ม.รามคำแหง ความสำเร็จสร้างได้ รับนักศึกษาใหม่ ส่วนกลาง-ส่วนภูมิภาคทั่วประเทศ EZ WebmasterApril 19, 2025 การศึกษาแบบตลาดวิชา คือการเลือกเรียนรู้และทดลองสร้างอนาคตใน Sandbox แห่งวิชาการและประสบการณ์ชีวิต อยู่ที่ไหนก็เรียนรามฯได้ เรียนส่วนกลางที่กรุงเทพฯ เรียนส่วนภูมิภาคใกล้บ้านทั้งประเทศ มีคณะและหลักสูตรหลากหลาย เรียนออนไลน์หรือออนไซต์ เลือกเรียนได้ตามใจ เพราะ…ความสำเร็จสร้างได้ ที่ ม.รามคำแหง รับสมัครนักศึกษาใหม่ระดับปริญญาตรี ทั้งส่วนกลาง และส่วนภูมิภาคถึง วันที่ 20… ยูโอบี ประเทศไทย เสริมสร้างทักษะความรู้การเงินแก่เยาวชนไทย ยกระดับชุมชนผ่านโครงการ UOB Money 101: Teen Edition วัยรุ่นเก่งการเงิน EZ WebmasterApril 18, 2025 ยูโอบี ประเทศไทย มุ่งมั่นเปลี่ยนแปลงอนาคตทางการเงินของเยาวชนไทยยกระดับโครงการ “UOB Money 101: Teen Edition วัยรุ่นเก่งการเงิน” หลักสูตรการเงินออนไลน์ที่เสริมสร้างทักษะและความรู้ทางการเงินที่จำเป็นให้กับนักเรียนที่ขาดโอกาส โดยปีนี้ มุ่งขยายสู่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาอีก 2,200 คนทั่วประเทศ พร้อมต่อยอดสู่โครงการประกวด “Money Coach Junior Contest’ เปิดโอกาสให้นักเรียนในโครงการ UOB Money 101: Teen Edition เขียนแผนให้ความรู้ด้านการเงิน โดยนำเนื้อหาจากหลักสูตรที่ได้เรียน มาพัฒนาและส่งต่อความรู้ให้กับชุมชนและคนรอบตัวอย่างสร้างสรรค์ ความก้าวหน้าโครงการ:… เด็กท่องเที่ยว ม.รังสิต พาไขสูตรลับเที่ยวยังไงให้โลกจำ EZ WebmasterApril 18, 2025 สาขาการจัดการการท่องเที่ยวและการบริการ วิทยาลัยการท่องเที่ยวและอุตสาหกรรมการบริการ มหาวิทยาลัยรังสิต เชิญชวนเข้าร่วมโครงการสัมมนา หัวข้อ “How Travel Influencers Make a Living : เปิดสูตรลับ เปลี่ยนการเที่ยวให้เป็นเงินล้าน” สำหรับผู้ที่ฝันอยากเป็นอินฟลูเอนเซอร์สายท่องเที่ยว ในวันอังคารที่ 22 เมษายน… สลช.เร่งทำหลักสูตรการเอาตัวรอดจาก ”อุบัติเหตุ-อุบัติภัย“ ให้เด็กและเยาวชนได้เรียนรู้ EZ WebmasterApril 18, 2025 ดร.วรัท พฤกษาทวีกุล รองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) ทำหน้าที่เลขาธิการสำนักงานลูกเสือแห่งชาติ (สลช.) เปิดเผยว่า ตามที่ได้เกิดเหตุการณ์แผ่นดินไหวที่รุนแรงขึ้นในประเทศไทยในช่วงเดือน มี.ค.ที่ผ่านมา รวมถึงเกิดเหตุการณ์อุบัติเหตุไฟไหม้รถบัสปรับอากาศทัศนศึกษาของนักเรียน และเหตุการณ์เด็กนักเรียนจมน้ำเสียชีวิตบ่อยครั้งในช่วงปิดเทอมภาคฤดูร้อน ซึ่งอุบัติเหตุ หรืออุบัติภัยที่เกิดขึ้นต่าง ๆ เหล่านี้ พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รมว.ศึกษาธิการ… นักศึกษา ม.รามคำแหง ความสำเร็จสร้างได้ รับนักศึกษาใหม่ ส่วนกลาง-ส่วนภูมิภาคทั่วประเทศ EZ WebmasterApril 19, 2025 การศึกษาแบบตลาดวิชา คือการเลือกเรียนรู้และทดลองสร้างอนาคตใน Sandbox แห่งวิชาการและประสบการณ์ชีวิต อยู่ที่ไหนก็เรียนรามฯได้ เรียนส่วนกลางที่กรุงเทพฯ เรียนส่วนภูมิภาคใกล้บ้านทั้งประเทศ มีคณะและหลักสูตรหลากหลาย เรียนออนไลน์หรือออนไซต์ เลือกเรียนได้ตามใจ เพราะ…ความสำเร็จสร้างได้ ที่ ม.รามคำแหง รับสมัครนักศึกษาใหม่ระดับปริญญาตรี ทั้งส่วนกลาง และส่วนภูมิภาคถึง วันที่ 20… นักศึกษาสาขาภาพยนตร์และสื่อดิจิทัล SPU คว้าแชมป์ระดับประเทศ โครงการ Nissan e-POWER Challenge 2024 EZ WebmasterApril 18, 2025 ทีม Teraphy Film นักศึกษาจากสาขาภาพยนตร์และสื่อดิจิทัล คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม ได้แก่ จิรชัย จันทร์ศรี , พรพิพัฒน์ เรืองรัตนพงศ์ ,เรวัตร เทยจันทร์ทึก และพัสกร นาคจันทร์ ภายใต้การดูแลและให้คำปรึกษาโดย อาจารย์ธีระพันธ์… จาก “เด็กเสิร์ฟ” สู่ “บัณฑิต” เปลี่ยนชีวิตด้วยการขับแกร็บ EZ WebmasterApril 18, 2025 เพราะต้นทุนชีวิตของคนเราไม่เท่ากัน ทำให้หลายคนอาจต้องใช้ความพยายามมากกว่าคนอื่นเป็นเท่าตัว เพื่อพาตัวเองก้าวสู่ความสำเร็จ เหมือนเช่น “น้องกิ่ง” กัญญารัตน์ สีแดงน้อย สาวน้อยวัย 25 ปี ที่เคยต้องหยุดเรียนกลางคันเพราะปัญหาทางด้านการเงิน ชีวิตเคยมืดมนจนมองไม่เห็นอนาคต แต่แล้วก็ได้รู้จักกับ “แกร็บ” ที่เข้ามาเป็นแสงสว่างให้เธอมีรายได้เลี้ยงชีพ และเป็น “สะพาน” ที่พาเธอกลับเข้าสู่เส้นทางการศึกษา จนจบชั้นอนุปริญญาได้สำเร็จ เมื่อความฝันต้องพักไว้ เพื่อความอยู่รอดของครอบครัว “น้องกิ่ง” ชาวอำเภอน้ำปาด… เด็กท่องเที่ยว ม.รังสิต พาไขสูตรลับเที่ยวยังไงให้โลกจำ EZ WebmasterApril 18, 2025 สาขาการจัดการการท่องเที่ยวและการบริการ วิทยาลัยการท่องเที่ยวและอุตสาหกรรมการบริการ มหาวิทยาลัยรังสิต เชิญชวนเข้าร่วมโครงการสัมมนา หัวข้อ “How Travel Influencers Make a Living : เปิดสูตรลับ เปลี่ยนการเที่ยวให้เป็นเงินล้าน” สำหรับผู้ที่ฝันอยากเป็นอินฟลูเอนเซอร์สายท่องเที่ยว ในวันอังคารที่ 22 เมษายน… ทุนดีดี Xiamenให้ทุนป.ตรีต่างชาติ InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศApril 18, 2025 Xiamen University ได้จัดทุนการศึกษาระดับปริญญาตรี สำหรับปีการศึกษา 2025-2026 ให้กับนักศึกษาต่างชาติ โดยผู้สมัครจะต้องเป็นพลเมืองที่ไม่ใช่ชาวจีน มีสุขภาพดีและมีอายุไม่เกิน 30 ปี ณ วันที่ 1 กันยายน 2025 และต้องสำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ผู้สมัครจะต้องสำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายโดยมีผลการเรียนที่ดี และได้รับคำแนะนำจากสถาบันขงจื๊อที่มหาวิทยาลัยเซียเหมินร่วมสร้างหรือมหาวิทยาลัยพันธมิตรแห่งหนึ่ง… ทุนที่EPFLสวิตเซอร์แลนด์ InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศApril 17, 2025 École Polytechnique Fédérale de Lausanne (EPFL) ในสวิตเซอร์แลนด์ แจ้งให้ทุน EPFL Social Scholarshipsกับนักเรียนต่างชาติที่เรียนจบปีแรกไปแล้วหรืออยู่ในโปรแกรม CMS สามารถสมัครรับความช่วยเหลือทางการเงินฉุกเฉินนี้ นักศึกษาต่างชาติจะมีสิทธิ์หลังจากเรียนจบปีแรกที่ EPFL ส่วนพลเมืองสวิส ผู้ถือใบอนุญาต C… ทุน Be the Difference InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศApril 16, 2025 University of Stirling ในสหราชอาณาจักร แจ้งให้ทุน Be the Difference Postgraduate International Scholarships โดยเป็นทุนยกเว้นค่าเล่าเรียน 7,000 ปอนด์(เฉพาะปีแรก) จำนวน 100 ทุน ให้กับนักศึกษาต่างชาติใหม่ที่… ทุนสำหรับไทยกับเวียดนาม InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศApril 15, 2025 Univeristy of Bradford มอบทุนการศึกษาอันทรงเกียรตินี้ร่วมกับ British Council และ GREAT Britain campaign เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาปริญญาโทที่เก่งที่สุดและฉลาดที่สุดจากประเทศไทยและเวียดนามมาเรียนที่มหาวิทยาลัยแบรดฟอร์ด หลักสูตรเต็มเวลานี้เริ่มในเดือนกันยายน2025 โดยเดทไลน์สมัครขอทุน 30 เม.ย.2025 คุณสมบัติผู้สมัคร เป็นพลเมืองของประเทศไทยและเวียดนามที่มีถิ่นฐานอยู่ในประเทศของตน ต้องอาศัยอยู่ในต่างประเทศและไม่ใช่พลเมืองของสหภาพยุโรป… ครู-อาจารย์ มูลนิธิเอสซีจี จับมือ อินสครู เปิดโลกกว้างให้คุณครู ได้เรียนรู้และเข้าใจทักษะอาชีพใหม่ๆ ในโลกปัจจุบัน EZ WebmasterApril 18, 2025 มูลนิธิเอสซีจี ร่วมกับ บริษัท อินสครู จำกัด จัดกิจกรรม Human Library by มูลนิธิเอสซีจี ภายในงาน “insKru Festival 2025 มหกรรมไอเดียการสอน ตอน Keep ครู Stay ครู เป็นตัวเองในวันที่ฉันเป็นครู” งานดี ๆ สำหรับคุณครู คนที่อยากเป็นคุณครู และคนทั่วไปที่สนใจเรื่องราวในแวดวงการศึกษา ที่จะสร้างแรงบันดาลใจในการเลือกสร้างสรรค์การเรียนรู้ในแบบของตัวเอง สำหรับกิจกรรม Human Library นี้… มทร.ธัญบุรี คว้า 7 รางวัลนวัตกรรมระดับโลก เวทีสิ่งประดิษฐ์ Geneva 2025 นครเจนีวา สวิสเซอร์แลนด์ tui sakrapeeApril 17, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อเสียงระดับนานาชาติอย่างต่อเนื่อง คว้า 7 รางวัลจากเวทีประกวดนวัตกรรมระดับโลก The 50th International Exhibition of Inventions Geneva 2025 ที่จัดขึ้นที่นครเจนีวา สมาพันธรัฐสวิส โดยมีผลงานกว่า 1,000… มจธ. ฟื้นฟูผู้ป่วยกล้ามเนื้ออ่อนแรงด้วย “หุ่นยนต์ + AI + เกม” ความหวังใหม่ในยุคสังคมสูงวัย EZ WebmasterApril 17, 2025 ทีมนักวิจัย มจธ. พัฒนาหุ่นยนต์ต้นแบบช่วยกายภาพบำบัดผู้ป่วยกล้ามเนื้ออ่อนแรง โดยผสานเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์และเกมเข้าไว้ด้วยกัน ช่วยให้การฟื้นฟูร่างกายแม่นยำ สนุก และมีประสิทธิภาพมากขึ้น ประเทศไทยกำลังก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์ โดยข้อมูลจากสำนักงานสถิติแห่งชาติและหน่วยงานด้านประชากรศาสตร์คาดการณ์ว่า ภายในปี 2583 ประเทศไทยจะมีผู้สูงอายุคิดเป็นสัดส่วนมากกว่า 32% ของประชากรทั้งหมด หรือประมาณ 20 ล้านคน ซึ่งนำมาสู่การเพิ่มขึ้นของโรคเรื้อรังและภาวะเสื่อมของระบบต่าง ๆ ในร่างกาย โดยเฉพาะโรคที่เกี่ยวกับการทำงานของระบบประสาทและกล้ามเนื้อ เช่น… มทร.ธัญบุรี สร้างสรรค์ “คลีนบิวตี้” นวัตกรรมชะลอวัย จากอะโวคาโด tui sakrapeeApril 11, 2025 มทร.ธัญบุรี สร้างสรรค์ “คลีนบิวตี้” นวัตกรรมชะลอวัย จากอะโวคาโด ใส่ใจสิ่งแวดล้อม จุดประกายผู้ประกอบการ จากอะโวคาโดเหลือทิ้ง สู่ครีมบำรุงผิวหน้าสุดล้ำ ฝีมือนักวิจัย มทร.ธัญบุรี ผสานนาโนเทคโนโลยี พัฒนา “Anti-Aging Facial Cleansing Hydrogel และ Anti-Aging Nanoemulgel” ต้านริ้วรอยอย่างมีประสิทธิภาพ ปลอดภัย ตามแนวคิดคลีนบิวตี้ และพร้อมถ่ายทอดองค์ความรู้สู่ชุมชน… กิจกรรม มมส สืบสานประเพณีสงกรานต์ ทำบุญตักบาตรเสริมสิริมงคลรับปีใหม่ไทย EZ WebmasterApril 17, 2025 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (มมส) จัดงานสืบสานประเพณีสงกรานต์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ประจำปี 2568 โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.ประยุกต์ ศรีวิไล อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เป็นประธานในพิธี พร้อมด้วยผู้บริหาร คณาจารย์ บุคลากร และนิสิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เข้าร่วมงาน ณ… ทีเค พาร์ค พาเจาะเส้นทางความสำเร็จนักเขียนไทยผู้เจาะตลาดอินเตอร์ พร้อมเปิดทริคอัปเลเวล “นักเขียนมือทอง” หนุนวรรณกรรมไทยไปตีตลาดโลก EZ WebmasterApril 17, 2025 “นักเขียนไทย สู้ต่างชาติได้จริงไหม?” เป็นคำถามที่หลายคนอาจสงสัย ทั้งที่นักเขียนไทยหลายคน ก็มีฝีมือไม่แพ้ใคร แต่ทำไมยังไม่ค่อยเห็นวรรณกรรมไทยไปไกลถึงตลาดโลก ในขณะที่หลายประเทศมีวรรณกรรมเป็นซอฟต์พาวเวอร์และเป็นสินค้าส่งออก เช่น เกาหลีใต้ที่ผลักดัน Webtoon และนิยายออนไลน์สู่ K-Drama และ K-Series ญี่ปุ่นที่เปลี่ยนมังงะและไลต์โนเวล (Light Novel) ให้กลายเป็นสินค้าส่งออกสำคัญของประเทศ เช่นเดียวกับจีนที่ส่งออกวรรณกรรมออนไลน์โกยรายได้มหาศาลจากทั่วโลก และถึงแม้ว่าในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา อุตสาหกรรมคอนเทนต์ไทยจะคึกคักขึ้นอย่างมากโดยเฉพาะจากกระแสนิยายวายที่ถูกนำไปสร้างเป็นซีรีส์โด่งดังไปทั่วโลก แต่วรรณกรรมไทยที่ได้รับการแปลและตีพิมพ์ในต่างประเทศต้องยอมรับว่ายังมีจำนวนไม่มากเมื่อเทียบกับประเทศอื่น ๆ ในโอกาสฉลองครบรอบ 20 ปี… ชวนร่วมคอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา ชม “tattoo colour” ช่วยส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาของนักเรียน tui sakrapeeApril 8, 2025 คอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา tattoo colour สามารถซื้อบัตรเข้าร่วมชมคอนเสิร์ตกันได้ทั้งนักเรียน นักศึกษา บุคลากร และบุคลภายนอก สมาคมผู้ปกครองและครูโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ขอเชิญชวนทุกท่านร่วมงาน “#คอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา” ที่จะมอบความสุข สนุกสนาน และช่วยส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาของนักเรียน 📅 วันอาทิตย์ที่ 4 พฤษภาคม 2568… คณะสถาปัตย์ จุฬาฯ จับมือ PMCU ร่วมจัดหลักสูตรพัฒนาผู้จัดการสินทรัพย์และ นักพัฒนาเมืองรุ่นใหม่ พลิกโฉมพื้นที่สถานีรถไฟ EZ WebmasterApril 8, 2025 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับสำนักงานจัดการทรัพย์สิน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (PMCU) จัดหลักสูตร “พัฒนาผู้บริหารธุรกิจอสังหาริมทรัพย์และการพัฒนาพื้นที่รอบสถานีรถไฟเพื่อสร้างรายได้” เพื่อเพิ่มศักยภาพและประสิทธิภาพของบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการจัดการสินทรัพย์และอสังหาริมทรัพย์ มุ่งเน้นการบริหารพื้นที่โดยรอบสถานีรถไฟเพื่อให้บริการอย่างมีประสิทธิภาพ สร้างศูนย์กลางของชุมชนในด้านเศรษฐกิจและสังคม เพื่อเป็นส่วนสำคัญในการก้าวสู่การเป็นเมืองแห่งอนาคตอย่างยั่งยืน โดย ซียู ดีโฟร์เอส เอ็นเทอร์ไพรส์ เป็นผู้ดำเนินการจัดการหลักสูตรนี้ ผศ. สรายุทธ ทรัพย์สุข คณบดี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์… Search for: Search EZ Webmaster April 8, 2025 EZ Webmaster April 8, 2025 ม.ธรรมศาสตร์ เร่งเพิ่มความเชื่อมั่นภาวะวิกฤตให้คนไทย ระดมผู้เชี่ยวชาญร่วมชี้ข้อเท็จจริง และแนวทางรับมือด้านโครงสร้างอาคาร ความปลอดภัย สุขภาพจิต การรับมือข่าวสาร พร้อมพัฒนาระบบ AI ช่วยคนไทยลดข้อกังวลการฟื้นฟูที่อยู่อาศัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) จัดงานเสวนาวิชาการครั้งพิเศษในหัวข้อ “คู่มือรับมือแผ่นดินไหว : ฉบับประชาชน” เปิดพื้นที่แลกเปลี่ยนองค์ความรู้และเสนอแนวทางการเตรียมความพร้อมให้ประชาชนรับมือกับแผ่นดินไหวหรือภัยพิบัติอื่น ๆ ที่อาจเกิดขึ้น พร้อมสร้างความตระหนักรู้ในสังคมไทย และยกระดับความสามารถของประชาชนในการดูแลตนเอง ครอบครัว และชุมชนในยามวิกฤต ผ่านการถ่ายทอดความรู้จากผู้เชี่ยวชาญด้านวิศวกรรม วิศวกรรมโยธา ซึ่งมีประสบการณ์ลงพื้นที่จริง แชร์วิธีการตรวจสอบรอยร้าวและความเสียหายเบื้องต้นของอาคารที่อยู่อาศัย พร้อมสาธิตเทคฯ AI ที่ช่วยในการประเมินสภาพอาคารผ่านการประมวลผลภาพถ่าย เพื่อให้ประชาชนและวิศวกรรมโยธาสามารถเข้าถึงเครื่องมือประเมินความปลอดภัยได้ง่ายขึ้นในยุคดิจิทัล นอกจากนี้ยังดึงผู้เชี่ยวชาญในวงการแพทย์ จิตวิทยาและการสื่อสารที่มานำเสนอแนวทางในการปฏิบัติสำหรับประชาชนต่อสถานการณ์แผ่นดินไหวทั้งด้านความปลอดภัย สภาพจิตใจ และการรู้เท่าทันข่าวสาร รศ. ดร.ดำรงค์ อดุลยฤทธิกุล รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ ม.ธรรมศาสตร์ กล่าวว่า จากเหตุการณ์แผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2568 ที่ผ่านมา ทำให้ประเทศไทยเห็นชัดแล้วว่าภัยพิบัติกลายเป็นเรื่องใกล้ตัวกว่าที่คิด และยิ่งสะท้อนให้เห็นถึงความจำเป็นในการยกระดับความรู้ ความเข้าใจ และความพร้อมของประชาชนในการรับมือกับภัยธรรมชาติ ซึ่งแม้จะเกิดไม่บ่อยครั้งแต่ก็ส่งผลกระทบในวงกว้าง โดยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เล็งเห็นความสำคัญต่อปัญหาจึงได้จัดงานเสวนาวิชาการพิเศษขึ้น ในหัวข้อ “คู่มือรับมือแผ่นดินไหว ฉบับประชาชน” เพื่อเป็นเวทีแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ และแนะแนวทางการเตรียมพร้อมรับมือภัยพิบัติอย่างรอบด้านจากผู้เชี่ยวชาญในสาขาต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งวิศวกรรมโยธา แพทย์ จิตวิทยา ตลอดจนผู้เชี่ยวชาญด้านการสื่อสารมวลชน ที่ได้ตกผลึกข้อมูลองค์ความรู้ที่เป็นประโยชน์ต่อสาธารณชนและสามารถนำไปปฏิบัติได้จริง ซึ่งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์การบริหาร “การเป็นมหาวิทยาลัยเป็นที่พึ่งของสังคม” รศ. ดร.พรหมพัฒน ธัญสิริชัยศรี ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์ เปิดเผยว่า จากเหตุการณ์ดังกล่าวยังทำให้เกิดการตั้งคำถามเกี่ยวกับด้านโครงสร้างอาคาร ซึ่งการที่ตึกสามารถ “ยืดหยุ่น” และ “โยกตัวได้” ภายใต้แรงสั่นสะเทือนนั้น ถือเป็นหลักการออกแบบที่ดีและเป็นไปตามมาตรฐานสากล โดยเฉพาะในพื้นที่ที่มีความเสี่ยงต่อแผ่นดินไหว โดยอาคารยุคปัจจุบันนิยมใช้โครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก ซึ่งผสมผสานคุณสมบัติของ “ความแข็งแรง” จากคอนกรีต และ “ความเหนียว” จากเหล็กไว้ด้วยกัน ทำให้อาคารสามารถรับแรงสั่นสะเทือนและกระจายแรงได้ดี เทคนิคทางด้านออกแบบของตึกอาคารสูงในยุคนี้จึงออกแบบให้มีความยืดหยุ่นเพื่อกระจายแรงและรับน้ำหนักของตัวเองได้ หากไม่สามารถโยกตัวได้ อาจเสี่ยงต่อการแตกร้าวหรือพังทลายมากขึ้น อย่างไรก็ตาม หากตัวอาคารเกิดการแกว่งตัวมากเกินไปก็อาจเป็นสัญญาณอันตรายที่บ่งชี้ถึงความผิดปกติของโครงสร้าง โดยเฉพาะในกรณีที่โครงสร้างไม่สามารถรับน้ำหนักได้เพียงพอ หรือได้รับความเสียหายจากแรงสั่นสะเทือนก่อนหน้า แม้ในภาวะปกติอาคารจะถูกคำนวณไว้แล้วให้ทนต่อการสั่นไหวระดับหนึ่ง แต่หากเกิดแรงสั่นซ้ำซ้อน เช่น อาฟเตอร์ช็อกต่อเนื่อง หรือตัวอาคารมีความเสียหายที่จุดในโครงสร้างเดิม อาจนำไปสู่ความเสี่ยงในการถล่มของโครงสร้างอาคารได้ รศ. ดร.พรหมพัฒน กล่าวเพิ่มเติมว่า หนึ่งในนวัตกรรมที่น่าจับตามองคือ ระบบตรวจสอบรอยร้าวด้วยภาพถ่าย (Crack Detection) ที่ใช้ AI ด้าน Computer Vision, Photogrammetry, และ large language model ในการวิเคราะห์ภาพถ่ายของอาคารเพื่อประเมินรอยร้าว ความเอียงและความผิดปกติของโครงสร้าง โดยเฉพาะการใช้โดรนเก็บข้อมูลภาพถ่ายรอบตัวอาคาร และสร้างแบบจำลองโมเดลสามมิติ (3D Modeling) ช่วยให้สามารถตรวจพบความเปลี่ยนแปลงที่ตามองไม่เห็น เช่น ความเอียงเพียงเล็กน้อยของอาคาร หรือรอยร้าวที่มีแนวโน้มลุกลาม ซึ่งอาจมีความเสี่ยงต่อโครงสร้างในอนาคต โดยเทคโนโลยีเหล่านี้เปรียบเสมือน “หมอเอกซเรย์อาคาร” ที่ช่วยมองทะลุความเสียหายที่ซ่อนอยู่ เพิ่มความแม่นยำในการวิเคราะห์และประเมิน ช่วยลดความไม่เชื่อมั่นของประชาชนต่อกระบวนการตรวจสอบแบบเดิม ทั้งนี้หากภาครัฐและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถนำเทคฯ เหล่านี้มาใช้ได้อย่างแพร่หลาย รวมทั้งสร้างระบบฐานข้อมูลกลางร่วมกันในการจัดเก็บและติดตามข้อมูลโครงสร้างอาคารอย่างเป็นระบบ ก็จะช่วยยกระดับมาตรฐานความปลอดภัยของอาคารทั่วประเทศได้ในระยะยาว “InSpectra-o1” ต้นแบบแอปพลิเคชันสำหรับประเมินความเสียหายทางโครงสร้างได้จากภาพถ่ายด้วย AI ซึ่งได้รับการพัฒนาโดย รศ. ดร.พรหมพัฒน ธัญสิริชัยศรี ศูนย์วิจัยตรวจสอบโครงสร้างและเฝ้าระวังภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์ โดยยังอยู่ในระหว่างการทดลองใช้งานที่เปิดให้ประชาชนสามารถใช้ได้ เพื่อช่วยตรวจสอบและประเมินรอยร้าว ความเสียหายในเบื้องต้นของที่อยู่อาศัยได้ ถือเป็นอีกหนึ่งตัวช่วยสำคัญที่ถูกพัฒนาเพื่อเป็นศูนย์รวมข้อมูลของอาคารและบ้านเรือน ไม่ว่าจะเป็นแบบแปลน โครงสร้าง หรือประวัติการซ่อมแซม จะช่วยให้วิศวกรเข้าถึงข้อมูลได้รวดเร็ว สามารถตรวจสอบอาคารได้อย่างมีประสิทธิภาพ ลดเวลาและค่าใช้จ่าย อีกทั้งยังใช้เป็นหลักฐานประกอบการประกันภัย ลดข้อโต้แย้งและสร้างความมั่นใจให้กับประชาชน อย่างไรก็ดี แม้เทคโนโลยี AI จะเข้ามามีบทบาทในการช่วยประเมินความเสียหายของอาคารได้อย่างรวดเร็ว แต่การใช้งานยังมีข้อจำกัดด้านข้อมูลที่ไม่เพียงพอ ส่งผลให้ AI สามารถประเมินได้เพียงราว 50-60% เท่านั้น จึงยังต้องอาศัยวิศวกรเข้ามาตรวจสอบเพิ่มเติมในจุดที่ AI ยังไม่ครอบคลุม ทั้งนี้ In Spectra-o1 ถูกออกแบบมาให้ใช้งานง่าย ประชาชนสามารถถ่ายภาพและอัปโหลดได้ทันทีโดยไม่ต้องกรอกข้อมูล ระบบจะเริ่มวิเคราะห์เบื้องต้นโดยอัตโนมัติ หากทุกภาคส่วนร่วมกันสนับสนุนและเพิ่มข้อมูลที่จำเป็นเข้าสู่ระบบอย่างต่อเนื่อง ก็จะช่วยเพิ่มความแม่นยำให้ AI สามารถประเมินได้ครอบคลุมมากขึ้นในอนาคต” ด้าน ผศ. พญ.นิพัทธา วินะยานุวัติคุณ ภาควิชาสาขาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์ กล่าวว่า การเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉิน กลุ่มประชาชนที่อยู่ในภาวะเปราะบาง เช่น ผู้สูงอายุ เด็กเล็ก และผู้พิการ ผู้ป่วยเรื้อรังจำเป็นต้องได้รับการดูแลเป็นลำดับต้น ๆ แต่ในบริบทของประเทศไทยในปัจจุบันยังไม่ปรากฏหน่วยงานกลางที่มีหน้าที่รับผิดชอบโดยตรงในการคุ้มครองและจัดการช่วยเหลือกลุ่มเหล่านี้ในภาวะฉุกเฉิน โดยเฉพาะในช่วงเวลาที่ทุกวินาทีหมายถึงความอยู่รอด ประชาชนส่วนใหญ่ยังขาดองค์ความรู้ ความเข้าใจ และแนวทางที่ชัดเจนในการปฏิบัติตนเมื่อเกิดภัยพิบัติ ขณะที่มาตรการในระดับชาติเพื่อรองรับและดูแลกลุ่มเปราะบางหรือประชาชนทั่วไปก็ยังมีข้อจำกัดทั้งในด้านความครอบคลุมและความชัดเจนในการดำเนินการ อีกด้านหนึ่ง ประชาชนทั่วไปควรได้รับการส่งเสริมให้มีความรู้พื้นฐานในการเอาตัวรอดจากภัยพิบัติต่างๆ พร้อมเข้าใจวิธีการช่วยเหลือกลุ่มเปราะบางอย่างปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ ขณะที่ภาครัฐควรมีบทบาทเชิงรุกมากขึ้นในการเผยแพร่ข้อมูล จัดทำแนวปฏิบัติที่เหมาะสม รวมถึงพัฒนาระบบการเตือนภัยและการช่วยเหลือที่เข้าถึงง่ายและเพียงพอสำหรับทุกกลุ่ม เพราะในยามเกิดภัยพิบัติ ความรอดพ้นของชีวิตคนหนึ่งคน อาจขึ้นอยู่กับความพร้อมของสังคมโดยรวมทั้งหมด นอกจากนี้ แนวทางเบื้องต้นในการดูแลกายและใจก็มีความสำคัญ เช่น การประเมินสุขภาพจิตอย่างต่อเนื่อง การสร้างพื้นที่ปลอดภัยสำหรับพักพิง การจัดหาอาหาร น้ำสะอาด และยารักษาโรคพื้นฐาน การดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะฉุกเฉิน รวมถึงการส่งต่อผู้มีภาวะผิดปกติของร่างกายและจิตใจไปยังหน่วยบริการสุขภาพที่เหมาะสม “แม้จะมีเจ้าหน้าที่ในหน่วยงานต่าง ๆ ที่ผ่านการอบรมการรับมือกับสถานการณ์ฉุกเฉินมาแล้ว แต่การช่วยเหลือผู้เปราะบางมักเริ่มต้นจากคนใกล้ตัว เช่น ครอบครัว เพื่อนบ้าน หรือชุมชนโดยรอบ ดังนั้นจึงมีความจำเป็นเร่งด่วนที่ทั้งภาครัฐและภาคประชาชนต้องร่วมกันเสริมสร้างเครือข่ายความช่วยเหลือในระดับรากฐาน โดยเฉพาะในพื้นที่เสี่ยงภัย เพื่อให้สามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้อย่างรวดเร็วและปลอดภัย ขณะเดียวกัน การเตรียมความพร้อมให้กับกลุ่มเปราะบางเองก็เป็นอีกมิติหนึ่งที่มักถูกละเลย ทั้งที่ควรได้รับการฝึกฝนตั้งแต่ระดับครอบครัว โรงเรียนไปจนถึงมหาวิทยาลัยในรูปแบบที่เข้าใจง่าย สอดคล้องกับสภาพร่างกายหรือข้อจำกัดเฉพาะบุคคล เพื่อให้พวกเขาสามารถปกป้องตนเองในเบื้องต้นได้หากไม่มีผู้ช่วยเหลือในทันที ด้านการฟื้นฟูสภาพจิตใจประชาชนหลังเหตุภัยพิบัติก็ไม่ใช่แค่เรื่องของการให้กำลังใจเพียงชั่วครู่ แต่เป็นการติดตามและดูแลอย่างต่อเนื่อง เพราะจิตใจที่บอบช้ำต้องการเวลาและความเข้าใจในการฟื้นคืน“ ด้าน รศ. ดร.นิธิดา แสงสิงแก้ว สาขาวารสารศาสตร์ คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน ม.ธรรมศาสตร์ กล่าวเสริมว่า ในยุคปัจจุบันที่โซเชียลมีเดียกลายเป็นแหล่งข่าวและข้อมูลหลักของประชาชน การสื่อสารในช่วงสถานการณ์วิกฤตโดยเฉพาะเมื่อเกิดภัยพิบัติ เช่น แผ่นดินไหว หรือไฟป่า มักแพร่กระจายอย่างรวดเร็วและมีพลังในการสร้างความตื่นตระหนกได้ในวงกว้าง ปัญหาสำคัญคือข้อมูลจำนวนมากที่เผยแพร่ในช่วงเหตุการณ์เหล่านี้ อาจยังไม่ผ่านการตรวจสอบหรือขาดแหล่งที่มาอย่างชัดเจน ซึ่งหากประชาชนรับข้อมูลโดยไม่ไตร่ตรอง ก็อาจนำไปสู่ความเข้าใจที่คลาดเคลื่อน การตัดสินใจที่ไม่เหมาะสมหรือตื่นตระหนกเกินจำเป็น การมี “ทักษะในการรู้เท่าทันสื่อ” จึงเป็นเกราะสำคัญที่ประชาชนทุกคนควรมี โดยเฉพาะการตรวจสอบแหล่งที่มาของข่าว เปรียบเทียบกับข้อมูลจากหน่วยงานที่เชื่อถือได้ และหลีกเลี่ยงการแชร์ข้อมูลที่ยังไม่แน่ชัด นอกจากนี้ สิ่งที่น่าเป็นห่วงไม่แพ้กันคือ การที่กลุ่มใดกลุ่มหนึ่งอาจฉวยโอกาสในช่วงสถานการณ์วิกฤตสร้างประเด็นหรือบิดเบือนข้อมูล เพื่อกระตุ้นความรู้สึกของสังคม หรือชี้นำทิศทางความคิดเห็นในเชิงลบ ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของสังคมในวงกว้าง การตระหนักถึงผลกระทบจากการสร้างหรือขยายประเด็นทางสังคมที่ไม่ตั้งอยู่บนข้อเท็จจริง จึงเป็นเรื่องที่ประชาชนควรใส่ใจอย่างยิ่ง เพราะการสื่อสารไม่ใช่เพียงแค่การเสพข่าวเท่านั้น แต่ยังหมายถึง การรู้เท่าทัน บริโภคอย่างมีวิจารณญาณ และเลือกขับเคลื่อนสังคมด้วยข้อมูลที่ถูกต้อง เพื่อร่วมกันสร้างภูมิคุ้มกันข่าวสารที่แข็งแรงในช่วงเวลาแห่งความเปราะบางของสังคมไทย “ประชาชนควรรับฟังข้อมูลจากแหล่งที่เชื่อถือได้ เช่น กรมอุตุนิยมวิทยา หรือศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ พร้อมทั้งเรียนรู้วิธีปฏิบัติตนในสถานการณ์ฉุกเฉิน เช่น การหาจุดปลอดภัยในอาคาร การจัดกระเป๋าฉุกเฉิน และการวางแผนเส้นทางอพยพล่วงหน้า ความเข้าใจพื้นฐานเหล่านี้จะช่วยลดความเสี่ยงและเพิ่มโอกาสในการเอาตัวรอดในกรณีเกิดเหตุการณ์จริง ทั้งนี้ ภาครัฐและภาคประชาชนจำเป็นต้องร่วมมือกันอย่างใกล้ชิด เพื่อสร้างสังคมที่พร้อมเผชิญและรับมือกับแผ่นดินไหวได้อย่างมีประสิทธิภาพและไม่ตื่นตระหนกเกินเหตุ” ท้ายที่สุด แม้ประเทศไทยจะไม่สามารถหลีกเลี่ยงการเกิดภัยพิบัติได้ แต่เราสามารถเตรียมพร้อมรับมือและช่วยกันลดผลกระทบความเสียหายได้อย่างมีประสิทธิภาพ หากทุกภาคส่วนร่วมกันขับเคลื่อนองค์ความรู้และนวัตกรรมไปสู่การปฏิบัติจริง ร่วมกันพัฒนาระบบการป้องกันที่ทันสมัย และเสริมสร้างสังคมที่เข้มแข็ง ยกระดับความปลอดภัยให้กับประชาชนในทุกพื้นที่ เพราะความมั่นคงของชีวิตประชาชนคือรากฐานสำคัญของการพัฒนาอย่างยั่งยืน และเป็นสิ่งที่ทุกภาคส่วนในสังคมไทยควรร่วมมือกันอย่างจริงจังตั้งแต่นี้เป็นต้นไป ทั้งนี้ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เตรียมจัดทำ “คู่มือรับมือแผ่นดินไหว : ฉบับประชาชน” ซึ่งอยู่ระหว่างขั้นตอนการเรียบเรียงและรวบรวมข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญในสาขาต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยมีเป้าหมายเพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงความรู้และแนวปฏิบัติที่เข้าใจง่าย ใช้ได้จริง และเหมาะสมกับบริบทของประเทศไทย โดยเฉพาะในชุมชนเมืองและพื้นที่เสี่ยงภัย คู่มือฉบับนี้จะช่วยยกระดับความพร้อมของคนไทยในการเผชิญเหตุฉุกเฉิน ทั้งในแง่ของการป้องกันตนเอง ดูแลคนรอบข้าง ไปจนถึงการรับมือกับผลกระทบหลังเหตุการณ์ เพื่อให้สังคมไทยสามารถอยู่ร่วมกับภัยพิบัติอย่างไม่ประมาท และมีความมั่นคงปลอดภัยมากยิ่งขึ้นในอนาคตอันใกล้ EZ Webmaster Related Posts มมส สืบสานประเพณีสงกรานต์ ทำบุญตักบาตรเสริมสิริมงคลรับปีใหม่ไทย ทีเค พาร์ค พาเจาะเส้นทางความสำเร็จนักเขียนไทยผู้เจาะตลาดอินเตอร์ พร้อมเปิดทริคอัปเลเวล “นักเขียนมือทอง” หนุนวรรณกรรมไทยไปตีตลาดโลก ชวนร่วมคอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา ชม “tattoo colour” ช่วยส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาของนักเรียน คณะสถาปัตย์ จุฬาฯ จับมือ PMCU ร่วมจัดหลักสูตรพัฒนาผู้จัดการสินทรัพย์และ นักพัฒนาเมืองรุ่นใหม่ พลิกโฉมพื้นที่สถานีรถไฟ “สอศ. – กปภ. ผนึกกำลัง ปั้นช่างประปามืออาชีพ เสริมทักษะ สร้างรายได้ทั่วประเทศ! Post navigation PREVIOUS Previous post: มีทุนการศึกษา!! วิทยาลัยทองสุข เปิดรับครบทุกระดับ ป.ตรี โทและป.เอก พร้อม INTERNATIONAL PROGRAMNEXT Next post: 5 มหาวิทยาลัยเอกชนไทยที่ครองแชมป์วงการกีฬาระดับประเทศ ! Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ยูโอบี ประเทศไทย เสริมสร้างทักษะความรู้การเงินแก่เยาวชนไทย ยกระดับชุมชนผ่านโครงการ UOB Money 101: Teen Edition วัยรุ่นเก่งการเงิน EZ WebmasterApril 18, 2025 ยูโอบี ประเทศไทย มุ่งมั่นเปลี่ยนแปลงอนาคตทางการเงินของเยาวชนไทยยกระดับโครงการ “UOB Money 101: Teen Edition วัยรุ่นเก่งการเงิน” หลักสูตรการเงินออนไลน์ที่เสริมสร้างทักษะและความรู้ทางการเงินที่จำเป็นให้กับนักเรียนที่ขาดโอกาส โดยปีนี้ มุ่งขยายสู่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาอีก 2,200 คนทั่วประเทศ พร้อมต่อยอดสู่โครงการประกวด “Money Coach Junior Contest’ เปิดโอกาสให้นักเรียนในโครงการ UOB Money 101: Teen Edition เขียนแผนให้ความรู้ด้านการเงิน โดยนำเนื้อหาจากหลักสูตรที่ได้เรียน มาพัฒนาและส่งต่อความรู้ให้กับชุมชนและคนรอบตัวอย่างสร้างสรรค์ ความก้าวหน้าโครงการ:… เด็กท่องเที่ยว ม.รังสิต พาไขสูตรลับเที่ยวยังไงให้โลกจำ EZ WebmasterApril 18, 2025 สาขาการจัดการการท่องเที่ยวและการบริการ วิทยาลัยการท่องเที่ยวและอุตสาหกรรมการบริการ มหาวิทยาลัยรังสิต เชิญชวนเข้าร่วมโครงการสัมมนา หัวข้อ “How Travel Influencers Make a Living : เปิดสูตรลับ เปลี่ยนการเที่ยวให้เป็นเงินล้าน” สำหรับผู้ที่ฝันอยากเป็นอินฟลูเอนเซอร์สายท่องเที่ยว ในวันอังคารที่ 22 เมษายน… สลช.เร่งทำหลักสูตรการเอาตัวรอดจาก ”อุบัติเหตุ-อุบัติภัย“ ให้เด็กและเยาวชนได้เรียนรู้ EZ WebmasterApril 18, 2025 ดร.วรัท พฤกษาทวีกุล รองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) ทำหน้าที่เลขาธิการสำนักงานลูกเสือแห่งชาติ (สลช.) เปิดเผยว่า ตามที่ได้เกิดเหตุการณ์แผ่นดินไหวที่รุนแรงขึ้นในประเทศไทยในช่วงเดือน มี.ค.ที่ผ่านมา รวมถึงเกิดเหตุการณ์อุบัติเหตุไฟไหม้รถบัสปรับอากาศทัศนศึกษาของนักเรียน และเหตุการณ์เด็กนักเรียนจมน้ำเสียชีวิตบ่อยครั้งในช่วงปิดเทอมภาคฤดูร้อน ซึ่งอุบัติเหตุ หรืออุบัติภัยที่เกิดขึ้นต่าง ๆ เหล่านี้ พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รมว.ศึกษาธิการ… นักศึกษา ม.รามคำแหง ความสำเร็จสร้างได้ รับนักศึกษาใหม่ ส่วนกลาง-ส่วนภูมิภาคทั่วประเทศ EZ WebmasterApril 19, 2025 การศึกษาแบบตลาดวิชา คือการเลือกเรียนรู้และทดลองสร้างอนาคตใน Sandbox แห่งวิชาการและประสบการณ์ชีวิต อยู่ที่ไหนก็เรียนรามฯได้ เรียนส่วนกลางที่กรุงเทพฯ เรียนส่วนภูมิภาคใกล้บ้านทั้งประเทศ มีคณะและหลักสูตรหลากหลาย เรียนออนไลน์หรือออนไซต์ เลือกเรียนได้ตามใจ เพราะ…ความสำเร็จสร้างได้ ที่ ม.รามคำแหง รับสมัครนักศึกษาใหม่ระดับปริญญาตรี ทั้งส่วนกลาง และส่วนภูมิภาคถึง วันที่ 20… นักศึกษาสาขาภาพยนตร์และสื่อดิจิทัล SPU คว้าแชมป์ระดับประเทศ โครงการ Nissan e-POWER Challenge 2024 EZ WebmasterApril 18, 2025 ทีม Teraphy Film นักศึกษาจากสาขาภาพยนตร์และสื่อดิจิทัล คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม ได้แก่ จิรชัย จันทร์ศรี , พรพิพัฒน์ เรืองรัตนพงศ์ ,เรวัตร เทยจันทร์ทึก และพัสกร นาคจันทร์ ภายใต้การดูแลและให้คำปรึกษาโดย อาจารย์ธีระพันธ์… จาก “เด็กเสิร์ฟ” สู่ “บัณฑิต” เปลี่ยนชีวิตด้วยการขับแกร็บ EZ WebmasterApril 18, 2025 เพราะต้นทุนชีวิตของคนเราไม่เท่ากัน ทำให้หลายคนอาจต้องใช้ความพยายามมากกว่าคนอื่นเป็นเท่าตัว เพื่อพาตัวเองก้าวสู่ความสำเร็จ เหมือนเช่น “น้องกิ่ง” กัญญารัตน์ สีแดงน้อย สาวน้อยวัย 25 ปี ที่เคยต้องหยุดเรียนกลางคันเพราะปัญหาทางด้านการเงิน ชีวิตเคยมืดมนจนมองไม่เห็นอนาคต แต่แล้วก็ได้รู้จักกับ “แกร็บ” ที่เข้ามาเป็นแสงสว่างให้เธอมีรายได้เลี้ยงชีพ และเป็น “สะพาน” ที่พาเธอกลับเข้าสู่เส้นทางการศึกษา จนจบชั้นอนุปริญญาได้สำเร็จ เมื่อความฝันต้องพักไว้ เพื่อความอยู่รอดของครอบครัว “น้องกิ่ง” ชาวอำเภอน้ำปาด… เด็กท่องเที่ยว ม.รังสิต พาไขสูตรลับเที่ยวยังไงให้โลกจำ EZ WebmasterApril 18, 2025 สาขาการจัดการการท่องเที่ยวและการบริการ วิทยาลัยการท่องเที่ยวและอุตสาหกรรมการบริการ มหาวิทยาลัยรังสิต เชิญชวนเข้าร่วมโครงการสัมมนา หัวข้อ “How Travel Influencers Make a Living : เปิดสูตรลับ เปลี่ยนการเที่ยวให้เป็นเงินล้าน” สำหรับผู้ที่ฝันอยากเป็นอินฟลูเอนเซอร์สายท่องเที่ยว ในวันอังคารที่ 22 เมษายน… ทุนดีดี Xiamenให้ทุนป.ตรีต่างชาติ InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศApril 18, 2025 Xiamen University ได้จัดทุนการศึกษาระดับปริญญาตรี สำหรับปีการศึกษา 2025-2026 ให้กับนักศึกษาต่างชาติ โดยผู้สมัครจะต้องเป็นพลเมืองที่ไม่ใช่ชาวจีน มีสุขภาพดีและมีอายุไม่เกิน 30 ปี ณ วันที่ 1 กันยายน 2025 และต้องสำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ผู้สมัครจะต้องสำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายโดยมีผลการเรียนที่ดี และได้รับคำแนะนำจากสถาบันขงจื๊อที่มหาวิทยาลัยเซียเหมินร่วมสร้างหรือมหาวิทยาลัยพันธมิตรแห่งหนึ่ง… ทุนที่EPFLสวิตเซอร์แลนด์ InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศApril 17, 2025 École Polytechnique Fédérale de Lausanne (EPFL) ในสวิตเซอร์แลนด์ แจ้งให้ทุน EPFL Social Scholarshipsกับนักเรียนต่างชาติที่เรียนจบปีแรกไปแล้วหรืออยู่ในโปรแกรม CMS สามารถสมัครรับความช่วยเหลือทางการเงินฉุกเฉินนี้ นักศึกษาต่างชาติจะมีสิทธิ์หลังจากเรียนจบปีแรกที่ EPFL ส่วนพลเมืองสวิส ผู้ถือใบอนุญาต C… ทุน Be the Difference InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศApril 16, 2025 University of Stirling ในสหราชอาณาจักร แจ้งให้ทุน Be the Difference Postgraduate International Scholarships โดยเป็นทุนยกเว้นค่าเล่าเรียน 7,000 ปอนด์(เฉพาะปีแรก) จำนวน 100 ทุน ให้กับนักศึกษาต่างชาติใหม่ที่… ทุนสำหรับไทยกับเวียดนาม InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศApril 15, 2025 Univeristy of Bradford มอบทุนการศึกษาอันทรงเกียรตินี้ร่วมกับ British Council และ GREAT Britain campaign เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาปริญญาโทที่เก่งที่สุดและฉลาดที่สุดจากประเทศไทยและเวียดนามมาเรียนที่มหาวิทยาลัยแบรดฟอร์ด หลักสูตรเต็มเวลานี้เริ่มในเดือนกันยายน2025 โดยเดทไลน์สมัครขอทุน 30 เม.ย.2025 คุณสมบัติผู้สมัคร เป็นพลเมืองของประเทศไทยและเวียดนามที่มีถิ่นฐานอยู่ในประเทศของตน ต้องอาศัยอยู่ในต่างประเทศและไม่ใช่พลเมืองของสหภาพยุโรป… ครู-อาจารย์ มูลนิธิเอสซีจี จับมือ อินสครู เปิดโลกกว้างให้คุณครู ได้เรียนรู้และเข้าใจทักษะอาชีพใหม่ๆ ในโลกปัจจุบัน EZ WebmasterApril 18, 2025 มูลนิธิเอสซีจี ร่วมกับ บริษัท อินสครู จำกัด จัดกิจกรรม Human Library by มูลนิธิเอสซีจี ภายในงาน “insKru Festival 2025 มหกรรมไอเดียการสอน ตอน Keep ครู Stay ครู เป็นตัวเองในวันที่ฉันเป็นครู” งานดี ๆ สำหรับคุณครู คนที่อยากเป็นคุณครู และคนทั่วไปที่สนใจเรื่องราวในแวดวงการศึกษา ที่จะสร้างแรงบันดาลใจในการเลือกสร้างสรรค์การเรียนรู้ในแบบของตัวเอง สำหรับกิจกรรม Human Library นี้… มทร.ธัญบุรี คว้า 7 รางวัลนวัตกรรมระดับโลก เวทีสิ่งประดิษฐ์ Geneva 2025 นครเจนีวา สวิสเซอร์แลนด์ tui sakrapeeApril 17, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อเสียงระดับนานาชาติอย่างต่อเนื่อง คว้า 7 รางวัลจากเวทีประกวดนวัตกรรมระดับโลก The 50th International Exhibition of Inventions Geneva 2025 ที่จัดขึ้นที่นครเจนีวา สมาพันธรัฐสวิส โดยมีผลงานกว่า 1,000… มจธ. ฟื้นฟูผู้ป่วยกล้ามเนื้ออ่อนแรงด้วย “หุ่นยนต์ + AI + เกม” ความหวังใหม่ในยุคสังคมสูงวัย EZ WebmasterApril 17, 2025 ทีมนักวิจัย มจธ. พัฒนาหุ่นยนต์ต้นแบบช่วยกายภาพบำบัดผู้ป่วยกล้ามเนื้ออ่อนแรง โดยผสานเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์และเกมเข้าไว้ด้วยกัน ช่วยให้การฟื้นฟูร่างกายแม่นยำ สนุก และมีประสิทธิภาพมากขึ้น ประเทศไทยกำลังก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์ โดยข้อมูลจากสำนักงานสถิติแห่งชาติและหน่วยงานด้านประชากรศาสตร์คาดการณ์ว่า ภายในปี 2583 ประเทศไทยจะมีผู้สูงอายุคิดเป็นสัดส่วนมากกว่า 32% ของประชากรทั้งหมด หรือประมาณ 20 ล้านคน ซึ่งนำมาสู่การเพิ่มขึ้นของโรคเรื้อรังและภาวะเสื่อมของระบบต่าง ๆ ในร่างกาย โดยเฉพาะโรคที่เกี่ยวกับการทำงานของระบบประสาทและกล้ามเนื้อ เช่น… มทร.ธัญบุรี สร้างสรรค์ “คลีนบิวตี้” นวัตกรรมชะลอวัย จากอะโวคาโด tui sakrapeeApril 11, 2025 มทร.ธัญบุรี สร้างสรรค์ “คลีนบิวตี้” นวัตกรรมชะลอวัย จากอะโวคาโด ใส่ใจสิ่งแวดล้อม จุดประกายผู้ประกอบการ จากอะโวคาโดเหลือทิ้ง สู่ครีมบำรุงผิวหน้าสุดล้ำ ฝีมือนักวิจัย มทร.ธัญบุรี ผสานนาโนเทคโนโลยี พัฒนา “Anti-Aging Facial Cleansing Hydrogel และ Anti-Aging Nanoemulgel” ต้านริ้วรอยอย่างมีประสิทธิภาพ ปลอดภัย ตามแนวคิดคลีนบิวตี้ และพร้อมถ่ายทอดองค์ความรู้สู่ชุมชน… กิจกรรม มมส สืบสานประเพณีสงกรานต์ ทำบุญตักบาตรเสริมสิริมงคลรับปีใหม่ไทย EZ WebmasterApril 17, 2025 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (มมส) จัดงานสืบสานประเพณีสงกรานต์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ประจำปี 2568 โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.ประยุกต์ ศรีวิไล อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เป็นประธานในพิธี พร้อมด้วยผู้บริหาร คณาจารย์ บุคลากร และนิสิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เข้าร่วมงาน ณ… ทีเค พาร์ค พาเจาะเส้นทางความสำเร็จนักเขียนไทยผู้เจาะตลาดอินเตอร์ พร้อมเปิดทริคอัปเลเวล “นักเขียนมือทอง” หนุนวรรณกรรมไทยไปตีตลาดโลก EZ WebmasterApril 17, 2025 “นักเขียนไทย สู้ต่างชาติได้จริงไหม?” เป็นคำถามที่หลายคนอาจสงสัย ทั้งที่นักเขียนไทยหลายคน ก็มีฝีมือไม่แพ้ใคร แต่ทำไมยังไม่ค่อยเห็นวรรณกรรมไทยไปไกลถึงตลาดโลก ในขณะที่หลายประเทศมีวรรณกรรมเป็นซอฟต์พาวเวอร์และเป็นสินค้าส่งออก เช่น เกาหลีใต้ที่ผลักดัน Webtoon และนิยายออนไลน์สู่ K-Drama และ K-Series ญี่ปุ่นที่เปลี่ยนมังงะและไลต์โนเวล (Light Novel) ให้กลายเป็นสินค้าส่งออกสำคัญของประเทศ เช่นเดียวกับจีนที่ส่งออกวรรณกรรมออนไลน์โกยรายได้มหาศาลจากทั่วโลก และถึงแม้ว่าในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา อุตสาหกรรมคอนเทนต์ไทยจะคึกคักขึ้นอย่างมากโดยเฉพาะจากกระแสนิยายวายที่ถูกนำไปสร้างเป็นซีรีส์โด่งดังไปทั่วโลก แต่วรรณกรรมไทยที่ได้รับการแปลและตีพิมพ์ในต่างประเทศต้องยอมรับว่ายังมีจำนวนไม่มากเมื่อเทียบกับประเทศอื่น ๆ ในโอกาสฉลองครบรอบ 20 ปี… ชวนร่วมคอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา ชม “tattoo colour” ช่วยส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาของนักเรียน tui sakrapeeApril 8, 2025 คอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา tattoo colour สามารถซื้อบัตรเข้าร่วมชมคอนเสิร์ตกันได้ทั้งนักเรียน นักศึกษา บุคลากร และบุคลภายนอก สมาคมผู้ปกครองและครูโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ขอเชิญชวนทุกท่านร่วมงาน “#คอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา” ที่จะมอบความสุข สนุกสนาน และช่วยส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาของนักเรียน 📅 วันอาทิตย์ที่ 4 พฤษภาคม 2568… คณะสถาปัตย์ จุฬาฯ จับมือ PMCU ร่วมจัดหลักสูตรพัฒนาผู้จัดการสินทรัพย์และ นักพัฒนาเมืองรุ่นใหม่ พลิกโฉมพื้นที่สถานีรถไฟ EZ WebmasterApril 8, 2025 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับสำนักงานจัดการทรัพย์สิน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (PMCU) จัดหลักสูตร “พัฒนาผู้บริหารธุรกิจอสังหาริมทรัพย์และการพัฒนาพื้นที่รอบสถานีรถไฟเพื่อสร้างรายได้” เพื่อเพิ่มศักยภาพและประสิทธิภาพของบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการจัดการสินทรัพย์และอสังหาริมทรัพย์ มุ่งเน้นการบริหารพื้นที่โดยรอบสถานีรถไฟเพื่อให้บริการอย่างมีประสิทธิภาพ สร้างศูนย์กลางของชุมชนในด้านเศรษฐกิจและสังคม เพื่อเป็นส่วนสำคัญในการก้าวสู่การเป็นเมืองแห่งอนาคตอย่างยั่งยืน โดย ซียู ดีโฟร์เอส เอ็นเทอร์ไพรส์ เป็นผู้ดำเนินการจัดการหลักสูตรนี้ ผศ. สรายุทธ ทรัพย์สุข คณบดี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์… Search for: Search EZ Webmaster April 8, 2025 EZ Webmaster April 8, 2025 ม.ธรรมศาสตร์ เร่งเพิ่มความเชื่อมั่นภาวะวิกฤตให้คนไทย ระดมผู้เชี่ยวชาญร่วมชี้ข้อเท็จจริง และแนวทางรับมือด้านโครงสร้างอาคาร ความปลอดภัย สุขภาพจิต การรับมือข่าวสาร พร้อมพัฒนาระบบ AI ช่วยคนไทยลดข้อกังวลการฟื้นฟูที่อยู่อาศัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) จัดงานเสวนาวิชาการครั้งพิเศษในหัวข้อ “คู่มือรับมือแผ่นดินไหว : ฉบับประชาชน” เปิดพื้นที่แลกเปลี่ยนองค์ความรู้และเสนอแนวทางการเตรียมความพร้อมให้ประชาชนรับมือกับแผ่นดินไหวหรือภัยพิบัติอื่น ๆ ที่อาจเกิดขึ้น พร้อมสร้างความตระหนักรู้ในสังคมไทย และยกระดับความสามารถของประชาชนในการดูแลตนเอง ครอบครัว และชุมชนในยามวิกฤต ผ่านการถ่ายทอดความรู้จากผู้เชี่ยวชาญด้านวิศวกรรม วิศวกรรมโยธา ซึ่งมีประสบการณ์ลงพื้นที่จริง แชร์วิธีการตรวจสอบรอยร้าวและความเสียหายเบื้องต้นของอาคารที่อยู่อาศัย พร้อมสาธิตเทคฯ AI ที่ช่วยในการประเมินสภาพอาคารผ่านการประมวลผลภาพถ่าย เพื่อให้ประชาชนและวิศวกรรมโยธาสามารถเข้าถึงเครื่องมือประเมินความปลอดภัยได้ง่ายขึ้นในยุคดิจิทัล นอกจากนี้ยังดึงผู้เชี่ยวชาญในวงการแพทย์ จิตวิทยาและการสื่อสารที่มานำเสนอแนวทางในการปฏิบัติสำหรับประชาชนต่อสถานการณ์แผ่นดินไหวทั้งด้านความปลอดภัย สภาพจิตใจ และการรู้เท่าทันข่าวสาร รศ. ดร.ดำรงค์ อดุลยฤทธิกุล รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ ม.ธรรมศาสตร์ กล่าวว่า จากเหตุการณ์แผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2568 ที่ผ่านมา ทำให้ประเทศไทยเห็นชัดแล้วว่าภัยพิบัติกลายเป็นเรื่องใกล้ตัวกว่าที่คิด และยิ่งสะท้อนให้เห็นถึงความจำเป็นในการยกระดับความรู้ ความเข้าใจ และความพร้อมของประชาชนในการรับมือกับภัยธรรมชาติ ซึ่งแม้จะเกิดไม่บ่อยครั้งแต่ก็ส่งผลกระทบในวงกว้าง โดยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เล็งเห็นความสำคัญต่อปัญหาจึงได้จัดงานเสวนาวิชาการพิเศษขึ้น ในหัวข้อ “คู่มือรับมือแผ่นดินไหว ฉบับประชาชน” เพื่อเป็นเวทีแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ และแนะแนวทางการเตรียมพร้อมรับมือภัยพิบัติอย่างรอบด้านจากผู้เชี่ยวชาญในสาขาต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งวิศวกรรมโยธา แพทย์ จิตวิทยา ตลอดจนผู้เชี่ยวชาญด้านการสื่อสารมวลชน ที่ได้ตกผลึกข้อมูลองค์ความรู้ที่เป็นประโยชน์ต่อสาธารณชนและสามารถนำไปปฏิบัติได้จริง ซึ่งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์การบริหาร “การเป็นมหาวิทยาลัยเป็นที่พึ่งของสังคม” รศ. ดร.พรหมพัฒน ธัญสิริชัยศรี ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์ เปิดเผยว่า จากเหตุการณ์ดังกล่าวยังทำให้เกิดการตั้งคำถามเกี่ยวกับด้านโครงสร้างอาคาร ซึ่งการที่ตึกสามารถ “ยืดหยุ่น” และ “โยกตัวได้” ภายใต้แรงสั่นสะเทือนนั้น ถือเป็นหลักการออกแบบที่ดีและเป็นไปตามมาตรฐานสากล โดยเฉพาะในพื้นที่ที่มีความเสี่ยงต่อแผ่นดินไหว โดยอาคารยุคปัจจุบันนิยมใช้โครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก ซึ่งผสมผสานคุณสมบัติของ “ความแข็งแรง” จากคอนกรีต และ “ความเหนียว” จากเหล็กไว้ด้วยกัน ทำให้อาคารสามารถรับแรงสั่นสะเทือนและกระจายแรงได้ดี เทคนิคทางด้านออกแบบของตึกอาคารสูงในยุคนี้จึงออกแบบให้มีความยืดหยุ่นเพื่อกระจายแรงและรับน้ำหนักของตัวเองได้ หากไม่สามารถโยกตัวได้ อาจเสี่ยงต่อการแตกร้าวหรือพังทลายมากขึ้น อย่างไรก็ตาม หากตัวอาคารเกิดการแกว่งตัวมากเกินไปก็อาจเป็นสัญญาณอันตรายที่บ่งชี้ถึงความผิดปกติของโครงสร้าง โดยเฉพาะในกรณีที่โครงสร้างไม่สามารถรับน้ำหนักได้เพียงพอ หรือได้รับความเสียหายจากแรงสั่นสะเทือนก่อนหน้า แม้ในภาวะปกติอาคารจะถูกคำนวณไว้แล้วให้ทนต่อการสั่นไหวระดับหนึ่ง แต่หากเกิดแรงสั่นซ้ำซ้อน เช่น อาฟเตอร์ช็อกต่อเนื่อง หรือตัวอาคารมีความเสียหายที่จุดในโครงสร้างเดิม อาจนำไปสู่ความเสี่ยงในการถล่มของโครงสร้างอาคารได้ รศ. ดร.พรหมพัฒน กล่าวเพิ่มเติมว่า หนึ่งในนวัตกรรมที่น่าจับตามองคือ ระบบตรวจสอบรอยร้าวด้วยภาพถ่าย (Crack Detection) ที่ใช้ AI ด้าน Computer Vision, Photogrammetry, และ large language model ในการวิเคราะห์ภาพถ่ายของอาคารเพื่อประเมินรอยร้าว ความเอียงและความผิดปกติของโครงสร้าง โดยเฉพาะการใช้โดรนเก็บข้อมูลภาพถ่ายรอบตัวอาคาร และสร้างแบบจำลองโมเดลสามมิติ (3D Modeling) ช่วยให้สามารถตรวจพบความเปลี่ยนแปลงที่ตามองไม่เห็น เช่น ความเอียงเพียงเล็กน้อยของอาคาร หรือรอยร้าวที่มีแนวโน้มลุกลาม ซึ่งอาจมีความเสี่ยงต่อโครงสร้างในอนาคต โดยเทคโนโลยีเหล่านี้เปรียบเสมือน “หมอเอกซเรย์อาคาร” ที่ช่วยมองทะลุความเสียหายที่ซ่อนอยู่ เพิ่มความแม่นยำในการวิเคราะห์และประเมิน ช่วยลดความไม่เชื่อมั่นของประชาชนต่อกระบวนการตรวจสอบแบบเดิม ทั้งนี้หากภาครัฐและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถนำเทคฯ เหล่านี้มาใช้ได้อย่างแพร่หลาย รวมทั้งสร้างระบบฐานข้อมูลกลางร่วมกันในการจัดเก็บและติดตามข้อมูลโครงสร้างอาคารอย่างเป็นระบบ ก็จะช่วยยกระดับมาตรฐานความปลอดภัยของอาคารทั่วประเทศได้ในระยะยาว “InSpectra-o1” ต้นแบบแอปพลิเคชันสำหรับประเมินความเสียหายทางโครงสร้างได้จากภาพถ่ายด้วย AI ซึ่งได้รับการพัฒนาโดย รศ. ดร.พรหมพัฒน ธัญสิริชัยศรี ศูนย์วิจัยตรวจสอบโครงสร้างและเฝ้าระวังภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์ โดยยังอยู่ในระหว่างการทดลองใช้งานที่เปิดให้ประชาชนสามารถใช้ได้ เพื่อช่วยตรวจสอบและประเมินรอยร้าว ความเสียหายในเบื้องต้นของที่อยู่อาศัยได้ ถือเป็นอีกหนึ่งตัวช่วยสำคัญที่ถูกพัฒนาเพื่อเป็นศูนย์รวมข้อมูลของอาคารและบ้านเรือน ไม่ว่าจะเป็นแบบแปลน โครงสร้าง หรือประวัติการซ่อมแซม จะช่วยให้วิศวกรเข้าถึงข้อมูลได้รวดเร็ว สามารถตรวจสอบอาคารได้อย่างมีประสิทธิภาพ ลดเวลาและค่าใช้จ่าย อีกทั้งยังใช้เป็นหลักฐานประกอบการประกันภัย ลดข้อโต้แย้งและสร้างความมั่นใจให้กับประชาชน อย่างไรก็ดี แม้เทคโนโลยี AI จะเข้ามามีบทบาทในการช่วยประเมินความเสียหายของอาคารได้อย่างรวดเร็ว แต่การใช้งานยังมีข้อจำกัดด้านข้อมูลที่ไม่เพียงพอ ส่งผลให้ AI สามารถประเมินได้เพียงราว 50-60% เท่านั้น จึงยังต้องอาศัยวิศวกรเข้ามาตรวจสอบเพิ่มเติมในจุดที่ AI ยังไม่ครอบคลุม ทั้งนี้ In Spectra-o1 ถูกออกแบบมาให้ใช้งานง่าย ประชาชนสามารถถ่ายภาพและอัปโหลดได้ทันทีโดยไม่ต้องกรอกข้อมูล ระบบจะเริ่มวิเคราะห์เบื้องต้นโดยอัตโนมัติ หากทุกภาคส่วนร่วมกันสนับสนุนและเพิ่มข้อมูลที่จำเป็นเข้าสู่ระบบอย่างต่อเนื่อง ก็จะช่วยเพิ่มความแม่นยำให้ AI สามารถประเมินได้ครอบคลุมมากขึ้นในอนาคต” ด้าน ผศ. พญ.นิพัทธา วินะยานุวัติคุณ ภาควิชาสาขาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์ กล่าวว่า การเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉิน กลุ่มประชาชนที่อยู่ในภาวะเปราะบาง เช่น ผู้สูงอายุ เด็กเล็ก และผู้พิการ ผู้ป่วยเรื้อรังจำเป็นต้องได้รับการดูแลเป็นลำดับต้น ๆ แต่ในบริบทของประเทศไทยในปัจจุบันยังไม่ปรากฏหน่วยงานกลางที่มีหน้าที่รับผิดชอบโดยตรงในการคุ้มครองและจัดการช่วยเหลือกลุ่มเหล่านี้ในภาวะฉุกเฉิน โดยเฉพาะในช่วงเวลาที่ทุกวินาทีหมายถึงความอยู่รอด ประชาชนส่วนใหญ่ยังขาดองค์ความรู้ ความเข้าใจ และแนวทางที่ชัดเจนในการปฏิบัติตนเมื่อเกิดภัยพิบัติ ขณะที่มาตรการในระดับชาติเพื่อรองรับและดูแลกลุ่มเปราะบางหรือประชาชนทั่วไปก็ยังมีข้อจำกัดทั้งในด้านความครอบคลุมและความชัดเจนในการดำเนินการ อีกด้านหนึ่ง ประชาชนทั่วไปควรได้รับการส่งเสริมให้มีความรู้พื้นฐานในการเอาตัวรอดจากภัยพิบัติต่างๆ พร้อมเข้าใจวิธีการช่วยเหลือกลุ่มเปราะบางอย่างปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ ขณะที่ภาครัฐควรมีบทบาทเชิงรุกมากขึ้นในการเผยแพร่ข้อมูล จัดทำแนวปฏิบัติที่เหมาะสม รวมถึงพัฒนาระบบการเตือนภัยและการช่วยเหลือที่เข้าถึงง่ายและเพียงพอสำหรับทุกกลุ่ม เพราะในยามเกิดภัยพิบัติ ความรอดพ้นของชีวิตคนหนึ่งคน อาจขึ้นอยู่กับความพร้อมของสังคมโดยรวมทั้งหมด นอกจากนี้ แนวทางเบื้องต้นในการดูแลกายและใจก็มีความสำคัญ เช่น การประเมินสุขภาพจิตอย่างต่อเนื่อง การสร้างพื้นที่ปลอดภัยสำหรับพักพิง การจัดหาอาหาร น้ำสะอาด และยารักษาโรคพื้นฐาน การดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะฉุกเฉิน รวมถึงการส่งต่อผู้มีภาวะผิดปกติของร่างกายและจิตใจไปยังหน่วยบริการสุขภาพที่เหมาะสม “แม้จะมีเจ้าหน้าที่ในหน่วยงานต่าง ๆ ที่ผ่านการอบรมการรับมือกับสถานการณ์ฉุกเฉินมาแล้ว แต่การช่วยเหลือผู้เปราะบางมักเริ่มต้นจากคนใกล้ตัว เช่น ครอบครัว เพื่อนบ้าน หรือชุมชนโดยรอบ ดังนั้นจึงมีความจำเป็นเร่งด่วนที่ทั้งภาครัฐและภาคประชาชนต้องร่วมกันเสริมสร้างเครือข่ายความช่วยเหลือในระดับรากฐาน โดยเฉพาะในพื้นที่เสี่ยงภัย เพื่อให้สามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้อย่างรวดเร็วและปลอดภัย ขณะเดียวกัน การเตรียมความพร้อมให้กับกลุ่มเปราะบางเองก็เป็นอีกมิติหนึ่งที่มักถูกละเลย ทั้งที่ควรได้รับการฝึกฝนตั้งแต่ระดับครอบครัว โรงเรียนไปจนถึงมหาวิทยาลัยในรูปแบบที่เข้าใจง่าย สอดคล้องกับสภาพร่างกายหรือข้อจำกัดเฉพาะบุคคล เพื่อให้พวกเขาสามารถปกป้องตนเองในเบื้องต้นได้หากไม่มีผู้ช่วยเหลือในทันที ด้านการฟื้นฟูสภาพจิตใจประชาชนหลังเหตุภัยพิบัติก็ไม่ใช่แค่เรื่องของการให้กำลังใจเพียงชั่วครู่ แต่เป็นการติดตามและดูแลอย่างต่อเนื่อง เพราะจิตใจที่บอบช้ำต้องการเวลาและความเข้าใจในการฟื้นคืน“ ด้าน รศ. ดร.นิธิดา แสงสิงแก้ว สาขาวารสารศาสตร์ คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน ม.ธรรมศาสตร์ กล่าวเสริมว่า ในยุคปัจจุบันที่โซเชียลมีเดียกลายเป็นแหล่งข่าวและข้อมูลหลักของประชาชน การสื่อสารในช่วงสถานการณ์วิกฤตโดยเฉพาะเมื่อเกิดภัยพิบัติ เช่น แผ่นดินไหว หรือไฟป่า มักแพร่กระจายอย่างรวดเร็วและมีพลังในการสร้างความตื่นตระหนกได้ในวงกว้าง ปัญหาสำคัญคือข้อมูลจำนวนมากที่เผยแพร่ในช่วงเหตุการณ์เหล่านี้ อาจยังไม่ผ่านการตรวจสอบหรือขาดแหล่งที่มาอย่างชัดเจน ซึ่งหากประชาชนรับข้อมูลโดยไม่ไตร่ตรอง ก็อาจนำไปสู่ความเข้าใจที่คลาดเคลื่อน การตัดสินใจที่ไม่เหมาะสมหรือตื่นตระหนกเกินจำเป็น การมี “ทักษะในการรู้เท่าทันสื่อ” จึงเป็นเกราะสำคัญที่ประชาชนทุกคนควรมี โดยเฉพาะการตรวจสอบแหล่งที่มาของข่าว เปรียบเทียบกับข้อมูลจากหน่วยงานที่เชื่อถือได้ และหลีกเลี่ยงการแชร์ข้อมูลที่ยังไม่แน่ชัด นอกจากนี้ สิ่งที่น่าเป็นห่วงไม่แพ้กันคือ การที่กลุ่มใดกลุ่มหนึ่งอาจฉวยโอกาสในช่วงสถานการณ์วิกฤตสร้างประเด็นหรือบิดเบือนข้อมูล เพื่อกระตุ้นความรู้สึกของสังคม หรือชี้นำทิศทางความคิดเห็นในเชิงลบ ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของสังคมในวงกว้าง การตระหนักถึงผลกระทบจากการสร้างหรือขยายประเด็นทางสังคมที่ไม่ตั้งอยู่บนข้อเท็จจริง จึงเป็นเรื่องที่ประชาชนควรใส่ใจอย่างยิ่ง เพราะการสื่อสารไม่ใช่เพียงแค่การเสพข่าวเท่านั้น แต่ยังหมายถึง การรู้เท่าทัน บริโภคอย่างมีวิจารณญาณ และเลือกขับเคลื่อนสังคมด้วยข้อมูลที่ถูกต้อง เพื่อร่วมกันสร้างภูมิคุ้มกันข่าวสารที่แข็งแรงในช่วงเวลาแห่งความเปราะบางของสังคมไทย “ประชาชนควรรับฟังข้อมูลจากแหล่งที่เชื่อถือได้ เช่น กรมอุตุนิยมวิทยา หรือศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ พร้อมทั้งเรียนรู้วิธีปฏิบัติตนในสถานการณ์ฉุกเฉิน เช่น การหาจุดปลอดภัยในอาคาร การจัดกระเป๋าฉุกเฉิน และการวางแผนเส้นทางอพยพล่วงหน้า ความเข้าใจพื้นฐานเหล่านี้จะช่วยลดความเสี่ยงและเพิ่มโอกาสในการเอาตัวรอดในกรณีเกิดเหตุการณ์จริง ทั้งนี้ ภาครัฐและภาคประชาชนจำเป็นต้องร่วมมือกันอย่างใกล้ชิด เพื่อสร้างสังคมที่พร้อมเผชิญและรับมือกับแผ่นดินไหวได้อย่างมีประสิทธิภาพและไม่ตื่นตระหนกเกินเหตุ” ท้ายที่สุด แม้ประเทศไทยจะไม่สามารถหลีกเลี่ยงการเกิดภัยพิบัติได้ แต่เราสามารถเตรียมพร้อมรับมือและช่วยกันลดผลกระทบความเสียหายได้อย่างมีประสิทธิภาพ หากทุกภาคส่วนร่วมกันขับเคลื่อนองค์ความรู้และนวัตกรรมไปสู่การปฏิบัติจริง ร่วมกันพัฒนาระบบการป้องกันที่ทันสมัย และเสริมสร้างสังคมที่เข้มแข็ง ยกระดับความปลอดภัยให้กับประชาชนในทุกพื้นที่ เพราะความมั่นคงของชีวิตประชาชนคือรากฐานสำคัญของการพัฒนาอย่างยั่งยืน และเป็นสิ่งที่ทุกภาคส่วนในสังคมไทยควรร่วมมือกันอย่างจริงจังตั้งแต่นี้เป็นต้นไป ทั้งนี้ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เตรียมจัดทำ “คู่มือรับมือแผ่นดินไหว : ฉบับประชาชน” ซึ่งอยู่ระหว่างขั้นตอนการเรียบเรียงและรวบรวมข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญในสาขาต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยมีเป้าหมายเพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงความรู้และแนวปฏิบัติที่เข้าใจง่าย ใช้ได้จริง และเหมาะสมกับบริบทของประเทศไทย โดยเฉพาะในชุมชนเมืองและพื้นที่เสี่ยงภัย คู่มือฉบับนี้จะช่วยยกระดับความพร้อมของคนไทยในการเผชิญเหตุฉุกเฉิน ทั้งในแง่ของการป้องกันตนเอง ดูแลคนรอบข้าง ไปจนถึงการรับมือกับผลกระทบหลังเหตุการณ์ เพื่อให้สังคมไทยสามารถอยู่ร่วมกับภัยพิบัติอย่างไม่ประมาท และมีความมั่นคงปลอดภัยมากยิ่งขึ้นในอนาคตอันใกล้ EZ Webmaster Related Posts มมส สืบสานประเพณีสงกรานต์ ทำบุญตักบาตรเสริมสิริมงคลรับปีใหม่ไทย ทีเค พาร์ค พาเจาะเส้นทางความสำเร็จนักเขียนไทยผู้เจาะตลาดอินเตอร์ พร้อมเปิดทริคอัปเลเวล “นักเขียนมือทอง” หนุนวรรณกรรมไทยไปตีตลาดโลก ชวนร่วมคอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา ชม “tattoo colour” ช่วยส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาของนักเรียน คณะสถาปัตย์ จุฬาฯ จับมือ PMCU ร่วมจัดหลักสูตรพัฒนาผู้จัดการสินทรัพย์และ นักพัฒนาเมืองรุ่นใหม่ พลิกโฉมพื้นที่สถานีรถไฟ “สอศ. – กปภ. ผนึกกำลัง ปั้นช่างประปามืออาชีพ เสริมทักษะ สร้างรายได้ทั่วประเทศ! Post navigation PREVIOUS Previous post: มีทุนการศึกษา!! วิทยาลัยทองสุข เปิดรับครบทุกระดับ ป.ตรี โทและป.เอก พร้อม INTERNATIONAL PROGRAMNEXT Next post: 5 มหาวิทยาลัยเอกชนไทยที่ครองแชมป์วงการกีฬาระดับประเทศ ! Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เด็กท่องเที่ยว ม.รังสิต พาไขสูตรลับเที่ยวยังไงให้โลกจำ EZ WebmasterApril 18, 2025 สาขาการจัดการการท่องเที่ยวและการบริการ วิทยาลัยการท่องเที่ยวและอุตสาหกรรมการบริการ มหาวิทยาลัยรังสิต เชิญชวนเข้าร่วมโครงการสัมมนา หัวข้อ “How Travel Influencers Make a Living : เปิดสูตรลับ เปลี่ยนการเที่ยวให้เป็นเงินล้าน” สำหรับผู้ที่ฝันอยากเป็นอินฟลูเอนเซอร์สายท่องเที่ยว ในวันอังคารที่ 22 เมษายน… สลช.เร่งทำหลักสูตรการเอาตัวรอดจาก ”อุบัติเหตุ-อุบัติภัย“ ให้เด็กและเยาวชนได้เรียนรู้ EZ WebmasterApril 18, 2025 ดร.วรัท พฤกษาทวีกุล รองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) ทำหน้าที่เลขาธิการสำนักงานลูกเสือแห่งชาติ (สลช.) เปิดเผยว่า ตามที่ได้เกิดเหตุการณ์แผ่นดินไหวที่รุนแรงขึ้นในประเทศไทยในช่วงเดือน มี.ค.ที่ผ่านมา รวมถึงเกิดเหตุการณ์อุบัติเหตุไฟไหม้รถบัสปรับอากาศทัศนศึกษาของนักเรียน และเหตุการณ์เด็กนักเรียนจมน้ำเสียชีวิตบ่อยครั้งในช่วงปิดเทอมภาคฤดูร้อน ซึ่งอุบัติเหตุ หรืออุบัติภัยที่เกิดขึ้นต่าง ๆ เหล่านี้ พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รมว.ศึกษาธิการ…
สลช.เร่งทำหลักสูตรการเอาตัวรอดจาก ”อุบัติเหตุ-อุบัติภัย“ ให้เด็กและเยาวชนได้เรียนรู้ EZ WebmasterApril 18, 2025 ดร.วรัท พฤกษาทวีกุล รองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) ทำหน้าที่เลขาธิการสำนักงานลูกเสือแห่งชาติ (สลช.) เปิดเผยว่า ตามที่ได้เกิดเหตุการณ์แผ่นดินไหวที่รุนแรงขึ้นในประเทศไทยในช่วงเดือน มี.ค.ที่ผ่านมา รวมถึงเกิดเหตุการณ์อุบัติเหตุไฟไหม้รถบัสปรับอากาศทัศนศึกษาของนักเรียน และเหตุการณ์เด็กนักเรียนจมน้ำเสียชีวิตบ่อยครั้งในช่วงปิดเทอมภาคฤดูร้อน ซึ่งอุบัติเหตุ หรืออุบัติภัยที่เกิดขึ้นต่าง ๆ เหล่านี้ พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รมว.ศึกษาธิการ…
ม.รามคำแหง ความสำเร็จสร้างได้ รับนักศึกษาใหม่ ส่วนกลาง-ส่วนภูมิภาคทั่วประเทศ EZ WebmasterApril 19, 2025 การศึกษาแบบตลาดวิชา คือการเลือกเรียนรู้และทดลองสร้างอนาคตใน Sandbox แห่งวิชาการและประสบการณ์ชีวิต อยู่ที่ไหนก็เรียนรามฯได้ เรียนส่วนกลางที่กรุงเทพฯ เรียนส่วนภูมิภาคใกล้บ้านทั้งประเทศ มีคณะและหลักสูตรหลากหลาย เรียนออนไลน์หรือออนไซต์ เลือกเรียนได้ตามใจ เพราะ…ความสำเร็จสร้างได้ ที่ ม.รามคำแหง รับสมัครนักศึกษาใหม่ระดับปริญญาตรี ทั้งส่วนกลาง และส่วนภูมิภาคถึง วันที่ 20… นักศึกษาสาขาภาพยนตร์และสื่อดิจิทัล SPU คว้าแชมป์ระดับประเทศ โครงการ Nissan e-POWER Challenge 2024 EZ WebmasterApril 18, 2025 ทีม Teraphy Film นักศึกษาจากสาขาภาพยนตร์และสื่อดิจิทัล คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม ได้แก่ จิรชัย จันทร์ศรี , พรพิพัฒน์ เรืองรัตนพงศ์ ,เรวัตร เทยจันทร์ทึก และพัสกร นาคจันทร์ ภายใต้การดูแลและให้คำปรึกษาโดย อาจารย์ธีระพันธ์… จาก “เด็กเสิร์ฟ” สู่ “บัณฑิต” เปลี่ยนชีวิตด้วยการขับแกร็บ EZ WebmasterApril 18, 2025 เพราะต้นทุนชีวิตของคนเราไม่เท่ากัน ทำให้หลายคนอาจต้องใช้ความพยายามมากกว่าคนอื่นเป็นเท่าตัว เพื่อพาตัวเองก้าวสู่ความสำเร็จ เหมือนเช่น “น้องกิ่ง” กัญญารัตน์ สีแดงน้อย สาวน้อยวัย 25 ปี ที่เคยต้องหยุดเรียนกลางคันเพราะปัญหาทางด้านการเงิน ชีวิตเคยมืดมนจนมองไม่เห็นอนาคต แต่แล้วก็ได้รู้จักกับ “แกร็บ” ที่เข้ามาเป็นแสงสว่างให้เธอมีรายได้เลี้ยงชีพ และเป็น “สะพาน” ที่พาเธอกลับเข้าสู่เส้นทางการศึกษา จนจบชั้นอนุปริญญาได้สำเร็จ เมื่อความฝันต้องพักไว้ เพื่อความอยู่รอดของครอบครัว “น้องกิ่ง” ชาวอำเภอน้ำปาด… เด็กท่องเที่ยว ม.รังสิต พาไขสูตรลับเที่ยวยังไงให้โลกจำ EZ WebmasterApril 18, 2025 สาขาการจัดการการท่องเที่ยวและการบริการ วิทยาลัยการท่องเที่ยวและอุตสาหกรรมการบริการ มหาวิทยาลัยรังสิต เชิญชวนเข้าร่วมโครงการสัมมนา หัวข้อ “How Travel Influencers Make a Living : เปิดสูตรลับ เปลี่ยนการเที่ยวให้เป็นเงินล้าน” สำหรับผู้ที่ฝันอยากเป็นอินฟลูเอนเซอร์สายท่องเที่ยว ในวันอังคารที่ 22 เมษายน… ทุนดีดี Xiamenให้ทุนป.ตรีต่างชาติ InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศApril 18, 2025 Xiamen University ได้จัดทุนการศึกษาระดับปริญญาตรี สำหรับปีการศึกษา 2025-2026 ให้กับนักศึกษาต่างชาติ โดยผู้สมัครจะต้องเป็นพลเมืองที่ไม่ใช่ชาวจีน มีสุขภาพดีและมีอายุไม่เกิน 30 ปี ณ วันที่ 1 กันยายน 2025 และต้องสำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ผู้สมัครจะต้องสำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายโดยมีผลการเรียนที่ดี และได้รับคำแนะนำจากสถาบันขงจื๊อที่มหาวิทยาลัยเซียเหมินร่วมสร้างหรือมหาวิทยาลัยพันธมิตรแห่งหนึ่ง… ทุนที่EPFLสวิตเซอร์แลนด์ InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศApril 17, 2025 École Polytechnique Fédérale de Lausanne (EPFL) ในสวิตเซอร์แลนด์ แจ้งให้ทุน EPFL Social Scholarshipsกับนักเรียนต่างชาติที่เรียนจบปีแรกไปแล้วหรืออยู่ในโปรแกรม CMS สามารถสมัครรับความช่วยเหลือทางการเงินฉุกเฉินนี้ นักศึกษาต่างชาติจะมีสิทธิ์หลังจากเรียนจบปีแรกที่ EPFL ส่วนพลเมืองสวิส ผู้ถือใบอนุญาต C… ทุน Be the Difference InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศApril 16, 2025 University of Stirling ในสหราชอาณาจักร แจ้งให้ทุน Be the Difference Postgraduate International Scholarships โดยเป็นทุนยกเว้นค่าเล่าเรียน 7,000 ปอนด์(เฉพาะปีแรก) จำนวน 100 ทุน ให้กับนักศึกษาต่างชาติใหม่ที่… ทุนสำหรับไทยกับเวียดนาม InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศApril 15, 2025 Univeristy of Bradford มอบทุนการศึกษาอันทรงเกียรตินี้ร่วมกับ British Council และ GREAT Britain campaign เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาปริญญาโทที่เก่งที่สุดและฉลาดที่สุดจากประเทศไทยและเวียดนามมาเรียนที่มหาวิทยาลัยแบรดฟอร์ด หลักสูตรเต็มเวลานี้เริ่มในเดือนกันยายน2025 โดยเดทไลน์สมัครขอทุน 30 เม.ย.2025 คุณสมบัติผู้สมัคร เป็นพลเมืองของประเทศไทยและเวียดนามที่มีถิ่นฐานอยู่ในประเทศของตน ต้องอาศัยอยู่ในต่างประเทศและไม่ใช่พลเมืองของสหภาพยุโรป… ครู-อาจารย์ มูลนิธิเอสซีจี จับมือ อินสครู เปิดโลกกว้างให้คุณครู ได้เรียนรู้และเข้าใจทักษะอาชีพใหม่ๆ ในโลกปัจจุบัน EZ WebmasterApril 18, 2025 มูลนิธิเอสซีจี ร่วมกับ บริษัท อินสครู จำกัด จัดกิจกรรม Human Library by มูลนิธิเอสซีจี ภายในงาน “insKru Festival 2025 มหกรรมไอเดียการสอน ตอน Keep ครู Stay ครู เป็นตัวเองในวันที่ฉันเป็นครู” งานดี ๆ สำหรับคุณครู คนที่อยากเป็นคุณครู และคนทั่วไปที่สนใจเรื่องราวในแวดวงการศึกษา ที่จะสร้างแรงบันดาลใจในการเลือกสร้างสรรค์การเรียนรู้ในแบบของตัวเอง สำหรับกิจกรรม Human Library นี้… มทร.ธัญบุรี คว้า 7 รางวัลนวัตกรรมระดับโลก เวทีสิ่งประดิษฐ์ Geneva 2025 นครเจนีวา สวิสเซอร์แลนด์ tui sakrapeeApril 17, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อเสียงระดับนานาชาติอย่างต่อเนื่อง คว้า 7 รางวัลจากเวทีประกวดนวัตกรรมระดับโลก The 50th International Exhibition of Inventions Geneva 2025 ที่จัดขึ้นที่นครเจนีวา สมาพันธรัฐสวิส โดยมีผลงานกว่า 1,000… มจธ. ฟื้นฟูผู้ป่วยกล้ามเนื้ออ่อนแรงด้วย “หุ่นยนต์ + AI + เกม” ความหวังใหม่ในยุคสังคมสูงวัย EZ WebmasterApril 17, 2025 ทีมนักวิจัย มจธ. พัฒนาหุ่นยนต์ต้นแบบช่วยกายภาพบำบัดผู้ป่วยกล้ามเนื้ออ่อนแรง โดยผสานเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์และเกมเข้าไว้ด้วยกัน ช่วยให้การฟื้นฟูร่างกายแม่นยำ สนุก และมีประสิทธิภาพมากขึ้น ประเทศไทยกำลังก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์ โดยข้อมูลจากสำนักงานสถิติแห่งชาติและหน่วยงานด้านประชากรศาสตร์คาดการณ์ว่า ภายในปี 2583 ประเทศไทยจะมีผู้สูงอายุคิดเป็นสัดส่วนมากกว่า 32% ของประชากรทั้งหมด หรือประมาณ 20 ล้านคน ซึ่งนำมาสู่การเพิ่มขึ้นของโรคเรื้อรังและภาวะเสื่อมของระบบต่าง ๆ ในร่างกาย โดยเฉพาะโรคที่เกี่ยวกับการทำงานของระบบประสาทและกล้ามเนื้อ เช่น… มทร.ธัญบุรี สร้างสรรค์ “คลีนบิวตี้” นวัตกรรมชะลอวัย จากอะโวคาโด tui sakrapeeApril 11, 2025 มทร.ธัญบุรี สร้างสรรค์ “คลีนบิวตี้” นวัตกรรมชะลอวัย จากอะโวคาโด ใส่ใจสิ่งแวดล้อม จุดประกายผู้ประกอบการ จากอะโวคาโดเหลือทิ้ง สู่ครีมบำรุงผิวหน้าสุดล้ำ ฝีมือนักวิจัย มทร.ธัญบุรี ผสานนาโนเทคโนโลยี พัฒนา “Anti-Aging Facial Cleansing Hydrogel และ Anti-Aging Nanoemulgel” ต้านริ้วรอยอย่างมีประสิทธิภาพ ปลอดภัย ตามแนวคิดคลีนบิวตี้ และพร้อมถ่ายทอดองค์ความรู้สู่ชุมชน… กิจกรรม มมส สืบสานประเพณีสงกรานต์ ทำบุญตักบาตรเสริมสิริมงคลรับปีใหม่ไทย EZ WebmasterApril 17, 2025 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (มมส) จัดงานสืบสานประเพณีสงกรานต์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ประจำปี 2568 โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.ประยุกต์ ศรีวิไล อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เป็นประธานในพิธี พร้อมด้วยผู้บริหาร คณาจารย์ บุคลากร และนิสิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เข้าร่วมงาน ณ… ทีเค พาร์ค พาเจาะเส้นทางความสำเร็จนักเขียนไทยผู้เจาะตลาดอินเตอร์ พร้อมเปิดทริคอัปเลเวล “นักเขียนมือทอง” หนุนวรรณกรรมไทยไปตีตลาดโลก EZ WebmasterApril 17, 2025 “นักเขียนไทย สู้ต่างชาติได้จริงไหม?” เป็นคำถามที่หลายคนอาจสงสัย ทั้งที่นักเขียนไทยหลายคน ก็มีฝีมือไม่แพ้ใคร แต่ทำไมยังไม่ค่อยเห็นวรรณกรรมไทยไปไกลถึงตลาดโลก ในขณะที่หลายประเทศมีวรรณกรรมเป็นซอฟต์พาวเวอร์และเป็นสินค้าส่งออก เช่น เกาหลีใต้ที่ผลักดัน Webtoon และนิยายออนไลน์สู่ K-Drama และ K-Series ญี่ปุ่นที่เปลี่ยนมังงะและไลต์โนเวล (Light Novel) ให้กลายเป็นสินค้าส่งออกสำคัญของประเทศ เช่นเดียวกับจีนที่ส่งออกวรรณกรรมออนไลน์โกยรายได้มหาศาลจากทั่วโลก และถึงแม้ว่าในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา อุตสาหกรรมคอนเทนต์ไทยจะคึกคักขึ้นอย่างมากโดยเฉพาะจากกระแสนิยายวายที่ถูกนำไปสร้างเป็นซีรีส์โด่งดังไปทั่วโลก แต่วรรณกรรมไทยที่ได้รับการแปลและตีพิมพ์ในต่างประเทศต้องยอมรับว่ายังมีจำนวนไม่มากเมื่อเทียบกับประเทศอื่น ๆ ในโอกาสฉลองครบรอบ 20 ปี… ชวนร่วมคอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา ชม “tattoo colour” ช่วยส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาของนักเรียน tui sakrapeeApril 8, 2025 คอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา tattoo colour สามารถซื้อบัตรเข้าร่วมชมคอนเสิร์ตกันได้ทั้งนักเรียน นักศึกษา บุคลากร และบุคลภายนอก สมาคมผู้ปกครองและครูโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ขอเชิญชวนทุกท่านร่วมงาน “#คอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา” ที่จะมอบความสุข สนุกสนาน และช่วยส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาของนักเรียน 📅 วันอาทิตย์ที่ 4 พฤษภาคม 2568… คณะสถาปัตย์ จุฬาฯ จับมือ PMCU ร่วมจัดหลักสูตรพัฒนาผู้จัดการสินทรัพย์และ นักพัฒนาเมืองรุ่นใหม่ พลิกโฉมพื้นที่สถานีรถไฟ EZ WebmasterApril 8, 2025 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับสำนักงานจัดการทรัพย์สิน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (PMCU) จัดหลักสูตร “พัฒนาผู้บริหารธุรกิจอสังหาริมทรัพย์และการพัฒนาพื้นที่รอบสถานีรถไฟเพื่อสร้างรายได้” เพื่อเพิ่มศักยภาพและประสิทธิภาพของบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการจัดการสินทรัพย์และอสังหาริมทรัพย์ มุ่งเน้นการบริหารพื้นที่โดยรอบสถานีรถไฟเพื่อให้บริการอย่างมีประสิทธิภาพ สร้างศูนย์กลางของชุมชนในด้านเศรษฐกิจและสังคม เพื่อเป็นส่วนสำคัญในการก้าวสู่การเป็นเมืองแห่งอนาคตอย่างยั่งยืน โดย ซียู ดีโฟร์เอส เอ็นเทอร์ไพรส์ เป็นผู้ดำเนินการจัดการหลักสูตรนี้ ผศ. สรายุทธ ทรัพย์สุข คณบดี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์… Search for: Search EZ Webmaster April 8, 2025 EZ Webmaster April 8, 2025 ม.ธรรมศาสตร์ เร่งเพิ่มความเชื่อมั่นภาวะวิกฤตให้คนไทย ระดมผู้เชี่ยวชาญร่วมชี้ข้อเท็จจริง และแนวทางรับมือด้านโครงสร้างอาคาร ความปลอดภัย สุขภาพจิต การรับมือข่าวสาร พร้อมพัฒนาระบบ AI ช่วยคนไทยลดข้อกังวลการฟื้นฟูที่อยู่อาศัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) จัดงานเสวนาวิชาการครั้งพิเศษในหัวข้อ “คู่มือรับมือแผ่นดินไหว : ฉบับประชาชน” เปิดพื้นที่แลกเปลี่ยนองค์ความรู้และเสนอแนวทางการเตรียมความพร้อมให้ประชาชนรับมือกับแผ่นดินไหวหรือภัยพิบัติอื่น ๆ ที่อาจเกิดขึ้น พร้อมสร้างความตระหนักรู้ในสังคมไทย และยกระดับความสามารถของประชาชนในการดูแลตนเอง ครอบครัว และชุมชนในยามวิกฤต ผ่านการถ่ายทอดความรู้จากผู้เชี่ยวชาญด้านวิศวกรรม วิศวกรรมโยธา ซึ่งมีประสบการณ์ลงพื้นที่จริง แชร์วิธีการตรวจสอบรอยร้าวและความเสียหายเบื้องต้นของอาคารที่อยู่อาศัย พร้อมสาธิตเทคฯ AI ที่ช่วยในการประเมินสภาพอาคารผ่านการประมวลผลภาพถ่าย เพื่อให้ประชาชนและวิศวกรรมโยธาสามารถเข้าถึงเครื่องมือประเมินความปลอดภัยได้ง่ายขึ้นในยุคดิจิทัล นอกจากนี้ยังดึงผู้เชี่ยวชาญในวงการแพทย์ จิตวิทยาและการสื่อสารที่มานำเสนอแนวทางในการปฏิบัติสำหรับประชาชนต่อสถานการณ์แผ่นดินไหวทั้งด้านความปลอดภัย สภาพจิตใจ และการรู้เท่าทันข่าวสาร รศ. ดร.ดำรงค์ อดุลยฤทธิกุล รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ ม.ธรรมศาสตร์ กล่าวว่า จากเหตุการณ์แผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2568 ที่ผ่านมา ทำให้ประเทศไทยเห็นชัดแล้วว่าภัยพิบัติกลายเป็นเรื่องใกล้ตัวกว่าที่คิด และยิ่งสะท้อนให้เห็นถึงความจำเป็นในการยกระดับความรู้ ความเข้าใจ และความพร้อมของประชาชนในการรับมือกับภัยธรรมชาติ ซึ่งแม้จะเกิดไม่บ่อยครั้งแต่ก็ส่งผลกระทบในวงกว้าง โดยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เล็งเห็นความสำคัญต่อปัญหาจึงได้จัดงานเสวนาวิชาการพิเศษขึ้น ในหัวข้อ “คู่มือรับมือแผ่นดินไหว ฉบับประชาชน” เพื่อเป็นเวทีแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ และแนะแนวทางการเตรียมพร้อมรับมือภัยพิบัติอย่างรอบด้านจากผู้เชี่ยวชาญในสาขาต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งวิศวกรรมโยธา แพทย์ จิตวิทยา ตลอดจนผู้เชี่ยวชาญด้านการสื่อสารมวลชน ที่ได้ตกผลึกข้อมูลองค์ความรู้ที่เป็นประโยชน์ต่อสาธารณชนและสามารถนำไปปฏิบัติได้จริง ซึ่งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์การบริหาร “การเป็นมหาวิทยาลัยเป็นที่พึ่งของสังคม” รศ. ดร.พรหมพัฒน ธัญสิริชัยศรี ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์ เปิดเผยว่า จากเหตุการณ์ดังกล่าวยังทำให้เกิดการตั้งคำถามเกี่ยวกับด้านโครงสร้างอาคาร ซึ่งการที่ตึกสามารถ “ยืดหยุ่น” และ “โยกตัวได้” ภายใต้แรงสั่นสะเทือนนั้น ถือเป็นหลักการออกแบบที่ดีและเป็นไปตามมาตรฐานสากล โดยเฉพาะในพื้นที่ที่มีความเสี่ยงต่อแผ่นดินไหว โดยอาคารยุคปัจจุบันนิยมใช้โครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก ซึ่งผสมผสานคุณสมบัติของ “ความแข็งแรง” จากคอนกรีต และ “ความเหนียว” จากเหล็กไว้ด้วยกัน ทำให้อาคารสามารถรับแรงสั่นสะเทือนและกระจายแรงได้ดี เทคนิคทางด้านออกแบบของตึกอาคารสูงในยุคนี้จึงออกแบบให้มีความยืดหยุ่นเพื่อกระจายแรงและรับน้ำหนักของตัวเองได้ หากไม่สามารถโยกตัวได้ อาจเสี่ยงต่อการแตกร้าวหรือพังทลายมากขึ้น อย่างไรก็ตาม หากตัวอาคารเกิดการแกว่งตัวมากเกินไปก็อาจเป็นสัญญาณอันตรายที่บ่งชี้ถึงความผิดปกติของโครงสร้าง โดยเฉพาะในกรณีที่โครงสร้างไม่สามารถรับน้ำหนักได้เพียงพอ หรือได้รับความเสียหายจากแรงสั่นสะเทือนก่อนหน้า แม้ในภาวะปกติอาคารจะถูกคำนวณไว้แล้วให้ทนต่อการสั่นไหวระดับหนึ่ง แต่หากเกิดแรงสั่นซ้ำซ้อน เช่น อาฟเตอร์ช็อกต่อเนื่อง หรือตัวอาคารมีความเสียหายที่จุดในโครงสร้างเดิม อาจนำไปสู่ความเสี่ยงในการถล่มของโครงสร้างอาคารได้ รศ. ดร.พรหมพัฒน กล่าวเพิ่มเติมว่า หนึ่งในนวัตกรรมที่น่าจับตามองคือ ระบบตรวจสอบรอยร้าวด้วยภาพถ่าย (Crack Detection) ที่ใช้ AI ด้าน Computer Vision, Photogrammetry, และ large language model ในการวิเคราะห์ภาพถ่ายของอาคารเพื่อประเมินรอยร้าว ความเอียงและความผิดปกติของโครงสร้าง โดยเฉพาะการใช้โดรนเก็บข้อมูลภาพถ่ายรอบตัวอาคาร และสร้างแบบจำลองโมเดลสามมิติ (3D Modeling) ช่วยให้สามารถตรวจพบความเปลี่ยนแปลงที่ตามองไม่เห็น เช่น ความเอียงเพียงเล็กน้อยของอาคาร หรือรอยร้าวที่มีแนวโน้มลุกลาม ซึ่งอาจมีความเสี่ยงต่อโครงสร้างในอนาคต โดยเทคโนโลยีเหล่านี้เปรียบเสมือน “หมอเอกซเรย์อาคาร” ที่ช่วยมองทะลุความเสียหายที่ซ่อนอยู่ เพิ่มความแม่นยำในการวิเคราะห์และประเมิน ช่วยลดความไม่เชื่อมั่นของประชาชนต่อกระบวนการตรวจสอบแบบเดิม ทั้งนี้หากภาครัฐและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถนำเทคฯ เหล่านี้มาใช้ได้อย่างแพร่หลาย รวมทั้งสร้างระบบฐานข้อมูลกลางร่วมกันในการจัดเก็บและติดตามข้อมูลโครงสร้างอาคารอย่างเป็นระบบ ก็จะช่วยยกระดับมาตรฐานความปลอดภัยของอาคารทั่วประเทศได้ในระยะยาว “InSpectra-o1” ต้นแบบแอปพลิเคชันสำหรับประเมินความเสียหายทางโครงสร้างได้จากภาพถ่ายด้วย AI ซึ่งได้รับการพัฒนาโดย รศ. ดร.พรหมพัฒน ธัญสิริชัยศรี ศูนย์วิจัยตรวจสอบโครงสร้างและเฝ้าระวังภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์ โดยยังอยู่ในระหว่างการทดลองใช้งานที่เปิดให้ประชาชนสามารถใช้ได้ เพื่อช่วยตรวจสอบและประเมินรอยร้าว ความเสียหายในเบื้องต้นของที่อยู่อาศัยได้ ถือเป็นอีกหนึ่งตัวช่วยสำคัญที่ถูกพัฒนาเพื่อเป็นศูนย์รวมข้อมูลของอาคารและบ้านเรือน ไม่ว่าจะเป็นแบบแปลน โครงสร้าง หรือประวัติการซ่อมแซม จะช่วยให้วิศวกรเข้าถึงข้อมูลได้รวดเร็ว สามารถตรวจสอบอาคารได้อย่างมีประสิทธิภาพ ลดเวลาและค่าใช้จ่าย อีกทั้งยังใช้เป็นหลักฐานประกอบการประกันภัย ลดข้อโต้แย้งและสร้างความมั่นใจให้กับประชาชน อย่างไรก็ดี แม้เทคโนโลยี AI จะเข้ามามีบทบาทในการช่วยประเมินความเสียหายของอาคารได้อย่างรวดเร็ว แต่การใช้งานยังมีข้อจำกัดด้านข้อมูลที่ไม่เพียงพอ ส่งผลให้ AI สามารถประเมินได้เพียงราว 50-60% เท่านั้น จึงยังต้องอาศัยวิศวกรเข้ามาตรวจสอบเพิ่มเติมในจุดที่ AI ยังไม่ครอบคลุม ทั้งนี้ In Spectra-o1 ถูกออกแบบมาให้ใช้งานง่าย ประชาชนสามารถถ่ายภาพและอัปโหลดได้ทันทีโดยไม่ต้องกรอกข้อมูล ระบบจะเริ่มวิเคราะห์เบื้องต้นโดยอัตโนมัติ หากทุกภาคส่วนร่วมกันสนับสนุนและเพิ่มข้อมูลที่จำเป็นเข้าสู่ระบบอย่างต่อเนื่อง ก็จะช่วยเพิ่มความแม่นยำให้ AI สามารถประเมินได้ครอบคลุมมากขึ้นในอนาคต” ด้าน ผศ. พญ.นิพัทธา วินะยานุวัติคุณ ภาควิชาสาขาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์ กล่าวว่า การเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉิน กลุ่มประชาชนที่อยู่ในภาวะเปราะบาง เช่น ผู้สูงอายุ เด็กเล็ก และผู้พิการ ผู้ป่วยเรื้อรังจำเป็นต้องได้รับการดูแลเป็นลำดับต้น ๆ แต่ในบริบทของประเทศไทยในปัจจุบันยังไม่ปรากฏหน่วยงานกลางที่มีหน้าที่รับผิดชอบโดยตรงในการคุ้มครองและจัดการช่วยเหลือกลุ่มเหล่านี้ในภาวะฉุกเฉิน โดยเฉพาะในช่วงเวลาที่ทุกวินาทีหมายถึงความอยู่รอด ประชาชนส่วนใหญ่ยังขาดองค์ความรู้ ความเข้าใจ และแนวทางที่ชัดเจนในการปฏิบัติตนเมื่อเกิดภัยพิบัติ ขณะที่มาตรการในระดับชาติเพื่อรองรับและดูแลกลุ่มเปราะบางหรือประชาชนทั่วไปก็ยังมีข้อจำกัดทั้งในด้านความครอบคลุมและความชัดเจนในการดำเนินการ อีกด้านหนึ่ง ประชาชนทั่วไปควรได้รับการส่งเสริมให้มีความรู้พื้นฐานในการเอาตัวรอดจากภัยพิบัติต่างๆ พร้อมเข้าใจวิธีการช่วยเหลือกลุ่มเปราะบางอย่างปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ ขณะที่ภาครัฐควรมีบทบาทเชิงรุกมากขึ้นในการเผยแพร่ข้อมูล จัดทำแนวปฏิบัติที่เหมาะสม รวมถึงพัฒนาระบบการเตือนภัยและการช่วยเหลือที่เข้าถึงง่ายและเพียงพอสำหรับทุกกลุ่ม เพราะในยามเกิดภัยพิบัติ ความรอดพ้นของชีวิตคนหนึ่งคน อาจขึ้นอยู่กับความพร้อมของสังคมโดยรวมทั้งหมด นอกจากนี้ แนวทางเบื้องต้นในการดูแลกายและใจก็มีความสำคัญ เช่น การประเมินสุขภาพจิตอย่างต่อเนื่อง การสร้างพื้นที่ปลอดภัยสำหรับพักพิง การจัดหาอาหาร น้ำสะอาด และยารักษาโรคพื้นฐาน การดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะฉุกเฉิน รวมถึงการส่งต่อผู้มีภาวะผิดปกติของร่างกายและจิตใจไปยังหน่วยบริการสุขภาพที่เหมาะสม “แม้จะมีเจ้าหน้าที่ในหน่วยงานต่าง ๆ ที่ผ่านการอบรมการรับมือกับสถานการณ์ฉุกเฉินมาแล้ว แต่การช่วยเหลือผู้เปราะบางมักเริ่มต้นจากคนใกล้ตัว เช่น ครอบครัว เพื่อนบ้าน หรือชุมชนโดยรอบ ดังนั้นจึงมีความจำเป็นเร่งด่วนที่ทั้งภาครัฐและภาคประชาชนต้องร่วมกันเสริมสร้างเครือข่ายความช่วยเหลือในระดับรากฐาน โดยเฉพาะในพื้นที่เสี่ยงภัย เพื่อให้สามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้อย่างรวดเร็วและปลอดภัย ขณะเดียวกัน การเตรียมความพร้อมให้กับกลุ่มเปราะบางเองก็เป็นอีกมิติหนึ่งที่มักถูกละเลย ทั้งที่ควรได้รับการฝึกฝนตั้งแต่ระดับครอบครัว โรงเรียนไปจนถึงมหาวิทยาลัยในรูปแบบที่เข้าใจง่าย สอดคล้องกับสภาพร่างกายหรือข้อจำกัดเฉพาะบุคคล เพื่อให้พวกเขาสามารถปกป้องตนเองในเบื้องต้นได้หากไม่มีผู้ช่วยเหลือในทันที ด้านการฟื้นฟูสภาพจิตใจประชาชนหลังเหตุภัยพิบัติก็ไม่ใช่แค่เรื่องของการให้กำลังใจเพียงชั่วครู่ แต่เป็นการติดตามและดูแลอย่างต่อเนื่อง เพราะจิตใจที่บอบช้ำต้องการเวลาและความเข้าใจในการฟื้นคืน“ ด้าน รศ. ดร.นิธิดา แสงสิงแก้ว สาขาวารสารศาสตร์ คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน ม.ธรรมศาสตร์ กล่าวเสริมว่า ในยุคปัจจุบันที่โซเชียลมีเดียกลายเป็นแหล่งข่าวและข้อมูลหลักของประชาชน การสื่อสารในช่วงสถานการณ์วิกฤตโดยเฉพาะเมื่อเกิดภัยพิบัติ เช่น แผ่นดินไหว หรือไฟป่า มักแพร่กระจายอย่างรวดเร็วและมีพลังในการสร้างความตื่นตระหนกได้ในวงกว้าง ปัญหาสำคัญคือข้อมูลจำนวนมากที่เผยแพร่ในช่วงเหตุการณ์เหล่านี้ อาจยังไม่ผ่านการตรวจสอบหรือขาดแหล่งที่มาอย่างชัดเจน ซึ่งหากประชาชนรับข้อมูลโดยไม่ไตร่ตรอง ก็อาจนำไปสู่ความเข้าใจที่คลาดเคลื่อน การตัดสินใจที่ไม่เหมาะสมหรือตื่นตระหนกเกินจำเป็น การมี “ทักษะในการรู้เท่าทันสื่อ” จึงเป็นเกราะสำคัญที่ประชาชนทุกคนควรมี โดยเฉพาะการตรวจสอบแหล่งที่มาของข่าว เปรียบเทียบกับข้อมูลจากหน่วยงานที่เชื่อถือได้ และหลีกเลี่ยงการแชร์ข้อมูลที่ยังไม่แน่ชัด นอกจากนี้ สิ่งที่น่าเป็นห่วงไม่แพ้กันคือ การที่กลุ่มใดกลุ่มหนึ่งอาจฉวยโอกาสในช่วงสถานการณ์วิกฤตสร้างประเด็นหรือบิดเบือนข้อมูล เพื่อกระตุ้นความรู้สึกของสังคม หรือชี้นำทิศทางความคิดเห็นในเชิงลบ ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของสังคมในวงกว้าง การตระหนักถึงผลกระทบจากการสร้างหรือขยายประเด็นทางสังคมที่ไม่ตั้งอยู่บนข้อเท็จจริง จึงเป็นเรื่องที่ประชาชนควรใส่ใจอย่างยิ่ง เพราะการสื่อสารไม่ใช่เพียงแค่การเสพข่าวเท่านั้น แต่ยังหมายถึง การรู้เท่าทัน บริโภคอย่างมีวิจารณญาณ และเลือกขับเคลื่อนสังคมด้วยข้อมูลที่ถูกต้อง เพื่อร่วมกันสร้างภูมิคุ้มกันข่าวสารที่แข็งแรงในช่วงเวลาแห่งความเปราะบางของสังคมไทย “ประชาชนควรรับฟังข้อมูลจากแหล่งที่เชื่อถือได้ เช่น กรมอุตุนิยมวิทยา หรือศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ พร้อมทั้งเรียนรู้วิธีปฏิบัติตนในสถานการณ์ฉุกเฉิน เช่น การหาจุดปลอดภัยในอาคาร การจัดกระเป๋าฉุกเฉิน และการวางแผนเส้นทางอพยพล่วงหน้า ความเข้าใจพื้นฐานเหล่านี้จะช่วยลดความเสี่ยงและเพิ่มโอกาสในการเอาตัวรอดในกรณีเกิดเหตุการณ์จริง ทั้งนี้ ภาครัฐและภาคประชาชนจำเป็นต้องร่วมมือกันอย่างใกล้ชิด เพื่อสร้างสังคมที่พร้อมเผชิญและรับมือกับแผ่นดินไหวได้อย่างมีประสิทธิภาพและไม่ตื่นตระหนกเกินเหตุ” ท้ายที่สุด แม้ประเทศไทยจะไม่สามารถหลีกเลี่ยงการเกิดภัยพิบัติได้ แต่เราสามารถเตรียมพร้อมรับมือและช่วยกันลดผลกระทบความเสียหายได้อย่างมีประสิทธิภาพ หากทุกภาคส่วนร่วมกันขับเคลื่อนองค์ความรู้และนวัตกรรมไปสู่การปฏิบัติจริง ร่วมกันพัฒนาระบบการป้องกันที่ทันสมัย และเสริมสร้างสังคมที่เข้มแข็ง ยกระดับความปลอดภัยให้กับประชาชนในทุกพื้นที่ เพราะความมั่นคงของชีวิตประชาชนคือรากฐานสำคัญของการพัฒนาอย่างยั่งยืน และเป็นสิ่งที่ทุกภาคส่วนในสังคมไทยควรร่วมมือกันอย่างจริงจังตั้งแต่นี้เป็นต้นไป ทั้งนี้ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เตรียมจัดทำ “คู่มือรับมือแผ่นดินไหว : ฉบับประชาชน” ซึ่งอยู่ระหว่างขั้นตอนการเรียบเรียงและรวบรวมข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญในสาขาต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยมีเป้าหมายเพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงความรู้และแนวปฏิบัติที่เข้าใจง่าย ใช้ได้จริง และเหมาะสมกับบริบทของประเทศไทย โดยเฉพาะในชุมชนเมืองและพื้นที่เสี่ยงภัย คู่มือฉบับนี้จะช่วยยกระดับความพร้อมของคนไทยในการเผชิญเหตุฉุกเฉิน ทั้งในแง่ของการป้องกันตนเอง ดูแลคนรอบข้าง ไปจนถึงการรับมือกับผลกระทบหลังเหตุการณ์ เพื่อให้สังคมไทยสามารถอยู่ร่วมกับภัยพิบัติอย่างไม่ประมาท และมีความมั่นคงปลอดภัยมากยิ่งขึ้นในอนาคตอันใกล้ EZ Webmaster Related Posts มมส สืบสานประเพณีสงกรานต์ ทำบุญตักบาตรเสริมสิริมงคลรับปีใหม่ไทย ทีเค พาร์ค พาเจาะเส้นทางความสำเร็จนักเขียนไทยผู้เจาะตลาดอินเตอร์ พร้อมเปิดทริคอัปเลเวล “นักเขียนมือทอง” หนุนวรรณกรรมไทยไปตีตลาดโลก ชวนร่วมคอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา ชม “tattoo colour” ช่วยส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาของนักเรียน คณะสถาปัตย์ จุฬาฯ จับมือ PMCU ร่วมจัดหลักสูตรพัฒนาผู้จัดการสินทรัพย์และ นักพัฒนาเมืองรุ่นใหม่ พลิกโฉมพื้นที่สถานีรถไฟ “สอศ. – กปภ. ผนึกกำลัง ปั้นช่างประปามืออาชีพ เสริมทักษะ สร้างรายได้ทั่วประเทศ! Post navigation PREVIOUS Previous post: มีทุนการศึกษา!! วิทยาลัยทองสุข เปิดรับครบทุกระดับ ป.ตรี โทและป.เอก พร้อม INTERNATIONAL PROGRAMNEXT Next post: 5 มหาวิทยาลัยเอกชนไทยที่ครองแชมป์วงการกีฬาระดับประเทศ ! Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
นักศึกษาสาขาภาพยนตร์และสื่อดิจิทัล SPU คว้าแชมป์ระดับประเทศ โครงการ Nissan e-POWER Challenge 2024 EZ WebmasterApril 18, 2025 ทีม Teraphy Film นักศึกษาจากสาขาภาพยนตร์และสื่อดิจิทัล คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม ได้แก่ จิรชัย จันทร์ศรี , พรพิพัฒน์ เรืองรัตนพงศ์ ,เรวัตร เทยจันทร์ทึก และพัสกร นาคจันทร์ ภายใต้การดูแลและให้คำปรึกษาโดย อาจารย์ธีระพันธ์… จาก “เด็กเสิร์ฟ” สู่ “บัณฑิต” เปลี่ยนชีวิตด้วยการขับแกร็บ EZ WebmasterApril 18, 2025 เพราะต้นทุนชีวิตของคนเราไม่เท่ากัน ทำให้หลายคนอาจต้องใช้ความพยายามมากกว่าคนอื่นเป็นเท่าตัว เพื่อพาตัวเองก้าวสู่ความสำเร็จ เหมือนเช่น “น้องกิ่ง” กัญญารัตน์ สีแดงน้อย สาวน้อยวัย 25 ปี ที่เคยต้องหยุดเรียนกลางคันเพราะปัญหาทางด้านการเงิน ชีวิตเคยมืดมนจนมองไม่เห็นอนาคต แต่แล้วก็ได้รู้จักกับ “แกร็บ” ที่เข้ามาเป็นแสงสว่างให้เธอมีรายได้เลี้ยงชีพ และเป็น “สะพาน” ที่พาเธอกลับเข้าสู่เส้นทางการศึกษา จนจบชั้นอนุปริญญาได้สำเร็จ เมื่อความฝันต้องพักไว้ เพื่อความอยู่รอดของครอบครัว “น้องกิ่ง” ชาวอำเภอน้ำปาด… เด็กท่องเที่ยว ม.รังสิต พาไขสูตรลับเที่ยวยังไงให้โลกจำ EZ WebmasterApril 18, 2025 สาขาการจัดการการท่องเที่ยวและการบริการ วิทยาลัยการท่องเที่ยวและอุตสาหกรรมการบริการ มหาวิทยาลัยรังสิต เชิญชวนเข้าร่วมโครงการสัมมนา หัวข้อ “How Travel Influencers Make a Living : เปิดสูตรลับ เปลี่ยนการเที่ยวให้เป็นเงินล้าน” สำหรับผู้ที่ฝันอยากเป็นอินฟลูเอนเซอร์สายท่องเที่ยว ในวันอังคารที่ 22 เมษายน… ทุนดีดี Xiamenให้ทุนป.ตรีต่างชาติ InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศApril 18, 2025 Xiamen University ได้จัดทุนการศึกษาระดับปริญญาตรี สำหรับปีการศึกษา 2025-2026 ให้กับนักศึกษาต่างชาติ โดยผู้สมัครจะต้องเป็นพลเมืองที่ไม่ใช่ชาวจีน มีสุขภาพดีและมีอายุไม่เกิน 30 ปี ณ วันที่ 1 กันยายน 2025 และต้องสำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ผู้สมัครจะต้องสำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายโดยมีผลการเรียนที่ดี และได้รับคำแนะนำจากสถาบันขงจื๊อที่มหาวิทยาลัยเซียเหมินร่วมสร้างหรือมหาวิทยาลัยพันธมิตรแห่งหนึ่ง… ทุนที่EPFLสวิตเซอร์แลนด์ InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศApril 17, 2025 École Polytechnique Fédérale de Lausanne (EPFL) ในสวิตเซอร์แลนด์ แจ้งให้ทุน EPFL Social Scholarshipsกับนักเรียนต่างชาติที่เรียนจบปีแรกไปแล้วหรืออยู่ในโปรแกรม CMS สามารถสมัครรับความช่วยเหลือทางการเงินฉุกเฉินนี้ นักศึกษาต่างชาติจะมีสิทธิ์หลังจากเรียนจบปีแรกที่ EPFL ส่วนพลเมืองสวิส ผู้ถือใบอนุญาต C… ทุน Be the Difference InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศApril 16, 2025 University of Stirling ในสหราชอาณาจักร แจ้งให้ทุน Be the Difference Postgraduate International Scholarships โดยเป็นทุนยกเว้นค่าเล่าเรียน 7,000 ปอนด์(เฉพาะปีแรก) จำนวน 100 ทุน ให้กับนักศึกษาต่างชาติใหม่ที่… ทุนสำหรับไทยกับเวียดนาม InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศApril 15, 2025 Univeristy of Bradford มอบทุนการศึกษาอันทรงเกียรตินี้ร่วมกับ British Council และ GREAT Britain campaign เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาปริญญาโทที่เก่งที่สุดและฉลาดที่สุดจากประเทศไทยและเวียดนามมาเรียนที่มหาวิทยาลัยแบรดฟอร์ด หลักสูตรเต็มเวลานี้เริ่มในเดือนกันยายน2025 โดยเดทไลน์สมัครขอทุน 30 เม.ย.2025 คุณสมบัติผู้สมัคร เป็นพลเมืองของประเทศไทยและเวียดนามที่มีถิ่นฐานอยู่ในประเทศของตน ต้องอาศัยอยู่ในต่างประเทศและไม่ใช่พลเมืองของสหภาพยุโรป… ครู-อาจารย์ มูลนิธิเอสซีจี จับมือ อินสครู เปิดโลกกว้างให้คุณครู ได้เรียนรู้และเข้าใจทักษะอาชีพใหม่ๆ ในโลกปัจจุบัน EZ WebmasterApril 18, 2025 มูลนิธิเอสซีจี ร่วมกับ บริษัท อินสครู จำกัด จัดกิจกรรม Human Library by มูลนิธิเอสซีจี ภายในงาน “insKru Festival 2025 มหกรรมไอเดียการสอน ตอน Keep ครู Stay ครู เป็นตัวเองในวันที่ฉันเป็นครู” งานดี ๆ สำหรับคุณครู คนที่อยากเป็นคุณครู และคนทั่วไปที่สนใจเรื่องราวในแวดวงการศึกษา ที่จะสร้างแรงบันดาลใจในการเลือกสร้างสรรค์การเรียนรู้ในแบบของตัวเอง สำหรับกิจกรรม Human Library นี้… มทร.ธัญบุรี คว้า 7 รางวัลนวัตกรรมระดับโลก เวทีสิ่งประดิษฐ์ Geneva 2025 นครเจนีวา สวิสเซอร์แลนด์ tui sakrapeeApril 17, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อเสียงระดับนานาชาติอย่างต่อเนื่อง คว้า 7 รางวัลจากเวทีประกวดนวัตกรรมระดับโลก The 50th International Exhibition of Inventions Geneva 2025 ที่จัดขึ้นที่นครเจนีวา สมาพันธรัฐสวิส โดยมีผลงานกว่า 1,000… มจธ. ฟื้นฟูผู้ป่วยกล้ามเนื้ออ่อนแรงด้วย “หุ่นยนต์ + AI + เกม” ความหวังใหม่ในยุคสังคมสูงวัย EZ WebmasterApril 17, 2025 ทีมนักวิจัย มจธ. พัฒนาหุ่นยนต์ต้นแบบช่วยกายภาพบำบัดผู้ป่วยกล้ามเนื้ออ่อนแรง โดยผสานเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์และเกมเข้าไว้ด้วยกัน ช่วยให้การฟื้นฟูร่างกายแม่นยำ สนุก และมีประสิทธิภาพมากขึ้น ประเทศไทยกำลังก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์ โดยข้อมูลจากสำนักงานสถิติแห่งชาติและหน่วยงานด้านประชากรศาสตร์คาดการณ์ว่า ภายในปี 2583 ประเทศไทยจะมีผู้สูงอายุคิดเป็นสัดส่วนมากกว่า 32% ของประชากรทั้งหมด หรือประมาณ 20 ล้านคน ซึ่งนำมาสู่การเพิ่มขึ้นของโรคเรื้อรังและภาวะเสื่อมของระบบต่าง ๆ ในร่างกาย โดยเฉพาะโรคที่เกี่ยวกับการทำงานของระบบประสาทและกล้ามเนื้อ เช่น… มทร.ธัญบุรี สร้างสรรค์ “คลีนบิวตี้” นวัตกรรมชะลอวัย จากอะโวคาโด tui sakrapeeApril 11, 2025 มทร.ธัญบุรี สร้างสรรค์ “คลีนบิวตี้” นวัตกรรมชะลอวัย จากอะโวคาโด ใส่ใจสิ่งแวดล้อม จุดประกายผู้ประกอบการ จากอะโวคาโดเหลือทิ้ง สู่ครีมบำรุงผิวหน้าสุดล้ำ ฝีมือนักวิจัย มทร.ธัญบุรี ผสานนาโนเทคโนโลยี พัฒนา “Anti-Aging Facial Cleansing Hydrogel และ Anti-Aging Nanoemulgel” ต้านริ้วรอยอย่างมีประสิทธิภาพ ปลอดภัย ตามแนวคิดคลีนบิวตี้ และพร้อมถ่ายทอดองค์ความรู้สู่ชุมชน… กิจกรรม มมส สืบสานประเพณีสงกรานต์ ทำบุญตักบาตรเสริมสิริมงคลรับปีใหม่ไทย EZ WebmasterApril 17, 2025 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (มมส) จัดงานสืบสานประเพณีสงกรานต์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ประจำปี 2568 โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.ประยุกต์ ศรีวิไล อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เป็นประธานในพิธี พร้อมด้วยผู้บริหาร คณาจารย์ บุคลากร และนิสิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เข้าร่วมงาน ณ… ทีเค พาร์ค พาเจาะเส้นทางความสำเร็จนักเขียนไทยผู้เจาะตลาดอินเตอร์ พร้อมเปิดทริคอัปเลเวล “นักเขียนมือทอง” หนุนวรรณกรรมไทยไปตีตลาดโลก EZ WebmasterApril 17, 2025 “นักเขียนไทย สู้ต่างชาติได้จริงไหม?” เป็นคำถามที่หลายคนอาจสงสัย ทั้งที่นักเขียนไทยหลายคน ก็มีฝีมือไม่แพ้ใคร แต่ทำไมยังไม่ค่อยเห็นวรรณกรรมไทยไปไกลถึงตลาดโลก ในขณะที่หลายประเทศมีวรรณกรรมเป็นซอฟต์พาวเวอร์และเป็นสินค้าส่งออก เช่น เกาหลีใต้ที่ผลักดัน Webtoon และนิยายออนไลน์สู่ K-Drama และ K-Series ญี่ปุ่นที่เปลี่ยนมังงะและไลต์โนเวล (Light Novel) ให้กลายเป็นสินค้าส่งออกสำคัญของประเทศ เช่นเดียวกับจีนที่ส่งออกวรรณกรรมออนไลน์โกยรายได้มหาศาลจากทั่วโลก และถึงแม้ว่าในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา อุตสาหกรรมคอนเทนต์ไทยจะคึกคักขึ้นอย่างมากโดยเฉพาะจากกระแสนิยายวายที่ถูกนำไปสร้างเป็นซีรีส์โด่งดังไปทั่วโลก แต่วรรณกรรมไทยที่ได้รับการแปลและตีพิมพ์ในต่างประเทศต้องยอมรับว่ายังมีจำนวนไม่มากเมื่อเทียบกับประเทศอื่น ๆ ในโอกาสฉลองครบรอบ 20 ปี… ชวนร่วมคอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา ชม “tattoo colour” ช่วยส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาของนักเรียน tui sakrapeeApril 8, 2025 คอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา tattoo colour สามารถซื้อบัตรเข้าร่วมชมคอนเสิร์ตกันได้ทั้งนักเรียน นักศึกษา บุคลากร และบุคลภายนอก สมาคมผู้ปกครองและครูโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ขอเชิญชวนทุกท่านร่วมงาน “#คอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา” ที่จะมอบความสุข สนุกสนาน และช่วยส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาของนักเรียน 📅 วันอาทิตย์ที่ 4 พฤษภาคม 2568… คณะสถาปัตย์ จุฬาฯ จับมือ PMCU ร่วมจัดหลักสูตรพัฒนาผู้จัดการสินทรัพย์และ นักพัฒนาเมืองรุ่นใหม่ พลิกโฉมพื้นที่สถานีรถไฟ EZ WebmasterApril 8, 2025 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับสำนักงานจัดการทรัพย์สิน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (PMCU) จัดหลักสูตร “พัฒนาผู้บริหารธุรกิจอสังหาริมทรัพย์และการพัฒนาพื้นที่รอบสถานีรถไฟเพื่อสร้างรายได้” เพื่อเพิ่มศักยภาพและประสิทธิภาพของบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการจัดการสินทรัพย์และอสังหาริมทรัพย์ มุ่งเน้นการบริหารพื้นที่โดยรอบสถานีรถไฟเพื่อให้บริการอย่างมีประสิทธิภาพ สร้างศูนย์กลางของชุมชนในด้านเศรษฐกิจและสังคม เพื่อเป็นส่วนสำคัญในการก้าวสู่การเป็นเมืองแห่งอนาคตอย่างยั่งยืน โดย ซียู ดีโฟร์เอส เอ็นเทอร์ไพรส์ เป็นผู้ดำเนินการจัดการหลักสูตรนี้ ผศ. สรายุทธ ทรัพย์สุข คณบดี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์… Search for: Search EZ Webmaster April 8, 2025 EZ Webmaster April 8, 2025 ม.ธรรมศาสตร์ เร่งเพิ่มความเชื่อมั่นภาวะวิกฤตให้คนไทย ระดมผู้เชี่ยวชาญร่วมชี้ข้อเท็จจริง และแนวทางรับมือด้านโครงสร้างอาคาร ความปลอดภัย สุขภาพจิต การรับมือข่าวสาร พร้อมพัฒนาระบบ AI ช่วยคนไทยลดข้อกังวลการฟื้นฟูที่อยู่อาศัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) จัดงานเสวนาวิชาการครั้งพิเศษในหัวข้อ “คู่มือรับมือแผ่นดินไหว : ฉบับประชาชน” เปิดพื้นที่แลกเปลี่ยนองค์ความรู้และเสนอแนวทางการเตรียมความพร้อมให้ประชาชนรับมือกับแผ่นดินไหวหรือภัยพิบัติอื่น ๆ ที่อาจเกิดขึ้น พร้อมสร้างความตระหนักรู้ในสังคมไทย และยกระดับความสามารถของประชาชนในการดูแลตนเอง ครอบครัว และชุมชนในยามวิกฤต ผ่านการถ่ายทอดความรู้จากผู้เชี่ยวชาญด้านวิศวกรรม วิศวกรรมโยธา ซึ่งมีประสบการณ์ลงพื้นที่จริง แชร์วิธีการตรวจสอบรอยร้าวและความเสียหายเบื้องต้นของอาคารที่อยู่อาศัย พร้อมสาธิตเทคฯ AI ที่ช่วยในการประเมินสภาพอาคารผ่านการประมวลผลภาพถ่าย เพื่อให้ประชาชนและวิศวกรรมโยธาสามารถเข้าถึงเครื่องมือประเมินความปลอดภัยได้ง่ายขึ้นในยุคดิจิทัล นอกจากนี้ยังดึงผู้เชี่ยวชาญในวงการแพทย์ จิตวิทยาและการสื่อสารที่มานำเสนอแนวทางในการปฏิบัติสำหรับประชาชนต่อสถานการณ์แผ่นดินไหวทั้งด้านความปลอดภัย สภาพจิตใจ และการรู้เท่าทันข่าวสาร รศ. ดร.ดำรงค์ อดุลยฤทธิกุล รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ ม.ธรรมศาสตร์ กล่าวว่า จากเหตุการณ์แผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2568 ที่ผ่านมา ทำให้ประเทศไทยเห็นชัดแล้วว่าภัยพิบัติกลายเป็นเรื่องใกล้ตัวกว่าที่คิด และยิ่งสะท้อนให้เห็นถึงความจำเป็นในการยกระดับความรู้ ความเข้าใจ และความพร้อมของประชาชนในการรับมือกับภัยธรรมชาติ ซึ่งแม้จะเกิดไม่บ่อยครั้งแต่ก็ส่งผลกระทบในวงกว้าง โดยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เล็งเห็นความสำคัญต่อปัญหาจึงได้จัดงานเสวนาวิชาการพิเศษขึ้น ในหัวข้อ “คู่มือรับมือแผ่นดินไหว ฉบับประชาชน” เพื่อเป็นเวทีแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ และแนะแนวทางการเตรียมพร้อมรับมือภัยพิบัติอย่างรอบด้านจากผู้เชี่ยวชาญในสาขาต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งวิศวกรรมโยธา แพทย์ จิตวิทยา ตลอดจนผู้เชี่ยวชาญด้านการสื่อสารมวลชน ที่ได้ตกผลึกข้อมูลองค์ความรู้ที่เป็นประโยชน์ต่อสาธารณชนและสามารถนำไปปฏิบัติได้จริง ซึ่งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์การบริหาร “การเป็นมหาวิทยาลัยเป็นที่พึ่งของสังคม” รศ. ดร.พรหมพัฒน ธัญสิริชัยศรี ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์ เปิดเผยว่า จากเหตุการณ์ดังกล่าวยังทำให้เกิดการตั้งคำถามเกี่ยวกับด้านโครงสร้างอาคาร ซึ่งการที่ตึกสามารถ “ยืดหยุ่น” และ “โยกตัวได้” ภายใต้แรงสั่นสะเทือนนั้น ถือเป็นหลักการออกแบบที่ดีและเป็นไปตามมาตรฐานสากล โดยเฉพาะในพื้นที่ที่มีความเสี่ยงต่อแผ่นดินไหว โดยอาคารยุคปัจจุบันนิยมใช้โครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก ซึ่งผสมผสานคุณสมบัติของ “ความแข็งแรง” จากคอนกรีต และ “ความเหนียว” จากเหล็กไว้ด้วยกัน ทำให้อาคารสามารถรับแรงสั่นสะเทือนและกระจายแรงได้ดี เทคนิคทางด้านออกแบบของตึกอาคารสูงในยุคนี้จึงออกแบบให้มีความยืดหยุ่นเพื่อกระจายแรงและรับน้ำหนักของตัวเองได้ หากไม่สามารถโยกตัวได้ อาจเสี่ยงต่อการแตกร้าวหรือพังทลายมากขึ้น อย่างไรก็ตาม หากตัวอาคารเกิดการแกว่งตัวมากเกินไปก็อาจเป็นสัญญาณอันตรายที่บ่งชี้ถึงความผิดปกติของโครงสร้าง โดยเฉพาะในกรณีที่โครงสร้างไม่สามารถรับน้ำหนักได้เพียงพอ หรือได้รับความเสียหายจากแรงสั่นสะเทือนก่อนหน้า แม้ในภาวะปกติอาคารจะถูกคำนวณไว้แล้วให้ทนต่อการสั่นไหวระดับหนึ่ง แต่หากเกิดแรงสั่นซ้ำซ้อน เช่น อาฟเตอร์ช็อกต่อเนื่อง หรือตัวอาคารมีความเสียหายที่จุดในโครงสร้างเดิม อาจนำไปสู่ความเสี่ยงในการถล่มของโครงสร้างอาคารได้ รศ. ดร.พรหมพัฒน กล่าวเพิ่มเติมว่า หนึ่งในนวัตกรรมที่น่าจับตามองคือ ระบบตรวจสอบรอยร้าวด้วยภาพถ่าย (Crack Detection) ที่ใช้ AI ด้าน Computer Vision, Photogrammetry, และ large language model ในการวิเคราะห์ภาพถ่ายของอาคารเพื่อประเมินรอยร้าว ความเอียงและความผิดปกติของโครงสร้าง โดยเฉพาะการใช้โดรนเก็บข้อมูลภาพถ่ายรอบตัวอาคาร และสร้างแบบจำลองโมเดลสามมิติ (3D Modeling) ช่วยให้สามารถตรวจพบความเปลี่ยนแปลงที่ตามองไม่เห็น เช่น ความเอียงเพียงเล็กน้อยของอาคาร หรือรอยร้าวที่มีแนวโน้มลุกลาม ซึ่งอาจมีความเสี่ยงต่อโครงสร้างในอนาคต โดยเทคโนโลยีเหล่านี้เปรียบเสมือน “หมอเอกซเรย์อาคาร” ที่ช่วยมองทะลุความเสียหายที่ซ่อนอยู่ เพิ่มความแม่นยำในการวิเคราะห์และประเมิน ช่วยลดความไม่เชื่อมั่นของประชาชนต่อกระบวนการตรวจสอบแบบเดิม ทั้งนี้หากภาครัฐและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถนำเทคฯ เหล่านี้มาใช้ได้อย่างแพร่หลาย รวมทั้งสร้างระบบฐานข้อมูลกลางร่วมกันในการจัดเก็บและติดตามข้อมูลโครงสร้างอาคารอย่างเป็นระบบ ก็จะช่วยยกระดับมาตรฐานความปลอดภัยของอาคารทั่วประเทศได้ในระยะยาว “InSpectra-o1” ต้นแบบแอปพลิเคชันสำหรับประเมินความเสียหายทางโครงสร้างได้จากภาพถ่ายด้วย AI ซึ่งได้รับการพัฒนาโดย รศ. ดร.พรหมพัฒน ธัญสิริชัยศรี ศูนย์วิจัยตรวจสอบโครงสร้างและเฝ้าระวังภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์ โดยยังอยู่ในระหว่างการทดลองใช้งานที่เปิดให้ประชาชนสามารถใช้ได้ เพื่อช่วยตรวจสอบและประเมินรอยร้าว ความเสียหายในเบื้องต้นของที่อยู่อาศัยได้ ถือเป็นอีกหนึ่งตัวช่วยสำคัญที่ถูกพัฒนาเพื่อเป็นศูนย์รวมข้อมูลของอาคารและบ้านเรือน ไม่ว่าจะเป็นแบบแปลน โครงสร้าง หรือประวัติการซ่อมแซม จะช่วยให้วิศวกรเข้าถึงข้อมูลได้รวดเร็ว สามารถตรวจสอบอาคารได้อย่างมีประสิทธิภาพ ลดเวลาและค่าใช้จ่าย อีกทั้งยังใช้เป็นหลักฐานประกอบการประกันภัย ลดข้อโต้แย้งและสร้างความมั่นใจให้กับประชาชน อย่างไรก็ดี แม้เทคโนโลยี AI จะเข้ามามีบทบาทในการช่วยประเมินความเสียหายของอาคารได้อย่างรวดเร็ว แต่การใช้งานยังมีข้อจำกัดด้านข้อมูลที่ไม่เพียงพอ ส่งผลให้ AI สามารถประเมินได้เพียงราว 50-60% เท่านั้น จึงยังต้องอาศัยวิศวกรเข้ามาตรวจสอบเพิ่มเติมในจุดที่ AI ยังไม่ครอบคลุม ทั้งนี้ In Spectra-o1 ถูกออกแบบมาให้ใช้งานง่าย ประชาชนสามารถถ่ายภาพและอัปโหลดได้ทันทีโดยไม่ต้องกรอกข้อมูล ระบบจะเริ่มวิเคราะห์เบื้องต้นโดยอัตโนมัติ หากทุกภาคส่วนร่วมกันสนับสนุนและเพิ่มข้อมูลที่จำเป็นเข้าสู่ระบบอย่างต่อเนื่อง ก็จะช่วยเพิ่มความแม่นยำให้ AI สามารถประเมินได้ครอบคลุมมากขึ้นในอนาคต” ด้าน ผศ. พญ.นิพัทธา วินะยานุวัติคุณ ภาควิชาสาขาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์ กล่าวว่า การเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉิน กลุ่มประชาชนที่อยู่ในภาวะเปราะบาง เช่น ผู้สูงอายุ เด็กเล็ก และผู้พิการ ผู้ป่วยเรื้อรังจำเป็นต้องได้รับการดูแลเป็นลำดับต้น ๆ แต่ในบริบทของประเทศไทยในปัจจุบันยังไม่ปรากฏหน่วยงานกลางที่มีหน้าที่รับผิดชอบโดยตรงในการคุ้มครองและจัดการช่วยเหลือกลุ่มเหล่านี้ในภาวะฉุกเฉิน โดยเฉพาะในช่วงเวลาที่ทุกวินาทีหมายถึงความอยู่รอด ประชาชนส่วนใหญ่ยังขาดองค์ความรู้ ความเข้าใจ และแนวทางที่ชัดเจนในการปฏิบัติตนเมื่อเกิดภัยพิบัติ ขณะที่มาตรการในระดับชาติเพื่อรองรับและดูแลกลุ่มเปราะบางหรือประชาชนทั่วไปก็ยังมีข้อจำกัดทั้งในด้านความครอบคลุมและความชัดเจนในการดำเนินการ อีกด้านหนึ่ง ประชาชนทั่วไปควรได้รับการส่งเสริมให้มีความรู้พื้นฐานในการเอาตัวรอดจากภัยพิบัติต่างๆ พร้อมเข้าใจวิธีการช่วยเหลือกลุ่มเปราะบางอย่างปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ ขณะที่ภาครัฐควรมีบทบาทเชิงรุกมากขึ้นในการเผยแพร่ข้อมูล จัดทำแนวปฏิบัติที่เหมาะสม รวมถึงพัฒนาระบบการเตือนภัยและการช่วยเหลือที่เข้าถึงง่ายและเพียงพอสำหรับทุกกลุ่ม เพราะในยามเกิดภัยพิบัติ ความรอดพ้นของชีวิตคนหนึ่งคน อาจขึ้นอยู่กับความพร้อมของสังคมโดยรวมทั้งหมด นอกจากนี้ แนวทางเบื้องต้นในการดูแลกายและใจก็มีความสำคัญ เช่น การประเมินสุขภาพจิตอย่างต่อเนื่อง การสร้างพื้นที่ปลอดภัยสำหรับพักพิง การจัดหาอาหาร น้ำสะอาด และยารักษาโรคพื้นฐาน การดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะฉุกเฉิน รวมถึงการส่งต่อผู้มีภาวะผิดปกติของร่างกายและจิตใจไปยังหน่วยบริการสุขภาพที่เหมาะสม “แม้จะมีเจ้าหน้าที่ในหน่วยงานต่าง ๆ ที่ผ่านการอบรมการรับมือกับสถานการณ์ฉุกเฉินมาแล้ว แต่การช่วยเหลือผู้เปราะบางมักเริ่มต้นจากคนใกล้ตัว เช่น ครอบครัว เพื่อนบ้าน หรือชุมชนโดยรอบ ดังนั้นจึงมีความจำเป็นเร่งด่วนที่ทั้งภาครัฐและภาคประชาชนต้องร่วมกันเสริมสร้างเครือข่ายความช่วยเหลือในระดับรากฐาน โดยเฉพาะในพื้นที่เสี่ยงภัย เพื่อให้สามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้อย่างรวดเร็วและปลอดภัย ขณะเดียวกัน การเตรียมความพร้อมให้กับกลุ่มเปราะบางเองก็เป็นอีกมิติหนึ่งที่มักถูกละเลย ทั้งที่ควรได้รับการฝึกฝนตั้งแต่ระดับครอบครัว โรงเรียนไปจนถึงมหาวิทยาลัยในรูปแบบที่เข้าใจง่าย สอดคล้องกับสภาพร่างกายหรือข้อจำกัดเฉพาะบุคคล เพื่อให้พวกเขาสามารถปกป้องตนเองในเบื้องต้นได้หากไม่มีผู้ช่วยเหลือในทันที ด้านการฟื้นฟูสภาพจิตใจประชาชนหลังเหตุภัยพิบัติก็ไม่ใช่แค่เรื่องของการให้กำลังใจเพียงชั่วครู่ แต่เป็นการติดตามและดูแลอย่างต่อเนื่อง เพราะจิตใจที่บอบช้ำต้องการเวลาและความเข้าใจในการฟื้นคืน“ ด้าน รศ. ดร.นิธิดา แสงสิงแก้ว สาขาวารสารศาสตร์ คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน ม.ธรรมศาสตร์ กล่าวเสริมว่า ในยุคปัจจุบันที่โซเชียลมีเดียกลายเป็นแหล่งข่าวและข้อมูลหลักของประชาชน การสื่อสารในช่วงสถานการณ์วิกฤตโดยเฉพาะเมื่อเกิดภัยพิบัติ เช่น แผ่นดินไหว หรือไฟป่า มักแพร่กระจายอย่างรวดเร็วและมีพลังในการสร้างความตื่นตระหนกได้ในวงกว้าง ปัญหาสำคัญคือข้อมูลจำนวนมากที่เผยแพร่ในช่วงเหตุการณ์เหล่านี้ อาจยังไม่ผ่านการตรวจสอบหรือขาดแหล่งที่มาอย่างชัดเจน ซึ่งหากประชาชนรับข้อมูลโดยไม่ไตร่ตรอง ก็อาจนำไปสู่ความเข้าใจที่คลาดเคลื่อน การตัดสินใจที่ไม่เหมาะสมหรือตื่นตระหนกเกินจำเป็น การมี “ทักษะในการรู้เท่าทันสื่อ” จึงเป็นเกราะสำคัญที่ประชาชนทุกคนควรมี โดยเฉพาะการตรวจสอบแหล่งที่มาของข่าว เปรียบเทียบกับข้อมูลจากหน่วยงานที่เชื่อถือได้ และหลีกเลี่ยงการแชร์ข้อมูลที่ยังไม่แน่ชัด นอกจากนี้ สิ่งที่น่าเป็นห่วงไม่แพ้กันคือ การที่กลุ่มใดกลุ่มหนึ่งอาจฉวยโอกาสในช่วงสถานการณ์วิกฤตสร้างประเด็นหรือบิดเบือนข้อมูล เพื่อกระตุ้นความรู้สึกของสังคม หรือชี้นำทิศทางความคิดเห็นในเชิงลบ ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของสังคมในวงกว้าง การตระหนักถึงผลกระทบจากการสร้างหรือขยายประเด็นทางสังคมที่ไม่ตั้งอยู่บนข้อเท็จจริง จึงเป็นเรื่องที่ประชาชนควรใส่ใจอย่างยิ่ง เพราะการสื่อสารไม่ใช่เพียงแค่การเสพข่าวเท่านั้น แต่ยังหมายถึง การรู้เท่าทัน บริโภคอย่างมีวิจารณญาณ และเลือกขับเคลื่อนสังคมด้วยข้อมูลที่ถูกต้อง เพื่อร่วมกันสร้างภูมิคุ้มกันข่าวสารที่แข็งแรงในช่วงเวลาแห่งความเปราะบางของสังคมไทย “ประชาชนควรรับฟังข้อมูลจากแหล่งที่เชื่อถือได้ เช่น กรมอุตุนิยมวิทยา หรือศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ พร้อมทั้งเรียนรู้วิธีปฏิบัติตนในสถานการณ์ฉุกเฉิน เช่น การหาจุดปลอดภัยในอาคาร การจัดกระเป๋าฉุกเฉิน และการวางแผนเส้นทางอพยพล่วงหน้า ความเข้าใจพื้นฐานเหล่านี้จะช่วยลดความเสี่ยงและเพิ่มโอกาสในการเอาตัวรอดในกรณีเกิดเหตุการณ์จริง ทั้งนี้ ภาครัฐและภาคประชาชนจำเป็นต้องร่วมมือกันอย่างใกล้ชิด เพื่อสร้างสังคมที่พร้อมเผชิญและรับมือกับแผ่นดินไหวได้อย่างมีประสิทธิภาพและไม่ตื่นตระหนกเกินเหตุ” ท้ายที่สุด แม้ประเทศไทยจะไม่สามารถหลีกเลี่ยงการเกิดภัยพิบัติได้ แต่เราสามารถเตรียมพร้อมรับมือและช่วยกันลดผลกระทบความเสียหายได้อย่างมีประสิทธิภาพ หากทุกภาคส่วนร่วมกันขับเคลื่อนองค์ความรู้และนวัตกรรมไปสู่การปฏิบัติจริง ร่วมกันพัฒนาระบบการป้องกันที่ทันสมัย และเสริมสร้างสังคมที่เข้มแข็ง ยกระดับความปลอดภัยให้กับประชาชนในทุกพื้นที่ เพราะความมั่นคงของชีวิตประชาชนคือรากฐานสำคัญของการพัฒนาอย่างยั่งยืน และเป็นสิ่งที่ทุกภาคส่วนในสังคมไทยควรร่วมมือกันอย่างจริงจังตั้งแต่นี้เป็นต้นไป ทั้งนี้ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เตรียมจัดทำ “คู่มือรับมือแผ่นดินไหว : ฉบับประชาชน” ซึ่งอยู่ระหว่างขั้นตอนการเรียบเรียงและรวบรวมข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญในสาขาต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยมีเป้าหมายเพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงความรู้และแนวปฏิบัติที่เข้าใจง่าย ใช้ได้จริง และเหมาะสมกับบริบทของประเทศไทย โดยเฉพาะในชุมชนเมืองและพื้นที่เสี่ยงภัย คู่มือฉบับนี้จะช่วยยกระดับความพร้อมของคนไทยในการเผชิญเหตุฉุกเฉิน ทั้งในแง่ของการป้องกันตนเอง ดูแลคนรอบข้าง ไปจนถึงการรับมือกับผลกระทบหลังเหตุการณ์ เพื่อให้สังคมไทยสามารถอยู่ร่วมกับภัยพิบัติอย่างไม่ประมาท และมีความมั่นคงปลอดภัยมากยิ่งขึ้นในอนาคตอันใกล้ EZ Webmaster Related Posts มมส สืบสานประเพณีสงกรานต์ ทำบุญตักบาตรเสริมสิริมงคลรับปีใหม่ไทย ทีเค พาร์ค พาเจาะเส้นทางความสำเร็จนักเขียนไทยผู้เจาะตลาดอินเตอร์ พร้อมเปิดทริคอัปเลเวล “นักเขียนมือทอง” หนุนวรรณกรรมไทยไปตีตลาดโลก ชวนร่วมคอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา ชม “tattoo colour” ช่วยส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาของนักเรียน คณะสถาปัตย์ จุฬาฯ จับมือ PMCU ร่วมจัดหลักสูตรพัฒนาผู้จัดการสินทรัพย์และ นักพัฒนาเมืองรุ่นใหม่ พลิกโฉมพื้นที่สถานีรถไฟ “สอศ. – กปภ. ผนึกกำลัง ปั้นช่างประปามืออาชีพ เสริมทักษะ สร้างรายได้ทั่วประเทศ! Post navigation PREVIOUS Previous post: มีทุนการศึกษา!! วิทยาลัยทองสุข เปิดรับครบทุกระดับ ป.ตรี โทและป.เอก พร้อม INTERNATIONAL PROGRAMNEXT Next post: 5 มหาวิทยาลัยเอกชนไทยที่ครองแชมป์วงการกีฬาระดับประเทศ ! Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
จาก “เด็กเสิร์ฟ” สู่ “บัณฑิต” เปลี่ยนชีวิตด้วยการขับแกร็บ EZ WebmasterApril 18, 2025 เพราะต้นทุนชีวิตของคนเราไม่เท่ากัน ทำให้หลายคนอาจต้องใช้ความพยายามมากกว่าคนอื่นเป็นเท่าตัว เพื่อพาตัวเองก้าวสู่ความสำเร็จ เหมือนเช่น “น้องกิ่ง” กัญญารัตน์ สีแดงน้อย สาวน้อยวัย 25 ปี ที่เคยต้องหยุดเรียนกลางคันเพราะปัญหาทางด้านการเงิน ชีวิตเคยมืดมนจนมองไม่เห็นอนาคต แต่แล้วก็ได้รู้จักกับ “แกร็บ” ที่เข้ามาเป็นแสงสว่างให้เธอมีรายได้เลี้ยงชีพ และเป็น “สะพาน” ที่พาเธอกลับเข้าสู่เส้นทางการศึกษา จนจบชั้นอนุปริญญาได้สำเร็จ เมื่อความฝันต้องพักไว้ เพื่อความอยู่รอดของครอบครัว “น้องกิ่ง” ชาวอำเภอน้ำปาด… เด็กท่องเที่ยว ม.รังสิต พาไขสูตรลับเที่ยวยังไงให้โลกจำ EZ WebmasterApril 18, 2025 สาขาการจัดการการท่องเที่ยวและการบริการ วิทยาลัยการท่องเที่ยวและอุตสาหกรรมการบริการ มหาวิทยาลัยรังสิต เชิญชวนเข้าร่วมโครงการสัมมนา หัวข้อ “How Travel Influencers Make a Living : เปิดสูตรลับ เปลี่ยนการเที่ยวให้เป็นเงินล้าน” สำหรับผู้ที่ฝันอยากเป็นอินฟลูเอนเซอร์สายท่องเที่ยว ในวันอังคารที่ 22 เมษายน…
เด็กท่องเที่ยว ม.รังสิต พาไขสูตรลับเที่ยวยังไงให้โลกจำ EZ WebmasterApril 18, 2025 สาขาการจัดการการท่องเที่ยวและการบริการ วิทยาลัยการท่องเที่ยวและอุตสาหกรรมการบริการ มหาวิทยาลัยรังสิต เชิญชวนเข้าร่วมโครงการสัมมนา หัวข้อ “How Travel Influencers Make a Living : เปิดสูตรลับ เปลี่ยนการเที่ยวให้เป็นเงินล้าน” สำหรับผู้ที่ฝันอยากเป็นอินฟลูเอนเซอร์สายท่องเที่ยว ในวันอังคารที่ 22 เมษายน…
Xiamenให้ทุนป.ตรีต่างชาติ InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศApril 18, 2025 Xiamen University ได้จัดทุนการศึกษาระดับปริญญาตรี สำหรับปีการศึกษา 2025-2026 ให้กับนักศึกษาต่างชาติ โดยผู้สมัครจะต้องเป็นพลเมืองที่ไม่ใช่ชาวจีน มีสุขภาพดีและมีอายุไม่เกิน 30 ปี ณ วันที่ 1 กันยายน 2025 และต้องสำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ผู้สมัครจะต้องสำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายโดยมีผลการเรียนที่ดี และได้รับคำแนะนำจากสถาบันขงจื๊อที่มหาวิทยาลัยเซียเหมินร่วมสร้างหรือมหาวิทยาลัยพันธมิตรแห่งหนึ่ง… ทุนที่EPFLสวิตเซอร์แลนด์ InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศApril 17, 2025 École Polytechnique Fédérale de Lausanne (EPFL) ในสวิตเซอร์แลนด์ แจ้งให้ทุน EPFL Social Scholarshipsกับนักเรียนต่างชาติที่เรียนจบปีแรกไปแล้วหรืออยู่ในโปรแกรม CMS สามารถสมัครรับความช่วยเหลือทางการเงินฉุกเฉินนี้ นักศึกษาต่างชาติจะมีสิทธิ์หลังจากเรียนจบปีแรกที่ EPFL ส่วนพลเมืองสวิส ผู้ถือใบอนุญาต C… ทุน Be the Difference InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศApril 16, 2025 University of Stirling ในสหราชอาณาจักร แจ้งให้ทุน Be the Difference Postgraduate International Scholarships โดยเป็นทุนยกเว้นค่าเล่าเรียน 7,000 ปอนด์(เฉพาะปีแรก) จำนวน 100 ทุน ให้กับนักศึกษาต่างชาติใหม่ที่… ทุนสำหรับไทยกับเวียดนาม InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศApril 15, 2025 Univeristy of Bradford มอบทุนการศึกษาอันทรงเกียรตินี้ร่วมกับ British Council และ GREAT Britain campaign เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาปริญญาโทที่เก่งที่สุดและฉลาดที่สุดจากประเทศไทยและเวียดนามมาเรียนที่มหาวิทยาลัยแบรดฟอร์ด หลักสูตรเต็มเวลานี้เริ่มในเดือนกันยายน2025 โดยเดทไลน์สมัครขอทุน 30 เม.ย.2025 คุณสมบัติผู้สมัคร เป็นพลเมืองของประเทศไทยและเวียดนามที่มีถิ่นฐานอยู่ในประเทศของตน ต้องอาศัยอยู่ในต่างประเทศและไม่ใช่พลเมืองของสหภาพยุโรป… ครู-อาจารย์ มูลนิธิเอสซีจี จับมือ อินสครู เปิดโลกกว้างให้คุณครู ได้เรียนรู้และเข้าใจทักษะอาชีพใหม่ๆ ในโลกปัจจุบัน EZ WebmasterApril 18, 2025 มูลนิธิเอสซีจี ร่วมกับ บริษัท อินสครู จำกัด จัดกิจกรรม Human Library by มูลนิธิเอสซีจี ภายในงาน “insKru Festival 2025 มหกรรมไอเดียการสอน ตอน Keep ครู Stay ครู เป็นตัวเองในวันที่ฉันเป็นครู” งานดี ๆ สำหรับคุณครู คนที่อยากเป็นคุณครู และคนทั่วไปที่สนใจเรื่องราวในแวดวงการศึกษา ที่จะสร้างแรงบันดาลใจในการเลือกสร้างสรรค์การเรียนรู้ในแบบของตัวเอง สำหรับกิจกรรม Human Library นี้… มทร.ธัญบุรี คว้า 7 รางวัลนวัตกรรมระดับโลก เวทีสิ่งประดิษฐ์ Geneva 2025 นครเจนีวา สวิสเซอร์แลนด์ tui sakrapeeApril 17, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อเสียงระดับนานาชาติอย่างต่อเนื่อง คว้า 7 รางวัลจากเวทีประกวดนวัตกรรมระดับโลก The 50th International Exhibition of Inventions Geneva 2025 ที่จัดขึ้นที่นครเจนีวา สมาพันธรัฐสวิส โดยมีผลงานกว่า 1,000… มจธ. ฟื้นฟูผู้ป่วยกล้ามเนื้ออ่อนแรงด้วย “หุ่นยนต์ + AI + เกม” ความหวังใหม่ในยุคสังคมสูงวัย EZ WebmasterApril 17, 2025 ทีมนักวิจัย มจธ. พัฒนาหุ่นยนต์ต้นแบบช่วยกายภาพบำบัดผู้ป่วยกล้ามเนื้ออ่อนแรง โดยผสานเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์และเกมเข้าไว้ด้วยกัน ช่วยให้การฟื้นฟูร่างกายแม่นยำ สนุก และมีประสิทธิภาพมากขึ้น ประเทศไทยกำลังก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์ โดยข้อมูลจากสำนักงานสถิติแห่งชาติและหน่วยงานด้านประชากรศาสตร์คาดการณ์ว่า ภายในปี 2583 ประเทศไทยจะมีผู้สูงอายุคิดเป็นสัดส่วนมากกว่า 32% ของประชากรทั้งหมด หรือประมาณ 20 ล้านคน ซึ่งนำมาสู่การเพิ่มขึ้นของโรคเรื้อรังและภาวะเสื่อมของระบบต่าง ๆ ในร่างกาย โดยเฉพาะโรคที่เกี่ยวกับการทำงานของระบบประสาทและกล้ามเนื้อ เช่น… มทร.ธัญบุรี สร้างสรรค์ “คลีนบิวตี้” นวัตกรรมชะลอวัย จากอะโวคาโด tui sakrapeeApril 11, 2025 มทร.ธัญบุรี สร้างสรรค์ “คลีนบิวตี้” นวัตกรรมชะลอวัย จากอะโวคาโด ใส่ใจสิ่งแวดล้อม จุดประกายผู้ประกอบการ จากอะโวคาโดเหลือทิ้ง สู่ครีมบำรุงผิวหน้าสุดล้ำ ฝีมือนักวิจัย มทร.ธัญบุรี ผสานนาโนเทคโนโลยี พัฒนา “Anti-Aging Facial Cleansing Hydrogel และ Anti-Aging Nanoemulgel” ต้านริ้วรอยอย่างมีประสิทธิภาพ ปลอดภัย ตามแนวคิดคลีนบิวตี้ และพร้อมถ่ายทอดองค์ความรู้สู่ชุมชน… กิจกรรม มมส สืบสานประเพณีสงกรานต์ ทำบุญตักบาตรเสริมสิริมงคลรับปีใหม่ไทย EZ WebmasterApril 17, 2025 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (มมส) จัดงานสืบสานประเพณีสงกรานต์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ประจำปี 2568 โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.ประยุกต์ ศรีวิไล อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เป็นประธานในพิธี พร้อมด้วยผู้บริหาร คณาจารย์ บุคลากร และนิสิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เข้าร่วมงาน ณ… ทีเค พาร์ค พาเจาะเส้นทางความสำเร็จนักเขียนไทยผู้เจาะตลาดอินเตอร์ พร้อมเปิดทริคอัปเลเวล “นักเขียนมือทอง” หนุนวรรณกรรมไทยไปตีตลาดโลก EZ WebmasterApril 17, 2025 “นักเขียนไทย สู้ต่างชาติได้จริงไหม?” เป็นคำถามที่หลายคนอาจสงสัย ทั้งที่นักเขียนไทยหลายคน ก็มีฝีมือไม่แพ้ใคร แต่ทำไมยังไม่ค่อยเห็นวรรณกรรมไทยไปไกลถึงตลาดโลก ในขณะที่หลายประเทศมีวรรณกรรมเป็นซอฟต์พาวเวอร์และเป็นสินค้าส่งออก เช่น เกาหลีใต้ที่ผลักดัน Webtoon และนิยายออนไลน์สู่ K-Drama และ K-Series ญี่ปุ่นที่เปลี่ยนมังงะและไลต์โนเวล (Light Novel) ให้กลายเป็นสินค้าส่งออกสำคัญของประเทศ เช่นเดียวกับจีนที่ส่งออกวรรณกรรมออนไลน์โกยรายได้มหาศาลจากทั่วโลก และถึงแม้ว่าในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา อุตสาหกรรมคอนเทนต์ไทยจะคึกคักขึ้นอย่างมากโดยเฉพาะจากกระแสนิยายวายที่ถูกนำไปสร้างเป็นซีรีส์โด่งดังไปทั่วโลก แต่วรรณกรรมไทยที่ได้รับการแปลและตีพิมพ์ในต่างประเทศต้องยอมรับว่ายังมีจำนวนไม่มากเมื่อเทียบกับประเทศอื่น ๆ ในโอกาสฉลองครบรอบ 20 ปี… ชวนร่วมคอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา ชม “tattoo colour” ช่วยส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาของนักเรียน tui sakrapeeApril 8, 2025 คอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา tattoo colour สามารถซื้อบัตรเข้าร่วมชมคอนเสิร์ตกันได้ทั้งนักเรียน นักศึกษา บุคลากร และบุคลภายนอก สมาคมผู้ปกครองและครูโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ขอเชิญชวนทุกท่านร่วมงาน “#คอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา” ที่จะมอบความสุข สนุกสนาน และช่วยส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาของนักเรียน 📅 วันอาทิตย์ที่ 4 พฤษภาคม 2568… คณะสถาปัตย์ จุฬาฯ จับมือ PMCU ร่วมจัดหลักสูตรพัฒนาผู้จัดการสินทรัพย์และ นักพัฒนาเมืองรุ่นใหม่ พลิกโฉมพื้นที่สถานีรถไฟ EZ WebmasterApril 8, 2025 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับสำนักงานจัดการทรัพย์สิน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (PMCU) จัดหลักสูตร “พัฒนาผู้บริหารธุรกิจอสังหาริมทรัพย์และการพัฒนาพื้นที่รอบสถานีรถไฟเพื่อสร้างรายได้” เพื่อเพิ่มศักยภาพและประสิทธิภาพของบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการจัดการสินทรัพย์และอสังหาริมทรัพย์ มุ่งเน้นการบริหารพื้นที่โดยรอบสถานีรถไฟเพื่อให้บริการอย่างมีประสิทธิภาพ สร้างศูนย์กลางของชุมชนในด้านเศรษฐกิจและสังคม เพื่อเป็นส่วนสำคัญในการก้าวสู่การเป็นเมืองแห่งอนาคตอย่างยั่งยืน โดย ซียู ดีโฟร์เอส เอ็นเทอร์ไพรส์ เป็นผู้ดำเนินการจัดการหลักสูตรนี้ ผศ. สรายุทธ ทรัพย์สุข คณบดี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์… Search for: Search EZ Webmaster April 8, 2025 EZ Webmaster April 8, 2025 ม.ธรรมศาสตร์ เร่งเพิ่มความเชื่อมั่นภาวะวิกฤตให้คนไทย ระดมผู้เชี่ยวชาญร่วมชี้ข้อเท็จจริง และแนวทางรับมือด้านโครงสร้างอาคาร ความปลอดภัย สุขภาพจิต การรับมือข่าวสาร พร้อมพัฒนาระบบ AI ช่วยคนไทยลดข้อกังวลการฟื้นฟูที่อยู่อาศัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) จัดงานเสวนาวิชาการครั้งพิเศษในหัวข้อ “คู่มือรับมือแผ่นดินไหว : ฉบับประชาชน” เปิดพื้นที่แลกเปลี่ยนองค์ความรู้และเสนอแนวทางการเตรียมความพร้อมให้ประชาชนรับมือกับแผ่นดินไหวหรือภัยพิบัติอื่น ๆ ที่อาจเกิดขึ้น พร้อมสร้างความตระหนักรู้ในสังคมไทย และยกระดับความสามารถของประชาชนในการดูแลตนเอง ครอบครัว และชุมชนในยามวิกฤต ผ่านการถ่ายทอดความรู้จากผู้เชี่ยวชาญด้านวิศวกรรม วิศวกรรมโยธา ซึ่งมีประสบการณ์ลงพื้นที่จริง แชร์วิธีการตรวจสอบรอยร้าวและความเสียหายเบื้องต้นของอาคารที่อยู่อาศัย พร้อมสาธิตเทคฯ AI ที่ช่วยในการประเมินสภาพอาคารผ่านการประมวลผลภาพถ่าย เพื่อให้ประชาชนและวิศวกรรมโยธาสามารถเข้าถึงเครื่องมือประเมินความปลอดภัยได้ง่ายขึ้นในยุคดิจิทัล นอกจากนี้ยังดึงผู้เชี่ยวชาญในวงการแพทย์ จิตวิทยาและการสื่อสารที่มานำเสนอแนวทางในการปฏิบัติสำหรับประชาชนต่อสถานการณ์แผ่นดินไหวทั้งด้านความปลอดภัย สภาพจิตใจ และการรู้เท่าทันข่าวสาร รศ. ดร.ดำรงค์ อดุลยฤทธิกุล รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ ม.ธรรมศาสตร์ กล่าวว่า จากเหตุการณ์แผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2568 ที่ผ่านมา ทำให้ประเทศไทยเห็นชัดแล้วว่าภัยพิบัติกลายเป็นเรื่องใกล้ตัวกว่าที่คิด และยิ่งสะท้อนให้เห็นถึงความจำเป็นในการยกระดับความรู้ ความเข้าใจ และความพร้อมของประชาชนในการรับมือกับภัยธรรมชาติ ซึ่งแม้จะเกิดไม่บ่อยครั้งแต่ก็ส่งผลกระทบในวงกว้าง โดยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เล็งเห็นความสำคัญต่อปัญหาจึงได้จัดงานเสวนาวิชาการพิเศษขึ้น ในหัวข้อ “คู่มือรับมือแผ่นดินไหว ฉบับประชาชน” เพื่อเป็นเวทีแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ และแนะแนวทางการเตรียมพร้อมรับมือภัยพิบัติอย่างรอบด้านจากผู้เชี่ยวชาญในสาขาต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งวิศวกรรมโยธา แพทย์ จิตวิทยา ตลอดจนผู้เชี่ยวชาญด้านการสื่อสารมวลชน ที่ได้ตกผลึกข้อมูลองค์ความรู้ที่เป็นประโยชน์ต่อสาธารณชนและสามารถนำไปปฏิบัติได้จริง ซึ่งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์การบริหาร “การเป็นมหาวิทยาลัยเป็นที่พึ่งของสังคม” รศ. ดร.พรหมพัฒน ธัญสิริชัยศรี ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์ เปิดเผยว่า จากเหตุการณ์ดังกล่าวยังทำให้เกิดการตั้งคำถามเกี่ยวกับด้านโครงสร้างอาคาร ซึ่งการที่ตึกสามารถ “ยืดหยุ่น” และ “โยกตัวได้” ภายใต้แรงสั่นสะเทือนนั้น ถือเป็นหลักการออกแบบที่ดีและเป็นไปตามมาตรฐานสากล โดยเฉพาะในพื้นที่ที่มีความเสี่ยงต่อแผ่นดินไหว โดยอาคารยุคปัจจุบันนิยมใช้โครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก ซึ่งผสมผสานคุณสมบัติของ “ความแข็งแรง” จากคอนกรีต และ “ความเหนียว” จากเหล็กไว้ด้วยกัน ทำให้อาคารสามารถรับแรงสั่นสะเทือนและกระจายแรงได้ดี เทคนิคทางด้านออกแบบของตึกอาคารสูงในยุคนี้จึงออกแบบให้มีความยืดหยุ่นเพื่อกระจายแรงและรับน้ำหนักของตัวเองได้ หากไม่สามารถโยกตัวได้ อาจเสี่ยงต่อการแตกร้าวหรือพังทลายมากขึ้น อย่างไรก็ตาม หากตัวอาคารเกิดการแกว่งตัวมากเกินไปก็อาจเป็นสัญญาณอันตรายที่บ่งชี้ถึงความผิดปกติของโครงสร้าง โดยเฉพาะในกรณีที่โครงสร้างไม่สามารถรับน้ำหนักได้เพียงพอ หรือได้รับความเสียหายจากแรงสั่นสะเทือนก่อนหน้า แม้ในภาวะปกติอาคารจะถูกคำนวณไว้แล้วให้ทนต่อการสั่นไหวระดับหนึ่ง แต่หากเกิดแรงสั่นซ้ำซ้อน เช่น อาฟเตอร์ช็อกต่อเนื่อง หรือตัวอาคารมีความเสียหายที่จุดในโครงสร้างเดิม อาจนำไปสู่ความเสี่ยงในการถล่มของโครงสร้างอาคารได้ รศ. ดร.พรหมพัฒน กล่าวเพิ่มเติมว่า หนึ่งในนวัตกรรมที่น่าจับตามองคือ ระบบตรวจสอบรอยร้าวด้วยภาพถ่าย (Crack Detection) ที่ใช้ AI ด้าน Computer Vision, Photogrammetry, และ large language model ในการวิเคราะห์ภาพถ่ายของอาคารเพื่อประเมินรอยร้าว ความเอียงและความผิดปกติของโครงสร้าง โดยเฉพาะการใช้โดรนเก็บข้อมูลภาพถ่ายรอบตัวอาคาร และสร้างแบบจำลองโมเดลสามมิติ (3D Modeling) ช่วยให้สามารถตรวจพบความเปลี่ยนแปลงที่ตามองไม่เห็น เช่น ความเอียงเพียงเล็กน้อยของอาคาร หรือรอยร้าวที่มีแนวโน้มลุกลาม ซึ่งอาจมีความเสี่ยงต่อโครงสร้างในอนาคต โดยเทคโนโลยีเหล่านี้เปรียบเสมือน “หมอเอกซเรย์อาคาร” ที่ช่วยมองทะลุความเสียหายที่ซ่อนอยู่ เพิ่มความแม่นยำในการวิเคราะห์และประเมิน ช่วยลดความไม่เชื่อมั่นของประชาชนต่อกระบวนการตรวจสอบแบบเดิม ทั้งนี้หากภาครัฐและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถนำเทคฯ เหล่านี้มาใช้ได้อย่างแพร่หลาย รวมทั้งสร้างระบบฐานข้อมูลกลางร่วมกันในการจัดเก็บและติดตามข้อมูลโครงสร้างอาคารอย่างเป็นระบบ ก็จะช่วยยกระดับมาตรฐานความปลอดภัยของอาคารทั่วประเทศได้ในระยะยาว “InSpectra-o1” ต้นแบบแอปพลิเคชันสำหรับประเมินความเสียหายทางโครงสร้างได้จากภาพถ่ายด้วย AI ซึ่งได้รับการพัฒนาโดย รศ. ดร.พรหมพัฒน ธัญสิริชัยศรี ศูนย์วิจัยตรวจสอบโครงสร้างและเฝ้าระวังภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์ โดยยังอยู่ในระหว่างการทดลองใช้งานที่เปิดให้ประชาชนสามารถใช้ได้ เพื่อช่วยตรวจสอบและประเมินรอยร้าว ความเสียหายในเบื้องต้นของที่อยู่อาศัยได้ ถือเป็นอีกหนึ่งตัวช่วยสำคัญที่ถูกพัฒนาเพื่อเป็นศูนย์รวมข้อมูลของอาคารและบ้านเรือน ไม่ว่าจะเป็นแบบแปลน โครงสร้าง หรือประวัติการซ่อมแซม จะช่วยให้วิศวกรเข้าถึงข้อมูลได้รวดเร็ว สามารถตรวจสอบอาคารได้อย่างมีประสิทธิภาพ ลดเวลาและค่าใช้จ่าย อีกทั้งยังใช้เป็นหลักฐานประกอบการประกันภัย ลดข้อโต้แย้งและสร้างความมั่นใจให้กับประชาชน อย่างไรก็ดี แม้เทคโนโลยี AI จะเข้ามามีบทบาทในการช่วยประเมินความเสียหายของอาคารได้อย่างรวดเร็ว แต่การใช้งานยังมีข้อจำกัดด้านข้อมูลที่ไม่เพียงพอ ส่งผลให้ AI สามารถประเมินได้เพียงราว 50-60% เท่านั้น จึงยังต้องอาศัยวิศวกรเข้ามาตรวจสอบเพิ่มเติมในจุดที่ AI ยังไม่ครอบคลุม ทั้งนี้ In Spectra-o1 ถูกออกแบบมาให้ใช้งานง่าย ประชาชนสามารถถ่ายภาพและอัปโหลดได้ทันทีโดยไม่ต้องกรอกข้อมูล ระบบจะเริ่มวิเคราะห์เบื้องต้นโดยอัตโนมัติ หากทุกภาคส่วนร่วมกันสนับสนุนและเพิ่มข้อมูลที่จำเป็นเข้าสู่ระบบอย่างต่อเนื่อง ก็จะช่วยเพิ่มความแม่นยำให้ AI สามารถประเมินได้ครอบคลุมมากขึ้นในอนาคต” ด้าน ผศ. พญ.นิพัทธา วินะยานุวัติคุณ ภาควิชาสาขาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์ กล่าวว่า การเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉิน กลุ่มประชาชนที่อยู่ในภาวะเปราะบาง เช่น ผู้สูงอายุ เด็กเล็ก และผู้พิการ ผู้ป่วยเรื้อรังจำเป็นต้องได้รับการดูแลเป็นลำดับต้น ๆ แต่ในบริบทของประเทศไทยในปัจจุบันยังไม่ปรากฏหน่วยงานกลางที่มีหน้าที่รับผิดชอบโดยตรงในการคุ้มครองและจัดการช่วยเหลือกลุ่มเหล่านี้ในภาวะฉุกเฉิน โดยเฉพาะในช่วงเวลาที่ทุกวินาทีหมายถึงความอยู่รอด ประชาชนส่วนใหญ่ยังขาดองค์ความรู้ ความเข้าใจ และแนวทางที่ชัดเจนในการปฏิบัติตนเมื่อเกิดภัยพิบัติ ขณะที่มาตรการในระดับชาติเพื่อรองรับและดูแลกลุ่มเปราะบางหรือประชาชนทั่วไปก็ยังมีข้อจำกัดทั้งในด้านความครอบคลุมและความชัดเจนในการดำเนินการ อีกด้านหนึ่ง ประชาชนทั่วไปควรได้รับการส่งเสริมให้มีความรู้พื้นฐานในการเอาตัวรอดจากภัยพิบัติต่างๆ พร้อมเข้าใจวิธีการช่วยเหลือกลุ่มเปราะบางอย่างปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ ขณะที่ภาครัฐควรมีบทบาทเชิงรุกมากขึ้นในการเผยแพร่ข้อมูล จัดทำแนวปฏิบัติที่เหมาะสม รวมถึงพัฒนาระบบการเตือนภัยและการช่วยเหลือที่เข้าถึงง่ายและเพียงพอสำหรับทุกกลุ่ม เพราะในยามเกิดภัยพิบัติ ความรอดพ้นของชีวิตคนหนึ่งคน อาจขึ้นอยู่กับความพร้อมของสังคมโดยรวมทั้งหมด นอกจากนี้ แนวทางเบื้องต้นในการดูแลกายและใจก็มีความสำคัญ เช่น การประเมินสุขภาพจิตอย่างต่อเนื่อง การสร้างพื้นที่ปลอดภัยสำหรับพักพิง การจัดหาอาหาร น้ำสะอาด และยารักษาโรคพื้นฐาน การดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะฉุกเฉิน รวมถึงการส่งต่อผู้มีภาวะผิดปกติของร่างกายและจิตใจไปยังหน่วยบริการสุขภาพที่เหมาะสม “แม้จะมีเจ้าหน้าที่ในหน่วยงานต่าง ๆ ที่ผ่านการอบรมการรับมือกับสถานการณ์ฉุกเฉินมาแล้ว แต่การช่วยเหลือผู้เปราะบางมักเริ่มต้นจากคนใกล้ตัว เช่น ครอบครัว เพื่อนบ้าน หรือชุมชนโดยรอบ ดังนั้นจึงมีความจำเป็นเร่งด่วนที่ทั้งภาครัฐและภาคประชาชนต้องร่วมกันเสริมสร้างเครือข่ายความช่วยเหลือในระดับรากฐาน โดยเฉพาะในพื้นที่เสี่ยงภัย เพื่อให้สามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้อย่างรวดเร็วและปลอดภัย ขณะเดียวกัน การเตรียมความพร้อมให้กับกลุ่มเปราะบางเองก็เป็นอีกมิติหนึ่งที่มักถูกละเลย ทั้งที่ควรได้รับการฝึกฝนตั้งแต่ระดับครอบครัว โรงเรียนไปจนถึงมหาวิทยาลัยในรูปแบบที่เข้าใจง่าย สอดคล้องกับสภาพร่างกายหรือข้อจำกัดเฉพาะบุคคล เพื่อให้พวกเขาสามารถปกป้องตนเองในเบื้องต้นได้หากไม่มีผู้ช่วยเหลือในทันที ด้านการฟื้นฟูสภาพจิตใจประชาชนหลังเหตุภัยพิบัติก็ไม่ใช่แค่เรื่องของการให้กำลังใจเพียงชั่วครู่ แต่เป็นการติดตามและดูแลอย่างต่อเนื่อง เพราะจิตใจที่บอบช้ำต้องการเวลาและความเข้าใจในการฟื้นคืน“ ด้าน รศ. ดร.นิธิดา แสงสิงแก้ว สาขาวารสารศาสตร์ คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน ม.ธรรมศาสตร์ กล่าวเสริมว่า ในยุคปัจจุบันที่โซเชียลมีเดียกลายเป็นแหล่งข่าวและข้อมูลหลักของประชาชน การสื่อสารในช่วงสถานการณ์วิกฤตโดยเฉพาะเมื่อเกิดภัยพิบัติ เช่น แผ่นดินไหว หรือไฟป่า มักแพร่กระจายอย่างรวดเร็วและมีพลังในการสร้างความตื่นตระหนกได้ในวงกว้าง ปัญหาสำคัญคือข้อมูลจำนวนมากที่เผยแพร่ในช่วงเหตุการณ์เหล่านี้ อาจยังไม่ผ่านการตรวจสอบหรือขาดแหล่งที่มาอย่างชัดเจน ซึ่งหากประชาชนรับข้อมูลโดยไม่ไตร่ตรอง ก็อาจนำไปสู่ความเข้าใจที่คลาดเคลื่อน การตัดสินใจที่ไม่เหมาะสมหรือตื่นตระหนกเกินจำเป็น การมี “ทักษะในการรู้เท่าทันสื่อ” จึงเป็นเกราะสำคัญที่ประชาชนทุกคนควรมี โดยเฉพาะการตรวจสอบแหล่งที่มาของข่าว เปรียบเทียบกับข้อมูลจากหน่วยงานที่เชื่อถือได้ และหลีกเลี่ยงการแชร์ข้อมูลที่ยังไม่แน่ชัด นอกจากนี้ สิ่งที่น่าเป็นห่วงไม่แพ้กันคือ การที่กลุ่มใดกลุ่มหนึ่งอาจฉวยโอกาสในช่วงสถานการณ์วิกฤตสร้างประเด็นหรือบิดเบือนข้อมูล เพื่อกระตุ้นความรู้สึกของสังคม หรือชี้นำทิศทางความคิดเห็นในเชิงลบ ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของสังคมในวงกว้าง การตระหนักถึงผลกระทบจากการสร้างหรือขยายประเด็นทางสังคมที่ไม่ตั้งอยู่บนข้อเท็จจริง จึงเป็นเรื่องที่ประชาชนควรใส่ใจอย่างยิ่ง เพราะการสื่อสารไม่ใช่เพียงแค่การเสพข่าวเท่านั้น แต่ยังหมายถึง การรู้เท่าทัน บริโภคอย่างมีวิจารณญาณ และเลือกขับเคลื่อนสังคมด้วยข้อมูลที่ถูกต้อง เพื่อร่วมกันสร้างภูมิคุ้มกันข่าวสารที่แข็งแรงในช่วงเวลาแห่งความเปราะบางของสังคมไทย “ประชาชนควรรับฟังข้อมูลจากแหล่งที่เชื่อถือได้ เช่น กรมอุตุนิยมวิทยา หรือศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ พร้อมทั้งเรียนรู้วิธีปฏิบัติตนในสถานการณ์ฉุกเฉิน เช่น การหาจุดปลอดภัยในอาคาร การจัดกระเป๋าฉุกเฉิน และการวางแผนเส้นทางอพยพล่วงหน้า ความเข้าใจพื้นฐานเหล่านี้จะช่วยลดความเสี่ยงและเพิ่มโอกาสในการเอาตัวรอดในกรณีเกิดเหตุการณ์จริง ทั้งนี้ ภาครัฐและภาคประชาชนจำเป็นต้องร่วมมือกันอย่างใกล้ชิด เพื่อสร้างสังคมที่พร้อมเผชิญและรับมือกับแผ่นดินไหวได้อย่างมีประสิทธิภาพและไม่ตื่นตระหนกเกินเหตุ” ท้ายที่สุด แม้ประเทศไทยจะไม่สามารถหลีกเลี่ยงการเกิดภัยพิบัติได้ แต่เราสามารถเตรียมพร้อมรับมือและช่วยกันลดผลกระทบความเสียหายได้อย่างมีประสิทธิภาพ หากทุกภาคส่วนร่วมกันขับเคลื่อนองค์ความรู้และนวัตกรรมไปสู่การปฏิบัติจริง ร่วมกันพัฒนาระบบการป้องกันที่ทันสมัย และเสริมสร้างสังคมที่เข้มแข็ง ยกระดับความปลอดภัยให้กับประชาชนในทุกพื้นที่ เพราะความมั่นคงของชีวิตประชาชนคือรากฐานสำคัญของการพัฒนาอย่างยั่งยืน และเป็นสิ่งที่ทุกภาคส่วนในสังคมไทยควรร่วมมือกันอย่างจริงจังตั้งแต่นี้เป็นต้นไป ทั้งนี้ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เตรียมจัดทำ “คู่มือรับมือแผ่นดินไหว : ฉบับประชาชน” ซึ่งอยู่ระหว่างขั้นตอนการเรียบเรียงและรวบรวมข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญในสาขาต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยมีเป้าหมายเพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงความรู้และแนวปฏิบัติที่เข้าใจง่าย ใช้ได้จริง และเหมาะสมกับบริบทของประเทศไทย โดยเฉพาะในชุมชนเมืองและพื้นที่เสี่ยงภัย คู่มือฉบับนี้จะช่วยยกระดับความพร้อมของคนไทยในการเผชิญเหตุฉุกเฉิน ทั้งในแง่ของการป้องกันตนเอง ดูแลคนรอบข้าง ไปจนถึงการรับมือกับผลกระทบหลังเหตุการณ์ เพื่อให้สังคมไทยสามารถอยู่ร่วมกับภัยพิบัติอย่างไม่ประมาท และมีความมั่นคงปลอดภัยมากยิ่งขึ้นในอนาคตอันใกล้ EZ Webmaster Related Posts มมส สืบสานประเพณีสงกรานต์ ทำบุญตักบาตรเสริมสิริมงคลรับปีใหม่ไทย ทีเค พาร์ค พาเจาะเส้นทางความสำเร็จนักเขียนไทยผู้เจาะตลาดอินเตอร์ พร้อมเปิดทริคอัปเลเวล “นักเขียนมือทอง” หนุนวรรณกรรมไทยไปตีตลาดโลก ชวนร่วมคอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา ชม “tattoo colour” ช่วยส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาของนักเรียน คณะสถาปัตย์ จุฬาฯ จับมือ PMCU ร่วมจัดหลักสูตรพัฒนาผู้จัดการสินทรัพย์และ นักพัฒนาเมืองรุ่นใหม่ พลิกโฉมพื้นที่สถานีรถไฟ “สอศ. – กปภ. ผนึกกำลัง ปั้นช่างประปามืออาชีพ เสริมทักษะ สร้างรายได้ทั่วประเทศ! Post navigation PREVIOUS Previous post: มีทุนการศึกษา!! วิทยาลัยทองสุข เปิดรับครบทุกระดับ ป.ตรี โทและป.เอก พร้อม INTERNATIONAL PROGRAMNEXT Next post: 5 มหาวิทยาลัยเอกชนไทยที่ครองแชมป์วงการกีฬาระดับประเทศ ! Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ทุนที่EPFLสวิตเซอร์แลนด์ InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศApril 17, 2025 École Polytechnique Fédérale de Lausanne (EPFL) ในสวิตเซอร์แลนด์ แจ้งให้ทุน EPFL Social Scholarshipsกับนักเรียนต่างชาติที่เรียนจบปีแรกไปแล้วหรืออยู่ในโปรแกรม CMS สามารถสมัครรับความช่วยเหลือทางการเงินฉุกเฉินนี้ นักศึกษาต่างชาติจะมีสิทธิ์หลังจากเรียนจบปีแรกที่ EPFL ส่วนพลเมืองสวิส ผู้ถือใบอนุญาต C… ทุน Be the Difference InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศApril 16, 2025 University of Stirling ในสหราชอาณาจักร แจ้งให้ทุน Be the Difference Postgraduate International Scholarships โดยเป็นทุนยกเว้นค่าเล่าเรียน 7,000 ปอนด์(เฉพาะปีแรก) จำนวน 100 ทุน ให้กับนักศึกษาต่างชาติใหม่ที่… ทุนสำหรับไทยกับเวียดนาม InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศApril 15, 2025 Univeristy of Bradford มอบทุนการศึกษาอันทรงเกียรตินี้ร่วมกับ British Council และ GREAT Britain campaign เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาปริญญาโทที่เก่งที่สุดและฉลาดที่สุดจากประเทศไทยและเวียดนามมาเรียนที่มหาวิทยาลัยแบรดฟอร์ด หลักสูตรเต็มเวลานี้เริ่มในเดือนกันยายน2025 โดยเดทไลน์สมัครขอทุน 30 เม.ย.2025 คุณสมบัติผู้สมัคร เป็นพลเมืองของประเทศไทยและเวียดนามที่มีถิ่นฐานอยู่ในประเทศของตน ต้องอาศัยอยู่ในต่างประเทศและไม่ใช่พลเมืองของสหภาพยุโรป… ครู-อาจารย์ มูลนิธิเอสซีจี จับมือ อินสครู เปิดโลกกว้างให้คุณครู ได้เรียนรู้และเข้าใจทักษะอาชีพใหม่ๆ ในโลกปัจจุบัน EZ WebmasterApril 18, 2025 มูลนิธิเอสซีจี ร่วมกับ บริษัท อินสครู จำกัด จัดกิจกรรม Human Library by มูลนิธิเอสซีจี ภายในงาน “insKru Festival 2025 มหกรรมไอเดียการสอน ตอน Keep ครู Stay ครู เป็นตัวเองในวันที่ฉันเป็นครู” งานดี ๆ สำหรับคุณครู คนที่อยากเป็นคุณครู และคนทั่วไปที่สนใจเรื่องราวในแวดวงการศึกษา ที่จะสร้างแรงบันดาลใจในการเลือกสร้างสรรค์การเรียนรู้ในแบบของตัวเอง สำหรับกิจกรรม Human Library นี้… มทร.ธัญบุรี คว้า 7 รางวัลนวัตกรรมระดับโลก เวทีสิ่งประดิษฐ์ Geneva 2025 นครเจนีวา สวิสเซอร์แลนด์ tui sakrapeeApril 17, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อเสียงระดับนานาชาติอย่างต่อเนื่อง คว้า 7 รางวัลจากเวทีประกวดนวัตกรรมระดับโลก The 50th International Exhibition of Inventions Geneva 2025 ที่จัดขึ้นที่นครเจนีวา สมาพันธรัฐสวิส โดยมีผลงานกว่า 1,000… มจธ. ฟื้นฟูผู้ป่วยกล้ามเนื้ออ่อนแรงด้วย “หุ่นยนต์ + AI + เกม” ความหวังใหม่ในยุคสังคมสูงวัย EZ WebmasterApril 17, 2025 ทีมนักวิจัย มจธ. พัฒนาหุ่นยนต์ต้นแบบช่วยกายภาพบำบัดผู้ป่วยกล้ามเนื้ออ่อนแรง โดยผสานเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์และเกมเข้าไว้ด้วยกัน ช่วยให้การฟื้นฟูร่างกายแม่นยำ สนุก และมีประสิทธิภาพมากขึ้น ประเทศไทยกำลังก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์ โดยข้อมูลจากสำนักงานสถิติแห่งชาติและหน่วยงานด้านประชากรศาสตร์คาดการณ์ว่า ภายในปี 2583 ประเทศไทยจะมีผู้สูงอายุคิดเป็นสัดส่วนมากกว่า 32% ของประชากรทั้งหมด หรือประมาณ 20 ล้านคน ซึ่งนำมาสู่การเพิ่มขึ้นของโรคเรื้อรังและภาวะเสื่อมของระบบต่าง ๆ ในร่างกาย โดยเฉพาะโรคที่เกี่ยวกับการทำงานของระบบประสาทและกล้ามเนื้อ เช่น… มทร.ธัญบุรี สร้างสรรค์ “คลีนบิวตี้” นวัตกรรมชะลอวัย จากอะโวคาโด tui sakrapeeApril 11, 2025 มทร.ธัญบุรี สร้างสรรค์ “คลีนบิวตี้” นวัตกรรมชะลอวัย จากอะโวคาโด ใส่ใจสิ่งแวดล้อม จุดประกายผู้ประกอบการ จากอะโวคาโดเหลือทิ้ง สู่ครีมบำรุงผิวหน้าสุดล้ำ ฝีมือนักวิจัย มทร.ธัญบุรี ผสานนาโนเทคโนโลยี พัฒนา “Anti-Aging Facial Cleansing Hydrogel และ Anti-Aging Nanoemulgel” ต้านริ้วรอยอย่างมีประสิทธิภาพ ปลอดภัย ตามแนวคิดคลีนบิวตี้ และพร้อมถ่ายทอดองค์ความรู้สู่ชุมชน… กิจกรรม มมส สืบสานประเพณีสงกรานต์ ทำบุญตักบาตรเสริมสิริมงคลรับปีใหม่ไทย EZ WebmasterApril 17, 2025 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (มมส) จัดงานสืบสานประเพณีสงกรานต์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ประจำปี 2568 โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.ประยุกต์ ศรีวิไล อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เป็นประธานในพิธี พร้อมด้วยผู้บริหาร คณาจารย์ บุคลากร และนิสิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เข้าร่วมงาน ณ… ทีเค พาร์ค พาเจาะเส้นทางความสำเร็จนักเขียนไทยผู้เจาะตลาดอินเตอร์ พร้อมเปิดทริคอัปเลเวล “นักเขียนมือทอง” หนุนวรรณกรรมไทยไปตีตลาดโลก EZ WebmasterApril 17, 2025 “นักเขียนไทย สู้ต่างชาติได้จริงไหม?” เป็นคำถามที่หลายคนอาจสงสัย ทั้งที่นักเขียนไทยหลายคน ก็มีฝีมือไม่แพ้ใคร แต่ทำไมยังไม่ค่อยเห็นวรรณกรรมไทยไปไกลถึงตลาดโลก ในขณะที่หลายประเทศมีวรรณกรรมเป็นซอฟต์พาวเวอร์และเป็นสินค้าส่งออก เช่น เกาหลีใต้ที่ผลักดัน Webtoon และนิยายออนไลน์สู่ K-Drama และ K-Series ญี่ปุ่นที่เปลี่ยนมังงะและไลต์โนเวล (Light Novel) ให้กลายเป็นสินค้าส่งออกสำคัญของประเทศ เช่นเดียวกับจีนที่ส่งออกวรรณกรรมออนไลน์โกยรายได้มหาศาลจากทั่วโลก และถึงแม้ว่าในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา อุตสาหกรรมคอนเทนต์ไทยจะคึกคักขึ้นอย่างมากโดยเฉพาะจากกระแสนิยายวายที่ถูกนำไปสร้างเป็นซีรีส์โด่งดังไปทั่วโลก แต่วรรณกรรมไทยที่ได้รับการแปลและตีพิมพ์ในต่างประเทศต้องยอมรับว่ายังมีจำนวนไม่มากเมื่อเทียบกับประเทศอื่น ๆ ในโอกาสฉลองครบรอบ 20 ปี… ชวนร่วมคอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา ชม “tattoo colour” ช่วยส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาของนักเรียน tui sakrapeeApril 8, 2025 คอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา tattoo colour สามารถซื้อบัตรเข้าร่วมชมคอนเสิร์ตกันได้ทั้งนักเรียน นักศึกษา บุคลากร และบุคลภายนอก สมาคมผู้ปกครองและครูโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ขอเชิญชวนทุกท่านร่วมงาน “#คอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา” ที่จะมอบความสุข สนุกสนาน และช่วยส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาของนักเรียน 📅 วันอาทิตย์ที่ 4 พฤษภาคม 2568… คณะสถาปัตย์ จุฬาฯ จับมือ PMCU ร่วมจัดหลักสูตรพัฒนาผู้จัดการสินทรัพย์และ นักพัฒนาเมืองรุ่นใหม่ พลิกโฉมพื้นที่สถานีรถไฟ EZ WebmasterApril 8, 2025 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับสำนักงานจัดการทรัพย์สิน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (PMCU) จัดหลักสูตร “พัฒนาผู้บริหารธุรกิจอสังหาริมทรัพย์และการพัฒนาพื้นที่รอบสถานีรถไฟเพื่อสร้างรายได้” เพื่อเพิ่มศักยภาพและประสิทธิภาพของบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการจัดการสินทรัพย์และอสังหาริมทรัพย์ มุ่งเน้นการบริหารพื้นที่โดยรอบสถานีรถไฟเพื่อให้บริการอย่างมีประสิทธิภาพ สร้างศูนย์กลางของชุมชนในด้านเศรษฐกิจและสังคม เพื่อเป็นส่วนสำคัญในการก้าวสู่การเป็นเมืองแห่งอนาคตอย่างยั่งยืน โดย ซียู ดีโฟร์เอส เอ็นเทอร์ไพรส์ เป็นผู้ดำเนินการจัดการหลักสูตรนี้ ผศ. สรายุทธ ทรัพย์สุข คณบดี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์… Search for: Search EZ Webmaster April 8, 2025 EZ Webmaster April 8, 2025 ม.ธรรมศาสตร์ เร่งเพิ่มความเชื่อมั่นภาวะวิกฤตให้คนไทย ระดมผู้เชี่ยวชาญร่วมชี้ข้อเท็จจริง และแนวทางรับมือด้านโครงสร้างอาคาร ความปลอดภัย สุขภาพจิต การรับมือข่าวสาร พร้อมพัฒนาระบบ AI ช่วยคนไทยลดข้อกังวลการฟื้นฟูที่อยู่อาศัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) จัดงานเสวนาวิชาการครั้งพิเศษในหัวข้อ “คู่มือรับมือแผ่นดินไหว : ฉบับประชาชน” เปิดพื้นที่แลกเปลี่ยนองค์ความรู้และเสนอแนวทางการเตรียมความพร้อมให้ประชาชนรับมือกับแผ่นดินไหวหรือภัยพิบัติอื่น ๆ ที่อาจเกิดขึ้น พร้อมสร้างความตระหนักรู้ในสังคมไทย และยกระดับความสามารถของประชาชนในการดูแลตนเอง ครอบครัว และชุมชนในยามวิกฤต ผ่านการถ่ายทอดความรู้จากผู้เชี่ยวชาญด้านวิศวกรรม วิศวกรรมโยธา ซึ่งมีประสบการณ์ลงพื้นที่จริง แชร์วิธีการตรวจสอบรอยร้าวและความเสียหายเบื้องต้นของอาคารที่อยู่อาศัย พร้อมสาธิตเทคฯ AI ที่ช่วยในการประเมินสภาพอาคารผ่านการประมวลผลภาพถ่าย เพื่อให้ประชาชนและวิศวกรรมโยธาสามารถเข้าถึงเครื่องมือประเมินความปลอดภัยได้ง่ายขึ้นในยุคดิจิทัล นอกจากนี้ยังดึงผู้เชี่ยวชาญในวงการแพทย์ จิตวิทยาและการสื่อสารที่มานำเสนอแนวทางในการปฏิบัติสำหรับประชาชนต่อสถานการณ์แผ่นดินไหวทั้งด้านความปลอดภัย สภาพจิตใจ และการรู้เท่าทันข่าวสาร รศ. ดร.ดำรงค์ อดุลยฤทธิกุล รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ ม.ธรรมศาสตร์ กล่าวว่า จากเหตุการณ์แผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2568 ที่ผ่านมา ทำให้ประเทศไทยเห็นชัดแล้วว่าภัยพิบัติกลายเป็นเรื่องใกล้ตัวกว่าที่คิด และยิ่งสะท้อนให้เห็นถึงความจำเป็นในการยกระดับความรู้ ความเข้าใจ และความพร้อมของประชาชนในการรับมือกับภัยธรรมชาติ ซึ่งแม้จะเกิดไม่บ่อยครั้งแต่ก็ส่งผลกระทบในวงกว้าง โดยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เล็งเห็นความสำคัญต่อปัญหาจึงได้จัดงานเสวนาวิชาการพิเศษขึ้น ในหัวข้อ “คู่มือรับมือแผ่นดินไหว ฉบับประชาชน” เพื่อเป็นเวทีแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ และแนะแนวทางการเตรียมพร้อมรับมือภัยพิบัติอย่างรอบด้านจากผู้เชี่ยวชาญในสาขาต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งวิศวกรรมโยธา แพทย์ จิตวิทยา ตลอดจนผู้เชี่ยวชาญด้านการสื่อสารมวลชน ที่ได้ตกผลึกข้อมูลองค์ความรู้ที่เป็นประโยชน์ต่อสาธารณชนและสามารถนำไปปฏิบัติได้จริง ซึ่งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์การบริหาร “การเป็นมหาวิทยาลัยเป็นที่พึ่งของสังคม” รศ. ดร.พรหมพัฒน ธัญสิริชัยศรี ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์ เปิดเผยว่า จากเหตุการณ์ดังกล่าวยังทำให้เกิดการตั้งคำถามเกี่ยวกับด้านโครงสร้างอาคาร ซึ่งการที่ตึกสามารถ “ยืดหยุ่น” และ “โยกตัวได้” ภายใต้แรงสั่นสะเทือนนั้น ถือเป็นหลักการออกแบบที่ดีและเป็นไปตามมาตรฐานสากล โดยเฉพาะในพื้นที่ที่มีความเสี่ยงต่อแผ่นดินไหว โดยอาคารยุคปัจจุบันนิยมใช้โครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก ซึ่งผสมผสานคุณสมบัติของ “ความแข็งแรง” จากคอนกรีต และ “ความเหนียว” จากเหล็กไว้ด้วยกัน ทำให้อาคารสามารถรับแรงสั่นสะเทือนและกระจายแรงได้ดี เทคนิคทางด้านออกแบบของตึกอาคารสูงในยุคนี้จึงออกแบบให้มีความยืดหยุ่นเพื่อกระจายแรงและรับน้ำหนักของตัวเองได้ หากไม่สามารถโยกตัวได้ อาจเสี่ยงต่อการแตกร้าวหรือพังทลายมากขึ้น อย่างไรก็ตาม หากตัวอาคารเกิดการแกว่งตัวมากเกินไปก็อาจเป็นสัญญาณอันตรายที่บ่งชี้ถึงความผิดปกติของโครงสร้าง โดยเฉพาะในกรณีที่โครงสร้างไม่สามารถรับน้ำหนักได้เพียงพอ หรือได้รับความเสียหายจากแรงสั่นสะเทือนก่อนหน้า แม้ในภาวะปกติอาคารจะถูกคำนวณไว้แล้วให้ทนต่อการสั่นไหวระดับหนึ่ง แต่หากเกิดแรงสั่นซ้ำซ้อน เช่น อาฟเตอร์ช็อกต่อเนื่อง หรือตัวอาคารมีความเสียหายที่จุดในโครงสร้างเดิม อาจนำไปสู่ความเสี่ยงในการถล่มของโครงสร้างอาคารได้ รศ. ดร.พรหมพัฒน กล่าวเพิ่มเติมว่า หนึ่งในนวัตกรรมที่น่าจับตามองคือ ระบบตรวจสอบรอยร้าวด้วยภาพถ่าย (Crack Detection) ที่ใช้ AI ด้าน Computer Vision, Photogrammetry, และ large language model ในการวิเคราะห์ภาพถ่ายของอาคารเพื่อประเมินรอยร้าว ความเอียงและความผิดปกติของโครงสร้าง โดยเฉพาะการใช้โดรนเก็บข้อมูลภาพถ่ายรอบตัวอาคาร และสร้างแบบจำลองโมเดลสามมิติ (3D Modeling) ช่วยให้สามารถตรวจพบความเปลี่ยนแปลงที่ตามองไม่เห็น เช่น ความเอียงเพียงเล็กน้อยของอาคาร หรือรอยร้าวที่มีแนวโน้มลุกลาม ซึ่งอาจมีความเสี่ยงต่อโครงสร้างในอนาคต โดยเทคโนโลยีเหล่านี้เปรียบเสมือน “หมอเอกซเรย์อาคาร” ที่ช่วยมองทะลุความเสียหายที่ซ่อนอยู่ เพิ่มความแม่นยำในการวิเคราะห์และประเมิน ช่วยลดความไม่เชื่อมั่นของประชาชนต่อกระบวนการตรวจสอบแบบเดิม ทั้งนี้หากภาครัฐและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถนำเทคฯ เหล่านี้มาใช้ได้อย่างแพร่หลาย รวมทั้งสร้างระบบฐานข้อมูลกลางร่วมกันในการจัดเก็บและติดตามข้อมูลโครงสร้างอาคารอย่างเป็นระบบ ก็จะช่วยยกระดับมาตรฐานความปลอดภัยของอาคารทั่วประเทศได้ในระยะยาว “InSpectra-o1” ต้นแบบแอปพลิเคชันสำหรับประเมินความเสียหายทางโครงสร้างได้จากภาพถ่ายด้วย AI ซึ่งได้รับการพัฒนาโดย รศ. ดร.พรหมพัฒน ธัญสิริชัยศรี ศูนย์วิจัยตรวจสอบโครงสร้างและเฝ้าระวังภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์ โดยยังอยู่ในระหว่างการทดลองใช้งานที่เปิดให้ประชาชนสามารถใช้ได้ เพื่อช่วยตรวจสอบและประเมินรอยร้าว ความเสียหายในเบื้องต้นของที่อยู่อาศัยได้ ถือเป็นอีกหนึ่งตัวช่วยสำคัญที่ถูกพัฒนาเพื่อเป็นศูนย์รวมข้อมูลของอาคารและบ้านเรือน ไม่ว่าจะเป็นแบบแปลน โครงสร้าง หรือประวัติการซ่อมแซม จะช่วยให้วิศวกรเข้าถึงข้อมูลได้รวดเร็ว สามารถตรวจสอบอาคารได้อย่างมีประสิทธิภาพ ลดเวลาและค่าใช้จ่าย อีกทั้งยังใช้เป็นหลักฐานประกอบการประกันภัย ลดข้อโต้แย้งและสร้างความมั่นใจให้กับประชาชน อย่างไรก็ดี แม้เทคโนโลยี AI จะเข้ามามีบทบาทในการช่วยประเมินความเสียหายของอาคารได้อย่างรวดเร็ว แต่การใช้งานยังมีข้อจำกัดด้านข้อมูลที่ไม่เพียงพอ ส่งผลให้ AI สามารถประเมินได้เพียงราว 50-60% เท่านั้น จึงยังต้องอาศัยวิศวกรเข้ามาตรวจสอบเพิ่มเติมในจุดที่ AI ยังไม่ครอบคลุม ทั้งนี้ In Spectra-o1 ถูกออกแบบมาให้ใช้งานง่าย ประชาชนสามารถถ่ายภาพและอัปโหลดได้ทันทีโดยไม่ต้องกรอกข้อมูล ระบบจะเริ่มวิเคราะห์เบื้องต้นโดยอัตโนมัติ หากทุกภาคส่วนร่วมกันสนับสนุนและเพิ่มข้อมูลที่จำเป็นเข้าสู่ระบบอย่างต่อเนื่อง ก็จะช่วยเพิ่มความแม่นยำให้ AI สามารถประเมินได้ครอบคลุมมากขึ้นในอนาคต” ด้าน ผศ. พญ.นิพัทธา วินะยานุวัติคุณ ภาควิชาสาขาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์ กล่าวว่า การเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉิน กลุ่มประชาชนที่อยู่ในภาวะเปราะบาง เช่น ผู้สูงอายุ เด็กเล็ก และผู้พิการ ผู้ป่วยเรื้อรังจำเป็นต้องได้รับการดูแลเป็นลำดับต้น ๆ แต่ในบริบทของประเทศไทยในปัจจุบันยังไม่ปรากฏหน่วยงานกลางที่มีหน้าที่รับผิดชอบโดยตรงในการคุ้มครองและจัดการช่วยเหลือกลุ่มเหล่านี้ในภาวะฉุกเฉิน โดยเฉพาะในช่วงเวลาที่ทุกวินาทีหมายถึงความอยู่รอด ประชาชนส่วนใหญ่ยังขาดองค์ความรู้ ความเข้าใจ และแนวทางที่ชัดเจนในการปฏิบัติตนเมื่อเกิดภัยพิบัติ ขณะที่มาตรการในระดับชาติเพื่อรองรับและดูแลกลุ่มเปราะบางหรือประชาชนทั่วไปก็ยังมีข้อจำกัดทั้งในด้านความครอบคลุมและความชัดเจนในการดำเนินการ อีกด้านหนึ่ง ประชาชนทั่วไปควรได้รับการส่งเสริมให้มีความรู้พื้นฐานในการเอาตัวรอดจากภัยพิบัติต่างๆ พร้อมเข้าใจวิธีการช่วยเหลือกลุ่มเปราะบางอย่างปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ ขณะที่ภาครัฐควรมีบทบาทเชิงรุกมากขึ้นในการเผยแพร่ข้อมูล จัดทำแนวปฏิบัติที่เหมาะสม รวมถึงพัฒนาระบบการเตือนภัยและการช่วยเหลือที่เข้าถึงง่ายและเพียงพอสำหรับทุกกลุ่ม เพราะในยามเกิดภัยพิบัติ ความรอดพ้นของชีวิตคนหนึ่งคน อาจขึ้นอยู่กับความพร้อมของสังคมโดยรวมทั้งหมด นอกจากนี้ แนวทางเบื้องต้นในการดูแลกายและใจก็มีความสำคัญ เช่น การประเมินสุขภาพจิตอย่างต่อเนื่อง การสร้างพื้นที่ปลอดภัยสำหรับพักพิง การจัดหาอาหาร น้ำสะอาด และยารักษาโรคพื้นฐาน การดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะฉุกเฉิน รวมถึงการส่งต่อผู้มีภาวะผิดปกติของร่างกายและจิตใจไปยังหน่วยบริการสุขภาพที่เหมาะสม “แม้จะมีเจ้าหน้าที่ในหน่วยงานต่าง ๆ ที่ผ่านการอบรมการรับมือกับสถานการณ์ฉุกเฉินมาแล้ว แต่การช่วยเหลือผู้เปราะบางมักเริ่มต้นจากคนใกล้ตัว เช่น ครอบครัว เพื่อนบ้าน หรือชุมชนโดยรอบ ดังนั้นจึงมีความจำเป็นเร่งด่วนที่ทั้งภาครัฐและภาคประชาชนต้องร่วมกันเสริมสร้างเครือข่ายความช่วยเหลือในระดับรากฐาน โดยเฉพาะในพื้นที่เสี่ยงภัย เพื่อให้สามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้อย่างรวดเร็วและปลอดภัย ขณะเดียวกัน การเตรียมความพร้อมให้กับกลุ่มเปราะบางเองก็เป็นอีกมิติหนึ่งที่มักถูกละเลย ทั้งที่ควรได้รับการฝึกฝนตั้งแต่ระดับครอบครัว โรงเรียนไปจนถึงมหาวิทยาลัยในรูปแบบที่เข้าใจง่าย สอดคล้องกับสภาพร่างกายหรือข้อจำกัดเฉพาะบุคคล เพื่อให้พวกเขาสามารถปกป้องตนเองในเบื้องต้นได้หากไม่มีผู้ช่วยเหลือในทันที ด้านการฟื้นฟูสภาพจิตใจประชาชนหลังเหตุภัยพิบัติก็ไม่ใช่แค่เรื่องของการให้กำลังใจเพียงชั่วครู่ แต่เป็นการติดตามและดูแลอย่างต่อเนื่อง เพราะจิตใจที่บอบช้ำต้องการเวลาและความเข้าใจในการฟื้นคืน“ ด้าน รศ. ดร.นิธิดา แสงสิงแก้ว สาขาวารสารศาสตร์ คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน ม.ธรรมศาสตร์ กล่าวเสริมว่า ในยุคปัจจุบันที่โซเชียลมีเดียกลายเป็นแหล่งข่าวและข้อมูลหลักของประชาชน การสื่อสารในช่วงสถานการณ์วิกฤตโดยเฉพาะเมื่อเกิดภัยพิบัติ เช่น แผ่นดินไหว หรือไฟป่า มักแพร่กระจายอย่างรวดเร็วและมีพลังในการสร้างความตื่นตระหนกได้ในวงกว้าง ปัญหาสำคัญคือข้อมูลจำนวนมากที่เผยแพร่ในช่วงเหตุการณ์เหล่านี้ อาจยังไม่ผ่านการตรวจสอบหรือขาดแหล่งที่มาอย่างชัดเจน ซึ่งหากประชาชนรับข้อมูลโดยไม่ไตร่ตรอง ก็อาจนำไปสู่ความเข้าใจที่คลาดเคลื่อน การตัดสินใจที่ไม่เหมาะสมหรือตื่นตระหนกเกินจำเป็น การมี “ทักษะในการรู้เท่าทันสื่อ” จึงเป็นเกราะสำคัญที่ประชาชนทุกคนควรมี โดยเฉพาะการตรวจสอบแหล่งที่มาของข่าว เปรียบเทียบกับข้อมูลจากหน่วยงานที่เชื่อถือได้ และหลีกเลี่ยงการแชร์ข้อมูลที่ยังไม่แน่ชัด นอกจากนี้ สิ่งที่น่าเป็นห่วงไม่แพ้กันคือ การที่กลุ่มใดกลุ่มหนึ่งอาจฉวยโอกาสในช่วงสถานการณ์วิกฤตสร้างประเด็นหรือบิดเบือนข้อมูล เพื่อกระตุ้นความรู้สึกของสังคม หรือชี้นำทิศทางความคิดเห็นในเชิงลบ ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของสังคมในวงกว้าง การตระหนักถึงผลกระทบจากการสร้างหรือขยายประเด็นทางสังคมที่ไม่ตั้งอยู่บนข้อเท็จจริง จึงเป็นเรื่องที่ประชาชนควรใส่ใจอย่างยิ่ง เพราะการสื่อสารไม่ใช่เพียงแค่การเสพข่าวเท่านั้น แต่ยังหมายถึง การรู้เท่าทัน บริโภคอย่างมีวิจารณญาณ และเลือกขับเคลื่อนสังคมด้วยข้อมูลที่ถูกต้อง เพื่อร่วมกันสร้างภูมิคุ้มกันข่าวสารที่แข็งแรงในช่วงเวลาแห่งความเปราะบางของสังคมไทย “ประชาชนควรรับฟังข้อมูลจากแหล่งที่เชื่อถือได้ เช่น กรมอุตุนิยมวิทยา หรือศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ พร้อมทั้งเรียนรู้วิธีปฏิบัติตนในสถานการณ์ฉุกเฉิน เช่น การหาจุดปลอดภัยในอาคาร การจัดกระเป๋าฉุกเฉิน และการวางแผนเส้นทางอพยพล่วงหน้า ความเข้าใจพื้นฐานเหล่านี้จะช่วยลดความเสี่ยงและเพิ่มโอกาสในการเอาตัวรอดในกรณีเกิดเหตุการณ์จริง ทั้งนี้ ภาครัฐและภาคประชาชนจำเป็นต้องร่วมมือกันอย่างใกล้ชิด เพื่อสร้างสังคมที่พร้อมเผชิญและรับมือกับแผ่นดินไหวได้อย่างมีประสิทธิภาพและไม่ตื่นตระหนกเกินเหตุ” ท้ายที่สุด แม้ประเทศไทยจะไม่สามารถหลีกเลี่ยงการเกิดภัยพิบัติได้ แต่เราสามารถเตรียมพร้อมรับมือและช่วยกันลดผลกระทบความเสียหายได้อย่างมีประสิทธิภาพ หากทุกภาคส่วนร่วมกันขับเคลื่อนองค์ความรู้และนวัตกรรมไปสู่การปฏิบัติจริง ร่วมกันพัฒนาระบบการป้องกันที่ทันสมัย และเสริมสร้างสังคมที่เข้มแข็ง ยกระดับความปลอดภัยให้กับประชาชนในทุกพื้นที่ เพราะความมั่นคงของชีวิตประชาชนคือรากฐานสำคัญของการพัฒนาอย่างยั่งยืน และเป็นสิ่งที่ทุกภาคส่วนในสังคมไทยควรร่วมมือกันอย่างจริงจังตั้งแต่นี้เป็นต้นไป ทั้งนี้ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เตรียมจัดทำ “คู่มือรับมือแผ่นดินไหว : ฉบับประชาชน” ซึ่งอยู่ระหว่างขั้นตอนการเรียบเรียงและรวบรวมข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญในสาขาต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยมีเป้าหมายเพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงความรู้และแนวปฏิบัติที่เข้าใจง่าย ใช้ได้จริง และเหมาะสมกับบริบทของประเทศไทย โดยเฉพาะในชุมชนเมืองและพื้นที่เสี่ยงภัย คู่มือฉบับนี้จะช่วยยกระดับความพร้อมของคนไทยในการเผชิญเหตุฉุกเฉิน ทั้งในแง่ของการป้องกันตนเอง ดูแลคนรอบข้าง ไปจนถึงการรับมือกับผลกระทบหลังเหตุการณ์ เพื่อให้สังคมไทยสามารถอยู่ร่วมกับภัยพิบัติอย่างไม่ประมาท และมีความมั่นคงปลอดภัยมากยิ่งขึ้นในอนาคตอันใกล้ EZ Webmaster Related Posts มมส สืบสานประเพณีสงกรานต์ ทำบุญตักบาตรเสริมสิริมงคลรับปีใหม่ไทย ทีเค พาร์ค พาเจาะเส้นทางความสำเร็จนักเขียนไทยผู้เจาะตลาดอินเตอร์ พร้อมเปิดทริคอัปเลเวล “นักเขียนมือทอง” หนุนวรรณกรรมไทยไปตีตลาดโลก ชวนร่วมคอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา ชม “tattoo colour” ช่วยส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาของนักเรียน คณะสถาปัตย์ จุฬาฯ จับมือ PMCU ร่วมจัดหลักสูตรพัฒนาผู้จัดการสินทรัพย์และ นักพัฒนาเมืองรุ่นใหม่ พลิกโฉมพื้นที่สถานีรถไฟ “สอศ. – กปภ. ผนึกกำลัง ปั้นช่างประปามืออาชีพ เสริมทักษะ สร้างรายได้ทั่วประเทศ! Post navigation PREVIOUS Previous post: มีทุนการศึกษา!! วิทยาลัยทองสุข เปิดรับครบทุกระดับ ป.ตรี โทและป.เอก พร้อม INTERNATIONAL PROGRAMNEXT Next post: 5 มหาวิทยาลัยเอกชนไทยที่ครองแชมป์วงการกีฬาระดับประเทศ ! Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ทุน Be the Difference InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศApril 16, 2025 University of Stirling ในสหราชอาณาจักร แจ้งให้ทุน Be the Difference Postgraduate International Scholarships โดยเป็นทุนยกเว้นค่าเล่าเรียน 7,000 ปอนด์(เฉพาะปีแรก) จำนวน 100 ทุน ให้กับนักศึกษาต่างชาติใหม่ที่… ทุนสำหรับไทยกับเวียดนาม InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศApril 15, 2025 Univeristy of Bradford มอบทุนการศึกษาอันทรงเกียรตินี้ร่วมกับ British Council และ GREAT Britain campaign เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาปริญญาโทที่เก่งที่สุดและฉลาดที่สุดจากประเทศไทยและเวียดนามมาเรียนที่มหาวิทยาลัยแบรดฟอร์ด หลักสูตรเต็มเวลานี้เริ่มในเดือนกันยายน2025 โดยเดทไลน์สมัครขอทุน 30 เม.ย.2025 คุณสมบัติผู้สมัคร เป็นพลเมืองของประเทศไทยและเวียดนามที่มีถิ่นฐานอยู่ในประเทศของตน ต้องอาศัยอยู่ในต่างประเทศและไม่ใช่พลเมืองของสหภาพยุโรป…
ทุนสำหรับไทยกับเวียดนาม InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศApril 15, 2025 Univeristy of Bradford มอบทุนการศึกษาอันทรงเกียรตินี้ร่วมกับ British Council และ GREAT Britain campaign เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาปริญญาโทที่เก่งที่สุดและฉลาดที่สุดจากประเทศไทยและเวียดนามมาเรียนที่มหาวิทยาลัยแบรดฟอร์ด หลักสูตรเต็มเวลานี้เริ่มในเดือนกันยายน2025 โดยเดทไลน์สมัครขอทุน 30 เม.ย.2025 คุณสมบัติผู้สมัคร เป็นพลเมืองของประเทศไทยและเวียดนามที่มีถิ่นฐานอยู่ในประเทศของตน ต้องอาศัยอยู่ในต่างประเทศและไม่ใช่พลเมืองของสหภาพยุโรป…
มูลนิธิเอสซีจี จับมือ อินสครู เปิดโลกกว้างให้คุณครู ได้เรียนรู้และเข้าใจทักษะอาชีพใหม่ๆ ในโลกปัจจุบัน EZ WebmasterApril 18, 2025 มูลนิธิเอสซีจี ร่วมกับ บริษัท อินสครู จำกัด จัดกิจกรรม Human Library by มูลนิธิเอสซีจี ภายในงาน “insKru Festival 2025 มหกรรมไอเดียการสอน ตอน Keep ครู Stay ครู เป็นตัวเองในวันที่ฉันเป็นครู” งานดี ๆ สำหรับคุณครู คนที่อยากเป็นคุณครู และคนทั่วไปที่สนใจเรื่องราวในแวดวงการศึกษา ที่จะสร้างแรงบันดาลใจในการเลือกสร้างสรรค์การเรียนรู้ในแบบของตัวเอง สำหรับกิจกรรม Human Library นี้… มทร.ธัญบุรี คว้า 7 รางวัลนวัตกรรมระดับโลก เวทีสิ่งประดิษฐ์ Geneva 2025 นครเจนีวา สวิสเซอร์แลนด์ tui sakrapeeApril 17, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อเสียงระดับนานาชาติอย่างต่อเนื่อง คว้า 7 รางวัลจากเวทีประกวดนวัตกรรมระดับโลก The 50th International Exhibition of Inventions Geneva 2025 ที่จัดขึ้นที่นครเจนีวา สมาพันธรัฐสวิส โดยมีผลงานกว่า 1,000… มจธ. ฟื้นฟูผู้ป่วยกล้ามเนื้ออ่อนแรงด้วย “หุ่นยนต์ + AI + เกม” ความหวังใหม่ในยุคสังคมสูงวัย EZ WebmasterApril 17, 2025 ทีมนักวิจัย มจธ. พัฒนาหุ่นยนต์ต้นแบบช่วยกายภาพบำบัดผู้ป่วยกล้ามเนื้ออ่อนแรง โดยผสานเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์และเกมเข้าไว้ด้วยกัน ช่วยให้การฟื้นฟูร่างกายแม่นยำ สนุก และมีประสิทธิภาพมากขึ้น ประเทศไทยกำลังก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์ โดยข้อมูลจากสำนักงานสถิติแห่งชาติและหน่วยงานด้านประชากรศาสตร์คาดการณ์ว่า ภายในปี 2583 ประเทศไทยจะมีผู้สูงอายุคิดเป็นสัดส่วนมากกว่า 32% ของประชากรทั้งหมด หรือประมาณ 20 ล้านคน ซึ่งนำมาสู่การเพิ่มขึ้นของโรคเรื้อรังและภาวะเสื่อมของระบบต่าง ๆ ในร่างกาย โดยเฉพาะโรคที่เกี่ยวกับการทำงานของระบบประสาทและกล้ามเนื้อ เช่น… มทร.ธัญบุรี สร้างสรรค์ “คลีนบิวตี้” นวัตกรรมชะลอวัย จากอะโวคาโด tui sakrapeeApril 11, 2025 มทร.ธัญบุรี สร้างสรรค์ “คลีนบิวตี้” นวัตกรรมชะลอวัย จากอะโวคาโด ใส่ใจสิ่งแวดล้อม จุดประกายผู้ประกอบการ จากอะโวคาโดเหลือทิ้ง สู่ครีมบำรุงผิวหน้าสุดล้ำ ฝีมือนักวิจัย มทร.ธัญบุรี ผสานนาโนเทคโนโลยี พัฒนา “Anti-Aging Facial Cleansing Hydrogel และ Anti-Aging Nanoemulgel” ต้านริ้วรอยอย่างมีประสิทธิภาพ ปลอดภัย ตามแนวคิดคลีนบิวตี้ และพร้อมถ่ายทอดองค์ความรู้สู่ชุมชน… กิจกรรม มมส สืบสานประเพณีสงกรานต์ ทำบุญตักบาตรเสริมสิริมงคลรับปีใหม่ไทย EZ WebmasterApril 17, 2025 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (มมส) จัดงานสืบสานประเพณีสงกรานต์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ประจำปี 2568 โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.ประยุกต์ ศรีวิไล อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เป็นประธานในพิธี พร้อมด้วยผู้บริหาร คณาจารย์ บุคลากร และนิสิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เข้าร่วมงาน ณ… ทีเค พาร์ค พาเจาะเส้นทางความสำเร็จนักเขียนไทยผู้เจาะตลาดอินเตอร์ พร้อมเปิดทริคอัปเลเวล “นักเขียนมือทอง” หนุนวรรณกรรมไทยไปตีตลาดโลก EZ WebmasterApril 17, 2025 “นักเขียนไทย สู้ต่างชาติได้จริงไหม?” เป็นคำถามที่หลายคนอาจสงสัย ทั้งที่นักเขียนไทยหลายคน ก็มีฝีมือไม่แพ้ใคร แต่ทำไมยังไม่ค่อยเห็นวรรณกรรมไทยไปไกลถึงตลาดโลก ในขณะที่หลายประเทศมีวรรณกรรมเป็นซอฟต์พาวเวอร์และเป็นสินค้าส่งออก เช่น เกาหลีใต้ที่ผลักดัน Webtoon และนิยายออนไลน์สู่ K-Drama และ K-Series ญี่ปุ่นที่เปลี่ยนมังงะและไลต์โนเวล (Light Novel) ให้กลายเป็นสินค้าส่งออกสำคัญของประเทศ เช่นเดียวกับจีนที่ส่งออกวรรณกรรมออนไลน์โกยรายได้มหาศาลจากทั่วโลก และถึงแม้ว่าในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา อุตสาหกรรมคอนเทนต์ไทยจะคึกคักขึ้นอย่างมากโดยเฉพาะจากกระแสนิยายวายที่ถูกนำไปสร้างเป็นซีรีส์โด่งดังไปทั่วโลก แต่วรรณกรรมไทยที่ได้รับการแปลและตีพิมพ์ในต่างประเทศต้องยอมรับว่ายังมีจำนวนไม่มากเมื่อเทียบกับประเทศอื่น ๆ ในโอกาสฉลองครบรอบ 20 ปี… ชวนร่วมคอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา ชม “tattoo colour” ช่วยส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาของนักเรียน tui sakrapeeApril 8, 2025 คอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา tattoo colour สามารถซื้อบัตรเข้าร่วมชมคอนเสิร์ตกันได้ทั้งนักเรียน นักศึกษา บุคลากร และบุคลภายนอก สมาคมผู้ปกครองและครูโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ขอเชิญชวนทุกท่านร่วมงาน “#คอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา” ที่จะมอบความสุข สนุกสนาน และช่วยส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาของนักเรียน 📅 วันอาทิตย์ที่ 4 พฤษภาคม 2568… คณะสถาปัตย์ จุฬาฯ จับมือ PMCU ร่วมจัดหลักสูตรพัฒนาผู้จัดการสินทรัพย์และ นักพัฒนาเมืองรุ่นใหม่ พลิกโฉมพื้นที่สถานีรถไฟ EZ WebmasterApril 8, 2025 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับสำนักงานจัดการทรัพย์สิน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (PMCU) จัดหลักสูตร “พัฒนาผู้บริหารธุรกิจอสังหาริมทรัพย์และการพัฒนาพื้นที่รอบสถานีรถไฟเพื่อสร้างรายได้” เพื่อเพิ่มศักยภาพและประสิทธิภาพของบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการจัดการสินทรัพย์และอสังหาริมทรัพย์ มุ่งเน้นการบริหารพื้นที่โดยรอบสถานีรถไฟเพื่อให้บริการอย่างมีประสิทธิภาพ สร้างศูนย์กลางของชุมชนในด้านเศรษฐกิจและสังคม เพื่อเป็นส่วนสำคัญในการก้าวสู่การเป็นเมืองแห่งอนาคตอย่างยั่งยืน โดย ซียู ดีโฟร์เอส เอ็นเทอร์ไพรส์ เป็นผู้ดำเนินการจัดการหลักสูตรนี้ ผศ. สรายุทธ ทรัพย์สุข คณบดี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์… Search for: Search EZ Webmaster April 8, 2025 EZ Webmaster April 8, 2025 ม.ธรรมศาสตร์ เร่งเพิ่มความเชื่อมั่นภาวะวิกฤตให้คนไทย ระดมผู้เชี่ยวชาญร่วมชี้ข้อเท็จจริง และแนวทางรับมือด้านโครงสร้างอาคาร ความปลอดภัย สุขภาพจิต การรับมือข่าวสาร พร้อมพัฒนาระบบ AI ช่วยคนไทยลดข้อกังวลการฟื้นฟูที่อยู่อาศัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) จัดงานเสวนาวิชาการครั้งพิเศษในหัวข้อ “คู่มือรับมือแผ่นดินไหว : ฉบับประชาชน” เปิดพื้นที่แลกเปลี่ยนองค์ความรู้และเสนอแนวทางการเตรียมความพร้อมให้ประชาชนรับมือกับแผ่นดินไหวหรือภัยพิบัติอื่น ๆ ที่อาจเกิดขึ้น พร้อมสร้างความตระหนักรู้ในสังคมไทย และยกระดับความสามารถของประชาชนในการดูแลตนเอง ครอบครัว และชุมชนในยามวิกฤต ผ่านการถ่ายทอดความรู้จากผู้เชี่ยวชาญด้านวิศวกรรม วิศวกรรมโยธา ซึ่งมีประสบการณ์ลงพื้นที่จริง แชร์วิธีการตรวจสอบรอยร้าวและความเสียหายเบื้องต้นของอาคารที่อยู่อาศัย พร้อมสาธิตเทคฯ AI ที่ช่วยในการประเมินสภาพอาคารผ่านการประมวลผลภาพถ่าย เพื่อให้ประชาชนและวิศวกรรมโยธาสามารถเข้าถึงเครื่องมือประเมินความปลอดภัยได้ง่ายขึ้นในยุคดิจิทัล นอกจากนี้ยังดึงผู้เชี่ยวชาญในวงการแพทย์ จิตวิทยาและการสื่อสารที่มานำเสนอแนวทางในการปฏิบัติสำหรับประชาชนต่อสถานการณ์แผ่นดินไหวทั้งด้านความปลอดภัย สภาพจิตใจ และการรู้เท่าทันข่าวสาร รศ. ดร.ดำรงค์ อดุลยฤทธิกุล รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ ม.ธรรมศาสตร์ กล่าวว่า จากเหตุการณ์แผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2568 ที่ผ่านมา ทำให้ประเทศไทยเห็นชัดแล้วว่าภัยพิบัติกลายเป็นเรื่องใกล้ตัวกว่าที่คิด และยิ่งสะท้อนให้เห็นถึงความจำเป็นในการยกระดับความรู้ ความเข้าใจ และความพร้อมของประชาชนในการรับมือกับภัยธรรมชาติ ซึ่งแม้จะเกิดไม่บ่อยครั้งแต่ก็ส่งผลกระทบในวงกว้าง โดยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เล็งเห็นความสำคัญต่อปัญหาจึงได้จัดงานเสวนาวิชาการพิเศษขึ้น ในหัวข้อ “คู่มือรับมือแผ่นดินไหว ฉบับประชาชน” เพื่อเป็นเวทีแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ และแนะแนวทางการเตรียมพร้อมรับมือภัยพิบัติอย่างรอบด้านจากผู้เชี่ยวชาญในสาขาต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งวิศวกรรมโยธา แพทย์ จิตวิทยา ตลอดจนผู้เชี่ยวชาญด้านการสื่อสารมวลชน ที่ได้ตกผลึกข้อมูลองค์ความรู้ที่เป็นประโยชน์ต่อสาธารณชนและสามารถนำไปปฏิบัติได้จริง ซึ่งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์การบริหาร “การเป็นมหาวิทยาลัยเป็นที่พึ่งของสังคม” รศ. ดร.พรหมพัฒน ธัญสิริชัยศรี ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์ เปิดเผยว่า จากเหตุการณ์ดังกล่าวยังทำให้เกิดการตั้งคำถามเกี่ยวกับด้านโครงสร้างอาคาร ซึ่งการที่ตึกสามารถ “ยืดหยุ่น” และ “โยกตัวได้” ภายใต้แรงสั่นสะเทือนนั้น ถือเป็นหลักการออกแบบที่ดีและเป็นไปตามมาตรฐานสากล โดยเฉพาะในพื้นที่ที่มีความเสี่ยงต่อแผ่นดินไหว โดยอาคารยุคปัจจุบันนิยมใช้โครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก ซึ่งผสมผสานคุณสมบัติของ “ความแข็งแรง” จากคอนกรีต และ “ความเหนียว” จากเหล็กไว้ด้วยกัน ทำให้อาคารสามารถรับแรงสั่นสะเทือนและกระจายแรงได้ดี เทคนิคทางด้านออกแบบของตึกอาคารสูงในยุคนี้จึงออกแบบให้มีความยืดหยุ่นเพื่อกระจายแรงและรับน้ำหนักของตัวเองได้ หากไม่สามารถโยกตัวได้ อาจเสี่ยงต่อการแตกร้าวหรือพังทลายมากขึ้น อย่างไรก็ตาม หากตัวอาคารเกิดการแกว่งตัวมากเกินไปก็อาจเป็นสัญญาณอันตรายที่บ่งชี้ถึงความผิดปกติของโครงสร้าง โดยเฉพาะในกรณีที่โครงสร้างไม่สามารถรับน้ำหนักได้เพียงพอ หรือได้รับความเสียหายจากแรงสั่นสะเทือนก่อนหน้า แม้ในภาวะปกติอาคารจะถูกคำนวณไว้แล้วให้ทนต่อการสั่นไหวระดับหนึ่ง แต่หากเกิดแรงสั่นซ้ำซ้อน เช่น อาฟเตอร์ช็อกต่อเนื่อง หรือตัวอาคารมีความเสียหายที่จุดในโครงสร้างเดิม อาจนำไปสู่ความเสี่ยงในการถล่มของโครงสร้างอาคารได้ รศ. ดร.พรหมพัฒน กล่าวเพิ่มเติมว่า หนึ่งในนวัตกรรมที่น่าจับตามองคือ ระบบตรวจสอบรอยร้าวด้วยภาพถ่าย (Crack Detection) ที่ใช้ AI ด้าน Computer Vision, Photogrammetry, และ large language model ในการวิเคราะห์ภาพถ่ายของอาคารเพื่อประเมินรอยร้าว ความเอียงและความผิดปกติของโครงสร้าง โดยเฉพาะการใช้โดรนเก็บข้อมูลภาพถ่ายรอบตัวอาคาร และสร้างแบบจำลองโมเดลสามมิติ (3D Modeling) ช่วยให้สามารถตรวจพบความเปลี่ยนแปลงที่ตามองไม่เห็น เช่น ความเอียงเพียงเล็กน้อยของอาคาร หรือรอยร้าวที่มีแนวโน้มลุกลาม ซึ่งอาจมีความเสี่ยงต่อโครงสร้างในอนาคต โดยเทคโนโลยีเหล่านี้เปรียบเสมือน “หมอเอกซเรย์อาคาร” ที่ช่วยมองทะลุความเสียหายที่ซ่อนอยู่ เพิ่มความแม่นยำในการวิเคราะห์และประเมิน ช่วยลดความไม่เชื่อมั่นของประชาชนต่อกระบวนการตรวจสอบแบบเดิม ทั้งนี้หากภาครัฐและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถนำเทคฯ เหล่านี้มาใช้ได้อย่างแพร่หลาย รวมทั้งสร้างระบบฐานข้อมูลกลางร่วมกันในการจัดเก็บและติดตามข้อมูลโครงสร้างอาคารอย่างเป็นระบบ ก็จะช่วยยกระดับมาตรฐานความปลอดภัยของอาคารทั่วประเทศได้ในระยะยาว “InSpectra-o1” ต้นแบบแอปพลิเคชันสำหรับประเมินความเสียหายทางโครงสร้างได้จากภาพถ่ายด้วย AI ซึ่งได้รับการพัฒนาโดย รศ. ดร.พรหมพัฒน ธัญสิริชัยศรี ศูนย์วิจัยตรวจสอบโครงสร้างและเฝ้าระวังภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์ โดยยังอยู่ในระหว่างการทดลองใช้งานที่เปิดให้ประชาชนสามารถใช้ได้ เพื่อช่วยตรวจสอบและประเมินรอยร้าว ความเสียหายในเบื้องต้นของที่อยู่อาศัยได้ ถือเป็นอีกหนึ่งตัวช่วยสำคัญที่ถูกพัฒนาเพื่อเป็นศูนย์รวมข้อมูลของอาคารและบ้านเรือน ไม่ว่าจะเป็นแบบแปลน โครงสร้าง หรือประวัติการซ่อมแซม จะช่วยให้วิศวกรเข้าถึงข้อมูลได้รวดเร็ว สามารถตรวจสอบอาคารได้อย่างมีประสิทธิภาพ ลดเวลาและค่าใช้จ่าย อีกทั้งยังใช้เป็นหลักฐานประกอบการประกันภัย ลดข้อโต้แย้งและสร้างความมั่นใจให้กับประชาชน อย่างไรก็ดี แม้เทคโนโลยี AI จะเข้ามามีบทบาทในการช่วยประเมินความเสียหายของอาคารได้อย่างรวดเร็ว แต่การใช้งานยังมีข้อจำกัดด้านข้อมูลที่ไม่เพียงพอ ส่งผลให้ AI สามารถประเมินได้เพียงราว 50-60% เท่านั้น จึงยังต้องอาศัยวิศวกรเข้ามาตรวจสอบเพิ่มเติมในจุดที่ AI ยังไม่ครอบคลุม ทั้งนี้ In Spectra-o1 ถูกออกแบบมาให้ใช้งานง่าย ประชาชนสามารถถ่ายภาพและอัปโหลดได้ทันทีโดยไม่ต้องกรอกข้อมูล ระบบจะเริ่มวิเคราะห์เบื้องต้นโดยอัตโนมัติ หากทุกภาคส่วนร่วมกันสนับสนุนและเพิ่มข้อมูลที่จำเป็นเข้าสู่ระบบอย่างต่อเนื่อง ก็จะช่วยเพิ่มความแม่นยำให้ AI สามารถประเมินได้ครอบคลุมมากขึ้นในอนาคต” ด้าน ผศ. พญ.นิพัทธา วินะยานุวัติคุณ ภาควิชาสาขาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์ กล่าวว่า การเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉิน กลุ่มประชาชนที่อยู่ในภาวะเปราะบาง เช่น ผู้สูงอายุ เด็กเล็ก และผู้พิการ ผู้ป่วยเรื้อรังจำเป็นต้องได้รับการดูแลเป็นลำดับต้น ๆ แต่ในบริบทของประเทศไทยในปัจจุบันยังไม่ปรากฏหน่วยงานกลางที่มีหน้าที่รับผิดชอบโดยตรงในการคุ้มครองและจัดการช่วยเหลือกลุ่มเหล่านี้ในภาวะฉุกเฉิน โดยเฉพาะในช่วงเวลาที่ทุกวินาทีหมายถึงความอยู่รอด ประชาชนส่วนใหญ่ยังขาดองค์ความรู้ ความเข้าใจ และแนวทางที่ชัดเจนในการปฏิบัติตนเมื่อเกิดภัยพิบัติ ขณะที่มาตรการในระดับชาติเพื่อรองรับและดูแลกลุ่มเปราะบางหรือประชาชนทั่วไปก็ยังมีข้อจำกัดทั้งในด้านความครอบคลุมและความชัดเจนในการดำเนินการ อีกด้านหนึ่ง ประชาชนทั่วไปควรได้รับการส่งเสริมให้มีความรู้พื้นฐานในการเอาตัวรอดจากภัยพิบัติต่างๆ พร้อมเข้าใจวิธีการช่วยเหลือกลุ่มเปราะบางอย่างปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ ขณะที่ภาครัฐควรมีบทบาทเชิงรุกมากขึ้นในการเผยแพร่ข้อมูล จัดทำแนวปฏิบัติที่เหมาะสม รวมถึงพัฒนาระบบการเตือนภัยและการช่วยเหลือที่เข้าถึงง่ายและเพียงพอสำหรับทุกกลุ่ม เพราะในยามเกิดภัยพิบัติ ความรอดพ้นของชีวิตคนหนึ่งคน อาจขึ้นอยู่กับความพร้อมของสังคมโดยรวมทั้งหมด นอกจากนี้ แนวทางเบื้องต้นในการดูแลกายและใจก็มีความสำคัญ เช่น การประเมินสุขภาพจิตอย่างต่อเนื่อง การสร้างพื้นที่ปลอดภัยสำหรับพักพิง การจัดหาอาหาร น้ำสะอาด และยารักษาโรคพื้นฐาน การดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะฉุกเฉิน รวมถึงการส่งต่อผู้มีภาวะผิดปกติของร่างกายและจิตใจไปยังหน่วยบริการสุขภาพที่เหมาะสม “แม้จะมีเจ้าหน้าที่ในหน่วยงานต่าง ๆ ที่ผ่านการอบรมการรับมือกับสถานการณ์ฉุกเฉินมาแล้ว แต่การช่วยเหลือผู้เปราะบางมักเริ่มต้นจากคนใกล้ตัว เช่น ครอบครัว เพื่อนบ้าน หรือชุมชนโดยรอบ ดังนั้นจึงมีความจำเป็นเร่งด่วนที่ทั้งภาครัฐและภาคประชาชนต้องร่วมกันเสริมสร้างเครือข่ายความช่วยเหลือในระดับรากฐาน โดยเฉพาะในพื้นที่เสี่ยงภัย เพื่อให้สามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้อย่างรวดเร็วและปลอดภัย ขณะเดียวกัน การเตรียมความพร้อมให้กับกลุ่มเปราะบางเองก็เป็นอีกมิติหนึ่งที่มักถูกละเลย ทั้งที่ควรได้รับการฝึกฝนตั้งแต่ระดับครอบครัว โรงเรียนไปจนถึงมหาวิทยาลัยในรูปแบบที่เข้าใจง่าย สอดคล้องกับสภาพร่างกายหรือข้อจำกัดเฉพาะบุคคล เพื่อให้พวกเขาสามารถปกป้องตนเองในเบื้องต้นได้หากไม่มีผู้ช่วยเหลือในทันที ด้านการฟื้นฟูสภาพจิตใจประชาชนหลังเหตุภัยพิบัติก็ไม่ใช่แค่เรื่องของการให้กำลังใจเพียงชั่วครู่ แต่เป็นการติดตามและดูแลอย่างต่อเนื่อง เพราะจิตใจที่บอบช้ำต้องการเวลาและความเข้าใจในการฟื้นคืน“ ด้าน รศ. ดร.นิธิดา แสงสิงแก้ว สาขาวารสารศาสตร์ คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน ม.ธรรมศาสตร์ กล่าวเสริมว่า ในยุคปัจจุบันที่โซเชียลมีเดียกลายเป็นแหล่งข่าวและข้อมูลหลักของประชาชน การสื่อสารในช่วงสถานการณ์วิกฤตโดยเฉพาะเมื่อเกิดภัยพิบัติ เช่น แผ่นดินไหว หรือไฟป่า มักแพร่กระจายอย่างรวดเร็วและมีพลังในการสร้างความตื่นตระหนกได้ในวงกว้าง ปัญหาสำคัญคือข้อมูลจำนวนมากที่เผยแพร่ในช่วงเหตุการณ์เหล่านี้ อาจยังไม่ผ่านการตรวจสอบหรือขาดแหล่งที่มาอย่างชัดเจน ซึ่งหากประชาชนรับข้อมูลโดยไม่ไตร่ตรอง ก็อาจนำไปสู่ความเข้าใจที่คลาดเคลื่อน การตัดสินใจที่ไม่เหมาะสมหรือตื่นตระหนกเกินจำเป็น การมี “ทักษะในการรู้เท่าทันสื่อ” จึงเป็นเกราะสำคัญที่ประชาชนทุกคนควรมี โดยเฉพาะการตรวจสอบแหล่งที่มาของข่าว เปรียบเทียบกับข้อมูลจากหน่วยงานที่เชื่อถือได้ และหลีกเลี่ยงการแชร์ข้อมูลที่ยังไม่แน่ชัด นอกจากนี้ สิ่งที่น่าเป็นห่วงไม่แพ้กันคือ การที่กลุ่มใดกลุ่มหนึ่งอาจฉวยโอกาสในช่วงสถานการณ์วิกฤตสร้างประเด็นหรือบิดเบือนข้อมูล เพื่อกระตุ้นความรู้สึกของสังคม หรือชี้นำทิศทางความคิดเห็นในเชิงลบ ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของสังคมในวงกว้าง การตระหนักถึงผลกระทบจากการสร้างหรือขยายประเด็นทางสังคมที่ไม่ตั้งอยู่บนข้อเท็จจริง จึงเป็นเรื่องที่ประชาชนควรใส่ใจอย่างยิ่ง เพราะการสื่อสารไม่ใช่เพียงแค่การเสพข่าวเท่านั้น แต่ยังหมายถึง การรู้เท่าทัน บริโภคอย่างมีวิจารณญาณ และเลือกขับเคลื่อนสังคมด้วยข้อมูลที่ถูกต้อง เพื่อร่วมกันสร้างภูมิคุ้มกันข่าวสารที่แข็งแรงในช่วงเวลาแห่งความเปราะบางของสังคมไทย “ประชาชนควรรับฟังข้อมูลจากแหล่งที่เชื่อถือได้ เช่น กรมอุตุนิยมวิทยา หรือศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ พร้อมทั้งเรียนรู้วิธีปฏิบัติตนในสถานการณ์ฉุกเฉิน เช่น การหาจุดปลอดภัยในอาคาร การจัดกระเป๋าฉุกเฉิน และการวางแผนเส้นทางอพยพล่วงหน้า ความเข้าใจพื้นฐานเหล่านี้จะช่วยลดความเสี่ยงและเพิ่มโอกาสในการเอาตัวรอดในกรณีเกิดเหตุการณ์จริง ทั้งนี้ ภาครัฐและภาคประชาชนจำเป็นต้องร่วมมือกันอย่างใกล้ชิด เพื่อสร้างสังคมที่พร้อมเผชิญและรับมือกับแผ่นดินไหวได้อย่างมีประสิทธิภาพและไม่ตื่นตระหนกเกินเหตุ” ท้ายที่สุด แม้ประเทศไทยจะไม่สามารถหลีกเลี่ยงการเกิดภัยพิบัติได้ แต่เราสามารถเตรียมพร้อมรับมือและช่วยกันลดผลกระทบความเสียหายได้อย่างมีประสิทธิภาพ หากทุกภาคส่วนร่วมกันขับเคลื่อนองค์ความรู้และนวัตกรรมไปสู่การปฏิบัติจริง ร่วมกันพัฒนาระบบการป้องกันที่ทันสมัย และเสริมสร้างสังคมที่เข้มแข็ง ยกระดับความปลอดภัยให้กับประชาชนในทุกพื้นที่ เพราะความมั่นคงของชีวิตประชาชนคือรากฐานสำคัญของการพัฒนาอย่างยั่งยืน และเป็นสิ่งที่ทุกภาคส่วนในสังคมไทยควรร่วมมือกันอย่างจริงจังตั้งแต่นี้เป็นต้นไป ทั้งนี้ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เตรียมจัดทำ “คู่มือรับมือแผ่นดินไหว : ฉบับประชาชน” ซึ่งอยู่ระหว่างขั้นตอนการเรียบเรียงและรวบรวมข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญในสาขาต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยมีเป้าหมายเพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงความรู้และแนวปฏิบัติที่เข้าใจง่าย ใช้ได้จริง และเหมาะสมกับบริบทของประเทศไทย โดยเฉพาะในชุมชนเมืองและพื้นที่เสี่ยงภัย คู่มือฉบับนี้จะช่วยยกระดับความพร้อมของคนไทยในการเผชิญเหตุฉุกเฉิน ทั้งในแง่ของการป้องกันตนเอง ดูแลคนรอบข้าง ไปจนถึงการรับมือกับผลกระทบหลังเหตุการณ์ เพื่อให้สังคมไทยสามารถอยู่ร่วมกับภัยพิบัติอย่างไม่ประมาท และมีความมั่นคงปลอดภัยมากยิ่งขึ้นในอนาคตอันใกล้ EZ Webmaster Related Posts มมส สืบสานประเพณีสงกรานต์ ทำบุญตักบาตรเสริมสิริมงคลรับปีใหม่ไทย ทีเค พาร์ค พาเจาะเส้นทางความสำเร็จนักเขียนไทยผู้เจาะตลาดอินเตอร์ พร้อมเปิดทริคอัปเลเวล “นักเขียนมือทอง” หนุนวรรณกรรมไทยไปตีตลาดโลก ชวนร่วมคอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา ชม “tattoo colour” ช่วยส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาของนักเรียน คณะสถาปัตย์ จุฬาฯ จับมือ PMCU ร่วมจัดหลักสูตรพัฒนาผู้จัดการสินทรัพย์และ นักพัฒนาเมืองรุ่นใหม่ พลิกโฉมพื้นที่สถานีรถไฟ “สอศ. – กปภ. ผนึกกำลัง ปั้นช่างประปามืออาชีพ เสริมทักษะ สร้างรายได้ทั่วประเทศ! Post navigation PREVIOUS Previous post: มีทุนการศึกษา!! วิทยาลัยทองสุข เปิดรับครบทุกระดับ ป.ตรี โทและป.เอก พร้อม INTERNATIONAL PROGRAMNEXT Next post: 5 มหาวิทยาลัยเอกชนไทยที่ครองแชมป์วงการกีฬาระดับประเทศ ! Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มทร.ธัญบุรี คว้า 7 รางวัลนวัตกรรมระดับโลก เวทีสิ่งประดิษฐ์ Geneva 2025 นครเจนีวา สวิสเซอร์แลนด์ tui sakrapeeApril 17, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อเสียงระดับนานาชาติอย่างต่อเนื่อง คว้า 7 รางวัลจากเวทีประกวดนวัตกรรมระดับโลก The 50th International Exhibition of Inventions Geneva 2025 ที่จัดขึ้นที่นครเจนีวา สมาพันธรัฐสวิส โดยมีผลงานกว่า 1,000… มจธ. ฟื้นฟูผู้ป่วยกล้ามเนื้ออ่อนแรงด้วย “หุ่นยนต์ + AI + เกม” ความหวังใหม่ในยุคสังคมสูงวัย EZ WebmasterApril 17, 2025 ทีมนักวิจัย มจธ. พัฒนาหุ่นยนต์ต้นแบบช่วยกายภาพบำบัดผู้ป่วยกล้ามเนื้ออ่อนแรง โดยผสานเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์และเกมเข้าไว้ด้วยกัน ช่วยให้การฟื้นฟูร่างกายแม่นยำ สนุก และมีประสิทธิภาพมากขึ้น ประเทศไทยกำลังก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์ โดยข้อมูลจากสำนักงานสถิติแห่งชาติและหน่วยงานด้านประชากรศาสตร์คาดการณ์ว่า ภายในปี 2583 ประเทศไทยจะมีผู้สูงอายุคิดเป็นสัดส่วนมากกว่า 32% ของประชากรทั้งหมด หรือประมาณ 20 ล้านคน ซึ่งนำมาสู่การเพิ่มขึ้นของโรคเรื้อรังและภาวะเสื่อมของระบบต่าง ๆ ในร่างกาย โดยเฉพาะโรคที่เกี่ยวกับการทำงานของระบบประสาทและกล้ามเนื้อ เช่น… มทร.ธัญบุรี สร้างสรรค์ “คลีนบิวตี้” นวัตกรรมชะลอวัย จากอะโวคาโด tui sakrapeeApril 11, 2025 มทร.ธัญบุรี สร้างสรรค์ “คลีนบิวตี้” นวัตกรรมชะลอวัย จากอะโวคาโด ใส่ใจสิ่งแวดล้อม จุดประกายผู้ประกอบการ จากอะโวคาโดเหลือทิ้ง สู่ครีมบำรุงผิวหน้าสุดล้ำ ฝีมือนักวิจัย มทร.ธัญบุรี ผสานนาโนเทคโนโลยี พัฒนา “Anti-Aging Facial Cleansing Hydrogel และ Anti-Aging Nanoemulgel” ต้านริ้วรอยอย่างมีประสิทธิภาพ ปลอดภัย ตามแนวคิดคลีนบิวตี้ และพร้อมถ่ายทอดองค์ความรู้สู่ชุมชน… กิจกรรม มมส สืบสานประเพณีสงกรานต์ ทำบุญตักบาตรเสริมสิริมงคลรับปีใหม่ไทย EZ WebmasterApril 17, 2025 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (มมส) จัดงานสืบสานประเพณีสงกรานต์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ประจำปี 2568 โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.ประยุกต์ ศรีวิไล อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เป็นประธานในพิธี พร้อมด้วยผู้บริหาร คณาจารย์ บุคลากร และนิสิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เข้าร่วมงาน ณ… ทีเค พาร์ค พาเจาะเส้นทางความสำเร็จนักเขียนไทยผู้เจาะตลาดอินเตอร์ พร้อมเปิดทริคอัปเลเวล “นักเขียนมือทอง” หนุนวรรณกรรมไทยไปตีตลาดโลก EZ WebmasterApril 17, 2025 “นักเขียนไทย สู้ต่างชาติได้จริงไหม?” เป็นคำถามที่หลายคนอาจสงสัย ทั้งที่นักเขียนไทยหลายคน ก็มีฝีมือไม่แพ้ใคร แต่ทำไมยังไม่ค่อยเห็นวรรณกรรมไทยไปไกลถึงตลาดโลก ในขณะที่หลายประเทศมีวรรณกรรมเป็นซอฟต์พาวเวอร์และเป็นสินค้าส่งออก เช่น เกาหลีใต้ที่ผลักดัน Webtoon และนิยายออนไลน์สู่ K-Drama และ K-Series ญี่ปุ่นที่เปลี่ยนมังงะและไลต์โนเวล (Light Novel) ให้กลายเป็นสินค้าส่งออกสำคัญของประเทศ เช่นเดียวกับจีนที่ส่งออกวรรณกรรมออนไลน์โกยรายได้มหาศาลจากทั่วโลก และถึงแม้ว่าในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา อุตสาหกรรมคอนเทนต์ไทยจะคึกคักขึ้นอย่างมากโดยเฉพาะจากกระแสนิยายวายที่ถูกนำไปสร้างเป็นซีรีส์โด่งดังไปทั่วโลก แต่วรรณกรรมไทยที่ได้รับการแปลและตีพิมพ์ในต่างประเทศต้องยอมรับว่ายังมีจำนวนไม่มากเมื่อเทียบกับประเทศอื่น ๆ ในโอกาสฉลองครบรอบ 20 ปี… ชวนร่วมคอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา ชม “tattoo colour” ช่วยส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาของนักเรียน tui sakrapeeApril 8, 2025 คอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา tattoo colour สามารถซื้อบัตรเข้าร่วมชมคอนเสิร์ตกันได้ทั้งนักเรียน นักศึกษา บุคลากร และบุคลภายนอก สมาคมผู้ปกครองและครูโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ขอเชิญชวนทุกท่านร่วมงาน “#คอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา” ที่จะมอบความสุข สนุกสนาน และช่วยส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาของนักเรียน 📅 วันอาทิตย์ที่ 4 พฤษภาคม 2568… คณะสถาปัตย์ จุฬาฯ จับมือ PMCU ร่วมจัดหลักสูตรพัฒนาผู้จัดการสินทรัพย์และ นักพัฒนาเมืองรุ่นใหม่ พลิกโฉมพื้นที่สถานีรถไฟ EZ WebmasterApril 8, 2025 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับสำนักงานจัดการทรัพย์สิน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (PMCU) จัดหลักสูตร “พัฒนาผู้บริหารธุรกิจอสังหาริมทรัพย์และการพัฒนาพื้นที่รอบสถานีรถไฟเพื่อสร้างรายได้” เพื่อเพิ่มศักยภาพและประสิทธิภาพของบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการจัดการสินทรัพย์และอสังหาริมทรัพย์ มุ่งเน้นการบริหารพื้นที่โดยรอบสถานีรถไฟเพื่อให้บริการอย่างมีประสิทธิภาพ สร้างศูนย์กลางของชุมชนในด้านเศรษฐกิจและสังคม เพื่อเป็นส่วนสำคัญในการก้าวสู่การเป็นเมืองแห่งอนาคตอย่างยั่งยืน โดย ซียู ดีโฟร์เอส เอ็นเทอร์ไพรส์ เป็นผู้ดำเนินการจัดการหลักสูตรนี้ ผศ. สรายุทธ ทรัพย์สุข คณบดี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์… Search for: Search EZ Webmaster April 8, 2025 EZ Webmaster April 8, 2025 ม.ธรรมศาสตร์ เร่งเพิ่มความเชื่อมั่นภาวะวิกฤตให้คนไทย ระดมผู้เชี่ยวชาญร่วมชี้ข้อเท็จจริง และแนวทางรับมือด้านโครงสร้างอาคาร ความปลอดภัย สุขภาพจิต การรับมือข่าวสาร พร้อมพัฒนาระบบ AI ช่วยคนไทยลดข้อกังวลการฟื้นฟูที่อยู่อาศัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) จัดงานเสวนาวิชาการครั้งพิเศษในหัวข้อ “คู่มือรับมือแผ่นดินไหว : ฉบับประชาชน” เปิดพื้นที่แลกเปลี่ยนองค์ความรู้และเสนอแนวทางการเตรียมความพร้อมให้ประชาชนรับมือกับแผ่นดินไหวหรือภัยพิบัติอื่น ๆ ที่อาจเกิดขึ้น พร้อมสร้างความตระหนักรู้ในสังคมไทย และยกระดับความสามารถของประชาชนในการดูแลตนเอง ครอบครัว และชุมชนในยามวิกฤต ผ่านการถ่ายทอดความรู้จากผู้เชี่ยวชาญด้านวิศวกรรม วิศวกรรมโยธา ซึ่งมีประสบการณ์ลงพื้นที่จริง แชร์วิธีการตรวจสอบรอยร้าวและความเสียหายเบื้องต้นของอาคารที่อยู่อาศัย พร้อมสาธิตเทคฯ AI ที่ช่วยในการประเมินสภาพอาคารผ่านการประมวลผลภาพถ่าย เพื่อให้ประชาชนและวิศวกรรมโยธาสามารถเข้าถึงเครื่องมือประเมินความปลอดภัยได้ง่ายขึ้นในยุคดิจิทัล นอกจากนี้ยังดึงผู้เชี่ยวชาญในวงการแพทย์ จิตวิทยาและการสื่อสารที่มานำเสนอแนวทางในการปฏิบัติสำหรับประชาชนต่อสถานการณ์แผ่นดินไหวทั้งด้านความปลอดภัย สภาพจิตใจ และการรู้เท่าทันข่าวสาร รศ. ดร.ดำรงค์ อดุลยฤทธิกุล รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ ม.ธรรมศาสตร์ กล่าวว่า จากเหตุการณ์แผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2568 ที่ผ่านมา ทำให้ประเทศไทยเห็นชัดแล้วว่าภัยพิบัติกลายเป็นเรื่องใกล้ตัวกว่าที่คิด และยิ่งสะท้อนให้เห็นถึงความจำเป็นในการยกระดับความรู้ ความเข้าใจ และความพร้อมของประชาชนในการรับมือกับภัยธรรมชาติ ซึ่งแม้จะเกิดไม่บ่อยครั้งแต่ก็ส่งผลกระทบในวงกว้าง โดยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เล็งเห็นความสำคัญต่อปัญหาจึงได้จัดงานเสวนาวิชาการพิเศษขึ้น ในหัวข้อ “คู่มือรับมือแผ่นดินไหว ฉบับประชาชน” เพื่อเป็นเวทีแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ และแนะแนวทางการเตรียมพร้อมรับมือภัยพิบัติอย่างรอบด้านจากผู้เชี่ยวชาญในสาขาต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งวิศวกรรมโยธา แพทย์ จิตวิทยา ตลอดจนผู้เชี่ยวชาญด้านการสื่อสารมวลชน ที่ได้ตกผลึกข้อมูลองค์ความรู้ที่เป็นประโยชน์ต่อสาธารณชนและสามารถนำไปปฏิบัติได้จริง ซึ่งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์การบริหาร “การเป็นมหาวิทยาลัยเป็นที่พึ่งของสังคม” รศ. ดร.พรหมพัฒน ธัญสิริชัยศรี ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์ เปิดเผยว่า จากเหตุการณ์ดังกล่าวยังทำให้เกิดการตั้งคำถามเกี่ยวกับด้านโครงสร้างอาคาร ซึ่งการที่ตึกสามารถ “ยืดหยุ่น” และ “โยกตัวได้” ภายใต้แรงสั่นสะเทือนนั้น ถือเป็นหลักการออกแบบที่ดีและเป็นไปตามมาตรฐานสากล โดยเฉพาะในพื้นที่ที่มีความเสี่ยงต่อแผ่นดินไหว โดยอาคารยุคปัจจุบันนิยมใช้โครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก ซึ่งผสมผสานคุณสมบัติของ “ความแข็งแรง” จากคอนกรีต และ “ความเหนียว” จากเหล็กไว้ด้วยกัน ทำให้อาคารสามารถรับแรงสั่นสะเทือนและกระจายแรงได้ดี เทคนิคทางด้านออกแบบของตึกอาคารสูงในยุคนี้จึงออกแบบให้มีความยืดหยุ่นเพื่อกระจายแรงและรับน้ำหนักของตัวเองได้ หากไม่สามารถโยกตัวได้ อาจเสี่ยงต่อการแตกร้าวหรือพังทลายมากขึ้น อย่างไรก็ตาม หากตัวอาคารเกิดการแกว่งตัวมากเกินไปก็อาจเป็นสัญญาณอันตรายที่บ่งชี้ถึงความผิดปกติของโครงสร้าง โดยเฉพาะในกรณีที่โครงสร้างไม่สามารถรับน้ำหนักได้เพียงพอ หรือได้รับความเสียหายจากแรงสั่นสะเทือนก่อนหน้า แม้ในภาวะปกติอาคารจะถูกคำนวณไว้แล้วให้ทนต่อการสั่นไหวระดับหนึ่ง แต่หากเกิดแรงสั่นซ้ำซ้อน เช่น อาฟเตอร์ช็อกต่อเนื่อง หรือตัวอาคารมีความเสียหายที่จุดในโครงสร้างเดิม อาจนำไปสู่ความเสี่ยงในการถล่มของโครงสร้างอาคารได้ รศ. ดร.พรหมพัฒน กล่าวเพิ่มเติมว่า หนึ่งในนวัตกรรมที่น่าจับตามองคือ ระบบตรวจสอบรอยร้าวด้วยภาพถ่าย (Crack Detection) ที่ใช้ AI ด้าน Computer Vision, Photogrammetry, และ large language model ในการวิเคราะห์ภาพถ่ายของอาคารเพื่อประเมินรอยร้าว ความเอียงและความผิดปกติของโครงสร้าง โดยเฉพาะการใช้โดรนเก็บข้อมูลภาพถ่ายรอบตัวอาคาร และสร้างแบบจำลองโมเดลสามมิติ (3D Modeling) ช่วยให้สามารถตรวจพบความเปลี่ยนแปลงที่ตามองไม่เห็น เช่น ความเอียงเพียงเล็กน้อยของอาคาร หรือรอยร้าวที่มีแนวโน้มลุกลาม ซึ่งอาจมีความเสี่ยงต่อโครงสร้างในอนาคต โดยเทคโนโลยีเหล่านี้เปรียบเสมือน “หมอเอกซเรย์อาคาร” ที่ช่วยมองทะลุความเสียหายที่ซ่อนอยู่ เพิ่มความแม่นยำในการวิเคราะห์และประเมิน ช่วยลดความไม่เชื่อมั่นของประชาชนต่อกระบวนการตรวจสอบแบบเดิม ทั้งนี้หากภาครัฐและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถนำเทคฯ เหล่านี้มาใช้ได้อย่างแพร่หลาย รวมทั้งสร้างระบบฐานข้อมูลกลางร่วมกันในการจัดเก็บและติดตามข้อมูลโครงสร้างอาคารอย่างเป็นระบบ ก็จะช่วยยกระดับมาตรฐานความปลอดภัยของอาคารทั่วประเทศได้ในระยะยาว “InSpectra-o1” ต้นแบบแอปพลิเคชันสำหรับประเมินความเสียหายทางโครงสร้างได้จากภาพถ่ายด้วย AI ซึ่งได้รับการพัฒนาโดย รศ. ดร.พรหมพัฒน ธัญสิริชัยศรี ศูนย์วิจัยตรวจสอบโครงสร้างและเฝ้าระวังภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์ โดยยังอยู่ในระหว่างการทดลองใช้งานที่เปิดให้ประชาชนสามารถใช้ได้ เพื่อช่วยตรวจสอบและประเมินรอยร้าว ความเสียหายในเบื้องต้นของที่อยู่อาศัยได้ ถือเป็นอีกหนึ่งตัวช่วยสำคัญที่ถูกพัฒนาเพื่อเป็นศูนย์รวมข้อมูลของอาคารและบ้านเรือน ไม่ว่าจะเป็นแบบแปลน โครงสร้าง หรือประวัติการซ่อมแซม จะช่วยให้วิศวกรเข้าถึงข้อมูลได้รวดเร็ว สามารถตรวจสอบอาคารได้อย่างมีประสิทธิภาพ ลดเวลาและค่าใช้จ่าย อีกทั้งยังใช้เป็นหลักฐานประกอบการประกันภัย ลดข้อโต้แย้งและสร้างความมั่นใจให้กับประชาชน อย่างไรก็ดี แม้เทคโนโลยี AI จะเข้ามามีบทบาทในการช่วยประเมินความเสียหายของอาคารได้อย่างรวดเร็ว แต่การใช้งานยังมีข้อจำกัดด้านข้อมูลที่ไม่เพียงพอ ส่งผลให้ AI สามารถประเมินได้เพียงราว 50-60% เท่านั้น จึงยังต้องอาศัยวิศวกรเข้ามาตรวจสอบเพิ่มเติมในจุดที่ AI ยังไม่ครอบคลุม ทั้งนี้ In Spectra-o1 ถูกออกแบบมาให้ใช้งานง่าย ประชาชนสามารถถ่ายภาพและอัปโหลดได้ทันทีโดยไม่ต้องกรอกข้อมูล ระบบจะเริ่มวิเคราะห์เบื้องต้นโดยอัตโนมัติ หากทุกภาคส่วนร่วมกันสนับสนุนและเพิ่มข้อมูลที่จำเป็นเข้าสู่ระบบอย่างต่อเนื่อง ก็จะช่วยเพิ่มความแม่นยำให้ AI สามารถประเมินได้ครอบคลุมมากขึ้นในอนาคต” ด้าน ผศ. พญ.นิพัทธา วินะยานุวัติคุณ ภาควิชาสาขาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์ กล่าวว่า การเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉิน กลุ่มประชาชนที่อยู่ในภาวะเปราะบาง เช่น ผู้สูงอายุ เด็กเล็ก และผู้พิการ ผู้ป่วยเรื้อรังจำเป็นต้องได้รับการดูแลเป็นลำดับต้น ๆ แต่ในบริบทของประเทศไทยในปัจจุบันยังไม่ปรากฏหน่วยงานกลางที่มีหน้าที่รับผิดชอบโดยตรงในการคุ้มครองและจัดการช่วยเหลือกลุ่มเหล่านี้ในภาวะฉุกเฉิน โดยเฉพาะในช่วงเวลาที่ทุกวินาทีหมายถึงความอยู่รอด ประชาชนส่วนใหญ่ยังขาดองค์ความรู้ ความเข้าใจ และแนวทางที่ชัดเจนในการปฏิบัติตนเมื่อเกิดภัยพิบัติ ขณะที่มาตรการในระดับชาติเพื่อรองรับและดูแลกลุ่มเปราะบางหรือประชาชนทั่วไปก็ยังมีข้อจำกัดทั้งในด้านความครอบคลุมและความชัดเจนในการดำเนินการ อีกด้านหนึ่ง ประชาชนทั่วไปควรได้รับการส่งเสริมให้มีความรู้พื้นฐานในการเอาตัวรอดจากภัยพิบัติต่างๆ พร้อมเข้าใจวิธีการช่วยเหลือกลุ่มเปราะบางอย่างปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ ขณะที่ภาครัฐควรมีบทบาทเชิงรุกมากขึ้นในการเผยแพร่ข้อมูล จัดทำแนวปฏิบัติที่เหมาะสม รวมถึงพัฒนาระบบการเตือนภัยและการช่วยเหลือที่เข้าถึงง่ายและเพียงพอสำหรับทุกกลุ่ม เพราะในยามเกิดภัยพิบัติ ความรอดพ้นของชีวิตคนหนึ่งคน อาจขึ้นอยู่กับความพร้อมของสังคมโดยรวมทั้งหมด นอกจากนี้ แนวทางเบื้องต้นในการดูแลกายและใจก็มีความสำคัญ เช่น การประเมินสุขภาพจิตอย่างต่อเนื่อง การสร้างพื้นที่ปลอดภัยสำหรับพักพิง การจัดหาอาหาร น้ำสะอาด และยารักษาโรคพื้นฐาน การดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะฉุกเฉิน รวมถึงการส่งต่อผู้มีภาวะผิดปกติของร่างกายและจิตใจไปยังหน่วยบริการสุขภาพที่เหมาะสม “แม้จะมีเจ้าหน้าที่ในหน่วยงานต่าง ๆ ที่ผ่านการอบรมการรับมือกับสถานการณ์ฉุกเฉินมาแล้ว แต่การช่วยเหลือผู้เปราะบางมักเริ่มต้นจากคนใกล้ตัว เช่น ครอบครัว เพื่อนบ้าน หรือชุมชนโดยรอบ ดังนั้นจึงมีความจำเป็นเร่งด่วนที่ทั้งภาครัฐและภาคประชาชนต้องร่วมกันเสริมสร้างเครือข่ายความช่วยเหลือในระดับรากฐาน โดยเฉพาะในพื้นที่เสี่ยงภัย เพื่อให้สามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้อย่างรวดเร็วและปลอดภัย ขณะเดียวกัน การเตรียมความพร้อมให้กับกลุ่มเปราะบางเองก็เป็นอีกมิติหนึ่งที่มักถูกละเลย ทั้งที่ควรได้รับการฝึกฝนตั้งแต่ระดับครอบครัว โรงเรียนไปจนถึงมหาวิทยาลัยในรูปแบบที่เข้าใจง่าย สอดคล้องกับสภาพร่างกายหรือข้อจำกัดเฉพาะบุคคล เพื่อให้พวกเขาสามารถปกป้องตนเองในเบื้องต้นได้หากไม่มีผู้ช่วยเหลือในทันที ด้านการฟื้นฟูสภาพจิตใจประชาชนหลังเหตุภัยพิบัติก็ไม่ใช่แค่เรื่องของการให้กำลังใจเพียงชั่วครู่ แต่เป็นการติดตามและดูแลอย่างต่อเนื่อง เพราะจิตใจที่บอบช้ำต้องการเวลาและความเข้าใจในการฟื้นคืน“ ด้าน รศ. ดร.นิธิดา แสงสิงแก้ว สาขาวารสารศาสตร์ คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน ม.ธรรมศาสตร์ กล่าวเสริมว่า ในยุคปัจจุบันที่โซเชียลมีเดียกลายเป็นแหล่งข่าวและข้อมูลหลักของประชาชน การสื่อสารในช่วงสถานการณ์วิกฤตโดยเฉพาะเมื่อเกิดภัยพิบัติ เช่น แผ่นดินไหว หรือไฟป่า มักแพร่กระจายอย่างรวดเร็วและมีพลังในการสร้างความตื่นตระหนกได้ในวงกว้าง ปัญหาสำคัญคือข้อมูลจำนวนมากที่เผยแพร่ในช่วงเหตุการณ์เหล่านี้ อาจยังไม่ผ่านการตรวจสอบหรือขาดแหล่งที่มาอย่างชัดเจน ซึ่งหากประชาชนรับข้อมูลโดยไม่ไตร่ตรอง ก็อาจนำไปสู่ความเข้าใจที่คลาดเคลื่อน การตัดสินใจที่ไม่เหมาะสมหรือตื่นตระหนกเกินจำเป็น การมี “ทักษะในการรู้เท่าทันสื่อ” จึงเป็นเกราะสำคัญที่ประชาชนทุกคนควรมี โดยเฉพาะการตรวจสอบแหล่งที่มาของข่าว เปรียบเทียบกับข้อมูลจากหน่วยงานที่เชื่อถือได้ และหลีกเลี่ยงการแชร์ข้อมูลที่ยังไม่แน่ชัด นอกจากนี้ สิ่งที่น่าเป็นห่วงไม่แพ้กันคือ การที่กลุ่มใดกลุ่มหนึ่งอาจฉวยโอกาสในช่วงสถานการณ์วิกฤตสร้างประเด็นหรือบิดเบือนข้อมูล เพื่อกระตุ้นความรู้สึกของสังคม หรือชี้นำทิศทางความคิดเห็นในเชิงลบ ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของสังคมในวงกว้าง การตระหนักถึงผลกระทบจากการสร้างหรือขยายประเด็นทางสังคมที่ไม่ตั้งอยู่บนข้อเท็จจริง จึงเป็นเรื่องที่ประชาชนควรใส่ใจอย่างยิ่ง เพราะการสื่อสารไม่ใช่เพียงแค่การเสพข่าวเท่านั้น แต่ยังหมายถึง การรู้เท่าทัน บริโภคอย่างมีวิจารณญาณ และเลือกขับเคลื่อนสังคมด้วยข้อมูลที่ถูกต้อง เพื่อร่วมกันสร้างภูมิคุ้มกันข่าวสารที่แข็งแรงในช่วงเวลาแห่งความเปราะบางของสังคมไทย “ประชาชนควรรับฟังข้อมูลจากแหล่งที่เชื่อถือได้ เช่น กรมอุตุนิยมวิทยา หรือศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ พร้อมทั้งเรียนรู้วิธีปฏิบัติตนในสถานการณ์ฉุกเฉิน เช่น การหาจุดปลอดภัยในอาคาร การจัดกระเป๋าฉุกเฉิน และการวางแผนเส้นทางอพยพล่วงหน้า ความเข้าใจพื้นฐานเหล่านี้จะช่วยลดความเสี่ยงและเพิ่มโอกาสในการเอาตัวรอดในกรณีเกิดเหตุการณ์จริง ทั้งนี้ ภาครัฐและภาคประชาชนจำเป็นต้องร่วมมือกันอย่างใกล้ชิด เพื่อสร้างสังคมที่พร้อมเผชิญและรับมือกับแผ่นดินไหวได้อย่างมีประสิทธิภาพและไม่ตื่นตระหนกเกินเหตุ” ท้ายที่สุด แม้ประเทศไทยจะไม่สามารถหลีกเลี่ยงการเกิดภัยพิบัติได้ แต่เราสามารถเตรียมพร้อมรับมือและช่วยกันลดผลกระทบความเสียหายได้อย่างมีประสิทธิภาพ หากทุกภาคส่วนร่วมกันขับเคลื่อนองค์ความรู้และนวัตกรรมไปสู่การปฏิบัติจริง ร่วมกันพัฒนาระบบการป้องกันที่ทันสมัย และเสริมสร้างสังคมที่เข้มแข็ง ยกระดับความปลอดภัยให้กับประชาชนในทุกพื้นที่ เพราะความมั่นคงของชีวิตประชาชนคือรากฐานสำคัญของการพัฒนาอย่างยั่งยืน และเป็นสิ่งที่ทุกภาคส่วนในสังคมไทยควรร่วมมือกันอย่างจริงจังตั้งแต่นี้เป็นต้นไป ทั้งนี้ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เตรียมจัดทำ “คู่มือรับมือแผ่นดินไหว : ฉบับประชาชน” ซึ่งอยู่ระหว่างขั้นตอนการเรียบเรียงและรวบรวมข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญในสาขาต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยมีเป้าหมายเพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงความรู้และแนวปฏิบัติที่เข้าใจง่าย ใช้ได้จริง และเหมาะสมกับบริบทของประเทศไทย โดยเฉพาะในชุมชนเมืองและพื้นที่เสี่ยงภัย คู่มือฉบับนี้จะช่วยยกระดับความพร้อมของคนไทยในการเผชิญเหตุฉุกเฉิน ทั้งในแง่ของการป้องกันตนเอง ดูแลคนรอบข้าง ไปจนถึงการรับมือกับผลกระทบหลังเหตุการณ์ เพื่อให้สังคมไทยสามารถอยู่ร่วมกับภัยพิบัติอย่างไม่ประมาท และมีความมั่นคงปลอดภัยมากยิ่งขึ้นในอนาคตอันใกล้ EZ Webmaster Related Posts มมส สืบสานประเพณีสงกรานต์ ทำบุญตักบาตรเสริมสิริมงคลรับปีใหม่ไทย ทีเค พาร์ค พาเจาะเส้นทางความสำเร็จนักเขียนไทยผู้เจาะตลาดอินเตอร์ พร้อมเปิดทริคอัปเลเวล “นักเขียนมือทอง” หนุนวรรณกรรมไทยไปตีตลาดโลก ชวนร่วมคอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา ชม “tattoo colour” ช่วยส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาของนักเรียน คณะสถาปัตย์ จุฬาฯ จับมือ PMCU ร่วมจัดหลักสูตรพัฒนาผู้จัดการสินทรัพย์และ นักพัฒนาเมืองรุ่นใหม่ พลิกโฉมพื้นที่สถานีรถไฟ “สอศ. – กปภ. ผนึกกำลัง ปั้นช่างประปามืออาชีพ เสริมทักษะ สร้างรายได้ทั่วประเทศ! Post navigation PREVIOUS Previous post: มีทุนการศึกษา!! วิทยาลัยทองสุข เปิดรับครบทุกระดับ ป.ตรี โทและป.เอก พร้อม INTERNATIONAL PROGRAMNEXT Next post: 5 มหาวิทยาลัยเอกชนไทยที่ครองแชมป์วงการกีฬาระดับประเทศ ! Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มจธ. ฟื้นฟูผู้ป่วยกล้ามเนื้ออ่อนแรงด้วย “หุ่นยนต์ + AI + เกม” ความหวังใหม่ในยุคสังคมสูงวัย EZ WebmasterApril 17, 2025 ทีมนักวิจัย มจธ. พัฒนาหุ่นยนต์ต้นแบบช่วยกายภาพบำบัดผู้ป่วยกล้ามเนื้ออ่อนแรง โดยผสานเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์และเกมเข้าไว้ด้วยกัน ช่วยให้การฟื้นฟูร่างกายแม่นยำ สนุก และมีประสิทธิภาพมากขึ้น ประเทศไทยกำลังก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์ โดยข้อมูลจากสำนักงานสถิติแห่งชาติและหน่วยงานด้านประชากรศาสตร์คาดการณ์ว่า ภายในปี 2583 ประเทศไทยจะมีผู้สูงอายุคิดเป็นสัดส่วนมากกว่า 32% ของประชากรทั้งหมด หรือประมาณ 20 ล้านคน ซึ่งนำมาสู่การเพิ่มขึ้นของโรคเรื้อรังและภาวะเสื่อมของระบบต่าง ๆ ในร่างกาย โดยเฉพาะโรคที่เกี่ยวกับการทำงานของระบบประสาทและกล้ามเนื้อ เช่น… มทร.ธัญบุรี สร้างสรรค์ “คลีนบิวตี้” นวัตกรรมชะลอวัย จากอะโวคาโด tui sakrapeeApril 11, 2025 มทร.ธัญบุรี สร้างสรรค์ “คลีนบิวตี้” นวัตกรรมชะลอวัย จากอะโวคาโด ใส่ใจสิ่งแวดล้อม จุดประกายผู้ประกอบการ จากอะโวคาโดเหลือทิ้ง สู่ครีมบำรุงผิวหน้าสุดล้ำ ฝีมือนักวิจัย มทร.ธัญบุรี ผสานนาโนเทคโนโลยี พัฒนา “Anti-Aging Facial Cleansing Hydrogel และ Anti-Aging Nanoemulgel” ต้านริ้วรอยอย่างมีประสิทธิภาพ ปลอดภัย ตามแนวคิดคลีนบิวตี้ และพร้อมถ่ายทอดองค์ความรู้สู่ชุมชน…
มทร.ธัญบุรี สร้างสรรค์ “คลีนบิวตี้” นวัตกรรมชะลอวัย จากอะโวคาโด tui sakrapeeApril 11, 2025 มทร.ธัญบุรี สร้างสรรค์ “คลีนบิวตี้” นวัตกรรมชะลอวัย จากอะโวคาโด ใส่ใจสิ่งแวดล้อม จุดประกายผู้ประกอบการ จากอะโวคาโดเหลือทิ้ง สู่ครีมบำรุงผิวหน้าสุดล้ำ ฝีมือนักวิจัย มทร.ธัญบุรี ผสานนาโนเทคโนโลยี พัฒนา “Anti-Aging Facial Cleansing Hydrogel และ Anti-Aging Nanoemulgel” ต้านริ้วรอยอย่างมีประสิทธิภาพ ปลอดภัย ตามแนวคิดคลีนบิวตี้ และพร้อมถ่ายทอดองค์ความรู้สู่ชุมชน…
มมส สืบสานประเพณีสงกรานต์ ทำบุญตักบาตรเสริมสิริมงคลรับปีใหม่ไทย EZ WebmasterApril 17, 2025 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (มมส) จัดงานสืบสานประเพณีสงกรานต์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ประจำปี 2568 โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.ประยุกต์ ศรีวิไล อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เป็นประธานในพิธี พร้อมด้วยผู้บริหาร คณาจารย์ บุคลากร และนิสิตมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เข้าร่วมงาน ณ… ทีเค พาร์ค พาเจาะเส้นทางความสำเร็จนักเขียนไทยผู้เจาะตลาดอินเตอร์ พร้อมเปิดทริคอัปเลเวล “นักเขียนมือทอง” หนุนวรรณกรรมไทยไปตีตลาดโลก EZ WebmasterApril 17, 2025 “นักเขียนไทย สู้ต่างชาติได้จริงไหม?” เป็นคำถามที่หลายคนอาจสงสัย ทั้งที่นักเขียนไทยหลายคน ก็มีฝีมือไม่แพ้ใคร แต่ทำไมยังไม่ค่อยเห็นวรรณกรรมไทยไปไกลถึงตลาดโลก ในขณะที่หลายประเทศมีวรรณกรรมเป็นซอฟต์พาวเวอร์และเป็นสินค้าส่งออก เช่น เกาหลีใต้ที่ผลักดัน Webtoon และนิยายออนไลน์สู่ K-Drama และ K-Series ญี่ปุ่นที่เปลี่ยนมังงะและไลต์โนเวล (Light Novel) ให้กลายเป็นสินค้าส่งออกสำคัญของประเทศ เช่นเดียวกับจีนที่ส่งออกวรรณกรรมออนไลน์โกยรายได้มหาศาลจากทั่วโลก และถึงแม้ว่าในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา อุตสาหกรรมคอนเทนต์ไทยจะคึกคักขึ้นอย่างมากโดยเฉพาะจากกระแสนิยายวายที่ถูกนำไปสร้างเป็นซีรีส์โด่งดังไปทั่วโลก แต่วรรณกรรมไทยที่ได้รับการแปลและตีพิมพ์ในต่างประเทศต้องยอมรับว่ายังมีจำนวนไม่มากเมื่อเทียบกับประเทศอื่น ๆ ในโอกาสฉลองครบรอบ 20 ปี… ชวนร่วมคอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา ชม “tattoo colour” ช่วยส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาของนักเรียน tui sakrapeeApril 8, 2025 คอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา tattoo colour สามารถซื้อบัตรเข้าร่วมชมคอนเสิร์ตกันได้ทั้งนักเรียน นักศึกษา บุคลากร และบุคลภายนอก สมาคมผู้ปกครองและครูโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ขอเชิญชวนทุกท่านร่วมงาน “#คอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา” ที่จะมอบความสุข สนุกสนาน และช่วยส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาของนักเรียน 📅 วันอาทิตย์ที่ 4 พฤษภาคม 2568… คณะสถาปัตย์ จุฬาฯ จับมือ PMCU ร่วมจัดหลักสูตรพัฒนาผู้จัดการสินทรัพย์และ นักพัฒนาเมืองรุ่นใหม่ พลิกโฉมพื้นที่สถานีรถไฟ EZ WebmasterApril 8, 2025 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับสำนักงานจัดการทรัพย์สิน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (PMCU) จัดหลักสูตร “พัฒนาผู้บริหารธุรกิจอสังหาริมทรัพย์และการพัฒนาพื้นที่รอบสถานีรถไฟเพื่อสร้างรายได้” เพื่อเพิ่มศักยภาพและประสิทธิภาพของบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการจัดการสินทรัพย์และอสังหาริมทรัพย์ มุ่งเน้นการบริหารพื้นที่โดยรอบสถานีรถไฟเพื่อให้บริการอย่างมีประสิทธิภาพ สร้างศูนย์กลางของชุมชนในด้านเศรษฐกิจและสังคม เพื่อเป็นส่วนสำคัญในการก้าวสู่การเป็นเมืองแห่งอนาคตอย่างยั่งยืน โดย ซียู ดีโฟร์เอส เอ็นเทอร์ไพรส์ เป็นผู้ดำเนินการจัดการหลักสูตรนี้ ผศ. สรายุทธ ทรัพย์สุข คณบดี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์… Search for: Search EZ Webmaster April 8, 2025 EZ Webmaster April 8, 2025 ม.ธรรมศาสตร์ เร่งเพิ่มความเชื่อมั่นภาวะวิกฤตให้คนไทย ระดมผู้เชี่ยวชาญร่วมชี้ข้อเท็จจริง และแนวทางรับมือด้านโครงสร้างอาคาร ความปลอดภัย สุขภาพจิต การรับมือข่าวสาร พร้อมพัฒนาระบบ AI ช่วยคนไทยลดข้อกังวลการฟื้นฟูที่อยู่อาศัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) จัดงานเสวนาวิชาการครั้งพิเศษในหัวข้อ “คู่มือรับมือแผ่นดินไหว : ฉบับประชาชน” เปิดพื้นที่แลกเปลี่ยนองค์ความรู้และเสนอแนวทางการเตรียมความพร้อมให้ประชาชนรับมือกับแผ่นดินไหวหรือภัยพิบัติอื่น ๆ ที่อาจเกิดขึ้น พร้อมสร้างความตระหนักรู้ในสังคมไทย และยกระดับความสามารถของประชาชนในการดูแลตนเอง ครอบครัว และชุมชนในยามวิกฤต ผ่านการถ่ายทอดความรู้จากผู้เชี่ยวชาญด้านวิศวกรรม วิศวกรรมโยธา ซึ่งมีประสบการณ์ลงพื้นที่จริง แชร์วิธีการตรวจสอบรอยร้าวและความเสียหายเบื้องต้นของอาคารที่อยู่อาศัย พร้อมสาธิตเทคฯ AI ที่ช่วยในการประเมินสภาพอาคารผ่านการประมวลผลภาพถ่าย เพื่อให้ประชาชนและวิศวกรรมโยธาสามารถเข้าถึงเครื่องมือประเมินความปลอดภัยได้ง่ายขึ้นในยุคดิจิทัล นอกจากนี้ยังดึงผู้เชี่ยวชาญในวงการแพทย์ จิตวิทยาและการสื่อสารที่มานำเสนอแนวทางในการปฏิบัติสำหรับประชาชนต่อสถานการณ์แผ่นดินไหวทั้งด้านความปลอดภัย สภาพจิตใจ และการรู้เท่าทันข่าวสาร รศ. ดร.ดำรงค์ อดุลยฤทธิกุล รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ ม.ธรรมศาสตร์ กล่าวว่า จากเหตุการณ์แผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2568 ที่ผ่านมา ทำให้ประเทศไทยเห็นชัดแล้วว่าภัยพิบัติกลายเป็นเรื่องใกล้ตัวกว่าที่คิด และยิ่งสะท้อนให้เห็นถึงความจำเป็นในการยกระดับความรู้ ความเข้าใจ และความพร้อมของประชาชนในการรับมือกับภัยธรรมชาติ ซึ่งแม้จะเกิดไม่บ่อยครั้งแต่ก็ส่งผลกระทบในวงกว้าง โดยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เล็งเห็นความสำคัญต่อปัญหาจึงได้จัดงานเสวนาวิชาการพิเศษขึ้น ในหัวข้อ “คู่มือรับมือแผ่นดินไหว ฉบับประชาชน” เพื่อเป็นเวทีแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ และแนะแนวทางการเตรียมพร้อมรับมือภัยพิบัติอย่างรอบด้านจากผู้เชี่ยวชาญในสาขาต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งวิศวกรรมโยธา แพทย์ จิตวิทยา ตลอดจนผู้เชี่ยวชาญด้านการสื่อสารมวลชน ที่ได้ตกผลึกข้อมูลองค์ความรู้ที่เป็นประโยชน์ต่อสาธารณชนและสามารถนำไปปฏิบัติได้จริง ซึ่งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์การบริหาร “การเป็นมหาวิทยาลัยเป็นที่พึ่งของสังคม” รศ. ดร.พรหมพัฒน ธัญสิริชัยศรี ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์ เปิดเผยว่า จากเหตุการณ์ดังกล่าวยังทำให้เกิดการตั้งคำถามเกี่ยวกับด้านโครงสร้างอาคาร ซึ่งการที่ตึกสามารถ “ยืดหยุ่น” และ “โยกตัวได้” ภายใต้แรงสั่นสะเทือนนั้น ถือเป็นหลักการออกแบบที่ดีและเป็นไปตามมาตรฐานสากล โดยเฉพาะในพื้นที่ที่มีความเสี่ยงต่อแผ่นดินไหว โดยอาคารยุคปัจจุบันนิยมใช้โครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก ซึ่งผสมผสานคุณสมบัติของ “ความแข็งแรง” จากคอนกรีต และ “ความเหนียว” จากเหล็กไว้ด้วยกัน ทำให้อาคารสามารถรับแรงสั่นสะเทือนและกระจายแรงได้ดี เทคนิคทางด้านออกแบบของตึกอาคารสูงในยุคนี้จึงออกแบบให้มีความยืดหยุ่นเพื่อกระจายแรงและรับน้ำหนักของตัวเองได้ หากไม่สามารถโยกตัวได้ อาจเสี่ยงต่อการแตกร้าวหรือพังทลายมากขึ้น อย่างไรก็ตาม หากตัวอาคารเกิดการแกว่งตัวมากเกินไปก็อาจเป็นสัญญาณอันตรายที่บ่งชี้ถึงความผิดปกติของโครงสร้าง โดยเฉพาะในกรณีที่โครงสร้างไม่สามารถรับน้ำหนักได้เพียงพอ หรือได้รับความเสียหายจากแรงสั่นสะเทือนก่อนหน้า แม้ในภาวะปกติอาคารจะถูกคำนวณไว้แล้วให้ทนต่อการสั่นไหวระดับหนึ่ง แต่หากเกิดแรงสั่นซ้ำซ้อน เช่น อาฟเตอร์ช็อกต่อเนื่อง หรือตัวอาคารมีความเสียหายที่จุดในโครงสร้างเดิม อาจนำไปสู่ความเสี่ยงในการถล่มของโครงสร้างอาคารได้ รศ. ดร.พรหมพัฒน กล่าวเพิ่มเติมว่า หนึ่งในนวัตกรรมที่น่าจับตามองคือ ระบบตรวจสอบรอยร้าวด้วยภาพถ่าย (Crack Detection) ที่ใช้ AI ด้าน Computer Vision, Photogrammetry, และ large language model ในการวิเคราะห์ภาพถ่ายของอาคารเพื่อประเมินรอยร้าว ความเอียงและความผิดปกติของโครงสร้าง โดยเฉพาะการใช้โดรนเก็บข้อมูลภาพถ่ายรอบตัวอาคาร และสร้างแบบจำลองโมเดลสามมิติ (3D Modeling) ช่วยให้สามารถตรวจพบความเปลี่ยนแปลงที่ตามองไม่เห็น เช่น ความเอียงเพียงเล็กน้อยของอาคาร หรือรอยร้าวที่มีแนวโน้มลุกลาม ซึ่งอาจมีความเสี่ยงต่อโครงสร้างในอนาคต โดยเทคโนโลยีเหล่านี้เปรียบเสมือน “หมอเอกซเรย์อาคาร” ที่ช่วยมองทะลุความเสียหายที่ซ่อนอยู่ เพิ่มความแม่นยำในการวิเคราะห์และประเมิน ช่วยลดความไม่เชื่อมั่นของประชาชนต่อกระบวนการตรวจสอบแบบเดิม ทั้งนี้หากภาครัฐและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถนำเทคฯ เหล่านี้มาใช้ได้อย่างแพร่หลาย รวมทั้งสร้างระบบฐานข้อมูลกลางร่วมกันในการจัดเก็บและติดตามข้อมูลโครงสร้างอาคารอย่างเป็นระบบ ก็จะช่วยยกระดับมาตรฐานความปลอดภัยของอาคารทั่วประเทศได้ในระยะยาว “InSpectra-o1” ต้นแบบแอปพลิเคชันสำหรับประเมินความเสียหายทางโครงสร้างได้จากภาพถ่ายด้วย AI ซึ่งได้รับการพัฒนาโดย รศ. ดร.พรหมพัฒน ธัญสิริชัยศรี ศูนย์วิจัยตรวจสอบโครงสร้างและเฝ้าระวังภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์ โดยยังอยู่ในระหว่างการทดลองใช้งานที่เปิดให้ประชาชนสามารถใช้ได้ เพื่อช่วยตรวจสอบและประเมินรอยร้าว ความเสียหายในเบื้องต้นของที่อยู่อาศัยได้ ถือเป็นอีกหนึ่งตัวช่วยสำคัญที่ถูกพัฒนาเพื่อเป็นศูนย์รวมข้อมูลของอาคารและบ้านเรือน ไม่ว่าจะเป็นแบบแปลน โครงสร้าง หรือประวัติการซ่อมแซม จะช่วยให้วิศวกรเข้าถึงข้อมูลได้รวดเร็ว สามารถตรวจสอบอาคารได้อย่างมีประสิทธิภาพ ลดเวลาและค่าใช้จ่าย อีกทั้งยังใช้เป็นหลักฐานประกอบการประกันภัย ลดข้อโต้แย้งและสร้างความมั่นใจให้กับประชาชน อย่างไรก็ดี แม้เทคโนโลยี AI จะเข้ามามีบทบาทในการช่วยประเมินความเสียหายของอาคารได้อย่างรวดเร็ว แต่การใช้งานยังมีข้อจำกัดด้านข้อมูลที่ไม่เพียงพอ ส่งผลให้ AI สามารถประเมินได้เพียงราว 50-60% เท่านั้น จึงยังต้องอาศัยวิศวกรเข้ามาตรวจสอบเพิ่มเติมในจุดที่ AI ยังไม่ครอบคลุม ทั้งนี้ In Spectra-o1 ถูกออกแบบมาให้ใช้งานง่าย ประชาชนสามารถถ่ายภาพและอัปโหลดได้ทันทีโดยไม่ต้องกรอกข้อมูล ระบบจะเริ่มวิเคราะห์เบื้องต้นโดยอัตโนมัติ หากทุกภาคส่วนร่วมกันสนับสนุนและเพิ่มข้อมูลที่จำเป็นเข้าสู่ระบบอย่างต่อเนื่อง ก็จะช่วยเพิ่มความแม่นยำให้ AI สามารถประเมินได้ครอบคลุมมากขึ้นในอนาคต” ด้าน ผศ. พญ.นิพัทธา วินะยานุวัติคุณ ภาควิชาสาขาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์ กล่าวว่า การเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉิน กลุ่มประชาชนที่อยู่ในภาวะเปราะบาง เช่น ผู้สูงอายุ เด็กเล็ก และผู้พิการ ผู้ป่วยเรื้อรังจำเป็นต้องได้รับการดูแลเป็นลำดับต้น ๆ แต่ในบริบทของประเทศไทยในปัจจุบันยังไม่ปรากฏหน่วยงานกลางที่มีหน้าที่รับผิดชอบโดยตรงในการคุ้มครองและจัดการช่วยเหลือกลุ่มเหล่านี้ในภาวะฉุกเฉิน โดยเฉพาะในช่วงเวลาที่ทุกวินาทีหมายถึงความอยู่รอด ประชาชนส่วนใหญ่ยังขาดองค์ความรู้ ความเข้าใจ และแนวทางที่ชัดเจนในการปฏิบัติตนเมื่อเกิดภัยพิบัติ ขณะที่มาตรการในระดับชาติเพื่อรองรับและดูแลกลุ่มเปราะบางหรือประชาชนทั่วไปก็ยังมีข้อจำกัดทั้งในด้านความครอบคลุมและความชัดเจนในการดำเนินการ อีกด้านหนึ่ง ประชาชนทั่วไปควรได้รับการส่งเสริมให้มีความรู้พื้นฐานในการเอาตัวรอดจากภัยพิบัติต่างๆ พร้อมเข้าใจวิธีการช่วยเหลือกลุ่มเปราะบางอย่างปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ ขณะที่ภาครัฐควรมีบทบาทเชิงรุกมากขึ้นในการเผยแพร่ข้อมูล จัดทำแนวปฏิบัติที่เหมาะสม รวมถึงพัฒนาระบบการเตือนภัยและการช่วยเหลือที่เข้าถึงง่ายและเพียงพอสำหรับทุกกลุ่ม เพราะในยามเกิดภัยพิบัติ ความรอดพ้นของชีวิตคนหนึ่งคน อาจขึ้นอยู่กับความพร้อมของสังคมโดยรวมทั้งหมด นอกจากนี้ แนวทางเบื้องต้นในการดูแลกายและใจก็มีความสำคัญ เช่น การประเมินสุขภาพจิตอย่างต่อเนื่อง การสร้างพื้นที่ปลอดภัยสำหรับพักพิง การจัดหาอาหาร น้ำสะอาด และยารักษาโรคพื้นฐาน การดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะฉุกเฉิน รวมถึงการส่งต่อผู้มีภาวะผิดปกติของร่างกายและจิตใจไปยังหน่วยบริการสุขภาพที่เหมาะสม “แม้จะมีเจ้าหน้าที่ในหน่วยงานต่าง ๆ ที่ผ่านการอบรมการรับมือกับสถานการณ์ฉุกเฉินมาแล้ว แต่การช่วยเหลือผู้เปราะบางมักเริ่มต้นจากคนใกล้ตัว เช่น ครอบครัว เพื่อนบ้าน หรือชุมชนโดยรอบ ดังนั้นจึงมีความจำเป็นเร่งด่วนที่ทั้งภาครัฐและภาคประชาชนต้องร่วมกันเสริมสร้างเครือข่ายความช่วยเหลือในระดับรากฐาน โดยเฉพาะในพื้นที่เสี่ยงภัย เพื่อให้สามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้อย่างรวดเร็วและปลอดภัย ขณะเดียวกัน การเตรียมความพร้อมให้กับกลุ่มเปราะบางเองก็เป็นอีกมิติหนึ่งที่มักถูกละเลย ทั้งที่ควรได้รับการฝึกฝนตั้งแต่ระดับครอบครัว โรงเรียนไปจนถึงมหาวิทยาลัยในรูปแบบที่เข้าใจง่าย สอดคล้องกับสภาพร่างกายหรือข้อจำกัดเฉพาะบุคคล เพื่อให้พวกเขาสามารถปกป้องตนเองในเบื้องต้นได้หากไม่มีผู้ช่วยเหลือในทันที ด้านการฟื้นฟูสภาพจิตใจประชาชนหลังเหตุภัยพิบัติก็ไม่ใช่แค่เรื่องของการให้กำลังใจเพียงชั่วครู่ แต่เป็นการติดตามและดูแลอย่างต่อเนื่อง เพราะจิตใจที่บอบช้ำต้องการเวลาและความเข้าใจในการฟื้นคืน“ ด้าน รศ. ดร.นิธิดา แสงสิงแก้ว สาขาวารสารศาสตร์ คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน ม.ธรรมศาสตร์ กล่าวเสริมว่า ในยุคปัจจุบันที่โซเชียลมีเดียกลายเป็นแหล่งข่าวและข้อมูลหลักของประชาชน การสื่อสารในช่วงสถานการณ์วิกฤตโดยเฉพาะเมื่อเกิดภัยพิบัติ เช่น แผ่นดินไหว หรือไฟป่า มักแพร่กระจายอย่างรวดเร็วและมีพลังในการสร้างความตื่นตระหนกได้ในวงกว้าง ปัญหาสำคัญคือข้อมูลจำนวนมากที่เผยแพร่ในช่วงเหตุการณ์เหล่านี้ อาจยังไม่ผ่านการตรวจสอบหรือขาดแหล่งที่มาอย่างชัดเจน ซึ่งหากประชาชนรับข้อมูลโดยไม่ไตร่ตรอง ก็อาจนำไปสู่ความเข้าใจที่คลาดเคลื่อน การตัดสินใจที่ไม่เหมาะสมหรือตื่นตระหนกเกินจำเป็น การมี “ทักษะในการรู้เท่าทันสื่อ” จึงเป็นเกราะสำคัญที่ประชาชนทุกคนควรมี โดยเฉพาะการตรวจสอบแหล่งที่มาของข่าว เปรียบเทียบกับข้อมูลจากหน่วยงานที่เชื่อถือได้ และหลีกเลี่ยงการแชร์ข้อมูลที่ยังไม่แน่ชัด นอกจากนี้ สิ่งที่น่าเป็นห่วงไม่แพ้กันคือ การที่กลุ่มใดกลุ่มหนึ่งอาจฉวยโอกาสในช่วงสถานการณ์วิกฤตสร้างประเด็นหรือบิดเบือนข้อมูล เพื่อกระตุ้นความรู้สึกของสังคม หรือชี้นำทิศทางความคิดเห็นในเชิงลบ ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของสังคมในวงกว้าง การตระหนักถึงผลกระทบจากการสร้างหรือขยายประเด็นทางสังคมที่ไม่ตั้งอยู่บนข้อเท็จจริง จึงเป็นเรื่องที่ประชาชนควรใส่ใจอย่างยิ่ง เพราะการสื่อสารไม่ใช่เพียงแค่การเสพข่าวเท่านั้น แต่ยังหมายถึง การรู้เท่าทัน บริโภคอย่างมีวิจารณญาณ และเลือกขับเคลื่อนสังคมด้วยข้อมูลที่ถูกต้อง เพื่อร่วมกันสร้างภูมิคุ้มกันข่าวสารที่แข็งแรงในช่วงเวลาแห่งความเปราะบางของสังคมไทย “ประชาชนควรรับฟังข้อมูลจากแหล่งที่เชื่อถือได้ เช่น กรมอุตุนิยมวิทยา หรือศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ พร้อมทั้งเรียนรู้วิธีปฏิบัติตนในสถานการณ์ฉุกเฉิน เช่น การหาจุดปลอดภัยในอาคาร การจัดกระเป๋าฉุกเฉิน และการวางแผนเส้นทางอพยพล่วงหน้า ความเข้าใจพื้นฐานเหล่านี้จะช่วยลดความเสี่ยงและเพิ่มโอกาสในการเอาตัวรอดในกรณีเกิดเหตุการณ์จริง ทั้งนี้ ภาครัฐและภาคประชาชนจำเป็นต้องร่วมมือกันอย่างใกล้ชิด เพื่อสร้างสังคมที่พร้อมเผชิญและรับมือกับแผ่นดินไหวได้อย่างมีประสิทธิภาพและไม่ตื่นตระหนกเกินเหตุ” ท้ายที่สุด แม้ประเทศไทยจะไม่สามารถหลีกเลี่ยงการเกิดภัยพิบัติได้ แต่เราสามารถเตรียมพร้อมรับมือและช่วยกันลดผลกระทบความเสียหายได้อย่างมีประสิทธิภาพ หากทุกภาคส่วนร่วมกันขับเคลื่อนองค์ความรู้และนวัตกรรมไปสู่การปฏิบัติจริง ร่วมกันพัฒนาระบบการป้องกันที่ทันสมัย และเสริมสร้างสังคมที่เข้มแข็ง ยกระดับความปลอดภัยให้กับประชาชนในทุกพื้นที่ เพราะความมั่นคงของชีวิตประชาชนคือรากฐานสำคัญของการพัฒนาอย่างยั่งยืน และเป็นสิ่งที่ทุกภาคส่วนในสังคมไทยควรร่วมมือกันอย่างจริงจังตั้งแต่นี้เป็นต้นไป ทั้งนี้ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เตรียมจัดทำ “คู่มือรับมือแผ่นดินไหว : ฉบับประชาชน” ซึ่งอยู่ระหว่างขั้นตอนการเรียบเรียงและรวบรวมข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญในสาขาต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยมีเป้าหมายเพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงความรู้และแนวปฏิบัติที่เข้าใจง่าย ใช้ได้จริง และเหมาะสมกับบริบทของประเทศไทย โดยเฉพาะในชุมชนเมืองและพื้นที่เสี่ยงภัย คู่มือฉบับนี้จะช่วยยกระดับความพร้อมของคนไทยในการเผชิญเหตุฉุกเฉิน ทั้งในแง่ของการป้องกันตนเอง ดูแลคนรอบข้าง ไปจนถึงการรับมือกับผลกระทบหลังเหตุการณ์ เพื่อให้สังคมไทยสามารถอยู่ร่วมกับภัยพิบัติอย่างไม่ประมาท และมีความมั่นคงปลอดภัยมากยิ่งขึ้นในอนาคตอันใกล้ EZ Webmaster Related Posts มมส สืบสานประเพณีสงกรานต์ ทำบุญตักบาตรเสริมสิริมงคลรับปีใหม่ไทย ทีเค พาร์ค พาเจาะเส้นทางความสำเร็จนักเขียนไทยผู้เจาะตลาดอินเตอร์ พร้อมเปิดทริคอัปเลเวล “นักเขียนมือทอง” หนุนวรรณกรรมไทยไปตีตลาดโลก ชวนร่วมคอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา ชม “tattoo colour” ช่วยส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาของนักเรียน คณะสถาปัตย์ จุฬาฯ จับมือ PMCU ร่วมจัดหลักสูตรพัฒนาผู้จัดการสินทรัพย์และ นักพัฒนาเมืองรุ่นใหม่ พลิกโฉมพื้นที่สถานีรถไฟ “สอศ. – กปภ. ผนึกกำลัง ปั้นช่างประปามืออาชีพ เสริมทักษะ สร้างรายได้ทั่วประเทศ! Post navigation PREVIOUS Previous post: มีทุนการศึกษา!! วิทยาลัยทองสุข เปิดรับครบทุกระดับ ป.ตรี โทและป.เอก พร้อม INTERNATIONAL PROGRAMNEXT Next post: 5 มหาวิทยาลัยเอกชนไทยที่ครองแชมป์วงการกีฬาระดับประเทศ ! Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ทีเค พาร์ค พาเจาะเส้นทางความสำเร็จนักเขียนไทยผู้เจาะตลาดอินเตอร์ พร้อมเปิดทริคอัปเลเวล “นักเขียนมือทอง” หนุนวรรณกรรมไทยไปตีตลาดโลก EZ WebmasterApril 17, 2025 “นักเขียนไทย สู้ต่างชาติได้จริงไหม?” เป็นคำถามที่หลายคนอาจสงสัย ทั้งที่นักเขียนไทยหลายคน ก็มีฝีมือไม่แพ้ใคร แต่ทำไมยังไม่ค่อยเห็นวรรณกรรมไทยไปไกลถึงตลาดโลก ในขณะที่หลายประเทศมีวรรณกรรมเป็นซอฟต์พาวเวอร์และเป็นสินค้าส่งออก เช่น เกาหลีใต้ที่ผลักดัน Webtoon และนิยายออนไลน์สู่ K-Drama และ K-Series ญี่ปุ่นที่เปลี่ยนมังงะและไลต์โนเวล (Light Novel) ให้กลายเป็นสินค้าส่งออกสำคัญของประเทศ เช่นเดียวกับจีนที่ส่งออกวรรณกรรมออนไลน์โกยรายได้มหาศาลจากทั่วโลก และถึงแม้ว่าในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา อุตสาหกรรมคอนเทนต์ไทยจะคึกคักขึ้นอย่างมากโดยเฉพาะจากกระแสนิยายวายที่ถูกนำไปสร้างเป็นซีรีส์โด่งดังไปทั่วโลก แต่วรรณกรรมไทยที่ได้รับการแปลและตีพิมพ์ในต่างประเทศต้องยอมรับว่ายังมีจำนวนไม่มากเมื่อเทียบกับประเทศอื่น ๆ ในโอกาสฉลองครบรอบ 20 ปี… ชวนร่วมคอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา ชม “tattoo colour” ช่วยส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาของนักเรียน tui sakrapeeApril 8, 2025 คอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา tattoo colour สามารถซื้อบัตรเข้าร่วมชมคอนเสิร์ตกันได้ทั้งนักเรียน นักศึกษา บุคลากร และบุคลภายนอก สมาคมผู้ปกครองและครูโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ขอเชิญชวนทุกท่านร่วมงาน “#คอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา” ที่จะมอบความสุข สนุกสนาน และช่วยส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาของนักเรียน 📅 วันอาทิตย์ที่ 4 พฤษภาคม 2568… คณะสถาปัตย์ จุฬาฯ จับมือ PMCU ร่วมจัดหลักสูตรพัฒนาผู้จัดการสินทรัพย์และ นักพัฒนาเมืองรุ่นใหม่ พลิกโฉมพื้นที่สถานีรถไฟ EZ WebmasterApril 8, 2025 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับสำนักงานจัดการทรัพย์สิน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (PMCU) จัดหลักสูตร “พัฒนาผู้บริหารธุรกิจอสังหาริมทรัพย์และการพัฒนาพื้นที่รอบสถานีรถไฟเพื่อสร้างรายได้” เพื่อเพิ่มศักยภาพและประสิทธิภาพของบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการจัดการสินทรัพย์และอสังหาริมทรัพย์ มุ่งเน้นการบริหารพื้นที่โดยรอบสถานีรถไฟเพื่อให้บริการอย่างมีประสิทธิภาพ สร้างศูนย์กลางของชุมชนในด้านเศรษฐกิจและสังคม เพื่อเป็นส่วนสำคัญในการก้าวสู่การเป็นเมืองแห่งอนาคตอย่างยั่งยืน โดย ซียู ดีโฟร์เอส เอ็นเทอร์ไพรส์ เป็นผู้ดำเนินการจัดการหลักสูตรนี้ ผศ. สรายุทธ ทรัพย์สุข คณบดี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์… Search for: Search
ชวนร่วมคอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา ชม “tattoo colour” ช่วยส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาของนักเรียน tui sakrapeeApril 8, 2025 คอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา tattoo colour สามารถซื้อบัตรเข้าร่วมชมคอนเสิร์ตกันได้ทั้งนักเรียน นักศึกษา บุคลากร และบุคลภายนอก สมาคมผู้ปกครองและครูโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ขอเชิญชวนทุกท่านร่วมงาน “#คอนเสิร์ตเพื่อการศึกษา” ที่จะมอบความสุข สนุกสนาน และช่วยส่งเสริมโอกาสทางการศึกษาของนักเรียน 📅 วันอาทิตย์ที่ 4 พฤษภาคม 2568… คณะสถาปัตย์ จุฬาฯ จับมือ PMCU ร่วมจัดหลักสูตรพัฒนาผู้จัดการสินทรัพย์และ นักพัฒนาเมืองรุ่นใหม่ พลิกโฉมพื้นที่สถานีรถไฟ EZ WebmasterApril 8, 2025 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับสำนักงานจัดการทรัพย์สิน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (PMCU) จัดหลักสูตร “พัฒนาผู้บริหารธุรกิจอสังหาริมทรัพย์และการพัฒนาพื้นที่รอบสถานีรถไฟเพื่อสร้างรายได้” เพื่อเพิ่มศักยภาพและประสิทธิภาพของบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการจัดการสินทรัพย์และอสังหาริมทรัพย์ มุ่งเน้นการบริหารพื้นที่โดยรอบสถานีรถไฟเพื่อให้บริการอย่างมีประสิทธิภาพ สร้างศูนย์กลางของชุมชนในด้านเศรษฐกิจและสังคม เพื่อเป็นส่วนสำคัญในการก้าวสู่การเป็นเมืองแห่งอนาคตอย่างยั่งยืน โดย ซียู ดีโฟร์เอส เอ็นเทอร์ไพรส์ เป็นผู้ดำเนินการจัดการหลักสูตรนี้ ผศ. สรายุทธ ทรัพย์สุข คณบดี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์…
คณะสถาปัตย์ จุฬาฯ จับมือ PMCU ร่วมจัดหลักสูตรพัฒนาผู้จัดการสินทรัพย์และ นักพัฒนาเมืองรุ่นใหม่ พลิกโฉมพื้นที่สถานีรถไฟ EZ WebmasterApril 8, 2025 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับสำนักงานจัดการทรัพย์สิน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (PMCU) จัดหลักสูตร “พัฒนาผู้บริหารธุรกิจอสังหาริมทรัพย์และการพัฒนาพื้นที่รอบสถานีรถไฟเพื่อสร้างรายได้” เพื่อเพิ่มศักยภาพและประสิทธิภาพของบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการจัดการสินทรัพย์และอสังหาริมทรัพย์ มุ่งเน้นการบริหารพื้นที่โดยรอบสถานีรถไฟเพื่อให้บริการอย่างมีประสิทธิภาพ สร้างศูนย์กลางของชุมชนในด้านเศรษฐกิจและสังคม เพื่อเป็นส่วนสำคัญในการก้าวสู่การเป็นเมืองแห่งอนาคตอย่างยั่งยืน โดย ซียู ดีโฟร์เอส เอ็นเทอร์ไพรส์ เป็นผู้ดำเนินการจัดการหลักสูตรนี้ ผศ. สรายุทธ ทรัพย์สุข คณบดี คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์…
EZ Webmaster April 8, 2025 EZ Webmaster April 8, 2025 ม.ธรรมศาสตร์ เร่งเพิ่มความเชื่อมั่นภาวะวิกฤตให้คนไทย ระดมผู้เชี่ยวชาญร่วมชี้ข้อเท็จจริง และแนวทางรับมือด้านโครงสร้างอาคาร ความปลอดภัย สุขภาพจิต การรับมือข่าวสาร พร้อมพัฒนาระบบ AI ช่วยคนไทยลดข้อกังวลการฟื้นฟูที่อยู่อาศัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) จัดงานเสวนาวิชาการครั้งพิเศษในหัวข้อ “คู่มือรับมือแผ่นดินไหว : ฉบับประชาชน” เปิดพื้นที่แลกเปลี่ยนองค์ความรู้และเสนอแนวทางการเตรียมความพร้อมให้ประชาชนรับมือกับแผ่นดินไหวหรือภัยพิบัติอื่น ๆ ที่อาจเกิดขึ้น พร้อมสร้างความตระหนักรู้ในสังคมไทย และยกระดับความสามารถของประชาชนในการดูแลตนเอง ครอบครัว และชุมชนในยามวิกฤต ผ่านการถ่ายทอดความรู้จากผู้เชี่ยวชาญด้านวิศวกรรม วิศวกรรมโยธา ซึ่งมีประสบการณ์ลงพื้นที่จริง แชร์วิธีการตรวจสอบรอยร้าวและความเสียหายเบื้องต้นของอาคารที่อยู่อาศัย พร้อมสาธิตเทคฯ AI ที่ช่วยในการประเมินสภาพอาคารผ่านการประมวลผลภาพถ่าย เพื่อให้ประชาชนและวิศวกรรมโยธาสามารถเข้าถึงเครื่องมือประเมินความปลอดภัยได้ง่ายขึ้นในยุคดิจิทัล นอกจากนี้ยังดึงผู้เชี่ยวชาญในวงการแพทย์ จิตวิทยาและการสื่อสารที่มานำเสนอแนวทางในการปฏิบัติสำหรับประชาชนต่อสถานการณ์แผ่นดินไหวทั้งด้านความปลอดภัย สภาพจิตใจ และการรู้เท่าทันข่าวสาร รศ. ดร.ดำรงค์ อดุลยฤทธิกุล รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ ม.ธรรมศาสตร์ กล่าวว่า จากเหตุการณ์แผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2568 ที่ผ่านมา ทำให้ประเทศไทยเห็นชัดแล้วว่าภัยพิบัติกลายเป็นเรื่องใกล้ตัวกว่าที่คิด และยิ่งสะท้อนให้เห็นถึงความจำเป็นในการยกระดับความรู้ ความเข้าใจ และความพร้อมของประชาชนในการรับมือกับภัยธรรมชาติ ซึ่งแม้จะเกิดไม่บ่อยครั้งแต่ก็ส่งผลกระทบในวงกว้าง โดยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เล็งเห็นความสำคัญต่อปัญหาจึงได้จัดงานเสวนาวิชาการพิเศษขึ้น ในหัวข้อ “คู่มือรับมือแผ่นดินไหว ฉบับประชาชน” เพื่อเป็นเวทีแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ และแนะแนวทางการเตรียมพร้อมรับมือภัยพิบัติอย่างรอบด้านจากผู้เชี่ยวชาญในสาขาต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งวิศวกรรมโยธา แพทย์ จิตวิทยา ตลอดจนผู้เชี่ยวชาญด้านการสื่อสารมวลชน ที่ได้ตกผลึกข้อมูลองค์ความรู้ที่เป็นประโยชน์ต่อสาธารณชนและสามารถนำไปปฏิบัติได้จริง ซึ่งสอดคล้องกับยุทธศาสตร์การบริหาร “การเป็นมหาวิทยาลัยเป็นที่พึ่งของสังคม” รศ. ดร.พรหมพัฒน ธัญสิริชัยศรี ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์ เปิดเผยว่า จากเหตุการณ์ดังกล่าวยังทำให้เกิดการตั้งคำถามเกี่ยวกับด้านโครงสร้างอาคาร ซึ่งการที่ตึกสามารถ “ยืดหยุ่น” และ “โยกตัวได้” ภายใต้แรงสั่นสะเทือนนั้น ถือเป็นหลักการออกแบบที่ดีและเป็นไปตามมาตรฐานสากล โดยเฉพาะในพื้นที่ที่มีความเสี่ยงต่อแผ่นดินไหว โดยอาคารยุคปัจจุบันนิยมใช้โครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก ซึ่งผสมผสานคุณสมบัติของ “ความแข็งแรง” จากคอนกรีต และ “ความเหนียว” จากเหล็กไว้ด้วยกัน ทำให้อาคารสามารถรับแรงสั่นสะเทือนและกระจายแรงได้ดี เทคนิคทางด้านออกแบบของตึกอาคารสูงในยุคนี้จึงออกแบบให้มีความยืดหยุ่นเพื่อกระจายแรงและรับน้ำหนักของตัวเองได้ หากไม่สามารถโยกตัวได้ อาจเสี่ยงต่อการแตกร้าวหรือพังทลายมากขึ้น อย่างไรก็ตาม หากตัวอาคารเกิดการแกว่งตัวมากเกินไปก็อาจเป็นสัญญาณอันตรายที่บ่งชี้ถึงความผิดปกติของโครงสร้าง โดยเฉพาะในกรณีที่โครงสร้างไม่สามารถรับน้ำหนักได้เพียงพอ หรือได้รับความเสียหายจากแรงสั่นสะเทือนก่อนหน้า แม้ในภาวะปกติอาคารจะถูกคำนวณไว้แล้วให้ทนต่อการสั่นไหวระดับหนึ่ง แต่หากเกิดแรงสั่นซ้ำซ้อน เช่น อาฟเตอร์ช็อกต่อเนื่อง หรือตัวอาคารมีความเสียหายที่จุดในโครงสร้างเดิม อาจนำไปสู่ความเสี่ยงในการถล่มของโครงสร้างอาคารได้ รศ. ดร.พรหมพัฒน กล่าวเพิ่มเติมว่า หนึ่งในนวัตกรรมที่น่าจับตามองคือ ระบบตรวจสอบรอยร้าวด้วยภาพถ่าย (Crack Detection) ที่ใช้ AI ด้าน Computer Vision, Photogrammetry, และ large language model ในการวิเคราะห์ภาพถ่ายของอาคารเพื่อประเมินรอยร้าว ความเอียงและความผิดปกติของโครงสร้าง โดยเฉพาะการใช้โดรนเก็บข้อมูลภาพถ่ายรอบตัวอาคาร และสร้างแบบจำลองโมเดลสามมิติ (3D Modeling) ช่วยให้สามารถตรวจพบความเปลี่ยนแปลงที่ตามองไม่เห็น เช่น ความเอียงเพียงเล็กน้อยของอาคาร หรือรอยร้าวที่มีแนวโน้มลุกลาม ซึ่งอาจมีความเสี่ยงต่อโครงสร้างในอนาคต โดยเทคโนโลยีเหล่านี้เปรียบเสมือน “หมอเอกซเรย์อาคาร” ที่ช่วยมองทะลุความเสียหายที่ซ่อนอยู่ เพิ่มความแม่นยำในการวิเคราะห์และประเมิน ช่วยลดความไม่เชื่อมั่นของประชาชนต่อกระบวนการตรวจสอบแบบเดิม ทั้งนี้หากภาครัฐและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถนำเทคฯ เหล่านี้มาใช้ได้อย่างแพร่หลาย รวมทั้งสร้างระบบฐานข้อมูลกลางร่วมกันในการจัดเก็บและติดตามข้อมูลโครงสร้างอาคารอย่างเป็นระบบ ก็จะช่วยยกระดับมาตรฐานความปลอดภัยของอาคารทั่วประเทศได้ในระยะยาว “InSpectra-o1” ต้นแบบแอปพลิเคชันสำหรับประเมินความเสียหายทางโครงสร้างได้จากภาพถ่ายด้วย AI ซึ่งได้รับการพัฒนาโดย รศ. ดร.พรหมพัฒน ธัญสิริชัยศรี ศูนย์วิจัยตรวจสอบโครงสร้างและเฝ้าระวังภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์ โดยยังอยู่ในระหว่างการทดลองใช้งานที่เปิดให้ประชาชนสามารถใช้ได้ เพื่อช่วยตรวจสอบและประเมินรอยร้าว ความเสียหายในเบื้องต้นของที่อยู่อาศัยได้ ถือเป็นอีกหนึ่งตัวช่วยสำคัญที่ถูกพัฒนาเพื่อเป็นศูนย์รวมข้อมูลของอาคารและบ้านเรือน ไม่ว่าจะเป็นแบบแปลน โครงสร้าง หรือประวัติการซ่อมแซม จะช่วยให้วิศวกรเข้าถึงข้อมูลได้รวดเร็ว สามารถตรวจสอบอาคารได้อย่างมีประสิทธิภาพ ลดเวลาและค่าใช้จ่าย อีกทั้งยังใช้เป็นหลักฐานประกอบการประกันภัย ลดข้อโต้แย้งและสร้างความมั่นใจให้กับประชาชน อย่างไรก็ดี แม้เทคโนโลยี AI จะเข้ามามีบทบาทในการช่วยประเมินความเสียหายของอาคารได้อย่างรวดเร็ว แต่การใช้งานยังมีข้อจำกัดด้านข้อมูลที่ไม่เพียงพอ ส่งผลให้ AI สามารถประเมินได้เพียงราว 50-60% เท่านั้น จึงยังต้องอาศัยวิศวกรเข้ามาตรวจสอบเพิ่มเติมในจุดที่ AI ยังไม่ครอบคลุม ทั้งนี้ In Spectra-o1 ถูกออกแบบมาให้ใช้งานง่าย ประชาชนสามารถถ่ายภาพและอัปโหลดได้ทันทีโดยไม่ต้องกรอกข้อมูล ระบบจะเริ่มวิเคราะห์เบื้องต้นโดยอัตโนมัติ หากทุกภาคส่วนร่วมกันสนับสนุนและเพิ่มข้อมูลที่จำเป็นเข้าสู่ระบบอย่างต่อเนื่อง ก็จะช่วยเพิ่มความแม่นยำให้ AI สามารถประเมินได้ครอบคลุมมากขึ้นในอนาคต” ด้าน ผศ. พญ.นิพัทธา วินะยานุวัติคุณ ภาควิชาสาขาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์ กล่าวว่า การเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉิน กลุ่มประชาชนที่อยู่ในภาวะเปราะบาง เช่น ผู้สูงอายุ เด็กเล็ก และผู้พิการ ผู้ป่วยเรื้อรังจำเป็นต้องได้รับการดูแลเป็นลำดับต้น ๆ แต่ในบริบทของประเทศไทยในปัจจุบันยังไม่ปรากฏหน่วยงานกลางที่มีหน้าที่รับผิดชอบโดยตรงในการคุ้มครองและจัดการช่วยเหลือกลุ่มเหล่านี้ในภาวะฉุกเฉิน โดยเฉพาะในช่วงเวลาที่ทุกวินาทีหมายถึงความอยู่รอด ประชาชนส่วนใหญ่ยังขาดองค์ความรู้ ความเข้าใจ และแนวทางที่ชัดเจนในการปฏิบัติตนเมื่อเกิดภัยพิบัติ ขณะที่มาตรการในระดับชาติเพื่อรองรับและดูแลกลุ่มเปราะบางหรือประชาชนทั่วไปก็ยังมีข้อจำกัดทั้งในด้านความครอบคลุมและความชัดเจนในการดำเนินการ อีกด้านหนึ่ง ประชาชนทั่วไปควรได้รับการส่งเสริมให้มีความรู้พื้นฐานในการเอาตัวรอดจากภัยพิบัติต่างๆ พร้อมเข้าใจวิธีการช่วยเหลือกลุ่มเปราะบางอย่างปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ ขณะที่ภาครัฐควรมีบทบาทเชิงรุกมากขึ้นในการเผยแพร่ข้อมูล จัดทำแนวปฏิบัติที่เหมาะสม รวมถึงพัฒนาระบบการเตือนภัยและการช่วยเหลือที่เข้าถึงง่ายและเพียงพอสำหรับทุกกลุ่ม เพราะในยามเกิดภัยพิบัติ ความรอดพ้นของชีวิตคนหนึ่งคน อาจขึ้นอยู่กับความพร้อมของสังคมโดยรวมทั้งหมด นอกจากนี้ แนวทางเบื้องต้นในการดูแลกายและใจก็มีความสำคัญ เช่น การประเมินสุขภาพจิตอย่างต่อเนื่อง การสร้างพื้นที่ปลอดภัยสำหรับพักพิง การจัดหาอาหาร น้ำสะอาด และยารักษาโรคพื้นฐาน การดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะฉุกเฉิน รวมถึงการส่งต่อผู้มีภาวะผิดปกติของร่างกายและจิตใจไปยังหน่วยบริการสุขภาพที่เหมาะสม “แม้จะมีเจ้าหน้าที่ในหน่วยงานต่าง ๆ ที่ผ่านการอบรมการรับมือกับสถานการณ์ฉุกเฉินมาแล้ว แต่การช่วยเหลือผู้เปราะบางมักเริ่มต้นจากคนใกล้ตัว เช่น ครอบครัว เพื่อนบ้าน หรือชุมชนโดยรอบ ดังนั้นจึงมีความจำเป็นเร่งด่วนที่ทั้งภาครัฐและภาคประชาชนต้องร่วมกันเสริมสร้างเครือข่ายความช่วยเหลือในระดับรากฐาน โดยเฉพาะในพื้นที่เสี่ยงภัย เพื่อให้สามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้อย่างรวดเร็วและปลอดภัย ขณะเดียวกัน การเตรียมความพร้อมให้กับกลุ่มเปราะบางเองก็เป็นอีกมิติหนึ่งที่มักถูกละเลย ทั้งที่ควรได้รับการฝึกฝนตั้งแต่ระดับครอบครัว โรงเรียนไปจนถึงมหาวิทยาลัยในรูปแบบที่เข้าใจง่าย สอดคล้องกับสภาพร่างกายหรือข้อจำกัดเฉพาะบุคคล เพื่อให้พวกเขาสามารถปกป้องตนเองในเบื้องต้นได้หากไม่มีผู้ช่วยเหลือในทันที ด้านการฟื้นฟูสภาพจิตใจประชาชนหลังเหตุภัยพิบัติก็ไม่ใช่แค่เรื่องของการให้กำลังใจเพียงชั่วครู่ แต่เป็นการติดตามและดูแลอย่างต่อเนื่อง เพราะจิตใจที่บอบช้ำต้องการเวลาและความเข้าใจในการฟื้นคืน“ ด้าน รศ. ดร.นิธิดา แสงสิงแก้ว สาขาวารสารศาสตร์ คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน ม.ธรรมศาสตร์ กล่าวเสริมว่า ในยุคปัจจุบันที่โซเชียลมีเดียกลายเป็นแหล่งข่าวและข้อมูลหลักของประชาชน การสื่อสารในช่วงสถานการณ์วิกฤตโดยเฉพาะเมื่อเกิดภัยพิบัติ เช่น แผ่นดินไหว หรือไฟป่า มักแพร่กระจายอย่างรวดเร็วและมีพลังในการสร้างความตื่นตระหนกได้ในวงกว้าง ปัญหาสำคัญคือข้อมูลจำนวนมากที่เผยแพร่ในช่วงเหตุการณ์เหล่านี้ อาจยังไม่ผ่านการตรวจสอบหรือขาดแหล่งที่มาอย่างชัดเจน ซึ่งหากประชาชนรับข้อมูลโดยไม่ไตร่ตรอง ก็อาจนำไปสู่ความเข้าใจที่คลาดเคลื่อน การตัดสินใจที่ไม่เหมาะสมหรือตื่นตระหนกเกินจำเป็น การมี “ทักษะในการรู้เท่าทันสื่อ” จึงเป็นเกราะสำคัญที่ประชาชนทุกคนควรมี โดยเฉพาะการตรวจสอบแหล่งที่มาของข่าว เปรียบเทียบกับข้อมูลจากหน่วยงานที่เชื่อถือได้ และหลีกเลี่ยงการแชร์ข้อมูลที่ยังไม่แน่ชัด นอกจากนี้ สิ่งที่น่าเป็นห่วงไม่แพ้กันคือ การที่กลุ่มใดกลุ่มหนึ่งอาจฉวยโอกาสในช่วงสถานการณ์วิกฤตสร้างประเด็นหรือบิดเบือนข้อมูล เพื่อกระตุ้นความรู้สึกของสังคม หรือชี้นำทิศทางความคิดเห็นในเชิงลบ ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของสังคมในวงกว้าง การตระหนักถึงผลกระทบจากการสร้างหรือขยายประเด็นทางสังคมที่ไม่ตั้งอยู่บนข้อเท็จจริง จึงเป็นเรื่องที่ประชาชนควรใส่ใจอย่างยิ่ง เพราะการสื่อสารไม่ใช่เพียงแค่การเสพข่าวเท่านั้น แต่ยังหมายถึง การรู้เท่าทัน บริโภคอย่างมีวิจารณญาณ และเลือกขับเคลื่อนสังคมด้วยข้อมูลที่ถูกต้อง เพื่อร่วมกันสร้างภูมิคุ้มกันข่าวสารที่แข็งแรงในช่วงเวลาแห่งความเปราะบางของสังคมไทย “ประชาชนควรรับฟังข้อมูลจากแหล่งที่เชื่อถือได้ เช่น กรมอุตุนิยมวิทยา หรือศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ พร้อมทั้งเรียนรู้วิธีปฏิบัติตนในสถานการณ์ฉุกเฉิน เช่น การหาจุดปลอดภัยในอาคาร การจัดกระเป๋าฉุกเฉิน และการวางแผนเส้นทางอพยพล่วงหน้า ความเข้าใจพื้นฐานเหล่านี้จะช่วยลดความเสี่ยงและเพิ่มโอกาสในการเอาตัวรอดในกรณีเกิดเหตุการณ์จริง ทั้งนี้ ภาครัฐและภาคประชาชนจำเป็นต้องร่วมมือกันอย่างใกล้ชิด เพื่อสร้างสังคมที่พร้อมเผชิญและรับมือกับแผ่นดินไหวได้อย่างมีประสิทธิภาพและไม่ตื่นตระหนกเกินเหตุ” ท้ายที่สุด แม้ประเทศไทยจะไม่สามารถหลีกเลี่ยงการเกิดภัยพิบัติได้ แต่เราสามารถเตรียมพร้อมรับมือและช่วยกันลดผลกระทบความเสียหายได้อย่างมีประสิทธิภาพ หากทุกภาคส่วนร่วมกันขับเคลื่อนองค์ความรู้และนวัตกรรมไปสู่การปฏิบัติจริง ร่วมกันพัฒนาระบบการป้องกันที่ทันสมัย และเสริมสร้างสังคมที่เข้มแข็ง ยกระดับความปลอดภัยให้กับประชาชนในทุกพื้นที่ เพราะความมั่นคงของชีวิตประชาชนคือรากฐานสำคัญของการพัฒนาอย่างยั่งยืน และเป็นสิ่งที่ทุกภาคส่วนในสังคมไทยควรร่วมมือกันอย่างจริงจังตั้งแต่นี้เป็นต้นไป ทั้งนี้ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เตรียมจัดทำ “คู่มือรับมือแผ่นดินไหว : ฉบับประชาชน” ซึ่งอยู่ระหว่างขั้นตอนการเรียบเรียงและรวบรวมข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญในสาขาต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยมีเป้าหมายเพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงความรู้และแนวปฏิบัติที่เข้าใจง่าย ใช้ได้จริง และเหมาะสมกับบริบทของประเทศไทย โดยเฉพาะในชุมชนเมืองและพื้นที่เสี่ยงภัย คู่มือฉบับนี้จะช่วยยกระดับความพร้อมของคนไทยในการเผชิญเหตุฉุกเฉิน ทั้งในแง่ของการป้องกันตนเอง ดูแลคนรอบข้าง ไปจนถึงการรับมือกับผลกระทบหลังเหตุการณ์ เพื่อให้สังคมไทยสามารถอยู่ร่วมกับภัยพิบัติอย่างไม่ประมาท และมีความมั่นคงปลอดภัยมากยิ่งขึ้นในอนาคตอันใกล้
ทีเค พาร์ค พาเจาะเส้นทางความสำเร็จนักเขียนไทยผู้เจาะตลาดอินเตอร์ พร้อมเปิดทริคอัปเลเวล “นักเขียนมือทอง” หนุนวรรณกรรมไทยไปตีตลาดโลก
คณะสถาปัตย์ จุฬาฯ จับมือ PMCU ร่วมจัดหลักสูตรพัฒนาผู้จัดการสินทรัพย์และ นักพัฒนาเมืองรุ่นใหม่ พลิกโฉมพื้นที่สถานีรถไฟ