พลังการอ่านเปลี่ยนคน เปลี่ยนเมือง เปลี่ยนโลก! “ทีเค พาร์ค” เปิดอินไซต์โมเดล 4 ชาติ ที่สร้างอำนาจโน้มนำผ่านการพัฒนาระบบหนังสือ บทพิสูจน์สำคัญที่ ‘การอ่าน’ สร้างชาติได้จริง EZ WebmasterApril 22, 2025 “หนังสือหนึ่งเล่มสามารถเดินทางข้ามพรมแดน เชื่อมโยงผู้คนต่างชาติ ต่างภาษา ต่างวัฒนธรรม และสร้างพลังแห่งการเปลี่ยนแปลงได้อย่างไร้ขีดจำกัด” และ “เราจะเรียนรู้ข้ามพรมแดน มองกรณีศึกษาต่างประเทศในด้านการสนับสนุนอุตสาหกรรมหนังสือ การส่งเสริมการอ่าน แล้วนำมาปรับใช้เพื่อส่งเสริมอุตสาหกรรมหนังสือ สร้างระบบนิเวศการอ่าน และพัฒนาห้องสมุดของประเทศไทย ได้อย่างไร” นี่คือที่มาของการประชุมออนไลน์ TK Forum 2025 ในธีม “Books Without Borders” ซึ่งผ่านพ้นไปไม่นานมานี้ โดยเชิญตัวแทนจาก… อัปเดต ค่าเทอมคณะแพทยศาสตร์ ม.เอกชน (ล่าสุด พ.ศ. 2568) EZ WebmasterApril 22, 2025 อัปเดต ค่าเทอมคณะแพทยศาสตร์ ม.เอกชน (ล่าสุด พ.ศ. 2568) คณะแพทยศาสตร์ อีกหนึ่งคณะยอดฮิตที่ไม่ควรพลาด อีกหนึ่งทางเลือกที่ดีไม่แพ้กัน คือ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเอกชน ที่มีอุปกรณ์เพรียบพร้อมเสมือนจริง วันนี้พี่ Eduzones จะพามาอัปเดต ค่าเทอม คณะแพทยศาสตร์… ร่วมสนุกไม่ใช่ประกวด มาอวดฝีมือวาดภาพ “เมืองแห่งอนาคตของฉัน” EZ WebmasterApril 22, 2025 ปิดเทอมนี้ เพจ IPST Thailand ของ สสวท.ชวนน้องๆ เยาวชนอายุ 7 – 12 ปี ร่วมสนุกส่งผลงานภาพวาดระบายสีหัวข้อ “เมืองแห่งอนาคตของฉัน” โดยวาดภาพพร้อมระบายสีขนาด A4 ด้วยเทคนิคใดก็ได้ตามจินตนาการ ห้ามใช้ AI หรือโปรแกรมอัตโนมัติในการสร้างและออกแบบรูปภาพ แล้วอัปโหลดภาพในช่องใต้คอมเม้นท์ ใต้โพสต์ในเฟซบุก IPST Thailand และกรอกชื่อที่อยู่เพื่อลุ้นรับของที่ระลึกที่ https://ipst.me/pr0171 ส่งได้คนละ 1 ผลงาน หมดเขต 16 พฤษภาคม 2568 สรุปคะแนนสูง-ต่ำ TCAS รอบ 3 ย้อนหลัง 7 ปี ครบทุกมหาวิทยาลัย DEK68 ห้ามพลาด! EZ WebmasterApril 22, 2025 “เช็กด่วน! รวมลิงก์คะแนนสูง-ต่ำ TCAS 7 ปีย้อนหลัง ทุกมหาวิทยาลัย DEK68 ต้องไม่พลาด! ใกล้เข้ามาแล้วกับช่วงเวลาสำคัญของ #DEK68 ที่หลายคนกำลังเตรียมตัวลุยศึก TCAS รอบ 3 Admissionซึ่งจะเปิดรับสมัครในวันที่ 6-12 พฤษภาคม 2568… นักศึกษา เตรียมตัวให้พร้อม! กับ 7-ELEVEN YOUNG GENIVERSITY 2025 งานอีเวนต์ที่จะปลดล็อกศักยภาพคนรุ่นใหม่สู่สนามอาชีพ EZ WebmasterApril 22, 2025 บริษัท ซีพี ออลล์ จำกัด (มหาชน) ผู้บริหารร้านเซเว่น อีเลฟเว่น และ เซเว่น เดลิเวอรี่ ร่วมกับ Mission To The Moon จัดงาน “7-ELEVEN YOUNG GENIVERSITY 2025” จัดหนักจัดเต็ม… คณะนิติศาสตร์ จุฬาฯ เปิดรับสมัครรอบตรง ปี 2568 ไม่ใช้คะแนนสอบกลาง! EZ WebmasterApril 21, 2025 คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดรับสมัครบุคคลเข้าศึกษาต่อในหลากหลายหลักสูตร ครอบคลุมทั้งระดับปริญญาตรี ภาคนอกเวลาราชการ หลักสูตรนานาชาติ ระดับปริญญาโท และระดับปริญญาเอก สำหรับปีการศึกษา 2568 โดยมีรายละเอียดดังนี้ หลักสูตรจัดการเรียนการสอนเป็นภาษาไทย •หลักสูตร น.บ. (นิติศาสตรบัณฑิต ภาคบัณฑิต (นอกเวลาราชการ)) และโครงการ… สวนสุนันทา คว้าแชมป์ฟุตซอลหญิง “ไอมาเน่ ไทยแลนด์ 2025” 2 สมัยซ้อน tui sakrapeeApril 19, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา คว้าแชมป์ฟุตซอลหญิง “ไอมาเน่ ไทยแลนด์ 2025” 2 สมัยซ้อน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา สร้างประวัติศาสตร์คว้าแชมป์ฟุตซอลหญิงรายการ “ไอมาเน่ ไทยแลนด์ ฟุตซอล วูเม่น ยูนิเวอร์ซิตี้ เดอะ แชมเปี้ยนชิพ 2025” (IMANE… ม.รามคำแหง ความสำเร็จสร้างได้ รับนักศึกษาใหม่ ส่วนกลาง-ส่วนภูมิภาคทั่วประเทศ EZ WebmasterApril 19, 2025 การศึกษาแบบตลาดวิชา คือการเลือกเรียนรู้และทดลองสร้างอนาคตใน Sandbox แห่งวิชาการและประสบการณ์ชีวิต อยู่ที่ไหนก็เรียนรามฯได้ เรียนส่วนกลางที่กรุงเทพฯ เรียนส่วนภูมิภาคใกล้บ้านทั้งประเทศ มีคณะและหลักสูตรหลากหลาย เรียนออนไลน์หรือออนไซต์ เลือกเรียนได้ตามใจ เพราะ…ความสำเร็จสร้างได้ ที่ ม.รามคำแหง รับสมัครนักศึกษาใหม่ระดับปริญญาตรี ทั้งส่วนกลาง และส่วนภูมิภาคถึง วันที่ 20… ทุนดีดี ทุนเทคโนและวิชาชีพที่ญี่ปุ่น InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศApril 22, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้ารับทุนการศึกษารัฐบาลญี่ปุ่น ประจำปีการศึกษา 2026 มีทั้งทุน College of Technology (KOSEN) Students และ Specialized Training College Students เปิดรับสมัครตั้งแต่วันนี้ไปถึง 4 มิถุนายนศกนี้ ทุนการศึกษารัฐบาลญี่ปุ่น ประจำปีการศึกษา 2569… มูลนิธิหอการค้าอเมริกันในประเทศไทย เปิดให้ทุนระดับมหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2568 EZ WebmasterApril 21, 2025 เปิดรับสมัครทุนการศึกษาต่อเนื่องระดับมหาวิทยาลัย มูลนิธิหอการค้าอเมริกันในประเทศไทย ประจำปีการศึกษา 2568 มูลนิธิหอการค้าอเมริกันในประเทศไทย (AMCHAM Thailand Foundation) ประกาศเปิดรับสมัครทุนการศึกษาระดับมหาวิทยาลัย ประจำปีการศึกษา 2568 สนับสนุนนักเรียนระดับปริญญาตรีที่มีความเหมาะสม โดยมอบทุนการศึกษาจำนวน 25,000 บาทต่อปี ตลอดระยะเวลาการศึกษา 3 ปี… ทุนหมื่นปอนด์ที่U. of York InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศApril 21, 2025 University of York ให้ทุนประจำปี 2025-26 กับผู้อยู่อาศัยและพลเมืองของจีน (แผ่นดินใหญ่เท่านั้น) กรีซ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ไนจีเรีย ไทย หรือเวียดนาม รวม 8 ทุน เป็นทุนระดับปริญญาโท 1… ทุนLawที่สวิตเซอร์แลนด์ InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศApril 20, 2025 Swiss Institute of Comparative Law (SICL) ในเมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ แจ้งให้ทุน Van Calker สำหรับปีการศึกษา 2025/2026 เพื่อสนับสนุนนักวิจัยชาวสวิสและต่างประเทศในการพัฒนางานทางวิทยาศาสตร์ในสาขากฎหมายเปรียบเทียบ กฎหมายต่างประเทศ และกฎหมายระหว่างประเทศ กำหนดส่งใบสมัครภายใน 15… ครู-อาจารย์ สถาบันไทยศึกษา จุฬาฯ เร่งจัดทำฐานข้อมูลลายผ้าขาวม้าไทย ขับเคลื่อนมรดกภูมิปัญญาไทยสู่เวที UNESCO EZ WebmasterApril 22, 2025 สถาบันไทยศึกษา จุฬาฯ ร่วมกับกรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม ผลักดัน “ผ้าขาวม้าวิถีชีวิตไทย” ซึ่งเป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติสู่เวที UNESCO โดยการเร่งจัดทำฐานข้อมูลลายผ้าขาวม้าไทยจากทุกภาคส่วนให้เป็นระบบ เพื่อประโยชน์ด้านการอนุรักษ์มรดกภูมิปัญญาของชาติ และส่งเสริมการสร้างสรรค์ลายอัตลักษณ์ผ้าขาวม้าขององค์กรและชุมชน รวมถึงการใช้ประโยชน์จากฐานข้อมูลไปสู่การต่อยอดในภาควิสาหกิจชุมชนและภาคการตลาดเพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจในแก่ผ้าขาวม้าและการขยายตัวของเศรษฐกิจชุมชนอย่างยั่งยืน เมื่อเอ่ยถึง “ผ้าขาวม้า” หลายคนคงนึกถึงผ้าลายตาราง สีสันต่าง ๆ และประโยชน์ใช้สอยที่หลากหลาย ตั้งแต่ใช้เป็นเครื่องนุ่งห่ม ผ้านุ่งอาบน้ำ ผ้าพันคอ… สวนสุนันทา แสดงความจงรักภักดี ร่วมบันทึกเทปถวายพระพร สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา 3 มิถุนายน 2568 tui sakrapeeApril 22, 2025 สวนสุนันทา แสดงความจงรักภักดี ร่วมบันทึกเทปถวายพระพร สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา 3 มิถุนายน 2568 วันที่ 22 เมษายน 2568 รองศาสตราจารย์ ดร.ชุติกาญจน์ ศรีวิบูลย์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา นำคณะผู้บริหารร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล แด่สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา… “มทร.ล้านนา” ประเมินความเสียหาย พร้อมจัดทำคู่มือข้อปฏิบัติรับมือแผ่นดินไหว EZ WebmasterApril 22, 2025 รศ.วิเชษฐ ทิพย์ประเสริฐ รักษาราชการแทน อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา (มทร.ล้านนา) กล่าวว่ามทร.ล้านนา ตั้งอยู่ในพื้นที่ภาคเหนือ โดยมี 6 วิทยาเขต 1 สถาบัน คือ เขตพื้นที่ภาคพายัพ เขตพื้นที่เชียงราย เขตพื้นที่ตาก เขตพื้นที่น่าน เขตพื้นที่ลำปาง เขตพื้นที่พิษณุโลก และสถาบันวิจัยลำปาง ซึ่งเมื่อ 10 กว่าปีที่ผ่านมา ในพื้นที่เชียงรายเคยเกิดกรณีแผ่นดินไหวขึ้น… ผู้บริหารการศึกษายุคใหม่ก้าวทันโลก… พร้อมสู่อนาคต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต EZ WebmasterApril 21, 2025 ในยุคที่โลกเปลี่ยนแปลงรวดเร็ว เทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทสำคัญในทุกแง่มุมของชีวิต แม้กระทั่งการศึกษาเองก็ไม่ใช่ข้อยกเว้น ผู้บริหารการศึกษายุคใหม่จึงต้องปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลง พัฒนาทักษะ และความรู้ใหม่ๆ อยู่เสมอ วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต เล็งเห็นถึงความสำคัญนี้ จึงได้จัดทำหลักสูตร สาขาวิชาการบริหารการศึกษา ที่มุ่งพัฒนาผู้บริหารการศึกษามืออาชีพยุคใหม่ ให้พร้อมรับมือกับทุกโจทย์ความท้าทาย หลักสูตรฯ ของเรา เน้นการเรียนรู้แบบผสมผสาน “ทฤษฎีเข้ากับประสบการณ์จริง”… กิจกรรม จุฬาฯ ผนึก สมช. และกองทัพเรือ ลงนามความร่วมมือจัดตั้ง “องค์กรจัดการความรู้ทางทะเลของประเทศไทย” EZ WebmasterApril 21, 2025 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับสำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ (สมช.) และกองทัพเรือ (ทร.) จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ว่าด้วย “การจัดตั้งและขับเคลื่อนองค์กรจัดการความรู้ทางทะเลของประเทศไทย” เพื่อวางรากฐานในการเป็นศูนย์กลางองค์ความรู้ทางทะเลระดับประเทศ เมื่อวันศุกร์ที่ 11 เมษายน 2568 ณ ห้องประชุม 105 อาคารมหาจุฬาลงกรณ์ โดยมี พล.ต.ต.สุรสิทธิ์… มมส สืบสานประเพณีสงกรานต์ ทำบุญตักบาตรเสริมสิริมงคลรับปีใหม่ไทย EZ WebmasterApril 17, 2025 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (มมส) จัดงานสืบสานประเพณีสงกรานต์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ประจำปี 2568 โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.ประยุกต์ ศรีวิไล อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เป็นประธานในพิธี พร้อมด้วยผู้บริหาร คณาจารย์ บุคลากร และนิสิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เข้าร่วมงาน ณ… ทีเค พาร์ค พาเจาะเส้นทางความสำเร็จนักเขียนไทยผู้เจาะตลาดอินเตอร์ พร้อมเปิดทริคอัปเลเวล “นักเขียนมือทอง” หนุนวรรณกรรมไทยไปตีตลาดโลก EZ WebmasterApril 17, 2025 “นักเขียนไทย สู้ต่างชาติได้จริงไหม?” เป็นคำถามที่หลายคนอาจสงสัย ทั้งที่นักเขียนไทยหลายคน ก็มีฝีมือไม่แพ้ใคร แต่ทำไมยังไม่ค่อยเห็นวรรณกรรมไทยไปไกลถึงตลาดโลก ในขณะที่หลายประเทศมีวรรณกรรมเป็นซอฟต์พาวเวอร์และเป็นสินค้าส่งออก เช่น เกาหลีใต้ที่ผลักดัน Webtoon และนิยายออนไลน์สู่ K-Drama และ K-Series ญี่ปุ่นที่เปลี่ยนมังงะและไลต์โนเวล (Light Novel) ให้กลายเป็นสินค้าส่งออกสำคัญของประเทศ เช่นเดียวกับจีนที่ส่งออกวรรณกรรมออนไลน์โกยรายได้มหาศาลจากทั่วโลก และถึงแม้ว่าในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา อุตสาหกรรมคอนเทนต์ไทยจะคึกคักขึ้นอย่างมากโดยเฉพาะจากกระแสนิยายวายที่ถูกนำไปสร้างเป็นซีรีส์โด่งดังไปทั่วโลก แต่วรรณกรรมไทยที่ได้รับการแปลและตีพิมพ์ในต่างประเทศต้องยอมรับว่ายังมีจำนวนไม่มากเมื่อเทียบกับประเทศอื่น ๆ ในโอกาสฉลองครบรอบ 20 ปี… ชวนร่วมคอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา ชม “tattoo colour” ช่วยส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาของนักเรียน tui sakrapeeApril 8, 2025 คอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา tattoo colour สามารถซื้อบัตรเข้าร่วมชมคอนเสิร์ตกันได้ทั้งนักเรียน นักศึกษา บุคลากร และบุคลภายนอก สมาคมผู้ปกครองและครูโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ขอเชิญชวนทุกท่านร่วมงาน “#คอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา” ที่จะมอบความสุข สนุกสนาน และช่วยส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาของนักเรียน 📅 วันอาทิตย์ที่ 4 พฤษภาคม 2568… Search for: Search EZ Webmaster December 20, 2019 EZ Webmaster December 20, 2019 ยุค ‘Talent War’ แย่งตัวนักเรียนหัวกะทิ มหา’ลัยระดับโลกชิงให้ทุนตัดหน้ารัฐไทย! เข้าสู่ยุค ‘Talent War’ สงครามแย่งชิงคนเก่ง เข้าเรียนในสถาบันการศึกษาทั่วโลก ‘ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์’ ชี้มหาวิทยาลัยระดับ World Class ชิงตัดหน้าให้ทุน ‘นักศึกษาไทย’ ระดับหัวกะทิที่รัฐบาลให้ทุนไปแล้ว แจงต้องเร่งปั้นมหาวิทยาลัยรัฐ ทั้งจุฬาฯ มหิดล ติดลำดับท็อป 100 ให้ได้ เพื่อให้เด็กไทยอยากเรียนในไทย และดึงชนชั้นนำ-เจ้าสัว ในต่างประเทศเข้ามาเรียนด้วย ขณะเดียวกันแบ่ง 3 กลุ่มสถาบัน เพื่อสู้กับทั่วโลก พัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม พร้อมยกเครื่องราชภัฏ เป็นมหาวิทยาลัยกลุ่ม “เสาหลักของแผ่นดิน” ร่วมพัฒนาพื้นที่ให้สำเร็จ!ปรากฏการณ์ ‘Talent War’ หรือสงครามแย่งชิงคน กำลังเกิดขึ้นในสังคมโลก ซึ่งประเทศไทยก็ต้องวางแผนไว้รองรับว่าจะทำอย่างไรถึงจะดึงคนเก่งของโลกมาอยู่กับเราให้ได้นี่คือโจทย์ใหญ่ที่ ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ให้ความเห็นไว้และบอกด้วยว่าจะต้องรีบดำเนินการอย่างไรจึงจะสามารถบรรลุเป้าหมายตรงนี้ได้ เพราะนี่คือเหตุผลของการรวมสถาบันระดับอุดมศึกษาและตั้งเป็นกระทรวงใหม่คือกระทรวง ‘อว.’ ขึ้นมาเพื่อจะได้เป็นพลังขับเคลื่อนในการพัฒนาประเทศด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีต่อไปในอนาคต“โจทย์ผมเวลานี้ คือ จะต้องทำให้มหาวิทยาลัยไทย ปรับตัวเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 พร้อมกับคุณภาพที่ดี โดยจะยกระดับคุณภาพได้อย่างไร หากไม่มีคุณภาพ ทุกอย่างจบหมด” ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ดร.สุวิทย์ บอกว่า เวลานี้สถาบันการศึกษามักจะพูดเสมอว่าจำนวนนักศึกษาน้อย ทำให้สถาบันการศึกษาทั้งรัฐและเอกชนต้องแบกภาระไว้มาก ซึ่งในความเป็นจริงในอนาคตมีแนวโน้มเด็กจะลดลงไปกว่านี้อีก ดังนั้นสถาบันการศึกษาทั้งรัฐและเอกชน ต้องหาวิธีการปรับตัว โดยเฉพาะจะต้องออกไปเจาะตลาดต่างประเทศ ด้วยการไปเปิด Campus ในต่างประเทศ เช่นเดียวกับที่ 2 มหาวิทยาลัยต่างชาติ ที่มาเปิดในไทย อย่าง มหาวิทยาลัยคาร์เนกี้ เมลลอน หรือ มหาวิทยาลัยไต้หวันที่มาเปิด Campus ในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์นี่คือกระแสโลกาภิวัตน์ที่สถาบันการศึกษาของไทยต้องตามให้ทัน“เรียกว่าต้องมี In-out กับ Out-in ซึ่ง In-out หมายถึง มหาวิทยาลัยของไทยต้องออกไปตั้ง Campus ที่ประเทศต่างๆ เช่นที่มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ไปตั้งที่ประเทศพม่า และมีนักศึกษาพม่าสนใจเรียนจำนวนมาก ปัจจุบันมีการตั้งสมาคมศิษย์เก่าที่เข้มแข็ง ช่วยกันโปรโมตและดึงคนพม่ามาเรียนที่ Campus ที่นั่น ส่วน Out-in ที่กำลังเกิดขึ้นมากในเวลานี้ก็คือการที่มหาวิทยาลัยไปดึงนักศึกษาจีนเข้ามาเรียนในไทย”แต่สิ่งสำคัญที่สถาบันการศึกษาจะต้องดำเนินการไม่ใช่เพียงแค่การเจาะตลาดต่างประเทศ แต่จะต้องให้ความสำคัญกับเรื่องของการดึง Talent หรือนักศึกษาที่มีความสามารถพิเศษ นักศึกษาที่มีคุณภาพสูง ชนชั้นสูง เจ้าสัว เข้ามาเรียนในสถาบันฯ การศึกษานั้นๆ“การที่มหาวิทยาลัยไทยจะได้ Talent มาหรือไม่ ก็ขึ้นอยู่กับคุณภาพของมหาวิทยาลัยนั้นๆ ด้วย ว่ามีอะไรน่าสนใจ ที่จะสามารถเป็นแม่เหล็กดึงนักศึกษาคุณภาพได้ด้วย”รัฐมนตรีว่าการกระทรวง อว. ระบุว่า การที่กระทรวง อว.มีเป้าหมายที่จะสร้างมหาวิทยาลัยของไทยให้เป็นมหาวิทยาลัยคุณภาพ เพื่อติดอันดับท็อป 100 ของโลกให้ได้ จึงได้ตั้งงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2563 สำหรับการพัฒนาด้านการศึกษา วิจัย และนวัตกรรม จำนวน 142,479 ล้านบาท ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณฯ 2562 จำนวน 2,871 ล้านบาท“จุฬาฯ กับมหิดล อยู่ในระดับที่ 300 กว่าๆ ซึ่งผมตั้งใจพัฒนาเพื่อให้จุฬาฯ และมหิดล ขยับขั้นไปในระดับท็อป 100 ให้ได้ ถ้าเราทำได้มหาวิทยาลัยอื่นๆ ในไทย ก็จะขยับขึ้นมาได้ด้วย” จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล อย่างไรก็ดี สถาบันการจัดอันดับ Quacquarelli Symonds (QS) แห่งสหราชอาณาจักร ในปี 2019 ได้มีการเปิดเผยข้อมูลการจัดอันดับล่าสุด พบว่าจุฬาฯ ถูกจัดอยู่ในอันดับที่ 271 ครอบคลุมทั้งด้านคุณภาพของมหาวิทยาลัย คุณภาพบัณฑิต คุณภาพด้านการวิจัย เป็นต้น ส่วนมหาวิทยาลัยมหิดล อยู่ในลำดับที่ 380 และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์อยู่ในช่วง 601-650 เป็นต้นดร.สุวิทย์ บอกว่าถ้ารัฐบาลสามารถพัฒนาให้มหาวิทยาลัยของไทยติดอันดับท็อป 100 ได้ก็จะมีนักศึกษาและนักวิจัยที่มีคุณภาพดีๆ ซึ่งจะทำให้เป็นแม่เหล็กดึงนักศึกษาจากต่างประเทศเข้ามาเรียนในประเทศไทย แต่ถ้ามหาวิทยาลัยของไทยยังอยู่ในระดับต่ำๆ นักศึกษาไทยที่เรียนดีและมีโอกาสก็จะไม่เลือกเรียนที่ประเทศไทย“เด็กหัวกะทิในระดับ Top 5 ของนักศึกษาที่เรียนดีที่สุดของประเทศ พวกนี้จะเลือกไปเรียนต่างประเทศกันหมด เพราะดีกว่าเลือกเรียนที่จุฬาฯ หรือมหิดล เราจึงต้องเร่งพัฒนาให้จุฬาฯ หรือมหิดล ขึ้น Top 100 ของโลกให้ได้”หากรัฐสามารถพัฒนาได้ถึงขั้น Top 100 เด็กหัวกะทิก็จะเลือกเรียนเมืองไทยดีกว่าจะไปต่างประเทศ และจะทำให้นักศึกษาต่างประเทศเลือกที่จะเข้ามาเรียนเมืองไทยได้ง่ายเช่นกัน“อนาคตจะเป็น Talent War สงครามแย่งชิงคน เราต้องการให้คนเก่งของโลกมาอยู่กับเราให้ได้ แต่ถ้าเราทำไม่ได้ คนเก่งก็จะเลือกไปทำงานต่างประเทศกันหมด”ดร.สุวิทย์ บอกอีกว่า สถานการณ์ในขณะนี้ ทางกระทรวง อว.มีทุนให้นักศึกษาไปสอบเรียนต่อในมหาวิทยาลัยลำดับดีๆ ในต่างประเทศ แต่ปรากฏว่ามหาวิทยาลัยลำดับดีๆ ในต่างประเทศกลับแย่งตัวนักศึกษาเหล่านี้ด้วยการให้ทุนเรียนไปเลย‘มหาวิทยาลัยระดับ World Class เหล่านี้ให้ทุนแย่งเด็กเราไปก่อน นี่คือรูปแบบสงครามที่เกิดขึ้นในอนาคต เป็นสงครามแย่งชิงทรัพยากรมนุษย์ที่มีค่า และนี่คือเหตุผลที่เราต้องแบ่งมหาวิทยาลัยเป็น 3 กลุ่ม” การแบ่งมหาวิทยาลัยเป็น 3 กลุ่ม ประกอบด้วยกลุ่มที่ 1 มหาวิทยาลัยที่จะไปสู้กับโลก ประกอบด้วย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหิดล, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, มหาวิทยาลัยขอนแก่น, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ฯลฯ มหาวิทยาลัยกลุ่มนี้ต้องดึงให้ขึ้นมาเป็นท็อป 100 ให้ได้ ถ้าเราก้าวไปไม่ได้ นักศึกษาเก่งๆ ก็จะไม่เลือกเรียนสถาบันเหล่านี้ ส่วนนักศึกษาที่ดีๆ มีคุณภาพของโลก ก็จะไม่มาเรียนในประเทศไทยกลุ่มที่ 2 มหาวิทยาลัยที่เน้นเทคโนโลยี นวัตกรรม จะประกอบด้วย 3 พระจอม คือ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ซึ่งจะตอบโจทย์อุตสาหกรรมในอนาคตกลุ่มที่ 3 มหาวิทยาลัยพัฒนาพื้นที่ คือกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏทั้ง 38 แห่ง ที่จะเน้นเรื่องของการพัฒนาท้องถิ่น โดยในแผนจะให้ราชภัฏ 1 แห่งดูแล 2 จังหวัด และจะให้ไปทำวิจัยเชิงพื้นที่ เพราะในอนาคตการผลิตครูอาจจะ Over Supply ไปแล้ว “ราชภัฏต้องตอบโจทย์ให้ได้ว่า ครูในศตวรรษที่ 21 หน้าตาจะเป็นอย่างไร Demand กับ Supply ครู เป็นอย่างไร และคุณภาพครูที่ผลิต เป็นอย่างไร แต่ที่วางไว้ราชภัฏจะไม่ใช่ผลิตครูอย่างเดียว”นอกจากนี้ในหลักการแล้ว คนที่เรียนราชภัฏจะต้องอยู่กับพื้นที่ ไม่ต้องเข้ามาในกรุงเทพฯ และไม่ต้องเข้ามาอยู่ในเมืองใหญ่ แต่จะมีประเด็นที่ให้ราชภัฏดำเนินการได้ในพื้นที่ ทั้งเรื่องการท่องเที่ยว เรื่องโอทอป เรื่องสมาร์ทฟาร์มเมอร์ ซึ่งจะเป็นการกระจายรายได้ กระจายโอกาสให้สามารถดำรงชีพอยู่ในพื้นที่ได้ด้วย “เราจะต้องยกเครื่องมหาวิทยาลัยราชภัฏ เพราะราชภัฏต้องดูแลเด็กถึง 80% ซึ่งถ้าเด็กกลุ่มนี้คุณภาพไม่ดี ปัญหาจะตกอยู่กับประเทศไทย เพราะเด็ก 70% เป็นสายสังคมศาสตร์ อีก 30% เป็นสายวิทยาศาสตร์ ซึ่งจะต้องทำให้เด็กกลุ่มนี้มีพลัง ถึงมียุวชนสร้างชาติ ลงพัฒนาพื้นที่ ท้องถิ่น เอามหาวิทยาลัยไปติดอาวุธทางปัญหาท้องถิ่น” “เราจะต้องยกเครื่องมหาวิทยาลัยราชภัฏ เพราะราชภัฏต้องดูแลเด็กถึง 80% ซึ่งถ้าเด็กกลุ่มนี้คุณภาพไม่ดี ปัญหาจะตกอยู่กับประเทศไทย เพราะเด็ก 70% เป็นสายสังคมศาสตร์ อีก 30% เป็นสายวิทยาศาสตร์ ซึ่งจะต้องทำให้เด็กกลุ่มนี้มีพลัง ถึงมียุวชนสร้างชาติ ลงพัฒนาพื้นที่ ท้องถิ่น เอามหาวิทยาลัยไปติดอาวุธทางปัญหาท้องถิ่น”ขณะเดียวกันการจะยกเครื่องกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏนั้น กระทรวง อว. ได้มีการประสานกับMicrosoft ที่จะนำเรื่องของภาษาอังกฤษ กับเรื่องของดิจิทัล เพื่อยกระดับครูราชภัฏได้ระดับหนึ่งก่อน ที่เหลือก็เป็นเรื่องของการวิจัย เพื่อตอบโจทย์ในพื้นที่ เพื่อแก้ไขปัญหาความยากจน“เราต้องติดอาวุธ หรือ เติมพลังให้ราชภัฏเพราะคนกลุ่มนี้คือเสาหลักของแผ่นดิน กระทรวง อว.จะต้องทำให้มหาวิทยาลัยราชภัฏแข็งแรงขึ้น พร้อมๆ กับพัฒนาให้มหาวิทยาลัยไทยก้าวสู่ท็อป 100 ให้สำเร็จ”อีกทั้งจะต้องปลุกพลังให้เกิดการร่วมมือกันระหว่างราชภัฏและราชมงคลในแต่ละจังหวัดให้ได้ เพราะราชมงคล จะได้เรื่องเทคโนโลยี ส่วนราชภัฏจะเน้นเรื่องการบริหาร เรื่องการท่องเที่ยว เพราะประเทศไทยมี 2 อย่างคือ ด้านการเกษตร และต้องสร้าง High Value Service ในด้านการท่องเที่ยวให้เกิดขึ้น รวมทั้งต้องไปจับมือกับกระทรวงวิทยาศาสตร์ ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อยกระดับ Smart Farmer ให้มีคุณภาพส่วนเรื่องของสถาบันการศึกษาเอกชนนั้น ทางรัฐบาลมิได้ทอดทิ้ง ก็ได้มีการประสานกับทางสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย โดยสมาคมฯ ได้เสนอขอให้รัฐให้การสนับสนุน 2 เรื่อง คือในเรื่องของการเชื่อมโยงกับเอสเอ็มอี ซึ่งทาง อว.ก็ได้ประสานกับหอการค้าไทย และสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย รวมทั้งสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ไว้ให้แล้ว และอีกเรื่องมหาวิทยาลัยเอกชน ต้องการให้ช่วยเหลือในเรื่องของการเจาะตลาดนักศึกษาในต่างประเทศ ทั้งเรื่องการไปเปิด Campus และการดึงนักศึกษาต่างชาติเข้ามาเรียนในประเทศไทย เช่นนักศึกษากัมพูชา นักศึกษาลาว ซึ่งปัจจุบันมีการเปิด Campus ที่พม่าแล้วดังนั้นเป้าหมายนักศึกษาที่ ดร.สุวิทย์ ต้องการให้สถาบันการศึกษาของไทยทั้งภาครัฐและเอกชน จะต้องเร่งพัฒนาและยกระดับคุณภาพของสถาบัน เพื่อรักษานักศึกษาไทยระดับหัวกะทิไว้ให้ได้ และยังสามารถเป็นพลังดึงดูดนักศึกษาที่มีคุณภาพจากต่างประเทศเข้ามาเรียนในไทย ซึ่งหมายถึงสถาบันการศึกษาไทยมีสิทธิ์เลือกคนเก่งเข้ามาเรียนในไทย“เราต้องได้คนเก่งในระดับหนึ่งมาเรียน และต้องการชนชั้นนำหรือระดับเจ้าสัวของต่างประเทศเข้ามาเรียนในไทยด้วย”ตรงนี้คือประเด็นหนึ่งที่ ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ตั้งเป้าหมายไว้เพื่อสอดคล้องกับการเป็นมหาวิทยาลัยที่มีคุณภาพย่อมได้นักศึกษาที่มีคุณภาพเช่นกัน ! ที่มา : mgronline.com EZ Webmaster Related Posts พลังการอ่านเปลี่ยนคน เปลี่ยนเมือง เปลี่ยนโลก! “ทีเค พาร์ค” เปิดอินไซต์โมเดล 4 ชาติ ที่สร้างอำนาจโน้มนำผ่านการพัฒนาระบบหนังสือ บทพิสูจน์สำคัญที่ ‘การอ่าน’ สร้างชาติได้จริง อัปเดต ค่าเทอมคณะแพทยศาสตร์ ม.เอกชน (ล่าสุด พ.ศ. 2568) ร่วมสนุกไม่ใช่ประกวด มาอวดฝีมือวาดภาพ “เมืองแห่งอนาคตของฉัน” สรุปคะแนนสูง-ต่ำ TCAS รอบ 3 ย้อนหลัง 7 ปี ครบทุกมหาวิทยาลัย DEK68 ห้ามพลาด! เรียนไปเที่ยวไป เปิดมิติใหม่แห่งการเรียนรู้ กับสาขาการจัดการการท่องเที่ยวและการบริการ Post navigation PREVIOUS Previous post: มาดูคำถามที่ Google ใช้ในการหาผู้นำที่ยอดเยี่ยมภายใน 5 นาทีNEXT Next post: “ครูตั้น” ตั้งเป้าเพิ่มสัดส่วนสายอาชีพ 60 ต่อ 40 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
อัปเดต ค่าเทอมคณะแพทยศาสตร์ ม.เอกชน (ล่าสุด พ.ศ. 2568) EZ WebmasterApril 22, 2025 อัปเดต ค่าเทอมคณะแพทยศาสตร์ ม.เอกชน (ล่าสุด พ.ศ. 2568) คณะแพทยศาสตร์ อีกหนึ่งคณะยอดฮิตที่ไม่ควรพลาด อีกหนึ่งทางเลือกที่ดีไม่แพ้กัน คือ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเอกชน ที่มีอุปกรณ์เพรียบพร้อมเสมือนจริง วันนี้พี่ Eduzones จะพามาอัปเดต ค่าเทอม คณะแพทยศาสตร์… ร่วมสนุกไม่ใช่ประกวด มาอวดฝีมือวาดภาพ “เมืองแห่งอนาคตของฉัน” EZ WebmasterApril 22, 2025 ปิดเทอมนี้ เพจ IPST Thailand ของ สสวท.ชวนน้องๆ เยาวชนอายุ 7 – 12 ปี ร่วมสนุกส่งผลงานภาพวาดระบายสีหัวข้อ “เมืองแห่งอนาคตของฉัน” โดยวาดภาพพร้อมระบายสีขนาด A4 ด้วยเทคนิคใดก็ได้ตามจินตนาการ ห้ามใช้ AI หรือโปรแกรมอัตโนมัติในการสร้างและออกแบบรูปภาพ แล้วอัปโหลดภาพในช่องใต้คอมเม้นท์ ใต้โพสต์ในเฟซบุก IPST Thailand และกรอกชื่อที่อยู่เพื่อลุ้นรับของที่ระลึกที่ https://ipst.me/pr0171 ส่งได้คนละ 1 ผลงาน หมดเขต 16 พฤษภาคม 2568 สรุปคะแนนสูง-ต่ำ TCAS รอบ 3 ย้อนหลัง 7 ปี ครบทุกมหาวิทยาลัย DEK68 ห้ามพลาด! EZ WebmasterApril 22, 2025 “เช็กด่วน! รวมลิงก์คะแนนสูง-ต่ำ TCAS 7 ปีย้อนหลัง ทุกมหาวิทยาลัย DEK68 ต้องไม่พลาด! ใกล้เข้ามาแล้วกับช่วงเวลาสำคัญของ #DEK68 ที่หลายคนกำลังเตรียมตัวลุยศึก TCAS รอบ 3 Admissionซึ่งจะเปิดรับสมัครในวันที่ 6-12 พฤษภาคม 2568… นักศึกษา เตรียมตัวให้พร้อม! กับ 7-ELEVEN YOUNG GENIVERSITY 2025 งานอีเวนต์ที่จะปลดล็อกศักยภาพคนรุ่นใหม่สู่สนามอาชีพ EZ WebmasterApril 22, 2025 บริษัท ซีพี ออลล์ จำกัด (มหาชน) ผู้บริหารร้านเซเว่น อีเลฟเว่น และ เซเว่น เดลิเวอรี่ ร่วมกับ Mission To The Moon จัดงาน “7-ELEVEN YOUNG GENIVERSITY 2025” จัดหนักจัดเต็ม… คณะนิติศาสตร์ จุฬาฯ เปิดรับสมัครรอบตรง ปี 2568 ไม่ใช้คะแนนสอบกลาง! EZ WebmasterApril 21, 2025 คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดรับสมัครบุคคลเข้าศึกษาต่อในหลากหลายหลักสูตร ครอบคลุมทั้งระดับปริญญาตรี ภาคนอกเวลาราชการ หลักสูตรนานาชาติ ระดับปริญญาโท และระดับปริญญาเอก สำหรับปีการศึกษา 2568 โดยมีรายละเอียดดังนี้ หลักสูตรจัดการเรียนการสอนเป็นภาษาไทย •หลักสูตร น.บ. (นิติศาสตรบัณฑิต ภาคบัณฑิต (นอกเวลาราชการ)) และโครงการ… สวนสุนันทา คว้าแชมป์ฟุตซอลหญิง “ไอมาเน่ ไทยแลนด์ 2025” 2 สมัยซ้อน tui sakrapeeApril 19, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา คว้าแชมป์ฟุตซอลหญิง “ไอมาเน่ ไทยแลนด์ 2025” 2 สมัยซ้อน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา สร้างประวัติศาสตร์คว้าแชมป์ฟุตซอลหญิงรายการ “ไอมาเน่ ไทยแลนด์ ฟุตซอล วูเม่น ยูนิเวอร์ซิตี้ เดอะ แชมเปี้ยนชิพ 2025” (IMANE… ม.รามคำแหง ความสำเร็จสร้างได้ รับนักศึกษาใหม่ ส่วนกลาง-ส่วนภูมิภาคทั่วประเทศ EZ WebmasterApril 19, 2025 การศึกษาแบบตลาดวิชา คือการเลือกเรียนรู้และทดลองสร้างอนาคตใน Sandbox แห่งวิชาการและประสบการณ์ชีวิต อยู่ที่ไหนก็เรียนรามฯได้ เรียนส่วนกลางที่กรุงเทพฯ เรียนส่วนภูมิภาคใกล้บ้านทั้งประเทศ มีคณะและหลักสูตรหลากหลาย เรียนออนไลน์หรือออนไซต์ เลือกเรียนได้ตามใจ เพราะ…ความสำเร็จสร้างได้ ที่ ม.รามคำแหง รับสมัครนักศึกษาใหม่ระดับปริญญาตรี ทั้งส่วนกลาง และส่วนภูมิภาคถึง วันที่ 20… ทุนดีดี ทุนเทคโนและวิชาชีพที่ญี่ปุ่น InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศApril 22, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้ารับทุนการศึกษารัฐบาลญี่ปุ่น ประจำปีการศึกษา 2026 มีทั้งทุน College of Technology (KOSEN) Students และ Specialized Training College Students เปิดรับสมัครตั้งแต่วันนี้ไปถึง 4 มิถุนายนศกนี้ ทุนการศึกษารัฐบาลญี่ปุ่น ประจำปีการศึกษา 2569… มูลนิธิหอการค้าอเมริกันในประเทศไทย เปิดให้ทุนระดับมหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2568 EZ WebmasterApril 21, 2025 เปิดรับสมัครทุนการศึกษาต่อเนื่องระดับมหาวิทยาลัย มูลนิธิหอการค้าอเมริกันในประเทศไทย ประจำปีการศึกษา 2568 มูลนิธิหอการค้าอเมริกันในประเทศไทย (AMCHAM Thailand Foundation) ประกาศเปิดรับสมัครทุนการศึกษาระดับมหาวิทยาลัย ประจำปีการศึกษา 2568 สนับสนุนนักเรียนระดับปริญญาตรีที่มีความเหมาะสม โดยมอบทุนการศึกษาจำนวน 25,000 บาทต่อปี ตลอดระยะเวลาการศึกษา 3 ปี… ทุนหมื่นปอนด์ที่U. of York InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศApril 21, 2025 University of York ให้ทุนประจำปี 2025-26 กับผู้อยู่อาศัยและพลเมืองของจีน (แผ่นดินใหญ่เท่านั้น) กรีซ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ไนจีเรีย ไทย หรือเวียดนาม รวม 8 ทุน เป็นทุนระดับปริญญาโท 1… ทุนLawที่สวิตเซอร์แลนด์ InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศApril 20, 2025 Swiss Institute of Comparative Law (SICL) ในเมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ แจ้งให้ทุน Van Calker สำหรับปีการศึกษา 2025/2026 เพื่อสนับสนุนนักวิจัยชาวสวิสและต่างประเทศในการพัฒนางานทางวิทยาศาสตร์ในสาขากฎหมายเปรียบเทียบ กฎหมายต่างประเทศ และกฎหมายระหว่างประเทศ กำหนดส่งใบสมัครภายใน 15… ครู-อาจารย์ สถาบันไทยศึกษา จุฬาฯ เร่งจัดทำฐานข้อมูลลายผ้าขาวม้าไทย ขับเคลื่อนมรดกภูมิปัญญาไทยสู่เวที UNESCO EZ WebmasterApril 22, 2025 สถาบันไทยศึกษา จุฬาฯ ร่วมกับกรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม ผลักดัน “ผ้าขาวม้าวิถีชีวิตไทย” ซึ่งเป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติสู่เวที UNESCO โดยการเร่งจัดทำฐานข้อมูลลายผ้าขาวม้าไทยจากทุกภาคส่วนให้เป็นระบบ เพื่อประโยชน์ด้านการอนุรักษ์มรดกภูมิปัญญาของชาติ และส่งเสริมการสร้างสรรค์ลายอัตลักษณ์ผ้าขาวม้าขององค์กรและชุมชน รวมถึงการใช้ประโยชน์จากฐานข้อมูลไปสู่การต่อยอดในภาควิสาหกิจชุมชนและภาคการตลาดเพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจในแก่ผ้าขาวม้าและการขยายตัวของเศรษฐกิจชุมชนอย่างยั่งยืน เมื่อเอ่ยถึง “ผ้าขาวม้า” หลายคนคงนึกถึงผ้าลายตาราง สีสันต่าง ๆ และประโยชน์ใช้สอยที่หลากหลาย ตั้งแต่ใช้เป็นเครื่องนุ่งห่ม ผ้านุ่งอาบน้ำ ผ้าพันคอ… สวนสุนันทา แสดงความจงรักภักดี ร่วมบันทึกเทปถวายพระพร สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา 3 มิถุนายน 2568 tui sakrapeeApril 22, 2025 สวนสุนันทา แสดงความจงรักภักดี ร่วมบันทึกเทปถวายพระพร สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา 3 มิถุนายน 2568 วันที่ 22 เมษายน 2568 รองศาสตราจารย์ ดร.ชุติกาญจน์ ศรีวิบูลย์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา นำคณะผู้บริหารร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล แด่สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา… “มทร.ล้านนา” ประเมินความเสียหาย พร้อมจัดทำคู่มือข้อปฏิบัติรับมือแผ่นดินไหว EZ WebmasterApril 22, 2025 รศ.วิเชษฐ ทิพย์ประเสริฐ รักษาราชการแทน อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา (มทร.ล้านนา) กล่าวว่ามทร.ล้านนา ตั้งอยู่ในพื้นที่ภาคเหนือ โดยมี 6 วิทยาเขต 1 สถาบัน คือ เขตพื้นที่ภาคพายัพ เขตพื้นที่เชียงราย เขตพื้นที่ตาก เขตพื้นที่น่าน เขตพื้นที่ลำปาง เขตพื้นที่พิษณุโลก และสถาบันวิจัยลำปาง ซึ่งเมื่อ 10 กว่าปีที่ผ่านมา ในพื้นที่เชียงรายเคยเกิดกรณีแผ่นดินไหวขึ้น… ผู้บริหารการศึกษายุคใหม่ก้าวทันโลก… พร้อมสู่อนาคต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต EZ WebmasterApril 21, 2025 ในยุคที่โลกเปลี่ยนแปลงรวดเร็ว เทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทสำคัญในทุกแง่มุมของชีวิต แม้กระทั่งการศึกษาเองก็ไม่ใช่ข้อยกเว้น ผู้บริหารการศึกษายุคใหม่จึงต้องปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลง พัฒนาทักษะ และความรู้ใหม่ๆ อยู่เสมอ วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต เล็งเห็นถึงความสำคัญนี้ จึงได้จัดทำหลักสูตร สาขาวิชาการบริหารการศึกษา ที่มุ่งพัฒนาผู้บริหารการศึกษามืออาชีพยุคใหม่ ให้พร้อมรับมือกับทุกโจทย์ความท้าทาย หลักสูตรฯ ของเรา เน้นการเรียนรู้แบบผสมผสาน “ทฤษฎีเข้ากับประสบการณ์จริง”… กิจกรรม จุฬาฯ ผนึก สมช. และกองทัพเรือ ลงนามความร่วมมือจัดตั้ง “องค์กรจัดการความรู้ทางทะเลของประเทศไทย” EZ WebmasterApril 21, 2025 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับสำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ (สมช.) และกองทัพเรือ (ทร.) จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ว่าด้วย “การจัดตั้งและขับเคลื่อนองค์กรจัดการความรู้ทางทะเลของประเทศไทย” เพื่อวางรากฐานในการเป็นศูนย์กลางองค์ความรู้ทางทะเลระดับประเทศ เมื่อวันศุกร์ที่ 11 เมษายน 2568 ณ ห้องประชุม 105 อาคารมหาจุฬาลงกรณ์ โดยมี พล.ต.ต.สุรสิทธิ์… มมส สืบสานประเพณีสงกรานต์ ทำบุญตักบาตรเสริมสิริมงคลรับปีใหม่ไทย EZ WebmasterApril 17, 2025 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (มมส) จัดงานสืบสานประเพณีสงกรานต์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ประจำปี 2568 โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.ประยุกต์ ศรีวิไล อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เป็นประธานในพิธี พร้อมด้วยผู้บริหาร คณาจารย์ บุคลากร และนิสิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เข้าร่วมงาน ณ… ทีเค พาร์ค พาเจาะเส้นทางความสำเร็จนักเขียนไทยผู้เจาะตลาดอินเตอร์ พร้อมเปิดทริคอัปเลเวล “นักเขียนมือทอง” หนุนวรรณกรรมไทยไปตีตลาดโลก EZ WebmasterApril 17, 2025 “นักเขียนไทย สู้ต่างชาติได้จริงไหม?” เป็นคำถามที่หลายคนอาจสงสัย ทั้งที่นักเขียนไทยหลายคน ก็มีฝีมือไม่แพ้ใคร แต่ทำไมยังไม่ค่อยเห็นวรรณกรรมไทยไปไกลถึงตลาดโลก ในขณะที่หลายประเทศมีวรรณกรรมเป็นซอฟต์พาวเวอร์และเป็นสินค้าส่งออก เช่น เกาหลีใต้ที่ผลักดัน Webtoon และนิยายออนไลน์สู่ K-Drama และ K-Series ญี่ปุ่นที่เปลี่ยนมังงะและไลต์โนเวล (Light Novel) ให้กลายเป็นสินค้าส่งออกสำคัญของประเทศ เช่นเดียวกับจีนที่ส่งออกวรรณกรรมออนไลน์โกยรายได้มหาศาลจากทั่วโลก และถึงแม้ว่าในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา อุตสาหกรรมคอนเทนต์ไทยจะคึกคักขึ้นอย่างมากโดยเฉพาะจากกระแสนิยายวายที่ถูกนำไปสร้างเป็นซีรีส์โด่งดังไปทั่วโลก แต่วรรณกรรมไทยที่ได้รับการแปลและตีพิมพ์ในต่างประเทศต้องยอมรับว่ายังมีจำนวนไม่มากเมื่อเทียบกับประเทศอื่น ๆ ในโอกาสฉลองครบรอบ 20 ปี… ชวนร่วมคอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา ชม “tattoo colour” ช่วยส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาของนักเรียน tui sakrapeeApril 8, 2025 คอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา tattoo colour สามารถซื้อบัตรเข้าร่วมชมคอนเสิร์ตกันได้ทั้งนักเรียน นักศึกษา บุคลากร และบุคลภายนอก สมาคมผู้ปกครองและครูโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ขอเชิญชวนทุกท่านร่วมงาน “#คอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา” ที่จะมอบความสุข สนุกสนาน และช่วยส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาของนักเรียน 📅 วันอาทิตย์ที่ 4 พฤษภาคม 2568… Search for: Search EZ Webmaster December 20, 2019 EZ Webmaster December 20, 2019 ยุค ‘Talent War’ แย่งตัวนักเรียนหัวกะทิ มหา’ลัยระดับโลกชิงให้ทุนตัดหน้ารัฐไทย! เข้าสู่ยุค ‘Talent War’ สงครามแย่งชิงคนเก่ง เข้าเรียนในสถาบันการศึกษาทั่วโลก ‘ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์’ ชี้มหาวิทยาลัยระดับ World Class ชิงตัดหน้าให้ทุน ‘นักศึกษาไทย’ ระดับหัวกะทิที่รัฐบาลให้ทุนไปแล้ว แจงต้องเร่งปั้นมหาวิทยาลัยรัฐ ทั้งจุฬาฯ มหิดล ติดลำดับท็อป 100 ให้ได้ เพื่อให้เด็กไทยอยากเรียนในไทย และดึงชนชั้นนำ-เจ้าสัว ในต่างประเทศเข้ามาเรียนด้วย ขณะเดียวกันแบ่ง 3 กลุ่มสถาบัน เพื่อสู้กับทั่วโลก พัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม พร้อมยกเครื่องราชภัฏ เป็นมหาวิทยาลัยกลุ่ม “เสาหลักของแผ่นดิน” ร่วมพัฒนาพื้นที่ให้สำเร็จ!ปรากฏการณ์ ‘Talent War’ หรือสงครามแย่งชิงคน กำลังเกิดขึ้นในสังคมโลก ซึ่งประเทศไทยก็ต้องวางแผนไว้รองรับว่าจะทำอย่างไรถึงจะดึงคนเก่งของโลกมาอยู่กับเราให้ได้นี่คือโจทย์ใหญ่ที่ ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ให้ความเห็นไว้และบอกด้วยว่าจะต้องรีบดำเนินการอย่างไรจึงจะสามารถบรรลุเป้าหมายตรงนี้ได้ เพราะนี่คือเหตุผลของการรวมสถาบันระดับอุดมศึกษาและตั้งเป็นกระทรวงใหม่คือกระทรวง ‘อว.’ ขึ้นมาเพื่อจะได้เป็นพลังขับเคลื่อนในการพัฒนาประเทศด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีต่อไปในอนาคต“โจทย์ผมเวลานี้ คือ จะต้องทำให้มหาวิทยาลัยไทย ปรับตัวเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 พร้อมกับคุณภาพที่ดี โดยจะยกระดับคุณภาพได้อย่างไร หากไม่มีคุณภาพ ทุกอย่างจบหมด” ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ดร.สุวิทย์ บอกว่า เวลานี้สถาบันการศึกษามักจะพูดเสมอว่าจำนวนนักศึกษาน้อย ทำให้สถาบันการศึกษาทั้งรัฐและเอกชนต้องแบกภาระไว้มาก ซึ่งในความเป็นจริงในอนาคตมีแนวโน้มเด็กจะลดลงไปกว่านี้อีก ดังนั้นสถาบันการศึกษาทั้งรัฐและเอกชน ต้องหาวิธีการปรับตัว โดยเฉพาะจะต้องออกไปเจาะตลาดต่างประเทศ ด้วยการไปเปิด Campus ในต่างประเทศ เช่นเดียวกับที่ 2 มหาวิทยาลัยต่างชาติ ที่มาเปิดในไทย อย่าง มหาวิทยาลัยคาร์เนกี้ เมลลอน หรือ มหาวิทยาลัยไต้หวันที่มาเปิด Campus ในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์นี่คือกระแสโลกาภิวัตน์ที่สถาบันการศึกษาของไทยต้องตามให้ทัน“เรียกว่าต้องมี In-out กับ Out-in ซึ่ง In-out หมายถึง มหาวิทยาลัยของไทยต้องออกไปตั้ง Campus ที่ประเทศต่างๆ เช่นที่มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ไปตั้งที่ประเทศพม่า และมีนักศึกษาพม่าสนใจเรียนจำนวนมาก ปัจจุบันมีการตั้งสมาคมศิษย์เก่าที่เข้มแข็ง ช่วยกันโปรโมตและดึงคนพม่ามาเรียนที่ Campus ที่นั่น ส่วน Out-in ที่กำลังเกิดขึ้นมากในเวลานี้ก็คือการที่มหาวิทยาลัยไปดึงนักศึกษาจีนเข้ามาเรียนในไทย”แต่สิ่งสำคัญที่สถาบันการศึกษาจะต้องดำเนินการไม่ใช่เพียงแค่การเจาะตลาดต่างประเทศ แต่จะต้องให้ความสำคัญกับเรื่องของการดึง Talent หรือนักศึกษาที่มีความสามารถพิเศษ นักศึกษาที่มีคุณภาพสูง ชนชั้นสูง เจ้าสัว เข้ามาเรียนในสถาบันฯ การศึกษานั้นๆ“การที่มหาวิทยาลัยไทยจะได้ Talent มาหรือไม่ ก็ขึ้นอยู่กับคุณภาพของมหาวิทยาลัยนั้นๆ ด้วย ว่ามีอะไรน่าสนใจ ที่จะสามารถเป็นแม่เหล็กดึงนักศึกษาคุณภาพได้ด้วย”รัฐมนตรีว่าการกระทรวง อว. ระบุว่า การที่กระทรวง อว.มีเป้าหมายที่จะสร้างมหาวิทยาลัยของไทยให้เป็นมหาวิทยาลัยคุณภาพ เพื่อติดอันดับท็อป 100 ของโลกให้ได้ จึงได้ตั้งงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2563 สำหรับการพัฒนาด้านการศึกษา วิจัย และนวัตกรรม จำนวน 142,479 ล้านบาท ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณฯ 2562 จำนวน 2,871 ล้านบาท“จุฬาฯ กับมหิดล อยู่ในระดับที่ 300 กว่าๆ ซึ่งผมตั้งใจพัฒนาเพื่อให้จุฬาฯ และมหิดล ขยับขั้นไปในระดับท็อป 100 ให้ได้ ถ้าเราทำได้มหาวิทยาลัยอื่นๆ ในไทย ก็จะขยับขึ้นมาได้ด้วย” จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล อย่างไรก็ดี สถาบันการจัดอันดับ Quacquarelli Symonds (QS) แห่งสหราชอาณาจักร ในปี 2019 ได้มีการเปิดเผยข้อมูลการจัดอันดับล่าสุด พบว่าจุฬาฯ ถูกจัดอยู่ในอันดับที่ 271 ครอบคลุมทั้งด้านคุณภาพของมหาวิทยาลัย คุณภาพบัณฑิต คุณภาพด้านการวิจัย เป็นต้น ส่วนมหาวิทยาลัยมหิดล อยู่ในลำดับที่ 380 และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์อยู่ในช่วง 601-650 เป็นต้นดร.สุวิทย์ บอกว่าถ้ารัฐบาลสามารถพัฒนาให้มหาวิทยาลัยของไทยติดอันดับท็อป 100 ได้ก็จะมีนักศึกษาและนักวิจัยที่มีคุณภาพดีๆ ซึ่งจะทำให้เป็นแม่เหล็กดึงนักศึกษาจากต่างประเทศเข้ามาเรียนในประเทศไทย แต่ถ้ามหาวิทยาลัยของไทยยังอยู่ในระดับต่ำๆ นักศึกษาไทยที่เรียนดีและมีโอกาสก็จะไม่เลือกเรียนที่ประเทศไทย“เด็กหัวกะทิในระดับ Top 5 ของนักศึกษาที่เรียนดีที่สุดของประเทศ พวกนี้จะเลือกไปเรียนต่างประเทศกันหมด เพราะดีกว่าเลือกเรียนที่จุฬาฯ หรือมหิดล เราจึงต้องเร่งพัฒนาให้จุฬาฯ หรือมหิดล ขึ้น Top 100 ของโลกให้ได้”หากรัฐสามารถพัฒนาได้ถึงขั้น Top 100 เด็กหัวกะทิก็จะเลือกเรียนเมืองไทยดีกว่าจะไปต่างประเทศ และจะทำให้นักศึกษาต่างประเทศเลือกที่จะเข้ามาเรียนเมืองไทยได้ง่ายเช่นกัน“อนาคตจะเป็น Talent War สงครามแย่งชิงคน เราต้องการให้คนเก่งของโลกมาอยู่กับเราให้ได้ แต่ถ้าเราทำไม่ได้ คนเก่งก็จะเลือกไปทำงานต่างประเทศกันหมด”ดร.สุวิทย์ บอกอีกว่า สถานการณ์ในขณะนี้ ทางกระทรวง อว.มีทุนให้นักศึกษาไปสอบเรียนต่อในมหาวิทยาลัยลำดับดีๆ ในต่างประเทศ แต่ปรากฏว่ามหาวิทยาลัยลำดับดีๆ ในต่างประเทศกลับแย่งตัวนักศึกษาเหล่านี้ด้วยการให้ทุนเรียนไปเลย‘มหาวิทยาลัยระดับ World Class เหล่านี้ให้ทุนแย่งเด็กเราไปก่อน นี่คือรูปแบบสงครามที่เกิดขึ้นในอนาคต เป็นสงครามแย่งชิงทรัพยากรมนุษย์ที่มีค่า และนี่คือเหตุผลที่เราต้องแบ่งมหาวิทยาลัยเป็น 3 กลุ่ม” การแบ่งมหาวิทยาลัยเป็น 3 กลุ่ม ประกอบด้วยกลุ่มที่ 1 มหาวิทยาลัยที่จะไปสู้กับโลก ประกอบด้วย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหิดล, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, มหาวิทยาลัยขอนแก่น, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ฯลฯ มหาวิทยาลัยกลุ่มนี้ต้องดึงให้ขึ้นมาเป็นท็อป 100 ให้ได้ ถ้าเราก้าวไปไม่ได้ นักศึกษาเก่งๆ ก็จะไม่เลือกเรียนสถาบันเหล่านี้ ส่วนนักศึกษาที่ดีๆ มีคุณภาพของโลก ก็จะไม่มาเรียนในประเทศไทยกลุ่มที่ 2 มหาวิทยาลัยที่เน้นเทคโนโลยี นวัตกรรม จะประกอบด้วย 3 พระจอม คือ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ซึ่งจะตอบโจทย์อุตสาหกรรมในอนาคตกลุ่มที่ 3 มหาวิทยาลัยพัฒนาพื้นที่ คือกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏทั้ง 38 แห่ง ที่จะเน้นเรื่องของการพัฒนาท้องถิ่น โดยในแผนจะให้ราชภัฏ 1 แห่งดูแล 2 จังหวัด และจะให้ไปทำวิจัยเชิงพื้นที่ เพราะในอนาคตการผลิตครูอาจจะ Over Supply ไปแล้ว “ราชภัฏต้องตอบโจทย์ให้ได้ว่า ครูในศตวรรษที่ 21 หน้าตาจะเป็นอย่างไร Demand กับ Supply ครู เป็นอย่างไร และคุณภาพครูที่ผลิต เป็นอย่างไร แต่ที่วางไว้ราชภัฏจะไม่ใช่ผลิตครูอย่างเดียว”นอกจากนี้ในหลักการแล้ว คนที่เรียนราชภัฏจะต้องอยู่กับพื้นที่ ไม่ต้องเข้ามาในกรุงเทพฯ และไม่ต้องเข้ามาอยู่ในเมืองใหญ่ แต่จะมีประเด็นที่ให้ราชภัฏดำเนินการได้ในพื้นที่ ทั้งเรื่องการท่องเที่ยว เรื่องโอทอป เรื่องสมาร์ทฟาร์มเมอร์ ซึ่งจะเป็นการกระจายรายได้ กระจายโอกาสให้สามารถดำรงชีพอยู่ในพื้นที่ได้ด้วย “เราจะต้องยกเครื่องมหาวิทยาลัยราชภัฏ เพราะราชภัฏต้องดูแลเด็กถึง 80% ซึ่งถ้าเด็กกลุ่มนี้คุณภาพไม่ดี ปัญหาจะตกอยู่กับประเทศไทย เพราะเด็ก 70% เป็นสายสังคมศาสตร์ อีก 30% เป็นสายวิทยาศาสตร์ ซึ่งจะต้องทำให้เด็กกลุ่มนี้มีพลัง ถึงมียุวชนสร้างชาติ ลงพัฒนาพื้นที่ ท้องถิ่น เอามหาวิทยาลัยไปติดอาวุธทางปัญหาท้องถิ่น” “เราจะต้องยกเครื่องมหาวิทยาลัยราชภัฏ เพราะราชภัฏต้องดูแลเด็กถึง 80% ซึ่งถ้าเด็กกลุ่มนี้คุณภาพไม่ดี ปัญหาจะตกอยู่กับประเทศไทย เพราะเด็ก 70% เป็นสายสังคมศาสตร์ อีก 30% เป็นสายวิทยาศาสตร์ ซึ่งจะต้องทำให้เด็กกลุ่มนี้มีพลัง ถึงมียุวชนสร้างชาติ ลงพัฒนาพื้นที่ ท้องถิ่น เอามหาวิทยาลัยไปติดอาวุธทางปัญหาท้องถิ่น”ขณะเดียวกันการจะยกเครื่องกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏนั้น กระทรวง อว. ได้มีการประสานกับMicrosoft ที่จะนำเรื่องของภาษาอังกฤษ กับเรื่องของดิจิทัล เพื่อยกระดับครูราชภัฏได้ระดับหนึ่งก่อน ที่เหลือก็เป็นเรื่องของการวิจัย เพื่อตอบโจทย์ในพื้นที่ เพื่อแก้ไขปัญหาความยากจน“เราต้องติดอาวุธ หรือ เติมพลังให้ราชภัฏเพราะคนกลุ่มนี้คือเสาหลักของแผ่นดิน กระทรวง อว.จะต้องทำให้มหาวิทยาลัยราชภัฏแข็งแรงขึ้น พร้อมๆ กับพัฒนาให้มหาวิทยาลัยไทยก้าวสู่ท็อป 100 ให้สำเร็จ”อีกทั้งจะต้องปลุกพลังให้เกิดการร่วมมือกันระหว่างราชภัฏและราชมงคลในแต่ละจังหวัดให้ได้ เพราะราชมงคล จะได้เรื่องเทคโนโลยี ส่วนราชภัฏจะเน้นเรื่องการบริหาร เรื่องการท่องเที่ยว เพราะประเทศไทยมี 2 อย่างคือ ด้านการเกษตร และต้องสร้าง High Value Service ในด้านการท่องเที่ยวให้เกิดขึ้น รวมทั้งต้องไปจับมือกับกระทรวงวิทยาศาสตร์ ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อยกระดับ Smart Farmer ให้มีคุณภาพส่วนเรื่องของสถาบันการศึกษาเอกชนนั้น ทางรัฐบาลมิได้ทอดทิ้ง ก็ได้มีการประสานกับทางสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย โดยสมาคมฯ ได้เสนอขอให้รัฐให้การสนับสนุน 2 เรื่อง คือในเรื่องของการเชื่อมโยงกับเอสเอ็มอี ซึ่งทาง อว.ก็ได้ประสานกับหอการค้าไทย และสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย รวมทั้งสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ไว้ให้แล้ว และอีกเรื่องมหาวิทยาลัยเอกชน ต้องการให้ช่วยเหลือในเรื่องของการเจาะตลาดนักศึกษาในต่างประเทศ ทั้งเรื่องการไปเปิด Campus และการดึงนักศึกษาต่างชาติเข้ามาเรียนในประเทศไทย เช่นนักศึกษากัมพูชา นักศึกษาลาว ซึ่งปัจจุบันมีการเปิด Campus ที่พม่าแล้วดังนั้นเป้าหมายนักศึกษาที่ ดร.สุวิทย์ ต้องการให้สถาบันการศึกษาของไทยทั้งภาครัฐและเอกชน จะต้องเร่งพัฒนาและยกระดับคุณภาพของสถาบัน เพื่อรักษานักศึกษาไทยระดับหัวกะทิไว้ให้ได้ และยังสามารถเป็นพลังดึงดูดนักศึกษาที่มีคุณภาพจากต่างประเทศเข้ามาเรียนในไทย ซึ่งหมายถึงสถาบันการศึกษาไทยมีสิทธิ์เลือกคนเก่งเข้ามาเรียนในไทย“เราต้องได้คนเก่งในระดับหนึ่งมาเรียน และต้องการชนชั้นนำหรือระดับเจ้าสัวของต่างประเทศเข้ามาเรียนในไทยด้วย”ตรงนี้คือประเด็นหนึ่งที่ ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ตั้งเป้าหมายไว้เพื่อสอดคล้องกับการเป็นมหาวิทยาลัยที่มีคุณภาพย่อมได้นักศึกษาที่มีคุณภาพเช่นกัน ! ที่มา : mgronline.com EZ Webmaster Related Posts พลังการอ่านเปลี่ยนคน เปลี่ยนเมือง เปลี่ยนโลก! “ทีเค พาร์ค” เปิดอินไซต์โมเดล 4 ชาติ ที่สร้างอำนาจโน้มนำผ่านการพัฒนาระบบหนังสือ บทพิสูจน์สำคัญที่ ‘การอ่าน’ สร้างชาติได้จริง อัปเดต ค่าเทอมคณะแพทยศาสตร์ ม.เอกชน (ล่าสุด พ.ศ. 2568) ร่วมสนุกไม่ใช่ประกวด มาอวดฝีมือวาดภาพ “เมืองแห่งอนาคตของฉัน” สรุปคะแนนสูง-ต่ำ TCAS รอบ 3 ย้อนหลัง 7 ปี ครบทุกมหาวิทยาลัย DEK68 ห้ามพลาด! เรียนไปเที่ยวไป เปิดมิติใหม่แห่งการเรียนรู้ กับสาขาการจัดการการท่องเที่ยวและการบริการ Post navigation PREVIOUS Previous post: มาดูคำถามที่ Google ใช้ในการหาผู้นำที่ยอดเยี่ยมภายใน 5 นาทีNEXT Next post: “ครูตั้น” ตั้งเป้าเพิ่มสัดส่วนสายอาชีพ 60 ต่อ 40 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ร่วมสนุกไม่ใช่ประกวด มาอวดฝีมือวาดภาพ “เมืองแห่งอนาคตของฉัน” EZ WebmasterApril 22, 2025 ปิดเทอมนี้ เพจ IPST Thailand ของ สสวท.ชวนน้องๆ เยาวชนอายุ 7 – 12 ปี ร่วมสนุกส่งผลงานภาพวาดระบายสีหัวข้อ “เมืองแห่งอนาคตของฉัน” โดยวาดภาพพร้อมระบายสีขนาด A4 ด้วยเทคนิคใดก็ได้ตามจินตนาการ ห้ามใช้ AI หรือโปรแกรมอัตโนมัติในการสร้างและออกแบบรูปภาพ แล้วอัปโหลดภาพในช่องใต้คอมเม้นท์ ใต้โพสต์ในเฟซบุก IPST Thailand และกรอกชื่อที่อยู่เพื่อลุ้นรับของที่ระลึกที่ https://ipst.me/pr0171 ส่งได้คนละ 1 ผลงาน หมดเขต 16 พฤษภาคม 2568 สรุปคะแนนสูง-ต่ำ TCAS รอบ 3 ย้อนหลัง 7 ปี ครบทุกมหาวิทยาลัย DEK68 ห้ามพลาด! EZ WebmasterApril 22, 2025 “เช็กด่วน! รวมลิงก์คะแนนสูง-ต่ำ TCAS 7 ปีย้อนหลัง ทุกมหาวิทยาลัย DEK68 ต้องไม่พลาด! ใกล้เข้ามาแล้วกับช่วงเวลาสำคัญของ #DEK68 ที่หลายคนกำลังเตรียมตัวลุยศึก TCAS รอบ 3 Admissionซึ่งจะเปิดรับสมัครในวันที่ 6-12 พฤษภาคม 2568…
สรุปคะแนนสูง-ต่ำ TCAS รอบ 3 ย้อนหลัง 7 ปี ครบทุกมหาวิทยาลัย DEK68 ห้ามพลาด! EZ WebmasterApril 22, 2025 “เช็กด่วน! รวมลิงก์คะแนนสูง-ต่ำ TCAS 7 ปีย้อนหลัง ทุกมหาวิทยาลัย DEK68 ต้องไม่พลาด! ใกล้เข้ามาแล้วกับช่วงเวลาสำคัญของ #DEK68 ที่หลายคนกำลังเตรียมตัวลุยศึก TCAS รอบ 3 Admissionซึ่งจะเปิดรับสมัครในวันที่ 6-12 พฤษภาคม 2568…
เตรียมตัวให้พร้อม! กับ 7-ELEVEN YOUNG GENIVERSITY 2025 งานอีเวนต์ที่จะปลดล็อกศักยภาพคนรุ่นใหม่สู่สนามอาชีพ EZ WebmasterApril 22, 2025 บริษัท ซีพี ออลล์ จำกัด (มหาชน) ผู้บริหารร้านเซเว่น อีเลฟเว่น และ เซเว่น เดลิเวอรี่ ร่วมกับ Mission To The Moon จัดงาน “7-ELEVEN YOUNG GENIVERSITY 2025” จัดหนักจัดเต็ม… คณะนิติศาสตร์ จุฬาฯ เปิดรับสมัครรอบตรง ปี 2568 ไม่ใช้คะแนนสอบกลาง! EZ WebmasterApril 21, 2025 คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดรับสมัครบุคคลเข้าศึกษาต่อในหลากหลายหลักสูตร ครอบคลุมทั้งระดับปริญญาตรี ภาคนอกเวลาราชการ หลักสูตรนานาชาติ ระดับปริญญาโท และระดับปริญญาเอก สำหรับปีการศึกษา 2568 โดยมีรายละเอียดดังนี้ หลักสูตรจัดการเรียนการสอนเป็นภาษาไทย •หลักสูตร น.บ. (นิติศาสตรบัณฑิต ภาคบัณฑิต (นอกเวลาราชการ)) และโครงการ… สวนสุนันทา คว้าแชมป์ฟุตซอลหญิง “ไอมาเน่ ไทยแลนด์ 2025” 2 สมัยซ้อน tui sakrapeeApril 19, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา คว้าแชมป์ฟุตซอลหญิง “ไอมาเน่ ไทยแลนด์ 2025” 2 สมัยซ้อน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา สร้างประวัติศาสตร์คว้าแชมป์ฟุตซอลหญิงรายการ “ไอมาเน่ ไทยแลนด์ ฟุตซอล วูเม่น ยูนิเวอร์ซิตี้ เดอะ แชมเปี้ยนชิพ 2025” (IMANE… ม.รามคำแหง ความสำเร็จสร้างได้ รับนักศึกษาใหม่ ส่วนกลาง-ส่วนภูมิภาคทั่วประเทศ EZ WebmasterApril 19, 2025 การศึกษาแบบตลาดวิชา คือการเลือกเรียนรู้และทดลองสร้างอนาคตใน Sandbox แห่งวิชาการและประสบการณ์ชีวิต อยู่ที่ไหนก็เรียนรามฯได้ เรียนส่วนกลางที่กรุงเทพฯ เรียนส่วนภูมิภาคใกล้บ้านทั้งประเทศ มีคณะและหลักสูตรหลากหลาย เรียนออนไลน์หรือออนไซต์ เลือกเรียนได้ตามใจ เพราะ…ความสำเร็จสร้างได้ ที่ ม.รามคำแหง รับสมัครนักศึกษาใหม่ระดับปริญญาตรี ทั้งส่วนกลาง และส่วนภูมิภาคถึง วันที่ 20… ทุนดีดี ทุนเทคโนและวิชาชีพที่ญี่ปุ่น InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศApril 22, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้ารับทุนการศึกษารัฐบาลญี่ปุ่น ประจำปีการศึกษา 2026 มีทั้งทุน College of Technology (KOSEN) Students และ Specialized Training College Students เปิดรับสมัครตั้งแต่วันนี้ไปถึง 4 มิถุนายนศกนี้ ทุนการศึกษารัฐบาลญี่ปุ่น ประจำปีการศึกษา 2569… มูลนิธิหอการค้าอเมริกันในประเทศไทย เปิดให้ทุนระดับมหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2568 EZ WebmasterApril 21, 2025 เปิดรับสมัครทุนการศึกษาต่อเนื่องระดับมหาวิทยาลัย มูลนิธิหอการค้าอเมริกันในประเทศไทย ประจำปีการศึกษา 2568 มูลนิธิหอการค้าอเมริกันในประเทศไทย (AMCHAM Thailand Foundation) ประกาศเปิดรับสมัครทุนการศึกษาระดับมหาวิทยาลัย ประจำปีการศึกษา 2568 สนับสนุนนักเรียนระดับปริญญาตรีที่มีความเหมาะสม โดยมอบทุนการศึกษาจำนวน 25,000 บาทต่อปี ตลอดระยะเวลาการศึกษา 3 ปี… ทุนหมื่นปอนด์ที่U. of York InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศApril 21, 2025 University of York ให้ทุนประจำปี 2025-26 กับผู้อยู่อาศัยและพลเมืองของจีน (แผ่นดินใหญ่เท่านั้น) กรีซ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ไนจีเรีย ไทย หรือเวียดนาม รวม 8 ทุน เป็นทุนระดับปริญญาโท 1… ทุนLawที่สวิตเซอร์แลนด์ InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศApril 20, 2025 Swiss Institute of Comparative Law (SICL) ในเมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ แจ้งให้ทุน Van Calker สำหรับปีการศึกษา 2025/2026 เพื่อสนับสนุนนักวิจัยชาวสวิสและต่างประเทศในการพัฒนางานทางวิทยาศาสตร์ในสาขากฎหมายเปรียบเทียบ กฎหมายต่างประเทศ และกฎหมายระหว่างประเทศ กำหนดส่งใบสมัครภายใน 15… ครู-อาจารย์ สถาบันไทยศึกษา จุฬาฯ เร่งจัดทำฐานข้อมูลลายผ้าขาวม้าไทย ขับเคลื่อนมรดกภูมิปัญญาไทยสู่เวที UNESCO EZ WebmasterApril 22, 2025 สถาบันไทยศึกษา จุฬาฯ ร่วมกับกรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม ผลักดัน “ผ้าขาวม้าวิถีชีวิตไทย” ซึ่งเป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติสู่เวที UNESCO โดยการเร่งจัดทำฐานข้อมูลลายผ้าขาวม้าไทยจากทุกภาคส่วนให้เป็นระบบ เพื่อประโยชน์ด้านการอนุรักษ์มรดกภูมิปัญญาของชาติ และส่งเสริมการสร้างสรรค์ลายอัตลักษณ์ผ้าขาวม้าขององค์กรและชุมชน รวมถึงการใช้ประโยชน์จากฐานข้อมูลไปสู่การต่อยอดในภาควิสาหกิจชุมชนและภาคการตลาดเพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจในแก่ผ้าขาวม้าและการขยายตัวของเศรษฐกิจชุมชนอย่างยั่งยืน เมื่อเอ่ยถึง “ผ้าขาวม้า” หลายคนคงนึกถึงผ้าลายตาราง สีสันต่าง ๆ และประโยชน์ใช้สอยที่หลากหลาย ตั้งแต่ใช้เป็นเครื่องนุ่งห่ม ผ้านุ่งอาบน้ำ ผ้าพันคอ… สวนสุนันทา แสดงความจงรักภักดี ร่วมบันทึกเทปถวายพระพร สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา 3 มิถุนายน 2568 tui sakrapeeApril 22, 2025 สวนสุนันทา แสดงความจงรักภักดี ร่วมบันทึกเทปถวายพระพร สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา 3 มิถุนายน 2568 วันที่ 22 เมษายน 2568 รองศาสตราจารย์ ดร.ชุติกาญจน์ ศรีวิบูลย์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา นำคณะผู้บริหารร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล แด่สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา… “มทร.ล้านนา” ประเมินความเสียหาย พร้อมจัดทำคู่มือข้อปฏิบัติรับมือแผ่นดินไหว EZ WebmasterApril 22, 2025 รศ.วิเชษฐ ทิพย์ประเสริฐ รักษาราชการแทน อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา (มทร.ล้านนา) กล่าวว่ามทร.ล้านนา ตั้งอยู่ในพื้นที่ภาคเหนือ โดยมี 6 วิทยาเขต 1 สถาบัน คือ เขตพื้นที่ภาคพายัพ เขตพื้นที่เชียงราย เขตพื้นที่ตาก เขตพื้นที่น่าน เขตพื้นที่ลำปาง เขตพื้นที่พิษณุโลก และสถาบันวิจัยลำปาง ซึ่งเมื่อ 10 กว่าปีที่ผ่านมา ในพื้นที่เชียงรายเคยเกิดกรณีแผ่นดินไหวขึ้น… ผู้บริหารการศึกษายุคใหม่ก้าวทันโลก… พร้อมสู่อนาคต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต EZ WebmasterApril 21, 2025 ในยุคที่โลกเปลี่ยนแปลงรวดเร็ว เทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทสำคัญในทุกแง่มุมของชีวิต แม้กระทั่งการศึกษาเองก็ไม่ใช่ข้อยกเว้น ผู้บริหารการศึกษายุคใหม่จึงต้องปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลง พัฒนาทักษะ และความรู้ใหม่ๆ อยู่เสมอ วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต เล็งเห็นถึงความสำคัญนี้ จึงได้จัดทำหลักสูตร สาขาวิชาการบริหารการศึกษา ที่มุ่งพัฒนาผู้บริหารการศึกษามืออาชีพยุคใหม่ ให้พร้อมรับมือกับทุกโจทย์ความท้าทาย หลักสูตรฯ ของเรา เน้นการเรียนรู้แบบผสมผสาน “ทฤษฎีเข้ากับประสบการณ์จริง”… กิจกรรม จุฬาฯ ผนึก สมช. และกองทัพเรือ ลงนามความร่วมมือจัดตั้ง “องค์กรจัดการความรู้ทางทะเลของประเทศไทย” EZ WebmasterApril 21, 2025 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับสำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ (สมช.) และกองทัพเรือ (ทร.) จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ว่าด้วย “การจัดตั้งและขับเคลื่อนองค์กรจัดการความรู้ทางทะเลของประเทศไทย” เพื่อวางรากฐานในการเป็นศูนย์กลางองค์ความรู้ทางทะเลระดับประเทศ เมื่อวันศุกร์ที่ 11 เมษายน 2568 ณ ห้องประชุม 105 อาคารมหาจุฬาลงกรณ์ โดยมี พล.ต.ต.สุรสิทธิ์… มมส สืบสานประเพณีสงกรานต์ ทำบุญตักบาตรเสริมสิริมงคลรับปีใหม่ไทย EZ WebmasterApril 17, 2025 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (มมส) จัดงานสืบสานประเพณีสงกรานต์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ประจำปี 2568 โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.ประยุกต์ ศรีวิไล อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เป็นประธานในพิธี พร้อมด้วยผู้บริหาร คณาจารย์ บุคลากร และนิสิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เข้าร่วมงาน ณ… ทีเค พาร์ค พาเจาะเส้นทางความสำเร็จนักเขียนไทยผู้เจาะตลาดอินเตอร์ พร้อมเปิดทริคอัปเลเวล “นักเขียนมือทอง” หนุนวรรณกรรมไทยไปตีตลาดโลก EZ WebmasterApril 17, 2025 “นักเขียนไทย สู้ต่างชาติได้จริงไหม?” เป็นคำถามที่หลายคนอาจสงสัย ทั้งที่นักเขียนไทยหลายคน ก็มีฝีมือไม่แพ้ใคร แต่ทำไมยังไม่ค่อยเห็นวรรณกรรมไทยไปไกลถึงตลาดโลก ในขณะที่หลายประเทศมีวรรณกรรมเป็นซอฟต์พาวเวอร์และเป็นสินค้าส่งออก เช่น เกาหลีใต้ที่ผลักดัน Webtoon และนิยายออนไลน์สู่ K-Drama และ K-Series ญี่ปุ่นที่เปลี่ยนมังงะและไลต์โนเวล (Light Novel) ให้กลายเป็นสินค้าส่งออกสำคัญของประเทศ เช่นเดียวกับจีนที่ส่งออกวรรณกรรมออนไลน์โกยรายได้มหาศาลจากทั่วโลก และถึงแม้ว่าในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา อุตสาหกรรมคอนเทนต์ไทยจะคึกคักขึ้นอย่างมากโดยเฉพาะจากกระแสนิยายวายที่ถูกนำไปสร้างเป็นซีรีส์โด่งดังไปทั่วโลก แต่วรรณกรรมไทยที่ได้รับการแปลและตีพิมพ์ในต่างประเทศต้องยอมรับว่ายังมีจำนวนไม่มากเมื่อเทียบกับประเทศอื่น ๆ ในโอกาสฉลองครบรอบ 20 ปี… ชวนร่วมคอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา ชม “tattoo colour” ช่วยส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาของนักเรียน tui sakrapeeApril 8, 2025 คอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา tattoo colour สามารถซื้อบัตรเข้าร่วมชมคอนเสิร์ตกันได้ทั้งนักเรียน นักศึกษา บุคลากร และบุคลภายนอก สมาคมผู้ปกครองและครูโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ขอเชิญชวนทุกท่านร่วมงาน “#คอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา” ที่จะมอบความสุข สนุกสนาน และช่วยส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาของนักเรียน 📅 วันอาทิตย์ที่ 4 พฤษภาคม 2568… Search for: Search EZ Webmaster December 20, 2019 EZ Webmaster December 20, 2019 ยุค ‘Talent War’ แย่งตัวนักเรียนหัวกะทิ มหา’ลัยระดับโลกชิงให้ทุนตัดหน้ารัฐไทย! เข้าสู่ยุค ‘Talent War’ สงครามแย่งชิงคนเก่ง เข้าเรียนในสถาบันการศึกษาทั่วโลก ‘ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์’ ชี้มหาวิทยาลัยระดับ World Class ชิงตัดหน้าให้ทุน ‘นักศึกษาไทย’ ระดับหัวกะทิที่รัฐบาลให้ทุนไปแล้ว แจงต้องเร่งปั้นมหาวิทยาลัยรัฐ ทั้งจุฬาฯ มหิดล ติดลำดับท็อป 100 ให้ได้ เพื่อให้เด็กไทยอยากเรียนในไทย และดึงชนชั้นนำ-เจ้าสัว ในต่างประเทศเข้ามาเรียนด้วย ขณะเดียวกันแบ่ง 3 กลุ่มสถาบัน เพื่อสู้กับทั่วโลก พัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม พร้อมยกเครื่องราชภัฏ เป็นมหาวิทยาลัยกลุ่ม “เสาหลักของแผ่นดิน” ร่วมพัฒนาพื้นที่ให้สำเร็จ!ปรากฏการณ์ ‘Talent War’ หรือสงครามแย่งชิงคน กำลังเกิดขึ้นในสังคมโลก ซึ่งประเทศไทยก็ต้องวางแผนไว้รองรับว่าจะทำอย่างไรถึงจะดึงคนเก่งของโลกมาอยู่กับเราให้ได้นี่คือโจทย์ใหญ่ที่ ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ให้ความเห็นไว้และบอกด้วยว่าจะต้องรีบดำเนินการอย่างไรจึงจะสามารถบรรลุเป้าหมายตรงนี้ได้ เพราะนี่คือเหตุผลของการรวมสถาบันระดับอุดมศึกษาและตั้งเป็นกระทรวงใหม่คือกระทรวง ‘อว.’ ขึ้นมาเพื่อจะได้เป็นพลังขับเคลื่อนในการพัฒนาประเทศด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีต่อไปในอนาคต“โจทย์ผมเวลานี้ คือ จะต้องทำให้มหาวิทยาลัยไทย ปรับตัวเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 พร้อมกับคุณภาพที่ดี โดยจะยกระดับคุณภาพได้อย่างไร หากไม่มีคุณภาพ ทุกอย่างจบหมด” ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ดร.สุวิทย์ บอกว่า เวลานี้สถาบันการศึกษามักจะพูดเสมอว่าจำนวนนักศึกษาน้อย ทำให้สถาบันการศึกษาทั้งรัฐและเอกชนต้องแบกภาระไว้มาก ซึ่งในความเป็นจริงในอนาคตมีแนวโน้มเด็กจะลดลงไปกว่านี้อีก ดังนั้นสถาบันการศึกษาทั้งรัฐและเอกชน ต้องหาวิธีการปรับตัว โดยเฉพาะจะต้องออกไปเจาะตลาดต่างประเทศ ด้วยการไปเปิด Campus ในต่างประเทศ เช่นเดียวกับที่ 2 มหาวิทยาลัยต่างชาติ ที่มาเปิดในไทย อย่าง มหาวิทยาลัยคาร์เนกี้ เมลลอน หรือ มหาวิทยาลัยไต้หวันที่มาเปิด Campus ในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์นี่คือกระแสโลกาภิวัตน์ที่สถาบันการศึกษาของไทยต้องตามให้ทัน“เรียกว่าต้องมี In-out กับ Out-in ซึ่ง In-out หมายถึง มหาวิทยาลัยของไทยต้องออกไปตั้ง Campus ที่ประเทศต่างๆ เช่นที่มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ไปตั้งที่ประเทศพม่า และมีนักศึกษาพม่าสนใจเรียนจำนวนมาก ปัจจุบันมีการตั้งสมาคมศิษย์เก่าที่เข้มแข็ง ช่วยกันโปรโมตและดึงคนพม่ามาเรียนที่ Campus ที่นั่น ส่วน Out-in ที่กำลังเกิดขึ้นมากในเวลานี้ก็คือการที่มหาวิทยาลัยไปดึงนักศึกษาจีนเข้ามาเรียนในไทย”แต่สิ่งสำคัญที่สถาบันการศึกษาจะต้องดำเนินการไม่ใช่เพียงแค่การเจาะตลาดต่างประเทศ แต่จะต้องให้ความสำคัญกับเรื่องของการดึง Talent หรือนักศึกษาที่มีความสามารถพิเศษ นักศึกษาที่มีคุณภาพสูง ชนชั้นสูง เจ้าสัว เข้ามาเรียนในสถาบันฯ การศึกษานั้นๆ“การที่มหาวิทยาลัยไทยจะได้ Talent มาหรือไม่ ก็ขึ้นอยู่กับคุณภาพของมหาวิทยาลัยนั้นๆ ด้วย ว่ามีอะไรน่าสนใจ ที่จะสามารถเป็นแม่เหล็กดึงนักศึกษาคุณภาพได้ด้วย”รัฐมนตรีว่าการกระทรวง อว. ระบุว่า การที่กระทรวง อว.มีเป้าหมายที่จะสร้างมหาวิทยาลัยของไทยให้เป็นมหาวิทยาลัยคุณภาพ เพื่อติดอันดับท็อป 100 ของโลกให้ได้ จึงได้ตั้งงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2563 สำหรับการพัฒนาด้านการศึกษา วิจัย และนวัตกรรม จำนวน 142,479 ล้านบาท ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณฯ 2562 จำนวน 2,871 ล้านบาท“จุฬาฯ กับมหิดล อยู่ในระดับที่ 300 กว่าๆ ซึ่งผมตั้งใจพัฒนาเพื่อให้จุฬาฯ และมหิดล ขยับขั้นไปในระดับท็อป 100 ให้ได้ ถ้าเราทำได้มหาวิทยาลัยอื่นๆ ในไทย ก็จะขยับขึ้นมาได้ด้วย” จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล อย่างไรก็ดี สถาบันการจัดอันดับ Quacquarelli Symonds (QS) แห่งสหราชอาณาจักร ในปี 2019 ได้มีการเปิดเผยข้อมูลการจัดอันดับล่าสุด พบว่าจุฬาฯ ถูกจัดอยู่ในอันดับที่ 271 ครอบคลุมทั้งด้านคุณภาพของมหาวิทยาลัย คุณภาพบัณฑิต คุณภาพด้านการวิจัย เป็นต้น ส่วนมหาวิทยาลัยมหิดล อยู่ในลำดับที่ 380 และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์อยู่ในช่วง 601-650 เป็นต้นดร.สุวิทย์ บอกว่าถ้ารัฐบาลสามารถพัฒนาให้มหาวิทยาลัยของไทยติดอันดับท็อป 100 ได้ก็จะมีนักศึกษาและนักวิจัยที่มีคุณภาพดีๆ ซึ่งจะทำให้เป็นแม่เหล็กดึงนักศึกษาจากต่างประเทศเข้ามาเรียนในประเทศไทย แต่ถ้ามหาวิทยาลัยของไทยยังอยู่ในระดับต่ำๆ นักศึกษาไทยที่เรียนดีและมีโอกาสก็จะไม่เลือกเรียนที่ประเทศไทย“เด็กหัวกะทิในระดับ Top 5 ของนักศึกษาที่เรียนดีที่สุดของประเทศ พวกนี้จะเลือกไปเรียนต่างประเทศกันหมด เพราะดีกว่าเลือกเรียนที่จุฬาฯ หรือมหิดล เราจึงต้องเร่งพัฒนาให้จุฬาฯ หรือมหิดล ขึ้น Top 100 ของโลกให้ได้”หากรัฐสามารถพัฒนาได้ถึงขั้น Top 100 เด็กหัวกะทิก็จะเลือกเรียนเมืองไทยดีกว่าจะไปต่างประเทศ และจะทำให้นักศึกษาต่างประเทศเลือกที่จะเข้ามาเรียนเมืองไทยได้ง่ายเช่นกัน“อนาคตจะเป็น Talent War สงครามแย่งชิงคน เราต้องการให้คนเก่งของโลกมาอยู่กับเราให้ได้ แต่ถ้าเราทำไม่ได้ คนเก่งก็จะเลือกไปทำงานต่างประเทศกันหมด”ดร.สุวิทย์ บอกอีกว่า สถานการณ์ในขณะนี้ ทางกระทรวง อว.มีทุนให้นักศึกษาไปสอบเรียนต่อในมหาวิทยาลัยลำดับดีๆ ในต่างประเทศ แต่ปรากฏว่ามหาวิทยาลัยลำดับดีๆ ในต่างประเทศกลับแย่งตัวนักศึกษาเหล่านี้ด้วยการให้ทุนเรียนไปเลย‘มหาวิทยาลัยระดับ World Class เหล่านี้ให้ทุนแย่งเด็กเราไปก่อน นี่คือรูปแบบสงครามที่เกิดขึ้นในอนาคต เป็นสงครามแย่งชิงทรัพยากรมนุษย์ที่มีค่า และนี่คือเหตุผลที่เราต้องแบ่งมหาวิทยาลัยเป็น 3 กลุ่ม” การแบ่งมหาวิทยาลัยเป็น 3 กลุ่ม ประกอบด้วยกลุ่มที่ 1 มหาวิทยาลัยที่จะไปสู้กับโลก ประกอบด้วย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหิดล, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, มหาวิทยาลัยขอนแก่น, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ฯลฯ มหาวิทยาลัยกลุ่มนี้ต้องดึงให้ขึ้นมาเป็นท็อป 100 ให้ได้ ถ้าเราก้าวไปไม่ได้ นักศึกษาเก่งๆ ก็จะไม่เลือกเรียนสถาบันเหล่านี้ ส่วนนักศึกษาที่ดีๆ มีคุณภาพของโลก ก็จะไม่มาเรียนในประเทศไทยกลุ่มที่ 2 มหาวิทยาลัยที่เน้นเทคโนโลยี นวัตกรรม จะประกอบด้วย 3 พระจอม คือ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ซึ่งจะตอบโจทย์อุตสาหกรรมในอนาคตกลุ่มที่ 3 มหาวิทยาลัยพัฒนาพื้นที่ คือกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏทั้ง 38 แห่ง ที่จะเน้นเรื่องของการพัฒนาท้องถิ่น โดยในแผนจะให้ราชภัฏ 1 แห่งดูแล 2 จังหวัด และจะให้ไปทำวิจัยเชิงพื้นที่ เพราะในอนาคตการผลิตครูอาจจะ Over Supply ไปแล้ว “ราชภัฏต้องตอบโจทย์ให้ได้ว่า ครูในศตวรรษที่ 21 หน้าตาจะเป็นอย่างไร Demand กับ Supply ครู เป็นอย่างไร และคุณภาพครูที่ผลิต เป็นอย่างไร แต่ที่วางไว้ราชภัฏจะไม่ใช่ผลิตครูอย่างเดียว”นอกจากนี้ในหลักการแล้ว คนที่เรียนราชภัฏจะต้องอยู่กับพื้นที่ ไม่ต้องเข้ามาในกรุงเทพฯ และไม่ต้องเข้ามาอยู่ในเมืองใหญ่ แต่จะมีประเด็นที่ให้ราชภัฏดำเนินการได้ในพื้นที่ ทั้งเรื่องการท่องเที่ยว เรื่องโอทอป เรื่องสมาร์ทฟาร์มเมอร์ ซึ่งจะเป็นการกระจายรายได้ กระจายโอกาสให้สามารถดำรงชีพอยู่ในพื้นที่ได้ด้วย “เราจะต้องยกเครื่องมหาวิทยาลัยราชภัฏ เพราะราชภัฏต้องดูแลเด็กถึง 80% ซึ่งถ้าเด็กกลุ่มนี้คุณภาพไม่ดี ปัญหาจะตกอยู่กับประเทศไทย เพราะเด็ก 70% เป็นสายสังคมศาสตร์ อีก 30% เป็นสายวิทยาศาสตร์ ซึ่งจะต้องทำให้เด็กกลุ่มนี้มีพลัง ถึงมียุวชนสร้างชาติ ลงพัฒนาพื้นที่ ท้องถิ่น เอามหาวิทยาลัยไปติดอาวุธทางปัญหาท้องถิ่น” “เราจะต้องยกเครื่องมหาวิทยาลัยราชภัฏ เพราะราชภัฏต้องดูแลเด็กถึง 80% ซึ่งถ้าเด็กกลุ่มนี้คุณภาพไม่ดี ปัญหาจะตกอยู่กับประเทศไทย เพราะเด็ก 70% เป็นสายสังคมศาสตร์ อีก 30% เป็นสายวิทยาศาสตร์ ซึ่งจะต้องทำให้เด็กกลุ่มนี้มีพลัง ถึงมียุวชนสร้างชาติ ลงพัฒนาพื้นที่ ท้องถิ่น เอามหาวิทยาลัยไปติดอาวุธทางปัญหาท้องถิ่น”ขณะเดียวกันการจะยกเครื่องกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏนั้น กระทรวง อว. ได้มีการประสานกับMicrosoft ที่จะนำเรื่องของภาษาอังกฤษ กับเรื่องของดิจิทัล เพื่อยกระดับครูราชภัฏได้ระดับหนึ่งก่อน ที่เหลือก็เป็นเรื่องของการวิจัย เพื่อตอบโจทย์ในพื้นที่ เพื่อแก้ไขปัญหาความยากจน“เราต้องติดอาวุธ หรือ เติมพลังให้ราชภัฏเพราะคนกลุ่มนี้คือเสาหลักของแผ่นดิน กระทรวง อว.จะต้องทำให้มหาวิทยาลัยราชภัฏแข็งแรงขึ้น พร้อมๆ กับพัฒนาให้มหาวิทยาลัยไทยก้าวสู่ท็อป 100 ให้สำเร็จ”อีกทั้งจะต้องปลุกพลังให้เกิดการร่วมมือกันระหว่างราชภัฏและราชมงคลในแต่ละจังหวัดให้ได้ เพราะราชมงคล จะได้เรื่องเทคโนโลยี ส่วนราชภัฏจะเน้นเรื่องการบริหาร เรื่องการท่องเที่ยว เพราะประเทศไทยมี 2 อย่างคือ ด้านการเกษตร และต้องสร้าง High Value Service ในด้านการท่องเที่ยวให้เกิดขึ้น รวมทั้งต้องไปจับมือกับกระทรวงวิทยาศาสตร์ ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อยกระดับ Smart Farmer ให้มีคุณภาพส่วนเรื่องของสถาบันการศึกษาเอกชนนั้น ทางรัฐบาลมิได้ทอดทิ้ง ก็ได้มีการประสานกับทางสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย โดยสมาคมฯ ได้เสนอขอให้รัฐให้การสนับสนุน 2 เรื่อง คือในเรื่องของการเชื่อมโยงกับเอสเอ็มอี ซึ่งทาง อว.ก็ได้ประสานกับหอการค้าไทย และสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย รวมทั้งสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ไว้ให้แล้ว และอีกเรื่องมหาวิทยาลัยเอกชน ต้องการให้ช่วยเหลือในเรื่องของการเจาะตลาดนักศึกษาในต่างประเทศ ทั้งเรื่องการไปเปิด Campus และการดึงนักศึกษาต่างชาติเข้ามาเรียนในประเทศไทย เช่นนักศึกษากัมพูชา นักศึกษาลาว ซึ่งปัจจุบันมีการเปิด Campus ที่พม่าแล้วดังนั้นเป้าหมายนักศึกษาที่ ดร.สุวิทย์ ต้องการให้สถาบันการศึกษาของไทยทั้งภาครัฐและเอกชน จะต้องเร่งพัฒนาและยกระดับคุณภาพของสถาบัน เพื่อรักษานักศึกษาไทยระดับหัวกะทิไว้ให้ได้ และยังสามารถเป็นพลังดึงดูดนักศึกษาที่มีคุณภาพจากต่างประเทศเข้ามาเรียนในไทย ซึ่งหมายถึงสถาบันการศึกษาไทยมีสิทธิ์เลือกคนเก่งเข้ามาเรียนในไทย“เราต้องได้คนเก่งในระดับหนึ่งมาเรียน และต้องการชนชั้นนำหรือระดับเจ้าสัวของต่างประเทศเข้ามาเรียนในไทยด้วย”ตรงนี้คือประเด็นหนึ่งที่ ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ตั้งเป้าหมายไว้เพื่อสอดคล้องกับการเป็นมหาวิทยาลัยที่มีคุณภาพย่อมได้นักศึกษาที่มีคุณภาพเช่นกัน ! ที่มา : mgronline.com EZ Webmaster Related Posts พลังการอ่านเปลี่ยนคน เปลี่ยนเมือง เปลี่ยนโลก! “ทีเค พาร์ค” เปิดอินไซต์โมเดล 4 ชาติ ที่สร้างอำนาจโน้มนำผ่านการพัฒนาระบบหนังสือ บทพิสูจน์สำคัญที่ ‘การอ่าน’ สร้างชาติได้จริง อัปเดต ค่าเทอมคณะแพทยศาสตร์ ม.เอกชน (ล่าสุด พ.ศ. 2568) ร่วมสนุกไม่ใช่ประกวด มาอวดฝีมือวาดภาพ “เมืองแห่งอนาคตของฉัน” สรุปคะแนนสูง-ต่ำ TCAS รอบ 3 ย้อนหลัง 7 ปี ครบทุกมหาวิทยาลัย DEK68 ห้ามพลาด! เรียนไปเที่ยวไป เปิดมิติใหม่แห่งการเรียนรู้ กับสาขาการจัดการการท่องเที่ยวและการบริการ Post navigation PREVIOUS Previous post: มาดูคำถามที่ Google ใช้ในการหาผู้นำที่ยอดเยี่ยมภายใน 5 นาทีNEXT Next post: “ครูตั้น” ตั้งเป้าเพิ่มสัดส่วนสายอาชีพ 60 ต่อ 40 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
คณะนิติศาสตร์ จุฬาฯ เปิดรับสมัครรอบตรง ปี 2568 ไม่ใช้คะแนนสอบกลาง! EZ WebmasterApril 21, 2025 คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดรับสมัครบุคคลเข้าศึกษาต่อในหลากหลายหลักสูตร ครอบคลุมทั้งระดับปริญญาตรี ภาคนอกเวลาราชการ หลักสูตรนานาชาติ ระดับปริญญาโท และระดับปริญญาเอก สำหรับปีการศึกษา 2568 โดยมีรายละเอียดดังนี้ หลักสูตรจัดการเรียนการสอนเป็นภาษาไทย •หลักสูตร น.บ. (นิติศาสตรบัณฑิต ภาคบัณฑิต (นอกเวลาราชการ)) และโครงการ… สวนสุนันทา คว้าแชมป์ฟุตซอลหญิง “ไอมาเน่ ไทยแลนด์ 2025” 2 สมัยซ้อน tui sakrapeeApril 19, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา คว้าแชมป์ฟุตซอลหญิง “ไอมาเน่ ไทยแลนด์ 2025” 2 สมัยซ้อน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา สร้างประวัติศาสตร์คว้าแชมป์ฟุตซอลหญิงรายการ “ไอมาเน่ ไทยแลนด์ ฟุตซอล วูเม่น ยูนิเวอร์ซิตี้ เดอะ แชมเปี้ยนชิพ 2025” (IMANE… ม.รามคำแหง ความสำเร็จสร้างได้ รับนักศึกษาใหม่ ส่วนกลาง-ส่วนภูมิภาคทั่วประเทศ EZ WebmasterApril 19, 2025 การศึกษาแบบตลาดวิชา คือการเลือกเรียนรู้และทดลองสร้างอนาคตใน Sandbox แห่งวิชาการและประสบการณ์ชีวิต อยู่ที่ไหนก็เรียนรามฯได้ เรียนส่วนกลางที่กรุงเทพฯ เรียนส่วนภูมิภาคใกล้บ้านทั้งประเทศ มีคณะและหลักสูตรหลากหลาย เรียนออนไลน์หรือออนไซต์ เลือกเรียนได้ตามใจ เพราะ…ความสำเร็จสร้างได้ ที่ ม.รามคำแหง รับสมัครนักศึกษาใหม่ระดับปริญญาตรี ทั้งส่วนกลาง และส่วนภูมิภาคถึง วันที่ 20… ทุนดีดี ทุนเทคโนและวิชาชีพที่ญี่ปุ่น InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศApril 22, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้ารับทุนการศึกษารัฐบาลญี่ปุ่น ประจำปีการศึกษา 2026 มีทั้งทุน College of Technology (KOSEN) Students และ Specialized Training College Students เปิดรับสมัครตั้งแต่วันนี้ไปถึง 4 มิถุนายนศกนี้ ทุนการศึกษารัฐบาลญี่ปุ่น ประจำปีการศึกษา 2569… มูลนิธิหอการค้าอเมริกันในประเทศไทย เปิดให้ทุนระดับมหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2568 EZ WebmasterApril 21, 2025 เปิดรับสมัครทุนการศึกษาต่อเนื่องระดับมหาวิทยาลัย มูลนิธิหอการค้าอเมริกันในประเทศไทย ประจำปีการศึกษา 2568 มูลนิธิหอการค้าอเมริกันในประเทศไทย (AMCHAM Thailand Foundation) ประกาศเปิดรับสมัครทุนการศึกษาระดับมหาวิทยาลัย ประจำปีการศึกษา 2568 สนับสนุนนักเรียนระดับปริญญาตรีที่มีความเหมาะสม โดยมอบทุนการศึกษาจำนวน 25,000 บาทต่อปี ตลอดระยะเวลาการศึกษา 3 ปี… ทุนหมื่นปอนด์ที่U. of York InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศApril 21, 2025 University of York ให้ทุนประจำปี 2025-26 กับผู้อยู่อาศัยและพลเมืองของจีน (แผ่นดินใหญ่เท่านั้น) กรีซ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ไนจีเรีย ไทย หรือเวียดนาม รวม 8 ทุน เป็นทุนระดับปริญญาโท 1… ทุนLawที่สวิตเซอร์แลนด์ InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศApril 20, 2025 Swiss Institute of Comparative Law (SICL) ในเมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ แจ้งให้ทุน Van Calker สำหรับปีการศึกษา 2025/2026 เพื่อสนับสนุนนักวิจัยชาวสวิสและต่างประเทศในการพัฒนางานทางวิทยาศาสตร์ในสาขากฎหมายเปรียบเทียบ กฎหมายต่างประเทศ และกฎหมายระหว่างประเทศ กำหนดส่งใบสมัครภายใน 15… ครู-อาจารย์ สถาบันไทยศึกษา จุฬาฯ เร่งจัดทำฐานข้อมูลลายผ้าขาวม้าไทย ขับเคลื่อนมรดกภูมิปัญญาไทยสู่เวที UNESCO EZ WebmasterApril 22, 2025 สถาบันไทยศึกษา จุฬาฯ ร่วมกับกรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม ผลักดัน “ผ้าขาวม้าวิถีชีวิตไทย” ซึ่งเป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติสู่เวที UNESCO โดยการเร่งจัดทำฐานข้อมูลลายผ้าขาวม้าไทยจากทุกภาคส่วนให้เป็นระบบ เพื่อประโยชน์ด้านการอนุรักษ์มรดกภูมิปัญญาของชาติ และส่งเสริมการสร้างสรรค์ลายอัตลักษณ์ผ้าขาวม้าขององค์กรและชุมชน รวมถึงการใช้ประโยชน์จากฐานข้อมูลไปสู่การต่อยอดในภาควิสาหกิจชุมชนและภาคการตลาดเพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจในแก่ผ้าขาวม้าและการขยายตัวของเศรษฐกิจชุมชนอย่างยั่งยืน เมื่อเอ่ยถึง “ผ้าขาวม้า” หลายคนคงนึกถึงผ้าลายตาราง สีสันต่าง ๆ และประโยชน์ใช้สอยที่หลากหลาย ตั้งแต่ใช้เป็นเครื่องนุ่งห่ม ผ้านุ่งอาบน้ำ ผ้าพันคอ… สวนสุนันทา แสดงความจงรักภักดี ร่วมบันทึกเทปถวายพระพร สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา 3 มิถุนายน 2568 tui sakrapeeApril 22, 2025 สวนสุนันทา แสดงความจงรักภักดี ร่วมบันทึกเทปถวายพระพร สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา 3 มิถุนายน 2568 วันที่ 22 เมษายน 2568 รองศาสตราจารย์ ดร.ชุติกาญจน์ ศรีวิบูลย์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา นำคณะผู้บริหารร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล แด่สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา… “มทร.ล้านนา” ประเมินความเสียหาย พร้อมจัดทำคู่มือข้อปฏิบัติรับมือแผ่นดินไหว EZ WebmasterApril 22, 2025 รศ.วิเชษฐ ทิพย์ประเสริฐ รักษาราชการแทน อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา (มทร.ล้านนา) กล่าวว่ามทร.ล้านนา ตั้งอยู่ในพื้นที่ภาคเหนือ โดยมี 6 วิทยาเขต 1 สถาบัน คือ เขตพื้นที่ภาคพายัพ เขตพื้นที่เชียงราย เขตพื้นที่ตาก เขตพื้นที่น่าน เขตพื้นที่ลำปาง เขตพื้นที่พิษณุโลก และสถาบันวิจัยลำปาง ซึ่งเมื่อ 10 กว่าปีที่ผ่านมา ในพื้นที่เชียงรายเคยเกิดกรณีแผ่นดินไหวขึ้น… ผู้บริหารการศึกษายุคใหม่ก้าวทันโลก… พร้อมสู่อนาคต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต EZ WebmasterApril 21, 2025 ในยุคที่โลกเปลี่ยนแปลงรวดเร็ว เทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทสำคัญในทุกแง่มุมของชีวิต แม้กระทั่งการศึกษาเองก็ไม่ใช่ข้อยกเว้น ผู้บริหารการศึกษายุคใหม่จึงต้องปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลง พัฒนาทักษะ และความรู้ใหม่ๆ อยู่เสมอ วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต เล็งเห็นถึงความสำคัญนี้ จึงได้จัดทำหลักสูตร สาขาวิชาการบริหารการศึกษา ที่มุ่งพัฒนาผู้บริหารการศึกษามืออาชีพยุคใหม่ ให้พร้อมรับมือกับทุกโจทย์ความท้าทาย หลักสูตรฯ ของเรา เน้นการเรียนรู้แบบผสมผสาน “ทฤษฎีเข้ากับประสบการณ์จริง”… กิจกรรม จุฬาฯ ผนึก สมช. และกองทัพเรือ ลงนามความร่วมมือจัดตั้ง “องค์กรจัดการความรู้ทางทะเลของประเทศไทย” EZ WebmasterApril 21, 2025 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับสำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ (สมช.) และกองทัพเรือ (ทร.) จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ว่าด้วย “การจัดตั้งและขับเคลื่อนองค์กรจัดการความรู้ทางทะเลของประเทศไทย” เพื่อวางรากฐานในการเป็นศูนย์กลางองค์ความรู้ทางทะเลระดับประเทศ เมื่อวันศุกร์ที่ 11 เมษายน 2568 ณ ห้องประชุม 105 อาคารมหาจุฬาลงกรณ์ โดยมี พล.ต.ต.สุรสิทธิ์… มมส สืบสานประเพณีสงกรานต์ ทำบุญตักบาตรเสริมสิริมงคลรับปีใหม่ไทย EZ WebmasterApril 17, 2025 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (มมส) จัดงานสืบสานประเพณีสงกรานต์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ประจำปี 2568 โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.ประยุกต์ ศรีวิไล อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เป็นประธานในพิธี พร้อมด้วยผู้บริหาร คณาจารย์ บุคลากร และนิสิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เข้าร่วมงาน ณ… ทีเค พาร์ค พาเจาะเส้นทางความสำเร็จนักเขียนไทยผู้เจาะตลาดอินเตอร์ พร้อมเปิดทริคอัปเลเวล “นักเขียนมือทอง” หนุนวรรณกรรมไทยไปตีตลาดโลก EZ WebmasterApril 17, 2025 “นักเขียนไทย สู้ต่างชาติได้จริงไหม?” เป็นคำถามที่หลายคนอาจสงสัย ทั้งที่นักเขียนไทยหลายคน ก็มีฝีมือไม่แพ้ใคร แต่ทำไมยังไม่ค่อยเห็นวรรณกรรมไทยไปไกลถึงตลาดโลก ในขณะที่หลายประเทศมีวรรณกรรมเป็นซอฟต์พาวเวอร์และเป็นสินค้าส่งออก เช่น เกาหลีใต้ที่ผลักดัน Webtoon และนิยายออนไลน์สู่ K-Drama และ K-Series ญี่ปุ่นที่เปลี่ยนมังงะและไลต์โนเวล (Light Novel) ให้กลายเป็นสินค้าส่งออกสำคัญของประเทศ เช่นเดียวกับจีนที่ส่งออกวรรณกรรมออนไลน์โกยรายได้มหาศาลจากทั่วโลก และถึงแม้ว่าในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา อุตสาหกรรมคอนเทนต์ไทยจะคึกคักขึ้นอย่างมากโดยเฉพาะจากกระแสนิยายวายที่ถูกนำไปสร้างเป็นซีรีส์โด่งดังไปทั่วโลก แต่วรรณกรรมไทยที่ได้รับการแปลและตีพิมพ์ในต่างประเทศต้องยอมรับว่ายังมีจำนวนไม่มากเมื่อเทียบกับประเทศอื่น ๆ ในโอกาสฉลองครบรอบ 20 ปี… ชวนร่วมคอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา ชม “tattoo colour” ช่วยส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาของนักเรียน tui sakrapeeApril 8, 2025 คอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา tattoo colour สามารถซื้อบัตรเข้าร่วมชมคอนเสิร์ตกันได้ทั้งนักเรียน นักศึกษา บุคลากร และบุคลภายนอก สมาคมผู้ปกครองและครูโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ขอเชิญชวนทุกท่านร่วมงาน “#คอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา” ที่จะมอบความสุข สนุกสนาน และช่วยส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาของนักเรียน 📅 วันอาทิตย์ที่ 4 พฤษภาคม 2568… Search for: Search EZ Webmaster December 20, 2019 EZ Webmaster December 20, 2019 ยุค ‘Talent War’ แย่งตัวนักเรียนหัวกะทิ มหา’ลัยระดับโลกชิงให้ทุนตัดหน้ารัฐไทย! เข้าสู่ยุค ‘Talent War’ สงครามแย่งชิงคนเก่ง เข้าเรียนในสถาบันการศึกษาทั่วโลก ‘ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์’ ชี้มหาวิทยาลัยระดับ World Class ชิงตัดหน้าให้ทุน ‘นักศึกษาไทย’ ระดับหัวกะทิที่รัฐบาลให้ทุนไปแล้ว แจงต้องเร่งปั้นมหาวิทยาลัยรัฐ ทั้งจุฬาฯ มหิดล ติดลำดับท็อป 100 ให้ได้ เพื่อให้เด็กไทยอยากเรียนในไทย และดึงชนชั้นนำ-เจ้าสัว ในต่างประเทศเข้ามาเรียนด้วย ขณะเดียวกันแบ่ง 3 กลุ่มสถาบัน เพื่อสู้กับทั่วโลก พัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม พร้อมยกเครื่องราชภัฏ เป็นมหาวิทยาลัยกลุ่ม “เสาหลักของแผ่นดิน” ร่วมพัฒนาพื้นที่ให้สำเร็จ!ปรากฏการณ์ ‘Talent War’ หรือสงครามแย่งชิงคน กำลังเกิดขึ้นในสังคมโลก ซึ่งประเทศไทยก็ต้องวางแผนไว้รองรับว่าจะทำอย่างไรถึงจะดึงคนเก่งของโลกมาอยู่กับเราให้ได้นี่คือโจทย์ใหญ่ที่ ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ให้ความเห็นไว้และบอกด้วยว่าจะต้องรีบดำเนินการอย่างไรจึงจะสามารถบรรลุเป้าหมายตรงนี้ได้ เพราะนี่คือเหตุผลของการรวมสถาบันระดับอุดมศึกษาและตั้งเป็นกระทรวงใหม่คือกระทรวง ‘อว.’ ขึ้นมาเพื่อจะได้เป็นพลังขับเคลื่อนในการพัฒนาประเทศด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีต่อไปในอนาคต“โจทย์ผมเวลานี้ คือ จะต้องทำให้มหาวิทยาลัยไทย ปรับตัวเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 พร้อมกับคุณภาพที่ดี โดยจะยกระดับคุณภาพได้อย่างไร หากไม่มีคุณภาพ ทุกอย่างจบหมด” ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ดร.สุวิทย์ บอกว่า เวลานี้สถาบันการศึกษามักจะพูดเสมอว่าจำนวนนักศึกษาน้อย ทำให้สถาบันการศึกษาทั้งรัฐและเอกชนต้องแบกภาระไว้มาก ซึ่งในความเป็นจริงในอนาคตมีแนวโน้มเด็กจะลดลงไปกว่านี้อีก ดังนั้นสถาบันการศึกษาทั้งรัฐและเอกชน ต้องหาวิธีการปรับตัว โดยเฉพาะจะต้องออกไปเจาะตลาดต่างประเทศ ด้วยการไปเปิด Campus ในต่างประเทศ เช่นเดียวกับที่ 2 มหาวิทยาลัยต่างชาติ ที่มาเปิดในไทย อย่าง มหาวิทยาลัยคาร์เนกี้ เมลลอน หรือ มหาวิทยาลัยไต้หวันที่มาเปิด Campus ในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์นี่คือกระแสโลกาภิวัตน์ที่สถาบันการศึกษาของไทยต้องตามให้ทัน“เรียกว่าต้องมี In-out กับ Out-in ซึ่ง In-out หมายถึง มหาวิทยาลัยของไทยต้องออกไปตั้ง Campus ที่ประเทศต่างๆ เช่นที่มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ไปตั้งที่ประเทศพม่า และมีนักศึกษาพม่าสนใจเรียนจำนวนมาก ปัจจุบันมีการตั้งสมาคมศิษย์เก่าที่เข้มแข็ง ช่วยกันโปรโมตและดึงคนพม่ามาเรียนที่ Campus ที่นั่น ส่วน Out-in ที่กำลังเกิดขึ้นมากในเวลานี้ก็คือการที่มหาวิทยาลัยไปดึงนักศึกษาจีนเข้ามาเรียนในไทย”แต่สิ่งสำคัญที่สถาบันการศึกษาจะต้องดำเนินการไม่ใช่เพียงแค่การเจาะตลาดต่างประเทศ แต่จะต้องให้ความสำคัญกับเรื่องของการดึง Talent หรือนักศึกษาที่มีความสามารถพิเศษ นักศึกษาที่มีคุณภาพสูง ชนชั้นสูง เจ้าสัว เข้ามาเรียนในสถาบันฯ การศึกษานั้นๆ“การที่มหาวิทยาลัยไทยจะได้ Talent มาหรือไม่ ก็ขึ้นอยู่กับคุณภาพของมหาวิทยาลัยนั้นๆ ด้วย ว่ามีอะไรน่าสนใจ ที่จะสามารถเป็นแม่เหล็กดึงนักศึกษาคุณภาพได้ด้วย”รัฐมนตรีว่าการกระทรวง อว. ระบุว่า การที่กระทรวง อว.มีเป้าหมายที่จะสร้างมหาวิทยาลัยของไทยให้เป็นมหาวิทยาลัยคุณภาพ เพื่อติดอันดับท็อป 100 ของโลกให้ได้ จึงได้ตั้งงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2563 สำหรับการพัฒนาด้านการศึกษา วิจัย และนวัตกรรม จำนวน 142,479 ล้านบาท ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณฯ 2562 จำนวน 2,871 ล้านบาท“จุฬาฯ กับมหิดล อยู่ในระดับที่ 300 กว่าๆ ซึ่งผมตั้งใจพัฒนาเพื่อให้จุฬาฯ และมหิดล ขยับขั้นไปในระดับท็อป 100 ให้ได้ ถ้าเราทำได้มหาวิทยาลัยอื่นๆ ในไทย ก็จะขยับขึ้นมาได้ด้วย” จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล อย่างไรก็ดี สถาบันการจัดอันดับ Quacquarelli Symonds (QS) แห่งสหราชอาณาจักร ในปี 2019 ได้มีการเปิดเผยข้อมูลการจัดอันดับล่าสุด พบว่าจุฬาฯ ถูกจัดอยู่ในอันดับที่ 271 ครอบคลุมทั้งด้านคุณภาพของมหาวิทยาลัย คุณภาพบัณฑิต คุณภาพด้านการวิจัย เป็นต้น ส่วนมหาวิทยาลัยมหิดล อยู่ในลำดับที่ 380 และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์อยู่ในช่วง 601-650 เป็นต้นดร.สุวิทย์ บอกว่าถ้ารัฐบาลสามารถพัฒนาให้มหาวิทยาลัยของไทยติดอันดับท็อป 100 ได้ก็จะมีนักศึกษาและนักวิจัยที่มีคุณภาพดีๆ ซึ่งจะทำให้เป็นแม่เหล็กดึงนักศึกษาจากต่างประเทศเข้ามาเรียนในประเทศไทย แต่ถ้ามหาวิทยาลัยของไทยยังอยู่ในระดับต่ำๆ นักศึกษาไทยที่เรียนดีและมีโอกาสก็จะไม่เลือกเรียนที่ประเทศไทย“เด็กหัวกะทิในระดับ Top 5 ของนักศึกษาที่เรียนดีที่สุดของประเทศ พวกนี้จะเลือกไปเรียนต่างประเทศกันหมด เพราะดีกว่าเลือกเรียนที่จุฬาฯ หรือมหิดล เราจึงต้องเร่งพัฒนาให้จุฬาฯ หรือมหิดล ขึ้น Top 100 ของโลกให้ได้”หากรัฐสามารถพัฒนาได้ถึงขั้น Top 100 เด็กหัวกะทิก็จะเลือกเรียนเมืองไทยดีกว่าจะไปต่างประเทศ และจะทำให้นักศึกษาต่างประเทศเลือกที่จะเข้ามาเรียนเมืองไทยได้ง่ายเช่นกัน“อนาคตจะเป็น Talent War สงครามแย่งชิงคน เราต้องการให้คนเก่งของโลกมาอยู่กับเราให้ได้ แต่ถ้าเราทำไม่ได้ คนเก่งก็จะเลือกไปทำงานต่างประเทศกันหมด”ดร.สุวิทย์ บอกอีกว่า สถานการณ์ในขณะนี้ ทางกระทรวง อว.มีทุนให้นักศึกษาไปสอบเรียนต่อในมหาวิทยาลัยลำดับดีๆ ในต่างประเทศ แต่ปรากฏว่ามหาวิทยาลัยลำดับดีๆ ในต่างประเทศกลับแย่งตัวนักศึกษาเหล่านี้ด้วยการให้ทุนเรียนไปเลย‘มหาวิทยาลัยระดับ World Class เหล่านี้ให้ทุนแย่งเด็กเราไปก่อน นี่คือรูปแบบสงครามที่เกิดขึ้นในอนาคต เป็นสงครามแย่งชิงทรัพยากรมนุษย์ที่มีค่า และนี่คือเหตุผลที่เราต้องแบ่งมหาวิทยาลัยเป็น 3 กลุ่ม” การแบ่งมหาวิทยาลัยเป็น 3 กลุ่ม ประกอบด้วยกลุ่มที่ 1 มหาวิทยาลัยที่จะไปสู้กับโลก ประกอบด้วย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหิดล, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, มหาวิทยาลัยขอนแก่น, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ฯลฯ มหาวิทยาลัยกลุ่มนี้ต้องดึงให้ขึ้นมาเป็นท็อป 100 ให้ได้ ถ้าเราก้าวไปไม่ได้ นักศึกษาเก่งๆ ก็จะไม่เลือกเรียนสถาบันเหล่านี้ ส่วนนักศึกษาที่ดีๆ มีคุณภาพของโลก ก็จะไม่มาเรียนในประเทศไทยกลุ่มที่ 2 มหาวิทยาลัยที่เน้นเทคโนโลยี นวัตกรรม จะประกอบด้วย 3 พระจอม คือ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ซึ่งจะตอบโจทย์อุตสาหกรรมในอนาคตกลุ่มที่ 3 มหาวิทยาลัยพัฒนาพื้นที่ คือกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏทั้ง 38 แห่ง ที่จะเน้นเรื่องของการพัฒนาท้องถิ่น โดยในแผนจะให้ราชภัฏ 1 แห่งดูแล 2 จังหวัด และจะให้ไปทำวิจัยเชิงพื้นที่ เพราะในอนาคตการผลิตครูอาจจะ Over Supply ไปแล้ว “ราชภัฏต้องตอบโจทย์ให้ได้ว่า ครูในศตวรรษที่ 21 หน้าตาจะเป็นอย่างไร Demand กับ Supply ครู เป็นอย่างไร และคุณภาพครูที่ผลิต เป็นอย่างไร แต่ที่วางไว้ราชภัฏจะไม่ใช่ผลิตครูอย่างเดียว”นอกจากนี้ในหลักการแล้ว คนที่เรียนราชภัฏจะต้องอยู่กับพื้นที่ ไม่ต้องเข้ามาในกรุงเทพฯ และไม่ต้องเข้ามาอยู่ในเมืองใหญ่ แต่จะมีประเด็นที่ให้ราชภัฏดำเนินการได้ในพื้นที่ ทั้งเรื่องการท่องเที่ยว เรื่องโอทอป เรื่องสมาร์ทฟาร์มเมอร์ ซึ่งจะเป็นการกระจายรายได้ กระจายโอกาสให้สามารถดำรงชีพอยู่ในพื้นที่ได้ด้วย “เราจะต้องยกเครื่องมหาวิทยาลัยราชภัฏ เพราะราชภัฏต้องดูแลเด็กถึง 80% ซึ่งถ้าเด็กกลุ่มนี้คุณภาพไม่ดี ปัญหาจะตกอยู่กับประเทศไทย เพราะเด็ก 70% เป็นสายสังคมศาสตร์ อีก 30% เป็นสายวิทยาศาสตร์ ซึ่งจะต้องทำให้เด็กกลุ่มนี้มีพลัง ถึงมียุวชนสร้างชาติ ลงพัฒนาพื้นที่ ท้องถิ่น เอามหาวิทยาลัยไปติดอาวุธทางปัญหาท้องถิ่น” “เราจะต้องยกเครื่องมหาวิทยาลัยราชภัฏ เพราะราชภัฏต้องดูแลเด็กถึง 80% ซึ่งถ้าเด็กกลุ่มนี้คุณภาพไม่ดี ปัญหาจะตกอยู่กับประเทศไทย เพราะเด็ก 70% เป็นสายสังคมศาสตร์ อีก 30% เป็นสายวิทยาศาสตร์ ซึ่งจะต้องทำให้เด็กกลุ่มนี้มีพลัง ถึงมียุวชนสร้างชาติ ลงพัฒนาพื้นที่ ท้องถิ่น เอามหาวิทยาลัยไปติดอาวุธทางปัญหาท้องถิ่น”ขณะเดียวกันการจะยกเครื่องกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏนั้น กระทรวง อว. ได้มีการประสานกับMicrosoft ที่จะนำเรื่องของภาษาอังกฤษ กับเรื่องของดิจิทัล เพื่อยกระดับครูราชภัฏได้ระดับหนึ่งก่อน ที่เหลือก็เป็นเรื่องของการวิจัย เพื่อตอบโจทย์ในพื้นที่ เพื่อแก้ไขปัญหาความยากจน“เราต้องติดอาวุธ หรือ เติมพลังให้ราชภัฏเพราะคนกลุ่มนี้คือเสาหลักของแผ่นดิน กระทรวง อว.จะต้องทำให้มหาวิทยาลัยราชภัฏแข็งแรงขึ้น พร้อมๆ กับพัฒนาให้มหาวิทยาลัยไทยก้าวสู่ท็อป 100 ให้สำเร็จ”อีกทั้งจะต้องปลุกพลังให้เกิดการร่วมมือกันระหว่างราชภัฏและราชมงคลในแต่ละจังหวัดให้ได้ เพราะราชมงคล จะได้เรื่องเทคโนโลยี ส่วนราชภัฏจะเน้นเรื่องการบริหาร เรื่องการท่องเที่ยว เพราะประเทศไทยมี 2 อย่างคือ ด้านการเกษตร และต้องสร้าง High Value Service ในด้านการท่องเที่ยวให้เกิดขึ้น รวมทั้งต้องไปจับมือกับกระทรวงวิทยาศาสตร์ ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อยกระดับ Smart Farmer ให้มีคุณภาพส่วนเรื่องของสถาบันการศึกษาเอกชนนั้น ทางรัฐบาลมิได้ทอดทิ้ง ก็ได้มีการประสานกับทางสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย โดยสมาคมฯ ได้เสนอขอให้รัฐให้การสนับสนุน 2 เรื่อง คือในเรื่องของการเชื่อมโยงกับเอสเอ็มอี ซึ่งทาง อว.ก็ได้ประสานกับหอการค้าไทย และสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย รวมทั้งสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ไว้ให้แล้ว และอีกเรื่องมหาวิทยาลัยเอกชน ต้องการให้ช่วยเหลือในเรื่องของการเจาะตลาดนักศึกษาในต่างประเทศ ทั้งเรื่องการไปเปิด Campus และการดึงนักศึกษาต่างชาติเข้ามาเรียนในประเทศไทย เช่นนักศึกษากัมพูชา นักศึกษาลาว ซึ่งปัจจุบันมีการเปิด Campus ที่พม่าแล้วดังนั้นเป้าหมายนักศึกษาที่ ดร.สุวิทย์ ต้องการให้สถาบันการศึกษาของไทยทั้งภาครัฐและเอกชน จะต้องเร่งพัฒนาและยกระดับคุณภาพของสถาบัน เพื่อรักษานักศึกษาไทยระดับหัวกะทิไว้ให้ได้ และยังสามารถเป็นพลังดึงดูดนักศึกษาที่มีคุณภาพจากต่างประเทศเข้ามาเรียนในไทย ซึ่งหมายถึงสถาบันการศึกษาไทยมีสิทธิ์เลือกคนเก่งเข้ามาเรียนในไทย“เราต้องได้คนเก่งในระดับหนึ่งมาเรียน และต้องการชนชั้นนำหรือระดับเจ้าสัวของต่างประเทศเข้ามาเรียนในไทยด้วย”ตรงนี้คือประเด็นหนึ่งที่ ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ตั้งเป้าหมายไว้เพื่อสอดคล้องกับการเป็นมหาวิทยาลัยที่มีคุณภาพย่อมได้นักศึกษาที่มีคุณภาพเช่นกัน ! ที่มา : mgronline.com EZ Webmaster Related Posts พลังการอ่านเปลี่ยนคน เปลี่ยนเมือง เปลี่ยนโลก! “ทีเค พาร์ค” เปิดอินไซต์โมเดล 4 ชาติ ที่สร้างอำนาจโน้มนำผ่านการพัฒนาระบบหนังสือ บทพิสูจน์สำคัญที่ ‘การอ่าน’ สร้างชาติได้จริง อัปเดต ค่าเทอมคณะแพทยศาสตร์ ม.เอกชน (ล่าสุด พ.ศ. 2568) ร่วมสนุกไม่ใช่ประกวด มาอวดฝีมือวาดภาพ “เมืองแห่งอนาคตของฉัน” สรุปคะแนนสูง-ต่ำ TCAS รอบ 3 ย้อนหลัง 7 ปี ครบทุกมหาวิทยาลัย DEK68 ห้ามพลาด! เรียนไปเที่ยวไป เปิดมิติใหม่แห่งการเรียนรู้ กับสาขาการจัดการการท่องเที่ยวและการบริการ Post navigation PREVIOUS Previous post: มาดูคำถามที่ Google ใช้ในการหาผู้นำที่ยอดเยี่ยมภายใน 5 นาทีNEXT Next post: “ครูตั้น” ตั้งเป้าเพิ่มสัดส่วนสายอาชีพ 60 ต่อ 40 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
สวนสุนันทา คว้าแชมป์ฟุตซอลหญิง “ไอมาเน่ ไทยแลนด์ 2025” 2 สมัยซ้อน tui sakrapeeApril 19, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา คว้าแชมป์ฟุตซอลหญิง “ไอมาเน่ ไทยแลนด์ 2025” 2 สมัยซ้อน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา สร้างประวัติศาสตร์คว้าแชมป์ฟุตซอลหญิงรายการ “ไอมาเน่ ไทยแลนด์ ฟุตซอล วูเม่น ยูนิเวอร์ซิตี้ เดอะ แชมเปี้ยนชิพ 2025” (IMANE… ม.รามคำแหง ความสำเร็จสร้างได้ รับนักศึกษาใหม่ ส่วนกลาง-ส่วนภูมิภาคทั่วประเทศ EZ WebmasterApril 19, 2025 การศึกษาแบบตลาดวิชา คือการเลือกเรียนรู้และทดลองสร้างอนาคตใน Sandbox แห่งวิชาการและประสบการณ์ชีวิต อยู่ที่ไหนก็เรียนรามฯได้ เรียนส่วนกลางที่กรุงเทพฯ เรียนส่วนภูมิภาคใกล้บ้านทั้งประเทศ มีคณะและหลักสูตรหลากหลาย เรียนออนไลน์หรือออนไซต์ เลือกเรียนได้ตามใจ เพราะ…ความสำเร็จสร้างได้ ที่ ม.รามคำแหง รับสมัครนักศึกษาใหม่ระดับปริญญาตรี ทั้งส่วนกลาง และส่วนภูมิภาคถึง วันที่ 20…
ม.รามคำแหง ความสำเร็จสร้างได้ รับนักศึกษาใหม่ ส่วนกลาง-ส่วนภูมิภาคทั่วประเทศ EZ WebmasterApril 19, 2025 การศึกษาแบบตลาดวิชา คือการเลือกเรียนรู้และทดลองสร้างอนาคตใน Sandbox แห่งวิชาการและประสบการณ์ชีวิต อยู่ที่ไหนก็เรียนรามฯได้ เรียนส่วนกลางที่กรุงเทพฯ เรียนส่วนภูมิภาคใกล้บ้านทั้งประเทศ มีคณะและหลักสูตรหลากหลาย เรียนออนไลน์หรือออนไซต์ เลือกเรียนได้ตามใจ เพราะ…ความสำเร็จสร้างได้ ที่ ม.รามคำแหง รับสมัครนักศึกษาใหม่ระดับปริญญาตรี ทั้งส่วนกลาง และส่วนภูมิภาคถึง วันที่ 20…
ทุนเทคโนและวิชาชีพที่ญี่ปุ่น InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศApril 22, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้ารับทุนการศึกษารัฐบาลญี่ปุ่น ประจำปีการศึกษา 2026 มีทั้งทุน College of Technology (KOSEN) Students และ Specialized Training College Students เปิดรับสมัครตั้งแต่วันนี้ไปถึง 4 มิถุนายนศกนี้ ทุนการศึกษารัฐบาลญี่ปุ่น ประจำปีการศึกษา 2569… มูลนิธิหอการค้าอเมริกันในประเทศไทย เปิดให้ทุนระดับมหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2568 EZ WebmasterApril 21, 2025 เปิดรับสมัครทุนการศึกษาต่อเนื่องระดับมหาวิทยาลัย มูลนิธิหอการค้าอเมริกันในประเทศไทย ประจำปีการศึกษา 2568 มูลนิธิหอการค้าอเมริกันในประเทศไทย (AMCHAM Thailand Foundation) ประกาศเปิดรับสมัครทุนการศึกษาระดับมหาวิทยาลัย ประจำปีการศึกษา 2568 สนับสนุนนักเรียนระดับปริญญาตรีที่มีความเหมาะสม โดยมอบทุนการศึกษาจำนวน 25,000 บาทต่อปี ตลอดระยะเวลาการศึกษา 3 ปี… ทุนหมื่นปอนด์ที่U. of York InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศApril 21, 2025 University of York ให้ทุนประจำปี 2025-26 กับผู้อยู่อาศัยและพลเมืองของจีน (แผ่นดินใหญ่เท่านั้น) กรีซ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ไนจีเรีย ไทย หรือเวียดนาม รวม 8 ทุน เป็นทุนระดับปริญญาโท 1… ทุนLawที่สวิตเซอร์แลนด์ InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศApril 20, 2025 Swiss Institute of Comparative Law (SICL) ในเมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ แจ้งให้ทุน Van Calker สำหรับปีการศึกษา 2025/2026 เพื่อสนับสนุนนักวิจัยชาวสวิสและต่างประเทศในการพัฒนางานทางวิทยาศาสตร์ในสาขากฎหมายเปรียบเทียบ กฎหมายต่างประเทศ และกฎหมายระหว่างประเทศ กำหนดส่งใบสมัครภายใน 15… ครู-อาจารย์ สถาบันไทยศึกษา จุฬาฯ เร่งจัดทำฐานข้อมูลลายผ้าขาวม้าไทย ขับเคลื่อนมรดกภูมิปัญญาไทยสู่เวที UNESCO EZ WebmasterApril 22, 2025 สถาบันไทยศึกษา จุฬาฯ ร่วมกับกรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม ผลักดัน “ผ้าขาวม้าวิถีชีวิตไทย” ซึ่งเป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติสู่เวที UNESCO โดยการเร่งจัดทำฐานข้อมูลลายผ้าขาวม้าไทยจากทุกภาคส่วนให้เป็นระบบ เพื่อประโยชน์ด้านการอนุรักษ์มรดกภูมิปัญญาของชาติ และส่งเสริมการสร้างสรรค์ลายอัตลักษณ์ผ้าขาวม้าขององค์กรและชุมชน รวมถึงการใช้ประโยชน์จากฐานข้อมูลไปสู่การต่อยอดในภาควิสาหกิจชุมชนและภาคการตลาดเพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจในแก่ผ้าขาวม้าและการขยายตัวของเศรษฐกิจชุมชนอย่างยั่งยืน เมื่อเอ่ยถึง “ผ้าขาวม้า” หลายคนคงนึกถึงผ้าลายตาราง สีสันต่าง ๆ และประโยชน์ใช้สอยที่หลากหลาย ตั้งแต่ใช้เป็นเครื่องนุ่งห่ม ผ้านุ่งอาบน้ำ ผ้าพันคอ… สวนสุนันทา แสดงความจงรักภักดี ร่วมบันทึกเทปถวายพระพร สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา 3 มิถุนายน 2568 tui sakrapeeApril 22, 2025 สวนสุนันทา แสดงความจงรักภักดี ร่วมบันทึกเทปถวายพระพร สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา 3 มิถุนายน 2568 วันที่ 22 เมษายน 2568 รองศาสตราจารย์ ดร.ชุติกาญจน์ ศรีวิบูลย์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา นำคณะผู้บริหารร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล แด่สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา… “มทร.ล้านนา” ประเมินความเสียหาย พร้อมจัดทำคู่มือข้อปฏิบัติรับมือแผ่นดินไหว EZ WebmasterApril 22, 2025 รศ.วิเชษฐ ทิพย์ประเสริฐ รักษาราชการแทน อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา (มทร.ล้านนา) กล่าวว่ามทร.ล้านนา ตั้งอยู่ในพื้นที่ภาคเหนือ โดยมี 6 วิทยาเขต 1 สถาบัน คือ เขตพื้นที่ภาคพายัพ เขตพื้นที่เชียงราย เขตพื้นที่ตาก เขตพื้นที่น่าน เขตพื้นที่ลำปาง เขตพื้นที่พิษณุโลก และสถาบันวิจัยลำปาง ซึ่งเมื่อ 10 กว่าปีที่ผ่านมา ในพื้นที่เชียงรายเคยเกิดกรณีแผ่นดินไหวขึ้น… ผู้บริหารการศึกษายุคใหม่ก้าวทันโลก… พร้อมสู่อนาคต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต EZ WebmasterApril 21, 2025 ในยุคที่โลกเปลี่ยนแปลงรวดเร็ว เทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทสำคัญในทุกแง่มุมของชีวิต แม้กระทั่งการศึกษาเองก็ไม่ใช่ข้อยกเว้น ผู้บริหารการศึกษายุคใหม่จึงต้องปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลง พัฒนาทักษะ และความรู้ใหม่ๆ อยู่เสมอ วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต เล็งเห็นถึงความสำคัญนี้ จึงได้จัดทำหลักสูตร สาขาวิชาการบริหารการศึกษา ที่มุ่งพัฒนาผู้บริหารการศึกษามืออาชีพยุคใหม่ ให้พร้อมรับมือกับทุกโจทย์ความท้าทาย หลักสูตรฯ ของเรา เน้นการเรียนรู้แบบผสมผสาน “ทฤษฎีเข้ากับประสบการณ์จริง”… กิจกรรม จุฬาฯ ผนึก สมช. และกองทัพเรือ ลงนามความร่วมมือจัดตั้ง “องค์กรจัดการความรู้ทางทะเลของประเทศไทย” EZ WebmasterApril 21, 2025 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับสำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ (สมช.) และกองทัพเรือ (ทร.) จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ว่าด้วย “การจัดตั้งและขับเคลื่อนองค์กรจัดการความรู้ทางทะเลของประเทศไทย” เพื่อวางรากฐานในการเป็นศูนย์กลางองค์ความรู้ทางทะเลระดับประเทศ เมื่อวันศุกร์ที่ 11 เมษายน 2568 ณ ห้องประชุม 105 อาคารมหาจุฬาลงกรณ์ โดยมี พล.ต.ต.สุรสิทธิ์… มมส สืบสานประเพณีสงกรานต์ ทำบุญตักบาตรเสริมสิริมงคลรับปีใหม่ไทย EZ WebmasterApril 17, 2025 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (มมส) จัดงานสืบสานประเพณีสงกรานต์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ประจำปี 2568 โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.ประยุกต์ ศรีวิไล อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เป็นประธานในพิธี พร้อมด้วยผู้บริหาร คณาจารย์ บุคลากร และนิสิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เข้าร่วมงาน ณ… ทีเค พาร์ค พาเจาะเส้นทางความสำเร็จนักเขียนไทยผู้เจาะตลาดอินเตอร์ พร้อมเปิดทริคอัปเลเวล “นักเขียนมือทอง” หนุนวรรณกรรมไทยไปตีตลาดโลก EZ WebmasterApril 17, 2025 “นักเขียนไทย สู้ต่างชาติได้จริงไหม?” เป็นคำถามที่หลายคนอาจสงสัย ทั้งที่นักเขียนไทยหลายคน ก็มีฝีมือไม่แพ้ใคร แต่ทำไมยังไม่ค่อยเห็นวรรณกรรมไทยไปไกลถึงตลาดโลก ในขณะที่หลายประเทศมีวรรณกรรมเป็นซอฟต์พาวเวอร์และเป็นสินค้าส่งออก เช่น เกาหลีใต้ที่ผลักดัน Webtoon และนิยายออนไลน์สู่ K-Drama และ K-Series ญี่ปุ่นที่เปลี่ยนมังงะและไลต์โนเวล (Light Novel) ให้กลายเป็นสินค้าส่งออกสำคัญของประเทศ เช่นเดียวกับจีนที่ส่งออกวรรณกรรมออนไลน์โกยรายได้มหาศาลจากทั่วโลก และถึงแม้ว่าในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา อุตสาหกรรมคอนเทนต์ไทยจะคึกคักขึ้นอย่างมากโดยเฉพาะจากกระแสนิยายวายที่ถูกนำไปสร้างเป็นซีรีส์โด่งดังไปทั่วโลก แต่วรรณกรรมไทยที่ได้รับการแปลและตีพิมพ์ในต่างประเทศต้องยอมรับว่ายังมีจำนวนไม่มากเมื่อเทียบกับประเทศอื่น ๆ ในโอกาสฉลองครบรอบ 20 ปี… ชวนร่วมคอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา ชม “tattoo colour” ช่วยส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาของนักเรียน tui sakrapeeApril 8, 2025 คอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา tattoo colour สามารถซื้อบัตรเข้าร่วมชมคอนเสิร์ตกันได้ทั้งนักเรียน นักศึกษา บุคลากร และบุคลภายนอก สมาคมผู้ปกครองและครูโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ขอเชิญชวนทุกท่านร่วมงาน “#คอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา” ที่จะมอบความสุข สนุกสนาน และช่วยส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาของนักเรียน 📅 วันอาทิตย์ที่ 4 พฤษภาคม 2568… Search for: Search EZ Webmaster December 20, 2019 EZ Webmaster December 20, 2019 ยุค ‘Talent War’ แย่งตัวนักเรียนหัวกะทิ มหา’ลัยระดับโลกชิงให้ทุนตัดหน้ารัฐไทย! เข้าสู่ยุค ‘Talent War’ สงครามแย่งชิงคนเก่ง เข้าเรียนในสถาบันการศึกษาทั่วโลก ‘ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์’ ชี้มหาวิทยาลัยระดับ World Class ชิงตัดหน้าให้ทุน ‘นักศึกษาไทย’ ระดับหัวกะทิที่รัฐบาลให้ทุนไปแล้ว แจงต้องเร่งปั้นมหาวิทยาลัยรัฐ ทั้งจุฬาฯ มหิดล ติดลำดับท็อป 100 ให้ได้ เพื่อให้เด็กไทยอยากเรียนในไทย และดึงชนชั้นนำ-เจ้าสัว ในต่างประเทศเข้ามาเรียนด้วย ขณะเดียวกันแบ่ง 3 กลุ่มสถาบัน เพื่อสู้กับทั่วโลก พัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม พร้อมยกเครื่องราชภัฏ เป็นมหาวิทยาลัยกลุ่ม “เสาหลักของแผ่นดิน” ร่วมพัฒนาพื้นที่ให้สำเร็จ!ปรากฏการณ์ ‘Talent War’ หรือสงครามแย่งชิงคน กำลังเกิดขึ้นในสังคมโลก ซึ่งประเทศไทยก็ต้องวางแผนไว้รองรับว่าจะทำอย่างไรถึงจะดึงคนเก่งของโลกมาอยู่กับเราให้ได้นี่คือโจทย์ใหญ่ที่ ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ให้ความเห็นไว้และบอกด้วยว่าจะต้องรีบดำเนินการอย่างไรจึงจะสามารถบรรลุเป้าหมายตรงนี้ได้ เพราะนี่คือเหตุผลของการรวมสถาบันระดับอุดมศึกษาและตั้งเป็นกระทรวงใหม่คือกระทรวง ‘อว.’ ขึ้นมาเพื่อจะได้เป็นพลังขับเคลื่อนในการพัฒนาประเทศด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีต่อไปในอนาคต“โจทย์ผมเวลานี้ คือ จะต้องทำให้มหาวิทยาลัยไทย ปรับตัวเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 พร้อมกับคุณภาพที่ดี โดยจะยกระดับคุณภาพได้อย่างไร หากไม่มีคุณภาพ ทุกอย่างจบหมด” ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ดร.สุวิทย์ บอกว่า เวลานี้สถาบันการศึกษามักจะพูดเสมอว่าจำนวนนักศึกษาน้อย ทำให้สถาบันการศึกษาทั้งรัฐและเอกชนต้องแบกภาระไว้มาก ซึ่งในความเป็นจริงในอนาคตมีแนวโน้มเด็กจะลดลงไปกว่านี้อีก ดังนั้นสถาบันการศึกษาทั้งรัฐและเอกชน ต้องหาวิธีการปรับตัว โดยเฉพาะจะต้องออกไปเจาะตลาดต่างประเทศ ด้วยการไปเปิด Campus ในต่างประเทศ เช่นเดียวกับที่ 2 มหาวิทยาลัยต่างชาติ ที่มาเปิดในไทย อย่าง มหาวิทยาลัยคาร์เนกี้ เมลลอน หรือ มหาวิทยาลัยไต้หวันที่มาเปิด Campus ในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์นี่คือกระแสโลกาภิวัตน์ที่สถาบันการศึกษาของไทยต้องตามให้ทัน“เรียกว่าต้องมี In-out กับ Out-in ซึ่ง In-out หมายถึง มหาวิทยาลัยของไทยต้องออกไปตั้ง Campus ที่ประเทศต่างๆ เช่นที่มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ไปตั้งที่ประเทศพม่า และมีนักศึกษาพม่าสนใจเรียนจำนวนมาก ปัจจุบันมีการตั้งสมาคมศิษย์เก่าที่เข้มแข็ง ช่วยกันโปรโมตและดึงคนพม่ามาเรียนที่ Campus ที่นั่น ส่วน Out-in ที่กำลังเกิดขึ้นมากในเวลานี้ก็คือการที่มหาวิทยาลัยไปดึงนักศึกษาจีนเข้ามาเรียนในไทย”แต่สิ่งสำคัญที่สถาบันการศึกษาจะต้องดำเนินการไม่ใช่เพียงแค่การเจาะตลาดต่างประเทศ แต่จะต้องให้ความสำคัญกับเรื่องของการดึง Talent หรือนักศึกษาที่มีความสามารถพิเศษ นักศึกษาที่มีคุณภาพสูง ชนชั้นสูง เจ้าสัว เข้ามาเรียนในสถาบันฯ การศึกษานั้นๆ“การที่มหาวิทยาลัยไทยจะได้ Talent มาหรือไม่ ก็ขึ้นอยู่กับคุณภาพของมหาวิทยาลัยนั้นๆ ด้วย ว่ามีอะไรน่าสนใจ ที่จะสามารถเป็นแม่เหล็กดึงนักศึกษาคุณภาพได้ด้วย”รัฐมนตรีว่าการกระทรวง อว. ระบุว่า การที่กระทรวง อว.มีเป้าหมายที่จะสร้างมหาวิทยาลัยของไทยให้เป็นมหาวิทยาลัยคุณภาพ เพื่อติดอันดับท็อป 100 ของโลกให้ได้ จึงได้ตั้งงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2563 สำหรับการพัฒนาด้านการศึกษา วิจัย และนวัตกรรม จำนวน 142,479 ล้านบาท ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณฯ 2562 จำนวน 2,871 ล้านบาท“จุฬาฯ กับมหิดล อยู่ในระดับที่ 300 กว่าๆ ซึ่งผมตั้งใจพัฒนาเพื่อให้จุฬาฯ และมหิดล ขยับขั้นไปในระดับท็อป 100 ให้ได้ ถ้าเราทำได้มหาวิทยาลัยอื่นๆ ในไทย ก็จะขยับขึ้นมาได้ด้วย” จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล อย่างไรก็ดี สถาบันการจัดอันดับ Quacquarelli Symonds (QS) แห่งสหราชอาณาจักร ในปี 2019 ได้มีการเปิดเผยข้อมูลการจัดอันดับล่าสุด พบว่าจุฬาฯ ถูกจัดอยู่ในอันดับที่ 271 ครอบคลุมทั้งด้านคุณภาพของมหาวิทยาลัย คุณภาพบัณฑิต คุณภาพด้านการวิจัย เป็นต้น ส่วนมหาวิทยาลัยมหิดล อยู่ในลำดับที่ 380 และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์อยู่ในช่วง 601-650 เป็นต้นดร.สุวิทย์ บอกว่าถ้ารัฐบาลสามารถพัฒนาให้มหาวิทยาลัยของไทยติดอันดับท็อป 100 ได้ก็จะมีนักศึกษาและนักวิจัยที่มีคุณภาพดีๆ ซึ่งจะทำให้เป็นแม่เหล็กดึงนักศึกษาจากต่างประเทศเข้ามาเรียนในประเทศไทย แต่ถ้ามหาวิทยาลัยของไทยยังอยู่ในระดับต่ำๆ นักศึกษาไทยที่เรียนดีและมีโอกาสก็จะไม่เลือกเรียนที่ประเทศไทย“เด็กหัวกะทิในระดับ Top 5 ของนักศึกษาที่เรียนดีที่สุดของประเทศ พวกนี้จะเลือกไปเรียนต่างประเทศกันหมด เพราะดีกว่าเลือกเรียนที่จุฬาฯ หรือมหิดล เราจึงต้องเร่งพัฒนาให้จุฬาฯ หรือมหิดล ขึ้น Top 100 ของโลกให้ได้”หากรัฐสามารถพัฒนาได้ถึงขั้น Top 100 เด็กหัวกะทิก็จะเลือกเรียนเมืองไทยดีกว่าจะไปต่างประเทศ และจะทำให้นักศึกษาต่างประเทศเลือกที่จะเข้ามาเรียนเมืองไทยได้ง่ายเช่นกัน“อนาคตจะเป็น Talent War สงครามแย่งชิงคน เราต้องการให้คนเก่งของโลกมาอยู่กับเราให้ได้ แต่ถ้าเราทำไม่ได้ คนเก่งก็จะเลือกไปทำงานต่างประเทศกันหมด”ดร.สุวิทย์ บอกอีกว่า สถานการณ์ในขณะนี้ ทางกระทรวง อว.มีทุนให้นักศึกษาไปสอบเรียนต่อในมหาวิทยาลัยลำดับดีๆ ในต่างประเทศ แต่ปรากฏว่ามหาวิทยาลัยลำดับดีๆ ในต่างประเทศกลับแย่งตัวนักศึกษาเหล่านี้ด้วยการให้ทุนเรียนไปเลย‘มหาวิทยาลัยระดับ World Class เหล่านี้ให้ทุนแย่งเด็กเราไปก่อน นี่คือรูปแบบสงครามที่เกิดขึ้นในอนาคต เป็นสงครามแย่งชิงทรัพยากรมนุษย์ที่มีค่า และนี่คือเหตุผลที่เราต้องแบ่งมหาวิทยาลัยเป็น 3 กลุ่ม” การแบ่งมหาวิทยาลัยเป็น 3 กลุ่ม ประกอบด้วยกลุ่มที่ 1 มหาวิทยาลัยที่จะไปสู้กับโลก ประกอบด้วย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหิดล, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, มหาวิทยาลัยขอนแก่น, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ฯลฯ มหาวิทยาลัยกลุ่มนี้ต้องดึงให้ขึ้นมาเป็นท็อป 100 ให้ได้ ถ้าเราก้าวไปไม่ได้ นักศึกษาเก่งๆ ก็จะไม่เลือกเรียนสถาบันเหล่านี้ ส่วนนักศึกษาที่ดีๆ มีคุณภาพของโลก ก็จะไม่มาเรียนในประเทศไทยกลุ่มที่ 2 มหาวิทยาลัยที่เน้นเทคโนโลยี นวัตกรรม จะประกอบด้วย 3 พระจอม คือ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ซึ่งจะตอบโจทย์อุตสาหกรรมในอนาคตกลุ่มที่ 3 มหาวิทยาลัยพัฒนาพื้นที่ คือกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏทั้ง 38 แห่ง ที่จะเน้นเรื่องของการพัฒนาท้องถิ่น โดยในแผนจะให้ราชภัฏ 1 แห่งดูแล 2 จังหวัด และจะให้ไปทำวิจัยเชิงพื้นที่ เพราะในอนาคตการผลิตครูอาจจะ Over Supply ไปแล้ว “ราชภัฏต้องตอบโจทย์ให้ได้ว่า ครูในศตวรรษที่ 21 หน้าตาจะเป็นอย่างไร Demand กับ Supply ครู เป็นอย่างไร และคุณภาพครูที่ผลิต เป็นอย่างไร แต่ที่วางไว้ราชภัฏจะไม่ใช่ผลิตครูอย่างเดียว”นอกจากนี้ในหลักการแล้ว คนที่เรียนราชภัฏจะต้องอยู่กับพื้นที่ ไม่ต้องเข้ามาในกรุงเทพฯ และไม่ต้องเข้ามาอยู่ในเมืองใหญ่ แต่จะมีประเด็นที่ให้ราชภัฏดำเนินการได้ในพื้นที่ ทั้งเรื่องการท่องเที่ยว เรื่องโอทอป เรื่องสมาร์ทฟาร์มเมอร์ ซึ่งจะเป็นการกระจายรายได้ กระจายโอกาสให้สามารถดำรงชีพอยู่ในพื้นที่ได้ด้วย “เราจะต้องยกเครื่องมหาวิทยาลัยราชภัฏ เพราะราชภัฏต้องดูแลเด็กถึง 80% ซึ่งถ้าเด็กกลุ่มนี้คุณภาพไม่ดี ปัญหาจะตกอยู่กับประเทศไทย เพราะเด็ก 70% เป็นสายสังคมศาสตร์ อีก 30% เป็นสายวิทยาศาสตร์ ซึ่งจะต้องทำให้เด็กกลุ่มนี้มีพลัง ถึงมียุวชนสร้างชาติ ลงพัฒนาพื้นที่ ท้องถิ่น เอามหาวิทยาลัยไปติดอาวุธทางปัญหาท้องถิ่น” “เราจะต้องยกเครื่องมหาวิทยาลัยราชภัฏ เพราะราชภัฏต้องดูแลเด็กถึง 80% ซึ่งถ้าเด็กกลุ่มนี้คุณภาพไม่ดี ปัญหาจะตกอยู่กับประเทศไทย เพราะเด็ก 70% เป็นสายสังคมศาสตร์ อีก 30% เป็นสายวิทยาศาสตร์ ซึ่งจะต้องทำให้เด็กกลุ่มนี้มีพลัง ถึงมียุวชนสร้างชาติ ลงพัฒนาพื้นที่ ท้องถิ่น เอามหาวิทยาลัยไปติดอาวุธทางปัญหาท้องถิ่น”ขณะเดียวกันการจะยกเครื่องกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏนั้น กระทรวง อว. ได้มีการประสานกับMicrosoft ที่จะนำเรื่องของภาษาอังกฤษ กับเรื่องของดิจิทัล เพื่อยกระดับครูราชภัฏได้ระดับหนึ่งก่อน ที่เหลือก็เป็นเรื่องของการวิจัย เพื่อตอบโจทย์ในพื้นที่ เพื่อแก้ไขปัญหาความยากจน“เราต้องติดอาวุธ หรือ เติมพลังให้ราชภัฏเพราะคนกลุ่มนี้คือเสาหลักของแผ่นดิน กระทรวง อว.จะต้องทำให้มหาวิทยาลัยราชภัฏแข็งแรงขึ้น พร้อมๆ กับพัฒนาให้มหาวิทยาลัยไทยก้าวสู่ท็อป 100 ให้สำเร็จ”อีกทั้งจะต้องปลุกพลังให้เกิดการร่วมมือกันระหว่างราชภัฏและราชมงคลในแต่ละจังหวัดให้ได้ เพราะราชมงคล จะได้เรื่องเทคโนโลยี ส่วนราชภัฏจะเน้นเรื่องการบริหาร เรื่องการท่องเที่ยว เพราะประเทศไทยมี 2 อย่างคือ ด้านการเกษตร และต้องสร้าง High Value Service ในด้านการท่องเที่ยวให้เกิดขึ้น รวมทั้งต้องไปจับมือกับกระทรวงวิทยาศาสตร์ ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อยกระดับ Smart Farmer ให้มีคุณภาพส่วนเรื่องของสถาบันการศึกษาเอกชนนั้น ทางรัฐบาลมิได้ทอดทิ้ง ก็ได้มีการประสานกับทางสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย โดยสมาคมฯ ได้เสนอขอให้รัฐให้การสนับสนุน 2 เรื่อง คือในเรื่องของการเชื่อมโยงกับเอสเอ็มอี ซึ่งทาง อว.ก็ได้ประสานกับหอการค้าไทย และสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย รวมทั้งสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ไว้ให้แล้ว และอีกเรื่องมหาวิทยาลัยเอกชน ต้องการให้ช่วยเหลือในเรื่องของการเจาะตลาดนักศึกษาในต่างประเทศ ทั้งเรื่องการไปเปิด Campus และการดึงนักศึกษาต่างชาติเข้ามาเรียนในประเทศไทย เช่นนักศึกษากัมพูชา นักศึกษาลาว ซึ่งปัจจุบันมีการเปิด Campus ที่พม่าแล้วดังนั้นเป้าหมายนักศึกษาที่ ดร.สุวิทย์ ต้องการให้สถาบันการศึกษาของไทยทั้งภาครัฐและเอกชน จะต้องเร่งพัฒนาและยกระดับคุณภาพของสถาบัน เพื่อรักษานักศึกษาไทยระดับหัวกะทิไว้ให้ได้ และยังสามารถเป็นพลังดึงดูดนักศึกษาที่มีคุณภาพจากต่างประเทศเข้ามาเรียนในไทย ซึ่งหมายถึงสถาบันการศึกษาไทยมีสิทธิ์เลือกคนเก่งเข้ามาเรียนในไทย“เราต้องได้คนเก่งในระดับหนึ่งมาเรียน และต้องการชนชั้นนำหรือระดับเจ้าสัวของต่างประเทศเข้ามาเรียนในไทยด้วย”ตรงนี้คือประเด็นหนึ่งที่ ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ตั้งเป้าหมายไว้เพื่อสอดคล้องกับการเป็นมหาวิทยาลัยที่มีคุณภาพย่อมได้นักศึกษาที่มีคุณภาพเช่นกัน ! ที่มา : mgronline.com EZ Webmaster Related Posts พลังการอ่านเปลี่ยนคน เปลี่ยนเมือง เปลี่ยนโลก! “ทีเค พาร์ค” เปิดอินไซต์โมเดล 4 ชาติ ที่สร้างอำนาจโน้มนำผ่านการพัฒนาระบบหนังสือ บทพิสูจน์สำคัญที่ ‘การอ่าน’ สร้างชาติได้จริง อัปเดต ค่าเทอมคณะแพทยศาสตร์ ม.เอกชน (ล่าสุด พ.ศ. 2568) ร่วมสนุกไม่ใช่ประกวด มาอวดฝีมือวาดภาพ “เมืองแห่งอนาคตของฉัน” สรุปคะแนนสูง-ต่ำ TCAS รอบ 3 ย้อนหลัง 7 ปี ครบทุกมหาวิทยาลัย DEK68 ห้ามพลาด! เรียนไปเที่ยวไป เปิดมิติใหม่แห่งการเรียนรู้ กับสาขาการจัดการการท่องเที่ยวและการบริการ Post navigation PREVIOUS Previous post: มาดูคำถามที่ Google ใช้ในการหาผู้นำที่ยอดเยี่ยมภายใน 5 นาทีNEXT Next post: “ครูตั้น” ตั้งเป้าเพิ่มสัดส่วนสายอาชีพ 60 ต่อ 40 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มูลนิธิหอการค้าอเมริกันในประเทศไทย เปิดให้ทุนระดับมหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2568 EZ WebmasterApril 21, 2025 เปิดรับสมัครทุนการศึกษาต่อเนื่องระดับมหาวิทยาลัย มูลนิธิหอการค้าอเมริกันในประเทศไทย ประจำปีการศึกษา 2568 มูลนิธิหอการค้าอเมริกันในประเทศไทย (AMCHAM Thailand Foundation) ประกาศเปิดรับสมัครทุนการศึกษาระดับมหาวิทยาลัย ประจำปีการศึกษา 2568 สนับสนุนนักเรียนระดับปริญญาตรีที่มีความเหมาะสม โดยมอบทุนการศึกษาจำนวน 25,000 บาทต่อปี ตลอดระยะเวลาการศึกษา 3 ปี… ทุนหมื่นปอนด์ที่U. of York InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศApril 21, 2025 University of York ให้ทุนประจำปี 2025-26 กับผู้อยู่อาศัยและพลเมืองของจีน (แผ่นดินใหญ่เท่านั้น) กรีซ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ไนจีเรีย ไทย หรือเวียดนาม รวม 8 ทุน เป็นทุนระดับปริญญาโท 1… ทุนLawที่สวิตเซอร์แลนด์ InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศApril 20, 2025 Swiss Institute of Comparative Law (SICL) ในเมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ แจ้งให้ทุน Van Calker สำหรับปีการศึกษา 2025/2026 เพื่อสนับสนุนนักวิจัยชาวสวิสและต่างประเทศในการพัฒนางานทางวิทยาศาสตร์ในสาขากฎหมายเปรียบเทียบ กฎหมายต่างประเทศ และกฎหมายระหว่างประเทศ กำหนดส่งใบสมัครภายใน 15… ครู-อาจารย์ สถาบันไทยศึกษา จุฬาฯ เร่งจัดทำฐานข้อมูลลายผ้าขาวม้าไทย ขับเคลื่อนมรดกภูมิปัญญาไทยสู่เวที UNESCO EZ WebmasterApril 22, 2025 สถาบันไทยศึกษา จุฬาฯ ร่วมกับกรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม ผลักดัน “ผ้าขาวม้าวิถีชีวิตไทย” ซึ่งเป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติสู่เวที UNESCO โดยการเร่งจัดทำฐานข้อมูลลายผ้าขาวม้าไทยจากทุกภาคส่วนให้เป็นระบบ เพื่อประโยชน์ด้านการอนุรักษ์มรดกภูมิปัญญาของชาติ และส่งเสริมการสร้างสรรค์ลายอัตลักษณ์ผ้าขาวม้าขององค์กรและชุมชน รวมถึงการใช้ประโยชน์จากฐานข้อมูลไปสู่การต่อยอดในภาควิสาหกิจชุมชนและภาคการตลาดเพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจในแก่ผ้าขาวม้าและการขยายตัวของเศรษฐกิจชุมชนอย่างยั่งยืน เมื่อเอ่ยถึง “ผ้าขาวม้า” หลายคนคงนึกถึงผ้าลายตาราง สีสันต่าง ๆ และประโยชน์ใช้สอยที่หลากหลาย ตั้งแต่ใช้เป็นเครื่องนุ่งห่ม ผ้านุ่งอาบน้ำ ผ้าพันคอ… สวนสุนันทา แสดงความจงรักภักดี ร่วมบันทึกเทปถวายพระพร สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา 3 มิถุนายน 2568 tui sakrapeeApril 22, 2025 สวนสุนันทา แสดงความจงรักภักดี ร่วมบันทึกเทปถวายพระพร สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา 3 มิถุนายน 2568 วันที่ 22 เมษายน 2568 รองศาสตราจารย์ ดร.ชุติกาญจน์ ศรีวิบูลย์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา นำคณะผู้บริหารร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล แด่สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา… “มทร.ล้านนา” ประเมินความเสียหาย พร้อมจัดทำคู่มือข้อปฏิบัติรับมือแผ่นดินไหว EZ WebmasterApril 22, 2025 รศ.วิเชษฐ ทิพย์ประเสริฐ รักษาราชการแทน อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา (มทร.ล้านนา) กล่าวว่ามทร.ล้านนา ตั้งอยู่ในพื้นที่ภาคเหนือ โดยมี 6 วิทยาเขต 1 สถาบัน คือ เขตพื้นที่ภาคพายัพ เขตพื้นที่เชียงราย เขตพื้นที่ตาก เขตพื้นที่น่าน เขตพื้นที่ลำปาง เขตพื้นที่พิษณุโลก และสถาบันวิจัยลำปาง ซึ่งเมื่อ 10 กว่าปีที่ผ่านมา ในพื้นที่เชียงรายเคยเกิดกรณีแผ่นดินไหวขึ้น… ผู้บริหารการศึกษายุคใหม่ก้าวทันโลก… พร้อมสู่อนาคต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต EZ WebmasterApril 21, 2025 ในยุคที่โลกเปลี่ยนแปลงรวดเร็ว เทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทสำคัญในทุกแง่มุมของชีวิต แม้กระทั่งการศึกษาเองก็ไม่ใช่ข้อยกเว้น ผู้บริหารการศึกษายุคใหม่จึงต้องปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลง พัฒนาทักษะ และความรู้ใหม่ๆ อยู่เสมอ วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต เล็งเห็นถึงความสำคัญนี้ จึงได้จัดทำหลักสูตร สาขาวิชาการบริหารการศึกษา ที่มุ่งพัฒนาผู้บริหารการศึกษามืออาชีพยุคใหม่ ให้พร้อมรับมือกับทุกโจทย์ความท้าทาย หลักสูตรฯ ของเรา เน้นการเรียนรู้แบบผสมผสาน “ทฤษฎีเข้ากับประสบการณ์จริง”… กิจกรรม จุฬาฯ ผนึก สมช. และกองทัพเรือ ลงนามความร่วมมือจัดตั้ง “องค์กรจัดการความรู้ทางทะเลของประเทศไทย” EZ WebmasterApril 21, 2025 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับสำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ (สมช.) และกองทัพเรือ (ทร.) จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ว่าด้วย “การจัดตั้งและขับเคลื่อนองค์กรจัดการความรู้ทางทะเลของประเทศไทย” เพื่อวางรากฐานในการเป็นศูนย์กลางองค์ความรู้ทางทะเลระดับประเทศ เมื่อวันศุกร์ที่ 11 เมษายน 2568 ณ ห้องประชุม 105 อาคารมหาจุฬาลงกรณ์ โดยมี พล.ต.ต.สุรสิทธิ์… มมส สืบสานประเพณีสงกรานต์ ทำบุญตักบาตรเสริมสิริมงคลรับปีใหม่ไทย EZ WebmasterApril 17, 2025 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (มมส) จัดงานสืบสานประเพณีสงกรานต์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ประจำปี 2568 โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.ประยุกต์ ศรีวิไล อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เป็นประธานในพิธี พร้อมด้วยผู้บริหาร คณาจารย์ บุคลากร และนิสิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เข้าร่วมงาน ณ… ทีเค พาร์ค พาเจาะเส้นทางความสำเร็จนักเขียนไทยผู้เจาะตลาดอินเตอร์ พร้อมเปิดทริคอัปเลเวล “นักเขียนมือทอง” หนุนวรรณกรรมไทยไปตีตลาดโลก EZ WebmasterApril 17, 2025 “นักเขียนไทย สู้ต่างชาติได้จริงไหม?” เป็นคำถามที่หลายคนอาจสงสัย ทั้งที่นักเขียนไทยหลายคน ก็มีฝีมือไม่แพ้ใคร แต่ทำไมยังไม่ค่อยเห็นวรรณกรรมไทยไปไกลถึงตลาดโลก ในขณะที่หลายประเทศมีวรรณกรรมเป็นซอฟต์พาวเวอร์และเป็นสินค้าส่งออก เช่น เกาหลีใต้ที่ผลักดัน Webtoon และนิยายออนไลน์สู่ K-Drama และ K-Series ญี่ปุ่นที่เปลี่ยนมังงะและไลต์โนเวล (Light Novel) ให้กลายเป็นสินค้าส่งออกสำคัญของประเทศ เช่นเดียวกับจีนที่ส่งออกวรรณกรรมออนไลน์โกยรายได้มหาศาลจากทั่วโลก และถึงแม้ว่าในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา อุตสาหกรรมคอนเทนต์ไทยจะคึกคักขึ้นอย่างมากโดยเฉพาะจากกระแสนิยายวายที่ถูกนำไปสร้างเป็นซีรีส์โด่งดังไปทั่วโลก แต่วรรณกรรมไทยที่ได้รับการแปลและตีพิมพ์ในต่างประเทศต้องยอมรับว่ายังมีจำนวนไม่มากเมื่อเทียบกับประเทศอื่น ๆ ในโอกาสฉลองครบรอบ 20 ปี… ชวนร่วมคอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา ชม “tattoo colour” ช่วยส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาของนักเรียน tui sakrapeeApril 8, 2025 คอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา tattoo colour สามารถซื้อบัตรเข้าร่วมชมคอนเสิร์ตกันได้ทั้งนักเรียน นักศึกษา บุคลากร และบุคลภายนอก สมาคมผู้ปกครองและครูโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ขอเชิญชวนทุกท่านร่วมงาน “#คอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา” ที่จะมอบความสุข สนุกสนาน และช่วยส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาของนักเรียน 📅 วันอาทิตย์ที่ 4 พฤษภาคม 2568… Search for: Search EZ Webmaster December 20, 2019 EZ Webmaster December 20, 2019 ยุค ‘Talent War’ แย่งตัวนักเรียนหัวกะทิ มหา’ลัยระดับโลกชิงให้ทุนตัดหน้ารัฐไทย! เข้าสู่ยุค ‘Talent War’ สงครามแย่งชิงคนเก่ง เข้าเรียนในสถาบันการศึกษาทั่วโลก ‘ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์’ ชี้มหาวิทยาลัยระดับ World Class ชิงตัดหน้าให้ทุน ‘นักศึกษาไทย’ ระดับหัวกะทิที่รัฐบาลให้ทุนไปแล้ว แจงต้องเร่งปั้นมหาวิทยาลัยรัฐ ทั้งจุฬาฯ มหิดล ติดลำดับท็อป 100 ให้ได้ เพื่อให้เด็กไทยอยากเรียนในไทย และดึงชนชั้นนำ-เจ้าสัว ในต่างประเทศเข้ามาเรียนด้วย ขณะเดียวกันแบ่ง 3 กลุ่มสถาบัน เพื่อสู้กับทั่วโลก พัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม พร้อมยกเครื่องราชภัฏ เป็นมหาวิทยาลัยกลุ่ม “เสาหลักของแผ่นดิน” ร่วมพัฒนาพื้นที่ให้สำเร็จ!ปรากฏการณ์ ‘Talent War’ หรือสงครามแย่งชิงคน กำลังเกิดขึ้นในสังคมโลก ซึ่งประเทศไทยก็ต้องวางแผนไว้รองรับว่าจะทำอย่างไรถึงจะดึงคนเก่งของโลกมาอยู่กับเราให้ได้นี่คือโจทย์ใหญ่ที่ ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ให้ความเห็นไว้และบอกด้วยว่าจะต้องรีบดำเนินการอย่างไรจึงจะสามารถบรรลุเป้าหมายตรงนี้ได้ เพราะนี่คือเหตุผลของการรวมสถาบันระดับอุดมศึกษาและตั้งเป็นกระทรวงใหม่คือกระทรวง ‘อว.’ ขึ้นมาเพื่อจะได้เป็นพลังขับเคลื่อนในการพัฒนาประเทศด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีต่อไปในอนาคต“โจทย์ผมเวลานี้ คือ จะต้องทำให้มหาวิทยาลัยไทย ปรับตัวเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 พร้อมกับคุณภาพที่ดี โดยจะยกระดับคุณภาพได้อย่างไร หากไม่มีคุณภาพ ทุกอย่างจบหมด” ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ดร.สุวิทย์ บอกว่า เวลานี้สถาบันการศึกษามักจะพูดเสมอว่าจำนวนนักศึกษาน้อย ทำให้สถาบันการศึกษาทั้งรัฐและเอกชนต้องแบกภาระไว้มาก ซึ่งในความเป็นจริงในอนาคตมีแนวโน้มเด็กจะลดลงไปกว่านี้อีก ดังนั้นสถาบันการศึกษาทั้งรัฐและเอกชน ต้องหาวิธีการปรับตัว โดยเฉพาะจะต้องออกไปเจาะตลาดต่างประเทศ ด้วยการไปเปิด Campus ในต่างประเทศ เช่นเดียวกับที่ 2 มหาวิทยาลัยต่างชาติ ที่มาเปิดในไทย อย่าง มหาวิทยาลัยคาร์เนกี้ เมลลอน หรือ มหาวิทยาลัยไต้หวันที่มาเปิด Campus ในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์นี่คือกระแสโลกาภิวัตน์ที่สถาบันการศึกษาของไทยต้องตามให้ทัน“เรียกว่าต้องมี In-out กับ Out-in ซึ่ง In-out หมายถึง มหาวิทยาลัยของไทยต้องออกไปตั้ง Campus ที่ประเทศต่างๆ เช่นที่มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ไปตั้งที่ประเทศพม่า และมีนักศึกษาพม่าสนใจเรียนจำนวนมาก ปัจจุบันมีการตั้งสมาคมศิษย์เก่าที่เข้มแข็ง ช่วยกันโปรโมตและดึงคนพม่ามาเรียนที่ Campus ที่นั่น ส่วน Out-in ที่กำลังเกิดขึ้นมากในเวลานี้ก็คือการที่มหาวิทยาลัยไปดึงนักศึกษาจีนเข้ามาเรียนในไทย”แต่สิ่งสำคัญที่สถาบันการศึกษาจะต้องดำเนินการไม่ใช่เพียงแค่การเจาะตลาดต่างประเทศ แต่จะต้องให้ความสำคัญกับเรื่องของการดึง Talent หรือนักศึกษาที่มีความสามารถพิเศษ นักศึกษาที่มีคุณภาพสูง ชนชั้นสูง เจ้าสัว เข้ามาเรียนในสถาบันฯ การศึกษานั้นๆ“การที่มหาวิทยาลัยไทยจะได้ Talent มาหรือไม่ ก็ขึ้นอยู่กับคุณภาพของมหาวิทยาลัยนั้นๆ ด้วย ว่ามีอะไรน่าสนใจ ที่จะสามารถเป็นแม่เหล็กดึงนักศึกษาคุณภาพได้ด้วย”รัฐมนตรีว่าการกระทรวง อว. ระบุว่า การที่กระทรวง อว.มีเป้าหมายที่จะสร้างมหาวิทยาลัยของไทยให้เป็นมหาวิทยาลัยคุณภาพ เพื่อติดอันดับท็อป 100 ของโลกให้ได้ จึงได้ตั้งงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2563 สำหรับการพัฒนาด้านการศึกษา วิจัย และนวัตกรรม จำนวน 142,479 ล้านบาท ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณฯ 2562 จำนวน 2,871 ล้านบาท“จุฬาฯ กับมหิดล อยู่ในระดับที่ 300 กว่าๆ ซึ่งผมตั้งใจพัฒนาเพื่อให้จุฬาฯ และมหิดล ขยับขั้นไปในระดับท็อป 100 ให้ได้ ถ้าเราทำได้มหาวิทยาลัยอื่นๆ ในไทย ก็จะขยับขึ้นมาได้ด้วย” จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล อย่างไรก็ดี สถาบันการจัดอันดับ Quacquarelli Symonds (QS) แห่งสหราชอาณาจักร ในปี 2019 ได้มีการเปิดเผยข้อมูลการจัดอันดับล่าสุด พบว่าจุฬาฯ ถูกจัดอยู่ในอันดับที่ 271 ครอบคลุมทั้งด้านคุณภาพของมหาวิทยาลัย คุณภาพบัณฑิต คุณภาพด้านการวิจัย เป็นต้น ส่วนมหาวิทยาลัยมหิดล อยู่ในลำดับที่ 380 และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์อยู่ในช่วง 601-650 เป็นต้นดร.สุวิทย์ บอกว่าถ้ารัฐบาลสามารถพัฒนาให้มหาวิทยาลัยของไทยติดอันดับท็อป 100 ได้ก็จะมีนักศึกษาและนักวิจัยที่มีคุณภาพดีๆ ซึ่งจะทำให้เป็นแม่เหล็กดึงนักศึกษาจากต่างประเทศเข้ามาเรียนในประเทศไทย แต่ถ้ามหาวิทยาลัยของไทยยังอยู่ในระดับต่ำๆ นักศึกษาไทยที่เรียนดีและมีโอกาสก็จะไม่เลือกเรียนที่ประเทศไทย“เด็กหัวกะทิในระดับ Top 5 ของนักศึกษาที่เรียนดีที่สุดของประเทศ พวกนี้จะเลือกไปเรียนต่างประเทศกันหมด เพราะดีกว่าเลือกเรียนที่จุฬาฯ หรือมหิดล เราจึงต้องเร่งพัฒนาให้จุฬาฯ หรือมหิดล ขึ้น Top 100 ของโลกให้ได้”หากรัฐสามารถพัฒนาได้ถึงขั้น Top 100 เด็กหัวกะทิก็จะเลือกเรียนเมืองไทยดีกว่าจะไปต่างประเทศ และจะทำให้นักศึกษาต่างประเทศเลือกที่จะเข้ามาเรียนเมืองไทยได้ง่ายเช่นกัน“อนาคตจะเป็น Talent War สงครามแย่งชิงคน เราต้องการให้คนเก่งของโลกมาอยู่กับเราให้ได้ แต่ถ้าเราทำไม่ได้ คนเก่งก็จะเลือกไปทำงานต่างประเทศกันหมด”ดร.สุวิทย์ บอกอีกว่า สถานการณ์ในขณะนี้ ทางกระทรวง อว.มีทุนให้นักศึกษาไปสอบเรียนต่อในมหาวิทยาลัยลำดับดีๆ ในต่างประเทศ แต่ปรากฏว่ามหาวิทยาลัยลำดับดีๆ ในต่างประเทศกลับแย่งตัวนักศึกษาเหล่านี้ด้วยการให้ทุนเรียนไปเลย‘มหาวิทยาลัยระดับ World Class เหล่านี้ให้ทุนแย่งเด็กเราไปก่อน นี่คือรูปแบบสงครามที่เกิดขึ้นในอนาคต เป็นสงครามแย่งชิงทรัพยากรมนุษย์ที่มีค่า และนี่คือเหตุผลที่เราต้องแบ่งมหาวิทยาลัยเป็น 3 กลุ่ม” การแบ่งมหาวิทยาลัยเป็น 3 กลุ่ม ประกอบด้วยกลุ่มที่ 1 มหาวิทยาลัยที่จะไปสู้กับโลก ประกอบด้วย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหิดล, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, มหาวิทยาลัยขอนแก่น, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ฯลฯ มหาวิทยาลัยกลุ่มนี้ต้องดึงให้ขึ้นมาเป็นท็อป 100 ให้ได้ ถ้าเราก้าวไปไม่ได้ นักศึกษาเก่งๆ ก็จะไม่เลือกเรียนสถาบันเหล่านี้ ส่วนนักศึกษาที่ดีๆ มีคุณภาพของโลก ก็จะไม่มาเรียนในประเทศไทยกลุ่มที่ 2 มหาวิทยาลัยที่เน้นเทคโนโลยี นวัตกรรม จะประกอบด้วย 3 พระจอม คือ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ซึ่งจะตอบโจทย์อุตสาหกรรมในอนาคตกลุ่มที่ 3 มหาวิทยาลัยพัฒนาพื้นที่ คือกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏทั้ง 38 แห่ง ที่จะเน้นเรื่องของการพัฒนาท้องถิ่น โดยในแผนจะให้ราชภัฏ 1 แห่งดูแล 2 จังหวัด และจะให้ไปทำวิจัยเชิงพื้นที่ เพราะในอนาคตการผลิตครูอาจจะ Over Supply ไปแล้ว “ราชภัฏต้องตอบโจทย์ให้ได้ว่า ครูในศตวรรษที่ 21 หน้าตาจะเป็นอย่างไร Demand กับ Supply ครู เป็นอย่างไร และคุณภาพครูที่ผลิต เป็นอย่างไร แต่ที่วางไว้ราชภัฏจะไม่ใช่ผลิตครูอย่างเดียว”นอกจากนี้ในหลักการแล้ว คนที่เรียนราชภัฏจะต้องอยู่กับพื้นที่ ไม่ต้องเข้ามาในกรุงเทพฯ และไม่ต้องเข้ามาอยู่ในเมืองใหญ่ แต่จะมีประเด็นที่ให้ราชภัฏดำเนินการได้ในพื้นที่ ทั้งเรื่องการท่องเที่ยว เรื่องโอทอป เรื่องสมาร์ทฟาร์มเมอร์ ซึ่งจะเป็นการกระจายรายได้ กระจายโอกาสให้สามารถดำรงชีพอยู่ในพื้นที่ได้ด้วย “เราจะต้องยกเครื่องมหาวิทยาลัยราชภัฏ เพราะราชภัฏต้องดูแลเด็กถึง 80% ซึ่งถ้าเด็กกลุ่มนี้คุณภาพไม่ดี ปัญหาจะตกอยู่กับประเทศไทย เพราะเด็ก 70% เป็นสายสังคมศาสตร์ อีก 30% เป็นสายวิทยาศาสตร์ ซึ่งจะต้องทำให้เด็กกลุ่มนี้มีพลัง ถึงมียุวชนสร้างชาติ ลงพัฒนาพื้นที่ ท้องถิ่น เอามหาวิทยาลัยไปติดอาวุธทางปัญหาท้องถิ่น” “เราจะต้องยกเครื่องมหาวิทยาลัยราชภัฏ เพราะราชภัฏต้องดูแลเด็กถึง 80% ซึ่งถ้าเด็กกลุ่มนี้คุณภาพไม่ดี ปัญหาจะตกอยู่กับประเทศไทย เพราะเด็ก 70% เป็นสายสังคมศาสตร์ อีก 30% เป็นสายวิทยาศาสตร์ ซึ่งจะต้องทำให้เด็กกลุ่มนี้มีพลัง ถึงมียุวชนสร้างชาติ ลงพัฒนาพื้นที่ ท้องถิ่น เอามหาวิทยาลัยไปติดอาวุธทางปัญหาท้องถิ่น”ขณะเดียวกันการจะยกเครื่องกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏนั้น กระทรวง อว. ได้มีการประสานกับMicrosoft ที่จะนำเรื่องของภาษาอังกฤษ กับเรื่องของดิจิทัล เพื่อยกระดับครูราชภัฏได้ระดับหนึ่งก่อน ที่เหลือก็เป็นเรื่องของการวิจัย เพื่อตอบโจทย์ในพื้นที่ เพื่อแก้ไขปัญหาความยากจน“เราต้องติดอาวุธ หรือ เติมพลังให้ราชภัฏเพราะคนกลุ่มนี้คือเสาหลักของแผ่นดิน กระทรวง อว.จะต้องทำให้มหาวิทยาลัยราชภัฏแข็งแรงขึ้น พร้อมๆ กับพัฒนาให้มหาวิทยาลัยไทยก้าวสู่ท็อป 100 ให้สำเร็จ”อีกทั้งจะต้องปลุกพลังให้เกิดการร่วมมือกันระหว่างราชภัฏและราชมงคลในแต่ละจังหวัดให้ได้ เพราะราชมงคล จะได้เรื่องเทคโนโลยี ส่วนราชภัฏจะเน้นเรื่องการบริหาร เรื่องการท่องเที่ยว เพราะประเทศไทยมี 2 อย่างคือ ด้านการเกษตร และต้องสร้าง High Value Service ในด้านการท่องเที่ยวให้เกิดขึ้น รวมทั้งต้องไปจับมือกับกระทรวงวิทยาศาสตร์ ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อยกระดับ Smart Farmer ให้มีคุณภาพส่วนเรื่องของสถาบันการศึกษาเอกชนนั้น ทางรัฐบาลมิได้ทอดทิ้ง ก็ได้มีการประสานกับทางสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย โดยสมาคมฯ ได้เสนอขอให้รัฐให้การสนับสนุน 2 เรื่อง คือในเรื่องของการเชื่อมโยงกับเอสเอ็มอี ซึ่งทาง อว.ก็ได้ประสานกับหอการค้าไทย และสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย รวมทั้งสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ไว้ให้แล้ว และอีกเรื่องมหาวิทยาลัยเอกชน ต้องการให้ช่วยเหลือในเรื่องของการเจาะตลาดนักศึกษาในต่างประเทศ ทั้งเรื่องการไปเปิด Campus และการดึงนักศึกษาต่างชาติเข้ามาเรียนในประเทศไทย เช่นนักศึกษากัมพูชา นักศึกษาลาว ซึ่งปัจจุบันมีการเปิด Campus ที่พม่าแล้วดังนั้นเป้าหมายนักศึกษาที่ ดร.สุวิทย์ ต้องการให้สถาบันการศึกษาของไทยทั้งภาครัฐและเอกชน จะต้องเร่งพัฒนาและยกระดับคุณภาพของสถาบัน เพื่อรักษานักศึกษาไทยระดับหัวกะทิไว้ให้ได้ และยังสามารถเป็นพลังดึงดูดนักศึกษาที่มีคุณภาพจากต่างประเทศเข้ามาเรียนในไทย ซึ่งหมายถึงสถาบันการศึกษาไทยมีสิทธิ์เลือกคนเก่งเข้ามาเรียนในไทย“เราต้องได้คนเก่งในระดับหนึ่งมาเรียน และต้องการชนชั้นนำหรือระดับเจ้าสัวของต่างประเทศเข้ามาเรียนในไทยด้วย”ตรงนี้คือประเด็นหนึ่งที่ ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ตั้งเป้าหมายไว้เพื่อสอดคล้องกับการเป็นมหาวิทยาลัยที่มีคุณภาพย่อมได้นักศึกษาที่มีคุณภาพเช่นกัน ! ที่มา : mgronline.com EZ Webmaster Related Posts พลังการอ่านเปลี่ยนคน เปลี่ยนเมือง เปลี่ยนโลก! “ทีเค พาร์ค” เปิดอินไซต์โมเดล 4 ชาติ ที่สร้างอำนาจโน้มนำผ่านการพัฒนาระบบหนังสือ บทพิสูจน์สำคัญที่ ‘การอ่าน’ สร้างชาติได้จริง อัปเดต ค่าเทอมคณะแพทยศาสตร์ ม.เอกชน (ล่าสุด พ.ศ. 2568) ร่วมสนุกไม่ใช่ประกวด มาอวดฝีมือวาดภาพ “เมืองแห่งอนาคตของฉัน” สรุปคะแนนสูง-ต่ำ TCAS รอบ 3 ย้อนหลัง 7 ปี ครบทุกมหาวิทยาลัย DEK68 ห้ามพลาด! เรียนไปเที่ยวไป เปิดมิติใหม่แห่งการเรียนรู้ กับสาขาการจัดการการท่องเที่ยวและการบริการ Post navigation PREVIOUS Previous post: มาดูคำถามที่ Google ใช้ในการหาผู้นำที่ยอดเยี่ยมภายใน 5 นาทีNEXT Next post: “ครูตั้น” ตั้งเป้าเพิ่มสัดส่วนสายอาชีพ 60 ต่อ 40 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ทุนหมื่นปอนด์ที่U. of York InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศApril 21, 2025 University of York ให้ทุนประจำปี 2025-26 กับผู้อยู่อาศัยและพลเมืองของจีน (แผ่นดินใหญ่เท่านั้น) กรีซ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ไนจีเรีย ไทย หรือเวียดนาม รวม 8 ทุน เป็นทุนระดับปริญญาโท 1… ทุนLawที่สวิตเซอร์แลนด์ InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศApril 20, 2025 Swiss Institute of Comparative Law (SICL) ในเมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ แจ้งให้ทุน Van Calker สำหรับปีการศึกษา 2025/2026 เพื่อสนับสนุนนักวิจัยชาวสวิสและต่างประเทศในการพัฒนางานทางวิทยาศาสตร์ในสาขากฎหมายเปรียบเทียบ กฎหมายต่างประเทศ และกฎหมายระหว่างประเทศ กำหนดส่งใบสมัครภายใน 15…
ทุนLawที่สวิตเซอร์แลนด์ InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศApril 20, 2025 Swiss Institute of Comparative Law (SICL) ในเมืองโลซาน ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ แจ้งให้ทุน Van Calker สำหรับปีการศึกษา 2025/2026 เพื่อสนับสนุนนักวิจัยชาวสวิสและต่างประเทศในการพัฒนางานทางวิทยาศาสตร์ในสาขากฎหมายเปรียบเทียบ กฎหมายต่างประเทศ และกฎหมายระหว่างประเทศ กำหนดส่งใบสมัครภายใน 15…
สถาบันไทยศึกษา จุฬาฯ เร่งจัดทำฐานข้อมูลลายผ้าขาวม้าไทย ขับเคลื่อนมรดกภูมิปัญญาไทยสู่เวที UNESCO EZ WebmasterApril 22, 2025 สถาบันไทยศึกษา จุฬาฯ ร่วมกับกรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม ผลักดัน “ผ้าขาวม้าวิถีชีวิตไทย” ซึ่งเป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติสู่เวที UNESCO โดยการเร่งจัดทำฐานข้อมูลลายผ้าขาวม้าไทยจากทุกภาคส่วนให้เป็นระบบ เพื่อประโยชน์ด้านการอนุรักษ์มรดกภูมิปัญญาของชาติ และส่งเสริมการสร้างสรรค์ลายอัตลักษณ์ผ้าขาวม้าขององค์กรและชุมชน รวมถึงการใช้ประโยชน์จากฐานข้อมูลไปสู่การต่อยอดในภาควิสาหกิจชุมชนและภาคการตลาดเพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจในแก่ผ้าขาวม้าและการขยายตัวของเศรษฐกิจชุมชนอย่างยั่งยืน เมื่อเอ่ยถึง “ผ้าขาวม้า” หลายคนคงนึกถึงผ้าลายตาราง สีสันต่าง ๆ และประโยชน์ใช้สอยที่หลากหลาย ตั้งแต่ใช้เป็นเครื่องนุ่งห่ม ผ้านุ่งอาบน้ำ ผ้าพันคอ… สวนสุนันทา แสดงความจงรักภักดี ร่วมบันทึกเทปถวายพระพร สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา 3 มิถุนายน 2568 tui sakrapeeApril 22, 2025 สวนสุนันทา แสดงความจงรักภักดี ร่วมบันทึกเทปถวายพระพร สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา 3 มิถุนายน 2568 วันที่ 22 เมษายน 2568 รองศาสตราจารย์ ดร.ชุติกาญจน์ ศรีวิบูลย์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา นำคณะผู้บริหารร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล แด่สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา… “มทร.ล้านนา” ประเมินความเสียหาย พร้อมจัดทำคู่มือข้อปฏิบัติรับมือแผ่นดินไหว EZ WebmasterApril 22, 2025 รศ.วิเชษฐ ทิพย์ประเสริฐ รักษาราชการแทน อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา (มทร.ล้านนา) กล่าวว่ามทร.ล้านนา ตั้งอยู่ในพื้นที่ภาคเหนือ โดยมี 6 วิทยาเขต 1 สถาบัน คือ เขตพื้นที่ภาคพายัพ เขตพื้นที่เชียงราย เขตพื้นที่ตาก เขตพื้นที่น่าน เขตพื้นที่ลำปาง เขตพื้นที่พิษณุโลก และสถาบันวิจัยลำปาง ซึ่งเมื่อ 10 กว่าปีที่ผ่านมา ในพื้นที่เชียงรายเคยเกิดกรณีแผ่นดินไหวขึ้น… ผู้บริหารการศึกษายุคใหม่ก้าวทันโลก… พร้อมสู่อนาคต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต EZ WebmasterApril 21, 2025 ในยุคที่โลกเปลี่ยนแปลงรวดเร็ว เทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทสำคัญในทุกแง่มุมของชีวิต แม้กระทั่งการศึกษาเองก็ไม่ใช่ข้อยกเว้น ผู้บริหารการศึกษายุคใหม่จึงต้องปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลง พัฒนาทักษะ และความรู้ใหม่ๆ อยู่เสมอ วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต เล็งเห็นถึงความสำคัญนี้ จึงได้จัดทำหลักสูตร สาขาวิชาการบริหารการศึกษา ที่มุ่งพัฒนาผู้บริหารการศึกษามืออาชีพยุคใหม่ ให้พร้อมรับมือกับทุกโจทย์ความท้าทาย หลักสูตรฯ ของเรา เน้นการเรียนรู้แบบผสมผสาน “ทฤษฎีเข้ากับประสบการณ์จริง”… กิจกรรม จุฬาฯ ผนึก สมช. และกองทัพเรือ ลงนามความร่วมมือจัดตั้ง “องค์กรจัดการความรู้ทางทะเลของประเทศไทย” EZ WebmasterApril 21, 2025 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับสำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ (สมช.) และกองทัพเรือ (ทร.) จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ว่าด้วย “การจัดตั้งและขับเคลื่อนองค์กรจัดการความรู้ทางทะเลของประเทศไทย” เพื่อวางรากฐานในการเป็นศูนย์กลางองค์ความรู้ทางทะเลระดับประเทศ เมื่อวันศุกร์ที่ 11 เมษายน 2568 ณ ห้องประชุม 105 อาคารมหาจุฬาลงกรณ์ โดยมี พล.ต.ต.สุรสิทธิ์… มมส สืบสานประเพณีสงกรานต์ ทำบุญตักบาตรเสริมสิริมงคลรับปีใหม่ไทย EZ WebmasterApril 17, 2025 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (มมส) จัดงานสืบสานประเพณีสงกรานต์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ประจำปี 2568 โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.ประยุกต์ ศรีวิไล อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เป็นประธานในพิธี พร้อมด้วยผู้บริหาร คณาจารย์ บุคลากร และนิสิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เข้าร่วมงาน ณ… ทีเค พาร์ค พาเจาะเส้นทางความสำเร็จนักเขียนไทยผู้เจาะตลาดอินเตอร์ พร้อมเปิดทริคอัปเลเวล “นักเขียนมือทอง” หนุนวรรณกรรมไทยไปตีตลาดโลก EZ WebmasterApril 17, 2025 “นักเขียนไทย สู้ต่างชาติได้จริงไหม?” เป็นคำถามที่หลายคนอาจสงสัย ทั้งที่นักเขียนไทยหลายคน ก็มีฝีมือไม่แพ้ใคร แต่ทำไมยังไม่ค่อยเห็นวรรณกรรมไทยไปไกลถึงตลาดโลก ในขณะที่หลายประเทศมีวรรณกรรมเป็นซอฟต์พาวเวอร์และเป็นสินค้าส่งออก เช่น เกาหลีใต้ที่ผลักดัน Webtoon และนิยายออนไลน์สู่ K-Drama และ K-Series ญี่ปุ่นที่เปลี่ยนมังงะและไลต์โนเวล (Light Novel) ให้กลายเป็นสินค้าส่งออกสำคัญของประเทศ เช่นเดียวกับจีนที่ส่งออกวรรณกรรมออนไลน์โกยรายได้มหาศาลจากทั่วโลก และถึงแม้ว่าในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา อุตสาหกรรมคอนเทนต์ไทยจะคึกคักขึ้นอย่างมากโดยเฉพาะจากกระแสนิยายวายที่ถูกนำไปสร้างเป็นซีรีส์โด่งดังไปทั่วโลก แต่วรรณกรรมไทยที่ได้รับการแปลและตีพิมพ์ในต่างประเทศต้องยอมรับว่ายังมีจำนวนไม่มากเมื่อเทียบกับประเทศอื่น ๆ ในโอกาสฉลองครบรอบ 20 ปี… ชวนร่วมคอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา ชม “tattoo colour” ช่วยส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาของนักเรียน tui sakrapeeApril 8, 2025 คอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา tattoo colour สามารถซื้อบัตรเข้าร่วมชมคอนเสิร์ตกันได้ทั้งนักเรียน นักศึกษา บุคลากร และบุคลภายนอก สมาคมผู้ปกครองและครูโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ขอเชิญชวนทุกท่านร่วมงาน “#คอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา” ที่จะมอบความสุข สนุกสนาน และช่วยส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาของนักเรียน 📅 วันอาทิตย์ที่ 4 พฤษภาคม 2568… Search for: Search EZ Webmaster December 20, 2019 EZ Webmaster December 20, 2019 ยุค ‘Talent War’ แย่งตัวนักเรียนหัวกะทิ มหา’ลัยระดับโลกชิงให้ทุนตัดหน้ารัฐไทย! เข้าสู่ยุค ‘Talent War’ สงครามแย่งชิงคนเก่ง เข้าเรียนในสถาบันการศึกษาทั่วโลก ‘ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์’ ชี้มหาวิทยาลัยระดับ World Class ชิงตัดหน้าให้ทุน ‘นักศึกษาไทย’ ระดับหัวกะทิที่รัฐบาลให้ทุนไปแล้ว แจงต้องเร่งปั้นมหาวิทยาลัยรัฐ ทั้งจุฬาฯ มหิดล ติดลำดับท็อป 100 ให้ได้ เพื่อให้เด็กไทยอยากเรียนในไทย และดึงชนชั้นนำ-เจ้าสัว ในต่างประเทศเข้ามาเรียนด้วย ขณะเดียวกันแบ่ง 3 กลุ่มสถาบัน เพื่อสู้กับทั่วโลก พัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม พร้อมยกเครื่องราชภัฏ เป็นมหาวิทยาลัยกลุ่ม “เสาหลักของแผ่นดิน” ร่วมพัฒนาพื้นที่ให้สำเร็จ!ปรากฏการณ์ ‘Talent War’ หรือสงครามแย่งชิงคน กำลังเกิดขึ้นในสังคมโลก ซึ่งประเทศไทยก็ต้องวางแผนไว้รองรับว่าจะทำอย่างไรถึงจะดึงคนเก่งของโลกมาอยู่กับเราให้ได้นี่คือโจทย์ใหญ่ที่ ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ให้ความเห็นไว้และบอกด้วยว่าจะต้องรีบดำเนินการอย่างไรจึงจะสามารถบรรลุเป้าหมายตรงนี้ได้ เพราะนี่คือเหตุผลของการรวมสถาบันระดับอุดมศึกษาและตั้งเป็นกระทรวงใหม่คือกระทรวง ‘อว.’ ขึ้นมาเพื่อจะได้เป็นพลังขับเคลื่อนในการพัฒนาประเทศด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีต่อไปในอนาคต“โจทย์ผมเวลานี้ คือ จะต้องทำให้มหาวิทยาลัยไทย ปรับตัวเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 พร้อมกับคุณภาพที่ดี โดยจะยกระดับคุณภาพได้อย่างไร หากไม่มีคุณภาพ ทุกอย่างจบหมด” ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ดร.สุวิทย์ บอกว่า เวลานี้สถาบันการศึกษามักจะพูดเสมอว่าจำนวนนักศึกษาน้อย ทำให้สถาบันการศึกษาทั้งรัฐและเอกชนต้องแบกภาระไว้มาก ซึ่งในความเป็นจริงในอนาคตมีแนวโน้มเด็กจะลดลงไปกว่านี้อีก ดังนั้นสถาบันการศึกษาทั้งรัฐและเอกชน ต้องหาวิธีการปรับตัว โดยเฉพาะจะต้องออกไปเจาะตลาดต่างประเทศ ด้วยการไปเปิด Campus ในต่างประเทศ เช่นเดียวกับที่ 2 มหาวิทยาลัยต่างชาติ ที่มาเปิดในไทย อย่าง มหาวิทยาลัยคาร์เนกี้ เมลลอน หรือ มหาวิทยาลัยไต้หวันที่มาเปิด Campus ในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์นี่คือกระแสโลกาภิวัตน์ที่สถาบันการศึกษาของไทยต้องตามให้ทัน“เรียกว่าต้องมี In-out กับ Out-in ซึ่ง In-out หมายถึง มหาวิทยาลัยของไทยต้องออกไปตั้ง Campus ที่ประเทศต่างๆ เช่นที่มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ไปตั้งที่ประเทศพม่า และมีนักศึกษาพม่าสนใจเรียนจำนวนมาก ปัจจุบันมีการตั้งสมาคมศิษย์เก่าที่เข้มแข็ง ช่วยกันโปรโมตและดึงคนพม่ามาเรียนที่ Campus ที่นั่น ส่วน Out-in ที่กำลังเกิดขึ้นมากในเวลานี้ก็คือการที่มหาวิทยาลัยไปดึงนักศึกษาจีนเข้ามาเรียนในไทย”แต่สิ่งสำคัญที่สถาบันการศึกษาจะต้องดำเนินการไม่ใช่เพียงแค่การเจาะตลาดต่างประเทศ แต่จะต้องให้ความสำคัญกับเรื่องของการดึง Talent หรือนักศึกษาที่มีความสามารถพิเศษ นักศึกษาที่มีคุณภาพสูง ชนชั้นสูง เจ้าสัว เข้ามาเรียนในสถาบันฯ การศึกษานั้นๆ“การที่มหาวิทยาลัยไทยจะได้ Talent มาหรือไม่ ก็ขึ้นอยู่กับคุณภาพของมหาวิทยาลัยนั้นๆ ด้วย ว่ามีอะไรน่าสนใจ ที่จะสามารถเป็นแม่เหล็กดึงนักศึกษาคุณภาพได้ด้วย”รัฐมนตรีว่าการกระทรวง อว. ระบุว่า การที่กระทรวง อว.มีเป้าหมายที่จะสร้างมหาวิทยาลัยของไทยให้เป็นมหาวิทยาลัยคุณภาพ เพื่อติดอันดับท็อป 100 ของโลกให้ได้ จึงได้ตั้งงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2563 สำหรับการพัฒนาด้านการศึกษา วิจัย และนวัตกรรม จำนวน 142,479 ล้านบาท ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณฯ 2562 จำนวน 2,871 ล้านบาท“จุฬาฯ กับมหิดล อยู่ในระดับที่ 300 กว่าๆ ซึ่งผมตั้งใจพัฒนาเพื่อให้จุฬาฯ และมหิดล ขยับขั้นไปในระดับท็อป 100 ให้ได้ ถ้าเราทำได้มหาวิทยาลัยอื่นๆ ในไทย ก็จะขยับขึ้นมาได้ด้วย” จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล อย่างไรก็ดี สถาบันการจัดอันดับ Quacquarelli Symonds (QS) แห่งสหราชอาณาจักร ในปี 2019 ได้มีการเปิดเผยข้อมูลการจัดอันดับล่าสุด พบว่าจุฬาฯ ถูกจัดอยู่ในอันดับที่ 271 ครอบคลุมทั้งด้านคุณภาพของมหาวิทยาลัย คุณภาพบัณฑิต คุณภาพด้านการวิจัย เป็นต้น ส่วนมหาวิทยาลัยมหิดล อยู่ในลำดับที่ 380 และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์อยู่ในช่วง 601-650 เป็นต้นดร.สุวิทย์ บอกว่าถ้ารัฐบาลสามารถพัฒนาให้มหาวิทยาลัยของไทยติดอันดับท็อป 100 ได้ก็จะมีนักศึกษาและนักวิจัยที่มีคุณภาพดีๆ ซึ่งจะทำให้เป็นแม่เหล็กดึงนักศึกษาจากต่างประเทศเข้ามาเรียนในประเทศไทย แต่ถ้ามหาวิทยาลัยของไทยยังอยู่ในระดับต่ำๆ นักศึกษาไทยที่เรียนดีและมีโอกาสก็จะไม่เลือกเรียนที่ประเทศไทย“เด็กหัวกะทิในระดับ Top 5 ของนักศึกษาที่เรียนดีที่สุดของประเทศ พวกนี้จะเลือกไปเรียนต่างประเทศกันหมด เพราะดีกว่าเลือกเรียนที่จุฬาฯ หรือมหิดล เราจึงต้องเร่งพัฒนาให้จุฬาฯ หรือมหิดล ขึ้น Top 100 ของโลกให้ได้”หากรัฐสามารถพัฒนาได้ถึงขั้น Top 100 เด็กหัวกะทิก็จะเลือกเรียนเมืองไทยดีกว่าจะไปต่างประเทศ และจะทำให้นักศึกษาต่างประเทศเลือกที่จะเข้ามาเรียนเมืองไทยได้ง่ายเช่นกัน“อนาคตจะเป็น Talent War สงครามแย่งชิงคน เราต้องการให้คนเก่งของโลกมาอยู่กับเราให้ได้ แต่ถ้าเราทำไม่ได้ คนเก่งก็จะเลือกไปทำงานต่างประเทศกันหมด”ดร.สุวิทย์ บอกอีกว่า สถานการณ์ในขณะนี้ ทางกระทรวง อว.มีทุนให้นักศึกษาไปสอบเรียนต่อในมหาวิทยาลัยลำดับดีๆ ในต่างประเทศ แต่ปรากฏว่ามหาวิทยาลัยลำดับดีๆ ในต่างประเทศกลับแย่งตัวนักศึกษาเหล่านี้ด้วยการให้ทุนเรียนไปเลย‘มหาวิทยาลัยระดับ World Class เหล่านี้ให้ทุนแย่งเด็กเราไปก่อน นี่คือรูปแบบสงครามที่เกิดขึ้นในอนาคต เป็นสงครามแย่งชิงทรัพยากรมนุษย์ที่มีค่า และนี่คือเหตุผลที่เราต้องแบ่งมหาวิทยาลัยเป็น 3 กลุ่ม” การแบ่งมหาวิทยาลัยเป็น 3 กลุ่ม ประกอบด้วยกลุ่มที่ 1 มหาวิทยาลัยที่จะไปสู้กับโลก ประกอบด้วย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหิดล, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, มหาวิทยาลัยขอนแก่น, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ฯลฯ มหาวิทยาลัยกลุ่มนี้ต้องดึงให้ขึ้นมาเป็นท็อป 100 ให้ได้ ถ้าเราก้าวไปไม่ได้ นักศึกษาเก่งๆ ก็จะไม่เลือกเรียนสถาบันเหล่านี้ ส่วนนักศึกษาที่ดีๆ มีคุณภาพของโลก ก็จะไม่มาเรียนในประเทศไทยกลุ่มที่ 2 มหาวิทยาลัยที่เน้นเทคโนโลยี นวัตกรรม จะประกอบด้วย 3 พระจอม คือ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ซึ่งจะตอบโจทย์อุตสาหกรรมในอนาคตกลุ่มที่ 3 มหาวิทยาลัยพัฒนาพื้นที่ คือกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏทั้ง 38 แห่ง ที่จะเน้นเรื่องของการพัฒนาท้องถิ่น โดยในแผนจะให้ราชภัฏ 1 แห่งดูแล 2 จังหวัด และจะให้ไปทำวิจัยเชิงพื้นที่ เพราะในอนาคตการผลิตครูอาจจะ Over Supply ไปแล้ว “ราชภัฏต้องตอบโจทย์ให้ได้ว่า ครูในศตวรรษที่ 21 หน้าตาจะเป็นอย่างไร Demand กับ Supply ครู เป็นอย่างไร และคุณภาพครูที่ผลิต เป็นอย่างไร แต่ที่วางไว้ราชภัฏจะไม่ใช่ผลิตครูอย่างเดียว”นอกจากนี้ในหลักการแล้ว คนที่เรียนราชภัฏจะต้องอยู่กับพื้นที่ ไม่ต้องเข้ามาในกรุงเทพฯ และไม่ต้องเข้ามาอยู่ในเมืองใหญ่ แต่จะมีประเด็นที่ให้ราชภัฏดำเนินการได้ในพื้นที่ ทั้งเรื่องการท่องเที่ยว เรื่องโอทอป เรื่องสมาร์ทฟาร์มเมอร์ ซึ่งจะเป็นการกระจายรายได้ กระจายโอกาสให้สามารถดำรงชีพอยู่ในพื้นที่ได้ด้วย “เราจะต้องยกเครื่องมหาวิทยาลัยราชภัฏ เพราะราชภัฏต้องดูแลเด็กถึง 80% ซึ่งถ้าเด็กกลุ่มนี้คุณภาพไม่ดี ปัญหาจะตกอยู่กับประเทศไทย เพราะเด็ก 70% เป็นสายสังคมศาสตร์ อีก 30% เป็นสายวิทยาศาสตร์ ซึ่งจะต้องทำให้เด็กกลุ่มนี้มีพลัง ถึงมียุวชนสร้างชาติ ลงพัฒนาพื้นที่ ท้องถิ่น เอามหาวิทยาลัยไปติดอาวุธทางปัญหาท้องถิ่น” “เราจะต้องยกเครื่องมหาวิทยาลัยราชภัฏ เพราะราชภัฏต้องดูแลเด็กถึง 80% ซึ่งถ้าเด็กกลุ่มนี้คุณภาพไม่ดี ปัญหาจะตกอยู่กับประเทศไทย เพราะเด็ก 70% เป็นสายสังคมศาสตร์ อีก 30% เป็นสายวิทยาศาสตร์ ซึ่งจะต้องทำให้เด็กกลุ่มนี้มีพลัง ถึงมียุวชนสร้างชาติ ลงพัฒนาพื้นที่ ท้องถิ่น เอามหาวิทยาลัยไปติดอาวุธทางปัญหาท้องถิ่น”ขณะเดียวกันการจะยกเครื่องกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏนั้น กระทรวง อว. ได้มีการประสานกับMicrosoft ที่จะนำเรื่องของภาษาอังกฤษ กับเรื่องของดิจิทัล เพื่อยกระดับครูราชภัฏได้ระดับหนึ่งก่อน ที่เหลือก็เป็นเรื่องของการวิจัย เพื่อตอบโจทย์ในพื้นที่ เพื่อแก้ไขปัญหาความยากจน“เราต้องติดอาวุธ หรือ เติมพลังให้ราชภัฏเพราะคนกลุ่มนี้คือเสาหลักของแผ่นดิน กระทรวง อว.จะต้องทำให้มหาวิทยาลัยราชภัฏแข็งแรงขึ้น พร้อมๆ กับพัฒนาให้มหาวิทยาลัยไทยก้าวสู่ท็อป 100 ให้สำเร็จ”อีกทั้งจะต้องปลุกพลังให้เกิดการร่วมมือกันระหว่างราชภัฏและราชมงคลในแต่ละจังหวัดให้ได้ เพราะราชมงคล จะได้เรื่องเทคโนโลยี ส่วนราชภัฏจะเน้นเรื่องการบริหาร เรื่องการท่องเที่ยว เพราะประเทศไทยมี 2 อย่างคือ ด้านการเกษตร และต้องสร้าง High Value Service ในด้านการท่องเที่ยวให้เกิดขึ้น รวมทั้งต้องไปจับมือกับกระทรวงวิทยาศาสตร์ ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อยกระดับ Smart Farmer ให้มีคุณภาพส่วนเรื่องของสถาบันการศึกษาเอกชนนั้น ทางรัฐบาลมิได้ทอดทิ้ง ก็ได้มีการประสานกับทางสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย โดยสมาคมฯ ได้เสนอขอให้รัฐให้การสนับสนุน 2 เรื่อง คือในเรื่องของการเชื่อมโยงกับเอสเอ็มอี ซึ่งทาง อว.ก็ได้ประสานกับหอการค้าไทย และสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย รวมทั้งสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ไว้ให้แล้ว และอีกเรื่องมหาวิทยาลัยเอกชน ต้องการให้ช่วยเหลือในเรื่องของการเจาะตลาดนักศึกษาในต่างประเทศ ทั้งเรื่องการไปเปิด Campus และการดึงนักศึกษาต่างชาติเข้ามาเรียนในประเทศไทย เช่นนักศึกษากัมพูชา นักศึกษาลาว ซึ่งปัจจุบันมีการเปิด Campus ที่พม่าแล้วดังนั้นเป้าหมายนักศึกษาที่ ดร.สุวิทย์ ต้องการให้สถาบันการศึกษาของไทยทั้งภาครัฐและเอกชน จะต้องเร่งพัฒนาและยกระดับคุณภาพของสถาบัน เพื่อรักษานักศึกษาไทยระดับหัวกะทิไว้ให้ได้ และยังสามารถเป็นพลังดึงดูดนักศึกษาที่มีคุณภาพจากต่างประเทศเข้ามาเรียนในไทย ซึ่งหมายถึงสถาบันการศึกษาไทยมีสิทธิ์เลือกคนเก่งเข้ามาเรียนในไทย“เราต้องได้คนเก่งในระดับหนึ่งมาเรียน และต้องการชนชั้นนำหรือระดับเจ้าสัวของต่างประเทศเข้ามาเรียนในไทยด้วย”ตรงนี้คือประเด็นหนึ่งที่ ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ตั้งเป้าหมายไว้เพื่อสอดคล้องกับการเป็นมหาวิทยาลัยที่มีคุณภาพย่อมได้นักศึกษาที่มีคุณภาพเช่นกัน ! ที่มา : mgronline.com EZ Webmaster Related Posts พลังการอ่านเปลี่ยนคน เปลี่ยนเมือง เปลี่ยนโลก! “ทีเค พาร์ค” เปิดอินไซต์โมเดล 4 ชาติ ที่สร้างอำนาจโน้มนำผ่านการพัฒนาระบบหนังสือ บทพิสูจน์สำคัญที่ ‘การอ่าน’ สร้างชาติได้จริง อัปเดต ค่าเทอมคณะแพทยศาสตร์ ม.เอกชน (ล่าสุด พ.ศ. 2568) ร่วมสนุกไม่ใช่ประกวด มาอวดฝีมือวาดภาพ “เมืองแห่งอนาคตของฉัน” สรุปคะแนนสูง-ต่ำ TCAS รอบ 3 ย้อนหลัง 7 ปี ครบทุกมหาวิทยาลัย DEK68 ห้ามพลาด! เรียนไปเที่ยวไป เปิดมิติใหม่แห่งการเรียนรู้ กับสาขาการจัดการการท่องเที่ยวและการบริการ Post navigation PREVIOUS Previous post: มาดูคำถามที่ Google ใช้ในการหาผู้นำที่ยอดเยี่ยมภายใน 5 นาทีNEXT Next post: “ครูตั้น” ตั้งเป้าเพิ่มสัดส่วนสายอาชีพ 60 ต่อ 40 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
สวนสุนันทา แสดงความจงรักภักดี ร่วมบันทึกเทปถวายพระพร สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา 3 มิถุนายน 2568 tui sakrapeeApril 22, 2025 สวนสุนันทา แสดงความจงรักภักดี ร่วมบันทึกเทปถวายพระพร สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา 3 มิถุนายน 2568 วันที่ 22 เมษายน 2568 รองศาสตราจารย์ ดร.ชุติกาญจน์ ศรีวิบูลย์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา นำคณะผู้บริหารร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล แด่สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา… “มทร.ล้านนา” ประเมินความเสียหาย พร้อมจัดทำคู่มือข้อปฏิบัติรับมือแผ่นดินไหว EZ WebmasterApril 22, 2025 รศ.วิเชษฐ ทิพย์ประเสริฐ รักษาราชการแทน อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา (มทร.ล้านนา) กล่าวว่ามทร.ล้านนา ตั้งอยู่ในพื้นที่ภาคเหนือ โดยมี 6 วิทยาเขต 1 สถาบัน คือ เขตพื้นที่ภาคพายัพ เขตพื้นที่เชียงราย เขตพื้นที่ตาก เขตพื้นที่น่าน เขตพื้นที่ลำปาง เขตพื้นที่พิษณุโลก และสถาบันวิจัยลำปาง ซึ่งเมื่อ 10 กว่าปีที่ผ่านมา ในพื้นที่เชียงรายเคยเกิดกรณีแผ่นดินไหวขึ้น… ผู้บริหารการศึกษายุคใหม่ก้าวทันโลก… พร้อมสู่อนาคต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต EZ WebmasterApril 21, 2025 ในยุคที่โลกเปลี่ยนแปลงรวดเร็ว เทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทสำคัญในทุกแง่มุมของชีวิต แม้กระทั่งการศึกษาเองก็ไม่ใช่ข้อยกเว้น ผู้บริหารการศึกษายุคใหม่จึงต้องปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลง พัฒนาทักษะ และความรู้ใหม่ๆ อยู่เสมอ วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต เล็งเห็นถึงความสำคัญนี้ จึงได้จัดทำหลักสูตร สาขาวิชาการบริหารการศึกษา ที่มุ่งพัฒนาผู้บริหารการศึกษามืออาชีพยุคใหม่ ให้พร้อมรับมือกับทุกโจทย์ความท้าทาย หลักสูตรฯ ของเรา เน้นการเรียนรู้แบบผสมผสาน “ทฤษฎีเข้ากับประสบการณ์จริง”… กิจกรรม จุฬาฯ ผนึก สมช. และกองทัพเรือ ลงนามความร่วมมือจัดตั้ง “องค์กรจัดการความรู้ทางทะเลของประเทศไทย” EZ WebmasterApril 21, 2025 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับสำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ (สมช.) และกองทัพเรือ (ทร.) จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ว่าด้วย “การจัดตั้งและขับเคลื่อนองค์กรจัดการความรู้ทางทะเลของประเทศไทย” เพื่อวางรากฐานในการเป็นศูนย์กลางองค์ความรู้ทางทะเลระดับประเทศ เมื่อวันศุกร์ที่ 11 เมษายน 2568 ณ ห้องประชุม 105 อาคารมหาจุฬาลงกรณ์ โดยมี พล.ต.ต.สุรสิทธิ์… มมส สืบสานประเพณีสงกรานต์ ทำบุญตักบาตรเสริมสิริมงคลรับปีใหม่ไทย EZ WebmasterApril 17, 2025 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (มมส) จัดงานสืบสานประเพณีสงกรานต์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ประจำปี 2568 โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.ประยุกต์ ศรีวิไล อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เป็นประธานในพิธี พร้อมด้วยผู้บริหาร คณาจารย์ บุคลากร และนิสิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เข้าร่วมงาน ณ… ทีเค พาร์ค พาเจาะเส้นทางความสำเร็จนักเขียนไทยผู้เจาะตลาดอินเตอร์ พร้อมเปิดทริคอัปเลเวล “นักเขียนมือทอง” หนุนวรรณกรรมไทยไปตีตลาดโลก EZ WebmasterApril 17, 2025 “นักเขียนไทย สู้ต่างชาติได้จริงไหม?” เป็นคำถามที่หลายคนอาจสงสัย ทั้งที่นักเขียนไทยหลายคน ก็มีฝีมือไม่แพ้ใคร แต่ทำไมยังไม่ค่อยเห็นวรรณกรรมไทยไปไกลถึงตลาดโลก ในขณะที่หลายประเทศมีวรรณกรรมเป็นซอฟต์พาวเวอร์และเป็นสินค้าส่งออก เช่น เกาหลีใต้ที่ผลักดัน Webtoon และนิยายออนไลน์สู่ K-Drama และ K-Series ญี่ปุ่นที่เปลี่ยนมังงะและไลต์โนเวล (Light Novel) ให้กลายเป็นสินค้าส่งออกสำคัญของประเทศ เช่นเดียวกับจีนที่ส่งออกวรรณกรรมออนไลน์โกยรายได้มหาศาลจากทั่วโลก และถึงแม้ว่าในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา อุตสาหกรรมคอนเทนต์ไทยจะคึกคักขึ้นอย่างมากโดยเฉพาะจากกระแสนิยายวายที่ถูกนำไปสร้างเป็นซีรีส์โด่งดังไปทั่วโลก แต่วรรณกรรมไทยที่ได้รับการแปลและตีพิมพ์ในต่างประเทศต้องยอมรับว่ายังมีจำนวนไม่มากเมื่อเทียบกับประเทศอื่น ๆ ในโอกาสฉลองครบรอบ 20 ปี… ชวนร่วมคอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา ชม “tattoo colour” ช่วยส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาของนักเรียน tui sakrapeeApril 8, 2025 คอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา tattoo colour สามารถซื้อบัตรเข้าร่วมชมคอนเสิร์ตกันได้ทั้งนักเรียน นักศึกษา บุคลากร และบุคลภายนอก สมาคมผู้ปกครองและครูโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ขอเชิญชวนทุกท่านร่วมงาน “#คอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา” ที่จะมอบความสุข สนุกสนาน และช่วยส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาของนักเรียน 📅 วันอาทิตย์ที่ 4 พฤษภาคม 2568… Search for: Search EZ Webmaster December 20, 2019 EZ Webmaster December 20, 2019 ยุค ‘Talent War’ แย่งตัวนักเรียนหัวกะทิ มหา’ลัยระดับโลกชิงให้ทุนตัดหน้ารัฐไทย! เข้าสู่ยุค ‘Talent War’ สงครามแย่งชิงคนเก่ง เข้าเรียนในสถาบันการศึกษาทั่วโลก ‘ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์’ ชี้มหาวิทยาลัยระดับ World Class ชิงตัดหน้าให้ทุน ‘นักศึกษาไทย’ ระดับหัวกะทิที่รัฐบาลให้ทุนไปแล้ว แจงต้องเร่งปั้นมหาวิทยาลัยรัฐ ทั้งจุฬาฯ มหิดล ติดลำดับท็อป 100 ให้ได้ เพื่อให้เด็กไทยอยากเรียนในไทย และดึงชนชั้นนำ-เจ้าสัว ในต่างประเทศเข้ามาเรียนด้วย ขณะเดียวกันแบ่ง 3 กลุ่มสถาบัน เพื่อสู้กับทั่วโลก พัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม พร้อมยกเครื่องราชภัฏ เป็นมหาวิทยาลัยกลุ่ม “เสาหลักของแผ่นดิน” ร่วมพัฒนาพื้นที่ให้สำเร็จ!ปรากฏการณ์ ‘Talent War’ หรือสงครามแย่งชิงคน กำลังเกิดขึ้นในสังคมโลก ซึ่งประเทศไทยก็ต้องวางแผนไว้รองรับว่าจะทำอย่างไรถึงจะดึงคนเก่งของโลกมาอยู่กับเราให้ได้นี่คือโจทย์ใหญ่ที่ ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ให้ความเห็นไว้และบอกด้วยว่าจะต้องรีบดำเนินการอย่างไรจึงจะสามารถบรรลุเป้าหมายตรงนี้ได้ เพราะนี่คือเหตุผลของการรวมสถาบันระดับอุดมศึกษาและตั้งเป็นกระทรวงใหม่คือกระทรวง ‘อว.’ ขึ้นมาเพื่อจะได้เป็นพลังขับเคลื่อนในการพัฒนาประเทศด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีต่อไปในอนาคต“โจทย์ผมเวลานี้ คือ จะต้องทำให้มหาวิทยาลัยไทย ปรับตัวเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 พร้อมกับคุณภาพที่ดี โดยจะยกระดับคุณภาพได้อย่างไร หากไม่มีคุณภาพ ทุกอย่างจบหมด” ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ดร.สุวิทย์ บอกว่า เวลานี้สถาบันการศึกษามักจะพูดเสมอว่าจำนวนนักศึกษาน้อย ทำให้สถาบันการศึกษาทั้งรัฐและเอกชนต้องแบกภาระไว้มาก ซึ่งในความเป็นจริงในอนาคตมีแนวโน้มเด็กจะลดลงไปกว่านี้อีก ดังนั้นสถาบันการศึกษาทั้งรัฐและเอกชน ต้องหาวิธีการปรับตัว โดยเฉพาะจะต้องออกไปเจาะตลาดต่างประเทศ ด้วยการไปเปิด Campus ในต่างประเทศ เช่นเดียวกับที่ 2 มหาวิทยาลัยต่างชาติ ที่มาเปิดในไทย อย่าง มหาวิทยาลัยคาร์เนกี้ เมลลอน หรือ มหาวิทยาลัยไต้หวันที่มาเปิด Campus ในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์นี่คือกระแสโลกาภิวัตน์ที่สถาบันการศึกษาของไทยต้องตามให้ทัน“เรียกว่าต้องมี In-out กับ Out-in ซึ่ง In-out หมายถึง มหาวิทยาลัยของไทยต้องออกไปตั้ง Campus ที่ประเทศต่างๆ เช่นที่มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ไปตั้งที่ประเทศพม่า และมีนักศึกษาพม่าสนใจเรียนจำนวนมาก ปัจจุบันมีการตั้งสมาคมศิษย์เก่าที่เข้มแข็ง ช่วยกันโปรโมตและดึงคนพม่ามาเรียนที่ Campus ที่นั่น ส่วน Out-in ที่กำลังเกิดขึ้นมากในเวลานี้ก็คือการที่มหาวิทยาลัยไปดึงนักศึกษาจีนเข้ามาเรียนในไทย”แต่สิ่งสำคัญที่สถาบันการศึกษาจะต้องดำเนินการไม่ใช่เพียงแค่การเจาะตลาดต่างประเทศ แต่จะต้องให้ความสำคัญกับเรื่องของการดึง Talent หรือนักศึกษาที่มีความสามารถพิเศษ นักศึกษาที่มีคุณภาพสูง ชนชั้นสูง เจ้าสัว เข้ามาเรียนในสถาบันฯ การศึกษานั้นๆ“การที่มหาวิทยาลัยไทยจะได้ Talent มาหรือไม่ ก็ขึ้นอยู่กับคุณภาพของมหาวิทยาลัยนั้นๆ ด้วย ว่ามีอะไรน่าสนใจ ที่จะสามารถเป็นแม่เหล็กดึงนักศึกษาคุณภาพได้ด้วย”รัฐมนตรีว่าการกระทรวง อว. ระบุว่า การที่กระทรวง อว.มีเป้าหมายที่จะสร้างมหาวิทยาลัยของไทยให้เป็นมหาวิทยาลัยคุณภาพ เพื่อติดอันดับท็อป 100 ของโลกให้ได้ จึงได้ตั้งงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2563 สำหรับการพัฒนาด้านการศึกษา วิจัย และนวัตกรรม จำนวน 142,479 ล้านบาท ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณฯ 2562 จำนวน 2,871 ล้านบาท“จุฬาฯ กับมหิดล อยู่ในระดับที่ 300 กว่าๆ ซึ่งผมตั้งใจพัฒนาเพื่อให้จุฬาฯ และมหิดล ขยับขั้นไปในระดับท็อป 100 ให้ได้ ถ้าเราทำได้มหาวิทยาลัยอื่นๆ ในไทย ก็จะขยับขึ้นมาได้ด้วย” จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล อย่างไรก็ดี สถาบันการจัดอันดับ Quacquarelli Symonds (QS) แห่งสหราชอาณาจักร ในปี 2019 ได้มีการเปิดเผยข้อมูลการจัดอันดับล่าสุด พบว่าจุฬาฯ ถูกจัดอยู่ในอันดับที่ 271 ครอบคลุมทั้งด้านคุณภาพของมหาวิทยาลัย คุณภาพบัณฑิต คุณภาพด้านการวิจัย เป็นต้น ส่วนมหาวิทยาลัยมหิดล อยู่ในลำดับที่ 380 และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์อยู่ในช่วง 601-650 เป็นต้นดร.สุวิทย์ บอกว่าถ้ารัฐบาลสามารถพัฒนาให้มหาวิทยาลัยของไทยติดอันดับท็อป 100 ได้ก็จะมีนักศึกษาและนักวิจัยที่มีคุณภาพดีๆ ซึ่งจะทำให้เป็นแม่เหล็กดึงนักศึกษาจากต่างประเทศเข้ามาเรียนในประเทศไทย แต่ถ้ามหาวิทยาลัยของไทยยังอยู่ในระดับต่ำๆ นักศึกษาไทยที่เรียนดีและมีโอกาสก็จะไม่เลือกเรียนที่ประเทศไทย“เด็กหัวกะทิในระดับ Top 5 ของนักศึกษาที่เรียนดีที่สุดของประเทศ พวกนี้จะเลือกไปเรียนต่างประเทศกันหมด เพราะดีกว่าเลือกเรียนที่จุฬาฯ หรือมหิดล เราจึงต้องเร่งพัฒนาให้จุฬาฯ หรือมหิดล ขึ้น Top 100 ของโลกให้ได้”หากรัฐสามารถพัฒนาได้ถึงขั้น Top 100 เด็กหัวกะทิก็จะเลือกเรียนเมืองไทยดีกว่าจะไปต่างประเทศ และจะทำให้นักศึกษาต่างประเทศเลือกที่จะเข้ามาเรียนเมืองไทยได้ง่ายเช่นกัน“อนาคตจะเป็น Talent War สงครามแย่งชิงคน เราต้องการให้คนเก่งของโลกมาอยู่กับเราให้ได้ แต่ถ้าเราทำไม่ได้ คนเก่งก็จะเลือกไปทำงานต่างประเทศกันหมด”ดร.สุวิทย์ บอกอีกว่า สถานการณ์ในขณะนี้ ทางกระทรวง อว.มีทุนให้นักศึกษาไปสอบเรียนต่อในมหาวิทยาลัยลำดับดีๆ ในต่างประเทศ แต่ปรากฏว่ามหาวิทยาลัยลำดับดีๆ ในต่างประเทศกลับแย่งตัวนักศึกษาเหล่านี้ด้วยการให้ทุนเรียนไปเลย‘มหาวิทยาลัยระดับ World Class เหล่านี้ให้ทุนแย่งเด็กเราไปก่อน นี่คือรูปแบบสงครามที่เกิดขึ้นในอนาคต เป็นสงครามแย่งชิงทรัพยากรมนุษย์ที่มีค่า และนี่คือเหตุผลที่เราต้องแบ่งมหาวิทยาลัยเป็น 3 กลุ่ม” การแบ่งมหาวิทยาลัยเป็น 3 กลุ่ม ประกอบด้วยกลุ่มที่ 1 มหาวิทยาลัยที่จะไปสู้กับโลก ประกอบด้วย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหิดล, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, มหาวิทยาลัยขอนแก่น, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ฯลฯ มหาวิทยาลัยกลุ่มนี้ต้องดึงให้ขึ้นมาเป็นท็อป 100 ให้ได้ ถ้าเราก้าวไปไม่ได้ นักศึกษาเก่งๆ ก็จะไม่เลือกเรียนสถาบันเหล่านี้ ส่วนนักศึกษาที่ดีๆ มีคุณภาพของโลก ก็จะไม่มาเรียนในประเทศไทยกลุ่มที่ 2 มหาวิทยาลัยที่เน้นเทคโนโลยี นวัตกรรม จะประกอบด้วย 3 พระจอม คือ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ซึ่งจะตอบโจทย์อุตสาหกรรมในอนาคตกลุ่มที่ 3 มหาวิทยาลัยพัฒนาพื้นที่ คือกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏทั้ง 38 แห่ง ที่จะเน้นเรื่องของการพัฒนาท้องถิ่น โดยในแผนจะให้ราชภัฏ 1 แห่งดูแล 2 จังหวัด และจะให้ไปทำวิจัยเชิงพื้นที่ เพราะในอนาคตการผลิตครูอาจจะ Over Supply ไปแล้ว “ราชภัฏต้องตอบโจทย์ให้ได้ว่า ครูในศตวรรษที่ 21 หน้าตาจะเป็นอย่างไร Demand กับ Supply ครู เป็นอย่างไร และคุณภาพครูที่ผลิต เป็นอย่างไร แต่ที่วางไว้ราชภัฏจะไม่ใช่ผลิตครูอย่างเดียว”นอกจากนี้ในหลักการแล้ว คนที่เรียนราชภัฏจะต้องอยู่กับพื้นที่ ไม่ต้องเข้ามาในกรุงเทพฯ และไม่ต้องเข้ามาอยู่ในเมืองใหญ่ แต่จะมีประเด็นที่ให้ราชภัฏดำเนินการได้ในพื้นที่ ทั้งเรื่องการท่องเที่ยว เรื่องโอทอป เรื่องสมาร์ทฟาร์มเมอร์ ซึ่งจะเป็นการกระจายรายได้ กระจายโอกาสให้สามารถดำรงชีพอยู่ในพื้นที่ได้ด้วย “เราจะต้องยกเครื่องมหาวิทยาลัยราชภัฏ เพราะราชภัฏต้องดูแลเด็กถึง 80% ซึ่งถ้าเด็กกลุ่มนี้คุณภาพไม่ดี ปัญหาจะตกอยู่กับประเทศไทย เพราะเด็ก 70% เป็นสายสังคมศาสตร์ อีก 30% เป็นสายวิทยาศาสตร์ ซึ่งจะต้องทำให้เด็กกลุ่มนี้มีพลัง ถึงมียุวชนสร้างชาติ ลงพัฒนาพื้นที่ ท้องถิ่น เอามหาวิทยาลัยไปติดอาวุธทางปัญหาท้องถิ่น” “เราจะต้องยกเครื่องมหาวิทยาลัยราชภัฏ เพราะราชภัฏต้องดูแลเด็กถึง 80% ซึ่งถ้าเด็กกลุ่มนี้คุณภาพไม่ดี ปัญหาจะตกอยู่กับประเทศไทย เพราะเด็ก 70% เป็นสายสังคมศาสตร์ อีก 30% เป็นสายวิทยาศาสตร์ ซึ่งจะต้องทำให้เด็กกลุ่มนี้มีพลัง ถึงมียุวชนสร้างชาติ ลงพัฒนาพื้นที่ ท้องถิ่น เอามหาวิทยาลัยไปติดอาวุธทางปัญหาท้องถิ่น”ขณะเดียวกันการจะยกเครื่องกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏนั้น กระทรวง อว. ได้มีการประสานกับMicrosoft ที่จะนำเรื่องของภาษาอังกฤษ กับเรื่องของดิจิทัล เพื่อยกระดับครูราชภัฏได้ระดับหนึ่งก่อน ที่เหลือก็เป็นเรื่องของการวิจัย เพื่อตอบโจทย์ในพื้นที่ เพื่อแก้ไขปัญหาความยากจน“เราต้องติดอาวุธ หรือ เติมพลังให้ราชภัฏเพราะคนกลุ่มนี้คือเสาหลักของแผ่นดิน กระทรวง อว.จะต้องทำให้มหาวิทยาลัยราชภัฏแข็งแรงขึ้น พร้อมๆ กับพัฒนาให้มหาวิทยาลัยไทยก้าวสู่ท็อป 100 ให้สำเร็จ”อีกทั้งจะต้องปลุกพลังให้เกิดการร่วมมือกันระหว่างราชภัฏและราชมงคลในแต่ละจังหวัดให้ได้ เพราะราชมงคล จะได้เรื่องเทคโนโลยี ส่วนราชภัฏจะเน้นเรื่องการบริหาร เรื่องการท่องเที่ยว เพราะประเทศไทยมี 2 อย่างคือ ด้านการเกษตร และต้องสร้าง High Value Service ในด้านการท่องเที่ยวให้เกิดขึ้น รวมทั้งต้องไปจับมือกับกระทรวงวิทยาศาสตร์ ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อยกระดับ Smart Farmer ให้มีคุณภาพส่วนเรื่องของสถาบันการศึกษาเอกชนนั้น ทางรัฐบาลมิได้ทอดทิ้ง ก็ได้มีการประสานกับทางสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย โดยสมาคมฯ ได้เสนอขอให้รัฐให้การสนับสนุน 2 เรื่อง คือในเรื่องของการเชื่อมโยงกับเอสเอ็มอี ซึ่งทาง อว.ก็ได้ประสานกับหอการค้าไทย และสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย รวมทั้งสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ไว้ให้แล้ว และอีกเรื่องมหาวิทยาลัยเอกชน ต้องการให้ช่วยเหลือในเรื่องของการเจาะตลาดนักศึกษาในต่างประเทศ ทั้งเรื่องการไปเปิด Campus และการดึงนักศึกษาต่างชาติเข้ามาเรียนในประเทศไทย เช่นนักศึกษากัมพูชา นักศึกษาลาว ซึ่งปัจจุบันมีการเปิด Campus ที่พม่าแล้วดังนั้นเป้าหมายนักศึกษาที่ ดร.สุวิทย์ ต้องการให้สถาบันการศึกษาของไทยทั้งภาครัฐและเอกชน จะต้องเร่งพัฒนาและยกระดับคุณภาพของสถาบัน เพื่อรักษานักศึกษาไทยระดับหัวกะทิไว้ให้ได้ และยังสามารถเป็นพลังดึงดูดนักศึกษาที่มีคุณภาพจากต่างประเทศเข้ามาเรียนในไทย ซึ่งหมายถึงสถาบันการศึกษาไทยมีสิทธิ์เลือกคนเก่งเข้ามาเรียนในไทย“เราต้องได้คนเก่งในระดับหนึ่งมาเรียน และต้องการชนชั้นนำหรือระดับเจ้าสัวของต่างประเทศเข้ามาเรียนในไทยด้วย”ตรงนี้คือประเด็นหนึ่งที่ ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ตั้งเป้าหมายไว้เพื่อสอดคล้องกับการเป็นมหาวิทยาลัยที่มีคุณภาพย่อมได้นักศึกษาที่มีคุณภาพเช่นกัน ! ที่มา : mgronline.com EZ Webmaster Related Posts พลังการอ่านเปลี่ยนคน เปลี่ยนเมือง เปลี่ยนโลก! “ทีเค พาร์ค” เปิดอินไซต์โมเดล 4 ชาติ ที่สร้างอำนาจโน้มนำผ่านการพัฒนาระบบหนังสือ บทพิสูจน์สำคัญที่ ‘การอ่าน’ สร้างชาติได้จริง อัปเดต ค่าเทอมคณะแพทยศาสตร์ ม.เอกชน (ล่าสุด พ.ศ. 2568) ร่วมสนุกไม่ใช่ประกวด มาอวดฝีมือวาดภาพ “เมืองแห่งอนาคตของฉัน” สรุปคะแนนสูง-ต่ำ TCAS รอบ 3 ย้อนหลัง 7 ปี ครบทุกมหาวิทยาลัย DEK68 ห้ามพลาด! เรียนไปเที่ยวไป เปิดมิติใหม่แห่งการเรียนรู้ กับสาขาการจัดการการท่องเที่ยวและการบริการ Post navigation PREVIOUS Previous post: มาดูคำถามที่ Google ใช้ในการหาผู้นำที่ยอดเยี่ยมภายใน 5 นาทีNEXT Next post: “ครูตั้น” ตั้งเป้าเพิ่มสัดส่วนสายอาชีพ 60 ต่อ 40 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
“มทร.ล้านนา” ประเมินความเสียหาย พร้อมจัดทำคู่มือข้อปฏิบัติรับมือแผ่นดินไหว EZ WebmasterApril 22, 2025 รศ.วิเชษฐ ทิพย์ประเสริฐ รักษาราชการแทน อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา (มทร.ล้านนา) กล่าวว่ามทร.ล้านนา ตั้งอยู่ในพื้นที่ภาคเหนือ โดยมี 6 วิทยาเขต 1 สถาบัน คือ เขตพื้นที่ภาคพายัพ เขตพื้นที่เชียงราย เขตพื้นที่ตาก เขตพื้นที่น่าน เขตพื้นที่ลำปาง เขตพื้นที่พิษณุโลก และสถาบันวิจัยลำปาง ซึ่งเมื่อ 10 กว่าปีที่ผ่านมา ในพื้นที่เชียงรายเคยเกิดกรณีแผ่นดินไหวขึ้น… ผู้บริหารการศึกษายุคใหม่ก้าวทันโลก… พร้อมสู่อนาคต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต EZ WebmasterApril 21, 2025 ในยุคที่โลกเปลี่ยนแปลงรวดเร็ว เทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทสำคัญในทุกแง่มุมของชีวิต แม้กระทั่งการศึกษาเองก็ไม่ใช่ข้อยกเว้น ผู้บริหารการศึกษายุคใหม่จึงต้องปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลง พัฒนาทักษะ และความรู้ใหม่ๆ อยู่เสมอ วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต เล็งเห็นถึงความสำคัญนี้ จึงได้จัดทำหลักสูตร สาขาวิชาการบริหารการศึกษา ที่มุ่งพัฒนาผู้บริหารการศึกษามืออาชีพยุคใหม่ ให้พร้อมรับมือกับทุกโจทย์ความท้าทาย หลักสูตรฯ ของเรา เน้นการเรียนรู้แบบผสมผสาน “ทฤษฎีเข้ากับประสบการณ์จริง”…
ผู้บริหารการศึกษายุคใหม่ก้าวทันโลก… พร้อมสู่อนาคต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต EZ WebmasterApril 21, 2025 ในยุคที่โลกเปลี่ยนแปลงรวดเร็ว เทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทสำคัญในทุกแง่มุมของชีวิต แม้กระทั่งการศึกษาเองก็ไม่ใช่ข้อยกเว้น ผู้บริหารการศึกษายุคใหม่จึงต้องปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลง พัฒนาทักษะ และความรู้ใหม่ๆ อยู่เสมอ วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต เล็งเห็นถึงความสำคัญนี้ จึงได้จัดทำหลักสูตร สาขาวิชาการบริหารการศึกษา ที่มุ่งพัฒนาผู้บริหารการศึกษามืออาชีพยุคใหม่ ให้พร้อมรับมือกับทุกโจทย์ความท้าทาย หลักสูตรฯ ของเรา เน้นการเรียนรู้แบบผสมผสาน “ทฤษฎีเข้ากับประสบการณ์จริง”…
จุฬาฯ ผนึก สมช. และกองทัพเรือ ลงนามความร่วมมือจัดตั้ง “องค์กรจัดการความรู้ทางทะเลของประเทศไทย” EZ WebmasterApril 21, 2025 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับสำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ (สมช.) และกองทัพเรือ (ทร.) จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ว่าด้วย “การจัดตั้งและขับเคลื่อนองค์กรจัดการความรู้ทางทะเลของประเทศไทย” เพื่อวางรากฐานในการเป็นศูนย์กลางองค์ความรู้ทางทะเลระดับประเทศ เมื่อวันศุกร์ที่ 11 เมษายน 2568 ณ ห้องประชุม 105 อาคารมหาจุฬาลงกรณ์ โดยมี พล.ต.ต.สุรสิทธิ์… มมส สืบสานประเพณีสงกรานต์ ทำบุญตักบาตรเสริมสิริมงคลรับปีใหม่ไทย EZ WebmasterApril 17, 2025 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (มมส) จัดงานสืบสานประเพณีสงกรานต์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ประจำปี 2568 โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.ประยุกต์ ศรีวิไล อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เป็นประธานในพิธี พร้อมด้วยผู้บริหาร คณาจารย์ บุคลากร และนิสิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เข้าร่วมงาน ณ… ทีเค พาร์ค พาเจาะเส้นทางความสำเร็จนักเขียนไทยผู้เจาะตลาดอินเตอร์ พร้อมเปิดทริคอัปเลเวล “นักเขียนมือทอง” หนุนวรรณกรรมไทยไปตีตลาดโลก EZ WebmasterApril 17, 2025 “นักเขียนไทย สู้ต่างชาติได้จริงไหม?” เป็นคำถามที่หลายคนอาจสงสัย ทั้งที่นักเขียนไทยหลายคน ก็มีฝีมือไม่แพ้ใคร แต่ทำไมยังไม่ค่อยเห็นวรรณกรรมไทยไปไกลถึงตลาดโลก ในขณะที่หลายประเทศมีวรรณกรรมเป็นซอฟต์พาวเวอร์และเป็นสินค้าส่งออก เช่น เกาหลีใต้ที่ผลักดัน Webtoon และนิยายออนไลน์สู่ K-Drama และ K-Series ญี่ปุ่นที่เปลี่ยนมังงะและไลต์โนเวล (Light Novel) ให้กลายเป็นสินค้าส่งออกสำคัญของประเทศ เช่นเดียวกับจีนที่ส่งออกวรรณกรรมออนไลน์โกยรายได้มหาศาลจากทั่วโลก และถึงแม้ว่าในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา อุตสาหกรรมคอนเทนต์ไทยจะคึกคักขึ้นอย่างมากโดยเฉพาะจากกระแสนิยายวายที่ถูกนำไปสร้างเป็นซีรีส์โด่งดังไปทั่วโลก แต่วรรณกรรมไทยที่ได้รับการแปลและตีพิมพ์ในต่างประเทศต้องยอมรับว่ายังมีจำนวนไม่มากเมื่อเทียบกับประเทศอื่น ๆ ในโอกาสฉลองครบรอบ 20 ปี… ชวนร่วมคอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา ชม “tattoo colour” ช่วยส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาของนักเรียน tui sakrapeeApril 8, 2025 คอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา tattoo colour สามารถซื้อบัตรเข้าร่วมชมคอนเสิร์ตกันได้ทั้งนักเรียน นักศึกษา บุคลากร และบุคลภายนอก สมาคมผู้ปกครองและครูโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ขอเชิญชวนทุกท่านร่วมงาน “#คอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา” ที่จะมอบความสุข สนุกสนาน และช่วยส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาของนักเรียน 📅 วันอาทิตย์ที่ 4 พฤษภาคม 2568… Search for: Search EZ Webmaster December 20, 2019 EZ Webmaster December 20, 2019 ยุค ‘Talent War’ แย่งตัวนักเรียนหัวกะทิ มหา’ลัยระดับโลกชิงให้ทุนตัดหน้ารัฐไทย! เข้าสู่ยุค ‘Talent War’ สงครามแย่งชิงคนเก่ง เข้าเรียนในสถาบันการศึกษาทั่วโลก ‘ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์’ ชี้มหาวิทยาลัยระดับ World Class ชิงตัดหน้าให้ทุน ‘นักศึกษาไทย’ ระดับหัวกะทิที่รัฐบาลให้ทุนไปแล้ว แจงต้องเร่งปั้นมหาวิทยาลัยรัฐ ทั้งจุฬาฯ มหิดล ติดลำดับท็อป 100 ให้ได้ เพื่อให้เด็กไทยอยากเรียนในไทย และดึงชนชั้นนำ-เจ้าสัว ในต่างประเทศเข้ามาเรียนด้วย ขณะเดียวกันแบ่ง 3 กลุ่มสถาบัน เพื่อสู้กับทั่วโลก พัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม พร้อมยกเครื่องราชภัฏ เป็นมหาวิทยาลัยกลุ่ม “เสาหลักของแผ่นดิน” ร่วมพัฒนาพื้นที่ให้สำเร็จ!ปรากฏการณ์ ‘Talent War’ หรือสงครามแย่งชิงคน กำลังเกิดขึ้นในสังคมโลก ซึ่งประเทศไทยก็ต้องวางแผนไว้รองรับว่าจะทำอย่างไรถึงจะดึงคนเก่งของโลกมาอยู่กับเราให้ได้นี่คือโจทย์ใหญ่ที่ ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ให้ความเห็นไว้และบอกด้วยว่าจะต้องรีบดำเนินการอย่างไรจึงจะสามารถบรรลุเป้าหมายตรงนี้ได้ เพราะนี่คือเหตุผลของการรวมสถาบันระดับอุดมศึกษาและตั้งเป็นกระทรวงใหม่คือกระทรวง ‘อว.’ ขึ้นมาเพื่อจะได้เป็นพลังขับเคลื่อนในการพัฒนาประเทศด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีต่อไปในอนาคต“โจทย์ผมเวลานี้ คือ จะต้องทำให้มหาวิทยาลัยไทย ปรับตัวเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 พร้อมกับคุณภาพที่ดี โดยจะยกระดับคุณภาพได้อย่างไร หากไม่มีคุณภาพ ทุกอย่างจบหมด” ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ดร.สุวิทย์ บอกว่า เวลานี้สถาบันการศึกษามักจะพูดเสมอว่าจำนวนนักศึกษาน้อย ทำให้สถาบันการศึกษาทั้งรัฐและเอกชนต้องแบกภาระไว้มาก ซึ่งในความเป็นจริงในอนาคตมีแนวโน้มเด็กจะลดลงไปกว่านี้อีก ดังนั้นสถาบันการศึกษาทั้งรัฐและเอกชน ต้องหาวิธีการปรับตัว โดยเฉพาะจะต้องออกไปเจาะตลาดต่างประเทศ ด้วยการไปเปิด Campus ในต่างประเทศ เช่นเดียวกับที่ 2 มหาวิทยาลัยต่างชาติ ที่มาเปิดในไทย อย่าง มหาวิทยาลัยคาร์เนกี้ เมลลอน หรือ มหาวิทยาลัยไต้หวันที่มาเปิด Campus ในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์นี่คือกระแสโลกาภิวัตน์ที่สถาบันการศึกษาของไทยต้องตามให้ทัน“เรียกว่าต้องมี In-out กับ Out-in ซึ่ง In-out หมายถึง มหาวิทยาลัยของไทยต้องออกไปตั้ง Campus ที่ประเทศต่างๆ เช่นที่มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ไปตั้งที่ประเทศพม่า และมีนักศึกษาพม่าสนใจเรียนจำนวนมาก ปัจจุบันมีการตั้งสมาคมศิษย์เก่าที่เข้มแข็ง ช่วยกันโปรโมตและดึงคนพม่ามาเรียนที่ Campus ที่นั่น ส่วน Out-in ที่กำลังเกิดขึ้นมากในเวลานี้ก็คือการที่มหาวิทยาลัยไปดึงนักศึกษาจีนเข้ามาเรียนในไทย”แต่สิ่งสำคัญที่สถาบันการศึกษาจะต้องดำเนินการไม่ใช่เพียงแค่การเจาะตลาดต่างประเทศ แต่จะต้องให้ความสำคัญกับเรื่องของการดึง Talent หรือนักศึกษาที่มีความสามารถพิเศษ นักศึกษาที่มีคุณภาพสูง ชนชั้นสูง เจ้าสัว เข้ามาเรียนในสถาบันฯ การศึกษานั้นๆ“การที่มหาวิทยาลัยไทยจะได้ Talent มาหรือไม่ ก็ขึ้นอยู่กับคุณภาพของมหาวิทยาลัยนั้นๆ ด้วย ว่ามีอะไรน่าสนใจ ที่จะสามารถเป็นแม่เหล็กดึงนักศึกษาคุณภาพได้ด้วย”รัฐมนตรีว่าการกระทรวง อว. ระบุว่า การที่กระทรวง อว.มีเป้าหมายที่จะสร้างมหาวิทยาลัยของไทยให้เป็นมหาวิทยาลัยคุณภาพ เพื่อติดอันดับท็อป 100 ของโลกให้ได้ จึงได้ตั้งงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2563 สำหรับการพัฒนาด้านการศึกษา วิจัย และนวัตกรรม จำนวน 142,479 ล้านบาท ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณฯ 2562 จำนวน 2,871 ล้านบาท“จุฬาฯ กับมหิดล อยู่ในระดับที่ 300 กว่าๆ ซึ่งผมตั้งใจพัฒนาเพื่อให้จุฬาฯ และมหิดล ขยับขั้นไปในระดับท็อป 100 ให้ได้ ถ้าเราทำได้มหาวิทยาลัยอื่นๆ ในไทย ก็จะขยับขึ้นมาได้ด้วย” จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล อย่างไรก็ดี สถาบันการจัดอันดับ Quacquarelli Symonds (QS) แห่งสหราชอาณาจักร ในปี 2019 ได้มีการเปิดเผยข้อมูลการจัดอันดับล่าสุด พบว่าจุฬาฯ ถูกจัดอยู่ในอันดับที่ 271 ครอบคลุมทั้งด้านคุณภาพของมหาวิทยาลัย คุณภาพบัณฑิต คุณภาพด้านการวิจัย เป็นต้น ส่วนมหาวิทยาลัยมหิดล อยู่ในลำดับที่ 380 และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์อยู่ในช่วง 601-650 เป็นต้นดร.สุวิทย์ บอกว่าถ้ารัฐบาลสามารถพัฒนาให้มหาวิทยาลัยของไทยติดอันดับท็อป 100 ได้ก็จะมีนักศึกษาและนักวิจัยที่มีคุณภาพดีๆ ซึ่งจะทำให้เป็นแม่เหล็กดึงนักศึกษาจากต่างประเทศเข้ามาเรียนในประเทศไทย แต่ถ้ามหาวิทยาลัยของไทยยังอยู่ในระดับต่ำๆ นักศึกษาไทยที่เรียนดีและมีโอกาสก็จะไม่เลือกเรียนที่ประเทศไทย“เด็กหัวกะทิในระดับ Top 5 ของนักศึกษาที่เรียนดีที่สุดของประเทศ พวกนี้จะเลือกไปเรียนต่างประเทศกันหมด เพราะดีกว่าเลือกเรียนที่จุฬาฯ หรือมหิดล เราจึงต้องเร่งพัฒนาให้จุฬาฯ หรือมหิดล ขึ้น Top 100 ของโลกให้ได้”หากรัฐสามารถพัฒนาได้ถึงขั้น Top 100 เด็กหัวกะทิก็จะเลือกเรียนเมืองไทยดีกว่าจะไปต่างประเทศ และจะทำให้นักศึกษาต่างประเทศเลือกที่จะเข้ามาเรียนเมืองไทยได้ง่ายเช่นกัน“อนาคตจะเป็น Talent War สงครามแย่งชิงคน เราต้องการให้คนเก่งของโลกมาอยู่กับเราให้ได้ แต่ถ้าเราทำไม่ได้ คนเก่งก็จะเลือกไปทำงานต่างประเทศกันหมด”ดร.สุวิทย์ บอกอีกว่า สถานการณ์ในขณะนี้ ทางกระทรวง อว.มีทุนให้นักศึกษาไปสอบเรียนต่อในมหาวิทยาลัยลำดับดีๆ ในต่างประเทศ แต่ปรากฏว่ามหาวิทยาลัยลำดับดีๆ ในต่างประเทศกลับแย่งตัวนักศึกษาเหล่านี้ด้วยการให้ทุนเรียนไปเลย‘มหาวิทยาลัยระดับ World Class เหล่านี้ให้ทุนแย่งเด็กเราไปก่อน นี่คือรูปแบบสงครามที่เกิดขึ้นในอนาคต เป็นสงครามแย่งชิงทรัพยากรมนุษย์ที่มีค่า และนี่คือเหตุผลที่เราต้องแบ่งมหาวิทยาลัยเป็น 3 กลุ่ม” การแบ่งมหาวิทยาลัยเป็น 3 กลุ่ม ประกอบด้วยกลุ่มที่ 1 มหาวิทยาลัยที่จะไปสู้กับโลก ประกอบด้วย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหิดล, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, มหาวิทยาลัยขอนแก่น, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ฯลฯ มหาวิทยาลัยกลุ่มนี้ต้องดึงให้ขึ้นมาเป็นท็อป 100 ให้ได้ ถ้าเราก้าวไปไม่ได้ นักศึกษาเก่งๆ ก็จะไม่เลือกเรียนสถาบันเหล่านี้ ส่วนนักศึกษาที่ดีๆ มีคุณภาพของโลก ก็จะไม่มาเรียนในประเทศไทยกลุ่มที่ 2 มหาวิทยาลัยที่เน้นเทคโนโลยี นวัตกรรม จะประกอบด้วย 3 พระจอม คือ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ซึ่งจะตอบโจทย์อุตสาหกรรมในอนาคตกลุ่มที่ 3 มหาวิทยาลัยพัฒนาพื้นที่ คือกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏทั้ง 38 แห่ง ที่จะเน้นเรื่องของการพัฒนาท้องถิ่น โดยในแผนจะให้ราชภัฏ 1 แห่งดูแล 2 จังหวัด และจะให้ไปทำวิจัยเชิงพื้นที่ เพราะในอนาคตการผลิตครูอาจจะ Over Supply ไปแล้ว “ราชภัฏต้องตอบโจทย์ให้ได้ว่า ครูในศตวรรษที่ 21 หน้าตาจะเป็นอย่างไร Demand กับ Supply ครู เป็นอย่างไร และคุณภาพครูที่ผลิต เป็นอย่างไร แต่ที่วางไว้ราชภัฏจะไม่ใช่ผลิตครูอย่างเดียว”นอกจากนี้ในหลักการแล้ว คนที่เรียนราชภัฏจะต้องอยู่กับพื้นที่ ไม่ต้องเข้ามาในกรุงเทพฯ และไม่ต้องเข้ามาอยู่ในเมืองใหญ่ แต่จะมีประเด็นที่ให้ราชภัฏดำเนินการได้ในพื้นที่ ทั้งเรื่องการท่องเที่ยว เรื่องโอทอป เรื่องสมาร์ทฟาร์มเมอร์ ซึ่งจะเป็นการกระจายรายได้ กระจายโอกาสให้สามารถดำรงชีพอยู่ในพื้นที่ได้ด้วย “เราจะต้องยกเครื่องมหาวิทยาลัยราชภัฏ เพราะราชภัฏต้องดูแลเด็กถึง 80% ซึ่งถ้าเด็กกลุ่มนี้คุณภาพไม่ดี ปัญหาจะตกอยู่กับประเทศไทย เพราะเด็ก 70% เป็นสายสังคมศาสตร์ อีก 30% เป็นสายวิทยาศาสตร์ ซึ่งจะต้องทำให้เด็กกลุ่มนี้มีพลัง ถึงมียุวชนสร้างชาติ ลงพัฒนาพื้นที่ ท้องถิ่น เอามหาวิทยาลัยไปติดอาวุธทางปัญหาท้องถิ่น” “เราจะต้องยกเครื่องมหาวิทยาลัยราชภัฏ เพราะราชภัฏต้องดูแลเด็กถึง 80% ซึ่งถ้าเด็กกลุ่มนี้คุณภาพไม่ดี ปัญหาจะตกอยู่กับประเทศไทย เพราะเด็ก 70% เป็นสายสังคมศาสตร์ อีก 30% เป็นสายวิทยาศาสตร์ ซึ่งจะต้องทำให้เด็กกลุ่มนี้มีพลัง ถึงมียุวชนสร้างชาติ ลงพัฒนาพื้นที่ ท้องถิ่น เอามหาวิทยาลัยไปติดอาวุธทางปัญหาท้องถิ่น”ขณะเดียวกันการจะยกเครื่องกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏนั้น กระทรวง อว. ได้มีการประสานกับMicrosoft ที่จะนำเรื่องของภาษาอังกฤษ กับเรื่องของดิจิทัล เพื่อยกระดับครูราชภัฏได้ระดับหนึ่งก่อน ที่เหลือก็เป็นเรื่องของการวิจัย เพื่อตอบโจทย์ในพื้นที่ เพื่อแก้ไขปัญหาความยากจน“เราต้องติดอาวุธ หรือ เติมพลังให้ราชภัฏเพราะคนกลุ่มนี้คือเสาหลักของแผ่นดิน กระทรวง อว.จะต้องทำให้มหาวิทยาลัยราชภัฏแข็งแรงขึ้น พร้อมๆ กับพัฒนาให้มหาวิทยาลัยไทยก้าวสู่ท็อป 100 ให้สำเร็จ”อีกทั้งจะต้องปลุกพลังให้เกิดการร่วมมือกันระหว่างราชภัฏและราชมงคลในแต่ละจังหวัดให้ได้ เพราะราชมงคล จะได้เรื่องเทคโนโลยี ส่วนราชภัฏจะเน้นเรื่องการบริหาร เรื่องการท่องเที่ยว เพราะประเทศไทยมี 2 อย่างคือ ด้านการเกษตร และต้องสร้าง High Value Service ในด้านการท่องเที่ยวให้เกิดขึ้น รวมทั้งต้องไปจับมือกับกระทรวงวิทยาศาสตร์ ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อยกระดับ Smart Farmer ให้มีคุณภาพส่วนเรื่องของสถาบันการศึกษาเอกชนนั้น ทางรัฐบาลมิได้ทอดทิ้ง ก็ได้มีการประสานกับทางสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย โดยสมาคมฯ ได้เสนอขอให้รัฐให้การสนับสนุน 2 เรื่อง คือในเรื่องของการเชื่อมโยงกับเอสเอ็มอี ซึ่งทาง อว.ก็ได้ประสานกับหอการค้าไทย และสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย รวมทั้งสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ไว้ให้แล้ว และอีกเรื่องมหาวิทยาลัยเอกชน ต้องการให้ช่วยเหลือในเรื่องของการเจาะตลาดนักศึกษาในต่างประเทศ ทั้งเรื่องการไปเปิด Campus และการดึงนักศึกษาต่างชาติเข้ามาเรียนในประเทศไทย เช่นนักศึกษากัมพูชา นักศึกษาลาว ซึ่งปัจจุบันมีการเปิด Campus ที่พม่าแล้วดังนั้นเป้าหมายนักศึกษาที่ ดร.สุวิทย์ ต้องการให้สถาบันการศึกษาของไทยทั้งภาครัฐและเอกชน จะต้องเร่งพัฒนาและยกระดับคุณภาพของสถาบัน เพื่อรักษานักศึกษาไทยระดับหัวกะทิไว้ให้ได้ และยังสามารถเป็นพลังดึงดูดนักศึกษาที่มีคุณภาพจากต่างประเทศเข้ามาเรียนในไทย ซึ่งหมายถึงสถาบันการศึกษาไทยมีสิทธิ์เลือกคนเก่งเข้ามาเรียนในไทย“เราต้องได้คนเก่งในระดับหนึ่งมาเรียน และต้องการชนชั้นนำหรือระดับเจ้าสัวของต่างประเทศเข้ามาเรียนในไทยด้วย”ตรงนี้คือประเด็นหนึ่งที่ ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ตั้งเป้าหมายไว้เพื่อสอดคล้องกับการเป็นมหาวิทยาลัยที่มีคุณภาพย่อมได้นักศึกษาที่มีคุณภาพเช่นกัน ! ที่มา : mgronline.com EZ Webmaster Related Posts พลังการอ่านเปลี่ยนคน เปลี่ยนเมือง เปลี่ยนโลก! “ทีเค พาร์ค” เปิดอินไซต์โมเดล 4 ชาติ ที่สร้างอำนาจโน้มนำผ่านการพัฒนาระบบหนังสือ บทพิสูจน์สำคัญที่ ‘การอ่าน’ สร้างชาติได้จริง อัปเดต ค่าเทอมคณะแพทยศาสตร์ ม.เอกชน (ล่าสุด พ.ศ. 2568) ร่วมสนุกไม่ใช่ประกวด มาอวดฝีมือวาดภาพ “เมืองแห่งอนาคตของฉัน” สรุปคะแนนสูง-ต่ำ TCAS รอบ 3 ย้อนหลัง 7 ปี ครบทุกมหาวิทยาลัย DEK68 ห้ามพลาด! เรียนไปเที่ยวไป เปิดมิติใหม่แห่งการเรียนรู้ กับสาขาการจัดการการท่องเที่ยวและการบริการ Post navigation PREVIOUS Previous post: มาดูคำถามที่ Google ใช้ในการหาผู้นำที่ยอดเยี่ยมภายใน 5 นาทีNEXT Next post: “ครูตั้น” ตั้งเป้าเพิ่มสัดส่วนสายอาชีพ 60 ต่อ 40 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มมส สืบสานประเพณีสงกรานต์ ทำบุญตักบาตรเสริมสิริมงคลรับปีใหม่ไทย EZ WebmasterApril 17, 2025 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (มมส) จัดงานสืบสานประเพณีสงกรานต์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ประจำปี 2568 โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.ประยุกต์ ศรีวิไล อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เป็นประธานในพิธี พร้อมด้วยผู้บริหาร คณาจารย์ บุคลากร และนิสิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เข้าร่วมงาน ณ… ทีเค พาร์ค พาเจาะเส้นทางความสำเร็จนักเขียนไทยผู้เจาะตลาดอินเตอร์ พร้อมเปิดทริคอัปเลเวล “นักเขียนมือทอง” หนุนวรรณกรรมไทยไปตีตลาดโลก EZ WebmasterApril 17, 2025 “นักเขียนไทย สู้ต่างชาติได้จริงไหม?” เป็นคำถามที่หลายคนอาจสงสัย ทั้งที่นักเขียนไทยหลายคน ก็มีฝีมือไม่แพ้ใคร แต่ทำไมยังไม่ค่อยเห็นวรรณกรรมไทยไปไกลถึงตลาดโลก ในขณะที่หลายประเทศมีวรรณกรรมเป็นซอฟต์พาวเวอร์และเป็นสินค้าส่งออก เช่น เกาหลีใต้ที่ผลักดัน Webtoon และนิยายออนไลน์สู่ K-Drama และ K-Series ญี่ปุ่นที่เปลี่ยนมังงะและไลต์โนเวล (Light Novel) ให้กลายเป็นสินค้าส่งออกสำคัญของประเทศ เช่นเดียวกับจีนที่ส่งออกวรรณกรรมออนไลน์โกยรายได้มหาศาลจากทั่วโลก และถึงแม้ว่าในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา อุตสาหกรรมคอนเทนต์ไทยจะคึกคักขึ้นอย่างมากโดยเฉพาะจากกระแสนิยายวายที่ถูกนำไปสร้างเป็นซีรีส์โด่งดังไปทั่วโลก แต่วรรณกรรมไทยที่ได้รับการแปลและตีพิมพ์ในต่างประเทศต้องยอมรับว่ายังมีจำนวนไม่มากเมื่อเทียบกับประเทศอื่น ๆ ในโอกาสฉลองครบรอบ 20 ปี… ชวนร่วมคอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา ชม “tattoo colour” ช่วยส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาของนักเรียน tui sakrapeeApril 8, 2025 คอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา tattoo colour สามารถซื้อบัตรเข้าร่วมชมคอนเสิร์ตกันได้ทั้งนักเรียน นักศึกษา บุคลากร และบุคลภายนอก สมาคมผู้ปกครองและครูโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ขอเชิญชวนทุกท่านร่วมงาน “#คอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา” ที่จะมอบความสุข สนุกสนาน และช่วยส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาของนักเรียน 📅 วันอาทิตย์ที่ 4 พฤษภาคม 2568… Search for: Search
ทีเค พาร์ค พาเจาะเส้นทางความสำเร็จนักเขียนไทยผู้เจาะตลาดอินเตอร์ พร้อมเปิดทริคอัปเลเวล “นักเขียนมือทอง” หนุนวรรณกรรมไทยไปตีตลาดโลก EZ WebmasterApril 17, 2025 “นักเขียนไทย สู้ต่างชาติได้จริงไหม?” เป็นคำถามที่หลายคนอาจสงสัย ทั้งที่นักเขียนไทยหลายคน ก็มีฝีมือไม่แพ้ใคร แต่ทำไมยังไม่ค่อยเห็นวรรณกรรมไทยไปไกลถึงตลาดโลก ในขณะที่หลายประเทศมีวรรณกรรมเป็นซอฟต์พาวเวอร์และเป็นสินค้าส่งออก เช่น เกาหลีใต้ที่ผลักดัน Webtoon และนิยายออนไลน์สู่ K-Drama และ K-Series ญี่ปุ่นที่เปลี่ยนมังงะและไลต์โนเวล (Light Novel) ให้กลายเป็นสินค้าส่งออกสำคัญของประเทศ เช่นเดียวกับจีนที่ส่งออกวรรณกรรมออนไลน์โกยรายได้มหาศาลจากทั่วโลก และถึงแม้ว่าในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา อุตสาหกรรมคอนเทนต์ไทยจะคึกคักขึ้นอย่างมากโดยเฉพาะจากกระแสนิยายวายที่ถูกนำไปสร้างเป็นซีรีส์โด่งดังไปทั่วโลก แต่วรรณกรรมไทยที่ได้รับการแปลและตีพิมพ์ในต่างประเทศต้องยอมรับว่ายังมีจำนวนไม่มากเมื่อเทียบกับประเทศอื่น ๆ ในโอกาสฉลองครบรอบ 20 ปี… ชวนร่วมคอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา ชม “tattoo colour” ช่วยส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาของนักเรียน tui sakrapeeApril 8, 2025 คอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา tattoo colour สามารถซื้อบัตรเข้าร่วมชมคอนเสิร์ตกันได้ทั้งนักเรียน นักศึกษา บุคลากร และบุคลภายนอก สมาคมผู้ปกครองและครูโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ขอเชิญชวนทุกท่านร่วมงาน “#คอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา” ที่จะมอบความสุข สนุกสนาน และช่วยส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาของนักเรียน 📅 วันอาทิตย์ที่ 4 พฤษภาคม 2568…
ชวนร่วมคอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา ชม “tattoo colour” ช่วยส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาของนักเรียน tui sakrapeeApril 8, 2025 คอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา tattoo colour สามารถซื้อบัตรเข้าร่วมชมคอนเสิร์ตกันได้ทั้งนักเรียน นักศึกษา บุคลากร และบุคลภายนอก สมาคมผู้ปกครองและครูโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ขอเชิญชวนทุกท่านร่วมงาน “#คอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา” ที่จะมอบความสุข สนุกสนาน และช่วยส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาของนักเรียน 📅 วันอาทิตย์ที่ 4 พฤษภาคม 2568…
EZ Webmaster December 20, 2019 EZ Webmaster December 20, 2019 ยุค ‘Talent War’ แย่งตัวนักเรียนหัวกะทิ มหา’ลัยระดับโลกชิงให้ทุนตัดหน้ารัฐไทย! เข้าสู่ยุค ‘Talent War’ สงครามแย่งชิงคนเก่ง เข้าเรียนในสถาบันการศึกษาทั่วโลก ‘ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์’ ชี้มหาวิทยาลัยระดับ World Class ชิงตัดหน้าให้ทุน ‘นักศึกษาไทย’ ระดับหัวกะทิที่รัฐบาลให้ทุนไปแล้ว แจงต้องเร่งปั้นมหาวิทยาลัยรัฐ ทั้งจุฬาฯ มหิดล ติดลำดับท็อป 100 ให้ได้ เพื่อให้เด็กไทยอยากเรียนในไทย และดึงชนชั้นนำ-เจ้าสัว ในต่างประเทศเข้ามาเรียนด้วย ขณะเดียวกันแบ่ง 3 กลุ่มสถาบัน เพื่อสู้กับทั่วโลก พัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม พร้อมยกเครื่องราชภัฏ เป็นมหาวิทยาลัยกลุ่ม “เสาหลักของแผ่นดิน” ร่วมพัฒนาพื้นที่ให้สำเร็จ!ปรากฏการณ์ ‘Talent War’ หรือสงครามแย่งชิงคน กำลังเกิดขึ้นในสังคมโลก ซึ่งประเทศไทยก็ต้องวางแผนไว้รองรับว่าจะทำอย่างไรถึงจะดึงคนเก่งของโลกมาอยู่กับเราให้ได้นี่คือโจทย์ใหญ่ที่ ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ให้ความเห็นไว้และบอกด้วยว่าจะต้องรีบดำเนินการอย่างไรจึงจะสามารถบรรลุเป้าหมายตรงนี้ได้ เพราะนี่คือเหตุผลของการรวมสถาบันระดับอุดมศึกษาและตั้งเป็นกระทรวงใหม่คือกระทรวง ‘อว.’ ขึ้นมาเพื่อจะได้เป็นพลังขับเคลื่อนในการพัฒนาประเทศด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีต่อไปในอนาคต“โจทย์ผมเวลานี้ คือ จะต้องทำให้มหาวิทยาลัยไทย ปรับตัวเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 พร้อมกับคุณภาพที่ดี โดยจะยกระดับคุณภาพได้อย่างไร หากไม่มีคุณภาพ ทุกอย่างจบหมด” ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ดร.สุวิทย์ บอกว่า เวลานี้สถาบันการศึกษามักจะพูดเสมอว่าจำนวนนักศึกษาน้อย ทำให้สถาบันการศึกษาทั้งรัฐและเอกชนต้องแบกภาระไว้มาก ซึ่งในความเป็นจริงในอนาคตมีแนวโน้มเด็กจะลดลงไปกว่านี้อีก ดังนั้นสถาบันการศึกษาทั้งรัฐและเอกชน ต้องหาวิธีการปรับตัว โดยเฉพาะจะต้องออกไปเจาะตลาดต่างประเทศ ด้วยการไปเปิด Campus ในต่างประเทศ เช่นเดียวกับที่ 2 มหาวิทยาลัยต่างชาติ ที่มาเปิดในไทย อย่าง มหาวิทยาลัยคาร์เนกี้ เมลลอน หรือ มหาวิทยาลัยไต้หวันที่มาเปิด Campus ในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์นี่คือกระแสโลกาภิวัตน์ที่สถาบันการศึกษาของไทยต้องตามให้ทัน“เรียกว่าต้องมี In-out กับ Out-in ซึ่ง In-out หมายถึง มหาวิทยาลัยของไทยต้องออกไปตั้ง Campus ที่ประเทศต่างๆ เช่นที่มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ไปตั้งที่ประเทศพม่า และมีนักศึกษาพม่าสนใจเรียนจำนวนมาก ปัจจุบันมีการตั้งสมาคมศิษย์เก่าที่เข้มแข็ง ช่วยกันโปรโมตและดึงคนพม่ามาเรียนที่ Campus ที่นั่น ส่วน Out-in ที่กำลังเกิดขึ้นมากในเวลานี้ก็คือการที่มหาวิทยาลัยไปดึงนักศึกษาจีนเข้ามาเรียนในไทย”แต่สิ่งสำคัญที่สถาบันการศึกษาจะต้องดำเนินการไม่ใช่เพียงแค่การเจาะตลาดต่างประเทศ แต่จะต้องให้ความสำคัญกับเรื่องของการดึง Talent หรือนักศึกษาที่มีความสามารถพิเศษ นักศึกษาที่มีคุณภาพสูง ชนชั้นสูง เจ้าสัว เข้ามาเรียนในสถาบันฯ การศึกษานั้นๆ“การที่มหาวิทยาลัยไทยจะได้ Talent มาหรือไม่ ก็ขึ้นอยู่กับคุณภาพของมหาวิทยาลัยนั้นๆ ด้วย ว่ามีอะไรน่าสนใจ ที่จะสามารถเป็นแม่เหล็กดึงนักศึกษาคุณภาพได้ด้วย”รัฐมนตรีว่าการกระทรวง อว. ระบุว่า การที่กระทรวง อว.มีเป้าหมายที่จะสร้างมหาวิทยาลัยของไทยให้เป็นมหาวิทยาลัยคุณภาพ เพื่อติดอันดับท็อป 100 ของโลกให้ได้ จึงได้ตั้งงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2563 สำหรับการพัฒนาด้านการศึกษา วิจัย และนวัตกรรม จำนวน 142,479 ล้านบาท ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณฯ 2562 จำนวน 2,871 ล้านบาท“จุฬาฯ กับมหิดล อยู่ในระดับที่ 300 กว่าๆ ซึ่งผมตั้งใจพัฒนาเพื่อให้จุฬาฯ และมหิดล ขยับขั้นไปในระดับท็อป 100 ให้ได้ ถ้าเราทำได้มหาวิทยาลัยอื่นๆ ในไทย ก็จะขยับขึ้นมาได้ด้วย” จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล อย่างไรก็ดี สถาบันการจัดอันดับ Quacquarelli Symonds (QS) แห่งสหราชอาณาจักร ในปี 2019 ได้มีการเปิดเผยข้อมูลการจัดอันดับล่าสุด พบว่าจุฬาฯ ถูกจัดอยู่ในอันดับที่ 271 ครอบคลุมทั้งด้านคุณภาพของมหาวิทยาลัย คุณภาพบัณฑิต คุณภาพด้านการวิจัย เป็นต้น ส่วนมหาวิทยาลัยมหิดล อยู่ในลำดับที่ 380 และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์อยู่ในช่วง 601-650 เป็นต้นดร.สุวิทย์ บอกว่าถ้ารัฐบาลสามารถพัฒนาให้มหาวิทยาลัยของไทยติดอันดับท็อป 100 ได้ก็จะมีนักศึกษาและนักวิจัยที่มีคุณภาพดีๆ ซึ่งจะทำให้เป็นแม่เหล็กดึงนักศึกษาจากต่างประเทศเข้ามาเรียนในประเทศไทย แต่ถ้ามหาวิทยาลัยของไทยยังอยู่ในระดับต่ำๆ นักศึกษาไทยที่เรียนดีและมีโอกาสก็จะไม่เลือกเรียนที่ประเทศไทย“เด็กหัวกะทิในระดับ Top 5 ของนักศึกษาที่เรียนดีที่สุดของประเทศ พวกนี้จะเลือกไปเรียนต่างประเทศกันหมด เพราะดีกว่าเลือกเรียนที่จุฬาฯ หรือมหิดล เราจึงต้องเร่งพัฒนาให้จุฬาฯ หรือมหิดล ขึ้น Top 100 ของโลกให้ได้”หากรัฐสามารถพัฒนาได้ถึงขั้น Top 100 เด็กหัวกะทิก็จะเลือกเรียนเมืองไทยดีกว่าจะไปต่างประเทศ และจะทำให้นักศึกษาต่างประเทศเลือกที่จะเข้ามาเรียนเมืองไทยได้ง่ายเช่นกัน“อนาคตจะเป็น Talent War สงครามแย่งชิงคน เราต้องการให้คนเก่งของโลกมาอยู่กับเราให้ได้ แต่ถ้าเราทำไม่ได้ คนเก่งก็จะเลือกไปทำงานต่างประเทศกันหมด”ดร.สุวิทย์ บอกอีกว่า สถานการณ์ในขณะนี้ ทางกระทรวง อว.มีทุนให้นักศึกษาไปสอบเรียนต่อในมหาวิทยาลัยลำดับดีๆ ในต่างประเทศ แต่ปรากฏว่ามหาวิทยาลัยลำดับดีๆ ในต่างประเทศกลับแย่งตัวนักศึกษาเหล่านี้ด้วยการให้ทุนเรียนไปเลย‘มหาวิทยาลัยระดับ World Class เหล่านี้ให้ทุนแย่งเด็กเราไปก่อน นี่คือรูปแบบสงครามที่เกิดขึ้นในอนาคต เป็นสงครามแย่งชิงทรัพยากรมนุษย์ที่มีค่า และนี่คือเหตุผลที่เราต้องแบ่งมหาวิทยาลัยเป็น 3 กลุ่ม” การแบ่งมหาวิทยาลัยเป็น 3 กลุ่ม ประกอบด้วยกลุ่มที่ 1 มหาวิทยาลัยที่จะไปสู้กับโลก ประกอบด้วย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหิดล, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, มหาวิทยาลัยขอนแก่น, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ฯลฯ มหาวิทยาลัยกลุ่มนี้ต้องดึงให้ขึ้นมาเป็นท็อป 100 ให้ได้ ถ้าเราก้าวไปไม่ได้ นักศึกษาเก่งๆ ก็จะไม่เลือกเรียนสถาบันเหล่านี้ ส่วนนักศึกษาที่ดีๆ มีคุณภาพของโลก ก็จะไม่มาเรียนในประเทศไทยกลุ่มที่ 2 มหาวิทยาลัยที่เน้นเทคโนโลยี นวัตกรรม จะประกอบด้วย 3 พระจอม คือ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ซึ่งจะตอบโจทย์อุตสาหกรรมในอนาคตกลุ่มที่ 3 มหาวิทยาลัยพัฒนาพื้นที่ คือกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏทั้ง 38 แห่ง ที่จะเน้นเรื่องของการพัฒนาท้องถิ่น โดยในแผนจะให้ราชภัฏ 1 แห่งดูแล 2 จังหวัด และจะให้ไปทำวิจัยเชิงพื้นที่ เพราะในอนาคตการผลิตครูอาจจะ Over Supply ไปแล้ว “ราชภัฏต้องตอบโจทย์ให้ได้ว่า ครูในศตวรรษที่ 21 หน้าตาจะเป็นอย่างไร Demand กับ Supply ครู เป็นอย่างไร และคุณภาพครูที่ผลิต เป็นอย่างไร แต่ที่วางไว้ราชภัฏจะไม่ใช่ผลิตครูอย่างเดียว”นอกจากนี้ในหลักการแล้ว คนที่เรียนราชภัฏจะต้องอยู่กับพื้นที่ ไม่ต้องเข้ามาในกรุงเทพฯ และไม่ต้องเข้ามาอยู่ในเมืองใหญ่ แต่จะมีประเด็นที่ให้ราชภัฏดำเนินการได้ในพื้นที่ ทั้งเรื่องการท่องเที่ยว เรื่องโอทอป เรื่องสมาร์ทฟาร์มเมอร์ ซึ่งจะเป็นการกระจายรายได้ กระจายโอกาสให้สามารถดำรงชีพอยู่ในพื้นที่ได้ด้วย “เราจะต้องยกเครื่องมหาวิทยาลัยราชภัฏ เพราะราชภัฏต้องดูแลเด็กถึง 80% ซึ่งถ้าเด็กกลุ่มนี้คุณภาพไม่ดี ปัญหาจะตกอยู่กับประเทศไทย เพราะเด็ก 70% เป็นสายสังคมศาสตร์ อีก 30% เป็นสายวิทยาศาสตร์ ซึ่งจะต้องทำให้เด็กกลุ่มนี้มีพลัง ถึงมียุวชนสร้างชาติ ลงพัฒนาพื้นที่ ท้องถิ่น เอามหาวิทยาลัยไปติดอาวุธทางปัญหาท้องถิ่น” “เราจะต้องยกเครื่องมหาวิทยาลัยราชภัฏ เพราะราชภัฏต้องดูแลเด็กถึง 80% ซึ่งถ้าเด็กกลุ่มนี้คุณภาพไม่ดี ปัญหาจะตกอยู่กับประเทศไทย เพราะเด็ก 70% เป็นสายสังคมศาสตร์ อีก 30% เป็นสายวิทยาศาสตร์ ซึ่งจะต้องทำให้เด็กกลุ่มนี้มีพลัง ถึงมียุวชนสร้างชาติ ลงพัฒนาพื้นที่ ท้องถิ่น เอามหาวิทยาลัยไปติดอาวุธทางปัญหาท้องถิ่น”ขณะเดียวกันการจะยกเครื่องกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏนั้น กระทรวง อว. ได้มีการประสานกับMicrosoft ที่จะนำเรื่องของภาษาอังกฤษ กับเรื่องของดิจิทัล เพื่อยกระดับครูราชภัฏได้ระดับหนึ่งก่อน ที่เหลือก็เป็นเรื่องของการวิจัย เพื่อตอบโจทย์ในพื้นที่ เพื่อแก้ไขปัญหาความยากจน“เราต้องติดอาวุธ หรือ เติมพลังให้ราชภัฏเพราะคนกลุ่มนี้คือเสาหลักของแผ่นดิน กระทรวง อว.จะต้องทำให้มหาวิทยาลัยราชภัฏแข็งแรงขึ้น พร้อมๆ กับพัฒนาให้มหาวิทยาลัยไทยก้าวสู่ท็อป 100 ให้สำเร็จ”อีกทั้งจะต้องปลุกพลังให้เกิดการร่วมมือกันระหว่างราชภัฏและราชมงคลในแต่ละจังหวัดให้ได้ เพราะราชมงคล จะได้เรื่องเทคโนโลยี ส่วนราชภัฏจะเน้นเรื่องการบริหาร เรื่องการท่องเที่ยว เพราะประเทศไทยมี 2 อย่างคือ ด้านการเกษตร และต้องสร้าง High Value Service ในด้านการท่องเที่ยวให้เกิดขึ้น รวมทั้งต้องไปจับมือกับกระทรวงวิทยาศาสตร์ ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อยกระดับ Smart Farmer ให้มีคุณภาพส่วนเรื่องของสถาบันการศึกษาเอกชนนั้น ทางรัฐบาลมิได้ทอดทิ้ง ก็ได้มีการประสานกับทางสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย โดยสมาคมฯ ได้เสนอขอให้รัฐให้การสนับสนุน 2 เรื่อง คือในเรื่องของการเชื่อมโยงกับเอสเอ็มอี ซึ่งทาง อว.ก็ได้ประสานกับหอการค้าไทย และสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย รวมทั้งสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ไว้ให้แล้ว และอีกเรื่องมหาวิทยาลัยเอกชน ต้องการให้ช่วยเหลือในเรื่องของการเจาะตลาดนักศึกษาในต่างประเทศ ทั้งเรื่องการไปเปิด Campus และการดึงนักศึกษาต่างชาติเข้ามาเรียนในประเทศไทย เช่นนักศึกษากัมพูชา นักศึกษาลาว ซึ่งปัจจุบันมีการเปิด Campus ที่พม่าแล้วดังนั้นเป้าหมายนักศึกษาที่ ดร.สุวิทย์ ต้องการให้สถาบันการศึกษาของไทยทั้งภาครัฐและเอกชน จะต้องเร่งพัฒนาและยกระดับคุณภาพของสถาบัน เพื่อรักษานักศึกษาไทยระดับหัวกะทิไว้ให้ได้ และยังสามารถเป็นพลังดึงดูดนักศึกษาที่มีคุณภาพจากต่างประเทศเข้ามาเรียนในไทย ซึ่งหมายถึงสถาบันการศึกษาไทยมีสิทธิ์เลือกคนเก่งเข้ามาเรียนในไทย“เราต้องได้คนเก่งในระดับหนึ่งมาเรียน และต้องการชนชั้นนำหรือระดับเจ้าสัวของต่างประเทศเข้ามาเรียนในไทยด้วย”ตรงนี้คือประเด็นหนึ่งที่ ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ตั้งเป้าหมายไว้เพื่อสอดคล้องกับการเป็นมหาวิทยาลัยที่มีคุณภาพย่อมได้นักศึกษาที่มีคุณภาพเช่นกัน ! ที่มา : mgronline.com
พลังการอ่านเปลี่ยนคน เปลี่ยนเมือง เปลี่ยนโลก! “ทีเค พาร์ค” เปิดอินไซต์โมเดล 4 ชาติ ที่สร้างอำนาจโน้มนำผ่านการพัฒนาระบบหนังสือ บทพิสูจน์สำคัญที่ ‘การอ่าน’ สร้างชาติได้จริง