โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนประจวบวิทยาลัย EZ WebmasterJune 20, 2025 วันนี้ทั้งเล่น ทั้งได้ความรู้ ทั้งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนประจวบวิทยาลัย จ.ประจวบคีรีขันธ์ วันที่20/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสามร้อยยอดวิทยาคม EZ WebmasterJune 20, 2025 กิจกรรมสร้างสรรค์ ความสุขเล็กๆ ที่ยิ่งสนุกสนาน โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนสามร้อยยอดวิทยาคม จ.ประจวบคีรีขันธ์ วันที่20/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศ EZ WebmasterJune 20, 2025 มาทำให้วันธรรมดา กลายเป็นวันพิเศษกันเถอะ! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศ จ.เพชรบุรี วันที่20/06/68 โดยวิทยากร อ.ธารา อิสสระ (พี่แฮนด์… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนรัตนราษฎร์บำรุง EZ WebmasterJune 20, 2025 สร้างความสุข สร้างความทรงจำดีๆ ให้เด็กๆ ทุกคน โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนรัตนราษฎร์บำรุง จ.ราชบุรี วันที่19/06/68 โดยวิทยากร อ.ธารา… นักศึกษา โรงเรียนปลอดมือถือ! อังกฤษ-ออสเตรเลียเริ่มแล้ว ดึงเด็กกลับมาสนใจครูในห้องเรียน EZ WebmasterJune 20, 2025 วันที่ 10 มิถุนายน 2568 – ในช่วงหลายเดือนที่ผ่านมา แวดวงการศึกษาในประเทศพัฒนาแล้วต่างให้ความสนใจประเด็น “โรงเรียนปลอดโทรศัพท์มือถือ (Phone-Free School)” อย่างจริงจัง ล่าสุดมีความเคลื่อนไหวชัดเจนจาก ประเทศอังกฤษและออสเตรเลีย ที่เริ่มนำร่องมาตรการควบคุมการใช้อุปกรณ์ดิจิทัลในโรงเรียนระดับมัธยมอย่างเข้มงวด จากรายงานของ สำนักข่าว BBC ระบุว่า… มธ. ปักหมุดหลักสูตร ‘AI Ethics’ หนุนบริบทใหม่ของห้องเรียนทันโลก สร้างจุดยืนคนรุ่นใหม่ ‘ใช้เอไออย่างมีจริยธรรม’ พร้อมเดินหน้าวางหมุดหมายระบบการศึกษาไทย กับการปลุกการใช้เทคฯ คู่ธรรมาภิบาล คาดเริ่มเปิดลงทะเบียนพร้อมเรียนจริง สิงหาคม 68 นี้ EZ WebmasterJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) ตอกย้ำจุดยืนเชิงรุกต่อการเปลี่ยนผ่านของโลกยุคดิจิทัล ผ่านการพัฒนาหลักสูตร “AI Ethics” หรือจริยธรรมปัญญาประดิษฐ์ ภายใต้ยุทธศาสตร์ Thammasat Next Century เตรียมความพร้อมให้เยาวชนไทยมีทั้งความรู้ ความสามารถ และความรับผิดชอบในการใช้งานเทคโนโลยีอย่างเหมาะสม โดยเฉพาะในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อที่ปัญญาประดิษฐ์กำลังกลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวัน ทั้งในห้องเรียน ที่ทำงาน และบนแพลตฟอร์มออนไลน์ต่าง ๆ โดยหลักสูตรนี้ถูกวางให้เป็นรากฐานสำคัญของระบบการศึกษายุคใหม่ ที่ไม่เพียงเน้นทักษะด้านเทคนิคเท่านั้น แต่ยังปลูกฝังค่านิยมที่ถูกต้องในการอยู่ร่วมกับเทคโนโลยี พร้อมชี้ให้เห็นถึงความเสี่ยงของ AI ที่เกิดจาก… 11 สาเหตุลึกซึ้ง ทำไมการศึกษาไทยยังตกต่ำ? เสียงสะท้อนจากครูชนบท สู่คำถามใหญ่ของสังคม EZ WebmasterJune 19, 2025 ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ประเทศไทยกำลังเผชิญกับวิกฤตคุณภาพทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง แม้จะมีความพยายามปฏิรูปหลายครั้ง แต่กลับไม่สามารถยกระดับการเรียนรู้ให้เทียบเท่าประเทศเพื่อนบ้านได้อย่างแท้จริงนายสานิตย์ พลศรี นายกสมาคมครูชนบทจังหวัดชัยภูมิ ในหัวข้อ “สาเหตุของปัญหาคุณภาพด้านการศึกษาประเทศไทยที่ตกต่ำ” ซึ่งกำลังถูกส่งต่ออย่างกว้างขวางในโซเชียลมีเดียและกลุ่มไลน์ของคนในแวดวงการศึกษาเสียงสะท้อนจากผู้ที่อยู่ในภาคสนามจริงอย่างนายสานิตย์ ทำให้เราได้เห็นภาพที่ชัดเจนมากขึ้นว่า ปัญหาไม่ได้อยู่ที่ตัวนักเรียนหรือครูเพียงลำพัง แต่เป็นผลสะสมจากโครงสร้าง ระบบ และการบริหารที่ผิดทิศผิดทางมานานจึงเป็นการเปิดประเด็นให้สังคมได้ทบทวนร่วมกันว่า หากเราไม่เริ่ม “เปลี่ยนจริง” คุณภาพการศึกษาของไทยอาจยิ่งตกต่ำลงกว่าที่เป็นอยู่ 11… ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา EZ WebmasterJune 18, 2025 วิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิทักษ์ ธรรมวาริน (คนที่ 4 จากซ้าย) คณบดีวิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สจล. และ Mr. Alfonso Martin (คนที่ 3… ทุนดีดี ทุนImperial Athletes Sport InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 20, 2025 Imperial College London เสนอทุนการศึกษา Imperial Athletes Sport เพื่อสนับสนุนนักกีฬาที่มีพรสวรรค์สำหรับปีการศึกษา 2025/2026 โดยเปิดโอกาสให้เลือกเรียนในหลากหลายสาขาวิชา เปิดรับใบสมัครถึง 4 สิงหาคม 2025 หากคุณกำลังแข่งขันในระดับภูมิภาค ระดับชาติ หรือระดับนานาชาติในกีฬาของคุณ และแสดงให้เห็นถึงพรสวรรค์… Kazan Global Youth Summit InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 19, 2025 เชิญเยาวชนสมัครคัดเลือกเข้าร่วมการประชุม Kazan Global Youth Summit ครั้งที่ 4 ระหว่างวันที่ 27 – 30 สิงหาคม 2568 ณ เมืองคาซาน สาธารณรัฐตาตาร์สตาน สหพันธรัฐรัสเซีย จัดโดยรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐตาตาร์สตาน… SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… ครู-อาจารย์ จุฬาฯ ผงาดอันดับ Top 44 ของโลกด้านความยั่งยืน ใน THE Impact Rankings 2025 ครองอันดับ 1 ของไทยอีกครั้ง tui sakrapeeJune 20, 2025 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยผงาดอันดับ Top 44 ของโลก และครองอันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทยอีกครั้งหนึ่ง จากการจัดอันดับโดย Times Higher Education Impact Rankings 2025 ด้วยผลงานที่โดดเด่นในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนและสร้างผลกระทบสูงต่อสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง SDG 9… หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 📚เริ่มเรียน กรกฎาคม 2568 ถึง มกราคม 2569 ทุกวันพฤหัสบดี 11:00 – 18:00 น.… มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ… สจล. เดินหน้ากระชับความร่วมมือทางวิชาการ กับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของจีน EZ WebmasterJune 19, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เดินหน้ากระชับความสัมพันธ์ทางวิชาการกับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งเป็นพันธมิตรที่มีความร่วมมือกันมานานกว่า 20 ปี เพื่อหารือขยายความร่วมมือเชิงลึกในสาขาวิศวกรรมขั้นสูง โดยเฉพาะด้าน Aerospace, Mechatronics, Automation และ Astronautics ซึ่ง HIT ถือเป็นสถาบันชั้นนำของจีนในด้านนี้ พร้อมทั้งหารือแนวทางความร่วมมือด้านการแลกเปลี่ยนนักศึกษา นักวิจัย และการพัฒนาโครงการ Joint Degree ในอนาคต รองศาสตราจารย์… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster April 16, 2020 EZ Webmaster April 16, 2020 ถาปัตย์ ม.รังสิต ตะลุยภูชีฟ้า ออกแบบ และก่อสร้าง “เฮือนฮ่วมใจ๋” ศาลาอเนกประสงค์ สำหรับสถานีและเจ้าหน้าที่ควบคุมไฟป่า ภูชี้ฟ้า “เฮือนฮ่วมใจ๋” เป็นเรือนร่มใจ ,ร่มฤดี ร่มเรือนที่ทำให้จิตใจสงบ เรือนสำหรับผู้เข้าอบรมใช้รับประทานอาหาร และแบ่งกลุ่มเพื่อปรึกษาหารือการป้องกันไฟป่า เรือนที่รวมตัวพวกเราทุกคน สร้างขึ้นมาด้วยมือ และหัวใจ โดย นักศึกษาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จาก Studio Design Lab มหาวิทยาลัยรังสิต อาจารย์ไพบูลย์ กิตติกูล อาจารย์ประจำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ในฐานะประธานโครงการ กล่าวว่า โครงการนี้เป็นโครงการต่อเนื่องจากการศึกษาโครงการ 4+1 และวิชาการออกแบบสถาปัตยกรรม 6 (ARC429) ภาคการศึกษาที่ 2/2562 ภายใต้ชื่อโครงการทัศนศึกษาและปฏิบัติการ (Workshop) ในหัวข้อ Tectonic ความหมายของศิลปะในการ ก่อ- สร้าง ประกอบด้วยหลายส่วนตั้งแต่ สุนทรียศาสตร์ เทคนิคกรรมวิธีที่ดี วัสดุที่เลือกมาใช้ในการก่อสร้างให้เหมาะสมกับบริบท และรูปแบบโครงสร้างก่อเป็นรูปทรงที่ตอบสนองการใช้งาน รวมถึงบูรณาการความคิดความรู้ในเชิงช่างของพื้นที่มาออกแบบสร้างอาคารให้งดงามน่าสนใจ โดยได้นำนักศึกษาจาก Studio Design Lab กว่า 10 คน ลงพื้นที่ทดลองก่อสร้างงานที่ออกแบบด้วยการลงมือทำจริง สร้างศาลาอเนกประสงค์ “เฮือนฮ่วมใจ๋” อาคารไผ่ รองรับคนได้จำนวน 40-50 คน สำหรับเป็นที่พักผ่อนและ รับประทานอาหาร แก่เจ้าหน้าที่ดับไฟ ณ สถานีควบคุมไฟป่าภูชีฟ้า จังหวัดเชียงราย และมอบให้ทางสถานีควบคุมไฟป่า ภูชี้ฟ้า เพื่อเป็นสาธารณะประโยชน์ต่อไป สำหรับโครงการนี้เป็นการบูรณาการการเรียนการสอนร่วมระหว่างคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี มีนโยบายความร่วมมือทางวิชาการเน้นการเรียนการสอนในชั้นเรียน ควบคู่กับการปฏิบัติงานจริงนอกห้องเรียนเพื่อประสบการณ์ตรงในการพบเห็นและเรียนรู้ การ Workshop หนึ่งในรูปแบบที่ช่วยเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจแก่นักศึกษาสถาปัตยกรรมศาสตร์ร่วมกันระหว่างสถาบัน แนวทางการศึกษาปฏิบัติเป็นการต่อยอดประเด็นการเรียนในเรื่อง Tentonic ในขั้นตอนสุดท้ายของการเรียนการสอนในห้องเรียนนั่นคือ หลังจากการออกแบบทำรูปจำลองแล้ว ต้องมีการลงมือทำ ก่อสร้าง เรียนรู้ขั้นตอนของการปฏิบัติจากการหยิบจับและทดลองสร้างผ่านสัดส่วนจริง วัสดุจริง และแก้ปัญหาจากสถานการณ์จริงในภาคสนาม ทำให้นักศึกษาเกิดความเข้าใจกระบวนการออกแบบ ก่อสร้าง และเข้าใจนิยามความหมายของวัสดุ และเทคนิคในการก่อสร้างได้ทุกมิติ แนวทางการลงพื้นที่ภาคสนามก่อสร้างศาลาอเนกประสงค์นั้นทาง Studio Design Lab โดยคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ได้ประสานงานร่วมกับทางสถาปนิกผู้รับผิดชอบโครงการปรับปรุงซ่อมแซม และทางสถานีควบคุมไฟป่าภูชีฟ้า จังหวัดเชียงราย เพื่อเตรียมข้อมูลที่จำเป็นสำหรับความประสงค์ของสถานี มาพัฒนาออกแบบก่อนขั้นต้นและ ระหว่างการก่อสร้างอาคาร จะมีการสอดแทรกเทคนิค ความรู้ในงานไม้และฝีมือในเชิงช่างจากประสบการณ์จริง โดยมีอาจารย์ หัวหน้าสถานีควบคุมไฟป่า และสถาปนิกโครงการ คอยให้คำแนะนำการทำงานจริงตลอดกว่า 1 สัปดาห์ คุณสันธาน เวียงสิมา หนึ่งในผู้ริเริ่มโครงการในฐานะสถาปนิกประจำโครงการ กล่าวว่า “ด้วยสถานการณ์ไฟป่าที่เกิดขึ้นประกอบกับสภาพทางสังคมของชุมชนบนภูชีฟ้านี้เอง จากที่ได้สัมผัสพบว่าพื้นที่แห่งนี้มีทรัพย์ดิน สินในน้ำ มีความอุดมสมบูรณ์ที่ในฐานะคนเมืองอย่างเราไม่มี แต่ชาวบ้านพื้นถิ่นเหล่านั้นมีแต่กลับมองข้ามพยายามสรรหาวัสดุ หรือสิ่งแปลปลอมจากพื้นราบมาใช้ นำมาซึ่งการเกิดโครงการที่อยากจะช่วยให้ชาวบ้านได้เห็นว่าทรัพยากรพื้นถิ่นที่เป็นสมบัติของเขาสามารถทำประโยชน์ได้นานาประการ และชาวบ้านเองมีองค์ความรู้จากสภาพแวดล้อมพื้นถิ่นที่ควรส่งต่อไปยังคนรุ่นใหม่ จึงได้ร่วมกับอาจารย์จากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิยาลัยรังสิต จัดกิจกรรมเพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้เหล่านั้นและสร้างจิตสำนึกแก่นักศึกษาเพื่อให้เกิดความรับผิดชอบต่อสังคมจากการเรียนรู้ปัญหาจริงของสังคมที่นักศึกษาอาจพบเจอสถานการณ์จริงเมื่อจบไปเป็นสถาปนิกในอนาคต ก่อนการลงพื้นที่ได้บรรยายเพื่อเปิดมุมมอง โลกทรรศน์ ให้ความรู้ในทางทฤษฎีสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น แนวคิด และประเด็นทางเทคนิคในการก่อสร้างก่อน จากนั้นเมื่อลงพื้นที่จริงนักศึกษาได้เริ่มเรียนรู้การสัมผัสวัสดุ การก่อสร้างจากวัสดุธรรมชาติด้วยวิธีธรรมชาติ มีการสร้างทัศนคติเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมช่าติต่าง ๆ ซึ่งเป็นวัสดุเชิงสร้างสรรค์ที่นักศึกษาสามารถหยิบยกมาออกแบบเชิงสถาปัตยกรรมได้ นักศึกษาได้รับการชี้แนะโดยเน้นกระบวนการ ปรับวิธีคิด เป็นวิธีทำ ต้องทำอย่างไร? จากจินตนาการสู่กระดาษ จากกระดาษสู่คอมพิวเตอร์ จากคอมพิวเตอร์สู่หุ่นจำลอง ๑:๑ จากหุ่นจำลอง ๑:๑ สู่งานก่อสร้างจริง ศาลาเอนกประสงค์โครงสร้างไผ่และฐานดินซีเมนต์ ซึ่งจากการลงพื้นที่ครั้งนี้น่ายินดีที่เห็นว่านักศึกษามีศักยภาพ มีพื้นฐานที่ดีจากการเรียนในห้อง ขณะที่ส่วนหน้างานนักศึกษาได้สัมผัสการทำงาน เข้าใจว่าการก่อสร้างด้วยวัสดุทางธรรมชาติที่ไม่ง่าย เป็นงานที่ต้องใช้ความอดทน ความพยายาม นักศึกษาลงมือเลื่อยไผ่เอง ได้เรียนรู้วิธีการแต่ละขั้นตอนด้วยตัวเอง ระหว่างการทำงานที่มีการแบ่งทีมรับผิดชอบ มีการแก้ปัญหาปรับเปลี่ยนหน้างานอยู่ตลอด และนักศึกษาก็ทำได้ ที่สำคัญคือนักศึกษามีทัศนคติที่ดีต่องานออกแบบของตนเอง ในฐานะที่เป็นที่ปรึกษาโครงการที่เป็นเพียงคนคอยกระตุ้น และดึงศักยภาพในตัวของเขาออกมา ทำให้ว่าเขาเกิดแรงบันดาลใจจนผลักดันให้เกิดผลงานออกมาได้อย่างน่าภาคภูมิใจ นายสราวุธ ค้อมคำพันธ์ หัวหน้าสถานีควบคุมไฟป่าภูชี้ฟ้าอันเนื่องมาจากพระราชดำริ อำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธ์ุพืช ในฐานะเจ้าของพื้นที่ กล่าวว่า “สถานของเราตั้งอยู่ที่อำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย รับผิดชอบพื้นที่ประมาณ 187,500 ไร่ มีหน้าที่รณรงค์ประชาสัมพันธ์ป้องกันไฟป่า ปฏิบัติงานด้านการควบคุมไฟป่า รวมถึงประสานงาน สนับสนุน ร่วมปฏิบัติงานดับไฟป่าและบรรเทาภัยธรรมชาติกับหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เรามีความต้องการพื้นที่ในส่วนที่นำมาเป็นสถานทราอบรมการป้องการไฟป่าอย่างถูกวิธีให้แก่ราษฎรในพื้นที่ของเรา เนื่องจากราษฎรเหล่านั้นเป็นเครือข่ายสำคัญที่ทำงานร่วมกับเจ้าหน้าที่ของเราในการช่วยเหลือและป้องกันไฟป่า เราขาดพื้นที่ที่ใช้ในการเป็นที่พักคุยงาน พักรับประทานอาหาร รวมถึงประชุมงานระหว่างเจ้าหน้าที่และราษฎรที่มาเข้ารับการอบรม เมื่อทางสถานีของเราได้รับการติดต่อจากสถาปนิกโครงการ และอาจารย์จากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทาลัยรังสิต เรามีความยินดีเป็นอย่างมากที่ทางสถาบันการศึกษาให้ความสำคัญมองเห็นปัญหาความต้องการของทางสถานี และได้เลือกสถานีของเราเป็นการจัดการเรียนนอกห้อง มาใช้สถานที่ลงมือก่อสร้างอาคารให้กับเรา ซึ่งการก่อสร้างอาคารได้มีการประสานงาน ทำงานร่วมกันเพื่อให้ได้พื้นที่ใช้สอยตามความต้องการของทางสถานีซึ่งเป็นอาคารไผ่ และได้ใช้วัสดุจากพื้นที่ของเราเอง ซึ่งอาคารพักผ่อนนี้จะเป็นอาคารอีกหนึ่งหลังที่ทางเราจะใช้ประโยชน์ในการทำกิจกรรมให้มากที่สุด นอกจากนี้เรายังได้รับความร่วม คำแนะนำต่าง ๆ ในการดูแลรักษาอาคารให้สามารถใช้ได้ในระยะยาวอีกด้วย” นางสาวสุรัญชญา พลนครเดช และนายพิพัฒนพงศ์ นวดิจศุภกร นักศึกษาชั้นปีที่ 4 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ที่เข้าร่วมโครงการ กล่าวว่า “เราแบ่งเหน้าที่กันเป็นฝ่ายออกแบบ (Design) ฝ่ายก่อสร้าง และฝ่ายจัดเตรียมวัสดุ แต่ละฝ่ายก็รับผิดชอบหน้าที่ของตัวเองคนที่ทำโครงสร้างก็จะดูแบบและทำโครงสร้างพวกข้อต่อต่างๆ ส่วนเพื่อนจะจัดเตรียม ไผ่ ขนาดที่ต้องการตามแบบไว้ให้กับเรา เพื่อนที่รับผิดชอบก่อสร้าง ขึ้นแบบ 3D ก็แยกย้ายกันทำ แต่ละคนก็รับงานต่อกันโดยมีการคุยกัน แก้ปัญหาร่วมกันอยู่ตลอดเพื่อให้งานออกแบบก่อสร้างของเราออกมาสมบูรณ์มากที่สุด ซึ่งวัสดุก็ทำมาจากธรรมชาติทั้งหมดซึ่งพวกเราได้ศึกษา หาข้อมูล เตรียมการกันมาก่อนการลงพื้นที่มาบ้าง ข้อมูลที่เราได้รับจากการเรียนในห้องเรียนประกอบกับคำแนะของอาจารย์ และที่ปรึกษา ร่วมถึงการได้แชร์ความคิดเห็นกับพี่ๆ เจ้าหน้าที่เจ้าของสถานที่ ทำให้เราสามารถปรับเปลี่ยนแผนการทำงานหน้างานได้ดี แม้จะมีอุปสรรคปัญหาบ้างแต่ก็ได้กำลังใจ และพวกเรามีความตั้งใจในการาลงพื้นที่ทำงานจริง สุดท้าย การได้ทำงานออกแบบจาพื้นฐานความรู้สถาปัตยกรรมที่เรียนมากับการใช้วัสดุท้องถิ่น ผลงานออกแบบ ก่อสร้างอาคารนี้เกิดขึ้นจรง ส่งต่อให้พี่ๆ เจ้าหน้าที่ได้ใช้ประโยชน์ เราก็รู้สึกดีใจและภูมิใจกับผลงานของพวกเราทุกคน สำหรับอาคารพักผ่อนนี้พวกเราได้ร่วมกันตั้งชื่อว่า “เฮือนฮ่วมใจ๋” ส่งต่อให้กับ สถานีควบคุมไฟป่าภูชีฟ้า จังหวัดเชียงราย” EZ Webmaster Related Posts โรงเรียนปลอดมือถือ! อังกฤษ-ออสเตรเลียเริ่มแล้ว ดึงเด็กกลับมาสนใจครูในห้องเรียน จุฬาฯ ผงาดอันดับ Top 44 ของโลกด้านความยั่งยืน ใน THE Impact Rankings 2025 ครองอันดับ 1 ของไทยอีกครั้ง หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 มธ. ปักหมุดหลักสูตร ‘AI Ethics’ หนุนบริบทใหม่ของห้องเรียนทันโลก สร้างจุดยืนคนรุ่นใหม่ ‘ใช้เอไออย่างมีจริยธรรม’ พร้อมเดินหน้าวางหมุดหมายระบบการศึกษาไทย กับการปลุกการใช้เทคฯ คู่ธรรมาภิบาล คาดเริ่มเปิดลงทะเบียนพร้อมเรียนจริง สิงหาคม 68 นี้ Post navigation PREVIOUS Previous post: “ศรีปทุม ห่วงใย” มอบหน้ากาก Face Shield ขสมก.NEXT Next post: ม.แมสซี ประเทศนิวซีแลนด์ ชวนน้องๆเยาวชนไทย โชว์ไอเดียออกแบบคาแรคเตอร์ตัวละคร “ฮีโร่ผู้พิทักษ์โลก” Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสามร้อยยอดวิทยาคม EZ WebmasterJune 20, 2025 กิจกรรมสร้างสรรค์ ความสุขเล็กๆ ที่ยิ่งสนุกสนาน โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนสามร้อยยอดวิทยาคม จ.ประจวบคีรีขันธ์ วันที่20/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศ EZ WebmasterJune 20, 2025 มาทำให้วันธรรมดา กลายเป็นวันพิเศษกันเถอะ! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศ จ.เพชรบุรี วันที่20/06/68 โดยวิทยากร อ.ธารา อิสสระ (พี่แฮนด์… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนรัตนราษฎร์บำรุง EZ WebmasterJune 20, 2025 สร้างความสุข สร้างความทรงจำดีๆ ให้เด็กๆ ทุกคน โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนรัตนราษฎร์บำรุง จ.ราชบุรี วันที่19/06/68 โดยวิทยากร อ.ธารา… นักศึกษา โรงเรียนปลอดมือถือ! อังกฤษ-ออสเตรเลียเริ่มแล้ว ดึงเด็กกลับมาสนใจครูในห้องเรียน EZ WebmasterJune 20, 2025 วันที่ 10 มิถุนายน 2568 – ในช่วงหลายเดือนที่ผ่านมา แวดวงการศึกษาในประเทศพัฒนาแล้วต่างให้ความสนใจประเด็น “โรงเรียนปลอดโทรศัพท์มือถือ (Phone-Free School)” อย่างจริงจัง ล่าสุดมีความเคลื่อนไหวชัดเจนจาก ประเทศอังกฤษและออสเตรเลีย ที่เริ่มนำร่องมาตรการควบคุมการใช้อุปกรณ์ดิจิทัลในโรงเรียนระดับมัธยมอย่างเข้มงวด จากรายงานของ สำนักข่าว BBC ระบุว่า… มธ. ปักหมุดหลักสูตร ‘AI Ethics’ หนุนบริบทใหม่ของห้องเรียนทันโลก สร้างจุดยืนคนรุ่นใหม่ ‘ใช้เอไออย่างมีจริยธรรม’ พร้อมเดินหน้าวางหมุดหมายระบบการศึกษาไทย กับการปลุกการใช้เทคฯ คู่ธรรมาภิบาล คาดเริ่มเปิดลงทะเบียนพร้อมเรียนจริง สิงหาคม 68 นี้ EZ WebmasterJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) ตอกย้ำจุดยืนเชิงรุกต่อการเปลี่ยนผ่านของโลกยุคดิจิทัล ผ่านการพัฒนาหลักสูตร “AI Ethics” หรือจริยธรรมปัญญาประดิษฐ์ ภายใต้ยุทธศาสตร์ Thammasat Next Century เตรียมความพร้อมให้เยาวชนไทยมีทั้งความรู้ ความสามารถ และความรับผิดชอบในการใช้งานเทคโนโลยีอย่างเหมาะสม โดยเฉพาะในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อที่ปัญญาประดิษฐ์กำลังกลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวัน ทั้งในห้องเรียน ที่ทำงาน และบนแพลตฟอร์มออนไลน์ต่าง ๆ โดยหลักสูตรนี้ถูกวางให้เป็นรากฐานสำคัญของระบบการศึกษายุคใหม่ ที่ไม่เพียงเน้นทักษะด้านเทคนิคเท่านั้น แต่ยังปลูกฝังค่านิยมที่ถูกต้องในการอยู่ร่วมกับเทคโนโลยี พร้อมชี้ให้เห็นถึงความเสี่ยงของ AI ที่เกิดจาก… 11 สาเหตุลึกซึ้ง ทำไมการศึกษาไทยยังตกต่ำ? เสียงสะท้อนจากครูชนบท สู่คำถามใหญ่ของสังคม EZ WebmasterJune 19, 2025 ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ประเทศไทยกำลังเผชิญกับวิกฤตคุณภาพทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง แม้จะมีความพยายามปฏิรูปหลายครั้ง แต่กลับไม่สามารถยกระดับการเรียนรู้ให้เทียบเท่าประเทศเพื่อนบ้านได้อย่างแท้จริงนายสานิตย์ พลศรี นายกสมาคมครูชนบทจังหวัดชัยภูมิ ในหัวข้อ “สาเหตุของปัญหาคุณภาพด้านการศึกษาประเทศไทยที่ตกต่ำ” ซึ่งกำลังถูกส่งต่ออย่างกว้างขวางในโซเชียลมีเดียและกลุ่มไลน์ของคนในแวดวงการศึกษาเสียงสะท้อนจากผู้ที่อยู่ในภาคสนามจริงอย่างนายสานิตย์ ทำให้เราได้เห็นภาพที่ชัดเจนมากขึ้นว่า ปัญหาไม่ได้อยู่ที่ตัวนักเรียนหรือครูเพียงลำพัง แต่เป็นผลสะสมจากโครงสร้าง ระบบ และการบริหารที่ผิดทิศผิดทางมานานจึงเป็นการเปิดประเด็นให้สังคมได้ทบทวนร่วมกันว่า หากเราไม่เริ่ม “เปลี่ยนจริง” คุณภาพการศึกษาของไทยอาจยิ่งตกต่ำลงกว่าที่เป็นอยู่ 11… ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา EZ WebmasterJune 18, 2025 วิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิทักษ์ ธรรมวาริน (คนที่ 4 จากซ้าย) คณบดีวิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สจล. และ Mr. Alfonso Martin (คนที่ 3… ทุนดีดี ทุนImperial Athletes Sport InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 20, 2025 Imperial College London เสนอทุนการศึกษา Imperial Athletes Sport เพื่อสนับสนุนนักกีฬาที่มีพรสวรรค์สำหรับปีการศึกษา 2025/2026 โดยเปิดโอกาสให้เลือกเรียนในหลากหลายสาขาวิชา เปิดรับใบสมัครถึง 4 สิงหาคม 2025 หากคุณกำลังแข่งขันในระดับภูมิภาค ระดับชาติ หรือระดับนานาชาติในกีฬาของคุณ และแสดงให้เห็นถึงพรสวรรค์… Kazan Global Youth Summit InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 19, 2025 เชิญเยาวชนสมัครคัดเลือกเข้าร่วมการประชุม Kazan Global Youth Summit ครั้งที่ 4 ระหว่างวันที่ 27 – 30 สิงหาคม 2568 ณ เมืองคาซาน สาธารณรัฐตาตาร์สตาน สหพันธรัฐรัสเซีย จัดโดยรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐตาตาร์สตาน… SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… ครู-อาจารย์ จุฬาฯ ผงาดอันดับ Top 44 ของโลกด้านความยั่งยืน ใน THE Impact Rankings 2025 ครองอันดับ 1 ของไทยอีกครั้ง tui sakrapeeJune 20, 2025 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยผงาดอันดับ Top 44 ของโลก และครองอันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทยอีกครั้งหนึ่ง จากการจัดอันดับโดย Times Higher Education Impact Rankings 2025 ด้วยผลงานที่โดดเด่นในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนและสร้างผลกระทบสูงต่อสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง SDG 9… หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 📚เริ่มเรียน กรกฎาคม 2568 ถึง มกราคม 2569 ทุกวันพฤหัสบดี 11:00 – 18:00 น.… มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ… สจล. เดินหน้ากระชับความร่วมมือทางวิชาการ กับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของจีน EZ WebmasterJune 19, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เดินหน้ากระชับความสัมพันธ์ทางวิชาการกับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งเป็นพันธมิตรที่มีความร่วมมือกันมานานกว่า 20 ปี เพื่อหารือขยายความร่วมมือเชิงลึกในสาขาวิศวกรรมขั้นสูง โดยเฉพาะด้าน Aerospace, Mechatronics, Automation และ Astronautics ซึ่ง HIT ถือเป็นสถาบันชั้นนำของจีนในด้านนี้ พร้อมทั้งหารือแนวทางความร่วมมือด้านการแลกเปลี่ยนนักศึกษา นักวิจัย และการพัฒนาโครงการ Joint Degree ในอนาคต รองศาสตราจารย์… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster April 16, 2020 EZ Webmaster April 16, 2020 ถาปัตย์ ม.รังสิต ตะลุยภูชีฟ้า ออกแบบ และก่อสร้าง “เฮือนฮ่วมใจ๋” ศาลาอเนกประสงค์ สำหรับสถานีและเจ้าหน้าที่ควบคุมไฟป่า ภูชี้ฟ้า “เฮือนฮ่วมใจ๋” เป็นเรือนร่มใจ ,ร่มฤดี ร่มเรือนที่ทำให้จิตใจสงบ เรือนสำหรับผู้เข้าอบรมใช้รับประทานอาหาร และแบ่งกลุ่มเพื่อปรึกษาหารือการป้องกันไฟป่า เรือนที่รวมตัวพวกเราทุกคน สร้างขึ้นมาด้วยมือ และหัวใจ โดย นักศึกษาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จาก Studio Design Lab มหาวิทยาลัยรังสิต อาจารย์ไพบูลย์ กิตติกูล อาจารย์ประจำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ในฐานะประธานโครงการ กล่าวว่า โครงการนี้เป็นโครงการต่อเนื่องจากการศึกษาโครงการ 4+1 และวิชาการออกแบบสถาปัตยกรรม 6 (ARC429) ภาคการศึกษาที่ 2/2562 ภายใต้ชื่อโครงการทัศนศึกษาและปฏิบัติการ (Workshop) ในหัวข้อ Tectonic ความหมายของศิลปะในการ ก่อ- สร้าง ประกอบด้วยหลายส่วนตั้งแต่ สุนทรียศาสตร์ เทคนิคกรรมวิธีที่ดี วัสดุที่เลือกมาใช้ในการก่อสร้างให้เหมาะสมกับบริบท และรูปแบบโครงสร้างก่อเป็นรูปทรงที่ตอบสนองการใช้งาน รวมถึงบูรณาการความคิดความรู้ในเชิงช่างของพื้นที่มาออกแบบสร้างอาคารให้งดงามน่าสนใจ โดยได้นำนักศึกษาจาก Studio Design Lab กว่า 10 คน ลงพื้นที่ทดลองก่อสร้างงานที่ออกแบบด้วยการลงมือทำจริง สร้างศาลาอเนกประสงค์ “เฮือนฮ่วมใจ๋” อาคารไผ่ รองรับคนได้จำนวน 40-50 คน สำหรับเป็นที่พักผ่อนและ รับประทานอาหาร แก่เจ้าหน้าที่ดับไฟ ณ สถานีควบคุมไฟป่าภูชีฟ้า จังหวัดเชียงราย และมอบให้ทางสถานีควบคุมไฟป่า ภูชี้ฟ้า เพื่อเป็นสาธารณะประโยชน์ต่อไป สำหรับโครงการนี้เป็นการบูรณาการการเรียนการสอนร่วมระหว่างคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี มีนโยบายความร่วมมือทางวิชาการเน้นการเรียนการสอนในชั้นเรียน ควบคู่กับการปฏิบัติงานจริงนอกห้องเรียนเพื่อประสบการณ์ตรงในการพบเห็นและเรียนรู้ การ Workshop หนึ่งในรูปแบบที่ช่วยเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจแก่นักศึกษาสถาปัตยกรรมศาสตร์ร่วมกันระหว่างสถาบัน แนวทางการศึกษาปฏิบัติเป็นการต่อยอดประเด็นการเรียนในเรื่อง Tentonic ในขั้นตอนสุดท้ายของการเรียนการสอนในห้องเรียนนั่นคือ หลังจากการออกแบบทำรูปจำลองแล้ว ต้องมีการลงมือทำ ก่อสร้าง เรียนรู้ขั้นตอนของการปฏิบัติจากการหยิบจับและทดลองสร้างผ่านสัดส่วนจริง วัสดุจริง และแก้ปัญหาจากสถานการณ์จริงในภาคสนาม ทำให้นักศึกษาเกิดความเข้าใจกระบวนการออกแบบ ก่อสร้าง และเข้าใจนิยามความหมายของวัสดุ และเทคนิคในการก่อสร้างได้ทุกมิติ แนวทางการลงพื้นที่ภาคสนามก่อสร้างศาลาอเนกประสงค์นั้นทาง Studio Design Lab โดยคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ได้ประสานงานร่วมกับทางสถาปนิกผู้รับผิดชอบโครงการปรับปรุงซ่อมแซม และทางสถานีควบคุมไฟป่าภูชีฟ้า จังหวัดเชียงราย เพื่อเตรียมข้อมูลที่จำเป็นสำหรับความประสงค์ของสถานี มาพัฒนาออกแบบก่อนขั้นต้นและ ระหว่างการก่อสร้างอาคาร จะมีการสอดแทรกเทคนิค ความรู้ในงานไม้และฝีมือในเชิงช่างจากประสบการณ์จริง โดยมีอาจารย์ หัวหน้าสถานีควบคุมไฟป่า และสถาปนิกโครงการ คอยให้คำแนะนำการทำงานจริงตลอดกว่า 1 สัปดาห์ คุณสันธาน เวียงสิมา หนึ่งในผู้ริเริ่มโครงการในฐานะสถาปนิกประจำโครงการ กล่าวว่า “ด้วยสถานการณ์ไฟป่าที่เกิดขึ้นประกอบกับสภาพทางสังคมของชุมชนบนภูชีฟ้านี้เอง จากที่ได้สัมผัสพบว่าพื้นที่แห่งนี้มีทรัพย์ดิน สินในน้ำ มีความอุดมสมบูรณ์ที่ในฐานะคนเมืองอย่างเราไม่มี แต่ชาวบ้านพื้นถิ่นเหล่านั้นมีแต่กลับมองข้ามพยายามสรรหาวัสดุ หรือสิ่งแปลปลอมจากพื้นราบมาใช้ นำมาซึ่งการเกิดโครงการที่อยากจะช่วยให้ชาวบ้านได้เห็นว่าทรัพยากรพื้นถิ่นที่เป็นสมบัติของเขาสามารถทำประโยชน์ได้นานาประการ และชาวบ้านเองมีองค์ความรู้จากสภาพแวดล้อมพื้นถิ่นที่ควรส่งต่อไปยังคนรุ่นใหม่ จึงได้ร่วมกับอาจารย์จากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิยาลัยรังสิต จัดกิจกรรมเพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้เหล่านั้นและสร้างจิตสำนึกแก่นักศึกษาเพื่อให้เกิดความรับผิดชอบต่อสังคมจากการเรียนรู้ปัญหาจริงของสังคมที่นักศึกษาอาจพบเจอสถานการณ์จริงเมื่อจบไปเป็นสถาปนิกในอนาคต ก่อนการลงพื้นที่ได้บรรยายเพื่อเปิดมุมมอง โลกทรรศน์ ให้ความรู้ในทางทฤษฎีสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น แนวคิด และประเด็นทางเทคนิคในการก่อสร้างก่อน จากนั้นเมื่อลงพื้นที่จริงนักศึกษาได้เริ่มเรียนรู้การสัมผัสวัสดุ การก่อสร้างจากวัสดุธรรมชาติด้วยวิธีธรรมชาติ มีการสร้างทัศนคติเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมช่าติต่าง ๆ ซึ่งเป็นวัสดุเชิงสร้างสรรค์ที่นักศึกษาสามารถหยิบยกมาออกแบบเชิงสถาปัตยกรรมได้ นักศึกษาได้รับการชี้แนะโดยเน้นกระบวนการ ปรับวิธีคิด เป็นวิธีทำ ต้องทำอย่างไร? จากจินตนาการสู่กระดาษ จากกระดาษสู่คอมพิวเตอร์ จากคอมพิวเตอร์สู่หุ่นจำลอง ๑:๑ จากหุ่นจำลอง ๑:๑ สู่งานก่อสร้างจริง ศาลาเอนกประสงค์โครงสร้างไผ่และฐานดินซีเมนต์ ซึ่งจากการลงพื้นที่ครั้งนี้น่ายินดีที่เห็นว่านักศึกษามีศักยภาพ มีพื้นฐานที่ดีจากการเรียนในห้อง ขณะที่ส่วนหน้างานนักศึกษาได้สัมผัสการทำงาน เข้าใจว่าการก่อสร้างด้วยวัสดุทางธรรมชาติที่ไม่ง่าย เป็นงานที่ต้องใช้ความอดทน ความพยายาม นักศึกษาลงมือเลื่อยไผ่เอง ได้เรียนรู้วิธีการแต่ละขั้นตอนด้วยตัวเอง ระหว่างการทำงานที่มีการแบ่งทีมรับผิดชอบ มีการแก้ปัญหาปรับเปลี่ยนหน้างานอยู่ตลอด และนักศึกษาก็ทำได้ ที่สำคัญคือนักศึกษามีทัศนคติที่ดีต่องานออกแบบของตนเอง ในฐานะที่เป็นที่ปรึกษาโครงการที่เป็นเพียงคนคอยกระตุ้น และดึงศักยภาพในตัวของเขาออกมา ทำให้ว่าเขาเกิดแรงบันดาลใจจนผลักดันให้เกิดผลงานออกมาได้อย่างน่าภาคภูมิใจ นายสราวุธ ค้อมคำพันธ์ หัวหน้าสถานีควบคุมไฟป่าภูชี้ฟ้าอันเนื่องมาจากพระราชดำริ อำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธ์ุพืช ในฐานะเจ้าของพื้นที่ กล่าวว่า “สถานของเราตั้งอยู่ที่อำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย รับผิดชอบพื้นที่ประมาณ 187,500 ไร่ มีหน้าที่รณรงค์ประชาสัมพันธ์ป้องกันไฟป่า ปฏิบัติงานด้านการควบคุมไฟป่า รวมถึงประสานงาน สนับสนุน ร่วมปฏิบัติงานดับไฟป่าและบรรเทาภัยธรรมชาติกับหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เรามีความต้องการพื้นที่ในส่วนที่นำมาเป็นสถานทราอบรมการป้องการไฟป่าอย่างถูกวิธีให้แก่ราษฎรในพื้นที่ของเรา เนื่องจากราษฎรเหล่านั้นเป็นเครือข่ายสำคัญที่ทำงานร่วมกับเจ้าหน้าที่ของเราในการช่วยเหลือและป้องกันไฟป่า เราขาดพื้นที่ที่ใช้ในการเป็นที่พักคุยงาน พักรับประทานอาหาร รวมถึงประชุมงานระหว่างเจ้าหน้าที่และราษฎรที่มาเข้ารับการอบรม เมื่อทางสถานีของเราได้รับการติดต่อจากสถาปนิกโครงการ และอาจารย์จากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทาลัยรังสิต เรามีความยินดีเป็นอย่างมากที่ทางสถาบันการศึกษาให้ความสำคัญมองเห็นปัญหาความต้องการของทางสถานี และได้เลือกสถานีของเราเป็นการจัดการเรียนนอกห้อง มาใช้สถานที่ลงมือก่อสร้างอาคารให้กับเรา ซึ่งการก่อสร้างอาคารได้มีการประสานงาน ทำงานร่วมกันเพื่อให้ได้พื้นที่ใช้สอยตามความต้องการของทางสถานีซึ่งเป็นอาคารไผ่ และได้ใช้วัสดุจากพื้นที่ของเราเอง ซึ่งอาคารพักผ่อนนี้จะเป็นอาคารอีกหนึ่งหลังที่ทางเราจะใช้ประโยชน์ในการทำกิจกรรมให้มากที่สุด นอกจากนี้เรายังได้รับความร่วม คำแนะนำต่าง ๆ ในการดูแลรักษาอาคารให้สามารถใช้ได้ในระยะยาวอีกด้วย” นางสาวสุรัญชญา พลนครเดช และนายพิพัฒนพงศ์ นวดิจศุภกร นักศึกษาชั้นปีที่ 4 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ที่เข้าร่วมโครงการ กล่าวว่า “เราแบ่งเหน้าที่กันเป็นฝ่ายออกแบบ (Design) ฝ่ายก่อสร้าง และฝ่ายจัดเตรียมวัสดุ แต่ละฝ่ายก็รับผิดชอบหน้าที่ของตัวเองคนที่ทำโครงสร้างก็จะดูแบบและทำโครงสร้างพวกข้อต่อต่างๆ ส่วนเพื่อนจะจัดเตรียม ไผ่ ขนาดที่ต้องการตามแบบไว้ให้กับเรา เพื่อนที่รับผิดชอบก่อสร้าง ขึ้นแบบ 3D ก็แยกย้ายกันทำ แต่ละคนก็รับงานต่อกันโดยมีการคุยกัน แก้ปัญหาร่วมกันอยู่ตลอดเพื่อให้งานออกแบบก่อสร้างของเราออกมาสมบูรณ์มากที่สุด ซึ่งวัสดุก็ทำมาจากธรรมชาติทั้งหมดซึ่งพวกเราได้ศึกษา หาข้อมูล เตรียมการกันมาก่อนการลงพื้นที่มาบ้าง ข้อมูลที่เราได้รับจากการเรียนในห้องเรียนประกอบกับคำแนะของอาจารย์ และที่ปรึกษา ร่วมถึงการได้แชร์ความคิดเห็นกับพี่ๆ เจ้าหน้าที่เจ้าของสถานที่ ทำให้เราสามารถปรับเปลี่ยนแผนการทำงานหน้างานได้ดี แม้จะมีอุปสรรคปัญหาบ้างแต่ก็ได้กำลังใจ และพวกเรามีความตั้งใจในการาลงพื้นที่ทำงานจริง สุดท้าย การได้ทำงานออกแบบจาพื้นฐานความรู้สถาปัตยกรรมที่เรียนมากับการใช้วัสดุท้องถิ่น ผลงานออกแบบ ก่อสร้างอาคารนี้เกิดขึ้นจรง ส่งต่อให้พี่ๆ เจ้าหน้าที่ได้ใช้ประโยชน์ เราก็รู้สึกดีใจและภูมิใจกับผลงานของพวกเราทุกคน สำหรับอาคารพักผ่อนนี้พวกเราได้ร่วมกันตั้งชื่อว่า “เฮือนฮ่วมใจ๋” ส่งต่อให้กับ สถานีควบคุมไฟป่าภูชีฟ้า จังหวัดเชียงราย” EZ Webmaster Related Posts โรงเรียนปลอดมือถือ! อังกฤษ-ออสเตรเลียเริ่มแล้ว ดึงเด็กกลับมาสนใจครูในห้องเรียน จุฬาฯ ผงาดอันดับ Top 44 ของโลกด้านความยั่งยืน ใน THE Impact Rankings 2025 ครองอันดับ 1 ของไทยอีกครั้ง หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 มธ. ปักหมุดหลักสูตร ‘AI Ethics’ หนุนบริบทใหม่ของห้องเรียนทันโลก สร้างจุดยืนคนรุ่นใหม่ ‘ใช้เอไออย่างมีจริยธรรม’ พร้อมเดินหน้าวางหมุดหมายระบบการศึกษาไทย กับการปลุกการใช้เทคฯ คู่ธรรมาภิบาล คาดเริ่มเปิดลงทะเบียนพร้อมเรียนจริง สิงหาคม 68 นี้ Post navigation PREVIOUS Previous post: “ศรีปทุม ห่วงใย” มอบหน้ากาก Face Shield ขสมก.NEXT Next post: ม.แมสซี ประเทศนิวซีแลนด์ ชวนน้องๆเยาวชนไทย โชว์ไอเดียออกแบบคาแรคเตอร์ตัวละคร “ฮีโร่ผู้พิทักษ์โลก” Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศ EZ WebmasterJune 20, 2025 มาทำให้วันธรรมดา กลายเป็นวันพิเศษกันเถอะ! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศ จ.เพชรบุรี วันที่20/06/68 โดยวิทยากร อ.ธารา อิสสระ (พี่แฮนด์… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนรัตนราษฎร์บำรุง EZ WebmasterJune 20, 2025 สร้างความสุข สร้างความทรงจำดีๆ ให้เด็กๆ ทุกคน โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนรัตนราษฎร์บำรุง จ.ราชบุรี วันที่19/06/68 โดยวิทยากร อ.ธารา…
โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนรัตนราษฎร์บำรุง EZ WebmasterJune 20, 2025 สร้างความสุข สร้างความทรงจำดีๆ ให้เด็กๆ ทุกคน โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนรัตนราษฎร์บำรุง จ.ราชบุรี วันที่19/06/68 โดยวิทยากร อ.ธารา…
โรงเรียนปลอดมือถือ! อังกฤษ-ออสเตรเลียเริ่มแล้ว ดึงเด็กกลับมาสนใจครูในห้องเรียน EZ WebmasterJune 20, 2025 วันที่ 10 มิถุนายน 2568 – ในช่วงหลายเดือนที่ผ่านมา แวดวงการศึกษาในประเทศพัฒนาแล้วต่างให้ความสนใจประเด็น “โรงเรียนปลอดโทรศัพท์มือถือ (Phone-Free School)” อย่างจริงจัง ล่าสุดมีความเคลื่อนไหวชัดเจนจาก ประเทศอังกฤษและออสเตรเลีย ที่เริ่มนำร่องมาตรการควบคุมการใช้อุปกรณ์ดิจิทัลในโรงเรียนระดับมัธยมอย่างเข้มงวด จากรายงานของ สำนักข่าว BBC ระบุว่า… มธ. ปักหมุดหลักสูตร ‘AI Ethics’ หนุนบริบทใหม่ของห้องเรียนทันโลก สร้างจุดยืนคนรุ่นใหม่ ‘ใช้เอไออย่างมีจริยธรรม’ พร้อมเดินหน้าวางหมุดหมายระบบการศึกษาไทย กับการปลุกการใช้เทคฯ คู่ธรรมาภิบาล คาดเริ่มเปิดลงทะเบียนพร้อมเรียนจริง สิงหาคม 68 นี้ EZ WebmasterJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) ตอกย้ำจุดยืนเชิงรุกต่อการเปลี่ยนผ่านของโลกยุคดิจิทัล ผ่านการพัฒนาหลักสูตร “AI Ethics” หรือจริยธรรมปัญญาประดิษฐ์ ภายใต้ยุทธศาสตร์ Thammasat Next Century เตรียมความพร้อมให้เยาวชนไทยมีทั้งความรู้ ความสามารถ และความรับผิดชอบในการใช้งานเทคโนโลยีอย่างเหมาะสม โดยเฉพาะในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อที่ปัญญาประดิษฐ์กำลังกลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวัน ทั้งในห้องเรียน ที่ทำงาน และบนแพลตฟอร์มออนไลน์ต่าง ๆ โดยหลักสูตรนี้ถูกวางให้เป็นรากฐานสำคัญของระบบการศึกษายุคใหม่ ที่ไม่เพียงเน้นทักษะด้านเทคนิคเท่านั้น แต่ยังปลูกฝังค่านิยมที่ถูกต้องในการอยู่ร่วมกับเทคโนโลยี พร้อมชี้ให้เห็นถึงความเสี่ยงของ AI ที่เกิดจาก… 11 สาเหตุลึกซึ้ง ทำไมการศึกษาไทยยังตกต่ำ? เสียงสะท้อนจากครูชนบท สู่คำถามใหญ่ของสังคม EZ WebmasterJune 19, 2025 ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ประเทศไทยกำลังเผชิญกับวิกฤตคุณภาพทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง แม้จะมีความพยายามปฏิรูปหลายครั้ง แต่กลับไม่สามารถยกระดับการเรียนรู้ให้เทียบเท่าประเทศเพื่อนบ้านได้อย่างแท้จริงนายสานิตย์ พลศรี นายกสมาคมครูชนบทจังหวัดชัยภูมิ ในหัวข้อ “สาเหตุของปัญหาคุณภาพด้านการศึกษาประเทศไทยที่ตกต่ำ” ซึ่งกำลังถูกส่งต่ออย่างกว้างขวางในโซเชียลมีเดียและกลุ่มไลน์ของคนในแวดวงการศึกษาเสียงสะท้อนจากผู้ที่อยู่ในภาคสนามจริงอย่างนายสานิตย์ ทำให้เราได้เห็นภาพที่ชัดเจนมากขึ้นว่า ปัญหาไม่ได้อยู่ที่ตัวนักเรียนหรือครูเพียงลำพัง แต่เป็นผลสะสมจากโครงสร้าง ระบบ และการบริหารที่ผิดทิศผิดทางมานานจึงเป็นการเปิดประเด็นให้สังคมได้ทบทวนร่วมกันว่า หากเราไม่เริ่ม “เปลี่ยนจริง” คุณภาพการศึกษาของไทยอาจยิ่งตกต่ำลงกว่าที่เป็นอยู่ 11… ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา EZ WebmasterJune 18, 2025 วิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิทักษ์ ธรรมวาริน (คนที่ 4 จากซ้าย) คณบดีวิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สจล. และ Mr. Alfonso Martin (คนที่ 3… ทุนดีดี ทุนImperial Athletes Sport InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 20, 2025 Imperial College London เสนอทุนการศึกษา Imperial Athletes Sport เพื่อสนับสนุนนักกีฬาที่มีพรสวรรค์สำหรับปีการศึกษา 2025/2026 โดยเปิดโอกาสให้เลือกเรียนในหลากหลายสาขาวิชา เปิดรับใบสมัครถึง 4 สิงหาคม 2025 หากคุณกำลังแข่งขันในระดับภูมิภาค ระดับชาติ หรือระดับนานาชาติในกีฬาของคุณ และแสดงให้เห็นถึงพรสวรรค์… Kazan Global Youth Summit InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 19, 2025 เชิญเยาวชนสมัครคัดเลือกเข้าร่วมการประชุม Kazan Global Youth Summit ครั้งที่ 4 ระหว่างวันที่ 27 – 30 สิงหาคม 2568 ณ เมืองคาซาน สาธารณรัฐตาตาร์สตาน สหพันธรัฐรัสเซีย จัดโดยรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐตาตาร์สตาน… SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… ครู-อาจารย์ จุฬาฯ ผงาดอันดับ Top 44 ของโลกด้านความยั่งยืน ใน THE Impact Rankings 2025 ครองอันดับ 1 ของไทยอีกครั้ง tui sakrapeeJune 20, 2025 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยผงาดอันดับ Top 44 ของโลก และครองอันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทยอีกครั้งหนึ่ง จากการจัดอันดับโดย Times Higher Education Impact Rankings 2025 ด้วยผลงานที่โดดเด่นในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนและสร้างผลกระทบสูงต่อสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง SDG 9… หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 📚เริ่มเรียน กรกฎาคม 2568 ถึง มกราคม 2569 ทุกวันพฤหัสบดี 11:00 – 18:00 น.… มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ… สจล. เดินหน้ากระชับความร่วมมือทางวิชาการ กับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของจีน EZ WebmasterJune 19, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เดินหน้ากระชับความสัมพันธ์ทางวิชาการกับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งเป็นพันธมิตรที่มีความร่วมมือกันมานานกว่า 20 ปี เพื่อหารือขยายความร่วมมือเชิงลึกในสาขาวิศวกรรมขั้นสูง โดยเฉพาะด้าน Aerospace, Mechatronics, Automation และ Astronautics ซึ่ง HIT ถือเป็นสถาบันชั้นนำของจีนในด้านนี้ พร้อมทั้งหารือแนวทางความร่วมมือด้านการแลกเปลี่ยนนักศึกษา นักวิจัย และการพัฒนาโครงการ Joint Degree ในอนาคต รองศาสตราจารย์… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster April 16, 2020 EZ Webmaster April 16, 2020 ถาปัตย์ ม.รังสิต ตะลุยภูชีฟ้า ออกแบบ และก่อสร้าง “เฮือนฮ่วมใจ๋” ศาลาอเนกประสงค์ สำหรับสถานีและเจ้าหน้าที่ควบคุมไฟป่า ภูชี้ฟ้า “เฮือนฮ่วมใจ๋” เป็นเรือนร่มใจ ,ร่มฤดี ร่มเรือนที่ทำให้จิตใจสงบ เรือนสำหรับผู้เข้าอบรมใช้รับประทานอาหาร และแบ่งกลุ่มเพื่อปรึกษาหารือการป้องกันไฟป่า เรือนที่รวมตัวพวกเราทุกคน สร้างขึ้นมาด้วยมือ และหัวใจ โดย นักศึกษาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จาก Studio Design Lab มหาวิทยาลัยรังสิต อาจารย์ไพบูลย์ กิตติกูล อาจารย์ประจำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ในฐานะประธานโครงการ กล่าวว่า โครงการนี้เป็นโครงการต่อเนื่องจากการศึกษาโครงการ 4+1 และวิชาการออกแบบสถาปัตยกรรม 6 (ARC429) ภาคการศึกษาที่ 2/2562 ภายใต้ชื่อโครงการทัศนศึกษาและปฏิบัติการ (Workshop) ในหัวข้อ Tectonic ความหมายของศิลปะในการ ก่อ- สร้าง ประกอบด้วยหลายส่วนตั้งแต่ สุนทรียศาสตร์ เทคนิคกรรมวิธีที่ดี วัสดุที่เลือกมาใช้ในการก่อสร้างให้เหมาะสมกับบริบท และรูปแบบโครงสร้างก่อเป็นรูปทรงที่ตอบสนองการใช้งาน รวมถึงบูรณาการความคิดความรู้ในเชิงช่างของพื้นที่มาออกแบบสร้างอาคารให้งดงามน่าสนใจ โดยได้นำนักศึกษาจาก Studio Design Lab กว่า 10 คน ลงพื้นที่ทดลองก่อสร้างงานที่ออกแบบด้วยการลงมือทำจริง สร้างศาลาอเนกประสงค์ “เฮือนฮ่วมใจ๋” อาคารไผ่ รองรับคนได้จำนวน 40-50 คน สำหรับเป็นที่พักผ่อนและ รับประทานอาหาร แก่เจ้าหน้าที่ดับไฟ ณ สถานีควบคุมไฟป่าภูชีฟ้า จังหวัดเชียงราย และมอบให้ทางสถานีควบคุมไฟป่า ภูชี้ฟ้า เพื่อเป็นสาธารณะประโยชน์ต่อไป สำหรับโครงการนี้เป็นการบูรณาการการเรียนการสอนร่วมระหว่างคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี มีนโยบายความร่วมมือทางวิชาการเน้นการเรียนการสอนในชั้นเรียน ควบคู่กับการปฏิบัติงานจริงนอกห้องเรียนเพื่อประสบการณ์ตรงในการพบเห็นและเรียนรู้ การ Workshop หนึ่งในรูปแบบที่ช่วยเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจแก่นักศึกษาสถาปัตยกรรมศาสตร์ร่วมกันระหว่างสถาบัน แนวทางการศึกษาปฏิบัติเป็นการต่อยอดประเด็นการเรียนในเรื่อง Tentonic ในขั้นตอนสุดท้ายของการเรียนการสอนในห้องเรียนนั่นคือ หลังจากการออกแบบทำรูปจำลองแล้ว ต้องมีการลงมือทำ ก่อสร้าง เรียนรู้ขั้นตอนของการปฏิบัติจากการหยิบจับและทดลองสร้างผ่านสัดส่วนจริง วัสดุจริง และแก้ปัญหาจากสถานการณ์จริงในภาคสนาม ทำให้นักศึกษาเกิดความเข้าใจกระบวนการออกแบบ ก่อสร้าง และเข้าใจนิยามความหมายของวัสดุ และเทคนิคในการก่อสร้างได้ทุกมิติ แนวทางการลงพื้นที่ภาคสนามก่อสร้างศาลาอเนกประสงค์นั้นทาง Studio Design Lab โดยคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ได้ประสานงานร่วมกับทางสถาปนิกผู้รับผิดชอบโครงการปรับปรุงซ่อมแซม และทางสถานีควบคุมไฟป่าภูชีฟ้า จังหวัดเชียงราย เพื่อเตรียมข้อมูลที่จำเป็นสำหรับความประสงค์ของสถานี มาพัฒนาออกแบบก่อนขั้นต้นและ ระหว่างการก่อสร้างอาคาร จะมีการสอดแทรกเทคนิค ความรู้ในงานไม้และฝีมือในเชิงช่างจากประสบการณ์จริง โดยมีอาจารย์ หัวหน้าสถานีควบคุมไฟป่า และสถาปนิกโครงการ คอยให้คำแนะนำการทำงานจริงตลอดกว่า 1 สัปดาห์ คุณสันธาน เวียงสิมา หนึ่งในผู้ริเริ่มโครงการในฐานะสถาปนิกประจำโครงการ กล่าวว่า “ด้วยสถานการณ์ไฟป่าที่เกิดขึ้นประกอบกับสภาพทางสังคมของชุมชนบนภูชีฟ้านี้เอง จากที่ได้สัมผัสพบว่าพื้นที่แห่งนี้มีทรัพย์ดิน สินในน้ำ มีความอุดมสมบูรณ์ที่ในฐานะคนเมืองอย่างเราไม่มี แต่ชาวบ้านพื้นถิ่นเหล่านั้นมีแต่กลับมองข้ามพยายามสรรหาวัสดุ หรือสิ่งแปลปลอมจากพื้นราบมาใช้ นำมาซึ่งการเกิดโครงการที่อยากจะช่วยให้ชาวบ้านได้เห็นว่าทรัพยากรพื้นถิ่นที่เป็นสมบัติของเขาสามารถทำประโยชน์ได้นานาประการ และชาวบ้านเองมีองค์ความรู้จากสภาพแวดล้อมพื้นถิ่นที่ควรส่งต่อไปยังคนรุ่นใหม่ จึงได้ร่วมกับอาจารย์จากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิยาลัยรังสิต จัดกิจกรรมเพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้เหล่านั้นและสร้างจิตสำนึกแก่นักศึกษาเพื่อให้เกิดความรับผิดชอบต่อสังคมจากการเรียนรู้ปัญหาจริงของสังคมที่นักศึกษาอาจพบเจอสถานการณ์จริงเมื่อจบไปเป็นสถาปนิกในอนาคต ก่อนการลงพื้นที่ได้บรรยายเพื่อเปิดมุมมอง โลกทรรศน์ ให้ความรู้ในทางทฤษฎีสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น แนวคิด และประเด็นทางเทคนิคในการก่อสร้างก่อน จากนั้นเมื่อลงพื้นที่จริงนักศึกษาได้เริ่มเรียนรู้การสัมผัสวัสดุ การก่อสร้างจากวัสดุธรรมชาติด้วยวิธีธรรมชาติ มีการสร้างทัศนคติเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมช่าติต่าง ๆ ซึ่งเป็นวัสดุเชิงสร้างสรรค์ที่นักศึกษาสามารถหยิบยกมาออกแบบเชิงสถาปัตยกรรมได้ นักศึกษาได้รับการชี้แนะโดยเน้นกระบวนการ ปรับวิธีคิด เป็นวิธีทำ ต้องทำอย่างไร? จากจินตนาการสู่กระดาษ จากกระดาษสู่คอมพิวเตอร์ จากคอมพิวเตอร์สู่หุ่นจำลอง ๑:๑ จากหุ่นจำลอง ๑:๑ สู่งานก่อสร้างจริง ศาลาเอนกประสงค์โครงสร้างไผ่และฐานดินซีเมนต์ ซึ่งจากการลงพื้นที่ครั้งนี้น่ายินดีที่เห็นว่านักศึกษามีศักยภาพ มีพื้นฐานที่ดีจากการเรียนในห้อง ขณะที่ส่วนหน้างานนักศึกษาได้สัมผัสการทำงาน เข้าใจว่าการก่อสร้างด้วยวัสดุทางธรรมชาติที่ไม่ง่าย เป็นงานที่ต้องใช้ความอดทน ความพยายาม นักศึกษาลงมือเลื่อยไผ่เอง ได้เรียนรู้วิธีการแต่ละขั้นตอนด้วยตัวเอง ระหว่างการทำงานที่มีการแบ่งทีมรับผิดชอบ มีการแก้ปัญหาปรับเปลี่ยนหน้างานอยู่ตลอด และนักศึกษาก็ทำได้ ที่สำคัญคือนักศึกษามีทัศนคติที่ดีต่องานออกแบบของตนเอง ในฐานะที่เป็นที่ปรึกษาโครงการที่เป็นเพียงคนคอยกระตุ้น และดึงศักยภาพในตัวของเขาออกมา ทำให้ว่าเขาเกิดแรงบันดาลใจจนผลักดันให้เกิดผลงานออกมาได้อย่างน่าภาคภูมิใจ นายสราวุธ ค้อมคำพันธ์ หัวหน้าสถานีควบคุมไฟป่าภูชี้ฟ้าอันเนื่องมาจากพระราชดำริ อำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธ์ุพืช ในฐานะเจ้าของพื้นที่ กล่าวว่า “สถานของเราตั้งอยู่ที่อำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย รับผิดชอบพื้นที่ประมาณ 187,500 ไร่ มีหน้าที่รณรงค์ประชาสัมพันธ์ป้องกันไฟป่า ปฏิบัติงานด้านการควบคุมไฟป่า รวมถึงประสานงาน สนับสนุน ร่วมปฏิบัติงานดับไฟป่าและบรรเทาภัยธรรมชาติกับหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เรามีความต้องการพื้นที่ในส่วนที่นำมาเป็นสถานทราอบรมการป้องการไฟป่าอย่างถูกวิธีให้แก่ราษฎรในพื้นที่ของเรา เนื่องจากราษฎรเหล่านั้นเป็นเครือข่ายสำคัญที่ทำงานร่วมกับเจ้าหน้าที่ของเราในการช่วยเหลือและป้องกันไฟป่า เราขาดพื้นที่ที่ใช้ในการเป็นที่พักคุยงาน พักรับประทานอาหาร รวมถึงประชุมงานระหว่างเจ้าหน้าที่และราษฎรที่มาเข้ารับการอบรม เมื่อทางสถานีของเราได้รับการติดต่อจากสถาปนิกโครงการ และอาจารย์จากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทาลัยรังสิต เรามีความยินดีเป็นอย่างมากที่ทางสถาบันการศึกษาให้ความสำคัญมองเห็นปัญหาความต้องการของทางสถานี และได้เลือกสถานีของเราเป็นการจัดการเรียนนอกห้อง มาใช้สถานที่ลงมือก่อสร้างอาคารให้กับเรา ซึ่งการก่อสร้างอาคารได้มีการประสานงาน ทำงานร่วมกันเพื่อให้ได้พื้นที่ใช้สอยตามความต้องการของทางสถานีซึ่งเป็นอาคารไผ่ และได้ใช้วัสดุจากพื้นที่ของเราเอง ซึ่งอาคารพักผ่อนนี้จะเป็นอาคารอีกหนึ่งหลังที่ทางเราจะใช้ประโยชน์ในการทำกิจกรรมให้มากที่สุด นอกจากนี้เรายังได้รับความร่วม คำแนะนำต่าง ๆ ในการดูแลรักษาอาคารให้สามารถใช้ได้ในระยะยาวอีกด้วย” นางสาวสุรัญชญา พลนครเดช และนายพิพัฒนพงศ์ นวดิจศุภกร นักศึกษาชั้นปีที่ 4 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ที่เข้าร่วมโครงการ กล่าวว่า “เราแบ่งเหน้าที่กันเป็นฝ่ายออกแบบ (Design) ฝ่ายก่อสร้าง และฝ่ายจัดเตรียมวัสดุ แต่ละฝ่ายก็รับผิดชอบหน้าที่ของตัวเองคนที่ทำโครงสร้างก็จะดูแบบและทำโครงสร้างพวกข้อต่อต่างๆ ส่วนเพื่อนจะจัดเตรียม ไผ่ ขนาดที่ต้องการตามแบบไว้ให้กับเรา เพื่อนที่รับผิดชอบก่อสร้าง ขึ้นแบบ 3D ก็แยกย้ายกันทำ แต่ละคนก็รับงานต่อกันโดยมีการคุยกัน แก้ปัญหาร่วมกันอยู่ตลอดเพื่อให้งานออกแบบก่อสร้างของเราออกมาสมบูรณ์มากที่สุด ซึ่งวัสดุก็ทำมาจากธรรมชาติทั้งหมดซึ่งพวกเราได้ศึกษา หาข้อมูล เตรียมการกันมาก่อนการลงพื้นที่มาบ้าง ข้อมูลที่เราได้รับจากการเรียนในห้องเรียนประกอบกับคำแนะของอาจารย์ และที่ปรึกษา ร่วมถึงการได้แชร์ความคิดเห็นกับพี่ๆ เจ้าหน้าที่เจ้าของสถานที่ ทำให้เราสามารถปรับเปลี่ยนแผนการทำงานหน้างานได้ดี แม้จะมีอุปสรรคปัญหาบ้างแต่ก็ได้กำลังใจ และพวกเรามีความตั้งใจในการาลงพื้นที่ทำงานจริง สุดท้าย การได้ทำงานออกแบบจาพื้นฐานความรู้สถาปัตยกรรมที่เรียนมากับการใช้วัสดุท้องถิ่น ผลงานออกแบบ ก่อสร้างอาคารนี้เกิดขึ้นจรง ส่งต่อให้พี่ๆ เจ้าหน้าที่ได้ใช้ประโยชน์ เราก็รู้สึกดีใจและภูมิใจกับผลงานของพวกเราทุกคน สำหรับอาคารพักผ่อนนี้พวกเราได้ร่วมกันตั้งชื่อว่า “เฮือนฮ่วมใจ๋” ส่งต่อให้กับ สถานีควบคุมไฟป่าภูชีฟ้า จังหวัดเชียงราย” EZ Webmaster Related Posts โรงเรียนปลอดมือถือ! อังกฤษ-ออสเตรเลียเริ่มแล้ว ดึงเด็กกลับมาสนใจครูในห้องเรียน จุฬาฯ ผงาดอันดับ Top 44 ของโลกด้านความยั่งยืน ใน THE Impact Rankings 2025 ครองอันดับ 1 ของไทยอีกครั้ง หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 มธ. ปักหมุดหลักสูตร ‘AI Ethics’ หนุนบริบทใหม่ของห้องเรียนทันโลก สร้างจุดยืนคนรุ่นใหม่ ‘ใช้เอไออย่างมีจริยธรรม’ พร้อมเดินหน้าวางหมุดหมายระบบการศึกษาไทย กับการปลุกการใช้เทคฯ คู่ธรรมาภิบาล คาดเริ่มเปิดลงทะเบียนพร้อมเรียนจริง สิงหาคม 68 นี้ Post navigation PREVIOUS Previous post: “ศรีปทุม ห่วงใย” มอบหน้ากาก Face Shield ขสมก.NEXT Next post: ม.แมสซี ประเทศนิวซีแลนด์ ชวนน้องๆเยาวชนไทย โชว์ไอเดียออกแบบคาแรคเตอร์ตัวละคร “ฮีโร่ผู้พิทักษ์โลก” Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มธ. ปักหมุดหลักสูตร ‘AI Ethics’ หนุนบริบทใหม่ของห้องเรียนทันโลก สร้างจุดยืนคนรุ่นใหม่ ‘ใช้เอไออย่างมีจริยธรรม’ พร้อมเดินหน้าวางหมุดหมายระบบการศึกษาไทย กับการปลุกการใช้เทคฯ คู่ธรรมาภิบาล คาดเริ่มเปิดลงทะเบียนพร้อมเรียนจริง สิงหาคม 68 นี้ EZ WebmasterJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) ตอกย้ำจุดยืนเชิงรุกต่อการเปลี่ยนผ่านของโลกยุคดิจิทัล ผ่านการพัฒนาหลักสูตร “AI Ethics” หรือจริยธรรมปัญญาประดิษฐ์ ภายใต้ยุทธศาสตร์ Thammasat Next Century เตรียมความพร้อมให้เยาวชนไทยมีทั้งความรู้ ความสามารถ และความรับผิดชอบในการใช้งานเทคโนโลยีอย่างเหมาะสม โดยเฉพาะในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อที่ปัญญาประดิษฐ์กำลังกลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวัน ทั้งในห้องเรียน ที่ทำงาน และบนแพลตฟอร์มออนไลน์ต่าง ๆ โดยหลักสูตรนี้ถูกวางให้เป็นรากฐานสำคัญของระบบการศึกษายุคใหม่ ที่ไม่เพียงเน้นทักษะด้านเทคนิคเท่านั้น แต่ยังปลูกฝังค่านิยมที่ถูกต้องในการอยู่ร่วมกับเทคโนโลยี พร้อมชี้ให้เห็นถึงความเสี่ยงของ AI ที่เกิดจาก… 11 สาเหตุลึกซึ้ง ทำไมการศึกษาไทยยังตกต่ำ? เสียงสะท้อนจากครูชนบท สู่คำถามใหญ่ของสังคม EZ WebmasterJune 19, 2025 ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ประเทศไทยกำลังเผชิญกับวิกฤตคุณภาพทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง แม้จะมีความพยายามปฏิรูปหลายครั้ง แต่กลับไม่สามารถยกระดับการเรียนรู้ให้เทียบเท่าประเทศเพื่อนบ้านได้อย่างแท้จริงนายสานิตย์ พลศรี นายกสมาคมครูชนบทจังหวัดชัยภูมิ ในหัวข้อ “สาเหตุของปัญหาคุณภาพด้านการศึกษาประเทศไทยที่ตกต่ำ” ซึ่งกำลังถูกส่งต่ออย่างกว้างขวางในโซเชียลมีเดียและกลุ่มไลน์ของคนในแวดวงการศึกษาเสียงสะท้อนจากผู้ที่อยู่ในภาคสนามจริงอย่างนายสานิตย์ ทำให้เราได้เห็นภาพที่ชัดเจนมากขึ้นว่า ปัญหาไม่ได้อยู่ที่ตัวนักเรียนหรือครูเพียงลำพัง แต่เป็นผลสะสมจากโครงสร้าง ระบบ และการบริหารที่ผิดทิศผิดทางมานานจึงเป็นการเปิดประเด็นให้สังคมได้ทบทวนร่วมกันว่า หากเราไม่เริ่ม “เปลี่ยนจริง” คุณภาพการศึกษาของไทยอาจยิ่งตกต่ำลงกว่าที่เป็นอยู่ 11… ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา EZ WebmasterJune 18, 2025 วิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิทักษ์ ธรรมวาริน (คนที่ 4 จากซ้าย) คณบดีวิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สจล. และ Mr. Alfonso Martin (คนที่ 3… ทุนดีดี ทุนImperial Athletes Sport InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 20, 2025 Imperial College London เสนอทุนการศึกษา Imperial Athletes Sport เพื่อสนับสนุนนักกีฬาที่มีพรสวรรค์สำหรับปีการศึกษา 2025/2026 โดยเปิดโอกาสให้เลือกเรียนในหลากหลายสาขาวิชา เปิดรับใบสมัครถึง 4 สิงหาคม 2025 หากคุณกำลังแข่งขันในระดับภูมิภาค ระดับชาติ หรือระดับนานาชาติในกีฬาของคุณ และแสดงให้เห็นถึงพรสวรรค์… Kazan Global Youth Summit InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 19, 2025 เชิญเยาวชนสมัครคัดเลือกเข้าร่วมการประชุม Kazan Global Youth Summit ครั้งที่ 4 ระหว่างวันที่ 27 – 30 สิงหาคม 2568 ณ เมืองคาซาน สาธารณรัฐตาตาร์สตาน สหพันธรัฐรัสเซีย จัดโดยรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐตาตาร์สตาน… SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… ครู-อาจารย์ จุฬาฯ ผงาดอันดับ Top 44 ของโลกด้านความยั่งยืน ใน THE Impact Rankings 2025 ครองอันดับ 1 ของไทยอีกครั้ง tui sakrapeeJune 20, 2025 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยผงาดอันดับ Top 44 ของโลก และครองอันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทยอีกครั้งหนึ่ง จากการจัดอันดับโดย Times Higher Education Impact Rankings 2025 ด้วยผลงานที่โดดเด่นในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนและสร้างผลกระทบสูงต่อสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง SDG 9… หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 📚เริ่มเรียน กรกฎาคม 2568 ถึง มกราคม 2569 ทุกวันพฤหัสบดี 11:00 – 18:00 น.… มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ… สจล. เดินหน้ากระชับความร่วมมือทางวิชาการ กับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของจีน EZ WebmasterJune 19, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เดินหน้ากระชับความสัมพันธ์ทางวิชาการกับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งเป็นพันธมิตรที่มีความร่วมมือกันมานานกว่า 20 ปี เพื่อหารือขยายความร่วมมือเชิงลึกในสาขาวิศวกรรมขั้นสูง โดยเฉพาะด้าน Aerospace, Mechatronics, Automation และ Astronautics ซึ่ง HIT ถือเป็นสถาบันชั้นนำของจีนในด้านนี้ พร้อมทั้งหารือแนวทางความร่วมมือด้านการแลกเปลี่ยนนักศึกษา นักวิจัย และการพัฒนาโครงการ Joint Degree ในอนาคต รองศาสตราจารย์… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster April 16, 2020 EZ Webmaster April 16, 2020 ถาปัตย์ ม.รังสิต ตะลุยภูชีฟ้า ออกแบบ และก่อสร้าง “เฮือนฮ่วมใจ๋” ศาลาอเนกประสงค์ สำหรับสถานีและเจ้าหน้าที่ควบคุมไฟป่า ภูชี้ฟ้า “เฮือนฮ่วมใจ๋” เป็นเรือนร่มใจ ,ร่มฤดี ร่มเรือนที่ทำให้จิตใจสงบ เรือนสำหรับผู้เข้าอบรมใช้รับประทานอาหาร และแบ่งกลุ่มเพื่อปรึกษาหารือการป้องกันไฟป่า เรือนที่รวมตัวพวกเราทุกคน สร้างขึ้นมาด้วยมือ และหัวใจ โดย นักศึกษาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จาก Studio Design Lab มหาวิทยาลัยรังสิต อาจารย์ไพบูลย์ กิตติกูล อาจารย์ประจำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ในฐานะประธานโครงการ กล่าวว่า โครงการนี้เป็นโครงการต่อเนื่องจากการศึกษาโครงการ 4+1 และวิชาการออกแบบสถาปัตยกรรม 6 (ARC429) ภาคการศึกษาที่ 2/2562 ภายใต้ชื่อโครงการทัศนศึกษาและปฏิบัติการ (Workshop) ในหัวข้อ Tectonic ความหมายของศิลปะในการ ก่อ- สร้าง ประกอบด้วยหลายส่วนตั้งแต่ สุนทรียศาสตร์ เทคนิคกรรมวิธีที่ดี วัสดุที่เลือกมาใช้ในการก่อสร้างให้เหมาะสมกับบริบท และรูปแบบโครงสร้างก่อเป็นรูปทรงที่ตอบสนองการใช้งาน รวมถึงบูรณาการความคิดความรู้ในเชิงช่างของพื้นที่มาออกแบบสร้างอาคารให้งดงามน่าสนใจ โดยได้นำนักศึกษาจาก Studio Design Lab กว่า 10 คน ลงพื้นที่ทดลองก่อสร้างงานที่ออกแบบด้วยการลงมือทำจริง สร้างศาลาอเนกประสงค์ “เฮือนฮ่วมใจ๋” อาคารไผ่ รองรับคนได้จำนวน 40-50 คน สำหรับเป็นที่พักผ่อนและ รับประทานอาหาร แก่เจ้าหน้าที่ดับไฟ ณ สถานีควบคุมไฟป่าภูชีฟ้า จังหวัดเชียงราย และมอบให้ทางสถานีควบคุมไฟป่า ภูชี้ฟ้า เพื่อเป็นสาธารณะประโยชน์ต่อไป สำหรับโครงการนี้เป็นการบูรณาการการเรียนการสอนร่วมระหว่างคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี มีนโยบายความร่วมมือทางวิชาการเน้นการเรียนการสอนในชั้นเรียน ควบคู่กับการปฏิบัติงานจริงนอกห้องเรียนเพื่อประสบการณ์ตรงในการพบเห็นและเรียนรู้ การ Workshop หนึ่งในรูปแบบที่ช่วยเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจแก่นักศึกษาสถาปัตยกรรมศาสตร์ร่วมกันระหว่างสถาบัน แนวทางการศึกษาปฏิบัติเป็นการต่อยอดประเด็นการเรียนในเรื่อง Tentonic ในขั้นตอนสุดท้ายของการเรียนการสอนในห้องเรียนนั่นคือ หลังจากการออกแบบทำรูปจำลองแล้ว ต้องมีการลงมือทำ ก่อสร้าง เรียนรู้ขั้นตอนของการปฏิบัติจากการหยิบจับและทดลองสร้างผ่านสัดส่วนจริง วัสดุจริง และแก้ปัญหาจากสถานการณ์จริงในภาคสนาม ทำให้นักศึกษาเกิดความเข้าใจกระบวนการออกแบบ ก่อสร้าง และเข้าใจนิยามความหมายของวัสดุ และเทคนิคในการก่อสร้างได้ทุกมิติ แนวทางการลงพื้นที่ภาคสนามก่อสร้างศาลาอเนกประสงค์นั้นทาง Studio Design Lab โดยคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ได้ประสานงานร่วมกับทางสถาปนิกผู้รับผิดชอบโครงการปรับปรุงซ่อมแซม และทางสถานีควบคุมไฟป่าภูชีฟ้า จังหวัดเชียงราย เพื่อเตรียมข้อมูลที่จำเป็นสำหรับความประสงค์ของสถานี มาพัฒนาออกแบบก่อนขั้นต้นและ ระหว่างการก่อสร้างอาคาร จะมีการสอดแทรกเทคนิค ความรู้ในงานไม้และฝีมือในเชิงช่างจากประสบการณ์จริง โดยมีอาจารย์ หัวหน้าสถานีควบคุมไฟป่า และสถาปนิกโครงการ คอยให้คำแนะนำการทำงานจริงตลอดกว่า 1 สัปดาห์ คุณสันธาน เวียงสิมา หนึ่งในผู้ริเริ่มโครงการในฐานะสถาปนิกประจำโครงการ กล่าวว่า “ด้วยสถานการณ์ไฟป่าที่เกิดขึ้นประกอบกับสภาพทางสังคมของชุมชนบนภูชีฟ้านี้เอง จากที่ได้สัมผัสพบว่าพื้นที่แห่งนี้มีทรัพย์ดิน สินในน้ำ มีความอุดมสมบูรณ์ที่ในฐานะคนเมืองอย่างเราไม่มี แต่ชาวบ้านพื้นถิ่นเหล่านั้นมีแต่กลับมองข้ามพยายามสรรหาวัสดุ หรือสิ่งแปลปลอมจากพื้นราบมาใช้ นำมาซึ่งการเกิดโครงการที่อยากจะช่วยให้ชาวบ้านได้เห็นว่าทรัพยากรพื้นถิ่นที่เป็นสมบัติของเขาสามารถทำประโยชน์ได้นานาประการ และชาวบ้านเองมีองค์ความรู้จากสภาพแวดล้อมพื้นถิ่นที่ควรส่งต่อไปยังคนรุ่นใหม่ จึงได้ร่วมกับอาจารย์จากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิยาลัยรังสิต จัดกิจกรรมเพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้เหล่านั้นและสร้างจิตสำนึกแก่นักศึกษาเพื่อให้เกิดความรับผิดชอบต่อสังคมจากการเรียนรู้ปัญหาจริงของสังคมที่นักศึกษาอาจพบเจอสถานการณ์จริงเมื่อจบไปเป็นสถาปนิกในอนาคต ก่อนการลงพื้นที่ได้บรรยายเพื่อเปิดมุมมอง โลกทรรศน์ ให้ความรู้ในทางทฤษฎีสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น แนวคิด และประเด็นทางเทคนิคในการก่อสร้างก่อน จากนั้นเมื่อลงพื้นที่จริงนักศึกษาได้เริ่มเรียนรู้การสัมผัสวัสดุ การก่อสร้างจากวัสดุธรรมชาติด้วยวิธีธรรมชาติ มีการสร้างทัศนคติเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมช่าติต่าง ๆ ซึ่งเป็นวัสดุเชิงสร้างสรรค์ที่นักศึกษาสามารถหยิบยกมาออกแบบเชิงสถาปัตยกรรมได้ นักศึกษาได้รับการชี้แนะโดยเน้นกระบวนการ ปรับวิธีคิด เป็นวิธีทำ ต้องทำอย่างไร? จากจินตนาการสู่กระดาษ จากกระดาษสู่คอมพิวเตอร์ จากคอมพิวเตอร์สู่หุ่นจำลอง ๑:๑ จากหุ่นจำลอง ๑:๑ สู่งานก่อสร้างจริง ศาลาเอนกประสงค์โครงสร้างไผ่และฐานดินซีเมนต์ ซึ่งจากการลงพื้นที่ครั้งนี้น่ายินดีที่เห็นว่านักศึกษามีศักยภาพ มีพื้นฐานที่ดีจากการเรียนในห้อง ขณะที่ส่วนหน้างานนักศึกษาได้สัมผัสการทำงาน เข้าใจว่าการก่อสร้างด้วยวัสดุทางธรรมชาติที่ไม่ง่าย เป็นงานที่ต้องใช้ความอดทน ความพยายาม นักศึกษาลงมือเลื่อยไผ่เอง ได้เรียนรู้วิธีการแต่ละขั้นตอนด้วยตัวเอง ระหว่างการทำงานที่มีการแบ่งทีมรับผิดชอบ มีการแก้ปัญหาปรับเปลี่ยนหน้างานอยู่ตลอด และนักศึกษาก็ทำได้ ที่สำคัญคือนักศึกษามีทัศนคติที่ดีต่องานออกแบบของตนเอง ในฐานะที่เป็นที่ปรึกษาโครงการที่เป็นเพียงคนคอยกระตุ้น และดึงศักยภาพในตัวของเขาออกมา ทำให้ว่าเขาเกิดแรงบันดาลใจจนผลักดันให้เกิดผลงานออกมาได้อย่างน่าภาคภูมิใจ นายสราวุธ ค้อมคำพันธ์ หัวหน้าสถานีควบคุมไฟป่าภูชี้ฟ้าอันเนื่องมาจากพระราชดำริ อำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธ์ุพืช ในฐานะเจ้าของพื้นที่ กล่าวว่า “สถานของเราตั้งอยู่ที่อำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย รับผิดชอบพื้นที่ประมาณ 187,500 ไร่ มีหน้าที่รณรงค์ประชาสัมพันธ์ป้องกันไฟป่า ปฏิบัติงานด้านการควบคุมไฟป่า รวมถึงประสานงาน สนับสนุน ร่วมปฏิบัติงานดับไฟป่าและบรรเทาภัยธรรมชาติกับหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เรามีความต้องการพื้นที่ในส่วนที่นำมาเป็นสถานทราอบรมการป้องการไฟป่าอย่างถูกวิธีให้แก่ราษฎรในพื้นที่ของเรา เนื่องจากราษฎรเหล่านั้นเป็นเครือข่ายสำคัญที่ทำงานร่วมกับเจ้าหน้าที่ของเราในการช่วยเหลือและป้องกันไฟป่า เราขาดพื้นที่ที่ใช้ในการเป็นที่พักคุยงาน พักรับประทานอาหาร รวมถึงประชุมงานระหว่างเจ้าหน้าที่และราษฎรที่มาเข้ารับการอบรม เมื่อทางสถานีของเราได้รับการติดต่อจากสถาปนิกโครงการ และอาจารย์จากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทาลัยรังสิต เรามีความยินดีเป็นอย่างมากที่ทางสถาบันการศึกษาให้ความสำคัญมองเห็นปัญหาความต้องการของทางสถานี และได้เลือกสถานีของเราเป็นการจัดการเรียนนอกห้อง มาใช้สถานที่ลงมือก่อสร้างอาคารให้กับเรา ซึ่งการก่อสร้างอาคารได้มีการประสานงาน ทำงานร่วมกันเพื่อให้ได้พื้นที่ใช้สอยตามความต้องการของทางสถานีซึ่งเป็นอาคารไผ่ และได้ใช้วัสดุจากพื้นที่ของเราเอง ซึ่งอาคารพักผ่อนนี้จะเป็นอาคารอีกหนึ่งหลังที่ทางเราจะใช้ประโยชน์ในการทำกิจกรรมให้มากที่สุด นอกจากนี้เรายังได้รับความร่วม คำแนะนำต่าง ๆ ในการดูแลรักษาอาคารให้สามารถใช้ได้ในระยะยาวอีกด้วย” นางสาวสุรัญชญา พลนครเดช และนายพิพัฒนพงศ์ นวดิจศุภกร นักศึกษาชั้นปีที่ 4 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ที่เข้าร่วมโครงการ กล่าวว่า “เราแบ่งเหน้าที่กันเป็นฝ่ายออกแบบ (Design) ฝ่ายก่อสร้าง และฝ่ายจัดเตรียมวัสดุ แต่ละฝ่ายก็รับผิดชอบหน้าที่ของตัวเองคนที่ทำโครงสร้างก็จะดูแบบและทำโครงสร้างพวกข้อต่อต่างๆ ส่วนเพื่อนจะจัดเตรียม ไผ่ ขนาดที่ต้องการตามแบบไว้ให้กับเรา เพื่อนที่รับผิดชอบก่อสร้าง ขึ้นแบบ 3D ก็แยกย้ายกันทำ แต่ละคนก็รับงานต่อกันโดยมีการคุยกัน แก้ปัญหาร่วมกันอยู่ตลอดเพื่อให้งานออกแบบก่อสร้างของเราออกมาสมบูรณ์มากที่สุด ซึ่งวัสดุก็ทำมาจากธรรมชาติทั้งหมดซึ่งพวกเราได้ศึกษา หาข้อมูล เตรียมการกันมาก่อนการลงพื้นที่มาบ้าง ข้อมูลที่เราได้รับจากการเรียนในห้องเรียนประกอบกับคำแนะของอาจารย์ และที่ปรึกษา ร่วมถึงการได้แชร์ความคิดเห็นกับพี่ๆ เจ้าหน้าที่เจ้าของสถานที่ ทำให้เราสามารถปรับเปลี่ยนแผนการทำงานหน้างานได้ดี แม้จะมีอุปสรรคปัญหาบ้างแต่ก็ได้กำลังใจ และพวกเรามีความตั้งใจในการาลงพื้นที่ทำงานจริง สุดท้าย การได้ทำงานออกแบบจาพื้นฐานความรู้สถาปัตยกรรมที่เรียนมากับการใช้วัสดุท้องถิ่น ผลงานออกแบบ ก่อสร้างอาคารนี้เกิดขึ้นจรง ส่งต่อให้พี่ๆ เจ้าหน้าที่ได้ใช้ประโยชน์ เราก็รู้สึกดีใจและภูมิใจกับผลงานของพวกเราทุกคน สำหรับอาคารพักผ่อนนี้พวกเราได้ร่วมกันตั้งชื่อว่า “เฮือนฮ่วมใจ๋” ส่งต่อให้กับ สถานีควบคุมไฟป่าภูชีฟ้า จังหวัดเชียงราย” EZ Webmaster Related Posts โรงเรียนปลอดมือถือ! อังกฤษ-ออสเตรเลียเริ่มแล้ว ดึงเด็กกลับมาสนใจครูในห้องเรียน จุฬาฯ ผงาดอันดับ Top 44 ของโลกด้านความยั่งยืน ใน THE Impact Rankings 2025 ครองอันดับ 1 ของไทยอีกครั้ง หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 มธ. ปักหมุดหลักสูตร ‘AI Ethics’ หนุนบริบทใหม่ของห้องเรียนทันโลก สร้างจุดยืนคนรุ่นใหม่ ‘ใช้เอไออย่างมีจริยธรรม’ พร้อมเดินหน้าวางหมุดหมายระบบการศึกษาไทย กับการปลุกการใช้เทคฯ คู่ธรรมาภิบาล คาดเริ่มเปิดลงทะเบียนพร้อมเรียนจริง สิงหาคม 68 นี้ Post navigation PREVIOUS Previous post: “ศรีปทุม ห่วงใย” มอบหน้ากาก Face Shield ขสมก.NEXT Next post: ม.แมสซี ประเทศนิวซีแลนด์ ชวนน้องๆเยาวชนไทย โชว์ไอเดียออกแบบคาแรคเตอร์ตัวละคร “ฮีโร่ผู้พิทักษ์โลก” Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
11 สาเหตุลึกซึ้ง ทำไมการศึกษาไทยยังตกต่ำ? เสียงสะท้อนจากครูชนบท สู่คำถามใหญ่ของสังคม EZ WebmasterJune 19, 2025 ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ประเทศไทยกำลังเผชิญกับวิกฤตคุณภาพทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง แม้จะมีความพยายามปฏิรูปหลายครั้ง แต่กลับไม่สามารถยกระดับการเรียนรู้ให้เทียบเท่าประเทศเพื่อนบ้านได้อย่างแท้จริงนายสานิตย์ พลศรี นายกสมาคมครูชนบทจังหวัดชัยภูมิ ในหัวข้อ “สาเหตุของปัญหาคุณภาพด้านการศึกษาประเทศไทยที่ตกต่ำ” ซึ่งกำลังถูกส่งต่ออย่างกว้างขวางในโซเชียลมีเดียและกลุ่มไลน์ของคนในแวดวงการศึกษาเสียงสะท้อนจากผู้ที่อยู่ในภาคสนามจริงอย่างนายสานิตย์ ทำให้เราได้เห็นภาพที่ชัดเจนมากขึ้นว่า ปัญหาไม่ได้อยู่ที่ตัวนักเรียนหรือครูเพียงลำพัง แต่เป็นผลสะสมจากโครงสร้าง ระบบ และการบริหารที่ผิดทิศผิดทางมานานจึงเป็นการเปิดประเด็นให้สังคมได้ทบทวนร่วมกันว่า หากเราไม่เริ่ม “เปลี่ยนจริง” คุณภาพการศึกษาของไทยอาจยิ่งตกต่ำลงกว่าที่เป็นอยู่ 11… ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา EZ WebmasterJune 18, 2025 วิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิทักษ์ ธรรมวาริน (คนที่ 4 จากซ้าย) คณบดีวิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สจล. และ Mr. Alfonso Martin (คนที่ 3…
ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา EZ WebmasterJune 18, 2025 วิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิทักษ์ ธรรมวาริน (คนที่ 4 จากซ้าย) คณบดีวิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สจล. และ Mr. Alfonso Martin (คนที่ 3…
ทุนImperial Athletes Sport InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 20, 2025 Imperial College London เสนอทุนการศึกษา Imperial Athletes Sport เพื่อสนับสนุนนักกีฬาที่มีพรสวรรค์สำหรับปีการศึกษา 2025/2026 โดยเปิดโอกาสให้เลือกเรียนในหลากหลายสาขาวิชา เปิดรับใบสมัครถึง 4 สิงหาคม 2025 หากคุณกำลังแข่งขันในระดับภูมิภาค ระดับชาติ หรือระดับนานาชาติในกีฬาของคุณ และแสดงให้เห็นถึงพรสวรรค์… Kazan Global Youth Summit InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 19, 2025 เชิญเยาวชนสมัครคัดเลือกเข้าร่วมการประชุม Kazan Global Youth Summit ครั้งที่ 4 ระหว่างวันที่ 27 – 30 สิงหาคม 2568 ณ เมืองคาซาน สาธารณรัฐตาตาร์สตาน สหพันธรัฐรัสเซีย จัดโดยรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐตาตาร์สตาน… SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… ครู-อาจารย์ จุฬาฯ ผงาดอันดับ Top 44 ของโลกด้านความยั่งยืน ใน THE Impact Rankings 2025 ครองอันดับ 1 ของไทยอีกครั้ง tui sakrapeeJune 20, 2025 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยผงาดอันดับ Top 44 ของโลก และครองอันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทยอีกครั้งหนึ่ง จากการจัดอันดับโดย Times Higher Education Impact Rankings 2025 ด้วยผลงานที่โดดเด่นในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนและสร้างผลกระทบสูงต่อสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง SDG 9… หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 📚เริ่มเรียน กรกฎาคม 2568 ถึง มกราคม 2569 ทุกวันพฤหัสบดี 11:00 – 18:00 น.… มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ… สจล. เดินหน้ากระชับความร่วมมือทางวิชาการ กับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของจีน EZ WebmasterJune 19, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เดินหน้ากระชับความสัมพันธ์ทางวิชาการกับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งเป็นพันธมิตรที่มีความร่วมมือกันมานานกว่า 20 ปี เพื่อหารือขยายความร่วมมือเชิงลึกในสาขาวิศวกรรมขั้นสูง โดยเฉพาะด้าน Aerospace, Mechatronics, Automation และ Astronautics ซึ่ง HIT ถือเป็นสถาบันชั้นนำของจีนในด้านนี้ พร้อมทั้งหารือแนวทางความร่วมมือด้านการแลกเปลี่ยนนักศึกษา นักวิจัย และการพัฒนาโครงการ Joint Degree ในอนาคต รองศาสตราจารย์… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster April 16, 2020 EZ Webmaster April 16, 2020 ถาปัตย์ ม.รังสิต ตะลุยภูชีฟ้า ออกแบบ และก่อสร้าง “เฮือนฮ่วมใจ๋” ศาลาอเนกประสงค์ สำหรับสถานีและเจ้าหน้าที่ควบคุมไฟป่า ภูชี้ฟ้า “เฮือนฮ่วมใจ๋” เป็นเรือนร่มใจ ,ร่มฤดี ร่มเรือนที่ทำให้จิตใจสงบ เรือนสำหรับผู้เข้าอบรมใช้รับประทานอาหาร และแบ่งกลุ่มเพื่อปรึกษาหารือการป้องกันไฟป่า เรือนที่รวมตัวพวกเราทุกคน สร้างขึ้นมาด้วยมือ และหัวใจ โดย นักศึกษาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จาก Studio Design Lab มหาวิทยาลัยรังสิต อาจารย์ไพบูลย์ กิตติกูล อาจารย์ประจำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ในฐานะประธานโครงการ กล่าวว่า โครงการนี้เป็นโครงการต่อเนื่องจากการศึกษาโครงการ 4+1 และวิชาการออกแบบสถาปัตยกรรม 6 (ARC429) ภาคการศึกษาที่ 2/2562 ภายใต้ชื่อโครงการทัศนศึกษาและปฏิบัติการ (Workshop) ในหัวข้อ Tectonic ความหมายของศิลปะในการ ก่อ- สร้าง ประกอบด้วยหลายส่วนตั้งแต่ สุนทรียศาสตร์ เทคนิคกรรมวิธีที่ดี วัสดุที่เลือกมาใช้ในการก่อสร้างให้เหมาะสมกับบริบท และรูปแบบโครงสร้างก่อเป็นรูปทรงที่ตอบสนองการใช้งาน รวมถึงบูรณาการความคิดความรู้ในเชิงช่างของพื้นที่มาออกแบบสร้างอาคารให้งดงามน่าสนใจ โดยได้นำนักศึกษาจาก Studio Design Lab กว่า 10 คน ลงพื้นที่ทดลองก่อสร้างงานที่ออกแบบด้วยการลงมือทำจริง สร้างศาลาอเนกประสงค์ “เฮือนฮ่วมใจ๋” อาคารไผ่ รองรับคนได้จำนวน 40-50 คน สำหรับเป็นที่พักผ่อนและ รับประทานอาหาร แก่เจ้าหน้าที่ดับไฟ ณ สถานีควบคุมไฟป่าภูชีฟ้า จังหวัดเชียงราย และมอบให้ทางสถานีควบคุมไฟป่า ภูชี้ฟ้า เพื่อเป็นสาธารณะประโยชน์ต่อไป สำหรับโครงการนี้เป็นการบูรณาการการเรียนการสอนร่วมระหว่างคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี มีนโยบายความร่วมมือทางวิชาการเน้นการเรียนการสอนในชั้นเรียน ควบคู่กับการปฏิบัติงานจริงนอกห้องเรียนเพื่อประสบการณ์ตรงในการพบเห็นและเรียนรู้ การ Workshop หนึ่งในรูปแบบที่ช่วยเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจแก่นักศึกษาสถาปัตยกรรมศาสตร์ร่วมกันระหว่างสถาบัน แนวทางการศึกษาปฏิบัติเป็นการต่อยอดประเด็นการเรียนในเรื่อง Tentonic ในขั้นตอนสุดท้ายของการเรียนการสอนในห้องเรียนนั่นคือ หลังจากการออกแบบทำรูปจำลองแล้ว ต้องมีการลงมือทำ ก่อสร้าง เรียนรู้ขั้นตอนของการปฏิบัติจากการหยิบจับและทดลองสร้างผ่านสัดส่วนจริง วัสดุจริง และแก้ปัญหาจากสถานการณ์จริงในภาคสนาม ทำให้นักศึกษาเกิดความเข้าใจกระบวนการออกแบบ ก่อสร้าง และเข้าใจนิยามความหมายของวัสดุ และเทคนิคในการก่อสร้างได้ทุกมิติ แนวทางการลงพื้นที่ภาคสนามก่อสร้างศาลาอเนกประสงค์นั้นทาง Studio Design Lab โดยคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ได้ประสานงานร่วมกับทางสถาปนิกผู้รับผิดชอบโครงการปรับปรุงซ่อมแซม และทางสถานีควบคุมไฟป่าภูชีฟ้า จังหวัดเชียงราย เพื่อเตรียมข้อมูลที่จำเป็นสำหรับความประสงค์ของสถานี มาพัฒนาออกแบบก่อนขั้นต้นและ ระหว่างการก่อสร้างอาคาร จะมีการสอดแทรกเทคนิค ความรู้ในงานไม้และฝีมือในเชิงช่างจากประสบการณ์จริง โดยมีอาจารย์ หัวหน้าสถานีควบคุมไฟป่า และสถาปนิกโครงการ คอยให้คำแนะนำการทำงานจริงตลอดกว่า 1 สัปดาห์ คุณสันธาน เวียงสิมา หนึ่งในผู้ริเริ่มโครงการในฐานะสถาปนิกประจำโครงการ กล่าวว่า “ด้วยสถานการณ์ไฟป่าที่เกิดขึ้นประกอบกับสภาพทางสังคมของชุมชนบนภูชีฟ้านี้เอง จากที่ได้สัมผัสพบว่าพื้นที่แห่งนี้มีทรัพย์ดิน สินในน้ำ มีความอุดมสมบูรณ์ที่ในฐานะคนเมืองอย่างเราไม่มี แต่ชาวบ้านพื้นถิ่นเหล่านั้นมีแต่กลับมองข้ามพยายามสรรหาวัสดุ หรือสิ่งแปลปลอมจากพื้นราบมาใช้ นำมาซึ่งการเกิดโครงการที่อยากจะช่วยให้ชาวบ้านได้เห็นว่าทรัพยากรพื้นถิ่นที่เป็นสมบัติของเขาสามารถทำประโยชน์ได้นานาประการ และชาวบ้านเองมีองค์ความรู้จากสภาพแวดล้อมพื้นถิ่นที่ควรส่งต่อไปยังคนรุ่นใหม่ จึงได้ร่วมกับอาจารย์จากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิยาลัยรังสิต จัดกิจกรรมเพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้เหล่านั้นและสร้างจิตสำนึกแก่นักศึกษาเพื่อให้เกิดความรับผิดชอบต่อสังคมจากการเรียนรู้ปัญหาจริงของสังคมที่นักศึกษาอาจพบเจอสถานการณ์จริงเมื่อจบไปเป็นสถาปนิกในอนาคต ก่อนการลงพื้นที่ได้บรรยายเพื่อเปิดมุมมอง โลกทรรศน์ ให้ความรู้ในทางทฤษฎีสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น แนวคิด และประเด็นทางเทคนิคในการก่อสร้างก่อน จากนั้นเมื่อลงพื้นที่จริงนักศึกษาได้เริ่มเรียนรู้การสัมผัสวัสดุ การก่อสร้างจากวัสดุธรรมชาติด้วยวิธีธรรมชาติ มีการสร้างทัศนคติเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมช่าติต่าง ๆ ซึ่งเป็นวัสดุเชิงสร้างสรรค์ที่นักศึกษาสามารถหยิบยกมาออกแบบเชิงสถาปัตยกรรมได้ นักศึกษาได้รับการชี้แนะโดยเน้นกระบวนการ ปรับวิธีคิด เป็นวิธีทำ ต้องทำอย่างไร? จากจินตนาการสู่กระดาษ จากกระดาษสู่คอมพิวเตอร์ จากคอมพิวเตอร์สู่หุ่นจำลอง ๑:๑ จากหุ่นจำลอง ๑:๑ สู่งานก่อสร้างจริง ศาลาเอนกประสงค์โครงสร้างไผ่และฐานดินซีเมนต์ ซึ่งจากการลงพื้นที่ครั้งนี้น่ายินดีที่เห็นว่านักศึกษามีศักยภาพ มีพื้นฐานที่ดีจากการเรียนในห้อง ขณะที่ส่วนหน้างานนักศึกษาได้สัมผัสการทำงาน เข้าใจว่าการก่อสร้างด้วยวัสดุทางธรรมชาติที่ไม่ง่าย เป็นงานที่ต้องใช้ความอดทน ความพยายาม นักศึกษาลงมือเลื่อยไผ่เอง ได้เรียนรู้วิธีการแต่ละขั้นตอนด้วยตัวเอง ระหว่างการทำงานที่มีการแบ่งทีมรับผิดชอบ มีการแก้ปัญหาปรับเปลี่ยนหน้างานอยู่ตลอด และนักศึกษาก็ทำได้ ที่สำคัญคือนักศึกษามีทัศนคติที่ดีต่องานออกแบบของตนเอง ในฐานะที่เป็นที่ปรึกษาโครงการที่เป็นเพียงคนคอยกระตุ้น และดึงศักยภาพในตัวของเขาออกมา ทำให้ว่าเขาเกิดแรงบันดาลใจจนผลักดันให้เกิดผลงานออกมาได้อย่างน่าภาคภูมิใจ นายสราวุธ ค้อมคำพันธ์ หัวหน้าสถานีควบคุมไฟป่าภูชี้ฟ้าอันเนื่องมาจากพระราชดำริ อำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธ์ุพืช ในฐานะเจ้าของพื้นที่ กล่าวว่า “สถานของเราตั้งอยู่ที่อำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย รับผิดชอบพื้นที่ประมาณ 187,500 ไร่ มีหน้าที่รณรงค์ประชาสัมพันธ์ป้องกันไฟป่า ปฏิบัติงานด้านการควบคุมไฟป่า รวมถึงประสานงาน สนับสนุน ร่วมปฏิบัติงานดับไฟป่าและบรรเทาภัยธรรมชาติกับหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เรามีความต้องการพื้นที่ในส่วนที่นำมาเป็นสถานทราอบรมการป้องการไฟป่าอย่างถูกวิธีให้แก่ราษฎรในพื้นที่ของเรา เนื่องจากราษฎรเหล่านั้นเป็นเครือข่ายสำคัญที่ทำงานร่วมกับเจ้าหน้าที่ของเราในการช่วยเหลือและป้องกันไฟป่า เราขาดพื้นที่ที่ใช้ในการเป็นที่พักคุยงาน พักรับประทานอาหาร รวมถึงประชุมงานระหว่างเจ้าหน้าที่และราษฎรที่มาเข้ารับการอบรม เมื่อทางสถานีของเราได้รับการติดต่อจากสถาปนิกโครงการ และอาจารย์จากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทาลัยรังสิต เรามีความยินดีเป็นอย่างมากที่ทางสถาบันการศึกษาให้ความสำคัญมองเห็นปัญหาความต้องการของทางสถานี และได้เลือกสถานีของเราเป็นการจัดการเรียนนอกห้อง มาใช้สถานที่ลงมือก่อสร้างอาคารให้กับเรา ซึ่งการก่อสร้างอาคารได้มีการประสานงาน ทำงานร่วมกันเพื่อให้ได้พื้นที่ใช้สอยตามความต้องการของทางสถานีซึ่งเป็นอาคารไผ่ และได้ใช้วัสดุจากพื้นที่ของเราเอง ซึ่งอาคารพักผ่อนนี้จะเป็นอาคารอีกหนึ่งหลังที่ทางเราจะใช้ประโยชน์ในการทำกิจกรรมให้มากที่สุด นอกจากนี้เรายังได้รับความร่วม คำแนะนำต่าง ๆ ในการดูแลรักษาอาคารให้สามารถใช้ได้ในระยะยาวอีกด้วย” นางสาวสุรัญชญา พลนครเดช และนายพิพัฒนพงศ์ นวดิจศุภกร นักศึกษาชั้นปีที่ 4 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ที่เข้าร่วมโครงการ กล่าวว่า “เราแบ่งเหน้าที่กันเป็นฝ่ายออกแบบ (Design) ฝ่ายก่อสร้าง และฝ่ายจัดเตรียมวัสดุ แต่ละฝ่ายก็รับผิดชอบหน้าที่ของตัวเองคนที่ทำโครงสร้างก็จะดูแบบและทำโครงสร้างพวกข้อต่อต่างๆ ส่วนเพื่อนจะจัดเตรียม ไผ่ ขนาดที่ต้องการตามแบบไว้ให้กับเรา เพื่อนที่รับผิดชอบก่อสร้าง ขึ้นแบบ 3D ก็แยกย้ายกันทำ แต่ละคนก็รับงานต่อกันโดยมีการคุยกัน แก้ปัญหาร่วมกันอยู่ตลอดเพื่อให้งานออกแบบก่อสร้างของเราออกมาสมบูรณ์มากที่สุด ซึ่งวัสดุก็ทำมาจากธรรมชาติทั้งหมดซึ่งพวกเราได้ศึกษา หาข้อมูล เตรียมการกันมาก่อนการลงพื้นที่มาบ้าง ข้อมูลที่เราได้รับจากการเรียนในห้องเรียนประกอบกับคำแนะของอาจารย์ และที่ปรึกษา ร่วมถึงการได้แชร์ความคิดเห็นกับพี่ๆ เจ้าหน้าที่เจ้าของสถานที่ ทำให้เราสามารถปรับเปลี่ยนแผนการทำงานหน้างานได้ดี แม้จะมีอุปสรรคปัญหาบ้างแต่ก็ได้กำลังใจ และพวกเรามีความตั้งใจในการาลงพื้นที่ทำงานจริง สุดท้าย การได้ทำงานออกแบบจาพื้นฐานความรู้สถาปัตยกรรมที่เรียนมากับการใช้วัสดุท้องถิ่น ผลงานออกแบบ ก่อสร้างอาคารนี้เกิดขึ้นจรง ส่งต่อให้พี่ๆ เจ้าหน้าที่ได้ใช้ประโยชน์ เราก็รู้สึกดีใจและภูมิใจกับผลงานของพวกเราทุกคน สำหรับอาคารพักผ่อนนี้พวกเราได้ร่วมกันตั้งชื่อว่า “เฮือนฮ่วมใจ๋” ส่งต่อให้กับ สถานีควบคุมไฟป่าภูชีฟ้า จังหวัดเชียงราย” EZ Webmaster Related Posts โรงเรียนปลอดมือถือ! อังกฤษ-ออสเตรเลียเริ่มแล้ว ดึงเด็กกลับมาสนใจครูในห้องเรียน จุฬาฯ ผงาดอันดับ Top 44 ของโลกด้านความยั่งยืน ใน THE Impact Rankings 2025 ครองอันดับ 1 ของไทยอีกครั้ง หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 มธ. ปักหมุดหลักสูตร ‘AI Ethics’ หนุนบริบทใหม่ของห้องเรียนทันโลก สร้างจุดยืนคนรุ่นใหม่ ‘ใช้เอไออย่างมีจริยธรรม’ พร้อมเดินหน้าวางหมุดหมายระบบการศึกษาไทย กับการปลุกการใช้เทคฯ คู่ธรรมาภิบาล คาดเริ่มเปิดลงทะเบียนพร้อมเรียนจริง สิงหาคม 68 นี้ Post navigation PREVIOUS Previous post: “ศรีปทุม ห่วงใย” มอบหน้ากาก Face Shield ขสมก.NEXT Next post: ม.แมสซี ประเทศนิวซีแลนด์ ชวนน้องๆเยาวชนไทย โชว์ไอเดียออกแบบคาแรคเตอร์ตัวละคร “ฮีโร่ผู้พิทักษ์โลก” Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
Kazan Global Youth Summit InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 19, 2025 เชิญเยาวชนสมัครคัดเลือกเข้าร่วมการประชุม Kazan Global Youth Summit ครั้งที่ 4 ระหว่างวันที่ 27 – 30 สิงหาคม 2568 ณ เมืองคาซาน สาธารณรัฐตาตาร์สตาน สหพันธรัฐรัสเซีย จัดโดยรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐตาตาร์สตาน… SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… ครู-อาจารย์ จุฬาฯ ผงาดอันดับ Top 44 ของโลกด้านความยั่งยืน ใน THE Impact Rankings 2025 ครองอันดับ 1 ของไทยอีกครั้ง tui sakrapeeJune 20, 2025 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยผงาดอันดับ Top 44 ของโลก และครองอันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทยอีกครั้งหนึ่ง จากการจัดอันดับโดย Times Higher Education Impact Rankings 2025 ด้วยผลงานที่โดดเด่นในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนและสร้างผลกระทบสูงต่อสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง SDG 9… หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 📚เริ่มเรียน กรกฎาคม 2568 ถึง มกราคม 2569 ทุกวันพฤหัสบดี 11:00 – 18:00 น.… มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ… สจล. เดินหน้ากระชับความร่วมมือทางวิชาการ กับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของจีน EZ WebmasterJune 19, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เดินหน้ากระชับความสัมพันธ์ทางวิชาการกับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งเป็นพันธมิตรที่มีความร่วมมือกันมานานกว่า 20 ปี เพื่อหารือขยายความร่วมมือเชิงลึกในสาขาวิศวกรรมขั้นสูง โดยเฉพาะด้าน Aerospace, Mechatronics, Automation และ Astronautics ซึ่ง HIT ถือเป็นสถาบันชั้นนำของจีนในด้านนี้ พร้อมทั้งหารือแนวทางความร่วมมือด้านการแลกเปลี่ยนนักศึกษา นักวิจัย และการพัฒนาโครงการ Joint Degree ในอนาคต รองศาสตราจารย์… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster April 16, 2020 EZ Webmaster April 16, 2020 ถาปัตย์ ม.รังสิต ตะลุยภูชีฟ้า ออกแบบ และก่อสร้าง “เฮือนฮ่วมใจ๋” ศาลาอเนกประสงค์ สำหรับสถานีและเจ้าหน้าที่ควบคุมไฟป่า ภูชี้ฟ้า “เฮือนฮ่วมใจ๋” เป็นเรือนร่มใจ ,ร่มฤดี ร่มเรือนที่ทำให้จิตใจสงบ เรือนสำหรับผู้เข้าอบรมใช้รับประทานอาหาร และแบ่งกลุ่มเพื่อปรึกษาหารือการป้องกันไฟป่า เรือนที่รวมตัวพวกเราทุกคน สร้างขึ้นมาด้วยมือ และหัวใจ โดย นักศึกษาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จาก Studio Design Lab มหาวิทยาลัยรังสิต อาจารย์ไพบูลย์ กิตติกูล อาจารย์ประจำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ในฐานะประธานโครงการ กล่าวว่า โครงการนี้เป็นโครงการต่อเนื่องจากการศึกษาโครงการ 4+1 และวิชาการออกแบบสถาปัตยกรรม 6 (ARC429) ภาคการศึกษาที่ 2/2562 ภายใต้ชื่อโครงการทัศนศึกษาและปฏิบัติการ (Workshop) ในหัวข้อ Tectonic ความหมายของศิลปะในการ ก่อ- สร้าง ประกอบด้วยหลายส่วนตั้งแต่ สุนทรียศาสตร์ เทคนิคกรรมวิธีที่ดี วัสดุที่เลือกมาใช้ในการก่อสร้างให้เหมาะสมกับบริบท และรูปแบบโครงสร้างก่อเป็นรูปทรงที่ตอบสนองการใช้งาน รวมถึงบูรณาการความคิดความรู้ในเชิงช่างของพื้นที่มาออกแบบสร้างอาคารให้งดงามน่าสนใจ โดยได้นำนักศึกษาจาก Studio Design Lab กว่า 10 คน ลงพื้นที่ทดลองก่อสร้างงานที่ออกแบบด้วยการลงมือทำจริง สร้างศาลาอเนกประสงค์ “เฮือนฮ่วมใจ๋” อาคารไผ่ รองรับคนได้จำนวน 40-50 คน สำหรับเป็นที่พักผ่อนและ รับประทานอาหาร แก่เจ้าหน้าที่ดับไฟ ณ สถานีควบคุมไฟป่าภูชีฟ้า จังหวัดเชียงราย และมอบให้ทางสถานีควบคุมไฟป่า ภูชี้ฟ้า เพื่อเป็นสาธารณะประโยชน์ต่อไป สำหรับโครงการนี้เป็นการบูรณาการการเรียนการสอนร่วมระหว่างคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี มีนโยบายความร่วมมือทางวิชาการเน้นการเรียนการสอนในชั้นเรียน ควบคู่กับการปฏิบัติงานจริงนอกห้องเรียนเพื่อประสบการณ์ตรงในการพบเห็นและเรียนรู้ การ Workshop หนึ่งในรูปแบบที่ช่วยเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจแก่นักศึกษาสถาปัตยกรรมศาสตร์ร่วมกันระหว่างสถาบัน แนวทางการศึกษาปฏิบัติเป็นการต่อยอดประเด็นการเรียนในเรื่อง Tentonic ในขั้นตอนสุดท้ายของการเรียนการสอนในห้องเรียนนั่นคือ หลังจากการออกแบบทำรูปจำลองแล้ว ต้องมีการลงมือทำ ก่อสร้าง เรียนรู้ขั้นตอนของการปฏิบัติจากการหยิบจับและทดลองสร้างผ่านสัดส่วนจริง วัสดุจริง และแก้ปัญหาจากสถานการณ์จริงในภาคสนาม ทำให้นักศึกษาเกิดความเข้าใจกระบวนการออกแบบ ก่อสร้าง และเข้าใจนิยามความหมายของวัสดุ และเทคนิคในการก่อสร้างได้ทุกมิติ แนวทางการลงพื้นที่ภาคสนามก่อสร้างศาลาอเนกประสงค์นั้นทาง Studio Design Lab โดยคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ได้ประสานงานร่วมกับทางสถาปนิกผู้รับผิดชอบโครงการปรับปรุงซ่อมแซม และทางสถานีควบคุมไฟป่าภูชีฟ้า จังหวัดเชียงราย เพื่อเตรียมข้อมูลที่จำเป็นสำหรับความประสงค์ของสถานี มาพัฒนาออกแบบก่อนขั้นต้นและ ระหว่างการก่อสร้างอาคาร จะมีการสอดแทรกเทคนิค ความรู้ในงานไม้และฝีมือในเชิงช่างจากประสบการณ์จริง โดยมีอาจารย์ หัวหน้าสถานีควบคุมไฟป่า และสถาปนิกโครงการ คอยให้คำแนะนำการทำงานจริงตลอดกว่า 1 สัปดาห์ คุณสันธาน เวียงสิมา หนึ่งในผู้ริเริ่มโครงการในฐานะสถาปนิกประจำโครงการ กล่าวว่า “ด้วยสถานการณ์ไฟป่าที่เกิดขึ้นประกอบกับสภาพทางสังคมของชุมชนบนภูชีฟ้านี้เอง จากที่ได้สัมผัสพบว่าพื้นที่แห่งนี้มีทรัพย์ดิน สินในน้ำ มีความอุดมสมบูรณ์ที่ในฐานะคนเมืองอย่างเราไม่มี แต่ชาวบ้านพื้นถิ่นเหล่านั้นมีแต่กลับมองข้ามพยายามสรรหาวัสดุ หรือสิ่งแปลปลอมจากพื้นราบมาใช้ นำมาซึ่งการเกิดโครงการที่อยากจะช่วยให้ชาวบ้านได้เห็นว่าทรัพยากรพื้นถิ่นที่เป็นสมบัติของเขาสามารถทำประโยชน์ได้นานาประการ และชาวบ้านเองมีองค์ความรู้จากสภาพแวดล้อมพื้นถิ่นที่ควรส่งต่อไปยังคนรุ่นใหม่ จึงได้ร่วมกับอาจารย์จากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิยาลัยรังสิต จัดกิจกรรมเพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้เหล่านั้นและสร้างจิตสำนึกแก่นักศึกษาเพื่อให้เกิดความรับผิดชอบต่อสังคมจากการเรียนรู้ปัญหาจริงของสังคมที่นักศึกษาอาจพบเจอสถานการณ์จริงเมื่อจบไปเป็นสถาปนิกในอนาคต ก่อนการลงพื้นที่ได้บรรยายเพื่อเปิดมุมมอง โลกทรรศน์ ให้ความรู้ในทางทฤษฎีสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น แนวคิด และประเด็นทางเทคนิคในการก่อสร้างก่อน จากนั้นเมื่อลงพื้นที่จริงนักศึกษาได้เริ่มเรียนรู้การสัมผัสวัสดุ การก่อสร้างจากวัสดุธรรมชาติด้วยวิธีธรรมชาติ มีการสร้างทัศนคติเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมช่าติต่าง ๆ ซึ่งเป็นวัสดุเชิงสร้างสรรค์ที่นักศึกษาสามารถหยิบยกมาออกแบบเชิงสถาปัตยกรรมได้ นักศึกษาได้รับการชี้แนะโดยเน้นกระบวนการ ปรับวิธีคิด เป็นวิธีทำ ต้องทำอย่างไร? จากจินตนาการสู่กระดาษ จากกระดาษสู่คอมพิวเตอร์ จากคอมพิวเตอร์สู่หุ่นจำลอง ๑:๑ จากหุ่นจำลอง ๑:๑ สู่งานก่อสร้างจริง ศาลาเอนกประสงค์โครงสร้างไผ่และฐานดินซีเมนต์ ซึ่งจากการลงพื้นที่ครั้งนี้น่ายินดีที่เห็นว่านักศึกษามีศักยภาพ มีพื้นฐานที่ดีจากการเรียนในห้อง ขณะที่ส่วนหน้างานนักศึกษาได้สัมผัสการทำงาน เข้าใจว่าการก่อสร้างด้วยวัสดุทางธรรมชาติที่ไม่ง่าย เป็นงานที่ต้องใช้ความอดทน ความพยายาม นักศึกษาลงมือเลื่อยไผ่เอง ได้เรียนรู้วิธีการแต่ละขั้นตอนด้วยตัวเอง ระหว่างการทำงานที่มีการแบ่งทีมรับผิดชอบ มีการแก้ปัญหาปรับเปลี่ยนหน้างานอยู่ตลอด และนักศึกษาก็ทำได้ ที่สำคัญคือนักศึกษามีทัศนคติที่ดีต่องานออกแบบของตนเอง ในฐานะที่เป็นที่ปรึกษาโครงการที่เป็นเพียงคนคอยกระตุ้น และดึงศักยภาพในตัวของเขาออกมา ทำให้ว่าเขาเกิดแรงบันดาลใจจนผลักดันให้เกิดผลงานออกมาได้อย่างน่าภาคภูมิใจ นายสราวุธ ค้อมคำพันธ์ หัวหน้าสถานีควบคุมไฟป่าภูชี้ฟ้าอันเนื่องมาจากพระราชดำริ อำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธ์ุพืช ในฐานะเจ้าของพื้นที่ กล่าวว่า “สถานของเราตั้งอยู่ที่อำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย รับผิดชอบพื้นที่ประมาณ 187,500 ไร่ มีหน้าที่รณรงค์ประชาสัมพันธ์ป้องกันไฟป่า ปฏิบัติงานด้านการควบคุมไฟป่า รวมถึงประสานงาน สนับสนุน ร่วมปฏิบัติงานดับไฟป่าและบรรเทาภัยธรรมชาติกับหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เรามีความต้องการพื้นที่ในส่วนที่นำมาเป็นสถานทราอบรมการป้องการไฟป่าอย่างถูกวิธีให้แก่ราษฎรในพื้นที่ของเรา เนื่องจากราษฎรเหล่านั้นเป็นเครือข่ายสำคัญที่ทำงานร่วมกับเจ้าหน้าที่ของเราในการช่วยเหลือและป้องกันไฟป่า เราขาดพื้นที่ที่ใช้ในการเป็นที่พักคุยงาน พักรับประทานอาหาร รวมถึงประชุมงานระหว่างเจ้าหน้าที่และราษฎรที่มาเข้ารับการอบรม เมื่อทางสถานีของเราได้รับการติดต่อจากสถาปนิกโครงการ และอาจารย์จากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทาลัยรังสิต เรามีความยินดีเป็นอย่างมากที่ทางสถาบันการศึกษาให้ความสำคัญมองเห็นปัญหาความต้องการของทางสถานี และได้เลือกสถานีของเราเป็นการจัดการเรียนนอกห้อง มาใช้สถานที่ลงมือก่อสร้างอาคารให้กับเรา ซึ่งการก่อสร้างอาคารได้มีการประสานงาน ทำงานร่วมกันเพื่อให้ได้พื้นที่ใช้สอยตามความต้องการของทางสถานีซึ่งเป็นอาคารไผ่ และได้ใช้วัสดุจากพื้นที่ของเราเอง ซึ่งอาคารพักผ่อนนี้จะเป็นอาคารอีกหนึ่งหลังที่ทางเราจะใช้ประโยชน์ในการทำกิจกรรมให้มากที่สุด นอกจากนี้เรายังได้รับความร่วม คำแนะนำต่าง ๆ ในการดูแลรักษาอาคารให้สามารถใช้ได้ในระยะยาวอีกด้วย” นางสาวสุรัญชญา พลนครเดช และนายพิพัฒนพงศ์ นวดิจศุภกร นักศึกษาชั้นปีที่ 4 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ที่เข้าร่วมโครงการ กล่าวว่า “เราแบ่งเหน้าที่กันเป็นฝ่ายออกแบบ (Design) ฝ่ายก่อสร้าง และฝ่ายจัดเตรียมวัสดุ แต่ละฝ่ายก็รับผิดชอบหน้าที่ของตัวเองคนที่ทำโครงสร้างก็จะดูแบบและทำโครงสร้างพวกข้อต่อต่างๆ ส่วนเพื่อนจะจัดเตรียม ไผ่ ขนาดที่ต้องการตามแบบไว้ให้กับเรา เพื่อนที่รับผิดชอบก่อสร้าง ขึ้นแบบ 3D ก็แยกย้ายกันทำ แต่ละคนก็รับงานต่อกันโดยมีการคุยกัน แก้ปัญหาร่วมกันอยู่ตลอดเพื่อให้งานออกแบบก่อสร้างของเราออกมาสมบูรณ์มากที่สุด ซึ่งวัสดุก็ทำมาจากธรรมชาติทั้งหมดซึ่งพวกเราได้ศึกษา หาข้อมูล เตรียมการกันมาก่อนการลงพื้นที่มาบ้าง ข้อมูลที่เราได้รับจากการเรียนในห้องเรียนประกอบกับคำแนะของอาจารย์ และที่ปรึกษา ร่วมถึงการได้แชร์ความคิดเห็นกับพี่ๆ เจ้าหน้าที่เจ้าของสถานที่ ทำให้เราสามารถปรับเปลี่ยนแผนการทำงานหน้างานได้ดี แม้จะมีอุปสรรคปัญหาบ้างแต่ก็ได้กำลังใจ และพวกเรามีความตั้งใจในการาลงพื้นที่ทำงานจริง สุดท้าย การได้ทำงานออกแบบจาพื้นฐานความรู้สถาปัตยกรรมที่เรียนมากับการใช้วัสดุท้องถิ่น ผลงานออกแบบ ก่อสร้างอาคารนี้เกิดขึ้นจรง ส่งต่อให้พี่ๆ เจ้าหน้าที่ได้ใช้ประโยชน์ เราก็รู้สึกดีใจและภูมิใจกับผลงานของพวกเราทุกคน สำหรับอาคารพักผ่อนนี้พวกเราได้ร่วมกันตั้งชื่อว่า “เฮือนฮ่วมใจ๋” ส่งต่อให้กับ สถานีควบคุมไฟป่าภูชีฟ้า จังหวัดเชียงราย” EZ Webmaster Related Posts โรงเรียนปลอดมือถือ! อังกฤษ-ออสเตรเลียเริ่มแล้ว ดึงเด็กกลับมาสนใจครูในห้องเรียน จุฬาฯ ผงาดอันดับ Top 44 ของโลกด้านความยั่งยืน ใน THE Impact Rankings 2025 ครองอันดับ 1 ของไทยอีกครั้ง หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 มธ. ปักหมุดหลักสูตร ‘AI Ethics’ หนุนบริบทใหม่ของห้องเรียนทันโลก สร้างจุดยืนคนรุ่นใหม่ ‘ใช้เอไออย่างมีจริยธรรม’ พร้อมเดินหน้าวางหมุดหมายระบบการศึกษาไทย กับการปลุกการใช้เทคฯ คู่ธรรมาภิบาล คาดเริ่มเปิดลงทะเบียนพร้อมเรียนจริง สิงหาคม 68 นี้ Post navigation PREVIOUS Previous post: “ศรีปทุม ห่วงใย” มอบหน้ากาก Face Shield ขสมก.NEXT Next post: ม.แมสซี ประเทศนิวซีแลนด์ ชวนน้องๆเยาวชนไทย โชว์ไอเดียออกแบบคาแรคเตอร์ตัวละคร “ฮีโร่ผู้พิทักษ์โลก” Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม…
ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม…
จุฬาฯ ผงาดอันดับ Top 44 ของโลกด้านความยั่งยืน ใน THE Impact Rankings 2025 ครองอันดับ 1 ของไทยอีกครั้ง tui sakrapeeJune 20, 2025 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยผงาดอันดับ Top 44 ของโลก และครองอันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทยอีกครั้งหนึ่ง จากการจัดอันดับโดย Times Higher Education Impact Rankings 2025 ด้วยผลงานที่โดดเด่นในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนและสร้างผลกระทบสูงต่อสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง SDG 9… หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 📚เริ่มเรียน กรกฎาคม 2568 ถึง มกราคม 2569 ทุกวันพฤหัสบดี 11:00 – 18:00 น.… มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ… สจล. เดินหน้ากระชับความร่วมมือทางวิชาการ กับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของจีน EZ WebmasterJune 19, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เดินหน้ากระชับความสัมพันธ์ทางวิชาการกับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งเป็นพันธมิตรที่มีความร่วมมือกันมานานกว่า 20 ปี เพื่อหารือขยายความร่วมมือเชิงลึกในสาขาวิศวกรรมขั้นสูง โดยเฉพาะด้าน Aerospace, Mechatronics, Automation และ Astronautics ซึ่ง HIT ถือเป็นสถาบันชั้นนำของจีนในด้านนี้ พร้อมทั้งหารือแนวทางความร่วมมือด้านการแลกเปลี่ยนนักศึกษา นักวิจัย และการพัฒนาโครงการ Joint Degree ในอนาคต รองศาสตราจารย์… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster April 16, 2020 EZ Webmaster April 16, 2020 ถาปัตย์ ม.รังสิต ตะลุยภูชีฟ้า ออกแบบ และก่อสร้าง “เฮือนฮ่วมใจ๋” ศาลาอเนกประสงค์ สำหรับสถานีและเจ้าหน้าที่ควบคุมไฟป่า ภูชี้ฟ้า “เฮือนฮ่วมใจ๋” เป็นเรือนร่มใจ ,ร่มฤดี ร่มเรือนที่ทำให้จิตใจสงบ เรือนสำหรับผู้เข้าอบรมใช้รับประทานอาหาร และแบ่งกลุ่มเพื่อปรึกษาหารือการป้องกันไฟป่า เรือนที่รวมตัวพวกเราทุกคน สร้างขึ้นมาด้วยมือ และหัวใจ โดย นักศึกษาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จาก Studio Design Lab มหาวิทยาลัยรังสิต อาจารย์ไพบูลย์ กิตติกูล อาจารย์ประจำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ในฐานะประธานโครงการ กล่าวว่า โครงการนี้เป็นโครงการต่อเนื่องจากการศึกษาโครงการ 4+1 และวิชาการออกแบบสถาปัตยกรรม 6 (ARC429) ภาคการศึกษาที่ 2/2562 ภายใต้ชื่อโครงการทัศนศึกษาและปฏิบัติการ (Workshop) ในหัวข้อ Tectonic ความหมายของศิลปะในการ ก่อ- สร้าง ประกอบด้วยหลายส่วนตั้งแต่ สุนทรียศาสตร์ เทคนิคกรรมวิธีที่ดี วัสดุที่เลือกมาใช้ในการก่อสร้างให้เหมาะสมกับบริบท และรูปแบบโครงสร้างก่อเป็นรูปทรงที่ตอบสนองการใช้งาน รวมถึงบูรณาการความคิดความรู้ในเชิงช่างของพื้นที่มาออกแบบสร้างอาคารให้งดงามน่าสนใจ โดยได้นำนักศึกษาจาก Studio Design Lab กว่า 10 คน ลงพื้นที่ทดลองก่อสร้างงานที่ออกแบบด้วยการลงมือทำจริง สร้างศาลาอเนกประสงค์ “เฮือนฮ่วมใจ๋” อาคารไผ่ รองรับคนได้จำนวน 40-50 คน สำหรับเป็นที่พักผ่อนและ รับประทานอาหาร แก่เจ้าหน้าที่ดับไฟ ณ สถานีควบคุมไฟป่าภูชีฟ้า จังหวัดเชียงราย และมอบให้ทางสถานีควบคุมไฟป่า ภูชี้ฟ้า เพื่อเป็นสาธารณะประโยชน์ต่อไป สำหรับโครงการนี้เป็นการบูรณาการการเรียนการสอนร่วมระหว่างคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี มีนโยบายความร่วมมือทางวิชาการเน้นการเรียนการสอนในชั้นเรียน ควบคู่กับการปฏิบัติงานจริงนอกห้องเรียนเพื่อประสบการณ์ตรงในการพบเห็นและเรียนรู้ การ Workshop หนึ่งในรูปแบบที่ช่วยเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจแก่นักศึกษาสถาปัตยกรรมศาสตร์ร่วมกันระหว่างสถาบัน แนวทางการศึกษาปฏิบัติเป็นการต่อยอดประเด็นการเรียนในเรื่อง Tentonic ในขั้นตอนสุดท้ายของการเรียนการสอนในห้องเรียนนั่นคือ หลังจากการออกแบบทำรูปจำลองแล้ว ต้องมีการลงมือทำ ก่อสร้าง เรียนรู้ขั้นตอนของการปฏิบัติจากการหยิบจับและทดลองสร้างผ่านสัดส่วนจริง วัสดุจริง และแก้ปัญหาจากสถานการณ์จริงในภาคสนาม ทำให้นักศึกษาเกิดความเข้าใจกระบวนการออกแบบ ก่อสร้าง และเข้าใจนิยามความหมายของวัสดุ และเทคนิคในการก่อสร้างได้ทุกมิติ แนวทางการลงพื้นที่ภาคสนามก่อสร้างศาลาอเนกประสงค์นั้นทาง Studio Design Lab โดยคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ได้ประสานงานร่วมกับทางสถาปนิกผู้รับผิดชอบโครงการปรับปรุงซ่อมแซม และทางสถานีควบคุมไฟป่าภูชีฟ้า จังหวัดเชียงราย เพื่อเตรียมข้อมูลที่จำเป็นสำหรับความประสงค์ของสถานี มาพัฒนาออกแบบก่อนขั้นต้นและ ระหว่างการก่อสร้างอาคาร จะมีการสอดแทรกเทคนิค ความรู้ในงานไม้และฝีมือในเชิงช่างจากประสบการณ์จริง โดยมีอาจารย์ หัวหน้าสถานีควบคุมไฟป่า และสถาปนิกโครงการ คอยให้คำแนะนำการทำงานจริงตลอดกว่า 1 สัปดาห์ คุณสันธาน เวียงสิมา หนึ่งในผู้ริเริ่มโครงการในฐานะสถาปนิกประจำโครงการ กล่าวว่า “ด้วยสถานการณ์ไฟป่าที่เกิดขึ้นประกอบกับสภาพทางสังคมของชุมชนบนภูชีฟ้านี้เอง จากที่ได้สัมผัสพบว่าพื้นที่แห่งนี้มีทรัพย์ดิน สินในน้ำ มีความอุดมสมบูรณ์ที่ในฐานะคนเมืองอย่างเราไม่มี แต่ชาวบ้านพื้นถิ่นเหล่านั้นมีแต่กลับมองข้ามพยายามสรรหาวัสดุ หรือสิ่งแปลปลอมจากพื้นราบมาใช้ นำมาซึ่งการเกิดโครงการที่อยากจะช่วยให้ชาวบ้านได้เห็นว่าทรัพยากรพื้นถิ่นที่เป็นสมบัติของเขาสามารถทำประโยชน์ได้นานาประการ และชาวบ้านเองมีองค์ความรู้จากสภาพแวดล้อมพื้นถิ่นที่ควรส่งต่อไปยังคนรุ่นใหม่ จึงได้ร่วมกับอาจารย์จากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิยาลัยรังสิต จัดกิจกรรมเพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้เหล่านั้นและสร้างจิตสำนึกแก่นักศึกษาเพื่อให้เกิดความรับผิดชอบต่อสังคมจากการเรียนรู้ปัญหาจริงของสังคมที่นักศึกษาอาจพบเจอสถานการณ์จริงเมื่อจบไปเป็นสถาปนิกในอนาคต ก่อนการลงพื้นที่ได้บรรยายเพื่อเปิดมุมมอง โลกทรรศน์ ให้ความรู้ในทางทฤษฎีสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น แนวคิด และประเด็นทางเทคนิคในการก่อสร้างก่อน จากนั้นเมื่อลงพื้นที่จริงนักศึกษาได้เริ่มเรียนรู้การสัมผัสวัสดุ การก่อสร้างจากวัสดุธรรมชาติด้วยวิธีธรรมชาติ มีการสร้างทัศนคติเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมช่าติต่าง ๆ ซึ่งเป็นวัสดุเชิงสร้างสรรค์ที่นักศึกษาสามารถหยิบยกมาออกแบบเชิงสถาปัตยกรรมได้ นักศึกษาได้รับการชี้แนะโดยเน้นกระบวนการ ปรับวิธีคิด เป็นวิธีทำ ต้องทำอย่างไร? จากจินตนาการสู่กระดาษ จากกระดาษสู่คอมพิวเตอร์ จากคอมพิวเตอร์สู่หุ่นจำลอง ๑:๑ จากหุ่นจำลอง ๑:๑ สู่งานก่อสร้างจริง ศาลาเอนกประสงค์โครงสร้างไผ่และฐานดินซีเมนต์ ซึ่งจากการลงพื้นที่ครั้งนี้น่ายินดีที่เห็นว่านักศึกษามีศักยภาพ มีพื้นฐานที่ดีจากการเรียนในห้อง ขณะที่ส่วนหน้างานนักศึกษาได้สัมผัสการทำงาน เข้าใจว่าการก่อสร้างด้วยวัสดุทางธรรมชาติที่ไม่ง่าย เป็นงานที่ต้องใช้ความอดทน ความพยายาม นักศึกษาลงมือเลื่อยไผ่เอง ได้เรียนรู้วิธีการแต่ละขั้นตอนด้วยตัวเอง ระหว่างการทำงานที่มีการแบ่งทีมรับผิดชอบ มีการแก้ปัญหาปรับเปลี่ยนหน้างานอยู่ตลอด และนักศึกษาก็ทำได้ ที่สำคัญคือนักศึกษามีทัศนคติที่ดีต่องานออกแบบของตนเอง ในฐานะที่เป็นที่ปรึกษาโครงการที่เป็นเพียงคนคอยกระตุ้น และดึงศักยภาพในตัวของเขาออกมา ทำให้ว่าเขาเกิดแรงบันดาลใจจนผลักดันให้เกิดผลงานออกมาได้อย่างน่าภาคภูมิใจ นายสราวุธ ค้อมคำพันธ์ หัวหน้าสถานีควบคุมไฟป่าภูชี้ฟ้าอันเนื่องมาจากพระราชดำริ อำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธ์ุพืช ในฐานะเจ้าของพื้นที่ กล่าวว่า “สถานของเราตั้งอยู่ที่อำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย รับผิดชอบพื้นที่ประมาณ 187,500 ไร่ มีหน้าที่รณรงค์ประชาสัมพันธ์ป้องกันไฟป่า ปฏิบัติงานด้านการควบคุมไฟป่า รวมถึงประสานงาน สนับสนุน ร่วมปฏิบัติงานดับไฟป่าและบรรเทาภัยธรรมชาติกับหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เรามีความต้องการพื้นที่ในส่วนที่นำมาเป็นสถานทราอบรมการป้องการไฟป่าอย่างถูกวิธีให้แก่ราษฎรในพื้นที่ของเรา เนื่องจากราษฎรเหล่านั้นเป็นเครือข่ายสำคัญที่ทำงานร่วมกับเจ้าหน้าที่ของเราในการช่วยเหลือและป้องกันไฟป่า เราขาดพื้นที่ที่ใช้ในการเป็นที่พักคุยงาน พักรับประทานอาหาร รวมถึงประชุมงานระหว่างเจ้าหน้าที่และราษฎรที่มาเข้ารับการอบรม เมื่อทางสถานีของเราได้รับการติดต่อจากสถาปนิกโครงการ และอาจารย์จากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทาลัยรังสิต เรามีความยินดีเป็นอย่างมากที่ทางสถาบันการศึกษาให้ความสำคัญมองเห็นปัญหาความต้องการของทางสถานี และได้เลือกสถานีของเราเป็นการจัดการเรียนนอกห้อง มาใช้สถานที่ลงมือก่อสร้างอาคารให้กับเรา ซึ่งการก่อสร้างอาคารได้มีการประสานงาน ทำงานร่วมกันเพื่อให้ได้พื้นที่ใช้สอยตามความต้องการของทางสถานีซึ่งเป็นอาคารไผ่ และได้ใช้วัสดุจากพื้นที่ของเราเอง ซึ่งอาคารพักผ่อนนี้จะเป็นอาคารอีกหนึ่งหลังที่ทางเราจะใช้ประโยชน์ในการทำกิจกรรมให้มากที่สุด นอกจากนี้เรายังได้รับความร่วม คำแนะนำต่าง ๆ ในการดูแลรักษาอาคารให้สามารถใช้ได้ในระยะยาวอีกด้วย” นางสาวสุรัญชญา พลนครเดช และนายพิพัฒนพงศ์ นวดิจศุภกร นักศึกษาชั้นปีที่ 4 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ที่เข้าร่วมโครงการ กล่าวว่า “เราแบ่งเหน้าที่กันเป็นฝ่ายออกแบบ (Design) ฝ่ายก่อสร้าง และฝ่ายจัดเตรียมวัสดุ แต่ละฝ่ายก็รับผิดชอบหน้าที่ของตัวเองคนที่ทำโครงสร้างก็จะดูแบบและทำโครงสร้างพวกข้อต่อต่างๆ ส่วนเพื่อนจะจัดเตรียม ไผ่ ขนาดที่ต้องการตามแบบไว้ให้กับเรา เพื่อนที่รับผิดชอบก่อสร้าง ขึ้นแบบ 3D ก็แยกย้ายกันทำ แต่ละคนก็รับงานต่อกันโดยมีการคุยกัน แก้ปัญหาร่วมกันอยู่ตลอดเพื่อให้งานออกแบบก่อสร้างของเราออกมาสมบูรณ์มากที่สุด ซึ่งวัสดุก็ทำมาจากธรรมชาติทั้งหมดซึ่งพวกเราได้ศึกษา หาข้อมูล เตรียมการกันมาก่อนการลงพื้นที่มาบ้าง ข้อมูลที่เราได้รับจากการเรียนในห้องเรียนประกอบกับคำแนะของอาจารย์ และที่ปรึกษา ร่วมถึงการได้แชร์ความคิดเห็นกับพี่ๆ เจ้าหน้าที่เจ้าของสถานที่ ทำให้เราสามารถปรับเปลี่ยนแผนการทำงานหน้างานได้ดี แม้จะมีอุปสรรคปัญหาบ้างแต่ก็ได้กำลังใจ และพวกเรามีความตั้งใจในการาลงพื้นที่ทำงานจริง สุดท้าย การได้ทำงานออกแบบจาพื้นฐานความรู้สถาปัตยกรรมที่เรียนมากับการใช้วัสดุท้องถิ่น ผลงานออกแบบ ก่อสร้างอาคารนี้เกิดขึ้นจรง ส่งต่อให้พี่ๆ เจ้าหน้าที่ได้ใช้ประโยชน์ เราก็รู้สึกดีใจและภูมิใจกับผลงานของพวกเราทุกคน สำหรับอาคารพักผ่อนนี้พวกเราได้ร่วมกันตั้งชื่อว่า “เฮือนฮ่วมใจ๋” ส่งต่อให้กับ สถานีควบคุมไฟป่าภูชีฟ้า จังหวัดเชียงราย” EZ Webmaster Related Posts โรงเรียนปลอดมือถือ! อังกฤษ-ออสเตรเลียเริ่มแล้ว ดึงเด็กกลับมาสนใจครูในห้องเรียน จุฬาฯ ผงาดอันดับ Top 44 ของโลกด้านความยั่งยืน ใน THE Impact Rankings 2025 ครองอันดับ 1 ของไทยอีกครั้ง หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 มธ. ปักหมุดหลักสูตร ‘AI Ethics’ หนุนบริบทใหม่ของห้องเรียนทันโลก สร้างจุดยืนคนรุ่นใหม่ ‘ใช้เอไออย่างมีจริยธรรม’ พร้อมเดินหน้าวางหมุดหมายระบบการศึกษาไทย กับการปลุกการใช้เทคฯ คู่ธรรมาภิบาล คาดเริ่มเปิดลงทะเบียนพร้อมเรียนจริง สิงหาคม 68 นี้ Post navigation PREVIOUS Previous post: “ศรีปทุม ห่วงใย” มอบหน้ากาก Face Shield ขสมก.NEXT Next post: ม.แมสซี ประเทศนิวซีแลนด์ ชวนน้องๆเยาวชนไทย โชว์ไอเดียออกแบบคาแรคเตอร์ตัวละคร “ฮีโร่ผู้พิทักษ์โลก” Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 📚เริ่มเรียน กรกฎาคม 2568 ถึง มกราคม 2569 ทุกวันพฤหัสบดี 11:00 – 18:00 น.… มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ… สจล. เดินหน้ากระชับความร่วมมือทางวิชาการ กับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของจีน EZ WebmasterJune 19, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เดินหน้ากระชับความสัมพันธ์ทางวิชาการกับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งเป็นพันธมิตรที่มีความร่วมมือกันมานานกว่า 20 ปี เพื่อหารือขยายความร่วมมือเชิงลึกในสาขาวิศวกรรมขั้นสูง โดยเฉพาะด้าน Aerospace, Mechatronics, Automation และ Astronautics ซึ่ง HIT ถือเป็นสถาบันชั้นนำของจีนในด้านนี้ พร้อมทั้งหารือแนวทางความร่วมมือด้านการแลกเปลี่ยนนักศึกษา นักวิจัย และการพัฒนาโครงการ Joint Degree ในอนาคต รองศาสตราจารย์… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster April 16, 2020 EZ Webmaster April 16, 2020 ถาปัตย์ ม.รังสิต ตะลุยภูชีฟ้า ออกแบบ และก่อสร้าง “เฮือนฮ่วมใจ๋” ศาลาอเนกประสงค์ สำหรับสถานีและเจ้าหน้าที่ควบคุมไฟป่า ภูชี้ฟ้า “เฮือนฮ่วมใจ๋” เป็นเรือนร่มใจ ,ร่มฤดี ร่มเรือนที่ทำให้จิตใจสงบ เรือนสำหรับผู้เข้าอบรมใช้รับประทานอาหาร และแบ่งกลุ่มเพื่อปรึกษาหารือการป้องกันไฟป่า เรือนที่รวมตัวพวกเราทุกคน สร้างขึ้นมาด้วยมือ และหัวใจ โดย นักศึกษาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จาก Studio Design Lab มหาวิทยาลัยรังสิต อาจารย์ไพบูลย์ กิตติกูล อาจารย์ประจำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ในฐานะประธานโครงการ กล่าวว่า โครงการนี้เป็นโครงการต่อเนื่องจากการศึกษาโครงการ 4+1 และวิชาการออกแบบสถาปัตยกรรม 6 (ARC429) ภาคการศึกษาที่ 2/2562 ภายใต้ชื่อโครงการทัศนศึกษาและปฏิบัติการ (Workshop) ในหัวข้อ Tectonic ความหมายของศิลปะในการ ก่อ- สร้าง ประกอบด้วยหลายส่วนตั้งแต่ สุนทรียศาสตร์ เทคนิคกรรมวิธีที่ดี วัสดุที่เลือกมาใช้ในการก่อสร้างให้เหมาะสมกับบริบท และรูปแบบโครงสร้างก่อเป็นรูปทรงที่ตอบสนองการใช้งาน รวมถึงบูรณาการความคิดความรู้ในเชิงช่างของพื้นที่มาออกแบบสร้างอาคารให้งดงามน่าสนใจ โดยได้นำนักศึกษาจาก Studio Design Lab กว่า 10 คน ลงพื้นที่ทดลองก่อสร้างงานที่ออกแบบด้วยการลงมือทำจริง สร้างศาลาอเนกประสงค์ “เฮือนฮ่วมใจ๋” อาคารไผ่ รองรับคนได้จำนวน 40-50 คน สำหรับเป็นที่พักผ่อนและ รับประทานอาหาร แก่เจ้าหน้าที่ดับไฟ ณ สถานีควบคุมไฟป่าภูชีฟ้า จังหวัดเชียงราย และมอบให้ทางสถานีควบคุมไฟป่า ภูชี้ฟ้า เพื่อเป็นสาธารณะประโยชน์ต่อไป สำหรับโครงการนี้เป็นการบูรณาการการเรียนการสอนร่วมระหว่างคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี มีนโยบายความร่วมมือทางวิชาการเน้นการเรียนการสอนในชั้นเรียน ควบคู่กับการปฏิบัติงานจริงนอกห้องเรียนเพื่อประสบการณ์ตรงในการพบเห็นและเรียนรู้ การ Workshop หนึ่งในรูปแบบที่ช่วยเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจแก่นักศึกษาสถาปัตยกรรมศาสตร์ร่วมกันระหว่างสถาบัน แนวทางการศึกษาปฏิบัติเป็นการต่อยอดประเด็นการเรียนในเรื่อง Tentonic ในขั้นตอนสุดท้ายของการเรียนการสอนในห้องเรียนนั่นคือ หลังจากการออกแบบทำรูปจำลองแล้ว ต้องมีการลงมือทำ ก่อสร้าง เรียนรู้ขั้นตอนของการปฏิบัติจากการหยิบจับและทดลองสร้างผ่านสัดส่วนจริง วัสดุจริง และแก้ปัญหาจากสถานการณ์จริงในภาคสนาม ทำให้นักศึกษาเกิดความเข้าใจกระบวนการออกแบบ ก่อสร้าง และเข้าใจนิยามความหมายของวัสดุ และเทคนิคในการก่อสร้างได้ทุกมิติ แนวทางการลงพื้นที่ภาคสนามก่อสร้างศาลาอเนกประสงค์นั้นทาง Studio Design Lab โดยคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ได้ประสานงานร่วมกับทางสถาปนิกผู้รับผิดชอบโครงการปรับปรุงซ่อมแซม และทางสถานีควบคุมไฟป่าภูชีฟ้า จังหวัดเชียงราย เพื่อเตรียมข้อมูลที่จำเป็นสำหรับความประสงค์ของสถานี มาพัฒนาออกแบบก่อนขั้นต้นและ ระหว่างการก่อสร้างอาคาร จะมีการสอดแทรกเทคนิค ความรู้ในงานไม้และฝีมือในเชิงช่างจากประสบการณ์จริง โดยมีอาจารย์ หัวหน้าสถานีควบคุมไฟป่า และสถาปนิกโครงการ คอยให้คำแนะนำการทำงานจริงตลอดกว่า 1 สัปดาห์ คุณสันธาน เวียงสิมา หนึ่งในผู้ริเริ่มโครงการในฐานะสถาปนิกประจำโครงการ กล่าวว่า “ด้วยสถานการณ์ไฟป่าที่เกิดขึ้นประกอบกับสภาพทางสังคมของชุมชนบนภูชีฟ้านี้เอง จากที่ได้สัมผัสพบว่าพื้นที่แห่งนี้มีทรัพย์ดิน สินในน้ำ มีความอุดมสมบูรณ์ที่ในฐานะคนเมืองอย่างเราไม่มี แต่ชาวบ้านพื้นถิ่นเหล่านั้นมีแต่กลับมองข้ามพยายามสรรหาวัสดุ หรือสิ่งแปลปลอมจากพื้นราบมาใช้ นำมาซึ่งการเกิดโครงการที่อยากจะช่วยให้ชาวบ้านได้เห็นว่าทรัพยากรพื้นถิ่นที่เป็นสมบัติของเขาสามารถทำประโยชน์ได้นานาประการ และชาวบ้านเองมีองค์ความรู้จากสภาพแวดล้อมพื้นถิ่นที่ควรส่งต่อไปยังคนรุ่นใหม่ จึงได้ร่วมกับอาจารย์จากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิยาลัยรังสิต จัดกิจกรรมเพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้เหล่านั้นและสร้างจิตสำนึกแก่นักศึกษาเพื่อให้เกิดความรับผิดชอบต่อสังคมจากการเรียนรู้ปัญหาจริงของสังคมที่นักศึกษาอาจพบเจอสถานการณ์จริงเมื่อจบไปเป็นสถาปนิกในอนาคต ก่อนการลงพื้นที่ได้บรรยายเพื่อเปิดมุมมอง โลกทรรศน์ ให้ความรู้ในทางทฤษฎีสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น แนวคิด และประเด็นทางเทคนิคในการก่อสร้างก่อน จากนั้นเมื่อลงพื้นที่จริงนักศึกษาได้เริ่มเรียนรู้การสัมผัสวัสดุ การก่อสร้างจากวัสดุธรรมชาติด้วยวิธีธรรมชาติ มีการสร้างทัศนคติเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมช่าติต่าง ๆ ซึ่งเป็นวัสดุเชิงสร้างสรรค์ที่นักศึกษาสามารถหยิบยกมาออกแบบเชิงสถาปัตยกรรมได้ นักศึกษาได้รับการชี้แนะโดยเน้นกระบวนการ ปรับวิธีคิด เป็นวิธีทำ ต้องทำอย่างไร? จากจินตนาการสู่กระดาษ จากกระดาษสู่คอมพิวเตอร์ จากคอมพิวเตอร์สู่หุ่นจำลอง ๑:๑ จากหุ่นจำลอง ๑:๑ สู่งานก่อสร้างจริง ศาลาเอนกประสงค์โครงสร้างไผ่และฐานดินซีเมนต์ ซึ่งจากการลงพื้นที่ครั้งนี้น่ายินดีที่เห็นว่านักศึกษามีศักยภาพ มีพื้นฐานที่ดีจากการเรียนในห้อง ขณะที่ส่วนหน้างานนักศึกษาได้สัมผัสการทำงาน เข้าใจว่าการก่อสร้างด้วยวัสดุทางธรรมชาติที่ไม่ง่าย เป็นงานที่ต้องใช้ความอดทน ความพยายาม นักศึกษาลงมือเลื่อยไผ่เอง ได้เรียนรู้วิธีการแต่ละขั้นตอนด้วยตัวเอง ระหว่างการทำงานที่มีการแบ่งทีมรับผิดชอบ มีการแก้ปัญหาปรับเปลี่ยนหน้างานอยู่ตลอด และนักศึกษาก็ทำได้ ที่สำคัญคือนักศึกษามีทัศนคติที่ดีต่องานออกแบบของตนเอง ในฐานะที่เป็นที่ปรึกษาโครงการที่เป็นเพียงคนคอยกระตุ้น และดึงศักยภาพในตัวของเขาออกมา ทำให้ว่าเขาเกิดแรงบันดาลใจจนผลักดันให้เกิดผลงานออกมาได้อย่างน่าภาคภูมิใจ นายสราวุธ ค้อมคำพันธ์ หัวหน้าสถานีควบคุมไฟป่าภูชี้ฟ้าอันเนื่องมาจากพระราชดำริ อำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธ์ุพืช ในฐานะเจ้าของพื้นที่ กล่าวว่า “สถานของเราตั้งอยู่ที่อำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย รับผิดชอบพื้นที่ประมาณ 187,500 ไร่ มีหน้าที่รณรงค์ประชาสัมพันธ์ป้องกันไฟป่า ปฏิบัติงานด้านการควบคุมไฟป่า รวมถึงประสานงาน สนับสนุน ร่วมปฏิบัติงานดับไฟป่าและบรรเทาภัยธรรมชาติกับหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เรามีความต้องการพื้นที่ในส่วนที่นำมาเป็นสถานทราอบรมการป้องการไฟป่าอย่างถูกวิธีให้แก่ราษฎรในพื้นที่ของเรา เนื่องจากราษฎรเหล่านั้นเป็นเครือข่ายสำคัญที่ทำงานร่วมกับเจ้าหน้าที่ของเราในการช่วยเหลือและป้องกันไฟป่า เราขาดพื้นที่ที่ใช้ในการเป็นที่พักคุยงาน พักรับประทานอาหาร รวมถึงประชุมงานระหว่างเจ้าหน้าที่และราษฎรที่มาเข้ารับการอบรม เมื่อทางสถานีของเราได้รับการติดต่อจากสถาปนิกโครงการ และอาจารย์จากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทาลัยรังสิต เรามีความยินดีเป็นอย่างมากที่ทางสถาบันการศึกษาให้ความสำคัญมองเห็นปัญหาความต้องการของทางสถานี และได้เลือกสถานีของเราเป็นการจัดการเรียนนอกห้อง มาใช้สถานที่ลงมือก่อสร้างอาคารให้กับเรา ซึ่งการก่อสร้างอาคารได้มีการประสานงาน ทำงานร่วมกันเพื่อให้ได้พื้นที่ใช้สอยตามความต้องการของทางสถานีซึ่งเป็นอาคารไผ่ และได้ใช้วัสดุจากพื้นที่ของเราเอง ซึ่งอาคารพักผ่อนนี้จะเป็นอาคารอีกหนึ่งหลังที่ทางเราจะใช้ประโยชน์ในการทำกิจกรรมให้มากที่สุด นอกจากนี้เรายังได้รับความร่วม คำแนะนำต่าง ๆ ในการดูแลรักษาอาคารให้สามารถใช้ได้ในระยะยาวอีกด้วย” นางสาวสุรัญชญา พลนครเดช และนายพิพัฒนพงศ์ นวดิจศุภกร นักศึกษาชั้นปีที่ 4 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ที่เข้าร่วมโครงการ กล่าวว่า “เราแบ่งเหน้าที่กันเป็นฝ่ายออกแบบ (Design) ฝ่ายก่อสร้าง และฝ่ายจัดเตรียมวัสดุ แต่ละฝ่ายก็รับผิดชอบหน้าที่ของตัวเองคนที่ทำโครงสร้างก็จะดูแบบและทำโครงสร้างพวกข้อต่อต่างๆ ส่วนเพื่อนจะจัดเตรียม ไผ่ ขนาดที่ต้องการตามแบบไว้ให้กับเรา เพื่อนที่รับผิดชอบก่อสร้าง ขึ้นแบบ 3D ก็แยกย้ายกันทำ แต่ละคนก็รับงานต่อกันโดยมีการคุยกัน แก้ปัญหาร่วมกันอยู่ตลอดเพื่อให้งานออกแบบก่อสร้างของเราออกมาสมบูรณ์มากที่สุด ซึ่งวัสดุก็ทำมาจากธรรมชาติทั้งหมดซึ่งพวกเราได้ศึกษา หาข้อมูล เตรียมการกันมาก่อนการลงพื้นที่มาบ้าง ข้อมูลที่เราได้รับจากการเรียนในห้องเรียนประกอบกับคำแนะของอาจารย์ และที่ปรึกษา ร่วมถึงการได้แชร์ความคิดเห็นกับพี่ๆ เจ้าหน้าที่เจ้าของสถานที่ ทำให้เราสามารถปรับเปลี่ยนแผนการทำงานหน้างานได้ดี แม้จะมีอุปสรรคปัญหาบ้างแต่ก็ได้กำลังใจ และพวกเรามีความตั้งใจในการาลงพื้นที่ทำงานจริง สุดท้าย การได้ทำงานออกแบบจาพื้นฐานความรู้สถาปัตยกรรมที่เรียนมากับการใช้วัสดุท้องถิ่น ผลงานออกแบบ ก่อสร้างอาคารนี้เกิดขึ้นจรง ส่งต่อให้พี่ๆ เจ้าหน้าที่ได้ใช้ประโยชน์ เราก็รู้สึกดีใจและภูมิใจกับผลงานของพวกเราทุกคน สำหรับอาคารพักผ่อนนี้พวกเราได้ร่วมกันตั้งชื่อว่า “เฮือนฮ่วมใจ๋” ส่งต่อให้กับ สถานีควบคุมไฟป่าภูชีฟ้า จังหวัดเชียงราย” EZ Webmaster Related Posts โรงเรียนปลอดมือถือ! อังกฤษ-ออสเตรเลียเริ่มแล้ว ดึงเด็กกลับมาสนใจครูในห้องเรียน จุฬาฯ ผงาดอันดับ Top 44 ของโลกด้านความยั่งยืน ใน THE Impact Rankings 2025 ครองอันดับ 1 ของไทยอีกครั้ง หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 มธ. ปักหมุดหลักสูตร ‘AI Ethics’ หนุนบริบทใหม่ของห้องเรียนทันโลก สร้างจุดยืนคนรุ่นใหม่ ‘ใช้เอไออย่างมีจริยธรรม’ พร้อมเดินหน้าวางหมุดหมายระบบการศึกษาไทย กับการปลุกการใช้เทคฯ คู่ธรรมาภิบาล คาดเริ่มเปิดลงทะเบียนพร้อมเรียนจริง สิงหาคม 68 นี้ Post navigation PREVIOUS Previous post: “ศรีปทุม ห่วงใย” มอบหน้ากาก Face Shield ขสมก.NEXT Next post: ม.แมสซี ประเทศนิวซีแลนด์ ชวนน้องๆเยาวชนไทย โชว์ไอเดียออกแบบคาแรคเตอร์ตัวละคร “ฮีโร่ผู้พิทักษ์โลก” Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ… สจล. เดินหน้ากระชับความร่วมมือทางวิชาการ กับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของจีน EZ WebmasterJune 19, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เดินหน้ากระชับความสัมพันธ์ทางวิชาการกับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งเป็นพันธมิตรที่มีความร่วมมือกันมานานกว่า 20 ปี เพื่อหารือขยายความร่วมมือเชิงลึกในสาขาวิศวกรรมขั้นสูง โดยเฉพาะด้าน Aerospace, Mechatronics, Automation และ Astronautics ซึ่ง HIT ถือเป็นสถาบันชั้นนำของจีนในด้านนี้ พร้อมทั้งหารือแนวทางความร่วมมือด้านการแลกเปลี่ยนนักศึกษา นักวิจัย และการพัฒนาโครงการ Joint Degree ในอนาคต รองศาสตราจารย์…
สจล. เดินหน้ากระชับความร่วมมือทางวิชาการ กับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของจีน EZ WebmasterJune 19, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เดินหน้ากระชับความสัมพันธ์ทางวิชาการกับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งเป็นพันธมิตรที่มีความร่วมมือกันมานานกว่า 20 ปี เพื่อหารือขยายความร่วมมือเชิงลึกในสาขาวิศวกรรมขั้นสูง โดยเฉพาะด้าน Aerospace, Mechatronics, Automation และ Astronautics ซึ่ง HIT ถือเป็นสถาบันชั้นนำของจีนในด้านนี้ พร้อมทั้งหารือแนวทางความร่วมมือด้านการแลกเปลี่ยนนักศึกษา นักวิจัย และการพัฒนาโครงการ Joint Degree ในอนาคต รองศาสตราจารย์…
กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster April 16, 2020 EZ Webmaster April 16, 2020 ถาปัตย์ ม.รังสิต ตะลุยภูชีฟ้า ออกแบบ และก่อสร้าง “เฮือนฮ่วมใจ๋” ศาลาอเนกประสงค์ สำหรับสถานีและเจ้าหน้าที่ควบคุมไฟป่า ภูชี้ฟ้า “เฮือนฮ่วมใจ๋” เป็นเรือนร่มใจ ,ร่มฤดี ร่มเรือนที่ทำให้จิตใจสงบ เรือนสำหรับผู้เข้าอบรมใช้รับประทานอาหาร และแบ่งกลุ่มเพื่อปรึกษาหารือการป้องกันไฟป่า เรือนที่รวมตัวพวกเราทุกคน สร้างขึ้นมาด้วยมือ และหัวใจ โดย นักศึกษาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จาก Studio Design Lab มหาวิทยาลัยรังสิต อาจารย์ไพบูลย์ กิตติกูล อาจารย์ประจำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ในฐานะประธานโครงการ กล่าวว่า โครงการนี้เป็นโครงการต่อเนื่องจากการศึกษาโครงการ 4+1 และวิชาการออกแบบสถาปัตยกรรม 6 (ARC429) ภาคการศึกษาที่ 2/2562 ภายใต้ชื่อโครงการทัศนศึกษาและปฏิบัติการ (Workshop) ในหัวข้อ Tectonic ความหมายของศิลปะในการ ก่อ- สร้าง ประกอบด้วยหลายส่วนตั้งแต่ สุนทรียศาสตร์ เทคนิคกรรมวิธีที่ดี วัสดุที่เลือกมาใช้ในการก่อสร้างให้เหมาะสมกับบริบท และรูปแบบโครงสร้างก่อเป็นรูปทรงที่ตอบสนองการใช้งาน รวมถึงบูรณาการความคิดความรู้ในเชิงช่างของพื้นที่มาออกแบบสร้างอาคารให้งดงามน่าสนใจ โดยได้นำนักศึกษาจาก Studio Design Lab กว่า 10 คน ลงพื้นที่ทดลองก่อสร้างงานที่ออกแบบด้วยการลงมือทำจริง สร้างศาลาอเนกประสงค์ “เฮือนฮ่วมใจ๋” อาคารไผ่ รองรับคนได้จำนวน 40-50 คน สำหรับเป็นที่พักผ่อนและ รับประทานอาหาร แก่เจ้าหน้าที่ดับไฟ ณ สถานีควบคุมไฟป่าภูชีฟ้า จังหวัดเชียงราย และมอบให้ทางสถานีควบคุมไฟป่า ภูชี้ฟ้า เพื่อเป็นสาธารณะประโยชน์ต่อไป สำหรับโครงการนี้เป็นการบูรณาการการเรียนการสอนร่วมระหว่างคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี มีนโยบายความร่วมมือทางวิชาการเน้นการเรียนการสอนในชั้นเรียน ควบคู่กับการปฏิบัติงานจริงนอกห้องเรียนเพื่อประสบการณ์ตรงในการพบเห็นและเรียนรู้ การ Workshop หนึ่งในรูปแบบที่ช่วยเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจแก่นักศึกษาสถาปัตยกรรมศาสตร์ร่วมกันระหว่างสถาบัน แนวทางการศึกษาปฏิบัติเป็นการต่อยอดประเด็นการเรียนในเรื่อง Tentonic ในขั้นตอนสุดท้ายของการเรียนการสอนในห้องเรียนนั่นคือ หลังจากการออกแบบทำรูปจำลองแล้ว ต้องมีการลงมือทำ ก่อสร้าง เรียนรู้ขั้นตอนของการปฏิบัติจากการหยิบจับและทดลองสร้างผ่านสัดส่วนจริง วัสดุจริง และแก้ปัญหาจากสถานการณ์จริงในภาคสนาม ทำให้นักศึกษาเกิดความเข้าใจกระบวนการออกแบบ ก่อสร้าง และเข้าใจนิยามความหมายของวัสดุ และเทคนิคในการก่อสร้างได้ทุกมิติ แนวทางการลงพื้นที่ภาคสนามก่อสร้างศาลาอเนกประสงค์นั้นทาง Studio Design Lab โดยคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ได้ประสานงานร่วมกับทางสถาปนิกผู้รับผิดชอบโครงการปรับปรุงซ่อมแซม และทางสถานีควบคุมไฟป่าภูชีฟ้า จังหวัดเชียงราย เพื่อเตรียมข้อมูลที่จำเป็นสำหรับความประสงค์ของสถานี มาพัฒนาออกแบบก่อนขั้นต้นและ ระหว่างการก่อสร้างอาคาร จะมีการสอดแทรกเทคนิค ความรู้ในงานไม้และฝีมือในเชิงช่างจากประสบการณ์จริง โดยมีอาจารย์ หัวหน้าสถานีควบคุมไฟป่า และสถาปนิกโครงการ คอยให้คำแนะนำการทำงานจริงตลอดกว่า 1 สัปดาห์ คุณสันธาน เวียงสิมา หนึ่งในผู้ริเริ่มโครงการในฐานะสถาปนิกประจำโครงการ กล่าวว่า “ด้วยสถานการณ์ไฟป่าที่เกิดขึ้นประกอบกับสภาพทางสังคมของชุมชนบนภูชีฟ้านี้เอง จากที่ได้สัมผัสพบว่าพื้นที่แห่งนี้มีทรัพย์ดิน สินในน้ำ มีความอุดมสมบูรณ์ที่ในฐานะคนเมืองอย่างเราไม่มี แต่ชาวบ้านพื้นถิ่นเหล่านั้นมีแต่กลับมองข้ามพยายามสรรหาวัสดุ หรือสิ่งแปลปลอมจากพื้นราบมาใช้ นำมาซึ่งการเกิดโครงการที่อยากจะช่วยให้ชาวบ้านได้เห็นว่าทรัพยากรพื้นถิ่นที่เป็นสมบัติของเขาสามารถทำประโยชน์ได้นานาประการ และชาวบ้านเองมีองค์ความรู้จากสภาพแวดล้อมพื้นถิ่นที่ควรส่งต่อไปยังคนรุ่นใหม่ จึงได้ร่วมกับอาจารย์จากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิยาลัยรังสิต จัดกิจกรรมเพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้เหล่านั้นและสร้างจิตสำนึกแก่นักศึกษาเพื่อให้เกิดความรับผิดชอบต่อสังคมจากการเรียนรู้ปัญหาจริงของสังคมที่นักศึกษาอาจพบเจอสถานการณ์จริงเมื่อจบไปเป็นสถาปนิกในอนาคต ก่อนการลงพื้นที่ได้บรรยายเพื่อเปิดมุมมอง โลกทรรศน์ ให้ความรู้ในทางทฤษฎีสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น แนวคิด และประเด็นทางเทคนิคในการก่อสร้างก่อน จากนั้นเมื่อลงพื้นที่จริงนักศึกษาได้เริ่มเรียนรู้การสัมผัสวัสดุ การก่อสร้างจากวัสดุธรรมชาติด้วยวิธีธรรมชาติ มีการสร้างทัศนคติเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมช่าติต่าง ๆ ซึ่งเป็นวัสดุเชิงสร้างสรรค์ที่นักศึกษาสามารถหยิบยกมาออกแบบเชิงสถาปัตยกรรมได้ นักศึกษาได้รับการชี้แนะโดยเน้นกระบวนการ ปรับวิธีคิด เป็นวิธีทำ ต้องทำอย่างไร? จากจินตนาการสู่กระดาษ จากกระดาษสู่คอมพิวเตอร์ จากคอมพิวเตอร์สู่หุ่นจำลอง ๑:๑ จากหุ่นจำลอง ๑:๑ สู่งานก่อสร้างจริง ศาลาเอนกประสงค์โครงสร้างไผ่และฐานดินซีเมนต์ ซึ่งจากการลงพื้นที่ครั้งนี้น่ายินดีที่เห็นว่านักศึกษามีศักยภาพ มีพื้นฐานที่ดีจากการเรียนในห้อง ขณะที่ส่วนหน้างานนักศึกษาได้สัมผัสการทำงาน เข้าใจว่าการก่อสร้างด้วยวัสดุทางธรรมชาติที่ไม่ง่าย เป็นงานที่ต้องใช้ความอดทน ความพยายาม นักศึกษาลงมือเลื่อยไผ่เอง ได้เรียนรู้วิธีการแต่ละขั้นตอนด้วยตัวเอง ระหว่างการทำงานที่มีการแบ่งทีมรับผิดชอบ มีการแก้ปัญหาปรับเปลี่ยนหน้างานอยู่ตลอด และนักศึกษาก็ทำได้ ที่สำคัญคือนักศึกษามีทัศนคติที่ดีต่องานออกแบบของตนเอง ในฐานะที่เป็นที่ปรึกษาโครงการที่เป็นเพียงคนคอยกระตุ้น และดึงศักยภาพในตัวของเขาออกมา ทำให้ว่าเขาเกิดแรงบันดาลใจจนผลักดันให้เกิดผลงานออกมาได้อย่างน่าภาคภูมิใจ นายสราวุธ ค้อมคำพันธ์ หัวหน้าสถานีควบคุมไฟป่าภูชี้ฟ้าอันเนื่องมาจากพระราชดำริ อำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธ์ุพืช ในฐานะเจ้าของพื้นที่ กล่าวว่า “สถานของเราตั้งอยู่ที่อำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย รับผิดชอบพื้นที่ประมาณ 187,500 ไร่ มีหน้าที่รณรงค์ประชาสัมพันธ์ป้องกันไฟป่า ปฏิบัติงานด้านการควบคุมไฟป่า รวมถึงประสานงาน สนับสนุน ร่วมปฏิบัติงานดับไฟป่าและบรรเทาภัยธรรมชาติกับหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เรามีความต้องการพื้นที่ในส่วนที่นำมาเป็นสถานทราอบรมการป้องการไฟป่าอย่างถูกวิธีให้แก่ราษฎรในพื้นที่ของเรา เนื่องจากราษฎรเหล่านั้นเป็นเครือข่ายสำคัญที่ทำงานร่วมกับเจ้าหน้าที่ของเราในการช่วยเหลือและป้องกันไฟป่า เราขาดพื้นที่ที่ใช้ในการเป็นที่พักคุยงาน พักรับประทานอาหาร รวมถึงประชุมงานระหว่างเจ้าหน้าที่และราษฎรที่มาเข้ารับการอบรม เมื่อทางสถานีของเราได้รับการติดต่อจากสถาปนิกโครงการ และอาจารย์จากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทาลัยรังสิต เรามีความยินดีเป็นอย่างมากที่ทางสถาบันการศึกษาให้ความสำคัญมองเห็นปัญหาความต้องการของทางสถานี และได้เลือกสถานีของเราเป็นการจัดการเรียนนอกห้อง มาใช้สถานที่ลงมือก่อสร้างอาคารให้กับเรา ซึ่งการก่อสร้างอาคารได้มีการประสานงาน ทำงานร่วมกันเพื่อให้ได้พื้นที่ใช้สอยตามความต้องการของทางสถานีซึ่งเป็นอาคารไผ่ และได้ใช้วัสดุจากพื้นที่ของเราเอง ซึ่งอาคารพักผ่อนนี้จะเป็นอาคารอีกหนึ่งหลังที่ทางเราจะใช้ประโยชน์ในการทำกิจกรรมให้มากที่สุด นอกจากนี้เรายังได้รับความร่วม คำแนะนำต่าง ๆ ในการดูแลรักษาอาคารให้สามารถใช้ได้ในระยะยาวอีกด้วย” นางสาวสุรัญชญา พลนครเดช และนายพิพัฒนพงศ์ นวดิจศุภกร นักศึกษาชั้นปีที่ 4 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ที่เข้าร่วมโครงการ กล่าวว่า “เราแบ่งเหน้าที่กันเป็นฝ่ายออกแบบ (Design) ฝ่ายก่อสร้าง และฝ่ายจัดเตรียมวัสดุ แต่ละฝ่ายก็รับผิดชอบหน้าที่ของตัวเองคนที่ทำโครงสร้างก็จะดูแบบและทำโครงสร้างพวกข้อต่อต่างๆ ส่วนเพื่อนจะจัดเตรียม ไผ่ ขนาดที่ต้องการตามแบบไว้ให้กับเรา เพื่อนที่รับผิดชอบก่อสร้าง ขึ้นแบบ 3D ก็แยกย้ายกันทำ แต่ละคนก็รับงานต่อกันโดยมีการคุยกัน แก้ปัญหาร่วมกันอยู่ตลอดเพื่อให้งานออกแบบก่อสร้างของเราออกมาสมบูรณ์มากที่สุด ซึ่งวัสดุก็ทำมาจากธรรมชาติทั้งหมดซึ่งพวกเราได้ศึกษา หาข้อมูล เตรียมการกันมาก่อนการลงพื้นที่มาบ้าง ข้อมูลที่เราได้รับจากการเรียนในห้องเรียนประกอบกับคำแนะของอาจารย์ และที่ปรึกษา ร่วมถึงการได้แชร์ความคิดเห็นกับพี่ๆ เจ้าหน้าที่เจ้าของสถานที่ ทำให้เราสามารถปรับเปลี่ยนแผนการทำงานหน้างานได้ดี แม้จะมีอุปสรรคปัญหาบ้างแต่ก็ได้กำลังใจ และพวกเรามีความตั้งใจในการาลงพื้นที่ทำงานจริง สุดท้าย การได้ทำงานออกแบบจาพื้นฐานความรู้สถาปัตยกรรมที่เรียนมากับการใช้วัสดุท้องถิ่น ผลงานออกแบบ ก่อสร้างอาคารนี้เกิดขึ้นจรง ส่งต่อให้พี่ๆ เจ้าหน้าที่ได้ใช้ประโยชน์ เราก็รู้สึกดีใจและภูมิใจกับผลงานของพวกเราทุกคน สำหรับอาคารพักผ่อนนี้พวกเราได้ร่วมกันตั้งชื่อว่า “เฮือนฮ่วมใจ๋” ส่งต่อให้กับ สถานีควบคุมไฟป่าภูชีฟ้า จังหวัดเชียงราย” EZ Webmaster Related Posts โรงเรียนปลอดมือถือ! อังกฤษ-ออสเตรเลียเริ่มแล้ว ดึงเด็กกลับมาสนใจครูในห้องเรียน จุฬาฯ ผงาดอันดับ Top 44 ของโลกด้านความยั่งยืน ใน THE Impact Rankings 2025 ครองอันดับ 1 ของไทยอีกครั้ง หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 มธ. ปักหมุดหลักสูตร ‘AI Ethics’ หนุนบริบทใหม่ของห้องเรียนทันโลก สร้างจุดยืนคนรุ่นใหม่ ‘ใช้เอไออย่างมีจริยธรรม’ พร้อมเดินหน้าวางหมุดหมายระบบการศึกษาไทย กับการปลุกการใช้เทคฯ คู่ธรรมาภิบาล คาดเริ่มเปิดลงทะเบียนพร้อมเรียนจริง สิงหาคม 68 นี้ Post navigation PREVIOUS Previous post: “ศรีปทุม ห่วงใย” มอบหน้ากาก Face Shield ขสมก.NEXT Next post: ม.แมสซี ประเทศนิวซีแลนด์ ชวนน้องๆเยาวชนไทย โชว์ไอเดียออกแบบคาแรคเตอร์ตัวละคร “ฮีโร่ผู้พิทักษ์โลก” Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
“40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search
ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ…
ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ…
EZ Webmaster April 16, 2020 EZ Webmaster April 16, 2020 ถาปัตย์ ม.รังสิต ตะลุยภูชีฟ้า ออกแบบ และก่อสร้าง “เฮือนฮ่วมใจ๋” ศาลาอเนกประสงค์ สำหรับสถานีและเจ้าหน้าที่ควบคุมไฟป่า ภูชี้ฟ้า “เฮือนฮ่วมใจ๋” เป็นเรือนร่มใจ ,ร่มฤดี ร่มเรือนที่ทำให้จิตใจสงบ เรือนสำหรับผู้เข้าอบรมใช้รับประทานอาหาร และแบ่งกลุ่มเพื่อปรึกษาหารือการป้องกันไฟป่า เรือนที่รวมตัวพวกเราทุกคน สร้างขึ้นมาด้วยมือ และหัวใจ โดย นักศึกษาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จาก Studio Design Lab มหาวิทยาลัยรังสิต อาจารย์ไพบูลย์ กิตติกูล อาจารย์ประจำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ในฐานะประธานโครงการ กล่าวว่า โครงการนี้เป็นโครงการต่อเนื่องจากการศึกษาโครงการ 4+1 และวิชาการออกแบบสถาปัตยกรรม 6 (ARC429) ภาคการศึกษาที่ 2/2562 ภายใต้ชื่อโครงการทัศนศึกษาและปฏิบัติการ (Workshop) ในหัวข้อ Tectonic ความหมายของศิลปะในการ ก่อ- สร้าง ประกอบด้วยหลายส่วนตั้งแต่ สุนทรียศาสตร์ เทคนิคกรรมวิธีที่ดี วัสดุที่เลือกมาใช้ในการก่อสร้างให้เหมาะสมกับบริบท และรูปแบบโครงสร้างก่อเป็นรูปทรงที่ตอบสนองการใช้งาน รวมถึงบูรณาการความคิดความรู้ในเชิงช่างของพื้นที่มาออกแบบสร้างอาคารให้งดงามน่าสนใจ โดยได้นำนักศึกษาจาก Studio Design Lab กว่า 10 คน ลงพื้นที่ทดลองก่อสร้างงานที่ออกแบบด้วยการลงมือทำจริง สร้างศาลาอเนกประสงค์ “เฮือนฮ่วมใจ๋” อาคารไผ่ รองรับคนได้จำนวน 40-50 คน สำหรับเป็นที่พักผ่อนและ รับประทานอาหาร แก่เจ้าหน้าที่ดับไฟ ณ สถานีควบคุมไฟป่าภูชีฟ้า จังหวัดเชียงราย และมอบให้ทางสถานีควบคุมไฟป่า ภูชี้ฟ้า เพื่อเป็นสาธารณะประโยชน์ต่อไป สำหรับโครงการนี้เป็นการบูรณาการการเรียนการสอนร่วมระหว่างคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี มีนโยบายความร่วมมือทางวิชาการเน้นการเรียนการสอนในชั้นเรียน ควบคู่กับการปฏิบัติงานจริงนอกห้องเรียนเพื่อประสบการณ์ตรงในการพบเห็นและเรียนรู้ การ Workshop หนึ่งในรูปแบบที่ช่วยเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจแก่นักศึกษาสถาปัตยกรรมศาสตร์ร่วมกันระหว่างสถาบัน แนวทางการศึกษาปฏิบัติเป็นการต่อยอดประเด็นการเรียนในเรื่อง Tentonic ในขั้นตอนสุดท้ายของการเรียนการสอนในห้องเรียนนั่นคือ หลังจากการออกแบบทำรูปจำลองแล้ว ต้องมีการลงมือทำ ก่อสร้าง เรียนรู้ขั้นตอนของการปฏิบัติจากการหยิบจับและทดลองสร้างผ่านสัดส่วนจริง วัสดุจริง และแก้ปัญหาจากสถานการณ์จริงในภาคสนาม ทำให้นักศึกษาเกิดความเข้าใจกระบวนการออกแบบ ก่อสร้าง และเข้าใจนิยามความหมายของวัสดุ และเทคนิคในการก่อสร้างได้ทุกมิติ แนวทางการลงพื้นที่ภาคสนามก่อสร้างศาลาอเนกประสงค์นั้นทาง Studio Design Lab โดยคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ได้ประสานงานร่วมกับทางสถาปนิกผู้รับผิดชอบโครงการปรับปรุงซ่อมแซม และทางสถานีควบคุมไฟป่าภูชีฟ้า จังหวัดเชียงราย เพื่อเตรียมข้อมูลที่จำเป็นสำหรับความประสงค์ของสถานี มาพัฒนาออกแบบก่อนขั้นต้นและ ระหว่างการก่อสร้างอาคาร จะมีการสอดแทรกเทคนิค ความรู้ในงานไม้และฝีมือในเชิงช่างจากประสบการณ์จริง โดยมีอาจารย์ หัวหน้าสถานีควบคุมไฟป่า และสถาปนิกโครงการ คอยให้คำแนะนำการทำงานจริงตลอดกว่า 1 สัปดาห์ คุณสันธาน เวียงสิมา หนึ่งในผู้ริเริ่มโครงการในฐานะสถาปนิกประจำโครงการ กล่าวว่า “ด้วยสถานการณ์ไฟป่าที่เกิดขึ้นประกอบกับสภาพทางสังคมของชุมชนบนภูชีฟ้านี้เอง จากที่ได้สัมผัสพบว่าพื้นที่แห่งนี้มีทรัพย์ดิน สินในน้ำ มีความอุดมสมบูรณ์ที่ในฐานะคนเมืองอย่างเราไม่มี แต่ชาวบ้านพื้นถิ่นเหล่านั้นมีแต่กลับมองข้ามพยายามสรรหาวัสดุ หรือสิ่งแปลปลอมจากพื้นราบมาใช้ นำมาซึ่งการเกิดโครงการที่อยากจะช่วยให้ชาวบ้านได้เห็นว่าทรัพยากรพื้นถิ่นที่เป็นสมบัติของเขาสามารถทำประโยชน์ได้นานาประการ และชาวบ้านเองมีองค์ความรู้จากสภาพแวดล้อมพื้นถิ่นที่ควรส่งต่อไปยังคนรุ่นใหม่ จึงได้ร่วมกับอาจารย์จากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิยาลัยรังสิต จัดกิจกรรมเพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้เหล่านั้นและสร้างจิตสำนึกแก่นักศึกษาเพื่อให้เกิดความรับผิดชอบต่อสังคมจากการเรียนรู้ปัญหาจริงของสังคมที่นักศึกษาอาจพบเจอสถานการณ์จริงเมื่อจบไปเป็นสถาปนิกในอนาคต ก่อนการลงพื้นที่ได้บรรยายเพื่อเปิดมุมมอง โลกทรรศน์ ให้ความรู้ในทางทฤษฎีสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น แนวคิด และประเด็นทางเทคนิคในการก่อสร้างก่อน จากนั้นเมื่อลงพื้นที่จริงนักศึกษาได้เริ่มเรียนรู้การสัมผัสวัสดุ การก่อสร้างจากวัสดุธรรมชาติด้วยวิธีธรรมชาติ มีการสร้างทัศนคติเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมช่าติต่าง ๆ ซึ่งเป็นวัสดุเชิงสร้างสรรค์ที่นักศึกษาสามารถหยิบยกมาออกแบบเชิงสถาปัตยกรรมได้ นักศึกษาได้รับการชี้แนะโดยเน้นกระบวนการ ปรับวิธีคิด เป็นวิธีทำ ต้องทำอย่างไร? จากจินตนาการสู่กระดาษ จากกระดาษสู่คอมพิวเตอร์ จากคอมพิวเตอร์สู่หุ่นจำลอง ๑:๑ จากหุ่นจำลอง ๑:๑ สู่งานก่อสร้างจริง ศาลาเอนกประสงค์โครงสร้างไผ่และฐานดินซีเมนต์ ซึ่งจากการลงพื้นที่ครั้งนี้น่ายินดีที่เห็นว่านักศึกษามีศักยภาพ มีพื้นฐานที่ดีจากการเรียนในห้อง ขณะที่ส่วนหน้างานนักศึกษาได้สัมผัสการทำงาน เข้าใจว่าการก่อสร้างด้วยวัสดุทางธรรมชาติที่ไม่ง่าย เป็นงานที่ต้องใช้ความอดทน ความพยายาม นักศึกษาลงมือเลื่อยไผ่เอง ได้เรียนรู้วิธีการแต่ละขั้นตอนด้วยตัวเอง ระหว่างการทำงานที่มีการแบ่งทีมรับผิดชอบ มีการแก้ปัญหาปรับเปลี่ยนหน้างานอยู่ตลอด และนักศึกษาก็ทำได้ ที่สำคัญคือนักศึกษามีทัศนคติที่ดีต่องานออกแบบของตนเอง ในฐานะที่เป็นที่ปรึกษาโครงการที่เป็นเพียงคนคอยกระตุ้น และดึงศักยภาพในตัวของเขาออกมา ทำให้ว่าเขาเกิดแรงบันดาลใจจนผลักดันให้เกิดผลงานออกมาได้อย่างน่าภาคภูมิใจ นายสราวุธ ค้อมคำพันธ์ หัวหน้าสถานีควบคุมไฟป่าภูชี้ฟ้าอันเนื่องมาจากพระราชดำริ อำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธ์ุพืช ในฐานะเจ้าของพื้นที่ กล่าวว่า “สถานของเราตั้งอยู่ที่อำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย รับผิดชอบพื้นที่ประมาณ 187,500 ไร่ มีหน้าที่รณรงค์ประชาสัมพันธ์ป้องกันไฟป่า ปฏิบัติงานด้านการควบคุมไฟป่า รวมถึงประสานงาน สนับสนุน ร่วมปฏิบัติงานดับไฟป่าและบรรเทาภัยธรรมชาติกับหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เรามีความต้องการพื้นที่ในส่วนที่นำมาเป็นสถานทราอบรมการป้องการไฟป่าอย่างถูกวิธีให้แก่ราษฎรในพื้นที่ของเรา เนื่องจากราษฎรเหล่านั้นเป็นเครือข่ายสำคัญที่ทำงานร่วมกับเจ้าหน้าที่ของเราในการช่วยเหลือและป้องกันไฟป่า เราขาดพื้นที่ที่ใช้ในการเป็นที่พักคุยงาน พักรับประทานอาหาร รวมถึงประชุมงานระหว่างเจ้าหน้าที่และราษฎรที่มาเข้ารับการอบรม เมื่อทางสถานีของเราได้รับการติดต่อจากสถาปนิกโครงการ และอาจารย์จากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทาลัยรังสิต เรามีความยินดีเป็นอย่างมากที่ทางสถาบันการศึกษาให้ความสำคัญมองเห็นปัญหาความต้องการของทางสถานี และได้เลือกสถานีของเราเป็นการจัดการเรียนนอกห้อง มาใช้สถานที่ลงมือก่อสร้างอาคารให้กับเรา ซึ่งการก่อสร้างอาคารได้มีการประสานงาน ทำงานร่วมกันเพื่อให้ได้พื้นที่ใช้สอยตามความต้องการของทางสถานีซึ่งเป็นอาคารไผ่ และได้ใช้วัสดุจากพื้นที่ของเราเอง ซึ่งอาคารพักผ่อนนี้จะเป็นอาคารอีกหนึ่งหลังที่ทางเราจะใช้ประโยชน์ในการทำกิจกรรมให้มากที่สุด นอกจากนี้เรายังได้รับความร่วม คำแนะนำต่าง ๆ ในการดูแลรักษาอาคารให้สามารถใช้ได้ในระยะยาวอีกด้วย” นางสาวสุรัญชญา พลนครเดช และนายพิพัฒนพงศ์ นวดิจศุภกร นักศึกษาชั้นปีที่ 4 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ที่เข้าร่วมโครงการ กล่าวว่า “เราแบ่งเหน้าที่กันเป็นฝ่ายออกแบบ (Design) ฝ่ายก่อสร้าง และฝ่ายจัดเตรียมวัสดุ แต่ละฝ่ายก็รับผิดชอบหน้าที่ของตัวเองคนที่ทำโครงสร้างก็จะดูแบบและทำโครงสร้างพวกข้อต่อต่างๆ ส่วนเพื่อนจะจัดเตรียม ไผ่ ขนาดที่ต้องการตามแบบไว้ให้กับเรา เพื่อนที่รับผิดชอบก่อสร้าง ขึ้นแบบ 3D ก็แยกย้ายกันทำ แต่ละคนก็รับงานต่อกันโดยมีการคุยกัน แก้ปัญหาร่วมกันอยู่ตลอดเพื่อให้งานออกแบบก่อสร้างของเราออกมาสมบูรณ์มากที่สุด ซึ่งวัสดุก็ทำมาจากธรรมชาติทั้งหมดซึ่งพวกเราได้ศึกษา หาข้อมูล เตรียมการกันมาก่อนการลงพื้นที่มาบ้าง ข้อมูลที่เราได้รับจากการเรียนในห้องเรียนประกอบกับคำแนะของอาจารย์ และที่ปรึกษา ร่วมถึงการได้แชร์ความคิดเห็นกับพี่ๆ เจ้าหน้าที่เจ้าของสถานที่ ทำให้เราสามารถปรับเปลี่ยนแผนการทำงานหน้างานได้ดี แม้จะมีอุปสรรคปัญหาบ้างแต่ก็ได้กำลังใจ และพวกเรามีความตั้งใจในการาลงพื้นที่ทำงานจริง สุดท้าย การได้ทำงานออกแบบจาพื้นฐานความรู้สถาปัตยกรรมที่เรียนมากับการใช้วัสดุท้องถิ่น ผลงานออกแบบ ก่อสร้างอาคารนี้เกิดขึ้นจรง ส่งต่อให้พี่ๆ เจ้าหน้าที่ได้ใช้ประโยชน์ เราก็รู้สึกดีใจและภูมิใจกับผลงานของพวกเราทุกคน สำหรับอาคารพักผ่อนนี้พวกเราได้ร่วมกันตั้งชื่อว่า “เฮือนฮ่วมใจ๋” ส่งต่อให้กับ สถานีควบคุมไฟป่าภูชีฟ้า จังหวัดเชียงราย”
จุฬาฯ ผงาดอันดับ Top 44 ของโลกด้านความยั่งยืน ใน THE Impact Rankings 2025 ครองอันดับ 1 ของไทยอีกครั้ง
มธ. ปักหมุดหลักสูตร ‘AI Ethics’ หนุนบริบทใหม่ของห้องเรียนทันโลก สร้างจุดยืนคนรุ่นใหม่ ‘ใช้เอไออย่างมีจริยธรรม’ พร้อมเดินหน้าวางหมุดหมายระบบการศึกษาไทย กับการปลุกการใช้เทคฯ คู่ธรรมาภิบาล คาดเริ่มเปิดลงทะเบียนพร้อมเรียนจริง สิงหาคม 68 นี้