ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง EZ WebmasterJune 13, 2025 วันนี้ทั้งเล่น ทั้งได้ความรู้ ทั้งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนนางรอง จ.บุรีรัมย์ วันที่13/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า… นักศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI… ทุนดีดี ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… นิสิตป.ตรีร่วมโครงการEAS InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 13, 2025 โอกาสดี! นักศึกษาระดับปริญญาตรีชาวไทย อายุระหว่าง 18-26 ปี ที่สนใจในประเด็นอาเซียน และสนใจอยากเป็นนักการทูต สถานทูตออสเตรเลียประจำประเทศไทยแจ้งข่าว เปิดรับสมัครโครงการ Model East Asia Summit (EAS) 2025 ส่งใบสมัครก่อนวันที่ 4 ก.ค.… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster September 2, 2019 EZ Webmaster September 2, 2019 “ตัวต่อ”สมาชิกทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig จุดประกายชอบหุ่นยนต์จากภาพยนตร์ “ตัวต่อ”สมาชิกทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig จุดประกายชอบหุ่นยนต์จากภาพยนตร์ เรื่อง ทรานส์ฟอร์เมอร์ส (Transformers) นายธรรมฤทธิ์ ศิวาลัย ชื่อเล่น “ตัวต่อ” นักคึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 4 สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) ผู้มีความสามารถทำงานในตำแหน่ง Mechanical & Development จากทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig (ไอราฟ เซคซิก) ผลงานล่าสุด คว้ารองแชมป์โลกหุ่นยนต์กู้ภัยได้อย่างสมศักดิ์ศรี เป็นตัวแทนประเทศไทยเข้าร่วมการแข่งขันหุ่นยนต์ จากการแข่งขันหุ่นยนต์กู้ภัยระดับโลก ประจำปี พ.ศ. 2562 (World RoboCup Rescue 2019) เมื่อเดือนกรกฎาคม 2562 ณ เมืองซิดนีย์ ประเทศออสเตรเลีย “ตัวต่อ” บอกว่าเป็นผลงานที่น่าปลื้มใจมากที่หุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig ของ มจพ. สร้างชื่อบนเวทีโลกในนามตัวแทนของประเทศไทย อีกครั้ง คว้า 2 รางวัลยิ่งใหญ่ คือรางวัลรองแชมป์โลกอันดับ 1 และรางวัลชนะเลิศ (Best in Class Mobility) นวัตกรรมสมรรถนะการขับเคลื่อนหุ่นยนต์ยอดเยี่ยม จากการแข่งขันหุ่นยนต์กู้ภัยระดับโลก ซึ่งมีทั้งความเร็ว ความแรง และความแข็งแกร่ง สามารถฟันฝ่าอุปสรรคได้ดี แรงบันดาลใจที่ผมชอบและรักหุ่นยนต์เกิดจากความสนใจที่ชอบชมภาพยนตร์แนวหุ่นยนต์ทำให้เกิดจุดประกายที่อยากจะสร้างหุ่นยนต์ในชีวิตจริงบ้าง โดยเฉพาะชอบหุ่นยนต์จากภาพยนตร์ เรื่อง ทรานส์ฟอร์เมอร์ส (Transformers) เป็นภาพยนตร์แนววิทยาศาสตร์ โลดโผน ผมเป็นแฟนพันธุ์แท้ทุกตอน เพราะบางครั้งการเกิดไอเดียดีๆ มันก็มาจากรอบๆ ตัวเรา ซึ่งตัวเราก็เด็กวิศวะน่าจะสามารถร่วมทีมและพัฒนางานหุ่นยนต์ให้ มจพ. ได้ ผมเชื่อแบบนั้นนะครับ “ตัวต่อ” เกิดที่กรุงเทพฯ จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) จากโรงเรียนไตรมิตรวิทยาลัย เป็นโรงเรียนชายล้วนที่เปิดสอนเฉพาะนักเรียนชายในย่านเยาวราช จากนั้นได้สอบเข้า รร. เตรียมวิศวะที่ มจพ. ในสาขาเตรียมวิศวกรรมเครื่องกล โรงเรียนเตรียมวิศวกรรมศาสตร์ ไทย-เยอรมัน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ “รหัส 56 ที่แท้ก็เป็นลูกหม้อเตรียมวิศวะของ มจพ.” ของเราเอง ดูเป็นคนมีอัธยาศัยไมตรีที่ดี มีความเข้มแข็ง ร่าเริง แจ่มใส ทำอะไรแล้วก็ตั้งใจไปสู่ความสำเร็จ จริงจัง มองคนรอบข้างและแคร์ทีมเป็นที่สุด บางเวลาเพื่อนๆ บอกว่าตลกแต่เป็นตลกแป๊กๆ ขำไม่ออกซะงั้น ประสบการณ์ในสนามการแข่งขันหุ่นยนต์ครั้งแรกของผม คือการแข่งขันหุ่นยนต์ ส.ส.ท ชิงถ้วยพระราชทานประจำปี 2561 เป็นก้าวแรกจริงๆ ที่จะได้ใช้ความรู้ที่เรียนมา มาช่วยทีม ช่วยแชร์ไอเดียร่วมกัน สำหรับผมก็อาจจะไม่ได้ตื่นเต้นมากเท่าไหร่ เพราะผมก็เป็นสมาชิกชมรมหุ่นยนต์ที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ ได้เข้ามาเรียนรู้และคลุกคลีอยู่กับรุ่นพี่ โดยผมให้ความสนใจด้านแมคคาทรอนิกส์ ( Mechatronics) เป็นพิเศษอยู่แล้ว เป็นกระบวนการออกแบบที่ต้องอาศัยด้านเทคนิคต่างๆ เพื่อบูรณาการเข้าด้วยกัน เพื่อการออกแบบและสร้างหุ่นยนต์ซึ่งล้วนแต่ต้องสร้างกลไกที่สามารถทำงานด้วยตัวเองโดยอัตโนมัติ ตามความต้องการที่กำหนดไว้ได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้องและแม่นยำ ตัวอย่างของระบบที่มีซึ่งระบบแมคคาทรอนิกส์เป็นส่วนประกอบ เช่น หุ่นยนต์อุตสาหกรรม หุ่นยนต์กู้ภัย และอาคารอัจฉริยะ เป็นต้น ผมคิดว่ามันเสริมสร้างประสบการณ์ที่ดีแก่ตัวเรา สำหรับตำแหน่งในทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig จะดูแล Mechanical & Development ตามที่ได้รับมอบหมายที่เริ่มจากการแสวงหาข้อมูล ศึกษาเทคโนโลยีใหม่ๆ ในการสร้างหุ่นยนต์ รวมถึงคลิปวิดีโอหุ่นยนต์จากต่างประเทศ การตรวจสอบชิ้นงาน ดูคุณภาพของงาน การแก้ไขปัญหา ซึ่งในห้องเรียนไม่มีสอน เพราะการได้ลงมือทำมันคือการทำจริงๆ เหตุการณ์จริง ฉะนั้นเราต้องมีวิธีคิด มีขั้นตอนที่ชัดเจน มองปัญหาให้ออก เพื่อนำเสนอทีมให้สามารถนำมาประยุกต์ใช้โดยปรึกษาหารือร่วมกันโดยมีอาจารย์ที่ปรึกษาคอยให้คำแนะนำ ซึ่งผมมองว่า “การดีไซน์หุ่นยนต์ในแต่ละครั้งขึ้นอยู่กับองค์ประกอบของวัตถุประสงค์ การนำไปใช้งาน รวมถึงด้านเทคนิค ซึ่งเกี่ยวข้องกับการสร้างหุ่นยนต์”เช่นการเคลื่อนที่ได้ ความเป็นอิสระ (autonomy) ตลอดจนกลไกการเคลื่อนที่ นอกจากนี้แล้วหุ่นยนต์ยังจะต้องมีการประมวลผลที่ชาญฉลาด และที่สำคัญคือ กติกาการแข่งขันซึ่งเป็นโจทย์ เป็นเกณฑ์ในการตัดสินแต่ละครั้งเป็นอย่างไร ส่วนหน้าที่ชุดสายพาน และ Maintenance ชิ้นส่วนกลไกต่างๆ ของหุ่นยนต์ เช่น โครงสร้าง เพลา เฟือง สกรูส่งกำลัง สายพาน โซ่ สปริง รวมถึงทั้งหมดนี้ก็ต้องอาศัยการการกลึงร่วมกับการออกแบบโครงสร้างของหุ่นยนต์ต้องมีความแข็งแรงมาก ซึ่งต้องมีการทดสอบทำงาน ความเที่ยงตรง ในการตรวจสอบว่าความแม่นยำของหุ่นยนต์ การที่ได้ลงมือทำด้าน Mechanical & Development สามารถบ่งบอกได้ว่าเรา “ได้นำความรู้ความสามารถและได้นำเทคนิคมาบูรณาการเชิงวิศวะได้อย่างเหมาะสม ตลอดจนนำมาปรับใช้ในการสร้างหุ่นยนต์ ซึ่งเป็นการลงมือปฏิบัติที่คุ้มค่า เป็นสิ่งที่ช่วยการทำงานเป็นทีม มองจุดมุ่งหมายและแก้ปัญหาร่วมกัน” มจพ. แห่งนี้มีกิจกรรมที่หลากหลายให้นักศึกษาได้เข้าร่วมหาประสบการณ์และความถนัดนอกห้องเรียน ที่ได้ให้ประสบการณ์ใหม่ๆ มาก คือเรื่องราวที่สร้างสรรค์ผลงาน ให้ได้รู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ การเสาะแสวงหาไอเดียใหม่ๆ มาแชร์ พูดคุยในทีมเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน การเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig นับว่ามีประโยชน์อย่างรอบด้าน ทำให้เราคิดอย่างเป็นระบบ มีมุมมองที่หลากหลาย การแก้ปัญหาเฉพาะหน้าที่สามารถเผชิญได้ตลอดเวลาเมื่อเราลงสู่สนามการแข่งขัน กิจกรรมแต่ละประเภทจะสร้างให้เข็มแข็ง มีความอดทน สามารถวิเคราะห์ปัญหาและแก้ไขเหตุการณ์เฉพาะหน้าได้ ฝึกฝนให้สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นการทำงานเป็นทีมได้ในสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนการประเมินสถานการณ์จากคู่แข่งขันในเวทีการแข่งขัน มองศักยภาพทีมเรา – ทีมเขา ในการปรับปรุงแก้ไขพัฒนาที่ดีขึ้น “ตัวต่อ” บอกว่าเมื่อจบการศึกษาแล้ว ผมอยากทำงานสาย Maintenance ด้านวิศวกรซ่อมบำรุง ผมไม่เก่งวิชาการ แต่ผมชอบลงมือปฏิบัติมากกว่า ผมสามารถฝึกฝนให้เกิดความชำนาญได้ และงานด้านนี้ยังอยากเรียนรู้ของการวางแผนบำรุงรักษาทรัพยากรหรือการเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องจักรให้สามารถใช้ประโยชน์ได้สูงสุด และอาจรวมถึงควบคุมอะไหล่เครื่องจักรและระบบไฟฟ้าที่ใช้สำหรับในงานซ่อมบำรุงในสภาพพร้อมใช้งาน ที่ตั้งใจมากๆ เป็นพิเศษคือเข้าไปทำงานกับฝ่ายบำรุงรักษาร่วมกับแรงงานสายการผลิต อาทิ การตรวจสอบและการบำรุงรักษาด้านกลไกต่างๆ รวมถึงการทำงานด้านวางแผนและปฏิบัติงานในการบำรุงรักษาและซ่อมบำรุง งานซ่อมบำรุงระบบเครื่องจักรประเภท automation Robot หรือระบบ Line conveyor สุดท้ายขอฝากข้อคิดถึงน้องที่อยากเข้ามาเรียนที่ มจพ. และชื่นชอบการสร้างหุ่นยนต์ ก็เชิญชวนน้องๆ มาสมัครเรียนได้เลย มีสาขาวิชามากมายให้เลือกตามความถนัดแต่ละคน หรือน้องๆ ที่เข้ามาเรียนขณะนี้แล้ว อยากจะมาร่วมสร้างประวัติศาสตร์หุ่นยนต์กู้ภัยระดับโลกร่วมกัน สามารถสอบถามได้ที่ชมรมหุ่นยนต์ที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ ได้เช่นกัน พี่ๆ ทุกคนยินดีต้อนรับเข้าทีม และเราจะได้เรียนรู้ไปด้วยกัน “ถ้าไม่เสียสละ ชัยชนะก็ไม่เกิด” นี้เป็นคติประจำใจผมที่ได้เรียนรู้มาจากภาพยนตร์ทรานส์ฟอร์เมอร์ส (Transformers) มันคือแรงบันดาลใจที่ทำให้ผมชอบและรักหุ่นยนต์ ขวัญฤทัย ข่าว-ภาพ EZ Webmaster Related Posts คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก Post navigation PREVIOUS Previous post: ราชกิจจานุเบกษา ประกาศกฎกระทรวงกำหนดความประพฤติของนักเรียนและนักศึกษาNEXT Next post: “เทคนิคบางแสน สร้างสะพานเชื่อมโยง สอศ.และ สพฐ.”
รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง EZ WebmasterJune 13, 2025 วันนี้ทั้งเล่น ทั้งได้ความรู้ ทั้งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนนางรอง จ.บุรีรัมย์ วันที่13/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า… นักศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI… ทุนดีดี ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… นิสิตป.ตรีร่วมโครงการEAS InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 13, 2025 โอกาสดี! นักศึกษาระดับปริญญาตรีชาวไทย อายุระหว่าง 18-26 ปี ที่สนใจในประเด็นอาเซียน และสนใจอยากเป็นนักการทูต สถานทูตออสเตรเลียประจำประเทศไทยแจ้งข่าว เปิดรับสมัครโครงการ Model East Asia Summit (EAS) 2025 ส่งใบสมัครก่อนวันที่ 4 ก.ค.… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster September 2, 2019 EZ Webmaster September 2, 2019 “ตัวต่อ”สมาชิกทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig จุดประกายชอบหุ่นยนต์จากภาพยนตร์ “ตัวต่อ”สมาชิกทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig จุดประกายชอบหุ่นยนต์จากภาพยนตร์ เรื่อง ทรานส์ฟอร์เมอร์ส (Transformers) นายธรรมฤทธิ์ ศิวาลัย ชื่อเล่น “ตัวต่อ” นักคึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 4 สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) ผู้มีความสามารถทำงานในตำแหน่ง Mechanical & Development จากทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig (ไอราฟ เซคซิก) ผลงานล่าสุด คว้ารองแชมป์โลกหุ่นยนต์กู้ภัยได้อย่างสมศักดิ์ศรี เป็นตัวแทนประเทศไทยเข้าร่วมการแข่งขันหุ่นยนต์ จากการแข่งขันหุ่นยนต์กู้ภัยระดับโลก ประจำปี พ.ศ. 2562 (World RoboCup Rescue 2019) เมื่อเดือนกรกฎาคม 2562 ณ เมืองซิดนีย์ ประเทศออสเตรเลีย “ตัวต่อ” บอกว่าเป็นผลงานที่น่าปลื้มใจมากที่หุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig ของ มจพ. สร้างชื่อบนเวทีโลกในนามตัวแทนของประเทศไทย อีกครั้ง คว้า 2 รางวัลยิ่งใหญ่ คือรางวัลรองแชมป์โลกอันดับ 1 และรางวัลชนะเลิศ (Best in Class Mobility) นวัตกรรมสมรรถนะการขับเคลื่อนหุ่นยนต์ยอดเยี่ยม จากการแข่งขันหุ่นยนต์กู้ภัยระดับโลก ซึ่งมีทั้งความเร็ว ความแรง และความแข็งแกร่ง สามารถฟันฝ่าอุปสรรคได้ดี แรงบันดาลใจที่ผมชอบและรักหุ่นยนต์เกิดจากความสนใจที่ชอบชมภาพยนตร์แนวหุ่นยนต์ทำให้เกิดจุดประกายที่อยากจะสร้างหุ่นยนต์ในชีวิตจริงบ้าง โดยเฉพาะชอบหุ่นยนต์จากภาพยนตร์ เรื่อง ทรานส์ฟอร์เมอร์ส (Transformers) เป็นภาพยนตร์แนววิทยาศาสตร์ โลดโผน ผมเป็นแฟนพันธุ์แท้ทุกตอน เพราะบางครั้งการเกิดไอเดียดีๆ มันก็มาจากรอบๆ ตัวเรา ซึ่งตัวเราก็เด็กวิศวะน่าจะสามารถร่วมทีมและพัฒนางานหุ่นยนต์ให้ มจพ. ได้ ผมเชื่อแบบนั้นนะครับ “ตัวต่อ” เกิดที่กรุงเทพฯ จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) จากโรงเรียนไตรมิตรวิทยาลัย เป็นโรงเรียนชายล้วนที่เปิดสอนเฉพาะนักเรียนชายในย่านเยาวราช จากนั้นได้สอบเข้า รร. เตรียมวิศวะที่ มจพ. ในสาขาเตรียมวิศวกรรมเครื่องกล โรงเรียนเตรียมวิศวกรรมศาสตร์ ไทย-เยอรมัน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ “รหัส 56 ที่แท้ก็เป็นลูกหม้อเตรียมวิศวะของ มจพ.” ของเราเอง ดูเป็นคนมีอัธยาศัยไมตรีที่ดี มีความเข้มแข็ง ร่าเริง แจ่มใส ทำอะไรแล้วก็ตั้งใจไปสู่ความสำเร็จ จริงจัง มองคนรอบข้างและแคร์ทีมเป็นที่สุด บางเวลาเพื่อนๆ บอกว่าตลกแต่เป็นตลกแป๊กๆ ขำไม่ออกซะงั้น ประสบการณ์ในสนามการแข่งขันหุ่นยนต์ครั้งแรกของผม คือการแข่งขันหุ่นยนต์ ส.ส.ท ชิงถ้วยพระราชทานประจำปี 2561 เป็นก้าวแรกจริงๆ ที่จะได้ใช้ความรู้ที่เรียนมา มาช่วยทีม ช่วยแชร์ไอเดียร่วมกัน สำหรับผมก็อาจจะไม่ได้ตื่นเต้นมากเท่าไหร่ เพราะผมก็เป็นสมาชิกชมรมหุ่นยนต์ที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ ได้เข้ามาเรียนรู้และคลุกคลีอยู่กับรุ่นพี่ โดยผมให้ความสนใจด้านแมคคาทรอนิกส์ ( Mechatronics) เป็นพิเศษอยู่แล้ว เป็นกระบวนการออกแบบที่ต้องอาศัยด้านเทคนิคต่างๆ เพื่อบูรณาการเข้าด้วยกัน เพื่อการออกแบบและสร้างหุ่นยนต์ซึ่งล้วนแต่ต้องสร้างกลไกที่สามารถทำงานด้วยตัวเองโดยอัตโนมัติ ตามความต้องการที่กำหนดไว้ได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้องและแม่นยำ ตัวอย่างของระบบที่มีซึ่งระบบแมคคาทรอนิกส์เป็นส่วนประกอบ เช่น หุ่นยนต์อุตสาหกรรม หุ่นยนต์กู้ภัย และอาคารอัจฉริยะ เป็นต้น ผมคิดว่ามันเสริมสร้างประสบการณ์ที่ดีแก่ตัวเรา สำหรับตำแหน่งในทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig จะดูแล Mechanical & Development ตามที่ได้รับมอบหมายที่เริ่มจากการแสวงหาข้อมูล ศึกษาเทคโนโลยีใหม่ๆ ในการสร้างหุ่นยนต์ รวมถึงคลิปวิดีโอหุ่นยนต์จากต่างประเทศ การตรวจสอบชิ้นงาน ดูคุณภาพของงาน การแก้ไขปัญหา ซึ่งในห้องเรียนไม่มีสอน เพราะการได้ลงมือทำมันคือการทำจริงๆ เหตุการณ์จริง ฉะนั้นเราต้องมีวิธีคิด มีขั้นตอนที่ชัดเจน มองปัญหาให้ออก เพื่อนำเสนอทีมให้สามารถนำมาประยุกต์ใช้โดยปรึกษาหารือร่วมกันโดยมีอาจารย์ที่ปรึกษาคอยให้คำแนะนำ ซึ่งผมมองว่า “การดีไซน์หุ่นยนต์ในแต่ละครั้งขึ้นอยู่กับองค์ประกอบของวัตถุประสงค์ การนำไปใช้งาน รวมถึงด้านเทคนิค ซึ่งเกี่ยวข้องกับการสร้างหุ่นยนต์”เช่นการเคลื่อนที่ได้ ความเป็นอิสระ (autonomy) ตลอดจนกลไกการเคลื่อนที่ นอกจากนี้แล้วหุ่นยนต์ยังจะต้องมีการประมวลผลที่ชาญฉลาด และที่สำคัญคือ กติกาการแข่งขันซึ่งเป็นโจทย์ เป็นเกณฑ์ในการตัดสินแต่ละครั้งเป็นอย่างไร ส่วนหน้าที่ชุดสายพาน และ Maintenance ชิ้นส่วนกลไกต่างๆ ของหุ่นยนต์ เช่น โครงสร้าง เพลา เฟือง สกรูส่งกำลัง สายพาน โซ่ สปริง รวมถึงทั้งหมดนี้ก็ต้องอาศัยการการกลึงร่วมกับการออกแบบโครงสร้างของหุ่นยนต์ต้องมีความแข็งแรงมาก ซึ่งต้องมีการทดสอบทำงาน ความเที่ยงตรง ในการตรวจสอบว่าความแม่นยำของหุ่นยนต์ การที่ได้ลงมือทำด้าน Mechanical & Development สามารถบ่งบอกได้ว่าเรา “ได้นำความรู้ความสามารถและได้นำเทคนิคมาบูรณาการเชิงวิศวะได้อย่างเหมาะสม ตลอดจนนำมาปรับใช้ในการสร้างหุ่นยนต์ ซึ่งเป็นการลงมือปฏิบัติที่คุ้มค่า เป็นสิ่งที่ช่วยการทำงานเป็นทีม มองจุดมุ่งหมายและแก้ปัญหาร่วมกัน” มจพ. แห่งนี้มีกิจกรรมที่หลากหลายให้นักศึกษาได้เข้าร่วมหาประสบการณ์และความถนัดนอกห้องเรียน ที่ได้ให้ประสบการณ์ใหม่ๆ มาก คือเรื่องราวที่สร้างสรรค์ผลงาน ให้ได้รู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ การเสาะแสวงหาไอเดียใหม่ๆ มาแชร์ พูดคุยในทีมเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน การเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig นับว่ามีประโยชน์อย่างรอบด้าน ทำให้เราคิดอย่างเป็นระบบ มีมุมมองที่หลากหลาย การแก้ปัญหาเฉพาะหน้าที่สามารถเผชิญได้ตลอดเวลาเมื่อเราลงสู่สนามการแข่งขัน กิจกรรมแต่ละประเภทจะสร้างให้เข็มแข็ง มีความอดทน สามารถวิเคราะห์ปัญหาและแก้ไขเหตุการณ์เฉพาะหน้าได้ ฝึกฝนให้สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นการทำงานเป็นทีมได้ในสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนการประเมินสถานการณ์จากคู่แข่งขันในเวทีการแข่งขัน มองศักยภาพทีมเรา – ทีมเขา ในการปรับปรุงแก้ไขพัฒนาที่ดีขึ้น “ตัวต่อ” บอกว่าเมื่อจบการศึกษาแล้ว ผมอยากทำงานสาย Maintenance ด้านวิศวกรซ่อมบำรุง ผมไม่เก่งวิชาการ แต่ผมชอบลงมือปฏิบัติมากกว่า ผมสามารถฝึกฝนให้เกิดความชำนาญได้ และงานด้านนี้ยังอยากเรียนรู้ของการวางแผนบำรุงรักษาทรัพยากรหรือการเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องจักรให้สามารถใช้ประโยชน์ได้สูงสุด และอาจรวมถึงควบคุมอะไหล่เครื่องจักรและระบบไฟฟ้าที่ใช้สำหรับในงานซ่อมบำรุงในสภาพพร้อมใช้งาน ที่ตั้งใจมากๆ เป็นพิเศษคือเข้าไปทำงานกับฝ่ายบำรุงรักษาร่วมกับแรงงานสายการผลิต อาทิ การตรวจสอบและการบำรุงรักษาด้านกลไกต่างๆ รวมถึงการทำงานด้านวางแผนและปฏิบัติงานในการบำรุงรักษาและซ่อมบำรุง งานซ่อมบำรุงระบบเครื่องจักรประเภท automation Robot หรือระบบ Line conveyor สุดท้ายขอฝากข้อคิดถึงน้องที่อยากเข้ามาเรียนที่ มจพ. และชื่นชอบการสร้างหุ่นยนต์ ก็เชิญชวนน้องๆ มาสมัครเรียนได้เลย มีสาขาวิชามากมายให้เลือกตามความถนัดแต่ละคน หรือน้องๆ ที่เข้ามาเรียนขณะนี้แล้ว อยากจะมาร่วมสร้างประวัติศาสตร์หุ่นยนต์กู้ภัยระดับโลกร่วมกัน สามารถสอบถามได้ที่ชมรมหุ่นยนต์ที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ ได้เช่นกัน พี่ๆ ทุกคนยินดีต้อนรับเข้าทีม และเราจะได้เรียนรู้ไปด้วยกัน “ถ้าไม่เสียสละ ชัยชนะก็ไม่เกิด” นี้เป็นคติประจำใจผมที่ได้เรียนรู้มาจากภาพยนตร์ทรานส์ฟอร์เมอร์ส (Transformers) มันคือแรงบันดาลใจที่ทำให้ผมชอบและรักหุ่นยนต์ ขวัญฤทัย ข่าว-ภาพ EZ Webmaster Related Posts คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก Post navigation PREVIOUS Previous post: ราชกิจจานุเบกษา ประกาศกฎกระทรวงกำหนดความประพฤติของนักเรียนและนักศึกษาNEXT Next post: “เทคนิคบางแสน สร้างสะพานเชื่อมโยง สอศ.และ สพฐ.”
เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง EZ WebmasterJune 13, 2025 วันนี้ทั้งเล่น ทั้งได้ความรู้ ทั้งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนนางรอง จ.บุรีรัมย์ วันที่13/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า…
โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง EZ WebmasterJune 13, 2025 วันนี้ทั้งเล่น ทั้งได้ความรู้ ทั้งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนนางรอง จ.บุรีรัมย์ วันที่13/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า…
คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI… ทุนดีดี ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… นิสิตป.ตรีร่วมโครงการEAS InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 13, 2025 โอกาสดี! นักศึกษาระดับปริญญาตรีชาวไทย อายุระหว่าง 18-26 ปี ที่สนใจในประเด็นอาเซียน และสนใจอยากเป็นนักการทูต สถานทูตออสเตรเลียประจำประเทศไทยแจ้งข่าว เปิดรับสมัครโครงการ Model East Asia Summit (EAS) 2025 ส่งใบสมัครก่อนวันที่ 4 ก.ค.… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster September 2, 2019 EZ Webmaster September 2, 2019 “ตัวต่อ”สมาชิกทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig จุดประกายชอบหุ่นยนต์จากภาพยนตร์ “ตัวต่อ”สมาชิกทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig จุดประกายชอบหุ่นยนต์จากภาพยนตร์ เรื่อง ทรานส์ฟอร์เมอร์ส (Transformers) นายธรรมฤทธิ์ ศิวาลัย ชื่อเล่น “ตัวต่อ” นักคึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 4 สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) ผู้มีความสามารถทำงานในตำแหน่ง Mechanical & Development จากทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig (ไอราฟ เซคซิก) ผลงานล่าสุด คว้ารองแชมป์โลกหุ่นยนต์กู้ภัยได้อย่างสมศักดิ์ศรี เป็นตัวแทนประเทศไทยเข้าร่วมการแข่งขันหุ่นยนต์ จากการแข่งขันหุ่นยนต์กู้ภัยระดับโลก ประจำปี พ.ศ. 2562 (World RoboCup Rescue 2019) เมื่อเดือนกรกฎาคม 2562 ณ เมืองซิดนีย์ ประเทศออสเตรเลีย “ตัวต่อ” บอกว่าเป็นผลงานที่น่าปลื้มใจมากที่หุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig ของ มจพ. สร้างชื่อบนเวทีโลกในนามตัวแทนของประเทศไทย อีกครั้ง คว้า 2 รางวัลยิ่งใหญ่ คือรางวัลรองแชมป์โลกอันดับ 1 และรางวัลชนะเลิศ (Best in Class Mobility) นวัตกรรมสมรรถนะการขับเคลื่อนหุ่นยนต์ยอดเยี่ยม จากการแข่งขันหุ่นยนต์กู้ภัยระดับโลก ซึ่งมีทั้งความเร็ว ความแรง และความแข็งแกร่ง สามารถฟันฝ่าอุปสรรคได้ดี แรงบันดาลใจที่ผมชอบและรักหุ่นยนต์เกิดจากความสนใจที่ชอบชมภาพยนตร์แนวหุ่นยนต์ทำให้เกิดจุดประกายที่อยากจะสร้างหุ่นยนต์ในชีวิตจริงบ้าง โดยเฉพาะชอบหุ่นยนต์จากภาพยนตร์ เรื่อง ทรานส์ฟอร์เมอร์ส (Transformers) เป็นภาพยนตร์แนววิทยาศาสตร์ โลดโผน ผมเป็นแฟนพันธุ์แท้ทุกตอน เพราะบางครั้งการเกิดไอเดียดีๆ มันก็มาจากรอบๆ ตัวเรา ซึ่งตัวเราก็เด็กวิศวะน่าจะสามารถร่วมทีมและพัฒนางานหุ่นยนต์ให้ มจพ. ได้ ผมเชื่อแบบนั้นนะครับ “ตัวต่อ” เกิดที่กรุงเทพฯ จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) จากโรงเรียนไตรมิตรวิทยาลัย เป็นโรงเรียนชายล้วนที่เปิดสอนเฉพาะนักเรียนชายในย่านเยาวราช จากนั้นได้สอบเข้า รร. เตรียมวิศวะที่ มจพ. ในสาขาเตรียมวิศวกรรมเครื่องกล โรงเรียนเตรียมวิศวกรรมศาสตร์ ไทย-เยอรมัน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ “รหัส 56 ที่แท้ก็เป็นลูกหม้อเตรียมวิศวะของ มจพ.” ของเราเอง ดูเป็นคนมีอัธยาศัยไมตรีที่ดี มีความเข้มแข็ง ร่าเริง แจ่มใส ทำอะไรแล้วก็ตั้งใจไปสู่ความสำเร็จ จริงจัง มองคนรอบข้างและแคร์ทีมเป็นที่สุด บางเวลาเพื่อนๆ บอกว่าตลกแต่เป็นตลกแป๊กๆ ขำไม่ออกซะงั้น ประสบการณ์ในสนามการแข่งขันหุ่นยนต์ครั้งแรกของผม คือการแข่งขันหุ่นยนต์ ส.ส.ท ชิงถ้วยพระราชทานประจำปี 2561 เป็นก้าวแรกจริงๆ ที่จะได้ใช้ความรู้ที่เรียนมา มาช่วยทีม ช่วยแชร์ไอเดียร่วมกัน สำหรับผมก็อาจจะไม่ได้ตื่นเต้นมากเท่าไหร่ เพราะผมก็เป็นสมาชิกชมรมหุ่นยนต์ที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ ได้เข้ามาเรียนรู้และคลุกคลีอยู่กับรุ่นพี่ โดยผมให้ความสนใจด้านแมคคาทรอนิกส์ ( Mechatronics) เป็นพิเศษอยู่แล้ว เป็นกระบวนการออกแบบที่ต้องอาศัยด้านเทคนิคต่างๆ เพื่อบูรณาการเข้าด้วยกัน เพื่อการออกแบบและสร้างหุ่นยนต์ซึ่งล้วนแต่ต้องสร้างกลไกที่สามารถทำงานด้วยตัวเองโดยอัตโนมัติ ตามความต้องการที่กำหนดไว้ได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้องและแม่นยำ ตัวอย่างของระบบที่มีซึ่งระบบแมคคาทรอนิกส์เป็นส่วนประกอบ เช่น หุ่นยนต์อุตสาหกรรม หุ่นยนต์กู้ภัย และอาคารอัจฉริยะ เป็นต้น ผมคิดว่ามันเสริมสร้างประสบการณ์ที่ดีแก่ตัวเรา สำหรับตำแหน่งในทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig จะดูแล Mechanical & Development ตามที่ได้รับมอบหมายที่เริ่มจากการแสวงหาข้อมูล ศึกษาเทคโนโลยีใหม่ๆ ในการสร้างหุ่นยนต์ รวมถึงคลิปวิดีโอหุ่นยนต์จากต่างประเทศ การตรวจสอบชิ้นงาน ดูคุณภาพของงาน การแก้ไขปัญหา ซึ่งในห้องเรียนไม่มีสอน เพราะการได้ลงมือทำมันคือการทำจริงๆ เหตุการณ์จริง ฉะนั้นเราต้องมีวิธีคิด มีขั้นตอนที่ชัดเจน มองปัญหาให้ออก เพื่อนำเสนอทีมให้สามารถนำมาประยุกต์ใช้โดยปรึกษาหารือร่วมกันโดยมีอาจารย์ที่ปรึกษาคอยให้คำแนะนำ ซึ่งผมมองว่า “การดีไซน์หุ่นยนต์ในแต่ละครั้งขึ้นอยู่กับองค์ประกอบของวัตถุประสงค์ การนำไปใช้งาน รวมถึงด้านเทคนิค ซึ่งเกี่ยวข้องกับการสร้างหุ่นยนต์”เช่นการเคลื่อนที่ได้ ความเป็นอิสระ (autonomy) ตลอดจนกลไกการเคลื่อนที่ นอกจากนี้แล้วหุ่นยนต์ยังจะต้องมีการประมวลผลที่ชาญฉลาด และที่สำคัญคือ กติกาการแข่งขันซึ่งเป็นโจทย์ เป็นเกณฑ์ในการตัดสินแต่ละครั้งเป็นอย่างไร ส่วนหน้าที่ชุดสายพาน และ Maintenance ชิ้นส่วนกลไกต่างๆ ของหุ่นยนต์ เช่น โครงสร้าง เพลา เฟือง สกรูส่งกำลัง สายพาน โซ่ สปริง รวมถึงทั้งหมดนี้ก็ต้องอาศัยการการกลึงร่วมกับการออกแบบโครงสร้างของหุ่นยนต์ต้องมีความแข็งแรงมาก ซึ่งต้องมีการทดสอบทำงาน ความเที่ยงตรง ในการตรวจสอบว่าความแม่นยำของหุ่นยนต์ การที่ได้ลงมือทำด้าน Mechanical & Development สามารถบ่งบอกได้ว่าเรา “ได้นำความรู้ความสามารถและได้นำเทคนิคมาบูรณาการเชิงวิศวะได้อย่างเหมาะสม ตลอดจนนำมาปรับใช้ในการสร้างหุ่นยนต์ ซึ่งเป็นการลงมือปฏิบัติที่คุ้มค่า เป็นสิ่งที่ช่วยการทำงานเป็นทีม มองจุดมุ่งหมายและแก้ปัญหาร่วมกัน” มจพ. แห่งนี้มีกิจกรรมที่หลากหลายให้นักศึกษาได้เข้าร่วมหาประสบการณ์และความถนัดนอกห้องเรียน ที่ได้ให้ประสบการณ์ใหม่ๆ มาก คือเรื่องราวที่สร้างสรรค์ผลงาน ให้ได้รู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ การเสาะแสวงหาไอเดียใหม่ๆ มาแชร์ พูดคุยในทีมเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน การเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig นับว่ามีประโยชน์อย่างรอบด้าน ทำให้เราคิดอย่างเป็นระบบ มีมุมมองที่หลากหลาย การแก้ปัญหาเฉพาะหน้าที่สามารถเผชิญได้ตลอดเวลาเมื่อเราลงสู่สนามการแข่งขัน กิจกรรมแต่ละประเภทจะสร้างให้เข็มแข็ง มีความอดทน สามารถวิเคราะห์ปัญหาและแก้ไขเหตุการณ์เฉพาะหน้าได้ ฝึกฝนให้สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นการทำงานเป็นทีมได้ในสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนการประเมินสถานการณ์จากคู่แข่งขันในเวทีการแข่งขัน มองศักยภาพทีมเรา – ทีมเขา ในการปรับปรุงแก้ไขพัฒนาที่ดีขึ้น “ตัวต่อ” บอกว่าเมื่อจบการศึกษาแล้ว ผมอยากทำงานสาย Maintenance ด้านวิศวกรซ่อมบำรุง ผมไม่เก่งวิชาการ แต่ผมชอบลงมือปฏิบัติมากกว่า ผมสามารถฝึกฝนให้เกิดความชำนาญได้ และงานด้านนี้ยังอยากเรียนรู้ของการวางแผนบำรุงรักษาทรัพยากรหรือการเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องจักรให้สามารถใช้ประโยชน์ได้สูงสุด และอาจรวมถึงควบคุมอะไหล่เครื่องจักรและระบบไฟฟ้าที่ใช้สำหรับในงานซ่อมบำรุงในสภาพพร้อมใช้งาน ที่ตั้งใจมากๆ เป็นพิเศษคือเข้าไปทำงานกับฝ่ายบำรุงรักษาร่วมกับแรงงานสายการผลิต อาทิ การตรวจสอบและการบำรุงรักษาด้านกลไกต่างๆ รวมถึงการทำงานด้านวางแผนและปฏิบัติงานในการบำรุงรักษาและซ่อมบำรุง งานซ่อมบำรุงระบบเครื่องจักรประเภท automation Robot หรือระบบ Line conveyor สุดท้ายขอฝากข้อคิดถึงน้องที่อยากเข้ามาเรียนที่ มจพ. และชื่นชอบการสร้างหุ่นยนต์ ก็เชิญชวนน้องๆ มาสมัครเรียนได้เลย มีสาขาวิชามากมายให้เลือกตามความถนัดแต่ละคน หรือน้องๆ ที่เข้ามาเรียนขณะนี้แล้ว อยากจะมาร่วมสร้างประวัติศาสตร์หุ่นยนต์กู้ภัยระดับโลกร่วมกัน สามารถสอบถามได้ที่ชมรมหุ่นยนต์ที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ ได้เช่นกัน พี่ๆ ทุกคนยินดีต้อนรับเข้าทีม และเราจะได้เรียนรู้ไปด้วยกัน “ถ้าไม่เสียสละ ชัยชนะก็ไม่เกิด” นี้เป็นคติประจำใจผมที่ได้เรียนรู้มาจากภาพยนตร์ทรานส์ฟอร์เมอร์ส (Transformers) มันคือแรงบันดาลใจที่ทำให้ผมชอบและรักหุ่นยนต์ ขวัญฤทัย ข่าว-ภาพ EZ Webmaster Related Posts คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก Post navigation PREVIOUS Previous post: ราชกิจจานุเบกษา ประกาศกฎกระทรวงกำหนดความประพฤติของนักเรียนและนักศึกษาNEXT Next post: “เทคนิคบางแสน สร้างสะพานเชื่อมโยง สอศ.และ สพฐ.”
เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI… ทุนดีดี ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… นิสิตป.ตรีร่วมโครงการEAS InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 13, 2025 โอกาสดี! นักศึกษาระดับปริญญาตรีชาวไทย อายุระหว่าง 18-26 ปี ที่สนใจในประเด็นอาเซียน และสนใจอยากเป็นนักการทูต สถานทูตออสเตรเลียประจำประเทศไทยแจ้งข่าว เปิดรับสมัครโครงการ Model East Asia Summit (EAS) 2025 ส่งใบสมัครก่อนวันที่ 4 ก.ค.… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster September 2, 2019 EZ Webmaster September 2, 2019 “ตัวต่อ”สมาชิกทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig จุดประกายชอบหุ่นยนต์จากภาพยนตร์ “ตัวต่อ”สมาชิกทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig จุดประกายชอบหุ่นยนต์จากภาพยนตร์ เรื่อง ทรานส์ฟอร์เมอร์ส (Transformers) นายธรรมฤทธิ์ ศิวาลัย ชื่อเล่น “ตัวต่อ” นักคึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 4 สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) ผู้มีความสามารถทำงานในตำแหน่ง Mechanical & Development จากทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig (ไอราฟ เซคซิก) ผลงานล่าสุด คว้ารองแชมป์โลกหุ่นยนต์กู้ภัยได้อย่างสมศักดิ์ศรี เป็นตัวแทนประเทศไทยเข้าร่วมการแข่งขันหุ่นยนต์ จากการแข่งขันหุ่นยนต์กู้ภัยระดับโลก ประจำปี พ.ศ. 2562 (World RoboCup Rescue 2019) เมื่อเดือนกรกฎาคม 2562 ณ เมืองซิดนีย์ ประเทศออสเตรเลีย “ตัวต่อ” บอกว่าเป็นผลงานที่น่าปลื้มใจมากที่หุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig ของ มจพ. สร้างชื่อบนเวทีโลกในนามตัวแทนของประเทศไทย อีกครั้ง คว้า 2 รางวัลยิ่งใหญ่ คือรางวัลรองแชมป์โลกอันดับ 1 และรางวัลชนะเลิศ (Best in Class Mobility) นวัตกรรมสมรรถนะการขับเคลื่อนหุ่นยนต์ยอดเยี่ยม จากการแข่งขันหุ่นยนต์กู้ภัยระดับโลก ซึ่งมีทั้งความเร็ว ความแรง และความแข็งแกร่ง สามารถฟันฝ่าอุปสรรคได้ดี แรงบันดาลใจที่ผมชอบและรักหุ่นยนต์เกิดจากความสนใจที่ชอบชมภาพยนตร์แนวหุ่นยนต์ทำให้เกิดจุดประกายที่อยากจะสร้างหุ่นยนต์ในชีวิตจริงบ้าง โดยเฉพาะชอบหุ่นยนต์จากภาพยนตร์ เรื่อง ทรานส์ฟอร์เมอร์ส (Transformers) เป็นภาพยนตร์แนววิทยาศาสตร์ โลดโผน ผมเป็นแฟนพันธุ์แท้ทุกตอน เพราะบางครั้งการเกิดไอเดียดีๆ มันก็มาจากรอบๆ ตัวเรา ซึ่งตัวเราก็เด็กวิศวะน่าจะสามารถร่วมทีมและพัฒนางานหุ่นยนต์ให้ มจพ. ได้ ผมเชื่อแบบนั้นนะครับ “ตัวต่อ” เกิดที่กรุงเทพฯ จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) จากโรงเรียนไตรมิตรวิทยาลัย เป็นโรงเรียนชายล้วนที่เปิดสอนเฉพาะนักเรียนชายในย่านเยาวราช จากนั้นได้สอบเข้า รร. เตรียมวิศวะที่ มจพ. ในสาขาเตรียมวิศวกรรมเครื่องกล โรงเรียนเตรียมวิศวกรรมศาสตร์ ไทย-เยอรมัน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ “รหัส 56 ที่แท้ก็เป็นลูกหม้อเตรียมวิศวะของ มจพ.” ของเราเอง ดูเป็นคนมีอัธยาศัยไมตรีที่ดี มีความเข้มแข็ง ร่าเริง แจ่มใส ทำอะไรแล้วก็ตั้งใจไปสู่ความสำเร็จ จริงจัง มองคนรอบข้างและแคร์ทีมเป็นที่สุด บางเวลาเพื่อนๆ บอกว่าตลกแต่เป็นตลกแป๊กๆ ขำไม่ออกซะงั้น ประสบการณ์ในสนามการแข่งขันหุ่นยนต์ครั้งแรกของผม คือการแข่งขันหุ่นยนต์ ส.ส.ท ชิงถ้วยพระราชทานประจำปี 2561 เป็นก้าวแรกจริงๆ ที่จะได้ใช้ความรู้ที่เรียนมา มาช่วยทีม ช่วยแชร์ไอเดียร่วมกัน สำหรับผมก็อาจจะไม่ได้ตื่นเต้นมากเท่าไหร่ เพราะผมก็เป็นสมาชิกชมรมหุ่นยนต์ที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ ได้เข้ามาเรียนรู้และคลุกคลีอยู่กับรุ่นพี่ โดยผมให้ความสนใจด้านแมคคาทรอนิกส์ ( Mechatronics) เป็นพิเศษอยู่แล้ว เป็นกระบวนการออกแบบที่ต้องอาศัยด้านเทคนิคต่างๆ เพื่อบูรณาการเข้าด้วยกัน เพื่อการออกแบบและสร้างหุ่นยนต์ซึ่งล้วนแต่ต้องสร้างกลไกที่สามารถทำงานด้วยตัวเองโดยอัตโนมัติ ตามความต้องการที่กำหนดไว้ได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้องและแม่นยำ ตัวอย่างของระบบที่มีซึ่งระบบแมคคาทรอนิกส์เป็นส่วนประกอบ เช่น หุ่นยนต์อุตสาหกรรม หุ่นยนต์กู้ภัย และอาคารอัจฉริยะ เป็นต้น ผมคิดว่ามันเสริมสร้างประสบการณ์ที่ดีแก่ตัวเรา สำหรับตำแหน่งในทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig จะดูแล Mechanical & Development ตามที่ได้รับมอบหมายที่เริ่มจากการแสวงหาข้อมูล ศึกษาเทคโนโลยีใหม่ๆ ในการสร้างหุ่นยนต์ รวมถึงคลิปวิดีโอหุ่นยนต์จากต่างประเทศ การตรวจสอบชิ้นงาน ดูคุณภาพของงาน การแก้ไขปัญหา ซึ่งในห้องเรียนไม่มีสอน เพราะการได้ลงมือทำมันคือการทำจริงๆ เหตุการณ์จริง ฉะนั้นเราต้องมีวิธีคิด มีขั้นตอนที่ชัดเจน มองปัญหาให้ออก เพื่อนำเสนอทีมให้สามารถนำมาประยุกต์ใช้โดยปรึกษาหารือร่วมกันโดยมีอาจารย์ที่ปรึกษาคอยให้คำแนะนำ ซึ่งผมมองว่า “การดีไซน์หุ่นยนต์ในแต่ละครั้งขึ้นอยู่กับองค์ประกอบของวัตถุประสงค์ การนำไปใช้งาน รวมถึงด้านเทคนิค ซึ่งเกี่ยวข้องกับการสร้างหุ่นยนต์”เช่นการเคลื่อนที่ได้ ความเป็นอิสระ (autonomy) ตลอดจนกลไกการเคลื่อนที่ นอกจากนี้แล้วหุ่นยนต์ยังจะต้องมีการประมวลผลที่ชาญฉลาด และที่สำคัญคือ กติกาการแข่งขันซึ่งเป็นโจทย์ เป็นเกณฑ์ในการตัดสินแต่ละครั้งเป็นอย่างไร ส่วนหน้าที่ชุดสายพาน และ Maintenance ชิ้นส่วนกลไกต่างๆ ของหุ่นยนต์ เช่น โครงสร้าง เพลา เฟือง สกรูส่งกำลัง สายพาน โซ่ สปริง รวมถึงทั้งหมดนี้ก็ต้องอาศัยการการกลึงร่วมกับการออกแบบโครงสร้างของหุ่นยนต์ต้องมีความแข็งแรงมาก ซึ่งต้องมีการทดสอบทำงาน ความเที่ยงตรง ในการตรวจสอบว่าความแม่นยำของหุ่นยนต์ การที่ได้ลงมือทำด้าน Mechanical & Development สามารถบ่งบอกได้ว่าเรา “ได้นำความรู้ความสามารถและได้นำเทคนิคมาบูรณาการเชิงวิศวะได้อย่างเหมาะสม ตลอดจนนำมาปรับใช้ในการสร้างหุ่นยนต์ ซึ่งเป็นการลงมือปฏิบัติที่คุ้มค่า เป็นสิ่งที่ช่วยการทำงานเป็นทีม มองจุดมุ่งหมายและแก้ปัญหาร่วมกัน” มจพ. แห่งนี้มีกิจกรรมที่หลากหลายให้นักศึกษาได้เข้าร่วมหาประสบการณ์และความถนัดนอกห้องเรียน ที่ได้ให้ประสบการณ์ใหม่ๆ มาก คือเรื่องราวที่สร้างสรรค์ผลงาน ให้ได้รู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ การเสาะแสวงหาไอเดียใหม่ๆ มาแชร์ พูดคุยในทีมเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน การเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig นับว่ามีประโยชน์อย่างรอบด้าน ทำให้เราคิดอย่างเป็นระบบ มีมุมมองที่หลากหลาย การแก้ปัญหาเฉพาะหน้าที่สามารถเผชิญได้ตลอดเวลาเมื่อเราลงสู่สนามการแข่งขัน กิจกรรมแต่ละประเภทจะสร้างให้เข็มแข็ง มีความอดทน สามารถวิเคราะห์ปัญหาและแก้ไขเหตุการณ์เฉพาะหน้าได้ ฝึกฝนให้สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นการทำงานเป็นทีมได้ในสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนการประเมินสถานการณ์จากคู่แข่งขันในเวทีการแข่งขัน มองศักยภาพทีมเรา – ทีมเขา ในการปรับปรุงแก้ไขพัฒนาที่ดีขึ้น “ตัวต่อ” บอกว่าเมื่อจบการศึกษาแล้ว ผมอยากทำงานสาย Maintenance ด้านวิศวกรซ่อมบำรุง ผมไม่เก่งวิชาการ แต่ผมชอบลงมือปฏิบัติมากกว่า ผมสามารถฝึกฝนให้เกิดความชำนาญได้ และงานด้านนี้ยังอยากเรียนรู้ของการวางแผนบำรุงรักษาทรัพยากรหรือการเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องจักรให้สามารถใช้ประโยชน์ได้สูงสุด และอาจรวมถึงควบคุมอะไหล่เครื่องจักรและระบบไฟฟ้าที่ใช้สำหรับในงานซ่อมบำรุงในสภาพพร้อมใช้งาน ที่ตั้งใจมากๆ เป็นพิเศษคือเข้าไปทำงานกับฝ่ายบำรุงรักษาร่วมกับแรงงานสายการผลิต อาทิ การตรวจสอบและการบำรุงรักษาด้านกลไกต่างๆ รวมถึงการทำงานด้านวางแผนและปฏิบัติงานในการบำรุงรักษาและซ่อมบำรุง งานซ่อมบำรุงระบบเครื่องจักรประเภท automation Robot หรือระบบ Line conveyor สุดท้ายขอฝากข้อคิดถึงน้องที่อยากเข้ามาเรียนที่ มจพ. และชื่นชอบการสร้างหุ่นยนต์ ก็เชิญชวนน้องๆ มาสมัครเรียนได้เลย มีสาขาวิชามากมายให้เลือกตามความถนัดแต่ละคน หรือน้องๆ ที่เข้ามาเรียนขณะนี้แล้ว อยากจะมาร่วมสร้างประวัติศาสตร์หุ่นยนต์กู้ภัยระดับโลกร่วมกัน สามารถสอบถามได้ที่ชมรมหุ่นยนต์ที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ ได้เช่นกัน พี่ๆ ทุกคนยินดีต้อนรับเข้าทีม และเราจะได้เรียนรู้ไปด้วยกัน “ถ้าไม่เสียสละ ชัยชนะก็ไม่เกิด” นี้เป็นคติประจำใจผมที่ได้เรียนรู้มาจากภาพยนตร์ทรานส์ฟอร์เมอร์ส (Transformers) มันคือแรงบันดาลใจที่ทำให้ผมชอบและรักหุ่นยนต์ ขวัญฤทัย ข่าว-ภาพ EZ Webmaster Related Posts คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก Post navigation PREVIOUS Previous post: ราชกิจจานุเบกษา ประกาศกฎกระทรวงกำหนดความประพฤติของนักเรียนและนักศึกษาNEXT Next post: “เทคนิคบางแสน สร้างสะพานเชื่อมโยง สอศ.และ สพฐ.”
แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI…
รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI…
ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… นิสิตป.ตรีร่วมโครงการEAS InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 13, 2025 โอกาสดี! นักศึกษาระดับปริญญาตรีชาวไทย อายุระหว่าง 18-26 ปี ที่สนใจในประเด็นอาเซียน และสนใจอยากเป็นนักการทูต สถานทูตออสเตรเลียประจำประเทศไทยแจ้งข่าว เปิดรับสมัครโครงการ Model East Asia Summit (EAS) 2025 ส่งใบสมัครก่อนวันที่ 4 ก.ค.… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster September 2, 2019 EZ Webmaster September 2, 2019 “ตัวต่อ”สมาชิกทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig จุดประกายชอบหุ่นยนต์จากภาพยนตร์ “ตัวต่อ”สมาชิกทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig จุดประกายชอบหุ่นยนต์จากภาพยนตร์ เรื่อง ทรานส์ฟอร์เมอร์ส (Transformers) นายธรรมฤทธิ์ ศิวาลัย ชื่อเล่น “ตัวต่อ” นักคึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 4 สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) ผู้มีความสามารถทำงานในตำแหน่ง Mechanical & Development จากทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig (ไอราฟ เซคซิก) ผลงานล่าสุด คว้ารองแชมป์โลกหุ่นยนต์กู้ภัยได้อย่างสมศักดิ์ศรี เป็นตัวแทนประเทศไทยเข้าร่วมการแข่งขันหุ่นยนต์ จากการแข่งขันหุ่นยนต์กู้ภัยระดับโลก ประจำปี พ.ศ. 2562 (World RoboCup Rescue 2019) เมื่อเดือนกรกฎาคม 2562 ณ เมืองซิดนีย์ ประเทศออสเตรเลีย “ตัวต่อ” บอกว่าเป็นผลงานที่น่าปลื้มใจมากที่หุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig ของ มจพ. สร้างชื่อบนเวทีโลกในนามตัวแทนของประเทศไทย อีกครั้ง คว้า 2 รางวัลยิ่งใหญ่ คือรางวัลรองแชมป์โลกอันดับ 1 และรางวัลชนะเลิศ (Best in Class Mobility) นวัตกรรมสมรรถนะการขับเคลื่อนหุ่นยนต์ยอดเยี่ยม จากการแข่งขันหุ่นยนต์กู้ภัยระดับโลก ซึ่งมีทั้งความเร็ว ความแรง และความแข็งแกร่ง สามารถฟันฝ่าอุปสรรคได้ดี แรงบันดาลใจที่ผมชอบและรักหุ่นยนต์เกิดจากความสนใจที่ชอบชมภาพยนตร์แนวหุ่นยนต์ทำให้เกิดจุดประกายที่อยากจะสร้างหุ่นยนต์ในชีวิตจริงบ้าง โดยเฉพาะชอบหุ่นยนต์จากภาพยนตร์ เรื่อง ทรานส์ฟอร์เมอร์ส (Transformers) เป็นภาพยนตร์แนววิทยาศาสตร์ โลดโผน ผมเป็นแฟนพันธุ์แท้ทุกตอน เพราะบางครั้งการเกิดไอเดียดีๆ มันก็มาจากรอบๆ ตัวเรา ซึ่งตัวเราก็เด็กวิศวะน่าจะสามารถร่วมทีมและพัฒนางานหุ่นยนต์ให้ มจพ. ได้ ผมเชื่อแบบนั้นนะครับ “ตัวต่อ” เกิดที่กรุงเทพฯ จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) จากโรงเรียนไตรมิตรวิทยาลัย เป็นโรงเรียนชายล้วนที่เปิดสอนเฉพาะนักเรียนชายในย่านเยาวราช จากนั้นได้สอบเข้า รร. เตรียมวิศวะที่ มจพ. ในสาขาเตรียมวิศวกรรมเครื่องกล โรงเรียนเตรียมวิศวกรรมศาสตร์ ไทย-เยอรมัน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ “รหัส 56 ที่แท้ก็เป็นลูกหม้อเตรียมวิศวะของ มจพ.” ของเราเอง ดูเป็นคนมีอัธยาศัยไมตรีที่ดี มีความเข้มแข็ง ร่าเริง แจ่มใส ทำอะไรแล้วก็ตั้งใจไปสู่ความสำเร็จ จริงจัง มองคนรอบข้างและแคร์ทีมเป็นที่สุด บางเวลาเพื่อนๆ บอกว่าตลกแต่เป็นตลกแป๊กๆ ขำไม่ออกซะงั้น ประสบการณ์ในสนามการแข่งขันหุ่นยนต์ครั้งแรกของผม คือการแข่งขันหุ่นยนต์ ส.ส.ท ชิงถ้วยพระราชทานประจำปี 2561 เป็นก้าวแรกจริงๆ ที่จะได้ใช้ความรู้ที่เรียนมา มาช่วยทีม ช่วยแชร์ไอเดียร่วมกัน สำหรับผมก็อาจจะไม่ได้ตื่นเต้นมากเท่าไหร่ เพราะผมก็เป็นสมาชิกชมรมหุ่นยนต์ที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ ได้เข้ามาเรียนรู้และคลุกคลีอยู่กับรุ่นพี่ โดยผมให้ความสนใจด้านแมคคาทรอนิกส์ ( Mechatronics) เป็นพิเศษอยู่แล้ว เป็นกระบวนการออกแบบที่ต้องอาศัยด้านเทคนิคต่างๆ เพื่อบูรณาการเข้าด้วยกัน เพื่อการออกแบบและสร้างหุ่นยนต์ซึ่งล้วนแต่ต้องสร้างกลไกที่สามารถทำงานด้วยตัวเองโดยอัตโนมัติ ตามความต้องการที่กำหนดไว้ได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้องและแม่นยำ ตัวอย่างของระบบที่มีซึ่งระบบแมคคาทรอนิกส์เป็นส่วนประกอบ เช่น หุ่นยนต์อุตสาหกรรม หุ่นยนต์กู้ภัย และอาคารอัจฉริยะ เป็นต้น ผมคิดว่ามันเสริมสร้างประสบการณ์ที่ดีแก่ตัวเรา สำหรับตำแหน่งในทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig จะดูแล Mechanical & Development ตามที่ได้รับมอบหมายที่เริ่มจากการแสวงหาข้อมูล ศึกษาเทคโนโลยีใหม่ๆ ในการสร้างหุ่นยนต์ รวมถึงคลิปวิดีโอหุ่นยนต์จากต่างประเทศ การตรวจสอบชิ้นงาน ดูคุณภาพของงาน การแก้ไขปัญหา ซึ่งในห้องเรียนไม่มีสอน เพราะการได้ลงมือทำมันคือการทำจริงๆ เหตุการณ์จริง ฉะนั้นเราต้องมีวิธีคิด มีขั้นตอนที่ชัดเจน มองปัญหาให้ออก เพื่อนำเสนอทีมให้สามารถนำมาประยุกต์ใช้โดยปรึกษาหารือร่วมกันโดยมีอาจารย์ที่ปรึกษาคอยให้คำแนะนำ ซึ่งผมมองว่า “การดีไซน์หุ่นยนต์ในแต่ละครั้งขึ้นอยู่กับองค์ประกอบของวัตถุประสงค์ การนำไปใช้งาน รวมถึงด้านเทคนิค ซึ่งเกี่ยวข้องกับการสร้างหุ่นยนต์”เช่นการเคลื่อนที่ได้ ความเป็นอิสระ (autonomy) ตลอดจนกลไกการเคลื่อนที่ นอกจากนี้แล้วหุ่นยนต์ยังจะต้องมีการประมวลผลที่ชาญฉลาด และที่สำคัญคือ กติกาการแข่งขันซึ่งเป็นโจทย์ เป็นเกณฑ์ในการตัดสินแต่ละครั้งเป็นอย่างไร ส่วนหน้าที่ชุดสายพาน และ Maintenance ชิ้นส่วนกลไกต่างๆ ของหุ่นยนต์ เช่น โครงสร้าง เพลา เฟือง สกรูส่งกำลัง สายพาน โซ่ สปริง รวมถึงทั้งหมดนี้ก็ต้องอาศัยการการกลึงร่วมกับการออกแบบโครงสร้างของหุ่นยนต์ต้องมีความแข็งแรงมาก ซึ่งต้องมีการทดสอบทำงาน ความเที่ยงตรง ในการตรวจสอบว่าความแม่นยำของหุ่นยนต์ การที่ได้ลงมือทำด้าน Mechanical & Development สามารถบ่งบอกได้ว่าเรา “ได้นำความรู้ความสามารถและได้นำเทคนิคมาบูรณาการเชิงวิศวะได้อย่างเหมาะสม ตลอดจนนำมาปรับใช้ในการสร้างหุ่นยนต์ ซึ่งเป็นการลงมือปฏิบัติที่คุ้มค่า เป็นสิ่งที่ช่วยการทำงานเป็นทีม มองจุดมุ่งหมายและแก้ปัญหาร่วมกัน” มจพ. แห่งนี้มีกิจกรรมที่หลากหลายให้นักศึกษาได้เข้าร่วมหาประสบการณ์และความถนัดนอกห้องเรียน ที่ได้ให้ประสบการณ์ใหม่ๆ มาก คือเรื่องราวที่สร้างสรรค์ผลงาน ให้ได้รู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ การเสาะแสวงหาไอเดียใหม่ๆ มาแชร์ พูดคุยในทีมเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน การเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig นับว่ามีประโยชน์อย่างรอบด้าน ทำให้เราคิดอย่างเป็นระบบ มีมุมมองที่หลากหลาย การแก้ปัญหาเฉพาะหน้าที่สามารถเผชิญได้ตลอดเวลาเมื่อเราลงสู่สนามการแข่งขัน กิจกรรมแต่ละประเภทจะสร้างให้เข็มแข็ง มีความอดทน สามารถวิเคราะห์ปัญหาและแก้ไขเหตุการณ์เฉพาะหน้าได้ ฝึกฝนให้สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นการทำงานเป็นทีมได้ในสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนการประเมินสถานการณ์จากคู่แข่งขันในเวทีการแข่งขัน มองศักยภาพทีมเรา – ทีมเขา ในการปรับปรุงแก้ไขพัฒนาที่ดีขึ้น “ตัวต่อ” บอกว่าเมื่อจบการศึกษาแล้ว ผมอยากทำงานสาย Maintenance ด้านวิศวกรซ่อมบำรุง ผมไม่เก่งวิชาการ แต่ผมชอบลงมือปฏิบัติมากกว่า ผมสามารถฝึกฝนให้เกิดความชำนาญได้ และงานด้านนี้ยังอยากเรียนรู้ของการวางแผนบำรุงรักษาทรัพยากรหรือการเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องจักรให้สามารถใช้ประโยชน์ได้สูงสุด และอาจรวมถึงควบคุมอะไหล่เครื่องจักรและระบบไฟฟ้าที่ใช้สำหรับในงานซ่อมบำรุงในสภาพพร้อมใช้งาน ที่ตั้งใจมากๆ เป็นพิเศษคือเข้าไปทำงานกับฝ่ายบำรุงรักษาร่วมกับแรงงานสายการผลิต อาทิ การตรวจสอบและการบำรุงรักษาด้านกลไกต่างๆ รวมถึงการทำงานด้านวางแผนและปฏิบัติงานในการบำรุงรักษาและซ่อมบำรุง งานซ่อมบำรุงระบบเครื่องจักรประเภท automation Robot หรือระบบ Line conveyor สุดท้ายขอฝากข้อคิดถึงน้องที่อยากเข้ามาเรียนที่ มจพ. และชื่นชอบการสร้างหุ่นยนต์ ก็เชิญชวนน้องๆ มาสมัครเรียนได้เลย มีสาขาวิชามากมายให้เลือกตามความถนัดแต่ละคน หรือน้องๆ ที่เข้ามาเรียนขณะนี้แล้ว อยากจะมาร่วมสร้างประวัติศาสตร์หุ่นยนต์กู้ภัยระดับโลกร่วมกัน สามารถสอบถามได้ที่ชมรมหุ่นยนต์ที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ ได้เช่นกัน พี่ๆ ทุกคนยินดีต้อนรับเข้าทีม และเราจะได้เรียนรู้ไปด้วยกัน “ถ้าไม่เสียสละ ชัยชนะก็ไม่เกิด” นี้เป็นคติประจำใจผมที่ได้เรียนรู้มาจากภาพยนตร์ทรานส์ฟอร์เมอร์ส (Transformers) มันคือแรงบันดาลใจที่ทำให้ผมชอบและรักหุ่นยนต์ ขวัญฤทัย ข่าว-ภาพ EZ Webmaster Related Posts คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก Post navigation PREVIOUS Previous post: ราชกิจจานุเบกษา ประกาศกฎกระทรวงกำหนดความประพฤติของนักเรียนและนักศึกษาNEXT Next post: “เทคนิคบางแสน สร้างสะพานเชื่อมโยง สอศ.และ สพฐ.”
รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… นิสิตป.ตรีร่วมโครงการEAS InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 13, 2025 โอกาสดี! นักศึกษาระดับปริญญาตรีชาวไทย อายุระหว่าง 18-26 ปี ที่สนใจในประเด็นอาเซียน และสนใจอยากเป็นนักการทูต สถานทูตออสเตรเลียประจำประเทศไทยแจ้งข่าว เปิดรับสมัครโครงการ Model East Asia Summit (EAS) 2025 ส่งใบสมัครก่อนวันที่ 4 ก.ค.… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster September 2, 2019 EZ Webmaster September 2, 2019 “ตัวต่อ”สมาชิกทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig จุดประกายชอบหุ่นยนต์จากภาพยนตร์ “ตัวต่อ”สมาชิกทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig จุดประกายชอบหุ่นยนต์จากภาพยนตร์ เรื่อง ทรานส์ฟอร์เมอร์ส (Transformers) นายธรรมฤทธิ์ ศิวาลัย ชื่อเล่น “ตัวต่อ” นักคึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 4 สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) ผู้มีความสามารถทำงานในตำแหน่ง Mechanical & Development จากทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig (ไอราฟ เซคซิก) ผลงานล่าสุด คว้ารองแชมป์โลกหุ่นยนต์กู้ภัยได้อย่างสมศักดิ์ศรี เป็นตัวแทนประเทศไทยเข้าร่วมการแข่งขันหุ่นยนต์ จากการแข่งขันหุ่นยนต์กู้ภัยระดับโลก ประจำปี พ.ศ. 2562 (World RoboCup Rescue 2019) เมื่อเดือนกรกฎาคม 2562 ณ เมืองซิดนีย์ ประเทศออสเตรเลีย “ตัวต่อ” บอกว่าเป็นผลงานที่น่าปลื้มใจมากที่หุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig ของ มจพ. สร้างชื่อบนเวทีโลกในนามตัวแทนของประเทศไทย อีกครั้ง คว้า 2 รางวัลยิ่งใหญ่ คือรางวัลรองแชมป์โลกอันดับ 1 และรางวัลชนะเลิศ (Best in Class Mobility) นวัตกรรมสมรรถนะการขับเคลื่อนหุ่นยนต์ยอดเยี่ยม จากการแข่งขันหุ่นยนต์กู้ภัยระดับโลก ซึ่งมีทั้งความเร็ว ความแรง และความแข็งแกร่ง สามารถฟันฝ่าอุปสรรคได้ดี แรงบันดาลใจที่ผมชอบและรักหุ่นยนต์เกิดจากความสนใจที่ชอบชมภาพยนตร์แนวหุ่นยนต์ทำให้เกิดจุดประกายที่อยากจะสร้างหุ่นยนต์ในชีวิตจริงบ้าง โดยเฉพาะชอบหุ่นยนต์จากภาพยนตร์ เรื่อง ทรานส์ฟอร์เมอร์ส (Transformers) เป็นภาพยนตร์แนววิทยาศาสตร์ โลดโผน ผมเป็นแฟนพันธุ์แท้ทุกตอน เพราะบางครั้งการเกิดไอเดียดีๆ มันก็มาจากรอบๆ ตัวเรา ซึ่งตัวเราก็เด็กวิศวะน่าจะสามารถร่วมทีมและพัฒนางานหุ่นยนต์ให้ มจพ. ได้ ผมเชื่อแบบนั้นนะครับ “ตัวต่อ” เกิดที่กรุงเทพฯ จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) จากโรงเรียนไตรมิตรวิทยาลัย เป็นโรงเรียนชายล้วนที่เปิดสอนเฉพาะนักเรียนชายในย่านเยาวราช จากนั้นได้สอบเข้า รร. เตรียมวิศวะที่ มจพ. ในสาขาเตรียมวิศวกรรมเครื่องกล โรงเรียนเตรียมวิศวกรรมศาสตร์ ไทย-เยอรมัน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ “รหัส 56 ที่แท้ก็เป็นลูกหม้อเตรียมวิศวะของ มจพ.” ของเราเอง ดูเป็นคนมีอัธยาศัยไมตรีที่ดี มีความเข้มแข็ง ร่าเริง แจ่มใส ทำอะไรแล้วก็ตั้งใจไปสู่ความสำเร็จ จริงจัง มองคนรอบข้างและแคร์ทีมเป็นที่สุด บางเวลาเพื่อนๆ บอกว่าตลกแต่เป็นตลกแป๊กๆ ขำไม่ออกซะงั้น ประสบการณ์ในสนามการแข่งขันหุ่นยนต์ครั้งแรกของผม คือการแข่งขันหุ่นยนต์ ส.ส.ท ชิงถ้วยพระราชทานประจำปี 2561 เป็นก้าวแรกจริงๆ ที่จะได้ใช้ความรู้ที่เรียนมา มาช่วยทีม ช่วยแชร์ไอเดียร่วมกัน สำหรับผมก็อาจจะไม่ได้ตื่นเต้นมากเท่าไหร่ เพราะผมก็เป็นสมาชิกชมรมหุ่นยนต์ที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ ได้เข้ามาเรียนรู้และคลุกคลีอยู่กับรุ่นพี่ โดยผมให้ความสนใจด้านแมคคาทรอนิกส์ ( Mechatronics) เป็นพิเศษอยู่แล้ว เป็นกระบวนการออกแบบที่ต้องอาศัยด้านเทคนิคต่างๆ เพื่อบูรณาการเข้าด้วยกัน เพื่อการออกแบบและสร้างหุ่นยนต์ซึ่งล้วนแต่ต้องสร้างกลไกที่สามารถทำงานด้วยตัวเองโดยอัตโนมัติ ตามความต้องการที่กำหนดไว้ได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้องและแม่นยำ ตัวอย่างของระบบที่มีซึ่งระบบแมคคาทรอนิกส์เป็นส่วนประกอบ เช่น หุ่นยนต์อุตสาหกรรม หุ่นยนต์กู้ภัย และอาคารอัจฉริยะ เป็นต้น ผมคิดว่ามันเสริมสร้างประสบการณ์ที่ดีแก่ตัวเรา สำหรับตำแหน่งในทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig จะดูแล Mechanical & Development ตามที่ได้รับมอบหมายที่เริ่มจากการแสวงหาข้อมูล ศึกษาเทคโนโลยีใหม่ๆ ในการสร้างหุ่นยนต์ รวมถึงคลิปวิดีโอหุ่นยนต์จากต่างประเทศ การตรวจสอบชิ้นงาน ดูคุณภาพของงาน การแก้ไขปัญหา ซึ่งในห้องเรียนไม่มีสอน เพราะการได้ลงมือทำมันคือการทำจริงๆ เหตุการณ์จริง ฉะนั้นเราต้องมีวิธีคิด มีขั้นตอนที่ชัดเจน มองปัญหาให้ออก เพื่อนำเสนอทีมให้สามารถนำมาประยุกต์ใช้โดยปรึกษาหารือร่วมกันโดยมีอาจารย์ที่ปรึกษาคอยให้คำแนะนำ ซึ่งผมมองว่า “การดีไซน์หุ่นยนต์ในแต่ละครั้งขึ้นอยู่กับองค์ประกอบของวัตถุประสงค์ การนำไปใช้งาน รวมถึงด้านเทคนิค ซึ่งเกี่ยวข้องกับการสร้างหุ่นยนต์”เช่นการเคลื่อนที่ได้ ความเป็นอิสระ (autonomy) ตลอดจนกลไกการเคลื่อนที่ นอกจากนี้แล้วหุ่นยนต์ยังจะต้องมีการประมวลผลที่ชาญฉลาด และที่สำคัญคือ กติกาการแข่งขันซึ่งเป็นโจทย์ เป็นเกณฑ์ในการตัดสินแต่ละครั้งเป็นอย่างไร ส่วนหน้าที่ชุดสายพาน และ Maintenance ชิ้นส่วนกลไกต่างๆ ของหุ่นยนต์ เช่น โครงสร้าง เพลา เฟือง สกรูส่งกำลัง สายพาน โซ่ สปริง รวมถึงทั้งหมดนี้ก็ต้องอาศัยการการกลึงร่วมกับการออกแบบโครงสร้างของหุ่นยนต์ต้องมีความแข็งแรงมาก ซึ่งต้องมีการทดสอบทำงาน ความเที่ยงตรง ในการตรวจสอบว่าความแม่นยำของหุ่นยนต์ การที่ได้ลงมือทำด้าน Mechanical & Development สามารถบ่งบอกได้ว่าเรา “ได้นำความรู้ความสามารถและได้นำเทคนิคมาบูรณาการเชิงวิศวะได้อย่างเหมาะสม ตลอดจนนำมาปรับใช้ในการสร้างหุ่นยนต์ ซึ่งเป็นการลงมือปฏิบัติที่คุ้มค่า เป็นสิ่งที่ช่วยการทำงานเป็นทีม มองจุดมุ่งหมายและแก้ปัญหาร่วมกัน” มจพ. แห่งนี้มีกิจกรรมที่หลากหลายให้นักศึกษาได้เข้าร่วมหาประสบการณ์และความถนัดนอกห้องเรียน ที่ได้ให้ประสบการณ์ใหม่ๆ มาก คือเรื่องราวที่สร้างสรรค์ผลงาน ให้ได้รู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ การเสาะแสวงหาไอเดียใหม่ๆ มาแชร์ พูดคุยในทีมเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน การเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig นับว่ามีประโยชน์อย่างรอบด้าน ทำให้เราคิดอย่างเป็นระบบ มีมุมมองที่หลากหลาย การแก้ปัญหาเฉพาะหน้าที่สามารถเผชิญได้ตลอดเวลาเมื่อเราลงสู่สนามการแข่งขัน กิจกรรมแต่ละประเภทจะสร้างให้เข็มแข็ง มีความอดทน สามารถวิเคราะห์ปัญหาและแก้ไขเหตุการณ์เฉพาะหน้าได้ ฝึกฝนให้สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นการทำงานเป็นทีมได้ในสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนการประเมินสถานการณ์จากคู่แข่งขันในเวทีการแข่งขัน มองศักยภาพทีมเรา – ทีมเขา ในการปรับปรุงแก้ไขพัฒนาที่ดีขึ้น “ตัวต่อ” บอกว่าเมื่อจบการศึกษาแล้ว ผมอยากทำงานสาย Maintenance ด้านวิศวกรซ่อมบำรุง ผมไม่เก่งวิชาการ แต่ผมชอบลงมือปฏิบัติมากกว่า ผมสามารถฝึกฝนให้เกิดความชำนาญได้ และงานด้านนี้ยังอยากเรียนรู้ของการวางแผนบำรุงรักษาทรัพยากรหรือการเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องจักรให้สามารถใช้ประโยชน์ได้สูงสุด และอาจรวมถึงควบคุมอะไหล่เครื่องจักรและระบบไฟฟ้าที่ใช้สำหรับในงานซ่อมบำรุงในสภาพพร้อมใช้งาน ที่ตั้งใจมากๆ เป็นพิเศษคือเข้าไปทำงานกับฝ่ายบำรุงรักษาร่วมกับแรงงานสายการผลิต อาทิ การตรวจสอบและการบำรุงรักษาด้านกลไกต่างๆ รวมถึงการทำงานด้านวางแผนและปฏิบัติงานในการบำรุงรักษาและซ่อมบำรุง งานซ่อมบำรุงระบบเครื่องจักรประเภท automation Robot หรือระบบ Line conveyor สุดท้ายขอฝากข้อคิดถึงน้องที่อยากเข้ามาเรียนที่ มจพ. และชื่นชอบการสร้างหุ่นยนต์ ก็เชิญชวนน้องๆ มาสมัครเรียนได้เลย มีสาขาวิชามากมายให้เลือกตามความถนัดแต่ละคน หรือน้องๆ ที่เข้ามาเรียนขณะนี้แล้ว อยากจะมาร่วมสร้างประวัติศาสตร์หุ่นยนต์กู้ภัยระดับโลกร่วมกัน สามารถสอบถามได้ที่ชมรมหุ่นยนต์ที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ ได้เช่นกัน พี่ๆ ทุกคนยินดีต้อนรับเข้าทีม และเราจะได้เรียนรู้ไปด้วยกัน “ถ้าไม่เสียสละ ชัยชนะก็ไม่เกิด” นี้เป็นคติประจำใจผมที่ได้เรียนรู้มาจากภาพยนตร์ทรานส์ฟอร์เมอร์ส (Transformers) มันคือแรงบันดาลใจที่ทำให้ผมชอบและรักหุ่นยนต์ ขวัญฤทัย ข่าว-ภาพ EZ Webmaster Related Posts คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก Post navigation PREVIOUS Previous post: ราชกิจจานุเบกษา ประกาศกฎกระทรวงกำหนดความประพฤติของนักเรียนและนักศึกษาNEXT Next post: “เทคนิคบางแสน สร้างสะพานเชื่อมโยง สอศ.และ สพฐ.”
เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… นิสิตป.ตรีร่วมโครงการEAS InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 13, 2025 โอกาสดี! นักศึกษาระดับปริญญาตรีชาวไทย อายุระหว่าง 18-26 ปี ที่สนใจในประเด็นอาเซียน และสนใจอยากเป็นนักการทูต สถานทูตออสเตรเลียประจำประเทศไทยแจ้งข่าว เปิดรับสมัครโครงการ Model East Asia Summit (EAS) 2025 ส่งใบสมัครก่อนวันที่ 4 ก.ค.…
นิสิตป.ตรีร่วมโครงการEAS InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 13, 2025 โอกาสดี! นักศึกษาระดับปริญญาตรีชาวไทย อายุระหว่าง 18-26 ปี ที่สนใจในประเด็นอาเซียน และสนใจอยากเป็นนักการทูต สถานทูตออสเตรเลียประจำประเทศไทยแจ้งข่าว เปิดรับสมัครโครงการ Model East Asia Summit (EAS) 2025 ส่งใบสมัครก่อนวันที่ 4 ก.ค.…
คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster September 2, 2019 EZ Webmaster September 2, 2019 “ตัวต่อ”สมาชิกทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig จุดประกายชอบหุ่นยนต์จากภาพยนตร์ “ตัวต่อ”สมาชิกทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig จุดประกายชอบหุ่นยนต์จากภาพยนตร์ เรื่อง ทรานส์ฟอร์เมอร์ส (Transformers) นายธรรมฤทธิ์ ศิวาลัย ชื่อเล่น “ตัวต่อ” นักคึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 4 สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) ผู้มีความสามารถทำงานในตำแหน่ง Mechanical & Development จากทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig (ไอราฟ เซคซิก) ผลงานล่าสุด คว้ารองแชมป์โลกหุ่นยนต์กู้ภัยได้อย่างสมศักดิ์ศรี เป็นตัวแทนประเทศไทยเข้าร่วมการแข่งขันหุ่นยนต์ จากการแข่งขันหุ่นยนต์กู้ภัยระดับโลก ประจำปี พ.ศ. 2562 (World RoboCup Rescue 2019) เมื่อเดือนกรกฎาคม 2562 ณ เมืองซิดนีย์ ประเทศออสเตรเลีย “ตัวต่อ” บอกว่าเป็นผลงานที่น่าปลื้มใจมากที่หุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig ของ มจพ. สร้างชื่อบนเวทีโลกในนามตัวแทนของประเทศไทย อีกครั้ง คว้า 2 รางวัลยิ่งใหญ่ คือรางวัลรองแชมป์โลกอันดับ 1 และรางวัลชนะเลิศ (Best in Class Mobility) นวัตกรรมสมรรถนะการขับเคลื่อนหุ่นยนต์ยอดเยี่ยม จากการแข่งขันหุ่นยนต์กู้ภัยระดับโลก ซึ่งมีทั้งความเร็ว ความแรง และความแข็งแกร่ง สามารถฟันฝ่าอุปสรรคได้ดี แรงบันดาลใจที่ผมชอบและรักหุ่นยนต์เกิดจากความสนใจที่ชอบชมภาพยนตร์แนวหุ่นยนต์ทำให้เกิดจุดประกายที่อยากจะสร้างหุ่นยนต์ในชีวิตจริงบ้าง โดยเฉพาะชอบหุ่นยนต์จากภาพยนตร์ เรื่อง ทรานส์ฟอร์เมอร์ส (Transformers) เป็นภาพยนตร์แนววิทยาศาสตร์ โลดโผน ผมเป็นแฟนพันธุ์แท้ทุกตอน เพราะบางครั้งการเกิดไอเดียดีๆ มันก็มาจากรอบๆ ตัวเรา ซึ่งตัวเราก็เด็กวิศวะน่าจะสามารถร่วมทีมและพัฒนางานหุ่นยนต์ให้ มจพ. ได้ ผมเชื่อแบบนั้นนะครับ “ตัวต่อ” เกิดที่กรุงเทพฯ จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) จากโรงเรียนไตรมิตรวิทยาลัย เป็นโรงเรียนชายล้วนที่เปิดสอนเฉพาะนักเรียนชายในย่านเยาวราช จากนั้นได้สอบเข้า รร. เตรียมวิศวะที่ มจพ. ในสาขาเตรียมวิศวกรรมเครื่องกล โรงเรียนเตรียมวิศวกรรมศาสตร์ ไทย-เยอรมัน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ “รหัส 56 ที่แท้ก็เป็นลูกหม้อเตรียมวิศวะของ มจพ.” ของเราเอง ดูเป็นคนมีอัธยาศัยไมตรีที่ดี มีความเข้มแข็ง ร่าเริง แจ่มใส ทำอะไรแล้วก็ตั้งใจไปสู่ความสำเร็จ จริงจัง มองคนรอบข้างและแคร์ทีมเป็นที่สุด บางเวลาเพื่อนๆ บอกว่าตลกแต่เป็นตลกแป๊กๆ ขำไม่ออกซะงั้น ประสบการณ์ในสนามการแข่งขันหุ่นยนต์ครั้งแรกของผม คือการแข่งขันหุ่นยนต์ ส.ส.ท ชิงถ้วยพระราชทานประจำปี 2561 เป็นก้าวแรกจริงๆ ที่จะได้ใช้ความรู้ที่เรียนมา มาช่วยทีม ช่วยแชร์ไอเดียร่วมกัน สำหรับผมก็อาจจะไม่ได้ตื่นเต้นมากเท่าไหร่ เพราะผมก็เป็นสมาชิกชมรมหุ่นยนต์ที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ ได้เข้ามาเรียนรู้และคลุกคลีอยู่กับรุ่นพี่ โดยผมให้ความสนใจด้านแมคคาทรอนิกส์ ( Mechatronics) เป็นพิเศษอยู่แล้ว เป็นกระบวนการออกแบบที่ต้องอาศัยด้านเทคนิคต่างๆ เพื่อบูรณาการเข้าด้วยกัน เพื่อการออกแบบและสร้างหุ่นยนต์ซึ่งล้วนแต่ต้องสร้างกลไกที่สามารถทำงานด้วยตัวเองโดยอัตโนมัติ ตามความต้องการที่กำหนดไว้ได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้องและแม่นยำ ตัวอย่างของระบบที่มีซึ่งระบบแมคคาทรอนิกส์เป็นส่วนประกอบ เช่น หุ่นยนต์อุตสาหกรรม หุ่นยนต์กู้ภัย และอาคารอัจฉริยะ เป็นต้น ผมคิดว่ามันเสริมสร้างประสบการณ์ที่ดีแก่ตัวเรา สำหรับตำแหน่งในทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig จะดูแล Mechanical & Development ตามที่ได้รับมอบหมายที่เริ่มจากการแสวงหาข้อมูล ศึกษาเทคโนโลยีใหม่ๆ ในการสร้างหุ่นยนต์ รวมถึงคลิปวิดีโอหุ่นยนต์จากต่างประเทศ การตรวจสอบชิ้นงาน ดูคุณภาพของงาน การแก้ไขปัญหา ซึ่งในห้องเรียนไม่มีสอน เพราะการได้ลงมือทำมันคือการทำจริงๆ เหตุการณ์จริง ฉะนั้นเราต้องมีวิธีคิด มีขั้นตอนที่ชัดเจน มองปัญหาให้ออก เพื่อนำเสนอทีมให้สามารถนำมาประยุกต์ใช้โดยปรึกษาหารือร่วมกันโดยมีอาจารย์ที่ปรึกษาคอยให้คำแนะนำ ซึ่งผมมองว่า “การดีไซน์หุ่นยนต์ในแต่ละครั้งขึ้นอยู่กับองค์ประกอบของวัตถุประสงค์ การนำไปใช้งาน รวมถึงด้านเทคนิค ซึ่งเกี่ยวข้องกับการสร้างหุ่นยนต์”เช่นการเคลื่อนที่ได้ ความเป็นอิสระ (autonomy) ตลอดจนกลไกการเคลื่อนที่ นอกจากนี้แล้วหุ่นยนต์ยังจะต้องมีการประมวลผลที่ชาญฉลาด และที่สำคัญคือ กติกาการแข่งขันซึ่งเป็นโจทย์ เป็นเกณฑ์ในการตัดสินแต่ละครั้งเป็นอย่างไร ส่วนหน้าที่ชุดสายพาน และ Maintenance ชิ้นส่วนกลไกต่างๆ ของหุ่นยนต์ เช่น โครงสร้าง เพลา เฟือง สกรูส่งกำลัง สายพาน โซ่ สปริง รวมถึงทั้งหมดนี้ก็ต้องอาศัยการการกลึงร่วมกับการออกแบบโครงสร้างของหุ่นยนต์ต้องมีความแข็งแรงมาก ซึ่งต้องมีการทดสอบทำงาน ความเที่ยงตรง ในการตรวจสอบว่าความแม่นยำของหุ่นยนต์ การที่ได้ลงมือทำด้าน Mechanical & Development สามารถบ่งบอกได้ว่าเรา “ได้นำความรู้ความสามารถและได้นำเทคนิคมาบูรณาการเชิงวิศวะได้อย่างเหมาะสม ตลอดจนนำมาปรับใช้ในการสร้างหุ่นยนต์ ซึ่งเป็นการลงมือปฏิบัติที่คุ้มค่า เป็นสิ่งที่ช่วยการทำงานเป็นทีม มองจุดมุ่งหมายและแก้ปัญหาร่วมกัน” มจพ. แห่งนี้มีกิจกรรมที่หลากหลายให้นักศึกษาได้เข้าร่วมหาประสบการณ์และความถนัดนอกห้องเรียน ที่ได้ให้ประสบการณ์ใหม่ๆ มาก คือเรื่องราวที่สร้างสรรค์ผลงาน ให้ได้รู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ การเสาะแสวงหาไอเดียใหม่ๆ มาแชร์ พูดคุยในทีมเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน การเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig นับว่ามีประโยชน์อย่างรอบด้าน ทำให้เราคิดอย่างเป็นระบบ มีมุมมองที่หลากหลาย การแก้ปัญหาเฉพาะหน้าที่สามารถเผชิญได้ตลอดเวลาเมื่อเราลงสู่สนามการแข่งขัน กิจกรรมแต่ละประเภทจะสร้างให้เข็มแข็ง มีความอดทน สามารถวิเคราะห์ปัญหาและแก้ไขเหตุการณ์เฉพาะหน้าได้ ฝึกฝนให้สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นการทำงานเป็นทีมได้ในสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนการประเมินสถานการณ์จากคู่แข่งขันในเวทีการแข่งขัน มองศักยภาพทีมเรา – ทีมเขา ในการปรับปรุงแก้ไขพัฒนาที่ดีขึ้น “ตัวต่อ” บอกว่าเมื่อจบการศึกษาแล้ว ผมอยากทำงานสาย Maintenance ด้านวิศวกรซ่อมบำรุง ผมไม่เก่งวิชาการ แต่ผมชอบลงมือปฏิบัติมากกว่า ผมสามารถฝึกฝนให้เกิดความชำนาญได้ และงานด้านนี้ยังอยากเรียนรู้ของการวางแผนบำรุงรักษาทรัพยากรหรือการเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องจักรให้สามารถใช้ประโยชน์ได้สูงสุด และอาจรวมถึงควบคุมอะไหล่เครื่องจักรและระบบไฟฟ้าที่ใช้สำหรับในงานซ่อมบำรุงในสภาพพร้อมใช้งาน ที่ตั้งใจมากๆ เป็นพิเศษคือเข้าไปทำงานกับฝ่ายบำรุงรักษาร่วมกับแรงงานสายการผลิต อาทิ การตรวจสอบและการบำรุงรักษาด้านกลไกต่างๆ รวมถึงการทำงานด้านวางแผนและปฏิบัติงานในการบำรุงรักษาและซ่อมบำรุง งานซ่อมบำรุงระบบเครื่องจักรประเภท automation Robot หรือระบบ Line conveyor สุดท้ายขอฝากข้อคิดถึงน้องที่อยากเข้ามาเรียนที่ มจพ. และชื่นชอบการสร้างหุ่นยนต์ ก็เชิญชวนน้องๆ มาสมัครเรียนได้เลย มีสาขาวิชามากมายให้เลือกตามความถนัดแต่ละคน หรือน้องๆ ที่เข้ามาเรียนขณะนี้แล้ว อยากจะมาร่วมสร้างประวัติศาสตร์หุ่นยนต์กู้ภัยระดับโลกร่วมกัน สามารถสอบถามได้ที่ชมรมหุ่นยนต์ที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ ได้เช่นกัน พี่ๆ ทุกคนยินดีต้อนรับเข้าทีม และเราจะได้เรียนรู้ไปด้วยกัน “ถ้าไม่เสียสละ ชัยชนะก็ไม่เกิด” นี้เป็นคติประจำใจผมที่ได้เรียนรู้มาจากภาพยนตร์ทรานส์ฟอร์เมอร์ส (Transformers) มันคือแรงบันดาลใจที่ทำให้ผมชอบและรักหุ่นยนต์ ขวัญฤทัย ข่าว-ภาพ EZ Webmaster Related Posts คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก Post navigation PREVIOUS Previous post: ราชกิจจานุเบกษา ประกาศกฎกระทรวงกำหนดความประพฤติของนักเรียนและนักศึกษาNEXT Next post: “เทคนิคบางแสน สร้างสะพานเชื่อมโยง สอศ.และ สพฐ.”
เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster September 2, 2019 EZ Webmaster September 2, 2019 “ตัวต่อ”สมาชิกทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig จุดประกายชอบหุ่นยนต์จากภาพยนตร์ “ตัวต่อ”สมาชิกทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig จุดประกายชอบหุ่นยนต์จากภาพยนตร์ เรื่อง ทรานส์ฟอร์เมอร์ส (Transformers) นายธรรมฤทธิ์ ศิวาลัย ชื่อเล่น “ตัวต่อ” นักคึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 4 สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) ผู้มีความสามารถทำงานในตำแหน่ง Mechanical & Development จากทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig (ไอราฟ เซคซิก) ผลงานล่าสุด คว้ารองแชมป์โลกหุ่นยนต์กู้ภัยได้อย่างสมศักดิ์ศรี เป็นตัวแทนประเทศไทยเข้าร่วมการแข่งขันหุ่นยนต์ จากการแข่งขันหุ่นยนต์กู้ภัยระดับโลก ประจำปี พ.ศ. 2562 (World RoboCup Rescue 2019) เมื่อเดือนกรกฎาคม 2562 ณ เมืองซิดนีย์ ประเทศออสเตรเลีย “ตัวต่อ” บอกว่าเป็นผลงานที่น่าปลื้มใจมากที่หุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig ของ มจพ. สร้างชื่อบนเวทีโลกในนามตัวแทนของประเทศไทย อีกครั้ง คว้า 2 รางวัลยิ่งใหญ่ คือรางวัลรองแชมป์โลกอันดับ 1 และรางวัลชนะเลิศ (Best in Class Mobility) นวัตกรรมสมรรถนะการขับเคลื่อนหุ่นยนต์ยอดเยี่ยม จากการแข่งขันหุ่นยนต์กู้ภัยระดับโลก ซึ่งมีทั้งความเร็ว ความแรง และความแข็งแกร่ง สามารถฟันฝ่าอุปสรรคได้ดี แรงบันดาลใจที่ผมชอบและรักหุ่นยนต์เกิดจากความสนใจที่ชอบชมภาพยนตร์แนวหุ่นยนต์ทำให้เกิดจุดประกายที่อยากจะสร้างหุ่นยนต์ในชีวิตจริงบ้าง โดยเฉพาะชอบหุ่นยนต์จากภาพยนตร์ เรื่อง ทรานส์ฟอร์เมอร์ส (Transformers) เป็นภาพยนตร์แนววิทยาศาสตร์ โลดโผน ผมเป็นแฟนพันธุ์แท้ทุกตอน เพราะบางครั้งการเกิดไอเดียดีๆ มันก็มาจากรอบๆ ตัวเรา ซึ่งตัวเราก็เด็กวิศวะน่าจะสามารถร่วมทีมและพัฒนางานหุ่นยนต์ให้ มจพ. ได้ ผมเชื่อแบบนั้นนะครับ “ตัวต่อ” เกิดที่กรุงเทพฯ จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) จากโรงเรียนไตรมิตรวิทยาลัย เป็นโรงเรียนชายล้วนที่เปิดสอนเฉพาะนักเรียนชายในย่านเยาวราช จากนั้นได้สอบเข้า รร. เตรียมวิศวะที่ มจพ. ในสาขาเตรียมวิศวกรรมเครื่องกล โรงเรียนเตรียมวิศวกรรมศาสตร์ ไทย-เยอรมัน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ “รหัส 56 ที่แท้ก็เป็นลูกหม้อเตรียมวิศวะของ มจพ.” ของเราเอง ดูเป็นคนมีอัธยาศัยไมตรีที่ดี มีความเข้มแข็ง ร่าเริง แจ่มใส ทำอะไรแล้วก็ตั้งใจไปสู่ความสำเร็จ จริงจัง มองคนรอบข้างและแคร์ทีมเป็นที่สุด บางเวลาเพื่อนๆ บอกว่าตลกแต่เป็นตลกแป๊กๆ ขำไม่ออกซะงั้น ประสบการณ์ในสนามการแข่งขันหุ่นยนต์ครั้งแรกของผม คือการแข่งขันหุ่นยนต์ ส.ส.ท ชิงถ้วยพระราชทานประจำปี 2561 เป็นก้าวแรกจริงๆ ที่จะได้ใช้ความรู้ที่เรียนมา มาช่วยทีม ช่วยแชร์ไอเดียร่วมกัน สำหรับผมก็อาจจะไม่ได้ตื่นเต้นมากเท่าไหร่ เพราะผมก็เป็นสมาชิกชมรมหุ่นยนต์ที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ ได้เข้ามาเรียนรู้และคลุกคลีอยู่กับรุ่นพี่ โดยผมให้ความสนใจด้านแมคคาทรอนิกส์ ( Mechatronics) เป็นพิเศษอยู่แล้ว เป็นกระบวนการออกแบบที่ต้องอาศัยด้านเทคนิคต่างๆ เพื่อบูรณาการเข้าด้วยกัน เพื่อการออกแบบและสร้างหุ่นยนต์ซึ่งล้วนแต่ต้องสร้างกลไกที่สามารถทำงานด้วยตัวเองโดยอัตโนมัติ ตามความต้องการที่กำหนดไว้ได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้องและแม่นยำ ตัวอย่างของระบบที่มีซึ่งระบบแมคคาทรอนิกส์เป็นส่วนประกอบ เช่น หุ่นยนต์อุตสาหกรรม หุ่นยนต์กู้ภัย และอาคารอัจฉริยะ เป็นต้น ผมคิดว่ามันเสริมสร้างประสบการณ์ที่ดีแก่ตัวเรา สำหรับตำแหน่งในทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig จะดูแล Mechanical & Development ตามที่ได้รับมอบหมายที่เริ่มจากการแสวงหาข้อมูล ศึกษาเทคโนโลยีใหม่ๆ ในการสร้างหุ่นยนต์ รวมถึงคลิปวิดีโอหุ่นยนต์จากต่างประเทศ การตรวจสอบชิ้นงาน ดูคุณภาพของงาน การแก้ไขปัญหา ซึ่งในห้องเรียนไม่มีสอน เพราะการได้ลงมือทำมันคือการทำจริงๆ เหตุการณ์จริง ฉะนั้นเราต้องมีวิธีคิด มีขั้นตอนที่ชัดเจน มองปัญหาให้ออก เพื่อนำเสนอทีมให้สามารถนำมาประยุกต์ใช้โดยปรึกษาหารือร่วมกันโดยมีอาจารย์ที่ปรึกษาคอยให้คำแนะนำ ซึ่งผมมองว่า “การดีไซน์หุ่นยนต์ในแต่ละครั้งขึ้นอยู่กับองค์ประกอบของวัตถุประสงค์ การนำไปใช้งาน รวมถึงด้านเทคนิค ซึ่งเกี่ยวข้องกับการสร้างหุ่นยนต์”เช่นการเคลื่อนที่ได้ ความเป็นอิสระ (autonomy) ตลอดจนกลไกการเคลื่อนที่ นอกจากนี้แล้วหุ่นยนต์ยังจะต้องมีการประมวลผลที่ชาญฉลาด และที่สำคัญคือ กติกาการแข่งขันซึ่งเป็นโจทย์ เป็นเกณฑ์ในการตัดสินแต่ละครั้งเป็นอย่างไร ส่วนหน้าที่ชุดสายพาน และ Maintenance ชิ้นส่วนกลไกต่างๆ ของหุ่นยนต์ เช่น โครงสร้าง เพลา เฟือง สกรูส่งกำลัง สายพาน โซ่ สปริง รวมถึงทั้งหมดนี้ก็ต้องอาศัยการการกลึงร่วมกับการออกแบบโครงสร้างของหุ่นยนต์ต้องมีความแข็งแรงมาก ซึ่งต้องมีการทดสอบทำงาน ความเที่ยงตรง ในการตรวจสอบว่าความแม่นยำของหุ่นยนต์ การที่ได้ลงมือทำด้าน Mechanical & Development สามารถบ่งบอกได้ว่าเรา “ได้นำความรู้ความสามารถและได้นำเทคนิคมาบูรณาการเชิงวิศวะได้อย่างเหมาะสม ตลอดจนนำมาปรับใช้ในการสร้างหุ่นยนต์ ซึ่งเป็นการลงมือปฏิบัติที่คุ้มค่า เป็นสิ่งที่ช่วยการทำงานเป็นทีม มองจุดมุ่งหมายและแก้ปัญหาร่วมกัน” มจพ. แห่งนี้มีกิจกรรมที่หลากหลายให้นักศึกษาได้เข้าร่วมหาประสบการณ์และความถนัดนอกห้องเรียน ที่ได้ให้ประสบการณ์ใหม่ๆ มาก คือเรื่องราวที่สร้างสรรค์ผลงาน ให้ได้รู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ การเสาะแสวงหาไอเดียใหม่ๆ มาแชร์ พูดคุยในทีมเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน การเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig นับว่ามีประโยชน์อย่างรอบด้าน ทำให้เราคิดอย่างเป็นระบบ มีมุมมองที่หลากหลาย การแก้ปัญหาเฉพาะหน้าที่สามารถเผชิญได้ตลอดเวลาเมื่อเราลงสู่สนามการแข่งขัน กิจกรรมแต่ละประเภทจะสร้างให้เข็มแข็ง มีความอดทน สามารถวิเคราะห์ปัญหาและแก้ไขเหตุการณ์เฉพาะหน้าได้ ฝึกฝนให้สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นการทำงานเป็นทีมได้ในสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนการประเมินสถานการณ์จากคู่แข่งขันในเวทีการแข่งขัน มองศักยภาพทีมเรา – ทีมเขา ในการปรับปรุงแก้ไขพัฒนาที่ดีขึ้น “ตัวต่อ” บอกว่าเมื่อจบการศึกษาแล้ว ผมอยากทำงานสาย Maintenance ด้านวิศวกรซ่อมบำรุง ผมไม่เก่งวิชาการ แต่ผมชอบลงมือปฏิบัติมากกว่า ผมสามารถฝึกฝนให้เกิดความชำนาญได้ และงานด้านนี้ยังอยากเรียนรู้ของการวางแผนบำรุงรักษาทรัพยากรหรือการเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องจักรให้สามารถใช้ประโยชน์ได้สูงสุด และอาจรวมถึงควบคุมอะไหล่เครื่องจักรและระบบไฟฟ้าที่ใช้สำหรับในงานซ่อมบำรุงในสภาพพร้อมใช้งาน ที่ตั้งใจมากๆ เป็นพิเศษคือเข้าไปทำงานกับฝ่ายบำรุงรักษาร่วมกับแรงงานสายการผลิต อาทิ การตรวจสอบและการบำรุงรักษาด้านกลไกต่างๆ รวมถึงการทำงานด้านวางแผนและปฏิบัติงานในการบำรุงรักษาและซ่อมบำรุง งานซ่อมบำรุงระบบเครื่องจักรประเภท automation Robot หรือระบบ Line conveyor สุดท้ายขอฝากข้อคิดถึงน้องที่อยากเข้ามาเรียนที่ มจพ. และชื่นชอบการสร้างหุ่นยนต์ ก็เชิญชวนน้องๆ มาสมัครเรียนได้เลย มีสาขาวิชามากมายให้เลือกตามความถนัดแต่ละคน หรือน้องๆ ที่เข้ามาเรียนขณะนี้แล้ว อยากจะมาร่วมสร้างประวัติศาสตร์หุ่นยนต์กู้ภัยระดับโลกร่วมกัน สามารถสอบถามได้ที่ชมรมหุ่นยนต์ที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ ได้เช่นกัน พี่ๆ ทุกคนยินดีต้อนรับเข้าทีม และเราจะได้เรียนรู้ไปด้วยกัน “ถ้าไม่เสียสละ ชัยชนะก็ไม่เกิด” นี้เป็นคติประจำใจผมที่ได้เรียนรู้มาจากภาพยนตร์ทรานส์ฟอร์เมอร์ส (Transformers) มันคือแรงบันดาลใจที่ทำให้ผมชอบและรักหุ่นยนต์ ขวัญฤทัย ข่าว-ภาพ EZ Webmaster Related Posts คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก Post navigation PREVIOUS Previous post: ราชกิจจานุเบกษา ประกาศกฎกระทรวงกำหนดความประพฤติของนักเรียนและนักศึกษาNEXT Next post: “เทคนิคบางแสน สร้างสะพานเชื่อมโยง สอศ.และ สพฐ.”
สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief…
เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief…
“40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster September 2, 2019 EZ Webmaster September 2, 2019 “ตัวต่อ”สมาชิกทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig จุดประกายชอบหุ่นยนต์จากภาพยนตร์ “ตัวต่อ”สมาชิกทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig จุดประกายชอบหุ่นยนต์จากภาพยนตร์ เรื่อง ทรานส์ฟอร์เมอร์ส (Transformers) นายธรรมฤทธิ์ ศิวาลัย ชื่อเล่น “ตัวต่อ” นักคึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 4 สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) ผู้มีความสามารถทำงานในตำแหน่ง Mechanical & Development จากทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig (ไอราฟ เซคซิก) ผลงานล่าสุด คว้ารองแชมป์โลกหุ่นยนต์กู้ภัยได้อย่างสมศักดิ์ศรี เป็นตัวแทนประเทศไทยเข้าร่วมการแข่งขันหุ่นยนต์ จากการแข่งขันหุ่นยนต์กู้ภัยระดับโลก ประจำปี พ.ศ. 2562 (World RoboCup Rescue 2019) เมื่อเดือนกรกฎาคม 2562 ณ เมืองซิดนีย์ ประเทศออสเตรเลีย “ตัวต่อ” บอกว่าเป็นผลงานที่น่าปลื้มใจมากที่หุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig ของ มจพ. สร้างชื่อบนเวทีโลกในนามตัวแทนของประเทศไทย อีกครั้ง คว้า 2 รางวัลยิ่งใหญ่ คือรางวัลรองแชมป์โลกอันดับ 1 และรางวัลชนะเลิศ (Best in Class Mobility) นวัตกรรมสมรรถนะการขับเคลื่อนหุ่นยนต์ยอดเยี่ยม จากการแข่งขันหุ่นยนต์กู้ภัยระดับโลก ซึ่งมีทั้งความเร็ว ความแรง และความแข็งแกร่ง สามารถฟันฝ่าอุปสรรคได้ดี แรงบันดาลใจที่ผมชอบและรักหุ่นยนต์เกิดจากความสนใจที่ชอบชมภาพยนตร์แนวหุ่นยนต์ทำให้เกิดจุดประกายที่อยากจะสร้างหุ่นยนต์ในชีวิตจริงบ้าง โดยเฉพาะชอบหุ่นยนต์จากภาพยนตร์ เรื่อง ทรานส์ฟอร์เมอร์ส (Transformers) เป็นภาพยนตร์แนววิทยาศาสตร์ โลดโผน ผมเป็นแฟนพันธุ์แท้ทุกตอน เพราะบางครั้งการเกิดไอเดียดีๆ มันก็มาจากรอบๆ ตัวเรา ซึ่งตัวเราก็เด็กวิศวะน่าจะสามารถร่วมทีมและพัฒนางานหุ่นยนต์ให้ มจพ. ได้ ผมเชื่อแบบนั้นนะครับ “ตัวต่อ” เกิดที่กรุงเทพฯ จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) จากโรงเรียนไตรมิตรวิทยาลัย เป็นโรงเรียนชายล้วนที่เปิดสอนเฉพาะนักเรียนชายในย่านเยาวราช จากนั้นได้สอบเข้า รร. เตรียมวิศวะที่ มจพ. ในสาขาเตรียมวิศวกรรมเครื่องกล โรงเรียนเตรียมวิศวกรรมศาสตร์ ไทย-เยอรมัน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ “รหัส 56 ที่แท้ก็เป็นลูกหม้อเตรียมวิศวะของ มจพ.” ของเราเอง ดูเป็นคนมีอัธยาศัยไมตรีที่ดี มีความเข้มแข็ง ร่าเริง แจ่มใส ทำอะไรแล้วก็ตั้งใจไปสู่ความสำเร็จ จริงจัง มองคนรอบข้างและแคร์ทีมเป็นที่สุด บางเวลาเพื่อนๆ บอกว่าตลกแต่เป็นตลกแป๊กๆ ขำไม่ออกซะงั้น ประสบการณ์ในสนามการแข่งขันหุ่นยนต์ครั้งแรกของผม คือการแข่งขันหุ่นยนต์ ส.ส.ท ชิงถ้วยพระราชทานประจำปี 2561 เป็นก้าวแรกจริงๆ ที่จะได้ใช้ความรู้ที่เรียนมา มาช่วยทีม ช่วยแชร์ไอเดียร่วมกัน สำหรับผมก็อาจจะไม่ได้ตื่นเต้นมากเท่าไหร่ เพราะผมก็เป็นสมาชิกชมรมหุ่นยนต์ที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ ได้เข้ามาเรียนรู้และคลุกคลีอยู่กับรุ่นพี่ โดยผมให้ความสนใจด้านแมคคาทรอนิกส์ ( Mechatronics) เป็นพิเศษอยู่แล้ว เป็นกระบวนการออกแบบที่ต้องอาศัยด้านเทคนิคต่างๆ เพื่อบูรณาการเข้าด้วยกัน เพื่อการออกแบบและสร้างหุ่นยนต์ซึ่งล้วนแต่ต้องสร้างกลไกที่สามารถทำงานด้วยตัวเองโดยอัตโนมัติ ตามความต้องการที่กำหนดไว้ได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้องและแม่นยำ ตัวอย่างของระบบที่มีซึ่งระบบแมคคาทรอนิกส์เป็นส่วนประกอบ เช่น หุ่นยนต์อุตสาหกรรม หุ่นยนต์กู้ภัย และอาคารอัจฉริยะ เป็นต้น ผมคิดว่ามันเสริมสร้างประสบการณ์ที่ดีแก่ตัวเรา สำหรับตำแหน่งในทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig จะดูแล Mechanical & Development ตามที่ได้รับมอบหมายที่เริ่มจากการแสวงหาข้อมูล ศึกษาเทคโนโลยีใหม่ๆ ในการสร้างหุ่นยนต์ รวมถึงคลิปวิดีโอหุ่นยนต์จากต่างประเทศ การตรวจสอบชิ้นงาน ดูคุณภาพของงาน การแก้ไขปัญหา ซึ่งในห้องเรียนไม่มีสอน เพราะการได้ลงมือทำมันคือการทำจริงๆ เหตุการณ์จริง ฉะนั้นเราต้องมีวิธีคิด มีขั้นตอนที่ชัดเจน มองปัญหาให้ออก เพื่อนำเสนอทีมให้สามารถนำมาประยุกต์ใช้โดยปรึกษาหารือร่วมกันโดยมีอาจารย์ที่ปรึกษาคอยให้คำแนะนำ ซึ่งผมมองว่า “การดีไซน์หุ่นยนต์ในแต่ละครั้งขึ้นอยู่กับองค์ประกอบของวัตถุประสงค์ การนำไปใช้งาน รวมถึงด้านเทคนิค ซึ่งเกี่ยวข้องกับการสร้างหุ่นยนต์”เช่นการเคลื่อนที่ได้ ความเป็นอิสระ (autonomy) ตลอดจนกลไกการเคลื่อนที่ นอกจากนี้แล้วหุ่นยนต์ยังจะต้องมีการประมวลผลที่ชาญฉลาด และที่สำคัญคือ กติกาการแข่งขันซึ่งเป็นโจทย์ เป็นเกณฑ์ในการตัดสินแต่ละครั้งเป็นอย่างไร ส่วนหน้าที่ชุดสายพาน และ Maintenance ชิ้นส่วนกลไกต่างๆ ของหุ่นยนต์ เช่น โครงสร้าง เพลา เฟือง สกรูส่งกำลัง สายพาน โซ่ สปริง รวมถึงทั้งหมดนี้ก็ต้องอาศัยการการกลึงร่วมกับการออกแบบโครงสร้างของหุ่นยนต์ต้องมีความแข็งแรงมาก ซึ่งต้องมีการทดสอบทำงาน ความเที่ยงตรง ในการตรวจสอบว่าความแม่นยำของหุ่นยนต์ การที่ได้ลงมือทำด้าน Mechanical & Development สามารถบ่งบอกได้ว่าเรา “ได้นำความรู้ความสามารถและได้นำเทคนิคมาบูรณาการเชิงวิศวะได้อย่างเหมาะสม ตลอดจนนำมาปรับใช้ในการสร้างหุ่นยนต์ ซึ่งเป็นการลงมือปฏิบัติที่คุ้มค่า เป็นสิ่งที่ช่วยการทำงานเป็นทีม มองจุดมุ่งหมายและแก้ปัญหาร่วมกัน” มจพ. แห่งนี้มีกิจกรรมที่หลากหลายให้นักศึกษาได้เข้าร่วมหาประสบการณ์และความถนัดนอกห้องเรียน ที่ได้ให้ประสบการณ์ใหม่ๆ มาก คือเรื่องราวที่สร้างสรรค์ผลงาน ให้ได้รู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ การเสาะแสวงหาไอเดียใหม่ๆ มาแชร์ พูดคุยในทีมเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน การเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig นับว่ามีประโยชน์อย่างรอบด้าน ทำให้เราคิดอย่างเป็นระบบ มีมุมมองที่หลากหลาย การแก้ปัญหาเฉพาะหน้าที่สามารถเผชิญได้ตลอดเวลาเมื่อเราลงสู่สนามการแข่งขัน กิจกรรมแต่ละประเภทจะสร้างให้เข็มแข็ง มีความอดทน สามารถวิเคราะห์ปัญหาและแก้ไขเหตุการณ์เฉพาะหน้าได้ ฝึกฝนให้สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นการทำงานเป็นทีมได้ในสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนการประเมินสถานการณ์จากคู่แข่งขันในเวทีการแข่งขัน มองศักยภาพทีมเรา – ทีมเขา ในการปรับปรุงแก้ไขพัฒนาที่ดีขึ้น “ตัวต่อ” บอกว่าเมื่อจบการศึกษาแล้ว ผมอยากทำงานสาย Maintenance ด้านวิศวกรซ่อมบำรุง ผมไม่เก่งวิชาการ แต่ผมชอบลงมือปฏิบัติมากกว่า ผมสามารถฝึกฝนให้เกิดความชำนาญได้ และงานด้านนี้ยังอยากเรียนรู้ของการวางแผนบำรุงรักษาทรัพยากรหรือการเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องจักรให้สามารถใช้ประโยชน์ได้สูงสุด และอาจรวมถึงควบคุมอะไหล่เครื่องจักรและระบบไฟฟ้าที่ใช้สำหรับในงานซ่อมบำรุงในสภาพพร้อมใช้งาน ที่ตั้งใจมากๆ เป็นพิเศษคือเข้าไปทำงานกับฝ่ายบำรุงรักษาร่วมกับแรงงานสายการผลิต อาทิ การตรวจสอบและการบำรุงรักษาด้านกลไกต่างๆ รวมถึงการทำงานด้านวางแผนและปฏิบัติงานในการบำรุงรักษาและซ่อมบำรุง งานซ่อมบำรุงระบบเครื่องจักรประเภท automation Robot หรือระบบ Line conveyor สุดท้ายขอฝากข้อคิดถึงน้องที่อยากเข้ามาเรียนที่ มจพ. และชื่นชอบการสร้างหุ่นยนต์ ก็เชิญชวนน้องๆ มาสมัครเรียนได้เลย มีสาขาวิชามากมายให้เลือกตามความถนัดแต่ละคน หรือน้องๆ ที่เข้ามาเรียนขณะนี้แล้ว อยากจะมาร่วมสร้างประวัติศาสตร์หุ่นยนต์กู้ภัยระดับโลกร่วมกัน สามารถสอบถามได้ที่ชมรมหุ่นยนต์ที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ ได้เช่นกัน พี่ๆ ทุกคนยินดีต้อนรับเข้าทีม และเราจะได้เรียนรู้ไปด้วยกัน “ถ้าไม่เสียสละ ชัยชนะก็ไม่เกิด” นี้เป็นคติประจำใจผมที่ได้เรียนรู้มาจากภาพยนตร์ทรานส์ฟอร์เมอร์ส (Transformers) มันคือแรงบันดาลใจที่ทำให้ผมชอบและรักหุ่นยนต์ ขวัญฤทัย ข่าว-ภาพ EZ Webmaster Related Posts คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก Post navigation PREVIOUS Previous post: ราชกิจจานุเบกษา ประกาศกฎกระทรวงกำหนดความประพฤติของนักเรียนและนักศึกษาNEXT Next post: “เทคนิคบางแสน สร้างสะพานเชื่อมโยง สอศ.และ สพฐ.”
ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search
ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน…
สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน…
EZ Webmaster September 2, 2019 EZ Webmaster September 2, 2019 “ตัวต่อ”สมาชิกทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig จุดประกายชอบหุ่นยนต์จากภาพยนตร์ “ตัวต่อ”สมาชิกทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig จุดประกายชอบหุ่นยนต์จากภาพยนตร์ เรื่อง ทรานส์ฟอร์เมอร์ส (Transformers) นายธรรมฤทธิ์ ศิวาลัย ชื่อเล่น “ตัวต่อ” นักคึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 4 สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) ผู้มีความสามารถทำงานในตำแหน่ง Mechanical & Development จากทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig (ไอราฟ เซคซิก) ผลงานล่าสุด คว้ารองแชมป์โลกหุ่นยนต์กู้ภัยได้อย่างสมศักดิ์ศรี เป็นตัวแทนประเทศไทยเข้าร่วมการแข่งขันหุ่นยนต์ จากการแข่งขันหุ่นยนต์กู้ภัยระดับโลก ประจำปี พ.ศ. 2562 (World RoboCup Rescue 2019) เมื่อเดือนกรกฎาคม 2562 ณ เมืองซิดนีย์ ประเทศออสเตรเลีย “ตัวต่อ” บอกว่าเป็นผลงานที่น่าปลื้มใจมากที่หุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig ของ มจพ. สร้างชื่อบนเวทีโลกในนามตัวแทนของประเทศไทย อีกครั้ง คว้า 2 รางวัลยิ่งใหญ่ คือรางวัลรองแชมป์โลกอันดับ 1 และรางวัลชนะเลิศ (Best in Class Mobility) นวัตกรรมสมรรถนะการขับเคลื่อนหุ่นยนต์ยอดเยี่ยม จากการแข่งขันหุ่นยนต์กู้ภัยระดับโลก ซึ่งมีทั้งความเร็ว ความแรง และความแข็งแกร่ง สามารถฟันฝ่าอุปสรรคได้ดี แรงบันดาลใจที่ผมชอบและรักหุ่นยนต์เกิดจากความสนใจที่ชอบชมภาพยนตร์แนวหุ่นยนต์ทำให้เกิดจุดประกายที่อยากจะสร้างหุ่นยนต์ในชีวิตจริงบ้าง โดยเฉพาะชอบหุ่นยนต์จากภาพยนตร์ เรื่อง ทรานส์ฟอร์เมอร์ส (Transformers) เป็นภาพยนตร์แนววิทยาศาสตร์ โลดโผน ผมเป็นแฟนพันธุ์แท้ทุกตอน เพราะบางครั้งการเกิดไอเดียดีๆ มันก็มาจากรอบๆ ตัวเรา ซึ่งตัวเราก็เด็กวิศวะน่าจะสามารถร่วมทีมและพัฒนางานหุ่นยนต์ให้ มจพ. ได้ ผมเชื่อแบบนั้นนะครับ “ตัวต่อ” เกิดที่กรุงเทพฯ จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) จากโรงเรียนไตรมิตรวิทยาลัย เป็นโรงเรียนชายล้วนที่เปิดสอนเฉพาะนักเรียนชายในย่านเยาวราช จากนั้นได้สอบเข้า รร. เตรียมวิศวะที่ มจพ. ในสาขาเตรียมวิศวกรรมเครื่องกล โรงเรียนเตรียมวิศวกรรมศาสตร์ ไทย-เยอรมัน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ “รหัส 56 ที่แท้ก็เป็นลูกหม้อเตรียมวิศวะของ มจพ.” ของเราเอง ดูเป็นคนมีอัธยาศัยไมตรีที่ดี มีความเข้มแข็ง ร่าเริง แจ่มใส ทำอะไรแล้วก็ตั้งใจไปสู่ความสำเร็จ จริงจัง มองคนรอบข้างและแคร์ทีมเป็นที่สุด บางเวลาเพื่อนๆ บอกว่าตลกแต่เป็นตลกแป๊กๆ ขำไม่ออกซะงั้น ประสบการณ์ในสนามการแข่งขันหุ่นยนต์ครั้งแรกของผม คือการแข่งขันหุ่นยนต์ ส.ส.ท ชิงถ้วยพระราชทานประจำปี 2561 เป็นก้าวแรกจริงๆ ที่จะได้ใช้ความรู้ที่เรียนมา มาช่วยทีม ช่วยแชร์ไอเดียร่วมกัน สำหรับผมก็อาจจะไม่ได้ตื่นเต้นมากเท่าไหร่ เพราะผมก็เป็นสมาชิกชมรมหุ่นยนต์ที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ ได้เข้ามาเรียนรู้และคลุกคลีอยู่กับรุ่นพี่ โดยผมให้ความสนใจด้านแมคคาทรอนิกส์ ( Mechatronics) เป็นพิเศษอยู่แล้ว เป็นกระบวนการออกแบบที่ต้องอาศัยด้านเทคนิคต่างๆ เพื่อบูรณาการเข้าด้วยกัน เพื่อการออกแบบและสร้างหุ่นยนต์ซึ่งล้วนแต่ต้องสร้างกลไกที่สามารถทำงานด้วยตัวเองโดยอัตโนมัติ ตามความต้องการที่กำหนดไว้ได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้องและแม่นยำ ตัวอย่างของระบบที่มีซึ่งระบบแมคคาทรอนิกส์เป็นส่วนประกอบ เช่น หุ่นยนต์อุตสาหกรรม หุ่นยนต์กู้ภัย และอาคารอัจฉริยะ เป็นต้น ผมคิดว่ามันเสริมสร้างประสบการณ์ที่ดีแก่ตัวเรา สำหรับตำแหน่งในทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig จะดูแล Mechanical & Development ตามที่ได้รับมอบหมายที่เริ่มจากการแสวงหาข้อมูล ศึกษาเทคโนโลยีใหม่ๆ ในการสร้างหุ่นยนต์ รวมถึงคลิปวิดีโอหุ่นยนต์จากต่างประเทศ การตรวจสอบชิ้นงาน ดูคุณภาพของงาน การแก้ไขปัญหา ซึ่งในห้องเรียนไม่มีสอน เพราะการได้ลงมือทำมันคือการทำจริงๆ เหตุการณ์จริง ฉะนั้นเราต้องมีวิธีคิด มีขั้นตอนที่ชัดเจน มองปัญหาให้ออก เพื่อนำเสนอทีมให้สามารถนำมาประยุกต์ใช้โดยปรึกษาหารือร่วมกันโดยมีอาจารย์ที่ปรึกษาคอยให้คำแนะนำ ซึ่งผมมองว่า “การดีไซน์หุ่นยนต์ในแต่ละครั้งขึ้นอยู่กับองค์ประกอบของวัตถุประสงค์ การนำไปใช้งาน รวมถึงด้านเทคนิค ซึ่งเกี่ยวข้องกับการสร้างหุ่นยนต์”เช่นการเคลื่อนที่ได้ ความเป็นอิสระ (autonomy) ตลอดจนกลไกการเคลื่อนที่ นอกจากนี้แล้วหุ่นยนต์ยังจะต้องมีการประมวลผลที่ชาญฉลาด และที่สำคัญคือ กติกาการแข่งขันซึ่งเป็นโจทย์ เป็นเกณฑ์ในการตัดสินแต่ละครั้งเป็นอย่างไร ส่วนหน้าที่ชุดสายพาน และ Maintenance ชิ้นส่วนกลไกต่างๆ ของหุ่นยนต์ เช่น โครงสร้าง เพลา เฟือง สกรูส่งกำลัง สายพาน โซ่ สปริง รวมถึงทั้งหมดนี้ก็ต้องอาศัยการการกลึงร่วมกับการออกแบบโครงสร้างของหุ่นยนต์ต้องมีความแข็งแรงมาก ซึ่งต้องมีการทดสอบทำงาน ความเที่ยงตรง ในการตรวจสอบว่าความแม่นยำของหุ่นยนต์ การที่ได้ลงมือทำด้าน Mechanical & Development สามารถบ่งบอกได้ว่าเรา “ได้นำความรู้ความสามารถและได้นำเทคนิคมาบูรณาการเชิงวิศวะได้อย่างเหมาะสม ตลอดจนนำมาปรับใช้ในการสร้างหุ่นยนต์ ซึ่งเป็นการลงมือปฏิบัติที่คุ้มค่า เป็นสิ่งที่ช่วยการทำงานเป็นทีม มองจุดมุ่งหมายและแก้ปัญหาร่วมกัน” มจพ. แห่งนี้มีกิจกรรมที่หลากหลายให้นักศึกษาได้เข้าร่วมหาประสบการณ์และความถนัดนอกห้องเรียน ที่ได้ให้ประสบการณ์ใหม่ๆ มาก คือเรื่องราวที่สร้างสรรค์ผลงาน ให้ได้รู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ การเสาะแสวงหาไอเดียใหม่ๆ มาแชร์ พูดคุยในทีมเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน การเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig นับว่ามีประโยชน์อย่างรอบด้าน ทำให้เราคิดอย่างเป็นระบบ มีมุมมองที่หลากหลาย การแก้ปัญหาเฉพาะหน้าที่สามารถเผชิญได้ตลอดเวลาเมื่อเราลงสู่สนามการแข่งขัน กิจกรรมแต่ละประเภทจะสร้างให้เข็มแข็ง มีความอดทน สามารถวิเคราะห์ปัญหาและแก้ไขเหตุการณ์เฉพาะหน้าได้ ฝึกฝนให้สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นการทำงานเป็นทีมได้ในสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนการประเมินสถานการณ์จากคู่แข่งขันในเวทีการแข่งขัน มองศักยภาพทีมเรา – ทีมเขา ในการปรับปรุงแก้ไขพัฒนาที่ดีขึ้น “ตัวต่อ” บอกว่าเมื่อจบการศึกษาแล้ว ผมอยากทำงานสาย Maintenance ด้านวิศวกรซ่อมบำรุง ผมไม่เก่งวิชาการ แต่ผมชอบลงมือปฏิบัติมากกว่า ผมสามารถฝึกฝนให้เกิดความชำนาญได้ และงานด้านนี้ยังอยากเรียนรู้ของการวางแผนบำรุงรักษาทรัพยากรหรือการเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องจักรให้สามารถใช้ประโยชน์ได้สูงสุด และอาจรวมถึงควบคุมอะไหล่เครื่องจักรและระบบไฟฟ้าที่ใช้สำหรับในงานซ่อมบำรุงในสภาพพร้อมใช้งาน ที่ตั้งใจมากๆ เป็นพิเศษคือเข้าไปทำงานกับฝ่ายบำรุงรักษาร่วมกับแรงงานสายการผลิต อาทิ การตรวจสอบและการบำรุงรักษาด้านกลไกต่างๆ รวมถึงการทำงานด้านวางแผนและปฏิบัติงานในการบำรุงรักษาและซ่อมบำรุง งานซ่อมบำรุงระบบเครื่องจักรประเภท automation Robot หรือระบบ Line conveyor สุดท้ายขอฝากข้อคิดถึงน้องที่อยากเข้ามาเรียนที่ มจพ. และชื่นชอบการสร้างหุ่นยนต์ ก็เชิญชวนน้องๆ มาสมัครเรียนได้เลย มีสาขาวิชามากมายให้เลือกตามความถนัดแต่ละคน หรือน้องๆ ที่เข้ามาเรียนขณะนี้แล้ว อยากจะมาร่วมสร้างประวัติศาสตร์หุ่นยนต์กู้ภัยระดับโลกร่วมกัน สามารถสอบถามได้ที่ชมรมหุ่นยนต์ที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ ได้เช่นกัน พี่ๆ ทุกคนยินดีต้อนรับเข้าทีม และเราจะได้เรียนรู้ไปด้วยกัน “ถ้าไม่เสียสละ ชัยชนะก็ไม่เกิด” นี้เป็นคติประจำใจผมที่ได้เรียนรู้มาจากภาพยนตร์ทรานส์ฟอร์เมอร์ส (Transformers) มันคือแรงบันดาลใจที่ทำให้ผมชอบและรักหุ่นยนต์ ขวัญฤทัย ข่าว-ภาพ
“40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน
แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่
ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก