ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง EZ WebmasterJune 13, 2025 วันนี้ทั้งเล่น ทั้งได้ความรู้ ทั้งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนนางรอง จ.บุรีรัมย์ วันที่13/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า… นักศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI… ทุนดีดี เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster January 19, 2021 EZ Webmaster January 19, 2021 มาดู 10 ประเด็นเรียนรู้สำคัญของวงการศึกษาในปี 2020 ในปี 2563 ที่เพิ่งจบสิ้นไปในไม่กี่วันนี้ นับเป็นปีแห่งการเปลี่ยนแปลงที่เราต่างต้องปรับตัวครั้งสำคัญ อย่างไรก็ตามเราก็ไม่หยุดเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ เพื่อยืนยันความเชื่อในการจัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพและเท่าเทียมท่ามกลางวิกฤติหรือในช่วงเวลาปกติให้ได้ ทางเว็บไซต์ Edutopia ได้รวมรวมบทเรียนสำคัญที่เกิดขึ้นในปี 2020 ที่ศูนย์วิจัยฯ นำมาเสนอดังนี้ 1.เรียนรู้คำศัพท์ใหม่ ๆ ให้ได้ผลดีด้วยการให้เด็ก ๆ เป็นตัวแสดงแทน จากการศึกษาเกี่ยวกับการจดจำคำศัพท์ในการเรียนภาษากับนักเรียนอายุ 8 ขวบ นักวิจัยขอให้เด็ก ๆ แสดงท่าทางเกี่ยวกับคำศัพท์ใหม่ เช่น ทำมือเป็นเครื่องบินเมื่อเรียนรู้เกี่ยวกับคำนั้น โดยเมื่อผ่านไปหลายเดือนก็พบว่านักเรียนสามารถเรียนรู้และจดจำคำศัพท์ได้ดีขึ้นกว่า 2 เท่ามากกว่าการฟังหรือท่องจำอย่างเดียว นอกจากนี้นักวิจัยยังพบว่าการดูภาพขณะฟังคำศัพท์ก็ได้ผลลัพธ์ที่ดีเช่นกัน แต่ได้ผลน้อยกว่าการให้เด็ก ๆ ได้แสดงท่าทางเกี่ยวกับคำศัพท์เหล่านั้น อย่างไรก็ตามมันก็เป็นเครื่องมือที่จะช่วยให้คุณครูได้กระตุ้นการเรียนรู้คำศัพท์ด้วยวิธีต่าง ๆ เช่น วาดภาพเกี่ยวกับคำศัพท์นั้น หรือการจับคู่รูปภาพที่เกี่ยวข้อง 2.การเขียนด้วยมือสร้างการเรียนรู้ได้ดีกว่า จากการวิจัยในอดีตได้มีการศึกษาแล้วว่าทักษะการอ่านจะพัฒนาได้ดีเมื่อเด็ก ๆ ฝึกเขียนจดหมายด้วยลายมือตัวเองมากกว่าพิมพ์แล้วปริ้นท์ออกมาอ่าน ซึ่งยืนยันด้วยงานวิจัยในปี 2020 ที่นักวิทยาศาสตร์ทางสมองได้ทำการศึกษาเรียนรู้ของนักเรียนเกรด 7 (มัธยมศึกษาปีที่ 1) ด้วยการทดสอบทางสมองขณะที่เด็ก ๆ กำลังเขียน วาดรูป และพิมพ์บนแป้นพิมพ์ พบว่าสมองของนักเรียนมีการส่งสัญญาณประสาทที่บ่งชี้ึการเรียนรู้อย่างลึกซึ้งขณะทำการเขียนและการวาดภาพ ซึ่งนักวิจัยก็ได้เพิ่มเติมว่าการได้เคลื่อนไหวมือผ่านการวาดหรือเขียนจะกระตุ้นการรับรู้ของสมองได้ดีกว่า แต่ก็ปฏิเสธไม่ได้ว่าทักษะทางเทคโนโลยีก็เป็นสิ่งสำคัญที่ต้องฝึกฝนเช่นกัน ตลอดจนการใช้เทคโนโลยีเพื่อช่วยเหลือด้านการเรียนรู้สำหรับเด็กนักเรียนที่มีภาวะบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านการสะกดคำ (dyslexia) ที่ทำให้เขาเรียนรู้ได้ดีกว่าด้วย 3.คะแนนสูงกลับแปรผันทางลบต่อการความสำเร็จการศึกษา จากการศึกษาผลการทดสอบ ACT ในประเทศสหรัฐอเมริกาที่ใช้เป็นเกณฑ์ในการรับเข้ามหาวิทยาลัยเช่นเดียวกับการทดสอบ SAT นั้น พบว่านักเรียนที่มีผลสอบเข้ามหาวิทยาลัยในเกณฑ์สูงกลับมีความสามารถในการฝ่าฝันความยากลำบากในการเรียนมหาวิทยาลัยได้ต่ำกว่า ขณะที่ผลการเรียนในระดับมัธยมปลายกลับเป็นตัวแปรที่ชี้ความสำเร็จของนักเรียนได้มากกว่า นั่นเพราะบ่งบอกถึงทักษะการกำกับตนเองและจัดการเวลาในการเรียนที่เป็นปัจจัยสำคัญในการเรียนมหาวิทยาลัย หากมองย้อนมายังกรณีของประเทศไทย ก็พูดได้ยากว่าผลการเรียนตอนเรียนมัธยมจะเป็นสิ่งบ่งชี้ความสามารถในการเรียนในระดับมหาวิทยาลัยได้ดีกว่าหรือไม่ เพราะเรายังคงมีคำถามเกี่ยวกับมาตรฐานการให้เกรดที่ยังไม่เป็นมาตรฐานระหว่างโรงเรียนต่างขนาดและต่างพื้นที่ด้วยเช่นกัน 4.วางเกณฑ์การประเมินแบบรูบริก (rubric) ช่วยให้ครูลดอคติที่เกิดขึ้นอย่างไม่ตั้งใจ เป็นที่เข้าใจกันดีว่าเมื่อครูมีเกณฑ์มาตรฐานในการประเมินที่ชัดเจนและตั้งมั่นอยู่กับเกณฑ์มาตรฐานนั้น จะทำให้การพิจารณาคะแนนเที่ยงธรรมมากขึ้น โดยจากการศึกษา คุณครูกว่า 1,500 คนในการประเมินงานเขียนของนักเรียนเกรด 2 (ประมาณประถมศึกษาปีที่ 2) พบว่าคุณครูมักให้คะแนนนักเรียนที่มีชื่อว่า Connor ง่ายกว่านักเรียนคนอื่น ๆ โดยไม่รู้ตัว แต่เมื่อคุณครูมีเกณฑ์ที่ชัดเจน เช่น การระบุว่านักเรียนมีการเขียนบรรยายได้ครบถ้วนชัดเจน ก็ทำให้เกิดมาตรฐานที่ชัดเจนมากยิ่งขึ้น ถึงแม้ว่าการประเมินอาจเป็นเรื่องที่คุณครูทำโดยเคยชินจนรู้สึกว่ามีแค่เกณฑ์หลวม ๆ ก็ได้ แต่หากว่าหลายครั้ง “ชื่อ” ของนักเรียนก็อาจส่งผลต่อการประเมินได้เช่นกัน มันคงจะดีขึ้นมากหากคุณครูเสียเวลาขึ้นสักนิดในการระบุเกณฑ์ที่ชัดเจนและสมเหตุสมผลเพื่อให้คะแนนสามารถเกณฑ์มาตรฐานในการสะท้อนผลการเรียนรู้ให้แก่นักเรียนได้ 5.เมื่อโรงไฟฟ้าถ่านหินปิดตัวลงกลับส่งผลต่อการเรียนรู้อย่างไม่น่าเชื่อ การตีพิมพ์ผลการศึกษาในปี 2020 เกี่ยวกับผลของการปิดโรงไฟฟ้าถ่านหินในพื้นที่เมืองชิคาโกต่ออัตราการขาดเรียนของนักเรียนในโรงเรียนพื้นที่ใกล้เคียงโรงไฟฟ้าที่เกี่ยวข้องกับอาการหอบหืด พบว่านักเรียนมีอัตราการมาเรียนเพิ่มมากขึ้น การศึกษานี้เป็นภาพสะท้อนสำคัญว่าปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม คุณภาพอากาศ อัตราอาชญากรรมในพื้นที่ แม้กระทั่งมลภาวะทางเสียง เป็นตัวแปรสำคัญที่ส่งผลต่อความพร้อมและคุณภาพในการเรียนรู้ของเด็ก ๆ แม้แต่ในประเทศสหรัฐอเมริกาเองก็มีเด็กกว่า 2.3 ล้านที่เข้าเรียนในโรงเรียนซึ่งตั้งอยู่ห่างจากโรงไฟฟ้าถ่านหินไม่เกิน 10 กิโลเมตร และมันหมายถึงค่าเสียโอกาสที่จะเกิดขึ้นกับผู้คนในอนาคต ความเท่าเทียมทางการศึกษาจึงไม่ได้หยุดอยู่แค่รั้วโรงเรียน หากแต่ช่องว่างแห่งความสำเร็จในชีวิตเป็นสิ่งที่อยู่ในช่องว่างแห่งความเท่าเทียมที่หยั่งรากลึกในช่วงปีแรก ๆ ของชีวิต ดังนั้นมันเป็นไปไม่ได้เลยที่เราจะทลายความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาโดยไม่เผชิญหน้ากับความไม่เท่าเทียมในเมือง เขตพื้นที่อยู่อาศัยของเรา ตลอดจนที่หลังบ้านของเราเอง 6.นักเรียนที่ตั้งคำถามที่ดี คือผู้ที่เรียนรู้ได้ดียิ่งกว่า จากการศึกษาเกี่ยวกับการจดจำการเรียนรู้ในระยะยาวของนักศึกษาระดับมหาวิทยาลัย โดยการให้ตั้งคำถามเกี่ยวกับบทเรียน การทดสอบย่อยหลังบทเรียน และการเรียนทบทวน พบว่าการสรุปการเรียนรู้โดยการฝึกให้ผู้เรียนตั้งคำถามจากบทเรียนแล้วผู้สอนชี้ประเด็นให้เกิดการตั้งคำถามเพิ่มเติมจนครอบคลุมนั้น ส่งผลให้ผู้เรียนมีผลการสอบปลายภาคดีกว่าการเรียนทบทวนกว่าร้อยละ 13 และแม้ว่าผู้เรียนที่สรุปการเรียนด้วยการตั้งคำถามและหาคำตอบด้วยตัวเองจะมีผลสอบปลายภาคในข้อที่เกี่ยวข้องกับบทเรียนไม่ต่างกับกลุ่มที่ใช้การทดสอบย่อยท้ายบทมากนัก แต่กลับมีผลการเรียนรู้ที่สูงกว่าอย่างเห็นได้ชัดในข้อคำถามประเภทประยุกต์ใช้ จากการศึกษานี้จึงสรุปได้ว่าการเรียนทบทวน โดยเฉพาะการเน้นคำ ขีดเส้นใต้คำสำคัญนั้นไม่เป็นผลดีต่อการเรียนรู้ที่มีความหมายต่อชีวิตของนักเรียนอีกต่อไปแล้ว แต่การฝึกให้นักเรียนเป็นผู้ตั้งคำถามอย่างรอบด้านและเกิดการเรียนรู้อย่างลึกซึ้งก็เป็นทักษะที่คุณครูสามารถช่วยให้นักเรียนเรียนรู้ได้อย่างมีความหมายและยิ่งยืนได้มากกว่า 7.อ่านเยอะแค่ไหนก็ไม่ได้ส่งผลต่อการอ่านออกเขียนได้ ถ้าไม่ได้อ่านอย่างเข้าใจ การศึกษาเกี่ยวกับหลักสูตรการสอนเพื่อการอ่านออกเขียนได้ในปี 2020 เป็นหนึ่งในงานวิจัยที่สั่นสะเทือนความเชื่อเดิมในการจัดการเรียนการสอนเพื่อการรู้หนังสือ หรือการอ่านออกเขียนได้ที่มีมากว่า 40 ของสหรัฐอเมริกาที่มีเทคนิคการสอนที่เน้นการอ่านบทความจำนวนมากและอ่านออกเสียงเพื่อให้เรียนรู้คำและเขียนคำได้ แท้ที่จริงกลับทำให้เด็ก ๆ เรียนรู้คำโดยไม่เข้าใจและนำไปใช้ไม่ได้ หรือแม้กระทั่งจดจำในการเขียนไม่ได้ด้วยซ้ำ อย่างไรก็ตามในการศึกษานี้ได้พบแง่มุมที่จะช่วยพัฒนาการรู้หนังสือให้อ่านออก เขียนได้ และเข้าใจ ด้วยการเรียนรู้ผ่านการอ่านร่วมกับสื่ออื่น ๆ เช่น ภาพประกอบ หรือเหตุการณ์ที่สร้างความเข้าใจในคำศัพท์ใหม่ ๆ ในบทเรียนนั้นมากกว่าเป็นแค่การอ่านออกเสียงหรือท่องจำอย่างเดียวเท่านั้น ที่จะช่วยให้เด็ก ๆ สามารถอ่านได้อย่างเข้าใจบริบท จดจำคำศัพท์และเขียนได้ด้วยความเข้าใจนั่นเอง 8.สร้างห้องเรียนเสมือนให้มีประสิทธิภาพด้วยการจัดระเบียบช่องทางการสื่อสาร ในปี 2020 ที่ทั่วโลกเผชิญสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ทำให้การเรียนการสอนออนไลน์เป็นเครื่องมือสำคัญในการจัดการเรียนรู้ให้ดำเนินต่อไปได้ภายใต้ภาวะวิกฤติเช่นนี้ โดยจากรายงานการศึกษาโดยมหาวิทยาลัย Georgia State ได้ชี้ประเด็นปัญหาสำคัญในการเรียนรู้ในห้องเรียนเสมือนนี้ที่ไม่ใช่แค่ว่านักเรียนเข้าถึงเทคโนโลยีได้ไหม แต่ระบบการจัดการเรียนรู้ทำให้เขาเข้าถึงบทเรียนได้แค่ไหน การจัดการช่องทางการสื่อสารและเรียนรู้ที่เข้าถึงง่ายและชัดเจนเป็นประเด็นที่จะช่วยให้การเรียนรู้ทางไกลของนักเรียนง่ายขึ้น ทั้งนี้รายงานดังกล่าวได้นำเสนอว่าบทเรียนที่ดีนั้นมี 4 องค์ประกอบ คือ 1) มีคำอธิบายชัดเจนและอ่านง่าย โดยไม่ควรตกแต่งเอกสารเกินความจำเป็น 2) มีช่องทางให้นักเรียนได้รับข้อเสนอแนะจากครูหรือเพื่อนร่วมชั้นเรียน 3) ใช้เกมหรือสถานการณ์จำลองเพื่อให้นักเรียนมีส่วนร่วมกับการเรียนอยู่เสมอ และ 4) มีช่องทางการเรียนรู้ที่เข้าถึงง่าย เอกสารมีที่อยู่ถาวร และสามารถสนับสนุนนักเรียนที่ประสบปัญหาทางเทคนิคได้ 9.การเรียน coding เกี่ยวข้องกับทักษะทางภาษามากกว่าคณิตศาสตร์ ความเชื่อดั้งเดิมว่าการเรียนรู้การเขียนคำสั่งโปรแกรมหรือ coding นั้นต้องใช้ทักษะทางการคำนวณเป็นหลัก แต่การศึกษาในปี 2020 กำลังท้าทายชุดความเชื่อนั้นโดยการทดลองกับบุคคลทั่วไปในวัยผู้ใหญ่ตอนต้น 36 คนที่ไม่เคยมีประสบการณ์เกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมมาอบรมการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วยภาษา Python เป็นเวลา 10 ครั้ง ครั้งละ 45 นาที ผลการศึกษาพบว่าผู้ที่เรียนรู้การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้นไม่ใช่ผู้ที่มีทักษะทางคณิตศาสตร์สูง แต่กลับเป็นผู้ที่มีทักษะทางภาษาที่เรียนรู้การ coding ได้ดีกว่าถึง 9 เท่าตัว การศึกษานี้ยังมีการกล่าวถึงข้อบังคับในการเรียนคณิตศาสตร์ขั้นสูงเพื่อผ่านเกณฑ์สำหรับการศึกษาการเขียนโปรแกรมด้วยว่าแทบไม่มีความจำเป็นในการใช้บทเรียนเหล่านั้นในการเขียนโปรแกรมเลย ดังนั้นจึงอาจถึงเวลาที่จะเกิดการทบทวนเกี่ยวกับเกณฑ์บังคับเหล่านี้เสียใหม่ 10.สอนอ่านเพื่อจับใจความสำคัญเพิ่มทักษะด้านการอ่านได้ไม่เท่าการอ่านในวิชาสังคมศึกษา การเรียนภาษาเพื่อความเข้าใจเนื้อหาด้วยการค้นหาประเด็นใจความสำคัญแล้วสรุปความอาจเป็นความพยายามที่ต้องทุ่มเทเวลาไปอย่างไม่คุ้มค่าอีกต่อไป เมื่องานวิจัยในปี 2020 ที่ศึกษาด้านการอ่านกับนักเรียนกว่า 18,000 คน ตั้งแต่เริ่มเรียนระดับอนุบาลจนกระทั่งประถมศึกษาปีที่ 5 การศึกษาระยะยาวนี้ค้นพบว่าแม้ว่านักเรียนส่วนใหญ่จะใช้เวลาเรียนภาษาในโรงเรียนมากกว่าวิชาสังคมศึกษา แต่การอ่านในวิชาสังคมศึกษากลับส่งผลดีด้านการพัฒนาทักษะด้านการอ่านจับประเด็นมากกว่าการเรียนภาษาด้านการอ่านโดยตรง ดังนั้นการเปิดโอกาสให้เด็ก ๆ ได้อ่านบทความเกี่ยวกับหน้าที่พลเมือง ประวัติศาสตร์ หรือกฎหมาย (ที่เกี่ยวข้องกับชีวิตของพวกเขา) นั้นเป็นกลวิธีส่งเสริมการอ่านที่มีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะเมื่อนักเรียนมีความรู้พื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่อ่านก็จะมีโอกาสที่จะอ่านจับใจความได้มากขึ้น รวมทั้งเป็นการพัฒนาการเรียนรู้ด้วยการดึงข้อมูลจากความทรงจำระยะยาวซึ่งทำให้เขามีพื้นที่ความทรงจำที่มากขึ้นในการอ่านเพื่อทำความเข้าใจและจับใจความได้ดียิ่งขึ้น ขอบคุณข้อมูลจาก – https://www.facebook.com/ESDCenterEduChula/ EZ Webmaster Related Posts เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ รวมบุคคลสำคัญของแต่ละมหาวิทยาลัยไทย มาให้ทุกคนได้รู้กัน !! ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา เปิดรอบ 5 รับตรงอิสระ เรียน 6 สาขา ถึง 20 มิ.ย.นี้ สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ “เปิดสถิติ TCAS66-68 : รอบ 1-3 ใครสมัครเยอะ ใครได้ที่เรียนเยอะที่สุด และ 10 คณะฮิตไม่เปลี่ยน!” Post navigation PREVIOUS Previous post: มทร.ธัญบุรี เปิดรับรอบสอบตรง วุฒิ ปวช. ปวส. เริ่ม 23 ม.ค.นี้!NEXT Next post: รมว.ศธ. ยันเปิดเรียนกำหนดเดิม 1 ก.พ.นี้ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง EZ WebmasterJune 13, 2025 วันนี้ทั้งเล่น ทั้งได้ความรู้ ทั้งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนนางรอง จ.บุรีรัมย์ วันที่13/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า… นักศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI… ทุนดีดี เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster January 19, 2021 EZ Webmaster January 19, 2021 มาดู 10 ประเด็นเรียนรู้สำคัญของวงการศึกษาในปี 2020 ในปี 2563 ที่เพิ่งจบสิ้นไปในไม่กี่วันนี้ นับเป็นปีแห่งการเปลี่ยนแปลงที่เราต่างต้องปรับตัวครั้งสำคัญ อย่างไรก็ตามเราก็ไม่หยุดเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ เพื่อยืนยันความเชื่อในการจัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพและเท่าเทียมท่ามกลางวิกฤติหรือในช่วงเวลาปกติให้ได้ ทางเว็บไซต์ Edutopia ได้รวมรวมบทเรียนสำคัญที่เกิดขึ้นในปี 2020 ที่ศูนย์วิจัยฯ นำมาเสนอดังนี้ 1.เรียนรู้คำศัพท์ใหม่ ๆ ให้ได้ผลดีด้วยการให้เด็ก ๆ เป็นตัวแสดงแทน จากการศึกษาเกี่ยวกับการจดจำคำศัพท์ในการเรียนภาษากับนักเรียนอายุ 8 ขวบ นักวิจัยขอให้เด็ก ๆ แสดงท่าทางเกี่ยวกับคำศัพท์ใหม่ เช่น ทำมือเป็นเครื่องบินเมื่อเรียนรู้เกี่ยวกับคำนั้น โดยเมื่อผ่านไปหลายเดือนก็พบว่านักเรียนสามารถเรียนรู้และจดจำคำศัพท์ได้ดีขึ้นกว่า 2 เท่ามากกว่าการฟังหรือท่องจำอย่างเดียว นอกจากนี้นักวิจัยยังพบว่าการดูภาพขณะฟังคำศัพท์ก็ได้ผลลัพธ์ที่ดีเช่นกัน แต่ได้ผลน้อยกว่าการให้เด็ก ๆ ได้แสดงท่าทางเกี่ยวกับคำศัพท์เหล่านั้น อย่างไรก็ตามมันก็เป็นเครื่องมือที่จะช่วยให้คุณครูได้กระตุ้นการเรียนรู้คำศัพท์ด้วยวิธีต่าง ๆ เช่น วาดภาพเกี่ยวกับคำศัพท์นั้น หรือการจับคู่รูปภาพที่เกี่ยวข้อง 2.การเขียนด้วยมือสร้างการเรียนรู้ได้ดีกว่า จากการวิจัยในอดีตได้มีการศึกษาแล้วว่าทักษะการอ่านจะพัฒนาได้ดีเมื่อเด็ก ๆ ฝึกเขียนจดหมายด้วยลายมือตัวเองมากกว่าพิมพ์แล้วปริ้นท์ออกมาอ่าน ซึ่งยืนยันด้วยงานวิจัยในปี 2020 ที่นักวิทยาศาสตร์ทางสมองได้ทำการศึกษาเรียนรู้ของนักเรียนเกรด 7 (มัธยมศึกษาปีที่ 1) ด้วยการทดสอบทางสมองขณะที่เด็ก ๆ กำลังเขียน วาดรูป และพิมพ์บนแป้นพิมพ์ พบว่าสมองของนักเรียนมีการส่งสัญญาณประสาทที่บ่งชี้ึการเรียนรู้อย่างลึกซึ้งขณะทำการเขียนและการวาดภาพ ซึ่งนักวิจัยก็ได้เพิ่มเติมว่าการได้เคลื่อนไหวมือผ่านการวาดหรือเขียนจะกระตุ้นการรับรู้ของสมองได้ดีกว่า แต่ก็ปฏิเสธไม่ได้ว่าทักษะทางเทคโนโลยีก็เป็นสิ่งสำคัญที่ต้องฝึกฝนเช่นกัน ตลอดจนการใช้เทคโนโลยีเพื่อช่วยเหลือด้านการเรียนรู้สำหรับเด็กนักเรียนที่มีภาวะบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านการสะกดคำ (dyslexia) ที่ทำให้เขาเรียนรู้ได้ดีกว่าด้วย 3.คะแนนสูงกลับแปรผันทางลบต่อการความสำเร็จการศึกษา จากการศึกษาผลการทดสอบ ACT ในประเทศสหรัฐอเมริกาที่ใช้เป็นเกณฑ์ในการรับเข้ามหาวิทยาลัยเช่นเดียวกับการทดสอบ SAT นั้น พบว่านักเรียนที่มีผลสอบเข้ามหาวิทยาลัยในเกณฑ์สูงกลับมีความสามารถในการฝ่าฝันความยากลำบากในการเรียนมหาวิทยาลัยได้ต่ำกว่า ขณะที่ผลการเรียนในระดับมัธยมปลายกลับเป็นตัวแปรที่ชี้ความสำเร็จของนักเรียนได้มากกว่า นั่นเพราะบ่งบอกถึงทักษะการกำกับตนเองและจัดการเวลาในการเรียนที่เป็นปัจจัยสำคัญในการเรียนมหาวิทยาลัย หากมองย้อนมายังกรณีของประเทศไทย ก็พูดได้ยากว่าผลการเรียนตอนเรียนมัธยมจะเป็นสิ่งบ่งชี้ความสามารถในการเรียนในระดับมหาวิทยาลัยได้ดีกว่าหรือไม่ เพราะเรายังคงมีคำถามเกี่ยวกับมาตรฐานการให้เกรดที่ยังไม่เป็นมาตรฐานระหว่างโรงเรียนต่างขนาดและต่างพื้นที่ด้วยเช่นกัน 4.วางเกณฑ์การประเมินแบบรูบริก (rubric) ช่วยให้ครูลดอคติที่เกิดขึ้นอย่างไม่ตั้งใจ เป็นที่เข้าใจกันดีว่าเมื่อครูมีเกณฑ์มาตรฐานในการประเมินที่ชัดเจนและตั้งมั่นอยู่กับเกณฑ์มาตรฐานนั้น จะทำให้การพิจารณาคะแนนเที่ยงธรรมมากขึ้น โดยจากการศึกษา คุณครูกว่า 1,500 คนในการประเมินงานเขียนของนักเรียนเกรด 2 (ประมาณประถมศึกษาปีที่ 2) พบว่าคุณครูมักให้คะแนนนักเรียนที่มีชื่อว่า Connor ง่ายกว่านักเรียนคนอื่น ๆ โดยไม่รู้ตัว แต่เมื่อคุณครูมีเกณฑ์ที่ชัดเจน เช่น การระบุว่านักเรียนมีการเขียนบรรยายได้ครบถ้วนชัดเจน ก็ทำให้เกิดมาตรฐานที่ชัดเจนมากยิ่งขึ้น ถึงแม้ว่าการประเมินอาจเป็นเรื่องที่คุณครูทำโดยเคยชินจนรู้สึกว่ามีแค่เกณฑ์หลวม ๆ ก็ได้ แต่หากว่าหลายครั้ง “ชื่อ” ของนักเรียนก็อาจส่งผลต่อการประเมินได้เช่นกัน มันคงจะดีขึ้นมากหากคุณครูเสียเวลาขึ้นสักนิดในการระบุเกณฑ์ที่ชัดเจนและสมเหตุสมผลเพื่อให้คะแนนสามารถเกณฑ์มาตรฐานในการสะท้อนผลการเรียนรู้ให้แก่นักเรียนได้ 5.เมื่อโรงไฟฟ้าถ่านหินปิดตัวลงกลับส่งผลต่อการเรียนรู้อย่างไม่น่าเชื่อ การตีพิมพ์ผลการศึกษาในปี 2020 เกี่ยวกับผลของการปิดโรงไฟฟ้าถ่านหินในพื้นที่เมืองชิคาโกต่ออัตราการขาดเรียนของนักเรียนในโรงเรียนพื้นที่ใกล้เคียงโรงไฟฟ้าที่เกี่ยวข้องกับอาการหอบหืด พบว่านักเรียนมีอัตราการมาเรียนเพิ่มมากขึ้น การศึกษานี้เป็นภาพสะท้อนสำคัญว่าปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม คุณภาพอากาศ อัตราอาชญากรรมในพื้นที่ แม้กระทั่งมลภาวะทางเสียง เป็นตัวแปรสำคัญที่ส่งผลต่อความพร้อมและคุณภาพในการเรียนรู้ของเด็ก ๆ แม้แต่ในประเทศสหรัฐอเมริกาเองก็มีเด็กกว่า 2.3 ล้านที่เข้าเรียนในโรงเรียนซึ่งตั้งอยู่ห่างจากโรงไฟฟ้าถ่านหินไม่เกิน 10 กิโลเมตร และมันหมายถึงค่าเสียโอกาสที่จะเกิดขึ้นกับผู้คนในอนาคต ความเท่าเทียมทางการศึกษาจึงไม่ได้หยุดอยู่แค่รั้วโรงเรียน หากแต่ช่องว่างแห่งความสำเร็จในชีวิตเป็นสิ่งที่อยู่ในช่องว่างแห่งความเท่าเทียมที่หยั่งรากลึกในช่วงปีแรก ๆ ของชีวิต ดังนั้นมันเป็นไปไม่ได้เลยที่เราจะทลายความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาโดยไม่เผชิญหน้ากับความไม่เท่าเทียมในเมือง เขตพื้นที่อยู่อาศัยของเรา ตลอดจนที่หลังบ้านของเราเอง 6.นักเรียนที่ตั้งคำถามที่ดี คือผู้ที่เรียนรู้ได้ดียิ่งกว่า จากการศึกษาเกี่ยวกับการจดจำการเรียนรู้ในระยะยาวของนักศึกษาระดับมหาวิทยาลัย โดยการให้ตั้งคำถามเกี่ยวกับบทเรียน การทดสอบย่อยหลังบทเรียน และการเรียนทบทวน พบว่าการสรุปการเรียนรู้โดยการฝึกให้ผู้เรียนตั้งคำถามจากบทเรียนแล้วผู้สอนชี้ประเด็นให้เกิดการตั้งคำถามเพิ่มเติมจนครอบคลุมนั้น ส่งผลให้ผู้เรียนมีผลการสอบปลายภาคดีกว่าการเรียนทบทวนกว่าร้อยละ 13 และแม้ว่าผู้เรียนที่สรุปการเรียนด้วยการตั้งคำถามและหาคำตอบด้วยตัวเองจะมีผลสอบปลายภาคในข้อที่เกี่ยวข้องกับบทเรียนไม่ต่างกับกลุ่มที่ใช้การทดสอบย่อยท้ายบทมากนัก แต่กลับมีผลการเรียนรู้ที่สูงกว่าอย่างเห็นได้ชัดในข้อคำถามประเภทประยุกต์ใช้ จากการศึกษานี้จึงสรุปได้ว่าการเรียนทบทวน โดยเฉพาะการเน้นคำ ขีดเส้นใต้คำสำคัญนั้นไม่เป็นผลดีต่อการเรียนรู้ที่มีความหมายต่อชีวิตของนักเรียนอีกต่อไปแล้ว แต่การฝึกให้นักเรียนเป็นผู้ตั้งคำถามอย่างรอบด้านและเกิดการเรียนรู้อย่างลึกซึ้งก็เป็นทักษะที่คุณครูสามารถช่วยให้นักเรียนเรียนรู้ได้อย่างมีความหมายและยิ่งยืนได้มากกว่า 7.อ่านเยอะแค่ไหนก็ไม่ได้ส่งผลต่อการอ่านออกเขียนได้ ถ้าไม่ได้อ่านอย่างเข้าใจ การศึกษาเกี่ยวกับหลักสูตรการสอนเพื่อการอ่านออกเขียนได้ในปี 2020 เป็นหนึ่งในงานวิจัยที่สั่นสะเทือนความเชื่อเดิมในการจัดการเรียนการสอนเพื่อการรู้หนังสือ หรือการอ่านออกเขียนได้ที่มีมากว่า 40 ของสหรัฐอเมริกาที่มีเทคนิคการสอนที่เน้นการอ่านบทความจำนวนมากและอ่านออกเสียงเพื่อให้เรียนรู้คำและเขียนคำได้ แท้ที่จริงกลับทำให้เด็ก ๆ เรียนรู้คำโดยไม่เข้าใจและนำไปใช้ไม่ได้ หรือแม้กระทั่งจดจำในการเขียนไม่ได้ด้วยซ้ำ อย่างไรก็ตามในการศึกษานี้ได้พบแง่มุมที่จะช่วยพัฒนาการรู้หนังสือให้อ่านออก เขียนได้ และเข้าใจ ด้วยการเรียนรู้ผ่านการอ่านร่วมกับสื่ออื่น ๆ เช่น ภาพประกอบ หรือเหตุการณ์ที่สร้างความเข้าใจในคำศัพท์ใหม่ ๆ ในบทเรียนนั้นมากกว่าเป็นแค่การอ่านออกเสียงหรือท่องจำอย่างเดียวเท่านั้น ที่จะช่วยให้เด็ก ๆ สามารถอ่านได้อย่างเข้าใจบริบท จดจำคำศัพท์และเขียนได้ด้วยความเข้าใจนั่นเอง 8.สร้างห้องเรียนเสมือนให้มีประสิทธิภาพด้วยการจัดระเบียบช่องทางการสื่อสาร ในปี 2020 ที่ทั่วโลกเผชิญสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ทำให้การเรียนการสอนออนไลน์เป็นเครื่องมือสำคัญในการจัดการเรียนรู้ให้ดำเนินต่อไปได้ภายใต้ภาวะวิกฤติเช่นนี้ โดยจากรายงานการศึกษาโดยมหาวิทยาลัย Georgia State ได้ชี้ประเด็นปัญหาสำคัญในการเรียนรู้ในห้องเรียนเสมือนนี้ที่ไม่ใช่แค่ว่านักเรียนเข้าถึงเทคโนโลยีได้ไหม แต่ระบบการจัดการเรียนรู้ทำให้เขาเข้าถึงบทเรียนได้แค่ไหน การจัดการช่องทางการสื่อสารและเรียนรู้ที่เข้าถึงง่ายและชัดเจนเป็นประเด็นที่จะช่วยให้การเรียนรู้ทางไกลของนักเรียนง่ายขึ้น ทั้งนี้รายงานดังกล่าวได้นำเสนอว่าบทเรียนที่ดีนั้นมี 4 องค์ประกอบ คือ 1) มีคำอธิบายชัดเจนและอ่านง่าย โดยไม่ควรตกแต่งเอกสารเกินความจำเป็น 2) มีช่องทางให้นักเรียนได้รับข้อเสนอแนะจากครูหรือเพื่อนร่วมชั้นเรียน 3) ใช้เกมหรือสถานการณ์จำลองเพื่อให้นักเรียนมีส่วนร่วมกับการเรียนอยู่เสมอ และ 4) มีช่องทางการเรียนรู้ที่เข้าถึงง่าย เอกสารมีที่อยู่ถาวร และสามารถสนับสนุนนักเรียนที่ประสบปัญหาทางเทคนิคได้ 9.การเรียน coding เกี่ยวข้องกับทักษะทางภาษามากกว่าคณิตศาสตร์ ความเชื่อดั้งเดิมว่าการเรียนรู้การเขียนคำสั่งโปรแกรมหรือ coding นั้นต้องใช้ทักษะทางการคำนวณเป็นหลัก แต่การศึกษาในปี 2020 กำลังท้าทายชุดความเชื่อนั้นโดยการทดลองกับบุคคลทั่วไปในวัยผู้ใหญ่ตอนต้น 36 คนที่ไม่เคยมีประสบการณ์เกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมมาอบรมการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วยภาษา Python เป็นเวลา 10 ครั้ง ครั้งละ 45 นาที ผลการศึกษาพบว่าผู้ที่เรียนรู้การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้นไม่ใช่ผู้ที่มีทักษะทางคณิตศาสตร์สูง แต่กลับเป็นผู้ที่มีทักษะทางภาษาที่เรียนรู้การ coding ได้ดีกว่าถึง 9 เท่าตัว การศึกษานี้ยังมีการกล่าวถึงข้อบังคับในการเรียนคณิตศาสตร์ขั้นสูงเพื่อผ่านเกณฑ์สำหรับการศึกษาการเขียนโปรแกรมด้วยว่าแทบไม่มีความจำเป็นในการใช้บทเรียนเหล่านั้นในการเขียนโปรแกรมเลย ดังนั้นจึงอาจถึงเวลาที่จะเกิดการทบทวนเกี่ยวกับเกณฑ์บังคับเหล่านี้เสียใหม่ 10.สอนอ่านเพื่อจับใจความสำคัญเพิ่มทักษะด้านการอ่านได้ไม่เท่าการอ่านในวิชาสังคมศึกษา การเรียนภาษาเพื่อความเข้าใจเนื้อหาด้วยการค้นหาประเด็นใจความสำคัญแล้วสรุปความอาจเป็นความพยายามที่ต้องทุ่มเทเวลาไปอย่างไม่คุ้มค่าอีกต่อไป เมื่องานวิจัยในปี 2020 ที่ศึกษาด้านการอ่านกับนักเรียนกว่า 18,000 คน ตั้งแต่เริ่มเรียนระดับอนุบาลจนกระทั่งประถมศึกษาปีที่ 5 การศึกษาระยะยาวนี้ค้นพบว่าแม้ว่านักเรียนส่วนใหญ่จะใช้เวลาเรียนภาษาในโรงเรียนมากกว่าวิชาสังคมศึกษา แต่การอ่านในวิชาสังคมศึกษากลับส่งผลดีด้านการพัฒนาทักษะด้านการอ่านจับประเด็นมากกว่าการเรียนภาษาด้านการอ่านโดยตรง ดังนั้นการเปิดโอกาสให้เด็ก ๆ ได้อ่านบทความเกี่ยวกับหน้าที่พลเมือง ประวัติศาสตร์ หรือกฎหมาย (ที่เกี่ยวข้องกับชีวิตของพวกเขา) นั้นเป็นกลวิธีส่งเสริมการอ่านที่มีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะเมื่อนักเรียนมีความรู้พื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่อ่านก็จะมีโอกาสที่จะอ่านจับใจความได้มากขึ้น รวมทั้งเป็นการพัฒนาการเรียนรู้ด้วยการดึงข้อมูลจากความทรงจำระยะยาวซึ่งทำให้เขามีพื้นที่ความทรงจำที่มากขึ้นในการอ่านเพื่อทำความเข้าใจและจับใจความได้ดียิ่งขึ้น ขอบคุณข้อมูลจาก – https://www.facebook.com/ESDCenterEduChula/ EZ Webmaster Related Posts เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ รวมบุคคลสำคัญของแต่ละมหาวิทยาลัยไทย มาให้ทุกคนได้รู้กัน !! ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา เปิดรอบ 5 รับตรงอิสระ เรียน 6 สาขา ถึง 20 มิ.ย.นี้ สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ “เปิดสถิติ TCAS66-68 : รอบ 1-3 ใครสมัครเยอะ ใครได้ที่เรียนเยอะที่สุด และ 10 คณะฮิตไม่เปลี่ยน!” Post navigation PREVIOUS Previous post: มทร.ธัญบุรี เปิดรับรอบสอบตรง วุฒิ ปวช. ปวส. เริ่ม 23 ม.ค.นี้!NEXT Next post: รมว.ศธ. ยันเปิดเรียนกำหนดเดิม 1 ก.พ.นี้ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง EZ WebmasterJune 13, 2025 วันนี้ทั้งเล่น ทั้งได้ความรู้ ทั้งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนนางรอง จ.บุรีรัมย์ วันที่13/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า…
โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง EZ WebmasterJune 13, 2025 วันนี้ทั้งเล่น ทั้งได้ความรู้ ทั้งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนนางรอง จ.บุรีรัมย์ วันที่13/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า…
คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI… ทุนดีดี เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster January 19, 2021 EZ Webmaster January 19, 2021 มาดู 10 ประเด็นเรียนรู้สำคัญของวงการศึกษาในปี 2020 ในปี 2563 ที่เพิ่งจบสิ้นไปในไม่กี่วันนี้ นับเป็นปีแห่งการเปลี่ยนแปลงที่เราต่างต้องปรับตัวครั้งสำคัญ อย่างไรก็ตามเราก็ไม่หยุดเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ เพื่อยืนยันความเชื่อในการจัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพและเท่าเทียมท่ามกลางวิกฤติหรือในช่วงเวลาปกติให้ได้ ทางเว็บไซต์ Edutopia ได้รวมรวมบทเรียนสำคัญที่เกิดขึ้นในปี 2020 ที่ศูนย์วิจัยฯ นำมาเสนอดังนี้ 1.เรียนรู้คำศัพท์ใหม่ ๆ ให้ได้ผลดีด้วยการให้เด็ก ๆ เป็นตัวแสดงแทน จากการศึกษาเกี่ยวกับการจดจำคำศัพท์ในการเรียนภาษากับนักเรียนอายุ 8 ขวบ นักวิจัยขอให้เด็ก ๆ แสดงท่าทางเกี่ยวกับคำศัพท์ใหม่ เช่น ทำมือเป็นเครื่องบินเมื่อเรียนรู้เกี่ยวกับคำนั้น โดยเมื่อผ่านไปหลายเดือนก็พบว่านักเรียนสามารถเรียนรู้และจดจำคำศัพท์ได้ดีขึ้นกว่า 2 เท่ามากกว่าการฟังหรือท่องจำอย่างเดียว นอกจากนี้นักวิจัยยังพบว่าการดูภาพขณะฟังคำศัพท์ก็ได้ผลลัพธ์ที่ดีเช่นกัน แต่ได้ผลน้อยกว่าการให้เด็ก ๆ ได้แสดงท่าทางเกี่ยวกับคำศัพท์เหล่านั้น อย่างไรก็ตามมันก็เป็นเครื่องมือที่จะช่วยให้คุณครูได้กระตุ้นการเรียนรู้คำศัพท์ด้วยวิธีต่าง ๆ เช่น วาดภาพเกี่ยวกับคำศัพท์นั้น หรือการจับคู่รูปภาพที่เกี่ยวข้อง 2.การเขียนด้วยมือสร้างการเรียนรู้ได้ดีกว่า จากการวิจัยในอดีตได้มีการศึกษาแล้วว่าทักษะการอ่านจะพัฒนาได้ดีเมื่อเด็ก ๆ ฝึกเขียนจดหมายด้วยลายมือตัวเองมากกว่าพิมพ์แล้วปริ้นท์ออกมาอ่าน ซึ่งยืนยันด้วยงานวิจัยในปี 2020 ที่นักวิทยาศาสตร์ทางสมองได้ทำการศึกษาเรียนรู้ของนักเรียนเกรด 7 (มัธยมศึกษาปีที่ 1) ด้วยการทดสอบทางสมองขณะที่เด็ก ๆ กำลังเขียน วาดรูป และพิมพ์บนแป้นพิมพ์ พบว่าสมองของนักเรียนมีการส่งสัญญาณประสาทที่บ่งชี้ึการเรียนรู้อย่างลึกซึ้งขณะทำการเขียนและการวาดภาพ ซึ่งนักวิจัยก็ได้เพิ่มเติมว่าการได้เคลื่อนไหวมือผ่านการวาดหรือเขียนจะกระตุ้นการรับรู้ของสมองได้ดีกว่า แต่ก็ปฏิเสธไม่ได้ว่าทักษะทางเทคโนโลยีก็เป็นสิ่งสำคัญที่ต้องฝึกฝนเช่นกัน ตลอดจนการใช้เทคโนโลยีเพื่อช่วยเหลือด้านการเรียนรู้สำหรับเด็กนักเรียนที่มีภาวะบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านการสะกดคำ (dyslexia) ที่ทำให้เขาเรียนรู้ได้ดีกว่าด้วย 3.คะแนนสูงกลับแปรผันทางลบต่อการความสำเร็จการศึกษา จากการศึกษาผลการทดสอบ ACT ในประเทศสหรัฐอเมริกาที่ใช้เป็นเกณฑ์ในการรับเข้ามหาวิทยาลัยเช่นเดียวกับการทดสอบ SAT นั้น พบว่านักเรียนที่มีผลสอบเข้ามหาวิทยาลัยในเกณฑ์สูงกลับมีความสามารถในการฝ่าฝันความยากลำบากในการเรียนมหาวิทยาลัยได้ต่ำกว่า ขณะที่ผลการเรียนในระดับมัธยมปลายกลับเป็นตัวแปรที่ชี้ความสำเร็จของนักเรียนได้มากกว่า นั่นเพราะบ่งบอกถึงทักษะการกำกับตนเองและจัดการเวลาในการเรียนที่เป็นปัจจัยสำคัญในการเรียนมหาวิทยาลัย หากมองย้อนมายังกรณีของประเทศไทย ก็พูดได้ยากว่าผลการเรียนตอนเรียนมัธยมจะเป็นสิ่งบ่งชี้ความสามารถในการเรียนในระดับมหาวิทยาลัยได้ดีกว่าหรือไม่ เพราะเรายังคงมีคำถามเกี่ยวกับมาตรฐานการให้เกรดที่ยังไม่เป็นมาตรฐานระหว่างโรงเรียนต่างขนาดและต่างพื้นที่ด้วยเช่นกัน 4.วางเกณฑ์การประเมินแบบรูบริก (rubric) ช่วยให้ครูลดอคติที่เกิดขึ้นอย่างไม่ตั้งใจ เป็นที่เข้าใจกันดีว่าเมื่อครูมีเกณฑ์มาตรฐานในการประเมินที่ชัดเจนและตั้งมั่นอยู่กับเกณฑ์มาตรฐานนั้น จะทำให้การพิจารณาคะแนนเที่ยงธรรมมากขึ้น โดยจากการศึกษา คุณครูกว่า 1,500 คนในการประเมินงานเขียนของนักเรียนเกรด 2 (ประมาณประถมศึกษาปีที่ 2) พบว่าคุณครูมักให้คะแนนนักเรียนที่มีชื่อว่า Connor ง่ายกว่านักเรียนคนอื่น ๆ โดยไม่รู้ตัว แต่เมื่อคุณครูมีเกณฑ์ที่ชัดเจน เช่น การระบุว่านักเรียนมีการเขียนบรรยายได้ครบถ้วนชัดเจน ก็ทำให้เกิดมาตรฐานที่ชัดเจนมากยิ่งขึ้น ถึงแม้ว่าการประเมินอาจเป็นเรื่องที่คุณครูทำโดยเคยชินจนรู้สึกว่ามีแค่เกณฑ์หลวม ๆ ก็ได้ แต่หากว่าหลายครั้ง “ชื่อ” ของนักเรียนก็อาจส่งผลต่อการประเมินได้เช่นกัน มันคงจะดีขึ้นมากหากคุณครูเสียเวลาขึ้นสักนิดในการระบุเกณฑ์ที่ชัดเจนและสมเหตุสมผลเพื่อให้คะแนนสามารถเกณฑ์มาตรฐานในการสะท้อนผลการเรียนรู้ให้แก่นักเรียนได้ 5.เมื่อโรงไฟฟ้าถ่านหินปิดตัวลงกลับส่งผลต่อการเรียนรู้อย่างไม่น่าเชื่อ การตีพิมพ์ผลการศึกษาในปี 2020 เกี่ยวกับผลของการปิดโรงไฟฟ้าถ่านหินในพื้นที่เมืองชิคาโกต่ออัตราการขาดเรียนของนักเรียนในโรงเรียนพื้นที่ใกล้เคียงโรงไฟฟ้าที่เกี่ยวข้องกับอาการหอบหืด พบว่านักเรียนมีอัตราการมาเรียนเพิ่มมากขึ้น การศึกษานี้เป็นภาพสะท้อนสำคัญว่าปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม คุณภาพอากาศ อัตราอาชญากรรมในพื้นที่ แม้กระทั่งมลภาวะทางเสียง เป็นตัวแปรสำคัญที่ส่งผลต่อความพร้อมและคุณภาพในการเรียนรู้ของเด็ก ๆ แม้แต่ในประเทศสหรัฐอเมริกาเองก็มีเด็กกว่า 2.3 ล้านที่เข้าเรียนในโรงเรียนซึ่งตั้งอยู่ห่างจากโรงไฟฟ้าถ่านหินไม่เกิน 10 กิโลเมตร และมันหมายถึงค่าเสียโอกาสที่จะเกิดขึ้นกับผู้คนในอนาคต ความเท่าเทียมทางการศึกษาจึงไม่ได้หยุดอยู่แค่รั้วโรงเรียน หากแต่ช่องว่างแห่งความสำเร็จในชีวิตเป็นสิ่งที่อยู่ในช่องว่างแห่งความเท่าเทียมที่หยั่งรากลึกในช่วงปีแรก ๆ ของชีวิต ดังนั้นมันเป็นไปไม่ได้เลยที่เราจะทลายความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาโดยไม่เผชิญหน้ากับความไม่เท่าเทียมในเมือง เขตพื้นที่อยู่อาศัยของเรา ตลอดจนที่หลังบ้านของเราเอง 6.นักเรียนที่ตั้งคำถามที่ดี คือผู้ที่เรียนรู้ได้ดียิ่งกว่า จากการศึกษาเกี่ยวกับการจดจำการเรียนรู้ในระยะยาวของนักศึกษาระดับมหาวิทยาลัย โดยการให้ตั้งคำถามเกี่ยวกับบทเรียน การทดสอบย่อยหลังบทเรียน และการเรียนทบทวน พบว่าการสรุปการเรียนรู้โดยการฝึกให้ผู้เรียนตั้งคำถามจากบทเรียนแล้วผู้สอนชี้ประเด็นให้เกิดการตั้งคำถามเพิ่มเติมจนครอบคลุมนั้น ส่งผลให้ผู้เรียนมีผลการสอบปลายภาคดีกว่าการเรียนทบทวนกว่าร้อยละ 13 และแม้ว่าผู้เรียนที่สรุปการเรียนด้วยการตั้งคำถามและหาคำตอบด้วยตัวเองจะมีผลสอบปลายภาคในข้อที่เกี่ยวข้องกับบทเรียนไม่ต่างกับกลุ่มที่ใช้การทดสอบย่อยท้ายบทมากนัก แต่กลับมีผลการเรียนรู้ที่สูงกว่าอย่างเห็นได้ชัดในข้อคำถามประเภทประยุกต์ใช้ จากการศึกษานี้จึงสรุปได้ว่าการเรียนทบทวน โดยเฉพาะการเน้นคำ ขีดเส้นใต้คำสำคัญนั้นไม่เป็นผลดีต่อการเรียนรู้ที่มีความหมายต่อชีวิตของนักเรียนอีกต่อไปแล้ว แต่การฝึกให้นักเรียนเป็นผู้ตั้งคำถามอย่างรอบด้านและเกิดการเรียนรู้อย่างลึกซึ้งก็เป็นทักษะที่คุณครูสามารถช่วยให้นักเรียนเรียนรู้ได้อย่างมีความหมายและยิ่งยืนได้มากกว่า 7.อ่านเยอะแค่ไหนก็ไม่ได้ส่งผลต่อการอ่านออกเขียนได้ ถ้าไม่ได้อ่านอย่างเข้าใจ การศึกษาเกี่ยวกับหลักสูตรการสอนเพื่อการอ่านออกเขียนได้ในปี 2020 เป็นหนึ่งในงานวิจัยที่สั่นสะเทือนความเชื่อเดิมในการจัดการเรียนการสอนเพื่อการรู้หนังสือ หรือการอ่านออกเขียนได้ที่มีมากว่า 40 ของสหรัฐอเมริกาที่มีเทคนิคการสอนที่เน้นการอ่านบทความจำนวนมากและอ่านออกเสียงเพื่อให้เรียนรู้คำและเขียนคำได้ แท้ที่จริงกลับทำให้เด็ก ๆ เรียนรู้คำโดยไม่เข้าใจและนำไปใช้ไม่ได้ หรือแม้กระทั่งจดจำในการเขียนไม่ได้ด้วยซ้ำ อย่างไรก็ตามในการศึกษานี้ได้พบแง่มุมที่จะช่วยพัฒนาการรู้หนังสือให้อ่านออก เขียนได้ และเข้าใจ ด้วยการเรียนรู้ผ่านการอ่านร่วมกับสื่ออื่น ๆ เช่น ภาพประกอบ หรือเหตุการณ์ที่สร้างความเข้าใจในคำศัพท์ใหม่ ๆ ในบทเรียนนั้นมากกว่าเป็นแค่การอ่านออกเสียงหรือท่องจำอย่างเดียวเท่านั้น ที่จะช่วยให้เด็ก ๆ สามารถอ่านได้อย่างเข้าใจบริบท จดจำคำศัพท์และเขียนได้ด้วยความเข้าใจนั่นเอง 8.สร้างห้องเรียนเสมือนให้มีประสิทธิภาพด้วยการจัดระเบียบช่องทางการสื่อสาร ในปี 2020 ที่ทั่วโลกเผชิญสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ทำให้การเรียนการสอนออนไลน์เป็นเครื่องมือสำคัญในการจัดการเรียนรู้ให้ดำเนินต่อไปได้ภายใต้ภาวะวิกฤติเช่นนี้ โดยจากรายงานการศึกษาโดยมหาวิทยาลัย Georgia State ได้ชี้ประเด็นปัญหาสำคัญในการเรียนรู้ในห้องเรียนเสมือนนี้ที่ไม่ใช่แค่ว่านักเรียนเข้าถึงเทคโนโลยีได้ไหม แต่ระบบการจัดการเรียนรู้ทำให้เขาเข้าถึงบทเรียนได้แค่ไหน การจัดการช่องทางการสื่อสารและเรียนรู้ที่เข้าถึงง่ายและชัดเจนเป็นประเด็นที่จะช่วยให้การเรียนรู้ทางไกลของนักเรียนง่ายขึ้น ทั้งนี้รายงานดังกล่าวได้นำเสนอว่าบทเรียนที่ดีนั้นมี 4 องค์ประกอบ คือ 1) มีคำอธิบายชัดเจนและอ่านง่าย โดยไม่ควรตกแต่งเอกสารเกินความจำเป็น 2) มีช่องทางให้นักเรียนได้รับข้อเสนอแนะจากครูหรือเพื่อนร่วมชั้นเรียน 3) ใช้เกมหรือสถานการณ์จำลองเพื่อให้นักเรียนมีส่วนร่วมกับการเรียนอยู่เสมอ และ 4) มีช่องทางการเรียนรู้ที่เข้าถึงง่าย เอกสารมีที่อยู่ถาวร และสามารถสนับสนุนนักเรียนที่ประสบปัญหาทางเทคนิคได้ 9.การเรียน coding เกี่ยวข้องกับทักษะทางภาษามากกว่าคณิตศาสตร์ ความเชื่อดั้งเดิมว่าการเรียนรู้การเขียนคำสั่งโปรแกรมหรือ coding นั้นต้องใช้ทักษะทางการคำนวณเป็นหลัก แต่การศึกษาในปี 2020 กำลังท้าทายชุดความเชื่อนั้นโดยการทดลองกับบุคคลทั่วไปในวัยผู้ใหญ่ตอนต้น 36 คนที่ไม่เคยมีประสบการณ์เกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมมาอบรมการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วยภาษา Python เป็นเวลา 10 ครั้ง ครั้งละ 45 นาที ผลการศึกษาพบว่าผู้ที่เรียนรู้การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้นไม่ใช่ผู้ที่มีทักษะทางคณิตศาสตร์สูง แต่กลับเป็นผู้ที่มีทักษะทางภาษาที่เรียนรู้การ coding ได้ดีกว่าถึง 9 เท่าตัว การศึกษานี้ยังมีการกล่าวถึงข้อบังคับในการเรียนคณิตศาสตร์ขั้นสูงเพื่อผ่านเกณฑ์สำหรับการศึกษาการเขียนโปรแกรมด้วยว่าแทบไม่มีความจำเป็นในการใช้บทเรียนเหล่านั้นในการเขียนโปรแกรมเลย ดังนั้นจึงอาจถึงเวลาที่จะเกิดการทบทวนเกี่ยวกับเกณฑ์บังคับเหล่านี้เสียใหม่ 10.สอนอ่านเพื่อจับใจความสำคัญเพิ่มทักษะด้านการอ่านได้ไม่เท่าการอ่านในวิชาสังคมศึกษา การเรียนภาษาเพื่อความเข้าใจเนื้อหาด้วยการค้นหาประเด็นใจความสำคัญแล้วสรุปความอาจเป็นความพยายามที่ต้องทุ่มเทเวลาไปอย่างไม่คุ้มค่าอีกต่อไป เมื่องานวิจัยในปี 2020 ที่ศึกษาด้านการอ่านกับนักเรียนกว่า 18,000 คน ตั้งแต่เริ่มเรียนระดับอนุบาลจนกระทั่งประถมศึกษาปีที่ 5 การศึกษาระยะยาวนี้ค้นพบว่าแม้ว่านักเรียนส่วนใหญ่จะใช้เวลาเรียนภาษาในโรงเรียนมากกว่าวิชาสังคมศึกษา แต่การอ่านในวิชาสังคมศึกษากลับส่งผลดีด้านการพัฒนาทักษะด้านการอ่านจับประเด็นมากกว่าการเรียนภาษาด้านการอ่านโดยตรง ดังนั้นการเปิดโอกาสให้เด็ก ๆ ได้อ่านบทความเกี่ยวกับหน้าที่พลเมือง ประวัติศาสตร์ หรือกฎหมาย (ที่เกี่ยวข้องกับชีวิตของพวกเขา) นั้นเป็นกลวิธีส่งเสริมการอ่านที่มีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะเมื่อนักเรียนมีความรู้พื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่อ่านก็จะมีโอกาสที่จะอ่านจับใจความได้มากขึ้น รวมทั้งเป็นการพัฒนาการเรียนรู้ด้วยการดึงข้อมูลจากความทรงจำระยะยาวซึ่งทำให้เขามีพื้นที่ความทรงจำที่มากขึ้นในการอ่านเพื่อทำความเข้าใจและจับใจความได้ดียิ่งขึ้น ขอบคุณข้อมูลจาก – https://www.facebook.com/ESDCenterEduChula/ EZ Webmaster Related Posts เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ รวมบุคคลสำคัญของแต่ละมหาวิทยาลัยไทย มาให้ทุกคนได้รู้กัน !! ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา เปิดรอบ 5 รับตรงอิสระ เรียน 6 สาขา ถึง 20 มิ.ย.นี้ สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ “เปิดสถิติ TCAS66-68 : รอบ 1-3 ใครสมัครเยอะ ใครได้ที่เรียนเยอะที่สุด และ 10 คณะฮิตไม่เปลี่ยน!” Post navigation PREVIOUS Previous post: มทร.ธัญบุรี เปิดรับรอบสอบตรง วุฒิ ปวช. ปวส. เริ่ม 23 ม.ค.นี้!NEXT Next post: รมว.ศธ. ยันเปิดเรียนกำหนดเดิม 1 ก.พ.นี้ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI… ทุนดีดี เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster January 19, 2021 EZ Webmaster January 19, 2021 มาดู 10 ประเด็นเรียนรู้สำคัญของวงการศึกษาในปี 2020 ในปี 2563 ที่เพิ่งจบสิ้นไปในไม่กี่วันนี้ นับเป็นปีแห่งการเปลี่ยนแปลงที่เราต่างต้องปรับตัวครั้งสำคัญ อย่างไรก็ตามเราก็ไม่หยุดเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ เพื่อยืนยันความเชื่อในการจัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพและเท่าเทียมท่ามกลางวิกฤติหรือในช่วงเวลาปกติให้ได้ ทางเว็บไซต์ Edutopia ได้รวมรวมบทเรียนสำคัญที่เกิดขึ้นในปี 2020 ที่ศูนย์วิจัยฯ นำมาเสนอดังนี้ 1.เรียนรู้คำศัพท์ใหม่ ๆ ให้ได้ผลดีด้วยการให้เด็ก ๆ เป็นตัวแสดงแทน จากการศึกษาเกี่ยวกับการจดจำคำศัพท์ในการเรียนภาษากับนักเรียนอายุ 8 ขวบ นักวิจัยขอให้เด็ก ๆ แสดงท่าทางเกี่ยวกับคำศัพท์ใหม่ เช่น ทำมือเป็นเครื่องบินเมื่อเรียนรู้เกี่ยวกับคำนั้น โดยเมื่อผ่านไปหลายเดือนก็พบว่านักเรียนสามารถเรียนรู้และจดจำคำศัพท์ได้ดีขึ้นกว่า 2 เท่ามากกว่าการฟังหรือท่องจำอย่างเดียว นอกจากนี้นักวิจัยยังพบว่าการดูภาพขณะฟังคำศัพท์ก็ได้ผลลัพธ์ที่ดีเช่นกัน แต่ได้ผลน้อยกว่าการให้เด็ก ๆ ได้แสดงท่าทางเกี่ยวกับคำศัพท์เหล่านั้น อย่างไรก็ตามมันก็เป็นเครื่องมือที่จะช่วยให้คุณครูได้กระตุ้นการเรียนรู้คำศัพท์ด้วยวิธีต่าง ๆ เช่น วาดภาพเกี่ยวกับคำศัพท์นั้น หรือการจับคู่รูปภาพที่เกี่ยวข้อง 2.การเขียนด้วยมือสร้างการเรียนรู้ได้ดีกว่า จากการวิจัยในอดีตได้มีการศึกษาแล้วว่าทักษะการอ่านจะพัฒนาได้ดีเมื่อเด็ก ๆ ฝึกเขียนจดหมายด้วยลายมือตัวเองมากกว่าพิมพ์แล้วปริ้นท์ออกมาอ่าน ซึ่งยืนยันด้วยงานวิจัยในปี 2020 ที่นักวิทยาศาสตร์ทางสมองได้ทำการศึกษาเรียนรู้ของนักเรียนเกรด 7 (มัธยมศึกษาปีที่ 1) ด้วยการทดสอบทางสมองขณะที่เด็ก ๆ กำลังเขียน วาดรูป และพิมพ์บนแป้นพิมพ์ พบว่าสมองของนักเรียนมีการส่งสัญญาณประสาทที่บ่งชี้ึการเรียนรู้อย่างลึกซึ้งขณะทำการเขียนและการวาดภาพ ซึ่งนักวิจัยก็ได้เพิ่มเติมว่าการได้เคลื่อนไหวมือผ่านการวาดหรือเขียนจะกระตุ้นการรับรู้ของสมองได้ดีกว่า แต่ก็ปฏิเสธไม่ได้ว่าทักษะทางเทคโนโลยีก็เป็นสิ่งสำคัญที่ต้องฝึกฝนเช่นกัน ตลอดจนการใช้เทคโนโลยีเพื่อช่วยเหลือด้านการเรียนรู้สำหรับเด็กนักเรียนที่มีภาวะบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านการสะกดคำ (dyslexia) ที่ทำให้เขาเรียนรู้ได้ดีกว่าด้วย 3.คะแนนสูงกลับแปรผันทางลบต่อการความสำเร็จการศึกษา จากการศึกษาผลการทดสอบ ACT ในประเทศสหรัฐอเมริกาที่ใช้เป็นเกณฑ์ในการรับเข้ามหาวิทยาลัยเช่นเดียวกับการทดสอบ SAT นั้น พบว่านักเรียนที่มีผลสอบเข้ามหาวิทยาลัยในเกณฑ์สูงกลับมีความสามารถในการฝ่าฝันความยากลำบากในการเรียนมหาวิทยาลัยได้ต่ำกว่า ขณะที่ผลการเรียนในระดับมัธยมปลายกลับเป็นตัวแปรที่ชี้ความสำเร็จของนักเรียนได้มากกว่า นั่นเพราะบ่งบอกถึงทักษะการกำกับตนเองและจัดการเวลาในการเรียนที่เป็นปัจจัยสำคัญในการเรียนมหาวิทยาลัย หากมองย้อนมายังกรณีของประเทศไทย ก็พูดได้ยากว่าผลการเรียนตอนเรียนมัธยมจะเป็นสิ่งบ่งชี้ความสามารถในการเรียนในระดับมหาวิทยาลัยได้ดีกว่าหรือไม่ เพราะเรายังคงมีคำถามเกี่ยวกับมาตรฐานการให้เกรดที่ยังไม่เป็นมาตรฐานระหว่างโรงเรียนต่างขนาดและต่างพื้นที่ด้วยเช่นกัน 4.วางเกณฑ์การประเมินแบบรูบริก (rubric) ช่วยให้ครูลดอคติที่เกิดขึ้นอย่างไม่ตั้งใจ เป็นที่เข้าใจกันดีว่าเมื่อครูมีเกณฑ์มาตรฐานในการประเมินที่ชัดเจนและตั้งมั่นอยู่กับเกณฑ์มาตรฐานนั้น จะทำให้การพิจารณาคะแนนเที่ยงธรรมมากขึ้น โดยจากการศึกษา คุณครูกว่า 1,500 คนในการประเมินงานเขียนของนักเรียนเกรด 2 (ประมาณประถมศึกษาปีที่ 2) พบว่าคุณครูมักให้คะแนนนักเรียนที่มีชื่อว่า Connor ง่ายกว่านักเรียนคนอื่น ๆ โดยไม่รู้ตัว แต่เมื่อคุณครูมีเกณฑ์ที่ชัดเจน เช่น การระบุว่านักเรียนมีการเขียนบรรยายได้ครบถ้วนชัดเจน ก็ทำให้เกิดมาตรฐานที่ชัดเจนมากยิ่งขึ้น ถึงแม้ว่าการประเมินอาจเป็นเรื่องที่คุณครูทำโดยเคยชินจนรู้สึกว่ามีแค่เกณฑ์หลวม ๆ ก็ได้ แต่หากว่าหลายครั้ง “ชื่อ” ของนักเรียนก็อาจส่งผลต่อการประเมินได้เช่นกัน มันคงจะดีขึ้นมากหากคุณครูเสียเวลาขึ้นสักนิดในการระบุเกณฑ์ที่ชัดเจนและสมเหตุสมผลเพื่อให้คะแนนสามารถเกณฑ์มาตรฐานในการสะท้อนผลการเรียนรู้ให้แก่นักเรียนได้ 5.เมื่อโรงไฟฟ้าถ่านหินปิดตัวลงกลับส่งผลต่อการเรียนรู้อย่างไม่น่าเชื่อ การตีพิมพ์ผลการศึกษาในปี 2020 เกี่ยวกับผลของการปิดโรงไฟฟ้าถ่านหินในพื้นที่เมืองชิคาโกต่ออัตราการขาดเรียนของนักเรียนในโรงเรียนพื้นที่ใกล้เคียงโรงไฟฟ้าที่เกี่ยวข้องกับอาการหอบหืด พบว่านักเรียนมีอัตราการมาเรียนเพิ่มมากขึ้น การศึกษานี้เป็นภาพสะท้อนสำคัญว่าปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม คุณภาพอากาศ อัตราอาชญากรรมในพื้นที่ แม้กระทั่งมลภาวะทางเสียง เป็นตัวแปรสำคัญที่ส่งผลต่อความพร้อมและคุณภาพในการเรียนรู้ของเด็ก ๆ แม้แต่ในประเทศสหรัฐอเมริกาเองก็มีเด็กกว่า 2.3 ล้านที่เข้าเรียนในโรงเรียนซึ่งตั้งอยู่ห่างจากโรงไฟฟ้าถ่านหินไม่เกิน 10 กิโลเมตร และมันหมายถึงค่าเสียโอกาสที่จะเกิดขึ้นกับผู้คนในอนาคต ความเท่าเทียมทางการศึกษาจึงไม่ได้หยุดอยู่แค่รั้วโรงเรียน หากแต่ช่องว่างแห่งความสำเร็จในชีวิตเป็นสิ่งที่อยู่ในช่องว่างแห่งความเท่าเทียมที่หยั่งรากลึกในช่วงปีแรก ๆ ของชีวิต ดังนั้นมันเป็นไปไม่ได้เลยที่เราจะทลายความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาโดยไม่เผชิญหน้ากับความไม่เท่าเทียมในเมือง เขตพื้นที่อยู่อาศัยของเรา ตลอดจนที่หลังบ้านของเราเอง 6.นักเรียนที่ตั้งคำถามที่ดี คือผู้ที่เรียนรู้ได้ดียิ่งกว่า จากการศึกษาเกี่ยวกับการจดจำการเรียนรู้ในระยะยาวของนักศึกษาระดับมหาวิทยาลัย โดยการให้ตั้งคำถามเกี่ยวกับบทเรียน การทดสอบย่อยหลังบทเรียน และการเรียนทบทวน พบว่าการสรุปการเรียนรู้โดยการฝึกให้ผู้เรียนตั้งคำถามจากบทเรียนแล้วผู้สอนชี้ประเด็นให้เกิดการตั้งคำถามเพิ่มเติมจนครอบคลุมนั้น ส่งผลให้ผู้เรียนมีผลการสอบปลายภาคดีกว่าการเรียนทบทวนกว่าร้อยละ 13 และแม้ว่าผู้เรียนที่สรุปการเรียนด้วยการตั้งคำถามและหาคำตอบด้วยตัวเองจะมีผลสอบปลายภาคในข้อที่เกี่ยวข้องกับบทเรียนไม่ต่างกับกลุ่มที่ใช้การทดสอบย่อยท้ายบทมากนัก แต่กลับมีผลการเรียนรู้ที่สูงกว่าอย่างเห็นได้ชัดในข้อคำถามประเภทประยุกต์ใช้ จากการศึกษานี้จึงสรุปได้ว่าการเรียนทบทวน โดยเฉพาะการเน้นคำ ขีดเส้นใต้คำสำคัญนั้นไม่เป็นผลดีต่อการเรียนรู้ที่มีความหมายต่อชีวิตของนักเรียนอีกต่อไปแล้ว แต่การฝึกให้นักเรียนเป็นผู้ตั้งคำถามอย่างรอบด้านและเกิดการเรียนรู้อย่างลึกซึ้งก็เป็นทักษะที่คุณครูสามารถช่วยให้นักเรียนเรียนรู้ได้อย่างมีความหมายและยิ่งยืนได้มากกว่า 7.อ่านเยอะแค่ไหนก็ไม่ได้ส่งผลต่อการอ่านออกเขียนได้ ถ้าไม่ได้อ่านอย่างเข้าใจ การศึกษาเกี่ยวกับหลักสูตรการสอนเพื่อการอ่านออกเขียนได้ในปี 2020 เป็นหนึ่งในงานวิจัยที่สั่นสะเทือนความเชื่อเดิมในการจัดการเรียนการสอนเพื่อการรู้หนังสือ หรือการอ่านออกเขียนได้ที่มีมากว่า 40 ของสหรัฐอเมริกาที่มีเทคนิคการสอนที่เน้นการอ่านบทความจำนวนมากและอ่านออกเสียงเพื่อให้เรียนรู้คำและเขียนคำได้ แท้ที่จริงกลับทำให้เด็ก ๆ เรียนรู้คำโดยไม่เข้าใจและนำไปใช้ไม่ได้ หรือแม้กระทั่งจดจำในการเขียนไม่ได้ด้วยซ้ำ อย่างไรก็ตามในการศึกษานี้ได้พบแง่มุมที่จะช่วยพัฒนาการรู้หนังสือให้อ่านออก เขียนได้ และเข้าใจ ด้วยการเรียนรู้ผ่านการอ่านร่วมกับสื่ออื่น ๆ เช่น ภาพประกอบ หรือเหตุการณ์ที่สร้างความเข้าใจในคำศัพท์ใหม่ ๆ ในบทเรียนนั้นมากกว่าเป็นแค่การอ่านออกเสียงหรือท่องจำอย่างเดียวเท่านั้น ที่จะช่วยให้เด็ก ๆ สามารถอ่านได้อย่างเข้าใจบริบท จดจำคำศัพท์และเขียนได้ด้วยความเข้าใจนั่นเอง 8.สร้างห้องเรียนเสมือนให้มีประสิทธิภาพด้วยการจัดระเบียบช่องทางการสื่อสาร ในปี 2020 ที่ทั่วโลกเผชิญสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ทำให้การเรียนการสอนออนไลน์เป็นเครื่องมือสำคัญในการจัดการเรียนรู้ให้ดำเนินต่อไปได้ภายใต้ภาวะวิกฤติเช่นนี้ โดยจากรายงานการศึกษาโดยมหาวิทยาลัย Georgia State ได้ชี้ประเด็นปัญหาสำคัญในการเรียนรู้ในห้องเรียนเสมือนนี้ที่ไม่ใช่แค่ว่านักเรียนเข้าถึงเทคโนโลยีได้ไหม แต่ระบบการจัดการเรียนรู้ทำให้เขาเข้าถึงบทเรียนได้แค่ไหน การจัดการช่องทางการสื่อสารและเรียนรู้ที่เข้าถึงง่ายและชัดเจนเป็นประเด็นที่จะช่วยให้การเรียนรู้ทางไกลของนักเรียนง่ายขึ้น ทั้งนี้รายงานดังกล่าวได้นำเสนอว่าบทเรียนที่ดีนั้นมี 4 องค์ประกอบ คือ 1) มีคำอธิบายชัดเจนและอ่านง่าย โดยไม่ควรตกแต่งเอกสารเกินความจำเป็น 2) มีช่องทางให้นักเรียนได้รับข้อเสนอแนะจากครูหรือเพื่อนร่วมชั้นเรียน 3) ใช้เกมหรือสถานการณ์จำลองเพื่อให้นักเรียนมีส่วนร่วมกับการเรียนอยู่เสมอ และ 4) มีช่องทางการเรียนรู้ที่เข้าถึงง่าย เอกสารมีที่อยู่ถาวร และสามารถสนับสนุนนักเรียนที่ประสบปัญหาทางเทคนิคได้ 9.การเรียน coding เกี่ยวข้องกับทักษะทางภาษามากกว่าคณิตศาสตร์ ความเชื่อดั้งเดิมว่าการเรียนรู้การเขียนคำสั่งโปรแกรมหรือ coding นั้นต้องใช้ทักษะทางการคำนวณเป็นหลัก แต่การศึกษาในปี 2020 กำลังท้าทายชุดความเชื่อนั้นโดยการทดลองกับบุคคลทั่วไปในวัยผู้ใหญ่ตอนต้น 36 คนที่ไม่เคยมีประสบการณ์เกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมมาอบรมการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วยภาษา Python เป็นเวลา 10 ครั้ง ครั้งละ 45 นาที ผลการศึกษาพบว่าผู้ที่เรียนรู้การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้นไม่ใช่ผู้ที่มีทักษะทางคณิตศาสตร์สูง แต่กลับเป็นผู้ที่มีทักษะทางภาษาที่เรียนรู้การ coding ได้ดีกว่าถึง 9 เท่าตัว การศึกษานี้ยังมีการกล่าวถึงข้อบังคับในการเรียนคณิตศาสตร์ขั้นสูงเพื่อผ่านเกณฑ์สำหรับการศึกษาการเขียนโปรแกรมด้วยว่าแทบไม่มีความจำเป็นในการใช้บทเรียนเหล่านั้นในการเขียนโปรแกรมเลย ดังนั้นจึงอาจถึงเวลาที่จะเกิดการทบทวนเกี่ยวกับเกณฑ์บังคับเหล่านี้เสียใหม่ 10.สอนอ่านเพื่อจับใจความสำคัญเพิ่มทักษะด้านการอ่านได้ไม่เท่าการอ่านในวิชาสังคมศึกษา การเรียนภาษาเพื่อความเข้าใจเนื้อหาด้วยการค้นหาประเด็นใจความสำคัญแล้วสรุปความอาจเป็นความพยายามที่ต้องทุ่มเทเวลาไปอย่างไม่คุ้มค่าอีกต่อไป เมื่องานวิจัยในปี 2020 ที่ศึกษาด้านการอ่านกับนักเรียนกว่า 18,000 คน ตั้งแต่เริ่มเรียนระดับอนุบาลจนกระทั่งประถมศึกษาปีที่ 5 การศึกษาระยะยาวนี้ค้นพบว่าแม้ว่านักเรียนส่วนใหญ่จะใช้เวลาเรียนภาษาในโรงเรียนมากกว่าวิชาสังคมศึกษา แต่การอ่านในวิชาสังคมศึกษากลับส่งผลดีด้านการพัฒนาทักษะด้านการอ่านจับประเด็นมากกว่าการเรียนภาษาด้านการอ่านโดยตรง ดังนั้นการเปิดโอกาสให้เด็ก ๆ ได้อ่านบทความเกี่ยวกับหน้าที่พลเมือง ประวัติศาสตร์ หรือกฎหมาย (ที่เกี่ยวข้องกับชีวิตของพวกเขา) นั้นเป็นกลวิธีส่งเสริมการอ่านที่มีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะเมื่อนักเรียนมีความรู้พื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่อ่านก็จะมีโอกาสที่จะอ่านจับใจความได้มากขึ้น รวมทั้งเป็นการพัฒนาการเรียนรู้ด้วยการดึงข้อมูลจากความทรงจำระยะยาวซึ่งทำให้เขามีพื้นที่ความทรงจำที่มากขึ้นในการอ่านเพื่อทำความเข้าใจและจับใจความได้ดียิ่งขึ้น ขอบคุณข้อมูลจาก – https://www.facebook.com/ESDCenterEduChula/ EZ Webmaster Related Posts เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ รวมบุคคลสำคัญของแต่ละมหาวิทยาลัยไทย มาให้ทุกคนได้รู้กัน !! ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา เปิดรอบ 5 รับตรงอิสระ เรียน 6 สาขา ถึง 20 มิ.ย.นี้ สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ “เปิดสถิติ TCAS66-68 : รอบ 1-3 ใครสมัครเยอะ ใครได้ที่เรียนเยอะที่สุด และ 10 คณะฮิตไม่เปลี่ยน!” Post navigation PREVIOUS Previous post: มทร.ธัญบุรี เปิดรับรอบสอบตรง วุฒิ ปวช. ปวส. เริ่ม 23 ม.ค.นี้!NEXT Next post: รมว.ศธ. ยันเปิดเรียนกำหนดเดิม 1 ก.พ.นี้ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI…
รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI…
เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster January 19, 2021 EZ Webmaster January 19, 2021 มาดู 10 ประเด็นเรียนรู้สำคัญของวงการศึกษาในปี 2020 ในปี 2563 ที่เพิ่งจบสิ้นไปในไม่กี่วันนี้ นับเป็นปีแห่งการเปลี่ยนแปลงที่เราต่างต้องปรับตัวครั้งสำคัญ อย่างไรก็ตามเราก็ไม่หยุดเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ เพื่อยืนยันความเชื่อในการจัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพและเท่าเทียมท่ามกลางวิกฤติหรือในช่วงเวลาปกติให้ได้ ทางเว็บไซต์ Edutopia ได้รวมรวมบทเรียนสำคัญที่เกิดขึ้นในปี 2020 ที่ศูนย์วิจัยฯ นำมาเสนอดังนี้ 1.เรียนรู้คำศัพท์ใหม่ ๆ ให้ได้ผลดีด้วยการให้เด็ก ๆ เป็นตัวแสดงแทน จากการศึกษาเกี่ยวกับการจดจำคำศัพท์ในการเรียนภาษากับนักเรียนอายุ 8 ขวบ นักวิจัยขอให้เด็ก ๆ แสดงท่าทางเกี่ยวกับคำศัพท์ใหม่ เช่น ทำมือเป็นเครื่องบินเมื่อเรียนรู้เกี่ยวกับคำนั้น โดยเมื่อผ่านไปหลายเดือนก็พบว่านักเรียนสามารถเรียนรู้และจดจำคำศัพท์ได้ดีขึ้นกว่า 2 เท่ามากกว่าการฟังหรือท่องจำอย่างเดียว นอกจากนี้นักวิจัยยังพบว่าการดูภาพขณะฟังคำศัพท์ก็ได้ผลลัพธ์ที่ดีเช่นกัน แต่ได้ผลน้อยกว่าการให้เด็ก ๆ ได้แสดงท่าทางเกี่ยวกับคำศัพท์เหล่านั้น อย่างไรก็ตามมันก็เป็นเครื่องมือที่จะช่วยให้คุณครูได้กระตุ้นการเรียนรู้คำศัพท์ด้วยวิธีต่าง ๆ เช่น วาดภาพเกี่ยวกับคำศัพท์นั้น หรือการจับคู่รูปภาพที่เกี่ยวข้อง 2.การเขียนด้วยมือสร้างการเรียนรู้ได้ดีกว่า จากการวิจัยในอดีตได้มีการศึกษาแล้วว่าทักษะการอ่านจะพัฒนาได้ดีเมื่อเด็ก ๆ ฝึกเขียนจดหมายด้วยลายมือตัวเองมากกว่าพิมพ์แล้วปริ้นท์ออกมาอ่าน ซึ่งยืนยันด้วยงานวิจัยในปี 2020 ที่นักวิทยาศาสตร์ทางสมองได้ทำการศึกษาเรียนรู้ของนักเรียนเกรด 7 (มัธยมศึกษาปีที่ 1) ด้วยการทดสอบทางสมองขณะที่เด็ก ๆ กำลังเขียน วาดรูป และพิมพ์บนแป้นพิมพ์ พบว่าสมองของนักเรียนมีการส่งสัญญาณประสาทที่บ่งชี้ึการเรียนรู้อย่างลึกซึ้งขณะทำการเขียนและการวาดภาพ ซึ่งนักวิจัยก็ได้เพิ่มเติมว่าการได้เคลื่อนไหวมือผ่านการวาดหรือเขียนจะกระตุ้นการรับรู้ของสมองได้ดีกว่า แต่ก็ปฏิเสธไม่ได้ว่าทักษะทางเทคโนโลยีก็เป็นสิ่งสำคัญที่ต้องฝึกฝนเช่นกัน ตลอดจนการใช้เทคโนโลยีเพื่อช่วยเหลือด้านการเรียนรู้สำหรับเด็กนักเรียนที่มีภาวะบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านการสะกดคำ (dyslexia) ที่ทำให้เขาเรียนรู้ได้ดีกว่าด้วย 3.คะแนนสูงกลับแปรผันทางลบต่อการความสำเร็จการศึกษา จากการศึกษาผลการทดสอบ ACT ในประเทศสหรัฐอเมริกาที่ใช้เป็นเกณฑ์ในการรับเข้ามหาวิทยาลัยเช่นเดียวกับการทดสอบ SAT นั้น พบว่านักเรียนที่มีผลสอบเข้ามหาวิทยาลัยในเกณฑ์สูงกลับมีความสามารถในการฝ่าฝันความยากลำบากในการเรียนมหาวิทยาลัยได้ต่ำกว่า ขณะที่ผลการเรียนในระดับมัธยมปลายกลับเป็นตัวแปรที่ชี้ความสำเร็จของนักเรียนได้มากกว่า นั่นเพราะบ่งบอกถึงทักษะการกำกับตนเองและจัดการเวลาในการเรียนที่เป็นปัจจัยสำคัญในการเรียนมหาวิทยาลัย หากมองย้อนมายังกรณีของประเทศไทย ก็พูดได้ยากว่าผลการเรียนตอนเรียนมัธยมจะเป็นสิ่งบ่งชี้ความสามารถในการเรียนในระดับมหาวิทยาลัยได้ดีกว่าหรือไม่ เพราะเรายังคงมีคำถามเกี่ยวกับมาตรฐานการให้เกรดที่ยังไม่เป็นมาตรฐานระหว่างโรงเรียนต่างขนาดและต่างพื้นที่ด้วยเช่นกัน 4.วางเกณฑ์การประเมินแบบรูบริก (rubric) ช่วยให้ครูลดอคติที่เกิดขึ้นอย่างไม่ตั้งใจ เป็นที่เข้าใจกันดีว่าเมื่อครูมีเกณฑ์มาตรฐานในการประเมินที่ชัดเจนและตั้งมั่นอยู่กับเกณฑ์มาตรฐานนั้น จะทำให้การพิจารณาคะแนนเที่ยงธรรมมากขึ้น โดยจากการศึกษา คุณครูกว่า 1,500 คนในการประเมินงานเขียนของนักเรียนเกรด 2 (ประมาณประถมศึกษาปีที่ 2) พบว่าคุณครูมักให้คะแนนนักเรียนที่มีชื่อว่า Connor ง่ายกว่านักเรียนคนอื่น ๆ โดยไม่รู้ตัว แต่เมื่อคุณครูมีเกณฑ์ที่ชัดเจน เช่น การระบุว่านักเรียนมีการเขียนบรรยายได้ครบถ้วนชัดเจน ก็ทำให้เกิดมาตรฐานที่ชัดเจนมากยิ่งขึ้น ถึงแม้ว่าการประเมินอาจเป็นเรื่องที่คุณครูทำโดยเคยชินจนรู้สึกว่ามีแค่เกณฑ์หลวม ๆ ก็ได้ แต่หากว่าหลายครั้ง “ชื่อ” ของนักเรียนก็อาจส่งผลต่อการประเมินได้เช่นกัน มันคงจะดีขึ้นมากหากคุณครูเสียเวลาขึ้นสักนิดในการระบุเกณฑ์ที่ชัดเจนและสมเหตุสมผลเพื่อให้คะแนนสามารถเกณฑ์มาตรฐานในการสะท้อนผลการเรียนรู้ให้แก่นักเรียนได้ 5.เมื่อโรงไฟฟ้าถ่านหินปิดตัวลงกลับส่งผลต่อการเรียนรู้อย่างไม่น่าเชื่อ การตีพิมพ์ผลการศึกษาในปี 2020 เกี่ยวกับผลของการปิดโรงไฟฟ้าถ่านหินในพื้นที่เมืองชิคาโกต่ออัตราการขาดเรียนของนักเรียนในโรงเรียนพื้นที่ใกล้เคียงโรงไฟฟ้าที่เกี่ยวข้องกับอาการหอบหืด พบว่านักเรียนมีอัตราการมาเรียนเพิ่มมากขึ้น การศึกษานี้เป็นภาพสะท้อนสำคัญว่าปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม คุณภาพอากาศ อัตราอาชญากรรมในพื้นที่ แม้กระทั่งมลภาวะทางเสียง เป็นตัวแปรสำคัญที่ส่งผลต่อความพร้อมและคุณภาพในการเรียนรู้ของเด็ก ๆ แม้แต่ในประเทศสหรัฐอเมริกาเองก็มีเด็กกว่า 2.3 ล้านที่เข้าเรียนในโรงเรียนซึ่งตั้งอยู่ห่างจากโรงไฟฟ้าถ่านหินไม่เกิน 10 กิโลเมตร และมันหมายถึงค่าเสียโอกาสที่จะเกิดขึ้นกับผู้คนในอนาคต ความเท่าเทียมทางการศึกษาจึงไม่ได้หยุดอยู่แค่รั้วโรงเรียน หากแต่ช่องว่างแห่งความสำเร็จในชีวิตเป็นสิ่งที่อยู่ในช่องว่างแห่งความเท่าเทียมที่หยั่งรากลึกในช่วงปีแรก ๆ ของชีวิต ดังนั้นมันเป็นไปไม่ได้เลยที่เราจะทลายความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาโดยไม่เผชิญหน้ากับความไม่เท่าเทียมในเมือง เขตพื้นที่อยู่อาศัยของเรา ตลอดจนที่หลังบ้านของเราเอง 6.นักเรียนที่ตั้งคำถามที่ดี คือผู้ที่เรียนรู้ได้ดียิ่งกว่า จากการศึกษาเกี่ยวกับการจดจำการเรียนรู้ในระยะยาวของนักศึกษาระดับมหาวิทยาลัย โดยการให้ตั้งคำถามเกี่ยวกับบทเรียน การทดสอบย่อยหลังบทเรียน และการเรียนทบทวน พบว่าการสรุปการเรียนรู้โดยการฝึกให้ผู้เรียนตั้งคำถามจากบทเรียนแล้วผู้สอนชี้ประเด็นให้เกิดการตั้งคำถามเพิ่มเติมจนครอบคลุมนั้น ส่งผลให้ผู้เรียนมีผลการสอบปลายภาคดีกว่าการเรียนทบทวนกว่าร้อยละ 13 และแม้ว่าผู้เรียนที่สรุปการเรียนด้วยการตั้งคำถามและหาคำตอบด้วยตัวเองจะมีผลสอบปลายภาคในข้อที่เกี่ยวข้องกับบทเรียนไม่ต่างกับกลุ่มที่ใช้การทดสอบย่อยท้ายบทมากนัก แต่กลับมีผลการเรียนรู้ที่สูงกว่าอย่างเห็นได้ชัดในข้อคำถามประเภทประยุกต์ใช้ จากการศึกษานี้จึงสรุปได้ว่าการเรียนทบทวน โดยเฉพาะการเน้นคำ ขีดเส้นใต้คำสำคัญนั้นไม่เป็นผลดีต่อการเรียนรู้ที่มีความหมายต่อชีวิตของนักเรียนอีกต่อไปแล้ว แต่การฝึกให้นักเรียนเป็นผู้ตั้งคำถามอย่างรอบด้านและเกิดการเรียนรู้อย่างลึกซึ้งก็เป็นทักษะที่คุณครูสามารถช่วยให้นักเรียนเรียนรู้ได้อย่างมีความหมายและยิ่งยืนได้มากกว่า 7.อ่านเยอะแค่ไหนก็ไม่ได้ส่งผลต่อการอ่านออกเขียนได้ ถ้าไม่ได้อ่านอย่างเข้าใจ การศึกษาเกี่ยวกับหลักสูตรการสอนเพื่อการอ่านออกเขียนได้ในปี 2020 เป็นหนึ่งในงานวิจัยที่สั่นสะเทือนความเชื่อเดิมในการจัดการเรียนการสอนเพื่อการรู้หนังสือ หรือการอ่านออกเขียนได้ที่มีมากว่า 40 ของสหรัฐอเมริกาที่มีเทคนิคการสอนที่เน้นการอ่านบทความจำนวนมากและอ่านออกเสียงเพื่อให้เรียนรู้คำและเขียนคำได้ แท้ที่จริงกลับทำให้เด็ก ๆ เรียนรู้คำโดยไม่เข้าใจและนำไปใช้ไม่ได้ หรือแม้กระทั่งจดจำในการเขียนไม่ได้ด้วยซ้ำ อย่างไรก็ตามในการศึกษานี้ได้พบแง่มุมที่จะช่วยพัฒนาการรู้หนังสือให้อ่านออก เขียนได้ และเข้าใจ ด้วยการเรียนรู้ผ่านการอ่านร่วมกับสื่ออื่น ๆ เช่น ภาพประกอบ หรือเหตุการณ์ที่สร้างความเข้าใจในคำศัพท์ใหม่ ๆ ในบทเรียนนั้นมากกว่าเป็นแค่การอ่านออกเสียงหรือท่องจำอย่างเดียวเท่านั้น ที่จะช่วยให้เด็ก ๆ สามารถอ่านได้อย่างเข้าใจบริบท จดจำคำศัพท์และเขียนได้ด้วยความเข้าใจนั่นเอง 8.สร้างห้องเรียนเสมือนให้มีประสิทธิภาพด้วยการจัดระเบียบช่องทางการสื่อสาร ในปี 2020 ที่ทั่วโลกเผชิญสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ทำให้การเรียนการสอนออนไลน์เป็นเครื่องมือสำคัญในการจัดการเรียนรู้ให้ดำเนินต่อไปได้ภายใต้ภาวะวิกฤติเช่นนี้ โดยจากรายงานการศึกษาโดยมหาวิทยาลัย Georgia State ได้ชี้ประเด็นปัญหาสำคัญในการเรียนรู้ในห้องเรียนเสมือนนี้ที่ไม่ใช่แค่ว่านักเรียนเข้าถึงเทคโนโลยีได้ไหม แต่ระบบการจัดการเรียนรู้ทำให้เขาเข้าถึงบทเรียนได้แค่ไหน การจัดการช่องทางการสื่อสารและเรียนรู้ที่เข้าถึงง่ายและชัดเจนเป็นประเด็นที่จะช่วยให้การเรียนรู้ทางไกลของนักเรียนง่ายขึ้น ทั้งนี้รายงานดังกล่าวได้นำเสนอว่าบทเรียนที่ดีนั้นมี 4 องค์ประกอบ คือ 1) มีคำอธิบายชัดเจนและอ่านง่าย โดยไม่ควรตกแต่งเอกสารเกินความจำเป็น 2) มีช่องทางให้นักเรียนได้รับข้อเสนอแนะจากครูหรือเพื่อนร่วมชั้นเรียน 3) ใช้เกมหรือสถานการณ์จำลองเพื่อให้นักเรียนมีส่วนร่วมกับการเรียนอยู่เสมอ และ 4) มีช่องทางการเรียนรู้ที่เข้าถึงง่าย เอกสารมีที่อยู่ถาวร และสามารถสนับสนุนนักเรียนที่ประสบปัญหาทางเทคนิคได้ 9.การเรียน coding เกี่ยวข้องกับทักษะทางภาษามากกว่าคณิตศาสตร์ ความเชื่อดั้งเดิมว่าการเรียนรู้การเขียนคำสั่งโปรแกรมหรือ coding นั้นต้องใช้ทักษะทางการคำนวณเป็นหลัก แต่การศึกษาในปี 2020 กำลังท้าทายชุดความเชื่อนั้นโดยการทดลองกับบุคคลทั่วไปในวัยผู้ใหญ่ตอนต้น 36 คนที่ไม่เคยมีประสบการณ์เกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมมาอบรมการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วยภาษา Python เป็นเวลา 10 ครั้ง ครั้งละ 45 นาที ผลการศึกษาพบว่าผู้ที่เรียนรู้การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้นไม่ใช่ผู้ที่มีทักษะทางคณิตศาสตร์สูง แต่กลับเป็นผู้ที่มีทักษะทางภาษาที่เรียนรู้การ coding ได้ดีกว่าถึง 9 เท่าตัว การศึกษานี้ยังมีการกล่าวถึงข้อบังคับในการเรียนคณิตศาสตร์ขั้นสูงเพื่อผ่านเกณฑ์สำหรับการศึกษาการเขียนโปรแกรมด้วยว่าแทบไม่มีความจำเป็นในการใช้บทเรียนเหล่านั้นในการเขียนโปรแกรมเลย ดังนั้นจึงอาจถึงเวลาที่จะเกิดการทบทวนเกี่ยวกับเกณฑ์บังคับเหล่านี้เสียใหม่ 10.สอนอ่านเพื่อจับใจความสำคัญเพิ่มทักษะด้านการอ่านได้ไม่เท่าการอ่านในวิชาสังคมศึกษา การเรียนภาษาเพื่อความเข้าใจเนื้อหาด้วยการค้นหาประเด็นใจความสำคัญแล้วสรุปความอาจเป็นความพยายามที่ต้องทุ่มเทเวลาไปอย่างไม่คุ้มค่าอีกต่อไป เมื่องานวิจัยในปี 2020 ที่ศึกษาด้านการอ่านกับนักเรียนกว่า 18,000 คน ตั้งแต่เริ่มเรียนระดับอนุบาลจนกระทั่งประถมศึกษาปีที่ 5 การศึกษาระยะยาวนี้ค้นพบว่าแม้ว่านักเรียนส่วนใหญ่จะใช้เวลาเรียนภาษาในโรงเรียนมากกว่าวิชาสังคมศึกษา แต่การอ่านในวิชาสังคมศึกษากลับส่งผลดีด้านการพัฒนาทักษะด้านการอ่านจับประเด็นมากกว่าการเรียนภาษาด้านการอ่านโดยตรง ดังนั้นการเปิดโอกาสให้เด็ก ๆ ได้อ่านบทความเกี่ยวกับหน้าที่พลเมือง ประวัติศาสตร์ หรือกฎหมาย (ที่เกี่ยวข้องกับชีวิตของพวกเขา) นั้นเป็นกลวิธีส่งเสริมการอ่านที่มีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะเมื่อนักเรียนมีความรู้พื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่อ่านก็จะมีโอกาสที่จะอ่านจับใจความได้มากขึ้น รวมทั้งเป็นการพัฒนาการเรียนรู้ด้วยการดึงข้อมูลจากความทรงจำระยะยาวซึ่งทำให้เขามีพื้นที่ความทรงจำที่มากขึ้นในการอ่านเพื่อทำความเข้าใจและจับใจความได้ดียิ่งขึ้น ขอบคุณข้อมูลจาก – https://www.facebook.com/ESDCenterEduChula/ EZ Webmaster Related Posts เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ รวมบุคคลสำคัญของแต่ละมหาวิทยาลัยไทย มาให้ทุกคนได้รู้กัน !! ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา เปิดรอบ 5 รับตรงอิสระ เรียน 6 สาขา ถึง 20 มิ.ย.นี้ สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ “เปิดสถิติ TCAS66-68 : รอบ 1-3 ใครสมัครเยอะ ใครได้ที่เรียนเยอะที่สุด และ 10 คณะฮิตไม่เปลี่ยน!” Post navigation PREVIOUS Previous post: มทร.ธัญบุรี เปิดรับรอบสอบตรง วุฒิ ปวช. ปวส. เริ่ม 23 ม.ค.นี้!NEXT Next post: รมว.ศธ. ยันเปิดเรียนกำหนดเดิม 1 ก.พ.นี้ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster January 19, 2021 EZ Webmaster January 19, 2021 มาดู 10 ประเด็นเรียนรู้สำคัญของวงการศึกษาในปี 2020 ในปี 2563 ที่เพิ่งจบสิ้นไปในไม่กี่วันนี้ นับเป็นปีแห่งการเปลี่ยนแปลงที่เราต่างต้องปรับตัวครั้งสำคัญ อย่างไรก็ตามเราก็ไม่หยุดเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ เพื่อยืนยันความเชื่อในการจัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพและเท่าเทียมท่ามกลางวิกฤติหรือในช่วงเวลาปกติให้ได้ ทางเว็บไซต์ Edutopia ได้รวมรวมบทเรียนสำคัญที่เกิดขึ้นในปี 2020 ที่ศูนย์วิจัยฯ นำมาเสนอดังนี้ 1.เรียนรู้คำศัพท์ใหม่ ๆ ให้ได้ผลดีด้วยการให้เด็ก ๆ เป็นตัวแสดงแทน จากการศึกษาเกี่ยวกับการจดจำคำศัพท์ในการเรียนภาษากับนักเรียนอายุ 8 ขวบ นักวิจัยขอให้เด็ก ๆ แสดงท่าทางเกี่ยวกับคำศัพท์ใหม่ เช่น ทำมือเป็นเครื่องบินเมื่อเรียนรู้เกี่ยวกับคำนั้น โดยเมื่อผ่านไปหลายเดือนก็พบว่านักเรียนสามารถเรียนรู้และจดจำคำศัพท์ได้ดีขึ้นกว่า 2 เท่ามากกว่าการฟังหรือท่องจำอย่างเดียว นอกจากนี้นักวิจัยยังพบว่าการดูภาพขณะฟังคำศัพท์ก็ได้ผลลัพธ์ที่ดีเช่นกัน แต่ได้ผลน้อยกว่าการให้เด็ก ๆ ได้แสดงท่าทางเกี่ยวกับคำศัพท์เหล่านั้น อย่างไรก็ตามมันก็เป็นเครื่องมือที่จะช่วยให้คุณครูได้กระตุ้นการเรียนรู้คำศัพท์ด้วยวิธีต่าง ๆ เช่น วาดภาพเกี่ยวกับคำศัพท์นั้น หรือการจับคู่รูปภาพที่เกี่ยวข้อง 2.การเขียนด้วยมือสร้างการเรียนรู้ได้ดีกว่า จากการวิจัยในอดีตได้มีการศึกษาแล้วว่าทักษะการอ่านจะพัฒนาได้ดีเมื่อเด็ก ๆ ฝึกเขียนจดหมายด้วยลายมือตัวเองมากกว่าพิมพ์แล้วปริ้นท์ออกมาอ่าน ซึ่งยืนยันด้วยงานวิจัยในปี 2020 ที่นักวิทยาศาสตร์ทางสมองได้ทำการศึกษาเรียนรู้ของนักเรียนเกรด 7 (มัธยมศึกษาปีที่ 1) ด้วยการทดสอบทางสมองขณะที่เด็ก ๆ กำลังเขียน วาดรูป และพิมพ์บนแป้นพิมพ์ พบว่าสมองของนักเรียนมีการส่งสัญญาณประสาทที่บ่งชี้ึการเรียนรู้อย่างลึกซึ้งขณะทำการเขียนและการวาดภาพ ซึ่งนักวิจัยก็ได้เพิ่มเติมว่าการได้เคลื่อนไหวมือผ่านการวาดหรือเขียนจะกระตุ้นการรับรู้ของสมองได้ดีกว่า แต่ก็ปฏิเสธไม่ได้ว่าทักษะทางเทคโนโลยีก็เป็นสิ่งสำคัญที่ต้องฝึกฝนเช่นกัน ตลอดจนการใช้เทคโนโลยีเพื่อช่วยเหลือด้านการเรียนรู้สำหรับเด็กนักเรียนที่มีภาวะบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านการสะกดคำ (dyslexia) ที่ทำให้เขาเรียนรู้ได้ดีกว่าด้วย 3.คะแนนสูงกลับแปรผันทางลบต่อการความสำเร็จการศึกษา จากการศึกษาผลการทดสอบ ACT ในประเทศสหรัฐอเมริกาที่ใช้เป็นเกณฑ์ในการรับเข้ามหาวิทยาลัยเช่นเดียวกับการทดสอบ SAT นั้น พบว่านักเรียนที่มีผลสอบเข้ามหาวิทยาลัยในเกณฑ์สูงกลับมีความสามารถในการฝ่าฝันความยากลำบากในการเรียนมหาวิทยาลัยได้ต่ำกว่า ขณะที่ผลการเรียนในระดับมัธยมปลายกลับเป็นตัวแปรที่ชี้ความสำเร็จของนักเรียนได้มากกว่า นั่นเพราะบ่งบอกถึงทักษะการกำกับตนเองและจัดการเวลาในการเรียนที่เป็นปัจจัยสำคัญในการเรียนมหาวิทยาลัย หากมองย้อนมายังกรณีของประเทศไทย ก็พูดได้ยากว่าผลการเรียนตอนเรียนมัธยมจะเป็นสิ่งบ่งชี้ความสามารถในการเรียนในระดับมหาวิทยาลัยได้ดีกว่าหรือไม่ เพราะเรายังคงมีคำถามเกี่ยวกับมาตรฐานการให้เกรดที่ยังไม่เป็นมาตรฐานระหว่างโรงเรียนต่างขนาดและต่างพื้นที่ด้วยเช่นกัน 4.วางเกณฑ์การประเมินแบบรูบริก (rubric) ช่วยให้ครูลดอคติที่เกิดขึ้นอย่างไม่ตั้งใจ เป็นที่เข้าใจกันดีว่าเมื่อครูมีเกณฑ์มาตรฐานในการประเมินที่ชัดเจนและตั้งมั่นอยู่กับเกณฑ์มาตรฐานนั้น จะทำให้การพิจารณาคะแนนเที่ยงธรรมมากขึ้น โดยจากการศึกษา คุณครูกว่า 1,500 คนในการประเมินงานเขียนของนักเรียนเกรด 2 (ประมาณประถมศึกษาปีที่ 2) พบว่าคุณครูมักให้คะแนนนักเรียนที่มีชื่อว่า Connor ง่ายกว่านักเรียนคนอื่น ๆ โดยไม่รู้ตัว แต่เมื่อคุณครูมีเกณฑ์ที่ชัดเจน เช่น การระบุว่านักเรียนมีการเขียนบรรยายได้ครบถ้วนชัดเจน ก็ทำให้เกิดมาตรฐานที่ชัดเจนมากยิ่งขึ้น ถึงแม้ว่าการประเมินอาจเป็นเรื่องที่คุณครูทำโดยเคยชินจนรู้สึกว่ามีแค่เกณฑ์หลวม ๆ ก็ได้ แต่หากว่าหลายครั้ง “ชื่อ” ของนักเรียนก็อาจส่งผลต่อการประเมินได้เช่นกัน มันคงจะดีขึ้นมากหากคุณครูเสียเวลาขึ้นสักนิดในการระบุเกณฑ์ที่ชัดเจนและสมเหตุสมผลเพื่อให้คะแนนสามารถเกณฑ์มาตรฐานในการสะท้อนผลการเรียนรู้ให้แก่นักเรียนได้ 5.เมื่อโรงไฟฟ้าถ่านหินปิดตัวลงกลับส่งผลต่อการเรียนรู้อย่างไม่น่าเชื่อ การตีพิมพ์ผลการศึกษาในปี 2020 เกี่ยวกับผลของการปิดโรงไฟฟ้าถ่านหินในพื้นที่เมืองชิคาโกต่ออัตราการขาดเรียนของนักเรียนในโรงเรียนพื้นที่ใกล้เคียงโรงไฟฟ้าที่เกี่ยวข้องกับอาการหอบหืด พบว่านักเรียนมีอัตราการมาเรียนเพิ่มมากขึ้น การศึกษานี้เป็นภาพสะท้อนสำคัญว่าปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม คุณภาพอากาศ อัตราอาชญากรรมในพื้นที่ แม้กระทั่งมลภาวะทางเสียง เป็นตัวแปรสำคัญที่ส่งผลต่อความพร้อมและคุณภาพในการเรียนรู้ของเด็ก ๆ แม้แต่ในประเทศสหรัฐอเมริกาเองก็มีเด็กกว่า 2.3 ล้านที่เข้าเรียนในโรงเรียนซึ่งตั้งอยู่ห่างจากโรงไฟฟ้าถ่านหินไม่เกิน 10 กิโลเมตร และมันหมายถึงค่าเสียโอกาสที่จะเกิดขึ้นกับผู้คนในอนาคต ความเท่าเทียมทางการศึกษาจึงไม่ได้หยุดอยู่แค่รั้วโรงเรียน หากแต่ช่องว่างแห่งความสำเร็จในชีวิตเป็นสิ่งที่อยู่ในช่องว่างแห่งความเท่าเทียมที่หยั่งรากลึกในช่วงปีแรก ๆ ของชีวิต ดังนั้นมันเป็นไปไม่ได้เลยที่เราจะทลายความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาโดยไม่เผชิญหน้ากับความไม่เท่าเทียมในเมือง เขตพื้นที่อยู่อาศัยของเรา ตลอดจนที่หลังบ้านของเราเอง 6.นักเรียนที่ตั้งคำถามที่ดี คือผู้ที่เรียนรู้ได้ดียิ่งกว่า จากการศึกษาเกี่ยวกับการจดจำการเรียนรู้ในระยะยาวของนักศึกษาระดับมหาวิทยาลัย โดยการให้ตั้งคำถามเกี่ยวกับบทเรียน การทดสอบย่อยหลังบทเรียน และการเรียนทบทวน พบว่าการสรุปการเรียนรู้โดยการฝึกให้ผู้เรียนตั้งคำถามจากบทเรียนแล้วผู้สอนชี้ประเด็นให้เกิดการตั้งคำถามเพิ่มเติมจนครอบคลุมนั้น ส่งผลให้ผู้เรียนมีผลการสอบปลายภาคดีกว่าการเรียนทบทวนกว่าร้อยละ 13 และแม้ว่าผู้เรียนที่สรุปการเรียนด้วยการตั้งคำถามและหาคำตอบด้วยตัวเองจะมีผลสอบปลายภาคในข้อที่เกี่ยวข้องกับบทเรียนไม่ต่างกับกลุ่มที่ใช้การทดสอบย่อยท้ายบทมากนัก แต่กลับมีผลการเรียนรู้ที่สูงกว่าอย่างเห็นได้ชัดในข้อคำถามประเภทประยุกต์ใช้ จากการศึกษานี้จึงสรุปได้ว่าการเรียนทบทวน โดยเฉพาะการเน้นคำ ขีดเส้นใต้คำสำคัญนั้นไม่เป็นผลดีต่อการเรียนรู้ที่มีความหมายต่อชีวิตของนักเรียนอีกต่อไปแล้ว แต่การฝึกให้นักเรียนเป็นผู้ตั้งคำถามอย่างรอบด้านและเกิดการเรียนรู้อย่างลึกซึ้งก็เป็นทักษะที่คุณครูสามารถช่วยให้นักเรียนเรียนรู้ได้อย่างมีความหมายและยิ่งยืนได้มากกว่า 7.อ่านเยอะแค่ไหนก็ไม่ได้ส่งผลต่อการอ่านออกเขียนได้ ถ้าไม่ได้อ่านอย่างเข้าใจ การศึกษาเกี่ยวกับหลักสูตรการสอนเพื่อการอ่านออกเขียนได้ในปี 2020 เป็นหนึ่งในงานวิจัยที่สั่นสะเทือนความเชื่อเดิมในการจัดการเรียนการสอนเพื่อการรู้หนังสือ หรือการอ่านออกเขียนได้ที่มีมากว่า 40 ของสหรัฐอเมริกาที่มีเทคนิคการสอนที่เน้นการอ่านบทความจำนวนมากและอ่านออกเสียงเพื่อให้เรียนรู้คำและเขียนคำได้ แท้ที่จริงกลับทำให้เด็ก ๆ เรียนรู้คำโดยไม่เข้าใจและนำไปใช้ไม่ได้ หรือแม้กระทั่งจดจำในการเขียนไม่ได้ด้วยซ้ำ อย่างไรก็ตามในการศึกษานี้ได้พบแง่มุมที่จะช่วยพัฒนาการรู้หนังสือให้อ่านออก เขียนได้ และเข้าใจ ด้วยการเรียนรู้ผ่านการอ่านร่วมกับสื่ออื่น ๆ เช่น ภาพประกอบ หรือเหตุการณ์ที่สร้างความเข้าใจในคำศัพท์ใหม่ ๆ ในบทเรียนนั้นมากกว่าเป็นแค่การอ่านออกเสียงหรือท่องจำอย่างเดียวเท่านั้น ที่จะช่วยให้เด็ก ๆ สามารถอ่านได้อย่างเข้าใจบริบท จดจำคำศัพท์และเขียนได้ด้วยความเข้าใจนั่นเอง 8.สร้างห้องเรียนเสมือนให้มีประสิทธิภาพด้วยการจัดระเบียบช่องทางการสื่อสาร ในปี 2020 ที่ทั่วโลกเผชิญสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ทำให้การเรียนการสอนออนไลน์เป็นเครื่องมือสำคัญในการจัดการเรียนรู้ให้ดำเนินต่อไปได้ภายใต้ภาวะวิกฤติเช่นนี้ โดยจากรายงานการศึกษาโดยมหาวิทยาลัย Georgia State ได้ชี้ประเด็นปัญหาสำคัญในการเรียนรู้ในห้องเรียนเสมือนนี้ที่ไม่ใช่แค่ว่านักเรียนเข้าถึงเทคโนโลยีได้ไหม แต่ระบบการจัดการเรียนรู้ทำให้เขาเข้าถึงบทเรียนได้แค่ไหน การจัดการช่องทางการสื่อสารและเรียนรู้ที่เข้าถึงง่ายและชัดเจนเป็นประเด็นที่จะช่วยให้การเรียนรู้ทางไกลของนักเรียนง่ายขึ้น ทั้งนี้รายงานดังกล่าวได้นำเสนอว่าบทเรียนที่ดีนั้นมี 4 องค์ประกอบ คือ 1) มีคำอธิบายชัดเจนและอ่านง่าย โดยไม่ควรตกแต่งเอกสารเกินความจำเป็น 2) มีช่องทางให้นักเรียนได้รับข้อเสนอแนะจากครูหรือเพื่อนร่วมชั้นเรียน 3) ใช้เกมหรือสถานการณ์จำลองเพื่อให้นักเรียนมีส่วนร่วมกับการเรียนอยู่เสมอ และ 4) มีช่องทางการเรียนรู้ที่เข้าถึงง่าย เอกสารมีที่อยู่ถาวร และสามารถสนับสนุนนักเรียนที่ประสบปัญหาทางเทคนิคได้ 9.การเรียน coding เกี่ยวข้องกับทักษะทางภาษามากกว่าคณิตศาสตร์ ความเชื่อดั้งเดิมว่าการเรียนรู้การเขียนคำสั่งโปรแกรมหรือ coding นั้นต้องใช้ทักษะทางการคำนวณเป็นหลัก แต่การศึกษาในปี 2020 กำลังท้าทายชุดความเชื่อนั้นโดยการทดลองกับบุคคลทั่วไปในวัยผู้ใหญ่ตอนต้น 36 คนที่ไม่เคยมีประสบการณ์เกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมมาอบรมการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วยภาษา Python เป็นเวลา 10 ครั้ง ครั้งละ 45 นาที ผลการศึกษาพบว่าผู้ที่เรียนรู้การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้นไม่ใช่ผู้ที่มีทักษะทางคณิตศาสตร์สูง แต่กลับเป็นผู้ที่มีทักษะทางภาษาที่เรียนรู้การ coding ได้ดีกว่าถึง 9 เท่าตัว การศึกษานี้ยังมีการกล่าวถึงข้อบังคับในการเรียนคณิตศาสตร์ขั้นสูงเพื่อผ่านเกณฑ์สำหรับการศึกษาการเขียนโปรแกรมด้วยว่าแทบไม่มีความจำเป็นในการใช้บทเรียนเหล่านั้นในการเขียนโปรแกรมเลย ดังนั้นจึงอาจถึงเวลาที่จะเกิดการทบทวนเกี่ยวกับเกณฑ์บังคับเหล่านี้เสียใหม่ 10.สอนอ่านเพื่อจับใจความสำคัญเพิ่มทักษะด้านการอ่านได้ไม่เท่าการอ่านในวิชาสังคมศึกษา การเรียนภาษาเพื่อความเข้าใจเนื้อหาด้วยการค้นหาประเด็นใจความสำคัญแล้วสรุปความอาจเป็นความพยายามที่ต้องทุ่มเทเวลาไปอย่างไม่คุ้มค่าอีกต่อไป เมื่องานวิจัยในปี 2020 ที่ศึกษาด้านการอ่านกับนักเรียนกว่า 18,000 คน ตั้งแต่เริ่มเรียนระดับอนุบาลจนกระทั่งประถมศึกษาปีที่ 5 การศึกษาระยะยาวนี้ค้นพบว่าแม้ว่านักเรียนส่วนใหญ่จะใช้เวลาเรียนภาษาในโรงเรียนมากกว่าวิชาสังคมศึกษา แต่การอ่านในวิชาสังคมศึกษากลับส่งผลดีด้านการพัฒนาทักษะด้านการอ่านจับประเด็นมากกว่าการเรียนภาษาด้านการอ่านโดยตรง ดังนั้นการเปิดโอกาสให้เด็ก ๆ ได้อ่านบทความเกี่ยวกับหน้าที่พลเมือง ประวัติศาสตร์ หรือกฎหมาย (ที่เกี่ยวข้องกับชีวิตของพวกเขา) นั้นเป็นกลวิธีส่งเสริมการอ่านที่มีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะเมื่อนักเรียนมีความรู้พื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่อ่านก็จะมีโอกาสที่จะอ่านจับใจความได้มากขึ้น รวมทั้งเป็นการพัฒนาการเรียนรู้ด้วยการดึงข้อมูลจากความทรงจำระยะยาวซึ่งทำให้เขามีพื้นที่ความทรงจำที่มากขึ้นในการอ่านเพื่อทำความเข้าใจและจับใจความได้ดียิ่งขึ้น ขอบคุณข้อมูลจาก – https://www.facebook.com/ESDCenterEduChula/ EZ Webmaster Related Posts เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ รวมบุคคลสำคัญของแต่ละมหาวิทยาลัยไทย มาให้ทุกคนได้รู้กัน !! ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา เปิดรอบ 5 รับตรงอิสระ เรียน 6 สาขา ถึง 20 มิ.ย.นี้ สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ “เปิดสถิติ TCAS66-68 : รอบ 1-3 ใครสมัครเยอะ ใครได้ที่เรียนเยอะที่สุด และ 10 คณะฮิตไม่เปลี่ยน!” Post navigation PREVIOUS Previous post: มทร.ธัญบุรี เปิดรับรอบสอบตรง วุฒิ ปวช. ปวส. เริ่ม 23 ม.ค.นี้!NEXT Next post: รมว.ศธ. ยันเปิดเรียนกำหนดเดิม 1 ก.พ.นี้ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ…
เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ…
คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster January 19, 2021 EZ Webmaster January 19, 2021 มาดู 10 ประเด็นเรียนรู้สำคัญของวงการศึกษาในปี 2020 ในปี 2563 ที่เพิ่งจบสิ้นไปในไม่กี่วันนี้ นับเป็นปีแห่งการเปลี่ยนแปลงที่เราต่างต้องปรับตัวครั้งสำคัญ อย่างไรก็ตามเราก็ไม่หยุดเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ เพื่อยืนยันความเชื่อในการจัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพและเท่าเทียมท่ามกลางวิกฤติหรือในช่วงเวลาปกติให้ได้ ทางเว็บไซต์ Edutopia ได้รวมรวมบทเรียนสำคัญที่เกิดขึ้นในปี 2020 ที่ศูนย์วิจัยฯ นำมาเสนอดังนี้ 1.เรียนรู้คำศัพท์ใหม่ ๆ ให้ได้ผลดีด้วยการให้เด็ก ๆ เป็นตัวแสดงแทน จากการศึกษาเกี่ยวกับการจดจำคำศัพท์ในการเรียนภาษากับนักเรียนอายุ 8 ขวบ นักวิจัยขอให้เด็ก ๆ แสดงท่าทางเกี่ยวกับคำศัพท์ใหม่ เช่น ทำมือเป็นเครื่องบินเมื่อเรียนรู้เกี่ยวกับคำนั้น โดยเมื่อผ่านไปหลายเดือนก็พบว่านักเรียนสามารถเรียนรู้และจดจำคำศัพท์ได้ดีขึ้นกว่า 2 เท่ามากกว่าการฟังหรือท่องจำอย่างเดียว นอกจากนี้นักวิจัยยังพบว่าการดูภาพขณะฟังคำศัพท์ก็ได้ผลลัพธ์ที่ดีเช่นกัน แต่ได้ผลน้อยกว่าการให้เด็ก ๆ ได้แสดงท่าทางเกี่ยวกับคำศัพท์เหล่านั้น อย่างไรก็ตามมันก็เป็นเครื่องมือที่จะช่วยให้คุณครูได้กระตุ้นการเรียนรู้คำศัพท์ด้วยวิธีต่าง ๆ เช่น วาดภาพเกี่ยวกับคำศัพท์นั้น หรือการจับคู่รูปภาพที่เกี่ยวข้อง 2.การเขียนด้วยมือสร้างการเรียนรู้ได้ดีกว่า จากการวิจัยในอดีตได้มีการศึกษาแล้วว่าทักษะการอ่านจะพัฒนาได้ดีเมื่อเด็ก ๆ ฝึกเขียนจดหมายด้วยลายมือตัวเองมากกว่าพิมพ์แล้วปริ้นท์ออกมาอ่าน ซึ่งยืนยันด้วยงานวิจัยในปี 2020 ที่นักวิทยาศาสตร์ทางสมองได้ทำการศึกษาเรียนรู้ของนักเรียนเกรด 7 (มัธยมศึกษาปีที่ 1) ด้วยการทดสอบทางสมองขณะที่เด็ก ๆ กำลังเขียน วาดรูป และพิมพ์บนแป้นพิมพ์ พบว่าสมองของนักเรียนมีการส่งสัญญาณประสาทที่บ่งชี้ึการเรียนรู้อย่างลึกซึ้งขณะทำการเขียนและการวาดภาพ ซึ่งนักวิจัยก็ได้เพิ่มเติมว่าการได้เคลื่อนไหวมือผ่านการวาดหรือเขียนจะกระตุ้นการรับรู้ของสมองได้ดีกว่า แต่ก็ปฏิเสธไม่ได้ว่าทักษะทางเทคโนโลยีก็เป็นสิ่งสำคัญที่ต้องฝึกฝนเช่นกัน ตลอดจนการใช้เทคโนโลยีเพื่อช่วยเหลือด้านการเรียนรู้สำหรับเด็กนักเรียนที่มีภาวะบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านการสะกดคำ (dyslexia) ที่ทำให้เขาเรียนรู้ได้ดีกว่าด้วย 3.คะแนนสูงกลับแปรผันทางลบต่อการความสำเร็จการศึกษา จากการศึกษาผลการทดสอบ ACT ในประเทศสหรัฐอเมริกาที่ใช้เป็นเกณฑ์ในการรับเข้ามหาวิทยาลัยเช่นเดียวกับการทดสอบ SAT นั้น พบว่านักเรียนที่มีผลสอบเข้ามหาวิทยาลัยในเกณฑ์สูงกลับมีความสามารถในการฝ่าฝันความยากลำบากในการเรียนมหาวิทยาลัยได้ต่ำกว่า ขณะที่ผลการเรียนในระดับมัธยมปลายกลับเป็นตัวแปรที่ชี้ความสำเร็จของนักเรียนได้มากกว่า นั่นเพราะบ่งบอกถึงทักษะการกำกับตนเองและจัดการเวลาในการเรียนที่เป็นปัจจัยสำคัญในการเรียนมหาวิทยาลัย หากมองย้อนมายังกรณีของประเทศไทย ก็พูดได้ยากว่าผลการเรียนตอนเรียนมัธยมจะเป็นสิ่งบ่งชี้ความสามารถในการเรียนในระดับมหาวิทยาลัยได้ดีกว่าหรือไม่ เพราะเรายังคงมีคำถามเกี่ยวกับมาตรฐานการให้เกรดที่ยังไม่เป็นมาตรฐานระหว่างโรงเรียนต่างขนาดและต่างพื้นที่ด้วยเช่นกัน 4.วางเกณฑ์การประเมินแบบรูบริก (rubric) ช่วยให้ครูลดอคติที่เกิดขึ้นอย่างไม่ตั้งใจ เป็นที่เข้าใจกันดีว่าเมื่อครูมีเกณฑ์มาตรฐานในการประเมินที่ชัดเจนและตั้งมั่นอยู่กับเกณฑ์มาตรฐานนั้น จะทำให้การพิจารณาคะแนนเที่ยงธรรมมากขึ้น โดยจากการศึกษา คุณครูกว่า 1,500 คนในการประเมินงานเขียนของนักเรียนเกรด 2 (ประมาณประถมศึกษาปีที่ 2) พบว่าคุณครูมักให้คะแนนนักเรียนที่มีชื่อว่า Connor ง่ายกว่านักเรียนคนอื่น ๆ โดยไม่รู้ตัว แต่เมื่อคุณครูมีเกณฑ์ที่ชัดเจน เช่น การระบุว่านักเรียนมีการเขียนบรรยายได้ครบถ้วนชัดเจน ก็ทำให้เกิดมาตรฐานที่ชัดเจนมากยิ่งขึ้น ถึงแม้ว่าการประเมินอาจเป็นเรื่องที่คุณครูทำโดยเคยชินจนรู้สึกว่ามีแค่เกณฑ์หลวม ๆ ก็ได้ แต่หากว่าหลายครั้ง “ชื่อ” ของนักเรียนก็อาจส่งผลต่อการประเมินได้เช่นกัน มันคงจะดีขึ้นมากหากคุณครูเสียเวลาขึ้นสักนิดในการระบุเกณฑ์ที่ชัดเจนและสมเหตุสมผลเพื่อให้คะแนนสามารถเกณฑ์มาตรฐานในการสะท้อนผลการเรียนรู้ให้แก่นักเรียนได้ 5.เมื่อโรงไฟฟ้าถ่านหินปิดตัวลงกลับส่งผลต่อการเรียนรู้อย่างไม่น่าเชื่อ การตีพิมพ์ผลการศึกษาในปี 2020 เกี่ยวกับผลของการปิดโรงไฟฟ้าถ่านหินในพื้นที่เมืองชิคาโกต่ออัตราการขาดเรียนของนักเรียนในโรงเรียนพื้นที่ใกล้เคียงโรงไฟฟ้าที่เกี่ยวข้องกับอาการหอบหืด พบว่านักเรียนมีอัตราการมาเรียนเพิ่มมากขึ้น การศึกษานี้เป็นภาพสะท้อนสำคัญว่าปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม คุณภาพอากาศ อัตราอาชญากรรมในพื้นที่ แม้กระทั่งมลภาวะทางเสียง เป็นตัวแปรสำคัญที่ส่งผลต่อความพร้อมและคุณภาพในการเรียนรู้ของเด็ก ๆ แม้แต่ในประเทศสหรัฐอเมริกาเองก็มีเด็กกว่า 2.3 ล้านที่เข้าเรียนในโรงเรียนซึ่งตั้งอยู่ห่างจากโรงไฟฟ้าถ่านหินไม่เกิน 10 กิโลเมตร และมันหมายถึงค่าเสียโอกาสที่จะเกิดขึ้นกับผู้คนในอนาคต ความเท่าเทียมทางการศึกษาจึงไม่ได้หยุดอยู่แค่รั้วโรงเรียน หากแต่ช่องว่างแห่งความสำเร็จในชีวิตเป็นสิ่งที่อยู่ในช่องว่างแห่งความเท่าเทียมที่หยั่งรากลึกในช่วงปีแรก ๆ ของชีวิต ดังนั้นมันเป็นไปไม่ได้เลยที่เราจะทลายความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาโดยไม่เผชิญหน้ากับความไม่เท่าเทียมในเมือง เขตพื้นที่อยู่อาศัยของเรา ตลอดจนที่หลังบ้านของเราเอง 6.นักเรียนที่ตั้งคำถามที่ดี คือผู้ที่เรียนรู้ได้ดียิ่งกว่า จากการศึกษาเกี่ยวกับการจดจำการเรียนรู้ในระยะยาวของนักศึกษาระดับมหาวิทยาลัย โดยการให้ตั้งคำถามเกี่ยวกับบทเรียน การทดสอบย่อยหลังบทเรียน และการเรียนทบทวน พบว่าการสรุปการเรียนรู้โดยการฝึกให้ผู้เรียนตั้งคำถามจากบทเรียนแล้วผู้สอนชี้ประเด็นให้เกิดการตั้งคำถามเพิ่มเติมจนครอบคลุมนั้น ส่งผลให้ผู้เรียนมีผลการสอบปลายภาคดีกว่าการเรียนทบทวนกว่าร้อยละ 13 และแม้ว่าผู้เรียนที่สรุปการเรียนด้วยการตั้งคำถามและหาคำตอบด้วยตัวเองจะมีผลสอบปลายภาคในข้อที่เกี่ยวข้องกับบทเรียนไม่ต่างกับกลุ่มที่ใช้การทดสอบย่อยท้ายบทมากนัก แต่กลับมีผลการเรียนรู้ที่สูงกว่าอย่างเห็นได้ชัดในข้อคำถามประเภทประยุกต์ใช้ จากการศึกษานี้จึงสรุปได้ว่าการเรียนทบทวน โดยเฉพาะการเน้นคำ ขีดเส้นใต้คำสำคัญนั้นไม่เป็นผลดีต่อการเรียนรู้ที่มีความหมายต่อชีวิตของนักเรียนอีกต่อไปแล้ว แต่การฝึกให้นักเรียนเป็นผู้ตั้งคำถามอย่างรอบด้านและเกิดการเรียนรู้อย่างลึกซึ้งก็เป็นทักษะที่คุณครูสามารถช่วยให้นักเรียนเรียนรู้ได้อย่างมีความหมายและยิ่งยืนได้มากกว่า 7.อ่านเยอะแค่ไหนก็ไม่ได้ส่งผลต่อการอ่านออกเขียนได้ ถ้าไม่ได้อ่านอย่างเข้าใจ การศึกษาเกี่ยวกับหลักสูตรการสอนเพื่อการอ่านออกเขียนได้ในปี 2020 เป็นหนึ่งในงานวิจัยที่สั่นสะเทือนความเชื่อเดิมในการจัดการเรียนการสอนเพื่อการรู้หนังสือ หรือการอ่านออกเขียนได้ที่มีมากว่า 40 ของสหรัฐอเมริกาที่มีเทคนิคการสอนที่เน้นการอ่านบทความจำนวนมากและอ่านออกเสียงเพื่อให้เรียนรู้คำและเขียนคำได้ แท้ที่จริงกลับทำให้เด็ก ๆ เรียนรู้คำโดยไม่เข้าใจและนำไปใช้ไม่ได้ หรือแม้กระทั่งจดจำในการเขียนไม่ได้ด้วยซ้ำ อย่างไรก็ตามในการศึกษานี้ได้พบแง่มุมที่จะช่วยพัฒนาการรู้หนังสือให้อ่านออก เขียนได้ และเข้าใจ ด้วยการเรียนรู้ผ่านการอ่านร่วมกับสื่ออื่น ๆ เช่น ภาพประกอบ หรือเหตุการณ์ที่สร้างความเข้าใจในคำศัพท์ใหม่ ๆ ในบทเรียนนั้นมากกว่าเป็นแค่การอ่านออกเสียงหรือท่องจำอย่างเดียวเท่านั้น ที่จะช่วยให้เด็ก ๆ สามารถอ่านได้อย่างเข้าใจบริบท จดจำคำศัพท์และเขียนได้ด้วยความเข้าใจนั่นเอง 8.สร้างห้องเรียนเสมือนให้มีประสิทธิภาพด้วยการจัดระเบียบช่องทางการสื่อสาร ในปี 2020 ที่ทั่วโลกเผชิญสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ทำให้การเรียนการสอนออนไลน์เป็นเครื่องมือสำคัญในการจัดการเรียนรู้ให้ดำเนินต่อไปได้ภายใต้ภาวะวิกฤติเช่นนี้ โดยจากรายงานการศึกษาโดยมหาวิทยาลัย Georgia State ได้ชี้ประเด็นปัญหาสำคัญในการเรียนรู้ในห้องเรียนเสมือนนี้ที่ไม่ใช่แค่ว่านักเรียนเข้าถึงเทคโนโลยีได้ไหม แต่ระบบการจัดการเรียนรู้ทำให้เขาเข้าถึงบทเรียนได้แค่ไหน การจัดการช่องทางการสื่อสารและเรียนรู้ที่เข้าถึงง่ายและชัดเจนเป็นประเด็นที่จะช่วยให้การเรียนรู้ทางไกลของนักเรียนง่ายขึ้น ทั้งนี้รายงานดังกล่าวได้นำเสนอว่าบทเรียนที่ดีนั้นมี 4 องค์ประกอบ คือ 1) มีคำอธิบายชัดเจนและอ่านง่าย โดยไม่ควรตกแต่งเอกสารเกินความจำเป็น 2) มีช่องทางให้นักเรียนได้รับข้อเสนอแนะจากครูหรือเพื่อนร่วมชั้นเรียน 3) ใช้เกมหรือสถานการณ์จำลองเพื่อให้นักเรียนมีส่วนร่วมกับการเรียนอยู่เสมอ และ 4) มีช่องทางการเรียนรู้ที่เข้าถึงง่าย เอกสารมีที่อยู่ถาวร และสามารถสนับสนุนนักเรียนที่ประสบปัญหาทางเทคนิคได้ 9.การเรียน coding เกี่ยวข้องกับทักษะทางภาษามากกว่าคณิตศาสตร์ ความเชื่อดั้งเดิมว่าการเรียนรู้การเขียนคำสั่งโปรแกรมหรือ coding นั้นต้องใช้ทักษะทางการคำนวณเป็นหลัก แต่การศึกษาในปี 2020 กำลังท้าทายชุดความเชื่อนั้นโดยการทดลองกับบุคคลทั่วไปในวัยผู้ใหญ่ตอนต้น 36 คนที่ไม่เคยมีประสบการณ์เกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมมาอบรมการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วยภาษา Python เป็นเวลา 10 ครั้ง ครั้งละ 45 นาที ผลการศึกษาพบว่าผู้ที่เรียนรู้การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้นไม่ใช่ผู้ที่มีทักษะทางคณิตศาสตร์สูง แต่กลับเป็นผู้ที่มีทักษะทางภาษาที่เรียนรู้การ coding ได้ดีกว่าถึง 9 เท่าตัว การศึกษานี้ยังมีการกล่าวถึงข้อบังคับในการเรียนคณิตศาสตร์ขั้นสูงเพื่อผ่านเกณฑ์สำหรับการศึกษาการเขียนโปรแกรมด้วยว่าแทบไม่มีความจำเป็นในการใช้บทเรียนเหล่านั้นในการเขียนโปรแกรมเลย ดังนั้นจึงอาจถึงเวลาที่จะเกิดการทบทวนเกี่ยวกับเกณฑ์บังคับเหล่านี้เสียใหม่ 10.สอนอ่านเพื่อจับใจความสำคัญเพิ่มทักษะด้านการอ่านได้ไม่เท่าการอ่านในวิชาสังคมศึกษา การเรียนภาษาเพื่อความเข้าใจเนื้อหาด้วยการค้นหาประเด็นใจความสำคัญแล้วสรุปความอาจเป็นความพยายามที่ต้องทุ่มเทเวลาไปอย่างไม่คุ้มค่าอีกต่อไป เมื่องานวิจัยในปี 2020 ที่ศึกษาด้านการอ่านกับนักเรียนกว่า 18,000 คน ตั้งแต่เริ่มเรียนระดับอนุบาลจนกระทั่งประถมศึกษาปีที่ 5 การศึกษาระยะยาวนี้ค้นพบว่าแม้ว่านักเรียนส่วนใหญ่จะใช้เวลาเรียนภาษาในโรงเรียนมากกว่าวิชาสังคมศึกษา แต่การอ่านในวิชาสังคมศึกษากลับส่งผลดีด้านการพัฒนาทักษะด้านการอ่านจับประเด็นมากกว่าการเรียนภาษาด้านการอ่านโดยตรง ดังนั้นการเปิดโอกาสให้เด็ก ๆ ได้อ่านบทความเกี่ยวกับหน้าที่พลเมือง ประวัติศาสตร์ หรือกฎหมาย (ที่เกี่ยวข้องกับชีวิตของพวกเขา) นั้นเป็นกลวิธีส่งเสริมการอ่านที่มีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะเมื่อนักเรียนมีความรู้พื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่อ่านก็จะมีโอกาสที่จะอ่านจับใจความได้มากขึ้น รวมทั้งเป็นการพัฒนาการเรียนรู้ด้วยการดึงข้อมูลจากความทรงจำระยะยาวซึ่งทำให้เขามีพื้นที่ความทรงจำที่มากขึ้นในการอ่านเพื่อทำความเข้าใจและจับใจความได้ดียิ่งขึ้น ขอบคุณข้อมูลจาก – https://www.facebook.com/ESDCenterEduChula/ EZ Webmaster Related Posts เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ รวมบุคคลสำคัญของแต่ละมหาวิทยาลัยไทย มาให้ทุกคนได้รู้กัน !! ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา เปิดรอบ 5 รับตรงอิสระ เรียน 6 สาขา ถึง 20 มิ.ย.นี้ สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ “เปิดสถิติ TCAS66-68 : รอบ 1-3 ใครสมัครเยอะ ใครได้ที่เรียนเยอะที่สุด และ 10 คณะฮิตไม่เปลี่ยน!” Post navigation PREVIOUS Previous post: มทร.ธัญบุรี เปิดรับรอบสอบตรง วุฒิ ปวช. ปวส. เริ่ม 23 ม.ค.นี้!NEXT Next post: รมว.ศธ. ยันเปิดเรียนกำหนดเดิม 1 ก.พ.นี้ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster January 19, 2021 EZ Webmaster January 19, 2021 มาดู 10 ประเด็นเรียนรู้สำคัญของวงการศึกษาในปี 2020 ในปี 2563 ที่เพิ่งจบสิ้นไปในไม่กี่วันนี้ นับเป็นปีแห่งการเปลี่ยนแปลงที่เราต่างต้องปรับตัวครั้งสำคัญ อย่างไรก็ตามเราก็ไม่หยุดเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ เพื่อยืนยันความเชื่อในการจัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพและเท่าเทียมท่ามกลางวิกฤติหรือในช่วงเวลาปกติให้ได้ ทางเว็บไซต์ Edutopia ได้รวมรวมบทเรียนสำคัญที่เกิดขึ้นในปี 2020 ที่ศูนย์วิจัยฯ นำมาเสนอดังนี้ 1.เรียนรู้คำศัพท์ใหม่ ๆ ให้ได้ผลดีด้วยการให้เด็ก ๆ เป็นตัวแสดงแทน จากการศึกษาเกี่ยวกับการจดจำคำศัพท์ในการเรียนภาษากับนักเรียนอายุ 8 ขวบ นักวิจัยขอให้เด็ก ๆ แสดงท่าทางเกี่ยวกับคำศัพท์ใหม่ เช่น ทำมือเป็นเครื่องบินเมื่อเรียนรู้เกี่ยวกับคำนั้น โดยเมื่อผ่านไปหลายเดือนก็พบว่านักเรียนสามารถเรียนรู้และจดจำคำศัพท์ได้ดีขึ้นกว่า 2 เท่ามากกว่าการฟังหรือท่องจำอย่างเดียว นอกจากนี้นักวิจัยยังพบว่าการดูภาพขณะฟังคำศัพท์ก็ได้ผลลัพธ์ที่ดีเช่นกัน แต่ได้ผลน้อยกว่าการให้เด็ก ๆ ได้แสดงท่าทางเกี่ยวกับคำศัพท์เหล่านั้น อย่างไรก็ตามมันก็เป็นเครื่องมือที่จะช่วยให้คุณครูได้กระตุ้นการเรียนรู้คำศัพท์ด้วยวิธีต่าง ๆ เช่น วาดภาพเกี่ยวกับคำศัพท์นั้น หรือการจับคู่รูปภาพที่เกี่ยวข้อง 2.การเขียนด้วยมือสร้างการเรียนรู้ได้ดีกว่า จากการวิจัยในอดีตได้มีการศึกษาแล้วว่าทักษะการอ่านจะพัฒนาได้ดีเมื่อเด็ก ๆ ฝึกเขียนจดหมายด้วยลายมือตัวเองมากกว่าพิมพ์แล้วปริ้นท์ออกมาอ่าน ซึ่งยืนยันด้วยงานวิจัยในปี 2020 ที่นักวิทยาศาสตร์ทางสมองได้ทำการศึกษาเรียนรู้ของนักเรียนเกรด 7 (มัธยมศึกษาปีที่ 1) ด้วยการทดสอบทางสมองขณะที่เด็ก ๆ กำลังเขียน วาดรูป และพิมพ์บนแป้นพิมพ์ พบว่าสมองของนักเรียนมีการส่งสัญญาณประสาทที่บ่งชี้ึการเรียนรู้อย่างลึกซึ้งขณะทำการเขียนและการวาดภาพ ซึ่งนักวิจัยก็ได้เพิ่มเติมว่าการได้เคลื่อนไหวมือผ่านการวาดหรือเขียนจะกระตุ้นการรับรู้ของสมองได้ดีกว่า แต่ก็ปฏิเสธไม่ได้ว่าทักษะทางเทคโนโลยีก็เป็นสิ่งสำคัญที่ต้องฝึกฝนเช่นกัน ตลอดจนการใช้เทคโนโลยีเพื่อช่วยเหลือด้านการเรียนรู้สำหรับเด็กนักเรียนที่มีภาวะบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านการสะกดคำ (dyslexia) ที่ทำให้เขาเรียนรู้ได้ดีกว่าด้วย 3.คะแนนสูงกลับแปรผันทางลบต่อการความสำเร็จการศึกษา จากการศึกษาผลการทดสอบ ACT ในประเทศสหรัฐอเมริกาที่ใช้เป็นเกณฑ์ในการรับเข้ามหาวิทยาลัยเช่นเดียวกับการทดสอบ SAT นั้น พบว่านักเรียนที่มีผลสอบเข้ามหาวิทยาลัยในเกณฑ์สูงกลับมีความสามารถในการฝ่าฝันความยากลำบากในการเรียนมหาวิทยาลัยได้ต่ำกว่า ขณะที่ผลการเรียนในระดับมัธยมปลายกลับเป็นตัวแปรที่ชี้ความสำเร็จของนักเรียนได้มากกว่า นั่นเพราะบ่งบอกถึงทักษะการกำกับตนเองและจัดการเวลาในการเรียนที่เป็นปัจจัยสำคัญในการเรียนมหาวิทยาลัย หากมองย้อนมายังกรณีของประเทศไทย ก็พูดได้ยากว่าผลการเรียนตอนเรียนมัธยมจะเป็นสิ่งบ่งชี้ความสามารถในการเรียนในระดับมหาวิทยาลัยได้ดีกว่าหรือไม่ เพราะเรายังคงมีคำถามเกี่ยวกับมาตรฐานการให้เกรดที่ยังไม่เป็นมาตรฐานระหว่างโรงเรียนต่างขนาดและต่างพื้นที่ด้วยเช่นกัน 4.วางเกณฑ์การประเมินแบบรูบริก (rubric) ช่วยให้ครูลดอคติที่เกิดขึ้นอย่างไม่ตั้งใจ เป็นที่เข้าใจกันดีว่าเมื่อครูมีเกณฑ์มาตรฐานในการประเมินที่ชัดเจนและตั้งมั่นอยู่กับเกณฑ์มาตรฐานนั้น จะทำให้การพิจารณาคะแนนเที่ยงธรรมมากขึ้น โดยจากการศึกษา คุณครูกว่า 1,500 คนในการประเมินงานเขียนของนักเรียนเกรด 2 (ประมาณประถมศึกษาปีที่ 2) พบว่าคุณครูมักให้คะแนนนักเรียนที่มีชื่อว่า Connor ง่ายกว่านักเรียนคนอื่น ๆ โดยไม่รู้ตัว แต่เมื่อคุณครูมีเกณฑ์ที่ชัดเจน เช่น การระบุว่านักเรียนมีการเขียนบรรยายได้ครบถ้วนชัดเจน ก็ทำให้เกิดมาตรฐานที่ชัดเจนมากยิ่งขึ้น ถึงแม้ว่าการประเมินอาจเป็นเรื่องที่คุณครูทำโดยเคยชินจนรู้สึกว่ามีแค่เกณฑ์หลวม ๆ ก็ได้ แต่หากว่าหลายครั้ง “ชื่อ” ของนักเรียนก็อาจส่งผลต่อการประเมินได้เช่นกัน มันคงจะดีขึ้นมากหากคุณครูเสียเวลาขึ้นสักนิดในการระบุเกณฑ์ที่ชัดเจนและสมเหตุสมผลเพื่อให้คะแนนสามารถเกณฑ์มาตรฐานในการสะท้อนผลการเรียนรู้ให้แก่นักเรียนได้ 5.เมื่อโรงไฟฟ้าถ่านหินปิดตัวลงกลับส่งผลต่อการเรียนรู้อย่างไม่น่าเชื่อ การตีพิมพ์ผลการศึกษาในปี 2020 เกี่ยวกับผลของการปิดโรงไฟฟ้าถ่านหินในพื้นที่เมืองชิคาโกต่ออัตราการขาดเรียนของนักเรียนในโรงเรียนพื้นที่ใกล้เคียงโรงไฟฟ้าที่เกี่ยวข้องกับอาการหอบหืด พบว่านักเรียนมีอัตราการมาเรียนเพิ่มมากขึ้น การศึกษานี้เป็นภาพสะท้อนสำคัญว่าปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม คุณภาพอากาศ อัตราอาชญากรรมในพื้นที่ แม้กระทั่งมลภาวะทางเสียง เป็นตัวแปรสำคัญที่ส่งผลต่อความพร้อมและคุณภาพในการเรียนรู้ของเด็ก ๆ แม้แต่ในประเทศสหรัฐอเมริกาเองก็มีเด็กกว่า 2.3 ล้านที่เข้าเรียนในโรงเรียนซึ่งตั้งอยู่ห่างจากโรงไฟฟ้าถ่านหินไม่เกิน 10 กิโลเมตร และมันหมายถึงค่าเสียโอกาสที่จะเกิดขึ้นกับผู้คนในอนาคต ความเท่าเทียมทางการศึกษาจึงไม่ได้หยุดอยู่แค่รั้วโรงเรียน หากแต่ช่องว่างแห่งความสำเร็จในชีวิตเป็นสิ่งที่อยู่ในช่องว่างแห่งความเท่าเทียมที่หยั่งรากลึกในช่วงปีแรก ๆ ของชีวิต ดังนั้นมันเป็นไปไม่ได้เลยที่เราจะทลายความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาโดยไม่เผชิญหน้ากับความไม่เท่าเทียมในเมือง เขตพื้นที่อยู่อาศัยของเรา ตลอดจนที่หลังบ้านของเราเอง 6.นักเรียนที่ตั้งคำถามที่ดี คือผู้ที่เรียนรู้ได้ดียิ่งกว่า จากการศึกษาเกี่ยวกับการจดจำการเรียนรู้ในระยะยาวของนักศึกษาระดับมหาวิทยาลัย โดยการให้ตั้งคำถามเกี่ยวกับบทเรียน การทดสอบย่อยหลังบทเรียน และการเรียนทบทวน พบว่าการสรุปการเรียนรู้โดยการฝึกให้ผู้เรียนตั้งคำถามจากบทเรียนแล้วผู้สอนชี้ประเด็นให้เกิดการตั้งคำถามเพิ่มเติมจนครอบคลุมนั้น ส่งผลให้ผู้เรียนมีผลการสอบปลายภาคดีกว่าการเรียนทบทวนกว่าร้อยละ 13 และแม้ว่าผู้เรียนที่สรุปการเรียนด้วยการตั้งคำถามและหาคำตอบด้วยตัวเองจะมีผลสอบปลายภาคในข้อที่เกี่ยวข้องกับบทเรียนไม่ต่างกับกลุ่มที่ใช้การทดสอบย่อยท้ายบทมากนัก แต่กลับมีผลการเรียนรู้ที่สูงกว่าอย่างเห็นได้ชัดในข้อคำถามประเภทประยุกต์ใช้ จากการศึกษานี้จึงสรุปได้ว่าการเรียนทบทวน โดยเฉพาะการเน้นคำ ขีดเส้นใต้คำสำคัญนั้นไม่เป็นผลดีต่อการเรียนรู้ที่มีความหมายต่อชีวิตของนักเรียนอีกต่อไปแล้ว แต่การฝึกให้นักเรียนเป็นผู้ตั้งคำถามอย่างรอบด้านและเกิดการเรียนรู้อย่างลึกซึ้งก็เป็นทักษะที่คุณครูสามารถช่วยให้นักเรียนเรียนรู้ได้อย่างมีความหมายและยิ่งยืนได้มากกว่า 7.อ่านเยอะแค่ไหนก็ไม่ได้ส่งผลต่อการอ่านออกเขียนได้ ถ้าไม่ได้อ่านอย่างเข้าใจ การศึกษาเกี่ยวกับหลักสูตรการสอนเพื่อการอ่านออกเขียนได้ในปี 2020 เป็นหนึ่งในงานวิจัยที่สั่นสะเทือนความเชื่อเดิมในการจัดการเรียนการสอนเพื่อการรู้หนังสือ หรือการอ่านออกเขียนได้ที่มีมากว่า 40 ของสหรัฐอเมริกาที่มีเทคนิคการสอนที่เน้นการอ่านบทความจำนวนมากและอ่านออกเสียงเพื่อให้เรียนรู้คำและเขียนคำได้ แท้ที่จริงกลับทำให้เด็ก ๆ เรียนรู้คำโดยไม่เข้าใจและนำไปใช้ไม่ได้ หรือแม้กระทั่งจดจำในการเขียนไม่ได้ด้วยซ้ำ อย่างไรก็ตามในการศึกษานี้ได้พบแง่มุมที่จะช่วยพัฒนาการรู้หนังสือให้อ่านออก เขียนได้ และเข้าใจ ด้วยการเรียนรู้ผ่านการอ่านร่วมกับสื่ออื่น ๆ เช่น ภาพประกอบ หรือเหตุการณ์ที่สร้างความเข้าใจในคำศัพท์ใหม่ ๆ ในบทเรียนนั้นมากกว่าเป็นแค่การอ่านออกเสียงหรือท่องจำอย่างเดียวเท่านั้น ที่จะช่วยให้เด็ก ๆ สามารถอ่านได้อย่างเข้าใจบริบท จดจำคำศัพท์และเขียนได้ด้วยความเข้าใจนั่นเอง 8.สร้างห้องเรียนเสมือนให้มีประสิทธิภาพด้วยการจัดระเบียบช่องทางการสื่อสาร ในปี 2020 ที่ทั่วโลกเผชิญสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ทำให้การเรียนการสอนออนไลน์เป็นเครื่องมือสำคัญในการจัดการเรียนรู้ให้ดำเนินต่อไปได้ภายใต้ภาวะวิกฤติเช่นนี้ โดยจากรายงานการศึกษาโดยมหาวิทยาลัย Georgia State ได้ชี้ประเด็นปัญหาสำคัญในการเรียนรู้ในห้องเรียนเสมือนนี้ที่ไม่ใช่แค่ว่านักเรียนเข้าถึงเทคโนโลยีได้ไหม แต่ระบบการจัดการเรียนรู้ทำให้เขาเข้าถึงบทเรียนได้แค่ไหน การจัดการช่องทางการสื่อสารและเรียนรู้ที่เข้าถึงง่ายและชัดเจนเป็นประเด็นที่จะช่วยให้การเรียนรู้ทางไกลของนักเรียนง่ายขึ้น ทั้งนี้รายงานดังกล่าวได้นำเสนอว่าบทเรียนที่ดีนั้นมี 4 องค์ประกอบ คือ 1) มีคำอธิบายชัดเจนและอ่านง่าย โดยไม่ควรตกแต่งเอกสารเกินความจำเป็น 2) มีช่องทางให้นักเรียนได้รับข้อเสนอแนะจากครูหรือเพื่อนร่วมชั้นเรียน 3) ใช้เกมหรือสถานการณ์จำลองเพื่อให้นักเรียนมีส่วนร่วมกับการเรียนอยู่เสมอ และ 4) มีช่องทางการเรียนรู้ที่เข้าถึงง่าย เอกสารมีที่อยู่ถาวร และสามารถสนับสนุนนักเรียนที่ประสบปัญหาทางเทคนิคได้ 9.การเรียน coding เกี่ยวข้องกับทักษะทางภาษามากกว่าคณิตศาสตร์ ความเชื่อดั้งเดิมว่าการเรียนรู้การเขียนคำสั่งโปรแกรมหรือ coding นั้นต้องใช้ทักษะทางการคำนวณเป็นหลัก แต่การศึกษาในปี 2020 กำลังท้าทายชุดความเชื่อนั้นโดยการทดลองกับบุคคลทั่วไปในวัยผู้ใหญ่ตอนต้น 36 คนที่ไม่เคยมีประสบการณ์เกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมมาอบรมการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วยภาษา Python เป็นเวลา 10 ครั้ง ครั้งละ 45 นาที ผลการศึกษาพบว่าผู้ที่เรียนรู้การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้นไม่ใช่ผู้ที่มีทักษะทางคณิตศาสตร์สูง แต่กลับเป็นผู้ที่มีทักษะทางภาษาที่เรียนรู้การ coding ได้ดีกว่าถึง 9 เท่าตัว การศึกษานี้ยังมีการกล่าวถึงข้อบังคับในการเรียนคณิตศาสตร์ขั้นสูงเพื่อผ่านเกณฑ์สำหรับการศึกษาการเขียนโปรแกรมด้วยว่าแทบไม่มีความจำเป็นในการใช้บทเรียนเหล่านั้นในการเขียนโปรแกรมเลย ดังนั้นจึงอาจถึงเวลาที่จะเกิดการทบทวนเกี่ยวกับเกณฑ์บังคับเหล่านี้เสียใหม่ 10.สอนอ่านเพื่อจับใจความสำคัญเพิ่มทักษะด้านการอ่านได้ไม่เท่าการอ่านในวิชาสังคมศึกษา การเรียนภาษาเพื่อความเข้าใจเนื้อหาด้วยการค้นหาประเด็นใจความสำคัญแล้วสรุปความอาจเป็นความพยายามที่ต้องทุ่มเทเวลาไปอย่างไม่คุ้มค่าอีกต่อไป เมื่องานวิจัยในปี 2020 ที่ศึกษาด้านการอ่านกับนักเรียนกว่า 18,000 คน ตั้งแต่เริ่มเรียนระดับอนุบาลจนกระทั่งประถมศึกษาปีที่ 5 การศึกษาระยะยาวนี้ค้นพบว่าแม้ว่านักเรียนส่วนใหญ่จะใช้เวลาเรียนภาษาในโรงเรียนมากกว่าวิชาสังคมศึกษา แต่การอ่านในวิชาสังคมศึกษากลับส่งผลดีด้านการพัฒนาทักษะด้านการอ่านจับประเด็นมากกว่าการเรียนภาษาด้านการอ่านโดยตรง ดังนั้นการเปิดโอกาสให้เด็ก ๆ ได้อ่านบทความเกี่ยวกับหน้าที่พลเมือง ประวัติศาสตร์ หรือกฎหมาย (ที่เกี่ยวข้องกับชีวิตของพวกเขา) นั้นเป็นกลวิธีส่งเสริมการอ่านที่มีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะเมื่อนักเรียนมีความรู้พื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่อ่านก็จะมีโอกาสที่จะอ่านจับใจความได้มากขึ้น รวมทั้งเป็นการพัฒนาการเรียนรู้ด้วยการดึงข้อมูลจากความทรงจำระยะยาวซึ่งทำให้เขามีพื้นที่ความทรงจำที่มากขึ้นในการอ่านเพื่อทำความเข้าใจและจับใจความได้ดียิ่งขึ้น ขอบคุณข้อมูลจาก – https://www.facebook.com/ESDCenterEduChula/ EZ Webmaster Related Posts เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ รวมบุคคลสำคัญของแต่ละมหาวิทยาลัยไทย มาให้ทุกคนได้รู้กัน !! ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา เปิดรอบ 5 รับตรงอิสระ เรียน 6 สาขา ถึง 20 มิ.ย.นี้ สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ “เปิดสถิติ TCAS66-68 : รอบ 1-3 ใครสมัครเยอะ ใครได้ที่เรียนเยอะที่สุด และ 10 คณะฮิตไม่เปลี่ยน!” Post navigation PREVIOUS Previous post: มทร.ธัญบุรี เปิดรับรอบสอบตรง วุฒิ ปวช. ปวส. เริ่ม 23 ม.ค.นี้!NEXT Next post: รมว.ศธ. ยันเปิดเรียนกำหนดเดิม 1 ก.พ.นี้ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief…
เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief…
“40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster January 19, 2021 EZ Webmaster January 19, 2021 มาดู 10 ประเด็นเรียนรู้สำคัญของวงการศึกษาในปี 2020 ในปี 2563 ที่เพิ่งจบสิ้นไปในไม่กี่วันนี้ นับเป็นปีแห่งการเปลี่ยนแปลงที่เราต่างต้องปรับตัวครั้งสำคัญ อย่างไรก็ตามเราก็ไม่หยุดเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ เพื่อยืนยันความเชื่อในการจัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพและเท่าเทียมท่ามกลางวิกฤติหรือในช่วงเวลาปกติให้ได้ ทางเว็บไซต์ Edutopia ได้รวมรวมบทเรียนสำคัญที่เกิดขึ้นในปี 2020 ที่ศูนย์วิจัยฯ นำมาเสนอดังนี้ 1.เรียนรู้คำศัพท์ใหม่ ๆ ให้ได้ผลดีด้วยการให้เด็ก ๆ เป็นตัวแสดงแทน จากการศึกษาเกี่ยวกับการจดจำคำศัพท์ในการเรียนภาษากับนักเรียนอายุ 8 ขวบ นักวิจัยขอให้เด็ก ๆ แสดงท่าทางเกี่ยวกับคำศัพท์ใหม่ เช่น ทำมือเป็นเครื่องบินเมื่อเรียนรู้เกี่ยวกับคำนั้น โดยเมื่อผ่านไปหลายเดือนก็พบว่านักเรียนสามารถเรียนรู้และจดจำคำศัพท์ได้ดีขึ้นกว่า 2 เท่ามากกว่าการฟังหรือท่องจำอย่างเดียว นอกจากนี้นักวิจัยยังพบว่าการดูภาพขณะฟังคำศัพท์ก็ได้ผลลัพธ์ที่ดีเช่นกัน แต่ได้ผลน้อยกว่าการให้เด็ก ๆ ได้แสดงท่าทางเกี่ยวกับคำศัพท์เหล่านั้น อย่างไรก็ตามมันก็เป็นเครื่องมือที่จะช่วยให้คุณครูได้กระตุ้นการเรียนรู้คำศัพท์ด้วยวิธีต่าง ๆ เช่น วาดภาพเกี่ยวกับคำศัพท์นั้น หรือการจับคู่รูปภาพที่เกี่ยวข้อง 2.การเขียนด้วยมือสร้างการเรียนรู้ได้ดีกว่า จากการวิจัยในอดีตได้มีการศึกษาแล้วว่าทักษะการอ่านจะพัฒนาได้ดีเมื่อเด็ก ๆ ฝึกเขียนจดหมายด้วยลายมือตัวเองมากกว่าพิมพ์แล้วปริ้นท์ออกมาอ่าน ซึ่งยืนยันด้วยงานวิจัยในปี 2020 ที่นักวิทยาศาสตร์ทางสมองได้ทำการศึกษาเรียนรู้ของนักเรียนเกรด 7 (มัธยมศึกษาปีที่ 1) ด้วยการทดสอบทางสมองขณะที่เด็ก ๆ กำลังเขียน วาดรูป และพิมพ์บนแป้นพิมพ์ พบว่าสมองของนักเรียนมีการส่งสัญญาณประสาทที่บ่งชี้ึการเรียนรู้อย่างลึกซึ้งขณะทำการเขียนและการวาดภาพ ซึ่งนักวิจัยก็ได้เพิ่มเติมว่าการได้เคลื่อนไหวมือผ่านการวาดหรือเขียนจะกระตุ้นการรับรู้ของสมองได้ดีกว่า แต่ก็ปฏิเสธไม่ได้ว่าทักษะทางเทคโนโลยีก็เป็นสิ่งสำคัญที่ต้องฝึกฝนเช่นกัน ตลอดจนการใช้เทคโนโลยีเพื่อช่วยเหลือด้านการเรียนรู้สำหรับเด็กนักเรียนที่มีภาวะบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านการสะกดคำ (dyslexia) ที่ทำให้เขาเรียนรู้ได้ดีกว่าด้วย 3.คะแนนสูงกลับแปรผันทางลบต่อการความสำเร็จการศึกษา จากการศึกษาผลการทดสอบ ACT ในประเทศสหรัฐอเมริกาที่ใช้เป็นเกณฑ์ในการรับเข้ามหาวิทยาลัยเช่นเดียวกับการทดสอบ SAT นั้น พบว่านักเรียนที่มีผลสอบเข้ามหาวิทยาลัยในเกณฑ์สูงกลับมีความสามารถในการฝ่าฝันความยากลำบากในการเรียนมหาวิทยาลัยได้ต่ำกว่า ขณะที่ผลการเรียนในระดับมัธยมปลายกลับเป็นตัวแปรที่ชี้ความสำเร็จของนักเรียนได้มากกว่า นั่นเพราะบ่งบอกถึงทักษะการกำกับตนเองและจัดการเวลาในการเรียนที่เป็นปัจจัยสำคัญในการเรียนมหาวิทยาลัย หากมองย้อนมายังกรณีของประเทศไทย ก็พูดได้ยากว่าผลการเรียนตอนเรียนมัธยมจะเป็นสิ่งบ่งชี้ความสามารถในการเรียนในระดับมหาวิทยาลัยได้ดีกว่าหรือไม่ เพราะเรายังคงมีคำถามเกี่ยวกับมาตรฐานการให้เกรดที่ยังไม่เป็นมาตรฐานระหว่างโรงเรียนต่างขนาดและต่างพื้นที่ด้วยเช่นกัน 4.วางเกณฑ์การประเมินแบบรูบริก (rubric) ช่วยให้ครูลดอคติที่เกิดขึ้นอย่างไม่ตั้งใจ เป็นที่เข้าใจกันดีว่าเมื่อครูมีเกณฑ์มาตรฐานในการประเมินที่ชัดเจนและตั้งมั่นอยู่กับเกณฑ์มาตรฐานนั้น จะทำให้การพิจารณาคะแนนเที่ยงธรรมมากขึ้น โดยจากการศึกษา คุณครูกว่า 1,500 คนในการประเมินงานเขียนของนักเรียนเกรด 2 (ประมาณประถมศึกษาปีที่ 2) พบว่าคุณครูมักให้คะแนนนักเรียนที่มีชื่อว่า Connor ง่ายกว่านักเรียนคนอื่น ๆ โดยไม่รู้ตัว แต่เมื่อคุณครูมีเกณฑ์ที่ชัดเจน เช่น การระบุว่านักเรียนมีการเขียนบรรยายได้ครบถ้วนชัดเจน ก็ทำให้เกิดมาตรฐานที่ชัดเจนมากยิ่งขึ้น ถึงแม้ว่าการประเมินอาจเป็นเรื่องที่คุณครูทำโดยเคยชินจนรู้สึกว่ามีแค่เกณฑ์หลวม ๆ ก็ได้ แต่หากว่าหลายครั้ง “ชื่อ” ของนักเรียนก็อาจส่งผลต่อการประเมินได้เช่นกัน มันคงจะดีขึ้นมากหากคุณครูเสียเวลาขึ้นสักนิดในการระบุเกณฑ์ที่ชัดเจนและสมเหตุสมผลเพื่อให้คะแนนสามารถเกณฑ์มาตรฐานในการสะท้อนผลการเรียนรู้ให้แก่นักเรียนได้ 5.เมื่อโรงไฟฟ้าถ่านหินปิดตัวลงกลับส่งผลต่อการเรียนรู้อย่างไม่น่าเชื่อ การตีพิมพ์ผลการศึกษาในปี 2020 เกี่ยวกับผลของการปิดโรงไฟฟ้าถ่านหินในพื้นที่เมืองชิคาโกต่ออัตราการขาดเรียนของนักเรียนในโรงเรียนพื้นที่ใกล้เคียงโรงไฟฟ้าที่เกี่ยวข้องกับอาการหอบหืด พบว่านักเรียนมีอัตราการมาเรียนเพิ่มมากขึ้น การศึกษานี้เป็นภาพสะท้อนสำคัญว่าปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม คุณภาพอากาศ อัตราอาชญากรรมในพื้นที่ แม้กระทั่งมลภาวะทางเสียง เป็นตัวแปรสำคัญที่ส่งผลต่อความพร้อมและคุณภาพในการเรียนรู้ของเด็ก ๆ แม้แต่ในประเทศสหรัฐอเมริกาเองก็มีเด็กกว่า 2.3 ล้านที่เข้าเรียนในโรงเรียนซึ่งตั้งอยู่ห่างจากโรงไฟฟ้าถ่านหินไม่เกิน 10 กิโลเมตร และมันหมายถึงค่าเสียโอกาสที่จะเกิดขึ้นกับผู้คนในอนาคต ความเท่าเทียมทางการศึกษาจึงไม่ได้หยุดอยู่แค่รั้วโรงเรียน หากแต่ช่องว่างแห่งความสำเร็จในชีวิตเป็นสิ่งที่อยู่ในช่องว่างแห่งความเท่าเทียมที่หยั่งรากลึกในช่วงปีแรก ๆ ของชีวิต ดังนั้นมันเป็นไปไม่ได้เลยที่เราจะทลายความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาโดยไม่เผชิญหน้ากับความไม่เท่าเทียมในเมือง เขตพื้นที่อยู่อาศัยของเรา ตลอดจนที่หลังบ้านของเราเอง 6.นักเรียนที่ตั้งคำถามที่ดี คือผู้ที่เรียนรู้ได้ดียิ่งกว่า จากการศึกษาเกี่ยวกับการจดจำการเรียนรู้ในระยะยาวของนักศึกษาระดับมหาวิทยาลัย โดยการให้ตั้งคำถามเกี่ยวกับบทเรียน การทดสอบย่อยหลังบทเรียน และการเรียนทบทวน พบว่าการสรุปการเรียนรู้โดยการฝึกให้ผู้เรียนตั้งคำถามจากบทเรียนแล้วผู้สอนชี้ประเด็นให้เกิดการตั้งคำถามเพิ่มเติมจนครอบคลุมนั้น ส่งผลให้ผู้เรียนมีผลการสอบปลายภาคดีกว่าการเรียนทบทวนกว่าร้อยละ 13 และแม้ว่าผู้เรียนที่สรุปการเรียนด้วยการตั้งคำถามและหาคำตอบด้วยตัวเองจะมีผลสอบปลายภาคในข้อที่เกี่ยวข้องกับบทเรียนไม่ต่างกับกลุ่มที่ใช้การทดสอบย่อยท้ายบทมากนัก แต่กลับมีผลการเรียนรู้ที่สูงกว่าอย่างเห็นได้ชัดในข้อคำถามประเภทประยุกต์ใช้ จากการศึกษานี้จึงสรุปได้ว่าการเรียนทบทวน โดยเฉพาะการเน้นคำ ขีดเส้นใต้คำสำคัญนั้นไม่เป็นผลดีต่อการเรียนรู้ที่มีความหมายต่อชีวิตของนักเรียนอีกต่อไปแล้ว แต่การฝึกให้นักเรียนเป็นผู้ตั้งคำถามอย่างรอบด้านและเกิดการเรียนรู้อย่างลึกซึ้งก็เป็นทักษะที่คุณครูสามารถช่วยให้นักเรียนเรียนรู้ได้อย่างมีความหมายและยิ่งยืนได้มากกว่า 7.อ่านเยอะแค่ไหนก็ไม่ได้ส่งผลต่อการอ่านออกเขียนได้ ถ้าไม่ได้อ่านอย่างเข้าใจ การศึกษาเกี่ยวกับหลักสูตรการสอนเพื่อการอ่านออกเขียนได้ในปี 2020 เป็นหนึ่งในงานวิจัยที่สั่นสะเทือนความเชื่อเดิมในการจัดการเรียนการสอนเพื่อการรู้หนังสือ หรือการอ่านออกเขียนได้ที่มีมากว่า 40 ของสหรัฐอเมริกาที่มีเทคนิคการสอนที่เน้นการอ่านบทความจำนวนมากและอ่านออกเสียงเพื่อให้เรียนรู้คำและเขียนคำได้ แท้ที่จริงกลับทำให้เด็ก ๆ เรียนรู้คำโดยไม่เข้าใจและนำไปใช้ไม่ได้ หรือแม้กระทั่งจดจำในการเขียนไม่ได้ด้วยซ้ำ อย่างไรก็ตามในการศึกษานี้ได้พบแง่มุมที่จะช่วยพัฒนาการรู้หนังสือให้อ่านออก เขียนได้ และเข้าใจ ด้วยการเรียนรู้ผ่านการอ่านร่วมกับสื่ออื่น ๆ เช่น ภาพประกอบ หรือเหตุการณ์ที่สร้างความเข้าใจในคำศัพท์ใหม่ ๆ ในบทเรียนนั้นมากกว่าเป็นแค่การอ่านออกเสียงหรือท่องจำอย่างเดียวเท่านั้น ที่จะช่วยให้เด็ก ๆ สามารถอ่านได้อย่างเข้าใจบริบท จดจำคำศัพท์และเขียนได้ด้วยความเข้าใจนั่นเอง 8.สร้างห้องเรียนเสมือนให้มีประสิทธิภาพด้วยการจัดระเบียบช่องทางการสื่อสาร ในปี 2020 ที่ทั่วโลกเผชิญสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ทำให้การเรียนการสอนออนไลน์เป็นเครื่องมือสำคัญในการจัดการเรียนรู้ให้ดำเนินต่อไปได้ภายใต้ภาวะวิกฤติเช่นนี้ โดยจากรายงานการศึกษาโดยมหาวิทยาลัย Georgia State ได้ชี้ประเด็นปัญหาสำคัญในการเรียนรู้ในห้องเรียนเสมือนนี้ที่ไม่ใช่แค่ว่านักเรียนเข้าถึงเทคโนโลยีได้ไหม แต่ระบบการจัดการเรียนรู้ทำให้เขาเข้าถึงบทเรียนได้แค่ไหน การจัดการช่องทางการสื่อสารและเรียนรู้ที่เข้าถึงง่ายและชัดเจนเป็นประเด็นที่จะช่วยให้การเรียนรู้ทางไกลของนักเรียนง่ายขึ้น ทั้งนี้รายงานดังกล่าวได้นำเสนอว่าบทเรียนที่ดีนั้นมี 4 องค์ประกอบ คือ 1) มีคำอธิบายชัดเจนและอ่านง่าย โดยไม่ควรตกแต่งเอกสารเกินความจำเป็น 2) มีช่องทางให้นักเรียนได้รับข้อเสนอแนะจากครูหรือเพื่อนร่วมชั้นเรียน 3) ใช้เกมหรือสถานการณ์จำลองเพื่อให้นักเรียนมีส่วนร่วมกับการเรียนอยู่เสมอ และ 4) มีช่องทางการเรียนรู้ที่เข้าถึงง่าย เอกสารมีที่อยู่ถาวร และสามารถสนับสนุนนักเรียนที่ประสบปัญหาทางเทคนิคได้ 9.การเรียน coding เกี่ยวข้องกับทักษะทางภาษามากกว่าคณิตศาสตร์ ความเชื่อดั้งเดิมว่าการเรียนรู้การเขียนคำสั่งโปรแกรมหรือ coding นั้นต้องใช้ทักษะทางการคำนวณเป็นหลัก แต่การศึกษาในปี 2020 กำลังท้าทายชุดความเชื่อนั้นโดยการทดลองกับบุคคลทั่วไปในวัยผู้ใหญ่ตอนต้น 36 คนที่ไม่เคยมีประสบการณ์เกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมมาอบรมการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วยภาษา Python เป็นเวลา 10 ครั้ง ครั้งละ 45 นาที ผลการศึกษาพบว่าผู้ที่เรียนรู้การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้นไม่ใช่ผู้ที่มีทักษะทางคณิตศาสตร์สูง แต่กลับเป็นผู้ที่มีทักษะทางภาษาที่เรียนรู้การ coding ได้ดีกว่าถึง 9 เท่าตัว การศึกษานี้ยังมีการกล่าวถึงข้อบังคับในการเรียนคณิตศาสตร์ขั้นสูงเพื่อผ่านเกณฑ์สำหรับการศึกษาการเขียนโปรแกรมด้วยว่าแทบไม่มีความจำเป็นในการใช้บทเรียนเหล่านั้นในการเขียนโปรแกรมเลย ดังนั้นจึงอาจถึงเวลาที่จะเกิดการทบทวนเกี่ยวกับเกณฑ์บังคับเหล่านี้เสียใหม่ 10.สอนอ่านเพื่อจับใจความสำคัญเพิ่มทักษะด้านการอ่านได้ไม่เท่าการอ่านในวิชาสังคมศึกษา การเรียนภาษาเพื่อความเข้าใจเนื้อหาด้วยการค้นหาประเด็นใจความสำคัญแล้วสรุปความอาจเป็นความพยายามที่ต้องทุ่มเทเวลาไปอย่างไม่คุ้มค่าอีกต่อไป เมื่องานวิจัยในปี 2020 ที่ศึกษาด้านการอ่านกับนักเรียนกว่า 18,000 คน ตั้งแต่เริ่มเรียนระดับอนุบาลจนกระทั่งประถมศึกษาปีที่ 5 การศึกษาระยะยาวนี้ค้นพบว่าแม้ว่านักเรียนส่วนใหญ่จะใช้เวลาเรียนภาษาในโรงเรียนมากกว่าวิชาสังคมศึกษา แต่การอ่านในวิชาสังคมศึกษากลับส่งผลดีด้านการพัฒนาทักษะด้านการอ่านจับประเด็นมากกว่าการเรียนภาษาด้านการอ่านโดยตรง ดังนั้นการเปิดโอกาสให้เด็ก ๆ ได้อ่านบทความเกี่ยวกับหน้าที่พลเมือง ประวัติศาสตร์ หรือกฎหมาย (ที่เกี่ยวข้องกับชีวิตของพวกเขา) นั้นเป็นกลวิธีส่งเสริมการอ่านที่มีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะเมื่อนักเรียนมีความรู้พื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่อ่านก็จะมีโอกาสที่จะอ่านจับใจความได้มากขึ้น รวมทั้งเป็นการพัฒนาการเรียนรู้ด้วยการดึงข้อมูลจากความทรงจำระยะยาวซึ่งทำให้เขามีพื้นที่ความทรงจำที่มากขึ้นในการอ่านเพื่อทำความเข้าใจและจับใจความได้ดียิ่งขึ้น ขอบคุณข้อมูลจาก – https://www.facebook.com/ESDCenterEduChula/ EZ Webmaster Related Posts เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ รวมบุคคลสำคัญของแต่ละมหาวิทยาลัยไทย มาให้ทุกคนได้รู้กัน !! ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา เปิดรอบ 5 รับตรงอิสระ เรียน 6 สาขา ถึง 20 มิ.ย.นี้ สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ “เปิดสถิติ TCAS66-68 : รอบ 1-3 ใครสมัครเยอะ ใครได้ที่เรียนเยอะที่สุด และ 10 คณะฮิตไม่เปลี่ยน!” Post navigation PREVIOUS Previous post: มทร.ธัญบุรี เปิดรับรอบสอบตรง วุฒิ ปวช. ปวส. เริ่ม 23 ม.ค.นี้!NEXT Next post: รมว.ศธ. ยันเปิดเรียนกำหนดเดิม 1 ก.พ.นี้ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search
ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน…
สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน…
EZ Webmaster January 19, 2021 EZ Webmaster January 19, 2021 มาดู 10 ประเด็นเรียนรู้สำคัญของวงการศึกษาในปี 2020 ในปี 2563 ที่เพิ่งจบสิ้นไปในไม่กี่วันนี้ นับเป็นปีแห่งการเปลี่ยนแปลงที่เราต่างต้องปรับตัวครั้งสำคัญ อย่างไรก็ตามเราก็ไม่หยุดเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ เพื่อยืนยันความเชื่อในการจัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพและเท่าเทียมท่ามกลางวิกฤติหรือในช่วงเวลาปกติให้ได้ ทางเว็บไซต์ Edutopia ได้รวมรวมบทเรียนสำคัญที่เกิดขึ้นในปี 2020 ที่ศูนย์วิจัยฯ นำมาเสนอดังนี้ 1.เรียนรู้คำศัพท์ใหม่ ๆ ให้ได้ผลดีด้วยการให้เด็ก ๆ เป็นตัวแสดงแทน จากการศึกษาเกี่ยวกับการจดจำคำศัพท์ในการเรียนภาษากับนักเรียนอายุ 8 ขวบ นักวิจัยขอให้เด็ก ๆ แสดงท่าทางเกี่ยวกับคำศัพท์ใหม่ เช่น ทำมือเป็นเครื่องบินเมื่อเรียนรู้เกี่ยวกับคำนั้น โดยเมื่อผ่านไปหลายเดือนก็พบว่านักเรียนสามารถเรียนรู้และจดจำคำศัพท์ได้ดีขึ้นกว่า 2 เท่ามากกว่าการฟังหรือท่องจำอย่างเดียว นอกจากนี้นักวิจัยยังพบว่าการดูภาพขณะฟังคำศัพท์ก็ได้ผลลัพธ์ที่ดีเช่นกัน แต่ได้ผลน้อยกว่าการให้เด็ก ๆ ได้แสดงท่าทางเกี่ยวกับคำศัพท์เหล่านั้น อย่างไรก็ตามมันก็เป็นเครื่องมือที่จะช่วยให้คุณครูได้กระตุ้นการเรียนรู้คำศัพท์ด้วยวิธีต่าง ๆ เช่น วาดภาพเกี่ยวกับคำศัพท์นั้น หรือการจับคู่รูปภาพที่เกี่ยวข้อง 2.การเขียนด้วยมือสร้างการเรียนรู้ได้ดีกว่า จากการวิจัยในอดีตได้มีการศึกษาแล้วว่าทักษะการอ่านจะพัฒนาได้ดีเมื่อเด็ก ๆ ฝึกเขียนจดหมายด้วยลายมือตัวเองมากกว่าพิมพ์แล้วปริ้นท์ออกมาอ่าน ซึ่งยืนยันด้วยงานวิจัยในปี 2020 ที่นักวิทยาศาสตร์ทางสมองได้ทำการศึกษาเรียนรู้ของนักเรียนเกรด 7 (มัธยมศึกษาปีที่ 1) ด้วยการทดสอบทางสมองขณะที่เด็ก ๆ กำลังเขียน วาดรูป และพิมพ์บนแป้นพิมพ์ พบว่าสมองของนักเรียนมีการส่งสัญญาณประสาทที่บ่งชี้ึการเรียนรู้อย่างลึกซึ้งขณะทำการเขียนและการวาดภาพ ซึ่งนักวิจัยก็ได้เพิ่มเติมว่าการได้เคลื่อนไหวมือผ่านการวาดหรือเขียนจะกระตุ้นการรับรู้ของสมองได้ดีกว่า แต่ก็ปฏิเสธไม่ได้ว่าทักษะทางเทคโนโลยีก็เป็นสิ่งสำคัญที่ต้องฝึกฝนเช่นกัน ตลอดจนการใช้เทคโนโลยีเพื่อช่วยเหลือด้านการเรียนรู้สำหรับเด็กนักเรียนที่มีภาวะบกพร่องทางการเรียนรู้ด้านการสะกดคำ (dyslexia) ที่ทำให้เขาเรียนรู้ได้ดีกว่าด้วย 3.คะแนนสูงกลับแปรผันทางลบต่อการความสำเร็จการศึกษา จากการศึกษาผลการทดสอบ ACT ในประเทศสหรัฐอเมริกาที่ใช้เป็นเกณฑ์ในการรับเข้ามหาวิทยาลัยเช่นเดียวกับการทดสอบ SAT นั้น พบว่านักเรียนที่มีผลสอบเข้ามหาวิทยาลัยในเกณฑ์สูงกลับมีความสามารถในการฝ่าฝันความยากลำบากในการเรียนมหาวิทยาลัยได้ต่ำกว่า ขณะที่ผลการเรียนในระดับมัธยมปลายกลับเป็นตัวแปรที่ชี้ความสำเร็จของนักเรียนได้มากกว่า นั่นเพราะบ่งบอกถึงทักษะการกำกับตนเองและจัดการเวลาในการเรียนที่เป็นปัจจัยสำคัญในการเรียนมหาวิทยาลัย หากมองย้อนมายังกรณีของประเทศไทย ก็พูดได้ยากว่าผลการเรียนตอนเรียนมัธยมจะเป็นสิ่งบ่งชี้ความสามารถในการเรียนในระดับมหาวิทยาลัยได้ดีกว่าหรือไม่ เพราะเรายังคงมีคำถามเกี่ยวกับมาตรฐานการให้เกรดที่ยังไม่เป็นมาตรฐานระหว่างโรงเรียนต่างขนาดและต่างพื้นที่ด้วยเช่นกัน 4.วางเกณฑ์การประเมินแบบรูบริก (rubric) ช่วยให้ครูลดอคติที่เกิดขึ้นอย่างไม่ตั้งใจ เป็นที่เข้าใจกันดีว่าเมื่อครูมีเกณฑ์มาตรฐานในการประเมินที่ชัดเจนและตั้งมั่นอยู่กับเกณฑ์มาตรฐานนั้น จะทำให้การพิจารณาคะแนนเที่ยงธรรมมากขึ้น โดยจากการศึกษา คุณครูกว่า 1,500 คนในการประเมินงานเขียนของนักเรียนเกรด 2 (ประมาณประถมศึกษาปีที่ 2) พบว่าคุณครูมักให้คะแนนนักเรียนที่มีชื่อว่า Connor ง่ายกว่านักเรียนคนอื่น ๆ โดยไม่รู้ตัว แต่เมื่อคุณครูมีเกณฑ์ที่ชัดเจน เช่น การระบุว่านักเรียนมีการเขียนบรรยายได้ครบถ้วนชัดเจน ก็ทำให้เกิดมาตรฐานที่ชัดเจนมากยิ่งขึ้น ถึงแม้ว่าการประเมินอาจเป็นเรื่องที่คุณครูทำโดยเคยชินจนรู้สึกว่ามีแค่เกณฑ์หลวม ๆ ก็ได้ แต่หากว่าหลายครั้ง “ชื่อ” ของนักเรียนก็อาจส่งผลต่อการประเมินได้เช่นกัน มันคงจะดีขึ้นมากหากคุณครูเสียเวลาขึ้นสักนิดในการระบุเกณฑ์ที่ชัดเจนและสมเหตุสมผลเพื่อให้คะแนนสามารถเกณฑ์มาตรฐานในการสะท้อนผลการเรียนรู้ให้แก่นักเรียนได้ 5.เมื่อโรงไฟฟ้าถ่านหินปิดตัวลงกลับส่งผลต่อการเรียนรู้อย่างไม่น่าเชื่อ การตีพิมพ์ผลการศึกษาในปี 2020 เกี่ยวกับผลของการปิดโรงไฟฟ้าถ่านหินในพื้นที่เมืองชิคาโกต่ออัตราการขาดเรียนของนักเรียนในโรงเรียนพื้นที่ใกล้เคียงโรงไฟฟ้าที่เกี่ยวข้องกับอาการหอบหืด พบว่านักเรียนมีอัตราการมาเรียนเพิ่มมากขึ้น การศึกษานี้เป็นภาพสะท้อนสำคัญว่าปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม คุณภาพอากาศ อัตราอาชญากรรมในพื้นที่ แม้กระทั่งมลภาวะทางเสียง เป็นตัวแปรสำคัญที่ส่งผลต่อความพร้อมและคุณภาพในการเรียนรู้ของเด็ก ๆ แม้แต่ในประเทศสหรัฐอเมริกาเองก็มีเด็กกว่า 2.3 ล้านที่เข้าเรียนในโรงเรียนซึ่งตั้งอยู่ห่างจากโรงไฟฟ้าถ่านหินไม่เกิน 10 กิโลเมตร และมันหมายถึงค่าเสียโอกาสที่จะเกิดขึ้นกับผู้คนในอนาคต ความเท่าเทียมทางการศึกษาจึงไม่ได้หยุดอยู่แค่รั้วโรงเรียน หากแต่ช่องว่างแห่งความสำเร็จในชีวิตเป็นสิ่งที่อยู่ในช่องว่างแห่งความเท่าเทียมที่หยั่งรากลึกในช่วงปีแรก ๆ ของชีวิต ดังนั้นมันเป็นไปไม่ได้เลยที่เราจะทลายความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาโดยไม่เผชิญหน้ากับความไม่เท่าเทียมในเมือง เขตพื้นที่อยู่อาศัยของเรา ตลอดจนที่หลังบ้านของเราเอง 6.นักเรียนที่ตั้งคำถามที่ดี คือผู้ที่เรียนรู้ได้ดียิ่งกว่า จากการศึกษาเกี่ยวกับการจดจำการเรียนรู้ในระยะยาวของนักศึกษาระดับมหาวิทยาลัย โดยการให้ตั้งคำถามเกี่ยวกับบทเรียน การทดสอบย่อยหลังบทเรียน และการเรียนทบทวน พบว่าการสรุปการเรียนรู้โดยการฝึกให้ผู้เรียนตั้งคำถามจากบทเรียนแล้วผู้สอนชี้ประเด็นให้เกิดการตั้งคำถามเพิ่มเติมจนครอบคลุมนั้น ส่งผลให้ผู้เรียนมีผลการสอบปลายภาคดีกว่าการเรียนทบทวนกว่าร้อยละ 13 และแม้ว่าผู้เรียนที่สรุปการเรียนด้วยการตั้งคำถามและหาคำตอบด้วยตัวเองจะมีผลสอบปลายภาคในข้อที่เกี่ยวข้องกับบทเรียนไม่ต่างกับกลุ่มที่ใช้การทดสอบย่อยท้ายบทมากนัก แต่กลับมีผลการเรียนรู้ที่สูงกว่าอย่างเห็นได้ชัดในข้อคำถามประเภทประยุกต์ใช้ จากการศึกษานี้จึงสรุปได้ว่าการเรียนทบทวน โดยเฉพาะการเน้นคำ ขีดเส้นใต้คำสำคัญนั้นไม่เป็นผลดีต่อการเรียนรู้ที่มีความหมายต่อชีวิตของนักเรียนอีกต่อไปแล้ว แต่การฝึกให้นักเรียนเป็นผู้ตั้งคำถามอย่างรอบด้านและเกิดการเรียนรู้อย่างลึกซึ้งก็เป็นทักษะที่คุณครูสามารถช่วยให้นักเรียนเรียนรู้ได้อย่างมีความหมายและยิ่งยืนได้มากกว่า 7.อ่านเยอะแค่ไหนก็ไม่ได้ส่งผลต่อการอ่านออกเขียนได้ ถ้าไม่ได้อ่านอย่างเข้าใจ การศึกษาเกี่ยวกับหลักสูตรการสอนเพื่อการอ่านออกเขียนได้ในปี 2020 เป็นหนึ่งในงานวิจัยที่สั่นสะเทือนความเชื่อเดิมในการจัดการเรียนการสอนเพื่อการรู้หนังสือ หรือการอ่านออกเขียนได้ที่มีมากว่า 40 ของสหรัฐอเมริกาที่มีเทคนิคการสอนที่เน้นการอ่านบทความจำนวนมากและอ่านออกเสียงเพื่อให้เรียนรู้คำและเขียนคำได้ แท้ที่จริงกลับทำให้เด็ก ๆ เรียนรู้คำโดยไม่เข้าใจและนำไปใช้ไม่ได้ หรือแม้กระทั่งจดจำในการเขียนไม่ได้ด้วยซ้ำ อย่างไรก็ตามในการศึกษานี้ได้พบแง่มุมที่จะช่วยพัฒนาการรู้หนังสือให้อ่านออก เขียนได้ และเข้าใจ ด้วยการเรียนรู้ผ่านการอ่านร่วมกับสื่ออื่น ๆ เช่น ภาพประกอบ หรือเหตุการณ์ที่สร้างความเข้าใจในคำศัพท์ใหม่ ๆ ในบทเรียนนั้นมากกว่าเป็นแค่การอ่านออกเสียงหรือท่องจำอย่างเดียวเท่านั้น ที่จะช่วยให้เด็ก ๆ สามารถอ่านได้อย่างเข้าใจบริบท จดจำคำศัพท์และเขียนได้ด้วยความเข้าใจนั่นเอง 8.สร้างห้องเรียนเสมือนให้มีประสิทธิภาพด้วยการจัดระเบียบช่องทางการสื่อสาร ในปี 2020 ที่ทั่วโลกเผชิญสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ทำให้การเรียนการสอนออนไลน์เป็นเครื่องมือสำคัญในการจัดการเรียนรู้ให้ดำเนินต่อไปได้ภายใต้ภาวะวิกฤติเช่นนี้ โดยจากรายงานการศึกษาโดยมหาวิทยาลัย Georgia State ได้ชี้ประเด็นปัญหาสำคัญในการเรียนรู้ในห้องเรียนเสมือนนี้ที่ไม่ใช่แค่ว่านักเรียนเข้าถึงเทคโนโลยีได้ไหม แต่ระบบการจัดการเรียนรู้ทำให้เขาเข้าถึงบทเรียนได้แค่ไหน การจัดการช่องทางการสื่อสารและเรียนรู้ที่เข้าถึงง่ายและชัดเจนเป็นประเด็นที่จะช่วยให้การเรียนรู้ทางไกลของนักเรียนง่ายขึ้น ทั้งนี้รายงานดังกล่าวได้นำเสนอว่าบทเรียนที่ดีนั้นมี 4 องค์ประกอบ คือ 1) มีคำอธิบายชัดเจนและอ่านง่าย โดยไม่ควรตกแต่งเอกสารเกินความจำเป็น 2) มีช่องทางให้นักเรียนได้รับข้อเสนอแนะจากครูหรือเพื่อนร่วมชั้นเรียน 3) ใช้เกมหรือสถานการณ์จำลองเพื่อให้นักเรียนมีส่วนร่วมกับการเรียนอยู่เสมอ และ 4) มีช่องทางการเรียนรู้ที่เข้าถึงง่าย เอกสารมีที่อยู่ถาวร และสามารถสนับสนุนนักเรียนที่ประสบปัญหาทางเทคนิคได้ 9.การเรียน coding เกี่ยวข้องกับทักษะทางภาษามากกว่าคณิตศาสตร์ ความเชื่อดั้งเดิมว่าการเรียนรู้การเขียนคำสั่งโปรแกรมหรือ coding นั้นต้องใช้ทักษะทางการคำนวณเป็นหลัก แต่การศึกษาในปี 2020 กำลังท้าทายชุดความเชื่อนั้นโดยการทดลองกับบุคคลทั่วไปในวัยผู้ใหญ่ตอนต้น 36 คนที่ไม่เคยมีประสบการณ์เกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมมาอบรมการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วยภาษา Python เป็นเวลา 10 ครั้ง ครั้งละ 45 นาที ผลการศึกษาพบว่าผู้ที่เรียนรู้การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้นไม่ใช่ผู้ที่มีทักษะทางคณิตศาสตร์สูง แต่กลับเป็นผู้ที่มีทักษะทางภาษาที่เรียนรู้การ coding ได้ดีกว่าถึง 9 เท่าตัว การศึกษานี้ยังมีการกล่าวถึงข้อบังคับในการเรียนคณิตศาสตร์ขั้นสูงเพื่อผ่านเกณฑ์สำหรับการศึกษาการเขียนโปรแกรมด้วยว่าแทบไม่มีความจำเป็นในการใช้บทเรียนเหล่านั้นในการเขียนโปรแกรมเลย ดังนั้นจึงอาจถึงเวลาที่จะเกิดการทบทวนเกี่ยวกับเกณฑ์บังคับเหล่านี้เสียใหม่ 10.สอนอ่านเพื่อจับใจความสำคัญเพิ่มทักษะด้านการอ่านได้ไม่เท่าการอ่านในวิชาสังคมศึกษา การเรียนภาษาเพื่อความเข้าใจเนื้อหาด้วยการค้นหาประเด็นใจความสำคัญแล้วสรุปความอาจเป็นความพยายามที่ต้องทุ่มเทเวลาไปอย่างไม่คุ้มค่าอีกต่อไป เมื่องานวิจัยในปี 2020 ที่ศึกษาด้านการอ่านกับนักเรียนกว่า 18,000 คน ตั้งแต่เริ่มเรียนระดับอนุบาลจนกระทั่งประถมศึกษาปีที่ 5 การศึกษาระยะยาวนี้ค้นพบว่าแม้ว่านักเรียนส่วนใหญ่จะใช้เวลาเรียนภาษาในโรงเรียนมากกว่าวิชาสังคมศึกษา แต่การอ่านในวิชาสังคมศึกษากลับส่งผลดีด้านการพัฒนาทักษะด้านการอ่านจับประเด็นมากกว่าการเรียนภาษาด้านการอ่านโดยตรง ดังนั้นการเปิดโอกาสให้เด็ก ๆ ได้อ่านบทความเกี่ยวกับหน้าที่พลเมือง ประวัติศาสตร์ หรือกฎหมาย (ที่เกี่ยวข้องกับชีวิตของพวกเขา) นั้นเป็นกลวิธีส่งเสริมการอ่านที่มีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะเมื่อนักเรียนมีความรู้พื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่อ่านก็จะมีโอกาสที่จะอ่านจับใจความได้มากขึ้น รวมทั้งเป็นการพัฒนาการเรียนรู้ด้วยการดึงข้อมูลจากความทรงจำระยะยาวซึ่งทำให้เขามีพื้นที่ความทรงจำที่มากขึ้นในการอ่านเพื่อทำความเข้าใจและจับใจความได้ดียิ่งขึ้น ขอบคุณข้อมูลจาก – https://www.facebook.com/ESDCenterEduChula/