ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง EZ WebmasterJune 13, 2025 วันนี้ทั้งเล่น ทั้งได้ความรู้ ทั้งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนนางรอง จ.บุรีรัมย์ วันที่13/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า… นักศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI… ทุนดีดี เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster August 29, 2019 EZ Webmaster August 29, 2019 ล้ำหน้ารับเทรนด์โลก! พาส่อง 3 หลักสูตรวิทย์สายพันธุ์ใหม่ ล้ำหน้ารับเทรนด์โลก! พาส่อง 3 หลักสูตรวิทย์สายพันธุ์ใหม่ พร้อมชมหลักสูตรต้นแบบ SCI+BUSINESS คณะวิทย์ฯ มธ. เรียนเพื่อรับบิ๊กเดต้า กับ DSI สร้างสรรค์พลังงานใหม่ เพื่ออุตสาหกรรมใหม่ กับ BEB ปั้นนักนวัตกรรมอาหาร สำหรับคนเก่งวิทย์ และเก่งชิมอร่อย กับ FIN เรียนบริหารผสานวิทยาศาสตร์ ต้นแบบการเรียน SCI+BUSINESS กับ ISC เพราะโลกเรามีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา จึงทำให้วิทยาศาสตร์ยังคงมีบทบาทสำคัญต่อโลกปัจจุบันและอนาคตอยู่เสมอ อีกทั้งยังมีความเกี่ยวข้องกับชีวิตของมนุษย์ในเกือบทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็น ด้านการดำเนินชีวิต การงานอาชีพ ข้าวของเครื่องใช้รวมถึงผลผลิตต่าง ๆ ที่ล้วนแต่จะต้องมีหลักวิทยาศาสตร์เข้ามาเกี่ยวข้องอยู่ตลอด ทำให้มนุษย์จำเป็นที่จะต้องคอยศึกษาค้นคว้าในเรื่องวิทยาศาสตร์ เพื่อมาประยุกต์ใช้กับเทคโนโลยีในปัจจุบันได้อย่างสร้างสรรค์และเกิดประโยชน์ ซึ่งสิ่งเหล่านั้นสามารถช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตมนุษย์ให้ดียิ่งขึ้นได้ ปัจจุบันปฏิเสธไม่ได้ว่ามีเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ๆ เกิดขึ้นอย่างมากมาย ที่ล้วนมาช่วยอำนวยความสะดวกสบายให้กับมนุษย์มากขึ้น อีกทั้งมีอาชีพใหม่ ๆ ที่เกิดขึ้นตามการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว แน่นอนว่าโลกของเราจะไม่มีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว หากไม่มีต้นทางที่สามารถผลิตบุคลากรที่ตอบสนองความต้องการเหล่านั้นได้ เราจึงได้เห็นทุกภาคส่วนที่มีความเกี่ยวข้องในเรื่องดังกล่าว ออกมาตรการหรือนโยบายเพื่อมาตอบโจทย์และรองรับสิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ด้วยเหตุนี้ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) สถาบันการศึกษาที่มีเป้าหมายและความตั้งใจยิ่งเพื่อตอบโจทย์ความต้องการในการผลิต “นักวิทย์รุ่นใหม่” กล้าคิด-กล้าพัฒนานวัตกรรมอย่างสร้างสรรค์ และไม่ปิดกั้นศักยภาพ ผ่านการเรียนการสอนแบบ SCI+BUSINESS ที่เน้นการผสมผสานความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีสมัยใหม่ และการบริหารธุรกิจเข้าด้วยกันจนสามารถต่อยอดเป็นธุรกิจหรืออาชีพที่ทำเงินได้ในอนาคต เล็งเห็นความสำคัญจึงได้เพิ่มเติม 3 หลักสูตรการเรียนสายพันธุ์ใหม่ ที่มีชื่อย่อสุดเก๋ไก๋ ได้แก่ FIN, DSI, BEB และหลักสูตรต้นแบบการเรียนการสอนแบบ SCI+BUSINESS ของคณะวิทย์ มธ. ที่มีชื่อเรียกสั้น ๆ ว่า ISC ที่ทั้งหมดนี้จะมาตอบโจทย์ความต้องการของโลกอนาคต ตามหัวใจสำคัญของหลักสูตรก็คือการ “ผลิตบัณฑิต พร้อมใช้ สู่ภาคอุตสาหกรรม เพื่อการพัฒนาประเทศ” นั่นเอง ขอบอกเลยว่าเรียนวิทย์ฯ ทั้ง 4 สายนี้ เรียนจบไปยังไงก็มีงานรองรับอย่างแน่นอน โดยหลักสูตรที่กล่าวมาทั้งหมดนั้น จะน่าเรียนขนาดไหนไปชมกันเลย เพราะโลกยุคดิจิทัลมีข้อมูลมากมายรอให้เราไปจัดการและใช้ประโยชน์ ดังนั้น หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และนวัตกรรมข้อมูล (Data Science and Innovation Program) หรือเรียกสั้นๆ ว่า DSI จึงได้ถือกำเนิดขึ้น โดยหัวใจสำคัญของหลักสูตรนี้ก็คือการสร้างบัณฑิตที่มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ข้อมูลที่เป็นทรัพยากรที่มีคุณค่ามากที่สุดในยุคดิจิทัล ผ่านเทคนิคทาง คณิตศาสตร์ สถิติศาสตร์ และ ซอฟท์แวร์คอมพิวเตอร์ทางด้านปัญญาประดิษฐ์ เพื่อสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมจากข้อมูลสำหรับใช้ในการสร้างคุณค่าให้กับองค์กร โดยหลักสูตรนี้จะมีจัดการเรียนการสอนเป็นแบบ โมดูล (Modular Learning) ซึ่งภายในแต่ละโมดูล จะประกอบด้วยภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ ที่ฝึกฝนผู้เรียนให้ได้ สมรรถนะ ตรงกับองค์กรจากภาคอุตสาหกรรมที่ร่วมออกแบบหลักสูตร ทุกโมดูลจะมี capstone project เพื่อแสดงเห็นพัฒนาการของผู้เรียนในแต่ละโมดูลอีกด้วย เป็นหลักสูตรที่บอกเลยว่าหากเรียนจบแล้ว สามารถไปประกอบอาชีพที่เป็นที่ต้องการอย่างมากของตลาดแรงงานในยุคปัจจุบันและอนาคตได้เป็นอย่างดีไม่ว่าจะเป็น นักวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analyst) นักวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data Analyst) วิศวกรข้อมูล (Data Engineer) ตลอดจน นักวิทยาศาสตร์ข้อมูล (Data Scientist) เป็นต้น ต่อกันด้วย หลักสูตรเทคโนโลยี พลังงานชีวภาพและการแปรรูปเคมีชีวภาพ (Bioenergy and Biochemical Refinery Technology Program) หรือ BEB หลักสูตรนี้เป็นการเรียนรู้เกี่ยวกับอุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ ผ่านการเรียนรู้แบบบูรณาการใน 3 สาขาวิชา คือ เทคโนโลยีชีวภาพ เคมี และพื้นฐานทางวิศวกรรมศาสตร์ เข้าไว้ด้วยกัน ที่สำคัญคือนักศึกษาที่เรียนสายนี้จะได้ไปฝึกประสบการณ์การทำงานกับสถานประกอบการจริงเป็นเวลา 1 ปีการศึกษาแบบอัดแน่นเต็ม ๆ เพื่อให้ได้ทักษะการแก้ปัญหาระหว่างกระบวนการผลิตในโรงงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ พร้อมสามารถไปทำงานในอุตสาหกรรมเป้าหมายใหม่ (New S–curve) ได้แก่ อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพของไทยได้อย่างมีประสิทธิภาพ และไม่ว่าโลกจะพัฒนาไปมากแค่ไหน อาหารยังคงเป็นสิ่งจำเป็นต่อมนุษย์ทุกคน ดังนั้น หลักสูตรวิทยาศาสตร์และนวัตกรรมทางอาหาร (Food Science and Innovation Program) หรือเรียกง่ายๆ ว่า FIN จะมาช่วยตอบโจทย์สิ่งนี้ เพราะวิทยาศาสตร์เป็นหนึ่งในปัจจัยการขับเคลื่อนอุตสาหกรรมการแปรรูปอาหารด้วยนวัตกรรม หากเลือกเรียนสายนี้จะได้เรียนรู้ความพร้อมที่จะเป็นนักนวัตกรรมอาหาร ที่มีความรู้ความชำนาญทางวิชาชีพ (Technical skills) ผ่านการฝึกฝนความชำนาญในโรงงานอุตสาหกรรมอาหารที่ร่วมจัดการเรียนการสอน ควบคู่กับการฝึกฝนทักษะที่นอกเหนือจากวิชาชีพ (Soft skills) อีกทั้งยังได้เรียนรู้ด้านกระบวนการคิดเพื่อสร้างนวัตกรรมอาหาร การวิเคราะห์ปัญหาทางอุตสาหกรรมอาหาร การพัฒนาภาวะผู้นำ การใช้กระบวนการวิจัยเพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร และการเรียนรู้ทักษะสำหรับการเริ่มต้นธุรกิจอาหารอีกด้วย ปิดท้ายกันที่ หลักสูตรวิทยาศาสตรอุตสาหการและการจัดการหลักสูตรนานาชาติ (Industrial Science and Management International Program) หรือ ISC ต้นแบบของการเรียนแบบ SCI + Business ของคณะวิทย์ฯ มธ. อยากจะบอกว่าหลักสูตรนี้ ถือเป็นหลักสูตรนานาชาติเดียวในประเทศไทยที่หลอมรวมความรู้จากสายวิทย์และสายบริหารเข้าไว้ด้วยกันได้อย่างลงตัว เป็นหลักสูตรที่เข้มข้นทั้งทฤษฎีและปฏิบัติจากสาขาวิทยาศาสตร์และถูกเติมเต็มความรู้ทางด้านการจัดการและการบริหาร พร้อมสร้างไม่ใช่แค่นักวิทยาศาสตร์เท่านั้น แต่มุ่งเน้นสร้างนักคิดนักประดิษฐ์ ตลอดจนนักนวัตกรรมที่สามารถนำความรู้ที่มีอยู่ผ่านกระบวนการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์และการจัดการสร้างผลิตภัณฑ์จนพัฒนาสู่อุตสาหกรรมที่สำคัญและสร้างประโยชน์ต่อประเทศชาติได้ อีกทั้งยังสามารถทำงานในกิจการที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยเน้นเทคโนโลยีชีวภาพ เคมีและเทคโนโลยีการอาหาร เรียกได้ว่าเรียนสายนี้มีความโดดเด่นทั้งวิชาชีพ ด้านการบริหารจัดการและภาวะผู้นำ ซึ่งมีความสำคัญยิ่งในการทำธุรกิจระดับสากล โดยผลงานล่าสุดของนักศึกษาจาก ISC “มังคุดโยเกิร์ตอบกรอบ สูตรซินไบโอติก“ได้รับรางวัลการันตีรางวัลเหรียญทองจากเวทีการประกวดและจัดแสดงผลงานสิ่งประดิษฐ์นานาชาติ “The 30th International Invention, Innovation and Technology Exhibition” (ITEX 2019) ซึ่งจัดขึ้น ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ สหพันธรัฐมาเลเซีย เห็นไหมว่าเรียนวิทยาศาสตร์ก็สามารถไปประกอบได้หลากหลายอาชีพไม่แพ้การเรียนสายอื่นๆ เลย โดยน้องๆ คนไหนสนใจอยากเรียน 3 หลักสูตรสายพันธุ์ใหม่ รวมถึงหลักสูตรต้นแบบการเรียน SCI+BUSINESS ของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ ฝ่ายประชาสัมพันธ์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มธ. ศูนย์รังสิต หมายเลขโทรศัพท์ 02-564-4440-59 ต่อ 2010 หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ www.sci.ac.th และเฟสบุ๊คแฟนเพจ www.facebook.com/ScienceThammasat EZ Webmaster Related Posts ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง Post navigation PREVIOUS Previous post: นักวิจัย มจธ. ทดสอบทางห้องปฏิบัติการด้วยอุปกรณ์ขนาดเล็กเพื่อช่วยบำบัดน้ำเสียNEXT Next post: MOU ประชุมสุดยอดกัญชาทางการแพทย์ระดับโลก
รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง EZ WebmasterJune 13, 2025 วันนี้ทั้งเล่น ทั้งได้ความรู้ ทั้งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนนางรอง จ.บุรีรัมย์ วันที่13/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า… นักศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI… ทุนดีดี เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster August 29, 2019 EZ Webmaster August 29, 2019 ล้ำหน้ารับเทรนด์โลก! พาส่อง 3 หลักสูตรวิทย์สายพันธุ์ใหม่ ล้ำหน้ารับเทรนด์โลก! พาส่อง 3 หลักสูตรวิทย์สายพันธุ์ใหม่ พร้อมชมหลักสูตรต้นแบบ SCI+BUSINESS คณะวิทย์ฯ มธ. เรียนเพื่อรับบิ๊กเดต้า กับ DSI สร้างสรรค์พลังงานใหม่ เพื่ออุตสาหกรรมใหม่ กับ BEB ปั้นนักนวัตกรรมอาหาร สำหรับคนเก่งวิทย์ และเก่งชิมอร่อย กับ FIN เรียนบริหารผสานวิทยาศาสตร์ ต้นแบบการเรียน SCI+BUSINESS กับ ISC เพราะโลกเรามีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา จึงทำให้วิทยาศาสตร์ยังคงมีบทบาทสำคัญต่อโลกปัจจุบันและอนาคตอยู่เสมอ อีกทั้งยังมีความเกี่ยวข้องกับชีวิตของมนุษย์ในเกือบทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็น ด้านการดำเนินชีวิต การงานอาชีพ ข้าวของเครื่องใช้รวมถึงผลผลิตต่าง ๆ ที่ล้วนแต่จะต้องมีหลักวิทยาศาสตร์เข้ามาเกี่ยวข้องอยู่ตลอด ทำให้มนุษย์จำเป็นที่จะต้องคอยศึกษาค้นคว้าในเรื่องวิทยาศาสตร์ เพื่อมาประยุกต์ใช้กับเทคโนโลยีในปัจจุบันได้อย่างสร้างสรรค์และเกิดประโยชน์ ซึ่งสิ่งเหล่านั้นสามารถช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตมนุษย์ให้ดียิ่งขึ้นได้ ปัจจุบันปฏิเสธไม่ได้ว่ามีเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ๆ เกิดขึ้นอย่างมากมาย ที่ล้วนมาช่วยอำนวยความสะดวกสบายให้กับมนุษย์มากขึ้น อีกทั้งมีอาชีพใหม่ ๆ ที่เกิดขึ้นตามการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว แน่นอนว่าโลกของเราจะไม่มีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว หากไม่มีต้นทางที่สามารถผลิตบุคลากรที่ตอบสนองความต้องการเหล่านั้นได้ เราจึงได้เห็นทุกภาคส่วนที่มีความเกี่ยวข้องในเรื่องดังกล่าว ออกมาตรการหรือนโยบายเพื่อมาตอบโจทย์และรองรับสิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ด้วยเหตุนี้ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) สถาบันการศึกษาที่มีเป้าหมายและความตั้งใจยิ่งเพื่อตอบโจทย์ความต้องการในการผลิต “นักวิทย์รุ่นใหม่” กล้าคิด-กล้าพัฒนานวัตกรรมอย่างสร้างสรรค์ และไม่ปิดกั้นศักยภาพ ผ่านการเรียนการสอนแบบ SCI+BUSINESS ที่เน้นการผสมผสานความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีสมัยใหม่ และการบริหารธุรกิจเข้าด้วยกันจนสามารถต่อยอดเป็นธุรกิจหรืออาชีพที่ทำเงินได้ในอนาคต เล็งเห็นความสำคัญจึงได้เพิ่มเติม 3 หลักสูตรการเรียนสายพันธุ์ใหม่ ที่มีชื่อย่อสุดเก๋ไก๋ ได้แก่ FIN, DSI, BEB และหลักสูตรต้นแบบการเรียนการสอนแบบ SCI+BUSINESS ของคณะวิทย์ มธ. ที่มีชื่อเรียกสั้น ๆ ว่า ISC ที่ทั้งหมดนี้จะมาตอบโจทย์ความต้องการของโลกอนาคต ตามหัวใจสำคัญของหลักสูตรก็คือการ “ผลิตบัณฑิต พร้อมใช้ สู่ภาคอุตสาหกรรม เพื่อการพัฒนาประเทศ” นั่นเอง ขอบอกเลยว่าเรียนวิทย์ฯ ทั้ง 4 สายนี้ เรียนจบไปยังไงก็มีงานรองรับอย่างแน่นอน โดยหลักสูตรที่กล่าวมาทั้งหมดนั้น จะน่าเรียนขนาดไหนไปชมกันเลย เพราะโลกยุคดิจิทัลมีข้อมูลมากมายรอให้เราไปจัดการและใช้ประโยชน์ ดังนั้น หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และนวัตกรรมข้อมูล (Data Science and Innovation Program) หรือเรียกสั้นๆ ว่า DSI จึงได้ถือกำเนิดขึ้น โดยหัวใจสำคัญของหลักสูตรนี้ก็คือการสร้างบัณฑิตที่มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ข้อมูลที่เป็นทรัพยากรที่มีคุณค่ามากที่สุดในยุคดิจิทัล ผ่านเทคนิคทาง คณิตศาสตร์ สถิติศาสตร์ และ ซอฟท์แวร์คอมพิวเตอร์ทางด้านปัญญาประดิษฐ์ เพื่อสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมจากข้อมูลสำหรับใช้ในการสร้างคุณค่าให้กับองค์กร โดยหลักสูตรนี้จะมีจัดการเรียนการสอนเป็นแบบ โมดูล (Modular Learning) ซึ่งภายในแต่ละโมดูล จะประกอบด้วยภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ ที่ฝึกฝนผู้เรียนให้ได้ สมรรถนะ ตรงกับองค์กรจากภาคอุตสาหกรรมที่ร่วมออกแบบหลักสูตร ทุกโมดูลจะมี capstone project เพื่อแสดงเห็นพัฒนาการของผู้เรียนในแต่ละโมดูลอีกด้วย เป็นหลักสูตรที่บอกเลยว่าหากเรียนจบแล้ว สามารถไปประกอบอาชีพที่เป็นที่ต้องการอย่างมากของตลาดแรงงานในยุคปัจจุบันและอนาคตได้เป็นอย่างดีไม่ว่าจะเป็น นักวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analyst) นักวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data Analyst) วิศวกรข้อมูล (Data Engineer) ตลอดจน นักวิทยาศาสตร์ข้อมูล (Data Scientist) เป็นต้น ต่อกันด้วย หลักสูตรเทคโนโลยี พลังงานชีวภาพและการแปรรูปเคมีชีวภาพ (Bioenergy and Biochemical Refinery Technology Program) หรือ BEB หลักสูตรนี้เป็นการเรียนรู้เกี่ยวกับอุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ ผ่านการเรียนรู้แบบบูรณาการใน 3 สาขาวิชา คือ เทคโนโลยีชีวภาพ เคมี และพื้นฐานทางวิศวกรรมศาสตร์ เข้าไว้ด้วยกัน ที่สำคัญคือนักศึกษาที่เรียนสายนี้จะได้ไปฝึกประสบการณ์การทำงานกับสถานประกอบการจริงเป็นเวลา 1 ปีการศึกษาแบบอัดแน่นเต็ม ๆ เพื่อให้ได้ทักษะการแก้ปัญหาระหว่างกระบวนการผลิตในโรงงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ พร้อมสามารถไปทำงานในอุตสาหกรรมเป้าหมายใหม่ (New S–curve) ได้แก่ อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพของไทยได้อย่างมีประสิทธิภาพ และไม่ว่าโลกจะพัฒนาไปมากแค่ไหน อาหารยังคงเป็นสิ่งจำเป็นต่อมนุษย์ทุกคน ดังนั้น หลักสูตรวิทยาศาสตร์และนวัตกรรมทางอาหาร (Food Science and Innovation Program) หรือเรียกง่ายๆ ว่า FIN จะมาช่วยตอบโจทย์สิ่งนี้ เพราะวิทยาศาสตร์เป็นหนึ่งในปัจจัยการขับเคลื่อนอุตสาหกรรมการแปรรูปอาหารด้วยนวัตกรรม หากเลือกเรียนสายนี้จะได้เรียนรู้ความพร้อมที่จะเป็นนักนวัตกรรมอาหาร ที่มีความรู้ความชำนาญทางวิชาชีพ (Technical skills) ผ่านการฝึกฝนความชำนาญในโรงงานอุตสาหกรรมอาหารที่ร่วมจัดการเรียนการสอน ควบคู่กับการฝึกฝนทักษะที่นอกเหนือจากวิชาชีพ (Soft skills) อีกทั้งยังได้เรียนรู้ด้านกระบวนการคิดเพื่อสร้างนวัตกรรมอาหาร การวิเคราะห์ปัญหาทางอุตสาหกรรมอาหาร การพัฒนาภาวะผู้นำ การใช้กระบวนการวิจัยเพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร และการเรียนรู้ทักษะสำหรับการเริ่มต้นธุรกิจอาหารอีกด้วย ปิดท้ายกันที่ หลักสูตรวิทยาศาสตรอุตสาหการและการจัดการหลักสูตรนานาชาติ (Industrial Science and Management International Program) หรือ ISC ต้นแบบของการเรียนแบบ SCI + Business ของคณะวิทย์ฯ มธ. อยากจะบอกว่าหลักสูตรนี้ ถือเป็นหลักสูตรนานาชาติเดียวในประเทศไทยที่หลอมรวมความรู้จากสายวิทย์และสายบริหารเข้าไว้ด้วยกันได้อย่างลงตัว เป็นหลักสูตรที่เข้มข้นทั้งทฤษฎีและปฏิบัติจากสาขาวิทยาศาสตร์และถูกเติมเต็มความรู้ทางด้านการจัดการและการบริหาร พร้อมสร้างไม่ใช่แค่นักวิทยาศาสตร์เท่านั้น แต่มุ่งเน้นสร้างนักคิดนักประดิษฐ์ ตลอดจนนักนวัตกรรมที่สามารถนำความรู้ที่มีอยู่ผ่านกระบวนการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์และการจัดการสร้างผลิตภัณฑ์จนพัฒนาสู่อุตสาหกรรมที่สำคัญและสร้างประโยชน์ต่อประเทศชาติได้ อีกทั้งยังสามารถทำงานในกิจการที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยเน้นเทคโนโลยีชีวภาพ เคมีและเทคโนโลยีการอาหาร เรียกได้ว่าเรียนสายนี้มีความโดดเด่นทั้งวิชาชีพ ด้านการบริหารจัดการและภาวะผู้นำ ซึ่งมีความสำคัญยิ่งในการทำธุรกิจระดับสากล โดยผลงานล่าสุดของนักศึกษาจาก ISC “มังคุดโยเกิร์ตอบกรอบ สูตรซินไบโอติก“ได้รับรางวัลการันตีรางวัลเหรียญทองจากเวทีการประกวดและจัดแสดงผลงานสิ่งประดิษฐ์นานาชาติ “The 30th International Invention, Innovation and Technology Exhibition” (ITEX 2019) ซึ่งจัดขึ้น ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ สหพันธรัฐมาเลเซีย เห็นไหมว่าเรียนวิทยาศาสตร์ก็สามารถไปประกอบได้หลากหลายอาชีพไม่แพ้การเรียนสายอื่นๆ เลย โดยน้องๆ คนไหนสนใจอยากเรียน 3 หลักสูตรสายพันธุ์ใหม่ รวมถึงหลักสูตรต้นแบบการเรียน SCI+BUSINESS ของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ ฝ่ายประชาสัมพันธ์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มธ. ศูนย์รังสิต หมายเลขโทรศัพท์ 02-564-4440-59 ต่อ 2010 หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ www.sci.ac.th และเฟสบุ๊คแฟนเพจ www.facebook.com/ScienceThammasat EZ Webmaster Related Posts ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง Post navigation PREVIOUS Previous post: นักวิจัย มจธ. ทดสอบทางห้องปฏิบัติการด้วยอุปกรณ์ขนาดเล็กเพื่อช่วยบำบัดน้ำเสียNEXT Next post: MOU ประชุมสุดยอดกัญชาทางการแพทย์ระดับโลก
เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง EZ WebmasterJune 13, 2025 วันนี้ทั้งเล่น ทั้งได้ความรู้ ทั้งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนนางรอง จ.บุรีรัมย์ วันที่13/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า…
โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง EZ WebmasterJune 13, 2025 วันนี้ทั้งเล่น ทั้งได้ความรู้ ทั้งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนนางรอง จ.บุรีรัมย์ วันที่13/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า…
คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI… ทุนดีดี เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster August 29, 2019 EZ Webmaster August 29, 2019 ล้ำหน้ารับเทรนด์โลก! พาส่อง 3 หลักสูตรวิทย์สายพันธุ์ใหม่ ล้ำหน้ารับเทรนด์โลก! พาส่อง 3 หลักสูตรวิทย์สายพันธุ์ใหม่ พร้อมชมหลักสูตรต้นแบบ SCI+BUSINESS คณะวิทย์ฯ มธ. เรียนเพื่อรับบิ๊กเดต้า กับ DSI สร้างสรรค์พลังงานใหม่ เพื่ออุตสาหกรรมใหม่ กับ BEB ปั้นนักนวัตกรรมอาหาร สำหรับคนเก่งวิทย์ และเก่งชิมอร่อย กับ FIN เรียนบริหารผสานวิทยาศาสตร์ ต้นแบบการเรียน SCI+BUSINESS กับ ISC เพราะโลกเรามีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา จึงทำให้วิทยาศาสตร์ยังคงมีบทบาทสำคัญต่อโลกปัจจุบันและอนาคตอยู่เสมอ อีกทั้งยังมีความเกี่ยวข้องกับชีวิตของมนุษย์ในเกือบทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็น ด้านการดำเนินชีวิต การงานอาชีพ ข้าวของเครื่องใช้รวมถึงผลผลิตต่าง ๆ ที่ล้วนแต่จะต้องมีหลักวิทยาศาสตร์เข้ามาเกี่ยวข้องอยู่ตลอด ทำให้มนุษย์จำเป็นที่จะต้องคอยศึกษาค้นคว้าในเรื่องวิทยาศาสตร์ เพื่อมาประยุกต์ใช้กับเทคโนโลยีในปัจจุบันได้อย่างสร้างสรรค์และเกิดประโยชน์ ซึ่งสิ่งเหล่านั้นสามารถช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตมนุษย์ให้ดียิ่งขึ้นได้ ปัจจุบันปฏิเสธไม่ได้ว่ามีเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ๆ เกิดขึ้นอย่างมากมาย ที่ล้วนมาช่วยอำนวยความสะดวกสบายให้กับมนุษย์มากขึ้น อีกทั้งมีอาชีพใหม่ ๆ ที่เกิดขึ้นตามการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว แน่นอนว่าโลกของเราจะไม่มีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว หากไม่มีต้นทางที่สามารถผลิตบุคลากรที่ตอบสนองความต้องการเหล่านั้นได้ เราจึงได้เห็นทุกภาคส่วนที่มีความเกี่ยวข้องในเรื่องดังกล่าว ออกมาตรการหรือนโยบายเพื่อมาตอบโจทย์และรองรับสิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ด้วยเหตุนี้ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) สถาบันการศึกษาที่มีเป้าหมายและความตั้งใจยิ่งเพื่อตอบโจทย์ความต้องการในการผลิต “นักวิทย์รุ่นใหม่” กล้าคิด-กล้าพัฒนานวัตกรรมอย่างสร้างสรรค์ และไม่ปิดกั้นศักยภาพ ผ่านการเรียนการสอนแบบ SCI+BUSINESS ที่เน้นการผสมผสานความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีสมัยใหม่ และการบริหารธุรกิจเข้าด้วยกันจนสามารถต่อยอดเป็นธุรกิจหรืออาชีพที่ทำเงินได้ในอนาคต เล็งเห็นความสำคัญจึงได้เพิ่มเติม 3 หลักสูตรการเรียนสายพันธุ์ใหม่ ที่มีชื่อย่อสุดเก๋ไก๋ ได้แก่ FIN, DSI, BEB และหลักสูตรต้นแบบการเรียนการสอนแบบ SCI+BUSINESS ของคณะวิทย์ มธ. ที่มีชื่อเรียกสั้น ๆ ว่า ISC ที่ทั้งหมดนี้จะมาตอบโจทย์ความต้องการของโลกอนาคต ตามหัวใจสำคัญของหลักสูตรก็คือการ “ผลิตบัณฑิต พร้อมใช้ สู่ภาคอุตสาหกรรม เพื่อการพัฒนาประเทศ” นั่นเอง ขอบอกเลยว่าเรียนวิทย์ฯ ทั้ง 4 สายนี้ เรียนจบไปยังไงก็มีงานรองรับอย่างแน่นอน โดยหลักสูตรที่กล่าวมาทั้งหมดนั้น จะน่าเรียนขนาดไหนไปชมกันเลย เพราะโลกยุคดิจิทัลมีข้อมูลมากมายรอให้เราไปจัดการและใช้ประโยชน์ ดังนั้น หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และนวัตกรรมข้อมูล (Data Science and Innovation Program) หรือเรียกสั้นๆ ว่า DSI จึงได้ถือกำเนิดขึ้น โดยหัวใจสำคัญของหลักสูตรนี้ก็คือการสร้างบัณฑิตที่มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ข้อมูลที่เป็นทรัพยากรที่มีคุณค่ามากที่สุดในยุคดิจิทัล ผ่านเทคนิคทาง คณิตศาสตร์ สถิติศาสตร์ และ ซอฟท์แวร์คอมพิวเตอร์ทางด้านปัญญาประดิษฐ์ เพื่อสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมจากข้อมูลสำหรับใช้ในการสร้างคุณค่าให้กับองค์กร โดยหลักสูตรนี้จะมีจัดการเรียนการสอนเป็นแบบ โมดูล (Modular Learning) ซึ่งภายในแต่ละโมดูล จะประกอบด้วยภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ ที่ฝึกฝนผู้เรียนให้ได้ สมรรถนะ ตรงกับองค์กรจากภาคอุตสาหกรรมที่ร่วมออกแบบหลักสูตร ทุกโมดูลจะมี capstone project เพื่อแสดงเห็นพัฒนาการของผู้เรียนในแต่ละโมดูลอีกด้วย เป็นหลักสูตรที่บอกเลยว่าหากเรียนจบแล้ว สามารถไปประกอบอาชีพที่เป็นที่ต้องการอย่างมากของตลาดแรงงานในยุคปัจจุบันและอนาคตได้เป็นอย่างดีไม่ว่าจะเป็น นักวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analyst) นักวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data Analyst) วิศวกรข้อมูล (Data Engineer) ตลอดจน นักวิทยาศาสตร์ข้อมูล (Data Scientist) เป็นต้น ต่อกันด้วย หลักสูตรเทคโนโลยี พลังงานชีวภาพและการแปรรูปเคมีชีวภาพ (Bioenergy and Biochemical Refinery Technology Program) หรือ BEB หลักสูตรนี้เป็นการเรียนรู้เกี่ยวกับอุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ ผ่านการเรียนรู้แบบบูรณาการใน 3 สาขาวิชา คือ เทคโนโลยีชีวภาพ เคมี และพื้นฐานทางวิศวกรรมศาสตร์ เข้าไว้ด้วยกัน ที่สำคัญคือนักศึกษาที่เรียนสายนี้จะได้ไปฝึกประสบการณ์การทำงานกับสถานประกอบการจริงเป็นเวลา 1 ปีการศึกษาแบบอัดแน่นเต็ม ๆ เพื่อให้ได้ทักษะการแก้ปัญหาระหว่างกระบวนการผลิตในโรงงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ พร้อมสามารถไปทำงานในอุตสาหกรรมเป้าหมายใหม่ (New S–curve) ได้แก่ อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพของไทยได้อย่างมีประสิทธิภาพ และไม่ว่าโลกจะพัฒนาไปมากแค่ไหน อาหารยังคงเป็นสิ่งจำเป็นต่อมนุษย์ทุกคน ดังนั้น หลักสูตรวิทยาศาสตร์และนวัตกรรมทางอาหาร (Food Science and Innovation Program) หรือเรียกง่ายๆ ว่า FIN จะมาช่วยตอบโจทย์สิ่งนี้ เพราะวิทยาศาสตร์เป็นหนึ่งในปัจจัยการขับเคลื่อนอุตสาหกรรมการแปรรูปอาหารด้วยนวัตกรรม หากเลือกเรียนสายนี้จะได้เรียนรู้ความพร้อมที่จะเป็นนักนวัตกรรมอาหาร ที่มีความรู้ความชำนาญทางวิชาชีพ (Technical skills) ผ่านการฝึกฝนความชำนาญในโรงงานอุตสาหกรรมอาหารที่ร่วมจัดการเรียนการสอน ควบคู่กับการฝึกฝนทักษะที่นอกเหนือจากวิชาชีพ (Soft skills) อีกทั้งยังได้เรียนรู้ด้านกระบวนการคิดเพื่อสร้างนวัตกรรมอาหาร การวิเคราะห์ปัญหาทางอุตสาหกรรมอาหาร การพัฒนาภาวะผู้นำ การใช้กระบวนการวิจัยเพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร และการเรียนรู้ทักษะสำหรับการเริ่มต้นธุรกิจอาหารอีกด้วย ปิดท้ายกันที่ หลักสูตรวิทยาศาสตรอุตสาหการและการจัดการหลักสูตรนานาชาติ (Industrial Science and Management International Program) หรือ ISC ต้นแบบของการเรียนแบบ SCI + Business ของคณะวิทย์ฯ มธ. อยากจะบอกว่าหลักสูตรนี้ ถือเป็นหลักสูตรนานาชาติเดียวในประเทศไทยที่หลอมรวมความรู้จากสายวิทย์และสายบริหารเข้าไว้ด้วยกันได้อย่างลงตัว เป็นหลักสูตรที่เข้มข้นทั้งทฤษฎีและปฏิบัติจากสาขาวิทยาศาสตร์และถูกเติมเต็มความรู้ทางด้านการจัดการและการบริหาร พร้อมสร้างไม่ใช่แค่นักวิทยาศาสตร์เท่านั้น แต่มุ่งเน้นสร้างนักคิดนักประดิษฐ์ ตลอดจนนักนวัตกรรมที่สามารถนำความรู้ที่มีอยู่ผ่านกระบวนการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์และการจัดการสร้างผลิตภัณฑ์จนพัฒนาสู่อุตสาหกรรมที่สำคัญและสร้างประโยชน์ต่อประเทศชาติได้ อีกทั้งยังสามารถทำงานในกิจการที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยเน้นเทคโนโลยีชีวภาพ เคมีและเทคโนโลยีการอาหาร เรียกได้ว่าเรียนสายนี้มีความโดดเด่นทั้งวิชาชีพ ด้านการบริหารจัดการและภาวะผู้นำ ซึ่งมีความสำคัญยิ่งในการทำธุรกิจระดับสากล โดยผลงานล่าสุดของนักศึกษาจาก ISC “มังคุดโยเกิร์ตอบกรอบ สูตรซินไบโอติก“ได้รับรางวัลการันตีรางวัลเหรียญทองจากเวทีการประกวดและจัดแสดงผลงานสิ่งประดิษฐ์นานาชาติ “The 30th International Invention, Innovation and Technology Exhibition” (ITEX 2019) ซึ่งจัดขึ้น ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ สหพันธรัฐมาเลเซีย เห็นไหมว่าเรียนวิทยาศาสตร์ก็สามารถไปประกอบได้หลากหลายอาชีพไม่แพ้การเรียนสายอื่นๆ เลย โดยน้องๆ คนไหนสนใจอยากเรียน 3 หลักสูตรสายพันธุ์ใหม่ รวมถึงหลักสูตรต้นแบบการเรียน SCI+BUSINESS ของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ ฝ่ายประชาสัมพันธ์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มธ. ศูนย์รังสิต หมายเลขโทรศัพท์ 02-564-4440-59 ต่อ 2010 หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ www.sci.ac.th และเฟสบุ๊คแฟนเพจ www.facebook.com/ScienceThammasat EZ Webmaster Related Posts ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง Post navigation PREVIOUS Previous post: นักวิจัย มจธ. ทดสอบทางห้องปฏิบัติการด้วยอุปกรณ์ขนาดเล็กเพื่อช่วยบำบัดน้ำเสียNEXT Next post: MOU ประชุมสุดยอดกัญชาทางการแพทย์ระดับโลก
เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI… ทุนดีดี เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster August 29, 2019 EZ Webmaster August 29, 2019 ล้ำหน้ารับเทรนด์โลก! พาส่อง 3 หลักสูตรวิทย์สายพันธุ์ใหม่ ล้ำหน้ารับเทรนด์โลก! พาส่อง 3 หลักสูตรวิทย์สายพันธุ์ใหม่ พร้อมชมหลักสูตรต้นแบบ SCI+BUSINESS คณะวิทย์ฯ มธ. เรียนเพื่อรับบิ๊กเดต้า กับ DSI สร้างสรรค์พลังงานใหม่ เพื่ออุตสาหกรรมใหม่ กับ BEB ปั้นนักนวัตกรรมอาหาร สำหรับคนเก่งวิทย์ และเก่งชิมอร่อย กับ FIN เรียนบริหารผสานวิทยาศาสตร์ ต้นแบบการเรียน SCI+BUSINESS กับ ISC เพราะโลกเรามีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา จึงทำให้วิทยาศาสตร์ยังคงมีบทบาทสำคัญต่อโลกปัจจุบันและอนาคตอยู่เสมอ อีกทั้งยังมีความเกี่ยวข้องกับชีวิตของมนุษย์ในเกือบทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็น ด้านการดำเนินชีวิต การงานอาชีพ ข้าวของเครื่องใช้รวมถึงผลผลิตต่าง ๆ ที่ล้วนแต่จะต้องมีหลักวิทยาศาสตร์เข้ามาเกี่ยวข้องอยู่ตลอด ทำให้มนุษย์จำเป็นที่จะต้องคอยศึกษาค้นคว้าในเรื่องวิทยาศาสตร์ เพื่อมาประยุกต์ใช้กับเทคโนโลยีในปัจจุบันได้อย่างสร้างสรรค์และเกิดประโยชน์ ซึ่งสิ่งเหล่านั้นสามารถช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตมนุษย์ให้ดียิ่งขึ้นได้ ปัจจุบันปฏิเสธไม่ได้ว่ามีเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ๆ เกิดขึ้นอย่างมากมาย ที่ล้วนมาช่วยอำนวยความสะดวกสบายให้กับมนุษย์มากขึ้น อีกทั้งมีอาชีพใหม่ ๆ ที่เกิดขึ้นตามการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว แน่นอนว่าโลกของเราจะไม่มีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว หากไม่มีต้นทางที่สามารถผลิตบุคลากรที่ตอบสนองความต้องการเหล่านั้นได้ เราจึงได้เห็นทุกภาคส่วนที่มีความเกี่ยวข้องในเรื่องดังกล่าว ออกมาตรการหรือนโยบายเพื่อมาตอบโจทย์และรองรับสิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ด้วยเหตุนี้ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) สถาบันการศึกษาที่มีเป้าหมายและความตั้งใจยิ่งเพื่อตอบโจทย์ความต้องการในการผลิต “นักวิทย์รุ่นใหม่” กล้าคิด-กล้าพัฒนานวัตกรรมอย่างสร้างสรรค์ และไม่ปิดกั้นศักยภาพ ผ่านการเรียนการสอนแบบ SCI+BUSINESS ที่เน้นการผสมผสานความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีสมัยใหม่ และการบริหารธุรกิจเข้าด้วยกันจนสามารถต่อยอดเป็นธุรกิจหรืออาชีพที่ทำเงินได้ในอนาคต เล็งเห็นความสำคัญจึงได้เพิ่มเติม 3 หลักสูตรการเรียนสายพันธุ์ใหม่ ที่มีชื่อย่อสุดเก๋ไก๋ ได้แก่ FIN, DSI, BEB และหลักสูตรต้นแบบการเรียนการสอนแบบ SCI+BUSINESS ของคณะวิทย์ มธ. ที่มีชื่อเรียกสั้น ๆ ว่า ISC ที่ทั้งหมดนี้จะมาตอบโจทย์ความต้องการของโลกอนาคต ตามหัวใจสำคัญของหลักสูตรก็คือการ “ผลิตบัณฑิต พร้อมใช้ สู่ภาคอุตสาหกรรม เพื่อการพัฒนาประเทศ” นั่นเอง ขอบอกเลยว่าเรียนวิทย์ฯ ทั้ง 4 สายนี้ เรียนจบไปยังไงก็มีงานรองรับอย่างแน่นอน โดยหลักสูตรที่กล่าวมาทั้งหมดนั้น จะน่าเรียนขนาดไหนไปชมกันเลย เพราะโลกยุคดิจิทัลมีข้อมูลมากมายรอให้เราไปจัดการและใช้ประโยชน์ ดังนั้น หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และนวัตกรรมข้อมูล (Data Science and Innovation Program) หรือเรียกสั้นๆ ว่า DSI จึงได้ถือกำเนิดขึ้น โดยหัวใจสำคัญของหลักสูตรนี้ก็คือการสร้างบัณฑิตที่มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ข้อมูลที่เป็นทรัพยากรที่มีคุณค่ามากที่สุดในยุคดิจิทัล ผ่านเทคนิคทาง คณิตศาสตร์ สถิติศาสตร์ และ ซอฟท์แวร์คอมพิวเตอร์ทางด้านปัญญาประดิษฐ์ เพื่อสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมจากข้อมูลสำหรับใช้ในการสร้างคุณค่าให้กับองค์กร โดยหลักสูตรนี้จะมีจัดการเรียนการสอนเป็นแบบ โมดูล (Modular Learning) ซึ่งภายในแต่ละโมดูล จะประกอบด้วยภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ ที่ฝึกฝนผู้เรียนให้ได้ สมรรถนะ ตรงกับองค์กรจากภาคอุตสาหกรรมที่ร่วมออกแบบหลักสูตร ทุกโมดูลจะมี capstone project เพื่อแสดงเห็นพัฒนาการของผู้เรียนในแต่ละโมดูลอีกด้วย เป็นหลักสูตรที่บอกเลยว่าหากเรียนจบแล้ว สามารถไปประกอบอาชีพที่เป็นที่ต้องการอย่างมากของตลาดแรงงานในยุคปัจจุบันและอนาคตได้เป็นอย่างดีไม่ว่าจะเป็น นักวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analyst) นักวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data Analyst) วิศวกรข้อมูล (Data Engineer) ตลอดจน นักวิทยาศาสตร์ข้อมูล (Data Scientist) เป็นต้น ต่อกันด้วย หลักสูตรเทคโนโลยี พลังงานชีวภาพและการแปรรูปเคมีชีวภาพ (Bioenergy and Biochemical Refinery Technology Program) หรือ BEB หลักสูตรนี้เป็นการเรียนรู้เกี่ยวกับอุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ ผ่านการเรียนรู้แบบบูรณาการใน 3 สาขาวิชา คือ เทคโนโลยีชีวภาพ เคมี และพื้นฐานทางวิศวกรรมศาสตร์ เข้าไว้ด้วยกัน ที่สำคัญคือนักศึกษาที่เรียนสายนี้จะได้ไปฝึกประสบการณ์การทำงานกับสถานประกอบการจริงเป็นเวลา 1 ปีการศึกษาแบบอัดแน่นเต็ม ๆ เพื่อให้ได้ทักษะการแก้ปัญหาระหว่างกระบวนการผลิตในโรงงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ พร้อมสามารถไปทำงานในอุตสาหกรรมเป้าหมายใหม่ (New S–curve) ได้แก่ อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพของไทยได้อย่างมีประสิทธิภาพ และไม่ว่าโลกจะพัฒนาไปมากแค่ไหน อาหารยังคงเป็นสิ่งจำเป็นต่อมนุษย์ทุกคน ดังนั้น หลักสูตรวิทยาศาสตร์และนวัตกรรมทางอาหาร (Food Science and Innovation Program) หรือเรียกง่ายๆ ว่า FIN จะมาช่วยตอบโจทย์สิ่งนี้ เพราะวิทยาศาสตร์เป็นหนึ่งในปัจจัยการขับเคลื่อนอุตสาหกรรมการแปรรูปอาหารด้วยนวัตกรรม หากเลือกเรียนสายนี้จะได้เรียนรู้ความพร้อมที่จะเป็นนักนวัตกรรมอาหาร ที่มีความรู้ความชำนาญทางวิชาชีพ (Technical skills) ผ่านการฝึกฝนความชำนาญในโรงงานอุตสาหกรรมอาหารที่ร่วมจัดการเรียนการสอน ควบคู่กับการฝึกฝนทักษะที่นอกเหนือจากวิชาชีพ (Soft skills) อีกทั้งยังได้เรียนรู้ด้านกระบวนการคิดเพื่อสร้างนวัตกรรมอาหาร การวิเคราะห์ปัญหาทางอุตสาหกรรมอาหาร การพัฒนาภาวะผู้นำ การใช้กระบวนการวิจัยเพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร และการเรียนรู้ทักษะสำหรับการเริ่มต้นธุรกิจอาหารอีกด้วย ปิดท้ายกันที่ หลักสูตรวิทยาศาสตรอุตสาหการและการจัดการหลักสูตรนานาชาติ (Industrial Science and Management International Program) หรือ ISC ต้นแบบของการเรียนแบบ SCI + Business ของคณะวิทย์ฯ มธ. อยากจะบอกว่าหลักสูตรนี้ ถือเป็นหลักสูตรนานาชาติเดียวในประเทศไทยที่หลอมรวมความรู้จากสายวิทย์และสายบริหารเข้าไว้ด้วยกันได้อย่างลงตัว เป็นหลักสูตรที่เข้มข้นทั้งทฤษฎีและปฏิบัติจากสาขาวิทยาศาสตร์และถูกเติมเต็มความรู้ทางด้านการจัดการและการบริหาร พร้อมสร้างไม่ใช่แค่นักวิทยาศาสตร์เท่านั้น แต่มุ่งเน้นสร้างนักคิดนักประดิษฐ์ ตลอดจนนักนวัตกรรมที่สามารถนำความรู้ที่มีอยู่ผ่านกระบวนการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์และการจัดการสร้างผลิตภัณฑ์จนพัฒนาสู่อุตสาหกรรมที่สำคัญและสร้างประโยชน์ต่อประเทศชาติได้ อีกทั้งยังสามารถทำงานในกิจการที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยเน้นเทคโนโลยีชีวภาพ เคมีและเทคโนโลยีการอาหาร เรียกได้ว่าเรียนสายนี้มีความโดดเด่นทั้งวิชาชีพ ด้านการบริหารจัดการและภาวะผู้นำ ซึ่งมีความสำคัญยิ่งในการทำธุรกิจระดับสากล โดยผลงานล่าสุดของนักศึกษาจาก ISC “มังคุดโยเกิร์ตอบกรอบ สูตรซินไบโอติก“ได้รับรางวัลการันตีรางวัลเหรียญทองจากเวทีการประกวดและจัดแสดงผลงานสิ่งประดิษฐ์นานาชาติ “The 30th International Invention, Innovation and Technology Exhibition” (ITEX 2019) ซึ่งจัดขึ้น ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ สหพันธรัฐมาเลเซีย เห็นไหมว่าเรียนวิทยาศาสตร์ก็สามารถไปประกอบได้หลากหลายอาชีพไม่แพ้การเรียนสายอื่นๆ เลย โดยน้องๆ คนไหนสนใจอยากเรียน 3 หลักสูตรสายพันธุ์ใหม่ รวมถึงหลักสูตรต้นแบบการเรียน SCI+BUSINESS ของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ ฝ่ายประชาสัมพันธ์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มธ. ศูนย์รังสิต หมายเลขโทรศัพท์ 02-564-4440-59 ต่อ 2010 หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ www.sci.ac.th และเฟสบุ๊คแฟนเพจ www.facebook.com/ScienceThammasat EZ Webmaster Related Posts ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง Post navigation PREVIOUS Previous post: นักวิจัย มจธ. ทดสอบทางห้องปฏิบัติการด้วยอุปกรณ์ขนาดเล็กเพื่อช่วยบำบัดน้ำเสียNEXT Next post: MOU ประชุมสุดยอดกัญชาทางการแพทย์ระดับโลก
แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI…
รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI…
เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster August 29, 2019 EZ Webmaster August 29, 2019 ล้ำหน้ารับเทรนด์โลก! พาส่อง 3 หลักสูตรวิทย์สายพันธุ์ใหม่ ล้ำหน้ารับเทรนด์โลก! พาส่อง 3 หลักสูตรวิทย์สายพันธุ์ใหม่ พร้อมชมหลักสูตรต้นแบบ SCI+BUSINESS คณะวิทย์ฯ มธ. เรียนเพื่อรับบิ๊กเดต้า กับ DSI สร้างสรรค์พลังงานใหม่ เพื่ออุตสาหกรรมใหม่ กับ BEB ปั้นนักนวัตกรรมอาหาร สำหรับคนเก่งวิทย์ และเก่งชิมอร่อย กับ FIN เรียนบริหารผสานวิทยาศาสตร์ ต้นแบบการเรียน SCI+BUSINESS กับ ISC เพราะโลกเรามีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา จึงทำให้วิทยาศาสตร์ยังคงมีบทบาทสำคัญต่อโลกปัจจุบันและอนาคตอยู่เสมอ อีกทั้งยังมีความเกี่ยวข้องกับชีวิตของมนุษย์ในเกือบทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็น ด้านการดำเนินชีวิต การงานอาชีพ ข้าวของเครื่องใช้รวมถึงผลผลิตต่าง ๆ ที่ล้วนแต่จะต้องมีหลักวิทยาศาสตร์เข้ามาเกี่ยวข้องอยู่ตลอด ทำให้มนุษย์จำเป็นที่จะต้องคอยศึกษาค้นคว้าในเรื่องวิทยาศาสตร์ เพื่อมาประยุกต์ใช้กับเทคโนโลยีในปัจจุบันได้อย่างสร้างสรรค์และเกิดประโยชน์ ซึ่งสิ่งเหล่านั้นสามารถช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตมนุษย์ให้ดียิ่งขึ้นได้ ปัจจุบันปฏิเสธไม่ได้ว่ามีเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ๆ เกิดขึ้นอย่างมากมาย ที่ล้วนมาช่วยอำนวยความสะดวกสบายให้กับมนุษย์มากขึ้น อีกทั้งมีอาชีพใหม่ ๆ ที่เกิดขึ้นตามการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว แน่นอนว่าโลกของเราจะไม่มีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว หากไม่มีต้นทางที่สามารถผลิตบุคลากรที่ตอบสนองความต้องการเหล่านั้นได้ เราจึงได้เห็นทุกภาคส่วนที่มีความเกี่ยวข้องในเรื่องดังกล่าว ออกมาตรการหรือนโยบายเพื่อมาตอบโจทย์และรองรับสิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ด้วยเหตุนี้ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) สถาบันการศึกษาที่มีเป้าหมายและความตั้งใจยิ่งเพื่อตอบโจทย์ความต้องการในการผลิต “นักวิทย์รุ่นใหม่” กล้าคิด-กล้าพัฒนานวัตกรรมอย่างสร้างสรรค์ และไม่ปิดกั้นศักยภาพ ผ่านการเรียนการสอนแบบ SCI+BUSINESS ที่เน้นการผสมผสานความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีสมัยใหม่ และการบริหารธุรกิจเข้าด้วยกันจนสามารถต่อยอดเป็นธุรกิจหรืออาชีพที่ทำเงินได้ในอนาคต เล็งเห็นความสำคัญจึงได้เพิ่มเติม 3 หลักสูตรการเรียนสายพันธุ์ใหม่ ที่มีชื่อย่อสุดเก๋ไก๋ ได้แก่ FIN, DSI, BEB และหลักสูตรต้นแบบการเรียนการสอนแบบ SCI+BUSINESS ของคณะวิทย์ มธ. ที่มีชื่อเรียกสั้น ๆ ว่า ISC ที่ทั้งหมดนี้จะมาตอบโจทย์ความต้องการของโลกอนาคต ตามหัวใจสำคัญของหลักสูตรก็คือการ “ผลิตบัณฑิต พร้อมใช้ สู่ภาคอุตสาหกรรม เพื่อการพัฒนาประเทศ” นั่นเอง ขอบอกเลยว่าเรียนวิทย์ฯ ทั้ง 4 สายนี้ เรียนจบไปยังไงก็มีงานรองรับอย่างแน่นอน โดยหลักสูตรที่กล่าวมาทั้งหมดนั้น จะน่าเรียนขนาดไหนไปชมกันเลย เพราะโลกยุคดิจิทัลมีข้อมูลมากมายรอให้เราไปจัดการและใช้ประโยชน์ ดังนั้น หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และนวัตกรรมข้อมูล (Data Science and Innovation Program) หรือเรียกสั้นๆ ว่า DSI จึงได้ถือกำเนิดขึ้น โดยหัวใจสำคัญของหลักสูตรนี้ก็คือการสร้างบัณฑิตที่มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ข้อมูลที่เป็นทรัพยากรที่มีคุณค่ามากที่สุดในยุคดิจิทัล ผ่านเทคนิคทาง คณิตศาสตร์ สถิติศาสตร์ และ ซอฟท์แวร์คอมพิวเตอร์ทางด้านปัญญาประดิษฐ์ เพื่อสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมจากข้อมูลสำหรับใช้ในการสร้างคุณค่าให้กับองค์กร โดยหลักสูตรนี้จะมีจัดการเรียนการสอนเป็นแบบ โมดูล (Modular Learning) ซึ่งภายในแต่ละโมดูล จะประกอบด้วยภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ ที่ฝึกฝนผู้เรียนให้ได้ สมรรถนะ ตรงกับองค์กรจากภาคอุตสาหกรรมที่ร่วมออกแบบหลักสูตร ทุกโมดูลจะมี capstone project เพื่อแสดงเห็นพัฒนาการของผู้เรียนในแต่ละโมดูลอีกด้วย เป็นหลักสูตรที่บอกเลยว่าหากเรียนจบแล้ว สามารถไปประกอบอาชีพที่เป็นที่ต้องการอย่างมากของตลาดแรงงานในยุคปัจจุบันและอนาคตได้เป็นอย่างดีไม่ว่าจะเป็น นักวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analyst) นักวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data Analyst) วิศวกรข้อมูล (Data Engineer) ตลอดจน นักวิทยาศาสตร์ข้อมูล (Data Scientist) เป็นต้น ต่อกันด้วย หลักสูตรเทคโนโลยี พลังงานชีวภาพและการแปรรูปเคมีชีวภาพ (Bioenergy and Biochemical Refinery Technology Program) หรือ BEB หลักสูตรนี้เป็นการเรียนรู้เกี่ยวกับอุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ ผ่านการเรียนรู้แบบบูรณาการใน 3 สาขาวิชา คือ เทคโนโลยีชีวภาพ เคมี และพื้นฐานทางวิศวกรรมศาสตร์ เข้าไว้ด้วยกัน ที่สำคัญคือนักศึกษาที่เรียนสายนี้จะได้ไปฝึกประสบการณ์การทำงานกับสถานประกอบการจริงเป็นเวลา 1 ปีการศึกษาแบบอัดแน่นเต็ม ๆ เพื่อให้ได้ทักษะการแก้ปัญหาระหว่างกระบวนการผลิตในโรงงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ พร้อมสามารถไปทำงานในอุตสาหกรรมเป้าหมายใหม่ (New S–curve) ได้แก่ อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพของไทยได้อย่างมีประสิทธิภาพ และไม่ว่าโลกจะพัฒนาไปมากแค่ไหน อาหารยังคงเป็นสิ่งจำเป็นต่อมนุษย์ทุกคน ดังนั้น หลักสูตรวิทยาศาสตร์และนวัตกรรมทางอาหาร (Food Science and Innovation Program) หรือเรียกง่ายๆ ว่า FIN จะมาช่วยตอบโจทย์สิ่งนี้ เพราะวิทยาศาสตร์เป็นหนึ่งในปัจจัยการขับเคลื่อนอุตสาหกรรมการแปรรูปอาหารด้วยนวัตกรรม หากเลือกเรียนสายนี้จะได้เรียนรู้ความพร้อมที่จะเป็นนักนวัตกรรมอาหาร ที่มีความรู้ความชำนาญทางวิชาชีพ (Technical skills) ผ่านการฝึกฝนความชำนาญในโรงงานอุตสาหกรรมอาหารที่ร่วมจัดการเรียนการสอน ควบคู่กับการฝึกฝนทักษะที่นอกเหนือจากวิชาชีพ (Soft skills) อีกทั้งยังได้เรียนรู้ด้านกระบวนการคิดเพื่อสร้างนวัตกรรมอาหาร การวิเคราะห์ปัญหาทางอุตสาหกรรมอาหาร การพัฒนาภาวะผู้นำ การใช้กระบวนการวิจัยเพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร และการเรียนรู้ทักษะสำหรับการเริ่มต้นธุรกิจอาหารอีกด้วย ปิดท้ายกันที่ หลักสูตรวิทยาศาสตรอุตสาหการและการจัดการหลักสูตรนานาชาติ (Industrial Science and Management International Program) หรือ ISC ต้นแบบของการเรียนแบบ SCI + Business ของคณะวิทย์ฯ มธ. อยากจะบอกว่าหลักสูตรนี้ ถือเป็นหลักสูตรนานาชาติเดียวในประเทศไทยที่หลอมรวมความรู้จากสายวิทย์และสายบริหารเข้าไว้ด้วยกันได้อย่างลงตัว เป็นหลักสูตรที่เข้มข้นทั้งทฤษฎีและปฏิบัติจากสาขาวิทยาศาสตร์และถูกเติมเต็มความรู้ทางด้านการจัดการและการบริหาร พร้อมสร้างไม่ใช่แค่นักวิทยาศาสตร์เท่านั้น แต่มุ่งเน้นสร้างนักคิดนักประดิษฐ์ ตลอดจนนักนวัตกรรมที่สามารถนำความรู้ที่มีอยู่ผ่านกระบวนการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์และการจัดการสร้างผลิตภัณฑ์จนพัฒนาสู่อุตสาหกรรมที่สำคัญและสร้างประโยชน์ต่อประเทศชาติได้ อีกทั้งยังสามารถทำงานในกิจการที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยเน้นเทคโนโลยีชีวภาพ เคมีและเทคโนโลยีการอาหาร เรียกได้ว่าเรียนสายนี้มีความโดดเด่นทั้งวิชาชีพ ด้านการบริหารจัดการและภาวะผู้นำ ซึ่งมีความสำคัญยิ่งในการทำธุรกิจระดับสากล โดยผลงานล่าสุดของนักศึกษาจาก ISC “มังคุดโยเกิร์ตอบกรอบ สูตรซินไบโอติก“ได้รับรางวัลการันตีรางวัลเหรียญทองจากเวทีการประกวดและจัดแสดงผลงานสิ่งประดิษฐ์นานาชาติ “The 30th International Invention, Innovation and Technology Exhibition” (ITEX 2019) ซึ่งจัดขึ้น ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ สหพันธรัฐมาเลเซีย เห็นไหมว่าเรียนวิทยาศาสตร์ก็สามารถไปประกอบได้หลากหลายอาชีพไม่แพ้การเรียนสายอื่นๆ เลย โดยน้องๆ คนไหนสนใจอยากเรียน 3 หลักสูตรสายพันธุ์ใหม่ รวมถึงหลักสูตรต้นแบบการเรียน SCI+BUSINESS ของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ ฝ่ายประชาสัมพันธ์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มธ. ศูนย์รังสิต หมายเลขโทรศัพท์ 02-564-4440-59 ต่อ 2010 หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ www.sci.ac.th และเฟสบุ๊คแฟนเพจ www.facebook.com/ScienceThammasat EZ Webmaster Related Posts ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง Post navigation PREVIOUS Previous post: นักวิจัย มจธ. ทดสอบทางห้องปฏิบัติการด้วยอุปกรณ์ขนาดเล็กเพื่อช่วยบำบัดน้ำเสียNEXT Next post: MOU ประชุมสุดยอดกัญชาทางการแพทย์ระดับโลก
ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster August 29, 2019 EZ Webmaster August 29, 2019 ล้ำหน้ารับเทรนด์โลก! พาส่อง 3 หลักสูตรวิทย์สายพันธุ์ใหม่ ล้ำหน้ารับเทรนด์โลก! พาส่อง 3 หลักสูตรวิทย์สายพันธุ์ใหม่ พร้อมชมหลักสูตรต้นแบบ SCI+BUSINESS คณะวิทย์ฯ มธ. เรียนเพื่อรับบิ๊กเดต้า กับ DSI สร้างสรรค์พลังงานใหม่ เพื่ออุตสาหกรรมใหม่ กับ BEB ปั้นนักนวัตกรรมอาหาร สำหรับคนเก่งวิทย์ และเก่งชิมอร่อย กับ FIN เรียนบริหารผสานวิทยาศาสตร์ ต้นแบบการเรียน SCI+BUSINESS กับ ISC เพราะโลกเรามีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา จึงทำให้วิทยาศาสตร์ยังคงมีบทบาทสำคัญต่อโลกปัจจุบันและอนาคตอยู่เสมอ อีกทั้งยังมีความเกี่ยวข้องกับชีวิตของมนุษย์ในเกือบทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็น ด้านการดำเนินชีวิต การงานอาชีพ ข้าวของเครื่องใช้รวมถึงผลผลิตต่าง ๆ ที่ล้วนแต่จะต้องมีหลักวิทยาศาสตร์เข้ามาเกี่ยวข้องอยู่ตลอด ทำให้มนุษย์จำเป็นที่จะต้องคอยศึกษาค้นคว้าในเรื่องวิทยาศาสตร์ เพื่อมาประยุกต์ใช้กับเทคโนโลยีในปัจจุบันได้อย่างสร้างสรรค์และเกิดประโยชน์ ซึ่งสิ่งเหล่านั้นสามารถช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตมนุษย์ให้ดียิ่งขึ้นได้ ปัจจุบันปฏิเสธไม่ได้ว่ามีเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ๆ เกิดขึ้นอย่างมากมาย ที่ล้วนมาช่วยอำนวยความสะดวกสบายให้กับมนุษย์มากขึ้น อีกทั้งมีอาชีพใหม่ ๆ ที่เกิดขึ้นตามการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว แน่นอนว่าโลกของเราจะไม่มีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว หากไม่มีต้นทางที่สามารถผลิตบุคลากรที่ตอบสนองความต้องการเหล่านั้นได้ เราจึงได้เห็นทุกภาคส่วนที่มีความเกี่ยวข้องในเรื่องดังกล่าว ออกมาตรการหรือนโยบายเพื่อมาตอบโจทย์และรองรับสิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ด้วยเหตุนี้ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) สถาบันการศึกษาที่มีเป้าหมายและความตั้งใจยิ่งเพื่อตอบโจทย์ความต้องการในการผลิต “นักวิทย์รุ่นใหม่” กล้าคิด-กล้าพัฒนานวัตกรรมอย่างสร้างสรรค์ และไม่ปิดกั้นศักยภาพ ผ่านการเรียนการสอนแบบ SCI+BUSINESS ที่เน้นการผสมผสานความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีสมัยใหม่ และการบริหารธุรกิจเข้าด้วยกันจนสามารถต่อยอดเป็นธุรกิจหรืออาชีพที่ทำเงินได้ในอนาคต เล็งเห็นความสำคัญจึงได้เพิ่มเติม 3 หลักสูตรการเรียนสายพันธุ์ใหม่ ที่มีชื่อย่อสุดเก๋ไก๋ ได้แก่ FIN, DSI, BEB และหลักสูตรต้นแบบการเรียนการสอนแบบ SCI+BUSINESS ของคณะวิทย์ มธ. ที่มีชื่อเรียกสั้น ๆ ว่า ISC ที่ทั้งหมดนี้จะมาตอบโจทย์ความต้องการของโลกอนาคต ตามหัวใจสำคัญของหลักสูตรก็คือการ “ผลิตบัณฑิต พร้อมใช้ สู่ภาคอุตสาหกรรม เพื่อการพัฒนาประเทศ” นั่นเอง ขอบอกเลยว่าเรียนวิทย์ฯ ทั้ง 4 สายนี้ เรียนจบไปยังไงก็มีงานรองรับอย่างแน่นอน โดยหลักสูตรที่กล่าวมาทั้งหมดนั้น จะน่าเรียนขนาดไหนไปชมกันเลย เพราะโลกยุคดิจิทัลมีข้อมูลมากมายรอให้เราไปจัดการและใช้ประโยชน์ ดังนั้น หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และนวัตกรรมข้อมูล (Data Science and Innovation Program) หรือเรียกสั้นๆ ว่า DSI จึงได้ถือกำเนิดขึ้น โดยหัวใจสำคัญของหลักสูตรนี้ก็คือการสร้างบัณฑิตที่มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ข้อมูลที่เป็นทรัพยากรที่มีคุณค่ามากที่สุดในยุคดิจิทัล ผ่านเทคนิคทาง คณิตศาสตร์ สถิติศาสตร์ และ ซอฟท์แวร์คอมพิวเตอร์ทางด้านปัญญาประดิษฐ์ เพื่อสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมจากข้อมูลสำหรับใช้ในการสร้างคุณค่าให้กับองค์กร โดยหลักสูตรนี้จะมีจัดการเรียนการสอนเป็นแบบ โมดูล (Modular Learning) ซึ่งภายในแต่ละโมดูล จะประกอบด้วยภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ ที่ฝึกฝนผู้เรียนให้ได้ สมรรถนะ ตรงกับองค์กรจากภาคอุตสาหกรรมที่ร่วมออกแบบหลักสูตร ทุกโมดูลจะมี capstone project เพื่อแสดงเห็นพัฒนาการของผู้เรียนในแต่ละโมดูลอีกด้วย เป็นหลักสูตรที่บอกเลยว่าหากเรียนจบแล้ว สามารถไปประกอบอาชีพที่เป็นที่ต้องการอย่างมากของตลาดแรงงานในยุคปัจจุบันและอนาคตได้เป็นอย่างดีไม่ว่าจะเป็น นักวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analyst) นักวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data Analyst) วิศวกรข้อมูล (Data Engineer) ตลอดจน นักวิทยาศาสตร์ข้อมูล (Data Scientist) เป็นต้น ต่อกันด้วย หลักสูตรเทคโนโลยี พลังงานชีวภาพและการแปรรูปเคมีชีวภาพ (Bioenergy and Biochemical Refinery Technology Program) หรือ BEB หลักสูตรนี้เป็นการเรียนรู้เกี่ยวกับอุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ ผ่านการเรียนรู้แบบบูรณาการใน 3 สาขาวิชา คือ เทคโนโลยีชีวภาพ เคมี และพื้นฐานทางวิศวกรรมศาสตร์ เข้าไว้ด้วยกัน ที่สำคัญคือนักศึกษาที่เรียนสายนี้จะได้ไปฝึกประสบการณ์การทำงานกับสถานประกอบการจริงเป็นเวลา 1 ปีการศึกษาแบบอัดแน่นเต็ม ๆ เพื่อให้ได้ทักษะการแก้ปัญหาระหว่างกระบวนการผลิตในโรงงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ พร้อมสามารถไปทำงานในอุตสาหกรรมเป้าหมายใหม่ (New S–curve) ได้แก่ อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพของไทยได้อย่างมีประสิทธิภาพ และไม่ว่าโลกจะพัฒนาไปมากแค่ไหน อาหารยังคงเป็นสิ่งจำเป็นต่อมนุษย์ทุกคน ดังนั้น หลักสูตรวิทยาศาสตร์และนวัตกรรมทางอาหาร (Food Science and Innovation Program) หรือเรียกง่ายๆ ว่า FIN จะมาช่วยตอบโจทย์สิ่งนี้ เพราะวิทยาศาสตร์เป็นหนึ่งในปัจจัยการขับเคลื่อนอุตสาหกรรมการแปรรูปอาหารด้วยนวัตกรรม หากเลือกเรียนสายนี้จะได้เรียนรู้ความพร้อมที่จะเป็นนักนวัตกรรมอาหาร ที่มีความรู้ความชำนาญทางวิชาชีพ (Technical skills) ผ่านการฝึกฝนความชำนาญในโรงงานอุตสาหกรรมอาหารที่ร่วมจัดการเรียนการสอน ควบคู่กับการฝึกฝนทักษะที่นอกเหนือจากวิชาชีพ (Soft skills) อีกทั้งยังได้เรียนรู้ด้านกระบวนการคิดเพื่อสร้างนวัตกรรมอาหาร การวิเคราะห์ปัญหาทางอุตสาหกรรมอาหาร การพัฒนาภาวะผู้นำ การใช้กระบวนการวิจัยเพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร และการเรียนรู้ทักษะสำหรับการเริ่มต้นธุรกิจอาหารอีกด้วย ปิดท้ายกันที่ หลักสูตรวิทยาศาสตรอุตสาหการและการจัดการหลักสูตรนานาชาติ (Industrial Science and Management International Program) หรือ ISC ต้นแบบของการเรียนแบบ SCI + Business ของคณะวิทย์ฯ มธ. อยากจะบอกว่าหลักสูตรนี้ ถือเป็นหลักสูตรนานาชาติเดียวในประเทศไทยที่หลอมรวมความรู้จากสายวิทย์และสายบริหารเข้าไว้ด้วยกันได้อย่างลงตัว เป็นหลักสูตรที่เข้มข้นทั้งทฤษฎีและปฏิบัติจากสาขาวิทยาศาสตร์และถูกเติมเต็มความรู้ทางด้านการจัดการและการบริหาร พร้อมสร้างไม่ใช่แค่นักวิทยาศาสตร์เท่านั้น แต่มุ่งเน้นสร้างนักคิดนักประดิษฐ์ ตลอดจนนักนวัตกรรมที่สามารถนำความรู้ที่มีอยู่ผ่านกระบวนการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์และการจัดการสร้างผลิตภัณฑ์จนพัฒนาสู่อุตสาหกรรมที่สำคัญและสร้างประโยชน์ต่อประเทศชาติได้ อีกทั้งยังสามารถทำงานในกิจการที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยเน้นเทคโนโลยีชีวภาพ เคมีและเทคโนโลยีการอาหาร เรียกได้ว่าเรียนสายนี้มีความโดดเด่นทั้งวิชาชีพ ด้านการบริหารจัดการและภาวะผู้นำ ซึ่งมีความสำคัญยิ่งในการทำธุรกิจระดับสากล โดยผลงานล่าสุดของนักศึกษาจาก ISC “มังคุดโยเกิร์ตอบกรอบ สูตรซินไบโอติก“ได้รับรางวัลการันตีรางวัลเหรียญทองจากเวทีการประกวดและจัดแสดงผลงานสิ่งประดิษฐ์นานาชาติ “The 30th International Invention, Innovation and Technology Exhibition” (ITEX 2019) ซึ่งจัดขึ้น ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ สหพันธรัฐมาเลเซีย เห็นไหมว่าเรียนวิทยาศาสตร์ก็สามารถไปประกอบได้หลากหลายอาชีพไม่แพ้การเรียนสายอื่นๆ เลย โดยน้องๆ คนไหนสนใจอยากเรียน 3 หลักสูตรสายพันธุ์ใหม่ รวมถึงหลักสูตรต้นแบบการเรียน SCI+BUSINESS ของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ ฝ่ายประชาสัมพันธ์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มธ. ศูนย์รังสิต หมายเลขโทรศัพท์ 02-564-4440-59 ต่อ 2010 หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ www.sci.ac.th และเฟสบุ๊คแฟนเพจ www.facebook.com/ScienceThammasat EZ Webmaster Related Posts ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง Post navigation PREVIOUS Previous post: นักวิจัย มจธ. ทดสอบทางห้องปฏิบัติการด้วยอุปกรณ์ขนาดเล็กเพื่อช่วยบำบัดน้ำเสียNEXT Next post: MOU ประชุมสุดยอดกัญชาทางการแพทย์ระดับโลก
รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ…
เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ…
คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster August 29, 2019 EZ Webmaster August 29, 2019 ล้ำหน้ารับเทรนด์โลก! พาส่อง 3 หลักสูตรวิทย์สายพันธุ์ใหม่ ล้ำหน้ารับเทรนด์โลก! พาส่อง 3 หลักสูตรวิทย์สายพันธุ์ใหม่ พร้อมชมหลักสูตรต้นแบบ SCI+BUSINESS คณะวิทย์ฯ มธ. เรียนเพื่อรับบิ๊กเดต้า กับ DSI สร้างสรรค์พลังงานใหม่ เพื่ออุตสาหกรรมใหม่ กับ BEB ปั้นนักนวัตกรรมอาหาร สำหรับคนเก่งวิทย์ และเก่งชิมอร่อย กับ FIN เรียนบริหารผสานวิทยาศาสตร์ ต้นแบบการเรียน SCI+BUSINESS กับ ISC เพราะโลกเรามีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา จึงทำให้วิทยาศาสตร์ยังคงมีบทบาทสำคัญต่อโลกปัจจุบันและอนาคตอยู่เสมอ อีกทั้งยังมีความเกี่ยวข้องกับชีวิตของมนุษย์ในเกือบทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็น ด้านการดำเนินชีวิต การงานอาชีพ ข้าวของเครื่องใช้รวมถึงผลผลิตต่าง ๆ ที่ล้วนแต่จะต้องมีหลักวิทยาศาสตร์เข้ามาเกี่ยวข้องอยู่ตลอด ทำให้มนุษย์จำเป็นที่จะต้องคอยศึกษาค้นคว้าในเรื่องวิทยาศาสตร์ เพื่อมาประยุกต์ใช้กับเทคโนโลยีในปัจจุบันได้อย่างสร้างสรรค์และเกิดประโยชน์ ซึ่งสิ่งเหล่านั้นสามารถช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตมนุษย์ให้ดียิ่งขึ้นได้ ปัจจุบันปฏิเสธไม่ได้ว่ามีเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ๆ เกิดขึ้นอย่างมากมาย ที่ล้วนมาช่วยอำนวยความสะดวกสบายให้กับมนุษย์มากขึ้น อีกทั้งมีอาชีพใหม่ ๆ ที่เกิดขึ้นตามการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว แน่นอนว่าโลกของเราจะไม่มีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว หากไม่มีต้นทางที่สามารถผลิตบุคลากรที่ตอบสนองความต้องการเหล่านั้นได้ เราจึงได้เห็นทุกภาคส่วนที่มีความเกี่ยวข้องในเรื่องดังกล่าว ออกมาตรการหรือนโยบายเพื่อมาตอบโจทย์และรองรับสิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ด้วยเหตุนี้ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) สถาบันการศึกษาที่มีเป้าหมายและความตั้งใจยิ่งเพื่อตอบโจทย์ความต้องการในการผลิต “นักวิทย์รุ่นใหม่” กล้าคิด-กล้าพัฒนานวัตกรรมอย่างสร้างสรรค์ และไม่ปิดกั้นศักยภาพ ผ่านการเรียนการสอนแบบ SCI+BUSINESS ที่เน้นการผสมผสานความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีสมัยใหม่ และการบริหารธุรกิจเข้าด้วยกันจนสามารถต่อยอดเป็นธุรกิจหรืออาชีพที่ทำเงินได้ในอนาคต เล็งเห็นความสำคัญจึงได้เพิ่มเติม 3 หลักสูตรการเรียนสายพันธุ์ใหม่ ที่มีชื่อย่อสุดเก๋ไก๋ ได้แก่ FIN, DSI, BEB และหลักสูตรต้นแบบการเรียนการสอนแบบ SCI+BUSINESS ของคณะวิทย์ มธ. ที่มีชื่อเรียกสั้น ๆ ว่า ISC ที่ทั้งหมดนี้จะมาตอบโจทย์ความต้องการของโลกอนาคต ตามหัวใจสำคัญของหลักสูตรก็คือการ “ผลิตบัณฑิต พร้อมใช้ สู่ภาคอุตสาหกรรม เพื่อการพัฒนาประเทศ” นั่นเอง ขอบอกเลยว่าเรียนวิทย์ฯ ทั้ง 4 สายนี้ เรียนจบไปยังไงก็มีงานรองรับอย่างแน่นอน โดยหลักสูตรที่กล่าวมาทั้งหมดนั้น จะน่าเรียนขนาดไหนไปชมกันเลย เพราะโลกยุคดิจิทัลมีข้อมูลมากมายรอให้เราไปจัดการและใช้ประโยชน์ ดังนั้น หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และนวัตกรรมข้อมูล (Data Science and Innovation Program) หรือเรียกสั้นๆ ว่า DSI จึงได้ถือกำเนิดขึ้น โดยหัวใจสำคัญของหลักสูตรนี้ก็คือการสร้างบัณฑิตที่มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ข้อมูลที่เป็นทรัพยากรที่มีคุณค่ามากที่สุดในยุคดิจิทัล ผ่านเทคนิคทาง คณิตศาสตร์ สถิติศาสตร์ และ ซอฟท์แวร์คอมพิวเตอร์ทางด้านปัญญาประดิษฐ์ เพื่อสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมจากข้อมูลสำหรับใช้ในการสร้างคุณค่าให้กับองค์กร โดยหลักสูตรนี้จะมีจัดการเรียนการสอนเป็นแบบ โมดูล (Modular Learning) ซึ่งภายในแต่ละโมดูล จะประกอบด้วยภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ ที่ฝึกฝนผู้เรียนให้ได้ สมรรถนะ ตรงกับองค์กรจากภาคอุตสาหกรรมที่ร่วมออกแบบหลักสูตร ทุกโมดูลจะมี capstone project เพื่อแสดงเห็นพัฒนาการของผู้เรียนในแต่ละโมดูลอีกด้วย เป็นหลักสูตรที่บอกเลยว่าหากเรียนจบแล้ว สามารถไปประกอบอาชีพที่เป็นที่ต้องการอย่างมากของตลาดแรงงานในยุคปัจจุบันและอนาคตได้เป็นอย่างดีไม่ว่าจะเป็น นักวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analyst) นักวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data Analyst) วิศวกรข้อมูล (Data Engineer) ตลอดจน นักวิทยาศาสตร์ข้อมูล (Data Scientist) เป็นต้น ต่อกันด้วย หลักสูตรเทคโนโลยี พลังงานชีวภาพและการแปรรูปเคมีชีวภาพ (Bioenergy and Biochemical Refinery Technology Program) หรือ BEB หลักสูตรนี้เป็นการเรียนรู้เกี่ยวกับอุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ ผ่านการเรียนรู้แบบบูรณาการใน 3 สาขาวิชา คือ เทคโนโลยีชีวภาพ เคมี และพื้นฐานทางวิศวกรรมศาสตร์ เข้าไว้ด้วยกัน ที่สำคัญคือนักศึกษาที่เรียนสายนี้จะได้ไปฝึกประสบการณ์การทำงานกับสถานประกอบการจริงเป็นเวลา 1 ปีการศึกษาแบบอัดแน่นเต็ม ๆ เพื่อให้ได้ทักษะการแก้ปัญหาระหว่างกระบวนการผลิตในโรงงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ พร้อมสามารถไปทำงานในอุตสาหกรรมเป้าหมายใหม่ (New S–curve) ได้แก่ อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพของไทยได้อย่างมีประสิทธิภาพ และไม่ว่าโลกจะพัฒนาไปมากแค่ไหน อาหารยังคงเป็นสิ่งจำเป็นต่อมนุษย์ทุกคน ดังนั้น หลักสูตรวิทยาศาสตร์และนวัตกรรมทางอาหาร (Food Science and Innovation Program) หรือเรียกง่ายๆ ว่า FIN จะมาช่วยตอบโจทย์สิ่งนี้ เพราะวิทยาศาสตร์เป็นหนึ่งในปัจจัยการขับเคลื่อนอุตสาหกรรมการแปรรูปอาหารด้วยนวัตกรรม หากเลือกเรียนสายนี้จะได้เรียนรู้ความพร้อมที่จะเป็นนักนวัตกรรมอาหาร ที่มีความรู้ความชำนาญทางวิชาชีพ (Technical skills) ผ่านการฝึกฝนความชำนาญในโรงงานอุตสาหกรรมอาหารที่ร่วมจัดการเรียนการสอน ควบคู่กับการฝึกฝนทักษะที่นอกเหนือจากวิชาชีพ (Soft skills) อีกทั้งยังได้เรียนรู้ด้านกระบวนการคิดเพื่อสร้างนวัตกรรมอาหาร การวิเคราะห์ปัญหาทางอุตสาหกรรมอาหาร การพัฒนาภาวะผู้นำ การใช้กระบวนการวิจัยเพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร และการเรียนรู้ทักษะสำหรับการเริ่มต้นธุรกิจอาหารอีกด้วย ปิดท้ายกันที่ หลักสูตรวิทยาศาสตรอุตสาหการและการจัดการหลักสูตรนานาชาติ (Industrial Science and Management International Program) หรือ ISC ต้นแบบของการเรียนแบบ SCI + Business ของคณะวิทย์ฯ มธ. อยากจะบอกว่าหลักสูตรนี้ ถือเป็นหลักสูตรนานาชาติเดียวในประเทศไทยที่หลอมรวมความรู้จากสายวิทย์และสายบริหารเข้าไว้ด้วยกันได้อย่างลงตัว เป็นหลักสูตรที่เข้มข้นทั้งทฤษฎีและปฏิบัติจากสาขาวิทยาศาสตร์และถูกเติมเต็มความรู้ทางด้านการจัดการและการบริหาร พร้อมสร้างไม่ใช่แค่นักวิทยาศาสตร์เท่านั้น แต่มุ่งเน้นสร้างนักคิดนักประดิษฐ์ ตลอดจนนักนวัตกรรมที่สามารถนำความรู้ที่มีอยู่ผ่านกระบวนการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์และการจัดการสร้างผลิตภัณฑ์จนพัฒนาสู่อุตสาหกรรมที่สำคัญและสร้างประโยชน์ต่อประเทศชาติได้ อีกทั้งยังสามารถทำงานในกิจการที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยเน้นเทคโนโลยีชีวภาพ เคมีและเทคโนโลยีการอาหาร เรียกได้ว่าเรียนสายนี้มีความโดดเด่นทั้งวิชาชีพ ด้านการบริหารจัดการและภาวะผู้นำ ซึ่งมีความสำคัญยิ่งในการทำธุรกิจระดับสากล โดยผลงานล่าสุดของนักศึกษาจาก ISC “มังคุดโยเกิร์ตอบกรอบ สูตรซินไบโอติก“ได้รับรางวัลการันตีรางวัลเหรียญทองจากเวทีการประกวดและจัดแสดงผลงานสิ่งประดิษฐ์นานาชาติ “The 30th International Invention, Innovation and Technology Exhibition” (ITEX 2019) ซึ่งจัดขึ้น ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ สหพันธรัฐมาเลเซีย เห็นไหมว่าเรียนวิทยาศาสตร์ก็สามารถไปประกอบได้หลากหลายอาชีพไม่แพ้การเรียนสายอื่นๆ เลย โดยน้องๆ คนไหนสนใจอยากเรียน 3 หลักสูตรสายพันธุ์ใหม่ รวมถึงหลักสูตรต้นแบบการเรียน SCI+BUSINESS ของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ ฝ่ายประชาสัมพันธ์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มธ. ศูนย์รังสิต หมายเลขโทรศัพท์ 02-564-4440-59 ต่อ 2010 หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ www.sci.ac.th และเฟสบุ๊คแฟนเพจ www.facebook.com/ScienceThammasat EZ Webmaster Related Posts ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง Post navigation PREVIOUS Previous post: นักวิจัย มจธ. ทดสอบทางห้องปฏิบัติการด้วยอุปกรณ์ขนาดเล็กเพื่อช่วยบำบัดน้ำเสียNEXT Next post: MOU ประชุมสุดยอดกัญชาทางการแพทย์ระดับโลก
เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster August 29, 2019 EZ Webmaster August 29, 2019 ล้ำหน้ารับเทรนด์โลก! พาส่อง 3 หลักสูตรวิทย์สายพันธุ์ใหม่ ล้ำหน้ารับเทรนด์โลก! พาส่อง 3 หลักสูตรวิทย์สายพันธุ์ใหม่ พร้อมชมหลักสูตรต้นแบบ SCI+BUSINESS คณะวิทย์ฯ มธ. เรียนเพื่อรับบิ๊กเดต้า กับ DSI สร้างสรรค์พลังงานใหม่ เพื่ออุตสาหกรรมใหม่ กับ BEB ปั้นนักนวัตกรรมอาหาร สำหรับคนเก่งวิทย์ และเก่งชิมอร่อย กับ FIN เรียนบริหารผสานวิทยาศาสตร์ ต้นแบบการเรียน SCI+BUSINESS กับ ISC เพราะโลกเรามีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา จึงทำให้วิทยาศาสตร์ยังคงมีบทบาทสำคัญต่อโลกปัจจุบันและอนาคตอยู่เสมอ อีกทั้งยังมีความเกี่ยวข้องกับชีวิตของมนุษย์ในเกือบทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็น ด้านการดำเนินชีวิต การงานอาชีพ ข้าวของเครื่องใช้รวมถึงผลผลิตต่าง ๆ ที่ล้วนแต่จะต้องมีหลักวิทยาศาสตร์เข้ามาเกี่ยวข้องอยู่ตลอด ทำให้มนุษย์จำเป็นที่จะต้องคอยศึกษาค้นคว้าในเรื่องวิทยาศาสตร์ เพื่อมาประยุกต์ใช้กับเทคโนโลยีในปัจจุบันได้อย่างสร้างสรรค์และเกิดประโยชน์ ซึ่งสิ่งเหล่านั้นสามารถช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตมนุษย์ให้ดียิ่งขึ้นได้ ปัจจุบันปฏิเสธไม่ได้ว่ามีเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ๆ เกิดขึ้นอย่างมากมาย ที่ล้วนมาช่วยอำนวยความสะดวกสบายให้กับมนุษย์มากขึ้น อีกทั้งมีอาชีพใหม่ ๆ ที่เกิดขึ้นตามการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว แน่นอนว่าโลกของเราจะไม่มีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว หากไม่มีต้นทางที่สามารถผลิตบุคลากรที่ตอบสนองความต้องการเหล่านั้นได้ เราจึงได้เห็นทุกภาคส่วนที่มีความเกี่ยวข้องในเรื่องดังกล่าว ออกมาตรการหรือนโยบายเพื่อมาตอบโจทย์และรองรับสิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ด้วยเหตุนี้ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) สถาบันการศึกษาที่มีเป้าหมายและความตั้งใจยิ่งเพื่อตอบโจทย์ความต้องการในการผลิต “นักวิทย์รุ่นใหม่” กล้าคิด-กล้าพัฒนานวัตกรรมอย่างสร้างสรรค์ และไม่ปิดกั้นศักยภาพ ผ่านการเรียนการสอนแบบ SCI+BUSINESS ที่เน้นการผสมผสานความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีสมัยใหม่ และการบริหารธุรกิจเข้าด้วยกันจนสามารถต่อยอดเป็นธุรกิจหรืออาชีพที่ทำเงินได้ในอนาคต เล็งเห็นความสำคัญจึงได้เพิ่มเติม 3 หลักสูตรการเรียนสายพันธุ์ใหม่ ที่มีชื่อย่อสุดเก๋ไก๋ ได้แก่ FIN, DSI, BEB และหลักสูตรต้นแบบการเรียนการสอนแบบ SCI+BUSINESS ของคณะวิทย์ มธ. ที่มีชื่อเรียกสั้น ๆ ว่า ISC ที่ทั้งหมดนี้จะมาตอบโจทย์ความต้องการของโลกอนาคต ตามหัวใจสำคัญของหลักสูตรก็คือการ “ผลิตบัณฑิต พร้อมใช้ สู่ภาคอุตสาหกรรม เพื่อการพัฒนาประเทศ” นั่นเอง ขอบอกเลยว่าเรียนวิทย์ฯ ทั้ง 4 สายนี้ เรียนจบไปยังไงก็มีงานรองรับอย่างแน่นอน โดยหลักสูตรที่กล่าวมาทั้งหมดนั้น จะน่าเรียนขนาดไหนไปชมกันเลย เพราะโลกยุคดิจิทัลมีข้อมูลมากมายรอให้เราไปจัดการและใช้ประโยชน์ ดังนั้น หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และนวัตกรรมข้อมูล (Data Science and Innovation Program) หรือเรียกสั้นๆ ว่า DSI จึงได้ถือกำเนิดขึ้น โดยหัวใจสำคัญของหลักสูตรนี้ก็คือการสร้างบัณฑิตที่มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ข้อมูลที่เป็นทรัพยากรที่มีคุณค่ามากที่สุดในยุคดิจิทัล ผ่านเทคนิคทาง คณิตศาสตร์ สถิติศาสตร์ และ ซอฟท์แวร์คอมพิวเตอร์ทางด้านปัญญาประดิษฐ์ เพื่อสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมจากข้อมูลสำหรับใช้ในการสร้างคุณค่าให้กับองค์กร โดยหลักสูตรนี้จะมีจัดการเรียนการสอนเป็นแบบ โมดูล (Modular Learning) ซึ่งภายในแต่ละโมดูล จะประกอบด้วยภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ ที่ฝึกฝนผู้เรียนให้ได้ สมรรถนะ ตรงกับองค์กรจากภาคอุตสาหกรรมที่ร่วมออกแบบหลักสูตร ทุกโมดูลจะมี capstone project เพื่อแสดงเห็นพัฒนาการของผู้เรียนในแต่ละโมดูลอีกด้วย เป็นหลักสูตรที่บอกเลยว่าหากเรียนจบแล้ว สามารถไปประกอบอาชีพที่เป็นที่ต้องการอย่างมากของตลาดแรงงานในยุคปัจจุบันและอนาคตได้เป็นอย่างดีไม่ว่าจะเป็น นักวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analyst) นักวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data Analyst) วิศวกรข้อมูล (Data Engineer) ตลอดจน นักวิทยาศาสตร์ข้อมูล (Data Scientist) เป็นต้น ต่อกันด้วย หลักสูตรเทคโนโลยี พลังงานชีวภาพและการแปรรูปเคมีชีวภาพ (Bioenergy and Biochemical Refinery Technology Program) หรือ BEB หลักสูตรนี้เป็นการเรียนรู้เกี่ยวกับอุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ ผ่านการเรียนรู้แบบบูรณาการใน 3 สาขาวิชา คือ เทคโนโลยีชีวภาพ เคมี และพื้นฐานทางวิศวกรรมศาสตร์ เข้าไว้ด้วยกัน ที่สำคัญคือนักศึกษาที่เรียนสายนี้จะได้ไปฝึกประสบการณ์การทำงานกับสถานประกอบการจริงเป็นเวลา 1 ปีการศึกษาแบบอัดแน่นเต็ม ๆ เพื่อให้ได้ทักษะการแก้ปัญหาระหว่างกระบวนการผลิตในโรงงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ พร้อมสามารถไปทำงานในอุตสาหกรรมเป้าหมายใหม่ (New S–curve) ได้แก่ อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพของไทยได้อย่างมีประสิทธิภาพ และไม่ว่าโลกจะพัฒนาไปมากแค่ไหน อาหารยังคงเป็นสิ่งจำเป็นต่อมนุษย์ทุกคน ดังนั้น หลักสูตรวิทยาศาสตร์และนวัตกรรมทางอาหาร (Food Science and Innovation Program) หรือเรียกง่ายๆ ว่า FIN จะมาช่วยตอบโจทย์สิ่งนี้ เพราะวิทยาศาสตร์เป็นหนึ่งในปัจจัยการขับเคลื่อนอุตสาหกรรมการแปรรูปอาหารด้วยนวัตกรรม หากเลือกเรียนสายนี้จะได้เรียนรู้ความพร้อมที่จะเป็นนักนวัตกรรมอาหาร ที่มีความรู้ความชำนาญทางวิชาชีพ (Technical skills) ผ่านการฝึกฝนความชำนาญในโรงงานอุตสาหกรรมอาหารที่ร่วมจัดการเรียนการสอน ควบคู่กับการฝึกฝนทักษะที่นอกเหนือจากวิชาชีพ (Soft skills) อีกทั้งยังได้เรียนรู้ด้านกระบวนการคิดเพื่อสร้างนวัตกรรมอาหาร การวิเคราะห์ปัญหาทางอุตสาหกรรมอาหาร การพัฒนาภาวะผู้นำ การใช้กระบวนการวิจัยเพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร และการเรียนรู้ทักษะสำหรับการเริ่มต้นธุรกิจอาหารอีกด้วย ปิดท้ายกันที่ หลักสูตรวิทยาศาสตรอุตสาหการและการจัดการหลักสูตรนานาชาติ (Industrial Science and Management International Program) หรือ ISC ต้นแบบของการเรียนแบบ SCI + Business ของคณะวิทย์ฯ มธ. อยากจะบอกว่าหลักสูตรนี้ ถือเป็นหลักสูตรนานาชาติเดียวในประเทศไทยที่หลอมรวมความรู้จากสายวิทย์และสายบริหารเข้าไว้ด้วยกันได้อย่างลงตัว เป็นหลักสูตรที่เข้มข้นทั้งทฤษฎีและปฏิบัติจากสาขาวิทยาศาสตร์และถูกเติมเต็มความรู้ทางด้านการจัดการและการบริหาร พร้อมสร้างไม่ใช่แค่นักวิทยาศาสตร์เท่านั้น แต่มุ่งเน้นสร้างนักคิดนักประดิษฐ์ ตลอดจนนักนวัตกรรมที่สามารถนำความรู้ที่มีอยู่ผ่านกระบวนการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์และการจัดการสร้างผลิตภัณฑ์จนพัฒนาสู่อุตสาหกรรมที่สำคัญและสร้างประโยชน์ต่อประเทศชาติได้ อีกทั้งยังสามารถทำงานในกิจการที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยเน้นเทคโนโลยีชีวภาพ เคมีและเทคโนโลยีการอาหาร เรียกได้ว่าเรียนสายนี้มีความโดดเด่นทั้งวิชาชีพ ด้านการบริหารจัดการและภาวะผู้นำ ซึ่งมีความสำคัญยิ่งในการทำธุรกิจระดับสากล โดยผลงานล่าสุดของนักศึกษาจาก ISC “มังคุดโยเกิร์ตอบกรอบ สูตรซินไบโอติก“ได้รับรางวัลการันตีรางวัลเหรียญทองจากเวทีการประกวดและจัดแสดงผลงานสิ่งประดิษฐ์นานาชาติ “The 30th International Invention, Innovation and Technology Exhibition” (ITEX 2019) ซึ่งจัดขึ้น ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ สหพันธรัฐมาเลเซีย เห็นไหมว่าเรียนวิทยาศาสตร์ก็สามารถไปประกอบได้หลากหลายอาชีพไม่แพ้การเรียนสายอื่นๆ เลย โดยน้องๆ คนไหนสนใจอยากเรียน 3 หลักสูตรสายพันธุ์ใหม่ รวมถึงหลักสูตรต้นแบบการเรียน SCI+BUSINESS ของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ ฝ่ายประชาสัมพันธ์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มธ. ศูนย์รังสิต หมายเลขโทรศัพท์ 02-564-4440-59 ต่อ 2010 หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ www.sci.ac.th และเฟสบุ๊คแฟนเพจ www.facebook.com/ScienceThammasat EZ Webmaster Related Posts ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง Post navigation PREVIOUS Previous post: นักวิจัย มจธ. ทดสอบทางห้องปฏิบัติการด้วยอุปกรณ์ขนาดเล็กเพื่อช่วยบำบัดน้ำเสียNEXT Next post: MOU ประชุมสุดยอดกัญชาทางการแพทย์ระดับโลก
สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief…
เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief…
“40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster August 29, 2019 EZ Webmaster August 29, 2019 ล้ำหน้ารับเทรนด์โลก! พาส่อง 3 หลักสูตรวิทย์สายพันธุ์ใหม่ ล้ำหน้ารับเทรนด์โลก! พาส่อง 3 หลักสูตรวิทย์สายพันธุ์ใหม่ พร้อมชมหลักสูตรต้นแบบ SCI+BUSINESS คณะวิทย์ฯ มธ. เรียนเพื่อรับบิ๊กเดต้า กับ DSI สร้างสรรค์พลังงานใหม่ เพื่ออุตสาหกรรมใหม่ กับ BEB ปั้นนักนวัตกรรมอาหาร สำหรับคนเก่งวิทย์ และเก่งชิมอร่อย กับ FIN เรียนบริหารผสานวิทยาศาสตร์ ต้นแบบการเรียน SCI+BUSINESS กับ ISC เพราะโลกเรามีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา จึงทำให้วิทยาศาสตร์ยังคงมีบทบาทสำคัญต่อโลกปัจจุบันและอนาคตอยู่เสมอ อีกทั้งยังมีความเกี่ยวข้องกับชีวิตของมนุษย์ในเกือบทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็น ด้านการดำเนินชีวิต การงานอาชีพ ข้าวของเครื่องใช้รวมถึงผลผลิตต่าง ๆ ที่ล้วนแต่จะต้องมีหลักวิทยาศาสตร์เข้ามาเกี่ยวข้องอยู่ตลอด ทำให้มนุษย์จำเป็นที่จะต้องคอยศึกษาค้นคว้าในเรื่องวิทยาศาสตร์ เพื่อมาประยุกต์ใช้กับเทคโนโลยีในปัจจุบันได้อย่างสร้างสรรค์และเกิดประโยชน์ ซึ่งสิ่งเหล่านั้นสามารถช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตมนุษย์ให้ดียิ่งขึ้นได้ ปัจจุบันปฏิเสธไม่ได้ว่ามีเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ๆ เกิดขึ้นอย่างมากมาย ที่ล้วนมาช่วยอำนวยความสะดวกสบายให้กับมนุษย์มากขึ้น อีกทั้งมีอาชีพใหม่ ๆ ที่เกิดขึ้นตามการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว แน่นอนว่าโลกของเราจะไม่มีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว หากไม่มีต้นทางที่สามารถผลิตบุคลากรที่ตอบสนองความต้องการเหล่านั้นได้ เราจึงได้เห็นทุกภาคส่วนที่มีความเกี่ยวข้องในเรื่องดังกล่าว ออกมาตรการหรือนโยบายเพื่อมาตอบโจทย์และรองรับสิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ด้วยเหตุนี้ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) สถาบันการศึกษาที่มีเป้าหมายและความตั้งใจยิ่งเพื่อตอบโจทย์ความต้องการในการผลิต “นักวิทย์รุ่นใหม่” กล้าคิด-กล้าพัฒนานวัตกรรมอย่างสร้างสรรค์ และไม่ปิดกั้นศักยภาพ ผ่านการเรียนการสอนแบบ SCI+BUSINESS ที่เน้นการผสมผสานความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีสมัยใหม่ และการบริหารธุรกิจเข้าด้วยกันจนสามารถต่อยอดเป็นธุรกิจหรืออาชีพที่ทำเงินได้ในอนาคต เล็งเห็นความสำคัญจึงได้เพิ่มเติม 3 หลักสูตรการเรียนสายพันธุ์ใหม่ ที่มีชื่อย่อสุดเก๋ไก๋ ได้แก่ FIN, DSI, BEB และหลักสูตรต้นแบบการเรียนการสอนแบบ SCI+BUSINESS ของคณะวิทย์ มธ. ที่มีชื่อเรียกสั้น ๆ ว่า ISC ที่ทั้งหมดนี้จะมาตอบโจทย์ความต้องการของโลกอนาคต ตามหัวใจสำคัญของหลักสูตรก็คือการ “ผลิตบัณฑิต พร้อมใช้ สู่ภาคอุตสาหกรรม เพื่อการพัฒนาประเทศ” นั่นเอง ขอบอกเลยว่าเรียนวิทย์ฯ ทั้ง 4 สายนี้ เรียนจบไปยังไงก็มีงานรองรับอย่างแน่นอน โดยหลักสูตรที่กล่าวมาทั้งหมดนั้น จะน่าเรียนขนาดไหนไปชมกันเลย เพราะโลกยุคดิจิทัลมีข้อมูลมากมายรอให้เราไปจัดการและใช้ประโยชน์ ดังนั้น หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และนวัตกรรมข้อมูล (Data Science and Innovation Program) หรือเรียกสั้นๆ ว่า DSI จึงได้ถือกำเนิดขึ้น โดยหัวใจสำคัญของหลักสูตรนี้ก็คือการสร้างบัณฑิตที่มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ข้อมูลที่เป็นทรัพยากรที่มีคุณค่ามากที่สุดในยุคดิจิทัล ผ่านเทคนิคทาง คณิตศาสตร์ สถิติศาสตร์ และ ซอฟท์แวร์คอมพิวเตอร์ทางด้านปัญญาประดิษฐ์ เพื่อสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมจากข้อมูลสำหรับใช้ในการสร้างคุณค่าให้กับองค์กร โดยหลักสูตรนี้จะมีจัดการเรียนการสอนเป็นแบบ โมดูล (Modular Learning) ซึ่งภายในแต่ละโมดูล จะประกอบด้วยภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ ที่ฝึกฝนผู้เรียนให้ได้ สมรรถนะ ตรงกับองค์กรจากภาคอุตสาหกรรมที่ร่วมออกแบบหลักสูตร ทุกโมดูลจะมี capstone project เพื่อแสดงเห็นพัฒนาการของผู้เรียนในแต่ละโมดูลอีกด้วย เป็นหลักสูตรที่บอกเลยว่าหากเรียนจบแล้ว สามารถไปประกอบอาชีพที่เป็นที่ต้องการอย่างมากของตลาดแรงงานในยุคปัจจุบันและอนาคตได้เป็นอย่างดีไม่ว่าจะเป็น นักวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analyst) นักวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data Analyst) วิศวกรข้อมูล (Data Engineer) ตลอดจน นักวิทยาศาสตร์ข้อมูล (Data Scientist) เป็นต้น ต่อกันด้วย หลักสูตรเทคโนโลยี พลังงานชีวภาพและการแปรรูปเคมีชีวภาพ (Bioenergy and Biochemical Refinery Technology Program) หรือ BEB หลักสูตรนี้เป็นการเรียนรู้เกี่ยวกับอุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ ผ่านการเรียนรู้แบบบูรณาการใน 3 สาขาวิชา คือ เทคโนโลยีชีวภาพ เคมี และพื้นฐานทางวิศวกรรมศาสตร์ เข้าไว้ด้วยกัน ที่สำคัญคือนักศึกษาที่เรียนสายนี้จะได้ไปฝึกประสบการณ์การทำงานกับสถานประกอบการจริงเป็นเวลา 1 ปีการศึกษาแบบอัดแน่นเต็ม ๆ เพื่อให้ได้ทักษะการแก้ปัญหาระหว่างกระบวนการผลิตในโรงงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ พร้อมสามารถไปทำงานในอุตสาหกรรมเป้าหมายใหม่ (New S–curve) ได้แก่ อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพของไทยได้อย่างมีประสิทธิภาพ และไม่ว่าโลกจะพัฒนาไปมากแค่ไหน อาหารยังคงเป็นสิ่งจำเป็นต่อมนุษย์ทุกคน ดังนั้น หลักสูตรวิทยาศาสตร์และนวัตกรรมทางอาหาร (Food Science and Innovation Program) หรือเรียกง่ายๆ ว่า FIN จะมาช่วยตอบโจทย์สิ่งนี้ เพราะวิทยาศาสตร์เป็นหนึ่งในปัจจัยการขับเคลื่อนอุตสาหกรรมการแปรรูปอาหารด้วยนวัตกรรม หากเลือกเรียนสายนี้จะได้เรียนรู้ความพร้อมที่จะเป็นนักนวัตกรรมอาหาร ที่มีความรู้ความชำนาญทางวิชาชีพ (Technical skills) ผ่านการฝึกฝนความชำนาญในโรงงานอุตสาหกรรมอาหารที่ร่วมจัดการเรียนการสอน ควบคู่กับการฝึกฝนทักษะที่นอกเหนือจากวิชาชีพ (Soft skills) อีกทั้งยังได้เรียนรู้ด้านกระบวนการคิดเพื่อสร้างนวัตกรรมอาหาร การวิเคราะห์ปัญหาทางอุตสาหกรรมอาหาร การพัฒนาภาวะผู้นำ การใช้กระบวนการวิจัยเพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร และการเรียนรู้ทักษะสำหรับการเริ่มต้นธุรกิจอาหารอีกด้วย ปิดท้ายกันที่ หลักสูตรวิทยาศาสตรอุตสาหการและการจัดการหลักสูตรนานาชาติ (Industrial Science and Management International Program) หรือ ISC ต้นแบบของการเรียนแบบ SCI + Business ของคณะวิทย์ฯ มธ. อยากจะบอกว่าหลักสูตรนี้ ถือเป็นหลักสูตรนานาชาติเดียวในประเทศไทยที่หลอมรวมความรู้จากสายวิทย์และสายบริหารเข้าไว้ด้วยกันได้อย่างลงตัว เป็นหลักสูตรที่เข้มข้นทั้งทฤษฎีและปฏิบัติจากสาขาวิทยาศาสตร์และถูกเติมเต็มความรู้ทางด้านการจัดการและการบริหาร พร้อมสร้างไม่ใช่แค่นักวิทยาศาสตร์เท่านั้น แต่มุ่งเน้นสร้างนักคิดนักประดิษฐ์ ตลอดจนนักนวัตกรรมที่สามารถนำความรู้ที่มีอยู่ผ่านกระบวนการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์และการจัดการสร้างผลิตภัณฑ์จนพัฒนาสู่อุตสาหกรรมที่สำคัญและสร้างประโยชน์ต่อประเทศชาติได้ อีกทั้งยังสามารถทำงานในกิจการที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยเน้นเทคโนโลยีชีวภาพ เคมีและเทคโนโลยีการอาหาร เรียกได้ว่าเรียนสายนี้มีความโดดเด่นทั้งวิชาชีพ ด้านการบริหารจัดการและภาวะผู้นำ ซึ่งมีความสำคัญยิ่งในการทำธุรกิจระดับสากล โดยผลงานล่าสุดของนักศึกษาจาก ISC “มังคุดโยเกิร์ตอบกรอบ สูตรซินไบโอติก“ได้รับรางวัลการันตีรางวัลเหรียญทองจากเวทีการประกวดและจัดแสดงผลงานสิ่งประดิษฐ์นานาชาติ “The 30th International Invention, Innovation and Technology Exhibition” (ITEX 2019) ซึ่งจัดขึ้น ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ สหพันธรัฐมาเลเซีย เห็นไหมว่าเรียนวิทยาศาสตร์ก็สามารถไปประกอบได้หลากหลายอาชีพไม่แพ้การเรียนสายอื่นๆ เลย โดยน้องๆ คนไหนสนใจอยากเรียน 3 หลักสูตรสายพันธุ์ใหม่ รวมถึงหลักสูตรต้นแบบการเรียน SCI+BUSINESS ของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ ฝ่ายประชาสัมพันธ์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มธ. ศูนย์รังสิต หมายเลขโทรศัพท์ 02-564-4440-59 ต่อ 2010 หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ www.sci.ac.th และเฟสบุ๊คแฟนเพจ www.facebook.com/ScienceThammasat EZ Webmaster Related Posts ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง Post navigation PREVIOUS Previous post: นักวิจัย มจธ. ทดสอบทางห้องปฏิบัติการด้วยอุปกรณ์ขนาดเล็กเพื่อช่วยบำบัดน้ำเสียNEXT Next post: MOU ประชุมสุดยอดกัญชาทางการแพทย์ระดับโลก
ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search
ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน…
สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน…
EZ Webmaster August 29, 2019 EZ Webmaster August 29, 2019 ล้ำหน้ารับเทรนด์โลก! พาส่อง 3 หลักสูตรวิทย์สายพันธุ์ใหม่ ล้ำหน้ารับเทรนด์โลก! พาส่อง 3 หลักสูตรวิทย์สายพันธุ์ใหม่ พร้อมชมหลักสูตรต้นแบบ SCI+BUSINESS คณะวิทย์ฯ มธ. เรียนเพื่อรับบิ๊กเดต้า กับ DSI สร้างสรรค์พลังงานใหม่ เพื่ออุตสาหกรรมใหม่ กับ BEB ปั้นนักนวัตกรรมอาหาร สำหรับคนเก่งวิทย์ และเก่งชิมอร่อย กับ FIN เรียนบริหารผสานวิทยาศาสตร์ ต้นแบบการเรียน SCI+BUSINESS กับ ISC เพราะโลกเรามีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา จึงทำให้วิทยาศาสตร์ยังคงมีบทบาทสำคัญต่อโลกปัจจุบันและอนาคตอยู่เสมอ อีกทั้งยังมีความเกี่ยวข้องกับชีวิตของมนุษย์ในเกือบทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็น ด้านการดำเนินชีวิต การงานอาชีพ ข้าวของเครื่องใช้รวมถึงผลผลิตต่าง ๆ ที่ล้วนแต่จะต้องมีหลักวิทยาศาสตร์เข้ามาเกี่ยวข้องอยู่ตลอด ทำให้มนุษย์จำเป็นที่จะต้องคอยศึกษาค้นคว้าในเรื่องวิทยาศาสตร์ เพื่อมาประยุกต์ใช้กับเทคโนโลยีในปัจจุบันได้อย่างสร้างสรรค์และเกิดประโยชน์ ซึ่งสิ่งเหล่านั้นสามารถช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตมนุษย์ให้ดียิ่งขึ้นได้ ปัจจุบันปฏิเสธไม่ได้ว่ามีเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ๆ เกิดขึ้นอย่างมากมาย ที่ล้วนมาช่วยอำนวยความสะดวกสบายให้กับมนุษย์มากขึ้น อีกทั้งมีอาชีพใหม่ ๆ ที่เกิดขึ้นตามการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว แน่นอนว่าโลกของเราจะไม่มีการพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว หากไม่มีต้นทางที่สามารถผลิตบุคลากรที่ตอบสนองความต้องการเหล่านั้นได้ เราจึงได้เห็นทุกภาคส่วนที่มีความเกี่ยวข้องในเรื่องดังกล่าว ออกมาตรการหรือนโยบายเพื่อมาตอบโจทย์และรองรับสิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ด้วยเหตุนี้ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) สถาบันการศึกษาที่มีเป้าหมายและความตั้งใจยิ่งเพื่อตอบโจทย์ความต้องการในการผลิต “นักวิทย์รุ่นใหม่” กล้าคิด-กล้าพัฒนานวัตกรรมอย่างสร้างสรรค์ และไม่ปิดกั้นศักยภาพ ผ่านการเรียนการสอนแบบ SCI+BUSINESS ที่เน้นการผสมผสานความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีสมัยใหม่ และการบริหารธุรกิจเข้าด้วยกันจนสามารถต่อยอดเป็นธุรกิจหรืออาชีพที่ทำเงินได้ในอนาคต เล็งเห็นความสำคัญจึงได้เพิ่มเติม 3 หลักสูตรการเรียนสายพันธุ์ใหม่ ที่มีชื่อย่อสุดเก๋ไก๋ ได้แก่ FIN, DSI, BEB และหลักสูตรต้นแบบการเรียนการสอนแบบ SCI+BUSINESS ของคณะวิทย์ มธ. ที่มีชื่อเรียกสั้น ๆ ว่า ISC ที่ทั้งหมดนี้จะมาตอบโจทย์ความต้องการของโลกอนาคต ตามหัวใจสำคัญของหลักสูตรก็คือการ “ผลิตบัณฑิต พร้อมใช้ สู่ภาคอุตสาหกรรม เพื่อการพัฒนาประเทศ” นั่นเอง ขอบอกเลยว่าเรียนวิทย์ฯ ทั้ง 4 สายนี้ เรียนจบไปยังไงก็มีงานรองรับอย่างแน่นอน โดยหลักสูตรที่กล่าวมาทั้งหมดนั้น จะน่าเรียนขนาดไหนไปชมกันเลย เพราะโลกยุคดิจิทัลมีข้อมูลมากมายรอให้เราไปจัดการและใช้ประโยชน์ ดังนั้น หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และนวัตกรรมข้อมูล (Data Science and Innovation Program) หรือเรียกสั้นๆ ว่า DSI จึงได้ถือกำเนิดขึ้น โดยหัวใจสำคัญของหลักสูตรนี้ก็คือการสร้างบัณฑิตที่มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ข้อมูลที่เป็นทรัพยากรที่มีคุณค่ามากที่สุดในยุคดิจิทัล ผ่านเทคนิคทาง คณิตศาสตร์ สถิติศาสตร์ และ ซอฟท์แวร์คอมพิวเตอร์ทางด้านปัญญาประดิษฐ์ เพื่อสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมจากข้อมูลสำหรับใช้ในการสร้างคุณค่าให้กับองค์กร โดยหลักสูตรนี้จะมีจัดการเรียนการสอนเป็นแบบ โมดูล (Modular Learning) ซึ่งภายในแต่ละโมดูล จะประกอบด้วยภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ ที่ฝึกฝนผู้เรียนให้ได้ สมรรถนะ ตรงกับองค์กรจากภาคอุตสาหกรรมที่ร่วมออกแบบหลักสูตร ทุกโมดูลจะมี capstone project เพื่อแสดงเห็นพัฒนาการของผู้เรียนในแต่ละโมดูลอีกด้วย เป็นหลักสูตรที่บอกเลยว่าหากเรียนจบแล้ว สามารถไปประกอบอาชีพที่เป็นที่ต้องการอย่างมากของตลาดแรงงานในยุคปัจจุบันและอนาคตได้เป็นอย่างดีไม่ว่าจะเป็น นักวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analyst) นักวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data Analyst) วิศวกรข้อมูล (Data Engineer) ตลอดจน นักวิทยาศาสตร์ข้อมูล (Data Scientist) เป็นต้น ต่อกันด้วย หลักสูตรเทคโนโลยี พลังงานชีวภาพและการแปรรูปเคมีชีวภาพ (Bioenergy and Biochemical Refinery Technology Program) หรือ BEB หลักสูตรนี้เป็นการเรียนรู้เกี่ยวกับอุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ ผ่านการเรียนรู้แบบบูรณาการใน 3 สาขาวิชา คือ เทคโนโลยีชีวภาพ เคมี และพื้นฐานทางวิศวกรรมศาสตร์ เข้าไว้ด้วยกัน ที่สำคัญคือนักศึกษาที่เรียนสายนี้จะได้ไปฝึกประสบการณ์การทำงานกับสถานประกอบการจริงเป็นเวลา 1 ปีการศึกษาแบบอัดแน่นเต็ม ๆ เพื่อให้ได้ทักษะการแก้ปัญหาระหว่างกระบวนการผลิตในโรงงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ พร้อมสามารถไปทำงานในอุตสาหกรรมเป้าหมายใหม่ (New S–curve) ได้แก่ อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพของไทยได้อย่างมีประสิทธิภาพ และไม่ว่าโลกจะพัฒนาไปมากแค่ไหน อาหารยังคงเป็นสิ่งจำเป็นต่อมนุษย์ทุกคน ดังนั้น หลักสูตรวิทยาศาสตร์และนวัตกรรมทางอาหาร (Food Science and Innovation Program) หรือเรียกง่ายๆ ว่า FIN จะมาช่วยตอบโจทย์สิ่งนี้ เพราะวิทยาศาสตร์เป็นหนึ่งในปัจจัยการขับเคลื่อนอุตสาหกรรมการแปรรูปอาหารด้วยนวัตกรรม หากเลือกเรียนสายนี้จะได้เรียนรู้ความพร้อมที่จะเป็นนักนวัตกรรมอาหาร ที่มีความรู้ความชำนาญทางวิชาชีพ (Technical skills) ผ่านการฝึกฝนความชำนาญในโรงงานอุตสาหกรรมอาหารที่ร่วมจัดการเรียนการสอน ควบคู่กับการฝึกฝนทักษะที่นอกเหนือจากวิชาชีพ (Soft skills) อีกทั้งยังได้เรียนรู้ด้านกระบวนการคิดเพื่อสร้างนวัตกรรมอาหาร การวิเคราะห์ปัญหาทางอุตสาหกรรมอาหาร การพัฒนาภาวะผู้นำ การใช้กระบวนการวิจัยเพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร และการเรียนรู้ทักษะสำหรับการเริ่มต้นธุรกิจอาหารอีกด้วย ปิดท้ายกันที่ หลักสูตรวิทยาศาสตรอุตสาหการและการจัดการหลักสูตรนานาชาติ (Industrial Science and Management International Program) หรือ ISC ต้นแบบของการเรียนแบบ SCI + Business ของคณะวิทย์ฯ มธ. อยากจะบอกว่าหลักสูตรนี้ ถือเป็นหลักสูตรนานาชาติเดียวในประเทศไทยที่หลอมรวมความรู้จากสายวิทย์และสายบริหารเข้าไว้ด้วยกันได้อย่างลงตัว เป็นหลักสูตรที่เข้มข้นทั้งทฤษฎีและปฏิบัติจากสาขาวิทยาศาสตร์และถูกเติมเต็มความรู้ทางด้านการจัดการและการบริหาร พร้อมสร้างไม่ใช่แค่นักวิทยาศาสตร์เท่านั้น แต่มุ่งเน้นสร้างนักคิดนักประดิษฐ์ ตลอดจนนักนวัตกรรมที่สามารถนำความรู้ที่มีอยู่ผ่านกระบวนการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์และการจัดการสร้างผลิตภัณฑ์จนพัฒนาสู่อุตสาหกรรมที่สำคัญและสร้างประโยชน์ต่อประเทศชาติได้ อีกทั้งยังสามารถทำงานในกิจการที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยเน้นเทคโนโลยีชีวภาพ เคมีและเทคโนโลยีการอาหาร เรียกได้ว่าเรียนสายนี้มีความโดดเด่นทั้งวิชาชีพ ด้านการบริหารจัดการและภาวะผู้นำ ซึ่งมีความสำคัญยิ่งในการทำธุรกิจระดับสากล โดยผลงานล่าสุดของนักศึกษาจาก ISC “มังคุดโยเกิร์ตอบกรอบ สูตรซินไบโอติก“ได้รับรางวัลการันตีรางวัลเหรียญทองจากเวทีการประกวดและจัดแสดงผลงานสิ่งประดิษฐ์นานาชาติ “The 30th International Invention, Innovation and Technology Exhibition” (ITEX 2019) ซึ่งจัดขึ้น ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ สหพันธรัฐมาเลเซีย เห็นไหมว่าเรียนวิทยาศาสตร์ก็สามารถไปประกอบได้หลากหลายอาชีพไม่แพ้การเรียนสายอื่นๆ เลย โดยน้องๆ คนไหนสนใจอยากเรียน 3 หลักสูตรสายพันธุ์ใหม่ รวมถึงหลักสูตรต้นแบบการเรียน SCI+BUSINESS ของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ ฝ่ายประชาสัมพันธ์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มธ. ศูนย์รังสิต หมายเลขโทรศัพท์ 02-564-4440-59 ต่อ 2010 หรือเข้าไปที่เว็บไซต์ www.sci.ac.th และเฟสบุ๊คแฟนเพจ www.facebook.com/ScienceThammasat