ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง EZ WebmasterJune 13, 2025 วันนี้ทั้งเล่น ทั้งได้ความรู้ ทั้งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนนางรอง จ.บุรีรัมย์ วันที่13/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า… นักศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI… ทุนดีดี เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster October 15, 2021 EZ Webmaster October 15, 2021 “รศ. ดร.วรากรณ์” สะท้อนปัญหางานวิจัยอุดมศึกษาฯ ขาดแพสชั่นผลิตงานคุณภาพ พร้อมชี้ 2 กลุ่มงานวิจัย “เกษตร-ไอที” ควรได้รับแรงกระตุ้น เหตุช่วยหนุนเศรษฐกิจโต! รศ. ดร.วรากรณ์ สามโกเศศ ประธานกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา ชี้ให้เห็นถึงปัญหาของระบบงานวิจัยในกลุ่มอุดมศึกษาไทย คือ ขาดแรงจูงใจและมาตรฐานในการสร้างผลงานวิจัยที่มีคุณภาพ โดยกลุ่มงานวิจัยที่ควรได้รับการสนับสนุน เพื่อกระตุ้นให้เกิดมูลค่าทางเศรษฐกิจ พร้อมยกระดับความสามารถด้านนวัตกรรมให้กับผู้ประกอบการและชุมชน ได้แก่ 1. กลุ่มงานวิจัยด้านการเกษตร และ 2. กลุ่มงานวิจัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ อย่างไรก็ตาม คณะกรรมการปฏิรูปฯ ด้านการศึกษา คาดว่า พ.ร.บ. ส่งเสริมการใช้ประโยชน์ผลงานวิจัยและนวัตกรรม ที่เตรียมประกาศใช้เป็นกฎหมาย จะช่วยสร้างแรงจูงใจในการสร้างผลงานวิจัยและนวัตกรรมที่มีคุณภาพ ตอบโจทย์ความต้องการในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม รศ. ดร.วรากรณ์ สามโกเศศ ประธานกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา เปิดเผยว่า อุปสรรคที่ทำให้คุณภาพของงานวิจัยในประเทศไทยยังขาดการพัฒนาไม่เท่าเทียมกับนานาชาติ และไม่สอดคล้องกับความต้องการของสังคม คือ สถาบันอุดมศึกษาส่วนใหญ่ไม่มีระบบจูงใจ (Passion) ให้คณาจารย์หันมาทำงานวิจัยที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมอย่างแท้จริง รวมถึงไม่มีการกำหนดมาตรฐานเพื่อผลักดันให้เกิดการยกระดับขีดความสามารถด้านงานวิจัย สถาบันอุดมศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องเร่งหาแนวทางในการเพิ่มขีดความสามารถของระบบงานวิจัยและศักยภาพของนักวิจัย ให้มีความพร้อมในการผลิตงานวิจัยที่สอดคล้องกับความต้องการในการพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ รศ. ดร.วรากรณ์ กล่าวต่อว่า สำหรับกลุ่มงานวิจัยที่มองว่าควรได้รับการสนับสนุนให้เกิดการศึกษาวิจัยหรือพัฒนาเพิ่มเติม เพื่อกระตุ้นให้เกิดมูลค่าทางเศรษฐกิจ และช่วยยกระดับความสามารถด้านนวัตกรรมให้กับผู้ประกอบการและชุมชน มี 2 กลุ่ม ดังรายละเอียดต่อไปนี้ กลุ่มงานวิจัยด้านการเกษตร เนื่องจากผลผลิตทางการเกษตรถือเป็นรากฐานสำคัญที่มีผลในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศไทยมาอย่างยาวนาน และภาคเกษตรยังเป็นภาคสำคัญที่รองรับการย้ายคืนถิ่นในช่วงสถานการณ์โควิด-19 งานวิจัยต้องสามารถตอบโจทย์ปัญหาในเรื่องของต้นทุนการผลิต การเพิ่มผลิตภาพ พัฒนาคุณภาพของผลิตภัณฑ์ รวมถึงการนำความก้าวหน้าของเทคโนโลยีเข้ามาประยุกต์ใช้กับระบบการผลิตสินค้าทางการเกษตร โดยเฉพาะการแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้า ทั้งนี้ ข้อมูลจากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พบว่า การส่งออกสินค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์ของไทยไปยังตลาดโลก ในช่วงครึ่งแรกของปี 2564 พบว่า มีมูลค่าอยู่ที่ 716,581 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปี 2563 ซึ่งอยู่ที่ 669,079 ล้านบาท หรือร้อยละ 7.1 โดยเฉพาะผลิตภัณฑ์สินค้าแปรูป ดังนั้น งานวิจัยจะช่วยยกระดับภาคเกษตรไทยให้สอดคล้องกับความต้องการใหม่ๆ ของตลาดและผู้บริโภค สร้างโอกาสให้กับเกษตรกรไทย และสร้างประโยชน์ทางเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศให้กลับมาฟื้นตัวได้โดยเร็วภายหลังภาวะวิกฤตโควิด-19 ได้ กลุ่มงานวิจัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เนื่องจากความก้าวหน้าของเทคโนโลยีในปัจจุบันทำให้โลกเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว สถานการณ์โรคโควิด-19 ได้กระตุ้นให้เกิดการพัฒนางานวิจัยและคิดค้นนวัตกรรมใหม่ๆ โดยเฉพาะด้านการแพทย์ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านสาธารณสุขในการป้องกันการแพร่ระบาด จึงสำคัญอย่างยิ่งในการนำเทคโนโลยีเข้ามาช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น เพื่อลดการพึ่งพาหรือนำเข้าจากต่างประเทศ สำหรับประเทศไทย คณะรัฐมนตรีได้มีมติอนุมัติกรอบวงเงินงบประมาณด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เป็นจำนวน 24,400 ล้านบาท ในการขับเคลื่อนงานวิจัยและพัฒนานวัตกรรมเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตให้กับประชาชน โดยเฉพาะการป้องกันและลดผลกระทบจากโรคระบาดโควิด-19 ตัวอย่างผลสำเร็จในปี 2563 เช่น ผลงานการพัฒนาหุ่นยนต์ระบบอัตโนมัติและปัญญาประดิษฐ์เพื่อใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตและตรวจสอบคุณภาพหน้ากากอนามัย การผลิตชุดตรวจเชื้อโควิด-19 โดยวิธี Real-Time RT-PCR จากน้ำลาย เป็นต้น ทั้งนี้ การปฏิรูปบทบาทการวิจัยของสถาบันอุดมศึกษาเพื่อสนับสนุนการพัฒนาประเทศไทยออกจากกับดักรายได้ปานกลางอย่างยั่งยืน ถือเป็นหนึ่งในภารกิจที่สำคัญของ คณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา ที่กำลังเร่งผลักดันแผนปฏิรูปฯ ด้านการศึกษาร่วมกับหน่วยงานต่างๆ โดยความคืบหน้าล่าสุด ในที่ประชุมร่วมรัฐสภาได้มีมติเห็นชอบ ร่างพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) ส่งเสริมการใช้ประโยชน์ผลงานวิจัยและนวัตกรรม ตามที่ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เสนอและผลักดันมาอย่างต่อเนื่อง โดย พ.ร.บ. ดังกล่าว จะช่วยแก้ปัญหาเรื่องสิทธิความเป็นเจ้าของผลงานวิจัยระหว่างหน่วยงานผู้ให้ทุนและผู้รับทุน ได้แก่ สถาบันวิจัย สถาบันอุดมศึกษา และนักวิจัย ให้มีโอกาสเป็นเจ้าของผลงานวิจัยและนวัตกรรม เนื่องจากที่ผ่านมาผู้รับทุนหรือนักวิจัยไม่สามารถเป็นเจ้าของผลงานวิจัยได้ด้วยข้อจำกัดทางกฎหมาย จึงไม่สามารถนำผลงานวิจัยที่เกิดขึ้นไปต่อยอดและใช้ประโยชน์ได้ “อย่างไรก็ดี พระราชบัญญัติส่งเสริมการใช้ประโยชน์ผลงานวิจัยและนวัตกรรม จะช่วยสร้างแรงจูงใจให้กับสถาบันวิจัย สถาบันอุดมศึกษา และนักวิจัย ในการสร้างผลงานวิจัยและนวัตกรรมที่มีคุณภาพ ตอบโจทย์ความต้องการในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมอย่างแท้จริง เพื่อส่งเสริมให้เกิดการนำผลงานวิจัยและนวัตกรรมที่เกิดจากการสนับสนุนทุนโดยรัฐไปใช้ประโยชน์ต่อสาธารณะอย่างแท้จริง อันจะเป็นกลไกสำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศให้ก้าวข้ามกับดักประเทศรายได้ปานกลางได้อย่างยั่งยืนในอนาคต” รศ. ดร.วรากรณ์ กล่าวทิ้งท้าย ติดตามความเคลื่อนไหวกิจกรรม ของ คณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา ได้ใน 4 ช่องทาง ดังนี้ เว็บไซต์ https://www.thaiedreform2022.org เฟซบุ๊กแฟนเพจ https://web.facebook.com/Thaiedreform2022 ยูทูบช่อง ‘thaiedreform2022’ และทวิตเตอร์ https://twitter.com/Thaiedreform22 EZ Webmaster Related Posts คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” รวมบุคคลสำคัญของแต่ละมหาวิทยาลัยไทย มาให้ทุกคนได้รู้กัน !! Post navigation PREVIOUS Previous post: มทร.ธัญบุรี จับมือ บีเอทีซี พัฒนาและยกระดับการเรียนการสอนและการวิจัยNEXT Next post: สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครผู้รับทุนการศึกษา “ทุน บ โดดเด่น” ประจำปีงบประมาณ 2564 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง EZ WebmasterJune 13, 2025 วันนี้ทั้งเล่น ทั้งได้ความรู้ ทั้งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนนางรอง จ.บุรีรัมย์ วันที่13/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า… นักศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI… ทุนดีดี เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster October 15, 2021 EZ Webmaster October 15, 2021 “รศ. ดร.วรากรณ์” สะท้อนปัญหางานวิจัยอุดมศึกษาฯ ขาดแพสชั่นผลิตงานคุณภาพ พร้อมชี้ 2 กลุ่มงานวิจัย “เกษตร-ไอที” ควรได้รับแรงกระตุ้น เหตุช่วยหนุนเศรษฐกิจโต! รศ. ดร.วรากรณ์ สามโกเศศ ประธานกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา ชี้ให้เห็นถึงปัญหาของระบบงานวิจัยในกลุ่มอุดมศึกษาไทย คือ ขาดแรงจูงใจและมาตรฐานในการสร้างผลงานวิจัยที่มีคุณภาพ โดยกลุ่มงานวิจัยที่ควรได้รับการสนับสนุน เพื่อกระตุ้นให้เกิดมูลค่าทางเศรษฐกิจ พร้อมยกระดับความสามารถด้านนวัตกรรมให้กับผู้ประกอบการและชุมชน ได้แก่ 1. กลุ่มงานวิจัยด้านการเกษตร และ 2. กลุ่มงานวิจัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ อย่างไรก็ตาม คณะกรรมการปฏิรูปฯ ด้านการศึกษา คาดว่า พ.ร.บ. ส่งเสริมการใช้ประโยชน์ผลงานวิจัยและนวัตกรรม ที่เตรียมประกาศใช้เป็นกฎหมาย จะช่วยสร้างแรงจูงใจในการสร้างผลงานวิจัยและนวัตกรรมที่มีคุณภาพ ตอบโจทย์ความต้องการในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม รศ. ดร.วรากรณ์ สามโกเศศ ประธานกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา เปิดเผยว่า อุปสรรคที่ทำให้คุณภาพของงานวิจัยในประเทศไทยยังขาดการพัฒนาไม่เท่าเทียมกับนานาชาติ และไม่สอดคล้องกับความต้องการของสังคม คือ สถาบันอุดมศึกษาส่วนใหญ่ไม่มีระบบจูงใจ (Passion) ให้คณาจารย์หันมาทำงานวิจัยที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมอย่างแท้จริง รวมถึงไม่มีการกำหนดมาตรฐานเพื่อผลักดันให้เกิดการยกระดับขีดความสามารถด้านงานวิจัย สถาบันอุดมศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องเร่งหาแนวทางในการเพิ่มขีดความสามารถของระบบงานวิจัยและศักยภาพของนักวิจัย ให้มีความพร้อมในการผลิตงานวิจัยที่สอดคล้องกับความต้องการในการพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ รศ. ดร.วรากรณ์ กล่าวต่อว่า สำหรับกลุ่มงานวิจัยที่มองว่าควรได้รับการสนับสนุนให้เกิดการศึกษาวิจัยหรือพัฒนาเพิ่มเติม เพื่อกระตุ้นให้เกิดมูลค่าทางเศรษฐกิจ และช่วยยกระดับความสามารถด้านนวัตกรรมให้กับผู้ประกอบการและชุมชน มี 2 กลุ่ม ดังรายละเอียดต่อไปนี้ กลุ่มงานวิจัยด้านการเกษตร เนื่องจากผลผลิตทางการเกษตรถือเป็นรากฐานสำคัญที่มีผลในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศไทยมาอย่างยาวนาน และภาคเกษตรยังเป็นภาคสำคัญที่รองรับการย้ายคืนถิ่นในช่วงสถานการณ์โควิด-19 งานวิจัยต้องสามารถตอบโจทย์ปัญหาในเรื่องของต้นทุนการผลิต การเพิ่มผลิตภาพ พัฒนาคุณภาพของผลิตภัณฑ์ รวมถึงการนำความก้าวหน้าของเทคโนโลยีเข้ามาประยุกต์ใช้กับระบบการผลิตสินค้าทางการเกษตร โดยเฉพาะการแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้า ทั้งนี้ ข้อมูลจากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พบว่า การส่งออกสินค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์ของไทยไปยังตลาดโลก ในช่วงครึ่งแรกของปี 2564 พบว่า มีมูลค่าอยู่ที่ 716,581 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปี 2563 ซึ่งอยู่ที่ 669,079 ล้านบาท หรือร้อยละ 7.1 โดยเฉพาะผลิตภัณฑ์สินค้าแปรูป ดังนั้น งานวิจัยจะช่วยยกระดับภาคเกษตรไทยให้สอดคล้องกับความต้องการใหม่ๆ ของตลาดและผู้บริโภค สร้างโอกาสให้กับเกษตรกรไทย และสร้างประโยชน์ทางเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศให้กลับมาฟื้นตัวได้โดยเร็วภายหลังภาวะวิกฤตโควิด-19 ได้ กลุ่มงานวิจัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เนื่องจากความก้าวหน้าของเทคโนโลยีในปัจจุบันทำให้โลกเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว สถานการณ์โรคโควิด-19 ได้กระตุ้นให้เกิดการพัฒนางานวิจัยและคิดค้นนวัตกรรมใหม่ๆ โดยเฉพาะด้านการแพทย์ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านสาธารณสุขในการป้องกันการแพร่ระบาด จึงสำคัญอย่างยิ่งในการนำเทคโนโลยีเข้ามาช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น เพื่อลดการพึ่งพาหรือนำเข้าจากต่างประเทศ สำหรับประเทศไทย คณะรัฐมนตรีได้มีมติอนุมัติกรอบวงเงินงบประมาณด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เป็นจำนวน 24,400 ล้านบาท ในการขับเคลื่อนงานวิจัยและพัฒนานวัตกรรมเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตให้กับประชาชน โดยเฉพาะการป้องกันและลดผลกระทบจากโรคระบาดโควิด-19 ตัวอย่างผลสำเร็จในปี 2563 เช่น ผลงานการพัฒนาหุ่นยนต์ระบบอัตโนมัติและปัญญาประดิษฐ์เพื่อใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตและตรวจสอบคุณภาพหน้ากากอนามัย การผลิตชุดตรวจเชื้อโควิด-19 โดยวิธี Real-Time RT-PCR จากน้ำลาย เป็นต้น ทั้งนี้ การปฏิรูปบทบาทการวิจัยของสถาบันอุดมศึกษาเพื่อสนับสนุนการพัฒนาประเทศไทยออกจากกับดักรายได้ปานกลางอย่างยั่งยืน ถือเป็นหนึ่งในภารกิจที่สำคัญของ คณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา ที่กำลังเร่งผลักดันแผนปฏิรูปฯ ด้านการศึกษาร่วมกับหน่วยงานต่างๆ โดยความคืบหน้าล่าสุด ในที่ประชุมร่วมรัฐสภาได้มีมติเห็นชอบ ร่างพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) ส่งเสริมการใช้ประโยชน์ผลงานวิจัยและนวัตกรรม ตามที่ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เสนอและผลักดันมาอย่างต่อเนื่อง โดย พ.ร.บ. ดังกล่าว จะช่วยแก้ปัญหาเรื่องสิทธิความเป็นเจ้าของผลงานวิจัยระหว่างหน่วยงานผู้ให้ทุนและผู้รับทุน ได้แก่ สถาบันวิจัย สถาบันอุดมศึกษา และนักวิจัย ให้มีโอกาสเป็นเจ้าของผลงานวิจัยและนวัตกรรม เนื่องจากที่ผ่านมาผู้รับทุนหรือนักวิจัยไม่สามารถเป็นเจ้าของผลงานวิจัยได้ด้วยข้อจำกัดทางกฎหมาย จึงไม่สามารถนำผลงานวิจัยที่เกิดขึ้นไปต่อยอดและใช้ประโยชน์ได้ “อย่างไรก็ดี พระราชบัญญัติส่งเสริมการใช้ประโยชน์ผลงานวิจัยและนวัตกรรม จะช่วยสร้างแรงจูงใจให้กับสถาบันวิจัย สถาบันอุดมศึกษา และนักวิจัย ในการสร้างผลงานวิจัยและนวัตกรรมที่มีคุณภาพ ตอบโจทย์ความต้องการในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมอย่างแท้จริง เพื่อส่งเสริมให้เกิดการนำผลงานวิจัยและนวัตกรรมที่เกิดจากการสนับสนุนทุนโดยรัฐไปใช้ประโยชน์ต่อสาธารณะอย่างแท้จริง อันจะเป็นกลไกสำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศให้ก้าวข้ามกับดักประเทศรายได้ปานกลางได้อย่างยั่งยืนในอนาคต” รศ. ดร.วรากรณ์ กล่าวทิ้งท้าย ติดตามความเคลื่อนไหวกิจกรรม ของ คณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา ได้ใน 4 ช่องทาง ดังนี้ เว็บไซต์ https://www.thaiedreform2022.org เฟซบุ๊กแฟนเพจ https://web.facebook.com/Thaiedreform2022 ยูทูบช่อง ‘thaiedreform2022’ และทวิตเตอร์ https://twitter.com/Thaiedreform22 EZ Webmaster Related Posts คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” รวมบุคคลสำคัญของแต่ละมหาวิทยาลัยไทย มาให้ทุกคนได้รู้กัน !! Post navigation PREVIOUS Previous post: มทร.ธัญบุรี จับมือ บีเอทีซี พัฒนาและยกระดับการเรียนการสอนและการวิจัยNEXT Next post: สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครผู้รับทุนการศึกษา “ทุน บ โดดเด่น” ประจำปีงบประมาณ 2564 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง EZ WebmasterJune 13, 2025 วันนี้ทั้งเล่น ทั้งได้ความรู้ ทั้งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนนางรอง จ.บุรีรัมย์ วันที่13/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า…
โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง EZ WebmasterJune 13, 2025 วันนี้ทั้งเล่น ทั้งได้ความรู้ ทั้งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนนางรอง จ.บุรีรัมย์ วันที่13/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า…
คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI… ทุนดีดี เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster October 15, 2021 EZ Webmaster October 15, 2021 “รศ. ดร.วรากรณ์” สะท้อนปัญหางานวิจัยอุดมศึกษาฯ ขาดแพสชั่นผลิตงานคุณภาพ พร้อมชี้ 2 กลุ่มงานวิจัย “เกษตร-ไอที” ควรได้รับแรงกระตุ้น เหตุช่วยหนุนเศรษฐกิจโต! รศ. ดร.วรากรณ์ สามโกเศศ ประธานกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา ชี้ให้เห็นถึงปัญหาของระบบงานวิจัยในกลุ่มอุดมศึกษาไทย คือ ขาดแรงจูงใจและมาตรฐานในการสร้างผลงานวิจัยที่มีคุณภาพ โดยกลุ่มงานวิจัยที่ควรได้รับการสนับสนุน เพื่อกระตุ้นให้เกิดมูลค่าทางเศรษฐกิจ พร้อมยกระดับความสามารถด้านนวัตกรรมให้กับผู้ประกอบการและชุมชน ได้แก่ 1. กลุ่มงานวิจัยด้านการเกษตร และ 2. กลุ่มงานวิจัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ อย่างไรก็ตาม คณะกรรมการปฏิรูปฯ ด้านการศึกษา คาดว่า พ.ร.บ. ส่งเสริมการใช้ประโยชน์ผลงานวิจัยและนวัตกรรม ที่เตรียมประกาศใช้เป็นกฎหมาย จะช่วยสร้างแรงจูงใจในการสร้างผลงานวิจัยและนวัตกรรมที่มีคุณภาพ ตอบโจทย์ความต้องการในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม รศ. ดร.วรากรณ์ สามโกเศศ ประธานกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา เปิดเผยว่า อุปสรรคที่ทำให้คุณภาพของงานวิจัยในประเทศไทยยังขาดการพัฒนาไม่เท่าเทียมกับนานาชาติ และไม่สอดคล้องกับความต้องการของสังคม คือ สถาบันอุดมศึกษาส่วนใหญ่ไม่มีระบบจูงใจ (Passion) ให้คณาจารย์หันมาทำงานวิจัยที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมอย่างแท้จริง รวมถึงไม่มีการกำหนดมาตรฐานเพื่อผลักดันให้เกิดการยกระดับขีดความสามารถด้านงานวิจัย สถาบันอุดมศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องเร่งหาแนวทางในการเพิ่มขีดความสามารถของระบบงานวิจัยและศักยภาพของนักวิจัย ให้มีความพร้อมในการผลิตงานวิจัยที่สอดคล้องกับความต้องการในการพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ รศ. ดร.วรากรณ์ กล่าวต่อว่า สำหรับกลุ่มงานวิจัยที่มองว่าควรได้รับการสนับสนุนให้เกิดการศึกษาวิจัยหรือพัฒนาเพิ่มเติม เพื่อกระตุ้นให้เกิดมูลค่าทางเศรษฐกิจ และช่วยยกระดับความสามารถด้านนวัตกรรมให้กับผู้ประกอบการและชุมชน มี 2 กลุ่ม ดังรายละเอียดต่อไปนี้ กลุ่มงานวิจัยด้านการเกษตร เนื่องจากผลผลิตทางการเกษตรถือเป็นรากฐานสำคัญที่มีผลในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศไทยมาอย่างยาวนาน และภาคเกษตรยังเป็นภาคสำคัญที่รองรับการย้ายคืนถิ่นในช่วงสถานการณ์โควิด-19 งานวิจัยต้องสามารถตอบโจทย์ปัญหาในเรื่องของต้นทุนการผลิต การเพิ่มผลิตภาพ พัฒนาคุณภาพของผลิตภัณฑ์ รวมถึงการนำความก้าวหน้าของเทคโนโลยีเข้ามาประยุกต์ใช้กับระบบการผลิตสินค้าทางการเกษตร โดยเฉพาะการแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้า ทั้งนี้ ข้อมูลจากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พบว่า การส่งออกสินค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์ของไทยไปยังตลาดโลก ในช่วงครึ่งแรกของปี 2564 พบว่า มีมูลค่าอยู่ที่ 716,581 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปี 2563 ซึ่งอยู่ที่ 669,079 ล้านบาท หรือร้อยละ 7.1 โดยเฉพาะผลิตภัณฑ์สินค้าแปรูป ดังนั้น งานวิจัยจะช่วยยกระดับภาคเกษตรไทยให้สอดคล้องกับความต้องการใหม่ๆ ของตลาดและผู้บริโภค สร้างโอกาสให้กับเกษตรกรไทย และสร้างประโยชน์ทางเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศให้กลับมาฟื้นตัวได้โดยเร็วภายหลังภาวะวิกฤตโควิด-19 ได้ กลุ่มงานวิจัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เนื่องจากความก้าวหน้าของเทคโนโลยีในปัจจุบันทำให้โลกเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว สถานการณ์โรคโควิด-19 ได้กระตุ้นให้เกิดการพัฒนางานวิจัยและคิดค้นนวัตกรรมใหม่ๆ โดยเฉพาะด้านการแพทย์ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านสาธารณสุขในการป้องกันการแพร่ระบาด จึงสำคัญอย่างยิ่งในการนำเทคโนโลยีเข้ามาช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น เพื่อลดการพึ่งพาหรือนำเข้าจากต่างประเทศ สำหรับประเทศไทย คณะรัฐมนตรีได้มีมติอนุมัติกรอบวงเงินงบประมาณด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เป็นจำนวน 24,400 ล้านบาท ในการขับเคลื่อนงานวิจัยและพัฒนานวัตกรรมเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตให้กับประชาชน โดยเฉพาะการป้องกันและลดผลกระทบจากโรคระบาดโควิด-19 ตัวอย่างผลสำเร็จในปี 2563 เช่น ผลงานการพัฒนาหุ่นยนต์ระบบอัตโนมัติและปัญญาประดิษฐ์เพื่อใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตและตรวจสอบคุณภาพหน้ากากอนามัย การผลิตชุดตรวจเชื้อโควิด-19 โดยวิธี Real-Time RT-PCR จากน้ำลาย เป็นต้น ทั้งนี้ การปฏิรูปบทบาทการวิจัยของสถาบันอุดมศึกษาเพื่อสนับสนุนการพัฒนาประเทศไทยออกจากกับดักรายได้ปานกลางอย่างยั่งยืน ถือเป็นหนึ่งในภารกิจที่สำคัญของ คณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา ที่กำลังเร่งผลักดันแผนปฏิรูปฯ ด้านการศึกษาร่วมกับหน่วยงานต่างๆ โดยความคืบหน้าล่าสุด ในที่ประชุมร่วมรัฐสภาได้มีมติเห็นชอบ ร่างพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) ส่งเสริมการใช้ประโยชน์ผลงานวิจัยและนวัตกรรม ตามที่ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เสนอและผลักดันมาอย่างต่อเนื่อง โดย พ.ร.บ. ดังกล่าว จะช่วยแก้ปัญหาเรื่องสิทธิความเป็นเจ้าของผลงานวิจัยระหว่างหน่วยงานผู้ให้ทุนและผู้รับทุน ได้แก่ สถาบันวิจัย สถาบันอุดมศึกษา และนักวิจัย ให้มีโอกาสเป็นเจ้าของผลงานวิจัยและนวัตกรรม เนื่องจากที่ผ่านมาผู้รับทุนหรือนักวิจัยไม่สามารถเป็นเจ้าของผลงานวิจัยได้ด้วยข้อจำกัดทางกฎหมาย จึงไม่สามารถนำผลงานวิจัยที่เกิดขึ้นไปต่อยอดและใช้ประโยชน์ได้ “อย่างไรก็ดี พระราชบัญญัติส่งเสริมการใช้ประโยชน์ผลงานวิจัยและนวัตกรรม จะช่วยสร้างแรงจูงใจให้กับสถาบันวิจัย สถาบันอุดมศึกษา และนักวิจัย ในการสร้างผลงานวิจัยและนวัตกรรมที่มีคุณภาพ ตอบโจทย์ความต้องการในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมอย่างแท้จริง เพื่อส่งเสริมให้เกิดการนำผลงานวิจัยและนวัตกรรมที่เกิดจากการสนับสนุนทุนโดยรัฐไปใช้ประโยชน์ต่อสาธารณะอย่างแท้จริง อันจะเป็นกลไกสำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศให้ก้าวข้ามกับดักประเทศรายได้ปานกลางได้อย่างยั่งยืนในอนาคต” รศ. ดร.วรากรณ์ กล่าวทิ้งท้าย ติดตามความเคลื่อนไหวกิจกรรม ของ คณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา ได้ใน 4 ช่องทาง ดังนี้ เว็บไซต์ https://www.thaiedreform2022.org เฟซบุ๊กแฟนเพจ https://web.facebook.com/Thaiedreform2022 ยูทูบช่อง ‘thaiedreform2022’ และทวิตเตอร์ https://twitter.com/Thaiedreform22 EZ Webmaster Related Posts คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” รวมบุคคลสำคัญของแต่ละมหาวิทยาลัยไทย มาให้ทุกคนได้รู้กัน !! Post navigation PREVIOUS Previous post: มทร.ธัญบุรี จับมือ บีเอทีซี พัฒนาและยกระดับการเรียนการสอนและการวิจัยNEXT Next post: สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครผู้รับทุนการศึกษา “ทุน บ โดดเด่น” ประจำปีงบประมาณ 2564 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI… ทุนดีดี เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster October 15, 2021 EZ Webmaster October 15, 2021 “รศ. ดร.วรากรณ์” สะท้อนปัญหางานวิจัยอุดมศึกษาฯ ขาดแพสชั่นผลิตงานคุณภาพ พร้อมชี้ 2 กลุ่มงานวิจัย “เกษตร-ไอที” ควรได้รับแรงกระตุ้น เหตุช่วยหนุนเศรษฐกิจโต! รศ. ดร.วรากรณ์ สามโกเศศ ประธานกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา ชี้ให้เห็นถึงปัญหาของระบบงานวิจัยในกลุ่มอุดมศึกษาไทย คือ ขาดแรงจูงใจและมาตรฐานในการสร้างผลงานวิจัยที่มีคุณภาพ โดยกลุ่มงานวิจัยที่ควรได้รับการสนับสนุน เพื่อกระตุ้นให้เกิดมูลค่าทางเศรษฐกิจ พร้อมยกระดับความสามารถด้านนวัตกรรมให้กับผู้ประกอบการและชุมชน ได้แก่ 1. กลุ่มงานวิจัยด้านการเกษตร และ 2. กลุ่มงานวิจัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ อย่างไรก็ตาม คณะกรรมการปฏิรูปฯ ด้านการศึกษา คาดว่า พ.ร.บ. ส่งเสริมการใช้ประโยชน์ผลงานวิจัยและนวัตกรรม ที่เตรียมประกาศใช้เป็นกฎหมาย จะช่วยสร้างแรงจูงใจในการสร้างผลงานวิจัยและนวัตกรรมที่มีคุณภาพ ตอบโจทย์ความต้องการในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม รศ. ดร.วรากรณ์ สามโกเศศ ประธานกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา เปิดเผยว่า อุปสรรคที่ทำให้คุณภาพของงานวิจัยในประเทศไทยยังขาดการพัฒนาไม่เท่าเทียมกับนานาชาติ และไม่สอดคล้องกับความต้องการของสังคม คือ สถาบันอุดมศึกษาส่วนใหญ่ไม่มีระบบจูงใจ (Passion) ให้คณาจารย์หันมาทำงานวิจัยที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมอย่างแท้จริง รวมถึงไม่มีการกำหนดมาตรฐานเพื่อผลักดันให้เกิดการยกระดับขีดความสามารถด้านงานวิจัย สถาบันอุดมศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องเร่งหาแนวทางในการเพิ่มขีดความสามารถของระบบงานวิจัยและศักยภาพของนักวิจัย ให้มีความพร้อมในการผลิตงานวิจัยที่สอดคล้องกับความต้องการในการพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ รศ. ดร.วรากรณ์ กล่าวต่อว่า สำหรับกลุ่มงานวิจัยที่มองว่าควรได้รับการสนับสนุนให้เกิดการศึกษาวิจัยหรือพัฒนาเพิ่มเติม เพื่อกระตุ้นให้เกิดมูลค่าทางเศรษฐกิจ และช่วยยกระดับความสามารถด้านนวัตกรรมให้กับผู้ประกอบการและชุมชน มี 2 กลุ่ม ดังรายละเอียดต่อไปนี้ กลุ่มงานวิจัยด้านการเกษตร เนื่องจากผลผลิตทางการเกษตรถือเป็นรากฐานสำคัญที่มีผลในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศไทยมาอย่างยาวนาน และภาคเกษตรยังเป็นภาคสำคัญที่รองรับการย้ายคืนถิ่นในช่วงสถานการณ์โควิด-19 งานวิจัยต้องสามารถตอบโจทย์ปัญหาในเรื่องของต้นทุนการผลิต การเพิ่มผลิตภาพ พัฒนาคุณภาพของผลิตภัณฑ์ รวมถึงการนำความก้าวหน้าของเทคโนโลยีเข้ามาประยุกต์ใช้กับระบบการผลิตสินค้าทางการเกษตร โดยเฉพาะการแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้า ทั้งนี้ ข้อมูลจากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พบว่า การส่งออกสินค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์ของไทยไปยังตลาดโลก ในช่วงครึ่งแรกของปี 2564 พบว่า มีมูลค่าอยู่ที่ 716,581 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปี 2563 ซึ่งอยู่ที่ 669,079 ล้านบาท หรือร้อยละ 7.1 โดยเฉพาะผลิตภัณฑ์สินค้าแปรูป ดังนั้น งานวิจัยจะช่วยยกระดับภาคเกษตรไทยให้สอดคล้องกับความต้องการใหม่ๆ ของตลาดและผู้บริโภค สร้างโอกาสให้กับเกษตรกรไทย และสร้างประโยชน์ทางเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศให้กลับมาฟื้นตัวได้โดยเร็วภายหลังภาวะวิกฤตโควิด-19 ได้ กลุ่มงานวิจัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เนื่องจากความก้าวหน้าของเทคโนโลยีในปัจจุบันทำให้โลกเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว สถานการณ์โรคโควิด-19 ได้กระตุ้นให้เกิดการพัฒนางานวิจัยและคิดค้นนวัตกรรมใหม่ๆ โดยเฉพาะด้านการแพทย์ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านสาธารณสุขในการป้องกันการแพร่ระบาด จึงสำคัญอย่างยิ่งในการนำเทคโนโลยีเข้ามาช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น เพื่อลดการพึ่งพาหรือนำเข้าจากต่างประเทศ สำหรับประเทศไทย คณะรัฐมนตรีได้มีมติอนุมัติกรอบวงเงินงบประมาณด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เป็นจำนวน 24,400 ล้านบาท ในการขับเคลื่อนงานวิจัยและพัฒนานวัตกรรมเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตให้กับประชาชน โดยเฉพาะการป้องกันและลดผลกระทบจากโรคระบาดโควิด-19 ตัวอย่างผลสำเร็จในปี 2563 เช่น ผลงานการพัฒนาหุ่นยนต์ระบบอัตโนมัติและปัญญาประดิษฐ์เพื่อใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตและตรวจสอบคุณภาพหน้ากากอนามัย การผลิตชุดตรวจเชื้อโควิด-19 โดยวิธี Real-Time RT-PCR จากน้ำลาย เป็นต้น ทั้งนี้ การปฏิรูปบทบาทการวิจัยของสถาบันอุดมศึกษาเพื่อสนับสนุนการพัฒนาประเทศไทยออกจากกับดักรายได้ปานกลางอย่างยั่งยืน ถือเป็นหนึ่งในภารกิจที่สำคัญของ คณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา ที่กำลังเร่งผลักดันแผนปฏิรูปฯ ด้านการศึกษาร่วมกับหน่วยงานต่างๆ โดยความคืบหน้าล่าสุด ในที่ประชุมร่วมรัฐสภาได้มีมติเห็นชอบ ร่างพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) ส่งเสริมการใช้ประโยชน์ผลงานวิจัยและนวัตกรรม ตามที่ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เสนอและผลักดันมาอย่างต่อเนื่อง โดย พ.ร.บ. ดังกล่าว จะช่วยแก้ปัญหาเรื่องสิทธิความเป็นเจ้าของผลงานวิจัยระหว่างหน่วยงานผู้ให้ทุนและผู้รับทุน ได้แก่ สถาบันวิจัย สถาบันอุดมศึกษา และนักวิจัย ให้มีโอกาสเป็นเจ้าของผลงานวิจัยและนวัตกรรม เนื่องจากที่ผ่านมาผู้รับทุนหรือนักวิจัยไม่สามารถเป็นเจ้าของผลงานวิจัยได้ด้วยข้อจำกัดทางกฎหมาย จึงไม่สามารถนำผลงานวิจัยที่เกิดขึ้นไปต่อยอดและใช้ประโยชน์ได้ “อย่างไรก็ดี พระราชบัญญัติส่งเสริมการใช้ประโยชน์ผลงานวิจัยและนวัตกรรม จะช่วยสร้างแรงจูงใจให้กับสถาบันวิจัย สถาบันอุดมศึกษา และนักวิจัย ในการสร้างผลงานวิจัยและนวัตกรรมที่มีคุณภาพ ตอบโจทย์ความต้องการในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมอย่างแท้จริง เพื่อส่งเสริมให้เกิดการนำผลงานวิจัยและนวัตกรรมที่เกิดจากการสนับสนุนทุนโดยรัฐไปใช้ประโยชน์ต่อสาธารณะอย่างแท้จริง อันจะเป็นกลไกสำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศให้ก้าวข้ามกับดักประเทศรายได้ปานกลางได้อย่างยั่งยืนในอนาคต” รศ. ดร.วรากรณ์ กล่าวทิ้งท้าย ติดตามความเคลื่อนไหวกิจกรรม ของ คณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา ได้ใน 4 ช่องทาง ดังนี้ เว็บไซต์ https://www.thaiedreform2022.org เฟซบุ๊กแฟนเพจ https://web.facebook.com/Thaiedreform2022 ยูทูบช่อง ‘thaiedreform2022’ และทวิตเตอร์ https://twitter.com/Thaiedreform22 EZ Webmaster Related Posts คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” รวมบุคคลสำคัญของแต่ละมหาวิทยาลัยไทย มาให้ทุกคนได้รู้กัน !! Post navigation PREVIOUS Previous post: มทร.ธัญบุรี จับมือ บีเอทีซี พัฒนาและยกระดับการเรียนการสอนและการวิจัยNEXT Next post: สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครผู้รับทุนการศึกษา “ทุน บ โดดเด่น” ประจำปีงบประมาณ 2564 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI…
รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI…
เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster October 15, 2021 EZ Webmaster October 15, 2021 “รศ. ดร.วรากรณ์” สะท้อนปัญหางานวิจัยอุดมศึกษาฯ ขาดแพสชั่นผลิตงานคุณภาพ พร้อมชี้ 2 กลุ่มงานวิจัย “เกษตร-ไอที” ควรได้รับแรงกระตุ้น เหตุช่วยหนุนเศรษฐกิจโต! รศ. ดร.วรากรณ์ สามโกเศศ ประธานกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา ชี้ให้เห็นถึงปัญหาของระบบงานวิจัยในกลุ่มอุดมศึกษาไทย คือ ขาดแรงจูงใจและมาตรฐานในการสร้างผลงานวิจัยที่มีคุณภาพ โดยกลุ่มงานวิจัยที่ควรได้รับการสนับสนุน เพื่อกระตุ้นให้เกิดมูลค่าทางเศรษฐกิจ พร้อมยกระดับความสามารถด้านนวัตกรรมให้กับผู้ประกอบการและชุมชน ได้แก่ 1. กลุ่มงานวิจัยด้านการเกษตร และ 2. กลุ่มงานวิจัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ อย่างไรก็ตาม คณะกรรมการปฏิรูปฯ ด้านการศึกษา คาดว่า พ.ร.บ. ส่งเสริมการใช้ประโยชน์ผลงานวิจัยและนวัตกรรม ที่เตรียมประกาศใช้เป็นกฎหมาย จะช่วยสร้างแรงจูงใจในการสร้างผลงานวิจัยและนวัตกรรมที่มีคุณภาพ ตอบโจทย์ความต้องการในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม รศ. ดร.วรากรณ์ สามโกเศศ ประธานกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา เปิดเผยว่า อุปสรรคที่ทำให้คุณภาพของงานวิจัยในประเทศไทยยังขาดการพัฒนาไม่เท่าเทียมกับนานาชาติ และไม่สอดคล้องกับความต้องการของสังคม คือ สถาบันอุดมศึกษาส่วนใหญ่ไม่มีระบบจูงใจ (Passion) ให้คณาจารย์หันมาทำงานวิจัยที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมอย่างแท้จริง รวมถึงไม่มีการกำหนดมาตรฐานเพื่อผลักดันให้เกิดการยกระดับขีดความสามารถด้านงานวิจัย สถาบันอุดมศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องเร่งหาแนวทางในการเพิ่มขีดความสามารถของระบบงานวิจัยและศักยภาพของนักวิจัย ให้มีความพร้อมในการผลิตงานวิจัยที่สอดคล้องกับความต้องการในการพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ รศ. ดร.วรากรณ์ กล่าวต่อว่า สำหรับกลุ่มงานวิจัยที่มองว่าควรได้รับการสนับสนุนให้เกิดการศึกษาวิจัยหรือพัฒนาเพิ่มเติม เพื่อกระตุ้นให้เกิดมูลค่าทางเศรษฐกิจ และช่วยยกระดับความสามารถด้านนวัตกรรมให้กับผู้ประกอบการและชุมชน มี 2 กลุ่ม ดังรายละเอียดต่อไปนี้ กลุ่มงานวิจัยด้านการเกษตร เนื่องจากผลผลิตทางการเกษตรถือเป็นรากฐานสำคัญที่มีผลในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศไทยมาอย่างยาวนาน และภาคเกษตรยังเป็นภาคสำคัญที่รองรับการย้ายคืนถิ่นในช่วงสถานการณ์โควิด-19 งานวิจัยต้องสามารถตอบโจทย์ปัญหาในเรื่องของต้นทุนการผลิต การเพิ่มผลิตภาพ พัฒนาคุณภาพของผลิตภัณฑ์ รวมถึงการนำความก้าวหน้าของเทคโนโลยีเข้ามาประยุกต์ใช้กับระบบการผลิตสินค้าทางการเกษตร โดยเฉพาะการแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้า ทั้งนี้ ข้อมูลจากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พบว่า การส่งออกสินค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์ของไทยไปยังตลาดโลก ในช่วงครึ่งแรกของปี 2564 พบว่า มีมูลค่าอยู่ที่ 716,581 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปี 2563 ซึ่งอยู่ที่ 669,079 ล้านบาท หรือร้อยละ 7.1 โดยเฉพาะผลิตภัณฑ์สินค้าแปรูป ดังนั้น งานวิจัยจะช่วยยกระดับภาคเกษตรไทยให้สอดคล้องกับความต้องการใหม่ๆ ของตลาดและผู้บริโภค สร้างโอกาสให้กับเกษตรกรไทย และสร้างประโยชน์ทางเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศให้กลับมาฟื้นตัวได้โดยเร็วภายหลังภาวะวิกฤตโควิด-19 ได้ กลุ่มงานวิจัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เนื่องจากความก้าวหน้าของเทคโนโลยีในปัจจุบันทำให้โลกเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว สถานการณ์โรคโควิด-19 ได้กระตุ้นให้เกิดการพัฒนางานวิจัยและคิดค้นนวัตกรรมใหม่ๆ โดยเฉพาะด้านการแพทย์ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านสาธารณสุขในการป้องกันการแพร่ระบาด จึงสำคัญอย่างยิ่งในการนำเทคโนโลยีเข้ามาช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น เพื่อลดการพึ่งพาหรือนำเข้าจากต่างประเทศ สำหรับประเทศไทย คณะรัฐมนตรีได้มีมติอนุมัติกรอบวงเงินงบประมาณด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เป็นจำนวน 24,400 ล้านบาท ในการขับเคลื่อนงานวิจัยและพัฒนานวัตกรรมเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตให้กับประชาชน โดยเฉพาะการป้องกันและลดผลกระทบจากโรคระบาดโควิด-19 ตัวอย่างผลสำเร็จในปี 2563 เช่น ผลงานการพัฒนาหุ่นยนต์ระบบอัตโนมัติและปัญญาประดิษฐ์เพื่อใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตและตรวจสอบคุณภาพหน้ากากอนามัย การผลิตชุดตรวจเชื้อโควิด-19 โดยวิธี Real-Time RT-PCR จากน้ำลาย เป็นต้น ทั้งนี้ การปฏิรูปบทบาทการวิจัยของสถาบันอุดมศึกษาเพื่อสนับสนุนการพัฒนาประเทศไทยออกจากกับดักรายได้ปานกลางอย่างยั่งยืน ถือเป็นหนึ่งในภารกิจที่สำคัญของ คณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา ที่กำลังเร่งผลักดันแผนปฏิรูปฯ ด้านการศึกษาร่วมกับหน่วยงานต่างๆ โดยความคืบหน้าล่าสุด ในที่ประชุมร่วมรัฐสภาได้มีมติเห็นชอบ ร่างพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) ส่งเสริมการใช้ประโยชน์ผลงานวิจัยและนวัตกรรม ตามที่ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เสนอและผลักดันมาอย่างต่อเนื่อง โดย พ.ร.บ. ดังกล่าว จะช่วยแก้ปัญหาเรื่องสิทธิความเป็นเจ้าของผลงานวิจัยระหว่างหน่วยงานผู้ให้ทุนและผู้รับทุน ได้แก่ สถาบันวิจัย สถาบันอุดมศึกษา และนักวิจัย ให้มีโอกาสเป็นเจ้าของผลงานวิจัยและนวัตกรรม เนื่องจากที่ผ่านมาผู้รับทุนหรือนักวิจัยไม่สามารถเป็นเจ้าของผลงานวิจัยได้ด้วยข้อจำกัดทางกฎหมาย จึงไม่สามารถนำผลงานวิจัยที่เกิดขึ้นไปต่อยอดและใช้ประโยชน์ได้ “อย่างไรก็ดี พระราชบัญญัติส่งเสริมการใช้ประโยชน์ผลงานวิจัยและนวัตกรรม จะช่วยสร้างแรงจูงใจให้กับสถาบันวิจัย สถาบันอุดมศึกษา และนักวิจัย ในการสร้างผลงานวิจัยและนวัตกรรมที่มีคุณภาพ ตอบโจทย์ความต้องการในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมอย่างแท้จริง เพื่อส่งเสริมให้เกิดการนำผลงานวิจัยและนวัตกรรมที่เกิดจากการสนับสนุนทุนโดยรัฐไปใช้ประโยชน์ต่อสาธารณะอย่างแท้จริง อันจะเป็นกลไกสำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศให้ก้าวข้ามกับดักประเทศรายได้ปานกลางได้อย่างยั่งยืนในอนาคต” รศ. ดร.วรากรณ์ กล่าวทิ้งท้าย ติดตามความเคลื่อนไหวกิจกรรม ของ คณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา ได้ใน 4 ช่องทาง ดังนี้ เว็บไซต์ https://www.thaiedreform2022.org เฟซบุ๊กแฟนเพจ https://web.facebook.com/Thaiedreform2022 ยูทูบช่อง ‘thaiedreform2022’ และทวิตเตอร์ https://twitter.com/Thaiedreform22 EZ Webmaster Related Posts คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” รวมบุคคลสำคัญของแต่ละมหาวิทยาลัยไทย มาให้ทุกคนได้รู้กัน !! Post navigation PREVIOUS Previous post: มทร.ธัญบุรี จับมือ บีเอทีซี พัฒนาและยกระดับการเรียนการสอนและการวิจัยNEXT Next post: สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครผู้รับทุนการศึกษา “ทุน บ โดดเด่น” ประจำปีงบประมาณ 2564 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster October 15, 2021 EZ Webmaster October 15, 2021 “รศ. ดร.วรากรณ์” สะท้อนปัญหางานวิจัยอุดมศึกษาฯ ขาดแพสชั่นผลิตงานคุณภาพ พร้อมชี้ 2 กลุ่มงานวิจัย “เกษตร-ไอที” ควรได้รับแรงกระตุ้น เหตุช่วยหนุนเศรษฐกิจโต! รศ. ดร.วรากรณ์ สามโกเศศ ประธานกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา ชี้ให้เห็นถึงปัญหาของระบบงานวิจัยในกลุ่มอุดมศึกษาไทย คือ ขาดแรงจูงใจและมาตรฐานในการสร้างผลงานวิจัยที่มีคุณภาพ โดยกลุ่มงานวิจัยที่ควรได้รับการสนับสนุน เพื่อกระตุ้นให้เกิดมูลค่าทางเศรษฐกิจ พร้อมยกระดับความสามารถด้านนวัตกรรมให้กับผู้ประกอบการและชุมชน ได้แก่ 1. กลุ่มงานวิจัยด้านการเกษตร และ 2. กลุ่มงานวิจัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ อย่างไรก็ตาม คณะกรรมการปฏิรูปฯ ด้านการศึกษา คาดว่า พ.ร.บ. ส่งเสริมการใช้ประโยชน์ผลงานวิจัยและนวัตกรรม ที่เตรียมประกาศใช้เป็นกฎหมาย จะช่วยสร้างแรงจูงใจในการสร้างผลงานวิจัยและนวัตกรรมที่มีคุณภาพ ตอบโจทย์ความต้องการในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม รศ. ดร.วรากรณ์ สามโกเศศ ประธานกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา เปิดเผยว่า อุปสรรคที่ทำให้คุณภาพของงานวิจัยในประเทศไทยยังขาดการพัฒนาไม่เท่าเทียมกับนานาชาติ และไม่สอดคล้องกับความต้องการของสังคม คือ สถาบันอุดมศึกษาส่วนใหญ่ไม่มีระบบจูงใจ (Passion) ให้คณาจารย์หันมาทำงานวิจัยที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมอย่างแท้จริง รวมถึงไม่มีการกำหนดมาตรฐานเพื่อผลักดันให้เกิดการยกระดับขีดความสามารถด้านงานวิจัย สถาบันอุดมศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องเร่งหาแนวทางในการเพิ่มขีดความสามารถของระบบงานวิจัยและศักยภาพของนักวิจัย ให้มีความพร้อมในการผลิตงานวิจัยที่สอดคล้องกับความต้องการในการพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ รศ. ดร.วรากรณ์ กล่าวต่อว่า สำหรับกลุ่มงานวิจัยที่มองว่าควรได้รับการสนับสนุนให้เกิดการศึกษาวิจัยหรือพัฒนาเพิ่มเติม เพื่อกระตุ้นให้เกิดมูลค่าทางเศรษฐกิจ และช่วยยกระดับความสามารถด้านนวัตกรรมให้กับผู้ประกอบการและชุมชน มี 2 กลุ่ม ดังรายละเอียดต่อไปนี้ กลุ่มงานวิจัยด้านการเกษตร เนื่องจากผลผลิตทางการเกษตรถือเป็นรากฐานสำคัญที่มีผลในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศไทยมาอย่างยาวนาน และภาคเกษตรยังเป็นภาคสำคัญที่รองรับการย้ายคืนถิ่นในช่วงสถานการณ์โควิด-19 งานวิจัยต้องสามารถตอบโจทย์ปัญหาในเรื่องของต้นทุนการผลิต การเพิ่มผลิตภาพ พัฒนาคุณภาพของผลิตภัณฑ์ รวมถึงการนำความก้าวหน้าของเทคโนโลยีเข้ามาประยุกต์ใช้กับระบบการผลิตสินค้าทางการเกษตร โดยเฉพาะการแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้า ทั้งนี้ ข้อมูลจากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พบว่า การส่งออกสินค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์ของไทยไปยังตลาดโลก ในช่วงครึ่งแรกของปี 2564 พบว่า มีมูลค่าอยู่ที่ 716,581 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปี 2563 ซึ่งอยู่ที่ 669,079 ล้านบาท หรือร้อยละ 7.1 โดยเฉพาะผลิตภัณฑ์สินค้าแปรูป ดังนั้น งานวิจัยจะช่วยยกระดับภาคเกษตรไทยให้สอดคล้องกับความต้องการใหม่ๆ ของตลาดและผู้บริโภค สร้างโอกาสให้กับเกษตรกรไทย และสร้างประโยชน์ทางเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศให้กลับมาฟื้นตัวได้โดยเร็วภายหลังภาวะวิกฤตโควิด-19 ได้ กลุ่มงานวิจัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เนื่องจากความก้าวหน้าของเทคโนโลยีในปัจจุบันทำให้โลกเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว สถานการณ์โรคโควิด-19 ได้กระตุ้นให้เกิดการพัฒนางานวิจัยและคิดค้นนวัตกรรมใหม่ๆ โดยเฉพาะด้านการแพทย์ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านสาธารณสุขในการป้องกันการแพร่ระบาด จึงสำคัญอย่างยิ่งในการนำเทคโนโลยีเข้ามาช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น เพื่อลดการพึ่งพาหรือนำเข้าจากต่างประเทศ สำหรับประเทศไทย คณะรัฐมนตรีได้มีมติอนุมัติกรอบวงเงินงบประมาณด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เป็นจำนวน 24,400 ล้านบาท ในการขับเคลื่อนงานวิจัยและพัฒนานวัตกรรมเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตให้กับประชาชน โดยเฉพาะการป้องกันและลดผลกระทบจากโรคระบาดโควิด-19 ตัวอย่างผลสำเร็จในปี 2563 เช่น ผลงานการพัฒนาหุ่นยนต์ระบบอัตโนมัติและปัญญาประดิษฐ์เพื่อใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตและตรวจสอบคุณภาพหน้ากากอนามัย การผลิตชุดตรวจเชื้อโควิด-19 โดยวิธี Real-Time RT-PCR จากน้ำลาย เป็นต้น ทั้งนี้ การปฏิรูปบทบาทการวิจัยของสถาบันอุดมศึกษาเพื่อสนับสนุนการพัฒนาประเทศไทยออกจากกับดักรายได้ปานกลางอย่างยั่งยืน ถือเป็นหนึ่งในภารกิจที่สำคัญของ คณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา ที่กำลังเร่งผลักดันแผนปฏิรูปฯ ด้านการศึกษาร่วมกับหน่วยงานต่างๆ โดยความคืบหน้าล่าสุด ในที่ประชุมร่วมรัฐสภาได้มีมติเห็นชอบ ร่างพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) ส่งเสริมการใช้ประโยชน์ผลงานวิจัยและนวัตกรรม ตามที่ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เสนอและผลักดันมาอย่างต่อเนื่อง โดย พ.ร.บ. ดังกล่าว จะช่วยแก้ปัญหาเรื่องสิทธิความเป็นเจ้าของผลงานวิจัยระหว่างหน่วยงานผู้ให้ทุนและผู้รับทุน ได้แก่ สถาบันวิจัย สถาบันอุดมศึกษา และนักวิจัย ให้มีโอกาสเป็นเจ้าของผลงานวิจัยและนวัตกรรม เนื่องจากที่ผ่านมาผู้รับทุนหรือนักวิจัยไม่สามารถเป็นเจ้าของผลงานวิจัยได้ด้วยข้อจำกัดทางกฎหมาย จึงไม่สามารถนำผลงานวิจัยที่เกิดขึ้นไปต่อยอดและใช้ประโยชน์ได้ “อย่างไรก็ดี พระราชบัญญัติส่งเสริมการใช้ประโยชน์ผลงานวิจัยและนวัตกรรม จะช่วยสร้างแรงจูงใจให้กับสถาบันวิจัย สถาบันอุดมศึกษา และนักวิจัย ในการสร้างผลงานวิจัยและนวัตกรรมที่มีคุณภาพ ตอบโจทย์ความต้องการในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมอย่างแท้จริง เพื่อส่งเสริมให้เกิดการนำผลงานวิจัยและนวัตกรรมที่เกิดจากการสนับสนุนทุนโดยรัฐไปใช้ประโยชน์ต่อสาธารณะอย่างแท้จริง อันจะเป็นกลไกสำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศให้ก้าวข้ามกับดักประเทศรายได้ปานกลางได้อย่างยั่งยืนในอนาคต” รศ. ดร.วรากรณ์ กล่าวทิ้งท้าย ติดตามความเคลื่อนไหวกิจกรรม ของ คณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา ได้ใน 4 ช่องทาง ดังนี้ เว็บไซต์ https://www.thaiedreform2022.org เฟซบุ๊กแฟนเพจ https://web.facebook.com/Thaiedreform2022 ยูทูบช่อง ‘thaiedreform2022’ และทวิตเตอร์ https://twitter.com/Thaiedreform22 EZ Webmaster Related Posts คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” รวมบุคคลสำคัญของแต่ละมหาวิทยาลัยไทย มาให้ทุกคนได้รู้กัน !! Post navigation PREVIOUS Previous post: มทร.ธัญบุรี จับมือ บีเอทีซี พัฒนาและยกระดับการเรียนการสอนและการวิจัยNEXT Next post: สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครผู้รับทุนการศึกษา “ทุน บ โดดเด่น” ประจำปีงบประมาณ 2564 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ…
เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ…
คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster October 15, 2021 EZ Webmaster October 15, 2021 “รศ. ดร.วรากรณ์” สะท้อนปัญหางานวิจัยอุดมศึกษาฯ ขาดแพสชั่นผลิตงานคุณภาพ พร้อมชี้ 2 กลุ่มงานวิจัย “เกษตร-ไอที” ควรได้รับแรงกระตุ้น เหตุช่วยหนุนเศรษฐกิจโต! รศ. ดร.วรากรณ์ สามโกเศศ ประธานกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา ชี้ให้เห็นถึงปัญหาของระบบงานวิจัยในกลุ่มอุดมศึกษาไทย คือ ขาดแรงจูงใจและมาตรฐานในการสร้างผลงานวิจัยที่มีคุณภาพ โดยกลุ่มงานวิจัยที่ควรได้รับการสนับสนุน เพื่อกระตุ้นให้เกิดมูลค่าทางเศรษฐกิจ พร้อมยกระดับความสามารถด้านนวัตกรรมให้กับผู้ประกอบการและชุมชน ได้แก่ 1. กลุ่มงานวิจัยด้านการเกษตร และ 2. กลุ่มงานวิจัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ อย่างไรก็ตาม คณะกรรมการปฏิรูปฯ ด้านการศึกษา คาดว่า พ.ร.บ. ส่งเสริมการใช้ประโยชน์ผลงานวิจัยและนวัตกรรม ที่เตรียมประกาศใช้เป็นกฎหมาย จะช่วยสร้างแรงจูงใจในการสร้างผลงานวิจัยและนวัตกรรมที่มีคุณภาพ ตอบโจทย์ความต้องการในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม รศ. ดร.วรากรณ์ สามโกเศศ ประธานกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา เปิดเผยว่า อุปสรรคที่ทำให้คุณภาพของงานวิจัยในประเทศไทยยังขาดการพัฒนาไม่เท่าเทียมกับนานาชาติ และไม่สอดคล้องกับความต้องการของสังคม คือ สถาบันอุดมศึกษาส่วนใหญ่ไม่มีระบบจูงใจ (Passion) ให้คณาจารย์หันมาทำงานวิจัยที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมอย่างแท้จริง รวมถึงไม่มีการกำหนดมาตรฐานเพื่อผลักดันให้เกิดการยกระดับขีดความสามารถด้านงานวิจัย สถาบันอุดมศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องเร่งหาแนวทางในการเพิ่มขีดความสามารถของระบบงานวิจัยและศักยภาพของนักวิจัย ให้มีความพร้อมในการผลิตงานวิจัยที่สอดคล้องกับความต้องการในการพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ รศ. ดร.วรากรณ์ กล่าวต่อว่า สำหรับกลุ่มงานวิจัยที่มองว่าควรได้รับการสนับสนุนให้เกิดการศึกษาวิจัยหรือพัฒนาเพิ่มเติม เพื่อกระตุ้นให้เกิดมูลค่าทางเศรษฐกิจ และช่วยยกระดับความสามารถด้านนวัตกรรมให้กับผู้ประกอบการและชุมชน มี 2 กลุ่ม ดังรายละเอียดต่อไปนี้ กลุ่มงานวิจัยด้านการเกษตร เนื่องจากผลผลิตทางการเกษตรถือเป็นรากฐานสำคัญที่มีผลในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศไทยมาอย่างยาวนาน และภาคเกษตรยังเป็นภาคสำคัญที่รองรับการย้ายคืนถิ่นในช่วงสถานการณ์โควิด-19 งานวิจัยต้องสามารถตอบโจทย์ปัญหาในเรื่องของต้นทุนการผลิต การเพิ่มผลิตภาพ พัฒนาคุณภาพของผลิตภัณฑ์ รวมถึงการนำความก้าวหน้าของเทคโนโลยีเข้ามาประยุกต์ใช้กับระบบการผลิตสินค้าทางการเกษตร โดยเฉพาะการแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้า ทั้งนี้ ข้อมูลจากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พบว่า การส่งออกสินค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์ของไทยไปยังตลาดโลก ในช่วงครึ่งแรกของปี 2564 พบว่า มีมูลค่าอยู่ที่ 716,581 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปี 2563 ซึ่งอยู่ที่ 669,079 ล้านบาท หรือร้อยละ 7.1 โดยเฉพาะผลิตภัณฑ์สินค้าแปรูป ดังนั้น งานวิจัยจะช่วยยกระดับภาคเกษตรไทยให้สอดคล้องกับความต้องการใหม่ๆ ของตลาดและผู้บริโภค สร้างโอกาสให้กับเกษตรกรไทย และสร้างประโยชน์ทางเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศให้กลับมาฟื้นตัวได้โดยเร็วภายหลังภาวะวิกฤตโควิด-19 ได้ กลุ่มงานวิจัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เนื่องจากความก้าวหน้าของเทคโนโลยีในปัจจุบันทำให้โลกเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว สถานการณ์โรคโควิด-19 ได้กระตุ้นให้เกิดการพัฒนางานวิจัยและคิดค้นนวัตกรรมใหม่ๆ โดยเฉพาะด้านการแพทย์ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านสาธารณสุขในการป้องกันการแพร่ระบาด จึงสำคัญอย่างยิ่งในการนำเทคโนโลยีเข้ามาช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น เพื่อลดการพึ่งพาหรือนำเข้าจากต่างประเทศ สำหรับประเทศไทย คณะรัฐมนตรีได้มีมติอนุมัติกรอบวงเงินงบประมาณด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เป็นจำนวน 24,400 ล้านบาท ในการขับเคลื่อนงานวิจัยและพัฒนานวัตกรรมเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตให้กับประชาชน โดยเฉพาะการป้องกันและลดผลกระทบจากโรคระบาดโควิด-19 ตัวอย่างผลสำเร็จในปี 2563 เช่น ผลงานการพัฒนาหุ่นยนต์ระบบอัตโนมัติและปัญญาประดิษฐ์เพื่อใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตและตรวจสอบคุณภาพหน้ากากอนามัย การผลิตชุดตรวจเชื้อโควิด-19 โดยวิธี Real-Time RT-PCR จากน้ำลาย เป็นต้น ทั้งนี้ การปฏิรูปบทบาทการวิจัยของสถาบันอุดมศึกษาเพื่อสนับสนุนการพัฒนาประเทศไทยออกจากกับดักรายได้ปานกลางอย่างยั่งยืน ถือเป็นหนึ่งในภารกิจที่สำคัญของ คณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา ที่กำลังเร่งผลักดันแผนปฏิรูปฯ ด้านการศึกษาร่วมกับหน่วยงานต่างๆ โดยความคืบหน้าล่าสุด ในที่ประชุมร่วมรัฐสภาได้มีมติเห็นชอบ ร่างพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) ส่งเสริมการใช้ประโยชน์ผลงานวิจัยและนวัตกรรม ตามที่ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เสนอและผลักดันมาอย่างต่อเนื่อง โดย พ.ร.บ. ดังกล่าว จะช่วยแก้ปัญหาเรื่องสิทธิความเป็นเจ้าของผลงานวิจัยระหว่างหน่วยงานผู้ให้ทุนและผู้รับทุน ได้แก่ สถาบันวิจัย สถาบันอุดมศึกษา และนักวิจัย ให้มีโอกาสเป็นเจ้าของผลงานวิจัยและนวัตกรรม เนื่องจากที่ผ่านมาผู้รับทุนหรือนักวิจัยไม่สามารถเป็นเจ้าของผลงานวิจัยได้ด้วยข้อจำกัดทางกฎหมาย จึงไม่สามารถนำผลงานวิจัยที่เกิดขึ้นไปต่อยอดและใช้ประโยชน์ได้ “อย่างไรก็ดี พระราชบัญญัติส่งเสริมการใช้ประโยชน์ผลงานวิจัยและนวัตกรรม จะช่วยสร้างแรงจูงใจให้กับสถาบันวิจัย สถาบันอุดมศึกษา และนักวิจัย ในการสร้างผลงานวิจัยและนวัตกรรมที่มีคุณภาพ ตอบโจทย์ความต้องการในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมอย่างแท้จริง เพื่อส่งเสริมให้เกิดการนำผลงานวิจัยและนวัตกรรมที่เกิดจากการสนับสนุนทุนโดยรัฐไปใช้ประโยชน์ต่อสาธารณะอย่างแท้จริง อันจะเป็นกลไกสำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศให้ก้าวข้ามกับดักประเทศรายได้ปานกลางได้อย่างยั่งยืนในอนาคต” รศ. ดร.วรากรณ์ กล่าวทิ้งท้าย ติดตามความเคลื่อนไหวกิจกรรม ของ คณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา ได้ใน 4 ช่องทาง ดังนี้ เว็บไซต์ https://www.thaiedreform2022.org เฟซบุ๊กแฟนเพจ https://web.facebook.com/Thaiedreform2022 ยูทูบช่อง ‘thaiedreform2022’ และทวิตเตอร์ https://twitter.com/Thaiedreform22 EZ Webmaster Related Posts คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” รวมบุคคลสำคัญของแต่ละมหาวิทยาลัยไทย มาให้ทุกคนได้รู้กัน !! Post navigation PREVIOUS Previous post: มทร.ธัญบุรี จับมือ บีเอทีซี พัฒนาและยกระดับการเรียนการสอนและการวิจัยNEXT Next post: สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครผู้รับทุนการศึกษา “ทุน บ โดดเด่น” ประจำปีงบประมาณ 2564 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster October 15, 2021 EZ Webmaster October 15, 2021 “รศ. ดร.วรากรณ์” สะท้อนปัญหางานวิจัยอุดมศึกษาฯ ขาดแพสชั่นผลิตงานคุณภาพ พร้อมชี้ 2 กลุ่มงานวิจัย “เกษตร-ไอที” ควรได้รับแรงกระตุ้น เหตุช่วยหนุนเศรษฐกิจโต! รศ. ดร.วรากรณ์ สามโกเศศ ประธานกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา ชี้ให้เห็นถึงปัญหาของระบบงานวิจัยในกลุ่มอุดมศึกษาไทย คือ ขาดแรงจูงใจและมาตรฐานในการสร้างผลงานวิจัยที่มีคุณภาพ โดยกลุ่มงานวิจัยที่ควรได้รับการสนับสนุน เพื่อกระตุ้นให้เกิดมูลค่าทางเศรษฐกิจ พร้อมยกระดับความสามารถด้านนวัตกรรมให้กับผู้ประกอบการและชุมชน ได้แก่ 1. กลุ่มงานวิจัยด้านการเกษตร และ 2. กลุ่มงานวิจัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ อย่างไรก็ตาม คณะกรรมการปฏิรูปฯ ด้านการศึกษา คาดว่า พ.ร.บ. ส่งเสริมการใช้ประโยชน์ผลงานวิจัยและนวัตกรรม ที่เตรียมประกาศใช้เป็นกฎหมาย จะช่วยสร้างแรงจูงใจในการสร้างผลงานวิจัยและนวัตกรรมที่มีคุณภาพ ตอบโจทย์ความต้องการในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม รศ. ดร.วรากรณ์ สามโกเศศ ประธานกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา เปิดเผยว่า อุปสรรคที่ทำให้คุณภาพของงานวิจัยในประเทศไทยยังขาดการพัฒนาไม่เท่าเทียมกับนานาชาติ และไม่สอดคล้องกับความต้องการของสังคม คือ สถาบันอุดมศึกษาส่วนใหญ่ไม่มีระบบจูงใจ (Passion) ให้คณาจารย์หันมาทำงานวิจัยที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมอย่างแท้จริง รวมถึงไม่มีการกำหนดมาตรฐานเพื่อผลักดันให้เกิดการยกระดับขีดความสามารถด้านงานวิจัย สถาบันอุดมศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องเร่งหาแนวทางในการเพิ่มขีดความสามารถของระบบงานวิจัยและศักยภาพของนักวิจัย ให้มีความพร้อมในการผลิตงานวิจัยที่สอดคล้องกับความต้องการในการพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ รศ. ดร.วรากรณ์ กล่าวต่อว่า สำหรับกลุ่มงานวิจัยที่มองว่าควรได้รับการสนับสนุนให้เกิดการศึกษาวิจัยหรือพัฒนาเพิ่มเติม เพื่อกระตุ้นให้เกิดมูลค่าทางเศรษฐกิจ และช่วยยกระดับความสามารถด้านนวัตกรรมให้กับผู้ประกอบการและชุมชน มี 2 กลุ่ม ดังรายละเอียดต่อไปนี้ กลุ่มงานวิจัยด้านการเกษตร เนื่องจากผลผลิตทางการเกษตรถือเป็นรากฐานสำคัญที่มีผลในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศไทยมาอย่างยาวนาน และภาคเกษตรยังเป็นภาคสำคัญที่รองรับการย้ายคืนถิ่นในช่วงสถานการณ์โควิด-19 งานวิจัยต้องสามารถตอบโจทย์ปัญหาในเรื่องของต้นทุนการผลิต การเพิ่มผลิตภาพ พัฒนาคุณภาพของผลิตภัณฑ์ รวมถึงการนำความก้าวหน้าของเทคโนโลยีเข้ามาประยุกต์ใช้กับระบบการผลิตสินค้าทางการเกษตร โดยเฉพาะการแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้า ทั้งนี้ ข้อมูลจากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พบว่า การส่งออกสินค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์ของไทยไปยังตลาดโลก ในช่วงครึ่งแรกของปี 2564 พบว่า มีมูลค่าอยู่ที่ 716,581 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปี 2563 ซึ่งอยู่ที่ 669,079 ล้านบาท หรือร้อยละ 7.1 โดยเฉพาะผลิตภัณฑ์สินค้าแปรูป ดังนั้น งานวิจัยจะช่วยยกระดับภาคเกษตรไทยให้สอดคล้องกับความต้องการใหม่ๆ ของตลาดและผู้บริโภค สร้างโอกาสให้กับเกษตรกรไทย และสร้างประโยชน์ทางเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศให้กลับมาฟื้นตัวได้โดยเร็วภายหลังภาวะวิกฤตโควิด-19 ได้ กลุ่มงานวิจัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เนื่องจากความก้าวหน้าของเทคโนโลยีในปัจจุบันทำให้โลกเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว สถานการณ์โรคโควิด-19 ได้กระตุ้นให้เกิดการพัฒนางานวิจัยและคิดค้นนวัตกรรมใหม่ๆ โดยเฉพาะด้านการแพทย์ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านสาธารณสุขในการป้องกันการแพร่ระบาด จึงสำคัญอย่างยิ่งในการนำเทคโนโลยีเข้ามาช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น เพื่อลดการพึ่งพาหรือนำเข้าจากต่างประเทศ สำหรับประเทศไทย คณะรัฐมนตรีได้มีมติอนุมัติกรอบวงเงินงบประมาณด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เป็นจำนวน 24,400 ล้านบาท ในการขับเคลื่อนงานวิจัยและพัฒนานวัตกรรมเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตให้กับประชาชน โดยเฉพาะการป้องกันและลดผลกระทบจากโรคระบาดโควิด-19 ตัวอย่างผลสำเร็จในปี 2563 เช่น ผลงานการพัฒนาหุ่นยนต์ระบบอัตโนมัติและปัญญาประดิษฐ์เพื่อใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตและตรวจสอบคุณภาพหน้ากากอนามัย การผลิตชุดตรวจเชื้อโควิด-19 โดยวิธี Real-Time RT-PCR จากน้ำลาย เป็นต้น ทั้งนี้ การปฏิรูปบทบาทการวิจัยของสถาบันอุดมศึกษาเพื่อสนับสนุนการพัฒนาประเทศไทยออกจากกับดักรายได้ปานกลางอย่างยั่งยืน ถือเป็นหนึ่งในภารกิจที่สำคัญของ คณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา ที่กำลังเร่งผลักดันแผนปฏิรูปฯ ด้านการศึกษาร่วมกับหน่วยงานต่างๆ โดยความคืบหน้าล่าสุด ในที่ประชุมร่วมรัฐสภาได้มีมติเห็นชอบ ร่างพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) ส่งเสริมการใช้ประโยชน์ผลงานวิจัยและนวัตกรรม ตามที่ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เสนอและผลักดันมาอย่างต่อเนื่อง โดย พ.ร.บ. ดังกล่าว จะช่วยแก้ปัญหาเรื่องสิทธิความเป็นเจ้าของผลงานวิจัยระหว่างหน่วยงานผู้ให้ทุนและผู้รับทุน ได้แก่ สถาบันวิจัย สถาบันอุดมศึกษา และนักวิจัย ให้มีโอกาสเป็นเจ้าของผลงานวิจัยและนวัตกรรม เนื่องจากที่ผ่านมาผู้รับทุนหรือนักวิจัยไม่สามารถเป็นเจ้าของผลงานวิจัยได้ด้วยข้อจำกัดทางกฎหมาย จึงไม่สามารถนำผลงานวิจัยที่เกิดขึ้นไปต่อยอดและใช้ประโยชน์ได้ “อย่างไรก็ดี พระราชบัญญัติส่งเสริมการใช้ประโยชน์ผลงานวิจัยและนวัตกรรม จะช่วยสร้างแรงจูงใจให้กับสถาบันวิจัย สถาบันอุดมศึกษา และนักวิจัย ในการสร้างผลงานวิจัยและนวัตกรรมที่มีคุณภาพ ตอบโจทย์ความต้องการในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมอย่างแท้จริง เพื่อส่งเสริมให้เกิดการนำผลงานวิจัยและนวัตกรรมที่เกิดจากการสนับสนุนทุนโดยรัฐไปใช้ประโยชน์ต่อสาธารณะอย่างแท้จริง อันจะเป็นกลไกสำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศให้ก้าวข้ามกับดักประเทศรายได้ปานกลางได้อย่างยั่งยืนในอนาคต” รศ. ดร.วรากรณ์ กล่าวทิ้งท้าย ติดตามความเคลื่อนไหวกิจกรรม ของ คณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา ได้ใน 4 ช่องทาง ดังนี้ เว็บไซต์ https://www.thaiedreform2022.org เฟซบุ๊กแฟนเพจ https://web.facebook.com/Thaiedreform2022 ยูทูบช่อง ‘thaiedreform2022’ และทวิตเตอร์ https://twitter.com/Thaiedreform22 EZ Webmaster Related Posts คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” รวมบุคคลสำคัญของแต่ละมหาวิทยาลัยไทย มาให้ทุกคนได้รู้กัน !! Post navigation PREVIOUS Previous post: มทร.ธัญบุรี จับมือ บีเอทีซี พัฒนาและยกระดับการเรียนการสอนและการวิจัยNEXT Next post: สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครผู้รับทุนการศึกษา “ทุน บ โดดเด่น” ประจำปีงบประมาณ 2564 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief…
เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief…
“40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster October 15, 2021 EZ Webmaster October 15, 2021 “รศ. ดร.วรากรณ์” สะท้อนปัญหางานวิจัยอุดมศึกษาฯ ขาดแพสชั่นผลิตงานคุณภาพ พร้อมชี้ 2 กลุ่มงานวิจัย “เกษตร-ไอที” ควรได้รับแรงกระตุ้น เหตุช่วยหนุนเศรษฐกิจโต! รศ. ดร.วรากรณ์ สามโกเศศ ประธานกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา ชี้ให้เห็นถึงปัญหาของระบบงานวิจัยในกลุ่มอุดมศึกษาไทย คือ ขาดแรงจูงใจและมาตรฐานในการสร้างผลงานวิจัยที่มีคุณภาพ โดยกลุ่มงานวิจัยที่ควรได้รับการสนับสนุน เพื่อกระตุ้นให้เกิดมูลค่าทางเศรษฐกิจ พร้อมยกระดับความสามารถด้านนวัตกรรมให้กับผู้ประกอบการและชุมชน ได้แก่ 1. กลุ่มงานวิจัยด้านการเกษตร และ 2. กลุ่มงานวิจัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ อย่างไรก็ตาม คณะกรรมการปฏิรูปฯ ด้านการศึกษา คาดว่า พ.ร.บ. ส่งเสริมการใช้ประโยชน์ผลงานวิจัยและนวัตกรรม ที่เตรียมประกาศใช้เป็นกฎหมาย จะช่วยสร้างแรงจูงใจในการสร้างผลงานวิจัยและนวัตกรรมที่มีคุณภาพ ตอบโจทย์ความต้องการในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม รศ. ดร.วรากรณ์ สามโกเศศ ประธานกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา เปิดเผยว่า อุปสรรคที่ทำให้คุณภาพของงานวิจัยในประเทศไทยยังขาดการพัฒนาไม่เท่าเทียมกับนานาชาติ และไม่สอดคล้องกับความต้องการของสังคม คือ สถาบันอุดมศึกษาส่วนใหญ่ไม่มีระบบจูงใจ (Passion) ให้คณาจารย์หันมาทำงานวิจัยที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมอย่างแท้จริง รวมถึงไม่มีการกำหนดมาตรฐานเพื่อผลักดันให้เกิดการยกระดับขีดความสามารถด้านงานวิจัย สถาบันอุดมศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องเร่งหาแนวทางในการเพิ่มขีดความสามารถของระบบงานวิจัยและศักยภาพของนักวิจัย ให้มีความพร้อมในการผลิตงานวิจัยที่สอดคล้องกับความต้องการในการพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ รศ. ดร.วรากรณ์ กล่าวต่อว่า สำหรับกลุ่มงานวิจัยที่มองว่าควรได้รับการสนับสนุนให้เกิดการศึกษาวิจัยหรือพัฒนาเพิ่มเติม เพื่อกระตุ้นให้เกิดมูลค่าทางเศรษฐกิจ และช่วยยกระดับความสามารถด้านนวัตกรรมให้กับผู้ประกอบการและชุมชน มี 2 กลุ่ม ดังรายละเอียดต่อไปนี้ กลุ่มงานวิจัยด้านการเกษตร เนื่องจากผลผลิตทางการเกษตรถือเป็นรากฐานสำคัญที่มีผลในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศไทยมาอย่างยาวนาน และภาคเกษตรยังเป็นภาคสำคัญที่รองรับการย้ายคืนถิ่นในช่วงสถานการณ์โควิด-19 งานวิจัยต้องสามารถตอบโจทย์ปัญหาในเรื่องของต้นทุนการผลิต การเพิ่มผลิตภาพ พัฒนาคุณภาพของผลิตภัณฑ์ รวมถึงการนำความก้าวหน้าของเทคโนโลยีเข้ามาประยุกต์ใช้กับระบบการผลิตสินค้าทางการเกษตร โดยเฉพาะการแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้า ทั้งนี้ ข้อมูลจากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พบว่า การส่งออกสินค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์ของไทยไปยังตลาดโลก ในช่วงครึ่งแรกของปี 2564 พบว่า มีมูลค่าอยู่ที่ 716,581 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปี 2563 ซึ่งอยู่ที่ 669,079 ล้านบาท หรือร้อยละ 7.1 โดยเฉพาะผลิตภัณฑ์สินค้าแปรูป ดังนั้น งานวิจัยจะช่วยยกระดับภาคเกษตรไทยให้สอดคล้องกับความต้องการใหม่ๆ ของตลาดและผู้บริโภค สร้างโอกาสให้กับเกษตรกรไทย และสร้างประโยชน์ทางเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศให้กลับมาฟื้นตัวได้โดยเร็วภายหลังภาวะวิกฤตโควิด-19 ได้ กลุ่มงานวิจัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เนื่องจากความก้าวหน้าของเทคโนโลยีในปัจจุบันทำให้โลกเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว สถานการณ์โรคโควิด-19 ได้กระตุ้นให้เกิดการพัฒนางานวิจัยและคิดค้นนวัตกรรมใหม่ๆ โดยเฉพาะด้านการแพทย์ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านสาธารณสุขในการป้องกันการแพร่ระบาด จึงสำคัญอย่างยิ่งในการนำเทคโนโลยีเข้ามาช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น เพื่อลดการพึ่งพาหรือนำเข้าจากต่างประเทศ สำหรับประเทศไทย คณะรัฐมนตรีได้มีมติอนุมัติกรอบวงเงินงบประมาณด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เป็นจำนวน 24,400 ล้านบาท ในการขับเคลื่อนงานวิจัยและพัฒนานวัตกรรมเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตให้กับประชาชน โดยเฉพาะการป้องกันและลดผลกระทบจากโรคระบาดโควิด-19 ตัวอย่างผลสำเร็จในปี 2563 เช่น ผลงานการพัฒนาหุ่นยนต์ระบบอัตโนมัติและปัญญาประดิษฐ์เพื่อใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตและตรวจสอบคุณภาพหน้ากากอนามัย การผลิตชุดตรวจเชื้อโควิด-19 โดยวิธี Real-Time RT-PCR จากน้ำลาย เป็นต้น ทั้งนี้ การปฏิรูปบทบาทการวิจัยของสถาบันอุดมศึกษาเพื่อสนับสนุนการพัฒนาประเทศไทยออกจากกับดักรายได้ปานกลางอย่างยั่งยืน ถือเป็นหนึ่งในภารกิจที่สำคัญของ คณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา ที่กำลังเร่งผลักดันแผนปฏิรูปฯ ด้านการศึกษาร่วมกับหน่วยงานต่างๆ โดยความคืบหน้าล่าสุด ในที่ประชุมร่วมรัฐสภาได้มีมติเห็นชอบ ร่างพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) ส่งเสริมการใช้ประโยชน์ผลงานวิจัยและนวัตกรรม ตามที่ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เสนอและผลักดันมาอย่างต่อเนื่อง โดย พ.ร.บ. ดังกล่าว จะช่วยแก้ปัญหาเรื่องสิทธิความเป็นเจ้าของผลงานวิจัยระหว่างหน่วยงานผู้ให้ทุนและผู้รับทุน ได้แก่ สถาบันวิจัย สถาบันอุดมศึกษา และนักวิจัย ให้มีโอกาสเป็นเจ้าของผลงานวิจัยและนวัตกรรม เนื่องจากที่ผ่านมาผู้รับทุนหรือนักวิจัยไม่สามารถเป็นเจ้าของผลงานวิจัยได้ด้วยข้อจำกัดทางกฎหมาย จึงไม่สามารถนำผลงานวิจัยที่เกิดขึ้นไปต่อยอดและใช้ประโยชน์ได้ “อย่างไรก็ดี พระราชบัญญัติส่งเสริมการใช้ประโยชน์ผลงานวิจัยและนวัตกรรม จะช่วยสร้างแรงจูงใจให้กับสถาบันวิจัย สถาบันอุดมศึกษา และนักวิจัย ในการสร้างผลงานวิจัยและนวัตกรรมที่มีคุณภาพ ตอบโจทย์ความต้องการในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมอย่างแท้จริง เพื่อส่งเสริมให้เกิดการนำผลงานวิจัยและนวัตกรรมที่เกิดจากการสนับสนุนทุนโดยรัฐไปใช้ประโยชน์ต่อสาธารณะอย่างแท้จริง อันจะเป็นกลไกสำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศให้ก้าวข้ามกับดักประเทศรายได้ปานกลางได้อย่างยั่งยืนในอนาคต” รศ. ดร.วรากรณ์ กล่าวทิ้งท้าย ติดตามความเคลื่อนไหวกิจกรรม ของ คณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา ได้ใน 4 ช่องทาง ดังนี้ เว็บไซต์ https://www.thaiedreform2022.org เฟซบุ๊กแฟนเพจ https://web.facebook.com/Thaiedreform2022 ยูทูบช่อง ‘thaiedreform2022’ และทวิตเตอร์ https://twitter.com/Thaiedreform22 EZ Webmaster Related Posts คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” รวมบุคคลสำคัญของแต่ละมหาวิทยาลัยไทย มาให้ทุกคนได้รู้กัน !! Post navigation PREVIOUS Previous post: มทร.ธัญบุรี จับมือ บีเอทีซี พัฒนาและยกระดับการเรียนการสอนและการวิจัยNEXT Next post: สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครผู้รับทุนการศึกษา “ทุน บ โดดเด่น” ประจำปีงบประมาณ 2564 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search
ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน…
สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน…
EZ Webmaster October 15, 2021 EZ Webmaster October 15, 2021 “รศ. ดร.วรากรณ์” สะท้อนปัญหางานวิจัยอุดมศึกษาฯ ขาดแพสชั่นผลิตงานคุณภาพ พร้อมชี้ 2 กลุ่มงานวิจัย “เกษตร-ไอที” ควรได้รับแรงกระตุ้น เหตุช่วยหนุนเศรษฐกิจโต! รศ. ดร.วรากรณ์ สามโกเศศ ประธานกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา ชี้ให้เห็นถึงปัญหาของระบบงานวิจัยในกลุ่มอุดมศึกษาไทย คือ ขาดแรงจูงใจและมาตรฐานในการสร้างผลงานวิจัยที่มีคุณภาพ โดยกลุ่มงานวิจัยที่ควรได้รับการสนับสนุน เพื่อกระตุ้นให้เกิดมูลค่าทางเศรษฐกิจ พร้อมยกระดับความสามารถด้านนวัตกรรมให้กับผู้ประกอบการและชุมชน ได้แก่ 1. กลุ่มงานวิจัยด้านการเกษตร และ 2. กลุ่มงานวิจัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ อย่างไรก็ตาม คณะกรรมการปฏิรูปฯ ด้านการศึกษา คาดว่า พ.ร.บ. ส่งเสริมการใช้ประโยชน์ผลงานวิจัยและนวัตกรรม ที่เตรียมประกาศใช้เป็นกฎหมาย จะช่วยสร้างแรงจูงใจในการสร้างผลงานวิจัยและนวัตกรรมที่มีคุณภาพ ตอบโจทย์ความต้องการในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม รศ. ดร.วรากรณ์ สามโกเศศ ประธานกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา เปิดเผยว่า อุปสรรคที่ทำให้คุณภาพของงานวิจัยในประเทศไทยยังขาดการพัฒนาไม่เท่าเทียมกับนานาชาติ และไม่สอดคล้องกับความต้องการของสังคม คือ สถาบันอุดมศึกษาส่วนใหญ่ไม่มีระบบจูงใจ (Passion) ให้คณาจารย์หันมาทำงานวิจัยที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมอย่างแท้จริง รวมถึงไม่มีการกำหนดมาตรฐานเพื่อผลักดันให้เกิดการยกระดับขีดความสามารถด้านงานวิจัย สถาบันอุดมศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องเร่งหาแนวทางในการเพิ่มขีดความสามารถของระบบงานวิจัยและศักยภาพของนักวิจัย ให้มีความพร้อมในการผลิตงานวิจัยที่สอดคล้องกับความต้องการในการพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ รศ. ดร.วรากรณ์ กล่าวต่อว่า สำหรับกลุ่มงานวิจัยที่มองว่าควรได้รับการสนับสนุนให้เกิดการศึกษาวิจัยหรือพัฒนาเพิ่มเติม เพื่อกระตุ้นให้เกิดมูลค่าทางเศรษฐกิจ และช่วยยกระดับความสามารถด้านนวัตกรรมให้กับผู้ประกอบการและชุมชน มี 2 กลุ่ม ดังรายละเอียดต่อไปนี้ กลุ่มงานวิจัยด้านการเกษตร เนื่องจากผลผลิตทางการเกษตรถือเป็นรากฐานสำคัญที่มีผลในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศไทยมาอย่างยาวนาน และภาคเกษตรยังเป็นภาคสำคัญที่รองรับการย้ายคืนถิ่นในช่วงสถานการณ์โควิด-19 งานวิจัยต้องสามารถตอบโจทย์ปัญหาในเรื่องของต้นทุนการผลิต การเพิ่มผลิตภาพ พัฒนาคุณภาพของผลิตภัณฑ์ รวมถึงการนำความก้าวหน้าของเทคโนโลยีเข้ามาประยุกต์ใช้กับระบบการผลิตสินค้าทางการเกษตร โดยเฉพาะการแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้า ทั้งนี้ ข้อมูลจากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พบว่า การส่งออกสินค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์ของไทยไปยังตลาดโลก ในช่วงครึ่งแรกของปี 2564 พบว่า มีมูลค่าอยู่ที่ 716,581 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปี 2563 ซึ่งอยู่ที่ 669,079 ล้านบาท หรือร้อยละ 7.1 โดยเฉพาะผลิตภัณฑ์สินค้าแปรูป ดังนั้น งานวิจัยจะช่วยยกระดับภาคเกษตรไทยให้สอดคล้องกับความต้องการใหม่ๆ ของตลาดและผู้บริโภค สร้างโอกาสให้กับเกษตรกรไทย และสร้างประโยชน์ทางเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศให้กลับมาฟื้นตัวได้โดยเร็วภายหลังภาวะวิกฤตโควิด-19 ได้ กลุ่มงานวิจัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เนื่องจากความก้าวหน้าของเทคโนโลยีในปัจจุบันทำให้โลกเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว สถานการณ์โรคโควิด-19 ได้กระตุ้นให้เกิดการพัฒนางานวิจัยและคิดค้นนวัตกรรมใหม่ๆ โดยเฉพาะด้านการแพทย์ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านสาธารณสุขในการป้องกันการแพร่ระบาด จึงสำคัญอย่างยิ่งในการนำเทคโนโลยีเข้ามาช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น เพื่อลดการพึ่งพาหรือนำเข้าจากต่างประเทศ สำหรับประเทศไทย คณะรัฐมนตรีได้มีมติอนุมัติกรอบวงเงินงบประมาณด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เป็นจำนวน 24,400 ล้านบาท ในการขับเคลื่อนงานวิจัยและพัฒนานวัตกรรมเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตให้กับประชาชน โดยเฉพาะการป้องกันและลดผลกระทบจากโรคระบาดโควิด-19 ตัวอย่างผลสำเร็จในปี 2563 เช่น ผลงานการพัฒนาหุ่นยนต์ระบบอัตโนมัติและปัญญาประดิษฐ์เพื่อใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตและตรวจสอบคุณภาพหน้ากากอนามัย การผลิตชุดตรวจเชื้อโควิด-19 โดยวิธี Real-Time RT-PCR จากน้ำลาย เป็นต้น ทั้งนี้ การปฏิรูปบทบาทการวิจัยของสถาบันอุดมศึกษาเพื่อสนับสนุนการพัฒนาประเทศไทยออกจากกับดักรายได้ปานกลางอย่างยั่งยืน ถือเป็นหนึ่งในภารกิจที่สำคัญของ คณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา ที่กำลังเร่งผลักดันแผนปฏิรูปฯ ด้านการศึกษาร่วมกับหน่วยงานต่างๆ โดยความคืบหน้าล่าสุด ในที่ประชุมร่วมรัฐสภาได้มีมติเห็นชอบ ร่างพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) ส่งเสริมการใช้ประโยชน์ผลงานวิจัยและนวัตกรรม ตามที่ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เสนอและผลักดันมาอย่างต่อเนื่อง โดย พ.ร.บ. ดังกล่าว จะช่วยแก้ปัญหาเรื่องสิทธิความเป็นเจ้าของผลงานวิจัยระหว่างหน่วยงานผู้ให้ทุนและผู้รับทุน ได้แก่ สถาบันวิจัย สถาบันอุดมศึกษา และนักวิจัย ให้มีโอกาสเป็นเจ้าของผลงานวิจัยและนวัตกรรม เนื่องจากที่ผ่านมาผู้รับทุนหรือนักวิจัยไม่สามารถเป็นเจ้าของผลงานวิจัยได้ด้วยข้อจำกัดทางกฎหมาย จึงไม่สามารถนำผลงานวิจัยที่เกิดขึ้นไปต่อยอดและใช้ประโยชน์ได้ “อย่างไรก็ดี พระราชบัญญัติส่งเสริมการใช้ประโยชน์ผลงานวิจัยและนวัตกรรม จะช่วยสร้างแรงจูงใจให้กับสถาบันวิจัย สถาบันอุดมศึกษา และนักวิจัย ในการสร้างผลงานวิจัยและนวัตกรรมที่มีคุณภาพ ตอบโจทย์ความต้องการในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมอย่างแท้จริง เพื่อส่งเสริมให้เกิดการนำผลงานวิจัยและนวัตกรรมที่เกิดจากการสนับสนุนทุนโดยรัฐไปใช้ประโยชน์ต่อสาธารณะอย่างแท้จริง อันจะเป็นกลไกสำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศให้ก้าวข้ามกับดักประเทศรายได้ปานกลางได้อย่างยั่งยืนในอนาคต” รศ. ดร.วรากรณ์ กล่าวทิ้งท้าย ติดตามความเคลื่อนไหวกิจกรรม ของ คณะกรรมการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา ได้ใน 4 ช่องทาง ดังนี้ เว็บไซต์ https://www.thaiedreform2022.org เฟซบุ๊กแฟนเพจ https://web.facebook.com/Thaiedreform2022 ยูทูบช่อง ‘thaiedreform2022’ และทวิตเตอร์ https://twitter.com/Thaiedreform22
แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่