ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง EZ WebmasterJune 13, 2025 วันนี้ทั้งเล่น ทั้งได้ความรู้ ทั้งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนนางรอง จ.บุรีรัมย์ วันที่13/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า… นักศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI… ทุนดีดี 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search tui sakrapee September 2, 2019 tui sakrapee September 2, 2019 นิเทศ จุฬาฯจัดทำ “แนวทางการสอนและต้นแบบบทเรียนออนไลน์รู้เท่าทันชีวิตดิจิทัล” หน่วยวิจัยฯ DIRU นิเทศ จุฬาฯ เสนอแนวทางการสอนความรอบรู้ทางดิจิทัลและรู้เท่าทันสื่อ เน้นความรู้ เข้าใจ วิเคราะห์ และฝึกทักษะชีวิตให้สามารถใช้สื่อดิจิทัลได้อย่างปลอดภัยและได้ประโยชน์ เรียนรู้ผ่านประเด็นปัญหา กรณีศึกษา จากเหตุการณ์จริง และจำลองเหตุการณ์ โดยให้ผู้เรียนได้วิเคราะห์ วิพากษ์ เรียนรู้ และตอบสนองต่อเหตุการณ์ได้อย่างปลอดภัย และได้จัดทำต้นแบบบทเรียนออนไลน์เผยแพร่บนเว็บไซต์ www.thaidigitalyouth.net รศ.ดร.พนม คลี่ฉายา หัวหน้าหน่วยปฏิบัติการวิจัยและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้านความรอบรู้ทางดิจิทัลและการรู้เท่าทันสื่อ (DIRU) คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดเผยว่า จากงานวิจัยสำรวจการใช้งานสื่อออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาพบว่า นักเรียนใช้สื่อออนไลน์ทั้งในด้านการเรียน ความบันเทิง การรวมกลุ่ม และแสดงออกถึงความเป็นตัวตน โดยกิจกรรมออนไลน์ที่นักเรียนทำบ่อยๆ ได้แก่ ใช้เป็นแหล่งเรียนรู้ หาข้อมูลประกอบการเรียน ดูหนัง ฟังเพลง เล่นเกม ติดตามดาราที่ชื่นชอบ ใช้สร้างกลุ่มบนไลน์ เฟซบุ๊ก ติดตามข่าวสาร และใช้โพสต์รูปภาพ เรื่องราว หรือเข้ากลุ่มสนทนา หรือสมัครสมาชิกเว็บไซต์ หรือติดตามเพจต่างๆ เพื่อแสดงความเป็นตัวตนของตนเอง ในภาพรวมเด็กส่วนใหญ่เลือกที่จะไม่เข้าไปดูหรืออ่านเนื้อหาที่ไม่เหมาะสมที่อาจจะนำไปสู่ความเสี่ยงอันตราย อย่างไรก็ตาม มีกลุ่มตัวอย่างส่วนน้อย (ร้อยละ 4) ที่ระบุว่าตนเองเคยเข้าถึงเนื้อหาด้านเพศ เกมรุนแรง การพนัน และเคยแสดงออกด้วยความรุนแรงอยู่บ่อยๆ และมีจำนวนร้อยละ 23 ระบุว่าคุยกับคนแปลกหน้าบนออนไลน์บ่อยๆ ผลการวิจัยนี้สะท้อนให้เห็นว่า นักเรียนมีโอกาสพบเจอความเสี่ยงจากการใช้งานสื่อออนไลน์ได้ แม้ตัวเลขอาจจะดูเล็กน้อย แต่ต้องให้ความสำคัญในการป้องกันความเสี่ยง และเสริมสร้างให้มีความรอบรู้และรู้ทันเพื่อสามารถเผชิญกับสถานการณ์ความเสี่ยงบนโลกออนไลน์ได้อย่างปลอดภัย รศ.ดร.พนม กล่าวว่า “การสอนเรื่องความรอบรู้ทางดิจิทัลและรู้ทันสื่อเป็นเรื่องที่สำคัญมาก ช่วยลดและป้องกันความเสี่ยงอันตรายจากการใช้งานสื่อออนไลน์ สิ่งท้าทายคือ จะสอนกันอย่างไรถึงจะสร้างทักษะชีวิตให้กับนักเรียนได้จริง จึงได้มีการศึกษาถึงแนวทางการสอนเรื่องนี้ ผลวิจัยชี้แนะว่า การสอนต้องเน้นผลสัมฤทธิ์การเรียนที่มุ่งสร้างความคิดเชิงวิเคราะห์ ฝึกทักษะและพฤติกรรมที่นักเรียนสามารถตอบสนองต่อเหตุการณ์ความเสี่ยงบนโลกออนไลน์ได้อย่างปลอดภัย และสอนให้สามารถใช้ประโยชน์จากสื่อออนไลน์ได้ ไม่ควรเน้นท่องจำ ในด้านเนื้อหาการสอนจะต้องเป็นเรื่องราวที่เชื่อมโยงหรือเป็นเหตุการณ์ในชีวิตประจำวันของนักเรียน โดยต้องเข้าใจด้วยว่าเหตุการณ์ที่นักเรียนแต่ละวัยพบเจอนั้นไม่เหมือนกันทุกเรื่อง นักเรียน ม.ต้น และ ม.ปลาย มีการใช้สื่อออนไลน์แตกต่างกันตามช่วงวัยและประสบการณ์ ดังนั้นเนื้อหาการสอนควรแตกต่างกันตามเหตุการณ์ในแต่ละช่วงวัยของผู้เรียน สำหรับการออกแบบกิจกรรมการสอนควรใช้แนวทางการเรียนรู้ทั้งการเรียนรู้ด้วยการคิดวิเคราะห์เชิงวิพากษ์ (Critical Approach) ร่วมกับการเรียนรู้จากประสบการณ์ตนเอง (Constructivist Approach) โดยสามารถออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ได้หลากหลาย ได้แก่ การเรียนรู้ผ่านการตั้งคำถาม ประเด็นปัญหา (Problem-based Learning) ใช้กรณีศึกษา (Case Study) จากเหตุการณ์จริง และจำลองเหตุการณ์ โดยให้ผู้เรียนได้วิเคราะห์ วิพากษ์ เรียนรู้ และตอบสนองต่อเหตุการณ์ได้อย่างอย่างปลอดภัยและใช้ประโยชน์ได้ และยังสามารถใช้การเรียนรู้ผ่านการทำโครงงาน (Project-based Learning) และออกแบบกิจการการเรียนรู้ที่สนุก มีปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียน เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองมากขึ้น ผลการวิจัยยังบ่งชี้ประเด็นสำคัญอีกประการหนึ่งคือ ครูมีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งในความสำเร็จของการเรียนรู้ บทบาทของครู ซึ่งงานวิจัยชี้แนะว่า ครูสามารถเปลี่ยนจากผู้สอนมาเป็นโค้ช หรือผู้ให้คำแนะนำแก่ผู้เรียน โดยครูจะกระตุ้นการเรียนรู้ กำกับการเรียนรู้ ให้คำแนะนำวิธีการตอบสนองต่อเหตุการณ์อย่างปลอดภัย ชวนผู้เรียนคิด วิเคราะห์ เพิ่มเติมมุมมองและประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียน” ส่วนหนึ่งของแนวทางการสอนดังกล่าวได้นำมาพัฒนาเป็นต้นแบบบทเรียนออนไลน์ ที่สามารถเรียนรู้ด้วยตนเองบนเว็บไซต์ และครูสามารถใช้ประกอบการเรียนในห้องเรียนได้ รศ.ดร.พนม ให้รายละเอียดเพิ่มเติมว่า “เราได้เผยแพร่ต้นแบบบทเรียนออนไลน์จากผลการวิจัย ทางเว็บไซต์ www.thaidigitalyouth.net ครูสามารถใช้ประกอบการสอนในห้องเรียน โดยไม่จำเป็นต้องบรรยายเนื้อหา แต่มอบหมายให้นักเรียนเข้าไปเรียนด้วยตนเองจากต้นแบบบทเรียนบนเว็บไซต์ก่อนถึงคาบเรียน แล้วใช้เวลาในคาบเรียนแลกเปลี่ยนความเห็น อภิปราย ชวนคิดวิเคราะห์และให้คำแนะนำ ตามแนวทางการสอนแบบห้องเรียนกลับด้าน (Flipped Classroom) นอกจากนี้ผู้ปกครองสามารถนำมาใช้เป็นบทเรียนเสริมการเรียนรู้ให้แก่บุตรหลานของตนเองได้ ต้นแบบบทเรียนที่เผยแพร่มี 4 เรื่อง ได้แก่ 1.การใช้ชีวิตอย่างไรในโลกความจริงและโลกเสมือนออนไลน์ 2.เรียนรู้เพื่อหลีกเลี่ยงความเสี่ยงและอันตรายบนออนไลน์ 3.เพิ่มทักษะการใช้สื่อออนไลน์ให้ประโยชน์ต่อตนเองและสังคม และ 4.เสริมสร้างสู่ความเป็นพลเมืองดิจิทัลบนออนไลน์ ท้ายบทเรียนยังมีคำถามเพื่อทดสอบผู้เรียนอีกด้วย และบนเว็บไซต์ยังมีเอกสารบทเรียนที่ครูและผู้สนใจสามารถดาวน์โหลดไปปรับใช้สอนได้” งานวิจัยได้เสนออีกว่า โครงสร้างเนื้อหาสำหรับสอนให้นักเรียนมัธยมมีความรอบรู้ทางดิจิทัลและรู้ทันเท่าสื่อประกอบด้วย 5 กลุ่มสาระ และในแต่ละกลุ่มสาระมีวิธีการสอน ดังต่อไปนี้ สาระที่ 1 : การเข้าถึง การใช้งาน และการอ่านสื่อดิจิทัล โดยวิธีการสอนเน้นการอภิปรายระหว่างครูกับนักเรียนโดยใช้กรณีศึกษา สาระที่ 2 : ความรู้พื้นฐานสู่การรู้เท่าทันสื่อดิจิทัล ด้านองค์กรสื่อดิจิทัล กฎหมาย การแยกแยะประเภทเนื้อหา พฤติกรรมการเสพติดสื่อดิจิทัล โอกาสที่นำไปสู่ความเสี่ยงอันตราย โดยวิธีการสอนเน้นการคิด ประเมิน และวิพากษ์ความถูกต้อง ใช้เหตุการณ์ที่ใกล้ชิดกับนักเรียนมาวิเคราะห์ โดยมีครูเป็นผู้ช่วยในการเรียนรู้ ให้คำแนะนำ หรือโค้ช (Coach) สาระที่ 3 : รู้เท่าทันชีวิตดิจิทัล และใช้อย่างปลอดภัย ได้ประโยชน์ เน้นการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem–based Learning) การสอนแบบประเด็นศึกษา (Issue-based Learning) สาระที่ 4 : สร้างสรรค์สื่อดิจิทัลเพื่อชีวิตและสังคมที่ดี เป็นการออกแบบ ผลิตสร้างสรรค์สื่อดิจิทัล รวมทั้งเทคนิควิธีการแทรกแซงของธุรกิจและเจ้าของสื่อในขั้นตอนการผลิต ใช้วิธีการสอนแบบโครงงานเป็นฐาน (Project-based Learning) สาระที่ 5 : เรียนรู้อยู่เสมอเพื่อการรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงในอนาคต เป็นการคาดการณ์ การเปลี่ยนแปลงสื่อดิจิทัลในอนาคต และการเตรียมตนเองให้พร้อมเพื่อดำเนินชีวิตอย่างรู้ทันสื่อดิจิทัล ใช้วิธีการสอนแบบการสืบค้นข้อมูล การวาดภาพ บทบาทสมมติ ทั้งนี้ งานวิจัยดังกล่าวเป็นผลงานวิจัยของหน่วยปฏิบัติการวิจัยและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้านความรอบรู้ทางดิจิทัลและการรู้เท่าทันสื่อ หรือ DIRU ซึ่งเป็นหน่วยปฏิบัติการวิจัยในสังกัด คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มี รศ.ดร.พนม คลี่ฉายา เป็นหัวหน้าหน่วยปฏิบัติการวิจัยฯ ได้รับการสนับสนุนจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มุ่งสร้างงานวิจัยและเผยแพร่ความรู้จากงานวิจัยสู่สังคมเพื่อประโยชน์ทางการศึกษา การเรียนการสอนและการวิจัยด้านการรู้เท่าทันสื่อดิจิทัล ส่งเสริมศักยภาพคนไทยที่รอบรู้ทางดิจิทัลและรู้ทันสื่อ รองรับสังคมยุคดิจิทัลในปัจจุบันและอนาคต สามารถดาวน์โหลดเอกสารงานวิจัยและต้นแบบบทเรียนได้ที่ www.thaidigitalyouth.net ……………………………………….. ข้อมูลเพิ่มเติม : นางสาวกมลรัตน์ กิจรุ่งไพศาล โทร. 063-5464295 และ 02-2182197 หน่วยปฏิบัติการวิจัยและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้านความรอบรู้ทางดิจิทัลและการรู้เท่าทันสื่อ (DIRU) คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย tui sakrapee Related Posts คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” สวนสุนันทา – สกสค. ผนึกกำลังพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา เดินหน้าวิจัย-สร้างสรรค์สื่อ-อบรม AI ยกระดับการศึกษาไทย Post navigation PREVIOUS Previous post: 10อันดับมหา’ลัยเรียนจบแล้วรวยที่สุดในโลกNEXT Next post: มทร.ธัญบุรี ลงนามร่วม 5 บริษัทเอกชนทั้งในและต่างประเทศ พัฒนาและต่อยอดงานวิจัยเชิงพาณิชย์
รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง EZ WebmasterJune 13, 2025 วันนี้ทั้งเล่น ทั้งได้ความรู้ ทั้งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนนางรอง จ.บุรีรัมย์ วันที่13/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า… นักศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI… ทุนดีดี 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search tui sakrapee September 2, 2019 tui sakrapee September 2, 2019 นิเทศ จุฬาฯจัดทำ “แนวทางการสอนและต้นแบบบทเรียนออนไลน์รู้เท่าทันชีวิตดิจิทัล” หน่วยวิจัยฯ DIRU นิเทศ จุฬาฯ เสนอแนวทางการสอนความรอบรู้ทางดิจิทัลและรู้เท่าทันสื่อ เน้นความรู้ เข้าใจ วิเคราะห์ และฝึกทักษะชีวิตให้สามารถใช้สื่อดิจิทัลได้อย่างปลอดภัยและได้ประโยชน์ เรียนรู้ผ่านประเด็นปัญหา กรณีศึกษา จากเหตุการณ์จริง และจำลองเหตุการณ์ โดยให้ผู้เรียนได้วิเคราะห์ วิพากษ์ เรียนรู้ และตอบสนองต่อเหตุการณ์ได้อย่างปลอดภัย และได้จัดทำต้นแบบบทเรียนออนไลน์เผยแพร่บนเว็บไซต์ www.thaidigitalyouth.net รศ.ดร.พนม คลี่ฉายา หัวหน้าหน่วยปฏิบัติการวิจัยและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้านความรอบรู้ทางดิจิทัลและการรู้เท่าทันสื่อ (DIRU) คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดเผยว่า จากงานวิจัยสำรวจการใช้งานสื่อออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาพบว่า นักเรียนใช้สื่อออนไลน์ทั้งในด้านการเรียน ความบันเทิง การรวมกลุ่ม และแสดงออกถึงความเป็นตัวตน โดยกิจกรรมออนไลน์ที่นักเรียนทำบ่อยๆ ได้แก่ ใช้เป็นแหล่งเรียนรู้ หาข้อมูลประกอบการเรียน ดูหนัง ฟังเพลง เล่นเกม ติดตามดาราที่ชื่นชอบ ใช้สร้างกลุ่มบนไลน์ เฟซบุ๊ก ติดตามข่าวสาร และใช้โพสต์รูปภาพ เรื่องราว หรือเข้ากลุ่มสนทนา หรือสมัครสมาชิกเว็บไซต์ หรือติดตามเพจต่างๆ เพื่อแสดงความเป็นตัวตนของตนเอง ในภาพรวมเด็กส่วนใหญ่เลือกที่จะไม่เข้าไปดูหรืออ่านเนื้อหาที่ไม่เหมาะสมที่อาจจะนำไปสู่ความเสี่ยงอันตราย อย่างไรก็ตาม มีกลุ่มตัวอย่างส่วนน้อย (ร้อยละ 4) ที่ระบุว่าตนเองเคยเข้าถึงเนื้อหาด้านเพศ เกมรุนแรง การพนัน และเคยแสดงออกด้วยความรุนแรงอยู่บ่อยๆ และมีจำนวนร้อยละ 23 ระบุว่าคุยกับคนแปลกหน้าบนออนไลน์บ่อยๆ ผลการวิจัยนี้สะท้อนให้เห็นว่า นักเรียนมีโอกาสพบเจอความเสี่ยงจากการใช้งานสื่อออนไลน์ได้ แม้ตัวเลขอาจจะดูเล็กน้อย แต่ต้องให้ความสำคัญในการป้องกันความเสี่ยง และเสริมสร้างให้มีความรอบรู้และรู้ทันเพื่อสามารถเผชิญกับสถานการณ์ความเสี่ยงบนโลกออนไลน์ได้อย่างปลอดภัย รศ.ดร.พนม กล่าวว่า “การสอนเรื่องความรอบรู้ทางดิจิทัลและรู้ทันสื่อเป็นเรื่องที่สำคัญมาก ช่วยลดและป้องกันความเสี่ยงอันตรายจากการใช้งานสื่อออนไลน์ สิ่งท้าทายคือ จะสอนกันอย่างไรถึงจะสร้างทักษะชีวิตให้กับนักเรียนได้จริง จึงได้มีการศึกษาถึงแนวทางการสอนเรื่องนี้ ผลวิจัยชี้แนะว่า การสอนต้องเน้นผลสัมฤทธิ์การเรียนที่มุ่งสร้างความคิดเชิงวิเคราะห์ ฝึกทักษะและพฤติกรรมที่นักเรียนสามารถตอบสนองต่อเหตุการณ์ความเสี่ยงบนโลกออนไลน์ได้อย่างปลอดภัย และสอนให้สามารถใช้ประโยชน์จากสื่อออนไลน์ได้ ไม่ควรเน้นท่องจำ ในด้านเนื้อหาการสอนจะต้องเป็นเรื่องราวที่เชื่อมโยงหรือเป็นเหตุการณ์ในชีวิตประจำวันของนักเรียน โดยต้องเข้าใจด้วยว่าเหตุการณ์ที่นักเรียนแต่ละวัยพบเจอนั้นไม่เหมือนกันทุกเรื่อง นักเรียน ม.ต้น และ ม.ปลาย มีการใช้สื่อออนไลน์แตกต่างกันตามช่วงวัยและประสบการณ์ ดังนั้นเนื้อหาการสอนควรแตกต่างกันตามเหตุการณ์ในแต่ละช่วงวัยของผู้เรียน สำหรับการออกแบบกิจกรรมการสอนควรใช้แนวทางการเรียนรู้ทั้งการเรียนรู้ด้วยการคิดวิเคราะห์เชิงวิพากษ์ (Critical Approach) ร่วมกับการเรียนรู้จากประสบการณ์ตนเอง (Constructivist Approach) โดยสามารถออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ได้หลากหลาย ได้แก่ การเรียนรู้ผ่านการตั้งคำถาม ประเด็นปัญหา (Problem-based Learning) ใช้กรณีศึกษา (Case Study) จากเหตุการณ์จริง และจำลองเหตุการณ์ โดยให้ผู้เรียนได้วิเคราะห์ วิพากษ์ เรียนรู้ และตอบสนองต่อเหตุการณ์ได้อย่างอย่างปลอดภัยและใช้ประโยชน์ได้ และยังสามารถใช้การเรียนรู้ผ่านการทำโครงงาน (Project-based Learning) และออกแบบกิจการการเรียนรู้ที่สนุก มีปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียน เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองมากขึ้น ผลการวิจัยยังบ่งชี้ประเด็นสำคัญอีกประการหนึ่งคือ ครูมีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งในความสำเร็จของการเรียนรู้ บทบาทของครู ซึ่งงานวิจัยชี้แนะว่า ครูสามารถเปลี่ยนจากผู้สอนมาเป็นโค้ช หรือผู้ให้คำแนะนำแก่ผู้เรียน โดยครูจะกระตุ้นการเรียนรู้ กำกับการเรียนรู้ ให้คำแนะนำวิธีการตอบสนองต่อเหตุการณ์อย่างปลอดภัย ชวนผู้เรียนคิด วิเคราะห์ เพิ่มเติมมุมมองและประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียน” ส่วนหนึ่งของแนวทางการสอนดังกล่าวได้นำมาพัฒนาเป็นต้นแบบบทเรียนออนไลน์ ที่สามารถเรียนรู้ด้วยตนเองบนเว็บไซต์ และครูสามารถใช้ประกอบการเรียนในห้องเรียนได้ รศ.ดร.พนม ให้รายละเอียดเพิ่มเติมว่า “เราได้เผยแพร่ต้นแบบบทเรียนออนไลน์จากผลการวิจัย ทางเว็บไซต์ www.thaidigitalyouth.net ครูสามารถใช้ประกอบการสอนในห้องเรียน โดยไม่จำเป็นต้องบรรยายเนื้อหา แต่มอบหมายให้นักเรียนเข้าไปเรียนด้วยตนเองจากต้นแบบบทเรียนบนเว็บไซต์ก่อนถึงคาบเรียน แล้วใช้เวลาในคาบเรียนแลกเปลี่ยนความเห็น อภิปราย ชวนคิดวิเคราะห์และให้คำแนะนำ ตามแนวทางการสอนแบบห้องเรียนกลับด้าน (Flipped Classroom) นอกจากนี้ผู้ปกครองสามารถนำมาใช้เป็นบทเรียนเสริมการเรียนรู้ให้แก่บุตรหลานของตนเองได้ ต้นแบบบทเรียนที่เผยแพร่มี 4 เรื่อง ได้แก่ 1.การใช้ชีวิตอย่างไรในโลกความจริงและโลกเสมือนออนไลน์ 2.เรียนรู้เพื่อหลีกเลี่ยงความเสี่ยงและอันตรายบนออนไลน์ 3.เพิ่มทักษะการใช้สื่อออนไลน์ให้ประโยชน์ต่อตนเองและสังคม และ 4.เสริมสร้างสู่ความเป็นพลเมืองดิจิทัลบนออนไลน์ ท้ายบทเรียนยังมีคำถามเพื่อทดสอบผู้เรียนอีกด้วย และบนเว็บไซต์ยังมีเอกสารบทเรียนที่ครูและผู้สนใจสามารถดาวน์โหลดไปปรับใช้สอนได้” งานวิจัยได้เสนออีกว่า โครงสร้างเนื้อหาสำหรับสอนให้นักเรียนมัธยมมีความรอบรู้ทางดิจิทัลและรู้ทันเท่าสื่อประกอบด้วย 5 กลุ่มสาระ และในแต่ละกลุ่มสาระมีวิธีการสอน ดังต่อไปนี้ สาระที่ 1 : การเข้าถึง การใช้งาน และการอ่านสื่อดิจิทัล โดยวิธีการสอนเน้นการอภิปรายระหว่างครูกับนักเรียนโดยใช้กรณีศึกษา สาระที่ 2 : ความรู้พื้นฐานสู่การรู้เท่าทันสื่อดิจิทัล ด้านองค์กรสื่อดิจิทัล กฎหมาย การแยกแยะประเภทเนื้อหา พฤติกรรมการเสพติดสื่อดิจิทัล โอกาสที่นำไปสู่ความเสี่ยงอันตราย โดยวิธีการสอนเน้นการคิด ประเมิน และวิพากษ์ความถูกต้อง ใช้เหตุการณ์ที่ใกล้ชิดกับนักเรียนมาวิเคราะห์ โดยมีครูเป็นผู้ช่วยในการเรียนรู้ ให้คำแนะนำ หรือโค้ช (Coach) สาระที่ 3 : รู้เท่าทันชีวิตดิจิทัล และใช้อย่างปลอดภัย ได้ประโยชน์ เน้นการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem–based Learning) การสอนแบบประเด็นศึกษา (Issue-based Learning) สาระที่ 4 : สร้างสรรค์สื่อดิจิทัลเพื่อชีวิตและสังคมที่ดี เป็นการออกแบบ ผลิตสร้างสรรค์สื่อดิจิทัล รวมทั้งเทคนิควิธีการแทรกแซงของธุรกิจและเจ้าของสื่อในขั้นตอนการผลิต ใช้วิธีการสอนแบบโครงงานเป็นฐาน (Project-based Learning) สาระที่ 5 : เรียนรู้อยู่เสมอเพื่อการรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงในอนาคต เป็นการคาดการณ์ การเปลี่ยนแปลงสื่อดิจิทัลในอนาคต และการเตรียมตนเองให้พร้อมเพื่อดำเนินชีวิตอย่างรู้ทันสื่อดิจิทัล ใช้วิธีการสอนแบบการสืบค้นข้อมูล การวาดภาพ บทบาทสมมติ ทั้งนี้ งานวิจัยดังกล่าวเป็นผลงานวิจัยของหน่วยปฏิบัติการวิจัยและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้านความรอบรู้ทางดิจิทัลและการรู้เท่าทันสื่อ หรือ DIRU ซึ่งเป็นหน่วยปฏิบัติการวิจัยในสังกัด คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มี รศ.ดร.พนม คลี่ฉายา เป็นหัวหน้าหน่วยปฏิบัติการวิจัยฯ ได้รับการสนับสนุนจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มุ่งสร้างงานวิจัยและเผยแพร่ความรู้จากงานวิจัยสู่สังคมเพื่อประโยชน์ทางการศึกษา การเรียนการสอนและการวิจัยด้านการรู้เท่าทันสื่อดิจิทัล ส่งเสริมศักยภาพคนไทยที่รอบรู้ทางดิจิทัลและรู้ทันสื่อ รองรับสังคมยุคดิจิทัลในปัจจุบันและอนาคต สามารถดาวน์โหลดเอกสารงานวิจัยและต้นแบบบทเรียนได้ที่ www.thaidigitalyouth.net ……………………………………….. ข้อมูลเพิ่มเติม : นางสาวกมลรัตน์ กิจรุ่งไพศาล โทร. 063-5464295 และ 02-2182197 หน่วยปฏิบัติการวิจัยและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้านความรอบรู้ทางดิจิทัลและการรู้เท่าทันสื่อ (DIRU) คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย tui sakrapee Related Posts คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” สวนสุนันทา – สกสค. ผนึกกำลังพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา เดินหน้าวิจัย-สร้างสรรค์สื่อ-อบรม AI ยกระดับการศึกษาไทย Post navigation PREVIOUS Previous post: 10อันดับมหา’ลัยเรียนจบแล้วรวยที่สุดในโลกNEXT Next post: มทร.ธัญบุรี ลงนามร่วม 5 บริษัทเอกชนทั้งในและต่างประเทศ พัฒนาและต่อยอดงานวิจัยเชิงพาณิชย์
เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง EZ WebmasterJune 13, 2025 วันนี้ทั้งเล่น ทั้งได้ความรู้ ทั้งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนนางรอง จ.บุรีรัมย์ วันที่13/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า…
โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง EZ WebmasterJune 13, 2025 วันนี้ทั้งเล่น ทั้งได้ความรู้ ทั้งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนนางรอง จ.บุรีรัมย์ วันที่13/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า…
คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI… ทุนดีดี 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search tui sakrapee September 2, 2019 tui sakrapee September 2, 2019 นิเทศ จุฬาฯจัดทำ “แนวทางการสอนและต้นแบบบทเรียนออนไลน์รู้เท่าทันชีวิตดิจิทัล” หน่วยวิจัยฯ DIRU นิเทศ จุฬาฯ เสนอแนวทางการสอนความรอบรู้ทางดิจิทัลและรู้เท่าทันสื่อ เน้นความรู้ เข้าใจ วิเคราะห์ และฝึกทักษะชีวิตให้สามารถใช้สื่อดิจิทัลได้อย่างปลอดภัยและได้ประโยชน์ เรียนรู้ผ่านประเด็นปัญหา กรณีศึกษา จากเหตุการณ์จริง และจำลองเหตุการณ์ โดยให้ผู้เรียนได้วิเคราะห์ วิพากษ์ เรียนรู้ และตอบสนองต่อเหตุการณ์ได้อย่างปลอดภัย และได้จัดทำต้นแบบบทเรียนออนไลน์เผยแพร่บนเว็บไซต์ www.thaidigitalyouth.net รศ.ดร.พนม คลี่ฉายา หัวหน้าหน่วยปฏิบัติการวิจัยและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้านความรอบรู้ทางดิจิทัลและการรู้เท่าทันสื่อ (DIRU) คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดเผยว่า จากงานวิจัยสำรวจการใช้งานสื่อออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาพบว่า นักเรียนใช้สื่อออนไลน์ทั้งในด้านการเรียน ความบันเทิง การรวมกลุ่ม และแสดงออกถึงความเป็นตัวตน โดยกิจกรรมออนไลน์ที่นักเรียนทำบ่อยๆ ได้แก่ ใช้เป็นแหล่งเรียนรู้ หาข้อมูลประกอบการเรียน ดูหนัง ฟังเพลง เล่นเกม ติดตามดาราที่ชื่นชอบ ใช้สร้างกลุ่มบนไลน์ เฟซบุ๊ก ติดตามข่าวสาร และใช้โพสต์รูปภาพ เรื่องราว หรือเข้ากลุ่มสนทนา หรือสมัครสมาชิกเว็บไซต์ หรือติดตามเพจต่างๆ เพื่อแสดงความเป็นตัวตนของตนเอง ในภาพรวมเด็กส่วนใหญ่เลือกที่จะไม่เข้าไปดูหรืออ่านเนื้อหาที่ไม่เหมาะสมที่อาจจะนำไปสู่ความเสี่ยงอันตราย อย่างไรก็ตาม มีกลุ่มตัวอย่างส่วนน้อย (ร้อยละ 4) ที่ระบุว่าตนเองเคยเข้าถึงเนื้อหาด้านเพศ เกมรุนแรง การพนัน และเคยแสดงออกด้วยความรุนแรงอยู่บ่อยๆ และมีจำนวนร้อยละ 23 ระบุว่าคุยกับคนแปลกหน้าบนออนไลน์บ่อยๆ ผลการวิจัยนี้สะท้อนให้เห็นว่า นักเรียนมีโอกาสพบเจอความเสี่ยงจากการใช้งานสื่อออนไลน์ได้ แม้ตัวเลขอาจจะดูเล็กน้อย แต่ต้องให้ความสำคัญในการป้องกันความเสี่ยง และเสริมสร้างให้มีความรอบรู้และรู้ทันเพื่อสามารถเผชิญกับสถานการณ์ความเสี่ยงบนโลกออนไลน์ได้อย่างปลอดภัย รศ.ดร.พนม กล่าวว่า “การสอนเรื่องความรอบรู้ทางดิจิทัลและรู้ทันสื่อเป็นเรื่องที่สำคัญมาก ช่วยลดและป้องกันความเสี่ยงอันตรายจากการใช้งานสื่อออนไลน์ สิ่งท้าทายคือ จะสอนกันอย่างไรถึงจะสร้างทักษะชีวิตให้กับนักเรียนได้จริง จึงได้มีการศึกษาถึงแนวทางการสอนเรื่องนี้ ผลวิจัยชี้แนะว่า การสอนต้องเน้นผลสัมฤทธิ์การเรียนที่มุ่งสร้างความคิดเชิงวิเคราะห์ ฝึกทักษะและพฤติกรรมที่นักเรียนสามารถตอบสนองต่อเหตุการณ์ความเสี่ยงบนโลกออนไลน์ได้อย่างปลอดภัย และสอนให้สามารถใช้ประโยชน์จากสื่อออนไลน์ได้ ไม่ควรเน้นท่องจำ ในด้านเนื้อหาการสอนจะต้องเป็นเรื่องราวที่เชื่อมโยงหรือเป็นเหตุการณ์ในชีวิตประจำวันของนักเรียน โดยต้องเข้าใจด้วยว่าเหตุการณ์ที่นักเรียนแต่ละวัยพบเจอนั้นไม่เหมือนกันทุกเรื่อง นักเรียน ม.ต้น และ ม.ปลาย มีการใช้สื่อออนไลน์แตกต่างกันตามช่วงวัยและประสบการณ์ ดังนั้นเนื้อหาการสอนควรแตกต่างกันตามเหตุการณ์ในแต่ละช่วงวัยของผู้เรียน สำหรับการออกแบบกิจกรรมการสอนควรใช้แนวทางการเรียนรู้ทั้งการเรียนรู้ด้วยการคิดวิเคราะห์เชิงวิพากษ์ (Critical Approach) ร่วมกับการเรียนรู้จากประสบการณ์ตนเอง (Constructivist Approach) โดยสามารถออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ได้หลากหลาย ได้แก่ การเรียนรู้ผ่านการตั้งคำถาม ประเด็นปัญหา (Problem-based Learning) ใช้กรณีศึกษา (Case Study) จากเหตุการณ์จริง และจำลองเหตุการณ์ โดยให้ผู้เรียนได้วิเคราะห์ วิพากษ์ เรียนรู้ และตอบสนองต่อเหตุการณ์ได้อย่างอย่างปลอดภัยและใช้ประโยชน์ได้ และยังสามารถใช้การเรียนรู้ผ่านการทำโครงงาน (Project-based Learning) และออกแบบกิจการการเรียนรู้ที่สนุก มีปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียน เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองมากขึ้น ผลการวิจัยยังบ่งชี้ประเด็นสำคัญอีกประการหนึ่งคือ ครูมีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งในความสำเร็จของการเรียนรู้ บทบาทของครู ซึ่งงานวิจัยชี้แนะว่า ครูสามารถเปลี่ยนจากผู้สอนมาเป็นโค้ช หรือผู้ให้คำแนะนำแก่ผู้เรียน โดยครูจะกระตุ้นการเรียนรู้ กำกับการเรียนรู้ ให้คำแนะนำวิธีการตอบสนองต่อเหตุการณ์อย่างปลอดภัย ชวนผู้เรียนคิด วิเคราะห์ เพิ่มเติมมุมมองและประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียน” ส่วนหนึ่งของแนวทางการสอนดังกล่าวได้นำมาพัฒนาเป็นต้นแบบบทเรียนออนไลน์ ที่สามารถเรียนรู้ด้วยตนเองบนเว็บไซต์ และครูสามารถใช้ประกอบการเรียนในห้องเรียนได้ รศ.ดร.พนม ให้รายละเอียดเพิ่มเติมว่า “เราได้เผยแพร่ต้นแบบบทเรียนออนไลน์จากผลการวิจัย ทางเว็บไซต์ www.thaidigitalyouth.net ครูสามารถใช้ประกอบการสอนในห้องเรียน โดยไม่จำเป็นต้องบรรยายเนื้อหา แต่มอบหมายให้นักเรียนเข้าไปเรียนด้วยตนเองจากต้นแบบบทเรียนบนเว็บไซต์ก่อนถึงคาบเรียน แล้วใช้เวลาในคาบเรียนแลกเปลี่ยนความเห็น อภิปราย ชวนคิดวิเคราะห์และให้คำแนะนำ ตามแนวทางการสอนแบบห้องเรียนกลับด้าน (Flipped Classroom) นอกจากนี้ผู้ปกครองสามารถนำมาใช้เป็นบทเรียนเสริมการเรียนรู้ให้แก่บุตรหลานของตนเองได้ ต้นแบบบทเรียนที่เผยแพร่มี 4 เรื่อง ได้แก่ 1.การใช้ชีวิตอย่างไรในโลกความจริงและโลกเสมือนออนไลน์ 2.เรียนรู้เพื่อหลีกเลี่ยงความเสี่ยงและอันตรายบนออนไลน์ 3.เพิ่มทักษะการใช้สื่อออนไลน์ให้ประโยชน์ต่อตนเองและสังคม และ 4.เสริมสร้างสู่ความเป็นพลเมืองดิจิทัลบนออนไลน์ ท้ายบทเรียนยังมีคำถามเพื่อทดสอบผู้เรียนอีกด้วย และบนเว็บไซต์ยังมีเอกสารบทเรียนที่ครูและผู้สนใจสามารถดาวน์โหลดไปปรับใช้สอนได้” งานวิจัยได้เสนออีกว่า โครงสร้างเนื้อหาสำหรับสอนให้นักเรียนมัธยมมีความรอบรู้ทางดิจิทัลและรู้ทันเท่าสื่อประกอบด้วย 5 กลุ่มสาระ และในแต่ละกลุ่มสาระมีวิธีการสอน ดังต่อไปนี้ สาระที่ 1 : การเข้าถึง การใช้งาน และการอ่านสื่อดิจิทัล โดยวิธีการสอนเน้นการอภิปรายระหว่างครูกับนักเรียนโดยใช้กรณีศึกษา สาระที่ 2 : ความรู้พื้นฐานสู่การรู้เท่าทันสื่อดิจิทัล ด้านองค์กรสื่อดิจิทัล กฎหมาย การแยกแยะประเภทเนื้อหา พฤติกรรมการเสพติดสื่อดิจิทัล โอกาสที่นำไปสู่ความเสี่ยงอันตราย โดยวิธีการสอนเน้นการคิด ประเมิน และวิพากษ์ความถูกต้อง ใช้เหตุการณ์ที่ใกล้ชิดกับนักเรียนมาวิเคราะห์ โดยมีครูเป็นผู้ช่วยในการเรียนรู้ ให้คำแนะนำ หรือโค้ช (Coach) สาระที่ 3 : รู้เท่าทันชีวิตดิจิทัล และใช้อย่างปลอดภัย ได้ประโยชน์ เน้นการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem–based Learning) การสอนแบบประเด็นศึกษา (Issue-based Learning) สาระที่ 4 : สร้างสรรค์สื่อดิจิทัลเพื่อชีวิตและสังคมที่ดี เป็นการออกแบบ ผลิตสร้างสรรค์สื่อดิจิทัล รวมทั้งเทคนิควิธีการแทรกแซงของธุรกิจและเจ้าของสื่อในขั้นตอนการผลิต ใช้วิธีการสอนแบบโครงงานเป็นฐาน (Project-based Learning) สาระที่ 5 : เรียนรู้อยู่เสมอเพื่อการรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงในอนาคต เป็นการคาดการณ์ การเปลี่ยนแปลงสื่อดิจิทัลในอนาคต และการเตรียมตนเองให้พร้อมเพื่อดำเนินชีวิตอย่างรู้ทันสื่อดิจิทัล ใช้วิธีการสอนแบบการสืบค้นข้อมูล การวาดภาพ บทบาทสมมติ ทั้งนี้ งานวิจัยดังกล่าวเป็นผลงานวิจัยของหน่วยปฏิบัติการวิจัยและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้านความรอบรู้ทางดิจิทัลและการรู้เท่าทันสื่อ หรือ DIRU ซึ่งเป็นหน่วยปฏิบัติการวิจัยในสังกัด คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มี รศ.ดร.พนม คลี่ฉายา เป็นหัวหน้าหน่วยปฏิบัติการวิจัยฯ ได้รับการสนับสนุนจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มุ่งสร้างงานวิจัยและเผยแพร่ความรู้จากงานวิจัยสู่สังคมเพื่อประโยชน์ทางการศึกษา การเรียนการสอนและการวิจัยด้านการรู้เท่าทันสื่อดิจิทัล ส่งเสริมศักยภาพคนไทยที่รอบรู้ทางดิจิทัลและรู้ทันสื่อ รองรับสังคมยุคดิจิทัลในปัจจุบันและอนาคต สามารถดาวน์โหลดเอกสารงานวิจัยและต้นแบบบทเรียนได้ที่ www.thaidigitalyouth.net ……………………………………….. ข้อมูลเพิ่มเติม : นางสาวกมลรัตน์ กิจรุ่งไพศาล โทร. 063-5464295 และ 02-2182197 หน่วยปฏิบัติการวิจัยและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้านความรอบรู้ทางดิจิทัลและการรู้เท่าทันสื่อ (DIRU) คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย tui sakrapee Related Posts คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” สวนสุนันทา – สกสค. ผนึกกำลังพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา เดินหน้าวิจัย-สร้างสรรค์สื่อ-อบรม AI ยกระดับการศึกษาไทย Post navigation PREVIOUS Previous post: 10อันดับมหา’ลัยเรียนจบแล้วรวยที่สุดในโลกNEXT Next post: มทร.ธัญบุรี ลงนามร่วม 5 บริษัทเอกชนทั้งในและต่างประเทศ พัฒนาและต่อยอดงานวิจัยเชิงพาณิชย์
เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI… ทุนดีดี 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search tui sakrapee September 2, 2019 tui sakrapee September 2, 2019 นิเทศ จุฬาฯจัดทำ “แนวทางการสอนและต้นแบบบทเรียนออนไลน์รู้เท่าทันชีวิตดิจิทัล” หน่วยวิจัยฯ DIRU นิเทศ จุฬาฯ เสนอแนวทางการสอนความรอบรู้ทางดิจิทัลและรู้เท่าทันสื่อ เน้นความรู้ เข้าใจ วิเคราะห์ และฝึกทักษะชีวิตให้สามารถใช้สื่อดิจิทัลได้อย่างปลอดภัยและได้ประโยชน์ เรียนรู้ผ่านประเด็นปัญหา กรณีศึกษา จากเหตุการณ์จริง และจำลองเหตุการณ์ โดยให้ผู้เรียนได้วิเคราะห์ วิพากษ์ เรียนรู้ และตอบสนองต่อเหตุการณ์ได้อย่างปลอดภัย และได้จัดทำต้นแบบบทเรียนออนไลน์เผยแพร่บนเว็บไซต์ www.thaidigitalyouth.net รศ.ดร.พนม คลี่ฉายา หัวหน้าหน่วยปฏิบัติการวิจัยและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้านความรอบรู้ทางดิจิทัลและการรู้เท่าทันสื่อ (DIRU) คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดเผยว่า จากงานวิจัยสำรวจการใช้งานสื่อออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาพบว่า นักเรียนใช้สื่อออนไลน์ทั้งในด้านการเรียน ความบันเทิง การรวมกลุ่ม และแสดงออกถึงความเป็นตัวตน โดยกิจกรรมออนไลน์ที่นักเรียนทำบ่อยๆ ได้แก่ ใช้เป็นแหล่งเรียนรู้ หาข้อมูลประกอบการเรียน ดูหนัง ฟังเพลง เล่นเกม ติดตามดาราที่ชื่นชอบ ใช้สร้างกลุ่มบนไลน์ เฟซบุ๊ก ติดตามข่าวสาร และใช้โพสต์รูปภาพ เรื่องราว หรือเข้ากลุ่มสนทนา หรือสมัครสมาชิกเว็บไซต์ หรือติดตามเพจต่างๆ เพื่อแสดงความเป็นตัวตนของตนเอง ในภาพรวมเด็กส่วนใหญ่เลือกที่จะไม่เข้าไปดูหรืออ่านเนื้อหาที่ไม่เหมาะสมที่อาจจะนำไปสู่ความเสี่ยงอันตราย อย่างไรก็ตาม มีกลุ่มตัวอย่างส่วนน้อย (ร้อยละ 4) ที่ระบุว่าตนเองเคยเข้าถึงเนื้อหาด้านเพศ เกมรุนแรง การพนัน และเคยแสดงออกด้วยความรุนแรงอยู่บ่อยๆ และมีจำนวนร้อยละ 23 ระบุว่าคุยกับคนแปลกหน้าบนออนไลน์บ่อยๆ ผลการวิจัยนี้สะท้อนให้เห็นว่า นักเรียนมีโอกาสพบเจอความเสี่ยงจากการใช้งานสื่อออนไลน์ได้ แม้ตัวเลขอาจจะดูเล็กน้อย แต่ต้องให้ความสำคัญในการป้องกันความเสี่ยง และเสริมสร้างให้มีความรอบรู้และรู้ทันเพื่อสามารถเผชิญกับสถานการณ์ความเสี่ยงบนโลกออนไลน์ได้อย่างปลอดภัย รศ.ดร.พนม กล่าวว่า “การสอนเรื่องความรอบรู้ทางดิจิทัลและรู้ทันสื่อเป็นเรื่องที่สำคัญมาก ช่วยลดและป้องกันความเสี่ยงอันตรายจากการใช้งานสื่อออนไลน์ สิ่งท้าทายคือ จะสอนกันอย่างไรถึงจะสร้างทักษะชีวิตให้กับนักเรียนได้จริง จึงได้มีการศึกษาถึงแนวทางการสอนเรื่องนี้ ผลวิจัยชี้แนะว่า การสอนต้องเน้นผลสัมฤทธิ์การเรียนที่มุ่งสร้างความคิดเชิงวิเคราะห์ ฝึกทักษะและพฤติกรรมที่นักเรียนสามารถตอบสนองต่อเหตุการณ์ความเสี่ยงบนโลกออนไลน์ได้อย่างปลอดภัย และสอนให้สามารถใช้ประโยชน์จากสื่อออนไลน์ได้ ไม่ควรเน้นท่องจำ ในด้านเนื้อหาการสอนจะต้องเป็นเรื่องราวที่เชื่อมโยงหรือเป็นเหตุการณ์ในชีวิตประจำวันของนักเรียน โดยต้องเข้าใจด้วยว่าเหตุการณ์ที่นักเรียนแต่ละวัยพบเจอนั้นไม่เหมือนกันทุกเรื่อง นักเรียน ม.ต้น และ ม.ปลาย มีการใช้สื่อออนไลน์แตกต่างกันตามช่วงวัยและประสบการณ์ ดังนั้นเนื้อหาการสอนควรแตกต่างกันตามเหตุการณ์ในแต่ละช่วงวัยของผู้เรียน สำหรับการออกแบบกิจกรรมการสอนควรใช้แนวทางการเรียนรู้ทั้งการเรียนรู้ด้วยการคิดวิเคราะห์เชิงวิพากษ์ (Critical Approach) ร่วมกับการเรียนรู้จากประสบการณ์ตนเอง (Constructivist Approach) โดยสามารถออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ได้หลากหลาย ได้แก่ การเรียนรู้ผ่านการตั้งคำถาม ประเด็นปัญหา (Problem-based Learning) ใช้กรณีศึกษา (Case Study) จากเหตุการณ์จริง และจำลองเหตุการณ์ โดยให้ผู้เรียนได้วิเคราะห์ วิพากษ์ เรียนรู้ และตอบสนองต่อเหตุการณ์ได้อย่างอย่างปลอดภัยและใช้ประโยชน์ได้ และยังสามารถใช้การเรียนรู้ผ่านการทำโครงงาน (Project-based Learning) และออกแบบกิจการการเรียนรู้ที่สนุก มีปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียน เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองมากขึ้น ผลการวิจัยยังบ่งชี้ประเด็นสำคัญอีกประการหนึ่งคือ ครูมีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งในความสำเร็จของการเรียนรู้ บทบาทของครู ซึ่งงานวิจัยชี้แนะว่า ครูสามารถเปลี่ยนจากผู้สอนมาเป็นโค้ช หรือผู้ให้คำแนะนำแก่ผู้เรียน โดยครูจะกระตุ้นการเรียนรู้ กำกับการเรียนรู้ ให้คำแนะนำวิธีการตอบสนองต่อเหตุการณ์อย่างปลอดภัย ชวนผู้เรียนคิด วิเคราะห์ เพิ่มเติมมุมมองและประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียน” ส่วนหนึ่งของแนวทางการสอนดังกล่าวได้นำมาพัฒนาเป็นต้นแบบบทเรียนออนไลน์ ที่สามารถเรียนรู้ด้วยตนเองบนเว็บไซต์ และครูสามารถใช้ประกอบการเรียนในห้องเรียนได้ รศ.ดร.พนม ให้รายละเอียดเพิ่มเติมว่า “เราได้เผยแพร่ต้นแบบบทเรียนออนไลน์จากผลการวิจัย ทางเว็บไซต์ www.thaidigitalyouth.net ครูสามารถใช้ประกอบการสอนในห้องเรียน โดยไม่จำเป็นต้องบรรยายเนื้อหา แต่มอบหมายให้นักเรียนเข้าไปเรียนด้วยตนเองจากต้นแบบบทเรียนบนเว็บไซต์ก่อนถึงคาบเรียน แล้วใช้เวลาในคาบเรียนแลกเปลี่ยนความเห็น อภิปราย ชวนคิดวิเคราะห์และให้คำแนะนำ ตามแนวทางการสอนแบบห้องเรียนกลับด้าน (Flipped Classroom) นอกจากนี้ผู้ปกครองสามารถนำมาใช้เป็นบทเรียนเสริมการเรียนรู้ให้แก่บุตรหลานของตนเองได้ ต้นแบบบทเรียนที่เผยแพร่มี 4 เรื่อง ได้แก่ 1.การใช้ชีวิตอย่างไรในโลกความจริงและโลกเสมือนออนไลน์ 2.เรียนรู้เพื่อหลีกเลี่ยงความเสี่ยงและอันตรายบนออนไลน์ 3.เพิ่มทักษะการใช้สื่อออนไลน์ให้ประโยชน์ต่อตนเองและสังคม และ 4.เสริมสร้างสู่ความเป็นพลเมืองดิจิทัลบนออนไลน์ ท้ายบทเรียนยังมีคำถามเพื่อทดสอบผู้เรียนอีกด้วย และบนเว็บไซต์ยังมีเอกสารบทเรียนที่ครูและผู้สนใจสามารถดาวน์โหลดไปปรับใช้สอนได้” งานวิจัยได้เสนออีกว่า โครงสร้างเนื้อหาสำหรับสอนให้นักเรียนมัธยมมีความรอบรู้ทางดิจิทัลและรู้ทันเท่าสื่อประกอบด้วย 5 กลุ่มสาระ และในแต่ละกลุ่มสาระมีวิธีการสอน ดังต่อไปนี้ สาระที่ 1 : การเข้าถึง การใช้งาน และการอ่านสื่อดิจิทัล โดยวิธีการสอนเน้นการอภิปรายระหว่างครูกับนักเรียนโดยใช้กรณีศึกษา สาระที่ 2 : ความรู้พื้นฐานสู่การรู้เท่าทันสื่อดิจิทัล ด้านองค์กรสื่อดิจิทัล กฎหมาย การแยกแยะประเภทเนื้อหา พฤติกรรมการเสพติดสื่อดิจิทัล โอกาสที่นำไปสู่ความเสี่ยงอันตราย โดยวิธีการสอนเน้นการคิด ประเมิน และวิพากษ์ความถูกต้อง ใช้เหตุการณ์ที่ใกล้ชิดกับนักเรียนมาวิเคราะห์ โดยมีครูเป็นผู้ช่วยในการเรียนรู้ ให้คำแนะนำ หรือโค้ช (Coach) สาระที่ 3 : รู้เท่าทันชีวิตดิจิทัล และใช้อย่างปลอดภัย ได้ประโยชน์ เน้นการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem–based Learning) การสอนแบบประเด็นศึกษา (Issue-based Learning) สาระที่ 4 : สร้างสรรค์สื่อดิจิทัลเพื่อชีวิตและสังคมที่ดี เป็นการออกแบบ ผลิตสร้างสรรค์สื่อดิจิทัล รวมทั้งเทคนิควิธีการแทรกแซงของธุรกิจและเจ้าของสื่อในขั้นตอนการผลิต ใช้วิธีการสอนแบบโครงงานเป็นฐาน (Project-based Learning) สาระที่ 5 : เรียนรู้อยู่เสมอเพื่อการรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงในอนาคต เป็นการคาดการณ์ การเปลี่ยนแปลงสื่อดิจิทัลในอนาคต และการเตรียมตนเองให้พร้อมเพื่อดำเนินชีวิตอย่างรู้ทันสื่อดิจิทัล ใช้วิธีการสอนแบบการสืบค้นข้อมูล การวาดภาพ บทบาทสมมติ ทั้งนี้ งานวิจัยดังกล่าวเป็นผลงานวิจัยของหน่วยปฏิบัติการวิจัยและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้านความรอบรู้ทางดิจิทัลและการรู้เท่าทันสื่อ หรือ DIRU ซึ่งเป็นหน่วยปฏิบัติการวิจัยในสังกัด คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มี รศ.ดร.พนม คลี่ฉายา เป็นหัวหน้าหน่วยปฏิบัติการวิจัยฯ ได้รับการสนับสนุนจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มุ่งสร้างงานวิจัยและเผยแพร่ความรู้จากงานวิจัยสู่สังคมเพื่อประโยชน์ทางการศึกษา การเรียนการสอนและการวิจัยด้านการรู้เท่าทันสื่อดิจิทัล ส่งเสริมศักยภาพคนไทยที่รอบรู้ทางดิจิทัลและรู้ทันสื่อ รองรับสังคมยุคดิจิทัลในปัจจุบันและอนาคต สามารถดาวน์โหลดเอกสารงานวิจัยและต้นแบบบทเรียนได้ที่ www.thaidigitalyouth.net ……………………………………….. ข้อมูลเพิ่มเติม : นางสาวกมลรัตน์ กิจรุ่งไพศาล โทร. 063-5464295 และ 02-2182197 หน่วยปฏิบัติการวิจัยและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้านความรอบรู้ทางดิจิทัลและการรู้เท่าทันสื่อ (DIRU) คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย tui sakrapee Related Posts คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” สวนสุนันทา – สกสค. ผนึกกำลังพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา เดินหน้าวิจัย-สร้างสรรค์สื่อ-อบรม AI ยกระดับการศึกษาไทย Post navigation PREVIOUS Previous post: 10อันดับมหา’ลัยเรียนจบแล้วรวยที่สุดในโลกNEXT Next post: มทร.ธัญบุรี ลงนามร่วม 5 บริษัทเอกชนทั้งในและต่างประเทศ พัฒนาและต่อยอดงานวิจัยเชิงพาณิชย์
แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI…
รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI…
8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search tui sakrapee September 2, 2019 tui sakrapee September 2, 2019 นิเทศ จุฬาฯจัดทำ “แนวทางการสอนและต้นแบบบทเรียนออนไลน์รู้เท่าทันชีวิตดิจิทัล” หน่วยวิจัยฯ DIRU นิเทศ จุฬาฯ เสนอแนวทางการสอนความรอบรู้ทางดิจิทัลและรู้เท่าทันสื่อ เน้นความรู้ เข้าใจ วิเคราะห์ และฝึกทักษะชีวิตให้สามารถใช้สื่อดิจิทัลได้อย่างปลอดภัยและได้ประโยชน์ เรียนรู้ผ่านประเด็นปัญหา กรณีศึกษา จากเหตุการณ์จริง และจำลองเหตุการณ์ โดยให้ผู้เรียนได้วิเคราะห์ วิพากษ์ เรียนรู้ และตอบสนองต่อเหตุการณ์ได้อย่างปลอดภัย และได้จัดทำต้นแบบบทเรียนออนไลน์เผยแพร่บนเว็บไซต์ www.thaidigitalyouth.net รศ.ดร.พนม คลี่ฉายา หัวหน้าหน่วยปฏิบัติการวิจัยและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้านความรอบรู้ทางดิจิทัลและการรู้เท่าทันสื่อ (DIRU) คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดเผยว่า จากงานวิจัยสำรวจการใช้งานสื่อออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาพบว่า นักเรียนใช้สื่อออนไลน์ทั้งในด้านการเรียน ความบันเทิง การรวมกลุ่ม และแสดงออกถึงความเป็นตัวตน โดยกิจกรรมออนไลน์ที่นักเรียนทำบ่อยๆ ได้แก่ ใช้เป็นแหล่งเรียนรู้ หาข้อมูลประกอบการเรียน ดูหนัง ฟังเพลง เล่นเกม ติดตามดาราที่ชื่นชอบ ใช้สร้างกลุ่มบนไลน์ เฟซบุ๊ก ติดตามข่าวสาร และใช้โพสต์รูปภาพ เรื่องราว หรือเข้ากลุ่มสนทนา หรือสมัครสมาชิกเว็บไซต์ หรือติดตามเพจต่างๆ เพื่อแสดงความเป็นตัวตนของตนเอง ในภาพรวมเด็กส่วนใหญ่เลือกที่จะไม่เข้าไปดูหรืออ่านเนื้อหาที่ไม่เหมาะสมที่อาจจะนำไปสู่ความเสี่ยงอันตราย อย่างไรก็ตาม มีกลุ่มตัวอย่างส่วนน้อย (ร้อยละ 4) ที่ระบุว่าตนเองเคยเข้าถึงเนื้อหาด้านเพศ เกมรุนแรง การพนัน และเคยแสดงออกด้วยความรุนแรงอยู่บ่อยๆ และมีจำนวนร้อยละ 23 ระบุว่าคุยกับคนแปลกหน้าบนออนไลน์บ่อยๆ ผลการวิจัยนี้สะท้อนให้เห็นว่า นักเรียนมีโอกาสพบเจอความเสี่ยงจากการใช้งานสื่อออนไลน์ได้ แม้ตัวเลขอาจจะดูเล็กน้อย แต่ต้องให้ความสำคัญในการป้องกันความเสี่ยง และเสริมสร้างให้มีความรอบรู้และรู้ทันเพื่อสามารถเผชิญกับสถานการณ์ความเสี่ยงบนโลกออนไลน์ได้อย่างปลอดภัย รศ.ดร.พนม กล่าวว่า “การสอนเรื่องความรอบรู้ทางดิจิทัลและรู้ทันสื่อเป็นเรื่องที่สำคัญมาก ช่วยลดและป้องกันความเสี่ยงอันตรายจากการใช้งานสื่อออนไลน์ สิ่งท้าทายคือ จะสอนกันอย่างไรถึงจะสร้างทักษะชีวิตให้กับนักเรียนได้จริง จึงได้มีการศึกษาถึงแนวทางการสอนเรื่องนี้ ผลวิจัยชี้แนะว่า การสอนต้องเน้นผลสัมฤทธิ์การเรียนที่มุ่งสร้างความคิดเชิงวิเคราะห์ ฝึกทักษะและพฤติกรรมที่นักเรียนสามารถตอบสนองต่อเหตุการณ์ความเสี่ยงบนโลกออนไลน์ได้อย่างปลอดภัย และสอนให้สามารถใช้ประโยชน์จากสื่อออนไลน์ได้ ไม่ควรเน้นท่องจำ ในด้านเนื้อหาการสอนจะต้องเป็นเรื่องราวที่เชื่อมโยงหรือเป็นเหตุการณ์ในชีวิตประจำวันของนักเรียน โดยต้องเข้าใจด้วยว่าเหตุการณ์ที่นักเรียนแต่ละวัยพบเจอนั้นไม่เหมือนกันทุกเรื่อง นักเรียน ม.ต้น และ ม.ปลาย มีการใช้สื่อออนไลน์แตกต่างกันตามช่วงวัยและประสบการณ์ ดังนั้นเนื้อหาการสอนควรแตกต่างกันตามเหตุการณ์ในแต่ละช่วงวัยของผู้เรียน สำหรับการออกแบบกิจกรรมการสอนควรใช้แนวทางการเรียนรู้ทั้งการเรียนรู้ด้วยการคิดวิเคราะห์เชิงวิพากษ์ (Critical Approach) ร่วมกับการเรียนรู้จากประสบการณ์ตนเอง (Constructivist Approach) โดยสามารถออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ได้หลากหลาย ได้แก่ การเรียนรู้ผ่านการตั้งคำถาม ประเด็นปัญหา (Problem-based Learning) ใช้กรณีศึกษา (Case Study) จากเหตุการณ์จริง และจำลองเหตุการณ์ โดยให้ผู้เรียนได้วิเคราะห์ วิพากษ์ เรียนรู้ และตอบสนองต่อเหตุการณ์ได้อย่างอย่างปลอดภัยและใช้ประโยชน์ได้ และยังสามารถใช้การเรียนรู้ผ่านการทำโครงงาน (Project-based Learning) และออกแบบกิจการการเรียนรู้ที่สนุก มีปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียน เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองมากขึ้น ผลการวิจัยยังบ่งชี้ประเด็นสำคัญอีกประการหนึ่งคือ ครูมีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งในความสำเร็จของการเรียนรู้ บทบาทของครู ซึ่งงานวิจัยชี้แนะว่า ครูสามารถเปลี่ยนจากผู้สอนมาเป็นโค้ช หรือผู้ให้คำแนะนำแก่ผู้เรียน โดยครูจะกระตุ้นการเรียนรู้ กำกับการเรียนรู้ ให้คำแนะนำวิธีการตอบสนองต่อเหตุการณ์อย่างปลอดภัย ชวนผู้เรียนคิด วิเคราะห์ เพิ่มเติมมุมมองและประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียน” ส่วนหนึ่งของแนวทางการสอนดังกล่าวได้นำมาพัฒนาเป็นต้นแบบบทเรียนออนไลน์ ที่สามารถเรียนรู้ด้วยตนเองบนเว็บไซต์ และครูสามารถใช้ประกอบการเรียนในห้องเรียนได้ รศ.ดร.พนม ให้รายละเอียดเพิ่มเติมว่า “เราได้เผยแพร่ต้นแบบบทเรียนออนไลน์จากผลการวิจัย ทางเว็บไซต์ www.thaidigitalyouth.net ครูสามารถใช้ประกอบการสอนในห้องเรียน โดยไม่จำเป็นต้องบรรยายเนื้อหา แต่มอบหมายให้นักเรียนเข้าไปเรียนด้วยตนเองจากต้นแบบบทเรียนบนเว็บไซต์ก่อนถึงคาบเรียน แล้วใช้เวลาในคาบเรียนแลกเปลี่ยนความเห็น อภิปราย ชวนคิดวิเคราะห์และให้คำแนะนำ ตามแนวทางการสอนแบบห้องเรียนกลับด้าน (Flipped Classroom) นอกจากนี้ผู้ปกครองสามารถนำมาใช้เป็นบทเรียนเสริมการเรียนรู้ให้แก่บุตรหลานของตนเองได้ ต้นแบบบทเรียนที่เผยแพร่มี 4 เรื่อง ได้แก่ 1.การใช้ชีวิตอย่างไรในโลกความจริงและโลกเสมือนออนไลน์ 2.เรียนรู้เพื่อหลีกเลี่ยงความเสี่ยงและอันตรายบนออนไลน์ 3.เพิ่มทักษะการใช้สื่อออนไลน์ให้ประโยชน์ต่อตนเองและสังคม และ 4.เสริมสร้างสู่ความเป็นพลเมืองดิจิทัลบนออนไลน์ ท้ายบทเรียนยังมีคำถามเพื่อทดสอบผู้เรียนอีกด้วย และบนเว็บไซต์ยังมีเอกสารบทเรียนที่ครูและผู้สนใจสามารถดาวน์โหลดไปปรับใช้สอนได้” งานวิจัยได้เสนออีกว่า โครงสร้างเนื้อหาสำหรับสอนให้นักเรียนมัธยมมีความรอบรู้ทางดิจิทัลและรู้ทันเท่าสื่อประกอบด้วย 5 กลุ่มสาระ และในแต่ละกลุ่มสาระมีวิธีการสอน ดังต่อไปนี้ สาระที่ 1 : การเข้าถึง การใช้งาน และการอ่านสื่อดิจิทัล โดยวิธีการสอนเน้นการอภิปรายระหว่างครูกับนักเรียนโดยใช้กรณีศึกษา สาระที่ 2 : ความรู้พื้นฐานสู่การรู้เท่าทันสื่อดิจิทัล ด้านองค์กรสื่อดิจิทัล กฎหมาย การแยกแยะประเภทเนื้อหา พฤติกรรมการเสพติดสื่อดิจิทัล โอกาสที่นำไปสู่ความเสี่ยงอันตราย โดยวิธีการสอนเน้นการคิด ประเมิน และวิพากษ์ความถูกต้อง ใช้เหตุการณ์ที่ใกล้ชิดกับนักเรียนมาวิเคราะห์ โดยมีครูเป็นผู้ช่วยในการเรียนรู้ ให้คำแนะนำ หรือโค้ช (Coach) สาระที่ 3 : รู้เท่าทันชีวิตดิจิทัล และใช้อย่างปลอดภัย ได้ประโยชน์ เน้นการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem–based Learning) การสอนแบบประเด็นศึกษา (Issue-based Learning) สาระที่ 4 : สร้างสรรค์สื่อดิจิทัลเพื่อชีวิตและสังคมที่ดี เป็นการออกแบบ ผลิตสร้างสรรค์สื่อดิจิทัล รวมทั้งเทคนิควิธีการแทรกแซงของธุรกิจและเจ้าของสื่อในขั้นตอนการผลิต ใช้วิธีการสอนแบบโครงงานเป็นฐาน (Project-based Learning) สาระที่ 5 : เรียนรู้อยู่เสมอเพื่อการรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงในอนาคต เป็นการคาดการณ์ การเปลี่ยนแปลงสื่อดิจิทัลในอนาคต และการเตรียมตนเองให้พร้อมเพื่อดำเนินชีวิตอย่างรู้ทันสื่อดิจิทัล ใช้วิธีการสอนแบบการสืบค้นข้อมูล การวาดภาพ บทบาทสมมติ ทั้งนี้ งานวิจัยดังกล่าวเป็นผลงานวิจัยของหน่วยปฏิบัติการวิจัยและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้านความรอบรู้ทางดิจิทัลและการรู้เท่าทันสื่อ หรือ DIRU ซึ่งเป็นหน่วยปฏิบัติการวิจัยในสังกัด คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มี รศ.ดร.พนม คลี่ฉายา เป็นหัวหน้าหน่วยปฏิบัติการวิจัยฯ ได้รับการสนับสนุนจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มุ่งสร้างงานวิจัยและเผยแพร่ความรู้จากงานวิจัยสู่สังคมเพื่อประโยชน์ทางการศึกษา การเรียนการสอนและการวิจัยด้านการรู้เท่าทันสื่อดิจิทัล ส่งเสริมศักยภาพคนไทยที่รอบรู้ทางดิจิทัลและรู้ทันสื่อ รองรับสังคมยุคดิจิทัลในปัจจุบันและอนาคต สามารถดาวน์โหลดเอกสารงานวิจัยและต้นแบบบทเรียนได้ที่ www.thaidigitalyouth.net ……………………………………….. ข้อมูลเพิ่มเติม : นางสาวกมลรัตน์ กิจรุ่งไพศาล โทร. 063-5464295 และ 02-2182197 หน่วยปฏิบัติการวิจัยและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้านความรอบรู้ทางดิจิทัลและการรู้เท่าทันสื่อ (DIRU) คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย tui sakrapee Related Posts คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” สวนสุนันทา – สกสค. ผนึกกำลังพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา เดินหน้าวิจัย-สร้างสรรค์สื่อ-อบรม AI ยกระดับการศึกษาไทย Post navigation PREVIOUS Previous post: 10อันดับมหา’ลัยเรียนจบแล้วรวยที่สุดในโลกNEXT Next post: มทร.ธัญบุรี ลงนามร่วม 5 บริษัทเอกชนทั้งในและต่างประเทศ พัฒนาและต่อยอดงานวิจัยเชิงพาณิชย์
เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search tui sakrapee September 2, 2019 tui sakrapee September 2, 2019 นิเทศ จุฬาฯจัดทำ “แนวทางการสอนและต้นแบบบทเรียนออนไลน์รู้เท่าทันชีวิตดิจิทัล” หน่วยวิจัยฯ DIRU นิเทศ จุฬาฯ เสนอแนวทางการสอนความรอบรู้ทางดิจิทัลและรู้เท่าทันสื่อ เน้นความรู้ เข้าใจ วิเคราะห์ และฝึกทักษะชีวิตให้สามารถใช้สื่อดิจิทัลได้อย่างปลอดภัยและได้ประโยชน์ เรียนรู้ผ่านประเด็นปัญหา กรณีศึกษา จากเหตุการณ์จริง และจำลองเหตุการณ์ โดยให้ผู้เรียนได้วิเคราะห์ วิพากษ์ เรียนรู้ และตอบสนองต่อเหตุการณ์ได้อย่างปลอดภัย และได้จัดทำต้นแบบบทเรียนออนไลน์เผยแพร่บนเว็บไซต์ www.thaidigitalyouth.net รศ.ดร.พนม คลี่ฉายา หัวหน้าหน่วยปฏิบัติการวิจัยและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้านความรอบรู้ทางดิจิทัลและการรู้เท่าทันสื่อ (DIRU) คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดเผยว่า จากงานวิจัยสำรวจการใช้งานสื่อออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาพบว่า นักเรียนใช้สื่อออนไลน์ทั้งในด้านการเรียน ความบันเทิง การรวมกลุ่ม และแสดงออกถึงความเป็นตัวตน โดยกิจกรรมออนไลน์ที่นักเรียนทำบ่อยๆ ได้แก่ ใช้เป็นแหล่งเรียนรู้ หาข้อมูลประกอบการเรียน ดูหนัง ฟังเพลง เล่นเกม ติดตามดาราที่ชื่นชอบ ใช้สร้างกลุ่มบนไลน์ เฟซบุ๊ก ติดตามข่าวสาร และใช้โพสต์รูปภาพ เรื่องราว หรือเข้ากลุ่มสนทนา หรือสมัครสมาชิกเว็บไซต์ หรือติดตามเพจต่างๆ เพื่อแสดงความเป็นตัวตนของตนเอง ในภาพรวมเด็กส่วนใหญ่เลือกที่จะไม่เข้าไปดูหรืออ่านเนื้อหาที่ไม่เหมาะสมที่อาจจะนำไปสู่ความเสี่ยงอันตราย อย่างไรก็ตาม มีกลุ่มตัวอย่างส่วนน้อย (ร้อยละ 4) ที่ระบุว่าตนเองเคยเข้าถึงเนื้อหาด้านเพศ เกมรุนแรง การพนัน และเคยแสดงออกด้วยความรุนแรงอยู่บ่อยๆ และมีจำนวนร้อยละ 23 ระบุว่าคุยกับคนแปลกหน้าบนออนไลน์บ่อยๆ ผลการวิจัยนี้สะท้อนให้เห็นว่า นักเรียนมีโอกาสพบเจอความเสี่ยงจากการใช้งานสื่อออนไลน์ได้ แม้ตัวเลขอาจจะดูเล็กน้อย แต่ต้องให้ความสำคัญในการป้องกันความเสี่ยง และเสริมสร้างให้มีความรอบรู้และรู้ทันเพื่อสามารถเผชิญกับสถานการณ์ความเสี่ยงบนโลกออนไลน์ได้อย่างปลอดภัย รศ.ดร.พนม กล่าวว่า “การสอนเรื่องความรอบรู้ทางดิจิทัลและรู้ทันสื่อเป็นเรื่องที่สำคัญมาก ช่วยลดและป้องกันความเสี่ยงอันตรายจากการใช้งานสื่อออนไลน์ สิ่งท้าทายคือ จะสอนกันอย่างไรถึงจะสร้างทักษะชีวิตให้กับนักเรียนได้จริง จึงได้มีการศึกษาถึงแนวทางการสอนเรื่องนี้ ผลวิจัยชี้แนะว่า การสอนต้องเน้นผลสัมฤทธิ์การเรียนที่มุ่งสร้างความคิดเชิงวิเคราะห์ ฝึกทักษะและพฤติกรรมที่นักเรียนสามารถตอบสนองต่อเหตุการณ์ความเสี่ยงบนโลกออนไลน์ได้อย่างปลอดภัย และสอนให้สามารถใช้ประโยชน์จากสื่อออนไลน์ได้ ไม่ควรเน้นท่องจำ ในด้านเนื้อหาการสอนจะต้องเป็นเรื่องราวที่เชื่อมโยงหรือเป็นเหตุการณ์ในชีวิตประจำวันของนักเรียน โดยต้องเข้าใจด้วยว่าเหตุการณ์ที่นักเรียนแต่ละวัยพบเจอนั้นไม่เหมือนกันทุกเรื่อง นักเรียน ม.ต้น และ ม.ปลาย มีการใช้สื่อออนไลน์แตกต่างกันตามช่วงวัยและประสบการณ์ ดังนั้นเนื้อหาการสอนควรแตกต่างกันตามเหตุการณ์ในแต่ละช่วงวัยของผู้เรียน สำหรับการออกแบบกิจกรรมการสอนควรใช้แนวทางการเรียนรู้ทั้งการเรียนรู้ด้วยการคิดวิเคราะห์เชิงวิพากษ์ (Critical Approach) ร่วมกับการเรียนรู้จากประสบการณ์ตนเอง (Constructivist Approach) โดยสามารถออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ได้หลากหลาย ได้แก่ การเรียนรู้ผ่านการตั้งคำถาม ประเด็นปัญหา (Problem-based Learning) ใช้กรณีศึกษา (Case Study) จากเหตุการณ์จริง และจำลองเหตุการณ์ โดยให้ผู้เรียนได้วิเคราะห์ วิพากษ์ เรียนรู้ และตอบสนองต่อเหตุการณ์ได้อย่างอย่างปลอดภัยและใช้ประโยชน์ได้ และยังสามารถใช้การเรียนรู้ผ่านการทำโครงงาน (Project-based Learning) และออกแบบกิจการการเรียนรู้ที่สนุก มีปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียน เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองมากขึ้น ผลการวิจัยยังบ่งชี้ประเด็นสำคัญอีกประการหนึ่งคือ ครูมีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งในความสำเร็จของการเรียนรู้ บทบาทของครู ซึ่งงานวิจัยชี้แนะว่า ครูสามารถเปลี่ยนจากผู้สอนมาเป็นโค้ช หรือผู้ให้คำแนะนำแก่ผู้เรียน โดยครูจะกระตุ้นการเรียนรู้ กำกับการเรียนรู้ ให้คำแนะนำวิธีการตอบสนองต่อเหตุการณ์อย่างปลอดภัย ชวนผู้เรียนคิด วิเคราะห์ เพิ่มเติมมุมมองและประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียน” ส่วนหนึ่งของแนวทางการสอนดังกล่าวได้นำมาพัฒนาเป็นต้นแบบบทเรียนออนไลน์ ที่สามารถเรียนรู้ด้วยตนเองบนเว็บไซต์ และครูสามารถใช้ประกอบการเรียนในห้องเรียนได้ รศ.ดร.พนม ให้รายละเอียดเพิ่มเติมว่า “เราได้เผยแพร่ต้นแบบบทเรียนออนไลน์จากผลการวิจัย ทางเว็บไซต์ www.thaidigitalyouth.net ครูสามารถใช้ประกอบการสอนในห้องเรียน โดยไม่จำเป็นต้องบรรยายเนื้อหา แต่มอบหมายให้นักเรียนเข้าไปเรียนด้วยตนเองจากต้นแบบบทเรียนบนเว็บไซต์ก่อนถึงคาบเรียน แล้วใช้เวลาในคาบเรียนแลกเปลี่ยนความเห็น อภิปราย ชวนคิดวิเคราะห์และให้คำแนะนำ ตามแนวทางการสอนแบบห้องเรียนกลับด้าน (Flipped Classroom) นอกจากนี้ผู้ปกครองสามารถนำมาใช้เป็นบทเรียนเสริมการเรียนรู้ให้แก่บุตรหลานของตนเองได้ ต้นแบบบทเรียนที่เผยแพร่มี 4 เรื่อง ได้แก่ 1.การใช้ชีวิตอย่างไรในโลกความจริงและโลกเสมือนออนไลน์ 2.เรียนรู้เพื่อหลีกเลี่ยงความเสี่ยงและอันตรายบนออนไลน์ 3.เพิ่มทักษะการใช้สื่อออนไลน์ให้ประโยชน์ต่อตนเองและสังคม และ 4.เสริมสร้างสู่ความเป็นพลเมืองดิจิทัลบนออนไลน์ ท้ายบทเรียนยังมีคำถามเพื่อทดสอบผู้เรียนอีกด้วย และบนเว็บไซต์ยังมีเอกสารบทเรียนที่ครูและผู้สนใจสามารถดาวน์โหลดไปปรับใช้สอนได้” งานวิจัยได้เสนออีกว่า โครงสร้างเนื้อหาสำหรับสอนให้นักเรียนมัธยมมีความรอบรู้ทางดิจิทัลและรู้ทันเท่าสื่อประกอบด้วย 5 กลุ่มสาระ และในแต่ละกลุ่มสาระมีวิธีการสอน ดังต่อไปนี้ สาระที่ 1 : การเข้าถึง การใช้งาน และการอ่านสื่อดิจิทัล โดยวิธีการสอนเน้นการอภิปรายระหว่างครูกับนักเรียนโดยใช้กรณีศึกษา สาระที่ 2 : ความรู้พื้นฐานสู่การรู้เท่าทันสื่อดิจิทัล ด้านองค์กรสื่อดิจิทัล กฎหมาย การแยกแยะประเภทเนื้อหา พฤติกรรมการเสพติดสื่อดิจิทัล โอกาสที่นำไปสู่ความเสี่ยงอันตราย โดยวิธีการสอนเน้นการคิด ประเมิน และวิพากษ์ความถูกต้อง ใช้เหตุการณ์ที่ใกล้ชิดกับนักเรียนมาวิเคราะห์ โดยมีครูเป็นผู้ช่วยในการเรียนรู้ ให้คำแนะนำ หรือโค้ช (Coach) สาระที่ 3 : รู้เท่าทันชีวิตดิจิทัล และใช้อย่างปลอดภัย ได้ประโยชน์ เน้นการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem–based Learning) การสอนแบบประเด็นศึกษา (Issue-based Learning) สาระที่ 4 : สร้างสรรค์สื่อดิจิทัลเพื่อชีวิตและสังคมที่ดี เป็นการออกแบบ ผลิตสร้างสรรค์สื่อดิจิทัล รวมทั้งเทคนิควิธีการแทรกแซงของธุรกิจและเจ้าของสื่อในขั้นตอนการผลิต ใช้วิธีการสอนแบบโครงงานเป็นฐาน (Project-based Learning) สาระที่ 5 : เรียนรู้อยู่เสมอเพื่อการรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงในอนาคต เป็นการคาดการณ์ การเปลี่ยนแปลงสื่อดิจิทัลในอนาคต และการเตรียมตนเองให้พร้อมเพื่อดำเนินชีวิตอย่างรู้ทันสื่อดิจิทัล ใช้วิธีการสอนแบบการสืบค้นข้อมูล การวาดภาพ บทบาทสมมติ ทั้งนี้ งานวิจัยดังกล่าวเป็นผลงานวิจัยของหน่วยปฏิบัติการวิจัยและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้านความรอบรู้ทางดิจิทัลและการรู้เท่าทันสื่อ หรือ DIRU ซึ่งเป็นหน่วยปฏิบัติการวิจัยในสังกัด คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มี รศ.ดร.พนม คลี่ฉายา เป็นหัวหน้าหน่วยปฏิบัติการวิจัยฯ ได้รับการสนับสนุนจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มุ่งสร้างงานวิจัยและเผยแพร่ความรู้จากงานวิจัยสู่สังคมเพื่อประโยชน์ทางการศึกษา การเรียนการสอนและการวิจัยด้านการรู้เท่าทันสื่อดิจิทัล ส่งเสริมศักยภาพคนไทยที่รอบรู้ทางดิจิทัลและรู้ทันสื่อ รองรับสังคมยุคดิจิทัลในปัจจุบันและอนาคต สามารถดาวน์โหลดเอกสารงานวิจัยและต้นแบบบทเรียนได้ที่ www.thaidigitalyouth.net ……………………………………….. ข้อมูลเพิ่มเติม : นางสาวกมลรัตน์ กิจรุ่งไพศาล โทร. 063-5464295 และ 02-2182197 หน่วยปฏิบัติการวิจัยและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้านความรอบรู้ทางดิจิทัลและการรู้เท่าทันสื่อ (DIRU) คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย tui sakrapee Related Posts คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” สวนสุนันทา – สกสค. ผนึกกำลังพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา เดินหน้าวิจัย-สร้างสรรค์สื่อ-อบรม AI ยกระดับการศึกษาไทย Post navigation PREVIOUS Previous post: 10อันดับมหา’ลัยเรียนจบแล้วรวยที่สุดในโลกNEXT Next post: มทร.ธัญบุรี ลงนามร่วม 5 บริษัทเอกชนทั้งในและต่างประเทศ พัฒนาและต่อยอดงานวิจัยเชิงพาณิชย์
ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่…
รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่…
คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search tui sakrapee September 2, 2019 tui sakrapee September 2, 2019 นิเทศ จุฬาฯจัดทำ “แนวทางการสอนและต้นแบบบทเรียนออนไลน์รู้เท่าทันชีวิตดิจิทัล” หน่วยวิจัยฯ DIRU นิเทศ จุฬาฯ เสนอแนวทางการสอนความรอบรู้ทางดิจิทัลและรู้เท่าทันสื่อ เน้นความรู้ เข้าใจ วิเคราะห์ และฝึกทักษะชีวิตให้สามารถใช้สื่อดิจิทัลได้อย่างปลอดภัยและได้ประโยชน์ เรียนรู้ผ่านประเด็นปัญหา กรณีศึกษา จากเหตุการณ์จริง และจำลองเหตุการณ์ โดยให้ผู้เรียนได้วิเคราะห์ วิพากษ์ เรียนรู้ และตอบสนองต่อเหตุการณ์ได้อย่างปลอดภัย และได้จัดทำต้นแบบบทเรียนออนไลน์เผยแพร่บนเว็บไซต์ www.thaidigitalyouth.net รศ.ดร.พนม คลี่ฉายา หัวหน้าหน่วยปฏิบัติการวิจัยและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้านความรอบรู้ทางดิจิทัลและการรู้เท่าทันสื่อ (DIRU) คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดเผยว่า จากงานวิจัยสำรวจการใช้งานสื่อออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาพบว่า นักเรียนใช้สื่อออนไลน์ทั้งในด้านการเรียน ความบันเทิง การรวมกลุ่ม และแสดงออกถึงความเป็นตัวตน โดยกิจกรรมออนไลน์ที่นักเรียนทำบ่อยๆ ได้แก่ ใช้เป็นแหล่งเรียนรู้ หาข้อมูลประกอบการเรียน ดูหนัง ฟังเพลง เล่นเกม ติดตามดาราที่ชื่นชอบ ใช้สร้างกลุ่มบนไลน์ เฟซบุ๊ก ติดตามข่าวสาร และใช้โพสต์รูปภาพ เรื่องราว หรือเข้ากลุ่มสนทนา หรือสมัครสมาชิกเว็บไซต์ หรือติดตามเพจต่างๆ เพื่อแสดงความเป็นตัวตนของตนเอง ในภาพรวมเด็กส่วนใหญ่เลือกที่จะไม่เข้าไปดูหรืออ่านเนื้อหาที่ไม่เหมาะสมที่อาจจะนำไปสู่ความเสี่ยงอันตราย อย่างไรก็ตาม มีกลุ่มตัวอย่างส่วนน้อย (ร้อยละ 4) ที่ระบุว่าตนเองเคยเข้าถึงเนื้อหาด้านเพศ เกมรุนแรง การพนัน และเคยแสดงออกด้วยความรุนแรงอยู่บ่อยๆ และมีจำนวนร้อยละ 23 ระบุว่าคุยกับคนแปลกหน้าบนออนไลน์บ่อยๆ ผลการวิจัยนี้สะท้อนให้เห็นว่า นักเรียนมีโอกาสพบเจอความเสี่ยงจากการใช้งานสื่อออนไลน์ได้ แม้ตัวเลขอาจจะดูเล็กน้อย แต่ต้องให้ความสำคัญในการป้องกันความเสี่ยง และเสริมสร้างให้มีความรอบรู้และรู้ทันเพื่อสามารถเผชิญกับสถานการณ์ความเสี่ยงบนโลกออนไลน์ได้อย่างปลอดภัย รศ.ดร.พนม กล่าวว่า “การสอนเรื่องความรอบรู้ทางดิจิทัลและรู้ทันสื่อเป็นเรื่องที่สำคัญมาก ช่วยลดและป้องกันความเสี่ยงอันตรายจากการใช้งานสื่อออนไลน์ สิ่งท้าทายคือ จะสอนกันอย่างไรถึงจะสร้างทักษะชีวิตให้กับนักเรียนได้จริง จึงได้มีการศึกษาถึงแนวทางการสอนเรื่องนี้ ผลวิจัยชี้แนะว่า การสอนต้องเน้นผลสัมฤทธิ์การเรียนที่มุ่งสร้างความคิดเชิงวิเคราะห์ ฝึกทักษะและพฤติกรรมที่นักเรียนสามารถตอบสนองต่อเหตุการณ์ความเสี่ยงบนโลกออนไลน์ได้อย่างปลอดภัย และสอนให้สามารถใช้ประโยชน์จากสื่อออนไลน์ได้ ไม่ควรเน้นท่องจำ ในด้านเนื้อหาการสอนจะต้องเป็นเรื่องราวที่เชื่อมโยงหรือเป็นเหตุการณ์ในชีวิตประจำวันของนักเรียน โดยต้องเข้าใจด้วยว่าเหตุการณ์ที่นักเรียนแต่ละวัยพบเจอนั้นไม่เหมือนกันทุกเรื่อง นักเรียน ม.ต้น และ ม.ปลาย มีการใช้สื่อออนไลน์แตกต่างกันตามช่วงวัยและประสบการณ์ ดังนั้นเนื้อหาการสอนควรแตกต่างกันตามเหตุการณ์ในแต่ละช่วงวัยของผู้เรียน สำหรับการออกแบบกิจกรรมการสอนควรใช้แนวทางการเรียนรู้ทั้งการเรียนรู้ด้วยการคิดวิเคราะห์เชิงวิพากษ์ (Critical Approach) ร่วมกับการเรียนรู้จากประสบการณ์ตนเอง (Constructivist Approach) โดยสามารถออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ได้หลากหลาย ได้แก่ การเรียนรู้ผ่านการตั้งคำถาม ประเด็นปัญหา (Problem-based Learning) ใช้กรณีศึกษา (Case Study) จากเหตุการณ์จริง และจำลองเหตุการณ์ โดยให้ผู้เรียนได้วิเคราะห์ วิพากษ์ เรียนรู้ และตอบสนองต่อเหตุการณ์ได้อย่างอย่างปลอดภัยและใช้ประโยชน์ได้ และยังสามารถใช้การเรียนรู้ผ่านการทำโครงงาน (Project-based Learning) และออกแบบกิจการการเรียนรู้ที่สนุก มีปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียน เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองมากขึ้น ผลการวิจัยยังบ่งชี้ประเด็นสำคัญอีกประการหนึ่งคือ ครูมีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งในความสำเร็จของการเรียนรู้ บทบาทของครู ซึ่งงานวิจัยชี้แนะว่า ครูสามารถเปลี่ยนจากผู้สอนมาเป็นโค้ช หรือผู้ให้คำแนะนำแก่ผู้เรียน โดยครูจะกระตุ้นการเรียนรู้ กำกับการเรียนรู้ ให้คำแนะนำวิธีการตอบสนองต่อเหตุการณ์อย่างปลอดภัย ชวนผู้เรียนคิด วิเคราะห์ เพิ่มเติมมุมมองและประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียน” ส่วนหนึ่งของแนวทางการสอนดังกล่าวได้นำมาพัฒนาเป็นต้นแบบบทเรียนออนไลน์ ที่สามารถเรียนรู้ด้วยตนเองบนเว็บไซต์ และครูสามารถใช้ประกอบการเรียนในห้องเรียนได้ รศ.ดร.พนม ให้รายละเอียดเพิ่มเติมว่า “เราได้เผยแพร่ต้นแบบบทเรียนออนไลน์จากผลการวิจัย ทางเว็บไซต์ www.thaidigitalyouth.net ครูสามารถใช้ประกอบการสอนในห้องเรียน โดยไม่จำเป็นต้องบรรยายเนื้อหา แต่มอบหมายให้นักเรียนเข้าไปเรียนด้วยตนเองจากต้นแบบบทเรียนบนเว็บไซต์ก่อนถึงคาบเรียน แล้วใช้เวลาในคาบเรียนแลกเปลี่ยนความเห็น อภิปราย ชวนคิดวิเคราะห์และให้คำแนะนำ ตามแนวทางการสอนแบบห้องเรียนกลับด้าน (Flipped Classroom) นอกจากนี้ผู้ปกครองสามารถนำมาใช้เป็นบทเรียนเสริมการเรียนรู้ให้แก่บุตรหลานของตนเองได้ ต้นแบบบทเรียนที่เผยแพร่มี 4 เรื่อง ได้แก่ 1.การใช้ชีวิตอย่างไรในโลกความจริงและโลกเสมือนออนไลน์ 2.เรียนรู้เพื่อหลีกเลี่ยงความเสี่ยงและอันตรายบนออนไลน์ 3.เพิ่มทักษะการใช้สื่อออนไลน์ให้ประโยชน์ต่อตนเองและสังคม และ 4.เสริมสร้างสู่ความเป็นพลเมืองดิจิทัลบนออนไลน์ ท้ายบทเรียนยังมีคำถามเพื่อทดสอบผู้เรียนอีกด้วย และบนเว็บไซต์ยังมีเอกสารบทเรียนที่ครูและผู้สนใจสามารถดาวน์โหลดไปปรับใช้สอนได้” งานวิจัยได้เสนออีกว่า โครงสร้างเนื้อหาสำหรับสอนให้นักเรียนมัธยมมีความรอบรู้ทางดิจิทัลและรู้ทันเท่าสื่อประกอบด้วย 5 กลุ่มสาระ และในแต่ละกลุ่มสาระมีวิธีการสอน ดังต่อไปนี้ สาระที่ 1 : การเข้าถึง การใช้งาน และการอ่านสื่อดิจิทัล โดยวิธีการสอนเน้นการอภิปรายระหว่างครูกับนักเรียนโดยใช้กรณีศึกษา สาระที่ 2 : ความรู้พื้นฐานสู่การรู้เท่าทันสื่อดิจิทัล ด้านองค์กรสื่อดิจิทัล กฎหมาย การแยกแยะประเภทเนื้อหา พฤติกรรมการเสพติดสื่อดิจิทัล โอกาสที่นำไปสู่ความเสี่ยงอันตราย โดยวิธีการสอนเน้นการคิด ประเมิน และวิพากษ์ความถูกต้อง ใช้เหตุการณ์ที่ใกล้ชิดกับนักเรียนมาวิเคราะห์ โดยมีครูเป็นผู้ช่วยในการเรียนรู้ ให้คำแนะนำ หรือโค้ช (Coach) สาระที่ 3 : รู้เท่าทันชีวิตดิจิทัล และใช้อย่างปลอดภัย ได้ประโยชน์ เน้นการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem–based Learning) การสอนแบบประเด็นศึกษา (Issue-based Learning) สาระที่ 4 : สร้างสรรค์สื่อดิจิทัลเพื่อชีวิตและสังคมที่ดี เป็นการออกแบบ ผลิตสร้างสรรค์สื่อดิจิทัล รวมทั้งเทคนิควิธีการแทรกแซงของธุรกิจและเจ้าของสื่อในขั้นตอนการผลิต ใช้วิธีการสอนแบบโครงงานเป็นฐาน (Project-based Learning) สาระที่ 5 : เรียนรู้อยู่เสมอเพื่อการรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงในอนาคต เป็นการคาดการณ์ การเปลี่ยนแปลงสื่อดิจิทัลในอนาคต และการเตรียมตนเองให้พร้อมเพื่อดำเนินชีวิตอย่างรู้ทันสื่อดิจิทัล ใช้วิธีการสอนแบบการสืบค้นข้อมูล การวาดภาพ บทบาทสมมติ ทั้งนี้ งานวิจัยดังกล่าวเป็นผลงานวิจัยของหน่วยปฏิบัติการวิจัยและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้านความรอบรู้ทางดิจิทัลและการรู้เท่าทันสื่อ หรือ DIRU ซึ่งเป็นหน่วยปฏิบัติการวิจัยในสังกัด คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มี รศ.ดร.พนม คลี่ฉายา เป็นหัวหน้าหน่วยปฏิบัติการวิจัยฯ ได้รับการสนับสนุนจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มุ่งสร้างงานวิจัยและเผยแพร่ความรู้จากงานวิจัยสู่สังคมเพื่อประโยชน์ทางการศึกษา การเรียนการสอนและการวิจัยด้านการรู้เท่าทันสื่อดิจิทัล ส่งเสริมศักยภาพคนไทยที่รอบรู้ทางดิจิทัลและรู้ทันสื่อ รองรับสังคมยุคดิจิทัลในปัจจุบันและอนาคต สามารถดาวน์โหลดเอกสารงานวิจัยและต้นแบบบทเรียนได้ที่ www.thaidigitalyouth.net ……………………………………….. ข้อมูลเพิ่มเติม : นางสาวกมลรัตน์ กิจรุ่งไพศาล โทร. 063-5464295 และ 02-2182197 หน่วยปฏิบัติการวิจัยและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้านความรอบรู้ทางดิจิทัลและการรู้เท่าทันสื่อ (DIRU) คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย tui sakrapee Related Posts คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” สวนสุนันทา – สกสค. ผนึกกำลังพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา เดินหน้าวิจัย-สร้างสรรค์สื่อ-อบรม AI ยกระดับการศึกษาไทย Post navigation PREVIOUS Previous post: 10อันดับมหา’ลัยเรียนจบแล้วรวยที่สุดในโลกNEXT Next post: มทร.ธัญบุรี ลงนามร่วม 5 บริษัทเอกชนทั้งในและต่างประเทศ พัฒนาและต่อยอดงานวิจัยเชิงพาณิชย์
เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search tui sakrapee September 2, 2019 tui sakrapee September 2, 2019 นิเทศ จุฬาฯจัดทำ “แนวทางการสอนและต้นแบบบทเรียนออนไลน์รู้เท่าทันชีวิตดิจิทัล” หน่วยวิจัยฯ DIRU นิเทศ จุฬาฯ เสนอแนวทางการสอนความรอบรู้ทางดิจิทัลและรู้เท่าทันสื่อ เน้นความรู้ เข้าใจ วิเคราะห์ และฝึกทักษะชีวิตให้สามารถใช้สื่อดิจิทัลได้อย่างปลอดภัยและได้ประโยชน์ เรียนรู้ผ่านประเด็นปัญหา กรณีศึกษา จากเหตุการณ์จริง และจำลองเหตุการณ์ โดยให้ผู้เรียนได้วิเคราะห์ วิพากษ์ เรียนรู้ และตอบสนองต่อเหตุการณ์ได้อย่างปลอดภัย และได้จัดทำต้นแบบบทเรียนออนไลน์เผยแพร่บนเว็บไซต์ www.thaidigitalyouth.net รศ.ดร.พนม คลี่ฉายา หัวหน้าหน่วยปฏิบัติการวิจัยและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้านความรอบรู้ทางดิจิทัลและการรู้เท่าทันสื่อ (DIRU) คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดเผยว่า จากงานวิจัยสำรวจการใช้งานสื่อออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาพบว่า นักเรียนใช้สื่อออนไลน์ทั้งในด้านการเรียน ความบันเทิง การรวมกลุ่ม และแสดงออกถึงความเป็นตัวตน โดยกิจกรรมออนไลน์ที่นักเรียนทำบ่อยๆ ได้แก่ ใช้เป็นแหล่งเรียนรู้ หาข้อมูลประกอบการเรียน ดูหนัง ฟังเพลง เล่นเกม ติดตามดาราที่ชื่นชอบ ใช้สร้างกลุ่มบนไลน์ เฟซบุ๊ก ติดตามข่าวสาร และใช้โพสต์รูปภาพ เรื่องราว หรือเข้ากลุ่มสนทนา หรือสมัครสมาชิกเว็บไซต์ หรือติดตามเพจต่างๆ เพื่อแสดงความเป็นตัวตนของตนเอง ในภาพรวมเด็กส่วนใหญ่เลือกที่จะไม่เข้าไปดูหรืออ่านเนื้อหาที่ไม่เหมาะสมที่อาจจะนำไปสู่ความเสี่ยงอันตราย อย่างไรก็ตาม มีกลุ่มตัวอย่างส่วนน้อย (ร้อยละ 4) ที่ระบุว่าตนเองเคยเข้าถึงเนื้อหาด้านเพศ เกมรุนแรง การพนัน และเคยแสดงออกด้วยความรุนแรงอยู่บ่อยๆ และมีจำนวนร้อยละ 23 ระบุว่าคุยกับคนแปลกหน้าบนออนไลน์บ่อยๆ ผลการวิจัยนี้สะท้อนให้เห็นว่า นักเรียนมีโอกาสพบเจอความเสี่ยงจากการใช้งานสื่อออนไลน์ได้ แม้ตัวเลขอาจจะดูเล็กน้อย แต่ต้องให้ความสำคัญในการป้องกันความเสี่ยง และเสริมสร้างให้มีความรอบรู้และรู้ทันเพื่อสามารถเผชิญกับสถานการณ์ความเสี่ยงบนโลกออนไลน์ได้อย่างปลอดภัย รศ.ดร.พนม กล่าวว่า “การสอนเรื่องความรอบรู้ทางดิจิทัลและรู้ทันสื่อเป็นเรื่องที่สำคัญมาก ช่วยลดและป้องกันความเสี่ยงอันตรายจากการใช้งานสื่อออนไลน์ สิ่งท้าทายคือ จะสอนกันอย่างไรถึงจะสร้างทักษะชีวิตให้กับนักเรียนได้จริง จึงได้มีการศึกษาถึงแนวทางการสอนเรื่องนี้ ผลวิจัยชี้แนะว่า การสอนต้องเน้นผลสัมฤทธิ์การเรียนที่มุ่งสร้างความคิดเชิงวิเคราะห์ ฝึกทักษะและพฤติกรรมที่นักเรียนสามารถตอบสนองต่อเหตุการณ์ความเสี่ยงบนโลกออนไลน์ได้อย่างปลอดภัย และสอนให้สามารถใช้ประโยชน์จากสื่อออนไลน์ได้ ไม่ควรเน้นท่องจำ ในด้านเนื้อหาการสอนจะต้องเป็นเรื่องราวที่เชื่อมโยงหรือเป็นเหตุการณ์ในชีวิตประจำวันของนักเรียน โดยต้องเข้าใจด้วยว่าเหตุการณ์ที่นักเรียนแต่ละวัยพบเจอนั้นไม่เหมือนกันทุกเรื่อง นักเรียน ม.ต้น และ ม.ปลาย มีการใช้สื่อออนไลน์แตกต่างกันตามช่วงวัยและประสบการณ์ ดังนั้นเนื้อหาการสอนควรแตกต่างกันตามเหตุการณ์ในแต่ละช่วงวัยของผู้เรียน สำหรับการออกแบบกิจกรรมการสอนควรใช้แนวทางการเรียนรู้ทั้งการเรียนรู้ด้วยการคิดวิเคราะห์เชิงวิพากษ์ (Critical Approach) ร่วมกับการเรียนรู้จากประสบการณ์ตนเอง (Constructivist Approach) โดยสามารถออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ได้หลากหลาย ได้แก่ การเรียนรู้ผ่านการตั้งคำถาม ประเด็นปัญหา (Problem-based Learning) ใช้กรณีศึกษา (Case Study) จากเหตุการณ์จริง และจำลองเหตุการณ์ โดยให้ผู้เรียนได้วิเคราะห์ วิพากษ์ เรียนรู้ และตอบสนองต่อเหตุการณ์ได้อย่างอย่างปลอดภัยและใช้ประโยชน์ได้ และยังสามารถใช้การเรียนรู้ผ่านการทำโครงงาน (Project-based Learning) และออกแบบกิจการการเรียนรู้ที่สนุก มีปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียน เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองมากขึ้น ผลการวิจัยยังบ่งชี้ประเด็นสำคัญอีกประการหนึ่งคือ ครูมีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งในความสำเร็จของการเรียนรู้ บทบาทของครู ซึ่งงานวิจัยชี้แนะว่า ครูสามารถเปลี่ยนจากผู้สอนมาเป็นโค้ช หรือผู้ให้คำแนะนำแก่ผู้เรียน โดยครูจะกระตุ้นการเรียนรู้ กำกับการเรียนรู้ ให้คำแนะนำวิธีการตอบสนองต่อเหตุการณ์อย่างปลอดภัย ชวนผู้เรียนคิด วิเคราะห์ เพิ่มเติมมุมมองและประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียน” ส่วนหนึ่งของแนวทางการสอนดังกล่าวได้นำมาพัฒนาเป็นต้นแบบบทเรียนออนไลน์ ที่สามารถเรียนรู้ด้วยตนเองบนเว็บไซต์ และครูสามารถใช้ประกอบการเรียนในห้องเรียนได้ รศ.ดร.พนม ให้รายละเอียดเพิ่มเติมว่า “เราได้เผยแพร่ต้นแบบบทเรียนออนไลน์จากผลการวิจัย ทางเว็บไซต์ www.thaidigitalyouth.net ครูสามารถใช้ประกอบการสอนในห้องเรียน โดยไม่จำเป็นต้องบรรยายเนื้อหา แต่มอบหมายให้นักเรียนเข้าไปเรียนด้วยตนเองจากต้นแบบบทเรียนบนเว็บไซต์ก่อนถึงคาบเรียน แล้วใช้เวลาในคาบเรียนแลกเปลี่ยนความเห็น อภิปราย ชวนคิดวิเคราะห์และให้คำแนะนำ ตามแนวทางการสอนแบบห้องเรียนกลับด้าน (Flipped Classroom) นอกจากนี้ผู้ปกครองสามารถนำมาใช้เป็นบทเรียนเสริมการเรียนรู้ให้แก่บุตรหลานของตนเองได้ ต้นแบบบทเรียนที่เผยแพร่มี 4 เรื่อง ได้แก่ 1.การใช้ชีวิตอย่างไรในโลกความจริงและโลกเสมือนออนไลน์ 2.เรียนรู้เพื่อหลีกเลี่ยงความเสี่ยงและอันตรายบนออนไลน์ 3.เพิ่มทักษะการใช้สื่อออนไลน์ให้ประโยชน์ต่อตนเองและสังคม และ 4.เสริมสร้างสู่ความเป็นพลเมืองดิจิทัลบนออนไลน์ ท้ายบทเรียนยังมีคำถามเพื่อทดสอบผู้เรียนอีกด้วย และบนเว็บไซต์ยังมีเอกสารบทเรียนที่ครูและผู้สนใจสามารถดาวน์โหลดไปปรับใช้สอนได้” งานวิจัยได้เสนออีกว่า โครงสร้างเนื้อหาสำหรับสอนให้นักเรียนมัธยมมีความรอบรู้ทางดิจิทัลและรู้ทันเท่าสื่อประกอบด้วย 5 กลุ่มสาระ และในแต่ละกลุ่มสาระมีวิธีการสอน ดังต่อไปนี้ สาระที่ 1 : การเข้าถึง การใช้งาน และการอ่านสื่อดิจิทัล โดยวิธีการสอนเน้นการอภิปรายระหว่างครูกับนักเรียนโดยใช้กรณีศึกษา สาระที่ 2 : ความรู้พื้นฐานสู่การรู้เท่าทันสื่อดิจิทัล ด้านองค์กรสื่อดิจิทัล กฎหมาย การแยกแยะประเภทเนื้อหา พฤติกรรมการเสพติดสื่อดิจิทัล โอกาสที่นำไปสู่ความเสี่ยงอันตราย โดยวิธีการสอนเน้นการคิด ประเมิน และวิพากษ์ความถูกต้อง ใช้เหตุการณ์ที่ใกล้ชิดกับนักเรียนมาวิเคราะห์ โดยมีครูเป็นผู้ช่วยในการเรียนรู้ ให้คำแนะนำ หรือโค้ช (Coach) สาระที่ 3 : รู้เท่าทันชีวิตดิจิทัล และใช้อย่างปลอดภัย ได้ประโยชน์ เน้นการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem–based Learning) การสอนแบบประเด็นศึกษา (Issue-based Learning) สาระที่ 4 : สร้างสรรค์สื่อดิจิทัลเพื่อชีวิตและสังคมที่ดี เป็นการออกแบบ ผลิตสร้างสรรค์สื่อดิจิทัล รวมทั้งเทคนิควิธีการแทรกแซงของธุรกิจและเจ้าของสื่อในขั้นตอนการผลิต ใช้วิธีการสอนแบบโครงงานเป็นฐาน (Project-based Learning) สาระที่ 5 : เรียนรู้อยู่เสมอเพื่อการรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงในอนาคต เป็นการคาดการณ์ การเปลี่ยนแปลงสื่อดิจิทัลในอนาคต และการเตรียมตนเองให้พร้อมเพื่อดำเนินชีวิตอย่างรู้ทันสื่อดิจิทัล ใช้วิธีการสอนแบบการสืบค้นข้อมูล การวาดภาพ บทบาทสมมติ ทั้งนี้ งานวิจัยดังกล่าวเป็นผลงานวิจัยของหน่วยปฏิบัติการวิจัยและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้านความรอบรู้ทางดิจิทัลและการรู้เท่าทันสื่อ หรือ DIRU ซึ่งเป็นหน่วยปฏิบัติการวิจัยในสังกัด คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มี รศ.ดร.พนม คลี่ฉายา เป็นหัวหน้าหน่วยปฏิบัติการวิจัยฯ ได้รับการสนับสนุนจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มุ่งสร้างงานวิจัยและเผยแพร่ความรู้จากงานวิจัยสู่สังคมเพื่อประโยชน์ทางการศึกษา การเรียนการสอนและการวิจัยด้านการรู้เท่าทันสื่อดิจิทัล ส่งเสริมศักยภาพคนไทยที่รอบรู้ทางดิจิทัลและรู้ทันสื่อ รองรับสังคมยุคดิจิทัลในปัจจุบันและอนาคต สามารถดาวน์โหลดเอกสารงานวิจัยและต้นแบบบทเรียนได้ที่ www.thaidigitalyouth.net ……………………………………….. ข้อมูลเพิ่มเติม : นางสาวกมลรัตน์ กิจรุ่งไพศาล โทร. 063-5464295 และ 02-2182197 หน่วยปฏิบัติการวิจัยและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้านความรอบรู้ทางดิจิทัลและการรู้เท่าทันสื่อ (DIRU) คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย tui sakrapee Related Posts คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” สวนสุนันทา – สกสค. ผนึกกำลังพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา เดินหน้าวิจัย-สร้างสรรค์สื่อ-อบรม AI ยกระดับการศึกษาไทย Post navigation PREVIOUS Previous post: 10อันดับมหา’ลัยเรียนจบแล้วรวยที่สุดในโลกNEXT Next post: มทร.ธัญบุรี ลงนามร่วม 5 บริษัทเอกชนทั้งในและต่างประเทศ พัฒนาและต่อยอดงานวิจัยเชิงพาณิชย์
สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief…
เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief…
“40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search tui sakrapee September 2, 2019 tui sakrapee September 2, 2019 นิเทศ จุฬาฯจัดทำ “แนวทางการสอนและต้นแบบบทเรียนออนไลน์รู้เท่าทันชีวิตดิจิทัล” หน่วยวิจัยฯ DIRU นิเทศ จุฬาฯ เสนอแนวทางการสอนความรอบรู้ทางดิจิทัลและรู้เท่าทันสื่อ เน้นความรู้ เข้าใจ วิเคราะห์ และฝึกทักษะชีวิตให้สามารถใช้สื่อดิจิทัลได้อย่างปลอดภัยและได้ประโยชน์ เรียนรู้ผ่านประเด็นปัญหา กรณีศึกษา จากเหตุการณ์จริง และจำลองเหตุการณ์ โดยให้ผู้เรียนได้วิเคราะห์ วิพากษ์ เรียนรู้ และตอบสนองต่อเหตุการณ์ได้อย่างปลอดภัย และได้จัดทำต้นแบบบทเรียนออนไลน์เผยแพร่บนเว็บไซต์ www.thaidigitalyouth.net รศ.ดร.พนม คลี่ฉายา หัวหน้าหน่วยปฏิบัติการวิจัยและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้านความรอบรู้ทางดิจิทัลและการรู้เท่าทันสื่อ (DIRU) คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดเผยว่า จากงานวิจัยสำรวจการใช้งานสื่อออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาพบว่า นักเรียนใช้สื่อออนไลน์ทั้งในด้านการเรียน ความบันเทิง การรวมกลุ่ม และแสดงออกถึงความเป็นตัวตน โดยกิจกรรมออนไลน์ที่นักเรียนทำบ่อยๆ ได้แก่ ใช้เป็นแหล่งเรียนรู้ หาข้อมูลประกอบการเรียน ดูหนัง ฟังเพลง เล่นเกม ติดตามดาราที่ชื่นชอบ ใช้สร้างกลุ่มบนไลน์ เฟซบุ๊ก ติดตามข่าวสาร และใช้โพสต์รูปภาพ เรื่องราว หรือเข้ากลุ่มสนทนา หรือสมัครสมาชิกเว็บไซต์ หรือติดตามเพจต่างๆ เพื่อแสดงความเป็นตัวตนของตนเอง ในภาพรวมเด็กส่วนใหญ่เลือกที่จะไม่เข้าไปดูหรืออ่านเนื้อหาที่ไม่เหมาะสมที่อาจจะนำไปสู่ความเสี่ยงอันตราย อย่างไรก็ตาม มีกลุ่มตัวอย่างส่วนน้อย (ร้อยละ 4) ที่ระบุว่าตนเองเคยเข้าถึงเนื้อหาด้านเพศ เกมรุนแรง การพนัน และเคยแสดงออกด้วยความรุนแรงอยู่บ่อยๆ และมีจำนวนร้อยละ 23 ระบุว่าคุยกับคนแปลกหน้าบนออนไลน์บ่อยๆ ผลการวิจัยนี้สะท้อนให้เห็นว่า นักเรียนมีโอกาสพบเจอความเสี่ยงจากการใช้งานสื่อออนไลน์ได้ แม้ตัวเลขอาจจะดูเล็กน้อย แต่ต้องให้ความสำคัญในการป้องกันความเสี่ยง และเสริมสร้างให้มีความรอบรู้และรู้ทันเพื่อสามารถเผชิญกับสถานการณ์ความเสี่ยงบนโลกออนไลน์ได้อย่างปลอดภัย รศ.ดร.พนม กล่าวว่า “การสอนเรื่องความรอบรู้ทางดิจิทัลและรู้ทันสื่อเป็นเรื่องที่สำคัญมาก ช่วยลดและป้องกันความเสี่ยงอันตรายจากการใช้งานสื่อออนไลน์ สิ่งท้าทายคือ จะสอนกันอย่างไรถึงจะสร้างทักษะชีวิตให้กับนักเรียนได้จริง จึงได้มีการศึกษาถึงแนวทางการสอนเรื่องนี้ ผลวิจัยชี้แนะว่า การสอนต้องเน้นผลสัมฤทธิ์การเรียนที่มุ่งสร้างความคิดเชิงวิเคราะห์ ฝึกทักษะและพฤติกรรมที่นักเรียนสามารถตอบสนองต่อเหตุการณ์ความเสี่ยงบนโลกออนไลน์ได้อย่างปลอดภัย และสอนให้สามารถใช้ประโยชน์จากสื่อออนไลน์ได้ ไม่ควรเน้นท่องจำ ในด้านเนื้อหาการสอนจะต้องเป็นเรื่องราวที่เชื่อมโยงหรือเป็นเหตุการณ์ในชีวิตประจำวันของนักเรียน โดยต้องเข้าใจด้วยว่าเหตุการณ์ที่นักเรียนแต่ละวัยพบเจอนั้นไม่เหมือนกันทุกเรื่อง นักเรียน ม.ต้น และ ม.ปลาย มีการใช้สื่อออนไลน์แตกต่างกันตามช่วงวัยและประสบการณ์ ดังนั้นเนื้อหาการสอนควรแตกต่างกันตามเหตุการณ์ในแต่ละช่วงวัยของผู้เรียน สำหรับการออกแบบกิจกรรมการสอนควรใช้แนวทางการเรียนรู้ทั้งการเรียนรู้ด้วยการคิดวิเคราะห์เชิงวิพากษ์ (Critical Approach) ร่วมกับการเรียนรู้จากประสบการณ์ตนเอง (Constructivist Approach) โดยสามารถออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ได้หลากหลาย ได้แก่ การเรียนรู้ผ่านการตั้งคำถาม ประเด็นปัญหา (Problem-based Learning) ใช้กรณีศึกษา (Case Study) จากเหตุการณ์จริง และจำลองเหตุการณ์ โดยให้ผู้เรียนได้วิเคราะห์ วิพากษ์ เรียนรู้ และตอบสนองต่อเหตุการณ์ได้อย่างอย่างปลอดภัยและใช้ประโยชน์ได้ และยังสามารถใช้การเรียนรู้ผ่านการทำโครงงาน (Project-based Learning) และออกแบบกิจการการเรียนรู้ที่สนุก มีปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียน เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองมากขึ้น ผลการวิจัยยังบ่งชี้ประเด็นสำคัญอีกประการหนึ่งคือ ครูมีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งในความสำเร็จของการเรียนรู้ บทบาทของครู ซึ่งงานวิจัยชี้แนะว่า ครูสามารถเปลี่ยนจากผู้สอนมาเป็นโค้ช หรือผู้ให้คำแนะนำแก่ผู้เรียน โดยครูจะกระตุ้นการเรียนรู้ กำกับการเรียนรู้ ให้คำแนะนำวิธีการตอบสนองต่อเหตุการณ์อย่างปลอดภัย ชวนผู้เรียนคิด วิเคราะห์ เพิ่มเติมมุมมองและประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียน” ส่วนหนึ่งของแนวทางการสอนดังกล่าวได้นำมาพัฒนาเป็นต้นแบบบทเรียนออนไลน์ ที่สามารถเรียนรู้ด้วยตนเองบนเว็บไซต์ และครูสามารถใช้ประกอบการเรียนในห้องเรียนได้ รศ.ดร.พนม ให้รายละเอียดเพิ่มเติมว่า “เราได้เผยแพร่ต้นแบบบทเรียนออนไลน์จากผลการวิจัย ทางเว็บไซต์ www.thaidigitalyouth.net ครูสามารถใช้ประกอบการสอนในห้องเรียน โดยไม่จำเป็นต้องบรรยายเนื้อหา แต่มอบหมายให้นักเรียนเข้าไปเรียนด้วยตนเองจากต้นแบบบทเรียนบนเว็บไซต์ก่อนถึงคาบเรียน แล้วใช้เวลาในคาบเรียนแลกเปลี่ยนความเห็น อภิปราย ชวนคิดวิเคราะห์และให้คำแนะนำ ตามแนวทางการสอนแบบห้องเรียนกลับด้าน (Flipped Classroom) นอกจากนี้ผู้ปกครองสามารถนำมาใช้เป็นบทเรียนเสริมการเรียนรู้ให้แก่บุตรหลานของตนเองได้ ต้นแบบบทเรียนที่เผยแพร่มี 4 เรื่อง ได้แก่ 1.การใช้ชีวิตอย่างไรในโลกความจริงและโลกเสมือนออนไลน์ 2.เรียนรู้เพื่อหลีกเลี่ยงความเสี่ยงและอันตรายบนออนไลน์ 3.เพิ่มทักษะการใช้สื่อออนไลน์ให้ประโยชน์ต่อตนเองและสังคม และ 4.เสริมสร้างสู่ความเป็นพลเมืองดิจิทัลบนออนไลน์ ท้ายบทเรียนยังมีคำถามเพื่อทดสอบผู้เรียนอีกด้วย และบนเว็บไซต์ยังมีเอกสารบทเรียนที่ครูและผู้สนใจสามารถดาวน์โหลดไปปรับใช้สอนได้” งานวิจัยได้เสนออีกว่า โครงสร้างเนื้อหาสำหรับสอนให้นักเรียนมัธยมมีความรอบรู้ทางดิจิทัลและรู้ทันเท่าสื่อประกอบด้วย 5 กลุ่มสาระ และในแต่ละกลุ่มสาระมีวิธีการสอน ดังต่อไปนี้ สาระที่ 1 : การเข้าถึง การใช้งาน และการอ่านสื่อดิจิทัล โดยวิธีการสอนเน้นการอภิปรายระหว่างครูกับนักเรียนโดยใช้กรณีศึกษา สาระที่ 2 : ความรู้พื้นฐานสู่การรู้เท่าทันสื่อดิจิทัล ด้านองค์กรสื่อดิจิทัล กฎหมาย การแยกแยะประเภทเนื้อหา พฤติกรรมการเสพติดสื่อดิจิทัล โอกาสที่นำไปสู่ความเสี่ยงอันตราย โดยวิธีการสอนเน้นการคิด ประเมิน และวิพากษ์ความถูกต้อง ใช้เหตุการณ์ที่ใกล้ชิดกับนักเรียนมาวิเคราะห์ โดยมีครูเป็นผู้ช่วยในการเรียนรู้ ให้คำแนะนำ หรือโค้ช (Coach) สาระที่ 3 : รู้เท่าทันชีวิตดิจิทัล และใช้อย่างปลอดภัย ได้ประโยชน์ เน้นการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem–based Learning) การสอนแบบประเด็นศึกษา (Issue-based Learning) สาระที่ 4 : สร้างสรรค์สื่อดิจิทัลเพื่อชีวิตและสังคมที่ดี เป็นการออกแบบ ผลิตสร้างสรรค์สื่อดิจิทัล รวมทั้งเทคนิควิธีการแทรกแซงของธุรกิจและเจ้าของสื่อในขั้นตอนการผลิต ใช้วิธีการสอนแบบโครงงานเป็นฐาน (Project-based Learning) สาระที่ 5 : เรียนรู้อยู่เสมอเพื่อการรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงในอนาคต เป็นการคาดการณ์ การเปลี่ยนแปลงสื่อดิจิทัลในอนาคต และการเตรียมตนเองให้พร้อมเพื่อดำเนินชีวิตอย่างรู้ทันสื่อดิจิทัล ใช้วิธีการสอนแบบการสืบค้นข้อมูล การวาดภาพ บทบาทสมมติ ทั้งนี้ งานวิจัยดังกล่าวเป็นผลงานวิจัยของหน่วยปฏิบัติการวิจัยและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้านความรอบรู้ทางดิจิทัลและการรู้เท่าทันสื่อ หรือ DIRU ซึ่งเป็นหน่วยปฏิบัติการวิจัยในสังกัด คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มี รศ.ดร.พนม คลี่ฉายา เป็นหัวหน้าหน่วยปฏิบัติการวิจัยฯ ได้รับการสนับสนุนจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มุ่งสร้างงานวิจัยและเผยแพร่ความรู้จากงานวิจัยสู่สังคมเพื่อประโยชน์ทางการศึกษา การเรียนการสอนและการวิจัยด้านการรู้เท่าทันสื่อดิจิทัล ส่งเสริมศักยภาพคนไทยที่รอบรู้ทางดิจิทัลและรู้ทันสื่อ รองรับสังคมยุคดิจิทัลในปัจจุบันและอนาคต สามารถดาวน์โหลดเอกสารงานวิจัยและต้นแบบบทเรียนได้ที่ www.thaidigitalyouth.net ……………………………………….. ข้อมูลเพิ่มเติม : นางสาวกมลรัตน์ กิจรุ่งไพศาล โทร. 063-5464295 และ 02-2182197 หน่วยปฏิบัติการวิจัยและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้านความรอบรู้ทางดิจิทัลและการรู้เท่าทันสื่อ (DIRU) คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย tui sakrapee Related Posts คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” สวนสุนันทา – สกสค. ผนึกกำลังพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา เดินหน้าวิจัย-สร้างสรรค์สื่อ-อบรม AI ยกระดับการศึกษาไทย Post navigation PREVIOUS Previous post: 10อันดับมหา’ลัยเรียนจบแล้วรวยที่สุดในโลกNEXT Next post: มทร.ธัญบุรี ลงนามร่วม 5 บริษัทเอกชนทั้งในและต่างประเทศ พัฒนาและต่อยอดงานวิจัยเชิงพาณิชย์
ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search
ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน…
สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน…
tui sakrapee September 2, 2019 tui sakrapee September 2, 2019 นิเทศ จุฬาฯจัดทำ “แนวทางการสอนและต้นแบบบทเรียนออนไลน์รู้เท่าทันชีวิตดิจิทัล” หน่วยวิจัยฯ DIRU นิเทศ จุฬาฯ เสนอแนวทางการสอนความรอบรู้ทางดิจิทัลและรู้เท่าทันสื่อ เน้นความรู้ เข้าใจ วิเคราะห์ และฝึกทักษะชีวิตให้สามารถใช้สื่อดิจิทัลได้อย่างปลอดภัยและได้ประโยชน์ เรียนรู้ผ่านประเด็นปัญหา กรณีศึกษา จากเหตุการณ์จริง และจำลองเหตุการณ์ โดยให้ผู้เรียนได้วิเคราะห์ วิพากษ์ เรียนรู้ และตอบสนองต่อเหตุการณ์ได้อย่างปลอดภัย และได้จัดทำต้นแบบบทเรียนออนไลน์เผยแพร่บนเว็บไซต์ www.thaidigitalyouth.net รศ.ดร.พนม คลี่ฉายา หัวหน้าหน่วยปฏิบัติการวิจัยและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้านความรอบรู้ทางดิจิทัลและการรู้เท่าทันสื่อ (DIRU) คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดเผยว่า จากงานวิจัยสำรวจการใช้งานสื่อออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาพบว่า นักเรียนใช้สื่อออนไลน์ทั้งในด้านการเรียน ความบันเทิง การรวมกลุ่ม และแสดงออกถึงความเป็นตัวตน โดยกิจกรรมออนไลน์ที่นักเรียนทำบ่อยๆ ได้แก่ ใช้เป็นแหล่งเรียนรู้ หาข้อมูลประกอบการเรียน ดูหนัง ฟังเพลง เล่นเกม ติดตามดาราที่ชื่นชอบ ใช้สร้างกลุ่มบนไลน์ เฟซบุ๊ก ติดตามข่าวสาร และใช้โพสต์รูปภาพ เรื่องราว หรือเข้ากลุ่มสนทนา หรือสมัครสมาชิกเว็บไซต์ หรือติดตามเพจต่างๆ เพื่อแสดงความเป็นตัวตนของตนเอง ในภาพรวมเด็กส่วนใหญ่เลือกที่จะไม่เข้าไปดูหรืออ่านเนื้อหาที่ไม่เหมาะสมที่อาจจะนำไปสู่ความเสี่ยงอันตราย อย่างไรก็ตาม มีกลุ่มตัวอย่างส่วนน้อย (ร้อยละ 4) ที่ระบุว่าตนเองเคยเข้าถึงเนื้อหาด้านเพศ เกมรุนแรง การพนัน และเคยแสดงออกด้วยความรุนแรงอยู่บ่อยๆ และมีจำนวนร้อยละ 23 ระบุว่าคุยกับคนแปลกหน้าบนออนไลน์บ่อยๆ ผลการวิจัยนี้สะท้อนให้เห็นว่า นักเรียนมีโอกาสพบเจอความเสี่ยงจากการใช้งานสื่อออนไลน์ได้ แม้ตัวเลขอาจจะดูเล็กน้อย แต่ต้องให้ความสำคัญในการป้องกันความเสี่ยง และเสริมสร้างให้มีความรอบรู้และรู้ทันเพื่อสามารถเผชิญกับสถานการณ์ความเสี่ยงบนโลกออนไลน์ได้อย่างปลอดภัย รศ.ดร.พนม กล่าวว่า “การสอนเรื่องความรอบรู้ทางดิจิทัลและรู้ทันสื่อเป็นเรื่องที่สำคัญมาก ช่วยลดและป้องกันความเสี่ยงอันตรายจากการใช้งานสื่อออนไลน์ สิ่งท้าทายคือ จะสอนกันอย่างไรถึงจะสร้างทักษะชีวิตให้กับนักเรียนได้จริง จึงได้มีการศึกษาถึงแนวทางการสอนเรื่องนี้ ผลวิจัยชี้แนะว่า การสอนต้องเน้นผลสัมฤทธิ์การเรียนที่มุ่งสร้างความคิดเชิงวิเคราะห์ ฝึกทักษะและพฤติกรรมที่นักเรียนสามารถตอบสนองต่อเหตุการณ์ความเสี่ยงบนโลกออนไลน์ได้อย่างปลอดภัย และสอนให้สามารถใช้ประโยชน์จากสื่อออนไลน์ได้ ไม่ควรเน้นท่องจำ ในด้านเนื้อหาการสอนจะต้องเป็นเรื่องราวที่เชื่อมโยงหรือเป็นเหตุการณ์ในชีวิตประจำวันของนักเรียน โดยต้องเข้าใจด้วยว่าเหตุการณ์ที่นักเรียนแต่ละวัยพบเจอนั้นไม่เหมือนกันทุกเรื่อง นักเรียน ม.ต้น และ ม.ปลาย มีการใช้สื่อออนไลน์แตกต่างกันตามช่วงวัยและประสบการณ์ ดังนั้นเนื้อหาการสอนควรแตกต่างกันตามเหตุการณ์ในแต่ละช่วงวัยของผู้เรียน สำหรับการออกแบบกิจกรรมการสอนควรใช้แนวทางการเรียนรู้ทั้งการเรียนรู้ด้วยการคิดวิเคราะห์เชิงวิพากษ์ (Critical Approach) ร่วมกับการเรียนรู้จากประสบการณ์ตนเอง (Constructivist Approach) โดยสามารถออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ได้หลากหลาย ได้แก่ การเรียนรู้ผ่านการตั้งคำถาม ประเด็นปัญหา (Problem-based Learning) ใช้กรณีศึกษา (Case Study) จากเหตุการณ์จริง และจำลองเหตุการณ์ โดยให้ผู้เรียนได้วิเคราะห์ วิพากษ์ เรียนรู้ และตอบสนองต่อเหตุการณ์ได้อย่างอย่างปลอดภัยและใช้ประโยชน์ได้ และยังสามารถใช้การเรียนรู้ผ่านการทำโครงงาน (Project-based Learning) และออกแบบกิจการการเรียนรู้ที่สนุก มีปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียน เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองมากขึ้น ผลการวิจัยยังบ่งชี้ประเด็นสำคัญอีกประการหนึ่งคือ ครูมีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งในความสำเร็จของการเรียนรู้ บทบาทของครู ซึ่งงานวิจัยชี้แนะว่า ครูสามารถเปลี่ยนจากผู้สอนมาเป็นโค้ช หรือผู้ให้คำแนะนำแก่ผู้เรียน โดยครูจะกระตุ้นการเรียนรู้ กำกับการเรียนรู้ ให้คำแนะนำวิธีการตอบสนองต่อเหตุการณ์อย่างปลอดภัย ชวนผู้เรียนคิด วิเคราะห์ เพิ่มเติมมุมมองและประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียน” ส่วนหนึ่งของแนวทางการสอนดังกล่าวได้นำมาพัฒนาเป็นต้นแบบบทเรียนออนไลน์ ที่สามารถเรียนรู้ด้วยตนเองบนเว็บไซต์ และครูสามารถใช้ประกอบการเรียนในห้องเรียนได้ รศ.ดร.พนม ให้รายละเอียดเพิ่มเติมว่า “เราได้เผยแพร่ต้นแบบบทเรียนออนไลน์จากผลการวิจัย ทางเว็บไซต์ www.thaidigitalyouth.net ครูสามารถใช้ประกอบการสอนในห้องเรียน โดยไม่จำเป็นต้องบรรยายเนื้อหา แต่มอบหมายให้นักเรียนเข้าไปเรียนด้วยตนเองจากต้นแบบบทเรียนบนเว็บไซต์ก่อนถึงคาบเรียน แล้วใช้เวลาในคาบเรียนแลกเปลี่ยนความเห็น อภิปราย ชวนคิดวิเคราะห์และให้คำแนะนำ ตามแนวทางการสอนแบบห้องเรียนกลับด้าน (Flipped Classroom) นอกจากนี้ผู้ปกครองสามารถนำมาใช้เป็นบทเรียนเสริมการเรียนรู้ให้แก่บุตรหลานของตนเองได้ ต้นแบบบทเรียนที่เผยแพร่มี 4 เรื่อง ได้แก่ 1.การใช้ชีวิตอย่างไรในโลกความจริงและโลกเสมือนออนไลน์ 2.เรียนรู้เพื่อหลีกเลี่ยงความเสี่ยงและอันตรายบนออนไลน์ 3.เพิ่มทักษะการใช้สื่อออนไลน์ให้ประโยชน์ต่อตนเองและสังคม และ 4.เสริมสร้างสู่ความเป็นพลเมืองดิจิทัลบนออนไลน์ ท้ายบทเรียนยังมีคำถามเพื่อทดสอบผู้เรียนอีกด้วย และบนเว็บไซต์ยังมีเอกสารบทเรียนที่ครูและผู้สนใจสามารถดาวน์โหลดไปปรับใช้สอนได้” งานวิจัยได้เสนออีกว่า โครงสร้างเนื้อหาสำหรับสอนให้นักเรียนมัธยมมีความรอบรู้ทางดิจิทัลและรู้ทันเท่าสื่อประกอบด้วย 5 กลุ่มสาระ และในแต่ละกลุ่มสาระมีวิธีการสอน ดังต่อไปนี้ สาระที่ 1 : การเข้าถึง การใช้งาน และการอ่านสื่อดิจิทัล โดยวิธีการสอนเน้นการอภิปรายระหว่างครูกับนักเรียนโดยใช้กรณีศึกษา สาระที่ 2 : ความรู้พื้นฐานสู่การรู้เท่าทันสื่อดิจิทัล ด้านองค์กรสื่อดิจิทัล กฎหมาย การแยกแยะประเภทเนื้อหา พฤติกรรมการเสพติดสื่อดิจิทัล โอกาสที่นำไปสู่ความเสี่ยงอันตราย โดยวิธีการสอนเน้นการคิด ประเมิน และวิพากษ์ความถูกต้อง ใช้เหตุการณ์ที่ใกล้ชิดกับนักเรียนมาวิเคราะห์ โดยมีครูเป็นผู้ช่วยในการเรียนรู้ ให้คำแนะนำ หรือโค้ช (Coach) สาระที่ 3 : รู้เท่าทันชีวิตดิจิทัล และใช้อย่างปลอดภัย ได้ประโยชน์ เน้นการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem–based Learning) การสอนแบบประเด็นศึกษา (Issue-based Learning) สาระที่ 4 : สร้างสรรค์สื่อดิจิทัลเพื่อชีวิตและสังคมที่ดี เป็นการออกแบบ ผลิตสร้างสรรค์สื่อดิจิทัล รวมทั้งเทคนิควิธีการแทรกแซงของธุรกิจและเจ้าของสื่อในขั้นตอนการผลิต ใช้วิธีการสอนแบบโครงงานเป็นฐาน (Project-based Learning) สาระที่ 5 : เรียนรู้อยู่เสมอเพื่อการรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงในอนาคต เป็นการคาดการณ์ การเปลี่ยนแปลงสื่อดิจิทัลในอนาคต และการเตรียมตนเองให้พร้อมเพื่อดำเนินชีวิตอย่างรู้ทันสื่อดิจิทัล ใช้วิธีการสอนแบบการสืบค้นข้อมูล การวาดภาพ บทบาทสมมติ ทั้งนี้ งานวิจัยดังกล่าวเป็นผลงานวิจัยของหน่วยปฏิบัติการวิจัยและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้านความรอบรู้ทางดิจิทัลและการรู้เท่าทันสื่อ หรือ DIRU ซึ่งเป็นหน่วยปฏิบัติการวิจัยในสังกัด คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มี รศ.ดร.พนม คลี่ฉายา เป็นหัวหน้าหน่วยปฏิบัติการวิจัยฯ ได้รับการสนับสนุนจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มุ่งสร้างงานวิจัยและเผยแพร่ความรู้จากงานวิจัยสู่สังคมเพื่อประโยชน์ทางการศึกษา การเรียนการสอนและการวิจัยด้านการรู้เท่าทันสื่อดิจิทัล ส่งเสริมศักยภาพคนไทยที่รอบรู้ทางดิจิทัลและรู้ทันสื่อ รองรับสังคมยุคดิจิทัลในปัจจุบันและอนาคต สามารถดาวน์โหลดเอกสารงานวิจัยและต้นแบบบทเรียนได้ที่ www.thaidigitalyouth.net ……………………………………….. ข้อมูลเพิ่มเติม : นางสาวกมลรัตน์ กิจรุ่งไพศาล โทร. 063-5464295 และ 02-2182197 หน่วยปฏิบัติการวิจัยและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้านความรอบรู้ทางดิจิทัลและการรู้เท่าทันสื่อ (DIRU) คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต
เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม”
สวนสุนันทา – สกสค. ผนึกกำลังพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา เดินหน้าวิจัย-สร้างสรรค์สื่อ-อบรม AI ยกระดับการศึกษาไทย