ปิดเทอมนี้ สสวท. กระตุ้นต่อมคิดพิชิตปัญหาฟิสิกส์หรรษา กับ “ไขปริศนาวิทยากล” EZ WebmasterMarch 21, 2025 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ชวนหรรษาพาสนุกคิดช่วงปิดเทอม รักฟิสิกส์กับ “ไขปริศนาวิทยากล” วีดิทัศน์สั้น 2 นาทีไม่มีเครียด กระตุ้นต่อมคิดสารพัดตอน อาทิ ต้มน้ำด้วยเตาไมโครเวฟ เผากระดาษทำไมไม่ไหม้ รถไฟเหาะตีลังกา รถล่องหน มนุษย์จอมพลัง เลี้ยงเปลือกไข่บนขอบจาน เหรียญกระโดด กังหันรังสีและอีกหลากหลาย กระตุ้นให้นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อวิชาฟิสิกส์ผ่านการเรียนการสอนแบบฐานปัญหา (Problem Base Learning : PBL) ส่งเสริมให้น้อง ๆ… รวมเฉลยทุกวิชา A-Level 68 EZ WebmasterMarch 21, 2025 รวมเฉลยทุกวิชา A-Level 68 จาก ทปอ. หากน้อง ๆ มีข้อโต้แย้งเฉลยสามารถกดในระบบเพื่อทักท้วงได้ A-Level 61 Math1 วิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 A-Level 62 Math2 วิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 2… มอนเดลีซ สำเร็จภารกิจ “โรงเรียนรักษ์โลก แยกขยะลุ้นโชคกับมอนเดลีซ ปี 3” ปลูกฝังวัฒนธรรมแยกขยะให้แก่เยาวชนไทยกว่า 20,000 คน เพื่อโลกสีเขียวที่ยั่งยืน EZ WebmasterMarch 21, 2025 โครงการ “โรงเรียนรักษ์โลก แยกขยะลุ้นโชคกับมอนเดลีซ ปี 3” จัดขึ้นโดย บริษัท มอนเดลีซ อินเตอร์เนชันแนล (ประเทศไทย) จำกัด ร่วมกับ กรุงเทพมหานคร และ แทรชลัคกี้ ได้บรรลุเป้าหมายสำคัญในการสร้างจิตสำนึกด้านสิ่งแวดล้อมแก่เยาวชนไทย ด้วยความมุ่งมั่นในการขับเคลื่อนพฤติกรรมการจัดการขยะอย่างยั่งยืน โดยโครงการนี้ได้ปลูกฝังแนวคิดการคัดแยกขยะให้กับนักเรียนมากกว่า… วิทยาลัยทองสุข เปิดรับนักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2568 ครั้งใหญ่ ครบทุกระดับ ปริญญาตรี ปริญญาโทและปริญญาเอก พร้อม INTERNATIONAL PROGRAM tui sakrapeeMarch 20, 2025 วิทยาลัยทองสุข Thongsook College รับสมัครนักศึกษาใหม่ ปี 2568 ภาคเรียนที่ 1 เริ่มเรียน มิถุนายน 2568 #ระดับปริญญาตรี –หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต B.B.A. สาขาวิชาการจัดการ 4 ปี สาขาวิชาการจัดการ… นักศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค EZ WebmasterMarch 21, 2025 ศาสตราจารย์ นายแพทย์ปิยะมิตร ศรีธรา อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า ปัจจุบันโลกกำลังเผชิญกับกระแสความเปลี่ยนแปลงใหญ่ๆ ใน 6 มิติ 1. สังคมสูงวัย (Aging Society) ในอีก 8 ปีข้างหน้า ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุระดับสุดยอด (Super… ฟินแลนด์ครองแชมป์ 8 ปีซ้อน ประเทศที่มีความสุขที่สุดในโลก 2025 ไทยขยับขึ้นอันดับ 49 EZ WebmasterMarch 21, 2025 ฟินแลนด์ ยังคงรักษาตำแหน่งประเทศที่มีความสุขที่สุดในโลกเป็นปีที่ 8 ติดต่อกัน ตามรายงานความสุขโลก (World Happiness Report) ประจำปี 2025 ซึ่งจัดทำโดยศูนย์วิจัยความเป็นอยู่ที่ดี (Wellbeing Research Centre) แห่งมหาวิทยาลัยอ็อกซ์ฟอร์ด รายงานนี้เผยแพร่ในช่วงวันความสุขสากล (International Day of Happiness)… สจล. ร่วมกับโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์อินเตอร์เนชั่นแนล พัฒนาหลักสูตรและการจัดการเนื้อหาสู่การเรียนในแพลตฟอร์มออนไลน์ EZ WebmasterMarch 21, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี อธิการบดี และรศ. นพ.ทวีสิน ตันประยูร ประธานปฏิบัติการด้านการแพทย์ โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์อินเตอร์เนชั่นแนล ร่วมกันลงนามในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ เพื่อการพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเนื้อหาการเรียนรู้ออนไลน์ ผ่าน KMITL Masterclass ซึ่งเป็นแพลตฟอร์มออนไลน์ของ… นักศึกษา มทร.ธัญบุรี โชว์ไอเดีย “กระเป๋าผ้าทอใยไผ่” ตอบโจทย์ความยั่งยืน ในนิทรรศการศิลปนิพนธ์ 2025 tui sakrapeeMarch 20, 2025 นักศึกษาชั้นปีที่ 4 จากภาควิชาศิลปะการออกแบบและเทคโนโลยี คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้ร่วมกันจัดนิทรรศการศิลปนิพนธ์เพื่อเผยแพร่ผลงานสู่สาธารณชน พร้อมฝึกประสบการณ์จริงในการจัดแสดงผลงานออกแบบ ภายในงานได้รวบรวมผลงานจาก 4 สาขาวิชา ได้แก่ ออกแบบนิเทศศิลป์ ออกแบบภายใน ออกแบบผลิตภัณฑ์ และนวัตกรรมการออกแบบผลิตภัณฑ์ร่วมสมัย จัดขึ้น ณ ศูนย์การค้ายูเนี่ยน มอลล์ โซน CoEvent Studio กรุงเทพฯ… ทุนดีดี สกสค. ร่วมกับ CP All มอบ 100 ทุนเรียนฟรี 100% ระดับ ปวช. ปวส. และปริญญาตรี EZ WebmasterMarch 21, 2025 กสค. ร่วมกับ CP All มอบทุนเรียนฟรี !! 100% ล่าสุดขยายโอกาสเพิ่มอีก 9 สาขาใหม่ เพิ่มทางเลือกให้เยาวชนก้าวไกล ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ศึกษาที่วิทยาลัยปัญญาภิวัฒน์ และศูนย์การเรียนฯ ทั่วประเทศ 20 แห่ง ทุนการศึกษาระดับ… ให้ทุนเยาวชน ODOS Summer Camp ไปเรียนซัมเมอร์ต่างประเทศ 6 สัปดาห์ เริ่มสมัครได้ 24 มี.ค.นี้ EZ WebmasterMarch 21, 2025 ODOS Summer Camp ทุนการศึกษาระยะสั้น 6 สัปดาห์ เพื่อกระจายโอกาสให้เด็กไทยทุกคนได้มีโอกาสไปเรียนซัมเมอร์ต่างประเทศ เปิดหูเปิดตา ค้นหาตัวตน และสร้างแรงบันดาลใจในการเรียนรู้ โดยไม่จำเป็นต้องเป็นเด็กเก่ง เด็กเรียน หรือเด็กหน้าห้อง เปิดรับเยาวชนที่มีคุณสมบัติดังนี้ – สัญชาติไทย – อายุไม่เกิน… ธนาคารแห่งประเทศไทย เปิดรับสมัครทุนระดับปริญญาโทขึ้นไป เรียนต่อที่ประเทศอังกฤษ EZ WebmasterMarch 17, 2025 ประกาศเปิดรับสมัครทุนการศึกษา Dr. Puey Ungphakorn Centenary Scholarship ประจำปี 2568 ธนาคารแห่งประเทศไทย เปิดรับสมัครทุนการศึกษาระดับปริญญาโทขึ้นไป เพื่อศึกษาต่อที่ The London School of Economics and Political… กสศ. ร่วมกับคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ให้ทุนเรียนฟรี ผู้ช่วยพยาบาล EZ WebmasterMarch 17, 2025 กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา(กสศ.)ร่วมกับคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ——————————————————- “รับสมัครนักศึกษาเพื่อรับทุน” หลักสูตรประกาศนียบัตรผู้ช่วยพยาบาล (PN) (สำหรับนักศึกษา PN รุ่นที่ 3) *** เรียนฟรี!! รับค่าใช้จ่ายเดือนละ 7,500 บาท จบแล้วไม่ต้องใช้ทุน **** จำนวน… ครู-อาจารย์ มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค EZ WebmasterMarch 21, 2025 ศาสตราจารย์ นายแพทย์ปิยะมิตร ศรีธรา อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า ปัจจุบันโลกกำลังเผชิญกับกระแสความเปลี่ยนแปลงใหญ่ๆ ใน 6 มิติ 1. สังคมสูงวัย (Aging Society) ในอีก 8 ปีข้างหน้า ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุระดับสุดยอด (Super… รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน EZ WebmasterMarch 21, 2025 รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน พร้อมจ่ายเงินอุดหนุนการศึกษาและพัฒนาอาชีพ ผ่านกสศ. ขณะที่ Microsoft หนุน ศูนย์ดิจิทัลชุมชน ยกระดับทักษะAI เพิ่มโอกาสมีงานทำ พร้อมจับมือ UNICEF สร้าง 1… Kahoot! เปิดตัว Kahoot! Energize ปฏิวัติการประชุมให้มีพลังและสร้างผลกระทบที่เหนือกว่า EZ WebmasterMarch 21, 2025 เปลี่ยนทุกการนำเสนอในที่ทำงานให้กลายเป็นการสื่อสารสองทาง สร้างประสบการณ์ที่น่าสนใจ เต็มไปด้วยความมีชีวิตชีวาและการมีส่วนร่วมที่แท้จริง กระตุ้นการมีส่วนร่วมจากผู้ฟังและขับเคลื่อน ผลลัพธ์ทางธุรกิจไปอีกขั้นด้วย Kahoot! Energize Kahoot! (คาฮู้ด) ผู้นำด้านการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมระดับโลกได้เปิดตัวเครื่องมือใหม่ Kahoot! Energize ที่จะเปลี่ยนทุกการประชุม การฝึกอบรม หรือกิจกรรมต่างๆ ให้กลายเป็นช่วงเวลาที่เต็มไปด้วยพลังและความสนุก พร้อมกระตุ้นการมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ สร้างผลกระทบที่มีความหมาย และขับเคลื่อนธุรกิจไปข้างหน้า การพัฒนา Kahoot! Energize ต่อยอดจากรูปแบบการเรียนรู้และการมีส่วนร่วม อันเป็นเอกลักษณ์ที่ได้รับความนิยมของ Kahoot! แต่เพิ่มความสามารถในการใช้งานในสภาพแวดล้อมการทำงานที่หลากหลาย… สมศ. เน้นย้ำการประเมินคุณภาพภายนอก ปี 67-71 ลดวันประเมิน On site ขยายสู่รูปแบบออนไลน์ สร้างมาตรฐานในการแข่งขันระดับอาเซียน EZ WebmasterMarch 20, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยในการประชุมรับฟังความคิดเห็น (ร่าง) กรอบแนวทางการประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษาที่จัดการเรียนรู้ในสังกัดกรมส่งเสริมการเรียนรู้ (สกร.) โดยเน้นย้ำเรื่อง “แนวคิดและทิศทางการประกันคุณภาพภายนอก” ว่า การประกันคุณภาพภายนอกไม่ใช่เป็น “การตรวจสอบ” แต่เป็นเครื่องมือที่ช่วยส่งเสริมการพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษาอย่างแท้จริง… กิจกรรม รวมพลังสีชมพูจุฬาฯ กลับบ้านสู่ร่มจามจุรี ในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” EZ WebmasterMarch 14, 2025 สมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (สนจ.) เชิญชวนชาวจุฬาฯ ทั้งนิสิตเก่าและนิสิตปัจจุบัน เดินทางกลับบ้านในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” ร่วมฉลองวาระสำคัญ ครบรอบ 108 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในบรรยากาศแห่งความรักความสามัคคี และความผูกพันของเหล่าน้องพี่สีชมพู ภายใต้ร่มเงาของจามจุรี นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย… สจล. ผนึกกำลังตำรวจภูธรภาค 2 และบริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จำกัด (สำนักงานใหญ่) พัฒนาโครงการ “AI Robot รับแจ้งความ” ประมวลผลถูกต้องและมีประสิทธิภาพ EZ WebmasterMarch 13, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี ร่วมด้วยพลตำรวจโท ยิ่งยศ เทพจำนงค์ (คนที่ 3 จากซ้าย) ผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 2… สจล. ร่วมกับกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน มุ่งยกระดับฝีมือแรงงาน สอดคล้องความต้องการในอนาคต EZ WebmasterMarch 10, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี และนายเดชา พฤกษ์พัฒนรักษ์ (คนที่ 3 จากซ้าย) อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ได้ลงในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการร่วมกัน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่นักศึกษาของสถาบันก่อนเข้าสู่ตลาดแรงงานในสาขาอาชีพต่าง… ปิดฉาก “HigherEd for PWD” ระยะที่ 1 เสริมสมรรถนะคนพิการสู่ตลาดแรงงานจริง EZ WebmasterMarch 10, 2025 เมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2568 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) ร่วมกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) และมหาวิทยาลัยเครือข่าย 5 แห่ง จัดแถลงข่าวสรุปผลและปิดโครงการการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาศักยภาพคนพิการเพื่อการประกอบอาชีพ ผ่านโมเดลการฝึกอบรม-ฝึกงานคนพิการ มจธ. HigherEd for PWD ระยะที่ 1 ซึ่งเป็นโครงการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อพัฒนาศักยภาพคนพิการสู่การประกอบอาชีพในตลาดแรงงานจริง ที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ซึ่งจัดขึ้น ณ ห้อง Auditorium ชั้น 3 อาคารการเรียนรู้พหุวิทยาการ (LX) มจธ. บางมด กรุงเทพฯ โดยได้รับเกียรติจาก นายวราวุธ… Search for: Search EZ Webmaster December 4, 2022 EZ Webmaster December 4, 2022 รวมประวัติ 12 มหาวิทยาลัย ที่ได้ชื่อพระราชทาน จากในหลวง รัชกาลที่ 9 รวมประวัติ 12 มหาวิทยาลัย ที่ได้ชื่อพระราชทาน จากในหลวง รัชกาลที่ 9 เคยสงสัยที่มาของแต่ละชื่อมหาวิทยาลัยกันบ้างไหมคะ? วันนี้ทาง Eduzones จะมาเล่าที่มาของมหาวิทยาลัยที่มีที่มาชื่อในแบบเดียวกัน คือ ได้รับพระราชทานชื่อจาก “พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช” ไปดูกันเลย! 1. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ : พ.ศ. 2510 เมื่อปี พ.ศ. 2505 รัฐบาลมีนโยบายจัดตั้งมหาวิทยาลัยขึ้นที่ภาคใต้ จึงจัดตั้ง “วิทยาลัยศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์” ก่อนที่ในปี พ.ศ. 2508 คณะรัฐมนตรีจะอนุมัติให้จัดตั้งมหาวิทยาลัยในภาคใต้ขึ้นที่ ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี โดยจะใช้เป็นที่ตั้งของคณะวิศวกรรมศาสตร์ และใช้ชื่ออย่างไม่เป็นทางการว่า “มหาวิทยาลัยภาคใต้” ซึ่งมีสำนักงานชั่วคราวของมหาวิทยาลัยอยู่ที่อาคารคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ (อาคารคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ในปัจจุบัน) หลังจากนั้น คณะกรรมการพัฒนาภาคใต้ โดย พันเอก (พิเศษ) ดร.ถนัด คอมันตร์ นำความกราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ขอพระราชทานชื่อให้แก่มหาวิทยาลัย เจึงได้รับพระราชทานนามมหาวิทยาลัยว่า “มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์” เมื่อวันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2510 ตามพระนามฐานันดรศักดิ์ของสมเด็จพระบรมราชชนก กรมหลวงสงขลานครินทร์ ดังนั้น มหาวิทยาลัยจึงถือว่าวันที่ 22 กันยายน ของทุกปีเป็น “วันสงขลานครินทร์” . 2. มหาวิทยาลัยมหิดล : พ.ศ.2512 สมัยก่อน มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นโรงเรียนแพทย์ ณ โรงพยาบาลศิริราช ชื่อว่า “โรงเรียนแพทยากร” ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2432 ในสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว หลังจากนั้นในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2486 จึงได้รับการสถาปนาขึ้นเป็น มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ ก่อนที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2512 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนาม “มหิดล” อันเป็นพระนามของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ใช้แทนชื่อมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์เป็นมหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งประกาศในราชกิจานุเบกษา เมื่อวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2512 . 3. สถาบันพระจอมเกล้า / มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า : พ.ศ. 2514 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พ.ศ. 2514โดยให้รวมวิทยาลัยเทคนิคพระนครเหนือ วิทยาลัยโทรคมนาคมนนทบุรี และวิทยาลัยเทคนิคธนบุรี เข้าด้วยกัน มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตครูอาชีวศึกษา ให้การศึกษาทั้งระดับต่ำกว่าปริญญาและระดับปริญญา และทำวิจัยทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันได้รับโปรดเกล้าพระราชทานนามภาษาไทย “สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า” และภาษาอังกฤษ “King Mongkut’s Institute of Technology” เมื่อวันที่ 28พฤษภาคม พ.ศ. 2514 . 4. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : พ.ศ. 2517 ก่อนจะเกิดเหตุการณ์ 14 ตุลาคม ในปี พ.ศ. 2516 ศาสตราจารย์ ดร.สุดใจ เหล่าสุนทร ดำรงตำแหน่งอธิการวิทยาลัยวิชาการศึกษา คณาจารย์ นิสิต และข้าราชการ ได้ร่วมกันเรียกร้องต่อรัฐบาลให้ปรับฐานะวิทยาลัยวิชาการศึกษาเป็นมหาวิทยาลัย และย้ายสังกัดจากกระทรวงศึกษาธิการไปขึ้นกับมหาวิทยาลัย ท่ามกลางการปกครองที่เข้มงวดรุนแรงของรัฐบาลทหารในขณะนั้น เพื่อความคล่องตัวในการพัฒนาโครงสร้าง การบริหาร และการเรียนการสอนที่จำกัด ไปสู่การเป็นมหาวิทยาลัยและการขยายตัวที่มีความหลากหลายวิชาชีพ ท้ายที่สุดมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ “มหาวิทยาลัยที่เจริญเป็นศรีสง่าแก่มหานคร” ได้สถาปนาขึ้นเมื่อวันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2517 โดยมี ศาสตราจารย์ ดร.สุดใจ เหล่าสุนทร เป็นอธิการบดี โดยนามของมหาวิทยาลัย ได้รับพระราชทานนามจาก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ เมื่อ 6 มีนาคม พ.ศ. 2517 . 5. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช : พ.ศ. 2521 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช เป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐแบบไม่จำกัดรับจำนวน (มหาวิทยาลัยเปิด) แห่งเดียวของประเทศไทย และเป็นมหาวิทยาลัยเปิดโดยใช้ระบบการศึกษาทางไกลแห่งเดียวในประเทศไทย ซึ่งจัดตั้งขึ้นเพื่อขยายและกระจายโอกาสทางการศึกษาระดับอุดมศึกษาแก่ประชาชน มีลักษณะเป็นมหาวิทยาลัยในระบบเปิด ดำเนินการดำเนินการสอนโดยใช้ระบบการสอนทางไกลซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อ “มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช” ตามพระนามกรมของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นกรมหลวงสุโขทัยธรรมราชา และพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ใช้พระราชลัญจกรในรัชกาลที่ 7 ซึ่งเป็นรูปพระแสงศรสามองค์ นำมาประกอบกับเจดีย์ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของ กรุงสุโขทัย เป็นตราประจำมหาวิทยาลัย . 6. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล : พ.ศ. 2531 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐในประเทศไทย สังกัด สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ปัจจุบันมีอยู่ 9 แห่งทั่วประเทศ ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2518ซึ่งใช้ชื่อว่า วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา ต่อมาในปี พ.ศ. 2531 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อใหม่ว่า สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล และได้ยกสถานะเป็นมหาวิทยาลัยเมื่อวันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2548 ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ. 2548 . 7. มหาวิทยาลัยนเรศวร : พ.ศ. 2533 มหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐ ตั้งอยู่ในจังหวัดพิษณุโลก ก่อตั้งเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2533 ภายหลังจากการยกฐานะขึ้นจากวิทยาเขตของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยชื่อ “มหาวิทยาลัยนเรศวร” นั้น ได้รับพระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เพื่อสดุดีและเฉลิมพระเกียรติแด่สมเด็จพระนเรศวรมหาราช วีรกษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา เนื่องด้วยพระองค์ประสูติที่เมืองพิษณุโลก และทรงเคยดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระมหาอุปราชครองเมืองพิษณุโลกมาก่อน . 8. มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ : พ.ศ. 2535 ในปี พ.ศ. 2510 ชาวนครศรีธรรมราช เริ่มรณรงค์เรียกร้องให้มีการจัดตั้งมหาวิทยาลัยในจังหวัดนครศรีธรรมราช จนกระทั่งคณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2531ให้จัดตั้งวิทยาลัยนครศรีธรรมราช สังกัดมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เพื่อยกฐานะเป็นมหาวิทยาลัยเอกเทศในอนาคต แต่ก็ได้ยกเลิกมติดังกล่าวในเวลาต่อมา และอนุมัติให้จัดตั้งมหาวิทยาลัยที่จังหวัดนครศรีธรรมราช เมื่อวันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2534 จนเมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2535 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม พระราชทานนามว่า “มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์” อันเป็นสร้อยพระนามในสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี . 9. มหาวิทยาลัยราชภัฏ : พ.ศ. 2535 มหาวิทยาลัยราชภัฏ เป็นกลุ่มมหาวิทยาลัยที่พัฒนามาจากโรงเรียนฝึกหัดอาจารย์ที่ตั้งอยู่ในส่วนกลางและส่วนภูมิภาคของประเทศ ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น วิทยาลัยครู หลังจากนั้น ได้รับพระราชทานนาม “ราชภัฏ” จากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ให้เป็นชื่อประจำสถาบัน พร้อมทั้ง พระราชทาน พระราชลัญจกรเป็นตราประจำมหาวิทยาลัย โดยในปัจจุบัน มหาวิทยาลัยราชภัฏ มีอยู่ทั้งสิ้น 38 แห่ง ทั่วประเทศ . 10. มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช :พ.ศ. 2553 มหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร เป็นแนวคิดตั้งแต่สมัยนายสมัคร สุนทรเวช ดำรงตำแหน่งเป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เพื่อเป็นทางเลือกกับนักศึกษาสามารถศึกษาเกี่ยวกับการบริหารจัดการเมือง ชุมชนเมืองหลวง และเพื่อตอบสนองความต้องการของเมืองหลวง แต่แนวคิดนี้ยังไม่ได้รับการตอบรับที่ดีนัก ในสมัย นายอภิรักษ์ โกษะโยธิน ดำรงตำแหน่งเป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ได้สานต่อ แนวคิดดังกล่าวอีกครั้ง เนื่องจากกรุงเทพมหานครได้เปิดการศึกษาหลายระดับแล้วในระดับอุดมศึกษา 2 แห่ง คือ วิทยาลัยแพทยศาสตร์กรุงเทพมหานครและวชิรพยาบาล และวิทยาลัยพยาบาลเกื้อการุณย์ โดยเน้นแผนการศึกษาวิชาการที่ไม่ซ้ำซ้อนกับมหาวิทยาลัยที่มีอยู่ในประเทศ และเน้นผลิตบุคลากรสาขาวิชาที่ขาดแคลน และเป็นที่ต้องการของกรุงเทพมหานคร โดยได้เสนอ ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยในกำกับของกรุงเทพมหานคร พ.ศ…. และคณะรัฐมนตรีได้รับร่างพระราชบัญญัติฯ ไว้ ในวันที่ 12 มิถุนายน 2550 แต่หลังจากมีการปรับเปลี่ยนผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เรื่องเกี่ยวกับพระราชบัญญัตินี้จึงหยุดนิ่งไป ในวันที่ 21กรกฎาคม พ.ศ. 2552 ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี เห็นชอบร่างพระราชบัญญัติฯ และได้แก้ไขชื่อพระราชบัญญัติจาก ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยในกำกับของกรุงเทพมหานคร พ.ศ…. เป็น ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ…. ต่อมาในวันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 สภาผ่านร่าง พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร และในวันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 ราชกิจจานุเบกษาเล่มที่ 127 ตอนที่ 63 ก ได้ประกาศพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2553 โดยมีผลใช้บังคับในวันที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2553 มีสาระสำคัญ คือ กำหนดให้จัดตั้งมหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร เป็นสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของกรุงเทพมหานคร มีฐานะเป็นนิติบุคคลที่ไม่เป็นส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน และกฎหมายว่าด้วยการ ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม และไม่เป็นรัฐวิสาหกิจตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณและกฎหมายอื่น โดยให้ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครมีอำนาจหน้าที่กำกับดูแลโดยทั่วไปซึ่งกิจการของมหาวิทยาลัย และให้โอนภารกิจและงบประมาณของวิทยาลัยแพทยศาสตร์กรุงเทพมหานครและวชิรพยาบาล และวิทยาลัยพยาบาลเกื้อการุณย์ ในสังกัดสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร ไปเป็นของมหาวิทยาลัยฯภายใน ๑๒๐ วัน นับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับการโอนบุคลากรซึ่งสังกัดวิทยาลัยแพทยศาสตร์กรุงเทพมหานครและวชิรพยาบาล ไปเป็นบุคลากรของมหาวิทยาลัย และกำหนดวิธีการบริหารกิจการของมหาวิทยาลัย หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครในสมัยต่อมา ได้ขอพระราชทานนามมหาวิทยาลัยว่า “มหาวิทยาลัยภูมิพล” เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2553 ต่อมาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามมหาวิทยาลัยว่า “มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช” เมื่อวันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2554 และมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2556 . 11. มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ : พ.ศ. 2535 “มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ” ก่อกำเนิดมากจาก “วิทยาลัยหัวเฉียว” ซึ่งมีรากฐานเติมโตมาจากโรงเรียนผดุงครรภ์อนามัยก่อตั้งโดยมูลนิธิป่อเต็มตึ๊ง ที่ก่อเกิดขึ้นจากพลังศรัทธาในคุณธรรมแห่ง “ไต้ฮงภิกขุ” ผู้ก่อตั้ง “คณะเก็บศพไต้ฮงกง” หรือ “มูลนิธิป่อเต็งตึ๊ง” ในปัจจุบัน โดยมีภารกิจในการบำเพ็ญทาน การสร้างสถานพยาบาลและบรรเทาสาธารณภัยเพื่อมวลชน รวมถึงการทำงานด้านการศึกษา โดยเปิดสอนหลักสูตรพยาบาล ในระดับปริญญาตรีเป็นหลักสูตรแรก ก่อนที่จะได้รับการยกสถานะเป็น “มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ” ในปัจจุบัน ต่อมาในปี พ.ศ. 2533 ในวาระที่มูลนิธิป่อเต็กตึ๊งมีวาระครบรอบ 80 ปี จึงได้ระดมทุนจากชาวไทยเชื่อสายจีนเพื่อใช้ในการก่อสร้าง เมื่อได้รับการอนุมัติจากทบวงมหาวิทยาลัยให้ยกสถานะเป็นมหาวิทยาลัย จึงเริ่มดำเนินการก่อสร้างแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2535 โดยได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามว่า ““มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ” ทั้งยังได้เสด็จพระราชดำเนินมาเป็นองค์ประธานในพิธีเปิดมหาวทิยาลัย เมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2537 โดยจัดว่า มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งเดียวในประเทศไทยที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ มาเป็นประธานเปิดมหาวิทยาลัยให้ เนื่องจากพระองค์ทรงเป็นประธานในพิธีเปิดมหาวิทยาลัยให้กับของรัฐบาลเท่านั้น ซึ่งไม่เคยเป็นประธานเปิดมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งใดเลย จึงเป็นผลนำมาซึ่งความปลาบปลื้มและนับเป็นสิริมงคลอันใหญ่หลวงแก่ชาวมหาวิทยาลัย และชาวจีนโพ้นทะเลในดินแดนสยาม ที่ได้ร่วมมือกันก่อตั้งสถาบันการศึกษาแห่งนี้ . 12. มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐลำดับที่ 77 ในประเทศไทย ตั้งอยู่ในจังหวัดนราธิวาส ก่อตั้งเมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 ภายหลังจากการหลอมรวมวิทยาลัยต่างๆ และยกฐานะขึ้นจากวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีนราธิวาส วิทยาลัยการอาชีพตากใบ วิทยาลัยเทคนิคนราธิวาส และวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี โดยชื่อ “มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์” นั้น ได้รับพระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เพื่อสดุดีและเฉลิมพระเกียรติแด่สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ สมเด็จพระโสทรเชษฐภคินีเพียงพระองค์เดียวในรัชกาลที่ 8 และ 9 เนื่องด้วยพระองค์ทรงบำเพ็ญพระกรณียกิจมากมายแก่ประเทศชาติ เพื่อแบ่งเบาพระราชภาระของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงลงพระปรมาภิไธยใน พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ พุทธศักราช 2548 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 122 ตอนที่ 14ก วันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 ดังนั้นทางมหาวิทยาลัยจึงกำหนดให้วันที่ 9 กุมภาพันธ์ ของทุกปีเป็นวันคล้ายวันสถาปนามหาวิทยาลัย . ขอขอบคุณแหล่งที่มา : คลิก EZ Webmaster Related Posts ปิดเทอมนี้ สสวท. กระตุ้นต่อมคิดพิชิตปัญหาฟิสิกส์หรรษา กับ “ไขปริศนาวิทยากล” มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน รวมเฉลยทุกวิชา A-Level 68 ฟินแลนด์ครองแชมป์ 8 ปีซ้อน ประเทศที่มีความสุขที่สุดในโลก 2025 ไทยขยับขึ้นอันดับ 49 Post navigation PREVIOUS Previous post: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ทำไมถึงย่อว่า ม.อ. ?NEXT Next post: แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน (พ.ศ. 2566 – 2570) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
รวมเฉลยทุกวิชา A-Level 68 EZ WebmasterMarch 21, 2025 รวมเฉลยทุกวิชา A-Level 68 จาก ทปอ. หากน้อง ๆ มีข้อโต้แย้งเฉลยสามารถกดในระบบเพื่อทักท้วงได้ A-Level 61 Math1 วิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 1 A-Level 62 Math2 วิชาคณิตศาสตร์ประยุกต์ 2… มอนเดลีซ สำเร็จภารกิจ “โรงเรียนรักษ์โลก แยกขยะลุ้นโชคกับมอนเดลีซ ปี 3” ปลูกฝังวัฒนธรรมแยกขยะให้แก่เยาวชนไทยกว่า 20,000 คน เพื่อโลกสีเขียวที่ยั่งยืน EZ WebmasterMarch 21, 2025 โครงการ “โรงเรียนรักษ์โลก แยกขยะลุ้นโชคกับมอนเดลีซ ปี 3” จัดขึ้นโดย บริษัท มอนเดลีซ อินเตอร์เนชันแนล (ประเทศไทย) จำกัด ร่วมกับ กรุงเทพมหานคร และ แทรชลัคกี้ ได้บรรลุเป้าหมายสำคัญในการสร้างจิตสำนึกด้านสิ่งแวดล้อมแก่เยาวชนไทย ด้วยความมุ่งมั่นในการขับเคลื่อนพฤติกรรมการจัดการขยะอย่างยั่งยืน โดยโครงการนี้ได้ปลูกฝังแนวคิดการคัดแยกขยะให้กับนักเรียนมากกว่า… วิทยาลัยทองสุข เปิดรับนักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2568 ครั้งใหญ่ ครบทุกระดับ ปริญญาตรี ปริญญาโทและปริญญาเอก พร้อม INTERNATIONAL PROGRAM tui sakrapeeMarch 20, 2025 วิทยาลัยทองสุข Thongsook College รับสมัครนักศึกษาใหม่ ปี 2568 ภาคเรียนที่ 1 เริ่มเรียน มิถุนายน 2568 #ระดับปริญญาตรี –หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต B.B.A. สาขาวิชาการจัดการ 4 ปี สาขาวิชาการจัดการ… นักศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค EZ WebmasterMarch 21, 2025 ศาสตราจารย์ นายแพทย์ปิยะมิตร ศรีธรา อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า ปัจจุบันโลกกำลังเผชิญกับกระแสความเปลี่ยนแปลงใหญ่ๆ ใน 6 มิติ 1. สังคมสูงวัย (Aging Society) ในอีก 8 ปีข้างหน้า ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุระดับสุดยอด (Super… ฟินแลนด์ครองแชมป์ 8 ปีซ้อน ประเทศที่มีความสุขที่สุดในโลก 2025 ไทยขยับขึ้นอันดับ 49 EZ WebmasterMarch 21, 2025 ฟินแลนด์ ยังคงรักษาตำแหน่งประเทศที่มีความสุขที่สุดในโลกเป็นปีที่ 8 ติดต่อกัน ตามรายงานความสุขโลก (World Happiness Report) ประจำปี 2025 ซึ่งจัดทำโดยศูนย์วิจัยความเป็นอยู่ที่ดี (Wellbeing Research Centre) แห่งมหาวิทยาลัยอ็อกซ์ฟอร์ด รายงานนี้เผยแพร่ในช่วงวันความสุขสากล (International Day of Happiness)… สจล. ร่วมกับโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์อินเตอร์เนชั่นแนล พัฒนาหลักสูตรและการจัดการเนื้อหาสู่การเรียนในแพลตฟอร์มออนไลน์ EZ WebmasterMarch 21, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี อธิการบดี และรศ. นพ.ทวีสิน ตันประยูร ประธานปฏิบัติการด้านการแพทย์ โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์อินเตอร์เนชั่นแนล ร่วมกันลงนามในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ เพื่อการพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเนื้อหาการเรียนรู้ออนไลน์ ผ่าน KMITL Masterclass ซึ่งเป็นแพลตฟอร์มออนไลน์ของ… นักศึกษา มทร.ธัญบุรี โชว์ไอเดีย “กระเป๋าผ้าทอใยไผ่” ตอบโจทย์ความยั่งยืน ในนิทรรศการศิลปนิพนธ์ 2025 tui sakrapeeMarch 20, 2025 นักศึกษาชั้นปีที่ 4 จากภาควิชาศิลปะการออกแบบและเทคโนโลยี คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้ร่วมกันจัดนิทรรศการศิลปนิพนธ์เพื่อเผยแพร่ผลงานสู่สาธารณชน พร้อมฝึกประสบการณ์จริงในการจัดแสดงผลงานออกแบบ ภายในงานได้รวบรวมผลงานจาก 4 สาขาวิชา ได้แก่ ออกแบบนิเทศศิลป์ ออกแบบภายใน ออกแบบผลิตภัณฑ์ และนวัตกรรมการออกแบบผลิตภัณฑ์ร่วมสมัย จัดขึ้น ณ ศูนย์การค้ายูเนี่ยน มอลล์ โซน CoEvent Studio กรุงเทพฯ… ทุนดีดี สกสค. ร่วมกับ CP All มอบ 100 ทุนเรียนฟรี 100% ระดับ ปวช. ปวส. และปริญญาตรี EZ WebmasterMarch 21, 2025 กสค. ร่วมกับ CP All มอบทุนเรียนฟรี !! 100% ล่าสุดขยายโอกาสเพิ่มอีก 9 สาขาใหม่ เพิ่มทางเลือกให้เยาวชนก้าวไกล ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ศึกษาที่วิทยาลัยปัญญาภิวัฒน์ และศูนย์การเรียนฯ ทั่วประเทศ 20 แห่ง ทุนการศึกษาระดับ… ให้ทุนเยาวชน ODOS Summer Camp ไปเรียนซัมเมอร์ต่างประเทศ 6 สัปดาห์ เริ่มสมัครได้ 24 มี.ค.นี้ EZ WebmasterMarch 21, 2025 ODOS Summer Camp ทุนการศึกษาระยะสั้น 6 สัปดาห์ เพื่อกระจายโอกาสให้เด็กไทยทุกคนได้มีโอกาสไปเรียนซัมเมอร์ต่างประเทศ เปิดหูเปิดตา ค้นหาตัวตน และสร้างแรงบันดาลใจในการเรียนรู้ โดยไม่จำเป็นต้องเป็นเด็กเก่ง เด็กเรียน หรือเด็กหน้าห้อง เปิดรับเยาวชนที่มีคุณสมบัติดังนี้ – สัญชาติไทย – อายุไม่เกิน… ธนาคารแห่งประเทศไทย เปิดรับสมัครทุนระดับปริญญาโทขึ้นไป เรียนต่อที่ประเทศอังกฤษ EZ WebmasterMarch 17, 2025 ประกาศเปิดรับสมัครทุนการศึกษา Dr. Puey Ungphakorn Centenary Scholarship ประจำปี 2568 ธนาคารแห่งประเทศไทย เปิดรับสมัครทุนการศึกษาระดับปริญญาโทขึ้นไป เพื่อศึกษาต่อที่ The London School of Economics and Political… กสศ. ร่วมกับคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ให้ทุนเรียนฟรี ผู้ช่วยพยาบาล EZ WebmasterMarch 17, 2025 กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา(กสศ.)ร่วมกับคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ——————————————————- “รับสมัครนักศึกษาเพื่อรับทุน” หลักสูตรประกาศนียบัตรผู้ช่วยพยาบาล (PN) (สำหรับนักศึกษา PN รุ่นที่ 3) *** เรียนฟรี!! รับค่าใช้จ่ายเดือนละ 7,500 บาท จบแล้วไม่ต้องใช้ทุน **** จำนวน… ครู-อาจารย์ มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค EZ WebmasterMarch 21, 2025 ศาสตราจารย์ นายแพทย์ปิยะมิตร ศรีธรา อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า ปัจจุบันโลกกำลังเผชิญกับกระแสความเปลี่ยนแปลงใหญ่ๆ ใน 6 มิติ 1. สังคมสูงวัย (Aging Society) ในอีก 8 ปีข้างหน้า ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุระดับสุดยอด (Super… รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน EZ WebmasterMarch 21, 2025 รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน พร้อมจ่ายเงินอุดหนุนการศึกษาและพัฒนาอาชีพ ผ่านกสศ. ขณะที่ Microsoft หนุน ศูนย์ดิจิทัลชุมชน ยกระดับทักษะAI เพิ่มโอกาสมีงานทำ พร้อมจับมือ UNICEF สร้าง 1… Kahoot! เปิดตัว Kahoot! Energize ปฏิวัติการประชุมให้มีพลังและสร้างผลกระทบที่เหนือกว่า EZ WebmasterMarch 21, 2025 เปลี่ยนทุกการนำเสนอในที่ทำงานให้กลายเป็นการสื่อสารสองทาง สร้างประสบการณ์ที่น่าสนใจ เต็มไปด้วยความมีชีวิตชีวาและการมีส่วนร่วมที่แท้จริง กระตุ้นการมีส่วนร่วมจากผู้ฟังและขับเคลื่อน ผลลัพธ์ทางธุรกิจไปอีกขั้นด้วย Kahoot! Energize Kahoot! (คาฮู้ด) ผู้นำด้านการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมระดับโลกได้เปิดตัวเครื่องมือใหม่ Kahoot! Energize ที่จะเปลี่ยนทุกการประชุม การฝึกอบรม หรือกิจกรรมต่างๆ ให้กลายเป็นช่วงเวลาที่เต็มไปด้วยพลังและความสนุก พร้อมกระตุ้นการมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ สร้างผลกระทบที่มีความหมาย และขับเคลื่อนธุรกิจไปข้างหน้า การพัฒนา Kahoot! Energize ต่อยอดจากรูปแบบการเรียนรู้และการมีส่วนร่วม อันเป็นเอกลักษณ์ที่ได้รับความนิยมของ Kahoot! แต่เพิ่มความสามารถในการใช้งานในสภาพแวดล้อมการทำงานที่หลากหลาย… สมศ. เน้นย้ำการประเมินคุณภาพภายนอก ปี 67-71 ลดวันประเมิน On site ขยายสู่รูปแบบออนไลน์ สร้างมาตรฐานในการแข่งขันระดับอาเซียน EZ WebmasterMarch 20, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยในการประชุมรับฟังความคิดเห็น (ร่าง) กรอบแนวทางการประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษาที่จัดการเรียนรู้ในสังกัดกรมส่งเสริมการเรียนรู้ (สกร.) โดยเน้นย้ำเรื่อง “แนวคิดและทิศทางการประกันคุณภาพภายนอก” ว่า การประกันคุณภาพภายนอกไม่ใช่เป็น “การตรวจสอบ” แต่เป็นเครื่องมือที่ช่วยส่งเสริมการพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษาอย่างแท้จริง… กิจกรรม รวมพลังสีชมพูจุฬาฯ กลับบ้านสู่ร่มจามจุรี ในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” EZ WebmasterMarch 14, 2025 สมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (สนจ.) เชิญชวนชาวจุฬาฯ ทั้งนิสิตเก่าและนิสิตปัจจุบัน เดินทางกลับบ้านในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” ร่วมฉลองวาระสำคัญ ครบรอบ 108 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในบรรยากาศแห่งความรักความสามัคคี และความผูกพันของเหล่าน้องพี่สีชมพู ภายใต้ร่มเงาของจามจุรี นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย… สจล. ผนึกกำลังตำรวจภูธรภาค 2 และบริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จำกัด (สำนักงานใหญ่) พัฒนาโครงการ “AI Robot รับแจ้งความ” ประมวลผลถูกต้องและมีประสิทธิภาพ EZ WebmasterMarch 13, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี ร่วมด้วยพลตำรวจโท ยิ่งยศ เทพจำนงค์ (คนที่ 3 จากซ้าย) ผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 2… สจล. ร่วมกับกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน มุ่งยกระดับฝีมือแรงงาน สอดคล้องความต้องการในอนาคต EZ WebmasterMarch 10, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี และนายเดชา พฤกษ์พัฒนรักษ์ (คนที่ 3 จากซ้าย) อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ได้ลงในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการร่วมกัน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่นักศึกษาของสถาบันก่อนเข้าสู่ตลาดแรงงานในสาขาอาชีพต่าง… ปิดฉาก “HigherEd for PWD” ระยะที่ 1 เสริมสมรรถนะคนพิการสู่ตลาดแรงงานจริง EZ WebmasterMarch 10, 2025 เมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2568 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) ร่วมกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) และมหาวิทยาลัยเครือข่าย 5 แห่ง จัดแถลงข่าวสรุปผลและปิดโครงการการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาศักยภาพคนพิการเพื่อการประกอบอาชีพ ผ่านโมเดลการฝึกอบรม-ฝึกงานคนพิการ มจธ. HigherEd for PWD ระยะที่ 1 ซึ่งเป็นโครงการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อพัฒนาศักยภาพคนพิการสู่การประกอบอาชีพในตลาดแรงงานจริง ที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ซึ่งจัดขึ้น ณ ห้อง Auditorium ชั้น 3 อาคารการเรียนรู้พหุวิทยาการ (LX) มจธ. บางมด กรุงเทพฯ โดยได้รับเกียรติจาก นายวราวุธ… Search for: Search EZ Webmaster December 4, 2022 EZ Webmaster December 4, 2022 รวมประวัติ 12 มหาวิทยาลัย ที่ได้ชื่อพระราชทาน จากในหลวง รัชกาลที่ 9 รวมประวัติ 12 มหาวิทยาลัย ที่ได้ชื่อพระราชทาน จากในหลวง รัชกาลที่ 9 เคยสงสัยที่มาของแต่ละชื่อมหาวิทยาลัยกันบ้างไหมคะ? วันนี้ทาง Eduzones จะมาเล่าที่มาของมหาวิทยาลัยที่มีที่มาชื่อในแบบเดียวกัน คือ ได้รับพระราชทานชื่อจาก “พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช” ไปดูกันเลย! 1. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ : พ.ศ. 2510 เมื่อปี พ.ศ. 2505 รัฐบาลมีนโยบายจัดตั้งมหาวิทยาลัยขึ้นที่ภาคใต้ จึงจัดตั้ง “วิทยาลัยศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์” ก่อนที่ในปี พ.ศ. 2508 คณะรัฐมนตรีจะอนุมัติให้จัดตั้งมหาวิทยาลัยในภาคใต้ขึ้นที่ ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี โดยจะใช้เป็นที่ตั้งของคณะวิศวกรรมศาสตร์ และใช้ชื่ออย่างไม่เป็นทางการว่า “มหาวิทยาลัยภาคใต้” ซึ่งมีสำนักงานชั่วคราวของมหาวิทยาลัยอยู่ที่อาคารคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ (อาคารคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ในปัจจุบัน) หลังจากนั้น คณะกรรมการพัฒนาภาคใต้ โดย พันเอก (พิเศษ) ดร.ถนัด คอมันตร์ นำความกราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ขอพระราชทานชื่อให้แก่มหาวิทยาลัย เจึงได้รับพระราชทานนามมหาวิทยาลัยว่า “มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์” เมื่อวันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2510 ตามพระนามฐานันดรศักดิ์ของสมเด็จพระบรมราชชนก กรมหลวงสงขลานครินทร์ ดังนั้น มหาวิทยาลัยจึงถือว่าวันที่ 22 กันยายน ของทุกปีเป็น “วันสงขลานครินทร์” . 2. มหาวิทยาลัยมหิดล : พ.ศ.2512 สมัยก่อน มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นโรงเรียนแพทย์ ณ โรงพยาบาลศิริราช ชื่อว่า “โรงเรียนแพทยากร” ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2432 ในสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว หลังจากนั้นในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2486 จึงได้รับการสถาปนาขึ้นเป็น มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ ก่อนที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2512 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนาม “มหิดล” อันเป็นพระนามของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ใช้แทนชื่อมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์เป็นมหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งประกาศในราชกิจานุเบกษา เมื่อวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2512 . 3. สถาบันพระจอมเกล้า / มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า : พ.ศ. 2514 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พ.ศ. 2514โดยให้รวมวิทยาลัยเทคนิคพระนครเหนือ วิทยาลัยโทรคมนาคมนนทบุรี และวิทยาลัยเทคนิคธนบุรี เข้าด้วยกัน มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตครูอาชีวศึกษา ให้การศึกษาทั้งระดับต่ำกว่าปริญญาและระดับปริญญา และทำวิจัยทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันได้รับโปรดเกล้าพระราชทานนามภาษาไทย “สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า” และภาษาอังกฤษ “King Mongkut’s Institute of Technology” เมื่อวันที่ 28พฤษภาคม พ.ศ. 2514 . 4. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : พ.ศ. 2517 ก่อนจะเกิดเหตุการณ์ 14 ตุลาคม ในปี พ.ศ. 2516 ศาสตราจารย์ ดร.สุดใจ เหล่าสุนทร ดำรงตำแหน่งอธิการวิทยาลัยวิชาการศึกษา คณาจารย์ นิสิต และข้าราชการ ได้ร่วมกันเรียกร้องต่อรัฐบาลให้ปรับฐานะวิทยาลัยวิชาการศึกษาเป็นมหาวิทยาลัย และย้ายสังกัดจากกระทรวงศึกษาธิการไปขึ้นกับมหาวิทยาลัย ท่ามกลางการปกครองที่เข้มงวดรุนแรงของรัฐบาลทหารในขณะนั้น เพื่อความคล่องตัวในการพัฒนาโครงสร้าง การบริหาร และการเรียนการสอนที่จำกัด ไปสู่การเป็นมหาวิทยาลัยและการขยายตัวที่มีความหลากหลายวิชาชีพ ท้ายที่สุดมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ “มหาวิทยาลัยที่เจริญเป็นศรีสง่าแก่มหานคร” ได้สถาปนาขึ้นเมื่อวันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2517 โดยมี ศาสตราจารย์ ดร.สุดใจ เหล่าสุนทร เป็นอธิการบดี โดยนามของมหาวิทยาลัย ได้รับพระราชทานนามจาก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ เมื่อ 6 มีนาคม พ.ศ. 2517 . 5. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช : พ.ศ. 2521 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช เป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐแบบไม่จำกัดรับจำนวน (มหาวิทยาลัยเปิด) แห่งเดียวของประเทศไทย และเป็นมหาวิทยาลัยเปิดโดยใช้ระบบการศึกษาทางไกลแห่งเดียวในประเทศไทย ซึ่งจัดตั้งขึ้นเพื่อขยายและกระจายโอกาสทางการศึกษาระดับอุดมศึกษาแก่ประชาชน มีลักษณะเป็นมหาวิทยาลัยในระบบเปิด ดำเนินการดำเนินการสอนโดยใช้ระบบการสอนทางไกลซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อ “มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช” ตามพระนามกรมของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นกรมหลวงสุโขทัยธรรมราชา และพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ใช้พระราชลัญจกรในรัชกาลที่ 7 ซึ่งเป็นรูปพระแสงศรสามองค์ นำมาประกอบกับเจดีย์ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของ กรุงสุโขทัย เป็นตราประจำมหาวิทยาลัย . 6. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล : พ.ศ. 2531 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐในประเทศไทย สังกัด สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ปัจจุบันมีอยู่ 9 แห่งทั่วประเทศ ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2518ซึ่งใช้ชื่อว่า วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา ต่อมาในปี พ.ศ. 2531 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อใหม่ว่า สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล และได้ยกสถานะเป็นมหาวิทยาลัยเมื่อวันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2548 ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ. 2548 . 7. มหาวิทยาลัยนเรศวร : พ.ศ. 2533 มหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐ ตั้งอยู่ในจังหวัดพิษณุโลก ก่อตั้งเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2533 ภายหลังจากการยกฐานะขึ้นจากวิทยาเขตของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยชื่อ “มหาวิทยาลัยนเรศวร” นั้น ได้รับพระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เพื่อสดุดีและเฉลิมพระเกียรติแด่สมเด็จพระนเรศวรมหาราช วีรกษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา เนื่องด้วยพระองค์ประสูติที่เมืองพิษณุโลก และทรงเคยดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระมหาอุปราชครองเมืองพิษณุโลกมาก่อน . 8. มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ : พ.ศ. 2535 ในปี พ.ศ. 2510 ชาวนครศรีธรรมราช เริ่มรณรงค์เรียกร้องให้มีการจัดตั้งมหาวิทยาลัยในจังหวัดนครศรีธรรมราช จนกระทั่งคณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2531ให้จัดตั้งวิทยาลัยนครศรีธรรมราช สังกัดมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เพื่อยกฐานะเป็นมหาวิทยาลัยเอกเทศในอนาคต แต่ก็ได้ยกเลิกมติดังกล่าวในเวลาต่อมา และอนุมัติให้จัดตั้งมหาวิทยาลัยที่จังหวัดนครศรีธรรมราช เมื่อวันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2534 จนเมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2535 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม พระราชทานนามว่า “มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์” อันเป็นสร้อยพระนามในสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี . 9. มหาวิทยาลัยราชภัฏ : พ.ศ. 2535 มหาวิทยาลัยราชภัฏ เป็นกลุ่มมหาวิทยาลัยที่พัฒนามาจากโรงเรียนฝึกหัดอาจารย์ที่ตั้งอยู่ในส่วนกลางและส่วนภูมิภาคของประเทศ ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น วิทยาลัยครู หลังจากนั้น ได้รับพระราชทานนาม “ราชภัฏ” จากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ให้เป็นชื่อประจำสถาบัน พร้อมทั้ง พระราชทาน พระราชลัญจกรเป็นตราประจำมหาวิทยาลัย โดยในปัจจุบัน มหาวิทยาลัยราชภัฏ มีอยู่ทั้งสิ้น 38 แห่ง ทั่วประเทศ . 10. มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช :พ.ศ. 2553 มหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร เป็นแนวคิดตั้งแต่สมัยนายสมัคร สุนทรเวช ดำรงตำแหน่งเป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เพื่อเป็นทางเลือกกับนักศึกษาสามารถศึกษาเกี่ยวกับการบริหารจัดการเมือง ชุมชนเมืองหลวง และเพื่อตอบสนองความต้องการของเมืองหลวง แต่แนวคิดนี้ยังไม่ได้รับการตอบรับที่ดีนัก ในสมัย นายอภิรักษ์ โกษะโยธิน ดำรงตำแหน่งเป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ได้สานต่อ แนวคิดดังกล่าวอีกครั้ง เนื่องจากกรุงเทพมหานครได้เปิดการศึกษาหลายระดับแล้วในระดับอุดมศึกษา 2 แห่ง คือ วิทยาลัยแพทยศาสตร์กรุงเทพมหานครและวชิรพยาบาล และวิทยาลัยพยาบาลเกื้อการุณย์ โดยเน้นแผนการศึกษาวิชาการที่ไม่ซ้ำซ้อนกับมหาวิทยาลัยที่มีอยู่ในประเทศ และเน้นผลิตบุคลากรสาขาวิชาที่ขาดแคลน และเป็นที่ต้องการของกรุงเทพมหานคร โดยได้เสนอ ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยในกำกับของกรุงเทพมหานคร พ.ศ…. และคณะรัฐมนตรีได้รับร่างพระราชบัญญัติฯ ไว้ ในวันที่ 12 มิถุนายน 2550 แต่หลังจากมีการปรับเปลี่ยนผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เรื่องเกี่ยวกับพระราชบัญญัตินี้จึงหยุดนิ่งไป ในวันที่ 21กรกฎาคม พ.ศ. 2552 ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี เห็นชอบร่างพระราชบัญญัติฯ และได้แก้ไขชื่อพระราชบัญญัติจาก ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยในกำกับของกรุงเทพมหานคร พ.ศ…. เป็น ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ…. ต่อมาในวันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 สภาผ่านร่าง พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร และในวันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 ราชกิจจานุเบกษาเล่มที่ 127 ตอนที่ 63 ก ได้ประกาศพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2553 โดยมีผลใช้บังคับในวันที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2553 มีสาระสำคัญ คือ กำหนดให้จัดตั้งมหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร เป็นสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของกรุงเทพมหานคร มีฐานะเป็นนิติบุคคลที่ไม่เป็นส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน และกฎหมายว่าด้วยการ ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม และไม่เป็นรัฐวิสาหกิจตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณและกฎหมายอื่น โดยให้ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครมีอำนาจหน้าที่กำกับดูแลโดยทั่วไปซึ่งกิจการของมหาวิทยาลัย และให้โอนภารกิจและงบประมาณของวิทยาลัยแพทยศาสตร์กรุงเทพมหานครและวชิรพยาบาล และวิทยาลัยพยาบาลเกื้อการุณย์ ในสังกัดสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร ไปเป็นของมหาวิทยาลัยฯภายใน ๑๒๐ วัน นับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับการโอนบุคลากรซึ่งสังกัดวิทยาลัยแพทยศาสตร์กรุงเทพมหานครและวชิรพยาบาล ไปเป็นบุคลากรของมหาวิทยาลัย และกำหนดวิธีการบริหารกิจการของมหาวิทยาลัย หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครในสมัยต่อมา ได้ขอพระราชทานนามมหาวิทยาลัยว่า “มหาวิทยาลัยภูมิพล” เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2553 ต่อมาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามมหาวิทยาลัยว่า “มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช” เมื่อวันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2554 และมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2556 . 11. มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ : พ.ศ. 2535 “มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ” ก่อกำเนิดมากจาก “วิทยาลัยหัวเฉียว” ซึ่งมีรากฐานเติมโตมาจากโรงเรียนผดุงครรภ์อนามัยก่อตั้งโดยมูลนิธิป่อเต็มตึ๊ง ที่ก่อเกิดขึ้นจากพลังศรัทธาในคุณธรรมแห่ง “ไต้ฮงภิกขุ” ผู้ก่อตั้ง “คณะเก็บศพไต้ฮงกง” หรือ “มูลนิธิป่อเต็งตึ๊ง” ในปัจจุบัน โดยมีภารกิจในการบำเพ็ญทาน การสร้างสถานพยาบาลและบรรเทาสาธารณภัยเพื่อมวลชน รวมถึงการทำงานด้านการศึกษา โดยเปิดสอนหลักสูตรพยาบาล ในระดับปริญญาตรีเป็นหลักสูตรแรก ก่อนที่จะได้รับการยกสถานะเป็น “มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ” ในปัจจุบัน ต่อมาในปี พ.ศ. 2533 ในวาระที่มูลนิธิป่อเต็กตึ๊งมีวาระครบรอบ 80 ปี จึงได้ระดมทุนจากชาวไทยเชื่อสายจีนเพื่อใช้ในการก่อสร้าง เมื่อได้รับการอนุมัติจากทบวงมหาวิทยาลัยให้ยกสถานะเป็นมหาวิทยาลัย จึงเริ่มดำเนินการก่อสร้างแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2535 โดยได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามว่า ““มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ” ทั้งยังได้เสด็จพระราชดำเนินมาเป็นองค์ประธานในพิธีเปิดมหาวทิยาลัย เมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2537 โดยจัดว่า มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งเดียวในประเทศไทยที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ มาเป็นประธานเปิดมหาวิทยาลัยให้ เนื่องจากพระองค์ทรงเป็นประธานในพิธีเปิดมหาวิทยาลัยให้กับของรัฐบาลเท่านั้น ซึ่งไม่เคยเป็นประธานเปิดมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งใดเลย จึงเป็นผลนำมาซึ่งความปลาบปลื้มและนับเป็นสิริมงคลอันใหญ่หลวงแก่ชาวมหาวิทยาลัย และชาวจีนโพ้นทะเลในดินแดนสยาม ที่ได้ร่วมมือกันก่อตั้งสถาบันการศึกษาแห่งนี้ . 12. มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐลำดับที่ 77 ในประเทศไทย ตั้งอยู่ในจังหวัดนราธิวาส ก่อตั้งเมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 ภายหลังจากการหลอมรวมวิทยาลัยต่างๆ และยกฐานะขึ้นจากวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีนราธิวาส วิทยาลัยการอาชีพตากใบ วิทยาลัยเทคนิคนราธิวาส และวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี โดยชื่อ “มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์” นั้น ได้รับพระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เพื่อสดุดีและเฉลิมพระเกียรติแด่สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ สมเด็จพระโสทรเชษฐภคินีเพียงพระองค์เดียวในรัชกาลที่ 8 และ 9 เนื่องด้วยพระองค์ทรงบำเพ็ญพระกรณียกิจมากมายแก่ประเทศชาติ เพื่อแบ่งเบาพระราชภาระของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงลงพระปรมาภิไธยใน พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ พุทธศักราช 2548 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 122 ตอนที่ 14ก วันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 ดังนั้นทางมหาวิทยาลัยจึงกำหนดให้วันที่ 9 กุมภาพันธ์ ของทุกปีเป็นวันคล้ายวันสถาปนามหาวิทยาลัย . ขอขอบคุณแหล่งที่มา : คลิก EZ Webmaster Related Posts ปิดเทอมนี้ สสวท. กระตุ้นต่อมคิดพิชิตปัญหาฟิสิกส์หรรษา กับ “ไขปริศนาวิทยากล” มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน รวมเฉลยทุกวิชา A-Level 68 ฟินแลนด์ครองแชมป์ 8 ปีซ้อน ประเทศที่มีความสุขที่สุดในโลก 2025 ไทยขยับขึ้นอันดับ 49 Post navigation PREVIOUS Previous post: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ทำไมถึงย่อว่า ม.อ. ?NEXT Next post: แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน (พ.ศ. 2566 – 2570) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มอนเดลีซ สำเร็จภารกิจ “โรงเรียนรักษ์โลก แยกขยะลุ้นโชคกับมอนเดลีซ ปี 3” ปลูกฝังวัฒนธรรมแยกขยะให้แก่เยาวชนไทยกว่า 20,000 คน เพื่อโลกสีเขียวที่ยั่งยืน EZ WebmasterMarch 21, 2025 โครงการ “โรงเรียนรักษ์โลก แยกขยะลุ้นโชคกับมอนเดลีซ ปี 3” จัดขึ้นโดย บริษัท มอนเดลีซ อินเตอร์เนชันแนล (ประเทศไทย) จำกัด ร่วมกับ กรุงเทพมหานคร และ แทรชลัคกี้ ได้บรรลุเป้าหมายสำคัญในการสร้างจิตสำนึกด้านสิ่งแวดล้อมแก่เยาวชนไทย ด้วยความมุ่งมั่นในการขับเคลื่อนพฤติกรรมการจัดการขยะอย่างยั่งยืน โดยโครงการนี้ได้ปลูกฝังแนวคิดการคัดแยกขยะให้กับนักเรียนมากกว่า… วิทยาลัยทองสุข เปิดรับนักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2568 ครั้งใหญ่ ครบทุกระดับ ปริญญาตรี ปริญญาโทและปริญญาเอก พร้อม INTERNATIONAL PROGRAM tui sakrapeeMarch 20, 2025 วิทยาลัยทองสุข Thongsook College รับสมัครนักศึกษาใหม่ ปี 2568 ภาคเรียนที่ 1 เริ่มเรียน มิถุนายน 2568 #ระดับปริญญาตรี –หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต B.B.A. สาขาวิชาการจัดการ 4 ปี สาขาวิชาการจัดการ…
วิทยาลัยทองสุข เปิดรับนักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2568 ครั้งใหญ่ ครบทุกระดับ ปริญญาตรี ปริญญาโทและปริญญาเอก พร้อม INTERNATIONAL PROGRAM tui sakrapeeMarch 20, 2025 วิทยาลัยทองสุข Thongsook College รับสมัครนักศึกษาใหม่ ปี 2568 ภาคเรียนที่ 1 เริ่มเรียน มิถุนายน 2568 #ระดับปริญญาตรี –หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต B.B.A. สาขาวิชาการจัดการ 4 ปี สาขาวิชาการจัดการ…
มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค EZ WebmasterMarch 21, 2025 ศาสตราจารย์ นายแพทย์ปิยะมิตร ศรีธรา อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า ปัจจุบันโลกกำลังเผชิญกับกระแสความเปลี่ยนแปลงใหญ่ๆ ใน 6 มิติ 1. สังคมสูงวัย (Aging Society) ในอีก 8 ปีข้างหน้า ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุระดับสุดยอด (Super… ฟินแลนด์ครองแชมป์ 8 ปีซ้อน ประเทศที่มีความสุขที่สุดในโลก 2025 ไทยขยับขึ้นอันดับ 49 EZ WebmasterMarch 21, 2025 ฟินแลนด์ ยังคงรักษาตำแหน่งประเทศที่มีความสุขที่สุดในโลกเป็นปีที่ 8 ติดต่อกัน ตามรายงานความสุขโลก (World Happiness Report) ประจำปี 2025 ซึ่งจัดทำโดยศูนย์วิจัยความเป็นอยู่ที่ดี (Wellbeing Research Centre) แห่งมหาวิทยาลัยอ็อกซ์ฟอร์ด รายงานนี้เผยแพร่ในช่วงวันความสุขสากล (International Day of Happiness)… สจล. ร่วมกับโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์อินเตอร์เนชั่นแนล พัฒนาหลักสูตรและการจัดการเนื้อหาสู่การเรียนในแพลตฟอร์มออนไลน์ EZ WebmasterMarch 21, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี อธิการบดี และรศ. นพ.ทวีสิน ตันประยูร ประธานปฏิบัติการด้านการแพทย์ โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์อินเตอร์เนชั่นแนล ร่วมกันลงนามในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ เพื่อการพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเนื้อหาการเรียนรู้ออนไลน์ ผ่าน KMITL Masterclass ซึ่งเป็นแพลตฟอร์มออนไลน์ของ… นักศึกษา มทร.ธัญบุรี โชว์ไอเดีย “กระเป๋าผ้าทอใยไผ่” ตอบโจทย์ความยั่งยืน ในนิทรรศการศิลปนิพนธ์ 2025 tui sakrapeeMarch 20, 2025 นักศึกษาชั้นปีที่ 4 จากภาควิชาศิลปะการออกแบบและเทคโนโลยี คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้ร่วมกันจัดนิทรรศการศิลปนิพนธ์เพื่อเผยแพร่ผลงานสู่สาธารณชน พร้อมฝึกประสบการณ์จริงในการจัดแสดงผลงานออกแบบ ภายในงานได้รวบรวมผลงานจาก 4 สาขาวิชา ได้แก่ ออกแบบนิเทศศิลป์ ออกแบบภายใน ออกแบบผลิตภัณฑ์ และนวัตกรรมการออกแบบผลิตภัณฑ์ร่วมสมัย จัดขึ้น ณ ศูนย์การค้ายูเนี่ยน มอลล์ โซน CoEvent Studio กรุงเทพฯ… ทุนดีดี สกสค. ร่วมกับ CP All มอบ 100 ทุนเรียนฟรี 100% ระดับ ปวช. ปวส. และปริญญาตรี EZ WebmasterMarch 21, 2025 กสค. ร่วมกับ CP All มอบทุนเรียนฟรี !! 100% ล่าสุดขยายโอกาสเพิ่มอีก 9 สาขาใหม่ เพิ่มทางเลือกให้เยาวชนก้าวไกล ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ศึกษาที่วิทยาลัยปัญญาภิวัฒน์ และศูนย์การเรียนฯ ทั่วประเทศ 20 แห่ง ทุนการศึกษาระดับ… ให้ทุนเยาวชน ODOS Summer Camp ไปเรียนซัมเมอร์ต่างประเทศ 6 สัปดาห์ เริ่มสมัครได้ 24 มี.ค.นี้ EZ WebmasterMarch 21, 2025 ODOS Summer Camp ทุนการศึกษาระยะสั้น 6 สัปดาห์ เพื่อกระจายโอกาสให้เด็กไทยทุกคนได้มีโอกาสไปเรียนซัมเมอร์ต่างประเทศ เปิดหูเปิดตา ค้นหาตัวตน และสร้างแรงบันดาลใจในการเรียนรู้ โดยไม่จำเป็นต้องเป็นเด็กเก่ง เด็กเรียน หรือเด็กหน้าห้อง เปิดรับเยาวชนที่มีคุณสมบัติดังนี้ – สัญชาติไทย – อายุไม่เกิน… ธนาคารแห่งประเทศไทย เปิดรับสมัครทุนระดับปริญญาโทขึ้นไป เรียนต่อที่ประเทศอังกฤษ EZ WebmasterMarch 17, 2025 ประกาศเปิดรับสมัครทุนการศึกษา Dr. Puey Ungphakorn Centenary Scholarship ประจำปี 2568 ธนาคารแห่งประเทศไทย เปิดรับสมัครทุนการศึกษาระดับปริญญาโทขึ้นไป เพื่อศึกษาต่อที่ The London School of Economics and Political… กสศ. ร่วมกับคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ให้ทุนเรียนฟรี ผู้ช่วยพยาบาล EZ WebmasterMarch 17, 2025 กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา(กสศ.)ร่วมกับคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ——————————————————- “รับสมัครนักศึกษาเพื่อรับทุน” หลักสูตรประกาศนียบัตรผู้ช่วยพยาบาล (PN) (สำหรับนักศึกษา PN รุ่นที่ 3) *** เรียนฟรี!! รับค่าใช้จ่ายเดือนละ 7,500 บาท จบแล้วไม่ต้องใช้ทุน **** จำนวน… ครู-อาจารย์ มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค EZ WebmasterMarch 21, 2025 ศาสตราจารย์ นายแพทย์ปิยะมิตร ศรีธรา อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า ปัจจุบันโลกกำลังเผชิญกับกระแสความเปลี่ยนแปลงใหญ่ๆ ใน 6 มิติ 1. สังคมสูงวัย (Aging Society) ในอีก 8 ปีข้างหน้า ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุระดับสุดยอด (Super… รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน EZ WebmasterMarch 21, 2025 รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน พร้อมจ่ายเงินอุดหนุนการศึกษาและพัฒนาอาชีพ ผ่านกสศ. ขณะที่ Microsoft หนุน ศูนย์ดิจิทัลชุมชน ยกระดับทักษะAI เพิ่มโอกาสมีงานทำ พร้อมจับมือ UNICEF สร้าง 1… Kahoot! เปิดตัว Kahoot! Energize ปฏิวัติการประชุมให้มีพลังและสร้างผลกระทบที่เหนือกว่า EZ WebmasterMarch 21, 2025 เปลี่ยนทุกการนำเสนอในที่ทำงานให้กลายเป็นการสื่อสารสองทาง สร้างประสบการณ์ที่น่าสนใจ เต็มไปด้วยความมีชีวิตชีวาและการมีส่วนร่วมที่แท้จริง กระตุ้นการมีส่วนร่วมจากผู้ฟังและขับเคลื่อน ผลลัพธ์ทางธุรกิจไปอีกขั้นด้วย Kahoot! Energize Kahoot! (คาฮู้ด) ผู้นำด้านการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมระดับโลกได้เปิดตัวเครื่องมือใหม่ Kahoot! Energize ที่จะเปลี่ยนทุกการประชุม การฝึกอบรม หรือกิจกรรมต่างๆ ให้กลายเป็นช่วงเวลาที่เต็มไปด้วยพลังและความสนุก พร้อมกระตุ้นการมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ สร้างผลกระทบที่มีความหมาย และขับเคลื่อนธุรกิจไปข้างหน้า การพัฒนา Kahoot! Energize ต่อยอดจากรูปแบบการเรียนรู้และการมีส่วนร่วม อันเป็นเอกลักษณ์ที่ได้รับความนิยมของ Kahoot! แต่เพิ่มความสามารถในการใช้งานในสภาพแวดล้อมการทำงานที่หลากหลาย… สมศ. เน้นย้ำการประเมินคุณภาพภายนอก ปี 67-71 ลดวันประเมิน On site ขยายสู่รูปแบบออนไลน์ สร้างมาตรฐานในการแข่งขันระดับอาเซียน EZ WebmasterMarch 20, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยในการประชุมรับฟังความคิดเห็น (ร่าง) กรอบแนวทางการประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษาที่จัดการเรียนรู้ในสังกัดกรมส่งเสริมการเรียนรู้ (สกร.) โดยเน้นย้ำเรื่อง “แนวคิดและทิศทางการประกันคุณภาพภายนอก” ว่า การประกันคุณภาพภายนอกไม่ใช่เป็น “การตรวจสอบ” แต่เป็นเครื่องมือที่ช่วยส่งเสริมการพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษาอย่างแท้จริง… กิจกรรม รวมพลังสีชมพูจุฬาฯ กลับบ้านสู่ร่มจามจุรี ในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” EZ WebmasterMarch 14, 2025 สมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (สนจ.) เชิญชวนชาวจุฬาฯ ทั้งนิสิตเก่าและนิสิตปัจจุบัน เดินทางกลับบ้านในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” ร่วมฉลองวาระสำคัญ ครบรอบ 108 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในบรรยากาศแห่งความรักความสามัคคี และความผูกพันของเหล่าน้องพี่สีชมพู ภายใต้ร่มเงาของจามจุรี นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย… สจล. ผนึกกำลังตำรวจภูธรภาค 2 และบริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จำกัด (สำนักงานใหญ่) พัฒนาโครงการ “AI Robot รับแจ้งความ” ประมวลผลถูกต้องและมีประสิทธิภาพ EZ WebmasterMarch 13, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี ร่วมด้วยพลตำรวจโท ยิ่งยศ เทพจำนงค์ (คนที่ 3 จากซ้าย) ผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 2… สจล. ร่วมกับกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน มุ่งยกระดับฝีมือแรงงาน สอดคล้องความต้องการในอนาคต EZ WebmasterMarch 10, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี และนายเดชา พฤกษ์พัฒนรักษ์ (คนที่ 3 จากซ้าย) อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ได้ลงในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการร่วมกัน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่นักศึกษาของสถาบันก่อนเข้าสู่ตลาดแรงงานในสาขาอาชีพต่าง… ปิดฉาก “HigherEd for PWD” ระยะที่ 1 เสริมสมรรถนะคนพิการสู่ตลาดแรงงานจริง EZ WebmasterMarch 10, 2025 เมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2568 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) ร่วมกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) และมหาวิทยาลัยเครือข่าย 5 แห่ง จัดแถลงข่าวสรุปผลและปิดโครงการการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาศักยภาพคนพิการเพื่อการประกอบอาชีพ ผ่านโมเดลการฝึกอบรม-ฝึกงานคนพิการ มจธ. HigherEd for PWD ระยะที่ 1 ซึ่งเป็นโครงการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อพัฒนาศักยภาพคนพิการสู่การประกอบอาชีพในตลาดแรงงานจริง ที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ซึ่งจัดขึ้น ณ ห้อง Auditorium ชั้น 3 อาคารการเรียนรู้พหุวิทยาการ (LX) มจธ. บางมด กรุงเทพฯ โดยได้รับเกียรติจาก นายวราวุธ… Search for: Search EZ Webmaster December 4, 2022 EZ Webmaster December 4, 2022 รวมประวัติ 12 มหาวิทยาลัย ที่ได้ชื่อพระราชทาน จากในหลวง รัชกาลที่ 9 รวมประวัติ 12 มหาวิทยาลัย ที่ได้ชื่อพระราชทาน จากในหลวง รัชกาลที่ 9 เคยสงสัยที่มาของแต่ละชื่อมหาวิทยาลัยกันบ้างไหมคะ? วันนี้ทาง Eduzones จะมาเล่าที่มาของมหาวิทยาลัยที่มีที่มาชื่อในแบบเดียวกัน คือ ได้รับพระราชทานชื่อจาก “พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช” ไปดูกันเลย! 1. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ : พ.ศ. 2510 เมื่อปี พ.ศ. 2505 รัฐบาลมีนโยบายจัดตั้งมหาวิทยาลัยขึ้นที่ภาคใต้ จึงจัดตั้ง “วิทยาลัยศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์” ก่อนที่ในปี พ.ศ. 2508 คณะรัฐมนตรีจะอนุมัติให้จัดตั้งมหาวิทยาลัยในภาคใต้ขึ้นที่ ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี โดยจะใช้เป็นที่ตั้งของคณะวิศวกรรมศาสตร์ และใช้ชื่ออย่างไม่เป็นทางการว่า “มหาวิทยาลัยภาคใต้” ซึ่งมีสำนักงานชั่วคราวของมหาวิทยาลัยอยู่ที่อาคารคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ (อาคารคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ในปัจจุบัน) หลังจากนั้น คณะกรรมการพัฒนาภาคใต้ โดย พันเอก (พิเศษ) ดร.ถนัด คอมันตร์ นำความกราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ขอพระราชทานชื่อให้แก่มหาวิทยาลัย เจึงได้รับพระราชทานนามมหาวิทยาลัยว่า “มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์” เมื่อวันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2510 ตามพระนามฐานันดรศักดิ์ของสมเด็จพระบรมราชชนก กรมหลวงสงขลานครินทร์ ดังนั้น มหาวิทยาลัยจึงถือว่าวันที่ 22 กันยายน ของทุกปีเป็น “วันสงขลานครินทร์” . 2. มหาวิทยาลัยมหิดล : พ.ศ.2512 สมัยก่อน มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นโรงเรียนแพทย์ ณ โรงพยาบาลศิริราช ชื่อว่า “โรงเรียนแพทยากร” ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2432 ในสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว หลังจากนั้นในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2486 จึงได้รับการสถาปนาขึ้นเป็น มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ ก่อนที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2512 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนาม “มหิดล” อันเป็นพระนามของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ใช้แทนชื่อมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์เป็นมหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งประกาศในราชกิจานุเบกษา เมื่อวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2512 . 3. สถาบันพระจอมเกล้า / มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า : พ.ศ. 2514 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พ.ศ. 2514โดยให้รวมวิทยาลัยเทคนิคพระนครเหนือ วิทยาลัยโทรคมนาคมนนทบุรี และวิทยาลัยเทคนิคธนบุรี เข้าด้วยกัน มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตครูอาชีวศึกษา ให้การศึกษาทั้งระดับต่ำกว่าปริญญาและระดับปริญญา และทำวิจัยทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันได้รับโปรดเกล้าพระราชทานนามภาษาไทย “สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า” และภาษาอังกฤษ “King Mongkut’s Institute of Technology” เมื่อวันที่ 28พฤษภาคม พ.ศ. 2514 . 4. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : พ.ศ. 2517 ก่อนจะเกิดเหตุการณ์ 14 ตุลาคม ในปี พ.ศ. 2516 ศาสตราจารย์ ดร.สุดใจ เหล่าสุนทร ดำรงตำแหน่งอธิการวิทยาลัยวิชาการศึกษา คณาจารย์ นิสิต และข้าราชการ ได้ร่วมกันเรียกร้องต่อรัฐบาลให้ปรับฐานะวิทยาลัยวิชาการศึกษาเป็นมหาวิทยาลัย และย้ายสังกัดจากกระทรวงศึกษาธิการไปขึ้นกับมหาวิทยาลัย ท่ามกลางการปกครองที่เข้มงวดรุนแรงของรัฐบาลทหารในขณะนั้น เพื่อความคล่องตัวในการพัฒนาโครงสร้าง การบริหาร และการเรียนการสอนที่จำกัด ไปสู่การเป็นมหาวิทยาลัยและการขยายตัวที่มีความหลากหลายวิชาชีพ ท้ายที่สุดมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ “มหาวิทยาลัยที่เจริญเป็นศรีสง่าแก่มหานคร” ได้สถาปนาขึ้นเมื่อวันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2517 โดยมี ศาสตราจารย์ ดร.สุดใจ เหล่าสุนทร เป็นอธิการบดี โดยนามของมหาวิทยาลัย ได้รับพระราชทานนามจาก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ เมื่อ 6 มีนาคม พ.ศ. 2517 . 5. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช : พ.ศ. 2521 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช เป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐแบบไม่จำกัดรับจำนวน (มหาวิทยาลัยเปิด) แห่งเดียวของประเทศไทย และเป็นมหาวิทยาลัยเปิดโดยใช้ระบบการศึกษาทางไกลแห่งเดียวในประเทศไทย ซึ่งจัดตั้งขึ้นเพื่อขยายและกระจายโอกาสทางการศึกษาระดับอุดมศึกษาแก่ประชาชน มีลักษณะเป็นมหาวิทยาลัยในระบบเปิด ดำเนินการดำเนินการสอนโดยใช้ระบบการสอนทางไกลซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อ “มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช” ตามพระนามกรมของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นกรมหลวงสุโขทัยธรรมราชา และพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ใช้พระราชลัญจกรในรัชกาลที่ 7 ซึ่งเป็นรูปพระแสงศรสามองค์ นำมาประกอบกับเจดีย์ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของ กรุงสุโขทัย เป็นตราประจำมหาวิทยาลัย . 6. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล : พ.ศ. 2531 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐในประเทศไทย สังกัด สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ปัจจุบันมีอยู่ 9 แห่งทั่วประเทศ ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2518ซึ่งใช้ชื่อว่า วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา ต่อมาในปี พ.ศ. 2531 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อใหม่ว่า สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล และได้ยกสถานะเป็นมหาวิทยาลัยเมื่อวันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2548 ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ. 2548 . 7. มหาวิทยาลัยนเรศวร : พ.ศ. 2533 มหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐ ตั้งอยู่ในจังหวัดพิษณุโลก ก่อตั้งเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2533 ภายหลังจากการยกฐานะขึ้นจากวิทยาเขตของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยชื่อ “มหาวิทยาลัยนเรศวร” นั้น ได้รับพระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เพื่อสดุดีและเฉลิมพระเกียรติแด่สมเด็จพระนเรศวรมหาราช วีรกษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา เนื่องด้วยพระองค์ประสูติที่เมืองพิษณุโลก และทรงเคยดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระมหาอุปราชครองเมืองพิษณุโลกมาก่อน . 8. มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ : พ.ศ. 2535 ในปี พ.ศ. 2510 ชาวนครศรีธรรมราช เริ่มรณรงค์เรียกร้องให้มีการจัดตั้งมหาวิทยาลัยในจังหวัดนครศรีธรรมราช จนกระทั่งคณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2531ให้จัดตั้งวิทยาลัยนครศรีธรรมราช สังกัดมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เพื่อยกฐานะเป็นมหาวิทยาลัยเอกเทศในอนาคต แต่ก็ได้ยกเลิกมติดังกล่าวในเวลาต่อมา และอนุมัติให้จัดตั้งมหาวิทยาลัยที่จังหวัดนครศรีธรรมราช เมื่อวันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2534 จนเมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2535 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม พระราชทานนามว่า “มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์” อันเป็นสร้อยพระนามในสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี . 9. มหาวิทยาลัยราชภัฏ : พ.ศ. 2535 มหาวิทยาลัยราชภัฏ เป็นกลุ่มมหาวิทยาลัยที่พัฒนามาจากโรงเรียนฝึกหัดอาจารย์ที่ตั้งอยู่ในส่วนกลางและส่วนภูมิภาคของประเทศ ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น วิทยาลัยครู หลังจากนั้น ได้รับพระราชทานนาม “ราชภัฏ” จากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ให้เป็นชื่อประจำสถาบัน พร้อมทั้ง พระราชทาน พระราชลัญจกรเป็นตราประจำมหาวิทยาลัย โดยในปัจจุบัน มหาวิทยาลัยราชภัฏ มีอยู่ทั้งสิ้น 38 แห่ง ทั่วประเทศ . 10. มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช :พ.ศ. 2553 มหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร เป็นแนวคิดตั้งแต่สมัยนายสมัคร สุนทรเวช ดำรงตำแหน่งเป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เพื่อเป็นทางเลือกกับนักศึกษาสามารถศึกษาเกี่ยวกับการบริหารจัดการเมือง ชุมชนเมืองหลวง และเพื่อตอบสนองความต้องการของเมืองหลวง แต่แนวคิดนี้ยังไม่ได้รับการตอบรับที่ดีนัก ในสมัย นายอภิรักษ์ โกษะโยธิน ดำรงตำแหน่งเป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ได้สานต่อ แนวคิดดังกล่าวอีกครั้ง เนื่องจากกรุงเทพมหานครได้เปิดการศึกษาหลายระดับแล้วในระดับอุดมศึกษา 2 แห่ง คือ วิทยาลัยแพทยศาสตร์กรุงเทพมหานครและวชิรพยาบาล และวิทยาลัยพยาบาลเกื้อการุณย์ โดยเน้นแผนการศึกษาวิชาการที่ไม่ซ้ำซ้อนกับมหาวิทยาลัยที่มีอยู่ในประเทศ และเน้นผลิตบุคลากรสาขาวิชาที่ขาดแคลน และเป็นที่ต้องการของกรุงเทพมหานคร โดยได้เสนอ ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยในกำกับของกรุงเทพมหานคร พ.ศ…. และคณะรัฐมนตรีได้รับร่างพระราชบัญญัติฯ ไว้ ในวันที่ 12 มิถุนายน 2550 แต่หลังจากมีการปรับเปลี่ยนผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เรื่องเกี่ยวกับพระราชบัญญัตินี้จึงหยุดนิ่งไป ในวันที่ 21กรกฎาคม พ.ศ. 2552 ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี เห็นชอบร่างพระราชบัญญัติฯ และได้แก้ไขชื่อพระราชบัญญัติจาก ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยในกำกับของกรุงเทพมหานคร พ.ศ…. เป็น ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ…. ต่อมาในวันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 สภาผ่านร่าง พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร และในวันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 ราชกิจจานุเบกษาเล่มที่ 127 ตอนที่ 63 ก ได้ประกาศพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2553 โดยมีผลใช้บังคับในวันที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2553 มีสาระสำคัญ คือ กำหนดให้จัดตั้งมหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร เป็นสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของกรุงเทพมหานคร มีฐานะเป็นนิติบุคคลที่ไม่เป็นส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน และกฎหมายว่าด้วยการ ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม และไม่เป็นรัฐวิสาหกิจตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณและกฎหมายอื่น โดยให้ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครมีอำนาจหน้าที่กำกับดูแลโดยทั่วไปซึ่งกิจการของมหาวิทยาลัย และให้โอนภารกิจและงบประมาณของวิทยาลัยแพทยศาสตร์กรุงเทพมหานครและวชิรพยาบาล และวิทยาลัยพยาบาลเกื้อการุณย์ ในสังกัดสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร ไปเป็นของมหาวิทยาลัยฯภายใน ๑๒๐ วัน นับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับการโอนบุคลากรซึ่งสังกัดวิทยาลัยแพทยศาสตร์กรุงเทพมหานครและวชิรพยาบาล ไปเป็นบุคลากรของมหาวิทยาลัย และกำหนดวิธีการบริหารกิจการของมหาวิทยาลัย หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครในสมัยต่อมา ได้ขอพระราชทานนามมหาวิทยาลัยว่า “มหาวิทยาลัยภูมิพล” เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2553 ต่อมาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามมหาวิทยาลัยว่า “มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช” เมื่อวันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2554 และมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2556 . 11. มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ : พ.ศ. 2535 “มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ” ก่อกำเนิดมากจาก “วิทยาลัยหัวเฉียว” ซึ่งมีรากฐานเติมโตมาจากโรงเรียนผดุงครรภ์อนามัยก่อตั้งโดยมูลนิธิป่อเต็มตึ๊ง ที่ก่อเกิดขึ้นจากพลังศรัทธาในคุณธรรมแห่ง “ไต้ฮงภิกขุ” ผู้ก่อตั้ง “คณะเก็บศพไต้ฮงกง” หรือ “มูลนิธิป่อเต็งตึ๊ง” ในปัจจุบัน โดยมีภารกิจในการบำเพ็ญทาน การสร้างสถานพยาบาลและบรรเทาสาธารณภัยเพื่อมวลชน รวมถึงการทำงานด้านการศึกษา โดยเปิดสอนหลักสูตรพยาบาล ในระดับปริญญาตรีเป็นหลักสูตรแรก ก่อนที่จะได้รับการยกสถานะเป็น “มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ” ในปัจจุบัน ต่อมาในปี พ.ศ. 2533 ในวาระที่มูลนิธิป่อเต็กตึ๊งมีวาระครบรอบ 80 ปี จึงได้ระดมทุนจากชาวไทยเชื่อสายจีนเพื่อใช้ในการก่อสร้าง เมื่อได้รับการอนุมัติจากทบวงมหาวิทยาลัยให้ยกสถานะเป็นมหาวิทยาลัย จึงเริ่มดำเนินการก่อสร้างแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2535 โดยได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามว่า ““มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ” ทั้งยังได้เสด็จพระราชดำเนินมาเป็นองค์ประธานในพิธีเปิดมหาวทิยาลัย เมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2537 โดยจัดว่า มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งเดียวในประเทศไทยที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ มาเป็นประธานเปิดมหาวิทยาลัยให้ เนื่องจากพระองค์ทรงเป็นประธานในพิธีเปิดมหาวิทยาลัยให้กับของรัฐบาลเท่านั้น ซึ่งไม่เคยเป็นประธานเปิดมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งใดเลย จึงเป็นผลนำมาซึ่งความปลาบปลื้มและนับเป็นสิริมงคลอันใหญ่หลวงแก่ชาวมหาวิทยาลัย และชาวจีนโพ้นทะเลในดินแดนสยาม ที่ได้ร่วมมือกันก่อตั้งสถาบันการศึกษาแห่งนี้ . 12. มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐลำดับที่ 77 ในประเทศไทย ตั้งอยู่ในจังหวัดนราธิวาส ก่อตั้งเมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 ภายหลังจากการหลอมรวมวิทยาลัยต่างๆ และยกฐานะขึ้นจากวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีนราธิวาส วิทยาลัยการอาชีพตากใบ วิทยาลัยเทคนิคนราธิวาส และวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี โดยชื่อ “มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์” นั้น ได้รับพระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เพื่อสดุดีและเฉลิมพระเกียรติแด่สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ สมเด็จพระโสทรเชษฐภคินีเพียงพระองค์เดียวในรัชกาลที่ 8 และ 9 เนื่องด้วยพระองค์ทรงบำเพ็ญพระกรณียกิจมากมายแก่ประเทศชาติ เพื่อแบ่งเบาพระราชภาระของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงลงพระปรมาภิไธยใน พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ พุทธศักราช 2548 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 122 ตอนที่ 14ก วันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 ดังนั้นทางมหาวิทยาลัยจึงกำหนดให้วันที่ 9 กุมภาพันธ์ ของทุกปีเป็นวันคล้ายวันสถาปนามหาวิทยาลัย . ขอขอบคุณแหล่งที่มา : คลิก EZ Webmaster Related Posts ปิดเทอมนี้ สสวท. กระตุ้นต่อมคิดพิชิตปัญหาฟิสิกส์หรรษา กับ “ไขปริศนาวิทยากล” มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน รวมเฉลยทุกวิชา A-Level 68 ฟินแลนด์ครองแชมป์ 8 ปีซ้อน ประเทศที่มีความสุขที่สุดในโลก 2025 ไทยขยับขึ้นอันดับ 49 Post navigation PREVIOUS Previous post: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ทำไมถึงย่อว่า ม.อ. ?NEXT Next post: แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน (พ.ศ. 2566 – 2570) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ฟินแลนด์ครองแชมป์ 8 ปีซ้อน ประเทศที่มีความสุขที่สุดในโลก 2025 ไทยขยับขึ้นอันดับ 49 EZ WebmasterMarch 21, 2025 ฟินแลนด์ ยังคงรักษาตำแหน่งประเทศที่มีความสุขที่สุดในโลกเป็นปีที่ 8 ติดต่อกัน ตามรายงานความสุขโลก (World Happiness Report) ประจำปี 2025 ซึ่งจัดทำโดยศูนย์วิจัยความเป็นอยู่ที่ดี (Wellbeing Research Centre) แห่งมหาวิทยาลัยอ็อกซ์ฟอร์ด รายงานนี้เผยแพร่ในช่วงวันความสุขสากล (International Day of Happiness)… สจล. ร่วมกับโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์อินเตอร์เนชั่นแนล พัฒนาหลักสูตรและการจัดการเนื้อหาสู่การเรียนในแพลตฟอร์มออนไลน์ EZ WebmasterMarch 21, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี อธิการบดี และรศ. นพ.ทวีสิน ตันประยูร ประธานปฏิบัติการด้านการแพทย์ โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์อินเตอร์เนชั่นแนล ร่วมกันลงนามในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ เพื่อการพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเนื้อหาการเรียนรู้ออนไลน์ ผ่าน KMITL Masterclass ซึ่งเป็นแพลตฟอร์มออนไลน์ของ… นักศึกษา มทร.ธัญบุรี โชว์ไอเดีย “กระเป๋าผ้าทอใยไผ่” ตอบโจทย์ความยั่งยืน ในนิทรรศการศิลปนิพนธ์ 2025 tui sakrapeeMarch 20, 2025 นักศึกษาชั้นปีที่ 4 จากภาควิชาศิลปะการออกแบบและเทคโนโลยี คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้ร่วมกันจัดนิทรรศการศิลปนิพนธ์เพื่อเผยแพร่ผลงานสู่สาธารณชน พร้อมฝึกประสบการณ์จริงในการจัดแสดงผลงานออกแบบ ภายในงานได้รวบรวมผลงานจาก 4 สาขาวิชา ได้แก่ ออกแบบนิเทศศิลป์ ออกแบบภายใน ออกแบบผลิตภัณฑ์ และนวัตกรรมการออกแบบผลิตภัณฑ์ร่วมสมัย จัดขึ้น ณ ศูนย์การค้ายูเนี่ยน มอลล์ โซน CoEvent Studio กรุงเทพฯ… ทุนดีดี สกสค. ร่วมกับ CP All มอบ 100 ทุนเรียนฟรี 100% ระดับ ปวช. ปวส. และปริญญาตรี EZ WebmasterMarch 21, 2025 กสค. ร่วมกับ CP All มอบทุนเรียนฟรี !! 100% ล่าสุดขยายโอกาสเพิ่มอีก 9 สาขาใหม่ เพิ่มทางเลือกให้เยาวชนก้าวไกล ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ศึกษาที่วิทยาลัยปัญญาภิวัฒน์ และศูนย์การเรียนฯ ทั่วประเทศ 20 แห่ง ทุนการศึกษาระดับ… ให้ทุนเยาวชน ODOS Summer Camp ไปเรียนซัมเมอร์ต่างประเทศ 6 สัปดาห์ เริ่มสมัครได้ 24 มี.ค.นี้ EZ WebmasterMarch 21, 2025 ODOS Summer Camp ทุนการศึกษาระยะสั้น 6 สัปดาห์ เพื่อกระจายโอกาสให้เด็กไทยทุกคนได้มีโอกาสไปเรียนซัมเมอร์ต่างประเทศ เปิดหูเปิดตา ค้นหาตัวตน และสร้างแรงบันดาลใจในการเรียนรู้ โดยไม่จำเป็นต้องเป็นเด็กเก่ง เด็กเรียน หรือเด็กหน้าห้อง เปิดรับเยาวชนที่มีคุณสมบัติดังนี้ – สัญชาติไทย – อายุไม่เกิน… ธนาคารแห่งประเทศไทย เปิดรับสมัครทุนระดับปริญญาโทขึ้นไป เรียนต่อที่ประเทศอังกฤษ EZ WebmasterMarch 17, 2025 ประกาศเปิดรับสมัครทุนการศึกษา Dr. Puey Ungphakorn Centenary Scholarship ประจำปี 2568 ธนาคารแห่งประเทศไทย เปิดรับสมัครทุนการศึกษาระดับปริญญาโทขึ้นไป เพื่อศึกษาต่อที่ The London School of Economics and Political… กสศ. ร่วมกับคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ให้ทุนเรียนฟรี ผู้ช่วยพยาบาล EZ WebmasterMarch 17, 2025 กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา(กสศ.)ร่วมกับคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ——————————————————- “รับสมัครนักศึกษาเพื่อรับทุน” หลักสูตรประกาศนียบัตรผู้ช่วยพยาบาล (PN) (สำหรับนักศึกษา PN รุ่นที่ 3) *** เรียนฟรี!! รับค่าใช้จ่ายเดือนละ 7,500 บาท จบแล้วไม่ต้องใช้ทุน **** จำนวน… ครู-อาจารย์ มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค EZ WebmasterMarch 21, 2025 ศาสตราจารย์ นายแพทย์ปิยะมิตร ศรีธรา อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า ปัจจุบันโลกกำลังเผชิญกับกระแสความเปลี่ยนแปลงใหญ่ๆ ใน 6 มิติ 1. สังคมสูงวัย (Aging Society) ในอีก 8 ปีข้างหน้า ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุระดับสุดยอด (Super… รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน EZ WebmasterMarch 21, 2025 รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน พร้อมจ่ายเงินอุดหนุนการศึกษาและพัฒนาอาชีพ ผ่านกสศ. ขณะที่ Microsoft หนุน ศูนย์ดิจิทัลชุมชน ยกระดับทักษะAI เพิ่มโอกาสมีงานทำ พร้อมจับมือ UNICEF สร้าง 1… Kahoot! เปิดตัว Kahoot! Energize ปฏิวัติการประชุมให้มีพลังและสร้างผลกระทบที่เหนือกว่า EZ WebmasterMarch 21, 2025 เปลี่ยนทุกการนำเสนอในที่ทำงานให้กลายเป็นการสื่อสารสองทาง สร้างประสบการณ์ที่น่าสนใจ เต็มไปด้วยความมีชีวิตชีวาและการมีส่วนร่วมที่แท้จริง กระตุ้นการมีส่วนร่วมจากผู้ฟังและขับเคลื่อน ผลลัพธ์ทางธุรกิจไปอีกขั้นด้วย Kahoot! Energize Kahoot! (คาฮู้ด) ผู้นำด้านการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมระดับโลกได้เปิดตัวเครื่องมือใหม่ Kahoot! Energize ที่จะเปลี่ยนทุกการประชุม การฝึกอบรม หรือกิจกรรมต่างๆ ให้กลายเป็นช่วงเวลาที่เต็มไปด้วยพลังและความสนุก พร้อมกระตุ้นการมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ สร้างผลกระทบที่มีความหมาย และขับเคลื่อนธุรกิจไปข้างหน้า การพัฒนา Kahoot! Energize ต่อยอดจากรูปแบบการเรียนรู้และการมีส่วนร่วม อันเป็นเอกลักษณ์ที่ได้รับความนิยมของ Kahoot! แต่เพิ่มความสามารถในการใช้งานในสภาพแวดล้อมการทำงานที่หลากหลาย… สมศ. เน้นย้ำการประเมินคุณภาพภายนอก ปี 67-71 ลดวันประเมิน On site ขยายสู่รูปแบบออนไลน์ สร้างมาตรฐานในการแข่งขันระดับอาเซียน EZ WebmasterMarch 20, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยในการประชุมรับฟังความคิดเห็น (ร่าง) กรอบแนวทางการประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษาที่จัดการเรียนรู้ในสังกัดกรมส่งเสริมการเรียนรู้ (สกร.) โดยเน้นย้ำเรื่อง “แนวคิดและทิศทางการประกันคุณภาพภายนอก” ว่า การประกันคุณภาพภายนอกไม่ใช่เป็น “การตรวจสอบ” แต่เป็นเครื่องมือที่ช่วยส่งเสริมการพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษาอย่างแท้จริง… กิจกรรม รวมพลังสีชมพูจุฬาฯ กลับบ้านสู่ร่มจามจุรี ในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” EZ WebmasterMarch 14, 2025 สมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (สนจ.) เชิญชวนชาวจุฬาฯ ทั้งนิสิตเก่าและนิสิตปัจจุบัน เดินทางกลับบ้านในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” ร่วมฉลองวาระสำคัญ ครบรอบ 108 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในบรรยากาศแห่งความรักความสามัคคี และความผูกพันของเหล่าน้องพี่สีชมพู ภายใต้ร่มเงาของจามจุรี นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย… สจล. ผนึกกำลังตำรวจภูธรภาค 2 และบริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จำกัด (สำนักงานใหญ่) พัฒนาโครงการ “AI Robot รับแจ้งความ” ประมวลผลถูกต้องและมีประสิทธิภาพ EZ WebmasterMarch 13, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี ร่วมด้วยพลตำรวจโท ยิ่งยศ เทพจำนงค์ (คนที่ 3 จากซ้าย) ผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 2… สจล. ร่วมกับกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน มุ่งยกระดับฝีมือแรงงาน สอดคล้องความต้องการในอนาคต EZ WebmasterMarch 10, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี และนายเดชา พฤกษ์พัฒนรักษ์ (คนที่ 3 จากซ้าย) อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ได้ลงในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการร่วมกัน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่นักศึกษาของสถาบันก่อนเข้าสู่ตลาดแรงงานในสาขาอาชีพต่าง… ปิดฉาก “HigherEd for PWD” ระยะที่ 1 เสริมสมรรถนะคนพิการสู่ตลาดแรงงานจริง EZ WebmasterMarch 10, 2025 เมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2568 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) ร่วมกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) และมหาวิทยาลัยเครือข่าย 5 แห่ง จัดแถลงข่าวสรุปผลและปิดโครงการการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาศักยภาพคนพิการเพื่อการประกอบอาชีพ ผ่านโมเดลการฝึกอบรม-ฝึกงานคนพิการ มจธ. HigherEd for PWD ระยะที่ 1 ซึ่งเป็นโครงการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อพัฒนาศักยภาพคนพิการสู่การประกอบอาชีพในตลาดแรงงานจริง ที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ซึ่งจัดขึ้น ณ ห้อง Auditorium ชั้น 3 อาคารการเรียนรู้พหุวิทยาการ (LX) มจธ. บางมด กรุงเทพฯ โดยได้รับเกียรติจาก นายวราวุธ… Search for: Search EZ Webmaster December 4, 2022 EZ Webmaster December 4, 2022 รวมประวัติ 12 มหาวิทยาลัย ที่ได้ชื่อพระราชทาน จากในหลวง รัชกาลที่ 9 รวมประวัติ 12 มหาวิทยาลัย ที่ได้ชื่อพระราชทาน จากในหลวง รัชกาลที่ 9 เคยสงสัยที่มาของแต่ละชื่อมหาวิทยาลัยกันบ้างไหมคะ? วันนี้ทาง Eduzones จะมาเล่าที่มาของมหาวิทยาลัยที่มีที่มาชื่อในแบบเดียวกัน คือ ได้รับพระราชทานชื่อจาก “พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช” ไปดูกันเลย! 1. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ : พ.ศ. 2510 เมื่อปี พ.ศ. 2505 รัฐบาลมีนโยบายจัดตั้งมหาวิทยาลัยขึ้นที่ภาคใต้ จึงจัดตั้ง “วิทยาลัยศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์” ก่อนที่ในปี พ.ศ. 2508 คณะรัฐมนตรีจะอนุมัติให้จัดตั้งมหาวิทยาลัยในภาคใต้ขึ้นที่ ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี โดยจะใช้เป็นที่ตั้งของคณะวิศวกรรมศาสตร์ และใช้ชื่ออย่างไม่เป็นทางการว่า “มหาวิทยาลัยภาคใต้” ซึ่งมีสำนักงานชั่วคราวของมหาวิทยาลัยอยู่ที่อาคารคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ (อาคารคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ในปัจจุบัน) หลังจากนั้น คณะกรรมการพัฒนาภาคใต้ โดย พันเอก (พิเศษ) ดร.ถนัด คอมันตร์ นำความกราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ขอพระราชทานชื่อให้แก่มหาวิทยาลัย เจึงได้รับพระราชทานนามมหาวิทยาลัยว่า “มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์” เมื่อวันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2510 ตามพระนามฐานันดรศักดิ์ของสมเด็จพระบรมราชชนก กรมหลวงสงขลานครินทร์ ดังนั้น มหาวิทยาลัยจึงถือว่าวันที่ 22 กันยายน ของทุกปีเป็น “วันสงขลานครินทร์” . 2. มหาวิทยาลัยมหิดล : พ.ศ.2512 สมัยก่อน มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นโรงเรียนแพทย์ ณ โรงพยาบาลศิริราช ชื่อว่า “โรงเรียนแพทยากร” ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2432 ในสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว หลังจากนั้นในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2486 จึงได้รับการสถาปนาขึ้นเป็น มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ ก่อนที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2512 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนาม “มหิดล” อันเป็นพระนามของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ใช้แทนชื่อมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์เป็นมหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งประกาศในราชกิจานุเบกษา เมื่อวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2512 . 3. สถาบันพระจอมเกล้า / มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า : พ.ศ. 2514 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พ.ศ. 2514โดยให้รวมวิทยาลัยเทคนิคพระนครเหนือ วิทยาลัยโทรคมนาคมนนทบุรี และวิทยาลัยเทคนิคธนบุรี เข้าด้วยกัน มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตครูอาชีวศึกษา ให้การศึกษาทั้งระดับต่ำกว่าปริญญาและระดับปริญญา และทำวิจัยทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันได้รับโปรดเกล้าพระราชทานนามภาษาไทย “สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า” และภาษาอังกฤษ “King Mongkut’s Institute of Technology” เมื่อวันที่ 28พฤษภาคม พ.ศ. 2514 . 4. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : พ.ศ. 2517 ก่อนจะเกิดเหตุการณ์ 14 ตุลาคม ในปี พ.ศ. 2516 ศาสตราจารย์ ดร.สุดใจ เหล่าสุนทร ดำรงตำแหน่งอธิการวิทยาลัยวิชาการศึกษา คณาจารย์ นิสิต และข้าราชการ ได้ร่วมกันเรียกร้องต่อรัฐบาลให้ปรับฐานะวิทยาลัยวิชาการศึกษาเป็นมหาวิทยาลัย และย้ายสังกัดจากกระทรวงศึกษาธิการไปขึ้นกับมหาวิทยาลัย ท่ามกลางการปกครองที่เข้มงวดรุนแรงของรัฐบาลทหารในขณะนั้น เพื่อความคล่องตัวในการพัฒนาโครงสร้าง การบริหาร และการเรียนการสอนที่จำกัด ไปสู่การเป็นมหาวิทยาลัยและการขยายตัวที่มีความหลากหลายวิชาชีพ ท้ายที่สุดมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ “มหาวิทยาลัยที่เจริญเป็นศรีสง่าแก่มหานคร” ได้สถาปนาขึ้นเมื่อวันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2517 โดยมี ศาสตราจารย์ ดร.สุดใจ เหล่าสุนทร เป็นอธิการบดี โดยนามของมหาวิทยาลัย ได้รับพระราชทานนามจาก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ เมื่อ 6 มีนาคม พ.ศ. 2517 . 5. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช : พ.ศ. 2521 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช เป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐแบบไม่จำกัดรับจำนวน (มหาวิทยาลัยเปิด) แห่งเดียวของประเทศไทย และเป็นมหาวิทยาลัยเปิดโดยใช้ระบบการศึกษาทางไกลแห่งเดียวในประเทศไทย ซึ่งจัดตั้งขึ้นเพื่อขยายและกระจายโอกาสทางการศึกษาระดับอุดมศึกษาแก่ประชาชน มีลักษณะเป็นมหาวิทยาลัยในระบบเปิด ดำเนินการดำเนินการสอนโดยใช้ระบบการสอนทางไกลซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อ “มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช” ตามพระนามกรมของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นกรมหลวงสุโขทัยธรรมราชา และพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ใช้พระราชลัญจกรในรัชกาลที่ 7 ซึ่งเป็นรูปพระแสงศรสามองค์ นำมาประกอบกับเจดีย์ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของ กรุงสุโขทัย เป็นตราประจำมหาวิทยาลัย . 6. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล : พ.ศ. 2531 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐในประเทศไทย สังกัด สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ปัจจุบันมีอยู่ 9 แห่งทั่วประเทศ ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2518ซึ่งใช้ชื่อว่า วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา ต่อมาในปี พ.ศ. 2531 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อใหม่ว่า สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล และได้ยกสถานะเป็นมหาวิทยาลัยเมื่อวันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2548 ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ. 2548 . 7. มหาวิทยาลัยนเรศวร : พ.ศ. 2533 มหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐ ตั้งอยู่ในจังหวัดพิษณุโลก ก่อตั้งเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2533 ภายหลังจากการยกฐานะขึ้นจากวิทยาเขตของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยชื่อ “มหาวิทยาลัยนเรศวร” นั้น ได้รับพระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เพื่อสดุดีและเฉลิมพระเกียรติแด่สมเด็จพระนเรศวรมหาราช วีรกษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา เนื่องด้วยพระองค์ประสูติที่เมืองพิษณุโลก และทรงเคยดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระมหาอุปราชครองเมืองพิษณุโลกมาก่อน . 8. มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ : พ.ศ. 2535 ในปี พ.ศ. 2510 ชาวนครศรีธรรมราช เริ่มรณรงค์เรียกร้องให้มีการจัดตั้งมหาวิทยาลัยในจังหวัดนครศรีธรรมราช จนกระทั่งคณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2531ให้จัดตั้งวิทยาลัยนครศรีธรรมราช สังกัดมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เพื่อยกฐานะเป็นมหาวิทยาลัยเอกเทศในอนาคต แต่ก็ได้ยกเลิกมติดังกล่าวในเวลาต่อมา และอนุมัติให้จัดตั้งมหาวิทยาลัยที่จังหวัดนครศรีธรรมราช เมื่อวันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2534 จนเมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2535 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม พระราชทานนามว่า “มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์” อันเป็นสร้อยพระนามในสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี . 9. มหาวิทยาลัยราชภัฏ : พ.ศ. 2535 มหาวิทยาลัยราชภัฏ เป็นกลุ่มมหาวิทยาลัยที่พัฒนามาจากโรงเรียนฝึกหัดอาจารย์ที่ตั้งอยู่ในส่วนกลางและส่วนภูมิภาคของประเทศ ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น วิทยาลัยครู หลังจากนั้น ได้รับพระราชทานนาม “ราชภัฏ” จากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ให้เป็นชื่อประจำสถาบัน พร้อมทั้ง พระราชทาน พระราชลัญจกรเป็นตราประจำมหาวิทยาลัย โดยในปัจจุบัน มหาวิทยาลัยราชภัฏ มีอยู่ทั้งสิ้น 38 แห่ง ทั่วประเทศ . 10. มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช :พ.ศ. 2553 มหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร เป็นแนวคิดตั้งแต่สมัยนายสมัคร สุนทรเวช ดำรงตำแหน่งเป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เพื่อเป็นทางเลือกกับนักศึกษาสามารถศึกษาเกี่ยวกับการบริหารจัดการเมือง ชุมชนเมืองหลวง และเพื่อตอบสนองความต้องการของเมืองหลวง แต่แนวคิดนี้ยังไม่ได้รับการตอบรับที่ดีนัก ในสมัย นายอภิรักษ์ โกษะโยธิน ดำรงตำแหน่งเป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ได้สานต่อ แนวคิดดังกล่าวอีกครั้ง เนื่องจากกรุงเทพมหานครได้เปิดการศึกษาหลายระดับแล้วในระดับอุดมศึกษา 2 แห่ง คือ วิทยาลัยแพทยศาสตร์กรุงเทพมหานครและวชิรพยาบาล และวิทยาลัยพยาบาลเกื้อการุณย์ โดยเน้นแผนการศึกษาวิชาการที่ไม่ซ้ำซ้อนกับมหาวิทยาลัยที่มีอยู่ในประเทศ และเน้นผลิตบุคลากรสาขาวิชาที่ขาดแคลน และเป็นที่ต้องการของกรุงเทพมหานคร โดยได้เสนอ ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยในกำกับของกรุงเทพมหานคร พ.ศ…. และคณะรัฐมนตรีได้รับร่างพระราชบัญญัติฯ ไว้ ในวันที่ 12 มิถุนายน 2550 แต่หลังจากมีการปรับเปลี่ยนผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เรื่องเกี่ยวกับพระราชบัญญัตินี้จึงหยุดนิ่งไป ในวันที่ 21กรกฎาคม พ.ศ. 2552 ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี เห็นชอบร่างพระราชบัญญัติฯ และได้แก้ไขชื่อพระราชบัญญัติจาก ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยในกำกับของกรุงเทพมหานคร พ.ศ…. เป็น ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ…. ต่อมาในวันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 สภาผ่านร่าง พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร และในวันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 ราชกิจจานุเบกษาเล่มที่ 127 ตอนที่ 63 ก ได้ประกาศพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2553 โดยมีผลใช้บังคับในวันที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2553 มีสาระสำคัญ คือ กำหนดให้จัดตั้งมหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร เป็นสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของกรุงเทพมหานคร มีฐานะเป็นนิติบุคคลที่ไม่เป็นส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน และกฎหมายว่าด้วยการ ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม และไม่เป็นรัฐวิสาหกิจตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณและกฎหมายอื่น โดยให้ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครมีอำนาจหน้าที่กำกับดูแลโดยทั่วไปซึ่งกิจการของมหาวิทยาลัย และให้โอนภารกิจและงบประมาณของวิทยาลัยแพทยศาสตร์กรุงเทพมหานครและวชิรพยาบาล และวิทยาลัยพยาบาลเกื้อการุณย์ ในสังกัดสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร ไปเป็นของมหาวิทยาลัยฯภายใน ๑๒๐ วัน นับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับการโอนบุคลากรซึ่งสังกัดวิทยาลัยแพทยศาสตร์กรุงเทพมหานครและวชิรพยาบาล ไปเป็นบุคลากรของมหาวิทยาลัย และกำหนดวิธีการบริหารกิจการของมหาวิทยาลัย หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครในสมัยต่อมา ได้ขอพระราชทานนามมหาวิทยาลัยว่า “มหาวิทยาลัยภูมิพล” เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2553 ต่อมาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามมหาวิทยาลัยว่า “มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช” เมื่อวันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2554 และมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2556 . 11. มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ : พ.ศ. 2535 “มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ” ก่อกำเนิดมากจาก “วิทยาลัยหัวเฉียว” ซึ่งมีรากฐานเติมโตมาจากโรงเรียนผดุงครรภ์อนามัยก่อตั้งโดยมูลนิธิป่อเต็มตึ๊ง ที่ก่อเกิดขึ้นจากพลังศรัทธาในคุณธรรมแห่ง “ไต้ฮงภิกขุ” ผู้ก่อตั้ง “คณะเก็บศพไต้ฮงกง” หรือ “มูลนิธิป่อเต็งตึ๊ง” ในปัจจุบัน โดยมีภารกิจในการบำเพ็ญทาน การสร้างสถานพยาบาลและบรรเทาสาธารณภัยเพื่อมวลชน รวมถึงการทำงานด้านการศึกษา โดยเปิดสอนหลักสูตรพยาบาล ในระดับปริญญาตรีเป็นหลักสูตรแรก ก่อนที่จะได้รับการยกสถานะเป็น “มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ” ในปัจจุบัน ต่อมาในปี พ.ศ. 2533 ในวาระที่มูลนิธิป่อเต็กตึ๊งมีวาระครบรอบ 80 ปี จึงได้ระดมทุนจากชาวไทยเชื่อสายจีนเพื่อใช้ในการก่อสร้าง เมื่อได้รับการอนุมัติจากทบวงมหาวิทยาลัยให้ยกสถานะเป็นมหาวิทยาลัย จึงเริ่มดำเนินการก่อสร้างแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2535 โดยได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามว่า ““มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ” ทั้งยังได้เสด็จพระราชดำเนินมาเป็นองค์ประธานในพิธีเปิดมหาวทิยาลัย เมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2537 โดยจัดว่า มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งเดียวในประเทศไทยที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ มาเป็นประธานเปิดมหาวิทยาลัยให้ เนื่องจากพระองค์ทรงเป็นประธานในพิธีเปิดมหาวิทยาลัยให้กับของรัฐบาลเท่านั้น ซึ่งไม่เคยเป็นประธานเปิดมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งใดเลย จึงเป็นผลนำมาซึ่งความปลาบปลื้มและนับเป็นสิริมงคลอันใหญ่หลวงแก่ชาวมหาวิทยาลัย และชาวจีนโพ้นทะเลในดินแดนสยาม ที่ได้ร่วมมือกันก่อตั้งสถาบันการศึกษาแห่งนี้ . 12. มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐลำดับที่ 77 ในประเทศไทย ตั้งอยู่ในจังหวัดนราธิวาส ก่อตั้งเมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 ภายหลังจากการหลอมรวมวิทยาลัยต่างๆ และยกฐานะขึ้นจากวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีนราธิวาส วิทยาลัยการอาชีพตากใบ วิทยาลัยเทคนิคนราธิวาส และวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี โดยชื่อ “มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์” นั้น ได้รับพระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เพื่อสดุดีและเฉลิมพระเกียรติแด่สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ สมเด็จพระโสทรเชษฐภคินีเพียงพระองค์เดียวในรัชกาลที่ 8 และ 9 เนื่องด้วยพระองค์ทรงบำเพ็ญพระกรณียกิจมากมายแก่ประเทศชาติ เพื่อแบ่งเบาพระราชภาระของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงลงพระปรมาภิไธยใน พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ พุทธศักราช 2548 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 122 ตอนที่ 14ก วันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 ดังนั้นทางมหาวิทยาลัยจึงกำหนดให้วันที่ 9 กุมภาพันธ์ ของทุกปีเป็นวันคล้ายวันสถาปนามหาวิทยาลัย . ขอขอบคุณแหล่งที่มา : คลิก EZ Webmaster Related Posts ปิดเทอมนี้ สสวท. กระตุ้นต่อมคิดพิชิตปัญหาฟิสิกส์หรรษา กับ “ไขปริศนาวิทยากล” มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน รวมเฉลยทุกวิชา A-Level 68 ฟินแลนด์ครองแชมป์ 8 ปีซ้อน ประเทศที่มีความสุขที่สุดในโลก 2025 ไทยขยับขึ้นอันดับ 49 Post navigation PREVIOUS Previous post: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ทำไมถึงย่อว่า ม.อ. ?NEXT Next post: แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน (พ.ศ. 2566 – 2570) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
สจล. ร่วมกับโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์อินเตอร์เนชั่นแนล พัฒนาหลักสูตรและการจัดการเนื้อหาสู่การเรียนในแพลตฟอร์มออนไลน์ EZ WebmasterMarch 21, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี อธิการบดี และรศ. นพ.ทวีสิน ตันประยูร ประธานปฏิบัติการด้านการแพทย์ โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์อินเตอร์เนชั่นแนล ร่วมกันลงนามในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ เพื่อการพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเนื้อหาการเรียนรู้ออนไลน์ ผ่าน KMITL Masterclass ซึ่งเป็นแพลตฟอร์มออนไลน์ของ… นักศึกษา มทร.ธัญบุรี โชว์ไอเดีย “กระเป๋าผ้าทอใยไผ่” ตอบโจทย์ความยั่งยืน ในนิทรรศการศิลปนิพนธ์ 2025 tui sakrapeeMarch 20, 2025 นักศึกษาชั้นปีที่ 4 จากภาควิชาศิลปะการออกแบบและเทคโนโลยี คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้ร่วมกันจัดนิทรรศการศิลปนิพนธ์เพื่อเผยแพร่ผลงานสู่สาธารณชน พร้อมฝึกประสบการณ์จริงในการจัดแสดงผลงานออกแบบ ภายในงานได้รวบรวมผลงานจาก 4 สาขาวิชา ได้แก่ ออกแบบนิเทศศิลป์ ออกแบบภายใน ออกแบบผลิตภัณฑ์ และนวัตกรรมการออกแบบผลิตภัณฑ์ร่วมสมัย จัดขึ้น ณ ศูนย์การค้ายูเนี่ยน มอลล์ โซน CoEvent Studio กรุงเทพฯ…
นักศึกษา มทร.ธัญบุรี โชว์ไอเดีย “กระเป๋าผ้าทอใยไผ่” ตอบโจทย์ความยั่งยืน ในนิทรรศการศิลปนิพนธ์ 2025 tui sakrapeeMarch 20, 2025 นักศึกษาชั้นปีที่ 4 จากภาควิชาศิลปะการออกแบบและเทคโนโลยี คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้ร่วมกันจัดนิทรรศการศิลปนิพนธ์เพื่อเผยแพร่ผลงานสู่สาธารณชน พร้อมฝึกประสบการณ์จริงในการจัดแสดงผลงานออกแบบ ภายในงานได้รวบรวมผลงานจาก 4 สาขาวิชา ได้แก่ ออกแบบนิเทศศิลป์ ออกแบบภายใน ออกแบบผลิตภัณฑ์ และนวัตกรรมการออกแบบผลิตภัณฑ์ร่วมสมัย จัดขึ้น ณ ศูนย์การค้ายูเนี่ยน มอลล์ โซน CoEvent Studio กรุงเทพฯ…
สกสค. ร่วมกับ CP All มอบ 100 ทุนเรียนฟรี 100% ระดับ ปวช. ปวส. และปริญญาตรี EZ WebmasterMarch 21, 2025 กสค. ร่วมกับ CP All มอบทุนเรียนฟรี !! 100% ล่าสุดขยายโอกาสเพิ่มอีก 9 สาขาใหม่ เพิ่มทางเลือกให้เยาวชนก้าวไกล ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ศึกษาที่วิทยาลัยปัญญาภิวัฒน์ และศูนย์การเรียนฯ ทั่วประเทศ 20 แห่ง ทุนการศึกษาระดับ… ให้ทุนเยาวชน ODOS Summer Camp ไปเรียนซัมเมอร์ต่างประเทศ 6 สัปดาห์ เริ่มสมัครได้ 24 มี.ค.นี้ EZ WebmasterMarch 21, 2025 ODOS Summer Camp ทุนการศึกษาระยะสั้น 6 สัปดาห์ เพื่อกระจายโอกาสให้เด็กไทยทุกคนได้มีโอกาสไปเรียนซัมเมอร์ต่างประเทศ เปิดหูเปิดตา ค้นหาตัวตน และสร้างแรงบันดาลใจในการเรียนรู้ โดยไม่จำเป็นต้องเป็นเด็กเก่ง เด็กเรียน หรือเด็กหน้าห้อง เปิดรับเยาวชนที่มีคุณสมบัติดังนี้ – สัญชาติไทย – อายุไม่เกิน… ธนาคารแห่งประเทศไทย เปิดรับสมัครทุนระดับปริญญาโทขึ้นไป เรียนต่อที่ประเทศอังกฤษ EZ WebmasterMarch 17, 2025 ประกาศเปิดรับสมัครทุนการศึกษา Dr. Puey Ungphakorn Centenary Scholarship ประจำปี 2568 ธนาคารแห่งประเทศไทย เปิดรับสมัครทุนการศึกษาระดับปริญญาโทขึ้นไป เพื่อศึกษาต่อที่ The London School of Economics and Political… กสศ. ร่วมกับคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ให้ทุนเรียนฟรี ผู้ช่วยพยาบาล EZ WebmasterMarch 17, 2025 กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา(กสศ.)ร่วมกับคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ——————————————————- “รับสมัครนักศึกษาเพื่อรับทุน” หลักสูตรประกาศนียบัตรผู้ช่วยพยาบาล (PN) (สำหรับนักศึกษา PN รุ่นที่ 3) *** เรียนฟรี!! รับค่าใช้จ่ายเดือนละ 7,500 บาท จบแล้วไม่ต้องใช้ทุน **** จำนวน… ครู-อาจารย์ มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค EZ WebmasterMarch 21, 2025 ศาสตราจารย์ นายแพทย์ปิยะมิตร ศรีธรา อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า ปัจจุบันโลกกำลังเผชิญกับกระแสความเปลี่ยนแปลงใหญ่ๆ ใน 6 มิติ 1. สังคมสูงวัย (Aging Society) ในอีก 8 ปีข้างหน้า ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุระดับสุดยอด (Super… รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน EZ WebmasterMarch 21, 2025 รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน พร้อมจ่ายเงินอุดหนุนการศึกษาและพัฒนาอาชีพ ผ่านกสศ. ขณะที่ Microsoft หนุน ศูนย์ดิจิทัลชุมชน ยกระดับทักษะAI เพิ่มโอกาสมีงานทำ พร้อมจับมือ UNICEF สร้าง 1… Kahoot! เปิดตัว Kahoot! Energize ปฏิวัติการประชุมให้มีพลังและสร้างผลกระทบที่เหนือกว่า EZ WebmasterMarch 21, 2025 เปลี่ยนทุกการนำเสนอในที่ทำงานให้กลายเป็นการสื่อสารสองทาง สร้างประสบการณ์ที่น่าสนใจ เต็มไปด้วยความมีชีวิตชีวาและการมีส่วนร่วมที่แท้จริง กระตุ้นการมีส่วนร่วมจากผู้ฟังและขับเคลื่อน ผลลัพธ์ทางธุรกิจไปอีกขั้นด้วย Kahoot! Energize Kahoot! (คาฮู้ด) ผู้นำด้านการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมระดับโลกได้เปิดตัวเครื่องมือใหม่ Kahoot! Energize ที่จะเปลี่ยนทุกการประชุม การฝึกอบรม หรือกิจกรรมต่างๆ ให้กลายเป็นช่วงเวลาที่เต็มไปด้วยพลังและความสนุก พร้อมกระตุ้นการมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ สร้างผลกระทบที่มีความหมาย และขับเคลื่อนธุรกิจไปข้างหน้า การพัฒนา Kahoot! Energize ต่อยอดจากรูปแบบการเรียนรู้และการมีส่วนร่วม อันเป็นเอกลักษณ์ที่ได้รับความนิยมของ Kahoot! แต่เพิ่มความสามารถในการใช้งานในสภาพแวดล้อมการทำงานที่หลากหลาย… สมศ. เน้นย้ำการประเมินคุณภาพภายนอก ปี 67-71 ลดวันประเมิน On site ขยายสู่รูปแบบออนไลน์ สร้างมาตรฐานในการแข่งขันระดับอาเซียน EZ WebmasterMarch 20, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยในการประชุมรับฟังความคิดเห็น (ร่าง) กรอบแนวทางการประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษาที่จัดการเรียนรู้ในสังกัดกรมส่งเสริมการเรียนรู้ (สกร.) โดยเน้นย้ำเรื่อง “แนวคิดและทิศทางการประกันคุณภาพภายนอก” ว่า การประกันคุณภาพภายนอกไม่ใช่เป็น “การตรวจสอบ” แต่เป็นเครื่องมือที่ช่วยส่งเสริมการพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษาอย่างแท้จริง… กิจกรรม รวมพลังสีชมพูจุฬาฯ กลับบ้านสู่ร่มจามจุรี ในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” EZ WebmasterMarch 14, 2025 สมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (สนจ.) เชิญชวนชาวจุฬาฯ ทั้งนิสิตเก่าและนิสิตปัจจุบัน เดินทางกลับบ้านในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” ร่วมฉลองวาระสำคัญ ครบรอบ 108 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในบรรยากาศแห่งความรักความสามัคคี และความผูกพันของเหล่าน้องพี่สีชมพู ภายใต้ร่มเงาของจามจุรี นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย… สจล. ผนึกกำลังตำรวจภูธรภาค 2 และบริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จำกัด (สำนักงานใหญ่) พัฒนาโครงการ “AI Robot รับแจ้งความ” ประมวลผลถูกต้องและมีประสิทธิภาพ EZ WebmasterMarch 13, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี ร่วมด้วยพลตำรวจโท ยิ่งยศ เทพจำนงค์ (คนที่ 3 จากซ้าย) ผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 2… สจล. ร่วมกับกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน มุ่งยกระดับฝีมือแรงงาน สอดคล้องความต้องการในอนาคต EZ WebmasterMarch 10, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี และนายเดชา พฤกษ์พัฒนรักษ์ (คนที่ 3 จากซ้าย) อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ได้ลงในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการร่วมกัน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่นักศึกษาของสถาบันก่อนเข้าสู่ตลาดแรงงานในสาขาอาชีพต่าง… ปิดฉาก “HigherEd for PWD” ระยะที่ 1 เสริมสมรรถนะคนพิการสู่ตลาดแรงงานจริง EZ WebmasterMarch 10, 2025 เมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2568 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) ร่วมกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) และมหาวิทยาลัยเครือข่าย 5 แห่ง จัดแถลงข่าวสรุปผลและปิดโครงการการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาศักยภาพคนพิการเพื่อการประกอบอาชีพ ผ่านโมเดลการฝึกอบรม-ฝึกงานคนพิการ มจธ. HigherEd for PWD ระยะที่ 1 ซึ่งเป็นโครงการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อพัฒนาศักยภาพคนพิการสู่การประกอบอาชีพในตลาดแรงงานจริง ที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ซึ่งจัดขึ้น ณ ห้อง Auditorium ชั้น 3 อาคารการเรียนรู้พหุวิทยาการ (LX) มจธ. บางมด กรุงเทพฯ โดยได้รับเกียรติจาก นายวราวุธ… Search for: Search EZ Webmaster December 4, 2022 EZ Webmaster December 4, 2022 รวมประวัติ 12 มหาวิทยาลัย ที่ได้ชื่อพระราชทาน จากในหลวง รัชกาลที่ 9 รวมประวัติ 12 มหาวิทยาลัย ที่ได้ชื่อพระราชทาน จากในหลวง รัชกาลที่ 9 เคยสงสัยที่มาของแต่ละชื่อมหาวิทยาลัยกันบ้างไหมคะ? วันนี้ทาง Eduzones จะมาเล่าที่มาของมหาวิทยาลัยที่มีที่มาชื่อในแบบเดียวกัน คือ ได้รับพระราชทานชื่อจาก “พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช” ไปดูกันเลย! 1. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ : พ.ศ. 2510 เมื่อปี พ.ศ. 2505 รัฐบาลมีนโยบายจัดตั้งมหาวิทยาลัยขึ้นที่ภาคใต้ จึงจัดตั้ง “วิทยาลัยศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์” ก่อนที่ในปี พ.ศ. 2508 คณะรัฐมนตรีจะอนุมัติให้จัดตั้งมหาวิทยาลัยในภาคใต้ขึ้นที่ ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี โดยจะใช้เป็นที่ตั้งของคณะวิศวกรรมศาสตร์ และใช้ชื่ออย่างไม่เป็นทางการว่า “มหาวิทยาลัยภาคใต้” ซึ่งมีสำนักงานชั่วคราวของมหาวิทยาลัยอยู่ที่อาคารคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ (อาคารคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ในปัจจุบัน) หลังจากนั้น คณะกรรมการพัฒนาภาคใต้ โดย พันเอก (พิเศษ) ดร.ถนัด คอมันตร์ นำความกราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ขอพระราชทานชื่อให้แก่มหาวิทยาลัย เจึงได้รับพระราชทานนามมหาวิทยาลัยว่า “มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์” เมื่อวันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2510 ตามพระนามฐานันดรศักดิ์ของสมเด็จพระบรมราชชนก กรมหลวงสงขลานครินทร์ ดังนั้น มหาวิทยาลัยจึงถือว่าวันที่ 22 กันยายน ของทุกปีเป็น “วันสงขลานครินทร์” . 2. มหาวิทยาลัยมหิดล : พ.ศ.2512 สมัยก่อน มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นโรงเรียนแพทย์ ณ โรงพยาบาลศิริราช ชื่อว่า “โรงเรียนแพทยากร” ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2432 ในสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว หลังจากนั้นในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2486 จึงได้รับการสถาปนาขึ้นเป็น มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ ก่อนที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2512 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนาม “มหิดล” อันเป็นพระนามของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ใช้แทนชื่อมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์เป็นมหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งประกาศในราชกิจานุเบกษา เมื่อวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2512 . 3. สถาบันพระจอมเกล้า / มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า : พ.ศ. 2514 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พ.ศ. 2514โดยให้รวมวิทยาลัยเทคนิคพระนครเหนือ วิทยาลัยโทรคมนาคมนนทบุรี และวิทยาลัยเทคนิคธนบุรี เข้าด้วยกัน มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตครูอาชีวศึกษา ให้การศึกษาทั้งระดับต่ำกว่าปริญญาและระดับปริญญา และทำวิจัยทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันได้รับโปรดเกล้าพระราชทานนามภาษาไทย “สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า” และภาษาอังกฤษ “King Mongkut’s Institute of Technology” เมื่อวันที่ 28พฤษภาคม พ.ศ. 2514 . 4. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : พ.ศ. 2517 ก่อนจะเกิดเหตุการณ์ 14 ตุลาคม ในปี พ.ศ. 2516 ศาสตราจารย์ ดร.สุดใจ เหล่าสุนทร ดำรงตำแหน่งอธิการวิทยาลัยวิชาการศึกษา คณาจารย์ นิสิต และข้าราชการ ได้ร่วมกันเรียกร้องต่อรัฐบาลให้ปรับฐานะวิทยาลัยวิชาการศึกษาเป็นมหาวิทยาลัย และย้ายสังกัดจากกระทรวงศึกษาธิการไปขึ้นกับมหาวิทยาลัย ท่ามกลางการปกครองที่เข้มงวดรุนแรงของรัฐบาลทหารในขณะนั้น เพื่อความคล่องตัวในการพัฒนาโครงสร้าง การบริหาร และการเรียนการสอนที่จำกัด ไปสู่การเป็นมหาวิทยาลัยและการขยายตัวที่มีความหลากหลายวิชาชีพ ท้ายที่สุดมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ “มหาวิทยาลัยที่เจริญเป็นศรีสง่าแก่มหานคร” ได้สถาปนาขึ้นเมื่อวันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2517 โดยมี ศาสตราจารย์ ดร.สุดใจ เหล่าสุนทร เป็นอธิการบดี โดยนามของมหาวิทยาลัย ได้รับพระราชทานนามจาก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ เมื่อ 6 มีนาคม พ.ศ. 2517 . 5. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช : พ.ศ. 2521 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช เป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐแบบไม่จำกัดรับจำนวน (มหาวิทยาลัยเปิด) แห่งเดียวของประเทศไทย และเป็นมหาวิทยาลัยเปิดโดยใช้ระบบการศึกษาทางไกลแห่งเดียวในประเทศไทย ซึ่งจัดตั้งขึ้นเพื่อขยายและกระจายโอกาสทางการศึกษาระดับอุดมศึกษาแก่ประชาชน มีลักษณะเป็นมหาวิทยาลัยในระบบเปิด ดำเนินการดำเนินการสอนโดยใช้ระบบการสอนทางไกลซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อ “มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช” ตามพระนามกรมของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นกรมหลวงสุโขทัยธรรมราชา และพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ใช้พระราชลัญจกรในรัชกาลที่ 7 ซึ่งเป็นรูปพระแสงศรสามองค์ นำมาประกอบกับเจดีย์ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของ กรุงสุโขทัย เป็นตราประจำมหาวิทยาลัย . 6. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล : พ.ศ. 2531 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐในประเทศไทย สังกัด สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ปัจจุบันมีอยู่ 9 แห่งทั่วประเทศ ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2518ซึ่งใช้ชื่อว่า วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา ต่อมาในปี พ.ศ. 2531 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อใหม่ว่า สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล และได้ยกสถานะเป็นมหาวิทยาลัยเมื่อวันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2548 ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ. 2548 . 7. มหาวิทยาลัยนเรศวร : พ.ศ. 2533 มหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐ ตั้งอยู่ในจังหวัดพิษณุโลก ก่อตั้งเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2533 ภายหลังจากการยกฐานะขึ้นจากวิทยาเขตของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยชื่อ “มหาวิทยาลัยนเรศวร” นั้น ได้รับพระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เพื่อสดุดีและเฉลิมพระเกียรติแด่สมเด็จพระนเรศวรมหาราช วีรกษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา เนื่องด้วยพระองค์ประสูติที่เมืองพิษณุโลก และทรงเคยดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระมหาอุปราชครองเมืองพิษณุโลกมาก่อน . 8. มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ : พ.ศ. 2535 ในปี พ.ศ. 2510 ชาวนครศรีธรรมราช เริ่มรณรงค์เรียกร้องให้มีการจัดตั้งมหาวิทยาลัยในจังหวัดนครศรีธรรมราช จนกระทั่งคณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2531ให้จัดตั้งวิทยาลัยนครศรีธรรมราช สังกัดมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เพื่อยกฐานะเป็นมหาวิทยาลัยเอกเทศในอนาคต แต่ก็ได้ยกเลิกมติดังกล่าวในเวลาต่อมา และอนุมัติให้จัดตั้งมหาวิทยาลัยที่จังหวัดนครศรีธรรมราช เมื่อวันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2534 จนเมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2535 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม พระราชทานนามว่า “มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์” อันเป็นสร้อยพระนามในสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี . 9. มหาวิทยาลัยราชภัฏ : พ.ศ. 2535 มหาวิทยาลัยราชภัฏ เป็นกลุ่มมหาวิทยาลัยที่พัฒนามาจากโรงเรียนฝึกหัดอาจารย์ที่ตั้งอยู่ในส่วนกลางและส่วนภูมิภาคของประเทศ ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น วิทยาลัยครู หลังจากนั้น ได้รับพระราชทานนาม “ราชภัฏ” จากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ให้เป็นชื่อประจำสถาบัน พร้อมทั้ง พระราชทาน พระราชลัญจกรเป็นตราประจำมหาวิทยาลัย โดยในปัจจุบัน มหาวิทยาลัยราชภัฏ มีอยู่ทั้งสิ้น 38 แห่ง ทั่วประเทศ . 10. มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช :พ.ศ. 2553 มหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร เป็นแนวคิดตั้งแต่สมัยนายสมัคร สุนทรเวช ดำรงตำแหน่งเป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เพื่อเป็นทางเลือกกับนักศึกษาสามารถศึกษาเกี่ยวกับการบริหารจัดการเมือง ชุมชนเมืองหลวง และเพื่อตอบสนองความต้องการของเมืองหลวง แต่แนวคิดนี้ยังไม่ได้รับการตอบรับที่ดีนัก ในสมัย นายอภิรักษ์ โกษะโยธิน ดำรงตำแหน่งเป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ได้สานต่อ แนวคิดดังกล่าวอีกครั้ง เนื่องจากกรุงเทพมหานครได้เปิดการศึกษาหลายระดับแล้วในระดับอุดมศึกษา 2 แห่ง คือ วิทยาลัยแพทยศาสตร์กรุงเทพมหานครและวชิรพยาบาล และวิทยาลัยพยาบาลเกื้อการุณย์ โดยเน้นแผนการศึกษาวิชาการที่ไม่ซ้ำซ้อนกับมหาวิทยาลัยที่มีอยู่ในประเทศ และเน้นผลิตบุคลากรสาขาวิชาที่ขาดแคลน และเป็นที่ต้องการของกรุงเทพมหานคร โดยได้เสนอ ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยในกำกับของกรุงเทพมหานคร พ.ศ…. และคณะรัฐมนตรีได้รับร่างพระราชบัญญัติฯ ไว้ ในวันที่ 12 มิถุนายน 2550 แต่หลังจากมีการปรับเปลี่ยนผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เรื่องเกี่ยวกับพระราชบัญญัตินี้จึงหยุดนิ่งไป ในวันที่ 21กรกฎาคม พ.ศ. 2552 ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี เห็นชอบร่างพระราชบัญญัติฯ และได้แก้ไขชื่อพระราชบัญญัติจาก ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยในกำกับของกรุงเทพมหานคร พ.ศ…. เป็น ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ…. ต่อมาในวันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 สภาผ่านร่าง พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร และในวันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 ราชกิจจานุเบกษาเล่มที่ 127 ตอนที่ 63 ก ได้ประกาศพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2553 โดยมีผลใช้บังคับในวันที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2553 มีสาระสำคัญ คือ กำหนดให้จัดตั้งมหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร เป็นสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของกรุงเทพมหานคร มีฐานะเป็นนิติบุคคลที่ไม่เป็นส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน และกฎหมายว่าด้วยการ ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม และไม่เป็นรัฐวิสาหกิจตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณและกฎหมายอื่น โดยให้ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครมีอำนาจหน้าที่กำกับดูแลโดยทั่วไปซึ่งกิจการของมหาวิทยาลัย และให้โอนภารกิจและงบประมาณของวิทยาลัยแพทยศาสตร์กรุงเทพมหานครและวชิรพยาบาล และวิทยาลัยพยาบาลเกื้อการุณย์ ในสังกัดสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร ไปเป็นของมหาวิทยาลัยฯภายใน ๑๒๐ วัน นับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับการโอนบุคลากรซึ่งสังกัดวิทยาลัยแพทยศาสตร์กรุงเทพมหานครและวชิรพยาบาล ไปเป็นบุคลากรของมหาวิทยาลัย และกำหนดวิธีการบริหารกิจการของมหาวิทยาลัย หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครในสมัยต่อมา ได้ขอพระราชทานนามมหาวิทยาลัยว่า “มหาวิทยาลัยภูมิพล” เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2553 ต่อมาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามมหาวิทยาลัยว่า “มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช” เมื่อวันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2554 และมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2556 . 11. มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ : พ.ศ. 2535 “มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ” ก่อกำเนิดมากจาก “วิทยาลัยหัวเฉียว” ซึ่งมีรากฐานเติมโตมาจากโรงเรียนผดุงครรภ์อนามัยก่อตั้งโดยมูลนิธิป่อเต็มตึ๊ง ที่ก่อเกิดขึ้นจากพลังศรัทธาในคุณธรรมแห่ง “ไต้ฮงภิกขุ” ผู้ก่อตั้ง “คณะเก็บศพไต้ฮงกง” หรือ “มูลนิธิป่อเต็งตึ๊ง” ในปัจจุบัน โดยมีภารกิจในการบำเพ็ญทาน การสร้างสถานพยาบาลและบรรเทาสาธารณภัยเพื่อมวลชน รวมถึงการทำงานด้านการศึกษา โดยเปิดสอนหลักสูตรพยาบาล ในระดับปริญญาตรีเป็นหลักสูตรแรก ก่อนที่จะได้รับการยกสถานะเป็น “มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ” ในปัจจุบัน ต่อมาในปี พ.ศ. 2533 ในวาระที่มูลนิธิป่อเต็กตึ๊งมีวาระครบรอบ 80 ปี จึงได้ระดมทุนจากชาวไทยเชื่อสายจีนเพื่อใช้ในการก่อสร้าง เมื่อได้รับการอนุมัติจากทบวงมหาวิทยาลัยให้ยกสถานะเป็นมหาวิทยาลัย จึงเริ่มดำเนินการก่อสร้างแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2535 โดยได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามว่า ““มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ” ทั้งยังได้เสด็จพระราชดำเนินมาเป็นองค์ประธานในพิธีเปิดมหาวทิยาลัย เมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2537 โดยจัดว่า มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งเดียวในประเทศไทยที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ มาเป็นประธานเปิดมหาวิทยาลัยให้ เนื่องจากพระองค์ทรงเป็นประธานในพิธีเปิดมหาวิทยาลัยให้กับของรัฐบาลเท่านั้น ซึ่งไม่เคยเป็นประธานเปิดมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งใดเลย จึงเป็นผลนำมาซึ่งความปลาบปลื้มและนับเป็นสิริมงคลอันใหญ่หลวงแก่ชาวมหาวิทยาลัย และชาวจีนโพ้นทะเลในดินแดนสยาม ที่ได้ร่วมมือกันก่อตั้งสถาบันการศึกษาแห่งนี้ . 12. มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐลำดับที่ 77 ในประเทศไทย ตั้งอยู่ในจังหวัดนราธิวาส ก่อตั้งเมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 ภายหลังจากการหลอมรวมวิทยาลัยต่างๆ และยกฐานะขึ้นจากวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีนราธิวาส วิทยาลัยการอาชีพตากใบ วิทยาลัยเทคนิคนราธิวาส และวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี โดยชื่อ “มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์” นั้น ได้รับพระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เพื่อสดุดีและเฉลิมพระเกียรติแด่สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ สมเด็จพระโสทรเชษฐภคินีเพียงพระองค์เดียวในรัชกาลที่ 8 และ 9 เนื่องด้วยพระองค์ทรงบำเพ็ญพระกรณียกิจมากมายแก่ประเทศชาติ เพื่อแบ่งเบาพระราชภาระของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงลงพระปรมาภิไธยใน พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ พุทธศักราช 2548 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 122 ตอนที่ 14ก วันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 ดังนั้นทางมหาวิทยาลัยจึงกำหนดให้วันที่ 9 กุมภาพันธ์ ของทุกปีเป็นวันคล้ายวันสถาปนามหาวิทยาลัย . ขอขอบคุณแหล่งที่มา : คลิก EZ Webmaster Related Posts ปิดเทอมนี้ สสวท. กระตุ้นต่อมคิดพิชิตปัญหาฟิสิกส์หรรษา กับ “ไขปริศนาวิทยากล” มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน รวมเฉลยทุกวิชา A-Level 68 ฟินแลนด์ครองแชมป์ 8 ปีซ้อน ประเทศที่มีความสุขที่สุดในโลก 2025 ไทยขยับขึ้นอันดับ 49 Post navigation PREVIOUS Previous post: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ทำไมถึงย่อว่า ม.อ. ?NEXT Next post: แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน (พ.ศ. 2566 – 2570) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ให้ทุนเยาวชน ODOS Summer Camp ไปเรียนซัมเมอร์ต่างประเทศ 6 สัปดาห์ เริ่มสมัครได้ 24 มี.ค.นี้ EZ WebmasterMarch 21, 2025 ODOS Summer Camp ทุนการศึกษาระยะสั้น 6 สัปดาห์ เพื่อกระจายโอกาสให้เด็กไทยทุกคนได้มีโอกาสไปเรียนซัมเมอร์ต่างประเทศ เปิดหูเปิดตา ค้นหาตัวตน และสร้างแรงบันดาลใจในการเรียนรู้ โดยไม่จำเป็นต้องเป็นเด็กเก่ง เด็กเรียน หรือเด็กหน้าห้อง เปิดรับเยาวชนที่มีคุณสมบัติดังนี้ – สัญชาติไทย – อายุไม่เกิน… ธนาคารแห่งประเทศไทย เปิดรับสมัครทุนระดับปริญญาโทขึ้นไป เรียนต่อที่ประเทศอังกฤษ EZ WebmasterMarch 17, 2025 ประกาศเปิดรับสมัครทุนการศึกษา Dr. Puey Ungphakorn Centenary Scholarship ประจำปี 2568 ธนาคารแห่งประเทศไทย เปิดรับสมัครทุนการศึกษาระดับปริญญาโทขึ้นไป เพื่อศึกษาต่อที่ The London School of Economics and Political… กสศ. ร่วมกับคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ให้ทุนเรียนฟรี ผู้ช่วยพยาบาล EZ WebmasterMarch 17, 2025 กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา(กสศ.)ร่วมกับคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ——————————————————- “รับสมัครนักศึกษาเพื่อรับทุน” หลักสูตรประกาศนียบัตรผู้ช่วยพยาบาล (PN) (สำหรับนักศึกษา PN รุ่นที่ 3) *** เรียนฟรี!! รับค่าใช้จ่ายเดือนละ 7,500 บาท จบแล้วไม่ต้องใช้ทุน **** จำนวน… ครู-อาจารย์ มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค EZ WebmasterMarch 21, 2025 ศาสตราจารย์ นายแพทย์ปิยะมิตร ศรีธรา อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า ปัจจุบันโลกกำลังเผชิญกับกระแสความเปลี่ยนแปลงใหญ่ๆ ใน 6 มิติ 1. สังคมสูงวัย (Aging Society) ในอีก 8 ปีข้างหน้า ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุระดับสุดยอด (Super… รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน EZ WebmasterMarch 21, 2025 รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน พร้อมจ่ายเงินอุดหนุนการศึกษาและพัฒนาอาชีพ ผ่านกสศ. ขณะที่ Microsoft หนุน ศูนย์ดิจิทัลชุมชน ยกระดับทักษะAI เพิ่มโอกาสมีงานทำ พร้อมจับมือ UNICEF สร้าง 1… Kahoot! เปิดตัว Kahoot! Energize ปฏิวัติการประชุมให้มีพลังและสร้างผลกระทบที่เหนือกว่า EZ WebmasterMarch 21, 2025 เปลี่ยนทุกการนำเสนอในที่ทำงานให้กลายเป็นการสื่อสารสองทาง สร้างประสบการณ์ที่น่าสนใจ เต็มไปด้วยความมีชีวิตชีวาและการมีส่วนร่วมที่แท้จริง กระตุ้นการมีส่วนร่วมจากผู้ฟังและขับเคลื่อน ผลลัพธ์ทางธุรกิจไปอีกขั้นด้วย Kahoot! Energize Kahoot! (คาฮู้ด) ผู้นำด้านการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมระดับโลกได้เปิดตัวเครื่องมือใหม่ Kahoot! Energize ที่จะเปลี่ยนทุกการประชุม การฝึกอบรม หรือกิจกรรมต่างๆ ให้กลายเป็นช่วงเวลาที่เต็มไปด้วยพลังและความสนุก พร้อมกระตุ้นการมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ สร้างผลกระทบที่มีความหมาย และขับเคลื่อนธุรกิจไปข้างหน้า การพัฒนา Kahoot! Energize ต่อยอดจากรูปแบบการเรียนรู้และการมีส่วนร่วม อันเป็นเอกลักษณ์ที่ได้รับความนิยมของ Kahoot! แต่เพิ่มความสามารถในการใช้งานในสภาพแวดล้อมการทำงานที่หลากหลาย… สมศ. เน้นย้ำการประเมินคุณภาพภายนอก ปี 67-71 ลดวันประเมิน On site ขยายสู่รูปแบบออนไลน์ สร้างมาตรฐานในการแข่งขันระดับอาเซียน EZ WebmasterMarch 20, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยในการประชุมรับฟังความคิดเห็น (ร่าง) กรอบแนวทางการประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษาที่จัดการเรียนรู้ในสังกัดกรมส่งเสริมการเรียนรู้ (สกร.) โดยเน้นย้ำเรื่อง “แนวคิดและทิศทางการประกันคุณภาพภายนอก” ว่า การประกันคุณภาพภายนอกไม่ใช่เป็น “การตรวจสอบ” แต่เป็นเครื่องมือที่ช่วยส่งเสริมการพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษาอย่างแท้จริง… กิจกรรม รวมพลังสีชมพูจุฬาฯ กลับบ้านสู่ร่มจามจุรี ในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” EZ WebmasterMarch 14, 2025 สมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (สนจ.) เชิญชวนชาวจุฬาฯ ทั้งนิสิตเก่าและนิสิตปัจจุบัน เดินทางกลับบ้านในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” ร่วมฉลองวาระสำคัญ ครบรอบ 108 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในบรรยากาศแห่งความรักความสามัคคี และความผูกพันของเหล่าน้องพี่สีชมพู ภายใต้ร่มเงาของจามจุรี นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย… สจล. ผนึกกำลังตำรวจภูธรภาค 2 และบริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จำกัด (สำนักงานใหญ่) พัฒนาโครงการ “AI Robot รับแจ้งความ” ประมวลผลถูกต้องและมีประสิทธิภาพ EZ WebmasterMarch 13, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี ร่วมด้วยพลตำรวจโท ยิ่งยศ เทพจำนงค์ (คนที่ 3 จากซ้าย) ผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 2… สจล. ร่วมกับกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน มุ่งยกระดับฝีมือแรงงาน สอดคล้องความต้องการในอนาคต EZ WebmasterMarch 10, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี และนายเดชา พฤกษ์พัฒนรักษ์ (คนที่ 3 จากซ้าย) อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ได้ลงในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการร่วมกัน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่นักศึกษาของสถาบันก่อนเข้าสู่ตลาดแรงงานในสาขาอาชีพต่าง… ปิดฉาก “HigherEd for PWD” ระยะที่ 1 เสริมสมรรถนะคนพิการสู่ตลาดแรงงานจริง EZ WebmasterMarch 10, 2025 เมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2568 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) ร่วมกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) และมหาวิทยาลัยเครือข่าย 5 แห่ง จัดแถลงข่าวสรุปผลและปิดโครงการการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาศักยภาพคนพิการเพื่อการประกอบอาชีพ ผ่านโมเดลการฝึกอบรม-ฝึกงานคนพิการ มจธ. HigherEd for PWD ระยะที่ 1 ซึ่งเป็นโครงการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อพัฒนาศักยภาพคนพิการสู่การประกอบอาชีพในตลาดแรงงานจริง ที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ซึ่งจัดขึ้น ณ ห้อง Auditorium ชั้น 3 อาคารการเรียนรู้พหุวิทยาการ (LX) มจธ. บางมด กรุงเทพฯ โดยได้รับเกียรติจาก นายวราวุธ… Search for: Search EZ Webmaster December 4, 2022 EZ Webmaster December 4, 2022 รวมประวัติ 12 มหาวิทยาลัย ที่ได้ชื่อพระราชทาน จากในหลวง รัชกาลที่ 9 รวมประวัติ 12 มหาวิทยาลัย ที่ได้ชื่อพระราชทาน จากในหลวง รัชกาลที่ 9 เคยสงสัยที่มาของแต่ละชื่อมหาวิทยาลัยกันบ้างไหมคะ? วันนี้ทาง Eduzones จะมาเล่าที่มาของมหาวิทยาลัยที่มีที่มาชื่อในแบบเดียวกัน คือ ได้รับพระราชทานชื่อจาก “พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช” ไปดูกันเลย! 1. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ : พ.ศ. 2510 เมื่อปี พ.ศ. 2505 รัฐบาลมีนโยบายจัดตั้งมหาวิทยาลัยขึ้นที่ภาคใต้ จึงจัดตั้ง “วิทยาลัยศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์” ก่อนที่ในปี พ.ศ. 2508 คณะรัฐมนตรีจะอนุมัติให้จัดตั้งมหาวิทยาลัยในภาคใต้ขึ้นที่ ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี โดยจะใช้เป็นที่ตั้งของคณะวิศวกรรมศาสตร์ และใช้ชื่ออย่างไม่เป็นทางการว่า “มหาวิทยาลัยภาคใต้” ซึ่งมีสำนักงานชั่วคราวของมหาวิทยาลัยอยู่ที่อาคารคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ (อาคารคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ในปัจจุบัน) หลังจากนั้น คณะกรรมการพัฒนาภาคใต้ โดย พันเอก (พิเศษ) ดร.ถนัด คอมันตร์ นำความกราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ขอพระราชทานชื่อให้แก่มหาวิทยาลัย เจึงได้รับพระราชทานนามมหาวิทยาลัยว่า “มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์” เมื่อวันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2510 ตามพระนามฐานันดรศักดิ์ของสมเด็จพระบรมราชชนก กรมหลวงสงขลานครินทร์ ดังนั้น มหาวิทยาลัยจึงถือว่าวันที่ 22 กันยายน ของทุกปีเป็น “วันสงขลานครินทร์” . 2. มหาวิทยาลัยมหิดล : พ.ศ.2512 สมัยก่อน มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นโรงเรียนแพทย์ ณ โรงพยาบาลศิริราช ชื่อว่า “โรงเรียนแพทยากร” ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2432 ในสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว หลังจากนั้นในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2486 จึงได้รับการสถาปนาขึ้นเป็น มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ ก่อนที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2512 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนาม “มหิดล” อันเป็นพระนามของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ใช้แทนชื่อมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์เป็นมหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งประกาศในราชกิจานุเบกษา เมื่อวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2512 . 3. สถาบันพระจอมเกล้า / มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า : พ.ศ. 2514 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พ.ศ. 2514โดยให้รวมวิทยาลัยเทคนิคพระนครเหนือ วิทยาลัยโทรคมนาคมนนทบุรี และวิทยาลัยเทคนิคธนบุรี เข้าด้วยกัน มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตครูอาชีวศึกษา ให้การศึกษาทั้งระดับต่ำกว่าปริญญาและระดับปริญญา และทำวิจัยทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันได้รับโปรดเกล้าพระราชทานนามภาษาไทย “สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า” และภาษาอังกฤษ “King Mongkut’s Institute of Technology” เมื่อวันที่ 28พฤษภาคม พ.ศ. 2514 . 4. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : พ.ศ. 2517 ก่อนจะเกิดเหตุการณ์ 14 ตุลาคม ในปี พ.ศ. 2516 ศาสตราจารย์ ดร.สุดใจ เหล่าสุนทร ดำรงตำแหน่งอธิการวิทยาลัยวิชาการศึกษา คณาจารย์ นิสิต และข้าราชการ ได้ร่วมกันเรียกร้องต่อรัฐบาลให้ปรับฐานะวิทยาลัยวิชาการศึกษาเป็นมหาวิทยาลัย และย้ายสังกัดจากกระทรวงศึกษาธิการไปขึ้นกับมหาวิทยาลัย ท่ามกลางการปกครองที่เข้มงวดรุนแรงของรัฐบาลทหารในขณะนั้น เพื่อความคล่องตัวในการพัฒนาโครงสร้าง การบริหาร และการเรียนการสอนที่จำกัด ไปสู่การเป็นมหาวิทยาลัยและการขยายตัวที่มีความหลากหลายวิชาชีพ ท้ายที่สุดมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ “มหาวิทยาลัยที่เจริญเป็นศรีสง่าแก่มหานคร” ได้สถาปนาขึ้นเมื่อวันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2517 โดยมี ศาสตราจารย์ ดร.สุดใจ เหล่าสุนทร เป็นอธิการบดี โดยนามของมหาวิทยาลัย ได้รับพระราชทานนามจาก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ เมื่อ 6 มีนาคม พ.ศ. 2517 . 5. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช : พ.ศ. 2521 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช เป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐแบบไม่จำกัดรับจำนวน (มหาวิทยาลัยเปิด) แห่งเดียวของประเทศไทย และเป็นมหาวิทยาลัยเปิดโดยใช้ระบบการศึกษาทางไกลแห่งเดียวในประเทศไทย ซึ่งจัดตั้งขึ้นเพื่อขยายและกระจายโอกาสทางการศึกษาระดับอุดมศึกษาแก่ประชาชน มีลักษณะเป็นมหาวิทยาลัยในระบบเปิด ดำเนินการดำเนินการสอนโดยใช้ระบบการสอนทางไกลซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อ “มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช” ตามพระนามกรมของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นกรมหลวงสุโขทัยธรรมราชา และพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ใช้พระราชลัญจกรในรัชกาลที่ 7 ซึ่งเป็นรูปพระแสงศรสามองค์ นำมาประกอบกับเจดีย์ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของ กรุงสุโขทัย เป็นตราประจำมหาวิทยาลัย . 6. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล : พ.ศ. 2531 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐในประเทศไทย สังกัด สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ปัจจุบันมีอยู่ 9 แห่งทั่วประเทศ ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2518ซึ่งใช้ชื่อว่า วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา ต่อมาในปี พ.ศ. 2531 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อใหม่ว่า สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล และได้ยกสถานะเป็นมหาวิทยาลัยเมื่อวันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2548 ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ. 2548 . 7. มหาวิทยาลัยนเรศวร : พ.ศ. 2533 มหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐ ตั้งอยู่ในจังหวัดพิษณุโลก ก่อตั้งเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2533 ภายหลังจากการยกฐานะขึ้นจากวิทยาเขตของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยชื่อ “มหาวิทยาลัยนเรศวร” นั้น ได้รับพระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เพื่อสดุดีและเฉลิมพระเกียรติแด่สมเด็จพระนเรศวรมหาราช วีรกษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา เนื่องด้วยพระองค์ประสูติที่เมืองพิษณุโลก และทรงเคยดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระมหาอุปราชครองเมืองพิษณุโลกมาก่อน . 8. มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ : พ.ศ. 2535 ในปี พ.ศ. 2510 ชาวนครศรีธรรมราช เริ่มรณรงค์เรียกร้องให้มีการจัดตั้งมหาวิทยาลัยในจังหวัดนครศรีธรรมราช จนกระทั่งคณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2531ให้จัดตั้งวิทยาลัยนครศรีธรรมราช สังกัดมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เพื่อยกฐานะเป็นมหาวิทยาลัยเอกเทศในอนาคต แต่ก็ได้ยกเลิกมติดังกล่าวในเวลาต่อมา และอนุมัติให้จัดตั้งมหาวิทยาลัยที่จังหวัดนครศรีธรรมราช เมื่อวันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2534 จนเมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2535 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม พระราชทานนามว่า “มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์” อันเป็นสร้อยพระนามในสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี . 9. มหาวิทยาลัยราชภัฏ : พ.ศ. 2535 มหาวิทยาลัยราชภัฏ เป็นกลุ่มมหาวิทยาลัยที่พัฒนามาจากโรงเรียนฝึกหัดอาจารย์ที่ตั้งอยู่ในส่วนกลางและส่วนภูมิภาคของประเทศ ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น วิทยาลัยครู หลังจากนั้น ได้รับพระราชทานนาม “ราชภัฏ” จากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ให้เป็นชื่อประจำสถาบัน พร้อมทั้ง พระราชทาน พระราชลัญจกรเป็นตราประจำมหาวิทยาลัย โดยในปัจจุบัน มหาวิทยาลัยราชภัฏ มีอยู่ทั้งสิ้น 38 แห่ง ทั่วประเทศ . 10. มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช :พ.ศ. 2553 มหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร เป็นแนวคิดตั้งแต่สมัยนายสมัคร สุนทรเวช ดำรงตำแหน่งเป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เพื่อเป็นทางเลือกกับนักศึกษาสามารถศึกษาเกี่ยวกับการบริหารจัดการเมือง ชุมชนเมืองหลวง และเพื่อตอบสนองความต้องการของเมืองหลวง แต่แนวคิดนี้ยังไม่ได้รับการตอบรับที่ดีนัก ในสมัย นายอภิรักษ์ โกษะโยธิน ดำรงตำแหน่งเป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ได้สานต่อ แนวคิดดังกล่าวอีกครั้ง เนื่องจากกรุงเทพมหานครได้เปิดการศึกษาหลายระดับแล้วในระดับอุดมศึกษา 2 แห่ง คือ วิทยาลัยแพทยศาสตร์กรุงเทพมหานครและวชิรพยาบาล และวิทยาลัยพยาบาลเกื้อการุณย์ โดยเน้นแผนการศึกษาวิชาการที่ไม่ซ้ำซ้อนกับมหาวิทยาลัยที่มีอยู่ในประเทศ และเน้นผลิตบุคลากรสาขาวิชาที่ขาดแคลน และเป็นที่ต้องการของกรุงเทพมหานคร โดยได้เสนอ ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยในกำกับของกรุงเทพมหานคร พ.ศ…. และคณะรัฐมนตรีได้รับร่างพระราชบัญญัติฯ ไว้ ในวันที่ 12 มิถุนายน 2550 แต่หลังจากมีการปรับเปลี่ยนผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เรื่องเกี่ยวกับพระราชบัญญัตินี้จึงหยุดนิ่งไป ในวันที่ 21กรกฎาคม พ.ศ. 2552 ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี เห็นชอบร่างพระราชบัญญัติฯ และได้แก้ไขชื่อพระราชบัญญัติจาก ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยในกำกับของกรุงเทพมหานคร พ.ศ…. เป็น ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ…. ต่อมาในวันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 สภาผ่านร่าง พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร และในวันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 ราชกิจจานุเบกษาเล่มที่ 127 ตอนที่ 63 ก ได้ประกาศพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2553 โดยมีผลใช้บังคับในวันที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2553 มีสาระสำคัญ คือ กำหนดให้จัดตั้งมหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร เป็นสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของกรุงเทพมหานคร มีฐานะเป็นนิติบุคคลที่ไม่เป็นส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน และกฎหมายว่าด้วยการ ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม และไม่เป็นรัฐวิสาหกิจตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณและกฎหมายอื่น โดยให้ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครมีอำนาจหน้าที่กำกับดูแลโดยทั่วไปซึ่งกิจการของมหาวิทยาลัย และให้โอนภารกิจและงบประมาณของวิทยาลัยแพทยศาสตร์กรุงเทพมหานครและวชิรพยาบาล และวิทยาลัยพยาบาลเกื้อการุณย์ ในสังกัดสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร ไปเป็นของมหาวิทยาลัยฯภายใน ๑๒๐ วัน นับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับการโอนบุคลากรซึ่งสังกัดวิทยาลัยแพทยศาสตร์กรุงเทพมหานครและวชิรพยาบาล ไปเป็นบุคลากรของมหาวิทยาลัย และกำหนดวิธีการบริหารกิจการของมหาวิทยาลัย หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครในสมัยต่อมา ได้ขอพระราชทานนามมหาวิทยาลัยว่า “มหาวิทยาลัยภูมิพล” เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2553 ต่อมาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามมหาวิทยาลัยว่า “มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช” เมื่อวันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2554 และมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2556 . 11. มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ : พ.ศ. 2535 “มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ” ก่อกำเนิดมากจาก “วิทยาลัยหัวเฉียว” ซึ่งมีรากฐานเติมโตมาจากโรงเรียนผดุงครรภ์อนามัยก่อตั้งโดยมูลนิธิป่อเต็มตึ๊ง ที่ก่อเกิดขึ้นจากพลังศรัทธาในคุณธรรมแห่ง “ไต้ฮงภิกขุ” ผู้ก่อตั้ง “คณะเก็บศพไต้ฮงกง” หรือ “มูลนิธิป่อเต็งตึ๊ง” ในปัจจุบัน โดยมีภารกิจในการบำเพ็ญทาน การสร้างสถานพยาบาลและบรรเทาสาธารณภัยเพื่อมวลชน รวมถึงการทำงานด้านการศึกษา โดยเปิดสอนหลักสูตรพยาบาล ในระดับปริญญาตรีเป็นหลักสูตรแรก ก่อนที่จะได้รับการยกสถานะเป็น “มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ” ในปัจจุบัน ต่อมาในปี พ.ศ. 2533 ในวาระที่มูลนิธิป่อเต็กตึ๊งมีวาระครบรอบ 80 ปี จึงได้ระดมทุนจากชาวไทยเชื่อสายจีนเพื่อใช้ในการก่อสร้าง เมื่อได้รับการอนุมัติจากทบวงมหาวิทยาลัยให้ยกสถานะเป็นมหาวิทยาลัย จึงเริ่มดำเนินการก่อสร้างแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2535 โดยได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามว่า ““มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ” ทั้งยังได้เสด็จพระราชดำเนินมาเป็นองค์ประธานในพิธีเปิดมหาวทิยาลัย เมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2537 โดยจัดว่า มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งเดียวในประเทศไทยที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ มาเป็นประธานเปิดมหาวิทยาลัยให้ เนื่องจากพระองค์ทรงเป็นประธานในพิธีเปิดมหาวิทยาลัยให้กับของรัฐบาลเท่านั้น ซึ่งไม่เคยเป็นประธานเปิดมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งใดเลย จึงเป็นผลนำมาซึ่งความปลาบปลื้มและนับเป็นสิริมงคลอันใหญ่หลวงแก่ชาวมหาวิทยาลัย และชาวจีนโพ้นทะเลในดินแดนสยาม ที่ได้ร่วมมือกันก่อตั้งสถาบันการศึกษาแห่งนี้ . 12. มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐลำดับที่ 77 ในประเทศไทย ตั้งอยู่ในจังหวัดนราธิวาส ก่อตั้งเมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 ภายหลังจากการหลอมรวมวิทยาลัยต่างๆ และยกฐานะขึ้นจากวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีนราธิวาส วิทยาลัยการอาชีพตากใบ วิทยาลัยเทคนิคนราธิวาส และวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี โดยชื่อ “มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์” นั้น ได้รับพระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เพื่อสดุดีและเฉลิมพระเกียรติแด่สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ สมเด็จพระโสทรเชษฐภคินีเพียงพระองค์เดียวในรัชกาลที่ 8 และ 9 เนื่องด้วยพระองค์ทรงบำเพ็ญพระกรณียกิจมากมายแก่ประเทศชาติ เพื่อแบ่งเบาพระราชภาระของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงลงพระปรมาภิไธยใน พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ พุทธศักราช 2548 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 122 ตอนที่ 14ก วันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 ดังนั้นทางมหาวิทยาลัยจึงกำหนดให้วันที่ 9 กุมภาพันธ์ ของทุกปีเป็นวันคล้ายวันสถาปนามหาวิทยาลัย . ขอขอบคุณแหล่งที่มา : คลิก EZ Webmaster Related Posts ปิดเทอมนี้ สสวท. กระตุ้นต่อมคิดพิชิตปัญหาฟิสิกส์หรรษา กับ “ไขปริศนาวิทยากล” มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน รวมเฉลยทุกวิชา A-Level 68 ฟินแลนด์ครองแชมป์ 8 ปีซ้อน ประเทศที่มีความสุขที่สุดในโลก 2025 ไทยขยับขึ้นอันดับ 49 Post navigation PREVIOUS Previous post: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ทำไมถึงย่อว่า ม.อ. ?NEXT Next post: แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน (พ.ศ. 2566 – 2570) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ธนาคารแห่งประเทศไทย เปิดรับสมัครทุนระดับปริญญาโทขึ้นไป เรียนต่อที่ประเทศอังกฤษ EZ WebmasterMarch 17, 2025 ประกาศเปิดรับสมัครทุนการศึกษา Dr. Puey Ungphakorn Centenary Scholarship ประจำปี 2568 ธนาคารแห่งประเทศไทย เปิดรับสมัครทุนการศึกษาระดับปริญญาโทขึ้นไป เพื่อศึกษาต่อที่ The London School of Economics and Political… กสศ. ร่วมกับคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ให้ทุนเรียนฟรี ผู้ช่วยพยาบาล EZ WebmasterMarch 17, 2025 กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา(กสศ.)ร่วมกับคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ——————————————————- “รับสมัครนักศึกษาเพื่อรับทุน” หลักสูตรประกาศนียบัตรผู้ช่วยพยาบาล (PN) (สำหรับนักศึกษา PN รุ่นที่ 3) *** เรียนฟรี!! รับค่าใช้จ่ายเดือนละ 7,500 บาท จบแล้วไม่ต้องใช้ทุน **** จำนวน…
กสศ. ร่วมกับคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ให้ทุนเรียนฟรี ผู้ช่วยพยาบาล EZ WebmasterMarch 17, 2025 กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา(กสศ.)ร่วมกับคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ——————————————————- “รับสมัครนักศึกษาเพื่อรับทุน” หลักสูตรประกาศนียบัตรผู้ช่วยพยาบาล (PN) (สำหรับนักศึกษา PN รุ่นที่ 3) *** เรียนฟรี!! รับค่าใช้จ่ายเดือนละ 7,500 บาท จบแล้วไม่ต้องใช้ทุน **** จำนวน…
มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค EZ WebmasterMarch 21, 2025 ศาสตราจารย์ นายแพทย์ปิยะมิตร ศรีธรา อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า ปัจจุบันโลกกำลังเผชิญกับกระแสความเปลี่ยนแปลงใหญ่ๆ ใน 6 มิติ 1. สังคมสูงวัย (Aging Society) ในอีก 8 ปีข้างหน้า ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุระดับสุดยอด (Super… รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน EZ WebmasterMarch 21, 2025 รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน พร้อมจ่ายเงินอุดหนุนการศึกษาและพัฒนาอาชีพ ผ่านกสศ. ขณะที่ Microsoft หนุน ศูนย์ดิจิทัลชุมชน ยกระดับทักษะAI เพิ่มโอกาสมีงานทำ พร้อมจับมือ UNICEF สร้าง 1… Kahoot! เปิดตัว Kahoot! Energize ปฏิวัติการประชุมให้มีพลังและสร้างผลกระทบที่เหนือกว่า EZ WebmasterMarch 21, 2025 เปลี่ยนทุกการนำเสนอในที่ทำงานให้กลายเป็นการสื่อสารสองทาง สร้างประสบการณ์ที่น่าสนใจ เต็มไปด้วยความมีชีวิตชีวาและการมีส่วนร่วมที่แท้จริง กระตุ้นการมีส่วนร่วมจากผู้ฟังและขับเคลื่อน ผลลัพธ์ทางธุรกิจไปอีกขั้นด้วย Kahoot! Energize Kahoot! (คาฮู้ด) ผู้นำด้านการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมระดับโลกได้เปิดตัวเครื่องมือใหม่ Kahoot! Energize ที่จะเปลี่ยนทุกการประชุม การฝึกอบรม หรือกิจกรรมต่างๆ ให้กลายเป็นช่วงเวลาที่เต็มไปด้วยพลังและความสนุก พร้อมกระตุ้นการมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ สร้างผลกระทบที่มีความหมาย และขับเคลื่อนธุรกิจไปข้างหน้า การพัฒนา Kahoot! Energize ต่อยอดจากรูปแบบการเรียนรู้และการมีส่วนร่วม อันเป็นเอกลักษณ์ที่ได้รับความนิยมของ Kahoot! แต่เพิ่มความสามารถในการใช้งานในสภาพแวดล้อมการทำงานที่หลากหลาย… สมศ. เน้นย้ำการประเมินคุณภาพภายนอก ปี 67-71 ลดวันประเมิน On site ขยายสู่รูปแบบออนไลน์ สร้างมาตรฐานในการแข่งขันระดับอาเซียน EZ WebmasterMarch 20, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยในการประชุมรับฟังความคิดเห็น (ร่าง) กรอบแนวทางการประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษาที่จัดการเรียนรู้ในสังกัดกรมส่งเสริมการเรียนรู้ (สกร.) โดยเน้นย้ำเรื่อง “แนวคิดและทิศทางการประกันคุณภาพภายนอก” ว่า การประกันคุณภาพภายนอกไม่ใช่เป็น “การตรวจสอบ” แต่เป็นเครื่องมือที่ช่วยส่งเสริมการพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษาอย่างแท้จริง… กิจกรรม รวมพลังสีชมพูจุฬาฯ กลับบ้านสู่ร่มจามจุรี ในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” EZ WebmasterMarch 14, 2025 สมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (สนจ.) เชิญชวนชาวจุฬาฯ ทั้งนิสิตเก่าและนิสิตปัจจุบัน เดินทางกลับบ้านในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” ร่วมฉลองวาระสำคัญ ครบรอบ 108 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในบรรยากาศแห่งความรักความสามัคคี และความผูกพันของเหล่าน้องพี่สีชมพู ภายใต้ร่มเงาของจามจุรี นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย… สจล. ผนึกกำลังตำรวจภูธรภาค 2 และบริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จำกัด (สำนักงานใหญ่) พัฒนาโครงการ “AI Robot รับแจ้งความ” ประมวลผลถูกต้องและมีประสิทธิภาพ EZ WebmasterMarch 13, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี ร่วมด้วยพลตำรวจโท ยิ่งยศ เทพจำนงค์ (คนที่ 3 จากซ้าย) ผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 2… สจล. ร่วมกับกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน มุ่งยกระดับฝีมือแรงงาน สอดคล้องความต้องการในอนาคต EZ WebmasterMarch 10, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี และนายเดชา พฤกษ์พัฒนรักษ์ (คนที่ 3 จากซ้าย) อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ได้ลงในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการร่วมกัน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่นักศึกษาของสถาบันก่อนเข้าสู่ตลาดแรงงานในสาขาอาชีพต่าง… ปิดฉาก “HigherEd for PWD” ระยะที่ 1 เสริมสมรรถนะคนพิการสู่ตลาดแรงงานจริง EZ WebmasterMarch 10, 2025 เมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2568 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) ร่วมกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) และมหาวิทยาลัยเครือข่าย 5 แห่ง จัดแถลงข่าวสรุปผลและปิดโครงการการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาศักยภาพคนพิการเพื่อการประกอบอาชีพ ผ่านโมเดลการฝึกอบรม-ฝึกงานคนพิการ มจธ. HigherEd for PWD ระยะที่ 1 ซึ่งเป็นโครงการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อพัฒนาศักยภาพคนพิการสู่การประกอบอาชีพในตลาดแรงงานจริง ที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ซึ่งจัดขึ้น ณ ห้อง Auditorium ชั้น 3 อาคารการเรียนรู้พหุวิทยาการ (LX) มจธ. บางมด กรุงเทพฯ โดยได้รับเกียรติจาก นายวราวุธ… Search for: Search EZ Webmaster December 4, 2022 EZ Webmaster December 4, 2022 รวมประวัติ 12 มหาวิทยาลัย ที่ได้ชื่อพระราชทาน จากในหลวง รัชกาลที่ 9 รวมประวัติ 12 มหาวิทยาลัย ที่ได้ชื่อพระราชทาน จากในหลวง รัชกาลที่ 9 เคยสงสัยที่มาของแต่ละชื่อมหาวิทยาลัยกันบ้างไหมคะ? วันนี้ทาง Eduzones จะมาเล่าที่มาของมหาวิทยาลัยที่มีที่มาชื่อในแบบเดียวกัน คือ ได้รับพระราชทานชื่อจาก “พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช” ไปดูกันเลย! 1. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ : พ.ศ. 2510 เมื่อปี พ.ศ. 2505 รัฐบาลมีนโยบายจัดตั้งมหาวิทยาลัยขึ้นที่ภาคใต้ จึงจัดตั้ง “วิทยาลัยศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์” ก่อนที่ในปี พ.ศ. 2508 คณะรัฐมนตรีจะอนุมัติให้จัดตั้งมหาวิทยาลัยในภาคใต้ขึ้นที่ ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี โดยจะใช้เป็นที่ตั้งของคณะวิศวกรรมศาสตร์ และใช้ชื่ออย่างไม่เป็นทางการว่า “มหาวิทยาลัยภาคใต้” ซึ่งมีสำนักงานชั่วคราวของมหาวิทยาลัยอยู่ที่อาคารคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ (อาคารคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ในปัจจุบัน) หลังจากนั้น คณะกรรมการพัฒนาภาคใต้ โดย พันเอก (พิเศษ) ดร.ถนัด คอมันตร์ นำความกราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ขอพระราชทานชื่อให้แก่มหาวิทยาลัย เจึงได้รับพระราชทานนามมหาวิทยาลัยว่า “มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์” เมื่อวันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2510 ตามพระนามฐานันดรศักดิ์ของสมเด็จพระบรมราชชนก กรมหลวงสงขลานครินทร์ ดังนั้น มหาวิทยาลัยจึงถือว่าวันที่ 22 กันยายน ของทุกปีเป็น “วันสงขลานครินทร์” . 2. มหาวิทยาลัยมหิดล : พ.ศ.2512 สมัยก่อน มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นโรงเรียนแพทย์ ณ โรงพยาบาลศิริราช ชื่อว่า “โรงเรียนแพทยากร” ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2432 ในสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว หลังจากนั้นในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2486 จึงได้รับการสถาปนาขึ้นเป็น มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ ก่อนที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2512 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนาม “มหิดล” อันเป็นพระนามของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ใช้แทนชื่อมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์เป็นมหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งประกาศในราชกิจานุเบกษา เมื่อวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2512 . 3. สถาบันพระจอมเกล้า / มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า : พ.ศ. 2514 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พ.ศ. 2514โดยให้รวมวิทยาลัยเทคนิคพระนครเหนือ วิทยาลัยโทรคมนาคมนนทบุรี และวิทยาลัยเทคนิคธนบุรี เข้าด้วยกัน มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตครูอาชีวศึกษา ให้การศึกษาทั้งระดับต่ำกว่าปริญญาและระดับปริญญา และทำวิจัยทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันได้รับโปรดเกล้าพระราชทานนามภาษาไทย “สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า” และภาษาอังกฤษ “King Mongkut’s Institute of Technology” เมื่อวันที่ 28พฤษภาคม พ.ศ. 2514 . 4. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : พ.ศ. 2517 ก่อนจะเกิดเหตุการณ์ 14 ตุลาคม ในปี พ.ศ. 2516 ศาสตราจารย์ ดร.สุดใจ เหล่าสุนทร ดำรงตำแหน่งอธิการวิทยาลัยวิชาการศึกษา คณาจารย์ นิสิต และข้าราชการ ได้ร่วมกันเรียกร้องต่อรัฐบาลให้ปรับฐานะวิทยาลัยวิชาการศึกษาเป็นมหาวิทยาลัย และย้ายสังกัดจากกระทรวงศึกษาธิการไปขึ้นกับมหาวิทยาลัย ท่ามกลางการปกครองที่เข้มงวดรุนแรงของรัฐบาลทหารในขณะนั้น เพื่อความคล่องตัวในการพัฒนาโครงสร้าง การบริหาร และการเรียนการสอนที่จำกัด ไปสู่การเป็นมหาวิทยาลัยและการขยายตัวที่มีความหลากหลายวิชาชีพ ท้ายที่สุดมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ “มหาวิทยาลัยที่เจริญเป็นศรีสง่าแก่มหานคร” ได้สถาปนาขึ้นเมื่อวันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2517 โดยมี ศาสตราจารย์ ดร.สุดใจ เหล่าสุนทร เป็นอธิการบดี โดยนามของมหาวิทยาลัย ได้รับพระราชทานนามจาก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ เมื่อ 6 มีนาคม พ.ศ. 2517 . 5. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช : พ.ศ. 2521 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช เป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐแบบไม่จำกัดรับจำนวน (มหาวิทยาลัยเปิด) แห่งเดียวของประเทศไทย และเป็นมหาวิทยาลัยเปิดโดยใช้ระบบการศึกษาทางไกลแห่งเดียวในประเทศไทย ซึ่งจัดตั้งขึ้นเพื่อขยายและกระจายโอกาสทางการศึกษาระดับอุดมศึกษาแก่ประชาชน มีลักษณะเป็นมหาวิทยาลัยในระบบเปิด ดำเนินการดำเนินการสอนโดยใช้ระบบการสอนทางไกลซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อ “มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช” ตามพระนามกรมของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นกรมหลวงสุโขทัยธรรมราชา และพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ใช้พระราชลัญจกรในรัชกาลที่ 7 ซึ่งเป็นรูปพระแสงศรสามองค์ นำมาประกอบกับเจดีย์ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของ กรุงสุโขทัย เป็นตราประจำมหาวิทยาลัย . 6. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล : พ.ศ. 2531 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐในประเทศไทย สังกัด สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ปัจจุบันมีอยู่ 9 แห่งทั่วประเทศ ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2518ซึ่งใช้ชื่อว่า วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา ต่อมาในปี พ.ศ. 2531 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อใหม่ว่า สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล และได้ยกสถานะเป็นมหาวิทยาลัยเมื่อวันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2548 ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ. 2548 . 7. มหาวิทยาลัยนเรศวร : พ.ศ. 2533 มหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐ ตั้งอยู่ในจังหวัดพิษณุโลก ก่อตั้งเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2533 ภายหลังจากการยกฐานะขึ้นจากวิทยาเขตของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยชื่อ “มหาวิทยาลัยนเรศวร” นั้น ได้รับพระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เพื่อสดุดีและเฉลิมพระเกียรติแด่สมเด็จพระนเรศวรมหาราช วีรกษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา เนื่องด้วยพระองค์ประสูติที่เมืองพิษณุโลก และทรงเคยดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระมหาอุปราชครองเมืองพิษณุโลกมาก่อน . 8. มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ : พ.ศ. 2535 ในปี พ.ศ. 2510 ชาวนครศรีธรรมราช เริ่มรณรงค์เรียกร้องให้มีการจัดตั้งมหาวิทยาลัยในจังหวัดนครศรีธรรมราช จนกระทั่งคณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2531ให้จัดตั้งวิทยาลัยนครศรีธรรมราช สังกัดมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เพื่อยกฐานะเป็นมหาวิทยาลัยเอกเทศในอนาคต แต่ก็ได้ยกเลิกมติดังกล่าวในเวลาต่อมา และอนุมัติให้จัดตั้งมหาวิทยาลัยที่จังหวัดนครศรีธรรมราช เมื่อวันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2534 จนเมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2535 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม พระราชทานนามว่า “มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์” อันเป็นสร้อยพระนามในสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี . 9. มหาวิทยาลัยราชภัฏ : พ.ศ. 2535 มหาวิทยาลัยราชภัฏ เป็นกลุ่มมหาวิทยาลัยที่พัฒนามาจากโรงเรียนฝึกหัดอาจารย์ที่ตั้งอยู่ในส่วนกลางและส่วนภูมิภาคของประเทศ ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น วิทยาลัยครู หลังจากนั้น ได้รับพระราชทานนาม “ราชภัฏ” จากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ให้เป็นชื่อประจำสถาบัน พร้อมทั้ง พระราชทาน พระราชลัญจกรเป็นตราประจำมหาวิทยาลัย โดยในปัจจุบัน มหาวิทยาลัยราชภัฏ มีอยู่ทั้งสิ้น 38 แห่ง ทั่วประเทศ . 10. มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช :พ.ศ. 2553 มหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร เป็นแนวคิดตั้งแต่สมัยนายสมัคร สุนทรเวช ดำรงตำแหน่งเป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เพื่อเป็นทางเลือกกับนักศึกษาสามารถศึกษาเกี่ยวกับการบริหารจัดการเมือง ชุมชนเมืองหลวง และเพื่อตอบสนองความต้องการของเมืองหลวง แต่แนวคิดนี้ยังไม่ได้รับการตอบรับที่ดีนัก ในสมัย นายอภิรักษ์ โกษะโยธิน ดำรงตำแหน่งเป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ได้สานต่อ แนวคิดดังกล่าวอีกครั้ง เนื่องจากกรุงเทพมหานครได้เปิดการศึกษาหลายระดับแล้วในระดับอุดมศึกษา 2 แห่ง คือ วิทยาลัยแพทยศาสตร์กรุงเทพมหานครและวชิรพยาบาล และวิทยาลัยพยาบาลเกื้อการุณย์ โดยเน้นแผนการศึกษาวิชาการที่ไม่ซ้ำซ้อนกับมหาวิทยาลัยที่มีอยู่ในประเทศ และเน้นผลิตบุคลากรสาขาวิชาที่ขาดแคลน และเป็นที่ต้องการของกรุงเทพมหานคร โดยได้เสนอ ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยในกำกับของกรุงเทพมหานคร พ.ศ…. และคณะรัฐมนตรีได้รับร่างพระราชบัญญัติฯ ไว้ ในวันที่ 12 มิถุนายน 2550 แต่หลังจากมีการปรับเปลี่ยนผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เรื่องเกี่ยวกับพระราชบัญญัตินี้จึงหยุดนิ่งไป ในวันที่ 21กรกฎาคม พ.ศ. 2552 ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี เห็นชอบร่างพระราชบัญญัติฯ และได้แก้ไขชื่อพระราชบัญญัติจาก ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยในกำกับของกรุงเทพมหานคร พ.ศ…. เป็น ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ…. ต่อมาในวันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 สภาผ่านร่าง พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร และในวันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 ราชกิจจานุเบกษาเล่มที่ 127 ตอนที่ 63 ก ได้ประกาศพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2553 โดยมีผลใช้บังคับในวันที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2553 มีสาระสำคัญ คือ กำหนดให้จัดตั้งมหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร เป็นสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของกรุงเทพมหานคร มีฐานะเป็นนิติบุคคลที่ไม่เป็นส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน และกฎหมายว่าด้วยการ ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม และไม่เป็นรัฐวิสาหกิจตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณและกฎหมายอื่น โดยให้ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครมีอำนาจหน้าที่กำกับดูแลโดยทั่วไปซึ่งกิจการของมหาวิทยาลัย และให้โอนภารกิจและงบประมาณของวิทยาลัยแพทยศาสตร์กรุงเทพมหานครและวชิรพยาบาล และวิทยาลัยพยาบาลเกื้อการุณย์ ในสังกัดสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร ไปเป็นของมหาวิทยาลัยฯภายใน ๑๒๐ วัน นับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับการโอนบุคลากรซึ่งสังกัดวิทยาลัยแพทยศาสตร์กรุงเทพมหานครและวชิรพยาบาล ไปเป็นบุคลากรของมหาวิทยาลัย และกำหนดวิธีการบริหารกิจการของมหาวิทยาลัย หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครในสมัยต่อมา ได้ขอพระราชทานนามมหาวิทยาลัยว่า “มหาวิทยาลัยภูมิพล” เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2553 ต่อมาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามมหาวิทยาลัยว่า “มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช” เมื่อวันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2554 และมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2556 . 11. มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ : พ.ศ. 2535 “มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ” ก่อกำเนิดมากจาก “วิทยาลัยหัวเฉียว” ซึ่งมีรากฐานเติมโตมาจากโรงเรียนผดุงครรภ์อนามัยก่อตั้งโดยมูลนิธิป่อเต็มตึ๊ง ที่ก่อเกิดขึ้นจากพลังศรัทธาในคุณธรรมแห่ง “ไต้ฮงภิกขุ” ผู้ก่อตั้ง “คณะเก็บศพไต้ฮงกง” หรือ “มูลนิธิป่อเต็งตึ๊ง” ในปัจจุบัน โดยมีภารกิจในการบำเพ็ญทาน การสร้างสถานพยาบาลและบรรเทาสาธารณภัยเพื่อมวลชน รวมถึงการทำงานด้านการศึกษา โดยเปิดสอนหลักสูตรพยาบาล ในระดับปริญญาตรีเป็นหลักสูตรแรก ก่อนที่จะได้รับการยกสถานะเป็น “มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ” ในปัจจุบัน ต่อมาในปี พ.ศ. 2533 ในวาระที่มูลนิธิป่อเต็กตึ๊งมีวาระครบรอบ 80 ปี จึงได้ระดมทุนจากชาวไทยเชื่อสายจีนเพื่อใช้ในการก่อสร้าง เมื่อได้รับการอนุมัติจากทบวงมหาวิทยาลัยให้ยกสถานะเป็นมหาวิทยาลัย จึงเริ่มดำเนินการก่อสร้างแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2535 โดยได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามว่า ““มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ” ทั้งยังได้เสด็จพระราชดำเนินมาเป็นองค์ประธานในพิธีเปิดมหาวทิยาลัย เมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2537 โดยจัดว่า มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งเดียวในประเทศไทยที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ มาเป็นประธานเปิดมหาวิทยาลัยให้ เนื่องจากพระองค์ทรงเป็นประธานในพิธีเปิดมหาวิทยาลัยให้กับของรัฐบาลเท่านั้น ซึ่งไม่เคยเป็นประธานเปิดมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งใดเลย จึงเป็นผลนำมาซึ่งความปลาบปลื้มและนับเป็นสิริมงคลอันใหญ่หลวงแก่ชาวมหาวิทยาลัย และชาวจีนโพ้นทะเลในดินแดนสยาม ที่ได้ร่วมมือกันก่อตั้งสถาบันการศึกษาแห่งนี้ . 12. มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐลำดับที่ 77 ในประเทศไทย ตั้งอยู่ในจังหวัดนราธิวาส ก่อตั้งเมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 ภายหลังจากการหลอมรวมวิทยาลัยต่างๆ และยกฐานะขึ้นจากวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีนราธิวาส วิทยาลัยการอาชีพตากใบ วิทยาลัยเทคนิคนราธิวาส และวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี โดยชื่อ “มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์” นั้น ได้รับพระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เพื่อสดุดีและเฉลิมพระเกียรติแด่สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ สมเด็จพระโสทรเชษฐภคินีเพียงพระองค์เดียวในรัชกาลที่ 8 และ 9 เนื่องด้วยพระองค์ทรงบำเพ็ญพระกรณียกิจมากมายแก่ประเทศชาติ เพื่อแบ่งเบาพระราชภาระของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงลงพระปรมาภิไธยใน พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ พุทธศักราช 2548 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 122 ตอนที่ 14ก วันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 ดังนั้นทางมหาวิทยาลัยจึงกำหนดให้วันที่ 9 กุมภาพันธ์ ของทุกปีเป็นวันคล้ายวันสถาปนามหาวิทยาลัย . ขอขอบคุณแหล่งที่มา : คลิก EZ Webmaster Related Posts ปิดเทอมนี้ สสวท. กระตุ้นต่อมคิดพิชิตปัญหาฟิสิกส์หรรษา กับ “ไขปริศนาวิทยากล” มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน รวมเฉลยทุกวิชา A-Level 68 ฟินแลนด์ครองแชมป์ 8 ปีซ้อน ประเทศที่มีความสุขที่สุดในโลก 2025 ไทยขยับขึ้นอันดับ 49 Post navigation PREVIOUS Previous post: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ทำไมถึงย่อว่า ม.อ. ?NEXT Next post: แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน (พ.ศ. 2566 – 2570) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน EZ WebmasterMarch 21, 2025 รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน พร้อมจ่ายเงินอุดหนุนการศึกษาและพัฒนาอาชีพ ผ่านกสศ. ขณะที่ Microsoft หนุน ศูนย์ดิจิทัลชุมชน ยกระดับทักษะAI เพิ่มโอกาสมีงานทำ พร้อมจับมือ UNICEF สร้าง 1… Kahoot! เปิดตัว Kahoot! Energize ปฏิวัติการประชุมให้มีพลังและสร้างผลกระทบที่เหนือกว่า EZ WebmasterMarch 21, 2025 เปลี่ยนทุกการนำเสนอในที่ทำงานให้กลายเป็นการสื่อสารสองทาง สร้างประสบการณ์ที่น่าสนใจ เต็มไปด้วยความมีชีวิตชีวาและการมีส่วนร่วมที่แท้จริง กระตุ้นการมีส่วนร่วมจากผู้ฟังและขับเคลื่อน ผลลัพธ์ทางธุรกิจไปอีกขั้นด้วย Kahoot! Energize Kahoot! (คาฮู้ด) ผู้นำด้านการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมระดับโลกได้เปิดตัวเครื่องมือใหม่ Kahoot! Energize ที่จะเปลี่ยนทุกการประชุม การฝึกอบรม หรือกิจกรรมต่างๆ ให้กลายเป็นช่วงเวลาที่เต็มไปด้วยพลังและความสนุก พร้อมกระตุ้นการมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ สร้างผลกระทบที่มีความหมาย และขับเคลื่อนธุรกิจไปข้างหน้า การพัฒนา Kahoot! Energize ต่อยอดจากรูปแบบการเรียนรู้และการมีส่วนร่วม อันเป็นเอกลักษณ์ที่ได้รับความนิยมของ Kahoot! แต่เพิ่มความสามารถในการใช้งานในสภาพแวดล้อมการทำงานที่หลากหลาย… สมศ. เน้นย้ำการประเมินคุณภาพภายนอก ปี 67-71 ลดวันประเมิน On site ขยายสู่รูปแบบออนไลน์ สร้างมาตรฐานในการแข่งขันระดับอาเซียน EZ WebmasterMarch 20, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยในการประชุมรับฟังความคิดเห็น (ร่าง) กรอบแนวทางการประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษาที่จัดการเรียนรู้ในสังกัดกรมส่งเสริมการเรียนรู้ (สกร.) โดยเน้นย้ำเรื่อง “แนวคิดและทิศทางการประกันคุณภาพภายนอก” ว่า การประกันคุณภาพภายนอกไม่ใช่เป็น “การตรวจสอบ” แต่เป็นเครื่องมือที่ช่วยส่งเสริมการพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษาอย่างแท้จริง… กิจกรรม รวมพลังสีชมพูจุฬาฯ กลับบ้านสู่ร่มจามจุรี ในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” EZ WebmasterMarch 14, 2025 สมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (สนจ.) เชิญชวนชาวจุฬาฯ ทั้งนิสิตเก่าและนิสิตปัจจุบัน เดินทางกลับบ้านในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” ร่วมฉลองวาระสำคัญ ครบรอบ 108 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในบรรยากาศแห่งความรักความสามัคคี และความผูกพันของเหล่าน้องพี่สีชมพู ภายใต้ร่มเงาของจามจุรี นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย… สจล. ผนึกกำลังตำรวจภูธรภาค 2 และบริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จำกัด (สำนักงานใหญ่) พัฒนาโครงการ “AI Robot รับแจ้งความ” ประมวลผลถูกต้องและมีประสิทธิภาพ EZ WebmasterMarch 13, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี ร่วมด้วยพลตำรวจโท ยิ่งยศ เทพจำนงค์ (คนที่ 3 จากซ้าย) ผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 2… สจล. ร่วมกับกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน มุ่งยกระดับฝีมือแรงงาน สอดคล้องความต้องการในอนาคต EZ WebmasterMarch 10, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี และนายเดชา พฤกษ์พัฒนรักษ์ (คนที่ 3 จากซ้าย) อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ได้ลงในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการร่วมกัน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่นักศึกษาของสถาบันก่อนเข้าสู่ตลาดแรงงานในสาขาอาชีพต่าง… ปิดฉาก “HigherEd for PWD” ระยะที่ 1 เสริมสมรรถนะคนพิการสู่ตลาดแรงงานจริง EZ WebmasterMarch 10, 2025 เมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2568 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) ร่วมกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) และมหาวิทยาลัยเครือข่าย 5 แห่ง จัดแถลงข่าวสรุปผลและปิดโครงการการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาศักยภาพคนพิการเพื่อการประกอบอาชีพ ผ่านโมเดลการฝึกอบรม-ฝึกงานคนพิการ มจธ. HigherEd for PWD ระยะที่ 1 ซึ่งเป็นโครงการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อพัฒนาศักยภาพคนพิการสู่การประกอบอาชีพในตลาดแรงงานจริง ที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ซึ่งจัดขึ้น ณ ห้อง Auditorium ชั้น 3 อาคารการเรียนรู้พหุวิทยาการ (LX) มจธ. บางมด กรุงเทพฯ โดยได้รับเกียรติจาก นายวราวุธ… Search for: Search EZ Webmaster December 4, 2022 EZ Webmaster December 4, 2022 รวมประวัติ 12 มหาวิทยาลัย ที่ได้ชื่อพระราชทาน จากในหลวง รัชกาลที่ 9 รวมประวัติ 12 มหาวิทยาลัย ที่ได้ชื่อพระราชทาน จากในหลวง รัชกาลที่ 9 เคยสงสัยที่มาของแต่ละชื่อมหาวิทยาลัยกันบ้างไหมคะ? วันนี้ทาง Eduzones จะมาเล่าที่มาของมหาวิทยาลัยที่มีที่มาชื่อในแบบเดียวกัน คือ ได้รับพระราชทานชื่อจาก “พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช” ไปดูกันเลย! 1. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ : พ.ศ. 2510 เมื่อปี พ.ศ. 2505 รัฐบาลมีนโยบายจัดตั้งมหาวิทยาลัยขึ้นที่ภาคใต้ จึงจัดตั้ง “วิทยาลัยศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์” ก่อนที่ในปี พ.ศ. 2508 คณะรัฐมนตรีจะอนุมัติให้จัดตั้งมหาวิทยาลัยในภาคใต้ขึ้นที่ ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี โดยจะใช้เป็นที่ตั้งของคณะวิศวกรรมศาสตร์ และใช้ชื่ออย่างไม่เป็นทางการว่า “มหาวิทยาลัยภาคใต้” ซึ่งมีสำนักงานชั่วคราวของมหาวิทยาลัยอยู่ที่อาคารคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ (อาคารคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ในปัจจุบัน) หลังจากนั้น คณะกรรมการพัฒนาภาคใต้ โดย พันเอก (พิเศษ) ดร.ถนัด คอมันตร์ นำความกราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ขอพระราชทานชื่อให้แก่มหาวิทยาลัย เจึงได้รับพระราชทานนามมหาวิทยาลัยว่า “มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์” เมื่อวันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2510 ตามพระนามฐานันดรศักดิ์ของสมเด็จพระบรมราชชนก กรมหลวงสงขลานครินทร์ ดังนั้น มหาวิทยาลัยจึงถือว่าวันที่ 22 กันยายน ของทุกปีเป็น “วันสงขลานครินทร์” . 2. มหาวิทยาลัยมหิดล : พ.ศ.2512 สมัยก่อน มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นโรงเรียนแพทย์ ณ โรงพยาบาลศิริราช ชื่อว่า “โรงเรียนแพทยากร” ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2432 ในสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว หลังจากนั้นในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2486 จึงได้รับการสถาปนาขึ้นเป็น มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ ก่อนที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2512 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนาม “มหิดล” อันเป็นพระนามของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ใช้แทนชื่อมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์เป็นมหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งประกาศในราชกิจานุเบกษา เมื่อวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2512 . 3. สถาบันพระจอมเกล้า / มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า : พ.ศ. 2514 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พ.ศ. 2514โดยให้รวมวิทยาลัยเทคนิคพระนครเหนือ วิทยาลัยโทรคมนาคมนนทบุรี และวิทยาลัยเทคนิคธนบุรี เข้าด้วยกัน มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตครูอาชีวศึกษา ให้การศึกษาทั้งระดับต่ำกว่าปริญญาและระดับปริญญา และทำวิจัยทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันได้รับโปรดเกล้าพระราชทานนามภาษาไทย “สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า” และภาษาอังกฤษ “King Mongkut’s Institute of Technology” เมื่อวันที่ 28พฤษภาคม พ.ศ. 2514 . 4. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : พ.ศ. 2517 ก่อนจะเกิดเหตุการณ์ 14 ตุลาคม ในปี พ.ศ. 2516 ศาสตราจารย์ ดร.สุดใจ เหล่าสุนทร ดำรงตำแหน่งอธิการวิทยาลัยวิชาการศึกษา คณาจารย์ นิสิต และข้าราชการ ได้ร่วมกันเรียกร้องต่อรัฐบาลให้ปรับฐานะวิทยาลัยวิชาการศึกษาเป็นมหาวิทยาลัย และย้ายสังกัดจากกระทรวงศึกษาธิการไปขึ้นกับมหาวิทยาลัย ท่ามกลางการปกครองที่เข้มงวดรุนแรงของรัฐบาลทหารในขณะนั้น เพื่อความคล่องตัวในการพัฒนาโครงสร้าง การบริหาร และการเรียนการสอนที่จำกัด ไปสู่การเป็นมหาวิทยาลัยและการขยายตัวที่มีความหลากหลายวิชาชีพ ท้ายที่สุดมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ “มหาวิทยาลัยที่เจริญเป็นศรีสง่าแก่มหานคร” ได้สถาปนาขึ้นเมื่อวันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2517 โดยมี ศาสตราจารย์ ดร.สุดใจ เหล่าสุนทร เป็นอธิการบดี โดยนามของมหาวิทยาลัย ได้รับพระราชทานนามจาก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ เมื่อ 6 มีนาคม พ.ศ. 2517 . 5. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช : พ.ศ. 2521 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช เป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐแบบไม่จำกัดรับจำนวน (มหาวิทยาลัยเปิด) แห่งเดียวของประเทศไทย และเป็นมหาวิทยาลัยเปิดโดยใช้ระบบการศึกษาทางไกลแห่งเดียวในประเทศไทย ซึ่งจัดตั้งขึ้นเพื่อขยายและกระจายโอกาสทางการศึกษาระดับอุดมศึกษาแก่ประชาชน มีลักษณะเป็นมหาวิทยาลัยในระบบเปิด ดำเนินการดำเนินการสอนโดยใช้ระบบการสอนทางไกลซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อ “มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช” ตามพระนามกรมของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นกรมหลวงสุโขทัยธรรมราชา และพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ใช้พระราชลัญจกรในรัชกาลที่ 7 ซึ่งเป็นรูปพระแสงศรสามองค์ นำมาประกอบกับเจดีย์ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของ กรุงสุโขทัย เป็นตราประจำมหาวิทยาลัย . 6. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล : พ.ศ. 2531 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐในประเทศไทย สังกัด สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ปัจจุบันมีอยู่ 9 แห่งทั่วประเทศ ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2518ซึ่งใช้ชื่อว่า วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา ต่อมาในปี พ.ศ. 2531 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อใหม่ว่า สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล และได้ยกสถานะเป็นมหาวิทยาลัยเมื่อวันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2548 ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ. 2548 . 7. มหาวิทยาลัยนเรศวร : พ.ศ. 2533 มหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐ ตั้งอยู่ในจังหวัดพิษณุโลก ก่อตั้งเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2533 ภายหลังจากการยกฐานะขึ้นจากวิทยาเขตของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยชื่อ “มหาวิทยาลัยนเรศวร” นั้น ได้รับพระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เพื่อสดุดีและเฉลิมพระเกียรติแด่สมเด็จพระนเรศวรมหาราช วีรกษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา เนื่องด้วยพระองค์ประสูติที่เมืองพิษณุโลก และทรงเคยดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระมหาอุปราชครองเมืองพิษณุโลกมาก่อน . 8. มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ : พ.ศ. 2535 ในปี พ.ศ. 2510 ชาวนครศรีธรรมราช เริ่มรณรงค์เรียกร้องให้มีการจัดตั้งมหาวิทยาลัยในจังหวัดนครศรีธรรมราช จนกระทั่งคณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2531ให้จัดตั้งวิทยาลัยนครศรีธรรมราช สังกัดมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เพื่อยกฐานะเป็นมหาวิทยาลัยเอกเทศในอนาคต แต่ก็ได้ยกเลิกมติดังกล่าวในเวลาต่อมา และอนุมัติให้จัดตั้งมหาวิทยาลัยที่จังหวัดนครศรีธรรมราช เมื่อวันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2534 จนเมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2535 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม พระราชทานนามว่า “มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์” อันเป็นสร้อยพระนามในสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี . 9. มหาวิทยาลัยราชภัฏ : พ.ศ. 2535 มหาวิทยาลัยราชภัฏ เป็นกลุ่มมหาวิทยาลัยที่พัฒนามาจากโรงเรียนฝึกหัดอาจารย์ที่ตั้งอยู่ในส่วนกลางและส่วนภูมิภาคของประเทศ ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น วิทยาลัยครู หลังจากนั้น ได้รับพระราชทานนาม “ราชภัฏ” จากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ให้เป็นชื่อประจำสถาบัน พร้อมทั้ง พระราชทาน พระราชลัญจกรเป็นตราประจำมหาวิทยาลัย โดยในปัจจุบัน มหาวิทยาลัยราชภัฏ มีอยู่ทั้งสิ้น 38 แห่ง ทั่วประเทศ . 10. มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช :พ.ศ. 2553 มหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร เป็นแนวคิดตั้งแต่สมัยนายสมัคร สุนทรเวช ดำรงตำแหน่งเป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เพื่อเป็นทางเลือกกับนักศึกษาสามารถศึกษาเกี่ยวกับการบริหารจัดการเมือง ชุมชนเมืองหลวง และเพื่อตอบสนองความต้องการของเมืองหลวง แต่แนวคิดนี้ยังไม่ได้รับการตอบรับที่ดีนัก ในสมัย นายอภิรักษ์ โกษะโยธิน ดำรงตำแหน่งเป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ได้สานต่อ แนวคิดดังกล่าวอีกครั้ง เนื่องจากกรุงเทพมหานครได้เปิดการศึกษาหลายระดับแล้วในระดับอุดมศึกษา 2 แห่ง คือ วิทยาลัยแพทยศาสตร์กรุงเทพมหานครและวชิรพยาบาล และวิทยาลัยพยาบาลเกื้อการุณย์ โดยเน้นแผนการศึกษาวิชาการที่ไม่ซ้ำซ้อนกับมหาวิทยาลัยที่มีอยู่ในประเทศ และเน้นผลิตบุคลากรสาขาวิชาที่ขาดแคลน และเป็นที่ต้องการของกรุงเทพมหานคร โดยได้เสนอ ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยในกำกับของกรุงเทพมหานคร พ.ศ…. และคณะรัฐมนตรีได้รับร่างพระราชบัญญัติฯ ไว้ ในวันที่ 12 มิถุนายน 2550 แต่หลังจากมีการปรับเปลี่ยนผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เรื่องเกี่ยวกับพระราชบัญญัตินี้จึงหยุดนิ่งไป ในวันที่ 21กรกฎาคม พ.ศ. 2552 ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี เห็นชอบร่างพระราชบัญญัติฯ และได้แก้ไขชื่อพระราชบัญญัติจาก ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยในกำกับของกรุงเทพมหานคร พ.ศ…. เป็น ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ…. ต่อมาในวันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 สภาผ่านร่าง พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร และในวันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 ราชกิจจานุเบกษาเล่มที่ 127 ตอนที่ 63 ก ได้ประกาศพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2553 โดยมีผลใช้บังคับในวันที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2553 มีสาระสำคัญ คือ กำหนดให้จัดตั้งมหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร เป็นสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของกรุงเทพมหานคร มีฐานะเป็นนิติบุคคลที่ไม่เป็นส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน และกฎหมายว่าด้วยการ ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม และไม่เป็นรัฐวิสาหกิจตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณและกฎหมายอื่น โดยให้ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครมีอำนาจหน้าที่กำกับดูแลโดยทั่วไปซึ่งกิจการของมหาวิทยาลัย และให้โอนภารกิจและงบประมาณของวิทยาลัยแพทยศาสตร์กรุงเทพมหานครและวชิรพยาบาล และวิทยาลัยพยาบาลเกื้อการุณย์ ในสังกัดสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร ไปเป็นของมหาวิทยาลัยฯภายใน ๑๒๐ วัน นับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับการโอนบุคลากรซึ่งสังกัดวิทยาลัยแพทยศาสตร์กรุงเทพมหานครและวชิรพยาบาล ไปเป็นบุคลากรของมหาวิทยาลัย และกำหนดวิธีการบริหารกิจการของมหาวิทยาลัย หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครในสมัยต่อมา ได้ขอพระราชทานนามมหาวิทยาลัยว่า “มหาวิทยาลัยภูมิพล” เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2553 ต่อมาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามมหาวิทยาลัยว่า “มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช” เมื่อวันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2554 และมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2556 . 11. มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ : พ.ศ. 2535 “มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ” ก่อกำเนิดมากจาก “วิทยาลัยหัวเฉียว” ซึ่งมีรากฐานเติมโตมาจากโรงเรียนผดุงครรภ์อนามัยก่อตั้งโดยมูลนิธิป่อเต็มตึ๊ง ที่ก่อเกิดขึ้นจากพลังศรัทธาในคุณธรรมแห่ง “ไต้ฮงภิกขุ” ผู้ก่อตั้ง “คณะเก็บศพไต้ฮงกง” หรือ “มูลนิธิป่อเต็งตึ๊ง” ในปัจจุบัน โดยมีภารกิจในการบำเพ็ญทาน การสร้างสถานพยาบาลและบรรเทาสาธารณภัยเพื่อมวลชน รวมถึงการทำงานด้านการศึกษา โดยเปิดสอนหลักสูตรพยาบาล ในระดับปริญญาตรีเป็นหลักสูตรแรก ก่อนที่จะได้รับการยกสถานะเป็น “มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ” ในปัจจุบัน ต่อมาในปี พ.ศ. 2533 ในวาระที่มูลนิธิป่อเต็กตึ๊งมีวาระครบรอบ 80 ปี จึงได้ระดมทุนจากชาวไทยเชื่อสายจีนเพื่อใช้ในการก่อสร้าง เมื่อได้รับการอนุมัติจากทบวงมหาวิทยาลัยให้ยกสถานะเป็นมหาวิทยาลัย จึงเริ่มดำเนินการก่อสร้างแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2535 โดยได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามว่า ““มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ” ทั้งยังได้เสด็จพระราชดำเนินมาเป็นองค์ประธานในพิธีเปิดมหาวทิยาลัย เมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2537 โดยจัดว่า มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งเดียวในประเทศไทยที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ มาเป็นประธานเปิดมหาวิทยาลัยให้ เนื่องจากพระองค์ทรงเป็นประธานในพิธีเปิดมหาวิทยาลัยให้กับของรัฐบาลเท่านั้น ซึ่งไม่เคยเป็นประธานเปิดมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งใดเลย จึงเป็นผลนำมาซึ่งความปลาบปลื้มและนับเป็นสิริมงคลอันใหญ่หลวงแก่ชาวมหาวิทยาลัย และชาวจีนโพ้นทะเลในดินแดนสยาม ที่ได้ร่วมมือกันก่อตั้งสถาบันการศึกษาแห่งนี้ . 12. มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐลำดับที่ 77 ในประเทศไทย ตั้งอยู่ในจังหวัดนราธิวาส ก่อตั้งเมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 ภายหลังจากการหลอมรวมวิทยาลัยต่างๆ และยกฐานะขึ้นจากวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีนราธิวาส วิทยาลัยการอาชีพตากใบ วิทยาลัยเทคนิคนราธิวาส และวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี โดยชื่อ “มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์” นั้น ได้รับพระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เพื่อสดุดีและเฉลิมพระเกียรติแด่สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ สมเด็จพระโสทรเชษฐภคินีเพียงพระองค์เดียวในรัชกาลที่ 8 และ 9 เนื่องด้วยพระองค์ทรงบำเพ็ญพระกรณียกิจมากมายแก่ประเทศชาติ เพื่อแบ่งเบาพระราชภาระของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงลงพระปรมาภิไธยใน พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ พุทธศักราช 2548 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 122 ตอนที่ 14ก วันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 ดังนั้นทางมหาวิทยาลัยจึงกำหนดให้วันที่ 9 กุมภาพันธ์ ของทุกปีเป็นวันคล้ายวันสถาปนามหาวิทยาลัย . ขอขอบคุณแหล่งที่มา : คลิก EZ Webmaster Related Posts ปิดเทอมนี้ สสวท. กระตุ้นต่อมคิดพิชิตปัญหาฟิสิกส์หรรษา กับ “ไขปริศนาวิทยากล” มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน รวมเฉลยทุกวิชา A-Level 68 ฟินแลนด์ครองแชมป์ 8 ปีซ้อน ประเทศที่มีความสุขที่สุดในโลก 2025 ไทยขยับขึ้นอันดับ 49 Post navigation PREVIOUS Previous post: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ทำไมถึงย่อว่า ม.อ. ?NEXT Next post: แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน (พ.ศ. 2566 – 2570) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
Kahoot! เปิดตัว Kahoot! Energize ปฏิวัติการประชุมให้มีพลังและสร้างผลกระทบที่เหนือกว่า EZ WebmasterMarch 21, 2025 เปลี่ยนทุกการนำเสนอในที่ทำงานให้กลายเป็นการสื่อสารสองทาง สร้างประสบการณ์ที่น่าสนใจ เต็มไปด้วยความมีชีวิตชีวาและการมีส่วนร่วมที่แท้จริง กระตุ้นการมีส่วนร่วมจากผู้ฟังและขับเคลื่อน ผลลัพธ์ทางธุรกิจไปอีกขั้นด้วย Kahoot! Energize Kahoot! (คาฮู้ด) ผู้นำด้านการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมระดับโลกได้เปิดตัวเครื่องมือใหม่ Kahoot! Energize ที่จะเปลี่ยนทุกการประชุม การฝึกอบรม หรือกิจกรรมต่างๆ ให้กลายเป็นช่วงเวลาที่เต็มไปด้วยพลังและความสนุก พร้อมกระตุ้นการมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ สร้างผลกระทบที่มีความหมาย และขับเคลื่อนธุรกิจไปข้างหน้า การพัฒนา Kahoot! Energize ต่อยอดจากรูปแบบการเรียนรู้และการมีส่วนร่วม อันเป็นเอกลักษณ์ที่ได้รับความนิยมของ Kahoot! แต่เพิ่มความสามารถในการใช้งานในสภาพแวดล้อมการทำงานที่หลากหลาย… สมศ. เน้นย้ำการประเมินคุณภาพภายนอก ปี 67-71 ลดวันประเมิน On site ขยายสู่รูปแบบออนไลน์ สร้างมาตรฐานในการแข่งขันระดับอาเซียน EZ WebmasterMarch 20, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยในการประชุมรับฟังความคิดเห็น (ร่าง) กรอบแนวทางการประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษาที่จัดการเรียนรู้ในสังกัดกรมส่งเสริมการเรียนรู้ (สกร.) โดยเน้นย้ำเรื่อง “แนวคิดและทิศทางการประกันคุณภาพภายนอก” ว่า การประกันคุณภาพภายนอกไม่ใช่เป็น “การตรวจสอบ” แต่เป็นเครื่องมือที่ช่วยส่งเสริมการพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษาอย่างแท้จริง…
สมศ. เน้นย้ำการประเมินคุณภาพภายนอก ปี 67-71 ลดวันประเมิน On site ขยายสู่รูปแบบออนไลน์ สร้างมาตรฐานในการแข่งขันระดับอาเซียน EZ WebmasterMarch 20, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยในการประชุมรับฟังความคิดเห็น (ร่าง) กรอบแนวทางการประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษาที่จัดการเรียนรู้ในสังกัดกรมส่งเสริมการเรียนรู้ (สกร.) โดยเน้นย้ำเรื่อง “แนวคิดและทิศทางการประกันคุณภาพภายนอก” ว่า การประกันคุณภาพภายนอกไม่ใช่เป็น “การตรวจสอบ” แต่เป็นเครื่องมือที่ช่วยส่งเสริมการพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษาอย่างแท้จริง…
รวมพลังสีชมพูจุฬาฯ กลับบ้านสู่ร่มจามจุรี ในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” EZ WebmasterMarch 14, 2025 สมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (สนจ.) เชิญชวนชาวจุฬาฯ ทั้งนิสิตเก่าและนิสิตปัจจุบัน เดินทางกลับบ้านในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” ร่วมฉลองวาระสำคัญ ครบรอบ 108 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในบรรยากาศแห่งความรักความสามัคคี และความผูกพันของเหล่าน้องพี่สีชมพู ภายใต้ร่มเงาของจามจุรี นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย… สจล. ผนึกกำลังตำรวจภูธรภาค 2 และบริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จำกัด (สำนักงานใหญ่) พัฒนาโครงการ “AI Robot รับแจ้งความ” ประมวลผลถูกต้องและมีประสิทธิภาพ EZ WebmasterMarch 13, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี ร่วมด้วยพลตำรวจโท ยิ่งยศ เทพจำนงค์ (คนที่ 3 จากซ้าย) ผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 2… สจล. ร่วมกับกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน มุ่งยกระดับฝีมือแรงงาน สอดคล้องความต้องการในอนาคต EZ WebmasterMarch 10, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี และนายเดชา พฤกษ์พัฒนรักษ์ (คนที่ 3 จากซ้าย) อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ได้ลงในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการร่วมกัน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่นักศึกษาของสถาบันก่อนเข้าสู่ตลาดแรงงานในสาขาอาชีพต่าง… ปิดฉาก “HigherEd for PWD” ระยะที่ 1 เสริมสมรรถนะคนพิการสู่ตลาดแรงงานจริง EZ WebmasterMarch 10, 2025 เมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2568 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) ร่วมกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) และมหาวิทยาลัยเครือข่าย 5 แห่ง จัดแถลงข่าวสรุปผลและปิดโครงการการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาศักยภาพคนพิการเพื่อการประกอบอาชีพ ผ่านโมเดลการฝึกอบรม-ฝึกงานคนพิการ มจธ. HigherEd for PWD ระยะที่ 1 ซึ่งเป็นโครงการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อพัฒนาศักยภาพคนพิการสู่การประกอบอาชีพในตลาดแรงงานจริง ที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ซึ่งจัดขึ้น ณ ห้อง Auditorium ชั้น 3 อาคารการเรียนรู้พหุวิทยาการ (LX) มจธ. บางมด กรุงเทพฯ โดยได้รับเกียรติจาก นายวราวุธ… Search for: Search EZ Webmaster December 4, 2022 EZ Webmaster December 4, 2022 รวมประวัติ 12 มหาวิทยาลัย ที่ได้ชื่อพระราชทาน จากในหลวง รัชกาลที่ 9 รวมประวัติ 12 มหาวิทยาลัย ที่ได้ชื่อพระราชทาน จากในหลวง รัชกาลที่ 9 เคยสงสัยที่มาของแต่ละชื่อมหาวิทยาลัยกันบ้างไหมคะ? วันนี้ทาง Eduzones จะมาเล่าที่มาของมหาวิทยาลัยที่มีที่มาชื่อในแบบเดียวกัน คือ ได้รับพระราชทานชื่อจาก “พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช” ไปดูกันเลย! 1. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ : พ.ศ. 2510 เมื่อปี พ.ศ. 2505 รัฐบาลมีนโยบายจัดตั้งมหาวิทยาลัยขึ้นที่ภาคใต้ จึงจัดตั้ง “วิทยาลัยศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์” ก่อนที่ในปี พ.ศ. 2508 คณะรัฐมนตรีจะอนุมัติให้จัดตั้งมหาวิทยาลัยในภาคใต้ขึ้นที่ ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี โดยจะใช้เป็นที่ตั้งของคณะวิศวกรรมศาสตร์ และใช้ชื่ออย่างไม่เป็นทางการว่า “มหาวิทยาลัยภาคใต้” ซึ่งมีสำนักงานชั่วคราวของมหาวิทยาลัยอยู่ที่อาคารคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ (อาคารคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ในปัจจุบัน) หลังจากนั้น คณะกรรมการพัฒนาภาคใต้ โดย พันเอก (พิเศษ) ดร.ถนัด คอมันตร์ นำความกราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ขอพระราชทานชื่อให้แก่มหาวิทยาลัย เจึงได้รับพระราชทานนามมหาวิทยาลัยว่า “มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์” เมื่อวันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2510 ตามพระนามฐานันดรศักดิ์ของสมเด็จพระบรมราชชนก กรมหลวงสงขลานครินทร์ ดังนั้น มหาวิทยาลัยจึงถือว่าวันที่ 22 กันยายน ของทุกปีเป็น “วันสงขลานครินทร์” . 2. มหาวิทยาลัยมหิดล : พ.ศ.2512 สมัยก่อน มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นโรงเรียนแพทย์ ณ โรงพยาบาลศิริราช ชื่อว่า “โรงเรียนแพทยากร” ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2432 ในสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว หลังจากนั้นในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2486 จึงได้รับการสถาปนาขึ้นเป็น มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ ก่อนที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2512 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนาม “มหิดล” อันเป็นพระนามของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ใช้แทนชื่อมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์เป็นมหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งประกาศในราชกิจานุเบกษา เมื่อวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2512 . 3. สถาบันพระจอมเกล้า / มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า : พ.ศ. 2514 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พ.ศ. 2514โดยให้รวมวิทยาลัยเทคนิคพระนครเหนือ วิทยาลัยโทรคมนาคมนนทบุรี และวิทยาลัยเทคนิคธนบุรี เข้าด้วยกัน มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตครูอาชีวศึกษา ให้การศึกษาทั้งระดับต่ำกว่าปริญญาและระดับปริญญา และทำวิจัยทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันได้รับโปรดเกล้าพระราชทานนามภาษาไทย “สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า” และภาษาอังกฤษ “King Mongkut’s Institute of Technology” เมื่อวันที่ 28พฤษภาคม พ.ศ. 2514 . 4. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : พ.ศ. 2517 ก่อนจะเกิดเหตุการณ์ 14 ตุลาคม ในปี พ.ศ. 2516 ศาสตราจารย์ ดร.สุดใจ เหล่าสุนทร ดำรงตำแหน่งอธิการวิทยาลัยวิชาการศึกษา คณาจารย์ นิสิต และข้าราชการ ได้ร่วมกันเรียกร้องต่อรัฐบาลให้ปรับฐานะวิทยาลัยวิชาการศึกษาเป็นมหาวิทยาลัย และย้ายสังกัดจากกระทรวงศึกษาธิการไปขึ้นกับมหาวิทยาลัย ท่ามกลางการปกครองที่เข้มงวดรุนแรงของรัฐบาลทหารในขณะนั้น เพื่อความคล่องตัวในการพัฒนาโครงสร้าง การบริหาร และการเรียนการสอนที่จำกัด ไปสู่การเป็นมหาวิทยาลัยและการขยายตัวที่มีความหลากหลายวิชาชีพ ท้ายที่สุดมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ “มหาวิทยาลัยที่เจริญเป็นศรีสง่าแก่มหานคร” ได้สถาปนาขึ้นเมื่อวันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2517 โดยมี ศาสตราจารย์ ดร.สุดใจ เหล่าสุนทร เป็นอธิการบดี โดยนามของมหาวิทยาลัย ได้รับพระราชทานนามจาก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ เมื่อ 6 มีนาคม พ.ศ. 2517 . 5. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช : พ.ศ. 2521 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช เป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐแบบไม่จำกัดรับจำนวน (มหาวิทยาลัยเปิด) แห่งเดียวของประเทศไทย และเป็นมหาวิทยาลัยเปิดโดยใช้ระบบการศึกษาทางไกลแห่งเดียวในประเทศไทย ซึ่งจัดตั้งขึ้นเพื่อขยายและกระจายโอกาสทางการศึกษาระดับอุดมศึกษาแก่ประชาชน มีลักษณะเป็นมหาวิทยาลัยในระบบเปิด ดำเนินการดำเนินการสอนโดยใช้ระบบการสอนทางไกลซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อ “มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช” ตามพระนามกรมของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นกรมหลวงสุโขทัยธรรมราชา และพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ใช้พระราชลัญจกรในรัชกาลที่ 7 ซึ่งเป็นรูปพระแสงศรสามองค์ นำมาประกอบกับเจดีย์ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของ กรุงสุโขทัย เป็นตราประจำมหาวิทยาลัย . 6. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล : พ.ศ. 2531 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐในประเทศไทย สังกัด สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ปัจจุบันมีอยู่ 9 แห่งทั่วประเทศ ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2518ซึ่งใช้ชื่อว่า วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา ต่อมาในปี พ.ศ. 2531 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อใหม่ว่า สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล และได้ยกสถานะเป็นมหาวิทยาลัยเมื่อวันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2548 ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ. 2548 . 7. มหาวิทยาลัยนเรศวร : พ.ศ. 2533 มหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐ ตั้งอยู่ในจังหวัดพิษณุโลก ก่อตั้งเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2533 ภายหลังจากการยกฐานะขึ้นจากวิทยาเขตของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยชื่อ “มหาวิทยาลัยนเรศวร” นั้น ได้รับพระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เพื่อสดุดีและเฉลิมพระเกียรติแด่สมเด็จพระนเรศวรมหาราช วีรกษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา เนื่องด้วยพระองค์ประสูติที่เมืองพิษณุโลก และทรงเคยดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระมหาอุปราชครองเมืองพิษณุโลกมาก่อน . 8. มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ : พ.ศ. 2535 ในปี พ.ศ. 2510 ชาวนครศรีธรรมราช เริ่มรณรงค์เรียกร้องให้มีการจัดตั้งมหาวิทยาลัยในจังหวัดนครศรีธรรมราช จนกระทั่งคณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2531ให้จัดตั้งวิทยาลัยนครศรีธรรมราช สังกัดมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เพื่อยกฐานะเป็นมหาวิทยาลัยเอกเทศในอนาคต แต่ก็ได้ยกเลิกมติดังกล่าวในเวลาต่อมา และอนุมัติให้จัดตั้งมหาวิทยาลัยที่จังหวัดนครศรีธรรมราช เมื่อวันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2534 จนเมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2535 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม พระราชทานนามว่า “มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์” อันเป็นสร้อยพระนามในสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี . 9. มหาวิทยาลัยราชภัฏ : พ.ศ. 2535 มหาวิทยาลัยราชภัฏ เป็นกลุ่มมหาวิทยาลัยที่พัฒนามาจากโรงเรียนฝึกหัดอาจารย์ที่ตั้งอยู่ในส่วนกลางและส่วนภูมิภาคของประเทศ ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น วิทยาลัยครู หลังจากนั้น ได้รับพระราชทานนาม “ราชภัฏ” จากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ให้เป็นชื่อประจำสถาบัน พร้อมทั้ง พระราชทาน พระราชลัญจกรเป็นตราประจำมหาวิทยาลัย โดยในปัจจุบัน มหาวิทยาลัยราชภัฏ มีอยู่ทั้งสิ้น 38 แห่ง ทั่วประเทศ . 10. มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช :พ.ศ. 2553 มหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร เป็นแนวคิดตั้งแต่สมัยนายสมัคร สุนทรเวช ดำรงตำแหน่งเป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เพื่อเป็นทางเลือกกับนักศึกษาสามารถศึกษาเกี่ยวกับการบริหารจัดการเมือง ชุมชนเมืองหลวง และเพื่อตอบสนองความต้องการของเมืองหลวง แต่แนวคิดนี้ยังไม่ได้รับการตอบรับที่ดีนัก ในสมัย นายอภิรักษ์ โกษะโยธิน ดำรงตำแหน่งเป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ได้สานต่อ แนวคิดดังกล่าวอีกครั้ง เนื่องจากกรุงเทพมหานครได้เปิดการศึกษาหลายระดับแล้วในระดับอุดมศึกษา 2 แห่ง คือ วิทยาลัยแพทยศาสตร์กรุงเทพมหานครและวชิรพยาบาล และวิทยาลัยพยาบาลเกื้อการุณย์ โดยเน้นแผนการศึกษาวิชาการที่ไม่ซ้ำซ้อนกับมหาวิทยาลัยที่มีอยู่ในประเทศ และเน้นผลิตบุคลากรสาขาวิชาที่ขาดแคลน และเป็นที่ต้องการของกรุงเทพมหานคร โดยได้เสนอ ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยในกำกับของกรุงเทพมหานคร พ.ศ…. และคณะรัฐมนตรีได้รับร่างพระราชบัญญัติฯ ไว้ ในวันที่ 12 มิถุนายน 2550 แต่หลังจากมีการปรับเปลี่ยนผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เรื่องเกี่ยวกับพระราชบัญญัตินี้จึงหยุดนิ่งไป ในวันที่ 21กรกฎาคม พ.ศ. 2552 ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี เห็นชอบร่างพระราชบัญญัติฯ และได้แก้ไขชื่อพระราชบัญญัติจาก ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยในกำกับของกรุงเทพมหานคร พ.ศ…. เป็น ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ…. ต่อมาในวันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 สภาผ่านร่าง พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร และในวันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 ราชกิจจานุเบกษาเล่มที่ 127 ตอนที่ 63 ก ได้ประกาศพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2553 โดยมีผลใช้บังคับในวันที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2553 มีสาระสำคัญ คือ กำหนดให้จัดตั้งมหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร เป็นสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของกรุงเทพมหานคร มีฐานะเป็นนิติบุคคลที่ไม่เป็นส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน และกฎหมายว่าด้วยการ ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม และไม่เป็นรัฐวิสาหกิจตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณและกฎหมายอื่น โดยให้ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครมีอำนาจหน้าที่กำกับดูแลโดยทั่วไปซึ่งกิจการของมหาวิทยาลัย และให้โอนภารกิจและงบประมาณของวิทยาลัยแพทยศาสตร์กรุงเทพมหานครและวชิรพยาบาล และวิทยาลัยพยาบาลเกื้อการุณย์ ในสังกัดสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร ไปเป็นของมหาวิทยาลัยฯภายใน ๑๒๐ วัน นับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับการโอนบุคลากรซึ่งสังกัดวิทยาลัยแพทยศาสตร์กรุงเทพมหานครและวชิรพยาบาล ไปเป็นบุคลากรของมหาวิทยาลัย และกำหนดวิธีการบริหารกิจการของมหาวิทยาลัย หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครในสมัยต่อมา ได้ขอพระราชทานนามมหาวิทยาลัยว่า “มหาวิทยาลัยภูมิพล” เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2553 ต่อมาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามมหาวิทยาลัยว่า “มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช” เมื่อวันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2554 และมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2556 . 11. มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ : พ.ศ. 2535 “มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ” ก่อกำเนิดมากจาก “วิทยาลัยหัวเฉียว” ซึ่งมีรากฐานเติมโตมาจากโรงเรียนผดุงครรภ์อนามัยก่อตั้งโดยมูลนิธิป่อเต็มตึ๊ง ที่ก่อเกิดขึ้นจากพลังศรัทธาในคุณธรรมแห่ง “ไต้ฮงภิกขุ” ผู้ก่อตั้ง “คณะเก็บศพไต้ฮงกง” หรือ “มูลนิธิป่อเต็งตึ๊ง” ในปัจจุบัน โดยมีภารกิจในการบำเพ็ญทาน การสร้างสถานพยาบาลและบรรเทาสาธารณภัยเพื่อมวลชน รวมถึงการทำงานด้านการศึกษา โดยเปิดสอนหลักสูตรพยาบาล ในระดับปริญญาตรีเป็นหลักสูตรแรก ก่อนที่จะได้รับการยกสถานะเป็น “มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ” ในปัจจุบัน ต่อมาในปี พ.ศ. 2533 ในวาระที่มูลนิธิป่อเต็กตึ๊งมีวาระครบรอบ 80 ปี จึงได้ระดมทุนจากชาวไทยเชื่อสายจีนเพื่อใช้ในการก่อสร้าง เมื่อได้รับการอนุมัติจากทบวงมหาวิทยาลัยให้ยกสถานะเป็นมหาวิทยาลัย จึงเริ่มดำเนินการก่อสร้างแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2535 โดยได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามว่า ““มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ” ทั้งยังได้เสด็จพระราชดำเนินมาเป็นองค์ประธานในพิธีเปิดมหาวทิยาลัย เมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2537 โดยจัดว่า มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งเดียวในประเทศไทยที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ มาเป็นประธานเปิดมหาวิทยาลัยให้ เนื่องจากพระองค์ทรงเป็นประธานในพิธีเปิดมหาวิทยาลัยให้กับของรัฐบาลเท่านั้น ซึ่งไม่เคยเป็นประธานเปิดมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งใดเลย จึงเป็นผลนำมาซึ่งความปลาบปลื้มและนับเป็นสิริมงคลอันใหญ่หลวงแก่ชาวมหาวิทยาลัย และชาวจีนโพ้นทะเลในดินแดนสยาม ที่ได้ร่วมมือกันก่อตั้งสถาบันการศึกษาแห่งนี้ . 12. มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐลำดับที่ 77 ในประเทศไทย ตั้งอยู่ในจังหวัดนราธิวาส ก่อตั้งเมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 ภายหลังจากการหลอมรวมวิทยาลัยต่างๆ และยกฐานะขึ้นจากวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีนราธิวาส วิทยาลัยการอาชีพตากใบ วิทยาลัยเทคนิคนราธิวาส และวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี โดยชื่อ “มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์” นั้น ได้รับพระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เพื่อสดุดีและเฉลิมพระเกียรติแด่สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ สมเด็จพระโสทรเชษฐภคินีเพียงพระองค์เดียวในรัชกาลที่ 8 และ 9 เนื่องด้วยพระองค์ทรงบำเพ็ญพระกรณียกิจมากมายแก่ประเทศชาติ เพื่อแบ่งเบาพระราชภาระของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงลงพระปรมาภิไธยใน พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ พุทธศักราช 2548 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 122 ตอนที่ 14ก วันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 ดังนั้นทางมหาวิทยาลัยจึงกำหนดให้วันที่ 9 กุมภาพันธ์ ของทุกปีเป็นวันคล้ายวันสถาปนามหาวิทยาลัย . ขอขอบคุณแหล่งที่มา : คลิก EZ Webmaster Related Posts ปิดเทอมนี้ สสวท. กระตุ้นต่อมคิดพิชิตปัญหาฟิสิกส์หรรษา กับ “ไขปริศนาวิทยากล” มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน รวมเฉลยทุกวิชา A-Level 68 ฟินแลนด์ครองแชมป์ 8 ปีซ้อน ประเทศที่มีความสุขที่สุดในโลก 2025 ไทยขยับขึ้นอันดับ 49 Post navigation PREVIOUS Previous post: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ทำไมถึงย่อว่า ม.อ. ?NEXT Next post: แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน (พ.ศ. 2566 – 2570) สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
สจล. ผนึกกำลังตำรวจภูธรภาค 2 และบริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จำกัด (สำนักงานใหญ่) พัฒนาโครงการ “AI Robot รับแจ้งความ” ประมวลผลถูกต้องและมีประสิทธิภาพ EZ WebmasterMarch 13, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี ร่วมด้วยพลตำรวจโท ยิ่งยศ เทพจำนงค์ (คนที่ 3 จากซ้าย) ผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 2… สจล. ร่วมกับกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน มุ่งยกระดับฝีมือแรงงาน สอดคล้องความต้องการในอนาคต EZ WebmasterMarch 10, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี และนายเดชา พฤกษ์พัฒนรักษ์ (คนที่ 3 จากซ้าย) อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ได้ลงในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการร่วมกัน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่นักศึกษาของสถาบันก่อนเข้าสู่ตลาดแรงงานในสาขาอาชีพต่าง… ปิดฉาก “HigherEd for PWD” ระยะที่ 1 เสริมสมรรถนะคนพิการสู่ตลาดแรงงานจริง EZ WebmasterMarch 10, 2025 เมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2568 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) ร่วมกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) และมหาวิทยาลัยเครือข่าย 5 แห่ง จัดแถลงข่าวสรุปผลและปิดโครงการการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาศักยภาพคนพิการเพื่อการประกอบอาชีพ ผ่านโมเดลการฝึกอบรม-ฝึกงานคนพิการ มจธ. HigherEd for PWD ระยะที่ 1 ซึ่งเป็นโครงการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อพัฒนาศักยภาพคนพิการสู่การประกอบอาชีพในตลาดแรงงานจริง ที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ซึ่งจัดขึ้น ณ ห้อง Auditorium ชั้น 3 อาคารการเรียนรู้พหุวิทยาการ (LX) มจธ. บางมด กรุงเทพฯ โดยได้รับเกียรติจาก นายวราวุธ… Search for: Search
สจล. ร่วมกับกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน มุ่งยกระดับฝีมือแรงงาน สอดคล้องความต้องการในอนาคต EZ WebmasterMarch 10, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี และนายเดชา พฤกษ์พัฒนรักษ์ (คนที่ 3 จากซ้าย) อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ได้ลงในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการร่วมกัน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่นักศึกษาของสถาบันก่อนเข้าสู่ตลาดแรงงานในสาขาอาชีพต่าง… ปิดฉาก “HigherEd for PWD” ระยะที่ 1 เสริมสมรรถนะคนพิการสู่ตลาดแรงงานจริง EZ WebmasterMarch 10, 2025 เมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2568 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) ร่วมกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) และมหาวิทยาลัยเครือข่าย 5 แห่ง จัดแถลงข่าวสรุปผลและปิดโครงการการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาศักยภาพคนพิการเพื่อการประกอบอาชีพ ผ่านโมเดลการฝึกอบรม-ฝึกงานคนพิการ มจธ. HigherEd for PWD ระยะที่ 1 ซึ่งเป็นโครงการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อพัฒนาศักยภาพคนพิการสู่การประกอบอาชีพในตลาดแรงงานจริง ที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ซึ่งจัดขึ้น ณ ห้อง Auditorium ชั้น 3 อาคารการเรียนรู้พหุวิทยาการ (LX) มจธ. บางมด กรุงเทพฯ โดยได้รับเกียรติจาก นายวราวุธ…
ปิดฉาก “HigherEd for PWD” ระยะที่ 1 เสริมสมรรถนะคนพิการสู่ตลาดแรงงานจริง EZ WebmasterMarch 10, 2025 เมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2568 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) ร่วมกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) และมหาวิทยาลัยเครือข่าย 5 แห่ง จัดแถลงข่าวสรุปผลและปิดโครงการการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาศักยภาพคนพิการเพื่อการประกอบอาชีพ ผ่านโมเดลการฝึกอบรม-ฝึกงานคนพิการ มจธ. HigherEd for PWD ระยะที่ 1 ซึ่งเป็นโครงการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อพัฒนาศักยภาพคนพิการสู่การประกอบอาชีพในตลาดแรงงานจริง ที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ซึ่งจัดขึ้น ณ ห้อง Auditorium ชั้น 3 อาคารการเรียนรู้พหุวิทยาการ (LX) มจธ. บางมด กรุงเทพฯ โดยได้รับเกียรติจาก นายวราวุธ…
EZ Webmaster December 4, 2022 EZ Webmaster December 4, 2022 รวมประวัติ 12 มหาวิทยาลัย ที่ได้ชื่อพระราชทาน จากในหลวง รัชกาลที่ 9 รวมประวัติ 12 มหาวิทยาลัย ที่ได้ชื่อพระราชทาน จากในหลวง รัชกาลที่ 9 เคยสงสัยที่มาของแต่ละชื่อมหาวิทยาลัยกันบ้างไหมคะ? วันนี้ทาง Eduzones จะมาเล่าที่มาของมหาวิทยาลัยที่มีที่มาชื่อในแบบเดียวกัน คือ ได้รับพระราชทานชื่อจาก “พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช” ไปดูกันเลย! 1. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ : พ.ศ. 2510 เมื่อปี พ.ศ. 2505 รัฐบาลมีนโยบายจัดตั้งมหาวิทยาลัยขึ้นที่ภาคใต้ จึงจัดตั้ง “วิทยาลัยศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์” ก่อนที่ในปี พ.ศ. 2508 คณะรัฐมนตรีจะอนุมัติให้จัดตั้งมหาวิทยาลัยในภาคใต้ขึ้นที่ ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี โดยจะใช้เป็นที่ตั้งของคณะวิศวกรรมศาสตร์ และใช้ชื่ออย่างไม่เป็นทางการว่า “มหาวิทยาลัยภาคใต้” ซึ่งมีสำนักงานชั่วคราวของมหาวิทยาลัยอยู่ที่อาคารคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ (อาคารคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ในปัจจุบัน) หลังจากนั้น คณะกรรมการพัฒนาภาคใต้ โดย พันเอก (พิเศษ) ดร.ถนัด คอมันตร์ นำความกราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ขอพระราชทานชื่อให้แก่มหาวิทยาลัย เจึงได้รับพระราชทานนามมหาวิทยาลัยว่า “มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์” เมื่อวันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2510 ตามพระนามฐานันดรศักดิ์ของสมเด็จพระบรมราชชนก กรมหลวงสงขลานครินทร์ ดังนั้น มหาวิทยาลัยจึงถือว่าวันที่ 22 กันยายน ของทุกปีเป็น “วันสงขลานครินทร์” . 2. มหาวิทยาลัยมหิดล : พ.ศ.2512 สมัยก่อน มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นโรงเรียนแพทย์ ณ โรงพยาบาลศิริราช ชื่อว่า “โรงเรียนแพทยากร” ก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2432 ในสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว หลังจากนั้นในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2486 จึงได้รับการสถาปนาขึ้นเป็น มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ ก่อนที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2512 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนาม “มหิดล” อันเป็นพระนามของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ใช้แทนชื่อมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์เป็นมหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งประกาศในราชกิจานุเบกษา เมื่อวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2512 . 3. สถาบันพระจอมเกล้า / มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า : พ.ศ. 2514 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พ.ศ. 2514โดยให้รวมวิทยาลัยเทคนิคพระนครเหนือ วิทยาลัยโทรคมนาคมนนทบุรี และวิทยาลัยเทคนิคธนบุรี เข้าด้วยกัน มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตครูอาชีวศึกษา ให้การศึกษาทั้งระดับต่ำกว่าปริญญาและระดับปริญญา และทำวิจัยทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันได้รับโปรดเกล้าพระราชทานนามภาษาไทย “สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า” และภาษาอังกฤษ “King Mongkut’s Institute of Technology” เมื่อวันที่ 28พฤษภาคม พ.ศ. 2514 . 4. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ : พ.ศ. 2517 ก่อนจะเกิดเหตุการณ์ 14 ตุลาคม ในปี พ.ศ. 2516 ศาสตราจารย์ ดร.สุดใจ เหล่าสุนทร ดำรงตำแหน่งอธิการวิทยาลัยวิชาการศึกษา คณาจารย์ นิสิต และข้าราชการ ได้ร่วมกันเรียกร้องต่อรัฐบาลให้ปรับฐานะวิทยาลัยวิชาการศึกษาเป็นมหาวิทยาลัย และย้ายสังกัดจากกระทรวงศึกษาธิการไปขึ้นกับมหาวิทยาลัย ท่ามกลางการปกครองที่เข้มงวดรุนแรงของรัฐบาลทหารในขณะนั้น เพื่อความคล่องตัวในการพัฒนาโครงสร้าง การบริหาร และการเรียนการสอนที่จำกัด ไปสู่การเป็นมหาวิทยาลัยและการขยายตัวที่มีความหลากหลายวิชาชีพ ท้ายที่สุดมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ “มหาวิทยาลัยที่เจริญเป็นศรีสง่าแก่มหานคร” ได้สถาปนาขึ้นเมื่อวันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2517 โดยมี ศาสตราจารย์ ดร.สุดใจ เหล่าสุนทร เป็นอธิการบดี โดยนามของมหาวิทยาลัย ได้รับพระราชทานนามจาก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ เมื่อ 6 มีนาคม พ.ศ. 2517 . 5. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช : พ.ศ. 2521 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช เป็นสถาบันอุดมศึกษาของรัฐแบบไม่จำกัดรับจำนวน (มหาวิทยาลัยเปิด) แห่งเดียวของประเทศไทย และเป็นมหาวิทยาลัยเปิดโดยใช้ระบบการศึกษาทางไกลแห่งเดียวในประเทศไทย ซึ่งจัดตั้งขึ้นเพื่อขยายและกระจายโอกาสทางการศึกษาระดับอุดมศึกษาแก่ประชาชน มีลักษณะเป็นมหาวิทยาลัยในระบบเปิด ดำเนินการดำเนินการสอนโดยใช้ระบบการสอนทางไกลซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อ “มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช” ตามพระนามกรมของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นกรมหลวงสุโขทัยธรรมราชา และพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ใช้พระราชลัญจกรในรัชกาลที่ 7 ซึ่งเป็นรูปพระแสงศรสามองค์ นำมาประกอบกับเจดีย์ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของ กรุงสุโขทัย เป็นตราประจำมหาวิทยาลัย . 6. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล : พ.ศ. 2531 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐในประเทศไทย สังกัด สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ปัจจุบันมีอยู่ 9 แห่งทั่วประเทศ ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2518ซึ่งใช้ชื่อว่า วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา ต่อมาในปี พ.ศ. 2531 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อใหม่ว่า สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล และได้ยกสถานะเป็นมหาวิทยาลัยเมื่อวันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2548 ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล พ.ศ. 2548 . 7. มหาวิทยาลัยนเรศวร : พ.ศ. 2533 มหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐ ตั้งอยู่ในจังหวัดพิษณุโลก ก่อตั้งเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2533 ภายหลังจากการยกฐานะขึ้นจากวิทยาเขตของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยชื่อ “มหาวิทยาลัยนเรศวร” นั้น ได้รับพระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เพื่อสดุดีและเฉลิมพระเกียรติแด่สมเด็จพระนเรศวรมหาราช วีรกษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา เนื่องด้วยพระองค์ประสูติที่เมืองพิษณุโลก และทรงเคยดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระมหาอุปราชครองเมืองพิษณุโลกมาก่อน . 8. มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ : พ.ศ. 2535 ในปี พ.ศ. 2510 ชาวนครศรีธรรมราช เริ่มรณรงค์เรียกร้องให้มีการจัดตั้งมหาวิทยาลัยในจังหวัดนครศรีธรรมราช จนกระทั่งคณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2531ให้จัดตั้งวิทยาลัยนครศรีธรรมราช สังกัดมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เพื่อยกฐานะเป็นมหาวิทยาลัยเอกเทศในอนาคต แต่ก็ได้ยกเลิกมติดังกล่าวในเวลาต่อมา และอนุมัติให้จัดตั้งมหาวิทยาลัยที่จังหวัดนครศรีธรรมราช เมื่อวันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2534 จนเมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2535 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม พระราชทานนามว่า “มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์” อันเป็นสร้อยพระนามในสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี . 9. มหาวิทยาลัยราชภัฏ : พ.ศ. 2535 มหาวิทยาลัยราชภัฏ เป็นกลุ่มมหาวิทยาลัยที่พัฒนามาจากโรงเรียนฝึกหัดอาจารย์ที่ตั้งอยู่ในส่วนกลางและส่วนภูมิภาคของประเทศ ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น วิทยาลัยครู หลังจากนั้น ได้รับพระราชทานนาม “ราชภัฏ” จากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ให้เป็นชื่อประจำสถาบัน พร้อมทั้ง พระราชทาน พระราชลัญจกรเป็นตราประจำมหาวิทยาลัย โดยในปัจจุบัน มหาวิทยาลัยราชภัฏ มีอยู่ทั้งสิ้น 38 แห่ง ทั่วประเทศ . 10. มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช :พ.ศ. 2553 มหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร เป็นแนวคิดตั้งแต่สมัยนายสมัคร สุนทรเวช ดำรงตำแหน่งเป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เพื่อเป็นทางเลือกกับนักศึกษาสามารถศึกษาเกี่ยวกับการบริหารจัดการเมือง ชุมชนเมืองหลวง และเพื่อตอบสนองความต้องการของเมืองหลวง แต่แนวคิดนี้ยังไม่ได้รับการตอบรับที่ดีนัก ในสมัย นายอภิรักษ์ โกษะโยธิน ดำรงตำแหน่งเป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ได้สานต่อ แนวคิดดังกล่าวอีกครั้ง เนื่องจากกรุงเทพมหานครได้เปิดการศึกษาหลายระดับแล้วในระดับอุดมศึกษา 2 แห่ง คือ วิทยาลัยแพทยศาสตร์กรุงเทพมหานครและวชิรพยาบาล และวิทยาลัยพยาบาลเกื้อการุณย์ โดยเน้นแผนการศึกษาวิชาการที่ไม่ซ้ำซ้อนกับมหาวิทยาลัยที่มีอยู่ในประเทศ และเน้นผลิตบุคลากรสาขาวิชาที่ขาดแคลน และเป็นที่ต้องการของกรุงเทพมหานคร โดยได้เสนอ ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยในกำกับของกรุงเทพมหานคร พ.ศ…. และคณะรัฐมนตรีได้รับร่างพระราชบัญญัติฯ ไว้ ในวันที่ 12 มิถุนายน 2550 แต่หลังจากมีการปรับเปลี่ยนผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เรื่องเกี่ยวกับพระราชบัญญัตินี้จึงหยุดนิ่งไป ในวันที่ 21กรกฎาคม พ.ศ. 2552 ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี เห็นชอบร่างพระราชบัญญัติฯ และได้แก้ไขชื่อพระราชบัญญัติจาก ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยในกำกับของกรุงเทพมหานคร พ.ศ…. เป็น ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ…. ต่อมาในวันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553 สภาผ่านร่าง พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร และในวันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 ราชกิจจานุเบกษาเล่มที่ 127 ตอนที่ 63 ก ได้ประกาศพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2553 โดยมีผลใช้บังคับในวันที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2553 มีสาระสำคัญ คือ กำหนดให้จัดตั้งมหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร เป็นสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของกรุงเทพมหานคร มีฐานะเป็นนิติบุคคลที่ไม่เป็นส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน และกฎหมายว่าด้วยการ ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม และไม่เป็นรัฐวิสาหกิจตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณและกฎหมายอื่น โดยให้ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครมีอำนาจหน้าที่กำกับดูแลโดยทั่วไปซึ่งกิจการของมหาวิทยาลัย และให้โอนภารกิจและงบประมาณของวิทยาลัยแพทยศาสตร์กรุงเทพมหานครและวชิรพยาบาล และวิทยาลัยพยาบาลเกื้อการุณย์ ในสังกัดสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร ไปเป็นของมหาวิทยาลัยฯภายใน ๑๒๐ วัน นับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับการโอนบุคลากรซึ่งสังกัดวิทยาลัยแพทยศาสตร์กรุงเทพมหานครและวชิรพยาบาล ไปเป็นบุคลากรของมหาวิทยาลัย และกำหนดวิธีการบริหารกิจการของมหาวิทยาลัย หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครในสมัยต่อมา ได้ขอพระราชทานนามมหาวิทยาลัยว่า “มหาวิทยาลัยภูมิพล” เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2553 ต่อมาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามมหาวิทยาลัยว่า “มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช” เมื่อวันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2554 และมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2556 . 11. มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ : พ.ศ. 2535 “มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ” ก่อกำเนิดมากจาก “วิทยาลัยหัวเฉียว” ซึ่งมีรากฐานเติมโตมาจากโรงเรียนผดุงครรภ์อนามัยก่อตั้งโดยมูลนิธิป่อเต็มตึ๊ง ที่ก่อเกิดขึ้นจากพลังศรัทธาในคุณธรรมแห่ง “ไต้ฮงภิกขุ” ผู้ก่อตั้ง “คณะเก็บศพไต้ฮงกง” หรือ “มูลนิธิป่อเต็งตึ๊ง” ในปัจจุบัน โดยมีภารกิจในการบำเพ็ญทาน การสร้างสถานพยาบาลและบรรเทาสาธารณภัยเพื่อมวลชน รวมถึงการทำงานด้านการศึกษา โดยเปิดสอนหลักสูตรพยาบาล ในระดับปริญญาตรีเป็นหลักสูตรแรก ก่อนที่จะได้รับการยกสถานะเป็น “มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ” ในปัจจุบัน ต่อมาในปี พ.ศ. 2533 ในวาระที่มูลนิธิป่อเต็กตึ๊งมีวาระครบรอบ 80 ปี จึงได้ระดมทุนจากชาวไทยเชื่อสายจีนเพื่อใช้ในการก่อสร้าง เมื่อได้รับการอนุมัติจากทบวงมหาวิทยาลัยให้ยกสถานะเป็นมหาวิทยาลัย จึงเริ่มดำเนินการก่อสร้างแล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2535 โดยได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามว่า ““มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ” ทั้งยังได้เสด็จพระราชดำเนินมาเป็นองค์ประธานในพิธีเปิดมหาวทิยาลัย เมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2537 โดยจัดว่า มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ เป็นมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งเดียวในประเทศไทยที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ มาเป็นประธานเปิดมหาวิทยาลัยให้ เนื่องจากพระองค์ทรงเป็นประธานในพิธีเปิดมหาวิทยาลัยให้กับของรัฐบาลเท่านั้น ซึ่งไม่เคยเป็นประธานเปิดมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งใดเลย จึงเป็นผลนำมาซึ่งความปลาบปลื้มและนับเป็นสิริมงคลอันใหญ่หลวงแก่ชาวมหาวิทยาลัย และชาวจีนโพ้นทะเลในดินแดนสยาม ที่ได้ร่วมมือกันก่อตั้งสถาบันการศึกษาแห่งนี้ . 12. มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐลำดับที่ 77 ในประเทศไทย ตั้งอยู่ในจังหวัดนราธิวาส ก่อตั้งเมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 ภายหลังจากการหลอมรวมวิทยาลัยต่างๆ และยกฐานะขึ้นจากวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีนราธิวาส วิทยาลัยการอาชีพตากใบ วิทยาลัยเทคนิคนราธิวาส และวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี โดยชื่อ “มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์” นั้น ได้รับพระราชทานนามจากพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เพื่อสดุดีและเฉลิมพระเกียรติแด่สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ สมเด็จพระโสทรเชษฐภคินีเพียงพระองค์เดียวในรัชกาลที่ 8 และ 9 เนื่องด้วยพระองค์ทรงบำเพ็ญพระกรณียกิจมากมายแก่ประเทศชาติ เพื่อแบ่งเบาพระราชภาระของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงลงพระปรมาภิไธยใน พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ พุทธศักราช 2548 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 122 ตอนที่ 14ก วันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 ดังนั้นทางมหาวิทยาลัยจึงกำหนดให้วันที่ 9 กุมภาพันธ์ ของทุกปีเป็นวันคล้ายวันสถาปนามหาวิทยาลัย . ขอขอบคุณแหล่งที่มา : คลิก
มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค