โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนแม่เมาะวิทยา EZ WebmasterJune 18, 2025 ความสุขเล็กๆ ในวันที่ได้ทำกิจกรรมร่วมกัน โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด พากิจกรรมดีๆ มาถึงโรงเรียนแม่เมาะวิทยา จ.ลำปาง วันที่18/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า (ครูแอน)… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนาน้อย EZ WebmasterJune 18, 2025 กิจกรรมนี้ มีแต่เสียงหัวเราะ ความอร่อย และรอยยิ้ม โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด พากิจกรรมดีๆ มาถึงโรงเรียนนาน้อย วันที่18/06/68 โดยวิทยากร ผศ.ดร.ตฤณกร เกตุกุลพันธ์… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสตรีศรีน่าน EZ WebmasterJune 18, 2025 เรียนรู้ เล่นให้สนุก แล้วความรู้จะตามมา! ณ โรงเรียนสตรีศรีน่าน สนุกสนานกับโครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนสตรีศรีน่าน จ.น่าน วันที่18/06/68 โดย… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเถินวิทยา EZ WebmasterJune 18, 2025 วันนี้น้องๆ นักเรียนโรงเรียนเถินวิทยา เต็มที่กับกิจกรรม Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนเถินวิทยา จ.ลำปาง วันที่18/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า (ครูแอน)… นักศึกษา ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา EZ WebmasterJune 18, 2025 วิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิทักษ์ ธรรมวาริน (คนที่ 4 จากซ้าย) คณบดีวิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สจล. และ Mr. Alfonso Martin (คนที่ 3… คณะมนุษยศาสตร์ ม.หอการค้าไทย จัดหลักสูตรรุกหน้าการันตี “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน!!” EZ WebmasterJune 18, 2025 “ภาษา” มิใช่เพียงเครื่องมือสื่อสารแต่เป็นกุญแจสำคัญในการเรียนรู้และเข้าใจวัฒนธรรม การคิดวิเคราะห์และสร้างสรรค์นวัตกรรม ผู้ที่มีทักษะด้านภาษาที่แข็งแกร่งจะสามารถเป็นข้อได้เปรียบหรือประสบความสำเร็จได้ในโลกที่เปลี่ยนแปลงและผู้คนทั่วโลกเชื่อมโยงสื่อสารถึงกันได้ในพริบตาแม้จะต่างชาติ ต่างภาษา ต่างวัฒนธรรม การเรียนรู้ฝึกฝนมีทักษะภาษาจึงมิใช่แค่รู้หรือพูดภาษานานาชาติได้เท่านั้น แต่การเรียนภาษาให้มีรายได้ดี มีอาชีพมั่นคง เป็นมนุษย์เงินเดือนอิสระ ถึงขั้นการันตีได้ว่า “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน !!! นั้นก็เป็นสิ่งเพิ่มมูลค่าและมีคุณค่าอย่างน่าภูมิใจ เฉกเช่นที่ล่าสุด Miss World… การตลาดดิจิทัลและระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย จัดกิจกรรมตอบแทนกลับคืนสังคม EZ WebmasterJune 17, 2025 นักศึกษากลุ่มวิชาการตลาดดิจิทัล และกลุ่มวิชาการบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ร่วมทำกิจกรรม Digital Marketing Innovation for Sustainability สร้างสรรค์ประสบการณ์ทางการตลาดดิจิทัลและการบริการสังคม โดยนักศึกษาได้เข้ากิจกรรมปล่อยสัตว์ทะเลที่ธนาคารปู จังหวัดระยอง และบริจากสิ่งของให้กับชมรมผู้พิการทางสติปัญญา จังหวัดชลบุรี ร่วมเรียนรู้การสร้างสรรค์สื่อสำหรับการสื่อสารทางการตลาดดิจิทัล เพื่อสร้างความรับผิดชอบต่อสังคมให้กับนักศึกษาและร่วมสร้างสรรค์สังคมให้น่าอยู่ต่อไป เรียนคณะบริหารธุรกิจแนวใหม่ต้องสัมผัสประสบการณ์แบบนักธุรกิจ ถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์จากคณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญรวมทั้งนักธุรกิจมืออาชีพ… “จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” EZ WebmasterJune 17, 2025 ในนามของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผมขอส่งความห่วงใยมายังพวกเราทุกคนที่กำลังใช้ชีวิตและศึกษาอยู่ในสหรัฐฯ โดยเฉพาะในช่วงเวลาที่มีความไม่แน่นอนเกี่ยวกับนโยบายวีซ่าที่อาจส่งผลต่อสิทธิในการศึกษา เมื่อไม่นานนี้ ผมและผู้บริหารจุฬาฯ มีโอกาสได้ไปเยือน Harvard และ MIT และได้พบกับนักศึกษาชาวไทยหลายคน ทุกคนต่างมีความมุ่งมั่น ตั้งใจ และอดทนในการใฝ่หาความรู้ เพื่อนำมาพัฒนาตนเอง สังคม และประเทศชาติ แม้จะอยู่ท่ามกลางความกังวลใจต่ออนาคตที่ยังไม่ชัดเจน ผมอยากบอกว่าพวกเราที่จุฬาฯ… ทุนดีดี SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ครู-อาจารย์ อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก tui sakrapeeJune 18, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา นำโดย รศ.ดร.ชุติกาญจน์ ศรีวิบูลย์ อธิการบดี พร้อมคณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย เดินทางเยือนโรงเรียนนานาชาติ Qingdao No.1 International School of Shandong Province (QISS) และ Qingdao University… กองกลาง มจพ. เยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ และจัดสัมมนาจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล ประจำปี 2568 EZ WebmasterJune 18, 2025 ผศ.ดร.สราวุฒิ สืบแย้ม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายการคลังและกิจการทั่วไป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยนางสาวรัตนา สุขเฉลิมศรี ผู้อำนวยการกองกลาง และบุคลากรกองกลาง เข้าเยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ มจพ. ณ ชั้น 3 สำนักงานหอสมุดกลาง โดยมีนางสาวพนารมย์ เกียรติลีลานันท์ และ… คณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล มจพ. ชูธงร่วมเครือข่ายจัดใหญ่การประชุมวิชาการ นวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (FIAC) 2025 EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร สมฤกษ์ จันทรอัมพร รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นเจ้าภาพร่วมในการจัดประชุมวิชาการด้านนวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (Food Innovation Asia Conference 2025) พร้อมด้วย รศ.ดร.รัชนี เจริญ คณบดีคณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล และคณะผู้บริหาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ… สมศ. พลิกโฉมการประเมินคุณภาพภายนอกด้วย AI ภายใต้ “ONESQA 5.0” เสริมความโปร่งใส แม่นยำ และพัฒนาอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 17, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยวิสัยทัศน์ และแนวทางการขับเคลื่อนองค์กรด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence – AI) ภายใต้ วิสัยทัศน์ ONESQA 5.0 โดยมุ่งเน้นการนำ AI เข้ามาใช้เพื่อเสริมประสิทธิภาพ ความโปร่งใส และความแม่นยำ ในกระบวนการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา พร้อมยกระดับสู่ความเป็นดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบบ ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster June 24, 2019 EZ Webmaster June 24, 2019 นศ.ทุนรัฐบาลญี่ปุ่น “เอ็ม” ว่าที่ ดร. วัย 28 ปี “เป็นเพียงลูกพ่อค้าแม่ค้า คงไม่มีโอกาสได้เรียนสูงๆ หรือเรียนไกลถึงต่างประเทศ ขอบคุณโอกาสที่ทางอาจารย์มอบให้ ผมจำจนขึ้นใจว่าต้องตั้งใจเรียน และพยายามทำให้ดีที่สุด คนเราสามารถสร้างโอกาสให้ตนเองได้ ถ้าเราพยายามทำ และเมื่อได้รับโอกาสต้องทำให้สำเร็จ” ว่าที่ ดร.วัย 28 ปี “เอ็ม” นายวิเชียร ขาวดาษ นักศึกษาทุนรัฐบาลญี่ปุ่น Japanese government (Monbukakusho: MEXT) Scholarship เส้นทางชีวิตว่าที่ ดร.วัย 28 ปี เอ็ม เล่าว่า เป็นลูกคนโตและมีน้องชายอีก 2 คน ที่บ้านทำธุรกิจขายของตกแต่งสวน ที่จังหวัดสิงห์บุรี มีฐานะปานกลาง สำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จากโรงเรียนบ้านแป้งวิทยา จ.สิงห์บุรี (สายวิทย์-คณิต) หลังจาก ม.6 “มองว่าสายวิศวกรรมพลาสติกเป็นสาขาที่น่าสนใจ เป็นอะไรที่แปลกใหม่ เพราะพลาสติกเข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวัน” จึงได้สมัครเรียนและสอบเข้าที่สาขาวิศวกรรมพลาสติก ภาควิชาวิศวกรรมวัสดุและโลหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (มทร.) ธัญบุรี ชีวิตนักศึกษาปี 1 ช่วงแรกต้องใช้เวลาในการปรับตัวกับการเรียน เพื่อนๆ และสิ่งแวดล้อมใหม่ๆ ซึ่งก็ไม่เหมือนตอนม.ปลาย และก็ไม่ได้มีความรู้มากมายเท่าที่ควร และคิดแค่ว่าจะตั้งใจเรียนให้จบป.ตรีและมีอาชีพที่ดีทำก็พอแล้ว ในช่วงสอบของแต่ละเทอมตนอาสาติวหนังสือให้กับเพื่อนๆเพื่อทบทวนให้กับตัวเองและก็แลกเปลี่ยนความรู้กัน สรุปบทเรียนในคาบเรียนให้เพื่อนใช้อ่านและติวก่อนสอบตลอดการเรียน ช่วงชั้นปี 2 เมื่อมีเวลาว่างจะเข้าไปช่วยดูแลแลปและเป็นผู้ช่วยวิจัย ในแลปของ ผศ.ดร.สมหมาย ผิวสอาด (ปัจจุบันรองอธิการบดี มทร.ธัญบุรี) ในการเข้าไปช่วยอาจารย์เป็นการเรียนรู้และนำความรู้ที่ได้มาใช้ในการเรียน ซึ่งอาจารย์เป็นคนที่ใจดีมาก ดูแลลูกศิษย์คอยช่วยเหลือทุกอย่าง และมอบโอกาสที่ดีให้กับลูกศิษย์เสมอซึ่งตนก็เป็นหนึ่งในนั้น เมื่อสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ด้วยเกรดเฉลี่ย 3.54 ได้รับเกียรตินิยมอันดับ 1 และได้รับการคัดเลือกจากทางคณะวิศวกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี ให้รับทุนรัฐบาลญี่ปุ่น เรียนต่อในระดับปริญญาโท-เอก ที่ Kyoto Institute of Technology ซึ่งทางมหาวิทยาลัยมีความร่วมมือกับทาง มทร.ธัญบุรี ศึกษาต่อในระดับปริญญาโท – เอกที่ Department of Bio-based Materials Science สาขา System Engineering for Bio-resources โดยเงื่อนไขสำหรับทุนรัฐบาลญี่ปุ่นที่ได้รับ ต้องศึกษาให้สำเร็จในระดับปริญญาโท-เอก ภายในระยะเวลา 5 ปี ป.โท 2 ปี และป.เอก 3 ปี และต้องมีผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์วารสารวิชาการก่อนเรียนจบป.เอกจำนวน 2 ฉบับ แต่ปัจจุบันนี้ ตนมีผลงานวิจัยทำพิเศษเพิ่มอีก 1 ฉบับ รวม 3 ฉบับ ทุนนี้เป็นทุนเรียนฟรีตลอดหลักสูตร โดยทางรัฐบาลญี่ปุ่นมีเงินค่าใช้จ่ายเดือนประมาณ 147,000 เยน สำหรับนักศึกษาป.โท และ1480,000 เยน สำหรับป.เอก ซึ่งเป็นเงินไทยประมาณ 50,000 บาท ซึ่งค่าครองชีพที่ญี่ปุ่นค่อยข้างสูงเมื่อเทียบกับไทย เงินในแต่ละเดือนต้องดูแลและบริหารจัดการเอง ทั้งเรื่องหอพัก ค่าใช้จ่ายในชีวิตประจำวันต่างๆ ตอนปี1 ได้อยู่หอของมหาลัยซึ่งค่าหอจะค่อนข้างถูกประมาณ 15,000 เยน/เดือน แต่เมื่อขึ้น ปี 2 ต้องออกมาเช่าหอข้างนอก จึงเช่าหอเล็กๆ ติดกับมหาวิทยาลัย ซึ่งราคาหออยู่ที่ 33,000 เยน/เดือน สะดวกในการเดินทางใกล้มหาวิทยาลัยเพียง 500 เมตร โดยปั่นจักรยานไปมหาวิทยาลัยทุกวัน และตนเองชอบทำอาหารจึงทำอาหารทานเองซึ่งราคาถูกกว่าเมื่อเทียบกับการกินร้านอาหารในญี่ปุ่น อยู่ที่นั่นไม่ได้ใช้เงินฟุ่มเฟือยจึงมีเงินเหลือเก็บส่งกลับให้ครอบครัวและให้น้องทั้งสองเรียนต่อ เมื่อมาอยู่ต่างบ้านต่างเมืองทุกคนก็ต้องปรับตัว สิ่งที่เป็นปัญหามากที่สุดในการเรียนช่วงแรกๆ คือ ภาษาและการสื่อสาร แต่ด้วยมีพื้นทางด้านภาษาอังกฤษ ช่วงแรก จึงใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารกับเพื่อนในแลป นำเสนอและอภิปรายงานวิจัยต่างๆ เพราะว่าไม่มีความรู้ทางด้านภาษาญี่ปุ่นเลย ยอมรับว่ากังวล และท้อกับการสื่อสารกับเพื่อนๆ ที่แลป เลยปรับเปลี่ยนตัวเองด้วยการหันมาเรียนภาษาญี่ปุ่นเพิ่มเติม เพื่อจะได้เข้าใจสิ่งที่อาจารย์สอนอย่างลึกซึ้ง มีเพื่อนๆ ญี่ปุ่นมากขึ้น สามารถเอามาใช้ในชีวิตประจำวันได้ด้วย ซึ่งคิดเสมอว่า “ทุกอย่างต้องเริ่มจากศูนย์ ต้องมีการปรับตัว เราไม่ได้มาคนเดียว แต่เอาหน้าตาของมหาวิทยาลัยและอาจารย์มาด้วย จะต้องไม่เสียชื่อเสียง” จึงลงเรียนภาษาญี่ปุ่น (ฟรี) เพิ่มเติมในมหาลัย “ตลอดระยะ 3 ปีแรก ของทุกวันที่อยู่ญี่ปุ่น ตนเองจะฟัง mp3 บทสนทนาพื้นฐานภาษาญี่ปุ่น” ให้เกิดความชินหู คุ้นสำเนียง พูดกับเพื่อนในแลปบ่อยๆ ซึ่งปัจจุบันสามารถสื่อสารและใช้ภาษาญี่ปุ่นได้ ในขณะเดียวกันตนเองยังพัฒนาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม จากยูทูป ด้วยการฟังเพลงและดูหนัง เพราะอย่างไรก็ตามภาษาอังกฤษเป็นภาษาสากลที่อาจจะต้องใช้ในอนาคต ในการเรียน ปริญญาโท เรียนและเข้าแลปทำวิจัย ซึ่งแลปวิจัยที่ตนเองเรียน มีอาจารย์ 3 ท่าน โดยอาจารย์แต่ละท่านจะมีความเชี่ยวชาญแตกต่างกัน โดยปีที่ 1 เรียนเกี่ยวกับการสังเคราะห์พอลิเมอร์ (พลาสติก) ปี 2 เรียนสายชีวเคมีวิทยา มีเพื่อนร่วมแลปทั้งนักศึกษาญี่ปุ่นและต่างชาติรวม 23 คนตั้งแต่ป.ตรี-ป.เอก ซึ่งแลปวิจัย 1 ห้อง มีห้องอาจารย์ 3 ห้อง ห้องแลป 4 ห้อง คือห้องวิจัยการสังเคราะห์ทางเคมีและชีววิทยา, ห้องจุลชีววิทยา และห้องเครื่องมือทดลอง ทุกวันจันทร์-ศุกร์ต้องเข้าแลปตั้งแต่ 10.00 – 17.00 น. แต่โดยส่วนใหญ่สมาชิกในแลปจะไม่ได้กลับตรงเวลา ขึ้นอยู่กับการทดลองงานวิจัยแต่ละคน โดยงานวิจัยจบ ป.โท เป็นวิจัยเกี่ยวกับการใช้เซลล์เชื้อเพลิงทางชีวภาพโดยใช้เซลลูโลสและจุลินทรีย์ ส่วนการเรียน ปริญญาเอก จะค่อนข้างเข้มข้นขึ้นเมื่อเทียบกับป.โท งานวิจัยจะค่อนข้างลึกและละเอียดเพื่อใช้ในการตีพิมพ์วารสารวิชาการ ตามหลักสูตรวิชาเรียนจึงน้อยลง ทางหลักสูตรป.เอก จะใช้วารสารวิชาการ จำนวน 2 ฉบับในการสำเร็จการศึกษา ซึ่งงานวิจัยทั้ง 2 ชิ้น ได้รับการตีพิมพ์เป็นที่เรียบร้อยแล้ว โดยงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ การวิจัยเกี่ยวกับจุลินทรีย์ที่ใช้ย่อยสะลายสารอินทรีย์จากขยะทางการเกษตรที่เน่าเสีย หรือที่ปล่อยทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งจุลินทรีย์สามารถปล่อยอิเล็กตรอนออกมาจากกระบวนการเมทบอลิซึม จากนั้นอิเล็กตรอนที่ถูกปล่อยออกมาใช้นำมาผลิตเป็นกระแสไฟฟ้าผ่านเซลล์เชื้อเพลิงทางชีวภาพ โดยสามารถนำมาใช้ในโรงไฟฟ้าขนาดใหญ่ เช่น โรงงานสำปะหลังที่มีน้ำเสีย และงานวิจัยชิ้นที่ 3 กำลังจะตีพิมพ์ จากการศึกษาทลายปาล์มน้ำมันที่เหลือทิ้งในประเทศไทยซึ่งมีจำนวนมากและบางส่วน กลายเป็นขยะ โดยใช้จุลินทรีย์ที่ย่อยสลายเป็นเซลลูโลสที่มีอยู่ในปาล์มเพื่อลดปริมาณขยะจากทลายปาล์ม และยังสามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้ในขณะเดียวกัน ขณะนี้อยู่ในขั้นของการดำเนินการจัดการเอกสารในการตีพิมพ์ การใช้ชีวิตในญี่ปุ่น แต่ละวันเวลามีค่า ต้องพยายามเรียนให้จบภายในเวลาที่กำหนด คือ 5 ปี “ทำให้ดีที่สุด ถ้าเราทำไม่ดี แน่นอนว่ารุ่นน้องก็อาจจะไม่ได้โอกาสได้ไปเรียนแบบตนเอง จึงตั้งใจทำ ไม่ให้ใครตำหนิได้ และทำทุกวันให้มีความสุข” เส้นทางนักศึกษาทุนญี่ปุ่น ต้องมีความอดทนต่อความกดดันต่างๆ เนื่องด้วยอาจารย์จะค่อนข้างทำงานอย่างเป็นระบบ ระเบียบและละเอียดในทุกๆ ขั้นตอนเพื่อให้ได้งานวิจัยออกมาอย่างมีประสิทธิภาพและใช้งานได้จริง งานวิจัยจึงต้องใช้เวลาและความพยายามเป็นอย่างมาก การเรียนที่สำคัญ การใช้ชีวิตอย่างมีความสุขก็สำคัญ ที่นี่มีนักศึกษาไทยอยู่มากและมีกิจกรรมต่างๆ ทั้งกิน เที่ยว สังสรรค์ มีสมาคนนักเรียนไทยในญี่ปุ่น ซึ่งจะมีกิจกรรมทำร่วมกันอยู่บ่อยๆ และบางครั้งก็ไปเที่ยวกับเพื่อนๆญี่ปุ่นได้ใช้ชีวิตแบบคนญี่ปุ่น มีกิจกรรมต่างๆ แลกเปลี่ยนวัฒนธรรมกัน เป็นสิ่งที่ดีมากๆ มหาวิทยาลัยที่เรียนตั้งอยู่เกียวโต ซึ่งเป็นเมืองหลวงเก่าของญี่ปุ่น เป็นเมืองแห่งวัฒนธรรมอันเก่าแก่ซึ่งน่าอยู่และเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงอีกด้วย ในเดือนกันยายน 2562 นี้ จะสำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาเอก ความภาคภูมิใจของลูกพ่อค้าแม่ค้า และความภูมิใจของตนเอง ซึ่งมาจากเด็กเรียนโรงเรียนเล็กๆ ไม่มีชื่อเสียงมากนัก มีเด็กนักเรียนเพียงไม่ถึง 300 คน ความคิดตอนแรกๆ ที่คิดแค่เรียนจบป.ตรี ทำงานดูแลพ่อแม่ได้แค่นี้ก็เกินพอ โดยไม่คิดว่าจะเรียนจบปริญญาเอก โดยหลังเรียนจบอยากกลับมาเป็นอาจารย์ที่ มทร.ธัญบุรี แต่ด้วยตอนนี้ไม่มีตำแหน่ง จึงแพลนที่จะทำงานที่ Token thermotech Japan ในญี่ปุ่น ซึ่งเป็นโรงงานอุตสาหกรรมที่มีความร่วมมือกับ ทาง มทร.ธัญบุรี ในการมอบทุนให้กับรุ่นน้องเข้าศึกษาฝึกงานทุกๆ ปี โดยโรงงานดังกล่าวเปิดในหลายประเทศทั้ง ญี่ปุ่น ไทย จีน มาเลเซีย และเม็กซิโก โดยที่ญี่ปุ่น เป็นบริษัทหลัก คิดไว้จะทำงานในโรงงานที่ญี่ปุ่นประมาณ 4-5 ปี เรียนรู้ระบบในการทำงาน และกลับมาทำงานที่บริษัทเดียวกันที่ตั้งอยู่ในไทย หากน้องๆ อยากได้รับโอกาสดีๆ แบบนี้แน่นอนว่า มทร.ธัญบุรี สามารถเป็นสะพานส่วนหนึ่งที่จะพาเราได้มีโอกาสเรียนที่ญี่ปุ่นและมีงานดีๆ หากเรามีความตั้งใจที่แน่วแน่ ตั้งใจเรียน และที่สำคัญเป็นคนดี แน่นอนว่าความสำเร็จก็คงอยู่ไม่ไกล วิเชียร ขาวดาษ กล่าวทิ้งท้าย EZ Webmaster Related Posts โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนแม่เมาะวิทยา โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนาน้อย โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสตรีศรีน่าน โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเถินวิทยา โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนลำปางกัลยาณี Post navigation PREVIOUS Previous post: ทุนครูปฐมวัย 100% ม.หอการค้าไทยNEXT Next post: ม.ราชภัฏสวนสุนันทา รับสมัครนักศึกษาใหม่ ภาคปกติ ระดับปริญญาตรี (รอบที่ 5 เพิ่มเติม) ประจำปี 2562
โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนาน้อย EZ WebmasterJune 18, 2025 กิจกรรมนี้ มีแต่เสียงหัวเราะ ความอร่อย และรอยยิ้ม โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด พากิจกรรมดีๆ มาถึงโรงเรียนนาน้อย วันที่18/06/68 โดยวิทยากร ผศ.ดร.ตฤณกร เกตุกุลพันธ์… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสตรีศรีน่าน EZ WebmasterJune 18, 2025 เรียนรู้ เล่นให้สนุก แล้วความรู้จะตามมา! ณ โรงเรียนสตรีศรีน่าน สนุกสนานกับโครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนสตรีศรีน่าน จ.น่าน วันที่18/06/68 โดย… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเถินวิทยา EZ WebmasterJune 18, 2025 วันนี้น้องๆ นักเรียนโรงเรียนเถินวิทยา เต็มที่กับกิจกรรม Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนเถินวิทยา จ.ลำปาง วันที่18/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า (ครูแอน)… นักศึกษา ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา EZ WebmasterJune 18, 2025 วิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิทักษ์ ธรรมวาริน (คนที่ 4 จากซ้าย) คณบดีวิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สจล. และ Mr. Alfonso Martin (คนที่ 3… คณะมนุษยศาสตร์ ม.หอการค้าไทย จัดหลักสูตรรุกหน้าการันตี “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน!!” EZ WebmasterJune 18, 2025 “ภาษา” มิใช่เพียงเครื่องมือสื่อสารแต่เป็นกุญแจสำคัญในการเรียนรู้และเข้าใจวัฒนธรรม การคิดวิเคราะห์และสร้างสรรค์นวัตกรรม ผู้ที่มีทักษะด้านภาษาที่แข็งแกร่งจะสามารถเป็นข้อได้เปรียบหรือประสบความสำเร็จได้ในโลกที่เปลี่ยนแปลงและผู้คนทั่วโลกเชื่อมโยงสื่อสารถึงกันได้ในพริบตาแม้จะต่างชาติ ต่างภาษา ต่างวัฒนธรรม การเรียนรู้ฝึกฝนมีทักษะภาษาจึงมิใช่แค่รู้หรือพูดภาษานานาชาติได้เท่านั้น แต่การเรียนภาษาให้มีรายได้ดี มีอาชีพมั่นคง เป็นมนุษย์เงินเดือนอิสระ ถึงขั้นการันตีได้ว่า “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน !!! นั้นก็เป็นสิ่งเพิ่มมูลค่าและมีคุณค่าอย่างน่าภูมิใจ เฉกเช่นที่ล่าสุด Miss World… การตลาดดิจิทัลและระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย จัดกิจกรรมตอบแทนกลับคืนสังคม EZ WebmasterJune 17, 2025 นักศึกษากลุ่มวิชาการตลาดดิจิทัล และกลุ่มวิชาการบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ร่วมทำกิจกรรม Digital Marketing Innovation for Sustainability สร้างสรรค์ประสบการณ์ทางการตลาดดิจิทัลและการบริการสังคม โดยนักศึกษาได้เข้ากิจกรรมปล่อยสัตว์ทะเลที่ธนาคารปู จังหวัดระยอง และบริจากสิ่งของให้กับชมรมผู้พิการทางสติปัญญา จังหวัดชลบุรี ร่วมเรียนรู้การสร้างสรรค์สื่อสำหรับการสื่อสารทางการตลาดดิจิทัล เพื่อสร้างความรับผิดชอบต่อสังคมให้กับนักศึกษาและร่วมสร้างสรรค์สังคมให้น่าอยู่ต่อไป เรียนคณะบริหารธุรกิจแนวใหม่ต้องสัมผัสประสบการณ์แบบนักธุรกิจ ถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์จากคณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญรวมทั้งนักธุรกิจมืออาชีพ… “จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” EZ WebmasterJune 17, 2025 ในนามของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผมขอส่งความห่วงใยมายังพวกเราทุกคนที่กำลังใช้ชีวิตและศึกษาอยู่ในสหรัฐฯ โดยเฉพาะในช่วงเวลาที่มีความไม่แน่นอนเกี่ยวกับนโยบายวีซ่าที่อาจส่งผลต่อสิทธิในการศึกษา เมื่อไม่นานนี้ ผมและผู้บริหารจุฬาฯ มีโอกาสได้ไปเยือน Harvard และ MIT และได้พบกับนักศึกษาชาวไทยหลายคน ทุกคนต่างมีความมุ่งมั่น ตั้งใจ และอดทนในการใฝ่หาความรู้ เพื่อนำมาพัฒนาตนเอง สังคม และประเทศชาติ แม้จะอยู่ท่ามกลางความกังวลใจต่ออนาคตที่ยังไม่ชัดเจน ผมอยากบอกว่าพวกเราที่จุฬาฯ… ทุนดีดี SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ครู-อาจารย์ อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก tui sakrapeeJune 18, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา นำโดย รศ.ดร.ชุติกาญจน์ ศรีวิบูลย์ อธิการบดี พร้อมคณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย เดินทางเยือนโรงเรียนนานาชาติ Qingdao No.1 International School of Shandong Province (QISS) และ Qingdao University… กองกลาง มจพ. เยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ และจัดสัมมนาจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล ประจำปี 2568 EZ WebmasterJune 18, 2025 ผศ.ดร.สราวุฒิ สืบแย้ม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายการคลังและกิจการทั่วไป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยนางสาวรัตนา สุขเฉลิมศรี ผู้อำนวยการกองกลาง และบุคลากรกองกลาง เข้าเยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ มจพ. ณ ชั้น 3 สำนักงานหอสมุดกลาง โดยมีนางสาวพนารมย์ เกียรติลีลานันท์ และ… คณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล มจพ. ชูธงร่วมเครือข่ายจัดใหญ่การประชุมวิชาการ นวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (FIAC) 2025 EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร สมฤกษ์ จันทรอัมพร รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นเจ้าภาพร่วมในการจัดประชุมวิชาการด้านนวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (Food Innovation Asia Conference 2025) พร้อมด้วย รศ.ดร.รัชนี เจริญ คณบดีคณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล และคณะผู้บริหาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ… สมศ. พลิกโฉมการประเมินคุณภาพภายนอกด้วย AI ภายใต้ “ONESQA 5.0” เสริมความโปร่งใส แม่นยำ และพัฒนาอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 17, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยวิสัยทัศน์ และแนวทางการขับเคลื่อนองค์กรด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence – AI) ภายใต้ วิสัยทัศน์ ONESQA 5.0 โดยมุ่งเน้นการนำ AI เข้ามาใช้เพื่อเสริมประสิทธิภาพ ความโปร่งใส และความแม่นยำ ในกระบวนการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา พร้อมยกระดับสู่ความเป็นดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบบ ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster June 24, 2019 EZ Webmaster June 24, 2019 นศ.ทุนรัฐบาลญี่ปุ่น “เอ็ม” ว่าที่ ดร. วัย 28 ปี “เป็นเพียงลูกพ่อค้าแม่ค้า คงไม่มีโอกาสได้เรียนสูงๆ หรือเรียนไกลถึงต่างประเทศ ขอบคุณโอกาสที่ทางอาจารย์มอบให้ ผมจำจนขึ้นใจว่าต้องตั้งใจเรียน และพยายามทำให้ดีที่สุด คนเราสามารถสร้างโอกาสให้ตนเองได้ ถ้าเราพยายามทำ และเมื่อได้รับโอกาสต้องทำให้สำเร็จ” ว่าที่ ดร.วัย 28 ปี “เอ็ม” นายวิเชียร ขาวดาษ นักศึกษาทุนรัฐบาลญี่ปุ่น Japanese government (Monbukakusho: MEXT) Scholarship เส้นทางชีวิตว่าที่ ดร.วัย 28 ปี เอ็ม เล่าว่า เป็นลูกคนโตและมีน้องชายอีก 2 คน ที่บ้านทำธุรกิจขายของตกแต่งสวน ที่จังหวัดสิงห์บุรี มีฐานะปานกลาง สำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จากโรงเรียนบ้านแป้งวิทยา จ.สิงห์บุรี (สายวิทย์-คณิต) หลังจาก ม.6 “มองว่าสายวิศวกรรมพลาสติกเป็นสาขาที่น่าสนใจ เป็นอะไรที่แปลกใหม่ เพราะพลาสติกเข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวัน” จึงได้สมัครเรียนและสอบเข้าที่สาขาวิศวกรรมพลาสติก ภาควิชาวิศวกรรมวัสดุและโลหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (มทร.) ธัญบุรี ชีวิตนักศึกษาปี 1 ช่วงแรกต้องใช้เวลาในการปรับตัวกับการเรียน เพื่อนๆ และสิ่งแวดล้อมใหม่ๆ ซึ่งก็ไม่เหมือนตอนม.ปลาย และก็ไม่ได้มีความรู้มากมายเท่าที่ควร และคิดแค่ว่าจะตั้งใจเรียนให้จบป.ตรีและมีอาชีพที่ดีทำก็พอแล้ว ในช่วงสอบของแต่ละเทอมตนอาสาติวหนังสือให้กับเพื่อนๆเพื่อทบทวนให้กับตัวเองและก็แลกเปลี่ยนความรู้กัน สรุปบทเรียนในคาบเรียนให้เพื่อนใช้อ่านและติวก่อนสอบตลอดการเรียน ช่วงชั้นปี 2 เมื่อมีเวลาว่างจะเข้าไปช่วยดูแลแลปและเป็นผู้ช่วยวิจัย ในแลปของ ผศ.ดร.สมหมาย ผิวสอาด (ปัจจุบันรองอธิการบดี มทร.ธัญบุรี) ในการเข้าไปช่วยอาจารย์เป็นการเรียนรู้และนำความรู้ที่ได้มาใช้ในการเรียน ซึ่งอาจารย์เป็นคนที่ใจดีมาก ดูแลลูกศิษย์คอยช่วยเหลือทุกอย่าง และมอบโอกาสที่ดีให้กับลูกศิษย์เสมอซึ่งตนก็เป็นหนึ่งในนั้น เมื่อสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ด้วยเกรดเฉลี่ย 3.54 ได้รับเกียรตินิยมอันดับ 1 และได้รับการคัดเลือกจากทางคณะวิศวกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี ให้รับทุนรัฐบาลญี่ปุ่น เรียนต่อในระดับปริญญาโท-เอก ที่ Kyoto Institute of Technology ซึ่งทางมหาวิทยาลัยมีความร่วมมือกับทาง มทร.ธัญบุรี ศึกษาต่อในระดับปริญญาโท – เอกที่ Department of Bio-based Materials Science สาขา System Engineering for Bio-resources โดยเงื่อนไขสำหรับทุนรัฐบาลญี่ปุ่นที่ได้รับ ต้องศึกษาให้สำเร็จในระดับปริญญาโท-เอก ภายในระยะเวลา 5 ปี ป.โท 2 ปี และป.เอก 3 ปี และต้องมีผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์วารสารวิชาการก่อนเรียนจบป.เอกจำนวน 2 ฉบับ แต่ปัจจุบันนี้ ตนมีผลงานวิจัยทำพิเศษเพิ่มอีก 1 ฉบับ รวม 3 ฉบับ ทุนนี้เป็นทุนเรียนฟรีตลอดหลักสูตร โดยทางรัฐบาลญี่ปุ่นมีเงินค่าใช้จ่ายเดือนประมาณ 147,000 เยน สำหรับนักศึกษาป.โท และ1480,000 เยน สำหรับป.เอก ซึ่งเป็นเงินไทยประมาณ 50,000 บาท ซึ่งค่าครองชีพที่ญี่ปุ่นค่อยข้างสูงเมื่อเทียบกับไทย เงินในแต่ละเดือนต้องดูแลและบริหารจัดการเอง ทั้งเรื่องหอพัก ค่าใช้จ่ายในชีวิตประจำวันต่างๆ ตอนปี1 ได้อยู่หอของมหาลัยซึ่งค่าหอจะค่อนข้างถูกประมาณ 15,000 เยน/เดือน แต่เมื่อขึ้น ปี 2 ต้องออกมาเช่าหอข้างนอก จึงเช่าหอเล็กๆ ติดกับมหาวิทยาลัย ซึ่งราคาหออยู่ที่ 33,000 เยน/เดือน สะดวกในการเดินทางใกล้มหาวิทยาลัยเพียง 500 เมตร โดยปั่นจักรยานไปมหาวิทยาลัยทุกวัน และตนเองชอบทำอาหารจึงทำอาหารทานเองซึ่งราคาถูกกว่าเมื่อเทียบกับการกินร้านอาหารในญี่ปุ่น อยู่ที่นั่นไม่ได้ใช้เงินฟุ่มเฟือยจึงมีเงินเหลือเก็บส่งกลับให้ครอบครัวและให้น้องทั้งสองเรียนต่อ เมื่อมาอยู่ต่างบ้านต่างเมืองทุกคนก็ต้องปรับตัว สิ่งที่เป็นปัญหามากที่สุดในการเรียนช่วงแรกๆ คือ ภาษาและการสื่อสาร แต่ด้วยมีพื้นทางด้านภาษาอังกฤษ ช่วงแรก จึงใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารกับเพื่อนในแลป นำเสนอและอภิปรายงานวิจัยต่างๆ เพราะว่าไม่มีความรู้ทางด้านภาษาญี่ปุ่นเลย ยอมรับว่ากังวล และท้อกับการสื่อสารกับเพื่อนๆ ที่แลป เลยปรับเปลี่ยนตัวเองด้วยการหันมาเรียนภาษาญี่ปุ่นเพิ่มเติม เพื่อจะได้เข้าใจสิ่งที่อาจารย์สอนอย่างลึกซึ้ง มีเพื่อนๆ ญี่ปุ่นมากขึ้น สามารถเอามาใช้ในชีวิตประจำวันได้ด้วย ซึ่งคิดเสมอว่า “ทุกอย่างต้องเริ่มจากศูนย์ ต้องมีการปรับตัว เราไม่ได้มาคนเดียว แต่เอาหน้าตาของมหาวิทยาลัยและอาจารย์มาด้วย จะต้องไม่เสียชื่อเสียง” จึงลงเรียนภาษาญี่ปุ่น (ฟรี) เพิ่มเติมในมหาลัย “ตลอดระยะ 3 ปีแรก ของทุกวันที่อยู่ญี่ปุ่น ตนเองจะฟัง mp3 บทสนทนาพื้นฐานภาษาญี่ปุ่น” ให้เกิดความชินหู คุ้นสำเนียง พูดกับเพื่อนในแลปบ่อยๆ ซึ่งปัจจุบันสามารถสื่อสารและใช้ภาษาญี่ปุ่นได้ ในขณะเดียวกันตนเองยังพัฒนาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม จากยูทูป ด้วยการฟังเพลงและดูหนัง เพราะอย่างไรก็ตามภาษาอังกฤษเป็นภาษาสากลที่อาจจะต้องใช้ในอนาคต ในการเรียน ปริญญาโท เรียนและเข้าแลปทำวิจัย ซึ่งแลปวิจัยที่ตนเองเรียน มีอาจารย์ 3 ท่าน โดยอาจารย์แต่ละท่านจะมีความเชี่ยวชาญแตกต่างกัน โดยปีที่ 1 เรียนเกี่ยวกับการสังเคราะห์พอลิเมอร์ (พลาสติก) ปี 2 เรียนสายชีวเคมีวิทยา มีเพื่อนร่วมแลปทั้งนักศึกษาญี่ปุ่นและต่างชาติรวม 23 คนตั้งแต่ป.ตรี-ป.เอก ซึ่งแลปวิจัย 1 ห้อง มีห้องอาจารย์ 3 ห้อง ห้องแลป 4 ห้อง คือห้องวิจัยการสังเคราะห์ทางเคมีและชีววิทยา, ห้องจุลชีววิทยา และห้องเครื่องมือทดลอง ทุกวันจันทร์-ศุกร์ต้องเข้าแลปตั้งแต่ 10.00 – 17.00 น. แต่โดยส่วนใหญ่สมาชิกในแลปจะไม่ได้กลับตรงเวลา ขึ้นอยู่กับการทดลองงานวิจัยแต่ละคน โดยงานวิจัยจบ ป.โท เป็นวิจัยเกี่ยวกับการใช้เซลล์เชื้อเพลิงทางชีวภาพโดยใช้เซลลูโลสและจุลินทรีย์ ส่วนการเรียน ปริญญาเอก จะค่อนข้างเข้มข้นขึ้นเมื่อเทียบกับป.โท งานวิจัยจะค่อนข้างลึกและละเอียดเพื่อใช้ในการตีพิมพ์วารสารวิชาการ ตามหลักสูตรวิชาเรียนจึงน้อยลง ทางหลักสูตรป.เอก จะใช้วารสารวิชาการ จำนวน 2 ฉบับในการสำเร็จการศึกษา ซึ่งงานวิจัยทั้ง 2 ชิ้น ได้รับการตีพิมพ์เป็นที่เรียบร้อยแล้ว โดยงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ การวิจัยเกี่ยวกับจุลินทรีย์ที่ใช้ย่อยสะลายสารอินทรีย์จากขยะทางการเกษตรที่เน่าเสีย หรือที่ปล่อยทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งจุลินทรีย์สามารถปล่อยอิเล็กตรอนออกมาจากกระบวนการเมทบอลิซึม จากนั้นอิเล็กตรอนที่ถูกปล่อยออกมาใช้นำมาผลิตเป็นกระแสไฟฟ้าผ่านเซลล์เชื้อเพลิงทางชีวภาพ โดยสามารถนำมาใช้ในโรงไฟฟ้าขนาดใหญ่ เช่น โรงงานสำปะหลังที่มีน้ำเสีย และงานวิจัยชิ้นที่ 3 กำลังจะตีพิมพ์ จากการศึกษาทลายปาล์มน้ำมันที่เหลือทิ้งในประเทศไทยซึ่งมีจำนวนมากและบางส่วน กลายเป็นขยะ โดยใช้จุลินทรีย์ที่ย่อยสลายเป็นเซลลูโลสที่มีอยู่ในปาล์มเพื่อลดปริมาณขยะจากทลายปาล์ม และยังสามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้ในขณะเดียวกัน ขณะนี้อยู่ในขั้นของการดำเนินการจัดการเอกสารในการตีพิมพ์ การใช้ชีวิตในญี่ปุ่น แต่ละวันเวลามีค่า ต้องพยายามเรียนให้จบภายในเวลาที่กำหนด คือ 5 ปี “ทำให้ดีที่สุด ถ้าเราทำไม่ดี แน่นอนว่ารุ่นน้องก็อาจจะไม่ได้โอกาสได้ไปเรียนแบบตนเอง จึงตั้งใจทำ ไม่ให้ใครตำหนิได้ และทำทุกวันให้มีความสุข” เส้นทางนักศึกษาทุนญี่ปุ่น ต้องมีความอดทนต่อความกดดันต่างๆ เนื่องด้วยอาจารย์จะค่อนข้างทำงานอย่างเป็นระบบ ระเบียบและละเอียดในทุกๆ ขั้นตอนเพื่อให้ได้งานวิจัยออกมาอย่างมีประสิทธิภาพและใช้งานได้จริง งานวิจัยจึงต้องใช้เวลาและความพยายามเป็นอย่างมาก การเรียนที่สำคัญ การใช้ชีวิตอย่างมีความสุขก็สำคัญ ที่นี่มีนักศึกษาไทยอยู่มากและมีกิจกรรมต่างๆ ทั้งกิน เที่ยว สังสรรค์ มีสมาคนนักเรียนไทยในญี่ปุ่น ซึ่งจะมีกิจกรรมทำร่วมกันอยู่บ่อยๆ และบางครั้งก็ไปเที่ยวกับเพื่อนๆญี่ปุ่นได้ใช้ชีวิตแบบคนญี่ปุ่น มีกิจกรรมต่างๆ แลกเปลี่ยนวัฒนธรรมกัน เป็นสิ่งที่ดีมากๆ มหาวิทยาลัยที่เรียนตั้งอยู่เกียวโต ซึ่งเป็นเมืองหลวงเก่าของญี่ปุ่น เป็นเมืองแห่งวัฒนธรรมอันเก่าแก่ซึ่งน่าอยู่และเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงอีกด้วย ในเดือนกันยายน 2562 นี้ จะสำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาเอก ความภาคภูมิใจของลูกพ่อค้าแม่ค้า และความภูมิใจของตนเอง ซึ่งมาจากเด็กเรียนโรงเรียนเล็กๆ ไม่มีชื่อเสียงมากนัก มีเด็กนักเรียนเพียงไม่ถึง 300 คน ความคิดตอนแรกๆ ที่คิดแค่เรียนจบป.ตรี ทำงานดูแลพ่อแม่ได้แค่นี้ก็เกินพอ โดยไม่คิดว่าจะเรียนจบปริญญาเอก โดยหลังเรียนจบอยากกลับมาเป็นอาจารย์ที่ มทร.ธัญบุรี แต่ด้วยตอนนี้ไม่มีตำแหน่ง จึงแพลนที่จะทำงานที่ Token thermotech Japan ในญี่ปุ่น ซึ่งเป็นโรงงานอุตสาหกรรมที่มีความร่วมมือกับ ทาง มทร.ธัญบุรี ในการมอบทุนให้กับรุ่นน้องเข้าศึกษาฝึกงานทุกๆ ปี โดยโรงงานดังกล่าวเปิดในหลายประเทศทั้ง ญี่ปุ่น ไทย จีน มาเลเซีย และเม็กซิโก โดยที่ญี่ปุ่น เป็นบริษัทหลัก คิดไว้จะทำงานในโรงงานที่ญี่ปุ่นประมาณ 4-5 ปี เรียนรู้ระบบในการทำงาน และกลับมาทำงานที่บริษัทเดียวกันที่ตั้งอยู่ในไทย หากน้องๆ อยากได้รับโอกาสดีๆ แบบนี้แน่นอนว่า มทร.ธัญบุรี สามารถเป็นสะพานส่วนหนึ่งที่จะพาเราได้มีโอกาสเรียนที่ญี่ปุ่นและมีงานดีๆ หากเรามีความตั้งใจที่แน่วแน่ ตั้งใจเรียน และที่สำคัญเป็นคนดี แน่นอนว่าความสำเร็จก็คงอยู่ไม่ไกล วิเชียร ขาวดาษ กล่าวทิ้งท้าย EZ Webmaster Related Posts โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนแม่เมาะวิทยา โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนาน้อย โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสตรีศรีน่าน โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเถินวิทยา โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนลำปางกัลยาณี Post navigation PREVIOUS Previous post: ทุนครูปฐมวัย 100% ม.หอการค้าไทยNEXT Next post: ม.ราชภัฏสวนสุนันทา รับสมัครนักศึกษาใหม่ ภาคปกติ ระดับปริญญาตรี (รอบที่ 5 เพิ่มเติม) ประจำปี 2562
โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสตรีศรีน่าน EZ WebmasterJune 18, 2025 เรียนรู้ เล่นให้สนุก แล้วความรู้จะตามมา! ณ โรงเรียนสตรีศรีน่าน สนุกสนานกับโครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนสตรีศรีน่าน จ.น่าน วันที่18/06/68 โดย… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเถินวิทยา EZ WebmasterJune 18, 2025 วันนี้น้องๆ นักเรียนโรงเรียนเถินวิทยา เต็มที่กับกิจกรรม Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนเถินวิทยา จ.ลำปาง วันที่18/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า (ครูแอน)…
โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเถินวิทยา EZ WebmasterJune 18, 2025 วันนี้น้องๆ นักเรียนโรงเรียนเถินวิทยา เต็มที่กับกิจกรรม Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนเถินวิทยา จ.ลำปาง วันที่18/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า (ครูแอน)…
ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา EZ WebmasterJune 18, 2025 วิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิทักษ์ ธรรมวาริน (คนที่ 4 จากซ้าย) คณบดีวิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สจล. และ Mr. Alfonso Martin (คนที่ 3… คณะมนุษยศาสตร์ ม.หอการค้าไทย จัดหลักสูตรรุกหน้าการันตี “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน!!” EZ WebmasterJune 18, 2025 “ภาษา” มิใช่เพียงเครื่องมือสื่อสารแต่เป็นกุญแจสำคัญในการเรียนรู้และเข้าใจวัฒนธรรม การคิดวิเคราะห์และสร้างสรรค์นวัตกรรม ผู้ที่มีทักษะด้านภาษาที่แข็งแกร่งจะสามารถเป็นข้อได้เปรียบหรือประสบความสำเร็จได้ในโลกที่เปลี่ยนแปลงและผู้คนทั่วโลกเชื่อมโยงสื่อสารถึงกันได้ในพริบตาแม้จะต่างชาติ ต่างภาษา ต่างวัฒนธรรม การเรียนรู้ฝึกฝนมีทักษะภาษาจึงมิใช่แค่รู้หรือพูดภาษานานาชาติได้เท่านั้น แต่การเรียนภาษาให้มีรายได้ดี มีอาชีพมั่นคง เป็นมนุษย์เงินเดือนอิสระ ถึงขั้นการันตีได้ว่า “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน !!! นั้นก็เป็นสิ่งเพิ่มมูลค่าและมีคุณค่าอย่างน่าภูมิใจ เฉกเช่นที่ล่าสุด Miss World… การตลาดดิจิทัลและระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย จัดกิจกรรมตอบแทนกลับคืนสังคม EZ WebmasterJune 17, 2025 นักศึกษากลุ่มวิชาการตลาดดิจิทัล และกลุ่มวิชาการบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ร่วมทำกิจกรรม Digital Marketing Innovation for Sustainability สร้างสรรค์ประสบการณ์ทางการตลาดดิจิทัลและการบริการสังคม โดยนักศึกษาได้เข้ากิจกรรมปล่อยสัตว์ทะเลที่ธนาคารปู จังหวัดระยอง และบริจากสิ่งของให้กับชมรมผู้พิการทางสติปัญญา จังหวัดชลบุรี ร่วมเรียนรู้การสร้างสรรค์สื่อสำหรับการสื่อสารทางการตลาดดิจิทัล เพื่อสร้างความรับผิดชอบต่อสังคมให้กับนักศึกษาและร่วมสร้างสรรค์สังคมให้น่าอยู่ต่อไป เรียนคณะบริหารธุรกิจแนวใหม่ต้องสัมผัสประสบการณ์แบบนักธุรกิจ ถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์จากคณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญรวมทั้งนักธุรกิจมืออาชีพ… “จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” EZ WebmasterJune 17, 2025 ในนามของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผมขอส่งความห่วงใยมายังพวกเราทุกคนที่กำลังใช้ชีวิตและศึกษาอยู่ในสหรัฐฯ โดยเฉพาะในช่วงเวลาที่มีความไม่แน่นอนเกี่ยวกับนโยบายวีซ่าที่อาจส่งผลต่อสิทธิในการศึกษา เมื่อไม่นานนี้ ผมและผู้บริหารจุฬาฯ มีโอกาสได้ไปเยือน Harvard และ MIT และได้พบกับนักศึกษาชาวไทยหลายคน ทุกคนต่างมีความมุ่งมั่น ตั้งใจ และอดทนในการใฝ่หาความรู้ เพื่อนำมาพัฒนาตนเอง สังคม และประเทศชาติ แม้จะอยู่ท่ามกลางความกังวลใจต่ออนาคตที่ยังไม่ชัดเจน ผมอยากบอกว่าพวกเราที่จุฬาฯ… ทุนดีดี SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ครู-อาจารย์ อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก tui sakrapeeJune 18, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา นำโดย รศ.ดร.ชุติกาญจน์ ศรีวิบูลย์ อธิการบดี พร้อมคณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย เดินทางเยือนโรงเรียนนานาชาติ Qingdao No.1 International School of Shandong Province (QISS) และ Qingdao University… กองกลาง มจพ. เยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ และจัดสัมมนาจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล ประจำปี 2568 EZ WebmasterJune 18, 2025 ผศ.ดร.สราวุฒิ สืบแย้ม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายการคลังและกิจการทั่วไป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยนางสาวรัตนา สุขเฉลิมศรี ผู้อำนวยการกองกลาง และบุคลากรกองกลาง เข้าเยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ มจพ. ณ ชั้น 3 สำนักงานหอสมุดกลาง โดยมีนางสาวพนารมย์ เกียรติลีลานันท์ และ… คณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล มจพ. ชูธงร่วมเครือข่ายจัดใหญ่การประชุมวิชาการ นวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (FIAC) 2025 EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร สมฤกษ์ จันทรอัมพร รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นเจ้าภาพร่วมในการจัดประชุมวิชาการด้านนวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (Food Innovation Asia Conference 2025) พร้อมด้วย รศ.ดร.รัชนี เจริญ คณบดีคณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล และคณะผู้บริหาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ… สมศ. พลิกโฉมการประเมินคุณภาพภายนอกด้วย AI ภายใต้ “ONESQA 5.0” เสริมความโปร่งใส แม่นยำ และพัฒนาอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 17, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยวิสัยทัศน์ และแนวทางการขับเคลื่อนองค์กรด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence – AI) ภายใต้ วิสัยทัศน์ ONESQA 5.0 โดยมุ่งเน้นการนำ AI เข้ามาใช้เพื่อเสริมประสิทธิภาพ ความโปร่งใส และความแม่นยำ ในกระบวนการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา พร้อมยกระดับสู่ความเป็นดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบบ ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster June 24, 2019 EZ Webmaster June 24, 2019 นศ.ทุนรัฐบาลญี่ปุ่น “เอ็ม” ว่าที่ ดร. วัย 28 ปี “เป็นเพียงลูกพ่อค้าแม่ค้า คงไม่มีโอกาสได้เรียนสูงๆ หรือเรียนไกลถึงต่างประเทศ ขอบคุณโอกาสที่ทางอาจารย์มอบให้ ผมจำจนขึ้นใจว่าต้องตั้งใจเรียน และพยายามทำให้ดีที่สุด คนเราสามารถสร้างโอกาสให้ตนเองได้ ถ้าเราพยายามทำ และเมื่อได้รับโอกาสต้องทำให้สำเร็จ” ว่าที่ ดร.วัย 28 ปี “เอ็ม” นายวิเชียร ขาวดาษ นักศึกษาทุนรัฐบาลญี่ปุ่น Japanese government (Monbukakusho: MEXT) Scholarship เส้นทางชีวิตว่าที่ ดร.วัย 28 ปี เอ็ม เล่าว่า เป็นลูกคนโตและมีน้องชายอีก 2 คน ที่บ้านทำธุรกิจขายของตกแต่งสวน ที่จังหวัดสิงห์บุรี มีฐานะปานกลาง สำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จากโรงเรียนบ้านแป้งวิทยา จ.สิงห์บุรี (สายวิทย์-คณิต) หลังจาก ม.6 “มองว่าสายวิศวกรรมพลาสติกเป็นสาขาที่น่าสนใจ เป็นอะไรที่แปลกใหม่ เพราะพลาสติกเข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวัน” จึงได้สมัครเรียนและสอบเข้าที่สาขาวิศวกรรมพลาสติก ภาควิชาวิศวกรรมวัสดุและโลหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (มทร.) ธัญบุรี ชีวิตนักศึกษาปี 1 ช่วงแรกต้องใช้เวลาในการปรับตัวกับการเรียน เพื่อนๆ และสิ่งแวดล้อมใหม่ๆ ซึ่งก็ไม่เหมือนตอนม.ปลาย และก็ไม่ได้มีความรู้มากมายเท่าที่ควร และคิดแค่ว่าจะตั้งใจเรียนให้จบป.ตรีและมีอาชีพที่ดีทำก็พอแล้ว ในช่วงสอบของแต่ละเทอมตนอาสาติวหนังสือให้กับเพื่อนๆเพื่อทบทวนให้กับตัวเองและก็แลกเปลี่ยนความรู้กัน สรุปบทเรียนในคาบเรียนให้เพื่อนใช้อ่านและติวก่อนสอบตลอดการเรียน ช่วงชั้นปี 2 เมื่อมีเวลาว่างจะเข้าไปช่วยดูแลแลปและเป็นผู้ช่วยวิจัย ในแลปของ ผศ.ดร.สมหมาย ผิวสอาด (ปัจจุบันรองอธิการบดี มทร.ธัญบุรี) ในการเข้าไปช่วยอาจารย์เป็นการเรียนรู้และนำความรู้ที่ได้มาใช้ในการเรียน ซึ่งอาจารย์เป็นคนที่ใจดีมาก ดูแลลูกศิษย์คอยช่วยเหลือทุกอย่าง และมอบโอกาสที่ดีให้กับลูกศิษย์เสมอซึ่งตนก็เป็นหนึ่งในนั้น เมื่อสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ด้วยเกรดเฉลี่ย 3.54 ได้รับเกียรตินิยมอันดับ 1 และได้รับการคัดเลือกจากทางคณะวิศวกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี ให้รับทุนรัฐบาลญี่ปุ่น เรียนต่อในระดับปริญญาโท-เอก ที่ Kyoto Institute of Technology ซึ่งทางมหาวิทยาลัยมีความร่วมมือกับทาง มทร.ธัญบุรี ศึกษาต่อในระดับปริญญาโท – เอกที่ Department of Bio-based Materials Science สาขา System Engineering for Bio-resources โดยเงื่อนไขสำหรับทุนรัฐบาลญี่ปุ่นที่ได้รับ ต้องศึกษาให้สำเร็จในระดับปริญญาโท-เอก ภายในระยะเวลา 5 ปี ป.โท 2 ปี และป.เอก 3 ปี และต้องมีผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์วารสารวิชาการก่อนเรียนจบป.เอกจำนวน 2 ฉบับ แต่ปัจจุบันนี้ ตนมีผลงานวิจัยทำพิเศษเพิ่มอีก 1 ฉบับ รวม 3 ฉบับ ทุนนี้เป็นทุนเรียนฟรีตลอดหลักสูตร โดยทางรัฐบาลญี่ปุ่นมีเงินค่าใช้จ่ายเดือนประมาณ 147,000 เยน สำหรับนักศึกษาป.โท และ1480,000 เยน สำหรับป.เอก ซึ่งเป็นเงินไทยประมาณ 50,000 บาท ซึ่งค่าครองชีพที่ญี่ปุ่นค่อยข้างสูงเมื่อเทียบกับไทย เงินในแต่ละเดือนต้องดูแลและบริหารจัดการเอง ทั้งเรื่องหอพัก ค่าใช้จ่ายในชีวิตประจำวันต่างๆ ตอนปี1 ได้อยู่หอของมหาลัยซึ่งค่าหอจะค่อนข้างถูกประมาณ 15,000 เยน/เดือน แต่เมื่อขึ้น ปี 2 ต้องออกมาเช่าหอข้างนอก จึงเช่าหอเล็กๆ ติดกับมหาวิทยาลัย ซึ่งราคาหออยู่ที่ 33,000 เยน/เดือน สะดวกในการเดินทางใกล้มหาวิทยาลัยเพียง 500 เมตร โดยปั่นจักรยานไปมหาวิทยาลัยทุกวัน และตนเองชอบทำอาหารจึงทำอาหารทานเองซึ่งราคาถูกกว่าเมื่อเทียบกับการกินร้านอาหารในญี่ปุ่น อยู่ที่นั่นไม่ได้ใช้เงินฟุ่มเฟือยจึงมีเงินเหลือเก็บส่งกลับให้ครอบครัวและให้น้องทั้งสองเรียนต่อ เมื่อมาอยู่ต่างบ้านต่างเมืองทุกคนก็ต้องปรับตัว สิ่งที่เป็นปัญหามากที่สุดในการเรียนช่วงแรกๆ คือ ภาษาและการสื่อสาร แต่ด้วยมีพื้นทางด้านภาษาอังกฤษ ช่วงแรก จึงใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารกับเพื่อนในแลป นำเสนอและอภิปรายงานวิจัยต่างๆ เพราะว่าไม่มีความรู้ทางด้านภาษาญี่ปุ่นเลย ยอมรับว่ากังวล และท้อกับการสื่อสารกับเพื่อนๆ ที่แลป เลยปรับเปลี่ยนตัวเองด้วยการหันมาเรียนภาษาญี่ปุ่นเพิ่มเติม เพื่อจะได้เข้าใจสิ่งที่อาจารย์สอนอย่างลึกซึ้ง มีเพื่อนๆ ญี่ปุ่นมากขึ้น สามารถเอามาใช้ในชีวิตประจำวันได้ด้วย ซึ่งคิดเสมอว่า “ทุกอย่างต้องเริ่มจากศูนย์ ต้องมีการปรับตัว เราไม่ได้มาคนเดียว แต่เอาหน้าตาของมหาวิทยาลัยและอาจารย์มาด้วย จะต้องไม่เสียชื่อเสียง” จึงลงเรียนภาษาญี่ปุ่น (ฟรี) เพิ่มเติมในมหาลัย “ตลอดระยะ 3 ปีแรก ของทุกวันที่อยู่ญี่ปุ่น ตนเองจะฟัง mp3 บทสนทนาพื้นฐานภาษาญี่ปุ่น” ให้เกิดความชินหู คุ้นสำเนียง พูดกับเพื่อนในแลปบ่อยๆ ซึ่งปัจจุบันสามารถสื่อสารและใช้ภาษาญี่ปุ่นได้ ในขณะเดียวกันตนเองยังพัฒนาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม จากยูทูป ด้วยการฟังเพลงและดูหนัง เพราะอย่างไรก็ตามภาษาอังกฤษเป็นภาษาสากลที่อาจจะต้องใช้ในอนาคต ในการเรียน ปริญญาโท เรียนและเข้าแลปทำวิจัย ซึ่งแลปวิจัยที่ตนเองเรียน มีอาจารย์ 3 ท่าน โดยอาจารย์แต่ละท่านจะมีความเชี่ยวชาญแตกต่างกัน โดยปีที่ 1 เรียนเกี่ยวกับการสังเคราะห์พอลิเมอร์ (พลาสติก) ปี 2 เรียนสายชีวเคมีวิทยา มีเพื่อนร่วมแลปทั้งนักศึกษาญี่ปุ่นและต่างชาติรวม 23 คนตั้งแต่ป.ตรี-ป.เอก ซึ่งแลปวิจัย 1 ห้อง มีห้องอาจารย์ 3 ห้อง ห้องแลป 4 ห้อง คือห้องวิจัยการสังเคราะห์ทางเคมีและชีววิทยา, ห้องจุลชีววิทยา และห้องเครื่องมือทดลอง ทุกวันจันทร์-ศุกร์ต้องเข้าแลปตั้งแต่ 10.00 – 17.00 น. แต่โดยส่วนใหญ่สมาชิกในแลปจะไม่ได้กลับตรงเวลา ขึ้นอยู่กับการทดลองงานวิจัยแต่ละคน โดยงานวิจัยจบ ป.โท เป็นวิจัยเกี่ยวกับการใช้เซลล์เชื้อเพลิงทางชีวภาพโดยใช้เซลลูโลสและจุลินทรีย์ ส่วนการเรียน ปริญญาเอก จะค่อนข้างเข้มข้นขึ้นเมื่อเทียบกับป.โท งานวิจัยจะค่อนข้างลึกและละเอียดเพื่อใช้ในการตีพิมพ์วารสารวิชาการ ตามหลักสูตรวิชาเรียนจึงน้อยลง ทางหลักสูตรป.เอก จะใช้วารสารวิชาการ จำนวน 2 ฉบับในการสำเร็จการศึกษา ซึ่งงานวิจัยทั้ง 2 ชิ้น ได้รับการตีพิมพ์เป็นที่เรียบร้อยแล้ว โดยงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ การวิจัยเกี่ยวกับจุลินทรีย์ที่ใช้ย่อยสะลายสารอินทรีย์จากขยะทางการเกษตรที่เน่าเสีย หรือที่ปล่อยทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งจุลินทรีย์สามารถปล่อยอิเล็กตรอนออกมาจากกระบวนการเมทบอลิซึม จากนั้นอิเล็กตรอนที่ถูกปล่อยออกมาใช้นำมาผลิตเป็นกระแสไฟฟ้าผ่านเซลล์เชื้อเพลิงทางชีวภาพ โดยสามารถนำมาใช้ในโรงไฟฟ้าขนาดใหญ่ เช่น โรงงานสำปะหลังที่มีน้ำเสีย และงานวิจัยชิ้นที่ 3 กำลังจะตีพิมพ์ จากการศึกษาทลายปาล์มน้ำมันที่เหลือทิ้งในประเทศไทยซึ่งมีจำนวนมากและบางส่วน กลายเป็นขยะ โดยใช้จุลินทรีย์ที่ย่อยสลายเป็นเซลลูโลสที่มีอยู่ในปาล์มเพื่อลดปริมาณขยะจากทลายปาล์ม และยังสามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้ในขณะเดียวกัน ขณะนี้อยู่ในขั้นของการดำเนินการจัดการเอกสารในการตีพิมพ์ การใช้ชีวิตในญี่ปุ่น แต่ละวันเวลามีค่า ต้องพยายามเรียนให้จบภายในเวลาที่กำหนด คือ 5 ปี “ทำให้ดีที่สุด ถ้าเราทำไม่ดี แน่นอนว่ารุ่นน้องก็อาจจะไม่ได้โอกาสได้ไปเรียนแบบตนเอง จึงตั้งใจทำ ไม่ให้ใครตำหนิได้ และทำทุกวันให้มีความสุข” เส้นทางนักศึกษาทุนญี่ปุ่น ต้องมีความอดทนต่อความกดดันต่างๆ เนื่องด้วยอาจารย์จะค่อนข้างทำงานอย่างเป็นระบบ ระเบียบและละเอียดในทุกๆ ขั้นตอนเพื่อให้ได้งานวิจัยออกมาอย่างมีประสิทธิภาพและใช้งานได้จริง งานวิจัยจึงต้องใช้เวลาและความพยายามเป็นอย่างมาก การเรียนที่สำคัญ การใช้ชีวิตอย่างมีความสุขก็สำคัญ ที่นี่มีนักศึกษาไทยอยู่มากและมีกิจกรรมต่างๆ ทั้งกิน เที่ยว สังสรรค์ มีสมาคนนักเรียนไทยในญี่ปุ่น ซึ่งจะมีกิจกรรมทำร่วมกันอยู่บ่อยๆ และบางครั้งก็ไปเที่ยวกับเพื่อนๆญี่ปุ่นได้ใช้ชีวิตแบบคนญี่ปุ่น มีกิจกรรมต่างๆ แลกเปลี่ยนวัฒนธรรมกัน เป็นสิ่งที่ดีมากๆ มหาวิทยาลัยที่เรียนตั้งอยู่เกียวโต ซึ่งเป็นเมืองหลวงเก่าของญี่ปุ่น เป็นเมืองแห่งวัฒนธรรมอันเก่าแก่ซึ่งน่าอยู่และเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงอีกด้วย ในเดือนกันยายน 2562 นี้ จะสำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาเอก ความภาคภูมิใจของลูกพ่อค้าแม่ค้า และความภูมิใจของตนเอง ซึ่งมาจากเด็กเรียนโรงเรียนเล็กๆ ไม่มีชื่อเสียงมากนัก มีเด็กนักเรียนเพียงไม่ถึง 300 คน ความคิดตอนแรกๆ ที่คิดแค่เรียนจบป.ตรี ทำงานดูแลพ่อแม่ได้แค่นี้ก็เกินพอ โดยไม่คิดว่าจะเรียนจบปริญญาเอก โดยหลังเรียนจบอยากกลับมาเป็นอาจารย์ที่ มทร.ธัญบุรี แต่ด้วยตอนนี้ไม่มีตำแหน่ง จึงแพลนที่จะทำงานที่ Token thermotech Japan ในญี่ปุ่น ซึ่งเป็นโรงงานอุตสาหกรรมที่มีความร่วมมือกับ ทาง มทร.ธัญบุรี ในการมอบทุนให้กับรุ่นน้องเข้าศึกษาฝึกงานทุกๆ ปี โดยโรงงานดังกล่าวเปิดในหลายประเทศทั้ง ญี่ปุ่น ไทย จีน มาเลเซีย และเม็กซิโก โดยที่ญี่ปุ่น เป็นบริษัทหลัก คิดไว้จะทำงานในโรงงานที่ญี่ปุ่นประมาณ 4-5 ปี เรียนรู้ระบบในการทำงาน และกลับมาทำงานที่บริษัทเดียวกันที่ตั้งอยู่ในไทย หากน้องๆ อยากได้รับโอกาสดีๆ แบบนี้แน่นอนว่า มทร.ธัญบุรี สามารถเป็นสะพานส่วนหนึ่งที่จะพาเราได้มีโอกาสเรียนที่ญี่ปุ่นและมีงานดีๆ หากเรามีความตั้งใจที่แน่วแน่ ตั้งใจเรียน และที่สำคัญเป็นคนดี แน่นอนว่าความสำเร็จก็คงอยู่ไม่ไกล วิเชียร ขาวดาษ กล่าวทิ้งท้าย EZ Webmaster Related Posts โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนแม่เมาะวิทยา โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนาน้อย โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสตรีศรีน่าน โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเถินวิทยา โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนลำปางกัลยาณี Post navigation PREVIOUS Previous post: ทุนครูปฐมวัย 100% ม.หอการค้าไทยNEXT Next post: ม.ราชภัฏสวนสุนันทา รับสมัครนักศึกษาใหม่ ภาคปกติ ระดับปริญญาตรี (รอบที่ 5 เพิ่มเติม) ประจำปี 2562
คณะมนุษยศาสตร์ ม.หอการค้าไทย จัดหลักสูตรรุกหน้าการันตี “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน!!” EZ WebmasterJune 18, 2025 “ภาษา” มิใช่เพียงเครื่องมือสื่อสารแต่เป็นกุญแจสำคัญในการเรียนรู้และเข้าใจวัฒนธรรม การคิดวิเคราะห์และสร้างสรรค์นวัตกรรม ผู้ที่มีทักษะด้านภาษาที่แข็งแกร่งจะสามารถเป็นข้อได้เปรียบหรือประสบความสำเร็จได้ในโลกที่เปลี่ยนแปลงและผู้คนทั่วโลกเชื่อมโยงสื่อสารถึงกันได้ในพริบตาแม้จะต่างชาติ ต่างภาษา ต่างวัฒนธรรม การเรียนรู้ฝึกฝนมีทักษะภาษาจึงมิใช่แค่รู้หรือพูดภาษานานาชาติได้เท่านั้น แต่การเรียนภาษาให้มีรายได้ดี มีอาชีพมั่นคง เป็นมนุษย์เงินเดือนอิสระ ถึงขั้นการันตีได้ว่า “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน !!! นั้นก็เป็นสิ่งเพิ่มมูลค่าและมีคุณค่าอย่างน่าภูมิใจ เฉกเช่นที่ล่าสุด Miss World… การตลาดดิจิทัลและระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย จัดกิจกรรมตอบแทนกลับคืนสังคม EZ WebmasterJune 17, 2025 นักศึกษากลุ่มวิชาการตลาดดิจิทัล และกลุ่มวิชาการบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ร่วมทำกิจกรรม Digital Marketing Innovation for Sustainability สร้างสรรค์ประสบการณ์ทางการตลาดดิจิทัลและการบริการสังคม โดยนักศึกษาได้เข้ากิจกรรมปล่อยสัตว์ทะเลที่ธนาคารปู จังหวัดระยอง และบริจากสิ่งของให้กับชมรมผู้พิการทางสติปัญญา จังหวัดชลบุรี ร่วมเรียนรู้การสร้างสรรค์สื่อสำหรับการสื่อสารทางการตลาดดิจิทัล เพื่อสร้างความรับผิดชอบต่อสังคมให้กับนักศึกษาและร่วมสร้างสรรค์สังคมให้น่าอยู่ต่อไป เรียนคณะบริหารธุรกิจแนวใหม่ต้องสัมผัสประสบการณ์แบบนักธุรกิจ ถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์จากคณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญรวมทั้งนักธุรกิจมืออาชีพ… “จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” EZ WebmasterJune 17, 2025 ในนามของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผมขอส่งความห่วงใยมายังพวกเราทุกคนที่กำลังใช้ชีวิตและศึกษาอยู่ในสหรัฐฯ โดยเฉพาะในช่วงเวลาที่มีความไม่แน่นอนเกี่ยวกับนโยบายวีซ่าที่อาจส่งผลต่อสิทธิในการศึกษา เมื่อไม่นานนี้ ผมและผู้บริหารจุฬาฯ มีโอกาสได้ไปเยือน Harvard และ MIT และได้พบกับนักศึกษาชาวไทยหลายคน ทุกคนต่างมีความมุ่งมั่น ตั้งใจ และอดทนในการใฝ่หาความรู้ เพื่อนำมาพัฒนาตนเอง สังคม และประเทศชาติ แม้จะอยู่ท่ามกลางความกังวลใจต่ออนาคตที่ยังไม่ชัดเจน ผมอยากบอกว่าพวกเราที่จุฬาฯ… ทุนดีดี SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ครู-อาจารย์ อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก tui sakrapeeJune 18, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา นำโดย รศ.ดร.ชุติกาญจน์ ศรีวิบูลย์ อธิการบดี พร้อมคณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย เดินทางเยือนโรงเรียนนานาชาติ Qingdao No.1 International School of Shandong Province (QISS) และ Qingdao University… กองกลาง มจพ. เยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ และจัดสัมมนาจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล ประจำปี 2568 EZ WebmasterJune 18, 2025 ผศ.ดร.สราวุฒิ สืบแย้ม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายการคลังและกิจการทั่วไป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยนางสาวรัตนา สุขเฉลิมศรี ผู้อำนวยการกองกลาง และบุคลากรกองกลาง เข้าเยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ มจพ. ณ ชั้น 3 สำนักงานหอสมุดกลาง โดยมีนางสาวพนารมย์ เกียรติลีลานันท์ และ… คณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล มจพ. ชูธงร่วมเครือข่ายจัดใหญ่การประชุมวิชาการ นวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (FIAC) 2025 EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร สมฤกษ์ จันทรอัมพร รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นเจ้าภาพร่วมในการจัดประชุมวิชาการด้านนวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (Food Innovation Asia Conference 2025) พร้อมด้วย รศ.ดร.รัชนี เจริญ คณบดีคณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล และคณะผู้บริหาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ… สมศ. พลิกโฉมการประเมินคุณภาพภายนอกด้วย AI ภายใต้ “ONESQA 5.0” เสริมความโปร่งใส แม่นยำ และพัฒนาอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 17, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยวิสัยทัศน์ และแนวทางการขับเคลื่อนองค์กรด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence – AI) ภายใต้ วิสัยทัศน์ ONESQA 5.0 โดยมุ่งเน้นการนำ AI เข้ามาใช้เพื่อเสริมประสิทธิภาพ ความโปร่งใส และความแม่นยำ ในกระบวนการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา พร้อมยกระดับสู่ความเป็นดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบบ ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster June 24, 2019 EZ Webmaster June 24, 2019 นศ.ทุนรัฐบาลญี่ปุ่น “เอ็ม” ว่าที่ ดร. วัย 28 ปี “เป็นเพียงลูกพ่อค้าแม่ค้า คงไม่มีโอกาสได้เรียนสูงๆ หรือเรียนไกลถึงต่างประเทศ ขอบคุณโอกาสที่ทางอาจารย์มอบให้ ผมจำจนขึ้นใจว่าต้องตั้งใจเรียน และพยายามทำให้ดีที่สุด คนเราสามารถสร้างโอกาสให้ตนเองได้ ถ้าเราพยายามทำ และเมื่อได้รับโอกาสต้องทำให้สำเร็จ” ว่าที่ ดร.วัย 28 ปี “เอ็ม” นายวิเชียร ขาวดาษ นักศึกษาทุนรัฐบาลญี่ปุ่น Japanese government (Monbukakusho: MEXT) Scholarship เส้นทางชีวิตว่าที่ ดร.วัย 28 ปี เอ็ม เล่าว่า เป็นลูกคนโตและมีน้องชายอีก 2 คน ที่บ้านทำธุรกิจขายของตกแต่งสวน ที่จังหวัดสิงห์บุรี มีฐานะปานกลาง สำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จากโรงเรียนบ้านแป้งวิทยา จ.สิงห์บุรี (สายวิทย์-คณิต) หลังจาก ม.6 “มองว่าสายวิศวกรรมพลาสติกเป็นสาขาที่น่าสนใจ เป็นอะไรที่แปลกใหม่ เพราะพลาสติกเข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวัน” จึงได้สมัครเรียนและสอบเข้าที่สาขาวิศวกรรมพลาสติก ภาควิชาวิศวกรรมวัสดุและโลหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (มทร.) ธัญบุรี ชีวิตนักศึกษาปี 1 ช่วงแรกต้องใช้เวลาในการปรับตัวกับการเรียน เพื่อนๆ และสิ่งแวดล้อมใหม่ๆ ซึ่งก็ไม่เหมือนตอนม.ปลาย และก็ไม่ได้มีความรู้มากมายเท่าที่ควร และคิดแค่ว่าจะตั้งใจเรียนให้จบป.ตรีและมีอาชีพที่ดีทำก็พอแล้ว ในช่วงสอบของแต่ละเทอมตนอาสาติวหนังสือให้กับเพื่อนๆเพื่อทบทวนให้กับตัวเองและก็แลกเปลี่ยนความรู้กัน สรุปบทเรียนในคาบเรียนให้เพื่อนใช้อ่านและติวก่อนสอบตลอดการเรียน ช่วงชั้นปี 2 เมื่อมีเวลาว่างจะเข้าไปช่วยดูแลแลปและเป็นผู้ช่วยวิจัย ในแลปของ ผศ.ดร.สมหมาย ผิวสอาด (ปัจจุบันรองอธิการบดี มทร.ธัญบุรี) ในการเข้าไปช่วยอาจารย์เป็นการเรียนรู้และนำความรู้ที่ได้มาใช้ในการเรียน ซึ่งอาจารย์เป็นคนที่ใจดีมาก ดูแลลูกศิษย์คอยช่วยเหลือทุกอย่าง และมอบโอกาสที่ดีให้กับลูกศิษย์เสมอซึ่งตนก็เป็นหนึ่งในนั้น เมื่อสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ด้วยเกรดเฉลี่ย 3.54 ได้รับเกียรตินิยมอันดับ 1 และได้รับการคัดเลือกจากทางคณะวิศวกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี ให้รับทุนรัฐบาลญี่ปุ่น เรียนต่อในระดับปริญญาโท-เอก ที่ Kyoto Institute of Technology ซึ่งทางมหาวิทยาลัยมีความร่วมมือกับทาง มทร.ธัญบุรี ศึกษาต่อในระดับปริญญาโท – เอกที่ Department of Bio-based Materials Science สาขา System Engineering for Bio-resources โดยเงื่อนไขสำหรับทุนรัฐบาลญี่ปุ่นที่ได้รับ ต้องศึกษาให้สำเร็จในระดับปริญญาโท-เอก ภายในระยะเวลา 5 ปี ป.โท 2 ปี และป.เอก 3 ปี และต้องมีผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์วารสารวิชาการก่อนเรียนจบป.เอกจำนวน 2 ฉบับ แต่ปัจจุบันนี้ ตนมีผลงานวิจัยทำพิเศษเพิ่มอีก 1 ฉบับ รวม 3 ฉบับ ทุนนี้เป็นทุนเรียนฟรีตลอดหลักสูตร โดยทางรัฐบาลญี่ปุ่นมีเงินค่าใช้จ่ายเดือนประมาณ 147,000 เยน สำหรับนักศึกษาป.โท และ1480,000 เยน สำหรับป.เอก ซึ่งเป็นเงินไทยประมาณ 50,000 บาท ซึ่งค่าครองชีพที่ญี่ปุ่นค่อยข้างสูงเมื่อเทียบกับไทย เงินในแต่ละเดือนต้องดูแลและบริหารจัดการเอง ทั้งเรื่องหอพัก ค่าใช้จ่ายในชีวิตประจำวันต่างๆ ตอนปี1 ได้อยู่หอของมหาลัยซึ่งค่าหอจะค่อนข้างถูกประมาณ 15,000 เยน/เดือน แต่เมื่อขึ้น ปี 2 ต้องออกมาเช่าหอข้างนอก จึงเช่าหอเล็กๆ ติดกับมหาวิทยาลัย ซึ่งราคาหออยู่ที่ 33,000 เยน/เดือน สะดวกในการเดินทางใกล้มหาวิทยาลัยเพียง 500 เมตร โดยปั่นจักรยานไปมหาวิทยาลัยทุกวัน และตนเองชอบทำอาหารจึงทำอาหารทานเองซึ่งราคาถูกกว่าเมื่อเทียบกับการกินร้านอาหารในญี่ปุ่น อยู่ที่นั่นไม่ได้ใช้เงินฟุ่มเฟือยจึงมีเงินเหลือเก็บส่งกลับให้ครอบครัวและให้น้องทั้งสองเรียนต่อ เมื่อมาอยู่ต่างบ้านต่างเมืองทุกคนก็ต้องปรับตัว สิ่งที่เป็นปัญหามากที่สุดในการเรียนช่วงแรกๆ คือ ภาษาและการสื่อสาร แต่ด้วยมีพื้นทางด้านภาษาอังกฤษ ช่วงแรก จึงใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารกับเพื่อนในแลป นำเสนอและอภิปรายงานวิจัยต่างๆ เพราะว่าไม่มีความรู้ทางด้านภาษาญี่ปุ่นเลย ยอมรับว่ากังวล และท้อกับการสื่อสารกับเพื่อนๆ ที่แลป เลยปรับเปลี่ยนตัวเองด้วยการหันมาเรียนภาษาญี่ปุ่นเพิ่มเติม เพื่อจะได้เข้าใจสิ่งที่อาจารย์สอนอย่างลึกซึ้ง มีเพื่อนๆ ญี่ปุ่นมากขึ้น สามารถเอามาใช้ในชีวิตประจำวันได้ด้วย ซึ่งคิดเสมอว่า “ทุกอย่างต้องเริ่มจากศูนย์ ต้องมีการปรับตัว เราไม่ได้มาคนเดียว แต่เอาหน้าตาของมหาวิทยาลัยและอาจารย์มาด้วย จะต้องไม่เสียชื่อเสียง” จึงลงเรียนภาษาญี่ปุ่น (ฟรี) เพิ่มเติมในมหาลัย “ตลอดระยะ 3 ปีแรก ของทุกวันที่อยู่ญี่ปุ่น ตนเองจะฟัง mp3 บทสนทนาพื้นฐานภาษาญี่ปุ่น” ให้เกิดความชินหู คุ้นสำเนียง พูดกับเพื่อนในแลปบ่อยๆ ซึ่งปัจจุบันสามารถสื่อสารและใช้ภาษาญี่ปุ่นได้ ในขณะเดียวกันตนเองยังพัฒนาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม จากยูทูป ด้วยการฟังเพลงและดูหนัง เพราะอย่างไรก็ตามภาษาอังกฤษเป็นภาษาสากลที่อาจจะต้องใช้ในอนาคต ในการเรียน ปริญญาโท เรียนและเข้าแลปทำวิจัย ซึ่งแลปวิจัยที่ตนเองเรียน มีอาจารย์ 3 ท่าน โดยอาจารย์แต่ละท่านจะมีความเชี่ยวชาญแตกต่างกัน โดยปีที่ 1 เรียนเกี่ยวกับการสังเคราะห์พอลิเมอร์ (พลาสติก) ปี 2 เรียนสายชีวเคมีวิทยา มีเพื่อนร่วมแลปทั้งนักศึกษาญี่ปุ่นและต่างชาติรวม 23 คนตั้งแต่ป.ตรี-ป.เอก ซึ่งแลปวิจัย 1 ห้อง มีห้องอาจารย์ 3 ห้อง ห้องแลป 4 ห้อง คือห้องวิจัยการสังเคราะห์ทางเคมีและชีววิทยา, ห้องจุลชีววิทยา และห้องเครื่องมือทดลอง ทุกวันจันทร์-ศุกร์ต้องเข้าแลปตั้งแต่ 10.00 – 17.00 น. แต่โดยส่วนใหญ่สมาชิกในแลปจะไม่ได้กลับตรงเวลา ขึ้นอยู่กับการทดลองงานวิจัยแต่ละคน โดยงานวิจัยจบ ป.โท เป็นวิจัยเกี่ยวกับการใช้เซลล์เชื้อเพลิงทางชีวภาพโดยใช้เซลลูโลสและจุลินทรีย์ ส่วนการเรียน ปริญญาเอก จะค่อนข้างเข้มข้นขึ้นเมื่อเทียบกับป.โท งานวิจัยจะค่อนข้างลึกและละเอียดเพื่อใช้ในการตีพิมพ์วารสารวิชาการ ตามหลักสูตรวิชาเรียนจึงน้อยลง ทางหลักสูตรป.เอก จะใช้วารสารวิชาการ จำนวน 2 ฉบับในการสำเร็จการศึกษา ซึ่งงานวิจัยทั้ง 2 ชิ้น ได้รับการตีพิมพ์เป็นที่เรียบร้อยแล้ว โดยงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ การวิจัยเกี่ยวกับจุลินทรีย์ที่ใช้ย่อยสะลายสารอินทรีย์จากขยะทางการเกษตรที่เน่าเสีย หรือที่ปล่อยทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งจุลินทรีย์สามารถปล่อยอิเล็กตรอนออกมาจากกระบวนการเมทบอลิซึม จากนั้นอิเล็กตรอนที่ถูกปล่อยออกมาใช้นำมาผลิตเป็นกระแสไฟฟ้าผ่านเซลล์เชื้อเพลิงทางชีวภาพ โดยสามารถนำมาใช้ในโรงไฟฟ้าขนาดใหญ่ เช่น โรงงานสำปะหลังที่มีน้ำเสีย และงานวิจัยชิ้นที่ 3 กำลังจะตีพิมพ์ จากการศึกษาทลายปาล์มน้ำมันที่เหลือทิ้งในประเทศไทยซึ่งมีจำนวนมากและบางส่วน กลายเป็นขยะ โดยใช้จุลินทรีย์ที่ย่อยสลายเป็นเซลลูโลสที่มีอยู่ในปาล์มเพื่อลดปริมาณขยะจากทลายปาล์ม และยังสามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้ในขณะเดียวกัน ขณะนี้อยู่ในขั้นของการดำเนินการจัดการเอกสารในการตีพิมพ์ การใช้ชีวิตในญี่ปุ่น แต่ละวันเวลามีค่า ต้องพยายามเรียนให้จบภายในเวลาที่กำหนด คือ 5 ปี “ทำให้ดีที่สุด ถ้าเราทำไม่ดี แน่นอนว่ารุ่นน้องก็อาจจะไม่ได้โอกาสได้ไปเรียนแบบตนเอง จึงตั้งใจทำ ไม่ให้ใครตำหนิได้ และทำทุกวันให้มีความสุข” เส้นทางนักศึกษาทุนญี่ปุ่น ต้องมีความอดทนต่อความกดดันต่างๆ เนื่องด้วยอาจารย์จะค่อนข้างทำงานอย่างเป็นระบบ ระเบียบและละเอียดในทุกๆ ขั้นตอนเพื่อให้ได้งานวิจัยออกมาอย่างมีประสิทธิภาพและใช้งานได้จริง งานวิจัยจึงต้องใช้เวลาและความพยายามเป็นอย่างมาก การเรียนที่สำคัญ การใช้ชีวิตอย่างมีความสุขก็สำคัญ ที่นี่มีนักศึกษาไทยอยู่มากและมีกิจกรรมต่างๆ ทั้งกิน เที่ยว สังสรรค์ มีสมาคนนักเรียนไทยในญี่ปุ่น ซึ่งจะมีกิจกรรมทำร่วมกันอยู่บ่อยๆ และบางครั้งก็ไปเที่ยวกับเพื่อนๆญี่ปุ่นได้ใช้ชีวิตแบบคนญี่ปุ่น มีกิจกรรมต่างๆ แลกเปลี่ยนวัฒนธรรมกัน เป็นสิ่งที่ดีมากๆ มหาวิทยาลัยที่เรียนตั้งอยู่เกียวโต ซึ่งเป็นเมืองหลวงเก่าของญี่ปุ่น เป็นเมืองแห่งวัฒนธรรมอันเก่าแก่ซึ่งน่าอยู่และเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงอีกด้วย ในเดือนกันยายน 2562 นี้ จะสำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาเอก ความภาคภูมิใจของลูกพ่อค้าแม่ค้า และความภูมิใจของตนเอง ซึ่งมาจากเด็กเรียนโรงเรียนเล็กๆ ไม่มีชื่อเสียงมากนัก มีเด็กนักเรียนเพียงไม่ถึง 300 คน ความคิดตอนแรกๆ ที่คิดแค่เรียนจบป.ตรี ทำงานดูแลพ่อแม่ได้แค่นี้ก็เกินพอ โดยไม่คิดว่าจะเรียนจบปริญญาเอก โดยหลังเรียนจบอยากกลับมาเป็นอาจารย์ที่ มทร.ธัญบุรี แต่ด้วยตอนนี้ไม่มีตำแหน่ง จึงแพลนที่จะทำงานที่ Token thermotech Japan ในญี่ปุ่น ซึ่งเป็นโรงงานอุตสาหกรรมที่มีความร่วมมือกับ ทาง มทร.ธัญบุรี ในการมอบทุนให้กับรุ่นน้องเข้าศึกษาฝึกงานทุกๆ ปี โดยโรงงานดังกล่าวเปิดในหลายประเทศทั้ง ญี่ปุ่น ไทย จีน มาเลเซีย และเม็กซิโก โดยที่ญี่ปุ่น เป็นบริษัทหลัก คิดไว้จะทำงานในโรงงานที่ญี่ปุ่นประมาณ 4-5 ปี เรียนรู้ระบบในการทำงาน และกลับมาทำงานที่บริษัทเดียวกันที่ตั้งอยู่ในไทย หากน้องๆ อยากได้รับโอกาสดีๆ แบบนี้แน่นอนว่า มทร.ธัญบุรี สามารถเป็นสะพานส่วนหนึ่งที่จะพาเราได้มีโอกาสเรียนที่ญี่ปุ่นและมีงานดีๆ หากเรามีความตั้งใจที่แน่วแน่ ตั้งใจเรียน และที่สำคัญเป็นคนดี แน่นอนว่าความสำเร็จก็คงอยู่ไม่ไกล วิเชียร ขาวดาษ กล่าวทิ้งท้าย EZ Webmaster Related Posts โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนแม่เมาะวิทยา โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนาน้อย โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสตรีศรีน่าน โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเถินวิทยา โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนลำปางกัลยาณี Post navigation PREVIOUS Previous post: ทุนครูปฐมวัย 100% ม.หอการค้าไทยNEXT Next post: ม.ราชภัฏสวนสุนันทา รับสมัครนักศึกษาใหม่ ภาคปกติ ระดับปริญญาตรี (รอบที่ 5 เพิ่มเติม) ประจำปี 2562
การตลาดดิจิทัลและระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย จัดกิจกรรมตอบแทนกลับคืนสังคม EZ WebmasterJune 17, 2025 นักศึกษากลุ่มวิชาการตลาดดิจิทัล และกลุ่มวิชาการบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ร่วมทำกิจกรรม Digital Marketing Innovation for Sustainability สร้างสรรค์ประสบการณ์ทางการตลาดดิจิทัลและการบริการสังคม โดยนักศึกษาได้เข้ากิจกรรมปล่อยสัตว์ทะเลที่ธนาคารปู จังหวัดระยอง และบริจากสิ่งของให้กับชมรมผู้พิการทางสติปัญญา จังหวัดชลบุรี ร่วมเรียนรู้การสร้างสรรค์สื่อสำหรับการสื่อสารทางการตลาดดิจิทัล เพื่อสร้างความรับผิดชอบต่อสังคมให้กับนักศึกษาและร่วมสร้างสรรค์สังคมให้น่าอยู่ต่อไป เรียนคณะบริหารธุรกิจแนวใหม่ต้องสัมผัสประสบการณ์แบบนักธุรกิจ ถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์จากคณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญรวมทั้งนักธุรกิจมืออาชีพ… “จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” EZ WebmasterJune 17, 2025 ในนามของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผมขอส่งความห่วงใยมายังพวกเราทุกคนที่กำลังใช้ชีวิตและศึกษาอยู่ในสหรัฐฯ โดยเฉพาะในช่วงเวลาที่มีความไม่แน่นอนเกี่ยวกับนโยบายวีซ่าที่อาจส่งผลต่อสิทธิในการศึกษา เมื่อไม่นานนี้ ผมและผู้บริหารจุฬาฯ มีโอกาสได้ไปเยือน Harvard และ MIT และได้พบกับนักศึกษาชาวไทยหลายคน ทุกคนต่างมีความมุ่งมั่น ตั้งใจ และอดทนในการใฝ่หาความรู้ เพื่อนำมาพัฒนาตนเอง สังคม และประเทศชาติ แม้จะอยู่ท่ามกลางความกังวลใจต่ออนาคตที่ยังไม่ชัดเจน ผมอยากบอกว่าพวกเราที่จุฬาฯ…
“จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” EZ WebmasterJune 17, 2025 ในนามของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผมขอส่งความห่วงใยมายังพวกเราทุกคนที่กำลังใช้ชีวิตและศึกษาอยู่ในสหรัฐฯ โดยเฉพาะในช่วงเวลาที่มีความไม่แน่นอนเกี่ยวกับนโยบายวีซ่าที่อาจส่งผลต่อสิทธิในการศึกษา เมื่อไม่นานนี้ ผมและผู้บริหารจุฬาฯ มีโอกาสได้ไปเยือน Harvard และ MIT และได้พบกับนักศึกษาชาวไทยหลายคน ทุกคนต่างมีความมุ่งมั่น ตั้งใจ และอดทนในการใฝ่หาความรู้ เพื่อนำมาพัฒนาตนเอง สังคม และประเทศชาติ แม้จะอยู่ท่ามกลางความกังวลใจต่ออนาคตที่ยังไม่ชัดเจน ผมอยากบอกว่าพวกเราที่จุฬาฯ…
SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ครู-อาจารย์ อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก tui sakrapeeJune 18, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา นำโดย รศ.ดร.ชุติกาญจน์ ศรีวิบูลย์ อธิการบดี พร้อมคณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย เดินทางเยือนโรงเรียนนานาชาติ Qingdao No.1 International School of Shandong Province (QISS) และ Qingdao University… กองกลาง มจพ. เยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ และจัดสัมมนาจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล ประจำปี 2568 EZ WebmasterJune 18, 2025 ผศ.ดร.สราวุฒิ สืบแย้ม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายการคลังและกิจการทั่วไป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยนางสาวรัตนา สุขเฉลิมศรี ผู้อำนวยการกองกลาง และบุคลากรกองกลาง เข้าเยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ มจพ. ณ ชั้น 3 สำนักงานหอสมุดกลาง โดยมีนางสาวพนารมย์ เกียรติลีลานันท์ และ… คณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล มจพ. ชูธงร่วมเครือข่ายจัดใหญ่การประชุมวิชาการ นวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (FIAC) 2025 EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร สมฤกษ์ จันทรอัมพร รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นเจ้าภาพร่วมในการจัดประชุมวิชาการด้านนวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (Food Innovation Asia Conference 2025) พร้อมด้วย รศ.ดร.รัชนี เจริญ คณบดีคณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล และคณะผู้บริหาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ… สมศ. พลิกโฉมการประเมินคุณภาพภายนอกด้วย AI ภายใต้ “ONESQA 5.0” เสริมความโปร่งใส แม่นยำ และพัฒนาอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 17, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยวิสัยทัศน์ และแนวทางการขับเคลื่อนองค์กรด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence – AI) ภายใต้ วิสัยทัศน์ ONESQA 5.0 โดยมุ่งเน้นการนำ AI เข้ามาใช้เพื่อเสริมประสิทธิภาพ ความโปร่งใส และความแม่นยำ ในกระบวนการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา พร้อมยกระดับสู่ความเป็นดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบบ ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster June 24, 2019 EZ Webmaster June 24, 2019 นศ.ทุนรัฐบาลญี่ปุ่น “เอ็ม” ว่าที่ ดร. วัย 28 ปี “เป็นเพียงลูกพ่อค้าแม่ค้า คงไม่มีโอกาสได้เรียนสูงๆ หรือเรียนไกลถึงต่างประเทศ ขอบคุณโอกาสที่ทางอาจารย์มอบให้ ผมจำจนขึ้นใจว่าต้องตั้งใจเรียน และพยายามทำให้ดีที่สุด คนเราสามารถสร้างโอกาสให้ตนเองได้ ถ้าเราพยายามทำ และเมื่อได้รับโอกาสต้องทำให้สำเร็จ” ว่าที่ ดร.วัย 28 ปี “เอ็ม” นายวิเชียร ขาวดาษ นักศึกษาทุนรัฐบาลญี่ปุ่น Japanese government (Monbukakusho: MEXT) Scholarship เส้นทางชีวิตว่าที่ ดร.วัย 28 ปี เอ็ม เล่าว่า เป็นลูกคนโตและมีน้องชายอีก 2 คน ที่บ้านทำธุรกิจขายของตกแต่งสวน ที่จังหวัดสิงห์บุรี มีฐานะปานกลาง สำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จากโรงเรียนบ้านแป้งวิทยา จ.สิงห์บุรี (สายวิทย์-คณิต) หลังจาก ม.6 “มองว่าสายวิศวกรรมพลาสติกเป็นสาขาที่น่าสนใจ เป็นอะไรที่แปลกใหม่ เพราะพลาสติกเข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวัน” จึงได้สมัครเรียนและสอบเข้าที่สาขาวิศวกรรมพลาสติก ภาควิชาวิศวกรรมวัสดุและโลหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (มทร.) ธัญบุรี ชีวิตนักศึกษาปี 1 ช่วงแรกต้องใช้เวลาในการปรับตัวกับการเรียน เพื่อนๆ และสิ่งแวดล้อมใหม่ๆ ซึ่งก็ไม่เหมือนตอนม.ปลาย และก็ไม่ได้มีความรู้มากมายเท่าที่ควร และคิดแค่ว่าจะตั้งใจเรียนให้จบป.ตรีและมีอาชีพที่ดีทำก็พอแล้ว ในช่วงสอบของแต่ละเทอมตนอาสาติวหนังสือให้กับเพื่อนๆเพื่อทบทวนให้กับตัวเองและก็แลกเปลี่ยนความรู้กัน สรุปบทเรียนในคาบเรียนให้เพื่อนใช้อ่านและติวก่อนสอบตลอดการเรียน ช่วงชั้นปี 2 เมื่อมีเวลาว่างจะเข้าไปช่วยดูแลแลปและเป็นผู้ช่วยวิจัย ในแลปของ ผศ.ดร.สมหมาย ผิวสอาด (ปัจจุบันรองอธิการบดี มทร.ธัญบุรี) ในการเข้าไปช่วยอาจารย์เป็นการเรียนรู้และนำความรู้ที่ได้มาใช้ในการเรียน ซึ่งอาจารย์เป็นคนที่ใจดีมาก ดูแลลูกศิษย์คอยช่วยเหลือทุกอย่าง และมอบโอกาสที่ดีให้กับลูกศิษย์เสมอซึ่งตนก็เป็นหนึ่งในนั้น เมื่อสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ด้วยเกรดเฉลี่ย 3.54 ได้รับเกียรตินิยมอันดับ 1 และได้รับการคัดเลือกจากทางคณะวิศวกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี ให้รับทุนรัฐบาลญี่ปุ่น เรียนต่อในระดับปริญญาโท-เอก ที่ Kyoto Institute of Technology ซึ่งทางมหาวิทยาลัยมีความร่วมมือกับทาง มทร.ธัญบุรี ศึกษาต่อในระดับปริญญาโท – เอกที่ Department of Bio-based Materials Science สาขา System Engineering for Bio-resources โดยเงื่อนไขสำหรับทุนรัฐบาลญี่ปุ่นที่ได้รับ ต้องศึกษาให้สำเร็จในระดับปริญญาโท-เอก ภายในระยะเวลา 5 ปี ป.โท 2 ปี และป.เอก 3 ปี และต้องมีผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์วารสารวิชาการก่อนเรียนจบป.เอกจำนวน 2 ฉบับ แต่ปัจจุบันนี้ ตนมีผลงานวิจัยทำพิเศษเพิ่มอีก 1 ฉบับ รวม 3 ฉบับ ทุนนี้เป็นทุนเรียนฟรีตลอดหลักสูตร โดยทางรัฐบาลญี่ปุ่นมีเงินค่าใช้จ่ายเดือนประมาณ 147,000 เยน สำหรับนักศึกษาป.โท และ1480,000 เยน สำหรับป.เอก ซึ่งเป็นเงินไทยประมาณ 50,000 บาท ซึ่งค่าครองชีพที่ญี่ปุ่นค่อยข้างสูงเมื่อเทียบกับไทย เงินในแต่ละเดือนต้องดูแลและบริหารจัดการเอง ทั้งเรื่องหอพัก ค่าใช้จ่ายในชีวิตประจำวันต่างๆ ตอนปี1 ได้อยู่หอของมหาลัยซึ่งค่าหอจะค่อนข้างถูกประมาณ 15,000 เยน/เดือน แต่เมื่อขึ้น ปี 2 ต้องออกมาเช่าหอข้างนอก จึงเช่าหอเล็กๆ ติดกับมหาวิทยาลัย ซึ่งราคาหออยู่ที่ 33,000 เยน/เดือน สะดวกในการเดินทางใกล้มหาวิทยาลัยเพียง 500 เมตร โดยปั่นจักรยานไปมหาวิทยาลัยทุกวัน และตนเองชอบทำอาหารจึงทำอาหารทานเองซึ่งราคาถูกกว่าเมื่อเทียบกับการกินร้านอาหารในญี่ปุ่น อยู่ที่นั่นไม่ได้ใช้เงินฟุ่มเฟือยจึงมีเงินเหลือเก็บส่งกลับให้ครอบครัวและให้น้องทั้งสองเรียนต่อ เมื่อมาอยู่ต่างบ้านต่างเมืองทุกคนก็ต้องปรับตัว สิ่งที่เป็นปัญหามากที่สุดในการเรียนช่วงแรกๆ คือ ภาษาและการสื่อสาร แต่ด้วยมีพื้นทางด้านภาษาอังกฤษ ช่วงแรก จึงใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารกับเพื่อนในแลป นำเสนอและอภิปรายงานวิจัยต่างๆ เพราะว่าไม่มีความรู้ทางด้านภาษาญี่ปุ่นเลย ยอมรับว่ากังวล และท้อกับการสื่อสารกับเพื่อนๆ ที่แลป เลยปรับเปลี่ยนตัวเองด้วยการหันมาเรียนภาษาญี่ปุ่นเพิ่มเติม เพื่อจะได้เข้าใจสิ่งที่อาจารย์สอนอย่างลึกซึ้ง มีเพื่อนๆ ญี่ปุ่นมากขึ้น สามารถเอามาใช้ในชีวิตประจำวันได้ด้วย ซึ่งคิดเสมอว่า “ทุกอย่างต้องเริ่มจากศูนย์ ต้องมีการปรับตัว เราไม่ได้มาคนเดียว แต่เอาหน้าตาของมหาวิทยาลัยและอาจารย์มาด้วย จะต้องไม่เสียชื่อเสียง” จึงลงเรียนภาษาญี่ปุ่น (ฟรี) เพิ่มเติมในมหาลัย “ตลอดระยะ 3 ปีแรก ของทุกวันที่อยู่ญี่ปุ่น ตนเองจะฟัง mp3 บทสนทนาพื้นฐานภาษาญี่ปุ่น” ให้เกิดความชินหู คุ้นสำเนียง พูดกับเพื่อนในแลปบ่อยๆ ซึ่งปัจจุบันสามารถสื่อสารและใช้ภาษาญี่ปุ่นได้ ในขณะเดียวกันตนเองยังพัฒนาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม จากยูทูป ด้วยการฟังเพลงและดูหนัง เพราะอย่างไรก็ตามภาษาอังกฤษเป็นภาษาสากลที่อาจจะต้องใช้ในอนาคต ในการเรียน ปริญญาโท เรียนและเข้าแลปทำวิจัย ซึ่งแลปวิจัยที่ตนเองเรียน มีอาจารย์ 3 ท่าน โดยอาจารย์แต่ละท่านจะมีความเชี่ยวชาญแตกต่างกัน โดยปีที่ 1 เรียนเกี่ยวกับการสังเคราะห์พอลิเมอร์ (พลาสติก) ปี 2 เรียนสายชีวเคมีวิทยา มีเพื่อนร่วมแลปทั้งนักศึกษาญี่ปุ่นและต่างชาติรวม 23 คนตั้งแต่ป.ตรี-ป.เอก ซึ่งแลปวิจัย 1 ห้อง มีห้องอาจารย์ 3 ห้อง ห้องแลป 4 ห้อง คือห้องวิจัยการสังเคราะห์ทางเคมีและชีววิทยา, ห้องจุลชีววิทยา และห้องเครื่องมือทดลอง ทุกวันจันทร์-ศุกร์ต้องเข้าแลปตั้งแต่ 10.00 – 17.00 น. แต่โดยส่วนใหญ่สมาชิกในแลปจะไม่ได้กลับตรงเวลา ขึ้นอยู่กับการทดลองงานวิจัยแต่ละคน โดยงานวิจัยจบ ป.โท เป็นวิจัยเกี่ยวกับการใช้เซลล์เชื้อเพลิงทางชีวภาพโดยใช้เซลลูโลสและจุลินทรีย์ ส่วนการเรียน ปริญญาเอก จะค่อนข้างเข้มข้นขึ้นเมื่อเทียบกับป.โท งานวิจัยจะค่อนข้างลึกและละเอียดเพื่อใช้ในการตีพิมพ์วารสารวิชาการ ตามหลักสูตรวิชาเรียนจึงน้อยลง ทางหลักสูตรป.เอก จะใช้วารสารวิชาการ จำนวน 2 ฉบับในการสำเร็จการศึกษา ซึ่งงานวิจัยทั้ง 2 ชิ้น ได้รับการตีพิมพ์เป็นที่เรียบร้อยแล้ว โดยงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ การวิจัยเกี่ยวกับจุลินทรีย์ที่ใช้ย่อยสะลายสารอินทรีย์จากขยะทางการเกษตรที่เน่าเสีย หรือที่ปล่อยทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งจุลินทรีย์สามารถปล่อยอิเล็กตรอนออกมาจากกระบวนการเมทบอลิซึม จากนั้นอิเล็กตรอนที่ถูกปล่อยออกมาใช้นำมาผลิตเป็นกระแสไฟฟ้าผ่านเซลล์เชื้อเพลิงทางชีวภาพ โดยสามารถนำมาใช้ในโรงไฟฟ้าขนาดใหญ่ เช่น โรงงานสำปะหลังที่มีน้ำเสีย และงานวิจัยชิ้นที่ 3 กำลังจะตีพิมพ์ จากการศึกษาทลายปาล์มน้ำมันที่เหลือทิ้งในประเทศไทยซึ่งมีจำนวนมากและบางส่วน กลายเป็นขยะ โดยใช้จุลินทรีย์ที่ย่อยสลายเป็นเซลลูโลสที่มีอยู่ในปาล์มเพื่อลดปริมาณขยะจากทลายปาล์ม และยังสามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้ในขณะเดียวกัน ขณะนี้อยู่ในขั้นของการดำเนินการจัดการเอกสารในการตีพิมพ์ การใช้ชีวิตในญี่ปุ่น แต่ละวันเวลามีค่า ต้องพยายามเรียนให้จบภายในเวลาที่กำหนด คือ 5 ปี “ทำให้ดีที่สุด ถ้าเราทำไม่ดี แน่นอนว่ารุ่นน้องก็อาจจะไม่ได้โอกาสได้ไปเรียนแบบตนเอง จึงตั้งใจทำ ไม่ให้ใครตำหนิได้ และทำทุกวันให้มีความสุข” เส้นทางนักศึกษาทุนญี่ปุ่น ต้องมีความอดทนต่อความกดดันต่างๆ เนื่องด้วยอาจารย์จะค่อนข้างทำงานอย่างเป็นระบบ ระเบียบและละเอียดในทุกๆ ขั้นตอนเพื่อให้ได้งานวิจัยออกมาอย่างมีประสิทธิภาพและใช้งานได้จริง งานวิจัยจึงต้องใช้เวลาและความพยายามเป็นอย่างมาก การเรียนที่สำคัญ การใช้ชีวิตอย่างมีความสุขก็สำคัญ ที่นี่มีนักศึกษาไทยอยู่มากและมีกิจกรรมต่างๆ ทั้งกิน เที่ยว สังสรรค์ มีสมาคนนักเรียนไทยในญี่ปุ่น ซึ่งจะมีกิจกรรมทำร่วมกันอยู่บ่อยๆ และบางครั้งก็ไปเที่ยวกับเพื่อนๆญี่ปุ่นได้ใช้ชีวิตแบบคนญี่ปุ่น มีกิจกรรมต่างๆ แลกเปลี่ยนวัฒนธรรมกัน เป็นสิ่งที่ดีมากๆ มหาวิทยาลัยที่เรียนตั้งอยู่เกียวโต ซึ่งเป็นเมืองหลวงเก่าของญี่ปุ่น เป็นเมืองแห่งวัฒนธรรมอันเก่าแก่ซึ่งน่าอยู่และเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงอีกด้วย ในเดือนกันยายน 2562 นี้ จะสำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาเอก ความภาคภูมิใจของลูกพ่อค้าแม่ค้า และความภูมิใจของตนเอง ซึ่งมาจากเด็กเรียนโรงเรียนเล็กๆ ไม่มีชื่อเสียงมากนัก มีเด็กนักเรียนเพียงไม่ถึง 300 คน ความคิดตอนแรกๆ ที่คิดแค่เรียนจบป.ตรี ทำงานดูแลพ่อแม่ได้แค่นี้ก็เกินพอ โดยไม่คิดว่าจะเรียนจบปริญญาเอก โดยหลังเรียนจบอยากกลับมาเป็นอาจารย์ที่ มทร.ธัญบุรี แต่ด้วยตอนนี้ไม่มีตำแหน่ง จึงแพลนที่จะทำงานที่ Token thermotech Japan ในญี่ปุ่น ซึ่งเป็นโรงงานอุตสาหกรรมที่มีความร่วมมือกับ ทาง มทร.ธัญบุรี ในการมอบทุนให้กับรุ่นน้องเข้าศึกษาฝึกงานทุกๆ ปี โดยโรงงานดังกล่าวเปิดในหลายประเทศทั้ง ญี่ปุ่น ไทย จีน มาเลเซีย และเม็กซิโก โดยที่ญี่ปุ่น เป็นบริษัทหลัก คิดไว้จะทำงานในโรงงานที่ญี่ปุ่นประมาณ 4-5 ปี เรียนรู้ระบบในการทำงาน และกลับมาทำงานที่บริษัทเดียวกันที่ตั้งอยู่ในไทย หากน้องๆ อยากได้รับโอกาสดีๆ แบบนี้แน่นอนว่า มทร.ธัญบุรี สามารถเป็นสะพานส่วนหนึ่งที่จะพาเราได้มีโอกาสเรียนที่ญี่ปุ่นและมีงานดีๆ หากเรามีความตั้งใจที่แน่วแน่ ตั้งใจเรียน และที่สำคัญเป็นคนดี แน่นอนว่าความสำเร็จก็คงอยู่ไม่ไกล วิเชียร ขาวดาษ กล่าวทิ้งท้าย EZ Webmaster Related Posts โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนแม่เมาะวิทยา โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนาน้อย โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสตรีศรีน่าน โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเถินวิทยา โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนลำปางกัลยาณี Post navigation PREVIOUS Previous post: ทุนครูปฐมวัย 100% ม.หอการค้าไทยNEXT Next post: ม.ราชภัฏสวนสุนันทา รับสมัครนักศึกษาใหม่ ภาคปกติ ระดับปริญญาตรี (รอบที่ 5 เพิ่มเติม) ประจำปี 2562
ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ครู-อาจารย์ อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก tui sakrapeeJune 18, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา นำโดย รศ.ดร.ชุติกาญจน์ ศรีวิบูลย์ อธิการบดี พร้อมคณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย เดินทางเยือนโรงเรียนนานาชาติ Qingdao No.1 International School of Shandong Province (QISS) และ Qingdao University… กองกลาง มจพ. เยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ และจัดสัมมนาจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล ประจำปี 2568 EZ WebmasterJune 18, 2025 ผศ.ดร.สราวุฒิ สืบแย้ม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายการคลังและกิจการทั่วไป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยนางสาวรัตนา สุขเฉลิมศรี ผู้อำนวยการกองกลาง และบุคลากรกองกลาง เข้าเยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ มจพ. ณ ชั้น 3 สำนักงานหอสมุดกลาง โดยมีนางสาวพนารมย์ เกียรติลีลานันท์ และ… คณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล มจพ. ชูธงร่วมเครือข่ายจัดใหญ่การประชุมวิชาการ นวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (FIAC) 2025 EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร สมฤกษ์ จันทรอัมพร รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นเจ้าภาพร่วมในการจัดประชุมวิชาการด้านนวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (Food Innovation Asia Conference 2025) พร้อมด้วย รศ.ดร.รัชนี เจริญ คณบดีคณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล และคณะผู้บริหาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ… สมศ. พลิกโฉมการประเมินคุณภาพภายนอกด้วย AI ภายใต้ “ONESQA 5.0” เสริมความโปร่งใส แม่นยำ และพัฒนาอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 17, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยวิสัยทัศน์ และแนวทางการขับเคลื่อนองค์กรด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence – AI) ภายใต้ วิสัยทัศน์ ONESQA 5.0 โดยมุ่งเน้นการนำ AI เข้ามาใช้เพื่อเสริมประสิทธิภาพ ความโปร่งใส และความแม่นยำ ในกระบวนการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา พร้อมยกระดับสู่ความเป็นดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบบ ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster June 24, 2019 EZ Webmaster June 24, 2019 นศ.ทุนรัฐบาลญี่ปุ่น “เอ็ม” ว่าที่ ดร. วัย 28 ปี “เป็นเพียงลูกพ่อค้าแม่ค้า คงไม่มีโอกาสได้เรียนสูงๆ หรือเรียนไกลถึงต่างประเทศ ขอบคุณโอกาสที่ทางอาจารย์มอบให้ ผมจำจนขึ้นใจว่าต้องตั้งใจเรียน และพยายามทำให้ดีที่สุด คนเราสามารถสร้างโอกาสให้ตนเองได้ ถ้าเราพยายามทำ และเมื่อได้รับโอกาสต้องทำให้สำเร็จ” ว่าที่ ดร.วัย 28 ปี “เอ็ม” นายวิเชียร ขาวดาษ นักศึกษาทุนรัฐบาลญี่ปุ่น Japanese government (Monbukakusho: MEXT) Scholarship เส้นทางชีวิตว่าที่ ดร.วัย 28 ปี เอ็ม เล่าว่า เป็นลูกคนโตและมีน้องชายอีก 2 คน ที่บ้านทำธุรกิจขายของตกแต่งสวน ที่จังหวัดสิงห์บุรี มีฐานะปานกลาง สำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จากโรงเรียนบ้านแป้งวิทยา จ.สิงห์บุรี (สายวิทย์-คณิต) หลังจาก ม.6 “มองว่าสายวิศวกรรมพลาสติกเป็นสาขาที่น่าสนใจ เป็นอะไรที่แปลกใหม่ เพราะพลาสติกเข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวัน” จึงได้สมัครเรียนและสอบเข้าที่สาขาวิศวกรรมพลาสติก ภาควิชาวิศวกรรมวัสดุและโลหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (มทร.) ธัญบุรี ชีวิตนักศึกษาปี 1 ช่วงแรกต้องใช้เวลาในการปรับตัวกับการเรียน เพื่อนๆ และสิ่งแวดล้อมใหม่ๆ ซึ่งก็ไม่เหมือนตอนม.ปลาย และก็ไม่ได้มีความรู้มากมายเท่าที่ควร และคิดแค่ว่าจะตั้งใจเรียนให้จบป.ตรีและมีอาชีพที่ดีทำก็พอแล้ว ในช่วงสอบของแต่ละเทอมตนอาสาติวหนังสือให้กับเพื่อนๆเพื่อทบทวนให้กับตัวเองและก็แลกเปลี่ยนความรู้กัน สรุปบทเรียนในคาบเรียนให้เพื่อนใช้อ่านและติวก่อนสอบตลอดการเรียน ช่วงชั้นปี 2 เมื่อมีเวลาว่างจะเข้าไปช่วยดูแลแลปและเป็นผู้ช่วยวิจัย ในแลปของ ผศ.ดร.สมหมาย ผิวสอาด (ปัจจุบันรองอธิการบดี มทร.ธัญบุรี) ในการเข้าไปช่วยอาจารย์เป็นการเรียนรู้และนำความรู้ที่ได้มาใช้ในการเรียน ซึ่งอาจารย์เป็นคนที่ใจดีมาก ดูแลลูกศิษย์คอยช่วยเหลือทุกอย่าง และมอบโอกาสที่ดีให้กับลูกศิษย์เสมอซึ่งตนก็เป็นหนึ่งในนั้น เมื่อสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ด้วยเกรดเฉลี่ย 3.54 ได้รับเกียรตินิยมอันดับ 1 และได้รับการคัดเลือกจากทางคณะวิศวกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี ให้รับทุนรัฐบาลญี่ปุ่น เรียนต่อในระดับปริญญาโท-เอก ที่ Kyoto Institute of Technology ซึ่งทางมหาวิทยาลัยมีความร่วมมือกับทาง มทร.ธัญบุรี ศึกษาต่อในระดับปริญญาโท – เอกที่ Department of Bio-based Materials Science สาขา System Engineering for Bio-resources โดยเงื่อนไขสำหรับทุนรัฐบาลญี่ปุ่นที่ได้รับ ต้องศึกษาให้สำเร็จในระดับปริญญาโท-เอก ภายในระยะเวลา 5 ปี ป.โท 2 ปี และป.เอก 3 ปี และต้องมีผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์วารสารวิชาการก่อนเรียนจบป.เอกจำนวน 2 ฉบับ แต่ปัจจุบันนี้ ตนมีผลงานวิจัยทำพิเศษเพิ่มอีก 1 ฉบับ รวม 3 ฉบับ ทุนนี้เป็นทุนเรียนฟรีตลอดหลักสูตร โดยทางรัฐบาลญี่ปุ่นมีเงินค่าใช้จ่ายเดือนประมาณ 147,000 เยน สำหรับนักศึกษาป.โท และ1480,000 เยน สำหรับป.เอก ซึ่งเป็นเงินไทยประมาณ 50,000 บาท ซึ่งค่าครองชีพที่ญี่ปุ่นค่อยข้างสูงเมื่อเทียบกับไทย เงินในแต่ละเดือนต้องดูแลและบริหารจัดการเอง ทั้งเรื่องหอพัก ค่าใช้จ่ายในชีวิตประจำวันต่างๆ ตอนปี1 ได้อยู่หอของมหาลัยซึ่งค่าหอจะค่อนข้างถูกประมาณ 15,000 เยน/เดือน แต่เมื่อขึ้น ปี 2 ต้องออกมาเช่าหอข้างนอก จึงเช่าหอเล็กๆ ติดกับมหาวิทยาลัย ซึ่งราคาหออยู่ที่ 33,000 เยน/เดือน สะดวกในการเดินทางใกล้มหาวิทยาลัยเพียง 500 เมตร โดยปั่นจักรยานไปมหาวิทยาลัยทุกวัน และตนเองชอบทำอาหารจึงทำอาหารทานเองซึ่งราคาถูกกว่าเมื่อเทียบกับการกินร้านอาหารในญี่ปุ่น อยู่ที่นั่นไม่ได้ใช้เงินฟุ่มเฟือยจึงมีเงินเหลือเก็บส่งกลับให้ครอบครัวและให้น้องทั้งสองเรียนต่อ เมื่อมาอยู่ต่างบ้านต่างเมืองทุกคนก็ต้องปรับตัว สิ่งที่เป็นปัญหามากที่สุดในการเรียนช่วงแรกๆ คือ ภาษาและการสื่อสาร แต่ด้วยมีพื้นทางด้านภาษาอังกฤษ ช่วงแรก จึงใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารกับเพื่อนในแลป นำเสนอและอภิปรายงานวิจัยต่างๆ เพราะว่าไม่มีความรู้ทางด้านภาษาญี่ปุ่นเลย ยอมรับว่ากังวล และท้อกับการสื่อสารกับเพื่อนๆ ที่แลป เลยปรับเปลี่ยนตัวเองด้วยการหันมาเรียนภาษาญี่ปุ่นเพิ่มเติม เพื่อจะได้เข้าใจสิ่งที่อาจารย์สอนอย่างลึกซึ้ง มีเพื่อนๆ ญี่ปุ่นมากขึ้น สามารถเอามาใช้ในชีวิตประจำวันได้ด้วย ซึ่งคิดเสมอว่า “ทุกอย่างต้องเริ่มจากศูนย์ ต้องมีการปรับตัว เราไม่ได้มาคนเดียว แต่เอาหน้าตาของมหาวิทยาลัยและอาจารย์มาด้วย จะต้องไม่เสียชื่อเสียง” จึงลงเรียนภาษาญี่ปุ่น (ฟรี) เพิ่มเติมในมหาลัย “ตลอดระยะ 3 ปีแรก ของทุกวันที่อยู่ญี่ปุ่น ตนเองจะฟัง mp3 บทสนทนาพื้นฐานภาษาญี่ปุ่น” ให้เกิดความชินหู คุ้นสำเนียง พูดกับเพื่อนในแลปบ่อยๆ ซึ่งปัจจุบันสามารถสื่อสารและใช้ภาษาญี่ปุ่นได้ ในขณะเดียวกันตนเองยังพัฒนาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม จากยูทูป ด้วยการฟังเพลงและดูหนัง เพราะอย่างไรก็ตามภาษาอังกฤษเป็นภาษาสากลที่อาจจะต้องใช้ในอนาคต ในการเรียน ปริญญาโท เรียนและเข้าแลปทำวิจัย ซึ่งแลปวิจัยที่ตนเองเรียน มีอาจารย์ 3 ท่าน โดยอาจารย์แต่ละท่านจะมีความเชี่ยวชาญแตกต่างกัน โดยปีที่ 1 เรียนเกี่ยวกับการสังเคราะห์พอลิเมอร์ (พลาสติก) ปี 2 เรียนสายชีวเคมีวิทยา มีเพื่อนร่วมแลปทั้งนักศึกษาญี่ปุ่นและต่างชาติรวม 23 คนตั้งแต่ป.ตรี-ป.เอก ซึ่งแลปวิจัย 1 ห้อง มีห้องอาจารย์ 3 ห้อง ห้องแลป 4 ห้อง คือห้องวิจัยการสังเคราะห์ทางเคมีและชีววิทยา, ห้องจุลชีววิทยา และห้องเครื่องมือทดลอง ทุกวันจันทร์-ศุกร์ต้องเข้าแลปตั้งแต่ 10.00 – 17.00 น. แต่โดยส่วนใหญ่สมาชิกในแลปจะไม่ได้กลับตรงเวลา ขึ้นอยู่กับการทดลองงานวิจัยแต่ละคน โดยงานวิจัยจบ ป.โท เป็นวิจัยเกี่ยวกับการใช้เซลล์เชื้อเพลิงทางชีวภาพโดยใช้เซลลูโลสและจุลินทรีย์ ส่วนการเรียน ปริญญาเอก จะค่อนข้างเข้มข้นขึ้นเมื่อเทียบกับป.โท งานวิจัยจะค่อนข้างลึกและละเอียดเพื่อใช้ในการตีพิมพ์วารสารวิชาการ ตามหลักสูตรวิชาเรียนจึงน้อยลง ทางหลักสูตรป.เอก จะใช้วารสารวิชาการ จำนวน 2 ฉบับในการสำเร็จการศึกษา ซึ่งงานวิจัยทั้ง 2 ชิ้น ได้รับการตีพิมพ์เป็นที่เรียบร้อยแล้ว โดยงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ การวิจัยเกี่ยวกับจุลินทรีย์ที่ใช้ย่อยสะลายสารอินทรีย์จากขยะทางการเกษตรที่เน่าเสีย หรือที่ปล่อยทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งจุลินทรีย์สามารถปล่อยอิเล็กตรอนออกมาจากกระบวนการเมทบอลิซึม จากนั้นอิเล็กตรอนที่ถูกปล่อยออกมาใช้นำมาผลิตเป็นกระแสไฟฟ้าผ่านเซลล์เชื้อเพลิงทางชีวภาพ โดยสามารถนำมาใช้ในโรงไฟฟ้าขนาดใหญ่ เช่น โรงงานสำปะหลังที่มีน้ำเสีย และงานวิจัยชิ้นที่ 3 กำลังจะตีพิมพ์ จากการศึกษาทลายปาล์มน้ำมันที่เหลือทิ้งในประเทศไทยซึ่งมีจำนวนมากและบางส่วน กลายเป็นขยะ โดยใช้จุลินทรีย์ที่ย่อยสลายเป็นเซลลูโลสที่มีอยู่ในปาล์มเพื่อลดปริมาณขยะจากทลายปาล์ม และยังสามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้ในขณะเดียวกัน ขณะนี้อยู่ในขั้นของการดำเนินการจัดการเอกสารในการตีพิมพ์ การใช้ชีวิตในญี่ปุ่น แต่ละวันเวลามีค่า ต้องพยายามเรียนให้จบภายในเวลาที่กำหนด คือ 5 ปี “ทำให้ดีที่สุด ถ้าเราทำไม่ดี แน่นอนว่ารุ่นน้องก็อาจจะไม่ได้โอกาสได้ไปเรียนแบบตนเอง จึงตั้งใจทำ ไม่ให้ใครตำหนิได้ และทำทุกวันให้มีความสุข” เส้นทางนักศึกษาทุนญี่ปุ่น ต้องมีความอดทนต่อความกดดันต่างๆ เนื่องด้วยอาจารย์จะค่อนข้างทำงานอย่างเป็นระบบ ระเบียบและละเอียดในทุกๆ ขั้นตอนเพื่อให้ได้งานวิจัยออกมาอย่างมีประสิทธิภาพและใช้งานได้จริง งานวิจัยจึงต้องใช้เวลาและความพยายามเป็นอย่างมาก การเรียนที่สำคัญ การใช้ชีวิตอย่างมีความสุขก็สำคัญ ที่นี่มีนักศึกษาไทยอยู่มากและมีกิจกรรมต่างๆ ทั้งกิน เที่ยว สังสรรค์ มีสมาคนนักเรียนไทยในญี่ปุ่น ซึ่งจะมีกิจกรรมทำร่วมกันอยู่บ่อยๆ และบางครั้งก็ไปเที่ยวกับเพื่อนๆญี่ปุ่นได้ใช้ชีวิตแบบคนญี่ปุ่น มีกิจกรรมต่างๆ แลกเปลี่ยนวัฒนธรรมกัน เป็นสิ่งที่ดีมากๆ มหาวิทยาลัยที่เรียนตั้งอยู่เกียวโต ซึ่งเป็นเมืองหลวงเก่าของญี่ปุ่น เป็นเมืองแห่งวัฒนธรรมอันเก่าแก่ซึ่งน่าอยู่และเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงอีกด้วย ในเดือนกันยายน 2562 นี้ จะสำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาเอก ความภาคภูมิใจของลูกพ่อค้าแม่ค้า และความภูมิใจของตนเอง ซึ่งมาจากเด็กเรียนโรงเรียนเล็กๆ ไม่มีชื่อเสียงมากนัก มีเด็กนักเรียนเพียงไม่ถึง 300 คน ความคิดตอนแรกๆ ที่คิดแค่เรียนจบป.ตรี ทำงานดูแลพ่อแม่ได้แค่นี้ก็เกินพอ โดยไม่คิดว่าจะเรียนจบปริญญาเอก โดยหลังเรียนจบอยากกลับมาเป็นอาจารย์ที่ มทร.ธัญบุรี แต่ด้วยตอนนี้ไม่มีตำแหน่ง จึงแพลนที่จะทำงานที่ Token thermotech Japan ในญี่ปุ่น ซึ่งเป็นโรงงานอุตสาหกรรมที่มีความร่วมมือกับ ทาง มทร.ธัญบุรี ในการมอบทุนให้กับรุ่นน้องเข้าศึกษาฝึกงานทุกๆ ปี โดยโรงงานดังกล่าวเปิดในหลายประเทศทั้ง ญี่ปุ่น ไทย จีน มาเลเซีย และเม็กซิโก โดยที่ญี่ปุ่น เป็นบริษัทหลัก คิดไว้จะทำงานในโรงงานที่ญี่ปุ่นประมาณ 4-5 ปี เรียนรู้ระบบในการทำงาน และกลับมาทำงานที่บริษัทเดียวกันที่ตั้งอยู่ในไทย หากน้องๆ อยากได้รับโอกาสดีๆ แบบนี้แน่นอนว่า มทร.ธัญบุรี สามารถเป็นสะพานส่วนหนึ่งที่จะพาเราได้มีโอกาสเรียนที่ญี่ปุ่นและมีงานดีๆ หากเรามีความตั้งใจที่แน่วแน่ ตั้งใจเรียน และที่สำคัญเป็นคนดี แน่นอนว่าความสำเร็จก็คงอยู่ไม่ไกล วิเชียร ขาวดาษ กล่าวทิ้งท้าย EZ Webmaster Related Posts โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนแม่เมาะวิทยา โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนาน้อย โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสตรีศรีน่าน โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเถินวิทยา โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนลำปางกัลยาณี Post navigation PREVIOUS Previous post: ทุนครูปฐมวัย 100% ม.หอการค้าไทยNEXT Next post: ม.ราชภัฏสวนสุนันทา รับสมัครนักศึกษาใหม่ ภาคปกติ ระดับปริญญาตรี (รอบที่ 5 เพิ่มเติม) ประจำปี 2562
8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025…
เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025…
อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก tui sakrapeeJune 18, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา นำโดย รศ.ดร.ชุติกาญจน์ ศรีวิบูลย์ อธิการบดี พร้อมคณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย เดินทางเยือนโรงเรียนนานาชาติ Qingdao No.1 International School of Shandong Province (QISS) และ Qingdao University… กองกลาง มจพ. เยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ และจัดสัมมนาจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล ประจำปี 2568 EZ WebmasterJune 18, 2025 ผศ.ดร.สราวุฒิ สืบแย้ม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายการคลังและกิจการทั่วไป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยนางสาวรัตนา สุขเฉลิมศรี ผู้อำนวยการกองกลาง และบุคลากรกองกลาง เข้าเยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ มจพ. ณ ชั้น 3 สำนักงานหอสมุดกลาง โดยมีนางสาวพนารมย์ เกียรติลีลานันท์ และ… คณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล มจพ. ชูธงร่วมเครือข่ายจัดใหญ่การประชุมวิชาการ นวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (FIAC) 2025 EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร สมฤกษ์ จันทรอัมพร รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นเจ้าภาพร่วมในการจัดประชุมวิชาการด้านนวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (Food Innovation Asia Conference 2025) พร้อมด้วย รศ.ดร.รัชนี เจริญ คณบดีคณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล และคณะผู้บริหาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ… สมศ. พลิกโฉมการประเมินคุณภาพภายนอกด้วย AI ภายใต้ “ONESQA 5.0” เสริมความโปร่งใส แม่นยำ และพัฒนาอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 17, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยวิสัยทัศน์ และแนวทางการขับเคลื่อนองค์กรด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence – AI) ภายใต้ วิสัยทัศน์ ONESQA 5.0 โดยมุ่งเน้นการนำ AI เข้ามาใช้เพื่อเสริมประสิทธิภาพ ความโปร่งใส และความแม่นยำ ในกระบวนการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา พร้อมยกระดับสู่ความเป็นดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบบ ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster June 24, 2019 EZ Webmaster June 24, 2019 นศ.ทุนรัฐบาลญี่ปุ่น “เอ็ม” ว่าที่ ดร. วัย 28 ปี “เป็นเพียงลูกพ่อค้าแม่ค้า คงไม่มีโอกาสได้เรียนสูงๆ หรือเรียนไกลถึงต่างประเทศ ขอบคุณโอกาสที่ทางอาจารย์มอบให้ ผมจำจนขึ้นใจว่าต้องตั้งใจเรียน และพยายามทำให้ดีที่สุด คนเราสามารถสร้างโอกาสให้ตนเองได้ ถ้าเราพยายามทำ และเมื่อได้รับโอกาสต้องทำให้สำเร็จ” ว่าที่ ดร.วัย 28 ปี “เอ็ม” นายวิเชียร ขาวดาษ นักศึกษาทุนรัฐบาลญี่ปุ่น Japanese government (Monbukakusho: MEXT) Scholarship เส้นทางชีวิตว่าที่ ดร.วัย 28 ปี เอ็ม เล่าว่า เป็นลูกคนโตและมีน้องชายอีก 2 คน ที่บ้านทำธุรกิจขายของตกแต่งสวน ที่จังหวัดสิงห์บุรี มีฐานะปานกลาง สำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จากโรงเรียนบ้านแป้งวิทยา จ.สิงห์บุรี (สายวิทย์-คณิต) หลังจาก ม.6 “มองว่าสายวิศวกรรมพลาสติกเป็นสาขาที่น่าสนใจ เป็นอะไรที่แปลกใหม่ เพราะพลาสติกเข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวัน” จึงได้สมัครเรียนและสอบเข้าที่สาขาวิศวกรรมพลาสติก ภาควิชาวิศวกรรมวัสดุและโลหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (มทร.) ธัญบุรี ชีวิตนักศึกษาปี 1 ช่วงแรกต้องใช้เวลาในการปรับตัวกับการเรียน เพื่อนๆ และสิ่งแวดล้อมใหม่ๆ ซึ่งก็ไม่เหมือนตอนม.ปลาย และก็ไม่ได้มีความรู้มากมายเท่าที่ควร และคิดแค่ว่าจะตั้งใจเรียนให้จบป.ตรีและมีอาชีพที่ดีทำก็พอแล้ว ในช่วงสอบของแต่ละเทอมตนอาสาติวหนังสือให้กับเพื่อนๆเพื่อทบทวนให้กับตัวเองและก็แลกเปลี่ยนความรู้กัน สรุปบทเรียนในคาบเรียนให้เพื่อนใช้อ่านและติวก่อนสอบตลอดการเรียน ช่วงชั้นปี 2 เมื่อมีเวลาว่างจะเข้าไปช่วยดูแลแลปและเป็นผู้ช่วยวิจัย ในแลปของ ผศ.ดร.สมหมาย ผิวสอาด (ปัจจุบันรองอธิการบดี มทร.ธัญบุรี) ในการเข้าไปช่วยอาจารย์เป็นการเรียนรู้และนำความรู้ที่ได้มาใช้ในการเรียน ซึ่งอาจารย์เป็นคนที่ใจดีมาก ดูแลลูกศิษย์คอยช่วยเหลือทุกอย่าง และมอบโอกาสที่ดีให้กับลูกศิษย์เสมอซึ่งตนก็เป็นหนึ่งในนั้น เมื่อสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ด้วยเกรดเฉลี่ย 3.54 ได้รับเกียรตินิยมอันดับ 1 และได้รับการคัดเลือกจากทางคณะวิศวกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี ให้รับทุนรัฐบาลญี่ปุ่น เรียนต่อในระดับปริญญาโท-เอก ที่ Kyoto Institute of Technology ซึ่งทางมหาวิทยาลัยมีความร่วมมือกับทาง มทร.ธัญบุรี ศึกษาต่อในระดับปริญญาโท – เอกที่ Department of Bio-based Materials Science สาขา System Engineering for Bio-resources โดยเงื่อนไขสำหรับทุนรัฐบาลญี่ปุ่นที่ได้รับ ต้องศึกษาให้สำเร็จในระดับปริญญาโท-เอก ภายในระยะเวลา 5 ปี ป.โท 2 ปี และป.เอก 3 ปี และต้องมีผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์วารสารวิชาการก่อนเรียนจบป.เอกจำนวน 2 ฉบับ แต่ปัจจุบันนี้ ตนมีผลงานวิจัยทำพิเศษเพิ่มอีก 1 ฉบับ รวม 3 ฉบับ ทุนนี้เป็นทุนเรียนฟรีตลอดหลักสูตร โดยทางรัฐบาลญี่ปุ่นมีเงินค่าใช้จ่ายเดือนประมาณ 147,000 เยน สำหรับนักศึกษาป.โท และ1480,000 เยน สำหรับป.เอก ซึ่งเป็นเงินไทยประมาณ 50,000 บาท ซึ่งค่าครองชีพที่ญี่ปุ่นค่อยข้างสูงเมื่อเทียบกับไทย เงินในแต่ละเดือนต้องดูแลและบริหารจัดการเอง ทั้งเรื่องหอพัก ค่าใช้จ่ายในชีวิตประจำวันต่างๆ ตอนปี1 ได้อยู่หอของมหาลัยซึ่งค่าหอจะค่อนข้างถูกประมาณ 15,000 เยน/เดือน แต่เมื่อขึ้น ปี 2 ต้องออกมาเช่าหอข้างนอก จึงเช่าหอเล็กๆ ติดกับมหาวิทยาลัย ซึ่งราคาหออยู่ที่ 33,000 เยน/เดือน สะดวกในการเดินทางใกล้มหาวิทยาลัยเพียง 500 เมตร โดยปั่นจักรยานไปมหาวิทยาลัยทุกวัน และตนเองชอบทำอาหารจึงทำอาหารทานเองซึ่งราคาถูกกว่าเมื่อเทียบกับการกินร้านอาหารในญี่ปุ่น อยู่ที่นั่นไม่ได้ใช้เงินฟุ่มเฟือยจึงมีเงินเหลือเก็บส่งกลับให้ครอบครัวและให้น้องทั้งสองเรียนต่อ เมื่อมาอยู่ต่างบ้านต่างเมืองทุกคนก็ต้องปรับตัว สิ่งที่เป็นปัญหามากที่สุดในการเรียนช่วงแรกๆ คือ ภาษาและการสื่อสาร แต่ด้วยมีพื้นทางด้านภาษาอังกฤษ ช่วงแรก จึงใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารกับเพื่อนในแลป นำเสนอและอภิปรายงานวิจัยต่างๆ เพราะว่าไม่มีความรู้ทางด้านภาษาญี่ปุ่นเลย ยอมรับว่ากังวล และท้อกับการสื่อสารกับเพื่อนๆ ที่แลป เลยปรับเปลี่ยนตัวเองด้วยการหันมาเรียนภาษาญี่ปุ่นเพิ่มเติม เพื่อจะได้เข้าใจสิ่งที่อาจารย์สอนอย่างลึกซึ้ง มีเพื่อนๆ ญี่ปุ่นมากขึ้น สามารถเอามาใช้ในชีวิตประจำวันได้ด้วย ซึ่งคิดเสมอว่า “ทุกอย่างต้องเริ่มจากศูนย์ ต้องมีการปรับตัว เราไม่ได้มาคนเดียว แต่เอาหน้าตาของมหาวิทยาลัยและอาจารย์มาด้วย จะต้องไม่เสียชื่อเสียง” จึงลงเรียนภาษาญี่ปุ่น (ฟรี) เพิ่มเติมในมหาลัย “ตลอดระยะ 3 ปีแรก ของทุกวันที่อยู่ญี่ปุ่น ตนเองจะฟัง mp3 บทสนทนาพื้นฐานภาษาญี่ปุ่น” ให้เกิดความชินหู คุ้นสำเนียง พูดกับเพื่อนในแลปบ่อยๆ ซึ่งปัจจุบันสามารถสื่อสารและใช้ภาษาญี่ปุ่นได้ ในขณะเดียวกันตนเองยังพัฒนาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม จากยูทูป ด้วยการฟังเพลงและดูหนัง เพราะอย่างไรก็ตามภาษาอังกฤษเป็นภาษาสากลที่อาจจะต้องใช้ในอนาคต ในการเรียน ปริญญาโท เรียนและเข้าแลปทำวิจัย ซึ่งแลปวิจัยที่ตนเองเรียน มีอาจารย์ 3 ท่าน โดยอาจารย์แต่ละท่านจะมีความเชี่ยวชาญแตกต่างกัน โดยปีที่ 1 เรียนเกี่ยวกับการสังเคราะห์พอลิเมอร์ (พลาสติก) ปี 2 เรียนสายชีวเคมีวิทยา มีเพื่อนร่วมแลปทั้งนักศึกษาญี่ปุ่นและต่างชาติรวม 23 คนตั้งแต่ป.ตรี-ป.เอก ซึ่งแลปวิจัย 1 ห้อง มีห้องอาจารย์ 3 ห้อง ห้องแลป 4 ห้อง คือห้องวิจัยการสังเคราะห์ทางเคมีและชีววิทยา, ห้องจุลชีววิทยา และห้องเครื่องมือทดลอง ทุกวันจันทร์-ศุกร์ต้องเข้าแลปตั้งแต่ 10.00 – 17.00 น. แต่โดยส่วนใหญ่สมาชิกในแลปจะไม่ได้กลับตรงเวลา ขึ้นอยู่กับการทดลองงานวิจัยแต่ละคน โดยงานวิจัยจบ ป.โท เป็นวิจัยเกี่ยวกับการใช้เซลล์เชื้อเพลิงทางชีวภาพโดยใช้เซลลูโลสและจุลินทรีย์ ส่วนการเรียน ปริญญาเอก จะค่อนข้างเข้มข้นขึ้นเมื่อเทียบกับป.โท งานวิจัยจะค่อนข้างลึกและละเอียดเพื่อใช้ในการตีพิมพ์วารสารวิชาการ ตามหลักสูตรวิชาเรียนจึงน้อยลง ทางหลักสูตรป.เอก จะใช้วารสารวิชาการ จำนวน 2 ฉบับในการสำเร็จการศึกษา ซึ่งงานวิจัยทั้ง 2 ชิ้น ได้รับการตีพิมพ์เป็นที่เรียบร้อยแล้ว โดยงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ การวิจัยเกี่ยวกับจุลินทรีย์ที่ใช้ย่อยสะลายสารอินทรีย์จากขยะทางการเกษตรที่เน่าเสีย หรือที่ปล่อยทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งจุลินทรีย์สามารถปล่อยอิเล็กตรอนออกมาจากกระบวนการเมทบอลิซึม จากนั้นอิเล็กตรอนที่ถูกปล่อยออกมาใช้นำมาผลิตเป็นกระแสไฟฟ้าผ่านเซลล์เชื้อเพลิงทางชีวภาพ โดยสามารถนำมาใช้ในโรงไฟฟ้าขนาดใหญ่ เช่น โรงงานสำปะหลังที่มีน้ำเสีย และงานวิจัยชิ้นที่ 3 กำลังจะตีพิมพ์ จากการศึกษาทลายปาล์มน้ำมันที่เหลือทิ้งในประเทศไทยซึ่งมีจำนวนมากและบางส่วน กลายเป็นขยะ โดยใช้จุลินทรีย์ที่ย่อยสลายเป็นเซลลูโลสที่มีอยู่ในปาล์มเพื่อลดปริมาณขยะจากทลายปาล์ม และยังสามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้ในขณะเดียวกัน ขณะนี้อยู่ในขั้นของการดำเนินการจัดการเอกสารในการตีพิมพ์ การใช้ชีวิตในญี่ปุ่น แต่ละวันเวลามีค่า ต้องพยายามเรียนให้จบภายในเวลาที่กำหนด คือ 5 ปี “ทำให้ดีที่สุด ถ้าเราทำไม่ดี แน่นอนว่ารุ่นน้องก็อาจจะไม่ได้โอกาสได้ไปเรียนแบบตนเอง จึงตั้งใจทำ ไม่ให้ใครตำหนิได้ และทำทุกวันให้มีความสุข” เส้นทางนักศึกษาทุนญี่ปุ่น ต้องมีความอดทนต่อความกดดันต่างๆ เนื่องด้วยอาจารย์จะค่อนข้างทำงานอย่างเป็นระบบ ระเบียบและละเอียดในทุกๆ ขั้นตอนเพื่อให้ได้งานวิจัยออกมาอย่างมีประสิทธิภาพและใช้งานได้จริง งานวิจัยจึงต้องใช้เวลาและความพยายามเป็นอย่างมาก การเรียนที่สำคัญ การใช้ชีวิตอย่างมีความสุขก็สำคัญ ที่นี่มีนักศึกษาไทยอยู่มากและมีกิจกรรมต่างๆ ทั้งกิน เที่ยว สังสรรค์ มีสมาคนนักเรียนไทยในญี่ปุ่น ซึ่งจะมีกิจกรรมทำร่วมกันอยู่บ่อยๆ และบางครั้งก็ไปเที่ยวกับเพื่อนๆญี่ปุ่นได้ใช้ชีวิตแบบคนญี่ปุ่น มีกิจกรรมต่างๆ แลกเปลี่ยนวัฒนธรรมกัน เป็นสิ่งที่ดีมากๆ มหาวิทยาลัยที่เรียนตั้งอยู่เกียวโต ซึ่งเป็นเมืองหลวงเก่าของญี่ปุ่น เป็นเมืองแห่งวัฒนธรรมอันเก่าแก่ซึ่งน่าอยู่และเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงอีกด้วย ในเดือนกันยายน 2562 นี้ จะสำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาเอก ความภาคภูมิใจของลูกพ่อค้าแม่ค้า และความภูมิใจของตนเอง ซึ่งมาจากเด็กเรียนโรงเรียนเล็กๆ ไม่มีชื่อเสียงมากนัก มีเด็กนักเรียนเพียงไม่ถึง 300 คน ความคิดตอนแรกๆ ที่คิดแค่เรียนจบป.ตรี ทำงานดูแลพ่อแม่ได้แค่นี้ก็เกินพอ โดยไม่คิดว่าจะเรียนจบปริญญาเอก โดยหลังเรียนจบอยากกลับมาเป็นอาจารย์ที่ มทร.ธัญบุรี แต่ด้วยตอนนี้ไม่มีตำแหน่ง จึงแพลนที่จะทำงานที่ Token thermotech Japan ในญี่ปุ่น ซึ่งเป็นโรงงานอุตสาหกรรมที่มีความร่วมมือกับ ทาง มทร.ธัญบุรี ในการมอบทุนให้กับรุ่นน้องเข้าศึกษาฝึกงานทุกๆ ปี โดยโรงงานดังกล่าวเปิดในหลายประเทศทั้ง ญี่ปุ่น ไทย จีน มาเลเซีย และเม็กซิโก โดยที่ญี่ปุ่น เป็นบริษัทหลัก คิดไว้จะทำงานในโรงงานที่ญี่ปุ่นประมาณ 4-5 ปี เรียนรู้ระบบในการทำงาน และกลับมาทำงานที่บริษัทเดียวกันที่ตั้งอยู่ในไทย หากน้องๆ อยากได้รับโอกาสดีๆ แบบนี้แน่นอนว่า มทร.ธัญบุรี สามารถเป็นสะพานส่วนหนึ่งที่จะพาเราได้มีโอกาสเรียนที่ญี่ปุ่นและมีงานดีๆ หากเรามีความตั้งใจที่แน่วแน่ ตั้งใจเรียน และที่สำคัญเป็นคนดี แน่นอนว่าความสำเร็จก็คงอยู่ไม่ไกล วิเชียร ขาวดาษ กล่าวทิ้งท้าย EZ Webmaster Related Posts โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนแม่เมาะวิทยา โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนาน้อย โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสตรีศรีน่าน โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเถินวิทยา โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนลำปางกัลยาณี Post navigation PREVIOUS Previous post: ทุนครูปฐมวัย 100% ม.หอการค้าไทยNEXT Next post: ม.ราชภัฏสวนสุนันทา รับสมัครนักศึกษาใหม่ ภาคปกติ ระดับปริญญาตรี (รอบที่ 5 เพิ่มเติม) ประจำปี 2562
กองกลาง มจพ. เยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ และจัดสัมมนาจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล ประจำปี 2568 EZ WebmasterJune 18, 2025 ผศ.ดร.สราวุฒิ สืบแย้ม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายการคลังและกิจการทั่วไป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยนางสาวรัตนา สุขเฉลิมศรี ผู้อำนวยการกองกลาง และบุคลากรกองกลาง เข้าเยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ มจพ. ณ ชั้น 3 สำนักงานหอสมุดกลาง โดยมีนางสาวพนารมย์ เกียรติลีลานันท์ และ… คณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล มจพ. ชูธงร่วมเครือข่ายจัดใหญ่การประชุมวิชาการ นวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (FIAC) 2025 EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร สมฤกษ์ จันทรอัมพร รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นเจ้าภาพร่วมในการจัดประชุมวิชาการด้านนวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (Food Innovation Asia Conference 2025) พร้อมด้วย รศ.ดร.รัชนี เจริญ คณบดีคณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล และคณะผู้บริหาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ… สมศ. พลิกโฉมการประเมินคุณภาพภายนอกด้วย AI ภายใต้ “ONESQA 5.0” เสริมความโปร่งใส แม่นยำ และพัฒนาอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 17, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยวิสัยทัศน์ และแนวทางการขับเคลื่อนองค์กรด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence – AI) ภายใต้ วิสัยทัศน์ ONESQA 5.0 โดยมุ่งเน้นการนำ AI เข้ามาใช้เพื่อเสริมประสิทธิภาพ ความโปร่งใส และความแม่นยำ ในกระบวนการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา พร้อมยกระดับสู่ความเป็นดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบบ ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster June 24, 2019 EZ Webmaster June 24, 2019 นศ.ทุนรัฐบาลญี่ปุ่น “เอ็ม” ว่าที่ ดร. วัย 28 ปี “เป็นเพียงลูกพ่อค้าแม่ค้า คงไม่มีโอกาสได้เรียนสูงๆ หรือเรียนไกลถึงต่างประเทศ ขอบคุณโอกาสที่ทางอาจารย์มอบให้ ผมจำจนขึ้นใจว่าต้องตั้งใจเรียน และพยายามทำให้ดีที่สุด คนเราสามารถสร้างโอกาสให้ตนเองได้ ถ้าเราพยายามทำ และเมื่อได้รับโอกาสต้องทำให้สำเร็จ” ว่าที่ ดร.วัย 28 ปี “เอ็ม” นายวิเชียร ขาวดาษ นักศึกษาทุนรัฐบาลญี่ปุ่น Japanese government (Monbukakusho: MEXT) Scholarship เส้นทางชีวิตว่าที่ ดร.วัย 28 ปี เอ็ม เล่าว่า เป็นลูกคนโตและมีน้องชายอีก 2 คน ที่บ้านทำธุรกิจขายของตกแต่งสวน ที่จังหวัดสิงห์บุรี มีฐานะปานกลาง สำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จากโรงเรียนบ้านแป้งวิทยา จ.สิงห์บุรี (สายวิทย์-คณิต) หลังจาก ม.6 “มองว่าสายวิศวกรรมพลาสติกเป็นสาขาที่น่าสนใจ เป็นอะไรที่แปลกใหม่ เพราะพลาสติกเข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวัน” จึงได้สมัครเรียนและสอบเข้าที่สาขาวิศวกรรมพลาสติก ภาควิชาวิศวกรรมวัสดุและโลหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (มทร.) ธัญบุรี ชีวิตนักศึกษาปี 1 ช่วงแรกต้องใช้เวลาในการปรับตัวกับการเรียน เพื่อนๆ และสิ่งแวดล้อมใหม่ๆ ซึ่งก็ไม่เหมือนตอนม.ปลาย และก็ไม่ได้มีความรู้มากมายเท่าที่ควร และคิดแค่ว่าจะตั้งใจเรียนให้จบป.ตรีและมีอาชีพที่ดีทำก็พอแล้ว ในช่วงสอบของแต่ละเทอมตนอาสาติวหนังสือให้กับเพื่อนๆเพื่อทบทวนให้กับตัวเองและก็แลกเปลี่ยนความรู้กัน สรุปบทเรียนในคาบเรียนให้เพื่อนใช้อ่านและติวก่อนสอบตลอดการเรียน ช่วงชั้นปี 2 เมื่อมีเวลาว่างจะเข้าไปช่วยดูแลแลปและเป็นผู้ช่วยวิจัย ในแลปของ ผศ.ดร.สมหมาย ผิวสอาด (ปัจจุบันรองอธิการบดี มทร.ธัญบุรี) ในการเข้าไปช่วยอาจารย์เป็นการเรียนรู้และนำความรู้ที่ได้มาใช้ในการเรียน ซึ่งอาจารย์เป็นคนที่ใจดีมาก ดูแลลูกศิษย์คอยช่วยเหลือทุกอย่าง และมอบโอกาสที่ดีให้กับลูกศิษย์เสมอซึ่งตนก็เป็นหนึ่งในนั้น เมื่อสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ด้วยเกรดเฉลี่ย 3.54 ได้รับเกียรตินิยมอันดับ 1 และได้รับการคัดเลือกจากทางคณะวิศวกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี ให้รับทุนรัฐบาลญี่ปุ่น เรียนต่อในระดับปริญญาโท-เอก ที่ Kyoto Institute of Technology ซึ่งทางมหาวิทยาลัยมีความร่วมมือกับทาง มทร.ธัญบุรี ศึกษาต่อในระดับปริญญาโท – เอกที่ Department of Bio-based Materials Science สาขา System Engineering for Bio-resources โดยเงื่อนไขสำหรับทุนรัฐบาลญี่ปุ่นที่ได้รับ ต้องศึกษาให้สำเร็จในระดับปริญญาโท-เอก ภายในระยะเวลา 5 ปี ป.โท 2 ปี และป.เอก 3 ปี และต้องมีผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์วารสารวิชาการก่อนเรียนจบป.เอกจำนวน 2 ฉบับ แต่ปัจจุบันนี้ ตนมีผลงานวิจัยทำพิเศษเพิ่มอีก 1 ฉบับ รวม 3 ฉบับ ทุนนี้เป็นทุนเรียนฟรีตลอดหลักสูตร โดยทางรัฐบาลญี่ปุ่นมีเงินค่าใช้จ่ายเดือนประมาณ 147,000 เยน สำหรับนักศึกษาป.โท และ1480,000 เยน สำหรับป.เอก ซึ่งเป็นเงินไทยประมาณ 50,000 บาท ซึ่งค่าครองชีพที่ญี่ปุ่นค่อยข้างสูงเมื่อเทียบกับไทย เงินในแต่ละเดือนต้องดูแลและบริหารจัดการเอง ทั้งเรื่องหอพัก ค่าใช้จ่ายในชีวิตประจำวันต่างๆ ตอนปี1 ได้อยู่หอของมหาลัยซึ่งค่าหอจะค่อนข้างถูกประมาณ 15,000 เยน/เดือน แต่เมื่อขึ้น ปี 2 ต้องออกมาเช่าหอข้างนอก จึงเช่าหอเล็กๆ ติดกับมหาวิทยาลัย ซึ่งราคาหออยู่ที่ 33,000 เยน/เดือน สะดวกในการเดินทางใกล้มหาวิทยาลัยเพียง 500 เมตร โดยปั่นจักรยานไปมหาวิทยาลัยทุกวัน และตนเองชอบทำอาหารจึงทำอาหารทานเองซึ่งราคาถูกกว่าเมื่อเทียบกับการกินร้านอาหารในญี่ปุ่น อยู่ที่นั่นไม่ได้ใช้เงินฟุ่มเฟือยจึงมีเงินเหลือเก็บส่งกลับให้ครอบครัวและให้น้องทั้งสองเรียนต่อ เมื่อมาอยู่ต่างบ้านต่างเมืองทุกคนก็ต้องปรับตัว สิ่งที่เป็นปัญหามากที่สุดในการเรียนช่วงแรกๆ คือ ภาษาและการสื่อสาร แต่ด้วยมีพื้นทางด้านภาษาอังกฤษ ช่วงแรก จึงใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารกับเพื่อนในแลป นำเสนอและอภิปรายงานวิจัยต่างๆ เพราะว่าไม่มีความรู้ทางด้านภาษาญี่ปุ่นเลย ยอมรับว่ากังวล และท้อกับการสื่อสารกับเพื่อนๆ ที่แลป เลยปรับเปลี่ยนตัวเองด้วยการหันมาเรียนภาษาญี่ปุ่นเพิ่มเติม เพื่อจะได้เข้าใจสิ่งที่อาจารย์สอนอย่างลึกซึ้ง มีเพื่อนๆ ญี่ปุ่นมากขึ้น สามารถเอามาใช้ในชีวิตประจำวันได้ด้วย ซึ่งคิดเสมอว่า “ทุกอย่างต้องเริ่มจากศูนย์ ต้องมีการปรับตัว เราไม่ได้มาคนเดียว แต่เอาหน้าตาของมหาวิทยาลัยและอาจารย์มาด้วย จะต้องไม่เสียชื่อเสียง” จึงลงเรียนภาษาญี่ปุ่น (ฟรี) เพิ่มเติมในมหาลัย “ตลอดระยะ 3 ปีแรก ของทุกวันที่อยู่ญี่ปุ่น ตนเองจะฟัง mp3 บทสนทนาพื้นฐานภาษาญี่ปุ่น” ให้เกิดความชินหู คุ้นสำเนียง พูดกับเพื่อนในแลปบ่อยๆ ซึ่งปัจจุบันสามารถสื่อสารและใช้ภาษาญี่ปุ่นได้ ในขณะเดียวกันตนเองยังพัฒนาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม จากยูทูป ด้วยการฟังเพลงและดูหนัง เพราะอย่างไรก็ตามภาษาอังกฤษเป็นภาษาสากลที่อาจจะต้องใช้ในอนาคต ในการเรียน ปริญญาโท เรียนและเข้าแลปทำวิจัย ซึ่งแลปวิจัยที่ตนเองเรียน มีอาจารย์ 3 ท่าน โดยอาจารย์แต่ละท่านจะมีความเชี่ยวชาญแตกต่างกัน โดยปีที่ 1 เรียนเกี่ยวกับการสังเคราะห์พอลิเมอร์ (พลาสติก) ปี 2 เรียนสายชีวเคมีวิทยา มีเพื่อนร่วมแลปทั้งนักศึกษาญี่ปุ่นและต่างชาติรวม 23 คนตั้งแต่ป.ตรี-ป.เอก ซึ่งแลปวิจัย 1 ห้อง มีห้องอาจารย์ 3 ห้อง ห้องแลป 4 ห้อง คือห้องวิจัยการสังเคราะห์ทางเคมีและชีววิทยา, ห้องจุลชีววิทยา และห้องเครื่องมือทดลอง ทุกวันจันทร์-ศุกร์ต้องเข้าแลปตั้งแต่ 10.00 – 17.00 น. แต่โดยส่วนใหญ่สมาชิกในแลปจะไม่ได้กลับตรงเวลา ขึ้นอยู่กับการทดลองงานวิจัยแต่ละคน โดยงานวิจัยจบ ป.โท เป็นวิจัยเกี่ยวกับการใช้เซลล์เชื้อเพลิงทางชีวภาพโดยใช้เซลลูโลสและจุลินทรีย์ ส่วนการเรียน ปริญญาเอก จะค่อนข้างเข้มข้นขึ้นเมื่อเทียบกับป.โท งานวิจัยจะค่อนข้างลึกและละเอียดเพื่อใช้ในการตีพิมพ์วารสารวิชาการ ตามหลักสูตรวิชาเรียนจึงน้อยลง ทางหลักสูตรป.เอก จะใช้วารสารวิชาการ จำนวน 2 ฉบับในการสำเร็จการศึกษา ซึ่งงานวิจัยทั้ง 2 ชิ้น ได้รับการตีพิมพ์เป็นที่เรียบร้อยแล้ว โดยงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ การวิจัยเกี่ยวกับจุลินทรีย์ที่ใช้ย่อยสะลายสารอินทรีย์จากขยะทางการเกษตรที่เน่าเสีย หรือที่ปล่อยทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งจุลินทรีย์สามารถปล่อยอิเล็กตรอนออกมาจากกระบวนการเมทบอลิซึม จากนั้นอิเล็กตรอนที่ถูกปล่อยออกมาใช้นำมาผลิตเป็นกระแสไฟฟ้าผ่านเซลล์เชื้อเพลิงทางชีวภาพ โดยสามารถนำมาใช้ในโรงไฟฟ้าขนาดใหญ่ เช่น โรงงานสำปะหลังที่มีน้ำเสีย และงานวิจัยชิ้นที่ 3 กำลังจะตีพิมพ์ จากการศึกษาทลายปาล์มน้ำมันที่เหลือทิ้งในประเทศไทยซึ่งมีจำนวนมากและบางส่วน กลายเป็นขยะ โดยใช้จุลินทรีย์ที่ย่อยสลายเป็นเซลลูโลสที่มีอยู่ในปาล์มเพื่อลดปริมาณขยะจากทลายปาล์ม และยังสามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้ในขณะเดียวกัน ขณะนี้อยู่ในขั้นของการดำเนินการจัดการเอกสารในการตีพิมพ์ การใช้ชีวิตในญี่ปุ่น แต่ละวันเวลามีค่า ต้องพยายามเรียนให้จบภายในเวลาที่กำหนด คือ 5 ปี “ทำให้ดีที่สุด ถ้าเราทำไม่ดี แน่นอนว่ารุ่นน้องก็อาจจะไม่ได้โอกาสได้ไปเรียนแบบตนเอง จึงตั้งใจทำ ไม่ให้ใครตำหนิได้ และทำทุกวันให้มีความสุข” เส้นทางนักศึกษาทุนญี่ปุ่น ต้องมีความอดทนต่อความกดดันต่างๆ เนื่องด้วยอาจารย์จะค่อนข้างทำงานอย่างเป็นระบบ ระเบียบและละเอียดในทุกๆ ขั้นตอนเพื่อให้ได้งานวิจัยออกมาอย่างมีประสิทธิภาพและใช้งานได้จริง งานวิจัยจึงต้องใช้เวลาและความพยายามเป็นอย่างมาก การเรียนที่สำคัญ การใช้ชีวิตอย่างมีความสุขก็สำคัญ ที่นี่มีนักศึกษาไทยอยู่มากและมีกิจกรรมต่างๆ ทั้งกิน เที่ยว สังสรรค์ มีสมาคนนักเรียนไทยในญี่ปุ่น ซึ่งจะมีกิจกรรมทำร่วมกันอยู่บ่อยๆ และบางครั้งก็ไปเที่ยวกับเพื่อนๆญี่ปุ่นได้ใช้ชีวิตแบบคนญี่ปุ่น มีกิจกรรมต่างๆ แลกเปลี่ยนวัฒนธรรมกัน เป็นสิ่งที่ดีมากๆ มหาวิทยาลัยที่เรียนตั้งอยู่เกียวโต ซึ่งเป็นเมืองหลวงเก่าของญี่ปุ่น เป็นเมืองแห่งวัฒนธรรมอันเก่าแก่ซึ่งน่าอยู่และเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงอีกด้วย ในเดือนกันยายน 2562 นี้ จะสำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาเอก ความภาคภูมิใจของลูกพ่อค้าแม่ค้า และความภูมิใจของตนเอง ซึ่งมาจากเด็กเรียนโรงเรียนเล็กๆ ไม่มีชื่อเสียงมากนัก มีเด็กนักเรียนเพียงไม่ถึง 300 คน ความคิดตอนแรกๆ ที่คิดแค่เรียนจบป.ตรี ทำงานดูแลพ่อแม่ได้แค่นี้ก็เกินพอ โดยไม่คิดว่าจะเรียนจบปริญญาเอก โดยหลังเรียนจบอยากกลับมาเป็นอาจารย์ที่ มทร.ธัญบุรี แต่ด้วยตอนนี้ไม่มีตำแหน่ง จึงแพลนที่จะทำงานที่ Token thermotech Japan ในญี่ปุ่น ซึ่งเป็นโรงงานอุตสาหกรรมที่มีความร่วมมือกับ ทาง มทร.ธัญบุรี ในการมอบทุนให้กับรุ่นน้องเข้าศึกษาฝึกงานทุกๆ ปี โดยโรงงานดังกล่าวเปิดในหลายประเทศทั้ง ญี่ปุ่น ไทย จีน มาเลเซีย และเม็กซิโก โดยที่ญี่ปุ่น เป็นบริษัทหลัก คิดไว้จะทำงานในโรงงานที่ญี่ปุ่นประมาณ 4-5 ปี เรียนรู้ระบบในการทำงาน และกลับมาทำงานที่บริษัทเดียวกันที่ตั้งอยู่ในไทย หากน้องๆ อยากได้รับโอกาสดีๆ แบบนี้แน่นอนว่า มทร.ธัญบุรี สามารถเป็นสะพานส่วนหนึ่งที่จะพาเราได้มีโอกาสเรียนที่ญี่ปุ่นและมีงานดีๆ หากเรามีความตั้งใจที่แน่วแน่ ตั้งใจเรียน และที่สำคัญเป็นคนดี แน่นอนว่าความสำเร็จก็คงอยู่ไม่ไกล วิเชียร ขาวดาษ กล่าวทิ้งท้าย EZ Webmaster Related Posts โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนแม่เมาะวิทยา โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนาน้อย โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสตรีศรีน่าน โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเถินวิทยา โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนลำปางกัลยาณี Post navigation PREVIOUS Previous post: ทุนครูปฐมวัย 100% ม.หอการค้าไทยNEXT Next post: ม.ราชภัฏสวนสุนันทา รับสมัครนักศึกษาใหม่ ภาคปกติ ระดับปริญญาตรี (รอบที่ 5 เพิ่มเติม) ประจำปี 2562
คณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล มจพ. ชูธงร่วมเครือข่ายจัดใหญ่การประชุมวิชาการ นวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (FIAC) 2025 EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร สมฤกษ์ จันทรอัมพร รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นเจ้าภาพร่วมในการจัดประชุมวิชาการด้านนวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (Food Innovation Asia Conference 2025) พร้อมด้วย รศ.ดร.รัชนี เจริญ คณบดีคณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล และคณะผู้บริหาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ… สมศ. พลิกโฉมการประเมินคุณภาพภายนอกด้วย AI ภายใต้ “ONESQA 5.0” เสริมความโปร่งใส แม่นยำ และพัฒนาอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 17, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยวิสัยทัศน์ และแนวทางการขับเคลื่อนองค์กรด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence – AI) ภายใต้ วิสัยทัศน์ ONESQA 5.0 โดยมุ่งเน้นการนำ AI เข้ามาใช้เพื่อเสริมประสิทธิภาพ ความโปร่งใส และความแม่นยำ ในกระบวนการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา พร้อมยกระดับสู่ความเป็นดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบบ ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ…
สมศ. พลิกโฉมการประเมินคุณภาพภายนอกด้วย AI ภายใต้ “ONESQA 5.0” เสริมความโปร่งใส แม่นยำ และพัฒนาอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 17, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยวิสัยทัศน์ และแนวทางการขับเคลื่อนองค์กรด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence – AI) ภายใต้ วิสัยทัศน์ ONESQA 5.0 โดยมุ่งเน้นการนำ AI เข้ามาใช้เพื่อเสริมประสิทธิภาพ ความโปร่งใส และความแม่นยำ ในกระบวนการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา พร้อมยกระดับสู่ความเป็นดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบบ ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ…
กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster June 24, 2019 EZ Webmaster June 24, 2019 นศ.ทุนรัฐบาลญี่ปุ่น “เอ็ม” ว่าที่ ดร. วัย 28 ปี “เป็นเพียงลูกพ่อค้าแม่ค้า คงไม่มีโอกาสได้เรียนสูงๆ หรือเรียนไกลถึงต่างประเทศ ขอบคุณโอกาสที่ทางอาจารย์มอบให้ ผมจำจนขึ้นใจว่าต้องตั้งใจเรียน และพยายามทำให้ดีที่สุด คนเราสามารถสร้างโอกาสให้ตนเองได้ ถ้าเราพยายามทำ และเมื่อได้รับโอกาสต้องทำให้สำเร็จ” ว่าที่ ดร.วัย 28 ปี “เอ็ม” นายวิเชียร ขาวดาษ นักศึกษาทุนรัฐบาลญี่ปุ่น Japanese government (Monbukakusho: MEXT) Scholarship เส้นทางชีวิตว่าที่ ดร.วัย 28 ปี เอ็ม เล่าว่า เป็นลูกคนโตและมีน้องชายอีก 2 คน ที่บ้านทำธุรกิจขายของตกแต่งสวน ที่จังหวัดสิงห์บุรี มีฐานะปานกลาง สำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จากโรงเรียนบ้านแป้งวิทยา จ.สิงห์บุรี (สายวิทย์-คณิต) หลังจาก ม.6 “มองว่าสายวิศวกรรมพลาสติกเป็นสาขาที่น่าสนใจ เป็นอะไรที่แปลกใหม่ เพราะพลาสติกเข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวัน” จึงได้สมัครเรียนและสอบเข้าที่สาขาวิศวกรรมพลาสติก ภาควิชาวิศวกรรมวัสดุและโลหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (มทร.) ธัญบุรี ชีวิตนักศึกษาปี 1 ช่วงแรกต้องใช้เวลาในการปรับตัวกับการเรียน เพื่อนๆ และสิ่งแวดล้อมใหม่ๆ ซึ่งก็ไม่เหมือนตอนม.ปลาย และก็ไม่ได้มีความรู้มากมายเท่าที่ควร และคิดแค่ว่าจะตั้งใจเรียนให้จบป.ตรีและมีอาชีพที่ดีทำก็พอแล้ว ในช่วงสอบของแต่ละเทอมตนอาสาติวหนังสือให้กับเพื่อนๆเพื่อทบทวนให้กับตัวเองและก็แลกเปลี่ยนความรู้กัน สรุปบทเรียนในคาบเรียนให้เพื่อนใช้อ่านและติวก่อนสอบตลอดการเรียน ช่วงชั้นปี 2 เมื่อมีเวลาว่างจะเข้าไปช่วยดูแลแลปและเป็นผู้ช่วยวิจัย ในแลปของ ผศ.ดร.สมหมาย ผิวสอาด (ปัจจุบันรองอธิการบดี มทร.ธัญบุรี) ในการเข้าไปช่วยอาจารย์เป็นการเรียนรู้และนำความรู้ที่ได้มาใช้ในการเรียน ซึ่งอาจารย์เป็นคนที่ใจดีมาก ดูแลลูกศิษย์คอยช่วยเหลือทุกอย่าง และมอบโอกาสที่ดีให้กับลูกศิษย์เสมอซึ่งตนก็เป็นหนึ่งในนั้น เมื่อสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ด้วยเกรดเฉลี่ย 3.54 ได้รับเกียรตินิยมอันดับ 1 และได้รับการคัดเลือกจากทางคณะวิศวกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี ให้รับทุนรัฐบาลญี่ปุ่น เรียนต่อในระดับปริญญาโท-เอก ที่ Kyoto Institute of Technology ซึ่งทางมหาวิทยาลัยมีความร่วมมือกับทาง มทร.ธัญบุรี ศึกษาต่อในระดับปริญญาโท – เอกที่ Department of Bio-based Materials Science สาขา System Engineering for Bio-resources โดยเงื่อนไขสำหรับทุนรัฐบาลญี่ปุ่นที่ได้รับ ต้องศึกษาให้สำเร็จในระดับปริญญาโท-เอก ภายในระยะเวลา 5 ปี ป.โท 2 ปี และป.เอก 3 ปี และต้องมีผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์วารสารวิชาการก่อนเรียนจบป.เอกจำนวน 2 ฉบับ แต่ปัจจุบันนี้ ตนมีผลงานวิจัยทำพิเศษเพิ่มอีก 1 ฉบับ รวม 3 ฉบับ ทุนนี้เป็นทุนเรียนฟรีตลอดหลักสูตร โดยทางรัฐบาลญี่ปุ่นมีเงินค่าใช้จ่ายเดือนประมาณ 147,000 เยน สำหรับนักศึกษาป.โท และ1480,000 เยน สำหรับป.เอก ซึ่งเป็นเงินไทยประมาณ 50,000 บาท ซึ่งค่าครองชีพที่ญี่ปุ่นค่อยข้างสูงเมื่อเทียบกับไทย เงินในแต่ละเดือนต้องดูแลและบริหารจัดการเอง ทั้งเรื่องหอพัก ค่าใช้จ่ายในชีวิตประจำวันต่างๆ ตอนปี1 ได้อยู่หอของมหาลัยซึ่งค่าหอจะค่อนข้างถูกประมาณ 15,000 เยน/เดือน แต่เมื่อขึ้น ปี 2 ต้องออกมาเช่าหอข้างนอก จึงเช่าหอเล็กๆ ติดกับมหาวิทยาลัย ซึ่งราคาหออยู่ที่ 33,000 เยน/เดือน สะดวกในการเดินทางใกล้มหาวิทยาลัยเพียง 500 เมตร โดยปั่นจักรยานไปมหาวิทยาลัยทุกวัน และตนเองชอบทำอาหารจึงทำอาหารทานเองซึ่งราคาถูกกว่าเมื่อเทียบกับการกินร้านอาหารในญี่ปุ่น อยู่ที่นั่นไม่ได้ใช้เงินฟุ่มเฟือยจึงมีเงินเหลือเก็บส่งกลับให้ครอบครัวและให้น้องทั้งสองเรียนต่อ เมื่อมาอยู่ต่างบ้านต่างเมืองทุกคนก็ต้องปรับตัว สิ่งที่เป็นปัญหามากที่สุดในการเรียนช่วงแรกๆ คือ ภาษาและการสื่อสาร แต่ด้วยมีพื้นทางด้านภาษาอังกฤษ ช่วงแรก จึงใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารกับเพื่อนในแลป นำเสนอและอภิปรายงานวิจัยต่างๆ เพราะว่าไม่มีความรู้ทางด้านภาษาญี่ปุ่นเลย ยอมรับว่ากังวล และท้อกับการสื่อสารกับเพื่อนๆ ที่แลป เลยปรับเปลี่ยนตัวเองด้วยการหันมาเรียนภาษาญี่ปุ่นเพิ่มเติม เพื่อจะได้เข้าใจสิ่งที่อาจารย์สอนอย่างลึกซึ้ง มีเพื่อนๆ ญี่ปุ่นมากขึ้น สามารถเอามาใช้ในชีวิตประจำวันได้ด้วย ซึ่งคิดเสมอว่า “ทุกอย่างต้องเริ่มจากศูนย์ ต้องมีการปรับตัว เราไม่ได้มาคนเดียว แต่เอาหน้าตาของมหาวิทยาลัยและอาจารย์มาด้วย จะต้องไม่เสียชื่อเสียง” จึงลงเรียนภาษาญี่ปุ่น (ฟรี) เพิ่มเติมในมหาลัย “ตลอดระยะ 3 ปีแรก ของทุกวันที่อยู่ญี่ปุ่น ตนเองจะฟัง mp3 บทสนทนาพื้นฐานภาษาญี่ปุ่น” ให้เกิดความชินหู คุ้นสำเนียง พูดกับเพื่อนในแลปบ่อยๆ ซึ่งปัจจุบันสามารถสื่อสารและใช้ภาษาญี่ปุ่นได้ ในขณะเดียวกันตนเองยังพัฒนาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม จากยูทูป ด้วยการฟังเพลงและดูหนัง เพราะอย่างไรก็ตามภาษาอังกฤษเป็นภาษาสากลที่อาจจะต้องใช้ในอนาคต ในการเรียน ปริญญาโท เรียนและเข้าแลปทำวิจัย ซึ่งแลปวิจัยที่ตนเองเรียน มีอาจารย์ 3 ท่าน โดยอาจารย์แต่ละท่านจะมีความเชี่ยวชาญแตกต่างกัน โดยปีที่ 1 เรียนเกี่ยวกับการสังเคราะห์พอลิเมอร์ (พลาสติก) ปี 2 เรียนสายชีวเคมีวิทยา มีเพื่อนร่วมแลปทั้งนักศึกษาญี่ปุ่นและต่างชาติรวม 23 คนตั้งแต่ป.ตรี-ป.เอก ซึ่งแลปวิจัย 1 ห้อง มีห้องอาจารย์ 3 ห้อง ห้องแลป 4 ห้อง คือห้องวิจัยการสังเคราะห์ทางเคมีและชีววิทยา, ห้องจุลชีววิทยา และห้องเครื่องมือทดลอง ทุกวันจันทร์-ศุกร์ต้องเข้าแลปตั้งแต่ 10.00 – 17.00 น. แต่โดยส่วนใหญ่สมาชิกในแลปจะไม่ได้กลับตรงเวลา ขึ้นอยู่กับการทดลองงานวิจัยแต่ละคน โดยงานวิจัยจบ ป.โท เป็นวิจัยเกี่ยวกับการใช้เซลล์เชื้อเพลิงทางชีวภาพโดยใช้เซลลูโลสและจุลินทรีย์ ส่วนการเรียน ปริญญาเอก จะค่อนข้างเข้มข้นขึ้นเมื่อเทียบกับป.โท งานวิจัยจะค่อนข้างลึกและละเอียดเพื่อใช้ในการตีพิมพ์วารสารวิชาการ ตามหลักสูตรวิชาเรียนจึงน้อยลง ทางหลักสูตรป.เอก จะใช้วารสารวิชาการ จำนวน 2 ฉบับในการสำเร็จการศึกษา ซึ่งงานวิจัยทั้ง 2 ชิ้น ได้รับการตีพิมพ์เป็นที่เรียบร้อยแล้ว โดยงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ การวิจัยเกี่ยวกับจุลินทรีย์ที่ใช้ย่อยสะลายสารอินทรีย์จากขยะทางการเกษตรที่เน่าเสีย หรือที่ปล่อยทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งจุลินทรีย์สามารถปล่อยอิเล็กตรอนออกมาจากกระบวนการเมทบอลิซึม จากนั้นอิเล็กตรอนที่ถูกปล่อยออกมาใช้นำมาผลิตเป็นกระแสไฟฟ้าผ่านเซลล์เชื้อเพลิงทางชีวภาพ โดยสามารถนำมาใช้ในโรงไฟฟ้าขนาดใหญ่ เช่น โรงงานสำปะหลังที่มีน้ำเสีย และงานวิจัยชิ้นที่ 3 กำลังจะตีพิมพ์ จากการศึกษาทลายปาล์มน้ำมันที่เหลือทิ้งในประเทศไทยซึ่งมีจำนวนมากและบางส่วน กลายเป็นขยะ โดยใช้จุลินทรีย์ที่ย่อยสลายเป็นเซลลูโลสที่มีอยู่ในปาล์มเพื่อลดปริมาณขยะจากทลายปาล์ม และยังสามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้ในขณะเดียวกัน ขณะนี้อยู่ในขั้นของการดำเนินการจัดการเอกสารในการตีพิมพ์ การใช้ชีวิตในญี่ปุ่น แต่ละวันเวลามีค่า ต้องพยายามเรียนให้จบภายในเวลาที่กำหนด คือ 5 ปี “ทำให้ดีที่สุด ถ้าเราทำไม่ดี แน่นอนว่ารุ่นน้องก็อาจจะไม่ได้โอกาสได้ไปเรียนแบบตนเอง จึงตั้งใจทำ ไม่ให้ใครตำหนิได้ และทำทุกวันให้มีความสุข” เส้นทางนักศึกษาทุนญี่ปุ่น ต้องมีความอดทนต่อความกดดันต่างๆ เนื่องด้วยอาจารย์จะค่อนข้างทำงานอย่างเป็นระบบ ระเบียบและละเอียดในทุกๆ ขั้นตอนเพื่อให้ได้งานวิจัยออกมาอย่างมีประสิทธิภาพและใช้งานได้จริง งานวิจัยจึงต้องใช้เวลาและความพยายามเป็นอย่างมาก การเรียนที่สำคัญ การใช้ชีวิตอย่างมีความสุขก็สำคัญ ที่นี่มีนักศึกษาไทยอยู่มากและมีกิจกรรมต่างๆ ทั้งกิน เที่ยว สังสรรค์ มีสมาคนนักเรียนไทยในญี่ปุ่น ซึ่งจะมีกิจกรรมทำร่วมกันอยู่บ่อยๆ และบางครั้งก็ไปเที่ยวกับเพื่อนๆญี่ปุ่นได้ใช้ชีวิตแบบคนญี่ปุ่น มีกิจกรรมต่างๆ แลกเปลี่ยนวัฒนธรรมกัน เป็นสิ่งที่ดีมากๆ มหาวิทยาลัยที่เรียนตั้งอยู่เกียวโต ซึ่งเป็นเมืองหลวงเก่าของญี่ปุ่น เป็นเมืองแห่งวัฒนธรรมอันเก่าแก่ซึ่งน่าอยู่และเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงอีกด้วย ในเดือนกันยายน 2562 นี้ จะสำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาเอก ความภาคภูมิใจของลูกพ่อค้าแม่ค้า และความภูมิใจของตนเอง ซึ่งมาจากเด็กเรียนโรงเรียนเล็กๆ ไม่มีชื่อเสียงมากนัก มีเด็กนักเรียนเพียงไม่ถึง 300 คน ความคิดตอนแรกๆ ที่คิดแค่เรียนจบป.ตรี ทำงานดูแลพ่อแม่ได้แค่นี้ก็เกินพอ โดยไม่คิดว่าจะเรียนจบปริญญาเอก โดยหลังเรียนจบอยากกลับมาเป็นอาจารย์ที่ มทร.ธัญบุรี แต่ด้วยตอนนี้ไม่มีตำแหน่ง จึงแพลนที่จะทำงานที่ Token thermotech Japan ในญี่ปุ่น ซึ่งเป็นโรงงานอุตสาหกรรมที่มีความร่วมมือกับ ทาง มทร.ธัญบุรี ในการมอบทุนให้กับรุ่นน้องเข้าศึกษาฝึกงานทุกๆ ปี โดยโรงงานดังกล่าวเปิดในหลายประเทศทั้ง ญี่ปุ่น ไทย จีน มาเลเซีย และเม็กซิโก โดยที่ญี่ปุ่น เป็นบริษัทหลัก คิดไว้จะทำงานในโรงงานที่ญี่ปุ่นประมาณ 4-5 ปี เรียนรู้ระบบในการทำงาน และกลับมาทำงานที่บริษัทเดียวกันที่ตั้งอยู่ในไทย หากน้องๆ อยากได้รับโอกาสดีๆ แบบนี้แน่นอนว่า มทร.ธัญบุรี สามารถเป็นสะพานส่วนหนึ่งที่จะพาเราได้มีโอกาสเรียนที่ญี่ปุ่นและมีงานดีๆ หากเรามีความตั้งใจที่แน่วแน่ ตั้งใจเรียน และที่สำคัญเป็นคนดี แน่นอนว่าความสำเร็จก็คงอยู่ไม่ไกล วิเชียร ขาวดาษ กล่าวทิ้งท้าย EZ Webmaster Related Posts โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนแม่เมาะวิทยา โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนาน้อย โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสตรีศรีน่าน โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเถินวิทยา โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนลำปางกัลยาณี Post navigation PREVIOUS Previous post: ทุนครูปฐมวัย 100% ม.หอการค้าไทยNEXT Next post: ม.ราชภัฏสวนสุนันทา รับสมัครนักศึกษาใหม่ ภาคปกติ ระดับปริญญาตรี (รอบที่ 5 เพิ่มเติม) ประจำปี 2562
“40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search
ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ…
ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ…
EZ Webmaster June 24, 2019 EZ Webmaster June 24, 2019 นศ.ทุนรัฐบาลญี่ปุ่น “เอ็ม” ว่าที่ ดร. วัย 28 ปี “เป็นเพียงลูกพ่อค้าแม่ค้า คงไม่มีโอกาสได้เรียนสูงๆ หรือเรียนไกลถึงต่างประเทศ ขอบคุณโอกาสที่ทางอาจารย์มอบให้ ผมจำจนขึ้นใจว่าต้องตั้งใจเรียน และพยายามทำให้ดีที่สุด คนเราสามารถสร้างโอกาสให้ตนเองได้ ถ้าเราพยายามทำ และเมื่อได้รับโอกาสต้องทำให้สำเร็จ” ว่าที่ ดร.วัย 28 ปี “เอ็ม” นายวิเชียร ขาวดาษ นักศึกษาทุนรัฐบาลญี่ปุ่น Japanese government (Monbukakusho: MEXT) Scholarship เส้นทางชีวิตว่าที่ ดร.วัย 28 ปี เอ็ม เล่าว่า เป็นลูกคนโตและมีน้องชายอีก 2 คน ที่บ้านทำธุรกิจขายของตกแต่งสวน ที่จังหวัดสิงห์บุรี มีฐานะปานกลาง สำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จากโรงเรียนบ้านแป้งวิทยา จ.สิงห์บุรี (สายวิทย์-คณิต) หลังจาก ม.6 “มองว่าสายวิศวกรรมพลาสติกเป็นสาขาที่น่าสนใจ เป็นอะไรที่แปลกใหม่ เพราะพลาสติกเข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวัน” จึงได้สมัครเรียนและสอบเข้าที่สาขาวิศวกรรมพลาสติก ภาควิชาวิศวกรรมวัสดุและโลหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (มทร.) ธัญบุรี ชีวิตนักศึกษาปี 1 ช่วงแรกต้องใช้เวลาในการปรับตัวกับการเรียน เพื่อนๆ และสิ่งแวดล้อมใหม่ๆ ซึ่งก็ไม่เหมือนตอนม.ปลาย และก็ไม่ได้มีความรู้มากมายเท่าที่ควร และคิดแค่ว่าจะตั้งใจเรียนให้จบป.ตรีและมีอาชีพที่ดีทำก็พอแล้ว ในช่วงสอบของแต่ละเทอมตนอาสาติวหนังสือให้กับเพื่อนๆเพื่อทบทวนให้กับตัวเองและก็แลกเปลี่ยนความรู้กัน สรุปบทเรียนในคาบเรียนให้เพื่อนใช้อ่านและติวก่อนสอบตลอดการเรียน ช่วงชั้นปี 2 เมื่อมีเวลาว่างจะเข้าไปช่วยดูแลแลปและเป็นผู้ช่วยวิจัย ในแลปของ ผศ.ดร.สมหมาย ผิวสอาด (ปัจจุบันรองอธิการบดี มทร.ธัญบุรี) ในการเข้าไปช่วยอาจารย์เป็นการเรียนรู้และนำความรู้ที่ได้มาใช้ในการเรียน ซึ่งอาจารย์เป็นคนที่ใจดีมาก ดูแลลูกศิษย์คอยช่วยเหลือทุกอย่าง และมอบโอกาสที่ดีให้กับลูกศิษย์เสมอซึ่งตนก็เป็นหนึ่งในนั้น เมื่อสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ด้วยเกรดเฉลี่ย 3.54 ได้รับเกียรตินิยมอันดับ 1 และได้รับการคัดเลือกจากทางคณะวิศวกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี ให้รับทุนรัฐบาลญี่ปุ่น เรียนต่อในระดับปริญญาโท-เอก ที่ Kyoto Institute of Technology ซึ่งทางมหาวิทยาลัยมีความร่วมมือกับทาง มทร.ธัญบุรี ศึกษาต่อในระดับปริญญาโท – เอกที่ Department of Bio-based Materials Science สาขา System Engineering for Bio-resources โดยเงื่อนไขสำหรับทุนรัฐบาลญี่ปุ่นที่ได้รับ ต้องศึกษาให้สำเร็จในระดับปริญญาโท-เอก ภายในระยะเวลา 5 ปี ป.โท 2 ปี และป.เอก 3 ปี และต้องมีผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์วารสารวิชาการก่อนเรียนจบป.เอกจำนวน 2 ฉบับ แต่ปัจจุบันนี้ ตนมีผลงานวิจัยทำพิเศษเพิ่มอีก 1 ฉบับ รวม 3 ฉบับ ทุนนี้เป็นทุนเรียนฟรีตลอดหลักสูตร โดยทางรัฐบาลญี่ปุ่นมีเงินค่าใช้จ่ายเดือนประมาณ 147,000 เยน สำหรับนักศึกษาป.โท และ1480,000 เยน สำหรับป.เอก ซึ่งเป็นเงินไทยประมาณ 50,000 บาท ซึ่งค่าครองชีพที่ญี่ปุ่นค่อยข้างสูงเมื่อเทียบกับไทย เงินในแต่ละเดือนต้องดูแลและบริหารจัดการเอง ทั้งเรื่องหอพัก ค่าใช้จ่ายในชีวิตประจำวันต่างๆ ตอนปี1 ได้อยู่หอของมหาลัยซึ่งค่าหอจะค่อนข้างถูกประมาณ 15,000 เยน/เดือน แต่เมื่อขึ้น ปี 2 ต้องออกมาเช่าหอข้างนอก จึงเช่าหอเล็กๆ ติดกับมหาวิทยาลัย ซึ่งราคาหออยู่ที่ 33,000 เยน/เดือน สะดวกในการเดินทางใกล้มหาวิทยาลัยเพียง 500 เมตร โดยปั่นจักรยานไปมหาวิทยาลัยทุกวัน และตนเองชอบทำอาหารจึงทำอาหารทานเองซึ่งราคาถูกกว่าเมื่อเทียบกับการกินร้านอาหารในญี่ปุ่น อยู่ที่นั่นไม่ได้ใช้เงินฟุ่มเฟือยจึงมีเงินเหลือเก็บส่งกลับให้ครอบครัวและให้น้องทั้งสองเรียนต่อ เมื่อมาอยู่ต่างบ้านต่างเมืองทุกคนก็ต้องปรับตัว สิ่งที่เป็นปัญหามากที่สุดในการเรียนช่วงแรกๆ คือ ภาษาและการสื่อสาร แต่ด้วยมีพื้นทางด้านภาษาอังกฤษ ช่วงแรก จึงใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารกับเพื่อนในแลป นำเสนอและอภิปรายงานวิจัยต่างๆ เพราะว่าไม่มีความรู้ทางด้านภาษาญี่ปุ่นเลย ยอมรับว่ากังวล และท้อกับการสื่อสารกับเพื่อนๆ ที่แลป เลยปรับเปลี่ยนตัวเองด้วยการหันมาเรียนภาษาญี่ปุ่นเพิ่มเติม เพื่อจะได้เข้าใจสิ่งที่อาจารย์สอนอย่างลึกซึ้ง มีเพื่อนๆ ญี่ปุ่นมากขึ้น สามารถเอามาใช้ในชีวิตประจำวันได้ด้วย ซึ่งคิดเสมอว่า “ทุกอย่างต้องเริ่มจากศูนย์ ต้องมีการปรับตัว เราไม่ได้มาคนเดียว แต่เอาหน้าตาของมหาวิทยาลัยและอาจารย์มาด้วย จะต้องไม่เสียชื่อเสียง” จึงลงเรียนภาษาญี่ปุ่น (ฟรี) เพิ่มเติมในมหาลัย “ตลอดระยะ 3 ปีแรก ของทุกวันที่อยู่ญี่ปุ่น ตนเองจะฟัง mp3 บทสนทนาพื้นฐานภาษาญี่ปุ่น” ให้เกิดความชินหู คุ้นสำเนียง พูดกับเพื่อนในแลปบ่อยๆ ซึ่งปัจจุบันสามารถสื่อสารและใช้ภาษาญี่ปุ่นได้ ในขณะเดียวกันตนเองยังพัฒนาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม จากยูทูป ด้วยการฟังเพลงและดูหนัง เพราะอย่างไรก็ตามภาษาอังกฤษเป็นภาษาสากลที่อาจจะต้องใช้ในอนาคต ในการเรียน ปริญญาโท เรียนและเข้าแลปทำวิจัย ซึ่งแลปวิจัยที่ตนเองเรียน มีอาจารย์ 3 ท่าน โดยอาจารย์แต่ละท่านจะมีความเชี่ยวชาญแตกต่างกัน โดยปีที่ 1 เรียนเกี่ยวกับการสังเคราะห์พอลิเมอร์ (พลาสติก) ปี 2 เรียนสายชีวเคมีวิทยา มีเพื่อนร่วมแลปทั้งนักศึกษาญี่ปุ่นและต่างชาติรวม 23 คนตั้งแต่ป.ตรี-ป.เอก ซึ่งแลปวิจัย 1 ห้อง มีห้องอาจารย์ 3 ห้อง ห้องแลป 4 ห้อง คือห้องวิจัยการสังเคราะห์ทางเคมีและชีววิทยา, ห้องจุลชีววิทยา และห้องเครื่องมือทดลอง ทุกวันจันทร์-ศุกร์ต้องเข้าแลปตั้งแต่ 10.00 – 17.00 น. แต่โดยส่วนใหญ่สมาชิกในแลปจะไม่ได้กลับตรงเวลา ขึ้นอยู่กับการทดลองงานวิจัยแต่ละคน โดยงานวิจัยจบ ป.โท เป็นวิจัยเกี่ยวกับการใช้เซลล์เชื้อเพลิงทางชีวภาพโดยใช้เซลลูโลสและจุลินทรีย์ ส่วนการเรียน ปริญญาเอก จะค่อนข้างเข้มข้นขึ้นเมื่อเทียบกับป.โท งานวิจัยจะค่อนข้างลึกและละเอียดเพื่อใช้ในการตีพิมพ์วารสารวิชาการ ตามหลักสูตรวิชาเรียนจึงน้อยลง ทางหลักสูตรป.เอก จะใช้วารสารวิชาการ จำนวน 2 ฉบับในการสำเร็จการศึกษา ซึ่งงานวิจัยทั้ง 2 ชิ้น ได้รับการตีพิมพ์เป็นที่เรียบร้อยแล้ว โดยงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ การวิจัยเกี่ยวกับจุลินทรีย์ที่ใช้ย่อยสะลายสารอินทรีย์จากขยะทางการเกษตรที่เน่าเสีย หรือที่ปล่อยทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งจุลินทรีย์สามารถปล่อยอิเล็กตรอนออกมาจากกระบวนการเมทบอลิซึม จากนั้นอิเล็กตรอนที่ถูกปล่อยออกมาใช้นำมาผลิตเป็นกระแสไฟฟ้าผ่านเซลล์เชื้อเพลิงทางชีวภาพ โดยสามารถนำมาใช้ในโรงไฟฟ้าขนาดใหญ่ เช่น โรงงานสำปะหลังที่มีน้ำเสีย และงานวิจัยชิ้นที่ 3 กำลังจะตีพิมพ์ จากการศึกษาทลายปาล์มน้ำมันที่เหลือทิ้งในประเทศไทยซึ่งมีจำนวนมากและบางส่วน กลายเป็นขยะ โดยใช้จุลินทรีย์ที่ย่อยสลายเป็นเซลลูโลสที่มีอยู่ในปาล์มเพื่อลดปริมาณขยะจากทลายปาล์ม และยังสามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้ในขณะเดียวกัน ขณะนี้อยู่ในขั้นของการดำเนินการจัดการเอกสารในการตีพิมพ์ การใช้ชีวิตในญี่ปุ่น แต่ละวันเวลามีค่า ต้องพยายามเรียนให้จบภายในเวลาที่กำหนด คือ 5 ปี “ทำให้ดีที่สุด ถ้าเราทำไม่ดี แน่นอนว่ารุ่นน้องก็อาจจะไม่ได้โอกาสได้ไปเรียนแบบตนเอง จึงตั้งใจทำ ไม่ให้ใครตำหนิได้ และทำทุกวันให้มีความสุข” เส้นทางนักศึกษาทุนญี่ปุ่น ต้องมีความอดทนต่อความกดดันต่างๆ เนื่องด้วยอาจารย์จะค่อนข้างทำงานอย่างเป็นระบบ ระเบียบและละเอียดในทุกๆ ขั้นตอนเพื่อให้ได้งานวิจัยออกมาอย่างมีประสิทธิภาพและใช้งานได้จริง งานวิจัยจึงต้องใช้เวลาและความพยายามเป็นอย่างมาก การเรียนที่สำคัญ การใช้ชีวิตอย่างมีความสุขก็สำคัญ ที่นี่มีนักศึกษาไทยอยู่มากและมีกิจกรรมต่างๆ ทั้งกิน เที่ยว สังสรรค์ มีสมาคนนักเรียนไทยในญี่ปุ่น ซึ่งจะมีกิจกรรมทำร่วมกันอยู่บ่อยๆ และบางครั้งก็ไปเที่ยวกับเพื่อนๆญี่ปุ่นได้ใช้ชีวิตแบบคนญี่ปุ่น มีกิจกรรมต่างๆ แลกเปลี่ยนวัฒนธรรมกัน เป็นสิ่งที่ดีมากๆ มหาวิทยาลัยที่เรียนตั้งอยู่เกียวโต ซึ่งเป็นเมืองหลวงเก่าของญี่ปุ่น เป็นเมืองแห่งวัฒนธรรมอันเก่าแก่ซึ่งน่าอยู่และเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงอีกด้วย ในเดือนกันยายน 2562 นี้ จะสำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาเอก ความภาคภูมิใจของลูกพ่อค้าแม่ค้า และความภูมิใจของตนเอง ซึ่งมาจากเด็กเรียนโรงเรียนเล็กๆ ไม่มีชื่อเสียงมากนัก มีเด็กนักเรียนเพียงไม่ถึง 300 คน ความคิดตอนแรกๆ ที่คิดแค่เรียนจบป.ตรี ทำงานดูแลพ่อแม่ได้แค่นี้ก็เกินพอ โดยไม่คิดว่าจะเรียนจบปริญญาเอก โดยหลังเรียนจบอยากกลับมาเป็นอาจารย์ที่ มทร.ธัญบุรี แต่ด้วยตอนนี้ไม่มีตำแหน่ง จึงแพลนที่จะทำงานที่ Token thermotech Japan ในญี่ปุ่น ซึ่งเป็นโรงงานอุตสาหกรรมที่มีความร่วมมือกับ ทาง มทร.ธัญบุรี ในการมอบทุนให้กับรุ่นน้องเข้าศึกษาฝึกงานทุกๆ ปี โดยโรงงานดังกล่าวเปิดในหลายประเทศทั้ง ญี่ปุ่น ไทย จีน มาเลเซีย และเม็กซิโก โดยที่ญี่ปุ่น เป็นบริษัทหลัก คิดไว้จะทำงานในโรงงานที่ญี่ปุ่นประมาณ 4-5 ปี เรียนรู้ระบบในการทำงาน และกลับมาทำงานที่บริษัทเดียวกันที่ตั้งอยู่ในไทย หากน้องๆ อยากได้รับโอกาสดีๆ แบบนี้แน่นอนว่า มทร.ธัญบุรี สามารถเป็นสะพานส่วนหนึ่งที่จะพาเราได้มีโอกาสเรียนที่ญี่ปุ่นและมีงานดีๆ หากเรามีความตั้งใจที่แน่วแน่ ตั้งใจเรียน และที่สำคัญเป็นคนดี แน่นอนว่าความสำเร็จก็คงอยู่ไม่ไกล วิเชียร ขาวดาษ กล่าวทิ้งท้าย