โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนประจวบวิทยาลัย EZ WebmasterJune 20, 2025 วันนี้ทั้งเล่น ทั้งได้ความรู้ ทั้งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนประจวบวิทยาลัย จ.ประจวบคีรีขันธ์ วันที่20/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสามร้อยยอดวิทยาคม EZ WebmasterJune 20, 2025 กิจกรรมสร้างสรรค์ ความสุขเล็กๆ ที่ยิ่งสนุกสนาน โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนสามร้อยยอดวิทยาคม จ.ประจวบคีรีขันธ์ วันที่20/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศ EZ WebmasterJune 20, 2025 มาทำให้วันธรรมดา กลายเป็นวันพิเศษกันเถอะ! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศ จ.เพชรบุรี วันที่20/06/68 โดยวิทยากร อ.ธารา อิสสระ (พี่แฮนด์… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนรัตนราษฎร์บำรุง EZ WebmasterJune 20, 2025 สร้างความสุข สร้างความทรงจำดีๆ ให้เด็กๆ ทุกคน โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนรัตนราษฎร์บำรุง จ.ราชบุรี วันที่19/06/68 โดยวิทยากร อ.ธารา… นักศึกษา โรงเรียนปลอดมือถือ! อังกฤษ-ออสเตรเลียเริ่มแล้ว ดึงเด็กกลับมาสนใจครูในห้องเรียน EZ WebmasterJune 20, 2025 วันที่ 10 มิถุนายน 2568 – ในช่วงหลายเดือนที่ผ่านมา แวดวงการศึกษาในประเทศพัฒนาแล้วต่างให้ความสนใจประเด็น “โรงเรียนปลอดโทรศัพท์มือถือ (Phone-Free School)” อย่างจริงจัง ล่าสุดมีความเคลื่อนไหวชัดเจนจาก ประเทศอังกฤษและออสเตรเลีย ที่เริ่มนำร่องมาตรการควบคุมการใช้อุปกรณ์ดิจิทัลในโรงเรียนระดับมัธยมอย่างเข้มงวด จากรายงานของ สำนักข่าว BBC ระบุว่า… มธ. ปักหมุดหลักสูตร ‘AI Ethics’ หนุนบริบทใหม่ของห้องเรียนทันโลก สร้างจุดยืนคนรุ่นใหม่ ‘ใช้เอไออย่างมีจริยธรรม’ พร้อมเดินหน้าวางหมุดหมายระบบการศึกษาไทย กับการปลุกการใช้เทคฯ คู่ธรรมาภิบาล คาดเริ่มเปิดลงทะเบียนพร้อมเรียนจริง สิงหาคม 68 นี้ EZ WebmasterJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) ตอกย้ำจุดยืนเชิงรุกต่อการเปลี่ยนผ่านของโลกยุคดิจิทัล ผ่านการพัฒนาหลักสูตร “AI Ethics” หรือจริยธรรมปัญญาประดิษฐ์ ภายใต้ยุทธศาสตร์ Thammasat Next Century เตรียมความพร้อมให้เยาวชนไทยมีทั้งความรู้ ความสามารถ และความรับผิดชอบในการใช้งานเทคโนโลยีอย่างเหมาะสม โดยเฉพาะในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อที่ปัญญาประดิษฐ์กำลังกลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวัน ทั้งในห้องเรียน ที่ทำงาน และบนแพลตฟอร์มออนไลน์ต่าง ๆ โดยหลักสูตรนี้ถูกวางให้เป็นรากฐานสำคัญของระบบการศึกษายุคใหม่ ที่ไม่เพียงเน้นทักษะด้านเทคนิคเท่านั้น แต่ยังปลูกฝังค่านิยมที่ถูกต้องในการอยู่ร่วมกับเทคโนโลยี พร้อมชี้ให้เห็นถึงความเสี่ยงของ AI ที่เกิดจาก… 11 สาเหตุลึกซึ้ง ทำไมการศึกษาไทยยังตกต่ำ? เสียงสะท้อนจากครูชนบท สู่คำถามใหญ่ของสังคม EZ WebmasterJune 19, 2025 ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ประเทศไทยกำลังเผชิญกับวิกฤตคุณภาพทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง แม้จะมีความพยายามปฏิรูปหลายครั้ง แต่กลับไม่สามารถยกระดับการเรียนรู้ให้เทียบเท่าประเทศเพื่อนบ้านได้อย่างแท้จริงนายสานิตย์ พลศรี นายกสมาคมครูชนบทจังหวัดชัยภูมิ ในหัวข้อ “สาเหตุของปัญหาคุณภาพด้านการศึกษาประเทศไทยที่ตกต่ำ” ซึ่งกำลังถูกส่งต่ออย่างกว้างขวางในโซเชียลมีเดียและกลุ่มไลน์ของคนในแวดวงการศึกษาเสียงสะท้อนจากผู้ที่อยู่ในภาคสนามจริงอย่างนายสานิตย์ ทำให้เราได้เห็นภาพที่ชัดเจนมากขึ้นว่า ปัญหาไม่ได้อยู่ที่ตัวนักเรียนหรือครูเพียงลำพัง แต่เป็นผลสะสมจากโครงสร้าง ระบบ และการบริหารที่ผิดทิศผิดทางมานานจึงเป็นการเปิดประเด็นให้สังคมได้ทบทวนร่วมกันว่า หากเราไม่เริ่ม “เปลี่ยนจริง” คุณภาพการศึกษาของไทยอาจยิ่งตกต่ำลงกว่าที่เป็นอยู่ 11… ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา EZ WebmasterJune 18, 2025 วิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิทักษ์ ธรรมวาริน (คนที่ 4 จากซ้าย) คณบดีวิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สจล. และ Mr. Alfonso Martin (คนที่ 3… ทุนดีดี ทุนImperial Athletes Sport InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 20, 2025 Imperial College London เสนอทุนการศึกษา Imperial Athletes Sport เพื่อสนับสนุนนักกีฬาที่มีพรสวรรค์สำหรับปีการศึกษา 2025/2026 โดยเปิดโอกาสให้เลือกเรียนในหลากหลายสาขาวิชา เปิดรับใบสมัครถึง 4 สิงหาคม 2025 หากคุณกำลังแข่งขันในระดับภูมิภาค ระดับชาติ หรือระดับนานาชาติในกีฬาของคุณ และแสดงให้เห็นถึงพรสวรรค์… Kazan Global Youth Summit InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 19, 2025 เชิญเยาวชนสมัครคัดเลือกเข้าร่วมการประชุม Kazan Global Youth Summit ครั้งที่ 4 ระหว่างวันที่ 27 – 30 สิงหาคม 2568 ณ เมืองคาซาน สาธารณรัฐตาตาร์สตาน สหพันธรัฐรัสเซีย จัดโดยรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐตาตาร์สตาน… SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… ครู-อาจารย์ จุฬาฯ ผงาดอันดับ Top 44 ของโลกด้านความยั่งยืน ใน THE Impact Rankings 2025 ครองอันดับ 1 ของไทยอีกครั้ง tui sakrapeeJune 20, 2025 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยผงาดอันดับ Top 44 ของโลก และครองอันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทยอีกครั้งหนึ่ง จากการจัดอันดับโดย Times Higher Education Impact Rankings 2025 ด้วยผลงานที่โดดเด่นในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนและสร้างผลกระทบสูงต่อสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง SDG 9… หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 📚เริ่มเรียน กรกฎาคม 2568 ถึง มกราคม 2569 ทุกวันพฤหัสบดี 11:00 – 18:00 น.… มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ… สจล. เดินหน้ากระชับความร่วมมือทางวิชาการ กับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของจีน EZ WebmasterJune 19, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เดินหน้ากระชับความสัมพันธ์ทางวิชาการกับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งเป็นพันธมิตรที่มีความร่วมมือกันมานานกว่า 20 ปี เพื่อหารือขยายความร่วมมือเชิงลึกในสาขาวิศวกรรมขั้นสูง โดยเฉพาะด้าน Aerospace, Mechatronics, Automation และ Astronautics ซึ่ง HIT ถือเป็นสถาบันชั้นนำของจีนในด้านนี้ พร้อมทั้งหารือแนวทางความร่วมมือด้านการแลกเปลี่ยนนักศึกษา นักวิจัย และการพัฒนาโครงการ Joint Degree ในอนาคต รองศาสตราจารย์… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster February 6, 2025 EZ Webmaster February 6, 2025 กสศ. เสนอสร้างระบบหลักประกันโอกาสการศึกษา ใช้บัตรประชาชนใบเดียวเรียนได้ไร้รอยต่อ ตั้งแต่ปฐมวัยถึงมีงานทำ กสศ. เปิดรายงานความเหลื่อมล้ำการศึกษา 67- 68 พบเด็กนอกระบบการศึกษามีแนวโน้มลดลง แต่เด็กยากจนเรียนต่อมหาวิทยาลัยน้อยกว่าค่าเฉลี่ยประเทศถึง 2 เท่า เสนอสร้างระบบหลักประกันโอกาสการศึกษา ใช้บัตรประชาชนใบเดียวเรียนได้ไร้รอยต่อ ตั้งแต่ปฐมวัยถึงมีงานทำ ด้านยูเนสโก ระบุว่า หากลงทุนลดเด็กหลุดนอกระบบและเด็กทักษะต่ำกว่าพื้นฐานเพียง 10% เพิ่ม GDP แต่ละปีได้ถึง 1-2% เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2568 ณ ห้อง Mitrtown Hall 1 สามย่านมิตรทาวน์ กรุงเทพมหานคร กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) จัดงาน Equity Forum 2025 “ประเทศไทยกับการแก้ปัญหาเชิงระบบเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา” โดย กสศ. เปิดรายงานสถานการณ์ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาปี 2567 และทิศทางสำคัญในปี 2568 โดยมีฝ่ายนโยบาย นักการเมืองทั้งฝ่ายรัฐบาล ฝ่ายค้าน ผู้นำท้องถิ่น นักการศึกษา นักวิชาการ และนิสิตนักศึกษาเข้าร่วม ดร.ไกรยส ภัทราวาท ผู้จัดการกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) กล่าวว่า ปีการศึกษา 2567 ประเทศไทยมีประชากรนักเรียนในช่วงวัยเรียนระดับก่อนประถมศึกษาและการศึกษาภาคบังคับ (อายุ 3 – 14 ปี) จำนวนทั้งสิ้นประมาณ 8.5 ล้านคน ในจำนวนดังกล่าวมีนักเรียนกว่า 3 ล้านคนที่อยู่ในครัวเรือนภายใต้เส้นความยากจน (Poverty Line) ซึ่งเมื่อประมวลผลจากการคัดกรองโดยวิธีการวัดรายได้ทางอ้อม (Proxy Means Test) พบว่า ประเทศไทยมีนักเรียนยากจนพิเศษระดับอนุบาล – มัธยมศึกษาตอนต้นในครัวเรือนยากจนที่สุด 15% แรกของประเทศ จำนวน 1,348,735 คน โดยจังหวัดที่มีสัดส่วนนักเรียนยากจนพิเศษมากที่สุด อันดับหนึ่งคือจังหวัดแม่ฮ่องสอน อันดับสองคือจังหวัดนราธิวาส และที่เหลือพบว่าส่วนใหญ่มีการกระจุกตัวอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ขณะที่รายได้เฉลี่ยของครัวเรือนนักเรียนยากจนพิเศษ ปีการศึกษา 2567 เพิ่มขึ้นเล็กน้อยเป็น 1,133 บาท/คน/เดือน หรือเฉลี่ยวันละ 37 บาท เมื่อเทียบกับปีการศึกษา 2566 ที่มีรายได้เฉลี่ยอยู่ที่คนละ 1,039 บาท/คน/เดือน หรือเฉลี่ยวันละ 34 บาท และจากการลงพื้นที่เยี่ยมบ้านโดยครูมากกว่า 400,000 คนทั่วประเทศพบสถานการณ์ความเปราะบางของครัวเรือนยากจนพิเศษในหลายมิติ เช่น มีนักเรียนยากจนพิเศษมากกว่า 1 ใน 3 หรือ 38.77% ที่ไม่ได้อาศัยอยู่กับพ่อแม่ เนื่องจากพ่อแม่อพยพย้ายถิ่นไปทำงานในเมือง หรือครอบครัวแหว่งกลาง และยังพบว่าสมาชิกในครัวเรือนส่วนใหญ่เป็นผู้มีภาวะพึ่งพิง อาทิ มีผู้สูงอายุในครัวเรือน 44.43% มีคนว่างงานในครัวเรือน 27.3% มีคนพิการเจ็บป่วยเรื้อรังในครัวเรือน 12.41% ดร.ไกรยส กล่าวว่า เพื่อป้องกันการหลุดออกจากระบบการศึกษาของเด็กเยาวชนกลุ่มเสี่ยงจากครัวเรือนผู้มีรายได้น้อยมากกว่า 1.3 ล้านคนนี้ กสศ. จึงได้จัดสรรเงินอุดหนุนนักเรียนยากจนพิเศษแบบมีเงื่อนไข (Conditional Cash Transfer) หรือทุนเสมอภาค ให้แก่นักเรียนกลุ่มเป้าหมายจำนวน 1.3 ล้านคนอย่างต่อเนื่อง 3 ปีการศึกษา โดย กสศ. และ สถานศึกษาทั้ง 6 สังกัดได้ติดตามอัตราการมาเรียน และพัฒนาการของเด็กเป็นรายบุคคลอย่างใกล้ชิด ผลลัพธ์จากการดำเนินงานของโครงการตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา สะท้อนการป้องกันไม่ให้นักเรียนยากจนพิเศษหลุดออกจากระบบก่อนสำเร็จการศึกษาภาคบังคับ โดยพบว่าอัตราการคงอยู่ในระบบการศึกษาอยู่ที่ 97.88% แต่ยังมีช่องว่างสำคัญในเส้นทางการศึกษาของเด็กกลุ่มนี้ เช่น 1.ในปีการศึกษา 2567มีนักเรียนยากจนและนักเรียนยากจนพิเศษ จำนวนเพียง 22,345 คน จากนักเรียนทั้งหมด 165,585 คน หรือคิดเป็น 13.49% เท่านั้น ที่สามารถคงอยู่ในระบบการศึกษาจนสามารถเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาได้ ซึ่งต่ำกว่าค่าเฉลี่ยอัตราการเรียนต่อระดับอุดมศึกษาของประชากรไทยกว่า 2 เท่า 2.มีนักเรียนที่ครัวเรือนมีรายได้ต่ำกว่าเส้นความยากจน อีกประมาณ 1.1 ล้านคน ยังไม่ได้รับการสนับสนุนหรือช่วยเหลือ จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องตั้งแต่หน่วยงานระดับนโยบาย หน่วยจัดสรรงบประมาณ และหน่วยงานต้นสังกัดของสถานศึกษา ควรร่วมกันพัฒนามาตรการเพื่อให้ความช่วยเหลืออย่างเหมาะสม ป้องกันการหลุดออกจากระบบการศึกษาในช่วงวัยสำคัญ 3.นอกเหนือจากการให้ความช่วยเหลือในมิติทางเศรษฐกิจแล้ว หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรมีมาตรการส่งเสริมสภาพความเป็นอยู่และการดำรงชีวิตที่มีความท้าทายและสนับสนุนการดูแลช่วยเหลือในมิติอื่น ๆ เพื่อไม่ให้ปัจจัยต่าง ๆ เหล่านั้นเป็นอุปสรรคต่อการคงอยู่ในระบบการศึกษา เพราะจากการลงพื้นที่พบว่าสถานการณ์ความเปราะบางของครอบครัวและสังคมที่เด็กต้องเผชิญมีแนวโน้มที่ซับซ้อน และท้าทายต่ออนาคตทางการศึกษาของเด็กเยาวชนมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง ดร.ไกรยส กล่าวว่า สำหรับสถานการณ์เด็กเยาวชนนอกระบบ ในปี 2567 จากการเชื่อมโยงข้อมูลเด็กและเยาวชนที่อายุ 3-18 ปี ระหว่างระบบสารสนเทศของสำนักปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กับ สำนักทะเบียนราษฎร์ กระทรวงมหาดไทย พบว่า มีเด็กและเยาวชนในช่วงอายุ 3-18 ปี (เกิดระหว่างวันที่ 1 มกราคม 2550 – 31 ธันวาคม 2564 ) ที่ไม่มีชื่ออยู่ในระบบการศึกษา จำนวนทั้งสิ้น 982,304 คน ซึ่งลดลงจากปีการศึกษาก่อนหน้าที่มีอยู่จำนวน 1.02 ล้านคน โดยเป็นเรื่องที่น่ายินดีที่หน่วยงานต้นสังกัดทางการศึกษาต่าง ๆ สามารถพาเด็กเยาวชนมากกว่า 304,082 กลับเข้าสู่ระบบการศึกษาได้ในปีที่ผ่านมา อย่างไรก็ดี ยังมีเด็กเยาวชนที่ยังคงไม่มีชื่ออยู่ในระบบการศึกษาต่อเนื่องมาตั้งแต่ปี 2566 จำนวน 590,557 คน และมีเด็กเยาวชนนอกระบบการศึกษากลุ่มใหม่ จำนวน 391,747 คน ในจำนวนนี้อยู่ในช่วงวัยการศึกษาภาคบังคับ จำนวน 387,591 คน คิดเป็น 39.46% ของเด็กและเยาวชนที่ไม่มีชื่อในระบบการศึกษาทั้งหมด (ข้อมูล ณ เดือนธันวาคม 2567) จากปฏิบัติการค้นหา ช่วยเหลือเด็กเยาวชนที่หลุดจากระบบการศึกษาที่ประสบความสำเร็จ โดยไม่หลุดจากระบบซ้ำ พบว่า การสร้างพื้นที่ปลอดภัยต่อการเรียนรู้และเติบโตอย่างเต็มศักยภาพ เป็นทางออกสำคัญของเรื่องนี้ ทั้งในมิติการป้องกันและช่วยเหลือ การส่งเสริม สนับสนุนให้ท้องถิ่นทุกระดับเห็นความสำคัญ เป็นแกนนำและทำหน้าที่เชื่อมโยงทุกภาคส่วนร่วมเป็นกลไกขับเคลื่อนโดยมีเด็ก เยาวชนเป็นศูนย์กลาง มีข้อบัญญัติของท้องถิ่นที่แสดงเจตจำนงอย่างชัดเจน และจัดสรรงบประมาณและกำลังคนรับผิดชอบต่อเนื่อง ไร้รอยต่อทางการเมือง จะเป็นส่วนสำคัญที่ช่วยให้การป้องกันและแก้ปัญหาเด็กเยาวชนอกระบบเกิดขึ้นจริงได้ ทั้งนี้ กสศ. ยังได้เสนอนโยบาย 2 ประเด็นสำคัญได้แก่ 1.การสร้างระบบหลักประกันโอกาสการศึกษา ให้เด็กเยาวชนตลอด 20 ปี จากปฐมวัยถึงมีงานทำ ผ่านการบูรณาการข้อมูลรายบุคคลระหว่าง 11 หน่วยงาน ครอบคลุมเด็กเยาวชนกลุ่มเสี่ยงที่มาจากครัวเรือนซึ่งมีรายได้น้อยที่สุดของประเทศจำนวน 3 ล้านคน และเด็กเยาวชนนอกระบบการศึกษาจำนวน 9 แสนคน (3-22 ปี) เพื่อให้เกิดการเชื่อมโยง และส่งต่อข้อมูลระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ทุกกระทรวง บูรณาการชุดสิทธิประโยชน์ด้านสุขภาวะ สังคม ครอบครัว แรงงาน การศึกษา ฯลฯ ที่มีอยู่ในหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อให้เด็กเยาวชนทุกคนได้รับสวัสดิการ การดูแล พัฒนา และส่งต่ออย่างมีประสิทธิภาพ ทันเวลา นอกจากนี้ ควรเพิ่มศักยภาพของสวัสดิการแบบมุ่งเป้า (Targeting) เพื่อลดต้นทุนการเข้าถึงการศึกษาให้แก่เด็กเยาวชนที่มาจากครัวเรือนซึ่งมีรายได้น้อยที่สุดของประเทศ 2.ยกระดับบัตรประจำตัวประชาชนของเด็กเยาวชนทุกคนให้เป็น Learning Passport สำหรับการศึกษาและการเรียนรู้ทั้งในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย โดยรัฐสามารถจัดสรรเงินอุดหนุนจากรัฐบาลตรงไปยังเลข 13 หลักของเด็กเยาวชนโดยตรง โดยเฉพาะผู้อาศัยอยู่กับครัวเรือนยากจนและเปราะบาง เพื่อให้เด็กเยาวชนสามารถเลือกศึกษาต่อและเรียนรู้ผ่านการศึกษาทั้ง 3 ระบบ ผ่านหน่วยจัดการเรียนรู้ทั้งของภาครัฐ ท้องถิ่น และเอกชนได้อย่างยืดหยุ่น และหลากหลายตามความถนัดและศักยภาพของเด็กเยาวชนเป็นรายบุคคล รวมทั้งสามารถถ่ายโอนหน่วยกิตระหว่างการศึกษาทั้ง 3 ระบบเพื่อใช้ในการศึกษาต่อ และการสมัครงานได้ในอนาคตได้ รศ.ดร.วีระชาติ กิเลนทอง ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยเพื่อการประเมินและออกแบบนโยบาย (RIPED) และคณบดีคณะการศึกษาปฐมวัย มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย กล่าวถึงงานวิจัยที่ร่วมมือกับ กสศ. และ OECD ที่ประเมินสมรรถนะผู้เรียนตามมาตรฐานสากลเพื่อการพัฒนาสถานศึกษา หรือ PISA for Schools โดยสำรวจและประเมินสมรรถนะแบบ PISA ในสถานศึกษา 150 แห่ง จาก 16 จังหวัด มีข้อค้นพบที่สำคัญคือ นักเรียนที่มีระดับคะแนนผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ในระดับชั้น ป.6 ที่ดี จะมีแนวโน้มที่จะมีคะแนนสมรรถนะของ PISA สูงเช่นเดียวกัน ดังนั้น ความเหลื่อมล้ำในผลลัพธ์การเรียนรู้ที่พบจากผลการทดสอบ PISA ไม่ได้เพิ่งเกิดขึ้นในช่วงระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น แต่แท้จริงแล้ว เป็นเสมือนการขาดทุนที่สะสมมาตั้งแต่ระดับชั้นประถมศึกษาหรือระดับปฐมวัย ดังนั้นการส่งเสริมให้เยาวชนไทยมีคะแนน PISA ที่ดีขึ้นในอนาคต จึงควรเริ่มต้นจากมาตรการยกระดับคุณภาพการศึกษาที่เสมอภาคตั้งแต่การศึกษาระดับประถมศึกษา และอาศัยเครื่องมือประเมินผลอย่าง O-NET ในการลดความเหลื่อมล้ำด้านคุณภาพการศึกษาระหว่างสถานศึกษาในระยะยาว คุณจูสตีน ซาส หัวหน้าฝ่ายการศึกษาเพื่อความครอบคลุมและความเท่าเทียมทางเพศ สำนักงานใหญ่ยูเนสโก ณ กรุงปารีส เปิดเผยข้อมูล จากรายงานระดับโลก The Price of Inaction: The global private, fiscal and social costs of children not learning. หรือ ต้นทุนของการเพิกเฉย (The Price of Inaction) : ต้นทุนทางเศรษฐกิจ สังคม และภาครัฐจากการที่เด็กไม่ได้รับการศึกษา โดยระบุว่า หากไม่มีการดำเนินการใด ๆ ภายในปี ค.ศ. 2030 ต้นทุนทางสังคมของเด็กที่ออกจากโรงเรียนก่อนกำหนดและเด็กที่มีทักษะต่ำกว่าพื้นฐานจะอยู่ที่ 6 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ และ 10 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ ตามลำดับ ตัวเลขเหล่านี้คิดเป็นมูลค่ามหาศาล ตัวเลข 10 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ มีมูลค่ามากกว่าผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) รายปีของฝรั่งเศสและญี่ปุ่นรวมกัน “การลงทุนในการศึกษาที่มีคุณภาพเป็นกลยุทธ์ที่คุ้มค่าที่สุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจเพียงแค่ลดสัดส่วนของเด็กที่ออกจากโรงเรียนก่อนกำหนดรวมถึงลดสัดส่วนของเด็กที่มีทักษะต่ำกว่าพื้นฐานลงเพียง 10% เราจะสามารถเพิ่ม GDP แต่ละปีได้ถึง 1-2%” สามารถอ่านรายงานสถานการณ์ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาปี 2567 และทิศทางสำคัญในปี 2568 ได้ที่ https://www.eef.or.th/publication-050225/ EZ Webmaster Related Posts โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนประจวบวิทยาลัย โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสามร้อยยอดวิทยาคม โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศ โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนรัตนราษฎร์บำรุง โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี Post navigation PREVIOUS Previous post: ด่วน! สพฐ. ชี้แจ้ง การติด 0 ร. มส. ทำยังไงก็ได้แต่ต้องไม่สร้างภาระให้นักเรียนและผู้ปกครองNEXT Next post: รวมลักษณะ 8 Genแต่ละเจนอยู่ในช่วงกลุ่มอายุเท่าไหร่ มีแนวคิดและลักษณะนิสัยแตกต่างกันอย่างไรบ้าง Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสามร้อยยอดวิทยาคม EZ WebmasterJune 20, 2025 กิจกรรมสร้างสรรค์ ความสุขเล็กๆ ที่ยิ่งสนุกสนาน โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนสามร้อยยอดวิทยาคม จ.ประจวบคีรีขันธ์ วันที่20/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศ EZ WebmasterJune 20, 2025 มาทำให้วันธรรมดา กลายเป็นวันพิเศษกันเถอะ! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศ จ.เพชรบุรี วันที่20/06/68 โดยวิทยากร อ.ธารา อิสสระ (พี่แฮนด์… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนรัตนราษฎร์บำรุง EZ WebmasterJune 20, 2025 สร้างความสุข สร้างความทรงจำดีๆ ให้เด็กๆ ทุกคน โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนรัตนราษฎร์บำรุง จ.ราชบุรี วันที่19/06/68 โดยวิทยากร อ.ธารา… นักศึกษา โรงเรียนปลอดมือถือ! อังกฤษ-ออสเตรเลียเริ่มแล้ว ดึงเด็กกลับมาสนใจครูในห้องเรียน EZ WebmasterJune 20, 2025 วันที่ 10 มิถุนายน 2568 – ในช่วงหลายเดือนที่ผ่านมา แวดวงการศึกษาในประเทศพัฒนาแล้วต่างให้ความสนใจประเด็น “โรงเรียนปลอดโทรศัพท์มือถือ (Phone-Free School)” อย่างจริงจัง ล่าสุดมีความเคลื่อนไหวชัดเจนจาก ประเทศอังกฤษและออสเตรเลีย ที่เริ่มนำร่องมาตรการควบคุมการใช้อุปกรณ์ดิจิทัลในโรงเรียนระดับมัธยมอย่างเข้มงวด จากรายงานของ สำนักข่าว BBC ระบุว่า… มธ. ปักหมุดหลักสูตร ‘AI Ethics’ หนุนบริบทใหม่ของห้องเรียนทันโลก สร้างจุดยืนคนรุ่นใหม่ ‘ใช้เอไออย่างมีจริยธรรม’ พร้อมเดินหน้าวางหมุดหมายระบบการศึกษาไทย กับการปลุกการใช้เทคฯ คู่ธรรมาภิบาล คาดเริ่มเปิดลงทะเบียนพร้อมเรียนจริง สิงหาคม 68 นี้ EZ WebmasterJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) ตอกย้ำจุดยืนเชิงรุกต่อการเปลี่ยนผ่านของโลกยุคดิจิทัล ผ่านการพัฒนาหลักสูตร “AI Ethics” หรือจริยธรรมปัญญาประดิษฐ์ ภายใต้ยุทธศาสตร์ Thammasat Next Century เตรียมความพร้อมให้เยาวชนไทยมีทั้งความรู้ ความสามารถ และความรับผิดชอบในการใช้งานเทคโนโลยีอย่างเหมาะสม โดยเฉพาะในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อที่ปัญญาประดิษฐ์กำลังกลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวัน ทั้งในห้องเรียน ที่ทำงาน และบนแพลตฟอร์มออนไลน์ต่าง ๆ โดยหลักสูตรนี้ถูกวางให้เป็นรากฐานสำคัญของระบบการศึกษายุคใหม่ ที่ไม่เพียงเน้นทักษะด้านเทคนิคเท่านั้น แต่ยังปลูกฝังค่านิยมที่ถูกต้องในการอยู่ร่วมกับเทคโนโลยี พร้อมชี้ให้เห็นถึงความเสี่ยงของ AI ที่เกิดจาก… 11 สาเหตุลึกซึ้ง ทำไมการศึกษาไทยยังตกต่ำ? เสียงสะท้อนจากครูชนบท สู่คำถามใหญ่ของสังคม EZ WebmasterJune 19, 2025 ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ประเทศไทยกำลังเผชิญกับวิกฤตคุณภาพทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง แม้จะมีความพยายามปฏิรูปหลายครั้ง แต่กลับไม่สามารถยกระดับการเรียนรู้ให้เทียบเท่าประเทศเพื่อนบ้านได้อย่างแท้จริงนายสานิตย์ พลศรี นายกสมาคมครูชนบทจังหวัดชัยภูมิ ในหัวข้อ “สาเหตุของปัญหาคุณภาพด้านการศึกษาประเทศไทยที่ตกต่ำ” ซึ่งกำลังถูกส่งต่ออย่างกว้างขวางในโซเชียลมีเดียและกลุ่มไลน์ของคนในแวดวงการศึกษาเสียงสะท้อนจากผู้ที่อยู่ในภาคสนามจริงอย่างนายสานิตย์ ทำให้เราได้เห็นภาพที่ชัดเจนมากขึ้นว่า ปัญหาไม่ได้อยู่ที่ตัวนักเรียนหรือครูเพียงลำพัง แต่เป็นผลสะสมจากโครงสร้าง ระบบ และการบริหารที่ผิดทิศผิดทางมานานจึงเป็นการเปิดประเด็นให้สังคมได้ทบทวนร่วมกันว่า หากเราไม่เริ่ม “เปลี่ยนจริง” คุณภาพการศึกษาของไทยอาจยิ่งตกต่ำลงกว่าที่เป็นอยู่ 11… ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา EZ WebmasterJune 18, 2025 วิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิทักษ์ ธรรมวาริน (คนที่ 4 จากซ้าย) คณบดีวิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สจล. และ Mr. Alfonso Martin (คนที่ 3… ทุนดีดี ทุนImperial Athletes Sport InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 20, 2025 Imperial College London เสนอทุนการศึกษา Imperial Athletes Sport เพื่อสนับสนุนนักกีฬาที่มีพรสวรรค์สำหรับปีการศึกษา 2025/2026 โดยเปิดโอกาสให้เลือกเรียนในหลากหลายสาขาวิชา เปิดรับใบสมัครถึง 4 สิงหาคม 2025 หากคุณกำลังแข่งขันในระดับภูมิภาค ระดับชาติ หรือระดับนานาชาติในกีฬาของคุณ และแสดงให้เห็นถึงพรสวรรค์… Kazan Global Youth Summit InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 19, 2025 เชิญเยาวชนสมัครคัดเลือกเข้าร่วมการประชุม Kazan Global Youth Summit ครั้งที่ 4 ระหว่างวันที่ 27 – 30 สิงหาคม 2568 ณ เมืองคาซาน สาธารณรัฐตาตาร์สตาน สหพันธรัฐรัสเซีย จัดโดยรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐตาตาร์สตาน… SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… ครู-อาจารย์ จุฬาฯ ผงาดอันดับ Top 44 ของโลกด้านความยั่งยืน ใน THE Impact Rankings 2025 ครองอันดับ 1 ของไทยอีกครั้ง tui sakrapeeJune 20, 2025 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยผงาดอันดับ Top 44 ของโลก และครองอันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทยอีกครั้งหนึ่ง จากการจัดอันดับโดย Times Higher Education Impact Rankings 2025 ด้วยผลงานที่โดดเด่นในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนและสร้างผลกระทบสูงต่อสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง SDG 9… หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 📚เริ่มเรียน กรกฎาคม 2568 ถึง มกราคม 2569 ทุกวันพฤหัสบดี 11:00 – 18:00 น.… มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ… สจล. เดินหน้ากระชับความร่วมมือทางวิชาการ กับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของจีน EZ WebmasterJune 19, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เดินหน้ากระชับความสัมพันธ์ทางวิชาการกับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งเป็นพันธมิตรที่มีความร่วมมือกันมานานกว่า 20 ปี เพื่อหารือขยายความร่วมมือเชิงลึกในสาขาวิศวกรรมขั้นสูง โดยเฉพาะด้าน Aerospace, Mechatronics, Automation และ Astronautics ซึ่ง HIT ถือเป็นสถาบันชั้นนำของจีนในด้านนี้ พร้อมทั้งหารือแนวทางความร่วมมือด้านการแลกเปลี่ยนนักศึกษา นักวิจัย และการพัฒนาโครงการ Joint Degree ในอนาคต รองศาสตราจารย์… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster February 6, 2025 EZ Webmaster February 6, 2025 กสศ. เสนอสร้างระบบหลักประกันโอกาสการศึกษา ใช้บัตรประชาชนใบเดียวเรียนได้ไร้รอยต่อ ตั้งแต่ปฐมวัยถึงมีงานทำ กสศ. เปิดรายงานความเหลื่อมล้ำการศึกษา 67- 68 พบเด็กนอกระบบการศึกษามีแนวโน้มลดลง แต่เด็กยากจนเรียนต่อมหาวิทยาลัยน้อยกว่าค่าเฉลี่ยประเทศถึง 2 เท่า เสนอสร้างระบบหลักประกันโอกาสการศึกษา ใช้บัตรประชาชนใบเดียวเรียนได้ไร้รอยต่อ ตั้งแต่ปฐมวัยถึงมีงานทำ ด้านยูเนสโก ระบุว่า หากลงทุนลดเด็กหลุดนอกระบบและเด็กทักษะต่ำกว่าพื้นฐานเพียง 10% เพิ่ม GDP แต่ละปีได้ถึง 1-2% เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2568 ณ ห้อง Mitrtown Hall 1 สามย่านมิตรทาวน์ กรุงเทพมหานคร กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) จัดงาน Equity Forum 2025 “ประเทศไทยกับการแก้ปัญหาเชิงระบบเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา” โดย กสศ. เปิดรายงานสถานการณ์ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาปี 2567 และทิศทางสำคัญในปี 2568 โดยมีฝ่ายนโยบาย นักการเมืองทั้งฝ่ายรัฐบาล ฝ่ายค้าน ผู้นำท้องถิ่น นักการศึกษา นักวิชาการ และนิสิตนักศึกษาเข้าร่วม ดร.ไกรยส ภัทราวาท ผู้จัดการกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) กล่าวว่า ปีการศึกษา 2567 ประเทศไทยมีประชากรนักเรียนในช่วงวัยเรียนระดับก่อนประถมศึกษาและการศึกษาภาคบังคับ (อายุ 3 – 14 ปี) จำนวนทั้งสิ้นประมาณ 8.5 ล้านคน ในจำนวนดังกล่าวมีนักเรียนกว่า 3 ล้านคนที่อยู่ในครัวเรือนภายใต้เส้นความยากจน (Poverty Line) ซึ่งเมื่อประมวลผลจากการคัดกรองโดยวิธีการวัดรายได้ทางอ้อม (Proxy Means Test) พบว่า ประเทศไทยมีนักเรียนยากจนพิเศษระดับอนุบาล – มัธยมศึกษาตอนต้นในครัวเรือนยากจนที่สุด 15% แรกของประเทศ จำนวน 1,348,735 คน โดยจังหวัดที่มีสัดส่วนนักเรียนยากจนพิเศษมากที่สุด อันดับหนึ่งคือจังหวัดแม่ฮ่องสอน อันดับสองคือจังหวัดนราธิวาส และที่เหลือพบว่าส่วนใหญ่มีการกระจุกตัวอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ขณะที่รายได้เฉลี่ยของครัวเรือนนักเรียนยากจนพิเศษ ปีการศึกษา 2567 เพิ่มขึ้นเล็กน้อยเป็น 1,133 บาท/คน/เดือน หรือเฉลี่ยวันละ 37 บาท เมื่อเทียบกับปีการศึกษา 2566 ที่มีรายได้เฉลี่ยอยู่ที่คนละ 1,039 บาท/คน/เดือน หรือเฉลี่ยวันละ 34 บาท และจากการลงพื้นที่เยี่ยมบ้านโดยครูมากกว่า 400,000 คนทั่วประเทศพบสถานการณ์ความเปราะบางของครัวเรือนยากจนพิเศษในหลายมิติ เช่น มีนักเรียนยากจนพิเศษมากกว่า 1 ใน 3 หรือ 38.77% ที่ไม่ได้อาศัยอยู่กับพ่อแม่ เนื่องจากพ่อแม่อพยพย้ายถิ่นไปทำงานในเมือง หรือครอบครัวแหว่งกลาง และยังพบว่าสมาชิกในครัวเรือนส่วนใหญ่เป็นผู้มีภาวะพึ่งพิง อาทิ มีผู้สูงอายุในครัวเรือน 44.43% มีคนว่างงานในครัวเรือน 27.3% มีคนพิการเจ็บป่วยเรื้อรังในครัวเรือน 12.41% ดร.ไกรยส กล่าวว่า เพื่อป้องกันการหลุดออกจากระบบการศึกษาของเด็กเยาวชนกลุ่มเสี่ยงจากครัวเรือนผู้มีรายได้น้อยมากกว่า 1.3 ล้านคนนี้ กสศ. จึงได้จัดสรรเงินอุดหนุนนักเรียนยากจนพิเศษแบบมีเงื่อนไข (Conditional Cash Transfer) หรือทุนเสมอภาค ให้แก่นักเรียนกลุ่มเป้าหมายจำนวน 1.3 ล้านคนอย่างต่อเนื่อง 3 ปีการศึกษา โดย กสศ. และ สถานศึกษาทั้ง 6 สังกัดได้ติดตามอัตราการมาเรียน และพัฒนาการของเด็กเป็นรายบุคคลอย่างใกล้ชิด ผลลัพธ์จากการดำเนินงานของโครงการตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา สะท้อนการป้องกันไม่ให้นักเรียนยากจนพิเศษหลุดออกจากระบบก่อนสำเร็จการศึกษาภาคบังคับ โดยพบว่าอัตราการคงอยู่ในระบบการศึกษาอยู่ที่ 97.88% แต่ยังมีช่องว่างสำคัญในเส้นทางการศึกษาของเด็กกลุ่มนี้ เช่น 1.ในปีการศึกษา 2567มีนักเรียนยากจนและนักเรียนยากจนพิเศษ จำนวนเพียง 22,345 คน จากนักเรียนทั้งหมด 165,585 คน หรือคิดเป็น 13.49% เท่านั้น ที่สามารถคงอยู่ในระบบการศึกษาจนสามารถเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาได้ ซึ่งต่ำกว่าค่าเฉลี่ยอัตราการเรียนต่อระดับอุดมศึกษาของประชากรไทยกว่า 2 เท่า 2.มีนักเรียนที่ครัวเรือนมีรายได้ต่ำกว่าเส้นความยากจน อีกประมาณ 1.1 ล้านคน ยังไม่ได้รับการสนับสนุนหรือช่วยเหลือ จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องตั้งแต่หน่วยงานระดับนโยบาย หน่วยจัดสรรงบประมาณ และหน่วยงานต้นสังกัดของสถานศึกษา ควรร่วมกันพัฒนามาตรการเพื่อให้ความช่วยเหลืออย่างเหมาะสม ป้องกันการหลุดออกจากระบบการศึกษาในช่วงวัยสำคัญ 3.นอกเหนือจากการให้ความช่วยเหลือในมิติทางเศรษฐกิจแล้ว หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรมีมาตรการส่งเสริมสภาพความเป็นอยู่และการดำรงชีวิตที่มีความท้าทายและสนับสนุนการดูแลช่วยเหลือในมิติอื่น ๆ เพื่อไม่ให้ปัจจัยต่าง ๆ เหล่านั้นเป็นอุปสรรคต่อการคงอยู่ในระบบการศึกษา เพราะจากการลงพื้นที่พบว่าสถานการณ์ความเปราะบางของครอบครัวและสังคมที่เด็กต้องเผชิญมีแนวโน้มที่ซับซ้อน และท้าทายต่ออนาคตทางการศึกษาของเด็กเยาวชนมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง ดร.ไกรยส กล่าวว่า สำหรับสถานการณ์เด็กเยาวชนนอกระบบ ในปี 2567 จากการเชื่อมโยงข้อมูลเด็กและเยาวชนที่อายุ 3-18 ปี ระหว่างระบบสารสนเทศของสำนักปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กับ สำนักทะเบียนราษฎร์ กระทรวงมหาดไทย พบว่า มีเด็กและเยาวชนในช่วงอายุ 3-18 ปี (เกิดระหว่างวันที่ 1 มกราคม 2550 – 31 ธันวาคม 2564 ) ที่ไม่มีชื่ออยู่ในระบบการศึกษา จำนวนทั้งสิ้น 982,304 คน ซึ่งลดลงจากปีการศึกษาก่อนหน้าที่มีอยู่จำนวน 1.02 ล้านคน โดยเป็นเรื่องที่น่ายินดีที่หน่วยงานต้นสังกัดทางการศึกษาต่าง ๆ สามารถพาเด็กเยาวชนมากกว่า 304,082 กลับเข้าสู่ระบบการศึกษาได้ในปีที่ผ่านมา อย่างไรก็ดี ยังมีเด็กเยาวชนที่ยังคงไม่มีชื่ออยู่ในระบบการศึกษาต่อเนื่องมาตั้งแต่ปี 2566 จำนวน 590,557 คน และมีเด็กเยาวชนนอกระบบการศึกษากลุ่มใหม่ จำนวน 391,747 คน ในจำนวนนี้อยู่ในช่วงวัยการศึกษาภาคบังคับ จำนวน 387,591 คน คิดเป็น 39.46% ของเด็กและเยาวชนที่ไม่มีชื่อในระบบการศึกษาทั้งหมด (ข้อมูล ณ เดือนธันวาคม 2567) จากปฏิบัติการค้นหา ช่วยเหลือเด็กเยาวชนที่หลุดจากระบบการศึกษาที่ประสบความสำเร็จ โดยไม่หลุดจากระบบซ้ำ พบว่า การสร้างพื้นที่ปลอดภัยต่อการเรียนรู้และเติบโตอย่างเต็มศักยภาพ เป็นทางออกสำคัญของเรื่องนี้ ทั้งในมิติการป้องกันและช่วยเหลือ การส่งเสริม สนับสนุนให้ท้องถิ่นทุกระดับเห็นความสำคัญ เป็นแกนนำและทำหน้าที่เชื่อมโยงทุกภาคส่วนร่วมเป็นกลไกขับเคลื่อนโดยมีเด็ก เยาวชนเป็นศูนย์กลาง มีข้อบัญญัติของท้องถิ่นที่แสดงเจตจำนงอย่างชัดเจน และจัดสรรงบประมาณและกำลังคนรับผิดชอบต่อเนื่อง ไร้รอยต่อทางการเมือง จะเป็นส่วนสำคัญที่ช่วยให้การป้องกันและแก้ปัญหาเด็กเยาวชนอกระบบเกิดขึ้นจริงได้ ทั้งนี้ กสศ. ยังได้เสนอนโยบาย 2 ประเด็นสำคัญได้แก่ 1.การสร้างระบบหลักประกันโอกาสการศึกษา ให้เด็กเยาวชนตลอด 20 ปี จากปฐมวัยถึงมีงานทำ ผ่านการบูรณาการข้อมูลรายบุคคลระหว่าง 11 หน่วยงาน ครอบคลุมเด็กเยาวชนกลุ่มเสี่ยงที่มาจากครัวเรือนซึ่งมีรายได้น้อยที่สุดของประเทศจำนวน 3 ล้านคน และเด็กเยาวชนนอกระบบการศึกษาจำนวน 9 แสนคน (3-22 ปี) เพื่อให้เกิดการเชื่อมโยง และส่งต่อข้อมูลระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ทุกกระทรวง บูรณาการชุดสิทธิประโยชน์ด้านสุขภาวะ สังคม ครอบครัว แรงงาน การศึกษา ฯลฯ ที่มีอยู่ในหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อให้เด็กเยาวชนทุกคนได้รับสวัสดิการ การดูแล พัฒนา และส่งต่ออย่างมีประสิทธิภาพ ทันเวลา นอกจากนี้ ควรเพิ่มศักยภาพของสวัสดิการแบบมุ่งเป้า (Targeting) เพื่อลดต้นทุนการเข้าถึงการศึกษาให้แก่เด็กเยาวชนที่มาจากครัวเรือนซึ่งมีรายได้น้อยที่สุดของประเทศ 2.ยกระดับบัตรประจำตัวประชาชนของเด็กเยาวชนทุกคนให้เป็น Learning Passport สำหรับการศึกษาและการเรียนรู้ทั้งในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย โดยรัฐสามารถจัดสรรเงินอุดหนุนจากรัฐบาลตรงไปยังเลข 13 หลักของเด็กเยาวชนโดยตรง โดยเฉพาะผู้อาศัยอยู่กับครัวเรือนยากจนและเปราะบาง เพื่อให้เด็กเยาวชนสามารถเลือกศึกษาต่อและเรียนรู้ผ่านการศึกษาทั้ง 3 ระบบ ผ่านหน่วยจัดการเรียนรู้ทั้งของภาครัฐ ท้องถิ่น และเอกชนได้อย่างยืดหยุ่น และหลากหลายตามความถนัดและศักยภาพของเด็กเยาวชนเป็นรายบุคคล รวมทั้งสามารถถ่ายโอนหน่วยกิตระหว่างการศึกษาทั้ง 3 ระบบเพื่อใช้ในการศึกษาต่อ และการสมัครงานได้ในอนาคตได้ รศ.ดร.วีระชาติ กิเลนทอง ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยเพื่อการประเมินและออกแบบนโยบาย (RIPED) และคณบดีคณะการศึกษาปฐมวัย มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย กล่าวถึงงานวิจัยที่ร่วมมือกับ กสศ. และ OECD ที่ประเมินสมรรถนะผู้เรียนตามมาตรฐานสากลเพื่อการพัฒนาสถานศึกษา หรือ PISA for Schools โดยสำรวจและประเมินสมรรถนะแบบ PISA ในสถานศึกษา 150 แห่ง จาก 16 จังหวัด มีข้อค้นพบที่สำคัญคือ นักเรียนที่มีระดับคะแนนผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ในระดับชั้น ป.6 ที่ดี จะมีแนวโน้มที่จะมีคะแนนสมรรถนะของ PISA สูงเช่นเดียวกัน ดังนั้น ความเหลื่อมล้ำในผลลัพธ์การเรียนรู้ที่พบจากผลการทดสอบ PISA ไม่ได้เพิ่งเกิดขึ้นในช่วงระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น แต่แท้จริงแล้ว เป็นเสมือนการขาดทุนที่สะสมมาตั้งแต่ระดับชั้นประถมศึกษาหรือระดับปฐมวัย ดังนั้นการส่งเสริมให้เยาวชนไทยมีคะแนน PISA ที่ดีขึ้นในอนาคต จึงควรเริ่มต้นจากมาตรการยกระดับคุณภาพการศึกษาที่เสมอภาคตั้งแต่การศึกษาระดับประถมศึกษา และอาศัยเครื่องมือประเมินผลอย่าง O-NET ในการลดความเหลื่อมล้ำด้านคุณภาพการศึกษาระหว่างสถานศึกษาในระยะยาว คุณจูสตีน ซาส หัวหน้าฝ่ายการศึกษาเพื่อความครอบคลุมและความเท่าเทียมทางเพศ สำนักงานใหญ่ยูเนสโก ณ กรุงปารีส เปิดเผยข้อมูล จากรายงานระดับโลก The Price of Inaction: The global private, fiscal and social costs of children not learning. หรือ ต้นทุนของการเพิกเฉย (The Price of Inaction) : ต้นทุนทางเศรษฐกิจ สังคม และภาครัฐจากการที่เด็กไม่ได้รับการศึกษา โดยระบุว่า หากไม่มีการดำเนินการใด ๆ ภายในปี ค.ศ. 2030 ต้นทุนทางสังคมของเด็กที่ออกจากโรงเรียนก่อนกำหนดและเด็กที่มีทักษะต่ำกว่าพื้นฐานจะอยู่ที่ 6 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ และ 10 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ ตามลำดับ ตัวเลขเหล่านี้คิดเป็นมูลค่ามหาศาล ตัวเลข 10 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ มีมูลค่ามากกว่าผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) รายปีของฝรั่งเศสและญี่ปุ่นรวมกัน “การลงทุนในการศึกษาที่มีคุณภาพเป็นกลยุทธ์ที่คุ้มค่าที่สุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจเพียงแค่ลดสัดส่วนของเด็กที่ออกจากโรงเรียนก่อนกำหนดรวมถึงลดสัดส่วนของเด็กที่มีทักษะต่ำกว่าพื้นฐานลงเพียง 10% เราจะสามารถเพิ่ม GDP แต่ละปีได้ถึง 1-2%” สามารถอ่านรายงานสถานการณ์ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาปี 2567 และทิศทางสำคัญในปี 2568 ได้ที่ https://www.eef.or.th/publication-050225/ EZ Webmaster Related Posts โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนประจวบวิทยาลัย โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสามร้อยยอดวิทยาคม โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศ โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนรัตนราษฎร์บำรุง โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี Post navigation PREVIOUS Previous post: ด่วน! สพฐ. ชี้แจ้ง การติด 0 ร. มส. ทำยังไงก็ได้แต่ต้องไม่สร้างภาระให้นักเรียนและผู้ปกครองNEXT Next post: รวมลักษณะ 8 Genแต่ละเจนอยู่ในช่วงกลุ่มอายุเท่าไหร่ มีแนวคิดและลักษณะนิสัยแตกต่างกันอย่างไรบ้าง Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศ EZ WebmasterJune 20, 2025 มาทำให้วันธรรมดา กลายเป็นวันพิเศษกันเถอะ! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศ จ.เพชรบุรี วันที่20/06/68 โดยวิทยากร อ.ธารา อิสสระ (พี่แฮนด์… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนรัตนราษฎร์บำรุง EZ WebmasterJune 20, 2025 สร้างความสุข สร้างความทรงจำดีๆ ให้เด็กๆ ทุกคน โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนรัตนราษฎร์บำรุง จ.ราชบุรี วันที่19/06/68 โดยวิทยากร อ.ธารา…
โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนรัตนราษฎร์บำรุง EZ WebmasterJune 20, 2025 สร้างความสุข สร้างความทรงจำดีๆ ให้เด็กๆ ทุกคน โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนรัตนราษฎร์บำรุง จ.ราชบุรี วันที่19/06/68 โดยวิทยากร อ.ธารา…
โรงเรียนปลอดมือถือ! อังกฤษ-ออสเตรเลียเริ่มแล้ว ดึงเด็กกลับมาสนใจครูในห้องเรียน EZ WebmasterJune 20, 2025 วันที่ 10 มิถุนายน 2568 – ในช่วงหลายเดือนที่ผ่านมา แวดวงการศึกษาในประเทศพัฒนาแล้วต่างให้ความสนใจประเด็น “โรงเรียนปลอดโทรศัพท์มือถือ (Phone-Free School)” อย่างจริงจัง ล่าสุดมีความเคลื่อนไหวชัดเจนจาก ประเทศอังกฤษและออสเตรเลีย ที่เริ่มนำร่องมาตรการควบคุมการใช้อุปกรณ์ดิจิทัลในโรงเรียนระดับมัธยมอย่างเข้มงวด จากรายงานของ สำนักข่าว BBC ระบุว่า… มธ. ปักหมุดหลักสูตร ‘AI Ethics’ หนุนบริบทใหม่ของห้องเรียนทันโลก สร้างจุดยืนคนรุ่นใหม่ ‘ใช้เอไออย่างมีจริยธรรม’ พร้อมเดินหน้าวางหมุดหมายระบบการศึกษาไทย กับการปลุกการใช้เทคฯ คู่ธรรมาภิบาล คาดเริ่มเปิดลงทะเบียนพร้อมเรียนจริง สิงหาคม 68 นี้ EZ WebmasterJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) ตอกย้ำจุดยืนเชิงรุกต่อการเปลี่ยนผ่านของโลกยุคดิจิทัล ผ่านการพัฒนาหลักสูตร “AI Ethics” หรือจริยธรรมปัญญาประดิษฐ์ ภายใต้ยุทธศาสตร์ Thammasat Next Century เตรียมความพร้อมให้เยาวชนไทยมีทั้งความรู้ ความสามารถ และความรับผิดชอบในการใช้งานเทคโนโลยีอย่างเหมาะสม โดยเฉพาะในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อที่ปัญญาประดิษฐ์กำลังกลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวัน ทั้งในห้องเรียน ที่ทำงาน และบนแพลตฟอร์มออนไลน์ต่าง ๆ โดยหลักสูตรนี้ถูกวางให้เป็นรากฐานสำคัญของระบบการศึกษายุคใหม่ ที่ไม่เพียงเน้นทักษะด้านเทคนิคเท่านั้น แต่ยังปลูกฝังค่านิยมที่ถูกต้องในการอยู่ร่วมกับเทคโนโลยี พร้อมชี้ให้เห็นถึงความเสี่ยงของ AI ที่เกิดจาก… 11 สาเหตุลึกซึ้ง ทำไมการศึกษาไทยยังตกต่ำ? เสียงสะท้อนจากครูชนบท สู่คำถามใหญ่ของสังคม EZ WebmasterJune 19, 2025 ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ประเทศไทยกำลังเผชิญกับวิกฤตคุณภาพทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง แม้จะมีความพยายามปฏิรูปหลายครั้ง แต่กลับไม่สามารถยกระดับการเรียนรู้ให้เทียบเท่าประเทศเพื่อนบ้านได้อย่างแท้จริงนายสานิตย์ พลศรี นายกสมาคมครูชนบทจังหวัดชัยภูมิ ในหัวข้อ “สาเหตุของปัญหาคุณภาพด้านการศึกษาประเทศไทยที่ตกต่ำ” ซึ่งกำลังถูกส่งต่ออย่างกว้างขวางในโซเชียลมีเดียและกลุ่มไลน์ของคนในแวดวงการศึกษาเสียงสะท้อนจากผู้ที่อยู่ในภาคสนามจริงอย่างนายสานิตย์ ทำให้เราได้เห็นภาพที่ชัดเจนมากขึ้นว่า ปัญหาไม่ได้อยู่ที่ตัวนักเรียนหรือครูเพียงลำพัง แต่เป็นผลสะสมจากโครงสร้าง ระบบ และการบริหารที่ผิดทิศผิดทางมานานจึงเป็นการเปิดประเด็นให้สังคมได้ทบทวนร่วมกันว่า หากเราไม่เริ่ม “เปลี่ยนจริง” คุณภาพการศึกษาของไทยอาจยิ่งตกต่ำลงกว่าที่เป็นอยู่ 11… ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา EZ WebmasterJune 18, 2025 วิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิทักษ์ ธรรมวาริน (คนที่ 4 จากซ้าย) คณบดีวิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สจล. และ Mr. Alfonso Martin (คนที่ 3… ทุนดีดี ทุนImperial Athletes Sport InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 20, 2025 Imperial College London เสนอทุนการศึกษา Imperial Athletes Sport เพื่อสนับสนุนนักกีฬาที่มีพรสวรรค์สำหรับปีการศึกษา 2025/2026 โดยเปิดโอกาสให้เลือกเรียนในหลากหลายสาขาวิชา เปิดรับใบสมัครถึง 4 สิงหาคม 2025 หากคุณกำลังแข่งขันในระดับภูมิภาค ระดับชาติ หรือระดับนานาชาติในกีฬาของคุณ และแสดงให้เห็นถึงพรสวรรค์… Kazan Global Youth Summit InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 19, 2025 เชิญเยาวชนสมัครคัดเลือกเข้าร่วมการประชุม Kazan Global Youth Summit ครั้งที่ 4 ระหว่างวันที่ 27 – 30 สิงหาคม 2568 ณ เมืองคาซาน สาธารณรัฐตาตาร์สตาน สหพันธรัฐรัสเซีย จัดโดยรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐตาตาร์สตาน… SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… ครู-อาจารย์ จุฬาฯ ผงาดอันดับ Top 44 ของโลกด้านความยั่งยืน ใน THE Impact Rankings 2025 ครองอันดับ 1 ของไทยอีกครั้ง tui sakrapeeJune 20, 2025 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยผงาดอันดับ Top 44 ของโลก และครองอันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทยอีกครั้งหนึ่ง จากการจัดอันดับโดย Times Higher Education Impact Rankings 2025 ด้วยผลงานที่โดดเด่นในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนและสร้างผลกระทบสูงต่อสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง SDG 9… หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 📚เริ่มเรียน กรกฎาคม 2568 ถึง มกราคม 2569 ทุกวันพฤหัสบดี 11:00 – 18:00 น.… มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ… สจล. เดินหน้ากระชับความร่วมมือทางวิชาการ กับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของจีน EZ WebmasterJune 19, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เดินหน้ากระชับความสัมพันธ์ทางวิชาการกับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งเป็นพันธมิตรที่มีความร่วมมือกันมานานกว่า 20 ปี เพื่อหารือขยายความร่วมมือเชิงลึกในสาขาวิศวกรรมขั้นสูง โดยเฉพาะด้าน Aerospace, Mechatronics, Automation และ Astronautics ซึ่ง HIT ถือเป็นสถาบันชั้นนำของจีนในด้านนี้ พร้อมทั้งหารือแนวทางความร่วมมือด้านการแลกเปลี่ยนนักศึกษา นักวิจัย และการพัฒนาโครงการ Joint Degree ในอนาคต รองศาสตราจารย์… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster February 6, 2025 EZ Webmaster February 6, 2025 กสศ. เสนอสร้างระบบหลักประกันโอกาสการศึกษา ใช้บัตรประชาชนใบเดียวเรียนได้ไร้รอยต่อ ตั้งแต่ปฐมวัยถึงมีงานทำ กสศ. เปิดรายงานความเหลื่อมล้ำการศึกษา 67- 68 พบเด็กนอกระบบการศึกษามีแนวโน้มลดลง แต่เด็กยากจนเรียนต่อมหาวิทยาลัยน้อยกว่าค่าเฉลี่ยประเทศถึง 2 เท่า เสนอสร้างระบบหลักประกันโอกาสการศึกษา ใช้บัตรประชาชนใบเดียวเรียนได้ไร้รอยต่อ ตั้งแต่ปฐมวัยถึงมีงานทำ ด้านยูเนสโก ระบุว่า หากลงทุนลดเด็กหลุดนอกระบบและเด็กทักษะต่ำกว่าพื้นฐานเพียง 10% เพิ่ม GDP แต่ละปีได้ถึง 1-2% เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2568 ณ ห้อง Mitrtown Hall 1 สามย่านมิตรทาวน์ กรุงเทพมหานคร กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) จัดงาน Equity Forum 2025 “ประเทศไทยกับการแก้ปัญหาเชิงระบบเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา” โดย กสศ. เปิดรายงานสถานการณ์ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาปี 2567 และทิศทางสำคัญในปี 2568 โดยมีฝ่ายนโยบาย นักการเมืองทั้งฝ่ายรัฐบาล ฝ่ายค้าน ผู้นำท้องถิ่น นักการศึกษา นักวิชาการ และนิสิตนักศึกษาเข้าร่วม ดร.ไกรยส ภัทราวาท ผู้จัดการกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) กล่าวว่า ปีการศึกษา 2567 ประเทศไทยมีประชากรนักเรียนในช่วงวัยเรียนระดับก่อนประถมศึกษาและการศึกษาภาคบังคับ (อายุ 3 – 14 ปี) จำนวนทั้งสิ้นประมาณ 8.5 ล้านคน ในจำนวนดังกล่าวมีนักเรียนกว่า 3 ล้านคนที่อยู่ในครัวเรือนภายใต้เส้นความยากจน (Poverty Line) ซึ่งเมื่อประมวลผลจากการคัดกรองโดยวิธีการวัดรายได้ทางอ้อม (Proxy Means Test) พบว่า ประเทศไทยมีนักเรียนยากจนพิเศษระดับอนุบาล – มัธยมศึกษาตอนต้นในครัวเรือนยากจนที่สุด 15% แรกของประเทศ จำนวน 1,348,735 คน โดยจังหวัดที่มีสัดส่วนนักเรียนยากจนพิเศษมากที่สุด อันดับหนึ่งคือจังหวัดแม่ฮ่องสอน อันดับสองคือจังหวัดนราธิวาส และที่เหลือพบว่าส่วนใหญ่มีการกระจุกตัวอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ขณะที่รายได้เฉลี่ยของครัวเรือนนักเรียนยากจนพิเศษ ปีการศึกษา 2567 เพิ่มขึ้นเล็กน้อยเป็น 1,133 บาท/คน/เดือน หรือเฉลี่ยวันละ 37 บาท เมื่อเทียบกับปีการศึกษา 2566 ที่มีรายได้เฉลี่ยอยู่ที่คนละ 1,039 บาท/คน/เดือน หรือเฉลี่ยวันละ 34 บาท และจากการลงพื้นที่เยี่ยมบ้านโดยครูมากกว่า 400,000 คนทั่วประเทศพบสถานการณ์ความเปราะบางของครัวเรือนยากจนพิเศษในหลายมิติ เช่น มีนักเรียนยากจนพิเศษมากกว่า 1 ใน 3 หรือ 38.77% ที่ไม่ได้อาศัยอยู่กับพ่อแม่ เนื่องจากพ่อแม่อพยพย้ายถิ่นไปทำงานในเมือง หรือครอบครัวแหว่งกลาง และยังพบว่าสมาชิกในครัวเรือนส่วนใหญ่เป็นผู้มีภาวะพึ่งพิง อาทิ มีผู้สูงอายุในครัวเรือน 44.43% มีคนว่างงานในครัวเรือน 27.3% มีคนพิการเจ็บป่วยเรื้อรังในครัวเรือน 12.41% ดร.ไกรยส กล่าวว่า เพื่อป้องกันการหลุดออกจากระบบการศึกษาของเด็กเยาวชนกลุ่มเสี่ยงจากครัวเรือนผู้มีรายได้น้อยมากกว่า 1.3 ล้านคนนี้ กสศ. จึงได้จัดสรรเงินอุดหนุนนักเรียนยากจนพิเศษแบบมีเงื่อนไข (Conditional Cash Transfer) หรือทุนเสมอภาค ให้แก่นักเรียนกลุ่มเป้าหมายจำนวน 1.3 ล้านคนอย่างต่อเนื่อง 3 ปีการศึกษา โดย กสศ. และ สถานศึกษาทั้ง 6 สังกัดได้ติดตามอัตราการมาเรียน และพัฒนาการของเด็กเป็นรายบุคคลอย่างใกล้ชิด ผลลัพธ์จากการดำเนินงานของโครงการตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา สะท้อนการป้องกันไม่ให้นักเรียนยากจนพิเศษหลุดออกจากระบบก่อนสำเร็จการศึกษาภาคบังคับ โดยพบว่าอัตราการคงอยู่ในระบบการศึกษาอยู่ที่ 97.88% แต่ยังมีช่องว่างสำคัญในเส้นทางการศึกษาของเด็กกลุ่มนี้ เช่น 1.ในปีการศึกษา 2567มีนักเรียนยากจนและนักเรียนยากจนพิเศษ จำนวนเพียง 22,345 คน จากนักเรียนทั้งหมด 165,585 คน หรือคิดเป็น 13.49% เท่านั้น ที่สามารถคงอยู่ในระบบการศึกษาจนสามารถเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาได้ ซึ่งต่ำกว่าค่าเฉลี่ยอัตราการเรียนต่อระดับอุดมศึกษาของประชากรไทยกว่า 2 เท่า 2.มีนักเรียนที่ครัวเรือนมีรายได้ต่ำกว่าเส้นความยากจน อีกประมาณ 1.1 ล้านคน ยังไม่ได้รับการสนับสนุนหรือช่วยเหลือ จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องตั้งแต่หน่วยงานระดับนโยบาย หน่วยจัดสรรงบประมาณ และหน่วยงานต้นสังกัดของสถานศึกษา ควรร่วมกันพัฒนามาตรการเพื่อให้ความช่วยเหลืออย่างเหมาะสม ป้องกันการหลุดออกจากระบบการศึกษาในช่วงวัยสำคัญ 3.นอกเหนือจากการให้ความช่วยเหลือในมิติทางเศรษฐกิจแล้ว หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรมีมาตรการส่งเสริมสภาพความเป็นอยู่และการดำรงชีวิตที่มีความท้าทายและสนับสนุนการดูแลช่วยเหลือในมิติอื่น ๆ เพื่อไม่ให้ปัจจัยต่าง ๆ เหล่านั้นเป็นอุปสรรคต่อการคงอยู่ในระบบการศึกษา เพราะจากการลงพื้นที่พบว่าสถานการณ์ความเปราะบางของครอบครัวและสังคมที่เด็กต้องเผชิญมีแนวโน้มที่ซับซ้อน และท้าทายต่ออนาคตทางการศึกษาของเด็กเยาวชนมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง ดร.ไกรยส กล่าวว่า สำหรับสถานการณ์เด็กเยาวชนนอกระบบ ในปี 2567 จากการเชื่อมโยงข้อมูลเด็กและเยาวชนที่อายุ 3-18 ปี ระหว่างระบบสารสนเทศของสำนักปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กับ สำนักทะเบียนราษฎร์ กระทรวงมหาดไทย พบว่า มีเด็กและเยาวชนในช่วงอายุ 3-18 ปี (เกิดระหว่างวันที่ 1 มกราคม 2550 – 31 ธันวาคม 2564 ) ที่ไม่มีชื่ออยู่ในระบบการศึกษา จำนวนทั้งสิ้น 982,304 คน ซึ่งลดลงจากปีการศึกษาก่อนหน้าที่มีอยู่จำนวน 1.02 ล้านคน โดยเป็นเรื่องที่น่ายินดีที่หน่วยงานต้นสังกัดทางการศึกษาต่าง ๆ สามารถพาเด็กเยาวชนมากกว่า 304,082 กลับเข้าสู่ระบบการศึกษาได้ในปีที่ผ่านมา อย่างไรก็ดี ยังมีเด็กเยาวชนที่ยังคงไม่มีชื่ออยู่ในระบบการศึกษาต่อเนื่องมาตั้งแต่ปี 2566 จำนวน 590,557 คน และมีเด็กเยาวชนนอกระบบการศึกษากลุ่มใหม่ จำนวน 391,747 คน ในจำนวนนี้อยู่ในช่วงวัยการศึกษาภาคบังคับ จำนวน 387,591 คน คิดเป็น 39.46% ของเด็กและเยาวชนที่ไม่มีชื่อในระบบการศึกษาทั้งหมด (ข้อมูล ณ เดือนธันวาคม 2567) จากปฏิบัติการค้นหา ช่วยเหลือเด็กเยาวชนที่หลุดจากระบบการศึกษาที่ประสบความสำเร็จ โดยไม่หลุดจากระบบซ้ำ พบว่า การสร้างพื้นที่ปลอดภัยต่อการเรียนรู้และเติบโตอย่างเต็มศักยภาพ เป็นทางออกสำคัญของเรื่องนี้ ทั้งในมิติการป้องกันและช่วยเหลือ การส่งเสริม สนับสนุนให้ท้องถิ่นทุกระดับเห็นความสำคัญ เป็นแกนนำและทำหน้าที่เชื่อมโยงทุกภาคส่วนร่วมเป็นกลไกขับเคลื่อนโดยมีเด็ก เยาวชนเป็นศูนย์กลาง มีข้อบัญญัติของท้องถิ่นที่แสดงเจตจำนงอย่างชัดเจน และจัดสรรงบประมาณและกำลังคนรับผิดชอบต่อเนื่อง ไร้รอยต่อทางการเมือง จะเป็นส่วนสำคัญที่ช่วยให้การป้องกันและแก้ปัญหาเด็กเยาวชนอกระบบเกิดขึ้นจริงได้ ทั้งนี้ กสศ. ยังได้เสนอนโยบาย 2 ประเด็นสำคัญได้แก่ 1.การสร้างระบบหลักประกันโอกาสการศึกษา ให้เด็กเยาวชนตลอด 20 ปี จากปฐมวัยถึงมีงานทำ ผ่านการบูรณาการข้อมูลรายบุคคลระหว่าง 11 หน่วยงาน ครอบคลุมเด็กเยาวชนกลุ่มเสี่ยงที่มาจากครัวเรือนซึ่งมีรายได้น้อยที่สุดของประเทศจำนวน 3 ล้านคน และเด็กเยาวชนนอกระบบการศึกษาจำนวน 9 แสนคน (3-22 ปี) เพื่อให้เกิดการเชื่อมโยง และส่งต่อข้อมูลระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ทุกกระทรวง บูรณาการชุดสิทธิประโยชน์ด้านสุขภาวะ สังคม ครอบครัว แรงงาน การศึกษา ฯลฯ ที่มีอยู่ในหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อให้เด็กเยาวชนทุกคนได้รับสวัสดิการ การดูแล พัฒนา และส่งต่ออย่างมีประสิทธิภาพ ทันเวลา นอกจากนี้ ควรเพิ่มศักยภาพของสวัสดิการแบบมุ่งเป้า (Targeting) เพื่อลดต้นทุนการเข้าถึงการศึกษาให้แก่เด็กเยาวชนที่มาจากครัวเรือนซึ่งมีรายได้น้อยที่สุดของประเทศ 2.ยกระดับบัตรประจำตัวประชาชนของเด็กเยาวชนทุกคนให้เป็น Learning Passport สำหรับการศึกษาและการเรียนรู้ทั้งในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย โดยรัฐสามารถจัดสรรเงินอุดหนุนจากรัฐบาลตรงไปยังเลข 13 หลักของเด็กเยาวชนโดยตรง โดยเฉพาะผู้อาศัยอยู่กับครัวเรือนยากจนและเปราะบาง เพื่อให้เด็กเยาวชนสามารถเลือกศึกษาต่อและเรียนรู้ผ่านการศึกษาทั้ง 3 ระบบ ผ่านหน่วยจัดการเรียนรู้ทั้งของภาครัฐ ท้องถิ่น และเอกชนได้อย่างยืดหยุ่น และหลากหลายตามความถนัดและศักยภาพของเด็กเยาวชนเป็นรายบุคคล รวมทั้งสามารถถ่ายโอนหน่วยกิตระหว่างการศึกษาทั้ง 3 ระบบเพื่อใช้ในการศึกษาต่อ และการสมัครงานได้ในอนาคตได้ รศ.ดร.วีระชาติ กิเลนทอง ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยเพื่อการประเมินและออกแบบนโยบาย (RIPED) และคณบดีคณะการศึกษาปฐมวัย มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย กล่าวถึงงานวิจัยที่ร่วมมือกับ กสศ. และ OECD ที่ประเมินสมรรถนะผู้เรียนตามมาตรฐานสากลเพื่อการพัฒนาสถานศึกษา หรือ PISA for Schools โดยสำรวจและประเมินสมรรถนะแบบ PISA ในสถานศึกษา 150 แห่ง จาก 16 จังหวัด มีข้อค้นพบที่สำคัญคือ นักเรียนที่มีระดับคะแนนผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ในระดับชั้น ป.6 ที่ดี จะมีแนวโน้มที่จะมีคะแนนสมรรถนะของ PISA สูงเช่นเดียวกัน ดังนั้น ความเหลื่อมล้ำในผลลัพธ์การเรียนรู้ที่พบจากผลการทดสอบ PISA ไม่ได้เพิ่งเกิดขึ้นในช่วงระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น แต่แท้จริงแล้ว เป็นเสมือนการขาดทุนที่สะสมมาตั้งแต่ระดับชั้นประถมศึกษาหรือระดับปฐมวัย ดังนั้นการส่งเสริมให้เยาวชนไทยมีคะแนน PISA ที่ดีขึ้นในอนาคต จึงควรเริ่มต้นจากมาตรการยกระดับคุณภาพการศึกษาที่เสมอภาคตั้งแต่การศึกษาระดับประถมศึกษา และอาศัยเครื่องมือประเมินผลอย่าง O-NET ในการลดความเหลื่อมล้ำด้านคุณภาพการศึกษาระหว่างสถานศึกษาในระยะยาว คุณจูสตีน ซาส หัวหน้าฝ่ายการศึกษาเพื่อความครอบคลุมและความเท่าเทียมทางเพศ สำนักงานใหญ่ยูเนสโก ณ กรุงปารีส เปิดเผยข้อมูล จากรายงานระดับโลก The Price of Inaction: The global private, fiscal and social costs of children not learning. หรือ ต้นทุนของการเพิกเฉย (The Price of Inaction) : ต้นทุนทางเศรษฐกิจ สังคม และภาครัฐจากการที่เด็กไม่ได้รับการศึกษา โดยระบุว่า หากไม่มีการดำเนินการใด ๆ ภายในปี ค.ศ. 2030 ต้นทุนทางสังคมของเด็กที่ออกจากโรงเรียนก่อนกำหนดและเด็กที่มีทักษะต่ำกว่าพื้นฐานจะอยู่ที่ 6 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ และ 10 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ ตามลำดับ ตัวเลขเหล่านี้คิดเป็นมูลค่ามหาศาล ตัวเลข 10 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ มีมูลค่ามากกว่าผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) รายปีของฝรั่งเศสและญี่ปุ่นรวมกัน “การลงทุนในการศึกษาที่มีคุณภาพเป็นกลยุทธ์ที่คุ้มค่าที่สุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจเพียงแค่ลดสัดส่วนของเด็กที่ออกจากโรงเรียนก่อนกำหนดรวมถึงลดสัดส่วนของเด็กที่มีทักษะต่ำกว่าพื้นฐานลงเพียง 10% เราจะสามารถเพิ่ม GDP แต่ละปีได้ถึง 1-2%” สามารถอ่านรายงานสถานการณ์ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาปี 2567 และทิศทางสำคัญในปี 2568 ได้ที่ https://www.eef.or.th/publication-050225/ EZ Webmaster Related Posts โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนประจวบวิทยาลัย โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสามร้อยยอดวิทยาคม โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศ โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนรัตนราษฎร์บำรุง โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี Post navigation PREVIOUS Previous post: ด่วน! สพฐ. ชี้แจ้ง การติด 0 ร. มส. ทำยังไงก็ได้แต่ต้องไม่สร้างภาระให้นักเรียนและผู้ปกครองNEXT Next post: รวมลักษณะ 8 Genแต่ละเจนอยู่ในช่วงกลุ่มอายุเท่าไหร่ มีแนวคิดและลักษณะนิสัยแตกต่างกันอย่างไรบ้าง Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มธ. ปักหมุดหลักสูตร ‘AI Ethics’ หนุนบริบทใหม่ของห้องเรียนทันโลก สร้างจุดยืนคนรุ่นใหม่ ‘ใช้เอไออย่างมีจริยธรรม’ พร้อมเดินหน้าวางหมุดหมายระบบการศึกษาไทย กับการปลุกการใช้เทคฯ คู่ธรรมาภิบาล คาดเริ่มเปิดลงทะเบียนพร้อมเรียนจริง สิงหาคม 68 นี้ EZ WebmasterJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) ตอกย้ำจุดยืนเชิงรุกต่อการเปลี่ยนผ่านของโลกยุคดิจิทัล ผ่านการพัฒนาหลักสูตร “AI Ethics” หรือจริยธรรมปัญญาประดิษฐ์ ภายใต้ยุทธศาสตร์ Thammasat Next Century เตรียมความพร้อมให้เยาวชนไทยมีทั้งความรู้ ความสามารถ และความรับผิดชอบในการใช้งานเทคโนโลยีอย่างเหมาะสม โดยเฉพาะในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อที่ปัญญาประดิษฐ์กำลังกลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวัน ทั้งในห้องเรียน ที่ทำงาน และบนแพลตฟอร์มออนไลน์ต่าง ๆ โดยหลักสูตรนี้ถูกวางให้เป็นรากฐานสำคัญของระบบการศึกษายุคใหม่ ที่ไม่เพียงเน้นทักษะด้านเทคนิคเท่านั้น แต่ยังปลูกฝังค่านิยมที่ถูกต้องในการอยู่ร่วมกับเทคโนโลยี พร้อมชี้ให้เห็นถึงความเสี่ยงของ AI ที่เกิดจาก… 11 สาเหตุลึกซึ้ง ทำไมการศึกษาไทยยังตกต่ำ? เสียงสะท้อนจากครูชนบท สู่คำถามใหญ่ของสังคม EZ WebmasterJune 19, 2025 ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ประเทศไทยกำลังเผชิญกับวิกฤตคุณภาพทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง แม้จะมีความพยายามปฏิรูปหลายครั้ง แต่กลับไม่สามารถยกระดับการเรียนรู้ให้เทียบเท่าประเทศเพื่อนบ้านได้อย่างแท้จริงนายสานิตย์ พลศรี นายกสมาคมครูชนบทจังหวัดชัยภูมิ ในหัวข้อ “สาเหตุของปัญหาคุณภาพด้านการศึกษาประเทศไทยที่ตกต่ำ” ซึ่งกำลังถูกส่งต่ออย่างกว้างขวางในโซเชียลมีเดียและกลุ่มไลน์ของคนในแวดวงการศึกษาเสียงสะท้อนจากผู้ที่อยู่ในภาคสนามจริงอย่างนายสานิตย์ ทำให้เราได้เห็นภาพที่ชัดเจนมากขึ้นว่า ปัญหาไม่ได้อยู่ที่ตัวนักเรียนหรือครูเพียงลำพัง แต่เป็นผลสะสมจากโครงสร้าง ระบบ และการบริหารที่ผิดทิศผิดทางมานานจึงเป็นการเปิดประเด็นให้สังคมได้ทบทวนร่วมกันว่า หากเราไม่เริ่ม “เปลี่ยนจริง” คุณภาพการศึกษาของไทยอาจยิ่งตกต่ำลงกว่าที่เป็นอยู่ 11… ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา EZ WebmasterJune 18, 2025 วิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิทักษ์ ธรรมวาริน (คนที่ 4 จากซ้าย) คณบดีวิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สจล. และ Mr. Alfonso Martin (คนที่ 3… ทุนดีดี ทุนImperial Athletes Sport InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 20, 2025 Imperial College London เสนอทุนการศึกษา Imperial Athletes Sport เพื่อสนับสนุนนักกีฬาที่มีพรสวรรค์สำหรับปีการศึกษา 2025/2026 โดยเปิดโอกาสให้เลือกเรียนในหลากหลายสาขาวิชา เปิดรับใบสมัครถึง 4 สิงหาคม 2025 หากคุณกำลังแข่งขันในระดับภูมิภาค ระดับชาติ หรือระดับนานาชาติในกีฬาของคุณ และแสดงให้เห็นถึงพรสวรรค์… Kazan Global Youth Summit InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 19, 2025 เชิญเยาวชนสมัครคัดเลือกเข้าร่วมการประชุม Kazan Global Youth Summit ครั้งที่ 4 ระหว่างวันที่ 27 – 30 สิงหาคม 2568 ณ เมืองคาซาน สาธารณรัฐตาตาร์สตาน สหพันธรัฐรัสเซีย จัดโดยรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐตาตาร์สตาน… SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… ครู-อาจารย์ จุฬาฯ ผงาดอันดับ Top 44 ของโลกด้านความยั่งยืน ใน THE Impact Rankings 2025 ครองอันดับ 1 ของไทยอีกครั้ง tui sakrapeeJune 20, 2025 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยผงาดอันดับ Top 44 ของโลก และครองอันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทยอีกครั้งหนึ่ง จากการจัดอันดับโดย Times Higher Education Impact Rankings 2025 ด้วยผลงานที่โดดเด่นในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนและสร้างผลกระทบสูงต่อสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง SDG 9… หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 📚เริ่มเรียน กรกฎาคม 2568 ถึง มกราคม 2569 ทุกวันพฤหัสบดี 11:00 – 18:00 น.… มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ… สจล. เดินหน้ากระชับความร่วมมือทางวิชาการ กับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของจีน EZ WebmasterJune 19, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เดินหน้ากระชับความสัมพันธ์ทางวิชาการกับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งเป็นพันธมิตรที่มีความร่วมมือกันมานานกว่า 20 ปี เพื่อหารือขยายความร่วมมือเชิงลึกในสาขาวิศวกรรมขั้นสูง โดยเฉพาะด้าน Aerospace, Mechatronics, Automation และ Astronautics ซึ่ง HIT ถือเป็นสถาบันชั้นนำของจีนในด้านนี้ พร้อมทั้งหารือแนวทางความร่วมมือด้านการแลกเปลี่ยนนักศึกษา นักวิจัย และการพัฒนาโครงการ Joint Degree ในอนาคต รองศาสตราจารย์… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster February 6, 2025 EZ Webmaster February 6, 2025 กสศ. เสนอสร้างระบบหลักประกันโอกาสการศึกษา ใช้บัตรประชาชนใบเดียวเรียนได้ไร้รอยต่อ ตั้งแต่ปฐมวัยถึงมีงานทำ กสศ. เปิดรายงานความเหลื่อมล้ำการศึกษา 67- 68 พบเด็กนอกระบบการศึกษามีแนวโน้มลดลง แต่เด็กยากจนเรียนต่อมหาวิทยาลัยน้อยกว่าค่าเฉลี่ยประเทศถึง 2 เท่า เสนอสร้างระบบหลักประกันโอกาสการศึกษา ใช้บัตรประชาชนใบเดียวเรียนได้ไร้รอยต่อ ตั้งแต่ปฐมวัยถึงมีงานทำ ด้านยูเนสโก ระบุว่า หากลงทุนลดเด็กหลุดนอกระบบและเด็กทักษะต่ำกว่าพื้นฐานเพียง 10% เพิ่ม GDP แต่ละปีได้ถึง 1-2% เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2568 ณ ห้อง Mitrtown Hall 1 สามย่านมิตรทาวน์ กรุงเทพมหานคร กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) จัดงาน Equity Forum 2025 “ประเทศไทยกับการแก้ปัญหาเชิงระบบเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา” โดย กสศ. เปิดรายงานสถานการณ์ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาปี 2567 และทิศทางสำคัญในปี 2568 โดยมีฝ่ายนโยบาย นักการเมืองทั้งฝ่ายรัฐบาล ฝ่ายค้าน ผู้นำท้องถิ่น นักการศึกษา นักวิชาการ และนิสิตนักศึกษาเข้าร่วม ดร.ไกรยส ภัทราวาท ผู้จัดการกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) กล่าวว่า ปีการศึกษา 2567 ประเทศไทยมีประชากรนักเรียนในช่วงวัยเรียนระดับก่อนประถมศึกษาและการศึกษาภาคบังคับ (อายุ 3 – 14 ปี) จำนวนทั้งสิ้นประมาณ 8.5 ล้านคน ในจำนวนดังกล่าวมีนักเรียนกว่า 3 ล้านคนที่อยู่ในครัวเรือนภายใต้เส้นความยากจน (Poverty Line) ซึ่งเมื่อประมวลผลจากการคัดกรองโดยวิธีการวัดรายได้ทางอ้อม (Proxy Means Test) พบว่า ประเทศไทยมีนักเรียนยากจนพิเศษระดับอนุบาล – มัธยมศึกษาตอนต้นในครัวเรือนยากจนที่สุด 15% แรกของประเทศ จำนวน 1,348,735 คน โดยจังหวัดที่มีสัดส่วนนักเรียนยากจนพิเศษมากที่สุด อันดับหนึ่งคือจังหวัดแม่ฮ่องสอน อันดับสองคือจังหวัดนราธิวาส และที่เหลือพบว่าส่วนใหญ่มีการกระจุกตัวอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ขณะที่รายได้เฉลี่ยของครัวเรือนนักเรียนยากจนพิเศษ ปีการศึกษา 2567 เพิ่มขึ้นเล็กน้อยเป็น 1,133 บาท/คน/เดือน หรือเฉลี่ยวันละ 37 บาท เมื่อเทียบกับปีการศึกษา 2566 ที่มีรายได้เฉลี่ยอยู่ที่คนละ 1,039 บาท/คน/เดือน หรือเฉลี่ยวันละ 34 บาท และจากการลงพื้นที่เยี่ยมบ้านโดยครูมากกว่า 400,000 คนทั่วประเทศพบสถานการณ์ความเปราะบางของครัวเรือนยากจนพิเศษในหลายมิติ เช่น มีนักเรียนยากจนพิเศษมากกว่า 1 ใน 3 หรือ 38.77% ที่ไม่ได้อาศัยอยู่กับพ่อแม่ เนื่องจากพ่อแม่อพยพย้ายถิ่นไปทำงานในเมือง หรือครอบครัวแหว่งกลาง และยังพบว่าสมาชิกในครัวเรือนส่วนใหญ่เป็นผู้มีภาวะพึ่งพิง อาทิ มีผู้สูงอายุในครัวเรือน 44.43% มีคนว่างงานในครัวเรือน 27.3% มีคนพิการเจ็บป่วยเรื้อรังในครัวเรือน 12.41% ดร.ไกรยส กล่าวว่า เพื่อป้องกันการหลุดออกจากระบบการศึกษาของเด็กเยาวชนกลุ่มเสี่ยงจากครัวเรือนผู้มีรายได้น้อยมากกว่า 1.3 ล้านคนนี้ กสศ. จึงได้จัดสรรเงินอุดหนุนนักเรียนยากจนพิเศษแบบมีเงื่อนไข (Conditional Cash Transfer) หรือทุนเสมอภาค ให้แก่นักเรียนกลุ่มเป้าหมายจำนวน 1.3 ล้านคนอย่างต่อเนื่อง 3 ปีการศึกษา โดย กสศ. และ สถานศึกษาทั้ง 6 สังกัดได้ติดตามอัตราการมาเรียน และพัฒนาการของเด็กเป็นรายบุคคลอย่างใกล้ชิด ผลลัพธ์จากการดำเนินงานของโครงการตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา สะท้อนการป้องกันไม่ให้นักเรียนยากจนพิเศษหลุดออกจากระบบก่อนสำเร็จการศึกษาภาคบังคับ โดยพบว่าอัตราการคงอยู่ในระบบการศึกษาอยู่ที่ 97.88% แต่ยังมีช่องว่างสำคัญในเส้นทางการศึกษาของเด็กกลุ่มนี้ เช่น 1.ในปีการศึกษา 2567มีนักเรียนยากจนและนักเรียนยากจนพิเศษ จำนวนเพียง 22,345 คน จากนักเรียนทั้งหมด 165,585 คน หรือคิดเป็น 13.49% เท่านั้น ที่สามารถคงอยู่ในระบบการศึกษาจนสามารถเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาได้ ซึ่งต่ำกว่าค่าเฉลี่ยอัตราการเรียนต่อระดับอุดมศึกษาของประชากรไทยกว่า 2 เท่า 2.มีนักเรียนที่ครัวเรือนมีรายได้ต่ำกว่าเส้นความยากจน อีกประมาณ 1.1 ล้านคน ยังไม่ได้รับการสนับสนุนหรือช่วยเหลือ จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องตั้งแต่หน่วยงานระดับนโยบาย หน่วยจัดสรรงบประมาณ และหน่วยงานต้นสังกัดของสถานศึกษา ควรร่วมกันพัฒนามาตรการเพื่อให้ความช่วยเหลืออย่างเหมาะสม ป้องกันการหลุดออกจากระบบการศึกษาในช่วงวัยสำคัญ 3.นอกเหนือจากการให้ความช่วยเหลือในมิติทางเศรษฐกิจแล้ว หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรมีมาตรการส่งเสริมสภาพความเป็นอยู่และการดำรงชีวิตที่มีความท้าทายและสนับสนุนการดูแลช่วยเหลือในมิติอื่น ๆ เพื่อไม่ให้ปัจจัยต่าง ๆ เหล่านั้นเป็นอุปสรรคต่อการคงอยู่ในระบบการศึกษา เพราะจากการลงพื้นที่พบว่าสถานการณ์ความเปราะบางของครอบครัวและสังคมที่เด็กต้องเผชิญมีแนวโน้มที่ซับซ้อน และท้าทายต่ออนาคตทางการศึกษาของเด็กเยาวชนมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง ดร.ไกรยส กล่าวว่า สำหรับสถานการณ์เด็กเยาวชนนอกระบบ ในปี 2567 จากการเชื่อมโยงข้อมูลเด็กและเยาวชนที่อายุ 3-18 ปี ระหว่างระบบสารสนเทศของสำนักปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กับ สำนักทะเบียนราษฎร์ กระทรวงมหาดไทย พบว่า มีเด็กและเยาวชนในช่วงอายุ 3-18 ปี (เกิดระหว่างวันที่ 1 มกราคม 2550 – 31 ธันวาคม 2564 ) ที่ไม่มีชื่ออยู่ในระบบการศึกษา จำนวนทั้งสิ้น 982,304 คน ซึ่งลดลงจากปีการศึกษาก่อนหน้าที่มีอยู่จำนวน 1.02 ล้านคน โดยเป็นเรื่องที่น่ายินดีที่หน่วยงานต้นสังกัดทางการศึกษาต่าง ๆ สามารถพาเด็กเยาวชนมากกว่า 304,082 กลับเข้าสู่ระบบการศึกษาได้ในปีที่ผ่านมา อย่างไรก็ดี ยังมีเด็กเยาวชนที่ยังคงไม่มีชื่ออยู่ในระบบการศึกษาต่อเนื่องมาตั้งแต่ปี 2566 จำนวน 590,557 คน และมีเด็กเยาวชนนอกระบบการศึกษากลุ่มใหม่ จำนวน 391,747 คน ในจำนวนนี้อยู่ในช่วงวัยการศึกษาภาคบังคับ จำนวน 387,591 คน คิดเป็น 39.46% ของเด็กและเยาวชนที่ไม่มีชื่อในระบบการศึกษาทั้งหมด (ข้อมูล ณ เดือนธันวาคม 2567) จากปฏิบัติการค้นหา ช่วยเหลือเด็กเยาวชนที่หลุดจากระบบการศึกษาที่ประสบความสำเร็จ โดยไม่หลุดจากระบบซ้ำ พบว่า การสร้างพื้นที่ปลอดภัยต่อการเรียนรู้และเติบโตอย่างเต็มศักยภาพ เป็นทางออกสำคัญของเรื่องนี้ ทั้งในมิติการป้องกันและช่วยเหลือ การส่งเสริม สนับสนุนให้ท้องถิ่นทุกระดับเห็นความสำคัญ เป็นแกนนำและทำหน้าที่เชื่อมโยงทุกภาคส่วนร่วมเป็นกลไกขับเคลื่อนโดยมีเด็ก เยาวชนเป็นศูนย์กลาง มีข้อบัญญัติของท้องถิ่นที่แสดงเจตจำนงอย่างชัดเจน และจัดสรรงบประมาณและกำลังคนรับผิดชอบต่อเนื่อง ไร้รอยต่อทางการเมือง จะเป็นส่วนสำคัญที่ช่วยให้การป้องกันและแก้ปัญหาเด็กเยาวชนอกระบบเกิดขึ้นจริงได้ ทั้งนี้ กสศ. ยังได้เสนอนโยบาย 2 ประเด็นสำคัญได้แก่ 1.การสร้างระบบหลักประกันโอกาสการศึกษา ให้เด็กเยาวชนตลอด 20 ปี จากปฐมวัยถึงมีงานทำ ผ่านการบูรณาการข้อมูลรายบุคคลระหว่าง 11 หน่วยงาน ครอบคลุมเด็กเยาวชนกลุ่มเสี่ยงที่มาจากครัวเรือนซึ่งมีรายได้น้อยที่สุดของประเทศจำนวน 3 ล้านคน และเด็กเยาวชนนอกระบบการศึกษาจำนวน 9 แสนคน (3-22 ปี) เพื่อให้เกิดการเชื่อมโยง และส่งต่อข้อมูลระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ทุกกระทรวง บูรณาการชุดสิทธิประโยชน์ด้านสุขภาวะ สังคม ครอบครัว แรงงาน การศึกษา ฯลฯ ที่มีอยู่ในหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อให้เด็กเยาวชนทุกคนได้รับสวัสดิการ การดูแล พัฒนา และส่งต่ออย่างมีประสิทธิภาพ ทันเวลา นอกจากนี้ ควรเพิ่มศักยภาพของสวัสดิการแบบมุ่งเป้า (Targeting) เพื่อลดต้นทุนการเข้าถึงการศึกษาให้แก่เด็กเยาวชนที่มาจากครัวเรือนซึ่งมีรายได้น้อยที่สุดของประเทศ 2.ยกระดับบัตรประจำตัวประชาชนของเด็กเยาวชนทุกคนให้เป็น Learning Passport สำหรับการศึกษาและการเรียนรู้ทั้งในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย โดยรัฐสามารถจัดสรรเงินอุดหนุนจากรัฐบาลตรงไปยังเลข 13 หลักของเด็กเยาวชนโดยตรง โดยเฉพาะผู้อาศัยอยู่กับครัวเรือนยากจนและเปราะบาง เพื่อให้เด็กเยาวชนสามารถเลือกศึกษาต่อและเรียนรู้ผ่านการศึกษาทั้ง 3 ระบบ ผ่านหน่วยจัดการเรียนรู้ทั้งของภาครัฐ ท้องถิ่น และเอกชนได้อย่างยืดหยุ่น และหลากหลายตามความถนัดและศักยภาพของเด็กเยาวชนเป็นรายบุคคล รวมทั้งสามารถถ่ายโอนหน่วยกิตระหว่างการศึกษาทั้ง 3 ระบบเพื่อใช้ในการศึกษาต่อ และการสมัครงานได้ในอนาคตได้ รศ.ดร.วีระชาติ กิเลนทอง ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยเพื่อการประเมินและออกแบบนโยบาย (RIPED) และคณบดีคณะการศึกษาปฐมวัย มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย กล่าวถึงงานวิจัยที่ร่วมมือกับ กสศ. และ OECD ที่ประเมินสมรรถนะผู้เรียนตามมาตรฐานสากลเพื่อการพัฒนาสถานศึกษา หรือ PISA for Schools โดยสำรวจและประเมินสมรรถนะแบบ PISA ในสถานศึกษา 150 แห่ง จาก 16 จังหวัด มีข้อค้นพบที่สำคัญคือ นักเรียนที่มีระดับคะแนนผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ในระดับชั้น ป.6 ที่ดี จะมีแนวโน้มที่จะมีคะแนนสมรรถนะของ PISA สูงเช่นเดียวกัน ดังนั้น ความเหลื่อมล้ำในผลลัพธ์การเรียนรู้ที่พบจากผลการทดสอบ PISA ไม่ได้เพิ่งเกิดขึ้นในช่วงระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น แต่แท้จริงแล้ว เป็นเสมือนการขาดทุนที่สะสมมาตั้งแต่ระดับชั้นประถมศึกษาหรือระดับปฐมวัย ดังนั้นการส่งเสริมให้เยาวชนไทยมีคะแนน PISA ที่ดีขึ้นในอนาคต จึงควรเริ่มต้นจากมาตรการยกระดับคุณภาพการศึกษาที่เสมอภาคตั้งแต่การศึกษาระดับประถมศึกษา และอาศัยเครื่องมือประเมินผลอย่าง O-NET ในการลดความเหลื่อมล้ำด้านคุณภาพการศึกษาระหว่างสถานศึกษาในระยะยาว คุณจูสตีน ซาส หัวหน้าฝ่ายการศึกษาเพื่อความครอบคลุมและความเท่าเทียมทางเพศ สำนักงานใหญ่ยูเนสโก ณ กรุงปารีส เปิดเผยข้อมูล จากรายงานระดับโลก The Price of Inaction: The global private, fiscal and social costs of children not learning. หรือ ต้นทุนของการเพิกเฉย (The Price of Inaction) : ต้นทุนทางเศรษฐกิจ สังคม และภาครัฐจากการที่เด็กไม่ได้รับการศึกษา โดยระบุว่า หากไม่มีการดำเนินการใด ๆ ภายในปี ค.ศ. 2030 ต้นทุนทางสังคมของเด็กที่ออกจากโรงเรียนก่อนกำหนดและเด็กที่มีทักษะต่ำกว่าพื้นฐานจะอยู่ที่ 6 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ และ 10 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ ตามลำดับ ตัวเลขเหล่านี้คิดเป็นมูลค่ามหาศาล ตัวเลข 10 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ มีมูลค่ามากกว่าผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) รายปีของฝรั่งเศสและญี่ปุ่นรวมกัน “การลงทุนในการศึกษาที่มีคุณภาพเป็นกลยุทธ์ที่คุ้มค่าที่สุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจเพียงแค่ลดสัดส่วนของเด็กที่ออกจากโรงเรียนก่อนกำหนดรวมถึงลดสัดส่วนของเด็กที่มีทักษะต่ำกว่าพื้นฐานลงเพียง 10% เราจะสามารถเพิ่ม GDP แต่ละปีได้ถึง 1-2%” สามารถอ่านรายงานสถานการณ์ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาปี 2567 และทิศทางสำคัญในปี 2568 ได้ที่ https://www.eef.or.th/publication-050225/ EZ Webmaster Related Posts โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนประจวบวิทยาลัย โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสามร้อยยอดวิทยาคม โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศ โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนรัตนราษฎร์บำรุง โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี Post navigation PREVIOUS Previous post: ด่วน! สพฐ. ชี้แจ้ง การติด 0 ร. มส. ทำยังไงก็ได้แต่ต้องไม่สร้างภาระให้นักเรียนและผู้ปกครองNEXT Next post: รวมลักษณะ 8 Genแต่ละเจนอยู่ในช่วงกลุ่มอายุเท่าไหร่ มีแนวคิดและลักษณะนิสัยแตกต่างกันอย่างไรบ้าง Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
11 สาเหตุลึกซึ้ง ทำไมการศึกษาไทยยังตกต่ำ? เสียงสะท้อนจากครูชนบท สู่คำถามใหญ่ของสังคม EZ WebmasterJune 19, 2025 ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ประเทศไทยกำลังเผชิญกับวิกฤตคุณภาพทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง แม้จะมีความพยายามปฏิรูปหลายครั้ง แต่กลับไม่สามารถยกระดับการเรียนรู้ให้เทียบเท่าประเทศเพื่อนบ้านได้อย่างแท้จริงนายสานิตย์ พลศรี นายกสมาคมครูชนบทจังหวัดชัยภูมิ ในหัวข้อ “สาเหตุของปัญหาคุณภาพด้านการศึกษาประเทศไทยที่ตกต่ำ” ซึ่งกำลังถูกส่งต่ออย่างกว้างขวางในโซเชียลมีเดียและกลุ่มไลน์ของคนในแวดวงการศึกษาเสียงสะท้อนจากผู้ที่อยู่ในภาคสนามจริงอย่างนายสานิตย์ ทำให้เราได้เห็นภาพที่ชัดเจนมากขึ้นว่า ปัญหาไม่ได้อยู่ที่ตัวนักเรียนหรือครูเพียงลำพัง แต่เป็นผลสะสมจากโครงสร้าง ระบบ และการบริหารที่ผิดทิศผิดทางมานานจึงเป็นการเปิดประเด็นให้สังคมได้ทบทวนร่วมกันว่า หากเราไม่เริ่ม “เปลี่ยนจริง” คุณภาพการศึกษาของไทยอาจยิ่งตกต่ำลงกว่าที่เป็นอยู่ 11… ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา EZ WebmasterJune 18, 2025 วิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิทักษ์ ธรรมวาริน (คนที่ 4 จากซ้าย) คณบดีวิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สจล. และ Mr. Alfonso Martin (คนที่ 3…
ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา EZ WebmasterJune 18, 2025 วิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิทักษ์ ธรรมวาริน (คนที่ 4 จากซ้าย) คณบดีวิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สจล. และ Mr. Alfonso Martin (คนที่ 3…
ทุนImperial Athletes Sport InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 20, 2025 Imperial College London เสนอทุนการศึกษา Imperial Athletes Sport เพื่อสนับสนุนนักกีฬาที่มีพรสวรรค์สำหรับปีการศึกษา 2025/2026 โดยเปิดโอกาสให้เลือกเรียนในหลากหลายสาขาวิชา เปิดรับใบสมัครถึง 4 สิงหาคม 2025 หากคุณกำลังแข่งขันในระดับภูมิภาค ระดับชาติ หรือระดับนานาชาติในกีฬาของคุณ และแสดงให้เห็นถึงพรสวรรค์… Kazan Global Youth Summit InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 19, 2025 เชิญเยาวชนสมัครคัดเลือกเข้าร่วมการประชุม Kazan Global Youth Summit ครั้งที่ 4 ระหว่างวันที่ 27 – 30 สิงหาคม 2568 ณ เมืองคาซาน สาธารณรัฐตาตาร์สตาน สหพันธรัฐรัสเซีย จัดโดยรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐตาตาร์สตาน… SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… ครู-อาจารย์ จุฬาฯ ผงาดอันดับ Top 44 ของโลกด้านความยั่งยืน ใน THE Impact Rankings 2025 ครองอันดับ 1 ของไทยอีกครั้ง tui sakrapeeJune 20, 2025 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยผงาดอันดับ Top 44 ของโลก และครองอันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทยอีกครั้งหนึ่ง จากการจัดอันดับโดย Times Higher Education Impact Rankings 2025 ด้วยผลงานที่โดดเด่นในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนและสร้างผลกระทบสูงต่อสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง SDG 9… หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 📚เริ่มเรียน กรกฎาคม 2568 ถึง มกราคม 2569 ทุกวันพฤหัสบดี 11:00 – 18:00 น.… มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ… สจล. เดินหน้ากระชับความร่วมมือทางวิชาการ กับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของจีน EZ WebmasterJune 19, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เดินหน้ากระชับความสัมพันธ์ทางวิชาการกับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งเป็นพันธมิตรที่มีความร่วมมือกันมานานกว่า 20 ปี เพื่อหารือขยายความร่วมมือเชิงลึกในสาขาวิศวกรรมขั้นสูง โดยเฉพาะด้าน Aerospace, Mechatronics, Automation และ Astronautics ซึ่ง HIT ถือเป็นสถาบันชั้นนำของจีนในด้านนี้ พร้อมทั้งหารือแนวทางความร่วมมือด้านการแลกเปลี่ยนนักศึกษา นักวิจัย และการพัฒนาโครงการ Joint Degree ในอนาคต รองศาสตราจารย์… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster February 6, 2025 EZ Webmaster February 6, 2025 กสศ. เสนอสร้างระบบหลักประกันโอกาสการศึกษา ใช้บัตรประชาชนใบเดียวเรียนได้ไร้รอยต่อ ตั้งแต่ปฐมวัยถึงมีงานทำ กสศ. เปิดรายงานความเหลื่อมล้ำการศึกษา 67- 68 พบเด็กนอกระบบการศึกษามีแนวโน้มลดลง แต่เด็กยากจนเรียนต่อมหาวิทยาลัยน้อยกว่าค่าเฉลี่ยประเทศถึง 2 เท่า เสนอสร้างระบบหลักประกันโอกาสการศึกษา ใช้บัตรประชาชนใบเดียวเรียนได้ไร้รอยต่อ ตั้งแต่ปฐมวัยถึงมีงานทำ ด้านยูเนสโก ระบุว่า หากลงทุนลดเด็กหลุดนอกระบบและเด็กทักษะต่ำกว่าพื้นฐานเพียง 10% เพิ่ม GDP แต่ละปีได้ถึง 1-2% เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2568 ณ ห้อง Mitrtown Hall 1 สามย่านมิตรทาวน์ กรุงเทพมหานคร กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) จัดงาน Equity Forum 2025 “ประเทศไทยกับการแก้ปัญหาเชิงระบบเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา” โดย กสศ. เปิดรายงานสถานการณ์ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาปี 2567 และทิศทางสำคัญในปี 2568 โดยมีฝ่ายนโยบาย นักการเมืองทั้งฝ่ายรัฐบาล ฝ่ายค้าน ผู้นำท้องถิ่น นักการศึกษา นักวิชาการ และนิสิตนักศึกษาเข้าร่วม ดร.ไกรยส ภัทราวาท ผู้จัดการกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) กล่าวว่า ปีการศึกษา 2567 ประเทศไทยมีประชากรนักเรียนในช่วงวัยเรียนระดับก่อนประถมศึกษาและการศึกษาภาคบังคับ (อายุ 3 – 14 ปี) จำนวนทั้งสิ้นประมาณ 8.5 ล้านคน ในจำนวนดังกล่าวมีนักเรียนกว่า 3 ล้านคนที่อยู่ในครัวเรือนภายใต้เส้นความยากจน (Poverty Line) ซึ่งเมื่อประมวลผลจากการคัดกรองโดยวิธีการวัดรายได้ทางอ้อม (Proxy Means Test) พบว่า ประเทศไทยมีนักเรียนยากจนพิเศษระดับอนุบาล – มัธยมศึกษาตอนต้นในครัวเรือนยากจนที่สุด 15% แรกของประเทศ จำนวน 1,348,735 คน โดยจังหวัดที่มีสัดส่วนนักเรียนยากจนพิเศษมากที่สุด อันดับหนึ่งคือจังหวัดแม่ฮ่องสอน อันดับสองคือจังหวัดนราธิวาส และที่เหลือพบว่าส่วนใหญ่มีการกระจุกตัวอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ขณะที่รายได้เฉลี่ยของครัวเรือนนักเรียนยากจนพิเศษ ปีการศึกษา 2567 เพิ่มขึ้นเล็กน้อยเป็น 1,133 บาท/คน/เดือน หรือเฉลี่ยวันละ 37 บาท เมื่อเทียบกับปีการศึกษา 2566 ที่มีรายได้เฉลี่ยอยู่ที่คนละ 1,039 บาท/คน/เดือน หรือเฉลี่ยวันละ 34 บาท และจากการลงพื้นที่เยี่ยมบ้านโดยครูมากกว่า 400,000 คนทั่วประเทศพบสถานการณ์ความเปราะบางของครัวเรือนยากจนพิเศษในหลายมิติ เช่น มีนักเรียนยากจนพิเศษมากกว่า 1 ใน 3 หรือ 38.77% ที่ไม่ได้อาศัยอยู่กับพ่อแม่ เนื่องจากพ่อแม่อพยพย้ายถิ่นไปทำงานในเมือง หรือครอบครัวแหว่งกลาง และยังพบว่าสมาชิกในครัวเรือนส่วนใหญ่เป็นผู้มีภาวะพึ่งพิง อาทิ มีผู้สูงอายุในครัวเรือน 44.43% มีคนว่างงานในครัวเรือน 27.3% มีคนพิการเจ็บป่วยเรื้อรังในครัวเรือน 12.41% ดร.ไกรยส กล่าวว่า เพื่อป้องกันการหลุดออกจากระบบการศึกษาของเด็กเยาวชนกลุ่มเสี่ยงจากครัวเรือนผู้มีรายได้น้อยมากกว่า 1.3 ล้านคนนี้ กสศ. จึงได้จัดสรรเงินอุดหนุนนักเรียนยากจนพิเศษแบบมีเงื่อนไข (Conditional Cash Transfer) หรือทุนเสมอภาค ให้แก่นักเรียนกลุ่มเป้าหมายจำนวน 1.3 ล้านคนอย่างต่อเนื่อง 3 ปีการศึกษา โดย กสศ. และ สถานศึกษาทั้ง 6 สังกัดได้ติดตามอัตราการมาเรียน และพัฒนาการของเด็กเป็นรายบุคคลอย่างใกล้ชิด ผลลัพธ์จากการดำเนินงานของโครงการตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา สะท้อนการป้องกันไม่ให้นักเรียนยากจนพิเศษหลุดออกจากระบบก่อนสำเร็จการศึกษาภาคบังคับ โดยพบว่าอัตราการคงอยู่ในระบบการศึกษาอยู่ที่ 97.88% แต่ยังมีช่องว่างสำคัญในเส้นทางการศึกษาของเด็กกลุ่มนี้ เช่น 1.ในปีการศึกษา 2567มีนักเรียนยากจนและนักเรียนยากจนพิเศษ จำนวนเพียง 22,345 คน จากนักเรียนทั้งหมด 165,585 คน หรือคิดเป็น 13.49% เท่านั้น ที่สามารถคงอยู่ในระบบการศึกษาจนสามารถเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาได้ ซึ่งต่ำกว่าค่าเฉลี่ยอัตราการเรียนต่อระดับอุดมศึกษาของประชากรไทยกว่า 2 เท่า 2.มีนักเรียนที่ครัวเรือนมีรายได้ต่ำกว่าเส้นความยากจน อีกประมาณ 1.1 ล้านคน ยังไม่ได้รับการสนับสนุนหรือช่วยเหลือ จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องตั้งแต่หน่วยงานระดับนโยบาย หน่วยจัดสรรงบประมาณ และหน่วยงานต้นสังกัดของสถานศึกษา ควรร่วมกันพัฒนามาตรการเพื่อให้ความช่วยเหลืออย่างเหมาะสม ป้องกันการหลุดออกจากระบบการศึกษาในช่วงวัยสำคัญ 3.นอกเหนือจากการให้ความช่วยเหลือในมิติทางเศรษฐกิจแล้ว หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรมีมาตรการส่งเสริมสภาพความเป็นอยู่และการดำรงชีวิตที่มีความท้าทายและสนับสนุนการดูแลช่วยเหลือในมิติอื่น ๆ เพื่อไม่ให้ปัจจัยต่าง ๆ เหล่านั้นเป็นอุปสรรคต่อการคงอยู่ในระบบการศึกษา เพราะจากการลงพื้นที่พบว่าสถานการณ์ความเปราะบางของครอบครัวและสังคมที่เด็กต้องเผชิญมีแนวโน้มที่ซับซ้อน และท้าทายต่ออนาคตทางการศึกษาของเด็กเยาวชนมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง ดร.ไกรยส กล่าวว่า สำหรับสถานการณ์เด็กเยาวชนนอกระบบ ในปี 2567 จากการเชื่อมโยงข้อมูลเด็กและเยาวชนที่อายุ 3-18 ปี ระหว่างระบบสารสนเทศของสำนักปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กับ สำนักทะเบียนราษฎร์ กระทรวงมหาดไทย พบว่า มีเด็กและเยาวชนในช่วงอายุ 3-18 ปี (เกิดระหว่างวันที่ 1 มกราคม 2550 – 31 ธันวาคม 2564 ) ที่ไม่มีชื่ออยู่ในระบบการศึกษา จำนวนทั้งสิ้น 982,304 คน ซึ่งลดลงจากปีการศึกษาก่อนหน้าที่มีอยู่จำนวน 1.02 ล้านคน โดยเป็นเรื่องที่น่ายินดีที่หน่วยงานต้นสังกัดทางการศึกษาต่าง ๆ สามารถพาเด็กเยาวชนมากกว่า 304,082 กลับเข้าสู่ระบบการศึกษาได้ในปีที่ผ่านมา อย่างไรก็ดี ยังมีเด็กเยาวชนที่ยังคงไม่มีชื่ออยู่ในระบบการศึกษาต่อเนื่องมาตั้งแต่ปี 2566 จำนวน 590,557 คน และมีเด็กเยาวชนนอกระบบการศึกษากลุ่มใหม่ จำนวน 391,747 คน ในจำนวนนี้อยู่ในช่วงวัยการศึกษาภาคบังคับ จำนวน 387,591 คน คิดเป็น 39.46% ของเด็กและเยาวชนที่ไม่มีชื่อในระบบการศึกษาทั้งหมด (ข้อมูล ณ เดือนธันวาคม 2567) จากปฏิบัติการค้นหา ช่วยเหลือเด็กเยาวชนที่หลุดจากระบบการศึกษาที่ประสบความสำเร็จ โดยไม่หลุดจากระบบซ้ำ พบว่า การสร้างพื้นที่ปลอดภัยต่อการเรียนรู้และเติบโตอย่างเต็มศักยภาพ เป็นทางออกสำคัญของเรื่องนี้ ทั้งในมิติการป้องกันและช่วยเหลือ การส่งเสริม สนับสนุนให้ท้องถิ่นทุกระดับเห็นความสำคัญ เป็นแกนนำและทำหน้าที่เชื่อมโยงทุกภาคส่วนร่วมเป็นกลไกขับเคลื่อนโดยมีเด็ก เยาวชนเป็นศูนย์กลาง มีข้อบัญญัติของท้องถิ่นที่แสดงเจตจำนงอย่างชัดเจน และจัดสรรงบประมาณและกำลังคนรับผิดชอบต่อเนื่อง ไร้รอยต่อทางการเมือง จะเป็นส่วนสำคัญที่ช่วยให้การป้องกันและแก้ปัญหาเด็กเยาวชนอกระบบเกิดขึ้นจริงได้ ทั้งนี้ กสศ. ยังได้เสนอนโยบาย 2 ประเด็นสำคัญได้แก่ 1.การสร้างระบบหลักประกันโอกาสการศึกษา ให้เด็กเยาวชนตลอด 20 ปี จากปฐมวัยถึงมีงานทำ ผ่านการบูรณาการข้อมูลรายบุคคลระหว่าง 11 หน่วยงาน ครอบคลุมเด็กเยาวชนกลุ่มเสี่ยงที่มาจากครัวเรือนซึ่งมีรายได้น้อยที่สุดของประเทศจำนวน 3 ล้านคน และเด็กเยาวชนนอกระบบการศึกษาจำนวน 9 แสนคน (3-22 ปี) เพื่อให้เกิดการเชื่อมโยง และส่งต่อข้อมูลระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ทุกกระทรวง บูรณาการชุดสิทธิประโยชน์ด้านสุขภาวะ สังคม ครอบครัว แรงงาน การศึกษา ฯลฯ ที่มีอยู่ในหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อให้เด็กเยาวชนทุกคนได้รับสวัสดิการ การดูแล พัฒนา และส่งต่ออย่างมีประสิทธิภาพ ทันเวลา นอกจากนี้ ควรเพิ่มศักยภาพของสวัสดิการแบบมุ่งเป้า (Targeting) เพื่อลดต้นทุนการเข้าถึงการศึกษาให้แก่เด็กเยาวชนที่มาจากครัวเรือนซึ่งมีรายได้น้อยที่สุดของประเทศ 2.ยกระดับบัตรประจำตัวประชาชนของเด็กเยาวชนทุกคนให้เป็น Learning Passport สำหรับการศึกษาและการเรียนรู้ทั้งในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย โดยรัฐสามารถจัดสรรเงินอุดหนุนจากรัฐบาลตรงไปยังเลข 13 หลักของเด็กเยาวชนโดยตรง โดยเฉพาะผู้อาศัยอยู่กับครัวเรือนยากจนและเปราะบาง เพื่อให้เด็กเยาวชนสามารถเลือกศึกษาต่อและเรียนรู้ผ่านการศึกษาทั้ง 3 ระบบ ผ่านหน่วยจัดการเรียนรู้ทั้งของภาครัฐ ท้องถิ่น และเอกชนได้อย่างยืดหยุ่น และหลากหลายตามความถนัดและศักยภาพของเด็กเยาวชนเป็นรายบุคคล รวมทั้งสามารถถ่ายโอนหน่วยกิตระหว่างการศึกษาทั้ง 3 ระบบเพื่อใช้ในการศึกษาต่อ และการสมัครงานได้ในอนาคตได้ รศ.ดร.วีระชาติ กิเลนทอง ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยเพื่อการประเมินและออกแบบนโยบาย (RIPED) และคณบดีคณะการศึกษาปฐมวัย มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย กล่าวถึงงานวิจัยที่ร่วมมือกับ กสศ. และ OECD ที่ประเมินสมรรถนะผู้เรียนตามมาตรฐานสากลเพื่อการพัฒนาสถานศึกษา หรือ PISA for Schools โดยสำรวจและประเมินสมรรถนะแบบ PISA ในสถานศึกษา 150 แห่ง จาก 16 จังหวัด มีข้อค้นพบที่สำคัญคือ นักเรียนที่มีระดับคะแนนผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ในระดับชั้น ป.6 ที่ดี จะมีแนวโน้มที่จะมีคะแนนสมรรถนะของ PISA สูงเช่นเดียวกัน ดังนั้น ความเหลื่อมล้ำในผลลัพธ์การเรียนรู้ที่พบจากผลการทดสอบ PISA ไม่ได้เพิ่งเกิดขึ้นในช่วงระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น แต่แท้จริงแล้ว เป็นเสมือนการขาดทุนที่สะสมมาตั้งแต่ระดับชั้นประถมศึกษาหรือระดับปฐมวัย ดังนั้นการส่งเสริมให้เยาวชนไทยมีคะแนน PISA ที่ดีขึ้นในอนาคต จึงควรเริ่มต้นจากมาตรการยกระดับคุณภาพการศึกษาที่เสมอภาคตั้งแต่การศึกษาระดับประถมศึกษา และอาศัยเครื่องมือประเมินผลอย่าง O-NET ในการลดความเหลื่อมล้ำด้านคุณภาพการศึกษาระหว่างสถานศึกษาในระยะยาว คุณจูสตีน ซาส หัวหน้าฝ่ายการศึกษาเพื่อความครอบคลุมและความเท่าเทียมทางเพศ สำนักงานใหญ่ยูเนสโก ณ กรุงปารีส เปิดเผยข้อมูล จากรายงานระดับโลก The Price of Inaction: The global private, fiscal and social costs of children not learning. หรือ ต้นทุนของการเพิกเฉย (The Price of Inaction) : ต้นทุนทางเศรษฐกิจ สังคม และภาครัฐจากการที่เด็กไม่ได้รับการศึกษา โดยระบุว่า หากไม่มีการดำเนินการใด ๆ ภายในปี ค.ศ. 2030 ต้นทุนทางสังคมของเด็กที่ออกจากโรงเรียนก่อนกำหนดและเด็กที่มีทักษะต่ำกว่าพื้นฐานจะอยู่ที่ 6 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ และ 10 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ ตามลำดับ ตัวเลขเหล่านี้คิดเป็นมูลค่ามหาศาล ตัวเลข 10 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ มีมูลค่ามากกว่าผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) รายปีของฝรั่งเศสและญี่ปุ่นรวมกัน “การลงทุนในการศึกษาที่มีคุณภาพเป็นกลยุทธ์ที่คุ้มค่าที่สุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจเพียงแค่ลดสัดส่วนของเด็กที่ออกจากโรงเรียนก่อนกำหนดรวมถึงลดสัดส่วนของเด็กที่มีทักษะต่ำกว่าพื้นฐานลงเพียง 10% เราจะสามารถเพิ่ม GDP แต่ละปีได้ถึง 1-2%” สามารถอ่านรายงานสถานการณ์ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาปี 2567 และทิศทางสำคัญในปี 2568 ได้ที่ https://www.eef.or.th/publication-050225/ EZ Webmaster Related Posts โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนประจวบวิทยาลัย โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสามร้อยยอดวิทยาคม โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศ โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนรัตนราษฎร์บำรุง โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี Post navigation PREVIOUS Previous post: ด่วน! สพฐ. ชี้แจ้ง การติด 0 ร. มส. ทำยังไงก็ได้แต่ต้องไม่สร้างภาระให้นักเรียนและผู้ปกครองNEXT Next post: รวมลักษณะ 8 Genแต่ละเจนอยู่ในช่วงกลุ่มอายุเท่าไหร่ มีแนวคิดและลักษณะนิสัยแตกต่างกันอย่างไรบ้าง Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
Kazan Global Youth Summit InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 19, 2025 เชิญเยาวชนสมัครคัดเลือกเข้าร่วมการประชุม Kazan Global Youth Summit ครั้งที่ 4 ระหว่างวันที่ 27 – 30 สิงหาคม 2568 ณ เมืองคาซาน สาธารณรัฐตาตาร์สตาน สหพันธรัฐรัสเซีย จัดโดยรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐตาตาร์สตาน… SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… ครู-อาจารย์ จุฬาฯ ผงาดอันดับ Top 44 ของโลกด้านความยั่งยืน ใน THE Impact Rankings 2025 ครองอันดับ 1 ของไทยอีกครั้ง tui sakrapeeJune 20, 2025 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยผงาดอันดับ Top 44 ของโลก และครองอันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทยอีกครั้งหนึ่ง จากการจัดอันดับโดย Times Higher Education Impact Rankings 2025 ด้วยผลงานที่โดดเด่นในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนและสร้างผลกระทบสูงต่อสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง SDG 9… หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 📚เริ่มเรียน กรกฎาคม 2568 ถึง มกราคม 2569 ทุกวันพฤหัสบดี 11:00 – 18:00 น.… มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ… สจล. เดินหน้ากระชับความร่วมมือทางวิชาการ กับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของจีน EZ WebmasterJune 19, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เดินหน้ากระชับความสัมพันธ์ทางวิชาการกับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งเป็นพันธมิตรที่มีความร่วมมือกันมานานกว่า 20 ปี เพื่อหารือขยายความร่วมมือเชิงลึกในสาขาวิศวกรรมขั้นสูง โดยเฉพาะด้าน Aerospace, Mechatronics, Automation และ Astronautics ซึ่ง HIT ถือเป็นสถาบันชั้นนำของจีนในด้านนี้ พร้อมทั้งหารือแนวทางความร่วมมือด้านการแลกเปลี่ยนนักศึกษา นักวิจัย และการพัฒนาโครงการ Joint Degree ในอนาคต รองศาสตราจารย์… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster February 6, 2025 EZ Webmaster February 6, 2025 กสศ. เสนอสร้างระบบหลักประกันโอกาสการศึกษา ใช้บัตรประชาชนใบเดียวเรียนได้ไร้รอยต่อ ตั้งแต่ปฐมวัยถึงมีงานทำ กสศ. เปิดรายงานความเหลื่อมล้ำการศึกษา 67- 68 พบเด็กนอกระบบการศึกษามีแนวโน้มลดลง แต่เด็กยากจนเรียนต่อมหาวิทยาลัยน้อยกว่าค่าเฉลี่ยประเทศถึง 2 เท่า เสนอสร้างระบบหลักประกันโอกาสการศึกษา ใช้บัตรประชาชนใบเดียวเรียนได้ไร้รอยต่อ ตั้งแต่ปฐมวัยถึงมีงานทำ ด้านยูเนสโก ระบุว่า หากลงทุนลดเด็กหลุดนอกระบบและเด็กทักษะต่ำกว่าพื้นฐานเพียง 10% เพิ่ม GDP แต่ละปีได้ถึง 1-2% เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2568 ณ ห้อง Mitrtown Hall 1 สามย่านมิตรทาวน์ กรุงเทพมหานคร กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) จัดงาน Equity Forum 2025 “ประเทศไทยกับการแก้ปัญหาเชิงระบบเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา” โดย กสศ. เปิดรายงานสถานการณ์ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาปี 2567 และทิศทางสำคัญในปี 2568 โดยมีฝ่ายนโยบาย นักการเมืองทั้งฝ่ายรัฐบาล ฝ่ายค้าน ผู้นำท้องถิ่น นักการศึกษา นักวิชาการ และนิสิตนักศึกษาเข้าร่วม ดร.ไกรยส ภัทราวาท ผู้จัดการกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) กล่าวว่า ปีการศึกษา 2567 ประเทศไทยมีประชากรนักเรียนในช่วงวัยเรียนระดับก่อนประถมศึกษาและการศึกษาภาคบังคับ (อายุ 3 – 14 ปี) จำนวนทั้งสิ้นประมาณ 8.5 ล้านคน ในจำนวนดังกล่าวมีนักเรียนกว่า 3 ล้านคนที่อยู่ในครัวเรือนภายใต้เส้นความยากจน (Poverty Line) ซึ่งเมื่อประมวลผลจากการคัดกรองโดยวิธีการวัดรายได้ทางอ้อม (Proxy Means Test) พบว่า ประเทศไทยมีนักเรียนยากจนพิเศษระดับอนุบาล – มัธยมศึกษาตอนต้นในครัวเรือนยากจนที่สุด 15% แรกของประเทศ จำนวน 1,348,735 คน โดยจังหวัดที่มีสัดส่วนนักเรียนยากจนพิเศษมากที่สุด อันดับหนึ่งคือจังหวัดแม่ฮ่องสอน อันดับสองคือจังหวัดนราธิวาส และที่เหลือพบว่าส่วนใหญ่มีการกระจุกตัวอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ขณะที่รายได้เฉลี่ยของครัวเรือนนักเรียนยากจนพิเศษ ปีการศึกษา 2567 เพิ่มขึ้นเล็กน้อยเป็น 1,133 บาท/คน/เดือน หรือเฉลี่ยวันละ 37 บาท เมื่อเทียบกับปีการศึกษา 2566 ที่มีรายได้เฉลี่ยอยู่ที่คนละ 1,039 บาท/คน/เดือน หรือเฉลี่ยวันละ 34 บาท และจากการลงพื้นที่เยี่ยมบ้านโดยครูมากกว่า 400,000 คนทั่วประเทศพบสถานการณ์ความเปราะบางของครัวเรือนยากจนพิเศษในหลายมิติ เช่น มีนักเรียนยากจนพิเศษมากกว่า 1 ใน 3 หรือ 38.77% ที่ไม่ได้อาศัยอยู่กับพ่อแม่ เนื่องจากพ่อแม่อพยพย้ายถิ่นไปทำงานในเมือง หรือครอบครัวแหว่งกลาง และยังพบว่าสมาชิกในครัวเรือนส่วนใหญ่เป็นผู้มีภาวะพึ่งพิง อาทิ มีผู้สูงอายุในครัวเรือน 44.43% มีคนว่างงานในครัวเรือน 27.3% มีคนพิการเจ็บป่วยเรื้อรังในครัวเรือน 12.41% ดร.ไกรยส กล่าวว่า เพื่อป้องกันการหลุดออกจากระบบการศึกษาของเด็กเยาวชนกลุ่มเสี่ยงจากครัวเรือนผู้มีรายได้น้อยมากกว่า 1.3 ล้านคนนี้ กสศ. จึงได้จัดสรรเงินอุดหนุนนักเรียนยากจนพิเศษแบบมีเงื่อนไข (Conditional Cash Transfer) หรือทุนเสมอภาค ให้แก่นักเรียนกลุ่มเป้าหมายจำนวน 1.3 ล้านคนอย่างต่อเนื่อง 3 ปีการศึกษา โดย กสศ. และ สถานศึกษาทั้ง 6 สังกัดได้ติดตามอัตราการมาเรียน และพัฒนาการของเด็กเป็นรายบุคคลอย่างใกล้ชิด ผลลัพธ์จากการดำเนินงานของโครงการตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา สะท้อนการป้องกันไม่ให้นักเรียนยากจนพิเศษหลุดออกจากระบบก่อนสำเร็จการศึกษาภาคบังคับ โดยพบว่าอัตราการคงอยู่ในระบบการศึกษาอยู่ที่ 97.88% แต่ยังมีช่องว่างสำคัญในเส้นทางการศึกษาของเด็กกลุ่มนี้ เช่น 1.ในปีการศึกษา 2567มีนักเรียนยากจนและนักเรียนยากจนพิเศษ จำนวนเพียง 22,345 คน จากนักเรียนทั้งหมด 165,585 คน หรือคิดเป็น 13.49% เท่านั้น ที่สามารถคงอยู่ในระบบการศึกษาจนสามารถเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาได้ ซึ่งต่ำกว่าค่าเฉลี่ยอัตราการเรียนต่อระดับอุดมศึกษาของประชากรไทยกว่า 2 เท่า 2.มีนักเรียนที่ครัวเรือนมีรายได้ต่ำกว่าเส้นความยากจน อีกประมาณ 1.1 ล้านคน ยังไม่ได้รับการสนับสนุนหรือช่วยเหลือ จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องตั้งแต่หน่วยงานระดับนโยบาย หน่วยจัดสรรงบประมาณ และหน่วยงานต้นสังกัดของสถานศึกษา ควรร่วมกันพัฒนามาตรการเพื่อให้ความช่วยเหลืออย่างเหมาะสม ป้องกันการหลุดออกจากระบบการศึกษาในช่วงวัยสำคัญ 3.นอกเหนือจากการให้ความช่วยเหลือในมิติทางเศรษฐกิจแล้ว หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรมีมาตรการส่งเสริมสภาพความเป็นอยู่และการดำรงชีวิตที่มีความท้าทายและสนับสนุนการดูแลช่วยเหลือในมิติอื่น ๆ เพื่อไม่ให้ปัจจัยต่าง ๆ เหล่านั้นเป็นอุปสรรคต่อการคงอยู่ในระบบการศึกษา เพราะจากการลงพื้นที่พบว่าสถานการณ์ความเปราะบางของครอบครัวและสังคมที่เด็กต้องเผชิญมีแนวโน้มที่ซับซ้อน และท้าทายต่ออนาคตทางการศึกษาของเด็กเยาวชนมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง ดร.ไกรยส กล่าวว่า สำหรับสถานการณ์เด็กเยาวชนนอกระบบ ในปี 2567 จากการเชื่อมโยงข้อมูลเด็กและเยาวชนที่อายุ 3-18 ปี ระหว่างระบบสารสนเทศของสำนักปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กับ สำนักทะเบียนราษฎร์ กระทรวงมหาดไทย พบว่า มีเด็กและเยาวชนในช่วงอายุ 3-18 ปี (เกิดระหว่างวันที่ 1 มกราคม 2550 – 31 ธันวาคม 2564 ) ที่ไม่มีชื่ออยู่ในระบบการศึกษา จำนวนทั้งสิ้น 982,304 คน ซึ่งลดลงจากปีการศึกษาก่อนหน้าที่มีอยู่จำนวน 1.02 ล้านคน โดยเป็นเรื่องที่น่ายินดีที่หน่วยงานต้นสังกัดทางการศึกษาต่าง ๆ สามารถพาเด็กเยาวชนมากกว่า 304,082 กลับเข้าสู่ระบบการศึกษาได้ในปีที่ผ่านมา อย่างไรก็ดี ยังมีเด็กเยาวชนที่ยังคงไม่มีชื่ออยู่ในระบบการศึกษาต่อเนื่องมาตั้งแต่ปี 2566 จำนวน 590,557 คน และมีเด็กเยาวชนนอกระบบการศึกษากลุ่มใหม่ จำนวน 391,747 คน ในจำนวนนี้อยู่ในช่วงวัยการศึกษาภาคบังคับ จำนวน 387,591 คน คิดเป็น 39.46% ของเด็กและเยาวชนที่ไม่มีชื่อในระบบการศึกษาทั้งหมด (ข้อมูล ณ เดือนธันวาคม 2567) จากปฏิบัติการค้นหา ช่วยเหลือเด็กเยาวชนที่หลุดจากระบบการศึกษาที่ประสบความสำเร็จ โดยไม่หลุดจากระบบซ้ำ พบว่า การสร้างพื้นที่ปลอดภัยต่อการเรียนรู้และเติบโตอย่างเต็มศักยภาพ เป็นทางออกสำคัญของเรื่องนี้ ทั้งในมิติการป้องกันและช่วยเหลือ การส่งเสริม สนับสนุนให้ท้องถิ่นทุกระดับเห็นความสำคัญ เป็นแกนนำและทำหน้าที่เชื่อมโยงทุกภาคส่วนร่วมเป็นกลไกขับเคลื่อนโดยมีเด็ก เยาวชนเป็นศูนย์กลาง มีข้อบัญญัติของท้องถิ่นที่แสดงเจตจำนงอย่างชัดเจน และจัดสรรงบประมาณและกำลังคนรับผิดชอบต่อเนื่อง ไร้รอยต่อทางการเมือง จะเป็นส่วนสำคัญที่ช่วยให้การป้องกันและแก้ปัญหาเด็กเยาวชนอกระบบเกิดขึ้นจริงได้ ทั้งนี้ กสศ. ยังได้เสนอนโยบาย 2 ประเด็นสำคัญได้แก่ 1.การสร้างระบบหลักประกันโอกาสการศึกษา ให้เด็กเยาวชนตลอด 20 ปี จากปฐมวัยถึงมีงานทำ ผ่านการบูรณาการข้อมูลรายบุคคลระหว่าง 11 หน่วยงาน ครอบคลุมเด็กเยาวชนกลุ่มเสี่ยงที่มาจากครัวเรือนซึ่งมีรายได้น้อยที่สุดของประเทศจำนวน 3 ล้านคน และเด็กเยาวชนนอกระบบการศึกษาจำนวน 9 แสนคน (3-22 ปี) เพื่อให้เกิดการเชื่อมโยง และส่งต่อข้อมูลระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ทุกกระทรวง บูรณาการชุดสิทธิประโยชน์ด้านสุขภาวะ สังคม ครอบครัว แรงงาน การศึกษา ฯลฯ ที่มีอยู่ในหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อให้เด็กเยาวชนทุกคนได้รับสวัสดิการ การดูแล พัฒนา และส่งต่ออย่างมีประสิทธิภาพ ทันเวลา นอกจากนี้ ควรเพิ่มศักยภาพของสวัสดิการแบบมุ่งเป้า (Targeting) เพื่อลดต้นทุนการเข้าถึงการศึกษาให้แก่เด็กเยาวชนที่มาจากครัวเรือนซึ่งมีรายได้น้อยที่สุดของประเทศ 2.ยกระดับบัตรประจำตัวประชาชนของเด็กเยาวชนทุกคนให้เป็น Learning Passport สำหรับการศึกษาและการเรียนรู้ทั้งในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย โดยรัฐสามารถจัดสรรเงินอุดหนุนจากรัฐบาลตรงไปยังเลข 13 หลักของเด็กเยาวชนโดยตรง โดยเฉพาะผู้อาศัยอยู่กับครัวเรือนยากจนและเปราะบาง เพื่อให้เด็กเยาวชนสามารถเลือกศึกษาต่อและเรียนรู้ผ่านการศึกษาทั้ง 3 ระบบ ผ่านหน่วยจัดการเรียนรู้ทั้งของภาครัฐ ท้องถิ่น และเอกชนได้อย่างยืดหยุ่น และหลากหลายตามความถนัดและศักยภาพของเด็กเยาวชนเป็นรายบุคคล รวมทั้งสามารถถ่ายโอนหน่วยกิตระหว่างการศึกษาทั้ง 3 ระบบเพื่อใช้ในการศึกษาต่อ และการสมัครงานได้ในอนาคตได้ รศ.ดร.วีระชาติ กิเลนทอง ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยเพื่อการประเมินและออกแบบนโยบาย (RIPED) และคณบดีคณะการศึกษาปฐมวัย มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย กล่าวถึงงานวิจัยที่ร่วมมือกับ กสศ. และ OECD ที่ประเมินสมรรถนะผู้เรียนตามมาตรฐานสากลเพื่อการพัฒนาสถานศึกษา หรือ PISA for Schools โดยสำรวจและประเมินสมรรถนะแบบ PISA ในสถานศึกษา 150 แห่ง จาก 16 จังหวัด มีข้อค้นพบที่สำคัญคือ นักเรียนที่มีระดับคะแนนผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ในระดับชั้น ป.6 ที่ดี จะมีแนวโน้มที่จะมีคะแนนสมรรถนะของ PISA สูงเช่นเดียวกัน ดังนั้น ความเหลื่อมล้ำในผลลัพธ์การเรียนรู้ที่พบจากผลการทดสอบ PISA ไม่ได้เพิ่งเกิดขึ้นในช่วงระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น แต่แท้จริงแล้ว เป็นเสมือนการขาดทุนที่สะสมมาตั้งแต่ระดับชั้นประถมศึกษาหรือระดับปฐมวัย ดังนั้นการส่งเสริมให้เยาวชนไทยมีคะแนน PISA ที่ดีขึ้นในอนาคต จึงควรเริ่มต้นจากมาตรการยกระดับคุณภาพการศึกษาที่เสมอภาคตั้งแต่การศึกษาระดับประถมศึกษา และอาศัยเครื่องมือประเมินผลอย่าง O-NET ในการลดความเหลื่อมล้ำด้านคุณภาพการศึกษาระหว่างสถานศึกษาในระยะยาว คุณจูสตีน ซาส หัวหน้าฝ่ายการศึกษาเพื่อความครอบคลุมและความเท่าเทียมทางเพศ สำนักงานใหญ่ยูเนสโก ณ กรุงปารีส เปิดเผยข้อมูล จากรายงานระดับโลก The Price of Inaction: The global private, fiscal and social costs of children not learning. หรือ ต้นทุนของการเพิกเฉย (The Price of Inaction) : ต้นทุนทางเศรษฐกิจ สังคม และภาครัฐจากการที่เด็กไม่ได้รับการศึกษา โดยระบุว่า หากไม่มีการดำเนินการใด ๆ ภายในปี ค.ศ. 2030 ต้นทุนทางสังคมของเด็กที่ออกจากโรงเรียนก่อนกำหนดและเด็กที่มีทักษะต่ำกว่าพื้นฐานจะอยู่ที่ 6 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ และ 10 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ ตามลำดับ ตัวเลขเหล่านี้คิดเป็นมูลค่ามหาศาล ตัวเลข 10 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ มีมูลค่ามากกว่าผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) รายปีของฝรั่งเศสและญี่ปุ่นรวมกัน “การลงทุนในการศึกษาที่มีคุณภาพเป็นกลยุทธ์ที่คุ้มค่าที่สุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจเพียงแค่ลดสัดส่วนของเด็กที่ออกจากโรงเรียนก่อนกำหนดรวมถึงลดสัดส่วนของเด็กที่มีทักษะต่ำกว่าพื้นฐานลงเพียง 10% เราจะสามารถเพิ่ม GDP แต่ละปีได้ถึง 1-2%” สามารถอ่านรายงานสถานการณ์ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาปี 2567 และทิศทางสำคัญในปี 2568 ได้ที่ https://www.eef.or.th/publication-050225/ EZ Webmaster Related Posts โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนประจวบวิทยาลัย โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสามร้อยยอดวิทยาคม โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศ โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนรัตนราษฎร์บำรุง โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี Post navigation PREVIOUS Previous post: ด่วน! สพฐ. ชี้แจ้ง การติด 0 ร. มส. ทำยังไงก็ได้แต่ต้องไม่สร้างภาระให้นักเรียนและผู้ปกครองNEXT Next post: รวมลักษณะ 8 Genแต่ละเจนอยู่ในช่วงกลุ่มอายุเท่าไหร่ มีแนวคิดและลักษณะนิสัยแตกต่างกันอย่างไรบ้าง Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม…
ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม…
จุฬาฯ ผงาดอันดับ Top 44 ของโลกด้านความยั่งยืน ใน THE Impact Rankings 2025 ครองอันดับ 1 ของไทยอีกครั้ง tui sakrapeeJune 20, 2025 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยผงาดอันดับ Top 44 ของโลก และครองอันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทยอีกครั้งหนึ่ง จากการจัดอันดับโดย Times Higher Education Impact Rankings 2025 ด้วยผลงานที่โดดเด่นในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนและสร้างผลกระทบสูงต่อสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง SDG 9… หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 📚เริ่มเรียน กรกฎาคม 2568 ถึง มกราคม 2569 ทุกวันพฤหัสบดี 11:00 – 18:00 น.… มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ… สจล. เดินหน้ากระชับความร่วมมือทางวิชาการ กับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของจีน EZ WebmasterJune 19, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เดินหน้ากระชับความสัมพันธ์ทางวิชาการกับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งเป็นพันธมิตรที่มีความร่วมมือกันมานานกว่า 20 ปี เพื่อหารือขยายความร่วมมือเชิงลึกในสาขาวิศวกรรมขั้นสูง โดยเฉพาะด้าน Aerospace, Mechatronics, Automation และ Astronautics ซึ่ง HIT ถือเป็นสถาบันชั้นนำของจีนในด้านนี้ พร้อมทั้งหารือแนวทางความร่วมมือด้านการแลกเปลี่ยนนักศึกษา นักวิจัย และการพัฒนาโครงการ Joint Degree ในอนาคต รองศาสตราจารย์… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster February 6, 2025 EZ Webmaster February 6, 2025 กสศ. เสนอสร้างระบบหลักประกันโอกาสการศึกษา ใช้บัตรประชาชนใบเดียวเรียนได้ไร้รอยต่อ ตั้งแต่ปฐมวัยถึงมีงานทำ กสศ. เปิดรายงานความเหลื่อมล้ำการศึกษา 67- 68 พบเด็กนอกระบบการศึกษามีแนวโน้มลดลง แต่เด็กยากจนเรียนต่อมหาวิทยาลัยน้อยกว่าค่าเฉลี่ยประเทศถึง 2 เท่า เสนอสร้างระบบหลักประกันโอกาสการศึกษา ใช้บัตรประชาชนใบเดียวเรียนได้ไร้รอยต่อ ตั้งแต่ปฐมวัยถึงมีงานทำ ด้านยูเนสโก ระบุว่า หากลงทุนลดเด็กหลุดนอกระบบและเด็กทักษะต่ำกว่าพื้นฐานเพียง 10% เพิ่ม GDP แต่ละปีได้ถึง 1-2% เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2568 ณ ห้อง Mitrtown Hall 1 สามย่านมิตรทาวน์ กรุงเทพมหานคร กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) จัดงาน Equity Forum 2025 “ประเทศไทยกับการแก้ปัญหาเชิงระบบเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา” โดย กสศ. เปิดรายงานสถานการณ์ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาปี 2567 และทิศทางสำคัญในปี 2568 โดยมีฝ่ายนโยบาย นักการเมืองทั้งฝ่ายรัฐบาล ฝ่ายค้าน ผู้นำท้องถิ่น นักการศึกษา นักวิชาการ และนิสิตนักศึกษาเข้าร่วม ดร.ไกรยส ภัทราวาท ผู้จัดการกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) กล่าวว่า ปีการศึกษา 2567 ประเทศไทยมีประชากรนักเรียนในช่วงวัยเรียนระดับก่อนประถมศึกษาและการศึกษาภาคบังคับ (อายุ 3 – 14 ปี) จำนวนทั้งสิ้นประมาณ 8.5 ล้านคน ในจำนวนดังกล่าวมีนักเรียนกว่า 3 ล้านคนที่อยู่ในครัวเรือนภายใต้เส้นความยากจน (Poverty Line) ซึ่งเมื่อประมวลผลจากการคัดกรองโดยวิธีการวัดรายได้ทางอ้อม (Proxy Means Test) พบว่า ประเทศไทยมีนักเรียนยากจนพิเศษระดับอนุบาล – มัธยมศึกษาตอนต้นในครัวเรือนยากจนที่สุด 15% แรกของประเทศ จำนวน 1,348,735 คน โดยจังหวัดที่มีสัดส่วนนักเรียนยากจนพิเศษมากที่สุด อันดับหนึ่งคือจังหวัดแม่ฮ่องสอน อันดับสองคือจังหวัดนราธิวาส และที่เหลือพบว่าส่วนใหญ่มีการกระจุกตัวอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ขณะที่รายได้เฉลี่ยของครัวเรือนนักเรียนยากจนพิเศษ ปีการศึกษา 2567 เพิ่มขึ้นเล็กน้อยเป็น 1,133 บาท/คน/เดือน หรือเฉลี่ยวันละ 37 บาท เมื่อเทียบกับปีการศึกษา 2566 ที่มีรายได้เฉลี่ยอยู่ที่คนละ 1,039 บาท/คน/เดือน หรือเฉลี่ยวันละ 34 บาท และจากการลงพื้นที่เยี่ยมบ้านโดยครูมากกว่า 400,000 คนทั่วประเทศพบสถานการณ์ความเปราะบางของครัวเรือนยากจนพิเศษในหลายมิติ เช่น มีนักเรียนยากจนพิเศษมากกว่า 1 ใน 3 หรือ 38.77% ที่ไม่ได้อาศัยอยู่กับพ่อแม่ เนื่องจากพ่อแม่อพยพย้ายถิ่นไปทำงานในเมือง หรือครอบครัวแหว่งกลาง และยังพบว่าสมาชิกในครัวเรือนส่วนใหญ่เป็นผู้มีภาวะพึ่งพิง อาทิ มีผู้สูงอายุในครัวเรือน 44.43% มีคนว่างงานในครัวเรือน 27.3% มีคนพิการเจ็บป่วยเรื้อรังในครัวเรือน 12.41% ดร.ไกรยส กล่าวว่า เพื่อป้องกันการหลุดออกจากระบบการศึกษาของเด็กเยาวชนกลุ่มเสี่ยงจากครัวเรือนผู้มีรายได้น้อยมากกว่า 1.3 ล้านคนนี้ กสศ. จึงได้จัดสรรเงินอุดหนุนนักเรียนยากจนพิเศษแบบมีเงื่อนไข (Conditional Cash Transfer) หรือทุนเสมอภาค ให้แก่นักเรียนกลุ่มเป้าหมายจำนวน 1.3 ล้านคนอย่างต่อเนื่อง 3 ปีการศึกษา โดย กสศ. และ สถานศึกษาทั้ง 6 สังกัดได้ติดตามอัตราการมาเรียน และพัฒนาการของเด็กเป็นรายบุคคลอย่างใกล้ชิด ผลลัพธ์จากการดำเนินงานของโครงการตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา สะท้อนการป้องกันไม่ให้นักเรียนยากจนพิเศษหลุดออกจากระบบก่อนสำเร็จการศึกษาภาคบังคับ โดยพบว่าอัตราการคงอยู่ในระบบการศึกษาอยู่ที่ 97.88% แต่ยังมีช่องว่างสำคัญในเส้นทางการศึกษาของเด็กกลุ่มนี้ เช่น 1.ในปีการศึกษา 2567มีนักเรียนยากจนและนักเรียนยากจนพิเศษ จำนวนเพียง 22,345 คน จากนักเรียนทั้งหมด 165,585 คน หรือคิดเป็น 13.49% เท่านั้น ที่สามารถคงอยู่ในระบบการศึกษาจนสามารถเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาได้ ซึ่งต่ำกว่าค่าเฉลี่ยอัตราการเรียนต่อระดับอุดมศึกษาของประชากรไทยกว่า 2 เท่า 2.มีนักเรียนที่ครัวเรือนมีรายได้ต่ำกว่าเส้นความยากจน อีกประมาณ 1.1 ล้านคน ยังไม่ได้รับการสนับสนุนหรือช่วยเหลือ จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องตั้งแต่หน่วยงานระดับนโยบาย หน่วยจัดสรรงบประมาณ และหน่วยงานต้นสังกัดของสถานศึกษา ควรร่วมกันพัฒนามาตรการเพื่อให้ความช่วยเหลืออย่างเหมาะสม ป้องกันการหลุดออกจากระบบการศึกษาในช่วงวัยสำคัญ 3.นอกเหนือจากการให้ความช่วยเหลือในมิติทางเศรษฐกิจแล้ว หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรมีมาตรการส่งเสริมสภาพความเป็นอยู่และการดำรงชีวิตที่มีความท้าทายและสนับสนุนการดูแลช่วยเหลือในมิติอื่น ๆ เพื่อไม่ให้ปัจจัยต่าง ๆ เหล่านั้นเป็นอุปสรรคต่อการคงอยู่ในระบบการศึกษา เพราะจากการลงพื้นที่พบว่าสถานการณ์ความเปราะบางของครอบครัวและสังคมที่เด็กต้องเผชิญมีแนวโน้มที่ซับซ้อน และท้าทายต่ออนาคตทางการศึกษาของเด็กเยาวชนมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง ดร.ไกรยส กล่าวว่า สำหรับสถานการณ์เด็กเยาวชนนอกระบบ ในปี 2567 จากการเชื่อมโยงข้อมูลเด็กและเยาวชนที่อายุ 3-18 ปี ระหว่างระบบสารสนเทศของสำนักปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กับ สำนักทะเบียนราษฎร์ กระทรวงมหาดไทย พบว่า มีเด็กและเยาวชนในช่วงอายุ 3-18 ปี (เกิดระหว่างวันที่ 1 มกราคม 2550 – 31 ธันวาคม 2564 ) ที่ไม่มีชื่ออยู่ในระบบการศึกษา จำนวนทั้งสิ้น 982,304 คน ซึ่งลดลงจากปีการศึกษาก่อนหน้าที่มีอยู่จำนวน 1.02 ล้านคน โดยเป็นเรื่องที่น่ายินดีที่หน่วยงานต้นสังกัดทางการศึกษาต่าง ๆ สามารถพาเด็กเยาวชนมากกว่า 304,082 กลับเข้าสู่ระบบการศึกษาได้ในปีที่ผ่านมา อย่างไรก็ดี ยังมีเด็กเยาวชนที่ยังคงไม่มีชื่ออยู่ในระบบการศึกษาต่อเนื่องมาตั้งแต่ปี 2566 จำนวน 590,557 คน และมีเด็กเยาวชนนอกระบบการศึกษากลุ่มใหม่ จำนวน 391,747 คน ในจำนวนนี้อยู่ในช่วงวัยการศึกษาภาคบังคับ จำนวน 387,591 คน คิดเป็น 39.46% ของเด็กและเยาวชนที่ไม่มีชื่อในระบบการศึกษาทั้งหมด (ข้อมูล ณ เดือนธันวาคม 2567) จากปฏิบัติการค้นหา ช่วยเหลือเด็กเยาวชนที่หลุดจากระบบการศึกษาที่ประสบความสำเร็จ โดยไม่หลุดจากระบบซ้ำ พบว่า การสร้างพื้นที่ปลอดภัยต่อการเรียนรู้และเติบโตอย่างเต็มศักยภาพ เป็นทางออกสำคัญของเรื่องนี้ ทั้งในมิติการป้องกันและช่วยเหลือ การส่งเสริม สนับสนุนให้ท้องถิ่นทุกระดับเห็นความสำคัญ เป็นแกนนำและทำหน้าที่เชื่อมโยงทุกภาคส่วนร่วมเป็นกลไกขับเคลื่อนโดยมีเด็ก เยาวชนเป็นศูนย์กลาง มีข้อบัญญัติของท้องถิ่นที่แสดงเจตจำนงอย่างชัดเจน และจัดสรรงบประมาณและกำลังคนรับผิดชอบต่อเนื่อง ไร้รอยต่อทางการเมือง จะเป็นส่วนสำคัญที่ช่วยให้การป้องกันและแก้ปัญหาเด็กเยาวชนอกระบบเกิดขึ้นจริงได้ ทั้งนี้ กสศ. ยังได้เสนอนโยบาย 2 ประเด็นสำคัญได้แก่ 1.การสร้างระบบหลักประกันโอกาสการศึกษา ให้เด็กเยาวชนตลอด 20 ปี จากปฐมวัยถึงมีงานทำ ผ่านการบูรณาการข้อมูลรายบุคคลระหว่าง 11 หน่วยงาน ครอบคลุมเด็กเยาวชนกลุ่มเสี่ยงที่มาจากครัวเรือนซึ่งมีรายได้น้อยที่สุดของประเทศจำนวน 3 ล้านคน และเด็กเยาวชนนอกระบบการศึกษาจำนวน 9 แสนคน (3-22 ปี) เพื่อให้เกิดการเชื่อมโยง และส่งต่อข้อมูลระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ทุกกระทรวง บูรณาการชุดสิทธิประโยชน์ด้านสุขภาวะ สังคม ครอบครัว แรงงาน การศึกษา ฯลฯ ที่มีอยู่ในหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อให้เด็กเยาวชนทุกคนได้รับสวัสดิการ การดูแล พัฒนา และส่งต่ออย่างมีประสิทธิภาพ ทันเวลา นอกจากนี้ ควรเพิ่มศักยภาพของสวัสดิการแบบมุ่งเป้า (Targeting) เพื่อลดต้นทุนการเข้าถึงการศึกษาให้แก่เด็กเยาวชนที่มาจากครัวเรือนซึ่งมีรายได้น้อยที่สุดของประเทศ 2.ยกระดับบัตรประจำตัวประชาชนของเด็กเยาวชนทุกคนให้เป็น Learning Passport สำหรับการศึกษาและการเรียนรู้ทั้งในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย โดยรัฐสามารถจัดสรรเงินอุดหนุนจากรัฐบาลตรงไปยังเลข 13 หลักของเด็กเยาวชนโดยตรง โดยเฉพาะผู้อาศัยอยู่กับครัวเรือนยากจนและเปราะบาง เพื่อให้เด็กเยาวชนสามารถเลือกศึกษาต่อและเรียนรู้ผ่านการศึกษาทั้ง 3 ระบบ ผ่านหน่วยจัดการเรียนรู้ทั้งของภาครัฐ ท้องถิ่น และเอกชนได้อย่างยืดหยุ่น และหลากหลายตามความถนัดและศักยภาพของเด็กเยาวชนเป็นรายบุคคล รวมทั้งสามารถถ่ายโอนหน่วยกิตระหว่างการศึกษาทั้ง 3 ระบบเพื่อใช้ในการศึกษาต่อ และการสมัครงานได้ในอนาคตได้ รศ.ดร.วีระชาติ กิเลนทอง ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยเพื่อการประเมินและออกแบบนโยบาย (RIPED) และคณบดีคณะการศึกษาปฐมวัย มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย กล่าวถึงงานวิจัยที่ร่วมมือกับ กสศ. และ OECD ที่ประเมินสมรรถนะผู้เรียนตามมาตรฐานสากลเพื่อการพัฒนาสถานศึกษา หรือ PISA for Schools โดยสำรวจและประเมินสมรรถนะแบบ PISA ในสถานศึกษา 150 แห่ง จาก 16 จังหวัด มีข้อค้นพบที่สำคัญคือ นักเรียนที่มีระดับคะแนนผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ในระดับชั้น ป.6 ที่ดี จะมีแนวโน้มที่จะมีคะแนนสมรรถนะของ PISA สูงเช่นเดียวกัน ดังนั้น ความเหลื่อมล้ำในผลลัพธ์การเรียนรู้ที่พบจากผลการทดสอบ PISA ไม่ได้เพิ่งเกิดขึ้นในช่วงระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น แต่แท้จริงแล้ว เป็นเสมือนการขาดทุนที่สะสมมาตั้งแต่ระดับชั้นประถมศึกษาหรือระดับปฐมวัย ดังนั้นการส่งเสริมให้เยาวชนไทยมีคะแนน PISA ที่ดีขึ้นในอนาคต จึงควรเริ่มต้นจากมาตรการยกระดับคุณภาพการศึกษาที่เสมอภาคตั้งแต่การศึกษาระดับประถมศึกษา และอาศัยเครื่องมือประเมินผลอย่าง O-NET ในการลดความเหลื่อมล้ำด้านคุณภาพการศึกษาระหว่างสถานศึกษาในระยะยาว คุณจูสตีน ซาส หัวหน้าฝ่ายการศึกษาเพื่อความครอบคลุมและความเท่าเทียมทางเพศ สำนักงานใหญ่ยูเนสโก ณ กรุงปารีส เปิดเผยข้อมูล จากรายงานระดับโลก The Price of Inaction: The global private, fiscal and social costs of children not learning. หรือ ต้นทุนของการเพิกเฉย (The Price of Inaction) : ต้นทุนทางเศรษฐกิจ สังคม และภาครัฐจากการที่เด็กไม่ได้รับการศึกษา โดยระบุว่า หากไม่มีการดำเนินการใด ๆ ภายในปี ค.ศ. 2030 ต้นทุนทางสังคมของเด็กที่ออกจากโรงเรียนก่อนกำหนดและเด็กที่มีทักษะต่ำกว่าพื้นฐานจะอยู่ที่ 6 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ และ 10 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ ตามลำดับ ตัวเลขเหล่านี้คิดเป็นมูลค่ามหาศาล ตัวเลข 10 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ มีมูลค่ามากกว่าผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) รายปีของฝรั่งเศสและญี่ปุ่นรวมกัน “การลงทุนในการศึกษาที่มีคุณภาพเป็นกลยุทธ์ที่คุ้มค่าที่สุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจเพียงแค่ลดสัดส่วนของเด็กที่ออกจากโรงเรียนก่อนกำหนดรวมถึงลดสัดส่วนของเด็กที่มีทักษะต่ำกว่าพื้นฐานลงเพียง 10% เราจะสามารถเพิ่ม GDP แต่ละปีได้ถึง 1-2%” สามารถอ่านรายงานสถานการณ์ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาปี 2567 และทิศทางสำคัญในปี 2568 ได้ที่ https://www.eef.or.th/publication-050225/ EZ Webmaster Related Posts โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนประจวบวิทยาลัย โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสามร้อยยอดวิทยาคม โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศ โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนรัตนราษฎร์บำรุง โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี Post navigation PREVIOUS Previous post: ด่วน! สพฐ. ชี้แจ้ง การติด 0 ร. มส. ทำยังไงก็ได้แต่ต้องไม่สร้างภาระให้นักเรียนและผู้ปกครองNEXT Next post: รวมลักษณะ 8 Genแต่ละเจนอยู่ในช่วงกลุ่มอายุเท่าไหร่ มีแนวคิดและลักษณะนิสัยแตกต่างกันอย่างไรบ้าง Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 📚เริ่มเรียน กรกฎาคม 2568 ถึง มกราคม 2569 ทุกวันพฤหัสบดี 11:00 – 18:00 น.… มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ… สจล. เดินหน้ากระชับความร่วมมือทางวิชาการ กับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของจีน EZ WebmasterJune 19, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เดินหน้ากระชับความสัมพันธ์ทางวิชาการกับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งเป็นพันธมิตรที่มีความร่วมมือกันมานานกว่า 20 ปี เพื่อหารือขยายความร่วมมือเชิงลึกในสาขาวิศวกรรมขั้นสูง โดยเฉพาะด้าน Aerospace, Mechatronics, Automation และ Astronautics ซึ่ง HIT ถือเป็นสถาบันชั้นนำของจีนในด้านนี้ พร้อมทั้งหารือแนวทางความร่วมมือด้านการแลกเปลี่ยนนักศึกษา นักวิจัย และการพัฒนาโครงการ Joint Degree ในอนาคต รองศาสตราจารย์… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster February 6, 2025 EZ Webmaster February 6, 2025 กสศ. เสนอสร้างระบบหลักประกันโอกาสการศึกษา ใช้บัตรประชาชนใบเดียวเรียนได้ไร้รอยต่อ ตั้งแต่ปฐมวัยถึงมีงานทำ กสศ. เปิดรายงานความเหลื่อมล้ำการศึกษา 67- 68 พบเด็กนอกระบบการศึกษามีแนวโน้มลดลง แต่เด็กยากจนเรียนต่อมหาวิทยาลัยน้อยกว่าค่าเฉลี่ยประเทศถึง 2 เท่า เสนอสร้างระบบหลักประกันโอกาสการศึกษา ใช้บัตรประชาชนใบเดียวเรียนได้ไร้รอยต่อ ตั้งแต่ปฐมวัยถึงมีงานทำ ด้านยูเนสโก ระบุว่า หากลงทุนลดเด็กหลุดนอกระบบและเด็กทักษะต่ำกว่าพื้นฐานเพียง 10% เพิ่ม GDP แต่ละปีได้ถึง 1-2% เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2568 ณ ห้อง Mitrtown Hall 1 สามย่านมิตรทาวน์ กรุงเทพมหานคร กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) จัดงาน Equity Forum 2025 “ประเทศไทยกับการแก้ปัญหาเชิงระบบเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา” โดย กสศ. เปิดรายงานสถานการณ์ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาปี 2567 และทิศทางสำคัญในปี 2568 โดยมีฝ่ายนโยบาย นักการเมืองทั้งฝ่ายรัฐบาล ฝ่ายค้าน ผู้นำท้องถิ่น นักการศึกษา นักวิชาการ และนิสิตนักศึกษาเข้าร่วม ดร.ไกรยส ภัทราวาท ผู้จัดการกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) กล่าวว่า ปีการศึกษา 2567 ประเทศไทยมีประชากรนักเรียนในช่วงวัยเรียนระดับก่อนประถมศึกษาและการศึกษาภาคบังคับ (อายุ 3 – 14 ปี) จำนวนทั้งสิ้นประมาณ 8.5 ล้านคน ในจำนวนดังกล่าวมีนักเรียนกว่า 3 ล้านคนที่อยู่ในครัวเรือนภายใต้เส้นความยากจน (Poverty Line) ซึ่งเมื่อประมวลผลจากการคัดกรองโดยวิธีการวัดรายได้ทางอ้อม (Proxy Means Test) พบว่า ประเทศไทยมีนักเรียนยากจนพิเศษระดับอนุบาล – มัธยมศึกษาตอนต้นในครัวเรือนยากจนที่สุด 15% แรกของประเทศ จำนวน 1,348,735 คน โดยจังหวัดที่มีสัดส่วนนักเรียนยากจนพิเศษมากที่สุด อันดับหนึ่งคือจังหวัดแม่ฮ่องสอน อันดับสองคือจังหวัดนราธิวาส และที่เหลือพบว่าส่วนใหญ่มีการกระจุกตัวอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ขณะที่รายได้เฉลี่ยของครัวเรือนนักเรียนยากจนพิเศษ ปีการศึกษา 2567 เพิ่มขึ้นเล็กน้อยเป็น 1,133 บาท/คน/เดือน หรือเฉลี่ยวันละ 37 บาท เมื่อเทียบกับปีการศึกษา 2566 ที่มีรายได้เฉลี่ยอยู่ที่คนละ 1,039 บาท/คน/เดือน หรือเฉลี่ยวันละ 34 บาท และจากการลงพื้นที่เยี่ยมบ้านโดยครูมากกว่า 400,000 คนทั่วประเทศพบสถานการณ์ความเปราะบางของครัวเรือนยากจนพิเศษในหลายมิติ เช่น มีนักเรียนยากจนพิเศษมากกว่า 1 ใน 3 หรือ 38.77% ที่ไม่ได้อาศัยอยู่กับพ่อแม่ เนื่องจากพ่อแม่อพยพย้ายถิ่นไปทำงานในเมือง หรือครอบครัวแหว่งกลาง และยังพบว่าสมาชิกในครัวเรือนส่วนใหญ่เป็นผู้มีภาวะพึ่งพิง อาทิ มีผู้สูงอายุในครัวเรือน 44.43% มีคนว่างงานในครัวเรือน 27.3% มีคนพิการเจ็บป่วยเรื้อรังในครัวเรือน 12.41% ดร.ไกรยส กล่าวว่า เพื่อป้องกันการหลุดออกจากระบบการศึกษาของเด็กเยาวชนกลุ่มเสี่ยงจากครัวเรือนผู้มีรายได้น้อยมากกว่า 1.3 ล้านคนนี้ กสศ. จึงได้จัดสรรเงินอุดหนุนนักเรียนยากจนพิเศษแบบมีเงื่อนไข (Conditional Cash Transfer) หรือทุนเสมอภาค ให้แก่นักเรียนกลุ่มเป้าหมายจำนวน 1.3 ล้านคนอย่างต่อเนื่อง 3 ปีการศึกษา โดย กสศ. และ สถานศึกษาทั้ง 6 สังกัดได้ติดตามอัตราการมาเรียน และพัฒนาการของเด็กเป็นรายบุคคลอย่างใกล้ชิด ผลลัพธ์จากการดำเนินงานของโครงการตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา สะท้อนการป้องกันไม่ให้นักเรียนยากจนพิเศษหลุดออกจากระบบก่อนสำเร็จการศึกษาภาคบังคับ โดยพบว่าอัตราการคงอยู่ในระบบการศึกษาอยู่ที่ 97.88% แต่ยังมีช่องว่างสำคัญในเส้นทางการศึกษาของเด็กกลุ่มนี้ เช่น 1.ในปีการศึกษา 2567มีนักเรียนยากจนและนักเรียนยากจนพิเศษ จำนวนเพียง 22,345 คน จากนักเรียนทั้งหมด 165,585 คน หรือคิดเป็น 13.49% เท่านั้น ที่สามารถคงอยู่ในระบบการศึกษาจนสามารถเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาได้ ซึ่งต่ำกว่าค่าเฉลี่ยอัตราการเรียนต่อระดับอุดมศึกษาของประชากรไทยกว่า 2 เท่า 2.มีนักเรียนที่ครัวเรือนมีรายได้ต่ำกว่าเส้นความยากจน อีกประมาณ 1.1 ล้านคน ยังไม่ได้รับการสนับสนุนหรือช่วยเหลือ จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องตั้งแต่หน่วยงานระดับนโยบาย หน่วยจัดสรรงบประมาณ และหน่วยงานต้นสังกัดของสถานศึกษา ควรร่วมกันพัฒนามาตรการเพื่อให้ความช่วยเหลืออย่างเหมาะสม ป้องกันการหลุดออกจากระบบการศึกษาในช่วงวัยสำคัญ 3.นอกเหนือจากการให้ความช่วยเหลือในมิติทางเศรษฐกิจแล้ว หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรมีมาตรการส่งเสริมสภาพความเป็นอยู่และการดำรงชีวิตที่มีความท้าทายและสนับสนุนการดูแลช่วยเหลือในมิติอื่น ๆ เพื่อไม่ให้ปัจจัยต่าง ๆ เหล่านั้นเป็นอุปสรรคต่อการคงอยู่ในระบบการศึกษา เพราะจากการลงพื้นที่พบว่าสถานการณ์ความเปราะบางของครอบครัวและสังคมที่เด็กต้องเผชิญมีแนวโน้มที่ซับซ้อน และท้าทายต่ออนาคตทางการศึกษาของเด็กเยาวชนมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง ดร.ไกรยส กล่าวว่า สำหรับสถานการณ์เด็กเยาวชนนอกระบบ ในปี 2567 จากการเชื่อมโยงข้อมูลเด็กและเยาวชนที่อายุ 3-18 ปี ระหว่างระบบสารสนเทศของสำนักปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กับ สำนักทะเบียนราษฎร์ กระทรวงมหาดไทย พบว่า มีเด็กและเยาวชนในช่วงอายุ 3-18 ปี (เกิดระหว่างวันที่ 1 มกราคม 2550 – 31 ธันวาคม 2564 ) ที่ไม่มีชื่ออยู่ในระบบการศึกษา จำนวนทั้งสิ้น 982,304 คน ซึ่งลดลงจากปีการศึกษาก่อนหน้าที่มีอยู่จำนวน 1.02 ล้านคน โดยเป็นเรื่องที่น่ายินดีที่หน่วยงานต้นสังกัดทางการศึกษาต่าง ๆ สามารถพาเด็กเยาวชนมากกว่า 304,082 กลับเข้าสู่ระบบการศึกษาได้ในปีที่ผ่านมา อย่างไรก็ดี ยังมีเด็กเยาวชนที่ยังคงไม่มีชื่ออยู่ในระบบการศึกษาต่อเนื่องมาตั้งแต่ปี 2566 จำนวน 590,557 คน และมีเด็กเยาวชนนอกระบบการศึกษากลุ่มใหม่ จำนวน 391,747 คน ในจำนวนนี้อยู่ในช่วงวัยการศึกษาภาคบังคับ จำนวน 387,591 คน คิดเป็น 39.46% ของเด็กและเยาวชนที่ไม่มีชื่อในระบบการศึกษาทั้งหมด (ข้อมูล ณ เดือนธันวาคม 2567) จากปฏิบัติการค้นหา ช่วยเหลือเด็กเยาวชนที่หลุดจากระบบการศึกษาที่ประสบความสำเร็จ โดยไม่หลุดจากระบบซ้ำ พบว่า การสร้างพื้นที่ปลอดภัยต่อการเรียนรู้และเติบโตอย่างเต็มศักยภาพ เป็นทางออกสำคัญของเรื่องนี้ ทั้งในมิติการป้องกันและช่วยเหลือ การส่งเสริม สนับสนุนให้ท้องถิ่นทุกระดับเห็นความสำคัญ เป็นแกนนำและทำหน้าที่เชื่อมโยงทุกภาคส่วนร่วมเป็นกลไกขับเคลื่อนโดยมีเด็ก เยาวชนเป็นศูนย์กลาง มีข้อบัญญัติของท้องถิ่นที่แสดงเจตจำนงอย่างชัดเจน และจัดสรรงบประมาณและกำลังคนรับผิดชอบต่อเนื่อง ไร้รอยต่อทางการเมือง จะเป็นส่วนสำคัญที่ช่วยให้การป้องกันและแก้ปัญหาเด็กเยาวชนอกระบบเกิดขึ้นจริงได้ ทั้งนี้ กสศ. ยังได้เสนอนโยบาย 2 ประเด็นสำคัญได้แก่ 1.การสร้างระบบหลักประกันโอกาสการศึกษา ให้เด็กเยาวชนตลอด 20 ปี จากปฐมวัยถึงมีงานทำ ผ่านการบูรณาการข้อมูลรายบุคคลระหว่าง 11 หน่วยงาน ครอบคลุมเด็กเยาวชนกลุ่มเสี่ยงที่มาจากครัวเรือนซึ่งมีรายได้น้อยที่สุดของประเทศจำนวน 3 ล้านคน และเด็กเยาวชนนอกระบบการศึกษาจำนวน 9 แสนคน (3-22 ปี) เพื่อให้เกิดการเชื่อมโยง และส่งต่อข้อมูลระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ทุกกระทรวง บูรณาการชุดสิทธิประโยชน์ด้านสุขภาวะ สังคม ครอบครัว แรงงาน การศึกษา ฯลฯ ที่มีอยู่ในหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อให้เด็กเยาวชนทุกคนได้รับสวัสดิการ การดูแล พัฒนา และส่งต่ออย่างมีประสิทธิภาพ ทันเวลา นอกจากนี้ ควรเพิ่มศักยภาพของสวัสดิการแบบมุ่งเป้า (Targeting) เพื่อลดต้นทุนการเข้าถึงการศึกษาให้แก่เด็กเยาวชนที่มาจากครัวเรือนซึ่งมีรายได้น้อยที่สุดของประเทศ 2.ยกระดับบัตรประจำตัวประชาชนของเด็กเยาวชนทุกคนให้เป็น Learning Passport สำหรับการศึกษาและการเรียนรู้ทั้งในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย โดยรัฐสามารถจัดสรรเงินอุดหนุนจากรัฐบาลตรงไปยังเลข 13 หลักของเด็กเยาวชนโดยตรง โดยเฉพาะผู้อาศัยอยู่กับครัวเรือนยากจนและเปราะบาง เพื่อให้เด็กเยาวชนสามารถเลือกศึกษาต่อและเรียนรู้ผ่านการศึกษาทั้ง 3 ระบบ ผ่านหน่วยจัดการเรียนรู้ทั้งของภาครัฐ ท้องถิ่น และเอกชนได้อย่างยืดหยุ่น และหลากหลายตามความถนัดและศักยภาพของเด็กเยาวชนเป็นรายบุคคล รวมทั้งสามารถถ่ายโอนหน่วยกิตระหว่างการศึกษาทั้ง 3 ระบบเพื่อใช้ในการศึกษาต่อ และการสมัครงานได้ในอนาคตได้ รศ.ดร.วีระชาติ กิเลนทอง ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยเพื่อการประเมินและออกแบบนโยบาย (RIPED) และคณบดีคณะการศึกษาปฐมวัย มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย กล่าวถึงงานวิจัยที่ร่วมมือกับ กสศ. และ OECD ที่ประเมินสมรรถนะผู้เรียนตามมาตรฐานสากลเพื่อการพัฒนาสถานศึกษา หรือ PISA for Schools โดยสำรวจและประเมินสมรรถนะแบบ PISA ในสถานศึกษา 150 แห่ง จาก 16 จังหวัด มีข้อค้นพบที่สำคัญคือ นักเรียนที่มีระดับคะแนนผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ในระดับชั้น ป.6 ที่ดี จะมีแนวโน้มที่จะมีคะแนนสมรรถนะของ PISA สูงเช่นเดียวกัน ดังนั้น ความเหลื่อมล้ำในผลลัพธ์การเรียนรู้ที่พบจากผลการทดสอบ PISA ไม่ได้เพิ่งเกิดขึ้นในช่วงระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น แต่แท้จริงแล้ว เป็นเสมือนการขาดทุนที่สะสมมาตั้งแต่ระดับชั้นประถมศึกษาหรือระดับปฐมวัย ดังนั้นการส่งเสริมให้เยาวชนไทยมีคะแนน PISA ที่ดีขึ้นในอนาคต จึงควรเริ่มต้นจากมาตรการยกระดับคุณภาพการศึกษาที่เสมอภาคตั้งแต่การศึกษาระดับประถมศึกษา และอาศัยเครื่องมือประเมินผลอย่าง O-NET ในการลดความเหลื่อมล้ำด้านคุณภาพการศึกษาระหว่างสถานศึกษาในระยะยาว คุณจูสตีน ซาส หัวหน้าฝ่ายการศึกษาเพื่อความครอบคลุมและความเท่าเทียมทางเพศ สำนักงานใหญ่ยูเนสโก ณ กรุงปารีส เปิดเผยข้อมูล จากรายงานระดับโลก The Price of Inaction: The global private, fiscal and social costs of children not learning. หรือ ต้นทุนของการเพิกเฉย (The Price of Inaction) : ต้นทุนทางเศรษฐกิจ สังคม และภาครัฐจากการที่เด็กไม่ได้รับการศึกษา โดยระบุว่า หากไม่มีการดำเนินการใด ๆ ภายในปี ค.ศ. 2030 ต้นทุนทางสังคมของเด็กที่ออกจากโรงเรียนก่อนกำหนดและเด็กที่มีทักษะต่ำกว่าพื้นฐานจะอยู่ที่ 6 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ และ 10 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ ตามลำดับ ตัวเลขเหล่านี้คิดเป็นมูลค่ามหาศาล ตัวเลข 10 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ มีมูลค่ามากกว่าผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) รายปีของฝรั่งเศสและญี่ปุ่นรวมกัน “การลงทุนในการศึกษาที่มีคุณภาพเป็นกลยุทธ์ที่คุ้มค่าที่สุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจเพียงแค่ลดสัดส่วนของเด็กที่ออกจากโรงเรียนก่อนกำหนดรวมถึงลดสัดส่วนของเด็กที่มีทักษะต่ำกว่าพื้นฐานลงเพียง 10% เราจะสามารถเพิ่ม GDP แต่ละปีได้ถึง 1-2%” สามารถอ่านรายงานสถานการณ์ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาปี 2567 และทิศทางสำคัญในปี 2568 ได้ที่ https://www.eef.or.th/publication-050225/ EZ Webmaster Related Posts โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนประจวบวิทยาลัย โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสามร้อยยอดวิทยาคม โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศ โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนรัตนราษฎร์บำรุง โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี Post navigation PREVIOUS Previous post: ด่วน! สพฐ. ชี้แจ้ง การติด 0 ร. มส. ทำยังไงก็ได้แต่ต้องไม่สร้างภาระให้นักเรียนและผู้ปกครองNEXT Next post: รวมลักษณะ 8 Genแต่ละเจนอยู่ในช่วงกลุ่มอายุเท่าไหร่ มีแนวคิดและลักษณะนิสัยแตกต่างกันอย่างไรบ้าง Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ… สจล. เดินหน้ากระชับความร่วมมือทางวิชาการ กับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของจีน EZ WebmasterJune 19, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เดินหน้ากระชับความสัมพันธ์ทางวิชาการกับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งเป็นพันธมิตรที่มีความร่วมมือกันมานานกว่า 20 ปี เพื่อหารือขยายความร่วมมือเชิงลึกในสาขาวิศวกรรมขั้นสูง โดยเฉพาะด้าน Aerospace, Mechatronics, Automation และ Astronautics ซึ่ง HIT ถือเป็นสถาบันชั้นนำของจีนในด้านนี้ พร้อมทั้งหารือแนวทางความร่วมมือด้านการแลกเปลี่ยนนักศึกษา นักวิจัย และการพัฒนาโครงการ Joint Degree ในอนาคต รองศาสตราจารย์…
สจล. เดินหน้ากระชับความร่วมมือทางวิชาการ กับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของจีน EZ WebmasterJune 19, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เดินหน้ากระชับความสัมพันธ์ทางวิชาการกับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งเป็นพันธมิตรที่มีความร่วมมือกันมานานกว่า 20 ปี เพื่อหารือขยายความร่วมมือเชิงลึกในสาขาวิศวกรรมขั้นสูง โดยเฉพาะด้าน Aerospace, Mechatronics, Automation และ Astronautics ซึ่ง HIT ถือเป็นสถาบันชั้นนำของจีนในด้านนี้ พร้อมทั้งหารือแนวทางความร่วมมือด้านการแลกเปลี่ยนนักศึกษา นักวิจัย และการพัฒนาโครงการ Joint Degree ในอนาคต รองศาสตราจารย์…
กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster February 6, 2025 EZ Webmaster February 6, 2025 กสศ. เสนอสร้างระบบหลักประกันโอกาสการศึกษา ใช้บัตรประชาชนใบเดียวเรียนได้ไร้รอยต่อ ตั้งแต่ปฐมวัยถึงมีงานทำ กสศ. เปิดรายงานความเหลื่อมล้ำการศึกษา 67- 68 พบเด็กนอกระบบการศึกษามีแนวโน้มลดลง แต่เด็กยากจนเรียนต่อมหาวิทยาลัยน้อยกว่าค่าเฉลี่ยประเทศถึง 2 เท่า เสนอสร้างระบบหลักประกันโอกาสการศึกษา ใช้บัตรประชาชนใบเดียวเรียนได้ไร้รอยต่อ ตั้งแต่ปฐมวัยถึงมีงานทำ ด้านยูเนสโก ระบุว่า หากลงทุนลดเด็กหลุดนอกระบบและเด็กทักษะต่ำกว่าพื้นฐานเพียง 10% เพิ่ม GDP แต่ละปีได้ถึง 1-2% เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2568 ณ ห้อง Mitrtown Hall 1 สามย่านมิตรทาวน์ กรุงเทพมหานคร กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) จัดงาน Equity Forum 2025 “ประเทศไทยกับการแก้ปัญหาเชิงระบบเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา” โดย กสศ. เปิดรายงานสถานการณ์ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาปี 2567 และทิศทางสำคัญในปี 2568 โดยมีฝ่ายนโยบาย นักการเมืองทั้งฝ่ายรัฐบาล ฝ่ายค้าน ผู้นำท้องถิ่น นักการศึกษา นักวิชาการ และนิสิตนักศึกษาเข้าร่วม ดร.ไกรยส ภัทราวาท ผู้จัดการกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) กล่าวว่า ปีการศึกษา 2567 ประเทศไทยมีประชากรนักเรียนในช่วงวัยเรียนระดับก่อนประถมศึกษาและการศึกษาภาคบังคับ (อายุ 3 – 14 ปี) จำนวนทั้งสิ้นประมาณ 8.5 ล้านคน ในจำนวนดังกล่าวมีนักเรียนกว่า 3 ล้านคนที่อยู่ในครัวเรือนภายใต้เส้นความยากจน (Poverty Line) ซึ่งเมื่อประมวลผลจากการคัดกรองโดยวิธีการวัดรายได้ทางอ้อม (Proxy Means Test) พบว่า ประเทศไทยมีนักเรียนยากจนพิเศษระดับอนุบาล – มัธยมศึกษาตอนต้นในครัวเรือนยากจนที่สุด 15% แรกของประเทศ จำนวน 1,348,735 คน โดยจังหวัดที่มีสัดส่วนนักเรียนยากจนพิเศษมากที่สุด อันดับหนึ่งคือจังหวัดแม่ฮ่องสอน อันดับสองคือจังหวัดนราธิวาส และที่เหลือพบว่าส่วนใหญ่มีการกระจุกตัวอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ขณะที่รายได้เฉลี่ยของครัวเรือนนักเรียนยากจนพิเศษ ปีการศึกษา 2567 เพิ่มขึ้นเล็กน้อยเป็น 1,133 บาท/คน/เดือน หรือเฉลี่ยวันละ 37 บาท เมื่อเทียบกับปีการศึกษา 2566 ที่มีรายได้เฉลี่ยอยู่ที่คนละ 1,039 บาท/คน/เดือน หรือเฉลี่ยวันละ 34 บาท และจากการลงพื้นที่เยี่ยมบ้านโดยครูมากกว่า 400,000 คนทั่วประเทศพบสถานการณ์ความเปราะบางของครัวเรือนยากจนพิเศษในหลายมิติ เช่น มีนักเรียนยากจนพิเศษมากกว่า 1 ใน 3 หรือ 38.77% ที่ไม่ได้อาศัยอยู่กับพ่อแม่ เนื่องจากพ่อแม่อพยพย้ายถิ่นไปทำงานในเมือง หรือครอบครัวแหว่งกลาง และยังพบว่าสมาชิกในครัวเรือนส่วนใหญ่เป็นผู้มีภาวะพึ่งพิง อาทิ มีผู้สูงอายุในครัวเรือน 44.43% มีคนว่างงานในครัวเรือน 27.3% มีคนพิการเจ็บป่วยเรื้อรังในครัวเรือน 12.41% ดร.ไกรยส กล่าวว่า เพื่อป้องกันการหลุดออกจากระบบการศึกษาของเด็กเยาวชนกลุ่มเสี่ยงจากครัวเรือนผู้มีรายได้น้อยมากกว่า 1.3 ล้านคนนี้ กสศ. จึงได้จัดสรรเงินอุดหนุนนักเรียนยากจนพิเศษแบบมีเงื่อนไข (Conditional Cash Transfer) หรือทุนเสมอภาค ให้แก่นักเรียนกลุ่มเป้าหมายจำนวน 1.3 ล้านคนอย่างต่อเนื่อง 3 ปีการศึกษา โดย กสศ. และ สถานศึกษาทั้ง 6 สังกัดได้ติดตามอัตราการมาเรียน และพัฒนาการของเด็กเป็นรายบุคคลอย่างใกล้ชิด ผลลัพธ์จากการดำเนินงานของโครงการตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา สะท้อนการป้องกันไม่ให้นักเรียนยากจนพิเศษหลุดออกจากระบบก่อนสำเร็จการศึกษาภาคบังคับ โดยพบว่าอัตราการคงอยู่ในระบบการศึกษาอยู่ที่ 97.88% แต่ยังมีช่องว่างสำคัญในเส้นทางการศึกษาของเด็กกลุ่มนี้ เช่น 1.ในปีการศึกษา 2567มีนักเรียนยากจนและนักเรียนยากจนพิเศษ จำนวนเพียง 22,345 คน จากนักเรียนทั้งหมด 165,585 คน หรือคิดเป็น 13.49% เท่านั้น ที่สามารถคงอยู่ในระบบการศึกษาจนสามารถเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาได้ ซึ่งต่ำกว่าค่าเฉลี่ยอัตราการเรียนต่อระดับอุดมศึกษาของประชากรไทยกว่า 2 เท่า 2.มีนักเรียนที่ครัวเรือนมีรายได้ต่ำกว่าเส้นความยากจน อีกประมาณ 1.1 ล้านคน ยังไม่ได้รับการสนับสนุนหรือช่วยเหลือ จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องตั้งแต่หน่วยงานระดับนโยบาย หน่วยจัดสรรงบประมาณ และหน่วยงานต้นสังกัดของสถานศึกษา ควรร่วมกันพัฒนามาตรการเพื่อให้ความช่วยเหลืออย่างเหมาะสม ป้องกันการหลุดออกจากระบบการศึกษาในช่วงวัยสำคัญ 3.นอกเหนือจากการให้ความช่วยเหลือในมิติทางเศรษฐกิจแล้ว หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรมีมาตรการส่งเสริมสภาพความเป็นอยู่และการดำรงชีวิตที่มีความท้าทายและสนับสนุนการดูแลช่วยเหลือในมิติอื่น ๆ เพื่อไม่ให้ปัจจัยต่าง ๆ เหล่านั้นเป็นอุปสรรคต่อการคงอยู่ในระบบการศึกษา เพราะจากการลงพื้นที่พบว่าสถานการณ์ความเปราะบางของครอบครัวและสังคมที่เด็กต้องเผชิญมีแนวโน้มที่ซับซ้อน และท้าทายต่ออนาคตทางการศึกษาของเด็กเยาวชนมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง ดร.ไกรยส กล่าวว่า สำหรับสถานการณ์เด็กเยาวชนนอกระบบ ในปี 2567 จากการเชื่อมโยงข้อมูลเด็กและเยาวชนที่อายุ 3-18 ปี ระหว่างระบบสารสนเทศของสำนักปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กับ สำนักทะเบียนราษฎร์ กระทรวงมหาดไทย พบว่า มีเด็กและเยาวชนในช่วงอายุ 3-18 ปี (เกิดระหว่างวันที่ 1 มกราคม 2550 – 31 ธันวาคม 2564 ) ที่ไม่มีชื่ออยู่ในระบบการศึกษา จำนวนทั้งสิ้น 982,304 คน ซึ่งลดลงจากปีการศึกษาก่อนหน้าที่มีอยู่จำนวน 1.02 ล้านคน โดยเป็นเรื่องที่น่ายินดีที่หน่วยงานต้นสังกัดทางการศึกษาต่าง ๆ สามารถพาเด็กเยาวชนมากกว่า 304,082 กลับเข้าสู่ระบบการศึกษาได้ในปีที่ผ่านมา อย่างไรก็ดี ยังมีเด็กเยาวชนที่ยังคงไม่มีชื่ออยู่ในระบบการศึกษาต่อเนื่องมาตั้งแต่ปี 2566 จำนวน 590,557 คน และมีเด็กเยาวชนนอกระบบการศึกษากลุ่มใหม่ จำนวน 391,747 คน ในจำนวนนี้อยู่ในช่วงวัยการศึกษาภาคบังคับ จำนวน 387,591 คน คิดเป็น 39.46% ของเด็กและเยาวชนที่ไม่มีชื่อในระบบการศึกษาทั้งหมด (ข้อมูล ณ เดือนธันวาคม 2567) จากปฏิบัติการค้นหา ช่วยเหลือเด็กเยาวชนที่หลุดจากระบบการศึกษาที่ประสบความสำเร็จ โดยไม่หลุดจากระบบซ้ำ พบว่า การสร้างพื้นที่ปลอดภัยต่อการเรียนรู้และเติบโตอย่างเต็มศักยภาพ เป็นทางออกสำคัญของเรื่องนี้ ทั้งในมิติการป้องกันและช่วยเหลือ การส่งเสริม สนับสนุนให้ท้องถิ่นทุกระดับเห็นความสำคัญ เป็นแกนนำและทำหน้าที่เชื่อมโยงทุกภาคส่วนร่วมเป็นกลไกขับเคลื่อนโดยมีเด็ก เยาวชนเป็นศูนย์กลาง มีข้อบัญญัติของท้องถิ่นที่แสดงเจตจำนงอย่างชัดเจน และจัดสรรงบประมาณและกำลังคนรับผิดชอบต่อเนื่อง ไร้รอยต่อทางการเมือง จะเป็นส่วนสำคัญที่ช่วยให้การป้องกันและแก้ปัญหาเด็กเยาวชนอกระบบเกิดขึ้นจริงได้ ทั้งนี้ กสศ. ยังได้เสนอนโยบาย 2 ประเด็นสำคัญได้แก่ 1.การสร้างระบบหลักประกันโอกาสการศึกษา ให้เด็กเยาวชนตลอด 20 ปี จากปฐมวัยถึงมีงานทำ ผ่านการบูรณาการข้อมูลรายบุคคลระหว่าง 11 หน่วยงาน ครอบคลุมเด็กเยาวชนกลุ่มเสี่ยงที่มาจากครัวเรือนซึ่งมีรายได้น้อยที่สุดของประเทศจำนวน 3 ล้านคน และเด็กเยาวชนนอกระบบการศึกษาจำนวน 9 แสนคน (3-22 ปี) เพื่อให้เกิดการเชื่อมโยง และส่งต่อข้อมูลระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ทุกกระทรวง บูรณาการชุดสิทธิประโยชน์ด้านสุขภาวะ สังคม ครอบครัว แรงงาน การศึกษา ฯลฯ ที่มีอยู่ในหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อให้เด็กเยาวชนทุกคนได้รับสวัสดิการ การดูแล พัฒนา และส่งต่ออย่างมีประสิทธิภาพ ทันเวลา นอกจากนี้ ควรเพิ่มศักยภาพของสวัสดิการแบบมุ่งเป้า (Targeting) เพื่อลดต้นทุนการเข้าถึงการศึกษาให้แก่เด็กเยาวชนที่มาจากครัวเรือนซึ่งมีรายได้น้อยที่สุดของประเทศ 2.ยกระดับบัตรประจำตัวประชาชนของเด็กเยาวชนทุกคนให้เป็น Learning Passport สำหรับการศึกษาและการเรียนรู้ทั้งในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย โดยรัฐสามารถจัดสรรเงินอุดหนุนจากรัฐบาลตรงไปยังเลข 13 หลักของเด็กเยาวชนโดยตรง โดยเฉพาะผู้อาศัยอยู่กับครัวเรือนยากจนและเปราะบาง เพื่อให้เด็กเยาวชนสามารถเลือกศึกษาต่อและเรียนรู้ผ่านการศึกษาทั้ง 3 ระบบ ผ่านหน่วยจัดการเรียนรู้ทั้งของภาครัฐ ท้องถิ่น และเอกชนได้อย่างยืดหยุ่น และหลากหลายตามความถนัดและศักยภาพของเด็กเยาวชนเป็นรายบุคคล รวมทั้งสามารถถ่ายโอนหน่วยกิตระหว่างการศึกษาทั้ง 3 ระบบเพื่อใช้ในการศึกษาต่อ และการสมัครงานได้ในอนาคตได้ รศ.ดร.วีระชาติ กิเลนทอง ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยเพื่อการประเมินและออกแบบนโยบาย (RIPED) และคณบดีคณะการศึกษาปฐมวัย มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย กล่าวถึงงานวิจัยที่ร่วมมือกับ กสศ. และ OECD ที่ประเมินสมรรถนะผู้เรียนตามมาตรฐานสากลเพื่อการพัฒนาสถานศึกษา หรือ PISA for Schools โดยสำรวจและประเมินสมรรถนะแบบ PISA ในสถานศึกษา 150 แห่ง จาก 16 จังหวัด มีข้อค้นพบที่สำคัญคือ นักเรียนที่มีระดับคะแนนผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ในระดับชั้น ป.6 ที่ดี จะมีแนวโน้มที่จะมีคะแนนสมรรถนะของ PISA สูงเช่นเดียวกัน ดังนั้น ความเหลื่อมล้ำในผลลัพธ์การเรียนรู้ที่พบจากผลการทดสอบ PISA ไม่ได้เพิ่งเกิดขึ้นในช่วงระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น แต่แท้จริงแล้ว เป็นเสมือนการขาดทุนที่สะสมมาตั้งแต่ระดับชั้นประถมศึกษาหรือระดับปฐมวัย ดังนั้นการส่งเสริมให้เยาวชนไทยมีคะแนน PISA ที่ดีขึ้นในอนาคต จึงควรเริ่มต้นจากมาตรการยกระดับคุณภาพการศึกษาที่เสมอภาคตั้งแต่การศึกษาระดับประถมศึกษา และอาศัยเครื่องมือประเมินผลอย่าง O-NET ในการลดความเหลื่อมล้ำด้านคุณภาพการศึกษาระหว่างสถานศึกษาในระยะยาว คุณจูสตีน ซาส หัวหน้าฝ่ายการศึกษาเพื่อความครอบคลุมและความเท่าเทียมทางเพศ สำนักงานใหญ่ยูเนสโก ณ กรุงปารีส เปิดเผยข้อมูล จากรายงานระดับโลก The Price of Inaction: The global private, fiscal and social costs of children not learning. หรือ ต้นทุนของการเพิกเฉย (The Price of Inaction) : ต้นทุนทางเศรษฐกิจ สังคม และภาครัฐจากการที่เด็กไม่ได้รับการศึกษา โดยระบุว่า หากไม่มีการดำเนินการใด ๆ ภายในปี ค.ศ. 2030 ต้นทุนทางสังคมของเด็กที่ออกจากโรงเรียนก่อนกำหนดและเด็กที่มีทักษะต่ำกว่าพื้นฐานจะอยู่ที่ 6 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ และ 10 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ ตามลำดับ ตัวเลขเหล่านี้คิดเป็นมูลค่ามหาศาล ตัวเลข 10 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ มีมูลค่ามากกว่าผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) รายปีของฝรั่งเศสและญี่ปุ่นรวมกัน “การลงทุนในการศึกษาที่มีคุณภาพเป็นกลยุทธ์ที่คุ้มค่าที่สุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจเพียงแค่ลดสัดส่วนของเด็กที่ออกจากโรงเรียนก่อนกำหนดรวมถึงลดสัดส่วนของเด็กที่มีทักษะต่ำกว่าพื้นฐานลงเพียง 10% เราจะสามารถเพิ่ม GDP แต่ละปีได้ถึง 1-2%” สามารถอ่านรายงานสถานการณ์ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาปี 2567 และทิศทางสำคัญในปี 2568 ได้ที่ https://www.eef.or.th/publication-050225/ EZ Webmaster Related Posts โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนประจวบวิทยาลัย โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสามร้อยยอดวิทยาคม โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศ โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนรัตนราษฎร์บำรุง โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี Post navigation PREVIOUS Previous post: ด่วน! สพฐ. ชี้แจ้ง การติด 0 ร. มส. ทำยังไงก็ได้แต่ต้องไม่สร้างภาระให้นักเรียนและผู้ปกครองNEXT Next post: รวมลักษณะ 8 Genแต่ละเจนอยู่ในช่วงกลุ่มอายุเท่าไหร่ มีแนวคิดและลักษณะนิสัยแตกต่างกันอย่างไรบ้าง Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
“40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search
ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ…
ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ…
EZ Webmaster February 6, 2025 EZ Webmaster February 6, 2025 กสศ. เสนอสร้างระบบหลักประกันโอกาสการศึกษา ใช้บัตรประชาชนใบเดียวเรียนได้ไร้รอยต่อ ตั้งแต่ปฐมวัยถึงมีงานทำ กสศ. เปิดรายงานความเหลื่อมล้ำการศึกษา 67- 68 พบเด็กนอกระบบการศึกษามีแนวโน้มลดลง แต่เด็กยากจนเรียนต่อมหาวิทยาลัยน้อยกว่าค่าเฉลี่ยประเทศถึง 2 เท่า เสนอสร้างระบบหลักประกันโอกาสการศึกษา ใช้บัตรประชาชนใบเดียวเรียนได้ไร้รอยต่อ ตั้งแต่ปฐมวัยถึงมีงานทำ ด้านยูเนสโก ระบุว่า หากลงทุนลดเด็กหลุดนอกระบบและเด็กทักษะต่ำกว่าพื้นฐานเพียง 10% เพิ่ม GDP แต่ละปีได้ถึง 1-2% เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2568 ณ ห้อง Mitrtown Hall 1 สามย่านมิตรทาวน์ กรุงเทพมหานคร กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) จัดงาน Equity Forum 2025 “ประเทศไทยกับการแก้ปัญหาเชิงระบบเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา” โดย กสศ. เปิดรายงานสถานการณ์ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาปี 2567 และทิศทางสำคัญในปี 2568 โดยมีฝ่ายนโยบาย นักการเมืองทั้งฝ่ายรัฐบาล ฝ่ายค้าน ผู้นำท้องถิ่น นักการศึกษา นักวิชาการ และนิสิตนักศึกษาเข้าร่วม ดร.ไกรยส ภัทราวาท ผู้จัดการกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) กล่าวว่า ปีการศึกษา 2567 ประเทศไทยมีประชากรนักเรียนในช่วงวัยเรียนระดับก่อนประถมศึกษาและการศึกษาภาคบังคับ (อายุ 3 – 14 ปี) จำนวนทั้งสิ้นประมาณ 8.5 ล้านคน ในจำนวนดังกล่าวมีนักเรียนกว่า 3 ล้านคนที่อยู่ในครัวเรือนภายใต้เส้นความยากจน (Poverty Line) ซึ่งเมื่อประมวลผลจากการคัดกรองโดยวิธีการวัดรายได้ทางอ้อม (Proxy Means Test) พบว่า ประเทศไทยมีนักเรียนยากจนพิเศษระดับอนุบาล – มัธยมศึกษาตอนต้นในครัวเรือนยากจนที่สุด 15% แรกของประเทศ จำนวน 1,348,735 คน โดยจังหวัดที่มีสัดส่วนนักเรียนยากจนพิเศษมากที่สุด อันดับหนึ่งคือจังหวัดแม่ฮ่องสอน อันดับสองคือจังหวัดนราธิวาส และที่เหลือพบว่าส่วนใหญ่มีการกระจุกตัวอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ขณะที่รายได้เฉลี่ยของครัวเรือนนักเรียนยากจนพิเศษ ปีการศึกษา 2567 เพิ่มขึ้นเล็กน้อยเป็น 1,133 บาท/คน/เดือน หรือเฉลี่ยวันละ 37 บาท เมื่อเทียบกับปีการศึกษา 2566 ที่มีรายได้เฉลี่ยอยู่ที่คนละ 1,039 บาท/คน/เดือน หรือเฉลี่ยวันละ 34 บาท และจากการลงพื้นที่เยี่ยมบ้านโดยครูมากกว่า 400,000 คนทั่วประเทศพบสถานการณ์ความเปราะบางของครัวเรือนยากจนพิเศษในหลายมิติ เช่น มีนักเรียนยากจนพิเศษมากกว่า 1 ใน 3 หรือ 38.77% ที่ไม่ได้อาศัยอยู่กับพ่อแม่ เนื่องจากพ่อแม่อพยพย้ายถิ่นไปทำงานในเมือง หรือครอบครัวแหว่งกลาง และยังพบว่าสมาชิกในครัวเรือนส่วนใหญ่เป็นผู้มีภาวะพึ่งพิง อาทิ มีผู้สูงอายุในครัวเรือน 44.43% มีคนว่างงานในครัวเรือน 27.3% มีคนพิการเจ็บป่วยเรื้อรังในครัวเรือน 12.41% ดร.ไกรยส กล่าวว่า เพื่อป้องกันการหลุดออกจากระบบการศึกษาของเด็กเยาวชนกลุ่มเสี่ยงจากครัวเรือนผู้มีรายได้น้อยมากกว่า 1.3 ล้านคนนี้ กสศ. จึงได้จัดสรรเงินอุดหนุนนักเรียนยากจนพิเศษแบบมีเงื่อนไข (Conditional Cash Transfer) หรือทุนเสมอภาค ให้แก่นักเรียนกลุ่มเป้าหมายจำนวน 1.3 ล้านคนอย่างต่อเนื่อง 3 ปีการศึกษา โดย กสศ. และ สถานศึกษาทั้ง 6 สังกัดได้ติดตามอัตราการมาเรียน และพัฒนาการของเด็กเป็นรายบุคคลอย่างใกล้ชิด ผลลัพธ์จากการดำเนินงานของโครงการตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา สะท้อนการป้องกันไม่ให้นักเรียนยากจนพิเศษหลุดออกจากระบบก่อนสำเร็จการศึกษาภาคบังคับ โดยพบว่าอัตราการคงอยู่ในระบบการศึกษาอยู่ที่ 97.88% แต่ยังมีช่องว่างสำคัญในเส้นทางการศึกษาของเด็กกลุ่มนี้ เช่น 1.ในปีการศึกษา 2567มีนักเรียนยากจนและนักเรียนยากจนพิเศษ จำนวนเพียง 22,345 คน จากนักเรียนทั้งหมด 165,585 คน หรือคิดเป็น 13.49% เท่านั้น ที่สามารถคงอยู่ในระบบการศึกษาจนสามารถเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาได้ ซึ่งต่ำกว่าค่าเฉลี่ยอัตราการเรียนต่อระดับอุดมศึกษาของประชากรไทยกว่า 2 เท่า 2.มีนักเรียนที่ครัวเรือนมีรายได้ต่ำกว่าเส้นความยากจน อีกประมาณ 1.1 ล้านคน ยังไม่ได้รับการสนับสนุนหรือช่วยเหลือ จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องตั้งแต่หน่วยงานระดับนโยบาย หน่วยจัดสรรงบประมาณ และหน่วยงานต้นสังกัดของสถานศึกษา ควรร่วมกันพัฒนามาตรการเพื่อให้ความช่วยเหลืออย่างเหมาะสม ป้องกันการหลุดออกจากระบบการศึกษาในช่วงวัยสำคัญ 3.นอกเหนือจากการให้ความช่วยเหลือในมิติทางเศรษฐกิจแล้ว หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรมีมาตรการส่งเสริมสภาพความเป็นอยู่และการดำรงชีวิตที่มีความท้าทายและสนับสนุนการดูแลช่วยเหลือในมิติอื่น ๆ เพื่อไม่ให้ปัจจัยต่าง ๆ เหล่านั้นเป็นอุปสรรคต่อการคงอยู่ในระบบการศึกษา เพราะจากการลงพื้นที่พบว่าสถานการณ์ความเปราะบางของครอบครัวและสังคมที่เด็กต้องเผชิญมีแนวโน้มที่ซับซ้อน และท้าทายต่ออนาคตทางการศึกษาของเด็กเยาวชนมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง ดร.ไกรยส กล่าวว่า สำหรับสถานการณ์เด็กเยาวชนนอกระบบ ในปี 2567 จากการเชื่อมโยงข้อมูลเด็กและเยาวชนที่อายุ 3-18 ปี ระหว่างระบบสารสนเทศของสำนักปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กับ สำนักทะเบียนราษฎร์ กระทรวงมหาดไทย พบว่า มีเด็กและเยาวชนในช่วงอายุ 3-18 ปี (เกิดระหว่างวันที่ 1 มกราคม 2550 – 31 ธันวาคม 2564 ) ที่ไม่มีชื่ออยู่ในระบบการศึกษา จำนวนทั้งสิ้น 982,304 คน ซึ่งลดลงจากปีการศึกษาก่อนหน้าที่มีอยู่จำนวน 1.02 ล้านคน โดยเป็นเรื่องที่น่ายินดีที่หน่วยงานต้นสังกัดทางการศึกษาต่าง ๆ สามารถพาเด็กเยาวชนมากกว่า 304,082 กลับเข้าสู่ระบบการศึกษาได้ในปีที่ผ่านมา อย่างไรก็ดี ยังมีเด็กเยาวชนที่ยังคงไม่มีชื่ออยู่ในระบบการศึกษาต่อเนื่องมาตั้งแต่ปี 2566 จำนวน 590,557 คน และมีเด็กเยาวชนนอกระบบการศึกษากลุ่มใหม่ จำนวน 391,747 คน ในจำนวนนี้อยู่ในช่วงวัยการศึกษาภาคบังคับ จำนวน 387,591 คน คิดเป็น 39.46% ของเด็กและเยาวชนที่ไม่มีชื่อในระบบการศึกษาทั้งหมด (ข้อมูล ณ เดือนธันวาคม 2567) จากปฏิบัติการค้นหา ช่วยเหลือเด็กเยาวชนที่หลุดจากระบบการศึกษาที่ประสบความสำเร็จ โดยไม่หลุดจากระบบซ้ำ พบว่า การสร้างพื้นที่ปลอดภัยต่อการเรียนรู้และเติบโตอย่างเต็มศักยภาพ เป็นทางออกสำคัญของเรื่องนี้ ทั้งในมิติการป้องกันและช่วยเหลือ การส่งเสริม สนับสนุนให้ท้องถิ่นทุกระดับเห็นความสำคัญ เป็นแกนนำและทำหน้าที่เชื่อมโยงทุกภาคส่วนร่วมเป็นกลไกขับเคลื่อนโดยมีเด็ก เยาวชนเป็นศูนย์กลาง มีข้อบัญญัติของท้องถิ่นที่แสดงเจตจำนงอย่างชัดเจน และจัดสรรงบประมาณและกำลังคนรับผิดชอบต่อเนื่อง ไร้รอยต่อทางการเมือง จะเป็นส่วนสำคัญที่ช่วยให้การป้องกันและแก้ปัญหาเด็กเยาวชนอกระบบเกิดขึ้นจริงได้ ทั้งนี้ กสศ. ยังได้เสนอนโยบาย 2 ประเด็นสำคัญได้แก่ 1.การสร้างระบบหลักประกันโอกาสการศึกษา ให้เด็กเยาวชนตลอด 20 ปี จากปฐมวัยถึงมีงานทำ ผ่านการบูรณาการข้อมูลรายบุคคลระหว่าง 11 หน่วยงาน ครอบคลุมเด็กเยาวชนกลุ่มเสี่ยงที่มาจากครัวเรือนซึ่งมีรายได้น้อยที่สุดของประเทศจำนวน 3 ล้านคน และเด็กเยาวชนนอกระบบการศึกษาจำนวน 9 แสนคน (3-22 ปี) เพื่อให้เกิดการเชื่อมโยง และส่งต่อข้อมูลระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ทุกกระทรวง บูรณาการชุดสิทธิประโยชน์ด้านสุขภาวะ สังคม ครอบครัว แรงงาน การศึกษา ฯลฯ ที่มีอยู่ในหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อให้เด็กเยาวชนทุกคนได้รับสวัสดิการ การดูแล พัฒนา และส่งต่ออย่างมีประสิทธิภาพ ทันเวลา นอกจากนี้ ควรเพิ่มศักยภาพของสวัสดิการแบบมุ่งเป้า (Targeting) เพื่อลดต้นทุนการเข้าถึงการศึกษาให้แก่เด็กเยาวชนที่มาจากครัวเรือนซึ่งมีรายได้น้อยที่สุดของประเทศ 2.ยกระดับบัตรประจำตัวประชาชนของเด็กเยาวชนทุกคนให้เป็น Learning Passport สำหรับการศึกษาและการเรียนรู้ทั้งในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย โดยรัฐสามารถจัดสรรเงินอุดหนุนจากรัฐบาลตรงไปยังเลข 13 หลักของเด็กเยาวชนโดยตรง โดยเฉพาะผู้อาศัยอยู่กับครัวเรือนยากจนและเปราะบาง เพื่อให้เด็กเยาวชนสามารถเลือกศึกษาต่อและเรียนรู้ผ่านการศึกษาทั้ง 3 ระบบ ผ่านหน่วยจัดการเรียนรู้ทั้งของภาครัฐ ท้องถิ่น และเอกชนได้อย่างยืดหยุ่น และหลากหลายตามความถนัดและศักยภาพของเด็กเยาวชนเป็นรายบุคคล รวมทั้งสามารถถ่ายโอนหน่วยกิตระหว่างการศึกษาทั้ง 3 ระบบเพื่อใช้ในการศึกษาต่อ และการสมัครงานได้ในอนาคตได้ รศ.ดร.วีระชาติ กิเลนทอง ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยเพื่อการประเมินและออกแบบนโยบาย (RIPED) และคณบดีคณะการศึกษาปฐมวัย มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย กล่าวถึงงานวิจัยที่ร่วมมือกับ กสศ. และ OECD ที่ประเมินสมรรถนะผู้เรียนตามมาตรฐานสากลเพื่อการพัฒนาสถานศึกษา หรือ PISA for Schools โดยสำรวจและประเมินสมรรถนะแบบ PISA ในสถานศึกษา 150 แห่ง จาก 16 จังหวัด มีข้อค้นพบที่สำคัญคือ นักเรียนที่มีระดับคะแนนผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ในระดับชั้น ป.6 ที่ดี จะมีแนวโน้มที่จะมีคะแนนสมรรถนะของ PISA สูงเช่นเดียวกัน ดังนั้น ความเหลื่อมล้ำในผลลัพธ์การเรียนรู้ที่พบจากผลการทดสอบ PISA ไม่ได้เพิ่งเกิดขึ้นในช่วงระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น แต่แท้จริงแล้ว เป็นเสมือนการขาดทุนที่สะสมมาตั้งแต่ระดับชั้นประถมศึกษาหรือระดับปฐมวัย ดังนั้นการส่งเสริมให้เยาวชนไทยมีคะแนน PISA ที่ดีขึ้นในอนาคต จึงควรเริ่มต้นจากมาตรการยกระดับคุณภาพการศึกษาที่เสมอภาคตั้งแต่การศึกษาระดับประถมศึกษา และอาศัยเครื่องมือประเมินผลอย่าง O-NET ในการลดความเหลื่อมล้ำด้านคุณภาพการศึกษาระหว่างสถานศึกษาในระยะยาว คุณจูสตีน ซาส หัวหน้าฝ่ายการศึกษาเพื่อความครอบคลุมและความเท่าเทียมทางเพศ สำนักงานใหญ่ยูเนสโก ณ กรุงปารีส เปิดเผยข้อมูล จากรายงานระดับโลก The Price of Inaction: The global private, fiscal and social costs of children not learning. หรือ ต้นทุนของการเพิกเฉย (The Price of Inaction) : ต้นทุนทางเศรษฐกิจ สังคม และภาครัฐจากการที่เด็กไม่ได้รับการศึกษา โดยระบุว่า หากไม่มีการดำเนินการใด ๆ ภายในปี ค.ศ. 2030 ต้นทุนทางสังคมของเด็กที่ออกจากโรงเรียนก่อนกำหนดและเด็กที่มีทักษะต่ำกว่าพื้นฐานจะอยู่ที่ 6 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ และ 10 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ ตามลำดับ ตัวเลขเหล่านี้คิดเป็นมูลค่ามหาศาล ตัวเลข 10 ล้านล้านเหรียญสหรัฐฯ มีมูลค่ามากกว่าผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) รายปีของฝรั่งเศสและญี่ปุ่นรวมกัน “การลงทุนในการศึกษาที่มีคุณภาพเป็นกลยุทธ์ที่คุ้มค่าที่สุดต่อการพัฒนาเศรษฐกิจเพียงแค่ลดสัดส่วนของเด็กที่ออกจากโรงเรียนก่อนกำหนดรวมถึงลดสัดส่วนของเด็กที่มีทักษะต่ำกว่าพื้นฐานลงเพียง 10% เราจะสามารถเพิ่ม GDP แต่ละปีได้ถึง 1-2%” สามารถอ่านรายงานสถานการณ์ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาปี 2567 และทิศทางสำคัญในปี 2568 ได้ที่ https://www.eef.or.th/publication-050225/
โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี