โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนประจวบวิทยาลัย EZ WebmasterJune 20, 2025 วันนี้ทั้งเล่น ทั้งได้ความรู้ ทั้งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนประจวบวิทยาลัย จ.ประจวบคีรีขันธ์ วันที่20/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสามร้อยยอดวิทยาคม EZ WebmasterJune 20, 2025 กิจกรรมสร้างสรรค์ ความสุขเล็กๆ ที่ยิ่งสนุกสนาน โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนสามร้อยยอดวิทยาคม จ.ประจวบคีรีขันธ์ วันที่20/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศ EZ WebmasterJune 20, 2025 มาทำให้วันธรรมดา กลายเป็นวันพิเศษกันเถอะ! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศ จ.เพชรบุรี วันที่20/06/68 โดยวิทยากร อ.ธารา อิสสระ (พี่แฮนด์… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนรัตนราษฎร์บำรุง EZ WebmasterJune 20, 2025 สร้างความสุข สร้างความทรงจำดีๆ ให้เด็กๆ ทุกคน โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนรัตนราษฎร์บำรุง จ.ราชบุรี วันที่19/06/68 โดยวิทยากร อ.ธารา… นักศึกษา โรงเรียนปลอดมือถือ! อังกฤษ-ออสเตรเลียเริ่มแล้ว ดึงเด็กกลับมาสนใจครูในห้องเรียน EZ WebmasterJune 20, 2025 วันที่ 10 มิถุนายน 2568 – ในช่วงหลายเดือนที่ผ่านมา แวดวงการศึกษาในประเทศพัฒนาแล้วต่างให้ความสนใจประเด็น “โรงเรียนปลอดโทรศัพท์มือถือ (Phone-Free School)” อย่างจริงจัง ล่าสุดมีความเคลื่อนไหวชัดเจนจาก ประเทศอังกฤษและออสเตรเลีย ที่เริ่มนำร่องมาตรการควบคุมการใช้อุปกรณ์ดิจิทัลในโรงเรียนระดับมัธยมอย่างเข้มงวด จากรายงานของ สำนักข่าว BBC ระบุว่า… มธ. ปักหมุดหลักสูตร ‘AI Ethics’ หนุนบริบทใหม่ของห้องเรียนทันโลก สร้างจุดยืนคนรุ่นใหม่ ‘ใช้เอไออย่างมีจริยธรรม’ พร้อมเดินหน้าวางหมุดหมายระบบการศึกษาไทย กับการปลุกการใช้เทคฯ คู่ธรรมาภิบาล คาดเริ่มเปิดลงทะเบียนพร้อมเรียนจริง สิงหาคม 68 นี้ EZ WebmasterJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) ตอกย้ำจุดยืนเชิงรุกต่อการเปลี่ยนผ่านของโลกยุคดิจิทัล ผ่านการพัฒนาหลักสูตร “AI Ethics” หรือจริยธรรมปัญญาประดิษฐ์ ภายใต้ยุทธศาสตร์ Thammasat Next Century เตรียมความพร้อมให้เยาวชนไทยมีทั้งความรู้ ความสามารถ และความรับผิดชอบในการใช้งานเทคโนโลยีอย่างเหมาะสม โดยเฉพาะในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อที่ปัญญาประดิษฐ์กำลังกลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวัน ทั้งในห้องเรียน ที่ทำงาน และบนแพลตฟอร์มออนไลน์ต่าง ๆ โดยหลักสูตรนี้ถูกวางให้เป็นรากฐานสำคัญของระบบการศึกษายุคใหม่ ที่ไม่เพียงเน้นทักษะด้านเทคนิคเท่านั้น แต่ยังปลูกฝังค่านิยมที่ถูกต้องในการอยู่ร่วมกับเทคโนโลยี พร้อมชี้ให้เห็นถึงความเสี่ยงของ AI ที่เกิดจาก… 11 สาเหตุลึกซึ้ง ทำไมการศึกษาไทยยังตกต่ำ? เสียงสะท้อนจากครูชนบท สู่คำถามใหญ่ของสังคม EZ WebmasterJune 19, 2025 ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ประเทศไทยกำลังเผชิญกับวิกฤตคุณภาพทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง แม้จะมีความพยายามปฏิรูปหลายครั้ง แต่กลับไม่สามารถยกระดับการเรียนรู้ให้เทียบเท่าประเทศเพื่อนบ้านได้อย่างแท้จริงนายสานิตย์ พลศรี นายกสมาคมครูชนบทจังหวัดชัยภูมิ ในหัวข้อ “สาเหตุของปัญหาคุณภาพด้านการศึกษาประเทศไทยที่ตกต่ำ” ซึ่งกำลังถูกส่งต่ออย่างกว้างขวางในโซเชียลมีเดียและกลุ่มไลน์ของคนในแวดวงการศึกษาเสียงสะท้อนจากผู้ที่อยู่ในภาคสนามจริงอย่างนายสานิตย์ ทำให้เราได้เห็นภาพที่ชัดเจนมากขึ้นว่า ปัญหาไม่ได้อยู่ที่ตัวนักเรียนหรือครูเพียงลำพัง แต่เป็นผลสะสมจากโครงสร้าง ระบบ และการบริหารที่ผิดทิศผิดทางมานานจึงเป็นการเปิดประเด็นให้สังคมได้ทบทวนร่วมกันว่า หากเราไม่เริ่ม “เปลี่ยนจริง” คุณภาพการศึกษาของไทยอาจยิ่งตกต่ำลงกว่าที่เป็นอยู่ 11… ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา EZ WebmasterJune 18, 2025 วิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิทักษ์ ธรรมวาริน (คนที่ 4 จากซ้าย) คณบดีวิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สจล. และ Mr. Alfonso Martin (คนที่ 3… ทุนดีดี ทุนImperial Athletes Sport InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 20, 2025 Imperial College London เสนอทุนการศึกษา Imperial Athletes Sport เพื่อสนับสนุนนักกีฬาที่มีพรสวรรค์สำหรับปีการศึกษา 2025/2026 โดยเปิดโอกาสให้เลือกเรียนในหลากหลายสาขาวิชา เปิดรับใบสมัครถึง 4 สิงหาคม 2025 หากคุณกำลังแข่งขันในระดับภูมิภาค ระดับชาติ หรือระดับนานาชาติในกีฬาของคุณ และแสดงให้เห็นถึงพรสวรรค์… Kazan Global Youth Summit InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 19, 2025 เชิญเยาวชนสมัครคัดเลือกเข้าร่วมการประชุม Kazan Global Youth Summit ครั้งที่ 4 ระหว่างวันที่ 27 – 30 สิงหาคม 2568 ณ เมืองคาซาน สาธารณรัฐตาตาร์สตาน สหพันธรัฐรัสเซีย จัดโดยรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐตาตาร์สตาน… SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… ครู-อาจารย์ สวนสุนันทาให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากหลักสูตรครูทหารของกองทัพบกรุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากหลักสูตรครูทหารของกองทัพบกรุ่นที่ 5 วันที่ 20 มิถุนายน 2568 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากหลักสูตรการฝึกอบรมครูทหารของกองทัพบก รุ่นที่ 5 กรมยุทธศึกษาทหารบก ณ ห้องประชุมช่อแก้ว โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อแลกเปลี่ยนองค์ความรู้และประสบการณ์ด้านการบริหารจัดการและเทคโนโลยีทางการศึกษา กิจกรรมเริ่มต้นตั้งแต่เวลา 08.30 น. ด้วยการลงทะเบียนและรับฟังการกล่าวต้อนรับโดย รองศาสตราจารย์… จุฬาฯ ผงาดอันดับ Top 44 ของโลกด้านความยั่งยืน ใน THE Impact Rankings 2025 ครองอันดับ 1 ของไทยอีกครั้ง tui sakrapeeJune 20, 2025 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยผงาดอันดับ Top 44 ของโลก และครองอันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทยอีกครั้งหนึ่ง จากการจัดอันดับโดย Times Higher Education Impact Rankings 2025 ด้วยผลงานที่โดดเด่นในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนและสร้างผลกระทบสูงต่อสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง SDG 9… หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 📚เริ่มเรียน กรกฎาคม 2568 ถึง มกราคม 2569 ทุกวันพฤหัสบดี 11:00 – 18:00 น.… มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster May 17, 2025 EZ Webmaster May 17, 2025 ม.ธรรมศาสตร์ เปิดแผนพลิกการศึกษายุคใหม่ ปรับ 298 หลักสูตร รับมือโลกเปลี่ยนเร็ว พร้อมวางทิศทางสู่ระดับโลก ม.ธรรมศาสตร์ เปิดแผนพลิกการศึกษายุคใหม่ ปรับ 298 หลักสูตร รับมือโลกเปลี่ยนเร็ว พร้อมวางทิศทางสู่ระดับโลก – ปั้นทาแลนต์เก่งรอบทิศ โดดเด่นด้วยหลักสูตร “จริยธรรม AI” ปักธงบัณฑิตมีงานทำ 100% กางแผนยุทธศาสตร์ มธ. กับการก้าวสู่ Global Impact University ยุคใหม่ที่โดดเด่นทั้ง “วิทย์ ศิลป์ สังคม AI” พร้อมการเป็นต้นแบบมหาวิทยาลัยสมบูรณ์แบบแห่งโลกอนาคต เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ.2568 ณ สมาคมธรรมศาสตร์ในพระบรมราชูปถัมภ์ ซอยงามดูพลี เขตสาทร กรุงเทพมหานคร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) กางแผนความพร้อมก้าวสูตวรรษที่ 21 ประกาศขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ใหม่ “มหาวิทยาลัยสมบูรณ์แบบชั้นนำแห่งอนาคต” (Leading Comprehensive University for Future Societies) เดินหน้าปฏิรูประบบการเรียนรู้ พัฒนาหลักสูตรทั้ง 19 คณะ 6 วิทยาลัย 2 สถาบัน 298 หลักสูตรที่เชื่อมโยงสหวิทยาการทั้งด้านสังคมศาสตร์ วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และวิทยาศาสตร์สุขภาพ พร้อมตั้งเป้าเป็นต้นแบบมหาวิทยาลัยไทยที่ผลิต “ผู้นำ” และ “แรงงานคุณภาพสูง” ตอบโจทย์ตลาดแรงงานได้ทุกมิตินอกจากนี้ยังเตรียมเปิดหลักสูตรและรายวิชาใหม่ อาทิ จริยธรรมปัญญาประดิษฐ์สำหรับผู้นำอนาคต กลุ่มวิชา Finance & Investment ซึ่งสอดรับกับวิถีชีวิตสังคมและเศรษฐกิจในอนาคต ตลอดจนมุ่งเป้าพัฒนาทักษะบัณฑิตสู่ทาเลนต์ที่เพียบพร้อมทั้ง Hard Skills , Soft Skils , Future Skils มุ่งสู่ภาวะการมีงานทำหลังจบการศึกษาได้ 100% ศ. ดร.ศุภสวัสดิ์ ชัชวาลย์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เปิดเผยว่า ในยุคที่ทุกบริบทโลกเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว มหาวิทยาลัยต่างต้องเร่งปรับตัวเพื่อเตรียมบัณฑิตให้พร้อมสู่อนาคต ซึ่งจากรายงานของ World Economic Forum ปี 2024 พบว่า “การคิดวิเคราะห์” (Analytical thinking) เป็นทักษะหลักที่ภาคธุรกิจมองว่าจำเป็นสูงสุดในปี 2025 โดยสูงถึง 68% รองลงมาคือ “ความยืดหยุ่น และความคล่องตัว” (67%) และ “ภาวะผู้นำและ อิทธิพลทางสังคม” (61%) สะท้อนถึงความจำเป็นในการพัฒนาทักษะทั้งด้านความคิด การสื่อสาร และการปรับตัวในโลกที่ผันผวน ขณะเดียวกัน ที่น่าสนใจคือกลุ่มอาชีพด้านเทคโนโลยีกำลังขยายตัวอย่างรวดเร็วในช่วงปี 2025-2030 โดยเฉพาะอาชีพ ‘ผู้เชี่ยวชาญด้านข้อมูลขนาดใหญ่” (Big Data Specialists) ซึ่งมีอัตราการเติบโตสูงถึงกว่า 100% ตามด้วย “วิศวกรฟินเทค” (FinTech Engineers) และ “ผู้เชี่ยวชาญด้าน AI และ Machine Learning” ที่ต่างเป็นที่ต้องการเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง โดยยังมีอาชีพที่เติบโตควบคู่กัน เช่น นักพัฒนาแอปพลิเคชัน นักวิเคราะห์ข้อมูล ผู้สร้างความ มั่นคงไซเบอร์ และวิศวกรพลังงานหมุนเวียน และในทางกลับกัน หลายอาชีพดั้งเดิมกำลังถูกลดบทบาทลงอย่างชัดเจน ซึ่งประเด็นเหล่านี้ได้ตอกย้ำถึงความเร่งด่วนในการเสริมทักษะใหม่ให้แก่แรงงาน โดยเฉพาะทักษะเทคโนโลยี ความคิดสร้างสรรค์ และความสามารถในการเรียนรู้ตลอดชีวิต ศ. ดร.ศุภสวัสดิ์ กล่าวเสริมว่า ม.ธรรมศาสตร์ จึงเดินหน้ายกระดับการศึกษาไทยสู่ระดับโลก ด้วยการเปิดแผนยุทธศาสตร์ใหม่ภายใต้แนวคิด “มหาวิทยาลัยสมบูรณ์แบบชั้นนำเพื่อสังคมแห่งอนาคต” (Leading Comprehensive University for Future Societies) พร้อมยังตั้งเป้าสร้าง Global Impact University เพื่อให้คนของธรรมศาสตร์ตอบโจทย์กับการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 โดยปรับปรุงและพัฒนากว่า 298 หลักสูตร ครอบคลุมทั้ง ด้านสังคมศาสตร์ วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และวิทยาศาสตร์สุขภาพ สร้างบัณฑิตที่มีความรู้รอบด้านในเชิงประจักษ์ พร้อมลงมือปฏิบัติได้จริง และมีศักยภาพในการเป็นผู้นำยุคใหม่ที่สามารถขับเคลื่อนประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งในปัจจุบันและตอบโจทย์ความต้องการสังคมแห่งอนาคตได้อย่างมีประสิทธิผล โดยยุทธศาสตร์ใหม่นี้ประกอบด้วย 3 แกนหลัก ได้แก่ การเป็นมหาวิทยาลัยสมบูรณ์แบบ (Comprehensive University) ชั้นนำแห่งอนาคต มุ่งบูรณาการองค์ความรู้หลากศาสตร์และการพัฒนาทักษะทางการวิจัยให้ตอบสนองต่อการเรียนรู้ยุคใหม่ การเป็นมหาวิทยาลัยของสังคม โดยเน้นการผลิตบัณฑิตจิตสาธารณะ พร้อมสร้างความเข้าใจเชื่อมโยงกับชุมชนด้วยนวัตกรรมเพื่อสุขภาวะและการพัฒนาอย่างยั่งยืน และ การสร้างความสุขและความยั่งยืนให้กับประชาคมธรรมศาสตร์ ผ่านการใช้ระบบการบริหารแบบยั่งยืน และแผนงานเชิงระบบที่เน้นการพัฒนาหลักสูตรตามแนวคิด Outcome-Based Education (OBE) การยกระดับทักษะทั้ง Hard Skils และ Soft Skills พร้อมผลักดันการเรียนรู้แบบ Experiential Learning และ Co-operative Education ให้เกิดขึ้นในทุกคณะ “แผนยุทธศาสตร์ใหม่นี้มุ่งเน้นการบูรณาการการเรียนรู้แบบข้ามศาสตร์ (Interdisciplinary Learning) การเรียนรู้ผ่านประสบการณ์จริง (Experiential Learning) และการร่วมออกแบบหลักสูตรร่วมกับภาคธุรกิจ โดยเริ่มทยอยปรับหลักสูตรในปีการศึกษา 2567 และตั้งเป้าใช้เต็มรูปแบบในปีการศึกษา 2570 โดยมีการออกแบบโครงสร้างหลักสูตรตามแนวคิด Outcome-Based Education (OBE) และการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์จริง ครอบคลุมการ จัดทำผลลัพธ์การเรียนรู้ทั้งระดับหลักสูตร และรายวิชาตามมาตรฐานของ กกอ. โดยนักศึกษาจะได้เรียนรู้จากการลง มือปฏิบัติในรายวิชาต่าง ๆ ที่เปิดโอกาสให้นักศึกษาและฝึกทักษะจริงในสถานประกอบการมากกว่า 405 ชั่วโมงรวมถึงการพัฒนากลุ่มหลักสูตรที่เน้นการเรียนรู้แบบ Experiential Learning ผ่านโครงงานและปัญหาจริงจากภาคสนาม สอดรับกับเป้าหมายการสร้าง “บัณฑิตพร้อมทำงาน” อย่างแท้จริง นอกจากนี้ การปรับปรุงทุกหลักสูตรยัง มุ่งส่งเสริมความร่วมมือกับพันธมิตรภายนอกทั้งองค์กรภาครัฐ เอกชน และกลุ่มองค์กรขนาดใหญ่ องค์กรด้านเทคโนโลยี พร้อมยกระดับการเรียน e-Learning และสร้าง Common Core ภายในคณะเพื่อประโยชน์ร่วมกันทุกหลักสูตร ในขณะเดียวกัน ยังส่งเสริมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษและการมีวิชาที่เชื่อมโยงกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) เพื่อเตรียมความพร้อมให้บัณฑิตไทยสามารถแข่งขันในระดับสากลได้” ศ. ดร.ศุกสวัสดิ์ กล่าวเพิ่มเติมว่า หนึ่งในไฮไลต์สำคัญคือการผลักดัน รายวิชาเสริมทักษะเชิงลึกเพื่อตอบโจทย์โลกอนาคต โดยเร็วๆนี้จะมีการเปิดสอน รายวิชา TU280 “จริยธรรมปัญญาประดิษฐ์สำหรับผู้นำอนาคต” (Artificial Intelligence Ethics for Leader of the Future) ซึ่งเป็นรายวิชาบังคับใหม่ทันกับกระแส AI และเทคโนโลยีแห่งอนาคตโดยตรง มุ่งพัฒนาศักยภาพนักศึกษาให้เข้าใจในประเด็นจริยธรรม เทคโนโลยี และความเชื่อมั่นการใช้ AI อย่างลึกซึ้ง ต่อเนื่องถึงการเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมอย่างรอบด้าน ทั้งนี้ ความแตกต่างของรายวิชานี้คือไม่ได้สอนเพียงการใช้เทคโนโลยี แต่เป็นการฝึกนักศึกษาให้เข้าใจโลกที่เทคโนโลยีเปลี่ยน พร้อมตั้งคำถามอย่างมีจริยธรรมต่อการใช้ AI ในชีวิตมนุษย์ สังคม และระบบเศรษฐกิจในอนาคต เป็นการบ่มเพาะผู้นำที่คิดเป็น ทำเป็น และ รับผิดชอบต่อผลกระทบในระดับโลกได้จริง และเป็นหัวใจของการสร้าง “Ethical Leaders” แห่งยุค AI ที่จะไม่ยึดติดเพียงความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีเพียงอย่างเดียว โดยพร้อมเปิดสอนในภาคการศึกษา 2568 นำโดยคณาจารย์และ ผู้เชี่ยวชาญด้าน AI ของธรรมศาสตร์ นอกจากนี้ยังเปิดหมวดวิชา Finance & Investment ครอบคลุมหัวข้อที่จำเป็นสำหรับคนรุ่นใหม่ อาทิ ความรู้การเงินในชีวิตประจำวัน การลงทุนในคริปโตเคอร์เรนซี การวางแผนภาษี ต้นทุนโอกาส และการเงินเพื่อความ ยั่งยืน โดยร่วมออกแบบหลักสูตรกับผู้เชี่ยวชาญจากองค์กรชั้นนำ เช่น SET SCB GULF และ Bangkok Bank เพื่อให้นักศึกษาสามารถเรียนรู้แบบ Online หรือ E-learning ได้อย่างยืดหยุ่น เหมาะกับการพัฒนาทักษะควบคู่กับการเรียนหลักสูตรปกติ ซึ่งได้รับความสนใจจากนักศึกษาเป็นจำนวนมาก เห็นได้ชัดจากการที่ได้มีการเปิดหลักสูตร SET E-learning ตั้งแต่ปี 2565 จนถึงเดือนมีนาคม 2568 มีนักศึกษาลงเรียนวิชาต่าง ๆ ของหลักสูตรแล้วกว่า 22,000 คน อย่างไรก็ดี ธรรมศาสตร์ยังวางทิศทางการเตรียมบัณฑิตให้พร้อมสู่ตลาดแรงงาน ด้วยการเน้น “ทักษะอาชีพ ที่สำคัญ” ทั้ง ‘Hard Skill’ เช่น ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ กฎหมาย และการเงิน ‘Soft Skill’ เช่น การสื่อสาร แก้ปัญหาและการเป็นผู้นำ รวมถึง ‘Adaptabilty Skill’ ได้แก่ ความยืดหยุ่น การทำงานเป็นทีม และการวิเคราะห์ความเสี่ยงขณะเดียวกัน ยังส่งเสริมทักษะเฉพาะด้าน เช่น ความเข้าใจจริยธรรม AI และการทำงานข้ามวัฒนธรรม เพื่อให้บัณฑิตธรรมศาสตร์เป็น Talent ที่โดดเด่นพร้อมรับมือกับโลกที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและซับซ้อนในทุกมิติ “ในภาพรวม มหาวิทยาลัยวางเป้าหมายให้บัณฑิตมีความรู้เชิงวิชาการควบคู่กับทักษะปฏิบัติจริง และมีประสบการณ์วิชาชีพ โครงการ หรือฝึกงานอย่างน้อย 6 หน่วยกิต โดยคาดหวังให้ทุกหลักสูตรสามารถพัฒนา ศักยภาพนักศึกษาให้มีทักษะแห่งอนาคต (Future Skils) เพื่อเติบโตอย่างมั่นคงในโลกการทำงานยุคใหม่ได้อย่างเต็มศักยภาพ นอกจากนี้ ยังได้ตั้ง “ศูนย์สหกิจศึกษาและพัฒนาอาชีพ” (TUCEEC) เพื่อเตรียมความพร้อมให้นักศึกษาและศิษย์เก่า ได้พัฒนาทักษะที่จำเป็นอย่าง Hard Skills, Sofi Skills รวมถึง Future Skils เรื่องของ AI และการตลาดดิจิทัล โดยมีเป้าหมายจัดอบรมและกิจกรรมกว่า 100 รายการในช่วงปี 2568-2570 เพื่อสร้างแรงส่งสู่การมีงานทำทันที่หลังจบการศึกษาให้ได้ 100%” การวางกลยุทธ์ด้านบุคลากร มหาวิทยาลัยยังเร่งยกระดับศักยภาพอาจารย์และผู้เชี่ยวชาญสู่การเป็น “ผู้นำการเรียนรู้” อย่างเป็นระบบ ผ่านแนวทาง Professional Standard Framework (PSF) ซึ่งเป็น กรอบมาตรฐานสากลเพื่อสงเสริมความเชี่ยวชาญด้านการจัดการเรียนการสอนในระดับสูง โดยตั้งเป้าหมายให้อาจารย์ผ่านการรับรองมาตรฐาน PSF ระดับ 2 ขึ้นไป (PSF 2+) อย่างน้อย 100 คนภายในปีงบประมาณ 2568-2570 ทั้งนี้ ถือเป็นกลยุทธ์สำคัญในการพัฒนาอาจารย์ให้เป็นผู้มีบทบาทผู้นำการสร้างการเรียนรู้เชิงรุก และออกแบบประสบการณ์การเรียนรู้ที่ตอบโจทย์ผู้เรียนยุคใหม่อย่างแท้จริง ทั้งในระดับปริญญาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) ตลอดจนสนับสนุนการพัฒนาหลักสูตรนานาชาติ และความร่วมมือหลักสูตรแบบ Dual Degree กับสถาบันพันธมิตรทั่วโลกเพื่อสร้างเครือข่ายวิชาการระดับสากลที่เชื่อมโยงการเรียนรู้อย่างไร้พรมแดนได้ “หลายปีที่ผ่านมากลุ่มเป้าหมายของคนที่ต้องการศึกษาที่ม.ธรรมศาสตร์ อยู่ในทุกช่วงวัย และมีความหลากหลาย สิ่งเหล่านี้จึงทำให้มหาวิทยาลัยตระหนักถึงการต้องพัฒนาสร้างหลักสูตรที่รองรับความต้องการที่ไม่สิ้นสุดให้กว้างมากขึ้น อีกทั้งจำเป็นจะต้องเน้นการผลิตบุคลากรในเชิงคุณภาพ สวนทางกับช่วงที่ประชากรโลกมีอัตราการเกิดลดลง นอกจากนี้ ยังมุ่งหวังที่จะเป็นต้นแบบการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในระดับอุดมศึกษา – การเรียนรู้ตลอด ชีวิตให้เกิดขึ้นในแบบองค์รวม ซึ่งจะส่งผลดีต่อการยกระดับส่วนต่าง ๆ ของประเทศในภาพรวมได้ในที่สุด” จากการสัมภาษณ์ รศ. ดร. ดำรงค์ อดุลยฤทธิกุล รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ และอาจารย์คณะศิลปศาสตร์ ได้พูดถึงวิชาและหลักสูตรใหม่ๆที่น่าสนใจกำลังจะเกิดขึ้นในเร็วๆนี้ว่าในตอนนี้จะมีวิชาเกิดขึ้นอยู่หลายอัน นอกจากวิชา “จริยธรรมปัญญาประดิษฐ์สำหรับผู้นำอนาคต” (Artificial Intelligence Ethics for Leader of the Future) แล้ว จะมีวิชาที่เกี่ยวกับ Carbon Footprint ซึ่งมีความจำเป็นต่อนักศึกษาที่จะต้องรู้ และอันต่อมาเป็นเรื่องวิชาที่เกี่ยวกับกายและจิต จะมีวิชาที่เกี่ยวกับ Self development ที่จะดูแลให้นักศึกษาเข้าใจเรื่องว่าที่จะต้องดูแลตัวเองอย่างไร รวมทั้งการดูแลสภาพจิตใจเมื่อพบกับความล้มเหลวหรือว่าความท้าทายต่างๆที่จะต้องปรับตัว เตรียมรับมืออย่างไรบ้าง ตัววิชาจะเป็นตัวช่วยการเรียนรู้และความพร้อม แต่ในส่วนของมหาวิทยาลัยเองก็คือฝ่ายการศึกษา จะมีการเตรียมพร้อมในส่วนในการให้คำปรึกษาด้วยเพราะจะทำให้ความเครียดต่างๆที่นักศึกษาในปัจจุบันเจอค่อนข้างมากทำให้ลดลงเรื่อยหรือทำให้สภาพนักศึกษาสุขภาวะที่ดีขึ้น วิชาเหล่านี้เป็นตัวช่วยนักศึกษา นอกจากนั้นจะมีวิชาอย่างเช่น เรื่องเกี่ยวกับ Global Citizenship เพื่อเตรียมความพร้อมให้กับนักศึกษานั้นพร้อมที่เรียนรู้กับความแตกต่างและเคารพความแตกต่างด้วย ไม่ว่าจะเป็น เรื่องของความคิด เรื่องของความแตกต่างของเพศภาวะ เรื่องของสิ่งต่างๆมากมาย สิ่งเหล่านี้วิชาจะทำให้นักศึกษาพร้อมที่จะเรียนรู้ไปด้วย และสุดท้ายที่จะพูดถึงก็คือเรื่องวิชาที่เน้นในการเรียนรู้ประสบการณ์ซึ่งนอกจากเรื่องของฝึกงานแล้ว มหาวิทยาลัยให้ความสำคัญแก่เรื่องการที่นักศึกษาออกไปทำงานจากภายนอก อย่างเช่น นักศึกษานั้นมีโอกาสไปแข่งขันในรายการต่างๆ เช่น แข่งขันในแผนธุรกิจ แข่งขันเรื่องของโครงงาน ทั้งหมดนี้คิดว่ากว่านักศึกษาจะเตรียมการจนกระทั้งไปสู่การแข่งขันได้ นักศึกษาจะต้องเรียนรู้ในกระบวนการเหล่านี้ เพราะฉะนั้นมหาวิทยาลัยจะนำให้กลายเป็นส่วนหนึ่งหน่วยกิตที่นักศึกษาจะได้ ซึ่งจะมีกรรมการมาช่วยประเมินเขา อันนี้คือส่วนสำคัญที่เรียกว่า Experiential Learning คือการเรียนรู้จากประสบการณ์การทำงาน และได้กล่าวถึงน้องๆที่สนใจเรียนที่ม.ธรรมศาสตร์ว่า สำหรับน้องๆชั้นมัธยมศึกษาที่สนใจ ม.ธรรมศาสตร์ ในช่วงระหว่างที่กำลังศึกษาในระดับชั้นมัธยมอาจจะหาโอกาสกันเข้ามาเรียนรู้วิชาต่างๆที่ม.ธรรมศาสตร์เปิด ซึ่งมหาวิทยาลัยมีในรูปแบบ E-Learning เป็นแบบตลาดวิชาซึ่งน้องๆนักเรียนสามารถเข้ามาเรียนได้ ซึ่งไม่ใช่แค่เฉพาะน้องๆนักเรียนเท่านั้น ผู้จบการศึกษาไปแล้วที่อยากจะมา Re-Skill Up-Skill สามารถเข้ามาเรียนในชุดวิชาที่มหาวิทยาลัยเปิดได้เช่นกัน เมื่อนักเรียนที่เรียนจบแล้ว สามารถเก็บสะสมหน่วยกิต พอเมื่อนักเรียนเหล่านี้เป็นนักศึกษาธรรมศาสตร์ อย่างน้อยน้องๆจะได้เรียนรู้วิชาที่เป็นธรรมศาสตร์บ้าง พอเมื่อนักเรียนเหล่านี้เป็นนักศึกษาธรรมศาสตร์แล้ว หน่วยกิตที่เรียนมาจะโอนเข้ามา รวมทั้งผลการเรียนรู้ด้วย เพราะฉะนั้นเข้ามาในธรรมศาสตร์แล้วก็แปลว่าน้องที่เรียนจะได้รายวิชาเหล่านี้มากพอสมควรแล้วสามารถไปเรียนในวิชาเอก วิชาโทต่างๆที่สนใจได้ ในปีหนึ่ง ธรรมศาสตร์เปิดรับ 3-4 รอบในระบบ TCAS มีตั้งแต่รอบ Portfolio รอบโควต้า รอบ Admission และรอบ รับโดยตรง ถ้าน้องๆนักเรียนที่สนใจ ในช่วงปลายปี ประมาณเดือนพฤศจิกายน ม.ธรรมศาสตร์ จะเปิด Open House ใหญ่ เพื่อให้ข้อมูลต่างๆและนักเรียนที่สนใจธรรมศาสตร์เข้ามาเรียนรู้ได้มีโอกาสมาพูดคุยกับบรรดาพี่ๆทั้งหลายจากประสบการณ์จริงมาเรียนรู้ว่าการอยู่ในธรรมศาสตร์นั้นเป็นอย่างไรบ้าง เพื่อมีความตัดสินใจได้ถูกต้องจากฐานข้อมูล รวมทั้งเข้ามาดูชีวิตความเป็นอยู่ การเดินทางในมหาวิทยาลัย รวมทั้งการเยี่ยมเยือนหอพักด้วย เพราะฉะนั้นจะทำให้เห็นภาพรวมทั้งหมดก่อนตัดสินใจว่าธรรมศาสตร์จะเป็นที่ที่น้องๆเข้ามาเรียนรู้และอยู่กับน้องๆไปตลอด 3-4 ปีหรือไหมครับ EZ Webmaster Related Posts สวนสุนันทาให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากหลักสูตรครูทหารของกองทัพบกรุ่นที่ 5 โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนประจวบวิทยาลัย โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสามร้อยยอดวิทยาคม โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศ โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนรัตนราษฎร์บำรุง Post navigation PREVIOUS Previous post: สมัครเรียนที่ “มหาวิทยาลัยสยาม” รับทุนสนับสนุนการศึกษารวม 11,000 บาทNEXT Next post: ทุน$1,000ในรัฐควีนส์แลนด์ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสามร้อยยอดวิทยาคม EZ WebmasterJune 20, 2025 กิจกรรมสร้างสรรค์ ความสุขเล็กๆ ที่ยิ่งสนุกสนาน โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนสามร้อยยอดวิทยาคม จ.ประจวบคีรีขันธ์ วันที่20/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศ EZ WebmasterJune 20, 2025 มาทำให้วันธรรมดา กลายเป็นวันพิเศษกันเถอะ! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศ จ.เพชรบุรี วันที่20/06/68 โดยวิทยากร อ.ธารา อิสสระ (พี่แฮนด์… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนรัตนราษฎร์บำรุง EZ WebmasterJune 20, 2025 สร้างความสุข สร้างความทรงจำดีๆ ให้เด็กๆ ทุกคน โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนรัตนราษฎร์บำรุง จ.ราชบุรี วันที่19/06/68 โดยวิทยากร อ.ธารา… นักศึกษา โรงเรียนปลอดมือถือ! อังกฤษ-ออสเตรเลียเริ่มแล้ว ดึงเด็กกลับมาสนใจครูในห้องเรียน EZ WebmasterJune 20, 2025 วันที่ 10 มิถุนายน 2568 – ในช่วงหลายเดือนที่ผ่านมา แวดวงการศึกษาในประเทศพัฒนาแล้วต่างให้ความสนใจประเด็น “โรงเรียนปลอดโทรศัพท์มือถือ (Phone-Free School)” อย่างจริงจัง ล่าสุดมีความเคลื่อนไหวชัดเจนจาก ประเทศอังกฤษและออสเตรเลีย ที่เริ่มนำร่องมาตรการควบคุมการใช้อุปกรณ์ดิจิทัลในโรงเรียนระดับมัธยมอย่างเข้มงวด จากรายงานของ สำนักข่าว BBC ระบุว่า… มธ. ปักหมุดหลักสูตร ‘AI Ethics’ หนุนบริบทใหม่ของห้องเรียนทันโลก สร้างจุดยืนคนรุ่นใหม่ ‘ใช้เอไออย่างมีจริยธรรม’ พร้อมเดินหน้าวางหมุดหมายระบบการศึกษาไทย กับการปลุกการใช้เทคฯ คู่ธรรมาภิบาล คาดเริ่มเปิดลงทะเบียนพร้อมเรียนจริง สิงหาคม 68 นี้ EZ WebmasterJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) ตอกย้ำจุดยืนเชิงรุกต่อการเปลี่ยนผ่านของโลกยุคดิจิทัล ผ่านการพัฒนาหลักสูตร “AI Ethics” หรือจริยธรรมปัญญาประดิษฐ์ ภายใต้ยุทธศาสตร์ Thammasat Next Century เตรียมความพร้อมให้เยาวชนไทยมีทั้งความรู้ ความสามารถ และความรับผิดชอบในการใช้งานเทคโนโลยีอย่างเหมาะสม โดยเฉพาะในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อที่ปัญญาประดิษฐ์กำลังกลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวัน ทั้งในห้องเรียน ที่ทำงาน และบนแพลตฟอร์มออนไลน์ต่าง ๆ โดยหลักสูตรนี้ถูกวางให้เป็นรากฐานสำคัญของระบบการศึกษายุคใหม่ ที่ไม่เพียงเน้นทักษะด้านเทคนิคเท่านั้น แต่ยังปลูกฝังค่านิยมที่ถูกต้องในการอยู่ร่วมกับเทคโนโลยี พร้อมชี้ให้เห็นถึงความเสี่ยงของ AI ที่เกิดจาก… 11 สาเหตุลึกซึ้ง ทำไมการศึกษาไทยยังตกต่ำ? เสียงสะท้อนจากครูชนบท สู่คำถามใหญ่ของสังคม EZ WebmasterJune 19, 2025 ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ประเทศไทยกำลังเผชิญกับวิกฤตคุณภาพทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง แม้จะมีความพยายามปฏิรูปหลายครั้ง แต่กลับไม่สามารถยกระดับการเรียนรู้ให้เทียบเท่าประเทศเพื่อนบ้านได้อย่างแท้จริงนายสานิตย์ พลศรี นายกสมาคมครูชนบทจังหวัดชัยภูมิ ในหัวข้อ “สาเหตุของปัญหาคุณภาพด้านการศึกษาประเทศไทยที่ตกต่ำ” ซึ่งกำลังถูกส่งต่ออย่างกว้างขวางในโซเชียลมีเดียและกลุ่มไลน์ของคนในแวดวงการศึกษาเสียงสะท้อนจากผู้ที่อยู่ในภาคสนามจริงอย่างนายสานิตย์ ทำให้เราได้เห็นภาพที่ชัดเจนมากขึ้นว่า ปัญหาไม่ได้อยู่ที่ตัวนักเรียนหรือครูเพียงลำพัง แต่เป็นผลสะสมจากโครงสร้าง ระบบ และการบริหารที่ผิดทิศผิดทางมานานจึงเป็นการเปิดประเด็นให้สังคมได้ทบทวนร่วมกันว่า หากเราไม่เริ่ม “เปลี่ยนจริง” คุณภาพการศึกษาของไทยอาจยิ่งตกต่ำลงกว่าที่เป็นอยู่ 11… ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา EZ WebmasterJune 18, 2025 วิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิทักษ์ ธรรมวาริน (คนที่ 4 จากซ้าย) คณบดีวิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สจล. และ Mr. Alfonso Martin (คนที่ 3… ทุนดีดี ทุนImperial Athletes Sport InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 20, 2025 Imperial College London เสนอทุนการศึกษา Imperial Athletes Sport เพื่อสนับสนุนนักกีฬาที่มีพรสวรรค์สำหรับปีการศึกษา 2025/2026 โดยเปิดโอกาสให้เลือกเรียนในหลากหลายสาขาวิชา เปิดรับใบสมัครถึง 4 สิงหาคม 2025 หากคุณกำลังแข่งขันในระดับภูมิภาค ระดับชาติ หรือระดับนานาชาติในกีฬาของคุณ และแสดงให้เห็นถึงพรสวรรค์… Kazan Global Youth Summit InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 19, 2025 เชิญเยาวชนสมัครคัดเลือกเข้าร่วมการประชุม Kazan Global Youth Summit ครั้งที่ 4 ระหว่างวันที่ 27 – 30 สิงหาคม 2568 ณ เมืองคาซาน สาธารณรัฐตาตาร์สตาน สหพันธรัฐรัสเซีย จัดโดยรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐตาตาร์สตาน… SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… ครู-อาจารย์ สวนสุนันทาให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากหลักสูตรครูทหารของกองทัพบกรุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากหลักสูตรครูทหารของกองทัพบกรุ่นที่ 5 วันที่ 20 มิถุนายน 2568 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากหลักสูตรการฝึกอบรมครูทหารของกองทัพบก รุ่นที่ 5 กรมยุทธศึกษาทหารบก ณ ห้องประชุมช่อแก้ว โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อแลกเปลี่ยนองค์ความรู้และประสบการณ์ด้านการบริหารจัดการและเทคโนโลยีทางการศึกษา กิจกรรมเริ่มต้นตั้งแต่เวลา 08.30 น. ด้วยการลงทะเบียนและรับฟังการกล่าวต้อนรับโดย รองศาสตราจารย์… จุฬาฯ ผงาดอันดับ Top 44 ของโลกด้านความยั่งยืน ใน THE Impact Rankings 2025 ครองอันดับ 1 ของไทยอีกครั้ง tui sakrapeeJune 20, 2025 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยผงาดอันดับ Top 44 ของโลก และครองอันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทยอีกครั้งหนึ่ง จากการจัดอันดับโดย Times Higher Education Impact Rankings 2025 ด้วยผลงานที่โดดเด่นในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนและสร้างผลกระทบสูงต่อสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง SDG 9… หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 📚เริ่มเรียน กรกฎาคม 2568 ถึง มกราคม 2569 ทุกวันพฤหัสบดี 11:00 – 18:00 น.… มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster May 17, 2025 EZ Webmaster May 17, 2025 ม.ธรรมศาสตร์ เปิดแผนพลิกการศึกษายุคใหม่ ปรับ 298 หลักสูตร รับมือโลกเปลี่ยนเร็ว พร้อมวางทิศทางสู่ระดับโลก ม.ธรรมศาสตร์ เปิดแผนพลิกการศึกษายุคใหม่ ปรับ 298 หลักสูตร รับมือโลกเปลี่ยนเร็ว พร้อมวางทิศทางสู่ระดับโลก – ปั้นทาแลนต์เก่งรอบทิศ โดดเด่นด้วยหลักสูตร “จริยธรรม AI” ปักธงบัณฑิตมีงานทำ 100% กางแผนยุทธศาสตร์ มธ. กับการก้าวสู่ Global Impact University ยุคใหม่ที่โดดเด่นทั้ง “วิทย์ ศิลป์ สังคม AI” พร้อมการเป็นต้นแบบมหาวิทยาลัยสมบูรณ์แบบแห่งโลกอนาคต เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ.2568 ณ สมาคมธรรมศาสตร์ในพระบรมราชูปถัมภ์ ซอยงามดูพลี เขตสาทร กรุงเทพมหานคร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) กางแผนความพร้อมก้าวสูตวรรษที่ 21 ประกาศขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ใหม่ “มหาวิทยาลัยสมบูรณ์แบบชั้นนำแห่งอนาคต” (Leading Comprehensive University for Future Societies) เดินหน้าปฏิรูประบบการเรียนรู้ พัฒนาหลักสูตรทั้ง 19 คณะ 6 วิทยาลัย 2 สถาบัน 298 หลักสูตรที่เชื่อมโยงสหวิทยาการทั้งด้านสังคมศาสตร์ วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และวิทยาศาสตร์สุขภาพ พร้อมตั้งเป้าเป็นต้นแบบมหาวิทยาลัยไทยที่ผลิต “ผู้นำ” และ “แรงงานคุณภาพสูง” ตอบโจทย์ตลาดแรงงานได้ทุกมิตินอกจากนี้ยังเตรียมเปิดหลักสูตรและรายวิชาใหม่ อาทิ จริยธรรมปัญญาประดิษฐ์สำหรับผู้นำอนาคต กลุ่มวิชา Finance & Investment ซึ่งสอดรับกับวิถีชีวิตสังคมและเศรษฐกิจในอนาคต ตลอดจนมุ่งเป้าพัฒนาทักษะบัณฑิตสู่ทาเลนต์ที่เพียบพร้อมทั้ง Hard Skills , Soft Skils , Future Skils มุ่งสู่ภาวะการมีงานทำหลังจบการศึกษาได้ 100% ศ. ดร.ศุภสวัสดิ์ ชัชวาลย์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เปิดเผยว่า ในยุคที่ทุกบริบทโลกเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว มหาวิทยาลัยต่างต้องเร่งปรับตัวเพื่อเตรียมบัณฑิตให้พร้อมสู่อนาคต ซึ่งจากรายงานของ World Economic Forum ปี 2024 พบว่า “การคิดวิเคราะห์” (Analytical thinking) เป็นทักษะหลักที่ภาคธุรกิจมองว่าจำเป็นสูงสุดในปี 2025 โดยสูงถึง 68% รองลงมาคือ “ความยืดหยุ่น และความคล่องตัว” (67%) และ “ภาวะผู้นำและ อิทธิพลทางสังคม” (61%) สะท้อนถึงความจำเป็นในการพัฒนาทักษะทั้งด้านความคิด การสื่อสาร และการปรับตัวในโลกที่ผันผวน ขณะเดียวกัน ที่น่าสนใจคือกลุ่มอาชีพด้านเทคโนโลยีกำลังขยายตัวอย่างรวดเร็วในช่วงปี 2025-2030 โดยเฉพาะอาชีพ ‘ผู้เชี่ยวชาญด้านข้อมูลขนาดใหญ่” (Big Data Specialists) ซึ่งมีอัตราการเติบโตสูงถึงกว่า 100% ตามด้วย “วิศวกรฟินเทค” (FinTech Engineers) และ “ผู้เชี่ยวชาญด้าน AI และ Machine Learning” ที่ต่างเป็นที่ต้องการเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง โดยยังมีอาชีพที่เติบโตควบคู่กัน เช่น นักพัฒนาแอปพลิเคชัน นักวิเคราะห์ข้อมูล ผู้สร้างความ มั่นคงไซเบอร์ และวิศวกรพลังงานหมุนเวียน และในทางกลับกัน หลายอาชีพดั้งเดิมกำลังถูกลดบทบาทลงอย่างชัดเจน ซึ่งประเด็นเหล่านี้ได้ตอกย้ำถึงความเร่งด่วนในการเสริมทักษะใหม่ให้แก่แรงงาน โดยเฉพาะทักษะเทคโนโลยี ความคิดสร้างสรรค์ และความสามารถในการเรียนรู้ตลอดชีวิต ศ. ดร.ศุภสวัสดิ์ กล่าวเสริมว่า ม.ธรรมศาสตร์ จึงเดินหน้ายกระดับการศึกษาไทยสู่ระดับโลก ด้วยการเปิดแผนยุทธศาสตร์ใหม่ภายใต้แนวคิด “มหาวิทยาลัยสมบูรณ์แบบชั้นนำเพื่อสังคมแห่งอนาคต” (Leading Comprehensive University for Future Societies) พร้อมยังตั้งเป้าสร้าง Global Impact University เพื่อให้คนของธรรมศาสตร์ตอบโจทย์กับการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 โดยปรับปรุงและพัฒนากว่า 298 หลักสูตร ครอบคลุมทั้ง ด้านสังคมศาสตร์ วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และวิทยาศาสตร์สุขภาพ สร้างบัณฑิตที่มีความรู้รอบด้านในเชิงประจักษ์ พร้อมลงมือปฏิบัติได้จริง และมีศักยภาพในการเป็นผู้นำยุคใหม่ที่สามารถขับเคลื่อนประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งในปัจจุบันและตอบโจทย์ความต้องการสังคมแห่งอนาคตได้อย่างมีประสิทธิผล โดยยุทธศาสตร์ใหม่นี้ประกอบด้วย 3 แกนหลัก ได้แก่ การเป็นมหาวิทยาลัยสมบูรณ์แบบ (Comprehensive University) ชั้นนำแห่งอนาคต มุ่งบูรณาการองค์ความรู้หลากศาสตร์และการพัฒนาทักษะทางการวิจัยให้ตอบสนองต่อการเรียนรู้ยุคใหม่ การเป็นมหาวิทยาลัยของสังคม โดยเน้นการผลิตบัณฑิตจิตสาธารณะ พร้อมสร้างความเข้าใจเชื่อมโยงกับชุมชนด้วยนวัตกรรมเพื่อสุขภาวะและการพัฒนาอย่างยั่งยืน และ การสร้างความสุขและความยั่งยืนให้กับประชาคมธรรมศาสตร์ ผ่านการใช้ระบบการบริหารแบบยั่งยืน และแผนงานเชิงระบบที่เน้นการพัฒนาหลักสูตรตามแนวคิด Outcome-Based Education (OBE) การยกระดับทักษะทั้ง Hard Skils และ Soft Skills พร้อมผลักดันการเรียนรู้แบบ Experiential Learning และ Co-operative Education ให้เกิดขึ้นในทุกคณะ “แผนยุทธศาสตร์ใหม่นี้มุ่งเน้นการบูรณาการการเรียนรู้แบบข้ามศาสตร์ (Interdisciplinary Learning) การเรียนรู้ผ่านประสบการณ์จริง (Experiential Learning) และการร่วมออกแบบหลักสูตรร่วมกับภาคธุรกิจ โดยเริ่มทยอยปรับหลักสูตรในปีการศึกษา 2567 และตั้งเป้าใช้เต็มรูปแบบในปีการศึกษา 2570 โดยมีการออกแบบโครงสร้างหลักสูตรตามแนวคิด Outcome-Based Education (OBE) และการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์จริง ครอบคลุมการ จัดทำผลลัพธ์การเรียนรู้ทั้งระดับหลักสูตร และรายวิชาตามมาตรฐานของ กกอ. โดยนักศึกษาจะได้เรียนรู้จากการลง มือปฏิบัติในรายวิชาต่าง ๆ ที่เปิดโอกาสให้นักศึกษาและฝึกทักษะจริงในสถานประกอบการมากกว่า 405 ชั่วโมงรวมถึงการพัฒนากลุ่มหลักสูตรที่เน้นการเรียนรู้แบบ Experiential Learning ผ่านโครงงานและปัญหาจริงจากภาคสนาม สอดรับกับเป้าหมายการสร้าง “บัณฑิตพร้อมทำงาน” อย่างแท้จริง นอกจากนี้ การปรับปรุงทุกหลักสูตรยัง มุ่งส่งเสริมความร่วมมือกับพันธมิตรภายนอกทั้งองค์กรภาครัฐ เอกชน และกลุ่มองค์กรขนาดใหญ่ องค์กรด้านเทคโนโลยี พร้อมยกระดับการเรียน e-Learning และสร้าง Common Core ภายในคณะเพื่อประโยชน์ร่วมกันทุกหลักสูตร ในขณะเดียวกัน ยังส่งเสริมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษและการมีวิชาที่เชื่อมโยงกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) เพื่อเตรียมความพร้อมให้บัณฑิตไทยสามารถแข่งขันในระดับสากลได้” ศ. ดร.ศุกสวัสดิ์ กล่าวเพิ่มเติมว่า หนึ่งในไฮไลต์สำคัญคือการผลักดัน รายวิชาเสริมทักษะเชิงลึกเพื่อตอบโจทย์โลกอนาคต โดยเร็วๆนี้จะมีการเปิดสอน รายวิชา TU280 “จริยธรรมปัญญาประดิษฐ์สำหรับผู้นำอนาคต” (Artificial Intelligence Ethics for Leader of the Future) ซึ่งเป็นรายวิชาบังคับใหม่ทันกับกระแส AI และเทคโนโลยีแห่งอนาคตโดยตรง มุ่งพัฒนาศักยภาพนักศึกษาให้เข้าใจในประเด็นจริยธรรม เทคโนโลยี และความเชื่อมั่นการใช้ AI อย่างลึกซึ้ง ต่อเนื่องถึงการเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมอย่างรอบด้าน ทั้งนี้ ความแตกต่างของรายวิชานี้คือไม่ได้สอนเพียงการใช้เทคโนโลยี แต่เป็นการฝึกนักศึกษาให้เข้าใจโลกที่เทคโนโลยีเปลี่ยน พร้อมตั้งคำถามอย่างมีจริยธรรมต่อการใช้ AI ในชีวิตมนุษย์ สังคม และระบบเศรษฐกิจในอนาคต เป็นการบ่มเพาะผู้นำที่คิดเป็น ทำเป็น และ รับผิดชอบต่อผลกระทบในระดับโลกได้จริง และเป็นหัวใจของการสร้าง “Ethical Leaders” แห่งยุค AI ที่จะไม่ยึดติดเพียงความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีเพียงอย่างเดียว โดยพร้อมเปิดสอนในภาคการศึกษา 2568 นำโดยคณาจารย์และ ผู้เชี่ยวชาญด้าน AI ของธรรมศาสตร์ นอกจากนี้ยังเปิดหมวดวิชา Finance & Investment ครอบคลุมหัวข้อที่จำเป็นสำหรับคนรุ่นใหม่ อาทิ ความรู้การเงินในชีวิตประจำวัน การลงทุนในคริปโตเคอร์เรนซี การวางแผนภาษี ต้นทุนโอกาส และการเงินเพื่อความ ยั่งยืน โดยร่วมออกแบบหลักสูตรกับผู้เชี่ยวชาญจากองค์กรชั้นนำ เช่น SET SCB GULF และ Bangkok Bank เพื่อให้นักศึกษาสามารถเรียนรู้แบบ Online หรือ E-learning ได้อย่างยืดหยุ่น เหมาะกับการพัฒนาทักษะควบคู่กับการเรียนหลักสูตรปกติ ซึ่งได้รับความสนใจจากนักศึกษาเป็นจำนวนมาก เห็นได้ชัดจากการที่ได้มีการเปิดหลักสูตร SET E-learning ตั้งแต่ปี 2565 จนถึงเดือนมีนาคม 2568 มีนักศึกษาลงเรียนวิชาต่าง ๆ ของหลักสูตรแล้วกว่า 22,000 คน อย่างไรก็ดี ธรรมศาสตร์ยังวางทิศทางการเตรียมบัณฑิตให้พร้อมสู่ตลาดแรงงาน ด้วยการเน้น “ทักษะอาชีพ ที่สำคัญ” ทั้ง ‘Hard Skill’ เช่น ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ กฎหมาย และการเงิน ‘Soft Skill’ เช่น การสื่อสาร แก้ปัญหาและการเป็นผู้นำ รวมถึง ‘Adaptabilty Skill’ ได้แก่ ความยืดหยุ่น การทำงานเป็นทีม และการวิเคราะห์ความเสี่ยงขณะเดียวกัน ยังส่งเสริมทักษะเฉพาะด้าน เช่น ความเข้าใจจริยธรรม AI และการทำงานข้ามวัฒนธรรม เพื่อให้บัณฑิตธรรมศาสตร์เป็น Talent ที่โดดเด่นพร้อมรับมือกับโลกที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและซับซ้อนในทุกมิติ “ในภาพรวม มหาวิทยาลัยวางเป้าหมายให้บัณฑิตมีความรู้เชิงวิชาการควบคู่กับทักษะปฏิบัติจริง และมีประสบการณ์วิชาชีพ โครงการ หรือฝึกงานอย่างน้อย 6 หน่วยกิต โดยคาดหวังให้ทุกหลักสูตรสามารถพัฒนา ศักยภาพนักศึกษาให้มีทักษะแห่งอนาคต (Future Skils) เพื่อเติบโตอย่างมั่นคงในโลกการทำงานยุคใหม่ได้อย่างเต็มศักยภาพ นอกจากนี้ ยังได้ตั้ง “ศูนย์สหกิจศึกษาและพัฒนาอาชีพ” (TUCEEC) เพื่อเตรียมความพร้อมให้นักศึกษาและศิษย์เก่า ได้พัฒนาทักษะที่จำเป็นอย่าง Hard Skills, Sofi Skills รวมถึง Future Skils เรื่องของ AI และการตลาดดิจิทัล โดยมีเป้าหมายจัดอบรมและกิจกรรมกว่า 100 รายการในช่วงปี 2568-2570 เพื่อสร้างแรงส่งสู่การมีงานทำทันที่หลังจบการศึกษาให้ได้ 100%” การวางกลยุทธ์ด้านบุคลากร มหาวิทยาลัยยังเร่งยกระดับศักยภาพอาจารย์และผู้เชี่ยวชาญสู่การเป็น “ผู้นำการเรียนรู้” อย่างเป็นระบบ ผ่านแนวทาง Professional Standard Framework (PSF) ซึ่งเป็น กรอบมาตรฐานสากลเพื่อสงเสริมความเชี่ยวชาญด้านการจัดการเรียนการสอนในระดับสูง โดยตั้งเป้าหมายให้อาจารย์ผ่านการรับรองมาตรฐาน PSF ระดับ 2 ขึ้นไป (PSF 2+) อย่างน้อย 100 คนภายในปีงบประมาณ 2568-2570 ทั้งนี้ ถือเป็นกลยุทธ์สำคัญในการพัฒนาอาจารย์ให้เป็นผู้มีบทบาทผู้นำการสร้างการเรียนรู้เชิงรุก และออกแบบประสบการณ์การเรียนรู้ที่ตอบโจทย์ผู้เรียนยุคใหม่อย่างแท้จริง ทั้งในระดับปริญญาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) ตลอดจนสนับสนุนการพัฒนาหลักสูตรนานาชาติ และความร่วมมือหลักสูตรแบบ Dual Degree กับสถาบันพันธมิตรทั่วโลกเพื่อสร้างเครือข่ายวิชาการระดับสากลที่เชื่อมโยงการเรียนรู้อย่างไร้พรมแดนได้ “หลายปีที่ผ่านมากลุ่มเป้าหมายของคนที่ต้องการศึกษาที่ม.ธรรมศาสตร์ อยู่ในทุกช่วงวัย และมีความหลากหลาย สิ่งเหล่านี้จึงทำให้มหาวิทยาลัยตระหนักถึงการต้องพัฒนาสร้างหลักสูตรที่รองรับความต้องการที่ไม่สิ้นสุดให้กว้างมากขึ้น อีกทั้งจำเป็นจะต้องเน้นการผลิตบุคลากรในเชิงคุณภาพ สวนทางกับช่วงที่ประชากรโลกมีอัตราการเกิดลดลง นอกจากนี้ ยังมุ่งหวังที่จะเป็นต้นแบบการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในระดับอุดมศึกษา – การเรียนรู้ตลอด ชีวิตให้เกิดขึ้นในแบบองค์รวม ซึ่งจะส่งผลดีต่อการยกระดับส่วนต่าง ๆ ของประเทศในภาพรวมได้ในที่สุด” จากการสัมภาษณ์ รศ. ดร. ดำรงค์ อดุลยฤทธิกุล รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ และอาจารย์คณะศิลปศาสตร์ ได้พูดถึงวิชาและหลักสูตรใหม่ๆที่น่าสนใจกำลังจะเกิดขึ้นในเร็วๆนี้ว่าในตอนนี้จะมีวิชาเกิดขึ้นอยู่หลายอัน นอกจากวิชา “จริยธรรมปัญญาประดิษฐ์สำหรับผู้นำอนาคต” (Artificial Intelligence Ethics for Leader of the Future) แล้ว จะมีวิชาที่เกี่ยวกับ Carbon Footprint ซึ่งมีความจำเป็นต่อนักศึกษาที่จะต้องรู้ และอันต่อมาเป็นเรื่องวิชาที่เกี่ยวกับกายและจิต จะมีวิชาที่เกี่ยวกับ Self development ที่จะดูแลให้นักศึกษาเข้าใจเรื่องว่าที่จะต้องดูแลตัวเองอย่างไร รวมทั้งการดูแลสภาพจิตใจเมื่อพบกับความล้มเหลวหรือว่าความท้าทายต่างๆที่จะต้องปรับตัว เตรียมรับมืออย่างไรบ้าง ตัววิชาจะเป็นตัวช่วยการเรียนรู้และความพร้อม แต่ในส่วนของมหาวิทยาลัยเองก็คือฝ่ายการศึกษา จะมีการเตรียมพร้อมในส่วนในการให้คำปรึกษาด้วยเพราะจะทำให้ความเครียดต่างๆที่นักศึกษาในปัจจุบันเจอค่อนข้างมากทำให้ลดลงเรื่อยหรือทำให้สภาพนักศึกษาสุขภาวะที่ดีขึ้น วิชาเหล่านี้เป็นตัวช่วยนักศึกษา นอกจากนั้นจะมีวิชาอย่างเช่น เรื่องเกี่ยวกับ Global Citizenship เพื่อเตรียมความพร้อมให้กับนักศึกษานั้นพร้อมที่เรียนรู้กับความแตกต่างและเคารพความแตกต่างด้วย ไม่ว่าจะเป็น เรื่องของความคิด เรื่องของความแตกต่างของเพศภาวะ เรื่องของสิ่งต่างๆมากมาย สิ่งเหล่านี้วิชาจะทำให้นักศึกษาพร้อมที่จะเรียนรู้ไปด้วย และสุดท้ายที่จะพูดถึงก็คือเรื่องวิชาที่เน้นในการเรียนรู้ประสบการณ์ซึ่งนอกจากเรื่องของฝึกงานแล้ว มหาวิทยาลัยให้ความสำคัญแก่เรื่องการที่นักศึกษาออกไปทำงานจากภายนอก อย่างเช่น นักศึกษานั้นมีโอกาสไปแข่งขันในรายการต่างๆ เช่น แข่งขันในแผนธุรกิจ แข่งขันเรื่องของโครงงาน ทั้งหมดนี้คิดว่ากว่านักศึกษาจะเตรียมการจนกระทั้งไปสู่การแข่งขันได้ นักศึกษาจะต้องเรียนรู้ในกระบวนการเหล่านี้ เพราะฉะนั้นมหาวิทยาลัยจะนำให้กลายเป็นส่วนหนึ่งหน่วยกิตที่นักศึกษาจะได้ ซึ่งจะมีกรรมการมาช่วยประเมินเขา อันนี้คือส่วนสำคัญที่เรียกว่า Experiential Learning คือการเรียนรู้จากประสบการณ์การทำงาน และได้กล่าวถึงน้องๆที่สนใจเรียนที่ม.ธรรมศาสตร์ว่า สำหรับน้องๆชั้นมัธยมศึกษาที่สนใจ ม.ธรรมศาสตร์ ในช่วงระหว่างที่กำลังศึกษาในระดับชั้นมัธยมอาจจะหาโอกาสกันเข้ามาเรียนรู้วิชาต่างๆที่ม.ธรรมศาสตร์เปิด ซึ่งมหาวิทยาลัยมีในรูปแบบ E-Learning เป็นแบบตลาดวิชาซึ่งน้องๆนักเรียนสามารถเข้ามาเรียนได้ ซึ่งไม่ใช่แค่เฉพาะน้องๆนักเรียนเท่านั้น ผู้จบการศึกษาไปแล้วที่อยากจะมา Re-Skill Up-Skill สามารถเข้ามาเรียนในชุดวิชาที่มหาวิทยาลัยเปิดได้เช่นกัน เมื่อนักเรียนที่เรียนจบแล้ว สามารถเก็บสะสมหน่วยกิต พอเมื่อนักเรียนเหล่านี้เป็นนักศึกษาธรรมศาสตร์ อย่างน้อยน้องๆจะได้เรียนรู้วิชาที่เป็นธรรมศาสตร์บ้าง พอเมื่อนักเรียนเหล่านี้เป็นนักศึกษาธรรมศาสตร์แล้ว หน่วยกิตที่เรียนมาจะโอนเข้ามา รวมทั้งผลการเรียนรู้ด้วย เพราะฉะนั้นเข้ามาในธรรมศาสตร์แล้วก็แปลว่าน้องที่เรียนจะได้รายวิชาเหล่านี้มากพอสมควรแล้วสามารถไปเรียนในวิชาเอก วิชาโทต่างๆที่สนใจได้ ในปีหนึ่ง ธรรมศาสตร์เปิดรับ 3-4 รอบในระบบ TCAS มีตั้งแต่รอบ Portfolio รอบโควต้า รอบ Admission และรอบ รับโดยตรง ถ้าน้องๆนักเรียนที่สนใจ ในช่วงปลายปี ประมาณเดือนพฤศจิกายน ม.ธรรมศาสตร์ จะเปิด Open House ใหญ่ เพื่อให้ข้อมูลต่างๆและนักเรียนที่สนใจธรรมศาสตร์เข้ามาเรียนรู้ได้มีโอกาสมาพูดคุยกับบรรดาพี่ๆทั้งหลายจากประสบการณ์จริงมาเรียนรู้ว่าการอยู่ในธรรมศาสตร์นั้นเป็นอย่างไรบ้าง เพื่อมีความตัดสินใจได้ถูกต้องจากฐานข้อมูล รวมทั้งเข้ามาดูชีวิตความเป็นอยู่ การเดินทางในมหาวิทยาลัย รวมทั้งการเยี่ยมเยือนหอพักด้วย เพราะฉะนั้นจะทำให้เห็นภาพรวมทั้งหมดก่อนตัดสินใจว่าธรรมศาสตร์จะเป็นที่ที่น้องๆเข้ามาเรียนรู้และอยู่กับน้องๆไปตลอด 3-4 ปีหรือไหมครับ EZ Webmaster Related Posts สวนสุนันทาให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากหลักสูตรครูทหารของกองทัพบกรุ่นที่ 5 โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนประจวบวิทยาลัย โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสามร้อยยอดวิทยาคม โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศ โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนรัตนราษฎร์บำรุง Post navigation PREVIOUS Previous post: สมัครเรียนที่ “มหาวิทยาลัยสยาม” รับทุนสนับสนุนการศึกษารวม 11,000 บาทNEXT Next post: ทุน$1,000ในรัฐควีนส์แลนด์ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศ EZ WebmasterJune 20, 2025 มาทำให้วันธรรมดา กลายเป็นวันพิเศษกันเถอะ! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศ จ.เพชรบุรี วันที่20/06/68 โดยวิทยากร อ.ธารา อิสสระ (พี่แฮนด์… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนรัตนราษฎร์บำรุง EZ WebmasterJune 20, 2025 สร้างความสุข สร้างความทรงจำดีๆ ให้เด็กๆ ทุกคน โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนรัตนราษฎร์บำรุง จ.ราชบุรี วันที่19/06/68 โดยวิทยากร อ.ธารา…
โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนรัตนราษฎร์บำรุง EZ WebmasterJune 20, 2025 สร้างความสุข สร้างความทรงจำดีๆ ให้เด็กๆ ทุกคน โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนรัตนราษฎร์บำรุง จ.ราชบุรี วันที่19/06/68 โดยวิทยากร อ.ธารา…
โรงเรียนปลอดมือถือ! อังกฤษ-ออสเตรเลียเริ่มแล้ว ดึงเด็กกลับมาสนใจครูในห้องเรียน EZ WebmasterJune 20, 2025 วันที่ 10 มิถุนายน 2568 – ในช่วงหลายเดือนที่ผ่านมา แวดวงการศึกษาในประเทศพัฒนาแล้วต่างให้ความสนใจประเด็น “โรงเรียนปลอดโทรศัพท์มือถือ (Phone-Free School)” อย่างจริงจัง ล่าสุดมีความเคลื่อนไหวชัดเจนจาก ประเทศอังกฤษและออสเตรเลีย ที่เริ่มนำร่องมาตรการควบคุมการใช้อุปกรณ์ดิจิทัลในโรงเรียนระดับมัธยมอย่างเข้มงวด จากรายงานของ สำนักข่าว BBC ระบุว่า… มธ. ปักหมุดหลักสูตร ‘AI Ethics’ หนุนบริบทใหม่ของห้องเรียนทันโลก สร้างจุดยืนคนรุ่นใหม่ ‘ใช้เอไออย่างมีจริยธรรม’ พร้อมเดินหน้าวางหมุดหมายระบบการศึกษาไทย กับการปลุกการใช้เทคฯ คู่ธรรมาภิบาล คาดเริ่มเปิดลงทะเบียนพร้อมเรียนจริง สิงหาคม 68 นี้ EZ WebmasterJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) ตอกย้ำจุดยืนเชิงรุกต่อการเปลี่ยนผ่านของโลกยุคดิจิทัล ผ่านการพัฒนาหลักสูตร “AI Ethics” หรือจริยธรรมปัญญาประดิษฐ์ ภายใต้ยุทธศาสตร์ Thammasat Next Century เตรียมความพร้อมให้เยาวชนไทยมีทั้งความรู้ ความสามารถ และความรับผิดชอบในการใช้งานเทคโนโลยีอย่างเหมาะสม โดยเฉพาะในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อที่ปัญญาประดิษฐ์กำลังกลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวัน ทั้งในห้องเรียน ที่ทำงาน และบนแพลตฟอร์มออนไลน์ต่าง ๆ โดยหลักสูตรนี้ถูกวางให้เป็นรากฐานสำคัญของระบบการศึกษายุคใหม่ ที่ไม่เพียงเน้นทักษะด้านเทคนิคเท่านั้น แต่ยังปลูกฝังค่านิยมที่ถูกต้องในการอยู่ร่วมกับเทคโนโลยี พร้อมชี้ให้เห็นถึงความเสี่ยงของ AI ที่เกิดจาก… 11 สาเหตุลึกซึ้ง ทำไมการศึกษาไทยยังตกต่ำ? เสียงสะท้อนจากครูชนบท สู่คำถามใหญ่ของสังคม EZ WebmasterJune 19, 2025 ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ประเทศไทยกำลังเผชิญกับวิกฤตคุณภาพทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง แม้จะมีความพยายามปฏิรูปหลายครั้ง แต่กลับไม่สามารถยกระดับการเรียนรู้ให้เทียบเท่าประเทศเพื่อนบ้านได้อย่างแท้จริงนายสานิตย์ พลศรี นายกสมาคมครูชนบทจังหวัดชัยภูมิ ในหัวข้อ “สาเหตุของปัญหาคุณภาพด้านการศึกษาประเทศไทยที่ตกต่ำ” ซึ่งกำลังถูกส่งต่ออย่างกว้างขวางในโซเชียลมีเดียและกลุ่มไลน์ของคนในแวดวงการศึกษาเสียงสะท้อนจากผู้ที่อยู่ในภาคสนามจริงอย่างนายสานิตย์ ทำให้เราได้เห็นภาพที่ชัดเจนมากขึ้นว่า ปัญหาไม่ได้อยู่ที่ตัวนักเรียนหรือครูเพียงลำพัง แต่เป็นผลสะสมจากโครงสร้าง ระบบ และการบริหารที่ผิดทิศผิดทางมานานจึงเป็นการเปิดประเด็นให้สังคมได้ทบทวนร่วมกันว่า หากเราไม่เริ่ม “เปลี่ยนจริง” คุณภาพการศึกษาของไทยอาจยิ่งตกต่ำลงกว่าที่เป็นอยู่ 11… ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา EZ WebmasterJune 18, 2025 วิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิทักษ์ ธรรมวาริน (คนที่ 4 จากซ้าย) คณบดีวิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สจล. และ Mr. Alfonso Martin (คนที่ 3… ทุนดีดี ทุนImperial Athletes Sport InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 20, 2025 Imperial College London เสนอทุนการศึกษา Imperial Athletes Sport เพื่อสนับสนุนนักกีฬาที่มีพรสวรรค์สำหรับปีการศึกษา 2025/2026 โดยเปิดโอกาสให้เลือกเรียนในหลากหลายสาขาวิชา เปิดรับใบสมัครถึง 4 สิงหาคม 2025 หากคุณกำลังแข่งขันในระดับภูมิภาค ระดับชาติ หรือระดับนานาชาติในกีฬาของคุณ และแสดงให้เห็นถึงพรสวรรค์… Kazan Global Youth Summit InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 19, 2025 เชิญเยาวชนสมัครคัดเลือกเข้าร่วมการประชุม Kazan Global Youth Summit ครั้งที่ 4 ระหว่างวันที่ 27 – 30 สิงหาคม 2568 ณ เมืองคาซาน สาธารณรัฐตาตาร์สตาน สหพันธรัฐรัสเซีย จัดโดยรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐตาตาร์สตาน… SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… ครู-อาจารย์ สวนสุนันทาให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากหลักสูตรครูทหารของกองทัพบกรุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากหลักสูตรครูทหารของกองทัพบกรุ่นที่ 5 วันที่ 20 มิถุนายน 2568 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากหลักสูตรการฝึกอบรมครูทหารของกองทัพบก รุ่นที่ 5 กรมยุทธศึกษาทหารบก ณ ห้องประชุมช่อแก้ว โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อแลกเปลี่ยนองค์ความรู้และประสบการณ์ด้านการบริหารจัดการและเทคโนโลยีทางการศึกษา กิจกรรมเริ่มต้นตั้งแต่เวลา 08.30 น. ด้วยการลงทะเบียนและรับฟังการกล่าวต้อนรับโดย รองศาสตราจารย์… จุฬาฯ ผงาดอันดับ Top 44 ของโลกด้านความยั่งยืน ใน THE Impact Rankings 2025 ครองอันดับ 1 ของไทยอีกครั้ง tui sakrapeeJune 20, 2025 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยผงาดอันดับ Top 44 ของโลก และครองอันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทยอีกครั้งหนึ่ง จากการจัดอันดับโดย Times Higher Education Impact Rankings 2025 ด้วยผลงานที่โดดเด่นในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนและสร้างผลกระทบสูงต่อสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง SDG 9… หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 📚เริ่มเรียน กรกฎาคม 2568 ถึง มกราคม 2569 ทุกวันพฤหัสบดี 11:00 – 18:00 น.… มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster May 17, 2025 EZ Webmaster May 17, 2025 ม.ธรรมศาสตร์ เปิดแผนพลิกการศึกษายุคใหม่ ปรับ 298 หลักสูตร รับมือโลกเปลี่ยนเร็ว พร้อมวางทิศทางสู่ระดับโลก ม.ธรรมศาสตร์ เปิดแผนพลิกการศึกษายุคใหม่ ปรับ 298 หลักสูตร รับมือโลกเปลี่ยนเร็ว พร้อมวางทิศทางสู่ระดับโลก – ปั้นทาแลนต์เก่งรอบทิศ โดดเด่นด้วยหลักสูตร “จริยธรรม AI” ปักธงบัณฑิตมีงานทำ 100% กางแผนยุทธศาสตร์ มธ. กับการก้าวสู่ Global Impact University ยุคใหม่ที่โดดเด่นทั้ง “วิทย์ ศิลป์ สังคม AI” พร้อมการเป็นต้นแบบมหาวิทยาลัยสมบูรณ์แบบแห่งโลกอนาคต เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ.2568 ณ สมาคมธรรมศาสตร์ในพระบรมราชูปถัมภ์ ซอยงามดูพลี เขตสาทร กรุงเทพมหานคร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) กางแผนความพร้อมก้าวสูตวรรษที่ 21 ประกาศขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ใหม่ “มหาวิทยาลัยสมบูรณ์แบบชั้นนำแห่งอนาคต” (Leading Comprehensive University for Future Societies) เดินหน้าปฏิรูประบบการเรียนรู้ พัฒนาหลักสูตรทั้ง 19 คณะ 6 วิทยาลัย 2 สถาบัน 298 หลักสูตรที่เชื่อมโยงสหวิทยาการทั้งด้านสังคมศาสตร์ วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และวิทยาศาสตร์สุขภาพ พร้อมตั้งเป้าเป็นต้นแบบมหาวิทยาลัยไทยที่ผลิต “ผู้นำ” และ “แรงงานคุณภาพสูง” ตอบโจทย์ตลาดแรงงานได้ทุกมิตินอกจากนี้ยังเตรียมเปิดหลักสูตรและรายวิชาใหม่ อาทิ จริยธรรมปัญญาประดิษฐ์สำหรับผู้นำอนาคต กลุ่มวิชา Finance & Investment ซึ่งสอดรับกับวิถีชีวิตสังคมและเศรษฐกิจในอนาคต ตลอดจนมุ่งเป้าพัฒนาทักษะบัณฑิตสู่ทาเลนต์ที่เพียบพร้อมทั้ง Hard Skills , Soft Skils , Future Skils มุ่งสู่ภาวะการมีงานทำหลังจบการศึกษาได้ 100% ศ. ดร.ศุภสวัสดิ์ ชัชวาลย์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เปิดเผยว่า ในยุคที่ทุกบริบทโลกเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว มหาวิทยาลัยต่างต้องเร่งปรับตัวเพื่อเตรียมบัณฑิตให้พร้อมสู่อนาคต ซึ่งจากรายงานของ World Economic Forum ปี 2024 พบว่า “การคิดวิเคราะห์” (Analytical thinking) เป็นทักษะหลักที่ภาคธุรกิจมองว่าจำเป็นสูงสุดในปี 2025 โดยสูงถึง 68% รองลงมาคือ “ความยืดหยุ่น และความคล่องตัว” (67%) และ “ภาวะผู้นำและ อิทธิพลทางสังคม” (61%) สะท้อนถึงความจำเป็นในการพัฒนาทักษะทั้งด้านความคิด การสื่อสาร และการปรับตัวในโลกที่ผันผวน ขณะเดียวกัน ที่น่าสนใจคือกลุ่มอาชีพด้านเทคโนโลยีกำลังขยายตัวอย่างรวดเร็วในช่วงปี 2025-2030 โดยเฉพาะอาชีพ ‘ผู้เชี่ยวชาญด้านข้อมูลขนาดใหญ่” (Big Data Specialists) ซึ่งมีอัตราการเติบโตสูงถึงกว่า 100% ตามด้วย “วิศวกรฟินเทค” (FinTech Engineers) และ “ผู้เชี่ยวชาญด้าน AI และ Machine Learning” ที่ต่างเป็นที่ต้องการเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง โดยยังมีอาชีพที่เติบโตควบคู่กัน เช่น นักพัฒนาแอปพลิเคชัน นักวิเคราะห์ข้อมูล ผู้สร้างความ มั่นคงไซเบอร์ และวิศวกรพลังงานหมุนเวียน และในทางกลับกัน หลายอาชีพดั้งเดิมกำลังถูกลดบทบาทลงอย่างชัดเจน ซึ่งประเด็นเหล่านี้ได้ตอกย้ำถึงความเร่งด่วนในการเสริมทักษะใหม่ให้แก่แรงงาน โดยเฉพาะทักษะเทคโนโลยี ความคิดสร้างสรรค์ และความสามารถในการเรียนรู้ตลอดชีวิต ศ. ดร.ศุภสวัสดิ์ กล่าวเสริมว่า ม.ธรรมศาสตร์ จึงเดินหน้ายกระดับการศึกษาไทยสู่ระดับโลก ด้วยการเปิดแผนยุทธศาสตร์ใหม่ภายใต้แนวคิด “มหาวิทยาลัยสมบูรณ์แบบชั้นนำเพื่อสังคมแห่งอนาคต” (Leading Comprehensive University for Future Societies) พร้อมยังตั้งเป้าสร้าง Global Impact University เพื่อให้คนของธรรมศาสตร์ตอบโจทย์กับการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 โดยปรับปรุงและพัฒนากว่า 298 หลักสูตร ครอบคลุมทั้ง ด้านสังคมศาสตร์ วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และวิทยาศาสตร์สุขภาพ สร้างบัณฑิตที่มีความรู้รอบด้านในเชิงประจักษ์ พร้อมลงมือปฏิบัติได้จริง และมีศักยภาพในการเป็นผู้นำยุคใหม่ที่สามารถขับเคลื่อนประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งในปัจจุบันและตอบโจทย์ความต้องการสังคมแห่งอนาคตได้อย่างมีประสิทธิผล โดยยุทธศาสตร์ใหม่นี้ประกอบด้วย 3 แกนหลัก ได้แก่ การเป็นมหาวิทยาลัยสมบูรณ์แบบ (Comprehensive University) ชั้นนำแห่งอนาคต มุ่งบูรณาการองค์ความรู้หลากศาสตร์และการพัฒนาทักษะทางการวิจัยให้ตอบสนองต่อการเรียนรู้ยุคใหม่ การเป็นมหาวิทยาลัยของสังคม โดยเน้นการผลิตบัณฑิตจิตสาธารณะ พร้อมสร้างความเข้าใจเชื่อมโยงกับชุมชนด้วยนวัตกรรมเพื่อสุขภาวะและการพัฒนาอย่างยั่งยืน และ การสร้างความสุขและความยั่งยืนให้กับประชาคมธรรมศาสตร์ ผ่านการใช้ระบบการบริหารแบบยั่งยืน และแผนงานเชิงระบบที่เน้นการพัฒนาหลักสูตรตามแนวคิด Outcome-Based Education (OBE) การยกระดับทักษะทั้ง Hard Skils และ Soft Skills พร้อมผลักดันการเรียนรู้แบบ Experiential Learning และ Co-operative Education ให้เกิดขึ้นในทุกคณะ “แผนยุทธศาสตร์ใหม่นี้มุ่งเน้นการบูรณาการการเรียนรู้แบบข้ามศาสตร์ (Interdisciplinary Learning) การเรียนรู้ผ่านประสบการณ์จริง (Experiential Learning) และการร่วมออกแบบหลักสูตรร่วมกับภาคธุรกิจ โดยเริ่มทยอยปรับหลักสูตรในปีการศึกษา 2567 และตั้งเป้าใช้เต็มรูปแบบในปีการศึกษา 2570 โดยมีการออกแบบโครงสร้างหลักสูตรตามแนวคิด Outcome-Based Education (OBE) และการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์จริง ครอบคลุมการ จัดทำผลลัพธ์การเรียนรู้ทั้งระดับหลักสูตร และรายวิชาตามมาตรฐานของ กกอ. โดยนักศึกษาจะได้เรียนรู้จากการลง มือปฏิบัติในรายวิชาต่าง ๆ ที่เปิดโอกาสให้นักศึกษาและฝึกทักษะจริงในสถานประกอบการมากกว่า 405 ชั่วโมงรวมถึงการพัฒนากลุ่มหลักสูตรที่เน้นการเรียนรู้แบบ Experiential Learning ผ่านโครงงานและปัญหาจริงจากภาคสนาม สอดรับกับเป้าหมายการสร้าง “บัณฑิตพร้อมทำงาน” อย่างแท้จริง นอกจากนี้ การปรับปรุงทุกหลักสูตรยัง มุ่งส่งเสริมความร่วมมือกับพันธมิตรภายนอกทั้งองค์กรภาครัฐ เอกชน และกลุ่มองค์กรขนาดใหญ่ องค์กรด้านเทคโนโลยี พร้อมยกระดับการเรียน e-Learning และสร้าง Common Core ภายในคณะเพื่อประโยชน์ร่วมกันทุกหลักสูตร ในขณะเดียวกัน ยังส่งเสริมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษและการมีวิชาที่เชื่อมโยงกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) เพื่อเตรียมความพร้อมให้บัณฑิตไทยสามารถแข่งขันในระดับสากลได้” ศ. ดร.ศุกสวัสดิ์ กล่าวเพิ่มเติมว่า หนึ่งในไฮไลต์สำคัญคือการผลักดัน รายวิชาเสริมทักษะเชิงลึกเพื่อตอบโจทย์โลกอนาคต โดยเร็วๆนี้จะมีการเปิดสอน รายวิชา TU280 “จริยธรรมปัญญาประดิษฐ์สำหรับผู้นำอนาคต” (Artificial Intelligence Ethics for Leader of the Future) ซึ่งเป็นรายวิชาบังคับใหม่ทันกับกระแส AI และเทคโนโลยีแห่งอนาคตโดยตรง มุ่งพัฒนาศักยภาพนักศึกษาให้เข้าใจในประเด็นจริยธรรม เทคโนโลยี และความเชื่อมั่นการใช้ AI อย่างลึกซึ้ง ต่อเนื่องถึงการเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมอย่างรอบด้าน ทั้งนี้ ความแตกต่างของรายวิชานี้คือไม่ได้สอนเพียงการใช้เทคโนโลยี แต่เป็นการฝึกนักศึกษาให้เข้าใจโลกที่เทคโนโลยีเปลี่ยน พร้อมตั้งคำถามอย่างมีจริยธรรมต่อการใช้ AI ในชีวิตมนุษย์ สังคม และระบบเศรษฐกิจในอนาคต เป็นการบ่มเพาะผู้นำที่คิดเป็น ทำเป็น และ รับผิดชอบต่อผลกระทบในระดับโลกได้จริง และเป็นหัวใจของการสร้าง “Ethical Leaders” แห่งยุค AI ที่จะไม่ยึดติดเพียงความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีเพียงอย่างเดียว โดยพร้อมเปิดสอนในภาคการศึกษา 2568 นำโดยคณาจารย์และ ผู้เชี่ยวชาญด้าน AI ของธรรมศาสตร์ นอกจากนี้ยังเปิดหมวดวิชา Finance & Investment ครอบคลุมหัวข้อที่จำเป็นสำหรับคนรุ่นใหม่ อาทิ ความรู้การเงินในชีวิตประจำวัน การลงทุนในคริปโตเคอร์เรนซี การวางแผนภาษี ต้นทุนโอกาส และการเงินเพื่อความ ยั่งยืน โดยร่วมออกแบบหลักสูตรกับผู้เชี่ยวชาญจากองค์กรชั้นนำ เช่น SET SCB GULF และ Bangkok Bank เพื่อให้นักศึกษาสามารถเรียนรู้แบบ Online หรือ E-learning ได้อย่างยืดหยุ่น เหมาะกับการพัฒนาทักษะควบคู่กับการเรียนหลักสูตรปกติ ซึ่งได้รับความสนใจจากนักศึกษาเป็นจำนวนมาก เห็นได้ชัดจากการที่ได้มีการเปิดหลักสูตร SET E-learning ตั้งแต่ปี 2565 จนถึงเดือนมีนาคม 2568 มีนักศึกษาลงเรียนวิชาต่าง ๆ ของหลักสูตรแล้วกว่า 22,000 คน อย่างไรก็ดี ธรรมศาสตร์ยังวางทิศทางการเตรียมบัณฑิตให้พร้อมสู่ตลาดแรงงาน ด้วยการเน้น “ทักษะอาชีพ ที่สำคัญ” ทั้ง ‘Hard Skill’ เช่น ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ กฎหมาย และการเงิน ‘Soft Skill’ เช่น การสื่อสาร แก้ปัญหาและการเป็นผู้นำ รวมถึง ‘Adaptabilty Skill’ ได้แก่ ความยืดหยุ่น การทำงานเป็นทีม และการวิเคราะห์ความเสี่ยงขณะเดียวกัน ยังส่งเสริมทักษะเฉพาะด้าน เช่น ความเข้าใจจริยธรรม AI และการทำงานข้ามวัฒนธรรม เพื่อให้บัณฑิตธรรมศาสตร์เป็น Talent ที่โดดเด่นพร้อมรับมือกับโลกที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและซับซ้อนในทุกมิติ “ในภาพรวม มหาวิทยาลัยวางเป้าหมายให้บัณฑิตมีความรู้เชิงวิชาการควบคู่กับทักษะปฏิบัติจริง และมีประสบการณ์วิชาชีพ โครงการ หรือฝึกงานอย่างน้อย 6 หน่วยกิต โดยคาดหวังให้ทุกหลักสูตรสามารถพัฒนา ศักยภาพนักศึกษาให้มีทักษะแห่งอนาคต (Future Skils) เพื่อเติบโตอย่างมั่นคงในโลกการทำงานยุคใหม่ได้อย่างเต็มศักยภาพ นอกจากนี้ ยังได้ตั้ง “ศูนย์สหกิจศึกษาและพัฒนาอาชีพ” (TUCEEC) เพื่อเตรียมความพร้อมให้นักศึกษาและศิษย์เก่า ได้พัฒนาทักษะที่จำเป็นอย่าง Hard Skills, Sofi Skills รวมถึง Future Skils เรื่องของ AI และการตลาดดิจิทัล โดยมีเป้าหมายจัดอบรมและกิจกรรมกว่า 100 รายการในช่วงปี 2568-2570 เพื่อสร้างแรงส่งสู่การมีงานทำทันที่หลังจบการศึกษาให้ได้ 100%” การวางกลยุทธ์ด้านบุคลากร มหาวิทยาลัยยังเร่งยกระดับศักยภาพอาจารย์และผู้เชี่ยวชาญสู่การเป็น “ผู้นำการเรียนรู้” อย่างเป็นระบบ ผ่านแนวทาง Professional Standard Framework (PSF) ซึ่งเป็น กรอบมาตรฐานสากลเพื่อสงเสริมความเชี่ยวชาญด้านการจัดการเรียนการสอนในระดับสูง โดยตั้งเป้าหมายให้อาจารย์ผ่านการรับรองมาตรฐาน PSF ระดับ 2 ขึ้นไป (PSF 2+) อย่างน้อย 100 คนภายในปีงบประมาณ 2568-2570 ทั้งนี้ ถือเป็นกลยุทธ์สำคัญในการพัฒนาอาจารย์ให้เป็นผู้มีบทบาทผู้นำการสร้างการเรียนรู้เชิงรุก และออกแบบประสบการณ์การเรียนรู้ที่ตอบโจทย์ผู้เรียนยุคใหม่อย่างแท้จริง ทั้งในระดับปริญญาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) ตลอดจนสนับสนุนการพัฒนาหลักสูตรนานาชาติ และความร่วมมือหลักสูตรแบบ Dual Degree กับสถาบันพันธมิตรทั่วโลกเพื่อสร้างเครือข่ายวิชาการระดับสากลที่เชื่อมโยงการเรียนรู้อย่างไร้พรมแดนได้ “หลายปีที่ผ่านมากลุ่มเป้าหมายของคนที่ต้องการศึกษาที่ม.ธรรมศาสตร์ อยู่ในทุกช่วงวัย และมีความหลากหลาย สิ่งเหล่านี้จึงทำให้มหาวิทยาลัยตระหนักถึงการต้องพัฒนาสร้างหลักสูตรที่รองรับความต้องการที่ไม่สิ้นสุดให้กว้างมากขึ้น อีกทั้งจำเป็นจะต้องเน้นการผลิตบุคลากรในเชิงคุณภาพ สวนทางกับช่วงที่ประชากรโลกมีอัตราการเกิดลดลง นอกจากนี้ ยังมุ่งหวังที่จะเป็นต้นแบบการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในระดับอุดมศึกษา – การเรียนรู้ตลอด ชีวิตให้เกิดขึ้นในแบบองค์รวม ซึ่งจะส่งผลดีต่อการยกระดับส่วนต่าง ๆ ของประเทศในภาพรวมได้ในที่สุด” จากการสัมภาษณ์ รศ. ดร. ดำรงค์ อดุลยฤทธิกุล รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ และอาจารย์คณะศิลปศาสตร์ ได้พูดถึงวิชาและหลักสูตรใหม่ๆที่น่าสนใจกำลังจะเกิดขึ้นในเร็วๆนี้ว่าในตอนนี้จะมีวิชาเกิดขึ้นอยู่หลายอัน นอกจากวิชา “จริยธรรมปัญญาประดิษฐ์สำหรับผู้นำอนาคต” (Artificial Intelligence Ethics for Leader of the Future) แล้ว จะมีวิชาที่เกี่ยวกับ Carbon Footprint ซึ่งมีความจำเป็นต่อนักศึกษาที่จะต้องรู้ และอันต่อมาเป็นเรื่องวิชาที่เกี่ยวกับกายและจิต จะมีวิชาที่เกี่ยวกับ Self development ที่จะดูแลให้นักศึกษาเข้าใจเรื่องว่าที่จะต้องดูแลตัวเองอย่างไร รวมทั้งการดูแลสภาพจิตใจเมื่อพบกับความล้มเหลวหรือว่าความท้าทายต่างๆที่จะต้องปรับตัว เตรียมรับมืออย่างไรบ้าง ตัววิชาจะเป็นตัวช่วยการเรียนรู้และความพร้อม แต่ในส่วนของมหาวิทยาลัยเองก็คือฝ่ายการศึกษา จะมีการเตรียมพร้อมในส่วนในการให้คำปรึกษาด้วยเพราะจะทำให้ความเครียดต่างๆที่นักศึกษาในปัจจุบันเจอค่อนข้างมากทำให้ลดลงเรื่อยหรือทำให้สภาพนักศึกษาสุขภาวะที่ดีขึ้น วิชาเหล่านี้เป็นตัวช่วยนักศึกษา นอกจากนั้นจะมีวิชาอย่างเช่น เรื่องเกี่ยวกับ Global Citizenship เพื่อเตรียมความพร้อมให้กับนักศึกษานั้นพร้อมที่เรียนรู้กับความแตกต่างและเคารพความแตกต่างด้วย ไม่ว่าจะเป็น เรื่องของความคิด เรื่องของความแตกต่างของเพศภาวะ เรื่องของสิ่งต่างๆมากมาย สิ่งเหล่านี้วิชาจะทำให้นักศึกษาพร้อมที่จะเรียนรู้ไปด้วย และสุดท้ายที่จะพูดถึงก็คือเรื่องวิชาที่เน้นในการเรียนรู้ประสบการณ์ซึ่งนอกจากเรื่องของฝึกงานแล้ว มหาวิทยาลัยให้ความสำคัญแก่เรื่องการที่นักศึกษาออกไปทำงานจากภายนอก อย่างเช่น นักศึกษานั้นมีโอกาสไปแข่งขันในรายการต่างๆ เช่น แข่งขันในแผนธุรกิจ แข่งขันเรื่องของโครงงาน ทั้งหมดนี้คิดว่ากว่านักศึกษาจะเตรียมการจนกระทั้งไปสู่การแข่งขันได้ นักศึกษาจะต้องเรียนรู้ในกระบวนการเหล่านี้ เพราะฉะนั้นมหาวิทยาลัยจะนำให้กลายเป็นส่วนหนึ่งหน่วยกิตที่นักศึกษาจะได้ ซึ่งจะมีกรรมการมาช่วยประเมินเขา อันนี้คือส่วนสำคัญที่เรียกว่า Experiential Learning คือการเรียนรู้จากประสบการณ์การทำงาน และได้กล่าวถึงน้องๆที่สนใจเรียนที่ม.ธรรมศาสตร์ว่า สำหรับน้องๆชั้นมัธยมศึกษาที่สนใจ ม.ธรรมศาสตร์ ในช่วงระหว่างที่กำลังศึกษาในระดับชั้นมัธยมอาจจะหาโอกาสกันเข้ามาเรียนรู้วิชาต่างๆที่ม.ธรรมศาสตร์เปิด ซึ่งมหาวิทยาลัยมีในรูปแบบ E-Learning เป็นแบบตลาดวิชาซึ่งน้องๆนักเรียนสามารถเข้ามาเรียนได้ ซึ่งไม่ใช่แค่เฉพาะน้องๆนักเรียนเท่านั้น ผู้จบการศึกษาไปแล้วที่อยากจะมา Re-Skill Up-Skill สามารถเข้ามาเรียนในชุดวิชาที่มหาวิทยาลัยเปิดได้เช่นกัน เมื่อนักเรียนที่เรียนจบแล้ว สามารถเก็บสะสมหน่วยกิต พอเมื่อนักเรียนเหล่านี้เป็นนักศึกษาธรรมศาสตร์ อย่างน้อยน้องๆจะได้เรียนรู้วิชาที่เป็นธรรมศาสตร์บ้าง พอเมื่อนักเรียนเหล่านี้เป็นนักศึกษาธรรมศาสตร์แล้ว หน่วยกิตที่เรียนมาจะโอนเข้ามา รวมทั้งผลการเรียนรู้ด้วย เพราะฉะนั้นเข้ามาในธรรมศาสตร์แล้วก็แปลว่าน้องที่เรียนจะได้รายวิชาเหล่านี้มากพอสมควรแล้วสามารถไปเรียนในวิชาเอก วิชาโทต่างๆที่สนใจได้ ในปีหนึ่ง ธรรมศาสตร์เปิดรับ 3-4 รอบในระบบ TCAS มีตั้งแต่รอบ Portfolio รอบโควต้า รอบ Admission และรอบ รับโดยตรง ถ้าน้องๆนักเรียนที่สนใจ ในช่วงปลายปี ประมาณเดือนพฤศจิกายน ม.ธรรมศาสตร์ จะเปิด Open House ใหญ่ เพื่อให้ข้อมูลต่างๆและนักเรียนที่สนใจธรรมศาสตร์เข้ามาเรียนรู้ได้มีโอกาสมาพูดคุยกับบรรดาพี่ๆทั้งหลายจากประสบการณ์จริงมาเรียนรู้ว่าการอยู่ในธรรมศาสตร์นั้นเป็นอย่างไรบ้าง เพื่อมีความตัดสินใจได้ถูกต้องจากฐานข้อมูล รวมทั้งเข้ามาดูชีวิตความเป็นอยู่ การเดินทางในมหาวิทยาลัย รวมทั้งการเยี่ยมเยือนหอพักด้วย เพราะฉะนั้นจะทำให้เห็นภาพรวมทั้งหมดก่อนตัดสินใจว่าธรรมศาสตร์จะเป็นที่ที่น้องๆเข้ามาเรียนรู้และอยู่กับน้องๆไปตลอด 3-4 ปีหรือไหมครับ EZ Webmaster Related Posts สวนสุนันทาให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากหลักสูตรครูทหารของกองทัพบกรุ่นที่ 5 โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนประจวบวิทยาลัย โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสามร้อยยอดวิทยาคม โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศ โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนรัตนราษฎร์บำรุง Post navigation PREVIOUS Previous post: สมัครเรียนที่ “มหาวิทยาลัยสยาม” รับทุนสนับสนุนการศึกษารวม 11,000 บาทNEXT Next post: ทุน$1,000ในรัฐควีนส์แลนด์ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มธ. ปักหมุดหลักสูตร ‘AI Ethics’ หนุนบริบทใหม่ของห้องเรียนทันโลก สร้างจุดยืนคนรุ่นใหม่ ‘ใช้เอไออย่างมีจริยธรรม’ พร้อมเดินหน้าวางหมุดหมายระบบการศึกษาไทย กับการปลุกการใช้เทคฯ คู่ธรรมาภิบาล คาดเริ่มเปิดลงทะเบียนพร้อมเรียนจริง สิงหาคม 68 นี้ EZ WebmasterJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) ตอกย้ำจุดยืนเชิงรุกต่อการเปลี่ยนผ่านของโลกยุคดิจิทัล ผ่านการพัฒนาหลักสูตร “AI Ethics” หรือจริยธรรมปัญญาประดิษฐ์ ภายใต้ยุทธศาสตร์ Thammasat Next Century เตรียมความพร้อมให้เยาวชนไทยมีทั้งความรู้ ความสามารถ และความรับผิดชอบในการใช้งานเทคโนโลยีอย่างเหมาะสม โดยเฉพาะในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อที่ปัญญาประดิษฐ์กำลังกลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวัน ทั้งในห้องเรียน ที่ทำงาน และบนแพลตฟอร์มออนไลน์ต่าง ๆ โดยหลักสูตรนี้ถูกวางให้เป็นรากฐานสำคัญของระบบการศึกษายุคใหม่ ที่ไม่เพียงเน้นทักษะด้านเทคนิคเท่านั้น แต่ยังปลูกฝังค่านิยมที่ถูกต้องในการอยู่ร่วมกับเทคโนโลยี พร้อมชี้ให้เห็นถึงความเสี่ยงของ AI ที่เกิดจาก… 11 สาเหตุลึกซึ้ง ทำไมการศึกษาไทยยังตกต่ำ? เสียงสะท้อนจากครูชนบท สู่คำถามใหญ่ของสังคม EZ WebmasterJune 19, 2025 ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ประเทศไทยกำลังเผชิญกับวิกฤตคุณภาพทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง แม้จะมีความพยายามปฏิรูปหลายครั้ง แต่กลับไม่สามารถยกระดับการเรียนรู้ให้เทียบเท่าประเทศเพื่อนบ้านได้อย่างแท้จริงนายสานิตย์ พลศรี นายกสมาคมครูชนบทจังหวัดชัยภูมิ ในหัวข้อ “สาเหตุของปัญหาคุณภาพด้านการศึกษาประเทศไทยที่ตกต่ำ” ซึ่งกำลังถูกส่งต่ออย่างกว้างขวางในโซเชียลมีเดียและกลุ่มไลน์ของคนในแวดวงการศึกษาเสียงสะท้อนจากผู้ที่อยู่ในภาคสนามจริงอย่างนายสานิตย์ ทำให้เราได้เห็นภาพที่ชัดเจนมากขึ้นว่า ปัญหาไม่ได้อยู่ที่ตัวนักเรียนหรือครูเพียงลำพัง แต่เป็นผลสะสมจากโครงสร้าง ระบบ และการบริหารที่ผิดทิศผิดทางมานานจึงเป็นการเปิดประเด็นให้สังคมได้ทบทวนร่วมกันว่า หากเราไม่เริ่ม “เปลี่ยนจริง” คุณภาพการศึกษาของไทยอาจยิ่งตกต่ำลงกว่าที่เป็นอยู่ 11… ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา EZ WebmasterJune 18, 2025 วิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิทักษ์ ธรรมวาริน (คนที่ 4 จากซ้าย) คณบดีวิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สจล. และ Mr. Alfonso Martin (คนที่ 3… ทุนดีดี ทุนImperial Athletes Sport InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 20, 2025 Imperial College London เสนอทุนการศึกษา Imperial Athletes Sport เพื่อสนับสนุนนักกีฬาที่มีพรสวรรค์สำหรับปีการศึกษา 2025/2026 โดยเปิดโอกาสให้เลือกเรียนในหลากหลายสาขาวิชา เปิดรับใบสมัครถึง 4 สิงหาคม 2025 หากคุณกำลังแข่งขันในระดับภูมิภาค ระดับชาติ หรือระดับนานาชาติในกีฬาของคุณ และแสดงให้เห็นถึงพรสวรรค์… Kazan Global Youth Summit InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 19, 2025 เชิญเยาวชนสมัครคัดเลือกเข้าร่วมการประชุม Kazan Global Youth Summit ครั้งที่ 4 ระหว่างวันที่ 27 – 30 สิงหาคม 2568 ณ เมืองคาซาน สาธารณรัฐตาตาร์สตาน สหพันธรัฐรัสเซีย จัดโดยรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐตาตาร์สตาน… SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… ครู-อาจารย์ สวนสุนันทาให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากหลักสูตรครูทหารของกองทัพบกรุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากหลักสูตรครูทหารของกองทัพบกรุ่นที่ 5 วันที่ 20 มิถุนายน 2568 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากหลักสูตรการฝึกอบรมครูทหารของกองทัพบก รุ่นที่ 5 กรมยุทธศึกษาทหารบก ณ ห้องประชุมช่อแก้ว โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อแลกเปลี่ยนองค์ความรู้และประสบการณ์ด้านการบริหารจัดการและเทคโนโลยีทางการศึกษา กิจกรรมเริ่มต้นตั้งแต่เวลา 08.30 น. ด้วยการลงทะเบียนและรับฟังการกล่าวต้อนรับโดย รองศาสตราจารย์… จุฬาฯ ผงาดอันดับ Top 44 ของโลกด้านความยั่งยืน ใน THE Impact Rankings 2025 ครองอันดับ 1 ของไทยอีกครั้ง tui sakrapeeJune 20, 2025 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยผงาดอันดับ Top 44 ของโลก และครองอันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทยอีกครั้งหนึ่ง จากการจัดอันดับโดย Times Higher Education Impact Rankings 2025 ด้วยผลงานที่โดดเด่นในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนและสร้างผลกระทบสูงต่อสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง SDG 9… หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 📚เริ่มเรียน กรกฎาคม 2568 ถึง มกราคม 2569 ทุกวันพฤหัสบดี 11:00 – 18:00 น.… มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster May 17, 2025 EZ Webmaster May 17, 2025 ม.ธรรมศาสตร์ เปิดแผนพลิกการศึกษายุคใหม่ ปรับ 298 หลักสูตร รับมือโลกเปลี่ยนเร็ว พร้อมวางทิศทางสู่ระดับโลก ม.ธรรมศาสตร์ เปิดแผนพลิกการศึกษายุคใหม่ ปรับ 298 หลักสูตร รับมือโลกเปลี่ยนเร็ว พร้อมวางทิศทางสู่ระดับโลก – ปั้นทาแลนต์เก่งรอบทิศ โดดเด่นด้วยหลักสูตร “จริยธรรม AI” ปักธงบัณฑิตมีงานทำ 100% กางแผนยุทธศาสตร์ มธ. กับการก้าวสู่ Global Impact University ยุคใหม่ที่โดดเด่นทั้ง “วิทย์ ศิลป์ สังคม AI” พร้อมการเป็นต้นแบบมหาวิทยาลัยสมบูรณ์แบบแห่งโลกอนาคต เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ.2568 ณ สมาคมธรรมศาสตร์ในพระบรมราชูปถัมภ์ ซอยงามดูพลี เขตสาทร กรุงเทพมหานคร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) กางแผนความพร้อมก้าวสูตวรรษที่ 21 ประกาศขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ใหม่ “มหาวิทยาลัยสมบูรณ์แบบชั้นนำแห่งอนาคต” (Leading Comprehensive University for Future Societies) เดินหน้าปฏิรูประบบการเรียนรู้ พัฒนาหลักสูตรทั้ง 19 คณะ 6 วิทยาลัย 2 สถาบัน 298 หลักสูตรที่เชื่อมโยงสหวิทยาการทั้งด้านสังคมศาสตร์ วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และวิทยาศาสตร์สุขภาพ พร้อมตั้งเป้าเป็นต้นแบบมหาวิทยาลัยไทยที่ผลิต “ผู้นำ” และ “แรงงานคุณภาพสูง” ตอบโจทย์ตลาดแรงงานได้ทุกมิตินอกจากนี้ยังเตรียมเปิดหลักสูตรและรายวิชาใหม่ อาทิ จริยธรรมปัญญาประดิษฐ์สำหรับผู้นำอนาคต กลุ่มวิชา Finance & Investment ซึ่งสอดรับกับวิถีชีวิตสังคมและเศรษฐกิจในอนาคต ตลอดจนมุ่งเป้าพัฒนาทักษะบัณฑิตสู่ทาเลนต์ที่เพียบพร้อมทั้ง Hard Skills , Soft Skils , Future Skils มุ่งสู่ภาวะการมีงานทำหลังจบการศึกษาได้ 100% ศ. ดร.ศุภสวัสดิ์ ชัชวาลย์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เปิดเผยว่า ในยุคที่ทุกบริบทโลกเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว มหาวิทยาลัยต่างต้องเร่งปรับตัวเพื่อเตรียมบัณฑิตให้พร้อมสู่อนาคต ซึ่งจากรายงานของ World Economic Forum ปี 2024 พบว่า “การคิดวิเคราะห์” (Analytical thinking) เป็นทักษะหลักที่ภาคธุรกิจมองว่าจำเป็นสูงสุดในปี 2025 โดยสูงถึง 68% รองลงมาคือ “ความยืดหยุ่น และความคล่องตัว” (67%) และ “ภาวะผู้นำและ อิทธิพลทางสังคม” (61%) สะท้อนถึงความจำเป็นในการพัฒนาทักษะทั้งด้านความคิด การสื่อสาร และการปรับตัวในโลกที่ผันผวน ขณะเดียวกัน ที่น่าสนใจคือกลุ่มอาชีพด้านเทคโนโลยีกำลังขยายตัวอย่างรวดเร็วในช่วงปี 2025-2030 โดยเฉพาะอาชีพ ‘ผู้เชี่ยวชาญด้านข้อมูลขนาดใหญ่” (Big Data Specialists) ซึ่งมีอัตราการเติบโตสูงถึงกว่า 100% ตามด้วย “วิศวกรฟินเทค” (FinTech Engineers) และ “ผู้เชี่ยวชาญด้าน AI และ Machine Learning” ที่ต่างเป็นที่ต้องการเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง โดยยังมีอาชีพที่เติบโตควบคู่กัน เช่น นักพัฒนาแอปพลิเคชัน นักวิเคราะห์ข้อมูล ผู้สร้างความ มั่นคงไซเบอร์ และวิศวกรพลังงานหมุนเวียน และในทางกลับกัน หลายอาชีพดั้งเดิมกำลังถูกลดบทบาทลงอย่างชัดเจน ซึ่งประเด็นเหล่านี้ได้ตอกย้ำถึงความเร่งด่วนในการเสริมทักษะใหม่ให้แก่แรงงาน โดยเฉพาะทักษะเทคโนโลยี ความคิดสร้างสรรค์ และความสามารถในการเรียนรู้ตลอดชีวิต ศ. ดร.ศุภสวัสดิ์ กล่าวเสริมว่า ม.ธรรมศาสตร์ จึงเดินหน้ายกระดับการศึกษาไทยสู่ระดับโลก ด้วยการเปิดแผนยุทธศาสตร์ใหม่ภายใต้แนวคิด “มหาวิทยาลัยสมบูรณ์แบบชั้นนำเพื่อสังคมแห่งอนาคต” (Leading Comprehensive University for Future Societies) พร้อมยังตั้งเป้าสร้าง Global Impact University เพื่อให้คนของธรรมศาสตร์ตอบโจทย์กับการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 โดยปรับปรุงและพัฒนากว่า 298 หลักสูตร ครอบคลุมทั้ง ด้านสังคมศาสตร์ วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และวิทยาศาสตร์สุขภาพ สร้างบัณฑิตที่มีความรู้รอบด้านในเชิงประจักษ์ พร้อมลงมือปฏิบัติได้จริง และมีศักยภาพในการเป็นผู้นำยุคใหม่ที่สามารถขับเคลื่อนประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งในปัจจุบันและตอบโจทย์ความต้องการสังคมแห่งอนาคตได้อย่างมีประสิทธิผล โดยยุทธศาสตร์ใหม่นี้ประกอบด้วย 3 แกนหลัก ได้แก่ การเป็นมหาวิทยาลัยสมบูรณ์แบบ (Comprehensive University) ชั้นนำแห่งอนาคต มุ่งบูรณาการองค์ความรู้หลากศาสตร์และการพัฒนาทักษะทางการวิจัยให้ตอบสนองต่อการเรียนรู้ยุคใหม่ การเป็นมหาวิทยาลัยของสังคม โดยเน้นการผลิตบัณฑิตจิตสาธารณะ พร้อมสร้างความเข้าใจเชื่อมโยงกับชุมชนด้วยนวัตกรรมเพื่อสุขภาวะและการพัฒนาอย่างยั่งยืน และ การสร้างความสุขและความยั่งยืนให้กับประชาคมธรรมศาสตร์ ผ่านการใช้ระบบการบริหารแบบยั่งยืน และแผนงานเชิงระบบที่เน้นการพัฒนาหลักสูตรตามแนวคิด Outcome-Based Education (OBE) การยกระดับทักษะทั้ง Hard Skils และ Soft Skills พร้อมผลักดันการเรียนรู้แบบ Experiential Learning และ Co-operative Education ให้เกิดขึ้นในทุกคณะ “แผนยุทธศาสตร์ใหม่นี้มุ่งเน้นการบูรณาการการเรียนรู้แบบข้ามศาสตร์ (Interdisciplinary Learning) การเรียนรู้ผ่านประสบการณ์จริง (Experiential Learning) และการร่วมออกแบบหลักสูตรร่วมกับภาคธุรกิจ โดยเริ่มทยอยปรับหลักสูตรในปีการศึกษา 2567 และตั้งเป้าใช้เต็มรูปแบบในปีการศึกษา 2570 โดยมีการออกแบบโครงสร้างหลักสูตรตามแนวคิด Outcome-Based Education (OBE) และการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์จริง ครอบคลุมการ จัดทำผลลัพธ์การเรียนรู้ทั้งระดับหลักสูตร และรายวิชาตามมาตรฐานของ กกอ. โดยนักศึกษาจะได้เรียนรู้จากการลง มือปฏิบัติในรายวิชาต่าง ๆ ที่เปิดโอกาสให้นักศึกษาและฝึกทักษะจริงในสถานประกอบการมากกว่า 405 ชั่วโมงรวมถึงการพัฒนากลุ่มหลักสูตรที่เน้นการเรียนรู้แบบ Experiential Learning ผ่านโครงงานและปัญหาจริงจากภาคสนาม สอดรับกับเป้าหมายการสร้าง “บัณฑิตพร้อมทำงาน” อย่างแท้จริง นอกจากนี้ การปรับปรุงทุกหลักสูตรยัง มุ่งส่งเสริมความร่วมมือกับพันธมิตรภายนอกทั้งองค์กรภาครัฐ เอกชน และกลุ่มองค์กรขนาดใหญ่ องค์กรด้านเทคโนโลยี พร้อมยกระดับการเรียน e-Learning และสร้าง Common Core ภายในคณะเพื่อประโยชน์ร่วมกันทุกหลักสูตร ในขณะเดียวกัน ยังส่งเสริมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษและการมีวิชาที่เชื่อมโยงกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) เพื่อเตรียมความพร้อมให้บัณฑิตไทยสามารถแข่งขันในระดับสากลได้” ศ. ดร.ศุกสวัสดิ์ กล่าวเพิ่มเติมว่า หนึ่งในไฮไลต์สำคัญคือการผลักดัน รายวิชาเสริมทักษะเชิงลึกเพื่อตอบโจทย์โลกอนาคต โดยเร็วๆนี้จะมีการเปิดสอน รายวิชา TU280 “จริยธรรมปัญญาประดิษฐ์สำหรับผู้นำอนาคต” (Artificial Intelligence Ethics for Leader of the Future) ซึ่งเป็นรายวิชาบังคับใหม่ทันกับกระแส AI และเทคโนโลยีแห่งอนาคตโดยตรง มุ่งพัฒนาศักยภาพนักศึกษาให้เข้าใจในประเด็นจริยธรรม เทคโนโลยี และความเชื่อมั่นการใช้ AI อย่างลึกซึ้ง ต่อเนื่องถึงการเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมอย่างรอบด้าน ทั้งนี้ ความแตกต่างของรายวิชานี้คือไม่ได้สอนเพียงการใช้เทคโนโลยี แต่เป็นการฝึกนักศึกษาให้เข้าใจโลกที่เทคโนโลยีเปลี่ยน พร้อมตั้งคำถามอย่างมีจริยธรรมต่อการใช้ AI ในชีวิตมนุษย์ สังคม และระบบเศรษฐกิจในอนาคต เป็นการบ่มเพาะผู้นำที่คิดเป็น ทำเป็น และ รับผิดชอบต่อผลกระทบในระดับโลกได้จริง และเป็นหัวใจของการสร้าง “Ethical Leaders” แห่งยุค AI ที่จะไม่ยึดติดเพียงความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีเพียงอย่างเดียว โดยพร้อมเปิดสอนในภาคการศึกษา 2568 นำโดยคณาจารย์และ ผู้เชี่ยวชาญด้าน AI ของธรรมศาสตร์ นอกจากนี้ยังเปิดหมวดวิชา Finance & Investment ครอบคลุมหัวข้อที่จำเป็นสำหรับคนรุ่นใหม่ อาทิ ความรู้การเงินในชีวิตประจำวัน การลงทุนในคริปโตเคอร์เรนซี การวางแผนภาษี ต้นทุนโอกาส และการเงินเพื่อความ ยั่งยืน โดยร่วมออกแบบหลักสูตรกับผู้เชี่ยวชาญจากองค์กรชั้นนำ เช่น SET SCB GULF และ Bangkok Bank เพื่อให้นักศึกษาสามารถเรียนรู้แบบ Online หรือ E-learning ได้อย่างยืดหยุ่น เหมาะกับการพัฒนาทักษะควบคู่กับการเรียนหลักสูตรปกติ ซึ่งได้รับความสนใจจากนักศึกษาเป็นจำนวนมาก เห็นได้ชัดจากการที่ได้มีการเปิดหลักสูตร SET E-learning ตั้งแต่ปี 2565 จนถึงเดือนมีนาคม 2568 มีนักศึกษาลงเรียนวิชาต่าง ๆ ของหลักสูตรแล้วกว่า 22,000 คน อย่างไรก็ดี ธรรมศาสตร์ยังวางทิศทางการเตรียมบัณฑิตให้พร้อมสู่ตลาดแรงงาน ด้วยการเน้น “ทักษะอาชีพ ที่สำคัญ” ทั้ง ‘Hard Skill’ เช่น ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ กฎหมาย และการเงิน ‘Soft Skill’ เช่น การสื่อสาร แก้ปัญหาและการเป็นผู้นำ รวมถึง ‘Adaptabilty Skill’ ได้แก่ ความยืดหยุ่น การทำงานเป็นทีม และการวิเคราะห์ความเสี่ยงขณะเดียวกัน ยังส่งเสริมทักษะเฉพาะด้าน เช่น ความเข้าใจจริยธรรม AI และการทำงานข้ามวัฒนธรรม เพื่อให้บัณฑิตธรรมศาสตร์เป็น Talent ที่โดดเด่นพร้อมรับมือกับโลกที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและซับซ้อนในทุกมิติ “ในภาพรวม มหาวิทยาลัยวางเป้าหมายให้บัณฑิตมีความรู้เชิงวิชาการควบคู่กับทักษะปฏิบัติจริง และมีประสบการณ์วิชาชีพ โครงการ หรือฝึกงานอย่างน้อย 6 หน่วยกิต โดยคาดหวังให้ทุกหลักสูตรสามารถพัฒนา ศักยภาพนักศึกษาให้มีทักษะแห่งอนาคต (Future Skils) เพื่อเติบโตอย่างมั่นคงในโลกการทำงานยุคใหม่ได้อย่างเต็มศักยภาพ นอกจากนี้ ยังได้ตั้ง “ศูนย์สหกิจศึกษาและพัฒนาอาชีพ” (TUCEEC) เพื่อเตรียมความพร้อมให้นักศึกษาและศิษย์เก่า ได้พัฒนาทักษะที่จำเป็นอย่าง Hard Skills, Sofi Skills รวมถึง Future Skils เรื่องของ AI และการตลาดดิจิทัล โดยมีเป้าหมายจัดอบรมและกิจกรรมกว่า 100 รายการในช่วงปี 2568-2570 เพื่อสร้างแรงส่งสู่การมีงานทำทันที่หลังจบการศึกษาให้ได้ 100%” การวางกลยุทธ์ด้านบุคลากร มหาวิทยาลัยยังเร่งยกระดับศักยภาพอาจารย์และผู้เชี่ยวชาญสู่การเป็น “ผู้นำการเรียนรู้” อย่างเป็นระบบ ผ่านแนวทาง Professional Standard Framework (PSF) ซึ่งเป็น กรอบมาตรฐานสากลเพื่อสงเสริมความเชี่ยวชาญด้านการจัดการเรียนการสอนในระดับสูง โดยตั้งเป้าหมายให้อาจารย์ผ่านการรับรองมาตรฐาน PSF ระดับ 2 ขึ้นไป (PSF 2+) อย่างน้อย 100 คนภายในปีงบประมาณ 2568-2570 ทั้งนี้ ถือเป็นกลยุทธ์สำคัญในการพัฒนาอาจารย์ให้เป็นผู้มีบทบาทผู้นำการสร้างการเรียนรู้เชิงรุก และออกแบบประสบการณ์การเรียนรู้ที่ตอบโจทย์ผู้เรียนยุคใหม่อย่างแท้จริง ทั้งในระดับปริญญาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) ตลอดจนสนับสนุนการพัฒนาหลักสูตรนานาชาติ และความร่วมมือหลักสูตรแบบ Dual Degree กับสถาบันพันธมิตรทั่วโลกเพื่อสร้างเครือข่ายวิชาการระดับสากลที่เชื่อมโยงการเรียนรู้อย่างไร้พรมแดนได้ “หลายปีที่ผ่านมากลุ่มเป้าหมายของคนที่ต้องการศึกษาที่ม.ธรรมศาสตร์ อยู่ในทุกช่วงวัย และมีความหลากหลาย สิ่งเหล่านี้จึงทำให้มหาวิทยาลัยตระหนักถึงการต้องพัฒนาสร้างหลักสูตรที่รองรับความต้องการที่ไม่สิ้นสุดให้กว้างมากขึ้น อีกทั้งจำเป็นจะต้องเน้นการผลิตบุคลากรในเชิงคุณภาพ สวนทางกับช่วงที่ประชากรโลกมีอัตราการเกิดลดลง นอกจากนี้ ยังมุ่งหวังที่จะเป็นต้นแบบการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในระดับอุดมศึกษา – การเรียนรู้ตลอด ชีวิตให้เกิดขึ้นในแบบองค์รวม ซึ่งจะส่งผลดีต่อการยกระดับส่วนต่าง ๆ ของประเทศในภาพรวมได้ในที่สุด” จากการสัมภาษณ์ รศ. ดร. ดำรงค์ อดุลยฤทธิกุล รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ และอาจารย์คณะศิลปศาสตร์ ได้พูดถึงวิชาและหลักสูตรใหม่ๆที่น่าสนใจกำลังจะเกิดขึ้นในเร็วๆนี้ว่าในตอนนี้จะมีวิชาเกิดขึ้นอยู่หลายอัน นอกจากวิชา “จริยธรรมปัญญาประดิษฐ์สำหรับผู้นำอนาคต” (Artificial Intelligence Ethics for Leader of the Future) แล้ว จะมีวิชาที่เกี่ยวกับ Carbon Footprint ซึ่งมีความจำเป็นต่อนักศึกษาที่จะต้องรู้ และอันต่อมาเป็นเรื่องวิชาที่เกี่ยวกับกายและจิต จะมีวิชาที่เกี่ยวกับ Self development ที่จะดูแลให้นักศึกษาเข้าใจเรื่องว่าที่จะต้องดูแลตัวเองอย่างไร รวมทั้งการดูแลสภาพจิตใจเมื่อพบกับความล้มเหลวหรือว่าความท้าทายต่างๆที่จะต้องปรับตัว เตรียมรับมืออย่างไรบ้าง ตัววิชาจะเป็นตัวช่วยการเรียนรู้และความพร้อม แต่ในส่วนของมหาวิทยาลัยเองก็คือฝ่ายการศึกษา จะมีการเตรียมพร้อมในส่วนในการให้คำปรึกษาด้วยเพราะจะทำให้ความเครียดต่างๆที่นักศึกษาในปัจจุบันเจอค่อนข้างมากทำให้ลดลงเรื่อยหรือทำให้สภาพนักศึกษาสุขภาวะที่ดีขึ้น วิชาเหล่านี้เป็นตัวช่วยนักศึกษา นอกจากนั้นจะมีวิชาอย่างเช่น เรื่องเกี่ยวกับ Global Citizenship เพื่อเตรียมความพร้อมให้กับนักศึกษานั้นพร้อมที่เรียนรู้กับความแตกต่างและเคารพความแตกต่างด้วย ไม่ว่าจะเป็น เรื่องของความคิด เรื่องของความแตกต่างของเพศภาวะ เรื่องของสิ่งต่างๆมากมาย สิ่งเหล่านี้วิชาจะทำให้นักศึกษาพร้อมที่จะเรียนรู้ไปด้วย และสุดท้ายที่จะพูดถึงก็คือเรื่องวิชาที่เน้นในการเรียนรู้ประสบการณ์ซึ่งนอกจากเรื่องของฝึกงานแล้ว มหาวิทยาลัยให้ความสำคัญแก่เรื่องการที่นักศึกษาออกไปทำงานจากภายนอก อย่างเช่น นักศึกษานั้นมีโอกาสไปแข่งขันในรายการต่างๆ เช่น แข่งขันในแผนธุรกิจ แข่งขันเรื่องของโครงงาน ทั้งหมดนี้คิดว่ากว่านักศึกษาจะเตรียมการจนกระทั้งไปสู่การแข่งขันได้ นักศึกษาจะต้องเรียนรู้ในกระบวนการเหล่านี้ เพราะฉะนั้นมหาวิทยาลัยจะนำให้กลายเป็นส่วนหนึ่งหน่วยกิตที่นักศึกษาจะได้ ซึ่งจะมีกรรมการมาช่วยประเมินเขา อันนี้คือส่วนสำคัญที่เรียกว่า Experiential Learning คือการเรียนรู้จากประสบการณ์การทำงาน และได้กล่าวถึงน้องๆที่สนใจเรียนที่ม.ธรรมศาสตร์ว่า สำหรับน้องๆชั้นมัธยมศึกษาที่สนใจ ม.ธรรมศาสตร์ ในช่วงระหว่างที่กำลังศึกษาในระดับชั้นมัธยมอาจจะหาโอกาสกันเข้ามาเรียนรู้วิชาต่างๆที่ม.ธรรมศาสตร์เปิด ซึ่งมหาวิทยาลัยมีในรูปแบบ E-Learning เป็นแบบตลาดวิชาซึ่งน้องๆนักเรียนสามารถเข้ามาเรียนได้ ซึ่งไม่ใช่แค่เฉพาะน้องๆนักเรียนเท่านั้น ผู้จบการศึกษาไปแล้วที่อยากจะมา Re-Skill Up-Skill สามารถเข้ามาเรียนในชุดวิชาที่มหาวิทยาลัยเปิดได้เช่นกัน เมื่อนักเรียนที่เรียนจบแล้ว สามารถเก็บสะสมหน่วยกิต พอเมื่อนักเรียนเหล่านี้เป็นนักศึกษาธรรมศาสตร์ อย่างน้อยน้องๆจะได้เรียนรู้วิชาที่เป็นธรรมศาสตร์บ้าง พอเมื่อนักเรียนเหล่านี้เป็นนักศึกษาธรรมศาสตร์แล้ว หน่วยกิตที่เรียนมาจะโอนเข้ามา รวมทั้งผลการเรียนรู้ด้วย เพราะฉะนั้นเข้ามาในธรรมศาสตร์แล้วก็แปลว่าน้องที่เรียนจะได้รายวิชาเหล่านี้มากพอสมควรแล้วสามารถไปเรียนในวิชาเอก วิชาโทต่างๆที่สนใจได้ ในปีหนึ่ง ธรรมศาสตร์เปิดรับ 3-4 รอบในระบบ TCAS มีตั้งแต่รอบ Portfolio รอบโควต้า รอบ Admission และรอบ รับโดยตรง ถ้าน้องๆนักเรียนที่สนใจ ในช่วงปลายปี ประมาณเดือนพฤศจิกายน ม.ธรรมศาสตร์ จะเปิด Open House ใหญ่ เพื่อให้ข้อมูลต่างๆและนักเรียนที่สนใจธรรมศาสตร์เข้ามาเรียนรู้ได้มีโอกาสมาพูดคุยกับบรรดาพี่ๆทั้งหลายจากประสบการณ์จริงมาเรียนรู้ว่าการอยู่ในธรรมศาสตร์นั้นเป็นอย่างไรบ้าง เพื่อมีความตัดสินใจได้ถูกต้องจากฐานข้อมูล รวมทั้งเข้ามาดูชีวิตความเป็นอยู่ การเดินทางในมหาวิทยาลัย รวมทั้งการเยี่ยมเยือนหอพักด้วย เพราะฉะนั้นจะทำให้เห็นภาพรวมทั้งหมดก่อนตัดสินใจว่าธรรมศาสตร์จะเป็นที่ที่น้องๆเข้ามาเรียนรู้และอยู่กับน้องๆไปตลอด 3-4 ปีหรือไหมครับ EZ Webmaster Related Posts สวนสุนันทาให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากหลักสูตรครูทหารของกองทัพบกรุ่นที่ 5 โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนประจวบวิทยาลัย โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสามร้อยยอดวิทยาคม โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศ โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนรัตนราษฎร์บำรุง Post navigation PREVIOUS Previous post: สมัครเรียนที่ “มหาวิทยาลัยสยาม” รับทุนสนับสนุนการศึกษารวม 11,000 บาทNEXT Next post: ทุน$1,000ในรัฐควีนส์แลนด์ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
11 สาเหตุลึกซึ้ง ทำไมการศึกษาไทยยังตกต่ำ? เสียงสะท้อนจากครูชนบท สู่คำถามใหญ่ของสังคม EZ WebmasterJune 19, 2025 ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ประเทศไทยกำลังเผชิญกับวิกฤตคุณภาพทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง แม้จะมีความพยายามปฏิรูปหลายครั้ง แต่กลับไม่สามารถยกระดับการเรียนรู้ให้เทียบเท่าประเทศเพื่อนบ้านได้อย่างแท้จริงนายสานิตย์ พลศรี นายกสมาคมครูชนบทจังหวัดชัยภูมิ ในหัวข้อ “สาเหตุของปัญหาคุณภาพด้านการศึกษาประเทศไทยที่ตกต่ำ” ซึ่งกำลังถูกส่งต่ออย่างกว้างขวางในโซเชียลมีเดียและกลุ่มไลน์ของคนในแวดวงการศึกษาเสียงสะท้อนจากผู้ที่อยู่ในภาคสนามจริงอย่างนายสานิตย์ ทำให้เราได้เห็นภาพที่ชัดเจนมากขึ้นว่า ปัญหาไม่ได้อยู่ที่ตัวนักเรียนหรือครูเพียงลำพัง แต่เป็นผลสะสมจากโครงสร้าง ระบบ และการบริหารที่ผิดทิศผิดทางมานานจึงเป็นการเปิดประเด็นให้สังคมได้ทบทวนร่วมกันว่า หากเราไม่เริ่ม “เปลี่ยนจริง” คุณภาพการศึกษาของไทยอาจยิ่งตกต่ำลงกว่าที่เป็นอยู่ 11… ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา EZ WebmasterJune 18, 2025 วิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิทักษ์ ธรรมวาริน (คนที่ 4 จากซ้าย) คณบดีวิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สจล. และ Mr. Alfonso Martin (คนที่ 3…
ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา EZ WebmasterJune 18, 2025 วิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิทักษ์ ธรรมวาริน (คนที่ 4 จากซ้าย) คณบดีวิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สจล. และ Mr. Alfonso Martin (คนที่ 3…
ทุนImperial Athletes Sport InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 20, 2025 Imperial College London เสนอทุนการศึกษา Imperial Athletes Sport เพื่อสนับสนุนนักกีฬาที่มีพรสวรรค์สำหรับปีการศึกษา 2025/2026 โดยเปิดโอกาสให้เลือกเรียนในหลากหลายสาขาวิชา เปิดรับใบสมัครถึง 4 สิงหาคม 2025 หากคุณกำลังแข่งขันในระดับภูมิภาค ระดับชาติ หรือระดับนานาชาติในกีฬาของคุณ และแสดงให้เห็นถึงพรสวรรค์… Kazan Global Youth Summit InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 19, 2025 เชิญเยาวชนสมัครคัดเลือกเข้าร่วมการประชุม Kazan Global Youth Summit ครั้งที่ 4 ระหว่างวันที่ 27 – 30 สิงหาคม 2568 ณ เมืองคาซาน สาธารณรัฐตาตาร์สตาน สหพันธรัฐรัสเซีย จัดโดยรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐตาตาร์สตาน… SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… ครู-อาจารย์ สวนสุนันทาให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากหลักสูตรครูทหารของกองทัพบกรุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากหลักสูตรครูทหารของกองทัพบกรุ่นที่ 5 วันที่ 20 มิถุนายน 2568 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากหลักสูตรการฝึกอบรมครูทหารของกองทัพบก รุ่นที่ 5 กรมยุทธศึกษาทหารบก ณ ห้องประชุมช่อแก้ว โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อแลกเปลี่ยนองค์ความรู้และประสบการณ์ด้านการบริหารจัดการและเทคโนโลยีทางการศึกษา กิจกรรมเริ่มต้นตั้งแต่เวลา 08.30 น. ด้วยการลงทะเบียนและรับฟังการกล่าวต้อนรับโดย รองศาสตราจารย์… จุฬาฯ ผงาดอันดับ Top 44 ของโลกด้านความยั่งยืน ใน THE Impact Rankings 2025 ครองอันดับ 1 ของไทยอีกครั้ง tui sakrapeeJune 20, 2025 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยผงาดอันดับ Top 44 ของโลก และครองอันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทยอีกครั้งหนึ่ง จากการจัดอันดับโดย Times Higher Education Impact Rankings 2025 ด้วยผลงานที่โดดเด่นในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนและสร้างผลกระทบสูงต่อสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง SDG 9… หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 📚เริ่มเรียน กรกฎาคม 2568 ถึง มกราคม 2569 ทุกวันพฤหัสบดี 11:00 – 18:00 น.… มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster May 17, 2025 EZ Webmaster May 17, 2025 ม.ธรรมศาสตร์ เปิดแผนพลิกการศึกษายุคใหม่ ปรับ 298 หลักสูตร รับมือโลกเปลี่ยนเร็ว พร้อมวางทิศทางสู่ระดับโลก ม.ธรรมศาสตร์ เปิดแผนพลิกการศึกษายุคใหม่ ปรับ 298 หลักสูตร รับมือโลกเปลี่ยนเร็ว พร้อมวางทิศทางสู่ระดับโลก – ปั้นทาแลนต์เก่งรอบทิศ โดดเด่นด้วยหลักสูตร “จริยธรรม AI” ปักธงบัณฑิตมีงานทำ 100% กางแผนยุทธศาสตร์ มธ. กับการก้าวสู่ Global Impact University ยุคใหม่ที่โดดเด่นทั้ง “วิทย์ ศิลป์ สังคม AI” พร้อมการเป็นต้นแบบมหาวิทยาลัยสมบูรณ์แบบแห่งโลกอนาคต เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ.2568 ณ สมาคมธรรมศาสตร์ในพระบรมราชูปถัมภ์ ซอยงามดูพลี เขตสาทร กรุงเทพมหานคร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) กางแผนความพร้อมก้าวสูตวรรษที่ 21 ประกาศขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ใหม่ “มหาวิทยาลัยสมบูรณ์แบบชั้นนำแห่งอนาคต” (Leading Comprehensive University for Future Societies) เดินหน้าปฏิรูประบบการเรียนรู้ พัฒนาหลักสูตรทั้ง 19 คณะ 6 วิทยาลัย 2 สถาบัน 298 หลักสูตรที่เชื่อมโยงสหวิทยาการทั้งด้านสังคมศาสตร์ วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และวิทยาศาสตร์สุขภาพ พร้อมตั้งเป้าเป็นต้นแบบมหาวิทยาลัยไทยที่ผลิต “ผู้นำ” และ “แรงงานคุณภาพสูง” ตอบโจทย์ตลาดแรงงานได้ทุกมิตินอกจากนี้ยังเตรียมเปิดหลักสูตรและรายวิชาใหม่ อาทิ จริยธรรมปัญญาประดิษฐ์สำหรับผู้นำอนาคต กลุ่มวิชา Finance & Investment ซึ่งสอดรับกับวิถีชีวิตสังคมและเศรษฐกิจในอนาคต ตลอดจนมุ่งเป้าพัฒนาทักษะบัณฑิตสู่ทาเลนต์ที่เพียบพร้อมทั้ง Hard Skills , Soft Skils , Future Skils มุ่งสู่ภาวะการมีงานทำหลังจบการศึกษาได้ 100% ศ. ดร.ศุภสวัสดิ์ ชัชวาลย์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เปิดเผยว่า ในยุคที่ทุกบริบทโลกเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว มหาวิทยาลัยต่างต้องเร่งปรับตัวเพื่อเตรียมบัณฑิตให้พร้อมสู่อนาคต ซึ่งจากรายงานของ World Economic Forum ปี 2024 พบว่า “การคิดวิเคราะห์” (Analytical thinking) เป็นทักษะหลักที่ภาคธุรกิจมองว่าจำเป็นสูงสุดในปี 2025 โดยสูงถึง 68% รองลงมาคือ “ความยืดหยุ่น และความคล่องตัว” (67%) และ “ภาวะผู้นำและ อิทธิพลทางสังคม” (61%) สะท้อนถึงความจำเป็นในการพัฒนาทักษะทั้งด้านความคิด การสื่อสาร และการปรับตัวในโลกที่ผันผวน ขณะเดียวกัน ที่น่าสนใจคือกลุ่มอาชีพด้านเทคโนโลยีกำลังขยายตัวอย่างรวดเร็วในช่วงปี 2025-2030 โดยเฉพาะอาชีพ ‘ผู้เชี่ยวชาญด้านข้อมูลขนาดใหญ่” (Big Data Specialists) ซึ่งมีอัตราการเติบโตสูงถึงกว่า 100% ตามด้วย “วิศวกรฟินเทค” (FinTech Engineers) และ “ผู้เชี่ยวชาญด้าน AI และ Machine Learning” ที่ต่างเป็นที่ต้องการเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง โดยยังมีอาชีพที่เติบโตควบคู่กัน เช่น นักพัฒนาแอปพลิเคชัน นักวิเคราะห์ข้อมูล ผู้สร้างความ มั่นคงไซเบอร์ และวิศวกรพลังงานหมุนเวียน และในทางกลับกัน หลายอาชีพดั้งเดิมกำลังถูกลดบทบาทลงอย่างชัดเจน ซึ่งประเด็นเหล่านี้ได้ตอกย้ำถึงความเร่งด่วนในการเสริมทักษะใหม่ให้แก่แรงงาน โดยเฉพาะทักษะเทคโนโลยี ความคิดสร้างสรรค์ และความสามารถในการเรียนรู้ตลอดชีวิต ศ. ดร.ศุภสวัสดิ์ กล่าวเสริมว่า ม.ธรรมศาสตร์ จึงเดินหน้ายกระดับการศึกษาไทยสู่ระดับโลก ด้วยการเปิดแผนยุทธศาสตร์ใหม่ภายใต้แนวคิด “มหาวิทยาลัยสมบูรณ์แบบชั้นนำเพื่อสังคมแห่งอนาคต” (Leading Comprehensive University for Future Societies) พร้อมยังตั้งเป้าสร้าง Global Impact University เพื่อให้คนของธรรมศาสตร์ตอบโจทย์กับการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 โดยปรับปรุงและพัฒนากว่า 298 หลักสูตร ครอบคลุมทั้ง ด้านสังคมศาสตร์ วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และวิทยาศาสตร์สุขภาพ สร้างบัณฑิตที่มีความรู้รอบด้านในเชิงประจักษ์ พร้อมลงมือปฏิบัติได้จริง และมีศักยภาพในการเป็นผู้นำยุคใหม่ที่สามารถขับเคลื่อนประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งในปัจจุบันและตอบโจทย์ความต้องการสังคมแห่งอนาคตได้อย่างมีประสิทธิผล โดยยุทธศาสตร์ใหม่นี้ประกอบด้วย 3 แกนหลัก ได้แก่ การเป็นมหาวิทยาลัยสมบูรณ์แบบ (Comprehensive University) ชั้นนำแห่งอนาคต มุ่งบูรณาการองค์ความรู้หลากศาสตร์และการพัฒนาทักษะทางการวิจัยให้ตอบสนองต่อการเรียนรู้ยุคใหม่ การเป็นมหาวิทยาลัยของสังคม โดยเน้นการผลิตบัณฑิตจิตสาธารณะ พร้อมสร้างความเข้าใจเชื่อมโยงกับชุมชนด้วยนวัตกรรมเพื่อสุขภาวะและการพัฒนาอย่างยั่งยืน และ การสร้างความสุขและความยั่งยืนให้กับประชาคมธรรมศาสตร์ ผ่านการใช้ระบบการบริหารแบบยั่งยืน และแผนงานเชิงระบบที่เน้นการพัฒนาหลักสูตรตามแนวคิด Outcome-Based Education (OBE) การยกระดับทักษะทั้ง Hard Skils และ Soft Skills พร้อมผลักดันการเรียนรู้แบบ Experiential Learning และ Co-operative Education ให้เกิดขึ้นในทุกคณะ “แผนยุทธศาสตร์ใหม่นี้มุ่งเน้นการบูรณาการการเรียนรู้แบบข้ามศาสตร์ (Interdisciplinary Learning) การเรียนรู้ผ่านประสบการณ์จริง (Experiential Learning) และการร่วมออกแบบหลักสูตรร่วมกับภาคธุรกิจ โดยเริ่มทยอยปรับหลักสูตรในปีการศึกษา 2567 และตั้งเป้าใช้เต็มรูปแบบในปีการศึกษา 2570 โดยมีการออกแบบโครงสร้างหลักสูตรตามแนวคิด Outcome-Based Education (OBE) และการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์จริง ครอบคลุมการ จัดทำผลลัพธ์การเรียนรู้ทั้งระดับหลักสูตร และรายวิชาตามมาตรฐานของ กกอ. โดยนักศึกษาจะได้เรียนรู้จากการลง มือปฏิบัติในรายวิชาต่าง ๆ ที่เปิดโอกาสให้นักศึกษาและฝึกทักษะจริงในสถานประกอบการมากกว่า 405 ชั่วโมงรวมถึงการพัฒนากลุ่มหลักสูตรที่เน้นการเรียนรู้แบบ Experiential Learning ผ่านโครงงานและปัญหาจริงจากภาคสนาม สอดรับกับเป้าหมายการสร้าง “บัณฑิตพร้อมทำงาน” อย่างแท้จริง นอกจากนี้ การปรับปรุงทุกหลักสูตรยัง มุ่งส่งเสริมความร่วมมือกับพันธมิตรภายนอกทั้งองค์กรภาครัฐ เอกชน และกลุ่มองค์กรขนาดใหญ่ องค์กรด้านเทคโนโลยี พร้อมยกระดับการเรียน e-Learning และสร้าง Common Core ภายในคณะเพื่อประโยชน์ร่วมกันทุกหลักสูตร ในขณะเดียวกัน ยังส่งเสริมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษและการมีวิชาที่เชื่อมโยงกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) เพื่อเตรียมความพร้อมให้บัณฑิตไทยสามารถแข่งขันในระดับสากลได้” ศ. ดร.ศุกสวัสดิ์ กล่าวเพิ่มเติมว่า หนึ่งในไฮไลต์สำคัญคือการผลักดัน รายวิชาเสริมทักษะเชิงลึกเพื่อตอบโจทย์โลกอนาคต โดยเร็วๆนี้จะมีการเปิดสอน รายวิชา TU280 “จริยธรรมปัญญาประดิษฐ์สำหรับผู้นำอนาคต” (Artificial Intelligence Ethics for Leader of the Future) ซึ่งเป็นรายวิชาบังคับใหม่ทันกับกระแส AI และเทคโนโลยีแห่งอนาคตโดยตรง มุ่งพัฒนาศักยภาพนักศึกษาให้เข้าใจในประเด็นจริยธรรม เทคโนโลยี และความเชื่อมั่นการใช้ AI อย่างลึกซึ้ง ต่อเนื่องถึงการเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมอย่างรอบด้าน ทั้งนี้ ความแตกต่างของรายวิชานี้คือไม่ได้สอนเพียงการใช้เทคโนโลยี แต่เป็นการฝึกนักศึกษาให้เข้าใจโลกที่เทคโนโลยีเปลี่ยน พร้อมตั้งคำถามอย่างมีจริยธรรมต่อการใช้ AI ในชีวิตมนุษย์ สังคม และระบบเศรษฐกิจในอนาคต เป็นการบ่มเพาะผู้นำที่คิดเป็น ทำเป็น และ รับผิดชอบต่อผลกระทบในระดับโลกได้จริง และเป็นหัวใจของการสร้าง “Ethical Leaders” แห่งยุค AI ที่จะไม่ยึดติดเพียงความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีเพียงอย่างเดียว โดยพร้อมเปิดสอนในภาคการศึกษา 2568 นำโดยคณาจารย์และ ผู้เชี่ยวชาญด้าน AI ของธรรมศาสตร์ นอกจากนี้ยังเปิดหมวดวิชา Finance & Investment ครอบคลุมหัวข้อที่จำเป็นสำหรับคนรุ่นใหม่ อาทิ ความรู้การเงินในชีวิตประจำวัน การลงทุนในคริปโตเคอร์เรนซี การวางแผนภาษี ต้นทุนโอกาส และการเงินเพื่อความ ยั่งยืน โดยร่วมออกแบบหลักสูตรกับผู้เชี่ยวชาญจากองค์กรชั้นนำ เช่น SET SCB GULF และ Bangkok Bank เพื่อให้นักศึกษาสามารถเรียนรู้แบบ Online หรือ E-learning ได้อย่างยืดหยุ่น เหมาะกับการพัฒนาทักษะควบคู่กับการเรียนหลักสูตรปกติ ซึ่งได้รับความสนใจจากนักศึกษาเป็นจำนวนมาก เห็นได้ชัดจากการที่ได้มีการเปิดหลักสูตร SET E-learning ตั้งแต่ปี 2565 จนถึงเดือนมีนาคม 2568 มีนักศึกษาลงเรียนวิชาต่าง ๆ ของหลักสูตรแล้วกว่า 22,000 คน อย่างไรก็ดี ธรรมศาสตร์ยังวางทิศทางการเตรียมบัณฑิตให้พร้อมสู่ตลาดแรงงาน ด้วยการเน้น “ทักษะอาชีพ ที่สำคัญ” ทั้ง ‘Hard Skill’ เช่น ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ กฎหมาย และการเงิน ‘Soft Skill’ เช่น การสื่อสาร แก้ปัญหาและการเป็นผู้นำ รวมถึง ‘Adaptabilty Skill’ ได้แก่ ความยืดหยุ่น การทำงานเป็นทีม และการวิเคราะห์ความเสี่ยงขณะเดียวกัน ยังส่งเสริมทักษะเฉพาะด้าน เช่น ความเข้าใจจริยธรรม AI และการทำงานข้ามวัฒนธรรม เพื่อให้บัณฑิตธรรมศาสตร์เป็น Talent ที่โดดเด่นพร้อมรับมือกับโลกที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและซับซ้อนในทุกมิติ “ในภาพรวม มหาวิทยาลัยวางเป้าหมายให้บัณฑิตมีความรู้เชิงวิชาการควบคู่กับทักษะปฏิบัติจริง และมีประสบการณ์วิชาชีพ โครงการ หรือฝึกงานอย่างน้อย 6 หน่วยกิต โดยคาดหวังให้ทุกหลักสูตรสามารถพัฒนา ศักยภาพนักศึกษาให้มีทักษะแห่งอนาคต (Future Skils) เพื่อเติบโตอย่างมั่นคงในโลกการทำงานยุคใหม่ได้อย่างเต็มศักยภาพ นอกจากนี้ ยังได้ตั้ง “ศูนย์สหกิจศึกษาและพัฒนาอาชีพ” (TUCEEC) เพื่อเตรียมความพร้อมให้นักศึกษาและศิษย์เก่า ได้พัฒนาทักษะที่จำเป็นอย่าง Hard Skills, Sofi Skills รวมถึง Future Skils เรื่องของ AI และการตลาดดิจิทัล โดยมีเป้าหมายจัดอบรมและกิจกรรมกว่า 100 รายการในช่วงปี 2568-2570 เพื่อสร้างแรงส่งสู่การมีงานทำทันที่หลังจบการศึกษาให้ได้ 100%” การวางกลยุทธ์ด้านบุคลากร มหาวิทยาลัยยังเร่งยกระดับศักยภาพอาจารย์และผู้เชี่ยวชาญสู่การเป็น “ผู้นำการเรียนรู้” อย่างเป็นระบบ ผ่านแนวทาง Professional Standard Framework (PSF) ซึ่งเป็น กรอบมาตรฐานสากลเพื่อสงเสริมความเชี่ยวชาญด้านการจัดการเรียนการสอนในระดับสูง โดยตั้งเป้าหมายให้อาจารย์ผ่านการรับรองมาตรฐาน PSF ระดับ 2 ขึ้นไป (PSF 2+) อย่างน้อย 100 คนภายในปีงบประมาณ 2568-2570 ทั้งนี้ ถือเป็นกลยุทธ์สำคัญในการพัฒนาอาจารย์ให้เป็นผู้มีบทบาทผู้นำการสร้างการเรียนรู้เชิงรุก และออกแบบประสบการณ์การเรียนรู้ที่ตอบโจทย์ผู้เรียนยุคใหม่อย่างแท้จริง ทั้งในระดับปริญญาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) ตลอดจนสนับสนุนการพัฒนาหลักสูตรนานาชาติ และความร่วมมือหลักสูตรแบบ Dual Degree กับสถาบันพันธมิตรทั่วโลกเพื่อสร้างเครือข่ายวิชาการระดับสากลที่เชื่อมโยงการเรียนรู้อย่างไร้พรมแดนได้ “หลายปีที่ผ่านมากลุ่มเป้าหมายของคนที่ต้องการศึกษาที่ม.ธรรมศาสตร์ อยู่ในทุกช่วงวัย และมีความหลากหลาย สิ่งเหล่านี้จึงทำให้มหาวิทยาลัยตระหนักถึงการต้องพัฒนาสร้างหลักสูตรที่รองรับความต้องการที่ไม่สิ้นสุดให้กว้างมากขึ้น อีกทั้งจำเป็นจะต้องเน้นการผลิตบุคลากรในเชิงคุณภาพ สวนทางกับช่วงที่ประชากรโลกมีอัตราการเกิดลดลง นอกจากนี้ ยังมุ่งหวังที่จะเป็นต้นแบบการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในระดับอุดมศึกษา – การเรียนรู้ตลอด ชีวิตให้เกิดขึ้นในแบบองค์รวม ซึ่งจะส่งผลดีต่อการยกระดับส่วนต่าง ๆ ของประเทศในภาพรวมได้ในที่สุด” จากการสัมภาษณ์ รศ. ดร. ดำรงค์ อดุลยฤทธิกุล รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ และอาจารย์คณะศิลปศาสตร์ ได้พูดถึงวิชาและหลักสูตรใหม่ๆที่น่าสนใจกำลังจะเกิดขึ้นในเร็วๆนี้ว่าในตอนนี้จะมีวิชาเกิดขึ้นอยู่หลายอัน นอกจากวิชา “จริยธรรมปัญญาประดิษฐ์สำหรับผู้นำอนาคต” (Artificial Intelligence Ethics for Leader of the Future) แล้ว จะมีวิชาที่เกี่ยวกับ Carbon Footprint ซึ่งมีความจำเป็นต่อนักศึกษาที่จะต้องรู้ และอันต่อมาเป็นเรื่องวิชาที่เกี่ยวกับกายและจิต จะมีวิชาที่เกี่ยวกับ Self development ที่จะดูแลให้นักศึกษาเข้าใจเรื่องว่าที่จะต้องดูแลตัวเองอย่างไร รวมทั้งการดูแลสภาพจิตใจเมื่อพบกับความล้มเหลวหรือว่าความท้าทายต่างๆที่จะต้องปรับตัว เตรียมรับมืออย่างไรบ้าง ตัววิชาจะเป็นตัวช่วยการเรียนรู้และความพร้อม แต่ในส่วนของมหาวิทยาลัยเองก็คือฝ่ายการศึกษา จะมีการเตรียมพร้อมในส่วนในการให้คำปรึกษาด้วยเพราะจะทำให้ความเครียดต่างๆที่นักศึกษาในปัจจุบันเจอค่อนข้างมากทำให้ลดลงเรื่อยหรือทำให้สภาพนักศึกษาสุขภาวะที่ดีขึ้น วิชาเหล่านี้เป็นตัวช่วยนักศึกษา นอกจากนั้นจะมีวิชาอย่างเช่น เรื่องเกี่ยวกับ Global Citizenship เพื่อเตรียมความพร้อมให้กับนักศึกษานั้นพร้อมที่เรียนรู้กับความแตกต่างและเคารพความแตกต่างด้วย ไม่ว่าจะเป็น เรื่องของความคิด เรื่องของความแตกต่างของเพศภาวะ เรื่องของสิ่งต่างๆมากมาย สิ่งเหล่านี้วิชาจะทำให้นักศึกษาพร้อมที่จะเรียนรู้ไปด้วย และสุดท้ายที่จะพูดถึงก็คือเรื่องวิชาที่เน้นในการเรียนรู้ประสบการณ์ซึ่งนอกจากเรื่องของฝึกงานแล้ว มหาวิทยาลัยให้ความสำคัญแก่เรื่องการที่นักศึกษาออกไปทำงานจากภายนอก อย่างเช่น นักศึกษานั้นมีโอกาสไปแข่งขันในรายการต่างๆ เช่น แข่งขันในแผนธุรกิจ แข่งขันเรื่องของโครงงาน ทั้งหมดนี้คิดว่ากว่านักศึกษาจะเตรียมการจนกระทั้งไปสู่การแข่งขันได้ นักศึกษาจะต้องเรียนรู้ในกระบวนการเหล่านี้ เพราะฉะนั้นมหาวิทยาลัยจะนำให้กลายเป็นส่วนหนึ่งหน่วยกิตที่นักศึกษาจะได้ ซึ่งจะมีกรรมการมาช่วยประเมินเขา อันนี้คือส่วนสำคัญที่เรียกว่า Experiential Learning คือการเรียนรู้จากประสบการณ์การทำงาน และได้กล่าวถึงน้องๆที่สนใจเรียนที่ม.ธรรมศาสตร์ว่า สำหรับน้องๆชั้นมัธยมศึกษาที่สนใจ ม.ธรรมศาสตร์ ในช่วงระหว่างที่กำลังศึกษาในระดับชั้นมัธยมอาจจะหาโอกาสกันเข้ามาเรียนรู้วิชาต่างๆที่ม.ธรรมศาสตร์เปิด ซึ่งมหาวิทยาลัยมีในรูปแบบ E-Learning เป็นแบบตลาดวิชาซึ่งน้องๆนักเรียนสามารถเข้ามาเรียนได้ ซึ่งไม่ใช่แค่เฉพาะน้องๆนักเรียนเท่านั้น ผู้จบการศึกษาไปแล้วที่อยากจะมา Re-Skill Up-Skill สามารถเข้ามาเรียนในชุดวิชาที่มหาวิทยาลัยเปิดได้เช่นกัน เมื่อนักเรียนที่เรียนจบแล้ว สามารถเก็บสะสมหน่วยกิต พอเมื่อนักเรียนเหล่านี้เป็นนักศึกษาธรรมศาสตร์ อย่างน้อยน้องๆจะได้เรียนรู้วิชาที่เป็นธรรมศาสตร์บ้าง พอเมื่อนักเรียนเหล่านี้เป็นนักศึกษาธรรมศาสตร์แล้ว หน่วยกิตที่เรียนมาจะโอนเข้ามา รวมทั้งผลการเรียนรู้ด้วย เพราะฉะนั้นเข้ามาในธรรมศาสตร์แล้วก็แปลว่าน้องที่เรียนจะได้รายวิชาเหล่านี้มากพอสมควรแล้วสามารถไปเรียนในวิชาเอก วิชาโทต่างๆที่สนใจได้ ในปีหนึ่ง ธรรมศาสตร์เปิดรับ 3-4 รอบในระบบ TCAS มีตั้งแต่รอบ Portfolio รอบโควต้า รอบ Admission และรอบ รับโดยตรง ถ้าน้องๆนักเรียนที่สนใจ ในช่วงปลายปี ประมาณเดือนพฤศจิกายน ม.ธรรมศาสตร์ จะเปิด Open House ใหญ่ เพื่อให้ข้อมูลต่างๆและนักเรียนที่สนใจธรรมศาสตร์เข้ามาเรียนรู้ได้มีโอกาสมาพูดคุยกับบรรดาพี่ๆทั้งหลายจากประสบการณ์จริงมาเรียนรู้ว่าการอยู่ในธรรมศาสตร์นั้นเป็นอย่างไรบ้าง เพื่อมีความตัดสินใจได้ถูกต้องจากฐานข้อมูล รวมทั้งเข้ามาดูชีวิตความเป็นอยู่ การเดินทางในมหาวิทยาลัย รวมทั้งการเยี่ยมเยือนหอพักด้วย เพราะฉะนั้นจะทำให้เห็นภาพรวมทั้งหมดก่อนตัดสินใจว่าธรรมศาสตร์จะเป็นที่ที่น้องๆเข้ามาเรียนรู้และอยู่กับน้องๆไปตลอด 3-4 ปีหรือไหมครับ EZ Webmaster Related Posts สวนสุนันทาให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากหลักสูตรครูทหารของกองทัพบกรุ่นที่ 5 โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนประจวบวิทยาลัย โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสามร้อยยอดวิทยาคม โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศ โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนรัตนราษฎร์บำรุง Post navigation PREVIOUS Previous post: สมัครเรียนที่ “มหาวิทยาลัยสยาม” รับทุนสนับสนุนการศึกษารวม 11,000 บาทNEXT Next post: ทุน$1,000ในรัฐควีนส์แลนด์ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
Kazan Global Youth Summit InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 19, 2025 เชิญเยาวชนสมัครคัดเลือกเข้าร่วมการประชุม Kazan Global Youth Summit ครั้งที่ 4 ระหว่างวันที่ 27 – 30 สิงหาคม 2568 ณ เมืองคาซาน สาธารณรัฐตาตาร์สตาน สหพันธรัฐรัสเซีย จัดโดยรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐตาตาร์สตาน… SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… ครู-อาจารย์ สวนสุนันทาให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากหลักสูตรครูทหารของกองทัพบกรุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากหลักสูตรครูทหารของกองทัพบกรุ่นที่ 5 วันที่ 20 มิถุนายน 2568 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากหลักสูตรการฝึกอบรมครูทหารของกองทัพบก รุ่นที่ 5 กรมยุทธศึกษาทหารบก ณ ห้องประชุมช่อแก้ว โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อแลกเปลี่ยนองค์ความรู้และประสบการณ์ด้านการบริหารจัดการและเทคโนโลยีทางการศึกษา กิจกรรมเริ่มต้นตั้งแต่เวลา 08.30 น. ด้วยการลงทะเบียนและรับฟังการกล่าวต้อนรับโดย รองศาสตราจารย์… จุฬาฯ ผงาดอันดับ Top 44 ของโลกด้านความยั่งยืน ใน THE Impact Rankings 2025 ครองอันดับ 1 ของไทยอีกครั้ง tui sakrapeeJune 20, 2025 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยผงาดอันดับ Top 44 ของโลก และครองอันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทยอีกครั้งหนึ่ง จากการจัดอันดับโดย Times Higher Education Impact Rankings 2025 ด้วยผลงานที่โดดเด่นในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนและสร้างผลกระทบสูงต่อสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง SDG 9… หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 📚เริ่มเรียน กรกฎาคม 2568 ถึง มกราคม 2569 ทุกวันพฤหัสบดี 11:00 – 18:00 น.… มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster May 17, 2025 EZ Webmaster May 17, 2025 ม.ธรรมศาสตร์ เปิดแผนพลิกการศึกษายุคใหม่ ปรับ 298 หลักสูตร รับมือโลกเปลี่ยนเร็ว พร้อมวางทิศทางสู่ระดับโลก ม.ธรรมศาสตร์ เปิดแผนพลิกการศึกษายุคใหม่ ปรับ 298 หลักสูตร รับมือโลกเปลี่ยนเร็ว พร้อมวางทิศทางสู่ระดับโลก – ปั้นทาแลนต์เก่งรอบทิศ โดดเด่นด้วยหลักสูตร “จริยธรรม AI” ปักธงบัณฑิตมีงานทำ 100% กางแผนยุทธศาสตร์ มธ. กับการก้าวสู่ Global Impact University ยุคใหม่ที่โดดเด่นทั้ง “วิทย์ ศิลป์ สังคม AI” พร้อมการเป็นต้นแบบมหาวิทยาลัยสมบูรณ์แบบแห่งโลกอนาคต เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ.2568 ณ สมาคมธรรมศาสตร์ในพระบรมราชูปถัมภ์ ซอยงามดูพลี เขตสาทร กรุงเทพมหานคร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) กางแผนความพร้อมก้าวสูตวรรษที่ 21 ประกาศขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ใหม่ “มหาวิทยาลัยสมบูรณ์แบบชั้นนำแห่งอนาคต” (Leading Comprehensive University for Future Societies) เดินหน้าปฏิรูประบบการเรียนรู้ พัฒนาหลักสูตรทั้ง 19 คณะ 6 วิทยาลัย 2 สถาบัน 298 หลักสูตรที่เชื่อมโยงสหวิทยาการทั้งด้านสังคมศาสตร์ วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และวิทยาศาสตร์สุขภาพ พร้อมตั้งเป้าเป็นต้นแบบมหาวิทยาลัยไทยที่ผลิต “ผู้นำ” และ “แรงงานคุณภาพสูง” ตอบโจทย์ตลาดแรงงานได้ทุกมิตินอกจากนี้ยังเตรียมเปิดหลักสูตรและรายวิชาใหม่ อาทิ จริยธรรมปัญญาประดิษฐ์สำหรับผู้นำอนาคต กลุ่มวิชา Finance & Investment ซึ่งสอดรับกับวิถีชีวิตสังคมและเศรษฐกิจในอนาคต ตลอดจนมุ่งเป้าพัฒนาทักษะบัณฑิตสู่ทาเลนต์ที่เพียบพร้อมทั้ง Hard Skills , Soft Skils , Future Skils มุ่งสู่ภาวะการมีงานทำหลังจบการศึกษาได้ 100% ศ. ดร.ศุภสวัสดิ์ ชัชวาลย์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เปิดเผยว่า ในยุคที่ทุกบริบทโลกเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว มหาวิทยาลัยต่างต้องเร่งปรับตัวเพื่อเตรียมบัณฑิตให้พร้อมสู่อนาคต ซึ่งจากรายงานของ World Economic Forum ปี 2024 พบว่า “การคิดวิเคราะห์” (Analytical thinking) เป็นทักษะหลักที่ภาคธุรกิจมองว่าจำเป็นสูงสุดในปี 2025 โดยสูงถึง 68% รองลงมาคือ “ความยืดหยุ่น และความคล่องตัว” (67%) และ “ภาวะผู้นำและ อิทธิพลทางสังคม” (61%) สะท้อนถึงความจำเป็นในการพัฒนาทักษะทั้งด้านความคิด การสื่อสาร และการปรับตัวในโลกที่ผันผวน ขณะเดียวกัน ที่น่าสนใจคือกลุ่มอาชีพด้านเทคโนโลยีกำลังขยายตัวอย่างรวดเร็วในช่วงปี 2025-2030 โดยเฉพาะอาชีพ ‘ผู้เชี่ยวชาญด้านข้อมูลขนาดใหญ่” (Big Data Specialists) ซึ่งมีอัตราการเติบโตสูงถึงกว่า 100% ตามด้วย “วิศวกรฟินเทค” (FinTech Engineers) และ “ผู้เชี่ยวชาญด้าน AI และ Machine Learning” ที่ต่างเป็นที่ต้องการเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง โดยยังมีอาชีพที่เติบโตควบคู่กัน เช่น นักพัฒนาแอปพลิเคชัน นักวิเคราะห์ข้อมูล ผู้สร้างความ มั่นคงไซเบอร์ และวิศวกรพลังงานหมุนเวียน และในทางกลับกัน หลายอาชีพดั้งเดิมกำลังถูกลดบทบาทลงอย่างชัดเจน ซึ่งประเด็นเหล่านี้ได้ตอกย้ำถึงความเร่งด่วนในการเสริมทักษะใหม่ให้แก่แรงงาน โดยเฉพาะทักษะเทคโนโลยี ความคิดสร้างสรรค์ และความสามารถในการเรียนรู้ตลอดชีวิต ศ. ดร.ศุภสวัสดิ์ กล่าวเสริมว่า ม.ธรรมศาสตร์ จึงเดินหน้ายกระดับการศึกษาไทยสู่ระดับโลก ด้วยการเปิดแผนยุทธศาสตร์ใหม่ภายใต้แนวคิด “มหาวิทยาลัยสมบูรณ์แบบชั้นนำเพื่อสังคมแห่งอนาคต” (Leading Comprehensive University for Future Societies) พร้อมยังตั้งเป้าสร้าง Global Impact University เพื่อให้คนของธรรมศาสตร์ตอบโจทย์กับการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 โดยปรับปรุงและพัฒนากว่า 298 หลักสูตร ครอบคลุมทั้ง ด้านสังคมศาสตร์ วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และวิทยาศาสตร์สุขภาพ สร้างบัณฑิตที่มีความรู้รอบด้านในเชิงประจักษ์ พร้อมลงมือปฏิบัติได้จริง และมีศักยภาพในการเป็นผู้นำยุคใหม่ที่สามารถขับเคลื่อนประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งในปัจจุบันและตอบโจทย์ความต้องการสังคมแห่งอนาคตได้อย่างมีประสิทธิผล โดยยุทธศาสตร์ใหม่นี้ประกอบด้วย 3 แกนหลัก ได้แก่ การเป็นมหาวิทยาลัยสมบูรณ์แบบ (Comprehensive University) ชั้นนำแห่งอนาคต มุ่งบูรณาการองค์ความรู้หลากศาสตร์และการพัฒนาทักษะทางการวิจัยให้ตอบสนองต่อการเรียนรู้ยุคใหม่ การเป็นมหาวิทยาลัยของสังคม โดยเน้นการผลิตบัณฑิตจิตสาธารณะ พร้อมสร้างความเข้าใจเชื่อมโยงกับชุมชนด้วยนวัตกรรมเพื่อสุขภาวะและการพัฒนาอย่างยั่งยืน และ การสร้างความสุขและความยั่งยืนให้กับประชาคมธรรมศาสตร์ ผ่านการใช้ระบบการบริหารแบบยั่งยืน และแผนงานเชิงระบบที่เน้นการพัฒนาหลักสูตรตามแนวคิด Outcome-Based Education (OBE) การยกระดับทักษะทั้ง Hard Skils และ Soft Skills พร้อมผลักดันการเรียนรู้แบบ Experiential Learning และ Co-operative Education ให้เกิดขึ้นในทุกคณะ “แผนยุทธศาสตร์ใหม่นี้มุ่งเน้นการบูรณาการการเรียนรู้แบบข้ามศาสตร์ (Interdisciplinary Learning) การเรียนรู้ผ่านประสบการณ์จริง (Experiential Learning) และการร่วมออกแบบหลักสูตรร่วมกับภาคธุรกิจ โดยเริ่มทยอยปรับหลักสูตรในปีการศึกษา 2567 และตั้งเป้าใช้เต็มรูปแบบในปีการศึกษา 2570 โดยมีการออกแบบโครงสร้างหลักสูตรตามแนวคิด Outcome-Based Education (OBE) และการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์จริง ครอบคลุมการ จัดทำผลลัพธ์การเรียนรู้ทั้งระดับหลักสูตร และรายวิชาตามมาตรฐานของ กกอ. โดยนักศึกษาจะได้เรียนรู้จากการลง มือปฏิบัติในรายวิชาต่าง ๆ ที่เปิดโอกาสให้นักศึกษาและฝึกทักษะจริงในสถานประกอบการมากกว่า 405 ชั่วโมงรวมถึงการพัฒนากลุ่มหลักสูตรที่เน้นการเรียนรู้แบบ Experiential Learning ผ่านโครงงานและปัญหาจริงจากภาคสนาม สอดรับกับเป้าหมายการสร้าง “บัณฑิตพร้อมทำงาน” อย่างแท้จริง นอกจากนี้ การปรับปรุงทุกหลักสูตรยัง มุ่งส่งเสริมความร่วมมือกับพันธมิตรภายนอกทั้งองค์กรภาครัฐ เอกชน และกลุ่มองค์กรขนาดใหญ่ องค์กรด้านเทคโนโลยี พร้อมยกระดับการเรียน e-Learning และสร้าง Common Core ภายในคณะเพื่อประโยชน์ร่วมกันทุกหลักสูตร ในขณะเดียวกัน ยังส่งเสริมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษและการมีวิชาที่เชื่อมโยงกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) เพื่อเตรียมความพร้อมให้บัณฑิตไทยสามารถแข่งขันในระดับสากลได้” ศ. ดร.ศุกสวัสดิ์ กล่าวเพิ่มเติมว่า หนึ่งในไฮไลต์สำคัญคือการผลักดัน รายวิชาเสริมทักษะเชิงลึกเพื่อตอบโจทย์โลกอนาคต โดยเร็วๆนี้จะมีการเปิดสอน รายวิชา TU280 “จริยธรรมปัญญาประดิษฐ์สำหรับผู้นำอนาคต” (Artificial Intelligence Ethics for Leader of the Future) ซึ่งเป็นรายวิชาบังคับใหม่ทันกับกระแส AI และเทคโนโลยีแห่งอนาคตโดยตรง มุ่งพัฒนาศักยภาพนักศึกษาให้เข้าใจในประเด็นจริยธรรม เทคโนโลยี และความเชื่อมั่นการใช้ AI อย่างลึกซึ้ง ต่อเนื่องถึงการเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมอย่างรอบด้าน ทั้งนี้ ความแตกต่างของรายวิชานี้คือไม่ได้สอนเพียงการใช้เทคโนโลยี แต่เป็นการฝึกนักศึกษาให้เข้าใจโลกที่เทคโนโลยีเปลี่ยน พร้อมตั้งคำถามอย่างมีจริยธรรมต่อการใช้ AI ในชีวิตมนุษย์ สังคม และระบบเศรษฐกิจในอนาคต เป็นการบ่มเพาะผู้นำที่คิดเป็น ทำเป็น และ รับผิดชอบต่อผลกระทบในระดับโลกได้จริง และเป็นหัวใจของการสร้าง “Ethical Leaders” แห่งยุค AI ที่จะไม่ยึดติดเพียงความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีเพียงอย่างเดียว โดยพร้อมเปิดสอนในภาคการศึกษา 2568 นำโดยคณาจารย์และ ผู้เชี่ยวชาญด้าน AI ของธรรมศาสตร์ นอกจากนี้ยังเปิดหมวดวิชา Finance & Investment ครอบคลุมหัวข้อที่จำเป็นสำหรับคนรุ่นใหม่ อาทิ ความรู้การเงินในชีวิตประจำวัน การลงทุนในคริปโตเคอร์เรนซี การวางแผนภาษี ต้นทุนโอกาส และการเงินเพื่อความ ยั่งยืน โดยร่วมออกแบบหลักสูตรกับผู้เชี่ยวชาญจากองค์กรชั้นนำ เช่น SET SCB GULF และ Bangkok Bank เพื่อให้นักศึกษาสามารถเรียนรู้แบบ Online หรือ E-learning ได้อย่างยืดหยุ่น เหมาะกับการพัฒนาทักษะควบคู่กับการเรียนหลักสูตรปกติ ซึ่งได้รับความสนใจจากนักศึกษาเป็นจำนวนมาก เห็นได้ชัดจากการที่ได้มีการเปิดหลักสูตร SET E-learning ตั้งแต่ปี 2565 จนถึงเดือนมีนาคม 2568 มีนักศึกษาลงเรียนวิชาต่าง ๆ ของหลักสูตรแล้วกว่า 22,000 คน อย่างไรก็ดี ธรรมศาสตร์ยังวางทิศทางการเตรียมบัณฑิตให้พร้อมสู่ตลาดแรงงาน ด้วยการเน้น “ทักษะอาชีพ ที่สำคัญ” ทั้ง ‘Hard Skill’ เช่น ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ กฎหมาย และการเงิน ‘Soft Skill’ เช่น การสื่อสาร แก้ปัญหาและการเป็นผู้นำ รวมถึง ‘Adaptabilty Skill’ ได้แก่ ความยืดหยุ่น การทำงานเป็นทีม และการวิเคราะห์ความเสี่ยงขณะเดียวกัน ยังส่งเสริมทักษะเฉพาะด้าน เช่น ความเข้าใจจริยธรรม AI และการทำงานข้ามวัฒนธรรม เพื่อให้บัณฑิตธรรมศาสตร์เป็น Talent ที่โดดเด่นพร้อมรับมือกับโลกที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและซับซ้อนในทุกมิติ “ในภาพรวม มหาวิทยาลัยวางเป้าหมายให้บัณฑิตมีความรู้เชิงวิชาการควบคู่กับทักษะปฏิบัติจริง และมีประสบการณ์วิชาชีพ โครงการ หรือฝึกงานอย่างน้อย 6 หน่วยกิต โดยคาดหวังให้ทุกหลักสูตรสามารถพัฒนา ศักยภาพนักศึกษาให้มีทักษะแห่งอนาคต (Future Skils) เพื่อเติบโตอย่างมั่นคงในโลกการทำงานยุคใหม่ได้อย่างเต็มศักยภาพ นอกจากนี้ ยังได้ตั้ง “ศูนย์สหกิจศึกษาและพัฒนาอาชีพ” (TUCEEC) เพื่อเตรียมความพร้อมให้นักศึกษาและศิษย์เก่า ได้พัฒนาทักษะที่จำเป็นอย่าง Hard Skills, Sofi Skills รวมถึง Future Skils เรื่องของ AI และการตลาดดิจิทัล โดยมีเป้าหมายจัดอบรมและกิจกรรมกว่า 100 รายการในช่วงปี 2568-2570 เพื่อสร้างแรงส่งสู่การมีงานทำทันที่หลังจบการศึกษาให้ได้ 100%” การวางกลยุทธ์ด้านบุคลากร มหาวิทยาลัยยังเร่งยกระดับศักยภาพอาจารย์และผู้เชี่ยวชาญสู่การเป็น “ผู้นำการเรียนรู้” อย่างเป็นระบบ ผ่านแนวทาง Professional Standard Framework (PSF) ซึ่งเป็น กรอบมาตรฐานสากลเพื่อสงเสริมความเชี่ยวชาญด้านการจัดการเรียนการสอนในระดับสูง โดยตั้งเป้าหมายให้อาจารย์ผ่านการรับรองมาตรฐาน PSF ระดับ 2 ขึ้นไป (PSF 2+) อย่างน้อย 100 คนภายในปีงบประมาณ 2568-2570 ทั้งนี้ ถือเป็นกลยุทธ์สำคัญในการพัฒนาอาจารย์ให้เป็นผู้มีบทบาทผู้นำการสร้างการเรียนรู้เชิงรุก และออกแบบประสบการณ์การเรียนรู้ที่ตอบโจทย์ผู้เรียนยุคใหม่อย่างแท้จริง ทั้งในระดับปริญญาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) ตลอดจนสนับสนุนการพัฒนาหลักสูตรนานาชาติ และความร่วมมือหลักสูตรแบบ Dual Degree กับสถาบันพันธมิตรทั่วโลกเพื่อสร้างเครือข่ายวิชาการระดับสากลที่เชื่อมโยงการเรียนรู้อย่างไร้พรมแดนได้ “หลายปีที่ผ่านมากลุ่มเป้าหมายของคนที่ต้องการศึกษาที่ม.ธรรมศาสตร์ อยู่ในทุกช่วงวัย และมีความหลากหลาย สิ่งเหล่านี้จึงทำให้มหาวิทยาลัยตระหนักถึงการต้องพัฒนาสร้างหลักสูตรที่รองรับความต้องการที่ไม่สิ้นสุดให้กว้างมากขึ้น อีกทั้งจำเป็นจะต้องเน้นการผลิตบุคลากรในเชิงคุณภาพ สวนทางกับช่วงที่ประชากรโลกมีอัตราการเกิดลดลง นอกจากนี้ ยังมุ่งหวังที่จะเป็นต้นแบบการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในระดับอุดมศึกษา – การเรียนรู้ตลอด ชีวิตให้เกิดขึ้นในแบบองค์รวม ซึ่งจะส่งผลดีต่อการยกระดับส่วนต่าง ๆ ของประเทศในภาพรวมได้ในที่สุด” จากการสัมภาษณ์ รศ. ดร. ดำรงค์ อดุลยฤทธิกุล รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ และอาจารย์คณะศิลปศาสตร์ ได้พูดถึงวิชาและหลักสูตรใหม่ๆที่น่าสนใจกำลังจะเกิดขึ้นในเร็วๆนี้ว่าในตอนนี้จะมีวิชาเกิดขึ้นอยู่หลายอัน นอกจากวิชา “จริยธรรมปัญญาประดิษฐ์สำหรับผู้นำอนาคต” (Artificial Intelligence Ethics for Leader of the Future) แล้ว จะมีวิชาที่เกี่ยวกับ Carbon Footprint ซึ่งมีความจำเป็นต่อนักศึกษาที่จะต้องรู้ และอันต่อมาเป็นเรื่องวิชาที่เกี่ยวกับกายและจิต จะมีวิชาที่เกี่ยวกับ Self development ที่จะดูแลให้นักศึกษาเข้าใจเรื่องว่าที่จะต้องดูแลตัวเองอย่างไร รวมทั้งการดูแลสภาพจิตใจเมื่อพบกับความล้มเหลวหรือว่าความท้าทายต่างๆที่จะต้องปรับตัว เตรียมรับมืออย่างไรบ้าง ตัววิชาจะเป็นตัวช่วยการเรียนรู้และความพร้อม แต่ในส่วนของมหาวิทยาลัยเองก็คือฝ่ายการศึกษา จะมีการเตรียมพร้อมในส่วนในการให้คำปรึกษาด้วยเพราะจะทำให้ความเครียดต่างๆที่นักศึกษาในปัจจุบันเจอค่อนข้างมากทำให้ลดลงเรื่อยหรือทำให้สภาพนักศึกษาสุขภาวะที่ดีขึ้น วิชาเหล่านี้เป็นตัวช่วยนักศึกษา นอกจากนั้นจะมีวิชาอย่างเช่น เรื่องเกี่ยวกับ Global Citizenship เพื่อเตรียมความพร้อมให้กับนักศึกษานั้นพร้อมที่เรียนรู้กับความแตกต่างและเคารพความแตกต่างด้วย ไม่ว่าจะเป็น เรื่องของความคิด เรื่องของความแตกต่างของเพศภาวะ เรื่องของสิ่งต่างๆมากมาย สิ่งเหล่านี้วิชาจะทำให้นักศึกษาพร้อมที่จะเรียนรู้ไปด้วย และสุดท้ายที่จะพูดถึงก็คือเรื่องวิชาที่เน้นในการเรียนรู้ประสบการณ์ซึ่งนอกจากเรื่องของฝึกงานแล้ว มหาวิทยาลัยให้ความสำคัญแก่เรื่องการที่นักศึกษาออกไปทำงานจากภายนอก อย่างเช่น นักศึกษานั้นมีโอกาสไปแข่งขันในรายการต่างๆ เช่น แข่งขันในแผนธุรกิจ แข่งขันเรื่องของโครงงาน ทั้งหมดนี้คิดว่ากว่านักศึกษาจะเตรียมการจนกระทั้งไปสู่การแข่งขันได้ นักศึกษาจะต้องเรียนรู้ในกระบวนการเหล่านี้ เพราะฉะนั้นมหาวิทยาลัยจะนำให้กลายเป็นส่วนหนึ่งหน่วยกิตที่นักศึกษาจะได้ ซึ่งจะมีกรรมการมาช่วยประเมินเขา อันนี้คือส่วนสำคัญที่เรียกว่า Experiential Learning คือการเรียนรู้จากประสบการณ์การทำงาน และได้กล่าวถึงน้องๆที่สนใจเรียนที่ม.ธรรมศาสตร์ว่า สำหรับน้องๆชั้นมัธยมศึกษาที่สนใจ ม.ธรรมศาสตร์ ในช่วงระหว่างที่กำลังศึกษาในระดับชั้นมัธยมอาจจะหาโอกาสกันเข้ามาเรียนรู้วิชาต่างๆที่ม.ธรรมศาสตร์เปิด ซึ่งมหาวิทยาลัยมีในรูปแบบ E-Learning เป็นแบบตลาดวิชาซึ่งน้องๆนักเรียนสามารถเข้ามาเรียนได้ ซึ่งไม่ใช่แค่เฉพาะน้องๆนักเรียนเท่านั้น ผู้จบการศึกษาไปแล้วที่อยากจะมา Re-Skill Up-Skill สามารถเข้ามาเรียนในชุดวิชาที่มหาวิทยาลัยเปิดได้เช่นกัน เมื่อนักเรียนที่เรียนจบแล้ว สามารถเก็บสะสมหน่วยกิต พอเมื่อนักเรียนเหล่านี้เป็นนักศึกษาธรรมศาสตร์ อย่างน้อยน้องๆจะได้เรียนรู้วิชาที่เป็นธรรมศาสตร์บ้าง พอเมื่อนักเรียนเหล่านี้เป็นนักศึกษาธรรมศาสตร์แล้ว หน่วยกิตที่เรียนมาจะโอนเข้ามา รวมทั้งผลการเรียนรู้ด้วย เพราะฉะนั้นเข้ามาในธรรมศาสตร์แล้วก็แปลว่าน้องที่เรียนจะได้รายวิชาเหล่านี้มากพอสมควรแล้วสามารถไปเรียนในวิชาเอก วิชาโทต่างๆที่สนใจได้ ในปีหนึ่ง ธรรมศาสตร์เปิดรับ 3-4 รอบในระบบ TCAS มีตั้งแต่รอบ Portfolio รอบโควต้า รอบ Admission และรอบ รับโดยตรง ถ้าน้องๆนักเรียนที่สนใจ ในช่วงปลายปี ประมาณเดือนพฤศจิกายน ม.ธรรมศาสตร์ จะเปิด Open House ใหญ่ เพื่อให้ข้อมูลต่างๆและนักเรียนที่สนใจธรรมศาสตร์เข้ามาเรียนรู้ได้มีโอกาสมาพูดคุยกับบรรดาพี่ๆทั้งหลายจากประสบการณ์จริงมาเรียนรู้ว่าการอยู่ในธรรมศาสตร์นั้นเป็นอย่างไรบ้าง เพื่อมีความตัดสินใจได้ถูกต้องจากฐานข้อมูล รวมทั้งเข้ามาดูชีวิตความเป็นอยู่ การเดินทางในมหาวิทยาลัย รวมทั้งการเยี่ยมเยือนหอพักด้วย เพราะฉะนั้นจะทำให้เห็นภาพรวมทั้งหมดก่อนตัดสินใจว่าธรรมศาสตร์จะเป็นที่ที่น้องๆเข้ามาเรียนรู้และอยู่กับน้องๆไปตลอด 3-4 ปีหรือไหมครับ EZ Webmaster Related Posts สวนสุนันทาให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากหลักสูตรครูทหารของกองทัพบกรุ่นที่ 5 โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนประจวบวิทยาลัย โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสามร้อยยอดวิทยาคม โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศ โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนรัตนราษฎร์บำรุง Post navigation PREVIOUS Previous post: สมัครเรียนที่ “มหาวิทยาลัยสยาม” รับทุนสนับสนุนการศึกษารวม 11,000 บาทNEXT Next post: ทุน$1,000ในรัฐควีนส์แลนด์ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม…
ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม…
สวนสุนันทาให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากหลักสูตรครูทหารของกองทัพบกรุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากหลักสูตรครูทหารของกองทัพบกรุ่นที่ 5 วันที่ 20 มิถุนายน 2568 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากหลักสูตรการฝึกอบรมครูทหารของกองทัพบก รุ่นที่ 5 กรมยุทธศึกษาทหารบก ณ ห้องประชุมช่อแก้ว โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อแลกเปลี่ยนองค์ความรู้และประสบการณ์ด้านการบริหารจัดการและเทคโนโลยีทางการศึกษา กิจกรรมเริ่มต้นตั้งแต่เวลา 08.30 น. ด้วยการลงทะเบียนและรับฟังการกล่าวต้อนรับโดย รองศาสตราจารย์… จุฬาฯ ผงาดอันดับ Top 44 ของโลกด้านความยั่งยืน ใน THE Impact Rankings 2025 ครองอันดับ 1 ของไทยอีกครั้ง tui sakrapeeJune 20, 2025 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยผงาดอันดับ Top 44 ของโลก และครองอันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทยอีกครั้งหนึ่ง จากการจัดอันดับโดย Times Higher Education Impact Rankings 2025 ด้วยผลงานที่โดดเด่นในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนและสร้างผลกระทบสูงต่อสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง SDG 9… หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 📚เริ่มเรียน กรกฎาคม 2568 ถึง มกราคม 2569 ทุกวันพฤหัสบดี 11:00 – 18:00 น.… มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster May 17, 2025 EZ Webmaster May 17, 2025 ม.ธรรมศาสตร์ เปิดแผนพลิกการศึกษายุคใหม่ ปรับ 298 หลักสูตร รับมือโลกเปลี่ยนเร็ว พร้อมวางทิศทางสู่ระดับโลก ม.ธรรมศาสตร์ เปิดแผนพลิกการศึกษายุคใหม่ ปรับ 298 หลักสูตร รับมือโลกเปลี่ยนเร็ว พร้อมวางทิศทางสู่ระดับโลก – ปั้นทาแลนต์เก่งรอบทิศ โดดเด่นด้วยหลักสูตร “จริยธรรม AI” ปักธงบัณฑิตมีงานทำ 100% กางแผนยุทธศาสตร์ มธ. กับการก้าวสู่ Global Impact University ยุคใหม่ที่โดดเด่นทั้ง “วิทย์ ศิลป์ สังคม AI” พร้อมการเป็นต้นแบบมหาวิทยาลัยสมบูรณ์แบบแห่งโลกอนาคต เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ.2568 ณ สมาคมธรรมศาสตร์ในพระบรมราชูปถัมภ์ ซอยงามดูพลี เขตสาทร กรุงเทพมหานคร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) กางแผนความพร้อมก้าวสูตวรรษที่ 21 ประกาศขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ใหม่ “มหาวิทยาลัยสมบูรณ์แบบชั้นนำแห่งอนาคต” (Leading Comprehensive University for Future Societies) เดินหน้าปฏิรูประบบการเรียนรู้ พัฒนาหลักสูตรทั้ง 19 คณะ 6 วิทยาลัย 2 สถาบัน 298 หลักสูตรที่เชื่อมโยงสหวิทยาการทั้งด้านสังคมศาสตร์ วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และวิทยาศาสตร์สุขภาพ พร้อมตั้งเป้าเป็นต้นแบบมหาวิทยาลัยไทยที่ผลิต “ผู้นำ” และ “แรงงานคุณภาพสูง” ตอบโจทย์ตลาดแรงงานได้ทุกมิตินอกจากนี้ยังเตรียมเปิดหลักสูตรและรายวิชาใหม่ อาทิ จริยธรรมปัญญาประดิษฐ์สำหรับผู้นำอนาคต กลุ่มวิชา Finance & Investment ซึ่งสอดรับกับวิถีชีวิตสังคมและเศรษฐกิจในอนาคต ตลอดจนมุ่งเป้าพัฒนาทักษะบัณฑิตสู่ทาเลนต์ที่เพียบพร้อมทั้ง Hard Skills , Soft Skils , Future Skils มุ่งสู่ภาวะการมีงานทำหลังจบการศึกษาได้ 100% ศ. ดร.ศุภสวัสดิ์ ชัชวาลย์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เปิดเผยว่า ในยุคที่ทุกบริบทโลกเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว มหาวิทยาลัยต่างต้องเร่งปรับตัวเพื่อเตรียมบัณฑิตให้พร้อมสู่อนาคต ซึ่งจากรายงานของ World Economic Forum ปี 2024 พบว่า “การคิดวิเคราะห์” (Analytical thinking) เป็นทักษะหลักที่ภาคธุรกิจมองว่าจำเป็นสูงสุดในปี 2025 โดยสูงถึง 68% รองลงมาคือ “ความยืดหยุ่น และความคล่องตัว” (67%) และ “ภาวะผู้นำและ อิทธิพลทางสังคม” (61%) สะท้อนถึงความจำเป็นในการพัฒนาทักษะทั้งด้านความคิด การสื่อสาร และการปรับตัวในโลกที่ผันผวน ขณะเดียวกัน ที่น่าสนใจคือกลุ่มอาชีพด้านเทคโนโลยีกำลังขยายตัวอย่างรวดเร็วในช่วงปี 2025-2030 โดยเฉพาะอาชีพ ‘ผู้เชี่ยวชาญด้านข้อมูลขนาดใหญ่” (Big Data Specialists) ซึ่งมีอัตราการเติบโตสูงถึงกว่า 100% ตามด้วย “วิศวกรฟินเทค” (FinTech Engineers) และ “ผู้เชี่ยวชาญด้าน AI และ Machine Learning” ที่ต่างเป็นที่ต้องการเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง โดยยังมีอาชีพที่เติบโตควบคู่กัน เช่น นักพัฒนาแอปพลิเคชัน นักวิเคราะห์ข้อมูล ผู้สร้างความ มั่นคงไซเบอร์ และวิศวกรพลังงานหมุนเวียน และในทางกลับกัน หลายอาชีพดั้งเดิมกำลังถูกลดบทบาทลงอย่างชัดเจน ซึ่งประเด็นเหล่านี้ได้ตอกย้ำถึงความเร่งด่วนในการเสริมทักษะใหม่ให้แก่แรงงาน โดยเฉพาะทักษะเทคโนโลยี ความคิดสร้างสรรค์ และความสามารถในการเรียนรู้ตลอดชีวิต ศ. ดร.ศุภสวัสดิ์ กล่าวเสริมว่า ม.ธรรมศาสตร์ จึงเดินหน้ายกระดับการศึกษาไทยสู่ระดับโลก ด้วยการเปิดแผนยุทธศาสตร์ใหม่ภายใต้แนวคิด “มหาวิทยาลัยสมบูรณ์แบบชั้นนำเพื่อสังคมแห่งอนาคต” (Leading Comprehensive University for Future Societies) พร้อมยังตั้งเป้าสร้าง Global Impact University เพื่อให้คนของธรรมศาสตร์ตอบโจทย์กับการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 โดยปรับปรุงและพัฒนากว่า 298 หลักสูตร ครอบคลุมทั้ง ด้านสังคมศาสตร์ วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และวิทยาศาสตร์สุขภาพ สร้างบัณฑิตที่มีความรู้รอบด้านในเชิงประจักษ์ พร้อมลงมือปฏิบัติได้จริง และมีศักยภาพในการเป็นผู้นำยุคใหม่ที่สามารถขับเคลื่อนประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งในปัจจุบันและตอบโจทย์ความต้องการสังคมแห่งอนาคตได้อย่างมีประสิทธิผล โดยยุทธศาสตร์ใหม่นี้ประกอบด้วย 3 แกนหลัก ได้แก่ การเป็นมหาวิทยาลัยสมบูรณ์แบบ (Comprehensive University) ชั้นนำแห่งอนาคต มุ่งบูรณาการองค์ความรู้หลากศาสตร์และการพัฒนาทักษะทางการวิจัยให้ตอบสนองต่อการเรียนรู้ยุคใหม่ การเป็นมหาวิทยาลัยของสังคม โดยเน้นการผลิตบัณฑิตจิตสาธารณะ พร้อมสร้างความเข้าใจเชื่อมโยงกับชุมชนด้วยนวัตกรรมเพื่อสุขภาวะและการพัฒนาอย่างยั่งยืน และ การสร้างความสุขและความยั่งยืนให้กับประชาคมธรรมศาสตร์ ผ่านการใช้ระบบการบริหารแบบยั่งยืน และแผนงานเชิงระบบที่เน้นการพัฒนาหลักสูตรตามแนวคิด Outcome-Based Education (OBE) การยกระดับทักษะทั้ง Hard Skils และ Soft Skills พร้อมผลักดันการเรียนรู้แบบ Experiential Learning และ Co-operative Education ให้เกิดขึ้นในทุกคณะ “แผนยุทธศาสตร์ใหม่นี้มุ่งเน้นการบูรณาการการเรียนรู้แบบข้ามศาสตร์ (Interdisciplinary Learning) การเรียนรู้ผ่านประสบการณ์จริง (Experiential Learning) และการร่วมออกแบบหลักสูตรร่วมกับภาคธุรกิจ โดยเริ่มทยอยปรับหลักสูตรในปีการศึกษา 2567 และตั้งเป้าใช้เต็มรูปแบบในปีการศึกษา 2570 โดยมีการออกแบบโครงสร้างหลักสูตรตามแนวคิด Outcome-Based Education (OBE) และการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์จริง ครอบคลุมการ จัดทำผลลัพธ์การเรียนรู้ทั้งระดับหลักสูตร และรายวิชาตามมาตรฐานของ กกอ. โดยนักศึกษาจะได้เรียนรู้จากการลง มือปฏิบัติในรายวิชาต่าง ๆ ที่เปิดโอกาสให้นักศึกษาและฝึกทักษะจริงในสถานประกอบการมากกว่า 405 ชั่วโมงรวมถึงการพัฒนากลุ่มหลักสูตรที่เน้นการเรียนรู้แบบ Experiential Learning ผ่านโครงงานและปัญหาจริงจากภาคสนาม สอดรับกับเป้าหมายการสร้าง “บัณฑิตพร้อมทำงาน” อย่างแท้จริง นอกจากนี้ การปรับปรุงทุกหลักสูตรยัง มุ่งส่งเสริมความร่วมมือกับพันธมิตรภายนอกทั้งองค์กรภาครัฐ เอกชน และกลุ่มองค์กรขนาดใหญ่ องค์กรด้านเทคโนโลยี พร้อมยกระดับการเรียน e-Learning และสร้าง Common Core ภายในคณะเพื่อประโยชน์ร่วมกันทุกหลักสูตร ในขณะเดียวกัน ยังส่งเสริมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษและการมีวิชาที่เชื่อมโยงกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) เพื่อเตรียมความพร้อมให้บัณฑิตไทยสามารถแข่งขันในระดับสากลได้” ศ. ดร.ศุกสวัสดิ์ กล่าวเพิ่มเติมว่า หนึ่งในไฮไลต์สำคัญคือการผลักดัน รายวิชาเสริมทักษะเชิงลึกเพื่อตอบโจทย์โลกอนาคต โดยเร็วๆนี้จะมีการเปิดสอน รายวิชา TU280 “จริยธรรมปัญญาประดิษฐ์สำหรับผู้นำอนาคต” (Artificial Intelligence Ethics for Leader of the Future) ซึ่งเป็นรายวิชาบังคับใหม่ทันกับกระแส AI และเทคโนโลยีแห่งอนาคตโดยตรง มุ่งพัฒนาศักยภาพนักศึกษาให้เข้าใจในประเด็นจริยธรรม เทคโนโลยี และความเชื่อมั่นการใช้ AI อย่างลึกซึ้ง ต่อเนื่องถึงการเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมอย่างรอบด้าน ทั้งนี้ ความแตกต่างของรายวิชานี้คือไม่ได้สอนเพียงการใช้เทคโนโลยี แต่เป็นการฝึกนักศึกษาให้เข้าใจโลกที่เทคโนโลยีเปลี่ยน พร้อมตั้งคำถามอย่างมีจริยธรรมต่อการใช้ AI ในชีวิตมนุษย์ สังคม และระบบเศรษฐกิจในอนาคต เป็นการบ่มเพาะผู้นำที่คิดเป็น ทำเป็น และ รับผิดชอบต่อผลกระทบในระดับโลกได้จริง และเป็นหัวใจของการสร้าง “Ethical Leaders” แห่งยุค AI ที่จะไม่ยึดติดเพียงความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีเพียงอย่างเดียว โดยพร้อมเปิดสอนในภาคการศึกษา 2568 นำโดยคณาจารย์และ ผู้เชี่ยวชาญด้าน AI ของธรรมศาสตร์ นอกจากนี้ยังเปิดหมวดวิชา Finance & Investment ครอบคลุมหัวข้อที่จำเป็นสำหรับคนรุ่นใหม่ อาทิ ความรู้การเงินในชีวิตประจำวัน การลงทุนในคริปโตเคอร์เรนซี การวางแผนภาษี ต้นทุนโอกาส และการเงินเพื่อความ ยั่งยืน โดยร่วมออกแบบหลักสูตรกับผู้เชี่ยวชาญจากองค์กรชั้นนำ เช่น SET SCB GULF และ Bangkok Bank เพื่อให้นักศึกษาสามารถเรียนรู้แบบ Online หรือ E-learning ได้อย่างยืดหยุ่น เหมาะกับการพัฒนาทักษะควบคู่กับการเรียนหลักสูตรปกติ ซึ่งได้รับความสนใจจากนักศึกษาเป็นจำนวนมาก เห็นได้ชัดจากการที่ได้มีการเปิดหลักสูตร SET E-learning ตั้งแต่ปี 2565 จนถึงเดือนมีนาคม 2568 มีนักศึกษาลงเรียนวิชาต่าง ๆ ของหลักสูตรแล้วกว่า 22,000 คน อย่างไรก็ดี ธรรมศาสตร์ยังวางทิศทางการเตรียมบัณฑิตให้พร้อมสู่ตลาดแรงงาน ด้วยการเน้น “ทักษะอาชีพ ที่สำคัญ” ทั้ง ‘Hard Skill’ เช่น ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ กฎหมาย และการเงิน ‘Soft Skill’ เช่น การสื่อสาร แก้ปัญหาและการเป็นผู้นำ รวมถึง ‘Adaptabilty Skill’ ได้แก่ ความยืดหยุ่น การทำงานเป็นทีม และการวิเคราะห์ความเสี่ยงขณะเดียวกัน ยังส่งเสริมทักษะเฉพาะด้าน เช่น ความเข้าใจจริยธรรม AI และการทำงานข้ามวัฒนธรรม เพื่อให้บัณฑิตธรรมศาสตร์เป็น Talent ที่โดดเด่นพร้อมรับมือกับโลกที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและซับซ้อนในทุกมิติ “ในภาพรวม มหาวิทยาลัยวางเป้าหมายให้บัณฑิตมีความรู้เชิงวิชาการควบคู่กับทักษะปฏิบัติจริง และมีประสบการณ์วิชาชีพ โครงการ หรือฝึกงานอย่างน้อย 6 หน่วยกิต โดยคาดหวังให้ทุกหลักสูตรสามารถพัฒนา ศักยภาพนักศึกษาให้มีทักษะแห่งอนาคต (Future Skils) เพื่อเติบโตอย่างมั่นคงในโลกการทำงานยุคใหม่ได้อย่างเต็มศักยภาพ นอกจากนี้ ยังได้ตั้ง “ศูนย์สหกิจศึกษาและพัฒนาอาชีพ” (TUCEEC) เพื่อเตรียมความพร้อมให้นักศึกษาและศิษย์เก่า ได้พัฒนาทักษะที่จำเป็นอย่าง Hard Skills, Sofi Skills รวมถึง Future Skils เรื่องของ AI และการตลาดดิจิทัล โดยมีเป้าหมายจัดอบรมและกิจกรรมกว่า 100 รายการในช่วงปี 2568-2570 เพื่อสร้างแรงส่งสู่การมีงานทำทันที่หลังจบการศึกษาให้ได้ 100%” การวางกลยุทธ์ด้านบุคลากร มหาวิทยาลัยยังเร่งยกระดับศักยภาพอาจารย์และผู้เชี่ยวชาญสู่การเป็น “ผู้นำการเรียนรู้” อย่างเป็นระบบ ผ่านแนวทาง Professional Standard Framework (PSF) ซึ่งเป็น กรอบมาตรฐานสากลเพื่อสงเสริมความเชี่ยวชาญด้านการจัดการเรียนการสอนในระดับสูง โดยตั้งเป้าหมายให้อาจารย์ผ่านการรับรองมาตรฐาน PSF ระดับ 2 ขึ้นไป (PSF 2+) อย่างน้อย 100 คนภายในปีงบประมาณ 2568-2570 ทั้งนี้ ถือเป็นกลยุทธ์สำคัญในการพัฒนาอาจารย์ให้เป็นผู้มีบทบาทผู้นำการสร้างการเรียนรู้เชิงรุก และออกแบบประสบการณ์การเรียนรู้ที่ตอบโจทย์ผู้เรียนยุคใหม่อย่างแท้จริง ทั้งในระดับปริญญาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) ตลอดจนสนับสนุนการพัฒนาหลักสูตรนานาชาติ และความร่วมมือหลักสูตรแบบ Dual Degree กับสถาบันพันธมิตรทั่วโลกเพื่อสร้างเครือข่ายวิชาการระดับสากลที่เชื่อมโยงการเรียนรู้อย่างไร้พรมแดนได้ “หลายปีที่ผ่านมากลุ่มเป้าหมายของคนที่ต้องการศึกษาที่ม.ธรรมศาสตร์ อยู่ในทุกช่วงวัย และมีความหลากหลาย สิ่งเหล่านี้จึงทำให้มหาวิทยาลัยตระหนักถึงการต้องพัฒนาสร้างหลักสูตรที่รองรับความต้องการที่ไม่สิ้นสุดให้กว้างมากขึ้น อีกทั้งจำเป็นจะต้องเน้นการผลิตบุคลากรในเชิงคุณภาพ สวนทางกับช่วงที่ประชากรโลกมีอัตราการเกิดลดลง นอกจากนี้ ยังมุ่งหวังที่จะเป็นต้นแบบการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในระดับอุดมศึกษา – การเรียนรู้ตลอด ชีวิตให้เกิดขึ้นในแบบองค์รวม ซึ่งจะส่งผลดีต่อการยกระดับส่วนต่าง ๆ ของประเทศในภาพรวมได้ในที่สุด” จากการสัมภาษณ์ รศ. ดร. ดำรงค์ อดุลยฤทธิกุล รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ และอาจารย์คณะศิลปศาสตร์ ได้พูดถึงวิชาและหลักสูตรใหม่ๆที่น่าสนใจกำลังจะเกิดขึ้นในเร็วๆนี้ว่าในตอนนี้จะมีวิชาเกิดขึ้นอยู่หลายอัน นอกจากวิชา “จริยธรรมปัญญาประดิษฐ์สำหรับผู้นำอนาคต” (Artificial Intelligence Ethics for Leader of the Future) แล้ว จะมีวิชาที่เกี่ยวกับ Carbon Footprint ซึ่งมีความจำเป็นต่อนักศึกษาที่จะต้องรู้ และอันต่อมาเป็นเรื่องวิชาที่เกี่ยวกับกายและจิต จะมีวิชาที่เกี่ยวกับ Self development ที่จะดูแลให้นักศึกษาเข้าใจเรื่องว่าที่จะต้องดูแลตัวเองอย่างไร รวมทั้งการดูแลสภาพจิตใจเมื่อพบกับความล้มเหลวหรือว่าความท้าทายต่างๆที่จะต้องปรับตัว เตรียมรับมืออย่างไรบ้าง ตัววิชาจะเป็นตัวช่วยการเรียนรู้และความพร้อม แต่ในส่วนของมหาวิทยาลัยเองก็คือฝ่ายการศึกษา จะมีการเตรียมพร้อมในส่วนในการให้คำปรึกษาด้วยเพราะจะทำให้ความเครียดต่างๆที่นักศึกษาในปัจจุบันเจอค่อนข้างมากทำให้ลดลงเรื่อยหรือทำให้สภาพนักศึกษาสุขภาวะที่ดีขึ้น วิชาเหล่านี้เป็นตัวช่วยนักศึกษา นอกจากนั้นจะมีวิชาอย่างเช่น เรื่องเกี่ยวกับ Global Citizenship เพื่อเตรียมความพร้อมให้กับนักศึกษานั้นพร้อมที่เรียนรู้กับความแตกต่างและเคารพความแตกต่างด้วย ไม่ว่าจะเป็น เรื่องของความคิด เรื่องของความแตกต่างของเพศภาวะ เรื่องของสิ่งต่างๆมากมาย สิ่งเหล่านี้วิชาจะทำให้นักศึกษาพร้อมที่จะเรียนรู้ไปด้วย และสุดท้ายที่จะพูดถึงก็คือเรื่องวิชาที่เน้นในการเรียนรู้ประสบการณ์ซึ่งนอกจากเรื่องของฝึกงานแล้ว มหาวิทยาลัยให้ความสำคัญแก่เรื่องการที่นักศึกษาออกไปทำงานจากภายนอก อย่างเช่น นักศึกษานั้นมีโอกาสไปแข่งขันในรายการต่างๆ เช่น แข่งขันในแผนธุรกิจ แข่งขันเรื่องของโครงงาน ทั้งหมดนี้คิดว่ากว่านักศึกษาจะเตรียมการจนกระทั้งไปสู่การแข่งขันได้ นักศึกษาจะต้องเรียนรู้ในกระบวนการเหล่านี้ เพราะฉะนั้นมหาวิทยาลัยจะนำให้กลายเป็นส่วนหนึ่งหน่วยกิตที่นักศึกษาจะได้ ซึ่งจะมีกรรมการมาช่วยประเมินเขา อันนี้คือส่วนสำคัญที่เรียกว่า Experiential Learning คือการเรียนรู้จากประสบการณ์การทำงาน และได้กล่าวถึงน้องๆที่สนใจเรียนที่ม.ธรรมศาสตร์ว่า สำหรับน้องๆชั้นมัธยมศึกษาที่สนใจ ม.ธรรมศาสตร์ ในช่วงระหว่างที่กำลังศึกษาในระดับชั้นมัธยมอาจจะหาโอกาสกันเข้ามาเรียนรู้วิชาต่างๆที่ม.ธรรมศาสตร์เปิด ซึ่งมหาวิทยาลัยมีในรูปแบบ E-Learning เป็นแบบตลาดวิชาซึ่งน้องๆนักเรียนสามารถเข้ามาเรียนได้ ซึ่งไม่ใช่แค่เฉพาะน้องๆนักเรียนเท่านั้น ผู้จบการศึกษาไปแล้วที่อยากจะมา Re-Skill Up-Skill สามารถเข้ามาเรียนในชุดวิชาที่มหาวิทยาลัยเปิดได้เช่นกัน เมื่อนักเรียนที่เรียนจบแล้ว สามารถเก็บสะสมหน่วยกิต พอเมื่อนักเรียนเหล่านี้เป็นนักศึกษาธรรมศาสตร์ อย่างน้อยน้องๆจะได้เรียนรู้วิชาที่เป็นธรรมศาสตร์บ้าง พอเมื่อนักเรียนเหล่านี้เป็นนักศึกษาธรรมศาสตร์แล้ว หน่วยกิตที่เรียนมาจะโอนเข้ามา รวมทั้งผลการเรียนรู้ด้วย เพราะฉะนั้นเข้ามาในธรรมศาสตร์แล้วก็แปลว่าน้องที่เรียนจะได้รายวิชาเหล่านี้มากพอสมควรแล้วสามารถไปเรียนในวิชาเอก วิชาโทต่างๆที่สนใจได้ ในปีหนึ่ง ธรรมศาสตร์เปิดรับ 3-4 รอบในระบบ TCAS มีตั้งแต่รอบ Portfolio รอบโควต้า รอบ Admission และรอบ รับโดยตรง ถ้าน้องๆนักเรียนที่สนใจ ในช่วงปลายปี ประมาณเดือนพฤศจิกายน ม.ธรรมศาสตร์ จะเปิด Open House ใหญ่ เพื่อให้ข้อมูลต่างๆและนักเรียนที่สนใจธรรมศาสตร์เข้ามาเรียนรู้ได้มีโอกาสมาพูดคุยกับบรรดาพี่ๆทั้งหลายจากประสบการณ์จริงมาเรียนรู้ว่าการอยู่ในธรรมศาสตร์นั้นเป็นอย่างไรบ้าง เพื่อมีความตัดสินใจได้ถูกต้องจากฐานข้อมูล รวมทั้งเข้ามาดูชีวิตความเป็นอยู่ การเดินทางในมหาวิทยาลัย รวมทั้งการเยี่ยมเยือนหอพักด้วย เพราะฉะนั้นจะทำให้เห็นภาพรวมทั้งหมดก่อนตัดสินใจว่าธรรมศาสตร์จะเป็นที่ที่น้องๆเข้ามาเรียนรู้และอยู่กับน้องๆไปตลอด 3-4 ปีหรือไหมครับ EZ Webmaster Related Posts สวนสุนันทาให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากหลักสูตรครูทหารของกองทัพบกรุ่นที่ 5 โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนประจวบวิทยาลัย โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสามร้อยยอดวิทยาคม โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศ โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนรัตนราษฎร์บำรุง Post navigation PREVIOUS Previous post: สมัครเรียนที่ “มหาวิทยาลัยสยาม” รับทุนสนับสนุนการศึกษารวม 11,000 บาทNEXT Next post: ทุน$1,000ในรัฐควีนส์แลนด์ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
จุฬาฯ ผงาดอันดับ Top 44 ของโลกด้านความยั่งยืน ใน THE Impact Rankings 2025 ครองอันดับ 1 ของไทยอีกครั้ง tui sakrapeeJune 20, 2025 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยผงาดอันดับ Top 44 ของโลก และครองอันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทยอีกครั้งหนึ่ง จากการจัดอันดับโดย Times Higher Education Impact Rankings 2025 ด้วยผลงานที่โดดเด่นในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนและสร้างผลกระทบสูงต่อสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง SDG 9… หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 📚เริ่มเรียน กรกฎาคม 2568 ถึง มกราคม 2569 ทุกวันพฤหัสบดี 11:00 – 18:00 น.… มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster May 17, 2025 EZ Webmaster May 17, 2025 ม.ธรรมศาสตร์ เปิดแผนพลิกการศึกษายุคใหม่ ปรับ 298 หลักสูตร รับมือโลกเปลี่ยนเร็ว พร้อมวางทิศทางสู่ระดับโลก ม.ธรรมศาสตร์ เปิดแผนพลิกการศึกษายุคใหม่ ปรับ 298 หลักสูตร รับมือโลกเปลี่ยนเร็ว พร้อมวางทิศทางสู่ระดับโลก – ปั้นทาแลนต์เก่งรอบทิศ โดดเด่นด้วยหลักสูตร “จริยธรรม AI” ปักธงบัณฑิตมีงานทำ 100% กางแผนยุทธศาสตร์ มธ. กับการก้าวสู่ Global Impact University ยุคใหม่ที่โดดเด่นทั้ง “วิทย์ ศิลป์ สังคม AI” พร้อมการเป็นต้นแบบมหาวิทยาลัยสมบูรณ์แบบแห่งโลกอนาคต เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ.2568 ณ สมาคมธรรมศาสตร์ในพระบรมราชูปถัมภ์ ซอยงามดูพลี เขตสาทร กรุงเทพมหานคร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) กางแผนความพร้อมก้าวสูตวรรษที่ 21 ประกาศขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ใหม่ “มหาวิทยาลัยสมบูรณ์แบบชั้นนำแห่งอนาคต” (Leading Comprehensive University for Future Societies) เดินหน้าปฏิรูประบบการเรียนรู้ พัฒนาหลักสูตรทั้ง 19 คณะ 6 วิทยาลัย 2 สถาบัน 298 หลักสูตรที่เชื่อมโยงสหวิทยาการทั้งด้านสังคมศาสตร์ วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และวิทยาศาสตร์สุขภาพ พร้อมตั้งเป้าเป็นต้นแบบมหาวิทยาลัยไทยที่ผลิต “ผู้นำ” และ “แรงงานคุณภาพสูง” ตอบโจทย์ตลาดแรงงานได้ทุกมิตินอกจากนี้ยังเตรียมเปิดหลักสูตรและรายวิชาใหม่ อาทิ จริยธรรมปัญญาประดิษฐ์สำหรับผู้นำอนาคต กลุ่มวิชา Finance & Investment ซึ่งสอดรับกับวิถีชีวิตสังคมและเศรษฐกิจในอนาคต ตลอดจนมุ่งเป้าพัฒนาทักษะบัณฑิตสู่ทาเลนต์ที่เพียบพร้อมทั้ง Hard Skills , Soft Skils , Future Skils มุ่งสู่ภาวะการมีงานทำหลังจบการศึกษาได้ 100% ศ. ดร.ศุภสวัสดิ์ ชัชวาลย์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เปิดเผยว่า ในยุคที่ทุกบริบทโลกเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว มหาวิทยาลัยต่างต้องเร่งปรับตัวเพื่อเตรียมบัณฑิตให้พร้อมสู่อนาคต ซึ่งจากรายงานของ World Economic Forum ปี 2024 พบว่า “การคิดวิเคราะห์” (Analytical thinking) เป็นทักษะหลักที่ภาคธุรกิจมองว่าจำเป็นสูงสุดในปี 2025 โดยสูงถึง 68% รองลงมาคือ “ความยืดหยุ่น และความคล่องตัว” (67%) และ “ภาวะผู้นำและ อิทธิพลทางสังคม” (61%) สะท้อนถึงความจำเป็นในการพัฒนาทักษะทั้งด้านความคิด การสื่อสาร และการปรับตัวในโลกที่ผันผวน ขณะเดียวกัน ที่น่าสนใจคือกลุ่มอาชีพด้านเทคโนโลยีกำลังขยายตัวอย่างรวดเร็วในช่วงปี 2025-2030 โดยเฉพาะอาชีพ ‘ผู้เชี่ยวชาญด้านข้อมูลขนาดใหญ่” (Big Data Specialists) ซึ่งมีอัตราการเติบโตสูงถึงกว่า 100% ตามด้วย “วิศวกรฟินเทค” (FinTech Engineers) และ “ผู้เชี่ยวชาญด้าน AI และ Machine Learning” ที่ต่างเป็นที่ต้องการเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง โดยยังมีอาชีพที่เติบโตควบคู่กัน เช่น นักพัฒนาแอปพลิเคชัน นักวิเคราะห์ข้อมูล ผู้สร้างความ มั่นคงไซเบอร์ และวิศวกรพลังงานหมุนเวียน และในทางกลับกัน หลายอาชีพดั้งเดิมกำลังถูกลดบทบาทลงอย่างชัดเจน ซึ่งประเด็นเหล่านี้ได้ตอกย้ำถึงความเร่งด่วนในการเสริมทักษะใหม่ให้แก่แรงงาน โดยเฉพาะทักษะเทคโนโลยี ความคิดสร้างสรรค์ และความสามารถในการเรียนรู้ตลอดชีวิต ศ. ดร.ศุภสวัสดิ์ กล่าวเสริมว่า ม.ธรรมศาสตร์ จึงเดินหน้ายกระดับการศึกษาไทยสู่ระดับโลก ด้วยการเปิดแผนยุทธศาสตร์ใหม่ภายใต้แนวคิด “มหาวิทยาลัยสมบูรณ์แบบชั้นนำเพื่อสังคมแห่งอนาคต” (Leading Comprehensive University for Future Societies) พร้อมยังตั้งเป้าสร้าง Global Impact University เพื่อให้คนของธรรมศาสตร์ตอบโจทย์กับการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 โดยปรับปรุงและพัฒนากว่า 298 หลักสูตร ครอบคลุมทั้ง ด้านสังคมศาสตร์ วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และวิทยาศาสตร์สุขภาพ สร้างบัณฑิตที่มีความรู้รอบด้านในเชิงประจักษ์ พร้อมลงมือปฏิบัติได้จริง และมีศักยภาพในการเป็นผู้นำยุคใหม่ที่สามารถขับเคลื่อนประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งในปัจจุบันและตอบโจทย์ความต้องการสังคมแห่งอนาคตได้อย่างมีประสิทธิผล โดยยุทธศาสตร์ใหม่นี้ประกอบด้วย 3 แกนหลัก ได้แก่ การเป็นมหาวิทยาลัยสมบูรณ์แบบ (Comprehensive University) ชั้นนำแห่งอนาคต มุ่งบูรณาการองค์ความรู้หลากศาสตร์และการพัฒนาทักษะทางการวิจัยให้ตอบสนองต่อการเรียนรู้ยุคใหม่ การเป็นมหาวิทยาลัยของสังคม โดยเน้นการผลิตบัณฑิตจิตสาธารณะ พร้อมสร้างความเข้าใจเชื่อมโยงกับชุมชนด้วยนวัตกรรมเพื่อสุขภาวะและการพัฒนาอย่างยั่งยืน และ การสร้างความสุขและความยั่งยืนให้กับประชาคมธรรมศาสตร์ ผ่านการใช้ระบบการบริหารแบบยั่งยืน และแผนงานเชิงระบบที่เน้นการพัฒนาหลักสูตรตามแนวคิด Outcome-Based Education (OBE) การยกระดับทักษะทั้ง Hard Skils และ Soft Skills พร้อมผลักดันการเรียนรู้แบบ Experiential Learning และ Co-operative Education ให้เกิดขึ้นในทุกคณะ “แผนยุทธศาสตร์ใหม่นี้มุ่งเน้นการบูรณาการการเรียนรู้แบบข้ามศาสตร์ (Interdisciplinary Learning) การเรียนรู้ผ่านประสบการณ์จริง (Experiential Learning) และการร่วมออกแบบหลักสูตรร่วมกับภาคธุรกิจ โดยเริ่มทยอยปรับหลักสูตรในปีการศึกษา 2567 และตั้งเป้าใช้เต็มรูปแบบในปีการศึกษา 2570 โดยมีการออกแบบโครงสร้างหลักสูตรตามแนวคิด Outcome-Based Education (OBE) และการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์จริง ครอบคลุมการ จัดทำผลลัพธ์การเรียนรู้ทั้งระดับหลักสูตร และรายวิชาตามมาตรฐานของ กกอ. โดยนักศึกษาจะได้เรียนรู้จากการลง มือปฏิบัติในรายวิชาต่าง ๆ ที่เปิดโอกาสให้นักศึกษาและฝึกทักษะจริงในสถานประกอบการมากกว่า 405 ชั่วโมงรวมถึงการพัฒนากลุ่มหลักสูตรที่เน้นการเรียนรู้แบบ Experiential Learning ผ่านโครงงานและปัญหาจริงจากภาคสนาม สอดรับกับเป้าหมายการสร้าง “บัณฑิตพร้อมทำงาน” อย่างแท้จริง นอกจากนี้ การปรับปรุงทุกหลักสูตรยัง มุ่งส่งเสริมความร่วมมือกับพันธมิตรภายนอกทั้งองค์กรภาครัฐ เอกชน และกลุ่มองค์กรขนาดใหญ่ องค์กรด้านเทคโนโลยี พร้อมยกระดับการเรียน e-Learning และสร้าง Common Core ภายในคณะเพื่อประโยชน์ร่วมกันทุกหลักสูตร ในขณะเดียวกัน ยังส่งเสริมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษและการมีวิชาที่เชื่อมโยงกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) เพื่อเตรียมความพร้อมให้บัณฑิตไทยสามารถแข่งขันในระดับสากลได้” ศ. ดร.ศุกสวัสดิ์ กล่าวเพิ่มเติมว่า หนึ่งในไฮไลต์สำคัญคือการผลักดัน รายวิชาเสริมทักษะเชิงลึกเพื่อตอบโจทย์โลกอนาคต โดยเร็วๆนี้จะมีการเปิดสอน รายวิชา TU280 “จริยธรรมปัญญาประดิษฐ์สำหรับผู้นำอนาคต” (Artificial Intelligence Ethics for Leader of the Future) ซึ่งเป็นรายวิชาบังคับใหม่ทันกับกระแส AI และเทคโนโลยีแห่งอนาคตโดยตรง มุ่งพัฒนาศักยภาพนักศึกษาให้เข้าใจในประเด็นจริยธรรม เทคโนโลยี และความเชื่อมั่นการใช้ AI อย่างลึกซึ้ง ต่อเนื่องถึงการเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมอย่างรอบด้าน ทั้งนี้ ความแตกต่างของรายวิชานี้คือไม่ได้สอนเพียงการใช้เทคโนโลยี แต่เป็นการฝึกนักศึกษาให้เข้าใจโลกที่เทคโนโลยีเปลี่ยน พร้อมตั้งคำถามอย่างมีจริยธรรมต่อการใช้ AI ในชีวิตมนุษย์ สังคม และระบบเศรษฐกิจในอนาคต เป็นการบ่มเพาะผู้นำที่คิดเป็น ทำเป็น และ รับผิดชอบต่อผลกระทบในระดับโลกได้จริง และเป็นหัวใจของการสร้าง “Ethical Leaders” แห่งยุค AI ที่จะไม่ยึดติดเพียงความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีเพียงอย่างเดียว โดยพร้อมเปิดสอนในภาคการศึกษา 2568 นำโดยคณาจารย์และ ผู้เชี่ยวชาญด้าน AI ของธรรมศาสตร์ นอกจากนี้ยังเปิดหมวดวิชา Finance & Investment ครอบคลุมหัวข้อที่จำเป็นสำหรับคนรุ่นใหม่ อาทิ ความรู้การเงินในชีวิตประจำวัน การลงทุนในคริปโตเคอร์เรนซี การวางแผนภาษี ต้นทุนโอกาส และการเงินเพื่อความ ยั่งยืน โดยร่วมออกแบบหลักสูตรกับผู้เชี่ยวชาญจากองค์กรชั้นนำ เช่น SET SCB GULF และ Bangkok Bank เพื่อให้นักศึกษาสามารถเรียนรู้แบบ Online หรือ E-learning ได้อย่างยืดหยุ่น เหมาะกับการพัฒนาทักษะควบคู่กับการเรียนหลักสูตรปกติ ซึ่งได้รับความสนใจจากนักศึกษาเป็นจำนวนมาก เห็นได้ชัดจากการที่ได้มีการเปิดหลักสูตร SET E-learning ตั้งแต่ปี 2565 จนถึงเดือนมีนาคม 2568 มีนักศึกษาลงเรียนวิชาต่าง ๆ ของหลักสูตรแล้วกว่า 22,000 คน อย่างไรก็ดี ธรรมศาสตร์ยังวางทิศทางการเตรียมบัณฑิตให้พร้อมสู่ตลาดแรงงาน ด้วยการเน้น “ทักษะอาชีพ ที่สำคัญ” ทั้ง ‘Hard Skill’ เช่น ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ กฎหมาย และการเงิน ‘Soft Skill’ เช่น การสื่อสาร แก้ปัญหาและการเป็นผู้นำ รวมถึง ‘Adaptabilty Skill’ ได้แก่ ความยืดหยุ่น การทำงานเป็นทีม และการวิเคราะห์ความเสี่ยงขณะเดียวกัน ยังส่งเสริมทักษะเฉพาะด้าน เช่น ความเข้าใจจริยธรรม AI และการทำงานข้ามวัฒนธรรม เพื่อให้บัณฑิตธรรมศาสตร์เป็น Talent ที่โดดเด่นพร้อมรับมือกับโลกที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและซับซ้อนในทุกมิติ “ในภาพรวม มหาวิทยาลัยวางเป้าหมายให้บัณฑิตมีความรู้เชิงวิชาการควบคู่กับทักษะปฏิบัติจริง และมีประสบการณ์วิชาชีพ โครงการ หรือฝึกงานอย่างน้อย 6 หน่วยกิต โดยคาดหวังให้ทุกหลักสูตรสามารถพัฒนา ศักยภาพนักศึกษาให้มีทักษะแห่งอนาคต (Future Skils) เพื่อเติบโตอย่างมั่นคงในโลกการทำงานยุคใหม่ได้อย่างเต็มศักยภาพ นอกจากนี้ ยังได้ตั้ง “ศูนย์สหกิจศึกษาและพัฒนาอาชีพ” (TUCEEC) เพื่อเตรียมความพร้อมให้นักศึกษาและศิษย์เก่า ได้พัฒนาทักษะที่จำเป็นอย่าง Hard Skills, Sofi Skills รวมถึง Future Skils เรื่องของ AI และการตลาดดิจิทัล โดยมีเป้าหมายจัดอบรมและกิจกรรมกว่า 100 รายการในช่วงปี 2568-2570 เพื่อสร้างแรงส่งสู่การมีงานทำทันที่หลังจบการศึกษาให้ได้ 100%” การวางกลยุทธ์ด้านบุคลากร มหาวิทยาลัยยังเร่งยกระดับศักยภาพอาจารย์และผู้เชี่ยวชาญสู่การเป็น “ผู้นำการเรียนรู้” อย่างเป็นระบบ ผ่านแนวทาง Professional Standard Framework (PSF) ซึ่งเป็น กรอบมาตรฐานสากลเพื่อสงเสริมความเชี่ยวชาญด้านการจัดการเรียนการสอนในระดับสูง โดยตั้งเป้าหมายให้อาจารย์ผ่านการรับรองมาตรฐาน PSF ระดับ 2 ขึ้นไป (PSF 2+) อย่างน้อย 100 คนภายในปีงบประมาณ 2568-2570 ทั้งนี้ ถือเป็นกลยุทธ์สำคัญในการพัฒนาอาจารย์ให้เป็นผู้มีบทบาทผู้นำการสร้างการเรียนรู้เชิงรุก และออกแบบประสบการณ์การเรียนรู้ที่ตอบโจทย์ผู้เรียนยุคใหม่อย่างแท้จริง ทั้งในระดับปริญญาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) ตลอดจนสนับสนุนการพัฒนาหลักสูตรนานาชาติ และความร่วมมือหลักสูตรแบบ Dual Degree กับสถาบันพันธมิตรทั่วโลกเพื่อสร้างเครือข่ายวิชาการระดับสากลที่เชื่อมโยงการเรียนรู้อย่างไร้พรมแดนได้ “หลายปีที่ผ่านมากลุ่มเป้าหมายของคนที่ต้องการศึกษาที่ม.ธรรมศาสตร์ อยู่ในทุกช่วงวัย และมีความหลากหลาย สิ่งเหล่านี้จึงทำให้มหาวิทยาลัยตระหนักถึงการต้องพัฒนาสร้างหลักสูตรที่รองรับความต้องการที่ไม่สิ้นสุดให้กว้างมากขึ้น อีกทั้งจำเป็นจะต้องเน้นการผลิตบุคลากรในเชิงคุณภาพ สวนทางกับช่วงที่ประชากรโลกมีอัตราการเกิดลดลง นอกจากนี้ ยังมุ่งหวังที่จะเป็นต้นแบบการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในระดับอุดมศึกษา – การเรียนรู้ตลอด ชีวิตให้เกิดขึ้นในแบบองค์รวม ซึ่งจะส่งผลดีต่อการยกระดับส่วนต่าง ๆ ของประเทศในภาพรวมได้ในที่สุด” จากการสัมภาษณ์ รศ. ดร. ดำรงค์ อดุลยฤทธิกุล รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ และอาจารย์คณะศิลปศาสตร์ ได้พูดถึงวิชาและหลักสูตรใหม่ๆที่น่าสนใจกำลังจะเกิดขึ้นในเร็วๆนี้ว่าในตอนนี้จะมีวิชาเกิดขึ้นอยู่หลายอัน นอกจากวิชา “จริยธรรมปัญญาประดิษฐ์สำหรับผู้นำอนาคต” (Artificial Intelligence Ethics for Leader of the Future) แล้ว จะมีวิชาที่เกี่ยวกับ Carbon Footprint ซึ่งมีความจำเป็นต่อนักศึกษาที่จะต้องรู้ และอันต่อมาเป็นเรื่องวิชาที่เกี่ยวกับกายและจิต จะมีวิชาที่เกี่ยวกับ Self development ที่จะดูแลให้นักศึกษาเข้าใจเรื่องว่าที่จะต้องดูแลตัวเองอย่างไร รวมทั้งการดูแลสภาพจิตใจเมื่อพบกับความล้มเหลวหรือว่าความท้าทายต่างๆที่จะต้องปรับตัว เตรียมรับมืออย่างไรบ้าง ตัววิชาจะเป็นตัวช่วยการเรียนรู้และความพร้อม แต่ในส่วนของมหาวิทยาลัยเองก็คือฝ่ายการศึกษา จะมีการเตรียมพร้อมในส่วนในการให้คำปรึกษาด้วยเพราะจะทำให้ความเครียดต่างๆที่นักศึกษาในปัจจุบันเจอค่อนข้างมากทำให้ลดลงเรื่อยหรือทำให้สภาพนักศึกษาสุขภาวะที่ดีขึ้น วิชาเหล่านี้เป็นตัวช่วยนักศึกษา นอกจากนั้นจะมีวิชาอย่างเช่น เรื่องเกี่ยวกับ Global Citizenship เพื่อเตรียมความพร้อมให้กับนักศึกษานั้นพร้อมที่เรียนรู้กับความแตกต่างและเคารพความแตกต่างด้วย ไม่ว่าจะเป็น เรื่องของความคิด เรื่องของความแตกต่างของเพศภาวะ เรื่องของสิ่งต่างๆมากมาย สิ่งเหล่านี้วิชาจะทำให้นักศึกษาพร้อมที่จะเรียนรู้ไปด้วย และสุดท้ายที่จะพูดถึงก็คือเรื่องวิชาที่เน้นในการเรียนรู้ประสบการณ์ซึ่งนอกจากเรื่องของฝึกงานแล้ว มหาวิทยาลัยให้ความสำคัญแก่เรื่องการที่นักศึกษาออกไปทำงานจากภายนอก อย่างเช่น นักศึกษานั้นมีโอกาสไปแข่งขันในรายการต่างๆ เช่น แข่งขันในแผนธุรกิจ แข่งขันเรื่องของโครงงาน ทั้งหมดนี้คิดว่ากว่านักศึกษาจะเตรียมการจนกระทั้งไปสู่การแข่งขันได้ นักศึกษาจะต้องเรียนรู้ในกระบวนการเหล่านี้ เพราะฉะนั้นมหาวิทยาลัยจะนำให้กลายเป็นส่วนหนึ่งหน่วยกิตที่นักศึกษาจะได้ ซึ่งจะมีกรรมการมาช่วยประเมินเขา อันนี้คือส่วนสำคัญที่เรียกว่า Experiential Learning คือการเรียนรู้จากประสบการณ์การทำงาน และได้กล่าวถึงน้องๆที่สนใจเรียนที่ม.ธรรมศาสตร์ว่า สำหรับน้องๆชั้นมัธยมศึกษาที่สนใจ ม.ธรรมศาสตร์ ในช่วงระหว่างที่กำลังศึกษาในระดับชั้นมัธยมอาจจะหาโอกาสกันเข้ามาเรียนรู้วิชาต่างๆที่ม.ธรรมศาสตร์เปิด ซึ่งมหาวิทยาลัยมีในรูปแบบ E-Learning เป็นแบบตลาดวิชาซึ่งน้องๆนักเรียนสามารถเข้ามาเรียนได้ ซึ่งไม่ใช่แค่เฉพาะน้องๆนักเรียนเท่านั้น ผู้จบการศึกษาไปแล้วที่อยากจะมา Re-Skill Up-Skill สามารถเข้ามาเรียนในชุดวิชาที่มหาวิทยาลัยเปิดได้เช่นกัน เมื่อนักเรียนที่เรียนจบแล้ว สามารถเก็บสะสมหน่วยกิต พอเมื่อนักเรียนเหล่านี้เป็นนักศึกษาธรรมศาสตร์ อย่างน้อยน้องๆจะได้เรียนรู้วิชาที่เป็นธรรมศาสตร์บ้าง พอเมื่อนักเรียนเหล่านี้เป็นนักศึกษาธรรมศาสตร์แล้ว หน่วยกิตที่เรียนมาจะโอนเข้ามา รวมทั้งผลการเรียนรู้ด้วย เพราะฉะนั้นเข้ามาในธรรมศาสตร์แล้วก็แปลว่าน้องที่เรียนจะได้รายวิชาเหล่านี้มากพอสมควรแล้วสามารถไปเรียนในวิชาเอก วิชาโทต่างๆที่สนใจได้ ในปีหนึ่ง ธรรมศาสตร์เปิดรับ 3-4 รอบในระบบ TCAS มีตั้งแต่รอบ Portfolio รอบโควต้า รอบ Admission และรอบ รับโดยตรง ถ้าน้องๆนักเรียนที่สนใจ ในช่วงปลายปี ประมาณเดือนพฤศจิกายน ม.ธรรมศาสตร์ จะเปิด Open House ใหญ่ เพื่อให้ข้อมูลต่างๆและนักเรียนที่สนใจธรรมศาสตร์เข้ามาเรียนรู้ได้มีโอกาสมาพูดคุยกับบรรดาพี่ๆทั้งหลายจากประสบการณ์จริงมาเรียนรู้ว่าการอยู่ในธรรมศาสตร์นั้นเป็นอย่างไรบ้าง เพื่อมีความตัดสินใจได้ถูกต้องจากฐานข้อมูล รวมทั้งเข้ามาดูชีวิตความเป็นอยู่ การเดินทางในมหาวิทยาลัย รวมทั้งการเยี่ยมเยือนหอพักด้วย เพราะฉะนั้นจะทำให้เห็นภาพรวมทั้งหมดก่อนตัดสินใจว่าธรรมศาสตร์จะเป็นที่ที่น้องๆเข้ามาเรียนรู้และอยู่กับน้องๆไปตลอด 3-4 ปีหรือไหมครับ EZ Webmaster Related Posts สวนสุนันทาให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากหลักสูตรครูทหารของกองทัพบกรุ่นที่ 5 โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนประจวบวิทยาลัย โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสามร้อยยอดวิทยาคม โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศ โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนรัตนราษฎร์บำรุง Post navigation PREVIOUS Previous post: สมัครเรียนที่ “มหาวิทยาลัยสยาม” รับทุนสนับสนุนการศึกษารวม 11,000 บาทNEXT Next post: ทุน$1,000ในรัฐควีนส์แลนด์ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 📚เริ่มเรียน กรกฎาคม 2568 ถึง มกราคม 2569 ทุกวันพฤหัสบดี 11:00 – 18:00 น.… มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ…
มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ…
กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster May 17, 2025 EZ Webmaster May 17, 2025 ม.ธรรมศาสตร์ เปิดแผนพลิกการศึกษายุคใหม่ ปรับ 298 หลักสูตร รับมือโลกเปลี่ยนเร็ว พร้อมวางทิศทางสู่ระดับโลก ม.ธรรมศาสตร์ เปิดแผนพลิกการศึกษายุคใหม่ ปรับ 298 หลักสูตร รับมือโลกเปลี่ยนเร็ว พร้อมวางทิศทางสู่ระดับโลก – ปั้นทาแลนต์เก่งรอบทิศ โดดเด่นด้วยหลักสูตร “จริยธรรม AI” ปักธงบัณฑิตมีงานทำ 100% กางแผนยุทธศาสตร์ มธ. กับการก้าวสู่ Global Impact University ยุคใหม่ที่โดดเด่นทั้ง “วิทย์ ศิลป์ สังคม AI” พร้อมการเป็นต้นแบบมหาวิทยาลัยสมบูรณ์แบบแห่งโลกอนาคต เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ.2568 ณ สมาคมธรรมศาสตร์ในพระบรมราชูปถัมภ์ ซอยงามดูพลี เขตสาทร กรุงเทพมหานคร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) กางแผนความพร้อมก้าวสูตวรรษที่ 21 ประกาศขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ใหม่ “มหาวิทยาลัยสมบูรณ์แบบชั้นนำแห่งอนาคต” (Leading Comprehensive University for Future Societies) เดินหน้าปฏิรูประบบการเรียนรู้ พัฒนาหลักสูตรทั้ง 19 คณะ 6 วิทยาลัย 2 สถาบัน 298 หลักสูตรที่เชื่อมโยงสหวิทยาการทั้งด้านสังคมศาสตร์ วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และวิทยาศาสตร์สุขภาพ พร้อมตั้งเป้าเป็นต้นแบบมหาวิทยาลัยไทยที่ผลิต “ผู้นำ” และ “แรงงานคุณภาพสูง” ตอบโจทย์ตลาดแรงงานได้ทุกมิตินอกจากนี้ยังเตรียมเปิดหลักสูตรและรายวิชาใหม่ อาทิ จริยธรรมปัญญาประดิษฐ์สำหรับผู้นำอนาคต กลุ่มวิชา Finance & Investment ซึ่งสอดรับกับวิถีชีวิตสังคมและเศรษฐกิจในอนาคต ตลอดจนมุ่งเป้าพัฒนาทักษะบัณฑิตสู่ทาเลนต์ที่เพียบพร้อมทั้ง Hard Skills , Soft Skils , Future Skils มุ่งสู่ภาวะการมีงานทำหลังจบการศึกษาได้ 100% ศ. ดร.ศุภสวัสดิ์ ชัชวาลย์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เปิดเผยว่า ในยุคที่ทุกบริบทโลกเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว มหาวิทยาลัยต่างต้องเร่งปรับตัวเพื่อเตรียมบัณฑิตให้พร้อมสู่อนาคต ซึ่งจากรายงานของ World Economic Forum ปี 2024 พบว่า “การคิดวิเคราะห์” (Analytical thinking) เป็นทักษะหลักที่ภาคธุรกิจมองว่าจำเป็นสูงสุดในปี 2025 โดยสูงถึง 68% รองลงมาคือ “ความยืดหยุ่น และความคล่องตัว” (67%) และ “ภาวะผู้นำและ อิทธิพลทางสังคม” (61%) สะท้อนถึงความจำเป็นในการพัฒนาทักษะทั้งด้านความคิด การสื่อสาร และการปรับตัวในโลกที่ผันผวน ขณะเดียวกัน ที่น่าสนใจคือกลุ่มอาชีพด้านเทคโนโลยีกำลังขยายตัวอย่างรวดเร็วในช่วงปี 2025-2030 โดยเฉพาะอาชีพ ‘ผู้เชี่ยวชาญด้านข้อมูลขนาดใหญ่” (Big Data Specialists) ซึ่งมีอัตราการเติบโตสูงถึงกว่า 100% ตามด้วย “วิศวกรฟินเทค” (FinTech Engineers) และ “ผู้เชี่ยวชาญด้าน AI และ Machine Learning” ที่ต่างเป็นที่ต้องการเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง โดยยังมีอาชีพที่เติบโตควบคู่กัน เช่น นักพัฒนาแอปพลิเคชัน นักวิเคราะห์ข้อมูล ผู้สร้างความ มั่นคงไซเบอร์ และวิศวกรพลังงานหมุนเวียน และในทางกลับกัน หลายอาชีพดั้งเดิมกำลังถูกลดบทบาทลงอย่างชัดเจน ซึ่งประเด็นเหล่านี้ได้ตอกย้ำถึงความเร่งด่วนในการเสริมทักษะใหม่ให้แก่แรงงาน โดยเฉพาะทักษะเทคโนโลยี ความคิดสร้างสรรค์ และความสามารถในการเรียนรู้ตลอดชีวิต ศ. ดร.ศุภสวัสดิ์ กล่าวเสริมว่า ม.ธรรมศาสตร์ จึงเดินหน้ายกระดับการศึกษาไทยสู่ระดับโลก ด้วยการเปิดแผนยุทธศาสตร์ใหม่ภายใต้แนวคิด “มหาวิทยาลัยสมบูรณ์แบบชั้นนำเพื่อสังคมแห่งอนาคต” (Leading Comprehensive University for Future Societies) พร้อมยังตั้งเป้าสร้าง Global Impact University เพื่อให้คนของธรรมศาสตร์ตอบโจทย์กับการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 โดยปรับปรุงและพัฒนากว่า 298 หลักสูตร ครอบคลุมทั้ง ด้านสังคมศาสตร์ วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และวิทยาศาสตร์สุขภาพ สร้างบัณฑิตที่มีความรู้รอบด้านในเชิงประจักษ์ พร้อมลงมือปฏิบัติได้จริง และมีศักยภาพในการเป็นผู้นำยุคใหม่ที่สามารถขับเคลื่อนประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งในปัจจุบันและตอบโจทย์ความต้องการสังคมแห่งอนาคตได้อย่างมีประสิทธิผล โดยยุทธศาสตร์ใหม่นี้ประกอบด้วย 3 แกนหลัก ได้แก่ การเป็นมหาวิทยาลัยสมบูรณ์แบบ (Comprehensive University) ชั้นนำแห่งอนาคต มุ่งบูรณาการองค์ความรู้หลากศาสตร์และการพัฒนาทักษะทางการวิจัยให้ตอบสนองต่อการเรียนรู้ยุคใหม่ การเป็นมหาวิทยาลัยของสังคม โดยเน้นการผลิตบัณฑิตจิตสาธารณะ พร้อมสร้างความเข้าใจเชื่อมโยงกับชุมชนด้วยนวัตกรรมเพื่อสุขภาวะและการพัฒนาอย่างยั่งยืน และ การสร้างความสุขและความยั่งยืนให้กับประชาคมธรรมศาสตร์ ผ่านการใช้ระบบการบริหารแบบยั่งยืน และแผนงานเชิงระบบที่เน้นการพัฒนาหลักสูตรตามแนวคิด Outcome-Based Education (OBE) การยกระดับทักษะทั้ง Hard Skils และ Soft Skills พร้อมผลักดันการเรียนรู้แบบ Experiential Learning และ Co-operative Education ให้เกิดขึ้นในทุกคณะ “แผนยุทธศาสตร์ใหม่นี้มุ่งเน้นการบูรณาการการเรียนรู้แบบข้ามศาสตร์ (Interdisciplinary Learning) การเรียนรู้ผ่านประสบการณ์จริง (Experiential Learning) และการร่วมออกแบบหลักสูตรร่วมกับภาคธุรกิจ โดยเริ่มทยอยปรับหลักสูตรในปีการศึกษา 2567 และตั้งเป้าใช้เต็มรูปแบบในปีการศึกษา 2570 โดยมีการออกแบบโครงสร้างหลักสูตรตามแนวคิด Outcome-Based Education (OBE) และการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์จริง ครอบคลุมการ จัดทำผลลัพธ์การเรียนรู้ทั้งระดับหลักสูตร และรายวิชาตามมาตรฐานของ กกอ. โดยนักศึกษาจะได้เรียนรู้จากการลง มือปฏิบัติในรายวิชาต่าง ๆ ที่เปิดโอกาสให้นักศึกษาและฝึกทักษะจริงในสถานประกอบการมากกว่า 405 ชั่วโมงรวมถึงการพัฒนากลุ่มหลักสูตรที่เน้นการเรียนรู้แบบ Experiential Learning ผ่านโครงงานและปัญหาจริงจากภาคสนาม สอดรับกับเป้าหมายการสร้าง “บัณฑิตพร้อมทำงาน” อย่างแท้จริง นอกจากนี้ การปรับปรุงทุกหลักสูตรยัง มุ่งส่งเสริมความร่วมมือกับพันธมิตรภายนอกทั้งองค์กรภาครัฐ เอกชน และกลุ่มองค์กรขนาดใหญ่ องค์กรด้านเทคโนโลยี พร้อมยกระดับการเรียน e-Learning และสร้าง Common Core ภายในคณะเพื่อประโยชน์ร่วมกันทุกหลักสูตร ในขณะเดียวกัน ยังส่งเสริมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษและการมีวิชาที่เชื่อมโยงกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) เพื่อเตรียมความพร้อมให้บัณฑิตไทยสามารถแข่งขันในระดับสากลได้” ศ. ดร.ศุกสวัสดิ์ กล่าวเพิ่มเติมว่า หนึ่งในไฮไลต์สำคัญคือการผลักดัน รายวิชาเสริมทักษะเชิงลึกเพื่อตอบโจทย์โลกอนาคต โดยเร็วๆนี้จะมีการเปิดสอน รายวิชา TU280 “จริยธรรมปัญญาประดิษฐ์สำหรับผู้นำอนาคต” (Artificial Intelligence Ethics for Leader of the Future) ซึ่งเป็นรายวิชาบังคับใหม่ทันกับกระแส AI และเทคโนโลยีแห่งอนาคตโดยตรง มุ่งพัฒนาศักยภาพนักศึกษาให้เข้าใจในประเด็นจริยธรรม เทคโนโลยี และความเชื่อมั่นการใช้ AI อย่างลึกซึ้ง ต่อเนื่องถึงการเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมอย่างรอบด้าน ทั้งนี้ ความแตกต่างของรายวิชานี้คือไม่ได้สอนเพียงการใช้เทคโนโลยี แต่เป็นการฝึกนักศึกษาให้เข้าใจโลกที่เทคโนโลยีเปลี่ยน พร้อมตั้งคำถามอย่างมีจริยธรรมต่อการใช้ AI ในชีวิตมนุษย์ สังคม และระบบเศรษฐกิจในอนาคต เป็นการบ่มเพาะผู้นำที่คิดเป็น ทำเป็น และ รับผิดชอบต่อผลกระทบในระดับโลกได้จริง และเป็นหัวใจของการสร้าง “Ethical Leaders” แห่งยุค AI ที่จะไม่ยึดติดเพียงความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีเพียงอย่างเดียว โดยพร้อมเปิดสอนในภาคการศึกษา 2568 นำโดยคณาจารย์และ ผู้เชี่ยวชาญด้าน AI ของธรรมศาสตร์ นอกจากนี้ยังเปิดหมวดวิชา Finance & Investment ครอบคลุมหัวข้อที่จำเป็นสำหรับคนรุ่นใหม่ อาทิ ความรู้การเงินในชีวิตประจำวัน การลงทุนในคริปโตเคอร์เรนซี การวางแผนภาษี ต้นทุนโอกาส และการเงินเพื่อความ ยั่งยืน โดยร่วมออกแบบหลักสูตรกับผู้เชี่ยวชาญจากองค์กรชั้นนำ เช่น SET SCB GULF และ Bangkok Bank เพื่อให้นักศึกษาสามารถเรียนรู้แบบ Online หรือ E-learning ได้อย่างยืดหยุ่น เหมาะกับการพัฒนาทักษะควบคู่กับการเรียนหลักสูตรปกติ ซึ่งได้รับความสนใจจากนักศึกษาเป็นจำนวนมาก เห็นได้ชัดจากการที่ได้มีการเปิดหลักสูตร SET E-learning ตั้งแต่ปี 2565 จนถึงเดือนมีนาคม 2568 มีนักศึกษาลงเรียนวิชาต่าง ๆ ของหลักสูตรแล้วกว่า 22,000 คน อย่างไรก็ดี ธรรมศาสตร์ยังวางทิศทางการเตรียมบัณฑิตให้พร้อมสู่ตลาดแรงงาน ด้วยการเน้น “ทักษะอาชีพ ที่สำคัญ” ทั้ง ‘Hard Skill’ เช่น ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ กฎหมาย และการเงิน ‘Soft Skill’ เช่น การสื่อสาร แก้ปัญหาและการเป็นผู้นำ รวมถึง ‘Adaptabilty Skill’ ได้แก่ ความยืดหยุ่น การทำงานเป็นทีม และการวิเคราะห์ความเสี่ยงขณะเดียวกัน ยังส่งเสริมทักษะเฉพาะด้าน เช่น ความเข้าใจจริยธรรม AI และการทำงานข้ามวัฒนธรรม เพื่อให้บัณฑิตธรรมศาสตร์เป็น Talent ที่โดดเด่นพร้อมรับมือกับโลกที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและซับซ้อนในทุกมิติ “ในภาพรวม มหาวิทยาลัยวางเป้าหมายให้บัณฑิตมีความรู้เชิงวิชาการควบคู่กับทักษะปฏิบัติจริง และมีประสบการณ์วิชาชีพ โครงการ หรือฝึกงานอย่างน้อย 6 หน่วยกิต โดยคาดหวังให้ทุกหลักสูตรสามารถพัฒนา ศักยภาพนักศึกษาให้มีทักษะแห่งอนาคต (Future Skils) เพื่อเติบโตอย่างมั่นคงในโลกการทำงานยุคใหม่ได้อย่างเต็มศักยภาพ นอกจากนี้ ยังได้ตั้ง “ศูนย์สหกิจศึกษาและพัฒนาอาชีพ” (TUCEEC) เพื่อเตรียมความพร้อมให้นักศึกษาและศิษย์เก่า ได้พัฒนาทักษะที่จำเป็นอย่าง Hard Skills, Sofi Skills รวมถึง Future Skils เรื่องของ AI และการตลาดดิจิทัล โดยมีเป้าหมายจัดอบรมและกิจกรรมกว่า 100 รายการในช่วงปี 2568-2570 เพื่อสร้างแรงส่งสู่การมีงานทำทันที่หลังจบการศึกษาให้ได้ 100%” การวางกลยุทธ์ด้านบุคลากร มหาวิทยาลัยยังเร่งยกระดับศักยภาพอาจารย์และผู้เชี่ยวชาญสู่การเป็น “ผู้นำการเรียนรู้” อย่างเป็นระบบ ผ่านแนวทาง Professional Standard Framework (PSF) ซึ่งเป็น กรอบมาตรฐานสากลเพื่อสงเสริมความเชี่ยวชาญด้านการจัดการเรียนการสอนในระดับสูง โดยตั้งเป้าหมายให้อาจารย์ผ่านการรับรองมาตรฐาน PSF ระดับ 2 ขึ้นไป (PSF 2+) อย่างน้อย 100 คนภายในปีงบประมาณ 2568-2570 ทั้งนี้ ถือเป็นกลยุทธ์สำคัญในการพัฒนาอาจารย์ให้เป็นผู้มีบทบาทผู้นำการสร้างการเรียนรู้เชิงรุก และออกแบบประสบการณ์การเรียนรู้ที่ตอบโจทย์ผู้เรียนยุคใหม่อย่างแท้จริง ทั้งในระดับปริญญาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) ตลอดจนสนับสนุนการพัฒนาหลักสูตรนานาชาติ และความร่วมมือหลักสูตรแบบ Dual Degree กับสถาบันพันธมิตรทั่วโลกเพื่อสร้างเครือข่ายวิชาการระดับสากลที่เชื่อมโยงการเรียนรู้อย่างไร้พรมแดนได้ “หลายปีที่ผ่านมากลุ่มเป้าหมายของคนที่ต้องการศึกษาที่ม.ธรรมศาสตร์ อยู่ในทุกช่วงวัย และมีความหลากหลาย สิ่งเหล่านี้จึงทำให้มหาวิทยาลัยตระหนักถึงการต้องพัฒนาสร้างหลักสูตรที่รองรับความต้องการที่ไม่สิ้นสุดให้กว้างมากขึ้น อีกทั้งจำเป็นจะต้องเน้นการผลิตบุคลากรในเชิงคุณภาพ สวนทางกับช่วงที่ประชากรโลกมีอัตราการเกิดลดลง นอกจากนี้ ยังมุ่งหวังที่จะเป็นต้นแบบการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในระดับอุดมศึกษา – การเรียนรู้ตลอด ชีวิตให้เกิดขึ้นในแบบองค์รวม ซึ่งจะส่งผลดีต่อการยกระดับส่วนต่าง ๆ ของประเทศในภาพรวมได้ในที่สุด” จากการสัมภาษณ์ รศ. ดร. ดำรงค์ อดุลยฤทธิกุล รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ และอาจารย์คณะศิลปศาสตร์ ได้พูดถึงวิชาและหลักสูตรใหม่ๆที่น่าสนใจกำลังจะเกิดขึ้นในเร็วๆนี้ว่าในตอนนี้จะมีวิชาเกิดขึ้นอยู่หลายอัน นอกจากวิชา “จริยธรรมปัญญาประดิษฐ์สำหรับผู้นำอนาคต” (Artificial Intelligence Ethics for Leader of the Future) แล้ว จะมีวิชาที่เกี่ยวกับ Carbon Footprint ซึ่งมีความจำเป็นต่อนักศึกษาที่จะต้องรู้ และอันต่อมาเป็นเรื่องวิชาที่เกี่ยวกับกายและจิต จะมีวิชาที่เกี่ยวกับ Self development ที่จะดูแลให้นักศึกษาเข้าใจเรื่องว่าที่จะต้องดูแลตัวเองอย่างไร รวมทั้งการดูแลสภาพจิตใจเมื่อพบกับความล้มเหลวหรือว่าความท้าทายต่างๆที่จะต้องปรับตัว เตรียมรับมืออย่างไรบ้าง ตัววิชาจะเป็นตัวช่วยการเรียนรู้และความพร้อม แต่ในส่วนของมหาวิทยาลัยเองก็คือฝ่ายการศึกษา จะมีการเตรียมพร้อมในส่วนในการให้คำปรึกษาด้วยเพราะจะทำให้ความเครียดต่างๆที่นักศึกษาในปัจจุบันเจอค่อนข้างมากทำให้ลดลงเรื่อยหรือทำให้สภาพนักศึกษาสุขภาวะที่ดีขึ้น วิชาเหล่านี้เป็นตัวช่วยนักศึกษา นอกจากนั้นจะมีวิชาอย่างเช่น เรื่องเกี่ยวกับ Global Citizenship เพื่อเตรียมความพร้อมให้กับนักศึกษานั้นพร้อมที่เรียนรู้กับความแตกต่างและเคารพความแตกต่างด้วย ไม่ว่าจะเป็น เรื่องของความคิด เรื่องของความแตกต่างของเพศภาวะ เรื่องของสิ่งต่างๆมากมาย สิ่งเหล่านี้วิชาจะทำให้นักศึกษาพร้อมที่จะเรียนรู้ไปด้วย และสุดท้ายที่จะพูดถึงก็คือเรื่องวิชาที่เน้นในการเรียนรู้ประสบการณ์ซึ่งนอกจากเรื่องของฝึกงานแล้ว มหาวิทยาลัยให้ความสำคัญแก่เรื่องการที่นักศึกษาออกไปทำงานจากภายนอก อย่างเช่น นักศึกษานั้นมีโอกาสไปแข่งขันในรายการต่างๆ เช่น แข่งขันในแผนธุรกิจ แข่งขันเรื่องของโครงงาน ทั้งหมดนี้คิดว่ากว่านักศึกษาจะเตรียมการจนกระทั้งไปสู่การแข่งขันได้ นักศึกษาจะต้องเรียนรู้ในกระบวนการเหล่านี้ เพราะฉะนั้นมหาวิทยาลัยจะนำให้กลายเป็นส่วนหนึ่งหน่วยกิตที่นักศึกษาจะได้ ซึ่งจะมีกรรมการมาช่วยประเมินเขา อันนี้คือส่วนสำคัญที่เรียกว่า Experiential Learning คือการเรียนรู้จากประสบการณ์การทำงาน และได้กล่าวถึงน้องๆที่สนใจเรียนที่ม.ธรรมศาสตร์ว่า สำหรับน้องๆชั้นมัธยมศึกษาที่สนใจ ม.ธรรมศาสตร์ ในช่วงระหว่างที่กำลังศึกษาในระดับชั้นมัธยมอาจจะหาโอกาสกันเข้ามาเรียนรู้วิชาต่างๆที่ม.ธรรมศาสตร์เปิด ซึ่งมหาวิทยาลัยมีในรูปแบบ E-Learning เป็นแบบตลาดวิชาซึ่งน้องๆนักเรียนสามารถเข้ามาเรียนได้ ซึ่งไม่ใช่แค่เฉพาะน้องๆนักเรียนเท่านั้น ผู้จบการศึกษาไปแล้วที่อยากจะมา Re-Skill Up-Skill สามารถเข้ามาเรียนในชุดวิชาที่มหาวิทยาลัยเปิดได้เช่นกัน เมื่อนักเรียนที่เรียนจบแล้ว สามารถเก็บสะสมหน่วยกิต พอเมื่อนักเรียนเหล่านี้เป็นนักศึกษาธรรมศาสตร์ อย่างน้อยน้องๆจะได้เรียนรู้วิชาที่เป็นธรรมศาสตร์บ้าง พอเมื่อนักเรียนเหล่านี้เป็นนักศึกษาธรรมศาสตร์แล้ว หน่วยกิตที่เรียนมาจะโอนเข้ามา รวมทั้งผลการเรียนรู้ด้วย เพราะฉะนั้นเข้ามาในธรรมศาสตร์แล้วก็แปลว่าน้องที่เรียนจะได้รายวิชาเหล่านี้มากพอสมควรแล้วสามารถไปเรียนในวิชาเอก วิชาโทต่างๆที่สนใจได้ ในปีหนึ่ง ธรรมศาสตร์เปิดรับ 3-4 รอบในระบบ TCAS มีตั้งแต่รอบ Portfolio รอบโควต้า รอบ Admission และรอบ รับโดยตรง ถ้าน้องๆนักเรียนที่สนใจ ในช่วงปลายปี ประมาณเดือนพฤศจิกายน ม.ธรรมศาสตร์ จะเปิด Open House ใหญ่ เพื่อให้ข้อมูลต่างๆและนักเรียนที่สนใจธรรมศาสตร์เข้ามาเรียนรู้ได้มีโอกาสมาพูดคุยกับบรรดาพี่ๆทั้งหลายจากประสบการณ์จริงมาเรียนรู้ว่าการอยู่ในธรรมศาสตร์นั้นเป็นอย่างไรบ้าง เพื่อมีความตัดสินใจได้ถูกต้องจากฐานข้อมูล รวมทั้งเข้ามาดูชีวิตความเป็นอยู่ การเดินทางในมหาวิทยาลัย รวมทั้งการเยี่ยมเยือนหอพักด้วย เพราะฉะนั้นจะทำให้เห็นภาพรวมทั้งหมดก่อนตัดสินใจว่าธรรมศาสตร์จะเป็นที่ที่น้องๆเข้ามาเรียนรู้และอยู่กับน้องๆไปตลอด 3-4 ปีหรือไหมครับ EZ Webmaster Related Posts สวนสุนันทาให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากหลักสูตรครูทหารของกองทัพบกรุ่นที่ 5 โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนประจวบวิทยาลัย โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสามร้อยยอดวิทยาคม โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศ โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนรัตนราษฎร์บำรุง Post navigation PREVIOUS Previous post: สมัครเรียนที่ “มหาวิทยาลัยสยาม” รับทุนสนับสนุนการศึกษารวม 11,000 บาทNEXT Next post: ทุน$1,000ในรัฐควีนส์แลนด์ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
“40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search
ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ…
ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ…
EZ Webmaster May 17, 2025 EZ Webmaster May 17, 2025 ม.ธรรมศาสตร์ เปิดแผนพลิกการศึกษายุคใหม่ ปรับ 298 หลักสูตร รับมือโลกเปลี่ยนเร็ว พร้อมวางทิศทางสู่ระดับโลก ม.ธรรมศาสตร์ เปิดแผนพลิกการศึกษายุคใหม่ ปรับ 298 หลักสูตร รับมือโลกเปลี่ยนเร็ว พร้อมวางทิศทางสู่ระดับโลก – ปั้นทาแลนต์เก่งรอบทิศ โดดเด่นด้วยหลักสูตร “จริยธรรม AI” ปักธงบัณฑิตมีงานทำ 100% กางแผนยุทธศาสตร์ มธ. กับการก้าวสู่ Global Impact University ยุคใหม่ที่โดดเด่นทั้ง “วิทย์ ศิลป์ สังคม AI” พร้อมการเป็นต้นแบบมหาวิทยาลัยสมบูรณ์แบบแห่งโลกอนาคต เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ.2568 ณ สมาคมธรรมศาสตร์ในพระบรมราชูปถัมภ์ ซอยงามดูพลี เขตสาทร กรุงเทพมหานคร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) กางแผนความพร้อมก้าวสูตวรรษที่ 21 ประกาศขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ใหม่ “มหาวิทยาลัยสมบูรณ์แบบชั้นนำแห่งอนาคต” (Leading Comprehensive University for Future Societies) เดินหน้าปฏิรูประบบการเรียนรู้ พัฒนาหลักสูตรทั้ง 19 คณะ 6 วิทยาลัย 2 สถาบัน 298 หลักสูตรที่เชื่อมโยงสหวิทยาการทั้งด้านสังคมศาสตร์ วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และวิทยาศาสตร์สุขภาพ พร้อมตั้งเป้าเป็นต้นแบบมหาวิทยาลัยไทยที่ผลิต “ผู้นำ” และ “แรงงานคุณภาพสูง” ตอบโจทย์ตลาดแรงงานได้ทุกมิตินอกจากนี้ยังเตรียมเปิดหลักสูตรและรายวิชาใหม่ อาทิ จริยธรรมปัญญาประดิษฐ์สำหรับผู้นำอนาคต กลุ่มวิชา Finance & Investment ซึ่งสอดรับกับวิถีชีวิตสังคมและเศรษฐกิจในอนาคต ตลอดจนมุ่งเป้าพัฒนาทักษะบัณฑิตสู่ทาเลนต์ที่เพียบพร้อมทั้ง Hard Skills , Soft Skils , Future Skils มุ่งสู่ภาวะการมีงานทำหลังจบการศึกษาได้ 100% ศ. ดร.ศุภสวัสดิ์ ชัชวาลย์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เปิดเผยว่า ในยุคที่ทุกบริบทโลกเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว มหาวิทยาลัยต่างต้องเร่งปรับตัวเพื่อเตรียมบัณฑิตให้พร้อมสู่อนาคต ซึ่งจากรายงานของ World Economic Forum ปี 2024 พบว่า “การคิดวิเคราะห์” (Analytical thinking) เป็นทักษะหลักที่ภาคธุรกิจมองว่าจำเป็นสูงสุดในปี 2025 โดยสูงถึง 68% รองลงมาคือ “ความยืดหยุ่น และความคล่องตัว” (67%) และ “ภาวะผู้นำและ อิทธิพลทางสังคม” (61%) สะท้อนถึงความจำเป็นในการพัฒนาทักษะทั้งด้านความคิด การสื่อสาร และการปรับตัวในโลกที่ผันผวน ขณะเดียวกัน ที่น่าสนใจคือกลุ่มอาชีพด้านเทคโนโลยีกำลังขยายตัวอย่างรวดเร็วในช่วงปี 2025-2030 โดยเฉพาะอาชีพ ‘ผู้เชี่ยวชาญด้านข้อมูลขนาดใหญ่” (Big Data Specialists) ซึ่งมีอัตราการเติบโตสูงถึงกว่า 100% ตามด้วย “วิศวกรฟินเทค” (FinTech Engineers) และ “ผู้เชี่ยวชาญด้าน AI และ Machine Learning” ที่ต่างเป็นที่ต้องการเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง โดยยังมีอาชีพที่เติบโตควบคู่กัน เช่น นักพัฒนาแอปพลิเคชัน นักวิเคราะห์ข้อมูล ผู้สร้างความ มั่นคงไซเบอร์ และวิศวกรพลังงานหมุนเวียน และในทางกลับกัน หลายอาชีพดั้งเดิมกำลังถูกลดบทบาทลงอย่างชัดเจน ซึ่งประเด็นเหล่านี้ได้ตอกย้ำถึงความเร่งด่วนในการเสริมทักษะใหม่ให้แก่แรงงาน โดยเฉพาะทักษะเทคโนโลยี ความคิดสร้างสรรค์ และความสามารถในการเรียนรู้ตลอดชีวิต ศ. ดร.ศุภสวัสดิ์ กล่าวเสริมว่า ม.ธรรมศาสตร์ จึงเดินหน้ายกระดับการศึกษาไทยสู่ระดับโลก ด้วยการเปิดแผนยุทธศาสตร์ใหม่ภายใต้แนวคิด “มหาวิทยาลัยสมบูรณ์แบบชั้นนำเพื่อสังคมแห่งอนาคต” (Leading Comprehensive University for Future Societies) พร้อมยังตั้งเป้าสร้าง Global Impact University เพื่อให้คนของธรรมศาสตร์ตอบโจทย์กับการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 โดยปรับปรุงและพัฒนากว่า 298 หลักสูตร ครอบคลุมทั้ง ด้านสังคมศาสตร์ วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และวิทยาศาสตร์สุขภาพ สร้างบัณฑิตที่มีความรู้รอบด้านในเชิงประจักษ์ พร้อมลงมือปฏิบัติได้จริง และมีศักยภาพในการเป็นผู้นำยุคใหม่ที่สามารถขับเคลื่อนประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งในปัจจุบันและตอบโจทย์ความต้องการสังคมแห่งอนาคตได้อย่างมีประสิทธิผล โดยยุทธศาสตร์ใหม่นี้ประกอบด้วย 3 แกนหลัก ได้แก่ การเป็นมหาวิทยาลัยสมบูรณ์แบบ (Comprehensive University) ชั้นนำแห่งอนาคต มุ่งบูรณาการองค์ความรู้หลากศาสตร์และการพัฒนาทักษะทางการวิจัยให้ตอบสนองต่อการเรียนรู้ยุคใหม่ การเป็นมหาวิทยาลัยของสังคม โดยเน้นการผลิตบัณฑิตจิตสาธารณะ พร้อมสร้างความเข้าใจเชื่อมโยงกับชุมชนด้วยนวัตกรรมเพื่อสุขภาวะและการพัฒนาอย่างยั่งยืน และ การสร้างความสุขและความยั่งยืนให้กับประชาคมธรรมศาสตร์ ผ่านการใช้ระบบการบริหารแบบยั่งยืน และแผนงานเชิงระบบที่เน้นการพัฒนาหลักสูตรตามแนวคิด Outcome-Based Education (OBE) การยกระดับทักษะทั้ง Hard Skils และ Soft Skills พร้อมผลักดันการเรียนรู้แบบ Experiential Learning และ Co-operative Education ให้เกิดขึ้นในทุกคณะ “แผนยุทธศาสตร์ใหม่นี้มุ่งเน้นการบูรณาการการเรียนรู้แบบข้ามศาสตร์ (Interdisciplinary Learning) การเรียนรู้ผ่านประสบการณ์จริง (Experiential Learning) และการร่วมออกแบบหลักสูตรร่วมกับภาคธุรกิจ โดยเริ่มทยอยปรับหลักสูตรในปีการศึกษา 2567 และตั้งเป้าใช้เต็มรูปแบบในปีการศึกษา 2570 โดยมีการออกแบบโครงสร้างหลักสูตรตามแนวคิด Outcome-Based Education (OBE) และการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์จริง ครอบคลุมการ จัดทำผลลัพธ์การเรียนรู้ทั้งระดับหลักสูตร และรายวิชาตามมาตรฐานของ กกอ. โดยนักศึกษาจะได้เรียนรู้จากการลง มือปฏิบัติในรายวิชาต่าง ๆ ที่เปิดโอกาสให้นักศึกษาและฝึกทักษะจริงในสถานประกอบการมากกว่า 405 ชั่วโมงรวมถึงการพัฒนากลุ่มหลักสูตรที่เน้นการเรียนรู้แบบ Experiential Learning ผ่านโครงงานและปัญหาจริงจากภาคสนาม สอดรับกับเป้าหมายการสร้าง “บัณฑิตพร้อมทำงาน” อย่างแท้จริง นอกจากนี้ การปรับปรุงทุกหลักสูตรยัง มุ่งส่งเสริมความร่วมมือกับพันธมิตรภายนอกทั้งองค์กรภาครัฐ เอกชน และกลุ่มองค์กรขนาดใหญ่ องค์กรด้านเทคโนโลยี พร้อมยกระดับการเรียน e-Learning และสร้าง Common Core ภายในคณะเพื่อประโยชน์ร่วมกันทุกหลักสูตร ในขณะเดียวกัน ยังส่งเสริมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษและการมีวิชาที่เชื่อมโยงกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) เพื่อเตรียมความพร้อมให้บัณฑิตไทยสามารถแข่งขันในระดับสากลได้” ศ. ดร.ศุกสวัสดิ์ กล่าวเพิ่มเติมว่า หนึ่งในไฮไลต์สำคัญคือการผลักดัน รายวิชาเสริมทักษะเชิงลึกเพื่อตอบโจทย์โลกอนาคต โดยเร็วๆนี้จะมีการเปิดสอน รายวิชา TU280 “จริยธรรมปัญญาประดิษฐ์สำหรับผู้นำอนาคต” (Artificial Intelligence Ethics for Leader of the Future) ซึ่งเป็นรายวิชาบังคับใหม่ทันกับกระแส AI และเทคโนโลยีแห่งอนาคตโดยตรง มุ่งพัฒนาศักยภาพนักศึกษาให้เข้าใจในประเด็นจริยธรรม เทคโนโลยี และความเชื่อมั่นการใช้ AI อย่างลึกซึ้ง ต่อเนื่องถึงการเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมอย่างรอบด้าน ทั้งนี้ ความแตกต่างของรายวิชานี้คือไม่ได้สอนเพียงการใช้เทคโนโลยี แต่เป็นการฝึกนักศึกษาให้เข้าใจโลกที่เทคโนโลยีเปลี่ยน พร้อมตั้งคำถามอย่างมีจริยธรรมต่อการใช้ AI ในชีวิตมนุษย์ สังคม และระบบเศรษฐกิจในอนาคต เป็นการบ่มเพาะผู้นำที่คิดเป็น ทำเป็น และ รับผิดชอบต่อผลกระทบในระดับโลกได้จริง และเป็นหัวใจของการสร้าง “Ethical Leaders” แห่งยุค AI ที่จะไม่ยึดติดเพียงความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีเพียงอย่างเดียว โดยพร้อมเปิดสอนในภาคการศึกษา 2568 นำโดยคณาจารย์และ ผู้เชี่ยวชาญด้าน AI ของธรรมศาสตร์ นอกจากนี้ยังเปิดหมวดวิชา Finance & Investment ครอบคลุมหัวข้อที่จำเป็นสำหรับคนรุ่นใหม่ อาทิ ความรู้การเงินในชีวิตประจำวัน การลงทุนในคริปโตเคอร์เรนซี การวางแผนภาษี ต้นทุนโอกาส และการเงินเพื่อความ ยั่งยืน โดยร่วมออกแบบหลักสูตรกับผู้เชี่ยวชาญจากองค์กรชั้นนำ เช่น SET SCB GULF และ Bangkok Bank เพื่อให้นักศึกษาสามารถเรียนรู้แบบ Online หรือ E-learning ได้อย่างยืดหยุ่น เหมาะกับการพัฒนาทักษะควบคู่กับการเรียนหลักสูตรปกติ ซึ่งได้รับความสนใจจากนักศึกษาเป็นจำนวนมาก เห็นได้ชัดจากการที่ได้มีการเปิดหลักสูตร SET E-learning ตั้งแต่ปี 2565 จนถึงเดือนมีนาคม 2568 มีนักศึกษาลงเรียนวิชาต่าง ๆ ของหลักสูตรแล้วกว่า 22,000 คน อย่างไรก็ดี ธรรมศาสตร์ยังวางทิศทางการเตรียมบัณฑิตให้พร้อมสู่ตลาดแรงงาน ด้วยการเน้น “ทักษะอาชีพ ที่สำคัญ” ทั้ง ‘Hard Skill’ เช่น ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ กฎหมาย และการเงิน ‘Soft Skill’ เช่น การสื่อสาร แก้ปัญหาและการเป็นผู้นำ รวมถึง ‘Adaptabilty Skill’ ได้แก่ ความยืดหยุ่น การทำงานเป็นทีม และการวิเคราะห์ความเสี่ยงขณะเดียวกัน ยังส่งเสริมทักษะเฉพาะด้าน เช่น ความเข้าใจจริยธรรม AI และการทำงานข้ามวัฒนธรรม เพื่อให้บัณฑิตธรรมศาสตร์เป็น Talent ที่โดดเด่นพร้อมรับมือกับโลกที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและซับซ้อนในทุกมิติ “ในภาพรวม มหาวิทยาลัยวางเป้าหมายให้บัณฑิตมีความรู้เชิงวิชาการควบคู่กับทักษะปฏิบัติจริง และมีประสบการณ์วิชาชีพ โครงการ หรือฝึกงานอย่างน้อย 6 หน่วยกิต โดยคาดหวังให้ทุกหลักสูตรสามารถพัฒนา ศักยภาพนักศึกษาให้มีทักษะแห่งอนาคต (Future Skils) เพื่อเติบโตอย่างมั่นคงในโลกการทำงานยุคใหม่ได้อย่างเต็มศักยภาพ นอกจากนี้ ยังได้ตั้ง “ศูนย์สหกิจศึกษาและพัฒนาอาชีพ” (TUCEEC) เพื่อเตรียมความพร้อมให้นักศึกษาและศิษย์เก่า ได้พัฒนาทักษะที่จำเป็นอย่าง Hard Skills, Sofi Skills รวมถึง Future Skils เรื่องของ AI และการตลาดดิจิทัล โดยมีเป้าหมายจัดอบรมและกิจกรรมกว่า 100 รายการในช่วงปี 2568-2570 เพื่อสร้างแรงส่งสู่การมีงานทำทันที่หลังจบการศึกษาให้ได้ 100%” การวางกลยุทธ์ด้านบุคลากร มหาวิทยาลัยยังเร่งยกระดับศักยภาพอาจารย์และผู้เชี่ยวชาญสู่การเป็น “ผู้นำการเรียนรู้” อย่างเป็นระบบ ผ่านแนวทาง Professional Standard Framework (PSF) ซึ่งเป็น กรอบมาตรฐานสากลเพื่อสงเสริมความเชี่ยวชาญด้านการจัดการเรียนการสอนในระดับสูง โดยตั้งเป้าหมายให้อาจารย์ผ่านการรับรองมาตรฐาน PSF ระดับ 2 ขึ้นไป (PSF 2+) อย่างน้อย 100 คนภายในปีงบประมาณ 2568-2570 ทั้งนี้ ถือเป็นกลยุทธ์สำคัญในการพัฒนาอาจารย์ให้เป็นผู้มีบทบาทผู้นำการสร้างการเรียนรู้เชิงรุก และออกแบบประสบการณ์การเรียนรู้ที่ตอบโจทย์ผู้เรียนยุคใหม่อย่างแท้จริง ทั้งในระดับปริญญาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) ตลอดจนสนับสนุนการพัฒนาหลักสูตรนานาชาติ และความร่วมมือหลักสูตรแบบ Dual Degree กับสถาบันพันธมิตรทั่วโลกเพื่อสร้างเครือข่ายวิชาการระดับสากลที่เชื่อมโยงการเรียนรู้อย่างไร้พรมแดนได้ “หลายปีที่ผ่านมากลุ่มเป้าหมายของคนที่ต้องการศึกษาที่ม.ธรรมศาสตร์ อยู่ในทุกช่วงวัย และมีความหลากหลาย สิ่งเหล่านี้จึงทำให้มหาวิทยาลัยตระหนักถึงการต้องพัฒนาสร้างหลักสูตรที่รองรับความต้องการที่ไม่สิ้นสุดให้กว้างมากขึ้น อีกทั้งจำเป็นจะต้องเน้นการผลิตบุคลากรในเชิงคุณภาพ สวนทางกับช่วงที่ประชากรโลกมีอัตราการเกิดลดลง นอกจากนี้ ยังมุ่งหวังที่จะเป็นต้นแบบการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในระดับอุดมศึกษา – การเรียนรู้ตลอด ชีวิตให้เกิดขึ้นในแบบองค์รวม ซึ่งจะส่งผลดีต่อการยกระดับส่วนต่าง ๆ ของประเทศในภาพรวมได้ในที่สุด” จากการสัมภาษณ์ รศ. ดร. ดำรงค์ อดุลยฤทธิกุล รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ และอาจารย์คณะศิลปศาสตร์ ได้พูดถึงวิชาและหลักสูตรใหม่ๆที่น่าสนใจกำลังจะเกิดขึ้นในเร็วๆนี้ว่าในตอนนี้จะมีวิชาเกิดขึ้นอยู่หลายอัน นอกจากวิชา “จริยธรรมปัญญาประดิษฐ์สำหรับผู้นำอนาคต” (Artificial Intelligence Ethics for Leader of the Future) แล้ว จะมีวิชาที่เกี่ยวกับ Carbon Footprint ซึ่งมีความจำเป็นต่อนักศึกษาที่จะต้องรู้ และอันต่อมาเป็นเรื่องวิชาที่เกี่ยวกับกายและจิต จะมีวิชาที่เกี่ยวกับ Self development ที่จะดูแลให้นักศึกษาเข้าใจเรื่องว่าที่จะต้องดูแลตัวเองอย่างไร รวมทั้งการดูแลสภาพจิตใจเมื่อพบกับความล้มเหลวหรือว่าความท้าทายต่างๆที่จะต้องปรับตัว เตรียมรับมืออย่างไรบ้าง ตัววิชาจะเป็นตัวช่วยการเรียนรู้และความพร้อม แต่ในส่วนของมหาวิทยาลัยเองก็คือฝ่ายการศึกษา จะมีการเตรียมพร้อมในส่วนในการให้คำปรึกษาด้วยเพราะจะทำให้ความเครียดต่างๆที่นักศึกษาในปัจจุบันเจอค่อนข้างมากทำให้ลดลงเรื่อยหรือทำให้สภาพนักศึกษาสุขภาวะที่ดีขึ้น วิชาเหล่านี้เป็นตัวช่วยนักศึกษา นอกจากนั้นจะมีวิชาอย่างเช่น เรื่องเกี่ยวกับ Global Citizenship เพื่อเตรียมความพร้อมให้กับนักศึกษานั้นพร้อมที่เรียนรู้กับความแตกต่างและเคารพความแตกต่างด้วย ไม่ว่าจะเป็น เรื่องของความคิด เรื่องของความแตกต่างของเพศภาวะ เรื่องของสิ่งต่างๆมากมาย สิ่งเหล่านี้วิชาจะทำให้นักศึกษาพร้อมที่จะเรียนรู้ไปด้วย และสุดท้ายที่จะพูดถึงก็คือเรื่องวิชาที่เน้นในการเรียนรู้ประสบการณ์ซึ่งนอกจากเรื่องของฝึกงานแล้ว มหาวิทยาลัยให้ความสำคัญแก่เรื่องการที่นักศึกษาออกไปทำงานจากภายนอก อย่างเช่น นักศึกษานั้นมีโอกาสไปแข่งขันในรายการต่างๆ เช่น แข่งขันในแผนธุรกิจ แข่งขันเรื่องของโครงงาน ทั้งหมดนี้คิดว่ากว่านักศึกษาจะเตรียมการจนกระทั้งไปสู่การแข่งขันได้ นักศึกษาจะต้องเรียนรู้ในกระบวนการเหล่านี้ เพราะฉะนั้นมหาวิทยาลัยจะนำให้กลายเป็นส่วนหนึ่งหน่วยกิตที่นักศึกษาจะได้ ซึ่งจะมีกรรมการมาช่วยประเมินเขา อันนี้คือส่วนสำคัญที่เรียกว่า Experiential Learning คือการเรียนรู้จากประสบการณ์การทำงาน และได้กล่าวถึงน้องๆที่สนใจเรียนที่ม.ธรรมศาสตร์ว่า สำหรับน้องๆชั้นมัธยมศึกษาที่สนใจ ม.ธรรมศาสตร์ ในช่วงระหว่างที่กำลังศึกษาในระดับชั้นมัธยมอาจจะหาโอกาสกันเข้ามาเรียนรู้วิชาต่างๆที่ม.ธรรมศาสตร์เปิด ซึ่งมหาวิทยาลัยมีในรูปแบบ E-Learning เป็นแบบตลาดวิชาซึ่งน้องๆนักเรียนสามารถเข้ามาเรียนได้ ซึ่งไม่ใช่แค่เฉพาะน้องๆนักเรียนเท่านั้น ผู้จบการศึกษาไปแล้วที่อยากจะมา Re-Skill Up-Skill สามารถเข้ามาเรียนในชุดวิชาที่มหาวิทยาลัยเปิดได้เช่นกัน เมื่อนักเรียนที่เรียนจบแล้ว สามารถเก็บสะสมหน่วยกิต พอเมื่อนักเรียนเหล่านี้เป็นนักศึกษาธรรมศาสตร์ อย่างน้อยน้องๆจะได้เรียนรู้วิชาที่เป็นธรรมศาสตร์บ้าง พอเมื่อนักเรียนเหล่านี้เป็นนักศึกษาธรรมศาสตร์แล้ว หน่วยกิตที่เรียนมาจะโอนเข้ามา รวมทั้งผลการเรียนรู้ด้วย เพราะฉะนั้นเข้ามาในธรรมศาสตร์แล้วก็แปลว่าน้องที่เรียนจะได้รายวิชาเหล่านี้มากพอสมควรแล้วสามารถไปเรียนในวิชาเอก วิชาโทต่างๆที่สนใจได้ ในปีหนึ่ง ธรรมศาสตร์เปิดรับ 3-4 รอบในระบบ TCAS มีตั้งแต่รอบ Portfolio รอบโควต้า รอบ Admission และรอบ รับโดยตรง ถ้าน้องๆนักเรียนที่สนใจ ในช่วงปลายปี ประมาณเดือนพฤศจิกายน ม.ธรรมศาสตร์ จะเปิด Open House ใหญ่ เพื่อให้ข้อมูลต่างๆและนักเรียนที่สนใจธรรมศาสตร์เข้ามาเรียนรู้ได้มีโอกาสมาพูดคุยกับบรรดาพี่ๆทั้งหลายจากประสบการณ์จริงมาเรียนรู้ว่าการอยู่ในธรรมศาสตร์นั้นเป็นอย่างไรบ้าง เพื่อมีความตัดสินใจได้ถูกต้องจากฐานข้อมูล รวมทั้งเข้ามาดูชีวิตความเป็นอยู่ การเดินทางในมหาวิทยาลัย รวมทั้งการเยี่ยมเยือนหอพักด้วย เพราะฉะนั้นจะทำให้เห็นภาพรวมทั้งหมดก่อนตัดสินใจว่าธรรมศาสตร์จะเป็นที่ที่น้องๆเข้ามาเรียนรู้และอยู่กับน้องๆไปตลอด 3-4 ปีหรือไหมครับ