ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง EZ WebmasterJune 13, 2025 วันนี้ทั้งเล่น ทั้งได้ความรู้ ทั้งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนนางรอง จ.บุรีรัมย์ วันที่13/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า… นักศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI… ทุนดีดี 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster December 12, 2022 EZ Webmaster December 12, 2022 28 ปี รางวัล TTF AWARD มอบผลงานวิชาการทรงคุณค่า นำสังคมไทยสู่ยุค ‘ปัญญาวิจิตร’ งานวิจัยที่มีคุณภาพนับเป็นหนึ่งในดัชนีชี้วัด ‘มาตรฐานการศึกษา’ ของประเทศไทย ผลงานที่โดดเด่นได้รับการตีพิมพ์และเผยแพร่ออกสู่สาธารณะจำนวนมาก รังสรรค์ประโยชน์และตอบโจทย์การพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ๆ ในแต่ละสาขา เกิดคุณูปการกว้างขวางมากขึ้นตามลำดับ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และมูลนิธิโตโยต้าประเทศไทย เล็งเห็นความสำคัญของการยกระดับงานค้นคว้าวิจัยมาถึง 28 ปี ผ่านการมอบรางวัลผลงานวิชาการดีเด่น หรือ ‘TTF AWARD’ กระตุ้นคนรุ่นใหม่และนักวิชาการจากสถาบันอุดมศึกษาต่างๆ สร้างแรงบันดาลใจผลิตผลงานใน 4 สาขาหลัก ได้แก่ สังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ วิทยาศาสตร์สุขภาพ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ศาสตราจารย์ ดร.ทันตแพทย์หญิง ศิริวรรณ สืบนุการณ์ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กล่าวว่า TTF AWARD มีเจตนารมณ์ส่งเสริมให้เกิดผลงานด้านการศึกษาค้นคว้าวิจัยที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้แก้ปัญหาทางสังคมและคุณภาพชีวิตของประชาชน ผลงานส่วนมากที่ได้รับรางวัลจะมุ่งนำเสนอเนื้อหาที่อ่านเข้าใจง่าย เพื่อให้เกิดประโยชน์สามารถเข้าถึงเยาวชน รวมทั้งถ่ายทอดแก่ประชาชนทั่วไป มิใช่อ่านยากจนเกินไปหรือต้องเก็บไว้บนหิ้งเท่านั้น แต่นำมาต่อยอดสร้างสรรค์เรียนรู้ก้าวสู่สังคมแห่งภูมิปัญญาได้อย่างเป็นรูปธรรม ประวัติศาสตร์คือกระจกส่องอนาคต ทั้งนี้ พิธีมอบรางวัล TTF AWARD ประจำปี 2564-2565 จัดขึ้นเมื่อ 25 พฤศจิกายน 2565 ที่ผ่านมา โดยมี คุณประมนต์ สุธีวงศ์ ประธานมูลนิธิโตโยต้าประเทศไทย พร้อมด้วยคุณนินนาท ไชยธีรภิญโญ ประธานคณะกรรมการบริษัทโตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จำกัด ร่วมเป็นประธานมอบรางวัลให้แก่ 5 ผลงานทรงคุณค่า ประกอบด้วย รางวัลเกียรติยศ ได้แก่ ผลงานชื่อ “ใต้ร่มพระบารมี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บุรพกษัตริย์แห่งมหาจักรีบรมราชวงศ์” โดยคณะบรรณาธิการจัดทำสารานุกรมประวัติศาสตร์ไทย สำนักงานราชบัณฑิตยสภา รองศาสตราจารย์ ดร.ศานติ ภักดีคำ รองเลขาธิการราชบัณฑิตยสภา กล่าวว่า คณะบรรณาธิการฯ ผู้ประพันธ์หนังสือเล่มนี้เป็นผู้ทรงคุณวุฒิที่ศึกษาประวัติศาสตร์มาตลอดชีวิต มิใช่เพียงการนำพระราชพงศาวดารมาเขียนเท่านั้นแต่มีกระบวนการประมวล สังเคราะห์ และศึกษาวิจัยเอกสารหลักฐานทางโบราณคดีต่างๆ เรียบเรียงแบ่งเนื้อหาเป็น 3 ส่วน หนึ่งคือการสร้างบ้านแปลงเมืองสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ สองคือการต่อสู้ในยุคจักรวรรดินิยมชาติตะวันตก และสามคือการเปลี่ยนแปลงจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์สู่ประชาธิปไตย ทำให้เราได้เห็นคุณค่าเรื่องราวต่างๆ และได้รู้จักตนเองมากยิ่งขึ้น “ประวัติศาสตร์เป็นกระจกบานหนึ่งที่ช่วยสะท้อนว่า กว่าจะมาเป็นเราในปัจจุบัน บ้านเมืองผ่านวิกฤตอะไรมาบ้างและบรรพบุรุษทำอย่างไรในการผ่านพ้นปัญหาแต่ละด้าน ยุคนั้นมีข้อจำกัดปัจจัยอะไรที่นำไปสู่การตัดสินใจ นำพาประเทศชาติให้อยู่รอดปลอดภัยประชาชนเป็นสุข ทำให้เยาวชนรับรู้บทบาทความสำคัญของสถาบันพระมหากษัตริย์และประชาชนที่ร่วมกันทำให้ประเทศเดินหน้ามาจนถึงวันนี้” อัตลักษณ์เอกสารคนไทยก่อนมาสู่ยุคบัตรประชาชน ขณะที่ผลงานวิชาการดีเด่น แบ่งเป็น 4 ด้าน ประกอบด้วย 1) ด้านสังคมศาสตร์ ได้แก่ ผลงานชื่อ “อัตลักษณ์เอกสาร วงศาวิทยาการควบคุมประชากรของรัฐไทย” โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ปิ่นแก้ว เหลืองอร่ามศรี คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นงานวิจัยบทบันทึกประวัติศาสตร์ผ่านมุมมองทางสังคมที่ไขคำตอบว่ารัฐใช้สิ่งใดแยกแยะพลเมืองไทยและควบคุมคนต่างด้าวในยุคสมัยต่างๆ สามารถบ่งบอกว่าแต่ละคนคือใคร ยกตัวอย่างการสักบนร่างกายไปจนถึงจัดทำบัตรประจำตัวประชาชนและบัตรประจำตัวคนที่ไม่มีสัญชาติไทย นำมาผูกความสัมพันธ์เชิงอำนาจบริหารจัดการสอดคล้องกับยุคสมัย ศาสตราจารย์ ดร.ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ อดีตคณบดีคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กล่าวว่า ผู้วิจัยได้ลงลึกศึกษาประวัติศาสตร์การระบุตัวตนบุคคลที่อยู่ภายใต้ราชอาณาจักรไทยว่าเป็นใคร อยู่ที่ไหน มีชื่อเรียกอย่างไร อัตลักษณ์เอกสารเหล่านี้มีการออกแบบวิธีใช้กับคนแต่ละกลุ่มไม่เหมือนกัน เช่น ไพร่ ทาส คนจีน คนนอก คนต่างด้าว ฯลฯ เนื้อหาหนังสือจึงน่าสนใจสะท้อนการแบ่งแยกคนโดยอำนาจ ศาสนา วัฒนธรรม ซึ่งทุกชาติสามารถนำไปศึกษาร่วมกันได้ รหัสทางสังคมที่ซ่อนอยู่ในงานศิลป์ 2) ด้านมนุษยศาสตร์ ได้แก่ ผลงานชื่อ “ศิลปะสมัยใหม่และร่วมสมัย : ตะวันตกและไทย” โดยศาสตราจารย์สุธี คุณาวิชยานนท์ คณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ได้ค้นคว้าโฉมหน้าประวัติศาสตร์ผ่านงานศิลปะทั้งไทยและต่างประเทศ สะท้อนความคิดคำนึงของศิลปินที่อยู่เบื้องหลังและถ่ายทอดออกมาเป็นผลงานเบื้องหน้าที่ประสบความสำเร็จ ทำให้การชื่นชมผลงานศิลปะเหล่านี้มีความหมายลึกซึ้งยิ่งขึ้น “หนังสือเล่มนี้เป็นผลงานการวิจัยศึกษาประวัติศาสตร์ในศตวรรษที่ 19-20 ซึ่งเกิดความเปลี่ยนแปลงของมนุษย์อย่างรวดเร็ว เมื่อศึกษาอดีตก็ย่อมจะเข้าใจปัจจุบันได้ดี เหมาะกับผู้สนใจงานศิลปะ วัฒนธรรม และการออกแบบต่างๆ ใช้ภาษาง่ายๆ เข้าใจได้ไม่ยาก” ศาสตราจารย์สุธี ระบุ ขณะที่ ผู้ช่วยศาสตราจารย์เอกพงษ์ ตรีตรง คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากรกล่าวเสริมว่า สิ่งที่ศิลปินได้ถ่ายทอดมิใช่แค่ความงดงามแต่ยังซ่อนรหัสที่ลึกซึ้งไว้ให้สังคมและประวัติศาสตร์ หนังสือเล่มนี้หล่อหลอมเชื่อมโยงอดีตและปัจจุบันซึ่งมีการใช้ “ซอฟต์พาวเวอร์” ขับเคลื่อนประเทศและเรากำลังก้าวเข้าสู่ยุค “ปัญญาวิจิตร” ที่ต้องอาศัยความรู้ความงามทางศิลปะควบคู่กันไปเพื่อสร้างความเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่ดีขึ้น ระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ณ จุดเกิดเหตุ 3) ด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ ได้แก่ ผลงานชื่อ “การดูแลรักษาผู้บาดเจ็บก่อนถึงโรงพยาบาล” โดย รองศาสตราจารย์ ดร.นายแพทย์ไชยพร ยุกเซ็น คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล เนื้อหาสะท้อนการยกระดับมาตรฐานระบบสาธารณสุขและลดสถิติผู้เสียชีวิตจากอุบัติภัยบนท้องถนน จัดทำเป็นคู่มือการดูแลผู้บาดเจ็บ ณ จุดเกิดเหตุ การนำความรู้ไปฝึกอบรมบุคลากรทางการแพทย์และจิตอาสากู้ชีพ ช่วยเหลือผู้บาดเจ็บจากเหตุการณ์ต่างๆ พลอากาศตรี นายแพทย์เฉลิมพร บุญสิริ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการแพทย์ฉุกเฉิน และ ประธานอนุกรรมการฉุกเฉินการแพทย์ สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ กล่าวว่า ทุกวันนี้คนไทยเสียชีวิตจากอุบัติเหตุสูงมากกว่า 100 คนต่อวัน ดังนั้น การดูแลผู้บาดเจ็บ ณ จุดเกิดเหตุ การให้ยา การช่วยเหลือผู้ป่วยที่หัวใจหยุดเต้น (CPR) อย่างถูกต้อง ระบบอำนวยการทางการแพทย์ที่ดีผ่านสายด่วน 1669 จึงสำคัญ รวมถึงการนำส่งไปสถานพยาบาลที่เหมาะสมไม่ให้เสียชีวิต พิการ และกลับคืนสู่สังคมในสภาพดีที่สุด กลไกการทำงานของเซลล์ในร่างกายมนุษย์ 4) ด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ได้แก่ ผลงานชื่อ “พันธุศาสตร์ระดับเซลล์” โดย ศาสตราจารย์ ดร.อลงกลด แทนออมทอง คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, รองศาสตราจารย์ ดร.กฤษณ์ ปิ่นทอง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ และผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อิสสระ ปะทะวัง คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ กับผลงานวิจัยที่อธิบายกลไกการทำงานในเซลล์อย่างง่ายและมีภาพประกอบชัดเจน เปิดโอกาสให้คนรุ่นใหม่ที่สนใจต่อยอดความรู้สู่วิชาชีพในอนาคต สอดคล้องกับการพัฒนาประเทศบนฐานของวิทยาศาสตร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เพลินพิศ โชคชัยชำนาญกิจ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มองว่า หนังสือเล่มนี้ช่วยให้เกิดความเข้าใจต่อกลไกที่เกิดขึ้นของระบบเซลล์ โดยทีมผู้ประพันธ์ทั้งสามท่านล้วนมีประสบการณ์วิจัยด้านเซลล์พันธุศาสตร์มายาวนานและอยู่หน้ากล้องจุลทรรศน์เพื่อมองหาคำตอบต่างๆ จนกว่าจะได้งานวิจัยชิ้นหนึ่งจึงต้องอุทิศแรงกายแรงใจ นับเป็นผลงานที่มีคุณค่ามากต่อศาสตร์ด้านชีววิทยา บทสรุปของรางวัล TTF AWARD ประจำปี 2564-2565 ได้สะท้อนให้เห็นความสำเร็จอีกขั้นหนึ่งของระบบการศึกษาไทย ที่มีนักวิชาการมากมายเป็นกลไกสำคัญบ่มเพาะผลงานวิจัยที่มีคุณภาพสูง ขับเคลื่อนประเทศให้เติบโตท่ามกลางโลกที่กำลังเปลี่ยนแปลง ช่วยให้เราผ่านพ้นสถานการณ์ท้าทายกับภาวะ ‘วิกฤต’ และก้าวสู่ความ ‘วิจิตร’ แห่งภูมิปัญญาได้อย่างน่าสนใจ EZ Webmaster Related Posts คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” สวนสุนันทา – สกสค. ผนึกกำลังพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา เดินหน้าวิจัย-สร้างสรรค์สื่อ-อบรม AI ยกระดับการศึกษาไทย Post navigation PREVIOUS Previous post: CIMB THAI TRIATHLON FORWARD YOUR HEALTH ปี 4 คึกคัก พร้อมพัฒนาสู่ความยั่งยืนNEXT Next post: บทพิสูจน์แนวคิด “Learn to Earn เรียนรู้เพื่ออยู่รอด” กับการ Learn แล้ว Earn ได้จริง Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง EZ WebmasterJune 13, 2025 วันนี้ทั้งเล่น ทั้งได้ความรู้ ทั้งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนนางรอง จ.บุรีรัมย์ วันที่13/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า… นักศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI… ทุนดีดี 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster December 12, 2022 EZ Webmaster December 12, 2022 28 ปี รางวัล TTF AWARD มอบผลงานวิชาการทรงคุณค่า นำสังคมไทยสู่ยุค ‘ปัญญาวิจิตร’ งานวิจัยที่มีคุณภาพนับเป็นหนึ่งในดัชนีชี้วัด ‘มาตรฐานการศึกษา’ ของประเทศไทย ผลงานที่โดดเด่นได้รับการตีพิมพ์และเผยแพร่ออกสู่สาธารณะจำนวนมาก รังสรรค์ประโยชน์และตอบโจทย์การพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ๆ ในแต่ละสาขา เกิดคุณูปการกว้างขวางมากขึ้นตามลำดับ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และมูลนิธิโตโยต้าประเทศไทย เล็งเห็นความสำคัญของการยกระดับงานค้นคว้าวิจัยมาถึง 28 ปี ผ่านการมอบรางวัลผลงานวิชาการดีเด่น หรือ ‘TTF AWARD’ กระตุ้นคนรุ่นใหม่และนักวิชาการจากสถาบันอุดมศึกษาต่างๆ สร้างแรงบันดาลใจผลิตผลงานใน 4 สาขาหลัก ได้แก่ สังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ วิทยาศาสตร์สุขภาพ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ศาสตราจารย์ ดร.ทันตแพทย์หญิง ศิริวรรณ สืบนุการณ์ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กล่าวว่า TTF AWARD มีเจตนารมณ์ส่งเสริมให้เกิดผลงานด้านการศึกษาค้นคว้าวิจัยที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้แก้ปัญหาทางสังคมและคุณภาพชีวิตของประชาชน ผลงานส่วนมากที่ได้รับรางวัลจะมุ่งนำเสนอเนื้อหาที่อ่านเข้าใจง่าย เพื่อให้เกิดประโยชน์สามารถเข้าถึงเยาวชน รวมทั้งถ่ายทอดแก่ประชาชนทั่วไป มิใช่อ่านยากจนเกินไปหรือต้องเก็บไว้บนหิ้งเท่านั้น แต่นำมาต่อยอดสร้างสรรค์เรียนรู้ก้าวสู่สังคมแห่งภูมิปัญญาได้อย่างเป็นรูปธรรม ประวัติศาสตร์คือกระจกส่องอนาคต ทั้งนี้ พิธีมอบรางวัล TTF AWARD ประจำปี 2564-2565 จัดขึ้นเมื่อ 25 พฤศจิกายน 2565 ที่ผ่านมา โดยมี คุณประมนต์ สุธีวงศ์ ประธานมูลนิธิโตโยต้าประเทศไทย พร้อมด้วยคุณนินนาท ไชยธีรภิญโญ ประธานคณะกรรมการบริษัทโตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จำกัด ร่วมเป็นประธานมอบรางวัลให้แก่ 5 ผลงานทรงคุณค่า ประกอบด้วย รางวัลเกียรติยศ ได้แก่ ผลงานชื่อ “ใต้ร่มพระบารมี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บุรพกษัตริย์แห่งมหาจักรีบรมราชวงศ์” โดยคณะบรรณาธิการจัดทำสารานุกรมประวัติศาสตร์ไทย สำนักงานราชบัณฑิตยสภา รองศาสตราจารย์ ดร.ศานติ ภักดีคำ รองเลขาธิการราชบัณฑิตยสภา กล่าวว่า คณะบรรณาธิการฯ ผู้ประพันธ์หนังสือเล่มนี้เป็นผู้ทรงคุณวุฒิที่ศึกษาประวัติศาสตร์มาตลอดชีวิต มิใช่เพียงการนำพระราชพงศาวดารมาเขียนเท่านั้นแต่มีกระบวนการประมวล สังเคราะห์ และศึกษาวิจัยเอกสารหลักฐานทางโบราณคดีต่างๆ เรียบเรียงแบ่งเนื้อหาเป็น 3 ส่วน หนึ่งคือการสร้างบ้านแปลงเมืองสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ สองคือการต่อสู้ในยุคจักรวรรดินิยมชาติตะวันตก และสามคือการเปลี่ยนแปลงจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์สู่ประชาธิปไตย ทำให้เราได้เห็นคุณค่าเรื่องราวต่างๆ และได้รู้จักตนเองมากยิ่งขึ้น “ประวัติศาสตร์เป็นกระจกบานหนึ่งที่ช่วยสะท้อนว่า กว่าจะมาเป็นเราในปัจจุบัน บ้านเมืองผ่านวิกฤตอะไรมาบ้างและบรรพบุรุษทำอย่างไรในการผ่านพ้นปัญหาแต่ละด้าน ยุคนั้นมีข้อจำกัดปัจจัยอะไรที่นำไปสู่การตัดสินใจ นำพาประเทศชาติให้อยู่รอดปลอดภัยประชาชนเป็นสุข ทำให้เยาวชนรับรู้บทบาทความสำคัญของสถาบันพระมหากษัตริย์และประชาชนที่ร่วมกันทำให้ประเทศเดินหน้ามาจนถึงวันนี้” อัตลักษณ์เอกสารคนไทยก่อนมาสู่ยุคบัตรประชาชน ขณะที่ผลงานวิชาการดีเด่น แบ่งเป็น 4 ด้าน ประกอบด้วย 1) ด้านสังคมศาสตร์ ได้แก่ ผลงานชื่อ “อัตลักษณ์เอกสาร วงศาวิทยาการควบคุมประชากรของรัฐไทย” โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ปิ่นแก้ว เหลืองอร่ามศรี คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นงานวิจัยบทบันทึกประวัติศาสตร์ผ่านมุมมองทางสังคมที่ไขคำตอบว่ารัฐใช้สิ่งใดแยกแยะพลเมืองไทยและควบคุมคนต่างด้าวในยุคสมัยต่างๆ สามารถบ่งบอกว่าแต่ละคนคือใคร ยกตัวอย่างการสักบนร่างกายไปจนถึงจัดทำบัตรประจำตัวประชาชนและบัตรประจำตัวคนที่ไม่มีสัญชาติไทย นำมาผูกความสัมพันธ์เชิงอำนาจบริหารจัดการสอดคล้องกับยุคสมัย ศาสตราจารย์ ดร.ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ อดีตคณบดีคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กล่าวว่า ผู้วิจัยได้ลงลึกศึกษาประวัติศาสตร์การระบุตัวตนบุคคลที่อยู่ภายใต้ราชอาณาจักรไทยว่าเป็นใคร อยู่ที่ไหน มีชื่อเรียกอย่างไร อัตลักษณ์เอกสารเหล่านี้มีการออกแบบวิธีใช้กับคนแต่ละกลุ่มไม่เหมือนกัน เช่น ไพร่ ทาส คนจีน คนนอก คนต่างด้าว ฯลฯ เนื้อหาหนังสือจึงน่าสนใจสะท้อนการแบ่งแยกคนโดยอำนาจ ศาสนา วัฒนธรรม ซึ่งทุกชาติสามารถนำไปศึกษาร่วมกันได้ รหัสทางสังคมที่ซ่อนอยู่ในงานศิลป์ 2) ด้านมนุษยศาสตร์ ได้แก่ ผลงานชื่อ “ศิลปะสมัยใหม่และร่วมสมัย : ตะวันตกและไทย” โดยศาสตราจารย์สุธี คุณาวิชยานนท์ คณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ได้ค้นคว้าโฉมหน้าประวัติศาสตร์ผ่านงานศิลปะทั้งไทยและต่างประเทศ สะท้อนความคิดคำนึงของศิลปินที่อยู่เบื้องหลังและถ่ายทอดออกมาเป็นผลงานเบื้องหน้าที่ประสบความสำเร็จ ทำให้การชื่นชมผลงานศิลปะเหล่านี้มีความหมายลึกซึ้งยิ่งขึ้น “หนังสือเล่มนี้เป็นผลงานการวิจัยศึกษาประวัติศาสตร์ในศตวรรษที่ 19-20 ซึ่งเกิดความเปลี่ยนแปลงของมนุษย์อย่างรวดเร็ว เมื่อศึกษาอดีตก็ย่อมจะเข้าใจปัจจุบันได้ดี เหมาะกับผู้สนใจงานศิลปะ วัฒนธรรม และการออกแบบต่างๆ ใช้ภาษาง่ายๆ เข้าใจได้ไม่ยาก” ศาสตราจารย์สุธี ระบุ ขณะที่ ผู้ช่วยศาสตราจารย์เอกพงษ์ ตรีตรง คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากรกล่าวเสริมว่า สิ่งที่ศิลปินได้ถ่ายทอดมิใช่แค่ความงดงามแต่ยังซ่อนรหัสที่ลึกซึ้งไว้ให้สังคมและประวัติศาสตร์ หนังสือเล่มนี้หล่อหลอมเชื่อมโยงอดีตและปัจจุบันซึ่งมีการใช้ “ซอฟต์พาวเวอร์” ขับเคลื่อนประเทศและเรากำลังก้าวเข้าสู่ยุค “ปัญญาวิจิตร” ที่ต้องอาศัยความรู้ความงามทางศิลปะควบคู่กันไปเพื่อสร้างความเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่ดีขึ้น ระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ณ จุดเกิดเหตุ 3) ด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ ได้แก่ ผลงานชื่อ “การดูแลรักษาผู้บาดเจ็บก่อนถึงโรงพยาบาล” โดย รองศาสตราจารย์ ดร.นายแพทย์ไชยพร ยุกเซ็น คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล เนื้อหาสะท้อนการยกระดับมาตรฐานระบบสาธารณสุขและลดสถิติผู้เสียชีวิตจากอุบัติภัยบนท้องถนน จัดทำเป็นคู่มือการดูแลผู้บาดเจ็บ ณ จุดเกิดเหตุ การนำความรู้ไปฝึกอบรมบุคลากรทางการแพทย์และจิตอาสากู้ชีพ ช่วยเหลือผู้บาดเจ็บจากเหตุการณ์ต่างๆ พลอากาศตรี นายแพทย์เฉลิมพร บุญสิริ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการแพทย์ฉุกเฉิน และ ประธานอนุกรรมการฉุกเฉินการแพทย์ สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ กล่าวว่า ทุกวันนี้คนไทยเสียชีวิตจากอุบัติเหตุสูงมากกว่า 100 คนต่อวัน ดังนั้น การดูแลผู้บาดเจ็บ ณ จุดเกิดเหตุ การให้ยา การช่วยเหลือผู้ป่วยที่หัวใจหยุดเต้น (CPR) อย่างถูกต้อง ระบบอำนวยการทางการแพทย์ที่ดีผ่านสายด่วน 1669 จึงสำคัญ รวมถึงการนำส่งไปสถานพยาบาลที่เหมาะสมไม่ให้เสียชีวิต พิการ และกลับคืนสู่สังคมในสภาพดีที่สุด กลไกการทำงานของเซลล์ในร่างกายมนุษย์ 4) ด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ได้แก่ ผลงานชื่อ “พันธุศาสตร์ระดับเซลล์” โดย ศาสตราจารย์ ดร.อลงกลด แทนออมทอง คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, รองศาสตราจารย์ ดร.กฤษณ์ ปิ่นทอง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ และผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อิสสระ ปะทะวัง คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ กับผลงานวิจัยที่อธิบายกลไกการทำงานในเซลล์อย่างง่ายและมีภาพประกอบชัดเจน เปิดโอกาสให้คนรุ่นใหม่ที่สนใจต่อยอดความรู้สู่วิชาชีพในอนาคต สอดคล้องกับการพัฒนาประเทศบนฐานของวิทยาศาสตร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เพลินพิศ โชคชัยชำนาญกิจ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มองว่า หนังสือเล่มนี้ช่วยให้เกิดความเข้าใจต่อกลไกที่เกิดขึ้นของระบบเซลล์ โดยทีมผู้ประพันธ์ทั้งสามท่านล้วนมีประสบการณ์วิจัยด้านเซลล์พันธุศาสตร์มายาวนานและอยู่หน้ากล้องจุลทรรศน์เพื่อมองหาคำตอบต่างๆ จนกว่าจะได้งานวิจัยชิ้นหนึ่งจึงต้องอุทิศแรงกายแรงใจ นับเป็นผลงานที่มีคุณค่ามากต่อศาสตร์ด้านชีววิทยา บทสรุปของรางวัล TTF AWARD ประจำปี 2564-2565 ได้สะท้อนให้เห็นความสำเร็จอีกขั้นหนึ่งของระบบการศึกษาไทย ที่มีนักวิชาการมากมายเป็นกลไกสำคัญบ่มเพาะผลงานวิจัยที่มีคุณภาพสูง ขับเคลื่อนประเทศให้เติบโตท่ามกลางโลกที่กำลังเปลี่ยนแปลง ช่วยให้เราผ่านพ้นสถานการณ์ท้าทายกับภาวะ ‘วิกฤต’ และก้าวสู่ความ ‘วิจิตร’ แห่งภูมิปัญญาได้อย่างน่าสนใจ EZ Webmaster Related Posts คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” สวนสุนันทา – สกสค. ผนึกกำลังพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา เดินหน้าวิจัย-สร้างสรรค์สื่อ-อบรม AI ยกระดับการศึกษาไทย Post navigation PREVIOUS Previous post: CIMB THAI TRIATHLON FORWARD YOUR HEALTH ปี 4 คึกคัก พร้อมพัฒนาสู่ความยั่งยืนNEXT Next post: บทพิสูจน์แนวคิด “Learn to Earn เรียนรู้เพื่ออยู่รอด” กับการ Learn แล้ว Earn ได้จริง Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง EZ WebmasterJune 13, 2025 วันนี้ทั้งเล่น ทั้งได้ความรู้ ทั้งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนนางรอง จ.บุรีรัมย์ วันที่13/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า…
โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง EZ WebmasterJune 13, 2025 วันนี้ทั้งเล่น ทั้งได้ความรู้ ทั้งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนนางรอง จ.บุรีรัมย์ วันที่13/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า…
คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI… ทุนดีดี 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster December 12, 2022 EZ Webmaster December 12, 2022 28 ปี รางวัล TTF AWARD มอบผลงานวิชาการทรงคุณค่า นำสังคมไทยสู่ยุค ‘ปัญญาวิจิตร’ งานวิจัยที่มีคุณภาพนับเป็นหนึ่งในดัชนีชี้วัด ‘มาตรฐานการศึกษา’ ของประเทศไทย ผลงานที่โดดเด่นได้รับการตีพิมพ์และเผยแพร่ออกสู่สาธารณะจำนวนมาก รังสรรค์ประโยชน์และตอบโจทย์การพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ๆ ในแต่ละสาขา เกิดคุณูปการกว้างขวางมากขึ้นตามลำดับ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และมูลนิธิโตโยต้าประเทศไทย เล็งเห็นความสำคัญของการยกระดับงานค้นคว้าวิจัยมาถึง 28 ปี ผ่านการมอบรางวัลผลงานวิชาการดีเด่น หรือ ‘TTF AWARD’ กระตุ้นคนรุ่นใหม่และนักวิชาการจากสถาบันอุดมศึกษาต่างๆ สร้างแรงบันดาลใจผลิตผลงานใน 4 สาขาหลัก ได้แก่ สังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ วิทยาศาสตร์สุขภาพ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ศาสตราจารย์ ดร.ทันตแพทย์หญิง ศิริวรรณ สืบนุการณ์ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กล่าวว่า TTF AWARD มีเจตนารมณ์ส่งเสริมให้เกิดผลงานด้านการศึกษาค้นคว้าวิจัยที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้แก้ปัญหาทางสังคมและคุณภาพชีวิตของประชาชน ผลงานส่วนมากที่ได้รับรางวัลจะมุ่งนำเสนอเนื้อหาที่อ่านเข้าใจง่าย เพื่อให้เกิดประโยชน์สามารถเข้าถึงเยาวชน รวมทั้งถ่ายทอดแก่ประชาชนทั่วไป มิใช่อ่านยากจนเกินไปหรือต้องเก็บไว้บนหิ้งเท่านั้น แต่นำมาต่อยอดสร้างสรรค์เรียนรู้ก้าวสู่สังคมแห่งภูมิปัญญาได้อย่างเป็นรูปธรรม ประวัติศาสตร์คือกระจกส่องอนาคต ทั้งนี้ พิธีมอบรางวัล TTF AWARD ประจำปี 2564-2565 จัดขึ้นเมื่อ 25 พฤศจิกายน 2565 ที่ผ่านมา โดยมี คุณประมนต์ สุธีวงศ์ ประธานมูลนิธิโตโยต้าประเทศไทย พร้อมด้วยคุณนินนาท ไชยธีรภิญโญ ประธานคณะกรรมการบริษัทโตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จำกัด ร่วมเป็นประธานมอบรางวัลให้แก่ 5 ผลงานทรงคุณค่า ประกอบด้วย รางวัลเกียรติยศ ได้แก่ ผลงานชื่อ “ใต้ร่มพระบารมี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บุรพกษัตริย์แห่งมหาจักรีบรมราชวงศ์” โดยคณะบรรณาธิการจัดทำสารานุกรมประวัติศาสตร์ไทย สำนักงานราชบัณฑิตยสภา รองศาสตราจารย์ ดร.ศานติ ภักดีคำ รองเลขาธิการราชบัณฑิตยสภา กล่าวว่า คณะบรรณาธิการฯ ผู้ประพันธ์หนังสือเล่มนี้เป็นผู้ทรงคุณวุฒิที่ศึกษาประวัติศาสตร์มาตลอดชีวิต มิใช่เพียงการนำพระราชพงศาวดารมาเขียนเท่านั้นแต่มีกระบวนการประมวล สังเคราะห์ และศึกษาวิจัยเอกสารหลักฐานทางโบราณคดีต่างๆ เรียบเรียงแบ่งเนื้อหาเป็น 3 ส่วน หนึ่งคือการสร้างบ้านแปลงเมืองสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ สองคือการต่อสู้ในยุคจักรวรรดินิยมชาติตะวันตก และสามคือการเปลี่ยนแปลงจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์สู่ประชาธิปไตย ทำให้เราได้เห็นคุณค่าเรื่องราวต่างๆ และได้รู้จักตนเองมากยิ่งขึ้น “ประวัติศาสตร์เป็นกระจกบานหนึ่งที่ช่วยสะท้อนว่า กว่าจะมาเป็นเราในปัจจุบัน บ้านเมืองผ่านวิกฤตอะไรมาบ้างและบรรพบุรุษทำอย่างไรในการผ่านพ้นปัญหาแต่ละด้าน ยุคนั้นมีข้อจำกัดปัจจัยอะไรที่นำไปสู่การตัดสินใจ นำพาประเทศชาติให้อยู่รอดปลอดภัยประชาชนเป็นสุข ทำให้เยาวชนรับรู้บทบาทความสำคัญของสถาบันพระมหากษัตริย์และประชาชนที่ร่วมกันทำให้ประเทศเดินหน้ามาจนถึงวันนี้” อัตลักษณ์เอกสารคนไทยก่อนมาสู่ยุคบัตรประชาชน ขณะที่ผลงานวิชาการดีเด่น แบ่งเป็น 4 ด้าน ประกอบด้วย 1) ด้านสังคมศาสตร์ ได้แก่ ผลงานชื่อ “อัตลักษณ์เอกสาร วงศาวิทยาการควบคุมประชากรของรัฐไทย” โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ปิ่นแก้ว เหลืองอร่ามศรี คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นงานวิจัยบทบันทึกประวัติศาสตร์ผ่านมุมมองทางสังคมที่ไขคำตอบว่ารัฐใช้สิ่งใดแยกแยะพลเมืองไทยและควบคุมคนต่างด้าวในยุคสมัยต่างๆ สามารถบ่งบอกว่าแต่ละคนคือใคร ยกตัวอย่างการสักบนร่างกายไปจนถึงจัดทำบัตรประจำตัวประชาชนและบัตรประจำตัวคนที่ไม่มีสัญชาติไทย นำมาผูกความสัมพันธ์เชิงอำนาจบริหารจัดการสอดคล้องกับยุคสมัย ศาสตราจารย์ ดร.ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ อดีตคณบดีคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กล่าวว่า ผู้วิจัยได้ลงลึกศึกษาประวัติศาสตร์การระบุตัวตนบุคคลที่อยู่ภายใต้ราชอาณาจักรไทยว่าเป็นใคร อยู่ที่ไหน มีชื่อเรียกอย่างไร อัตลักษณ์เอกสารเหล่านี้มีการออกแบบวิธีใช้กับคนแต่ละกลุ่มไม่เหมือนกัน เช่น ไพร่ ทาส คนจีน คนนอก คนต่างด้าว ฯลฯ เนื้อหาหนังสือจึงน่าสนใจสะท้อนการแบ่งแยกคนโดยอำนาจ ศาสนา วัฒนธรรม ซึ่งทุกชาติสามารถนำไปศึกษาร่วมกันได้ รหัสทางสังคมที่ซ่อนอยู่ในงานศิลป์ 2) ด้านมนุษยศาสตร์ ได้แก่ ผลงานชื่อ “ศิลปะสมัยใหม่และร่วมสมัย : ตะวันตกและไทย” โดยศาสตราจารย์สุธี คุณาวิชยานนท์ คณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ได้ค้นคว้าโฉมหน้าประวัติศาสตร์ผ่านงานศิลปะทั้งไทยและต่างประเทศ สะท้อนความคิดคำนึงของศิลปินที่อยู่เบื้องหลังและถ่ายทอดออกมาเป็นผลงานเบื้องหน้าที่ประสบความสำเร็จ ทำให้การชื่นชมผลงานศิลปะเหล่านี้มีความหมายลึกซึ้งยิ่งขึ้น “หนังสือเล่มนี้เป็นผลงานการวิจัยศึกษาประวัติศาสตร์ในศตวรรษที่ 19-20 ซึ่งเกิดความเปลี่ยนแปลงของมนุษย์อย่างรวดเร็ว เมื่อศึกษาอดีตก็ย่อมจะเข้าใจปัจจุบันได้ดี เหมาะกับผู้สนใจงานศิลปะ วัฒนธรรม และการออกแบบต่างๆ ใช้ภาษาง่ายๆ เข้าใจได้ไม่ยาก” ศาสตราจารย์สุธี ระบุ ขณะที่ ผู้ช่วยศาสตราจารย์เอกพงษ์ ตรีตรง คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากรกล่าวเสริมว่า สิ่งที่ศิลปินได้ถ่ายทอดมิใช่แค่ความงดงามแต่ยังซ่อนรหัสที่ลึกซึ้งไว้ให้สังคมและประวัติศาสตร์ หนังสือเล่มนี้หล่อหลอมเชื่อมโยงอดีตและปัจจุบันซึ่งมีการใช้ “ซอฟต์พาวเวอร์” ขับเคลื่อนประเทศและเรากำลังก้าวเข้าสู่ยุค “ปัญญาวิจิตร” ที่ต้องอาศัยความรู้ความงามทางศิลปะควบคู่กันไปเพื่อสร้างความเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่ดีขึ้น ระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ณ จุดเกิดเหตุ 3) ด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ ได้แก่ ผลงานชื่อ “การดูแลรักษาผู้บาดเจ็บก่อนถึงโรงพยาบาล” โดย รองศาสตราจารย์ ดร.นายแพทย์ไชยพร ยุกเซ็น คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล เนื้อหาสะท้อนการยกระดับมาตรฐานระบบสาธารณสุขและลดสถิติผู้เสียชีวิตจากอุบัติภัยบนท้องถนน จัดทำเป็นคู่มือการดูแลผู้บาดเจ็บ ณ จุดเกิดเหตุ การนำความรู้ไปฝึกอบรมบุคลากรทางการแพทย์และจิตอาสากู้ชีพ ช่วยเหลือผู้บาดเจ็บจากเหตุการณ์ต่างๆ พลอากาศตรี นายแพทย์เฉลิมพร บุญสิริ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการแพทย์ฉุกเฉิน และ ประธานอนุกรรมการฉุกเฉินการแพทย์ สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ กล่าวว่า ทุกวันนี้คนไทยเสียชีวิตจากอุบัติเหตุสูงมากกว่า 100 คนต่อวัน ดังนั้น การดูแลผู้บาดเจ็บ ณ จุดเกิดเหตุ การให้ยา การช่วยเหลือผู้ป่วยที่หัวใจหยุดเต้น (CPR) อย่างถูกต้อง ระบบอำนวยการทางการแพทย์ที่ดีผ่านสายด่วน 1669 จึงสำคัญ รวมถึงการนำส่งไปสถานพยาบาลที่เหมาะสมไม่ให้เสียชีวิต พิการ และกลับคืนสู่สังคมในสภาพดีที่สุด กลไกการทำงานของเซลล์ในร่างกายมนุษย์ 4) ด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ได้แก่ ผลงานชื่อ “พันธุศาสตร์ระดับเซลล์” โดย ศาสตราจารย์ ดร.อลงกลด แทนออมทอง คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, รองศาสตราจารย์ ดร.กฤษณ์ ปิ่นทอง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ และผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อิสสระ ปะทะวัง คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ กับผลงานวิจัยที่อธิบายกลไกการทำงานในเซลล์อย่างง่ายและมีภาพประกอบชัดเจน เปิดโอกาสให้คนรุ่นใหม่ที่สนใจต่อยอดความรู้สู่วิชาชีพในอนาคต สอดคล้องกับการพัฒนาประเทศบนฐานของวิทยาศาสตร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เพลินพิศ โชคชัยชำนาญกิจ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มองว่า หนังสือเล่มนี้ช่วยให้เกิดความเข้าใจต่อกลไกที่เกิดขึ้นของระบบเซลล์ โดยทีมผู้ประพันธ์ทั้งสามท่านล้วนมีประสบการณ์วิจัยด้านเซลล์พันธุศาสตร์มายาวนานและอยู่หน้ากล้องจุลทรรศน์เพื่อมองหาคำตอบต่างๆ จนกว่าจะได้งานวิจัยชิ้นหนึ่งจึงต้องอุทิศแรงกายแรงใจ นับเป็นผลงานที่มีคุณค่ามากต่อศาสตร์ด้านชีววิทยา บทสรุปของรางวัล TTF AWARD ประจำปี 2564-2565 ได้สะท้อนให้เห็นความสำเร็จอีกขั้นหนึ่งของระบบการศึกษาไทย ที่มีนักวิชาการมากมายเป็นกลไกสำคัญบ่มเพาะผลงานวิจัยที่มีคุณภาพสูง ขับเคลื่อนประเทศให้เติบโตท่ามกลางโลกที่กำลังเปลี่ยนแปลง ช่วยให้เราผ่านพ้นสถานการณ์ท้าทายกับภาวะ ‘วิกฤต’ และก้าวสู่ความ ‘วิจิตร’ แห่งภูมิปัญญาได้อย่างน่าสนใจ EZ Webmaster Related Posts คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” สวนสุนันทา – สกสค. ผนึกกำลังพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา เดินหน้าวิจัย-สร้างสรรค์สื่อ-อบรม AI ยกระดับการศึกษาไทย Post navigation PREVIOUS Previous post: CIMB THAI TRIATHLON FORWARD YOUR HEALTH ปี 4 คึกคัก พร้อมพัฒนาสู่ความยั่งยืนNEXT Next post: บทพิสูจน์แนวคิด “Learn to Earn เรียนรู้เพื่ออยู่รอด” กับการ Learn แล้ว Earn ได้จริง Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI… ทุนดีดี 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster December 12, 2022 EZ Webmaster December 12, 2022 28 ปี รางวัล TTF AWARD มอบผลงานวิชาการทรงคุณค่า นำสังคมไทยสู่ยุค ‘ปัญญาวิจิตร’ งานวิจัยที่มีคุณภาพนับเป็นหนึ่งในดัชนีชี้วัด ‘มาตรฐานการศึกษา’ ของประเทศไทย ผลงานที่โดดเด่นได้รับการตีพิมพ์และเผยแพร่ออกสู่สาธารณะจำนวนมาก รังสรรค์ประโยชน์และตอบโจทย์การพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ๆ ในแต่ละสาขา เกิดคุณูปการกว้างขวางมากขึ้นตามลำดับ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และมูลนิธิโตโยต้าประเทศไทย เล็งเห็นความสำคัญของการยกระดับงานค้นคว้าวิจัยมาถึง 28 ปี ผ่านการมอบรางวัลผลงานวิชาการดีเด่น หรือ ‘TTF AWARD’ กระตุ้นคนรุ่นใหม่และนักวิชาการจากสถาบันอุดมศึกษาต่างๆ สร้างแรงบันดาลใจผลิตผลงานใน 4 สาขาหลัก ได้แก่ สังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ วิทยาศาสตร์สุขภาพ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ศาสตราจารย์ ดร.ทันตแพทย์หญิง ศิริวรรณ สืบนุการณ์ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กล่าวว่า TTF AWARD มีเจตนารมณ์ส่งเสริมให้เกิดผลงานด้านการศึกษาค้นคว้าวิจัยที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้แก้ปัญหาทางสังคมและคุณภาพชีวิตของประชาชน ผลงานส่วนมากที่ได้รับรางวัลจะมุ่งนำเสนอเนื้อหาที่อ่านเข้าใจง่าย เพื่อให้เกิดประโยชน์สามารถเข้าถึงเยาวชน รวมทั้งถ่ายทอดแก่ประชาชนทั่วไป มิใช่อ่านยากจนเกินไปหรือต้องเก็บไว้บนหิ้งเท่านั้น แต่นำมาต่อยอดสร้างสรรค์เรียนรู้ก้าวสู่สังคมแห่งภูมิปัญญาได้อย่างเป็นรูปธรรม ประวัติศาสตร์คือกระจกส่องอนาคต ทั้งนี้ พิธีมอบรางวัล TTF AWARD ประจำปี 2564-2565 จัดขึ้นเมื่อ 25 พฤศจิกายน 2565 ที่ผ่านมา โดยมี คุณประมนต์ สุธีวงศ์ ประธานมูลนิธิโตโยต้าประเทศไทย พร้อมด้วยคุณนินนาท ไชยธีรภิญโญ ประธานคณะกรรมการบริษัทโตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จำกัด ร่วมเป็นประธานมอบรางวัลให้แก่ 5 ผลงานทรงคุณค่า ประกอบด้วย รางวัลเกียรติยศ ได้แก่ ผลงานชื่อ “ใต้ร่มพระบารมี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บุรพกษัตริย์แห่งมหาจักรีบรมราชวงศ์” โดยคณะบรรณาธิการจัดทำสารานุกรมประวัติศาสตร์ไทย สำนักงานราชบัณฑิตยสภา รองศาสตราจารย์ ดร.ศานติ ภักดีคำ รองเลขาธิการราชบัณฑิตยสภา กล่าวว่า คณะบรรณาธิการฯ ผู้ประพันธ์หนังสือเล่มนี้เป็นผู้ทรงคุณวุฒิที่ศึกษาประวัติศาสตร์มาตลอดชีวิต มิใช่เพียงการนำพระราชพงศาวดารมาเขียนเท่านั้นแต่มีกระบวนการประมวล สังเคราะห์ และศึกษาวิจัยเอกสารหลักฐานทางโบราณคดีต่างๆ เรียบเรียงแบ่งเนื้อหาเป็น 3 ส่วน หนึ่งคือการสร้างบ้านแปลงเมืองสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ สองคือการต่อสู้ในยุคจักรวรรดินิยมชาติตะวันตก และสามคือการเปลี่ยนแปลงจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์สู่ประชาธิปไตย ทำให้เราได้เห็นคุณค่าเรื่องราวต่างๆ และได้รู้จักตนเองมากยิ่งขึ้น “ประวัติศาสตร์เป็นกระจกบานหนึ่งที่ช่วยสะท้อนว่า กว่าจะมาเป็นเราในปัจจุบัน บ้านเมืองผ่านวิกฤตอะไรมาบ้างและบรรพบุรุษทำอย่างไรในการผ่านพ้นปัญหาแต่ละด้าน ยุคนั้นมีข้อจำกัดปัจจัยอะไรที่นำไปสู่การตัดสินใจ นำพาประเทศชาติให้อยู่รอดปลอดภัยประชาชนเป็นสุข ทำให้เยาวชนรับรู้บทบาทความสำคัญของสถาบันพระมหากษัตริย์และประชาชนที่ร่วมกันทำให้ประเทศเดินหน้ามาจนถึงวันนี้” อัตลักษณ์เอกสารคนไทยก่อนมาสู่ยุคบัตรประชาชน ขณะที่ผลงานวิชาการดีเด่น แบ่งเป็น 4 ด้าน ประกอบด้วย 1) ด้านสังคมศาสตร์ ได้แก่ ผลงานชื่อ “อัตลักษณ์เอกสาร วงศาวิทยาการควบคุมประชากรของรัฐไทย” โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ปิ่นแก้ว เหลืองอร่ามศรี คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นงานวิจัยบทบันทึกประวัติศาสตร์ผ่านมุมมองทางสังคมที่ไขคำตอบว่ารัฐใช้สิ่งใดแยกแยะพลเมืองไทยและควบคุมคนต่างด้าวในยุคสมัยต่างๆ สามารถบ่งบอกว่าแต่ละคนคือใคร ยกตัวอย่างการสักบนร่างกายไปจนถึงจัดทำบัตรประจำตัวประชาชนและบัตรประจำตัวคนที่ไม่มีสัญชาติไทย นำมาผูกความสัมพันธ์เชิงอำนาจบริหารจัดการสอดคล้องกับยุคสมัย ศาสตราจารย์ ดร.ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ อดีตคณบดีคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กล่าวว่า ผู้วิจัยได้ลงลึกศึกษาประวัติศาสตร์การระบุตัวตนบุคคลที่อยู่ภายใต้ราชอาณาจักรไทยว่าเป็นใคร อยู่ที่ไหน มีชื่อเรียกอย่างไร อัตลักษณ์เอกสารเหล่านี้มีการออกแบบวิธีใช้กับคนแต่ละกลุ่มไม่เหมือนกัน เช่น ไพร่ ทาส คนจีน คนนอก คนต่างด้าว ฯลฯ เนื้อหาหนังสือจึงน่าสนใจสะท้อนการแบ่งแยกคนโดยอำนาจ ศาสนา วัฒนธรรม ซึ่งทุกชาติสามารถนำไปศึกษาร่วมกันได้ รหัสทางสังคมที่ซ่อนอยู่ในงานศิลป์ 2) ด้านมนุษยศาสตร์ ได้แก่ ผลงานชื่อ “ศิลปะสมัยใหม่และร่วมสมัย : ตะวันตกและไทย” โดยศาสตราจารย์สุธี คุณาวิชยานนท์ คณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ได้ค้นคว้าโฉมหน้าประวัติศาสตร์ผ่านงานศิลปะทั้งไทยและต่างประเทศ สะท้อนความคิดคำนึงของศิลปินที่อยู่เบื้องหลังและถ่ายทอดออกมาเป็นผลงานเบื้องหน้าที่ประสบความสำเร็จ ทำให้การชื่นชมผลงานศิลปะเหล่านี้มีความหมายลึกซึ้งยิ่งขึ้น “หนังสือเล่มนี้เป็นผลงานการวิจัยศึกษาประวัติศาสตร์ในศตวรรษที่ 19-20 ซึ่งเกิดความเปลี่ยนแปลงของมนุษย์อย่างรวดเร็ว เมื่อศึกษาอดีตก็ย่อมจะเข้าใจปัจจุบันได้ดี เหมาะกับผู้สนใจงานศิลปะ วัฒนธรรม และการออกแบบต่างๆ ใช้ภาษาง่ายๆ เข้าใจได้ไม่ยาก” ศาสตราจารย์สุธี ระบุ ขณะที่ ผู้ช่วยศาสตราจารย์เอกพงษ์ ตรีตรง คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากรกล่าวเสริมว่า สิ่งที่ศิลปินได้ถ่ายทอดมิใช่แค่ความงดงามแต่ยังซ่อนรหัสที่ลึกซึ้งไว้ให้สังคมและประวัติศาสตร์ หนังสือเล่มนี้หล่อหลอมเชื่อมโยงอดีตและปัจจุบันซึ่งมีการใช้ “ซอฟต์พาวเวอร์” ขับเคลื่อนประเทศและเรากำลังก้าวเข้าสู่ยุค “ปัญญาวิจิตร” ที่ต้องอาศัยความรู้ความงามทางศิลปะควบคู่กันไปเพื่อสร้างความเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่ดีขึ้น ระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ณ จุดเกิดเหตุ 3) ด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ ได้แก่ ผลงานชื่อ “การดูแลรักษาผู้บาดเจ็บก่อนถึงโรงพยาบาล” โดย รองศาสตราจารย์ ดร.นายแพทย์ไชยพร ยุกเซ็น คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล เนื้อหาสะท้อนการยกระดับมาตรฐานระบบสาธารณสุขและลดสถิติผู้เสียชีวิตจากอุบัติภัยบนท้องถนน จัดทำเป็นคู่มือการดูแลผู้บาดเจ็บ ณ จุดเกิดเหตุ การนำความรู้ไปฝึกอบรมบุคลากรทางการแพทย์และจิตอาสากู้ชีพ ช่วยเหลือผู้บาดเจ็บจากเหตุการณ์ต่างๆ พลอากาศตรี นายแพทย์เฉลิมพร บุญสิริ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการแพทย์ฉุกเฉิน และ ประธานอนุกรรมการฉุกเฉินการแพทย์ สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ กล่าวว่า ทุกวันนี้คนไทยเสียชีวิตจากอุบัติเหตุสูงมากกว่า 100 คนต่อวัน ดังนั้น การดูแลผู้บาดเจ็บ ณ จุดเกิดเหตุ การให้ยา การช่วยเหลือผู้ป่วยที่หัวใจหยุดเต้น (CPR) อย่างถูกต้อง ระบบอำนวยการทางการแพทย์ที่ดีผ่านสายด่วน 1669 จึงสำคัญ รวมถึงการนำส่งไปสถานพยาบาลที่เหมาะสมไม่ให้เสียชีวิต พิการ และกลับคืนสู่สังคมในสภาพดีที่สุด กลไกการทำงานของเซลล์ในร่างกายมนุษย์ 4) ด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ได้แก่ ผลงานชื่อ “พันธุศาสตร์ระดับเซลล์” โดย ศาสตราจารย์ ดร.อลงกลด แทนออมทอง คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, รองศาสตราจารย์ ดร.กฤษณ์ ปิ่นทอง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ และผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อิสสระ ปะทะวัง คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ กับผลงานวิจัยที่อธิบายกลไกการทำงานในเซลล์อย่างง่ายและมีภาพประกอบชัดเจน เปิดโอกาสให้คนรุ่นใหม่ที่สนใจต่อยอดความรู้สู่วิชาชีพในอนาคต สอดคล้องกับการพัฒนาประเทศบนฐานของวิทยาศาสตร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เพลินพิศ โชคชัยชำนาญกิจ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มองว่า หนังสือเล่มนี้ช่วยให้เกิดความเข้าใจต่อกลไกที่เกิดขึ้นของระบบเซลล์ โดยทีมผู้ประพันธ์ทั้งสามท่านล้วนมีประสบการณ์วิจัยด้านเซลล์พันธุศาสตร์มายาวนานและอยู่หน้ากล้องจุลทรรศน์เพื่อมองหาคำตอบต่างๆ จนกว่าจะได้งานวิจัยชิ้นหนึ่งจึงต้องอุทิศแรงกายแรงใจ นับเป็นผลงานที่มีคุณค่ามากต่อศาสตร์ด้านชีววิทยา บทสรุปของรางวัล TTF AWARD ประจำปี 2564-2565 ได้สะท้อนให้เห็นความสำเร็จอีกขั้นหนึ่งของระบบการศึกษาไทย ที่มีนักวิชาการมากมายเป็นกลไกสำคัญบ่มเพาะผลงานวิจัยที่มีคุณภาพสูง ขับเคลื่อนประเทศให้เติบโตท่ามกลางโลกที่กำลังเปลี่ยนแปลง ช่วยให้เราผ่านพ้นสถานการณ์ท้าทายกับภาวะ ‘วิกฤต’ และก้าวสู่ความ ‘วิจิตร’ แห่งภูมิปัญญาได้อย่างน่าสนใจ EZ Webmaster Related Posts คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” สวนสุนันทา – สกสค. ผนึกกำลังพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา เดินหน้าวิจัย-สร้างสรรค์สื่อ-อบรม AI ยกระดับการศึกษาไทย Post navigation PREVIOUS Previous post: CIMB THAI TRIATHLON FORWARD YOUR HEALTH ปี 4 คึกคัก พร้อมพัฒนาสู่ความยั่งยืนNEXT Next post: บทพิสูจน์แนวคิด “Learn to Earn เรียนรู้เพื่ออยู่รอด” กับการ Learn แล้ว Earn ได้จริง Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI…
รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI…
8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster December 12, 2022 EZ Webmaster December 12, 2022 28 ปี รางวัล TTF AWARD มอบผลงานวิชาการทรงคุณค่า นำสังคมไทยสู่ยุค ‘ปัญญาวิจิตร’ งานวิจัยที่มีคุณภาพนับเป็นหนึ่งในดัชนีชี้วัด ‘มาตรฐานการศึกษา’ ของประเทศไทย ผลงานที่โดดเด่นได้รับการตีพิมพ์และเผยแพร่ออกสู่สาธารณะจำนวนมาก รังสรรค์ประโยชน์และตอบโจทย์การพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ๆ ในแต่ละสาขา เกิดคุณูปการกว้างขวางมากขึ้นตามลำดับ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และมูลนิธิโตโยต้าประเทศไทย เล็งเห็นความสำคัญของการยกระดับงานค้นคว้าวิจัยมาถึง 28 ปี ผ่านการมอบรางวัลผลงานวิชาการดีเด่น หรือ ‘TTF AWARD’ กระตุ้นคนรุ่นใหม่และนักวิชาการจากสถาบันอุดมศึกษาต่างๆ สร้างแรงบันดาลใจผลิตผลงานใน 4 สาขาหลัก ได้แก่ สังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ วิทยาศาสตร์สุขภาพ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ศาสตราจารย์ ดร.ทันตแพทย์หญิง ศิริวรรณ สืบนุการณ์ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กล่าวว่า TTF AWARD มีเจตนารมณ์ส่งเสริมให้เกิดผลงานด้านการศึกษาค้นคว้าวิจัยที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้แก้ปัญหาทางสังคมและคุณภาพชีวิตของประชาชน ผลงานส่วนมากที่ได้รับรางวัลจะมุ่งนำเสนอเนื้อหาที่อ่านเข้าใจง่าย เพื่อให้เกิดประโยชน์สามารถเข้าถึงเยาวชน รวมทั้งถ่ายทอดแก่ประชาชนทั่วไป มิใช่อ่านยากจนเกินไปหรือต้องเก็บไว้บนหิ้งเท่านั้น แต่นำมาต่อยอดสร้างสรรค์เรียนรู้ก้าวสู่สังคมแห่งภูมิปัญญาได้อย่างเป็นรูปธรรม ประวัติศาสตร์คือกระจกส่องอนาคต ทั้งนี้ พิธีมอบรางวัล TTF AWARD ประจำปี 2564-2565 จัดขึ้นเมื่อ 25 พฤศจิกายน 2565 ที่ผ่านมา โดยมี คุณประมนต์ สุธีวงศ์ ประธานมูลนิธิโตโยต้าประเทศไทย พร้อมด้วยคุณนินนาท ไชยธีรภิญโญ ประธานคณะกรรมการบริษัทโตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จำกัด ร่วมเป็นประธานมอบรางวัลให้แก่ 5 ผลงานทรงคุณค่า ประกอบด้วย รางวัลเกียรติยศ ได้แก่ ผลงานชื่อ “ใต้ร่มพระบารมี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บุรพกษัตริย์แห่งมหาจักรีบรมราชวงศ์” โดยคณะบรรณาธิการจัดทำสารานุกรมประวัติศาสตร์ไทย สำนักงานราชบัณฑิตยสภา รองศาสตราจารย์ ดร.ศานติ ภักดีคำ รองเลขาธิการราชบัณฑิตยสภา กล่าวว่า คณะบรรณาธิการฯ ผู้ประพันธ์หนังสือเล่มนี้เป็นผู้ทรงคุณวุฒิที่ศึกษาประวัติศาสตร์มาตลอดชีวิต มิใช่เพียงการนำพระราชพงศาวดารมาเขียนเท่านั้นแต่มีกระบวนการประมวล สังเคราะห์ และศึกษาวิจัยเอกสารหลักฐานทางโบราณคดีต่างๆ เรียบเรียงแบ่งเนื้อหาเป็น 3 ส่วน หนึ่งคือการสร้างบ้านแปลงเมืองสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ สองคือการต่อสู้ในยุคจักรวรรดินิยมชาติตะวันตก และสามคือการเปลี่ยนแปลงจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์สู่ประชาธิปไตย ทำให้เราได้เห็นคุณค่าเรื่องราวต่างๆ และได้รู้จักตนเองมากยิ่งขึ้น “ประวัติศาสตร์เป็นกระจกบานหนึ่งที่ช่วยสะท้อนว่า กว่าจะมาเป็นเราในปัจจุบัน บ้านเมืองผ่านวิกฤตอะไรมาบ้างและบรรพบุรุษทำอย่างไรในการผ่านพ้นปัญหาแต่ละด้าน ยุคนั้นมีข้อจำกัดปัจจัยอะไรที่นำไปสู่การตัดสินใจ นำพาประเทศชาติให้อยู่รอดปลอดภัยประชาชนเป็นสุข ทำให้เยาวชนรับรู้บทบาทความสำคัญของสถาบันพระมหากษัตริย์และประชาชนที่ร่วมกันทำให้ประเทศเดินหน้ามาจนถึงวันนี้” อัตลักษณ์เอกสารคนไทยก่อนมาสู่ยุคบัตรประชาชน ขณะที่ผลงานวิชาการดีเด่น แบ่งเป็น 4 ด้าน ประกอบด้วย 1) ด้านสังคมศาสตร์ ได้แก่ ผลงานชื่อ “อัตลักษณ์เอกสาร วงศาวิทยาการควบคุมประชากรของรัฐไทย” โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ปิ่นแก้ว เหลืองอร่ามศรี คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นงานวิจัยบทบันทึกประวัติศาสตร์ผ่านมุมมองทางสังคมที่ไขคำตอบว่ารัฐใช้สิ่งใดแยกแยะพลเมืองไทยและควบคุมคนต่างด้าวในยุคสมัยต่างๆ สามารถบ่งบอกว่าแต่ละคนคือใคร ยกตัวอย่างการสักบนร่างกายไปจนถึงจัดทำบัตรประจำตัวประชาชนและบัตรประจำตัวคนที่ไม่มีสัญชาติไทย นำมาผูกความสัมพันธ์เชิงอำนาจบริหารจัดการสอดคล้องกับยุคสมัย ศาสตราจารย์ ดร.ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ อดีตคณบดีคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กล่าวว่า ผู้วิจัยได้ลงลึกศึกษาประวัติศาสตร์การระบุตัวตนบุคคลที่อยู่ภายใต้ราชอาณาจักรไทยว่าเป็นใคร อยู่ที่ไหน มีชื่อเรียกอย่างไร อัตลักษณ์เอกสารเหล่านี้มีการออกแบบวิธีใช้กับคนแต่ละกลุ่มไม่เหมือนกัน เช่น ไพร่ ทาส คนจีน คนนอก คนต่างด้าว ฯลฯ เนื้อหาหนังสือจึงน่าสนใจสะท้อนการแบ่งแยกคนโดยอำนาจ ศาสนา วัฒนธรรม ซึ่งทุกชาติสามารถนำไปศึกษาร่วมกันได้ รหัสทางสังคมที่ซ่อนอยู่ในงานศิลป์ 2) ด้านมนุษยศาสตร์ ได้แก่ ผลงานชื่อ “ศิลปะสมัยใหม่และร่วมสมัย : ตะวันตกและไทย” โดยศาสตราจารย์สุธี คุณาวิชยานนท์ คณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ได้ค้นคว้าโฉมหน้าประวัติศาสตร์ผ่านงานศิลปะทั้งไทยและต่างประเทศ สะท้อนความคิดคำนึงของศิลปินที่อยู่เบื้องหลังและถ่ายทอดออกมาเป็นผลงานเบื้องหน้าที่ประสบความสำเร็จ ทำให้การชื่นชมผลงานศิลปะเหล่านี้มีความหมายลึกซึ้งยิ่งขึ้น “หนังสือเล่มนี้เป็นผลงานการวิจัยศึกษาประวัติศาสตร์ในศตวรรษที่ 19-20 ซึ่งเกิดความเปลี่ยนแปลงของมนุษย์อย่างรวดเร็ว เมื่อศึกษาอดีตก็ย่อมจะเข้าใจปัจจุบันได้ดี เหมาะกับผู้สนใจงานศิลปะ วัฒนธรรม และการออกแบบต่างๆ ใช้ภาษาง่ายๆ เข้าใจได้ไม่ยาก” ศาสตราจารย์สุธี ระบุ ขณะที่ ผู้ช่วยศาสตราจารย์เอกพงษ์ ตรีตรง คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากรกล่าวเสริมว่า สิ่งที่ศิลปินได้ถ่ายทอดมิใช่แค่ความงดงามแต่ยังซ่อนรหัสที่ลึกซึ้งไว้ให้สังคมและประวัติศาสตร์ หนังสือเล่มนี้หล่อหลอมเชื่อมโยงอดีตและปัจจุบันซึ่งมีการใช้ “ซอฟต์พาวเวอร์” ขับเคลื่อนประเทศและเรากำลังก้าวเข้าสู่ยุค “ปัญญาวิจิตร” ที่ต้องอาศัยความรู้ความงามทางศิลปะควบคู่กันไปเพื่อสร้างความเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่ดีขึ้น ระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ณ จุดเกิดเหตุ 3) ด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ ได้แก่ ผลงานชื่อ “การดูแลรักษาผู้บาดเจ็บก่อนถึงโรงพยาบาล” โดย รองศาสตราจารย์ ดร.นายแพทย์ไชยพร ยุกเซ็น คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล เนื้อหาสะท้อนการยกระดับมาตรฐานระบบสาธารณสุขและลดสถิติผู้เสียชีวิตจากอุบัติภัยบนท้องถนน จัดทำเป็นคู่มือการดูแลผู้บาดเจ็บ ณ จุดเกิดเหตุ การนำความรู้ไปฝึกอบรมบุคลากรทางการแพทย์และจิตอาสากู้ชีพ ช่วยเหลือผู้บาดเจ็บจากเหตุการณ์ต่างๆ พลอากาศตรี นายแพทย์เฉลิมพร บุญสิริ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการแพทย์ฉุกเฉิน และ ประธานอนุกรรมการฉุกเฉินการแพทย์ สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ กล่าวว่า ทุกวันนี้คนไทยเสียชีวิตจากอุบัติเหตุสูงมากกว่า 100 คนต่อวัน ดังนั้น การดูแลผู้บาดเจ็บ ณ จุดเกิดเหตุ การให้ยา การช่วยเหลือผู้ป่วยที่หัวใจหยุดเต้น (CPR) อย่างถูกต้อง ระบบอำนวยการทางการแพทย์ที่ดีผ่านสายด่วน 1669 จึงสำคัญ รวมถึงการนำส่งไปสถานพยาบาลที่เหมาะสมไม่ให้เสียชีวิต พิการ และกลับคืนสู่สังคมในสภาพดีที่สุด กลไกการทำงานของเซลล์ในร่างกายมนุษย์ 4) ด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ได้แก่ ผลงานชื่อ “พันธุศาสตร์ระดับเซลล์” โดย ศาสตราจารย์ ดร.อลงกลด แทนออมทอง คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, รองศาสตราจารย์ ดร.กฤษณ์ ปิ่นทอง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ และผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อิสสระ ปะทะวัง คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ กับผลงานวิจัยที่อธิบายกลไกการทำงานในเซลล์อย่างง่ายและมีภาพประกอบชัดเจน เปิดโอกาสให้คนรุ่นใหม่ที่สนใจต่อยอดความรู้สู่วิชาชีพในอนาคต สอดคล้องกับการพัฒนาประเทศบนฐานของวิทยาศาสตร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เพลินพิศ โชคชัยชำนาญกิจ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มองว่า หนังสือเล่มนี้ช่วยให้เกิดความเข้าใจต่อกลไกที่เกิดขึ้นของระบบเซลล์ โดยทีมผู้ประพันธ์ทั้งสามท่านล้วนมีประสบการณ์วิจัยด้านเซลล์พันธุศาสตร์มายาวนานและอยู่หน้ากล้องจุลทรรศน์เพื่อมองหาคำตอบต่างๆ จนกว่าจะได้งานวิจัยชิ้นหนึ่งจึงต้องอุทิศแรงกายแรงใจ นับเป็นผลงานที่มีคุณค่ามากต่อศาสตร์ด้านชีววิทยา บทสรุปของรางวัล TTF AWARD ประจำปี 2564-2565 ได้สะท้อนให้เห็นความสำเร็จอีกขั้นหนึ่งของระบบการศึกษาไทย ที่มีนักวิชาการมากมายเป็นกลไกสำคัญบ่มเพาะผลงานวิจัยที่มีคุณภาพสูง ขับเคลื่อนประเทศให้เติบโตท่ามกลางโลกที่กำลังเปลี่ยนแปลง ช่วยให้เราผ่านพ้นสถานการณ์ท้าทายกับภาวะ ‘วิกฤต’ และก้าวสู่ความ ‘วิจิตร’ แห่งภูมิปัญญาได้อย่างน่าสนใจ EZ Webmaster Related Posts คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” สวนสุนันทา – สกสค. ผนึกกำลังพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา เดินหน้าวิจัย-สร้างสรรค์สื่อ-อบรม AI ยกระดับการศึกษาไทย Post navigation PREVIOUS Previous post: CIMB THAI TRIATHLON FORWARD YOUR HEALTH ปี 4 คึกคัก พร้อมพัฒนาสู่ความยั่งยืนNEXT Next post: บทพิสูจน์แนวคิด “Learn to Earn เรียนรู้เพื่ออยู่รอด” กับการ Learn แล้ว Earn ได้จริง Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster December 12, 2022 EZ Webmaster December 12, 2022 28 ปี รางวัล TTF AWARD มอบผลงานวิชาการทรงคุณค่า นำสังคมไทยสู่ยุค ‘ปัญญาวิจิตร’ งานวิจัยที่มีคุณภาพนับเป็นหนึ่งในดัชนีชี้วัด ‘มาตรฐานการศึกษา’ ของประเทศไทย ผลงานที่โดดเด่นได้รับการตีพิมพ์และเผยแพร่ออกสู่สาธารณะจำนวนมาก รังสรรค์ประโยชน์และตอบโจทย์การพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ๆ ในแต่ละสาขา เกิดคุณูปการกว้างขวางมากขึ้นตามลำดับ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และมูลนิธิโตโยต้าประเทศไทย เล็งเห็นความสำคัญของการยกระดับงานค้นคว้าวิจัยมาถึง 28 ปี ผ่านการมอบรางวัลผลงานวิชาการดีเด่น หรือ ‘TTF AWARD’ กระตุ้นคนรุ่นใหม่และนักวิชาการจากสถาบันอุดมศึกษาต่างๆ สร้างแรงบันดาลใจผลิตผลงานใน 4 สาขาหลัก ได้แก่ สังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ วิทยาศาสตร์สุขภาพ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ศาสตราจารย์ ดร.ทันตแพทย์หญิง ศิริวรรณ สืบนุการณ์ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กล่าวว่า TTF AWARD มีเจตนารมณ์ส่งเสริมให้เกิดผลงานด้านการศึกษาค้นคว้าวิจัยที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้แก้ปัญหาทางสังคมและคุณภาพชีวิตของประชาชน ผลงานส่วนมากที่ได้รับรางวัลจะมุ่งนำเสนอเนื้อหาที่อ่านเข้าใจง่าย เพื่อให้เกิดประโยชน์สามารถเข้าถึงเยาวชน รวมทั้งถ่ายทอดแก่ประชาชนทั่วไป มิใช่อ่านยากจนเกินไปหรือต้องเก็บไว้บนหิ้งเท่านั้น แต่นำมาต่อยอดสร้างสรรค์เรียนรู้ก้าวสู่สังคมแห่งภูมิปัญญาได้อย่างเป็นรูปธรรม ประวัติศาสตร์คือกระจกส่องอนาคต ทั้งนี้ พิธีมอบรางวัล TTF AWARD ประจำปี 2564-2565 จัดขึ้นเมื่อ 25 พฤศจิกายน 2565 ที่ผ่านมา โดยมี คุณประมนต์ สุธีวงศ์ ประธานมูลนิธิโตโยต้าประเทศไทย พร้อมด้วยคุณนินนาท ไชยธีรภิญโญ ประธานคณะกรรมการบริษัทโตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จำกัด ร่วมเป็นประธานมอบรางวัลให้แก่ 5 ผลงานทรงคุณค่า ประกอบด้วย รางวัลเกียรติยศ ได้แก่ ผลงานชื่อ “ใต้ร่มพระบารมี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บุรพกษัตริย์แห่งมหาจักรีบรมราชวงศ์” โดยคณะบรรณาธิการจัดทำสารานุกรมประวัติศาสตร์ไทย สำนักงานราชบัณฑิตยสภา รองศาสตราจารย์ ดร.ศานติ ภักดีคำ รองเลขาธิการราชบัณฑิตยสภา กล่าวว่า คณะบรรณาธิการฯ ผู้ประพันธ์หนังสือเล่มนี้เป็นผู้ทรงคุณวุฒิที่ศึกษาประวัติศาสตร์มาตลอดชีวิต มิใช่เพียงการนำพระราชพงศาวดารมาเขียนเท่านั้นแต่มีกระบวนการประมวล สังเคราะห์ และศึกษาวิจัยเอกสารหลักฐานทางโบราณคดีต่างๆ เรียบเรียงแบ่งเนื้อหาเป็น 3 ส่วน หนึ่งคือการสร้างบ้านแปลงเมืองสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ สองคือการต่อสู้ในยุคจักรวรรดินิยมชาติตะวันตก และสามคือการเปลี่ยนแปลงจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์สู่ประชาธิปไตย ทำให้เราได้เห็นคุณค่าเรื่องราวต่างๆ และได้รู้จักตนเองมากยิ่งขึ้น “ประวัติศาสตร์เป็นกระจกบานหนึ่งที่ช่วยสะท้อนว่า กว่าจะมาเป็นเราในปัจจุบัน บ้านเมืองผ่านวิกฤตอะไรมาบ้างและบรรพบุรุษทำอย่างไรในการผ่านพ้นปัญหาแต่ละด้าน ยุคนั้นมีข้อจำกัดปัจจัยอะไรที่นำไปสู่การตัดสินใจ นำพาประเทศชาติให้อยู่รอดปลอดภัยประชาชนเป็นสุข ทำให้เยาวชนรับรู้บทบาทความสำคัญของสถาบันพระมหากษัตริย์และประชาชนที่ร่วมกันทำให้ประเทศเดินหน้ามาจนถึงวันนี้” อัตลักษณ์เอกสารคนไทยก่อนมาสู่ยุคบัตรประชาชน ขณะที่ผลงานวิชาการดีเด่น แบ่งเป็น 4 ด้าน ประกอบด้วย 1) ด้านสังคมศาสตร์ ได้แก่ ผลงานชื่อ “อัตลักษณ์เอกสาร วงศาวิทยาการควบคุมประชากรของรัฐไทย” โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ปิ่นแก้ว เหลืองอร่ามศรี คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นงานวิจัยบทบันทึกประวัติศาสตร์ผ่านมุมมองทางสังคมที่ไขคำตอบว่ารัฐใช้สิ่งใดแยกแยะพลเมืองไทยและควบคุมคนต่างด้าวในยุคสมัยต่างๆ สามารถบ่งบอกว่าแต่ละคนคือใคร ยกตัวอย่างการสักบนร่างกายไปจนถึงจัดทำบัตรประจำตัวประชาชนและบัตรประจำตัวคนที่ไม่มีสัญชาติไทย นำมาผูกความสัมพันธ์เชิงอำนาจบริหารจัดการสอดคล้องกับยุคสมัย ศาสตราจารย์ ดร.ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ อดีตคณบดีคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กล่าวว่า ผู้วิจัยได้ลงลึกศึกษาประวัติศาสตร์การระบุตัวตนบุคคลที่อยู่ภายใต้ราชอาณาจักรไทยว่าเป็นใคร อยู่ที่ไหน มีชื่อเรียกอย่างไร อัตลักษณ์เอกสารเหล่านี้มีการออกแบบวิธีใช้กับคนแต่ละกลุ่มไม่เหมือนกัน เช่น ไพร่ ทาส คนจีน คนนอก คนต่างด้าว ฯลฯ เนื้อหาหนังสือจึงน่าสนใจสะท้อนการแบ่งแยกคนโดยอำนาจ ศาสนา วัฒนธรรม ซึ่งทุกชาติสามารถนำไปศึกษาร่วมกันได้ รหัสทางสังคมที่ซ่อนอยู่ในงานศิลป์ 2) ด้านมนุษยศาสตร์ ได้แก่ ผลงานชื่อ “ศิลปะสมัยใหม่และร่วมสมัย : ตะวันตกและไทย” โดยศาสตราจารย์สุธี คุณาวิชยานนท์ คณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ได้ค้นคว้าโฉมหน้าประวัติศาสตร์ผ่านงานศิลปะทั้งไทยและต่างประเทศ สะท้อนความคิดคำนึงของศิลปินที่อยู่เบื้องหลังและถ่ายทอดออกมาเป็นผลงานเบื้องหน้าที่ประสบความสำเร็จ ทำให้การชื่นชมผลงานศิลปะเหล่านี้มีความหมายลึกซึ้งยิ่งขึ้น “หนังสือเล่มนี้เป็นผลงานการวิจัยศึกษาประวัติศาสตร์ในศตวรรษที่ 19-20 ซึ่งเกิดความเปลี่ยนแปลงของมนุษย์อย่างรวดเร็ว เมื่อศึกษาอดีตก็ย่อมจะเข้าใจปัจจุบันได้ดี เหมาะกับผู้สนใจงานศิลปะ วัฒนธรรม และการออกแบบต่างๆ ใช้ภาษาง่ายๆ เข้าใจได้ไม่ยาก” ศาสตราจารย์สุธี ระบุ ขณะที่ ผู้ช่วยศาสตราจารย์เอกพงษ์ ตรีตรง คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากรกล่าวเสริมว่า สิ่งที่ศิลปินได้ถ่ายทอดมิใช่แค่ความงดงามแต่ยังซ่อนรหัสที่ลึกซึ้งไว้ให้สังคมและประวัติศาสตร์ หนังสือเล่มนี้หล่อหลอมเชื่อมโยงอดีตและปัจจุบันซึ่งมีการใช้ “ซอฟต์พาวเวอร์” ขับเคลื่อนประเทศและเรากำลังก้าวเข้าสู่ยุค “ปัญญาวิจิตร” ที่ต้องอาศัยความรู้ความงามทางศิลปะควบคู่กันไปเพื่อสร้างความเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่ดีขึ้น ระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ณ จุดเกิดเหตุ 3) ด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ ได้แก่ ผลงานชื่อ “การดูแลรักษาผู้บาดเจ็บก่อนถึงโรงพยาบาล” โดย รองศาสตราจารย์ ดร.นายแพทย์ไชยพร ยุกเซ็น คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล เนื้อหาสะท้อนการยกระดับมาตรฐานระบบสาธารณสุขและลดสถิติผู้เสียชีวิตจากอุบัติภัยบนท้องถนน จัดทำเป็นคู่มือการดูแลผู้บาดเจ็บ ณ จุดเกิดเหตุ การนำความรู้ไปฝึกอบรมบุคลากรทางการแพทย์และจิตอาสากู้ชีพ ช่วยเหลือผู้บาดเจ็บจากเหตุการณ์ต่างๆ พลอากาศตรี นายแพทย์เฉลิมพร บุญสิริ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการแพทย์ฉุกเฉิน และ ประธานอนุกรรมการฉุกเฉินการแพทย์ สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ กล่าวว่า ทุกวันนี้คนไทยเสียชีวิตจากอุบัติเหตุสูงมากกว่า 100 คนต่อวัน ดังนั้น การดูแลผู้บาดเจ็บ ณ จุดเกิดเหตุ การให้ยา การช่วยเหลือผู้ป่วยที่หัวใจหยุดเต้น (CPR) อย่างถูกต้อง ระบบอำนวยการทางการแพทย์ที่ดีผ่านสายด่วน 1669 จึงสำคัญ รวมถึงการนำส่งไปสถานพยาบาลที่เหมาะสมไม่ให้เสียชีวิต พิการ และกลับคืนสู่สังคมในสภาพดีที่สุด กลไกการทำงานของเซลล์ในร่างกายมนุษย์ 4) ด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ได้แก่ ผลงานชื่อ “พันธุศาสตร์ระดับเซลล์” โดย ศาสตราจารย์ ดร.อลงกลด แทนออมทอง คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, รองศาสตราจารย์ ดร.กฤษณ์ ปิ่นทอง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ และผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อิสสระ ปะทะวัง คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ กับผลงานวิจัยที่อธิบายกลไกการทำงานในเซลล์อย่างง่ายและมีภาพประกอบชัดเจน เปิดโอกาสให้คนรุ่นใหม่ที่สนใจต่อยอดความรู้สู่วิชาชีพในอนาคต สอดคล้องกับการพัฒนาประเทศบนฐานของวิทยาศาสตร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เพลินพิศ โชคชัยชำนาญกิจ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มองว่า หนังสือเล่มนี้ช่วยให้เกิดความเข้าใจต่อกลไกที่เกิดขึ้นของระบบเซลล์ โดยทีมผู้ประพันธ์ทั้งสามท่านล้วนมีประสบการณ์วิจัยด้านเซลล์พันธุศาสตร์มายาวนานและอยู่หน้ากล้องจุลทรรศน์เพื่อมองหาคำตอบต่างๆ จนกว่าจะได้งานวิจัยชิ้นหนึ่งจึงต้องอุทิศแรงกายแรงใจ นับเป็นผลงานที่มีคุณค่ามากต่อศาสตร์ด้านชีววิทยา บทสรุปของรางวัล TTF AWARD ประจำปี 2564-2565 ได้สะท้อนให้เห็นความสำเร็จอีกขั้นหนึ่งของระบบการศึกษาไทย ที่มีนักวิชาการมากมายเป็นกลไกสำคัญบ่มเพาะผลงานวิจัยที่มีคุณภาพสูง ขับเคลื่อนประเทศให้เติบโตท่ามกลางโลกที่กำลังเปลี่ยนแปลง ช่วยให้เราผ่านพ้นสถานการณ์ท้าทายกับภาวะ ‘วิกฤต’ และก้าวสู่ความ ‘วิจิตร’ แห่งภูมิปัญญาได้อย่างน่าสนใจ EZ Webmaster Related Posts คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” สวนสุนันทา – สกสค. ผนึกกำลังพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา เดินหน้าวิจัย-สร้างสรรค์สื่อ-อบรม AI ยกระดับการศึกษาไทย Post navigation PREVIOUS Previous post: CIMB THAI TRIATHLON FORWARD YOUR HEALTH ปี 4 คึกคัก พร้อมพัฒนาสู่ความยั่งยืนNEXT Next post: บทพิสูจน์แนวคิด “Learn to Earn เรียนรู้เพื่ออยู่รอด” กับการ Learn แล้ว Earn ได้จริง Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่…
รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่…
คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster December 12, 2022 EZ Webmaster December 12, 2022 28 ปี รางวัล TTF AWARD มอบผลงานวิชาการทรงคุณค่า นำสังคมไทยสู่ยุค ‘ปัญญาวิจิตร’ งานวิจัยที่มีคุณภาพนับเป็นหนึ่งในดัชนีชี้วัด ‘มาตรฐานการศึกษา’ ของประเทศไทย ผลงานที่โดดเด่นได้รับการตีพิมพ์และเผยแพร่ออกสู่สาธารณะจำนวนมาก รังสรรค์ประโยชน์และตอบโจทย์การพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ๆ ในแต่ละสาขา เกิดคุณูปการกว้างขวางมากขึ้นตามลำดับ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และมูลนิธิโตโยต้าประเทศไทย เล็งเห็นความสำคัญของการยกระดับงานค้นคว้าวิจัยมาถึง 28 ปี ผ่านการมอบรางวัลผลงานวิชาการดีเด่น หรือ ‘TTF AWARD’ กระตุ้นคนรุ่นใหม่และนักวิชาการจากสถาบันอุดมศึกษาต่างๆ สร้างแรงบันดาลใจผลิตผลงานใน 4 สาขาหลัก ได้แก่ สังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ วิทยาศาสตร์สุขภาพ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ศาสตราจารย์ ดร.ทันตแพทย์หญิง ศิริวรรณ สืบนุการณ์ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กล่าวว่า TTF AWARD มีเจตนารมณ์ส่งเสริมให้เกิดผลงานด้านการศึกษาค้นคว้าวิจัยที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้แก้ปัญหาทางสังคมและคุณภาพชีวิตของประชาชน ผลงานส่วนมากที่ได้รับรางวัลจะมุ่งนำเสนอเนื้อหาที่อ่านเข้าใจง่าย เพื่อให้เกิดประโยชน์สามารถเข้าถึงเยาวชน รวมทั้งถ่ายทอดแก่ประชาชนทั่วไป มิใช่อ่านยากจนเกินไปหรือต้องเก็บไว้บนหิ้งเท่านั้น แต่นำมาต่อยอดสร้างสรรค์เรียนรู้ก้าวสู่สังคมแห่งภูมิปัญญาได้อย่างเป็นรูปธรรม ประวัติศาสตร์คือกระจกส่องอนาคต ทั้งนี้ พิธีมอบรางวัล TTF AWARD ประจำปี 2564-2565 จัดขึ้นเมื่อ 25 พฤศจิกายน 2565 ที่ผ่านมา โดยมี คุณประมนต์ สุธีวงศ์ ประธานมูลนิธิโตโยต้าประเทศไทย พร้อมด้วยคุณนินนาท ไชยธีรภิญโญ ประธานคณะกรรมการบริษัทโตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จำกัด ร่วมเป็นประธานมอบรางวัลให้แก่ 5 ผลงานทรงคุณค่า ประกอบด้วย รางวัลเกียรติยศ ได้แก่ ผลงานชื่อ “ใต้ร่มพระบารมี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บุรพกษัตริย์แห่งมหาจักรีบรมราชวงศ์” โดยคณะบรรณาธิการจัดทำสารานุกรมประวัติศาสตร์ไทย สำนักงานราชบัณฑิตยสภา รองศาสตราจารย์ ดร.ศานติ ภักดีคำ รองเลขาธิการราชบัณฑิตยสภา กล่าวว่า คณะบรรณาธิการฯ ผู้ประพันธ์หนังสือเล่มนี้เป็นผู้ทรงคุณวุฒิที่ศึกษาประวัติศาสตร์มาตลอดชีวิต มิใช่เพียงการนำพระราชพงศาวดารมาเขียนเท่านั้นแต่มีกระบวนการประมวล สังเคราะห์ และศึกษาวิจัยเอกสารหลักฐานทางโบราณคดีต่างๆ เรียบเรียงแบ่งเนื้อหาเป็น 3 ส่วน หนึ่งคือการสร้างบ้านแปลงเมืองสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ สองคือการต่อสู้ในยุคจักรวรรดินิยมชาติตะวันตก และสามคือการเปลี่ยนแปลงจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์สู่ประชาธิปไตย ทำให้เราได้เห็นคุณค่าเรื่องราวต่างๆ และได้รู้จักตนเองมากยิ่งขึ้น “ประวัติศาสตร์เป็นกระจกบานหนึ่งที่ช่วยสะท้อนว่า กว่าจะมาเป็นเราในปัจจุบัน บ้านเมืองผ่านวิกฤตอะไรมาบ้างและบรรพบุรุษทำอย่างไรในการผ่านพ้นปัญหาแต่ละด้าน ยุคนั้นมีข้อจำกัดปัจจัยอะไรที่นำไปสู่การตัดสินใจ นำพาประเทศชาติให้อยู่รอดปลอดภัยประชาชนเป็นสุข ทำให้เยาวชนรับรู้บทบาทความสำคัญของสถาบันพระมหากษัตริย์และประชาชนที่ร่วมกันทำให้ประเทศเดินหน้ามาจนถึงวันนี้” อัตลักษณ์เอกสารคนไทยก่อนมาสู่ยุคบัตรประชาชน ขณะที่ผลงานวิชาการดีเด่น แบ่งเป็น 4 ด้าน ประกอบด้วย 1) ด้านสังคมศาสตร์ ได้แก่ ผลงานชื่อ “อัตลักษณ์เอกสาร วงศาวิทยาการควบคุมประชากรของรัฐไทย” โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ปิ่นแก้ว เหลืองอร่ามศรี คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นงานวิจัยบทบันทึกประวัติศาสตร์ผ่านมุมมองทางสังคมที่ไขคำตอบว่ารัฐใช้สิ่งใดแยกแยะพลเมืองไทยและควบคุมคนต่างด้าวในยุคสมัยต่างๆ สามารถบ่งบอกว่าแต่ละคนคือใคร ยกตัวอย่างการสักบนร่างกายไปจนถึงจัดทำบัตรประจำตัวประชาชนและบัตรประจำตัวคนที่ไม่มีสัญชาติไทย นำมาผูกความสัมพันธ์เชิงอำนาจบริหารจัดการสอดคล้องกับยุคสมัย ศาสตราจารย์ ดร.ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ อดีตคณบดีคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กล่าวว่า ผู้วิจัยได้ลงลึกศึกษาประวัติศาสตร์การระบุตัวตนบุคคลที่อยู่ภายใต้ราชอาณาจักรไทยว่าเป็นใคร อยู่ที่ไหน มีชื่อเรียกอย่างไร อัตลักษณ์เอกสารเหล่านี้มีการออกแบบวิธีใช้กับคนแต่ละกลุ่มไม่เหมือนกัน เช่น ไพร่ ทาส คนจีน คนนอก คนต่างด้าว ฯลฯ เนื้อหาหนังสือจึงน่าสนใจสะท้อนการแบ่งแยกคนโดยอำนาจ ศาสนา วัฒนธรรม ซึ่งทุกชาติสามารถนำไปศึกษาร่วมกันได้ รหัสทางสังคมที่ซ่อนอยู่ในงานศิลป์ 2) ด้านมนุษยศาสตร์ ได้แก่ ผลงานชื่อ “ศิลปะสมัยใหม่และร่วมสมัย : ตะวันตกและไทย” โดยศาสตราจารย์สุธี คุณาวิชยานนท์ คณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ได้ค้นคว้าโฉมหน้าประวัติศาสตร์ผ่านงานศิลปะทั้งไทยและต่างประเทศ สะท้อนความคิดคำนึงของศิลปินที่อยู่เบื้องหลังและถ่ายทอดออกมาเป็นผลงานเบื้องหน้าที่ประสบความสำเร็จ ทำให้การชื่นชมผลงานศิลปะเหล่านี้มีความหมายลึกซึ้งยิ่งขึ้น “หนังสือเล่มนี้เป็นผลงานการวิจัยศึกษาประวัติศาสตร์ในศตวรรษที่ 19-20 ซึ่งเกิดความเปลี่ยนแปลงของมนุษย์อย่างรวดเร็ว เมื่อศึกษาอดีตก็ย่อมจะเข้าใจปัจจุบันได้ดี เหมาะกับผู้สนใจงานศิลปะ วัฒนธรรม และการออกแบบต่างๆ ใช้ภาษาง่ายๆ เข้าใจได้ไม่ยาก” ศาสตราจารย์สุธี ระบุ ขณะที่ ผู้ช่วยศาสตราจารย์เอกพงษ์ ตรีตรง คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากรกล่าวเสริมว่า สิ่งที่ศิลปินได้ถ่ายทอดมิใช่แค่ความงดงามแต่ยังซ่อนรหัสที่ลึกซึ้งไว้ให้สังคมและประวัติศาสตร์ หนังสือเล่มนี้หล่อหลอมเชื่อมโยงอดีตและปัจจุบันซึ่งมีการใช้ “ซอฟต์พาวเวอร์” ขับเคลื่อนประเทศและเรากำลังก้าวเข้าสู่ยุค “ปัญญาวิจิตร” ที่ต้องอาศัยความรู้ความงามทางศิลปะควบคู่กันไปเพื่อสร้างความเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่ดีขึ้น ระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ณ จุดเกิดเหตุ 3) ด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ ได้แก่ ผลงานชื่อ “การดูแลรักษาผู้บาดเจ็บก่อนถึงโรงพยาบาล” โดย รองศาสตราจารย์ ดร.นายแพทย์ไชยพร ยุกเซ็น คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล เนื้อหาสะท้อนการยกระดับมาตรฐานระบบสาธารณสุขและลดสถิติผู้เสียชีวิตจากอุบัติภัยบนท้องถนน จัดทำเป็นคู่มือการดูแลผู้บาดเจ็บ ณ จุดเกิดเหตุ การนำความรู้ไปฝึกอบรมบุคลากรทางการแพทย์และจิตอาสากู้ชีพ ช่วยเหลือผู้บาดเจ็บจากเหตุการณ์ต่างๆ พลอากาศตรี นายแพทย์เฉลิมพร บุญสิริ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการแพทย์ฉุกเฉิน และ ประธานอนุกรรมการฉุกเฉินการแพทย์ สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ กล่าวว่า ทุกวันนี้คนไทยเสียชีวิตจากอุบัติเหตุสูงมากกว่า 100 คนต่อวัน ดังนั้น การดูแลผู้บาดเจ็บ ณ จุดเกิดเหตุ การให้ยา การช่วยเหลือผู้ป่วยที่หัวใจหยุดเต้น (CPR) อย่างถูกต้อง ระบบอำนวยการทางการแพทย์ที่ดีผ่านสายด่วน 1669 จึงสำคัญ รวมถึงการนำส่งไปสถานพยาบาลที่เหมาะสมไม่ให้เสียชีวิต พิการ และกลับคืนสู่สังคมในสภาพดีที่สุด กลไกการทำงานของเซลล์ในร่างกายมนุษย์ 4) ด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ได้แก่ ผลงานชื่อ “พันธุศาสตร์ระดับเซลล์” โดย ศาสตราจารย์ ดร.อลงกลด แทนออมทอง คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, รองศาสตราจารย์ ดร.กฤษณ์ ปิ่นทอง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ และผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อิสสระ ปะทะวัง คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ กับผลงานวิจัยที่อธิบายกลไกการทำงานในเซลล์อย่างง่ายและมีภาพประกอบชัดเจน เปิดโอกาสให้คนรุ่นใหม่ที่สนใจต่อยอดความรู้สู่วิชาชีพในอนาคต สอดคล้องกับการพัฒนาประเทศบนฐานของวิทยาศาสตร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เพลินพิศ โชคชัยชำนาญกิจ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มองว่า หนังสือเล่มนี้ช่วยให้เกิดความเข้าใจต่อกลไกที่เกิดขึ้นของระบบเซลล์ โดยทีมผู้ประพันธ์ทั้งสามท่านล้วนมีประสบการณ์วิจัยด้านเซลล์พันธุศาสตร์มายาวนานและอยู่หน้ากล้องจุลทรรศน์เพื่อมองหาคำตอบต่างๆ จนกว่าจะได้งานวิจัยชิ้นหนึ่งจึงต้องอุทิศแรงกายแรงใจ นับเป็นผลงานที่มีคุณค่ามากต่อศาสตร์ด้านชีววิทยา บทสรุปของรางวัล TTF AWARD ประจำปี 2564-2565 ได้สะท้อนให้เห็นความสำเร็จอีกขั้นหนึ่งของระบบการศึกษาไทย ที่มีนักวิชาการมากมายเป็นกลไกสำคัญบ่มเพาะผลงานวิจัยที่มีคุณภาพสูง ขับเคลื่อนประเทศให้เติบโตท่ามกลางโลกที่กำลังเปลี่ยนแปลง ช่วยให้เราผ่านพ้นสถานการณ์ท้าทายกับภาวะ ‘วิกฤต’ และก้าวสู่ความ ‘วิจิตร’ แห่งภูมิปัญญาได้อย่างน่าสนใจ EZ Webmaster Related Posts คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” สวนสุนันทา – สกสค. ผนึกกำลังพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา เดินหน้าวิจัย-สร้างสรรค์สื่อ-อบรม AI ยกระดับการศึกษาไทย Post navigation PREVIOUS Previous post: CIMB THAI TRIATHLON FORWARD YOUR HEALTH ปี 4 คึกคัก พร้อมพัฒนาสู่ความยั่งยืนNEXT Next post: บทพิสูจน์แนวคิด “Learn to Earn เรียนรู้เพื่ออยู่รอด” กับการ Learn แล้ว Earn ได้จริง Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster December 12, 2022 EZ Webmaster December 12, 2022 28 ปี รางวัล TTF AWARD มอบผลงานวิชาการทรงคุณค่า นำสังคมไทยสู่ยุค ‘ปัญญาวิจิตร’ งานวิจัยที่มีคุณภาพนับเป็นหนึ่งในดัชนีชี้วัด ‘มาตรฐานการศึกษา’ ของประเทศไทย ผลงานที่โดดเด่นได้รับการตีพิมพ์และเผยแพร่ออกสู่สาธารณะจำนวนมาก รังสรรค์ประโยชน์และตอบโจทย์การพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ๆ ในแต่ละสาขา เกิดคุณูปการกว้างขวางมากขึ้นตามลำดับ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และมูลนิธิโตโยต้าประเทศไทย เล็งเห็นความสำคัญของการยกระดับงานค้นคว้าวิจัยมาถึง 28 ปี ผ่านการมอบรางวัลผลงานวิชาการดีเด่น หรือ ‘TTF AWARD’ กระตุ้นคนรุ่นใหม่และนักวิชาการจากสถาบันอุดมศึกษาต่างๆ สร้างแรงบันดาลใจผลิตผลงานใน 4 สาขาหลัก ได้แก่ สังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ วิทยาศาสตร์สุขภาพ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ศาสตราจารย์ ดร.ทันตแพทย์หญิง ศิริวรรณ สืบนุการณ์ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กล่าวว่า TTF AWARD มีเจตนารมณ์ส่งเสริมให้เกิดผลงานด้านการศึกษาค้นคว้าวิจัยที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้แก้ปัญหาทางสังคมและคุณภาพชีวิตของประชาชน ผลงานส่วนมากที่ได้รับรางวัลจะมุ่งนำเสนอเนื้อหาที่อ่านเข้าใจง่าย เพื่อให้เกิดประโยชน์สามารถเข้าถึงเยาวชน รวมทั้งถ่ายทอดแก่ประชาชนทั่วไป มิใช่อ่านยากจนเกินไปหรือต้องเก็บไว้บนหิ้งเท่านั้น แต่นำมาต่อยอดสร้างสรรค์เรียนรู้ก้าวสู่สังคมแห่งภูมิปัญญาได้อย่างเป็นรูปธรรม ประวัติศาสตร์คือกระจกส่องอนาคต ทั้งนี้ พิธีมอบรางวัล TTF AWARD ประจำปี 2564-2565 จัดขึ้นเมื่อ 25 พฤศจิกายน 2565 ที่ผ่านมา โดยมี คุณประมนต์ สุธีวงศ์ ประธานมูลนิธิโตโยต้าประเทศไทย พร้อมด้วยคุณนินนาท ไชยธีรภิญโญ ประธานคณะกรรมการบริษัทโตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จำกัด ร่วมเป็นประธานมอบรางวัลให้แก่ 5 ผลงานทรงคุณค่า ประกอบด้วย รางวัลเกียรติยศ ได้แก่ ผลงานชื่อ “ใต้ร่มพระบารมี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บุรพกษัตริย์แห่งมหาจักรีบรมราชวงศ์” โดยคณะบรรณาธิการจัดทำสารานุกรมประวัติศาสตร์ไทย สำนักงานราชบัณฑิตยสภา รองศาสตราจารย์ ดร.ศานติ ภักดีคำ รองเลขาธิการราชบัณฑิตยสภา กล่าวว่า คณะบรรณาธิการฯ ผู้ประพันธ์หนังสือเล่มนี้เป็นผู้ทรงคุณวุฒิที่ศึกษาประวัติศาสตร์มาตลอดชีวิต มิใช่เพียงการนำพระราชพงศาวดารมาเขียนเท่านั้นแต่มีกระบวนการประมวล สังเคราะห์ และศึกษาวิจัยเอกสารหลักฐานทางโบราณคดีต่างๆ เรียบเรียงแบ่งเนื้อหาเป็น 3 ส่วน หนึ่งคือการสร้างบ้านแปลงเมืองสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ สองคือการต่อสู้ในยุคจักรวรรดินิยมชาติตะวันตก และสามคือการเปลี่ยนแปลงจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์สู่ประชาธิปไตย ทำให้เราได้เห็นคุณค่าเรื่องราวต่างๆ และได้รู้จักตนเองมากยิ่งขึ้น “ประวัติศาสตร์เป็นกระจกบานหนึ่งที่ช่วยสะท้อนว่า กว่าจะมาเป็นเราในปัจจุบัน บ้านเมืองผ่านวิกฤตอะไรมาบ้างและบรรพบุรุษทำอย่างไรในการผ่านพ้นปัญหาแต่ละด้าน ยุคนั้นมีข้อจำกัดปัจจัยอะไรที่นำไปสู่การตัดสินใจ นำพาประเทศชาติให้อยู่รอดปลอดภัยประชาชนเป็นสุข ทำให้เยาวชนรับรู้บทบาทความสำคัญของสถาบันพระมหากษัตริย์และประชาชนที่ร่วมกันทำให้ประเทศเดินหน้ามาจนถึงวันนี้” อัตลักษณ์เอกสารคนไทยก่อนมาสู่ยุคบัตรประชาชน ขณะที่ผลงานวิชาการดีเด่น แบ่งเป็น 4 ด้าน ประกอบด้วย 1) ด้านสังคมศาสตร์ ได้แก่ ผลงานชื่อ “อัตลักษณ์เอกสาร วงศาวิทยาการควบคุมประชากรของรัฐไทย” โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ปิ่นแก้ว เหลืองอร่ามศรี คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นงานวิจัยบทบันทึกประวัติศาสตร์ผ่านมุมมองทางสังคมที่ไขคำตอบว่ารัฐใช้สิ่งใดแยกแยะพลเมืองไทยและควบคุมคนต่างด้าวในยุคสมัยต่างๆ สามารถบ่งบอกว่าแต่ละคนคือใคร ยกตัวอย่างการสักบนร่างกายไปจนถึงจัดทำบัตรประจำตัวประชาชนและบัตรประจำตัวคนที่ไม่มีสัญชาติไทย นำมาผูกความสัมพันธ์เชิงอำนาจบริหารจัดการสอดคล้องกับยุคสมัย ศาสตราจารย์ ดร.ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ อดีตคณบดีคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กล่าวว่า ผู้วิจัยได้ลงลึกศึกษาประวัติศาสตร์การระบุตัวตนบุคคลที่อยู่ภายใต้ราชอาณาจักรไทยว่าเป็นใคร อยู่ที่ไหน มีชื่อเรียกอย่างไร อัตลักษณ์เอกสารเหล่านี้มีการออกแบบวิธีใช้กับคนแต่ละกลุ่มไม่เหมือนกัน เช่น ไพร่ ทาส คนจีน คนนอก คนต่างด้าว ฯลฯ เนื้อหาหนังสือจึงน่าสนใจสะท้อนการแบ่งแยกคนโดยอำนาจ ศาสนา วัฒนธรรม ซึ่งทุกชาติสามารถนำไปศึกษาร่วมกันได้ รหัสทางสังคมที่ซ่อนอยู่ในงานศิลป์ 2) ด้านมนุษยศาสตร์ ได้แก่ ผลงานชื่อ “ศิลปะสมัยใหม่และร่วมสมัย : ตะวันตกและไทย” โดยศาสตราจารย์สุธี คุณาวิชยานนท์ คณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ได้ค้นคว้าโฉมหน้าประวัติศาสตร์ผ่านงานศิลปะทั้งไทยและต่างประเทศ สะท้อนความคิดคำนึงของศิลปินที่อยู่เบื้องหลังและถ่ายทอดออกมาเป็นผลงานเบื้องหน้าที่ประสบความสำเร็จ ทำให้การชื่นชมผลงานศิลปะเหล่านี้มีความหมายลึกซึ้งยิ่งขึ้น “หนังสือเล่มนี้เป็นผลงานการวิจัยศึกษาประวัติศาสตร์ในศตวรรษที่ 19-20 ซึ่งเกิดความเปลี่ยนแปลงของมนุษย์อย่างรวดเร็ว เมื่อศึกษาอดีตก็ย่อมจะเข้าใจปัจจุบันได้ดี เหมาะกับผู้สนใจงานศิลปะ วัฒนธรรม และการออกแบบต่างๆ ใช้ภาษาง่ายๆ เข้าใจได้ไม่ยาก” ศาสตราจารย์สุธี ระบุ ขณะที่ ผู้ช่วยศาสตราจารย์เอกพงษ์ ตรีตรง คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากรกล่าวเสริมว่า สิ่งที่ศิลปินได้ถ่ายทอดมิใช่แค่ความงดงามแต่ยังซ่อนรหัสที่ลึกซึ้งไว้ให้สังคมและประวัติศาสตร์ หนังสือเล่มนี้หล่อหลอมเชื่อมโยงอดีตและปัจจุบันซึ่งมีการใช้ “ซอฟต์พาวเวอร์” ขับเคลื่อนประเทศและเรากำลังก้าวเข้าสู่ยุค “ปัญญาวิจิตร” ที่ต้องอาศัยความรู้ความงามทางศิลปะควบคู่กันไปเพื่อสร้างความเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่ดีขึ้น ระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ณ จุดเกิดเหตุ 3) ด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ ได้แก่ ผลงานชื่อ “การดูแลรักษาผู้บาดเจ็บก่อนถึงโรงพยาบาล” โดย รองศาสตราจารย์ ดร.นายแพทย์ไชยพร ยุกเซ็น คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล เนื้อหาสะท้อนการยกระดับมาตรฐานระบบสาธารณสุขและลดสถิติผู้เสียชีวิตจากอุบัติภัยบนท้องถนน จัดทำเป็นคู่มือการดูแลผู้บาดเจ็บ ณ จุดเกิดเหตุ การนำความรู้ไปฝึกอบรมบุคลากรทางการแพทย์และจิตอาสากู้ชีพ ช่วยเหลือผู้บาดเจ็บจากเหตุการณ์ต่างๆ พลอากาศตรี นายแพทย์เฉลิมพร บุญสิริ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการแพทย์ฉุกเฉิน และ ประธานอนุกรรมการฉุกเฉินการแพทย์ สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ กล่าวว่า ทุกวันนี้คนไทยเสียชีวิตจากอุบัติเหตุสูงมากกว่า 100 คนต่อวัน ดังนั้น การดูแลผู้บาดเจ็บ ณ จุดเกิดเหตุ การให้ยา การช่วยเหลือผู้ป่วยที่หัวใจหยุดเต้น (CPR) อย่างถูกต้อง ระบบอำนวยการทางการแพทย์ที่ดีผ่านสายด่วน 1669 จึงสำคัญ รวมถึงการนำส่งไปสถานพยาบาลที่เหมาะสมไม่ให้เสียชีวิต พิการ และกลับคืนสู่สังคมในสภาพดีที่สุด กลไกการทำงานของเซลล์ในร่างกายมนุษย์ 4) ด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ได้แก่ ผลงานชื่อ “พันธุศาสตร์ระดับเซลล์” โดย ศาสตราจารย์ ดร.อลงกลด แทนออมทอง คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, รองศาสตราจารย์ ดร.กฤษณ์ ปิ่นทอง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ และผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อิสสระ ปะทะวัง คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ กับผลงานวิจัยที่อธิบายกลไกการทำงานในเซลล์อย่างง่ายและมีภาพประกอบชัดเจน เปิดโอกาสให้คนรุ่นใหม่ที่สนใจต่อยอดความรู้สู่วิชาชีพในอนาคต สอดคล้องกับการพัฒนาประเทศบนฐานของวิทยาศาสตร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เพลินพิศ โชคชัยชำนาญกิจ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มองว่า หนังสือเล่มนี้ช่วยให้เกิดความเข้าใจต่อกลไกที่เกิดขึ้นของระบบเซลล์ โดยทีมผู้ประพันธ์ทั้งสามท่านล้วนมีประสบการณ์วิจัยด้านเซลล์พันธุศาสตร์มายาวนานและอยู่หน้ากล้องจุลทรรศน์เพื่อมองหาคำตอบต่างๆ จนกว่าจะได้งานวิจัยชิ้นหนึ่งจึงต้องอุทิศแรงกายแรงใจ นับเป็นผลงานที่มีคุณค่ามากต่อศาสตร์ด้านชีววิทยา บทสรุปของรางวัล TTF AWARD ประจำปี 2564-2565 ได้สะท้อนให้เห็นความสำเร็จอีกขั้นหนึ่งของระบบการศึกษาไทย ที่มีนักวิชาการมากมายเป็นกลไกสำคัญบ่มเพาะผลงานวิจัยที่มีคุณภาพสูง ขับเคลื่อนประเทศให้เติบโตท่ามกลางโลกที่กำลังเปลี่ยนแปลง ช่วยให้เราผ่านพ้นสถานการณ์ท้าทายกับภาวะ ‘วิกฤต’ และก้าวสู่ความ ‘วิจิตร’ แห่งภูมิปัญญาได้อย่างน่าสนใจ EZ Webmaster Related Posts คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” สวนสุนันทา – สกสค. ผนึกกำลังพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา เดินหน้าวิจัย-สร้างสรรค์สื่อ-อบรม AI ยกระดับการศึกษาไทย Post navigation PREVIOUS Previous post: CIMB THAI TRIATHLON FORWARD YOUR HEALTH ปี 4 คึกคัก พร้อมพัฒนาสู่ความยั่งยืนNEXT Next post: บทพิสูจน์แนวคิด “Learn to Earn เรียนรู้เพื่ออยู่รอด” กับการ Learn แล้ว Earn ได้จริง Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief…
เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief…
“40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster December 12, 2022 EZ Webmaster December 12, 2022 28 ปี รางวัล TTF AWARD มอบผลงานวิชาการทรงคุณค่า นำสังคมไทยสู่ยุค ‘ปัญญาวิจิตร’ งานวิจัยที่มีคุณภาพนับเป็นหนึ่งในดัชนีชี้วัด ‘มาตรฐานการศึกษา’ ของประเทศไทย ผลงานที่โดดเด่นได้รับการตีพิมพ์และเผยแพร่ออกสู่สาธารณะจำนวนมาก รังสรรค์ประโยชน์และตอบโจทย์การพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ๆ ในแต่ละสาขา เกิดคุณูปการกว้างขวางมากขึ้นตามลำดับ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และมูลนิธิโตโยต้าประเทศไทย เล็งเห็นความสำคัญของการยกระดับงานค้นคว้าวิจัยมาถึง 28 ปี ผ่านการมอบรางวัลผลงานวิชาการดีเด่น หรือ ‘TTF AWARD’ กระตุ้นคนรุ่นใหม่และนักวิชาการจากสถาบันอุดมศึกษาต่างๆ สร้างแรงบันดาลใจผลิตผลงานใน 4 สาขาหลัก ได้แก่ สังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ วิทยาศาสตร์สุขภาพ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ศาสตราจารย์ ดร.ทันตแพทย์หญิง ศิริวรรณ สืบนุการณ์ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กล่าวว่า TTF AWARD มีเจตนารมณ์ส่งเสริมให้เกิดผลงานด้านการศึกษาค้นคว้าวิจัยที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้แก้ปัญหาทางสังคมและคุณภาพชีวิตของประชาชน ผลงานส่วนมากที่ได้รับรางวัลจะมุ่งนำเสนอเนื้อหาที่อ่านเข้าใจง่าย เพื่อให้เกิดประโยชน์สามารถเข้าถึงเยาวชน รวมทั้งถ่ายทอดแก่ประชาชนทั่วไป มิใช่อ่านยากจนเกินไปหรือต้องเก็บไว้บนหิ้งเท่านั้น แต่นำมาต่อยอดสร้างสรรค์เรียนรู้ก้าวสู่สังคมแห่งภูมิปัญญาได้อย่างเป็นรูปธรรม ประวัติศาสตร์คือกระจกส่องอนาคต ทั้งนี้ พิธีมอบรางวัล TTF AWARD ประจำปี 2564-2565 จัดขึ้นเมื่อ 25 พฤศจิกายน 2565 ที่ผ่านมา โดยมี คุณประมนต์ สุธีวงศ์ ประธานมูลนิธิโตโยต้าประเทศไทย พร้อมด้วยคุณนินนาท ไชยธีรภิญโญ ประธานคณะกรรมการบริษัทโตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จำกัด ร่วมเป็นประธานมอบรางวัลให้แก่ 5 ผลงานทรงคุณค่า ประกอบด้วย รางวัลเกียรติยศ ได้แก่ ผลงานชื่อ “ใต้ร่มพระบารมี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บุรพกษัตริย์แห่งมหาจักรีบรมราชวงศ์” โดยคณะบรรณาธิการจัดทำสารานุกรมประวัติศาสตร์ไทย สำนักงานราชบัณฑิตยสภา รองศาสตราจารย์ ดร.ศานติ ภักดีคำ รองเลขาธิการราชบัณฑิตยสภา กล่าวว่า คณะบรรณาธิการฯ ผู้ประพันธ์หนังสือเล่มนี้เป็นผู้ทรงคุณวุฒิที่ศึกษาประวัติศาสตร์มาตลอดชีวิต มิใช่เพียงการนำพระราชพงศาวดารมาเขียนเท่านั้นแต่มีกระบวนการประมวล สังเคราะห์ และศึกษาวิจัยเอกสารหลักฐานทางโบราณคดีต่างๆ เรียบเรียงแบ่งเนื้อหาเป็น 3 ส่วน หนึ่งคือการสร้างบ้านแปลงเมืองสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ สองคือการต่อสู้ในยุคจักรวรรดินิยมชาติตะวันตก และสามคือการเปลี่ยนแปลงจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์สู่ประชาธิปไตย ทำให้เราได้เห็นคุณค่าเรื่องราวต่างๆ และได้รู้จักตนเองมากยิ่งขึ้น “ประวัติศาสตร์เป็นกระจกบานหนึ่งที่ช่วยสะท้อนว่า กว่าจะมาเป็นเราในปัจจุบัน บ้านเมืองผ่านวิกฤตอะไรมาบ้างและบรรพบุรุษทำอย่างไรในการผ่านพ้นปัญหาแต่ละด้าน ยุคนั้นมีข้อจำกัดปัจจัยอะไรที่นำไปสู่การตัดสินใจ นำพาประเทศชาติให้อยู่รอดปลอดภัยประชาชนเป็นสุข ทำให้เยาวชนรับรู้บทบาทความสำคัญของสถาบันพระมหากษัตริย์และประชาชนที่ร่วมกันทำให้ประเทศเดินหน้ามาจนถึงวันนี้” อัตลักษณ์เอกสารคนไทยก่อนมาสู่ยุคบัตรประชาชน ขณะที่ผลงานวิชาการดีเด่น แบ่งเป็น 4 ด้าน ประกอบด้วย 1) ด้านสังคมศาสตร์ ได้แก่ ผลงานชื่อ “อัตลักษณ์เอกสาร วงศาวิทยาการควบคุมประชากรของรัฐไทย” โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ปิ่นแก้ว เหลืองอร่ามศรี คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นงานวิจัยบทบันทึกประวัติศาสตร์ผ่านมุมมองทางสังคมที่ไขคำตอบว่ารัฐใช้สิ่งใดแยกแยะพลเมืองไทยและควบคุมคนต่างด้าวในยุคสมัยต่างๆ สามารถบ่งบอกว่าแต่ละคนคือใคร ยกตัวอย่างการสักบนร่างกายไปจนถึงจัดทำบัตรประจำตัวประชาชนและบัตรประจำตัวคนที่ไม่มีสัญชาติไทย นำมาผูกความสัมพันธ์เชิงอำนาจบริหารจัดการสอดคล้องกับยุคสมัย ศาสตราจารย์ ดร.ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ อดีตคณบดีคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กล่าวว่า ผู้วิจัยได้ลงลึกศึกษาประวัติศาสตร์การระบุตัวตนบุคคลที่อยู่ภายใต้ราชอาณาจักรไทยว่าเป็นใคร อยู่ที่ไหน มีชื่อเรียกอย่างไร อัตลักษณ์เอกสารเหล่านี้มีการออกแบบวิธีใช้กับคนแต่ละกลุ่มไม่เหมือนกัน เช่น ไพร่ ทาส คนจีน คนนอก คนต่างด้าว ฯลฯ เนื้อหาหนังสือจึงน่าสนใจสะท้อนการแบ่งแยกคนโดยอำนาจ ศาสนา วัฒนธรรม ซึ่งทุกชาติสามารถนำไปศึกษาร่วมกันได้ รหัสทางสังคมที่ซ่อนอยู่ในงานศิลป์ 2) ด้านมนุษยศาสตร์ ได้แก่ ผลงานชื่อ “ศิลปะสมัยใหม่และร่วมสมัย : ตะวันตกและไทย” โดยศาสตราจารย์สุธี คุณาวิชยานนท์ คณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ได้ค้นคว้าโฉมหน้าประวัติศาสตร์ผ่านงานศิลปะทั้งไทยและต่างประเทศ สะท้อนความคิดคำนึงของศิลปินที่อยู่เบื้องหลังและถ่ายทอดออกมาเป็นผลงานเบื้องหน้าที่ประสบความสำเร็จ ทำให้การชื่นชมผลงานศิลปะเหล่านี้มีความหมายลึกซึ้งยิ่งขึ้น “หนังสือเล่มนี้เป็นผลงานการวิจัยศึกษาประวัติศาสตร์ในศตวรรษที่ 19-20 ซึ่งเกิดความเปลี่ยนแปลงของมนุษย์อย่างรวดเร็ว เมื่อศึกษาอดีตก็ย่อมจะเข้าใจปัจจุบันได้ดี เหมาะกับผู้สนใจงานศิลปะ วัฒนธรรม และการออกแบบต่างๆ ใช้ภาษาง่ายๆ เข้าใจได้ไม่ยาก” ศาสตราจารย์สุธี ระบุ ขณะที่ ผู้ช่วยศาสตราจารย์เอกพงษ์ ตรีตรง คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากรกล่าวเสริมว่า สิ่งที่ศิลปินได้ถ่ายทอดมิใช่แค่ความงดงามแต่ยังซ่อนรหัสที่ลึกซึ้งไว้ให้สังคมและประวัติศาสตร์ หนังสือเล่มนี้หล่อหลอมเชื่อมโยงอดีตและปัจจุบันซึ่งมีการใช้ “ซอฟต์พาวเวอร์” ขับเคลื่อนประเทศและเรากำลังก้าวเข้าสู่ยุค “ปัญญาวิจิตร” ที่ต้องอาศัยความรู้ความงามทางศิลปะควบคู่กันไปเพื่อสร้างความเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่ดีขึ้น ระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ณ จุดเกิดเหตุ 3) ด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ ได้แก่ ผลงานชื่อ “การดูแลรักษาผู้บาดเจ็บก่อนถึงโรงพยาบาล” โดย รองศาสตราจารย์ ดร.นายแพทย์ไชยพร ยุกเซ็น คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล เนื้อหาสะท้อนการยกระดับมาตรฐานระบบสาธารณสุขและลดสถิติผู้เสียชีวิตจากอุบัติภัยบนท้องถนน จัดทำเป็นคู่มือการดูแลผู้บาดเจ็บ ณ จุดเกิดเหตุ การนำความรู้ไปฝึกอบรมบุคลากรทางการแพทย์และจิตอาสากู้ชีพ ช่วยเหลือผู้บาดเจ็บจากเหตุการณ์ต่างๆ พลอากาศตรี นายแพทย์เฉลิมพร บุญสิริ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการแพทย์ฉุกเฉิน และ ประธานอนุกรรมการฉุกเฉินการแพทย์ สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ กล่าวว่า ทุกวันนี้คนไทยเสียชีวิตจากอุบัติเหตุสูงมากกว่า 100 คนต่อวัน ดังนั้น การดูแลผู้บาดเจ็บ ณ จุดเกิดเหตุ การให้ยา การช่วยเหลือผู้ป่วยที่หัวใจหยุดเต้น (CPR) อย่างถูกต้อง ระบบอำนวยการทางการแพทย์ที่ดีผ่านสายด่วน 1669 จึงสำคัญ รวมถึงการนำส่งไปสถานพยาบาลที่เหมาะสมไม่ให้เสียชีวิต พิการ และกลับคืนสู่สังคมในสภาพดีที่สุด กลไกการทำงานของเซลล์ในร่างกายมนุษย์ 4) ด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ได้แก่ ผลงานชื่อ “พันธุศาสตร์ระดับเซลล์” โดย ศาสตราจารย์ ดร.อลงกลด แทนออมทอง คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, รองศาสตราจารย์ ดร.กฤษณ์ ปิ่นทอง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ และผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อิสสระ ปะทะวัง คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ กับผลงานวิจัยที่อธิบายกลไกการทำงานในเซลล์อย่างง่ายและมีภาพประกอบชัดเจน เปิดโอกาสให้คนรุ่นใหม่ที่สนใจต่อยอดความรู้สู่วิชาชีพในอนาคต สอดคล้องกับการพัฒนาประเทศบนฐานของวิทยาศาสตร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เพลินพิศ โชคชัยชำนาญกิจ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มองว่า หนังสือเล่มนี้ช่วยให้เกิดความเข้าใจต่อกลไกที่เกิดขึ้นของระบบเซลล์ โดยทีมผู้ประพันธ์ทั้งสามท่านล้วนมีประสบการณ์วิจัยด้านเซลล์พันธุศาสตร์มายาวนานและอยู่หน้ากล้องจุลทรรศน์เพื่อมองหาคำตอบต่างๆ จนกว่าจะได้งานวิจัยชิ้นหนึ่งจึงต้องอุทิศแรงกายแรงใจ นับเป็นผลงานที่มีคุณค่ามากต่อศาสตร์ด้านชีววิทยา บทสรุปของรางวัล TTF AWARD ประจำปี 2564-2565 ได้สะท้อนให้เห็นความสำเร็จอีกขั้นหนึ่งของระบบการศึกษาไทย ที่มีนักวิชาการมากมายเป็นกลไกสำคัญบ่มเพาะผลงานวิจัยที่มีคุณภาพสูง ขับเคลื่อนประเทศให้เติบโตท่ามกลางโลกที่กำลังเปลี่ยนแปลง ช่วยให้เราผ่านพ้นสถานการณ์ท้าทายกับภาวะ ‘วิกฤต’ และก้าวสู่ความ ‘วิจิตร’ แห่งภูมิปัญญาได้อย่างน่าสนใจ EZ Webmaster Related Posts คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” สวนสุนันทา – สกสค. ผนึกกำลังพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา เดินหน้าวิจัย-สร้างสรรค์สื่อ-อบรม AI ยกระดับการศึกษาไทย Post navigation PREVIOUS Previous post: CIMB THAI TRIATHLON FORWARD YOUR HEALTH ปี 4 คึกคัก พร้อมพัฒนาสู่ความยั่งยืนNEXT Next post: บทพิสูจน์แนวคิด “Learn to Earn เรียนรู้เพื่ออยู่รอด” กับการ Learn แล้ว Earn ได้จริง Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search
ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน…
สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน…
EZ Webmaster December 12, 2022 EZ Webmaster December 12, 2022 28 ปี รางวัล TTF AWARD มอบผลงานวิชาการทรงคุณค่า นำสังคมไทยสู่ยุค ‘ปัญญาวิจิตร’ งานวิจัยที่มีคุณภาพนับเป็นหนึ่งในดัชนีชี้วัด ‘มาตรฐานการศึกษา’ ของประเทศไทย ผลงานที่โดดเด่นได้รับการตีพิมพ์และเผยแพร่ออกสู่สาธารณะจำนวนมาก รังสรรค์ประโยชน์และตอบโจทย์การพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ๆ ในแต่ละสาขา เกิดคุณูปการกว้างขวางมากขึ้นตามลำดับ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และมูลนิธิโตโยต้าประเทศไทย เล็งเห็นความสำคัญของการยกระดับงานค้นคว้าวิจัยมาถึง 28 ปี ผ่านการมอบรางวัลผลงานวิชาการดีเด่น หรือ ‘TTF AWARD’ กระตุ้นคนรุ่นใหม่และนักวิชาการจากสถาบันอุดมศึกษาต่างๆ สร้างแรงบันดาลใจผลิตผลงานใน 4 สาขาหลัก ได้แก่ สังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ วิทยาศาสตร์สุขภาพ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ศาสตราจารย์ ดร.ทันตแพทย์หญิง ศิริวรรณ สืบนุการณ์ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กล่าวว่า TTF AWARD มีเจตนารมณ์ส่งเสริมให้เกิดผลงานด้านการศึกษาค้นคว้าวิจัยที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้แก้ปัญหาทางสังคมและคุณภาพชีวิตของประชาชน ผลงานส่วนมากที่ได้รับรางวัลจะมุ่งนำเสนอเนื้อหาที่อ่านเข้าใจง่าย เพื่อให้เกิดประโยชน์สามารถเข้าถึงเยาวชน รวมทั้งถ่ายทอดแก่ประชาชนทั่วไป มิใช่อ่านยากจนเกินไปหรือต้องเก็บไว้บนหิ้งเท่านั้น แต่นำมาต่อยอดสร้างสรรค์เรียนรู้ก้าวสู่สังคมแห่งภูมิปัญญาได้อย่างเป็นรูปธรรม ประวัติศาสตร์คือกระจกส่องอนาคต ทั้งนี้ พิธีมอบรางวัล TTF AWARD ประจำปี 2564-2565 จัดขึ้นเมื่อ 25 พฤศจิกายน 2565 ที่ผ่านมา โดยมี คุณประมนต์ สุธีวงศ์ ประธานมูลนิธิโตโยต้าประเทศไทย พร้อมด้วยคุณนินนาท ไชยธีรภิญโญ ประธานคณะกรรมการบริษัทโตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จำกัด ร่วมเป็นประธานมอบรางวัลให้แก่ 5 ผลงานทรงคุณค่า ประกอบด้วย รางวัลเกียรติยศ ได้แก่ ผลงานชื่อ “ใต้ร่มพระบารมี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บุรพกษัตริย์แห่งมหาจักรีบรมราชวงศ์” โดยคณะบรรณาธิการจัดทำสารานุกรมประวัติศาสตร์ไทย สำนักงานราชบัณฑิตยสภา รองศาสตราจารย์ ดร.ศานติ ภักดีคำ รองเลขาธิการราชบัณฑิตยสภา กล่าวว่า คณะบรรณาธิการฯ ผู้ประพันธ์หนังสือเล่มนี้เป็นผู้ทรงคุณวุฒิที่ศึกษาประวัติศาสตร์มาตลอดชีวิต มิใช่เพียงการนำพระราชพงศาวดารมาเขียนเท่านั้นแต่มีกระบวนการประมวล สังเคราะห์ และศึกษาวิจัยเอกสารหลักฐานทางโบราณคดีต่างๆ เรียบเรียงแบ่งเนื้อหาเป็น 3 ส่วน หนึ่งคือการสร้างบ้านแปลงเมืองสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ สองคือการต่อสู้ในยุคจักรวรรดินิยมชาติตะวันตก และสามคือการเปลี่ยนแปลงจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์สู่ประชาธิปไตย ทำให้เราได้เห็นคุณค่าเรื่องราวต่างๆ และได้รู้จักตนเองมากยิ่งขึ้น “ประวัติศาสตร์เป็นกระจกบานหนึ่งที่ช่วยสะท้อนว่า กว่าจะมาเป็นเราในปัจจุบัน บ้านเมืองผ่านวิกฤตอะไรมาบ้างและบรรพบุรุษทำอย่างไรในการผ่านพ้นปัญหาแต่ละด้าน ยุคนั้นมีข้อจำกัดปัจจัยอะไรที่นำไปสู่การตัดสินใจ นำพาประเทศชาติให้อยู่รอดปลอดภัยประชาชนเป็นสุข ทำให้เยาวชนรับรู้บทบาทความสำคัญของสถาบันพระมหากษัตริย์และประชาชนที่ร่วมกันทำให้ประเทศเดินหน้ามาจนถึงวันนี้” อัตลักษณ์เอกสารคนไทยก่อนมาสู่ยุคบัตรประชาชน ขณะที่ผลงานวิชาการดีเด่น แบ่งเป็น 4 ด้าน ประกอบด้วย 1) ด้านสังคมศาสตร์ ได้แก่ ผลงานชื่อ “อัตลักษณ์เอกสาร วงศาวิทยาการควบคุมประชากรของรัฐไทย” โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ปิ่นแก้ว เหลืองอร่ามศรี คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นงานวิจัยบทบันทึกประวัติศาสตร์ผ่านมุมมองทางสังคมที่ไขคำตอบว่ารัฐใช้สิ่งใดแยกแยะพลเมืองไทยและควบคุมคนต่างด้าวในยุคสมัยต่างๆ สามารถบ่งบอกว่าแต่ละคนคือใคร ยกตัวอย่างการสักบนร่างกายไปจนถึงจัดทำบัตรประจำตัวประชาชนและบัตรประจำตัวคนที่ไม่มีสัญชาติไทย นำมาผูกความสัมพันธ์เชิงอำนาจบริหารจัดการสอดคล้องกับยุคสมัย ศาสตราจารย์ ดร.ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ อดีตคณบดีคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กล่าวว่า ผู้วิจัยได้ลงลึกศึกษาประวัติศาสตร์การระบุตัวตนบุคคลที่อยู่ภายใต้ราชอาณาจักรไทยว่าเป็นใคร อยู่ที่ไหน มีชื่อเรียกอย่างไร อัตลักษณ์เอกสารเหล่านี้มีการออกแบบวิธีใช้กับคนแต่ละกลุ่มไม่เหมือนกัน เช่น ไพร่ ทาส คนจีน คนนอก คนต่างด้าว ฯลฯ เนื้อหาหนังสือจึงน่าสนใจสะท้อนการแบ่งแยกคนโดยอำนาจ ศาสนา วัฒนธรรม ซึ่งทุกชาติสามารถนำไปศึกษาร่วมกันได้ รหัสทางสังคมที่ซ่อนอยู่ในงานศิลป์ 2) ด้านมนุษยศาสตร์ ได้แก่ ผลงานชื่อ “ศิลปะสมัยใหม่และร่วมสมัย : ตะวันตกและไทย” โดยศาสตราจารย์สุธี คุณาวิชยานนท์ คณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ได้ค้นคว้าโฉมหน้าประวัติศาสตร์ผ่านงานศิลปะทั้งไทยและต่างประเทศ สะท้อนความคิดคำนึงของศิลปินที่อยู่เบื้องหลังและถ่ายทอดออกมาเป็นผลงานเบื้องหน้าที่ประสบความสำเร็จ ทำให้การชื่นชมผลงานศิลปะเหล่านี้มีความหมายลึกซึ้งยิ่งขึ้น “หนังสือเล่มนี้เป็นผลงานการวิจัยศึกษาประวัติศาสตร์ในศตวรรษที่ 19-20 ซึ่งเกิดความเปลี่ยนแปลงของมนุษย์อย่างรวดเร็ว เมื่อศึกษาอดีตก็ย่อมจะเข้าใจปัจจุบันได้ดี เหมาะกับผู้สนใจงานศิลปะ วัฒนธรรม และการออกแบบต่างๆ ใช้ภาษาง่ายๆ เข้าใจได้ไม่ยาก” ศาสตราจารย์สุธี ระบุ ขณะที่ ผู้ช่วยศาสตราจารย์เอกพงษ์ ตรีตรง คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากรกล่าวเสริมว่า สิ่งที่ศิลปินได้ถ่ายทอดมิใช่แค่ความงดงามแต่ยังซ่อนรหัสที่ลึกซึ้งไว้ให้สังคมและประวัติศาสตร์ หนังสือเล่มนี้หล่อหลอมเชื่อมโยงอดีตและปัจจุบันซึ่งมีการใช้ “ซอฟต์พาวเวอร์” ขับเคลื่อนประเทศและเรากำลังก้าวเข้าสู่ยุค “ปัญญาวิจิตร” ที่ต้องอาศัยความรู้ความงามทางศิลปะควบคู่กันไปเพื่อสร้างความเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่ดีขึ้น ระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ณ จุดเกิดเหตุ 3) ด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ ได้แก่ ผลงานชื่อ “การดูแลรักษาผู้บาดเจ็บก่อนถึงโรงพยาบาล” โดย รองศาสตราจารย์ ดร.นายแพทย์ไชยพร ยุกเซ็น คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล เนื้อหาสะท้อนการยกระดับมาตรฐานระบบสาธารณสุขและลดสถิติผู้เสียชีวิตจากอุบัติภัยบนท้องถนน จัดทำเป็นคู่มือการดูแลผู้บาดเจ็บ ณ จุดเกิดเหตุ การนำความรู้ไปฝึกอบรมบุคลากรทางการแพทย์และจิตอาสากู้ชีพ ช่วยเหลือผู้บาดเจ็บจากเหตุการณ์ต่างๆ พลอากาศตรี นายแพทย์เฉลิมพร บุญสิริ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการแพทย์ฉุกเฉิน และ ประธานอนุกรรมการฉุกเฉินการแพทย์ สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ กล่าวว่า ทุกวันนี้คนไทยเสียชีวิตจากอุบัติเหตุสูงมากกว่า 100 คนต่อวัน ดังนั้น การดูแลผู้บาดเจ็บ ณ จุดเกิดเหตุ การให้ยา การช่วยเหลือผู้ป่วยที่หัวใจหยุดเต้น (CPR) อย่างถูกต้อง ระบบอำนวยการทางการแพทย์ที่ดีผ่านสายด่วน 1669 จึงสำคัญ รวมถึงการนำส่งไปสถานพยาบาลที่เหมาะสมไม่ให้เสียชีวิต พิการ และกลับคืนสู่สังคมในสภาพดีที่สุด กลไกการทำงานของเซลล์ในร่างกายมนุษย์ 4) ด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ได้แก่ ผลงานชื่อ “พันธุศาสตร์ระดับเซลล์” โดย ศาสตราจารย์ ดร.อลงกลด แทนออมทอง คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, รองศาสตราจารย์ ดร.กฤษณ์ ปิ่นทอง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ และผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อิสสระ ปะทะวัง คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ กับผลงานวิจัยที่อธิบายกลไกการทำงานในเซลล์อย่างง่ายและมีภาพประกอบชัดเจน เปิดโอกาสให้คนรุ่นใหม่ที่สนใจต่อยอดความรู้สู่วิชาชีพในอนาคต สอดคล้องกับการพัฒนาประเทศบนฐานของวิทยาศาสตร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เพลินพิศ โชคชัยชำนาญกิจ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มองว่า หนังสือเล่มนี้ช่วยให้เกิดความเข้าใจต่อกลไกที่เกิดขึ้นของระบบเซลล์ โดยทีมผู้ประพันธ์ทั้งสามท่านล้วนมีประสบการณ์วิจัยด้านเซลล์พันธุศาสตร์มายาวนานและอยู่หน้ากล้องจุลทรรศน์เพื่อมองหาคำตอบต่างๆ จนกว่าจะได้งานวิจัยชิ้นหนึ่งจึงต้องอุทิศแรงกายแรงใจ นับเป็นผลงานที่มีคุณค่ามากต่อศาสตร์ด้านชีววิทยา บทสรุปของรางวัล TTF AWARD ประจำปี 2564-2565 ได้สะท้อนให้เห็นความสำเร็จอีกขั้นหนึ่งของระบบการศึกษาไทย ที่มีนักวิชาการมากมายเป็นกลไกสำคัญบ่มเพาะผลงานวิจัยที่มีคุณภาพสูง ขับเคลื่อนประเทศให้เติบโตท่ามกลางโลกที่กำลังเปลี่ยนแปลง ช่วยให้เราผ่านพ้นสถานการณ์ท้าทายกับภาวะ ‘วิกฤต’ และก้าวสู่ความ ‘วิจิตร’ แห่งภูมิปัญญาได้อย่างน่าสนใจ
เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต
เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม”
สวนสุนันทา – สกสค. ผนึกกำลังพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา เดินหน้าวิจัย-สร้างสรรค์สื่อ-อบรม AI ยกระดับการศึกษาไทย