10 สถาบันอุดมศึกษาจำนวนนักศึกษามากที่สุด : ผลสำรวจจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ปีการศึกษา 2567 EZ WebmasterDecember 3, 2024 10 สถาบันอุดมศึกษาจำนวนนักศึกษามากที่สุด : ผลสำรวจจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ปีการศึกษา 2567 10 สถาบันอุดมศึกษาจำนวนนักศึกษามากที่สุด: ผลสำรวจจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ปีการศึกษา 2567 . จำนวนนักศึกษารวม ปีการศึกษา… 8 สาขา อ้าแขนรับรอบ Portfolio “ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา” ต้องมา…แล้วจะรู้ว่า…มืออาชีพ tui sakrapeeDecember 3, 2024 ศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดรับต่อ..ไม่รอแล้วนะ.. #เด็ก68 #portfolio รอบ portfolio รอบสุดท้ายของปีนี้ ห้ามพลาด รับจำกัดแค่ 360 ที่นั่งเท่านั้น คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดรับสมัครนักศึกษาใหม่ ระดับปริญญาตรี (ภาคปกติ) ปีการศึกษา 2568 《 รอบ… เสียงสะท้อนจากครูและชุมชน ความท้าทายของการปรับข้อสอบพื้นฐานไทย EZ WebmasterDecember 3, 2024 การปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอบ O-NET, NT และ RT ก้าวสำคัญของการศึกษาขั้นพื้นฐานในไทย สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ได้ประกาศแนวทางใหม่ในการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอบ O-NET, NT และ RT เพื่อให้สอดคล้องกับแนวทางการประเมินของ PISA (Programme for International… ไลอ้อน เร่งเครื่องโปรเจกต์ “อาชีวศึกษาระบบทวิภาคี” ก้าวสู่ปีที่ 9 พร้อมผลิตเยาวชนไทยเข้าระบบการเรียนสายอาชีพควบคู่วิชาชีวิต EZ WebmasterDecember 3, 2024 บริษัท ไลอ้อน (ประเทศไทย) จำกัด ผู้ผลิตและจำหน่ายสินค้าอุปโภคบริโภคเพื่อคนไทย มุ่งมั่นดำเนินธุรกิจพัฒนาสินค้านวัตกรรมเพื่อสุขภาวะที่ดีของผู้บริโภค สังคม และสิ่งแวดล้อม มาตลอดระยะเวลา 55 ปี ได้เห็นความสำคัญของการเปิดโอกาสและพัฒนาเยาวชนเข้าสู่ระบบการศึกษา ผ่านการดำเนิน โครงการ “อาชีวศึกษาระบบทวิภาคี” ซึ่งมีเป้าหมายที่จะผลิตบุคลากรสายอาชีวะ ด้วยรูปแบบของการจัดระบบการศึกษาระบบทวิภาคี ในการประสานความร่วมมือระหว่าง ภาครัฐ ภาคเอกชน… นักศึกษา ‘เชฟบอล’ นักศึกษาป.เอก นันทนาการ ท่องเที่ยวและกีฬา ม.ศิลปากร รังสรรค์สำรับอาหารสมุทรสงคราม เพิ่มมูลค่าภูมิปัญญาอาหารจากวัตถุดิบท้องถิ่น tui sakrapeeDecember 3, 2024 เชฟบอล – สุถี เสริฐศรี นักวิจัยอาหารพื้นถิ่น โครงการสมุทรสงครามอยู่ดี และบ้านสมุทรสูตรอาหาร ปัจจุบันกำลังศึกษาระดับปริญญาเอก ชั้นปีที่ 1 สาขาการจัดการนันทนาการ การท่องเที่ยวและกีฬา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ที่มีความสนใจทางด้านการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอาหารท้องถิ่นและการเพิ่มมูลค่าภูมิปัญญาอาหารจากวัตถุดิบท้องถิ่น ร่วมกับ เชฟเบลล์ –… 10 สถาบันอุดมศึกษาจำนวนนักศึกษามากที่สุด : ผลสำรวจจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ปีการศึกษา 2567 EZ WebmasterDecember 3, 2024 10 สถาบันอุดมศึกษาจำนวนนักศึกษามากที่สุด : ผลสำรวจจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ปีการศึกษา 2567 10 สถาบันอุดมศึกษาจำนวนนักศึกษามากที่สุด: ผลสำรวจจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ปีการศึกษา 2567 . จำนวนนักศึกษารวม ปีการศึกษา… “คุรุสภา” เร่งออกข้อบังคับมาตรฐานวิชาชีพครูปฐมวัย EZ WebmasterDecember 3, 2024 “คุรุสภา” เร่งผลักดันร่างข้อบังคับมาตรฐานวิชาชีพครูปฐมวัยให้ทันสมัยการศึกษายุคปัจจุบัน พร้อมชวนร่วมแสดงความคิดเห็นร่างดังกล่าว ผศ.ดร.อมลวรรณ วีระธรรมโม เลขาธิการคุรุสภา เปิดเผยว่า ขณะนี้สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา กำลังดำเนินการจัดทำร่างข้อบังคับคุรุสภาว่า ด้วยมาตรฐานวิชาชีพครูปฐมวัย พ.ศ. ….. และอยู่ระหว่างการรับฟังความคิดเห็นเกี่ยวกับ (ร่าง) ข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพครูปฐมวัย พ.ศ. ….… ไลอ้อน เร่งเครื่องโปรเจกต์ “อาชีวศึกษาระบบทวิภาคี” ก้าวสู่ปีที่ 9 พร้อมผลิตเยาวชนไทยเข้าระบบการเรียนสายอาชีพควบคู่วิชาชีวิต EZ WebmasterDecember 3, 2024 บริษัท ไลอ้อน (ประเทศไทย) จำกัด ผู้ผลิตและจำหน่ายสินค้าอุปโภคบริโภคเพื่อคนไทย มุ่งมั่นดำเนินธุรกิจพัฒนาสินค้านวัตกรรมเพื่อสุขภาวะที่ดีของผู้บริโภค สังคม และสิ่งแวดล้อม มาตลอดระยะเวลา 55 ปี ได้เห็นความสำคัญของการเปิดโอกาสและพัฒนาเยาวชนเข้าสู่ระบบการศึกษา ผ่านการดำเนิน โครงการ “อาชีวศึกษาระบบทวิภาคี” ซึ่งมีเป้าหมายที่จะผลิตบุคลากรสายอาชีวะ ด้วยรูปแบบของการจัดระบบการศึกษาระบบทวิภาคี ในการประสานความร่วมมือระหว่าง ภาครัฐ ภาคเอกชน… ทุนดีดี ศอ.บต.จับมือซีพี ออลล์ เปิดให้ 400 ทุน เพื่อเด็กชายแดนใต้เรียนต่อระดับ ปวช. ปวส.และปริญญาตรี tui sakrapeeNovember 20, 2024 ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) ร่วมกับ บริษัท ซีพี ออลล์ จำกัด (มหาชน) จะดำเนินการรับสมัครและคัดเลือกเยาวชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ประกอบไปด้วย จังหวัด สงขลา จังหวัดสตูล จังหวัดปัตตานีจังหวัดยะลา และจังหวัดนราธิวาส เพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)… เปิดให้ทุนเยาวชนขาดแคลนทุนทรัพย์ มีความตั้งใจเรียนต่อระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา tui sakrapeeNovember 8, 2024 มูลนิธิพูนพลัง เปิดโอกาสให้เยาวชนได้เรียนต่อ ในโครงการ ทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2568 สำหรับนักเรียน นักศึกษาที่จะศึกษาในระดับ ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ในปีการศึกษา 2568 ลักษณะโครงการ โครงการทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ แต่มีความตั้งใจศึกษาเล่าเรียน และได้พยายามช่วยเหลือตนเอง… มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… ครู-อาจารย์ BDI จับมือ สจล. เปิดรับสมัครอบรมฟรี! หลักสูตร “Intermediate Data Engineering” พร้อมเสริมศักยภาพบุคลากรในยุคดิจิทัลอย่างมีประสิทธิภาพ EZ WebmasterDecember 3, 2024 สถาบันข้อมูลขนาดใหญ่ (องค์การมหาชน) หรือ BDI ร่วมกับ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง เปิดรับสมัครบุคคลทั่วไปเข้าร่วมอบรมหลักสูตร “Intermediate Data Engineering” เพื่อส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรของประเทศให้มีทักษะด้าน Data Engineering ในระดับกลาง (Intermediate) อย่างมีศักยภาพ โดยหลักสูตรครอบคลุมเนื้อหาทั้งทฤษฎีและปฏิบัติไม่ว่าจะเป็น Data Sources, Web Scraping / Internet Crawler, Data Preprocessing,… “เติมพลังครู สู่ห้องเรียน” รุ่นที่ 2 EZ WebmasterDecember 3, 2024 มาแล้วกับกิจกรรม “เติมพลังครู สู่ห้องเรียน” รุ่นที่ 2 เป็นโครงการที่จัดขึ้นเพื่อเสริมสร้างพลังงานบวกให้กับเหล่าคุณครูและแนวทางการเรียนรู้กับครู โดยมีแนวทาง คือ Transformative Learning ซึ่งสามารถให้คุณครูสามารถเรียนรู้ความรู้สึกภายในของตนเอง และยังได้นำพลังบวกที่ได้รับไปใช้ในการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น . รายละเอียดกิจกรรม วันที่จัดกิจกรรม 14-16 ธันวาคม 2567… จุฬาฯ เปิดตัวหลักสูตร ZEN หลักสูตรอบรมที่ผสานหลักการปรัชญาแบบญี่ปุ่นกับแนวทางการตลาดสมัยใหม่ EZ WebmasterDecember 3, 2024 จุฬาฯ เปิดตัวหลักสูตร ZEN หลักสูตรอบรมที่ผสานหลักการปรัชญาแบบญี่ปุ่นกับแนวทางการตลาดสมัยใหม่ องค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก (พ.ส.ล.) จับมือภาควิชาการตลาด คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาฯ และพันธมิตร จัดงานเสวนาความรู้การตลาดเพื่อความดีงามและยั่งยืน ร่วมพลิกโฉมธุรกิจสู่ความสำเร็จที่ยั่งยืน… พลิกโฉมการพัฒนาครู : โครงการนำร่องหลักสูตรปริญญาร่วมไทย-สหรัฐฯ ยกระดับผลิตครูสะเต็มยุคใหม่ปูทางสู่มาตรฐานสากล EZ WebmasterDecember 3, 2024 ประเทศไทยเปิดก้าวแรก โครงการนำร่อง หลักสูตรปริญญาร่วมไทย-สหรัฐอเมริกา ครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ ด้านสะเต็มศึกษา (Thai-US Joint-degree Sandbox for STEM Teacher Education Program) พลิกโฉมการพัฒนาครูมืออาชีพก้าวนำการเปลี่ยนแปลงโลกปัจจุบัน ต่อยอดจากโครงการครุศึกษายุคใหม่SEA-TEP (Southeast Asian Teacher Education Program) ในระดับภูมิภาค… กิจกรรม “เติมพลังครู สู่ห้องเรียน” รุ่นที่ 2 EZ WebmasterDecember 3, 2024 มาแล้วกับกิจกรรม “เติมพลังครู สู่ห้องเรียน” รุ่นที่ 2 เป็นโครงการที่จัดขึ้นเพื่อเสริมสร้างพลังงานบวกให้กับเหล่าคุณครูและแนวทางการเรียนรู้กับครู โดยมีแนวทาง คือ Transformative Learning ซึ่งสามารถให้คุณครูสามารถเรียนรู้ความรู้สึกภายในของตนเอง และยังได้นำพลังบวกที่ได้รับไปใช้ในการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น . รายละเอียดกิจกรรม วันที่จัดกิจกรรม 14-16 ธันวาคม 2567… จุฬาฯ เปิดตัวหลักสูตร ZEN หลักสูตรอบรมที่ผสานหลักการปรัชญาแบบญี่ปุ่นกับแนวทางการตลาดสมัยใหม่ EZ WebmasterDecember 3, 2024 จุฬาฯ เปิดตัวหลักสูตร ZEN หลักสูตรอบรมที่ผสานหลักการปรัชญาแบบญี่ปุ่นกับแนวทางการตลาดสมัยใหม่ องค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก (พ.ส.ล.) จับมือภาควิชาการตลาด คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาฯ และพันธมิตร จัดงานเสวนาความรู้การตลาดเพื่อความดีงามและยั่งยืน ร่วมพลิกโฉมธุรกิจสู่ความสำเร็จที่ยั่งยืน… วิศวกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี จัดอบรม ระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ tui sakrapeeNovember 27, 2024 รองศาสตราจารย์ ดร.สรพงษ์ ภวสุปรีย์ คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) เผยว่า ศูนย์พัฒนาทักษะอุตสาหกรรม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี ร่วมกับภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า จัดโครงการฝึกอบรมหลักสูตร ระบบกักเก็บพลังงานและสถานการณ์การพัฒนาการของแบตเตอรี่ (Energy Storage System (ESS) and The… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI EZ WebmasterNovember 27, 2024 เติบโตอย่างยิ่งใหญ่กว่าที่เคย iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI พร้อมพาวงการครีเอเตอร์ก้าวสู่เส้นทางแห่งไอคอนนิก งานที่รวบรวมเหล่า ครีเอเตอร์กว่า 100 คนเพื่อเปิดโอกาสให้ได้มีส่วนทำงานกับแบรนด์ต่าง ๆ จนได้กระแสตอบรับอย่างล้นหลาม บรรยากาศภายในงานเต็มไปด้วยความคึกคัก ยิ่งใหญ่ ตื่นตาตื่นใจกว่าที่เคยและผู้คนที่หลั่งไหลเข้ามาภายในงานเป็นจำนวนมากเพือมาเข้าร่วมการพูดแบ่งปันประสบการณ์ของเหล่า ครีเอเตอร์… Search for: Search EZ Webmaster November 5, 2024 EZ Webmaster November 5, 2024 โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ (Hard skills) และทักษะชีวิต (Soft skills) เพราะเชื่อว่าทุกคนมีคุณค่าและ ศักยภาพในตัวเอง สามารถเผชิญโลกที่เปลี่ยนแปลง โดยใช้การเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีความสุขและยั่งยืน ดีมานด์ซัพพลายที่ไม่ลงตัว โลกการทำงานที่ไม่เหมือนเดิมอีกต่อไป แม้ว่าสถาบันการศึกษาจะพยายามออกแบบหลักสูตรการเรียนที่คาดว่าจะตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงาน แต่คุณภาพของผู้ที่จบการศึกษามานั้น กลับยังไม่ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงาน ทำให้ต้องไปทำงานในตำแหน่งงานที่ต่ำกว่าวุฒิที่จบมา หรือทำงานไม่ตรงสาขาที่เรียนจบมา และที่ร้ายแรงที่สุดคือไม่สามารถหางานทำได้ เกิดเป็นปัญหาการว่างงานในที่สุด ซึ่งปัญหานี้ได้ส่งผลกระทบในวงกว้าง มูลนิธิเอสซีจีจึงร่วมกับสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย หรือทีดีอาร์ไอ (Thailand Development Research Institute : TDRI) ได้จัดทำแนวโน้มความต้องการแรงงานในอุตสาหกรรมต่าง ๆ และทักษะอาชีพที่แรงงานไทยควรต้องมี พบว่าแรงงานไทยมีระดับการศึกษาที่สูงขึ้นมากในช่วง 50 ปีที่ผ่านมา แต่โครงสร้างอาชีพแรงงานไทยกลับไม่ได้ยกระดับขึ้นตามระดับการศึกษา โดยมีสาเหตุมาจาก ประเทศไทยไม่ประสบความสำเร็จในการยกระดับอุตสาหกรรมไทยให้เป็นอุตสาหกรรมที่ใช้ทักษะความรู้และมีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้น ระบบการศึกษาของไทย ประสบความสำเร็จในด้านปริมาณ แต่ไม่ประสบความสำเร็จเชิงคุณภาพ วุฒิการศึกษาที่ได้รับไม่ได้สะท้อนถึงทักษะความรู้ที่ผู้เรียนมี เกิดความไม่เข้ากันระหว่างความต้องการแรงงานในตลาด กับระบบการศึกษาที่ผลิตแรงงาน ทั้งการไม่เข้ากันในแนวตั้ง (Vertical Mismatch) คือแรงงานมีวุฒิการศึกษาสูงหรือต่ำกว่าที่ตลาดแรงงานต้องการ และไม่เข้ากันในแนวนอน (Horizontal Mismatch) คือแรงงานมีวุฒิตรงกับที่ตลาดแรงงานต้องการแต่ไม่ได้จบมาในสาขาหรือมีทักษะตรงตามที่ตลาดแรงงานต้องการ ความไม่สอดคล้องกันของความต้องการแรงงานในตลาดกับระบบการศึกษาที่ผลิตแรงงานนี้ (Mismatch) ถือเป็นปัญหาใหญ่และค่อนข้างรุนแรง ใน 2 ประเด็นดังนี้ ○ แรงงานมีวุฒิการศึกษาสูง-ต่ำ กว่าที่ตลาดแรงงานต้องการ ○ แรงงานมีวุฒิการศึกษาตรง แต่กลับจบไม่ตรงสาขาที่ตลาดแรงงานต้องการ โดยเฉพาะในระดับอาชีวศึกษาที่มุ่งเน้นผลิตแรงงานเพื่อป้อนตลาด แต่กลับพบว่าผู้จบระดับ ปวช. อายุ 21-40 ปี ได้งานทำที่ไม่ตรงสายที่เรียนมาเกือบ 90% ผู้จบ ปวส. อายุ 21-30 ปี ทำงานไม่ตรงสาย 84% ประเภทอุตสาหกรรมกับความต้องการแรงงาน ข้อมูลจากการสำรวจตลาดแรงงานไทย โดยทีดีอาร์ไอ ในปี 2024 พบว่า ตลาดแรงงานไทยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ทั้งในส่วนโครงสร้างการจ้างงาน และ ทักษะของตลาดแรงงานไทยที่ยังคงมีลักษณะเป็นแรงงานทักษะต่ำ หากจัดกลุ่มการลงทุนตามประเภทกิจกรรมหมวดใหญ่ ตามข้อมูลการอนุมัติบัตรส่งเสริมการลงทุน ระหว่างปี พ.ศ. 2561 ถึงปี พ.ศ. 2566 จะพบว่า ในแง่เงินลงทุน อุตสาหกรรมเคมีและปิโตรเคมีมีการลงทุนมากที่สุด คือมากถึง446,948 ล้านบาท ตามมาด้วยอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรมเครื่องจักรและยานยนต์ อุตสาหกรรมเกษตร อาหาร และเทคโนโลยีชีวภาพ และอุตสาหกรรมสาธารณูปโภค ตามลำดับ แต่หากพิจารณาตามจำนวนการจ้างงานแล้ว พบว่าอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ มีการจ้างงานมากที่สุด ตามมาด้วยอุตสาหกรรมเครื่องจักรและยานยนต์ และอุตสาหกรรมเกษตร อาหาร และเทคโนโลยีชีวภาพ ตามลำดับ ยุคเรียนรู้เพื่ออยู่รอดแบบ Learn to Earn นอกจากการเรียนรู้ที่จะช่วยพัฒนาทักษะให้อยู่รอดได้แล้วนั้น ศักยภาพของทักษะที่มีในแต่ละคนก็เป็นอีกหนึ่งความสำคัญที่องค์กรต่างๆ ใช้เป็นตัวพิจารณาหลักในการคัดเลือกคนเข้าทำงาน ดังนั้น การมีทั้ง Hard Skills และ Soft Skills จะทำให้บุคคลนั้นมีความสามารถในการทำงานที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น ทักษะวิชาชีพ หรือ Hard Skills เป็นทักษะที่มีระยะเวลาการใช้งาน ความรู้ความสามารถที่มีอยู่นั้นอาจจะไม่สามารถนำมาใช้งานได้เมื่อเวลาผ่านไป เพราะเป็นความรู้ที่เก่า ไม่ทันสมัย ทำให้ต้องมีการเรียนรู้เพิ่มเติมอยู่ตลอดเวลา ซึ่งทักษะวิชาชีพนี้มีรูปแบบตายตัว สามารถเรียนรู้ด้วยตนเองได้ ในขณะที่ทักษะชีวิต หรือ Soft Skills เป็นทักษะที่ใช้ปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น จะมีประโยชน์ในการปรับตัวให้อยู่รอดได้ในปัจจุบัน รวมถึงการนำไปใช้รับมือกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลา ทักษะชีวิตนี้เป็นทักษะที่จะติดตัวไปตลอดชีวิต นอกจากนี้มูลนิธิเอสซีจี ได้ร่วมกับบริษัท ฟาร์อีสท์ เฟมไลน์ ดีดีบี จำกัด (มหาชน) ทำการสำรวจเพิ่มเติมในกลุ่ม Newgen (GEN Y & Z) ช่วงอายุ 15-34 ปี กว่า 500 คน และกลุ่ม Opinion Leader พบว่าทักษะที่ส่วนใหญ่มองว่า เป็นทักษะที่สำคัญและจำเป็น เป็นทักษะ Soft Skills โดยมี Skill set ที่สำคัญดังนี้ ทักษะด้านการสื่อสารและภาษา (Communication & Language Skills) ได้แก่ทักษะด้าน Conciseness, active listening, assertiveness, verbal communication, non-verbal communication, story telling และ adaptability ทักษะด้านการทำงานร่วมกัน (Collaboration Skills) ได้แก่ทักษะด้าน Active listening, feedback, inclusivity, verbal communication และ written communication ทักษะด้านการคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking Skills) ได้แก่ทักษะด้าน Problem solving, creative writing, open-mindedness, analysis และ active listening ทิศทางการเรียนรู้ในอนาคตควรเป็นแบบไหน จากวงเสวนา Opinion Panel ที่มูลนิธิเอสซีจีจัดขึ้น โดยมีกลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิจากหน่วยงาน องค์กร ที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และสื่อมวลชน กว่า 20 คน ทุกคนมีความเห็นตรงกันว่า ระบบการศึกษาควรปรับตัวเป็นการเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ และต้องสามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ทุกเวลา เพื่อให้เกิดการพัฒนาทักษะทางวิชาชีพ หรือ Hard Skills และทักษะชีวิต หรือ Soft Skills โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นทั้งเยาวชนในระบบ นอกระบบ รวมไปถึงผู้ที่ก้าวพลาด เพื่อให้ทุกคนอยู่รอดในสังคมต่อไปได้อย่างยั่งยืน ซึ่งการเรียนรู้เพื่ออยู่รอดจะดำเนินการด้วย 2 หลักการสำคัญคือ ความยั่งยืนและยืดหยุ่น ยั่งยืนคือเรียนรู้แล้วเอาตัวรอดได้ และยืดหยุ่นคือปรับตัวไปตามสถานการณ์ สถาบันการศึกษา โดยเฉพาะโรงเรียนขยายโอกาส ควรทำหน้าที่ในการสร้างแรงบันดาลใจให้กับเยาวชน ด้วยการกระตุ้นให้รู้จักตัวตนให้เร็วที่สุด เน้นให้เรียนรู้ในสิ่งที่อยากเรียนและมีความสุขในการเรียน และควรจัดทำระบบการเทียบโอนหรือ Credit Bank ให้เกิดเป็นรูปธรรมไปในเวลาเดียวกัน เพราะต่อไปเมื่อตลาดแรงงานไม่ได้ต้องการคนจบวุฒิการศึกษาสูง จึงไม่มีความจำเป็นต้องเสียเวลาเรียนหลายปีเพื่อให้ได้ปริญญา คนรุ่นใหม่จะเปลี่ยนมาเรียนหลักสูตรระยะสั้น เพื่อให้มีงานทำ มีรายได้เลี้ยงตัวเอง และกลับมาพัฒนาทักษะความรู้ Upskills-Reskills เมื่อมีโอกาส พร้อมทั้งเก็บสะสมเครดิตการเรียนรู้เพื่อนำไปใช้คำนวณอัตราค่าจ้างต่อไป เพราะคนที่เรียนมาน้อยแต่ประสบการณ์สูง ควรได้ค่าตอบแทนเทียบเท่าหรือมากกว่าคนที่เรียนจบมาสูงแต่ไม่มีประสบการณ์ นอกจากนี้ จากการศึกษายังพบว่ากลุ่ม Gen Z ถึง 50% ไม่แน่ใจว่าตัวเองชอบอาชีพ / ศึกษาสาขาใด และมากกว่า 37% ที่ยังขาดคนให้คำปรึกษาหรือให้คำแนะนำในการศึกษาต่อ การไม่รู้จักตัวตนของคนรุ่นใหม่ ไม่สามารถบอกได้ว่าตัวเองถนัดอะไร ชอบอะไร รักที่จะทำอะไร ทำให้ไม่สามารถวางแผนชีวิตในอนาคตได้ สถาบันครอบครัวควรส่งเสริมหรือกระตุ้นให้เด็กและเยาวชนค้นหาตัวตนให้พบ เพื่อจะดึงความชอบมาพัฒนาและเพิ่มทักษะให้พร้อมเรียนรู้เป็นอาชีพต่อไป โดยเฉพาะกับคนรุ่นใหม่ในกลุ่ม Medium Skill และ Low Skill ที่จะขาดคนให้คำแนะนำที่ถูกต้อง ซึ่งหากจัดการทั้งระบบ เด็กและเยาวชน-รู้จักตัวตนได้เร็ว เรียนรู้ในสิ่งที่เป็นตัวเอง พัฒนาทักษะสม่ำเสมอ เพื่อให้อยู่รอด มีอาชีพ มีงานทำ อยู่อย่างมีความสุข และเป็นการรอดแบบมีสัมมาชีพ มีคุณธรรมและจริยธรรม ผู้สนใจสามารถติดตามข้อมูลข่าวสารและความคืบหน้าของโครงการต่างๆ ของมูลนิธิเอสซีจี ได้ที่ www.scgfoundation.org เฟซบุ๊ก LEARNtoEARN และ TIKTOK: LEARNtoEARN EZ Webmaster Related Posts BDI จับมือ สจล. เปิดรับสมัครอบรมฟรี! หลักสูตร “Intermediate Data Engineering” พร้อมเสริมศักยภาพบุคลากรในยุคดิจิทัลอย่างมีประสิทธิภาพ “เติมพลังครู สู่ห้องเรียน” รุ่นที่ 2 ‘เชฟบอล’ นักศึกษาป.เอก นันทนาการ ท่องเที่ยวและกีฬา ม.ศิลปากร รังสรรค์สำรับอาหารสมุทรสงคราม เพิ่มมูลค่าภูมิปัญญาอาหารจากวัตถุดิบท้องถิ่น จุฬาฯ เปิดตัวหลักสูตร ZEN หลักสูตรอบรมที่ผสานหลักการปรัชญาแบบญี่ปุ่นกับแนวทางการตลาดสมัยใหม่ พลิกโฉมการพัฒนาครู : โครงการนำร่องหลักสูตรปริญญาร่วมไทย-สหรัฐฯ ยกระดับผลิตครูสะเต็มยุคใหม่ปูทางสู่มาตรฐานสากล Post navigation PREVIOUS Previous post: ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลกNEXT Next post: มทร.กรุงเทพ เปิดรับครั้งใหญ่ ปีการศึกษา 2568 TCAS1 Portfolio – รับตรง 1 (ปวช./ปวส.) – ภาคสมทบ1 และระดับปริญญาโท-เอก Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
8 สาขา อ้าแขนรับรอบ Portfolio “ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา” ต้องมา…แล้วจะรู้ว่า…มืออาชีพ tui sakrapeeDecember 3, 2024 ศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดรับต่อ..ไม่รอแล้วนะ.. #เด็ก68 #portfolio รอบ portfolio รอบสุดท้ายของปีนี้ ห้ามพลาด รับจำกัดแค่ 360 ที่นั่งเท่านั้น คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดรับสมัครนักศึกษาใหม่ ระดับปริญญาตรี (ภาคปกติ) ปีการศึกษา 2568 《 รอบ… เสียงสะท้อนจากครูและชุมชน ความท้าทายของการปรับข้อสอบพื้นฐานไทย EZ WebmasterDecember 3, 2024 การปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอบ O-NET, NT และ RT ก้าวสำคัญของการศึกษาขั้นพื้นฐานในไทย สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ได้ประกาศแนวทางใหม่ในการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอบ O-NET, NT และ RT เพื่อให้สอดคล้องกับแนวทางการประเมินของ PISA (Programme for International… ไลอ้อน เร่งเครื่องโปรเจกต์ “อาชีวศึกษาระบบทวิภาคี” ก้าวสู่ปีที่ 9 พร้อมผลิตเยาวชนไทยเข้าระบบการเรียนสายอาชีพควบคู่วิชาชีวิต EZ WebmasterDecember 3, 2024 บริษัท ไลอ้อน (ประเทศไทย) จำกัด ผู้ผลิตและจำหน่ายสินค้าอุปโภคบริโภคเพื่อคนไทย มุ่งมั่นดำเนินธุรกิจพัฒนาสินค้านวัตกรรมเพื่อสุขภาวะที่ดีของผู้บริโภค สังคม และสิ่งแวดล้อม มาตลอดระยะเวลา 55 ปี ได้เห็นความสำคัญของการเปิดโอกาสและพัฒนาเยาวชนเข้าสู่ระบบการศึกษา ผ่านการดำเนิน โครงการ “อาชีวศึกษาระบบทวิภาคี” ซึ่งมีเป้าหมายที่จะผลิตบุคลากรสายอาชีวะ ด้วยรูปแบบของการจัดระบบการศึกษาระบบทวิภาคี ในการประสานความร่วมมือระหว่าง ภาครัฐ ภาคเอกชน… นักศึกษา ‘เชฟบอล’ นักศึกษาป.เอก นันทนาการ ท่องเที่ยวและกีฬา ม.ศิลปากร รังสรรค์สำรับอาหารสมุทรสงคราม เพิ่มมูลค่าภูมิปัญญาอาหารจากวัตถุดิบท้องถิ่น tui sakrapeeDecember 3, 2024 เชฟบอล – สุถี เสริฐศรี นักวิจัยอาหารพื้นถิ่น โครงการสมุทรสงครามอยู่ดี และบ้านสมุทรสูตรอาหาร ปัจจุบันกำลังศึกษาระดับปริญญาเอก ชั้นปีที่ 1 สาขาการจัดการนันทนาการ การท่องเที่ยวและกีฬา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ที่มีความสนใจทางด้านการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอาหารท้องถิ่นและการเพิ่มมูลค่าภูมิปัญญาอาหารจากวัตถุดิบท้องถิ่น ร่วมกับ เชฟเบลล์ –… 10 สถาบันอุดมศึกษาจำนวนนักศึกษามากที่สุด : ผลสำรวจจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ปีการศึกษา 2567 EZ WebmasterDecember 3, 2024 10 สถาบันอุดมศึกษาจำนวนนักศึกษามากที่สุด : ผลสำรวจจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ปีการศึกษา 2567 10 สถาบันอุดมศึกษาจำนวนนักศึกษามากที่สุด: ผลสำรวจจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ปีการศึกษา 2567 . จำนวนนักศึกษารวม ปีการศึกษา… “คุรุสภา” เร่งออกข้อบังคับมาตรฐานวิชาชีพครูปฐมวัย EZ WebmasterDecember 3, 2024 “คุรุสภา” เร่งผลักดันร่างข้อบังคับมาตรฐานวิชาชีพครูปฐมวัยให้ทันสมัยการศึกษายุคปัจจุบัน พร้อมชวนร่วมแสดงความคิดเห็นร่างดังกล่าว ผศ.ดร.อมลวรรณ วีระธรรมโม เลขาธิการคุรุสภา เปิดเผยว่า ขณะนี้สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา กำลังดำเนินการจัดทำร่างข้อบังคับคุรุสภาว่า ด้วยมาตรฐานวิชาชีพครูปฐมวัย พ.ศ. ….. และอยู่ระหว่างการรับฟังความคิดเห็นเกี่ยวกับ (ร่าง) ข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพครูปฐมวัย พ.ศ. ….… ไลอ้อน เร่งเครื่องโปรเจกต์ “อาชีวศึกษาระบบทวิภาคี” ก้าวสู่ปีที่ 9 พร้อมผลิตเยาวชนไทยเข้าระบบการเรียนสายอาชีพควบคู่วิชาชีวิต EZ WebmasterDecember 3, 2024 บริษัท ไลอ้อน (ประเทศไทย) จำกัด ผู้ผลิตและจำหน่ายสินค้าอุปโภคบริโภคเพื่อคนไทย มุ่งมั่นดำเนินธุรกิจพัฒนาสินค้านวัตกรรมเพื่อสุขภาวะที่ดีของผู้บริโภค สังคม และสิ่งแวดล้อม มาตลอดระยะเวลา 55 ปี ได้เห็นความสำคัญของการเปิดโอกาสและพัฒนาเยาวชนเข้าสู่ระบบการศึกษา ผ่านการดำเนิน โครงการ “อาชีวศึกษาระบบทวิภาคี” ซึ่งมีเป้าหมายที่จะผลิตบุคลากรสายอาชีวะ ด้วยรูปแบบของการจัดระบบการศึกษาระบบทวิภาคี ในการประสานความร่วมมือระหว่าง ภาครัฐ ภาคเอกชน… ทุนดีดี ศอ.บต.จับมือซีพี ออลล์ เปิดให้ 400 ทุน เพื่อเด็กชายแดนใต้เรียนต่อระดับ ปวช. ปวส.และปริญญาตรี tui sakrapeeNovember 20, 2024 ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) ร่วมกับ บริษัท ซีพี ออลล์ จำกัด (มหาชน) จะดำเนินการรับสมัครและคัดเลือกเยาวชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ประกอบไปด้วย จังหวัด สงขลา จังหวัดสตูล จังหวัดปัตตานีจังหวัดยะลา และจังหวัดนราธิวาส เพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)… เปิดให้ทุนเยาวชนขาดแคลนทุนทรัพย์ มีความตั้งใจเรียนต่อระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา tui sakrapeeNovember 8, 2024 มูลนิธิพูนพลัง เปิดโอกาสให้เยาวชนได้เรียนต่อ ในโครงการ ทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2568 สำหรับนักเรียน นักศึกษาที่จะศึกษาในระดับ ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ในปีการศึกษา 2568 ลักษณะโครงการ โครงการทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ แต่มีความตั้งใจศึกษาเล่าเรียน และได้พยายามช่วยเหลือตนเอง… มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… ครู-อาจารย์ BDI จับมือ สจล. เปิดรับสมัครอบรมฟรี! หลักสูตร “Intermediate Data Engineering” พร้อมเสริมศักยภาพบุคลากรในยุคดิจิทัลอย่างมีประสิทธิภาพ EZ WebmasterDecember 3, 2024 สถาบันข้อมูลขนาดใหญ่ (องค์การมหาชน) หรือ BDI ร่วมกับ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง เปิดรับสมัครบุคคลทั่วไปเข้าร่วมอบรมหลักสูตร “Intermediate Data Engineering” เพื่อส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรของประเทศให้มีทักษะด้าน Data Engineering ในระดับกลาง (Intermediate) อย่างมีศักยภาพ โดยหลักสูตรครอบคลุมเนื้อหาทั้งทฤษฎีและปฏิบัติไม่ว่าจะเป็น Data Sources, Web Scraping / Internet Crawler, Data Preprocessing,… “เติมพลังครู สู่ห้องเรียน” รุ่นที่ 2 EZ WebmasterDecember 3, 2024 มาแล้วกับกิจกรรม “เติมพลังครู สู่ห้องเรียน” รุ่นที่ 2 เป็นโครงการที่จัดขึ้นเพื่อเสริมสร้างพลังงานบวกให้กับเหล่าคุณครูและแนวทางการเรียนรู้กับครู โดยมีแนวทาง คือ Transformative Learning ซึ่งสามารถให้คุณครูสามารถเรียนรู้ความรู้สึกภายในของตนเอง และยังได้นำพลังบวกที่ได้รับไปใช้ในการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น . รายละเอียดกิจกรรม วันที่จัดกิจกรรม 14-16 ธันวาคม 2567… จุฬาฯ เปิดตัวหลักสูตร ZEN หลักสูตรอบรมที่ผสานหลักการปรัชญาแบบญี่ปุ่นกับแนวทางการตลาดสมัยใหม่ EZ WebmasterDecember 3, 2024 จุฬาฯ เปิดตัวหลักสูตร ZEN หลักสูตรอบรมที่ผสานหลักการปรัชญาแบบญี่ปุ่นกับแนวทางการตลาดสมัยใหม่ องค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก (พ.ส.ล.) จับมือภาควิชาการตลาด คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาฯ และพันธมิตร จัดงานเสวนาความรู้การตลาดเพื่อความดีงามและยั่งยืน ร่วมพลิกโฉมธุรกิจสู่ความสำเร็จที่ยั่งยืน… พลิกโฉมการพัฒนาครู : โครงการนำร่องหลักสูตรปริญญาร่วมไทย-สหรัฐฯ ยกระดับผลิตครูสะเต็มยุคใหม่ปูทางสู่มาตรฐานสากล EZ WebmasterDecember 3, 2024 ประเทศไทยเปิดก้าวแรก โครงการนำร่อง หลักสูตรปริญญาร่วมไทย-สหรัฐอเมริกา ครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ ด้านสะเต็มศึกษา (Thai-US Joint-degree Sandbox for STEM Teacher Education Program) พลิกโฉมการพัฒนาครูมืออาชีพก้าวนำการเปลี่ยนแปลงโลกปัจจุบัน ต่อยอดจากโครงการครุศึกษายุคใหม่SEA-TEP (Southeast Asian Teacher Education Program) ในระดับภูมิภาค… กิจกรรม “เติมพลังครู สู่ห้องเรียน” รุ่นที่ 2 EZ WebmasterDecember 3, 2024 มาแล้วกับกิจกรรม “เติมพลังครู สู่ห้องเรียน” รุ่นที่ 2 เป็นโครงการที่จัดขึ้นเพื่อเสริมสร้างพลังงานบวกให้กับเหล่าคุณครูและแนวทางการเรียนรู้กับครู โดยมีแนวทาง คือ Transformative Learning ซึ่งสามารถให้คุณครูสามารถเรียนรู้ความรู้สึกภายในของตนเอง และยังได้นำพลังบวกที่ได้รับไปใช้ในการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น . รายละเอียดกิจกรรม วันที่จัดกิจกรรม 14-16 ธันวาคม 2567… จุฬาฯ เปิดตัวหลักสูตร ZEN หลักสูตรอบรมที่ผสานหลักการปรัชญาแบบญี่ปุ่นกับแนวทางการตลาดสมัยใหม่ EZ WebmasterDecember 3, 2024 จุฬาฯ เปิดตัวหลักสูตร ZEN หลักสูตรอบรมที่ผสานหลักการปรัชญาแบบญี่ปุ่นกับแนวทางการตลาดสมัยใหม่ องค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก (พ.ส.ล.) จับมือภาควิชาการตลาด คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาฯ และพันธมิตร จัดงานเสวนาความรู้การตลาดเพื่อความดีงามและยั่งยืน ร่วมพลิกโฉมธุรกิจสู่ความสำเร็จที่ยั่งยืน… วิศวกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี จัดอบรม ระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ tui sakrapeeNovember 27, 2024 รองศาสตราจารย์ ดร.สรพงษ์ ภวสุปรีย์ คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) เผยว่า ศูนย์พัฒนาทักษะอุตสาหกรรม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี ร่วมกับภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า จัดโครงการฝึกอบรมหลักสูตร ระบบกักเก็บพลังงานและสถานการณ์การพัฒนาการของแบตเตอรี่ (Energy Storage System (ESS) and The… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI EZ WebmasterNovember 27, 2024 เติบโตอย่างยิ่งใหญ่กว่าที่เคย iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI พร้อมพาวงการครีเอเตอร์ก้าวสู่เส้นทางแห่งไอคอนนิก งานที่รวบรวมเหล่า ครีเอเตอร์กว่า 100 คนเพื่อเปิดโอกาสให้ได้มีส่วนทำงานกับแบรนด์ต่าง ๆ จนได้กระแสตอบรับอย่างล้นหลาม บรรยากาศภายในงานเต็มไปด้วยความคึกคัก ยิ่งใหญ่ ตื่นตาตื่นใจกว่าที่เคยและผู้คนที่หลั่งไหลเข้ามาภายในงานเป็นจำนวนมากเพือมาเข้าร่วมการพูดแบ่งปันประสบการณ์ของเหล่า ครีเอเตอร์… Search for: Search EZ Webmaster November 5, 2024 EZ Webmaster November 5, 2024 โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ (Hard skills) และทักษะชีวิต (Soft skills) เพราะเชื่อว่าทุกคนมีคุณค่าและ ศักยภาพในตัวเอง สามารถเผชิญโลกที่เปลี่ยนแปลง โดยใช้การเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีความสุขและยั่งยืน ดีมานด์ซัพพลายที่ไม่ลงตัว โลกการทำงานที่ไม่เหมือนเดิมอีกต่อไป แม้ว่าสถาบันการศึกษาจะพยายามออกแบบหลักสูตรการเรียนที่คาดว่าจะตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงาน แต่คุณภาพของผู้ที่จบการศึกษามานั้น กลับยังไม่ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงาน ทำให้ต้องไปทำงานในตำแหน่งงานที่ต่ำกว่าวุฒิที่จบมา หรือทำงานไม่ตรงสาขาที่เรียนจบมา และที่ร้ายแรงที่สุดคือไม่สามารถหางานทำได้ เกิดเป็นปัญหาการว่างงานในที่สุด ซึ่งปัญหานี้ได้ส่งผลกระทบในวงกว้าง มูลนิธิเอสซีจีจึงร่วมกับสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย หรือทีดีอาร์ไอ (Thailand Development Research Institute : TDRI) ได้จัดทำแนวโน้มความต้องการแรงงานในอุตสาหกรรมต่าง ๆ และทักษะอาชีพที่แรงงานไทยควรต้องมี พบว่าแรงงานไทยมีระดับการศึกษาที่สูงขึ้นมากในช่วง 50 ปีที่ผ่านมา แต่โครงสร้างอาชีพแรงงานไทยกลับไม่ได้ยกระดับขึ้นตามระดับการศึกษา โดยมีสาเหตุมาจาก ประเทศไทยไม่ประสบความสำเร็จในการยกระดับอุตสาหกรรมไทยให้เป็นอุตสาหกรรมที่ใช้ทักษะความรู้และมีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้น ระบบการศึกษาของไทย ประสบความสำเร็จในด้านปริมาณ แต่ไม่ประสบความสำเร็จเชิงคุณภาพ วุฒิการศึกษาที่ได้รับไม่ได้สะท้อนถึงทักษะความรู้ที่ผู้เรียนมี เกิดความไม่เข้ากันระหว่างความต้องการแรงงานในตลาด กับระบบการศึกษาที่ผลิตแรงงาน ทั้งการไม่เข้ากันในแนวตั้ง (Vertical Mismatch) คือแรงงานมีวุฒิการศึกษาสูงหรือต่ำกว่าที่ตลาดแรงงานต้องการ และไม่เข้ากันในแนวนอน (Horizontal Mismatch) คือแรงงานมีวุฒิตรงกับที่ตลาดแรงงานต้องการแต่ไม่ได้จบมาในสาขาหรือมีทักษะตรงตามที่ตลาดแรงงานต้องการ ความไม่สอดคล้องกันของความต้องการแรงงานในตลาดกับระบบการศึกษาที่ผลิตแรงงานนี้ (Mismatch) ถือเป็นปัญหาใหญ่และค่อนข้างรุนแรง ใน 2 ประเด็นดังนี้ ○ แรงงานมีวุฒิการศึกษาสูง-ต่ำ กว่าที่ตลาดแรงงานต้องการ ○ แรงงานมีวุฒิการศึกษาตรง แต่กลับจบไม่ตรงสาขาที่ตลาดแรงงานต้องการ โดยเฉพาะในระดับอาชีวศึกษาที่มุ่งเน้นผลิตแรงงานเพื่อป้อนตลาด แต่กลับพบว่าผู้จบระดับ ปวช. อายุ 21-40 ปี ได้งานทำที่ไม่ตรงสายที่เรียนมาเกือบ 90% ผู้จบ ปวส. อายุ 21-30 ปี ทำงานไม่ตรงสาย 84% ประเภทอุตสาหกรรมกับความต้องการแรงงาน ข้อมูลจากการสำรวจตลาดแรงงานไทย โดยทีดีอาร์ไอ ในปี 2024 พบว่า ตลาดแรงงานไทยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ทั้งในส่วนโครงสร้างการจ้างงาน และ ทักษะของตลาดแรงงานไทยที่ยังคงมีลักษณะเป็นแรงงานทักษะต่ำ หากจัดกลุ่มการลงทุนตามประเภทกิจกรรมหมวดใหญ่ ตามข้อมูลการอนุมัติบัตรส่งเสริมการลงทุน ระหว่างปี พ.ศ. 2561 ถึงปี พ.ศ. 2566 จะพบว่า ในแง่เงินลงทุน อุตสาหกรรมเคมีและปิโตรเคมีมีการลงทุนมากที่สุด คือมากถึง446,948 ล้านบาท ตามมาด้วยอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรมเครื่องจักรและยานยนต์ อุตสาหกรรมเกษตร อาหาร และเทคโนโลยีชีวภาพ และอุตสาหกรรมสาธารณูปโภค ตามลำดับ แต่หากพิจารณาตามจำนวนการจ้างงานแล้ว พบว่าอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ มีการจ้างงานมากที่สุด ตามมาด้วยอุตสาหกรรมเครื่องจักรและยานยนต์ และอุตสาหกรรมเกษตร อาหาร และเทคโนโลยีชีวภาพ ตามลำดับ ยุคเรียนรู้เพื่ออยู่รอดแบบ Learn to Earn นอกจากการเรียนรู้ที่จะช่วยพัฒนาทักษะให้อยู่รอดได้แล้วนั้น ศักยภาพของทักษะที่มีในแต่ละคนก็เป็นอีกหนึ่งความสำคัญที่องค์กรต่างๆ ใช้เป็นตัวพิจารณาหลักในการคัดเลือกคนเข้าทำงาน ดังนั้น การมีทั้ง Hard Skills และ Soft Skills จะทำให้บุคคลนั้นมีความสามารถในการทำงานที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น ทักษะวิชาชีพ หรือ Hard Skills เป็นทักษะที่มีระยะเวลาการใช้งาน ความรู้ความสามารถที่มีอยู่นั้นอาจจะไม่สามารถนำมาใช้งานได้เมื่อเวลาผ่านไป เพราะเป็นความรู้ที่เก่า ไม่ทันสมัย ทำให้ต้องมีการเรียนรู้เพิ่มเติมอยู่ตลอดเวลา ซึ่งทักษะวิชาชีพนี้มีรูปแบบตายตัว สามารถเรียนรู้ด้วยตนเองได้ ในขณะที่ทักษะชีวิต หรือ Soft Skills เป็นทักษะที่ใช้ปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น จะมีประโยชน์ในการปรับตัวให้อยู่รอดได้ในปัจจุบัน รวมถึงการนำไปใช้รับมือกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลา ทักษะชีวิตนี้เป็นทักษะที่จะติดตัวไปตลอดชีวิต นอกจากนี้มูลนิธิเอสซีจี ได้ร่วมกับบริษัท ฟาร์อีสท์ เฟมไลน์ ดีดีบี จำกัด (มหาชน) ทำการสำรวจเพิ่มเติมในกลุ่ม Newgen (GEN Y & Z) ช่วงอายุ 15-34 ปี กว่า 500 คน และกลุ่ม Opinion Leader พบว่าทักษะที่ส่วนใหญ่มองว่า เป็นทักษะที่สำคัญและจำเป็น เป็นทักษะ Soft Skills โดยมี Skill set ที่สำคัญดังนี้ ทักษะด้านการสื่อสารและภาษา (Communication & Language Skills) ได้แก่ทักษะด้าน Conciseness, active listening, assertiveness, verbal communication, non-verbal communication, story telling และ adaptability ทักษะด้านการทำงานร่วมกัน (Collaboration Skills) ได้แก่ทักษะด้าน Active listening, feedback, inclusivity, verbal communication และ written communication ทักษะด้านการคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking Skills) ได้แก่ทักษะด้าน Problem solving, creative writing, open-mindedness, analysis และ active listening ทิศทางการเรียนรู้ในอนาคตควรเป็นแบบไหน จากวงเสวนา Opinion Panel ที่มูลนิธิเอสซีจีจัดขึ้น โดยมีกลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิจากหน่วยงาน องค์กร ที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และสื่อมวลชน กว่า 20 คน ทุกคนมีความเห็นตรงกันว่า ระบบการศึกษาควรปรับตัวเป็นการเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ และต้องสามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ทุกเวลา เพื่อให้เกิดการพัฒนาทักษะทางวิชาชีพ หรือ Hard Skills และทักษะชีวิต หรือ Soft Skills โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นทั้งเยาวชนในระบบ นอกระบบ รวมไปถึงผู้ที่ก้าวพลาด เพื่อให้ทุกคนอยู่รอดในสังคมต่อไปได้อย่างยั่งยืน ซึ่งการเรียนรู้เพื่ออยู่รอดจะดำเนินการด้วย 2 หลักการสำคัญคือ ความยั่งยืนและยืดหยุ่น ยั่งยืนคือเรียนรู้แล้วเอาตัวรอดได้ และยืดหยุ่นคือปรับตัวไปตามสถานการณ์ สถาบันการศึกษา โดยเฉพาะโรงเรียนขยายโอกาส ควรทำหน้าที่ในการสร้างแรงบันดาลใจให้กับเยาวชน ด้วยการกระตุ้นให้รู้จักตัวตนให้เร็วที่สุด เน้นให้เรียนรู้ในสิ่งที่อยากเรียนและมีความสุขในการเรียน และควรจัดทำระบบการเทียบโอนหรือ Credit Bank ให้เกิดเป็นรูปธรรมไปในเวลาเดียวกัน เพราะต่อไปเมื่อตลาดแรงงานไม่ได้ต้องการคนจบวุฒิการศึกษาสูง จึงไม่มีความจำเป็นต้องเสียเวลาเรียนหลายปีเพื่อให้ได้ปริญญา คนรุ่นใหม่จะเปลี่ยนมาเรียนหลักสูตรระยะสั้น เพื่อให้มีงานทำ มีรายได้เลี้ยงตัวเอง และกลับมาพัฒนาทักษะความรู้ Upskills-Reskills เมื่อมีโอกาส พร้อมทั้งเก็บสะสมเครดิตการเรียนรู้เพื่อนำไปใช้คำนวณอัตราค่าจ้างต่อไป เพราะคนที่เรียนมาน้อยแต่ประสบการณ์สูง ควรได้ค่าตอบแทนเทียบเท่าหรือมากกว่าคนที่เรียนจบมาสูงแต่ไม่มีประสบการณ์ นอกจากนี้ จากการศึกษายังพบว่ากลุ่ม Gen Z ถึง 50% ไม่แน่ใจว่าตัวเองชอบอาชีพ / ศึกษาสาขาใด และมากกว่า 37% ที่ยังขาดคนให้คำปรึกษาหรือให้คำแนะนำในการศึกษาต่อ การไม่รู้จักตัวตนของคนรุ่นใหม่ ไม่สามารถบอกได้ว่าตัวเองถนัดอะไร ชอบอะไร รักที่จะทำอะไร ทำให้ไม่สามารถวางแผนชีวิตในอนาคตได้ สถาบันครอบครัวควรส่งเสริมหรือกระตุ้นให้เด็กและเยาวชนค้นหาตัวตนให้พบ เพื่อจะดึงความชอบมาพัฒนาและเพิ่มทักษะให้พร้อมเรียนรู้เป็นอาชีพต่อไป โดยเฉพาะกับคนรุ่นใหม่ในกลุ่ม Medium Skill และ Low Skill ที่จะขาดคนให้คำแนะนำที่ถูกต้อง ซึ่งหากจัดการทั้งระบบ เด็กและเยาวชน-รู้จักตัวตนได้เร็ว เรียนรู้ในสิ่งที่เป็นตัวเอง พัฒนาทักษะสม่ำเสมอ เพื่อให้อยู่รอด มีอาชีพ มีงานทำ อยู่อย่างมีความสุข และเป็นการรอดแบบมีสัมมาชีพ มีคุณธรรมและจริยธรรม ผู้สนใจสามารถติดตามข้อมูลข่าวสารและความคืบหน้าของโครงการต่างๆ ของมูลนิธิเอสซีจี ได้ที่ www.scgfoundation.org เฟซบุ๊ก LEARNtoEARN และ TIKTOK: LEARNtoEARN EZ Webmaster Related Posts BDI จับมือ สจล. เปิดรับสมัครอบรมฟรี! หลักสูตร “Intermediate Data Engineering” พร้อมเสริมศักยภาพบุคลากรในยุคดิจิทัลอย่างมีประสิทธิภาพ “เติมพลังครู สู่ห้องเรียน” รุ่นที่ 2 ‘เชฟบอล’ นักศึกษาป.เอก นันทนาการ ท่องเที่ยวและกีฬา ม.ศิลปากร รังสรรค์สำรับอาหารสมุทรสงคราม เพิ่มมูลค่าภูมิปัญญาอาหารจากวัตถุดิบท้องถิ่น จุฬาฯ เปิดตัวหลักสูตร ZEN หลักสูตรอบรมที่ผสานหลักการปรัชญาแบบญี่ปุ่นกับแนวทางการตลาดสมัยใหม่ พลิกโฉมการพัฒนาครู : โครงการนำร่องหลักสูตรปริญญาร่วมไทย-สหรัฐฯ ยกระดับผลิตครูสะเต็มยุคใหม่ปูทางสู่มาตรฐานสากล Post navigation PREVIOUS Previous post: ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลกNEXT Next post: มทร.กรุงเทพ เปิดรับครั้งใหญ่ ปีการศึกษา 2568 TCAS1 Portfolio – รับตรง 1 (ปวช./ปวส.) – ภาคสมทบ1 และระดับปริญญาโท-เอก Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เสียงสะท้อนจากครูและชุมชน ความท้าทายของการปรับข้อสอบพื้นฐานไทย EZ WebmasterDecember 3, 2024 การปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอบ O-NET, NT และ RT ก้าวสำคัญของการศึกษาขั้นพื้นฐานในไทย สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ได้ประกาศแนวทางใหม่ในการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอบ O-NET, NT และ RT เพื่อให้สอดคล้องกับแนวทางการประเมินของ PISA (Programme for International… ไลอ้อน เร่งเครื่องโปรเจกต์ “อาชีวศึกษาระบบทวิภาคี” ก้าวสู่ปีที่ 9 พร้อมผลิตเยาวชนไทยเข้าระบบการเรียนสายอาชีพควบคู่วิชาชีวิต EZ WebmasterDecember 3, 2024 บริษัท ไลอ้อน (ประเทศไทย) จำกัด ผู้ผลิตและจำหน่ายสินค้าอุปโภคบริโภคเพื่อคนไทย มุ่งมั่นดำเนินธุรกิจพัฒนาสินค้านวัตกรรมเพื่อสุขภาวะที่ดีของผู้บริโภค สังคม และสิ่งแวดล้อม มาตลอดระยะเวลา 55 ปี ได้เห็นความสำคัญของการเปิดโอกาสและพัฒนาเยาวชนเข้าสู่ระบบการศึกษา ผ่านการดำเนิน โครงการ “อาชีวศึกษาระบบทวิภาคี” ซึ่งมีเป้าหมายที่จะผลิตบุคลากรสายอาชีวะ ด้วยรูปแบบของการจัดระบบการศึกษาระบบทวิภาคี ในการประสานความร่วมมือระหว่าง ภาครัฐ ภาคเอกชน…
ไลอ้อน เร่งเครื่องโปรเจกต์ “อาชีวศึกษาระบบทวิภาคี” ก้าวสู่ปีที่ 9 พร้อมผลิตเยาวชนไทยเข้าระบบการเรียนสายอาชีพควบคู่วิชาชีวิต EZ WebmasterDecember 3, 2024 บริษัท ไลอ้อน (ประเทศไทย) จำกัด ผู้ผลิตและจำหน่ายสินค้าอุปโภคบริโภคเพื่อคนไทย มุ่งมั่นดำเนินธุรกิจพัฒนาสินค้านวัตกรรมเพื่อสุขภาวะที่ดีของผู้บริโภค สังคม และสิ่งแวดล้อม มาตลอดระยะเวลา 55 ปี ได้เห็นความสำคัญของการเปิดโอกาสและพัฒนาเยาวชนเข้าสู่ระบบการศึกษา ผ่านการดำเนิน โครงการ “อาชีวศึกษาระบบทวิภาคี” ซึ่งมีเป้าหมายที่จะผลิตบุคลากรสายอาชีวะ ด้วยรูปแบบของการจัดระบบการศึกษาระบบทวิภาคี ในการประสานความร่วมมือระหว่าง ภาครัฐ ภาคเอกชน…
‘เชฟบอล’ นักศึกษาป.เอก นันทนาการ ท่องเที่ยวและกีฬา ม.ศิลปากร รังสรรค์สำรับอาหารสมุทรสงคราม เพิ่มมูลค่าภูมิปัญญาอาหารจากวัตถุดิบท้องถิ่น tui sakrapeeDecember 3, 2024 เชฟบอล – สุถี เสริฐศรี นักวิจัยอาหารพื้นถิ่น โครงการสมุทรสงครามอยู่ดี และบ้านสมุทรสูตรอาหาร ปัจจุบันกำลังศึกษาระดับปริญญาเอก ชั้นปีที่ 1 สาขาการจัดการนันทนาการ การท่องเที่ยวและกีฬา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ที่มีความสนใจทางด้านการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอาหารท้องถิ่นและการเพิ่มมูลค่าภูมิปัญญาอาหารจากวัตถุดิบท้องถิ่น ร่วมกับ เชฟเบลล์ –… 10 สถาบันอุดมศึกษาจำนวนนักศึกษามากที่สุด : ผลสำรวจจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ปีการศึกษา 2567 EZ WebmasterDecember 3, 2024 10 สถาบันอุดมศึกษาจำนวนนักศึกษามากที่สุด : ผลสำรวจจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ปีการศึกษา 2567 10 สถาบันอุดมศึกษาจำนวนนักศึกษามากที่สุด: ผลสำรวจจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ปีการศึกษา 2567 . จำนวนนักศึกษารวม ปีการศึกษา… “คุรุสภา” เร่งออกข้อบังคับมาตรฐานวิชาชีพครูปฐมวัย EZ WebmasterDecember 3, 2024 “คุรุสภา” เร่งผลักดันร่างข้อบังคับมาตรฐานวิชาชีพครูปฐมวัยให้ทันสมัยการศึกษายุคปัจจุบัน พร้อมชวนร่วมแสดงความคิดเห็นร่างดังกล่าว ผศ.ดร.อมลวรรณ วีระธรรมโม เลขาธิการคุรุสภา เปิดเผยว่า ขณะนี้สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา กำลังดำเนินการจัดทำร่างข้อบังคับคุรุสภาว่า ด้วยมาตรฐานวิชาชีพครูปฐมวัย พ.ศ. ….. และอยู่ระหว่างการรับฟังความคิดเห็นเกี่ยวกับ (ร่าง) ข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพครูปฐมวัย พ.ศ. ….… ไลอ้อน เร่งเครื่องโปรเจกต์ “อาชีวศึกษาระบบทวิภาคี” ก้าวสู่ปีที่ 9 พร้อมผลิตเยาวชนไทยเข้าระบบการเรียนสายอาชีพควบคู่วิชาชีวิต EZ WebmasterDecember 3, 2024 บริษัท ไลอ้อน (ประเทศไทย) จำกัด ผู้ผลิตและจำหน่ายสินค้าอุปโภคบริโภคเพื่อคนไทย มุ่งมั่นดำเนินธุรกิจพัฒนาสินค้านวัตกรรมเพื่อสุขภาวะที่ดีของผู้บริโภค สังคม และสิ่งแวดล้อม มาตลอดระยะเวลา 55 ปี ได้เห็นความสำคัญของการเปิดโอกาสและพัฒนาเยาวชนเข้าสู่ระบบการศึกษา ผ่านการดำเนิน โครงการ “อาชีวศึกษาระบบทวิภาคี” ซึ่งมีเป้าหมายที่จะผลิตบุคลากรสายอาชีวะ ด้วยรูปแบบของการจัดระบบการศึกษาระบบทวิภาคี ในการประสานความร่วมมือระหว่าง ภาครัฐ ภาคเอกชน… ทุนดีดี ศอ.บต.จับมือซีพี ออลล์ เปิดให้ 400 ทุน เพื่อเด็กชายแดนใต้เรียนต่อระดับ ปวช. ปวส.และปริญญาตรี tui sakrapeeNovember 20, 2024 ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) ร่วมกับ บริษัท ซีพี ออลล์ จำกัด (มหาชน) จะดำเนินการรับสมัครและคัดเลือกเยาวชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ประกอบไปด้วย จังหวัด สงขลา จังหวัดสตูล จังหวัดปัตตานีจังหวัดยะลา และจังหวัดนราธิวาส เพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)… เปิดให้ทุนเยาวชนขาดแคลนทุนทรัพย์ มีความตั้งใจเรียนต่อระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา tui sakrapeeNovember 8, 2024 มูลนิธิพูนพลัง เปิดโอกาสให้เยาวชนได้เรียนต่อ ในโครงการ ทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2568 สำหรับนักเรียน นักศึกษาที่จะศึกษาในระดับ ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ในปีการศึกษา 2568 ลักษณะโครงการ โครงการทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ แต่มีความตั้งใจศึกษาเล่าเรียน และได้พยายามช่วยเหลือตนเอง… มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… ครู-อาจารย์ BDI จับมือ สจล. เปิดรับสมัครอบรมฟรี! หลักสูตร “Intermediate Data Engineering” พร้อมเสริมศักยภาพบุคลากรในยุคดิจิทัลอย่างมีประสิทธิภาพ EZ WebmasterDecember 3, 2024 สถาบันข้อมูลขนาดใหญ่ (องค์การมหาชน) หรือ BDI ร่วมกับ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง เปิดรับสมัครบุคคลทั่วไปเข้าร่วมอบรมหลักสูตร “Intermediate Data Engineering” เพื่อส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรของประเทศให้มีทักษะด้าน Data Engineering ในระดับกลาง (Intermediate) อย่างมีศักยภาพ โดยหลักสูตรครอบคลุมเนื้อหาทั้งทฤษฎีและปฏิบัติไม่ว่าจะเป็น Data Sources, Web Scraping / Internet Crawler, Data Preprocessing,… “เติมพลังครู สู่ห้องเรียน” รุ่นที่ 2 EZ WebmasterDecember 3, 2024 มาแล้วกับกิจกรรม “เติมพลังครู สู่ห้องเรียน” รุ่นที่ 2 เป็นโครงการที่จัดขึ้นเพื่อเสริมสร้างพลังงานบวกให้กับเหล่าคุณครูและแนวทางการเรียนรู้กับครู โดยมีแนวทาง คือ Transformative Learning ซึ่งสามารถให้คุณครูสามารถเรียนรู้ความรู้สึกภายในของตนเอง และยังได้นำพลังบวกที่ได้รับไปใช้ในการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น . รายละเอียดกิจกรรม วันที่จัดกิจกรรม 14-16 ธันวาคม 2567… จุฬาฯ เปิดตัวหลักสูตร ZEN หลักสูตรอบรมที่ผสานหลักการปรัชญาแบบญี่ปุ่นกับแนวทางการตลาดสมัยใหม่ EZ WebmasterDecember 3, 2024 จุฬาฯ เปิดตัวหลักสูตร ZEN หลักสูตรอบรมที่ผสานหลักการปรัชญาแบบญี่ปุ่นกับแนวทางการตลาดสมัยใหม่ องค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก (พ.ส.ล.) จับมือภาควิชาการตลาด คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาฯ และพันธมิตร จัดงานเสวนาความรู้การตลาดเพื่อความดีงามและยั่งยืน ร่วมพลิกโฉมธุรกิจสู่ความสำเร็จที่ยั่งยืน… พลิกโฉมการพัฒนาครู : โครงการนำร่องหลักสูตรปริญญาร่วมไทย-สหรัฐฯ ยกระดับผลิตครูสะเต็มยุคใหม่ปูทางสู่มาตรฐานสากล EZ WebmasterDecember 3, 2024 ประเทศไทยเปิดก้าวแรก โครงการนำร่อง หลักสูตรปริญญาร่วมไทย-สหรัฐอเมริกา ครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ ด้านสะเต็มศึกษา (Thai-US Joint-degree Sandbox for STEM Teacher Education Program) พลิกโฉมการพัฒนาครูมืออาชีพก้าวนำการเปลี่ยนแปลงโลกปัจจุบัน ต่อยอดจากโครงการครุศึกษายุคใหม่SEA-TEP (Southeast Asian Teacher Education Program) ในระดับภูมิภาค… กิจกรรม “เติมพลังครู สู่ห้องเรียน” รุ่นที่ 2 EZ WebmasterDecember 3, 2024 มาแล้วกับกิจกรรม “เติมพลังครู สู่ห้องเรียน” รุ่นที่ 2 เป็นโครงการที่จัดขึ้นเพื่อเสริมสร้างพลังงานบวกให้กับเหล่าคุณครูและแนวทางการเรียนรู้กับครู โดยมีแนวทาง คือ Transformative Learning ซึ่งสามารถให้คุณครูสามารถเรียนรู้ความรู้สึกภายในของตนเอง และยังได้นำพลังบวกที่ได้รับไปใช้ในการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น . รายละเอียดกิจกรรม วันที่จัดกิจกรรม 14-16 ธันวาคม 2567… จุฬาฯ เปิดตัวหลักสูตร ZEN หลักสูตรอบรมที่ผสานหลักการปรัชญาแบบญี่ปุ่นกับแนวทางการตลาดสมัยใหม่ EZ WebmasterDecember 3, 2024 จุฬาฯ เปิดตัวหลักสูตร ZEN หลักสูตรอบรมที่ผสานหลักการปรัชญาแบบญี่ปุ่นกับแนวทางการตลาดสมัยใหม่ องค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก (พ.ส.ล.) จับมือภาควิชาการตลาด คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาฯ และพันธมิตร จัดงานเสวนาความรู้การตลาดเพื่อความดีงามและยั่งยืน ร่วมพลิกโฉมธุรกิจสู่ความสำเร็จที่ยั่งยืน… วิศวกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี จัดอบรม ระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ tui sakrapeeNovember 27, 2024 รองศาสตราจารย์ ดร.สรพงษ์ ภวสุปรีย์ คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) เผยว่า ศูนย์พัฒนาทักษะอุตสาหกรรม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี ร่วมกับภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า จัดโครงการฝึกอบรมหลักสูตร ระบบกักเก็บพลังงานและสถานการณ์การพัฒนาการของแบตเตอรี่ (Energy Storage System (ESS) and The… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI EZ WebmasterNovember 27, 2024 เติบโตอย่างยิ่งใหญ่กว่าที่เคย iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI พร้อมพาวงการครีเอเตอร์ก้าวสู่เส้นทางแห่งไอคอนนิก งานที่รวบรวมเหล่า ครีเอเตอร์กว่า 100 คนเพื่อเปิดโอกาสให้ได้มีส่วนทำงานกับแบรนด์ต่าง ๆ จนได้กระแสตอบรับอย่างล้นหลาม บรรยากาศภายในงานเต็มไปด้วยความคึกคัก ยิ่งใหญ่ ตื่นตาตื่นใจกว่าที่เคยและผู้คนที่หลั่งไหลเข้ามาภายในงานเป็นจำนวนมากเพือมาเข้าร่วมการพูดแบ่งปันประสบการณ์ของเหล่า ครีเอเตอร์… Search for: Search EZ Webmaster November 5, 2024 EZ Webmaster November 5, 2024 โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ (Hard skills) และทักษะชีวิต (Soft skills) เพราะเชื่อว่าทุกคนมีคุณค่าและ ศักยภาพในตัวเอง สามารถเผชิญโลกที่เปลี่ยนแปลง โดยใช้การเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีความสุขและยั่งยืน ดีมานด์ซัพพลายที่ไม่ลงตัว โลกการทำงานที่ไม่เหมือนเดิมอีกต่อไป แม้ว่าสถาบันการศึกษาจะพยายามออกแบบหลักสูตรการเรียนที่คาดว่าจะตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงาน แต่คุณภาพของผู้ที่จบการศึกษามานั้น กลับยังไม่ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงาน ทำให้ต้องไปทำงานในตำแหน่งงานที่ต่ำกว่าวุฒิที่จบมา หรือทำงานไม่ตรงสาขาที่เรียนจบมา และที่ร้ายแรงที่สุดคือไม่สามารถหางานทำได้ เกิดเป็นปัญหาการว่างงานในที่สุด ซึ่งปัญหานี้ได้ส่งผลกระทบในวงกว้าง มูลนิธิเอสซีจีจึงร่วมกับสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย หรือทีดีอาร์ไอ (Thailand Development Research Institute : TDRI) ได้จัดทำแนวโน้มความต้องการแรงงานในอุตสาหกรรมต่าง ๆ และทักษะอาชีพที่แรงงานไทยควรต้องมี พบว่าแรงงานไทยมีระดับการศึกษาที่สูงขึ้นมากในช่วง 50 ปีที่ผ่านมา แต่โครงสร้างอาชีพแรงงานไทยกลับไม่ได้ยกระดับขึ้นตามระดับการศึกษา โดยมีสาเหตุมาจาก ประเทศไทยไม่ประสบความสำเร็จในการยกระดับอุตสาหกรรมไทยให้เป็นอุตสาหกรรมที่ใช้ทักษะความรู้และมีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้น ระบบการศึกษาของไทย ประสบความสำเร็จในด้านปริมาณ แต่ไม่ประสบความสำเร็จเชิงคุณภาพ วุฒิการศึกษาที่ได้รับไม่ได้สะท้อนถึงทักษะความรู้ที่ผู้เรียนมี เกิดความไม่เข้ากันระหว่างความต้องการแรงงานในตลาด กับระบบการศึกษาที่ผลิตแรงงาน ทั้งการไม่เข้ากันในแนวตั้ง (Vertical Mismatch) คือแรงงานมีวุฒิการศึกษาสูงหรือต่ำกว่าที่ตลาดแรงงานต้องการ และไม่เข้ากันในแนวนอน (Horizontal Mismatch) คือแรงงานมีวุฒิตรงกับที่ตลาดแรงงานต้องการแต่ไม่ได้จบมาในสาขาหรือมีทักษะตรงตามที่ตลาดแรงงานต้องการ ความไม่สอดคล้องกันของความต้องการแรงงานในตลาดกับระบบการศึกษาที่ผลิตแรงงานนี้ (Mismatch) ถือเป็นปัญหาใหญ่และค่อนข้างรุนแรง ใน 2 ประเด็นดังนี้ ○ แรงงานมีวุฒิการศึกษาสูง-ต่ำ กว่าที่ตลาดแรงงานต้องการ ○ แรงงานมีวุฒิการศึกษาตรง แต่กลับจบไม่ตรงสาขาที่ตลาดแรงงานต้องการ โดยเฉพาะในระดับอาชีวศึกษาที่มุ่งเน้นผลิตแรงงานเพื่อป้อนตลาด แต่กลับพบว่าผู้จบระดับ ปวช. อายุ 21-40 ปี ได้งานทำที่ไม่ตรงสายที่เรียนมาเกือบ 90% ผู้จบ ปวส. อายุ 21-30 ปี ทำงานไม่ตรงสาย 84% ประเภทอุตสาหกรรมกับความต้องการแรงงาน ข้อมูลจากการสำรวจตลาดแรงงานไทย โดยทีดีอาร์ไอ ในปี 2024 พบว่า ตลาดแรงงานไทยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ทั้งในส่วนโครงสร้างการจ้างงาน และ ทักษะของตลาดแรงงานไทยที่ยังคงมีลักษณะเป็นแรงงานทักษะต่ำ หากจัดกลุ่มการลงทุนตามประเภทกิจกรรมหมวดใหญ่ ตามข้อมูลการอนุมัติบัตรส่งเสริมการลงทุน ระหว่างปี พ.ศ. 2561 ถึงปี พ.ศ. 2566 จะพบว่า ในแง่เงินลงทุน อุตสาหกรรมเคมีและปิโตรเคมีมีการลงทุนมากที่สุด คือมากถึง446,948 ล้านบาท ตามมาด้วยอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรมเครื่องจักรและยานยนต์ อุตสาหกรรมเกษตร อาหาร และเทคโนโลยีชีวภาพ และอุตสาหกรรมสาธารณูปโภค ตามลำดับ แต่หากพิจารณาตามจำนวนการจ้างงานแล้ว พบว่าอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ มีการจ้างงานมากที่สุด ตามมาด้วยอุตสาหกรรมเครื่องจักรและยานยนต์ และอุตสาหกรรมเกษตร อาหาร และเทคโนโลยีชีวภาพ ตามลำดับ ยุคเรียนรู้เพื่ออยู่รอดแบบ Learn to Earn นอกจากการเรียนรู้ที่จะช่วยพัฒนาทักษะให้อยู่รอดได้แล้วนั้น ศักยภาพของทักษะที่มีในแต่ละคนก็เป็นอีกหนึ่งความสำคัญที่องค์กรต่างๆ ใช้เป็นตัวพิจารณาหลักในการคัดเลือกคนเข้าทำงาน ดังนั้น การมีทั้ง Hard Skills และ Soft Skills จะทำให้บุคคลนั้นมีความสามารถในการทำงานที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น ทักษะวิชาชีพ หรือ Hard Skills เป็นทักษะที่มีระยะเวลาการใช้งาน ความรู้ความสามารถที่มีอยู่นั้นอาจจะไม่สามารถนำมาใช้งานได้เมื่อเวลาผ่านไป เพราะเป็นความรู้ที่เก่า ไม่ทันสมัย ทำให้ต้องมีการเรียนรู้เพิ่มเติมอยู่ตลอดเวลา ซึ่งทักษะวิชาชีพนี้มีรูปแบบตายตัว สามารถเรียนรู้ด้วยตนเองได้ ในขณะที่ทักษะชีวิต หรือ Soft Skills เป็นทักษะที่ใช้ปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น จะมีประโยชน์ในการปรับตัวให้อยู่รอดได้ในปัจจุบัน รวมถึงการนำไปใช้รับมือกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลา ทักษะชีวิตนี้เป็นทักษะที่จะติดตัวไปตลอดชีวิต นอกจากนี้มูลนิธิเอสซีจี ได้ร่วมกับบริษัท ฟาร์อีสท์ เฟมไลน์ ดีดีบี จำกัด (มหาชน) ทำการสำรวจเพิ่มเติมในกลุ่ม Newgen (GEN Y & Z) ช่วงอายุ 15-34 ปี กว่า 500 คน และกลุ่ม Opinion Leader พบว่าทักษะที่ส่วนใหญ่มองว่า เป็นทักษะที่สำคัญและจำเป็น เป็นทักษะ Soft Skills โดยมี Skill set ที่สำคัญดังนี้ ทักษะด้านการสื่อสารและภาษา (Communication & Language Skills) ได้แก่ทักษะด้าน Conciseness, active listening, assertiveness, verbal communication, non-verbal communication, story telling และ adaptability ทักษะด้านการทำงานร่วมกัน (Collaboration Skills) ได้แก่ทักษะด้าน Active listening, feedback, inclusivity, verbal communication และ written communication ทักษะด้านการคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking Skills) ได้แก่ทักษะด้าน Problem solving, creative writing, open-mindedness, analysis และ active listening ทิศทางการเรียนรู้ในอนาคตควรเป็นแบบไหน จากวงเสวนา Opinion Panel ที่มูลนิธิเอสซีจีจัดขึ้น โดยมีกลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิจากหน่วยงาน องค์กร ที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และสื่อมวลชน กว่า 20 คน ทุกคนมีความเห็นตรงกันว่า ระบบการศึกษาควรปรับตัวเป็นการเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ และต้องสามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ทุกเวลา เพื่อให้เกิดการพัฒนาทักษะทางวิชาชีพ หรือ Hard Skills และทักษะชีวิต หรือ Soft Skills โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นทั้งเยาวชนในระบบ นอกระบบ รวมไปถึงผู้ที่ก้าวพลาด เพื่อให้ทุกคนอยู่รอดในสังคมต่อไปได้อย่างยั่งยืน ซึ่งการเรียนรู้เพื่ออยู่รอดจะดำเนินการด้วย 2 หลักการสำคัญคือ ความยั่งยืนและยืดหยุ่น ยั่งยืนคือเรียนรู้แล้วเอาตัวรอดได้ และยืดหยุ่นคือปรับตัวไปตามสถานการณ์ สถาบันการศึกษา โดยเฉพาะโรงเรียนขยายโอกาส ควรทำหน้าที่ในการสร้างแรงบันดาลใจให้กับเยาวชน ด้วยการกระตุ้นให้รู้จักตัวตนให้เร็วที่สุด เน้นให้เรียนรู้ในสิ่งที่อยากเรียนและมีความสุขในการเรียน และควรจัดทำระบบการเทียบโอนหรือ Credit Bank ให้เกิดเป็นรูปธรรมไปในเวลาเดียวกัน เพราะต่อไปเมื่อตลาดแรงงานไม่ได้ต้องการคนจบวุฒิการศึกษาสูง จึงไม่มีความจำเป็นต้องเสียเวลาเรียนหลายปีเพื่อให้ได้ปริญญา คนรุ่นใหม่จะเปลี่ยนมาเรียนหลักสูตรระยะสั้น เพื่อให้มีงานทำ มีรายได้เลี้ยงตัวเอง และกลับมาพัฒนาทักษะความรู้ Upskills-Reskills เมื่อมีโอกาส พร้อมทั้งเก็บสะสมเครดิตการเรียนรู้เพื่อนำไปใช้คำนวณอัตราค่าจ้างต่อไป เพราะคนที่เรียนมาน้อยแต่ประสบการณ์สูง ควรได้ค่าตอบแทนเทียบเท่าหรือมากกว่าคนที่เรียนจบมาสูงแต่ไม่มีประสบการณ์ นอกจากนี้ จากการศึกษายังพบว่ากลุ่ม Gen Z ถึง 50% ไม่แน่ใจว่าตัวเองชอบอาชีพ / ศึกษาสาขาใด และมากกว่า 37% ที่ยังขาดคนให้คำปรึกษาหรือให้คำแนะนำในการศึกษาต่อ การไม่รู้จักตัวตนของคนรุ่นใหม่ ไม่สามารถบอกได้ว่าตัวเองถนัดอะไร ชอบอะไร รักที่จะทำอะไร ทำให้ไม่สามารถวางแผนชีวิตในอนาคตได้ สถาบันครอบครัวควรส่งเสริมหรือกระตุ้นให้เด็กและเยาวชนค้นหาตัวตนให้พบ เพื่อจะดึงความชอบมาพัฒนาและเพิ่มทักษะให้พร้อมเรียนรู้เป็นอาชีพต่อไป โดยเฉพาะกับคนรุ่นใหม่ในกลุ่ม Medium Skill และ Low Skill ที่จะขาดคนให้คำแนะนำที่ถูกต้อง ซึ่งหากจัดการทั้งระบบ เด็กและเยาวชน-รู้จักตัวตนได้เร็ว เรียนรู้ในสิ่งที่เป็นตัวเอง พัฒนาทักษะสม่ำเสมอ เพื่อให้อยู่รอด มีอาชีพ มีงานทำ อยู่อย่างมีความสุข และเป็นการรอดแบบมีสัมมาชีพ มีคุณธรรมและจริยธรรม ผู้สนใจสามารถติดตามข้อมูลข่าวสารและความคืบหน้าของโครงการต่างๆ ของมูลนิธิเอสซีจี ได้ที่ www.scgfoundation.org เฟซบุ๊ก LEARNtoEARN และ TIKTOK: LEARNtoEARN EZ Webmaster Related Posts BDI จับมือ สจล. เปิดรับสมัครอบรมฟรี! หลักสูตร “Intermediate Data Engineering” พร้อมเสริมศักยภาพบุคลากรในยุคดิจิทัลอย่างมีประสิทธิภาพ “เติมพลังครู สู่ห้องเรียน” รุ่นที่ 2 ‘เชฟบอล’ นักศึกษาป.เอก นันทนาการ ท่องเที่ยวและกีฬา ม.ศิลปากร รังสรรค์สำรับอาหารสมุทรสงคราม เพิ่มมูลค่าภูมิปัญญาอาหารจากวัตถุดิบท้องถิ่น จุฬาฯ เปิดตัวหลักสูตร ZEN หลักสูตรอบรมที่ผสานหลักการปรัชญาแบบญี่ปุ่นกับแนวทางการตลาดสมัยใหม่ พลิกโฉมการพัฒนาครู : โครงการนำร่องหลักสูตรปริญญาร่วมไทย-สหรัฐฯ ยกระดับผลิตครูสะเต็มยุคใหม่ปูทางสู่มาตรฐานสากล Post navigation PREVIOUS Previous post: ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลกNEXT Next post: มทร.กรุงเทพ เปิดรับครั้งใหญ่ ปีการศึกษา 2568 TCAS1 Portfolio – รับตรง 1 (ปวช./ปวส.) – ภาคสมทบ1 และระดับปริญญาโท-เอก Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
10 สถาบันอุดมศึกษาจำนวนนักศึกษามากที่สุด : ผลสำรวจจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ปีการศึกษา 2567 EZ WebmasterDecember 3, 2024 10 สถาบันอุดมศึกษาจำนวนนักศึกษามากที่สุด : ผลสำรวจจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ปีการศึกษา 2567 10 สถาบันอุดมศึกษาจำนวนนักศึกษามากที่สุด: ผลสำรวจจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ปีการศึกษา 2567 . จำนวนนักศึกษารวม ปีการศึกษา… “คุรุสภา” เร่งออกข้อบังคับมาตรฐานวิชาชีพครูปฐมวัย EZ WebmasterDecember 3, 2024 “คุรุสภา” เร่งผลักดันร่างข้อบังคับมาตรฐานวิชาชีพครูปฐมวัยให้ทันสมัยการศึกษายุคปัจจุบัน พร้อมชวนร่วมแสดงความคิดเห็นร่างดังกล่าว ผศ.ดร.อมลวรรณ วีระธรรมโม เลขาธิการคุรุสภา เปิดเผยว่า ขณะนี้สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา กำลังดำเนินการจัดทำร่างข้อบังคับคุรุสภาว่า ด้วยมาตรฐานวิชาชีพครูปฐมวัย พ.ศ. ….. และอยู่ระหว่างการรับฟังความคิดเห็นเกี่ยวกับ (ร่าง) ข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพครูปฐมวัย พ.ศ. ….… ไลอ้อน เร่งเครื่องโปรเจกต์ “อาชีวศึกษาระบบทวิภาคี” ก้าวสู่ปีที่ 9 พร้อมผลิตเยาวชนไทยเข้าระบบการเรียนสายอาชีพควบคู่วิชาชีวิต EZ WebmasterDecember 3, 2024 บริษัท ไลอ้อน (ประเทศไทย) จำกัด ผู้ผลิตและจำหน่ายสินค้าอุปโภคบริโภคเพื่อคนไทย มุ่งมั่นดำเนินธุรกิจพัฒนาสินค้านวัตกรรมเพื่อสุขภาวะที่ดีของผู้บริโภค สังคม และสิ่งแวดล้อม มาตลอดระยะเวลา 55 ปี ได้เห็นความสำคัญของการเปิดโอกาสและพัฒนาเยาวชนเข้าสู่ระบบการศึกษา ผ่านการดำเนิน โครงการ “อาชีวศึกษาระบบทวิภาคี” ซึ่งมีเป้าหมายที่จะผลิตบุคลากรสายอาชีวะ ด้วยรูปแบบของการจัดระบบการศึกษาระบบทวิภาคี ในการประสานความร่วมมือระหว่าง ภาครัฐ ภาคเอกชน… ทุนดีดี ศอ.บต.จับมือซีพี ออลล์ เปิดให้ 400 ทุน เพื่อเด็กชายแดนใต้เรียนต่อระดับ ปวช. ปวส.และปริญญาตรี tui sakrapeeNovember 20, 2024 ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) ร่วมกับ บริษัท ซีพี ออลล์ จำกัด (มหาชน) จะดำเนินการรับสมัครและคัดเลือกเยาวชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ประกอบไปด้วย จังหวัด สงขลา จังหวัดสตูล จังหวัดปัตตานีจังหวัดยะลา และจังหวัดนราธิวาส เพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)… เปิดให้ทุนเยาวชนขาดแคลนทุนทรัพย์ มีความตั้งใจเรียนต่อระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา tui sakrapeeNovember 8, 2024 มูลนิธิพูนพลัง เปิดโอกาสให้เยาวชนได้เรียนต่อ ในโครงการ ทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2568 สำหรับนักเรียน นักศึกษาที่จะศึกษาในระดับ ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ในปีการศึกษา 2568 ลักษณะโครงการ โครงการทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ แต่มีความตั้งใจศึกษาเล่าเรียน และได้พยายามช่วยเหลือตนเอง… มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… ครู-อาจารย์ BDI จับมือ สจล. เปิดรับสมัครอบรมฟรี! หลักสูตร “Intermediate Data Engineering” พร้อมเสริมศักยภาพบุคลากรในยุคดิจิทัลอย่างมีประสิทธิภาพ EZ WebmasterDecember 3, 2024 สถาบันข้อมูลขนาดใหญ่ (องค์การมหาชน) หรือ BDI ร่วมกับ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง เปิดรับสมัครบุคคลทั่วไปเข้าร่วมอบรมหลักสูตร “Intermediate Data Engineering” เพื่อส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรของประเทศให้มีทักษะด้าน Data Engineering ในระดับกลาง (Intermediate) อย่างมีศักยภาพ โดยหลักสูตรครอบคลุมเนื้อหาทั้งทฤษฎีและปฏิบัติไม่ว่าจะเป็น Data Sources, Web Scraping / Internet Crawler, Data Preprocessing,… “เติมพลังครู สู่ห้องเรียน” รุ่นที่ 2 EZ WebmasterDecember 3, 2024 มาแล้วกับกิจกรรม “เติมพลังครู สู่ห้องเรียน” รุ่นที่ 2 เป็นโครงการที่จัดขึ้นเพื่อเสริมสร้างพลังงานบวกให้กับเหล่าคุณครูและแนวทางการเรียนรู้กับครู โดยมีแนวทาง คือ Transformative Learning ซึ่งสามารถให้คุณครูสามารถเรียนรู้ความรู้สึกภายในของตนเอง และยังได้นำพลังบวกที่ได้รับไปใช้ในการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น . รายละเอียดกิจกรรม วันที่จัดกิจกรรม 14-16 ธันวาคม 2567… จุฬาฯ เปิดตัวหลักสูตร ZEN หลักสูตรอบรมที่ผสานหลักการปรัชญาแบบญี่ปุ่นกับแนวทางการตลาดสมัยใหม่ EZ WebmasterDecember 3, 2024 จุฬาฯ เปิดตัวหลักสูตร ZEN หลักสูตรอบรมที่ผสานหลักการปรัชญาแบบญี่ปุ่นกับแนวทางการตลาดสมัยใหม่ องค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก (พ.ส.ล.) จับมือภาควิชาการตลาด คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาฯ และพันธมิตร จัดงานเสวนาความรู้การตลาดเพื่อความดีงามและยั่งยืน ร่วมพลิกโฉมธุรกิจสู่ความสำเร็จที่ยั่งยืน… พลิกโฉมการพัฒนาครู : โครงการนำร่องหลักสูตรปริญญาร่วมไทย-สหรัฐฯ ยกระดับผลิตครูสะเต็มยุคใหม่ปูทางสู่มาตรฐานสากล EZ WebmasterDecember 3, 2024 ประเทศไทยเปิดก้าวแรก โครงการนำร่อง หลักสูตรปริญญาร่วมไทย-สหรัฐอเมริกา ครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ ด้านสะเต็มศึกษา (Thai-US Joint-degree Sandbox for STEM Teacher Education Program) พลิกโฉมการพัฒนาครูมืออาชีพก้าวนำการเปลี่ยนแปลงโลกปัจจุบัน ต่อยอดจากโครงการครุศึกษายุคใหม่SEA-TEP (Southeast Asian Teacher Education Program) ในระดับภูมิภาค… กิจกรรม “เติมพลังครู สู่ห้องเรียน” รุ่นที่ 2 EZ WebmasterDecember 3, 2024 มาแล้วกับกิจกรรม “เติมพลังครู สู่ห้องเรียน” รุ่นที่ 2 เป็นโครงการที่จัดขึ้นเพื่อเสริมสร้างพลังงานบวกให้กับเหล่าคุณครูและแนวทางการเรียนรู้กับครู โดยมีแนวทาง คือ Transformative Learning ซึ่งสามารถให้คุณครูสามารถเรียนรู้ความรู้สึกภายในของตนเอง และยังได้นำพลังบวกที่ได้รับไปใช้ในการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น . รายละเอียดกิจกรรม วันที่จัดกิจกรรม 14-16 ธันวาคม 2567… จุฬาฯ เปิดตัวหลักสูตร ZEN หลักสูตรอบรมที่ผสานหลักการปรัชญาแบบญี่ปุ่นกับแนวทางการตลาดสมัยใหม่ EZ WebmasterDecember 3, 2024 จุฬาฯ เปิดตัวหลักสูตร ZEN หลักสูตรอบรมที่ผสานหลักการปรัชญาแบบญี่ปุ่นกับแนวทางการตลาดสมัยใหม่ องค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก (พ.ส.ล.) จับมือภาควิชาการตลาด คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาฯ และพันธมิตร จัดงานเสวนาความรู้การตลาดเพื่อความดีงามและยั่งยืน ร่วมพลิกโฉมธุรกิจสู่ความสำเร็จที่ยั่งยืน… วิศวกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี จัดอบรม ระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ tui sakrapeeNovember 27, 2024 รองศาสตราจารย์ ดร.สรพงษ์ ภวสุปรีย์ คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) เผยว่า ศูนย์พัฒนาทักษะอุตสาหกรรม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี ร่วมกับภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า จัดโครงการฝึกอบรมหลักสูตร ระบบกักเก็บพลังงานและสถานการณ์การพัฒนาการของแบตเตอรี่ (Energy Storage System (ESS) and The… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI EZ WebmasterNovember 27, 2024 เติบโตอย่างยิ่งใหญ่กว่าที่เคย iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI พร้อมพาวงการครีเอเตอร์ก้าวสู่เส้นทางแห่งไอคอนนิก งานที่รวบรวมเหล่า ครีเอเตอร์กว่า 100 คนเพื่อเปิดโอกาสให้ได้มีส่วนทำงานกับแบรนด์ต่าง ๆ จนได้กระแสตอบรับอย่างล้นหลาม บรรยากาศภายในงานเต็มไปด้วยความคึกคัก ยิ่งใหญ่ ตื่นตาตื่นใจกว่าที่เคยและผู้คนที่หลั่งไหลเข้ามาภายในงานเป็นจำนวนมากเพือมาเข้าร่วมการพูดแบ่งปันประสบการณ์ของเหล่า ครีเอเตอร์… Search for: Search EZ Webmaster November 5, 2024 EZ Webmaster November 5, 2024 โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ (Hard skills) และทักษะชีวิต (Soft skills) เพราะเชื่อว่าทุกคนมีคุณค่าและ ศักยภาพในตัวเอง สามารถเผชิญโลกที่เปลี่ยนแปลง โดยใช้การเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีความสุขและยั่งยืน ดีมานด์ซัพพลายที่ไม่ลงตัว โลกการทำงานที่ไม่เหมือนเดิมอีกต่อไป แม้ว่าสถาบันการศึกษาจะพยายามออกแบบหลักสูตรการเรียนที่คาดว่าจะตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงาน แต่คุณภาพของผู้ที่จบการศึกษามานั้น กลับยังไม่ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงาน ทำให้ต้องไปทำงานในตำแหน่งงานที่ต่ำกว่าวุฒิที่จบมา หรือทำงานไม่ตรงสาขาที่เรียนจบมา และที่ร้ายแรงที่สุดคือไม่สามารถหางานทำได้ เกิดเป็นปัญหาการว่างงานในที่สุด ซึ่งปัญหานี้ได้ส่งผลกระทบในวงกว้าง มูลนิธิเอสซีจีจึงร่วมกับสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย หรือทีดีอาร์ไอ (Thailand Development Research Institute : TDRI) ได้จัดทำแนวโน้มความต้องการแรงงานในอุตสาหกรรมต่าง ๆ และทักษะอาชีพที่แรงงานไทยควรต้องมี พบว่าแรงงานไทยมีระดับการศึกษาที่สูงขึ้นมากในช่วง 50 ปีที่ผ่านมา แต่โครงสร้างอาชีพแรงงานไทยกลับไม่ได้ยกระดับขึ้นตามระดับการศึกษา โดยมีสาเหตุมาจาก ประเทศไทยไม่ประสบความสำเร็จในการยกระดับอุตสาหกรรมไทยให้เป็นอุตสาหกรรมที่ใช้ทักษะความรู้และมีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้น ระบบการศึกษาของไทย ประสบความสำเร็จในด้านปริมาณ แต่ไม่ประสบความสำเร็จเชิงคุณภาพ วุฒิการศึกษาที่ได้รับไม่ได้สะท้อนถึงทักษะความรู้ที่ผู้เรียนมี เกิดความไม่เข้ากันระหว่างความต้องการแรงงานในตลาด กับระบบการศึกษาที่ผลิตแรงงาน ทั้งการไม่เข้ากันในแนวตั้ง (Vertical Mismatch) คือแรงงานมีวุฒิการศึกษาสูงหรือต่ำกว่าที่ตลาดแรงงานต้องการ และไม่เข้ากันในแนวนอน (Horizontal Mismatch) คือแรงงานมีวุฒิตรงกับที่ตลาดแรงงานต้องการแต่ไม่ได้จบมาในสาขาหรือมีทักษะตรงตามที่ตลาดแรงงานต้องการ ความไม่สอดคล้องกันของความต้องการแรงงานในตลาดกับระบบการศึกษาที่ผลิตแรงงานนี้ (Mismatch) ถือเป็นปัญหาใหญ่และค่อนข้างรุนแรง ใน 2 ประเด็นดังนี้ ○ แรงงานมีวุฒิการศึกษาสูง-ต่ำ กว่าที่ตลาดแรงงานต้องการ ○ แรงงานมีวุฒิการศึกษาตรง แต่กลับจบไม่ตรงสาขาที่ตลาดแรงงานต้องการ โดยเฉพาะในระดับอาชีวศึกษาที่มุ่งเน้นผลิตแรงงานเพื่อป้อนตลาด แต่กลับพบว่าผู้จบระดับ ปวช. อายุ 21-40 ปี ได้งานทำที่ไม่ตรงสายที่เรียนมาเกือบ 90% ผู้จบ ปวส. อายุ 21-30 ปี ทำงานไม่ตรงสาย 84% ประเภทอุตสาหกรรมกับความต้องการแรงงาน ข้อมูลจากการสำรวจตลาดแรงงานไทย โดยทีดีอาร์ไอ ในปี 2024 พบว่า ตลาดแรงงานไทยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ทั้งในส่วนโครงสร้างการจ้างงาน และ ทักษะของตลาดแรงงานไทยที่ยังคงมีลักษณะเป็นแรงงานทักษะต่ำ หากจัดกลุ่มการลงทุนตามประเภทกิจกรรมหมวดใหญ่ ตามข้อมูลการอนุมัติบัตรส่งเสริมการลงทุน ระหว่างปี พ.ศ. 2561 ถึงปี พ.ศ. 2566 จะพบว่า ในแง่เงินลงทุน อุตสาหกรรมเคมีและปิโตรเคมีมีการลงทุนมากที่สุด คือมากถึง446,948 ล้านบาท ตามมาด้วยอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรมเครื่องจักรและยานยนต์ อุตสาหกรรมเกษตร อาหาร และเทคโนโลยีชีวภาพ และอุตสาหกรรมสาธารณูปโภค ตามลำดับ แต่หากพิจารณาตามจำนวนการจ้างงานแล้ว พบว่าอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ มีการจ้างงานมากที่สุด ตามมาด้วยอุตสาหกรรมเครื่องจักรและยานยนต์ และอุตสาหกรรมเกษตร อาหาร และเทคโนโลยีชีวภาพ ตามลำดับ ยุคเรียนรู้เพื่ออยู่รอดแบบ Learn to Earn นอกจากการเรียนรู้ที่จะช่วยพัฒนาทักษะให้อยู่รอดได้แล้วนั้น ศักยภาพของทักษะที่มีในแต่ละคนก็เป็นอีกหนึ่งความสำคัญที่องค์กรต่างๆ ใช้เป็นตัวพิจารณาหลักในการคัดเลือกคนเข้าทำงาน ดังนั้น การมีทั้ง Hard Skills และ Soft Skills จะทำให้บุคคลนั้นมีความสามารถในการทำงานที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น ทักษะวิชาชีพ หรือ Hard Skills เป็นทักษะที่มีระยะเวลาการใช้งาน ความรู้ความสามารถที่มีอยู่นั้นอาจจะไม่สามารถนำมาใช้งานได้เมื่อเวลาผ่านไป เพราะเป็นความรู้ที่เก่า ไม่ทันสมัย ทำให้ต้องมีการเรียนรู้เพิ่มเติมอยู่ตลอดเวลา ซึ่งทักษะวิชาชีพนี้มีรูปแบบตายตัว สามารถเรียนรู้ด้วยตนเองได้ ในขณะที่ทักษะชีวิต หรือ Soft Skills เป็นทักษะที่ใช้ปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น จะมีประโยชน์ในการปรับตัวให้อยู่รอดได้ในปัจจุบัน รวมถึงการนำไปใช้รับมือกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลา ทักษะชีวิตนี้เป็นทักษะที่จะติดตัวไปตลอดชีวิต นอกจากนี้มูลนิธิเอสซีจี ได้ร่วมกับบริษัท ฟาร์อีสท์ เฟมไลน์ ดีดีบี จำกัด (มหาชน) ทำการสำรวจเพิ่มเติมในกลุ่ม Newgen (GEN Y & Z) ช่วงอายุ 15-34 ปี กว่า 500 คน และกลุ่ม Opinion Leader พบว่าทักษะที่ส่วนใหญ่มองว่า เป็นทักษะที่สำคัญและจำเป็น เป็นทักษะ Soft Skills โดยมี Skill set ที่สำคัญดังนี้ ทักษะด้านการสื่อสารและภาษา (Communication & Language Skills) ได้แก่ทักษะด้าน Conciseness, active listening, assertiveness, verbal communication, non-verbal communication, story telling และ adaptability ทักษะด้านการทำงานร่วมกัน (Collaboration Skills) ได้แก่ทักษะด้าน Active listening, feedback, inclusivity, verbal communication และ written communication ทักษะด้านการคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking Skills) ได้แก่ทักษะด้าน Problem solving, creative writing, open-mindedness, analysis และ active listening ทิศทางการเรียนรู้ในอนาคตควรเป็นแบบไหน จากวงเสวนา Opinion Panel ที่มูลนิธิเอสซีจีจัดขึ้น โดยมีกลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิจากหน่วยงาน องค์กร ที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และสื่อมวลชน กว่า 20 คน ทุกคนมีความเห็นตรงกันว่า ระบบการศึกษาควรปรับตัวเป็นการเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ และต้องสามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ทุกเวลา เพื่อให้เกิดการพัฒนาทักษะทางวิชาชีพ หรือ Hard Skills และทักษะชีวิต หรือ Soft Skills โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นทั้งเยาวชนในระบบ นอกระบบ รวมไปถึงผู้ที่ก้าวพลาด เพื่อให้ทุกคนอยู่รอดในสังคมต่อไปได้อย่างยั่งยืน ซึ่งการเรียนรู้เพื่ออยู่รอดจะดำเนินการด้วย 2 หลักการสำคัญคือ ความยั่งยืนและยืดหยุ่น ยั่งยืนคือเรียนรู้แล้วเอาตัวรอดได้ และยืดหยุ่นคือปรับตัวไปตามสถานการณ์ สถาบันการศึกษา โดยเฉพาะโรงเรียนขยายโอกาส ควรทำหน้าที่ในการสร้างแรงบันดาลใจให้กับเยาวชน ด้วยการกระตุ้นให้รู้จักตัวตนให้เร็วที่สุด เน้นให้เรียนรู้ในสิ่งที่อยากเรียนและมีความสุขในการเรียน และควรจัดทำระบบการเทียบโอนหรือ Credit Bank ให้เกิดเป็นรูปธรรมไปในเวลาเดียวกัน เพราะต่อไปเมื่อตลาดแรงงานไม่ได้ต้องการคนจบวุฒิการศึกษาสูง จึงไม่มีความจำเป็นต้องเสียเวลาเรียนหลายปีเพื่อให้ได้ปริญญา คนรุ่นใหม่จะเปลี่ยนมาเรียนหลักสูตรระยะสั้น เพื่อให้มีงานทำ มีรายได้เลี้ยงตัวเอง และกลับมาพัฒนาทักษะความรู้ Upskills-Reskills เมื่อมีโอกาส พร้อมทั้งเก็บสะสมเครดิตการเรียนรู้เพื่อนำไปใช้คำนวณอัตราค่าจ้างต่อไป เพราะคนที่เรียนมาน้อยแต่ประสบการณ์สูง ควรได้ค่าตอบแทนเทียบเท่าหรือมากกว่าคนที่เรียนจบมาสูงแต่ไม่มีประสบการณ์ นอกจากนี้ จากการศึกษายังพบว่ากลุ่ม Gen Z ถึง 50% ไม่แน่ใจว่าตัวเองชอบอาชีพ / ศึกษาสาขาใด และมากกว่า 37% ที่ยังขาดคนให้คำปรึกษาหรือให้คำแนะนำในการศึกษาต่อ การไม่รู้จักตัวตนของคนรุ่นใหม่ ไม่สามารถบอกได้ว่าตัวเองถนัดอะไร ชอบอะไร รักที่จะทำอะไร ทำให้ไม่สามารถวางแผนชีวิตในอนาคตได้ สถาบันครอบครัวควรส่งเสริมหรือกระตุ้นให้เด็กและเยาวชนค้นหาตัวตนให้พบ เพื่อจะดึงความชอบมาพัฒนาและเพิ่มทักษะให้พร้อมเรียนรู้เป็นอาชีพต่อไป โดยเฉพาะกับคนรุ่นใหม่ในกลุ่ม Medium Skill และ Low Skill ที่จะขาดคนให้คำแนะนำที่ถูกต้อง ซึ่งหากจัดการทั้งระบบ เด็กและเยาวชน-รู้จักตัวตนได้เร็ว เรียนรู้ในสิ่งที่เป็นตัวเอง พัฒนาทักษะสม่ำเสมอ เพื่อให้อยู่รอด มีอาชีพ มีงานทำ อยู่อย่างมีความสุข และเป็นการรอดแบบมีสัมมาชีพ มีคุณธรรมและจริยธรรม ผู้สนใจสามารถติดตามข้อมูลข่าวสารและความคืบหน้าของโครงการต่างๆ ของมูลนิธิเอสซีจี ได้ที่ www.scgfoundation.org เฟซบุ๊ก LEARNtoEARN และ TIKTOK: LEARNtoEARN EZ Webmaster Related Posts BDI จับมือ สจล. เปิดรับสมัครอบรมฟรี! หลักสูตร “Intermediate Data Engineering” พร้อมเสริมศักยภาพบุคลากรในยุคดิจิทัลอย่างมีประสิทธิภาพ “เติมพลังครู สู่ห้องเรียน” รุ่นที่ 2 ‘เชฟบอล’ นักศึกษาป.เอก นันทนาการ ท่องเที่ยวและกีฬา ม.ศิลปากร รังสรรค์สำรับอาหารสมุทรสงคราม เพิ่มมูลค่าภูมิปัญญาอาหารจากวัตถุดิบท้องถิ่น จุฬาฯ เปิดตัวหลักสูตร ZEN หลักสูตรอบรมที่ผสานหลักการปรัชญาแบบญี่ปุ่นกับแนวทางการตลาดสมัยใหม่ พลิกโฉมการพัฒนาครู : โครงการนำร่องหลักสูตรปริญญาร่วมไทย-สหรัฐฯ ยกระดับผลิตครูสะเต็มยุคใหม่ปูทางสู่มาตรฐานสากล Post navigation PREVIOUS Previous post: ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลกNEXT Next post: มทร.กรุงเทพ เปิดรับครั้งใหญ่ ปีการศึกษา 2568 TCAS1 Portfolio – รับตรง 1 (ปวช./ปวส.) – ภาคสมทบ1 และระดับปริญญาโท-เอก Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
“คุรุสภา” เร่งออกข้อบังคับมาตรฐานวิชาชีพครูปฐมวัย EZ WebmasterDecember 3, 2024 “คุรุสภา” เร่งผลักดันร่างข้อบังคับมาตรฐานวิชาชีพครูปฐมวัยให้ทันสมัยการศึกษายุคปัจจุบัน พร้อมชวนร่วมแสดงความคิดเห็นร่างดังกล่าว ผศ.ดร.อมลวรรณ วีระธรรมโม เลขาธิการคุรุสภา เปิดเผยว่า ขณะนี้สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา กำลังดำเนินการจัดทำร่างข้อบังคับคุรุสภาว่า ด้วยมาตรฐานวิชาชีพครูปฐมวัย พ.ศ. ….. และอยู่ระหว่างการรับฟังความคิดเห็นเกี่ยวกับ (ร่าง) ข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพครูปฐมวัย พ.ศ. ….… ไลอ้อน เร่งเครื่องโปรเจกต์ “อาชีวศึกษาระบบทวิภาคี” ก้าวสู่ปีที่ 9 พร้อมผลิตเยาวชนไทยเข้าระบบการเรียนสายอาชีพควบคู่วิชาชีวิต EZ WebmasterDecember 3, 2024 บริษัท ไลอ้อน (ประเทศไทย) จำกัด ผู้ผลิตและจำหน่ายสินค้าอุปโภคบริโภคเพื่อคนไทย มุ่งมั่นดำเนินธุรกิจพัฒนาสินค้านวัตกรรมเพื่อสุขภาวะที่ดีของผู้บริโภค สังคม และสิ่งแวดล้อม มาตลอดระยะเวลา 55 ปี ได้เห็นความสำคัญของการเปิดโอกาสและพัฒนาเยาวชนเข้าสู่ระบบการศึกษา ผ่านการดำเนิน โครงการ “อาชีวศึกษาระบบทวิภาคี” ซึ่งมีเป้าหมายที่จะผลิตบุคลากรสายอาชีวะ ด้วยรูปแบบของการจัดระบบการศึกษาระบบทวิภาคี ในการประสานความร่วมมือระหว่าง ภาครัฐ ภาคเอกชน…
ไลอ้อน เร่งเครื่องโปรเจกต์ “อาชีวศึกษาระบบทวิภาคี” ก้าวสู่ปีที่ 9 พร้อมผลิตเยาวชนไทยเข้าระบบการเรียนสายอาชีพควบคู่วิชาชีวิต EZ WebmasterDecember 3, 2024 บริษัท ไลอ้อน (ประเทศไทย) จำกัด ผู้ผลิตและจำหน่ายสินค้าอุปโภคบริโภคเพื่อคนไทย มุ่งมั่นดำเนินธุรกิจพัฒนาสินค้านวัตกรรมเพื่อสุขภาวะที่ดีของผู้บริโภค สังคม และสิ่งแวดล้อม มาตลอดระยะเวลา 55 ปี ได้เห็นความสำคัญของการเปิดโอกาสและพัฒนาเยาวชนเข้าสู่ระบบการศึกษา ผ่านการดำเนิน โครงการ “อาชีวศึกษาระบบทวิภาคี” ซึ่งมีเป้าหมายที่จะผลิตบุคลากรสายอาชีวะ ด้วยรูปแบบของการจัดระบบการศึกษาระบบทวิภาคี ในการประสานความร่วมมือระหว่าง ภาครัฐ ภาคเอกชน…
ศอ.บต.จับมือซีพี ออลล์ เปิดให้ 400 ทุน เพื่อเด็กชายแดนใต้เรียนต่อระดับ ปวช. ปวส.และปริญญาตรี tui sakrapeeNovember 20, 2024 ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) ร่วมกับ บริษัท ซีพี ออลล์ จำกัด (มหาชน) จะดำเนินการรับสมัครและคัดเลือกเยาวชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ประกอบไปด้วย จังหวัด สงขลา จังหวัดสตูล จังหวัดปัตตานีจังหวัดยะลา และจังหวัดนราธิวาส เพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)… เปิดให้ทุนเยาวชนขาดแคลนทุนทรัพย์ มีความตั้งใจเรียนต่อระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา tui sakrapeeNovember 8, 2024 มูลนิธิพูนพลัง เปิดโอกาสให้เยาวชนได้เรียนต่อ ในโครงการ ทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2568 สำหรับนักเรียน นักศึกษาที่จะศึกษาในระดับ ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ในปีการศึกษา 2568 ลักษณะโครงการ โครงการทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ แต่มีความตั้งใจศึกษาเล่าเรียน และได้พยายามช่วยเหลือตนเอง… มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… ครู-อาจารย์ BDI จับมือ สจล. เปิดรับสมัครอบรมฟรี! หลักสูตร “Intermediate Data Engineering” พร้อมเสริมศักยภาพบุคลากรในยุคดิจิทัลอย่างมีประสิทธิภาพ EZ WebmasterDecember 3, 2024 สถาบันข้อมูลขนาดใหญ่ (องค์การมหาชน) หรือ BDI ร่วมกับ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง เปิดรับสมัครบุคคลทั่วไปเข้าร่วมอบรมหลักสูตร “Intermediate Data Engineering” เพื่อส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรของประเทศให้มีทักษะด้าน Data Engineering ในระดับกลาง (Intermediate) อย่างมีศักยภาพ โดยหลักสูตรครอบคลุมเนื้อหาทั้งทฤษฎีและปฏิบัติไม่ว่าจะเป็น Data Sources, Web Scraping / Internet Crawler, Data Preprocessing,… “เติมพลังครู สู่ห้องเรียน” รุ่นที่ 2 EZ WebmasterDecember 3, 2024 มาแล้วกับกิจกรรม “เติมพลังครู สู่ห้องเรียน” รุ่นที่ 2 เป็นโครงการที่จัดขึ้นเพื่อเสริมสร้างพลังงานบวกให้กับเหล่าคุณครูและแนวทางการเรียนรู้กับครู โดยมีแนวทาง คือ Transformative Learning ซึ่งสามารถให้คุณครูสามารถเรียนรู้ความรู้สึกภายในของตนเอง และยังได้นำพลังบวกที่ได้รับไปใช้ในการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น . รายละเอียดกิจกรรม วันที่จัดกิจกรรม 14-16 ธันวาคม 2567… จุฬาฯ เปิดตัวหลักสูตร ZEN หลักสูตรอบรมที่ผสานหลักการปรัชญาแบบญี่ปุ่นกับแนวทางการตลาดสมัยใหม่ EZ WebmasterDecember 3, 2024 จุฬาฯ เปิดตัวหลักสูตร ZEN หลักสูตรอบรมที่ผสานหลักการปรัชญาแบบญี่ปุ่นกับแนวทางการตลาดสมัยใหม่ องค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก (พ.ส.ล.) จับมือภาควิชาการตลาด คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาฯ และพันธมิตร จัดงานเสวนาความรู้การตลาดเพื่อความดีงามและยั่งยืน ร่วมพลิกโฉมธุรกิจสู่ความสำเร็จที่ยั่งยืน… พลิกโฉมการพัฒนาครู : โครงการนำร่องหลักสูตรปริญญาร่วมไทย-สหรัฐฯ ยกระดับผลิตครูสะเต็มยุคใหม่ปูทางสู่มาตรฐานสากล EZ WebmasterDecember 3, 2024 ประเทศไทยเปิดก้าวแรก โครงการนำร่อง หลักสูตรปริญญาร่วมไทย-สหรัฐอเมริกา ครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ ด้านสะเต็มศึกษา (Thai-US Joint-degree Sandbox for STEM Teacher Education Program) พลิกโฉมการพัฒนาครูมืออาชีพก้าวนำการเปลี่ยนแปลงโลกปัจจุบัน ต่อยอดจากโครงการครุศึกษายุคใหม่SEA-TEP (Southeast Asian Teacher Education Program) ในระดับภูมิภาค… กิจกรรม “เติมพลังครู สู่ห้องเรียน” รุ่นที่ 2 EZ WebmasterDecember 3, 2024 มาแล้วกับกิจกรรม “เติมพลังครู สู่ห้องเรียน” รุ่นที่ 2 เป็นโครงการที่จัดขึ้นเพื่อเสริมสร้างพลังงานบวกให้กับเหล่าคุณครูและแนวทางการเรียนรู้กับครู โดยมีแนวทาง คือ Transformative Learning ซึ่งสามารถให้คุณครูสามารถเรียนรู้ความรู้สึกภายในของตนเอง และยังได้นำพลังบวกที่ได้รับไปใช้ในการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น . รายละเอียดกิจกรรม วันที่จัดกิจกรรม 14-16 ธันวาคม 2567… จุฬาฯ เปิดตัวหลักสูตร ZEN หลักสูตรอบรมที่ผสานหลักการปรัชญาแบบญี่ปุ่นกับแนวทางการตลาดสมัยใหม่ EZ WebmasterDecember 3, 2024 จุฬาฯ เปิดตัวหลักสูตร ZEN หลักสูตรอบรมที่ผสานหลักการปรัชญาแบบญี่ปุ่นกับแนวทางการตลาดสมัยใหม่ องค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก (พ.ส.ล.) จับมือภาควิชาการตลาด คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาฯ และพันธมิตร จัดงานเสวนาความรู้การตลาดเพื่อความดีงามและยั่งยืน ร่วมพลิกโฉมธุรกิจสู่ความสำเร็จที่ยั่งยืน… วิศวกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี จัดอบรม ระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ tui sakrapeeNovember 27, 2024 รองศาสตราจารย์ ดร.สรพงษ์ ภวสุปรีย์ คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) เผยว่า ศูนย์พัฒนาทักษะอุตสาหกรรม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี ร่วมกับภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า จัดโครงการฝึกอบรมหลักสูตร ระบบกักเก็บพลังงานและสถานการณ์การพัฒนาการของแบตเตอรี่ (Energy Storage System (ESS) and The… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI EZ WebmasterNovember 27, 2024 เติบโตอย่างยิ่งใหญ่กว่าที่เคย iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI พร้อมพาวงการครีเอเตอร์ก้าวสู่เส้นทางแห่งไอคอนนิก งานที่รวบรวมเหล่า ครีเอเตอร์กว่า 100 คนเพื่อเปิดโอกาสให้ได้มีส่วนทำงานกับแบรนด์ต่าง ๆ จนได้กระแสตอบรับอย่างล้นหลาม บรรยากาศภายในงานเต็มไปด้วยความคึกคัก ยิ่งใหญ่ ตื่นตาตื่นใจกว่าที่เคยและผู้คนที่หลั่งไหลเข้ามาภายในงานเป็นจำนวนมากเพือมาเข้าร่วมการพูดแบ่งปันประสบการณ์ของเหล่า ครีเอเตอร์… Search for: Search EZ Webmaster November 5, 2024 EZ Webmaster November 5, 2024 โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ (Hard skills) และทักษะชีวิต (Soft skills) เพราะเชื่อว่าทุกคนมีคุณค่าและ ศักยภาพในตัวเอง สามารถเผชิญโลกที่เปลี่ยนแปลง โดยใช้การเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีความสุขและยั่งยืน ดีมานด์ซัพพลายที่ไม่ลงตัว โลกการทำงานที่ไม่เหมือนเดิมอีกต่อไป แม้ว่าสถาบันการศึกษาจะพยายามออกแบบหลักสูตรการเรียนที่คาดว่าจะตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงาน แต่คุณภาพของผู้ที่จบการศึกษามานั้น กลับยังไม่ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงาน ทำให้ต้องไปทำงานในตำแหน่งงานที่ต่ำกว่าวุฒิที่จบมา หรือทำงานไม่ตรงสาขาที่เรียนจบมา และที่ร้ายแรงที่สุดคือไม่สามารถหางานทำได้ เกิดเป็นปัญหาการว่างงานในที่สุด ซึ่งปัญหานี้ได้ส่งผลกระทบในวงกว้าง มูลนิธิเอสซีจีจึงร่วมกับสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย หรือทีดีอาร์ไอ (Thailand Development Research Institute : TDRI) ได้จัดทำแนวโน้มความต้องการแรงงานในอุตสาหกรรมต่าง ๆ และทักษะอาชีพที่แรงงานไทยควรต้องมี พบว่าแรงงานไทยมีระดับการศึกษาที่สูงขึ้นมากในช่วง 50 ปีที่ผ่านมา แต่โครงสร้างอาชีพแรงงานไทยกลับไม่ได้ยกระดับขึ้นตามระดับการศึกษา โดยมีสาเหตุมาจาก ประเทศไทยไม่ประสบความสำเร็จในการยกระดับอุตสาหกรรมไทยให้เป็นอุตสาหกรรมที่ใช้ทักษะความรู้และมีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้น ระบบการศึกษาของไทย ประสบความสำเร็จในด้านปริมาณ แต่ไม่ประสบความสำเร็จเชิงคุณภาพ วุฒิการศึกษาที่ได้รับไม่ได้สะท้อนถึงทักษะความรู้ที่ผู้เรียนมี เกิดความไม่เข้ากันระหว่างความต้องการแรงงานในตลาด กับระบบการศึกษาที่ผลิตแรงงาน ทั้งการไม่เข้ากันในแนวตั้ง (Vertical Mismatch) คือแรงงานมีวุฒิการศึกษาสูงหรือต่ำกว่าที่ตลาดแรงงานต้องการ และไม่เข้ากันในแนวนอน (Horizontal Mismatch) คือแรงงานมีวุฒิตรงกับที่ตลาดแรงงานต้องการแต่ไม่ได้จบมาในสาขาหรือมีทักษะตรงตามที่ตลาดแรงงานต้องการ ความไม่สอดคล้องกันของความต้องการแรงงานในตลาดกับระบบการศึกษาที่ผลิตแรงงานนี้ (Mismatch) ถือเป็นปัญหาใหญ่และค่อนข้างรุนแรง ใน 2 ประเด็นดังนี้ ○ แรงงานมีวุฒิการศึกษาสูง-ต่ำ กว่าที่ตลาดแรงงานต้องการ ○ แรงงานมีวุฒิการศึกษาตรง แต่กลับจบไม่ตรงสาขาที่ตลาดแรงงานต้องการ โดยเฉพาะในระดับอาชีวศึกษาที่มุ่งเน้นผลิตแรงงานเพื่อป้อนตลาด แต่กลับพบว่าผู้จบระดับ ปวช. อายุ 21-40 ปี ได้งานทำที่ไม่ตรงสายที่เรียนมาเกือบ 90% ผู้จบ ปวส. อายุ 21-30 ปี ทำงานไม่ตรงสาย 84% ประเภทอุตสาหกรรมกับความต้องการแรงงาน ข้อมูลจากการสำรวจตลาดแรงงานไทย โดยทีดีอาร์ไอ ในปี 2024 พบว่า ตลาดแรงงานไทยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ทั้งในส่วนโครงสร้างการจ้างงาน และ ทักษะของตลาดแรงงานไทยที่ยังคงมีลักษณะเป็นแรงงานทักษะต่ำ หากจัดกลุ่มการลงทุนตามประเภทกิจกรรมหมวดใหญ่ ตามข้อมูลการอนุมัติบัตรส่งเสริมการลงทุน ระหว่างปี พ.ศ. 2561 ถึงปี พ.ศ. 2566 จะพบว่า ในแง่เงินลงทุน อุตสาหกรรมเคมีและปิโตรเคมีมีการลงทุนมากที่สุด คือมากถึง446,948 ล้านบาท ตามมาด้วยอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรมเครื่องจักรและยานยนต์ อุตสาหกรรมเกษตร อาหาร และเทคโนโลยีชีวภาพ และอุตสาหกรรมสาธารณูปโภค ตามลำดับ แต่หากพิจารณาตามจำนวนการจ้างงานแล้ว พบว่าอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ มีการจ้างงานมากที่สุด ตามมาด้วยอุตสาหกรรมเครื่องจักรและยานยนต์ และอุตสาหกรรมเกษตร อาหาร และเทคโนโลยีชีวภาพ ตามลำดับ ยุคเรียนรู้เพื่ออยู่รอดแบบ Learn to Earn นอกจากการเรียนรู้ที่จะช่วยพัฒนาทักษะให้อยู่รอดได้แล้วนั้น ศักยภาพของทักษะที่มีในแต่ละคนก็เป็นอีกหนึ่งความสำคัญที่องค์กรต่างๆ ใช้เป็นตัวพิจารณาหลักในการคัดเลือกคนเข้าทำงาน ดังนั้น การมีทั้ง Hard Skills และ Soft Skills จะทำให้บุคคลนั้นมีความสามารถในการทำงานที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น ทักษะวิชาชีพ หรือ Hard Skills เป็นทักษะที่มีระยะเวลาการใช้งาน ความรู้ความสามารถที่มีอยู่นั้นอาจจะไม่สามารถนำมาใช้งานได้เมื่อเวลาผ่านไป เพราะเป็นความรู้ที่เก่า ไม่ทันสมัย ทำให้ต้องมีการเรียนรู้เพิ่มเติมอยู่ตลอดเวลา ซึ่งทักษะวิชาชีพนี้มีรูปแบบตายตัว สามารถเรียนรู้ด้วยตนเองได้ ในขณะที่ทักษะชีวิต หรือ Soft Skills เป็นทักษะที่ใช้ปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น จะมีประโยชน์ในการปรับตัวให้อยู่รอดได้ในปัจจุบัน รวมถึงการนำไปใช้รับมือกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลา ทักษะชีวิตนี้เป็นทักษะที่จะติดตัวไปตลอดชีวิต นอกจากนี้มูลนิธิเอสซีจี ได้ร่วมกับบริษัท ฟาร์อีสท์ เฟมไลน์ ดีดีบี จำกัด (มหาชน) ทำการสำรวจเพิ่มเติมในกลุ่ม Newgen (GEN Y & Z) ช่วงอายุ 15-34 ปี กว่า 500 คน และกลุ่ม Opinion Leader พบว่าทักษะที่ส่วนใหญ่มองว่า เป็นทักษะที่สำคัญและจำเป็น เป็นทักษะ Soft Skills โดยมี Skill set ที่สำคัญดังนี้ ทักษะด้านการสื่อสารและภาษา (Communication & Language Skills) ได้แก่ทักษะด้าน Conciseness, active listening, assertiveness, verbal communication, non-verbal communication, story telling และ adaptability ทักษะด้านการทำงานร่วมกัน (Collaboration Skills) ได้แก่ทักษะด้าน Active listening, feedback, inclusivity, verbal communication และ written communication ทักษะด้านการคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking Skills) ได้แก่ทักษะด้าน Problem solving, creative writing, open-mindedness, analysis และ active listening ทิศทางการเรียนรู้ในอนาคตควรเป็นแบบไหน จากวงเสวนา Opinion Panel ที่มูลนิธิเอสซีจีจัดขึ้น โดยมีกลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิจากหน่วยงาน องค์กร ที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และสื่อมวลชน กว่า 20 คน ทุกคนมีความเห็นตรงกันว่า ระบบการศึกษาควรปรับตัวเป็นการเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ และต้องสามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ทุกเวลา เพื่อให้เกิดการพัฒนาทักษะทางวิชาชีพ หรือ Hard Skills และทักษะชีวิต หรือ Soft Skills โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นทั้งเยาวชนในระบบ นอกระบบ รวมไปถึงผู้ที่ก้าวพลาด เพื่อให้ทุกคนอยู่รอดในสังคมต่อไปได้อย่างยั่งยืน ซึ่งการเรียนรู้เพื่ออยู่รอดจะดำเนินการด้วย 2 หลักการสำคัญคือ ความยั่งยืนและยืดหยุ่น ยั่งยืนคือเรียนรู้แล้วเอาตัวรอดได้ และยืดหยุ่นคือปรับตัวไปตามสถานการณ์ สถาบันการศึกษา โดยเฉพาะโรงเรียนขยายโอกาส ควรทำหน้าที่ในการสร้างแรงบันดาลใจให้กับเยาวชน ด้วยการกระตุ้นให้รู้จักตัวตนให้เร็วที่สุด เน้นให้เรียนรู้ในสิ่งที่อยากเรียนและมีความสุขในการเรียน และควรจัดทำระบบการเทียบโอนหรือ Credit Bank ให้เกิดเป็นรูปธรรมไปในเวลาเดียวกัน เพราะต่อไปเมื่อตลาดแรงงานไม่ได้ต้องการคนจบวุฒิการศึกษาสูง จึงไม่มีความจำเป็นต้องเสียเวลาเรียนหลายปีเพื่อให้ได้ปริญญา คนรุ่นใหม่จะเปลี่ยนมาเรียนหลักสูตรระยะสั้น เพื่อให้มีงานทำ มีรายได้เลี้ยงตัวเอง และกลับมาพัฒนาทักษะความรู้ Upskills-Reskills เมื่อมีโอกาส พร้อมทั้งเก็บสะสมเครดิตการเรียนรู้เพื่อนำไปใช้คำนวณอัตราค่าจ้างต่อไป เพราะคนที่เรียนมาน้อยแต่ประสบการณ์สูง ควรได้ค่าตอบแทนเทียบเท่าหรือมากกว่าคนที่เรียนจบมาสูงแต่ไม่มีประสบการณ์ นอกจากนี้ จากการศึกษายังพบว่ากลุ่ม Gen Z ถึง 50% ไม่แน่ใจว่าตัวเองชอบอาชีพ / ศึกษาสาขาใด และมากกว่า 37% ที่ยังขาดคนให้คำปรึกษาหรือให้คำแนะนำในการศึกษาต่อ การไม่รู้จักตัวตนของคนรุ่นใหม่ ไม่สามารถบอกได้ว่าตัวเองถนัดอะไร ชอบอะไร รักที่จะทำอะไร ทำให้ไม่สามารถวางแผนชีวิตในอนาคตได้ สถาบันครอบครัวควรส่งเสริมหรือกระตุ้นให้เด็กและเยาวชนค้นหาตัวตนให้พบ เพื่อจะดึงความชอบมาพัฒนาและเพิ่มทักษะให้พร้อมเรียนรู้เป็นอาชีพต่อไป โดยเฉพาะกับคนรุ่นใหม่ในกลุ่ม Medium Skill และ Low Skill ที่จะขาดคนให้คำแนะนำที่ถูกต้อง ซึ่งหากจัดการทั้งระบบ เด็กและเยาวชน-รู้จักตัวตนได้เร็ว เรียนรู้ในสิ่งที่เป็นตัวเอง พัฒนาทักษะสม่ำเสมอ เพื่อให้อยู่รอด มีอาชีพ มีงานทำ อยู่อย่างมีความสุข และเป็นการรอดแบบมีสัมมาชีพ มีคุณธรรมและจริยธรรม ผู้สนใจสามารถติดตามข้อมูลข่าวสารและความคืบหน้าของโครงการต่างๆ ของมูลนิธิเอสซีจี ได้ที่ www.scgfoundation.org เฟซบุ๊ก LEARNtoEARN และ TIKTOK: LEARNtoEARN EZ Webmaster Related Posts BDI จับมือ สจล. เปิดรับสมัครอบรมฟรี! หลักสูตร “Intermediate Data Engineering” พร้อมเสริมศักยภาพบุคลากรในยุคดิจิทัลอย่างมีประสิทธิภาพ “เติมพลังครู สู่ห้องเรียน” รุ่นที่ 2 ‘เชฟบอล’ นักศึกษาป.เอก นันทนาการ ท่องเที่ยวและกีฬา ม.ศิลปากร รังสรรค์สำรับอาหารสมุทรสงคราม เพิ่มมูลค่าภูมิปัญญาอาหารจากวัตถุดิบท้องถิ่น จุฬาฯ เปิดตัวหลักสูตร ZEN หลักสูตรอบรมที่ผสานหลักการปรัชญาแบบญี่ปุ่นกับแนวทางการตลาดสมัยใหม่ พลิกโฉมการพัฒนาครู : โครงการนำร่องหลักสูตรปริญญาร่วมไทย-สหรัฐฯ ยกระดับผลิตครูสะเต็มยุคใหม่ปูทางสู่มาตรฐานสากล Post navigation PREVIOUS Previous post: ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลกNEXT Next post: มทร.กรุงเทพ เปิดรับครั้งใหญ่ ปีการศึกษา 2568 TCAS1 Portfolio – รับตรง 1 (ปวช./ปวส.) – ภาคสมทบ1 และระดับปริญญาโท-เอก Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เปิดให้ทุนเยาวชนขาดแคลนทุนทรัพย์ มีความตั้งใจเรียนต่อระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา tui sakrapeeNovember 8, 2024 มูลนิธิพูนพลัง เปิดโอกาสให้เยาวชนได้เรียนต่อ ในโครงการ ทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2568 สำหรับนักเรียน นักศึกษาที่จะศึกษาในระดับ ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ในปีการศึกษา 2568 ลักษณะโครงการ โครงการทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ แต่มีความตั้งใจศึกษาเล่าเรียน และได้พยายามช่วยเหลือตนเอง… มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… ครู-อาจารย์ BDI จับมือ สจล. เปิดรับสมัครอบรมฟรี! หลักสูตร “Intermediate Data Engineering” พร้อมเสริมศักยภาพบุคลากรในยุคดิจิทัลอย่างมีประสิทธิภาพ EZ WebmasterDecember 3, 2024 สถาบันข้อมูลขนาดใหญ่ (องค์การมหาชน) หรือ BDI ร่วมกับ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง เปิดรับสมัครบุคคลทั่วไปเข้าร่วมอบรมหลักสูตร “Intermediate Data Engineering” เพื่อส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรของประเทศให้มีทักษะด้าน Data Engineering ในระดับกลาง (Intermediate) อย่างมีศักยภาพ โดยหลักสูตรครอบคลุมเนื้อหาทั้งทฤษฎีและปฏิบัติไม่ว่าจะเป็น Data Sources, Web Scraping / Internet Crawler, Data Preprocessing,… “เติมพลังครู สู่ห้องเรียน” รุ่นที่ 2 EZ WebmasterDecember 3, 2024 มาแล้วกับกิจกรรม “เติมพลังครู สู่ห้องเรียน” รุ่นที่ 2 เป็นโครงการที่จัดขึ้นเพื่อเสริมสร้างพลังงานบวกให้กับเหล่าคุณครูและแนวทางการเรียนรู้กับครู โดยมีแนวทาง คือ Transformative Learning ซึ่งสามารถให้คุณครูสามารถเรียนรู้ความรู้สึกภายในของตนเอง และยังได้นำพลังบวกที่ได้รับไปใช้ในการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น . รายละเอียดกิจกรรม วันที่จัดกิจกรรม 14-16 ธันวาคม 2567… จุฬาฯ เปิดตัวหลักสูตร ZEN หลักสูตรอบรมที่ผสานหลักการปรัชญาแบบญี่ปุ่นกับแนวทางการตลาดสมัยใหม่ EZ WebmasterDecember 3, 2024 จุฬาฯ เปิดตัวหลักสูตร ZEN หลักสูตรอบรมที่ผสานหลักการปรัชญาแบบญี่ปุ่นกับแนวทางการตลาดสมัยใหม่ องค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก (พ.ส.ล.) จับมือภาควิชาการตลาด คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาฯ และพันธมิตร จัดงานเสวนาความรู้การตลาดเพื่อความดีงามและยั่งยืน ร่วมพลิกโฉมธุรกิจสู่ความสำเร็จที่ยั่งยืน… พลิกโฉมการพัฒนาครู : โครงการนำร่องหลักสูตรปริญญาร่วมไทย-สหรัฐฯ ยกระดับผลิตครูสะเต็มยุคใหม่ปูทางสู่มาตรฐานสากล EZ WebmasterDecember 3, 2024 ประเทศไทยเปิดก้าวแรก โครงการนำร่อง หลักสูตรปริญญาร่วมไทย-สหรัฐอเมริกา ครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ ด้านสะเต็มศึกษา (Thai-US Joint-degree Sandbox for STEM Teacher Education Program) พลิกโฉมการพัฒนาครูมืออาชีพก้าวนำการเปลี่ยนแปลงโลกปัจจุบัน ต่อยอดจากโครงการครุศึกษายุคใหม่SEA-TEP (Southeast Asian Teacher Education Program) ในระดับภูมิภาค… กิจกรรม “เติมพลังครู สู่ห้องเรียน” รุ่นที่ 2 EZ WebmasterDecember 3, 2024 มาแล้วกับกิจกรรม “เติมพลังครู สู่ห้องเรียน” รุ่นที่ 2 เป็นโครงการที่จัดขึ้นเพื่อเสริมสร้างพลังงานบวกให้กับเหล่าคุณครูและแนวทางการเรียนรู้กับครู โดยมีแนวทาง คือ Transformative Learning ซึ่งสามารถให้คุณครูสามารถเรียนรู้ความรู้สึกภายในของตนเอง และยังได้นำพลังบวกที่ได้รับไปใช้ในการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น . รายละเอียดกิจกรรม วันที่จัดกิจกรรม 14-16 ธันวาคม 2567… จุฬาฯ เปิดตัวหลักสูตร ZEN หลักสูตรอบรมที่ผสานหลักการปรัชญาแบบญี่ปุ่นกับแนวทางการตลาดสมัยใหม่ EZ WebmasterDecember 3, 2024 จุฬาฯ เปิดตัวหลักสูตร ZEN หลักสูตรอบรมที่ผสานหลักการปรัชญาแบบญี่ปุ่นกับแนวทางการตลาดสมัยใหม่ องค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก (พ.ส.ล.) จับมือภาควิชาการตลาด คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาฯ และพันธมิตร จัดงานเสวนาความรู้การตลาดเพื่อความดีงามและยั่งยืน ร่วมพลิกโฉมธุรกิจสู่ความสำเร็จที่ยั่งยืน… วิศวกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี จัดอบรม ระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ tui sakrapeeNovember 27, 2024 รองศาสตราจารย์ ดร.สรพงษ์ ภวสุปรีย์ คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) เผยว่า ศูนย์พัฒนาทักษะอุตสาหกรรม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี ร่วมกับภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า จัดโครงการฝึกอบรมหลักสูตร ระบบกักเก็บพลังงานและสถานการณ์การพัฒนาการของแบตเตอรี่ (Energy Storage System (ESS) and The… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI EZ WebmasterNovember 27, 2024 เติบโตอย่างยิ่งใหญ่กว่าที่เคย iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI พร้อมพาวงการครีเอเตอร์ก้าวสู่เส้นทางแห่งไอคอนนิก งานที่รวบรวมเหล่า ครีเอเตอร์กว่า 100 คนเพื่อเปิดโอกาสให้ได้มีส่วนทำงานกับแบรนด์ต่าง ๆ จนได้กระแสตอบรับอย่างล้นหลาม บรรยากาศภายในงานเต็มไปด้วยความคึกคัก ยิ่งใหญ่ ตื่นตาตื่นใจกว่าที่เคยและผู้คนที่หลั่งไหลเข้ามาภายในงานเป็นจำนวนมากเพือมาเข้าร่วมการพูดแบ่งปันประสบการณ์ของเหล่า ครีเอเตอร์… Search for: Search EZ Webmaster November 5, 2024 EZ Webmaster November 5, 2024 โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ (Hard skills) และทักษะชีวิต (Soft skills) เพราะเชื่อว่าทุกคนมีคุณค่าและ ศักยภาพในตัวเอง สามารถเผชิญโลกที่เปลี่ยนแปลง โดยใช้การเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีความสุขและยั่งยืน ดีมานด์ซัพพลายที่ไม่ลงตัว โลกการทำงานที่ไม่เหมือนเดิมอีกต่อไป แม้ว่าสถาบันการศึกษาจะพยายามออกแบบหลักสูตรการเรียนที่คาดว่าจะตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงาน แต่คุณภาพของผู้ที่จบการศึกษามานั้น กลับยังไม่ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงาน ทำให้ต้องไปทำงานในตำแหน่งงานที่ต่ำกว่าวุฒิที่จบมา หรือทำงานไม่ตรงสาขาที่เรียนจบมา และที่ร้ายแรงที่สุดคือไม่สามารถหางานทำได้ เกิดเป็นปัญหาการว่างงานในที่สุด ซึ่งปัญหานี้ได้ส่งผลกระทบในวงกว้าง มูลนิธิเอสซีจีจึงร่วมกับสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย หรือทีดีอาร์ไอ (Thailand Development Research Institute : TDRI) ได้จัดทำแนวโน้มความต้องการแรงงานในอุตสาหกรรมต่าง ๆ และทักษะอาชีพที่แรงงานไทยควรต้องมี พบว่าแรงงานไทยมีระดับการศึกษาที่สูงขึ้นมากในช่วง 50 ปีที่ผ่านมา แต่โครงสร้างอาชีพแรงงานไทยกลับไม่ได้ยกระดับขึ้นตามระดับการศึกษา โดยมีสาเหตุมาจาก ประเทศไทยไม่ประสบความสำเร็จในการยกระดับอุตสาหกรรมไทยให้เป็นอุตสาหกรรมที่ใช้ทักษะความรู้และมีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้น ระบบการศึกษาของไทย ประสบความสำเร็จในด้านปริมาณ แต่ไม่ประสบความสำเร็จเชิงคุณภาพ วุฒิการศึกษาที่ได้รับไม่ได้สะท้อนถึงทักษะความรู้ที่ผู้เรียนมี เกิดความไม่เข้ากันระหว่างความต้องการแรงงานในตลาด กับระบบการศึกษาที่ผลิตแรงงาน ทั้งการไม่เข้ากันในแนวตั้ง (Vertical Mismatch) คือแรงงานมีวุฒิการศึกษาสูงหรือต่ำกว่าที่ตลาดแรงงานต้องการ และไม่เข้ากันในแนวนอน (Horizontal Mismatch) คือแรงงานมีวุฒิตรงกับที่ตลาดแรงงานต้องการแต่ไม่ได้จบมาในสาขาหรือมีทักษะตรงตามที่ตลาดแรงงานต้องการ ความไม่สอดคล้องกันของความต้องการแรงงานในตลาดกับระบบการศึกษาที่ผลิตแรงงานนี้ (Mismatch) ถือเป็นปัญหาใหญ่และค่อนข้างรุนแรง ใน 2 ประเด็นดังนี้ ○ แรงงานมีวุฒิการศึกษาสูง-ต่ำ กว่าที่ตลาดแรงงานต้องการ ○ แรงงานมีวุฒิการศึกษาตรง แต่กลับจบไม่ตรงสาขาที่ตลาดแรงงานต้องการ โดยเฉพาะในระดับอาชีวศึกษาที่มุ่งเน้นผลิตแรงงานเพื่อป้อนตลาด แต่กลับพบว่าผู้จบระดับ ปวช. อายุ 21-40 ปี ได้งานทำที่ไม่ตรงสายที่เรียนมาเกือบ 90% ผู้จบ ปวส. อายุ 21-30 ปี ทำงานไม่ตรงสาย 84% ประเภทอุตสาหกรรมกับความต้องการแรงงาน ข้อมูลจากการสำรวจตลาดแรงงานไทย โดยทีดีอาร์ไอ ในปี 2024 พบว่า ตลาดแรงงานไทยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ทั้งในส่วนโครงสร้างการจ้างงาน และ ทักษะของตลาดแรงงานไทยที่ยังคงมีลักษณะเป็นแรงงานทักษะต่ำ หากจัดกลุ่มการลงทุนตามประเภทกิจกรรมหมวดใหญ่ ตามข้อมูลการอนุมัติบัตรส่งเสริมการลงทุน ระหว่างปี พ.ศ. 2561 ถึงปี พ.ศ. 2566 จะพบว่า ในแง่เงินลงทุน อุตสาหกรรมเคมีและปิโตรเคมีมีการลงทุนมากที่สุด คือมากถึง446,948 ล้านบาท ตามมาด้วยอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรมเครื่องจักรและยานยนต์ อุตสาหกรรมเกษตร อาหาร และเทคโนโลยีชีวภาพ และอุตสาหกรรมสาธารณูปโภค ตามลำดับ แต่หากพิจารณาตามจำนวนการจ้างงานแล้ว พบว่าอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ มีการจ้างงานมากที่สุด ตามมาด้วยอุตสาหกรรมเครื่องจักรและยานยนต์ และอุตสาหกรรมเกษตร อาหาร และเทคโนโลยีชีวภาพ ตามลำดับ ยุคเรียนรู้เพื่ออยู่รอดแบบ Learn to Earn นอกจากการเรียนรู้ที่จะช่วยพัฒนาทักษะให้อยู่รอดได้แล้วนั้น ศักยภาพของทักษะที่มีในแต่ละคนก็เป็นอีกหนึ่งความสำคัญที่องค์กรต่างๆ ใช้เป็นตัวพิจารณาหลักในการคัดเลือกคนเข้าทำงาน ดังนั้น การมีทั้ง Hard Skills และ Soft Skills จะทำให้บุคคลนั้นมีความสามารถในการทำงานที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น ทักษะวิชาชีพ หรือ Hard Skills เป็นทักษะที่มีระยะเวลาการใช้งาน ความรู้ความสามารถที่มีอยู่นั้นอาจจะไม่สามารถนำมาใช้งานได้เมื่อเวลาผ่านไป เพราะเป็นความรู้ที่เก่า ไม่ทันสมัย ทำให้ต้องมีการเรียนรู้เพิ่มเติมอยู่ตลอดเวลา ซึ่งทักษะวิชาชีพนี้มีรูปแบบตายตัว สามารถเรียนรู้ด้วยตนเองได้ ในขณะที่ทักษะชีวิต หรือ Soft Skills เป็นทักษะที่ใช้ปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น จะมีประโยชน์ในการปรับตัวให้อยู่รอดได้ในปัจจุบัน รวมถึงการนำไปใช้รับมือกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลา ทักษะชีวิตนี้เป็นทักษะที่จะติดตัวไปตลอดชีวิต นอกจากนี้มูลนิธิเอสซีจี ได้ร่วมกับบริษัท ฟาร์อีสท์ เฟมไลน์ ดีดีบี จำกัด (มหาชน) ทำการสำรวจเพิ่มเติมในกลุ่ม Newgen (GEN Y & Z) ช่วงอายุ 15-34 ปี กว่า 500 คน และกลุ่ม Opinion Leader พบว่าทักษะที่ส่วนใหญ่มองว่า เป็นทักษะที่สำคัญและจำเป็น เป็นทักษะ Soft Skills โดยมี Skill set ที่สำคัญดังนี้ ทักษะด้านการสื่อสารและภาษา (Communication & Language Skills) ได้แก่ทักษะด้าน Conciseness, active listening, assertiveness, verbal communication, non-verbal communication, story telling และ adaptability ทักษะด้านการทำงานร่วมกัน (Collaboration Skills) ได้แก่ทักษะด้าน Active listening, feedback, inclusivity, verbal communication และ written communication ทักษะด้านการคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking Skills) ได้แก่ทักษะด้าน Problem solving, creative writing, open-mindedness, analysis และ active listening ทิศทางการเรียนรู้ในอนาคตควรเป็นแบบไหน จากวงเสวนา Opinion Panel ที่มูลนิธิเอสซีจีจัดขึ้น โดยมีกลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิจากหน่วยงาน องค์กร ที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และสื่อมวลชน กว่า 20 คน ทุกคนมีความเห็นตรงกันว่า ระบบการศึกษาควรปรับตัวเป็นการเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ และต้องสามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ทุกเวลา เพื่อให้เกิดการพัฒนาทักษะทางวิชาชีพ หรือ Hard Skills และทักษะชีวิต หรือ Soft Skills โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นทั้งเยาวชนในระบบ นอกระบบ รวมไปถึงผู้ที่ก้าวพลาด เพื่อให้ทุกคนอยู่รอดในสังคมต่อไปได้อย่างยั่งยืน ซึ่งการเรียนรู้เพื่ออยู่รอดจะดำเนินการด้วย 2 หลักการสำคัญคือ ความยั่งยืนและยืดหยุ่น ยั่งยืนคือเรียนรู้แล้วเอาตัวรอดได้ และยืดหยุ่นคือปรับตัวไปตามสถานการณ์ สถาบันการศึกษา โดยเฉพาะโรงเรียนขยายโอกาส ควรทำหน้าที่ในการสร้างแรงบันดาลใจให้กับเยาวชน ด้วยการกระตุ้นให้รู้จักตัวตนให้เร็วที่สุด เน้นให้เรียนรู้ในสิ่งที่อยากเรียนและมีความสุขในการเรียน และควรจัดทำระบบการเทียบโอนหรือ Credit Bank ให้เกิดเป็นรูปธรรมไปในเวลาเดียวกัน เพราะต่อไปเมื่อตลาดแรงงานไม่ได้ต้องการคนจบวุฒิการศึกษาสูง จึงไม่มีความจำเป็นต้องเสียเวลาเรียนหลายปีเพื่อให้ได้ปริญญา คนรุ่นใหม่จะเปลี่ยนมาเรียนหลักสูตรระยะสั้น เพื่อให้มีงานทำ มีรายได้เลี้ยงตัวเอง และกลับมาพัฒนาทักษะความรู้ Upskills-Reskills เมื่อมีโอกาส พร้อมทั้งเก็บสะสมเครดิตการเรียนรู้เพื่อนำไปใช้คำนวณอัตราค่าจ้างต่อไป เพราะคนที่เรียนมาน้อยแต่ประสบการณ์สูง ควรได้ค่าตอบแทนเทียบเท่าหรือมากกว่าคนที่เรียนจบมาสูงแต่ไม่มีประสบการณ์ นอกจากนี้ จากการศึกษายังพบว่ากลุ่ม Gen Z ถึง 50% ไม่แน่ใจว่าตัวเองชอบอาชีพ / ศึกษาสาขาใด และมากกว่า 37% ที่ยังขาดคนให้คำปรึกษาหรือให้คำแนะนำในการศึกษาต่อ การไม่รู้จักตัวตนของคนรุ่นใหม่ ไม่สามารถบอกได้ว่าตัวเองถนัดอะไร ชอบอะไร รักที่จะทำอะไร ทำให้ไม่สามารถวางแผนชีวิตในอนาคตได้ สถาบันครอบครัวควรส่งเสริมหรือกระตุ้นให้เด็กและเยาวชนค้นหาตัวตนให้พบ เพื่อจะดึงความชอบมาพัฒนาและเพิ่มทักษะให้พร้อมเรียนรู้เป็นอาชีพต่อไป โดยเฉพาะกับคนรุ่นใหม่ในกลุ่ม Medium Skill และ Low Skill ที่จะขาดคนให้คำแนะนำที่ถูกต้อง ซึ่งหากจัดการทั้งระบบ เด็กและเยาวชน-รู้จักตัวตนได้เร็ว เรียนรู้ในสิ่งที่เป็นตัวเอง พัฒนาทักษะสม่ำเสมอ เพื่อให้อยู่รอด มีอาชีพ มีงานทำ อยู่อย่างมีความสุข และเป็นการรอดแบบมีสัมมาชีพ มีคุณธรรมและจริยธรรม ผู้สนใจสามารถติดตามข้อมูลข่าวสารและความคืบหน้าของโครงการต่างๆ ของมูลนิธิเอสซีจี ได้ที่ www.scgfoundation.org เฟซบุ๊ก LEARNtoEARN และ TIKTOK: LEARNtoEARN EZ Webmaster Related Posts BDI จับมือ สจล. เปิดรับสมัครอบรมฟรี! หลักสูตร “Intermediate Data Engineering” พร้อมเสริมศักยภาพบุคลากรในยุคดิจิทัลอย่างมีประสิทธิภาพ “เติมพลังครู สู่ห้องเรียน” รุ่นที่ 2 ‘เชฟบอล’ นักศึกษาป.เอก นันทนาการ ท่องเที่ยวและกีฬา ม.ศิลปากร รังสรรค์สำรับอาหารสมุทรสงคราม เพิ่มมูลค่าภูมิปัญญาอาหารจากวัตถุดิบท้องถิ่น จุฬาฯ เปิดตัวหลักสูตร ZEN หลักสูตรอบรมที่ผสานหลักการปรัชญาแบบญี่ปุ่นกับแนวทางการตลาดสมัยใหม่ พลิกโฉมการพัฒนาครู : โครงการนำร่องหลักสูตรปริญญาร่วมไทย-สหรัฐฯ ยกระดับผลิตครูสะเต็มยุคใหม่ปูทางสู่มาตรฐานสากล Post navigation PREVIOUS Previous post: ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลกNEXT Next post: มทร.กรุงเทพ เปิดรับครั้งใหญ่ ปีการศึกษา 2568 TCAS1 Portfolio – รับตรง 1 (ปวช./ปวส.) – ภาคสมทบ1 และระดับปริญญาโท-เอก Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป…
มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป…
BDI จับมือ สจล. เปิดรับสมัครอบรมฟรี! หลักสูตร “Intermediate Data Engineering” พร้อมเสริมศักยภาพบุคลากรในยุคดิจิทัลอย่างมีประสิทธิภาพ EZ WebmasterDecember 3, 2024 สถาบันข้อมูลขนาดใหญ่ (องค์การมหาชน) หรือ BDI ร่วมกับ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง เปิดรับสมัครบุคคลทั่วไปเข้าร่วมอบรมหลักสูตร “Intermediate Data Engineering” เพื่อส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรของประเทศให้มีทักษะด้าน Data Engineering ในระดับกลาง (Intermediate) อย่างมีศักยภาพ โดยหลักสูตรครอบคลุมเนื้อหาทั้งทฤษฎีและปฏิบัติไม่ว่าจะเป็น Data Sources, Web Scraping / Internet Crawler, Data Preprocessing,… “เติมพลังครู สู่ห้องเรียน” รุ่นที่ 2 EZ WebmasterDecember 3, 2024 มาแล้วกับกิจกรรม “เติมพลังครู สู่ห้องเรียน” รุ่นที่ 2 เป็นโครงการที่จัดขึ้นเพื่อเสริมสร้างพลังงานบวกให้กับเหล่าคุณครูและแนวทางการเรียนรู้กับครู โดยมีแนวทาง คือ Transformative Learning ซึ่งสามารถให้คุณครูสามารถเรียนรู้ความรู้สึกภายในของตนเอง และยังได้นำพลังบวกที่ได้รับไปใช้ในการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น . รายละเอียดกิจกรรม วันที่จัดกิจกรรม 14-16 ธันวาคม 2567… จุฬาฯ เปิดตัวหลักสูตร ZEN หลักสูตรอบรมที่ผสานหลักการปรัชญาแบบญี่ปุ่นกับแนวทางการตลาดสมัยใหม่ EZ WebmasterDecember 3, 2024 จุฬาฯ เปิดตัวหลักสูตร ZEN หลักสูตรอบรมที่ผสานหลักการปรัชญาแบบญี่ปุ่นกับแนวทางการตลาดสมัยใหม่ องค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก (พ.ส.ล.) จับมือภาควิชาการตลาด คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาฯ และพันธมิตร จัดงานเสวนาความรู้การตลาดเพื่อความดีงามและยั่งยืน ร่วมพลิกโฉมธุรกิจสู่ความสำเร็จที่ยั่งยืน… พลิกโฉมการพัฒนาครู : โครงการนำร่องหลักสูตรปริญญาร่วมไทย-สหรัฐฯ ยกระดับผลิตครูสะเต็มยุคใหม่ปูทางสู่มาตรฐานสากล EZ WebmasterDecember 3, 2024 ประเทศไทยเปิดก้าวแรก โครงการนำร่อง หลักสูตรปริญญาร่วมไทย-สหรัฐอเมริกา ครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ ด้านสะเต็มศึกษา (Thai-US Joint-degree Sandbox for STEM Teacher Education Program) พลิกโฉมการพัฒนาครูมืออาชีพก้าวนำการเปลี่ยนแปลงโลกปัจจุบัน ต่อยอดจากโครงการครุศึกษายุคใหม่SEA-TEP (Southeast Asian Teacher Education Program) ในระดับภูมิภาค… กิจกรรม “เติมพลังครู สู่ห้องเรียน” รุ่นที่ 2 EZ WebmasterDecember 3, 2024 มาแล้วกับกิจกรรม “เติมพลังครู สู่ห้องเรียน” รุ่นที่ 2 เป็นโครงการที่จัดขึ้นเพื่อเสริมสร้างพลังงานบวกให้กับเหล่าคุณครูและแนวทางการเรียนรู้กับครู โดยมีแนวทาง คือ Transformative Learning ซึ่งสามารถให้คุณครูสามารถเรียนรู้ความรู้สึกภายในของตนเอง และยังได้นำพลังบวกที่ได้รับไปใช้ในการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น . รายละเอียดกิจกรรม วันที่จัดกิจกรรม 14-16 ธันวาคม 2567… จุฬาฯ เปิดตัวหลักสูตร ZEN หลักสูตรอบรมที่ผสานหลักการปรัชญาแบบญี่ปุ่นกับแนวทางการตลาดสมัยใหม่ EZ WebmasterDecember 3, 2024 จุฬาฯ เปิดตัวหลักสูตร ZEN หลักสูตรอบรมที่ผสานหลักการปรัชญาแบบญี่ปุ่นกับแนวทางการตลาดสมัยใหม่ องค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก (พ.ส.ล.) จับมือภาควิชาการตลาด คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาฯ และพันธมิตร จัดงานเสวนาความรู้การตลาดเพื่อความดีงามและยั่งยืน ร่วมพลิกโฉมธุรกิจสู่ความสำเร็จที่ยั่งยืน… วิศวกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี จัดอบรม ระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ tui sakrapeeNovember 27, 2024 รองศาสตราจารย์ ดร.สรพงษ์ ภวสุปรีย์ คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) เผยว่า ศูนย์พัฒนาทักษะอุตสาหกรรม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี ร่วมกับภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า จัดโครงการฝึกอบรมหลักสูตร ระบบกักเก็บพลังงานและสถานการณ์การพัฒนาการของแบตเตอรี่ (Energy Storage System (ESS) and The… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI EZ WebmasterNovember 27, 2024 เติบโตอย่างยิ่งใหญ่กว่าที่เคย iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI พร้อมพาวงการครีเอเตอร์ก้าวสู่เส้นทางแห่งไอคอนนิก งานที่รวบรวมเหล่า ครีเอเตอร์กว่า 100 คนเพื่อเปิดโอกาสให้ได้มีส่วนทำงานกับแบรนด์ต่าง ๆ จนได้กระแสตอบรับอย่างล้นหลาม บรรยากาศภายในงานเต็มไปด้วยความคึกคัก ยิ่งใหญ่ ตื่นตาตื่นใจกว่าที่เคยและผู้คนที่หลั่งไหลเข้ามาภายในงานเป็นจำนวนมากเพือมาเข้าร่วมการพูดแบ่งปันประสบการณ์ของเหล่า ครีเอเตอร์… Search for: Search EZ Webmaster November 5, 2024 EZ Webmaster November 5, 2024 โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ (Hard skills) และทักษะชีวิต (Soft skills) เพราะเชื่อว่าทุกคนมีคุณค่าและ ศักยภาพในตัวเอง สามารถเผชิญโลกที่เปลี่ยนแปลง โดยใช้การเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีความสุขและยั่งยืน ดีมานด์ซัพพลายที่ไม่ลงตัว โลกการทำงานที่ไม่เหมือนเดิมอีกต่อไป แม้ว่าสถาบันการศึกษาจะพยายามออกแบบหลักสูตรการเรียนที่คาดว่าจะตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงาน แต่คุณภาพของผู้ที่จบการศึกษามานั้น กลับยังไม่ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงาน ทำให้ต้องไปทำงานในตำแหน่งงานที่ต่ำกว่าวุฒิที่จบมา หรือทำงานไม่ตรงสาขาที่เรียนจบมา และที่ร้ายแรงที่สุดคือไม่สามารถหางานทำได้ เกิดเป็นปัญหาการว่างงานในที่สุด ซึ่งปัญหานี้ได้ส่งผลกระทบในวงกว้าง มูลนิธิเอสซีจีจึงร่วมกับสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย หรือทีดีอาร์ไอ (Thailand Development Research Institute : TDRI) ได้จัดทำแนวโน้มความต้องการแรงงานในอุตสาหกรรมต่าง ๆ และทักษะอาชีพที่แรงงานไทยควรต้องมี พบว่าแรงงานไทยมีระดับการศึกษาที่สูงขึ้นมากในช่วง 50 ปีที่ผ่านมา แต่โครงสร้างอาชีพแรงงานไทยกลับไม่ได้ยกระดับขึ้นตามระดับการศึกษา โดยมีสาเหตุมาจาก ประเทศไทยไม่ประสบความสำเร็จในการยกระดับอุตสาหกรรมไทยให้เป็นอุตสาหกรรมที่ใช้ทักษะความรู้และมีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้น ระบบการศึกษาของไทย ประสบความสำเร็จในด้านปริมาณ แต่ไม่ประสบความสำเร็จเชิงคุณภาพ วุฒิการศึกษาที่ได้รับไม่ได้สะท้อนถึงทักษะความรู้ที่ผู้เรียนมี เกิดความไม่เข้ากันระหว่างความต้องการแรงงานในตลาด กับระบบการศึกษาที่ผลิตแรงงาน ทั้งการไม่เข้ากันในแนวตั้ง (Vertical Mismatch) คือแรงงานมีวุฒิการศึกษาสูงหรือต่ำกว่าที่ตลาดแรงงานต้องการ และไม่เข้ากันในแนวนอน (Horizontal Mismatch) คือแรงงานมีวุฒิตรงกับที่ตลาดแรงงานต้องการแต่ไม่ได้จบมาในสาขาหรือมีทักษะตรงตามที่ตลาดแรงงานต้องการ ความไม่สอดคล้องกันของความต้องการแรงงานในตลาดกับระบบการศึกษาที่ผลิตแรงงานนี้ (Mismatch) ถือเป็นปัญหาใหญ่และค่อนข้างรุนแรง ใน 2 ประเด็นดังนี้ ○ แรงงานมีวุฒิการศึกษาสูง-ต่ำ กว่าที่ตลาดแรงงานต้องการ ○ แรงงานมีวุฒิการศึกษาตรง แต่กลับจบไม่ตรงสาขาที่ตลาดแรงงานต้องการ โดยเฉพาะในระดับอาชีวศึกษาที่มุ่งเน้นผลิตแรงงานเพื่อป้อนตลาด แต่กลับพบว่าผู้จบระดับ ปวช. อายุ 21-40 ปี ได้งานทำที่ไม่ตรงสายที่เรียนมาเกือบ 90% ผู้จบ ปวส. อายุ 21-30 ปี ทำงานไม่ตรงสาย 84% ประเภทอุตสาหกรรมกับความต้องการแรงงาน ข้อมูลจากการสำรวจตลาดแรงงานไทย โดยทีดีอาร์ไอ ในปี 2024 พบว่า ตลาดแรงงานไทยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ทั้งในส่วนโครงสร้างการจ้างงาน และ ทักษะของตลาดแรงงานไทยที่ยังคงมีลักษณะเป็นแรงงานทักษะต่ำ หากจัดกลุ่มการลงทุนตามประเภทกิจกรรมหมวดใหญ่ ตามข้อมูลการอนุมัติบัตรส่งเสริมการลงทุน ระหว่างปี พ.ศ. 2561 ถึงปี พ.ศ. 2566 จะพบว่า ในแง่เงินลงทุน อุตสาหกรรมเคมีและปิโตรเคมีมีการลงทุนมากที่สุด คือมากถึง446,948 ล้านบาท ตามมาด้วยอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรมเครื่องจักรและยานยนต์ อุตสาหกรรมเกษตร อาหาร และเทคโนโลยีชีวภาพ และอุตสาหกรรมสาธารณูปโภค ตามลำดับ แต่หากพิจารณาตามจำนวนการจ้างงานแล้ว พบว่าอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ มีการจ้างงานมากที่สุด ตามมาด้วยอุตสาหกรรมเครื่องจักรและยานยนต์ และอุตสาหกรรมเกษตร อาหาร และเทคโนโลยีชีวภาพ ตามลำดับ ยุคเรียนรู้เพื่ออยู่รอดแบบ Learn to Earn นอกจากการเรียนรู้ที่จะช่วยพัฒนาทักษะให้อยู่รอดได้แล้วนั้น ศักยภาพของทักษะที่มีในแต่ละคนก็เป็นอีกหนึ่งความสำคัญที่องค์กรต่างๆ ใช้เป็นตัวพิจารณาหลักในการคัดเลือกคนเข้าทำงาน ดังนั้น การมีทั้ง Hard Skills และ Soft Skills จะทำให้บุคคลนั้นมีความสามารถในการทำงานที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น ทักษะวิชาชีพ หรือ Hard Skills เป็นทักษะที่มีระยะเวลาการใช้งาน ความรู้ความสามารถที่มีอยู่นั้นอาจจะไม่สามารถนำมาใช้งานได้เมื่อเวลาผ่านไป เพราะเป็นความรู้ที่เก่า ไม่ทันสมัย ทำให้ต้องมีการเรียนรู้เพิ่มเติมอยู่ตลอดเวลา ซึ่งทักษะวิชาชีพนี้มีรูปแบบตายตัว สามารถเรียนรู้ด้วยตนเองได้ ในขณะที่ทักษะชีวิต หรือ Soft Skills เป็นทักษะที่ใช้ปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น จะมีประโยชน์ในการปรับตัวให้อยู่รอดได้ในปัจจุบัน รวมถึงการนำไปใช้รับมือกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลา ทักษะชีวิตนี้เป็นทักษะที่จะติดตัวไปตลอดชีวิต นอกจากนี้มูลนิธิเอสซีจี ได้ร่วมกับบริษัท ฟาร์อีสท์ เฟมไลน์ ดีดีบี จำกัด (มหาชน) ทำการสำรวจเพิ่มเติมในกลุ่ม Newgen (GEN Y & Z) ช่วงอายุ 15-34 ปี กว่า 500 คน และกลุ่ม Opinion Leader พบว่าทักษะที่ส่วนใหญ่มองว่า เป็นทักษะที่สำคัญและจำเป็น เป็นทักษะ Soft Skills โดยมี Skill set ที่สำคัญดังนี้ ทักษะด้านการสื่อสารและภาษา (Communication & Language Skills) ได้แก่ทักษะด้าน Conciseness, active listening, assertiveness, verbal communication, non-verbal communication, story telling และ adaptability ทักษะด้านการทำงานร่วมกัน (Collaboration Skills) ได้แก่ทักษะด้าน Active listening, feedback, inclusivity, verbal communication และ written communication ทักษะด้านการคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking Skills) ได้แก่ทักษะด้าน Problem solving, creative writing, open-mindedness, analysis และ active listening ทิศทางการเรียนรู้ในอนาคตควรเป็นแบบไหน จากวงเสวนา Opinion Panel ที่มูลนิธิเอสซีจีจัดขึ้น โดยมีกลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิจากหน่วยงาน องค์กร ที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และสื่อมวลชน กว่า 20 คน ทุกคนมีความเห็นตรงกันว่า ระบบการศึกษาควรปรับตัวเป็นการเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ และต้องสามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ทุกเวลา เพื่อให้เกิดการพัฒนาทักษะทางวิชาชีพ หรือ Hard Skills และทักษะชีวิต หรือ Soft Skills โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นทั้งเยาวชนในระบบ นอกระบบ รวมไปถึงผู้ที่ก้าวพลาด เพื่อให้ทุกคนอยู่รอดในสังคมต่อไปได้อย่างยั่งยืน ซึ่งการเรียนรู้เพื่ออยู่รอดจะดำเนินการด้วย 2 หลักการสำคัญคือ ความยั่งยืนและยืดหยุ่น ยั่งยืนคือเรียนรู้แล้วเอาตัวรอดได้ และยืดหยุ่นคือปรับตัวไปตามสถานการณ์ สถาบันการศึกษา โดยเฉพาะโรงเรียนขยายโอกาส ควรทำหน้าที่ในการสร้างแรงบันดาลใจให้กับเยาวชน ด้วยการกระตุ้นให้รู้จักตัวตนให้เร็วที่สุด เน้นให้เรียนรู้ในสิ่งที่อยากเรียนและมีความสุขในการเรียน และควรจัดทำระบบการเทียบโอนหรือ Credit Bank ให้เกิดเป็นรูปธรรมไปในเวลาเดียวกัน เพราะต่อไปเมื่อตลาดแรงงานไม่ได้ต้องการคนจบวุฒิการศึกษาสูง จึงไม่มีความจำเป็นต้องเสียเวลาเรียนหลายปีเพื่อให้ได้ปริญญา คนรุ่นใหม่จะเปลี่ยนมาเรียนหลักสูตรระยะสั้น เพื่อให้มีงานทำ มีรายได้เลี้ยงตัวเอง และกลับมาพัฒนาทักษะความรู้ Upskills-Reskills เมื่อมีโอกาส พร้อมทั้งเก็บสะสมเครดิตการเรียนรู้เพื่อนำไปใช้คำนวณอัตราค่าจ้างต่อไป เพราะคนที่เรียนมาน้อยแต่ประสบการณ์สูง ควรได้ค่าตอบแทนเทียบเท่าหรือมากกว่าคนที่เรียนจบมาสูงแต่ไม่มีประสบการณ์ นอกจากนี้ จากการศึกษายังพบว่ากลุ่ม Gen Z ถึง 50% ไม่แน่ใจว่าตัวเองชอบอาชีพ / ศึกษาสาขาใด และมากกว่า 37% ที่ยังขาดคนให้คำปรึกษาหรือให้คำแนะนำในการศึกษาต่อ การไม่รู้จักตัวตนของคนรุ่นใหม่ ไม่สามารถบอกได้ว่าตัวเองถนัดอะไร ชอบอะไร รักที่จะทำอะไร ทำให้ไม่สามารถวางแผนชีวิตในอนาคตได้ สถาบันครอบครัวควรส่งเสริมหรือกระตุ้นให้เด็กและเยาวชนค้นหาตัวตนให้พบ เพื่อจะดึงความชอบมาพัฒนาและเพิ่มทักษะให้พร้อมเรียนรู้เป็นอาชีพต่อไป โดยเฉพาะกับคนรุ่นใหม่ในกลุ่ม Medium Skill และ Low Skill ที่จะขาดคนให้คำแนะนำที่ถูกต้อง ซึ่งหากจัดการทั้งระบบ เด็กและเยาวชน-รู้จักตัวตนได้เร็ว เรียนรู้ในสิ่งที่เป็นตัวเอง พัฒนาทักษะสม่ำเสมอ เพื่อให้อยู่รอด มีอาชีพ มีงานทำ อยู่อย่างมีความสุข และเป็นการรอดแบบมีสัมมาชีพ มีคุณธรรมและจริยธรรม ผู้สนใจสามารถติดตามข้อมูลข่าวสารและความคืบหน้าของโครงการต่างๆ ของมูลนิธิเอสซีจี ได้ที่ www.scgfoundation.org เฟซบุ๊ก LEARNtoEARN และ TIKTOK: LEARNtoEARN EZ Webmaster Related Posts BDI จับมือ สจล. เปิดรับสมัครอบรมฟรี! หลักสูตร “Intermediate Data Engineering” พร้อมเสริมศักยภาพบุคลากรในยุคดิจิทัลอย่างมีประสิทธิภาพ “เติมพลังครู สู่ห้องเรียน” รุ่นที่ 2 ‘เชฟบอล’ นักศึกษาป.เอก นันทนาการ ท่องเที่ยวและกีฬา ม.ศิลปากร รังสรรค์สำรับอาหารสมุทรสงคราม เพิ่มมูลค่าภูมิปัญญาอาหารจากวัตถุดิบท้องถิ่น จุฬาฯ เปิดตัวหลักสูตร ZEN หลักสูตรอบรมที่ผสานหลักการปรัชญาแบบญี่ปุ่นกับแนวทางการตลาดสมัยใหม่ พลิกโฉมการพัฒนาครู : โครงการนำร่องหลักสูตรปริญญาร่วมไทย-สหรัฐฯ ยกระดับผลิตครูสะเต็มยุคใหม่ปูทางสู่มาตรฐานสากล Post navigation PREVIOUS Previous post: ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลกNEXT Next post: มทร.กรุงเทพ เปิดรับครั้งใหญ่ ปีการศึกษา 2568 TCAS1 Portfolio – รับตรง 1 (ปวช./ปวส.) – ภาคสมทบ1 และระดับปริญญาโท-เอก Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
“เติมพลังครู สู่ห้องเรียน” รุ่นที่ 2 EZ WebmasterDecember 3, 2024 มาแล้วกับกิจกรรม “เติมพลังครู สู่ห้องเรียน” รุ่นที่ 2 เป็นโครงการที่จัดขึ้นเพื่อเสริมสร้างพลังงานบวกให้กับเหล่าคุณครูและแนวทางการเรียนรู้กับครู โดยมีแนวทาง คือ Transformative Learning ซึ่งสามารถให้คุณครูสามารถเรียนรู้ความรู้สึกภายในของตนเอง และยังได้นำพลังบวกที่ได้รับไปใช้ในการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น . รายละเอียดกิจกรรม วันที่จัดกิจกรรม 14-16 ธันวาคม 2567… จุฬาฯ เปิดตัวหลักสูตร ZEN หลักสูตรอบรมที่ผสานหลักการปรัชญาแบบญี่ปุ่นกับแนวทางการตลาดสมัยใหม่ EZ WebmasterDecember 3, 2024 จุฬาฯ เปิดตัวหลักสูตร ZEN หลักสูตรอบรมที่ผสานหลักการปรัชญาแบบญี่ปุ่นกับแนวทางการตลาดสมัยใหม่ องค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก (พ.ส.ล.) จับมือภาควิชาการตลาด คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาฯ และพันธมิตร จัดงานเสวนาความรู้การตลาดเพื่อความดีงามและยั่งยืน ร่วมพลิกโฉมธุรกิจสู่ความสำเร็จที่ยั่งยืน… พลิกโฉมการพัฒนาครู : โครงการนำร่องหลักสูตรปริญญาร่วมไทย-สหรัฐฯ ยกระดับผลิตครูสะเต็มยุคใหม่ปูทางสู่มาตรฐานสากล EZ WebmasterDecember 3, 2024 ประเทศไทยเปิดก้าวแรก โครงการนำร่อง หลักสูตรปริญญาร่วมไทย-สหรัฐอเมริกา ครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ ด้านสะเต็มศึกษา (Thai-US Joint-degree Sandbox for STEM Teacher Education Program) พลิกโฉมการพัฒนาครูมืออาชีพก้าวนำการเปลี่ยนแปลงโลกปัจจุบัน ต่อยอดจากโครงการครุศึกษายุคใหม่SEA-TEP (Southeast Asian Teacher Education Program) ในระดับภูมิภาค… กิจกรรม “เติมพลังครู สู่ห้องเรียน” รุ่นที่ 2 EZ WebmasterDecember 3, 2024 มาแล้วกับกิจกรรม “เติมพลังครู สู่ห้องเรียน” รุ่นที่ 2 เป็นโครงการที่จัดขึ้นเพื่อเสริมสร้างพลังงานบวกให้กับเหล่าคุณครูและแนวทางการเรียนรู้กับครู โดยมีแนวทาง คือ Transformative Learning ซึ่งสามารถให้คุณครูสามารถเรียนรู้ความรู้สึกภายในของตนเอง และยังได้นำพลังบวกที่ได้รับไปใช้ในการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น . รายละเอียดกิจกรรม วันที่จัดกิจกรรม 14-16 ธันวาคม 2567… จุฬาฯ เปิดตัวหลักสูตร ZEN หลักสูตรอบรมที่ผสานหลักการปรัชญาแบบญี่ปุ่นกับแนวทางการตลาดสมัยใหม่ EZ WebmasterDecember 3, 2024 จุฬาฯ เปิดตัวหลักสูตร ZEN หลักสูตรอบรมที่ผสานหลักการปรัชญาแบบญี่ปุ่นกับแนวทางการตลาดสมัยใหม่ องค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก (พ.ส.ล.) จับมือภาควิชาการตลาด คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาฯ และพันธมิตร จัดงานเสวนาความรู้การตลาดเพื่อความดีงามและยั่งยืน ร่วมพลิกโฉมธุรกิจสู่ความสำเร็จที่ยั่งยืน… วิศวกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี จัดอบรม ระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ tui sakrapeeNovember 27, 2024 รองศาสตราจารย์ ดร.สรพงษ์ ภวสุปรีย์ คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) เผยว่า ศูนย์พัฒนาทักษะอุตสาหกรรม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี ร่วมกับภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า จัดโครงการฝึกอบรมหลักสูตร ระบบกักเก็บพลังงานและสถานการณ์การพัฒนาการของแบตเตอรี่ (Energy Storage System (ESS) and The… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI EZ WebmasterNovember 27, 2024 เติบโตอย่างยิ่งใหญ่กว่าที่เคย iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI พร้อมพาวงการครีเอเตอร์ก้าวสู่เส้นทางแห่งไอคอนนิก งานที่รวบรวมเหล่า ครีเอเตอร์กว่า 100 คนเพื่อเปิดโอกาสให้ได้มีส่วนทำงานกับแบรนด์ต่าง ๆ จนได้กระแสตอบรับอย่างล้นหลาม บรรยากาศภายในงานเต็มไปด้วยความคึกคัก ยิ่งใหญ่ ตื่นตาตื่นใจกว่าที่เคยและผู้คนที่หลั่งไหลเข้ามาภายในงานเป็นจำนวนมากเพือมาเข้าร่วมการพูดแบ่งปันประสบการณ์ของเหล่า ครีเอเตอร์… Search for: Search EZ Webmaster November 5, 2024 EZ Webmaster November 5, 2024 โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ (Hard skills) และทักษะชีวิต (Soft skills) เพราะเชื่อว่าทุกคนมีคุณค่าและ ศักยภาพในตัวเอง สามารถเผชิญโลกที่เปลี่ยนแปลง โดยใช้การเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีความสุขและยั่งยืน ดีมานด์ซัพพลายที่ไม่ลงตัว โลกการทำงานที่ไม่เหมือนเดิมอีกต่อไป แม้ว่าสถาบันการศึกษาจะพยายามออกแบบหลักสูตรการเรียนที่คาดว่าจะตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงาน แต่คุณภาพของผู้ที่จบการศึกษามานั้น กลับยังไม่ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงาน ทำให้ต้องไปทำงานในตำแหน่งงานที่ต่ำกว่าวุฒิที่จบมา หรือทำงานไม่ตรงสาขาที่เรียนจบมา และที่ร้ายแรงที่สุดคือไม่สามารถหางานทำได้ เกิดเป็นปัญหาการว่างงานในที่สุด ซึ่งปัญหานี้ได้ส่งผลกระทบในวงกว้าง มูลนิธิเอสซีจีจึงร่วมกับสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย หรือทีดีอาร์ไอ (Thailand Development Research Institute : TDRI) ได้จัดทำแนวโน้มความต้องการแรงงานในอุตสาหกรรมต่าง ๆ และทักษะอาชีพที่แรงงานไทยควรต้องมี พบว่าแรงงานไทยมีระดับการศึกษาที่สูงขึ้นมากในช่วง 50 ปีที่ผ่านมา แต่โครงสร้างอาชีพแรงงานไทยกลับไม่ได้ยกระดับขึ้นตามระดับการศึกษา โดยมีสาเหตุมาจาก ประเทศไทยไม่ประสบความสำเร็จในการยกระดับอุตสาหกรรมไทยให้เป็นอุตสาหกรรมที่ใช้ทักษะความรู้และมีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้น ระบบการศึกษาของไทย ประสบความสำเร็จในด้านปริมาณ แต่ไม่ประสบความสำเร็จเชิงคุณภาพ วุฒิการศึกษาที่ได้รับไม่ได้สะท้อนถึงทักษะความรู้ที่ผู้เรียนมี เกิดความไม่เข้ากันระหว่างความต้องการแรงงานในตลาด กับระบบการศึกษาที่ผลิตแรงงาน ทั้งการไม่เข้ากันในแนวตั้ง (Vertical Mismatch) คือแรงงานมีวุฒิการศึกษาสูงหรือต่ำกว่าที่ตลาดแรงงานต้องการ และไม่เข้ากันในแนวนอน (Horizontal Mismatch) คือแรงงานมีวุฒิตรงกับที่ตลาดแรงงานต้องการแต่ไม่ได้จบมาในสาขาหรือมีทักษะตรงตามที่ตลาดแรงงานต้องการ ความไม่สอดคล้องกันของความต้องการแรงงานในตลาดกับระบบการศึกษาที่ผลิตแรงงานนี้ (Mismatch) ถือเป็นปัญหาใหญ่และค่อนข้างรุนแรง ใน 2 ประเด็นดังนี้ ○ แรงงานมีวุฒิการศึกษาสูง-ต่ำ กว่าที่ตลาดแรงงานต้องการ ○ แรงงานมีวุฒิการศึกษาตรง แต่กลับจบไม่ตรงสาขาที่ตลาดแรงงานต้องการ โดยเฉพาะในระดับอาชีวศึกษาที่มุ่งเน้นผลิตแรงงานเพื่อป้อนตลาด แต่กลับพบว่าผู้จบระดับ ปวช. อายุ 21-40 ปี ได้งานทำที่ไม่ตรงสายที่เรียนมาเกือบ 90% ผู้จบ ปวส. อายุ 21-30 ปี ทำงานไม่ตรงสาย 84% ประเภทอุตสาหกรรมกับความต้องการแรงงาน ข้อมูลจากการสำรวจตลาดแรงงานไทย โดยทีดีอาร์ไอ ในปี 2024 พบว่า ตลาดแรงงานไทยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ทั้งในส่วนโครงสร้างการจ้างงาน และ ทักษะของตลาดแรงงานไทยที่ยังคงมีลักษณะเป็นแรงงานทักษะต่ำ หากจัดกลุ่มการลงทุนตามประเภทกิจกรรมหมวดใหญ่ ตามข้อมูลการอนุมัติบัตรส่งเสริมการลงทุน ระหว่างปี พ.ศ. 2561 ถึงปี พ.ศ. 2566 จะพบว่า ในแง่เงินลงทุน อุตสาหกรรมเคมีและปิโตรเคมีมีการลงทุนมากที่สุด คือมากถึง446,948 ล้านบาท ตามมาด้วยอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรมเครื่องจักรและยานยนต์ อุตสาหกรรมเกษตร อาหาร และเทคโนโลยีชีวภาพ และอุตสาหกรรมสาธารณูปโภค ตามลำดับ แต่หากพิจารณาตามจำนวนการจ้างงานแล้ว พบว่าอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ มีการจ้างงานมากที่สุด ตามมาด้วยอุตสาหกรรมเครื่องจักรและยานยนต์ และอุตสาหกรรมเกษตร อาหาร และเทคโนโลยีชีวภาพ ตามลำดับ ยุคเรียนรู้เพื่ออยู่รอดแบบ Learn to Earn นอกจากการเรียนรู้ที่จะช่วยพัฒนาทักษะให้อยู่รอดได้แล้วนั้น ศักยภาพของทักษะที่มีในแต่ละคนก็เป็นอีกหนึ่งความสำคัญที่องค์กรต่างๆ ใช้เป็นตัวพิจารณาหลักในการคัดเลือกคนเข้าทำงาน ดังนั้น การมีทั้ง Hard Skills และ Soft Skills จะทำให้บุคคลนั้นมีความสามารถในการทำงานที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น ทักษะวิชาชีพ หรือ Hard Skills เป็นทักษะที่มีระยะเวลาการใช้งาน ความรู้ความสามารถที่มีอยู่นั้นอาจจะไม่สามารถนำมาใช้งานได้เมื่อเวลาผ่านไป เพราะเป็นความรู้ที่เก่า ไม่ทันสมัย ทำให้ต้องมีการเรียนรู้เพิ่มเติมอยู่ตลอดเวลา ซึ่งทักษะวิชาชีพนี้มีรูปแบบตายตัว สามารถเรียนรู้ด้วยตนเองได้ ในขณะที่ทักษะชีวิต หรือ Soft Skills เป็นทักษะที่ใช้ปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น จะมีประโยชน์ในการปรับตัวให้อยู่รอดได้ในปัจจุบัน รวมถึงการนำไปใช้รับมือกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลา ทักษะชีวิตนี้เป็นทักษะที่จะติดตัวไปตลอดชีวิต นอกจากนี้มูลนิธิเอสซีจี ได้ร่วมกับบริษัท ฟาร์อีสท์ เฟมไลน์ ดีดีบี จำกัด (มหาชน) ทำการสำรวจเพิ่มเติมในกลุ่ม Newgen (GEN Y & Z) ช่วงอายุ 15-34 ปี กว่า 500 คน และกลุ่ม Opinion Leader พบว่าทักษะที่ส่วนใหญ่มองว่า เป็นทักษะที่สำคัญและจำเป็น เป็นทักษะ Soft Skills โดยมี Skill set ที่สำคัญดังนี้ ทักษะด้านการสื่อสารและภาษา (Communication & Language Skills) ได้แก่ทักษะด้าน Conciseness, active listening, assertiveness, verbal communication, non-verbal communication, story telling และ adaptability ทักษะด้านการทำงานร่วมกัน (Collaboration Skills) ได้แก่ทักษะด้าน Active listening, feedback, inclusivity, verbal communication และ written communication ทักษะด้านการคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking Skills) ได้แก่ทักษะด้าน Problem solving, creative writing, open-mindedness, analysis และ active listening ทิศทางการเรียนรู้ในอนาคตควรเป็นแบบไหน จากวงเสวนา Opinion Panel ที่มูลนิธิเอสซีจีจัดขึ้น โดยมีกลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิจากหน่วยงาน องค์กร ที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และสื่อมวลชน กว่า 20 คน ทุกคนมีความเห็นตรงกันว่า ระบบการศึกษาควรปรับตัวเป็นการเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ และต้องสามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ทุกเวลา เพื่อให้เกิดการพัฒนาทักษะทางวิชาชีพ หรือ Hard Skills และทักษะชีวิต หรือ Soft Skills โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นทั้งเยาวชนในระบบ นอกระบบ รวมไปถึงผู้ที่ก้าวพลาด เพื่อให้ทุกคนอยู่รอดในสังคมต่อไปได้อย่างยั่งยืน ซึ่งการเรียนรู้เพื่ออยู่รอดจะดำเนินการด้วย 2 หลักการสำคัญคือ ความยั่งยืนและยืดหยุ่น ยั่งยืนคือเรียนรู้แล้วเอาตัวรอดได้ และยืดหยุ่นคือปรับตัวไปตามสถานการณ์ สถาบันการศึกษา โดยเฉพาะโรงเรียนขยายโอกาส ควรทำหน้าที่ในการสร้างแรงบันดาลใจให้กับเยาวชน ด้วยการกระตุ้นให้รู้จักตัวตนให้เร็วที่สุด เน้นให้เรียนรู้ในสิ่งที่อยากเรียนและมีความสุขในการเรียน และควรจัดทำระบบการเทียบโอนหรือ Credit Bank ให้เกิดเป็นรูปธรรมไปในเวลาเดียวกัน เพราะต่อไปเมื่อตลาดแรงงานไม่ได้ต้องการคนจบวุฒิการศึกษาสูง จึงไม่มีความจำเป็นต้องเสียเวลาเรียนหลายปีเพื่อให้ได้ปริญญา คนรุ่นใหม่จะเปลี่ยนมาเรียนหลักสูตรระยะสั้น เพื่อให้มีงานทำ มีรายได้เลี้ยงตัวเอง และกลับมาพัฒนาทักษะความรู้ Upskills-Reskills เมื่อมีโอกาส พร้อมทั้งเก็บสะสมเครดิตการเรียนรู้เพื่อนำไปใช้คำนวณอัตราค่าจ้างต่อไป เพราะคนที่เรียนมาน้อยแต่ประสบการณ์สูง ควรได้ค่าตอบแทนเทียบเท่าหรือมากกว่าคนที่เรียนจบมาสูงแต่ไม่มีประสบการณ์ นอกจากนี้ จากการศึกษายังพบว่ากลุ่ม Gen Z ถึง 50% ไม่แน่ใจว่าตัวเองชอบอาชีพ / ศึกษาสาขาใด และมากกว่า 37% ที่ยังขาดคนให้คำปรึกษาหรือให้คำแนะนำในการศึกษาต่อ การไม่รู้จักตัวตนของคนรุ่นใหม่ ไม่สามารถบอกได้ว่าตัวเองถนัดอะไร ชอบอะไร รักที่จะทำอะไร ทำให้ไม่สามารถวางแผนชีวิตในอนาคตได้ สถาบันครอบครัวควรส่งเสริมหรือกระตุ้นให้เด็กและเยาวชนค้นหาตัวตนให้พบ เพื่อจะดึงความชอบมาพัฒนาและเพิ่มทักษะให้พร้อมเรียนรู้เป็นอาชีพต่อไป โดยเฉพาะกับคนรุ่นใหม่ในกลุ่ม Medium Skill และ Low Skill ที่จะขาดคนให้คำแนะนำที่ถูกต้อง ซึ่งหากจัดการทั้งระบบ เด็กและเยาวชน-รู้จักตัวตนได้เร็ว เรียนรู้ในสิ่งที่เป็นตัวเอง พัฒนาทักษะสม่ำเสมอ เพื่อให้อยู่รอด มีอาชีพ มีงานทำ อยู่อย่างมีความสุข และเป็นการรอดแบบมีสัมมาชีพ มีคุณธรรมและจริยธรรม ผู้สนใจสามารถติดตามข้อมูลข่าวสารและความคืบหน้าของโครงการต่างๆ ของมูลนิธิเอสซีจี ได้ที่ www.scgfoundation.org เฟซบุ๊ก LEARNtoEARN และ TIKTOK: LEARNtoEARN EZ Webmaster Related Posts BDI จับมือ สจล. เปิดรับสมัครอบรมฟรี! หลักสูตร “Intermediate Data Engineering” พร้อมเสริมศักยภาพบุคลากรในยุคดิจิทัลอย่างมีประสิทธิภาพ “เติมพลังครู สู่ห้องเรียน” รุ่นที่ 2 ‘เชฟบอล’ นักศึกษาป.เอก นันทนาการ ท่องเที่ยวและกีฬา ม.ศิลปากร รังสรรค์สำรับอาหารสมุทรสงคราม เพิ่มมูลค่าภูมิปัญญาอาหารจากวัตถุดิบท้องถิ่น จุฬาฯ เปิดตัวหลักสูตร ZEN หลักสูตรอบรมที่ผสานหลักการปรัชญาแบบญี่ปุ่นกับแนวทางการตลาดสมัยใหม่ พลิกโฉมการพัฒนาครู : โครงการนำร่องหลักสูตรปริญญาร่วมไทย-สหรัฐฯ ยกระดับผลิตครูสะเต็มยุคใหม่ปูทางสู่มาตรฐานสากล Post navigation PREVIOUS Previous post: ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลกNEXT Next post: มทร.กรุงเทพ เปิดรับครั้งใหญ่ ปีการศึกษา 2568 TCAS1 Portfolio – รับตรง 1 (ปวช./ปวส.) – ภาคสมทบ1 และระดับปริญญาโท-เอก Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
จุฬาฯ เปิดตัวหลักสูตร ZEN หลักสูตรอบรมที่ผสานหลักการปรัชญาแบบญี่ปุ่นกับแนวทางการตลาดสมัยใหม่ EZ WebmasterDecember 3, 2024 จุฬาฯ เปิดตัวหลักสูตร ZEN หลักสูตรอบรมที่ผสานหลักการปรัชญาแบบญี่ปุ่นกับแนวทางการตลาดสมัยใหม่ องค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก (พ.ส.ล.) จับมือภาควิชาการตลาด คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาฯ และพันธมิตร จัดงานเสวนาความรู้การตลาดเพื่อความดีงามและยั่งยืน ร่วมพลิกโฉมธุรกิจสู่ความสำเร็จที่ยั่งยืน… พลิกโฉมการพัฒนาครู : โครงการนำร่องหลักสูตรปริญญาร่วมไทย-สหรัฐฯ ยกระดับผลิตครูสะเต็มยุคใหม่ปูทางสู่มาตรฐานสากล EZ WebmasterDecember 3, 2024 ประเทศไทยเปิดก้าวแรก โครงการนำร่อง หลักสูตรปริญญาร่วมไทย-สหรัฐอเมริกา ครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ ด้านสะเต็มศึกษา (Thai-US Joint-degree Sandbox for STEM Teacher Education Program) พลิกโฉมการพัฒนาครูมืออาชีพก้าวนำการเปลี่ยนแปลงโลกปัจจุบัน ต่อยอดจากโครงการครุศึกษายุคใหม่SEA-TEP (Southeast Asian Teacher Education Program) ในระดับภูมิภาค…
พลิกโฉมการพัฒนาครู : โครงการนำร่องหลักสูตรปริญญาร่วมไทย-สหรัฐฯ ยกระดับผลิตครูสะเต็มยุคใหม่ปูทางสู่มาตรฐานสากล EZ WebmasterDecember 3, 2024 ประเทศไทยเปิดก้าวแรก โครงการนำร่อง หลักสูตรปริญญาร่วมไทย-สหรัฐอเมริกา ครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ ด้านสะเต็มศึกษา (Thai-US Joint-degree Sandbox for STEM Teacher Education Program) พลิกโฉมการพัฒนาครูมืออาชีพก้าวนำการเปลี่ยนแปลงโลกปัจจุบัน ต่อยอดจากโครงการครุศึกษายุคใหม่SEA-TEP (Southeast Asian Teacher Education Program) ในระดับภูมิภาค…
“เติมพลังครู สู่ห้องเรียน” รุ่นที่ 2 EZ WebmasterDecember 3, 2024 มาแล้วกับกิจกรรม “เติมพลังครู สู่ห้องเรียน” รุ่นที่ 2 เป็นโครงการที่จัดขึ้นเพื่อเสริมสร้างพลังงานบวกให้กับเหล่าคุณครูและแนวทางการเรียนรู้กับครู โดยมีแนวทาง คือ Transformative Learning ซึ่งสามารถให้คุณครูสามารถเรียนรู้ความรู้สึกภายในของตนเอง และยังได้นำพลังบวกที่ได้รับไปใช้ในการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น . รายละเอียดกิจกรรม วันที่จัดกิจกรรม 14-16 ธันวาคม 2567… จุฬาฯ เปิดตัวหลักสูตร ZEN หลักสูตรอบรมที่ผสานหลักการปรัชญาแบบญี่ปุ่นกับแนวทางการตลาดสมัยใหม่ EZ WebmasterDecember 3, 2024 จุฬาฯ เปิดตัวหลักสูตร ZEN หลักสูตรอบรมที่ผสานหลักการปรัชญาแบบญี่ปุ่นกับแนวทางการตลาดสมัยใหม่ องค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก (พ.ส.ล.) จับมือภาควิชาการตลาด คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาฯ และพันธมิตร จัดงานเสวนาความรู้การตลาดเพื่อความดีงามและยั่งยืน ร่วมพลิกโฉมธุรกิจสู่ความสำเร็จที่ยั่งยืน… วิศวกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี จัดอบรม ระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ tui sakrapeeNovember 27, 2024 รองศาสตราจารย์ ดร.สรพงษ์ ภวสุปรีย์ คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) เผยว่า ศูนย์พัฒนาทักษะอุตสาหกรรม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี ร่วมกับภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า จัดโครงการฝึกอบรมหลักสูตร ระบบกักเก็บพลังงานและสถานการณ์การพัฒนาการของแบตเตอรี่ (Energy Storage System (ESS) and The… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI EZ WebmasterNovember 27, 2024 เติบโตอย่างยิ่งใหญ่กว่าที่เคย iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI พร้อมพาวงการครีเอเตอร์ก้าวสู่เส้นทางแห่งไอคอนนิก งานที่รวบรวมเหล่า ครีเอเตอร์กว่า 100 คนเพื่อเปิดโอกาสให้ได้มีส่วนทำงานกับแบรนด์ต่าง ๆ จนได้กระแสตอบรับอย่างล้นหลาม บรรยากาศภายในงานเต็มไปด้วยความคึกคัก ยิ่งใหญ่ ตื่นตาตื่นใจกว่าที่เคยและผู้คนที่หลั่งไหลเข้ามาภายในงานเป็นจำนวนมากเพือมาเข้าร่วมการพูดแบ่งปันประสบการณ์ของเหล่า ครีเอเตอร์… Search for: Search EZ Webmaster November 5, 2024 EZ Webmaster November 5, 2024 โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ (Hard skills) และทักษะชีวิต (Soft skills) เพราะเชื่อว่าทุกคนมีคุณค่าและ ศักยภาพในตัวเอง สามารถเผชิญโลกที่เปลี่ยนแปลง โดยใช้การเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีความสุขและยั่งยืน ดีมานด์ซัพพลายที่ไม่ลงตัว โลกการทำงานที่ไม่เหมือนเดิมอีกต่อไป แม้ว่าสถาบันการศึกษาจะพยายามออกแบบหลักสูตรการเรียนที่คาดว่าจะตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงาน แต่คุณภาพของผู้ที่จบการศึกษามานั้น กลับยังไม่ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงาน ทำให้ต้องไปทำงานในตำแหน่งงานที่ต่ำกว่าวุฒิที่จบมา หรือทำงานไม่ตรงสาขาที่เรียนจบมา และที่ร้ายแรงที่สุดคือไม่สามารถหางานทำได้ เกิดเป็นปัญหาการว่างงานในที่สุด ซึ่งปัญหานี้ได้ส่งผลกระทบในวงกว้าง มูลนิธิเอสซีจีจึงร่วมกับสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย หรือทีดีอาร์ไอ (Thailand Development Research Institute : TDRI) ได้จัดทำแนวโน้มความต้องการแรงงานในอุตสาหกรรมต่าง ๆ และทักษะอาชีพที่แรงงานไทยควรต้องมี พบว่าแรงงานไทยมีระดับการศึกษาที่สูงขึ้นมากในช่วง 50 ปีที่ผ่านมา แต่โครงสร้างอาชีพแรงงานไทยกลับไม่ได้ยกระดับขึ้นตามระดับการศึกษา โดยมีสาเหตุมาจาก ประเทศไทยไม่ประสบความสำเร็จในการยกระดับอุตสาหกรรมไทยให้เป็นอุตสาหกรรมที่ใช้ทักษะความรู้และมีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้น ระบบการศึกษาของไทย ประสบความสำเร็จในด้านปริมาณ แต่ไม่ประสบความสำเร็จเชิงคุณภาพ วุฒิการศึกษาที่ได้รับไม่ได้สะท้อนถึงทักษะความรู้ที่ผู้เรียนมี เกิดความไม่เข้ากันระหว่างความต้องการแรงงานในตลาด กับระบบการศึกษาที่ผลิตแรงงาน ทั้งการไม่เข้ากันในแนวตั้ง (Vertical Mismatch) คือแรงงานมีวุฒิการศึกษาสูงหรือต่ำกว่าที่ตลาดแรงงานต้องการ และไม่เข้ากันในแนวนอน (Horizontal Mismatch) คือแรงงานมีวุฒิตรงกับที่ตลาดแรงงานต้องการแต่ไม่ได้จบมาในสาขาหรือมีทักษะตรงตามที่ตลาดแรงงานต้องการ ความไม่สอดคล้องกันของความต้องการแรงงานในตลาดกับระบบการศึกษาที่ผลิตแรงงานนี้ (Mismatch) ถือเป็นปัญหาใหญ่และค่อนข้างรุนแรง ใน 2 ประเด็นดังนี้ ○ แรงงานมีวุฒิการศึกษาสูง-ต่ำ กว่าที่ตลาดแรงงานต้องการ ○ แรงงานมีวุฒิการศึกษาตรง แต่กลับจบไม่ตรงสาขาที่ตลาดแรงงานต้องการ โดยเฉพาะในระดับอาชีวศึกษาที่มุ่งเน้นผลิตแรงงานเพื่อป้อนตลาด แต่กลับพบว่าผู้จบระดับ ปวช. อายุ 21-40 ปี ได้งานทำที่ไม่ตรงสายที่เรียนมาเกือบ 90% ผู้จบ ปวส. อายุ 21-30 ปี ทำงานไม่ตรงสาย 84% ประเภทอุตสาหกรรมกับความต้องการแรงงาน ข้อมูลจากการสำรวจตลาดแรงงานไทย โดยทีดีอาร์ไอ ในปี 2024 พบว่า ตลาดแรงงานไทยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ทั้งในส่วนโครงสร้างการจ้างงาน และ ทักษะของตลาดแรงงานไทยที่ยังคงมีลักษณะเป็นแรงงานทักษะต่ำ หากจัดกลุ่มการลงทุนตามประเภทกิจกรรมหมวดใหญ่ ตามข้อมูลการอนุมัติบัตรส่งเสริมการลงทุน ระหว่างปี พ.ศ. 2561 ถึงปี พ.ศ. 2566 จะพบว่า ในแง่เงินลงทุน อุตสาหกรรมเคมีและปิโตรเคมีมีการลงทุนมากที่สุด คือมากถึง446,948 ล้านบาท ตามมาด้วยอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรมเครื่องจักรและยานยนต์ อุตสาหกรรมเกษตร อาหาร และเทคโนโลยีชีวภาพ และอุตสาหกรรมสาธารณูปโภค ตามลำดับ แต่หากพิจารณาตามจำนวนการจ้างงานแล้ว พบว่าอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ มีการจ้างงานมากที่สุด ตามมาด้วยอุตสาหกรรมเครื่องจักรและยานยนต์ และอุตสาหกรรมเกษตร อาหาร และเทคโนโลยีชีวภาพ ตามลำดับ ยุคเรียนรู้เพื่ออยู่รอดแบบ Learn to Earn นอกจากการเรียนรู้ที่จะช่วยพัฒนาทักษะให้อยู่รอดได้แล้วนั้น ศักยภาพของทักษะที่มีในแต่ละคนก็เป็นอีกหนึ่งความสำคัญที่องค์กรต่างๆ ใช้เป็นตัวพิจารณาหลักในการคัดเลือกคนเข้าทำงาน ดังนั้น การมีทั้ง Hard Skills และ Soft Skills จะทำให้บุคคลนั้นมีความสามารถในการทำงานที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น ทักษะวิชาชีพ หรือ Hard Skills เป็นทักษะที่มีระยะเวลาการใช้งาน ความรู้ความสามารถที่มีอยู่นั้นอาจจะไม่สามารถนำมาใช้งานได้เมื่อเวลาผ่านไป เพราะเป็นความรู้ที่เก่า ไม่ทันสมัย ทำให้ต้องมีการเรียนรู้เพิ่มเติมอยู่ตลอดเวลา ซึ่งทักษะวิชาชีพนี้มีรูปแบบตายตัว สามารถเรียนรู้ด้วยตนเองได้ ในขณะที่ทักษะชีวิต หรือ Soft Skills เป็นทักษะที่ใช้ปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น จะมีประโยชน์ในการปรับตัวให้อยู่รอดได้ในปัจจุบัน รวมถึงการนำไปใช้รับมือกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลา ทักษะชีวิตนี้เป็นทักษะที่จะติดตัวไปตลอดชีวิต นอกจากนี้มูลนิธิเอสซีจี ได้ร่วมกับบริษัท ฟาร์อีสท์ เฟมไลน์ ดีดีบี จำกัด (มหาชน) ทำการสำรวจเพิ่มเติมในกลุ่ม Newgen (GEN Y & Z) ช่วงอายุ 15-34 ปี กว่า 500 คน และกลุ่ม Opinion Leader พบว่าทักษะที่ส่วนใหญ่มองว่า เป็นทักษะที่สำคัญและจำเป็น เป็นทักษะ Soft Skills โดยมี Skill set ที่สำคัญดังนี้ ทักษะด้านการสื่อสารและภาษา (Communication & Language Skills) ได้แก่ทักษะด้าน Conciseness, active listening, assertiveness, verbal communication, non-verbal communication, story telling และ adaptability ทักษะด้านการทำงานร่วมกัน (Collaboration Skills) ได้แก่ทักษะด้าน Active listening, feedback, inclusivity, verbal communication และ written communication ทักษะด้านการคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking Skills) ได้แก่ทักษะด้าน Problem solving, creative writing, open-mindedness, analysis และ active listening ทิศทางการเรียนรู้ในอนาคตควรเป็นแบบไหน จากวงเสวนา Opinion Panel ที่มูลนิธิเอสซีจีจัดขึ้น โดยมีกลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิจากหน่วยงาน องค์กร ที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และสื่อมวลชน กว่า 20 คน ทุกคนมีความเห็นตรงกันว่า ระบบการศึกษาควรปรับตัวเป็นการเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ และต้องสามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ทุกเวลา เพื่อให้เกิดการพัฒนาทักษะทางวิชาชีพ หรือ Hard Skills และทักษะชีวิต หรือ Soft Skills โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นทั้งเยาวชนในระบบ นอกระบบ รวมไปถึงผู้ที่ก้าวพลาด เพื่อให้ทุกคนอยู่รอดในสังคมต่อไปได้อย่างยั่งยืน ซึ่งการเรียนรู้เพื่ออยู่รอดจะดำเนินการด้วย 2 หลักการสำคัญคือ ความยั่งยืนและยืดหยุ่น ยั่งยืนคือเรียนรู้แล้วเอาตัวรอดได้ และยืดหยุ่นคือปรับตัวไปตามสถานการณ์ สถาบันการศึกษา โดยเฉพาะโรงเรียนขยายโอกาส ควรทำหน้าที่ในการสร้างแรงบันดาลใจให้กับเยาวชน ด้วยการกระตุ้นให้รู้จักตัวตนให้เร็วที่สุด เน้นให้เรียนรู้ในสิ่งที่อยากเรียนและมีความสุขในการเรียน และควรจัดทำระบบการเทียบโอนหรือ Credit Bank ให้เกิดเป็นรูปธรรมไปในเวลาเดียวกัน เพราะต่อไปเมื่อตลาดแรงงานไม่ได้ต้องการคนจบวุฒิการศึกษาสูง จึงไม่มีความจำเป็นต้องเสียเวลาเรียนหลายปีเพื่อให้ได้ปริญญา คนรุ่นใหม่จะเปลี่ยนมาเรียนหลักสูตรระยะสั้น เพื่อให้มีงานทำ มีรายได้เลี้ยงตัวเอง และกลับมาพัฒนาทักษะความรู้ Upskills-Reskills เมื่อมีโอกาส พร้อมทั้งเก็บสะสมเครดิตการเรียนรู้เพื่อนำไปใช้คำนวณอัตราค่าจ้างต่อไป เพราะคนที่เรียนมาน้อยแต่ประสบการณ์สูง ควรได้ค่าตอบแทนเทียบเท่าหรือมากกว่าคนที่เรียนจบมาสูงแต่ไม่มีประสบการณ์ นอกจากนี้ จากการศึกษายังพบว่ากลุ่ม Gen Z ถึง 50% ไม่แน่ใจว่าตัวเองชอบอาชีพ / ศึกษาสาขาใด และมากกว่า 37% ที่ยังขาดคนให้คำปรึกษาหรือให้คำแนะนำในการศึกษาต่อ การไม่รู้จักตัวตนของคนรุ่นใหม่ ไม่สามารถบอกได้ว่าตัวเองถนัดอะไร ชอบอะไร รักที่จะทำอะไร ทำให้ไม่สามารถวางแผนชีวิตในอนาคตได้ สถาบันครอบครัวควรส่งเสริมหรือกระตุ้นให้เด็กและเยาวชนค้นหาตัวตนให้พบ เพื่อจะดึงความชอบมาพัฒนาและเพิ่มทักษะให้พร้อมเรียนรู้เป็นอาชีพต่อไป โดยเฉพาะกับคนรุ่นใหม่ในกลุ่ม Medium Skill และ Low Skill ที่จะขาดคนให้คำแนะนำที่ถูกต้อง ซึ่งหากจัดการทั้งระบบ เด็กและเยาวชน-รู้จักตัวตนได้เร็ว เรียนรู้ในสิ่งที่เป็นตัวเอง พัฒนาทักษะสม่ำเสมอ เพื่อให้อยู่รอด มีอาชีพ มีงานทำ อยู่อย่างมีความสุข และเป็นการรอดแบบมีสัมมาชีพ มีคุณธรรมและจริยธรรม ผู้สนใจสามารถติดตามข้อมูลข่าวสารและความคืบหน้าของโครงการต่างๆ ของมูลนิธิเอสซีจี ได้ที่ www.scgfoundation.org เฟซบุ๊ก LEARNtoEARN และ TIKTOK: LEARNtoEARN EZ Webmaster Related Posts BDI จับมือ สจล. เปิดรับสมัครอบรมฟรี! หลักสูตร “Intermediate Data Engineering” พร้อมเสริมศักยภาพบุคลากรในยุคดิจิทัลอย่างมีประสิทธิภาพ “เติมพลังครู สู่ห้องเรียน” รุ่นที่ 2 ‘เชฟบอล’ นักศึกษาป.เอก นันทนาการ ท่องเที่ยวและกีฬา ม.ศิลปากร รังสรรค์สำรับอาหารสมุทรสงคราม เพิ่มมูลค่าภูมิปัญญาอาหารจากวัตถุดิบท้องถิ่น จุฬาฯ เปิดตัวหลักสูตร ZEN หลักสูตรอบรมที่ผสานหลักการปรัชญาแบบญี่ปุ่นกับแนวทางการตลาดสมัยใหม่ พลิกโฉมการพัฒนาครู : โครงการนำร่องหลักสูตรปริญญาร่วมไทย-สหรัฐฯ ยกระดับผลิตครูสะเต็มยุคใหม่ปูทางสู่มาตรฐานสากล Post navigation PREVIOUS Previous post: ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลกNEXT Next post: มทร.กรุงเทพ เปิดรับครั้งใหญ่ ปีการศึกษา 2568 TCAS1 Portfolio – รับตรง 1 (ปวช./ปวส.) – ภาคสมทบ1 และระดับปริญญาโท-เอก Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
จุฬาฯ เปิดตัวหลักสูตร ZEN หลักสูตรอบรมที่ผสานหลักการปรัชญาแบบญี่ปุ่นกับแนวทางการตลาดสมัยใหม่ EZ WebmasterDecember 3, 2024 จุฬาฯ เปิดตัวหลักสูตร ZEN หลักสูตรอบรมที่ผสานหลักการปรัชญาแบบญี่ปุ่นกับแนวทางการตลาดสมัยใหม่ องค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก (พ.ส.ล.) จับมือภาควิชาการตลาด คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาฯ และพันธมิตร จัดงานเสวนาความรู้การตลาดเพื่อความดีงามและยั่งยืน ร่วมพลิกโฉมธุรกิจสู่ความสำเร็จที่ยั่งยืน… วิศวกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี จัดอบรม ระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ tui sakrapeeNovember 27, 2024 รองศาสตราจารย์ ดร.สรพงษ์ ภวสุปรีย์ คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) เผยว่า ศูนย์พัฒนาทักษะอุตสาหกรรม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี ร่วมกับภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า จัดโครงการฝึกอบรมหลักสูตร ระบบกักเก็บพลังงานและสถานการณ์การพัฒนาการของแบตเตอรี่ (Energy Storage System (ESS) and The… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI EZ WebmasterNovember 27, 2024 เติบโตอย่างยิ่งใหญ่กว่าที่เคย iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI พร้อมพาวงการครีเอเตอร์ก้าวสู่เส้นทางแห่งไอคอนนิก งานที่รวบรวมเหล่า ครีเอเตอร์กว่า 100 คนเพื่อเปิดโอกาสให้ได้มีส่วนทำงานกับแบรนด์ต่าง ๆ จนได้กระแสตอบรับอย่างล้นหลาม บรรยากาศภายในงานเต็มไปด้วยความคึกคัก ยิ่งใหญ่ ตื่นตาตื่นใจกว่าที่เคยและผู้คนที่หลั่งไหลเข้ามาภายในงานเป็นจำนวนมากเพือมาเข้าร่วมการพูดแบ่งปันประสบการณ์ของเหล่า ครีเอเตอร์… Search for: Search
วิศวกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี จัดอบรม ระบบกักเก็บพลังงานแบตเตอรี่ tui sakrapeeNovember 27, 2024 รองศาสตราจารย์ ดร.สรพงษ์ ภวสุปรีย์ คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) เผยว่า ศูนย์พัฒนาทักษะอุตสาหกรรม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี ร่วมกับภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า จัดโครงการฝึกอบรมหลักสูตร ระบบกักเก็บพลังงานและสถานการณ์การพัฒนาการของแบตเตอรี่ (Energy Storage System (ESS) and The… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI EZ WebmasterNovember 27, 2024 เติบโตอย่างยิ่งใหญ่กว่าที่เคย iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI พร้อมพาวงการครีเอเตอร์ก้าวสู่เส้นทางแห่งไอคอนนิก งานที่รวบรวมเหล่า ครีเอเตอร์กว่า 100 คนเพื่อเปิดโอกาสให้ได้มีส่วนทำงานกับแบรนด์ต่าง ๆ จนได้กระแสตอบรับอย่างล้นหลาม บรรยากาศภายในงานเต็มไปด้วยความคึกคัก ยิ่งใหญ่ ตื่นตาตื่นใจกว่าที่เคยและผู้คนที่หลั่งไหลเข้ามาภายในงานเป็นจำนวนมากเพือมาเข้าร่วมการพูดแบ่งปันประสบการณ์ของเหล่า ครีเอเตอร์…
iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI EZ WebmasterNovember 27, 2024 เติบโตอย่างยิ่งใหญ่กว่าที่เคย iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI พร้อมพาวงการครีเอเตอร์ก้าวสู่เส้นทางแห่งไอคอนนิก งานที่รวบรวมเหล่า ครีเอเตอร์กว่า 100 คนเพื่อเปิดโอกาสให้ได้มีส่วนทำงานกับแบรนด์ต่าง ๆ จนได้กระแสตอบรับอย่างล้นหลาม บรรยากาศภายในงานเต็มไปด้วยความคึกคัก ยิ่งใหญ่ ตื่นตาตื่นใจกว่าที่เคยและผู้คนที่หลั่งไหลเข้ามาภายในงานเป็นจำนวนมากเพือมาเข้าร่วมการพูดแบ่งปันประสบการณ์ของเหล่า ครีเอเตอร์…
EZ Webmaster November 5, 2024 EZ Webmaster November 5, 2024 โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ (Hard skills) และทักษะชีวิต (Soft skills) เพราะเชื่อว่าทุกคนมีคุณค่าและ ศักยภาพในตัวเอง สามารถเผชิญโลกที่เปลี่ยนแปลง โดยใช้การเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีความสุขและยั่งยืน ดีมานด์ซัพพลายที่ไม่ลงตัว โลกการทำงานที่ไม่เหมือนเดิมอีกต่อไป แม้ว่าสถาบันการศึกษาจะพยายามออกแบบหลักสูตรการเรียนที่คาดว่าจะตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงาน แต่คุณภาพของผู้ที่จบการศึกษามานั้น กลับยังไม่ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงาน ทำให้ต้องไปทำงานในตำแหน่งงานที่ต่ำกว่าวุฒิที่จบมา หรือทำงานไม่ตรงสาขาที่เรียนจบมา และที่ร้ายแรงที่สุดคือไม่สามารถหางานทำได้ เกิดเป็นปัญหาการว่างงานในที่สุด ซึ่งปัญหานี้ได้ส่งผลกระทบในวงกว้าง มูลนิธิเอสซีจีจึงร่วมกับสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย หรือทีดีอาร์ไอ (Thailand Development Research Institute : TDRI) ได้จัดทำแนวโน้มความต้องการแรงงานในอุตสาหกรรมต่าง ๆ และทักษะอาชีพที่แรงงานไทยควรต้องมี พบว่าแรงงานไทยมีระดับการศึกษาที่สูงขึ้นมากในช่วง 50 ปีที่ผ่านมา แต่โครงสร้างอาชีพแรงงานไทยกลับไม่ได้ยกระดับขึ้นตามระดับการศึกษา โดยมีสาเหตุมาจาก ประเทศไทยไม่ประสบความสำเร็จในการยกระดับอุตสาหกรรมไทยให้เป็นอุตสาหกรรมที่ใช้ทักษะความรู้และมีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้น ระบบการศึกษาของไทย ประสบความสำเร็จในด้านปริมาณ แต่ไม่ประสบความสำเร็จเชิงคุณภาพ วุฒิการศึกษาที่ได้รับไม่ได้สะท้อนถึงทักษะความรู้ที่ผู้เรียนมี เกิดความไม่เข้ากันระหว่างความต้องการแรงงานในตลาด กับระบบการศึกษาที่ผลิตแรงงาน ทั้งการไม่เข้ากันในแนวตั้ง (Vertical Mismatch) คือแรงงานมีวุฒิการศึกษาสูงหรือต่ำกว่าที่ตลาดแรงงานต้องการ และไม่เข้ากันในแนวนอน (Horizontal Mismatch) คือแรงงานมีวุฒิตรงกับที่ตลาดแรงงานต้องการแต่ไม่ได้จบมาในสาขาหรือมีทักษะตรงตามที่ตลาดแรงงานต้องการ ความไม่สอดคล้องกันของความต้องการแรงงานในตลาดกับระบบการศึกษาที่ผลิตแรงงานนี้ (Mismatch) ถือเป็นปัญหาใหญ่และค่อนข้างรุนแรง ใน 2 ประเด็นดังนี้ ○ แรงงานมีวุฒิการศึกษาสูง-ต่ำ กว่าที่ตลาดแรงงานต้องการ ○ แรงงานมีวุฒิการศึกษาตรง แต่กลับจบไม่ตรงสาขาที่ตลาดแรงงานต้องการ โดยเฉพาะในระดับอาชีวศึกษาที่มุ่งเน้นผลิตแรงงานเพื่อป้อนตลาด แต่กลับพบว่าผู้จบระดับ ปวช. อายุ 21-40 ปี ได้งานทำที่ไม่ตรงสายที่เรียนมาเกือบ 90% ผู้จบ ปวส. อายุ 21-30 ปี ทำงานไม่ตรงสาย 84% ประเภทอุตสาหกรรมกับความต้องการแรงงาน ข้อมูลจากการสำรวจตลาดแรงงานไทย โดยทีดีอาร์ไอ ในปี 2024 พบว่า ตลาดแรงงานไทยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ทั้งในส่วนโครงสร้างการจ้างงาน และ ทักษะของตลาดแรงงานไทยที่ยังคงมีลักษณะเป็นแรงงานทักษะต่ำ หากจัดกลุ่มการลงทุนตามประเภทกิจกรรมหมวดใหญ่ ตามข้อมูลการอนุมัติบัตรส่งเสริมการลงทุน ระหว่างปี พ.ศ. 2561 ถึงปี พ.ศ. 2566 จะพบว่า ในแง่เงินลงทุน อุตสาหกรรมเคมีและปิโตรเคมีมีการลงทุนมากที่สุด คือมากถึง446,948 ล้านบาท ตามมาด้วยอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรมเครื่องจักรและยานยนต์ อุตสาหกรรมเกษตร อาหาร และเทคโนโลยีชีวภาพ และอุตสาหกรรมสาธารณูปโภค ตามลำดับ แต่หากพิจารณาตามจำนวนการจ้างงานแล้ว พบว่าอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ มีการจ้างงานมากที่สุด ตามมาด้วยอุตสาหกรรมเครื่องจักรและยานยนต์ และอุตสาหกรรมเกษตร อาหาร และเทคโนโลยีชีวภาพ ตามลำดับ ยุคเรียนรู้เพื่ออยู่รอดแบบ Learn to Earn นอกจากการเรียนรู้ที่จะช่วยพัฒนาทักษะให้อยู่รอดได้แล้วนั้น ศักยภาพของทักษะที่มีในแต่ละคนก็เป็นอีกหนึ่งความสำคัญที่องค์กรต่างๆ ใช้เป็นตัวพิจารณาหลักในการคัดเลือกคนเข้าทำงาน ดังนั้น การมีทั้ง Hard Skills และ Soft Skills จะทำให้บุคคลนั้นมีความสามารถในการทำงานที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น ทักษะวิชาชีพ หรือ Hard Skills เป็นทักษะที่มีระยะเวลาการใช้งาน ความรู้ความสามารถที่มีอยู่นั้นอาจจะไม่สามารถนำมาใช้งานได้เมื่อเวลาผ่านไป เพราะเป็นความรู้ที่เก่า ไม่ทันสมัย ทำให้ต้องมีการเรียนรู้เพิ่มเติมอยู่ตลอดเวลา ซึ่งทักษะวิชาชีพนี้มีรูปแบบตายตัว สามารถเรียนรู้ด้วยตนเองได้ ในขณะที่ทักษะชีวิต หรือ Soft Skills เป็นทักษะที่ใช้ปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น จะมีประโยชน์ในการปรับตัวให้อยู่รอดได้ในปัจจุบัน รวมถึงการนำไปใช้รับมือกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลา ทักษะชีวิตนี้เป็นทักษะที่จะติดตัวไปตลอดชีวิต นอกจากนี้มูลนิธิเอสซีจี ได้ร่วมกับบริษัท ฟาร์อีสท์ เฟมไลน์ ดีดีบี จำกัด (มหาชน) ทำการสำรวจเพิ่มเติมในกลุ่ม Newgen (GEN Y & Z) ช่วงอายุ 15-34 ปี กว่า 500 คน และกลุ่ม Opinion Leader พบว่าทักษะที่ส่วนใหญ่มองว่า เป็นทักษะที่สำคัญและจำเป็น เป็นทักษะ Soft Skills โดยมี Skill set ที่สำคัญดังนี้ ทักษะด้านการสื่อสารและภาษา (Communication & Language Skills) ได้แก่ทักษะด้าน Conciseness, active listening, assertiveness, verbal communication, non-verbal communication, story telling และ adaptability ทักษะด้านการทำงานร่วมกัน (Collaboration Skills) ได้แก่ทักษะด้าน Active listening, feedback, inclusivity, verbal communication และ written communication ทักษะด้านการคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking Skills) ได้แก่ทักษะด้าน Problem solving, creative writing, open-mindedness, analysis และ active listening ทิศทางการเรียนรู้ในอนาคตควรเป็นแบบไหน จากวงเสวนา Opinion Panel ที่มูลนิธิเอสซีจีจัดขึ้น โดยมีกลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิจากหน่วยงาน องค์กร ที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และสื่อมวลชน กว่า 20 คน ทุกคนมีความเห็นตรงกันว่า ระบบการศึกษาควรปรับตัวเป็นการเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ และต้องสามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ทุกเวลา เพื่อให้เกิดการพัฒนาทักษะทางวิชาชีพ หรือ Hard Skills และทักษะชีวิต หรือ Soft Skills โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นทั้งเยาวชนในระบบ นอกระบบ รวมไปถึงผู้ที่ก้าวพลาด เพื่อให้ทุกคนอยู่รอดในสังคมต่อไปได้อย่างยั่งยืน ซึ่งการเรียนรู้เพื่ออยู่รอดจะดำเนินการด้วย 2 หลักการสำคัญคือ ความยั่งยืนและยืดหยุ่น ยั่งยืนคือเรียนรู้แล้วเอาตัวรอดได้ และยืดหยุ่นคือปรับตัวไปตามสถานการณ์ สถาบันการศึกษา โดยเฉพาะโรงเรียนขยายโอกาส ควรทำหน้าที่ในการสร้างแรงบันดาลใจให้กับเยาวชน ด้วยการกระตุ้นให้รู้จักตัวตนให้เร็วที่สุด เน้นให้เรียนรู้ในสิ่งที่อยากเรียนและมีความสุขในการเรียน และควรจัดทำระบบการเทียบโอนหรือ Credit Bank ให้เกิดเป็นรูปธรรมไปในเวลาเดียวกัน เพราะต่อไปเมื่อตลาดแรงงานไม่ได้ต้องการคนจบวุฒิการศึกษาสูง จึงไม่มีความจำเป็นต้องเสียเวลาเรียนหลายปีเพื่อให้ได้ปริญญา คนรุ่นใหม่จะเปลี่ยนมาเรียนหลักสูตรระยะสั้น เพื่อให้มีงานทำ มีรายได้เลี้ยงตัวเอง และกลับมาพัฒนาทักษะความรู้ Upskills-Reskills เมื่อมีโอกาส พร้อมทั้งเก็บสะสมเครดิตการเรียนรู้เพื่อนำไปใช้คำนวณอัตราค่าจ้างต่อไป เพราะคนที่เรียนมาน้อยแต่ประสบการณ์สูง ควรได้ค่าตอบแทนเทียบเท่าหรือมากกว่าคนที่เรียนจบมาสูงแต่ไม่มีประสบการณ์ นอกจากนี้ จากการศึกษายังพบว่ากลุ่ม Gen Z ถึง 50% ไม่แน่ใจว่าตัวเองชอบอาชีพ / ศึกษาสาขาใด และมากกว่า 37% ที่ยังขาดคนให้คำปรึกษาหรือให้คำแนะนำในการศึกษาต่อ การไม่รู้จักตัวตนของคนรุ่นใหม่ ไม่สามารถบอกได้ว่าตัวเองถนัดอะไร ชอบอะไร รักที่จะทำอะไร ทำให้ไม่สามารถวางแผนชีวิตในอนาคตได้ สถาบันครอบครัวควรส่งเสริมหรือกระตุ้นให้เด็กและเยาวชนค้นหาตัวตนให้พบ เพื่อจะดึงความชอบมาพัฒนาและเพิ่มทักษะให้พร้อมเรียนรู้เป็นอาชีพต่อไป โดยเฉพาะกับคนรุ่นใหม่ในกลุ่ม Medium Skill และ Low Skill ที่จะขาดคนให้คำแนะนำที่ถูกต้อง ซึ่งหากจัดการทั้งระบบ เด็กและเยาวชน-รู้จักตัวตนได้เร็ว เรียนรู้ในสิ่งที่เป็นตัวเอง พัฒนาทักษะสม่ำเสมอ เพื่อให้อยู่รอด มีอาชีพ มีงานทำ อยู่อย่างมีความสุข และเป็นการรอดแบบมีสัมมาชีพ มีคุณธรรมและจริยธรรม ผู้สนใจสามารถติดตามข้อมูลข่าวสารและความคืบหน้าของโครงการต่างๆ ของมูลนิธิเอสซีจี ได้ที่ www.scgfoundation.org เฟซบุ๊ก LEARNtoEARN และ TIKTOK: LEARNtoEARN
BDI จับมือ สจล. เปิดรับสมัครอบรมฟรี! หลักสูตร “Intermediate Data Engineering” พร้อมเสริมศักยภาพบุคลากรในยุคดิจิทัลอย่างมีประสิทธิภาพ
‘เชฟบอล’ นักศึกษาป.เอก นันทนาการ ท่องเที่ยวและกีฬา ม.ศิลปากร รังสรรค์สำรับอาหารสมุทรสงคราม เพิ่มมูลค่าภูมิปัญญาอาหารจากวัตถุดิบท้องถิ่น
พลิกโฉมการพัฒนาครู : โครงการนำร่องหลักสูตรปริญญาร่วมไทย-สหรัฐฯ ยกระดับผลิตครูสะเต็มยุคใหม่ปูทางสู่มาตรฐานสากล