ฟื้นO-NETเข้ามหา’ลัยเรื่องยาก อธิการบดี มรภ.นครราชสีมาแนะศธ.ใช้เข้าเรียนต่อม.1/ม.4 EZ WebmasterMarch 23, 2025 นายอดิศร เนาวนนท์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏ (มรภ.) นครราชสีมาและนักวิชาการทางการศึกษา เปิดเผยว่า กรณีกระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) หารือกับกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) นำคะแนนการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน หรือ โอเน็ต มาใช้ในการเข้ามหาวิทยาลัย ว่า ส่วนตัวมองว่า… เรียนที่เดียวได้ถึง 2 วุฒิ สาขาวิชาวิศวกรรมสำรวจ ม.เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ EZ WebmasterMarch 23, 2025 เปิดรับสมัครแล้ววันนี้ “เรียนที่นี่ที่เดียว…ได้ถึง 2 วุฒิ ” ถ้าคุณต้องการเพิ่มทางเลือกในชีวิต อย่ามองข้ามเรา แล้วมาเป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรที่มีความต้องการของตลาดแรงงานกันจ้า : คุณวุฒิที่ใช้รับสมัคร สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ในสาขาวิชาช่างสำรวจ ช่างก่อสร้าง ช่างเทคนิคสถาปัตยกรรม หรือเทียบเท่า หรือสำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6)… มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เปิดรับสมัครรอบที่ 2.3 ระบบ Quota TCAS68 EZ WebmasterMarch 22, 2025 มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง กำลังเปิดรับสมัครรอบที่ 2.3 ระบบ Quota ปีการศึกษา 2568 กำหนดรับสมัคร: วันที่ 4 มีนาคม – 8 เมษายน 25681. รับตรงทั่วประเทศ รูปแบบใช้ผลคะแนน A-Levelรายละเอียดประกาศ: https://bit.ly/40GenOk2.… โรงพยาบาลศูนย์การแพทย์มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เปิดให้ 25 ทุน เรียนฟรีผู้ช่วยพยาบาล EZ WebmasterMarch 22, 2025 ประกาศรับสมัครทุนผู้ช่วยพยาบาล โรงพยาบาลศูนย์การแพทย์มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีการศึกษา 2568 เปิดรับสมัครแล้ว! ตั้งแต่วันนี้ – 30 เมษายน 2568 คุณสมบัติเบื้องต้น• สำเร็จการศึกษาชั้น ม.6 หรือเทียบเท่า• เปิดรับทั้งบุคคลภายนอก และพนักงานของโรงพยาบาลศูนย์การแพทย์ฯ ดูรายละเอียดเพิ่มเติม คลิก สอบถามเพิ่มเติม โทร. 0 5391… นักศึกษา โรงเรียนฝึกอาชีพ กทม. เปิดสอนอาชีพ หลักสูตร 200 ชั่วโมง เรียนจบมีใบรับรอง สร้างอาชีพได้จริง EZ WebmasterMarch 22, 2025 โรงเรียนฝึกอาชีพ กทม. เปิดสอนอาชีพ หลักสูตร 200 ชั่วโมง ได้เรียนปฏิบัติเน้น ๆ มีให้เลือกเรียนทุกสาขาวิชา เรียนจบมีใบรับรองให้ เอาไปสร้างอาชีพได้จริง ค่าเรียนเริ่มต้นคอร์สละ 105 บาท (มีทั้งรอบเช้า / บ่าย /… นักศึกษามทร.ธัญบุรี ส่งต่ออาชีพดอกมะลิทิชชู่ ผู้ต้องขังเรือนจำธัญบุรี tui sakrapeeMarch 22, 2025 สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ หลักสูตรฯนวัตกรรมศิลปะประดิษฐ์สร้างสรรค์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีนวัตกรรมศิลปประดิษฐ์สร้างสรรรค์สู่ชุมชน การประดิษฐ์ดอกมะลิจากกระดาษทิชชู่ เรือนจำอำเภอธัญบุรี ตำบลคลองหก อำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วิจิตร สนหอม หัวหน้าสาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ อาจารย์ประจำหลักสูตรฯนวัตกรรมศิลปประดิษฐ์สร้างสรรค์ และอาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ เผยว่า โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีนวัตกรรมศิลปประดิษฐ์สร้างสรรค์สู่ชุมชน… มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค EZ WebmasterMarch 21, 2025 ศาสตราจารย์ นายแพทย์ปิยะมิตร ศรีธรา อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า ปัจจุบันโลกกำลังเผชิญกับกระแสความเปลี่ยนแปลงใหญ่ๆ ใน 6 มิติ 1. สังคมสูงวัย (Aging Society) ในอีก 8 ปีข้างหน้า ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุระดับสุดยอด (Super… ฟินแลนด์ครองแชมป์ 8 ปีซ้อน ประเทศที่มีความสุขที่สุดในโลก 2025 ไทยขยับขึ้นอันดับ 49 EZ WebmasterMarch 21, 2025 ฟินแลนด์ ยังคงรักษาตำแหน่งประเทศที่มีความสุขที่สุดในโลกเป็นปีที่ 8 ติดต่อกัน ตามรายงานความสุขโลก (World Happiness Report) ประจำปี 2025 ซึ่งจัดทำโดยศูนย์วิจัยความเป็นอยู่ที่ดี (Wellbeing Research Centre) แห่งมหาวิทยาลัยอ็อกซ์ฟอร์ด รายงานนี้เผยแพร่ในช่วงวันความสุขสากล (International Day of Happiness)… ทุนดีดี ทุนการศึกษามูลนิธิศึกษาวิจัยและพัฒนาเพื่อสังคมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปี 2568 EZ WebmasterMarch 22, 2025 ทุนการศึกษามูลนิธิศึกษาวิจัยฯ ประจำปี 2568 ++ ประกาศเปิดรับสมัครแล้วตั้งแต่วันนี้ ++ โดยทุนการศึกษามูลนิธิศึกษาวิจัยและพัฒนาเพื่อสังคมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปี 2568 เปิดรับสมัครจำนวน 2 รอบ โดยมีรายละเอียดดังนี้ – ทุนรอบที่ 1 รับสมัครในวันที่ 1 มกราคม… สกสค. ร่วมกับ CP All มอบ 100 ทุนเรียนฟรี 100% ระดับ ปวช. ปวส. และปริญญาตรี EZ WebmasterMarch 21, 2025 กสค. ร่วมกับ CP All มอบทุนเรียนฟรี !! 100% ล่าสุดขยายโอกาสเพิ่มอีก 9 สาขาใหม่ เพิ่มทางเลือกให้เยาวชนก้าวไกล ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ศึกษาที่วิทยาลัยปัญญาภิวัฒน์ และศูนย์การเรียนฯ ทั่วประเทศ 20 แห่ง ทุนการศึกษาระดับ… ให้ทุนเยาวชน ODOS Summer Camp ไปเรียนซัมเมอร์ต่างประเทศ 6 สัปดาห์ เริ่มสมัครได้ 24 มี.ค.นี้ EZ WebmasterMarch 21, 2025 ODOS Summer Camp ทุนการศึกษาระยะสั้น 6 สัปดาห์ เพื่อกระจายโอกาสให้เด็กไทยทุกคนได้มีโอกาสไปเรียนซัมเมอร์ต่างประเทศ เปิดหูเปิดตา ค้นหาตัวตน และสร้างแรงบันดาลใจในการเรียนรู้ โดยไม่จำเป็นต้องเป็นเด็กเก่ง เด็กเรียน หรือเด็กหน้าห้อง เปิดรับเยาวชนที่มีคุณสมบัติดังนี้ – สัญชาติไทย – อายุไม่เกิน… ธนาคารแห่งประเทศไทย เปิดรับสมัครทุนระดับปริญญาโทขึ้นไป เรียนต่อที่ประเทศอังกฤษ EZ WebmasterMarch 17, 2025 ประกาศเปิดรับสมัครทุนการศึกษา Dr. Puey Ungphakorn Centenary Scholarship ประจำปี 2568 ธนาคารแห่งประเทศไทย เปิดรับสมัครทุนการศึกษาระดับปริญญาโทขึ้นไป เพื่อศึกษาต่อที่ The London School of Economics and Political… ครู-อาจารย์ มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค EZ WebmasterMarch 21, 2025 ศาสตราจารย์ นายแพทย์ปิยะมิตร ศรีธรา อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า ปัจจุบันโลกกำลังเผชิญกับกระแสความเปลี่ยนแปลงใหญ่ๆ ใน 6 มิติ 1. สังคมสูงวัย (Aging Society) ในอีก 8 ปีข้างหน้า ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุระดับสุดยอด (Super… รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน EZ WebmasterMarch 21, 2025 รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน พร้อมจ่ายเงินอุดหนุนการศึกษาและพัฒนาอาชีพ ผ่านกสศ. ขณะที่ Microsoft หนุน ศูนย์ดิจิทัลชุมชน ยกระดับทักษะAI เพิ่มโอกาสมีงานทำ พร้อมจับมือ UNICEF สร้าง 1… Kahoot! เปิดตัว Kahoot! Energize ปฏิวัติการประชุมให้มีพลังและสร้างผลกระทบที่เหนือกว่า EZ WebmasterMarch 21, 2025 เปลี่ยนทุกการนำเสนอในที่ทำงานให้กลายเป็นการสื่อสารสองทาง สร้างประสบการณ์ที่น่าสนใจ เต็มไปด้วยความมีชีวิตชีวาและการมีส่วนร่วมที่แท้จริง กระตุ้นการมีส่วนร่วมจากผู้ฟังและขับเคลื่อน ผลลัพธ์ทางธุรกิจไปอีกขั้นด้วย Kahoot! Energize Kahoot! (คาฮู้ด) ผู้นำด้านการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมระดับโลกได้เปิดตัวเครื่องมือใหม่ Kahoot! Energize ที่จะเปลี่ยนทุกการประชุม การฝึกอบรม หรือกิจกรรมต่างๆ ให้กลายเป็นช่วงเวลาที่เต็มไปด้วยพลังและความสนุก พร้อมกระตุ้นการมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ สร้างผลกระทบที่มีความหมาย และขับเคลื่อนธุรกิจไปข้างหน้า การพัฒนา Kahoot! Energize ต่อยอดจากรูปแบบการเรียนรู้และการมีส่วนร่วม อันเป็นเอกลักษณ์ที่ได้รับความนิยมของ Kahoot! แต่เพิ่มความสามารถในการใช้งานในสภาพแวดล้อมการทำงานที่หลากหลาย… สมศ. เน้นย้ำการประเมินคุณภาพภายนอก ปี 67-71 ลดวันประเมิน On site ขยายสู่รูปแบบออนไลน์ สร้างมาตรฐานในการแข่งขันระดับอาเซียน EZ WebmasterMarch 20, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยในการประชุมรับฟังความคิดเห็น (ร่าง) กรอบแนวทางการประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษาที่จัดการเรียนรู้ในสังกัดกรมส่งเสริมการเรียนรู้ (สกร.) โดยเน้นย้ำเรื่อง “แนวคิดและทิศทางการประกันคุณภาพภายนอก” ว่า การประกันคุณภาพภายนอกไม่ใช่เป็น “การตรวจสอบ” แต่เป็นเครื่องมือที่ช่วยส่งเสริมการพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษาอย่างแท้จริง… กิจกรรม โรงเรียนฝึกอาชีพ กทม. เปิดสอนอาชีพ หลักสูตร 200 ชั่วโมง เรียนจบมีใบรับรอง สร้างอาชีพได้จริง EZ WebmasterMarch 22, 2025 โรงเรียนฝึกอาชีพ กทม. เปิดสอนอาชีพ หลักสูตร 200 ชั่วโมง ได้เรียนปฏิบัติเน้น ๆ มีให้เลือกเรียนทุกสาขาวิชา เรียนจบมีใบรับรองให้ เอาไปสร้างอาชีพได้จริง ค่าเรียนเริ่มต้นคอร์สละ 105 บาท (มีทั้งรอบเช้า / บ่าย /… รวมพลังสีชมพูจุฬาฯ กลับบ้านสู่ร่มจามจุรี ในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” EZ WebmasterMarch 14, 2025 สมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (สนจ.) เชิญชวนชาวจุฬาฯ ทั้งนิสิตเก่าและนิสิตปัจจุบัน เดินทางกลับบ้านในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” ร่วมฉลองวาระสำคัญ ครบรอบ 108 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในบรรยากาศแห่งความรักความสามัคคี และความผูกพันของเหล่าน้องพี่สีชมพู ภายใต้ร่มเงาของจามจุรี นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย… สจล. ผนึกกำลังตำรวจภูธรภาค 2 และบริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จำกัด (สำนักงานใหญ่) พัฒนาโครงการ “AI Robot รับแจ้งความ” ประมวลผลถูกต้องและมีประสิทธิภาพ EZ WebmasterMarch 13, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี ร่วมด้วยพลตำรวจโท ยิ่งยศ เทพจำนงค์ (คนที่ 3 จากซ้าย) ผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 2… สจล. ร่วมกับกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน มุ่งยกระดับฝีมือแรงงาน สอดคล้องความต้องการในอนาคต EZ WebmasterMarch 10, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี และนายเดชา พฤกษ์พัฒนรักษ์ (คนที่ 3 จากซ้าย) อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ได้ลงในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการร่วมกัน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่นักศึกษาของสถาบันก่อนเข้าสู่ตลาดแรงงานในสาขาอาชีพต่าง… Search for: Search tui sakrapee August 30, 2021 tui sakrapee August 30, 2021 “น้องไฟฉาย รุ่น3” โคม UV-C ฆ่าเชื้อ COVID-19 ปฏิบัติการแล้วเพื่อบุคลากรด่านหน้าปลอดภัยมั่นใจ 100 % คณะแพทยศาสตร์และคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ Smile Roboticsและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ร่วมพัฒนานวัตกรรมโคม UV-C “น้องไฟฉาย รุ่นที่ 3”ฆ่าและทำลายเชื้อไวรัส COVID-19 และเชื้อโรคอื่นๆ ได้ 99.99% ภายใน 3 นาที พร้อมสร้างความมั่นใจให้เจ้าหน้าที่ด่านหน้าแล้ว ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโควิด-19บุคลากรทางการแพทย์ถือเป็นกลุ่มคนด่านหน้าที่มีความเสี่ยงสูงเนื่องจากต้องคลุกคลีกับผู้ติดเชื้อทุกวันต่อเนื่องเป็นระยะเวลานานซึ่งเชื้อโควิด-19 สามารถล่องลอยอยู่ในอากาศได้ชั่วระยะเวลาหนึ่งแถมอยู่บนพื้นผิวต่างๆ ได้นานหลายชั่วโมงถึงนานนับวันขึ้นอยู่กับปัจจัยด้านสภาพแวดล้อม ดังนั้นการฆ่าเชื้อสถานที่ปฏิบัติงานสำหรับบุคลากรด่านหน้าจึงเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่ง คณะแพทยศาสตร์ และ คณะวิศวกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ห่วงใยในเรื่องนี้ จึงได้ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ และSmileRobotics พัฒนา Robocovid UV-C หรือ “น้องไฟฉาย”ฆ่าเชื้อโรคและสร้างพื้นที่ปลอดภัยให้บุคลากรทางการแพทย์โดยตั้งแต่การระบาดระลอกแรก คณะนวัตกรรมได้พัฒนาหุ่นยนต์มาแล้ว 2รุ่น จนล่าสุด เผยโฉม “น้องไฟฉายรุ่น 3”การันตีประสิทธิภาพฆ่าเชื้อโรคได้เร็วและเข้มข้นกว่าเดิม จุดเริ่มต้น “น้องไฟฉาย” ศาสตราจารย์ นพ.สมรัตน์ จารุลักษณานันท์ ภาควิชาวิสัญญีวิทยาคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้ริเริ่มโครงการพัฒนาโคมUV-C ประสิทธิภาพสูงฆ่าเชื้อไวรัส COVID-19เผยถึงแนวคิดจูงใจในการสร้างนวัตกรรมว่า“ในช่วงการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด-19 ระลอกแรกเจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลทุกระดับล้วนมีความเสี่ยงดังนั้นหากมีวิธีป้องกันการติดเชื้อและสร้างความปลอดภัยกับเจ้าหน้าที่เราก็ไม่ลังเลที่จะทำซึ่งการสร้างสภาพแวดล้อมในที่ทำงานให้ปราศจากเชื้อมีความสำคัญมากอย่างการทำความสะอาดหลังจากการใช้งานห้องต่างๆเราก็คิดว่าจะทำอย่างไรให้เจ้าหน้าที่ที่ดูแลในเรื่องนี้ปลอดภัย ไม่ติดโรค”ทีมจากคณะแพทยศาสตร์ นำโดย ศ.นพ.สมรัตน์จึงได้ประสานขอความร่วมมือจากรองคณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์รองศาสตราจารย์ ดร.อนงค์นาฏ สมหวังธนโรจน์ และ รองศาสตราจารย์ดร.โปรดปราน บุณยพุกกณะ ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวฯจุฬาฯเพื่อให้คิดค้นอุปกรณ์ฆ่าเชื้อโรคในห้องผ่าตัดโดยไม่เป็นอันตรายกับผู้ปฏิบัติงาน โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.บุญรัตน์ โล่ห์วงศ์วัฒนภาควิชาวิศวกรรมโลหะการ และ ดร.เจนยุกต์ โล่วัชรินทร์ ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯเป็นส่วนหนึ่งของคณะพัฒนานวัตกรรม “โจทย์ของนวัตกรรมนี้คือการสร้างอุปกรณ์ที่ใช้ฆ่าเชื้อช่วงที่ไม่มีคนอยู่ปฏิบัติการณ์ในห้องเป็นการฆ่าเชื้อเบื้องต้นเพื่อความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงานก่อนที่จะมีเจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลเข้ามาทำความสะอาดและฆ่าเชื้อเช็ดถูบนพื้นผิว ผนัง และอุปกรณ์ต่างๆ อีกครั้งด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อต่างๆ”ดร.เจนยุกต์กล่าว ทำไมต้องน้องไฟฉาย “รังสี UV-C” ดร.เจนยุกต์ อธิบายว่าในทางวิศวกรรม รังสี UV-Cอยู่ในช่วงความยาวคลื่น 200 – 280 นาโนเมตร หรือเรียกว่าเป็นช่วง germicidal range ซึ่งมีประสิทธิภาพสูงมากในการฆ่าเชื้อทั้งเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส และเชื้อรา“ความเข้มข้นของรังสี UV-C ที่ตกกระทบบนพื้นผิวมีความสำคัญกับการฆ่าเชื้อโรคเปรียบได้กับความเข้มข้นของสารเคมีที่ใช้ฆ่าทำความสะอาดเชื้อโรค ถ้ารังสีเข้มข้นมากก็ใช้เวลาน้อย ถ้าเข้มข้นน้อยก็ต้องใช้เวลามากขึ้น”ดร.เจนยุกต์ อธิบาย“ความเข้มข้นของแสง (fluence) มีหน่วยวัดเป็นจูล/ตารางเซนติเมตรซึ่งงานวิจัยหลายชิ้นบ่งชี้ว่าปริมาณความเข้มข้นของแสง UV-Cที่ประมาณ 1.2 จูล/ตารางเซนติเมตร หรือ 1,200มิลลิจูล/ตารางเซนติเมตร เป็นอย่างน้อยสามารถฆ่าเชื้อโควิด-19ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้เวลาประมาณ 10 นาทีต่อ 1 จุดตรงนี้เองเป็นที่มาของจำนวนหลอด UV-Cที่เราคำนวณเพื่อติดตั้งบนตัวหุ่นยนต์รวมถึงองศาในการติดตั้งหลอดว่าต้องเอียงกี่องศาเพื่อให้มีความเข้มข้นเพียงพอที่จะฆ่าเชื้อได้” “น้องไฟฉาย” ตั้งแต่รุ่นแรกจนรุ่นปัจจุบันเป็นฝีมือการอออกแบบของคุณอดิศักดิ์ ดวงแก้ว วิศวกรหุ่นยนต์ แชมป์หุ่นยนต์กู้ภัยโลก 2 สมัยจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ และ SmileRobotics โดยออกแบบให้หลอด UV-C เป็นหลอดขนาดยาวแนวตั้งมีความสูงเท่ากับมนุษย์ที่ปฏิบัติงานจริงๆติดล้อเพื่อให้สามารถเคลื่อนที่ได้และควบคุมได้จากระยะไกล“น้องไฟฉายรุ่นแรก ตัวหลอด UV-C ถูกติดตั้งในแนวตรงการฉายแสง (projection)ลงบนพื้นหรือบริเวณที่ตัวหุ่นยนต์วิ่งผ่านยังทำได้ไม่เต็มที่ คือแผ่ลำแสงออกมาได้ประมาณ 3 เมตรโดยรอบ คิดเป็นพื้นที่คร่าวๆ ประมาณ20-25 ตารางเมตร จึงมีการพัฒนาสู่การผลิตในรุ่นที่ 2ซึ่งมีการทดลองเอียงตัวหลอด UV-Cเพื่อเพิ่มพื้นที่ของรังสีที่ตกกระทบบนพื้นผิวได้มากกว่าทั้งในเชิงการควบคุมพื้นที่และปริมาณความเข้มของรังสีซึ่งเป็นปัจจัยหลักในการฆ่าเชื้อโรค” ดร.เจนยุกต์ เล่าถึงหุ่นยนต์ “น้องไฟฉาย”สองรุ่นที่ผ่านมา “น้องไฟฉาย รุ่น 3” ฆ่าเชื้อโรคเข้มข้น รวดเร็ว ทุกทิศทางไวรัสโควิด-19 เป็นเชื้อไวรัสที่ถูกฆ่าทำลายได้ง่ายอยู่แล้ว การทดสอบของทางคณะวิศวกรรมศาสตร์ได้ผลสอดคล้องกับการทดสอบของทางคณะแพทย์และงานวิจัยในต่างประเทศที่พบว่าโดสความเข้มข้นของรังสีที่ใช้กับน้องไฟฉายสองรุ่นแรกสามารถฆ่าเชื้อได้อย่างมีประสิทธิภาพ 99.99 – 99.999 % ขึ้นไปแต่น้องไฟฉายรุ่นที่ 3 ทำได้เหนือกว่านั้นคณะผู้พัฒนาได้ปรับปรุงและพัฒนาน้องไฟฉายรุ่นที่ 3ให้มีประสิทธิภาพในการกระจายรังสี UV-C ได้เข้มข้นขึ้นในทุกทิศทุกทาง ช่วยร่นระยะเวลาในการฆ่าเชื้อลงเหลือเพียงจุดละ 3นาที อีกทั้งมีขนาดเล็กกะทัดรัด สะดวกในการใช้งานเคลื่อนย้ายและการจัดเก็บ เมื่อเทียบกับทั้ง 2 รุ่นที่ผ่านมา นอกจากนี้น้องไฟฉาย 3 สามารควบคุมการทำงานด้วยระบบ Internet of Things(IoT) หรือผ่านเครือข่าย 4G ทาง Smart Phone ทั้งระบบ Android และIOS “ในการตรวจสอบประสิทธิภาพการกำจัดเชื้อที่ระยะทางต่างๆทั้งที่ระดับพื้นดิน ระดับ 50 เซนติเมตรเหนือพื้น บนพื้นผิววัสดุต่างๆทั้งแก้ว พลาสติก โลหะ มีการนำเชื้อโรคอื่นๆที่ถูกกำจัดหรือฆ่าได้ยากกว่าไวรัสโควิด-19 หลายเท่ามาใช้ทดสอบเป็นคู่เทียบ (surrogate)ก็พบว่าหุ่นยนต์น้องไฟฉายสามารถฆ่าเชื้อได้อย่างมีประสิทธิภาพผลตอบรับจากโรงพยาบาลอื่นๆ ที่ได้นำไปใช้ก็อยู่ในระดับที่ยอดเยี่ยม”ศ.นพ. สมรัตน์ กล่าวเพิ่มเติมถึงการตรวจสอบประสิทธิภาพหุ่นยนต์ไฟฉายรุ่น 3 โดยภาควิชาวิสัญญีวิทยา ร่วมกับหน่วยแบคทีเรียวิทยาภาควิชาจุลชีววิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ น้องไฟฉายทุกรุ่นออกปฏิบัติการแล้ว พร้อมศึกษาพัฒนารุ่นต่อไป ปัจจุบัน “น้องไฟฉาย 3”ได้ให้บริการฆ่าเชื้อทำความสะอาดแล้วในหลายโรงพยาบาลทั่วประเทศเช่น ในห้องทำคลอดของแผนกสูตินารีเวช โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และมีแผนขยายและส่งมอบน้องไฟฉายให้โรงพยาบาลอื่นๆ ที่สนใจด้วยดร.เจนยุกต์ กล่าวทิ้งท้ายถึงอนาคตของ “น้องไฟฉาย” รุ่นต่อไปว่า“ชนิดหลอด UV-Cที่เราใช้อยู่ในปัจจุบันอาจมีการปล่อยก๊าซโอโซนออกมาซึ่งถึงแม้โอโซนจะสามารถช่วยฆ่าเชื้อและสลายไปได้เองแต่ก็ข้อกังวลเรื่องการตกค้างของโอโซนที่อาจส่งผลกระทบต่อพื้นผิวอุปกรณ์ได้ ดังนั้นเราจึงกำลังศึกษามองหาหลอดประเภทอื่นที่มีประสิทธิภาพในการใช้พลังงานที่ดีที่สุด เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากขึ้นแม้ว่าตัวที่เราใช้อยู่ก็มีประสิทธิภาพและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากในระดับหนึ่งอยู่แล้วก็ตาม” ผู้สนใจสนับสนุนการวิจัยและพัฒนา หรือต้องการหุ่นยนต์“น้องไฟฉาย” ไปใช้ในโรงพยาบาลหรือโรงพยาบาลสนามสามารถติดต่อหรือสอบถามที่ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โทรศัพท์ (02) 256 4000 ต่อ 81513 …………………………………………………. ที่มา ศูนย์สื่อสารองค์กร จุฬาฯ tui sakrapee Related Posts นักศึกษามทร.ธัญบุรี ส่งต่ออาชีพดอกมะลิทิชชู่ ผู้ต้องขังเรือนจำธัญบุรี มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน Kahoot! เปิดตัว Kahoot! Energize ปฏิวัติการประชุมให้มีพลังและสร้างผลกระทบที่เหนือกว่า นักศึกษา มทร.ธัญบุรี โชว์ไอเดีย “กระเป๋าผ้าทอใยไผ่” ตอบโจทย์ความยั่งยืน ในนิทรรศการศิลปนิพนธ์ 2025 Post navigation PREVIOUS Previous post: อยากเป็นนักกายภาพบำบัดต้องเรียนจบอะไรNEXT Next post: ทีมสถาปัตย์ มทร.ธัญบุรี ออกแบบต้นแบบรีสอร์ท “เสื่อลำแพนบ้านค้อ” จ.ปราจีนบุรี สร้างเอกลักษณ์ เพิ่มคุณค่าผลิตภัณฑ์ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เรียนที่เดียวได้ถึง 2 วุฒิ สาขาวิชาวิศวกรรมสำรวจ ม.เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ EZ WebmasterMarch 23, 2025 เปิดรับสมัครแล้ววันนี้ “เรียนที่นี่ที่เดียว…ได้ถึง 2 วุฒิ ” ถ้าคุณต้องการเพิ่มทางเลือกในชีวิต อย่ามองข้ามเรา แล้วมาเป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรที่มีความต้องการของตลาดแรงงานกันจ้า : คุณวุฒิที่ใช้รับสมัคร สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ในสาขาวิชาช่างสำรวจ ช่างก่อสร้าง ช่างเทคนิคสถาปัตยกรรม หรือเทียบเท่า หรือสำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6)… มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เปิดรับสมัครรอบที่ 2.3 ระบบ Quota TCAS68 EZ WebmasterMarch 22, 2025 มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง กำลังเปิดรับสมัครรอบที่ 2.3 ระบบ Quota ปีการศึกษา 2568 กำหนดรับสมัคร: วันที่ 4 มีนาคม – 8 เมษายน 25681. รับตรงทั่วประเทศ รูปแบบใช้ผลคะแนน A-Levelรายละเอียดประกาศ: https://bit.ly/40GenOk2.… โรงพยาบาลศูนย์การแพทย์มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เปิดให้ 25 ทุน เรียนฟรีผู้ช่วยพยาบาล EZ WebmasterMarch 22, 2025 ประกาศรับสมัครทุนผู้ช่วยพยาบาล โรงพยาบาลศูนย์การแพทย์มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีการศึกษา 2568 เปิดรับสมัครแล้ว! ตั้งแต่วันนี้ – 30 เมษายน 2568 คุณสมบัติเบื้องต้น• สำเร็จการศึกษาชั้น ม.6 หรือเทียบเท่า• เปิดรับทั้งบุคคลภายนอก และพนักงานของโรงพยาบาลศูนย์การแพทย์ฯ ดูรายละเอียดเพิ่มเติม คลิก สอบถามเพิ่มเติม โทร. 0 5391… นักศึกษา โรงเรียนฝึกอาชีพ กทม. เปิดสอนอาชีพ หลักสูตร 200 ชั่วโมง เรียนจบมีใบรับรอง สร้างอาชีพได้จริง EZ WebmasterMarch 22, 2025 โรงเรียนฝึกอาชีพ กทม. เปิดสอนอาชีพ หลักสูตร 200 ชั่วโมง ได้เรียนปฏิบัติเน้น ๆ มีให้เลือกเรียนทุกสาขาวิชา เรียนจบมีใบรับรองให้ เอาไปสร้างอาชีพได้จริง ค่าเรียนเริ่มต้นคอร์สละ 105 บาท (มีทั้งรอบเช้า / บ่าย /… นักศึกษามทร.ธัญบุรี ส่งต่ออาชีพดอกมะลิทิชชู่ ผู้ต้องขังเรือนจำธัญบุรี tui sakrapeeMarch 22, 2025 สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ หลักสูตรฯนวัตกรรมศิลปะประดิษฐ์สร้างสรรค์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีนวัตกรรมศิลปประดิษฐ์สร้างสรรรค์สู่ชุมชน การประดิษฐ์ดอกมะลิจากกระดาษทิชชู่ เรือนจำอำเภอธัญบุรี ตำบลคลองหก อำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วิจิตร สนหอม หัวหน้าสาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ อาจารย์ประจำหลักสูตรฯนวัตกรรมศิลปประดิษฐ์สร้างสรรค์ และอาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ เผยว่า โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีนวัตกรรมศิลปประดิษฐ์สร้างสรรค์สู่ชุมชน… มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค EZ WebmasterMarch 21, 2025 ศาสตราจารย์ นายแพทย์ปิยะมิตร ศรีธรา อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า ปัจจุบันโลกกำลังเผชิญกับกระแสความเปลี่ยนแปลงใหญ่ๆ ใน 6 มิติ 1. สังคมสูงวัย (Aging Society) ในอีก 8 ปีข้างหน้า ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุระดับสุดยอด (Super… ฟินแลนด์ครองแชมป์ 8 ปีซ้อน ประเทศที่มีความสุขที่สุดในโลก 2025 ไทยขยับขึ้นอันดับ 49 EZ WebmasterMarch 21, 2025 ฟินแลนด์ ยังคงรักษาตำแหน่งประเทศที่มีความสุขที่สุดในโลกเป็นปีที่ 8 ติดต่อกัน ตามรายงานความสุขโลก (World Happiness Report) ประจำปี 2025 ซึ่งจัดทำโดยศูนย์วิจัยความเป็นอยู่ที่ดี (Wellbeing Research Centre) แห่งมหาวิทยาลัยอ็อกซ์ฟอร์ด รายงานนี้เผยแพร่ในช่วงวันความสุขสากล (International Day of Happiness)… ทุนดีดี ทุนการศึกษามูลนิธิศึกษาวิจัยและพัฒนาเพื่อสังคมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปี 2568 EZ WebmasterMarch 22, 2025 ทุนการศึกษามูลนิธิศึกษาวิจัยฯ ประจำปี 2568 ++ ประกาศเปิดรับสมัครแล้วตั้งแต่วันนี้ ++ โดยทุนการศึกษามูลนิธิศึกษาวิจัยและพัฒนาเพื่อสังคมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปี 2568 เปิดรับสมัครจำนวน 2 รอบ โดยมีรายละเอียดดังนี้ – ทุนรอบที่ 1 รับสมัครในวันที่ 1 มกราคม… สกสค. ร่วมกับ CP All มอบ 100 ทุนเรียนฟรี 100% ระดับ ปวช. ปวส. และปริญญาตรี EZ WebmasterMarch 21, 2025 กสค. ร่วมกับ CP All มอบทุนเรียนฟรี !! 100% ล่าสุดขยายโอกาสเพิ่มอีก 9 สาขาใหม่ เพิ่มทางเลือกให้เยาวชนก้าวไกล ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ศึกษาที่วิทยาลัยปัญญาภิวัฒน์ และศูนย์การเรียนฯ ทั่วประเทศ 20 แห่ง ทุนการศึกษาระดับ… ให้ทุนเยาวชน ODOS Summer Camp ไปเรียนซัมเมอร์ต่างประเทศ 6 สัปดาห์ เริ่มสมัครได้ 24 มี.ค.นี้ EZ WebmasterMarch 21, 2025 ODOS Summer Camp ทุนการศึกษาระยะสั้น 6 สัปดาห์ เพื่อกระจายโอกาสให้เด็กไทยทุกคนได้มีโอกาสไปเรียนซัมเมอร์ต่างประเทศ เปิดหูเปิดตา ค้นหาตัวตน และสร้างแรงบันดาลใจในการเรียนรู้ โดยไม่จำเป็นต้องเป็นเด็กเก่ง เด็กเรียน หรือเด็กหน้าห้อง เปิดรับเยาวชนที่มีคุณสมบัติดังนี้ – สัญชาติไทย – อายุไม่เกิน… ธนาคารแห่งประเทศไทย เปิดรับสมัครทุนระดับปริญญาโทขึ้นไป เรียนต่อที่ประเทศอังกฤษ EZ WebmasterMarch 17, 2025 ประกาศเปิดรับสมัครทุนการศึกษา Dr. Puey Ungphakorn Centenary Scholarship ประจำปี 2568 ธนาคารแห่งประเทศไทย เปิดรับสมัครทุนการศึกษาระดับปริญญาโทขึ้นไป เพื่อศึกษาต่อที่ The London School of Economics and Political… ครู-อาจารย์ มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค EZ WebmasterMarch 21, 2025 ศาสตราจารย์ นายแพทย์ปิยะมิตร ศรีธรา อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า ปัจจุบันโลกกำลังเผชิญกับกระแสความเปลี่ยนแปลงใหญ่ๆ ใน 6 มิติ 1. สังคมสูงวัย (Aging Society) ในอีก 8 ปีข้างหน้า ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุระดับสุดยอด (Super… รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน EZ WebmasterMarch 21, 2025 รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน พร้อมจ่ายเงินอุดหนุนการศึกษาและพัฒนาอาชีพ ผ่านกสศ. ขณะที่ Microsoft หนุน ศูนย์ดิจิทัลชุมชน ยกระดับทักษะAI เพิ่มโอกาสมีงานทำ พร้อมจับมือ UNICEF สร้าง 1… Kahoot! เปิดตัว Kahoot! Energize ปฏิวัติการประชุมให้มีพลังและสร้างผลกระทบที่เหนือกว่า EZ WebmasterMarch 21, 2025 เปลี่ยนทุกการนำเสนอในที่ทำงานให้กลายเป็นการสื่อสารสองทาง สร้างประสบการณ์ที่น่าสนใจ เต็มไปด้วยความมีชีวิตชีวาและการมีส่วนร่วมที่แท้จริง กระตุ้นการมีส่วนร่วมจากผู้ฟังและขับเคลื่อน ผลลัพธ์ทางธุรกิจไปอีกขั้นด้วย Kahoot! Energize Kahoot! (คาฮู้ด) ผู้นำด้านการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมระดับโลกได้เปิดตัวเครื่องมือใหม่ Kahoot! Energize ที่จะเปลี่ยนทุกการประชุม การฝึกอบรม หรือกิจกรรมต่างๆ ให้กลายเป็นช่วงเวลาที่เต็มไปด้วยพลังและความสนุก พร้อมกระตุ้นการมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ สร้างผลกระทบที่มีความหมาย และขับเคลื่อนธุรกิจไปข้างหน้า การพัฒนา Kahoot! Energize ต่อยอดจากรูปแบบการเรียนรู้และการมีส่วนร่วม อันเป็นเอกลักษณ์ที่ได้รับความนิยมของ Kahoot! แต่เพิ่มความสามารถในการใช้งานในสภาพแวดล้อมการทำงานที่หลากหลาย… สมศ. เน้นย้ำการประเมินคุณภาพภายนอก ปี 67-71 ลดวันประเมิน On site ขยายสู่รูปแบบออนไลน์ สร้างมาตรฐานในการแข่งขันระดับอาเซียน EZ WebmasterMarch 20, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยในการประชุมรับฟังความคิดเห็น (ร่าง) กรอบแนวทางการประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษาที่จัดการเรียนรู้ในสังกัดกรมส่งเสริมการเรียนรู้ (สกร.) โดยเน้นย้ำเรื่อง “แนวคิดและทิศทางการประกันคุณภาพภายนอก” ว่า การประกันคุณภาพภายนอกไม่ใช่เป็น “การตรวจสอบ” แต่เป็นเครื่องมือที่ช่วยส่งเสริมการพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษาอย่างแท้จริง… กิจกรรม โรงเรียนฝึกอาชีพ กทม. เปิดสอนอาชีพ หลักสูตร 200 ชั่วโมง เรียนจบมีใบรับรอง สร้างอาชีพได้จริง EZ WebmasterMarch 22, 2025 โรงเรียนฝึกอาชีพ กทม. เปิดสอนอาชีพ หลักสูตร 200 ชั่วโมง ได้เรียนปฏิบัติเน้น ๆ มีให้เลือกเรียนทุกสาขาวิชา เรียนจบมีใบรับรองให้ เอาไปสร้างอาชีพได้จริง ค่าเรียนเริ่มต้นคอร์สละ 105 บาท (มีทั้งรอบเช้า / บ่าย /… รวมพลังสีชมพูจุฬาฯ กลับบ้านสู่ร่มจามจุรี ในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” EZ WebmasterMarch 14, 2025 สมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (สนจ.) เชิญชวนชาวจุฬาฯ ทั้งนิสิตเก่าและนิสิตปัจจุบัน เดินทางกลับบ้านในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” ร่วมฉลองวาระสำคัญ ครบรอบ 108 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในบรรยากาศแห่งความรักความสามัคคี และความผูกพันของเหล่าน้องพี่สีชมพู ภายใต้ร่มเงาของจามจุรี นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย… สจล. ผนึกกำลังตำรวจภูธรภาค 2 และบริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จำกัด (สำนักงานใหญ่) พัฒนาโครงการ “AI Robot รับแจ้งความ” ประมวลผลถูกต้องและมีประสิทธิภาพ EZ WebmasterMarch 13, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี ร่วมด้วยพลตำรวจโท ยิ่งยศ เทพจำนงค์ (คนที่ 3 จากซ้าย) ผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 2… สจล. ร่วมกับกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน มุ่งยกระดับฝีมือแรงงาน สอดคล้องความต้องการในอนาคต EZ WebmasterMarch 10, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี และนายเดชา พฤกษ์พัฒนรักษ์ (คนที่ 3 จากซ้าย) อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ได้ลงในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการร่วมกัน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่นักศึกษาของสถาบันก่อนเข้าสู่ตลาดแรงงานในสาขาอาชีพต่าง… Search for: Search tui sakrapee August 30, 2021 tui sakrapee August 30, 2021 “น้องไฟฉาย รุ่น3” โคม UV-C ฆ่าเชื้อ COVID-19 ปฏิบัติการแล้วเพื่อบุคลากรด่านหน้าปลอดภัยมั่นใจ 100 % คณะแพทยศาสตร์และคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ Smile Roboticsและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ร่วมพัฒนานวัตกรรมโคม UV-C “น้องไฟฉาย รุ่นที่ 3”ฆ่าและทำลายเชื้อไวรัส COVID-19 และเชื้อโรคอื่นๆ ได้ 99.99% ภายใน 3 นาที พร้อมสร้างความมั่นใจให้เจ้าหน้าที่ด่านหน้าแล้ว ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโควิด-19บุคลากรทางการแพทย์ถือเป็นกลุ่มคนด่านหน้าที่มีความเสี่ยงสูงเนื่องจากต้องคลุกคลีกับผู้ติดเชื้อทุกวันต่อเนื่องเป็นระยะเวลานานซึ่งเชื้อโควิด-19 สามารถล่องลอยอยู่ในอากาศได้ชั่วระยะเวลาหนึ่งแถมอยู่บนพื้นผิวต่างๆ ได้นานหลายชั่วโมงถึงนานนับวันขึ้นอยู่กับปัจจัยด้านสภาพแวดล้อม ดังนั้นการฆ่าเชื้อสถานที่ปฏิบัติงานสำหรับบุคลากรด่านหน้าจึงเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่ง คณะแพทยศาสตร์ และ คณะวิศวกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ห่วงใยในเรื่องนี้ จึงได้ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ และSmileRobotics พัฒนา Robocovid UV-C หรือ “น้องไฟฉาย”ฆ่าเชื้อโรคและสร้างพื้นที่ปลอดภัยให้บุคลากรทางการแพทย์โดยตั้งแต่การระบาดระลอกแรก คณะนวัตกรรมได้พัฒนาหุ่นยนต์มาแล้ว 2รุ่น จนล่าสุด เผยโฉม “น้องไฟฉายรุ่น 3”การันตีประสิทธิภาพฆ่าเชื้อโรคได้เร็วและเข้มข้นกว่าเดิม จุดเริ่มต้น “น้องไฟฉาย” ศาสตราจารย์ นพ.สมรัตน์ จารุลักษณานันท์ ภาควิชาวิสัญญีวิทยาคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้ริเริ่มโครงการพัฒนาโคมUV-C ประสิทธิภาพสูงฆ่าเชื้อไวรัส COVID-19เผยถึงแนวคิดจูงใจในการสร้างนวัตกรรมว่า“ในช่วงการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด-19 ระลอกแรกเจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลทุกระดับล้วนมีความเสี่ยงดังนั้นหากมีวิธีป้องกันการติดเชื้อและสร้างความปลอดภัยกับเจ้าหน้าที่เราก็ไม่ลังเลที่จะทำซึ่งการสร้างสภาพแวดล้อมในที่ทำงานให้ปราศจากเชื้อมีความสำคัญมากอย่างการทำความสะอาดหลังจากการใช้งานห้องต่างๆเราก็คิดว่าจะทำอย่างไรให้เจ้าหน้าที่ที่ดูแลในเรื่องนี้ปลอดภัย ไม่ติดโรค”ทีมจากคณะแพทยศาสตร์ นำโดย ศ.นพ.สมรัตน์จึงได้ประสานขอความร่วมมือจากรองคณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์รองศาสตราจารย์ ดร.อนงค์นาฏ สมหวังธนโรจน์ และ รองศาสตราจารย์ดร.โปรดปราน บุณยพุกกณะ ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวฯจุฬาฯเพื่อให้คิดค้นอุปกรณ์ฆ่าเชื้อโรคในห้องผ่าตัดโดยไม่เป็นอันตรายกับผู้ปฏิบัติงาน โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.บุญรัตน์ โล่ห์วงศ์วัฒนภาควิชาวิศวกรรมโลหะการ และ ดร.เจนยุกต์ โล่วัชรินทร์ ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯเป็นส่วนหนึ่งของคณะพัฒนานวัตกรรม “โจทย์ของนวัตกรรมนี้คือการสร้างอุปกรณ์ที่ใช้ฆ่าเชื้อช่วงที่ไม่มีคนอยู่ปฏิบัติการณ์ในห้องเป็นการฆ่าเชื้อเบื้องต้นเพื่อความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงานก่อนที่จะมีเจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลเข้ามาทำความสะอาดและฆ่าเชื้อเช็ดถูบนพื้นผิว ผนัง และอุปกรณ์ต่างๆ อีกครั้งด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อต่างๆ”ดร.เจนยุกต์กล่าว ทำไมต้องน้องไฟฉาย “รังสี UV-C” ดร.เจนยุกต์ อธิบายว่าในทางวิศวกรรม รังสี UV-Cอยู่ในช่วงความยาวคลื่น 200 – 280 นาโนเมตร หรือเรียกว่าเป็นช่วง germicidal range ซึ่งมีประสิทธิภาพสูงมากในการฆ่าเชื้อทั้งเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส และเชื้อรา“ความเข้มข้นของรังสี UV-C ที่ตกกระทบบนพื้นผิวมีความสำคัญกับการฆ่าเชื้อโรคเปรียบได้กับความเข้มข้นของสารเคมีที่ใช้ฆ่าทำความสะอาดเชื้อโรค ถ้ารังสีเข้มข้นมากก็ใช้เวลาน้อย ถ้าเข้มข้นน้อยก็ต้องใช้เวลามากขึ้น”ดร.เจนยุกต์ อธิบาย“ความเข้มข้นของแสง (fluence) มีหน่วยวัดเป็นจูล/ตารางเซนติเมตรซึ่งงานวิจัยหลายชิ้นบ่งชี้ว่าปริมาณความเข้มข้นของแสง UV-Cที่ประมาณ 1.2 จูล/ตารางเซนติเมตร หรือ 1,200มิลลิจูล/ตารางเซนติเมตร เป็นอย่างน้อยสามารถฆ่าเชื้อโควิด-19ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้เวลาประมาณ 10 นาทีต่อ 1 จุดตรงนี้เองเป็นที่มาของจำนวนหลอด UV-Cที่เราคำนวณเพื่อติดตั้งบนตัวหุ่นยนต์รวมถึงองศาในการติดตั้งหลอดว่าต้องเอียงกี่องศาเพื่อให้มีความเข้มข้นเพียงพอที่จะฆ่าเชื้อได้” “น้องไฟฉาย” ตั้งแต่รุ่นแรกจนรุ่นปัจจุบันเป็นฝีมือการอออกแบบของคุณอดิศักดิ์ ดวงแก้ว วิศวกรหุ่นยนต์ แชมป์หุ่นยนต์กู้ภัยโลก 2 สมัยจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ และ SmileRobotics โดยออกแบบให้หลอด UV-C เป็นหลอดขนาดยาวแนวตั้งมีความสูงเท่ากับมนุษย์ที่ปฏิบัติงานจริงๆติดล้อเพื่อให้สามารถเคลื่อนที่ได้และควบคุมได้จากระยะไกล“น้องไฟฉายรุ่นแรก ตัวหลอด UV-C ถูกติดตั้งในแนวตรงการฉายแสง (projection)ลงบนพื้นหรือบริเวณที่ตัวหุ่นยนต์วิ่งผ่านยังทำได้ไม่เต็มที่ คือแผ่ลำแสงออกมาได้ประมาณ 3 เมตรโดยรอบ คิดเป็นพื้นที่คร่าวๆ ประมาณ20-25 ตารางเมตร จึงมีการพัฒนาสู่การผลิตในรุ่นที่ 2ซึ่งมีการทดลองเอียงตัวหลอด UV-Cเพื่อเพิ่มพื้นที่ของรังสีที่ตกกระทบบนพื้นผิวได้มากกว่าทั้งในเชิงการควบคุมพื้นที่และปริมาณความเข้มของรังสีซึ่งเป็นปัจจัยหลักในการฆ่าเชื้อโรค” ดร.เจนยุกต์ เล่าถึงหุ่นยนต์ “น้องไฟฉาย”สองรุ่นที่ผ่านมา “น้องไฟฉาย รุ่น 3” ฆ่าเชื้อโรคเข้มข้น รวดเร็ว ทุกทิศทางไวรัสโควิด-19 เป็นเชื้อไวรัสที่ถูกฆ่าทำลายได้ง่ายอยู่แล้ว การทดสอบของทางคณะวิศวกรรมศาสตร์ได้ผลสอดคล้องกับการทดสอบของทางคณะแพทย์และงานวิจัยในต่างประเทศที่พบว่าโดสความเข้มข้นของรังสีที่ใช้กับน้องไฟฉายสองรุ่นแรกสามารถฆ่าเชื้อได้อย่างมีประสิทธิภาพ 99.99 – 99.999 % ขึ้นไปแต่น้องไฟฉายรุ่นที่ 3 ทำได้เหนือกว่านั้นคณะผู้พัฒนาได้ปรับปรุงและพัฒนาน้องไฟฉายรุ่นที่ 3ให้มีประสิทธิภาพในการกระจายรังสี UV-C ได้เข้มข้นขึ้นในทุกทิศทุกทาง ช่วยร่นระยะเวลาในการฆ่าเชื้อลงเหลือเพียงจุดละ 3นาที อีกทั้งมีขนาดเล็กกะทัดรัด สะดวกในการใช้งานเคลื่อนย้ายและการจัดเก็บ เมื่อเทียบกับทั้ง 2 รุ่นที่ผ่านมา นอกจากนี้น้องไฟฉาย 3 สามารควบคุมการทำงานด้วยระบบ Internet of Things(IoT) หรือผ่านเครือข่าย 4G ทาง Smart Phone ทั้งระบบ Android และIOS “ในการตรวจสอบประสิทธิภาพการกำจัดเชื้อที่ระยะทางต่างๆทั้งที่ระดับพื้นดิน ระดับ 50 เซนติเมตรเหนือพื้น บนพื้นผิววัสดุต่างๆทั้งแก้ว พลาสติก โลหะ มีการนำเชื้อโรคอื่นๆที่ถูกกำจัดหรือฆ่าได้ยากกว่าไวรัสโควิด-19 หลายเท่ามาใช้ทดสอบเป็นคู่เทียบ (surrogate)ก็พบว่าหุ่นยนต์น้องไฟฉายสามารถฆ่าเชื้อได้อย่างมีประสิทธิภาพผลตอบรับจากโรงพยาบาลอื่นๆ ที่ได้นำไปใช้ก็อยู่ในระดับที่ยอดเยี่ยม”ศ.นพ. สมรัตน์ กล่าวเพิ่มเติมถึงการตรวจสอบประสิทธิภาพหุ่นยนต์ไฟฉายรุ่น 3 โดยภาควิชาวิสัญญีวิทยา ร่วมกับหน่วยแบคทีเรียวิทยาภาควิชาจุลชีววิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ น้องไฟฉายทุกรุ่นออกปฏิบัติการแล้ว พร้อมศึกษาพัฒนารุ่นต่อไป ปัจจุบัน “น้องไฟฉาย 3”ได้ให้บริการฆ่าเชื้อทำความสะอาดแล้วในหลายโรงพยาบาลทั่วประเทศเช่น ในห้องทำคลอดของแผนกสูตินารีเวช โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และมีแผนขยายและส่งมอบน้องไฟฉายให้โรงพยาบาลอื่นๆ ที่สนใจด้วยดร.เจนยุกต์ กล่าวทิ้งท้ายถึงอนาคตของ “น้องไฟฉาย” รุ่นต่อไปว่า“ชนิดหลอด UV-Cที่เราใช้อยู่ในปัจจุบันอาจมีการปล่อยก๊าซโอโซนออกมาซึ่งถึงแม้โอโซนจะสามารถช่วยฆ่าเชื้อและสลายไปได้เองแต่ก็ข้อกังวลเรื่องการตกค้างของโอโซนที่อาจส่งผลกระทบต่อพื้นผิวอุปกรณ์ได้ ดังนั้นเราจึงกำลังศึกษามองหาหลอดประเภทอื่นที่มีประสิทธิภาพในการใช้พลังงานที่ดีที่สุด เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากขึ้นแม้ว่าตัวที่เราใช้อยู่ก็มีประสิทธิภาพและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากในระดับหนึ่งอยู่แล้วก็ตาม” ผู้สนใจสนับสนุนการวิจัยและพัฒนา หรือต้องการหุ่นยนต์“น้องไฟฉาย” ไปใช้ในโรงพยาบาลหรือโรงพยาบาลสนามสามารถติดต่อหรือสอบถามที่ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โทรศัพท์ (02) 256 4000 ต่อ 81513 …………………………………………………. ที่มา ศูนย์สื่อสารองค์กร จุฬาฯ tui sakrapee Related Posts นักศึกษามทร.ธัญบุรี ส่งต่ออาชีพดอกมะลิทิชชู่ ผู้ต้องขังเรือนจำธัญบุรี มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน Kahoot! เปิดตัว Kahoot! Energize ปฏิวัติการประชุมให้มีพลังและสร้างผลกระทบที่เหนือกว่า นักศึกษา มทร.ธัญบุรี โชว์ไอเดีย “กระเป๋าผ้าทอใยไผ่” ตอบโจทย์ความยั่งยืน ในนิทรรศการศิลปนิพนธ์ 2025 Post navigation PREVIOUS Previous post: อยากเป็นนักกายภาพบำบัดต้องเรียนจบอะไรNEXT Next post: ทีมสถาปัตย์ มทร.ธัญบุรี ออกแบบต้นแบบรีสอร์ท “เสื่อลำแพนบ้านค้อ” จ.ปราจีนบุรี สร้างเอกลักษณ์ เพิ่มคุณค่าผลิตภัณฑ์ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เปิดรับสมัครรอบที่ 2.3 ระบบ Quota TCAS68 EZ WebmasterMarch 22, 2025 มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง กำลังเปิดรับสมัครรอบที่ 2.3 ระบบ Quota ปีการศึกษา 2568 กำหนดรับสมัคร: วันที่ 4 มีนาคม – 8 เมษายน 25681. รับตรงทั่วประเทศ รูปแบบใช้ผลคะแนน A-Levelรายละเอียดประกาศ: https://bit.ly/40GenOk2.… โรงพยาบาลศูนย์การแพทย์มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เปิดให้ 25 ทุน เรียนฟรีผู้ช่วยพยาบาล EZ WebmasterMarch 22, 2025 ประกาศรับสมัครทุนผู้ช่วยพยาบาล โรงพยาบาลศูนย์การแพทย์มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีการศึกษา 2568 เปิดรับสมัครแล้ว! ตั้งแต่วันนี้ – 30 เมษายน 2568 คุณสมบัติเบื้องต้น• สำเร็จการศึกษาชั้น ม.6 หรือเทียบเท่า• เปิดรับทั้งบุคคลภายนอก และพนักงานของโรงพยาบาลศูนย์การแพทย์ฯ ดูรายละเอียดเพิ่มเติม คลิก สอบถามเพิ่มเติม โทร. 0 5391…
โรงพยาบาลศูนย์การแพทย์มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เปิดให้ 25 ทุน เรียนฟรีผู้ช่วยพยาบาล EZ WebmasterMarch 22, 2025 ประกาศรับสมัครทุนผู้ช่วยพยาบาล โรงพยาบาลศูนย์การแพทย์มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีการศึกษา 2568 เปิดรับสมัครแล้ว! ตั้งแต่วันนี้ – 30 เมษายน 2568 คุณสมบัติเบื้องต้น• สำเร็จการศึกษาชั้น ม.6 หรือเทียบเท่า• เปิดรับทั้งบุคคลภายนอก และพนักงานของโรงพยาบาลศูนย์การแพทย์ฯ ดูรายละเอียดเพิ่มเติม คลิก สอบถามเพิ่มเติม โทร. 0 5391…
โรงเรียนฝึกอาชีพ กทม. เปิดสอนอาชีพ หลักสูตร 200 ชั่วโมง เรียนจบมีใบรับรอง สร้างอาชีพได้จริง EZ WebmasterMarch 22, 2025 โรงเรียนฝึกอาชีพ กทม. เปิดสอนอาชีพ หลักสูตร 200 ชั่วโมง ได้เรียนปฏิบัติเน้น ๆ มีให้เลือกเรียนทุกสาขาวิชา เรียนจบมีใบรับรองให้ เอาไปสร้างอาชีพได้จริง ค่าเรียนเริ่มต้นคอร์สละ 105 บาท (มีทั้งรอบเช้า / บ่าย /… นักศึกษามทร.ธัญบุรี ส่งต่ออาชีพดอกมะลิทิชชู่ ผู้ต้องขังเรือนจำธัญบุรี tui sakrapeeMarch 22, 2025 สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ หลักสูตรฯนวัตกรรมศิลปะประดิษฐ์สร้างสรรค์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีนวัตกรรมศิลปประดิษฐ์สร้างสรรรค์สู่ชุมชน การประดิษฐ์ดอกมะลิจากกระดาษทิชชู่ เรือนจำอำเภอธัญบุรี ตำบลคลองหก อำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วิจิตร สนหอม หัวหน้าสาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ อาจารย์ประจำหลักสูตรฯนวัตกรรมศิลปประดิษฐ์สร้างสรรค์ และอาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ เผยว่า โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีนวัตกรรมศิลปประดิษฐ์สร้างสรรค์สู่ชุมชน… มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค EZ WebmasterMarch 21, 2025 ศาสตราจารย์ นายแพทย์ปิยะมิตร ศรีธรา อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า ปัจจุบันโลกกำลังเผชิญกับกระแสความเปลี่ยนแปลงใหญ่ๆ ใน 6 มิติ 1. สังคมสูงวัย (Aging Society) ในอีก 8 ปีข้างหน้า ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุระดับสุดยอด (Super… ฟินแลนด์ครองแชมป์ 8 ปีซ้อน ประเทศที่มีความสุขที่สุดในโลก 2025 ไทยขยับขึ้นอันดับ 49 EZ WebmasterMarch 21, 2025 ฟินแลนด์ ยังคงรักษาตำแหน่งประเทศที่มีความสุขที่สุดในโลกเป็นปีที่ 8 ติดต่อกัน ตามรายงานความสุขโลก (World Happiness Report) ประจำปี 2025 ซึ่งจัดทำโดยศูนย์วิจัยความเป็นอยู่ที่ดี (Wellbeing Research Centre) แห่งมหาวิทยาลัยอ็อกซ์ฟอร์ด รายงานนี้เผยแพร่ในช่วงวันความสุขสากล (International Day of Happiness)… ทุนดีดี ทุนการศึกษามูลนิธิศึกษาวิจัยและพัฒนาเพื่อสังคมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปี 2568 EZ WebmasterMarch 22, 2025 ทุนการศึกษามูลนิธิศึกษาวิจัยฯ ประจำปี 2568 ++ ประกาศเปิดรับสมัครแล้วตั้งแต่วันนี้ ++ โดยทุนการศึกษามูลนิธิศึกษาวิจัยและพัฒนาเพื่อสังคมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปี 2568 เปิดรับสมัครจำนวน 2 รอบ โดยมีรายละเอียดดังนี้ – ทุนรอบที่ 1 รับสมัครในวันที่ 1 มกราคม… สกสค. ร่วมกับ CP All มอบ 100 ทุนเรียนฟรี 100% ระดับ ปวช. ปวส. และปริญญาตรี EZ WebmasterMarch 21, 2025 กสค. ร่วมกับ CP All มอบทุนเรียนฟรี !! 100% ล่าสุดขยายโอกาสเพิ่มอีก 9 สาขาใหม่ เพิ่มทางเลือกให้เยาวชนก้าวไกล ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ศึกษาที่วิทยาลัยปัญญาภิวัฒน์ และศูนย์การเรียนฯ ทั่วประเทศ 20 แห่ง ทุนการศึกษาระดับ… ให้ทุนเยาวชน ODOS Summer Camp ไปเรียนซัมเมอร์ต่างประเทศ 6 สัปดาห์ เริ่มสมัครได้ 24 มี.ค.นี้ EZ WebmasterMarch 21, 2025 ODOS Summer Camp ทุนการศึกษาระยะสั้น 6 สัปดาห์ เพื่อกระจายโอกาสให้เด็กไทยทุกคนได้มีโอกาสไปเรียนซัมเมอร์ต่างประเทศ เปิดหูเปิดตา ค้นหาตัวตน และสร้างแรงบันดาลใจในการเรียนรู้ โดยไม่จำเป็นต้องเป็นเด็กเก่ง เด็กเรียน หรือเด็กหน้าห้อง เปิดรับเยาวชนที่มีคุณสมบัติดังนี้ – สัญชาติไทย – อายุไม่เกิน… ธนาคารแห่งประเทศไทย เปิดรับสมัครทุนระดับปริญญาโทขึ้นไป เรียนต่อที่ประเทศอังกฤษ EZ WebmasterMarch 17, 2025 ประกาศเปิดรับสมัครทุนการศึกษา Dr. Puey Ungphakorn Centenary Scholarship ประจำปี 2568 ธนาคารแห่งประเทศไทย เปิดรับสมัครทุนการศึกษาระดับปริญญาโทขึ้นไป เพื่อศึกษาต่อที่ The London School of Economics and Political… ครู-อาจารย์ มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค EZ WebmasterMarch 21, 2025 ศาสตราจารย์ นายแพทย์ปิยะมิตร ศรีธรา อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า ปัจจุบันโลกกำลังเผชิญกับกระแสความเปลี่ยนแปลงใหญ่ๆ ใน 6 มิติ 1. สังคมสูงวัย (Aging Society) ในอีก 8 ปีข้างหน้า ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุระดับสุดยอด (Super… รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน EZ WebmasterMarch 21, 2025 รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน พร้อมจ่ายเงินอุดหนุนการศึกษาและพัฒนาอาชีพ ผ่านกสศ. ขณะที่ Microsoft หนุน ศูนย์ดิจิทัลชุมชน ยกระดับทักษะAI เพิ่มโอกาสมีงานทำ พร้อมจับมือ UNICEF สร้าง 1… Kahoot! เปิดตัว Kahoot! Energize ปฏิวัติการประชุมให้มีพลังและสร้างผลกระทบที่เหนือกว่า EZ WebmasterMarch 21, 2025 เปลี่ยนทุกการนำเสนอในที่ทำงานให้กลายเป็นการสื่อสารสองทาง สร้างประสบการณ์ที่น่าสนใจ เต็มไปด้วยความมีชีวิตชีวาและการมีส่วนร่วมที่แท้จริง กระตุ้นการมีส่วนร่วมจากผู้ฟังและขับเคลื่อน ผลลัพธ์ทางธุรกิจไปอีกขั้นด้วย Kahoot! Energize Kahoot! (คาฮู้ด) ผู้นำด้านการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมระดับโลกได้เปิดตัวเครื่องมือใหม่ Kahoot! Energize ที่จะเปลี่ยนทุกการประชุม การฝึกอบรม หรือกิจกรรมต่างๆ ให้กลายเป็นช่วงเวลาที่เต็มไปด้วยพลังและความสนุก พร้อมกระตุ้นการมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ สร้างผลกระทบที่มีความหมาย และขับเคลื่อนธุรกิจไปข้างหน้า การพัฒนา Kahoot! Energize ต่อยอดจากรูปแบบการเรียนรู้และการมีส่วนร่วม อันเป็นเอกลักษณ์ที่ได้รับความนิยมของ Kahoot! แต่เพิ่มความสามารถในการใช้งานในสภาพแวดล้อมการทำงานที่หลากหลาย… สมศ. เน้นย้ำการประเมินคุณภาพภายนอก ปี 67-71 ลดวันประเมิน On site ขยายสู่รูปแบบออนไลน์ สร้างมาตรฐานในการแข่งขันระดับอาเซียน EZ WebmasterMarch 20, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยในการประชุมรับฟังความคิดเห็น (ร่าง) กรอบแนวทางการประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษาที่จัดการเรียนรู้ในสังกัดกรมส่งเสริมการเรียนรู้ (สกร.) โดยเน้นย้ำเรื่อง “แนวคิดและทิศทางการประกันคุณภาพภายนอก” ว่า การประกันคุณภาพภายนอกไม่ใช่เป็น “การตรวจสอบ” แต่เป็นเครื่องมือที่ช่วยส่งเสริมการพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษาอย่างแท้จริง… กิจกรรม โรงเรียนฝึกอาชีพ กทม. เปิดสอนอาชีพ หลักสูตร 200 ชั่วโมง เรียนจบมีใบรับรอง สร้างอาชีพได้จริง EZ WebmasterMarch 22, 2025 โรงเรียนฝึกอาชีพ กทม. เปิดสอนอาชีพ หลักสูตร 200 ชั่วโมง ได้เรียนปฏิบัติเน้น ๆ มีให้เลือกเรียนทุกสาขาวิชา เรียนจบมีใบรับรองให้ เอาไปสร้างอาชีพได้จริง ค่าเรียนเริ่มต้นคอร์สละ 105 บาท (มีทั้งรอบเช้า / บ่าย /… รวมพลังสีชมพูจุฬาฯ กลับบ้านสู่ร่มจามจุรี ในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” EZ WebmasterMarch 14, 2025 สมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (สนจ.) เชิญชวนชาวจุฬาฯ ทั้งนิสิตเก่าและนิสิตปัจจุบัน เดินทางกลับบ้านในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” ร่วมฉลองวาระสำคัญ ครบรอบ 108 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในบรรยากาศแห่งความรักความสามัคคี และความผูกพันของเหล่าน้องพี่สีชมพู ภายใต้ร่มเงาของจามจุรี นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย… สจล. ผนึกกำลังตำรวจภูธรภาค 2 และบริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จำกัด (สำนักงานใหญ่) พัฒนาโครงการ “AI Robot รับแจ้งความ” ประมวลผลถูกต้องและมีประสิทธิภาพ EZ WebmasterMarch 13, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี ร่วมด้วยพลตำรวจโท ยิ่งยศ เทพจำนงค์ (คนที่ 3 จากซ้าย) ผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 2… สจล. ร่วมกับกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน มุ่งยกระดับฝีมือแรงงาน สอดคล้องความต้องการในอนาคต EZ WebmasterMarch 10, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี และนายเดชา พฤกษ์พัฒนรักษ์ (คนที่ 3 จากซ้าย) อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ได้ลงในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการร่วมกัน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่นักศึกษาของสถาบันก่อนเข้าสู่ตลาดแรงงานในสาขาอาชีพต่าง… Search for: Search tui sakrapee August 30, 2021 tui sakrapee August 30, 2021 “น้องไฟฉาย รุ่น3” โคม UV-C ฆ่าเชื้อ COVID-19 ปฏิบัติการแล้วเพื่อบุคลากรด่านหน้าปลอดภัยมั่นใจ 100 % คณะแพทยศาสตร์และคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ Smile Roboticsและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ร่วมพัฒนานวัตกรรมโคม UV-C “น้องไฟฉาย รุ่นที่ 3”ฆ่าและทำลายเชื้อไวรัส COVID-19 และเชื้อโรคอื่นๆ ได้ 99.99% ภายใน 3 นาที พร้อมสร้างความมั่นใจให้เจ้าหน้าที่ด่านหน้าแล้ว ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโควิด-19บุคลากรทางการแพทย์ถือเป็นกลุ่มคนด่านหน้าที่มีความเสี่ยงสูงเนื่องจากต้องคลุกคลีกับผู้ติดเชื้อทุกวันต่อเนื่องเป็นระยะเวลานานซึ่งเชื้อโควิด-19 สามารถล่องลอยอยู่ในอากาศได้ชั่วระยะเวลาหนึ่งแถมอยู่บนพื้นผิวต่างๆ ได้นานหลายชั่วโมงถึงนานนับวันขึ้นอยู่กับปัจจัยด้านสภาพแวดล้อม ดังนั้นการฆ่าเชื้อสถานที่ปฏิบัติงานสำหรับบุคลากรด่านหน้าจึงเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่ง คณะแพทยศาสตร์ และ คณะวิศวกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ห่วงใยในเรื่องนี้ จึงได้ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ และSmileRobotics พัฒนา Robocovid UV-C หรือ “น้องไฟฉาย”ฆ่าเชื้อโรคและสร้างพื้นที่ปลอดภัยให้บุคลากรทางการแพทย์โดยตั้งแต่การระบาดระลอกแรก คณะนวัตกรรมได้พัฒนาหุ่นยนต์มาแล้ว 2รุ่น จนล่าสุด เผยโฉม “น้องไฟฉายรุ่น 3”การันตีประสิทธิภาพฆ่าเชื้อโรคได้เร็วและเข้มข้นกว่าเดิม จุดเริ่มต้น “น้องไฟฉาย” ศาสตราจารย์ นพ.สมรัตน์ จารุลักษณานันท์ ภาควิชาวิสัญญีวิทยาคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้ริเริ่มโครงการพัฒนาโคมUV-C ประสิทธิภาพสูงฆ่าเชื้อไวรัส COVID-19เผยถึงแนวคิดจูงใจในการสร้างนวัตกรรมว่า“ในช่วงการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด-19 ระลอกแรกเจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลทุกระดับล้วนมีความเสี่ยงดังนั้นหากมีวิธีป้องกันการติดเชื้อและสร้างความปลอดภัยกับเจ้าหน้าที่เราก็ไม่ลังเลที่จะทำซึ่งการสร้างสภาพแวดล้อมในที่ทำงานให้ปราศจากเชื้อมีความสำคัญมากอย่างการทำความสะอาดหลังจากการใช้งานห้องต่างๆเราก็คิดว่าจะทำอย่างไรให้เจ้าหน้าที่ที่ดูแลในเรื่องนี้ปลอดภัย ไม่ติดโรค”ทีมจากคณะแพทยศาสตร์ นำโดย ศ.นพ.สมรัตน์จึงได้ประสานขอความร่วมมือจากรองคณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์รองศาสตราจารย์ ดร.อนงค์นาฏ สมหวังธนโรจน์ และ รองศาสตราจารย์ดร.โปรดปราน บุณยพุกกณะ ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวฯจุฬาฯเพื่อให้คิดค้นอุปกรณ์ฆ่าเชื้อโรคในห้องผ่าตัดโดยไม่เป็นอันตรายกับผู้ปฏิบัติงาน โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.บุญรัตน์ โล่ห์วงศ์วัฒนภาควิชาวิศวกรรมโลหะการ และ ดร.เจนยุกต์ โล่วัชรินทร์ ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯเป็นส่วนหนึ่งของคณะพัฒนานวัตกรรม “โจทย์ของนวัตกรรมนี้คือการสร้างอุปกรณ์ที่ใช้ฆ่าเชื้อช่วงที่ไม่มีคนอยู่ปฏิบัติการณ์ในห้องเป็นการฆ่าเชื้อเบื้องต้นเพื่อความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงานก่อนที่จะมีเจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลเข้ามาทำความสะอาดและฆ่าเชื้อเช็ดถูบนพื้นผิว ผนัง และอุปกรณ์ต่างๆ อีกครั้งด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อต่างๆ”ดร.เจนยุกต์กล่าว ทำไมต้องน้องไฟฉาย “รังสี UV-C” ดร.เจนยุกต์ อธิบายว่าในทางวิศวกรรม รังสี UV-Cอยู่ในช่วงความยาวคลื่น 200 – 280 นาโนเมตร หรือเรียกว่าเป็นช่วง germicidal range ซึ่งมีประสิทธิภาพสูงมากในการฆ่าเชื้อทั้งเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส และเชื้อรา“ความเข้มข้นของรังสี UV-C ที่ตกกระทบบนพื้นผิวมีความสำคัญกับการฆ่าเชื้อโรคเปรียบได้กับความเข้มข้นของสารเคมีที่ใช้ฆ่าทำความสะอาดเชื้อโรค ถ้ารังสีเข้มข้นมากก็ใช้เวลาน้อย ถ้าเข้มข้นน้อยก็ต้องใช้เวลามากขึ้น”ดร.เจนยุกต์ อธิบาย“ความเข้มข้นของแสง (fluence) มีหน่วยวัดเป็นจูล/ตารางเซนติเมตรซึ่งงานวิจัยหลายชิ้นบ่งชี้ว่าปริมาณความเข้มข้นของแสง UV-Cที่ประมาณ 1.2 จูล/ตารางเซนติเมตร หรือ 1,200มิลลิจูล/ตารางเซนติเมตร เป็นอย่างน้อยสามารถฆ่าเชื้อโควิด-19ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้เวลาประมาณ 10 นาทีต่อ 1 จุดตรงนี้เองเป็นที่มาของจำนวนหลอด UV-Cที่เราคำนวณเพื่อติดตั้งบนตัวหุ่นยนต์รวมถึงองศาในการติดตั้งหลอดว่าต้องเอียงกี่องศาเพื่อให้มีความเข้มข้นเพียงพอที่จะฆ่าเชื้อได้” “น้องไฟฉาย” ตั้งแต่รุ่นแรกจนรุ่นปัจจุบันเป็นฝีมือการอออกแบบของคุณอดิศักดิ์ ดวงแก้ว วิศวกรหุ่นยนต์ แชมป์หุ่นยนต์กู้ภัยโลก 2 สมัยจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ และ SmileRobotics โดยออกแบบให้หลอด UV-C เป็นหลอดขนาดยาวแนวตั้งมีความสูงเท่ากับมนุษย์ที่ปฏิบัติงานจริงๆติดล้อเพื่อให้สามารถเคลื่อนที่ได้และควบคุมได้จากระยะไกล“น้องไฟฉายรุ่นแรก ตัวหลอด UV-C ถูกติดตั้งในแนวตรงการฉายแสง (projection)ลงบนพื้นหรือบริเวณที่ตัวหุ่นยนต์วิ่งผ่านยังทำได้ไม่เต็มที่ คือแผ่ลำแสงออกมาได้ประมาณ 3 เมตรโดยรอบ คิดเป็นพื้นที่คร่าวๆ ประมาณ20-25 ตารางเมตร จึงมีการพัฒนาสู่การผลิตในรุ่นที่ 2ซึ่งมีการทดลองเอียงตัวหลอด UV-Cเพื่อเพิ่มพื้นที่ของรังสีที่ตกกระทบบนพื้นผิวได้มากกว่าทั้งในเชิงการควบคุมพื้นที่และปริมาณความเข้มของรังสีซึ่งเป็นปัจจัยหลักในการฆ่าเชื้อโรค” ดร.เจนยุกต์ เล่าถึงหุ่นยนต์ “น้องไฟฉาย”สองรุ่นที่ผ่านมา “น้องไฟฉาย รุ่น 3” ฆ่าเชื้อโรคเข้มข้น รวดเร็ว ทุกทิศทางไวรัสโควิด-19 เป็นเชื้อไวรัสที่ถูกฆ่าทำลายได้ง่ายอยู่แล้ว การทดสอบของทางคณะวิศวกรรมศาสตร์ได้ผลสอดคล้องกับการทดสอบของทางคณะแพทย์และงานวิจัยในต่างประเทศที่พบว่าโดสความเข้มข้นของรังสีที่ใช้กับน้องไฟฉายสองรุ่นแรกสามารถฆ่าเชื้อได้อย่างมีประสิทธิภาพ 99.99 – 99.999 % ขึ้นไปแต่น้องไฟฉายรุ่นที่ 3 ทำได้เหนือกว่านั้นคณะผู้พัฒนาได้ปรับปรุงและพัฒนาน้องไฟฉายรุ่นที่ 3ให้มีประสิทธิภาพในการกระจายรังสี UV-C ได้เข้มข้นขึ้นในทุกทิศทุกทาง ช่วยร่นระยะเวลาในการฆ่าเชื้อลงเหลือเพียงจุดละ 3นาที อีกทั้งมีขนาดเล็กกะทัดรัด สะดวกในการใช้งานเคลื่อนย้ายและการจัดเก็บ เมื่อเทียบกับทั้ง 2 รุ่นที่ผ่านมา นอกจากนี้น้องไฟฉาย 3 สามารควบคุมการทำงานด้วยระบบ Internet of Things(IoT) หรือผ่านเครือข่าย 4G ทาง Smart Phone ทั้งระบบ Android และIOS “ในการตรวจสอบประสิทธิภาพการกำจัดเชื้อที่ระยะทางต่างๆทั้งที่ระดับพื้นดิน ระดับ 50 เซนติเมตรเหนือพื้น บนพื้นผิววัสดุต่างๆทั้งแก้ว พลาสติก โลหะ มีการนำเชื้อโรคอื่นๆที่ถูกกำจัดหรือฆ่าได้ยากกว่าไวรัสโควิด-19 หลายเท่ามาใช้ทดสอบเป็นคู่เทียบ (surrogate)ก็พบว่าหุ่นยนต์น้องไฟฉายสามารถฆ่าเชื้อได้อย่างมีประสิทธิภาพผลตอบรับจากโรงพยาบาลอื่นๆ ที่ได้นำไปใช้ก็อยู่ในระดับที่ยอดเยี่ยม”ศ.นพ. สมรัตน์ กล่าวเพิ่มเติมถึงการตรวจสอบประสิทธิภาพหุ่นยนต์ไฟฉายรุ่น 3 โดยภาควิชาวิสัญญีวิทยา ร่วมกับหน่วยแบคทีเรียวิทยาภาควิชาจุลชีววิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ น้องไฟฉายทุกรุ่นออกปฏิบัติการแล้ว พร้อมศึกษาพัฒนารุ่นต่อไป ปัจจุบัน “น้องไฟฉาย 3”ได้ให้บริการฆ่าเชื้อทำความสะอาดแล้วในหลายโรงพยาบาลทั่วประเทศเช่น ในห้องทำคลอดของแผนกสูตินารีเวช โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และมีแผนขยายและส่งมอบน้องไฟฉายให้โรงพยาบาลอื่นๆ ที่สนใจด้วยดร.เจนยุกต์ กล่าวทิ้งท้ายถึงอนาคตของ “น้องไฟฉาย” รุ่นต่อไปว่า“ชนิดหลอด UV-Cที่เราใช้อยู่ในปัจจุบันอาจมีการปล่อยก๊าซโอโซนออกมาซึ่งถึงแม้โอโซนจะสามารถช่วยฆ่าเชื้อและสลายไปได้เองแต่ก็ข้อกังวลเรื่องการตกค้างของโอโซนที่อาจส่งผลกระทบต่อพื้นผิวอุปกรณ์ได้ ดังนั้นเราจึงกำลังศึกษามองหาหลอดประเภทอื่นที่มีประสิทธิภาพในการใช้พลังงานที่ดีที่สุด เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากขึ้นแม้ว่าตัวที่เราใช้อยู่ก็มีประสิทธิภาพและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากในระดับหนึ่งอยู่แล้วก็ตาม” ผู้สนใจสนับสนุนการวิจัยและพัฒนา หรือต้องการหุ่นยนต์“น้องไฟฉาย” ไปใช้ในโรงพยาบาลหรือโรงพยาบาลสนามสามารถติดต่อหรือสอบถามที่ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โทรศัพท์ (02) 256 4000 ต่อ 81513 …………………………………………………. ที่มา ศูนย์สื่อสารองค์กร จุฬาฯ tui sakrapee Related Posts นักศึกษามทร.ธัญบุรี ส่งต่ออาชีพดอกมะลิทิชชู่ ผู้ต้องขังเรือนจำธัญบุรี มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน Kahoot! เปิดตัว Kahoot! Energize ปฏิวัติการประชุมให้มีพลังและสร้างผลกระทบที่เหนือกว่า นักศึกษา มทร.ธัญบุรี โชว์ไอเดีย “กระเป๋าผ้าทอใยไผ่” ตอบโจทย์ความยั่งยืน ในนิทรรศการศิลปนิพนธ์ 2025 Post navigation PREVIOUS Previous post: อยากเป็นนักกายภาพบำบัดต้องเรียนจบอะไรNEXT Next post: ทีมสถาปัตย์ มทร.ธัญบุรี ออกแบบต้นแบบรีสอร์ท “เสื่อลำแพนบ้านค้อ” จ.ปราจีนบุรี สร้างเอกลักษณ์ เพิ่มคุณค่าผลิตภัณฑ์ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
นักศึกษามทร.ธัญบุรี ส่งต่ออาชีพดอกมะลิทิชชู่ ผู้ต้องขังเรือนจำธัญบุรี tui sakrapeeMarch 22, 2025 สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ หลักสูตรฯนวัตกรรมศิลปะประดิษฐ์สร้างสรรค์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีนวัตกรรมศิลปประดิษฐ์สร้างสรรรค์สู่ชุมชน การประดิษฐ์ดอกมะลิจากกระดาษทิชชู่ เรือนจำอำเภอธัญบุรี ตำบลคลองหก อำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วิจิตร สนหอม หัวหน้าสาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ อาจารย์ประจำหลักสูตรฯนวัตกรรมศิลปประดิษฐ์สร้างสรรค์ และอาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ เผยว่า โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีนวัตกรรมศิลปประดิษฐ์สร้างสรรค์สู่ชุมชน… มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค EZ WebmasterMarch 21, 2025 ศาสตราจารย์ นายแพทย์ปิยะมิตร ศรีธรา อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า ปัจจุบันโลกกำลังเผชิญกับกระแสความเปลี่ยนแปลงใหญ่ๆ ใน 6 มิติ 1. สังคมสูงวัย (Aging Society) ในอีก 8 ปีข้างหน้า ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุระดับสุดยอด (Super… ฟินแลนด์ครองแชมป์ 8 ปีซ้อน ประเทศที่มีความสุขที่สุดในโลก 2025 ไทยขยับขึ้นอันดับ 49 EZ WebmasterMarch 21, 2025 ฟินแลนด์ ยังคงรักษาตำแหน่งประเทศที่มีความสุขที่สุดในโลกเป็นปีที่ 8 ติดต่อกัน ตามรายงานความสุขโลก (World Happiness Report) ประจำปี 2025 ซึ่งจัดทำโดยศูนย์วิจัยความเป็นอยู่ที่ดี (Wellbeing Research Centre) แห่งมหาวิทยาลัยอ็อกซ์ฟอร์ด รายงานนี้เผยแพร่ในช่วงวันความสุขสากล (International Day of Happiness)… ทุนดีดี ทุนการศึกษามูลนิธิศึกษาวิจัยและพัฒนาเพื่อสังคมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปี 2568 EZ WebmasterMarch 22, 2025 ทุนการศึกษามูลนิธิศึกษาวิจัยฯ ประจำปี 2568 ++ ประกาศเปิดรับสมัครแล้วตั้งแต่วันนี้ ++ โดยทุนการศึกษามูลนิธิศึกษาวิจัยและพัฒนาเพื่อสังคมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปี 2568 เปิดรับสมัครจำนวน 2 รอบ โดยมีรายละเอียดดังนี้ – ทุนรอบที่ 1 รับสมัครในวันที่ 1 มกราคม… สกสค. ร่วมกับ CP All มอบ 100 ทุนเรียนฟรี 100% ระดับ ปวช. ปวส. และปริญญาตรี EZ WebmasterMarch 21, 2025 กสค. ร่วมกับ CP All มอบทุนเรียนฟรี !! 100% ล่าสุดขยายโอกาสเพิ่มอีก 9 สาขาใหม่ เพิ่มทางเลือกให้เยาวชนก้าวไกล ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ศึกษาที่วิทยาลัยปัญญาภิวัฒน์ และศูนย์การเรียนฯ ทั่วประเทศ 20 แห่ง ทุนการศึกษาระดับ… ให้ทุนเยาวชน ODOS Summer Camp ไปเรียนซัมเมอร์ต่างประเทศ 6 สัปดาห์ เริ่มสมัครได้ 24 มี.ค.นี้ EZ WebmasterMarch 21, 2025 ODOS Summer Camp ทุนการศึกษาระยะสั้น 6 สัปดาห์ เพื่อกระจายโอกาสให้เด็กไทยทุกคนได้มีโอกาสไปเรียนซัมเมอร์ต่างประเทศ เปิดหูเปิดตา ค้นหาตัวตน และสร้างแรงบันดาลใจในการเรียนรู้ โดยไม่จำเป็นต้องเป็นเด็กเก่ง เด็กเรียน หรือเด็กหน้าห้อง เปิดรับเยาวชนที่มีคุณสมบัติดังนี้ – สัญชาติไทย – อายุไม่เกิน… ธนาคารแห่งประเทศไทย เปิดรับสมัครทุนระดับปริญญาโทขึ้นไป เรียนต่อที่ประเทศอังกฤษ EZ WebmasterMarch 17, 2025 ประกาศเปิดรับสมัครทุนการศึกษา Dr. Puey Ungphakorn Centenary Scholarship ประจำปี 2568 ธนาคารแห่งประเทศไทย เปิดรับสมัครทุนการศึกษาระดับปริญญาโทขึ้นไป เพื่อศึกษาต่อที่ The London School of Economics and Political… ครู-อาจารย์ มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค EZ WebmasterMarch 21, 2025 ศาสตราจารย์ นายแพทย์ปิยะมิตร ศรีธรา อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า ปัจจุบันโลกกำลังเผชิญกับกระแสความเปลี่ยนแปลงใหญ่ๆ ใน 6 มิติ 1. สังคมสูงวัย (Aging Society) ในอีก 8 ปีข้างหน้า ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุระดับสุดยอด (Super… รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน EZ WebmasterMarch 21, 2025 รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน พร้อมจ่ายเงินอุดหนุนการศึกษาและพัฒนาอาชีพ ผ่านกสศ. ขณะที่ Microsoft หนุน ศูนย์ดิจิทัลชุมชน ยกระดับทักษะAI เพิ่มโอกาสมีงานทำ พร้อมจับมือ UNICEF สร้าง 1… Kahoot! เปิดตัว Kahoot! Energize ปฏิวัติการประชุมให้มีพลังและสร้างผลกระทบที่เหนือกว่า EZ WebmasterMarch 21, 2025 เปลี่ยนทุกการนำเสนอในที่ทำงานให้กลายเป็นการสื่อสารสองทาง สร้างประสบการณ์ที่น่าสนใจ เต็มไปด้วยความมีชีวิตชีวาและการมีส่วนร่วมที่แท้จริง กระตุ้นการมีส่วนร่วมจากผู้ฟังและขับเคลื่อน ผลลัพธ์ทางธุรกิจไปอีกขั้นด้วย Kahoot! Energize Kahoot! (คาฮู้ด) ผู้นำด้านการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมระดับโลกได้เปิดตัวเครื่องมือใหม่ Kahoot! Energize ที่จะเปลี่ยนทุกการประชุม การฝึกอบรม หรือกิจกรรมต่างๆ ให้กลายเป็นช่วงเวลาที่เต็มไปด้วยพลังและความสนุก พร้อมกระตุ้นการมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ สร้างผลกระทบที่มีความหมาย และขับเคลื่อนธุรกิจไปข้างหน้า การพัฒนา Kahoot! Energize ต่อยอดจากรูปแบบการเรียนรู้และการมีส่วนร่วม อันเป็นเอกลักษณ์ที่ได้รับความนิยมของ Kahoot! แต่เพิ่มความสามารถในการใช้งานในสภาพแวดล้อมการทำงานที่หลากหลาย… สมศ. เน้นย้ำการประเมินคุณภาพภายนอก ปี 67-71 ลดวันประเมิน On site ขยายสู่รูปแบบออนไลน์ สร้างมาตรฐานในการแข่งขันระดับอาเซียน EZ WebmasterMarch 20, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยในการประชุมรับฟังความคิดเห็น (ร่าง) กรอบแนวทางการประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษาที่จัดการเรียนรู้ในสังกัดกรมส่งเสริมการเรียนรู้ (สกร.) โดยเน้นย้ำเรื่อง “แนวคิดและทิศทางการประกันคุณภาพภายนอก” ว่า การประกันคุณภาพภายนอกไม่ใช่เป็น “การตรวจสอบ” แต่เป็นเครื่องมือที่ช่วยส่งเสริมการพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษาอย่างแท้จริง… กิจกรรม โรงเรียนฝึกอาชีพ กทม. เปิดสอนอาชีพ หลักสูตร 200 ชั่วโมง เรียนจบมีใบรับรอง สร้างอาชีพได้จริง EZ WebmasterMarch 22, 2025 โรงเรียนฝึกอาชีพ กทม. เปิดสอนอาชีพ หลักสูตร 200 ชั่วโมง ได้เรียนปฏิบัติเน้น ๆ มีให้เลือกเรียนทุกสาขาวิชา เรียนจบมีใบรับรองให้ เอาไปสร้างอาชีพได้จริง ค่าเรียนเริ่มต้นคอร์สละ 105 บาท (มีทั้งรอบเช้า / บ่าย /… รวมพลังสีชมพูจุฬาฯ กลับบ้านสู่ร่มจามจุรี ในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” EZ WebmasterMarch 14, 2025 สมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (สนจ.) เชิญชวนชาวจุฬาฯ ทั้งนิสิตเก่าและนิสิตปัจจุบัน เดินทางกลับบ้านในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” ร่วมฉลองวาระสำคัญ ครบรอบ 108 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในบรรยากาศแห่งความรักความสามัคคี และความผูกพันของเหล่าน้องพี่สีชมพู ภายใต้ร่มเงาของจามจุรี นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย… สจล. ผนึกกำลังตำรวจภูธรภาค 2 และบริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จำกัด (สำนักงานใหญ่) พัฒนาโครงการ “AI Robot รับแจ้งความ” ประมวลผลถูกต้องและมีประสิทธิภาพ EZ WebmasterMarch 13, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี ร่วมด้วยพลตำรวจโท ยิ่งยศ เทพจำนงค์ (คนที่ 3 จากซ้าย) ผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 2… สจล. ร่วมกับกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน มุ่งยกระดับฝีมือแรงงาน สอดคล้องความต้องการในอนาคต EZ WebmasterMarch 10, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี และนายเดชา พฤกษ์พัฒนรักษ์ (คนที่ 3 จากซ้าย) อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ได้ลงในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการร่วมกัน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่นักศึกษาของสถาบันก่อนเข้าสู่ตลาดแรงงานในสาขาอาชีพต่าง… Search for: Search tui sakrapee August 30, 2021 tui sakrapee August 30, 2021 “น้องไฟฉาย รุ่น3” โคม UV-C ฆ่าเชื้อ COVID-19 ปฏิบัติการแล้วเพื่อบุคลากรด่านหน้าปลอดภัยมั่นใจ 100 % คณะแพทยศาสตร์และคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ Smile Roboticsและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ร่วมพัฒนานวัตกรรมโคม UV-C “น้องไฟฉาย รุ่นที่ 3”ฆ่าและทำลายเชื้อไวรัส COVID-19 และเชื้อโรคอื่นๆ ได้ 99.99% ภายใน 3 นาที พร้อมสร้างความมั่นใจให้เจ้าหน้าที่ด่านหน้าแล้ว ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโควิด-19บุคลากรทางการแพทย์ถือเป็นกลุ่มคนด่านหน้าที่มีความเสี่ยงสูงเนื่องจากต้องคลุกคลีกับผู้ติดเชื้อทุกวันต่อเนื่องเป็นระยะเวลานานซึ่งเชื้อโควิด-19 สามารถล่องลอยอยู่ในอากาศได้ชั่วระยะเวลาหนึ่งแถมอยู่บนพื้นผิวต่างๆ ได้นานหลายชั่วโมงถึงนานนับวันขึ้นอยู่กับปัจจัยด้านสภาพแวดล้อม ดังนั้นการฆ่าเชื้อสถานที่ปฏิบัติงานสำหรับบุคลากรด่านหน้าจึงเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่ง คณะแพทยศาสตร์ และ คณะวิศวกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ห่วงใยในเรื่องนี้ จึงได้ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ และSmileRobotics พัฒนา Robocovid UV-C หรือ “น้องไฟฉาย”ฆ่าเชื้อโรคและสร้างพื้นที่ปลอดภัยให้บุคลากรทางการแพทย์โดยตั้งแต่การระบาดระลอกแรก คณะนวัตกรรมได้พัฒนาหุ่นยนต์มาแล้ว 2รุ่น จนล่าสุด เผยโฉม “น้องไฟฉายรุ่น 3”การันตีประสิทธิภาพฆ่าเชื้อโรคได้เร็วและเข้มข้นกว่าเดิม จุดเริ่มต้น “น้องไฟฉาย” ศาสตราจารย์ นพ.สมรัตน์ จารุลักษณานันท์ ภาควิชาวิสัญญีวิทยาคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้ริเริ่มโครงการพัฒนาโคมUV-C ประสิทธิภาพสูงฆ่าเชื้อไวรัส COVID-19เผยถึงแนวคิดจูงใจในการสร้างนวัตกรรมว่า“ในช่วงการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด-19 ระลอกแรกเจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลทุกระดับล้วนมีความเสี่ยงดังนั้นหากมีวิธีป้องกันการติดเชื้อและสร้างความปลอดภัยกับเจ้าหน้าที่เราก็ไม่ลังเลที่จะทำซึ่งการสร้างสภาพแวดล้อมในที่ทำงานให้ปราศจากเชื้อมีความสำคัญมากอย่างการทำความสะอาดหลังจากการใช้งานห้องต่างๆเราก็คิดว่าจะทำอย่างไรให้เจ้าหน้าที่ที่ดูแลในเรื่องนี้ปลอดภัย ไม่ติดโรค”ทีมจากคณะแพทยศาสตร์ นำโดย ศ.นพ.สมรัตน์จึงได้ประสานขอความร่วมมือจากรองคณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์รองศาสตราจารย์ ดร.อนงค์นาฏ สมหวังธนโรจน์ และ รองศาสตราจารย์ดร.โปรดปราน บุณยพุกกณะ ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวฯจุฬาฯเพื่อให้คิดค้นอุปกรณ์ฆ่าเชื้อโรคในห้องผ่าตัดโดยไม่เป็นอันตรายกับผู้ปฏิบัติงาน โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.บุญรัตน์ โล่ห์วงศ์วัฒนภาควิชาวิศวกรรมโลหะการ และ ดร.เจนยุกต์ โล่วัชรินทร์ ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯเป็นส่วนหนึ่งของคณะพัฒนานวัตกรรม “โจทย์ของนวัตกรรมนี้คือการสร้างอุปกรณ์ที่ใช้ฆ่าเชื้อช่วงที่ไม่มีคนอยู่ปฏิบัติการณ์ในห้องเป็นการฆ่าเชื้อเบื้องต้นเพื่อความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงานก่อนที่จะมีเจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลเข้ามาทำความสะอาดและฆ่าเชื้อเช็ดถูบนพื้นผิว ผนัง และอุปกรณ์ต่างๆ อีกครั้งด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อต่างๆ”ดร.เจนยุกต์กล่าว ทำไมต้องน้องไฟฉาย “รังสี UV-C” ดร.เจนยุกต์ อธิบายว่าในทางวิศวกรรม รังสี UV-Cอยู่ในช่วงความยาวคลื่น 200 – 280 นาโนเมตร หรือเรียกว่าเป็นช่วง germicidal range ซึ่งมีประสิทธิภาพสูงมากในการฆ่าเชื้อทั้งเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส และเชื้อรา“ความเข้มข้นของรังสี UV-C ที่ตกกระทบบนพื้นผิวมีความสำคัญกับการฆ่าเชื้อโรคเปรียบได้กับความเข้มข้นของสารเคมีที่ใช้ฆ่าทำความสะอาดเชื้อโรค ถ้ารังสีเข้มข้นมากก็ใช้เวลาน้อย ถ้าเข้มข้นน้อยก็ต้องใช้เวลามากขึ้น”ดร.เจนยุกต์ อธิบาย“ความเข้มข้นของแสง (fluence) มีหน่วยวัดเป็นจูล/ตารางเซนติเมตรซึ่งงานวิจัยหลายชิ้นบ่งชี้ว่าปริมาณความเข้มข้นของแสง UV-Cที่ประมาณ 1.2 จูล/ตารางเซนติเมตร หรือ 1,200มิลลิจูล/ตารางเซนติเมตร เป็นอย่างน้อยสามารถฆ่าเชื้อโควิด-19ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้เวลาประมาณ 10 นาทีต่อ 1 จุดตรงนี้เองเป็นที่มาของจำนวนหลอด UV-Cที่เราคำนวณเพื่อติดตั้งบนตัวหุ่นยนต์รวมถึงองศาในการติดตั้งหลอดว่าต้องเอียงกี่องศาเพื่อให้มีความเข้มข้นเพียงพอที่จะฆ่าเชื้อได้” “น้องไฟฉาย” ตั้งแต่รุ่นแรกจนรุ่นปัจจุบันเป็นฝีมือการอออกแบบของคุณอดิศักดิ์ ดวงแก้ว วิศวกรหุ่นยนต์ แชมป์หุ่นยนต์กู้ภัยโลก 2 สมัยจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ และ SmileRobotics โดยออกแบบให้หลอด UV-C เป็นหลอดขนาดยาวแนวตั้งมีความสูงเท่ากับมนุษย์ที่ปฏิบัติงานจริงๆติดล้อเพื่อให้สามารถเคลื่อนที่ได้และควบคุมได้จากระยะไกล“น้องไฟฉายรุ่นแรก ตัวหลอด UV-C ถูกติดตั้งในแนวตรงการฉายแสง (projection)ลงบนพื้นหรือบริเวณที่ตัวหุ่นยนต์วิ่งผ่านยังทำได้ไม่เต็มที่ คือแผ่ลำแสงออกมาได้ประมาณ 3 เมตรโดยรอบ คิดเป็นพื้นที่คร่าวๆ ประมาณ20-25 ตารางเมตร จึงมีการพัฒนาสู่การผลิตในรุ่นที่ 2ซึ่งมีการทดลองเอียงตัวหลอด UV-Cเพื่อเพิ่มพื้นที่ของรังสีที่ตกกระทบบนพื้นผิวได้มากกว่าทั้งในเชิงการควบคุมพื้นที่และปริมาณความเข้มของรังสีซึ่งเป็นปัจจัยหลักในการฆ่าเชื้อโรค” ดร.เจนยุกต์ เล่าถึงหุ่นยนต์ “น้องไฟฉาย”สองรุ่นที่ผ่านมา “น้องไฟฉาย รุ่น 3” ฆ่าเชื้อโรคเข้มข้น รวดเร็ว ทุกทิศทางไวรัสโควิด-19 เป็นเชื้อไวรัสที่ถูกฆ่าทำลายได้ง่ายอยู่แล้ว การทดสอบของทางคณะวิศวกรรมศาสตร์ได้ผลสอดคล้องกับการทดสอบของทางคณะแพทย์และงานวิจัยในต่างประเทศที่พบว่าโดสความเข้มข้นของรังสีที่ใช้กับน้องไฟฉายสองรุ่นแรกสามารถฆ่าเชื้อได้อย่างมีประสิทธิภาพ 99.99 – 99.999 % ขึ้นไปแต่น้องไฟฉายรุ่นที่ 3 ทำได้เหนือกว่านั้นคณะผู้พัฒนาได้ปรับปรุงและพัฒนาน้องไฟฉายรุ่นที่ 3ให้มีประสิทธิภาพในการกระจายรังสี UV-C ได้เข้มข้นขึ้นในทุกทิศทุกทาง ช่วยร่นระยะเวลาในการฆ่าเชื้อลงเหลือเพียงจุดละ 3นาที อีกทั้งมีขนาดเล็กกะทัดรัด สะดวกในการใช้งานเคลื่อนย้ายและการจัดเก็บ เมื่อเทียบกับทั้ง 2 รุ่นที่ผ่านมา นอกจากนี้น้องไฟฉาย 3 สามารควบคุมการทำงานด้วยระบบ Internet of Things(IoT) หรือผ่านเครือข่าย 4G ทาง Smart Phone ทั้งระบบ Android และIOS “ในการตรวจสอบประสิทธิภาพการกำจัดเชื้อที่ระยะทางต่างๆทั้งที่ระดับพื้นดิน ระดับ 50 เซนติเมตรเหนือพื้น บนพื้นผิววัสดุต่างๆทั้งแก้ว พลาสติก โลหะ มีการนำเชื้อโรคอื่นๆที่ถูกกำจัดหรือฆ่าได้ยากกว่าไวรัสโควิด-19 หลายเท่ามาใช้ทดสอบเป็นคู่เทียบ (surrogate)ก็พบว่าหุ่นยนต์น้องไฟฉายสามารถฆ่าเชื้อได้อย่างมีประสิทธิภาพผลตอบรับจากโรงพยาบาลอื่นๆ ที่ได้นำไปใช้ก็อยู่ในระดับที่ยอดเยี่ยม”ศ.นพ. สมรัตน์ กล่าวเพิ่มเติมถึงการตรวจสอบประสิทธิภาพหุ่นยนต์ไฟฉายรุ่น 3 โดยภาควิชาวิสัญญีวิทยา ร่วมกับหน่วยแบคทีเรียวิทยาภาควิชาจุลชีววิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ น้องไฟฉายทุกรุ่นออกปฏิบัติการแล้ว พร้อมศึกษาพัฒนารุ่นต่อไป ปัจจุบัน “น้องไฟฉาย 3”ได้ให้บริการฆ่าเชื้อทำความสะอาดแล้วในหลายโรงพยาบาลทั่วประเทศเช่น ในห้องทำคลอดของแผนกสูตินารีเวช โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และมีแผนขยายและส่งมอบน้องไฟฉายให้โรงพยาบาลอื่นๆ ที่สนใจด้วยดร.เจนยุกต์ กล่าวทิ้งท้ายถึงอนาคตของ “น้องไฟฉาย” รุ่นต่อไปว่า“ชนิดหลอด UV-Cที่เราใช้อยู่ในปัจจุบันอาจมีการปล่อยก๊าซโอโซนออกมาซึ่งถึงแม้โอโซนจะสามารถช่วยฆ่าเชื้อและสลายไปได้เองแต่ก็ข้อกังวลเรื่องการตกค้างของโอโซนที่อาจส่งผลกระทบต่อพื้นผิวอุปกรณ์ได้ ดังนั้นเราจึงกำลังศึกษามองหาหลอดประเภทอื่นที่มีประสิทธิภาพในการใช้พลังงานที่ดีที่สุด เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากขึ้นแม้ว่าตัวที่เราใช้อยู่ก็มีประสิทธิภาพและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากในระดับหนึ่งอยู่แล้วก็ตาม” ผู้สนใจสนับสนุนการวิจัยและพัฒนา หรือต้องการหุ่นยนต์“น้องไฟฉาย” ไปใช้ในโรงพยาบาลหรือโรงพยาบาลสนามสามารถติดต่อหรือสอบถามที่ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โทรศัพท์ (02) 256 4000 ต่อ 81513 …………………………………………………. ที่มา ศูนย์สื่อสารองค์กร จุฬาฯ tui sakrapee Related Posts นักศึกษามทร.ธัญบุรี ส่งต่ออาชีพดอกมะลิทิชชู่ ผู้ต้องขังเรือนจำธัญบุรี มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน Kahoot! เปิดตัว Kahoot! Energize ปฏิวัติการประชุมให้มีพลังและสร้างผลกระทบที่เหนือกว่า นักศึกษา มทร.ธัญบุรี โชว์ไอเดีย “กระเป๋าผ้าทอใยไผ่” ตอบโจทย์ความยั่งยืน ในนิทรรศการศิลปนิพนธ์ 2025 Post navigation PREVIOUS Previous post: อยากเป็นนักกายภาพบำบัดต้องเรียนจบอะไรNEXT Next post: ทีมสถาปัตย์ มทร.ธัญบุรี ออกแบบต้นแบบรีสอร์ท “เสื่อลำแพนบ้านค้อ” จ.ปราจีนบุรี สร้างเอกลักษณ์ เพิ่มคุณค่าผลิตภัณฑ์ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค EZ WebmasterMarch 21, 2025 ศาสตราจารย์ นายแพทย์ปิยะมิตร ศรีธรา อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า ปัจจุบันโลกกำลังเผชิญกับกระแสความเปลี่ยนแปลงใหญ่ๆ ใน 6 มิติ 1. สังคมสูงวัย (Aging Society) ในอีก 8 ปีข้างหน้า ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุระดับสุดยอด (Super… ฟินแลนด์ครองแชมป์ 8 ปีซ้อน ประเทศที่มีความสุขที่สุดในโลก 2025 ไทยขยับขึ้นอันดับ 49 EZ WebmasterMarch 21, 2025 ฟินแลนด์ ยังคงรักษาตำแหน่งประเทศที่มีความสุขที่สุดในโลกเป็นปีที่ 8 ติดต่อกัน ตามรายงานความสุขโลก (World Happiness Report) ประจำปี 2025 ซึ่งจัดทำโดยศูนย์วิจัยความเป็นอยู่ที่ดี (Wellbeing Research Centre) แห่งมหาวิทยาลัยอ็อกซ์ฟอร์ด รายงานนี้เผยแพร่ในช่วงวันความสุขสากล (International Day of Happiness)…
ฟินแลนด์ครองแชมป์ 8 ปีซ้อน ประเทศที่มีความสุขที่สุดในโลก 2025 ไทยขยับขึ้นอันดับ 49 EZ WebmasterMarch 21, 2025 ฟินแลนด์ ยังคงรักษาตำแหน่งประเทศที่มีความสุขที่สุดในโลกเป็นปีที่ 8 ติดต่อกัน ตามรายงานความสุขโลก (World Happiness Report) ประจำปี 2025 ซึ่งจัดทำโดยศูนย์วิจัยความเป็นอยู่ที่ดี (Wellbeing Research Centre) แห่งมหาวิทยาลัยอ็อกซ์ฟอร์ด รายงานนี้เผยแพร่ในช่วงวันความสุขสากล (International Day of Happiness)…
ทุนการศึกษามูลนิธิศึกษาวิจัยและพัฒนาเพื่อสังคมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปี 2568 EZ WebmasterMarch 22, 2025 ทุนการศึกษามูลนิธิศึกษาวิจัยฯ ประจำปี 2568 ++ ประกาศเปิดรับสมัครแล้วตั้งแต่วันนี้ ++ โดยทุนการศึกษามูลนิธิศึกษาวิจัยและพัฒนาเพื่อสังคมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปี 2568 เปิดรับสมัครจำนวน 2 รอบ โดยมีรายละเอียดดังนี้ – ทุนรอบที่ 1 รับสมัครในวันที่ 1 มกราคม… สกสค. ร่วมกับ CP All มอบ 100 ทุนเรียนฟรี 100% ระดับ ปวช. ปวส. และปริญญาตรี EZ WebmasterMarch 21, 2025 กสค. ร่วมกับ CP All มอบทุนเรียนฟรี !! 100% ล่าสุดขยายโอกาสเพิ่มอีก 9 สาขาใหม่ เพิ่มทางเลือกให้เยาวชนก้าวไกล ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ศึกษาที่วิทยาลัยปัญญาภิวัฒน์ และศูนย์การเรียนฯ ทั่วประเทศ 20 แห่ง ทุนการศึกษาระดับ… ให้ทุนเยาวชน ODOS Summer Camp ไปเรียนซัมเมอร์ต่างประเทศ 6 สัปดาห์ เริ่มสมัครได้ 24 มี.ค.นี้ EZ WebmasterMarch 21, 2025 ODOS Summer Camp ทุนการศึกษาระยะสั้น 6 สัปดาห์ เพื่อกระจายโอกาสให้เด็กไทยทุกคนได้มีโอกาสไปเรียนซัมเมอร์ต่างประเทศ เปิดหูเปิดตา ค้นหาตัวตน และสร้างแรงบันดาลใจในการเรียนรู้ โดยไม่จำเป็นต้องเป็นเด็กเก่ง เด็กเรียน หรือเด็กหน้าห้อง เปิดรับเยาวชนที่มีคุณสมบัติดังนี้ – สัญชาติไทย – อายุไม่เกิน… ธนาคารแห่งประเทศไทย เปิดรับสมัครทุนระดับปริญญาโทขึ้นไป เรียนต่อที่ประเทศอังกฤษ EZ WebmasterMarch 17, 2025 ประกาศเปิดรับสมัครทุนการศึกษา Dr. Puey Ungphakorn Centenary Scholarship ประจำปี 2568 ธนาคารแห่งประเทศไทย เปิดรับสมัครทุนการศึกษาระดับปริญญาโทขึ้นไป เพื่อศึกษาต่อที่ The London School of Economics and Political… ครู-อาจารย์ มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค EZ WebmasterMarch 21, 2025 ศาสตราจารย์ นายแพทย์ปิยะมิตร ศรีธรา อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า ปัจจุบันโลกกำลังเผชิญกับกระแสความเปลี่ยนแปลงใหญ่ๆ ใน 6 มิติ 1. สังคมสูงวัย (Aging Society) ในอีก 8 ปีข้างหน้า ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุระดับสุดยอด (Super… รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน EZ WebmasterMarch 21, 2025 รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน พร้อมจ่ายเงินอุดหนุนการศึกษาและพัฒนาอาชีพ ผ่านกสศ. ขณะที่ Microsoft หนุน ศูนย์ดิจิทัลชุมชน ยกระดับทักษะAI เพิ่มโอกาสมีงานทำ พร้อมจับมือ UNICEF สร้าง 1… Kahoot! เปิดตัว Kahoot! Energize ปฏิวัติการประชุมให้มีพลังและสร้างผลกระทบที่เหนือกว่า EZ WebmasterMarch 21, 2025 เปลี่ยนทุกการนำเสนอในที่ทำงานให้กลายเป็นการสื่อสารสองทาง สร้างประสบการณ์ที่น่าสนใจ เต็มไปด้วยความมีชีวิตชีวาและการมีส่วนร่วมที่แท้จริง กระตุ้นการมีส่วนร่วมจากผู้ฟังและขับเคลื่อน ผลลัพธ์ทางธุรกิจไปอีกขั้นด้วย Kahoot! Energize Kahoot! (คาฮู้ด) ผู้นำด้านการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมระดับโลกได้เปิดตัวเครื่องมือใหม่ Kahoot! Energize ที่จะเปลี่ยนทุกการประชุม การฝึกอบรม หรือกิจกรรมต่างๆ ให้กลายเป็นช่วงเวลาที่เต็มไปด้วยพลังและความสนุก พร้อมกระตุ้นการมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ สร้างผลกระทบที่มีความหมาย และขับเคลื่อนธุรกิจไปข้างหน้า การพัฒนา Kahoot! Energize ต่อยอดจากรูปแบบการเรียนรู้และการมีส่วนร่วม อันเป็นเอกลักษณ์ที่ได้รับความนิยมของ Kahoot! แต่เพิ่มความสามารถในการใช้งานในสภาพแวดล้อมการทำงานที่หลากหลาย… สมศ. เน้นย้ำการประเมินคุณภาพภายนอก ปี 67-71 ลดวันประเมิน On site ขยายสู่รูปแบบออนไลน์ สร้างมาตรฐานในการแข่งขันระดับอาเซียน EZ WebmasterMarch 20, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยในการประชุมรับฟังความคิดเห็น (ร่าง) กรอบแนวทางการประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษาที่จัดการเรียนรู้ในสังกัดกรมส่งเสริมการเรียนรู้ (สกร.) โดยเน้นย้ำเรื่อง “แนวคิดและทิศทางการประกันคุณภาพภายนอก” ว่า การประกันคุณภาพภายนอกไม่ใช่เป็น “การตรวจสอบ” แต่เป็นเครื่องมือที่ช่วยส่งเสริมการพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษาอย่างแท้จริง… กิจกรรม โรงเรียนฝึกอาชีพ กทม. เปิดสอนอาชีพ หลักสูตร 200 ชั่วโมง เรียนจบมีใบรับรอง สร้างอาชีพได้จริง EZ WebmasterMarch 22, 2025 โรงเรียนฝึกอาชีพ กทม. เปิดสอนอาชีพ หลักสูตร 200 ชั่วโมง ได้เรียนปฏิบัติเน้น ๆ มีให้เลือกเรียนทุกสาขาวิชา เรียนจบมีใบรับรองให้ เอาไปสร้างอาชีพได้จริง ค่าเรียนเริ่มต้นคอร์สละ 105 บาท (มีทั้งรอบเช้า / บ่าย /… รวมพลังสีชมพูจุฬาฯ กลับบ้านสู่ร่มจามจุรี ในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” EZ WebmasterMarch 14, 2025 สมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (สนจ.) เชิญชวนชาวจุฬาฯ ทั้งนิสิตเก่าและนิสิตปัจจุบัน เดินทางกลับบ้านในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” ร่วมฉลองวาระสำคัญ ครบรอบ 108 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในบรรยากาศแห่งความรักความสามัคคี และความผูกพันของเหล่าน้องพี่สีชมพู ภายใต้ร่มเงาของจามจุรี นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย… สจล. ผนึกกำลังตำรวจภูธรภาค 2 และบริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จำกัด (สำนักงานใหญ่) พัฒนาโครงการ “AI Robot รับแจ้งความ” ประมวลผลถูกต้องและมีประสิทธิภาพ EZ WebmasterMarch 13, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี ร่วมด้วยพลตำรวจโท ยิ่งยศ เทพจำนงค์ (คนที่ 3 จากซ้าย) ผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 2… สจล. ร่วมกับกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน มุ่งยกระดับฝีมือแรงงาน สอดคล้องความต้องการในอนาคต EZ WebmasterMarch 10, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี และนายเดชา พฤกษ์พัฒนรักษ์ (คนที่ 3 จากซ้าย) อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ได้ลงในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการร่วมกัน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่นักศึกษาของสถาบันก่อนเข้าสู่ตลาดแรงงานในสาขาอาชีพต่าง… Search for: Search tui sakrapee August 30, 2021 tui sakrapee August 30, 2021 “น้องไฟฉาย รุ่น3” โคม UV-C ฆ่าเชื้อ COVID-19 ปฏิบัติการแล้วเพื่อบุคลากรด่านหน้าปลอดภัยมั่นใจ 100 % คณะแพทยศาสตร์และคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ Smile Roboticsและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ร่วมพัฒนานวัตกรรมโคม UV-C “น้องไฟฉาย รุ่นที่ 3”ฆ่าและทำลายเชื้อไวรัส COVID-19 และเชื้อโรคอื่นๆ ได้ 99.99% ภายใน 3 นาที พร้อมสร้างความมั่นใจให้เจ้าหน้าที่ด่านหน้าแล้ว ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโควิด-19บุคลากรทางการแพทย์ถือเป็นกลุ่มคนด่านหน้าที่มีความเสี่ยงสูงเนื่องจากต้องคลุกคลีกับผู้ติดเชื้อทุกวันต่อเนื่องเป็นระยะเวลานานซึ่งเชื้อโควิด-19 สามารถล่องลอยอยู่ในอากาศได้ชั่วระยะเวลาหนึ่งแถมอยู่บนพื้นผิวต่างๆ ได้นานหลายชั่วโมงถึงนานนับวันขึ้นอยู่กับปัจจัยด้านสภาพแวดล้อม ดังนั้นการฆ่าเชื้อสถานที่ปฏิบัติงานสำหรับบุคลากรด่านหน้าจึงเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่ง คณะแพทยศาสตร์ และ คณะวิศวกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ห่วงใยในเรื่องนี้ จึงได้ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ และSmileRobotics พัฒนา Robocovid UV-C หรือ “น้องไฟฉาย”ฆ่าเชื้อโรคและสร้างพื้นที่ปลอดภัยให้บุคลากรทางการแพทย์โดยตั้งแต่การระบาดระลอกแรก คณะนวัตกรรมได้พัฒนาหุ่นยนต์มาแล้ว 2รุ่น จนล่าสุด เผยโฉม “น้องไฟฉายรุ่น 3”การันตีประสิทธิภาพฆ่าเชื้อโรคได้เร็วและเข้มข้นกว่าเดิม จุดเริ่มต้น “น้องไฟฉาย” ศาสตราจารย์ นพ.สมรัตน์ จารุลักษณานันท์ ภาควิชาวิสัญญีวิทยาคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้ริเริ่มโครงการพัฒนาโคมUV-C ประสิทธิภาพสูงฆ่าเชื้อไวรัส COVID-19เผยถึงแนวคิดจูงใจในการสร้างนวัตกรรมว่า“ในช่วงการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด-19 ระลอกแรกเจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลทุกระดับล้วนมีความเสี่ยงดังนั้นหากมีวิธีป้องกันการติดเชื้อและสร้างความปลอดภัยกับเจ้าหน้าที่เราก็ไม่ลังเลที่จะทำซึ่งการสร้างสภาพแวดล้อมในที่ทำงานให้ปราศจากเชื้อมีความสำคัญมากอย่างการทำความสะอาดหลังจากการใช้งานห้องต่างๆเราก็คิดว่าจะทำอย่างไรให้เจ้าหน้าที่ที่ดูแลในเรื่องนี้ปลอดภัย ไม่ติดโรค”ทีมจากคณะแพทยศาสตร์ นำโดย ศ.นพ.สมรัตน์จึงได้ประสานขอความร่วมมือจากรองคณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์รองศาสตราจารย์ ดร.อนงค์นาฏ สมหวังธนโรจน์ และ รองศาสตราจารย์ดร.โปรดปราน บุณยพุกกณะ ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวฯจุฬาฯเพื่อให้คิดค้นอุปกรณ์ฆ่าเชื้อโรคในห้องผ่าตัดโดยไม่เป็นอันตรายกับผู้ปฏิบัติงาน โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.บุญรัตน์ โล่ห์วงศ์วัฒนภาควิชาวิศวกรรมโลหะการ และ ดร.เจนยุกต์ โล่วัชรินทร์ ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯเป็นส่วนหนึ่งของคณะพัฒนานวัตกรรม “โจทย์ของนวัตกรรมนี้คือการสร้างอุปกรณ์ที่ใช้ฆ่าเชื้อช่วงที่ไม่มีคนอยู่ปฏิบัติการณ์ในห้องเป็นการฆ่าเชื้อเบื้องต้นเพื่อความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงานก่อนที่จะมีเจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลเข้ามาทำความสะอาดและฆ่าเชื้อเช็ดถูบนพื้นผิว ผนัง และอุปกรณ์ต่างๆ อีกครั้งด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อต่างๆ”ดร.เจนยุกต์กล่าว ทำไมต้องน้องไฟฉาย “รังสี UV-C” ดร.เจนยุกต์ อธิบายว่าในทางวิศวกรรม รังสี UV-Cอยู่ในช่วงความยาวคลื่น 200 – 280 นาโนเมตร หรือเรียกว่าเป็นช่วง germicidal range ซึ่งมีประสิทธิภาพสูงมากในการฆ่าเชื้อทั้งเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส และเชื้อรา“ความเข้มข้นของรังสี UV-C ที่ตกกระทบบนพื้นผิวมีความสำคัญกับการฆ่าเชื้อโรคเปรียบได้กับความเข้มข้นของสารเคมีที่ใช้ฆ่าทำความสะอาดเชื้อโรค ถ้ารังสีเข้มข้นมากก็ใช้เวลาน้อย ถ้าเข้มข้นน้อยก็ต้องใช้เวลามากขึ้น”ดร.เจนยุกต์ อธิบาย“ความเข้มข้นของแสง (fluence) มีหน่วยวัดเป็นจูล/ตารางเซนติเมตรซึ่งงานวิจัยหลายชิ้นบ่งชี้ว่าปริมาณความเข้มข้นของแสง UV-Cที่ประมาณ 1.2 จูล/ตารางเซนติเมตร หรือ 1,200มิลลิจูล/ตารางเซนติเมตร เป็นอย่างน้อยสามารถฆ่าเชื้อโควิด-19ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้เวลาประมาณ 10 นาทีต่อ 1 จุดตรงนี้เองเป็นที่มาของจำนวนหลอด UV-Cที่เราคำนวณเพื่อติดตั้งบนตัวหุ่นยนต์รวมถึงองศาในการติดตั้งหลอดว่าต้องเอียงกี่องศาเพื่อให้มีความเข้มข้นเพียงพอที่จะฆ่าเชื้อได้” “น้องไฟฉาย” ตั้งแต่รุ่นแรกจนรุ่นปัจจุบันเป็นฝีมือการอออกแบบของคุณอดิศักดิ์ ดวงแก้ว วิศวกรหุ่นยนต์ แชมป์หุ่นยนต์กู้ภัยโลก 2 สมัยจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ และ SmileRobotics โดยออกแบบให้หลอด UV-C เป็นหลอดขนาดยาวแนวตั้งมีความสูงเท่ากับมนุษย์ที่ปฏิบัติงานจริงๆติดล้อเพื่อให้สามารถเคลื่อนที่ได้และควบคุมได้จากระยะไกล“น้องไฟฉายรุ่นแรก ตัวหลอด UV-C ถูกติดตั้งในแนวตรงการฉายแสง (projection)ลงบนพื้นหรือบริเวณที่ตัวหุ่นยนต์วิ่งผ่านยังทำได้ไม่เต็มที่ คือแผ่ลำแสงออกมาได้ประมาณ 3 เมตรโดยรอบ คิดเป็นพื้นที่คร่าวๆ ประมาณ20-25 ตารางเมตร จึงมีการพัฒนาสู่การผลิตในรุ่นที่ 2ซึ่งมีการทดลองเอียงตัวหลอด UV-Cเพื่อเพิ่มพื้นที่ของรังสีที่ตกกระทบบนพื้นผิวได้มากกว่าทั้งในเชิงการควบคุมพื้นที่และปริมาณความเข้มของรังสีซึ่งเป็นปัจจัยหลักในการฆ่าเชื้อโรค” ดร.เจนยุกต์ เล่าถึงหุ่นยนต์ “น้องไฟฉาย”สองรุ่นที่ผ่านมา “น้องไฟฉาย รุ่น 3” ฆ่าเชื้อโรคเข้มข้น รวดเร็ว ทุกทิศทางไวรัสโควิด-19 เป็นเชื้อไวรัสที่ถูกฆ่าทำลายได้ง่ายอยู่แล้ว การทดสอบของทางคณะวิศวกรรมศาสตร์ได้ผลสอดคล้องกับการทดสอบของทางคณะแพทย์และงานวิจัยในต่างประเทศที่พบว่าโดสความเข้มข้นของรังสีที่ใช้กับน้องไฟฉายสองรุ่นแรกสามารถฆ่าเชื้อได้อย่างมีประสิทธิภาพ 99.99 – 99.999 % ขึ้นไปแต่น้องไฟฉายรุ่นที่ 3 ทำได้เหนือกว่านั้นคณะผู้พัฒนาได้ปรับปรุงและพัฒนาน้องไฟฉายรุ่นที่ 3ให้มีประสิทธิภาพในการกระจายรังสี UV-C ได้เข้มข้นขึ้นในทุกทิศทุกทาง ช่วยร่นระยะเวลาในการฆ่าเชื้อลงเหลือเพียงจุดละ 3นาที อีกทั้งมีขนาดเล็กกะทัดรัด สะดวกในการใช้งานเคลื่อนย้ายและการจัดเก็บ เมื่อเทียบกับทั้ง 2 รุ่นที่ผ่านมา นอกจากนี้น้องไฟฉาย 3 สามารควบคุมการทำงานด้วยระบบ Internet of Things(IoT) หรือผ่านเครือข่าย 4G ทาง Smart Phone ทั้งระบบ Android และIOS “ในการตรวจสอบประสิทธิภาพการกำจัดเชื้อที่ระยะทางต่างๆทั้งที่ระดับพื้นดิน ระดับ 50 เซนติเมตรเหนือพื้น บนพื้นผิววัสดุต่างๆทั้งแก้ว พลาสติก โลหะ มีการนำเชื้อโรคอื่นๆที่ถูกกำจัดหรือฆ่าได้ยากกว่าไวรัสโควิด-19 หลายเท่ามาใช้ทดสอบเป็นคู่เทียบ (surrogate)ก็พบว่าหุ่นยนต์น้องไฟฉายสามารถฆ่าเชื้อได้อย่างมีประสิทธิภาพผลตอบรับจากโรงพยาบาลอื่นๆ ที่ได้นำไปใช้ก็อยู่ในระดับที่ยอดเยี่ยม”ศ.นพ. สมรัตน์ กล่าวเพิ่มเติมถึงการตรวจสอบประสิทธิภาพหุ่นยนต์ไฟฉายรุ่น 3 โดยภาควิชาวิสัญญีวิทยา ร่วมกับหน่วยแบคทีเรียวิทยาภาควิชาจุลชีววิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ น้องไฟฉายทุกรุ่นออกปฏิบัติการแล้ว พร้อมศึกษาพัฒนารุ่นต่อไป ปัจจุบัน “น้องไฟฉาย 3”ได้ให้บริการฆ่าเชื้อทำความสะอาดแล้วในหลายโรงพยาบาลทั่วประเทศเช่น ในห้องทำคลอดของแผนกสูตินารีเวช โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และมีแผนขยายและส่งมอบน้องไฟฉายให้โรงพยาบาลอื่นๆ ที่สนใจด้วยดร.เจนยุกต์ กล่าวทิ้งท้ายถึงอนาคตของ “น้องไฟฉาย” รุ่นต่อไปว่า“ชนิดหลอด UV-Cที่เราใช้อยู่ในปัจจุบันอาจมีการปล่อยก๊าซโอโซนออกมาซึ่งถึงแม้โอโซนจะสามารถช่วยฆ่าเชื้อและสลายไปได้เองแต่ก็ข้อกังวลเรื่องการตกค้างของโอโซนที่อาจส่งผลกระทบต่อพื้นผิวอุปกรณ์ได้ ดังนั้นเราจึงกำลังศึกษามองหาหลอดประเภทอื่นที่มีประสิทธิภาพในการใช้พลังงานที่ดีที่สุด เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากขึ้นแม้ว่าตัวที่เราใช้อยู่ก็มีประสิทธิภาพและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากในระดับหนึ่งอยู่แล้วก็ตาม” ผู้สนใจสนับสนุนการวิจัยและพัฒนา หรือต้องการหุ่นยนต์“น้องไฟฉาย” ไปใช้ในโรงพยาบาลหรือโรงพยาบาลสนามสามารถติดต่อหรือสอบถามที่ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โทรศัพท์ (02) 256 4000 ต่อ 81513 …………………………………………………. ที่มา ศูนย์สื่อสารองค์กร จุฬาฯ tui sakrapee Related Posts นักศึกษามทร.ธัญบุรี ส่งต่ออาชีพดอกมะลิทิชชู่ ผู้ต้องขังเรือนจำธัญบุรี มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน Kahoot! เปิดตัว Kahoot! Energize ปฏิวัติการประชุมให้มีพลังและสร้างผลกระทบที่เหนือกว่า นักศึกษา มทร.ธัญบุรี โชว์ไอเดีย “กระเป๋าผ้าทอใยไผ่” ตอบโจทย์ความยั่งยืน ในนิทรรศการศิลปนิพนธ์ 2025 Post navigation PREVIOUS Previous post: อยากเป็นนักกายภาพบำบัดต้องเรียนจบอะไรNEXT Next post: ทีมสถาปัตย์ มทร.ธัญบุรี ออกแบบต้นแบบรีสอร์ท “เสื่อลำแพนบ้านค้อ” จ.ปราจีนบุรี สร้างเอกลักษณ์ เพิ่มคุณค่าผลิตภัณฑ์ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
สกสค. ร่วมกับ CP All มอบ 100 ทุนเรียนฟรี 100% ระดับ ปวช. ปวส. และปริญญาตรี EZ WebmasterMarch 21, 2025 กสค. ร่วมกับ CP All มอบทุนเรียนฟรี !! 100% ล่าสุดขยายโอกาสเพิ่มอีก 9 สาขาใหม่ เพิ่มทางเลือกให้เยาวชนก้าวไกล ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ศึกษาที่วิทยาลัยปัญญาภิวัฒน์ และศูนย์การเรียนฯ ทั่วประเทศ 20 แห่ง ทุนการศึกษาระดับ… ให้ทุนเยาวชน ODOS Summer Camp ไปเรียนซัมเมอร์ต่างประเทศ 6 สัปดาห์ เริ่มสมัครได้ 24 มี.ค.นี้ EZ WebmasterMarch 21, 2025 ODOS Summer Camp ทุนการศึกษาระยะสั้น 6 สัปดาห์ เพื่อกระจายโอกาสให้เด็กไทยทุกคนได้มีโอกาสไปเรียนซัมเมอร์ต่างประเทศ เปิดหูเปิดตา ค้นหาตัวตน และสร้างแรงบันดาลใจในการเรียนรู้ โดยไม่จำเป็นต้องเป็นเด็กเก่ง เด็กเรียน หรือเด็กหน้าห้อง เปิดรับเยาวชนที่มีคุณสมบัติดังนี้ – สัญชาติไทย – อายุไม่เกิน… ธนาคารแห่งประเทศไทย เปิดรับสมัครทุนระดับปริญญาโทขึ้นไป เรียนต่อที่ประเทศอังกฤษ EZ WebmasterMarch 17, 2025 ประกาศเปิดรับสมัครทุนการศึกษา Dr. Puey Ungphakorn Centenary Scholarship ประจำปี 2568 ธนาคารแห่งประเทศไทย เปิดรับสมัครทุนการศึกษาระดับปริญญาโทขึ้นไป เพื่อศึกษาต่อที่ The London School of Economics and Political… ครู-อาจารย์ มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค EZ WebmasterMarch 21, 2025 ศาสตราจารย์ นายแพทย์ปิยะมิตร ศรีธรา อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า ปัจจุบันโลกกำลังเผชิญกับกระแสความเปลี่ยนแปลงใหญ่ๆ ใน 6 มิติ 1. สังคมสูงวัย (Aging Society) ในอีก 8 ปีข้างหน้า ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุระดับสุดยอด (Super… รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน EZ WebmasterMarch 21, 2025 รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน พร้อมจ่ายเงินอุดหนุนการศึกษาและพัฒนาอาชีพ ผ่านกสศ. ขณะที่ Microsoft หนุน ศูนย์ดิจิทัลชุมชน ยกระดับทักษะAI เพิ่มโอกาสมีงานทำ พร้อมจับมือ UNICEF สร้าง 1… Kahoot! เปิดตัว Kahoot! Energize ปฏิวัติการประชุมให้มีพลังและสร้างผลกระทบที่เหนือกว่า EZ WebmasterMarch 21, 2025 เปลี่ยนทุกการนำเสนอในที่ทำงานให้กลายเป็นการสื่อสารสองทาง สร้างประสบการณ์ที่น่าสนใจ เต็มไปด้วยความมีชีวิตชีวาและการมีส่วนร่วมที่แท้จริง กระตุ้นการมีส่วนร่วมจากผู้ฟังและขับเคลื่อน ผลลัพธ์ทางธุรกิจไปอีกขั้นด้วย Kahoot! Energize Kahoot! (คาฮู้ด) ผู้นำด้านการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมระดับโลกได้เปิดตัวเครื่องมือใหม่ Kahoot! Energize ที่จะเปลี่ยนทุกการประชุม การฝึกอบรม หรือกิจกรรมต่างๆ ให้กลายเป็นช่วงเวลาที่เต็มไปด้วยพลังและความสนุก พร้อมกระตุ้นการมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ สร้างผลกระทบที่มีความหมาย และขับเคลื่อนธุรกิจไปข้างหน้า การพัฒนา Kahoot! Energize ต่อยอดจากรูปแบบการเรียนรู้และการมีส่วนร่วม อันเป็นเอกลักษณ์ที่ได้รับความนิยมของ Kahoot! แต่เพิ่มความสามารถในการใช้งานในสภาพแวดล้อมการทำงานที่หลากหลาย… สมศ. เน้นย้ำการประเมินคุณภาพภายนอก ปี 67-71 ลดวันประเมิน On site ขยายสู่รูปแบบออนไลน์ สร้างมาตรฐานในการแข่งขันระดับอาเซียน EZ WebmasterMarch 20, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยในการประชุมรับฟังความคิดเห็น (ร่าง) กรอบแนวทางการประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษาที่จัดการเรียนรู้ในสังกัดกรมส่งเสริมการเรียนรู้ (สกร.) โดยเน้นย้ำเรื่อง “แนวคิดและทิศทางการประกันคุณภาพภายนอก” ว่า การประกันคุณภาพภายนอกไม่ใช่เป็น “การตรวจสอบ” แต่เป็นเครื่องมือที่ช่วยส่งเสริมการพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษาอย่างแท้จริง… กิจกรรม โรงเรียนฝึกอาชีพ กทม. เปิดสอนอาชีพ หลักสูตร 200 ชั่วโมง เรียนจบมีใบรับรอง สร้างอาชีพได้จริง EZ WebmasterMarch 22, 2025 โรงเรียนฝึกอาชีพ กทม. เปิดสอนอาชีพ หลักสูตร 200 ชั่วโมง ได้เรียนปฏิบัติเน้น ๆ มีให้เลือกเรียนทุกสาขาวิชา เรียนจบมีใบรับรองให้ เอาไปสร้างอาชีพได้จริง ค่าเรียนเริ่มต้นคอร์สละ 105 บาท (มีทั้งรอบเช้า / บ่าย /… รวมพลังสีชมพูจุฬาฯ กลับบ้านสู่ร่มจามจุรี ในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” EZ WebmasterMarch 14, 2025 สมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (สนจ.) เชิญชวนชาวจุฬาฯ ทั้งนิสิตเก่าและนิสิตปัจจุบัน เดินทางกลับบ้านในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” ร่วมฉลองวาระสำคัญ ครบรอบ 108 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในบรรยากาศแห่งความรักความสามัคคี และความผูกพันของเหล่าน้องพี่สีชมพู ภายใต้ร่มเงาของจามจุรี นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย… สจล. ผนึกกำลังตำรวจภูธรภาค 2 และบริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จำกัด (สำนักงานใหญ่) พัฒนาโครงการ “AI Robot รับแจ้งความ” ประมวลผลถูกต้องและมีประสิทธิภาพ EZ WebmasterMarch 13, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี ร่วมด้วยพลตำรวจโท ยิ่งยศ เทพจำนงค์ (คนที่ 3 จากซ้าย) ผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 2… สจล. ร่วมกับกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน มุ่งยกระดับฝีมือแรงงาน สอดคล้องความต้องการในอนาคต EZ WebmasterMarch 10, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี และนายเดชา พฤกษ์พัฒนรักษ์ (คนที่ 3 จากซ้าย) อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ได้ลงในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการร่วมกัน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่นักศึกษาของสถาบันก่อนเข้าสู่ตลาดแรงงานในสาขาอาชีพต่าง… Search for: Search tui sakrapee August 30, 2021 tui sakrapee August 30, 2021 “น้องไฟฉาย รุ่น3” โคม UV-C ฆ่าเชื้อ COVID-19 ปฏิบัติการแล้วเพื่อบุคลากรด่านหน้าปลอดภัยมั่นใจ 100 % คณะแพทยศาสตร์และคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ Smile Roboticsและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ร่วมพัฒนานวัตกรรมโคม UV-C “น้องไฟฉาย รุ่นที่ 3”ฆ่าและทำลายเชื้อไวรัส COVID-19 และเชื้อโรคอื่นๆ ได้ 99.99% ภายใน 3 นาที พร้อมสร้างความมั่นใจให้เจ้าหน้าที่ด่านหน้าแล้ว ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโควิด-19บุคลากรทางการแพทย์ถือเป็นกลุ่มคนด่านหน้าที่มีความเสี่ยงสูงเนื่องจากต้องคลุกคลีกับผู้ติดเชื้อทุกวันต่อเนื่องเป็นระยะเวลานานซึ่งเชื้อโควิด-19 สามารถล่องลอยอยู่ในอากาศได้ชั่วระยะเวลาหนึ่งแถมอยู่บนพื้นผิวต่างๆ ได้นานหลายชั่วโมงถึงนานนับวันขึ้นอยู่กับปัจจัยด้านสภาพแวดล้อม ดังนั้นการฆ่าเชื้อสถานที่ปฏิบัติงานสำหรับบุคลากรด่านหน้าจึงเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่ง คณะแพทยศาสตร์ และ คณะวิศวกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ห่วงใยในเรื่องนี้ จึงได้ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ และSmileRobotics พัฒนา Robocovid UV-C หรือ “น้องไฟฉาย”ฆ่าเชื้อโรคและสร้างพื้นที่ปลอดภัยให้บุคลากรทางการแพทย์โดยตั้งแต่การระบาดระลอกแรก คณะนวัตกรรมได้พัฒนาหุ่นยนต์มาแล้ว 2รุ่น จนล่าสุด เผยโฉม “น้องไฟฉายรุ่น 3”การันตีประสิทธิภาพฆ่าเชื้อโรคได้เร็วและเข้มข้นกว่าเดิม จุดเริ่มต้น “น้องไฟฉาย” ศาสตราจารย์ นพ.สมรัตน์ จารุลักษณานันท์ ภาควิชาวิสัญญีวิทยาคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้ริเริ่มโครงการพัฒนาโคมUV-C ประสิทธิภาพสูงฆ่าเชื้อไวรัส COVID-19เผยถึงแนวคิดจูงใจในการสร้างนวัตกรรมว่า“ในช่วงการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด-19 ระลอกแรกเจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลทุกระดับล้วนมีความเสี่ยงดังนั้นหากมีวิธีป้องกันการติดเชื้อและสร้างความปลอดภัยกับเจ้าหน้าที่เราก็ไม่ลังเลที่จะทำซึ่งการสร้างสภาพแวดล้อมในที่ทำงานให้ปราศจากเชื้อมีความสำคัญมากอย่างการทำความสะอาดหลังจากการใช้งานห้องต่างๆเราก็คิดว่าจะทำอย่างไรให้เจ้าหน้าที่ที่ดูแลในเรื่องนี้ปลอดภัย ไม่ติดโรค”ทีมจากคณะแพทยศาสตร์ นำโดย ศ.นพ.สมรัตน์จึงได้ประสานขอความร่วมมือจากรองคณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์รองศาสตราจารย์ ดร.อนงค์นาฏ สมหวังธนโรจน์ และ รองศาสตราจารย์ดร.โปรดปราน บุณยพุกกณะ ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวฯจุฬาฯเพื่อให้คิดค้นอุปกรณ์ฆ่าเชื้อโรคในห้องผ่าตัดโดยไม่เป็นอันตรายกับผู้ปฏิบัติงาน โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.บุญรัตน์ โล่ห์วงศ์วัฒนภาควิชาวิศวกรรมโลหะการ และ ดร.เจนยุกต์ โล่วัชรินทร์ ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯเป็นส่วนหนึ่งของคณะพัฒนานวัตกรรม “โจทย์ของนวัตกรรมนี้คือการสร้างอุปกรณ์ที่ใช้ฆ่าเชื้อช่วงที่ไม่มีคนอยู่ปฏิบัติการณ์ในห้องเป็นการฆ่าเชื้อเบื้องต้นเพื่อความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงานก่อนที่จะมีเจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลเข้ามาทำความสะอาดและฆ่าเชื้อเช็ดถูบนพื้นผิว ผนัง และอุปกรณ์ต่างๆ อีกครั้งด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อต่างๆ”ดร.เจนยุกต์กล่าว ทำไมต้องน้องไฟฉาย “รังสี UV-C” ดร.เจนยุกต์ อธิบายว่าในทางวิศวกรรม รังสี UV-Cอยู่ในช่วงความยาวคลื่น 200 – 280 นาโนเมตร หรือเรียกว่าเป็นช่วง germicidal range ซึ่งมีประสิทธิภาพสูงมากในการฆ่าเชื้อทั้งเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส และเชื้อรา“ความเข้มข้นของรังสี UV-C ที่ตกกระทบบนพื้นผิวมีความสำคัญกับการฆ่าเชื้อโรคเปรียบได้กับความเข้มข้นของสารเคมีที่ใช้ฆ่าทำความสะอาดเชื้อโรค ถ้ารังสีเข้มข้นมากก็ใช้เวลาน้อย ถ้าเข้มข้นน้อยก็ต้องใช้เวลามากขึ้น”ดร.เจนยุกต์ อธิบาย“ความเข้มข้นของแสง (fluence) มีหน่วยวัดเป็นจูล/ตารางเซนติเมตรซึ่งงานวิจัยหลายชิ้นบ่งชี้ว่าปริมาณความเข้มข้นของแสง UV-Cที่ประมาณ 1.2 จูล/ตารางเซนติเมตร หรือ 1,200มิลลิจูล/ตารางเซนติเมตร เป็นอย่างน้อยสามารถฆ่าเชื้อโควิด-19ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้เวลาประมาณ 10 นาทีต่อ 1 จุดตรงนี้เองเป็นที่มาของจำนวนหลอด UV-Cที่เราคำนวณเพื่อติดตั้งบนตัวหุ่นยนต์รวมถึงองศาในการติดตั้งหลอดว่าต้องเอียงกี่องศาเพื่อให้มีความเข้มข้นเพียงพอที่จะฆ่าเชื้อได้” “น้องไฟฉาย” ตั้งแต่รุ่นแรกจนรุ่นปัจจุบันเป็นฝีมือการอออกแบบของคุณอดิศักดิ์ ดวงแก้ว วิศวกรหุ่นยนต์ แชมป์หุ่นยนต์กู้ภัยโลก 2 สมัยจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ และ SmileRobotics โดยออกแบบให้หลอด UV-C เป็นหลอดขนาดยาวแนวตั้งมีความสูงเท่ากับมนุษย์ที่ปฏิบัติงานจริงๆติดล้อเพื่อให้สามารถเคลื่อนที่ได้และควบคุมได้จากระยะไกล“น้องไฟฉายรุ่นแรก ตัวหลอด UV-C ถูกติดตั้งในแนวตรงการฉายแสง (projection)ลงบนพื้นหรือบริเวณที่ตัวหุ่นยนต์วิ่งผ่านยังทำได้ไม่เต็มที่ คือแผ่ลำแสงออกมาได้ประมาณ 3 เมตรโดยรอบ คิดเป็นพื้นที่คร่าวๆ ประมาณ20-25 ตารางเมตร จึงมีการพัฒนาสู่การผลิตในรุ่นที่ 2ซึ่งมีการทดลองเอียงตัวหลอด UV-Cเพื่อเพิ่มพื้นที่ของรังสีที่ตกกระทบบนพื้นผิวได้มากกว่าทั้งในเชิงการควบคุมพื้นที่และปริมาณความเข้มของรังสีซึ่งเป็นปัจจัยหลักในการฆ่าเชื้อโรค” ดร.เจนยุกต์ เล่าถึงหุ่นยนต์ “น้องไฟฉาย”สองรุ่นที่ผ่านมา “น้องไฟฉาย รุ่น 3” ฆ่าเชื้อโรคเข้มข้น รวดเร็ว ทุกทิศทางไวรัสโควิด-19 เป็นเชื้อไวรัสที่ถูกฆ่าทำลายได้ง่ายอยู่แล้ว การทดสอบของทางคณะวิศวกรรมศาสตร์ได้ผลสอดคล้องกับการทดสอบของทางคณะแพทย์และงานวิจัยในต่างประเทศที่พบว่าโดสความเข้มข้นของรังสีที่ใช้กับน้องไฟฉายสองรุ่นแรกสามารถฆ่าเชื้อได้อย่างมีประสิทธิภาพ 99.99 – 99.999 % ขึ้นไปแต่น้องไฟฉายรุ่นที่ 3 ทำได้เหนือกว่านั้นคณะผู้พัฒนาได้ปรับปรุงและพัฒนาน้องไฟฉายรุ่นที่ 3ให้มีประสิทธิภาพในการกระจายรังสี UV-C ได้เข้มข้นขึ้นในทุกทิศทุกทาง ช่วยร่นระยะเวลาในการฆ่าเชื้อลงเหลือเพียงจุดละ 3นาที อีกทั้งมีขนาดเล็กกะทัดรัด สะดวกในการใช้งานเคลื่อนย้ายและการจัดเก็บ เมื่อเทียบกับทั้ง 2 รุ่นที่ผ่านมา นอกจากนี้น้องไฟฉาย 3 สามารควบคุมการทำงานด้วยระบบ Internet of Things(IoT) หรือผ่านเครือข่าย 4G ทาง Smart Phone ทั้งระบบ Android และIOS “ในการตรวจสอบประสิทธิภาพการกำจัดเชื้อที่ระยะทางต่างๆทั้งที่ระดับพื้นดิน ระดับ 50 เซนติเมตรเหนือพื้น บนพื้นผิววัสดุต่างๆทั้งแก้ว พลาสติก โลหะ มีการนำเชื้อโรคอื่นๆที่ถูกกำจัดหรือฆ่าได้ยากกว่าไวรัสโควิด-19 หลายเท่ามาใช้ทดสอบเป็นคู่เทียบ (surrogate)ก็พบว่าหุ่นยนต์น้องไฟฉายสามารถฆ่าเชื้อได้อย่างมีประสิทธิภาพผลตอบรับจากโรงพยาบาลอื่นๆ ที่ได้นำไปใช้ก็อยู่ในระดับที่ยอดเยี่ยม”ศ.นพ. สมรัตน์ กล่าวเพิ่มเติมถึงการตรวจสอบประสิทธิภาพหุ่นยนต์ไฟฉายรุ่น 3 โดยภาควิชาวิสัญญีวิทยา ร่วมกับหน่วยแบคทีเรียวิทยาภาควิชาจุลชีววิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ น้องไฟฉายทุกรุ่นออกปฏิบัติการแล้ว พร้อมศึกษาพัฒนารุ่นต่อไป ปัจจุบัน “น้องไฟฉาย 3”ได้ให้บริการฆ่าเชื้อทำความสะอาดแล้วในหลายโรงพยาบาลทั่วประเทศเช่น ในห้องทำคลอดของแผนกสูตินารีเวช โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และมีแผนขยายและส่งมอบน้องไฟฉายให้โรงพยาบาลอื่นๆ ที่สนใจด้วยดร.เจนยุกต์ กล่าวทิ้งท้ายถึงอนาคตของ “น้องไฟฉาย” รุ่นต่อไปว่า“ชนิดหลอด UV-Cที่เราใช้อยู่ในปัจจุบันอาจมีการปล่อยก๊าซโอโซนออกมาซึ่งถึงแม้โอโซนจะสามารถช่วยฆ่าเชื้อและสลายไปได้เองแต่ก็ข้อกังวลเรื่องการตกค้างของโอโซนที่อาจส่งผลกระทบต่อพื้นผิวอุปกรณ์ได้ ดังนั้นเราจึงกำลังศึกษามองหาหลอดประเภทอื่นที่มีประสิทธิภาพในการใช้พลังงานที่ดีที่สุด เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากขึ้นแม้ว่าตัวที่เราใช้อยู่ก็มีประสิทธิภาพและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากในระดับหนึ่งอยู่แล้วก็ตาม” ผู้สนใจสนับสนุนการวิจัยและพัฒนา หรือต้องการหุ่นยนต์“น้องไฟฉาย” ไปใช้ในโรงพยาบาลหรือโรงพยาบาลสนามสามารถติดต่อหรือสอบถามที่ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โทรศัพท์ (02) 256 4000 ต่อ 81513 …………………………………………………. ที่มา ศูนย์สื่อสารองค์กร จุฬาฯ tui sakrapee Related Posts นักศึกษามทร.ธัญบุรี ส่งต่ออาชีพดอกมะลิทิชชู่ ผู้ต้องขังเรือนจำธัญบุรี มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน Kahoot! เปิดตัว Kahoot! Energize ปฏิวัติการประชุมให้มีพลังและสร้างผลกระทบที่เหนือกว่า นักศึกษา มทร.ธัญบุรี โชว์ไอเดีย “กระเป๋าผ้าทอใยไผ่” ตอบโจทย์ความยั่งยืน ในนิทรรศการศิลปนิพนธ์ 2025 Post navigation PREVIOUS Previous post: อยากเป็นนักกายภาพบำบัดต้องเรียนจบอะไรNEXT Next post: ทีมสถาปัตย์ มทร.ธัญบุรี ออกแบบต้นแบบรีสอร์ท “เสื่อลำแพนบ้านค้อ” จ.ปราจีนบุรี สร้างเอกลักษณ์ เพิ่มคุณค่าผลิตภัณฑ์ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ให้ทุนเยาวชน ODOS Summer Camp ไปเรียนซัมเมอร์ต่างประเทศ 6 สัปดาห์ เริ่มสมัครได้ 24 มี.ค.นี้ EZ WebmasterMarch 21, 2025 ODOS Summer Camp ทุนการศึกษาระยะสั้น 6 สัปดาห์ เพื่อกระจายโอกาสให้เด็กไทยทุกคนได้มีโอกาสไปเรียนซัมเมอร์ต่างประเทศ เปิดหูเปิดตา ค้นหาตัวตน และสร้างแรงบันดาลใจในการเรียนรู้ โดยไม่จำเป็นต้องเป็นเด็กเก่ง เด็กเรียน หรือเด็กหน้าห้อง เปิดรับเยาวชนที่มีคุณสมบัติดังนี้ – สัญชาติไทย – อายุไม่เกิน… ธนาคารแห่งประเทศไทย เปิดรับสมัครทุนระดับปริญญาโทขึ้นไป เรียนต่อที่ประเทศอังกฤษ EZ WebmasterMarch 17, 2025 ประกาศเปิดรับสมัครทุนการศึกษา Dr. Puey Ungphakorn Centenary Scholarship ประจำปี 2568 ธนาคารแห่งประเทศไทย เปิดรับสมัครทุนการศึกษาระดับปริญญาโทขึ้นไป เพื่อศึกษาต่อที่ The London School of Economics and Political…
ธนาคารแห่งประเทศไทย เปิดรับสมัครทุนระดับปริญญาโทขึ้นไป เรียนต่อที่ประเทศอังกฤษ EZ WebmasterMarch 17, 2025 ประกาศเปิดรับสมัครทุนการศึกษา Dr. Puey Ungphakorn Centenary Scholarship ประจำปี 2568 ธนาคารแห่งประเทศไทย เปิดรับสมัครทุนการศึกษาระดับปริญญาโทขึ้นไป เพื่อศึกษาต่อที่ The London School of Economics and Political…
มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค EZ WebmasterMarch 21, 2025 ศาสตราจารย์ นายแพทย์ปิยะมิตร ศรีธรา อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า ปัจจุบันโลกกำลังเผชิญกับกระแสความเปลี่ยนแปลงใหญ่ๆ ใน 6 มิติ 1. สังคมสูงวัย (Aging Society) ในอีก 8 ปีข้างหน้า ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุระดับสุดยอด (Super… รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน EZ WebmasterMarch 21, 2025 รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน พร้อมจ่ายเงินอุดหนุนการศึกษาและพัฒนาอาชีพ ผ่านกสศ. ขณะที่ Microsoft หนุน ศูนย์ดิจิทัลชุมชน ยกระดับทักษะAI เพิ่มโอกาสมีงานทำ พร้อมจับมือ UNICEF สร้าง 1… Kahoot! เปิดตัว Kahoot! Energize ปฏิวัติการประชุมให้มีพลังและสร้างผลกระทบที่เหนือกว่า EZ WebmasterMarch 21, 2025 เปลี่ยนทุกการนำเสนอในที่ทำงานให้กลายเป็นการสื่อสารสองทาง สร้างประสบการณ์ที่น่าสนใจ เต็มไปด้วยความมีชีวิตชีวาและการมีส่วนร่วมที่แท้จริง กระตุ้นการมีส่วนร่วมจากผู้ฟังและขับเคลื่อน ผลลัพธ์ทางธุรกิจไปอีกขั้นด้วย Kahoot! Energize Kahoot! (คาฮู้ด) ผู้นำด้านการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมระดับโลกได้เปิดตัวเครื่องมือใหม่ Kahoot! Energize ที่จะเปลี่ยนทุกการประชุม การฝึกอบรม หรือกิจกรรมต่างๆ ให้กลายเป็นช่วงเวลาที่เต็มไปด้วยพลังและความสนุก พร้อมกระตุ้นการมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ สร้างผลกระทบที่มีความหมาย และขับเคลื่อนธุรกิจไปข้างหน้า การพัฒนา Kahoot! Energize ต่อยอดจากรูปแบบการเรียนรู้และการมีส่วนร่วม อันเป็นเอกลักษณ์ที่ได้รับความนิยมของ Kahoot! แต่เพิ่มความสามารถในการใช้งานในสภาพแวดล้อมการทำงานที่หลากหลาย… สมศ. เน้นย้ำการประเมินคุณภาพภายนอก ปี 67-71 ลดวันประเมิน On site ขยายสู่รูปแบบออนไลน์ สร้างมาตรฐานในการแข่งขันระดับอาเซียน EZ WebmasterMarch 20, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยในการประชุมรับฟังความคิดเห็น (ร่าง) กรอบแนวทางการประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษาที่จัดการเรียนรู้ในสังกัดกรมส่งเสริมการเรียนรู้ (สกร.) โดยเน้นย้ำเรื่อง “แนวคิดและทิศทางการประกันคุณภาพภายนอก” ว่า การประกันคุณภาพภายนอกไม่ใช่เป็น “การตรวจสอบ” แต่เป็นเครื่องมือที่ช่วยส่งเสริมการพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษาอย่างแท้จริง… กิจกรรม โรงเรียนฝึกอาชีพ กทม. เปิดสอนอาชีพ หลักสูตร 200 ชั่วโมง เรียนจบมีใบรับรอง สร้างอาชีพได้จริง EZ WebmasterMarch 22, 2025 โรงเรียนฝึกอาชีพ กทม. เปิดสอนอาชีพ หลักสูตร 200 ชั่วโมง ได้เรียนปฏิบัติเน้น ๆ มีให้เลือกเรียนทุกสาขาวิชา เรียนจบมีใบรับรองให้ เอาไปสร้างอาชีพได้จริง ค่าเรียนเริ่มต้นคอร์สละ 105 บาท (มีทั้งรอบเช้า / บ่าย /… รวมพลังสีชมพูจุฬาฯ กลับบ้านสู่ร่มจามจุรี ในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” EZ WebmasterMarch 14, 2025 สมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (สนจ.) เชิญชวนชาวจุฬาฯ ทั้งนิสิตเก่าและนิสิตปัจจุบัน เดินทางกลับบ้านในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” ร่วมฉลองวาระสำคัญ ครบรอบ 108 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในบรรยากาศแห่งความรักความสามัคคี และความผูกพันของเหล่าน้องพี่สีชมพู ภายใต้ร่มเงาของจามจุรี นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย… สจล. ผนึกกำลังตำรวจภูธรภาค 2 และบริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จำกัด (สำนักงานใหญ่) พัฒนาโครงการ “AI Robot รับแจ้งความ” ประมวลผลถูกต้องและมีประสิทธิภาพ EZ WebmasterMarch 13, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี ร่วมด้วยพลตำรวจโท ยิ่งยศ เทพจำนงค์ (คนที่ 3 จากซ้าย) ผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 2… สจล. ร่วมกับกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน มุ่งยกระดับฝีมือแรงงาน สอดคล้องความต้องการในอนาคต EZ WebmasterMarch 10, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี และนายเดชา พฤกษ์พัฒนรักษ์ (คนที่ 3 จากซ้าย) อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ได้ลงในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการร่วมกัน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่นักศึกษาของสถาบันก่อนเข้าสู่ตลาดแรงงานในสาขาอาชีพต่าง… Search for: Search tui sakrapee August 30, 2021 tui sakrapee August 30, 2021 “น้องไฟฉาย รุ่น3” โคม UV-C ฆ่าเชื้อ COVID-19 ปฏิบัติการแล้วเพื่อบุคลากรด่านหน้าปลอดภัยมั่นใจ 100 % คณะแพทยศาสตร์และคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ Smile Roboticsและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ร่วมพัฒนานวัตกรรมโคม UV-C “น้องไฟฉาย รุ่นที่ 3”ฆ่าและทำลายเชื้อไวรัส COVID-19 และเชื้อโรคอื่นๆ ได้ 99.99% ภายใน 3 นาที พร้อมสร้างความมั่นใจให้เจ้าหน้าที่ด่านหน้าแล้ว ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโควิด-19บุคลากรทางการแพทย์ถือเป็นกลุ่มคนด่านหน้าที่มีความเสี่ยงสูงเนื่องจากต้องคลุกคลีกับผู้ติดเชื้อทุกวันต่อเนื่องเป็นระยะเวลานานซึ่งเชื้อโควิด-19 สามารถล่องลอยอยู่ในอากาศได้ชั่วระยะเวลาหนึ่งแถมอยู่บนพื้นผิวต่างๆ ได้นานหลายชั่วโมงถึงนานนับวันขึ้นอยู่กับปัจจัยด้านสภาพแวดล้อม ดังนั้นการฆ่าเชื้อสถานที่ปฏิบัติงานสำหรับบุคลากรด่านหน้าจึงเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่ง คณะแพทยศาสตร์ และ คณะวิศวกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ห่วงใยในเรื่องนี้ จึงได้ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ และSmileRobotics พัฒนา Robocovid UV-C หรือ “น้องไฟฉาย”ฆ่าเชื้อโรคและสร้างพื้นที่ปลอดภัยให้บุคลากรทางการแพทย์โดยตั้งแต่การระบาดระลอกแรก คณะนวัตกรรมได้พัฒนาหุ่นยนต์มาแล้ว 2รุ่น จนล่าสุด เผยโฉม “น้องไฟฉายรุ่น 3”การันตีประสิทธิภาพฆ่าเชื้อโรคได้เร็วและเข้มข้นกว่าเดิม จุดเริ่มต้น “น้องไฟฉาย” ศาสตราจารย์ นพ.สมรัตน์ จารุลักษณานันท์ ภาควิชาวิสัญญีวิทยาคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้ริเริ่มโครงการพัฒนาโคมUV-C ประสิทธิภาพสูงฆ่าเชื้อไวรัส COVID-19เผยถึงแนวคิดจูงใจในการสร้างนวัตกรรมว่า“ในช่วงการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด-19 ระลอกแรกเจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลทุกระดับล้วนมีความเสี่ยงดังนั้นหากมีวิธีป้องกันการติดเชื้อและสร้างความปลอดภัยกับเจ้าหน้าที่เราก็ไม่ลังเลที่จะทำซึ่งการสร้างสภาพแวดล้อมในที่ทำงานให้ปราศจากเชื้อมีความสำคัญมากอย่างการทำความสะอาดหลังจากการใช้งานห้องต่างๆเราก็คิดว่าจะทำอย่างไรให้เจ้าหน้าที่ที่ดูแลในเรื่องนี้ปลอดภัย ไม่ติดโรค”ทีมจากคณะแพทยศาสตร์ นำโดย ศ.นพ.สมรัตน์จึงได้ประสานขอความร่วมมือจากรองคณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์รองศาสตราจารย์ ดร.อนงค์นาฏ สมหวังธนโรจน์ และ รองศาสตราจารย์ดร.โปรดปราน บุณยพุกกณะ ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวฯจุฬาฯเพื่อให้คิดค้นอุปกรณ์ฆ่าเชื้อโรคในห้องผ่าตัดโดยไม่เป็นอันตรายกับผู้ปฏิบัติงาน โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.บุญรัตน์ โล่ห์วงศ์วัฒนภาควิชาวิศวกรรมโลหะการ และ ดร.เจนยุกต์ โล่วัชรินทร์ ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯเป็นส่วนหนึ่งของคณะพัฒนานวัตกรรม “โจทย์ของนวัตกรรมนี้คือการสร้างอุปกรณ์ที่ใช้ฆ่าเชื้อช่วงที่ไม่มีคนอยู่ปฏิบัติการณ์ในห้องเป็นการฆ่าเชื้อเบื้องต้นเพื่อความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงานก่อนที่จะมีเจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลเข้ามาทำความสะอาดและฆ่าเชื้อเช็ดถูบนพื้นผิว ผนัง และอุปกรณ์ต่างๆ อีกครั้งด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อต่างๆ”ดร.เจนยุกต์กล่าว ทำไมต้องน้องไฟฉาย “รังสี UV-C” ดร.เจนยุกต์ อธิบายว่าในทางวิศวกรรม รังสี UV-Cอยู่ในช่วงความยาวคลื่น 200 – 280 นาโนเมตร หรือเรียกว่าเป็นช่วง germicidal range ซึ่งมีประสิทธิภาพสูงมากในการฆ่าเชื้อทั้งเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส และเชื้อรา“ความเข้มข้นของรังสี UV-C ที่ตกกระทบบนพื้นผิวมีความสำคัญกับการฆ่าเชื้อโรคเปรียบได้กับความเข้มข้นของสารเคมีที่ใช้ฆ่าทำความสะอาดเชื้อโรค ถ้ารังสีเข้มข้นมากก็ใช้เวลาน้อย ถ้าเข้มข้นน้อยก็ต้องใช้เวลามากขึ้น”ดร.เจนยุกต์ อธิบาย“ความเข้มข้นของแสง (fluence) มีหน่วยวัดเป็นจูล/ตารางเซนติเมตรซึ่งงานวิจัยหลายชิ้นบ่งชี้ว่าปริมาณความเข้มข้นของแสง UV-Cที่ประมาณ 1.2 จูล/ตารางเซนติเมตร หรือ 1,200มิลลิจูล/ตารางเซนติเมตร เป็นอย่างน้อยสามารถฆ่าเชื้อโควิด-19ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้เวลาประมาณ 10 นาทีต่อ 1 จุดตรงนี้เองเป็นที่มาของจำนวนหลอด UV-Cที่เราคำนวณเพื่อติดตั้งบนตัวหุ่นยนต์รวมถึงองศาในการติดตั้งหลอดว่าต้องเอียงกี่องศาเพื่อให้มีความเข้มข้นเพียงพอที่จะฆ่าเชื้อได้” “น้องไฟฉาย” ตั้งแต่รุ่นแรกจนรุ่นปัจจุบันเป็นฝีมือการอออกแบบของคุณอดิศักดิ์ ดวงแก้ว วิศวกรหุ่นยนต์ แชมป์หุ่นยนต์กู้ภัยโลก 2 สมัยจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ และ SmileRobotics โดยออกแบบให้หลอด UV-C เป็นหลอดขนาดยาวแนวตั้งมีความสูงเท่ากับมนุษย์ที่ปฏิบัติงานจริงๆติดล้อเพื่อให้สามารถเคลื่อนที่ได้และควบคุมได้จากระยะไกล“น้องไฟฉายรุ่นแรก ตัวหลอด UV-C ถูกติดตั้งในแนวตรงการฉายแสง (projection)ลงบนพื้นหรือบริเวณที่ตัวหุ่นยนต์วิ่งผ่านยังทำได้ไม่เต็มที่ คือแผ่ลำแสงออกมาได้ประมาณ 3 เมตรโดยรอบ คิดเป็นพื้นที่คร่าวๆ ประมาณ20-25 ตารางเมตร จึงมีการพัฒนาสู่การผลิตในรุ่นที่ 2ซึ่งมีการทดลองเอียงตัวหลอด UV-Cเพื่อเพิ่มพื้นที่ของรังสีที่ตกกระทบบนพื้นผิวได้มากกว่าทั้งในเชิงการควบคุมพื้นที่และปริมาณความเข้มของรังสีซึ่งเป็นปัจจัยหลักในการฆ่าเชื้อโรค” ดร.เจนยุกต์ เล่าถึงหุ่นยนต์ “น้องไฟฉาย”สองรุ่นที่ผ่านมา “น้องไฟฉาย รุ่น 3” ฆ่าเชื้อโรคเข้มข้น รวดเร็ว ทุกทิศทางไวรัสโควิด-19 เป็นเชื้อไวรัสที่ถูกฆ่าทำลายได้ง่ายอยู่แล้ว การทดสอบของทางคณะวิศวกรรมศาสตร์ได้ผลสอดคล้องกับการทดสอบของทางคณะแพทย์และงานวิจัยในต่างประเทศที่พบว่าโดสความเข้มข้นของรังสีที่ใช้กับน้องไฟฉายสองรุ่นแรกสามารถฆ่าเชื้อได้อย่างมีประสิทธิภาพ 99.99 – 99.999 % ขึ้นไปแต่น้องไฟฉายรุ่นที่ 3 ทำได้เหนือกว่านั้นคณะผู้พัฒนาได้ปรับปรุงและพัฒนาน้องไฟฉายรุ่นที่ 3ให้มีประสิทธิภาพในการกระจายรังสี UV-C ได้เข้มข้นขึ้นในทุกทิศทุกทาง ช่วยร่นระยะเวลาในการฆ่าเชื้อลงเหลือเพียงจุดละ 3นาที อีกทั้งมีขนาดเล็กกะทัดรัด สะดวกในการใช้งานเคลื่อนย้ายและการจัดเก็บ เมื่อเทียบกับทั้ง 2 รุ่นที่ผ่านมา นอกจากนี้น้องไฟฉาย 3 สามารควบคุมการทำงานด้วยระบบ Internet of Things(IoT) หรือผ่านเครือข่าย 4G ทาง Smart Phone ทั้งระบบ Android และIOS “ในการตรวจสอบประสิทธิภาพการกำจัดเชื้อที่ระยะทางต่างๆทั้งที่ระดับพื้นดิน ระดับ 50 เซนติเมตรเหนือพื้น บนพื้นผิววัสดุต่างๆทั้งแก้ว พลาสติก โลหะ มีการนำเชื้อโรคอื่นๆที่ถูกกำจัดหรือฆ่าได้ยากกว่าไวรัสโควิด-19 หลายเท่ามาใช้ทดสอบเป็นคู่เทียบ (surrogate)ก็พบว่าหุ่นยนต์น้องไฟฉายสามารถฆ่าเชื้อได้อย่างมีประสิทธิภาพผลตอบรับจากโรงพยาบาลอื่นๆ ที่ได้นำไปใช้ก็อยู่ในระดับที่ยอดเยี่ยม”ศ.นพ. สมรัตน์ กล่าวเพิ่มเติมถึงการตรวจสอบประสิทธิภาพหุ่นยนต์ไฟฉายรุ่น 3 โดยภาควิชาวิสัญญีวิทยา ร่วมกับหน่วยแบคทีเรียวิทยาภาควิชาจุลชีววิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ น้องไฟฉายทุกรุ่นออกปฏิบัติการแล้ว พร้อมศึกษาพัฒนารุ่นต่อไป ปัจจุบัน “น้องไฟฉาย 3”ได้ให้บริการฆ่าเชื้อทำความสะอาดแล้วในหลายโรงพยาบาลทั่วประเทศเช่น ในห้องทำคลอดของแผนกสูตินารีเวช โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และมีแผนขยายและส่งมอบน้องไฟฉายให้โรงพยาบาลอื่นๆ ที่สนใจด้วยดร.เจนยุกต์ กล่าวทิ้งท้ายถึงอนาคตของ “น้องไฟฉาย” รุ่นต่อไปว่า“ชนิดหลอด UV-Cที่เราใช้อยู่ในปัจจุบันอาจมีการปล่อยก๊าซโอโซนออกมาซึ่งถึงแม้โอโซนจะสามารถช่วยฆ่าเชื้อและสลายไปได้เองแต่ก็ข้อกังวลเรื่องการตกค้างของโอโซนที่อาจส่งผลกระทบต่อพื้นผิวอุปกรณ์ได้ ดังนั้นเราจึงกำลังศึกษามองหาหลอดประเภทอื่นที่มีประสิทธิภาพในการใช้พลังงานที่ดีที่สุด เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากขึ้นแม้ว่าตัวที่เราใช้อยู่ก็มีประสิทธิภาพและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากในระดับหนึ่งอยู่แล้วก็ตาม” ผู้สนใจสนับสนุนการวิจัยและพัฒนา หรือต้องการหุ่นยนต์“น้องไฟฉาย” ไปใช้ในโรงพยาบาลหรือโรงพยาบาลสนามสามารถติดต่อหรือสอบถามที่ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โทรศัพท์ (02) 256 4000 ต่อ 81513 …………………………………………………. ที่มา ศูนย์สื่อสารองค์กร จุฬาฯ tui sakrapee Related Posts นักศึกษามทร.ธัญบุรี ส่งต่ออาชีพดอกมะลิทิชชู่ ผู้ต้องขังเรือนจำธัญบุรี มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน Kahoot! เปิดตัว Kahoot! Energize ปฏิวัติการประชุมให้มีพลังและสร้างผลกระทบที่เหนือกว่า นักศึกษา มทร.ธัญบุรี โชว์ไอเดีย “กระเป๋าผ้าทอใยไผ่” ตอบโจทย์ความยั่งยืน ในนิทรรศการศิลปนิพนธ์ 2025 Post navigation PREVIOUS Previous post: อยากเป็นนักกายภาพบำบัดต้องเรียนจบอะไรNEXT Next post: ทีมสถาปัตย์ มทร.ธัญบุรี ออกแบบต้นแบบรีสอร์ท “เสื่อลำแพนบ้านค้อ” จ.ปราจีนบุรี สร้างเอกลักษณ์ เพิ่มคุณค่าผลิตภัณฑ์ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน EZ WebmasterMarch 21, 2025 รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน พร้อมจ่ายเงินอุดหนุนการศึกษาและพัฒนาอาชีพ ผ่านกสศ. ขณะที่ Microsoft หนุน ศูนย์ดิจิทัลชุมชน ยกระดับทักษะAI เพิ่มโอกาสมีงานทำ พร้อมจับมือ UNICEF สร้าง 1… Kahoot! เปิดตัว Kahoot! Energize ปฏิวัติการประชุมให้มีพลังและสร้างผลกระทบที่เหนือกว่า EZ WebmasterMarch 21, 2025 เปลี่ยนทุกการนำเสนอในที่ทำงานให้กลายเป็นการสื่อสารสองทาง สร้างประสบการณ์ที่น่าสนใจ เต็มไปด้วยความมีชีวิตชีวาและการมีส่วนร่วมที่แท้จริง กระตุ้นการมีส่วนร่วมจากผู้ฟังและขับเคลื่อน ผลลัพธ์ทางธุรกิจไปอีกขั้นด้วย Kahoot! Energize Kahoot! (คาฮู้ด) ผู้นำด้านการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมระดับโลกได้เปิดตัวเครื่องมือใหม่ Kahoot! Energize ที่จะเปลี่ยนทุกการประชุม การฝึกอบรม หรือกิจกรรมต่างๆ ให้กลายเป็นช่วงเวลาที่เต็มไปด้วยพลังและความสนุก พร้อมกระตุ้นการมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ สร้างผลกระทบที่มีความหมาย และขับเคลื่อนธุรกิจไปข้างหน้า การพัฒนา Kahoot! Energize ต่อยอดจากรูปแบบการเรียนรู้และการมีส่วนร่วม อันเป็นเอกลักษณ์ที่ได้รับความนิยมของ Kahoot! แต่เพิ่มความสามารถในการใช้งานในสภาพแวดล้อมการทำงานที่หลากหลาย… สมศ. เน้นย้ำการประเมินคุณภาพภายนอก ปี 67-71 ลดวันประเมิน On site ขยายสู่รูปแบบออนไลน์ สร้างมาตรฐานในการแข่งขันระดับอาเซียน EZ WebmasterMarch 20, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยในการประชุมรับฟังความคิดเห็น (ร่าง) กรอบแนวทางการประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษาที่จัดการเรียนรู้ในสังกัดกรมส่งเสริมการเรียนรู้ (สกร.) โดยเน้นย้ำเรื่อง “แนวคิดและทิศทางการประกันคุณภาพภายนอก” ว่า การประกันคุณภาพภายนอกไม่ใช่เป็น “การตรวจสอบ” แต่เป็นเครื่องมือที่ช่วยส่งเสริมการพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษาอย่างแท้จริง… กิจกรรม โรงเรียนฝึกอาชีพ กทม. เปิดสอนอาชีพ หลักสูตร 200 ชั่วโมง เรียนจบมีใบรับรอง สร้างอาชีพได้จริง EZ WebmasterMarch 22, 2025 โรงเรียนฝึกอาชีพ กทม. เปิดสอนอาชีพ หลักสูตร 200 ชั่วโมง ได้เรียนปฏิบัติเน้น ๆ มีให้เลือกเรียนทุกสาขาวิชา เรียนจบมีใบรับรองให้ เอาไปสร้างอาชีพได้จริง ค่าเรียนเริ่มต้นคอร์สละ 105 บาท (มีทั้งรอบเช้า / บ่าย /… รวมพลังสีชมพูจุฬาฯ กลับบ้านสู่ร่มจามจุรี ในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” EZ WebmasterMarch 14, 2025 สมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (สนจ.) เชิญชวนชาวจุฬาฯ ทั้งนิสิตเก่าและนิสิตปัจจุบัน เดินทางกลับบ้านในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” ร่วมฉลองวาระสำคัญ ครบรอบ 108 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในบรรยากาศแห่งความรักความสามัคคี และความผูกพันของเหล่าน้องพี่สีชมพู ภายใต้ร่มเงาของจามจุรี นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย… สจล. ผนึกกำลังตำรวจภูธรภาค 2 และบริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จำกัด (สำนักงานใหญ่) พัฒนาโครงการ “AI Robot รับแจ้งความ” ประมวลผลถูกต้องและมีประสิทธิภาพ EZ WebmasterMarch 13, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี ร่วมด้วยพลตำรวจโท ยิ่งยศ เทพจำนงค์ (คนที่ 3 จากซ้าย) ผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 2… สจล. ร่วมกับกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน มุ่งยกระดับฝีมือแรงงาน สอดคล้องความต้องการในอนาคต EZ WebmasterMarch 10, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี และนายเดชา พฤกษ์พัฒนรักษ์ (คนที่ 3 จากซ้าย) อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ได้ลงในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการร่วมกัน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่นักศึกษาของสถาบันก่อนเข้าสู่ตลาดแรงงานในสาขาอาชีพต่าง… Search for: Search tui sakrapee August 30, 2021 tui sakrapee August 30, 2021 “น้องไฟฉาย รุ่น3” โคม UV-C ฆ่าเชื้อ COVID-19 ปฏิบัติการแล้วเพื่อบุคลากรด่านหน้าปลอดภัยมั่นใจ 100 % คณะแพทยศาสตร์และคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ Smile Roboticsและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ร่วมพัฒนานวัตกรรมโคม UV-C “น้องไฟฉาย รุ่นที่ 3”ฆ่าและทำลายเชื้อไวรัส COVID-19 และเชื้อโรคอื่นๆ ได้ 99.99% ภายใน 3 นาที พร้อมสร้างความมั่นใจให้เจ้าหน้าที่ด่านหน้าแล้ว ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโควิด-19บุคลากรทางการแพทย์ถือเป็นกลุ่มคนด่านหน้าที่มีความเสี่ยงสูงเนื่องจากต้องคลุกคลีกับผู้ติดเชื้อทุกวันต่อเนื่องเป็นระยะเวลานานซึ่งเชื้อโควิด-19 สามารถล่องลอยอยู่ในอากาศได้ชั่วระยะเวลาหนึ่งแถมอยู่บนพื้นผิวต่างๆ ได้นานหลายชั่วโมงถึงนานนับวันขึ้นอยู่กับปัจจัยด้านสภาพแวดล้อม ดังนั้นการฆ่าเชื้อสถานที่ปฏิบัติงานสำหรับบุคลากรด่านหน้าจึงเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่ง คณะแพทยศาสตร์ และ คณะวิศวกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ห่วงใยในเรื่องนี้ จึงได้ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ และSmileRobotics พัฒนา Robocovid UV-C หรือ “น้องไฟฉาย”ฆ่าเชื้อโรคและสร้างพื้นที่ปลอดภัยให้บุคลากรทางการแพทย์โดยตั้งแต่การระบาดระลอกแรก คณะนวัตกรรมได้พัฒนาหุ่นยนต์มาแล้ว 2รุ่น จนล่าสุด เผยโฉม “น้องไฟฉายรุ่น 3”การันตีประสิทธิภาพฆ่าเชื้อโรคได้เร็วและเข้มข้นกว่าเดิม จุดเริ่มต้น “น้องไฟฉาย” ศาสตราจารย์ นพ.สมรัตน์ จารุลักษณานันท์ ภาควิชาวิสัญญีวิทยาคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้ริเริ่มโครงการพัฒนาโคมUV-C ประสิทธิภาพสูงฆ่าเชื้อไวรัส COVID-19เผยถึงแนวคิดจูงใจในการสร้างนวัตกรรมว่า“ในช่วงการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด-19 ระลอกแรกเจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลทุกระดับล้วนมีความเสี่ยงดังนั้นหากมีวิธีป้องกันการติดเชื้อและสร้างความปลอดภัยกับเจ้าหน้าที่เราก็ไม่ลังเลที่จะทำซึ่งการสร้างสภาพแวดล้อมในที่ทำงานให้ปราศจากเชื้อมีความสำคัญมากอย่างการทำความสะอาดหลังจากการใช้งานห้องต่างๆเราก็คิดว่าจะทำอย่างไรให้เจ้าหน้าที่ที่ดูแลในเรื่องนี้ปลอดภัย ไม่ติดโรค”ทีมจากคณะแพทยศาสตร์ นำโดย ศ.นพ.สมรัตน์จึงได้ประสานขอความร่วมมือจากรองคณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์รองศาสตราจารย์ ดร.อนงค์นาฏ สมหวังธนโรจน์ และ รองศาสตราจารย์ดร.โปรดปราน บุณยพุกกณะ ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวฯจุฬาฯเพื่อให้คิดค้นอุปกรณ์ฆ่าเชื้อโรคในห้องผ่าตัดโดยไม่เป็นอันตรายกับผู้ปฏิบัติงาน โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.บุญรัตน์ โล่ห์วงศ์วัฒนภาควิชาวิศวกรรมโลหะการ และ ดร.เจนยุกต์ โล่วัชรินทร์ ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯเป็นส่วนหนึ่งของคณะพัฒนานวัตกรรม “โจทย์ของนวัตกรรมนี้คือการสร้างอุปกรณ์ที่ใช้ฆ่าเชื้อช่วงที่ไม่มีคนอยู่ปฏิบัติการณ์ในห้องเป็นการฆ่าเชื้อเบื้องต้นเพื่อความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงานก่อนที่จะมีเจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลเข้ามาทำความสะอาดและฆ่าเชื้อเช็ดถูบนพื้นผิว ผนัง และอุปกรณ์ต่างๆ อีกครั้งด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อต่างๆ”ดร.เจนยุกต์กล่าว ทำไมต้องน้องไฟฉาย “รังสี UV-C” ดร.เจนยุกต์ อธิบายว่าในทางวิศวกรรม รังสี UV-Cอยู่ในช่วงความยาวคลื่น 200 – 280 นาโนเมตร หรือเรียกว่าเป็นช่วง germicidal range ซึ่งมีประสิทธิภาพสูงมากในการฆ่าเชื้อทั้งเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส และเชื้อรา“ความเข้มข้นของรังสี UV-C ที่ตกกระทบบนพื้นผิวมีความสำคัญกับการฆ่าเชื้อโรคเปรียบได้กับความเข้มข้นของสารเคมีที่ใช้ฆ่าทำความสะอาดเชื้อโรค ถ้ารังสีเข้มข้นมากก็ใช้เวลาน้อย ถ้าเข้มข้นน้อยก็ต้องใช้เวลามากขึ้น”ดร.เจนยุกต์ อธิบาย“ความเข้มข้นของแสง (fluence) มีหน่วยวัดเป็นจูล/ตารางเซนติเมตรซึ่งงานวิจัยหลายชิ้นบ่งชี้ว่าปริมาณความเข้มข้นของแสง UV-Cที่ประมาณ 1.2 จูล/ตารางเซนติเมตร หรือ 1,200มิลลิจูล/ตารางเซนติเมตร เป็นอย่างน้อยสามารถฆ่าเชื้อโควิด-19ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้เวลาประมาณ 10 นาทีต่อ 1 จุดตรงนี้เองเป็นที่มาของจำนวนหลอด UV-Cที่เราคำนวณเพื่อติดตั้งบนตัวหุ่นยนต์รวมถึงองศาในการติดตั้งหลอดว่าต้องเอียงกี่องศาเพื่อให้มีความเข้มข้นเพียงพอที่จะฆ่าเชื้อได้” “น้องไฟฉาย” ตั้งแต่รุ่นแรกจนรุ่นปัจจุบันเป็นฝีมือการอออกแบบของคุณอดิศักดิ์ ดวงแก้ว วิศวกรหุ่นยนต์ แชมป์หุ่นยนต์กู้ภัยโลก 2 สมัยจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ และ SmileRobotics โดยออกแบบให้หลอด UV-C เป็นหลอดขนาดยาวแนวตั้งมีความสูงเท่ากับมนุษย์ที่ปฏิบัติงานจริงๆติดล้อเพื่อให้สามารถเคลื่อนที่ได้และควบคุมได้จากระยะไกล“น้องไฟฉายรุ่นแรก ตัวหลอด UV-C ถูกติดตั้งในแนวตรงการฉายแสง (projection)ลงบนพื้นหรือบริเวณที่ตัวหุ่นยนต์วิ่งผ่านยังทำได้ไม่เต็มที่ คือแผ่ลำแสงออกมาได้ประมาณ 3 เมตรโดยรอบ คิดเป็นพื้นที่คร่าวๆ ประมาณ20-25 ตารางเมตร จึงมีการพัฒนาสู่การผลิตในรุ่นที่ 2ซึ่งมีการทดลองเอียงตัวหลอด UV-Cเพื่อเพิ่มพื้นที่ของรังสีที่ตกกระทบบนพื้นผิวได้มากกว่าทั้งในเชิงการควบคุมพื้นที่และปริมาณความเข้มของรังสีซึ่งเป็นปัจจัยหลักในการฆ่าเชื้อโรค” ดร.เจนยุกต์ เล่าถึงหุ่นยนต์ “น้องไฟฉาย”สองรุ่นที่ผ่านมา “น้องไฟฉาย รุ่น 3” ฆ่าเชื้อโรคเข้มข้น รวดเร็ว ทุกทิศทางไวรัสโควิด-19 เป็นเชื้อไวรัสที่ถูกฆ่าทำลายได้ง่ายอยู่แล้ว การทดสอบของทางคณะวิศวกรรมศาสตร์ได้ผลสอดคล้องกับการทดสอบของทางคณะแพทย์และงานวิจัยในต่างประเทศที่พบว่าโดสความเข้มข้นของรังสีที่ใช้กับน้องไฟฉายสองรุ่นแรกสามารถฆ่าเชื้อได้อย่างมีประสิทธิภาพ 99.99 – 99.999 % ขึ้นไปแต่น้องไฟฉายรุ่นที่ 3 ทำได้เหนือกว่านั้นคณะผู้พัฒนาได้ปรับปรุงและพัฒนาน้องไฟฉายรุ่นที่ 3ให้มีประสิทธิภาพในการกระจายรังสี UV-C ได้เข้มข้นขึ้นในทุกทิศทุกทาง ช่วยร่นระยะเวลาในการฆ่าเชื้อลงเหลือเพียงจุดละ 3นาที อีกทั้งมีขนาดเล็กกะทัดรัด สะดวกในการใช้งานเคลื่อนย้ายและการจัดเก็บ เมื่อเทียบกับทั้ง 2 รุ่นที่ผ่านมา นอกจากนี้น้องไฟฉาย 3 สามารควบคุมการทำงานด้วยระบบ Internet of Things(IoT) หรือผ่านเครือข่าย 4G ทาง Smart Phone ทั้งระบบ Android และIOS “ในการตรวจสอบประสิทธิภาพการกำจัดเชื้อที่ระยะทางต่างๆทั้งที่ระดับพื้นดิน ระดับ 50 เซนติเมตรเหนือพื้น บนพื้นผิววัสดุต่างๆทั้งแก้ว พลาสติก โลหะ มีการนำเชื้อโรคอื่นๆที่ถูกกำจัดหรือฆ่าได้ยากกว่าไวรัสโควิด-19 หลายเท่ามาใช้ทดสอบเป็นคู่เทียบ (surrogate)ก็พบว่าหุ่นยนต์น้องไฟฉายสามารถฆ่าเชื้อได้อย่างมีประสิทธิภาพผลตอบรับจากโรงพยาบาลอื่นๆ ที่ได้นำไปใช้ก็อยู่ในระดับที่ยอดเยี่ยม”ศ.นพ. สมรัตน์ กล่าวเพิ่มเติมถึงการตรวจสอบประสิทธิภาพหุ่นยนต์ไฟฉายรุ่น 3 โดยภาควิชาวิสัญญีวิทยา ร่วมกับหน่วยแบคทีเรียวิทยาภาควิชาจุลชีววิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ น้องไฟฉายทุกรุ่นออกปฏิบัติการแล้ว พร้อมศึกษาพัฒนารุ่นต่อไป ปัจจุบัน “น้องไฟฉาย 3”ได้ให้บริการฆ่าเชื้อทำความสะอาดแล้วในหลายโรงพยาบาลทั่วประเทศเช่น ในห้องทำคลอดของแผนกสูตินารีเวช โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และมีแผนขยายและส่งมอบน้องไฟฉายให้โรงพยาบาลอื่นๆ ที่สนใจด้วยดร.เจนยุกต์ กล่าวทิ้งท้ายถึงอนาคตของ “น้องไฟฉาย” รุ่นต่อไปว่า“ชนิดหลอด UV-Cที่เราใช้อยู่ในปัจจุบันอาจมีการปล่อยก๊าซโอโซนออกมาซึ่งถึงแม้โอโซนจะสามารถช่วยฆ่าเชื้อและสลายไปได้เองแต่ก็ข้อกังวลเรื่องการตกค้างของโอโซนที่อาจส่งผลกระทบต่อพื้นผิวอุปกรณ์ได้ ดังนั้นเราจึงกำลังศึกษามองหาหลอดประเภทอื่นที่มีประสิทธิภาพในการใช้พลังงานที่ดีที่สุด เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากขึ้นแม้ว่าตัวที่เราใช้อยู่ก็มีประสิทธิภาพและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากในระดับหนึ่งอยู่แล้วก็ตาม” ผู้สนใจสนับสนุนการวิจัยและพัฒนา หรือต้องการหุ่นยนต์“น้องไฟฉาย” ไปใช้ในโรงพยาบาลหรือโรงพยาบาลสนามสามารถติดต่อหรือสอบถามที่ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โทรศัพท์ (02) 256 4000 ต่อ 81513 …………………………………………………. ที่มา ศูนย์สื่อสารองค์กร จุฬาฯ tui sakrapee Related Posts นักศึกษามทร.ธัญบุรี ส่งต่ออาชีพดอกมะลิทิชชู่ ผู้ต้องขังเรือนจำธัญบุรี มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน Kahoot! เปิดตัว Kahoot! Energize ปฏิวัติการประชุมให้มีพลังและสร้างผลกระทบที่เหนือกว่า นักศึกษา มทร.ธัญบุรี โชว์ไอเดีย “กระเป๋าผ้าทอใยไผ่” ตอบโจทย์ความยั่งยืน ในนิทรรศการศิลปนิพนธ์ 2025 Post navigation PREVIOUS Previous post: อยากเป็นนักกายภาพบำบัดต้องเรียนจบอะไรNEXT Next post: ทีมสถาปัตย์ มทร.ธัญบุรี ออกแบบต้นแบบรีสอร์ท “เสื่อลำแพนบ้านค้อ” จ.ปราจีนบุรี สร้างเอกลักษณ์ เพิ่มคุณค่าผลิตภัณฑ์ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
Kahoot! เปิดตัว Kahoot! Energize ปฏิวัติการประชุมให้มีพลังและสร้างผลกระทบที่เหนือกว่า EZ WebmasterMarch 21, 2025 เปลี่ยนทุกการนำเสนอในที่ทำงานให้กลายเป็นการสื่อสารสองทาง สร้างประสบการณ์ที่น่าสนใจ เต็มไปด้วยความมีชีวิตชีวาและการมีส่วนร่วมที่แท้จริง กระตุ้นการมีส่วนร่วมจากผู้ฟังและขับเคลื่อน ผลลัพธ์ทางธุรกิจไปอีกขั้นด้วย Kahoot! Energize Kahoot! (คาฮู้ด) ผู้นำด้านการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมระดับโลกได้เปิดตัวเครื่องมือใหม่ Kahoot! Energize ที่จะเปลี่ยนทุกการประชุม การฝึกอบรม หรือกิจกรรมต่างๆ ให้กลายเป็นช่วงเวลาที่เต็มไปด้วยพลังและความสนุก พร้อมกระตุ้นการมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ สร้างผลกระทบที่มีความหมาย และขับเคลื่อนธุรกิจไปข้างหน้า การพัฒนา Kahoot! Energize ต่อยอดจากรูปแบบการเรียนรู้และการมีส่วนร่วม อันเป็นเอกลักษณ์ที่ได้รับความนิยมของ Kahoot! แต่เพิ่มความสามารถในการใช้งานในสภาพแวดล้อมการทำงานที่หลากหลาย… สมศ. เน้นย้ำการประเมินคุณภาพภายนอก ปี 67-71 ลดวันประเมิน On site ขยายสู่รูปแบบออนไลน์ สร้างมาตรฐานในการแข่งขันระดับอาเซียน EZ WebmasterMarch 20, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยในการประชุมรับฟังความคิดเห็น (ร่าง) กรอบแนวทางการประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษาที่จัดการเรียนรู้ในสังกัดกรมส่งเสริมการเรียนรู้ (สกร.) โดยเน้นย้ำเรื่อง “แนวคิดและทิศทางการประกันคุณภาพภายนอก” ว่า การประกันคุณภาพภายนอกไม่ใช่เป็น “การตรวจสอบ” แต่เป็นเครื่องมือที่ช่วยส่งเสริมการพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษาอย่างแท้จริง…
สมศ. เน้นย้ำการประเมินคุณภาพภายนอก ปี 67-71 ลดวันประเมิน On site ขยายสู่รูปแบบออนไลน์ สร้างมาตรฐานในการแข่งขันระดับอาเซียน EZ WebmasterMarch 20, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยในการประชุมรับฟังความคิดเห็น (ร่าง) กรอบแนวทางการประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษาที่จัดการเรียนรู้ในสังกัดกรมส่งเสริมการเรียนรู้ (สกร.) โดยเน้นย้ำเรื่อง “แนวคิดและทิศทางการประกันคุณภาพภายนอก” ว่า การประกันคุณภาพภายนอกไม่ใช่เป็น “การตรวจสอบ” แต่เป็นเครื่องมือที่ช่วยส่งเสริมการพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษาอย่างแท้จริง…
โรงเรียนฝึกอาชีพ กทม. เปิดสอนอาชีพ หลักสูตร 200 ชั่วโมง เรียนจบมีใบรับรอง สร้างอาชีพได้จริง EZ WebmasterMarch 22, 2025 โรงเรียนฝึกอาชีพ กทม. เปิดสอนอาชีพ หลักสูตร 200 ชั่วโมง ได้เรียนปฏิบัติเน้น ๆ มีให้เลือกเรียนทุกสาขาวิชา เรียนจบมีใบรับรองให้ เอาไปสร้างอาชีพได้จริง ค่าเรียนเริ่มต้นคอร์สละ 105 บาท (มีทั้งรอบเช้า / บ่าย /… รวมพลังสีชมพูจุฬาฯ กลับบ้านสู่ร่มจามจุรี ในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” EZ WebmasterMarch 14, 2025 สมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (สนจ.) เชิญชวนชาวจุฬาฯ ทั้งนิสิตเก่าและนิสิตปัจจุบัน เดินทางกลับบ้านในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” ร่วมฉลองวาระสำคัญ ครบรอบ 108 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในบรรยากาศแห่งความรักความสามัคคี และความผูกพันของเหล่าน้องพี่สีชมพู ภายใต้ร่มเงาของจามจุรี นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย… สจล. ผนึกกำลังตำรวจภูธรภาค 2 และบริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จำกัด (สำนักงานใหญ่) พัฒนาโครงการ “AI Robot รับแจ้งความ” ประมวลผลถูกต้องและมีประสิทธิภาพ EZ WebmasterMarch 13, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี ร่วมด้วยพลตำรวจโท ยิ่งยศ เทพจำนงค์ (คนที่ 3 จากซ้าย) ผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 2… สจล. ร่วมกับกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน มุ่งยกระดับฝีมือแรงงาน สอดคล้องความต้องการในอนาคต EZ WebmasterMarch 10, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี และนายเดชา พฤกษ์พัฒนรักษ์ (คนที่ 3 จากซ้าย) อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ได้ลงในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการร่วมกัน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่นักศึกษาของสถาบันก่อนเข้าสู่ตลาดแรงงานในสาขาอาชีพต่าง… Search for: Search tui sakrapee August 30, 2021 tui sakrapee August 30, 2021 “น้องไฟฉาย รุ่น3” โคม UV-C ฆ่าเชื้อ COVID-19 ปฏิบัติการแล้วเพื่อบุคลากรด่านหน้าปลอดภัยมั่นใจ 100 % คณะแพทยศาสตร์และคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ Smile Roboticsและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ร่วมพัฒนานวัตกรรมโคม UV-C “น้องไฟฉาย รุ่นที่ 3”ฆ่าและทำลายเชื้อไวรัส COVID-19 และเชื้อโรคอื่นๆ ได้ 99.99% ภายใน 3 นาที พร้อมสร้างความมั่นใจให้เจ้าหน้าที่ด่านหน้าแล้ว ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโควิด-19บุคลากรทางการแพทย์ถือเป็นกลุ่มคนด่านหน้าที่มีความเสี่ยงสูงเนื่องจากต้องคลุกคลีกับผู้ติดเชื้อทุกวันต่อเนื่องเป็นระยะเวลานานซึ่งเชื้อโควิด-19 สามารถล่องลอยอยู่ในอากาศได้ชั่วระยะเวลาหนึ่งแถมอยู่บนพื้นผิวต่างๆ ได้นานหลายชั่วโมงถึงนานนับวันขึ้นอยู่กับปัจจัยด้านสภาพแวดล้อม ดังนั้นการฆ่าเชื้อสถานที่ปฏิบัติงานสำหรับบุคลากรด่านหน้าจึงเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่ง คณะแพทยศาสตร์ และ คณะวิศวกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ห่วงใยในเรื่องนี้ จึงได้ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ และSmileRobotics พัฒนา Robocovid UV-C หรือ “น้องไฟฉาย”ฆ่าเชื้อโรคและสร้างพื้นที่ปลอดภัยให้บุคลากรทางการแพทย์โดยตั้งแต่การระบาดระลอกแรก คณะนวัตกรรมได้พัฒนาหุ่นยนต์มาแล้ว 2รุ่น จนล่าสุด เผยโฉม “น้องไฟฉายรุ่น 3”การันตีประสิทธิภาพฆ่าเชื้อโรคได้เร็วและเข้มข้นกว่าเดิม จุดเริ่มต้น “น้องไฟฉาย” ศาสตราจารย์ นพ.สมรัตน์ จารุลักษณานันท์ ภาควิชาวิสัญญีวิทยาคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้ริเริ่มโครงการพัฒนาโคมUV-C ประสิทธิภาพสูงฆ่าเชื้อไวรัส COVID-19เผยถึงแนวคิดจูงใจในการสร้างนวัตกรรมว่า“ในช่วงการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด-19 ระลอกแรกเจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลทุกระดับล้วนมีความเสี่ยงดังนั้นหากมีวิธีป้องกันการติดเชื้อและสร้างความปลอดภัยกับเจ้าหน้าที่เราก็ไม่ลังเลที่จะทำซึ่งการสร้างสภาพแวดล้อมในที่ทำงานให้ปราศจากเชื้อมีความสำคัญมากอย่างการทำความสะอาดหลังจากการใช้งานห้องต่างๆเราก็คิดว่าจะทำอย่างไรให้เจ้าหน้าที่ที่ดูแลในเรื่องนี้ปลอดภัย ไม่ติดโรค”ทีมจากคณะแพทยศาสตร์ นำโดย ศ.นพ.สมรัตน์จึงได้ประสานขอความร่วมมือจากรองคณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์รองศาสตราจารย์ ดร.อนงค์นาฏ สมหวังธนโรจน์ และ รองศาสตราจารย์ดร.โปรดปราน บุณยพุกกณะ ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวฯจุฬาฯเพื่อให้คิดค้นอุปกรณ์ฆ่าเชื้อโรคในห้องผ่าตัดโดยไม่เป็นอันตรายกับผู้ปฏิบัติงาน โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.บุญรัตน์ โล่ห์วงศ์วัฒนภาควิชาวิศวกรรมโลหะการ และ ดร.เจนยุกต์ โล่วัชรินทร์ ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯเป็นส่วนหนึ่งของคณะพัฒนานวัตกรรม “โจทย์ของนวัตกรรมนี้คือการสร้างอุปกรณ์ที่ใช้ฆ่าเชื้อช่วงที่ไม่มีคนอยู่ปฏิบัติการณ์ในห้องเป็นการฆ่าเชื้อเบื้องต้นเพื่อความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงานก่อนที่จะมีเจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลเข้ามาทำความสะอาดและฆ่าเชื้อเช็ดถูบนพื้นผิว ผนัง และอุปกรณ์ต่างๆ อีกครั้งด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อต่างๆ”ดร.เจนยุกต์กล่าว ทำไมต้องน้องไฟฉาย “รังสี UV-C” ดร.เจนยุกต์ อธิบายว่าในทางวิศวกรรม รังสี UV-Cอยู่ในช่วงความยาวคลื่น 200 – 280 นาโนเมตร หรือเรียกว่าเป็นช่วง germicidal range ซึ่งมีประสิทธิภาพสูงมากในการฆ่าเชื้อทั้งเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส และเชื้อรา“ความเข้มข้นของรังสี UV-C ที่ตกกระทบบนพื้นผิวมีความสำคัญกับการฆ่าเชื้อโรคเปรียบได้กับความเข้มข้นของสารเคมีที่ใช้ฆ่าทำความสะอาดเชื้อโรค ถ้ารังสีเข้มข้นมากก็ใช้เวลาน้อย ถ้าเข้มข้นน้อยก็ต้องใช้เวลามากขึ้น”ดร.เจนยุกต์ อธิบาย“ความเข้มข้นของแสง (fluence) มีหน่วยวัดเป็นจูล/ตารางเซนติเมตรซึ่งงานวิจัยหลายชิ้นบ่งชี้ว่าปริมาณความเข้มข้นของแสง UV-Cที่ประมาณ 1.2 จูล/ตารางเซนติเมตร หรือ 1,200มิลลิจูล/ตารางเซนติเมตร เป็นอย่างน้อยสามารถฆ่าเชื้อโควิด-19ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้เวลาประมาณ 10 นาทีต่อ 1 จุดตรงนี้เองเป็นที่มาของจำนวนหลอด UV-Cที่เราคำนวณเพื่อติดตั้งบนตัวหุ่นยนต์รวมถึงองศาในการติดตั้งหลอดว่าต้องเอียงกี่องศาเพื่อให้มีความเข้มข้นเพียงพอที่จะฆ่าเชื้อได้” “น้องไฟฉาย” ตั้งแต่รุ่นแรกจนรุ่นปัจจุบันเป็นฝีมือการอออกแบบของคุณอดิศักดิ์ ดวงแก้ว วิศวกรหุ่นยนต์ แชมป์หุ่นยนต์กู้ภัยโลก 2 สมัยจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ และ SmileRobotics โดยออกแบบให้หลอด UV-C เป็นหลอดขนาดยาวแนวตั้งมีความสูงเท่ากับมนุษย์ที่ปฏิบัติงานจริงๆติดล้อเพื่อให้สามารถเคลื่อนที่ได้และควบคุมได้จากระยะไกล“น้องไฟฉายรุ่นแรก ตัวหลอด UV-C ถูกติดตั้งในแนวตรงการฉายแสง (projection)ลงบนพื้นหรือบริเวณที่ตัวหุ่นยนต์วิ่งผ่านยังทำได้ไม่เต็มที่ คือแผ่ลำแสงออกมาได้ประมาณ 3 เมตรโดยรอบ คิดเป็นพื้นที่คร่าวๆ ประมาณ20-25 ตารางเมตร จึงมีการพัฒนาสู่การผลิตในรุ่นที่ 2ซึ่งมีการทดลองเอียงตัวหลอด UV-Cเพื่อเพิ่มพื้นที่ของรังสีที่ตกกระทบบนพื้นผิวได้มากกว่าทั้งในเชิงการควบคุมพื้นที่และปริมาณความเข้มของรังสีซึ่งเป็นปัจจัยหลักในการฆ่าเชื้อโรค” ดร.เจนยุกต์ เล่าถึงหุ่นยนต์ “น้องไฟฉาย”สองรุ่นที่ผ่านมา “น้องไฟฉาย รุ่น 3” ฆ่าเชื้อโรคเข้มข้น รวดเร็ว ทุกทิศทางไวรัสโควิด-19 เป็นเชื้อไวรัสที่ถูกฆ่าทำลายได้ง่ายอยู่แล้ว การทดสอบของทางคณะวิศวกรรมศาสตร์ได้ผลสอดคล้องกับการทดสอบของทางคณะแพทย์และงานวิจัยในต่างประเทศที่พบว่าโดสความเข้มข้นของรังสีที่ใช้กับน้องไฟฉายสองรุ่นแรกสามารถฆ่าเชื้อได้อย่างมีประสิทธิภาพ 99.99 – 99.999 % ขึ้นไปแต่น้องไฟฉายรุ่นที่ 3 ทำได้เหนือกว่านั้นคณะผู้พัฒนาได้ปรับปรุงและพัฒนาน้องไฟฉายรุ่นที่ 3ให้มีประสิทธิภาพในการกระจายรังสี UV-C ได้เข้มข้นขึ้นในทุกทิศทุกทาง ช่วยร่นระยะเวลาในการฆ่าเชื้อลงเหลือเพียงจุดละ 3นาที อีกทั้งมีขนาดเล็กกะทัดรัด สะดวกในการใช้งานเคลื่อนย้ายและการจัดเก็บ เมื่อเทียบกับทั้ง 2 รุ่นที่ผ่านมา นอกจากนี้น้องไฟฉาย 3 สามารควบคุมการทำงานด้วยระบบ Internet of Things(IoT) หรือผ่านเครือข่าย 4G ทาง Smart Phone ทั้งระบบ Android และIOS “ในการตรวจสอบประสิทธิภาพการกำจัดเชื้อที่ระยะทางต่างๆทั้งที่ระดับพื้นดิน ระดับ 50 เซนติเมตรเหนือพื้น บนพื้นผิววัสดุต่างๆทั้งแก้ว พลาสติก โลหะ มีการนำเชื้อโรคอื่นๆที่ถูกกำจัดหรือฆ่าได้ยากกว่าไวรัสโควิด-19 หลายเท่ามาใช้ทดสอบเป็นคู่เทียบ (surrogate)ก็พบว่าหุ่นยนต์น้องไฟฉายสามารถฆ่าเชื้อได้อย่างมีประสิทธิภาพผลตอบรับจากโรงพยาบาลอื่นๆ ที่ได้นำไปใช้ก็อยู่ในระดับที่ยอดเยี่ยม”ศ.นพ. สมรัตน์ กล่าวเพิ่มเติมถึงการตรวจสอบประสิทธิภาพหุ่นยนต์ไฟฉายรุ่น 3 โดยภาควิชาวิสัญญีวิทยา ร่วมกับหน่วยแบคทีเรียวิทยาภาควิชาจุลชีววิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ น้องไฟฉายทุกรุ่นออกปฏิบัติการแล้ว พร้อมศึกษาพัฒนารุ่นต่อไป ปัจจุบัน “น้องไฟฉาย 3”ได้ให้บริการฆ่าเชื้อทำความสะอาดแล้วในหลายโรงพยาบาลทั่วประเทศเช่น ในห้องทำคลอดของแผนกสูตินารีเวช โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และมีแผนขยายและส่งมอบน้องไฟฉายให้โรงพยาบาลอื่นๆ ที่สนใจด้วยดร.เจนยุกต์ กล่าวทิ้งท้ายถึงอนาคตของ “น้องไฟฉาย” รุ่นต่อไปว่า“ชนิดหลอด UV-Cที่เราใช้อยู่ในปัจจุบันอาจมีการปล่อยก๊าซโอโซนออกมาซึ่งถึงแม้โอโซนจะสามารถช่วยฆ่าเชื้อและสลายไปได้เองแต่ก็ข้อกังวลเรื่องการตกค้างของโอโซนที่อาจส่งผลกระทบต่อพื้นผิวอุปกรณ์ได้ ดังนั้นเราจึงกำลังศึกษามองหาหลอดประเภทอื่นที่มีประสิทธิภาพในการใช้พลังงานที่ดีที่สุด เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากขึ้นแม้ว่าตัวที่เราใช้อยู่ก็มีประสิทธิภาพและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากในระดับหนึ่งอยู่แล้วก็ตาม” ผู้สนใจสนับสนุนการวิจัยและพัฒนา หรือต้องการหุ่นยนต์“น้องไฟฉาย” ไปใช้ในโรงพยาบาลหรือโรงพยาบาลสนามสามารถติดต่อหรือสอบถามที่ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โทรศัพท์ (02) 256 4000 ต่อ 81513 …………………………………………………. ที่มา ศูนย์สื่อสารองค์กร จุฬาฯ tui sakrapee Related Posts นักศึกษามทร.ธัญบุรี ส่งต่ออาชีพดอกมะลิทิชชู่ ผู้ต้องขังเรือนจำธัญบุรี มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน Kahoot! เปิดตัว Kahoot! Energize ปฏิวัติการประชุมให้มีพลังและสร้างผลกระทบที่เหนือกว่า นักศึกษา มทร.ธัญบุรี โชว์ไอเดีย “กระเป๋าผ้าทอใยไผ่” ตอบโจทย์ความยั่งยืน ในนิทรรศการศิลปนิพนธ์ 2025 Post navigation PREVIOUS Previous post: อยากเป็นนักกายภาพบำบัดต้องเรียนจบอะไรNEXT Next post: ทีมสถาปัตย์ มทร.ธัญบุรี ออกแบบต้นแบบรีสอร์ท “เสื่อลำแพนบ้านค้อ” จ.ปราจีนบุรี สร้างเอกลักษณ์ เพิ่มคุณค่าผลิตภัณฑ์ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
รวมพลังสีชมพูจุฬาฯ กลับบ้านสู่ร่มจามจุรี ในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” EZ WebmasterMarch 14, 2025 สมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (สนจ.) เชิญชวนชาวจุฬาฯ ทั้งนิสิตเก่าและนิสิตปัจจุบัน เดินทางกลับบ้านในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” ร่วมฉลองวาระสำคัญ ครบรอบ 108 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในบรรยากาศแห่งความรักความสามัคคี และความผูกพันของเหล่าน้องพี่สีชมพู ภายใต้ร่มเงาของจามจุรี นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย… สจล. ผนึกกำลังตำรวจภูธรภาค 2 และบริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จำกัด (สำนักงานใหญ่) พัฒนาโครงการ “AI Robot รับแจ้งความ” ประมวลผลถูกต้องและมีประสิทธิภาพ EZ WebmasterMarch 13, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี ร่วมด้วยพลตำรวจโท ยิ่งยศ เทพจำนงค์ (คนที่ 3 จากซ้าย) ผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 2… สจล. ร่วมกับกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน มุ่งยกระดับฝีมือแรงงาน สอดคล้องความต้องการในอนาคต EZ WebmasterMarch 10, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี และนายเดชา พฤกษ์พัฒนรักษ์ (คนที่ 3 จากซ้าย) อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ได้ลงในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการร่วมกัน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่นักศึกษาของสถาบันก่อนเข้าสู่ตลาดแรงงานในสาขาอาชีพต่าง… Search for: Search
สจล. ผนึกกำลังตำรวจภูธรภาค 2 และบริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จำกัด (สำนักงานใหญ่) พัฒนาโครงการ “AI Robot รับแจ้งความ” ประมวลผลถูกต้องและมีประสิทธิภาพ EZ WebmasterMarch 13, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี ร่วมด้วยพลตำรวจโท ยิ่งยศ เทพจำนงค์ (คนที่ 3 จากซ้าย) ผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 2… สจล. ร่วมกับกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน มุ่งยกระดับฝีมือแรงงาน สอดคล้องความต้องการในอนาคต EZ WebmasterMarch 10, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี และนายเดชา พฤกษ์พัฒนรักษ์ (คนที่ 3 จากซ้าย) อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ได้ลงในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการร่วมกัน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่นักศึกษาของสถาบันก่อนเข้าสู่ตลาดแรงงานในสาขาอาชีพต่าง…
สจล. ร่วมกับกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน มุ่งยกระดับฝีมือแรงงาน สอดคล้องความต้องการในอนาคต EZ WebmasterMarch 10, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี และนายเดชา พฤกษ์พัฒนรักษ์ (คนที่ 3 จากซ้าย) อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ได้ลงในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการร่วมกัน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่นักศึกษาของสถาบันก่อนเข้าสู่ตลาดแรงงานในสาขาอาชีพต่าง…
tui sakrapee August 30, 2021 tui sakrapee August 30, 2021 “น้องไฟฉาย รุ่น3” โคม UV-C ฆ่าเชื้อ COVID-19 ปฏิบัติการแล้วเพื่อบุคลากรด่านหน้าปลอดภัยมั่นใจ 100 % คณะแพทยศาสตร์และคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ Smile Roboticsและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ร่วมพัฒนานวัตกรรมโคม UV-C “น้องไฟฉาย รุ่นที่ 3”ฆ่าและทำลายเชื้อไวรัส COVID-19 และเชื้อโรคอื่นๆ ได้ 99.99% ภายใน 3 นาที พร้อมสร้างความมั่นใจให้เจ้าหน้าที่ด่านหน้าแล้ว ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโควิด-19บุคลากรทางการแพทย์ถือเป็นกลุ่มคนด่านหน้าที่มีความเสี่ยงสูงเนื่องจากต้องคลุกคลีกับผู้ติดเชื้อทุกวันต่อเนื่องเป็นระยะเวลานานซึ่งเชื้อโควิด-19 สามารถล่องลอยอยู่ในอากาศได้ชั่วระยะเวลาหนึ่งแถมอยู่บนพื้นผิวต่างๆ ได้นานหลายชั่วโมงถึงนานนับวันขึ้นอยู่กับปัจจัยด้านสภาพแวดล้อม ดังนั้นการฆ่าเชื้อสถานที่ปฏิบัติงานสำหรับบุคลากรด่านหน้าจึงเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่ง คณะแพทยศาสตร์ และ คณะวิศวกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ห่วงใยในเรื่องนี้ จึงได้ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ และSmileRobotics พัฒนา Robocovid UV-C หรือ “น้องไฟฉาย”ฆ่าเชื้อโรคและสร้างพื้นที่ปลอดภัยให้บุคลากรทางการแพทย์โดยตั้งแต่การระบาดระลอกแรก คณะนวัตกรรมได้พัฒนาหุ่นยนต์มาแล้ว 2รุ่น จนล่าสุด เผยโฉม “น้องไฟฉายรุ่น 3”การันตีประสิทธิภาพฆ่าเชื้อโรคได้เร็วและเข้มข้นกว่าเดิม จุดเริ่มต้น “น้องไฟฉาย” ศาสตราจารย์ นพ.สมรัตน์ จารุลักษณานันท์ ภาควิชาวิสัญญีวิทยาคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้ริเริ่มโครงการพัฒนาโคมUV-C ประสิทธิภาพสูงฆ่าเชื้อไวรัส COVID-19เผยถึงแนวคิดจูงใจในการสร้างนวัตกรรมว่า“ในช่วงการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด-19 ระลอกแรกเจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลทุกระดับล้วนมีความเสี่ยงดังนั้นหากมีวิธีป้องกันการติดเชื้อและสร้างความปลอดภัยกับเจ้าหน้าที่เราก็ไม่ลังเลที่จะทำซึ่งการสร้างสภาพแวดล้อมในที่ทำงานให้ปราศจากเชื้อมีความสำคัญมากอย่างการทำความสะอาดหลังจากการใช้งานห้องต่างๆเราก็คิดว่าจะทำอย่างไรให้เจ้าหน้าที่ที่ดูแลในเรื่องนี้ปลอดภัย ไม่ติดโรค”ทีมจากคณะแพทยศาสตร์ นำโดย ศ.นพ.สมรัตน์จึงได้ประสานขอความร่วมมือจากรองคณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์รองศาสตราจารย์ ดร.อนงค์นาฏ สมหวังธนโรจน์ และ รองศาสตราจารย์ดร.โปรดปราน บุณยพุกกณะ ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวฯจุฬาฯเพื่อให้คิดค้นอุปกรณ์ฆ่าเชื้อโรคในห้องผ่าตัดโดยไม่เป็นอันตรายกับผู้ปฏิบัติงาน โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.บุญรัตน์ โล่ห์วงศ์วัฒนภาควิชาวิศวกรรมโลหะการ และ ดร.เจนยุกต์ โล่วัชรินทร์ ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯเป็นส่วนหนึ่งของคณะพัฒนานวัตกรรม “โจทย์ของนวัตกรรมนี้คือการสร้างอุปกรณ์ที่ใช้ฆ่าเชื้อช่วงที่ไม่มีคนอยู่ปฏิบัติการณ์ในห้องเป็นการฆ่าเชื้อเบื้องต้นเพื่อความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงานก่อนที่จะมีเจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลเข้ามาทำความสะอาดและฆ่าเชื้อเช็ดถูบนพื้นผิว ผนัง และอุปกรณ์ต่างๆ อีกครั้งด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อต่างๆ”ดร.เจนยุกต์กล่าว ทำไมต้องน้องไฟฉาย “รังสี UV-C” ดร.เจนยุกต์ อธิบายว่าในทางวิศวกรรม รังสี UV-Cอยู่ในช่วงความยาวคลื่น 200 – 280 นาโนเมตร หรือเรียกว่าเป็นช่วง germicidal range ซึ่งมีประสิทธิภาพสูงมากในการฆ่าเชื้อทั้งเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส และเชื้อรา“ความเข้มข้นของรังสี UV-C ที่ตกกระทบบนพื้นผิวมีความสำคัญกับการฆ่าเชื้อโรคเปรียบได้กับความเข้มข้นของสารเคมีที่ใช้ฆ่าทำความสะอาดเชื้อโรค ถ้ารังสีเข้มข้นมากก็ใช้เวลาน้อย ถ้าเข้มข้นน้อยก็ต้องใช้เวลามากขึ้น”ดร.เจนยุกต์ อธิบาย“ความเข้มข้นของแสง (fluence) มีหน่วยวัดเป็นจูล/ตารางเซนติเมตรซึ่งงานวิจัยหลายชิ้นบ่งชี้ว่าปริมาณความเข้มข้นของแสง UV-Cที่ประมาณ 1.2 จูล/ตารางเซนติเมตร หรือ 1,200มิลลิจูล/ตารางเซนติเมตร เป็นอย่างน้อยสามารถฆ่าเชื้อโควิด-19ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้เวลาประมาณ 10 นาทีต่อ 1 จุดตรงนี้เองเป็นที่มาของจำนวนหลอด UV-Cที่เราคำนวณเพื่อติดตั้งบนตัวหุ่นยนต์รวมถึงองศาในการติดตั้งหลอดว่าต้องเอียงกี่องศาเพื่อให้มีความเข้มข้นเพียงพอที่จะฆ่าเชื้อได้” “น้องไฟฉาย” ตั้งแต่รุ่นแรกจนรุ่นปัจจุบันเป็นฝีมือการอออกแบบของคุณอดิศักดิ์ ดวงแก้ว วิศวกรหุ่นยนต์ แชมป์หุ่นยนต์กู้ภัยโลก 2 สมัยจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ และ SmileRobotics โดยออกแบบให้หลอด UV-C เป็นหลอดขนาดยาวแนวตั้งมีความสูงเท่ากับมนุษย์ที่ปฏิบัติงานจริงๆติดล้อเพื่อให้สามารถเคลื่อนที่ได้และควบคุมได้จากระยะไกล“น้องไฟฉายรุ่นแรก ตัวหลอด UV-C ถูกติดตั้งในแนวตรงการฉายแสง (projection)ลงบนพื้นหรือบริเวณที่ตัวหุ่นยนต์วิ่งผ่านยังทำได้ไม่เต็มที่ คือแผ่ลำแสงออกมาได้ประมาณ 3 เมตรโดยรอบ คิดเป็นพื้นที่คร่าวๆ ประมาณ20-25 ตารางเมตร จึงมีการพัฒนาสู่การผลิตในรุ่นที่ 2ซึ่งมีการทดลองเอียงตัวหลอด UV-Cเพื่อเพิ่มพื้นที่ของรังสีที่ตกกระทบบนพื้นผิวได้มากกว่าทั้งในเชิงการควบคุมพื้นที่และปริมาณความเข้มของรังสีซึ่งเป็นปัจจัยหลักในการฆ่าเชื้อโรค” ดร.เจนยุกต์ เล่าถึงหุ่นยนต์ “น้องไฟฉาย”สองรุ่นที่ผ่านมา “น้องไฟฉาย รุ่น 3” ฆ่าเชื้อโรคเข้มข้น รวดเร็ว ทุกทิศทางไวรัสโควิด-19 เป็นเชื้อไวรัสที่ถูกฆ่าทำลายได้ง่ายอยู่แล้ว การทดสอบของทางคณะวิศวกรรมศาสตร์ได้ผลสอดคล้องกับการทดสอบของทางคณะแพทย์และงานวิจัยในต่างประเทศที่พบว่าโดสความเข้มข้นของรังสีที่ใช้กับน้องไฟฉายสองรุ่นแรกสามารถฆ่าเชื้อได้อย่างมีประสิทธิภาพ 99.99 – 99.999 % ขึ้นไปแต่น้องไฟฉายรุ่นที่ 3 ทำได้เหนือกว่านั้นคณะผู้พัฒนาได้ปรับปรุงและพัฒนาน้องไฟฉายรุ่นที่ 3ให้มีประสิทธิภาพในการกระจายรังสี UV-C ได้เข้มข้นขึ้นในทุกทิศทุกทาง ช่วยร่นระยะเวลาในการฆ่าเชื้อลงเหลือเพียงจุดละ 3นาที อีกทั้งมีขนาดเล็กกะทัดรัด สะดวกในการใช้งานเคลื่อนย้ายและการจัดเก็บ เมื่อเทียบกับทั้ง 2 รุ่นที่ผ่านมา นอกจากนี้น้องไฟฉาย 3 สามารควบคุมการทำงานด้วยระบบ Internet of Things(IoT) หรือผ่านเครือข่าย 4G ทาง Smart Phone ทั้งระบบ Android และIOS “ในการตรวจสอบประสิทธิภาพการกำจัดเชื้อที่ระยะทางต่างๆทั้งที่ระดับพื้นดิน ระดับ 50 เซนติเมตรเหนือพื้น บนพื้นผิววัสดุต่างๆทั้งแก้ว พลาสติก โลหะ มีการนำเชื้อโรคอื่นๆที่ถูกกำจัดหรือฆ่าได้ยากกว่าไวรัสโควิด-19 หลายเท่ามาใช้ทดสอบเป็นคู่เทียบ (surrogate)ก็พบว่าหุ่นยนต์น้องไฟฉายสามารถฆ่าเชื้อได้อย่างมีประสิทธิภาพผลตอบรับจากโรงพยาบาลอื่นๆ ที่ได้นำไปใช้ก็อยู่ในระดับที่ยอดเยี่ยม”ศ.นพ. สมรัตน์ กล่าวเพิ่มเติมถึงการตรวจสอบประสิทธิภาพหุ่นยนต์ไฟฉายรุ่น 3 โดยภาควิชาวิสัญญีวิทยา ร่วมกับหน่วยแบคทีเรียวิทยาภาควิชาจุลชีววิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ น้องไฟฉายทุกรุ่นออกปฏิบัติการแล้ว พร้อมศึกษาพัฒนารุ่นต่อไป ปัจจุบัน “น้องไฟฉาย 3”ได้ให้บริการฆ่าเชื้อทำความสะอาดแล้วในหลายโรงพยาบาลทั่วประเทศเช่น ในห้องทำคลอดของแผนกสูตินารีเวช โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และมีแผนขยายและส่งมอบน้องไฟฉายให้โรงพยาบาลอื่นๆ ที่สนใจด้วยดร.เจนยุกต์ กล่าวทิ้งท้ายถึงอนาคตของ “น้องไฟฉาย” รุ่นต่อไปว่า“ชนิดหลอด UV-Cที่เราใช้อยู่ในปัจจุบันอาจมีการปล่อยก๊าซโอโซนออกมาซึ่งถึงแม้โอโซนจะสามารถช่วยฆ่าเชื้อและสลายไปได้เองแต่ก็ข้อกังวลเรื่องการตกค้างของโอโซนที่อาจส่งผลกระทบต่อพื้นผิวอุปกรณ์ได้ ดังนั้นเราจึงกำลังศึกษามองหาหลอดประเภทอื่นที่มีประสิทธิภาพในการใช้พลังงานที่ดีที่สุด เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากขึ้นแม้ว่าตัวที่เราใช้อยู่ก็มีประสิทธิภาพและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากในระดับหนึ่งอยู่แล้วก็ตาม” ผู้สนใจสนับสนุนการวิจัยและพัฒนา หรือต้องการหุ่นยนต์“น้องไฟฉาย” ไปใช้ในโรงพยาบาลหรือโรงพยาบาลสนามสามารถติดต่อหรือสอบถามที่ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โทรศัพท์ (02) 256 4000 ต่อ 81513 …………………………………………………. ที่มา ศูนย์สื่อสารองค์กร จุฬาฯ
มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค