โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนแม่เมาะวิทยา EZ WebmasterJune 18, 2025 ความสุขเล็กๆ ในวันที่ได้ทำกิจกรรมร่วมกัน โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด พากิจกรรมดีๆ มาถึงโรงเรียนแม่เมาะวิทยา จ.ลำปาง วันที่18/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า (ครูแอน)… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนาน้อย EZ WebmasterJune 18, 2025 กิจกรรมนี้ มีแต่เสียงหัวเราะ ความอร่อย และรอยยิ้ม โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด พากิจกรรมดีๆ มาถึงโรงเรียนนาน้อย วันที่18/06/68 โดยวิทยากร ผศ.ดร.ตฤณกร เกตุกุลพันธ์… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสตรีศรีน่าน EZ WebmasterJune 18, 2025 เรียนรู้ เล่นให้สนุก แล้วความรู้จะตามมา! ณ โรงเรียนสตรีศรีน่าน สนุกสนานกับโครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนสตรีศรีน่าน จ.น่าน วันที่18/06/68 โดย… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเถินวิทยา EZ WebmasterJune 18, 2025 วันนี้น้องๆ นักเรียนโรงเรียนเถินวิทยา เต็มที่กับกิจกรรม Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนเถินวิทยา จ.ลำปาง วันที่18/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า (ครูแอน)… นักศึกษา ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา EZ WebmasterJune 18, 2025 วิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิทักษ์ ธรรมวาริน (คนที่ 4 จากซ้าย) คณบดีวิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สจล. และ Mr. Alfonso Martin (คนที่ 3… คณะมนุษยศาสตร์ ม.หอการค้าไทย จัดหลักสูตรรุกหน้าการันตี “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน!!” EZ WebmasterJune 18, 2025 “ภาษา” มิใช่เพียงเครื่องมือสื่อสารแต่เป็นกุญแจสำคัญในการเรียนรู้และเข้าใจวัฒนธรรม การคิดวิเคราะห์และสร้างสรรค์นวัตกรรม ผู้ที่มีทักษะด้านภาษาที่แข็งแกร่งจะสามารถเป็นข้อได้เปรียบหรือประสบความสำเร็จได้ในโลกที่เปลี่ยนแปลงและผู้คนทั่วโลกเชื่อมโยงสื่อสารถึงกันได้ในพริบตาแม้จะต่างชาติ ต่างภาษา ต่างวัฒนธรรม การเรียนรู้ฝึกฝนมีทักษะภาษาจึงมิใช่แค่รู้หรือพูดภาษานานาชาติได้เท่านั้น แต่การเรียนภาษาให้มีรายได้ดี มีอาชีพมั่นคง เป็นมนุษย์เงินเดือนอิสระ ถึงขั้นการันตีได้ว่า “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน !!! นั้นก็เป็นสิ่งเพิ่มมูลค่าและมีคุณค่าอย่างน่าภูมิใจ เฉกเช่นที่ล่าสุด Miss World… การตลาดดิจิทัลและระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย จัดกิจกรรมตอบแทนกลับคืนสังคม EZ WebmasterJune 17, 2025 นักศึกษากลุ่มวิชาการตลาดดิจิทัล และกลุ่มวิชาการบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ร่วมทำกิจกรรม Digital Marketing Innovation for Sustainability สร้างสรรค์ประสบการณ์ทางการตลาดดิจิทัลและการบริการสังคม โดยนักศึกษาได้เข้ากิจกรรมปล่อยสัตว์ทะเลที่ธนาคารปู จังหวัดระยอง และบริจากสิ่งของให้กับชมรมผู้พิการทางสติปัญญา จังหวัดชลบุรี ร่วมเรียนรู้การสร้างสรรค์สื่อสำหรับการสื่อสารทางการตลาดดิจิทัล เพื่อสร้างความรับผิดชอบต่อสังคมให้กับนักศึกษาและร่วมสร้างสรรค์สังคมให้น่าอยู่ต่อไป เรียนคณะบริหารธุรกิจแนวใหม่ต้องสัมผัสประสบการณ์แบบนักธุรกิจ ถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์จากคณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญรวมทั้งนักธุรกิจมืออาชีพ… “จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” EZ WebmasterJune 17, 2025 ในนามของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผมขอส่งความห่วงใยมายังพวกเราทุกคนที่กำลังใช้ชีวิตและศึกษาอยู่ในสหรัฐฯ โดยเฉพาะในช่วงเวลาที่มีความไม่แน่นอนเกี่ยวกับนโยบายวีซ่าที่อาจส่งผลต่อสิทธิในการศึกษา เมื่อไม่นานนี้ ผมและผู้บริหารจุฬาฯ มีโอกาสได้ไปเยือน Harvard และ MIT และได้พบกับนักศึกษาชาวไทยหลายคน ทุกคนต่างมีความมุ่งมั่น ตั้งใจ และอดทนในการใฝ่หาความรู้ เพื่อนำมาพัฒนาตนเอง สังคม และประเทศชาติ แม้จะอยู่ท่ามกลางความกังวลใจต่ออนาคตที่ยังไม่ชัดเจน ผมอยากบอกว่าพวกเราที่จุฬาฯ… ทุนดีดี SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ครู-อาจารย์ อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก tui sakrapeeJune 18, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา นำโดย รศ.ดร.ชุติกาญจน์ ศรีวิบูลย์ อธิการบดี พร้อมคณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย เดินทางเยือนโรงเรียนนานาชาติ Qingdao No.1 International School of Shandong Province (QISS) และ Qingdao University… กองกลาง มจพ. เยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ และจัดสัมมนาจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล ประจำปี 2568 EZ WebmasterJune 18, 2025 ผศ.ดร.สราวุฒิ สืบแย้ม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายการคลังและกิจการทั่วไป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยนางสาวรัตนา สุขเฉลิมศรี ผู้อำนวยการกองกลาง และบุคลากรกองกลาง เข้าเยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ มจพ. ณ ชั้น 3 สำนักงานหอสมุดกลาง โดยมีนางสาวพนารมย์ เกียรติลีลานันท์ และ… คณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล มจพ. ชูธงร่วมเครือข่ายจัดใหญ่การประชุมวิชาการ นวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (FIAC) 2025 EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร สมฤกษ์ จันทรอัมพร รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นเจ้าภาพร่วมในการจัดประชุมวิชาการด้านนวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (Food Innovation Asia Conference 2025) พร้อมด้วย รศ.ดร.รัชนี เจริญ คณบดีคณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล และคณะผู้บริหาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ… สมศ. พลิกโฉมการประเมินคุณภาพภายนอกด้วย AI ภายใต้ “ONESQA 5.0” เสริมความโปร่งใส แม่นยำ และพัฒนาอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 17, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยวิสัยทัศน์ และแนวทางการขับเคลื่อนองค์กรด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence – AI) ภายใต้ วิสัยทัศน์ ONESQA 5.0 โดยมุ่งเน้นการนำ AI เข้ามาใช้เพื่อเสริมประสิทธิภาพ ความโปร่งใส และความแม่นยำ ในกระบวนการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา พร้อมยกระดับสู่ความเป็นดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบบ ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster February 11, 2022 EZ Webmaster February 11, 2022 สาธิตธรรมศาสตร์ — โรงเรียนในฝันกับรูปแบบการสอนที่ก้าวไกล สาธิตธรรมศาสตร์ — โรงเรียนในฝันกับรูปแบบการสอนที่ก้าวไกล เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2565 ที่ผ่านมา สาธิตธรรมศาสตร์ได้ออกมาแถลงการณ์ในเรื่องการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอนให้เข้ากับยุคสมัยมายิ่งขึ้น จนกลายเป็นกระแสร้อน ประเด็นดังในโลกออนไลน์ วันนี้ Eduzones พาทุกคนไปรู้จักสาธิตแห่งนี้ และมารวบรวมข้อมูลให้เห็นกันไปเลยชัด ๆ ว่าคำว่าปรับเปลี่ยนหลักสูตร คือปรับเปลี่ยนแบบไหน แตกต่างจากเดิมอย่างไร เพิ่มเติมอะไรบ้าง โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Thammasat Secondary School : TSS) จัดตั้งขึ้นโดยอาศัยอำนาจตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภายใต้การกำกับของคณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ (Faculty of Learning Sciences and Education : LSEd) เพื่อให้มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาเด็กมัธยม เพิ่มศักยภาพเด็กให้พร้อมต่อการค้นหาความถนัดด้วยการสนับสนุนจากบุคลากรและผู้ปกครองให้เด็กกลายเป็นบุคคลที่มีคุณภาพในสังคม ในฐานะสถานศึกษา สาธิตธรรมศาสตร์จุดประกายความคิดเกี่ยวกับรูปแบบการสอนใหม่ ๆ มาจากความเข้าใจที่ว่ายุคสมัยใหม่เปลี่ยนไป จึงเล็งเห็นปัญหาที่ว่าทำไมระบบการสอนแบบเก่าถึงทำให้เด็กไม่อยากมาโรงเรียน ทำไมความสัมพันธ์ระหว่างครูกับนักเรียนถึงไปในแง่ลบ การเรียนการสอนในโรงเรียนเน้นท่องจำมากกว่าทำความเข้าใจ ทำให้เด็กจำนวนมากขาดความสุขในการเรียนรู้ สถานศึกษาไม่ช่วยให้เด็กค้นพบความถนัดของตนเอง ปัญหาสะสมเหล่านี้ในระบบการศึกษาไทยก่อให้เด็กเกิดความทุกข์เมื่อต้องมาเรียน และนำไปสู้ปัญหาอื่น ๆ ในสังคม เช่น การบูลลี่ (Bully) การจัดการศึกษาของโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ในรูปแบบใหม่มีจุดประสงค์ที่จะทำให้เด็กเกิดความสุข ซึ่งจะทำให้เด็กพร้อมในการสร้างสรรถนะ พัฒนาความสามารถ ต่อยอดทักษะที่สามารถนำไปใช้ได้จริง สามารถทำงานเป็นทีมได้ มีความสุจริต โรงเรียนแห่งนี้จึงเริ่มสร้างรูปแบบการสอนที่ต้องเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างกันและนำปัญหาความไม่ยืดหยุ่นของระบบการศึกษาไทยมาพัฒนา โดยให้ความสำคัญว่านักเรียนทุกคนมีความแตกต่างกัน ซึ่งจะเน้นเป็น 2 หลักการใหญ่ ๆ คือ – Personalized Learning คือหลักการที่เข้าใจว่านักเรียนแต่ละคนมีเรื่องที่สนใจต่างกัน เน้นสนับสนุนผู้เรียนตามความถนัด ความชอบ – Competency-Based Education ระบบการศึกษาที่สนับสนุน Personalized Learning ในข้อแรก คือให้นักเรียนเป็นผู้ปรับเปลี่ยน ยืดหยุ่นวิชาตามความสนใจของตนเอง รศ.ดร.อนุชาติ พวงสำลี ได้ยกตัวอย่างระบบการศึกษาของสาธิตธรรมศาสตร์ที่ฉีกกฏวัฒนธรรมการเรียนการสอนแบบเดิม ๆ สรุปการปรับเปลี่ยนได้ดังนี้ รศ.ดร.อนุชาติ พวงสำลี เริ่มตั้งแต่ระบบการคัดครู ที่สาธิตธรรมศาสตร์จะไม่มีการสอบในรูปแบบกระดาษ หรือtake home แต่จะให้ความสำคัญกับการดูพฤติกรรม ทัศนคติ โดยจะมีวิธีการคัดเลือกที่แตกต่างไปจากเดิม เช่น มีกิจกรรม workshop เพื่อดูวิธีการปรับตัวและกรบวนการทำงานรวมกันแบบเป็นกุล่ม หลังจากนั้นจึงค่อยสัมภาษณ์เพื่อให้ได้บุคลากรครูที่มีคุณภาพเหมาะสำหรับระบบการเรียนในรูปแบบใหม่นี้มากที่สุด ปรับสถานะ เปลี่ยนบทบาทครู ในระบบการศึกษาไทยแบบเดิม ครูอาจารย์ถือว่าเป็นผุ้อาวุโสอย่างมาก ซึ่งทำให้เกิดช่องโหว่วในความสมันพันธ์ระหว่างครูและนักเรียน เด็ก ๆ มองว่าครูเป็นคนไกลตัว สาธิตธรรมศาสตร์จึงมีการตกลงรวมกันที่จะเสริมสร้างความสนิทสนมให้แก่นักเรียน ไม่จำเป็นต้องมีพิธีรีตอง มีการยกมือไหว้ เจอหน้าก็แค่ทักทายกันปกติ ทำให้ตัวนักเรียนมีความกล้าที่จะพูดคุยหยอกล้อกับครูมากขึ้น ประเด็นนี้อาจจะขัดหูขัดตาคนบางกลุ่มแต่มั่นใจได้ว่าไม่มีอะไรเกินเลย ความสัมพันธ์ระหว่างครูกับนักเรียนจะพัฒนาไปในแนวโน้มที่ดียิ่งขึ้น นอกจากนี้ครูจะไม่เป็นแค่ผู้สอนอีกต่อไป สาธิตธรรมศาสตร์ได้ว่าบทบาทครูให้เป็นผู้สนับสนุนการเรียนรู้ 3 ประการ – ที่ปรึกษา (Advisor) มีหน้าที่วางแผนการเรียนรู้ ดูแลให้นักเรียนถึงตามเป้าหมายที่แต่ละคนวางไว้ อีกทั้งยังเป็นผู้สื่อสารผู้ปกครองให้มีความเข้าใจในเป้าหมายของเด็ก – ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง (Mentor) เป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ สร้างแรงบันดาลใจตามสมรรถภาพของนักเรียนแต่ละคน – กระบวนกร (Course Facilitator / instructor) เป็นผู้ออกแบบหน่วยการเรียนรู้ เพื่อให้เหมาะสมกัลศักยภาพพื้นฐานของนักเรียนทุกคน คัดเด็กให้ตรงกับความต้องการ เช่นเดียวกับระบบคัดเลือกครู เด็ก ๆ จะไม่ต้องผ่านการคัดเลือดแบบทำข้อสอบในกระดาษ แต่ให้เด็กทำ Portfolio เพื่ออธิบายเกี่ยวกับตนเอง อยากทำอะไร มีความฝันอะไร จะทำยังไงให้ความฝันนั้นเป็นจริง วิธีการที่เขียนนี้เพราะอยากให้เด็กรู้สึกว่าความฝันมันคือสิ่งที่เราสามารถทำได้จริง หลังจากนั้นก็มีคำถามให้เด็ก 3 ข้อเกี่ยวกับชีวิตตัวเอง และมีคำถามให้พ่อแม่ 4 ข้อ ก่อนจะเด็กเข้ากระบวนการว่าสิ่งที่เขาคิดตรงกับที่เขียนลงไปไหม สำหรับสาธิตธรรมศาสตร์นี้จะไม่มีระบบรับบริจาคเพื่อให้เด็กได้เรียนเด็ดขาด ไม่มีค่าแรกเข้า หรือเก็บความใช้จ่ายเพิ่มเติมใด ๆ ลบระบบการสอนที่มีแต่หลักสูตรบังคับ สาธิตธรรมศาสตร์เน้นการสนับสนุนความฝันของเด็กมากกว่จำกัดรายวิชาตาม สพฐ. เท่านั้น ซึ่งจะให้ความสำคัญกับการพัฒนาความรู้ที่มาจากประสบการณ์ตรง ให้นักเรียนได้ปฏิบัติจริงมากกว่าการเรียนที่เน้นแค่ทฤษฎีแต่นักเรียนไม่รู้วิธีนำไปใช้ นักเรียนของสาธิตธรรมศาสตร์ทุกคนจะมีพื้นที่ในการเรียนรู้กิจกรรมที่ตัวเองสนใจที่สามารถเลือกได้ด้วยตนเอง อาทิตย์ละ 4 คาบ ทุกวันจันทร์ – พฤหัสบดี เวลา 14.00 น. – 15.30 น. ซึ่งจะแบ่งกิจกรรมเป็น 2 ส่วน – กิจกรรมชมรมนวัตกรรมเพื่อสังคม (Social Innovation Club) คือกิจกรรมที่เน้นให้นักเรียนมีทักษะความคิดสร้างสรรค์ การออกแบบ การแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ กิจกรรมนี้จะเรียน 1 คาบในวันจันทร์ – กิจกรรมตามความสนใจเฉพาะ (Club) เป็นกิจกรรมที่ให้นักเรียนเรียนรู้ตามความสนใจของตนเอง อาทิตย์ละ 3 คาบ แบ่งเป็น 3 คลับ ได้แก่ Club Art ชมรมด้านศิลปะที่ช่วยให้นักเรียนพัฒนาทักษะ ศักยภาพ และการแสดงออกอย่างสร้างสรรค์ เข้าร่วมได้ทุกวันอังคาร Club PA ชมรมส่งเสริมด้านสุขภาพ การเคลื่อนไหวของร่างกาย ให้นักเรียนได้มีกิจกรรมทางกายภาพต่าง ๆ เช่น การเล่นกีฬา นันทนาการ เข้าร่วมทุกวันพุธ Club ชมรมนอกเหนือที่สามารถตั้งขึ้นได้ตามความสนใจของนักเรียน เข้าร่วมทุกวันพฤหัสบดี เปลี่ยนวิชาที่จำเจให้มีประโยชน์ยิ่งขึ้น วิชาลูกเสือเนตรนารีที่เด็กสมัยใหม่มองว่าไร้ประโยชน์ อีกทั้งต้องเปลี่ยนค่าใช้จ่ายเครื่องแบบโดยใช้เหตุ ทางสาธิตธรรมศาสตร์ได้ปรับการเรียนการสอนในวิชานี้ จากการถักเชือก ทำเงื่อน กลายเป็นวิชาการเอาตัวรอด นักเรียนจะได้เรียนรู้วิธีการเอาตัวรอดจากสถานการณ์ต่าง ๆ เมื่อเกิดไฟไหม้ต้องหนีอย่างไร วิธีการดับไฟ วิธีการปฐมพยาบาล วิชาการว่ายน้ำที่ไม่ได้สอนเพื่อให้เด็กเป็นไปนักกีฬาแต่สอนเพื่อให้นักเรียนเอาตัวรอดได้เมื่อตกน้ำ วิชานี้จะถูกบรรจุอยู่ใน ม.1 เทอม 1 จะสอนให้พอว่ายเป็นพอผ่านไปอีกเทอมก็จะมีการต่อยอดให้นักเรียนเอาตัวรอดได้ ช่วยเหลือผู้อื่นได้ เรียกได้ว่าเป็นการพัฒนาทักษะกันไปในแต่ละเทอม วิชาเพศศึกษาที่เป็นวิชาจำเป็นแต่ถูกมองข้ามในการศึกษาไทย สังคมไทยมีการตีกรอบเรื่องของเพศศึกษาว่าเป็นเรื่องของศีลธรรมอันดีงาม สาธิตธรรมศาสตร์ต้องการที่จะทำให้การเรียนรู้เรื่องเหล่านี้เป็นเรื่องปกติ จึงปรับวิชาให้การเป็นวิชาวัยรุ่นศาสตร์ ในขั้นต้นจะสอนเกี่ยวกับ Anatomy ร่างกาย ฮอร์โมน ตลอดจนการดูแล ทำความสะอาดร่างกายตนเอง การเลือกเสื้อผ้า การเลือกชั้นใน วิชานี้จะช่วยให้นักเรียนรู้จักตัวเองมากขึ้น เด็ก ๆ จะสามารถอยู่กับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นบนร่างกายของตัวเองได้ ต่อมาก็เป็นการสอนเกี่ยวกับความสัมพันธ์ให้นักเรียนได้รู้จักการเข้าสังคมอย่างถูกต้อง ในส่วนของวิชานี้ครูอาจารย์จะเป็นผู้ออกแบบการเรียนการสอนเองได้ แต่รับประกันได้ว่าความรู้เหล่านี้สามารถนำไปใช้ได้จริง ตัวอย่างวิชานอกเหนือที่ไม่คุ้นหู เช่น วิชารู้ทันการเงิน วิชาเสพศิลป์และกลิ่นเสียง วิชาวิถีศรัทธา ซึ่งครอบคลุมทุกศาสนา วิชารู้เท่าทันสื่อ วิชาผู้ประกอบการ ทุกวิชาที่คัดศรรมาทางสาธิตธรรมศาสตร์เชื่อว่าล้วนแล้วแต่เป็นวิชาที่เด็ก ๆ ได้นำไปใช้แน่นอนในอนาคต ขอบคุณรูปจาก Mappa พัฒนาเด็กโดยไม่บังคับให้แข่งขัน สาธิตธรรมศาสตร์จะไม่มีการให้เกรด ไม่มีการจัดสินคะแนนที่ทำให้เด็กเกิดการเปรียบเทียบกับผู้อื่น ไม่มีการติดประกาศว่าเด็กคนนี้ได้รางวัลอะไรอีกต่อไป ทางโรงเรียนจะไม่มีการสนับสนุนให้ผู้ปกครองพาลูกไปเรียนพิเศษเพิ่มเติมเพราะคิดว่าหลักสูตรของทางโรงเรียนเพียงพอแล้วแต่ก็ไม่ได้มีการห้ามให้ไปหาทักษะที่ไม่มีสอนในโรงเรียนจริง ๆ หลังจากลองใช้วิธีนี้มาในระยะหนึ่งพบว่าเด็กค้นพบตัวเองในทักษะที่หลากหลายมากขึ้น ทุกคนมีความเข้าใจว่าแต่ละคนมีความถนัดที่แตกต่างกัน ซึ่งช่วยให้การทำงานเป็นทีม ส่งเสริมกันในเรื่องที่ถนัดมากขึ้น นักเรียนจะไม่มองกันเองว่าใครเก่งไม่เก่ง แต่มองกันแค่ว่าคนไหนถนัดเรื่องใด กำจัดวัฒนธรรมการตีกรอบในโรงเรียนแบบเดิม ๆ นักเรียนมีอิสระในการแต่งตัวเพราะที่สาธิตธรรมศาสตร์จะไม่บังคับให้เด็ก ๆ ต้องใส่ชุดนักเรียน เพียงแต่จะให้ใส่เสื้อยืดที่เป็นตราโรงเรียนในวันที่มีตลาดนัด คือวันอังคารและวันศุกร์เพราะเป็นวันที่มีคนภายนอก การใส่เสื้อยืดนักเรียนจะช่วยแยกแยะนักเรียนกับบุคคลทั่วไปได้ อาจจะมีการบังคับให้ใส่เครื่องแบบในวันที่มีพิธีการหรือออกนอกสถานที่ตามความเหมาะสมเท่านั้น ขอบคุณรูปจาก Mappa ให้ความสำคัญกับนักเรียนเป็นอันดับหนึ่ง โรงเรียนต้องเป็นสถานที่ที่เจาะจงกับนักเรียนเป็นสำคัญที่สุด การศึกษาต้องทำให้นักเรียนรู้สึกมีความสุข อยากที่จะเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ การมาเรียนต้องไม่ทำให้เด็กเกิดความทุกข์ สิ่งนี้จะช่วยทำให้เด็กสามารถเปิดรับความรู้ใหม่และดีต่อการพัฒนาทักษะมากยิ่งขึ้น สาธิตธรรมศาสตร์มีจุดประสงค์ที่จะทำให้โรงเรียนเป็นสถานที่ปลอดภัยสำหรับเด็ก ทั้งในแง่ของทางร่างกายและจิตใจ เน้นใช้เวลายามเช้าเพื่อตัวนักเรียนมากกว่าการบังคับ การถกเถียงเรื่องความจำเป็นเกี่ยวกับการเข้แถวเคารพธงชาติเป็นเรื่องที่สังคมถกเพียงกันมาอย่างนาน คนบางกลุ่มให้เหตุว่ากิจกรรมนี้ไม่จำเป็น อีกทั้งยังทำให้เด็กเหนื่อยล้าตั้งแต่เช้า สาธิตธรรมศาสตร์ได้เปลี่ยนช่วงเวลาที่บังคับให้นักเรียนเคารพธงชาติ อบรมหน้าเสาธง สวดมนต์ตอนเช้ามาเป็นชั่วโมงโฮมรูม 30 นาทีที่ให้นักเรียนพบปะกับครูประจำชั้น โดยไม่ได้บังคับว่านักเรียนทุกคนจะต้องคุยกับครูประจำชั้น หากใครยังอยากที่จะสวดมนต์ก็ยังสามารถทำได้ในห้องเรียน ซึ่งวิธีการนี้จะช่วยให้ครูอาจารย์เข้าถึงนักเรียนได้ดียิ่งขึ้น และเกิดการแลกเปลี่ยนข่าวสารในชั้นเรียน ปลูกฝังวินัยแบบไร้ฝ่ายปกครอง นักเรียนจะไม่ถูกเรียกเข้าฝ่ายปกครองเมื่อมีการกระทำผิดอย่างที่เคยเป็นมาในระบบการศึกษาไทย สาธิตธรรมศาสตร์มีแต่ฝ่ายสนับสนุนนักเรียนและกิจกรรม จะไม่มีการสร้างความบาดหมางให้แก่เด็กจากการจดชื่อส่งครูหรืออะไรก็ตาม แล้วถ้าถามว่าแบบนี้จะช่วยให้ดีขึ้นได้อย่างไร? ทางโรงเรียนจะใช้วิธีการแบบเด็ดขาด อย่างเช่น การทิ้งขยะไม่เป็นที่ แม่บ้านจะไม่เก็บโดยทันทีแต่จะปล่อยขยะสะสมไว้ จนวันนึงนักเรียนจะสำนึกได้เองว่าตัวเองไม่สามารถอยู่ในสภาพแวดล้อมได้ และจะเริ่มแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น พร้อมทั้งรู้วิธีการปฎิบัติตนในครั้งต่อ ๆ ไป เชื่อมสัมพันธภาพให้แก่เด็กและผู้ปกครอง สาธิตธรรมศาสตร์ยังมองลึกไปถึงความพันธ์ในครอบครัวที่เป็นอีกหนึ่งปัจจัยสำคัญในการพัฒนานักเรียน เริ่มตั้งแต่จะมีการเปิดรับสมัครนักเรียนตั้งแต่ช่วงเดือนมิถุนายน เพื่อให้มีช่วงเวลาที่เป็นโครงการเรียนว่า “ครอบครัวสาธิต” ให้เด็ก ๆ มาเข้าร่วม 2 เดือน โดยฝั่งพ่อแม่เองก็จะมีการเข้าหลักสูตร “ห้องเรียนพ่อแม่” ซึ่งจะเน้นการแก้ปัญหาที่มักเกิดขึ้นในครอบครัว เช่น ทำไมลูกถึงตีตัวออกห่าง ลูกให้ความสำคัญกับเพื่อนมากกว่า อยากคุยกับลูกเรื่องเพศสัมพันธ์ได้ ทางโรงเรียนจะช่วยให้ผู้ปกครองมีความเข้าใจในตัวเด็กมากขึ้น เข้าใจในฮอร์โมนร่างกายซึ่งส่งผลทำให้ลักษณะนิสัย การใช้ชีวิตของเด็กเปลี่ยนไปจากเดิม ทำให้ผู้ปกครองเข้าใจว่าการจะช่วยให้เด็กพัฒนาได้ดีต้องมีความไว้ใจ เป็นห่วงได้แต่ต้องอยู่ในขอบเขตที่เหมาะสม วิธีการนี้ได้รับผลตอบรับเป็นอย่างดีทำให้เกิดการพัฒนา “ศูนย์ Empathy Center” เป็นคลินิกให้พ่อแม่ ครู นักเรียน ได้ปรึกษา ทางสาธิตหวังว่าการเชื่อมความสัมพันธืในรูปแบบนี้จะช่วยพัฒนาสังคม ช่วยทำให้แต่ละคนมีมุมมองที่ใจซึ่งกันและกันมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ยังมี “ชุมชนการเรียนรู้ TSS Family” ที่เป็นห้องเรียนเพื่อสนับสนุนผู้ปกครองโดยเฉพาะ ผู้ปกครองที่ว่างหลังจากการส่งลูกเข้าเรียนอาจจะมาเรียนทำขนม เรียนธรุกิจเพราะทางโรงเรียนเชื่อว่าสภาพแวดล้อมครอบครัวที่ดีจะช่วยให้เด็กเติบโตอย่างมีคุณภาพ ขอบคุณรูปจาก Mappa หลังจากผ่านการปรับเปลี่ยนระบบการศึกษา ทางสาธิตธรรมศาสตร์ก็พบเจอปัญหาบางอย่าง เช่น ความกังวลของผู้ปกครองในเรื่องของอนาคตเด็ก ซึ่งทางโรงเรียนเชื่อว่าเด็กจะมีอนาคตที่สดใสในแบบที่เป็นผู้เลือกไม่ใช่ผู้ถูกเลือก ระบบการศึกษานี้ถูกปรับให้เข้ากับยุคสมัย แม้ไม่มีการรับประกันว่าวิธีการแบบนี้จะได้ผล 100% แต่วิธีการเดิม ๆ มันพาให้ระบบการศึกษาไทยล้มเหลว การรับอะไรใหม่ ๆ ก็คงเป็นตัวเลือกที่ดี ทางสาธิตธรรมศาสตร์เผยว่าหลังจากการทดลองใช้รูปแบบการสอนใหม่ ๆ นี้ ผลตอบรับออกมาไปในแนวโน้มที่ดี นักเรียนมีความกระตือรือร้นในการมาเรียนแต่เช้า นักเรียนค้นพบความถนัด ค้นพบทักษะที่ตัวเองทำได้ดีมากขึ้น ซึ่งสิ่งสำคัญที่ทำให้วิธีการนี้ประสบความสำเร็จคือการทำอย่างต่อเนื่องและทุ่มเทในการปรับปรุง พัฒนาอยู่เสมอ แน่นอนว่าเมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้น ก็ย่อมมีทั้งเสียงสนับสนุนและคัดค้าน ทำให้ตกเป็นประเด็นถกเถียงกันอย่างต่อเนื่องในช่องทางออนไลน์ ซึ่ง Eduzones ก็เป็นอีกหนึ่งเสียงที่สนับสนุนให้เกิดการเปลี่ยนแปลงซึ่งจะนำไปสู่การพัฒนาระบบการศึกษาไทยในรูปแบบที่ดีขึ้นเสมอมา ในฐานะชุมชนการศึกษา Eduzones ได้ร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการสนับสนุนเพื่อให้เกิดการพัฒนาระบบการศึกษาไทย โดยมีการจัดทำโครงการ “Good Classroom” ซึ่งเป็นโครงการที่เผยแพร่ห้องเรียน การเรียนการสอนในรูปแบบใหม่ ๆ โดยมีวัตถุประสงค์ในการกระตุ้นผู้สอนให้ปรับเปลี่ยนการสอนในรูปแบบที่ดียิ่งขึ้น อีกทั้งยังหวังว่าจะเป็นส่วนหนึ่งในการขับเคลื่อนระบบการศึกษาให้ดียิ่งขึ้น ซึ่งปัจจุบันมีครูผู้สอนร่วมเข้ามาเป็นผู้เผยแพร่รูปแบบการศึกษาที่เรียกได้ว่าเป็นห้องเรียนในอนาคตกว่า 50 โรงเรียน ร่วมกันเปลี่ยนแปลงการสอน เพื่อการศึกษาไทยที่ดีขึ้น เพื่อความสุขของผู้เรียนและผู้สอน ร่วมกันสร้างห้องเรียนแห่งความสุขได้ที่ FB page : https://www.facebook.com/goodclassroom โรงเรียนสาธิตธรรมศาสตร์ : คลิก EZ Webmaster Related Posts โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนแม่เมาะวิทยา โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนาน้อย อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสตรีศรีน่าน Post navigation PREVIOUS Previous post: มบส.เดินหน้าศึกษาหลักสูตร SandboxNEXT Next post: 4,091 สาขาวิชาที่ไม่ใช้คะแนน GAT/PAT และวิชาสามัญ รอบ 3 (Admission)! Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนาน้อย EZ WebmasterJune 18, 2025 กิจกรรมนี้ มีแต่เสียงหัวเราะ ความอร่อย และรอยยิ้ม โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด พากิจกรรมดีๆ มาถึงโรงเรียนนาน้อย วันที่18/06/68 โดยวิทยากร ผศ.ดร.ตฤณกร เกตุกุลพันธ์… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสตรีศรีน่าน EZ WebmasterJune 18, 2025 เรียนรู้ เล่นให้สนุก แล้วความรู้จะตามมา! ณ โรงเรียนสตรีศรีน่าน สนุกสนานกับโครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนสตรีศรีน่าน จ.น่าน วันที่18/06/68 โดย… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเถินวิทยา EZ WebmasterJune 18, 2025 วันนี้น้องๆ นักเรียนโรงเรียนเถินวิทยา เต็มที่กับกิจกรรม Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนเถินวิทยา จ.ลำปาง วันที่18/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า (ครูแอน)… นักศึกษา ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา EZ WebmasterJune 18, 2025 วิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิทักษ์ ธรรมวาริน (คนที่ 4 จากซ้าย) คณบดีวิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สจล. และ Mr. Alfonso Martin (คนที่ 3… คณะมนุษยศาสตร์ ม.หอการค้าไทย จัดหลักสูตรรุกหน้าการันตี “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน!!” EZ WebmasterJune 18, 2025 “ภาษา” มิใช่เพียงเครื่องมือสื่อสารแต่เป็นกุญแจสำคัญในการเรียนรู้และเข้าใจวัฒนธรรม การคิดวิเคราะห์และสร้างสรรค์นวัตกรรม ผู้ที่มีทักษะด้านภาษาที่แข็งแกร่งจะสามารถเป็นข้อได้เปรียบหรือประสบความสำเร็จได้ในโลกที่เปลี่ยนแปลงและผู้คนทั่วโลกเชื่อมโยงสื่อสารถึงกันได้ในพริบตาแม้จะต่างชาติ ต่างภาษา ต่างวัฒนธรรม การเรียนรู้ฝึกฝนมีทักษะภาษาจึงมิใช่แค่รู้หรือพูดภาษานานาชาติได้เท่านั้น แต่การเรียนภาษาให้มีรายได้ดี มีอาชีพมั่นคง เป็นมนุษย์เงินเดือนอิสระ ถึงขั้นการันตีได้ว่า “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน !!! นั้นก็เป็นสิ่งเพิ่มมูลค่าและมีคุณค่าอย่างน่าภูมิใจ เฉกเช่นที่ล่าสุด Miss World… การตลาดดิจิทัลและระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย จัดกิจกรรมตอบแทนกลับคืนสังคม EZ WebmasterJune 17, 2025 นักศึกษากลุ่มวิชาการตลาดดิจิทัล และกลุ่มวิชาการบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ร่วมทำกิจกรรม Digital Marketing Innovation for Sustainability สร้างสรรค์ประสบการณ์ทางการตลาดดิจิทัลและการบริการสังคม โดยนักศึกษาได้เข้ากิจกรรมปล่อยสัตว์ทะเลที่ธนาคารปู จังหวัดระยอง และบริจากสิ่งของให้กับชมรมผู้พิการทางสติปัญญา จังหวัดชลบุรี ร่วมเรียนรู้การสร้างสรรค์สื่อสำหรับการสื่อสารทางการตลาดดิจิทัล เพื่อสร้างความรับผิดชอบต่อสังคมให้กับนักศึกษาและร่วมสร้างสรรค์สังคมให้น่าอยู่ต่อไป เรียนคณะบริหารธุรกิจแนวใหม่ต้องสัมผัสประสบการณ์แบบนักธุรกิจ ถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์จากคณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญรวมทั้งนักธุรกิจมืออาชีพ… “จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” EZ WebmasterJune 17, 2025 ในนามของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผมขอส่งความห่วงใยมายังพวกเราทุกคนที่กำลังใช้ชีวิตและศึกษาอยู่ในสหรัฐฯ โดยเฉพาะในช่วงเวลาที่มีความไม่แน่นอนเกี่ยวกับนโยบายวีซ่าที่อาจส่งผลต่อสิทธิในการศึกษา เมื่อไม่นานนี้ ผมและผู้บริหารจุฬาฯ มีโอกาสได้ไปเยือน Harvard และ MIT และได้พบกับนักศึกษาชาวไทยหลายคน ทุกคนต่างมีความมุ่งมั่น ตั้งใจ และอดทนในการใฝ่หาความรู้ เพื่อนำมาพัฒนาตนเอง สังคม และประเทศชาติ แม้จะอยู่ท่ามกลางความกังวลใจต่ออนาคตที่ยังไม่ชัดเจน ผมอยากบอกว่าพวกเราที่จุฬาฯ… ทุนดีดี SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ครู-อาจารย์ อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก tui sakrapeeJune 18, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา นำโดย รศ.ดร.ชุติกาญจน์ ศรีวิบูลย์ อธิการบดี พร้อมคณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย เดินทางเยือนโรงเรียนนานาชาติ Qingdao No.1 International School of Shandong Province (QISS) และ Qingdao University… กองกลาง มจพ. เยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ และจัดสัมมนาจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล ประจำปี 2568 EZ WebmasterJune 18, 2025 ผศ.ดร.สราวุฒิ สืบแย้ม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายการคลังและกิจการทั่วไป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยนางสาวรัตนา สุขเฉลิมศรี ผู้อำนวยการกองกลาง และบุคลากรกองกลาง เข้าเยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ มจพ. ณ ชั้น 3 สำนักงานหอสมุดกลาง โดยมีนางสาวพนารมย์ เกียรติลีลานันท์ และ… คณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล มจพ. ชูธงร่วมเครือข่ายจัดใหญ่การประชุมวิชาการ นวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (FIAC) 2025 EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร สมฤกษ์ จันทรอัมพร รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นเจ้าภาพร่วมในการจัดประชุมวิชาการด้านนวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (Food Innovation Asia Conference 2025) พร้อมด้วย รศ.ดร.รัชนี เจริญ คณบดีคณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล และคณะผู้บริหาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ… สมศ. พลิกโฉมการประเมินคุณภาพภายนอกด้วย AI ภายใต้ “ONESQA 5.0” เสริมความโปร่งใส แม่นยำ และพัฒนาอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 17, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยวิสัยทัศน์ และแนวทางการขับเคลื่อนองค์กรด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence – AI) ภายใต้ วิสัยทัศน์ ONESQA 5.0 โดยมุ่งเน้นการนำ AI เข้ามาใช้เพื่อเสริมประสิทธิภาพ ความโปร่งใส และความแม่นยำ ในกระบวนการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา พร้อมยกระดับสู่ความเป็นดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบบ ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster February 11, 2022 EZ Webmaster February 11, 2022 สาธิตธรรมศาสตร์ — โรงเรียนในฝันกับรูปแบบการสอนที่ก้าวไกล สาธิตธรรมศาสตร์ — โรงเรียนในฝันกับรูปแบบการสอนที่ก้าวไกล เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2565 ที่ผ่านมา สาธิตธรรมศาสตร์ได้ออกมาแถลงการณ์ในเรื่องการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอนให้เข้ากับยุคสมัยมายิ่งขึ้น จนกลายเป็นกระแสร้อน ประเด็นดังในโลกออนไลน์ วันนี้ Eduzones พาทุกคนไปรู้จักสาธิตแห่งนี้ และมารวบรวมข้อมูลให้เห็นกันไปเลยชัด ๆ ว่าคำว่าปรับเปลี่ยนหลักสูตร คือปรับเปลี่ยนแบบไหน แตกต่างจากเดิมอย่างไร เพิ่มเติมอะไรบ้าง โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Thammasat Secondary School : TSS) จัดตั้งขึ้นโดยอาศัยอำนาจตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภายใต้การกำกับของคณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ (Faculty of Learning Sciences and Education : LSEd) เพื่อให้มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาเด็กมัธยม เพิ่มศักยภาพเด็กให้พร้อมต่อการค้นหาความถนัดด้วยการสนับสนุนจากบุคลากรและผู้ปกครองให้เด็กกลายเป็นบุคคลที่มีคุณภาพในสังคม ในฐานะสถานศึกษา สาธิตธรรมศาสตร์จุดประกายความคิดเกี่ยวกับรูปแบบการสอนใหม่ ๆ มาจากความเข้าใจที่ว่ายุคสมัยใหม่เปลี่ยนไป จึงเล็งเห็นปัญหาที่ว่าทำไมระบบการสอนแบบเก่าถึงทำให้เด็กไม่อยากมาโรงเรียน ทำไมความสัมพันธ์ระหว่างครูกับนักเรียนถึงไปในแง่ลบ การเรียนการสอนในโรงเรียนเน้นท่องจำมากกว่าทำความเข้าใจ ทำให้เด็กจำนวนมากขาดความสุขในการเรียนรู้ สถานศึกษาไม่ช่วยให้เด็กค้นพบความถนัดของตนเอง ปัญหาสะสมเหล่านี้ในระบบการศึกษาไทยก่อให้เด็กเกิดความทุกข์เมื่อต้องมาเรียน และนำไปสู้ปัญหาอื่น ๆ ในสังคม เช่น การบูลลี่ (Bully) การจัดการศึกษาของโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ในรูปแบบใหม่มีจุดประสงค์ที่จะทำให้เด็กเกิดความสุข ซึ่งจะทำให้เด็กพร้อมในการสร้างสรรถนะ พัฒนาความสามารถ ต่อยอดทักษะที่สามารถนำไปใช้ได้จริง สามารถทำงานเป็นทีมได้ มีความสุจริต โรงเรียนแห่งนี้จึงเริ่มสร้างรูปแบบการสอนที่ต้องเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างกันและนำปัญหาความไม่ยืดหยุ่นของระบบการศึกษาไทยมาพัฒนา โดยให้ความสำคัญว่านักเรียนทุกคนมีความแตกต่างกัน ซึ่งจะเน้นเป็น 2 หลักการใหญ่ ๆ คือ – Personalized Learning คือหลักการที่เข้าใจว่านักเรียนแต่ละคนมีเรื่องที่สนใจต่างกัน เน้นสนับสนุนผู้เรียนตามความถนัด ความชอบ – Competency-Based Education ระบบการศึกษาที่สนับสนุน Personalized Learning ในข้อแรก คือให้นักเรียนเป็นผู้ปรับเปลี่ยน ยืดหยุ่นวิชาตามความสนใจของตนเอง รศ.ดร.อนุชาติ พวงสำลี ได้ยกตัวอย่างระบบการศึกษาของสาธิตธรรมศาสตร์ที่ฉีกกฏวัฒนธรรมการเรียนการสอนแบบเดิม ๆ สรุปการปรับเปลี่ยนได้ดังนี้ รศ.ดร.อนุชาติ พวงสำลี เริ่มตั้งแต่ระบบการคัดครู ที่สาธิตธรรมศาสตร์จะไม่มีการสอบในรูปแบบกระดาษ หรือtake home แต่จะให้ความสำคัญกับการดูพฤติกรรม ทัศนคติ โดยจะมีวิธีการคัดเลือกที่แตกต่างไปจากเดิม เช่น มีกิจกรรม workshop เพื่อดูวิธีการปรับตัวและกรบวนการทำงานรวมกันแบบเป็นกุล่ม หลังจากนั้นจึงค่อยสัมภาษณ์เพื่อให้ได้บุคลากรครูที่มีคุณภาพเหมาะสำหรับระบบการเรียนในรูปแบบใหม่นี้มากที่สุด ปรับสถานะ เปลี่ยนบทบาทครู ในระบบการศึกษาไทยแบบเดิม ครูอาจารย์ถือว่าเป็นผุ้อาวุโสอย่างมาก ซึ่งทำให้เกิดช่องโหว่วในความสมันพันธ์ระหว่างครูและนักเรียน เด็ก ๆ มองว่าครูเป็นคนไกลตัว สาธิตธรรมศาสตร์จึงมีการตกลงรวมกันที่จะเสริมสร้างความสนิทสนมให้แก่นักเรียน ไม่จำเป็นต้องมีพิธีรีตอง มีการยกมือไหว้ เจอหน้าก็แค่ทักทายกันปกติ ทำให้ตัวนักเรียนมีความกล้าที่จะพูดคุยหยอกล้อกับครูมากขึ้น ประเด็นนี้อาจจะขัดหูขัดตาคนบางกลุ่มแต่มั่นใจได้ว่าไม่มีอะไรเกินเลย ความสัมพันธ์ระหว่างครูกับนักเรียนจะพัฒนาไปในแนวโน้มที่ดียิ่งขึ้น นอกจากนี้ครูจะไม่เป็นแค่ผู้สอนอีกต่อไป สาธิตธรรมศาสตร์ได้ว่าบทบาทครูให้เป็นผู้สนับสนุนการเรียนรู้ 3 ประการ – ที่ปรึกษา (Advisor) มีหน้าที่วางแผนการเรียนรู้ ดูแลให้นักเรียนถึงตามเป้าหมายที่แต่ละคนวางไว้ อีกทั้งยังเป็นผู้สื่อสารผู้ปกครองให้มีความเข้าใจในเป้าหมายของเด็ก – ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง (Mentor) เป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ สร้างแรงบันดาลใจตามสมรรถภาพของนักเรียนแต่ละคน – กระบวนกร (Course Facilitator / instructor) เป็นผู้ออกแบบหน่วยการเรียนรู้ เพื่อให้เหมาะสมกัลศักยภาพพื้นฐานของนักเรียนทุกคน คัดเด็กให้ตรงกับความต้องการ เช่นเดียวกับระบบคัดเลือกครู เด็ก ๆ จะไม่ต้องผ่านการคัดเลือดแบบทำข้อสอบในกระดาษ แต่ให้เด็กทำ Portfolio เพื่ออธิบายเกี่ยวกับตนเอง อยากทำอะไร มีความฝันอะไร จะทำยังไงให้ความฝันนั้นเป็นจริง วิธีการที่เขียนนี้เพราะอยากให้เด็กรู้สึกว่าความฝันมันคือสิ่งที่เราสามารถทำได้จริง หลังจากนั้นก็มีคำถามให้เด็ก 3 ข้อเกี่ยวกับชีวิตตัวเอง และมีคำถามให้พ่อแม่ 4 ข้อ ก่อนจะเด็กเข้ากระบวนการว่าสิ่งที่เขาคิดตรงกับที่เขียนลงไปไหม สำหรับสาธิตธรรมศาสตร์นี้จะไม่มีระบบรับบริจาคเพื่อให้เด็กได้เรียนเด็ดขาด ไม่มีค่าแรกเข้า หรือเก็บความใช้จ่ายเพิ่มเติมใด ๆ ลบระบบการสอนที่มีแต่หลักสูตรบังคับ สาธิตธรรมศาสตร์เน้นการสนับสนุนความฝันของเด็กมากกว่จำกัดรายวิชาตาม สพฐ. เท่านั้น ซึ่งจะให้ความสำคัญกับการพัฒนาความรู้ที่มาจากประสบการณ์ตรง ให้นักเรียนได้ปฏิบัติจริงมากกว่าการเรียนที่เน้นแค่ทฤษฎีแต่นักเรียนไม่รู้วิธีนำไปใช้ นักเรียนของสาธิตธรรมศาสตร์ทุกคนจะมีพื้นที่ในการเรียนรู้กิจกรรมที่ตัวเองสนใจที่สามารถเลือกได้ด้วยตนเอง อาทิตย์ละ 4 คาบ ทุกวันจันทร์ – พฤหัสบดี เวลา 14.00 น. – 15.30 น. ซึ่งจะแบ่งกิจกรรมเป็น 2 ส่วน – กิจกรรมชมรมนวัตกรรมเพื่อสังคม (Social Innovation Club) คือกิจกรรมที่เน้นให้นักเรียนมีทักษะความคิดสร้างสรรค์ การออกแบบ การแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ กิจกรรมนี้จะเรียน 1 คาบในวันจันทร์ – กิจกรรมตามความสนใจเฉพาะ (Club) เป็นกิจกรรมที่ให้นักเรียนเรียนรู้ตามความสนใจของตนเอง อาทิตย์ละ 3 คาบ แบ่งเป็น 3 คลับ ได้แก่ Club Art ชมรมด้านศิลปะที่ช่วยให้นักเรียนพัฒนาทักษะ ศักยภาพ และการแสดงออกอย่างสร้างสรรค์ เข้าร่วมได้ทุกวันอังคาร Club PA ชมรมส่งเสริมด้านสุขภาพ การเคลื่อนไหวของร่างกาย ให้นักเรียนได้มีกิจกรรมทางกายภาพต่าง ๆ เช่น การเล่นกีฬา นันทนาการ เข้าร่วมทุกวันพุธ Club ชมรมนอกเหนือที่สามารถตั้งขึ้นได้ตามความสนใจของนักเรียน เข้าร่วมทุกวันพฤหัสบดี เปลี่ยนวิชาที่จำเจให้มีประโยชน์ยิ่งขึ้น วิชาลูกเสือเนตรนารีที่เด็กสมัยใหม่มองว่าไร้ประโยชน์ อีกทั้งต้องเปลี่ยนค่าใช้จ่ายเครื่องแบบโดยใช้เหตุ ทางสาธิตธรรมศาสตร์ได้ปรับการเรียนการสอนในวิชานี้ จากการถักเชือก ทำเงื่อน กลายเป็นวิชาการเอาตัวรอด นักเรียนจะได้เรียนรู้วิธีการเอาตัวรอดจากสถานการณ์ต่าง ๆ เมื่อเกิดไฟไหม้ต้องหนีอย่างไร วิธีการดับไฟ วิธีการปฐมพยาบาล วิชาการว่ายน้ำที่ไม่ได้สอนเพื่อให้เด็กเป็นไปนักกีฬาแต่สอนเพื่อให้นักเรียนเอาตัวรอดได้เมื่อตกน้ำ วิชานี้จะถูกบรรจุอยู่ใน ม.1 เทอม 1 จะสอนให้พอว่ายเป็นพอผ่านไปอีกเทอมก็จะมีการต่อยอดให้นักเรียนเอาตัวรอดได้ ช่วยเหลือผู้อื่นได้ เรียกได้ว่าเป็นการพัฒนาทักษะกันไปในแต่ละเทอม วิชาเพศศึกษาที่เป็นวิชาจำเป็นแต่ถูกมองข้ามในการศึกษาไทย สังคมไทยมีการตีกรอบเรื่องของเพศศึกษาว่าเป็นเรื่องของศีลธรรมอันดีงาม สาธิตธรรมศาสตร์ต้องการที่จะทำให้การเรียนรู้เรื่องเหล่านี้เป็นเรื่องปกติ จึงปรับวิชาให้การเป็นวิชาวัยรุ่นศาสตร์ ในขั้นต้นจะสอนเกี่ยวกับ Anatomy ร่างกาย ฮอร์โมน ตลอดจนการดูแล ทำความสะอาดร่างกายตนเอง การเลือกเสื้อผ้า การเลือกชั้นใน วิชานี้จะช่วยให้นักเรียนรู้จักตัวเองมากขึ้น เด็ก ๆ จะสามารถอยู่กับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นบนร่างกายของตัวเองได้ ต่อมาก็เป็นการสอนเกี่ยวกับความสัมพันธ์ให้นักเรียนได้รู้จักการเข้าสังคมอย่างถูกต้อง ในส่วนของวิชานี้ครูอาจารย์จะเป็นผู้ออกแบบการเรียนการสอนเองได้ แต่รับประกันได้ว่าความรู้เหล่านี้สามารถนำไปใช้ได้จริง ตัวอย่างวิชานอกเหนือที่ไม่คุ้นหู เช่น วิชารู้ทันการเงิน วิชาเสพศิลป์และกลิ่นเสียง วิชาวิถีศรัทธา ซึ่งครอบคลุมทุกศาสนา วิชารู้เท่าทันสื่อ วิชาผู้ประกอบการ ทุกวิชาที่คัดศรรมาทางสาธิตธรรมศาสตร์เชื่อว่าล้วนแล้วแต่เป็นวิชาที่เด็ก ๆ ได้นำไปใช้แน่นอนในอนาคต ขอบคุณรูปจาก Mappa พัฒนาเด็กโดยไม่บังคับให้แข่งขัน สาธิตธรรมศาสตร์จะไม่มีการให้เกรด ไม่มีการจัดสินคะแนนที่ทำให้เด็กเกิดการเปรียบเทียบกับผู้อื่น ไม่มีการติดประกาศว่าเด็กคนนี้ได้รางวัลอะไรอีกต่อไป ทางโรงเรียนจะไม่มีการสนับสนุนให้ผู้ปกครองพาลูกไปเรียนพิเศษเพิ่มเติมเพราะคิดว่าหลักสูตรของทางโรงเรียนเพียงพอแล้วแต่ก็ไม่ได้มีการห้ามให้ไปหาทักษะที่ไม่มีสอนในโรงเรียนจริง ๆ หลังจากลองใช้วิธีนี้มาในระยะหนึ่งพบว่าเด็กค้นพบตัวเองในทักษะที่หลากหลายมากขึ้น ทุกคนมีความเข้าใจว่าแต่ละคนมีความถนัดที่แตกต่างกัน ซึ่งช่วยให้การทำงานเป็นทีม ส่งเสริมกันในเรื่องที่ถนัดมากขึ้น นักเรียนจะไม่มองกันเองว่าใครเก่งไม่เก่ง แต่มองกันแค่ว่าคนไหนถนัดเรื่องใด กำจัดวัฒนธรรมการตีกรอบในโรงเรียนแบบเดิม ๆ นักเรียนมีอิสระในการแต่งตัวเพราะที่สาธิตธรรมศาสตร์จะไม่บังคับให้เด็ก ๆ ต้องใส่ชุดนักเรียน เพียงแต่จะให้ใส่เสื้อยืดที่เป็นตราโรงเรียนในวันที่มีตลาดนัด คือวันอังคารและวันศุกร์เพราะเป็นวันที่มีคนภายนอก การใส่เสื้อยืดนักเรียนจะช่วยแยกแยะนักเรียนกับบุคคลทั่วไปได้ อาจจะมีการบังคับให้ใส่เครื่องแบบในวันที่มีพิธีการหรือออกนอกสถานที่ตามความเหมาะสมเท่านั้น ขอบคุณรูปจาก Mappa ให้ความสำคัญกับนักเรียนเป็นอันดับหนึ่ง โรงเรียนต้องเป็นสถานที่ที่เจาะจงกับนักเรียนเป็นสำคัญที่สุด การศึกษาต้องทำให้นักเรียนรู้สึกมีความสุข อยากที่จะเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ การมาเรียนต้องไม่ทำให้เด็กเกิดความทุกข์ สิ่งนี้จะช่วยทำให้เด็กสามารถเปิดรับความรู้ใหม่และดีต่อการพัฒนาทักษะมากยิ่งขึ้น สาธิตธรรมศาสตร์มีจุดประสงค์ที่จะทำให้โรงเรียนเป็นสถานที่ปลอดภัยสำหรับเด็ก ทั้งในแง่ของทางร่างกายและจิตใจ เน้นใช้เวลายามเช้าเพื่อตัวนักเรียนมากกว่าการบังคับ การถกเถียงเรื่องความจำเป็นเกี่ยวกับการเข้แถวเคารพธงชาติเป็นเรื่องที่สังคมถกเพียงกันมาอย่างนาน คนบางกลุ่มให้เหตุว่ากิจกรรมนี้ไม่จำเป็น อีกทั้งยังทำให้เด็กเหนื่อยล้าตั้งแต่เช้า สาธิตธรรมศาสตร์ได้เปลี่ยนช่วงเวลาที่บังคับให้นักเรียนเคารพธงชาติ อบรมหน้าเสาธง สวดมนต์ตอนเช้ามาเป็นชั่วโมงโฮมรูม 30 นาทีที่ให้นักเรียนพบปะกับครูประจำชั้น โดยไม่ได้บังคับว่านักเรียนทุกคนจะต้องคุยกับครูประจำชั้น หากใครยังอยากที่จะสวดมนต์ก็ยังสามารถทำได้ในห้องเรียน ซึ่งวิธีการนี้จะช่วยให้ครูอาจารย์เข้าถึงนักเรียนได้ดียิ่งขึ้น และเกิดการแลกเปลี่ยนข่าวสารในชั้นเรียน ปลูกฝังวินัยแบบไร้ฝ่ายปกครอง นักเรียนจะไม่ถูกเรียกเข้าฝ่ายปกครองเมื่อมีการกระทำผิดอย่างที่เคยเป็นมาในระบบการศึกษาไทย สาธิตธรรมศาสตร์มีแต่ฝ่ายสนับสนุนนักเรียนและกิจกรรม จะไม่มีการสร้างความบาดหมางให้แก่เด็กจากการจดชื่อส่งครูหรืออะไรก็ตาม แล้วถ้าถามว่าแบบนี้จะช่วยให้ดีขึ้นได้อย่างไร? ทางโรงเรียนจะใช้วิธีการแบบเด็ดขาด อย่างเช่น การทิ้งขยะไม่เป็นที่ แม่บ้านจะไม่เก็บโดยทันทีแต่จะปล่อยขยะสะสมไว้ จนวันนึงนักเรียนจะสำนึกได้เองว่าตัวเองไม่สามารถอยู่ในสภาพแวดล้อมได้ และจะเริ่มแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น พร้อมทั้งรู้วิธีการปฎิบัติตนในครั้งต่อ ๆ ไป เชื่อมสัมพันธภาพให้แก่เด็กและผู้ปกครอง สาธิตธรรมศาสตร์ยังมองลึกไปถึงความพันธ์ในครอบครัวที่เป็นอีกหนึ่งปัจจัยสำคัญในการพัฒนานักเรียน เริ่มตั้งแต่จะมีการเปิดรับสมัครนักเรียนตั้งแต่ช่วงเดือนมิถุนายน เพื่อให้มีช่วงเวลาที่เป็นโครงการเรียนว่า “ครอบครัวสาธิต” ให้เด็ก ๆ มาเข้าร่วม 2 เดือน โดยฝั่งพ่อแม่เองก็จะมีการเข้าหลักสูตร “ห้องเรียนพ่อแม่” ซึ่งจะเน้นการแก้ปัญหาที่มักเกิดขึ้นในครอบครัว เช่น ทำไมลูกถึงตีตัวออกห่าง ลูกให้ความสำคัญกับเพื่อนมากกว่า อยากคุยกับลูกเรื่องเพศสัมพันธ์ได้ ทางโรงเรียนจะช่วยให้ผู้ปกครองมีความเข้าใจในตัวเด็กมากขึ้น เข้าใจในฮอร์โมนร่างกายซึ่งส่งผลทำให้ลักษณะนิสัย การใช้ชีวิตของเด็กเปลี่ยนไปจากเดิม ทำให้ผู้ปกครองเข้าใจว่าการจะช่วยให้เด็กพัฒนาได้ดีต้องมีความไว้ใจ เป็นห่วงได้แต่ต้องอยู่ในขอบเขตที่เหมาะสม วิธีการนี้ได้รับผลตอบรับเป็นอย่างดีทำให้เกิดการพัฒนา “ศูนย์ Empathy Center” เป็นคลินิกให้พ่อแม่ ครู นักเรียน ได้ปรึกษา ทางสาธิตหวังว่าการเชื่อมความสัมพันธืในรูปแบบนี้จะช่วยพัฒนาสังคม ช่วยทำให้แต่ละคนมีมุมมองที่ใจซึ่งกันและกันมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ยังมี “ชุมชนการเรียนรู้ TSS Family” ที่เป็นห้องเรียนเพื่อสนับสนุนผู้ปกครองโดยเฉพาะ ผู้ปกครองที่ว่างหลังจากการส่งลูกเข้าเรียนอาจจะมาเรียนทำขนม เรียนธรุกิจเพราะทางโรงเรียนเชื่อว่าสภาพแวดล้อมครอบครัวที่ดีจะช่วยให้เด็กเติบโตอย่างมีคุณภาพ ขอบคุณรูปจาก Mappa หลังจากผ่านการปรับเปลี่ยนระบบการศึกษา ทางสาธิตธรรมศาสตร์ก็พบเจอปัญหาบางอย่าง เช่น ความกังวลของผู้ปกครองในเรื่องของอนาคตเด็ก ซึ่งทางโรงเรียนเชื่อว่าเด็กจะมีอนาคตที่สดใสในแบบที่เป็นผู้เลือกไม่ใช่ผู้ถูกเลือก ระบบการศึกษานี้ถูกปรับให้เข้ากับยุคสมัย แม้ไม่มีการรับประกันว่าวิธีการแบบนี้จะได้ผล 100% แต่วิธีการเดิม ๆ มันพาให้ระบบการศึกษาไทยล้มเหลว การรับอะไรใหม่ ๆ ก็คงเป็นตัวเลือกที่ดี ทางสาธิตธรรมศาสตร์เผยว่าหลังจากการทดลองใช้รูปแบบการสอนใหม่ ๆ นี้ ผลตอบรับออกมาไปในแนวโน้มที่ดี นักเรียนมีความกระตือรือร้นในการมาเรียนแต่เช้า นักเรียนค้นพบความถนัด ค้นพบทักษะที่ตัวเองทำได้ดีมากขึ้น ซึ่งสิ่งสำคัญที่ทำให้วิธีการนี้ประสบความสำเร็จคือการทำอย่างต่อเนื่องและทุ่มเทในการปรับปรุง พัฒนาอยู่เสมอ แน่นอนว่าเมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้น ก็ย่อมมีทั้งเสียงสนับสนุนและคัดค้าน ทำให้ตกเป็นประเด็นถกเถียงกันอย่างต่อเนื่องในช่องทางออนไลน์ ซึ่ง Eduzones ก็เป็นอีกหนึ่งเสียงที่สนับสนุนให้เกิดการเปลี่ยนแปลงซึ่งจะนำไปสู่การพัฒนาระบบการศึกษาไทยในรูปแบบที่ดีขึ้นเสมอมา ในฐานะชุมชนการศึกษา Eduzones ได้ร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการสนับสนุนเพื่อให้เกิดการพัฒนาระบบการศึกษาไทย โดยมีการจัดทำโครงการ “Good Classroom” ซึ่งเป็นโครงการที่เผยแพร่ห้องเรียน การเรียนการสอนในรูปแบบใหม่ ๆ โดยมีวัตถุประสงค์ในการกระตุ้นผู้สอนให้ปรับเปลี่ยนการสอนในรูปแบบที่ดียิ่งขึ้น อีกทั้งยังหวังว่าจะเป็นส่วนหนึ่งในการขับเคลื่อนระบบการศึกษาให้ดียิ่งขึ้น ซึ่งปัจจุบันมีครูผู้สอนร่วมเข้ามาเป็นผู้เผยแพร่รูปแบบการศึกษาที่เรียกได้ว่าเป็นห้องเรียนในอนาคตกว่า 50 โรงเรียน ร่วมกันเปลี่ยนแปลงการสอน เพื่อการศึกษาไทยที่ดีขึ้น เพื่อความสุขของผู้เรียนและผู้สอน ร่วมกันสร้างห้องเรียนแห่งความสุขได้ที่ FB page : https://www.facebook.com/goodclassroom โรงเรียนสาธิตธรรมศาสตร์ : คลิก EZ Webmaster Related Posts โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนแม่เมาะวิทยา โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนาน้อย อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสตรีศรีน่าน Post navigation PREVIOUS Previous post: มบส.เดินหน้าศึกษาหลักสูตร SandboxNEXT Next post: 4,091 สาขาวิชาที่ไม่ใช้คะแนน GAT/PAT และวิชาสามัญ รอบ 3 (Admission)! Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสตรีศรีน่าน EZ WebmasterJune 18, 2025 เรียนรู้ เล่นให้สนุก แล้วความรู้จะตามมา! ณ โรงเรียนสตรีศรีน่าน สนุกสนานกับโครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนสตรีศรีน่าน จ.น่าน วันที่18/06/68 โดย… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเถินวิทยา EZ WebmasterJune 18, 2025 วันนี้น้องๆ นักเรียนโรงเรียนเถินวิทยา เต็มที่กับกิจกรรม Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนเถินวิทยา จ.ลำปาง วันที่18/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า (ครูแอน)…
โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเถินวิทยา EZ WebmasterJune 18, 2025 วันนี้น้องๆ นักเรียนโรงเรียนเถินวิทยา เต็มที่กับกิจกรรม Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนเถินวิทยา จ.ลำปาง วันที่18/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า (ครูแอน)…
ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา EZ WebmasterJune 18, 2025 วิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิทักษ์ ธรรมวาริน (คนที่ 4 จากซ้าย) คณบดีวิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สจล. และ Mr. Alfonso Martin (คนที่ 3… คณะมนุษยศาสตร์ ม.หอการค้าไทย จัดหลักสูตรรุกหน้าการันตี “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน!!” EZ WebmasterJune 18, 2025 “ภาษา” มิใช่เพียงเครื่องมือสื่อสารแต่เป็นกุญแจสำคัญในการเรียนรู้และเข้าใจวัฒนธรรม การคิดวิเคราะห์และสร้างสรรค์นวัตกรรม ผู้ที่มีทักษะด้านภาษาที่แข็งแกร่งจะสามารถเป็นข้อได้เปรียบหรือประสบความสำเร็จได้ในโลกที่เปลี่ยนแปลงและผู้คนทั่วโลกเชื่อมโยงสื่อสารถึงกันได้ในพริบตาแม้จะต่างชาติ ต่างภาษา ต่างวัฒนธรรม การเรียนรู้ฝึกฝนมีทักษะภาษาจึงมิใช่แค่รู้หรือพูดภาษานานาชาติได้เท่านั้น แต่การเรียนภาษาให้มีรายได้ดี มีอาชีพมั่นคง เป็นมนุษย์เงินเดือนอิสระ ถึงขั้นการันตีได้ว่า “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน !!! นั้นก็เป็นสิ่งเพิ่มมูลค่าและมีคุณค่าอย่างน่าภูมิใจ เฉกเช่นที่ล่าสุด Miss World… การตลาดดิจิทัลและระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย จัดกิจกรรมตอบแทนกลับคืนสังคม EZ WebmasterJune 17, 2025 นักศึกษากลุ่มวิชาการตลาดดิจิทัล และกลุ่มวิชาการบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ร่วมทำกิจกรรม Digital Marketing Innovation for Sustainability สร้างสรรค์ประสบการณ์ทางการตลาดดิจิทัลและการบริการสังคม โดยนักศึกษาได้เข้ากิจกรรมปล่อยสัตว์ทะเลที่ธนาคารปู จังหวัดระยอง และบริจากสิ่งของให้กับชมรมผู้พิการทางสติปัญญา จังหวัดชลบุรี ร่วมเรียนรู้การสร้างสรรค์สื่อสำหรับการสื่อสารทางการตลาดดิจิทัล เพื่อสร้างความรับผิดชอบต่อสังคมให้กับนักศึกษาและร่วมสร้างสรรค์สังคมให้น่าอยู่ต่อไป เรียนคณะบริหารธุรกิจแนวใหม่ต้องสัมผัสประสบการณ์แบบนักธุรกิจ ถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์จากคณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญรวมทั้งนักธุรกิจมืออาชีพ… “จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” EZ WebmasterJune 17, 2025 ในนามของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผมขอส่งความห่วงใยมายังพวกเราทุกคนที่กำลังใช้ชีวิตและศึกษาอยู่ในสหรัฐฯ โดยเฉพาะในช่วงเวลาที่มีความไม่แน่นอนเกี่ยวกับนโยบายวีซ่าที่อาจส่งผลต่อสิทธิในการศึกษา เมื่อไม่นานนี้ ผมและผู้บริหารจุฬาฯ มีโอกาสได้ไปเยือน Harvard และ MIT และได้พบกับนักศึกษาชาวไทยหลายคน ทุกคนต่างมีความมุ่งมั่น ตั้งใจ และอดทนในการใฝ่หาความรู้ เพื่อนำมาพัฒนาตนเอง สังคม และประเทศชาติ แม้จะอยู่ท่ามกลางความกังวลใจต่ออนาคตที่ยังไม่ชัดเจน ผมอยากบอกว่าพวกเราที่จุฬาฯ… ทุนดีดี SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ครู-อาจารย์ อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก tui sakrapeeJune 18, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา นำโดย รศ.ดร.ชุติกาญจน์ ศรีวิบูลย์ อธิการบดี พร้อมคณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย เดินทางเยือนโรงเรียนนานาชาติ Qingdao No.1 International School of Shandong Province (QISS) และ Qingdao University… กองกลาง มจพ. เยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ และจัดสัมมนาจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล ประจำปี 2568 EZ WebmasterJune 18, 2025 ผศ.ดร.สราวุฒิ สืบแย้ม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายการคลังและกิจการทั่วไป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยนางสาวรัตนา สุขเฉลิมศรี ผู้อำนวยการกองกลาง และบุคลากรกองกลาง เข้าเยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ มจพ. ณ ชั้น 3 สำนักงานหอสมุดกลาง โดยมีนางสาวพนารมย์ เกียรติลีลานันท์ และ… คณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล มจพ. ชูธงร่วมเครือข่ายจัดใหญ่การประชุมวิชาการ นวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (FIAC) 2025 EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร สมฤกษ์ จันทรอัมพร รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นเจ้าภาพร่วมในการจัดประชุมวิชาการด้านนวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (Food Innovation Asia Conference 2025) พร้อมด้วย รศ.ดร.รัชนี เจริญ คณบดีคณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล และคณะผู้บริหาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ… สมศ. พลิกโฉมการประเมินคุณภาพภายนอกด้วย AI ภายใต้ “ONESQA 5.0” เสริมความโปร่งใส แม่นยำ และพัฒนาอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 17, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยวิสัยทัศน์ และแนวทางการขับเคลื่อนองค์กรด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence – AI) ภายใต้ วิสัยทัศน์ ONESQA 5.0 โดยมุ่งเน้นการนำ AI เข้ามาใช้เพื่อเสริมประสิทธิภาพ ความโปร่งใส และความแม่นยำ ในกระบวนการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา พร้อมยกระดับสู่ความเป็นดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบบ ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster February 11, 2022 EZ Webmaster February 11, 2022 สาธิตธรรมศาสตร์ — โรงเรียนในฝันกับรูปแบบการสอนที่ก้าวไกล สาธิตธรรมศาสตร์ — โรงเรียนในฝันกับรูปแบบการสอนที่ก้าวไกล เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2565 ที่ผ่านมา สาธิตธรรมศาสตร์ได้ออกมาแถลงการณ์ในเรื่องการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอนให้เข้ากับยุคสมัยมายิ่งขึ้น จนกลายเป็นกระแสร้อน ประเด็นดังในโลกออนไลน์ วันนี้ Eduzones พาทุกคนไปรู้จักสาธิตแห่งนี้ และมารวบรวมข้อมูลให้เห็นกันไปเลยชัด ๆ ว่าคำว่าปรับเปลี่ยนหลักสูตร คือปรับเปลี่ยนแบบไหน แตกต่างจากเดิมอย่างไร เพิ่มเติมอะไรบ้าง โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Thammasat Secondary School : TSS) จัดตั้งขึ้นโดยอาศัยอำนาจตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภายใต้การกำกับของคณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ (Faculty of Learning Sciences and Education : LSEd) เพื่อให้มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาเด็กมัธยม เพิ่มศักยภาพเด็กให้พร้อมต่อการค้นหาความถนัดด้วยการสนับสนุนจากบุคลากรและผู้ปกครองให้เด็กกลายเป็นบุคคลที่มีคุณภาพในสังคม ในฐานะสถานศึกษา สาธิตธรรมศาสตร์จุดประกายความคิดเกี่ยวกับรูปแบบการสอนใหม่ ๆ มาจากความเข้าใจที่ว่ายุคสมัยใหม่เปลี่ยนไป จึงเล็งเห็นปัญหาที่ว่าทำไมระบบการสอนแบบเก่าถึงทำให้เด็กไม่อยากมาโรงเรียน ทำไมความสัมพันธ์ระหว่างครูกับนักเรียนถึงไปในแง่ลบ การเรียนการสอนในโรงเรียนเน้นท่องจำมากกว่าทำความเข้าใจ ทำให้เด็กจำนวนมากขาดความสุขในการเรียนรู้ สถานศึกษาไม่ช่วยให้เด็กค้นพบความถนัดของตนเอง ปัญหาสะสมเหล่านี้ในระบบการศึกษาไทยก่อให้เด็กเกิดความทุกข์เมื่อต้องมาเรียน และนำไปสู้ปัญหาอื่น ๆ ในสังคม เช่น การบูลลี่ (Bully) การจัดการศึกษาของโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ในรูปแบบใหม่มีจุดประสงค์ที่จะทำให้เด็กเกิดความสุข ซึ่งจะทำให้เด็กพร้อมในการสร้างสรรถนะ พัฒนาความสามารถ ต่อยอดทักษะที่สามารถนำไปใช้ได้จริง สามารถทำงานเป็นทีมได้ มีความสุจริต โรงเรียนแห่งนี้จึงเริ่มสร้างรูปแบบการสอนที่ต้องเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างกันและนำปัญหาความไม่ยืดหยุ่นของระบบการศึกษาไทยมาพัฒนา โดยให้ความสำคัญว่านักเรียนทุกคนมีความแตกต่างกัน ซึ่งจะเน้นเป็น 2 หลักการใหญ่ ๆ คือ – Personalized Learning คือหลักการที่เข้าใจว่านักเรียนแต่ละคนมีเรื่องที่สนใจต่างกัน เน้นสนับสนุนผู้เรียนตามความถนัด ความชอบ – Competency-Based Education ระบบการศึกษาที่สนับสนุน Personalized Learning ในข้อแรก คือให้นักเรียนเป็นผู้ปรับเปลี่ยน ยืดหยุ่นวิชาตามความสนใจของตนเอง รศ.ดร.อนุชาติ พวงสำลี ได้ยกตัวอย่างระบบการศึกษาของสาธิตธรรมศาสตร์ที่ฉีกกฏวัฒนธรรมการเรียนการสอนแบบเดิม ๆ สรุปการปรับเปลี่ยนได้ดังนี้ รศ.ดร.อนุชาติ พวงสำลี เริ่มตั้งแต่ระบบการคัดครู ที่สาธิตธรรมศาสตร์จะไม่มีการสอบในรูปแบบกระดาษ หรือtake home แต่จะให้ความสำคัญกับการดูพฤติกรรม ทัศนคติ โดยจะมีวิธีการคัดเลือกที่แตกต่างไปจากเดิม เช่น มีกิจกรรม workshop เพื่อดูวิธีการปรับตัวและกรบวนการทำงานรวมกันแบบเป็นกุล่ม หลังจากนั้นจึงค่อยสัมภาษณ์เพื่อให้ได้บุคลากรครูที่มีคุณภาพเหมาะสำหรับระบบการเรียนในรูปแบบใหม่นี้มากที่สุด ปรับสถานะ เปลี่ยนบทบาทครู ในระบบการศึกษาไทยแบบเดิม ครูอาจารย์ถือว่าเป็นผุ้อาวุโสอย่างมาก ซึ่งทำให้เกิดช่องโหว่วในความสมันพันธ์ระหว่างครูและนักเรียน เด็ก ๆ มองว่าครูเป็นคนไกลตัว สาธิตธรรมศาสตร์จึงมีการตกลงรวมกันที่จะเสริมสร้างความสนิทสนมให้แก่นักเรียน ไม่จำเป็นต้องมีพิธีรีตอง มีการยกมือไหว้ เจอหน้าก็แค่ทักทายกันปกติ ทำให้ตัวนักเรียนมีความกล้าที่จะพูดคุยหยอกล้อกับครูมากขึ้น ประเด็นนี้อาจจะขัดหูขัดตาคนบางกลุ่มแต่มั่นใจได้ว่าไม่มีอะไรเกินเลย ความสัมพันธ์ระหว่างครูกับนักเรียนจะพัฒนาไปในแนวโน้มที่ดียิ่งขึ้น นอกจากนี้ครูจะไม่เป็นแค่ผู้สอนอีกต่อไป สาธิตธรรมศาสตร์ได้ว่าบทบาทครูให้เป็นผู้สนับสนุนการเรียนรู้ 3 ประการ – ที่ปรึกษา (Advisor) มีหน้าที่วางแผนการเรียนรู้ ดูแลให้นักเรียนถึงตามเป้าหมายที่แต่ละคนวางไว้ อีกทั้งยังเป็นผู้สื่อสารผู้ปกครองให้มีความเข้าใจในเป้าหมายของเด็ก – ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง (Mentor) เป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ สร้างแรงบันดาลใจตามสมรรถภาพของนักเรียนแต่ละคน – กระบวนกร (Course Facilitator / instructor) เป็นผู้ออกแบบหน่วยการเรียนรู้ เพื่อให้เหมาะสมกัลศักยภาพพื้นฐานของนักเรียนทุกคน คัดเด็กให้ตรงกับความต้องการ เช่นเดียวกับระบบคัดเลือกครู เด็ก ๆ จะไม่ต้องผ่านการคัดเลือดแบบทำข้อสอบในกระดาษ แต่ให้เด็กทำ Portfolio เพื่ออธิบายเกี่ยวกับตนเอง อยากทำอะไร มีความฝันอะไร จะทำยังไงให้ความฝันนั้นเป็นจริง วิธีการที่เขียนนี้เพราะอยากให้เด็กรู้สึกว่าความฝันมันคือสิ่งที่เราสามารถทำได้จริง หลังจากนั้นก็มีคำถามให้เด็ก 3 ข้อเกี่ยวกับชีวิตตัวเอง และมีคำถามให้พ่อแม่ 4 ข้อ ก่อนจะเด็กเข้ากระบวนการว่าสิ่งที่เขาคิดตรงกับที่เขียนลงไปไหม สำหรับสาธิตธรรมศาสตร์นี้จะไม่มีระบบรับบริจาคเพื่อให้เด็กได้เรียนเด็ดขาด ไม่มีค่าแรกเข้า หรือเก็บความใช้จ่ายเพิ่มเติมใด ๆ ลบระบบการสอนที่มีแต่หลักสูตรบังคับ สาธิตธรรมศาสตร์เน้นการสนับสนุนความฝันของเด็กมากกว่จำกัดรายวิชาตาม สพฐ. เท่านั้น ซึ่งจะให้ความสำคัญกับการพัฒนาความรู้ที่มาจากประสบการณ์ตรง ให้นักเรียนได้ปฏิบัติจริงมากกว่าการเรียนที่เน้นแค่ทฤษฎีแต่นักเรียนไม่รู้วิธีนำไปใช้ นักเรียนของสาธิตธรรมศาสตร์ทุกคนจะมีพื้นที่ในการเรียนรู้กิจกรรมที่ตัวเองสนใจที่สามารถเลือกได้ด้วยตนเอง อาทิตย์ละ 4 คาบ ทุกวันจันทร์ – พฤหัสบดี เวลา 14.00 น. – 15.30 น. ซึ่งจะแบ่งกิจกรรมเป็น 2 ส่วน – กิจกรรมชมรมนวัตกรรมเพื่อสังคม (Social Innovation Club) คือกิจกรรมที่เน้นให้นักเรียนมีทักษะความคิดสร้างสรรค์ การออกแบบ การแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ กิจกรรมนี้จะเรียน 1 คาบในวันจันทร์ – กิจกรรมตามความสนใจเฉพาะ (Club) เป็นกิจกรรมที่ให้นักเรียนเรียนรู้ตามความสนใจของตนเอง อาทิตย์ละ 3 คาบ แบ่งเป็น 3 คลับ ได้แก่ Club Art ชมรมด้านศิลปะที่ช่วยให้นักเรียนพัฒนาทักษะ ศักยภาพ และการแสดงออกอย่างสร้างสรรค์ เข้าร่วมได้ทุกวันอังคาร Club PA ชมรมส่งเสริมด้านสุขภาพ การเคลื่อนไหวของร่างกาย ให้นักเรียนได้มีกิจกรรมทางกายภาพต่าง ๆ เช่น การเล่นกีฬา นันทนาการ เข้าร่วมทุกวันพุธ Club ชมรมนอกเหนือที่สามารถตั้งขึ้นได้ตามความสนใจของนักเรียน เข้าร่วมทุกวันพฤหัสบดี เปลี่ยนวิชาที่จำเจให้มีประโยชน์ยิ่งขึ้น วิชาลูกเสือเนตรนารีที่เด็กสมัยใหม่มองว่าไร้ประโยชน์ อีกทั้งต้องเปลี่ยนค่าใช้จ่ายเครื่องแบบโดยใช้เหตุ ทางสาธิตธรรมศาสตร์ได้ปรับการเรียนการสอนในวิชานี้ จากการถักเชือก ทำเงื่อน กลายเป็นวิชาการเอาตัวรอด นักเรียนจะได้เรียนรู้วิธีการเอาตัวรอดจากสถานการณ์ต่าง ๆ เมื่อเกิดไฟไหม้ต้องหนีอย่างไร วิธีการดับไฟ วิธีการปฐมพยาบาล วิชาการว่ายน้ำที่ไม่ได้สอนเพื่อให้เด็กเป็นไปนักกีฬาแต่สอนเพื่อให้นักเรียนเอาตัวรอดได้เมื่อตกน้ำ วิชานี้จะถูกบรรจุอยู่ใน ม.1 เทอม 1 จะสอนให้พอว่ายเป็นพอผ่านไปอีกเทอมก็จะมีการต่อยอดให้นักเรียนเอาตัวรอดได้ ช่วยเหลือผู้อื่นได้ เรียกได้ว่าเป็นการพัฒนาทักษะกันไปในแต่ละเทอม วิชาเพศศึกษาที่เป็นวิชาจำเป็นแต่ถูกมองข้ามในการศึกษาไทย สังคมไทยมีการตีกรอบเรื่องของเพศศึกษาว่าเป็นเรื่องของศีลธรรมอันดีงาม สาธิตธรรมศาสตร์ต้องการที่จะทำให้การเรียนรู้เรื่องเหล่านี้เป็นเรื่องปกติ จึงปรับวิชาให้การเป็นวิชาวัยรุ่นศาสตร์ ในขั้นต้นจะสอนเกี่ยวกับ Anatomy ร่างกาย ฮอร์โมน ตลอดจนการดูแล ทำความสะอาดร่างกายตนเอง การเลือกเสื้อผ้า การเลือกชั้นใน วิชานี้จะช่วยให้นักเรียนรู้จักตัวเองมากขึ้น เด็ก ๆ จะสามารถอยู่กับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นบนร่างกายของตัวเองได้ ต่อมาก็เป็นการสอนเกี่ยวกับความสัมพันธ์ให้นักเรียนได้รู้จักการเข้าสังคมอย่างถูกต้อง ในส่วนของวิชานี้ครูอาจารย์จะเป็นผู้ออกแบบการเรียนการสอนเองได้ แต่รับประกันได้ว่าความรู้เหล่านี้สามารถนำไปใช้ได้จริง ตัวอย่างวิชานอกเหนือที่ไม่คุ้นหู เช่น วิชารู้ทันการเงิน วิชาเสพศิลป์และกลิ่นเสียง วิชาวิถีศรัทธา ซึ่งครอบคลุมทุกศาสนา วิชารู้เท่าทันสื่อ วิชาผู้ประกอบการ ทุกวิชาที่คัดศรรมาทางสาธิตธรรมศาสตร์เชื่อว่าล้วนแล้วแต่เป็นวิชาที่เด็ก ๆ ได้นำไปใช้แน่นอนในอนาคต ขอบคุณรูปจาก Mappa พัฒนาเด็กโดยไม่บังคับให้แข่งขัน สาธิตธรรมศาสตร์จะไม่มีการให้เกรด ไม่มีการจัดสินคะแนนที่ทำให้เด็กเกิดการเปรียบเทียบกับผู้อื่น ไม่มีการติดประกาศว่าเด็กคนนี้ได้รางวัลอะไรอีกต่อไป ทางโรงเรียนจะไม่มีการสนับสนุนให้ผู้ปกครองพาลูกไปเรียนพิเศษเพิ่มเติมเพราะคิดว่าหลักสูตรของทางโรงเรียนเพียงพอแล้วแต่ก็ไม่ได้มีการห้ามให้ไปหาทักษะที่ไม่มีสอนในโรงเรียนจริง ๆ หลังจากลองใช้วิธีนี้มาในระยะหนึ่งพบว่าเด็กค้นพบตัวเองในทักษะที่หลากหลายมากขึ้น ทุกคนมีความเข้าใจว่าแต่ละคนมีความถนัดที่แตกต่างกัน ซึ่งช่วยให้การทำงานเป็นทีม ส่งเสริมกันในเรื่องที่ถนัดมากขึ้น นักเรียนจะไม่มองกันเองว่าใครเก่งไม่เก่ง แต่มองกันแค่ว่าคนไหนถนัดเรื่องใด กำจัดวัฒนธรรมการตีกรอบในโรงเรียนแบบเดิม ๆ นักเรียนมีอิสระในการแต่งตัวเพราะที่สาธิตธรรมศาสตร์จะไม่บังคับให้เด็ก ๆ ต้องใส่ชุดนักเรียน เพียงแต่จะให้ใส่เสื้อยืดที่เป็นตราโรงเรียนในวันที่มีตลาดนัด คือวันอังคารและวันศุกร์เพราะเป็นวันที่มีคนภายนอก การใส่เสื้อยืดนักเรียนจะช่วยแยกแยะนักเรียนกับบุคคลทั่วไปได้ อาจจะมีการบังคับให้ใส่เครื่องแบบในวันที่มีพิธีการหรือออกนอกสถานที่ตามความเหมาะสมเท่านั้น ขอบคุณรูปจาก Mappa ให้ความสำคัญกับนักเรียนเป็นอันดับหนึ่ง โรงเรียนต้องเป็นสถานที่ที่เจาะจงกับนักเรียนเป็นสำคัญที่สุด การศึกษาต้องทำให้นักเรียนรู้สึกมีความสุข อยากที่จะเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ การมาเรียนต้องไม่ทำให้เด็กเกิดความทุกข์ สิ่งนี้จะช่วยทำให้เด็กสามารถเปิดรับความรู้ใหม่และดีต่อการพัฒนาทักษะมากยิ่งขึ้น สาธิตธรรมศาสตร์มีจุดประสงค์ที่จะทำให้โรงเรียนเป็นสถานที่ปลอดภัยสำหรับเด็ก ทั้งในแง่ของทางร่างกายและจิตใจ เน้นใช้เวลายามเช้าเพื่อตัวนักเรียนมากกว่าการบังคับ การถกเถียงเรื่องความจำเป็นเกี่ยวกับการเข้แถวเคารพธงชาติเป็นเรื่องที่สังคมถกเพียงกันมาอย่างนาน คนบางกลุ่มให้เหตุว่ากิจกรรมนี้ไม่จำเป็น อีกทั้งยังทำให้เด็กเหนื่อยล้าตั้งแต่เช้า สาธิตธรรมศาสตร์ได้เปลี่ยนช่วงเวลาที่บังคับให้นักเรียนเคารพธงชาติ อบรมหน้าเสาธง สวดมนต์ตอนเช้ามาเป็นชั่วโมงโฮมรูม 30 นาทีที่ให้นักเรียนพบปะกับครูประจำชั้น โดยไม่ได้บังคับว่านักเรียนทุกคนจะต้องคุยกับครูประจำชั้น หากใครยังอยากที่จะสวดมนต์ก็ยังสามารถทำได้ในห้องเรียน ซึ่งวิธีการนี้จะช่วยให้ครูอาจารย์เข้าถึงนักเรียนได้ดียิ่งขึ้น และเกิดการแลกเปลี่ยนข่าวสารในชั้นเรียน ปลูกฝังวินัยแบบไร้ฝ่ายปกครอง นักเรียนจะไม่ถูกเรียกเข้าฝ่ายปกครองเมื่อมีการกระทำผิดอย่างที่เคยเป็นมาในระบบการศึกษาไทย สาธิตธรรมศาสตร์มีแต่ฝ่ายสนับสนุนนักเรียนและกิจกรรม จะไม่มีการสร้างความบาดหมางให้แก่เด็กจากการจดชื่อส่งครูหรืออะไรก็ตาม แล้วถ้าถามว่าแบบนี้จะช่วยให้ดีขึ้นได้อย่างไร? ทางโรงเรียนจะใช้วิธีการแบบเด็ดขาด อย่างเช่น การทิ้งขยะไม่เป็นที่ แม่บ้านจะไม่เก็บโดยทันทีแต่จะปล่อยขยะสะสมไว้ จนวันนึงนักเรียนจะสำนึกได้เองว่าตัวเองไม่สามารถอยู่ในสภาพแวดล้อมได้ และจะเริ่มแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น พร้อมทั้งรู้วิธีการปฎิบัติตนในครั้งต่อ ๆ ไป เชื่อมสัมพันธภาพให้แก่เด็กและผู้ปกครอง สาธิตธรรมศาสตร์ยังมองลึกไปถึงความพันธ์ในครอบครัวที่เป็นอีกหนึ่งปัจจัยสำคัญในการพัฒนานักเรียน เริ่มตั้งแต่จะมีการเปิดรับสมัครนักเรียนตั้งแต่ช่วงเดือนมิถุนายน เพื่อให้มีช่วงเวลาที่เป็นโครงการเรียนว่า “ครอบครัวสาธิต” ให้เด็ก ๆ มาเข้าร่วม 2 เดือน โดยฝั่งพ่อแม่เองก็จะมีการเข้าหลักสูตร “ห้องเรียนพ่อแม่” ซึ่งจะเน้นการแก้ปัญหาที่มักเกิดขึ้นในครอบครัว เช่น ทำไมลูกถึงตีตัวออกห่าง ลูกให้ความสำคัญกับเพื่อนมากกว่า อยากคุยกับลูกเรื่องเพศสัมพันธ์ได้ ทางโรงเรียนจะช่วยให้ผู้ปกครองมีความเข้าใจในตัวเด็กมากขึ้น เข้าใจในฮอร์โมนร่างกายซึ่งส่งผลทำให้ลักษณะนิสัย การใช้ชีวิตของเด็กเปลี่ยนไปจากเดิม ทำให้ผู้ปกครองเข้าใจว่าการจะช่วยให้เด็กพัฒนาได้ดีต้องมีความไว้ใจ เป็นห่วงได้แต่ต้องอยู่ในขอบเขตที่เหมาะสม วิธีการนี้ได้รับผลตอบรับเป็นอย่างดีทำให้เกิดการพัฒนา “ศูนย์ Empathy Center” เป็นคลินิกให้พ่อแม่ ครู นักเรียน ได้ปรึกษา ทางสาธิตหวังว่าการเชื่อมความสัมพันธืในรูปแบบนี้จะช่วยพัฒนาสังคม ช่วยทำให้แต่ละคนมีมุมมองที่ใจซึ่งกันและกันมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ยังมี “ชุมชนการเรียนรู้ TSS Family” ที่เป็นห้องเรียนเพื่อสนับสนุนผู้ปกครองโดยเฉพาะ ผู้ปกครองที่ว่างหลังจากการส่งลูกเข้าเรียนอาจจะมาเรียนทำขนม เรียนธรุกิจเพราะทางโรงเรียนเชื่อว่าสภาพแวดล้อมครอบครัวที่ดีจะช่วยให้เด็กเติบโตอย่างมีคุณภาพ ขอบคุณรูปจาก Mappa หลังจากผ่านการปรับเปลี่ยนระบบการศึกษา ทางสาธิตธรรมศาสตร์ก็พบเจอปัญหาบางอย่าง เช่น ความกังวลของผู้ปกครองในเรื่องของอนาคตเด็ก ซึ่งทางโรงเรียนเชื่อว่าเด็กจะมีอนาคตที่สดใสในแบบที่เป็นผู้เลือกไม่ใช่ผู้ถูกเลือก ระบบการศึกษานี้ถูกปรับให้เข้ากับยุคสมัย แม้ไม่มีการรับประกันว่าวิธีการแบบนี้จะได้ผล 100% แต่วิธีการเดิม ๆ มันพาให้ระบบการศึกษาไทยล้มเหลว การรับอะไรใหม่ ๆ ก็คงเป็นตัวเลือกที่ดี ทางสาธิตธรรมศาสตร์เผยว่าหลังจากการทดลองใช้รูปแบบการสอนใหม่ ๆ นี้ ผลตอบรับออกมาไปในแนวโน้มที่ดี นักเรียนมีความกระตือรือร้นในการมาเรียนแต่เช้า นักเรียนค้นพบความถนัด ค้นพบทักษะที่ตัวเองทำได้ดีมากขึ้น ซึ่งสิ่งสำคัญที่ทำให้วิธีการนี้ประสบความสำเร็จคือการทำอย่างต่อเนื่องและทุ่มเทในการปรับปรุง พัฒนาอยู่เสมอ แน่นอนว่าเมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้น ก็ย่อมมีทั้งเสียงสนับสนุนและคัดค้าน ทำให้ตกเป็นประเด็นถกเถียงกันอย่างต่อเนื่องในช่องทางออนไลน์ ซึ่ง Eduzones ก็เป็นอีกหนึ่งเสียงที่สนับสนุนให้เกิดการเปลี่ยนแปลงซึ่งจะนำไปสู่การพัฒนาระบบการศึกษาไทยในรูปแบบที่ดีขึ้นเสมอมา ในฐานะชุมชนการศึกษา Eduzones ได้ร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการสนับสนุนเพื่อให้เกิดการพัฒนาระบบการศึกษาไทย โดยมีการจัดทำโครงการ “Good Classroom” ซึ่งเป็นโครงการที่เผยแพร่ห้องเรียน การเรียนการสอนในรูปแบบใหม่ ๆ โดยมีวัตถุประสงค์ในการกระตุ้นผู้สอนให้ปรับเปลี่ยนการสอนในรูปแบบที่ดียิ่งขึ้น อีกทั้งยังหวังว่าจะเป็นส่วนหนึ่งในการขับเคลื่อนระบบการศึกษาให้ดียิ่งขึ้น ซึ่งปัจจุบันมีครูผู้สอนร่วมเข้ามาเป็นผู้เผยแพร่รูปแบบการศึกษาที่เรียกได้ว่าเป็นห้องเรียนในอนาคตกว่า 50 โรงเรียน ร่วมกันเปลี่ยนแปลงการสอน เพื่อการศึกษาไทยที่ดีขึ้น เพื่อความสุขของผู้เรียนและผู้สอน ร่วมกันสร้างห้องเรียนแห่งความสุขได้ที่ FB page : https://www.facebook.com/goodclassroom โรงเรียนสาธิตธรรมศาสตร์ : คลิก EZ Webmaster Related Posts โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนแม่เมาะวิทยา โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนาน้อย อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสตรีศรีน่าน Post navigation PREVIOUS Previous post: มบส.เดินหน้าศึกษาหลักสูตร SandboxNEXT Next post: 4,091 สาขาวิชาที่ไม่ใช้คะแนน GAT/PAT และวิชาสามัญ รอบ 3 (Admission)! Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
คณะมนุษยศาสตร์ ม.หอการค้าไทย จัดหลักสูตรรุกหน้าการันตี “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน!!” EZ WebmasterJune 18, 2025 “ภาษา” มิใช่เพียงเครื่องมือสื่อสารแต่เป็นกุญแจสำคัญในการเรียนรู้และเข้าใจวัฒนธรรม การคิดวิเคราะห์และสร้างสรรค์นวัตกรรม ผู้ที่มีทักษะด้านภาษาที่แข็งแกร่งจะสามารถเป็นข้อได้เปรียบหรือประสบความสำเร็จได้ในโลกที่เปลี่ยนแปลงและผู้คนทั่วโลกเชื่อมโยงสื่อสารถึงกันได้ในพริบตาแม้จะต่างชาติ ต่างภาษา ต่างวัฒนธรรม การเรียนรู้ฝึกฝนมีทักษะภาษาจึงมิใช่แค่รู้หรือพูดภาษานานาชาติได้เท่านั้น แต่การเรียนภาษาให้มีรายได้ดี มีอาชีพมั่นคง เป็นมนุษย์เงินเดือนอิสระ ถึงขั้นการันตีได้ว่า “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน !!! นั้นก็เป็นสิ่งเพิ่มมูลค่าและมีคุณค่าอย่างน่าภูมิใจ เฉกเช่นที่ล่าสุด Miss World… การตลาดดิจิทัลและระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย จัดกิจกรรมตอบแทนกลับคืนสังคม EZ WebmasterJune 17, 2025 นักศึกษากลุ่มวิชาการตลาดดิจิทัล และกลุ่มวิชาการบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ร่วมทำกิจกรรม Digital Marketing Innovation for Sustainability สร้างสรรค์ประสบการณ์ทางการตลาดดิจิทัลและการบริการสังคม โดยนักศึกษาได้เข้ากิจกรรมปล่อยสัตว์ทะเลที่ธนาคารปู จังหวัดระยอง และบริจากสิ่งของให้กับชมรมผู้พิการทางสติปัญญา จังหวัดชลบุรี ร่วมเรียนรู้การสร้างสรรค์สื่อสำหรับการสื่อสารทางการตลาดดิจิทัล เพื่อสร้างความรับผิดชอบต่อสังคมให้กับนักศึกษาและร่วมสร้างสรรค์สังคมให้น่าอยู่ต่อไป เรียนคณะบริหารธุรกิจแนวใหม่ต้องสัมผัสประสบการณ์แบบนักธุรกิจ ถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์จากคณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญรวมทั้งนักธุรกิจมืออาชีพ… “จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” EZ WebmasterJune 17, 2025 ในนามของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผมขอส่งความห่วงใยมายังพวกเราทุกคนที่กำลังใช้ชีวิตและศึกษาอยู่ในสหรัฐฯ โดยเฉพาะในช่วงเวลาที่มีความไม่แน่นอนเกี่ยวกับนโยบายวีซ่าที่อาจส่งผลต่อสิทธิในการศึกษา เมื่อไม่นานนี้ ผมและผู้บริหารจุฬาฯ มีโอกาสได้ไปเยือน Harvard และ MIT และได้พบกับนักศึกษาชาวไทยหลายคน ทุกคนต่างมีความมุ่งมั่น ตั้งใจ และอดทนในการใฝ่หาความรู้ เพื่อนำมาพัฒนาตนเอง สังคม และประเทศชาติ แม้จะอยู่ท่ามกลางความกังวลใจต่ออนาคตที่ยังไม่ชัดเจน ผมอยากบอกว่าพวกเราที่จุฬาฯ… ทุนดีดี SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ครู-อาจารย์ อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก tui sakrapeeJune 18, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา นำโดย รศ.ดร.ชุติกาญจน์ ศรีวิบูลย์ อธิการบดี พร้อมคณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย เดินทางเยือนโรงเรียนนานาชาติ Qingdao No.1 International School of Shandong Province (QISS) และ Qingdao University… กองกลาง มจพ. เยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ และจัดสัมมนาจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล ประจำปี 2568 EZ WebmasterJune 18, 2025 ผศ.ดร.สราวุฒิ สืบแย้ม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายการคลังและกิจการทั่วไป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยนางสาวรัตนา สุขเฉลิมศรี ผู้อำนวยการกองกลาง และบุคลากรกองกลาง เข้าเยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ มจพ. ณ ชั้น 3 สำนักงานหอสมุดกลาง โดยมีนางสาวพนารมย์ เกียรติลีลานันท์ และ… คณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล มจพ. ชูธงร่วมเครือข่ายจัดใหญ่การประชุมวิชาการ นวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (FIAC) 2025 EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร สมฤกษ์ จันทรอัมพร รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นเจ้าภาพร่วมในการจัดประชุมวิชาการด้านนวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (Food Innovation Asia Conference 2025) พร้อมด้วย รศ.ดร.รัชนี เจริญ คณบดีคณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล และคณะผู้บริหาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ… สมศ. พลิกโฉมการประเมินคุณภาพภายนอกด้วย AI ภายใต้ “ONESQA 5.0” เสริมความโปร่งใส แม่นยำ และพัฒนาอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 17, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยวิสัยทัศน์ และแนวทางการขับเคลื่อนองค์กรด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence – AI) ภายใต้ วิสัยทัศน์ ONESQA 5.0 โดยมุ่งเน้นการนำ AI เข้ามาใช้เพื่อเสริมประสิทธิภาพ ความโปร่งใส และความแม่นยำ ในกระบวนการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา พร้อมยกระดับสู่ความเป็นดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบบ ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster February 11, 2022 EZ Webmaster February 11, 2022 สาธิตธรรมศาสตร์ — โรงเรียนในฝันกับรูปแบบการสอนที่ก้าวไกล สาธิตธรรมศาสตร์ — โรงเรียนในฝันกับรูปแบบการสอนที่ก้าวไกล เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2565 ที่ผ่านมา สาธิตธรรมศาสตร์ได้ออกมาแถลงการณ์ในเรื่องการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอนให้เข้ากับยุคสมัยมายิ่งขึ้น จนกลายเป็นกระแสร้อน ประเด็นดังในโลกออนไลน์ วันนี้ Eduzones พาทุกคนไปรู้จักสาธิตแห่งนี้ และมารวบรวมข้อมูลให้เห็นกันไปเลยชัด ๆ ว่าคำว่าปรับเปลี่ยนหลักสูตร คือปรับเปลี่ยนแบบไหน แตกต่างจากเดิมอย่างไร เพิ่มเติมอะไรบ้าง โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Thammasat Secondary School : TSS) จัดตั้งขึ้นโดยอาศัยอำนาจตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภายใต้การกำกับของคณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ (Faculty of Learning Sciences and Education : LSEd) เพื่อให้มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาเด็กมัธยม เพิ่มศักยภาพเด็กให้พร้อมต่อการค้นหาความถนัดด้วยการสนับสนุนจากบุคลากรและผู้ปกครองให้เด็กกลายเป็นบุคคลที่มีคุณภาพในสังคม ในฐานะสถานศึกษา สาธิตธรรมศาสตร์จุดประกายความคิดเกี่ยวกับรูปแบบการสอนใหม่ ๆ มาจากความเข้าใจที่ว่ายุคสมัยใหม่เปลี่ยนไป จึงเล็งเห็นปัญหาที่ว่าทำไมระบบการสอนแบบเก่าถึงทำให้เด็กไม่อยากมาโรงเรียน ทำไมความสัมพันธ์ระหว่างครูกับนักเรียนถึงไปในแง่ลบ การเรียนการสอนในโรงเรียนเน้นท่องจำมากกว่าทำความเข้าใจ ทำให้เด็กจำนวนมากขาดความสุขในการเรียนรู้ สถานศึกษาไม่ช่วยให้เด็กค้นพบความถนัดของตนเอง ปัญหาสะสมเหล่านี้ในระบบการศึกษาไทยก่อให้เด็กเกิดความทุกข์เมื่อต้องมาเรียน และนำไปสู้ปัญหาอื่น ๆ ในสังคม เช่น การบูลลี่ (Bully) การจัดการศึกษาของโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ในรูปแบบใหม่มีจุดประสงค์ที่จะทำให้เด็กเกิดความสุข ซึ่งจะทำให้เด็กพร้อมในการสร้างสรรถนะ พัฒนาความสามารถ ต่อยอดทักษะที่สามารถนำไปใช้ได้จริง สามารถทำงานเป็นทีมได้ มีความสุจริต โรงเรียนแห่งนี้จึงเริ่มสร้างรูปแบบการสอนที่ต้องเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างกันและนำปัญหาความไม่ยืดหยุ่นของระบบการศึกษาไทยมาพัฒนา โดยให้ความสำคัญว่านักเรียนทุกคนมีความแตกต่างกัน ซึ่งจะเน้นเป็น 2 หลักการใหญ่ ๆ คือ – Personalized Learning คือหลักการที่เข้าใจว่านักเรียนแต่ละคนมีเรื่องที่สนใจต่างกัน เน้นสนับสนุนผู้เรียนตามความถนัด ความชอบ – Competency-Based Education ระบบการศึกษาที่สนับสนุน Personalized Learning ในข้อแรก คือให้นักเรียนเป็นผู้ปรับเปลี่ยน ยืดหยุ่นวิชาตามความสนใจของตนเอง รศ.ดร.อนุชาติ พวงสำลี ได้ยกตัวอย่างระบบการศึกษาของสาธิตธรรมศาสตร์ที่ฉีกกฏวัฒนธรรมการเรียนการสอนแบบเดิม ๆ สรุปการปรับเปลี่ยนได้ดังนี้ รศ.ดร.อนุชาติ พวงสำลี เริ่มตั้งแต่ระบบการคัดครู ที่สาธิตธรรมศาสตร์จะไม่มีการสอบในรูปแบบกระดาษ หรือtake home แต่จะให้ความสำคัญกับการดูพฤติกรรม ทัศนคติ โดยจะมีวิธีการคัดเลือกที่แตกต่างไปจากเดิม เช่น มีกิจกรรม workshop เพื่อดูวิธีการปรับตัวและกรบวนการทำงานรวมกันแบบเป็นกุล่ม หลังจากนั้นจึงค่อยสัมภาษณ์เพื่อให้ได้บุคลากรครูที่มีคุณภาพเหมาะสำหรับระบบการเรียนในรูปแบบใหม่นี้มากที่สุด ปรับสถานะ เปลี่ยนบทบาทครู ในระบบการศึกษาไทยแบบเดิม ครูอาจารย์ถือว่าเป็นผุ้อาวุโสอย่างมาก ซึ่งทำให้เกิดช่องโหว่วในความสมันพันธ์ระหว่างครูและนักเรียน เด็ก ๆ มองว่าครูเป็นคนไกลตัว สาธิตธรรมศาสตร์จึงมีการตกลงรวมกันที่จะเสริมสร้างความสนิทสนมให้แก่นักเรียน ไม่จำเป็นต้องมีพิธีรีตอง มีการยกมือไหว้ เจอหน้าก็แค่ทักทายกันปกติ ทำให้ตัวนักเรียนมีความกล้าที่จะพูดคุยหยอกล้อกับครูมากขึ้น ประเด็นนี้อาจจะขัดหูขัดตาคนบางกลุ่มแต่มั่นใจได้ว่าไม่มีอะไรเกินเลย ความสัมพันธ์ระหว่างครูกับนักเรียนจะพัฒนาไปในแนวโน้มที่ดียิ่งขึ้น นอกจากนี้ครูจะไม่เป็นแค่ผู้สอนอีกต่อไป สาธิตธรรมศาสตร์ได้ว่าบทบาทครูให้เป็นผู้สนับสนุนการเรียนรู้ 3 ประการ – ที่ปรึกษา (Advisor) มีหน้าที่วางแผนการเรียนรู้ ดูแลให้นักเรียนถึงตามเป้าหมายที่แต่ละคนวางไว้ อีกทั้งยังเป็นผู้สื่อสารผู้ปกครองให้มีความเข้าใจในเป้าหมายของเด็ก – ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง (Mentor) เป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ สร้างแรงบันดาลใจตามสมรรถภาพของนักเรียนแต่ละคน – กระบวนกร (Course Facilitator / instructor) เป็นผู้ออกแบบหน่วยการเรียนรู้ เพื่อให้เหมาะสมกัลศักยภาพพื้นฐานของนักเรียนทุกคน คัดเด็กให้ตรงกับความต้องการ เช่นเดียวกับระบบคัดเลือกครู เด็ก ๆ จะไม่ต้องผ่านการคัดเลือดแบบทำข้อสอบในกระดาษ แต่ให้เด็กทำ Portfolio เพื่ออธิบายเกี่ยวกับตนเอง อยากทำอะไร มีความฝันอะไร จะทำยังไงให้ความฝันนั้นเป็นจริง วิธีการที่เขียนนี้เพราะอยากให้เด็กรู้สึกว่าความฝันมันคือสิ่งที่เราสามารถทำได้จริง หลังจากนั้นก็มีคำถามให้เด็ก 3 ข้อเกี่ยวกับชีวิตตัวเอง และมีคำถามให้พ่อแม่ 4 ข้อ ก่อนจะเด็กเข้ากระบวนการว่าสิ่งที่เขาคิดตรงกับที่เขียนลงไปไหม สำหรับสาธิตธรรมศาสตร์นี้จะไม่มีระบบรับบริจาคเพื่อให้เด็กได้เรียนเด็ดขาด ไม่มีค่าแรกเข้า หรือเก็บความใช้จ่ายเพิ่มเติมใด ๆ ลบระบบการสอนที่มีแต่หลักสูตรบังคับ สาธิตธรรมศาสตร์เน้นการสนับสนุนความฝันของเด็กมากกว่จำกัดรายวิชาตาม สพฐ. เท่านั้น ซึ่งจะให้ความสำคัญกับการพัฒนาความรู้ที่มาจากประสบการณ์ตรง ให้นักเรียนได้ปฏิบัติจริงมากกว่าการเรียนที่เน้นแค่ทฤษฎีแต่นักเรียนไม่รู้วิธีนำไปใช้ นักเรียนของสาธิตธรรมศาสตร์ทุกคนจะมีพื้นที่ในการเรียนรู้กิจกรรมที่ตัวเองสนใจที่สามารถเลือกได้ด้วยตนเอง อาทิตย์ละ 4 คาบ ทุกวันจันทร์ – พฤหัสบดี เวลา 14.00 น. – 15.30 น. ซึ่งจะแบ่งกิจกรรมเป็น 2 ส่วน – กิจกรรมชมรมนวัตกรรมเพื่อสังคม (Social Innovation Club) คือกิจกรรมที่เน้นให้นักเรียนมีทักษะความคิดสร้างสรรค์ การออกแบบ การแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ กิจกรรมนี้จะเรียน 1 คาบในวันจันทร์ – กิจกรรมตามความสนใจเฉพาะ (Club) เป็นกิจกรรมที่ให้นักเรียนเรียนรู้ตามความสนใจของตนเอง อาทิตย์ละ 3 คาบ แบ่งเป็น 3 คลับ ได้แก่ Club Art ชมรมด้านศิลปะที่ช่วยให้นักเรียนพัฒนาทักษะ ศักยภาพ และการแสดงออกอย่างสร้างสรรค์ เข้าร่วมได้ทุกวันอังคาร Club PA ชมรมส่งเสริมด้านสุขภาพ การเคลื่อนไหวของร่างกาย ให้นักเรียนได้มีกิจกรรมทางกายภาพต่าง ๆ เช่น การเล่นกีฬา นันทนาการ เข้าร่วมทุกวันพุธ Club ชมรมนอกเหนือที่สามารถตั้งขึ้นได้ตามความสนใจของนักเรียน เข้าร่วมทุกวันพฤหัสบดี เปลี่ยนวิชาที่จำเจให้มีประโยชน์ยิ่งขึ้น วิชาลูกเสือเนตรนารีที่เด็กสมัยใหม่มองว่าไร้ประโยชน์ อีกทั้งต้องเปลี่ยนค่าใช้จ่ายเครื่องแบบโดยใช้เหตุ ทางสาธิตธรรมศาสตร์ได้ปรับการเรียนการสอนในวิชานี้ จากการถักเชือก ทำเงื่อน กลายเป็นวิชาการเอาตัวรอด นักเรียนจะได้เรียนรู้วิธีการเอาตัวรอดจากสถานการณ์ต่าง ๆ เมื่อเกิดไฟไหม้ต้องหนีอย่างไร วิธีการดับไฟ วิธีการปฐมพยาบาล วิชาการว่ายน้ำที่ไม่ได้สอนเพื่อให้เด็กเป็นไปนักกีฬาแต่สอนเพื่อให้นักเรียนเอาตัวรอดได้เมื่อตกน้ำ วิชานี้จะถูกบรรจุอยู่ใน ม.1 เทอม 1 จะสอนให้พอว่ายเป็นพอผ่านไปอีกเทอมก็จะมีการต่อยอดให้นักเรียนเอาตัวรอดได้ ช่วยเหลือผู้อื่นได้ เรียกได้ว่าเป็นการพัฒนาทักษะกันไปในแต่ละเทอม วิชาเพศศึกษาที่เป็นวิชาจำเป็นแต่ถูกมองข้ามในการศึกษาไทย สังคมไทยมีการตีกรอบเรื่องของเพศศึกษาว่าเป็นเรื่องของศีลธรรมอันดีงาม สาธิตธรรมศาสตร์ต้องการที่จะทำให้การเรียนรู้เรื่องเหล่านี้เป็นเรื่องปกติ จึงปรับวิชาให้การเป็นวิชาวัยรุ่นศาสตร์ ในขั้นต้นจะสอนเกี่ยวกับ Anatomy ร่างกาย ฮอร์โมน ตลอดจนการดูแล ทำความสะอาดร่างกายตนเอง การเลือกเสื้อผ้า การเลือกชั้นใน วิชานี้จะช่วยให้นักเรียนรู้จักตัวเองมากขึ้น เด็ก ๆ จะสามารถอยู่กับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นบนร่างกายของตัวเองได้ ต่อมาก็เป็นการสอนเกี่ยวกับความสัมพันธ์ให้นักเรียนได้รู้จักการเข้าสังคมอย่างถูกต้อง ในส่วนของวิชานี้ครูอาจารย์จะเป็นผู้ออกแบบการเรียนการสอนเองได้ แต่รับประกันได้ว่าความรู้เหล่านี้สามารถนำไปใช้ได้จริง ตัวอย่างวิชานอกเหนือที่ไม่คุ้นหู เช่น วิชารู้ทันการเงิน วิชาเสพศิลป์และกลิ่นเสียง วิชาวิถีศรัทธา ซึ่งครอบคลุมทุกศาสนา วิชารู้เท่าทันสื่อ วิชาผู้ประกอบการ ทุกวิชาที่คัดศรรมาทางสาธิตธรรมศาสตร์เชื่อว่าล้วนแล้วแต่เป็นวิชาที่เด็ก ๆ ได้นำไปใช้แน่นอนในอนาคต ขอบคุณรูปจาก Mappa พัฒนาเด็กโดยไม่บังคับให้แข่งขัน สาธิตธรรมศาสตร์จะไม่มีการให้เกรด ไม่มีการจัดสินคะแนนที่ทำให้เด็กเกิดการเปรียบเทียบกับผู้อื่น ไม่มีการติดประกาศว่าเด็กคนนี้ได้รางวัลอะไรอีกต่อไป ทางโรงเรียนจะไม่มีการสนับสนุนให้ผู้ปกครองพาลูกไปเรียนพิเศษเพิ่มเติมเพราะคิดว่าหลักสูตรของทางโรงเรียนเพียงพอแล้วแต่ก็ไม่ได้มีการห้ามให้ไปหาทักษะที่ไม่มีสอนในโรงเรียนจริง ๆ หลังจากลองใช้วิธีนี้มาในระยะหนึ่งพบว่าเด็กค้นพบตัวเองในทักษะที่หลากหลายมากขึ้น ทุกคนมีความเข้าใจว่าแต่ละคนมีความถนัดที่แตกต่างกัน ซึ่งช่วยให้การทำงานเป็นทีม ส่งเสริมกันในเรื่องที่ถนัดมากขึ้น นักเรียนจะไม่มองกันเองว่าใครเก่งไม่เก่ง แต่มองกันแค่ว่าคนไหนถนัดเรื่องใด กำจัดวัฒนธรรมการตีกรอบในโรงเรียนแบบเดิม ๆ นักเรียนมีอิสระในการแต่งตัวเพราะที่สาธิตธรรมศาสตร์จะไม่บังคับให้เด็ก ๆ ต้องใส่ชุดนักเรียน เพียงแต่จะให้ใส่เสื้อยืดที่เป็นตราโรงเรียนในวันที่มีตลาดนัด คือวันอังคารและวันศุกร์เพราะเป็นวันที่มีคนภายนอก การใส่เสื้อยืดนักเรียนจะช่วยแยกแยะนักเรียนกับบุคคลทั่วไปได้ อาจจะมีการบังคับให้ใส่เครื่องแบบในวันที่มีพิธีการหรือออกนอกสถานที่ตามความเหมาะสมเท่านั้น ขอบคุณรูปจาก Mappa ให้ความสำคัญกับนักเรียนเป็นอันดับหนึ่ง โรงเรียนต้องเป็นสถานที่ที่เจาะจงกับนักเรียนเป็นสำคัญที่สุด การศึกษาต้องทำให้นักเรียนรู้สึกมีความสุข อยากที่จะเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ การมาเรียนต้องไม่ทำให้เด็กเกิดความทุกข์ สิ่งนี้จะช่วยทำให้เด็กสามารถเปิดรับความรู้ใหม่และดีต่อการพัฒนาทักษะมากยิ่งขึ้น สาธิตธรรมศาสตร์มีจุดประสงค์ที่จะทำให้โรงเรียนเป็นสถานที่ปลอดภัยสำหรับเด็ก ทั้งในแง่ของทางร่างกายและจิตใจ เน้นใช้เวลายามเช้าเพื่อตัวนักเรียนมากกว่าการบังคับ การถกเถียงเรื่องความจำเป็นเกี่ยวกับการเข้แถวเคารพธงชาติเป็นเรื่องที่สังคมถกเพียงกันมาอย่างนาน คนบางกลุ่มให้เหตุว่ากิจกรรมนี้ไม่จำเป็น อีกทั้งยังทำให้เด็กเหนื่อยล้าตั้งแต่เช้า สาธิตธรรมศาสตร์ได้เปลี่ยนช่วงเวลาที่บังคับให้นักเรียนเคารพธงชาติ อบรมหน้าเสาธง สวดมนต์ตอนเช้ามาเป็นชั่วโมงโฮมรูม 30 นาทีที่ให้นักเรียนพบปะกับครูประจำชั้น โดยไม่ได้บังคับว่านักเรียนทุกคนจะต้องคุยกับครูประจำชั้น หากใครยังอยากที่จะสวดมนต์ก็ยังสามารถทำได้ในห้องเรียน ซึ่งวิธีการนี้จะช่วยให้ครูอาจารย์เข้าถึงนักเรียนได้ดียิ่งขึ้น และเกิดการแลกเปลี่ยนข่าวสารในชั้นเรียน ปลูกฝังวินัยแบบไร้ฝ่ายปกครอง นักเรียนจะไม่ถูกเรียกเข้าฝ่ายปกครองเมื่อมีการกระทำผิดอย่างที่เคยเป็นมาในระบบการศึกษาไทย สาธิตธรรมศาสตร์มีแต่ฝ่ายสนับสนุนนักเรียนและกิจกรรม จะไม่มีการสร้างความบาดหมางให้แก่เด็กจากการจดชื่อส่งครูหรืออะไรก็ตาม แล้วถ้าถามว่าแบบนี้จะช่วยให้ดีขึ้นได้อย่างไร? ทางโรงเรียนจะใช้วิธีการแบบเด็ดขาด อย่างเช่น การทิ้งขยะไม่เป็นที่ แม่บ้านจะไม่เก็บโดยทันทีแต่จะปล่อยขยะสะสมไว้ จนวันนึงนักเรียนจะสำนึกได้เองว่าตัวเองไม่สามารถอยู่ในสภาพแวดล้อมได้ และจะเริ่มแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น พร้อมทั้งรู้วิธีการปฎิบัติตนในครั้งต่อ ๆ ไป เชื่อมสัมพันธภาพให้แก่เด็กและผู้ปกครอง สาธิตธรรมศาสตร์ยังมองลึกไปถึงความพันธ์ในครอบครัวที่เป็นอีกหนึ่งปัจจัยสำคัญในการพัฒนานักเรียน เริ่มตั้งแต่จะมีการเปิดรับสมัครนักเรียนตั้งแต่ช่วงเดือนมิถุนายน เพื่อให้มีช่วงเวลาที่เป็นโครงการเรียนว่า “ครอบครัวสาธิต” ให้เด็ก ๆ มาเข้าร่วม 2 เดือน โดยฝั่งพ่อแม่เองก็จะมีการเข้าหลักสูตร “ห้องเรียนพ่อแม่” ซึ่งจะเน้นการแก้ปัญหาที่มักเกิดขึ้นในครอบครัว เช่น ทำไมลูกถึงตีตัวออกห่าง ลูกให้ความสำคัญกับเพื่อนมากกว่า อยากคุยกับลูกเรื่องเพศสัมพันธ์ได้ ทางโรงเรียนจะช่วยให้ผู้ปกครองมีความเข้าใจในตัวเด็กมากขึ้น เข้าใจในฮอร์โมนร่างกายซึ่งส่งผลทำให้ลักษณะนิสัย การใช้ชีวิตของเด็กเปลี่ยนไปจากเดิม ทำให้ผู้ปกครองเข้าใจว่าการจะช่วยให้เด็กพัฒนาได้ดีต้องมีความไว้ใจ เป็นห่วงได้แต่ต้องอยู่ในขอบเขตที่เหมาะสม วิธีการนี้ได้รับผลตอบรับเป็นอย่างดีทำให้เกิดการพัฒนา “ศูนย์ Empathy Center” เป็นคลินิกให้พ่อแม่ ครู นักเรียน ได้ปรึกษา ทางสาธิตหวังว่าการเชื่อมความสัมพันธืในรูปแบบนี้จะช่วยพัฒนาสังคม ช่วยทำให้แต่ละคนมีมุมมองที่ใจซึ่งกันและกันมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ยังมี “ชุมชนการเรียนรู้ TSS Family” ที่เป็นห้องเรียนเพื่อสนับสนุนผู้ปกครองโดยเฉพาะ ผู้ปกครองที่ว่างหลังจากการส่งลูกเข้าเรียนอาจจะมาเรียนทำขนม เรียนธรุกิจเพราะทางโรงเรียนเชื่อว่าสภาพแวดล้อมครอบครัวที่ดีจะช่วยให้เด็กเติบโตอย่างมีคุณภาพ ขอบคุณรูปจาก Mappa หลังจากผ่านการปรับเปลี่ยนระบบการศึกษา ทางสาธิตธรรมศาสตร์ก็พบเจอปัญหาบางอย่าง เช่น ความกังวลของผู้ปกครองในเรื่องของอนาคตเด็ก ซึ่งทางโรงเรียนเชื่อว่าเด็กจะมีอนาคตที่สดใสในแบบที่เป็นผู้เลือกไม่ใช่ผู้ถูกเลือก ระบบการศึกษานี้ถูกปรับให้เข้ากับยุคสมัย แม้ไม่มีการรับประกันว่าวิธีการแบบนี้จะได้ผล 100% แต่วิธีการเดิม ๆ มันพาให้ระบบการศึกษาไทยล้มเหลว การรับอะไรใหม่ ๆ ก็คงเป็นตัวเลือกที่ดี ทางสาธิตธรรมศาสตร์เผยว่าหลังจากการทดลองใช้รูปแบบการสอนใหม่ ๆ นี้ ผลตอบรับออกมาไปในแนวโน้มที่ดี นักเรียนมีความกระตือรือร้นในการมาเรียนแต่เช้า นักเรียนค้นพบความถนัด ค้นพบทักษะที่ตัวเองทำได้ดีมากขึ้น ซึ่งสิ่งสำคัญที่ทำให้วิธีการนี้ประสบความสำเร็จคือการทำอย่างต่อเนื่องและทุ่มเทในการปรับปรุง พัฒนาอยู่เสมอ แน่นอนว่าเมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้น ก็ย่อมมีทั้งเสียงสนับสนุนและคัดค้าน ทำให้ตกเป็นประเด็นถกเถียงกันอย่างต่อเนื่องในช่องทางออนไลน์ ซึ่ง Eduzones ก็เป็นอีกหนึ่งเสียงที่สนับสนุนให้เกิดการเปลี่ยนแปลงซึ่งจะนำไปสู่การพัฒนาระบบการศึกษาไทยในรูปแบบที่ดีขึ้นเสมอมา ในฐานะชุมชนการศึกษา Eduzones ได้ร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการสนับสนุนเพื่อให้เกิดการพัฒนาระบบการศึกษาไทย โดยมีการจัดทำโครงการ “Good Classroom” ซึ่งเป็นโครงการที่เผยแพร่ห้องเรียน การเรียนการสอนในรูปแบบใหม่ ๆ โดยมีวัตถุประสงค์ในการกระตุ้นผู้สอนให้ปรับเปลี่ยนการสอนในรูปแบบที่ดียิ่งขึ้น อีกทั้งยังหวังว่าจะเป็นส่วนหนึ่งในการขับเคลื่อนระบบการศึกษาให้ดียิ่งขึ้น ซึ่งปัจจุบันมีครูผู้สอนร่วมเข้ามาเป็นผู้เผยแพร่รูปแบบการศึกษาที่เรียกได้ว่าเป็นห้องเรียนในอนาคตกว่า 50 โรงเรียน ร่วมกันเปลี่ยนแปลงการสอน เพื่อการศึกษาไทยที่ดีขึ้น เพื่อความสุขของผู้เรียนและผู้สอน ร่วมกันสร้างห้องเรียนแห่งความสุขได้ที่ FB page : https://www.facebook.com/goodclassroom โรงเรียนสาธิตธรรมศาสตร์ : คลิก EZ Webmaster Related Posts โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนแม่เมาะวิทยา โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนาน้อย อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสตรีศรีน่าน Post navigation PREVIOUS Previous post: มบส.เดินหน้าศึกษาหลักสูตร SandboxNEXT Next post: 4,091 สาขาวิชาที่ไม่ใช้คะแนน GAT/PAT และวิชาสามัญ รอบ 3 (Admission)! Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
การตลาดดิจิทัลและระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย จัดกิจกรรมตอบแทนกลับคืนสังคม EZ WebmasterJune 17, 2025 นักศึกษากลุ่มวิชาการตลาดดิจิทัล และกลุ่มวิชาการบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ร่วมทำกิจกรรม Digital Marketing Innovation for Sustainability สร้างสรรค์ประสบการณ์ทางการตลาดดิจิทัลและการบริการสังคม โดยนักศึกษาได้เข้ากิจกรรมปล่อยสัตว์ทะเลที่ธนาคารปู จังหวัดระยอง และบริจากสิ่งของให้กับชมรมผู้พิการทางสติปัญญา จังหวัดชลบุรี ร่วมเรียนรู้การสร้างสรรค์สื่อสำหรับการสื่อสารทางการตลาดดิจิทัล เพื่อสร้างความรับผิดชอบต่อสังคมให้กับนักศึกษาและร่วมสร้างสรรค์สังคมให้น่าอยู่ต่อไป เรียนคณะบริหารธุรกิจแนวใหม่ต้องสัมผัสประสบการณ์แบบนักธุรกิจ ถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์จากคณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญรวมทั้งนักธุรกิจมืออาชีพ… “จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” EZ WebmasterJune 17, 2025 ในนามของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผมขอส่งความห่วงใยมายังพวกเราทุกคนที่กำลังใช้ชีวิตและศึกษาอยู่ในสหรัฐฯ โดยเฉพาะในช่วงเวลาที่มีความไม่แน่นอนเกี่ยวกับนโยบายวีซ่าที่อาจส่งผลต่อสิทธิในการศึกษา เมื่อไม่นานนี้ ผมและผู้บริหารจุฬาฯ มีโอกาสได้ไปเยือน Harvard และ MIT และได้พบกับนักศึกษาชาวไทยหลายคน ทุกคนต่างมีความมุ่งมั่น ตั้งใจ และอดทนในการใฝ่หาความรู้ เพื่อนำมาพัฒนาตนเอง สังคม และประเทศชาติ แม้จะอยู่ท่ามกลางความกังวลใจต่ออนาคตที่ยังไม่ชัดเจน ผมอยากบอกว่าพวกเราที่จุฬาฯ…
“จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” EZ WebmasterJune 17, 2025 ในนามของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผมขอส่งความห่วงใยมายังพวกเราทุกคนที่กำลังใช้ชีวิตและศึกษาอยู่ในสหรัฐฯ โดยเฉพาะในช่วงเวลาที่มีความไม่แน่นอนเกี่ยวกับนโยบายวีซ่าที่อาจส่งผลต่อสิทธิในการศึกษา เมื่อไม่นานนี้ ผมและผู้บริหารจุฬาฯ มีโอกาสได้ไปเยือน Harvard และ MIT และได้พบกับนักศึกษาชาวไทยหลายคน ทุกคนต่างมีความมุ่งมั่น ตั้งใจ และอดทนในการใฝ่หาความรู้ เพื่อนำมาพัฒนาตนเอง สังคม และประเทศชาติ แม้จะอยู่ท่ามกลางความกังวลใจต่ออนาคตที่ยังไม่ชัดเจน ผมอยากบอกว่าพวกเราที่จุฬาฯ…
SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ครู-อาจารย์ อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก tui sakrapeeJune 18, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา นำโดย รศ.ดร.ชุติกาญจน์ ศรีวิบูลย์ อธิการบดี พร้อมคณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย เดินทางเยือนโรงเรียนนานาชาติ Qingdao No.1 International School of Shandong Province (QISS) และ Qingdao University… กองกลาง มจพ. เยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ และจัดสัมมนาจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล ประจำปี 2568 EZ WebmasterJune 18, 2025 ผศ.ดร.สราวุฒิ สืบแย้ม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายการคลังและกิจการทั่วไป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยนางสาวรัตนา สุขเฉลิมศรี ผู้อำนวยการกองกลาง และบุคลากรกองกลาง เข้าเยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ มจพ. ณ ชั้น 3 สำนักงานหอสมุดกลาง โดยมีนางสาวพนารมย์ เกียรติลีลานันท์ และ… คณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล มจพ. ชูธงร่วมเครือข่ายจัดใหญ่การประชุมวิชาการ นวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (FIAC) 2025 EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร สมฤกษ์ จันทรอัมพร รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นเจ้าภาพร่วมในการจัดประชุมวิชาการด้านนวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (Food Innovation Asia Conference 2025) พร้อมด้วย รศ.ดร.รัชนี เจริญ คณบดีคณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล และคณะผู้บริหาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ… สมศ. พลิกโฉมการประเมินคุณภาพภายนอกด้วย AI ภายใต้ “ONESQA 5.0” เสริมความโปร่งใส แม่นยำ และพัฒนาอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 17, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยวิสัยทัศน์ และแนวทางการขับเคลื่อนองค์กรด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence – AI) ภายใต้ วิสัยทัศน์ ONESQA 5.0 โดยมุ่งเน้นการนำ AI เข้ามาใช้เพื่อเสริมประสิทธิภาพ ความโปร่งใส และความแม่นยำ ในกระบวนการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา พร้อมยกระดับสู่ความเป็นดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบบ ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster February 11, 2022 EZ Webmaster February 11, 2022 สาธิตธรรมศาสตร์ — โรงเรียนในฝันกับรูปแบบการสอนที่ก้าวไกล สาธิตธรรมศาสตร์ — โรงเรียนในฝันกับรูปแบบการสอนที่ก้าวไกล เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2565 ที่ผ่านมา สาธิตธรรมศาสตร์ได้ออกมาแถลงการณ์ในเรื่องการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอนให้เข้ากับยุคสมัยมายิ่งขึ้น จนกลายเป็นกระแสร้อน ประเด็นดังในโลกออนไลน์ วันนี้ Eduzones พาทุกคนไปรู้จักสาธิตแห่งนี้ และมารวบรวมข้อมูลให้เห็นกันไปเลยชัด ๆ ว่าคำว่าปรับเปลี่ยนหลักสูตร คือปรับเปลี่ยนแบบไหน แตกต่างจากเดิมอย่างไร เพิ่มเติมอะไรบ้าง โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Thammasat Secondary School : TSS) จัดตั้งขึ้นโดยอาศัยอำนาจตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภายใต้การกำกับของคณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ (Faculty of Learning Sciences and Education : LSEd) เพื่อให้มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาเด็กมัธยม เพิ่มศักยภาพเด็กให้พร้อมต่อการค้นหาความถนัดด้วยการสนับสนุนจากบุคลากรและผู้ปกครองให้เด็กกลายเป็นบุคคลที่มีคุณภาพในสังคม ในฐานะสถานศึกษา สาธิตธรรมศาสตร์จุดประกายความคิดเกี่ยวกับรูปแบบการสอนใหม่ ๆ มาจากความเข้าใจที่ว่ายุคสมัยใหม่เปลี่ยนไป จึงเล็งเห็นปัญหาที่ว่าทำไมระบบการสอนแบบเก่าถึงทำให้เด็กไม่อยากมาโรงเรียน ทำไมความสัมพันธ์ระหว่างครูกับนักเรียนถึงไปในแง่ลบ การเรียนการสอนในโรงเรียนเน้นท่องจำมากกว่าทำความเข้าใจ ทำให้เด็กจำนวนมากขาดความสุขในการเรียนรู้ สถานศึกษาไม่ช่วยให้เด็กค้นพบความถนัดของตนเอง ปัญหาสะสมเหล่านี้ในระบบการศึกษาไทยก่อให้เด็กเกิดความทุกข์เมื่อต้องมาเรียน และนำไปสู้ปัญหาอื่น ๆ ในสังคม เช่น การบูลลี่ (Bully) การจัดการศึกษาของโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ในรูปแบบใหม่มีจุดประสงค์ที่จะทำให้เด็กเกิดความสุข ซึ่งจะทำให้เด็กพร้อมในการสร้างสรรถนะ พัฒนาความสามารถ ต่อยอดทักษะที่สามารถนำไปใช้ได้จริง สามารถทำงานเป็นทีมได้ มีความสุจริต โรงเรียนแห่งนี้จึงเริ่มสร้างรูปแบบการสอนที่ต้องเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างกันและนำปัญหาความไม่ยืดหยุ่นของระบบการศึกษาไทยมาพัฒนา โดยให้ความสำคัญว่านักเรียนทุกคนมีความแตกต่างกัน ซึ่งจะเน้นเป็น 2 หลักการใหญ่ ๆ คือ – Personalized Learning คือหลักการที่เข้าใจว่านักเรียนแต่ละคนมีเรื่องที่สนใจต่างกัน เน้นสนับสนุนผู้เรียนตามความถนัด ความชอบ – Competency-Based Education ระบบการศึกษาที่สนับสนุน Personalized Learning ในข้อแรก คือให้นักเรียนเป็นผู้ปรับเปลี่ยน ยืดหยุ่นวิชาตามความสนใจของตนเอง รศ.ดร.อนุชาติ พวงสำลี ได้ยกตัวอย่างระบบการศึกษาของสาธิตธรรมศาสตร์ที่ฉีกกฏวัฒนธรรมการเรียนการสอนแบบเดิม ๆ สรุปการปรับเปลี่ยนได้ดังนี้ รศ.ดร.อนุชาติ พวงสำลี เริ่มตั้งแต่ระบบการคัดครู ที่สาธิตธรรมศาสตร์จะไม่มีการสอบในรูปแบบกระดาษ หรือtake home แต่จะให้ความสำคัญกับการดูพฤติกรรม ทัศนคติ โดยจะมีวิธีการคัดเลือกที่แตกต่างไปจากเดิม เช่น มีกิจกรรม workshop เพื่อดูวิธีการปรับตัวและกรบวนการทำงานรวมกันแบบเป็นกุล่ม หลังจากนั้นจึงค่อยสัมภาษณ์เพื่อให้ได้บุคลากรครูที่มีคุณภาพเหมาะสำหรับระบบการเรียนในรูปแบบใหม่นี้มากที่สุด ปรับสถานะ เปลี่ยนบทบาทครู ในระบบการศึกษาไทยแบบเดิม ครูอาจารย์ถือว่าเป็นผุ้อาวุโสอย่างมาก ซึ่งทำให้เกิดช่องโหว่วในความสมันพันธ์ระหว่างครูและนักเรียน เด็ก ๆ มองว่าครูเป็นคนไกลตัว สาธิตธรรมศาสตร์จึงมีการตกลงรวมกันที่จะเสริมสร้างความสนิทสนมให้แก่นักเรียน ไม่จำเป็นต้องมีพิธีรีตอง มีการยกมือไหว้ เจอหน้าก็แค่ทักทายกันปกติ ทำให้ตัวนักเรียนมีความกล้าที่จะพูดคุยหยอกล้อกับครูมากขึ้น ประเด็นนี้อาจจะขัดหูขัดตาคนบางกลุ่มแต่มั่นใจได้ว่าไม่มีอะไรเกินเลย ความสัมพันธ์ระหว่างครูกับนักเรียนจะพัฒนาไปในแนวโน้มที่ดียิ่งขึ้น นอกจากนี้ครูจะไม่เป็นแค่ผู้สอนอีกต่อไป สาธิตธรรมศาสตร์ได้ว่าบทบาทครูให้เป็นผู้สนับสนุนการเรียนรู้ 3 ประการ – ที่ปรึกษา (Advisor) มีหน้าที่วางแผนการเรียนรู้ ดูแลให้นักเรียนถึงตามเป้าหมายที่แต่ละคนวางไว้ อีกทั้งยังเป็นผู้สื่อสารผู้ปกครองให้มีความเข้าใจในเป้าหมายของเด็ก – ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง (Mentor) เป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ สร้างแรงบันดาลใจตามสมรรถภาพของนักเรียนแต่ละคน – กระบวนกร (Course Facilitator / instructor) เป็นผู้ออกแบบหน่วยการเรียนรู้ เพื่อให้เหมาะสมกัลศักยภาพพื้นฐานของนักเรียนทุกคน คัดเด็กให้ตรงกับความต้องการ เช่นเดียวกับระบบคัดเลือกครู เด็ก ๆ จะไม่ต้องผ่านการคัดเลือดแบบทำข้อสอบในกระดาษ แต่ให้เด็กทำ Portfolio เพื่ออธิบายเกี่ยวกับตนเอง อยากทำอะไร มีความฝันอะไร จะทำยังไงให้ความฝันนั้นเป็นจริง วิธีการที่เขียนนี้เพราะอยากให้เด็กรู้สึกว่าความฝันมันคือสิ่งที่เราสามารถทำได้จริง หลังจากนั้นก็มีคำถามให้เด็ก 3 ข้อเกี่ยวกับชีวิตตัวเอง และมีคำถามให้พ่อแม่ 4 ข้อ ก่อนจะเด็กเข้ากระบวนการว่าสิ่งที่เขาคิดตรงกับที่เขียนลงไปไหม สำหรับสาธิตธรรมศาสตร์นี้จะไม่มีระบบรับบริจาคเพื่อให้เด็กได้เรียนเด็ดขาด ไม่มีค่าแรกเข้า หรือเก็บความใช้จ่ายเพิ่มเติมใด ๆ ลบระบบการสอนที่มีแต่หลักสูตรบังคับ สาธิตธรรมศาสตร์เน้นการสนับสนุนความฝันของเด็กมากกว่จำกัดรายวิชาตาม สพฐ. เท่านั้น ซึ่งจะให้ความสำคัญกับการพัฒนาความรู้ที่มาจากประสบการณ์ตรง ให้นักเรียนได้ปฏิบัติจริงมากกว่าการเรียนที่เน้นแค่ทฤษฎีแต่นักเรียนไม่รู้วิธีนำไปใช้ นักเรียนของสาธิตธรรมศาสตร์ทุกคนจะมีพื้นที่ในการเรียนรู้กิจกรรมที่ตัวเองสนใจที่สามารถเลือกได้ด้วยตนเอง อาทิตย์ละ 4 คาบ ทุกวันจันทร์ – พฤหัสบดี เวลา 14.00 น. – 15.30 น. ซึ่งจะแบ่งกิจกรรมเป็น 2 ส่วน – กิจกรรมชมรมนวัตกรรมเพื่อสังคม (Social Innovation Club) คือกิจกรรมที่เน้นให้นักเรียนมีทักษะความคิดสร้างสรรค์ การออกแบบ การแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ กิจกรรมนี้จะเรียน 1 คาบในวันจันทร์ – กิจกรรมตามความสนใจเฉพาะ (Club) เป็นกิจกรรมที่ให้นักเรียนเรียนรู้ตามความสนใจของตนเอง อาทิตย์ละ 3 คาบ แบ่งเป็น 3 คลับ ได้แก่ Club Art ชมรมด้านศิลปะที่ช่วยให้นักเรียนพัฒนาทักษะ ศักยภาพ และการแสดงออกอย่างสร้างสรรค์ เข้าร่วมได้ทุกวันอังคาร Club PA ชมรมส่งเสริมด้านสุขภาพ การเคลื่อนไหวของร่างกาย ให้นักเรียนได้มีกิจกรรมทางกายภาพต่าง ๆ เช่น การเล่นกีฬา นันทนาการ เข้าร่วมทุกวันพุธ Club ชมรมนอกเหนือที่สามารถตั้งขึ้นได้ตามความสนใจของนักเรียน เข้าร่วมทุกวันพฤหัสบดี เปลี่ยนวิชาที่จำเจให้มีประโยชน์ยิ่งขึ้น วิชาลูกเสือเนตรนารีที่เด็กสมัยใหม่มองว่าไร้ประโยชน์ อีกทั้งต้องเปลี่ยนค่าใช้จ่ายเครื่องแบบโดยใช้เหตุ ทางสาธิตธรรมศาสตร์ได้ปรับการเรียนการสอนในวิชานี้ จากการถักเชือก ทำเงื่อน กลายเป็นวิชาการเอาตัวรอด นักเรียนจะได้เรียนรู้วิธีการเอาตัวรอดจากสถานการณ์ต่าง ๆ เมื่อเกิดไฟไหม้ต้องหนีอย่างไร วิธีการดับไฟ วิธีการปฐมพยาบาล วิชาการว่ายน้ำที่ไม่ได้สอนเพื่อให้เด็กเป็นไปนักกีฬาแต่สอนเพื่อให้นักเรียนเอาตัวรอดได้เมื่อตกน้ำ วิชานี้จะถูกบรรจุอยู่ใน ม.1 เทอม 1 จะสอนให้พอว่ายเป็นพอผ่านไปอีกเทอมก็จะมีการต่อยอดให้นักเรียนเอาตัวรอดได้ ช่วยเหลือผู้อื่นได้ เรียกได้ว่าเป็นการพัฒนาทักษะกันไปในแต่ละเทอม วิชาเพศศึกษาที่เป็นวิชาจำเป็นแต่ถูกมองข้ามในการศึกษาไทย สังคมไทยมีการตีกรอบเรื่องของเพศศึกษาว่าเป็นเรื่องของศีลธรรมอันดีงาม สาธิตธรรมศาสตร์ต้องการที่จะทำให้การเรียนรู้เรื่องเหล่านี้เป็นเรื่องปกติ จึงปรับวิชาให้การเป็นวิชาวัยรุ่นศาสตร์ ในขั้นต้นจะสอนเกี่ยวกับ Anatomy ร่างกาย ฮอร์โมน ตลอดจนการดูแล ทำความสะอาดร่างกายตนเอง การเลือกเสื้อผ้า การเลือกชั้นใน วิชานี้จะช่วยให้นักเรียนรู้จักตัวเองมากขึ้น เด็ก ๆ จะสามารถอยู่กับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นบนร่างกายของตัวเองได้ ต่อมาก็เป็นการสอนเกี่ยวกับความสัมพันธ์ให้นักเรียนได้รู้จักการเข้าสังคมอย่างถูกต้อง ในส่วนของวิชานี้ครูอาจารย์จะเป็นผู้ออกแบบการเรียนการสอนเองได้ แต่รับประกันได้ว่าความรู้เหล่านี้สามารถนำไปใช้ได้จริง ตัวอย่างวิชานอกเหนือที่ไม่คุ้นหู เช่น วิชารู้ทันการเงิน วิชาเสพศิลป์และกลิ่นเสียง วิชาวิถีศรัทธา ซึ่งครอบคลุมทุกศาสนา วิชารู้เท่าทันสื่อ วิชาผู้ประกอบการ ทุกวิชาที่คัดศรรมาทางสาธิตธรรมศาสตร์เชื่อว่าล้วนแล้วแต่เป็นวิชาที่เด็ก ๆ ได้นำไปใช้แน่นอนในอนาคต ขอบคุณรูปจาก Mappa พัฒนาเด็กโดยไม่บังคับให้แข่งขัน สาธิตธรรมศาสตร์จะไม่มีการให้เกรด ไม่มีการจัดสินคะแนนที่ทำให้เด็กเกิดการเปรียบเทียบกับผู้อื่น ไม่มีการติดประกาศว่าเด็กคนนี้ได้รางวัลอะไรอีกต่อไป ทางโรงเรียนจะไม่มีการสนับสนุนให้ผู้ปกครองพาลูกไปเรียนพิเศษเพิ่มเติมเพราะคิดว่าหลักสูตรของทางโรงเรียนเพียงพอแล้วแต่ก็ไม่ได้มีการห้ามให้ไปหาทักษะที่ไม่มีสอนในโรงเรียนจริง ๆ หลังจากลองใช้วิธีนี้มาในระยะหนึ่งพบว่าเด็กค้นพบตัวเองในทักษะที่หลากหลายมากขึ้น ทุกคนมีความเข้าใจว่าแต่ละคนมีความถนัดที่แตกต่างกัน ซึ่งช่วยให้การทำงานเป็นทีม ส่งเสริมกันในเรื่องที่ถนัดมากขึ้น นักเรียนจะไม่มองกันเองว่าใครเก่งไม่เก่ง แต่มองกันแค่ว่าคนไหนถนัดเรื่องใด กำจัดวัฒนธรรมการตีกรอบในโรงเรียนแบบเดิม ๆ นักเรียนมีอิสระในการแต่งตัวเพราะที่สาธิตธรรมศาสตร์จะไม่บังคับให้เด็ก ๆ ต้องใส่ชุดนักเรียน เพียงแต่จะให้ใส่เสื้อยืดที่เป็นตราโรงเรียนในวันที่มีตลาดนัด คือวันอังคารและวันศุกร์เพราะเป็นวันที่มีคนภายนอก การใส่เสื้อยืดนักเรียนจะช่วยแยกแยะนักเรียนกับบุคคลทั่วไปได้ อาจจะมีการบังคับให้ใส่เครื่องแบบในวันที่มีพิธีการหรือออกนอกสถานที่ตามความเหมาะสมเท่านั้น ขอบคุณรูปจาก Mappa ให้ความสำคัญกับนักเรียนเป็นอันดับหนึ่ง โรงเรียนต้องเป็นสถานที่ที่เจาะจงกับนักเรียนเป็นสำคัญที่สุด การศึกษาต้องทำให้นักเรียนรู้สึกมีความสุข อยากที่จะเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ การมาเรียนต้องไม่ทำให้เด็กเกิดความทุกข์ สิ่งนี้จะช่วยทำให้เด็กสามารถเปิดรับความรู้ใหม่และดีต่อการพัฒนาทักษะมากยิ่งขึ้น สาธิตธรรมศาสตร์มีจุดประสงค์ที่จะทำให้โรงเรียนเป็นสถานที่ปลอดภัยสำหรับเด็ก ทั้งในแง่ของทางร่างกายและจิตใจ เน้นใช้เวลายามเช้าเพื่อตัวนักเรียนมากกว่าการบังคับ การถกเถียงเรื่องความจำเป็นเกี่ยวกับการเข้แถวเคารพธงชาติเป็นเรื่องที่สังคมถกเพียงกันมาอย่างนาน คนบางกลุ่มให้เหตุว่ากิจกรรมนี้ไม่จำเป็น อีกทั้งยังทำให้เด็กเหนื่อยล้าตั้งแต่เช้า สาธิตธรรมศาสตร์ได้เปลี่ยนช่วงเวลาที่บังคับให้นักเรียนเคารพธงชาติ อบรมหน้าเสาธง สวดมนต์ตอนเช้ามาเป็นชั่วโมงโฮมรูม 30 นาทีที่ให้นักเรียนพบปะกับครูประจำชั้น โดยไม่ได้บังคับว่านักเรียนทุกคนจะต้องคุยกับครูประจำชั้น หากใครยังอยากที่จะสวดมนต์ก็ยังสามารถทำได้ในห้องเรียน ซึ่งวิธีการนี้จะช่วยให้ครูอาจารย์เข้าถึงนักเรียนได้ดียิ่งขึ้น และเกิดการแลกเปลี่ยนข่าวสารในชั้นเรียน ปลูกฝังวินัยแบบไร้ฝ่ายปกครอง นักเรียนจะไม่ถูกเรียกเข้าฝ่ายปกครองเมื่อมีการกระทำผิดอย่างที่เคยเป็นมาในระบบการศึกษาไทย สาธิตธรรมศาสตร์มีแต่ฝ่ายสนับสนุนนักเรียนและกิจกรรม จะไม่มีการสร้างความบาดหมางให้แก่เด็กจากการจดชื่อส่งครูหรืออะไรก็ตาม แล้วถ้าถามว่าแบบนี้จะช่วยให้ดีขึ้นได้อย่างไร? ทางโรงเรียนจะใช้วิธีการแบบเด็ดขาด อย่างเช่น การทิ้งขยะไม่เป็นที่ แม่บ้านจะไม่เก็บโดยทันทีแต่จะปล่อยขยะสะสมไว้ จนวันนึงนักเรียนจะสำนึกได้เองว่าตัวเองไม่สามารถอยู่ในสภาพแวดล้อมได้ และจะเริ่มแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น พร้อมทั้งรู้วิธีการปฎิบัติตนในครั้งต่อ ๆ ไป เชื่อมสัมพันธภาพให้แก่เด็กและผู้ปกครอง สาธิตธรรมศาสตร์ยังมองลึกไปถึงความพันธ์ในครอบครัวที่เป็นอีกหนึ่งปัจจัยสำคัญในการพัฒนานักเรียน เริ่มตั้งแต่จะมีการเปิดรับสมัครนักเรียนตั้งแต่ช่วงเดือนมิถุนายน เพื่อให้มีช่วงเวลาที่เป็นโครงการเรียนว่า “ครอบครัวสาธิต” ให้เด็ก ๆ มาเข้าร่วม 2 เดือน โดยฝั่งพ่อแม่เองก็จะมีการเข้าหลักสูตร “ห้องเรียนพ่อแม่” ซึ่งจะเน้นการแก้ปัญหาที่มักเกิดขึ้นในครอบครัว เช่น ทำไมลูกถึงตีตัวออกห่าง ลูกให้ความสำคัญกับเพื่อนมากกว่า อยากคุยกับลูกเรื่องเพศสัมพันธ์ได้ ทางโรงเรียนจะช่วยให้ผู้ปกครองมีความเข้าใจในตัวเด็กมากขึ้น เข้าใจในฮอร์โมนร่างกายซึ่งส่งผลทำให้ลักษณะนิสัย การใช้ชีวิตของเด็กเปลี่ยนไปจากเดิม ทำให้ผู้ปกครองเข้าใจว่าการจะช่วยให้เด็กพัฒนาได้ดีต้องมีความไว้ใจ เป็นห่วงได้แต่ต้องอยู่ในขอบเขตที่เหมาะสม วิธีการนี้ได้รับผลตอบรับเป็นอย่างดีทำให้เกิดการพัฒนา “ศูนย์ Empathy Center” เป็นคลินิกให้พ่อแม่ ครู นักเรียน ได้ปรึกษา ทางสาธิตหวังว่าการเชื่อมความสัมพันธืในรูปแบบนี้จะช่วยพัฒนาสังคม ช่วยทำให้แต่ละคนมีมุมมองที่ใจซึ่งกันและกันมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ยังมี “ชุมชนการเรียนรู้ TSS Family” ที่เป็นห้องเรียนเพื่อสนับสนุนผู้ปกครองโดยเฉพาะ ผู้ปกครองที่ว่างหลังจากการส่งลูกเข้าเรียนอาจจะมาเรียนทำขนม เรียนธรุกิจเพราะทางโรงเรียนเชื่อว่าสภาพแวดล้อมครอบครัวที่ดีจะช่วยให้เด็กเติบโตอย่างมีคุณภาพ ขอบคุณรูปจาก Mappa หลังจากผ่านการปรับเปลี่ยนระบบการศึกษา ทางสาธิตธรรมศาสตร์ก็พบเจอปัญหาบางอย่าง เช่น ความกังวลของผู้ปกครองในเรื่องของอนาคตเด็ก ซึ่งทางโรงเรียนเชื่อว่าเด็กจะมีอนาคตที่สดใสในแบบที่เป็นผู้เลือกไม่ใช่ผู้ถูกเลือก ระบบการศึกษานี้ถูกปรับให้เข้ากับยุคสมัย แม้ไม่มีการรับประกันว่าวิธีการแบบนี้จะได้ผล 100% แต่วิธีการเดิม ๆ มันพาให้ระบบการศึกษาไทยล้มเหลว การรับอะไรใหม่ ๆ ก็คงเป็นตัวเลือกที่ดี ทางสาธิตธรรมศาสตร์เผยว่าหลังจากการทดลองใช้รูปแบบการสอนใหม่ ๆ นี้ ผลตอบรับออกมาไปในแนวโน้มที่ดี นักเรียนมีความกระตือรือร้นในการมาเรียนแต่เช้า นักเรียนค้นพบความถนัด ค้นพบทักษะที่ตัวเองทำได้ดีมากขึ้น ซึ่งสิ่งสำคัญที่ทำให้วิธีการนี้ประสบความสำเร็จคือการทำอย่างต่อเนื่องและทุ่มเทในการปรับปรุง พัฒนาอยู่เสมอ แน่นอนว่าเมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้น ก็ย่อมมีทั้งเสียงสนับสนุนและคัดค้าน ทำให้ตกเป็นประเด็นถกเถียงกันอย่างต่อเนื่องในช่องทางออนไลน์ ซึ่ง Eduzones ก็เป็นอีกหนึ่งเสียงที่สนับสนุนให้เกิดการเปลี่ยนแปลงซึ่งจะนำไปสู่การพัฒนาระบบการศึกษาไทยในรูปแบบที่ดีขึ้นเสมอมา ในฐานะชุมชนการศึกษา Eduzones ได้ร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการสนับสนุนเพื่อให้เกิดการพัฒนาระบบการศึกษาไทย โดยมีการจัดทำโครงการ “Good Classroom” ซึ่งเป็นโครงการที่เผยแพร่ห้องเรียน การเรียนการสอนในรูปแบบใหม่ ๆ โดยมีวัตถุประสงค์ในการกระตุ้นผู้สอนให้ปรับเปลี่ยนการสอนในรูปแบบที่ดียิ่งขึ้น อีกทั้งยังหวังว่าจะเป็นส่วนหนึ่งในการขับเคลื่อนระบบการศึกษาให้ดียิ่งขึ้น ซึ่งปัจจุบันมีครูผู้สอนร่วมเข้ามาเป็นผู้เผยแพร่รูปแบบการศึกษาที่เรียกได้ว่าเป็นห้องเรียนในอนาคตกว่า 50 โรงเรียน ร่วมกันเปลี่ยนแปลงการสอน เพื่อการศึกษาไทยที่ดีขึ้น เพื่อความสุขของผู้เรียนและผู้สอน ร่วมกันสร้างห้องเรียนแห่งความสุขได้ที่ FB page : https://www.facebook.com/goodclassroom โรงเรียนสาธิตธรรมศาสตร์ : คลิก EZ Webmaster Related Posts โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนแม่เมาะวิทยา โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนาน้อย อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสตรีศรีน่าน Post navigation PREVIOUS Previous post: มบส.เดินหน้าศึกษาหลักสูตร SandboxNEXT Next post: 4,091 สาขาวิชาที่ไม่ใช้คะแนน GAT/PAT และวิชาสามัญ รอบ 3 (Admission)! Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ครู-อาจารย์ อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก tui sakrapeeJune 18, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา นำโดย รศ.ดร.ชุติกาญจน์ ศรีวิบูลย์ อธิการบดี พร้อมคณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย เดินทางเยือนโรงเรียนนานาชาติ Qingdao No.1 International School of Shandong Province (QISS) และ Qingdao University… กองกลาง มจพ. เยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ และจัดสัมมนาจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล ประจำปี 2568 EZ WebmasterJune 18, 2025 ผศ.ดร.สราวุฒิ สืบแย้ม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายการคลังและกิจการทั่วไป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยนางสาวรัตนา สุขเฉลิมศรี ผู้อำนวยการกองกลาง และบุคลากรกองกลาง เข้าเยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ มจพ. ณ ชั้น 3 สำนักงานหอสมุดกลาง โดยมีนางสาวพนารมย์ เกียรติลีลานันท์ และ… คณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล มจพ. ชูธงร่วมเครือข่ายจัดใหญ่การประชุมวิชาการ นวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (FIAC) 2025 EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร สมฤกษ์ จันทรอัมพร รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นเจ้าภาพร่วมในการจัดประชุมวิชาการด้านนวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (Food Innovation Asia Conference 2025) พร้อมด้วย รศ.ดร.รัชนี เจริญ คณบดีคณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล และคณะผู้บริหาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ… สมศ. พลิกโฉมการประเมินคุณภาพภายนอกด้วย AI ภายใต้ “ONESQA 5.0” เสริมความโปร่งใส แม่นยำ และพัฒนาอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 17, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยวิสัยทัศน์ และแนวทางการขับเคลื่อนองค์กรด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence – AI) ภายใต้ วิสัยทัศน์ ONESQA 5.0 โดยมุ่งเน้นการนำ AI เข้ามาใช้เพื่อเสริมประสิทธิภาพ ความโปร่งใส และความแม่นยำ ในกระบวนการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา พร้อมยกระดับสู่ความเป็นดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบบ ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster February 11, 2022 EZ Webmaster February 11, 2022 สาธิตธรรมศาสตร์ — โรงเรียนในฝันกับรูปแบบการสอนที่ก้าวไกล สาธิตธรรมศาสตร์ — โรงเรียนในฝันกับรูปแบบการสอนที่ก้าวไกล เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2565 ที่ผ่านมา สาธิตธรรมศาสตร์ได้ออกมาแถลงการณ์ในเรื่องการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอนให้เข้ากับยุคสมัยมายิ่งขึ้น จนกลายเป็นกระแสร้อน ประเด็นดังในโลกออนไลน์ วันนี้ Eduzones พาทุกคนไปรู้จักสาธิตแห่งนี้ และมารวบรวมข้อมูลให้เห็นกันไปเลยชัด ๆ ว่าคำว่าปรับเปลี่ยนหลักสูตร คือปรับเปลี่ยนแบบไหน แตกต่างจากเดิมอย่างไร เพิ่มเติมอะไรบ้าง โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Thammasat Secondary School : TSS) จัดตั้งขึ้นโดยอาศัยอำนาจตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภายใต้การกำกับของคณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ (Faculty of Learning Sciences and Education : LSEd) เพื่อให้มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาเด็กมัธยม เพิ่มศักยภาพเด็กให้พร้อมต่อการค้นหาความถนัดด้วยการสนับสนุนจากบุคลากรและผู้ปกครองให้เด็กกลายเป็นบุคคลที่มีคุณภาพในสังคม ในฐานะสถานศึกษา สาธิตธรรมศาสตร์จุดประกายความคิดเกี่ยวกับรูปแบบการสอนใหม่ ๆ มาจากความเข้าใจที่ว่ายุคสมัยใหม่เปลี่ยนไป จึงเล็งเห็นปัญหาที่ว่าทำไมระบบการสอนแบบเก่าถึงทำให้เด็กไม่อยากมาโรงเรียน ทำไมความสัมพันธ์ระหว่างครูกับนักเรียนถึงไปในแง่ลบ การเรียนการสอนในโรงเรียนเน้นท่องจำมากกว่าทำความเข้าใจ ทำให้เด็กจำนวนมากขาดความสุขในการเรียนรู้ สถานศึกษาไม่ช่วยให้เด็กค้นพบความถนัดของตนเอง ปัญหาสะสมเหล่านี้ในระบบการศึกษาไทยก่อให้เด็กเกิดความทุกข์เมื่อต้องมาเรียน และนำไปสู้ปัญหาอื่น ๆ ในสังคม เช่น การบูลลี่ (Bully) การจัดการศึกษาของโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ในรูปแบบใหม่มีจุดประสงค์ที่จะทำให้เด็กเกิดความสุข ซึ่งจะทำให้เด็กพร้อมในการสร้างสรรถนะ พัฒนาความสามารถ ต่อยอดทักษะที่สามารถนำไปใช้ได้จริง สามารถทำงานเป็นทีมได้ มีความสุจริต โรงเรียนแห่งนี้จึงเริ่มสร้างรูปแบบการสอนที่ต้องเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างกันและนำปัญหาความไม่ยืดหยุ่นของระบบการศึกษาไทยมาพัฒนา โดยให้ความสำคัญว่านักเรียนทุกคนมีความแตกต่างกัน ซึ่งจะเน้นเป็น 2 หลักการใหญ่ ๆ คือ – Personalized Learning คือหลักการที่เข้าใจว่านักเรียนแต่ละคนมีเรื่องที่สนใจต่างกัน เน้นสนับสนุนผู้เรียนตามความถนัด ความชอบ – Competency-Based Education ระบบการศึกษาที่สนับสนุน Personalized Learning ในข้อแรก คือให้นักเรียนเป็นผู้ปรับเปลี่ยน ยืดหยุ่นวิชาตามความสนใจของตนเอง รศ.ดร.อนุชาติ พวงสำลี ได้ยกตัวอย่างระบบการศึกษาของสาธิตธรรมศาสตร์ที่ฉีกกฏวัฒนธรรมการเรียนการสอนแบบเดิม ๆ สรุปการปรับเปลี่ยนได้ดังนี้ รศ.ดร.อนุชาติ พวงสำลี เริ่มตั้งแต่ระบบการคัดครู ที่สาธิตธรรมศาสตร์จะไม่มีการสอบในรูปแบบกระดาษ หรือtake home แต่จะให้ความสำคัญกับการดูพฤติกรรม ทัศนคติ โดยจะมีวิธีการคัดเลือกที่แตกต่างไปจากเดิม เช่น มีกิจกรรม workshop เพื่อดูวิธีการปรับตัวและกรบวนการทำงานรวมกันแบบเป็นกุล่ม หลังจากนั้นจึงค่อยสัมภาษณ์เพื่อให้ได้บุคลากรครูที่มีคุณภาพเหมาะสำหรับระบบการเรียนในรูปแบบใหม่นี้มากที่สุด ปรับสถานะ เปลี่ยนบทบาทครู ในระบบการศึกษาไทยแบบเดิม ครูอาจารย์ถือว่าเป็นผุ้อาวุโสอย่างมาก ซึ่งทำให้เกิดช่องโหว่วในความสมันพันธ์ระหว่างครูและนักเรียน เด็ก ๆ มองว่าครูเป็นคนไกลตัว สาธิตธรรมศาสตร์จึงมีการตกลงรวมกันที่จะเสริมสร้างความสนิทสนมให้แก่นักเรียน ไม่จำเป็นต้องมีพิธีรีตอง มีการยกมือไหว้ เจอหน้าก็แค่ทักทายกันปกติ ทำให้ตัวนักเรียนมีความกล้าที่จะพูดคุยหยอกล้อกับครูมากขึ้น ประเด็นนี้อาจจะขัดหูขัดตาคนบางกลุ่มแต่มั่นใจได้ว่าไม่มีอะไรเกินเลย ความสัมพันธ์ระหว่างครูกับนักเรียนจะพัฒนาไปในแนวโน้มที่ดียิ่งขึ้น นอกจากนี้ครูจะไม่เป็นแค่ผู้สอนอีกต่อไป สาธิตธรรมศาสตร์ได้ว่าบทบาทครูให้เป็นผู้สนับสนุนการเรียนรู้ 3 ประการ – ที่ปรึกษา (Advisor) มีหน้าที่วางแผนการเรียนรู้ ดูแลให้นักเรียนถึงตามเป้าหมายที่แต่ละคนวางไว้ อีกทั้งยังเป็นผู้สื่อสารผู้ปกครองให้มีความเข้าใจในเป้าหมายของเด็ก – ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง (Mentor) เป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ สร้างแรงบันดาลใจตามสมรรถภาพของนักเรียนแต่ละคน – กระบวนกร (Course Facilitator / instructor) เป็นผู้ออกแบบหน่วยการเรียนรู้ เพื่อให้เหมาะสมกัลศักยภาพพื้นฐานของนักเรียนทุกคน คัดเด็กให้ตรงกับความต้องการ เช่นเดียวกับระบบคัดเลือกครู เด็ก ๆ จะไม่ต้องผ่านการคัดเลือดแบบทำข้อสอบในกระดาษ แต่ให้เด็กทำ Portfolio เพื่ออธิบายเกี่ยวกับตนเอง อยากทำอะไร มีความฝันอะไร จะทำยังไงให้ความฝันนั้นเป็นจริง วิธีการที่เขียนนี้เพราะอยากให้เด็กรู้สึกว่าความฝันมันคือสิ่งที่เราสามารถทำได้จริง หลังจากนั้นก็มีคำถามให้เด็ก 3 ข้อเกี่ยวกับชีวิตตัวเอง และมีคำถามให้พ่อแม่ 4 ข้อ ก่อนจะเด็กเข้ากระบวนการว่าสิ่งที่เขาคิดตรงกับที่เขียนลงไปไหม สำหรับสาธิตธรรมศาสตร์นี้จะไม่มีระบบรับบริจาคเพื่อให้เด็กได้เรียนเด็ดขาด ไม่มีค่าแรกเข้า หรือเก็บความใช้จ่ายเพิ่มเติมใด ๆ ลบระบบการสอนที่มีแต่หลักสูตรบังคับ สาธิตธรรมศาสตร์เน้นการสนับสนุนความฝันของเด็กมากกว่จำกัดรายวิชาตาม สพฐ. เท่านั้น ซึ่งจะให้ความสำคัญกับการพัฒนาความรู้ที่มาจากประสบการณ์ตรง ให้นักเรียนได้ปฏิบัติจริงมากกว่าการเรียนที่เน้นแค่ทฤษฎีแต่นักเรียนไม่รู้วิธีนำไปใช้ นักเรียนของสาธิตธรรมศาสตร์ทุกคนจะมีพื้นที่ในการเรียนรู้กิจกรรมที่ตัวเองสนใจที่สามารถเลือกได้ด้วยตนเอง อาทิตย์ละ 4 คาบ ทุกวันจันทร์ – พฤหัสบดี เวลา 14.00 น. – 15.30 น. ซึ่งจะแบ่งกิจกรรมเป็น 2 ส่วน – กิจกรรมชมรมนวัตกรรมเพื่อสังคม (Social Innovation Club) คือกิจกรรมที่เน้นให้นักเรียนมีทักษะความคิดสร้างสรรค์ การออกแบบ การแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ กิจกรรมนี้จะเรียน 1 คาบในวันจันทร์ – กิจกรรมตามความสนใจเฉพาะ (Club) เป็นกิจกรรมที่ให้นักเรียนเรียนรู้ตามความสนใจของตนเอง อาทิตย์ละ 3 คาบ แบ่งเป็น 3 คลับ ได้แก่ Club Art ชมรมด้านศิลปะที่ช่วยให้นักเรียนพัฒนาทักษะ ศักยภาพ และการแสดงออกอย่างสร้างสรรค์ เข้าร่วมได้ทุกวันอังคาร Club PA ชมรมส่งเสริมด้านสุขภาพ การเคลื่อนไหวของร่างกาย ให้นักเรียนได้มีกิจกรรมทางกายภาพต่าง ๆ เช่น การเล่นกีฬา นันทนาการ เข้าร่วมทุกวันพุธ Club ชมรมนอกเหนือที่สามารถตั้งขึ้นได้ตามความสนใจของนักเรียน เข้าร่วมทุกวันพฤหัสบดี เปลี่ยนวิชาที่จำเจให้มีประโยชน์ยิ่งขึ้น วิชาลูกเสือเนตรนารีที่เด็กสมัยใหม่มองว่าไร้ประโยชน์ อีกทั้งต้องเปลี่ยนค่าใช้จ่ายเครื่องแบบโดยใช้เหตุ ทางสาธิตธรรมศาสตร์ได้ปรับการเรียนการสอนในวิชานี้ จากการถักเชือก ทำเงื่อน กลายเป็นวิชาการเอาตัวรอด นักเรียนจะได้เรียนรู้วิธีการเอาตัวรอดจากสถานการณ์ต่าง ๆ เมื่อเกิดไฟไหม้ต้องหนีอย่างไร วิธีการดับไฟ วิธีการปฐมพยาบาล วิชาการว่ายน้ำที่ไม่ได้สอนเพื่อให้เด็กเป็นไปนักกีฬาแต่สอนเพื่อให้นักเรียนเอาตัวรอดได้เมื่อตกน้ำ วิชานี้จะถูกบรรจุอยู่ใน ม.1 เทอม 1 จะสอนให้พอว่ายเป็นพอผ่านไปอีกเทอมก็จะมีการต่อยอดให้นักเรียนเอาตัวรอดได้ ช่วยเหลือผู้อื่นได้ เรียกได้ว่าเป็นการพัฒนาทักษะกันไปในแต่ละเทอม วิชาเพศศึกษาที่เป็นวิชาจำเป็นแต่ถูกมองข้ามในการศึกษาไทย สังคมไทยมีการตีกรอบเรื่องของเพศศึกษาว่าเป็นเรื่องของศีลธรรมอันดีงาม สาธิตธรรมศาสตร์ต้องการที่จะทำให้การเรียนรู้เรื่องเหล่านี้เป็นเรื่องปกติ จึงปรับวิชาให้การเป็นวิชาวัยรุ่นศาสตร์ ในขั้นต้นจะสอนเกี่ยวกับ Anatomy ร่างกาย ฮอร์โมน ตลอดจนการดูแล ทำความสะอาดร่างกายตนเอง การเลือกเสื้อผ้า การเลือกชั้นใน วิชานี้จะช่วยให้นักเรียนรู้จักตัวเองมากขึ้น เด็ก ๆ จะสามารถอยู่กับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นบนร่างกายของตัวเองได้ ต่อมาก็เป็นการสอนเกี่ยวกับความสัมพันธ์ให้นักเรียนได้รู้จักการเข้าสังคมอย่างถูกต้อง ในส่วนของวิชานี้ครูอาจารย์จะเป็นผู้ออกแบบการเรียนการสอนเองได้ แต่รับประกันได้ว่าความรู้เหล่านี้สามารถนำไปใช้ได้จริง ตัวอย่างวิชานอกเหนือที่ไม่คุ้นหู เช่น วิชารู้ทันการเงิน วิชาเสพศิลป์และกลิ่นเสียง วิชาวิถีศรัทธา ซึ่งครอบคลุมทุกศาสนา วิชารู้เท่าทันสื่อ วิชาผู้ประกอบการ ทุกวิชาที่คัดศรรมาทางสาธิตธรรมศาสตร์เชื่อว่าล้วนแล้วแต่เป็นวิชาที่เด็ก ๆ ได้นำไปใช้แน่นอนในอนาคต ขอบคุณรูปจาก Mappa พัฒนาเด็กโดยไม่บังคับให้แข่งขัน สาธิตธรรมศาสตร์จะไม่มีการให้เกรด ไม่มีการจัดสินคะแนนที่ทำให้เด็กเกิดการเปรียบเทียบกับผู้อื่น ไม่มีการติดประกาศว่าเด็กคนนี้ได้รางวัลอะไรอีกต่อไป ทางโรงเรียนจะไม่มีการสนับสนุนให้ผู้ปกครองพาลูกไปเรียนพิเศษเพิ่มเติมเพราะคิดว่าหลักสูตรของทางโรงเรียนเพียงพอแล้วแต่ก็ไม่ได้มีการห้ามให้ไปหาทักษะที่ไม่มีสอนในโรงเรียนจริง ๆ หลังจากลองใช้วิธีนี้มาในระยะหนึ่งพบว่าเด็กค้นพบตัวเองในทักษะที่หลากหลายมากขึ้น ทุกคนมีความเข้าใจว่าแต่ละคนมีความถนัดที่แตกต่างกัน ซึ่งช่วยให้การทำงานเป็นทีม ส่งเสริมกันในเรื่องที่ถนัดมากขึ้น นักเรียนจะไม่มองกันเองว่าใครเก่งไม่เก่ง แต่มองกันแค่ว่าคนไหนถนัดเรื่องใด กำจัดวัฒนธรรมการตีกรอบในโรงเรียนแบบเดิม ๆ นักเรียนมีอิสระในการแต่งตัวเพราะที่สาธิตธรรมศาสตร์จะไม่บังคับให้เด็ก ๆ ต้องใส่ชุดนักเรียน เพียงแต่จะให้ใส่เสื้อยืดที่เป็นตราโรงเรียนในวันที่มีตลาดนัด คือวันอังคารและวันศุกร์เพราะเป็นวันที่มีคนภายนอก การใส่เสื้อยืดนักเรียนจะช่วยแยกแยะนักเรียนกับบุคคลทั่วไปได้ อาจจะมีการบังคับให้ใส่เครื่องแบบในวันที่มีพิธีการหรือออกนอกสถานที่ตามความเหมาะสมเท่านั้น ขอบคุณรูปจาก Mappa ให้ความสำคัญกับนักเรียนเป็นอันดับหนึ่ง โรงเรียนต้องเป็นสถานที่ที่เจาะจงกับนักเรียนเป็นสำคัญที่สุด การศึกษาต้องทำให้นักเรียนรู้สึกมีความสุข อยากที่จะเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ การมาเรียนต้องไม่ทำให้เด็กเกิดความทุกข์ สิ่งนี้จะช่วยทำให้เด็กสามารถเปิดรับความรู้ใหม่และดีต่อการพัฒนาทักษะมากยิ่งขึ้น สาธิตธรรมศาสตร์มีจุดประสงค์ที่จะทำให้โรงเรียนเป็นสถานที่ปลอดภัยสำหรับเด็ก ทั้งในแง่ของทางร่างกายและจิตใจ เน้นใช้เวลายามเช้าเพื่อตัวนักเรียนมากกว่าการบังคับ การถกเถียงเรื่องความจำเป็นเกี่ยวกับการเข้แถวเคารพธงชาติเป็นเรื่องที่สังคมถกเพียงกันมาอย่างนาน คนบางกลุ่มให้เหตุว่ากิจกรรมนี้ไม่จำเป็น อีกทั้งยังทำให้เด็กเหนื่อยล้าตั้งแต่เช้า สาธิตธรรมศาสตร์ได้เปลี่ยนช่วงเวลาที่บังคับให้นักเรียนเคารพธงชาติ อบรมหน้าเสาธง สวดมนต์ตอนเช้ามาเป็นชั่วโมงโฮมรูม 30 นาทีที่ให้นักเรียนพบปะกับครูประจำชั้น โดยไม่ได้บังคับว่านักเรียนทุกคนจะต้องคุยกับครูประจำชั้น หากใครยังอยากที่จะสวดมนต์ก็ยังสามารถทำได้ในห้องเรียน ซึ่งวิธีการนี้จะช่วยให้ครูอาจารย์เข้าถึงนักเรียนได้ดียิ่งขึ้น และเกิดการแลกเปลี่ยนข่าวสารในชั้นเรียน ปลูกฝังวินัยแบบไร้ฝ่ายปกครอง นักเรียนจะไม่ถูกเรียกเข้าฝ่ายปกครองเมื่อมีการกระทำผิดอย่างที่เคยเป็นมาในระบบการศึกษาไทย สาธิตธรรมศาสตร์มีแต่ฝ่ายสนับสนุนนักเรียนและกิจกรรม จะไม่มีการสร้างความบาดหมางให้แก่เด็กจากการจดชื่อส่งครูหรืออะไรก็ตาม แล้วถ้าถามว่าแบบนี้จะช่วยให้ดีขึ้นได้อย่างไร? ทางโรงเรียนจะใช้วิธีการแบบเด็ดขาด อย่างเช่น การทิ้งขยะไม่เป็นที่ แม่บ้านจะไม่เก็บโดยทันทีแต่จะปล่อยขยะสะสมไว้ จนวันนึงนักเรียนจะสำนึกได้เองว่าตัวเองไม่สามารถอยู่ในสภาพแวดล้อมได้ และจะเริ่มแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น พร้อมทั้งรู้วิธีการปฎิบัติตนในครั้งต่อ ๆ ไป เชื่อมสัมพันธภาพให้แก่เด็กและผู้ปกครอง สาธิตธรรมศาสตร์ยังมองลึกไปถึงความพันธ์ในครอบครัวที่เป็นอีกหนึ่งปัจจัยสำคัญในการพัฒนานักเรียน เริ่มตั้งแต่จะมีการเปิดรับสมัครนักเรียนตั้งแต่ช่วงเดือนมิถุนายน เพื่อให้มีช่วงเวลาที่เป็นโครงการเรียนว่า “ครอบครัวสาธิต” ให้เด็ก ๆ มาเข้าร่วม 2 เดือน โดยฝั่งพ่อแม่เองก็จะมีการเข้าหลักสูตร “ห้องเรียนพ่อแม่” ซึ่งจะเน้นการแก้ปัญหาที่มักเกิดขึ้นในครอบครัว เช่น ทำไมลูกถึงตีตัวออกห่าง ลูกให้ความสำคัญกับเพื่อนมากกว่า อยากคุยกับลูกเรื่องเพศสัมพันธ์ได้ ทางโรงเรียนจะช่วยให้ผู้ปกครองมีความเข้าใจในตัวเด็กมากขึ้น เข้าใจในฮอร์โมนร่างกายซึ่งส่งผลทำให้ลักษณะนิสัย การใช้ชีวิตของเด็กเปลี่ยนไปจากเดิม ทำให้ผู้ปกครองเข้าใจว่าการจะช่วยให้เด็กพัฒนาได้ดีต้องมีความไว้ใจ เป็นห่วงได้แต่ต้องอยู่ในขอบเขตที่เหมาะสม วิธีการนี้ได้รับผลตอบรับเป็นอย่างดีทำให้เกิดการพัฒนา “ศูนย์ Empathy Center” เป็นคลินิกให้พ่อแม่ ครู นักเรียน ได้ปรึกษา ทางสาธิตหวังว่าการเชื่อมความสัมพันธืในรูปแบบนี้จะช่วยพัฒนาสังคม ช่วยทำให้แต่ละคนมีมุมมองที่ใจซึ่งกันและกันมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ยังมี “ชุมชนการเรียนรู้ TSS Family” ที่เป็นห้องเรียนเพื่อสนับสนุนผู้ปกครองโดยเฉพาะ ผู้ปกครองที่ว่างหลังจากการส่งลูกเข้าเรียนอาจจะมาเรียนทำขนม เรียนธรุกิจเพราะทางโรงเรียนเชื่อว่าสภาพแวดล้อมครอบครัวที่ดีจะช่วยให้เด็กเติบโตอย่างมีคุณภาพ ขอบคุณรูปจาก Mappa หลังจากผ่านการปรับเปลี่ยนระบบการศึกษา ทางสาธิตธรรมศาสตร์ก็พบเจอปัญหาบางอย่าง เช่น ความกังวลของผู้ปกครองในเรื่องของอนาคตเด็ก ซึ่งทางโรงเรียนเชื่อว่าเด็กจะมีอนาคตที่สดใสในแบบที่เป็นผู้เลือกไม่ใช่ผู้ถูกเลือก ระบบการศึกษานี้ถูกปรับให้เข้ากับยุคสมัย แม้ไม่มีการรับประกันว่าวิธีการแบบนี้จะได้ผล 100% แต่วิธีการเดิม ๆ มันพาให้ระบบการศึกษาไทยล้มเหลว การรับอะไรใหม่ ๆ ก็คงเป็นตัวเลือกที่ดี ทางสาธิตธรรมศาสตร์เผยว่าหลังจากการทดลองใช้รูปแบบการสอนใหม่ ๆ นี้ ผลตอบรับออกมาไปในแนวโน้มที่ดี นักเรียนมีความกระตือรือร้นในการมาเรียนแต่เช้า นักเรียนค้นพบความถนัด ค้นพบทักษะที่ตัวเองทำได้ดีมากขึ้น ซึ่งสิ่งสำคัญที่ทำให้วิธีการนี้ประสบความสำเร็จคือการทำอย่างต่อเนื่องและทุ่มเทในการปรับปรุง พัฒนาอยู่เสมอ แน่นอนว่าเมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้น ก็ย่อมมีทั้งเสียงสนับสนุนและคัดค้าน ทำให้ตกเป็นประเด็นถกเถียงกันอย่างต่อเนื่องในช่องทางออนไลน์ ซึ่ง Eduzones ก็เป็นอีกหนึ่งเสียงที่สนับสนุนให้เกิดการเปลี่ยนแปลงซึ่งจะนำไปสู่การพัฒนาระบบการศึกษาไทยในรูปแบบที่ดีขึ้นเสมอมา ในฐานะชุมชนการศึกษา Eduzones ได้ร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการสนับสนุนเพื่อให้เกิดการพัฒนาระบบการศึกษาไทย โดยมีการจัดทำโครงการ “Good Classroom” ซึ่งเป็นโครงการที่เผยแพร่ห้องเรียน การเรียนการสอนในรูปแบบใหม่ ๆ โดยมีวัตถุประสงค์ในการกระตุ้นผู้สอนให้ปรับเปลี่ยนการสอนในรูปแบบที่ดียิ่งขึ้น อีกทั้งยังหวังว่าจะเป็นส่วนหนึ่งในการขับเคลื่อนระบบการศึกษาให้ดียิ่งขึ้น ซึ่งปัจจุบันมีครูผู้สอนร่วมเข้ามาเป็นผู้เผยแพร่รูปแบบการศึกษาที่เรียกได้ว่าเป็นห้องเรียนในอนาคตกว่า 50 โรงเรียน ร่วมกันเปลี่ยนแปลงการสอน เพื่อการศึกษาไทยที่ดีขึ้น เพื่อความสุขของผู้เรียนและผู้สอน ร่วมกันสร้างห้องเรียนแห่งความสุขได้ที่ FB page : https://www.facebook.com/goodclassroom โรงเรียนสาธิตธรรมศาสตร์ : คลิก EZ Webmaster Related Posts โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนแม่เมาะวิทยา โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนาน้อย อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสตรีศรีน่าน Post navigation PREVIOUS Previous post: มบส.เดินหน้าศึกษาหลักสูตร SandboxNEXT Next post: 4,091 สาขาวิชาที่ไม่ใช้คะแนน GAT/PAT และวิชาสามัญ รอบ 3 (Admission)! Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025…
เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025…
อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก tui sakrapeeJune 18, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา นำโดย รศ.ดร.ชุติกาญจน์ ศรีวิบูลย์ อธิการบดี พร้อมคณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย เดินทางเยือนโรงเรียนนานาชาติ Qingdao No.1 International School of Shandong Province (QISS) และ Qingdao University… กองกลาง มจพ. เยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ และจัดสัมมนาจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล ประจำปี 2568 EZ WebmasterJune 18, 2025 ผศ.ดร.สราวุฒิ สืบแย้ม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายการคลังและกิจการทั่วไป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยนางสาวรัตนา สุขเฉลิมศรี ผู้อำนวยการกองกลาง และบุคลากรกองกลาง เข้าเยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ มจพ. ณ ชั้น 3 สำนักงานหอสมุดกลาง โดยมีนางสาวพนารมย์ เกียรติลีลานันท์ และ… คณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล มจพ. ชูธงร่วมเครือข่ายจัดใหญ่การประชุมวิชาการ นวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (FIAC) 2025 EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร สมฤกษ์ จันทรอัมพร รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นเจ้าภาพร่วมในการจัดประชุมวิชาการด้านนวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (Food Innovation Asia Conference 2025) พร้อมด้วย รศ.ดร.รัชนี เจริญ คณบดีคณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล และคณะผู้บริหาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ… สมศ. พลิกโฉมการประเมินคุณภาพภายนอกด้วย AI ภายใต้ “ONESQA 5.0” เสริมความโปร่งใส แม่นยำ และพัฒนาอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 17, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยวิสัยทัศน์ และแนวทางการขับเคลื่อนองค์กรด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence – AI) ภายใต้ วิสัยทัศน์ ONESQA 5.0 โดยมุ่งเน้นการนำ AI เข้ามาใช้เพื่อเสริมประสิทธิภาพ ความโปร่งใส และความแม่นยำ ในกระบวนการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา พร้อมยกระดับสู่ความเป็นดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบบ ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster February 11, 2022 EZ Webmaster February 11, 2022 สาธิตธรรมศาสตร์ — โรงเรียนในฝันกับรูปแบบการสอนที่ก้าวไกล สาธิตธรรมศาสตร์ — โรงเรียนในฝันกับรูปแบบการสอนที่ก้าวไกล เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2565 ที่ผ่านมา สาธิตธรรมศาสตร์ได้ออกมาแถลงการณ์ในเรื่องการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอนให้เข้ากับยุคสมัยมายิ่งขึ้น จนกลายเป็นกระแสร้อน ประเด็นดังในโลกออนไลน์ วันนี้ Eduzones พาทุกคนไปรู้จักสาธิตแห่งนี้ และมารวบรวมข้อมูลให้เห็นกันไปเลยชัด ๆ ว่าคำว่าปรับเปลี่ยนหลักสูตร คือปรับเปลี่ยนแบบไหน แตกต่างจากเดิมอย่างไร เพิ่มเติมอะไรบ้าง โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Thammasat Secondary School : TSS) จัดตั้งขึ้นโดยอาศัยอำนาจตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภายใต้การกำกับของคณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ (Faculty of Learning Sciences and Education : LSEd) เพื่อให้มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาเด็กมัธยม เพิ่มศักยภาพเด็กให้พร้อมต่อการค้นหาความถนัดด้วยการสนับสนุนจากบุคลากรและผู้ปกครองให้เด็กกลายเป็นบุคคลที่มีคุณภาพในสังคม ในฐานะสถานศึกษา สาธิตธรรมศาสตร์จุดประกายความคิดเกี่ยวกับรูปแบบการสอนใหม่ ๆ มาจากความเข้าใจที่ว่ายุคสมัยใหม่เปลี่ยนไป จึงเล็งเห็นปัญหาที่ว่าทำไมระบบการสอนแบบเก่าถึงทำให้เด็กไม่อยากมาโรงเรียน ทำไมความสัมพันธ์ระหว่างครูกับนักเรียนถึงไปในแง่ลบ การเรียนการสอนในโรงเรียนเน้นท่องจำมากกว่าทำความเข้าใจ ทำให้เด็กจำนวนมากขาดความสุขในการเรียนรู้ สถานศึกษาไม่ช่วยให้เด็กค้นพบความถนัดของตนเอง ปัญหาสะสมเหล่านี้ในระบบการศึกษาไทยก่อให้เด็กเกิดความทุกข์เมื่อต้องมาเรียน และนำไปสู้ปัญหาอื่น ๆ ในสังคม เช่น การบูลลี่ (Bully) การจัดการศึกษาของโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ในรูปแบบใหม่มีจุดประสงค์ที่จะทำให้เด็กเกิดความสุข ซึ่งจะทำให้เด็กพร้อมในการสร้างสรรถนะ พัฒนาความสามารถ ต่อยอดทักษะที่สามารถนำไปใช้ได้จริง สามารถทำงานเป็นทีมได้ มีความสุจริต โรงเรียนแห่งนี้จึงเริ่มสร้างรูปแบบการสอนที่ต้องเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างกันและนำปัญหาความไม่ยืดหยุ่นของระบบการศึกษาไทยมาพัฒนา โดยให้ความสำคัญว่านักเรียนทุกคนมีความแตกต่างกัน ซึ่งจะเน้นเป็น 2 หลักการใหญ่ ๆ คือ – Personalized Learning คือหลักการที่เข้าใจว่านักเรียนแต่ละคนมีเรื่องที่สนใจต่างกัน เน้นสนับสนุนผู้เรียนตามความถนัด ความชอบ – Competency-Based Education ระบบการศึกษาที่สนับสนุน Personalized Learning ในข้อแรก คือให้นักเรียนเป็นผู้ปรับเปลี่ยน ยืดหยุ่นวิชาตามความสนใจของตนเอง รศ.ดร.อนุชาติ พวงสำลี ได้ยกตัวอย่างระบบการศึกษาของสาธิตธรรมศาสตร์ที่ฉีกกฏวัฒนธรรมการเรียนการสอนแบบเดิม ๆ สรุปการปรับเปลี่ยนได้ดังนี้ รศ.ดร.อนุชาติ พวงสำลี เริ่มตั้งแต่ระบบการคัดครู ที่สาธิตธรรมศาสตร์จะไม่มีการสอบในรูปแบบกระดาษ หรือtake home แต่จะให้ความสำคัญกับการดูพฤติกรรม ทัศนคติ โดยจะมีวิธีการคัดเลือกที่แตกต่างไปจากเดิม เช่น มีกิจกรรม workshop เพื่อดูวิธีการปรับตัวและกรบวนการทำงานรวมกันแบบเป็นกุล่ม หลังจากนั้นจึงค่อยสัมภาษณ์เพื่อให้ได้บุคลากรครูที่มีคุณภาพเหมาะสำหรับระบบการเรียนในรูปแบบใหม่นี้มากที่สุด ปรับสถานะ เปลี่ยนบทบาทครู ในระบบการศึกษาไทยแบบเดิม ครูอาจารย์ถือว่าเป็นผุ้อาวุโสอย่างมาก ซึ่งทำให้เกิดช่องโหว่วในความสมันพันธ์ระหว่างครูและนักเรียน เด็ก ๆ มองว่าครูเป็นคนไกลตัว สาธิตธรรมศาสตร์จึงมีการตกลงรวมกันที่จะเสริมสร้างความสนิทสนมให้แก่นักเรียน ไม่จำเป็นต้องมีพิธีรีตอง มีการยกมือไหว้ เจอหน้าก็แค่ทักทายกันปกติ ทำให้ตัวนักเรียนมีความกล้าที่จะพูดคุยหยอกล้อกับครูมากขึ้น ประเด็นนี้อาจจะขัดหูขัดตาคนบางกลุ่มแต่มั่นใจได้ว่าไม่มีอะไรเกินเลย ความสัมพันธ์ระหว่างครูกับนักเรียนจะพัฒนาไปในแนวโน้มที่ดียิ่งขึ้น นอกจากนี้ครูจะไม่เป็นแค่ผู้สอนอีกต่อไป สาธิตธรรมศาสตร์ได้ว่าบทบาทครูให้เป็นผู้สนับสนุนการเรียนรู้ 3 ประการ – ที่ปรึกษา (Advisor) มีหน้าที่วางแผนการเรียนรู้ ดูแลให้นักเรียนถึงตามเป้าหมายที่แต่ละคนวางไว้ อีกทั้งยังเป็นผู้สื่อสารผู้ปกครองให้มีความเข้าใจในเป้าหมายของเด็ก – ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง (Mentor) เป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ สร้างแรงบันดาลใจตามสมรรถภาพของนักเรียนแต่ละคน – กระบวนกร (Course Facilitator / instructor) เป็นผู้ออกแบบหน่วยการเรียนรู้ เพื่อให้เหมาะสมกัลศักยภาพพื้นฐานของนักเรียนทุกคน คัดเด็กให้ตรงกับความต้องการ เช่นเดียวกับระบบคัดเลือกครู เด็ก ๆ จะไม่ต้องผ่านการคัดเลือดแบบทำข้อสอบในกระดาษ แต่ให้เด็กทำ Portfolio เพื่ออธิบายเกี่ยวกับตนเอง อยากทำอะไร มีความฝันอะไร จะทำยังไงให้ความฝันนั้นเป็นจริง วิธีการที่เขียนนี้เพราะอยากให้เด็กรู้สึกว่าความฝันมันคือสิ่งที่เราสามารถทำได้จริง หลังจากนั้นก็มีคำถามให้เด็ก 3 ข้อเกี่ยวกับชีวิตตัวเอง และมีคำถามให้พ่อแม่ 4 ข้อ ก่อนจะเด็กเข้ากระบวนการว่าสิ่งที่เขาคิดตรงกับที่เขียนลงไปไหม สำหรับสาธิตธรรมศาสตร์นี้จะไม่มีระบบรับบริจาคเพื่อให้เด็กได้เรียนเด็ดขาด ไม่มีค่าแรกเข้า หรือเก็บความใช้จ่ายเพิ่มเติมใด ๆ ลบระบบการสอนที่มีแต่หลักสูตรบังคับ สาธิตธรรมศาสตร์เน้นการสนับสนุนความฝันของเด็กมากกว่จำกัดรายวิชาตาม สพฐ. เท่านั้น ซึ่งจะให้ความสำคัญกับการพัฒนาความรู้ที่มาจากประสบการณ์ตรง ให้นักเรียนได้ปฏิบัติจริงมากกว่าการเรียนที่เน้นแค่ทฤษฎีแต่นักเรียนไม่รู้วิธีนำไปใช้ นักเรียนของสาธิตธรรมศาสตร์ทุกคนจะมีพื้นที่ในการเรียนรู้กิจกรรมที่ตัวเองสนใจที่สามารถเลือกได้ด้วยตนเอง อาทิตย์ละ 4 คาบ ทุกวันจันทร์ – พฤหัสบดี เวลา 14.00 น. – 15.30 น. ซึ่งจะแบ่งกิจกรรมเป็น 2 ส่วน – กิจกรรมชมรมนวัตกรรมเพื่อสังคม (Social Innovation Club) คือกิจกรรมที่เน้นให้นักเรียนมีทักษะความคิดสร้างสรรค์ การออกแบบ การแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ กิจกรรมนี้จะเรียน 1 คาบในวันจันทร์ – กิจกรรมตามความสนใจเฉพาะ (Club) เป็นกิจกรรมที่ให้นักเรียนเรียนรู้ตามความสนใจของตนเอง อาทิตย์ละ 3 คาบ แบ่งเป็น 3 คลับ ได้แก่ Club Art ชมรมด้านศิลปะที่ช่วยให้นักเรียนพัฒนาทักษะ ศักยภาพ และการแสดงออกอย่างสร้างสรรค์ เข้าร่วมได้ทุกวันอังคาร Club PA ชมรมส่งเสริมด้านสุขภาพ การเคลื่อนไหวของร่างกาย ให้นักเรียนได้มีกิจกรรมทางกายภาพต่าง ๆ เช่น การเล่นกีฬา นันทนาการ เข้าร่วมทุกวันพุธ Club ชมรมนอกเหนือที่สามารถตั้งขึ้นได้ตามความสนใจของนักเรียน เข้าร่วมทุกวันพฤหัสบดี เปลี่ยนวิชาที่จำเจให้มีประโยชน์ยิ่งขึ้น วิชาลูกเสือเนตรนารีที่เด็กสมัยใหม่มองว่าไร้ประโยชน์ อีกทั้งต้องเปลี่ยนค่าใช้จ่ายเครื่องแบบโดยใช้เหตุ ทางสาธิตธรรมศาสตร์ได้ปรับการเรียนการสอนในวิชานี้ จากการถักเชือก ทำเงื่อน กลายเป็นวิชาการเอาตัวรอด นักเรียนจะได้เรียนรู้วิธีการเอาตัวรอดจากสถานการณ์ต่าง ๆ เมื่อเกิดไฟไหม้ต้องหนีอย่างไร วิธีการดับไฟ วิธีการปฐมพยาบาล วิชาการว่ายน้ำที่ไม่ได้สอนเพื่อให้เด็กเป็นไปนักกีฬาแต่สอนเพื่อให้นักเรียนเอาตัวรอดได้เมื่อตกน้ำ วิชานี้จะถูกบรรจุอยู่ใน ม.1 เทอม 1 จะสอนให้พอว่ายเป็นพอผ่านไปอีกเทอมก็จะมีการต่อยอดให้นักเรียนเอาตัวรอดได้ ช่วยเหลือผู้อื่นได้ เรียกได้ว่าเป็นการพัฒนาทักษะกันไปในแต่ละเทอม วิชาเพศศึกษาที่เป็นวิชาจำเป็นแต่ถูกมองข้ามในการศึกษาไทย สังคมไทยมีการตีกรอบเรื่องของเพศศึกษาว่าเป็นเรื่องของศีลธรรมอันดีงาม สาธิตธรรมศาสตร์ต้องการที่จะทำให้การเรียนรู้เรื่องเหล่านี้เป็นเรื่องปกติ จึงปรับวิชาให้การเป็นวิชาวัยรุ่นศาสตร์ ในขั้นต้นจะสอนเกี่ยวกับ Anatomy ร่างกาย ฮอร์โมน ตลอดจนการดูแล ทำความสะอาดร่างกายตนเอง การเลือกเสื้อผ้า การเลือกชั้นใน วิชานี้จะช่วยให้นักเรียนรู้จักตัวเองมากขึ้น เด็ก ๆ จะสามารถอยู่กับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นบนร่างกายของตัวเองได้ ต่อมาก็เป็นการสอนเกี่ยวกับความสัมพันธ์ให้นักเรียนได้รู้จักการเข้าสังคมอย่างถูกต้อง ในส่วนของวิชานี้ครูอาจารย์จะเป็นผู้ออกแบบการเรียนการสอนเองได้ แต่รับประกันได้ว่าความรู้เหล่านี้สามารถนำไปใช้ได้จริง ตัวอย่างวิชานอกเหนือที่ไม่คุ้นหู เช่น วิชารู้ทันการเงิน วิชาเสพศิลป์และกลิ่นเสียง วิชาวิถีศรัทธา ซึ่งครอบคลุมทุกศาสนา วิชารู้เท่าทันสื่อ วิชาผู้ประกอบการ ทุกวิชาที่คัดศรรมาทางสาธิตธรรมศาสตร์เชื่อว่าล้วนแล้วแต่เป็นวิชาที่เด็ก ๆ ได้นำไปใช้แน่นอนในอนาคต ขอบคุณรูปจาก Mappa พัฒนาเด็กโดยไม่บังคับให้แข่งขัน สาธิตธรรมศาสตร์จะไม่มีการให้เกรด ไม่มีการจัดสินคะแนนที่ทำให้เด็กเกิดการเปรียบเทียบกับผู้อื่น ไม่มีการติดประกาศว่าเด็กคนนี้ได้รางวัลอะไรอีกต่อไป ทางโรงเรียนจะไม่มีการสนับสนุนให้ผู้ปกครองพาลูกไปเรียนพิเศษเพิ่มเติมเพราะคิดว่าหลักสูตรของทางโรงเรียนเพียงพอแล้วแต่ก็ไม่ได้มีการห้ามให้ไปหาทักษะที่ไม่มีสอนในโรงเรียนจริง ๆ หลังจากลองใช้วิธีนี้มาในระยะหนึ่งพบว่าเด็กค้นพบตัวเองในทักษะที่หลากหลายมากขึ้น ทุกคนมีความเข้าใจว่าแต่ละคนมีความถนัดที่แตกต่างกัน ซึ่งช่วยให้การทำงานเป็นทีม ส่งเสริมกันในเรื่องที่ถนัดมากขึ้น นักเรียนจะไม่มองกันเองว่าใครเก่งไม่เก่ง แต่มองกันแค่ว่าคนไหนถนัดเรื่องใด กำจัดวัฒนธรรมการตีกรอบในโรงเรียนแบบเดิม ๆ นักเรียนมีอิสระในการแต่งตัวเพราะที่สาธิตธรรมศาสตร์จะไม่บังคับให้เด็ก ๆ ต้องใส่ชุดนักเรียน เพียงแต่จะให้ใส่เสื้อยืดที่เป็นตราโรงเรียนในวันที่มีตลาดนัด คือวันอังคารและวันศุกร์เพราะเป็นวันที่มีคนภายนอก การใส่เสื้อยืดนักเรียนจะช่วยแยกแยะนักเรียนกับบุคคลทั่วไปได้ อาจจะมีการบังคับให้ใส่เครื่องแบบในวันที่มีพิธีการหรือออกนอกสถานที่ตามความเหมาะสมเท่านั้น ขอบคุณรูปจาก Mappa ให้ความสำคัญกับนักเรียนเป็นอันดับหนึ่ง โรงเรียนต้องเป็นสถานที่ที่เจาะจงกับนักเรียนเป็นสำคัญที่สุด การศึกษาต้องทำให้นักเรียนรู้สึกมีความสุข อยากที่จะเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ การมาเรียนต้องไม่ทำให้เด็กเกิดความทุกข์ สิ่งนี้จะช่วยทำให้เด็กสามารถเปิดรับความรู้ใหม่และดีต่อการพัฒนาทักษะมากยิ่งขึ้น สาธิตธรรมศาสตร์มีจุดประสงค์ที่จะทำให้โรงเรียนเป็นสถานที่ปลอดภัยสำหรับเด็ก ทั้งในแง่ของทางร่างกายและจิตใจ เน้นใช้เวลายามเช้าเพื่อตัวนักเรียนมากกว่าการบังคับ การถกเถียงเรื่องความจำเป็นเกี่ยวกับการเข้แถวเคารพธงชาติเป็นเรื่องที่สังคมถกเพียงกันมาอย่างนาน คนบางกลุ่มให้เหตุว่ากิจกรรมนี้ไม่จำเป็น อีกทั้งยังทำให้เด็กเหนื่อยล้าตั้งแต่เช้า สาธิตธรรมศาสตร์ได้เปลี่ยนช่วงเวลาที่บังคับให้นักเรียนเคารพธงชาติ อบรมหน้าเสาธง สวดมนต์ตอนเช้ามาเป็นชั่วโมงโฮมรูม 30 นาทีที่ให้นักเรียนพบปะกับครูประจำชั้น โดยไม่ได้บังคับว่านักเรียนทุกคนจะต้องคุยกับครูประจำชั้น หากใครยังอยากที่จะสวดมนต์ก็ยังสามารถทำได้ในห้องเรียน ซึ่งวิธีการนี้จะช่วยให้ครูอาจารย์เข้าถึงนักเรียนได้ดียิ่งขึ้น และเกิดการแลกเปลี่ยนข่าวสารในชั้นเรียน ปลูกฝังวินัยแบบไร้ฝ่ายปกครอง นักเรียนจะไม่ถูกเรียกเข้าฝ่ายปกครองเมื่อมีการกระทำผิดอย่างที่เคยเป็นมาในระบบการศึกษาไทย สาธิตธรรมศาสตร์มีแต่ฝ่ายสนับสนุนนักเรียนและกิจกรรม จะไม่มีการสร้างความบาดหมางให้แก่เด็กจากการจดชื่อส่งครูหรืออะไรก็ตาม แล้วถ้าถามว่าแบบนี้จะช่วยให้ดีขึ้นได้อย่างไร? ทางโรงเรียนจะใช้วิธีการแบบเด็ดขาด อย่างเช่น การทิ้งขยะไม่เป็นที่ แม่บ้านจะไม่เก็บโดยทันทีแต่จะปล่อยขยะสะสมไว้ จนวันนึงนักเรียนจะสำนึกได้เองว่าตัวเองไม่สามารถอยู่ในสภาพแวดล้อมได้ และจะเริ่มแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น พร้อมทั้งรู้วิธีการปฎิบัติตนในครั้งต่อ ๆ ไป เชื่อมสัมพันธภาพให้แก่เด็กและผู้ปกครอง สาธิตธรรมศาสตร์ยังมองลึกไปถึงความพันธ์ในครอบครัวที่เป็นอีกหนึ่งปัจจัยสำคัญในการพัฒนานักเรียน เริ่มตั้งแต่จะมีการเปิดรับสมัครนักเรียนตั้งแต่ช่วงเดือนมิถุนายน เพื่อให้มีช่วงเวลาที่เป็นโครงการเรียนว่า “ครอบครัวสาธิต” ให้เด็ก ๆ มาเข้าร่วม 2 เดือน โดยฝั่งพ่อแม่เองก็จะมีการเข้าหลักสูตร “ห้องเรียนพ่อแม่” ซึ่งจะเน้นการแก้ปัญหาที่มักเกิดขึ้นในครอบครัว เช่น ทำไมลูกถึงตีตัวออกห่าง ลูกให้ความสำคัญกับเพื่อนมากกว่า อยากคุยกับลูกเรื่องเพศสัมพันธ์ได้ ทางโรงเรียนจะช่วยให้ผู้ปกครองมีความเข้าใจในตัวเด็กมากขึ้น เข้าใจในฮอร์โมนร่างกายซึ่งส่งผลทำให้ลักษณะนิสัย การใช้ชีวิตของเด็กเปลี่ยนไปจากเดิม ทำให้ผู้ปกครองเข้าใจว่าการจะช่วยให้เด็กพัฒนาได้ดีต้องมีความไว้ใจ เป็นห่วงได้แต่ต้องอยู่ในขอบเขตที่เหมาะสม วิธีการนี้ได้รับผลตอบรับเป็นอย่างดีทำให้เกิดการพัฒนา “ศูนย์ Empathy Center” เป็นคลินิกให้พ่อแม่ ครู นักเรียน ได้ปรึกษา ทางสาธิตหวังว่าการเชื่อมความสัมพันธืในรูปแบบนี้จะช่วยพัฒนาสังคม ช่วยทำให้แต่ละคนมีมุมมองที่ใจซึ่งกันและกันมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ยังมี “ชุมชนการเรียนรู้ TSS Family” ที่เป็นห้องเรียนเพื่อสนับสนุนผู้ปกครองโดยเฉพาะ ผู้ปกครองที่ว่างหลังจากการส่งลูกเข้าเรียนอาจจะมาเรียนทำขนม เรียนธรุกิจเพราะทางโรงเรียนเชื่อว่าสภาพแวดล้อมครอบครัวที่ดีจะช่วยให้เด็กเติบโตอย่างมีคุณภาพ ขอบคุณรูปจาก Mappa หลังจากผ่านการปรับเปลี่ยนระบบการศึกษา ทางสาธิตธรรมศาสตร์ก็พบเจอปัญหาบางอย่าง เช่น ความกังวลของผู้ปกครองในเรื่องของอนาคตเด็ก ซึ่งทางโรงเรียนเชื่อว่าเด็กจะมีอนาคตที่สดใสในแบบที่เป็นผู้เลือกไม่ใช่ผู้ถูกเลือก ระบบการศึกษานี้ถูกปรับให้เข้ากับยุคสมัย แม้ไม่มีการรับประกันว่าวิธีการแบบนี้จะได้ผล 100% แต่วิธีการเดิม ๆ มันพาให้ระบบการศึกษาไทยล้มเหลว การรับอะไรใหม่ ๆ ก็คงเป็นตัวเลือกที่ดี ทางสาธิตธรรมศาสตร์เผยว่าหลังจากการทดลองใช้รูปแบบการสอนใหม่ ๆ นี้ ผลตอบรับออกมาไปในแนวโน้มที่ดี นักเรียนมีความกระตือรือร้นในการมาเรียนแต่เช้า นักเรียนค้นพบความถนัด ค้นพบทักษะที่ตัวเองทำได้ดีมากขึ้น ซึ่งสิ่งสำคัญที่ทำให้วิธีการนี้ประสบความสำเร็จคือการทำอย่างต่อเนื่องและทุ่มเทในการปรับปรุง พัฒนาอยู่เสมอ แน่นอนว่าเมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้น ก็ย่อมมีทั้งเสียงสนับสนุนและคัดค้าน ทำให้ตกเป็นประเด็นถกเถียงกันอย่างต่อเนื่องในช่องทางออนไลน์ ซึ่ง Eduzones ก็เป็นอีกหนึ่งเสียงที่สนับสนุนให้เกิดการเปลี่ยนแปลงซึ่งจะนำไปสู่การพัฒนาระบบการศึกษาไทยในรูปแบบที่ดีขึ้นเสมอมา ในฐานะชุมชนการศึกษา Eduzones ได้ร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการสนับสนุนเพื่อให้เกิดการพัฒนาระบบการศึกษาไทย โดยมีการจัดทำโครงการ “Good Classroom” ซึ่งเป็นโครงการที่เผยแพร่ห้องเรียน การเรียนการสอนในรูปแบบใหม่ ๆ โดยมีวัตถุประสงค์ในการกระตุ้นผู้สอนให้ปรับเปลี่ยนการสอนในรูปแบบที่ดียิ่งขึ้น อีกทั้งยังหวังว่าจะเป็นส่วนหนึ่งในการขับเคลื่อนระบบการศึกษาให้ดียิ่งขึ้น ซึ่งปัจจุบันมีครูผู้สอนร่วมเข้ามาเป็นผู้เผยแพร่รูปแบบการศึกษาที่เรียกได้ว่าเป็นห้องเรียนในอนาคตกว่า 50 โรงเรียน ร่วมกันเปลี่ยนแปลงการสอน เพื่อการศึกษาไทยที่ดีขึ้น เพื่อความสุขของผู้เรียนและผู้สอน ร่วมกันสร้างห้องเรียนแห่งความสุขได้ที่ FB page : https://www.facebook.com/goodclassroom โรงเรียนสาธิตธรรมศาสตร์ : คลิก EZ Webmaster Related Posts โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนแม่เมาะวิทยา โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนาน้อย อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสตรีศรีน่าน Post navigation PREVIOUS Previous post: มบส.เดินหน้าศึกษาหลักสูตร SandboxNEXT Next post: 4,091 สาขาวิชาที่ไม่ใช้คะแนน GAT/PAT และวิชาสามัญ รอบ 3 (Admission)! Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
กองกลาง มจพ. เยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ และจัดสัมมนาจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล ประจำปี 2568 EZ WebmasterJune 18, 2025 ผศ.ดร.สราวุฒิ สืบแย้ม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายการคลังและกิจการทั่วไป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยนางสาวรัตนา สุขเฉลิมศรี ผู้อำนวยการกองกลาง และบุคลากรกองกลาง เข้าเยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ มจพ. ณ ชั้น 3 สำนักงานหอสมุดกลาง โดยมีนางสาวพนารมย์ เกียรติลีลานันท์ และ… คณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล มจพ. ชูธงร่วมเครือข่ายจัดใหญ่การประชุมวิชาการ นวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (FIAC) 2025 EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร สมฤกษ์ จันทรอัมพร รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นเจ้าภาพร่วมในการจัดประชุมวิชาการด้านนวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (Food Innovation Asia Conference 2025) พร้อมด้วย รศ.ดร.รัชนี เจริญ คณบดีคณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล และคณะผู้บริหาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ… สมศ. พลิกโฉมการประเมินคุณภาพภายนอกด้วย AI ภายใต้ “ONESQA 5.0” เสริมความโปร่งใส แม่นยำ และพัฒนาอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 17, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยวิสัยทัศน์ และแนวทางการขับเคลื่อนองค์กรด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence – AI) ภายใต้ วิสัยทัศน์ ONESQA 5.0 โดยมุ่งเน้นการนำ AI เข้ามาใช้เพื่อเสริมประสิทธิภาพ ความโปร่งใส และความแม่นยำ ในกระบวนการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา พร้อมยกระดับสู่ความเป็นดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบบ ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster February 11, 2022 EZ Webmaster February 11, 2022 สาธิตธรรมศาสตร์ — โรงเรียนในฝันกับรูปแบบการสอนที่ก้าวไกล สาธิตธรรมศาสตร์ — โรงเรียนในฝันกับรูปแบบการสอนที่ก้าวไกล เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2565 ที่ผ่านมา สาธิตธรรมศาสตร์ได้ออกมาแถลงการณ์ในเรื่องการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอนให้เข้ากับยุคสมัยมายิ่งขึ้น จนกลายเป็นกระแสร้อน ประเด็นดังในโลกออนไลน์ วันนี้ Eduzones พาทุกคนไปรู้จักสาธิตแห่งนี้ และมารวบรวมข้อมูลให้เห็นกันไปเลยชัด ๆ ว่าคำว่าปรับเปลี่ยนหลักสูตร คือปรับเปลี่ยนแบบไหน แตกต่างจากเดิมอย่างไร เพิ่มเติมอะไรบ้าง โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Thammasat Secondary School : TSS) จัดตั้งขึ้นโดยอาศัยอำนาจตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภายใต้การกำกับของคณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ (Faculty of Learning Sciences and Education : LSEd) เพื่อให้มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาเด็กมัธยม เพิ่มศักยภาพเด็กให้พร้อมต่อการค้นหาความถนัดด้วยการสนับสนุนจากบุคลากรและผู้ปกครองให้เด็กกลายเป็นบุคคลที่มีคุณภาพในสังคม ในฐานะสถานศึกษา สาธิตธรรมศาสตร์จุดประกายความคิดเกี่ยวกับรูปแบบการสอนใหม่ ๆ มาจากความเข้าใจที่ว่ายุคสมัยใหม่เปลี่ยนไป จึงเล็งเห็นปัญหาที่ว่าทำไมระบบการสอนแบบเก่าถึงทำให้เด็กไม่อยากมาโรงเรียน ทำไมความสัมพันธ์ระหว่างครูกับนักเรียนถึงไปในแง่ลบ การเรียนการสอนในโรงเรียนเน้นท่องจำมากกว่าทำความเข้าใจ ทำให้เด็กจำนวนมากขาดความสุขในการเรียนรู้ สถานศึกษาไม่ช่วยให้เด็กค้นพบความถนัดของตนเอง ปัญหาสะสมเหล่านี้ในระบบการศึกษาไทยก่อให้เด็กเกิดความทุกข์เมื่อต้องมาเรียน และนำไปสู้ปัญหาอื่น ๆ ในสังคม เช่น การบูลลี่ (Bully) การจัดการศึกษาของโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ในรูปแบบใหม่มีจุดประสงค์ที่จะทำให้เด็กเกิดความสุข ซึ่งจะทำให้เด็กพร้อมในการสร้างสรรถนะ พัฒนาความสามารถ ต่อยอดทักษะที่สามารถนำไปใช้ได้จริง สามารถทำงานเป็นทีมได้ มีความสุจริต โรงเรียนแห่งนี้จึงเริ่มสร้างรูปแบบการสอนที่ต้องเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างกันและนำปัญหาความไม่ยืดหยุ่นของระบบการศึกษาไทยมาพัฒนา โดยให้ความสำคัญว่านักเรียนทุกคนมีความแตกต่างกัน ซึ่งจะเน้นเป็น 2 หลักการใหญ่ ๆ คือ – Personalized Learning คือหลักการที่เข้าใจว่านักเรียนแต่ละคนมีเรื่องที่สนใจต่างกัน เน้นสนับสนุนผู้เรียนตามความถนัด ความชอบ – Competency-Based Education ระบบการศึกษาที่สนับสนุน Personalized Learning ในข้อแรก คือให้นักเรียนเป็นผู้ปรับเปลี่ยน ยืดหยุ่นวิชาตามความสนใจของตนเอง รศ.ดร.อนุชาติ พวงสำลี ได้ยกตัวอย่างระบบการศึกษาของสาธิตธรรมศาสตร์ที่ฉีกกฏวัฒนธรรมการเรียนการสอนแบบเดิม ๆ สรุปการปรับเปลี่ยนได้ดังนี้ รศ.ดร.อนุชาติ พวงสำลี เริ่มตั้งแต่ระบบการคัดครู ที่สาธิตธรรมศาสตร์จะไม่มีการสอบในรูปแบบกระดาษ หรือtake home แต่จะให้ความสำคัญกับการดูพฤติกรรม ทัศนคติ โดยจะมีวิธีการคัดเลือกที่แตกต่างไปจากเดิม เช่น มีกิจกรรม workshop เพื่อดูวิธีการปรับตัวและกรบวนการทำงานรวมกันแบบเป็นกุล่ม หลังจากนั้นจึงค่อยสัมภาษณ์เพื่อให้ได้บุคลากรครูที่มีคุณภาพเหมาะสำหรับระบบการเรียนในรูปแบบใหม่นี้มากที่สุด ปรับสถานะ เปลี่ยนบทบาทครู ในระบบการศึกษาไทยแบบเดิม ครูอาจารย์ถือว่าเป็นผุ้อาวุโสอย่างมาก ซึ่งทำให้เกิดช่องโหว่วในความสมันพันธ์ระหว่างครูและนักเรียน เด็ก ๆ มองว่าครูเป็นคนไกลตัว สาธิตธรรมศาสตร์จึงมีการตกลงรวมกันที่จะเสริมสร้างความสนิทสนมให้แก่นักเรียน ไม่จำเป็นต้องมีพิธีรีตอง มีการยกมือไหว้ เจอหน้าก็แค่ทักทายกันปกติ ทำให้ตัวนักเรียนมีความกล้าที่จะพูดคุยหยอกล้อกับครูมากขึ้น ประเด็นนี้อาจจะขัดหูขัดตาคนบางกลุ่มแต่มั่นใจได้ว่าไม่มีอะไรเกินเลย ความสัมพันธ์ระหว่างครูกับนักเรียนจะพัฒนาไปในแนวโน้มที่ดียิ่งขึ้น นอกจากนี้ครูจะไม่เป็นแค่ผู้สอนอีกต่อไป สาธิตธรรมศาสตร์ได้ว่าบทบาทครูให้เป็นผู้สนับสนุนการเรียนรู้ 3 ประการ – ที่ปรึกษา (Advisor) มีหน้าที่วางแผนการเรียนรู้ ดูแลให้นักเรียนถึงตามเป้าหมายที่แต่ละคนวางไว้ อีกทั้งยังเป็นผู้สื่อสารผู้ปกครองให้มีความเข้าใจในเป้าหมายของเด็ก – ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง (Mentor) เป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ สร้างแรงบันดาลใจตามสมรรถภาพของนักเรียนแต่ละคน – กระบวนกร (Course Facilitator / instructor) เป็นผู้ออกแบบหน่วยการเรียนรู้ เพื่อให้เหมาะสมกัลศักยภาพพื้นฐานของนักเรียนทุกคน คัดเด็กให้ตรงกับความต้องการ เช่นเดียวกับระบบคัดเลือกครู เด็ก ๆ จะไม่ต้องผ่านการคัดเลือดแบบทำข้อสอบในกระดาษ แต่ให้เด็กทำ Portfolio เพื่ออธิบายเกี่ยวกับตนเอง อยากทำอะไร มีความฝันอะไร จะทำยังไงให้ความฝันนั้นเป็นจริง วิธีการที่เขียนนี้เพราะอยากให้เด็กรู้สึกว่าความฝันมันคือสิ่งที่เราสามารถทำได้จริง หลังจากนั้นก็มีคำถามให้เด็ก 3 ข้อเกี่ยวกับชีวิตตัวเอง และมีคำถามให้พ่อแม่ 4 ข้อ ก่อนจะเด็กเข้ากระบวนการว่าสิ่งที่เขาคิดตรงกับที่เขียนลงไปไหม สำหรับสาธิตธรรมศาสตร์นี้จะไม่มีระบบรับบริจาคเพื่อให้เด็กได้เรียนเด็ดขาด ไม่มีค่าแรกเข้า หรือเก็บความใช้จ่ายเพิ่มเติมใด ๆ ลบระบบการสอนที่มีแต่หลักสูตรบังคับ สาธิตธรรมศาสตร์เน้นการสนับสนุนความฝันของเด็กมากกว่จำกัดรายวิชาตาม สพฐ. เท่านั้น ซึ่งจะให้ความสำคัญกับการพัฒนาความรู้ที่มาจากประสบการณ์ตรง ให้นักเรียนได้ปฏิบัติจริงมากกว่าการเรียนที่เน้นแค่ทฤษฎีแต่นักเรียนไม่รู้วิธีนำไปใช้ นักเรียนของสาธิตธรรมศาสตร์ทุกคนจะมีพื้นที่ในการเรียนรู้กิจกรรมที่ตัวเองสนใจที่สามารถเลือกได้ด้วยตนเอง อาทิตย์ละ 4 คาบ ทุกวันจันทร์ – พฤหัสบดี เวลา 14.00 น. – 15.30 น. ซึ่งจะแบ่งกิจกรรมเป็น 2 ส่วน – กิจกรรมชมรมนวัตกรรมเพื่อสังคม (Social Innovation Club) คือกิจกรรมที่เน้นให้นักเรียนมีทักษะความคิดสร้างสรรค์ การออกแบบ การแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ กิจกรรมนี้จะเรียน 1 คาบในวันจันทร์ – กิจกรรมตามความสนใจเฉพาะ (Club) เป็นกิจกรรมที่ให้นักเรียนเรียนรู้ตามความสนใจของตนเอง อาทิตย์ละ 3 คาบ แบ่งเป็น 3 คลับ ได้แก่ Club Art ชมรมด้านศิลปะที่ช่วยให้นักเรียนพัฒนาทักษะ ศักยภาพ และการแสดงออกอย่างสร้างสรรค์ เข้าร่วมได้ทุกวันอังคาร Club PA ชมรมส่งเสริมด้านสุขภาพ การเคลื่อนไหวของร่างกาย ให้นักเรียนได้มีกิจกรรมทางกายภาพต่าง ๆ เช่น การเล่นกีฬา นันทนาการ เข้าร่วมทุกวันพุธ Club ชมรมนอกเหนือที่สามารถตั้งขึ้นได้ตามความสนใจของนักเรียน เข้าร่วมทุกวันพฤหัสบดี เปลี่ยนวิชาที่จำเจให้มีประโยชน์ยิ่งขึ้น วิชาลูกเสือเนตรนารีที่เด็กสมัยใหม่มองว่าไร้ประโยชน์ อีกทั้งต้องเปลี่ยนค่าใช้จ่ายเครื่องแบบโดยใช้เหตุ ทางสาธิตธรรมศาสตร์ได้ปรับการเรียนการสอนในวิชานี้ จากการถักเชือก ทำเงื่อน กลายเป็นวิชาการเอาตัวรอด นักเรียนจะได้เรียนรู้วิธีการเอาตัวรอดจากสถานการณ์ต่าง ๆ เมื่อเกิดไฟไหม้ต้องหนีอย่างไร วิธีการดับไฟ วิธีการปฐมพยาบาล วิชาการว่ายน้ำที่ไม่ได้สอนเพื่อให้เด็กเป็นไปนักกีฬาแต่สอนเพื่อให้นักเรียนเอาตัวรอดได้เมื่อตกน้ำ วิชานี้จะถูกบรรจุอยู่ใน ม.1 เทอม 1 จะสอนให้พอว่ายเป็นพอผ่านไปอีกเทอมก็จะมีการต่อยอดให้นักเรียนเอาตัวรอดได้ ช่วยเหลือผู้อื่นได้ เรียกได้ว่าเป็นการพัฒนาทักษะกันไปในแต่ละเทอม วิชาเพศศึกษาที่เป็นวิชาจำเป็นแต่ถูกมองข้ามในการศึกษาไทย สังคมไทยมีการตีกรอบเรื่องของเพศศึกษาว่าเป็นเรื่องของศีลธรรมอันดีงาม สาธิตธรรมศาสตร์ต้องการที่จะทำให้การเรียนรู้เรื่องเหล่านี้เป็นเรื่องปกติ จึงปรับวิชาให้การเป็นวิชาวัยรุ่นศาสตร์ ในขั้นต้นจะสอนเกี่ยวกับ Anatomy ร่างกาย ฮอร์โมน ตลอดจนการดูแล ทำความสะอาดร่างกายตนเอง การเลือกเสื้อผ้า การเลือกชั้นใน วิชานี้จะช่วยให้นักเรียนรู้จักตัวเองมากขึ้น เด็ก ๆ จะสามารถอยู่กับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นบนร่างกายของตัวเองได้ ต่อมาก็เป็นการสอนเกี่ยวกับความสัมพันธ์ให้นักเรียนได้รู้จักการเข้าสังคมอย่างถูกต้อง ในส่วนของวิชานี้ครูอาจารย์จะเป็นผู้ออกแบบการเรียนการสอนเองได้ แต่รับประกันได้ว่าความรู้เหล่านี้สามารถนำไปใช้ได้จริง ตัวอย่างวิชานอกเหนือที่ไม่คุ้นหู เช่น วิชารู้ทันการเงิน วิชาเสพศิลป์และกลิ่นเสียง วิชาวิถีศรัทธา ซึ่งครอบคลุมทุกศาสนา วิชารู้เท่าทันสื่อ วิชาผู้ประกอบการ ทุกวิชาที่คัดศรรมาทางสาธิตธรรมศาสตร์เชื่อว่าล้วนแล้วแต่เป็นวิชาที่เด็ก ๆ ได้นำไปใช้แน่นอนในอนาคต ขอบคุณรูปจาก Mappa พัฒนาเด็กโดยไม่บังคับให้แข่งขัน สาธิตธรรมศาสตร์จะไม่มีการให้เกรด ไม่มีการจัดสินคะแนนที่ทำให้เด็กเกิดการเปรียบเทียบกับผู้อื่น ไม่มีการติดประกาศว่าเด็กคนนี้ได้รางวัลอะไรอีกต่อไป ทางโรงเรียนจะไม่มีการสนับสนุนให้ผู้ปกครองพาลูกไปเรียนพิเศษเพิ่มเติมเพราะคิดว่าหลักสูตรของทางโรงเรียนเพียงพอแล้วแต่ก็ไม่ได้มีการห้ามให้ไปหาทักษะที่ไม่มีสอนในโรงเรียนจริง ๆ หลังจากลองใช้วิธีนี้มาในระยะหนึ่งพบว่าเด็กค้นพบตัวเองในทักษะที่หลากหลายมากขึ้น ทุกคนมีความเข้าใจว่าแต่ละคนมีความถนัดที่แตกต่างกัน ซึ่งช่วยให้การทำงานเป็นทีม ส่งเสริมกันในเรื่องที่ถนัดมากขึ้น นักเรียนจะไม่มองกันเองว่าใครเก่งไม่เก่ง แต่มองกันแค่ว่าคนไหนถนัดเรื่องใด กำจัดวัฒนธรรมการตีกรอบในโรงเรียนแบบเดิม ๆ นักเรียนมีอิสระในการแต่งตัวเพราะที่สาธิตธรรมศาสตร์จะไม่บังคับให้เด็ก ๆ ต้องใส่ชุดนักเรียน เพียงแต่จะให้ใส่เสื้อยืดที่เป็นตราโรงเรียนในวันที่มีตลาดนัด คือวันอังคารและวันศุกร์เพราะเป็นวันที่มีคนภายนอก การใส่เสื้อยืดนักเรียนจะช่วยแยกแยะนักเรียนกับบุคคลทั่วไปได้ อาจจะมีการบังคับให้ใส่เครื่องแบบในวันที่มีพิธีการหรือออกนอกสถานที่ตามความเหมาะสมเท่านั้น ขอบคุณรูปจาก Mappa ให้ความสำคัญกับนักเรียนเป็นอันดับหนึ่ง โรงเรียนต้องเป็นสถานที่ที่เจาะจงกับนักเรียนเป็นสำคัญที่สุด การศึกษาต้องทำให้นักเรียนรู้สึกมีความสุข อยากที่จะเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ การมาเรียนต้องไม่ทำให้เด็กเกิดความทุกข์ สิ่งนี้จะช่วยทำให้เด็กสามารถเปิดรับความรู้ใหม่และดีต่อการพัฒนาทักษะมากยิ่งขึ้น สาธิตธรรมศาสตร์มีจุดประสงค์ที่จะทำให้โรงเรียนเป็นสถานที่ปลอดภัยสำหรับเด็ก ทั้งในแง่ของทางร่างกายและจิตใจ เน้นใช้เวลายามเช้าเพื่อตัวนักเรียนมากกว่าการบังคับ การถกเถียงเรื่องความจำเป็นเกี่ยวกับการเข้แถวเคารพธงชาติเป็นเรื่องที่สังคมถกเพียงกันมาอย่างนาน คนบางกลุ่มให้เหตุว่ากิจกรรมนี้ไม่จำเป็น อีกทั้งยังทำให้เด็กเหนื่อยล้าตั้งแต่เช้า สาธิตธรรมศาสตร์ได้เปลี่ยนช่วงเวลาที่บังคับให้นักเรียนเคารพธงชาติ อบรมหน้าเสาธง สวดมนต์ตอนเช้ามาเป็นชั่วโมงโฮมรูม 30 นาทีที่ให้นักเรียนพบปะกับครูประจำชั้น โดยไม่ได้บังคับว่านักเรียนทุกคนจะต้องคุยกับครูประจำชั้น หากใครยังอยากที่จะสวดมนต์ก็ยังสามารถทำได้ในห้องเรียน ซึ่งวิธีการนี้จะช่วยให้ครูอาจารย์เข้าถึงนักเรียนได้ดียิ่งขึ้น และเกิดการแลกเปลี่ยนข่าวสารในชั้นเรียน ปลูกฝังวินัยแบบไร้ฝ่ายปกครอง นักเรียนจะไม่ถูกเรียกเข้าฝ่ายปกครองเมื่อมีการกระทำผิดอย่างที่เคยเป็นมาในระบบการศึกษาไทย สาธิตธรรมศาสตร์มีแต่ฝ่ายสนับสนุนนักเรียนและกิจกรรม จะไม่มีการสร้างความบาดหมางให้แก่เด็กจากการจดชื่อส่งครูหรืออะไรก็ตาม แล้วถ้าถามว่าแบบนี้จะช่วยให้ดีขึ้นได้อย่างไร? ทางโรงเรียนจะใช้วิธีการแบบเด็ดขาด อย่างเช่น การทิ้งขยะไม่เป็นที่ แม่บ้านจะไม่เก็บโดยทันทีแต่จะปล่อยขยะสะสมไว้ จนวันนึงนักเรียนจะสำนึกได้เองว่าตัวเองไม่สามารถอยู่ในสภาพแวดล้อมได้ และจะเริ่มแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น พร้อมทั้งรู้วิธีการปฎิบัติตนในครั้งต่อ ๆ ไป เชื่อมสัมพันธภาพให้แก่เด็กและผู้ปกครอง สาธิตธรรมศาสตร์ยังมองลึกไปถึงความพันธ์ในครอบครัวที่เป็นอีกหนึ่งปัจจัยสำคัญในการพัฒนานักเรียน เริ่มตั้งแต่จะมีการเปิดรับสมัครนักเรียนตั้งแต่ช่วงเดือนมิถุนายน เพื่อให้มีช่วงเวลาที่เป็นโครงการเรียนว่า “ครอบครัวสาธิต” ให้เด็ก ๆ มาเข้าร่วม 2 เดือน โดยฝั่งพ่อแม่เองก็จะมีการเข้าหลักสูตร “ห้องเรียนพ่อแม่” ซึ่งจะเน้นการแก้ปัญหาที่มักเกิดขึ้นในครอบครัว เช่น ทำไมลูกถึงตีตัวออกห่าง ลูกให้ความสำคัญกับเพื่อนมากกว่า อยากคุยกับลูกเรื่องเพศสัมพันธ์ได้ ทางโรงเรียนจะช่วยให้ผู้ปกครองมีความเข้าใจในตัวเด็กมากขึ้น เข้าใจในฮอร์โมนร่างกายซึ่งส่งผลทำให้ลักษณะนิสัย การใช้ชีวิตของเด็กเปลี่ยนไปจากเดิม ทำให้ผู้ปกครองเข้าใจว่าการจะช่วยให้เด็กพัฒนาได้ดีต้องมีความไว้ใจ เป็นห่วงได้แต่ต้องอยู่ในขอบเขตที่เหมาะสม วิธีการนี้ได้รับผลตอบรับเป็นอย่างดีทำให้เกิดการพัฒนา “ศูนย์ Empathy Center” เป็นคลินิกให้พ่อแม่ ครู นักเรียน ได้ปรึกษา ทางสาธิตหวังว่าการเชื่อมความสัมพันธืในรูปแบบนี้จะช่วยพัฒนาสังคม ช่วยทำให้แต่ละคนมีมุมมองที่ใจซึ่งกันและกันมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ยังมี “ชุมชนการเรียนรู้ TSS Family” ที่เป็นห้องเรียนเพื่อสนับสนุนผู้ปกครองโดยเฉพาะ ผู้ปกครองที่ว่างหลังจากการส่งลูกเข้าเรียนอาจจะมาเรียนทำขนม เรียนธรุกิจเพราะทางโรงเรียนเชื่อว่าสภาพแวดล้อมครอบครัวที่ดีจะช่วยให้เด็กเติบโตอย่างมีคุณภาพ ขอบคุณรูปจาก Mappa หลังจากผ่านการปรับเปลี่ยนระบบการศึกษา ทางสาธิตธรรมศาสตร์ก็พบเจอปัญหาบางอย่าง เช่น ความกังวลของผู้ปกครองในเรื่องของอนาคตเด็ก ซึ่งทางโรงเรียนเชื่อว่าเด็กจะมีอนาคตที่สดใสในแบบที่เป็นผู้เลือกไม่ใช่ผู้ถูกเลือก ระบบการศึกษานี้ถูกปรับให้เข้ากับยุคสมัย แม้ไม่มีการรับประกันว่าวิธีการแบบนี้จะได้ผล 100% แต่วิธีการเดิม ๆ มันพาให้ระบบการศึกษาไทยล้มเหลว การรับอะไรใหม่ ๆ ก็คงเป็นตัวเลือกที่ดี ทางสาธิตธรรมศาสตร์เผยว่าหลังจากการทดลองใช้รูปแบบการสอนใหม่ ๆ นี้ ผลตอบรับออกมาไปในแนวโน้มที่ดี นักเรียนมีความกระตือรือร้นในการมาเรียนแต่เช้า นักเรียนค้นพบความถนัด ค้นพบทักษะที่ตัวเองทำได้ดีมากขึ้น ซึ่งสิ่งสำคัญที่ทำให้วิธีการนี้ประสบความสำเร็จคือการทำอย่างต่อเนื่องและทุ่มเทในการปรับปรุง พัฒนาอยู่เสมอ แน่นอนว่าเมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้น ก็ย่อมมีทั้งเสียงสนับสนุนและคัดค้าน ทำให้ตกเป็นประเด็นถกเถียงกันอย่างต่อเนื่องในช่องทางออนไลน์ ซึ่ง Eduzones ก็เป็นอีกหนึ่งเสียงที่สนับสนุนให้เกิดการเปลี่ยนแปลงซึ่งจะนำไปสู่การพัฒนาระบบการศึกษาไทยในรูปแบบที่ดีขึ้นเสมอมา ในฐานะชุมชนการศึกษา Eduzones ได้ร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการสนับสนุนเพื่อให้เกิดการพัฒนาระบบการศึกษาไทย โดยมีการจัดทำโครงการ “Good Classroom” ซึ่งเป็นโครงการที่เผยแพร่ห้องเรียน การเรียนการสอนในรูปแบบใหม่ ๆ โดยมีวัตถุประสงค์ในการกระตุ้นผู้สอนให้ปรับเปลี่ยนการสอนในรูปแบบที่ดียิ่งขึ้น อีกทั้งยังหวังว่าจะเป็นส่วนหนึ่งในการขับเคลื่อนระบบการศึกษาให้ดียิ่งขึ้น ซึ่งปัจจุบันมีครูผู้สอนร่วมเข้ามาเป็นผู้เผยแพร่รูปแบบการศึกษาที่เรียกได้ว่าเป็นห้องเรียนในอนาคตกว่า 50 โรงเรียน ร่วมกันเปลี่ยนแปลงการสอน เพื่อการศึกษาไทยที่ดีขึ้น เพื่อความสุขของผู้เรียนและผู้สอน ร่วมกันสร้างห้องเรียนแห่งความสุขได้ที่ FB page : https://www.facebook.com/goodclassroom โรงเรียนสาธิตธรรมศาสตร์ : คลิก EZ Webmaster Related Posts โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนแม่เมาะวิทยา โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนาน้อย อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสตรีศรีน่าน Post navigation PREVIOUS Previous post: มบส.เดินหน้าศึกษาหลักสูตร SandboxNEXT Next post: 4,091 สาขาวิชาที่ไม่ใช้คะแนน GAT/PAT และวิชาสามัญ รอบ 3 (Admission)! Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
คณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล มจพ. ชูธงร่วมเครือข่ายจัดใหญ่การประชุมวิชาการ นวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (FIAC) 2025 EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร สมฤกษ์ จันทรอัมพร รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นเจ้าภาพร่วมในการจัดประชุมวิชาการด้านนวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (Food Innovation Asia Conference 2025) พร้อมด้วย รศ.ดร.รัชนี เจริญ คณบดีคณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล และคณะผู้บริหาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ… สมศ. พลิกโฉมการประเมินคุณภาพภายนอกด้วย AI ภายใต้ “ONESQA 5.0” เสริมความโปร่งใส แม่นยำ และพัฒนาอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 17, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยวิสัยทัศน์ และแนวทางการขับเคลื่อนองค์กรด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence – AI) ภายใต้ วิสัยทัศน์ ONESQA 5.0 โดยมุ่งเน้นการนำ AI เข้ามาใช้เพื่อเสริมประสิทธิภาพ ความโปร่งใส และความแม่นยำ ในกระบวนการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา พร้อมยกระดับสู่ความเป็นดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบบ ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ…
สมศ. พลิกโฉมการประเมินคุณภาพภายนอกด้วย AI ภายใต้ “ONESQA 5.0” เสริมความโปร่งใส แม่นยำ และพัฒนาอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 17, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยวิสัยทัศน์ และแนวทางการขับเคลื่อนองค์กรด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence – AI) ภายใต้ วิสัยทัศน์ ONESQA 5.0 โดยมุ่งเน้นการนำ AI เข้ามาใช้เพื่อเสริมประสิทธิภาพ ความโปร่งใส และความแม่นยำ ในกระบวนการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา พร้อมยกระดับสู่ความเป็นดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบบ ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ…
กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster February 11, 2022 EZ Webmaster February 11, 2022 สาธิตธรรมศาสตร์ — โรงเรียนในฝันกับรูปแบบการสอนที่ก้าวไกล สาธิตธรรมศาสตร์ — โรงเรียนในฝันกับรูปแบบการสอนที่ก้าวไกล เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2565 ที่ผ่านมา สาธิตธรรมศาสตร์ได้ออกมาแถลงการณ์ในเรื่องการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอนให้เข้ากับยุคสมัยมายิ่งขึ้น จนกลายเป็นกระแสร้อน ประเด็นดังในโลกออนไลน์ วันนี้ Eduzones พาทุกคนไปรู้จักสาธิตแห่งนี้ และมารวบรวมข้อมูลให้เห็นกันไปเลยชัด ๆ ว่าคำว่าปรับเปลี่ยนหลักสูตร คือปรับเปลี่ยนแบบไหน แตกต่างจากเดิมอย่างไร เพิ่มเติมอะไรบ้าง โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Thammasat Secondary School : TSS) จัดตั้งขึ้นโดยอาศัยอำนาจตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภายใต้การกำกับของคณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ (Faculty of Learning Sciences and Education : LSEd) เพื่อให้มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาเด็กมัธยม เพิ่มศักยภาพเด็กให้พร้อมต่อการค้นหาความถนัดด้วยการสนับสนุนจากบุคลากรและผู้ปกครองให้เด็กกลายเป็นบุคคลที่มีคุณภาพในสังคม ในฐานะสถานศึกษา สาธิตธรรมศาสตร์จุดประกายความคิดเกี่ยวกับรูปแบบการสอนใหม่ ๆ มาจากความเข้าใจที่ว่ายุคสมัยใหม่เปลี่ยนไป จึงเล็งเห็นปัญหาที่ว่าทำไมระบบการสอนแบบเก่าถึงทำให้เด็กไม่อยากมาโรงเรียน ทำไมความสัมพันธ์ระหว่างครูกับนักเรียนถึงไปในแง่ลบ การเรียนการสอนในโรงเรียนเน้นท่องจำมากกว่าทำความเข้าใจ ทำให้เด็กจำนวนมากขาดความสุขในการเรียนรู้ สถานศึกษาไม่ช่วยให้เด็กค้นพบความถนัดของตนเอง ปัญหาสะสมเหล่านี้ในระบบการศึกษาไทยก่อให้เด็กเกิดความทุกข์เมื่อต้องมาเรียน และนำไปสู้ปัญหาอื่น ๆ ในสังคม เช่น การบูลลี่ (Bully) การจัดการศึกษาของโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ในรูปแบบใหม่มีจุดประสงค์ที่จะทำให้เด็กเกิดความสุข ซึ่งจะทำให้เด็กพร้อมในการสร้างสรรถนะ พัฒนาความสามารถ ต่อยอดทักษะที่สามารถนำไปใช้ได้จริง สามารถทำงานเป็นทีมได้ มีความสุจริต โรงเรียนแห่งนี้จึงเริ่มสร้างรูปแบบการสอนที่ต้องเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างกันและนำปัญหาความไม่ยืดหยุ่นของระบบการศึกษาไทยมาพัฒนา โดยให้ความสำคัญว่านักเรียนทุกคนมีความแตกต่างกัน ซึ่งจะเน้นเป็น 2 หลักการใหญ่ ๆ คือ – Personalized Learning คือหลักการที่เข้าใจว่านักเรียนแต่ละคนมีเรื่องที่สนใจต่างกัน เน้นสนับสนุนผู้เรียนตามความถนัด ความชอบ – Competency-Based Education ระบบการศึกษาที่สนับสนุน Personalized Learning ในข้อแรก คือให้นักเรียนเป็นผู้ปรับเปลี่ยน ยืดหยุ่นวิชาตามความสนใจของตนเอง รศ.ดร.อนุชาติ พวงสำลี ได้ยกตัวอย่างระบบการศึกษาของสาธิตธรรมศาสตร์ที่ฉีกกฏวัฒนธรรมการเรียนการสอนแบบเดิม ๆ สรุปการปรับเปลี่ยนได้ดังนี้ รศ.ดร.อนุชาติ พวงสำลี เริ่มตั้งแต่ระบบการคัดครู ที่สาธิตธรรมศาสตร์จะไม่มีการสอบในรูปแบบกระดาษ หรือtake home แต่จะให้ความสำคัญกับการดูพฤติกรรม ทัศนคติ โดยจะมีวิธีการคัดเลือกที่แตกต่างไปจากเดิม เช่น มีกิจกรรม workshop เพื่อดูวิธีการปรับตัวและกรบวนการทำงานรวมกันแบบเป็นกุล่ม หลังจากนั้นจึงค่อยสัมภาษณ์เพื่อให้ได้บุคลากรครูที่มีคุณภาพเหมาะสำหรับระบบการเรียนในรูปแบบใหม่นี้มากที่สุด ปรับสถานะ เปลี่ยนบทบาทครู ในระบบการศึกษาไทยแบบเดิม ครูอาจารย์ถือว่าเป็นผุ้อาวุโสอย่างมาก ซึ่งทำให้เกิดช่องโหว่วในความสมันพันธ์ระหว่างครูและนักเรียน เด็ก ๆ มองว่าครูเป็นคนไกลตัว สาธิตธรรมศาสตร์จึงมีการตกลงรวมกันที่จะเสริมสร้างความสนิทสนมให้แก่นักเรียน ไม่จำเป็นต้องมีพิธีรีตอง มีการยกมือไหว้ เจอหน้าก็แค่ทักทายกันปกติ ทำให้ตัวนักเรียนมีความกล้าที่จะพูดคุยหยอกล้อกับครูมากขึ้น ประเด็นนี้อาจจะขัดหูขัดตาคนบางกลุ่มแต่มั่นใจได้ว่าไม่มีอะไรเกินเลย ความสัมพันธ์ระหว่างครูกับนักเรียนจะพัฒนาไปในแนวโน้มที่ดียิ่งขึ้น นอกจากนี้ครูจะไม่เป็นแค่ผู้สอนอีกต่อไป สาธิตธรรมศาสตร์ได้ว่าบทบาทครูให้เป็นผู้สนับสนุนการเรียนรู้ 3 ประการ – ที่ปรึกษา (Advisor) มีหน้าที่วางแผนการเรียนรู้ ดูแลให้นักเรียนถึงตามเป้าหมายที่แต่ละคนวางไว้ อีกทั้งยังเป็นผู้สื่อสารผู้ปกครองให้มีความเข้าใจในเป้าหมายของเด็ก – ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง (Mentor) เป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ สร้างแรงบันดาลใจตามสมรรถภาพของนักเรียนแต่ละคน – กระบวนกร (Course Facilitator / instructor) เป็นผู้ออกแบบหน่วยการเรียนรู้ เพื่อให้เหมาะสมกัลศักยภาพพื้นฐานของนักเรียนทุกคน คัดเด็กให้ตรงกับความต้องการ เช่นเดียวกับระบบคัดเลือกครู เด็ก ๆ จะไม่ต้องผ่านการคัดเลือดแบบทำข้อสอบในกระดาษ แต่ให้เด็กทำ Portfolio เพื่ออธิบายเกี่ยวกับตนเอง อยากทำอะไร มีความฝันอะไร จะทำยังไงให้ความฝันนั้นเป็นจริง วิธีการที่เขียนนี้เพราะอยากให้เด็กรู้สึกว่าความฝันมันคือสิ่งที่เราสามารถทำได้จริง หลังจากนั้นก็มีคำถามให้เด็ก 3 ข้อเกี่ยวกับชีวิตตัวเอง และมีคำถามให้พ่อแม่ 4 ข้อ ก่อนจะเด็กเข้ากระบวนการว่าสิ่งที่เขาคิดตรงกับที่เขียนลงไปไหม สำหรับสาธิตธรรมศาสตร์นี้จะไม่มีระบบรับบริจาคเพื่อให้เด็กได้เรียนเด็ดขาด ไม่มีค่าแรกเข้า หรือเก็บความใช้จ่ายเพิ่มเติมใด ๆ ลบระบบการสอนที่มีแต่หลักสูตรบังคับ สาธิตธรรมศาสตร์เน้นการสนับสนุนความฝันของเด็กมากกว่จำกัดรายวิชาตาม สพฐ. เท่านั้น ซึ่งจะให้ความสำคัญกับการพัฒนาความรู้ที่มาจากประสบการณ์ตรง ให้นักเรียนได้ปฏิบัติจริงมากกว่าการเรียนที่เน้นแค่ทฤษฎีแต่นักเรียนไม่รู้วิธีนำไปใช้ นักเรียนของสาธิตธรรมศาสตร์ทุกคนจะมีพื้นที่ในการเรียนรู้กิจกรรมที่ตัวเองสนใจที่สามารถเลือกได้ด้วยตนเอง อาทิตย์ละ 4 คาบ ทุกวันจันทร์ – พฤหัสบดี เวลา 14.00 น. – 15.30 น. ซึ่งจะแบ่งกิจกรรมเป็น 2 ส่วน – กิจกรรมชมรมนวัตกรรมเพื่อสังคม (Social Innovation Club) คือกิจกรรมที่เน้นให้นักเรียนมีทักษะความคิดสร้างสรรค์ การออกแบบ การแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ กิจกรรมนี้จะเรียน 1 คาบในวันจันทร์ – กิจกรรมตามความสนใจเฉพาะ (Club) เป็นกิจกรรมที่ให้นักเรียนเรียนรู้ตามความสนใจของตนเอง อาทิตย์ละ 3 คาบ แบ่งเป็น 3 คลับ ได้แก่ Club Art ชมรมด้านศิลปะที่ช่วยให้นักเรียนพัฒนาทักษะ ศักยภาพ และการแสดงออกอย่างสร้างสรรค์ เข้าร่วมได้ทุกวันอังคาร Club PA ชมรมส่งเสริมด้านสุขภาพ การเคลื่อนไหวของร่างกาย ให้นักเรียนได้มีกิจกรรมทางกายภาพต่าง ๆ เช่น การเล่นกีฬา นันทนาการ เข้าร่วมทุกวันพุธ Club ชมรมนอกเหนือที่สามารถตั้งขึ้นได้ตามความสนใจของนักเรียน เข้าร่วมทุกวันพฤหัสบดี เปลี่ยนวิชาที่จำเจให้มีประโยชน์ยิ่งขึ้น วิชาลูกเสือเนตรนารีที่เด็กสมัยใหม่มองว่าไร้ประโยชน์ อีกทั้งต้องเปลี่ยนค่าใช้จ่ายเครื่องแบบโดยใช้เหตุ ทางสาธิตธรรมศาสตร์ได้ปรับการเรียนการสอนในวิชานี้ จากการถักเชือก ทำเงื่อน กลายเป็นวิชาการเอาตัวรอด นักเรียนจะได้เรียนรู้วิธีการเอาตัวรอดจากสถานการณ์ต่าง ๆ เมื่อเกิดไฟไหม้ต้องหนีอย่างไร วิธีการดับไฟ วิธีการปฐมพยาบาล วิชาการว่ายน้ำที่ไม่ได้สอนเพื่อให้เด็กเป็นไปนักกีฬาแต่สอนเพื่อให้นักเรียนเอาตัวรอดได้เมื่อตกน้ำ วิชานี้จะถูกบรรจุอยู่ใน ม.1 เทอม 1 จะสอนให้พอว่ายเป็นพอผ่านไปอีกเทอมก็จะมีการต่อยอดให้นักเรียนเอาตัวรอดได้ ช่วยเหลือผู้อื่นได้ เรียกได้ว่าเป็นการพัฒนาทักษะกันไปในแต่ละเทอม วิชาเพศศึกษาที่เป็นวิชาจำเป็นแต่ถูกมองข้ามในการศึกษาไทย สังคมไทยมีการตีกรอบเรื่องของเพศศึกษาว่าเป็นเรื่องของศีลธรรมอันดีงาม สาธิตธรรมศาสตร์ต้องการที่จะทำให้การเรียนรู้เรื่องเหล่านี้เป็นเรื่องปกติ จึงปรับวิชาให้การเป็นวิชาวัยรุ่นศาสตร์ ในขั้นต้นจะสอนเกี่ยวกับ Anatomy ร่างกาย ฮอร์โมน ตลอดจนการดูแล ทำความสะอาดร่างกายตนเอง การเลือกเสื้อผ้า การเลือกชั้นใน วิชานี้จะช่วยให้นักเรียนรู้จักตัวเองมากขึ้น เด็ก ๆ จะสามารถอยู่กับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นบนร่างกายของตัวเองได้ ต่อมาก็เป็นการสอนเกี่ยวกับความสัมพันธ์ให้นักเรียนได้รู้จักการเข้าสังคมอย่างถูกต้อง ในส่วนของวิชานี้ครูอาจารย์จะเป็นผู้ออกแบบการเรียนการสอนเองได้ แต่รับประกันได้ว่าความรู้เหล่านี้สามารถนำไปใช้ได้จริง ตัวอย่างวิชานอกเหนือที่ไม่คุ้นหู เช่น วิชารู้ทันการเงิน วิชาเสพศิลป์และกลิ่นเสียง วิชาวิถีศรัทธา ซึ่งครอบคลุมทุกศาสนา วิชารู้เท่าทันสื่อ วิชาผู้ประกอบการ ทุกวิชาที่คัดศรรมาทางสาธิตธรรมศาสตร์เชื่อว่าล้วนแล้วแต่เป็นวิชาที่เด็ก ๆ ได้นำไปใช้แน่นอนในอนาคต ขอบคุณรูปจาก Mappa พัฒนาเด็กโดยไม่บังคับให้แข่งขัน สาธิตธรรมศาสตร์จะไม่มีการให้เกรด ไม่มีการจัดสินคะแนนที่ทำให้เด็กเกิดการเปรียบเทียบกับผู้อื่น ไม่มีการติดประกาศว่าเด็กคนนี้ได้รางวัลอะไรอีกต่อไป ทางโรงเรียนจะไม่มีการสนับสนุนให้ผู้ปกครองพาลูกไปเรียนพิเศษเพิ่มเติมเพราะคิดว่าหลักสูตรของทางโรงเรียนเพียงพอแล้วแต่ก็ไม่ได้มีการห้ามให้ไปหาทักษะที่ไม่มีสอนในโรงเรียนจริง ๆ หลังจากลองใช้วิธีนี้มาในระยะหนึ่งพบว่าเด็กค้นพบตัวเองในทักษะที่หลากหลายมากขึ้น ทุกคนมีความเข้าใจว่าแต่ละคนมีความถนัดที่แตกต่างกัน ซึ่งช่วยให้การทำงานเป็นทีม ส่งเสริมกันในเรื่องที่ถนัดมากขึ้น นักเรียนจะไม่มองกันเองว่าใครเก่งไม่เก่ง แต่มองกันแค่ว่าคนไหนถนัดเรื่องใด กำจัดวัฒนธรรมการตีกรอบในโรงเรียนแบบเดิม ๆ นักเรียนมีอิสระในการแต่งตัวเพราะที่สาธิตธรรมศาสตร์จะไม่บังคับให้เด็ก ๆ ต้องใส่ชุดนักเรียน เพียงแต่จะให้ใส่เสื้อยืดที่เป็นตราโรงเรียนในวันที่มีตลาดนัด คือวันอังคารและวันศุกร์เพราะเป็นวันที่มีคนภายนอก การใส่เสื้อยืดนักเรียนจะช่วยแยกแยะนักเรียนกับบุคคลทั่วไปได้ อาจจะมีการบังคับให้ใส่เครื่องแบบในวันที่มีพิธีการหรือออกนอกสถานที่ตามความเหมาะสมเท่านั้น ขอบคุณรูปจาก Mappa ให้ความสำคัญกับนักเรียนเป็นอันดับหนึ่ง โรงเรียนต้องเป็นสถานที่ที่เจาะจงกับนักเรียนเป็นสำคัญที่สุด การศึกษาต้องทำให้นักเรียนรู้สึกมีความสุข อยากที่จะเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ การมาเรียนต้องไม่ทำให้เด็กเกิดความทุกข์ สิ่งนี้จะช่วยทำให้เด็กสามารถเปิดรับความรู้ใหม่และดีต่อการพัฒนาทักษะมากยิ่งขึ้น สาธิตธรรมศาสตร์มีจุดประสงค์ที่จะทำให้โรงเรียนเป็นสถานที่ปลอดภัยสำหรับเด็ก ทั้งในแง่ของทางร่างกายและจิตใจ เน้นใช้เวลายามเช้าเพื่อตัวนักเรียนมากกว่าการบังคับ การถกเถียงเรื่องความจำเป็นเกี่ยวกับการเข้แถวเคารพธงชาติเป็นเรื่องที่สังคมถกเพียงกันมาอย่างนาน คนบางกลุ่มให้เหตุว่ากิจกรรมนี้ไม่จำเป็น อีกทั้งยังทำให้เด็กเหนื่อยล้าตั้งแต่เช้า สาธิตธรรมศาสตร์ได้เปลี่ยนช่วงเวลาที่บังคับให้นักเรียนเคารพธงชาติ อบรมหน้าเสาธง สวดมนต์ตอนเช้ามาเป็นชั่วโมงโฮมรูม 30 นาทีที่ให้นักเรียนพบปะกับครูประจำชั้น โดยไม่ได้บังคับว่านักเรียนทุกคนจะต้องคุยกับครูประจำชั้น หากใครยังอยากที่จะสวดมนต์ก็ยังสามารถทำได้ในห้องเรียน ซึ่งวิธีการนี้จะช่วยให้ครูอาจารย์เข้าถึงนักเรียนได้ดียิ่งขึ้น และเกิดการแลกเปลี่ยนข่าวสารในชั้นเรียน ปลูกฝังวินัยแบบไร้ฝ่ายปกครอง นักเรียนจะไม่ถูกเรียกเข้าฝ่ายปกครองเมื่อมีการกระทำผิดอย่างที่เคยเป็นมาในระบบการศึกษาไทย สาธิตธรรมศาสตร์มีแต่ฝ่ายสนับสนุนนักเรียนและกิจกรรม จะไม่มีการสร้างความบาดหมางให้แก่เด็กจากการจดชื่อส่งครูหรืออะไรก็ตาม แล้วถ้าถามว่าแบบนี้จะช่วยให้ดีขึ้นได้อย่างไร? ทางโรงเรียนจะใช้วิธีการแบบเด็ดขาด อย่างเช่น การทิ้งขยะไม่เป็นที่ แม่บ้านจะไม่เก็บโดยทันทีแต่จะปล่อยขยะสะสมไว้ จนวันนึงนักเรียนจะสำนึกได้เองว่าตัวเองไม่สามารถอยู่ในสภาพแวดล้อมได้ และจะเริ่มแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น พร้อมทั้งรู้วิธีการปฎิบัติตนในครั้งต่อ ๆ ไป เชื่อมสัมพันธภาพให้แก่เด็กและผู้ปกครอง สาธิตธรรมศาสตร์ยังมองลึกไปถึงความพันธ์ในครอบครัวที่เป็นอีกหนึ่งปัจจัยสำคัญในการพัฒนานักเรียน เริ่มตั้งแต่จะมีการเปิดรับสมัครนักเรียนตั้งแต่ช่วงเดือนมิถุนายน เพื่อให้มีช่วงเวลาที่เป็นโครงการเรียนว่า “ครอบครัวสาธิต” ให้เด็ก ๆ มาเข้าร่วม 2 เดือน โดยฝั่งพ่อแม่เองก็จะมีการเข้าหลักสูตร “ห้องเรียนพ่อแม่” ซึ่งจะเน้นการแก้ปัญหาที่มักเกิดขึ้นในครอบครัว เช่น ทำไมลูกถึงตีตัวออกห่าง ลูกให้ความสำคัญกับเพื่อนมากกว่า อยากคุยกับลูกเรื่องเพศสัมพันธ์ได้ ทางโรงเรียนจะช่วยให้ผู้ปกครองมีความเข้าใจในตัวเด็กมากขึ้น เข้าใจในฮอร์โมนร่างกายซึ่งส่งผลทำให้ลักษณะนิสัย การใช้ชีวิตของเด็กเปลี่ยนไปจากเดิม ทำให้ผู้ปกครองเข้าใจว่าการจะช่วยให้เด็กพัฒนาได้ดีต้องมีความไว้ใจ เป็นห่วงได้แต่ต้องอยู่ในขอบเขตที่เหมาะสม วิธีการนี้ได้รับผลตอบรับเป็นอย่างดีทำให้เกิดการพัฒนา “ศูนย์ Empathy Center” เป็นคลินิกให้พ่อแม่ ครู นักเรียน ได้ปรึกษา ทางสาธิตหวังว่าการเชื่อมความสัมพันธืในรูปแบบนี้จะช่วยพัฒนาสังคม ช่วยทำให้แต่ละคนมีมุมมองที่ใจซึ่งกันและกันมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ยังมี “ชุมชนการเรียนรู้ TSS Family” ที่เป็นห้องเรียนเพื่อสนับสนุนผู้ปกครองโดยเฉพาะ ผู้ปกครองที่ว่างหลังจากการส่งลูกเข้าเรียนอาจจะมาเรียนทำขนม เรียนธรุกิจเพราะทางโรงเรียนเชื่อว่าสภาพแวดล้อมครอบครัวที่ดีจะช่วยให้เด็กเติบโตอย่างมีคุณภาพ ขอบคุณรูปจาก Mappa หลังจากผ่านการปรับเปลี่ยนระบบการศึกษา ทางสาธิตธรรมศาสตร์ก็พบเจอปัญหาบางอย่าง เช่น ความกังวลของผู้ปกครองในเรื่องของอนาคตเด็ก ซึ่งทางโรงเรียนเชื่อว่าเด็กจะมีอนาคตที่สดใสในแบบที่เป็นผู้เลือกไม่ใช่ผู้ถูกเลือก ระบบการศึกษานี้ถูกปรับให้เข้ากับยุคสมัย แม้ไม่มีการรับประกันว่าวิธีการแบบนี้จะได้ผล 100% แต่วิธีการเดิม ๆ มันพาให้ระบบการศึกษาไทยล้มเหลว การรับอะไรใหม่ ๆ ก็คงเป็นตัวเลือกที่ดี ทางสาธิตธรรมศาสตร์เผยว่าหลังจากการทดลองใช้รูปแบบการสอนใหม่ ๆ นี้ ผลตอบรับออกมาไปในแนวโน้มที่ดี นักเรียนมีความกระตือรือร้นในการมาเรียนแต่เช้า นักเรียนค้นพบความถนัด ค้นพบทักษะที่ตัวเองทำได้ดีมากขึ้น ซึ่งสิ่งสำคัญที่ทำให้วิธีการนี้ประสบความสำเร็จคือการทำอย่างต่อเนื่องและทุ่มเทในการปรับปรุง พัฒนาอยู่เสมอ แน่นอนว่าเมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้น ก็ย่อมมีทั้งเสียงสนับสนุนและคัดค้าน ทำให้ตกเป็นประเด็นถกเถียงกันอย่างต่อเนื่องในช่องทางออนไลน์ ซึ่ง Eduzones ก็เป็นอีกหนึ่งเสียงที่สนับสนุนให้เกิดการเปลี่ยนแปลงซึ่งจะนำไปสู่การพัฒนาระบบการศึกษาไทยในรูปแบบที่ดีขึ้นเสมอมา ในฐานะชุมชนการศึกษา Eduzones ได้ร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการสนับสนุนเพื่อให้เกิดการพัฒนาระบบการศึกษาไทย โดยมีการจัดทำโครงการ “Good Classroom” ซึ่งเป็นโครงการที่เผยแพร่ห้องเรียน การเรียนการสอนในรูปแบบใหม่ ๆ โดยมีวัตถุประสงค์ในการกระตุ้นผู้สอนให้ปรับเปลี่ยนการสอนในรูปแบบที่ดียิ่งขึ้น อีกทั้งยังหวังว่าจะเป็นส่วนหนึ่งในการขับเคลื่อนระบบการศึกษาให้ดียิ่งขึ้น ซึ่งปัจจุบันมีครูผู้สอนร่วมเข้ามาเป็นผู้เผยแพร่รูปแบบการศึกษาที่เรียกได้ว่าเป็นห้องเรียนในอนาคตกว่า 50 โรงเรียน ร่วมกันเปลี่ยนแปลงการสอน เพื่อการศึกษาไทยที่ดีขึ้น เพื่อความสุขของผู้เรียนและผู้สอน ร่วมกันสร้างห้องเรียนแห่งความสุขได้ที่ FB page : https://www.facebook.com/goodclassroom โรงเรียนสาธิตธรรมศาสตร์ : คลิก EZ Webmaster Related Posts โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนแม่เมาะวิทยา โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนาน้อย อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสตรีศรีน่าน Post navigation PREVIOUS Previous post: มบส.เดินหน้าศึกษาหลักสูตร SandboxNEXT Next post: 4,091 สาขาวิชาที่ไม่ใช้คะแนน GAT/PAT และวิชาสามัญ รอบ 3 (Admission)! Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
“40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search
ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ…
ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ…
EZ Webmaster February 11, 2022 EZ Webmaster February 11, 2022 สาธิตธรรมศาสตร์ — โรงเรียนในฝันกับรูปแบบการสอนที่ก้าวไกล สาธิตธรรมศาสตร์ — โรงเรียนในฝันกับรูปแบบการสอนที่ก้าวไกล เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2565 ที่ผ่านมา สาธิตธรรมศาสตร์ได้ออกมาแถลงการณ์ในเรื่องการปรับเปลี่ยนรูปแบบการสอนให้เข้ากับยุคสมัยมายิ่งขึ้น จนกลายเป็นกระแสร้อน ประเด็นดังในโลกออนไลน์ วันนี้ Eduzones พาทุกคนไปรู้จักสาธิตแห่งนี้ และมารวบรวมข้อมูลให้เห็นกันไปเลยชัด ๆ ว่าคำว่าปรับเปลี่ยนหลักสูตร คือปรับเปลี่ยนแบบไหน แตกต่างจากเดิมอย่างไร เพิ่มเติมอะไรบ้าง โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Thammasat Secondary School : TSS) จัดตั้งขึ้นโดยอาศัยอำนาจตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ภายใต้การกำกับของคณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ (Faculty of Learning Sciences and Education : LSEd) เพื่อให้มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาเด็กมัธยม เพิ่มศักยภาพเด็กให้พร้อมต่อการค้นหาความถนัดด้วยการสนับสนุนจากบุคลากรและผู้ปกครองให้เด็กกลายเป็นบุคคลที่มีคุณภาพในสังคม ในฐานะสถานศึกษา สาธิตธรรมศาสตร์จุดประกายความคิดเกี่ยวกับรูปแบบการสอนใหม่ ๆ มาจากความเข้าใจที่ว่ายุคสมัยใหม่เปลี่ยนไป จึงเล็งเห็นปัญหาที่ว่าทำไมระบบการสอนแบบเก่าถึงทำให้เด็กไม่อยากมาโรงเรียน ทำไมความสัมพันธ์ระหว่างครูกับนักเรียนถึงไปในแง่ลบ การเรียนการสอนในโรงเรียนเน้นท่องจำมากกว่าทำความเข้าใจ ทำให้เด็กจำนวนมากขาดความสุขในการเรียนรู้ สถานศึกษาไม่ช่วยให้เด็กค้นพบความถนัดของตนเอง ปัญหาสะสมเหล่านี้ในระบบการศึกษาไทยก่อให้เด็กเกิดความทุกข์เมื่อต้องมาเรียน และนำไปสู้ปัญหาอื่น ๆ ในสังคม เช่น การบูลลี่ (Bully) การจัดการศึกษาของโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ในรูปแบบใหม่มีจุดประสงค์ที่จะทำให้เด็กเกิดความสุข ซึ่งจะทำให้เด็กพร้อมในการสร้างสรรถนะ พัฒนาความสามารถ ต่อยอดทักษะที่สามารถนำไปใช้ได้จริง สามารถทำงานเป็นทีมได้ มีความสุจริต โรงเรียนแห่งนี้จึงเริ่มสร้างรูปแบบการสอนที่ต้องเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างกันและนำปัญหาความไม่ยืดหยุ่นของระบบการศึกษาไทยมาพัฒนา โดยให้ความสำคัญว่านักเรียนทุกคนมีความแตกต่างกัน ซึ่งจะเน้นเป็น 2 หลักการใหญ่ ๆ คือ – Personalized Learning คือหลักการที่เข้าใจว่านักเรียนแต่ละคนมีเรื่องที่สนใจต่างกัน เน้นสนับสนุนผู้เรียนตามความถนัด ความชอบ – Competency-Based Education ระบบการศึกษาที่สนับสนุน Personalized Learning ในข้อแรก คือให้นักเรียนเป็นผู้ปรับเปลี่ยน ยืดหยุ่นวิชาตามความสนใจของตนเอง รศ.ดร.อนุชาติ พวงสำลี ได้ยกตัวอย่างระบบการศึกษาของสาธิตธรรมศาสตร์ที่ฉีกกฏวัฒนธรรมการเรียนการสอนแบบเดิม ๆ สรุปการปรับเปลี่ยนได้ดังนี้ รศ.ดร.อนุชาติ พวงสำลี เริ่มตั้งแต่ระบบการคัดครู ที่สาธิตธรรมศาสตร์จะไม่มีการสอบในรูปแบบกระดาษ หรือtake home แต่จะให้ความสำคัญกับการดูพฤติกรรม ทัศนคติ โดยจะมีวิธีการคัดเลือกที่แตกต่างไปจากเดิม เช่น มีกิจกรรม workshop เพื่อดูวิธีการปรับตัวและกรบวนการทำงานรวมกันแบบเป็นกุล่ม หลังจากนั้นจึงค่อยสัมภาษณ์เพื่อให้ได้บุคลากรครูที่มีคุณภาพเหมาะสำหรับระบบการเรียนในรูปแบบใหม่นี้มากที่สุด ปรับสถานะ เปลี่ยนบทบาทครู ในระบบการศึกษาไทยแบบเดิม ครูอาจารย์ถือว่าเป็นผุ้อาวุโสอย่างมาก ซึ่งทำให้เกิดช่องโหว่วในความสมันพันธ์ระหว่างครูและนักเรียน เด็ก ๆ มองว่าครูเป็นคนไกลตัว สาธิตธรรมศาสตร์จึงมีการตกลงรวมกันที่จะเสริมสร้างความสนิทสนมให้แก่นักเรียน ไม่จำเป็นต้องมีพิธีรีตอง มีการยกมือไหว้ เจอหน้าก็แค่ทักทายกันปกติ ทำให้ตัวนักเรียนมีความกล้าที่จะพูดคุยหยอกล้อกับครูมากขึ้น ประเด็นนี้อาจจะขัดหูขัดตาคนบางกลุ่มแต่มั่นใจได้ว่าไม่มีอะไรเกินเลย ความสัมพันธ์ระหว่างครูกับนักเรียนจะพัฒนาไปในแนวโน้มที่ดียิ่งขึ้น นอกจากนี้ครูจะไม่เป็นแค่ผู้สอนอีกต่อไป สาธิตธรรมศาสตร์ได้ว่าบทบาทครูให้เป็นผู้สนับสนุนการเรียนรู้ 3 ประการ – ที่ปรึกษา (Advisor) มีหน้าที่วางแผนการเรียนรู้ ดูแลให้นักเรียนถึงตามเป้าหมายที่แต่ละคนวางไว้ อีกทั้งยังเป็นผู้สื่อสารผู้ปกครองให้มีความเข้าใจในเป้าหมายของเด็ก – ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง (Mentor) เป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ สร้างแรงบันดาลใจตามสมรรถภาพของนักเรียนแต่ละคน – กระบวนกร (Course Facilitator / instructor) เป็นผู้ออกแบบหน่วยการเรียนรู้ เพื่อให้เหมาะสมกัลศักยภาพพื้นฐานของนักเรียนทุกคน คัดเด็กให้ตรงกับความต้องการ เช่นเดียวกับระบบคัดเลือกครู เด็ก ๆ จะไม่ต้องผ่านการคัดเลือดแบบทำข้อสอบในกระดาษ แต่ให้เด็กทำ Portfolio เพื่ออธิบายเกี่ยวกับตนเอง อยากทำอะไร มีความฝันอะไร จะทำยังไงให้ความฝันนั้นเป็นจริง วิธีการที่เขียนนี้เพราะอยากให้เด็กรู้สึกว่าความฝันมันคือสิ่งที่เราสามารถทำได้จริง หลังจากนั้นก็มีคำถามให้เด็ก 3 ข้อเกี่ยวกับชีวิตตัวเอง และมีคำถามให้พ่อแม่ 4 ข้อ ก่อนจะเด็กเข้ากระบวนการว่าสิ่งที่เขาคิดตรงกับที่เขียนลงไปไหม สำหรับสาธิตธรรมศาสตร์นี้จะไม่มีระบบรับบริจาคเพื่อให้เด็กได้เรียนเด็ดขาด ไม่มีค่าแรกเข้า หรือเก็บความใช้จ่ายเพิ่มเติมใด ๆ ลบระบบการสอนที่มีแต่หลักสูตรบังคับ สาธิตธรรมศาสตร์เน้นการสนับสนุนความฝันของเด็กมากกว่จำกัดรายวิชาตาม สพฐ. เท่านั้น ซึ่งจะให้ความสำคัญกับการพัฒนาความรู้ที่มาจากประสบการณ์ตรง ให้นักเรียนได้ปฏิบัติจริงมากกว่าการเรียนที่เน้นแค่ทฤษฎีแต่นักเรียนไม่รู้วิธีนำไปใช้ นักเรียนของสาธิตธรรมศาสตร์ทุกคนจะมีพื้นที่ในการเรียนรู้กิจกรรมที่ตัวเองสนใจที่สามารถเลือกได้ด้วยตนเอง อาทิตย์ละ 4 คาบ ทุกวันจันทร์ – พฤหัสบดี เวลา 14.00 น. – 15.30 น. ซึ่งจะแบ่งกิจกรรมเป็น 2 ส่วน – กิจกรรมชมรมนวัตกรรมเพื่อสังคม (Social Innovation Club) คือกิจกรรมที่เน้นให้นักเรียนมีทักษะความคิดสร้างสรรค์ การออกแบบ การแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ กิจกรรมนี้จะเรียน 1 คาบในวันจันทร์ – กิจกรรมตามความสนใจเฉพาะ (Club) เป็นกิจกรรมที่ให้นักเรียนเรียนรู้ตามความสนใจของตนเอง อาทิตย์ละ 3 คาบ แบ่งเป็น 3 คลับ ได้แก่ Club Art ชมรมด้านศิลปะที่ช่วยให้นักเรียนพัฒนาทักษะ ศักยภาพ และการแสดงออกอย่างสร้างสรรค์ เข้าร่วมได้ทุกวันอังคาร Club PA ชมรมส่งเสริมด้านสุขภาพ การเคลื่อนไหวของร่างกาย ให้นักเรียนได้มีกิจกรรมทางกายภาพต่าง ๆ เช่น การเล่นกีฬา นันทนาการ เข้าร่วมทุกวันพุธ Club ชมรมนอกเหนือที่สามารถตั้งขึ้นได้ตามความสนใจของนักเรียน เข้าร่วมทุกวันพฤหัสบดี เปลี่ยนวิชาที่จำเจให้มีประโยชน์ยิ่งขึ้น วิชาลูกเสือเนตรนารีที่เด็กสมัยใหม่มองว่าไร้ประโยชน์ อีกทั้งต้องเปลี่ยนค่าใช้จ่ายเครื่องแบบโดยใช้เหตุ ทางสาธิตธรรมศาสตร์ได้ปรับการเรียนการสอนในวิชานี้ จากการถักเชือก ทำเงื่อน กลายเป็นวิชาการเอาตัวรอด นักเรียนจะได้เรียนรู้วิธีการเอาตัวรอดจากสถานการณ์ต่าง ๆ เมื่อเกิดไฟไหม้ต้องหนีอย่างไร วิธีการดับไฟ วิธีการปฐมพยาบาล วิชาการว่ายน้ำที่ไม่ได้สอนเพื่อให้เด็กเป็นไปนักกีฬาแต่สอนเพื่อให้นักเรียนเอาตัวรอดได้เมื่อตกน้ำ วิชานี้จะถูกบรรจุอยู่ใน ม.1 เทอม 1 จะสอนให้พอว่ายเป็นพอผ่านไปอีกเทอมก็จะมีการต่อยอดให้นักเรียนเอาตัวรอดได้ ช่วยเหลือผู้อื่นได้ เรียกได้ว่าเป็นการพัฒนาทักษะกันไปในแต่ละเทอม วิชาเพศศึกษาที่เป็นวิชาจำเป็นแต่ถูกมองข้ามในการศึกษาไทย สังคมไทยมีการตีกรอบเรื่องของเพศศึกษาว่าเป็นเรื่องของศีลธรรมอันดีงาม สาธิตธรรมศาสตร์ต้องการที่จะทำให้การเรียนรู้เรื่องเหล่านี้เป็นเรื่องปกติ จึงปรับวิชาให้การเป็นวิชาวัยรุ่นศาสตร์ ในขั้นต้นจะสอนเกี่ยวกับ Anatomy ร่างกาย ฮอร์โมน ตลอดจนการดูแล ทำความสะอาดร่างกายตนเอง การเลือกเสื้อผ้า การเลือกชั้นใน วิชานี้จะช่วยให้นักเรียนรู้จักตัวเองมากขึ้น เด็ก ๆ จะสามารถอยู่กับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นบนร่างกายของตัวเองได้ ต่อมาก็เป็นการสอนเกี่ยวกับความสัมพันธ์ให้นักเรียนได้รู้จักการเข้าสังคมอย่างถูกต้อง ในส่วนของวิชานี้ครูอาจารย์จะเป็นผู้ออกแบบการเรียนการสอนเองได้ แต่รับประกันได้ว่าความรู้เหล่านี้สามารถนำไปใช้ได้จริง ตัวอย่างวิชานอกเหนือที่ไม่คุ้นหู เช่น วิชารู้ทันการเงิน วิชาเสพศิลป์และกลิ่นเสียง วิชาวิถีศรัทธา ซึ่งครอบคลุมทุกศาสนา วิชารู้เท่าทันสื่อ วิชาผู้ประกอบการ ทุกวิชาที่คัดศรรมาทางสาธิตธรรมศาสตร์เชื่อว่าล้วนแล้วแต่เป็นวิชาที่เด็ก ๆ ได้นำไปใช้แน่นอนในอนาคต ขอบคุณรูปจาก Mappa พัฒนาเด็กโดยไม่บังคับให้แข่งขัน สาธิตธรรมศาสตร์จะไม่มีการให้เกรด ไม่มีการจัดสินคะแนนที่ทำให้เด็กเกิดการเปรียบเทียบกับผู้อื่น ไม่มีการติดประกาศว่าเด็กคนนี้ได้รางวัลอะไรอีกต่อไป ทางโรงเรียนจะไม่มีการสนับสนุนให้ผู้ปกครองพาลูกไปเรียนพิเศษเพิ่มเติมเพราะคิดว่าหลักสูตรของทางโรงเรียนเพียงพอแล้วแต่ก็ไม่ได้มีการห้ามให้ไปหาทักษะที่ไม่มีสอนในโรงเรียนจริง ๆ หลังจากลองใช้วิธีนี้มาในระยะหนึ่งพบว่าเด็กค้นพบตัวเองในทักษะที่หลากหลายมากขึ้น ทุกคนมีความเข้าใจว่าแต่ละคนมีความถนัดที่แตกต่างกัน ซึ่งช่วยให้การทำงานเป็นทีม ส่งเสริมกันในเรื่องที่ถนัดมากขึ้น นักเรียนจะไม่มองกันเองว่าใครเก่งไม่เก่ง แต่มองกันแค่ว่าคนไหนถนัดเรื่องใด กำจัดวัฒนธรรมการตีกรอบในโรงเรียนแบบเดิม ๆ นักเรียนมีอิสระในการแต่งตัวเพราะที่สาธิตธรรมศาสตร์จะไม่บังคับให้เด็ก ๆ ต้องใส่ชุดนักเรียน เพียงแต่จะให้ใส่เสื้อยืดที่เป็นตราโรงเรียนในวันที่มีตลาดนัด คือวันอังคารและวันศุกร์เพราะเป็นวันที่มีคนภายนอก การใส่เสื้อยืดนักเรียนจะช่วยแยกแยะนักเรียนกับบุคคลทั่วไปได้ อาจจะมีการบังคับให้ใส่เครื่องแบบในวันที่มีพิธีการหรือออกนอกสถานที่ตามความเหมาะสมเท่านั้น ขอบคุณรูปจาก Mappa ให้ความสำคัญกับนักเรียนเป็นอันดับหนึ่ง โรงเรียนต้องเป็นสถานที่ที่เจาะจงกับนักเรียนเป็นสำคัญที่สุด การศึกษาต้องทำให้นักเรียนรู้สึกมีความสุข อยากที่จะเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ การมาเรียนต้องไม่ทำให้เด็กเกิดความทุกข์ สิ่งนี้จะช่วยทำให้เด็กสามารถเปิดรับความรู้ใหม่และดีต่อการพัฒนาทักษะมากยิ่งขึ้น สาธิตธรรมศาสตร์มีจุดประสงค์ที่จะทำให้โรงเรียนเป็นสถานที่ปลอดภัยสำหรับเด็ก ทั้งในแง่ของทางร่างกายและจิตใจ เน้นใช้เวลายามเช้าเพื่อตัวนักเรียนมากกว่าการบังคับ การถกเถียงเรื่องความจำเป็นเกี่ยวกับการเข้แถวเคารพธงชาติเป็นเรื่องที่สังคมถกเพียงกันมาอย่างนาน คนบางกลุ่มให้เหตุว่ากิจกรรมนี้ไม่จำเป็น อีกทั้งยังทำให้เด็กเหนื่อยล้าตั้งแต่เช้า สาธิตธรรมศาสตร์ได้เปลี่ยนช่วงเวลาที่บังคับให้นักเรียนเคารพธงชาติ อบรมหน้าเสาธง สวดมนต์ตอนเช้ามาเป็นชั่วโมงโฮมรูม 30 นาทีที่ให้นักเรียนพบปะกับครูประจำชั้น โดยไม่ได้บังคับว่านักเรียนทุกคนจะต้องคุยกับครูประจำชั้น หากใครยังอยากที่จะสวดมนต์ก็ยังสามารถทำได้ในห้องเรียน ซึ่งวิธีการนี้จะช่วยให้ครูอาจารย์เข้าถึงนักเรียนได้ดียิ่งขึ้น และเกิดการแลกเปลี่ยนข่าวสารในชั้นเรียน ปลูกฝังวินัยแบบไร้ฝ่ายปกครอง นักเรียนจะไม่ถูกเรียกเข้าฝ่ายปกครองเมื่อมีการกระทำผิดอย่างที่เคยเป็นมาในระบบการศึกษาไทย สาธิตธรรมศาสตร์มีแต่ฝ่ายสนับสนุนนักเรียนและกิจกรรม จะไม่มีการสร้างความบาดหมางให้แก่เด็กจากการจดชื่อส่งครูหรืออะไรก็ตาม แล้วถ้าถามว่าแบบนี้จะช่วยให้ดีขึ้นได้อย่างไร? ทางโรงเรียนจะใช้วิธีการแบบเด็ดขาด อย่างเช่น การทิ้งขยะไม่เป็นที่ แม่บ้านจะไม่เก็บโดยทันทีแต่จะปล่อยขยะสะสมไว้ จนวันนึงนักเรียนจะสำนึกได้เองว่าตัวเองไม่สามารถอยู่ในสภาพแวดล้อมได้ และจะเริ่มแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น พร้อมทั้งรู้วิธีการปฎิบัติตนในครั้งต่อ ๆ ไป เชื่อมสัมพันธภาพให้แก่เด็กและผู้ปกครอง สาธิตธรรมศาสตร์ยังมองลึกไปถึงความพันธ์ในครอบครัวที่เป็นอีกหนึ่งปัจจัยสำคัญในการพัฒนานักเรียน เริ่มตั้งแต่จะมีการเปิดรับสมัครนักเรียนตั้งแต่ช่วงเดือนมิถุนายน เพื่อให้มีช่วงเวลาที่เป็นโครงการเรียนว่า “ครอบครัวสาธิต” ให้เด็ก ๆ มาเข้าร่วม 2 เดือน โดยฝั่งพ่อแม่เองก็จะมีการเข้าหลักสูตร “ห้องเรียนพ่อแม่” ซึ่งจะเน้นการแก้ปัญหาที่มักเกิดขึ้นในครอบครัว เช่น ทำไมลูกถึงตีตัวออกห่าง ลูกให้ความสำคัญกับเพื่อนมากกว่า อยากคุยกับลูกเรื่องเพศสัมพันธ์ได้ ทางโรงเรียนจะช่วยให้ผู้ปกครองมีความเข้าใจในตัวเด็กมากขึ้น เข้าใจในฮอร์โมนร่างกายซึ่งส่งผลทำให้ลักษณะนิสัย การใช้ชีวิตของเด็กเปลี่ยนไปจากเดิม ทำให้ผู้ปกครองเข้าใจว่าการจะช่วยให้เด็กพัฒนาได้ดีต้องมีความไว้ใจ เป็นห่วงได้แต่ต้องอยู่ในขอบเขตที่เหมาะสม วิธีการนี้ได้รับผลตอบรับเป็นอย่างดีทำให้เกิดการพัฒนา “ศูนย์ Empathy Center” เป็นคลินิกให้พ่อแม่ ครู นักเรียน ได้ปรึกษา ทางสาธิตหวังว่าการเชื่อมความสัมพันธืในรูปแบบนี้จะช่วยพัฒนาสังคม ช่วยทำให้แต่ละคนมีมุมมองที่ใจซึ่งกันและกันมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ยังมี “ชุมชนการเรียนรู้ TSS Family” ที่เป็นห้องเรียนเพื่อสนับสนุนผู้ปกครองโดยเฉพาะ ผู้ปกครองที่ว่างหลังจากการส่งลูกเข้าเรียนอาจจะมาเรียนทำขนม เรียนธรุกิจเพราะทางโรงเรียนเชื่อว่าสภาพแวดล้อมครอบครัวที่ดีจะช่วยให้เด็กเติบโตอย่างมีคุณภาพ ขอบคุณรูปจาก Mappa หลังจากผ่านการปรับเปลี่ยนระบบการศึกษา ทางสาธิตธรรมศาสตร์ก็พบเจอปัญหาบางอย่าง เช่น ความกังวลของผู้ปกครองในเรื่องของอนาคตเด็ก ซึ่งทางโรงเรียนเชื่อว่าเด็กจะมีอนาคตที่สดใสในแบบที่เป็นผู้เลือกไม่ใช่ผู้ถูกเลือก ระบบการศึกษานี้ถูกปรับให้เข้ากับยุคสมัย แม้ไม่มีการรับประกันว่าวิธีการแบบนี้จะได้ผล 100% แต่วิธีการเดิม ๆ มันพาให้ระบบการศึกษาไทยล้มเหลว การรับอะไรใหม่ ๆ ก็คงเป็นตัวเลือกที่ดี ทางสาธิตธรรมศาสตร์เผยว่าหลังจากการทดลองใช้รูปแบบการสอนใหม่ ๆ นี้ ผลตอบรับออกมาไปในแนวโน้มที่ดี นักเรียนมีความกระตือรือร้นในการมาเรียนแต่เช้า นักเรียนค้นพบความถนัด ค้นพบทักษะที่ตัวเองทำได้ดีมากขึ้น ซึ่งสิ่งสำคัญที่ทำให้วิธีการนี้ประสบความสำเร็จคือการทำอย่างต่อเนื่องและทุ่มเทในการปรับปรุง พัฒนาอยู่เสมอ แน่นอนว่าเมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้น ก็ย่อมมีทั้งเสียงสนับสนุนและคัดค้าน ทำให้ตกเป็นประเด็นถกเถียงกันอย่างต่อเนื่องในช่องทางออนไลน์ ซึ่ง Eduzones ก็เป็นอีกหนึ่งเสียงที่สนับสนุนให้เกิดการเปลี่ยนแปลงซึ่งจะนำไปสู่การพัฒนาระบบการศึกษาไทยในรูปแบบที่ดีขึ้นเสมอมา ในฐานะชุมชนการศึกษา Eduzones ได้ร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการสนับสนุนเพื่อให้เกิดการพัฒนาระบบการศึกษาไทย โดยมีการจัดทำโครงการ “Good Classroom” ซึ่งเป็นโครงการที่เผยแพร่ห้องเรียน การเรียนการสอนในรูปแบบใหม่ ๆ โดยมีวัตถุประสงค์ในการกระตุ้นผู้สอนให้ปรับเปลี่ยนการสอนในรูปแบบที่ดียิ่งขึ้น อีกทั้งยังหวังว่าจะเป็นส่วนหนึ่งในการขับเคลื่อนระบบการศึกษาให้ดียิ่งขึ้น ซึ่งปัจจุบันมีครูผู้สอนร่วมเข้ามาเป็นผู้เผยแพร่รูปแบบการศึกษาที่เรียกได้ว่าเป็นห้องเรียนในอนาคตกว่า 50 โรงเรียน ร่วมกันเปลี่ยนแปลงการสอน เพื่อการศึกษาไทยที่ดีขึ้น เพื่อความสุขของผู้เรียนและผู้สอน ร่วมกันสร้างห้องเรียนแห่งความสุขได้ที่ FB page : https://www.facebook.com/goodclassroom โรงเรียนสาธิตธรรมศาสตร์ : คลิก
อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก
ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา