ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง EZ WebmasterJune 13, 2025 วันนี้ทั้งเล่น ทั้งได้ความรู้ ทั้งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนนางรอง จ.บุรีรัมย์ วันที่13/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า… นักศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI… ทุนดีดี เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster March 11, 2022 EZ Webmaster March 11, 2022 คุยกันเรื่องมนุษย์? – รีวิวคณะมนุษยศาสตร์ สาขาภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยรามคำแหง! คุยกันเรื่องมนุษย์? – รีวิวคณะมนุษยศาสตร์ เอกภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยรามคำแหง! มหาวิทยาลัยรามคำแหง กับวลี “เข้าง่ายออกยาก” วันนี้พี่ออมจะพาน้อง ๆ ไปพูดคุยกับ พี่เน่ ปภาวรินทร์ ชุ่มเชิดฉาย รุ่นพี่คณะมนุษยศาสตร์ เอกภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่จะมาแลกเปลี่ยนประสบการณ์การเรียนมหาวิทยาลัยแบบไม่เคยเข้าห้องเรียนเลยสักครั้งกับการเรียนแบบพึ่งพาตนเอง ปภาวรินทร์ยิ้มทักทายก่อนเริ่มบอกเหตุผลในการเลือกเรียนเอกภาษาอังกฤษกับพวกเราว่า “ตั้งแต่มัธยมเรารู้ตัวชอบเรียนภาษาใหม่ ๆ ก็เรียนสายภาษาจีนแต่ว่ารู้สึกทรมานกับการเรียนภาษาจีนมาก ขึ้นมหาวิทยาลัยก็เลยลองเลือกเรียนอะไรเราถนัด ซึ่งตั้งแต่ประถมเราก็เรียนสองภาษามาตลอด เป็น bilingual ก็เคยคิดว่าเราสนุกกับภาษาอังกฤษเลยเลือกเรียนภาษาอังกฤษดีกว่า พอเลือกแล้วก็ทรมานนิดหน่อยแต่ก็สนุกกว่าที่ผ่านมา” ปภาวรินทร์ตอบคำถามกับเราว่าทำไมถึงเลือกเรียนที่มหาวิทยาลัยรามคำแหง “ตอนแรกเลยเราก็ไม่ได้เรียนที่รามนะ เรียนที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ เอกภาษาอังกฤษเพื่อการบริการ พอเรียนไปปีนึงละรู้สึกว่าเจอตัวเองมาก ๆ เพราะว่าก็ชอบเรียนทั้งการท่องเที่ยว ทั้งภาษาอังกฤษ แต่ว่าก็มีเรื่องจำเป็นให้เราต้องออกมา พอซิ่วมาเราจะไปหามหาวิทยาลัยที่ตรงสายเดิมก็ยากมากเพราะว่ามันเป็นคณะใหม่ของเกษตรเหมือนกัน พอเราลองหาให้ใกล้เคียงกับเดิมมากที่สุดก็ได้ที่รามคำแหง เราก็มีเวลาทำอย่างอื่นไปด้วย เรียนไปด้วย ก็คิดว่าเป็นตัวเลือกที่ดีเลย” ในฐานะรุ่นพี่ที่มีประสบการณ์จากสองมหาวิทยาลัยช่วยเปรียบเทียบความเหมือนความต่างให้พวกเราฟังว่า “จากที่เคยเรียนมาทั้งสองมหาวิทยาลัยก็มีความแตกต่างกันนะ ด้วยความที่ตอนเราเรียนมหาวิทยาเกษตรกำแพงแสน มันเป็นเอกที่เพิ่งเปิดใหม่ เราเป็นรุ่นที่ 3 เองถ้าจำไม่ผิด มันจะให้ความรู้สึกคล้ายกับตอนเรียนมัธยมแบบที่เราจะไม่ได้มีอิสระในการเลือกเรียนวิชาเพราะอาจารย์เขาจะวางแผนไว้ให้เราอยู่แล้ว ก็โชคดีตรงที่มันเป็นวิชาที่เราชอบเรียนทั้งหมด แต่ของมหาวิทยาลัยรามคำแหงที่เป็นมหาวิทยาลัยเปิด เราก็ต้องรับผิดชอบตัวเองสูงมากเพราะว่าเราจะไม่สามารถไปถามคนอื่นได้ มันน้อยมากที่จะถามใครได้ ตอนเข้าไปเรียนเขาก็จะให้ใบหลักสูตร 4 ปีมาให้ เราก็ต้องดูเองว่าถ้าจะเรียนจบ เราจะต้องเรียนวิชาอะไร หน่วยกิตเท่าไหร่ วิชาโทยังไง เสรียังไง วิชาเอกยังไง มันก็ต้องต่างจากเกษตรที่เขาให้มาแล้วว่า 4 ปี เราจะต้องเรียนอะไรบ้าง ตอนแรกเราก็ปรับตัวไม่ได้เลยเหมือนกันนะ” “ใครที่พูดว่ารามเรียนง่ายอาจจะต้องลองมาเรียนเอง” ปภาวรินทร์หัวเราะอย่างร่าเริงก่อนพูดต่อ “เอาแบบนี้ดีกว่า จุดประสงค์การเรียนมหาวิทยาลัยราม โดยส่วนตัวนะเราว่ากว่า 80% คือคนที่ต้องการทำอย่างอื่นควบคู่ไปกับการเรียน น้อยคนที่จะไปเรียนแล้วกลับบ้านเหมือนมหาวิทยาลัยทั่วไป ก่อนเราจะเข้าเรียนเอกภาษาอังกฤษที่นี่ก็ได้ยินคนพูดเยอะมากว่าจบยากนะ คนเข้าไปแล้วเทเยอะ พอเราเข้าไปเรียนจริง ๆ ก็ค้นพบว่าเป็นแบบนั้น แบบที่เราต้องทำอะไรด้วยตัวเองไปเรื่อย ๆ แล้วรู้สึก ค่อย ๆ หมดไฟ โดยเฉพาะคนที่ไม่ได้เอาการเรียนเป็นหลัก แบบทำงานไปด้วยเรียนไปด้วย แค่ทำงานอย่างเดียวก็เหนื่อยแล้ว ถ้าการเรียนเป็นตัวเลือกสุดท้ายของเรา เราก็จะรู้สึกว่าเดี๋ยวค่อยก็แล้วกัน เทแล้วกัน ยิ่งถ้าโดนสบประมาณมาว่ารามเรียนง่ายเขาก็คงยิ่งรู้สึกไม่อยากเรียนเข้าไปอีก คนส่วนหนึ่งก็อาจจะเข้ามาเรียนรามด้วยความรู้สึกที่ว่าเข้าไปเรียนก่อน จบไม่จบก็อีกเรื่อง ใจเราก็ไม่อยากให้ดูถูกคนที่เขาเรียนรามนะเพราะตัวเราเข้ามาเรียนเองก็ถึงได้รู้เหมือนกันว่ายากขนาดนี้” เราก็เป็นคนนึงที่ตอนแรกไม่อยากบอกใครว่าเรียนราม มันเป็นอารมณ์ที่เราเคยเรียนมหาวิทยาลัยเกษตรมาก็รู้สึกอายที่ต้องบอกว่าออกมาแล้ว แต่พอมาเรียนรามคำแหงแล้วก็พบว่าชื่อมหาวิทยาลัยมันอาจจะมีผลแค่ตอนเข้าทำงานแรกเพราะความต่างในแง่ของเนื้อหาก็ไม่ได้ต่างกันสักเท่าไหร่ ไม่อยากให้พะวงกับชื่อมหาวิทยาลัยกันขนาดนั้น ขึ้นอยู่กับว่าเราทำตัวยังไง ปภาวรินทร์อธิบายอย่างตั้งใจให้เราฟังถึงสภาพสังคมในฐานะคนที่ไม่ได้เข้าไปเรียนในคลาส “ตัวเราก็เป็นคนที่ไม่ค่อยชอบเข้าสังคมสักเท่าไหร่ มันก็เป็นอารมณ์ที่เราเรียนอยู่ที่บ้านและไปสอบอย่างเดียวก็เลยไม่ค่อยรู้ว่าสังคมในมหาวิทยาลัยเป็นยังไง ตั้งแต่เข้ามาเรียนจนตอนนี้เราอยู่ปี 3 ก็ไม่เคยเข้าไปเรียนที่มอเลย ตอนก่อนเข้าไปเรียนก็หาข้อมูลนะเขาก็บอกว่าอาจะมีบางวิชาที่พอใกล้จะจบแล้วเราต้องเข้าไปเรียนในมหาวิทยาลัย ด้วยความที่เราตั้งใจจะไปเรียนอย่างเดียวไม่ได้จะไปหาเพื่อน บวกกับตัวมหาวิทยาลัยก็ค่อนข้างไกลจากบ้านเรา ก็เลยคิดไว้ตั้งแต่แรกว่ายังไงก็จะไม่เข้าไปเรียนในมอแน่นอน มันเลยไม่เป็นปัญหาสำหรับเราเรื่องเพื่อน แต่มันก็ยากนะเพราะเราต้องทำทุกอย่างด้วยตัวเอง จะไม่มีคนคอยให้คำปรึกษา ไม่มีคนคอยมาเตือนเรา หรือตอนทำอะไรด้วยกันเหมือนตอนที่เราเกษตรกำแพงแสน ถ้าเป็นไปได้การเข้ามาเรียนแบบมีเพื่อนก็น่าจะดีกว่า” “ไม่รู้ว่าในเอกภาษาอังกฤษในคลาสเขาจะมีงานกลุ่มไหม” ปภาวรินทร์ทำหน้าครุ่นคิดก่อนพูดต่อว่า “แต่ในส่วนตัวที่เราเรียนจากที่บ้าน เขาก็อิงคะแนนจากการสอบ 100% ไม่มีคะแนนเก็บอะไรเลย แต่อย่างวิชาโทเทอมล่าสุดที่เราเลือกจะเป็นการท่องเที่ยวก็เพิ่งได้ข่าวมาว่าเขาจะให้มีงานในคลาส ไม่รู้ว่าเอกอื่นมีไหม แต่สำหรับเอกภาษาอังกฤษของเราค่อนข้างมั่นใจนะว่าไม่มีแน่นอน” ปภาวรินทร์อธิบายรูปแบบการสอนที่น่าสนใจของมหาวิทยาลัยรามคำแหงให้พวกเราฟังว่า “รูปแบบการเรียนที่อิงจากในช่วงโควิดจะมี 3 แบบ แบบแรกก็คือการเรียนในคลาสเหมือนมหาวิทยาลัยอื่น ๆ ใครอยากเรียนก็ไปนั่งเรียนในห้อง อย่างต่อมาก็คือจะเป็นวิดีโอที่อาจารย์อัดไว้จากการสอนในคลาส อาจจะช้ากว่าคนอื่นนิดหน่อย เพราะต้องรออาจารย์เขางวิดีโอไว้ในส่วนกลางของมหาวิทยาลัย เด็กก็จะสามารถเขาไปค้นหาวิชานั้น ๆ นึกภาพเหมือนเราไปเรียนพิเศษได้เลย อันนี้คือต้องมีวินัยเลยนะเพราะบางคนชอบคิดว่าคลิปมาแล้วดูเมื่อไหร่ก็ได้ แล้วก็แบบล่าสุดในเทอมที่ผ่านมาก็คืออาจารย์เขาจะไลฟ์สดแบบเรียลไทม์ ให้เราดูสอนเขาผ่านจอคอมพิวเตอร์แบบสด ๆ จะไม่มีอาจารย์ที่ปรึกษาหรืออะไรแบบมหาวิทยาลัยอื่น ๆ เราเคยเจออาจารย์แค่ตอนสอบเท่านั้นเลย ขนาดตอนดูเทปเราก็ยังเห็นแค่กระดาษเพราะส่วนใหญ่ก็ไม่ได้มาฉายหน้าอาจารย์เลย” เธอเงียบไปครู่หนึ่งก่อนอธิบายเกี่ยวกับการสอบเพิ่มเติมว่า “ช่วงปี 2020 ที่มหาวิทยาลัยอื่นเขาเริ่มจะมีเรียนออนไลน์ มีสอบออนไลน์เพราะโควิด ตอนนั้นมหาวิทยาลัยรามคำแหงก็ยังให้ไปสอบที่มหาวิทยาลัยเดียว เลื่อนสอบไปเรื่อย ๆ พอผ่านสักพักถึงจะมีการสอบออนไลน์เพิ่งจะมีมา 2 เทอมที่ผ่านมา ก่อนหน้านี้คือยังไงก็ต้องสอบที่มหาวิทยาลัยอย่างเดียว” รุ่นพี่มหาวิทยาลัยรามคำแหงทิ้งท้ายกับพวกเราไว้ว่า “สำหรับคนที่จะอยากจะเข้ามาเรียนรามคำแหงอย่างแรกเลยก็ต้องมั่นใจก่อนนะว่าเราจะดูแลตัวเองได้เพราะมันก็ฝึกการพึ่งพาตัวเองมาก ๆ ไม่ได้จะไปถามเพื่อน หรือถามอาจารย์อะไรได้มาก อันนี้พูดในความรู้สึกเรานะว่าการเรียนมอราม เอกภาษาอังกฤษมันกดดันมากจากการที่ใช้คะแนนสอบอย่างเดียว แล้วพอบางทีเราทำออกมาได้ไม่ดีเราก็จะรู้สึกแย่กับตัวเองซึ่งจริง ๆ มันก็อาจจะเป็นเพราะว่าเราไม่ได้มีคะแนนส่วนอื่นมาช่วย เราอาจจะอ่านมาดีมากพอแล้ว แต่ยังไงเราก็ต้องอ่านหนังสือเยอะ พยายามเข้าเรียนให้ครบ อย่าคิดว่าเดี๋ยวค่อย หรือเทเอาเลย สำคัญที่สุดเลย มหาวิทยาลัยรามจะมี 3 เทอม คือเทอม 1 เทอม 2 แล้วก็เทอมซัมเมอร์ พยายามลงให้เต็มเท่าหน่วยกิต เพราะเราจะจบเร็วขึ้น หรือถ้าทำไม่ได้ดีก็ยังมีเวลาให้ลงใหม่ ถ้าเราตั้งใจมันจะออกมาดีแน่นอน” ปภาวรินทร์โบกมือทิ้งท้ายให้กำลังใจแก่ทุกคน ปภาวรินทร์ ชุ่มเชิดฉาย คณะมนุษยศาสตร์ วิชาเอกภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ข้อมูลหลักสูตร คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง หลักสูตรศิลปศาสตร์บัณฑิต (ปริญญาตรี 4 ปี) สาขาวิชาภาษาอังกฤษ ค่าเล่าเรียน : ค่าลงทะเบียนเรียนหน่วยกิตละ 25 บาท / ค่าบัตรประจำตัวนักศึกษา 60 บาท / ค่าธรรมเนียมแรกเข้า 900 บาท / ค่าขึ้นทะเบียนนักศึกษา 800 บาท / ค่าบำรุงมหาวิทยาลัย 500 บาท รายละเอียดเพิ่มเติม : เว็บไซต์ : คลิก Facebook : คลิก Twitter : คลิก EZ Webmaster Related Posts ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง Post navigation PREVIOUS Previous post: แนะนำอาชีพ “นักนิติวิทยาศาสตร์” — ความหมาย หน้าที่ ต้องเรียนจบอะไรมา?NEXT Next post: คณะเทคโนฯ อุตสาหกรรม สวนสุนันทา ร่วมกิจกรรมแต้มสีเติมฝันต่อต้านการทุจริต ปลูกฝังเยาวชนเป็นพลเมืองที่ดี Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง EZ WebmasterJune 13, 2025 วันนี้ทั้งเล่น ทั้งได้ความรู้ ทั้งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนนางรอง จ.บุรีรัมย์ วันที่13/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า… นักศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI… ทุนดีดี เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster March 11, 2022 EZ Webmaster March 11, 2022 คุยกันเรื่องมนุษย์? – รีวิวคณะมนุษยศาสตร์ สาขาภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยรามคำแหง! คุยกันเรื่องมนุษย์? – รีวิวคณะมนุษยศาสตร์ เอกภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยรามคำแหง! มหาวิทยาลัยรามคำแหง กับวลี “เข้าง่ายออกยาก” วันนี้พี่ออมจะพาน้อง ๆ ไปพูดคุยกับ พี่เน่ ปภาวรินทร์ ชุ่มเชิดฉาย รุ่นพี่คณะมนุษยศาสตร์ เอกภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่จะมาแลกเปลี่ยนประสบการณ์การเรียนมหาวิทยาลัยแบบไม่เคยเข้าห้องเรียนเลยสักครั้งกับการเรียนแบบพึ่งพาตนเอง ปภาวรินทร์ยิ้มทักทายก่อนเริ่มบอกเหตุผลในการเลือกเรียนเอกภาษาอังกฤษกับพวกเราว่า “ตั้งแต่มัธยมเรารู้ตัวชอบเรียนภาษาใหม่ ๆ ก็เรียนสายภาษาจีนแต่ว่ารู้สึกทรมานกับการเรียนภาษาจีนมาก ขึ้นมหาวิทยาลัยก็เลยลองเลือกเรียนอะไรเราถนัด ซึ่งตั้งแต่ประถมเราก็เรียนสองภาษามาตลอด เป็น bilingual ก็เคยคิดว่าเราสนุกกับภาษาอังกฤษเลยเลือกเรียนภาษาอังกฤษดีกว่า พอเลือกแล้วก็ทรมานนิดหน่อยแต่ก็สนุกกว่าที่ผ่านมา” ปภาวรินทร์ตอบคำถามกับเราว่าทำไมถึงเลือกเรียนที่มหาวิทยาลัยรามคำแหง “ตอนแรกเลยเราก็ไม่ได้เรียนที่รามนะ เรียนที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ เอกภาษาอังกฤษเพื่อการบริการ พอเรียนไปปีนึงละรู้สึกว่าเจอตัวเองมาก ๆ เพราะว่าก็ชอบเรียนทั้งการท่องเที่ยว ทั้งภาษาอังกฤษ แต่ว่าก็มีเรื่องจำเป็นให้เราต้องออกมา พอซิ่วมาเราจะไปหามหาวิทยาลัยที่ตรงสายเดิมก็ยากมากเพราะว่ามันเป็นคณะใหม่ของเกษตรเหมือนกัน พอเราลองหาให้ใกล้เคียงกับเดิมมากที่สุดก็ได้ที่รามคำแหง เราก็มีเวลาทำอย่างอื่นไปด้วย เรียนไปด้วย ก็คิดว่าเป็นตัวเลือกที่ดีเลย” ในฐานะรุ่นพี่ที่มีประสบการณ์จากสองมหาวิทยาลัยช่วยเปรียบเทียบความเหมือนความต่างให้พวกเราฟังว่า “จากที่เคยเรียนมาทั้งสองมหาวิทยาลัยก็มีความแตกต่างกันนะ ด้วยความที่ตอนเราเรียนมหาวิทยาเกษตรกำแพงแสน มันเป็นเอกที่เพิ่งเปิดใหม่ เราเป็นรุ่นที่ 3 เองถ้าจำไม่ผิด มันจะให้ความรู้สึกคล้ายกับตอนเรียนมัธยมแบบที่เราจะไม่ได้มีอิสระในการเลือกเรียนวิชาเพราะอาจารย์เขาจะวางแผนไว้ให้เราอยู่แล้ว ก็โชคดีตรงที่มันเป็นวิชาที่เราชอบเรียนทั้งหมด แต่ของมหาวิทยาลัยรามคำแหงที่เป็นมหาวิทยาลัยเปิด เราก็ต้องรับผิดชอบตัวเองสูงมากเพราะว่าเราจะไม่สามารถไปถามคนอื่นได้ มันน้อยมากที่จะถามใครได้ ตอนเข้าไปเรียนเขาก็จะให้ใบหลักสูตร 4 ปีมาให้ เราก็ต้องดูเองว่าถ้าจะเรียนจบ เราจะต้องเรียนวิชาอะไร หน่วยกิตเท่าไหร่ วิชาโทยังไง เสรียังไง วิชาเอกยังไง มันก็ต้องต่างจากเกษตรที่เขาให้มาแล้วว่า 4 ปี เราจะต้องเรียนอะไรบ้าง ตอนแรกเราก็ปรับตัวไม่ได้เลยเหมือนกันนะ” “ใครที่พูดว่ารามเรียนง่ายอาจจะต้องลองมาเรียนเอง” ปภาวรินทร์หัวเราะอย่างร่าเริงก่อนพูดต่อ “เอาแบบนี้ดีกว่า จุดประสงค์การเรียนมหาวิทยาลัยราม โดยส่วนตัวนะเราว่ากว่า 80% คือคนที่ต้องการทำอย่างอื่นควบคู่ไปกับการเรียน น้อยคนที่จะไปเรียนแล้วกลับบ้านเหมือนมหาวิทยาลัยทั่วไป ก่อนเราจะเข้าเรียนเอกภาษาอังกฤษที่นี่ก็ได้ยินคนพูดเยอะมากว่าจบยากนะ คนเข้าไปแล้วเทเยอะ พอเราเข้าไปเรียนจริง ๆ ก็ค้นพบว่าเป็นแบบนั้น แบบที่เราต้องทำอะไรด้วยตัวเองไปเรื่อย ๆ แล้วรู้สึก ค่อย ๆ หมดไฟ โดยเฉพาะคนที่ไม่ได้เอาการเรียนเป็นหลัก แบบทำงานไปด้วยเรียนไปด้วย แค่ทำงานอย่างเดียวก็เหนื่อยแล้ว ถ้าการเรียนเป็นตัวเลือกสุดท้ายของเรา เราก็จะรู้สึกว่าเดี๋ยวค่อยก็แล้วกัน เทแล้วกัน ยิ่งถ้าโดนสบประมาณมาว่ารามเรียนง่ายเขาก็คงยิ่งรู้สึกไม่อยากเรียนเข้าไปอีก คนส่วนหนึ่งก็อาจจะเข้ามาเรียนรามด้วยความรู้สึกที่ว่าเข้าไปเรียนก่อน จบไม่จบก็อีกเรื่อง ใจเราก็ไม่อยากให้ดูถูกคนที่เขาเรียนรามนะเพราะตัวเราเข้ามาเรียนเองก็ถึงได้รู้เหมือนกันว่ายากขนาดนี้” เราก็เป็นคนนึงที่ตอนแรกไม่อยากบอกใครว่าเรียนราม มันเป็นอารมณ์ที่เราเคยเรียนมหาวิทยาลัยเกษตรมาก็รู้สึกอายที่ต้องบอกว่าออกมาแล้ว แต่พอมาเรียนรามคำแหงแล้วก็พบว่าชื่อมหาวิทยาลัยมันอาจจะมีผลแค่ตอนเข้าทำงานแรกเพราะความต่างในแง่ของเนื้อหาก็ไม่ได้ต่างกันสักเท่าไหร่ ไม่อยากให้พะวงกับชื่อมหาวิทยาลัยกันขนาดนั้น ขึ้นอยู่กับว่าเราทำตัวยังไง ปภาวรินทร์อธิบายอย่างตั้งใจให้เราฟังถึงสภาพสังคมในฐานะคนที่ไม่ได้เข้าไปเรียนในคลาส “ตัวเราก็เป็นคนที่ไม่ค่อยชอบเข้าสังคมสักเท่าไหร่ มันก็เป็นอารมณ์ที่เราเรียนอยู่ที่บ้านและไปสอบอย่างเดียวก็เลยไม่ค่อยรู้ว่าสังคมในมหาวิทยาลัยเป็นยังไง ตั้งแต่เข้ามาเรียนจนตอนนี้เราอยู่ปี 3 ก็ไม่เคยเข้าไปเรียนที่มอเลย ตอนก่อนเข้าไปเรียนก็หาข้อมูลนะเขาก็บอกว่าอาจะมีบางวิชาที่พอใกล้จะจบแล้วเราต้องเข้าไปเรียนในมหาวิทยาลัย ด้วยความที่เราตั้งใจจะไปเรียนอย่างเดียวไม่ได้จะไปหาเพื่อน บวกกับตัวมหาวิทยาลัยก็ค่อนข้างไกลจากบ้านเรา ก็เลยคิดไว้ตั้งแต่แรกว่ายังไงก็จะไม่เข้าไปเรียนในมอแน่นอน มันเลยไม่เป็นปัญหาสำหรับเราเรื่องเพื่อน แต่มันก็ยากนะเพราะเราต้องทำทุกอย่างด้วยตัวเอง จะไม่มีคนคอยให้คำปรึกษา ไม่มีคนคอยมาเตือนเรา หรือตอนทำอะไรด้วยกันเหมือนตอนที่เราเกษตรกำแพงแสน ถ้าเป็นไปได้การเข้ามาเรียนแบบมีเพื่อนก็น่าจะดีกว่า” “ไม่รู้ว่าในเอกภาษาอังกฤษในคลาสเขาจะมีงานกลุ่มไหม” ปภาวรินทร์ทำหน้าครุ่นคิดก่อนพูดต่อว่า “แต่ในส่วนตัวที่เราเรียนจากที่บ้าน เขาก็อิงคะแนนจากการสอบ 100% ไม่มีคะแนนเก็บอะไรเลย แต่อย่างวิชาโทเทอมล่าสุดที่เราเลือกจะเป็นการท่องเที่ยวก็เพิ่งได้ข่าวมาว่าเขาจะให้มีงานในคลาส ไม่รู้ว่าเอกอื่นมีไหม แต่สำหรับเอกภาษาอังกฤษของเราค่อนข้างมั่นใจนะว่าไม่มีแน่นอน” ปภาวรินทร์อธิบายรูปแบบการสอนที่น่าสนใจของมหาวิทยาลัยรามคำแหงให้พวกเราฟังว่า “รูปแบบการเรียนที่อิงจากในช่วงโควิดจะมี 3 แบบ แบบแรกก็คือการเรียนในคลาสเหมือนมหาวิทยาลัยอื่น ๆ ใครอยากเรียนก็ไปนั่งเรียนในห้อง อย่างต่อมาก็คือจะเป็นวิดีโอที่อาจารย์อัดไว้จากการสอนในคลาส อาจจะช้ากว่าคนอื่นนิดหน่อย เพราะต้องรออาจารย์เขางวิดีโอไว้ในส่วนกลางของมหาวิทยาลัย เด็กก็จะสามารถเขาไปค้นหาวิชานั้น ๆ นึกภาพเหมือนเราไปเรียนพิเศษได้เลย อันนี้คือต้องมีวินัยเลยนะเพราะบางคนชอบคิดว่าคลิปมาแล้วดูเมื่อไหร่ก็ได้ แล้วก็แบบล่าสุดในเทอมที่ผ่านมาก็คืออาจารย์เขาจะไลฟ์สดแบบเรียลไทม์ ให้เราดูสอนเขาผ่านจอคอมพิวเตอร์แบบสด ๆ จะไม่มีอาจารย์ที่ปรึกษาหรืออะไรแบบมหาวิทยาลัยอื่น ๆ เราเคยเจออาจารย์แค่ตอนสอบเท่านั้นเลย ขนาดตอนดูเทปเราก็ยังเห็นแค่กระดาษเพราะส่วนใหญ่ก็ไม่ได้มาฉายหน้าอาจารย์เลย” เธอเงียบไปครู่หนึ่งก่อนอธิบายเกี่ยวกับการสอบเพิ่มเติมว่า “ช่วงปี 2020 ที่มหาวิทยาลัยอื่นเขาเริ่มจะมีเรียนออนไลน์ มีสอบออนไลน์เพราะโควิด ตอนนั้นมหาวิทยาลัยรามคำแหงก็ยังให้ไปสอบที่มหาวิทยาลัยเดียว เลื่อนสอบไปเรื่อย ๆ พอผ่านสักพักถึงจะมีการสอบออนไลน์เพิ่งจะมีมา 2 เทอมที่ผ่านมา ก่อนหน้านี้คือยังไงก็ต้องสอบที่มหาวิทยาลัยอย่างเดียว” รุ่นพี่มหาวิทยาลัยรามคำแหงทิ้งท้ายกับพวกเราไว้ว่า “สำหรับคนที่จะอยากจะเข้ามาเรียนรามคำแหงอย่างแรกเลยก็ต้องมั่นใจก่อนนะว่าเราจะดูแลตัวเองได้เพราะมันก็ฝึกการพึ่งพาตัวเองมาก ๆ ไม่ได้จะไปถามเพื่อน หรือถามอาจารย์อะไรได้มาก อันนี้พูดในความรู้สึกเรานะว่าการเรียนมอราม เอกภาษาอังกฤษมันกดดันมากจากการที่ใช้คะแนนสอบอย่างเดียว แล้วพอบางทีเราทำออกมาได้ไม่ดีเราก็จะรู้สึกแย่กับตัวเองซึ่งจริง ๆ มันก็อาจจะเป็นเพราะว่าเราไม่ได้มีคะแนนส่วนอื่นมาช่วย เราอาจจะอ่านมาดีมากพอแล้ว แต่ยังไงเราก็ต้องอ่านหนังสือเยอะ พยายามเข้าเรียนให้ครบ อย่าคิดว่าเดี๋ยวค่อย หรือเทเอาเลย สำคัญที่สุดเลย มหาวิทยาลัยรามจะมี 3 เทอม คือเทอม 1 เทอม 2 แล้วก็เทอมซัมเมอร์ พยายามลงให้เต็มเท่าหน่วยกิต เพราะเราจะจบเร็วขึ้น หรือถ้าทำไม่ได้ดีก็ยังมีเวลาให้ลงใหม่ ถ้าเราตั้งใจมันจะออกมาดีแน่นอน” ปภาวรินทร์โบกมือทิ้งท้ายให้กำลังใจแก่ทุกคน ปภาวรินทร์ ชุ่มเชิดฉาย คณะมนุษยศาสตร์ วิชาเอกภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ข้อมูลหลักสูตร คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง หลักสูตรศิลปศาสตร์บัณฑิต (ปริญญาตรี 4 ปี) สาขาวิชาภาษาอังกฤษ ค่าเล่าเรียน : ค่าลงทะเบียนเรียนหน่วยกิตละ 25 บาท / ค่าบัตรประจำตัวนักศึกษา 60 บาท / ค่าธรรมเนียมแรกเข้า 900 บาท / ค่าขึ้นทะเบียนนักศึกษา 800 บาท / ค่าบำรุงมหาวิทยาลัย 500 บาท รายละเอียดเพิ่มเติม : เว็บไซต์ : คลิก Facebook : คลิก Twitter : คลิก EZ Webmaster Related Posts ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง Post navigation PREVIOUS Previous post: แนะนำอาชีพ “นักนิติวิทยาศาสตร์” — ความหมาย หน้าที่ ต้องเรียนจบอะไรมา?NEXT Next post: คณะเทคโนฯ อุตสาหกรรม สวนสุนันทา ร่วมกิจกรรมแต้มสีเติมฝันต่อต้านการทุจริต ปลูกฝังเยาวชนเป็นพลเมืองที่ดี Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง EZ WebmasterJune 13, 2025 วันนี้ทั้งเล่น ทั้งได้ความรู้ ทั้งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนนางรอง จ.บุรีรัมย์ วันที่13/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า…
โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง EZ WebmasterJune 13, 2025 วันนี้ทั้งเล่น ทั้งได้ความรู้ ทั้งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนนางรอง จ.บุรีรัมย์ วันที่13/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า…
คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI… ทุนดีดี เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster March 11, 2022 EZ Webmaster March 11, 2022 คุยกันเรื่องมนุษย์? – รีวิวคณะมนุษยศาสตร์ สาขาภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยรามคำแหง! คุยกันเรื่องมนุษย์? – รีวิวคณะมนุษยศาสตร์ เอกภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยรามคำแหง! มหาวิทยาลัยรามคำแหง กับวลี “เข้าง่ายออกยาก” วันนี้พี่ออมจะพาน้อง ๆ ไปพูดคุยกับ พี่เน่ ปภาวรินทร์ ชุ่มเชิดฉาย รุ่นพี่คณะมนุษยศาสตร์ เอกภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่จะมาแลกเปลี่ยนประสบการณ์การเรียนมหาวิทยาลัยแบบไม่เคยเข้าห้องเรียนเลยสักครั้งกับการเรียนแบบพึ่งพาตนเอง ปภาวรินทร์ยิ้มทักทายก่อนเริ่มบอกเหตุผลในการเลือกเรียนเอกภาษาอังกฤษกับพวกเราว่า “ตั้งแต่มัธยมเรารู้ตัวชอบเรียนภาษาใหม่ ๆ ก็เรียนสายภาษาจีนแต่ว่ารู้สึกทรมานกับการเรียนภาษาจีนมาก ขึ้นมหาวิทยาลัยก็เลยลองเลือกเรียนอะไรเราถนัด ซึ่งตั้งแต่ประถมเราก็เรียนสองภาษามาตลอด เป็น bilingual ก็เคยคิดว่าเราสนุกกับภาษาอังกฤษเลยเลือกเรียนภาษาอังกฤษดีกว่า พอเลือกแล้วก็ทรมานนิดหน่อยแต่ก็สนุกกว่าที่ผ่านมา” ปภาวรินทร์ตอบคำถามกับเราว่าทำไมถึงเลือกเรียนที่มหาวิทยาลัยรามคำแหง “ตอนแรกเลยเราก็ไม่ได้เรียนที่รามนะ เรียนที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ เอกภาษาอังกฤษเพื่อการบริการ พอเรียนไปปีนึงละรู้สึกว่าเจอตัวเองมาก ๆ เพราะว่าก็ชอบเรียนทั้งการท่องเที่ยว ทั้งภาษาอังกฤษ แต่ว่าก็มีเรื่องจำเป็นให้เราต้องออกมา พอซิ่วมาเราจะไปหามหาวิทยาลัยที่ตรงสายเดิมก็ยากมากเพราะว่ามันเป็นคณะใหม่ของเกษตรเหมือนกัน พอเราลองหาให้ใกล้เคียงกับเดิมมากที่สุดก็ได้ที่รามคำแหง เราก็มีเวลาทำอย่างอื่นไปด้วย เรียนไปด้วย ก็คิดว่าเป็นตัวเลือกที่ดีเลย” ในฐานะรุ่นพี่ที่มีประสบการณ์จากสองมหาวิทยาลัยช่วยเปรียบเทียบความเหมือนความต่างให้พวกเราฟังว่า “จากที่เคยเรียนมาทั้งสองมหาวิทยาลัยก็มีความแตกต่างกันนะ ด้วยความที่ตอนเราเรียนมหาวิทยาเกษตรกำแพงแสน มันเป็นเอกที่เพิ่งเปิดใหม่ เราเป็นรุ่นที่ 3 เองถ้าจำไม่ผิด มันจะให้ความรู้สึกคล้ายกับตอนเรียนมัธยมแบบที่เราจะไม่ได้มีอิสระในการเลือกเรียนวิชาเพราะอาจารย์เขาจะวางแผนไว้ให้เราอยู่แล้ว ก็โชคดีตรงที่มันเป็นวิชาที่เราชอบเรียนทั้งหมด แต่ของมหาวิทยาลัยรามคำแหงที่เป็นมหาวิทยาลัยเปิด เราก็ต้องรับผิดชอบตัวเองสูงมากเพราะว่าเราจะไม่สามารถไปถามคนอื่นได้ มันน้อยมากที่จะถามใครได้ ตอนเข้าไปเรียนเขาก็จะให้ใบหลักสูตร 4 ปีมาให้ เราก็ต้องดูเองว่าถ้าจะเรียนจบ เราจะต้องเรียนวิชาอะไร หน่วยกิตเท่าไหร่ วิชาโทยังไง เสรียังไง วิชาเอกยังไง มันก็ต้องต่างจากเกษตรที่เขาให้มาแล้วว่า 4 ปี เราจะต้องเรียนอะไรบ้าง ตอนแรกเราก็ปรับตัวไม่ได้เลยเหมือนกันนะ” “ใครที่พูดว่ารามเรียนง่ายอาจจะต้องลองมาเรียนเอง” ปภาวรินทร์หัวเราะอย่างร่าเริงก่อนพูดต่อ “เอาแบบนี้ดีกว่า จุดประสงค์การเรียนมหาวิทยาลัยราม โดยส่วนตัวนะเราว่ากว่า 80% คือคนที่ต้องการทำอย่างอื่นควบคู่ไปกับการเรียน น้อยคนที่จะไปเรียนแล้วกลับบ้านเหมือนมหาวิทยาลัยทั่วไป ก่อนเราจะเข้าเรียนเอกภาษาอังกฤษที่นี่ก็ได้ยินคนพูดเยอะมากว่าจบยากนะ คนเข้าไปแล้วเทเยอะ พอเราเข้าไปเรียนจริง ๆ ก็ค้นพบว่าเป็นแบบนั้น แบบที่เราต้องทำอะไรด้วยตัวเองไปเรื่อย ๆ แล้วรู้สึก ค่อย ๆ หมดไฟ โดยเฉพาะคนที่ไม่ได้เอาการเรียนเป็นหลัก แบบทำงานไปด้วยเรียนไปด้วย แค่ทำงานอย่างเดียวก็เหนื่อยแล้ว ถ้าการเรียนเป็นตัวเลือกสุดท้ายของเรา เราก็จะรู้สึกว่าเดี๋ยวค่อยก็แล้วกัน เทแล้วกัน ยิ่งถ้าโดนสบประมาณมาว่ารามเรียนง่ายเขาก็คงยิ่งรู้สึกไม่อยากเรียนเข้าไปอีก คนส่วนหนึ่งก็อาจจะเข้ามาเรียนรามด้วยความรู้สึกที่ว่าเข้าไปเรียนก่อน จบไม่จบก็อีกเรื่อง ใจเราก็ไม่อยากให้ดูถูกคนที่เขาเรียนรามนะเพราะตัวเราเข้ามาเรียนเองก็ถึงได้รู้เหมือนกันว่ายากขนาดนี้” เราก็เป็นคนนึงที่ตอนแรกไม่อยากบอกใครว่าเรียนราม มันเป็นอารมณ์ที่เราเคยเรียนมหาวิทยาลัยเกษตรมาก็รู้สึกอายที่ต้องบอกว่าออกมาแล้ว แต่พอมาเรียนรามคำแหงแล้วก็พบว่าชื่อมหาวิทยาลัยมันอาจจะมีผลแค่ตอนเข้าทำงานแรกเพราะความต่างในแง่ของเนื้อหาก็ไม่ได้ต่างกันสักเท่าไหร่ ไม่อยากให้พะวงกับชื่อมหาวิทยาลัยกันขนาดนั้น ขึ้นอยู่กับว่าเราทำตัวยังไง ปภาวรินทร์อธิบายอย่างตั้งใจให้เราฟังถึงสภาพสังคมในฐานะคนที่ไม่ได้เข้าไปเรียนในคลาส “ตัวเราก็เป็นคนที่ไม่ค่อยชอบเข้าสังคมสักเท่าไหร่ มันก็เป็นอารมณ์ที่เราเรียนอยู่ที่บ้านและไปสอบอย่างเดียวก็เลยไม่ค่อยรู้ว่าสังคมในมหาวิทยาลัยเป็นยังไง ตั้งแต่เข้ามาเรียนจนตอนนี้เราอยู่ปี 3 ก็ไม่เคยเข้าไปเรียนที่มอเลย ตอนก่อนเข้าไปเรียนก็หาข้อมูลนะเขาก็บอกว่าอาจะมีบางวิชาที่พอใกล้จะจบแล้วเราต้องเข้าไปเรียนในมหาวิทยาลัย ด้วยความที่เราตั้งใจจะไปเรียนอย่างเดียวไม่ได้จะไปหาเพื่อน บวกกับตัวมหาวิทยาลัยก็ค่อนข้างไกลจากบ้านเรา ก็เลยคิดไว้ตั้งแต่แรกว่ายังไงก็จะไม่เข้าไปเรียนในมอแน่นอน มันเลยไม่เป็นปัญหาสำหรับเราเรื่องเพื่อน แต่มันก็ยากนะเพราะเราต้องทำทุกอย่างด้วยตัวเอง จะไม่มีคนคอยให้คำปรึกษา ไม่มีคนคอยมาเตือนเรา หรือตอนทำอะไรด้วยกันเหมือนตอนที่เราเกษตรกำแพงแสน ถ้าเป็นไปได้การเข้ามาเรียนแบบมีเพื่อนก็น่าจะดีกว่า” “ไม่รู้ว่าในเอกภาษาอังกฤษในคลาสเขาจะมีงานกลุ่มไหม” ปภาวรินทร์ทำหน้าครุ่นคิดก่อนพูดต่อว่า “แต่ในส่วนตัวที่เราเรียนจากที่บ้าน เขาก็อิงคะแนนจากการสอบ 100% ไม่มีคะแนนเก็บอะไรเลย แต่อย่างวิชาโทเทอมล่าสุดที่เราเลือกจะเป็นการท่องเที่ยวก็เพิ่งได้ข่าวมาว่าเขาจะให้มีงานในคลาส ไม่รู้ว่าเอกอื่นมีไหม แต่สำหรับเอกภาษาอังกฤษของเราค่อนข้างมั่นใจนะว่าไม่มีแน่นอน” ปภาวรินทร์อธิบายรูปแบบการสอนที่น่าสนใจของมหาวิทยาลัยรามคำแหงให้พวกเราฟังว่า “รูปแบบการเรียนที่อิงจากในช่วงโควิดจะมี 3 แบบ แบบแรกก็คือการเรียนในคลาสเหมือนมหาวิทยาลัยอื่น ๆ ใครอยากเรียนก็ไปนั่งเรียนในห้อง อย่างต่อมาก็คือจะเป็นวิดีโอที่อาจารย์อัดไว้จากการสอนในคลาส อาจจะช้ากว่าคนอื่นนิดหน่อย เพราะต้องรออาจารย์เขางวิดีโอไว้ในส่วนกลางของมหาวิทยาลัย เด็กก็จะสามารถเขาไปค้นหาวิชานั้น ๆ นึกภาพเหมือนเราไปเรียนพิเศษได้เลย อันนี้คือต้องมีวินัยเลยนะเพราะบางคนชอบคิดว่าคลิปมาแล้วดูเมื่อไหร่ก็ได้ แล้วก็แบบล่าสุดในเทอมที่ผ่านมาก็คืออาจารย์เขาจะไลฟ์สดแบบเรียลไทม์ ให้เราดูสอนเขาผ่านจอคอมพิวเตอร์แบบสด ๆ จะไม่มีอาจารย์ที่ปรึกษาหรืออะไรแบบมหาวิทยาลัยอื่น ๆ เราเคยเจออาจารย์แค่ตอนสอบเท่านั้นเลย ขนาดตอนดูเทปเราก็ยังเห็นแค่กระดาษเพราะส่วนใหญ่ก็ไม่ได้มาฉายหน้าอาจารย์เลย” เธอเงียบไปครู่หนึ่งก่อนอธิบายเกี่ยวกับการสอบเพิ่มเติมว่า “ช่วงปี 2020 ที่มหาวิทยาลัยอื่นเขาเริ่มจะมีเรียนออนไลน์ มีสอบออนไลน์เพราะโควิด ตอนนั้นมหาวิทยาลัยรามคำแหงก็ยังให้ไปสอบที่มหาวิทยาลัยเดียว เลื่อนสอบไปเรื่อย ๆ พอผ่านสักพักถึงจะมีการสอบออนไลน์เพิ่งจะมีมา 2 เทอมที่ผ่านมา ก่อนหน้านี้คือยังไงก็ต้องสอบที่มหาวิทยาลัยอย่างเดียว” รุ่นพี่มหาวิทยาลัยรามคำแหงทิ้งท้ายกับพวกเราไว้ว่า “สำหรับคนที่จะอยากจะเข้ามาเรียนรามคำแหงอย่างแรกเลยก็ต้องมั่นใจก่อนนะว่าเราจะดูแลตัวเองได้เพราะมันก็ฝึกการพึ่งพาตัวเองมาก ๆ ไม่ได้จะไปถามเพื่อน หรือถามอาจารย์อะไรได้มาก อันนี้พูดในความรู้สึกเรานะว่าการเรียนมอราม เอกภาษาอังกฤษมันกดดันมากจากการที่ใช้คะแนนสอบอย่างเดียว แล้วพอบางทีเราทำออกมาได้ไม่ดีเราก็จะรู้สึกแย่กับตัวเองซึ่งจริง ๆ มันก็อาจจะเป็นเพราะว่าเราไม่ได้มีคะแนนส่วนอื่นมาช่วย เราอาจจะอ่านมาดีมากพอแล้ว แต่ยังไงเราก็ต้องอ่านหนังสือเยอะ พยายามเข้าเรียนให้ครบ อย่าคิดว่าเดี๋ยวค่อย หรือเทเอาเลย สำคัญที่สุดเลย มหาวิทยาลัยรามจะมี 3 เทอม คือเทอม 1 เทอม 2 แล้วก็เทอมซัมเมอร์ พยายามลงให้เต็มเท่าหน่วยกิต เพราะเราจะจบเร็วขึ้น หรือถ้าทำไม่ได้ดีก็ยังมีเวลาให้ลงใหม่ ถ้าเราตั้งใจมันจะออกมาดีแน่นอน” ปภาวรินทร์โบกมือทิ้งท้ายให้กำลังใจแก่ทุกคน ปภาวรินทร์ ชุ่มเชิดฉาย คณะมนุษยศาสตร์ วิชาเอกภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ข้อมูลหลักสูตร คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง หลักสูตรศิลปศาสตร์บัณฑิต (ปริญญาตรี 4 ปี) สาขาวิชาภาษาอังกฤษ ค่าเล่าเรียน : ค่าลงทะเบียนเรียนหน่วยกิตละ 25 บาท / ค่าบัตรประจำตัวนักศึกษา 60 บาท / ค่าธรรมเนียมแรกเข้า 900 บาท / ค่าขึ้นทะเบียนนักศึกษา 800 บาท / ค่าบำรุงมหาวิทยาลัย 500 บาท รายละเอียดเพิ่มเติม : เว็บไซต์ : คลิก Facebook : คลิก Twitter : คลิก EZ Webmaster Related Posts ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง Post navigation PREVIOUS Previous post: แนะนำอาชีพ “นักนิติวิทยาศาสตร์” — ความหมาย หน้าที่ ต้องเรียนจบอะไรมา?NEXT Next post: คณะเทคโนฯ อุตสาหกรรม สวนสุนันทา ร่วมกิจกรรมแต้มสีเติมฝันต่อต้านการทุจริต ปลูกฝังเยาวชนเป็นพลเมืองที่ดี Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI… ทุนดีดี เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster March 11, 2022 EZ Webmaster March 11, 2022 คุยกันเรื่องมนุษย์? – รีวิวคณะมนุษยศาสตร์ สาขาภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยรามคำแหง! คุยกันเรื่องมนุษย์? – รีวิวคณะมนุษยศาสตร์ เอกภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยรามคำแหง! มหาวิทยาลัยรามคำแหง กับวลี “เข้าง่ายออกยาก” วันนี้พี่ออมจะพาน้อง ๆ ไปพูดคุยกับ พี่เน่ ปภาวรินทร์ ชุ่มเชิดฉาย รุ่นพี่คณะมนุษยศาสตร์ เอกภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่จะมาแลกเปลี่ยนประสบการณ์การเรียนมหาวิทยาลัยแบบไม่เคยเข้าห้องเรียนเลยสักครั้งกับการเรียนแบบพึ่งพาตนเอง ปภาวรินทร์ยิ้มทักทายก่อนเริ่มบอกเหตุผลในการเลือกเรียนเอกภาษาอังกฤษกับพวกเราว่า “ตั้งแต่มัธยมเรารู้ตัวชอบเรียนภาษาใหม่ ๆ ก็เรียนสายภาษาจีนแต่ว่ารู้สึกทรมานกับการเรียนภาษาจีนมาก ขึ้นมหาวิทยาลัยก็เลยลองเลือกเรียนอะไรเราถนัด ซึ่งตั้งแต่ประถมเราก็เรียนสองภาษามาตลอด เป็น bilingual ก็เคยคิดว่าเราสนุกกับภาษาอังกฤษเลยเลือกเรียนภาษาอังกฤษดีกว่า พอเลือกแล้วก็ทรมานนิดหน่อยแต่ก็สนุกกว่าที่ผ่านมา” ปภาวรินทร์ตอบคำถามกับเราว่าทำไมถึงเลือกเรียนที่มหาวิทยาลัยรามคำแหง “ตอนแรกเลยเราก็ไม่ได้เรียนที่รามนะ เรียนที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ เอกภาษาอังกฤษเพื่อการบริการ พอเรียนไปปีนึงละรู้สึกว่าเจอตัวเองมาก ๆ เพราะว่าก็ชอบเรียนทั้งการท่องเที่ยว ทั้งภาษาอังกฤษ แต่ว่าก็มีเรื่องจำเป็นให้เราต้องออกมา พอซิ่วมาเราจะไปหามหาวิทยาลัยที่ตรงสายเดิมก็ยากมากเพราะว่ามันเป็นคณะใหม่ของเกษตรเหมือนกัน พอเราลองหาให้ใกล้เคียงกับเดิมมากที่สุดก็ได้ที่รามคำแหง เราก็มีเวลาทำอย่างอื่นไปด้วย เรียนไปด้วย ก็คิดว่าเป็นตัวเลือกที่ดีเลย” ในฐานะรุ่นพี่ที่มีประสบการณ์จากสองมหาวิทยาลัยช่วยเปรียบเทียบความเหมือนความต่างให้พวกเราฟังว่า “จากที่เคยเรียนมาทั้งสองมหาวิทยาลัยก็มีความแตกต่างกันนะ ด้วยความที่ตอนเราเรียนมหาวิทยาเกษตรกำแพงแสน มันเป็นเอกที่เพิ่งเปิดใหม่ เราเป็นรุ่นที่ 3 เองถ้าจำไม่ผิด มันจะให้ความรู้สึกคล้ายกับตอนเรียนมัธยมแบบที่เราจะไม่ได้มีอิสระในการเลือกเรียนวิชาเพราะอาจารย์เขาจะวางแผนไว้ให้เราอยู่แล้ว ก็โชคดีตรงที่มันเป็นวิชาที่เราชอบเรียนทั้งหมด แต่ของมหาวิทยาลัยรามคำแหงที่เป็นมหาวิทยาลัยเปิด เราก็ต้องรับผิดชอบตัวเองสูงมากเพราะว่าเราจะไม่สามารถไปถามคนอื่นได้ มันน้อยมากที่จะถามใครได้ ตอนเข้าไปเรียนเขาก็จะให้ใบหลักสูตร 4 ปีมาให้ เราก็ต้องดูเองว่าถ้าจะเรียนจบ เราจะต้องเรียนวิชาอะไร หน่วยกิตเท่าไหร่ วิชาโทยังไง เสรียังไง วิชาเอกยังไง มันก็ต้องต่างจากเกษตรที่เขาให้มาแล้วว่า 4 ปี เราจะต้องเรียนอะไรบ้าง ตอนแรกเราก็ปรับตัวไม่ได้เลยเหมือนกันนะ” “ใครที่พูดว่ารามเรียนง่ายอาจจะต้องลองมาเรียนเอง” ปภาวรินทร์หัวเราะอย่างร่าเริงก่อนพูดต่อ “เอาแบบนี้ดีกว่า จุดประสงค์การเรียนมหาวิทยาลัยราม โดยส่วนตัวนะเราว่ากว่า 80% คือคนที่ต้องการทำอย่างอื่นควบคู่ไปกับการเรียน น้อยคนที่จะไปเรียนแล้วกลับบ้านเหมือนมหาวิทยาลัยทั่วไป ก่อนเราจะเข้าเรียนเอกภาษาอังกฤษที่นี่ก็ได้ยินคนพูดเยอะมากว่าจบยากนะ คนเข้าไปแล้วเทเยอะ พอเราเข้าไปเรียนจริง ๆ ก็ค้นพบว่าเป็นแบบนั้น แบบที่เราต้องทำอะไรด้วยตัวเองไปเรื่อย ๆ แล้วรู้สึก ค่อย ๆ หมดไฟ โดยเฉพาะคนที่ไม่ได้เอาการเรียนเป็นหลัก แบบทำงานไปด้วยเรียนไปด้วย แค่ทำงานอย่างเดียวก็เหนื่อยแล้ว ถ้าการเรียนเป็นตัวเลือกสุดท้ายของเรา เราก็จะรู้สึกว่าเดี๋ยวค่อยก็แล้วกัน เทแล้วกัน ยิ่งถ้าโดนสบประมาณมาว่ารามเรียนง่ายเขาก็คงยิ่งรู้สึกไม่อยากเรียนเข้าไปอีก คนส่วนหนึ่งก็อาจจะเข้ามาเรียนรามด้วยความรู้สึกที่ว่าเข้าไปเรียนก่อน จบไม่จบก็อีกเรื่อง ใจเราก็ไม่อยากให้ดูถูกคนที่เขาเรียนรามนะเพราะตัวเราเข้ามาเรียนเองก็ถึงได้รู้เหมือนกันว่ายากขนาดนี้” เราก็เป็นคนนึงที่ตอนแรกไม่อยากบอกใครว่าเรียนราม มันเป็นอารมณ์ที่เราเคยเรียนมหาวิทยาลัยเกษตรมาก็รู้สึกอายที่ต้องบอกว่าออกมาแล้ว แต่พอมาเรียนรามคำแหงแล้วก็พบว่าชื่อมหาวิทยาลัยมันอาจจะมีผลแค่ตอนเข้าทำงานแรกเพราะความต่างในแง่ของเนื้อหาก็ไม่ได้ต่างกันสักเท่าไหร่ ไม่อยากให้พะวงกับชื่อมหาวิทยาลัยกันขนาดนั้น ขึ้นอยู่กับว่าเราทำตัวยังไง ปภาวรินทร์อธิบายอย่างตั้งใจให้เราฟังถึงสภาพสังคมในฐานะคนที่ไม่ได้เข้าไปเรียนในคลาส “ตัวเราก็เป็นคนที่ไม่ค่อยชอบเข้าสังคมสักเท่าไหร่ มันก็เป็นอารมณ์ที่เราเรียนอยู่ที่บ้านและไปสอบอย่างเดียวก็เลยไม่ค่อยรู้ว่าสังคมในมหาวิทยาลัยเป็นยังไง ตั้งแต่เข้ามาเรียนจนตอนนี้เราอยู่ปี 3 ก็ไม่เคยเข้าไปเรียนที่มอเลย ตอนก่อนเข้าไปเรียนก็หาข้อมูลนะเขาก็บอกว่าอาจะมีบางวิชาที่พอใกล้จะจบแล้วเราต้องเข้าไปเรียนในมหาวิทยาลัย ด้วยความที่เราตั้งใจจะไปเรียนอย่างเดียวไม่ได้จะไปหาเพื่อน บวกกับตัวมหาวิทยาลัยก็ค่อนข้างไกลจากบ้านเรา ก็เลยคิดไว้ตั้งแต่แรกว่ายังไงก็จะไม่เข้าไปเรียนในมอแน่นอน มันเลยไม่เป็นปัญหาสำหรับเราเรื่องเพื่อน แต่มันก็ยากนะเพราะเราต้องทำทุกอย่างด้วยตัวเอง จะไม่มีคนคอยให้คำปรึกษา ไม่มีคนคอยมาเตือนเรา หรือตอนทำอะไรด้วยกันเหมือนตอนที่เราเกษตรกำแพงแสน ถ้าเป็นไปได้การเข้ามาเรียนแบบมีเพื่อนก็น่าจะดีกว่า” “ไม่รู้ว่าในเอกภาษาอังกฤษในคลาสเขาจะมีงานกลุ่มไหม” ปภาวรินทร์ทำหน้าครุ่นคิดก่อนพูดต่อว่า “แต่ในส่วนตัวที่เราเรียนจากที่บ้าน เขาก็อิงคะแนนจากการสอบ 100% ไม่มีคะแนนเก็บอะไรเลย แต่อย่างวิชาโทเทอมล่าสุดที่เราเลือกจะเป็นการท่องเที่ยวก็เพิ่งได้ข่าวมาว่าเขาจะให้มีงานในคลาส ไม่รู้ว่าเอกอื่นมีไหม แต่สำหรับเอกภาษาอังกฤษของเราค่อนข้างมั่นใจนะว่าไม่มีแน่นอน” ปภาวรินทร์อธิบายรูปแบบการสอนที่น่าสนใจของมหาวิทยาลัยรามคำแหงให้พวกเราฟังว่า “รูปแบบการเรียนที่อิงจากในช่วงโควิดจะมี 3 แบบ แบบแรกก็คือการเรียนในคลาสเหมือนมหาวิทยาลัยอื่น ๆ ใครอยากเรียนก็ไปนั่งเรียนในห้อง อย่างต่อมาก็คือจะเป็นวิดีโอที่อาจารย์อัดไว้จากการสอนในคลาส อาจจะช้ากว่าคนอื่นนิดหน่อย เพราะต้องรออาจารย์เขางวิดีโอไว้ในส่วนกลางของมหาวิทยาลัย เด็กก็จะสามารถเขาไปค้นหาวิชานั้น ๆ นึกภาพเหมือนเราไปเรียนพิเศษได้เลย อันนี้คือต้องมีวินัยเลยนะเพราะบางคนชอบคิดว่าคลิปมาแล้วดูเมื่อไหร่ก็ได้ แล้วก็แบบล่าสุดในเทอมที่ผ่านมาก็คืออาจารย์เขาจะไลฟ์สดแบบเรียลไทม์ ให้เราดูสอนเขาผ่านจอคอมพิวเตอร์แบบสด ๆ จะไม่มีอาจารย์ที่ปรึกษาหรืออะไรแบบมหาวิทยาลัยอื่น ๆ เราเคยเจออาจารย์แค่ตอนสอบเท่านั้นเลย ขนาดตอนดูเทปเราก็ยังเห็นแค่กระดาษเพราะส่วนใหญ่ก็ไม่ได้มาฉายหน้าอาจารย์เลย” เธอเงียบไปครู่หนึ่งก่อนอธิบายเกี่ยวกับการสอบเพิ่มเติมว่า “ช่วงปี 2020 ที่มหาวิทยาลัยอื่นเขาเริ่มจะมีเรียนออนไลน์ มีสอบออนไลน์เพราะโควิด ตอนนั้นมหาวิทยาลัยรามคำแหงก็ยังให้ไปสอบที่มหาวิทยาลัยเดียว เลื่อนสอบไปเรื่อย ๆ พอผ่านสักพักถึงจะมีการสอบออนไลน์เพิ่งจะมีมา 2 เทอมที่ผ่านมา ก่อนหน้านี้คือยังไงก็ต้องสอบที่มหาวิทยาลัยอย่างเดียว” รุ่นพี่มหาวิทยาลัยรามคำแหงทิ้งท้ายกับพวกเราไว้ว่า “สำหรับคนที่จะอยากจะเข้ามาเรียนรามคำแหงอย่างแรกเลยก็ต้องมั่นใจก่อนนะว่าเราจะดูแลตัวเองได้เพราะมันก็ฝึกการพึ่งพาตัวเองมาก ๆ ไม่ได้จะไปถามเพื่อน หรือถามอาจารย์อะไรได้มาก อันนี้พูดในความรู้สึกเรานะว่าการเรียนมอราม เอกภาษาอังกฤษมันกดดันมากจากการที่ใช้คะแนนสอบอย่างเดียว แล้วพอบางทีเราทำออกมาได้ไม่ดีเราก็จะรู้สึกแย่กับตัวเองซึ่งจริง ๆ มันก็อาจจะเป็นเพราะว่าเราไม่ได้มีคะแนนส่วนอื่นมาช่วย เราอาจจะอ่านมาดีมากพอแล้ว แต่ยังไงเราก็ต้องอ่านหนังสือเยอะ พยายามเข้าเรียนให้ครบ อย่าคิดว่าเดี๋ยวค่อย หรือเทเอาเลย สำคัญที่สุดเลย มหาวิทยาลัยรามจะมี 3 เทอม คือเทอม 1 เทอม 2 แล้วก็เทอมซัมเมอร์ พยายามลงให้เต็มเท่าหน่วยกิต เพราะเราจะจบเร็วขึ้น หรือถ้าทำไม่ได้ดีก็ยังมีเวลาให้ลงใหม่ ถ้าเราตั้งใจมันจะออกมาดีแน่นอน” ปภาวรินทร์โบกมือทิ้งท้ายให้กำลังใจแก่ทุกคน ปภาวรินทร์ ชุ่มเชิดฉาย คณะมนุษยศาสตร์ วิชาเอกภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ข้อมูลหลักสูตร คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง หลักสูตรศิลปศาสตร์บัณฑิต (ปริญญาตรี 4 ปี) สาขาวิชาภาษาอังกฤษ ค่าเล่าเรียน : ค่าลงทะเบียนเรียนหน่วยกิตละ 25 บาท / ค่าบัตรประจำตัวนักศึกษา 60 บาท / ค่าธรรมเนียมแรกเข้า 900 บาท / ค่าขึ้นทะเบียนนักศึกษา 800 บาท / ค่าบำรุงมหาวิทยาลัย 500 บาท รายละเอียดเพิ่มเติม : เว็บไซต์ : คลิก Facebook : คลิก Twitter : คลิก EZ Webmaster Related Posts ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง Post navigation PREVIOUS Previous post: แนะนำอาชีพ “นักนิติวิทยาศาสตร์” — ความหมาย หน้าที่ ต้องเรียนจบอะไรมา?NEXT Next post: คณะเทคโนฯ อุตสาหกรรม สวนสุนันทา ร่วมกิจกรรมแต้มสีเติมฝันต่อต้านการทุจริต ปลูกฝังเยาวชนเป็นพลเมืองที่ดี Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI…
รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI…
เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster March 11, 2022 EZ Webmaster March 11, 2022 คุยกันเรื่องมนุษย์? – รีวิวคณะมนุษยศาสตร์ สาขาภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยรามคำแหง! คุยกันเรื่องมนุษย์? – รีวิวคณะมนุษยศาสตร์ เอกภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยรามคำแหง! มหาวิทยาลัยรามคำแหง กับวลี “เข้าง่ายออกยาก” วันนี้พี่ออมจะพาน้อง ๆ ไปพูดคุยกับ พี่เน่ ปภาวรินทร์ ชุ่มเชิดฉาย รุ่นพี่คณะมนุษยศาสตร์ เอกภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่จะมาแลกเปลี่ยนประสบการณ์การเรียนมหาวิทยาลัยแบบไม่เคยเข้าห้องเรียนเลยสักครั้งกับการเรียนแบบพึ่งพาตนเอง ปภาวรินทร์ยิ้มทักทายก่อนเริ่มบอกเหตุผลในการเลือกเรียนเอกภาษาอังกฤษกับพวกเราว่า “ตั้งแต่มัธยมเรารู้ตัวชอบเรียนภาษาใหม่ ๆ ก็เรียนสายภาษาจีนแต่ว่ารู้สึกทรมานกับการเรียนภาษาจีนมาก ขึ้นมหาวิทยาลัยก็เลยลองเลือกเรียนอะไรเราถนัด ซึ่งตั้งแต่ประถมเราก็เรียนสองภาษามาตลอด เป็น bilingual ก็เคยคิดว่าเราสนุกกับภาษาอังกฤษเลยเลือกเรียนภาษาอังกฤษดีกว่า พอเลือกแล้วก็ทรมานนิดหน่อยแต่ก็สนุกกว่าที่ผ่านมา” ปภาวรินทร์ตอบคำถามกับเราว่าทำไมถึงเลือกเรียนที่มหาวิทยาลัยรามคำแหง “ตอนแรกเลยเราก็ไม่ได้เรียนที่รามนะ เรียนที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ เอกภาษาอังกฤษเพื่อการบริการ พอเรียนไปปีนึงละรู้สึกว่าเจอตัวเองมาก ๆ เพราะว่าก็ชอบเรียนทั้งการท่องเที่ยว ทั้งภาษาอังกฤษ แต่ว่าก็มีเรื่องจำเป็นให้เราต้องออกมา พอซิ่วมาเราจะไปหามหาวิทยาลัยที่ตรงสายเดิมก็ยากมากเพราะว่ามันเป็นคณะใหม่ของเกษตรเหมือนกัน พอเราลองหาให้ใกล้เคียงกับเดิมมากที่สุดก็ได้ที่รามคำแหง เราก็มีเวลาทำอย่างอื่นไปด้วย เรียนไปด้วย ก็คิดว่าเป็นตัวเลือกที่ดีเลย” ในฐานะรุ่นพี่ที่มีประสบการณ์จากสองมหาวิทยาลัยช่วยเปรียบเทียบความเหมือนความต่างให้พวกเราฟังว่า “จากที่เคยเรียนมาทั้งสองมหาวิทยาลัยก็มีความแตกต่างกันนะ ด้วยความที่ตอนเราเรียนมหาวิทยาเกษตรกำแพงแสน มันเป็นเอกที่เพิ่งเปิดใหม่ เราเป็นรุ่นที่ 3 เองถ้าจำไม่ผิด มันจะให้ความรู้สึกคล้ายกับตอนเรียนมัธยมแบบที่เราจะไม่ได้มีอิสระในการเลือกเรียนวิชาเพราะอาจารย์เขาจะวางแผนไว้ให้เราอยู่แล้ว ก็โชคดีตรงที่มันเป็นวิชาที่เราชอบเรียนทั้งหมด แต่ของมหาวิทยาลัยรามคำแหงที่เป็นมหาวิทยาลัยเปิด เราก็ต้องรับผิดชอบตัวเองสูงมากเพราะว่าเราจะไม่สามารถไปถามคนอื่นได้ มันน้อยมากที่จะถามใครได้ ตอนเข้าไปเรียนเขาก็จะให้ใบหลักสูตร 4 ปีมาให้ เราก็ต้องดูเองว่าถ้าจะเรียนจบ เราจะต้องเรียนวิชาอะไร หน่วยกิตเท่าไหร่ วิชาโทยังไง เสรียังไง วิชาเอกยังไง มันก็ต้องต่างจากเกษตรที่เขาให้มาแล้วว่า 4 ปี เราจะต้องเรียนอะไรบ้าง ตอนแรกเราก็ปรับตัวไม่ได้เลยเหมือนกันนะ” “ใครที่พูดว่ารามเรียนง่ายอาจจะต้องลองมาเรียนเอง” ปภาวรินทร์หัวเราะอย่างร่าเริงก่อนพูดต่อ “เอาแบบนี้ดีกว่า จุดประสงค์การเรียนมหาวิทยาลัยราม โดยส่วนตัวนะเราว่ากว่า 80% คือคนที่ต้องการทำอย่างอื่นควบคู่ไปกับการเรียน น้อยคนที่จะไปเรียนแล้วกลับบ้านเหมือนมหาวิทยาลัยทั่วไป ก่อนเราจะเข้าเรียนเอกภาษาอังกฤษที่นี่ก็ได้ยินคนพูดเยอะมากว่าจบยากนะ คนเข้าไปแล้วเทเยอะ พอเราเข้าไปเรียนจริง ๆ ก็ค้นพบว่าเป็นแบบนั้น แบบที่เราต้องทำอะไรด้วยตัวเองไปเรื่อย ๆ แล้วรู้สึก ค่อย ๆ หมดไฟ โดยเฉพาะคนที่ไม่ได้เอาการเรียนเป็นหลัก แบบทำงานไปด้วยเรียนไปด้วย แค่ทำงานอย่างเดียวก็เหนื่อยแล้ว ถ้าการเรียนเป็นตัวเลือกสุดท้ายของเรา เราก็จะรู้สึกว่าเดี๋ยวค่อยก็แล้วกัน เทแล้วกัน ยิ่งถ้าโดนสบประมาณมาว่ารามเรียนง่ายเขาก็คงยิ่งรู้สึกไม่อยากเรียนเข้าไปอีก คนส่วนหนึ่งก็อาจจะเข้ามาเรียนรามด้วยความรู้สึกที่ว่าเข้าไปเรียนก่อน จบไม่จบก็อีกเรื่อง ใจเราก็ไม่อยากให้ดูถูกคนที่เขาเรียนรามนะเพราะตัวเราเข้ามาเรียนเองก็ถึงได้รู้เหมือนกันว่ายากขนาดนี้” เราก็เป็นคนนึงที่ตอนแรกไม่อยากบอกใครว่าเรียนราม มันเป็นอารมณ์ที่เราเคยเรียนมหาวิทยาลัยเกษตรมาก็รู้สึกอายที่ต้องบอกว่าออกมาแล้ว แต่พอมาเรียนรามคำแหงแล้วก็พบว่าชื่อมหาวิทยาลัยมันอาจจะมีผลแค่ตอนเข้าทำงานแรกเพราะความต่างในแง่ของเนื้อหาก็ไม่ได้ต่างกันสักเท่าไหร่ ไม่อยากให้พะวงกับชื่อมหาวิทยาลัยกันขนาดนั้น ขึ้นอยู่กับว่าเราทำตัวยังไง ปภาวรินทร์อธิบายอย่างตั้งใจให้เราฟังถึงสภาพสังคมในฐานะคนที่ไม่ได้เข้าไปเรียนในคลาส “ตัวเราก็เป็นคนที่ไม่ค่อยชอบเข้าสังคมสักเท่าไหร่ มันก็เป็นอารมณ์ที่เราเรียนอยู่ที่บ้านและไปสอบอย่างเดียวก็เลยไม่ค่อยรู้ว่าสังคมในมหาวิทยาลัยเป็นยังไง ตั้งแต่เข้ามาเรียนจนตอนนี้เราอยู่ปี 3 ก็ไม่เคยเข้าไปเรียนที่มอเลย ตอนก่อนเข้าไปเรียนก็หาข้อมูลนะเขาก็บอกว่าอาจะมีบางวิชาที่พอใกล้จะจบแล้วเราต้องเข้าไปเรียนในมหาวิทยาลัย ด้วยความที่เราตั้งใจจะไปเรียนอย่างเดียวไม่ได้จะไปหาเพื่อน บวกกับตัวมหาวิทยาลัยก็ค่อนข้างไกลจากบ้านเรา ก็เลยคิดไว้ตั้งแต่แรกว่ายังไงก็จะไม่เข้าไปเรียนในมอแน่นอน มันเลยไม่เป็นปัญหาสำหรับเราเรื่องเพื่อน แต่มันก็ยากนะเพราะเราต้องทำทุกอย่างด้วยตัวเอง จะไม่มีคนคอยให้คำปรึกษา ไม่มีคนคอยมาเตือนเรา หรือตอนทำอะไรด้วยกันเหมือนตอนที่เราเกษตรกำแพงแสน ถ้าเป็นไปได้การเข้ามาเรียนแบบมีเพื่อนก็น่าจะดีกว่า” “ไม่รู้ว่าในเอกภาษาอังกฤษในคลาสเขาจะมีงานกลุ่มไหม” ปภาวรินทร์ทำหน้าครุ่นคิดก่อนพูดต่อว่า “แต่ในส่วนตัวที่เราเรียนจากที่บ้าน เขาก็อิงคะแนนจากการสอบ 100% ไม่มีคะแนนเก็บอะไรเลย แต่อย่างวิชาโทเทอมล่าสุดที่เราเลือกจะเป็นการท่องเที่ยวก็เพิ่งได้ข่าวมาว่าเขาจะให้มีงานในคลาส ไม่รู้ว่าเอกอื่นมีไหม แต่สำหรับเอกภาษาอังกฤษของเราค่อนข้างมั่นใจนะว่าไม่มีแน่นอน” ปภาวรินทร์อธิบายรูปแบบการสอนที่น่าสนใจของมหาวิทยาลัยรามคำแหงให้พวกเราฟังว่า “รูปแบบการเรียนที่อิงจากในช่วงโควิดจะมี 3 แบบ แบบแรกก็คือการเรียนในคลาสเหมือนมหาวิทยาลัยอื่น ๆ ใครอยากเรียนก็ไปนั่งเรียนในห้อง อย่างต่อมาก็คือจะเป็นวิดีโอที่อาจารย์อัดไว้จากการสอนในคลาส อาจจะช้ากว่าคนอื่นนิดหน่อย เพราะต้องรออาจารย์เขางวิดีโอไว้ในส่วนกลางของมหาวิทยาลัย เด็กก็จะสามารถเขาไปค้นหาวิชานั้น ๆ นึกภาพเหมือนเราไปเรียนพิเศษได้เลย อันนี้คือต้องมีวินัยเลยนะเพราะบางคนชอบคิดว่าคลิปมาแล้วดูเมื่อไหร่ก็ได้ แล้วก็แบบล่าสุดในเทอมที่ผ่านมาก็คืออาจารย์เขาจะไลฟ์สดแบบเรียลไทม์ ให้เราดูสอนเขาผ่านจอคอมพิวเตอร์แบบสด ๆ จะไม่มีอาจารย์ที่ปรึกษาหรืออะไรแบบมหาวิทยาลัยอื่น ๆ เราเคยเจออาจารย์แค่ตอนสอบเท่านั้นเลย ขนาดตอนดูเทปเราก็ยังเห็นแค่กระดาษเพราะส่วนใหญ่ก็ไม่ได้มาฉายหน้าอาจารย์เลย” เธอเงียบไปครู่หนึ่งก่อนอธิบายเกี่ยวกับการสอบเพิ่มเติมว่า “ช่วงปี 2020 ที่มหาวิทยาลัยอื่นเขาเริ่มจะมีเรียนออนไลน์ มีสอบออนไลน์เพราะโควิด ตอนนั้นมหาวิทยาลัยรามคำแหงก็ยังให้ไปสอบที่มหาวิทยาลัยเดียว เลื่อนสอบไปเรื่อย ๆ พอผ่านสักพักถึงจะมีการสอบออนไลน์เพิ่งจะมีมา 2 เทอมที่ผ่านมา ก่อนหน้านี้คือยังไงก็ต้องสอบที่มหาวิทยาลัยอย่างเดียว” รุ่นพี่มหาวิทยาลัยรามคำแหงทิ้งท้ายกับพวกเราไว้ว่า “สำหรับคนที่จะอยากจะเข้ามาเรียนรามคำแหงอย่างแรกเลยก็ต้องมั่นใจก่อนนะว่าเราจะดูแลตัวเองได้เพราะมันก็ฝึกการพึ่งพาตัวเองมาก ๆ ไม่ได้จะไปถามเพื่อน หรือถามอาจารย์อะไรได้มาก อันนี้พูดในความรู้สึกเรานะว่าการเรียนมอราม เอกภาษาอังกฤษมันกดดันมากจากการที่ใช้คะแนนสอบอย่างเดียว แล้วพอบางทีเราทำออกมาได้ไม่ดีเราก็จะรู้สึกแย่กับตัวเองซึ่งจริง ๆ มันก็อาจจะเป็นเพราะว่าเราไม่ได้มีคะแนนส่วนอื่นมาช่วย เราอาจจะอ่านมาดีมากพอแล้ว แต่ยังไงเราก็ต้องอ่านหนังสือเยอะ พยายามเข้าเรียนให้ครบ อย่าคิดว่าเดี๋ยวค่อย หรือเทเอาเลย สำคัญที่สุดเลย มหาวิทยาลัยรามจะมี 3 เทอม คือเทอม 1 เทอม 2 แล้วก็เทอมซัมเมอร์ พยายามลงให้เต็มเท่าหน่วยกิต เพราะเราจะจบเร็วขึ้น หรือถ้าทำไม่ได้ดีก็ยังมีเวลาให้ลงใหม่ ถ้าเราตั้งใจมันจะออกมาดีแน่นอน” ปภาวรินทร์โบกมือทิ้งท้ายให้กำลังใจแก่ทุกคน ปภาวรินทร์ ชุ่มเชิดฉาย คณะมนุษยศาสตร์ วิชาเอกภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ข้อมูลหลักสูตร คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง หลักสูตรศิลปศาสตร์บัณฑิต (ปริญญาตรี 4 ปี) สาขาวิชาภาษาอังกฤษ ค่าเล่าเรียน : ค่าลงทะเบียนเรียนหน่วยกิตละ 25 บาท / ค่าบัตรประจำตัวนักศึกษา 60 บาท / ค่าธรรมเนียมแรกเข้า 900 บาท / ค่าขึ้นทะเบียนนักศึกษา 800 บาท / ค่าบำรุงมหาวิทยาลัย 500 บาท รายละเอียดเพิ่มเติม : เว็บไซต์ : คลิก Facebook : คลิก Twitter : คลิก EZ Webmaster Related Posts ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง Post navigation PREVIOUS Previous post: แนะนำอาชีพ “นักนิติวิทยาศาสตร์” — ความหมาย หน้าที่ ต้องเรียนจบอะไรมา?NEXT Next post: คณะเทคโนฯ อุตสาหกรรม สวนสุนันทา ร่วมกิจกรรมแต้มสีเติมฝันต่อต้านการทุจริต ปลูกฝังเยาวชนเป็นพลเมืองที่ดี Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster March 11, 2022 EZ Webmaster March 11, 2022 คุยกันเรื่องมนุษย์? – รีวิวคณะมนุษยศาสตร์ สาขาภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยรามคำแหง! คุยกันเรื่องมนุษย์? – รีวิวคณะมนุษยศาสตร์ เอกภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยรามคำแหง! มหาวิทยาลัยรามคำแหง กับวลี “เข้าง่ายออกยาก” วันนี้พี่ออมจะพาน้อง ๆ ไปพูดคุยกับ พี่เน่ ปภาวรินทร์ ชุ่มเชิดฉาย รุ่นพี่คณะมนุษยศาสตร์ เอกภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่จะมาแลกเปลี่ยนประสบการณ์การเรียนมหาวิทยาลัยแบบไม่เคยเข้าห้องเรียนเลยสักครั้งกับการเรียนแบบพึ่งพาตนเอง ปภาวรินทร์ยิ้มทักทายก่อนเริ่มบอกเหตุผลในการเลือกเรียนเอกภาษาอังกฤษกับพวกเราว่า “ตั้งแต่มัธยมเรารู้ตัวชอบเรียนภาษาใหม่ ๆ ก็เรียนสายภาษาจีนแต่ว่ารู้สึกทรมานกับการเรียนภาษาจีนมาก ขึ้นมหาวิทยาลัยก็เลยลองเลือกเรียนอะไรเราถนัด ซึ่งตั้งแต่ประถมเราก็เรียนสองภาษามาตลอด เป็น bilingual ก็เคยคิดว่าเราสนุกกับภาษาอังกฤษเลยเลือกเรียนภาษาอังกฤษดีกว่า พอเลือกแล้วก็ทรมานนิดหน่อยแต่ก็สนุกกว่าที่ผ่านมา” ปภาวรินทร์ตอบคำถามกับเราว่าทำไมถึงเลือกเรียนที่มหาวิทยาลัยรามคำแหง “ตอนแรกเลยเราก็ไม่ได้เรียนที่รามนะ เรียนที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ เอกภาษาอังกฤษเพื่อการบริการ พอเรียนไปปีนึงละรู้สึกว่าเจอตัวเองมาก ๆ เพราะว่าก็ชอบเรียนทั้งการท่องเที่ยว ทั้งภาษาอังกฤษ แต่ว่าก็มีเรื่องจำเป็นให้เราต้องออกมา พอซิ่วมาเราจะไปหามหาวิทยาลัยที่ตรงสายเดิมก็ยากมากเพราะว่ามันเป็นคณะใหม่ของเกษตรเหมือนกัน พอเราลองหาให้ใกล้เคียงกับเดิมมากที่สุดก็ได้ที่รามคำแหง เราก็มีเวลาทำอย่างอื่นไปด้วย เรียนไปด้วย ก็คิดว่าเป็นตัวเลือกที่ดีเลย” ในฐานะรุ่นพี่ที่มีประสบการณ์จากสองมหาวิทยาลัยช่วยเปรียบเทียบความเหมือนความต่างให้พวกเราฟังว่า “จากที่เคยเรียนมาทั้งสองมหาวิทยาลัยก็มีความแตกต่างกันนะ ด้วยความที่ตอนเราเรียนมหาวิทยาเกษตรกำแพงแสน มันเป็นเอกที่เพิ่งเปิดใหม่ เราเป็นรุ่นที่ 3 เองถ้าจำไม่ผิด มันจะให้ความรู้สึกคล้ายกับตอนเรียนมัธยมแบบที่เราจะไม่ได้มีอิสระในการเลือกเรียนวิชาเพราะอาจารย์เขาจะวางแผนไว้ให้เราอยู่แล้ว ก็โชคดีตรงที่มันเป็นวิชาที่เราชอบเรียนทั้งหมด แต่ของมหาวิทยาลัยรามคำแหงที่เป็นมหาวิทยาลัยเปิด เราก็ต้องรับผิดชอบตัวเองสูงมากเพราะว่าเราจะไม่สามารถไปถามคนอื่นได้ มันน้อยมากที่จะถามใครได้ ตอนเข้าไปเรียนเขาก็จะให้ใบหลักสูตร 4 ปีมาให้ เราก็ต้องดูเองว่าถ้าจะเรียนจบ เราจะต้องเรียนวิชาอะไร หน่วยกิตเท่าไหร่ วิชาโทยังไง เสรียังไง วิชาเอกยังไง มันก็ต้องต่างจากเกษตรที่เขาให้มาแล้วว่า 4 ปี เราจะต้องเรียนอะไรบ้าง ตอนแรกเราก็ปรับตัวไม่ได้เลยเหมือนกันนะ” “ใครที่พูดว่ารามเรียนง่ายอาจจะต้องลองมาเรียนเอง” ปภาวรินทร์หัวเราะอย่างร่าเริงก่อนพูดต่อ “เอาแบบนี้ดีกว่า จุดประสงค์การเรียนมหาวิทยาลัยราม โดยส่วนตัวนะเราว่ากว่า 80% คือคนที่ต้องการทำอย่างอื่นควบคู่ไปกับการเรียน น้อยคนที่จะไปเรียนแล้วกลับบ้านเหมือนมหาวิทยาลัยทั่วไป ก่อนเราจะเข้าเรียนเอกภาษาอังกฤษที่นี่ก็ได้ยินคนพูดเยอะมากว่าจบยากนะ คนเข้าไปแล้วเทเยอะ พอเราเข้าไปเรียนจริง ๆ ก็ค้นพบว่าเป็นแบบนั้น แบบที่เราต้องทำอะไรด้วยตัวเองไปเรื่อย ๆ แล้วรู้สึก ค่อย ๆ หมดไฟ โดยเฉพาะคนที่ไม่ได้เอาการเรียนเป็นหลัก แบบทำงานไปด้วยเรียนไปด้วย แค่ทำงานอย่างเดียวก็เหนื่อยแล้ว ถ้าการเรียนเป็นตัวเลือกสุดท้ายของเรา เราก็จะรู้สึกว่าเดี๋ยวค่อยก็แล้วกัน เทแล้วกัน ยิ่งถ้าโดนสบประมาณมาว่ารามเรียนง่ายเขาก็คงยิ่งรู้สึกไม่อยากเรียนเข้าไปอีก คนส่วนหนึ่งก็อาจจะเข้ามาเรียนรามด้วยความรู้สึกที่ว่าเข้าไปเรียนก่อน จบไม่จบก็อีกเรื่อง ใจเราก็ไม่อยากให้ดูถูกคนที่เขาเรียนรามนะเพราะตัวเราเข้ามาเรียนเองก็ถึงได้รู้เหมือนกันว่ายากขนาดนี้” เราก็เป็นคนนึงที่ตอนแรกไม่อยากบอกใครว่าเรียนราม มันเป็นอารมณ์ที่เราเคยเรียนมหาวิทยาลัยเกษตรมาก็รู้สึกอายที่ต้องบอกว่าออกมาแล้ว แต่พอมาเรียนรามคำแหงแล้วก็พบว่าชื่อมหาวิทยาลัยมันอาจจะมีผลแค่ตอนเข้าทำงานแรกเพราะความต่างในแง่ของเนื้อหาก็ไม่ได้ต่างกันสักเท่าไหร่ ไม่อยากให้พะวงกับชื่อมหาวิทยาลัยกันขนาดนั้น ขึ้นอยู่กับว่าเราทำตัวยังไง ปภาวรินทร์อธิบายอย่างตั้งใจให้เราฟังถึงสภาพสังคมในฐานะคนที่ไม่ได้เข้าไปเรียนในคลาส “ตัวเราก็เป็นคนที่ไม่ค่อยชอบเข้าสังคมสักเท่าไหร่ มันก็เป็นอารมณ์ที่เราเรียนอยู่ที่บ้านและไปสอบอย่างเดียวก็เลยไม่ค่อยรู้ว่าสังคมในมหาวิทยาลัยเป็นยังไง ตั้งแต่เข้ามาเรียนจนตอนนี้เราอยู่ปี 3 ก็ไม่เคยเข้าไปเรียนที่มอเลย ตอนก่อนเข้าไปเรียนก็หาข้อมูลนะเขาก็บอกว่าอาจะมีบางวิชาที่พอใกล้จะจบแล้วเราต้องเข้าไปเรียนในมหาวิทยาลัย ด้วยความที่เราตั้งใจจะไปเรียนอย่างเดียวไม่ได้จะไปหาเพื่อน บวกกับตัวมหาวิทยาลัยก็ค่อนข้างไกลจากบ้านเรา ก็เลยคิดไว้ตั้งแต่แรกว่ายังไงก็จะไม่เข้าไปเรียนในมอแน่นอน มันเลยไม่เป็นปัญหาสำหรับเราเรื่องเพื่อน แต่มันก็ยากนะเพราะเราต้องทำทุกอย่างด้วยตัวเอง จะไม่มีคนคอยให้คำปรึกษา ไม่มีคนคอยมาเตือนเรา หรือตอนทำอะไรด้วยกันเหมือนตอนที่เราเกษตรกำแพงแสน ถ้าเป็นไปได้การเข้ามาเรียนแบบมีเพื่อนก็น่าจะดีกว่า” “ไม่รู้ว่าในเอกภาษาอังกฤษในคลาสเขาจะมีงานกลุ่มไหม” ปภาวรินทร์ทำหน้าครุ่นคิดก่อนพูดต่อว่า “แต่ในส่วนตัวที่เราเรียนจากที่บ้าน เขาก็อิงคะแนนจากการสอบ 100% ไม่มีคะแนนเก็บอะไรเลย แต่อย่างวิชาโทเทอมล่าสุดที่เราเลือกจะเป็นการท่องเที่ยวก็เพิ่งได้ข่าวมาว่าเขาจะให้มีงานในคลาส ไม่รู้ว่าเอกอื่นมีไหม แต่สำหรับเอกภาษาอังกฤษของเราค่อนข้างมั่นใจนะว่าไม่มีแน่นอน” ปภาวรินทร์อธิบายรูปแบบการสอนที่น่าสนใจของมหาวิทยาลัยรามคำแหงให้พวกเราฟังว่า “รูปแบบการเรียนที่อิงจากในช่วงโควิดจะมี 3 แบบ แบบแรกก็คือการเรียนในคลาสเหมือนมหาวิทยาลัยอื่น ๆ ใครอยากเรียนก็ไปนั่งเรียนในห้อง อย่างต่อมาก็คือจะเป็นวิดีโอที่อาจารย์อัดไว้จากการสอนในคลาส อาจจะช้ากว่าคนอื่นนิดหน่อย เพราะต้องรออาจารย์เขางวิดีโอไว้ในส่วนกลางของมหาวิทยาลัย เด็กก็จะสามารถเขาไปค้นหาวิชานั้น ๆ นึกภาพเหมือนเราไปเรียนพิเศษได้เลย อันนี้คือต้องมีวินัยเลยนะเพราะบางคนชอบคิดว่าคลิปมาแล้วดูเมื่อไหร่ก็ได้ แล้วก็แบบล่าสุดในเทอมที่ผ่านมาก็คืออาจารย์เขาจะไลฟ์สดแบบเรียลไทม์ ให้เราดูสอนเขาผ่านจอคอมพิวเตอร์แบบสด ๆ จะไม่มีอาจารย์ที่ปรึกษาหรืออะไรแบบมหาวิทยาลัยอื่น ๆ เราเคยเจออาจารย์แค่ตอนสอบเท่านั้นเลย ขนาดตอนดูเทปเราก็ยังเห็นแค่กระดาษเพราะส่วนใหญ่ก็ไม่ได้มาฉายหน้าอาจารย์เลย” เธอเงียบไปครู่หนึ่งก่อนอธิบายเกี่ยวกับการสอบเพิ่มเติมว่า “ช่วงปี 2020 ที่มหาวิทยาลัยอื่นเขาเริ่มจะมีเรียนออนไลน์ มีสอบออนไลน์เพราะโควิด ตอนนั้นมหาวิทยาลัยรามคำแหงก็ยังให้ไปสอบที่มหาวิทยาลัยเดียว เลื่อนสอบไปเรื่อย ๆ พอผ่านสักพักถึงจะมีการสอบออนไลน์เพิ่งจะมีมา 2 เทอมที่ผ่านมา ก่อนหน้านี้คือยังไงก็ต้องสอบที่มหาวิทยาลัยอย่างเดียว” รุ่นพี่มหาวิทยาลัยรามคำแหงทิ้งท้ายกับพวกเราไว้ว่า “สำหรับคนที่จะอยากจะเข้ามาเรียนรามคำแหงอย่างแรกเลยก็ต้องมั่นใจก่อนนะว่าเราจะดูแลตัวเองได้เพราะมันก็ฝึกการพึ่งพาตัวเองมาก ๆ ไม่ได้จะไปถามเพื่อน หรือถามอาจารย์อะไรได้มาก อันนี้พูดในความรู้สึกเรานะว่าการเรียนมอราม เอกภาษาอังกฤษมันกดดันมากจากการที่ใช้คะแนนสอบอย่างเดียว แล้วพอบางทีเราทำออกมาได้ไม่ดีเราก็จะรู้สึกแย่กับตัวเองซึ่งจริง ๆ มันก็อาจจะเป็นเพราะว่าเราไม่ได้มีคะแนนส่วนอื่นมาช่วย เราอาจจะอ่านมาดีมากพอแล้ว แต่ยังไงเราก็ต้องอ่านหนังสือเยอะ พยายามเข้าเรียนให้ครบ อย่าคิดว่าเดี๋ยวค่อย หรือเทเอาเลย สำคัญที่สุดเลย มหาวิทยาลัยรามจะมี 3 เทอม คือเทอม 1 เทอม 2 แล้วก็เทอมซัมเมอร์ พยายามลงให้เต็มเท่าหน่วยกิต เพราะเราจะจบเร็วขึ้น หรือถ้าทำไม่ได้ดีก็ยังมีเวลาให้ลงใหม่ ถ้าเราตั้งใจมันจะออกมาดีแน่นอน” ปภาวรินทร์โบกมือทิ้งท้ายให้กำลังใจแก่ทุกคน ปภาวรินทร์ ชุ่มเชิดฉาย คณะมนุษยศาสตร์ วิชาเอกภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ข้อมูลหลักสูตร คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง หลักสูตรศิลปศาสตร์บัณฑิต (ปริญญาตรี 4 ปี) สาขาวิชาภาษาอังกฤษ ค่าเล่าเรียน : ค่าลงทะเบียนเรียนหน่วยกิตละ 25 บาท / ค่าบัตรประจำตัวนักศึกษา 60 บาท / ค่าธรรมเนียมแรกเข้า 900 บาท / ค่าขึ้นทะเบียนนักศึกษา 800 บาท / ค่าบำรุงมหาวิทยาลัย 500 บาท รายละเอียดเพิ่มเติม : เว็บไซต์ : คลิก Facebook : คลิก Twitter : คลิก EZ Webmaster Related Posts ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง Post navigation PREVIOUS Previous post: แนะนำอาชีพ “นักนิติวิทยาศาสตร์” — ความหมาย หน้าที่ ต้องเรียนจบอะไรมา?NEXT Next post: คณะเทคโนฯ อุตสาหกรรม สวนสุนันทา ร่วมกิจกรรมแต้มสีเติมฝันต่อต้านการทุจริต ปลูกฝังเยาวชนเป็นพลเมืองที่ดี Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ…
เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ…
คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster March 11, 2022 EZ Webmaster March 11, 2022 คุยกันเรื่องมนุษย์? – รีวิวคณะมนุษยศาสตร์ สาขาภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยรามคำแหง! คุยกันเรื่องมนุษย์? – รีวิวคณะมนุษยศาสตร์ เอกภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยรามคำแหง! มหาวิทยาลัยรามคำแหง กับวลี “เข้าง่ายออกยาก” วันนี้พี่ออมจะพาน้อง ๆ ไปพูดคุยกับ พี่เน่ ปภาวรินทร์ ชุ่มเชิดฉาย รุ่นพี่คณะมนุษยศาสตร์ เอกภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่จะมาแลกเปลี่ยนประสบการณ์การเรียนมหาวิทยาลัยแบบไม่เคยเข้าห้องเรียนเลยสักครั้งกับการเรียนแบบพึ่งพาตนเอง ปภาวรินทร์ยิ้มทักทายก่อนเริ่มบอกเหตุผลในการเลือกเรียนเอกภาษาอังกฤษกับพวกเราว่า “ตั้งแต่มัธยมเรารู้ตัวชอบเรียนภาษาใหม่ ๆ ก็เรียนสายภาษาจีนแต่ว่ารู้สึกทรมานกับการเรียนภาษาจีนมาก ขึ้นมหาวิทยาลัยก็เลยลองเลือกเรียนอะไรเราถนัด ซึ่งตั้งแต่ประถมเราก็เรียนสองภาษามาตลอด เป็น bilingual ก็เคยคิดว่าเราสนุกกับภาษาอังกฤษเลยเลือกเรียนภาษาอังกฤษดีกว่า พอเลือกแล้วก็ทรมานนิดหน่อยแต่ก็สนุกกว่าที่ผ่านมา” ปภาวรินทร์ตอบคำถามกับเราว่าทำไมถึงเลือกเรียนที่มหาวิทยาลัยรามคำแหง “ตอนแรกเลยเราก็ไม่ได้เรียนที่รามนะ เรียนที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ เอกภาษาอังกฤษเพื่อการบริการ พอเรียนไปปีนึงละรู้สึกว่าเจอตัวเองมาก ๆ เพราะว่าก็ชอบเรียนทั้งการท่องเที่ยว ทั้งภาษาอังกฤษ แต่ว่าก็มีเรื่องจำเป็นให้เราต้องออกมา พอซิ่วมาเราจะไปหามหาวิทยาลัยที่ตรงสายเดิมก็ยากมากเพราะว่ามันเป็นคณะใหม่ของเกษตรเหมือนกัน พอเราลองหาให้ใกล้เคียงกับเดิมมากที่สุดก็ได้ที่รามคำแหง เราก็มีเวลาทำอย่างอื่นไปด้วย เรียนไปด้วย ก็คิดว่าเป็นตัวเลือกที่ดีเลย” ในฐานะรุ่นพี่ที่มีประสบการณ์จากสองมหาวิทยาลัยช่วยเปรียบเทียบความเหมือนความต่างให้พวกเราฟังว่า “จากที่เคยเรียนมาทั้งสองมหาวิทยาลัยก็มีความแตกต่างกันนะ ด้วยความที่ตอนเราเรียนมหาวิทยาเกษตรกำแพงแสน มันเป็นเอกที่เพิ่งเปิดใหม่ เราเป็นรุ่นที่ 3 เองถ้าจำไม่ผิด มันจะให้ความรู้สึกคล้ายกับตอนเรียนมัธยมแบบที่เราจะไม่ได้มีอิสระในการเลือกเรียนวิชาเพราะอาจารย์เขาจะวางแผนไว้ให้เราอยู่แล้ว ก็โชคดีตรงที่มันเป็นวิชาที่เราชอบเรียนทั้งหมด แต่ของมหาวิทยาลัยรามคำแหงที่เป็นมหาวิทยาลัยเปิด เราก็ต้องรับผิดชอบตัวเองสูงมากเพราะว่าเราจะไม่สามารถไปถามคนอื่นได้ มันน้อยมากที่จะถามใครได้ ตอนเข้าไปเรียนเขาก็จะให้ใบหลักสูตร 4 ปีมาให้ เราก็ต้องดูเองว่าถ้าจะเรียนจบ เราจะต้องเรียนวิชาอะไร หน่วยกิตเท่าไหร่ วิชาโทยังไง เสรียังไง วิชาเอกยังไง มันก็ต้องต่างจากเกษตรที่เขาให้มาแล้วว่า 4 ปี เราจะต้องเรียนอะไรบ้าง ตอนแรกเราก็ปรับตัวไม่ได้เลยเหมือนกันนะ” “ใครที่พูดว่ารามเรียนง่ายอาจจะต้องลองมาเรียนเอง” ปภาวรินทร์หัวเราะอย่างร่าเริงก่อนพูดต่อ “เอาแบบนี้ดีกว่า จุดประสงค์การเรียนมหาวิทยาลัยราม โดยส่วนตัวนะเราว่ากว่า 80% คือคนที่ต้องการทำอย่างอื่นควบคู่ไปกับการเรียน น้อยคนที่จะไปเรียนแล้วกลับบ้านเหมือนมหาวิทยาลัยทั่วไป ก่อนเราจะเข้าเรียนเอกภาษาอังกฤษที่นี่ก็ได้ยินคนพูดเยอะมากว่าจบยากนะ คนเข้าไปแล้วเทเยอะ พอเราเข้าไปเรียนจริง ๆ ก็ค้นพบว่าเป็นแบบนั้น แบบที่เราต้องทำอะไรด้วยตัวเองไปเรื่อย ๆ แล้วรู้สึก ค่อย ๆ หมดไฟ โดยเฉพาะคนที่ไม่ได้เอาการเรียนเป็นหลัก แบบทำงานไปด้วยเรียนไปด้วย แค่ทำงานอย่างเดียวก็เหนื่อยแล้ว ถ้าการเรียนเป็นตัวเลือกสุดท้ายของเรา เราก็จะรู้สึกว่าเดี๋ยวค่อยก็แล้วกัน เทแล้วกัน ยิ่งถ้าโดนสบประมาณมาว่ารามเรียนง่ายเขาก็คงยิ่งรู้สึกไม่อยากเรียนเข้าไปอีก คนส่วนหนึ่งก็อาจจะเข้ามาเรียนรามด้วยความรู้สึกที่ว่าเข้าไปเรียนก่อน จบไม่จบก็อีกเรื่อง ใจเราก็ไม่อยากให้ดูถูกคนที่เขาเรียนรามนะเพราะตัวเราเข้ามาเรียนเองก็ถึงได้รู้เหมือนกันว่ายากขนาดนี้” เราก็เป็นคนนึงที่ตอนแรกไม่อยากบอกใครว่าเรียนราม มันเป็นอารมณ์ที่เราเคยเรียนมหาวิทยาลัยเกษตรมาก็รู้สึกอายที่ต้องบอกว่าออกมาแล้ว แต่พอมาเรียนรามคำแหงแล้วก็พบว่าชื่อมหาวิทยาลัยมันอาจจะมีผลแค่ตอนเข้าทำงานแรกเพราะความต่างในแง่ของเนื้อหาก็ไม่ได้ต่างกันสักเท่าไหร่ ไม่อยากให้พะวงกับชื่อมหาวิทยาลัยกันขนาดนั้น ขึ้นอยู่กับว่าเราทำตัวยังไง ปภาวรินทร์อธิบายอย่างตั้งใจให้เราฟังถึงสภาพสังคมในฐานะคนที่ไม่ได้เข้าไปเรียนในคลาส “ตัวเราก็เป็นคนที่ไม่ค่อยชอบเข้าสังคมสักเท่าไหร่ มันก็เป็นอารมณ์ที่เราเรียนอยู่ที่บ้านและไปสอบอย่างเดียวก็เลยไม่ค่อยรู้ว่าสังคมในมหาวิทยาลัยเป็นยังไง ตั้งแต่เข้ามาเรียนจนตอนนี้เราอยู่ปี 3 ก็ไม่เคยเข้าไปเรียนที่มอเลย ตอนก่อนเข้าไปเรียนก็หาข้อมูลนะเขาก็บอกว่าอาจะมีบางวิชาที่พอใกล้จะจบแล้วเราต้องเข้าไปเรียนในมหาวิทยาลัย ด้วยความที่เราตั้งใจจะไปเรียนอย่างเดียวไม่ได้จะไปหาเพื่อน บวกกับตัวมหาวิทยาลัยก็ค่อนข้างไกลจากบ้านเรา ก็เลยคิดไว้ตั้งแต่แรกว่ายังไงก็จะไม่เข้าไปเรียนในมอแน่นอน มันเลยไม่เป็นปัญหาสำหรับเราเรื่องเพื่อน แต่มันก็ยากนะเพราะเราต้องทำทุกอย่างด้วยตัวเอง จะไม่มีคนคอยให้คำปรึกษา ไม่มีคนคอยมาเตือนเรา หรือตอนทำอะไรด้วยกันเหมือนตอนที่เราเกษตรกำแพงแสน ถ้าเป็นไปได้การเข้ามาเรียนแบบมีเพื่อนก็น่าจะดีกว่า” “ไม่รู้ว่าในเอกภาษาอังกฤษในคลาสเขาจะมีงานกลุ่มไหม” ปภาวรินทร์ทำหน้าครุ่นคิดก่อนพูดต่อว่า “แต่ในส่วนตัวที่เราเรียนจากที่บ้าน เขาก็อิงคะแนนจากการสอบ 100% ไม่มีคะแนนเก็บอะไรเลย แต่อย่างวิชาโทเทอมล่าสุดที่เราเลือกจะเป็นการท่องเที่ยวก็เพิ่งได้ข่าวมาว่าเขาจะให้มีงานในคลาส ไม่รู้ว่าเอกอื่นมีไหม แต่สำหรับเอกภาษาอังกฤษของเราค่อนข้างมั่นใจนะว่าไม่มีแน่นอน” ปภาวรินทร์อธิบายรูปแบบการสอนที่น่าสนใจของมหาวิทยาลัยรามคำแหงให้พวกเราฟังว่า “รูปแบบการเรียนที่อิงจากในช่วงโควิดจะมี 3 แบบ แบบแรกก็คือการเรียนในคลาสเหมือนมหาวิทยาลัยอื่น ๆ ใครอยากเรียนก็ไปนั่งเรียนในห้อง อย่างต่อมาก็คือจะเป็นวิดีโอที่อาจารย์อัดไว้จากการสอนในคลาส อาจจะช้ากว่าคนอื่นนิดหน่อย เพราะต้องรออาจารย์เขางวิดีโอไว้ในส่วนกลางของมหาวิทยาลัย เด็กก็จะสามารถเขาไปค้นหาวิชานั้น ๆ นึกภาพเหมือนเราไปเรียนพิเศษได้เลย อันนี้คือต้องมีวินัยเลยนะเพราะบางคนชอบคิดว่าคลิปมาแล้วดูเมื่อไหร่ก็ได้ แล้วก็แบบล่าสุดในเทอมที่ผ่านมาก็คืออาจารย์เขาจะไลฟ์สดแบบเรียลไทม์ ให้เราดูสอนเขาผ่านจอคอมพิวเตอร์แบบสด ๆ จะไม่มีอาจารย์ที่ปรึกษาหรืออะไรแบบมหาวิทยาลัยอื่น ๆ เราเคยเจออาจารย์แค่ตอนสอบเท่านั้นเลย ขนาดตอนดูเทปเราก็ยังเห็นแค่กระดาษเพราะส่วนใหญ่ก็ไม่ได้มาฉายหน้าอาจารย์เลย” เธอเงียบไปครู่หนึ่งก่อนอธิบายเกี่ยวกับการสอบเพิ่มเติมว่า “ช่วงปี 2020 ที่มหาวิทยาลัยอื่นเขาเริ่มจะมีเรียนออนไลน์ มีสอบออนไลน์เพราะโควิด ตอนนั้นมหาวิทยาลัยรามคำแหงก็ยังให้ไปสอบที่มหาวิทยาลัยเดียว เลื่อนสอบไปเรื่อย ๆ พอผ่านสักพักถึงจะมีการสอบออนไลน์เพิ่งจะมีมา 2 เทอมที่ผ่านมา ก่อนหน้านี้คือยังไงก็ต้องสอบที่มหาวิทยาลัยอย่างเดียว” รุ่นพี่มหาวิทยาลัยรามคำแหงทิ้งท้ายกับพวกเราไว้ว่า “สำหรับคนที่จะอยากจะเข้ามาเรียนรามคำแหงอย่างแรกเลยก็ต้องมั่นใจก่อนนะว่าเราจะดูแลตัวเองได้เพราะมันก็ฝึกการพึ่งพาตัวเองมาก ๆ ไม่ได้จะไปถามเพื่อน หรือถามอาจารย์อะไรได้มาก อันนี้พูดในความรู้สึกเรานะว่าการเรียนมอราม เอกภาษาอังกฤษมันกดดันมากจากการที่ใช้คะแนนสอบอย่างเดียว แล้วพอบางทีเราทำออกมาได้ไม่ดีเราก็จะรู้สึกแย่กับตัวเองซึ่งจริง ๆ มันก็อาจจะเป็นเพราะว่าเราไม่ได้มีคะแนนส่วนอื่นมาช่วย เราอาจจะอ่านมาดีมากพอแล้ว แต่ยังไงเราก็ต้องอ่านหนังสือเยอะ พยายามเข้าเรียนให้ครบ อย่าคิดว่าเดี๋ยวค่อย หรือเทเอาเลย สำคัญที่สุดเลย มหาวิทยาลัยรามจะมี 3 เทอม คือเทอม 1 เทอม 2 แล้วก็เทอมซัมเมอร์ พยายามลงให้เต็มเท่าหน่วยกิต เพราะเราจะจบเร็วขึ้น หรือถ้าทำไม่ได้ดีก็ยังมีเวลาให้ลงใหม่ ถ้าเราตั้งใจมันจะออกมาดีแน่นอน” ปภาวรินทร์โบกมือทิ้งท้ายให้กำลังใจแก่ทุกคน ปภาวรินทร์ ชุ่มเชิดฉาย คณะมนุษยศาสตร์ วิชาเอกภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ข้อมูลหลักสูตร คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง หลักสูตรศิลปศาสตร์บัณฑิต (ปริญญาตรี 4 ปี) สาขาวิชาภาษาอังกฤษ ค่าเล่าเรียน : ค่าลงทะเบียนเรียนหน่วยกิตละ 25 บาท / ค่าบัตรประจำตัวนักศึกษา 60 บาท / ค่าธรรมเนียมแรกเข้า 900 บาท / ค่าขึ้นทะเบียนนักศึกษา 800 บาท / ค่าบำรุงมหาวิทยาลัย 500 บาท รายละเอียดเพิ่มเติม : เว็บไซต์ : คลิก Facebook : คลิก Twitter : คลิก EZ Webmaster Related Posts ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง Post navigation PREVIOUS Previous post: แนะนำอาชีพ “นักนิติวิทยาศาสตร์” — ความหมาย หน้าที่ ต้องเรียนจบอะไรมา?NEXT Next post: คณะเทคโนฯ อุตสาหกรรม สวนสุนันทา ร่วมกิจกรรมแต้มสีเติมฝันต่อต้านการทุจริต ปลูกฝังเยาวชนเป็นพลเมืองที่ดี Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster March 11, 2022 EZ Webmaster March 11, 2022 คุยกันเรื่องมนุษย์? – รีวิวคณะมนุษยศาสตร์ สาขาภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยรามคำแหง! คุยกันเรื่องมนุษย์? – รีวิวคณะมนุษยศาสตร์ เอกภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยรามคำแหง! มหาวิทยาลัยรามคำแหง กับวลี “เข้าง่ายออกยาก” วันนี้พี่ออมจะพาน้อง ๆ ไปพูดคุยกับ พี่เน่ ปภาวรินทร์ ชุ่มเชิดฉาย รุ่นพี่คณะมนุษยศาสตร์ เอกภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่จะมาแลกเปลี่ยนประสบการณ์การเรียนมหาวิทยาลัยแบบไม่เคยเข้าห้องเรียนเลยสักครั้งกับการเรียนแบบพึ่งพาตนเอง ปภาวรินทร์ยิ้มทักทายก่อนเริ่มบอกเหตุผลในการเลือกเรียนเอกภาษาอังกฤษกับพวกเราว่า “ตั้งแต่มัธยมเรารู้ตัวชอบเรียนภาษาใหม่ ๆ ก็เรียนสายภาษาจีนแต่ว่ารู้สึกทรมานกับการเรียนภาษาจีนมาก ขึ้นมหาวิทยาลัยก็เลยลองเลือกเรียนอะไรเราถนัด ซึ่งตั้งแต่ประถมเราก็เรียนสองภาษามาตลอด เป็น bilingual ก็เคยคิดว่าเราสนุกกับภาษาอังกฤษเลยเลือกเรียนภาษาอังกฤษดีกว่า พอเลือกแล้วก็ทรมานนิดหน่อยแต่ก็สนุกกว่าที่ผ่านมา” ปภาวรินทร์ตอบคำถามกับเราว่าทำไมถึงเลือกเรียนที่มหาวิทยาลัยรามคำแหง “ตอนแรกเลยเราก็ไม่ได้เรียนที่รามนะ เรียนที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ เอกภาษาอังกฤษเพื่อการบริการ พอเรียนไปปีนึงละรู้สึกว่าเจอตัวเองมาก ๆ เพราะว่าก็ชอบเรียนทั้งการท่องเที่ยว ทั้งภาษาอังกฤษ แต่ว่าก็มีเรื่องจำเป็นให้เราต้องออกมา พอซิ่วมาเราจะไปหามหาวิทยาลัยที่ตรงสายเดิมก็ยากมากเพราะว่ามันเป็นคณะใหม่ของเกษตรเหมือนกัน พอเราลองหาให้ใกล้เคียงกับเดิมมากที่สุดก็ได้ที่รามคำแหง เราก็มีเวลาทำอย่างอื่นไปด้วย เรียนไปด้วย ก็คิดว่าเป็นตัวเลือกที่ดีเลย” ในฐานะรุ่นพี่ที่มีประสบการณ์จากสองมหาวิทยาลัยช่วยเปรียบเทียบความเหมือนความต่างให้พวกเราฟังว่า “จากที่เคยเรียนมาทั้งสองมหาวิทยาลัยก็มีความแตกต่างกันนะ ด้วยความที่ตอนเราเรียนมหาวิทยาเกษตรกำแพงแสน มันเป็นเอกที่เพิ่งเปิดใหม่ เราเป็นรุ่นที่ 3 เองถ้าจำไม่ผิด มันจะให้ความรู้สึกคล้ายกับตอนเรียนมัธยมแบบที่เราจะไม่ได้มีอิสระในการเลือกเรียนวิชาเพราะอาจารย์เขาจะวางแผนไว้ให้เราอยู่แล้ว ก็โชคดีตรงที่มันเป็นวิชาที่เราชอบเรียนทั้งหมด แต่ของมหาวิทยาลัยรามคำแหงที่เป็นมหาวิทยาลัยเปิด เราก็ต้องรับผิดชอบตัวเองสูงมากเพราะว่าเราจะไม่สามารถไปถามคนอื่นได้ มันน้อยมากที่จะถามใครได้ ตอนเข้าไปเรียนเขาก็จะให้ใบหลักสูตร 4 ปีมาให้ เราก็ต้องดูเองว่าถ้าจะเรียนจบ เราจะต้องเรียนวิชาอะไร หน่วยกิตเท่าไหร่ วิชาโทยังไง เสรียังไง วิชาเอกยังไง มันก็ต้องต่างจากเกษตรที่เขาให้มาแล้วว่า 4 ปี เราจะต้องเรียนอะไรบ้าง ตอนแรกเราก็ปรับตัวไม่ได้เลยเหมือนกันนะ” “ใครที่พูดว่ารามเรียนง่ายอาจจะต้องลองมาเรียนเอง” ปภาวรินทร์หัวเราะอย่างร่าเริงก่อนพูดต่อ “เอาแบบนี้ดีกว่า จุดประสงค์การเรียนมหาวิทยาลัยราม โดยส่วนตัวนะเราว่ากว่า 80% คือคนที่ต้องการทำอย่างอื่นควบคู่ไปกับการเรียน น้อยคนที่จะไปเรียนแล้วกลับบ้านเหมือนมหาวิทยาลัยทั่วไป ก่อนเราจะเข้าเรียนเอกภาษาอังกฤษที่นี่ก็ได้ยินคนพูดเยอะมากว่าจบยากนะ คนเข้าไปแล้วเทเยอะ พอเราเข้าไปเรียนจริง ๆ ก็ค้นพบว่าเป็นแบบนั้น แบบที่เราต้องทำอะไรด้วยตัวเองไปเรื่อย ๆ แล้วรู้สึก ค่อย ๆ หมดไฟ โดยเฉพาะคนที่ไม่ได้เอาการเรียนเป็นหลัก แบบทำงานไปด้วยเรียนไปด้วย แค่ทำงานอย่างเดียวก็เหนื่อยแล้ว ถ้าการเรียนเป็นตัวเลือกสุดท้ายของเรา เราก็จะรู้สึกว่าเดี๋ยวค่อยก็แล้วกัน เทแล้วกัน ยิ่งถ้าโดนสบประมาณมาว่ารามเรียนง่ายเขาก็คงยิ่งรู้สึกไม่อยากเรียนเข้าไปอีก คนส่วนหนึ่งก็อาจจะเข้ามาเรียนรามด้วยความรู้สึกที่ว่าเข้าไปเรียนก่อน จบไม่จบก็อีกเรื่อง ใจเราก็ไม่อยากให้ดูถูกคนที่เขาเรียนรามนะเพราะตัวเราเข้ามาเรียนเองก็ถึงได้รู้เหมือนกันว่ายากขนาดนี้” เราก็เป็นคนนึงที่ตอนแรกไม่อยากบอกใครว่าเรียนราม มันเป็นอารมณ์ที่เราเคยเรียนมหาวิทยาลัยเกษตรมาก็รู้สึกอายที่ต้องบอกว่าออกมาแล้ว แต่พอมาเรียนรามคำแหงแล้วก็พบว่าชื่อมหาวิทยาลัยมันอาจจะมีผลแค่ตอนเข้าทำงานแรกเพราะความต่างในแง่ของเนื้อหาก็ไม่ได้ต่างกันสักเท่าไหร่ ไม่อยากให้พะวงกับชื่อมหาวิทยาลัยกันขนาดนั้น ขึ้นอยู่กับว่าเราทำตัวยังไง ปภาวรินทร์อธิบายอย่างตั้งใจให้เราฟังถึงสภาพสังคมในฐานะคนที่ไม่ได้เข้าไปเรียนในคลาส “ตัวเราก็เป็นคนที่ไม่ค่อยชอบเข้าสังคมสักเท่าไหร่ มันก็เป็นอารมณ์ที่เราเรียนอยู่ที่บ้านและไปสอบอย่างเดียวก็เลยไม่ค่อยรู้ว่าสังคมในมหาวิทยาลัยเป็นยังไง ตั้งแต่เข้ามาเรียนจนตอนนี้เราอยู่ปี 3 ก็ไม่เคยเข้าไปเรียนที่มอเลย ตอนก่อนเข้าไปเรียนก็หาข้อมูลนะเขาก็บอกว่าอาจะมีบางวิชาที่พอใกล้จะจบแล้วเราต้องเข้าไปเรียนในมหาวิทยาลัย ด้วยความที่เราตั้งใจจะไปเรียนอย่างเดียวไม่ได้จะไปหาเพื่อน บวกกับตัวมหาวิทยาลัยก็ค่อนข้างไกลจากบ้านเรา ก็เลยคิดไว้ตั้งแต่แรกว่ายังไงก็จะไม่เข้าไปเรียนในมอแน่นอน มันเลยไม่เป็นปัญหาสำหรับเราเรื่องเพื่อน แต่มันก็ยากนะเพราะเราต้องทำทุกอย่างด้วยตัวเอง จะไม่มีคนคอยให้คำปรึกษา ไม่มีคนคอยมาเตือนเรา หรือตอนทำอะไรด้วยกันเหมือนตอนที่เราเกษตรกำแพงแสน ถ้าเป็นไปได้การเข้ามาเรียนแบบมีเพื่อนก็น่าจะดีกว่า” “ไม่รู้ว่าในเอกภาษาอังกฤษในคลาสเขาจะมีงานกลุ่มไหม” ปภาวรินทร์ทำหน้าครุ่นคิดก่อนพูดต่อว่า “แต่ในส่วนตัวที่เราเรียนจากที่บ้าน เขาก็อิงคะแนนจากการสอบ 100% ไม่มีคะแนนเก็บอะไรเลย แต่อย่างวิชาโทเทอมล่าสุดที่เราเลือกจะเป็นการท่องเที่ยวก็เพิ่งได้ข่าวมาว่าเขาจะให้มีงานในคลาส ไม่รู้ว่าเอกอื่นมีไหม แต่สำหรับเอกภาษาอังกฤษของเราค่อนข้างมั่นใจนะว่าไม่มีแน่นอน” ปภาวรินทร์อธิบายรูปแบบการสอนที่น่าสนใจของมหาวิทยาลัยรามคำแหงให้พวกเราฟังว่า “รูปแบบการเรียนที่อิงจากในช่วงโควิดจะมี 3 แบบ แบบแรกก็คือการเรียนในคลาสเหมือนมหาวิทยาลัยอื่น ๆ ใครอยากเรียนก็ไปนั่งเรียนในห้อง อย่างต่อมาก็คือจะเป็นวิดีโอที่อาจารย์อัดไว้จากการสอนในคลาส อาจจะช้ากว่าคนอื่นนิดหน่อย เพราะต้องรออาจารย์เขางวิดีโอไว้ในส่วนกลางของมหาวิทยาลัย เด็กก็จะสามารถเขาไปค้นหาวิชานั้น ๆ นึกภาพเหมือนเราไปเรียนพิเศษได้เลย อันนี้คือต้องมีวินัยเลยนะเพราะบางคนชอบคิดว่าคลิปมาแล้วดูเมื่อไหร่ก็ได้ แล้วก็แบบล่าสุดในเทอมที่ผ่านมาก็คืออาจารย์เขาจะไลฟ์สดแบบเรียลไทม์ ให้เราดูสอนเขาผ่านจอคอมพิวเตอร์แบบสด ๆ จะไม่มีอาจารย์ที่ปรึกษาหรืออะไรแบบมหาวิทยาลัยอื่น ๆ เราเคยเจออาจารย์แค่ตอนสอบเท่านั้นเลย ขนาดตอนดูเทปเราก็ยังเห็นแค่กระดาษเพราะส่วนใหญ่ก็ไม่ได้มาฉายหน้าอาจารย์เลย” เธอเงียบไปครู่หนึ่งก่อนอธิบายเกี่ยวกับการสอบเพิ่มเติมว่า “ช่วงปี 2020 ที่มหาวิทยาลัยอื่นเขาเริ่มจะมีเรียนออนไลน์ มีสอบออนไลน์เพราะโควิด ตอนนั้นมหาวิทยาลัยรามคำแหงก็ยังให้ไปสอบที่มหาวิทยาลัยเดียว เลื่อนสอบไปเรื่อย ๆ พอผ่านสักพักถึงจะมีการสอบออนไลน์เพิ่งจะมีมา 2 เทอมที่ผ่านมา ก่อนหน้านี้คือยังไงก็ต้องสอบที่มหาวิทยาลัยอย่างเดียว” รุ่นพี่มหาวิทยาลัยรามคำแหงทิ้งท้ายกับพวกเราไว้ว่า “สำหรับคนที่จะอยากจะเข้ามาเรียนรามคำแหงอย่างแรกเลยก็ต้องมั่นใจก่อนนะว่าเราจะดูแลตัวเองได้เพราะมันก็ฝึกการพึ่งพาตัวเองมาก ๆ ไม่ได้จะไปถามเพื่อน หรือถามอาจารย์อะไรได้มาก อันนี้พูดในความรู้สึกเรานะว่าการเรียนมอราม เอกภาษาอังกฤษมันกดดันมากจากการที่ใช้คะแนนสอบอย่างเดียว แล้วพอบางทีเราทำออกมาได้ไม่ดีเราก็จะรู้สึกแย่กับตัวเองซึ่งจริง ๆ มันก็อาจจะเป็นเพราะว่าเราไม่ได้มีคะแนนส่วนอื่นมาช่วย เราอาจจะอ่านมาดีมากพอแล้ว แต่ยังไงเราก็ต้องอ่านหนังสือเยอะ พยายามเข้าเรียนให้ครบ อย่าคิดว่าเดี๋ยวค่อย หรือเทเอาเลย สำคัญที่สุดเลย มหาวิทยาลัยรามจะมี 3 เทอม คือเทอม 1 เทอม 2 แล้วก็เทอมซัมเมอร์ พยายามลงให้เต็มเท่าหน่วยกิต เพราะเราจะจบเร็วขึ้น หรือถ้าทำไม่ได้ดีก็ยังมีเวลาให้ลงใหม่ ถ้าเราตั้งใจมันจะออกมาดีแน่นอน” ปภาวรินทร์โบกมือทิ้งท้ายให้กำลังใจแก่ทุกคน ปภาวรินทร์ ชุ่มเชิดฉาย คณะมนุษยศาสตร์ วิชาเอกภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ข้อมูลหลักสูตร คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง หลักสูตรศิลปศาสตร์บัณฑิต (ปริญญาตรี 4 ปี) สาขาวิชาภาษาอังกฤษ ค่าเล่าเรียน : ค่าลงทะเบียนเรียนหน่วยกิตละ 25 บาท / ค่าบัตรประจำตัวนักศึกษา 60 บาท / ค่าธรรมเนียมแรกเข้า 900 บาท / ค่าขึ้นทะเบียนนักศึกษา 800 บาท / ค่าบำรุงมหาวิทยาลัย 500 บาท รายละเอียดเพิ่มเติม : เว็บไซต์ : คลิก Facebook : คลิก Twitter : คลิก EZ Webmaster Related Posts ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง Post navigation PREVIOUS Previous post: แนะนำอาชีพ “นักนิติวิทยาศาสตร์” — ความหมาย หน้าที่ ต้องเรียนจบอะไรมา?NEXT Next post: คณะเทคโนฯ อุตสาหกรรม สวนสุนันทา ร่วมกิจกรรมแต้มสีเติมฝันต่อต้านการทุจริต ปลูกฝังเยาวชนเป็นพลเมืองที่ดี Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief…
เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief…
“40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster March 11, 2022 EZ Webmaster March 11, 2022 คุยกันเรื่องมนุษย์? – รีวิวคณะมนุษยศาสตร์ สาขาภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยรามคำแหง! คุยกันเรื่องมนุษย์? – รีวิวคณะมนุษยศาสตร์ เอกภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยรามคำแหง! มหาวิทยาลัยรามคำแหง กับวลี “เข้าง่ายออกยาก” วันนี้พี่ออมจะพาน้อง ๆ ไปพูดคุยกับ พี่เน่ ปภาวรินทร์ ชุ่มเชิดฉาย รุ่นพี่คณะมนุษยศาสตร์ เอกภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่จะมาแลกเปลี่ยนประสบการณ์การเรียนมหาวิทยาลัยแบบไม่เคยเข้าห้องเรียนเลยสักครั้งกับการเรียนแบบพึ่งพาตนเอง ปภาวรินทร์ยิ้มทักทายก่อนเริ่มบอกเหตุผลในการเลือกเรียนเอกภาษาอังกฤษกับพวกเราว่า “ตั้งแต่มัธยมเรารู้ตัวชอบเรียนภาษาใหม่ ๆ ก็เรียนสายภาษาจีนแต่ว่ารู้สึกทรมานกับการเรียนภาษาจีนมาก ขึ้นมหาวิทยาลัยก็เลยลองเลือกเรียนอะไรเราถนัด ซึ่งตั้งแต่ประถมเราก็เรียนสองภาษามาตลอด เป็น bilingual ก็เคยคิดว่าเราสนุกกับภาษาอังกฤษเลยเลือกเรียนภาษาอังกฤษดีกว่า พอเลือกแล้วก็ทรมานนิดหน่อยแต่ก็สนุกกว่าที่ผ่านมา” ปภาวรินทร์ตอบคำถามกับเราว่าทำไมถึงเลือกเรียนที่มหาวิทยาลัยรามคำแหง “ตอนแรกเลยเราก็ไม่ได้เรียนที่รามนะ เรียนที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ เอกภาษาอังกฤษเพื่อการบริการ พอเรียนไปปีนึงละรู้สึกว่าเจอตัวเองมาก ๆ เพราะว่าก็ชอบเรียนทั้งการท่องเที่ยว ทั้งภาษาอังกฤษ แต่ว่าก็มีเรื่องจำเป็นให้เราต้องออกมา พอซิ่วมาเราจะไปหามหาวิทยาลัยที่ตรงสายเดิมก็ยากมากเพราะว่ามันเป็นคณะใหม่ของเกษตรเหมือนกัน พอเราลองหาให้ใกล้เคียงกับเดิมมากที่สุดก็ได้ที่รามคำแหง เราก็มีเวลาทำอย่างอื่นไปด้วย เรียนไปด้วย ก็คิดว่าเป็นตัวเลือกที่ดีเลย” ในฐานะรุ่นพี่ที่มีประสบการณ์จากสองมหาวิทยาลัยช่วยเปรียบเทียบความเหมือนความต่างให้พวกเราฟังว่า “จากที่เคยเรียนมาทั้งสองมหาวิทยาลัยก็มีความแตกต่างกันนะ ด้วยความที่ตอนเราเรียนมหาวิทยาเกษตรกำแพงแสน มันเป็นเอกที่เพิ่งเปิดใหม่ เราเป็นรุ่นที่ 3 เองถ้าจำไม่ผิด มันจะให้ความรู้สึกคล้ายกับตอนเรียนมัธยมแบบที่เราจะไม่ได้มีอิสระในการเลือกเรียนวิชาเพราะอาจารย์เขาจะวางแผนไว้ให้เราอยู่แล้ว ก็โชคดีตรงที่มันเป็นวิชาที่เราชอบเรียนทั้งหมด แต่ของมหาวิทยาลัยรามคำแหงที่เป็นมหาวิทยาลัยเปิด เราก็ต้องรับผิดชอบตัวเองสูงมากเพราะว่าเราจะไม่สามารถไปถามคนอื่นได้ มันน้อยมากที่จะถามใครได้ ตอนเข้าไปเรียนเขาก็จะให้ใบหลักสูตร 4 ปีมาให้ เราก็ต้องดูเองว่าถ้าจะเรียนจบ เราจะต้องเรียนวิชาอะไร หน่วยกิตเท่าไหร่ วิชาโทยังไง เสรียังไง วิชาเอกยังไง มันก็ต้องต่างจากเกษตรที่เขาให้มาแล้วว่า 4 ปี เราจะต้องเรียนอะไรบ้าง ตอนแรกเราก็ปรับตัวไม่ได้เลยเหมือนกันนะ” “ใครที่พูดว่ารามเรียนง่ายอาจจะต้องลองมาเรียนเอง” ปภาวรินทร์หัวเราะอย่างร่าเริงก่อนพูดต่อ “เอาแบบนี้ดีกว่า จุดประสงค์การเรียนมหาวิทยาลัยราม โดยส่วนตัวนะเราว่ากว่า 80% คือคนที่ต้องการทำอย่างอื่นควบคู่ไปกับการเรียน น้อยคนที่จะไปเรียนแล้วกลับบ้านเหมือนมหาวิทยาลัยทั่วไป ก่อนเราจะเข้าเรียนเอกภาษาอังกฤษที่นี่ก็ได้ยินคนพูดเยอะมากว่าจบยากนะ คนเข้าไปแล้วเทเยอะ พอเราเข้าไปเรียนจริง ๆ ก็ค้นพบว่าเป็นแบบนั้น แบบที่เราต้องทำอะไรด้วยตัวเองไปเรื่อย ๆ แล้วรู้สึก ค่อย ๆ หมดไฟ โดยเฉพาะคนที่ไม่ได้เอาการเรียนเป็นหลัก แบบทำงานไปด้วยเรียนไปด้วย แค่ทำงานอย่างเดียวก็เหนื่อยแล้ว ถ้าการเรียนเป็นตัวเลือกสุดท้ายของเรา เราก็จะรู้สึกว่าเดี๋ยวค่อยก็แล้วกัน เทแล้วกัน ยิ่งถ้าโดนสบประมาณมาว่ารามเรียนง่ายเขาก็คงยิ่งรู้สึกไม่อยากเรียนเข้าไปอีก คนส่วนหนึ่งก็อาจจะเข้ามาเรียนรามด้วยความรู้สึกที่ว่าเข้าไปเรียนก่อน จบไม่จบก็อีกเรื่อง ใจเราก็ไม่อยากให้ดูถูกคนที่เขาเรียนรามนะเพราะตัวเราเข้ามาเรียนเองก็ถึงได้รู้เหมือนกันว่ายากขนาดนี้” เราก็เป็นคนนึงที่ตอนแรกไม่อยากบอกใครว่าเรียนราม มันเป็นอารมณ์ที่เราเคยเรียนมหาวิทยาลัยเกษตรมาก็รู้สึกอายที่ต้องบอกว่าออกมาแล้ว แต่พอมาเรียนรามคำแหงแล้วก็พบว่าชื่อมหาวิทยาลัยมันอาจจะมีผลแค่ตอนเข้าทำงานแรกเพราะความต่างในแง่ของเนื้อหาก็ไม่ได้ต่างกันสักเท่าไหร่ ไม่อยากให้พะวงกับชื่อมหาวิทยาลัยกันขนาดนั้น ขึ้นอยู่กับว่าเราทำตัวยังไง ปภาวรินทร์อธิบายอย่างตั้งใจให้เราฟังถึงสภาพสังคมในฐานะคนที่ไม่ได้เข้าไปเรียนในคลาส “ตัวเราก็เป็นคนที่ไม่ค่อยชอบเข้าสังคมสักเท่าไหร่ มันก็เป็นอารมณ์ที่เราเรียนอยู่ที่บ้านและไปสอบอย่างเดียวก็เลยไม่ค่อยรู้ว่าสังคมในมหาวิทยาลัยเป็นยังไง ตั้งแต่เข้ามาเรียนจนตอนนี้เราอยู่ปี 3 ก็ไม่เคยเข้าไปเรียนที่มอเลย ตอนก่อนเข้าไปเรียนก็หาข้อมูลนะเขาก็บอกว่าอาจะมีบางวิชาที่พอใกล้จะจบแล้วเราต้องเข้าไปเรียนในมหาวิทยาลัย ด้วยความที่เราตั้งใจจะไปเรียนอย่างเดียวไม่ได้จะไปหาเพื่อน บวกกับตัวมหาวิทยาลัยก็ค่อนข้างไกลจากบ้านเรา ก็เลยคิดไว้ตั้งแต่แรกว่ายังไงก็จะไม่เข้าไปเรียนในมอแน่นอน มันเลยไม่เป็นปัญหาสำหรับเราเรื่องเพื่อน แต่มันก็ยากนะเพราะเราต้องทำทุกอย่างด้วยตัวเอง จะไม่มีคนคอยให้คำปรึกษา ไม่มีคนคอยมาเตือนเรา หรือตอนทำอะไรด้วยกันเหมือนตอนที่เราเกษตรกำแพงแสน ถ้าเป็นไปได้การเข้ามาเรียนแบบมีเพื่อนก็น่าจะดีกว่า” “ไม่รู้ว่าในเอกภาษาอังกฤษในคลาสเขาจะมีงานกลุ่มไหม” ปภาวรินทร์ทำหน้าครุ่นคิดก่อนพูดต่อว่า “แต่ในส่วนตัวที่เราเรียนจากที่บ้าน เขาก็อิงคะแนนจากการสอบ 100% ไม่มีคะแนนเก็บอะไรเลย แต่อย่างวิชาโทเทอมล่าสุดที่เราเลือกจะเป็นการท่องเที่ยวก็เพิ่งได้ข่าวมาว่าเขาจะให้มีงานในคลาส ไม่รู้ว่าเอกอื่นมีไหม แต่สำหรับเอกภาษาอังกฤษของเราค่อนข้างมั่นใจนะว่าไม่มีแน่นอน” ปภาวรินทร์อธิบายรูปแบบการสอนที่น่าสนใจของมหาวิทยาลัยรามคำแหงให้พวกเราฟังว่า “รูปแบบการเรียนที่อิงจากในช่วงโควิดจะมี 3 แบบ แบบแรกก็คือการเรียนในคลาสเหมือนมหาวิทยาลัยอื่น ๆ ใครอยากเรียนก็ไปนั่งเรียนในห้อง อย่างต่อมาก็คือจะเป็นวิดีโอที่อาจารย์อัดไว้จากการสอนในคลาส อาจจะช้ากว่าคนอื่นนิดหน่อย เพราะต้องรออาจารย์เขางวิดีโอไว้ในส่วนกลางของมหาวิทยาลัย เด็กก็จะสามารถเขาไปค้นหาวิชานั้น ๆ นึกภาพเหมือนเราไปเรียนพิเศษได้เลย อันนี้คือต้องมีวินัยเลยนะเพราะบางคนชอบคิดว่าคลิปมาแล้วดูเมื่อไหร่ก็ได้ แล้วก็แบบล่าสุดในเทอมที่ผ่านมาก็คืออาจารย์เขาจะไลฟ์สดแบบเรียลไทม์ ให้เราดูสอนเขาผ่านจอคอมพิวเตอร์แบบสด ๆ จะไม่มีอาจารย์ที่ปรึกษาหรืออะไรแบบมหาวิทยาลัยอื่น ๆ เราเคยเจออาจารย์แค่ตอนสอบเท่านั้นเลย ขนาดตอนดูเทปเราก็ยังเห็นแค่กระดาษเพราะส่วนใหญ่ก็ไม่ได้มาฉายหน้าอาจารย์เลย” เธอเงียบไปครู่หนึ่งก่อนอธิบายเกี่ยวกับการสอบเพิ่มเติมว่า “ช่วงปี 2020 ที่มหาวิทยาลัยอื่นเขาเริ่มจะมีเรียนออนไลน์ มีสอบออนไลน์เพราะโควิด ตอนนั้นมหาวิทยาลัยรามคำแหงก็ยังให้ไปสอบที่มหาวิทยาลัยเดียว เลื่อนสอบไปเรื่อย ๆ พอผ่านสักพักถึงจะมีการสอบออนไลน์เพิ่งจะมีมา 2 เทอมที่ผ่านมา ก่อนหน้านี้คือยังไงก็ต้องสอบที่มหาวิทยาลัยอย่างเดียว” รุ่นพี่มหาวิทยาลัยรามคำแหงทิ้งท้ายกับพวกเราไว้ว่า “สำหรับคนที่จะอยากจะเข้ามาเรียนรามคำแหงอย่างแรกเลยก็ต้องมั่นใจก่อนนะว่าเราจะดูแลตัวเองได้เพราะมันก็ฝึกการพึ่งพาตัวเองมาก ๆ ไม่ได้จะไปถามเพื่อน หรือถามอาจารย์อะไรได้มาก อันนี้พูดในความรู้สึกเรานะว่าการเรียนมอราม เอกภาษาอังกฤษมันกดดันมากจากการที่ใช้คะแนนสอบอย่างเดียว แล้วพอบางทีเราทำออกมาได้ไม่ดีเราก็จะรู้สึกแย่กับตัวเองซึ่งจริง ๆ มันก็อาจจะเป็นเพราะว่าเราไม่ได้มีคะแนนส่วนอื่นมาช่วย เราอาจจะอ่านมาดีมากพอแล้ว แต่ยังไงเราก็ต้องอ่านหนังสือเยอะ พยายามเข้าเรียนให้ครบ อย่าคิดว่าเดี๋ยวค่อย หรือเทเอาเลย สำคัญที่สุดเลย มหาวิทยาลัยรามจะมี 3 เทอม คือเทอม 1 เทอม 2 แล้วก็เทอมซัมเมอร์ พยายามลงให้เต็มเท่าหน่วยกิต เพราะเราจะจบเร็วขึ้น หรือถ้าทำไม่ได้ดีก็ยังมีเวลาให้ลงใหม่ ถ้าเราตั้งใจมันจะออกมาดีแน่นอน” ปภาวรินทร์โบกมือทิ้งท้ายให้กำลังใจแก่ทุกคน ปภาวรินทร์ ชุ่มเชิดฉาย คณะมนุษยศาสตร์ วิชาเอกภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ข้อมูลหลักสูตร คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง หลักสูตรศิลปศาสตร์บัณฑิต (ปริญญาตรี 4 ปี) สาขาวิชาภาษาอังกฤษ ค่าเล่าเรียน : ค่าลงทะเบียนเรียนหน่วยกิตละ 25 บาท / ค่าบัตรประจำตัวนักศึกษา 60 บาท / ค่าธรรมเนียมแรกเข้า 900 บาท / ค่าขึ้นทะเบียนนักศึกษา 800 บาท / ค่าบำรุงมหาวิทยาลัย 500 บาท รายละเอียดเพิ่มเติม : เว็บไซต์ : คลิก Facebook : คลิก Twitter : คลิก EZ Webmaster Related Posts ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง Post navigation PREVIOUS Previous post: แนะนำอาชีพ “นักนิติวิทยาศาสตร์” — ความหมาย หน้าที่ ต้องเรียนจบอะไรมา?NEXT Next post: คณะเทคโนฯ อุตสาหกรรม สวนสุนันทา ร่วมกิจกรรมแต้มสีเติมฝันต่อต้านการทุจริต ปลูกฝังเยาวชนเป็นพลเมืองที่ดี Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search
ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน…
สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน…
EZ Webmaster March 11, 2022 EZ Webmaster March 11, 2022 คุยกันเรื่องมนุษย์? – รีวิวคณะมนุษยศาสตร์ สาขาภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยรามคำแหง! คุยกันเรื่องมนุษย์? – รีวิวคณะมนุษยศาสตร์ เอกภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยรามคำแหง! มหาวิทยาลัยรามคำแหง กับวลี “เข้าง่ายออกยาก” วันนี้พี่ออมจะพาน้อง ๆ ไปพูดคุยกับ พี่เน่ ปภาวรินทร์ ชุ่มเชิดฉาย รุ่นพี่คณะมนุษยศาสตร์ เอกภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่จะมาแลกเปลี่ยนประสบการณ์การเรียนมหาวิทยาลัยแบบไม่เคยเข้าห้องเรียนเลยสักครั้งกับการเรียนแบบพึ่งพาตนเอง ปภาวรินทร์ยิ้มทักทายก่อนเริ่มบอกเหตุผลในการเลือกเรียนเอกภาษาอังกฤษกับพวกเราว่า “ตั้งแต่มัธยมเรารู้ตัวชอบเรียนภาษาใหม่ ๆ ก็เรียนสายภาษาจีนแต่ว่ารู้สึกทรมานกับการเรียนภาษาจีนมาก ขึ้นมหาวิทยาลัยก็เลยลองเลือกเรียนอะไรเราถนัด ซึ่งตั้งแต่ประถมเราก็เรียนสองภาษามาตลอด เป็น bilingual ก็เคยคิดว่าเราสนุกกับภาษาอังกฤษเลยเลือกเรียนภาษาอังกฤษดีกว่า พอเลือกแล้วก็ทรมานนิดหน่อยแต่ก็สนุกกว่าที่ผ่านมา” ปภาวรินทร์ตอบคำถามกับเราว่าทำไมถึงเลือกเรียนที่มหาวิทยาลัยรามคำแหง “ตอนแรกเลยเราก็ไม่ได้เรียนที่รามนะ เรียนที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ เอกภาษาอังกฤษเพื่อการบริการ พอเรียนไปปีนึงละรู้สึกว่าเจอตัวเองมาก ๆ เพราะว่าก็ชอบเรียนทั้งการท่องเที่ยว ทั้งภาษาอังกฤษ แต่ว่าก็มีเรื่องจำเป็นให้เราต้องออกมา พอซิ่วมาเราจะไปหามหาวิทยาลัยที่ตรงสายเดิมก็ยากมากเพราะว่ามันเป็นคณะใหม่ของเกษตรเหมือนกัน พอเราลองหาให้ใกล้เคียงกับเดิมมากที่สุดก็ได้ที่รามคำแหง เราก็มีเวลาทำอย่างอื่นไปด้วย เรียนไปด้วย ก็คิดว่าเป็นตัวเลือกที่ดีเลย” ในฐานะรุ่นพี่ที่มีประสบการณ์จากสองมหาวิทยาลัยช่วยเปรียบเทียบความเหมือนความต่างให้พวกเราฟังว่า “จากที่เคยเรียนมาทั้งสองมหาวิทยาลัยก็มีความแตกต่างกันนะ ด้วยความที่ตอนเราเรียนมหาวิทยาเกษตรกำแพงแสน มันเป็นเอกที่เพิ่งเปิดใหม่ เราเป็นรุ่นที่ 3 เองถ้าจำไม่ผิด มันจะให้ความรู้สึกคล้ายกับตอนเรียนมัธยมแบบที่เราจะไม่ได้มีอิสระในการเลือกเรียนวิชาเพราะอาจารย์เขาจะวางแผนไว้ให้เราอยู่แล้ว ก็โชคดีตรงที่มันเป็นวิชาที่เราชอบเรียนทั้งหมด แต่ของมหาวิทยาลัยรามคำแหงที่เป็นมหาวิทยาลัยเปิด เราก็ต้องรับผิดชอบตัวเองสูงมากเพราะว่าเราจะไม่สามารถไปถามคนอื่นได้ มันน้อยมากที่จะถามใครได้ ตอนเข้าไปเรียนเขาก็จะให้ใบหลักสูตร 4 ปีมาให้ เราก็ต้องดูเองว่าถ้าจะเรียนจบ เราจะต้องเรียนวิชาอะไร หน่วยกิตเท่าไหร่ วิชาโทยังไง เสรียังไง วิชาเอกยังไง มันก็ต้องต่างจากเกษตรที่เขาให้มาแล้วว่า 4 ปี เราจะต้องเรียนอะไรบ้าง ตอนแรกเราก็ปรับตัวไม่ได้เลยเหมือนกันนะ” “ใครที่พูดว่ารามเรียนง่ายอาจจะต้องลองมาเรียนเอง” ปภาวรินทร์หัวเราะอย่างร่าเริงก่อนพูดต่อ “เอาแบบนี้ดีกว่า จุดประสงค์การเรียนมหาวิทยาลัยราม โดยส่วนตัวนะเราว่ากว่า 80% คือคนที่ต้องการทำอย่างอื่นควบคู่ไปกับการเรียน น้อยคนที่จะไปเรียนแล้วกลับบ้านเหมือนมหาวิทยาลัยทั่วไป ก่อนเราจะเข้าเรียนเอกภาษาอังกฤษที่นี่ก็ได้ยินคนพูดเยอะมากว่าจบยากนะ คนเข้าไปแล้วเทเยอะ พอเราเข้าไปเรียนจริง ๆ ก็ค้นพบว่าเป็นแบบนั้น แบบที่เราต้องทำอะไรด้วยตัวเองไปเรื่อย ๆ แล้วรู้สึก ค่อย ๆ หมดไฟ โดยเฉพาะคนที่ไม่ได้เอาการเรียนเป็นหลัก แบบทำงานไปด้วยเรียนไปด้วย แค่ทำงานอย่างเดียวก็เหนื่อยแล้ว ถ้าการเรียนเป็นตัวเลือกสุดท้ายของเรา เราก็จะรู้สึกว่าเดี๋ยวค่อยก็แล้วกัน เทแล้วกัน ยิ่งถ้าโดนสบประมาณมาว่ารามเรียนง่ายเขาก็คงยิ่งรู้สึกไม่อยากเรียนเข้าไปอีก คนส่วนหนึ่งก็อาจจะเข้ามาเรียนรามด้วยความรู้สึกที่ว่าเข้าไปเรียนก่อน จบไม่จบก็อีกเรื่อง ใจเราก็ไม่อยากให้ดูถูกคนที่เขาเรียนรามนะเพราะตัวเราเข้ามาเรียนเองก็ถึงได้รู้เหมือนกันว่ายากขนาดนี้” เราก็เป็นคนนึงที่ตอนแรกไม่อยากบอกใครว่าเรียนราม มันเป็นอารมณ์ที่เราเคยเรียนมหาวิทยาลัยเกษตรมาก็รู้สึกอายที่ต้องบอกว่าออกมาแล้ว แต่พอมาเรียนรามคำแหงแล้วก็พบว่าชื่อมหาวิทยาลัยมันอาจจะมีผลแค่ตอนเข้าทำงานแรกเพราะความต่างในแง่ของเนื้อหาก็ไม่ได้ต่างกันสักเท่าไหร่ ไม่อยากให้พะวงกับชื่อมหาวิทยาลัยกันขนาดนั้น ขึ้นอยู่กับว่าเราทำตัวยังไง ปภาวรินทร์อธิบายอย่างตั้งใจให้เราฟังถึงสภาพสังคมในฐานะคนที่ไม่ได้เข้าไปเรียนในคลาส “ตัวเราก็เป็นคนที่ไม่ค่อยชอบเข้าสังคมสักเท่าไหร่ มันก็เป็นอารมณ์ที่เราเรียนอยู่ที่บ้านและไปสอบอย่างเดียวก็เลยไม่ค่อยรู้ว่าสังคมในมหาวิทยาลัยเป็นยังไง ตั้งแต่เข้ามาเรียนจนตอนนี้เราอยู่ปี 3 ก็ไม่เคยเข้าไปเรียนที่มอเลย ตอนก่อนเข้าไปเรียนก็หาข้อมูลนะเขาก็บอกว่าอาจะมีบางวิชาที่พอใกล้จะจบแล้วเราต้องเข้าไปเรียนในมหาวิทยาลัย ด้วยความที่เราตั้งใจจะไปเรียนอย่างเดียวไม่ได้จะไปหาเพื่อน บวกกับตัวมหาวิทยาลัยก็ค่อนข้างไกลจากบ้านเรา ก็เลยคิดไว้ตั้งแต่แรกว่ายังไงก็จะไม่เข้าไปเรียนในมอแน่นอน มันเลยไม่เป็นปัญหาสำหรับเราเรื่องเพื่อน แต่มันก็ยากนะเพราะเราต้องทำทุกอย่างด้วยตัวเอง จะไม่มีคนคอยให้คำปรึกษา ไม่มีคนคอยมาเตือนเรา หรือตอนทำอะไรด้วยกันเหมือนตอนที่เราเกษตรกำแพงแสน ถ้าเป็นไปได้การเข้ามาเรียนแบบมีเพื่อนก็น่าจะดีกว่า” “ไม่รู้ว่าในเอกภาษาอังกฤษในคลาสเขาจะมีงานกลุ่มไหม” ปภาวรินทร์ทำหน้าครุ่นคิดก่อนพูดต่อว่า “แต่ในส่วนตัวที่เราเรียนจากที่บ้าน เขาก็อิงคะแนนจากการสอบ 100% ไม่มีคะแนนเก็บอะไรเลย แต่อย่างวิชาโทเทอมล่าสุดที่เราเลือกจะเป็นการท่องเที่ยวก็เพิ่งได้ข่าวมาว่าเขาจะให้มีงานในคลาส ไม่รู้ว่าเอกอื่นมีไหม แต่สำหรับเอกภาษาอังกฤษของเราค่อนข้างมั่นใจนะว่าไม่มีแน่นอน” ปภาวรินทร์อธิบายรูปแบบการสอนที่น่าสนใจของมหาวิทยาลัยรามคำแหงให้พวกเราฟังว่า “รูปแบบการเรียนที่อิงจากในช่วงโควิดจะมี 3 แบบ แบบแรกก็คือการเรียนในคลาสเหมือนมหาวิทยาลัยอื่น ๆ ใครอยากเรียนก็ไปนั่งเรียนในห้อง อย่างต่อมาก็คือจะเป็นวิดีโอที่อาจารย์อัดไว้จากการสอนในคลาส อาจจะช้ากว่าคนอื่นนิดหน่อย เพราะต้องรออาจารย์เขางวิดีโอไว้ในส่วนกลางของมหาวิทยาลัย เด็กก็จะสามารถเขาไปค้นหาวิชานั้น ๆ นึกภาพเหมือนเราไปเรียนพิเศษได้เลย อันนี้คือต้องมีวินัยเลยนะเพราะบางคนชอบคิดว่าคลิปมาแล้วดูเมื่อไหร่ก็ได้ แล้วก็แบบล่าสุดในเทอมที่ผ่านมาก็คืออาจารย์เขาจะไลฟ์สดแบบเรียลไทม์ ให้เราดูสอนเขาผ่านจอคอมพิวเตอร์แบบสด ๆ จะไม่มีอาจารย์ที่ปรึกษาหรืออะไรแบบมหาวิทยาลัยอื่น ๆ เราเคยเจออาจารย์แค่ตอนสอบเท่านั้นเลย ขนาดตอนดูเทปเราก็ยังเห็นแค่กระดาษเพราะส่วนใหญ่ก็ไม่ได้มาฉายหน้าอาจารย์เลย” เธอเงียบไปครู่หนึ่งก่อนอธิบายเกี่ยวกับการสอบเพิ่มเติมว่า “ช่วงปี 2020 ที่มหาวิทยาลัยอื่นเขาเริ่มจะมีเรียนออนไลน์ มีสอบออนไลน์เพราะโควิด ตอนนั้นมหาวิทยาลัยรามคำแหงก็ยังให้ไปสอบที่มหาวิทยาลัยเดียว เลื่อนสอบไปเรื่อย ๆ พอผ่านสักพักถึงจะมีการสอบออนไลน์เพิ่งจะมีมา 2 เทอมที่ผ่านมา ก่อนหน้านี้คือยังไงก็ต้องสอบที่มหาวิทยาลัยอย่างเดียว” รุ่นพี่มหาวิทยาลัยรามคำแหงทิ้งท้ายกับพวกเราไว้ว่า “สำหรับคนที่จะอยากจะเข้ามาเรียนรามคำแหงอย่างแรกเลยก็ต้องมั่นใจก่อนนะว่าเราจะดูแลตัวเองได้เพราะมันก็ฝึกการพึ่งพาตัวเองมาก ๆ ไม่ได้จะไปถามเพื่อน หรือถามอาจารย์อะไรได้มาก อันนี้พูดในความรู้สึกเรานะว่าการเรียนมอราม เอกภาษาอังกฤษมันกดดันมากจากการที่ใช้คะแนนสอบอย่างเดียว แล้วพอบางทีเราทำออกมาได้ไม่ดีเราก็จะรู้สึกแย่กับตัวเองซึ่งจริง ๆ มันก็อาจจะเป็นเพราะว่าเราไม่ได้มีคะแนนส่วนอื่นมาช่วย เราอาจจะอ่านมาดีมากพอแล้ว แต่ยังไงเราก็ต้องอ่านหนังสือเยอะ พยายามเข้าเรียนให้ครบ อย่าคิดว่าเดี๋ยวค่อย หรือเทเอาเลย สำคัญที่สุดเลย มหาวิทยาลัยรามจะมี 3 เทอม คือเทอม 1 เทอม 2 แล้วก็เทอมซัมเมอร์ พยายามลงให้เต็มเท่าหน่วยกิต เพราะเราจะจบเร็วขึ้น หรือถ้าทำไม่ได้ดีก็ยังมีเวลาให้ลงใหม่ ถ้าเราตั้งใจมันจะออกมาดีแน่นอน” ปภาวรินทร์โบกมือทิ้งท้ายให้กำลังใจแก่ทุกคน ปภาวรินทร์ ชุ่มเชิดฉาย คณะมนุษยศาสตร์ วิชาเอกภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ข้อมูลหลักสูตร คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง หลักสูตรศิลปศาสตร์บัณฑิต (ปริญญาตรี 4 ปี) สาขาวิชาภาษาอังกฤษ ค่าเล่าเรียน : ค่าลงทะเบียนเรียนหน่วยกิตละ 25 บาท / ค่าบัตรประจำตัวนักศึกษา 60 บาท / ค่าธรรมเนียมแรกเข้า 900 บาท / ค่าขึ้นทะเบียนนักศึกษา 800 บาท / ค่าบำรุงมหาวิทยาลัย 500 บาท รายละเอียดเพิ่มเติม : เว็บไซต์ : คลิก Facebook : คลิก Twitter : คลิก