประเทศไทยยังมีผู้ที่รู้ลึก รู้จริงเกี่ยวกับอินเดีย และสามารถสื่อสารภาษาฮินดีได้น้อยมาก โดยประสบการณ์ส่วนตัวในการสมัครงานนั้น ชื่อหลักสูตร “อินเดียศึกษา” และรายวิชาในทรานสคริปต์ของเรา มีผลอย่างมากต่อการเรียกสัมภาษณ์และได้งาน เพราะรายวิชาที่เราได้เรียน ถือว่าครอบคลุมในทุกมิติของอินเดีย อีกทั้งประสบการณ์แลกเปลี่ยนที่ประเทศอินเดียเป็นเวลา 1 เทอม ยังเป็นเครื่องยืนยันว่าเราผ่านการใช้ชีวิตและกระบวนการ ดังคำกล่าวที่ว่า “ถ้าอยู่กับคนอินเดียได้ ก็สามารถอยู่กับคนทั้งโลกได้” ด้านศิษย์เก่าที่เลือกเรียนภาษาฮินดีเพิ่มเติมที่ประเทศอินเดีย ก่อนเข้าสู่โลกการทำงานจริงอย่าง นางสาวศศิกานต์ พ่วงรัก ศิษย์เก่าหลักสูตรอินเดียศึกษา วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ (พีบีไอซี) มธ. ได้เปิดเผยว่า หลังจากจบการศึกษาในหลักสูตรอินเดียศึกษา พีบีไอซี ตนตั้งเป้าหมายชัดเจนว่าอนาคตจะศึกษาต่อปริญญาโททางด้านภาษาฮินดีศาสตร์ ณ ประเทศอินเดีย และตั้งใจกลับมาทำงานด้านการศึกษาภาษาฮินดี จึงเป็นสาเหตุให้ตัดสินใจสมัครทุนฮินดีระยะสั้น ซึ่งเป็นทุนที่สนับสนุนโดยรัฐบาลอินเดีย ใช้เวลาในการเรียน 9 เดือน ที่ประเทศอินเดีย เพื่อเติมเต็มความรู้ภาษาฮินดีให้พร้อมศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น อีกทั้งยังเป็นการซึมซับประสบการณ์การใช้ชีวิตในประเทศอินเดียเพิ่มเติม นอกจากนี้ ตนยังตั้งใจทำหน้าที่เผยแพร่แง่มุมสุดอันซีนในอินเดีย ผ่านการเปิดเฟซบุ๊กแฟนเพจ “อินเดี่ยนแลนด์ แดนมหัศจรรย์” ที่บอกเล่าเรื่องราวต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น ประสบการณ์การใช้ชีวิตประจำวันที่มีทั้งเรื่องสนุก ลุ้น ตื่นเต้นในอินเดีย หรือจะเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่มี ‘หิมะตก’ ที่หลายคนคาดไม่ถึง ทั้งหมดนี้ ตนต้องการบอกเล่าเรื่องราว และสร้างความเข้าใจอินเดียในมุมมองใหม่ๆ ให้แก่คนไทย ว่าอินเดียยังมีอะไรที่น่าสนใจให้ค้นหาอีกมาก “หนึ่งในผลลัพธ์ของหลักสูตรอินเดียศึกษา คือการเข้าใจวัฒนธรรมที่หลากหลาย (Multi-Cultural) ของอินเดีย ทำให้เราเป็นคนที่มีมุมมองที่เปิดกว้างต่อการเรียนรู้มากขึ้น รวมถึงสามารถปรับตัวในสภาพแวดล้อมต่างๆ ได้ดี ไม่ว่าจะเป็นการทำงาน หรือการเรียนรู้ในสิ่งใหม่ๆ นอกจากนี้ อินเดียศึกษา ยังเป็นอีกอาณาบริเวณศึกษาที่ยังไม่ ‘Mass’ ในเมืองไทย หรือเรียกได้ว่าเป็นขุมทรัพย์ที่คนไทยจำนวนมากยังไม่ค้นพบ ยิ่งเรารู้จักอินเดียอย่างลึกซึ้งก่อนใคร ก็ยิ่งคว้าโอกาสที่มากมายได้ก่อนคนอื่น” นางสาวศศิกานต์ กล่าวทิ้งท้าย สำหรับผู้ที่สนใจสามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์ www.pbic.tu.ac.th หรือเฟซบุ๊ก EZ Webmaster Related Posts มธ. ปักหมุดหลักสูตร ‘AI Ethics’ หนุนบริบทใหม่ของห้องเรียนทันโลก สร้างจุดยืนคนรุ่นใหม่ ‘ใช้เอไออย่างมีจริยธรรม’ พร้อมเดินหน้าวางหมุดหมายระบบการศึกษาไทย กับการปลุกการใช้เทคฯ คู่ธรรมาภิบาล คาดเริ่มเปิดลงทะเบียนพร้อมเรียนจริง สิงหาคม 68 นี้ 11 สาเหตุลึกซึ้ง ทำไมการศึกษาไทยยังตกต่ำ? เสียงสะท้อนจากครูชนบท สู่คำถามใหญ่ของสังคม ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ ม.หอการค้าไทย จัดหลักสูตรรุกหน้าการันตี “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน!!” การตลาดดิจิทัลและระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย จัดกิจกรรมตอบแทนกลับคืนสังคม Post navigation PREVIOUS Previous post: Vatel Thailand นำเสนอหลักสูตรนานาชาติด้านบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโรงแรม เปิดโอกาสให้สำเร็จการศึกษาได้ภายใน 3 ปี พร้อมรับปริญญาบัตร 2 ใบNEXT Next post: มูลนิธิ EDF รับมอบกล่องบริจาคเงินเพื่อนักเรียนยากจน Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา EZ WebmasterJune 18, 2025 วิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิทักษ์ ธรรมวาริน (คนที่ 4 จากซ้าย) คณบดีวิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สจล. และ Mr. Alfonso Martin (คนที่ 3… คณะมนุษยศาสตร์ ม.หอการค้าไทย จัดหลักสูตรรุกหน้าการันตี “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน!!” EZ WebmasterJune 18, 2025 “ภาษา” มิใช่เพียงเครื่องมือสื่อสารแต่เป็นกุญแจสำคัญในการเรียนรู้และเข้าใจวัฒนธรรม การคิดวิเคราะห์และสร้างสรรค์นวัตกรรม ผู้ที่มีทักษะด้านภาษาที่แข็งแกร่งจะสามารถเป็นข้อได้เปรียบหรือประสบความสำเร็จได้ในโลกที่เปลี่ยนแปลงและผู้คนทั่วโลกเชื่อมโยงสื่อสารถึงกันได้ในพริบตาแม้จะต่างชาติ ต่างภาษา ต่างวัฒนธรรม การเรียนรู้ฝึกฝนมีทักษะภาษาจึงมิใช่แค่รู้หรือพูดภาษานานาชาติได้เท่านั้น แต่การเรียนภาษาให้มีรายได้ดี มีอาชีพมั่นคง เป็นมนุษย์เงินเดือนอิสระ ถึงขั้นการันตีได้ว่า “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน !!! นั้นก็เป็นสิ่งเพิ่มมูลค่าและมีคุณค่าอย่างน่าภูมิใจ เฉกเช่นที่ล่าสุด Miss World…
คณะมนุษยศาสตร์ ม.หอการค้าไทย จัดหลักสูตรรุกหน้าการันตี “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน!!” EZ WebmasterJune 18, 2025 “ภาษา” มิใช่เพียงเครื่องมือสื่อสารแต่เป็นกุญแจสำคัญในการเรียนรู้และเข้าใจวัฒนธรรม การคิดวิเคราะห์และสร้างสรรค์นวัตกรรม ผู้ที่มีทักษะด้านภาษาที่แข็งแกร่งจะสามารถเป็นข้อได้เปรียบหรือประสบความสำเร็จได้ในโลกที่เปลี่ยนแปลงและผู้คนทั่วโลกเชื่อมโยงสื่อสารถึงกันได้ในพริบตาแม้จะต่างชาติ ต่างภาษา ต่างวัฒนธรรม การเรียนรู้ฝึกฝนมีทักษะภาษาจึงมิใช่แค่รู้หรือพูดภาษานานาชาติได้เท่านั้น แต่การเรียนภาษาให้มีรายได้ดี มีอาชีพมั่นคง เป็นมนุษย์เงินเดือนอิสระ ถึงขั้นการันตีได้ว่า “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน !!! นั้นก็เป็นสิ่งเพิ่มมูลค่าและมีคุณค่าอย่างน่าภูมิใจ เฉกเช่นที่ล่าสุด Miss World…
Kazan Global Youth Summit InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 19, 2025 เชิญเยาวชนสมัครคัดเลือกเข้าร่วมการประชุม Kazan Global Youth Summit ครั้งที่ 4 ระหว่างวันที่ 27 – 30 สิงหาคม 2568 ณ เมืองคาซาน สาธารณรัฐตาตาร์สตาน สหพันธรัฐรัสเซีย จัดโดยรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐตาตาร์สตาน… SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… ครู-อาจารย์ มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ… สจล. เดินหน้ากระชับความร่วมมือทางวิชาการ กับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของจีน EZ WebmasterJune 19, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เดินหน้ากระชับความสัมพันธ์ทางวิชาการกับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งเป็นพันธมิตรที่มีความร่วมมือกันมานานกว่า 20 ปี เพื่อหารือขยายความร่วมมือเชิงลึกในสาขาวิศวกรรมขั้นสูง โดยเฉพาะด้าน Aerospace, Mechatronics, Automation และ Astronautics ซึ่ง HIT ถือเป็นสถาบันชั้นนำของจีนในด้านนี้ พร้อมทั้งหารือแนวทางความร่วมมือด้านการแลกเปลี่ยนนักศึกษา นักวิจัย และการพัฒนาโครงการ Joint Degree ในอนาคต รองศาสตราจารย์… อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก tui sakrapeeJune 18, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา นำโดย รศ.ดร.ชุติกาญจน์ ศรีวิบูลย์ อธิการบดี พร้อมคณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย เดินทางเยือนโรงเรียนนานาชาติ Qingdao No.1 International School of Shandong Province (QISS) และ Qingdao University… กองกลาง มจพ. เยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ และจัดสัมมนาจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล ประจำปี 2568 EZ WebmasterJune 18, 2025 ผศ.ดร.สราวุฒิ สืบแย้ม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายการคลังและกิจการทั่วไป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยนางสาวรัตนา สุขเฉลิมศรี ผู้อำนวยการกองกลาง และบุคลากรกองกลาง เข้าเยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ มจพ. ณ ชั้น 3 สำนักงานหอสมุดกลาง โดยมีนางสาวพนารมย์ เกียรติลีลานันท์ และ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster May 11, 2020 EZ Webmaster May 11, 2020 เรียนแบบ “อินเดียศึกษา รั้ว มธ.” พบคนหลากชาติ ทำงานหลากอาชีพได้ Multi-skill และ Multi-cultural ทักษะต้องมีของบัณฑิตยุคใหม่ ใครที่กำลังมองหาหลักสูตรการเรียนที่น่าสนใจ มีความเป็นอินเตอร์ อีกทั้งเป็นหลักสูตรที่แปลกใหม่ สามารถสร้างความโดดเด่น และแตกต่างให้กับโปรไฟล์ของเราได้ สิ่งสำคัญที่ต้องพิจารณา นอกจากรายวิชาที่น่าสนใจแล้ว อาจจะต้องพิจารณาให้ไกลถึงสิ่งที่โลกการทำงานต้องการในอนาคต นั่นก็คือ การมีความสามารถ และความเข้าใจในวัฒนธรรมที่หลากหลาย (Multi-skill, Multi-cultural) ซึ่งเป็นสิ่งที่บัณฑิตยุคใหม่ต้องมี “หลักสูตรอินเดียศึกษา” ของวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ (พีบีไอซี) มธ. เป็นอีกหนึ่งหลักสูตรที่นับว่าเป็นความแปลกใหม่ในเมืองไทย เพราะยังไม่มีที่ไหนเปิดสอน อีกทั้งหลักสูตรนี้มีความมุ่งมั่นปั้นบัณฑิตที่มีความรู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับประเทศอินเดียอย่างลึกซึ้ง ไม่ว่าจะเป็นด้านสังคม เศรษฐกิจ การเมือง ภาษาและวัฒนธรรม ซึ่งเป็นเครื่องการันตีว่าบัณฑิตที่จบการศึกษาจากหลักสูตรนี้จะมีความรู้ความสามารถในหลากหลายศาสตร์ รวมทั้งความเข้าใจในบริบทวัฒนธรรมที่หลากหลาย (Multi-skill, Multi-cultural) บทความนี้ จะพาไปพูดคุยกับศิษย์เก่าหลักสูตรอินเดียศึกษา พีบีไอซี มธ. ที่ผ่านการเรียนในหลักสูตรอินเดียศึกษาอย่างเข้มข้นเป็นเวลา 4 ปี อีกทั้งผ่านประสบการณ์แลกเปลี่ยนที่อินเดียมาเป็นเวลา 1 เทอมเต็ม ซึ่งพวกเขาเหล่านี้เรียกได้ว่าเป็นผู้ที่รู้ลึก รู้จริงเกี่ยวกับอินเดีย แต่ความรู้ลึก รู้จริงดังกล่าว จะได้เอาไปใช้อย่างไรกับชีวิตการทำงานบ้าง ไปติดตามกันเลย! นางสาวนันทิตา ดูเบย์ ศิษย์เก่าหลักสูตรอินเดียศึกษา วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ (พีบีไอซี) มธ. เล่าว่า ปัจจุบันตนทำงานในตำแหน่งเจ้าหน้าที่จัดหาทรัพยากร ในบริษัทข้ามชาติที่มีสำนักงานอยู่ในหลายประเทศทั่วโลก โดยทำหน้าที่ประสานงานกับสำนักงานในประเทศอินเดีย ซึ่งนับเป็นตำแหน่งงานที่หาคนไทยทำได้ยากมาก เพราะคนไทยน้อยคนที่สามารถใช้ภาษาฮินดีในระดับติดต่อสื่อสารได้ อีกทั้งต้องมีความรู้ความเข้าใจในวัฒนธรรมอินเดียเป็นอย่างดี ซึ่งเปรียบเสมือนอาวุธลับในการทำงานร่วมกับชาวอินเดีย ซึ่งตนมองว่าสิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งที่ได้จากการเรียนในหลักสูตรอินเดียศึกษา พีบีไอซี ไม่ได้เน้นการเรียนเฉพาะด้านภาษา แต่ยังเน้นด้านวัฒนธรรม สังคม เศรษฐกิจ การเมือง ตลอดจนการเจรจาทางธุรกิจกับอินเดีย ทำให้ตนได้รับโอกาสการทำงานดีๆ ที่ไม่คาดคิด “การเรียนตลอด 4 ปี คือการปรับตัว และรู้จักนำองค์ความรู้ในวิชาต่างๆ มาประยุกต์ใช้ รวมถึงความพร้อมในการเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ ดังเช่นประสบการณ์ที่ได้ไปแลกเปลี่ยนที่อินเดียเป็นเวลา 1 เทอม สิ่งเหล่านี้ทำให้เราเป็นที่ยอมรับในด้านความสามารถที่หลากหลาย (Multi-skill) ในโลกการทำงาน” นางสาวนันทิตา กล่าว นางสาวนันทิตา เล่าต่อว่า ตลอด 4 ปีที่ได้เรียนในหลักสูตรอินเดียศึกษา มีหลายวิชาที่เราสนุกไปกับการเรียนมากๆ แต่อีกใจหนึ่งก็คิดว่าจะได้นำความรู้เหล่านั้นมาใช้ในการทำงานหรือไม่ เพราะคิดว่าการที่เรารู้เรื่องอินเดียอย่างลึกซึ้ง อาจจะยังไม่เป็นที่ต้องการของตลาดงานในไทย แต่ตนได้ค้นพบว่ายังมีบริษัทข้ามชาติที่ตั้งอยู่ในไทยอีกมาก ที่มีส่วนงานที่ต้องประสานงานกับบริษัทในอินเดีย เนื่องจากอินเดียเป็นประเทศที่มีเศรษฐกิจขนาดใหญ่ และมีการดำเนินธุรกิจกับทั่วโลก ซึ่งบริษัทเหล่านี้ต้องการผู้ที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับอินเดียอย่างลึกซึ้ง อีกทั้งมีค่าตอบแทนที่ค่อนข้างสูงไม่แพ้บริษัทข้ามชาติอื่นๆ ในไทย ในขณะที่ ประเทศไทยยังมีผู้ที่รู้ลึก รู้จริงเกี่ยวกับอินเดีย และสามารถสื่อสารภาษาฮินดีได้น้อยมาก โดยประสบการณ์ส่วนตัวในการสมัครงานนั้น ชื่อหลักสูตร “อินเดียศึกษา” และรายวิชาในทรานสคริปต์ของเรา มีผลอย่างมากต่อการเรียกสัมภาษณ์และได้งาน เพราะรายวิชาที่เราได้เรียน ถือว่าครอบคลุมในทุกมิติของอินเดีย อีกทั้งประสบการณ์แลกเปลี่ยนที่ประเทศอินเดียเป็นเวลา 1 เทอม ยังเป็นเครื่องยืนยันว่าเราผ่านการใช้ชีวิตและกระบวนการ ดังคำกล่าวที่ว่า “ถ้าอยู่กับคนอินเดียได้ ก็สามารถอยู่กับคนทั้งโลกได้” ด้านศิษย์เก่าที่เลือกเรียนภาษาฮินดีเพิ่มเติมที่ประเทศอินเดีย ก่อนเข้าสู่โลกการทำงานจริงอย่าง นางสาวศศิกานต์ พ่วงรัก ศิษย์เก่าหลักสูตรอินเดียศึกษา วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ (พีบีไอซี) มธ. ได้เปิดเผยว่า หลังจากจบการศึกษาในหลักสูตรอินเดียศึกษา พีบีไอซี ตนตั้งเป้าหมายชัดเจนว่าอนาคตจะศึกษาต่อปริญญาโททางด้านภาษาฮินดีศาสตร์ ณ ประเทศอินเดีย และตั้งใจกลับมาทำงานด้านการศึกษาภาษาฮินดี จึงเป็นสาเหตุให้ตัดสินใจสมัครทุนฮินดีระยะสั้น ซึ่งเป็นทุนที่สนับสนุนโดยรัฐบาลอินเดีย ใช้เวลาในการเรียน 9 เดือน ที่ประเทศอินเดีย เพื่อเติมเต็มความรู้ภาษาฮินดีให้พร้อมศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น อีกทั้งยังเป็นการซึมซับประสบการณ์การใช้ชีวิตในประเทศอินเดียเพิ่มเติม นอกจากนี้ ตนยังตั้งใจทำหน้าที่เผยแพร่แง่มุมสุดอันซีนในอินเดีย ผ่านการเปิดเฟซบุ๊กแฟนเพจ “อินเดี่ยนแลนด์ แดนมหัศจรรย์” ที่บอกเล่าเรื่องราวต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น ประสบการณ์การใช้ชีวิตประจำวันที่มีทั้งเรื่องสนุก ลุ้น ตื่นเต้นในอินเดีย หรือจะเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่มี ‘หิมะตก’ ที่หลายคนคาดไม่ถึง ทั้งหมดนี้ ตนต้องการบอกเล่าเรื่องราว และสร้างความเข้าใจอินเดียในมุมมองใหม่ๆ ให้แก่คนไทย ว่าอินเดียยังมีอะไรที่น่าสนใจให้ค้นหาอีกมาก “หนึ่งในผลลัพธ์ของหลักสูตรอินเดียศึกษา คือการเข้าใจวัฒนธรรมที่หลากหลาย (Multi-Cultural) ของอินเดีย ทำให้เราเป็นคนที่มีมุมมองที่เปิดกว้างต่อการเรียนรู้มากขึ้น รวมถึงสามารถปรับตัวในสภาพแวดล้อมต่างๆ ได้ดี ไม่ว่าจะเป็นการทำงาน หรือการเรียนรู้ในสิ่งใหม่ๆ นอกจากนี้ อินเดียศึกษา ยังเป็นอีกอาณาบริเวณศึกษาที่ยังไม่ ‘Mass’ ในเมืองไทย หรือเรียกได้ว่าเป็นขุมทรัพย์ที่คนไทยจำนวนมากยังไม่ค้นพบ ยิ่งเรารู้จักอินเดียอย่างลึกซึ้งก่อนใคร ก็ยิ่งคว้าโอกาสที่มากมายได้ก่อนคนอื่น” นางสาวศศิกานต์ กล่าวทิ้งท้าย สำหรับผู้ที่สนใจสามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์ www.pbic.tu.ac.th หรือเฟซบุ๊ก EZ Webmaster Related Posts มธ. ปักหมุดหลักสูตร ‘AI Ethics’ หนุนบริบทใหม่ของห้องเรียนทันโลก สร้างจุดยืนคนรุ่นใหม่ ‘ใช้เอไออย่างมีจริยธรรม’ พร้อมเดินหน้าวางหมุดหมายระบบการศึกษาไทย กับการปลุกการใช้เทคฯ คู่ธรรมาภิบาล คาดเริ่มเปิดลงทะเบียนพร้อมเรียนจริง สิงหาคม 68 นี้ 11 สาเหตุลึกซึ้ง ทำไมการศึกษาไทยยังตกต่ำ? เสียงสะท้อนจากครูชนบท สู่คำถามใหญ่ของสังคม ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ ม.หอการค้าไทย จัดหลักสูตรรุกหน้าการันตี “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน!!” การตลาดดิจิทัลและระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย จัดกิจกรรมตอบแทนกลับคืนสังคม Post navigation PREVIOUS Previous post: Vatel Thailand นำเสนอหลักสูตรนานาชาติด้านบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโรงแรม เปิดโอกาสให้สำเร็จการศึกษาได้ภายใน 3 ปี พร้อมรับปริญญาบัตร 2 ใบNEXT Next post: มูลนิธิ EDF รับมอบกล่องบริจาคเงินเพื่อนักเรียนยากจน Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… ครู-อาจารย์ มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ… สจล. เดินหน้ากระชับความร่วมมือทางวิชาการ กับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของจีน EZ WebmasterJune 19, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เดินหน้ากระชับความสัมพันธ์ทางวิชาการกับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งเป็นพันธมิตรที่มีความร่วมมือกันมานานกว่า 20 ปี เพื่อหารือขยายความร่วมมือเชิงลึกในสาขาวิศวกรรมขั้นสูง โดยเฉพาะด้าน Aerospace, Mechatronics, Automation และ Astronautics ซึ่ง HIT ถือเป็นสถาบันชั้นนำของจีนในด้านนี้ พร้อมทั้งหารือแนวทางความร่วมมือด้านการแลกเปลี่ยนนักศึกษา นักวิจัย และการพัฒนาโครงการ Joint Degree ในอนาคต รองศาสตราจารย์… อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก tui sakrapeeJune 18, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา นำโดย รศ.ดร.ชุติกาญจน์ ศรีวิบูลย์ อธิการบดี พร้อมคณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย เดินทางเยือนโรงเรียนนานาชาติ Qingdao No.1 International School of Shandong Province (QISS) และ Qingdao University… กองกลาง มจพ. เยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ และจัดสัมมนาจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล ประจำปี 2568 EZ WebmasterJune 18, 2025 ผศ.ดร.สราวุฒิ สืบแย้ม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายการคลังและกิจการทั่วไป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยนางสาวรัตนา สุขเฉลิมศรี ผู้อำนวยการกองกลาง และบุคลากรกองกลาง เข้าเยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ มจพ. ณ ชั้น 3 สำนักงานหอสมุดกลาง โดยมีนางสาวพนารมย์ เกียรติลีลานันท์ และ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster May 11, 2020 EZ Webmaster May 11, 2020 เรียนแบบ “อินเดียศึกษา รั้ว มธ.” พบคนหลากชาติ ทำงานหลากอาชีพได้ Multi-skill และ Multi-cultural ทักษะต้องมีของบัณฑิตยุคใหม่ ใครที่กำลังมองหาหลักสูตรการเรียนที่น่าสนใจ มีความเป็นอินเตอร์ อีกทั้งเป็นหลักสูตรที่แปลกใหม่ สามารถสร้างความโดดเด่น และแตกต่างให้กับโปรไฟล์ของเราได้ สิ่งสำคัญที่ต้องพิจารณา นอกจากรายวิชาที่น่าสนใจแล้ว อาจจะต้องพิจารณาให้ไกลถึงสิ่งที่โลกการทำงานต้องการในอนาคต นั่นก็คือ การมีความสามารถ และความเข้าใจในวัฒนธรรมที่หลากหลาย (Multi-skill, Multi-cultural) ซึ่งเป็นสิ่งที่บัณฑิตยุคใหม่ต้องมี “หลักสูตรอินเดียศึกษา” ของวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ (พีบีไอซี) มธ. เป็นอีกหนึ่งหลักสูตรที่นับว่าเป็นความแปลกใหม่ในเมืองไทย เพราะยังไม่มีที่ไหนเปิดสอน อีกทั้งหลักสูตรนี้มีความมุ่งมั่นปั้นบัณฑิตที่มีความรู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับประเทศอินเดียอย่างลึกซึ้ง ไม่ว่าจะเป็นด้านสังคม เศรษฐกิจ การเมือง ภาษาและวัฒนธรรม ซึ่งเป็นเครื่องการันตีว่าบัณฑิตที่จบการศึกษาจากหลักสูตรนี้จะมีความรู้ความสามารถในหลากหลายศาสตร์ รวมทั้งความเข้าใจในบริบทวัฒนธรรมที่หลากหลาย (Multi-skill, Multi-cultural) บทความนี้ จะพาไปพูดคุยกับศิษย์เก่าหลักสูตรอินเดียศึกษา พีบีไอซี มธ. ที่ผ่านการเรียนในหลักสูตรอินเดียศึกษาอย่างเข้มข้นเป็นเวลา 4 ปี อีกทั้งผ่านประสบการณ์แลกเปลี่ยนที่อินเดียมาเป็นเวลา 1 เทอมเต็ม ซึ่งพวกเขาเหล่านี้เรียกได้ว่าเป็นผู้ที่รู้ลึก รู้จริงเกี่ยวกับอินเดีย แต่ความรู้ลึก รู้จริงดังกล่าว จะได้เอาไปใช้อย่างไรกับชีวิตการทำงานบ้าง ไปติดตามกันเลย! นางสาวนันทิตา ดูเบย์ ศิษย์เก่าหลักสูตรอินเดียศึกษา วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ (พีบีไอซี) มธ. เล่าว่า ปัจจุบันตนทำงานในตำแหน่งเจ้าหน้าที่จัดหาทรัพยากร ในบริษัทข้ามชาติที่มีสำนักงานอยู่ในหลายประเทศทั่วโลก โดยทำหน้าที่ประสานงานกับสำนักงานในประเทศอินเดีย ซึ่งนับเป็นตำแหน่งงานที่หาคนไทยทำได้ยากมาก เพราะคนไทยน้อยคนที่สามารถใช้ภาษาฮินดีในระดับติดต่อสื่อสารได้ อีกทั้งต้องมีความรู้ความเข้าใจในวัฒนธรรมอินเดียเป็นอย่างดี ซึ่งเปรียบเสมือนอาวุธลับในการทำงานร่วมกับชาวอินเดีย ซึ่งตนมองว่าสิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งที่ได้จากการเรียนในหลักสูตรอินเดียศึกษา พีบีไอซี ไม่ได้เน้นการเรียนเฉพาะด้านภาษา แต่ยังเน้นด้านวัฒนธรรม สังคม เศรษฐกิจ การเมือง ตลอดจนการเจรจาทางธุรกิจกับอินเดีย ทำให้ตนได้รับโอกาสการทำงานดีๆ ที่ไม่คาดคิด “การเรียนตลอด 4 ปี คือการปรับตัว และรู้จักนำองค์ความรู้ในวิชาต่างๆ มาประยุกต์ใช้ รวมถึงความพร้อมในการเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ ดังเช่นประสบการณ์ที่ได้ไปแลกเปลี่ยนที่อินเดียเป็นเวลา 1 เทอม สิ่งเหล่านี้ทำให้เราเป็นที่ยอมรับในด้านความสามารถที่หลากหลาย (Multi-skill) ในโลกการทำงาน” นางสาวนันทิตา กล่าว นางสาวนันทิตา เล่าต่อว่า ตลอด 4 ปีที่ได้เรียนในหลักสูตรอินเดียศึกษา มีหลายวิชาที่เราสนุกไปกับการเรียนมากๆ แต่อีกใจหนึ่งก็คิดว่าจะได้นำความรู้เหล่านั้นมาใช้ในการทำงานหรือไม่ เพราะคิดว่าการที่เรารู้เรื่องอินเดียอย่างลึกซึ้ง อาจจะยังไม่เป็นที่ต้องการของตลาดงานในไทย แต่ตนได้ค้นพบว่ายังมีบริษัทข้ามชาติที่ตั้งอยู่ในไทยอีกมาก ที่มีส่วนงานที่ต้องประสานงานกับบริษัทในอินเดีย เนื่องจากอินเดียเป็นประเทศที่มีเศรษฐกิจขนาดใหญ่ และมีการดำเนินธุรกิจกับทั่วโลก ซึ่งบริษัทเหล่านี้ต้องการผู้ที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับอินเดียอย่างลึกซึ้ง อีกทั้งมีค่าตอบแทนที่ค่อนข้างสูงไม่แพ้บริษัทข้ามชาติอื่นๆ ในไทย ในขณะที่ ประเทศไทยยังมีผู้ที่รู้ลึก รู้จริงเกี่ยวกับอินเดีย และสามารถสื่อสารภาษาฮินดีได้น้อยมาก โดยประสบการณ์ส่วนตัวในการสมัครงานนั้น ชื่อหลักสูตร “อินเดียศึกษา” และรายวิชาในทรานสคริปต์ของเรา มีผลอย่างมากต่อการเรียกสัมภาษณ์และได้งาน เพราะรายวิชาที่เราได้เรียน ถือว่าครอบคลุมในทุกมิติของอินเดีย อีกทั้งประสบการณ์แลกเปลี่ยนที่ประเทศอินเดียเป็นเวลา 1 เทอม ยังเป็นเครื่องยืนยันว่าเราผ่านการใช้ชีวิตและกระบวนการ ดังคำกล่าวที่ว่า “ถ้าอยู่กับคนอินเดียได้ ก็สามารถอยู่กับคนทั้งโลกได้” ด้านศิษย์เก่าที่เลือกเรียนภาษาฮินดีเพิ่มเติมที่ประเทศอินเดีย ก่อนเข้าสู่โลกการทำงานจริงอย่าง นางสาวศศิกานต์ พ่วงรัก ศิษย์เก่าหลักสูตรอินเดียศึกษา วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ (พีบีไอซี) มธ. ได้เปิดเผยว่า หลังจากจบการศึกษาในหลักสูตรอินเดียศึกษา พีบีไอซี ตนตั้งเป้าหมายชัดเจนว่าอนาคตจะศึกษาต่อปริญญาโททางด้านภาษาฮินดีศาสตร์ ณ ประเทศอินเดีย และตั้งใจกลับมาทำงานด้านการศึกษาภาษาฮินดี จึงเป็นสาเหตุให้ตัดสินใจสมัครทุนฮินดีระยะสั้น ซึ่งเป็นทุนที่สนับสนุนโดยรัฐบาลอินเดีย ใช้เวลาในการเรียน 9 เดือน ที่ประเทศอินเดีย เพื่อเติมเต็มความรู้ภาษาฮินดีให้พร้อมศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น อีกทั้งยังเป็นการซึมซับประสบการณ์การใช้ชีวิตในประเทศอินเดียเพิ่มเติม นอกจากนี้ ตนยังตั้งใจทำหน้าที่เผยแพร่แง่มุมสุดอันซีนในอินเดีย ผ่านการเปิดเฟซบุ๊กแฟนเพจ “อินเดี่ยนแลนด์ แดนมหัศจรรย์” ที่บอกเล่าเรื่องราวต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น ประสบการณ์การใช้ชีวิตประจำวันที่มีทั้งเรื่องสนุก ลุ้น ตื่นเต้นในอินเดีย หรือจะเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่มี ‘หิมะตก’ ที่หลายคนคาดไม่ถึง ทั้งหมดนี้ ตนต้องการบอกเล่าเรื่องราว และสร้างความเข้าใจอินเดียในมุมมองใหม่ๆ ให้แก่คนไทย ว่าอินเดียยังมีอะไรที่น่าสนใจให้ค้นหาอีกมาก “หนึ่งในผลลัพธ์ของหลักสูตรอินเดียศึกษา คือการเข้าใจวัฒนธรรมที่หลากหลาย (Multi-Cultural) ของอินเดีย ทำให้เราเป็นคนที่มีมุมมองที่เปิดกว้างต่อการเรียนรู้มากขึ้น รวมถึงสามารถปรับตัวในสภาพแวดล้อมต่างๆ ได้ดี ไม่ว่าจะเป็นการทำงาน หรือการเรียนรู้ในสิ่งใหม่ๆ นอกจากนี้ อินเดียศึกษา ยังเป็นอีกอาณาบริเวณศึกษาที่ยังไม่ ‘Mass’ ในเมืองไทย หรือเรียกได้ว่าเป็นขุมทรัพย์ที่คนไทยจำนวนมากยังไม่ค้นพบ ยิ่งเรารู้จักอินเดียอย่างลึกซึ้งก่อนใคร ก็ยิ่งคว้าโอกาสที่มากมายได้ก่อนคนอื่น” นางสาวศศิกานต์ กล่าวทิ้งท้าย สำหรับผู้ที่สนใจสามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์ www.pbic.tu.ac.th หรือเฟซบุ๊ก EZ Webmaster Related Posts มธ. ปักหมุดหลักสูตร ‘AI Ethics’ หนุนบริบทใหม่ของห้องเรียนทันโลก สร้างจุดยืนคนรุ่นใหม่ ‘ใช้เอไออย่างมีจริยธรรม’ พร้อมเดินหน้าวางหมุดหมายระบบการศึกษาไทย กับการปลุกการใช้เทคฯ คู่ธรรมาภิบาล คาดเริ่มเปิดลงทะเบียนพร้อมเรียนจริง สิงหาคม 68 นี้ 11 สาเหตุลึกซึ้ง ทำไมการศึกษาไทยยังตกต่ำ? เสียงสะท้อนจากครูชนบท สู่คำถามใหญ่ของสังคม ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ ม.หอการค้าไทย จัดหลักสูตรรุกหน้าการันตี “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน!!” การตลาดดิจิทัลและระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย จัดกิจกรรมตอบแทนกลับคืนสังคม Post navigation PREVIOUS Previous post: Vatel Thailand นำเสนอหลักสูตรนานาชาติด้านบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโรงแรม เปิดโอกาสให้สำเร็จการศึกษาได้ภายใน 3 ปี พร้อมรับปริญญาบัตร 2 ใบNEXT Next post: มูลนิธิ EDF รับมอบกล่องบริจาคเงินเพื่อนักเรียนยากจน Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)…
8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)…
มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ… สจล. เดินหน้ากระชับความร่วมมือทางวิชาการ กับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของจีน EZ WebmasterJune 19, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เดินหน้ากระชับความสัมพันธ์ทางวิชาการกับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งเป็นพันธมิตรที่มีความร่วมมือกันมานานกว่า 20 ปี เพื่อหารือขยายความร่วมมือเชิงลึกในสาขาวิศวกรรมขั้นสูง โดยเฉพาะด้าน Aerospace, Mechatronics, Automation และ Astronautics ซึ่ง HIT ถือเป็นสถาบันชั้นนำของจีนในด้านนี้ พร้อมทั้งหารือแนวทางความร่วมมือด้านการแลกเปลี่ยนนักศึกษา นักวิจัย และการพัฒนาโครงการ Joint Degree ในอนาคต รองศาสตราจารย์… อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก tui sakrapeeJune 18, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา นำโดย รศ.ดร.ชุติกาญจน์ ศรีวิบูลย์ อธิการบดี พร้อมคณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย เดินทางเยือนโรงเรียนนานาชาติ Qingdao No.1 International School of Shandong Province (QISS) และ Qingdao University… กองกลาง มจพ. เยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ และจัดสัมมนาจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล ประจำปี 2568 EZ WebmasterJune 18, 2025 ผศ.ดร.สราวุฒิ สืบแย้ม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายการคลังและกิจการทั่วไป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยนางสาวรัตนา สุขเฉลิมศรี ผู้อำนวยการกองกลาง และบุคลากรกองกลาง เข้าเยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ มจพ. ณ ชั้น 3 สำนักงานหอสมุดกลาง โดยมีนางสาวพนารมย์ เกียรติลีลานันท์ และ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster May 11, 2020 EZ Webmaster May 11, 2020 เรียนแบบ “อินเดียศึกษา รั้ว มธ.” พบคนหลากชาติ ทำงานหลากอาชีพได้ Multi-skill และ Multi-cultural ทักษะต้องมีของบัณฑิตยุคใหม่ ใครที่กำลังมองหาหลักสูตรการเรียนที่น่าสนใจ มีความเป็นอินเตอร์ อีกทั้งเป็นหลักสูตรที่แปลกใหม่ สามารถสร้างความโดดเด่น และแตกต่างให้กับโปรไฟล์ของเราได้ สิ่งสำคัญที่ต้องพิจารณา นอกจากรายวิชาที่น่าสนใจแล้ว อาจจะต้องพิจารณาให้ไกลถึงสิ่งที่โลกการทำงานต้องการในอนาคต นั่นก็คือ การมีความสามารถ และความเข้าใจในวัฒนธรรมที่หลากหลาย (Multi-skill, Multi-cultural) ซึ่งเป็นสิ่งที่บัณฑิตยุคใหม่ต้องมี “หลักสูตรอินเดียศึกษา” ของวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ (พีบีไอซี) มธ. เป็นอีกหนึ่งหลักสูตรที่นับว่าเป็นความแปลกใหม่ในเมืองไทย เพราะยังไม่มีที่ไหนเปิดสอน อีกทั้งหลักสูตรนี้มีความมุ่งมั่นปั้นบัณฑิตที่มีความรู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับประเทศอินเดียอย่างลึกซึ้ง ไม่ว่าจะเป็นด้านสังคม เศรษฐกิจ การเมือง ภาษาและวัฒนธรรม ซึ่งเป็นเครื่องการันตีว่าบัณฑิตที่จบการศึกษาจากหลักสูตรนี้จะมีความรู้ความสามารถในหลากหลายศาสตร์ รวมทั้งความเข้าใจในบริบทวัฒนธรรมที่หลากหลาย (Multi-skill, Multi-cultural) บทความนี้ จะพาไปพูดคุยกับศิษย์เก่าหลักสูตรอินเดียศึกษา พีบีไอซี มธ. ที่ผ่านการเรียนในหลักสูตรอินเดียศึกษาอย่างเข้มข้นเป็นเวลา 4 ปี อีกทั้งผ่านประสบการณ์แลกเปลี่ยนที่อินเดียมาเป็นเวลา 1 เทอมเต็ม ซึ่งพวกเขาเหล่านี้เรียกได้ว่าเป็นผู้ที่รู้ลึก รู้จริงเกี่ยวกับอินเดีย แต่ความรู้ลึก รู้จริงดังกล่าว จะได้เอาไปใช้อย่างไรกับชีวิตการทำงานบ้าง ไปติดตามกันเลย! นางสาวนันทิตา ดูเบย์ ศิษย์เก่าหลักสูตรอินเดียศึกษา วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ (พีบีไอซี) มธ. เล่าว่า ปัจจุบันตนทำงานในตำแหน่งเจ้าหน้าที่จัดหาทรัพยากร ในบริษัทข้ามชาติที่มีสำนักงานอยู่ในหลายประเทศทั่วโลก โดยทำหน้าที่ประสานงานกับสำนักงานในประเทศอินเดีย ซึ่งนับเป็นตำแหน่งงานที่หาคนไทยทำได้ยากมาก เพราะคนไทยน้อยคนที่สามารถใช้ภาษาฮินดีในระดับติดต่อสื่อสารได้ อีกทั้งต้องมีความรู้ความเข้าใจในวัฒนธรรมอินเดียเป็นอย่างดี ซึ่งเปรียบเสมือนอาวุธลับในการทำงานร่วมกับชาวอินเดีย ซึ่งตนมองว่าสิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งที่ได้จากการเรียนในหลักสูตรอินเดียศึกษา พีบีไอซี ไม่ได้เน้นการเรียนเฉพาะด้านภาษา แต่ยังเน้นด้านวัฒนธรรม สังคม เศรษฐกิจ การเมือง ตลอดจนการเจรจาทางธุรกิจกับอินเดีย ทำให้ตนได้รับโอกาสการทำงานดีๆ ที่ไม่คาดคิด “การเรียนตลอด 4 ปี คือการปรับตัว และรู้จักนำองค์ความรู้ในวิชาต่างๆ มาประยุกต์ใช้ รวมถึงความพร้อมในการเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ ดังเช่นประสบการณ์ที่ได้ไปแลกเปลี่ยนที่อินเดียเป็นเวลา 1 เทอม สิ่งเหล่านี้ทำให้เราเป็นที่ยอมรับในด้านความสามารถที่หลากหลาย (Multi-skill) ในโลกการทำงาน” นางสาวนันทิตา กล่าว นางสาวนันทิตา เล่าต่อว่า ตลอด 4 ปีที่ได้เรียนในหลักสูตรอินเดียศึกษา มีหลายวิชาที่เราสนุกไปกับการเรียนมากๆ แต่อีกใจหนึ่งก็คิดว่าจะได้นำความรู้เหล่านั้นมาใช้ในการทำงานหรือไม่ เพราะคิดว่าการที่เรารู้เรื่องอินเดียอย่างลึกซึ้ง อาจจะยังไม่เป็นที่ต้องการของตลาดงานในไทย แต่ตนได้ค้นพบว่ายังมีบริษัทข้ามชาติที่ตั้งอยู่ในไทยอีกมาก ที่มีส่วนงานที่ต้องประสานงานกับบริษัทในอินเดีย เนื่องจากอินเดียเป็นประเทศที่มีเศรษฐกิจขนาดใหญ่ และมีการดำเนินธุรกิจกับทั่วโลก ซึ่งบริษัทเหล่านี้ต้องการผู้ที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับอินเดียอย่างลึกซึ้ง อีกทั้งมีค่าตอบแทนที่ค่อนข้างสูงไม่แพ้บริษัทข้ามชาติอื่นๆ ในไทย ในขณะที่ ประเทศไทยยังมีผู้ที่รู้ลึก รู้จริงเกี่ยวกับอินเดีย และสามารถสื่อสารภาษาฮินดีได้น้อยมาก โดยประสบการณ์ส่วนตัวในการสมัครงานนั้น ชื่อหลักสูตร “อินเดียศึกษา” และรายวิชาในทรานสคริปต์ของเรา มีผลอย่างมากต่อการเรียกสัมภาษณ์และได้งาน เพราะรายวิชาที่เราได้เรียน ถือว่าครอบคลุมในทุกมิติของอินเดีย อีกทั้งประสบการณ์แลกเปลี่ยนที่ประเทศอินเดียเป็นเวลา 1 เทอม ยังเป็นเครื่องยืนยันว่าเราผ่านการใช้ชีวิตและกระบวนการ ดังคำกล่าวที่ว่า “ถ้าอยู่กับคนอินเดียได้ ก็สามารถอยู่กับคนทั้งโลกได้” ด้านศิษย์เก่าที่เลือกเรียนภาษาฮินดีเพิ่มเติมที่ประเทศอินเดีย ก่อนเข้าสู่โลกการทำงานจริงอย่าง นางสาวศศิกานต์ พ่วงรัก ศิษย์เก่าหลักสูตรอินเดียศึกษา วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ (พีบีไอซี) มธ. ได้เปิดเผยว่า หลังจากจบการศึกษาในหลักสูตรอินเดียศึกษา พีบีไอซี ตนตั้งเป้าหมายชัดเจนว่าอนาคตจะศึกษาต่อปริญญาโททางด้านภาษาฮินดีศาสตร์ ณ ประเทศอินเดีย และตั้งใจกลับมาทำงานด้านการศึกษาภาษาฮินดี จึงเป็นสาเหตุให้ตัดสินใจสมัครทุนฮินดีระยะสั้น ซึ่งเป็นทุนที่สนับสนุนโดยรัฐบาลอินเดีย ใช้เวลาในการเรียน 9 เดือน ที่ประเทศอินเดีย เพื่อเติมเต็มความรู้ภาษาฮินดีให้พร้อมศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น อีกทั้งยังเป็นการซึมซับประสบการณ์การใช้ชีวิตในประเทศอินเดียเพิ่มเติม นอกจากนี้ ตนยังตั้งใจทำหน้าที่เผยแพร่แง่มุมสุดอันซีนในอินเดีย ผ่านการเปิดเฟซบุ๊กแฟนเพจ “อินเดี่ยนแลนด์ แดนมหัศจรรย์” ที่บอกเล่าเรื่องราวต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น ประสบการณ์การใช้ชีวิตประจำวันที่มีทั้งเรื่องสนุก ลุ้น ตื่นเต้นในอินเดีย หรือจะเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่มี ‘หิมะตก’ ที่หลายคนคาดไม่ถึง ทั้งหมดนี้ ตนต้องการบอกเล่าเรื่องราว และสร้างความเข้าใจอินเดียในมุมมองใหม่ๆ ให้แก่คนไทย ว่าอินเดียยังมีอะไรที่น่าสนใจให้ค้นหาอีกมาก “หนึ่งในผลลัพธ์ของหลักสูตรอินเดียศึกษา คือการเข้าใจวัฒนธรรมที่หลากหลาย (Multi-Cultural) ของอินเดีย ทำให้เราเป็นคนที่มีมุมมองที่เปิดกว้างต่อการเรียนรู้มากขึ้น รวมถึงสามารถปรับตัวในสภาพแวดล้อมต่างๆ ได้ดี ไม่ว่าจะเป็นการทำงาน หรือการเรียนรู้ในสิ่งใหม่ๆ นอกจากนี้ อินเดียศึกษา ยังเป็นอีกอาณาบริเวณศึกษาที่ยังไม่ ‘Mass’ ในเมืองไทย หรือเรียกได้ว่าเป็นขุมทรัพย์ที่คนไทยจำนวนมากยังไม่ค้นพบ ยิ่งเรารู้จักอินเดียอย่างลึกซึ้งก่อนใคร ก็ยิ่งคว้าโอกาสที่มากมายได้ก่อนคนอื่น” นางสาวศศิกานต์ กล่าวทิ้งท้าย สำหรับผู้ที่สนใจสามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์ www.pbic.tu.ac.th หรือเฟซบุ๊ก EZ Webmaster Related Posts มธ. ปักหมุดหลักสูตร ‘AI Ethics’ หนุนบริบทใหม่ของห้องเรียนทันโลก สร้างจุดยืนคนรุ่นใหม่ ‘ใช้เอไออย่างมีจริยธรรม’ พร้อมเดินหน้าวางหมุดหมายระบบการศึกษาไทย กับการปลุกการใช้เทคฯ คู่ธรรมาภิบาล คาดเริ่มเปิดลงทะเบียนพร้อมเรียนจริง สิงหาคม 68 นี้ 11 สาเหตุลึกซึ้ง ทำไมการศึกษาไทยยังตกต่ำ? เสียงสะท้อนจากครูชนบท สู่คำถามใหญ่ของสังคม ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ ม.หอการค้าไทย จัดหลักสูตรรุกหน้าการันตี “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน!!” การตลาดดิจิทัลและระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย จัดกิจกรรมตอบแทนกลับคืนสังคม Post navigation PREVIOUS Previous post: Vatel Thailand นำเสนอหลักสูตรนานาชาติด้านบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโรงแรม เปิดโอกาสให้สำเร็จการศึกษาได้ภายใน 3 ปี พร้อมรับปริญญาบัตร 2 ใบNEXT Next post: มูลนิธิ EDF รับมอบกล่องบริจาคเงินเพื่อนักเรียนยากจน Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
สจล. เดินหน้ากระชับความร่วมมือทางวิชาการ กับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของจีน EZ WebmasterJune 19, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เดินหน้ากระชับความสัมพันธ์ทางวิชาการกับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งเป็นพันธมิตรที่มีความร่วมมือกันมานานกว่า 20 ปี เพื่อหารือขยายความร่วมมือเชิงลึกในสาขาวิศวกรรมขั้นสูง โดยเฉพาะด้าน Aerospace, Mechatronics, Automation และ Astronautics ซึ่ง HIT ถือเป็นสถาบันชั้นนำของจีนในด้านนี้ พร้อมทั้งหารือแนวทางความร่วมมือด้านการแลกเปลี่ยนนักศึกษา นักวิจัย และการพัฒนาโครงการ Joint Degree ในอนาคต รองศาสตราจารย์… อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก tui sakrapeeJune 18, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา นำโดย รศ.ดร.ชุติกาญจน์ ศรีวิบูลย์ อธิการบดี พร้อมคณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย เดินทางเยือนโรงเรียนนานาชาติ Qingdao No.1 International School of Shandong Province (QISS) และ Qingdao University… กองกลาง มจพ. เยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ และจัดสัมมนาจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล ประจำปี 2568 EZ WebmasterJune 18, 2025 ผศ.ดร.สราวุฒิ สืบแย้ม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายการคลังและกิจการทั่วไป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยนางสาวรัตนา สุขเฉลิมศรี ผู้อำนวยการกองกลาง และบุคลากรกองกลาง เข้าเยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ มจพ. ณ ชั้น 3 สำนักงานหอสมุดกลาง โดยมีนางสาวพนารมย์ เกียรติลีลานันท์ และ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster May 11, 2020 EZ Webmaster May 11, 2020 เรียนแบบ “อินเดียศึกษา รั้ว มธ.” พบคนหลากชาติ ทำงานหลากอาชีพได้ Multi-skill และ Multi-cultural ทักษะต้องมีของบัณฑิตยุคใหม่ ใครที่กำลังมองหาหลักสูตรการเรียนที่น่าสนใจ มีความเป็นอินเตอร์ อีกทั้งเป็นหลักสูตรที่แปลกใหม่ สามารถสร้างความโดดเด่น และแตกต่างให้กับโปรไฟล์ของเราได้ สิ่งสำคัญที่ต้องพิจารณา นอกจากรายวิชาที่น่าสนใจแล้ว อาจจะต้องพิจารณาให้ไกลถึงสิ่งที่โลกการทำงานต้องการในอนาคต นั่นก็คือ การมีความสามารถ และความเข้าใจในวัฒนธรรมที่หลากหลาย (Multi-skill, Multi-cultural) ซึ่งเป็นสิ่งที่บัณฑิตยุคใหม่ต้องมี “หลักสูตรอินเดียศึกษา” ของวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ (พีบีไอซี) มธ. เป็นอีกหนึ่งหลักสูตรที่นับว่าเป็นความแปลกใหม่ในเมืองไทย เพราะยังไม่มีที่ไหนเปิดสอน อีกทั้งหลักสูตรนี้มีความมุ่งมั่นปั้นบัณฑิตที่มีความรู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับประเทศอินเดียอย่างลึกซึ้ง ไม่ว่าจะเป็นด้านสังคม เศรษฐกิจ การเมือง ภาษาและวัฒนธรรม ซึ่งเป็นเครื่องการันตีว่าบัณฑิตที่จบการศึกษาจากหลักสูตรนี้จะมีความรู้ความสามารถในหลากหลายศาสตร์ รวมทั้งความเข้าใจในบริบทวัฒนธรรมที่หลากหลาย (Multi-skill, Multi-cultural) บทความนี้ จะพาไปพูดคุยกับศิษย์เก่าหลักสูตรอินเดียศึกษา พีบีไอซี มธ. ที่ผ่านการเรียนในหลักสูตรอินเดียศึกษาอย่างเข้มข้นเป็นเวลา 4 ปี อีกทั้งผ่านประสบการณ์แลกเปลี่ยนที่อินเดียมาเป็นเวลา 1 เทอมเต็ม ซึ่งพวกเขาเหล่านี้เรียกได้ว่าเป็นผู้ที่รู้ลึก รู้จริงเกี่ยวกับอินเดีย แต่ความรู้ลึก รู้จริงดังกล่าว จะได้เอาไปใช้อย่างไรกับชีวิตการทำงานบ้าง ไปติดตามกันเลย! นางสาวนันทิตา ดูเบย์ ศิษย์เก่าหลักสูตรอินเดียศึกษา วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ (พีบีไอซี) มธ. เล่าว่า ปัจจุบันตนทำงานในตำแหน่งเจ้าหน้าที่จัดหาทรัพยากร ในบริษัทข้ามชาติที่มีสำนักงานอยู่ในหลายประเทศทั่วโลก โดยทำหน้าที่ประสานงานกับสำนักงานในประเทศอินเดีย ซึ่งนับเป็นตำแหน่งงานที่หาคนไทยทำได้ยากมาก เพราะคนไทยน้อยคนที่สามารถใช้ภาษาฮินดีในระดับติดต่อสื่อสารได้ อีกทั้งต้องมีความรู้ความเข้าใจในวัฒนธรรมอินเดียเป็นอย่างดี ซึ่งเปรียบเสมือนอาวุธลับในการทำงานร่วมกับชาวอินเดีย ซึ่งตนมองว่าสิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งที่ได้จากการเรียนในหลักสูตรอินเดียศึกษา พีบีไอซี ไม่ได้เน้นการเรียนเฉพาะด้านภาษา แต่ยังเน้นด้านวัฒนธรรม สังคม เศรษฐกิจ การเมือง ตลอดจนการเจรจาทางธุรกิจกับอินเดีย ทำให้ตนได้รับโอกาสการทำงานดีๆ ที่ไม่คาดคิด “การเรียนตลอด 4 ปี คือการปรับตัว และรู้จักนำองค์ความรู้ในวิชาต่างๆ มาประยุกต์ใช้ รวมถึงความพร้อมในการเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ ดังเช่นประสบการณ์ที่ได้ไปแลกเปลี่ยนที่อินเดียเป็นเวลา 1 เทอม สิ่งเหล่านี้ทำให้เราเป็นที่ยอมรับในด้านความสามารถที่หลากหลาย (Multi-skill) ในโลกการทำงาน” นางสาวนันทิตา กล่าว นางสาวนันทิตา เล่าต่อว่า ตลอด 4 ปีที่ได้เรียนในหลักสูตรอินเดียศึกษา มีหลายวิชาที่เราสนุกไปกับการเรียนมากๆ แต่อีกใจหนึ่งก็คิดว่าจะได้นำความรู้เหล่านั้นมาใช้ในการทำงานหรือไม่ เพราะคิดว่าการที่เรารู้เรื่องอินเดียอย่างลึกซึ้ง อาจจะยังไม่เป็นที่ต้องการของตลาดงานในไทย แต่ตนได้ค้นพบว่ายังมีบริษัทข้ามชาติที่ตั้งอยู่ในไทยอีกมาก ที่มีส่วนงานที่ต้องประสานงานกับบริษัทในอินเดีย เนื่องจากอินเดียเป็นประเทศที่มีเศรษฐกิจขนาดใหญ่ และมีการดำเนินธุรกิจกับทั่วโลก ซึ่งบริษัทเหล่านี้ต้องการผู้ที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับอินเดียอย่างลึกซึ้ง อีกทั้งมีค่าตอบแทนที่ค่อนข้างสูงไม่แพ้บริษัทข้ามชาติอื่นๆ ในไทย ในขณะที่ ประเทศไทยยังมีผู้ที่รู้ลึก รู้จริงเกี่ยวกับอินเดีย และสามารถสื่อสารภาษาฮินดีได้น้อยมาก โดยประสบการณ์ส่วนตัวในการสมัครงานนั้น ชื่อหลักสูตร “อินเดียศึกษา” และรายวิชาในทรานสคริปต์ของเรา มีผลอย่างมากต่อการเรียกสัมภาษณ์และได้งาน เพราะรายวิชาที่เราได้เรียน ถือว่าครอบคลุมในทุกมิติของอินเดีย อีกทั้งประสบการณ์แลกเปลี่ยนที่ประเทศอินเดียเป็นเวลา 1 เทอม ยังเป็นเครื่องยืนยันว่าเราผ่านการใช้ชีวิตและกระบวนการ ดังคำกล่าวที่ว่า “ถ้าอยู่กับคนอินเดียได้ ก็สามารถอยู่กับคนทั้งโลกได้” ด้านศิษย์เก่าที่เลือกเรียนภาษาฮินดีเพิ่มเติมที่ประเทศอินเดีย ก่อนเข้าสู่โลกการทำงานจริงอย่าง นางสาวศศิกานต์ พ่วงรัก ศิษย์เก่าหลักสูตรอินเดียศึกษา วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ (พีบีไอซี) มธ. ได้เปิดเผยว่า หลังจากจบการศึกษาในหลักสูตรอินเดียศึกษา พีบีไอซี ตนตั้งเป้าหมายชัดเจนว่าอนาคตจะศึกษาต่อปริญญาโททางด้านภาษาฮินดีศาสตร์ ณ ประเทศอินเดีย และตั้งใจกลับมาทำงานด้านการศึกษาภาษาฮินดี จึงเป็นสาเหตุให้ตัดสินใจสมัครทุนฮินดีระยะสั้น ซึ่งเป็นทุนที่สนับสนุนโดยรัฐบาลอินเดีย ใช้เวลาในการเรียน 9 เดือน ที่ประเทศอินเดีย เพื่อเติมเต็มความรู้ภาษาฮินดีให้พร้อมศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น อีกทั้งยังเป็นการซึมซับประสบการณ์การใช้ชีวิตในประเทศอินเดียเพิ่มเติม นอกจากนี้ ตนยังตั้งใจทำหน้าที่เผยแพร่แง่มุมสุดอันซีนในอินเดีย ผ่านการเปิดเฟซบุ๊กแฟนเพจ “อินเดี่ยนแลนด์ แดนมหัศจรรย์” ที่บอกเล่าเรื่องราวต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น ประสบการณ์การใช้ชีวิตประจำวันที่มีทั้งเรื่องสนุก ลุ้น ตื่นเต้นในอินเดีย หรือจะเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่มี ‘หิมะตก’ ที่หลายคนคาดไม่ถึง ทั้งหมดนี้ ตนต้องการบอกเล่าเรื่องราว และสร้างความเข้าใจอินเดียในมุมมองใหม่ๆ ให้แก่คนไทย ว่าอินเดียยังมีอะไรที่น่าสนใจให้ค้นหาอีกมาก “หนึ่งในผลลัพธ์ของหลักสูตรอินเดียศึกษา คือการเข้าใจวัฒนธรรมที่หลากหลาย (Multi-Cultural) ของอินเดีย ทำให้เราเป็นคนที่มีมุมมองที่เปิดกว้างต่อการเรียนรู้มากขึ้น รวมถึงสามารถปรับตัวในสภาพแวดล้อมต่างๆ ได้ดี ไม่ว่าจะเป็นการทำงาน หรือการเรียนรู้ในสิ่งใหม่ๆ นอกจากนี้ อินเดียศึกษา ยังเป็นอีกอาณาบริเวณศึกษาที่ยังไม่ ‘Mass’ ในเมืองไทย หรือเรียกได้ว่าเป็นขุมทรัพย์ที่คนไทยจำนวนมากยังไม่ค้นพบ ยิ่งเรารู้จักอินเดียอย่างลึกซึ้งก่อนใคร ก็ยิ่งคว้าโอกาสที่มากมายได้ก่อนคนอื่น” นางสาวศศิกานต์ กล่าวทิ้งท้าย สำหรับผู้ที่สนใจสามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์ www.pbic.tu.ac.th หรือเฟซบุ๊ก EZ Webmaster Related Posts มธ. ปักหมุดหลักสูตร ‘AI Ethics’ หนุนบริบทใหม่ของห้องเรียนทันโลก สร้างจุดยืนคนรุ่นใหม่ ‘ใช้เอไออย่างมีจริยธรรม’ พร้อมเดินหน้าวางหมุดหมายระบบการศึกษาไทย กับการปลุกการใช้เทคฯ คู่ธรรมาภิบาล คาดเริ่มเปิดลงทะเบียนพร้อมเรียนจริง สิงหาคม 68 นี้ 11 สาเหตุลึกซึ้ง ทำไมการศึกษาไทยยังตกต่ำ? เสียงสะท้อนจากครูชนบท สู่คำถามใหญ่ของสังคม ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ ม.หอการค้าไทย จัดหลักสูตรรุกหน้าการันตี “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน!!” การตลาดดิจิทัลและระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย จัดกิจกรรมตอบแทนกลับคืนสังคม Post navigation PREVIOUS Previous post: Vatel Thailand นำเสนอหลักสูตรนานาชาติด้านบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโรงแรม เปิดโอกาสให้สำเร็จการศึกษาได้ภายใน 3 ปี พร้อมรับปริญญาบัตร 2 ใบNEXT Next post: มูลนิธิ EDF รับมอบกล่องบริจาคเงินเพื่อนักเรียนยากจน Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก tui sakrapeeJune 18, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา นำโดย รศ.ดร.ชุติกาญจน์ ศรีวิบูลย์ อธิการบดี พร้อมคณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย เดินทางเยือนโรงเรียนนานาชาติ Qingdao No.1 International School of Shandong Province (QISS) และ Qingdao University… กองกลาง มจพ. เยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ และจัดสัมมนาจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล ประจำปี 2568 EZ WebmasterJune 18, 2025 ผศ.ดร.สราวุฒิ สืบแย้ม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายการคลังและกิจการทั่วไป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยนางสาวรัตนา สุขเฉลิมศรี ผู้อำนวยการกองกลาง และบุคลากรกองกลาง เข้าเยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ มจพ. ณ ชั้น 3 สำนักงานหอสมุดกลาง โดยมีนางสาวพนารมย์ เกียรติลีลานันท์ และ…
กองกลาง มจพ. เยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ และจัดสัมมนาจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล ประจำปี 2568 EZ WebmasterJune 18, 2025 ผศ.ดร.สราวุฒิ สืบแย้ม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายการคลังและกิจการทั่วไป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยนางสาวรัตนา สุขเฉลิมศรี ผู้อำนวยการกองกลาง และบุคลากรกองกลาง เข้าเยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ มจพ. ณ ชั้น 3 สำนักงานหอสมุดกลาง โดยมีนางสาวพนารมย์ เกียรติลีลานันท์ และ…
กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster May 11, 2020 EZ Webmaster May 11, 2020 เรียนแบบ “อินเดียศึกษา รั้ว มธ.” พบคนหลากชาติ ทำงานหลากอาชีพได้ Multi-skill และ Multi-cultural ทักษะต้องมีของบัณฑิตยุคใหม่ ใครที่กำลังมองหาหลักสูตรการเรียนที่น่าสนใจ มีความเป็นอินเตอร์ อีกทั้งเป็นหลักสูตรที่แปลกใหม่ สามารถสร้างความโดดเด่น และแตกต่างให้กับโปรไฟล์ของเราได้ สิ่งสำคัญที่ต้องพิจารณา นอกจากรายวิชาที่น่าสนใจแล้ว อาจจะต้องพิจารณาให้ไกลถึงสิ่งที่โลกการทำงานต้องการในอนาคต นั่นก็คือ การมีความสามารถ และความเข้าใจในวัฒนธรรมที่หลากหลาย (Multi-skill, Multi-cultural) ซึ่งเป็นสิ่งที่บัณฑิตยุคใหม่ต้องมี “หลักสูตรอินเดียศึกษา” ของวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ (พีบีไอซี) มธ. เป็นอีกหนึ่งหลักสูตรที่นับว่าเป็นความแปลกใหม่ในเมืองไทย เพราะยังไม่มีที่ไหนเปิดสอน อีกทั้งหลักสูตรนี้มีความมุ่งมั่นปั้นบัณฑิตที่มีความรู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับประเทศอินเดียอย่างลึกซึ้ง ไม่ว่าจะเป็นด้านสังคม เศรษฐกิจ การเมือง ภาษาและวัฒนธรรม ซึ่งเป็นเครื่องการันตีว่าบัณฑิตที่จบการศึกษาจากหลักสูตรนี้จะมีความรู้ความสามารถในหลากหลายศาสตร์ รวมทั้งความเข้าใจในบริบทวัฒนธรรมที่หลากหลาย (Multi-skill, Multi-cultural) บทความนี้ จะพาไปพูดคุยกับศิษย์เก่าหลักสูตรอินเดียศึกษา พีบีไอซี มธ. ที่ผ่านการเรียนในหลักสูตรอินเดียศึกษาอย่างเข้มข้นเป็นเวลา 4 ปี อีกทั้งผ่านประสบการณ์แลกเปลี่ยนที่อินเดียมาเป็นเวลา 1 เทอมเต็ม ซึ่งพวกเขาเหล่านี้เรียกได้ว่าเป็นผู้ที่รู้ลึก รู้จริงเกี่ยวกับอินเดีย แต่ความรู้ลึก รู้จริงดังกล่าว จะได้เอาไปใช้อย่างไรกับชีวิตการทำงานบ้าง ไปติดตามกันเลย! นางสาวนันทิตา ดูเบย์ ศิษย์เก่าหลักสูตรอินเดียศึกษา วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ (พีบีไอซี) มธ. เล่าว่า ปัจจุบันตนทำงานในตำแหน่งเจ้าหน้าที่จัดหาทรัพยากร ในบริษัทข้ามชาติที่มีสำนักงานอยู่ในหลายประเทศทั่วโลก โดยทำหน้าที่ประสานงานกับสำนักงานในประเทศอินเดีย ซึ่งนับเป็นตำแหน่งงานที่หาคนไทยทำได้ยากมาก เพราะคนไทยน้อยคนที่สามารถใช้ภาษาฮินดีในระดับติดต่อสื่อสารได้ อีกทั้งต้องมีความรู้ความเข้าใจในวัฒนธรรมอินเดียเป็นอย่างดี ซึ่งเปรียบเสมือนอาวุธลับในการทำงานร่วมกับชาวอินเดีย ซึ่งตนมองว่าสิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งที่ได้จากการเรียนในหลักสูตรอินเดียศึกษา พีบีไอซี ไม่ได้เน้นการเรียนเฉพาะด้านภาษา แต่ยังเน้นด้านวัฒนธรรม สังคม เศรษฐกิจ การเมือง ตลอดจนการเจรจาทางธุรกิจกับอินเดีย ทำให้ตนได้รับโอกาสการทำงานดีๆ ที่ไม่คาดคิด “การเรียนตลอด 4 ปี คือการปรับตัว และรู้จักนำองค์ความรู้ในวิชาต่างๆ มาประยุกต์ใช้ รวมถึงความพร้อมในการเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ ดังเช่นประสบการณ์ที่ได้ไปแลกเปลี่ยนที่อินเดียเป็นเวลา 1 เทอม สิ่งเหล่านี้ทำให้เราเป็นที่ยอมรับในด้านความสามารถที่หลากหลาย (Multi-skill) ในโลกการทำงาน” นางสาวนันทิตา กล่าว นางสาวนันทิตา เล่าต่อว่า ตลอด 4 ปีที่ได้เรียนในหลักสูตรอินเดียศึกษา มีหลายวิชาที่เราสนุกไปกับการเรียนมากๆ แต่อีกใจหนึ่งก็คิดว่าจะได้นำความรู้เหล่านั้นมาใช้ในการทำงานหรือไม่ เพราะคิดว่าการที่เรารู้เรื่องอินเดียอย่างลึกซึ้ง อาจจะยังไม่เป็นที่ต้องการของตลาดงานในไทย แต่ตนได้ค้นพบว่ายังมีบริษัทข้ามชาติที่ตั้งอยู่ในไทยอีกมาก ที่มีส่วนงานที่ต้องประสานงานกับบริษัทในอินเดีย เนื่องจากอินเดียเป็นประเทศที่มีเศรษฐกิจขนาดใหญ่ และมีการดำเนินธุรกิจกับทั่วโลก ซึ่งบริษัทเหล่านี้ต้องการผู้ที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับอินเดียอย่างลึกซึ้ง อีกทั้งมีค่าตอบแทนที่ค่อนข้างสูงไม่แพ้บริษัทข้ามชาติอื่นๆ ในไทย ในขณะที่ ประเทศไทยยังมีผู้ที่รู้ลึก รู้จริงเกี่ยวกับอินเดีย และสามารถสื่อสารภาษาฮินดีได้น้อยมาก โดยประสบการณ์ส่วนตัวในการสมัครงานนั้น ชื่อหลักสูตร “อินเดียศึกษา” และรายวิชาในทรานสคริปต์ของเรา มีผลอย่างมากต่อการเรียกสัมภาษณ์และได้งาน เพราะรายวิชาที่เราได้เรียน ถือว่าครอบคลุมในทุกมิติของอินเดีย อีกทั้งประสบการณ์แลกเปลี่ยนที่ประเทศอินเดียเป็นเวลา 1 เทอม ยังเป็นเครื่องยืนยันว่าเราผ่านการใช้ชีวิตและกระบวนการ ดังคำกล่าวที่ว่า “ถ้าอยู่กับคนอินเดียได้ ก็สามารถอยู่กับคนทั้งโลกได้” ด้านศิษย์เก่าที่เลือกเรียนภาษาฮินดีเพิ่มเติมที่ประเทศอินเดีย ก่อนเข้าสู่โลกการทำงานจริงอย่าง นางสาวศศิกานต์ พ่วงรัก ศิษย์เก่าหลักสูตรอินเดียศึกษา วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ (พีบีไอซี) มธ. ได้เปิดเผยว่า หลังจากจบการศึกษาในหลักสูตรอินเดียศึกษา พีบีไอซี ตนตั้งเป้าหมายชัดเจนว่าอนาคตจะศึกษาต่อปริญญาโททางด้านภาษาฮินดีศาสตร์ ณ ประเทศอินเดีย และตั้งใจกลับมาทำงานด้านการศึกษาภาษาฮินดี จึงเป็นสาเหตุให้ตัดสินใจสมัครทุนฮินดีระยะสั้น ซึ่งเป็นทุนที่สนับสนุนโดยรัฐบาลอินเดีย ใช้เวลาในการเรียน 9 เดือน ที่ประเทศอินเดีย เพื่อเติมเต็มความรู้ภาษาฮินดีให้พร้อมศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น อีกทั้งยังเป็นการซึมซับประสบการณ์การใช้ชีวิตในประเทศอินเดียเพิ่มเติม นอกจากนี้ ตนยังตั้งใจทำหน้าที่เผยแพร่แง่มุมสุดอันซีนในอินเดีย ผ่านการเปิดเฟซบุ๊กแฟนเพจ “อินเดี่ยนแลนด์ แดนมหัศจรรย์” ที่บอกเล่าเรื่องราวต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น ประสบการณ์การใช้ชีวิตประจำวันที่มีทั้งเรื่องสนุก ลุ้น ตื่นเต้นในอินเดีย หรือจะเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่มี ‘หิมะตก’ ที่หลายคนคาดไม่ถึง ทั้งหมดนี้ ตนต้องการบอกเล่าเรื่องราว และสร้างความเข้าใจอินเดียในมุมมองใหม่ๆ ให้แก่คนไทย ว่าอินเดียยังมีอะไรที่น่าสนใจให้ค้นหาอีกมาก “หนึ่งในผลลัพธ์ของหลักสูตรอินเดียศึกษา คือการเข้าใจวัฒนธรรมที่หลากหลาย (Multi-Cultural) ของอินเดีย ทำให้เราเป็นคนที่มีมุมมองที่เปิดกว้างต่อการเรียนรู้มากขึ้น รวมถึงสามารถปรับตัวในสภาพแวดล้อมต่างๆ ได้ดี ไม่ว่าจะเป็นการทำงาน หรือการเรียนรู้ในสิ่งใหม่ๆ นอกจากนี้ อินเดียศึกษา ยังเป็นอีกอาณาบริเวณศึกษาที่ยังไม่ ‘Mass’ ในเมืองไทย หรือเรียกได้ว่าเป็นขุมทรัพย์ที่คนไทยจำนวนมากยังไม่ค้นพบ ยิ่งเรารู้จักอินเดียอย่างลึกซึ้งก่อนใคร ก็ยิ่งคว้าโอกาสที่มากมายได้ก่อนคนอื่น” นางสาวศศิกานต์ กล่าวทิ้งท้าย สำหรับผู้ที่สนใจสามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์ www.pbic.tu.ac.th หรือเฟซบุ๊ก EZ Webmaster Related Posts มธ. ปักหมุดหลักสูตร ‘AI Ethics’ หนุนบริบทใหม่ของห้องเรียนทันโลก สร้างจุดยืนคนรุ่นใหม่ ‘ใช้เอไออย่างมีจริยธรรม’ พร้อมเดินหน้าวางหมุดหมายระบบการศึกษาไทย กับการปลุกการใช้เทคฯ คู่ธรรมาภิบาล คาดเริ่มเปิดลงทะเบียนพร้อมเรียนจริง สิงหาคม 68 นี้ 11 สาเหตุลึกซึ้ง ทำไมการศึกษาไทยยังตกต่ำ? เสียงสะท้อนจากครูชนบท สู่คำถามใหญ่ของสังคม ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ ม.หอการค้าไทย จัดหลักสูตรรุกหน้าการันตี “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน!!” การตลาดดิจิทัลและระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย จัดกิจกรรมตอบแทนกลับคืนสังคม Post navigation PREVIOUS Previous post: Vatel Thailand นำเสนอหลักสูตรนานาชาติด้านบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโรงแรม เปิดโอกาสให้สำเร็จการศึกษาได้ภายใน 3 ปี พร้อมรับปริญญาบัตร 2 ใบNEXT Next post: มูลนิธิ EDF รับมอบกล่องบริจาคเงินเพื่อนักเรียนยากจน Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
“40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search
ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ…
ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ…
EZ Webmaster May 11, 2020 EZ Webmaster May 11, 2020 เรียนแบบ “อินเดียศึกษา รั้ว มธ.” พบคนหลากชาติ ทำงานหลากอาชีพได้ Multi-skill และ Multi-cultural ทักษะต้องมีของบัณฑิตยุคใหม่ ใครที่กำลังมองหาหลักสูตรการเรียนที่น่าสนใจ มีความเป็นอินเตอร์ อีกทั้งเป็นหลักสูตรที่แปลกใหม่ สามารถสร้างความโดดเด่น และแตกต่างให้กับโปรไฟล์ของเราได้ สิ่งสำคัญที่ต้องพิจารณา นอกจากรายวิชาที่น่าสนใจแล้ว อาจจะต้องพิจารณาให้ไกลถึงสิ่งที่โลกการทำงานต้องการในอนาคต นั่นก็คือ การมีความสามารถ และความเข้าใจในวัฒนธรรมที่หลากหลาย (Multi-skill, Multi-cultural) ซึ่งเป็นสิ่งที่บัณฑิตยุคใหม่ต้องมี “หลักสูตรอินเดียศึกษา” ของวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ (พีบีไอซี) มธ. เป็นอีกหนึ่งหลักสูตรที่นับว่าเป็นความแปลกใหม่ในเมืองไทย เพราะยังไม่มีที่ไหนเปิดสอน อีกทั้งหลักสูตรนี้มีความมุ่งมั่นปั้นบัณฑิตที่มีความรู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับประเทศอินเดียอย่างลึกซึ้ง ไม่ว่าจะเป็นด้านสังคม เศรษฐกิจ การเมือง ภาษาและวัฒนธรรม ซึ่งเป็นเครื่องการันตีว่าบัณฑิตที่จบการศึกษาจากหลักสูตรนี้จะมีความรู้ความสามารถในหลากหลายศาสตร์ รวมทั้งความเข้าใจในบริบทวัฒนธรรมที่หลากหลาย (Multi-skill, Multi-cultural) บทความนี้ จะพาไปพูดคุยกับศิษย์เก่าหลักสูตรอินเดียศึกษา พีบีไอซี มธ. ที่ผ่านการเรียนในหลักสูตรอินเดียศึกษาอย่างเข้มข้นเป็นเวลา 4 ปี อีกทั้งผ่านประสบการณ์แลกเปลี่ยนที่อินเดียมาเป็นเวลา 1 เทอมเต็ม ซึ่งพวกเขาเหล่านี้เรียกได้ว่าเป็นผู้ที่รู้ลึก รู้จริงเกี่ยวกับอินเดีย แต่ความรู้ลึก รู้จริงดังกล่าว จะได้เอาไปใช้อย่างไรกับชีวิตการทำงานบ้าง ไปติดตามกันเลย! นางสาวนันทิตา ดูเบย์ ศิษย์เก่าหลักสูตรอินเดียศึกษา วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ (พีบีไอซี) มธ. เล่าว่า ปัจจุบันตนทำงานในตำแหน่งเจ้าหน้าที่จัดหาทรัพยากร ในบริษัทข้ามชาติที่มีสำนักงานอยู่ในหลายประเทศทั่วโลก โดยทำหน้าที่ประสานงานกับสำนักงานในประเทศอินเดีย ซึ่งนับเป็นตำแหน่งงานที่หาคนไทยทำได้ยากมาก เพราะคนไทยน้อยคนที่สามารถใช้ภาษาฮินดีในระดับติดต่อสื่อสารได้ อีกทั้งต้องมีความรู้ความเข้าใจในวัฒนธรรมอินเดียเป็นอย่างดี ซึ่งเปรียบเสมือนอาวุธลับในการทำงานร่วมกับชาวอินเดีย ซึ่งตนมองว่าสิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งที่ได้จากการเรียนในหลักสูตรอินเดียศึกษา พีบีไอซี ไม่ได้เน้นการเรียนเฉพาะด้านภาษา แต่ยังเน้นด้านวัฒนธรรม สังคม เศรษฐกิจ การเมือง ตลอดจนการเจรจาทางธุรกิจกับอินเดีย ทำให้ตนได้รับโอกาสการทำงานดีๆ ที่ไม่คาดคิด “การเรียนตลอด 4 ปี คือการปรับตัว และรู้จักนำองค์ความรู้ในวิชาต่างๆ มาประยุกต์ใช้ รวมถึงความพร้อมในการเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ ดังเช่นประสบการณ์ที่ได้ไปแลกเปลี่ยนที่อินเดียเป็นเวลา 1 เทอม สิ่งเหล่านี้ทำให้เราเป็นที่ยอมรับในด้านความสามารถที่หลากหลาย (Multi-skill) ในโลกการทำงาน” นางสาวนันทิตา กล่าว นางสาวนันทิตา เล่าต่อว่า ตลอด 4 ปีที่ได้เรียนในหลักสูตรอินเดียศึกษา มีหลายวิชาที่เราสนุกไปกับการเรียนมากๆ แต่อีกใจหนึ่งก็คิดว่าจะได้นำความรู้เหล่านั้นมาใช้ในการทำงานหรือไม่ เพราะคิดว่าการที่เรารู้เรื่องอินเดียอย่างลึกซึ้ง อาจจะยังไม่เป็นที่ต้องการของตลาดงานในไทย แต่ตนได้ค้นพบว่ายังมีบริษัทข้ามชาติที่ตั้งอยู่ในไทยอีกมาก ที่มีส่วนงานที่ต้องประสานงานกับบริษัทในอินเดีย เนื่องจากอินเดียเป็นประเทศที่มีเศรษฐกิจขนาดใหญ่ และมีการดำเนินธุรกิจกับทั่วโลก ซึ่งบริษัทเหล่านี้ต้องการผู้ที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับอินเดียอย่างลึกซึ้ง อีกทั้งมีค่าตอบแทนที่ค่อนข้างสูงไม่แพ้บริษัทข้ามชาติอื่นๆ ในไทย ในขณะที่ ประเทศไทยยังมีผู้ที่รู้ลึก รู้จริงเกี่ยวกับอินเดีย และสามารถสื่อสารภาษาฮินดีได้น้อยมาก โดยประสบการณ์ส่วนตัวในการสมัครงานนั้น ชื่อหลักสูตร “อินเดียศึกษา” และรายวิชาในทรานสคริปต์ของเรา มีผลอย่างมากต่อการเรียกสัมภาษณ์และได้งาน เพราะรายวิชาที่เราได้เรียน ถือว่าครอบคลุมในทุกมิติของอินเดีย อีกทั้งประสบการณ์แลกเปลี่ยนที่ประเทศอินเดียเป็นเวลา 1 เทอม ยังเป็นเครื่องยืนยันว่าเราผ่านการใช้ชีวิตและกระบวนการ ดังคำกล่าวที่ว่า “ถ้าอยู่กับคนอินเดียได้ ก็สามารถอยู่กับคนทั้งโลกได้” ด้านศิษย์เก่าที่เลือกเรียนภาษาฮินดีเพิ่มเติมที่ประเทศอินเดีย ก่อนเข้าสู่โลกการทำงานจริงอย่าง นางสาวศศิกานต์ พ่วงรัก ศิษย์เก่าหลักสูตรอินเดียศึกษา วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ (พีบีไอซี) มธ. ได้เปิดเผยว่า หลังจากจบการศึกษาในหลักสูตรอินเดียศึกษา พีบีไอซี ตนตั้งเป้าหมายชัดเจนว่าอนาคตจะศึกษาต่อปริญญาโททางด้านภาษาฮินดีศาสตร์ ณ ประเทศอินเดีย และตั้งใจกลับมาทำงานด้านการศึกษาภาษาฮินดี จึงเป็นสาเหตุให้ตัดสินใจสมัครทุนฮินดีระยะสั้น ซึ่งเป็นทุนที่สนับสนุนโดยรัฐบาลอินเดีย ใช้เวลาในการเรียน 9 เดือน ที่ประเทศอินเดีย เพื่อเติมเต็มความรู้ภาษาฮินดีให้พร้อมศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น อีกทั้งยังเป็นการซึมซับประสบการณ์การใช้ชีวิตในประเทศอินเดียเพิ่มเติม นอกจากนี้ ตนยังตั้งใจทำหน้าที่เผยแพร่แง่มุมสุดอันซีนในอินเดีย ผ่านการเปิดเฟซบุ๊กแฟนเพจ “อินเดี่ยนแลนด์ แดนมหัศจรรย์” ที่บอกเล่าเรื่องราวต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น ประสบการณ์การใช้ชีวิตประจำวันที่มีทั้งเรื่องสนุก ลุ้น ตื่นเต้นในอินเดีย หรือจะเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่มี ‘หิมะตก’ ที่หลายคนคาดไม่ถึง ทั้งหมดนี้ ตนต้องการบอกเล่าเรื่องราว และสร้างความเข้าใจอินเดียในมุมมองใหม่ๆ ให้แก่คนไทย ว่าอินเดียยังมีอะไรที่น่าสนใจให้ค้นหาอีกมาก “หนึ่งในผลลัพธ์ของหลักสูตรอินเดียศึกษา คือการเข้าใจวัฒนธรรมที่หลากหลาย (Multi-Cultural) ของอินเดีย ทำให้เราเป็นคนที่มีมุมมองที่เปิดกว้างต่อการเรียนรู้มากขึ้น รวมถึงสามารถปรับตัวในสภาพแวดล้อมต่างๆ ได้ดี ไม่ว่าจะเป็นการทำงาน หรือการเรียนรู้ในสิ่งใหม่ๆ นอกจากนี้ อินเดียศึกษา ยังเป็นอีกอาณาบริเวณศึกษาที่ยังไม่ ‘Mass’ ในเมืองไทย หรือเรียกได้ว่าเป็นขุมทรัพย์ที่คนไทยจำนวนมากยังไม่ค้นพบ ยิ่งเรารู้จักอินเดียอย่างลึกซึ้งก่อนใคร ก็ยิ่งคว้าโอกาสที่มากมายได้ก่อนคนอื่น” นางสาวศศิกานต์ กล่าวทิ้งท้าย สำหรับผู้ที่สนใจสามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์ www.pbic.tu.ac.th หรือเฟซบุ๊ก
มธ. ปักหมุดหลักสูตร ‘AI Ethics’ หนุนบริบทใหม่ของห้องเรียนทันโลก สร้างจุดยืนคนรุ่นใหม่ ‘ใช้เอไออย่างมีจริยธรรม’ พร้อมเดินหน้าวางหมุดหมายระบบการศึกษาไทย กับการปลุกการใช้เทคฯ คู่ธรรมาภิบาล คาดเริ่มเปิดลงทะเบียนพร้อมเรียนจริง สิงหาคม 68 นี้
ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา