โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนแม่เมาะวิทยา EZ WebmasterJune 18, 2025 ความสุขเล็กๆ ในวันที่ได้ทำกิจกรรมร่วมกัน โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด พากิจกรรมดีๆ มาถึงโรงเรียนแม่เมาะวิทยา จ.ลำปาง วันที่18/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า (ครูแอน)… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนาน้อย EZ WebmasterJune 18, 2025 กิจกรรมนี้ มีแต่เสียงหัวเราะ ความอร่อย และรอยยิ้ม โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด พากิจกรรมดีๆ มาถึงโรงเรียนนาน้อย วันที่18/06/68 โดยวิทยากร ผศ.ดร.ตฤณกร เกตุกุลพันธ์… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสตรีศรีน่าน EZ WebmasterJune 18, 2025 เรียนรู้ เล่นให้สนุก แล้วความรู้จะตามมา! ณ โรงเรียนสตรีศรีน่าน สนุกสนานกับโครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนสตรีศรีน่าน จ.น่าน วันที่18/06/68 โดย… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเถินวิทยา EZ WebmasterJune 18, 2025 วันนี้น้องๆ นักเรียนโรงเรียนเถินวิทยา เต็มที่กับกิจกรรม Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนเถินวิทยา จ.ลำปาง วันที่18/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า (ครูแอน)… นักศึกษา ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา EZ WebmasterJune 18, 2025 วิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิทักษ์ ธรรมวาริน (คนที่ 4 จากซ้าย) คณบดีวิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สจล. และ Mr. Alfonso Martin (คนที่ 3… คณะมนุษยศาสตร์ ม.หอการค้าไทย จัดหลักสูตรรุกหน้าการันตี “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน!!” EZ WebmasterJune 18, 2025 “ภาษา” มิใช่เพียงเครื่องมือสื่อสารแต่เป็นกุญแจสำคัญในการเรียนรู้และเข้าใจวัฒนธรรม การคิดวิเคราะห์และสร้างสรรค์นวัตกรรม ผู้ที่มีทักษะด้านภาษาที่แข็งแกร่งจะสามารถเป็นข้อได้เปรียบหรือประสบความสำเร็จได้ในโลกที่เปลี่ยนแปลงและผู้คนทั่วโลกเชื่อมโยงสื่อสารถึงกันได้ในพริบตาแม้จะต่างชาติ ต่างภาษา ต่างวัฒนธรรม การเรียนรู้ฝึกฝนมีทักษะภาษาจึงมิใช่แค่รู้หรือพูดภาษานานาชาติได้เท่านั้น แต่การเรียนภาษาให้มีรายได้ดี มีอาชีพมั่นคง เป็นมนุษย์เงินเดือนอิสระ ถึงขั้นการันตีได้ว่า “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน !!! นั้นก็เป็นสิ่งเพิ่มมูลค่าและมีคุณค่าอย่างน่าภูมิใจ เฉกเช่นที่ล่าสุด Miss World… การตลาดดิจิทัลและระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย จัดกิจกรรมตอบแทนกลับคืนสังคม EZ WebmasterJune 17, 2025 นักศึกษากลุ่มวิชาการตลาดดิจิทัล และกลุ่มวิชาการบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ร่วมทำกิจกรรม Digital Marketing Innovation for Sustainability สร้างสรรค์ประสบการณ์ทางการตลาดดิจิทัลและการบริการสังคม โดยนักศึกษาได้เข้ากิจกรรมปล่อยสัตว์ทะเลที่ธนาคารปู จังหวัดระยอง และบริจากสิ่งของให้กับชมรมผู้พิการทางสติปัญญา จังหวัดชลบุรี ร่วมเรียนรู้การสร้างสรรค์สื่อสำหรับการสื่อสารทางการตลาดดิจิทัล เพื่อสร้างความรับผิดชอบต่อสังคมให้กับนักศึกษาและร่วมสร้างสรรค์สังคมให้น่าอยู่ต่อไป เรียนคณะบริหารธุรกิจแนวใหม่ต้องสัมผัสประสบการณ์แบบนักธุรกิจ ถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์จากคณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญรวมทั้งนักธุรกิจมืออาชีพ… “จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” EZ WebmasterJune 17, 2025 ในนามของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผมขอส่งความห่วงใยมายังพวกเราทุกคนที่กำลังใช้ชีวิตและศึกษาอยู่ในสหรัฐฯ โดยเฉพาะในช่วงเวลาที่มีความไม่แน่นอนเกี่ยวกับนโยบายวีซ่าที่อาจส่งผลต่อสิทธิในการศึกษา เมื่อไม่นานนี้ ผมและผู้บริหารจุฬาฯ มีโอกาสได้ไปเยือน Harvard และ MIT และได้พบกับนักศึกษาชาวไทยหลายคน ทุกคนต่างมีความมุ่งมั่น ตั้งใจ และอดทนในการใฝ่หาความรู้ เพื่อนำมาพัฒนาตนเอง สังคม และประเทศชาติ แม้จะอยู่ท่ามกลางความกังวลใจต่ออนาคตที่ยังไม่ชัดเจน ผมอยากบอกว่าพวกเราที่จุฬาฯ… ทุนดีดี SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ครู-อาจารย์ อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก tui sakrapeeJune 18, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา นำโดย รศ.ดร.ชุติกาญจน์ ศรีวิบูลย์ อธิการบดี พร้อมคณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย เดินทางเยือนโรงเรียนนานาชาติ Qingdao No.1 International School of Shandong Province (QISS) และ Qingdao University… กองกลาง มจพ. เยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ และจัดสัมมนาจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล ประจำปี 2568 EZ WebmasterJune 18, 2025 ผศ.ดร.สราวุฒิ สืบแย้ม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายการคลังและกิจการทั่วไป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยนางสาวรัตนา สุขเฉลิมศรี ผู้อำนวยการกองกลาง และบุคลากรกองกลาง เข้าเยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ มจพ. ณ ชั้น 3 สำนักงานหอสมุดกลาง โดยมีนางสาวพนารมย์ เกียรติลีลานันท์ และ… คณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล มจพ. ชูธงร่วมเครือข่ายจัดใหญ่การประชุมวิชาการ นวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (FIAC) 2025 EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร สมฤกษ์ จันทรอัมพร รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นเจ้าภาพร่วมในการจัดประชุมวิชาการด้านนวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (Food Innovation Asia Conference 2025) พร้อมด้วย รศ.ดร.รัชนี เจริญ คณบดีคณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล และคณะผู้บริหาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ… สมศ. พลิกโฉมการประเมินคุณภาพภายนอกด้วย AI ภายใต้ “ONESQA 5.0” เสริมความโปร่งใส แม่นยำ และพัฒนาอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 17, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยวิสัยทัศน์ และแนวทางการขับเคลื่อนองค์กรด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence – AI) ภายใต้ วิสัยทัศน์ ONESQA 5.0 โดยมุ่งเน้นการนำ AI เข้ามาใช้เพื่อเสริมประสิทธิภาพ ความโปร่งใส และความแม่นยำ ในกระบวนการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา พร้อมยกระดับสู่ความเป็นดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบบ ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster June 8, 2023 EZ Webmaster June 8, 2023 จับมือ 3 ประสาน มจธ. – โอสถสภา – หัวเว่ย เปิดหลักสูตร “วิศวกรรมระบบอัจฉริยะ (ISE)” ผลิตวิศวกร AI รองรับอุตสาหกรรม 4.0 งานวิจัยของสถาบัน MIT ชี้ว่า AI ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตของภาคอุตสาหกรรมได้ 35% และลดเวลาการทำงานลง 14% และผลการสำรวจของ World Economic Forum ตั้งแต่ปี 2565-2566 ระบุว่า บุคลากรด้าน AI จะขาดแคลนอย่างมหาศาล เพราะอุตสาหกรรมการผลิตของทั้งโลกต้องพึ่งพา AI มากยิ่งขึ้น แต่การเรียนการสอนด้าน AI ของไทยที่ผ่านมา ส่วนใหญ่จะบรรจุในเนื้อหาของวิชาคอมพิวเตอร์ เน้นทักษะความรู้เฉพาะทาง มีการเชื่อมโยงกับโจทย์หรือความต้องการจริงในภาคอุตสาหกรรมค่อนข้างน้อย จึงเป็นที่มาของการออกแบบหลักสูตรวิศวกรรมระบบอัจฉริยะ (Intelligence Systems Engineering: ISE) ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (ราชบุรี) บริษัท โอสถสภา จำกัด (มหาชน) และบริษัท หัวเว่ย เทคโนโลยี่ (ประเทศไทย) จํากัด โดยได้มีพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางด้านวิชาการร่วมกันขึ้น เมื่อวันศุกร์ที่ 2 มิถุนายน 2566 มี รศ. ดร.สุวิทย์ แซ่เตีย อธิการบดี และนายนุกิจ ชลคุป Chief Manufacturing Officer ร่วมลงนาม พร้อมด้วย ศ. ดร.บุญเจริญ ศิริเนาวกุล ที่ปรึกษา มจธ.(ราชบุรี) และตัวแทนจากบริษัท หัวเว่ย เทคโนโลยี่ (ประเทศไทย) จํากัด ร่วมเป็นสักขีพยานพิธีลงนาม รศ. ดร.สุวิทย์ แซ่เตีย อธิการบดี มจธ.กล่าวว่า ปัจจุบันประเทศไทยมีกำลังคนด้าน AI ไม่เพียงพอ ประกอบกับอุตสาหกรรมในประเทศกำลังจะเปลี่ยนแปลงไป จึงมีความต้องการบุคลากรด้าน AI เข้าไปช่วยพัฒนาและดูแลระบบ หากเราไม่เร่งผลิตบุคลากรด้านนี้ในระยะยาวแล้วอุตสาหกรรมเหล่านี้ก็จะมีปัญหาเรื่องกำลังคนอย่างแน่นอน “ต้องเข้าใจว่าอุตสาหกรรมของไทยส่วนใหญ่เป็นเทคโนโลยียุค 3.0 และกำลังต้องปรับเปลี่ยนตัวเองเป็นเทคโนโลยี 4.0 หากเราสามารถสร้างคนที่มีทักษะ และมีประสบการณ์ทำงานด้าน AI กับภาคอุตสาหกรรมเข้าไปเติมในจุดนี้ นอกจากจะสามารถใช้ AI มาช่วยลดต้นทุนในการผลิตได้อย่างเหมาะสมแล้ว ยังเป็นประโยชน์สูงสุด ทั้งกับตัวผู้ประกอบการ และอุตสาหกรรมของไทยโดยรวม” ดังนั้น เพื่อให้หลักสูตรวิศวกรรมระบบอัจฉริยะ (Intelligence Systems Engineering: ISE) สามารถพัฒนาให้นักศึกษามีคุณลักษณะและความสามารถตรงตามความต้องการของอุตสาหกรรมทั้งในและต่างประเทศ อีกทั้งยังเป็นการส่งเสริมการพัฒนาและแลกเปลี่ยนองค์ความรู้และเทคโนโลยี ระหว่างสถาบันการศึกษา และสถานประกอบการ ที่เป็นการพัฒนาองค์ความรู้ด้วยบริบทจริง (Content) ของอุตสาหกรรมยุคใหม่ โดยใช้โจทย์ที่ได้รับจากสถานประกอบการจริง จึงเป็นจุดเด่นที่สำคัญของหลักสูตรนี้ ศ. ดร.บุญเจริญ ศิริเนาวกุล ที่ปรึกษา มจธ.(ราชบุรี) และประธานหลักสูตร ISE กล่าวว่า ภายใต้หลักสูตรนี้ นักศึกษาจะมีความรู้และทักษะทั้งทางด้านวิศวกรรม อุตสาหกรรมและปัญญาประดิษฐ์ รวมถึงเครื่องมืออื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น IoT และ Cloud เพราะเป็นการเรียนรู้แบบพหุวิทยาการที่ส่งเสริมให้นักศึกษาได้เรียนรู้ทั้งภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ การประยุกต์และความคิดสร้างสรรค์ ให้เขาได้มีโอกาสใช้ความรู้ทางวิศวกรรมระบบในสาขาเครื่องกล ไฟฟ้า พลังงานและเคมี และชีวภาพ มาสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ ที่ตอบโจทย์ปัญหาหรือความต้องการของผู้ประกอบการได้จริง รวมถึงมีการฝึกปฏิบัติงานร่วมกับภาคธุรกิจและอุตสาหกรรม โดยที่นักศึกษามีอิสระในการออกแบบแนวทางการเรียนรู้ของตนเอง สามารถเลือกเรียนตามหัวข้อโครงงานที่ตนเองสนใจ ผ่านการเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียน พร้อมไปกับที่นักศึกษาจะได้เรียนรู้การอยู่ร่วมกันแบบสังคม และการเป็นสมาชิกของสังคมที่มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น ด้วยการจัดการเรียนการสอนแบบ Residential College ของ มจธ. ราชบุรี “เป้าหมายของหลักสูตร คือ “ผลิตนักเทคโนโลยี AI” หรือ “วิศวกร AI” โดยจุดเด่นของหลักสูตร คือ นักศึกษาได้ปฏิบัติงานกับโรงงานอุตสาหกรรมจริง โดยใช้เทคโนโลยีระดับโลกตั้งแต่ปี 1 การศึกษาจะไม่จำกัดเฉพาะทฤษฎีเท่านั้น แต่เรียนกับเทคโนโลยีและโจทย์ปัญหาจริงจากภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผู้ที่จบจากหลักสูตร ISE นี้ จะสามารถนำเครื่องมือและเทคโนโลยี AI ไปใช้กับงานของตนเอง ซึ่งนอกจากในโรงงานแล้ว ยังประกอบอาชีพอื่นๆ ได้ เช่น ด้านการเกษตร Smart Farming ยานยนต์อัตโนมัติ เป็นต้น” ศ. ดร.บุญเจริญ กล่าวต่อว่า ภายใต้ความร่วมมือนี้ นักศึกษาจะได้ฝึกปฏิบัติจริงในโรงงานของโอสถสภา และการใช้ AI มาแก้ปัญหาหรือตอบโจทย์ความต้องการจริงของภาคอุตสาหกรรม ผ่านการใช้งานเครื่องจักรกล และเทคโนโลยีด้าน AI และ IoT ระดับสูงของโอสถสภา ตั้งแต่เรียนในชั้นปีที่ 1 ซึ่งการเริ่มต้นได้เร็ว จะทำให้สามารถพัฒนาตนเองได้อย่างต่อเนื่อง สามารถเป็นบุคลากรคุณภาพที่ตรงตามความต้องการของภาคอุตสาหกรรมได้อย่างแน่นอน นายนุกิจ ชลคุป Chief Manufacturing Officer บริษัท โอสถสภา จำกัด (มหาชน) กล่าวถึงความร่วมมือครั้งนี้ว่า ปัจจุบันโอสถสภามีการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรม โดยเฉพาะระบบอัจฉริยะหรือปัญญาประดิษฐ์ มาบริหารจัดการในกระบวนการต่าง ๆ อย่างครบวงจร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและศักยภาพในการผลิต จึงมีความเชื่อมั่นว่าหลักสูตร ISE นี้จะช่วยเสริมสร้างองค์ความรู้ด้านวิศวกรรมที่สามารถนำมาปรับใช้ได้จริง พร้อมส่งเสริมให้คนรุ่นใหม่มีทักษะและประสบการณ์ พร้อมเป็นบุคลากรคุณภาพที่จะขับเคลื่อนและพัฒนาภาคอุตสาหกรรมไทยสู่ระดับสากลและเติบโตอย่างยั่งยืน “ความร่วมมือ 3 ประสานระหว่างผู้ให้บริการเทคโนโลยี (Technology provider) อย่างหัวเว่ย นักศึกษา และบริษัทเอกชนเช่นนี้ ยังไม่เคยมีที่ไหนทำมาก่อน ถือเป็นครั้งแรก และหวังว่าจะเป็นโครงการนำร่องความร่วมมือในลักษณะนี้เพิ่มขึ้นในอนาคต เพราะเป็นโครงการที่เอื้อประโยชน์กับทุกฝ่าย ตัวนักศึกษาเขาก็จะได้รับโจทย์ที่เป็นของจริง โดยมีพี่เลี้ยงที่เป็นพี่ๆ วิศวกรและบุคลากรของโรงงานคอยสนับสนุนและช่วยเหลือ จนได้เป็นนวัตกรรมด้าน AI ออกมา ซึ่งความร่วมมือที่ต่อเนื่องกับ มจธ. ภายใต้หลักสูตร จะทำให้สิ่งที่นักศึกษา ISE รุ่นก่อนทำมาแล้ว ถูกพัฒนาต่อและทำให้ดีขึ้น จนสามารถนำไปใช้จริงกับกับโรงงานของเราได้ในที่สุด” นอกจากนี้ มจธ.ยังได้ร่วมกับ บริษัท หัวเว่ย เทคโนโลยี่ (ประเทศไทย) จํากัด ผ่านโครงการ Huawei ICT Academy ที่มีการลงนามความร่วมมือตั้งแต่ปี 2020 โดยหัวเว่ย ประเทศไทย จะสนับสนุนด้านองค์ความรู้ ด้าน AI และ IoT หรือ big data ต่างๆ ให้มหาวิทยาลัยในการนำไปใช้เป็นการเรียนการสอน เพื่อเพิ่มพูนทักษะด้านไอซีทีให้แก่นักศึกษา ผ่านคอร์สการเรียนการสอนแบบปฏิบัติงานจริง พร้อมมอบโอกาสการฝึกงานในสายอาชีพด้านนวัตกรรมการศึกษาเพื่อดิจิทัล เป็นการเตรียมความพร้อมรองรับตลาดงานในยุคดิจิทัล และนักศึกษายังมีโอกาสในการฝึกงานรวมไปถึงการเข้าทำงานกับบริษัทฯ รวมถึงบริษัทพาร์ทเนอร์ของหัวเว่ย หลักสูตรวิศวกรรมระบบอัจฉริยะ (Intelligence Systems Engineering: ISE) นี้ เป็นหลักสูตรระดับปริญญาตรี 4 ปี ปัจจุบันมีนักศึกษาที่กำลังศึกษาในรุ่นที่ 1 แล้วกว่า 20 คน และกำลังเปิดรับสมัครนักศึกษาในรุ่นถัดไป โดยสามารถติดตามข่าวสารของหลักสูตร ได้ที่ https://ratchaburi.kmutt.ac.th/teaching/intelligent-systems-engineering-course/ และhttps://www.facebook.com/RCKMUTT EZ Webmaster Related Posts ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ ม.หอการค้าไทย จัดหลักสูตรรุกหน้าการันตี “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน!!” การตลาดดิจิทัลและระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย จัดกิจกรรมตอบแทนกลับคืนสังคม “จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” Post navigation PREVIOUS Previous post: DEKเรียนภาษาญี่ปุ่นต้องรู้ เรียนที่ PIM มีโอกาสได้ฝึกงานที่ญี่ปุ่น ได้เพื่อนใหม่ ได้เงินด้วย และนี่คือรีวิวการฝึก-เที่ยว-เล่นหิมะที่สุด Cool! @ GALA Yuzawa Snow Resort ลานสกียอดฮิตใกล้โตเกียวNEXT Next post: “45 ปี ซีไรต์มาไกลมาก” เชิญผู้สนใจร่วมประกวดโปสเตอร์ ภายใต้แนวคิด ซีไรต์ใน “ภาพจำ” กับ “จินตนาการ” ของฉัน สมัครและส่งผลงานได้แล้ววันนี้ – 30 มิถุนายน 2566 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนาน้อย EZ WebmasterJune 18, 2025 กิจกรรมนี้ มีแต่เสียงหัวเราะ ความอร่อย และรอยยิ้ม โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด พากิจกรรมดีๆ มาถึงโรงเรียนนาน้อย วันที่18/06/68 โดยวิทยากร ผศ.ดร.ตฤณกร เกตุกุลพันธ์… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสตรีศรีน่าน EZ WebmasterJune 18, 2025 เรียนรู้ เล่นให้สนุก แล้วความรู้จะตามมา! ณ โรงเรียนสตรีศรีน่าน สนุกสนานกับโครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนสตรีศรีน่าน จ.น่าน วันที่18/06/68 โดย… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเถินวิทยา EZ WebmasterJune 18, 2025 วันนี้น้องๆ นักเรียนโรงเรียนเถินวิทยา เต็มที่กับกิจกรรม Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนเถินวิทยา จ.ลำปาง วันที่18/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า (ครูแอน)… นักศึกษา ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา EZ WebmasterJune 18, 2025 วิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิทักษ์ ธรรมวาริน (คนที่ 4 จากซ้าย) คณบดีวิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สจล. และ Mr. Alfonso Martin (คนที่ 3… คณะมนุษยศาสตร์ ม.หอการค้าไทย จัดหลักสูตรรุกหน้าการันตี “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน!!” EZ WebmasterJune 18, 2025 “ภาษา” มิใช่เพียงเครื่องมือสื่อสารแต่เป็นกุญแจสำคัญในการเรียนรู้และเข้าใจวัฒนธรรม การคิดวิเคราะห์และสร้างสรรค์นวัตกรรม ผู้ที่มีทักษะด้านภาษาที่แข็งแกร่งจะสามารถเป็นข้อได้เปรียบหรือประสบความสำเร็จได้ในโลกที่เปลี่ยนแปลงและผู้คนทั่วโลกเชื่อมโยงสื่อสารถึงกันได้ในพริบตาแม้จะต่างชาติ ต่างภาษา ต่างวัฒนธรรม การเรียนรู้ฝึกฝนมีทักษะภาษาจึงมิใช่แค่รู้หรือพูดภาษานานาชาติได้เท่านั้น แต่การเรียนภาษาให้มีรายได้ดี มีอาชีพมั่นคง เป็นมนุษย์เงินเดือนอิสระ ถึงขั้นการันตีได้ว่า “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน !!! นั้นก็เป็นสิ่งเพิ่มมูลค่าและมีคุณค่าอย่างน่าภูมิใจ เฉกเช่นที่ล่าสุด Miss World… การตลาดดิจิทัลและระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย จัดกิจกรรมตอบแทนกลับคืนสังคม EZ WebmasterJune 17, 2025 นักศึกษากลุ่มวิชาการตลาดดิจิทัล และกลุ่มวิชาการบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ร่วมทำกิจกรรม Digital Marketing Innovation for Sustainability สร้างสรรค์ประสบการณ์ทางการตลาดดิจิทัลและการบริการสังคม โดยนักศึกษาได้เข้ากิจกรรมปล่อยสัตว์ทะเลที่ธนาคารปู จังหวัดระยอง และบริจากสิ่งของให้กับชมรมผู้พิการทางสติปัญญา จังหวัดชลบุรี ร่วมเรียนรู้การสร้างสรรค์สื่อสำหรับการสื่อสารทางการตลาดดิจิทัล เพื่อสร้างความรับผิดชอบต่อสังคมให้กับนักศึกษาและร่วมสร้างสรรค์สังคมให้น่าอยู่ต่อไป เรียนคณะบริหารธุรกิจแนวใหม่ต้องสัมผัสประสบการณ์แบบนักธุรกิจ ถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์จากคณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญรวมทั้งนักธุรกิจมืออาชีพ… “จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” EZ WebmasterJune 17, 2025 ในนามของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผมขอส่งความห่วงใยมายังพวกเราทุกคนที่กำลังใช้ชีวิตและศึกษาอยู่ในสหรัฐฯ โดยเฉพาะในช่วงเวลาที่มีความไม่แน่นอนเกี่ยวกับนโยบายวีซ่าที่อาจส่งผลต่อสิทธิในการศึกษา เมื่อไม่นานนี้ ผมและผู้บริหารจุฬาฯ มีโอกาสได้ไปเยือน Harvard และ MIT และได้พบกับนักศึกษาชาวไทยหลายคน ทุกคนต่างมีความมุ่งมั่น ตั้งใจ และอดทนในการใฝ่หาความรู้ เพื่อนำมาพัฒนาตนเอง สังคม และประเทศชาติ แม้จะอยู่ท่ามกลางความกังวลใจต่ออนาคตที่ยังไม่ชัดเจน ผมอยากบอกว่าพวกเราที่จุฬาฯ… ทุนดีดี SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ครู-อาจารย์ อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก tui sakrapeeJune 18, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา นำโดย รศ.ดร.ชุติกาญจน์ ศรีวิบูลย์ อธิการบดี พร้อมคณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย เดินทางเยือนโรงเรียนนานาชาติ Qingdao No.1 International School of Shandong Province (QISS) และ Qingdao University… กองกลาง มจพ. เยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ และจัดสัมมนาจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล ประจำปี 2568 EZ WebmasterJune 18, 2025 ผศ.ดร.สราวุฒิ สืบแย้ม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายการคลังและกิจการทั่วไป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยนางสาวรัตนา สุขเฉลิมศรี ผู้อำนวยการกองกลาง และบุคลากรกองกลาง เข้าเยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ มจพ. ณ ชั้น 3 สำนักงานหอสมุดกลาง โดยมีนางสาวพนารมย์ เกียรติลีลานันท์ และ… คณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล มจพ. ชูธงร่วมเครือข่ายจัดใหญ่การประชุมวิชาการ นวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (FIAC) 2025 EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร สมฤกษ์ จันทรอัมพร รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นเจ้าภาพร่วมในการจัดประชุมวิชาการด้านนวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (Food Innovation Asia Conference 2025) พร้อมด้วย รศ.ดร.รัชนี เจริญ คณบดีคณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล และคณะผู้บริหาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ… สมศ. พลิกโฉมการประเมินคุณภาพภายนอกด้วย AI ภายใต้ “ONESQA 5.0” เสริมความโปร่งใส แม่นยำ และพัฒนาอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 17, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยวิสัยทัศน์ และแนวทางการขับเคลื่อนองค์กรด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence – AI) ภายใต้ วิสัยทัศน์ ONESQA 5.0 โดยมุ่งเน้นการนำ AI เข้ามาใช้เพื่อเสริมประสิทธิภาพ ความโปร่งใส และความแม่นยำ ในกระบวนการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา พร้อมยกระดับสู่ความเป็นดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบบ ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster June 8, 2023 EZ Webmaster June 8, 2023 จับมือ 3 ประสาน มจธ. – โอสถสภา – หัวเว่ย เปิดหลักสูตร “วิศวกรรมระบบอัจฉริยะ (ISE)” ผลิตวิศวกร AI รองรับอุตสาหกรรม 4.0 งานวิจัยของสถาบัน MIT ชี้ว่า AI ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตของภาคอุตสาหกรรมได้ 35% และลดเวลาการทำงานลง 14% และผลการสำรวจของ World Economic Forum ตั้งแต่ปี 2565-2566 ระบุว่า บุคลากรด้าน AI จะขาดแคลนอย่างมหาศาล เพราะอุตสาหกรรมการผลิตของทั้งโลกต้องพึ่งพา AI มากยิ่งขึ้น แต่การเรียนการสอนด้าน AI ของไทยที่ผ่านมา ส่วนใหญ่จะบรรจุในเนื้อหาของวิชาคอมพิวเตอร์ เน้นทักษะความรู้เฉพาะทาง มีการเชื่อมโยงกับโจทย์หรือความต้องการจริงในภาคอุตสาหกรรมค่อนข้างน้อย จึงเป็นที่มาของการออกแบบหลักสูตรวิศวกรรมระบบอัจฉริยะ (Intelligence Systems Engineering: ISE) ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (ราชบุรี) บริษัท โอสถสภา จำกัด (มหาชน) และบริษัท หัวเว่ย เทคโนโลยี่ (ประเทศไทย) จํากัด โดยได้มีพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางด้านวิชาการร่วมกันขึ้น เมื่อวันศุกร์ที่ 2 มิถุนายน 2566 มี รศ. ดร.สุวิทย์ แซ่เตีย อธิการบดี และนายนุกิจ ชลคุป Chief Manufacturing Officer ร่วมลงนาม พร้อมด้วย ศ. ดร.บุญเจริญ ศิริเนาวกุล ที่ปรึกษา มจธ.(ราชบุรี) และตัวแทนจากบริษัท หัวเว่ย เทคโนโลยี่ (ประเทศไทย) จํากัด ร่วมเป็นสักขีพยานพิธีลงนาม รศ. ดร.สุวิทย์ แซ่เตีย อธิการบดี มจธ.กล่าวว่า ปัจจุบันประเทศไทยมีกำลังคนด้าน AI ไม่เพียงพอ ประกอบกับอุตสาหกรรมในประเทศกำลังจะเปลี่ยนแปลงไป จึงมีความต้องการบุคลากรด้าน AI เข้าไปช่วยพัฒนาและดูแลระบบ หากเราไม่เร่งผลิตบุคลากรด้านนี้ในระยะยาวแล้วอุตสาหกรรมเหล่านี้ก็จะมีปัญหาเรื่องกำลังคนอย่างแน่นอน “ต้องเข้าใจว่าอุตสาหกรรมของไทยส่วนใหญ่เป็นเทคโนโลยียุค 3.0 และกำลังต้องปรับเปลี่ยนตัวเองเป็นเทคโนโลยี 4.0 หากเราสามารถสร้างคนที่มีทักษะ และมีประสบการณ์ทำงานด้าน AI กับภาคอุตสาหกรรมเข้าไปเติมในจุดนี้ นอกจากจะสามารถใช้ AI มาช่วยลดต้นทุนในการผลิตได้อย่างเหมาะสมแล้ว ยังเป็นประโยชน์สูงสุด ทั้งกับตัวผู้ประกอบการ และอุตสาหกรรมของไทยโดยรวม” ดังนั้น เพื่อให้หลักสูตรวิศวกรรมระบบอัจฉริยะ (Intelligence Systems Engineering: ISE) สามารถพัฒนาให้นักศึกษามีคุณลักษณะและความสามารถตรงตามความต้องการของอุตสาหกรรมทั้งในและต่างประเทศ อีกทั้งยังเป็นการส่งเสริมการพัฒนาและแลกเปลี่ยนองค์ความรู้และเทคโนโลยี ระหว่างสถาบันการศึกษา และสถานประกอบการ ที่เป็นการพัฒนาองค์ความรู้ด้วยบริบทจริง (Content) ของอุตสาหกรรมยุคใหม่ โดยใช้โจทย์ที่ได้รับจากสถานประกอบการจริง จึงเป็นจุดเด่นที่สำคัญของหลักสูตรนี้ ศ. ดร.บุญเจริญ ศิริเนาวกุล ที่ปรึกษา มจธ.(ราชบุรี) และประธานหลักสูตร ISE กล่าวว่า ภายใต้หลักสูตรนี้ นักศึกษาจะมีความรู้และทักษะทั้งทางด้านวิศวกรรม อุตสาหกรรมและปัญญาประดิษฐ์ รวมถึงเครื่องมืออื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น IoT และ Cloud เพราะเป็นการเรียนรู้แบบพหุวิทยาการที่ส่งเสริมให้นักศึกษาได้เรียนรู้ทั้งภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ การประยุกต์และความคิดสร้างสรรค์ ให้เขาได้มีโอกาสใช้ความรู้ทางวิศวกรรมระบบในสาขาเครื่องกล ไฟฟ้า พลังงานและเคมี และชีวภาพ มาสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ ที่ตอบโจทย์ปัญหาหรือความต้องการของผู้ประกอบการได้จริง รวมถึงมีการฝึกปฏิบัติงานร่วมกับภาคธุรกิจและอุตสาหกรรม โดยที่นักศึกษามีอิสระในการออกแบบแนวทางการเรียนรู้ของตนเอง สามารถเลือกเรียนตามหัวข้อโครงงานที่ตนเองสนใจ ผ่านการเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียน พร้อมไปกับที่นักศึกษาจะได้เรียนรู้การอยู่ร่วมกันแบบสังคม และการเป็นสมาชิกของสังคมที่มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น ด้วยการจัดการเรียนการสอนแบบ Residential College ของ มจธ. ราชบุรี “เป้าหมายของหลักสูตร คือ “ผลิตนักเทคโนโลยี AI” หรือ “วิศวกร AI” โดยจุดเด่นของหลักสูตร คือ นักศึกษาได้ปฏิบัติงานกับโรงงานอุตสาหกรรมจริง โดยใช้เทคโนโลยีระดับโลกตั้งแต่ปี 1 การศึกษาจะไม่จำกัดเฉพาะทฤษฎีเท่านั้น แต่เรียนกับเทคโนโลยีและโจทย์ปัญหาจริงจากภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผู้ที่จบจากหลักสูตร ISE นี้ จะสามารถนำเครื่องมือและเทคโนโลยี AI ไปใช้กับงานของตนเอง ซึ่งนอกจากในโรงงานแล้ว ยังประกอบอาชีพอื่นๆ ได้ เช่น ด้านการเกษตร Smart Farming ยานยนต์อัตโนมัติ เป็นต้น” ศ. ดร.บุญเจริญ กล่าวต่อว่า ภายใต้ความร่วมมือนี้ นักศึกษาจะได้ฝึกปฏิบัติจริงในโรงงานของโอสถสภา และการใช้ AI มาแก้ปัญหาหรือตอบโจทย์ความต้องการจริงของภาคอุตสาหกรรม ผ่านการใช้งานเครื่องจักรกล และเทคโนโลยีด้าน AI และ IoT ระดับสูงของโอสถสภา ตั้งแต่เรียนในชั้นปีที่ 1 ซึ่งการเริ่มต้นได้เร็ว จะทำให้สามารถพัฒนาตนเองได้อย่างต่อเนื่อง สามารถเป็นบุคลากรคุณภาพที่ตรงตามความต้องการของภาคอุตสาหกรรมได้อย่างแน่นอน นายนุกิจ ชลคุป Chief Manufacturing Officer บริษัท โอสถสภา จำกัด (มหาชน) กล่าวถึงความร่วมมือครั้งนี้ว่า ปัจจุบันโอสถสภามีการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรม โดยเฉพาะระบบอัจฉริยะหรือปัญญาประดิษฐ์ มาบริหารจัดการในกระบวนการต่าง ๆ อย่างครบวงจร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและศักยภาพในการผลิต จึงมีความเชื่อมั่นว่าหลักสูตร ISE นี้จะช่วยเสริมสร้างองค์ความรู้ด้านวิศวกรรมที่สามารถนำมาปรับใช้ได้จริง พร้อมส่งเสริมให้คนรุ่นใหม่มีทักษะและประสบการณ์ พร้อมเป็นบุคลากรคุณภาพที่จะขับเคลื่อนและพัฒนาภาคอุตสาหกรรมไทยสู่ระดับสากลและเติบโตอย่างยั่งยืน “ความร่วมมือ 3 ประสานระหว่างผู้ให้บริการเทคโนโลยี (Technology provider) อย่างหัวเว่ย นักศึกษา และบริษัทเอกชนเช่นนี้ ยังไม่เคยมีที่ไหนทำมาก่อน ถือเป็นครั้งแรก และหวังว่าจะเป็นโครงการนำร่องความร่วมมือในลักษณะนี้เพิ่มขึ้นในอนาคต เพราะเป็นโครงการที่เอื้อประโยชน์กับทุกฝ่าย ตัวนักศึกษาเขาก็จะได้รับโจทย์ที่เป็นของจริง โดยมีพี่เลี้ยงที่เป็นพี่ๆ วิศวกรและบุคลากรของโรงงานคอยสนับสนุนและช่วยเหลือ จนได้เป็นนวัตกรรมด้าน AI ออกมา ซึ่งความร่วมมือที่ต่อเนื่องกับ มจธ. ภายใต้หลักสูตร จะทำให้สิ่งที่นักศึกษา ISE รุ่นก่อนทำมาแล้ว ถูกพัฒนาต่อและทำให้ดีขึ้น จนสามารถนำไปใช้จริงกับกับโรงงานของเราได้ในที่สุด” นอกจากนี้ มจธ.ยังได้ร่วมกับ บริษัท หัวเว่ย เทคโนโลยี่ (ประเทศไทย) จํากัด ผ่านโครงการ Huawei ICT Academy ที่มีการลงนามความร่วมมือตั้งแต่ปี 2020 โดยหัวเว่ย ประเทศไทย จะสนับสนุนด้านองค์ความรู้ ด้าน AI และ IoT หรือ big data ต่างๆ ให้มหาวิทยาลัยในการนำไปใช้เป็นการเรียนการสอน เพื่อเพิ่มพูนทักษะด้านไอซีทีให้แก่นักศึกษา ผ่านคอร์สการเรียนการสอนแบบปฏิบัติงานจริง พร้อมมอบโอกาสการฝึกงานในสายอาชีพด้านนวัตกรรมการศึกษาเพื่อดิจิทัล เป็นการเตรียมความพร้อมรองรับตลาดงานในยุคดิจิทัล และนักศึกษายังมีโอกาสในการฝึกงานรวมไปถึงการเข้าทำงานกับบริษัทฯ รวมถึงบริษัทพาร์ทเนอร์ของหัวเว่ย หลักสูตรวิศวกรรมระบบอัจฉริยะ (Intelligence Systems Engineering: ISE) นี้ เป็นหลักสูตรระดับปริญญาตรี 4 ปี ปัจจุบันมีนักศึกษาที่กำลังศึกษาในรุ่นที่ 1 แล้วกว่า 20 คน และกำลังเปิดรับสมัครนักศึกษาในรุ่นถัดไป โดยสามารถติดตามข่าวสารของหลักสูตร ได้ที่ https://ratchaburi.kmutt.ac.th/teaching/intelligent-systems-engineering-course/ และhttps://www.facebook.com/RCKMUTT EZ Webmaster Related Posts ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ ม.หอการค้าไทย จัดหลักสูตรรุกหน้าการันตี “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน!!” การตลาดดิจิทัลและระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย จัดกิจกรรมตอบแทนกลับคืนสังคม “จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” Post navigation PREVIOUS Previous post: DEKเรียนภาษาญี่ปุ่นต้องรู้ เรียนที่ PIM มีโอกาสได้ฝึกงานที่ญี่ปุ่น ได้เพื่อนใหม่ ได้เงินด้วย และนี่คือรีวิวการฝึก-เที่ยว-เล่นหิมะที่สุด Cool! @ GALA Yuzawa Snow Resort ลานสกียอดฮิตใกล้โตเกียวNEXT Next post: “45 ปี ซีไรต์มาไกลมาก” เชิญผู้สนใจร่วมประกวดโปสเตอร์ ภายใต้แนวคิด ซีไรต์ใน “ภาพจำ” กับ “จินตนาการ” ของฉัน สมัครและส่งผลงานได้แล้ววันนี้ – 30 มิถุนายน 2566 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสตรีศรีน่าน EZ WebmasterJune 18, 2025 เรียนรู้ เล่นให้สนุก แล้วความรู้จะตามมา! ณ โรงเรียนสตรีศรีน่าน สนุกสนานกับโครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนสตรีศรีน่าน จ.น่าน วันที่18/06/68 โดย… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเถินวิทยา EZ WebmasterJune 18, 2025 วันนี้น้องๆ นักเรียนโรงเรียนเถินวิทยา เต็มที่กับกิจกรรม Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนเถินวิทยา จ.ลำปาง วันที่18/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า (ครูแอน)…
โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเถินวิทยา EZ WebmasterJune 18, 2025 วันนี้น้องๆ นักเรียนโรงเรียนเถินวิทยา เต็มที่กับกิจกรรม Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนเถินวิทยา จ.ลำปาง วันที่18/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า (ครูแอน)…
ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา EZ WebmasterJune 18, 2025 วิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิทักษ์ ธรรมวาริน (คนที่ 4 จากซ้าย) คณบดีวิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สจล. และ Mr. Alfonso Martin (คนที่ 3… คณะมนุษยศาสตร์ ม.หอการค้าไทย จัดหลักสูตรรุกหน้าการันตี “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน!!” EZ WebmasterJune 18, 2025 “ภาษา” มิใช่เพียงเครื่องมือสื่อสารแต่เป็นกุญแจสำคัญในการเรียนรู้และเข้าใจวัฒนธรรม การคิดวิเคราะห์และสร้างสรรค์นวัตกรรม ผู้ที่มีทักษะด้านภาษาที่แข็งแกร่งจะสามารถเป็นข้อได้เปรียบหรือประสบความสำเร็จได้ในโลกที่เปลี่ยนแปลงและผู้คนทั่วโลกเชื่อมโยงสื่อสารถึงกันได้ในพริบตาแม้จะต่างชาติ ต่างภาษา ต่างวัฒนธรรม การเรียนรู้ฝึกฝนมีทักษะภาษาจึงมิใช่แค่รู้หรือพูดภาษานานาชาติได้เท่านั้น แต่การเรียนภาษาให้มีรายได้ดี มีอาชีพมั่นคง เป็นมนุษย์เงินเดือนอิสระ ถึงขั้นการันตีได้ว่า “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน !!! นั้นก็เป็นสิ่งเพิ่มมูลค่าและมีคุณค่าอย่างน่าภูมิใจ เฉกเช่นที่ล่าสุด Miss World… การตลาดดิจิทัลและระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย จัดกิจกรรมตอบแทนกลับคืนสังคม EZ WebmasterJune 17, 2025 นักศึกษากลุ่มวิชาการตลาดดิจิทัล และกลุ่มวิชาการบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ร่วมทำกิจกรรม Digital Marketing Innovation for Sustainability สร้างสรรค์ประสบการณ์ทางการตลาดดิจิทัลและการบริการสังคม โดยนักศึกษาได้เข้ากิจกรรมปล่อยสัตว์ทะเลที่ธนาคารปู จังหวัดระยอง และบริจากสิ่งของให้กับชมรมผู้พิการทางสติปัญญา จังหวัดชลบุรี ร่วมเรียนรู้การสร้างสรรค์สื่อสำหรับการสื่อสารทางการตลาดดิจิทัล เพื่อสร้างความรับผิดชอบต่อสังคมให้กับนักศึกษาและร่วมสร้างสรรค์สังคมให้น่าอยู่ต่อไป เรียนคณะบริหารธุรกิจแนวใหม่ต้องสัมผัสประสบการณ์แบบนักธุรกิจ ถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์จากคณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญรวมทั้งนักธุรกิจมืออาชีพ… “จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” EZ WebmasterJune 17, 2025 ในนามของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผมขอส่งความห่วงใยมายังพวกเราทุกคนที่กำลังใช้ชีวิตและศึกษาอยู่ในสหรัฐฯ โดยเฉพาะในช่วงเวลาที่มีความไม่แน่นอนเกี่ยวกับนโยบายวีซ่าที่อาจส่งผลต่อสิทธิในการศึกษา เมื่อไม่นานนี้ ผมและผู้บริหารจุฬาฯ มีโอกาสได้ไปเยือน Harvard และ MIT และได้พบกับนักศึกษาชาวไทยหลายคน ทุกคนต่างมีความมุ่งมั่น ตั้งใจ และอดทนในการใฝ่หาความรู้ เพื่อนำมาพัฒนาตนเอง สังคม และประเทศชาติ แม้จะอยู่ท่ามกลางความกังวลใจต่ออนาคตที่ยังไม่ชัดเจน ผมอยากบอกว่าพวกเราที่จุฬาฯ… ทุนดีดี SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ครู-อาจารย์ อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก tui sakrapeeJune 18, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา นำโดย รศ.ดร.ชุติกาญจน์ ศรีวิบูลย์ อธิการบดี พร้อมคณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย เดินทางเยือนโรงเรียนนานาชาติ Qingdao No.1 International School of Shandong Province (QISS) และ Qingdao University… กองกลาง มจพ. เยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ และจัดสัมมนาจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล ประจำปี 2568 EZ WebmasterJune 18, 2025 ผศ.ดร.สราวุฒิ สืบแย้ม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายการคลังและกิจการทั่วไป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยนางสาวรัตนา สุขเฉลิมศรี ผู้อำนวยการกองกลาง และบุคลากรกองกลาง เข้าเยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ มจพ. ณ ชั้น 3 สำนักงานหอสมุดกลาง โดยมีนางสาวพนารมย์ เกียรติลีลานันท์ และ… คณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล มจพ. ชูธงร่วมเครือข่ายจัดใหญ่การประชุมวิชาการ นวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (FIAC) 2025 EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร สมฤกษ์ จันทรอัมพร รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นเจ้าภาพร่วมในการจัดประชุมวิชาการด้านนวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (Food Innovation Asia Conference 2025) พร้อมด้วย รศ.ดร.รัชนี เจริญ คณบดีคณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล และคณะผู้บริหาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ… สมศ. พลิกโฉมการประเมินคุณภาพภายนอกด้วย AI ภายใต้ “ONESQA 5.0” เสริมความโปร่งใส แม่นยำ และพัฒนาอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 17, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยวิสัยทัศน์ และแนวทางการขับเคลื่อนองค์กรด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence – AI) ภายใต้ วิสัยทัศน์ ONESQA 5.0 โดยมุ่งเน้นการนำ AI เข้ามาใช้เพื่อเสริมประสิทธิภาพ ความโปร่งใส และความแม่นยำ ในกระบวนการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา พร้อมยกระดับสู่ความเป็นดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบบ ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster June 8, 2023 EZ Webmaster June 8, 2023 จับมือ 3 ประสาน มจธ. – โอสถสภา – หัวเว่ย เปิดหลักสูตร “วิศวกรรมระบบอัจฉริยะ (ISE)” ผลิตวิศวกร AI รองรับอุตสาหกรรม 4.0 งานวิจัยของสถาบัน MIT ชี้ว่า AI ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตของภาคอุตสาหกรรมได้ 35% และลดเวลาการทำงานลง 14% และผลการสำรวจของ World Economic Forum ตั้งแต่ปี 2565-2566 ระบุว่า บุคลากรด้าน AI จะขาดแคลนอย่างมหาศาล เพราะอุตสาหกรรมการผลิตของทั้งโลกต้องพึ่งพา AI มากยิ่งขึ้น แต่การเรียนการสอนด้าน AI ของไทยที่ผ่านมา ส่วนใหญ่จะบรรจุในเนื้อหาของวิชาคอมพิวเตอร์ เน้นทักษะความรู้เฉพาะทาง มีการเชื่อมโยงกับโจทย์หรือความต้องการจริงในภาคอุตสาหกรรมค่อนข้างน้อย จึงเป็นที่มาของการออกแบบหลักสูตรวิศวกรรมระบบอัจฉริยะ (Intelligence Systems Engineering: ISE) ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (ราชบุรี) บริษัท โอสถสภา จำกัด (มหาชน) และบริษัท หัวเว่ย เทคโนโลยี่ (ประเทศไทย) จํากัด โดยได้มีพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางด้านวิชาการร่วมกันขึ้น เมื่อวันศุกร์ที่ 2 มิถุนายน 2566 มี รศ. ดร.สุวิทย์ แซ่เตีย อธิการบดี และนายนุกิจ ชลคุป Chief Manufacturing Officer ร่วมลงนาม พร้อมด้วย ศ. ดร.บุญเจริญ ศิริเนาวกุล ที่ปรึกษา มจธ.(ราชบุรี) และตัวแทนจากบริษัท หัวเว่ย เทคโนโลยี่ (ประเทศไทย) จํากัด ร่วมเป็นสักขีพยานพิธีลงนาม รศ. ดร.สุวิทย์ แซ่เตีย อธิการบดี มจธ.กล่าวว่า ปัจจุบันประเทศไทยมีกำลังคนด้าน AI ไม่เพียงพอ ประกอบกับอุตสาหกรรมในประเทศกำลังจะเปลี่ยนแปลงไป จึงมีความต้องการบุคลากรด้าน AI เข้าไปช่วยพัฒนาและดูแลระบบ หากเราไม่เร่งผลิตบุคลากรด้านนี้ในระยะยาวแล้วอุตสาหกรรมเหล่านี้ก็จะมีปัญหาเรื่องกำลังคนอย่างแน่นอน “ต้องเข้าใจว่าอุตสาหกรรมของไทยส่วนใหญ่เป็นเทคโนโลยียุค 3.0 และกำลังต้องปรับเปลี่ยนตัวเองเป็นเทคโนโลยี 4.0 หากเราสามารถสร้างคนที่มีทักษะ และมีประสบการณ์ทำงานด้าน AI กับภาคอุตสาหกรรมเข้าไปเติมในจุดนี้ นอกจากจะสามารถใช้ AI มาช่วยลดต้นทุนในการผลิตได้อย่างเหมาะสมแล้ว ยังเป็นประโยชน์สูงสุด ทั้งกับตัวผู้ประกอบการ และอุตสาหกรรมของไทยโดยรวม” ดังนั้น เพื่อให้หลักสูตรวิศวกรรมระบบอัจฉริยะ (Intelligence Systems Engineering: ISE) สามารถพัฒนาให้นักศึกษามีคุณลักษณะและความสามารถตรงตามความต้องการของอุตสาหกรรมทั้งในและต่างประเทศ อีกทั้งยังเป็นการส่งเสริมการพัฒนาและแลกเปลี่ยนองค์ความรู้และเทคโนโลยี ระหว่างสถาบันการศึกษา และสถานประกอบการ ที่เป็นการพัฒนาองค์ความรู้ด้วยบริบทจริง (Content) ของอุตสาหกรรมยุคใหม่ โดยใช้โจทย์ที่ได้รับจากสถานประกอบการจริง จึงเป็นจุดเด่นที่สำคัญของหลักสูตรนี้ ศ. ดร.บุญเจริญ ศิริเนาวกุล ที่ปรึกษา มจธ.(ราชบุรี) และประธานหลักสูตร ISE กล่าวว่า ภายใต้หลักสูตรนี้ นักศึกษาจะมีความรู้และทักษะทั้งทางด้านวิศวกรรม อุตสาหกรรมและปัญญาประดิษฐ์ รวมถึงเครื่องมืออื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น IoT และ Cloud เพราะเป็นการเรียนรู้แบบพหุวิทยาการที่ส่งเสริมให้นักศึกษาได้เรียนรู้ทั้งภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ การประยุกต์และความคิดสร้างสรรค์ ให้เขาได้มีโอกาสใช้ความรู้ทางวิศวกรรมระบบในสาขาเครื่องกล ไฟฟ้า พลังงานและเคมี และชีวภาพ มาสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ ที่ตอบโจทย์ปัญหาหรือความต้องการของผู้ประกอบการได้จริง รวมถึงมีการฝึกปฏิบัติงานร่วมกับภาคธุรกิจและอุตสาหกรรม โดยที่นักศึกษามีอิสระในการออกแบบแนวทางการเรียนรู้ของตนเอง สามารถเลือกเรียนตามหัวข้อโครงงานที่ตนเองสนใจ ผ่านการเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียน พร้อมไปกับที่นักศึกษาจะได้เรียนรู้การอยู่ร่วมกันแบบสังคม และการเป็นสมาชิกของสังคมที่มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น ด้วยการจัดการเรียนการสอนแบบ Residential College ของ มจธ. ราชบุรี “เป้าหมายของหลักสูตร คือ “ผลิตนักเทคโนโลยี AI” หรือ “วิศวกร AI” โดยจุดเด่นของหลักสูตร คือ นักศึกษาได้ปฏิบัติงานกับโรงงานอุตสาหกรรมจริง โดยใช้เทคโนโลยีระดับโลกตั้งแต่ปี 1 การศึกษาจะไม่จำกัดเฉพาะทฤษฎีเท่านั้น แต่เรียนกับเทคโนโลยีและโจทย์ปัญหาจริงจากภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผู้ที่จบจากหลักสูตร ISE นี้ จะสามารถนำเครื่องมือและเทคโนโลยี AI ไปใช้กับงานของตนเอง ซึ่งนอกจากในโรงงานแล้ว ยังประกอบอาชีพอื่นๆ ได้ เช่น ด้านการเกษตร Smart Farming ยานยนต์อัตโนมัติ เป็นต้น” ศ. ดร.บุญเจริญ กล่าวต่อว่า ภายใต้ความร่วมมือนี้ นักศึกษาจะได้ฝึกปฏิบัติจริงในโรงงานของโอสถสภา และการใช้ AI มาแก้ปัญหาหรือตอบโจทย์ความต้องการจริงของภาคอุตสาหกรรม ผ่านการใช้งานเครื่องจักรกล และเทคโนโลยีด้าน AI และ IoT ระดับสูงของโอสถสภา ตั้งแต่เรียนในชั้นปีที่ 1 ซึ่งการเริ่มต้นได้เร็ว จะทำให้สามารถพัฒนาตนเองได้อย่างต่อเนื่อง สามารถเป็นบุคลากรคุณภาพที่ตรงตามความต้องการของภาคอุตสาหกรรมได้อย่างแน่นอน นายนุกิจ ชลคุป Chief Manufacturing Officer บริษัท โอสถสภา จำกัด (มหาชน) กล่าวถึงความร่วมมือครั้งนี้ว่า ปัจจุบันโอสถสภามีการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรม โดยเฉพาะระบบอัจฉริยะหรือปัญญาประดิษฐ์ มาบริหารจัดการในกระบวนการต่าง ๆ อย่างครบวงจร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและศักยภาพในการผลิต จึงมีความเชื่อมั่นว่าหลักสูตร ISE นี้จะช่วยเสริมสร้างองค์ความรู้ด้านวิศวกรรมที่สามารถนำมาปรับใช้ได้จริง พร้อมส่งเสริมให้คนรุ่นใหม่มีทักษะและประสบการณ์ พร้อมเป็นบุคลากรคุณภาพที่จะขับเคลื่อนและพัฒนาภาคอุตสาหกรรมไทยสู่ระดับสากลและเติบโตอย่างยั่งยืน “ความร่วมมือ 3 ประสานระหว่างผู้ให้บริการเทคโนโลยี (Technology provider) อย่างหัวเว่ย นักศึกษา และบริษัทเอกชนเช่นนี้ ยังไม่เคยมีที่ไหนทำมาก่อน ถือเป็นครั้งแรก และหวังว่าจะเป็นโครงการนำร่องความร่วมมือในลักษณะนี้เพิ่มขึ้นในอนาคต เพราะเป็นโครงการที่เอื้อประโยชน์กับทุกฝ่าย ตัวนักศึกษาเขาก็จะได้รับโจทย์ที่เป็นของจริง โดยมีพี่เลี้ยงที่เป็นพี่ๆ วิศวกรและบุคลากรของโรงงานคอยสนับสนุนและช่วยเหลือ จนได้เป็นนวัตกรรมด้าน AI ออกมา ซึ่งความร่วมมือที่ต่อเนื่องกับ มจธ. ภายใต้หลักสูตร จะทำให้สิ่งที่นักศึกษา ISE รุ่นก่อนทำมาแล้ว ถูกพัฒนาต่อและทำให้ดีขึ้น จนสามารถนำไปใช้จริงกับกับโรงงานของเราได้ในที่สุด” นอกจากนี้ มจธ.ยังได้ร่วมกับ บริษัท หัวเว่ย เทคโนโลยี่ (ประเทศไทย) จํากัด ผ่านโครงการ Huawei ICT Academy ที่มีการลงนามความร่วมมือตั้งแต่ปี 2020 โดยหัวเว่ย ประเทศไทย จะสนับสนุนด้านองค์ความรู้ ด้าน AI และ IoT หรือ big data ต่างๆ ให้มหาวิทยาลัยในการนำไปใช้เป็นการเรียนการสอน เพื่อเพิ่มพูนทักษะด้านไอซีทีให้แก่นักศึกษา ผ่านคอร์สการเรียนการสอนแบบปฏิบัติงานจริง พร้อมมอบโอกาสการฝึกงานในสายอาชีพด้านนวัตกรรมการศึกษาเพื่อดิจิทัล เป็นการเตรียมความพร้อมรองรับตลาดงานในยุคดิจิทัล และนักศึกษายังมีโอกาสในการฝึกงานรวมไปถึงการเข้าทำงานกับบริษัทฯ รวมถึงบริษัทพาร์ทเนอร์ของหัวเว่ย หลักสูตรวิศวกรรมระบบอัจฉริยะ (Intelligence Systems Engineering: ISE) นี้ เป็นหลักสูตรระดับปริญญาตรี 4 ปี ปัจจุบันมีนักศึกษาที่กำลังศึกษาในรุ่นที่ 1 แล้วกว่า 20 คน และกำลังเปิดรับสมัครนักศึกษาในรุ่นถัดไป โดยสามารถติดตามข่าวสารของหลักสูตร ได้ที่ https://ratchaburi.kmutt.ac.th/teaching/intelligent-systems-engineering-course/ และhttps://www.facebook.com/RCKMUTT EZ Webmaster Related Posts ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ ม.หอการค้าไทย จัดหลักสูตรรุกหน้าการันตี “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน!!” การตลาดดิจิทัลและระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย จัดกิจกรรมตอบแทนกลับคืนสังคม “จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” Post navigation PREVIOUS Previous post: DEKเรียนภาษาญี่ปุ่นต้องรู้ เรียนที่ PIM มีโอกาสได้ฝึกงานที่ญี่ปุ่น ได้เพื่อนใหม่ ได้เงินด้วย และนี่คือรีวิวการฝึก-เที่ยว-เล่นหิมะที่สุด Cool! @ GALA Yuzawa Snow Resort ลานสกียอดฮิตใกล้โตเกียวNEXT Next post: “45 ปี ซีไรต์มาไกลมาก” เชิญผู้สนใจร่วมประกวดโปสเตอร์ ภายใต้แนวคิด ซีไรต์ใน “ภาพจำ” กับ “จินตนาการ” ของฉัน สมัครและส่งผลงานได้แล้ววันนี้ – 30 มิถุนายน 2566 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
คณะมนุษยศาสตร์ ม.หอการค้าไทย จัดหลักสูตรรุกหน้าการันตี “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน!!” EZ WebmasterJune 18, 2025 “ภาษา” มิใช่เพียงเครื่องมือสื่อสารแต่เป็นกุญแจสำคัญในการเรียนรู้และเข้าใจวัฒนธรรม การคิดวิเคราะห์และสร้างสรรค์นวัตกรรม ผู้ที่มีทักษะด้านภาษาที่แข็งแกร่งจะสามารถเป็นข้อได้เปรียบหรือประสบความสำเร็จได้ในโลกที่เปลี่ยนแปลงและผู้คนทั่วโลกเชื่อมโยงสื่อสารถึงกันได้ในพริบตาแม้จะต่างชาติ ต่างภาษา ต่างวัฒนธรรม การเรียนรู้ฝึกฝนมีทักษะภาษาจึงมิใช่แค่รู้หรือพูดภาษานานาชาติได้เท่านั้น แต่การเรียนภาษาให้มีรายได้ดี มีอาชีพมั่นคง เป็นมนุษย์เงินเดือนอิสระ ถึงขั้นการันตีได้ว่า “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน !!! นั้นก็เป็นสิ่งเพิ่มมูลค่าและมีคุณค่าอย่างน่าภูมิใจ เฉกเช่นที่ล่าสุด Miss World… การตลาดดิจิทัลและระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย จัดกิจกรรมตอบแทนกลับคืนสังคม EZ WebmasterJune 17, 2025 นักศึกษากลุ่มวิชาการตลาดดิจิทัล และกลุ่มวิชาการบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ร่วมทำกิจกรรม Digital Marketing Innovation for Sustainability สร้างสรรค์ประสบการณ์ทางการตลาดดิจิทัลและการบริการสังคม โดยนักศึกษาได้เข้ากิจกรรมปล่อยสัตว์ทะเลที่ธนาคารปู จังหวัดระยอง และบริจากสิ่งของให้กับชมรมผู้พิการทางสติปัญญา จังหวัดชลบุรี ร่วมเรียนรู้การสร้างสรรค์สื่อสำหรับการสื่อสารทางการตลาดดิจิทัล เพื่อสร้างความรับผิดชอบต่อสังคมให้กับนักศึกษาและร่วมสร้างสรรค์สังคมให้น่าอยู่ต่อไป เรียนคณะบริหารธุรกิจแนวใหม่ต้องสัมผัสประสบการณ์แบบนักธุรกิจ ถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์จากคณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญรวมทั้งนักธุรกิจมืออาชีพ… “จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” EZ WebmasterJune 17, 2025 ในนามของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผมขอส่งความห่วงใยมายังพวกเราทุกคนที่กำลังใช้ชีวิตและศึกษาอยู่ในสหรัฐฯ โดยเฉพาะในช่วงเวลาที่มีความไม่แน่นอนเกี่ยวกับนโยบายวีซ่าที่อาจส่งผลต่อสิทธิในการศึกษา เมื่อไม่นานนี้ ผมและผู้บริหารจุฬาฯ มีโอกาสได้ไปเยือน Harvard และ MIT และได้พบกับนักศึกษาชาวไทยหลายคน ทุกคนต่างมีความมุ่งมั่น ตั้งใจ และอดทนในการใฝ่หาความรู้ เพื่อนำมาพัฒนาตนเอง สังคม และประเทศชาติ แม้จะอยู่ท่ามกลางความกังวลใจต่ออนาคตที่ยังไม่ชัดเจน ผมอยากบอกว่าพวกเราที่จุฬาฯ… ทุนดีดี SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ครู-อาจารย์ อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก tui sakrapeeJune 18, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา นำโดย รศ.ดร.ชุติกาญจน์ ศรีวิบูลย์ อธิการบดี พร้อมคณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย เดินทางเยือนโรงเรียนนานาชาติ Qingdao No.1 International School of Shandong Province (QISS) และ Qingdao University… กองกลาง มจพ. เยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ และจัดสัมมนาจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล ประจำปี 2568 EZ WebmasterJune 18, 2025 ผศ.ดร.สราวุฒิ สืบแย้ม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายการคลังและกิจการทั่วไป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยนางสาวรัตนา สุขเฉลิมศรี ผู้อำนวยการกองกลาง และบุคลากรกองกลาง เข้าเยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ มจพ. ณ ชั้น 3 สำนักงานหอสมุดกลาง โดยมีนางสาวพนารมย์ เกียรติลีลานันท์ และ… คณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล มจพ. ชูธงร่วมเครือข่ายจัดใหญ่การประชุมวิชาการ นวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (FIAC) 2025 EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร สมฤกษ์ จันทรอัมพร รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นเจ้าภาพร่วมในการจัดประชุมวิชาการด้านนวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (Food Innovation Asia Conference 2025) พร้อมด้วย รศ.ดร.รัชนี เจริญ คณบดีคณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล และคณะผู้บริหาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ… สมศ. พลิกโฉมการประเมินคุณภาพภายนอกด้วย AI ภายใต้ “ONESQA 5.0” เสริมความโปร่งใส แม่นยำ และพัฒนาอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 17, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยวิสัยทัศน์ และแนวทางการขับเคลื่อนองค์กรด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence – AI) ภายใต้ วิสัยทัศน์ ONESQA 5.0 โดยมุ่งเน้นการนำ AI เข้ามาใช้เพื่อเสริมประสิทธิภาพ ความโปร่งใส และความแม่นยำ ในกระบวนการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา พร้อมยกระดับสู่ความเป็นดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบบ ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster June 8, 2023 EZ Webmaster June 8, 2023 จับมือ 3 ประสาน มจธ. – โอสถสภา – หัวเว่ย เปิดหลักสูตร “วิศวกรรมระบบอัจฉริยะ (ISE)” ผลิตวิศวกร AI รองรับอุตสาหกรรม 4.0 งานวิจัยของสถาบัน MIT ชี้ว่า AI ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตของภาคอุตสาหกรรมได้ 35% และลดเวลาการทำงานลง 14% และผลการสำรวจของ World Economic Forum ตั้งแต่ปี 2565-2566 ระบุว่า บุคลากรด้าน AI จะขาดแคลนอย่างมหาศาล เพราะอุตสาหกรรมการผลิตของทั้งโลกต้องพึ่งพา AI มากยิ่งขึ้น แต่การเรียนการสอนด้าน AI ของไทยที่ผ่านมา ส่วนใหญ่จะบรรจุในเนื้อหาของวิชาคอมพิวเตอร์ เน้นทักษะความรู้เฉพาะทาง มีการเชื่อมโยงกับโจทย์หรือความต้องการจริงในภาคอุตสาหกรรมค่อนข้างน้อย จึงเป็นที่มาของการออกแบบหลักสูตรวิศวกรรมระบบอัจฉริยะ (Intelligence Systems Engineering: ISE) ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (ราชบุรี) บริษัท โอสถสภา จำกัด (มหาชน) และบริษัท หัวเว่ย เทคโนโลยี่ (ประเทศไทย) จํากัด โดยได้มีพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางด้านวิชาการร่วมกันขึ้น เมื่อวันศุกร์ที่ 2 มิถุนายน 2566 มี รศ. ดร.สุวิทย์ แซ่เตีย อธิการบดี และนายนุกิจ ชลคุป Chief Manufacturing Officer ร่วมลงนาม พร้อมด้วย ศ. ดร.บุญเจริญ ศิริเนาวกุล ที่ปรึกษา มจธ.(ราชบุรี) และตัวแทนจากบริษัท หัวเว่ย เทคโนโลยี่ (ประเทศไทย) จํากัด ร่วมเป็นสักขีพยานพิธีลงนาม รศ. ดร.สุวิทย์ แซ่เตีย อธิการบดี มจธ.กล่าวว่า ปัจจุบันประเทศไทยมีกำลังคนด้าน AI ไม่เพียงพอ ประกอบกับอุตสาหกรรมในประเทศกำลังจะเปลี่ยนแปลงไป จึงมีความต้องการบุคลากรด้าน AI เข้าไปช่วยพัฒนาและดูแลระบบ หากเราไม่เร่งผลิตบุคลากรด้านนี้ในระยะยาวแล้วอุตสาหกรรมเหล่านี้ก็จะมีปัญหาเรื่องกำลังคนอย่างแน่นอน “ต้องเข้าใจว่าอุตสาหกรรมของไทยส่วนใหญ่เป็นเทคโนโลยียุค 3.0 และกำลังต้องปรับเปลี่ยนตัวเองเป็นเทคโนโลยี 4.0 หากเราสามารถสร้างคนที่มีทักษะ และมีประสบการณ์ทำงานด้าน AI กับภาคอุตสาหกรรมเข้าไปเติมในจุดนี้ นอกจากจะสามารถใช้ AI มาช่วยลดต้นทุนในการผลิตได้อย่างเหมาะสมแล้ว ยังเป็นประโยชน์สูงสุด ทั้งกับตัวผู้ประกอบการ และอุตสาหกรรมของไทยโดยรวม” ดังนั้น เพื่อให้หลักสูตรวิศวกรรมระบบอัจฉริยะ (Intelligence Systems Engineering: ISE) สามารถพัฒนาให้นักศึกษามีคุณลักษณะและความสามารถตรงตามความต้องการของอุตสาหกรรมทั้งในและต่างประเทศ อีกทั้งยังเป็นการส่งเสริมการพัฒนาและแลกเปลี่ยนองค์ความรู้และเทคโนโลยี ระหว่างสถาบันการศึกษา และสถานประกอบการ ที่เป็นการพัฒนาองค์ความรู้ด้วยบริบทจริง (Content) ของอุตสาหกรรมยุคใหม่ โดยใช้โจทย์ที่ได้รับจากสถานประกอบการจริง จึงเป็นจุดเด่นที่สำคัญของหลักสูตรนี้ ศ. ดร.บุญเจริญ ศิริเนาวกุล ที่ปรึกษา มจธ.(ราชบุรี) และประธานหลักสูตร ISE กล่าวว่า ภายใต้หลักสูตรนี้ นักศึกษาจะมีความรู้และทักษะทั้งทางด้านวิศวกรรม อุตสาหกรรมและปัญญาประดิษฐ์ รวมถึงเครื่องมืออื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น IoT และ Cloud เพราะเป็นการเรียนรู้แบบพหุวิทยาการที่ส่งเสริมให้นักศึกษาได้เรียนรู้ทั้งภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ การประยุกต์และความคิดสร้างสรรค์ ให้เขาได้มีโอกาสใช้ความรู้ทางวิศวกรรมระบบในสาขาเครื่องกล ไฟฟ้า พลังงานและเคมี และชีวภาพ มาสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ ที่ตอบโจทย์ปัญหาหรือความต้องการของผู้ประกอบการได้จริง รวมถึงมีการฝึกปฏิบัติงานร่วมกับภาคธุรกิจและอุตสาหกรรม โดยที่นักศึกษามีอิสระในการออกแบบแนวทางการเรียนรู้ของตนเอง สามารถเลือกเรียนตามหัวข้อโครงงานที่ตนเองสนใจ ผ่านการเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียน พร้อมไปกับที่นักศึกษาจะได้เรียนรู้การอยู่ร่วมกันแบบสังคม และการเป็นสมาชิกของสังคมที่มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น ด้วยการจัดการเรียนการสอนแบบ Residential College ของ มจธ. ราชบุรี “เป้าหมายของหลักสูตร คือ “ผลิตนักเทคโนโลยี AI” หรือ “วิศวกร AI” โดยจุดเด่นของหลักสูตร คือ นักศึกษาได้ปฏิบัติงานกับโรงงานอุตสาหกรรมจริง โดยใช้เทคโนโลยีระดับโลกตั้งแต่ปี 1 การศึกษาจะไม่จำกัดเฉพาะทฤษฎีเท่านั้น แต่เรียนกับเทคโนโลยีและโจทย์ปัญหาจริงจากภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผู้ที่จบจากหลักสูตร ISE นี้ จะสามารถนำเครื่องมือและเทคโนโลยี AI ไปใช้กับงานของตนเอง ซึ่งนอกจากในโรงงานแล้ว ยังประกอบอาชีพอื่นๆ ได้ เช่น ด้านการเกษตร Smart Farming ยานยนต์อัตโนมัติ เป็นต้น” ศ. ดร.บุญเจริญ กล่าวต่อว่า ภายใต้ความร่วมมือนี้ นักศึกษาจะได้ฝึกปฏิบัติจริงในโรงงานของโอสถสภา และการใช้ AI มาแก้ปัญหาหรือตอบโจทย์ความต้องการจริงของภาคอุตสาหกรรม ผ่านการใช้งานเครื่องจักรกล และเทคโนโลยีด้าน AI และ IoT ระดับสูงของโอสถสภา ตั้งแต่เรียนในชั้นปีที่ 1 ซึ่งการเริ่มต้นได้เร็ว จะทำให้สามารถพัฒนาตนเองได้อย่างต่อเนื่อง สามารถเป็นบุคลากรคุณภาพที่ตรงตามความต้องการของภาคอุตสาหกรรมได้อย่างแน่นอน นายนุกิจ ชลคุป Chief Manufacturing Officer บริษัท โอสถสภา จำกัด (มหาชน) กล่าวถึงความร่วมมือครั้งนี้ว่า ปัจจุบันโอสถสภามีการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรม โดยเฉพาะระบบอัจฉริยะหรือปัญญาประดิษฐ์ มาบริหารจัดการในกระบวนการต่าง ๆ อย่างครบวงจร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและศักยภาพในการผลิต จึงมีความเชื่อมั่นว่าหลักสูตร ISE นี้จะช่วยเสริมสร้างองค์ความรู้ด้านวิศวกรรมที่สามารถนำมาปรับใช้ได้จริง พร้อมส่งเสริมให้คนรุ่นใหม่มีทักษะและประสบการณ์ พร้อมเป็นบุคลากรคุณภาพที่จะขับเคลื่อนและพัฒนาภาคอุตสาหกรรมไทยสู่ระดับสากลและเติบโตอย่างยั่งยืน “ความร่วมมือ 3 ประสานระหว่างผู้ให้บริการเทคโนโลยี (Technology provider) อย่างหัวเว่ย นักศึกษา และบริษัทเอกชนเช่นนี้ ยังไม่เคยมีที่ไหนทำมาก่อน ถือเป็นครั้งแรก และหวังว่าจะเป็นโครงการนำร่องความร่วมมือในลักษณะนี้เพิ่มขึ้นในอนาคต เพราะเป็นโครงการที่เอื้อประโยชน์กับทุกฝ่าย ตัวนักศึกษาเขาก็จะได้รับโจทย์ที่เป็นของจริง โดยมีพี่เลี้ยงที่เป็นพี่ๆ วิศวกรและบุคลากรของโรงงานคอยสนับสนุนและช่วยเหลือ จนได้เป็นนวัตกรรมด้าน AI ออกมา ซึ่งความร่วมมือที่ต่อเนื่องกับ มจธ. ภายใต้หลักสูตร จะทำให้สิ่งที่นักศึกษา ISE รุ่นก่อนทำมาแล้ว ถูกพัฒนาต่อและทำให้ดีขึ้น จนสามารถนำไปใช้จริงกับกับโรงงานของเราได้ในที่สุด” นอกจากนี้ มจธ.ยังได้ร่วมกับ บริษัท หัวเว่ย เทคโนโลยี่ (ประเทศไทย) จํากัด ผ่านโครงการ Huawei ICT Academy ที่มีการลงนามความร่วมมือตั้งแต่ปี 2020 โดยหัวเว่ย ประเทศไทย จะสนับสนุนด้านองค์ความรู้ ด้าน AI และ IoT หรือ big data ต่างๆ ให้มหาวิทยาลัยในการนำไปใช้เป็นการเรียนการสอน เพื่อเพิ่มพูนทักษะด้านไอซีทีให้แก่นักศึกษา ผ่านคอร์สการเรียนการสอนแบบปฏิบัติงานจริง พร้อมมอบโอกาสการฝึกงานในสายอาชีพด้านนวัตกรรมการศึกษาเพื่อดิจิทัล เป็นการเตรียมความพร้อมรองรับตลาดงานในยุคดิจิทัล และนักศึกษายังมีโอกาสในการฝึกงานรวมไปถึงการเข้าทำงานกับบริษัทฯ รวมถึงบริษัทพาร์ทเนอร์ของหัวเว่ย หลักสูตรวิศวกรรมระบบอัจฉริยะ (Intelligence Systems Engineering: ISE) นี้ เป็นหลักสูตรระดับปริญญาตรี 4 ปี ปัจจุบันมีนักศึกษาที่กำลังศึกษาในรุ่นที่ 1 แล้วกว่า 20 คน และกำลังเปิดรับสมัครนักศึกษาในรุ่นถัดไป โดยสามารถติดตามข่าวสารของหลักสูตร ได้ที่ https://ratchaburi.kmutt.ac.th/teaching/intelligent-systems-engineering-course/ และhttps://www.facebook.com/RCKMUTT EZ Webmaster Related Posts ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ ม.หอการค้าไทย จัดหลักสูตรรุกหน้าการันตี “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน!!” การตลาดดิจิทัลและระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย จัดกิจกรรมตอบแทนกลับคืนสังคม “จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” Post navigation PREVIOUS Previous post: DEKเรียนภาษาญี่ปุ่นต้องรู้ เรียนที่ PIM มีโอกาสได้ฝึกงานที่ญี่ปุ่น ได้เพื่อนใหม่ ได้เงินด้วย และนี่คือรีวิวการฝึก-เที่ยว-เล่นหิมะที่สุด Cool! @ GALA Yuzawa Snow Resort ลานสกียอดฮิตใกล้โตเกียวNEXT Next post: “45 ปี ซีไรต์มาไกลมาก” เชิญผู้สนใจร่วมประกวดโปสเตอร์ ภายใต้แนวคิด ซีไรต์ใน “ภาพจำ” กับ “จินตนาการ” ของฉัน สมัครและส่งผลงานได้แล้ววันนี้ – 30 มิถุนายน 2566 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
การตลาดดิจิทัลและระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย จัดกิจกรรมตอบแทนกลับคืนสังคม EZ WebmasterJune 17, 2025 นักศึกษากลุ่มวิชาการตลาดดิจิทัล และกลุ่มวิชาการบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ร่วมทำกิจกรรม Digital Marketing Innovation for Sustainability สร้างสรรค์ประสบการณ์ทางการตลาดดิจิทัลและการบริการสังคม โดยนักศึกษาได้เข้ากิจกรรมปล่อยสัตว์ทะเลที่ธนาคารปู จังหวัดระยอง และบริจากสิ่งของให้กับชมรมผู้พิการทางสติปัญญา จังหวัดชลบุรี ร่วมเรียนรู้การสร้างสรรค์สื่อสำหรับการสื่อสารทางการตลาดดิจิทัล เพื่อสร้างความรับผิดชอบต่อสังคมให้กับนักศึกษาและร่วมสร้างสรรค์สังคมให้น่าอยู่ต่อไป เรียนคณะบริหารธุรกิจแนวใหม่ต้องสัมผัสประสบการณ์แบบนักธุรกิจ ถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์จากคณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญรวมทั้งนักธุรกิจมืออาชีพ… “จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” EZ WebmasterJune 17, 2025 ในนามของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผมขอส่งความห่วงใยมายังพวกเราทุกคนที่กำลังใช้ชีวิตและศึกษาอยู่ในสหรัฐฯ โดยเฉพาะในช่วงเวลาที่มีความไม่แน่นอนเกี่ยวกับนโยบายวีซ่าที่อาจส่งผลต่อสิทธิในการศึกษา เมื่อไม่นานนี้ ผมและผู้บริหารจุฬาฯ มีโอกาสได้ไปเยือน Harvard และ MIT และได้พบกับนักศึกษาชาวไทยหลายคน ทุกคนต่างมีความมุ่งมั่น ตั้งใจ และอดทนในการใฝ่หาความรู้ เพื่อนำมาพัฒนาตนเอง สังคม และประเทศชาติ แม้จะอยู่ท่ามกลางความกังวลใจต่ออนาคตที่ยังไม่ชัดเจน ผมอยากบอกว่าพวกเราที่จุฬาฯ…
“จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” EZ WebmasterJune 17, 2025 ในนามของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผมขอส่งความห่วงใยมายังพวกเราทุกคนที่กำลังใช้ชีวิตและศึกษาอยู่ในสหรัฐฯ โดยเฉพาะในช่วงเวลาที่มีความไม่แน่นอนเกี่ยวกับนโยบายวีซ่าที่อาจส่งผลต่อสิทธิในการศึกษา เมื่อไม่นานนี้ ผมและผู้บริหารจุฬาฯ มีโอกาสได้ไปเยือน Harvard และ MIT และได้พบกับนักศึกษาชาวไทยหลายคน ทุกคนต่างมีความมุ่งมั่น ตั้งใจ และอดทนในการใฝ่หาความรู้ เพื่อนำมาพัฒนาตนเอง สังคม และประเทศชาติ แม้จะอยู่ท่ามกลางความกังวลใจต่ออนาคตที่ยังไม่ชัดเจน ผมอยากบอกว่าพวกเราที่จุฬาฯ…
SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ครู-อาจารย์ อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก tui sakrapeeJune 18, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา นำโดย รศ.ดร.ชุติกาญจน์ ศรีวิบูลย์ อธิการบดี พร้อมคณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย เดินทางเยือนโรงเรียนนานาชาติ Qingdao No.1 International School of Shandong Province (QISS) และ Qingdao University… กองกลาง มจพ. เยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ และจัดสัมมนาจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล ประจำปี 2568 EZ WebmasterJune 18, 2025 ผศ.ดร.สราวุฒิ สืบแย้ม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายการคลังและกิจการทั่วไป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยนางสาวรัตนา สุขเฉลิมศรี ผู้อำนวยการกองกลาง และบุคลากรกองกลาง เข้าเยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ มจพ. ณ ชั้น 3 สำนักงานหอสมุดกลาง โดยมีนางสาวพนารมย์ เกียรติลีลานันท์ และ… คณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล มจพ. ชูธงร่วมเครือข่ายจัดใหญ่การประชุมวิชาการ นวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (FIAC) 2025 EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร สมฤกษ์ จันทรอัมพร รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นเจ้าภาพร่วมในการจัดประชุมวิชาการด้านนวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (Food Innovation Asia Conference 2025) พร้อมด้วย รศ.ดร.รัชนี เจริญ คณบดีคณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล และคณะผู้บริหาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ… สมศ. พลิกโฉมการประเมินคุณภาพภายนอกด้วย AI ภายใต้ “ONESQA 5.0” เสริมความโปร่งใส แม่นยำ และพัฒนาอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 17, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยวิสัยทัศน์ และแนวทางการขับเคลื่อนองค์กรด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence – AI) ภายใต้ วิสัยทัศน์ ONESQA 5.0 โดยมุ่งเน้นการนำ AI เข้ามาใช้เพื่อเสริมประสิทธิภาพ ความโปร่งใส และความแม่นยำ ในกระบวนการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา พร้อมยกระดับสู่ความเป็นดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบบ ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster June 8, 2023 EZ Webmaster June 8, 2023 จับมือ 3 ประสาน มจธ. – โอสถสภา – หัวเว่ย เปิดหลักสูตร “วิศวกรรมระบบอัจฉริยะ (ISE)” ผลิตวิศวกร AI รองรับอุตสาหกรรม 4.0 งานวิจัยของสถาบัน MIT ชี้ว่า AI ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตของภาคอุตสาหกรรมได้ 35% และลดเวลาการทำงานลง 14% และผลการสำรวจของ World Economic Forum ตั้งแต่ปี 2565-2566 ระบุว่า บุคลากรด้าน AI จะขาดแคลนอย่างมหาศาล เพราะอุตสาหกรรมการผลิตของทั้งโลกต้องพึ่งพา AI มากยิ่งขึ้น แต่การเรียนการสอนด้าน AI ของไทยที่ผ่านมา ส่วนใหญ่จะบรรจุในเนื้อหาของวิชาคอมพิวเตอร์ เน้นทักษะความรู้เฉพาะทาง มีการเชื่อมโยงกับโจทย์หรือความต้องการจริงในภาคอุตสาหกรรมค่อนข้างน้อย จึงเป็นที่มาของการออกแบบหลักสูตรวิศวกรรมระบบอัจฉริยะ (Intelligence Systems Engineering: ISE) ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (ราชบุรี) บริษัท โอสถสภา จำกัด (มหาชน) และบริษัท หัวเว่ย เทคโนโลยี่ (ประเทศไทย) จํากัด โดยได้มีพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางด้านวิชาการร่วมกันขึ้น เมื่อวันศุกร์ที่ 2 มิถุนายน 2566 มี รศ. ดร.สุวิทย์ แซ่เตีย อธิการบดี และนายนุกิจ ชลคุป Chief Manufacturing Officer ร่วมลงนาม พร้อมด้วย ศ. ดร.บุญเจริญ ศิริเนาวกุล ที่ปรึกษา มจธ.(ราชบุรี) และตัวแทนจากบริษัท หัวเว่ย เทคโนโลยี่ (ประเทศไทย) จํากัด ร่วมเป็นสักขีพยานพิธีลงนาม รศ. ดร.สุวิทย์ แซ่เตีย อธิการบดี มจธ.กล่าวว่า ปัจจุบันประเทศไทยมีกำลังคนด้าน AI ไม่เพียงพอ ประกอบกับอุตสาหกรรมในประเทศกำลังจะเปลี่ยนแปลงไป จึงมีความต้องการบุคลากรด้าน AI เข้าไปช่วยพัฒนาและดูแลระบบ หากเราไม่เร่งผลิตบุคลากรด้านนี้ในระยะยาวแล้วอุตสาหกรรมเหล่านี้ก็จะมีปัญหาเรื่องกำลังคนอย่างแน่นอน “ต้องเข้าใจว่าอุตสาหกรรมของไทยส่วนใหญ่เป็นเทคโนโลยียุค 3.0 และกำลังต้องปรับเปลี่ยนตัวเองเป็นเทคโนโลยี 4.0 หากเราสามารถสร้างคนที่มีทักษะ และมีประสบการณ์ทำงานด้าน AI กับภาคอุตสาหกรรมเข้าไปเติมในจุดนี้ นอกจากจะสามารถใช้ AI มาช่วยลดต้นทุนในการผลิตได้อย่างเหมาะสมแล้ว ยังเป็นประโยชน์สูงสุด ทั้งกับตัวผู้ประกอบการ และอุตสาหกรรมของไทยโดยรวม” ดังนั้น เพื่อให้หลักสูตรวิศวกรรมระบบอัจฉริยะ (Intelligence Systems Engineering: ISE) สามารถพัฒนาให้นักศึกษามีคุณลักษณะและความสามารถตรงตามความต้องการของอุตสาหกรรมทั้งในและต่างประเทศ อีกทั้งยังเป็นการส่งเสริมการพัฒนาและแลกเปลี่ยนองค์ความรู้และเทคโนโลยี ระหว่างสถาบันการศึกษา และสถานประกอบการ ที่เป็นการพัฒนาองค์ความรู้ด้วยบริบทจริง (Content) ของอุตสาหกรรมยุคใหม่ โดยใช้โจทย์ที่ได้รับจากสถานประกอบการจริง จึงเป็นจุดเด่นที่สำคัญของหลักสูตรนี้ ศ. ดร.บุญเจริญ ศิริเนาวกุล ที่ปรึกษา มจธ.(ราชบุรี) และประธานหลักสูตร ISE กล่าวว่า ภายใต้หลักสูตรนี้ นักศึกษาจะมีความรู้และทักษะทั้งทางด้านวิศวกรรม อุตสาหกรรมและปัญญาประดิษฐ์ รวมถึงเครื่องมืออื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น IoT และ Cloud เพราะเป็นการเรียนรู้แบบพหุวิทยาการที่ส่งเสริมให้นักศึกษาได้เรียนรู้ทั้งภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ การประยุกต์และความคิดสร้างสรรค์ ให้เขาได้มีโอกาสใช้ความรู้ทางวิศวกรรมระบบในสาขาเครื่องกล ไฟฟ้า พลังงานและเคมี และชีวภาพ มาสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ ที่ตอบโจทย์ปัญหาหรือความต้องการของผู้ประกอบการได้จริง รวมถึงมีการฝึกปฏิบัติงานร่วมกับภาคธุรกิจและอุตสาหกรรม โดยที่นักศึกษามีอิสระในการออกแบบแนวทางการเรียนรู้ของตนเอง สามารถเลือกเรียนตามหัวข้อโครงงานที่ตนเองสนใจ ผ่านการเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียน พร้อมไปกับที่นักศึกษาจะได้เรียนรู้การอยู่ร่วมกันแบบสังคม และการเป็นสมาชิกของสังคมที่มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น ด้วยการจัดการเรียนการสอนแบบ Residential College ของ มจธ. ราชบุรี “เป้าหมายของหลักสูตร คือ “ผลิตนักเทคโนโลยี AI” หรือ “วิศวกร AI” โดยจุดเด่นของหลักสูตร คือ นักศึกษาได้ปฏิบัติงานกับโรงงานอุตสาหกรรมจริง โดยใช้เทคโนโลยีระดับโลกตั้งแต่ปี 1 การศึกษาจะไม่จำกัดเฉพาะทฤษฎีเท่านั้น แต่เรียนกับเทคโนโลยีและโจทย์ปัญหาจริงจากภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผู้ที่จบจากหลักสูตร ISE นี้ จะสามารถนำเครื่องมือและเทคโนโลยี AI ไปใช้กับงานของตนเอง ซึ่งนอกจากในโรงงานแล้ว ยังประกอบอาชีพอื่นๆ ได้ เช่น ด้านการเกษตร Smart Farming ยานยนต์อัตโนมัติ เป็นต้น” ศ. ดร.บุญเจริญ กล่าวต่อว่า ภายใต้ความร่วมมือนี้ นักศึกษาจะได้ฝึกปฏิบัติจริงในโรงงานของโอสถสภา และการใช้ AI มาแก้ปัญหาหรือตอบโจทย์ความต้องการจริงของภาคอุตสาหกรรม ผ่านการใช้งานเครื่องจักรกล และเทคโนโลยีด้าน AI และ IoT ระดับสูงของโอสถสภา ตั้งแต่เรียนในชั้นปีที่ 1 ซึ่งการเริ่มต้นได้เร็ว จะทำให้สามารถพัฒนาตนเองได้อย่างต่อเนื่อง สามารถเป็นบุคลากรคุณภาพที่ตรงตามความต้องการของภาคอุตสาหกรรมได้อย่างแน่นอน นายนุกิจ ชลคุป Chief Manufacturing Officer บริษัท โอสถสภา จำกัด (มหาชน) กล่าวถึงความร่วมมือครั้งนี้ว่า ปัจจุบันโอสถสภามีการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรม โดยเฉพาะระบบอัจฉริยะหรือปัญญาประดิษฐ์ มาบริหารจัดการในกระบวนการต่าง ๆ อย่างครบวงจร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและศักยภาพในการผลิต จึงมีความเชื่อมั่นว่าหลักสูตร ISE นี้จะช่วยเสริมสร้างองค์ความรู้ด้านวิศวกรรมที่สามารถนำมาปรับใช้ได้จริง พร้อมส่งเสริมให้คนรุ่นใหม่มีทักษะและประสบการณ์ พร้อมเป็นบุคลากรคุณภาพที่จะขับเคลื่อนและพัฒนาภาคอุตสาหกรรมไทยสู่ระดับสากลและเติบโตอย่างยั่งยืน “ความร่วมมือ 3 ประสานระหว่างผู้ให้บริการเทคโนโลยี (Technology provider) อย่างหัวเว่ย นักศึกษา และบริษัทเอกชนเช่นนี้ ยังไม่เคยมีที่ไหนทำมาก่อน ถือเป็นครั้งแรก และหวังว่าจะเป็นโครงการนำร่องความร่วมมือในลักษณะนี้เพิ่มขึ้นในอนาคต เพราะเป็นโครงการที่เอื้อประโยชน์กับทุกฝ่าย ตัวนักศึกษาเขาก็จะได้รับโจทย์ที่เป็นของจริง โดยมีพี่เลี้ยงที่เป็นพี่ๆ วิศวกรและบุคลากรของโรงงานคอยสนับสนุนและช่วยเหลือ จนได้เป็นนวัตกรรมด้าน AI ออกมา ซึ่งความร่วมมือที่ต่อเนื่องกับ มจธ. ภายใต้หลักสูตร จะทำให้สิ่งที่นักศึกษา ISE รุ่นก่อนทำมาแล้ว ถูกพัฒนาต่อและทำให้ดีขึ้น จนสามารถนำไปใช้จริงกับกับโรงงานของเราได้ในที่สุด” นอกจากนี้ มจธ.ยังได้ร่วมกับ บริษัท หัวเว่ย เทคโนโลยี่ (ประเทศไทย) จํากัด ผ่านโครงการ Huawei ICT Academy ที่มีการลงนามความร่วมมือตั้งแต่ปี 2020 โดยหัวเว่ย ประเทศไทย จะสนับสนุนด้านองค์ความรู้ ด้าน AI และ IoT หรือ big data ต่างๆ ให้มหาวิทยาลัยในการนำไปใช้เป็นการเรียนการสอน เพื่อเพิ่มพูนทักษะด้านไอซีทีให้แก่นักศึกษา ผ่านคอร์สการเรียนการสอนแบบปฏิบัติงานจริง พร้อมมอบโอกาสการฝึกงานในสายอาชีพด้านนวัตกรรมการศึกษาเพื่อดิจิทัล เป็นการเตรียมความพร้อมรองรับตลาดงานในยุคดิจิทัล และนักศึกษายังมีโอกาสในการฝึกงานรวมไปถึงการเข้าทำงานกับบริษัทฯ รวมถึงบริษัทพาร์ทเนอร์ของหัวเว่ย หลักสูตรวิศวกรรมระบบอัจฉริยะ (Intelligence Systems Engineering: ISE) นี้ เป็นหลักสูตรระดับปริญญาตรี 4 ปี ปัจจุบันมีนักศึกษาที่กำลังศึกษาในรุ่นที่ 1 แล้วกว่า 20 คน และกำลังเปิดรับสมัครนักศึกษาในรุ่นถัดไป โดยสามารถติดตามข่าวสารของหลักสูตร ได้ที่ https://ratchaburi.kmutt.ac.th/teaching/intelligent-systems-engineering-course/ และhttps://www.facebook.com/RCKMUTT EZ Webmaster Related Posts ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ ม.หอการค้าไทย จัดหลักสูตรรุกหน้าการันตี “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน!!” การตลาดดิจิทัลและระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย จัดกิจกรรมตอบแทนกลับคืนสังคม “จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” Post navigation PREVIOUS Previous post: DEKเรียนภาษาญี่ปุ่นต้องรู้ เรียนที่ PIM มีโอกาสได้ฝึกงานที่ญี่ปุ่น ได้เพื่อนใหม่ ได้เงินด้วย และนี่คือรีวิวการฝึก-เที่ยว-เล่นหิมะที่สุด Cool! @ GALA Yuzawa Snow Resort ลานสกียอดฮิตใกล้โตเกียวNEXT Next post: “45 ปี ซีไรต์มาไกลมาก” เชิญผู้สนใจร่วมประกวดโปสเตอร์ ภายใต้แนวคิด ซีไรต์ใน “ภาพจำ” กับ “จินตนาการ” ของฉัน สมัครและส่งผลงานได้แล้ววันนี้ – 30 มิถุนายน 2566 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ครู-อาจารย์ อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก tui sakrapeeJune 18, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา นำโดย รศ.ดร.ชุติกาญจน์ ศรีวิบูลย์ อธิการบดี พร้อมคณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย เดินทางเยือนโรงเรียนนานาชาติ Qingdao No.1 International School of Shandong Province (QISS) และ Qingdao University… กองกลาง มจพ. เยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ และจัดสัมมนาจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล ประจำปี 2568 EZ WebmasterJune 18, 2025 ผศ.ดร.สราวุฒิ สืบแย้ม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายการคลังและกิจการทั่วไป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยนางสาวรัตนา สุขเฉลิมศรี ผู้อำนวยการกองกลาง และบุคลากรกองกลาง เข้าเยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ มจพ. ณ ชั้น 3 สำนักงานหอสมุดกลาง โดยมีนางสาวพนารมย์ เกียรติลีลานันท์ และ… คณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล มจพ. ชูธงร่วมเครือข่ายจัดใหญ่การประชุมวิชาการ นวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (FIAC) 2025 EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร สมฤกษ์ จันทรอัมพร รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นเจ้าภาพร่วมในการจัดประชุมวิชาการด้านนวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (Food Innovation Asia Conference 2025) พร้อมด้วย รศ.ดร.รัชนี เจริญ คณบดีคณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล และคณะผู้บริหาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ… สมศ. พลิกโฉมการประเมินคุณภาพภายนอกด้วย AI ภายใต้ “ONESQA 5.0” เสริมความโปร่งใส แม่นยำ และพัฒนาอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 17, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยวิสัยทัศน์ และแนวทางการขับเคลื่อนองค์กรด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence – AI) ภายใต้ วิสัยทัศน์ ONESQA 5.0 โดยมุ่งเน้นการนำ AI เข้ามาใช้เพื่อเสริมประสิทธิภาพ ความโปร่งใส และความแม่นยำ ในกระบวนการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา พร้อมยกระดับสู่ความเป็นดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบบ ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster June 8, 2023 EZ Webmaster June 8, 2023 จับมือ 3 ประสาน มจธ. – โอสถสภา – หัวเว่ย เปิดหลักสูตร “วิศวกรรมระบบอัจฉริยะ (ISE)” ผลิตวิศวกร AI รองรับอุตสาหกรรม 4.0 งานวิจัยของสถาบัน MIT ชี้ว่า AI ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตของภาคอุตสาหกรรมได้ 35% และลดเวลาการทำงานลง 14% และผลการสำรวจของ World Economic Forum ตั้งแต่ปี 2565-2566 ระบุว่า บุคลากรด้าน AI จะขาดแคลนอย่างมหาศาล เพราะอุตสาหกรรมการผลิตของทั้งโลกต้องพึ่งพา AI มากยิ่งขึ้น แต่การเรียนการสอนด้าน AI ของไทยที่ผ่านมา ส่วนใหญ่จะบรรจุในเนื้อหาของวิชาคอมพิวเตอร์ เน้นทักษะความรู้เฉพาะทาง มีการเชื่อมโยงกับโจทย์หรือความต้องการจริงในภาคอุตสาหกรรมค่อนข้างน้อย จึงเป็นที่มาของการออกแบบหลักสูตรวิศวกรรมระบบอัจฉริยะ (Intelligence Systems Engineering: ISE) ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (ราชบุรี) บริษัท โอสถสภา จำกัด (มหาชน) และบริษัท หัวเว่ย เทคโนโลยี่ (ประเทศไทย) จํากัด โดยได้มีพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางด้านวิชาการร่วมกันขึ้น เมื่อวันศุกร์ที่ 2 มิถุนายน 2566 มี รศ. ดร.สุวิทย์ แซ่เตีย อธิการบดี และนายนุกิจ ชลคุป Chief Manufacturing Officer ร่วมลงนาม พร้อมด้วย ศ. ดร.บุญเจริญ ศิริเนาวกุล ที่ปรึกษา มจธ.(ราชบุรี) และตัวแทนจากบริษัท หัวเว่ย เทคโนโลยี่ (ประเทศไทย) จํากัด ร่วมเป็นสักขีพยานพิธีลงนาม รศ. ดร.สุวิทย์ แซ่เตีย อธิการบดี มจธ.กล่าวว่า ปัจจุบันประเทศไทยมีกำลังคนด้าน AI ไม่เพียงพอ ประกอบกับอุตสาหกรรมในประเทศกำลังจะเปลี่ยนแปลงไป จึงมีความต้องการบุคลากรด้าน AI เข้าไปช่วยพัฒนาและดูแลระบบ หากเราไม่เร่งผลิตบุคลากรด้านนี้ในระยะยาวแล้วอุตสาหกรรมเหล่านี้ก็จะมีปัญหาเรื่องกำลังคนอย่างแน่นอน “ต้องเข้าใจว่าอุตสาหกรรมของไทยส่วนใหญ่เป็นเทคโนโลยียุค 3.0 และกำลังต้องปรับเปลี่ยนตัวเองเป็นเทคโนโลยี 4.0 หากเราสามารถสร้างคนที่มีทักษะ และมีประสบการณ์ทำงานด้าน AI กับภาคอุตสาหกรรมเข้าไปเติมในจุดนี้ นอกจากจะสามารถใช้ AI มาช่วยลดต้นทุนในการผลิตได้อย่างเหมาะสมแล้ว ยังเป็นประโยชน์สูงสุด ทั้งกับตัวผู้ประกอบการ และอุตสาหกรรมของไทยโดยรวม” ดังนั้น เพื่อให้หลักสูตรวิศวกรรมระบบอัจฉริยะ (Intelligence Systems Engineering: ISE) สามารถพัฒนาให้นักศึกษามีคุณลักษณะและความสามารถตรงตามความต้องการของอุตสาหกรรมทั้งในและต่างประเทศ อีกทั้งยังเป็นการส่งเสริมการพัฒนาและแลกเปลี่ยนองค์ความรู้และเทคโนโลยี ระหว่างสถาบันการศึกษา และสถานประกอบการ ที่เป็นการพัฒนาองค์ความรู้ด้วยบริบทจริง (Content) ของอุตสาหกรรมยุคใหม่ โดยใช้โจทย์ที่ได้รับจากสถานประกอบการจริง จึงเป็นจุดเด่นที่สำคัญของหลักสูตรนี้ ศ. ดร.บุญเจริญ ศิริเนาวกุล ที่ปรึกษา มจธ.(ราชบุรี) และประธานหลักสูตร ISE กล่าวว่า ภายใต้หลักสูตรนี้ นักศึกษาจะมีความรู้และทักษะทั้งทางด้านวิศวกรรม อุตสาหกรรมและปัญญาประดิษฐ์ รวมถึงเครื่องมืออื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น IoT และ Cloud เพราะเป็นการเรียนรู้แบบพหุวิทยาการที่ส่งเสริมให้นักศึกษาได้เรียนรู้ทั้งภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ การประยุกต์และความคิดสร้างสรรค์ ให้เขาได้มีโอกาสใช้ความรู้ทางวิศวกรรมระบบในสาขาเครื่องกล ไฟฟ้า พลังงานและเคมี และชีวภาพ มาสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ ที่ตอบโจทย์ปัญหาหรือความต้องการของผู้ประกอบการได้จริง รวมถึงมีการฝึกปฏิบัติงานร่วมกับภาคธุรกิจและอุตสาหกรรม โดยที่นักศึกษามีอิสระในการออกแบบแนวทางการเรียนรู้ของตนเอง สามารถเลือกเรียนตามหัวข้อโครงงานที่ตนเองสนใจ ผ่านการเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียน พร้อมไปกับที่นักศึกษาจะได้เรียนรู้การอยู่ร่วมกันแบบสังคม และการเป็นสมาชิกของสังคมที่มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น ด้วยการจัดการเรียนการสอนแบบ Residential College ของ มจธ. ราชบุรี “เป้าหมายของหลักสูตร คือ “ผลิตนักเทคโนโลยี AI” หรือ “วิศวกร AI” โดยจุดเด่นของหลักสูตร คือ นักศึกษาได้ปฏิบัติงานกับโรงงานอุตสาหกรรมจริง โดยใช้เทคโนโลยีระดับโลกตั้งแต่ปี 1 การศึกษาจะไม่จำกัดเฉพาะทฤษฎีเท่านั้น แต่เรียนกับเทคโนโลยีและโจทย์ปัญหาจริงจากภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผู้ที่จบจากหลักสูตร ISE นี้ จะสามารถนำเครื่องมือและเทคโนโลยี AI ไปใช้กับงานของตนเอง ซึ่งนอกจากในโรงงานแล้ว ยังประกอบอาชีพอื่นๆ ได้ เช่น ด้านการเกษตร Smart Farming ยานยนต์อัตโนมัติ เป็นต้น” ศ. ดร.บุญเจริญ กล่าวต่อว่า ภายใต้ความร่วมมือนี้ นักศึกษาจะได้ฝึกปฏิบัติจริงในโรงงานของโอสถสภา และการใช้ AI มาแก้ปัญหาหรือตอบโจทย์ความต้องการจริงของภาคอุตสาหกรรม ผ่านการใช้งานเครื่องจักรกล และเทคโนโลยีด้าน AI และ IoT ระดับสูงของโอสถสภา ตั้งแต่เรียนในชั้นปีที่ 1 ซึ่งการเริ่มต้นได้เร็ว จะทำให้สามารถพัฒนาตนเองได้อย่างต่อเนื่อง สามารถเป็นบุคลากรคุณภาพที่ตรงตามความต้องการของภาคอุตสาหกรรมได้อย่างแน่นอน นายนุกิจ ชลคุป Chief Manufacturing Officer บริษัท โอสถสภา จำกัด (มหาชน) กล่าวถึงความร่วมมือครั้งนี้ว่า ปัจจุบันโอสถสภามีการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรม โดยเฉพาะระบบอัจฉริยะหรือปัญญาประดิษฐ์ มาบริหารจัดการในกระบวนการต่าง ๆ อย่างครบวงจร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและศักยภาพในการผลิต จึงมีความเชื่อมั่นว่าหลักสูตร ISE นี้จะช่วยเสริมสร้างองค์ความรู้ด้านวิศวกรรมที่สามารถนำมาปรับใช้ได้จริง พร้อมส่งเสริมให้คนรุ่นใหม่มีทักษะและประสบการณ์ พร้อมเป็นบุคลากรคุณภาพที่จะขับเคลื่อนและพัฒนาภาคอุตสาหกรรมไทยสู่ระดับสากลและเติบโตอย่างยั่งยืน “ความร่วมมือ 3 ประสานระหว่างผู้ให้บริการเทคโนโลยี (Technology provider) อย่างหัวเว่ย นักศึกษา และบริษัทเอกชนเช่นนี้ ยังไม่เคยมีที่ไหนทำมาก่อน ถือเป็นครั้งแรก และหวังว่าจะเป็นโครงการนำร่องความร่วมมือในลักษณะนี้เพิ่มขึ้นในอนาคต เพราะเป็นโครงการที่เอื้อประโยชน์กับทุกฝ่าย ตัวนักศึกษาเขาก็จะได้รับโจทย์ที่เป็นของจริง โดยมีพี่เลี้ยงที่เป็นพี่ๆ วิศวกรและบุคลากรของโรงงานคอยสนับสนุนและช่วยเหลือ จนได้เป็นนวัตกรรมด้าน AI ออกมา ซึ่งความร่วมมือที่ต่อเนื่องกับ มจธ. ภายใต้หลักสูตร จะทำให้สิ่งที่นักศึกษา ISE รุ่นก่อนทำมาแล้ว ถูกพัฒนาต่อและทำให้ดีขึ้น จนสามารถนำไปใช้จริงกับกับโรงงานของเราได้ในที่สุด” นอกจากนี้ มจธ.ยังได้ร่วมกับ บริษัท หัวเว่ย เทคโนโลยี่ (ประเทศไทย) จํากัด ผ่านโครงการ Huawei ICT Academy ที่มีการลงนามความร่วมมือตั้งแต่ปี 2020 โดยหัวเว่ย ประเทศไทย จะสนับสนุนด้านองค์ความรู้ ด้าน AI และ IoT หรือ big data ต่างๆ ให้มหาวิทยาลัยในการนำไปใช้เป็นการเรียนการสอน เพื่อเพิ่มพูนทักษะด้านไอซีทีให้แก่นักศึกษา ผ่านคอร์สการเรียนการสอนแบบปฏิบัติงานจริง พร้อมมอบโอกาสการฝึกงานในสายอาชีพด้านนวัตกรรมการศึกษาเพื่อดิจิทัล เป็นการเตรียมความพร้อมรองรับตลาดงานในยุคดิจิทัล และนักศึกษายังมีโอกาสในการฝึกงานรวมไปถึงการเข้าทำงานกับบริษัทฯ รวมถึงบริษัทพาร์ทเนอร์ของหัวเว่ย หลักสูตรวิศวกรรมระบบอัจฉริยะ (Intelligence Systems Engineering: ISE) นี้ เป็นหลักสูตรระดับปริญญาตรี 4 ปี ปัจจุบันมีนักศึกษาที่กำลังศึกษาในรุ่นที่ 1 แล้วกว่า 20 คน และกำลังเปิดรับสมัครนักศึกษาในรุ่นถัดไป โดยสามารถติดตามข่าวสารของหลักสูตร ได้ที่ https://ratchaburi.kmutt.ac.th/teaching/intelligent-systems-engineering-course/ และhttps://www.facebook.com/RCKMUTT EZ Webmaster Related Posts ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ ม.หอการค้าไทย จัดหลักสูตรรุกหน้าการันตี “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน!!” การตลาดดิจิทัลและระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย จัดกิจกรรมตอบแทนกลับคืนสังคม “จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” Post navigation PREVIOUS Previous post: DEKเรียนภาษาญี่ปุ่นต้องรู้ เรียนที่ PIM มีโอกาสได้ฝึกงานที่ญี่ปุ่น ได้เพื่อนใหม่ ได้เงินด้วย และนี่คือรีวิวการฝึก-เที่ยว-เล่นหิมะที่สุด Cool! @ GALA Yuzawa Snow Resort ลานสกียอดฮิตใกล้โตเกียวNEXT Next post: “45 ปี ซีไรต์มาไกลมาก” เชิญผู้สนใจร่วมประกวดโปสเตอร์ ภายใต้แนวคิด ซีไรต์ใน “ภาพจำ” กับ “จินตนาการ” ของฉัน สมัครและส่งผลงานได้แล้ววันนี้ – 30 มิถุนายน 2566 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025…
เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025…
อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก tui sakrapeeJune 18, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา นำโดย รศ.ดร.ชุติกาญจน์ ศรีวิบูลย์ อธิการบดี พร้อมคณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย เดินทางเยือนโรงเรียนนานาชาติ Qingdao No.1 International School of Shandong Province (QISS) และ Qingdao University… กองกลาง มจพ. เยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ และจัดสัมมนาจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล ประจำปี 2568 EZ WebmasterJune 18, 2025 ผศ.ดร.สราวุฒิ สืบแย้ม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายการคลังและกิจการทั่วไป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยนางสาวรัตนา สุขเฉลิมศรี ผู้อำนวยการกองกลาง และบุคลากรกองกลาง เข้าเยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ มจพ. ณ ชั้น 3 สำนักงานหอสมุดกลาง โดยมีนางสาวพนารมย์ เกียรติลีลานันท์ และ… คณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล มจพ. ชูธงร่วมเครือข่ายจัดใหญ่การประชุมวิชาการ นวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (FIAC) 2025 EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร สมฤกษ์ จันทรอัมพร รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นเจ้าภาพร่วมในการจัดประชุมวิชาการด้านนวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (Food Innovation Asia Conference 2025) พร้อมด้วย รศ.ดร.รัชนี เจริญ คณบดีคณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล และคณะผู้บริหาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ… สมศ. พลิกโฉมการประเมินคุณภาพภายนอกด้วย AI ภายใต้ “ONESQA 5.0” เสริมความโปร่งใส แม่นยำ และพัฒนาอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 17, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยวิสัยทัศน์ และแนวทางการขับเคลื่อนองค์กรด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence – AI) ภายใต้ วิสัยทัศน์ ONESQA 5.0 โดยมุ่งเน้นการนำ AI เข้ามาใช้เพื่อเสริมประสิทธิภาพ ความโปร่งใส และความแม่นยำ ในกระบวนการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา พร้อมยกระดับสู่ความเป็นดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบบ ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster June 8, 2023 EZ Webmaster June 8, 2023 จับมือ 3 ประสาน มจธ. – โอสถสภา – หัวเว่ย เปิดหลักสูตร “วิศวกรรมระบบอัจฉริยะ (ISE)” ผลิตวิศวกร AI รองรับอุตสาหกรรม 4.0 งานวิจัยของสถาบัน MIT ชี้ว่า AI ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตของภาคอุตสาหกรรมได้ 35% และลดเวลาการทำงานลง 14% และผลการสำรวจของ World Economic Forum ตั้งแต่ปี 2565-2566 ระบุว่า บุคลากรด้าน AI จะขาดแคลนอย่างมหาศาล เพราะอุตสาหกรรมการผลิตของทั้งโลกต้องพึ่งพา AI มากยิ่งขึ้น แต่การเรียนการสอนด้าน AI ของไทยที่ผ่านมา ส่วนใหญ่จะบรรจุในเนื้อหาของวิชาคอมพิวเตอร์ เน้นทักษะความรู้เฉพาะทาง มีการเชื่อมโยงกับโจทย์หรือความต้องการจริงในภาคอุตสาหกรรมค่อนข้างน้อย จึงเป็นที่มาของการออกแบบหลักสูตรวิศวกรรมระบบอัจฉริยะ (Intelligence Systems Engineering: ISE) ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (ราชบุรี) บริษัท โอสถสภา จำกัด (มหาชน) และบริษัท หัวเว่ย เทคโนโลยี่ (ประเทศไทย) จํากัด โดยได้มีพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางด้านวิชาการร่วมกันขึ้น เมื่อวันศุกร์ที่ 2 มิถุนายน 2566 มี รศ. ดร.สุวิทย์ แซ่เตีย อธิการบดี และนายนุกิจ ชลคุป Chief Manufacturing Officer ร่วมลงนาม พร้อมด้วย ศ. ดร.บุญเจริญ ศิริเนาวกุล ที่ปรึกษา มจธ.(ราชบุรี) และตัวแทนจากบริษัท หัวเว่ย เทคโนโลยี่ (ประเทศไทย) จํากัด ร่วมเป็นสักขีพยานพิธีลงนาม รศ. ดร.สุวิทย์ แซ่เตีย อธิการบดี มจธ.กล่าวว่า ปัจจุบันประเทศไทยมีกำลังคนด้าน AI ไม่เพียงพอ ประกอบกับอุตสาหกรรมในประเทศกำลังจะเปลี่ยนแปลงไป จึงมีความต้องการบุคลากรด้าน AI เข้าไปช่วยพัฒนาและดูแลระบบ หากเราไม่เร่งผลิตบุคลากรด้านนี้ในระยะยาวแล้วอุตสาหกรรมเหล่านี้ก็จะมีปัญหาเรื่องกำลังคนอย่างแน่นอน “ต้องเข้าใจว่าอุตสาหกรรมของไทยส่วนใหญ่เป็นเทคโนโลยียุค 3.0 และกำลังต้องปรับเปลี่ยนตัวเองเป็นเทคโนโลยี 4.0 หากเราสามารถสร้างคนที่มีทักษะ และมีประสบการณ์ทำงานด้าน AI กับภาคอุตสาหกรรมเข้าไปเติมในจุดนี้ นอกจากจะสามารถใช้ AI มาช่วยลดต้นทุนในการผลิตได้อย่างเหมาะสมแล้ว ยังเป็นประโยชน์สูงสุด ทั้งกับตัวผู้ประกอบการ และอุตสาหกรรมของไทยโดยรวม” ดังนั้น เพื่อให้หลักสูตรวิศวกรรมระบบอัจฉริยะ (Intelligence Systems Engineering: ISE) สามารถพัฒนาให้นักศึกษามีคุณลักษณะและความสามารถตรงตามความต้องการของอุตสาหกรรมทั้งในและต่างประเทศ อีกทั้งยังเป็นการส่งเสริมการพัฒนาและแลกเปลี่ยนองค์ความรู้และเทคโนโลยี ระหว่างสถาบันการศึกษา และสถานประกอบการ ที่เป็นการพัฒนาองค์ความรู้ด้วยบริบทจริง (Content) ของอุตสาหกรรมยุคใหม่ โดยใช้โจทย์ที่ได้รับจากสถานประกอบการจริง จึงเป็นจุดเด่นที่สำคัญของหลักสูตรนี้ ศ. ดร.บุญเจริญ ศิริเนาวกุล ที่ปรึกษา มจธ.(ราชบุรี) และประธานหลักสูตร ISE กล่าวว่า ภายใต้หลักสูตรนี้ นักศึกษาจะมีความรู้และทักษะทั้งทางด้านวิศวกรรม อุตสาหกรรมและปัญญาประดิษฐ์ รวมถึงเครื่องมืออื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น IoT และ Cloud เพราะเป็นการเรียนรู้แบบพหุวิทยาการที่ส่งเสริมให้นักศึกษาได้เรียนรู้ทั้งภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ การประยุกต์และความคิดสร้างสรรค์ ให้เขาได้มีโอกาสใช้ความรู้ทางวิศวกรรมระบบในสาขาเครื่องกล ไฟฟ้า พลังงานและเคมี และชีวภาพ มาสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ ที่ตอบโจทย์ปัญหาหรือความต้องการของผู้ประกอบการได้จริง รวมถึงมีการฝึกปฏิบัติงานร่วมกับภาคธุรกิจและอุตสาหกรรม โดยที่นักศึกษามีอิสระในการออกแบบแนวทางการเรียนรู้ของตนเอง สามารถเลือกเรียนตามหัวข้อโครงงานที่ตนเองสนใจ ผ่านการเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียน พร้อมไปกับที่นักศึกษาจะได้เรียนรู้การอยู่ร่วมกันแบบสังคม และการเป็นสมาชิกของสังคมที่มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น ด้วยการจัดการเรียนการสอนแบบ Residential College ของ มจธ. ราชบุรี “เป้าหมายของหลักสูตร คือ “ผลิตนักเทคโนโลยี AI” หรือ “วิศวกร AI” โดยจุดเด่นของหลักสูตร คือ นักศึกษาได้ปฏิบัติงานกับโรงงานอุตสาหกรรมจริง โดยใช้เทคโนโลยีระดับโลกตั้งแต่ปี 1 การศึกษาจะไม่จำกัดเฉพาะทฤษฎีเท่านั้น แต่เรียนกับเทคโนโลยีและโจทย์ปัญหาจริงจากภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผู้ที่จบจากหลักสูตร ISE นี้ จะสามารถนำเครื่องมือและเทคโนโลยี AI ไปใช้กับงานของตนเอง ซึ่งนอกจากในโรงงานแล้ว ยังประกอบอาชีพอื่นๆ ได้ เช่น ด้านการเกษตร Smart Farming ยานยนต์อัตโนมัติ เป็นต้น” ศ. ดร.บุญเจริญ กล่าวต่อว่า ภายใต้ความร่วมมือนี้ นักศึกษาจะได้ฝึกปฏิบัติจริงในโรงงานของโอสถสภา และการใช้ AI มาแก้ปัญหาหรือตอบโจทย์ความต้องการจริงของภาคอุตสาหกรรม ผ่านการใช้งานเครื่องจักรกล และเทคโนโลยีด้าน AI และ IoT ระดับสูงของโอสถสภา ตั้งแต่เรียนในชั้นปีที่ 1 ซึ่งการเริ่มต้นได้เร็ว จะทำให้สามารถพัฒนาตนเองได้อย่างต่อเนื่อง สามารถเป็นบุคลากรคุณภาพที่ตรงตามความต้องการของภาคอุตสาหกรรมได้อย่างแน่นอน นายนุกิจ ชลคุป Chief Manufacturing Officer บริษัท โอสถสภา จำกัด (มหาชน) กล่าวถึงความร่วมมือครั้งนี้ว่า ปัจจุบันโอสถสภามีการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรม โดยเฉพาะระบบอัจฉริยะหรือปัญญาประดิษฐ์ มาบริหารจัดการในกระบวนการต่าง ๆ อย่างครบวงจร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและศักยภาพในการผลิต จึงมีความเชื่อมั่นว่าหลักสูตร ISE นี้จะช่วยเสริมสร้างองค์ความรู้ด้านวิศวกรรมที่สามารถนำมาปรับใช้ได้จริง พร้อมส่งเสริมให้คนรุ่นใหม่มีทักษะและประสบการณ์ พร้อมเป็นบุคลากรคุณภาพที่จะขับเคลื่อนและพัฒนาภาคอุตสาหกรรมไทยสู่ระดับสากลและเติบโตอย่างยั่งยืน “ความร่วมมือ 3 ประสานระหว่างผู้ให้บริการเทคโนโลยี (Technology provider) อย่างหัวเว่ย นักศึกษา และบริษัทเอกชนเช่นนี้ ยังไม่เคยมีที่ไหนทำมาก่อน ถือเป็นครั้งแรก และหวังว่าจะเป็นโครงการนำร่องความร่วมมือในลักษณะนี้เพิ่มขึ้นในอนาคต เพราะเป็นโครงการที่เอื้อประโยชน์กับทุกฝ่าย ตัวนักศึกษาเขาก็จะได้รับโจทย์ที่เป็นของจริง โดยมีพี่เลี้ยงที่เป็นพี่ๆ วิศวกรและบุคลากรของโรงงานคอยสนับสนุนและช่วยเหลือ จนได้เป็นนวัตกรรมด้าน AI ออกมา ซึ่งความร่วมมือที่ต่อเนื่องกับ มจธ. ภายใต้หลักสูตร จะทำให้สิ่งที่นักศึกษา ISE รุ่นก่อนทำมาแล้ว ถูกพัฒนาต่อและทำให้ดีขึ้น จนสามารถนำไปใช้จริงกับกับโรงงานของเราได้ในที่สุด” นอกจากนี้ มจธ.ยังได้ร่วมกับ บริษัท หัวเว่ย เทคโนโลยี่ (ประเทศไทย) จํากัด ผ่านโครงการ Huawei ICT Academy ที่มีการลงนามความร่วมมือตั้งแต่ปี 2020 โดยหัวเว่ย ประเทศไทย จะสนับสนุนด้านองค์ความรู้ ด้าน AI และ IoT หรือ big data ต่างๆ ให้มหาวิทยาลัยในการนำไปใช้เป็นการเรียนการสอน เพื่อเพิ่มพูนทักษะด้านไอซีทีให้แก่นักศึกษา ผ่านคอร์สการเรียนการสอนแบบปฏิบัติงานจริง พร้อมมอบโอกาสการฝึกงานในสายอาชีพด้านนวัตกรรมการศึกษาเพื่อดิจิทัล เป็นการเตรียมความพร้อมรองรับตลาดงานในยุคดิจิทัล และนักศึกษายังมีโอกาสในการฝึกงานรวมไปถึงการเข้าทำงานกับบริษัทฯ รวมถึงบริษัทพาร์ทเนอร์ของหัวเว่ย หลักสูตรวิศวกรรมระบบอัจฉริยะ (Intelligence Systems Engineering: ISE) นี้ เป็นหลักสูตรระดับปริญญาตรี 4 ปี ปัจจุบันมีนักศึกษาที่กำลังศึกษาในรุ่นที่ 1 แล้วกว่า 20 คน และกำลังเปิดรับสมัครนักศึกษาในรุ่นถัดไป โดยสามารถติดตามข่าวสารของหลักสูตร ได้ที่ https://ratchaburi.kmutt.ac.th/teaching/intelligent-systems-engineering-course/ และhttps://www.facebook.com/RCKMUTT EZ Webmaster Related Posts ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ ม.หอการค้าไทย จัดหลักสูตรรุกหน้าการันตี “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน!!” การตลาดดิจิทัลและระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย จัดกิจกรรมตอบแทนกลับคืนสังคม “จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” Post navigation PREVIOUS Previous post: DEKเรียนภาษาญี่ปุ่นต้องรู้ เรียนที่ PIM มีโอกาสได้ฝึกงานที่ญี่ปุ่น ได้เพื่อนใหม่ ได้เงินด้วย และนี่คือรีวิวการฝึก-เที่ยว-เล่นหิมะที่สุด Cool! @ GALA Yuzawa Snow Resort ลานสกียอดฮิตใกล้โตเกียวNEXT Next post: “45 ปี ซีไรต์มาไกลมาก” เชิญผู้สนใจร่วมประกวดโปสเตอร์ ภายใต้แนวคิด ซีไรต์ใน “ภาพจำ” กับ “จินตนาการ” ของฉัน สมัครและส่งผลงานได้แล้ววันนี้ – 30 มิถุนายน 2566 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
กองกลาง มจพ. เยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ และจัดสัมมนาจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล ประจำปี 2568 EZ WebmasterJune 18, 2025 ผศ.ดร.สราวุฒิ สืบแย้ม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายการคลังและกิจการทั่วไป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยนางสาวรัตนา สุขเฉลิมศรี ผู้อำนวยการกองกลาง และบุคลากรกองกลาง เข้าเยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ มจพ. ณ ชั้น 3 สำนักงานหอสมุดกลาง โดยมีนางสาวพนารมย์ เกียรติลีลานันท์ และ… คณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล มจพ. ชูธงร่วมเครือข่ายจัดใหญ่การประชุมวิชาการ นวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (FIAC) 2025 EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร สมฤกษ์ จันทรอัมพร รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นเจ้าภาพร่วมในการจัดประชุมวิชาการด้านนวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (Food Innovation Asia Conference 2025) พร้อมด้วย รศ.ดร.รัชนี เจริญ คณบดีคณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล และคณะผู้บริหาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ… สมศ. พลิกโฉมการประเมินคุณภาพภายนอกด้วย AI ภายใต้ “ONESQA 5.0” เสริมความโปร่งใส แม่นยำ และพัฒนาอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 17, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยวิสัยทัศน์ และแนวทางการขับเคลื่อนองค์กรด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence – AI) ภายใต้ วิสัยทัศน์ ONESQA 5.0 โดยมุ่งเน้นการนำ AI เข้ามาใช้เพื่อเสริมประสิทธิภาพ ความโปร่งใส และความแม่นยำ ในกระบวนการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา พร้อมยกระดับสู่ความเป็นดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบบ ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster June 8, 2023 EZ Webmaster June 8, 2023 จับมือ 3 ประสาน มจธ. – โอสถสภา – หัวเว่ย เปิดหลักสูตร “วิศวกรรมระบบอัจฉริยะ (ISE)” ผลิตวิศวกร AI รองรับอุตสาหกรรม 4.0 งานวิจัยของสถาบัน MIT ชี้ว่า AI ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตของภาคอุตสาหกรรมได้ 35% และลดเวลาการทำงานลง 14% และผลการสำรวจของ World Economic Forum ตั้งแต่ปี 2565-2566 ระบุว่า บุคลากรด้าน AI จะขาดแคลนอย่างมหาศาล เพราะอุตสาหกรรมการผลิตของทั้งโลกต้องพึ่งพา AI มากยิ่งขึ้น แต่การเรียนการสอนด้าน AI ของไทยที่ผ่านมา ส่วนใหญ่จะบรรจุในเนื้อหาของวิชาคอมพิวเตอร์ เน้นทักษะความรู้เฉพาะทาง มีการเชื่อมโยงกับโจทย์หรือความต้องการจริงในภาคอุตสาหกรรมค่อนข้างน้อย จึงเป็นที่มาของการออกแบบหลักสูตรวิศวกรรมระบบอัจฉริยะ (Intelligence Systems Engineering: ISE) ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (ราชบุรี) บริษัท โอสถสภา จำกัด (มหาชน) และบริษัท หัวเว่ย เทคโนโลยี่ (ประเทศไทย) จํากัด โดยได้มีพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางด้านวิชาการร่วมกันขึ้น เมื่อวันศุกร์ที่ 2 มิถุนายน 2566 มี รศ. ดร.สุวิทย์ แซ่เตีย อธิการบดี และนายนุกิจ ชลคุป Chief Manufacturing Officer ร่วมลงนาม พร้อมด้วย ศ. ดร.บุญเจริญ ศิริเนาวกุล ที่ปรึกษา มจธ.(ราชบุรี) และตัวแทนจากบริษัท หัวเว่ย เทคโนโลยี่ (ประเทศไทย) จํากัด ร่วมเป็นสักขีพยานพิธีลงนาม รศ. ดร.สุวิทย์ แซ่เตีย อธิการบดี มจธ.กล่าวว่า ปัจจุบันประเทศไทยมีกำลังคนด้าน AI ไม่เพียงพอ ประกอบกับอุตสาหกรรมในประเทศกำลังจะเปลี่ยนแปลงไป จึงมีความต้องการบุคลากรด้าน AI เข้าไปช่วยพัฒนาและดูแลระบบ หากเราไม่เร่งผลิตบุคลากรด้านนี้ในระยะยาวแล้วอุตสาหกรรมเหล่านี้ก็จะมีปัญหาเรื่องกำลังคนอย่างแน่นอน “ต้องเข้าใจว่าอุตสาหกรรมของไทยส่วนใหญ่เป็นเทคโนโลยียุค 3.0 และกำลังต้องปรับเปลี่ยนตัวเองเป็นเทคโนโลยี 4.0 หากเราสามารถสร้างคนที่มีทักษะ และมีประสบการณ์ทำงานด้าน AI กับภาคอุตสาหกรรมเข้าไปเติมในจุดนี้ นอกจากจะสามารถใช้ AI มาช่วยลดต้นทุนในการผลิตได้อย่างเหมาะสมแล้ว ยังเป็นประโยชน์สูงสุด ทั้งกับตัวผู้ประกอบการ และอุตสาหกรรมของไทยโดยรวม” ดังนั้น เพื่อให้หลักสูตรวิศวกรรมระบบอัจฉริยะ (Intelligence Systems Engineering: ISE) สามารถพัฒนาให้นักศึกษามีคุณลักษณะและความสามารถตรงตามความต้องการของอุตสาหกรรมทั้งในและต่างประเทศ อีกทั้งยังเป็นการส่งเสริมการพัฒนาและแลกเปลี่ยนองค์ความรู้และเทคโนโลยี ระหว่างสถาบันการศึกษา และสถานประกอบการ ที่เป็นการพัฒนาองค์ความรู้ด้วยบริบทจริง (Content) ของอุตสาหกรรมยุคใหม่ โดยใช้โจทย์ที่ได้รับจากสถานประกอบการจริง จึงเป็นจุดเด่นที่สำคัญของหลักสูตรนี้ ศ. ดร.บุญเจริญ ศิริเนาวกุล ที่ปรึกษา มจธ.(ราชบุรี) และประธานหลักสูตร ISE กล่าวว่า ภายใต้หลักสูตรนี้ นักศึกษาจะมีความรู้และทักษะทั้งทางด้านวิศวกรรม อุตสาหกรรมและปัญญาประดิษฐ์ รวมถึงเครื่องมืออื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น IoT และ Cloud เพราะเป็นการเรียนรู้แบบพหุวิทยาการที่ส่งเสริมให้นักศึกษาได้เรียนรู้ทั้งภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ การประยุกต์และความคิดสร้างสรรค์ ให้เขาได้มีโอกาสใช้ความรู้ทางวิศวกรรมระบบในสาขาเครื่องกล ไฟฟ้า พลังงานและเคมี และชีวภาพ มาสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ ที่ตอบโจทย์ปัญหาหรือความต้องการของผู้ประกอบการได้จริง รวมถึงมีการฝึกปฏิบัติงานร่วมกับภาคธุรกิจและอุตสาหกรรม โดยที่นักศึกษามีอิสระในการออกแบบแนวทางการเรียนรู้ของตนเอง สามารถเลือกเรียนตามหัวข้อโครงงานที่ตนเองสนใจ ผ่านการเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียน พร้อมไปกับที่นักศึกษาจะได้เรียนรู้การอยู่ร่วมกันแบบสังคม และการเป็นสมาชิกของสังคมที่มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น ด้วยการจัดการเรียนการสอนแบบ Residential College ของ มจธ. ราชบุรี “เป้าหมายของหลักสูตร คือ “ผลิตนักเทคโนโลยี AI” หรือ “วิศวกร AI” โดยจุดเด่นของหลักสูตร คือ นักศึกษาได้ปฏิบัติงานกับโรงงานอุตสาหกรรมจริง โดยใช้เทคโนโลยีระดับโลกตั้งแต่ปี 1 การศึกษาจะไม่จำกัดเฉพาะทฤษฎีเท่านั้น แต่เรียนกับเทคโนโลยีและโจทย์ปัญหาจริงจากภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผู้ที่จบจากหลักสูตร ISE นี้ จะสามารถนำเครื่องมือและเทคโนโลยี AI ไปใช้กับงานของตนเอง ซึ่งนอกจากในโรงงานแล้ว ยังประกอบอาชีพอื่นๆ ได้ เช่น ด้านการเกษตร Smart Farming ยานยนต์อัตโนมัติ เป็นต้น” ศ. ดร.บุญเจริญ กล่าวต่อว่า ภายใต้ความร่วมมือนี้ นักศึกษาจะได้ฝึกปฏิบัติจริงในโรงงานของโอสถสภา และการใช้ AI มาแก้ปัญหาหรือตอบโจทย์ความต้องการจริงของภาคอุตสาหกรรม ผ่านการใช้งานเครื่องจักรกล และเทคโนโลยีด้าน AI และ IoT ระดับสูงของโอสถสภา ตั้งแต่เรียนในชั้นปีที่ 1 ซึ่งการเริ่มต้นได้เร็ว จะทำให้สามารถพัฒนาตนเองได้อย่างต่อเนื่อง สามารถเป็นบุคลากรคุณภาพที่ตรงตามความต้องการของภาคอุตสาหกรรมได้อย่างแน่นอน นายนุกิจ ชลคุป Chief Manufacturing Officer บริษัท โอสถสภา จำกัด (มหาชน) กล่าวถึงความร่วมมือครั้งนี้ว่า ปัจจุบันโอสถสภามีการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรม โดยเฉพาะระบบอัจฉริยะหรือปัญญาประดิษฐ์ มาบริหารจัดการในกระบวนการต่าง ๆ อย่างครบวงจร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและศักยภาพในการผลิต จึงมีความเชื่อมั่นว่าหลักสูตร ISE นี้จะช่วยเสริมสร้างองค์ความรู้ด้านวิศวกรรมที่สามารถนำมาปรับใช้ได้จริง พร้อมส่งเสริมให้คนรุ่นใหม่มีทักษะและประสบการณ์ พร้อมเป็นบุคลากรคุณภาพที่จะขับเคลื่อนและพัฒนาภาคอุตสาหกรรมไทยสู่ระดับสากลและเติบโตอย่างยั่งยืน “ความร่วมมือ 3 ประสานระหว่างผู้ให้บริการเทคโนโลยี (Technology provider) อย่างหัวเว่ย นักศึกษา และบริษัทเอกชนเช่นนี้ ยังไม่เคยมีที่ไหนทำมาก่อน ถือเป็นครั้งแรก และหวังว่าจะเป็นโครงการนำร่องความร่วมมือในลักษณะนี้เพิ่มขึ้นในอนาคต เพราะเป็นโครงการที่เอื้อประโยชน์กับทุกฝ่าย ตัวนักศึกษาเขาก็จะได้รับโจทย์ที่เป็นของจริง โดยมีพี่เลี้ยงที่เป็นพี่ๆ วิศวกรและบุคลากรของโรงงานคอยสนับสนุนและช่วยเหลือ จนได้เป็นนวัตกรรมด้าน AI ออกมา ซึ่งความร่วมมือที่ต่อเนื่องกับ มจธ. ภายใต้หลักสูตร จะทำให้สิ่งที่นักศึกษา ISE รุ่นก่อนทำมาแล้ว ถูกพัฒนาต่อและทำให้ดีขึ้น จนสามารถนำไปใช้จริงกับกับโรงงานของเราได้ในที่สุด” นอกจากนี้ มจธ.ยังได้ร่วมกับ บริษัท หัวเว่ย เทคโนโลยี่ (ประเทศไทย) จํากัด ผ่านโครงการ Huawei ICT Academy ที่มีการลงนามความร่วมมือตั้งแต่ปี 2020 โดยหัวเว่ย ประเทศไทย จะสนับสนุนด้านองค์ความรู้ ด้าน AI และ IoT หรือ big data ต่างๆ ให้มหาวิทยาลัยในการนำไปใช้เป็นการเรียนการสอน เพื่อเพิ่มพูนทักษะด้านไอซีทีให้แก่นักศึกษา ผ่านคอร์สการเรียนการสอนแบบปฏิบัติงานจริง พร้อมมอบโอกาสการฝึกงานในสายอาชีพด้านนวัตกรรมการศึกษาเพื่อดิจิทัล เป็นการเตรียมความพร้อมรองรับตลาดงานในยุคดิจิทัล และนักศึกษายังมีโอกาสในการฝึกงานรวมไปถึงการเข้าทำงานกับบริษัทฯ รวมถึงบริษัทพาร์ทเนอร์ของหัวเว่ย หลักสูตรวิศวกรรมระบบอัจฉริยะ (Intelligence Systems Engineering: ISE) นี้ เป็นหลักสูตรระดับปริญญาตรี 4 ปี ปัจจุบันมีนักศึกษาที่กำลังศึกษาในรุ่นที่ 1 แล้วกว่า 20 คน และกำลังเปิดรับสมัครนักศึกษาในรุ่นถัดไป โดยสามารถติดตามข่าวสารของหลักสูตร ได้ที่ https://ratchaburi.kmutt.ac.th/teaching/intelligent-systems-engineering-course/ และhttps://www.facebook.com/RCKMUTT EZ Webmaster Related Posts ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ ม.หอการค้าไทย จัดหลักสูตรรุกหน้าการันตี “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน!!” การตลาดดิจิทัลและระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย จัดกิจกรรมตอบแทนกลับคืนสังคม “จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” Post navigation PREVIOUS Previous post: DEKเรียนภาษาญี่ปุ่นต้องรู้ เรียนที่ PIM มีโอกาสได้ฝึกงานที่ญี่ปุ่น ได้เพื่อนใหม่ ได้เงินด้วย และนี่คือรีวิวการฝึก-เที่ยว-เล่นหิมะที่สุด Cool! @ GALA Yuzawa Snow Resort ลานสกียอดฮิตใกล้โตเกียวNEXT Next post: “45 ปี ซีไรต์มาไกลมาก” เชิญผู้สนใจร่วมประกวดโปสเตอร์ ภายใต้แนวคิด ซีไรต์ใน “ภาพจำ” กับ “จินตนาการ” ของฉัน สมัครและส่งผลงานได้แล้ววันนี้ – 30 มิถุนายน 2566 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
คณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล มจพ. ชูธงร่วมเครือข่ายจัดใหญ่การประชุมวิชาการ นวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (FIAC) 2025 EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร สมฤกษ์ จันทรอัมพร รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นเจ้าภาพร่วมในการจัดประชุมวิชาการด้านนวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (Food Innovation Asia Conference 2025) พร้อมด้วย รศ.ดร.รัชนี เจริญ คณบดีคณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล และคณะผู้บริหาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ… สมศ. พลิกโฉมการประเมินคุณภาพภายนอกด้วย AI ภายใต้ “ONESQA 5.0” เสริมความโปร่งใส แม่นยำ และพัฒนาอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 17, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยวิสัยทัศน์ และแนวทางการขับเคลื่อนองค์กรด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence – AI) ภายใต้ วิสัยทัศน์ ONESQA 5.0 โดยมุ่งเน้นการนำ AI เข้ามาใช้เพื่อเสริมประสิทธิภาพ ความโปร่งใส และความแม่นยำ ในกระบวนการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา พร้อมยกระดับสู่ความเป็นดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบบ ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ…
สมศ. พลิกโฉมการประเมินคุณภาพภายนอกด้วย AI ภายใต้ “ONESQA 5.0” เสริมความโปร่งใส แม่นยำ และพัฒนาอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 17, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยวิสัยทัศน์ และแนวทางการขับเคลื่อนองค์กรด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence – AI) ภายใต้ วิสัยทัศน์ ONESQA 5.0 โดยมุ่งเน้นการนำ AI เข้ามาใช้เพื่อเสริมประสิทธิภาพ ความโปร่งใส และความแม่นยำ ในกระบวนการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา พร้อมยกระดับสู่ความเป็นดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบบ ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ…
กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster June 8, 2023 EZ Webmaster June 8, 2023 จับมือ 3 ประสาน มจธ. – โอสถสภา – หัวเว่ย เปิดหลักสูตร “วิศวกรรมระบบอัจฉริยะ (ISE)” ผลิตวิศวกร AI รองรับอุตสาหกรรม 4.0 งานวิจัยของสถาบัน MIT ชี้ว่า AI ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตของภาคอุตสาหกรรมได้ 35% และลดเวลาการทำงานลง 14% และผลการสำรวจของ World Economic Forum ตั้งแต่ปี 2565-2566 ระบุว่า บุคลากรด้าน AI จะขาดแคลนอย่างมหาศาล เพราะอุตสาหกรรมการผลิตของทั้งโลกต้องพึ่งพา AI มากยิ่งขึ้น แต่การเรียนการสอนด้าน AI ของไทยที่ผ่านมา ส่วนใหญ่จะบรรจุในเนื้อหาของวิชาคอมพิวเตอร์ เน้นทักษะความรู้เฉพาะทาง มีการเชื่อมโยงกับโจทย์หรือความต้องการจริงในภาคอุตสาหกรรมค่อนข้างน้อย จึงเป็นที่มาของการออกแบบหลักสูตรวิศวกรรมระบบอัจฉริยะ (Intelligence Systems Engineering: ISE) ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (ราชบุรี) บริษัท โอสถสภา จำกัด (มหาชน) และบริษัท หัวเว่ย เทคโนโลยี่ (ประเทศไทย) จํากัด โดยได้มีพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางด้านวิชาการร่วมกันขึ้น เมื่อวันศุกร์ที่ 2 มิถุนายน 2566 มี รศ. ดร.สุวิทย์ แซ่เตีย อธิการบดี และนายนุกิจ ชลคุป Chief Manufacturing Officer ร่วมลงนาม พร้อมด้วย ศ. ดร.บุญเจริญ ศิริเนาวกุล ที่ปรึกษา มจธ.(ราชบุรี) และตัวแทนจากบริษัท หัวเว่ย เทคโนโลยี่ (ประเทศไทย) จํากัด ร่วมเป็นสักขีพยานพิธีลงนาม รศ. ดร.สุวิทย์ แซ่เตีย อธิการบดี มจธ.กล่าวว่า ปัจจุบันประเทศไทยมีกำลังคนด้าน AI ไม่เพียงพอ ประกอบกับอุตสาหกรรมในประเทศกำลังจะเปลี่ยนแปลงไป จึงมีความต้องการบุคลากรด้าน AI เข้าไปช่วยพัฒนาและดูแลระบบ หากเราไม่เร่งผลิตบุคลากรด้านนี้ในระยะยาวแล้วอุตสาหกรรมเหล่านี้ก็จะมีปัญหาเรื่องกำลังคนอย่างแน่นอน “ต้องเข้าใจว่าอุตสาหกรรมของไทยส่วนใหญ่เป็นเทคโนโลยียุค 3.0 และกำลังต้องปรับเปลี่ยนตัวเองเป็นเทคโนโลยี 4.0 หากเราสามารถสร้างคนที่มีทักษะ และมีประสบการณ์ทำงานด้าน AI กับภาคอุตสาหกรรมเข้าไปเติมในจุดนี้ นอกจากจะสามารถใช้ AI มาช่วยลดต้นทุนในการผลิตได้อย่างเหมาะสมแล้ว ยังเป็นประโยชน์สูงสุด ทั้งกับตัวผู้ประกอบการ และอุตสาหกรรมของไทยโดยรวม” ดังนั้น เพื่อให้หลักสูตรวิศวกรรมระบบอัจฉริยะ (Intelligence Systems Engineering: ISE) สามารถพัฒนาให้นักศึกษามีคุณลักษณะและความสามารถตรงตามความต้องการของอุตสาหกรรมทั้งในและต่างประเทศ อีกทั้งยังเป็นการส่งเสริมการพัฒนาและแลกเปลี่ยนองค์ความรู้และเทคโนโลยี ระหว่างสถาบันการศึกษา และสถานประกอบการ ที่เป็นการพัฒนาองค์ความรู้ด้วยบริบทจริง (Content) ของอุตสาหกรรมยุคใหม่ โดยใช้โจทย์ที่ได้รับจากสถานประกอบการจริง จึงเป็นจุดเด่นที่สำคัญของหลักสูตรนี้ ศ. ดร.บุญเจริญ ศิริเนาวกุล ที่ปรึกษา มจธ.(ราชบุรี) และประธานหลักสูตร ISE กล่าวว่า ภายใต้หลักสูตรนี้ นักศึกษาจะมีความรู้และทักษะทั้งทางด้านวิศวกรรม อุตสาหกรรมและปัญญาประดิษฐ์ รวมถึงเครื่องมืออื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น IoT และ Cloud เพราะเป็นการเรียนรู้แบบพหุวิทยาการที่ส่งเสริมให้นักศึกษาได้เรียนรู้ทั้งภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ การประยุกต์และความคิดสร้างสรรค์ ให้เขาได้มีโอกาสใช้ความรู้ทางวิศวกรรมระบบในสาขาเครื่องกล ไฟฟ้า พลังงานและเคมี และชีวภาพ มาสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ ที่ตอบโจทย์ปัญหาหรือความต้องการของผู้ประกอบการได้จริง รวมถึงมีการฝึกปฏิบัติงานร่วมกับภาคธุรกิจและอุตสาหกรรม โดยที่นักศึกษามีอิสระในการออกแบบแนวทางการเรียนรู้ของตนเอง สามารถเลือกเรียนตามหัวข้อโครงงานที่ตนเองสนใจ ผ่านการเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียน พร้อมไปกับที่นักศึกษาจะได้เรียนรู้การอยู่ร่วมกันแบบสังคม และการเป็นสมาชิกของสังคมที่มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น ด้วยการจัดการเรียนการสอนแบบ Residential College ของ มจธ. ราชบุรี “เป้าหมายของหลักสูตร คือ “ผลิตนักเทคโนโลยี AI” หรือ “วิศวกร AI” โดยจุดเด่นของหลักสูตร คือ นักศึกษาได้ปฏิบัติงานกับโรงงานอุตสาหกรรมจริง โดยใช้เทคโนโลยีระดับโลกตั้งแต่ปี 1 การศึกษาจะไม่จำกัดเฉพาะทฤษฎีเท่านั้น แต่เรียนกับเทคโนโลยีและโจทย์ปัญหาจริงจากภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผู้ที่จบจากหลักสูตร ISE นี้ จะสามารถนำเครื่องมือและเทคโนโลยี AI ไปใช้กับงานของตนเอง ซึ่งนอกจากในโรงงานแล้ว ยังประกอบอาชีพอื่นๆ ได้ เช่น ด้านการเกษตร Smart Farming ยานยนต์อัตโนมัติ เป็นต้น” ศ. ดร.บุญเจริญ กล่าวต่อว่า ภายใต้ความร่วมมือนี้ นักศึกษาจะได้ฝึกปฏิบัติจริงในโรงงานของโอสถสภา และการใช้ AI มาแก้ปัญหาหรือตอบโจทย์ความต้องการจริงของภาคอุตสาหกรรม ผ่านการใช้งานเครื่องจักรกล และเทคโนโลยีด้าน AI และ IoT ระดับสูงของโอสถสภา ตั้งแต่เรียนในชั้นปีที่ 1 ซึ่งการเริ่มต้นได้เร็ว จะทำให้สามารถพัฒนาตนเองได้อย่างต่อเนื่อง สามารถเป็นบุคลากรคุณภาพที่ตรงตามความต้องการของภาคอุตสาหกรรมได้อย่างแน่นอน นายนุกิจ ชลคุป Chief Manufacturing Officer บริษัท โอสถสภา จำกัด (มหาชน) กล่าวถึงความร่วมมือครั้งนี้ว่า ปัจจุบันโอสถสภามีการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรม โดยเฉพาะระบบอัจฉริยะหรือปัญญาประดิษฐ์ มาบริหารจัดการในกระบวนการต่าง ๆ อย่างครบวงจร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและศักยภาพในการผลิต จึงมีความเชื่อมั่นว่าหลักสูตร ISE นี้จะช่วยเสริมสร้างองค์ความรู้ด้านวิศวกรรมที่สามารถนำมาปรับใช้ได้จริง พร้อมส่งเสริมให้คนรุ่นใหม่มีทักษะและประสบการณ์ พร้อมเป็นบุคลากรคุณภาพที่จะขับเคลื่อนและพัฒนาภาคอุตสาหกรรมไทยสู่ระดับสากลและเติบโตอย่างยั่งยืน “ความร่วมมือ 3 ประสานระหว่างผู้ให้บริการเทคโนโลยี (Technology provider) อย่างหัวเว่ย นักศึกษา และบริษัทเอกชนเช่นนี้ ยังไม่เคยมีที่ไหนทำมาก่อน ถือเป็นครั้งแรก และหวังว่าจะเป็นโครงการนำร่องความร่วมมือในลักษณะนี้เพิ่มขึ้นในอนาคต เพราะเป็นโครงการที่เอื้อประโยชน์กับทุกฝ่าย ตัวนักศึกษาเขาก็จะได้รับโจทย์ที่เป็นของจริง โดยมีพี่เลี้ยงที่เป็นพี่ๆ วิศวกรและบุคลากรของโรงงานคอยสนับสนุนและช่วยเหลือ จนได้เป็นนวัตกรรมด้าน AI ออกมา ซึ่งความร่วมมือที่ต่อเนื่องกับ มจธ. ภายใต้หลักสูตร จะทำให้สิ่งที่นักศึกษา ISE รุ่นก่อนทำมาแล้ว ถูกพัฒนาต่อและทำให้ดีขึ้น จนสามารถนำไปใช้จริงกับกับโรงงานของเราได้ในที่สุด” นอกจากนี้ มจธ.ยังได้ร่วมกับ บริษัท หัวเว่ย เทคโนโลยี่ (ประเทศไทย) จํากัด ผ่านโครงการ Huawei ICT Academy ที่มีการลงนามความร่วมมือตั้งแต่ปี 2020 โดยหัวเว่ย ประเทศไทย จะสนับสนุนด้านองค์ความรู้ ด้าน AI และ IoT หรือ big data ต่างๆ ให้มหาวิทยาลัยในการนำไปใช้เป็นการเรียนการสอน เพื่อเพิ่มพูนทักษะด้านไอซีทีให้แก่นักศึกษา ผ่านคอร์สการเรียนการสอนแบบปฏิบัติงานจริง พร้อมมอบโอกาสการฝึกงานในสายอาชีพด้านนวัตกรรมการศึกษาเพื่อดิจิทัล เป็นการเตรียมความพร้อมรองรับตลาดงานในยุคดิจิทัล และนักศึกษายังมีโอกาสในการฝึกงานรวมไปถึงการเข้าทำงานกับบริษัทฯ รวมถึงบริษัทพาร์ทเนอร์ของหัวเว่ย หลักสูตรวิศวกรรมระบบอัจฉริยะ (Intelligence Systems Engineering: ISE) นี้ เป็นหลักสูตรระดับปริญญาตรี 4 ปี ปัจจุบันมีนักศึกษาที่กำลังศึกษาในรุ่นที่ 1 แล้วกว่า 20 คน และกำลังเปิดรับสมัครนักศึกษาในรุ่นถัดไป โดยสามารถติดตามข่าวสารของหลักสูตร ได้ที่ https://ratchaburi.kmutt.ac.th/teaching/intelligent-systems-engineering-course/ และhttps://www.facebook.com/RCKMUTT EZ Webmaster Related Posts ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ ม.หอการค้าไทย จัดหลักสูตรรุกหน้าการันตี “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน!!” การตลาดดิจิทัลและระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย จัดกิจกรรมตอบแทนกลับคืนสังคม “จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” Post navigation PREVIOUS Previous post: DEKเรียนภาษาญี่ปุ่นต้องรู้ เรียนที่ PIM มีโอกาสได้ฝึกงานที่ญี่ปุ่น ได้เพื่อนใหม่ ได้เงินด้วย และนี่คือรีวิวการฝึก-เที่ยว-เล่นหิมะที่สุด Cool! @ GALA Yuzawa Snow Resort ลานสกียอดฮิตใกล้โตเกียวNEXT Next post: “45 ปี ซีไรต์มาไกลมาก” เชิญผู้สนใจร่วมประกวดโปสเตอร์ ภายใต้แนวคิด ซีไรต์ใน “ภาพจำ” กับ “จินตนาการ” ของฉัน สมัครและส่งผลงานได้แล้ววันนี้ – 30 มิถุนายน 2566 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
“40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search
ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ…
ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ…
EZ Webmaster June 8, 2023 EZ Webmaster June 8, 2023 จับมือ 3 ประสาน มจธ. – โอสถสภา – หัวเว่ย เปิดหลักสูตร “วิศวกรรมระบบอัจฉริยะ (ISE)” ผลิตวิศวกร AI รองรับอุตสาหกรรม 4.0 งานวิจัยของสถาบัน MIT ชี้ว่า AI ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตของภาคอุตสาหกรรมได้ 35% และลดเวลาการทำงานลง 14% และผลการสำรวจของ World Economic Forum ตั้งแต่ปี 2565-2566 ระบุว่า บุคลากรด้าน AI จะขาดแคลนอย่างมหาศาล เพราะอุตสาหกรรมการผลิตของทั้งโลกต้องพึ่งพา AI มากยิ่งขึ้น แต่การเรียนการสอนด้าน AI ของไทยที่ผ่านมา ส่วนใหญ่จะบรรจุในเนื้อหาของวิชาคอมพิวเตอร์ เน้นทักษะความรู้เฉพาะทาง มีการเชื่อมโยงกับโจทย์หรือความต้องการจริงในภาคอุตสาหกรรมค่อนข้างน้อย จึงเป็นที่มาของการออกแบบหลักสูตรวิศวกรรมระบบอัจฉริยะ (Intelligence Systems Engineering: ISE) ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (ราชบุรี) บริษัท โอสถสภา จำกัด (มหาชน) และบริษัท หัวเว่ย เทคโนโลยี่ (ประเทศไทย) จํากัด โดยได้มีพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางด้านวิชาการร่วมกันขึ้น เมื่อวันศุกร์ที่ 2 มิถุนายน 2566 มี รศ. ดร.สุวิทย์ แซ่เตีย อธิการบดี และนายนุกิจ ชลคุป Chief Manufacturing Officer ร่วมลงนาม พร้อมด้วย ศ. ดร.บุญเจริญ ศิริเนาวกุล ที่ปรึกษา มจธ.(ราชบุรี) และตัวแทนจากบริษัท หัวเว่ย เทคโนโลยี่ (ประเทศไทย) จํากัด ร่วมเป็นสักขีพยานพิธีลงนาม รศ. ดร.สุวิทย์ แซ่เตีย อธิการบดี มจธ.กล่าวว่า ปัจจุบันประเทศไทยมีกำลังคนด้าน AI ไม่เพียงพอ ประกอบกับอุตสาหกรรมในประเทศกำลังจะเปลี่ยนแปลงไป จึงมีความต้องการบุคลากรด้าน AI เข้าไปช่วยพัฒนาและดูแลระบบ หากเราไม่เร่งผลิตบุคลากรด้านนี้ในระยะยาวแล้วอุตสาหกรรมเหล่านี้ก็จะมีปัญหาเรื่องกำลังคนอย่างแน่นอน “ต้องเข้าใจว่าอุตสาหกรรมของไทยส่วนใหญ่เป็นเทคโนโลยียุค 3.0 และกำลังต้องปรับเปลี่ยนตัวเองเป็นเทคโนโลยี 4.0 หากเราสามารถสร้างคนที่มีทักษะ และมีประสบการณ์ทำงานด้าน AI กับภาคอุตสาหกรรมเข้าไปเติมในจุดนี้ นอกจากจะสามารถใช้ AI มาช่วยลดต้นทุนในการผลิตได้อย่างเหมาะสมแล้ว ยังเป็นประโยชน์สูงสุด ทั้งกับตัวผู้ประกอบการ และอุตสาหกรรมของไทยโดยรวม” ดังนั้น เพื่อให้หลักสูตรวิศวกรรมระบบอัจฉริยะ (Intelligence Systems Engineering: ISE) สามารถพัฒนาให้นักศึกษามีคุณลักษณะและความสามารถตรงตามความต้องการของอุตสาหกรรมทั้งในและต่างประเทศ อีกทั้งยังเป็นการส่งเสริมการพัฒนาและแลกเปลี่ยนองค์ความรู้และเทคโนโลยี ระหว่างสถาบันการศึกษา และสถานประกอบการ ที่เป็นการพัฒนาองค์ความรู้ด้วยบริบทจริง (Content) ของอุตสาหกรรมยุคใหม่ โดยใช้โจทย์ที่ได้รับจากสถานประกอบการจริง จึงเป็นจุดเด่นที่สำคัญของหลักสูตรนี้ ศ. ดร.บุญเจริญ ศิริเนาวกุล ที่ปรึกษา มจธ.(ราชบุรี) และประธานหลักสูตร ISE กล่าวว่า ภายใต้หลักสูตรนี้ นักศึกษาจะมีความรู้และทักษะทั้งทางด้านวิศวกรรม อุตสาหกรรมและปัญญาประดิษฐ์ รวมถึงเครื่องมืออื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น IoT และ Cloud เพราะเป็นการเรียนรู้แบบพหุวิทยาการที่ส่งเสริมให้นักศึกษาได้เรียนรู้ทั้งภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ การประยุกต์และความคิดสร้างสรรค์ ให้เขาได้มีโอกาสใช้ความรู้ทางวิศวกรรมระบบในสาขาเครื่องกล ไฟฟ้า พลังงานและเคมี และชีวภาพ มาสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ ที่ตอบโจทย์ปัญหาหรือความต้องการของผู้ประกอบการได้จริง รวมถึงมีการฝึกปฏิบัติงานร่วมกับภาคธุรกิจและอุตสาหกรรม โดยที่นักศึกษามีอิสระในการออกแบบแนวทางการเรียนรู้ของตนเอง สามารถเลือกเรียนตามหัวข้อโครงงานที่ตนเองสนใจ ผ่านการเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียน พร้อมไปกับที่นักศึกษาจะได้เรียนรู้การอยู่ร่วมกันแบบสังคม และการเป็นสมาชิกของสังคมที่มีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น ด้วยการจัดการเรียนการสอนแบบ Residential College ของ มจธ. ราชบุรี “เป้าหมายของหลักสูตร คือ “ผลิตนักเทคโนโลยี AI” หรือ “วิศวกร AI” โดยจุดเด่นของหลักสูตร คือ นักศึกษาได้ปฏิบัติงานกับโรงงานอุตสาหกรรมจริง โดยใช้เทคโนโลยีระดับโลกตั้งแต่ปี 1 การศึกษาจะไม่จำกัดเฉพาะทฤษฎีเท่านั้น แต่เรียนกับเทคโนโลยีและโจทย์ปัญหาจริงจากภาคอุตสาหกรรม ซึ่งผู้ที่จบจากหลักสูตร ISE นี้ จะสามารถนำเครื่องมือและเทคโนโลยี AI ไปใช้กับงานของตนเอง ซึ่งนอกจากในโรงงานแล้ว ยังประกอบอาชีพอื่นๆ ได้ เช่น ด้านการเกษตร Smart Farming ยานยนต์อัตโนมัติ เป็นต้น” ศ. ดร.บุญเจริญ กล่าวต่อว่า ภายใต้ความร่วมมือนี้ นักศึกษาจะได้ฝึกปฏิบัติจริงในโรงงานของโอสถสภา และการใช้ AI มาแก้ปัญหาหรือตอบโจทย์ความต้องการจริงของภาคอุตสาหกรรม ผ่านการใช้งานเครื่องจักรกล และเทคโนโลยีด้าน AI และ IoT ระดับสูงของโอสถสภา ตั้งแต่เรียนในชั้นปีที่ 1 ซึ่งการเริ่มต้นได้เร็ว จะทำให้สามารถพัฒนาตนเองได้อย่างต่อเนื่อง สามารถเป็นบุคลากรคุณภาพที่ตรงตามความต้องการของภาคอุตสาหกรรมได้อย่างแน่นอน นายนุกิจ ชลคุป Chief Manufacturing Officer บริษัท โอสถสภา จำกัด (มหาชน) กล่าวถึงความร่วมมือครั้งนี้ว่า ปัจจุบันโอสถสภามีการนำเทคโนโลยีและนวัตกรรม โดยเฉพาะระบบอัจฉริยะหรือปัญญาประดิษฐ์ มาบริหารจัดการในกระบวนการต่าง ๆ อย่างครบวงจร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและศักยภาพในการผลิต จึงมีความเชื่อมั่นว่าหลักสูตร ISE นี้จะช่วยเสริมสร้างองค์ความรู้ด้านวิศวกรรมที่สามารถนำมาปรับใช้ได้จริง พร้อมส่งเสริมให้คนรุ่นใหม่มีทักษะและประสบการณ์ พร้อมเป็นบุคลากรคุณภาพที่จะขับเคลื่อนและพัฒนาภาคอุตสาหกรรมไทยสู่ระดับสากลและเติบโตอย่างยั่งยืน “ความร่วมมือ 3 ประสานระหว่างผู้ให้บริการเทคโนโลยี (Technology provider) อย่างหัวเว่ย นักศึกษา และบริษัทเอกชนเช่นนี้ ยังไม่เคยมีที่ไหนทำมาก่อน ถือเป็นครั้งแรก และหวังว่าจะเป็นโครงการนำร่องความร่วมมือในลักษณะนี้เพิ่มขึ้นในอนาคต เพราะเป็นโครงการที่เอื้อประโยชน์กับทุกฝ่าย ตัวนักศึกษาเขาก็จะได้รับโจทย์ที่เป็นของจริง โดยมีพี่เลี้ยงที่เป็นพี่ๆ วิศวกรและบุคลากรของโรงงานคอยสนับสนุนและช่วยเหลือ จนได้เป็นนวัตกรรมด้าน AI ออกมา ซึ่งความร่วมมือที่ต่อเนื่องกับ มจธ. ภายใต้หลักสูตร จะทำให้สิ่งที่นักศึกษา ISE รุ่นก่อนทำมาแล้ว ถูกพัฒนาต่อและทำให้ดีขึ้น จนสามารถนำไปใช้จริงกับกับโรงงานของเราได้ในที่สุด” นอกจากนี้ มจธ.ยังได้ร่วมกับ บริษัท หัวเว่ย เทคโนโลยี่ (ประเทศไทย) จํากัด ผ่านโครงการ Huawei ICT Academy ที่มีการลงนามความร่วมมือตั้งแต่ปี 2020 โดยหัวเว่ย ประเทศไทย จะสนับสนุนด้านองค์ความรู้ ด้าน AI และ IoT หรือ big data ต่างๆ ให้มหาวิทยาลัยในการนำไปใช้เป็นการเรียนการสอน เพื่อเพิ่มพูนทักษะด้านไอซีทีให้แก่นักศึกษา ผ่านคอร์สการเรียนการสอนแบบปฏิบัติงานจริง พร้อมมอบโอกาสการฝึกงานในสายอาชีพด้านนวัตกรรมการศึกษาเพื่อดิจิทัล เป็นการเตรียมความพร้อมรองรับตลาดงานในยุคดิจิทัล และนักศึกษายังมีโอกาสในการฝึกงานรวมไปถึงการเข้าทำงานกับบริษัทฯ รวมถึงบริษัทพาร์ทเนอร์ของหัวเว่ย หลักสูตรวิศวกรรมระบบอัจฉริยะ (Intelligence Systems Engineering: ISE) นี้ เป็นหลักสูตรระดับปริญญาตรี 4 ปี ปัจจุบันมีนักศึกษาที่กำลังศึกษาในรุ่นที่ 1 แล้วกว่า 20 คน และกำลังเปิดรับสมัครนักศึกษาในรุ่นถัดไป โดยสามารถติดตามข่าวสารของหลักสูตร ได้ที่ https://ratchaburi.kmutt.ac.th/teaching/intelligent-systems-engineering-course/ และhttps://www.facebook.com/RCKMUTT
ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา