โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนแม่เมาะวิทยา EZ WebmasterJune 18, 2025 ความสุขเล็กๆ ในวันที่ได้ทำกิจกรรมร่วมกัน โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด พากิจกรรมดีๆ มาถึงโรงเรียนแม่เมาะวิทยา จ.ลำปาง วันที่18/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า (ครูแอน)… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนาน้อย EZ WebmasterJune 18, 2025 กิจกรรมนี้ มีแต่เสียงหัวเราะ ความอร่อย และรอยยิ้ม โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด พากิจกรรมดีๆ มาถึงโรงเรียนนาน้อย วันที่18/06/68 โดยวิทยากร ผศ.ดร.ตฤณกร เกตุกุลพันธ์… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสตรีศรีน่าน EZ WebmasterJune 18, 2025 เรียนรู้ เล่นให้สนุก แล้วความรู้จะตามมา! ณ โรงเรียนสตรีศรีน่าน สนุกสนานกับโครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนสตรีศรีน่าน จ.น่าน วันที่18/06/68 โดย… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเถินวิทยา EZ WebmasterJune 18, 2025 วันนี้น้องๆ นักเรียนโรงเรียนเถินวิทยา เต็มที่กับกิจกรรม Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนเถินวิทยา จ.ลำปาง วันที่18/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า (ครูแอน)… นักศึกษา ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา EZ WebmasterJune 18, 2025 วิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิทักษ์ ธรรมวาริน (คนที่ 4 จากซ้าย) คณบดีวิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สจล. และ Mr. Alfonso Martin (คนที่ 3… คณะมนุษยศาสตร์ ม.หอการค้าไทย จัดหลักสูตรรุกหน้าการันตี “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน!!” EZ WebmasterJune 18, 2025 “ภาษา” มิใช่เพียงเครื่องมือสื่อสารแต่เป็นกุญแจสำคัญในการเรียนรู้และเข้าใจวัฒนธรรม การคิดวิเคราะห์และสร้างสรรค์นวัตกรรม ผู้ที่มีทักษะด้านภาษาที่แข็งแกร่งจะสามารถเป็นข้อได้เปรียบหรือประสบความสำเร็จได้ในโลกที่เปลี่ยนแปลงและผู้คนทั่วโลกเชื่อมโยงสื่อสารถึงกันได้ในพริบตาแม้จะต่างชาติ ต่างภาษา ต่างวัฒนธรรม การเรียนรู้ฝึกฝนมีทักษะภาษาจึงมิใช่แค่รู้หรือพูดภาษานานาชาติได้เท่านั้น แต่การเรียนภาษาให้มีรายได้ดี มีอาชีพมั่นคง เป็นมนุษย์เงินเดือนอิสระ ถึงขั้นการันตีได้ว่า “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน !!! นั้นก็เป็นสิ่งเพิ่มมูลค่าและมีคุณค่าอย่างน่าภูมิใจ เฉกเช่นที่ล่าสุด Miss World… การตลาดดิจิทัลและระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย จัดกิจกรรมตอบแทนกลับคืนสังคม EZ WebmasterJune 17, 2025 นักศึกษากลุ่มวิชาการตลาดดิจิทัล และกลุ่มวิชาการบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ร่วมทำกิจกรรม Digital Marketing Innovation for Sustainability สร้างสรรค์ประสบการณ์ทางการตลาดดิจิทัลและการบริการสังคม โดยนักศึกษาได้เข้ากิจกรรมปล่อยสัตว์ทะเลที่ธนาคารปู จังหวัดระยอง และบริจากสิ่งของให้กับชมรมผู้พิการทางสติปัญญา จังหวัดชลบุรี ร่วมเรียนรู้การสร้างสรรค์สื่อสำหรับการสื่อสารทางการตลาดดิจิทัล เพื่อสร้างความรับผิดชอบต่อสังคมให้กับนักศึกษาและร่วมสร้างสรรค์สังคมให้น่าอยู่ต่อไป เรียนคณะบริหารธุรกิจแนวใหม่ต้องสัมผัสประสบการณ์แบบนักธุรกิจ ถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์จากคณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญรวมทั้งนักธุรกิจมืออาชีพ… “จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” EZ WebmasterJune 17, 2025 ในนามของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผมขอส่งความห่วงใยมายังพวกเราทุกคนที่กำลังใช้ชีวิตและศึกษาอยู่ในสหรัฐฯ โดยเฉพาะในช่วงเวลาที่มีความไม่แน่นอนเกี่ยวกับนโยบายวีซ่าที่อาจส่งผลต่อสิทธิในการศึกษา เมื่อไม่นานนี้ ผมและผู้บริหารจุฬาฯ มีโอกาสได้ไปเยือน Harvard และ MIT และได้พบกับนักศึกษาชาวไทยหลายคน ทุกคนต่างมีความมุ่งมั่น ตั้งใจ และอดทนในการใฝ่หาความรู้ เพื่อนำมาพัฒนาตนเอง สังคม และประเทศชาติ แม้จะอยู่ท่ามกลางความกังวลใจต่ออนาคตที่ยังไม่ชัดเจน ผมอยากบอกว่าพวกเราที่จุฬาฯ… ทุนดีดี SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ครู-อาจารย์ อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก tui sakrapeeJune 18, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา นำโดย รศ.ดร.ชุติกาญจน์ ศรีวิบูลย์ อธิการบดี พร้อมคณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย เดินทางเยือนโรงเรียนนานาชาติ Qingdao No.1 International School of Shandong Province (QISS) และ Qingdao University… กองกลาง มจพ. เยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ และจัดสัมมนาจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล ประจำปี 2568 EZ WebmasterJune 18, 2025 ผศ.ดร.สราวุฒิ สืบแย้ม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายการคลังและกิจการทั่วไป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยนางสาวรัตนา สุขเฉลิมศรี ผู้อำนวยการกองกลาง และบุคลากรกองกลาง เข้าเยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ มจพ. ณ ชั้น 3 สำนักงานหอสมุดกลาง โดยมีนางสาวพนารมย์ เกียรติลีลานันท์ และ… คณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล มจพ. ชูธงร่วมเครือข่ายจัดใหญ่การประชุมวิชาการ นวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (FIAC) 2025 EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร สมฤกษ์ จันทรอัมพร รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นเจ้าภาพร่วมในการจัดประชุมวิชาการด้านนวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (Food Innovation Asia Conference 2025) พร้อมด้วย รศ.ดร.รัชนี เจริญ คณบดีคณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล และคณะผู้บริหาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ… สมศ. พลิกโฉมการประเมินคุณภาพภายนอกด้วย AI ภายใต้ “ONESQA 5.0” เสริมความโปร่งใส แม่นยำ และพัฒนาอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 17, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยวิสัยทัศน์ และแนวทางการขับเคลื่อนองค์กรด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence – AI) ภายใต้ วิสัยทัศน์ ONESQA 5.0 โดยมุ่งเน้นการนำ AI เข้ามาใช้เพื่อเสริมประสิทธิภาพ ความโปร่งใส และความแม่นยำ ในกระบวนการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา พร้อมยกระดับสู่ความเป็นดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบบ ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster January 21, 2025 นักศึกษา “ส่องหาปูนิ่ม ด้วย AI” นวัตกรรมเพื่อผู้ผลิตปูนิ่ม EZ Webmaster January 21, 2025 “ส่องหาปูนิ่ม ด้วย AI” นวัตกรรมเพื่อผู้ผลิตปูนิ่ม “2 ถึง 3 ชั่วโมง คือ ช่วงเวลาทองที่ปูทะเลหลังลอกคราบจะต้องถูกนำขึ้นจากบ่อ เพื่อไปทำเป็น “ปูนิ่ม” เพราะหากช้ากว่านี้ปูตัวนั้นก็จะดึงแร่ธาตุในน้ำเค็มมาสร้างกระดองแข็ง ทำให้เป็นภาระที่ต้องเลี้ยงรอการลอกคราบครั้งต่อไปอีกไม่น้อยกว่า 1 เดือน ที่สำคัญการใช้คนทำหน้าที่ส่องดูปูในตะกร้าทีละใบและทำอย่างต่อเนื่องนั้น นอกจากจะต้องใช้คนงานบ่อละหลายคนแล้ว จะมีโอกาสผิดพลาดหรือไม่เจอปูลอกคราบได้ถึง 5 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งหากเป็นฟาร์มปูทะเลขนาด 500,000 ตัว จะเป็นเงินที่ถูกปล่อยคืนบ่อไปเฉยๆ เดือนละ 864,000 บาท” น้องบีม จากทีม “ปูนิ่มจิ้มซีฟู้ดส์”กล่าวถึงที่มาของแนวคิดการพัฒนา “ระบบตรวจจับและเก็บเกี่ยวปูนิ่มในการเลี้ยงระบบปิดแบบธรรมชาติ (System for Detecting and Harvesting Soft-shell Crabs in Closed Natural Farming Systems)” ที่คว้ารางวัล Ford Popular Vote สุดยอดนวัตกร จาก Ford Innovator Scholarship 2024 ซึ่งเป็นการประกวดนวัตกรรมและเทคโนโลยีระดับสูง Ford Innovator Scholarship 2024 เมื่อปลายปีที่ผ่านมา ทีม “ปูนิ่มจิ้มซีฟู้ดส์” ประกอบด้วยสมาชิก 5 คน คือ นางสาวบุณยาพร ปรีชาศุทธิ์ (น้องบีม), นางสาววรกาญจน์ ลาสุดี (น้องปีใหม่), นายวิชาญ วิชญานุภาพ (น้องไบร์ท), นายณพสัญญ์ จีระวัฒนะนนท์ (น้องออตโต้) และนายภูนุวัฒน์ บุญเกิด (น้องเตเต้) ทั้งหมดเป็นนักศึกษาปริญญาตรีชั้นปีที่ 2 ของสถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนาม (FIBO) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) โดยมี ผศ. ดร.เอกชัย เป็งวัง และ ดร.รัตนชัย รมัยธิติมา FIBO เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา ที่รวมตัวกันเพื่อสร้างนวัตกรรมที่ตอบโจทย์ปัญหาของชุมชน อันเป็นโจทย์ของการแข่งขันฟอร์ดในปีนี้ “เมื่อนำหัวข้อที่เราสนใจมาทำ SWOT (วิเคราะห์จุดเด่น-จุดด้อย-โอกาส-ความเสี่ยง) ประเทศไทยส่งออกปูทะเลมากกว่าปีละ 6 พันล้านบาท ขณะที่มีฟาร์มเลี้ยงปูทะเลมากกว่า 5,000 ฟาร์ม การที่เราเข้าไปแก้ไขจุดที่เป็นคอขวดของการทำปูนิ่ม จึงน่าจะเป็นประโยชน์กับเกษตรกรผู้เลี้ยงปูทะเลได้จริงๆ เราจึงเลือกจะทำเรื่องนี้” น้องออตโต้ ซึ่งชื่นชอบปูทะเลเป็นพิเศษ กล่าวถึงกระบวนการคิดที่ทำให้เลือกปูทะเล มาเป็นหัวข้อในการทำโครงงานประกวดชิ้นนี้ สำหรับเครื่องต้นแบบของ “ระบบตรวจจับและเก็บเกี่ยวปูนิ่มในการเลี้ยงระบบปิดแบบธรรมชาติ” ที่น้องๆ ทีมปูนิ่มจิ้มซีฟู้ดส์ ใช้เวลาประมาณ 3 เดือนในการสร้าง จะเป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่วิ่งไปเหนือแพเลี้ยงปู ที่มีตะกร้าใส่ปูแขวนไว้ในน้ำ เพื่อหาตะกร้าที่มีปูระยะลอกคราบ แล้วนำตะกร้านั้นมาส่งให้กับคนงาน ซึ่งส่วนที่สำคัญที่สุดของระบบนี้คือ “ระบบตรวจสอบด้วยกล้อง” “เราต้องการให้ระบบของเราสามารถใช้กับตัวบ่อและตัวแพ รวมถึงตะกร้าที่มีอยู่เดิม เพียงแต่เปลี่ยนจากการที่ใช้คนงานเป็นผู้ดึงหรือสาวแพปูเข้ามาเพื่อส่องดูด้วยตา มาเป็นการใช้ระบบรอกในการดึงแทน และมีกล้องอินฟราเรดบันทึกภาพปูในตะกร้า เพื่อส่งภาพให้ AI วิเคราะห์ว่าปูตัวนั้นอยู่ในช่วงลอกคราบหรือไม่ เพราะปูที่มีกระดองแข็ง กับปูนิ่ม (ปูที่มีกระดองนิ่ม) จะมีค่าการสะท้อนแสงอินฟราเรดที่ต่างกัน รวมถึงหาก AI สามารถนับจำนวนวัตถุในภาพได้มากกว่า 1 ชิ้น ก็แสดงว่าในตะกร้านั้น มีปูที่ลอกคราบแล้วได้เช่นกัน” น้องปีใหม่ อธิบายคอนเซ็ปต์ในการวิเคราะห์ภาพด้วย AI “จากการทดสอบให้ AI เรียนรู้และจำแนกภาพอินฟราเรดของปูทะเล ทั้งปูทั่วไปและปูระยะลอกคราบ 2,300 ภาพ พบว่า AI สามารถแยกแยะระหว่างปูปกติ กับปูลอกคราบได้อย่างแม่นยำ โดยมีค่าความถูกต้องสูงถึง 99 เปอร์เซ็นต์ และนอกจากจะวิเคราะห์หาปูนิ่มได้แล้ว ระบบยังมีการนำภาพที่ถ่ายล่าสุดกับภาพก่อนหน้ามาซ้อนทับกัน ซึ่งหากมันเหมือนกัน (ทับซ้อนกันสนิท) แสดงว่าปูตัวนั้นไม่มีการขยับตัวเลยทำให้สามารถแยกปูที่ตายออกจากบ่อได้รวดเร็วขึ้น ช่วยลดความเสี่ยงจากการระบาดของโรค (หากมี) ได้อีกด้วย” น้องไบร์ท ให้ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับระบบวิเคราะห์ด้วยภาพ ด้าน น้องเตเต้ กล่าวเสริมว่า ในส่วนของการทำให้ตัวอุปกรณ์กล้อง และอุปกรณ์เก็บเกี่ยว วิ่งไปตามแพแต่ละแพนั้น ทางตนแองและเพื่อนๆ ใช้ความรู้ทางวิศวกรรมที่ได้จากการเรียนในช่วงชั้นปีที่ 1 และ 2 มาสร้าง รวมถึง “ระบบขับเคลื่อน” และ “ระบบยกตะกร้า” ที่จะมี “มือจับ” (Gripper) ทำหน้าที่ยกตะกร้าใส่ปู ที่ AI ระบุว่าเป็นปูนิ่ม หรือ เป็นปูที่ตายแล้ว ขึ้นจากน้ำ และ “ระบบดึงแพ” ที่จะลำเลียงตะกร้าใบนั้นๆ มาที่ฝั่งเพื่อให้คนงานของฟาร์มจัดการต่อไป “จากทดสอบใช้งาน ‘ระบบตรวจจับและเก็บเกี่ยวปูนิ่มในการเลี้ยงระบบปิดแบบธรรมชาติ’ ตัวต้นแบบ (Prototype) ที่สร้างขึ้นพร้อมกับบ่อเลี้ยงปูจำลอง ขนาด 1X2 เมตร ณ อาคาร FIBO จากเดิมที่การตรวจปูในบ่อปูจำนวน 2,000 กล่อง จะใช้เวลารอบละประมาณ 4-5 ชั่วโมง แต่ระบบใหม่นี้ใช้เวลารอบละ 2-3 ชั่วโมงเท่านั้น ทำให้รอบตรวจถี่ขึ้น มีโอกาสเจอตะกร้าที่มีปูระยะลอกคราบมากขึ้น นอกจากนั้นตัว AI ที่เราพัฒนาขึ้น ยังมีความแม่นยำในการแยกแยะระหว่างปูทั่วไปกับปูลอกคราบสูงถึง 95 เปอร์เซ็นต์” น้องเตเต้ กล่าวถึงจุดเด่นด้านเทคโนโลยีของนวัตกรรมชิ้นนี้ น้องไบร์ท กล่าวเสริมว่า สำหรับตัวต้นแบบที่มีขนาดประมาณครึ่งหนึ่งของตัวจริงนั้น นอกจากตัว AI ที่เป็น Open Source และตัวกล้องที่ผลิตจากต่างประเทศ วัสดุอุปกรณ์อื่นๆ ล้วนเป็นของที่หาได้ในประเทศแทบทั้งสิ้น โดยมีต้นทุนอยู่ที่ชุดละ 4 หมื่นบาท ซึ่งการผลิตจริงอาจมีราคาสูงกว่านี้เพราะต้องเปลี่ยนจากวัสดุอะลูมิเนียมไปเป็นวัสดุสเตนเลสที่ทนต่อความเค็มของน้ำได้ดีขึ้น แต่ราคาไม่น่าเกินชุดละ 1 แสนบาท แต่ที่สำคัญ คือระบบนี้สามารถลดต้นทุนค่าใช้จ่ายให้กับผู้ประกอบการฟาร์มปูนิ่มได้จริง “จากเดิมต้องมีคนที่มีความเชี่ยวชาญในการดูปูลอกคราบ 5-6 คนต่อบ่อ ให้เหลือเพียง 1-2 คนต่อบ่อ เป็นการลดความเสี่ยงเรื่องการขาดแคลนแรงงานให้กับชุมชนเกษตรกร ที่สำคัญ คือ เป็นนวัตกรรมที่เราต่อยอดจากรูปแบบการเลี้ยงที่มีอยู่ในปัจจุบัน ซึ่งน่าจะทำให้เกิดการยอมรับของผู้ใช้ได้ไม่ยาก” ด้วยจุดเด่นของนวัตกรรม ที่นอกจากการเลือกที่ใช้เทคโนโลยีที่มีอยู่จริง อุปกรณ์ชิ้นส่วนหาได้ง่าย และที่สำคัญเป็นการแก้ “ปัญหาคอขวด” ของชุมชนคนผลิตปูนิ่มได้อย่างตรงจุด “ระบบตรวจจับและเก็บเกี่ยวปูนิ่มในการเลี้ยงระบบปิดแบบธรรมชาติ” ของนักศึกษาปี 2 FIBO ทีม “ปูนิ่มจิ้มซีฟู้ดส์” จึงสามารถคว้ารางวัล Popular Vote และรางวัลชมเชยพร้อมเกียรติบัตรจากงาน Ford Innovator Scholarship 2024 มาได้ คลิปสาธิตการทำงาน https://drive.google.com/drive/u/2/folders/1XDQ81T2HFjX7H08vVhr9IFvfP8ljaVZ0 EZ Webmaster Related Posts ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ ม.หอการค้าไทย จัดหลักสูตรรุกหน้าการันตี “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน!!” การตลาดดิจิทัลและระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย จัดกิจกรรมตอบแทนกลับคืนสังคม “จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” Post navigation PREVIOUS Previous post: โครงการ Taro to School 2025 รู้สิ่งใดไม่สู้ รู้จักตนเอง โรงเรียนมัธยมเทศบาลเมืองสวรรคโลกNEXT Next post: เปิดประสบการณ์ระดับโลก! สถาบันภาษา ม.ราชภัฏสวนสุนันทา พานักศึกษาร่วมประชุมวิชาการ ICEBTS 2025 ณ กรุงปักกิ่ง Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนาน้อย EZ WebmasterJune 18, 2025 กิจกรรมนี้ มีแต่เสียงหัวเราะ ความอร่อย และรอยยิ้ม โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด พากิจกรรมดีๆ มาถึงโรงเรียนนาน้อย วันที่18/06/68 โดยวิทยากร ผศ.ดร.ตฤณกร เกตุกุลพันธ์… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสตรีศรีน่าน EZ WebmasterJune 18, 2025 เรียนรู้ เล่นให้สนุก แล้วความรู้จะตามมา! ณ โรงเรียนสตรีศรีน่าน สนุกสนานกับโครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนสตรีศรีน่าน จ.น่าน วันที่18/06/68 โดย… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเถินวิทยา EZ WebmasterJune 18, 2025 วันนี้น้องๆ นักเรียนโรงเรียนเถินวิทยา เต็มที่กับกิจกรรม Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนเถินวิทยา จ.ลำปาง วันที่18/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า (ครูแอน)… นักศึกษา ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา EZ WebmasterJune 18, 2025 วิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิทักษ์ ธรรมวาริน (คนที่ 4 จากซ้าย) คณบดีวิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สจล. และ Mr. Alfonso Martin (คนที่ 3… คณะมนุษยศาสตร์ ม.หอการค้าไทย จัดหลักสูตรรุกหน้าการันตี “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน!!” EZ WebmasterJune 18, 2025 “ภาษา” มิใช่เพียงเครื่องมือสื่อสารแต่เป็นกุญแจสำคัญในการเรียนรู้และเข้าใจวัฒนธรรม การคิดวิเคราะห์และสร้างสรรค์นวัตกรรม ผู้ที่มีทักษะด้านภาษาที่แข็งแกร่งจะสามารถเป็นข้อได้เปรียบหรือประสบความสำเร็จได้ในโลกที่เปลี่ยนแปลงและผู้คนทั่วโลกเชื่อมโยงสื่อสารถึงกันได้ในพริบตาแม้จะต่างชาติ ต่างภาษา ต่างวัฒนธรรม การเรียนรู้ฝึกฝนมีทักษะภาษาจึงมิใช่แค่รู้หรือพูดภาษานานาชาติได้เท่านั้น แต่การเรียนภาษาให้มีรายได้ดี มีอาชีพมั่นคง เป็นมนุษย์เงินเดือนอิสระ ถึงขั้นการันตีได้ว่า “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน !!! นั้นก็เป็นสิ่งเพิ่มมูลค่าและมีคุณค่าอย่างน่าภูมิใจ เฉกเช่นที่ล่าสุด Miss World… การตลาดดิจิทัลและระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย จัดกิจกรรมตอบแทนกลับคืนสังคม EZ WebmasterJune 17, 2025 นักศึกษากลุ่มวิชาการตลาดดิจิทัล และกลุ่มวิชาการบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ร่วมทำกิจกรรม Digital Marketing Innovation for Sustainability สร้างสรรค์ประสบการณ์ทางการตลาดดิจิทัลและการบริการสังคม โดยนักศึกษาได้เข้ากิจกรรมปล่อยสัตว์ทะเลที่ธนาคารปู จังหวัดระยอง และบริจากสิ่งของให้กับชมรมผู้พิการทางสติปัญญา จังหวัดชลบุรี ร่วมเรียนรู้การสร้างสรรค์สื่อสำหรับการสื่อสารทางการตลาดดิจิทัล เพื่อสร้างความรับผิดชอบต่อสังคมให้กับนักศึกษาและร่วมสร้างสรรค์สังคมให้น่าอยู่ต่อไป เรียนคณะบริหารธุรกิจแนวใหม่ต้องสัมผัสประสบการณ์แบบนักธุรกิจ ถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์จากคณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญรวมทั้งนักธุรกิจมืออาชีพ… “จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” EZ WebmasterJune 17, 2025 ในนามของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผมขอส่งความห่วงใยมายังพวกเราทุกคนที่กำลังใช้ชีวิตและศึกษาอยู่ในสหรัฐฯ โดยเฉพาะในช่วงเวลาที่มีความไม่แน่นอนเกี่ยวกับนโยบายวีซ่าที่อาจส่งผลต่อสิทธิในการศึกษา เมื่อไม่นานนี้ ผมและผู้บริหารจุฬาฯ มีโอกาสได้ไปเยือน Harvard และ MIT และได้พบกับนักศึกษาชาวไทยหลายคน ทุกคนต่างมีความมุ่งมั่น ตั้งใจ และอดทนในการใฝ่หาความรู้ เพื่อนำมาพัฒนาตนเอง สังคม และประเทศชาติ แม้จะอยู่ท่ามกลางความกังวลใจต่ออนาคตที่ยังไม่ชัดเจน ผมอยากบอกว่าพวกเราที่จุฬาฯ… ทุนดีดี SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ครู-อาจารย์ อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก tui sakrapeeJune 18, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา นำโดย รศ.ดร.ชุติกาญจน์ ศรีวิบูลย์ อธิการบดี พร้อมคณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย เดินทางเยือนโรงเรียนนานาชาติ Qingdao No.1 International School of Shandong Province (QISS) และ Qingdao University… กองกลาง มจพ. เยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ และจัดสัมมนาจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล ประจำปี 2568 EZ WebmasterJune 18, 2025 ผศ.ดร.สราวุฒิ สืบแย้ม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายการคลังและกิจการทั่วไป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยนางสาวรัตนา สุขเฉลิมศรี ผู้อำนวยการกองกลาง และบุคลากรกองกลาง เข้าเยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ มจพ. ณ ชั้น 3 สำนักงานหอสมุดกลาง โดยมีนางสาวพนารมย์ เกียรติลีลานันท์ และ… คณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล มจพ. ชูธงร่วมเครือข่ายจัดใหญ่การประชุมวิชาการ นวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (FIAC) 2025 EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร สมฤกษ์ จันทรอัมพร รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นเจ้าภาพร่วมในการจัดประชุมวิชาการด้านนวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (Food Innovation Asia Conference 2025) พร้อมด้วย รศ.ดร.รัชนี เจริญ คณบดีคณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล และคณะผู้บริหาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ… สมศ. พลิกโฉมการประเมินคุณภาพภายนอกด้วย AI ภายใต้ “ONESQA 5.0” เสริมความโปร่งใส แม่นยำ และพัฒนาอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 17, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยวิสัยทัศน์ และแนวทางการขับเคลื่อนองค์กรด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence – AI) ภายใต้ วิสัยทัศน์ ONESQA 5.0 โดยมุ่งเน้นการนำ AI เข้ามาใช้เพื่อเสริมประสิทธิภาพ ความโปร่งใส และความแม่นยำ ในกระบวนการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา พร้อมยกระดับสู่ความเป็นดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบบ ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster January 21, 2025 นักศึกษา “ส่องหาปูนิ่ม ด้วย AI” นวัตกรรมเพื่อผู้ผลิตปูนิ่ม EZ Webmaster January 21, 2025 “ส่องหาปูนิ่ม ด้วย AI” นวัตกรรมเพื่อผู้ผลิตปูนิ่ม “2 ถึง 3 ชั่วโมง คือ ช่วงเวลาทองที่ปูทะเลหลังลอกคราบจะต้องถูกนำขึ้นจากบ่อ เพื่อไปทำเป็น “ปูนิ่ม” เพราะหากช้ากว่านี้ปูตัวนั้นก็จะดึงแร่ธาตุในน้ำเค็มมาสร้างกระดองแข็ง ทำให้เป็นภาระที่ต้องเลี้ยงรอการลอกคราบครั้งต่อไปอีกไม่น้อยกว่า 1 เดือน ที่สำคัญการใช้คนทำหน้าที่ส่องดูปูในตะกร้าทีละใบและทำอย่างต่อเนื่องนั้น นอกจากจะต้องใช้คนงานบ่อละหลายคนแล้ว จะมีโอกาสผิดพลาดหรือไม่เจอปูลอกคราบได้ถึง 5 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งหากเป็นฟาร์มปูทะเลขนาด 500,000 ตัว จะเป็นเงินที่ถูกปล่อยคืนบ่อไปเฉยๆ เดือนละ 864,000 บาท” น้องบีม จากทีม “ปูนิ่มจิ้มซีฟู้ดส์”กล่าวถึงที่มาของแนวคิดการพัฒนา “ระบบตรวจจับและเก็บเกี่ยวปูนิ่มในการเลี้ยงระบบปิดแบบธรรมชาติ (System for Detecting and Harvesting Soft-shell Crabs in Closed Natural Farming Systems)” ที่คว้ารางวัล Ford Popular Vote สุดยอดนวัตกร จาก Ford Innovator Scholarship 2024 ซึ่งเป็นการประกวดนวัตกรรมและเทคโนโลยีระดับสูง Ford Innovator Scholarship 2024 เมื่อปลายปีที่ผ่านมา ทีม “ปูนิ่มจิ้มซีฟู้ดส์” ประกอบด้วยสมาชิก 5 คน คือ นางสาวบุณยาพร ปรีชาศุทธิ์ (น้องบีม), นางสาววรกาญจน์ ลาสุดี (น้องปีใหม่), นายวิชาญ วิชญานุภาพ (น้องไบร์ท), นายณพสัญญ์ จีระวัฒนะนนท์ (น้องออตโต้) และนายภูนุวัฒน์ บุญเกิด (น้องเตเต้) ทั้งหมดเป็นนักศึกษาปริญญาตรีชั้นปีที่ 2 ของสถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนาม (FIBO) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) โดยมี ผศ. ดร.เอกชัย เป็งวัง และ ดร.รัตนชัย รมัยธิติมา FIBO เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา ที่รวมตัวกันเพื่อสร้างนวัตกรรมที่ตอบโจทย์ปัญหาของชุมชน อันเป็นโจทย์ของการแข่งขันฟอร์ดในปีนี้ “เมื่อนำหัวข้อที่เราสนใจมาทำ SWOT (วิเคราะห์จุดเด่น-จุดด้อย-โอกาส-ความเสี่ยง) ประเทศไทยส่งออกปูทะเลมากกว่าปีละ 6 พันล้านบาท ขณะที่มีฟาร์มเลี้ยงปูทะเลมากกว่า 5,000 ฟาร์ม การที่เราเข้าไปแก้ไขจุดที่เป็นคอขวดของการทำปูนิ่ม จึงน่าจะเป็นประโยชน์กับเกษตรกรผู้เลี้ยงปูทะเลได้จริงๆ เราจึงเลือกจะทำเรื่องนี้” น้องออตโต้ ซึ่งชื่นชอบปูทะเลเป็นพิเศษ กล่าวถึงกระบวนการคิดที่ทำให้เลือกปูทะเล มาเป็นหัวข้อในการทำโครงงานประกวดชิ้นนี้ สำหรับเครื่องต้นแบบของ “ระบบตรวจจับและเก็บเกี่ยวปูนิ่มในการเลี้ยงระบบปิดแบบธรรมชาติ” ที่น้องๆ ทีมปูนิ่มจิ้มซีฟู้ดส์ ใช้เวลาประมาณ 3 เดือนในการสร้าง จะเป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่วิ่งไปเหนือแพเลี้ยงปู ที่มีตะกร้าใส่ปูแขวนไว้ในน้ำ เพื่อหาตะกร้าที่มีปูระยะลอกคราบ แล้วนำตะกร้านั้นมาส่งให้กับคนงาน ซึ่งส่วนที่สำคัญที่สุดของระบบนี้คือ “ระบบตรวจสอบด้วยกล้อง” “เราต้องการให้ระบบของเราสามารถใช้กับตัวบ่อและตัวแพ รวมถึงตะกร้าที่มีอยู่เดิม เพียงแต่เปลี่ยนจากการที่ใช้คนงานเป็นผู้ดึงหรือสาวแพปูเข้ามาเพื่อส่องดูด้วยตา มาเป็นการใช้ระบบรอกในการดึงแทน และมีกล้องอินฟราเรดบันทึกภาพปูในตะกร้า เพื่อส่งภาพให้ AI วิเคราะห์ว่าปูตัวนั้นอยู่ในช่วงลอกคราบหรือไม่ เพราะปูที่มีกระดองแข็ง กับปูนิ่ม (ปูที่มีกระดองนิ่ม) จะมีค่าการสะท้อนแสงอินฟราเรดที่ต่างกัน รวมถึงหาก AI สามารถนับจำนวนวัตถุในภาพได้มากกว่า 1 ชิ้น ก็แสดงว่าในตะกร้านั้น มีปูที่ลอกคราบแล้วได้เช่นกัน” น้องปีใหม่ อธิบายคอนเซ็ปต์ในการวิเคราะห์ภาพด้วย AI “จากการทดสอบให้ AI เรียนรู้และจำแนกภาพอินฟราเรดของปูทะเล ทั้งปูทั่วไปและปูระยะลอกคราบ 2,300 ภาพ พบว่า AI สามารถแยกแยะระหว่างปูปกติ กับปูลอกคราบได้อย่างแม่นยำ โดยมีค่าความถูกต้องสูงถึง 99 เปอร์เซ็นต์ และนอกจากจะวิเคราะห์หาปูนิ่มได้แล้ว ระบบยังมีการนำภาพที่ถ่ายล่าสุดกับภาพก่อนหน้ามาซ้อนทับกัน ซึ่งหากมันเหมือนกัน (ทับซ้อนกันสนิท) แสดงว่าปูตัวนั้นไม่มีการขยับตัวเลยทำให้สามารถแยกปูที่ตายออกจากบ่อได้รวดเร็วขึ้น ช่วยลดความเสี่ยงจากการระบาดของโรค (หากมี) ได้อีกด้วย” น้องไบร์ท ให้ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับระบบวิเคราะห์ด้วยภาพ ด้าน น้องเตเต้ กล่าวเสริมว่า ในส่วนของการทำให้ตัวอุปกรณ์กล้อง และอุปกรณ์เก็บเกี่ยว วิ่งไปตามแพแต่ละแพนั้น ทางตนแองและเพื่อนๆ ใช้ความรู้ทางวิศวกรรมที่ได้จากการเรียนในช่วงชั้นปีที่ 1 และ 2 มาสร้าง รวมถึง “ระบบขับเคลื่อน” และ “ระบบยกตะกร้า” ที่จะมี “มือจับ” (Gripper) ทำหน้าที่ยกตะกร้าใส่ปู ที่ AI ระบุว่าเป็นปูนิ่ม หรือ เป็นปูที่ตายแล้ว ขึ้นจากน้ำ และ “ระบบดึงแพ” ที่จะลำเลียงตะกร้าใบนั้นๆ มาที่ฝั่งเพื่อให้คนงานของฟาร์มจัดการต่อไป “จากทดสอบใช้งาน ‘ระบบตรวจจับและเก็บเกี่ยวปูนิ่มในการเลี้ยงระบบปิดแบบธรรมชาติ’ ตัวต้นแบบ (Prototype) ที่สร้างขึ้นพร้อมกับบ่อเลี้ยงปูจำลอง ขนาด 1X2 เมตร ณ อาคาร FIBO จากเดิมที่การตรวจปูในบ่อปูจำนวน 2,000 กล่อง จะใช้เวลารอบละประมาณ 4-5 ชั่วโมง แต่ระบบใหม่นี้ใช้เวลารอบละ 2-3 ชั่วโมงเท่านั้น ทำให้รอบตรวจถี่ขึ้น มีโอกาสเจอตะกร้าที่มีปูระยะลอกคราบมากขึ้น นอกจากนั้นตัว AI ที่เราพัฒนาขึ้น ยังมีความแม่นยำในการแยกแยะระหว่างปูทั่วไปกับปูลอกคราบสูงถึง 95 เปอร์เซ็นต์” น้องเตเต้ กล่าวถึงจุดเด่นด้านเทคโนโลยีของนวัตกรรมชิ้นนี้ น้องไบร์ท กล่าวเสริมว่า สำหรับตัวต้นแบบที่มีขนาดประมาณครึ่งหนึ่งของตัวจริงนั้น นอกจากตัว AI ที่เป็น Open Source และตัวกล้องที่ผลิตจากต่างประเทศ วัสดุอุปกรณ์อื่นๆ ล้วนเป็นของที่หาได้ในประเทศแทบทั้งสิ้น โดยมีต้นทุนอยู่ที่ชุดละ 4 หมื่นบาท ซึ่งการผลิตจริงอาจมีราคาสูงกว่านี้เพราะต้องเปลี่ยนจากวัสดุอะลูมิเนียมไปเป็นวัสดุสเตนเลสที่ทนต่อความเค็มของน้ำได้ดีขึ้น แต่ราคาไม่น่าเกินชุดละ 1 แสนบาท แต่ที่สำคัญ คือระบบนี้สามารถลดต้นทุนค่าใช้จ่ายให้กับผู้ประกอบการฟาร์มปูนิ่มได้จริง “จากเดิมต้องมีคนที่มีความเชี่ยวชาญในการดูปูลอกคราบ 5-6 คนต่อบ่อ ให้เหลือเพียง 1-2 คนต่อบ่อ เป็นการลดความเสี่ยงเรื่องการขาดแคลนแรงงานให้กับชุมชนเกษตรกร ที่สำคัญ คือ เป็นนวัตกรรมที่เราต่อยอดจากรูปแบบการเลี้ยงที่มีอยู่ในปัจจุบัน ซึ่งน่าจะทำให้เกิดการยอมรับของผู้ใช้ได้ไม่ยาก” ด้วยจุดเด่นของนวัตกรรม ที่นอกจากการเลือกที่ใช้เทคโนโลยีที่มีอยู่จริง อุปกรณ์ชิ้นส่วนหาได้ง่าย และที่สำคัญเป็นการแก้ “ปัญหาคอขวด” ของชุมชนคนผลิตปูนิ่มได้อย่างตรงจุด “ระบบตรวจจับและเก็บเกี่ยวปูนิ่มในการเลี้ยงระบบปิดแบบธรรมชาติ” ของนักศึกษาปี 2 FIBO ทีม “ปูนิ่มจิ้มซีฟู้ดส์” จึงสามารถคว้ารางวัล Popular Vote และรางวัลชมเชยพร้อมเกียรติบัตรจากงาน Ford Innovator Scholarship 2024 มาได้ คลิปสาธิตการทำงาน https://drive.google.com/drive/u/2/folders/1XDQ81T2HFjX7H08vVhr9IFvfP8ljaVZ0 EZ Webmaster Related Posts ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ ม.หอการค้าไทย จัดหลักสูตรรุกหน้าการันตี “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน!!” การตลาดดิจิทัลและระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย จัดกิจกรรมตอบแทนกลับคืนสังคม “จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” Post navigation PREVIOUS Previous post: โครงการ Taro to School 2025 รู้สิ่งใดไม่สู้ รู้จักตนเอง โรงเรียนมัธยมเทศบาลเมืองสวรรคโลกNEXT Next post: เปิดประสบการณ์ระดับโลก! สถาบันภาษา ม.ราชภัฏสวนสุนันทา พานักศึกษาร่วมประชุมวิชาการ ICEBTS 2025 ณ กรุงปักกิ่ง Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสตรีศรีน่าน EZ WebmasterJune 18, 2025 เรียนรู้ เล่นให้สนุก แล้วความรู้จะตามมา! ณ โรงเรียนสตรีศรีน่าน สนุกสนานกับโครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนสตรีศรีน่าน จ.น่าน วันที่18/06/68 โดย… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเถินวิทยา EZ WebmasterJune 18, 2025 วันนี้น้องๆ นักเรียนโรงเรียนเถินวิทยา เต็มที่กับกิจกรรม Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนเถินวิทยา จ.ลำปาง วันที่18/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า (ครูแอน)…
โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเถินวิทยา EZ WebmasterJune 18, 2025 วันนี้น้องๆ นักเรียนโรงเรียนเถินวิทยา เต็มที่กับกิจกรรม Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนเถินวิทยา จ.ลำปาง วันที่18/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า (ครูแอน)…
ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา EZ WebmasterJune 18, 2025 วิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิทักษ์ ธรรมวาริน (คนที่ 4 จากซ้าย) คณบดีวิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สจล. และ Mr. Alfonso Martin (คนที่ 3… คณะมนุษยศาสตร์ ม.หอการค้าไทย จัดหลักสูตรรุกหน้าการันตี “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน!!” EZ WebmasterJune 18, 2025 “ภาษา” มิใช่เพียงเครื่องมือสื่อสารแต่เป็นกุญแจสำคัญในการเรียนรู้และเข้าใจวัฒนธรรม การคิดวิเคราะห์และสร้างสรรค์นวัตกรรม ผู้ที่มีทักษะด้านภาษาที่แข็งแกร่งจะสามารถเป็นข้อได้เปรียบหรือประสบความสำเร็จได้ในโลกที่เปลี่ยนแปลงและผู้คนทั่วโลกเชื่อมโยงสื่อสารถึงกันได้ในพริบตาแม้จะต่างชาติ ต่างภาษา ต่างวัฒนธรรม การเรียนรู้ฝึกฝนมีทักษะภาษาจึงมิใช่แค่รู้หรือพูดภาษานานาชาติได้เท่านั้น แต่การเรียนภาษาให้มีรายได้ดี มีอาชีพมั่นคง เป็นมนุษย์เงินเดือนอิสระ ถึงขั้นการันตีได้ว่า “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน !!! นั้นก็เป็นสิ่งเพิ่มมูลค่าและมีคุณค่าอย่างน่าภูมิใจ เฉกเช่นที่ล่าสุด Miss World… การตลาดดิจิทัลและระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย จัดกิจกรรมตอบแทนกลับคืนสังคม EZ WebmasterJune 17, 2025 นักศึกษากลุ่มวิชาการตลาดดิจิทัล และกลุ่มวิชาการบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ร่วมทำกิจกรรม Digital Marketing Innovation for Sustainability สร้างสรรค์ประสบการณ์ทางการตลาดดิจิทัลและการบริการสังคม โดยนักศึกษาได้เข้ากิจกรรมปล่อยสัตว์ทะเลที่ธนาคารปู จังหวัดระยอง และบริจากสิ่งของให้กับชมรมผู้พิการทางสติปัญญา จังหวัดชลบุรี ร่วมเรียนรู้การสร้างสรรค์สื่อสำหรับการสื่อสารทางการตลาดดิจิทัล เพื่อสร้างความรับผิดชอบต่อสังคมให้กับนักศึกษาและร่วมสร้างสรรค์สังคมให้น่าอยู่ต่อไป เรียนคณะบริหารธุรกิจแนวใหม่ต้องสัมผัสประสบการณ์แบบนักธุรกิจ ถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์จากคณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญรวมทั้งนักธุรกิจมืออาชีพ… “จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” EZ WebmasterJune 17, 2025 ในนามของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผมขอส่งความห่วงใยมายังพวกเราทุกคนที่กำลังใช้ชีวิตและศึกษาอยู่ในสหรัฐฯ โดยเฉพาะในช่วงเวลาที่มีความไม่แน่นอนเกี่ยวกับนโยบายวีซ่าที่อาจส่งผลต่อสิทธิในการศึกษา เมื่อไม่นานนี้ ผมและผู้บริหารจุฬาฯ มีโอกาสได้ไปเยือน Harvard และ MIT และได้พบกับนักศึกษาชาวไทยหลายคน ทุกคนต่างมีความมุ่งมั่น ตั้งใจ และอดทนในการใฝ่หาความรู้ เพื่อนำมาพัฒนาตนเอง สังคม และประเทศชาติ แม้จะอยู่ท่ามกลางความกังวลใจต่ออนาคตที่ยังไม่ชัดเจน ผมอยากบอกว่าพวกเราที่จุฬาฯ… ทุนดีดี SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ครู-อาจารย์ อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก tui sakrapeeJune 18, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา นำโดย รศ.ดร.ชุติกาญจน์ ศรีวิบูลย์ อธิการบดี พร้อมคณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย เดินทางเยือนโรงเรียนนานาชาติ Qingdao No.1 International School of Shandong Province (QISS) และ Qingdao University… กองกลาง มจพ. เยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ และจัดสัมมนาจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล ประจำปี 2568 EZ WebmasterJune 18, 2025 ผศ.ดร.สราวุฒิ สืบแย้ม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายการคลังและกิจการทั่วไป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยนางสาวรัตนา สุขเฉลิมศรี ผู้อำนวยการกองกลาง และบุคลากรกองกลาง เข้าเยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ มจพ. ณ ชั้น 3 สำนักงานหอสมุดกลาง โดยมีนางสาวพนารมย์ เกียรติลีลานันท์ และ… คณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล มจพ. ชูธงร่วมเครือข่ายจัดใหญ่การประชุมวิชาการ นวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (FIAC) 2025 EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร สมฤกษ์ จันทรอัมพร รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นเจ้าภาพร่วมในการจัดประชุมวิชาการด้านนวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (Food Innovation Asia Conference 2025) พร้อมด้วย รศ.ดร.รัชนี เจริญ คณบดีคณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล และคณะผู้บริหาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ… สมศ. พลิกโฉมการประเมินคุณภาพภายนอกด้วย AI ภายใต้ “ONESQA 5.0” เสริมความโปร่งใส แม่นยำ และพัฒนาอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 17, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยวิสัยทัศน์ และแนวทางการขับเคลื่อนองค์กรด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence – AI) ภายใต้ วิสัยทัศน์ ONESQA 5.0 โดยมุ่งเน้นการนำ AI เข้ามาใช้เพื่อเสริมประสิทธิภาพ ความโปร่งใส และความแม่นยำ ในกระบวนการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา พร้อมยกระดับสู่ความเป็นดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบบ ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster January 21, 2025 นักศึกษา “ส่องหาปูนิ่ม ด้วย AI” นวัตกรรมเพื่อผู้ผลิตปูนิ่ม EZ Webmaster January 21, 2025 “ส่องหาปูนิ่ม ด้วย AI” นวัตกรรมเพื่อผู้ผลิตปูนิ่ม “2 ถึง 3 ชั่วโมง คือ ช่วงเวลาทองที่ปูทะเลหลังลอกคราบจะต้องถูกนำขึ้นจากบ่อ เพื่อไปทำเป็น “ปูนิ่ม” เพราะหากช้ากว่านี้ปูตัวนั้นก็จะดึงแร่ธาตุในน้ำเค็มมาสร้างกระดองแข็ง ทำให้เป็นภาระที่ต้องเลี้ยงรอการลอกคราบครั้งต่อไปอีกไม่น้อยกว่า 1 เดือน ที่สำคัญการใช้คนทำหน้าที่ส่องดูปูในตะกร้าทีละใบและทำอย่างต่อเนื่องนั้น นอกจากจะต้องใช้คนงานบ่อละหลายคนแล้ว จะมีโอกาสผิดพลาดหรือไม่เจอปูลอกคราบได้ถึง 5 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งหากเป็นฟาร์มปูทะเลขนาด 500,000 ตัว จะเป็นเงินที่ถูกปล่อยคืนบ่อไปเฉยๆ เดือนละ 864,000 บาท” น้องบีม จากทีม “ปูนิ่มจิ้มซีฟู้ดส์”กล่าวถึงที่มาของแนวคิดการพัฒนา “ระบบตรวจจับและเก็บเกี่ยวปูนิ่มในการเลี้ยงระบบปิดแบบธรรมชาติ (System for Detecting and Harvesting Soft-shell Crabs in Closed Natural Farming Systems)” ที่คว้ารางวัล Ford Popular Vote สุดยอดนวัตกร จาก Ford Innovator Scholarship 2024 ซึ่งเป็นการประกวดนวัตกรรมและเทคโนโลยีระดับสูง Ford Innovator Scholarship 2024 เมื่อปลายปีที่ผ่านมา ทีม “ปูนิ่มจิ้มซีฟู้ดส์” ประกอบด้วยสมาชิก 5 คน คือ นางสาวบุณยาพร ปรีชาศุทธิ์ (น้องบีม), นางสาววรกาญจน์ ลาสุดี (น้องปีใหม่), นายวิชาญ วิชญานุภาพ (น้องไบร์ท), นายณพสัญญ์ จีระวัฒนะนนท์ (น้องออตโต้) และนายภูนุวัฒน์ บุญเกิด (น้องเตเต้) ทั้งหมดเป็นนักศึกษาปริญญาตรีชั้นปีที่ 2 ของสถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนาม (FIBO) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) โดยมี ผศ. ดร.เอกชัย เป็งวัง และ ดร.รัตนชัย รมัยธิติมา FIBO เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา ที่รวมตัวกันเพื่อสร้างนวัตกรรมที่ตอบโจทย์ปัญหาของชุมชน อันเป็นโจทย์ของการแข่งขันฟอร์ดในปีนี้ “เมื่อนำหัวข้อที่เราสนใจมาทำ SWOT (วิเคราะห์จุดเด่น-จุดด้อย-โอกาส-ความเสี่ยง) ประเทศไทยส่งออกปูทะเลมากกว่าปีละ 6 พันล้านบาท ขณะที่มีฟาร์มเลี้ยงปูทะเลมากกว่า 5,000 ฟาร์ม การที่เราเข้าไปแก้ไขจุดที่เป็นคอขวดของการทำปูนิ่ม จึงน่าจะเป็นประโยชน์กับเกษตรกรผู้เลี้ยงปูทะเลได้จริงๆ เราจึงเลือกจะทำเรื่องนี้” น้องออตโต้ ซึ่งชื่นชอบปูทะเลเป็นพิเศษ กล่าวถึงกระบวนการคิดที่ทำให้เลือกปูทะเล มาเป็นหัวข้อในการทำโครงงานประกวดชิ้นนี้ สำหรับเครื่องต้นแบบของ “ระบบตรวจจับและเก็บเกี่ยวปูนิ่มในการเลี้ยงระบบปิดแบบธรรมชาติ” ที่น้องๆ ทีมปูนิ่มจิ้มซีฟู้ดส์ ใช้เวลาประมาณ 3 เดือนในการสร้าง จะเป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่วิ่งไปเหนือแพเลี้ยงปู ที่มีตะกร้าใส่ปูแขวนไว้ในน้ำ เพื่อหาตะกร้าที่มีปูระยะลอกคราบ แล้วนำตะกร้านั้นมาส่งให้กับคนงาน ซึ่งส่วนที่สำคัญที่สุดของระบบนี้คือ “ระบบตรวจสอบด้วยกล้อง” “เราต้องการให้ระบบของเราสามารถใช้กับตัวบ่อและตัวแพ รวมถึงตะกร้าที่มีอยู่เดิม เพียงแต่เปลี่ยนจากการที่ใช้คนงานเป็นผู้ดึงหรือสาวแพปูเข้ามาเพื่อส่องดูด้วยตา มาเป็นการใช้ระบบรอกในการดึงแทน และมีกล้องอินฟราเรดบันทึกภาพปูในตะกร้า เพื่อส่งภาพให้ AI วิเคราะห์ว่าปูตัวนั้นอยู่ในช่วงลอกคราบหรือไม่ เพราะปูที่มีกระดองแข็ง กับปูนิ่ม (ปูที่มีกระดองนิ่ม) จะมีค่าการสะท้อนแสงอินฟราเรดที่ต่างกัน รวมถึงหาก AI สามารถนับจำนวนวัตถุในภาพได้มากกว่า 1 ชิ้น ก็แสดงว่าในตะกร้านั้น มีปูที่ลอกคราบแล้วได้เช่นกัน” น้องปีใหม่ อธิบายคอนเซ็ปต์ในการวิเคราะห์ภาพด้วย AI “จากการทดสอบให้ AI เรียนรู้และจำแนกภาพอินฟราเรดของปูทะเล ทั้งปูทั่วไปและปูระยะลอกคราบ 2,300 ภาพ พบว่า AI สามารถแยกแยะระหว่างปูปกติ กับปูลอกคราบได้อย่างแม่นยำ โดยมีค่าความถูกต้องสูงถึง 99 เปอร์เซ็นต์ และนอกจากจะวิเคราะห์หาปูนิ่มได้แล้ว ระบบยังมีการนำภาพที่ถ่ายล่าสุดกับภาพก่อนหน้ามาซ้อนทับกัน ซึ่งหากมันเหมือนกัน (ทับซ้อนกันสนิท) แสดงว่าปูตัวนั้นไม่มีการขยับตัวเลยทำให้สามารถแยกปูที่ตายออกจากบ่อได้รวดเร็วขึ้น ช่วยลดความเสี่ยงจากการระบาดของโรค (หากมี) ได้อีกด้วย” น้องไบร์ท ให้ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับระบบวิเคราะห์ด้วยภาพ ด้าน น้องเตเต้ กล่าวเสริมว่า ในส่วนของการทำให้ตัวอุปกรณ์กล้อง และอุปกรณ์เก็บเกี่ยว วิ่งไปตามแพแต่ละแพนั้น ทางตนแองและเพื่อนๆ ใช้ความรู้ทางวิศวกรรมที่ได้จากการเรียนในช่วงชั้นปีที่ 1 และ 2 มาสร้าง รวมถึง “ระบบขับเคลื่อน” และ “ระบบยกตะกร้า” ที่จะมี “มือจับ” (Gripper) ทำหน้าที่ยกตะกร้าใส่ปู ที่ AI ระบุว่าเป็นปูนิ่ม หรือ เป็นปูที่ตายแล้ว ขึ้นจากน้ำ และ “ระบบดึงแพ” ที่จะลำเลียงตะกร้าใบนั้นๆ มาที่ฝั่งเพื่อให้คนงานของฟาร์มจัดการต่อไป “จากทดสอบใช้งาน ‘ระบบตรวจจับและเก็บเกี่ยวปูนิ่มในการเลี้ยงระบบปิดแบบธรรมชาติ’ ตัวต้นแบบ (Prototype) ที่สร้างขึ้นพร้อมกับบ่อเลี้ยงปูจำลอง ขนาด 1X2 เมตร ณ อาคาร FIBO จากเดิมที่การตรวจปูในบ่อปูจำนวน 2,000 กล่อง จะใช้เวลารอบละประมาณ 4-5 ชั่วโมง แต่ระบบใหม่นี้ใช้เวลารอบละ 2-3 ชั่วโมงเท่านั้น ทำให้รอบตรวจถี่ขึ้น มีโอกาสเจอตะกร้าที่มีปูระยะลอกคราบมากขึ้น นอกจากนั้นตัว AI ที่เราพัฒนาขึ้น ยังมีความแม่นยำในการแยกแยะระหว่างปูทั่วไปกับปูลอกคราบสูงถึง 95 เปอร์เซ็นต์” น้องเตเต้ กล่าวถึงจุดเด่นด้านเทคโนโลยีของนวัตกรรมชิ้นนี้ น้องไบร์ท กล่าวเสริมว่า สำหรับตัวต้นแบบที่มีขนาดประมาณครึ่งหนึ่งของตัวจริงนั้น นอกจากตัว AI ที่เป็น Open Source และตัวกล้องที่ผลิตจากต่างประเทศ วัสดุอุปกรณ์อื่นๆ ล้วนเป็นของที่หาได้ในประเทศแทบทั้งสิ้น โดยมีต้นทุนอยู่ที่ชุดละ 4 หมื่นบาท ซึ่งการผลิตจริงอาจมีราคาสูงกว่านี้เพราะต้องเปลี่ยนจากวัสดุอะลูมิเนียมไปเป็นวัสดุสเตนเลสที่ทนต่อความเค็มของน้ำได้ดีขึ้น แต่ราคาไม่น่าเกินชุดละ 1 แสนบาท แต่ที่สำคัญ คือระบบนี้สามารถลดต้นทุนค่าใช้จ่ายให้กับผู้ประกอบการฟาร์มปูนิ่มได้จริง “จากเดิมต้องมีคนที่มีความเชี่ยวชาญในการดูปูลอกคราบ 5-6 คนต่อบ่อ ให้เหลือเพียง 1-2 คนต่อบ่อ เป็นการลดความเสี่ยงเรื่องการขาดแคลนแรงงานให้กับชุมชนเกษตรกร ที่สำคัญ คือ เป็นนวัตกรรมที่เราต่อยอดจากรูปแบบการเลี้ยงที่มีอยู่ในปัจจุบัน ซึ่งน่าจะทำให้เกิดการยอมรับของผู้ใช้ได้ไม่ยาก” ด้วยจุดเด่นของนวัตกรรม ที่นอกจากการเลือกที่ใช้เทคโนโลยีที่มีอยู่จริง อุปกรณ์ชิ้นส่วนหาได้ง่าย และที่สำคัญเป็นการแก้ “ปัญหาคอขวด” ของชุมชนคนผลิตปูนิ่มได้อย่างตรงจุด “ระบบตรวจจับและเก็บเกี่ยวปูนิ่มในการเลี้ยงระบบปิดแบบธรรมชาติ” ของนักศึกษาปี 2 FIBO ทีม “ปูนิ่มจิ้มซีฟู้ดส์” จึงสามารถคว้ารางวัล Popular Vote และรางวัลชมเชยพร้อมเกียรติบัตรจากงาน Ford Innovator Scholarship 2024 มาได้ คลิปสาธิตการทำงาน https://drive.google.com/drive/u/2/folders/1XDQ81T2HFjX7H08vVhr9IFvfP8ljaVZ0 EZ Webmaster Related Posts ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ ม.หอการค้าไทย จัดหลักสูตรรุกหน้าการันตี “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน!!” การตลาดดิจิทัลและระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย จัดกิจกรรมตอบแทนกลับคืนสังคม “จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” Post navigation PREVIOUS Previous post: โครงการ Taro to School 2025 รู้สิ่งใดไม่สู้ รู้จักตนเอง โรงเรียนมัธยมเทศบาลเมืองสวรรคโลกNEXT Next post: เปิดประสบการณ์ระดับโลก! สถาบันภาษา ม.ราชภัฏสวนสุนันทา พานักศึกษาร่วมประชุมวิชาการ ICEBTS 2025 ณ กรุงปักกิ่ง Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
คณะมนุษยศาสตร์ ม.หอการค้าไทย จัดหลักสูตรรุกหน้าการันตี “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน!!” EZ WebmasterJune 18, 2025 “ภาษา” มิใช่เพียงเครื่องมือสื่อสารแต่เป็นกุญแจสำคัญในการเรียนรู้และเข้าใจวัฒนธรรม การคิดวิเคราะห์และสร้างสรรค์นวัตกรรม ผู้ที่มีทักษะด้านภาษาที่แข็งแกร่งจะสามารถเป็นข้อได้เปรียบหรือประสบความสำเร็จได้ในโลกที่เปลี่ยนแปลงและผู้คนทั่วโลกเชื่อมโยงสื่อสารถึงกันได้ในพริบตาแม้จะต่างชาติ ต่างภาษา ต่างวัฒนธรรม การเรียนรู้ฝึกฝนมีทักษะภาษาจึงมิใช่แค่รู้หรือพูดภาษานานาชาติได้เท่านั้น แต่การเรียนภาษาให้มีรายได้ดี มีอาชีพมั่นคง เป็นมนุษย์เงินเดือนอิสระ ถึงขั้นการันตีได้ว่า “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน !!! นั้นก็เป็นสิ่งเพิ่มมูลค่าและมีคุณค่าอย่างน่าภูมิใจ เฉกเช่นที่ล่าสุด Miss World… การตลาดดิจิทัลและระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย จัดกิจกรรมตอบแทนกลับคืนสังคม EZ WebmasterJune 17, 2025 นักศึกษากลุ่มวิชาการตลาดดิจิทัล และกลุ่มวิชาการบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ร่วมทำกิจกรรม Digital Marketing Innovation for Sustainability สร้างสรรค์ประสบการณ์ทางการตลาดดิจิทัลและการบริการสังคม โดยนักศึกษาได้เข้ากิจกรรมปล่อยสัตว์ทะเลที่ธนาคารปู จังหวัดระยอง และบริจากสิ่งของให้กับชมรมผู้พิการทางสติปัญญา จังหวัดชลบุรี ร่วมเรียนรู้การสร้างสรรค์สื่อสำหรับการสื่อสารทางการตลาดดิจิทัล เพื่อสร้างความรับผิดชอบต่อสังคมให้กับนักศึกษาและร่วมสร้างสรรค์สังคมให้น่าอยู่ต่อไป เรียนคณะบริหารธุรกิจแนวใหม่ต้องสัมผัสประสบการณ์แบบนักธุรกิจ ถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์จากคณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญรวมทั้งนักธุรกิจมืออาชีพ… “จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” EZ WebmasterJune 17, 2025 ในนามของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผมขอส่งความห่วงใยมายังพวกเราทุกคนที่กำลังใช้ชีวิตและศึกษาอยู่ในสหรัฐฯ โดยเฉพาะในช่วงเวลาที่มีความไม่แน่นอนเกี่ยวกับนโยบายวีซ่าที่อาจส่งผลต่อสิทธิในการศึกษา เมื่อไม่นานนี้ ผมและผู้บริหารจุฬาฯ มีโอกาสได้ไปเยือน Harvard และ MIT และได้พบกับนักศึกษาชาวไทยหลายคน ทุกคนต่างมีความมุ่งมั่น ตั้งใจ และอดทนในการใฝ่หาความรู้ เพื่อนำมาพัฒนาตนเอง สังคม และประเทศชาติ แม้จะอยู่ท่ามกลางความกังวลใจต่ออนาคตที่ยังไม่ชัดเจน ผมอยากบอกว่าพวกเราที่จุฬาฯ… ทุนดีดี SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ครู-อาจารย์ อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก tui sakrapeeJune 18, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา นำโดย รศ.ดร.ชุติกาญจน์ ศรีวิบูลย์ อธิการบดี พร้อมคณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย เดินทางเยือนโรงเรียนนานาชาติ Qingdao No.1 International School of Shandong Province (QISS) และ Qingdao University… กองกลาง มจพ. เยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ และจัดสัมมนาจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล ประจำปี 2568 EZ WebmasterJune 18, 2025 ผศ.ดร.สราวุฒิ สืบแย้ม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายการคลังและกิจการทั่วไป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยนางสาวรัตนา สุขเฉลิมศรี ผู้อำนวยการกองกลาง และบุคลากรกองกลาง เข้าเยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ มจพ. ณ ชั้น 3 สำนักงานหอสมุดกลาง โดยมีนางสาวพนารมย์ เกียรติลีลานันท์ และ… คณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล มจพ. ชูธงร่วมเครือข่ายจัดใหญ่การประชุมวิชาการ นวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (FIAC) 2025 EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร สมฤกษ์ จันทรอัมพร รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นเจ้าภาพร่วมในการจัดประชุมวิชาการด้านนวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (Food Innovation Asia Conference 2025) พร้อมด้วย รศ.ดร.รัชนี เจริญ คณบดีคณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล และคณะผู้บริหาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ… สมศ. พลิกโฉมการประเมินคุณภาพภายนอกด้วย AI ภายใต้ “ONESQA 5.0” เสริมความโปร่งใส แม่นยำ และพัฒนาอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 17, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยวิสัยทัศน์ และแนวทางการขับเคลื่อนองค์กรด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence – AI) ภายใต้ วิสัยทัศน์ ONESQA 5.0 โดยมุ่งเน้นการนำ AI เข้ามาใช้เพื่อเสริมประสิทธิภาพ ความโปร่งใส และความแม่นยำ ในกระบวนการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา พร้อมยกระดับสู่ความเป็นดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบบ ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster January 21, 2025 นักศึกษา “ส่องหาปูนิ่ม ด้วย AI” นวัตกรรมเพื่อผู้ผลิตปูนิ่ม EZ Webmaster January 21, 2025 “ส่องหาปูนิ่ม ด้วย AI” นวัตกรรมเพื่อผู้ผลิตปูนิ่ม “2 ถึง 3 ชั่วโมง คือ ช่วงเวลาทองที่ปูทะเลหลังลอกคราบจะต้องถูกนำขึ้นจากบ่อ เพื่อไปทำเป็น “ปูนิ่ม” เพราะหากช้ากว่านี้ปูตัวนั้นก็จะดึงแร่ธาตุในน้ำเค็มมาสร้างกระดองแข็ง ทำให้เป็นภาระที่ต้องเลี้ยงรอการลอกคราบครั้งต่อไปอีกไม่น้อยกว่า 1 เดือน ที่สำคัญการใช้คนทำหน้าที่ส่องดูปูในตะกร้าทีละใบและทำอย่างต่อเนื่องนั้น นอกจากจะต้องใช้คนงานบ่อละหลายคนแล้ว จะมีโอกาสผิดพลาดหรือไม่เจอปูลอกคราบได้ถึง 5 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งหากเป็นฟาร์มปูทะเลขนาด 500,000 ตัว จะเป็นเงินที่ถูกปล่อยคืนบ่อไปเฉยๆ เดือนละ 864,000 บาท” น้องบีม จากทีม “ปูนิ่มจิ้มซีฟู้ดส์”กล่าวถึงที่มาของแนวคิดการพัฒนา “ระบบตรวจจับและเก็บเกี่ยวปูนิ่มในการเลี้ยงระบบปิดแบบธรรมชาติ (System for Detecting and Harvesting Soft-shell Crabs in Closed Natural Farming Systems)” ที่คว้ารางวัล Ford Popular Vote สุดยอดนวัตกร จาก Ford Innovator Scholarship 2024 ซึ่งเป็นการประกวดนวัตกรรมและเทคโนโลยีระดับสูง Ford Innovator Scholarship 2024 เมื่อปลายปีที่ผ่านมา ทีม “ปูนิ่มจิ้มซีฟู้ดส์” ประกอบด้วยสมาชิก 5 คน คือ นางสาวบุณยาพร ปรีชาศุทธิ์ (น้องบีม), นางสาววรกาญจน์ ลาสุดี (น้องปีใหม่), นายวิชาญ วิชญานุภาพ (น้องไบร์ท), นายณพสัญญ์ จีระวัฒนะนนท์ (น้องออตโต้) และนายภูนุวัฒน์ บุญเกิด (น้องเตเต้) ทั้งหมดเป็นนักศึกษาปริญญาตรีชั้นปีที่ 2 ของสถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนาม (FIBO) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) โดยมี ผศ. ดร.เอกชัย เป็งวัง และ ดร.รัตนชัย รมัยธิติมา FIBO เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา ที่รวมตัวกันเพื่อสร้างนวัตกรรมที่ตอบโจทย์ปัญหาของชุมชน อันเป็นโจทย์ของการแข่งขันฟอร์ดในปีนี้ “เมื่อนำหัวข้อที่เราสนใจมาทำ SWOT (วิเคราะห์จุดเด่น-จุดด้อย-โอกาส-ความเสี่ยง) ประเทศไทยส่งออกปูทะเลมากกว่าปีละ 6 พันล้านบาท ขณะที่มีฟาร์มเลี้ยงปูทะเลมากกว่า 5,000 ฟาร์ม การที่เราเข้าไปแก้ไขจุดที่เป็นคอขวดของการทำปูนิ่ม จึงน่าจะเป็นประโยชน์กับเกษตรกรผู้เลี้ยงปูทะเลได้จริงๆ เราจึงเลือกจะทำเรื่องนี้” น้องออตโต้ ซึ่งชื่นชอบปูทะเลเป็นพิเศษ กล่าวถึงกระบวนการคิดที่ทำให้เลือกปูทะเล มาเป็นหัวข้อในการทำโครงงานประกวดชิ้นนี้ สำหรับเครื่องต้นแบบของ “ระบบตรวจจับและเก็บเกี่ยวปูนิ่มในการเลี้ยงระบบปิดแบบธรรมชาติ” ที่น้องๆ ทีมปูนิ่มจิ้มซีฟู้ดส์ ใช้เวลาประมาณ 3 เดือนในการสร้าง จะเป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่วิ่งไปเหนือแพเลี้ยงปู ที่มีตะกร้าใส่ปูแขวนไว้ในน้ำ เพื่อหาตะกร้าที่มีปูระยะลอกคราบ แล้วนำตะกร้านั้นมาส่งให้กับคนงาน ซึ่งส่วนที่สำคัญที่สุดของระบบนี้คือ “ระบบตรวจสอบด้วยกล้อง” “เราต้องการให้ระบบของเราสามารถใช้กับตัวบ่อและตัวแพ รวมถึงตะกร้าที่มีอยู่เดิม เพียงแต่เปลี่ยนจากการที่ใช้คนงานเป็นผู้ดึงหรือสาวแพปูเข้ามาเพื่อส่องดูด้วยตา มาเป็นการใช้ระบบรอกในการดึงแทน และมีกล้องอินฟราเรดบันทึกภาพปูในตะกร้า เพื่อส่งภาพให้ AI วิเคราะห์ว่าปูตัวนั้นอยู่ในช่วงลอกคราบหรือไม่ เพราะปูที่มีกระดองแข็ง กับปูนิ่ม (ปูที่มีกระดองนิ่ม) จะมีค่าการสะท้อนแสงอินฟราเรดที่ต่างกัน รวมถึงหาก AI สามารถนับจำนวนวัตถุในภาพได้มากกว่า 1 ชิ้น ก็แสดงว่าในตะกร้านั้น มีปูที่ลอกคราบแล้วได้เช่นกัน” น้องปีใหม่ อธิบายคอนเซ็ปต์ในการวิเคราะห์ภาพด้วย AI “จากการทดสอบให้ AI เรียนรู้และจำแนกภาพอินฟราเรดของปูทะเล ทั้งปูทั่วไปและปูระยะลอกคราบ 2,300 ภาพ พบว่า AI สามารถแยกแยะระหว่างปูปกติ กับปูลอกคราบได้อย่างแม่นยำ โดยมีค่าความถูกต้องสูงถึง 99 เปอร์เซ็นต์ และนอกจากจะวิเคราะห์หาปูนิ่มได้แล้ว ระบบยังมีการนำภาพที่ถ่ายล่าสุดกับภาพก่อนหน้ามาซ้อนทับกัน ซึ่งหากมันเหมือนกัน (ทับซ้อนกันสนิท) แสดงว่าปูตัวนั้นไม่มีการขยับตัวเลยทำให้สามารถแยกปูที่ตายออกจากบ่อได้รวดเร็วขึ้น ช่วยลดความเสี่ยงจากการระบาดของโรค (หากมี) ได้อีกด้วย” น้องไบร์ท ให้ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับระบบวิเคราะห์ด้วยภาพ ด้าน น้องเตเต้ กล่าวเสริมว่า ในส่วนของการทำให้ตัวอุปกรณ์กล้อง และอุปกรณ์เก็บเกี่ยว วิ่งไปตามแพแต่ละแพนั้น ทางตนแองและเพื่อนๆ ใช้ความรู้ทางวิศวกรรมที่ได้จากการเรียนในช่วงชั้นปีที่ 1 และ 2 มาสร้าง รวมถึง “ระบบขับเคลื่อน” และ “ระบบยกตะกร้า” ที่จะมี “มือจับ” (Gripper) ทำหน้าที่ยกตะกร้าใส่ปู ที่ AI ระบุว่าเป็นปูนิ่ม หรือ เป็นปูที่ตายแล้ว ขึ้นจากน้ำ และ “ระบบดึงแพ” ที่จะลำเลียงตะกร้าใบนั้นๆ มาที่ฝั่งเพื่อให้คนงานของฟาร์มจัดการต่อไป “จากทดสอบใช้งาน ‘ระบบตรวจจับและเก็บเกี่ยวปูนิ่มในการเลี้ยงระบบปิดแบบธรรมชาติ’ ตัวต้นแบบ (Prototype) ที่สร้างขึ้นพร้อมกับบ่อเลี้ยงปูจำลอง ขนาด 1X2 เมตร ณ อาคาร FIBO จากเดิมที่การตรวจปูในบ่อปูจำนวน 2,000 กล่อง จะใช้เวลารอบละประมาณ 4-5 ชั่วโมง แต่ระบบใหม่นี้ใช้เวลารอบละ 2-3 ชั่วโมงเท่านั้น ทำให้รอบตรวจถี่ขึ้น มีโอกาสเจอตะกร้าที่มีปูระยะลอกคราบมากขึ้น นอกจากนั้นตัว AI ที่เราพัฒนาขึ้น ยังมีความแม่นยำในการแยกแยะระหว่างปูทั่วไปกับปูลอกคราบสูงถึง 95 เปอร์เซ็นต์” น้องเตเต้ กล่าวถึงจุดเด่นด้านเทคโนโลยีของนวัตกรรมชิ้นนี้ น้องไบร์ท กล่าวเสริมว่า สำหรับตัวต้นแบบที่มีขนาดประมาณครึ่งหนึ่งของตัวจริงนั้น นอกจากตัว AI ที่เป็น Open Source และตัวกล้องที่ผลิตจากต่างประเทศ วัสดุอุปกรณ์อื่นๆ ล้วนเป็นของที่หาได้ในประเทศแทบทั้งสิ้น โดยมีต้นทุนอยู่ที่ชุดละ 4 หมื่นบาท ซึ่งการผลิตจริงอาจมีราคาสูงกว่านี้เพราะต้องเปลี่ยนจากวัสดุอะลูมิเนียมไปเป็นวัสดุสเตนเลสที่ทนต่อความเค็มของน้ำได้ดีขึ้น แต่ราคาไม่น่าเกินชุดละ 1 แสนบาท แต่ที่สำคัญ คือระบบนี้สามารถลดต้นทุนค่าใช้จ่ายให้กับผู้ประกอบการฟาร์มปูนิ่มได้จริง “จากเดิมต้องมีคนที่มีความเชี่ยวชาญในการดูปูลอกคราบ 5-6 คนต่อบ่อ ให้เหลือเพียง 1-2 คนต่อบ่อ เป็นการลดความเสี่ยงเรื่องการขาดแคลนแรงงานให้กับชุมชนเกษตรกร ที่สำคัญ คือ เป็นนวัตกรรมที่เราต่อยอดจากรูปแบบการเลี้ยงที่มีอยู่ในปัจจุบัน ซึ่งน่าจะทำให้เกิดการยอมรับของผู้ใช้ได้ไม่ยาก” ด้วยจุดเด่นของนวัตกรรม ที่นอกจากการเลือกที่ใช้เทคโนโลยีที่มีอยู่จริง อุปกรณ์ชิ้นส่วนหาได้ง่าย และที่สำคัญเป็นการแก้ “ปัญหาคอขวด” ของชุมชนคนผลิตปูนิ่มได้อย่างตรงจุด “ระบบตรวจจับและเก็บเกี่ยวปูนิ่มในการเลี้ยงระบบปิดแบบธรรมชาติ” ของนักศึกษาปี 2 FIBO ทีม “ปูนิ่มจิ้มซีฟู้ดส์” จึงสามารถคว้ารางวัล Popular Vote และรางวัลชมเชยพร้อมเกียรติบัตรจากงาน Ford Innovator Scholarship 2024 มาได้ คลิปสาธิตการทำงาน https://drive.google.com/drive/u/2/folders/1XDQ81T2HFjX7H08vVhr9IFvfP8ljaVZ0 EZ Webmaster Related Posts ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ ม.หอการค้าไทย จัดหลักสูตรรุกหน้าการันตี “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน!!” การตลาดดิจิทัลและระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย จัดกิจกรรมตอบแทนกลับคืนสังคม “จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” Post navigation PREVIOUS Previous post: โครงการ Taro to School 2025 รู้สิ่งใดไม่สู้ รู้จักตนเอง โรงเรียนมัธยมเทศบาลเมืองสวรรคโลกNEXT Next post: เปิดประสบการณ์ระดับโลก! สถาบันภาษา ม.ราชภัฏสวนสุนันทา พานักศึกษาร่วมประชุมวิชาการ ICEBTS 2025 ณ กรุงปักกิ่ง Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
การตลาดดิจิทัลและระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย จัดกิจกรรมตอบแทนกลับคืนสังคม EZ WebmasterJune 17, 2025 นักศึกษากลุ่มวิชาการตลาดดิจิทัล และกลุ่มวิชาการบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ร่วมทำกิจกรรม Digital Marketing Innovation for Sustainability สร้างสรรค์ประสบการณ์ทางการตลาดดิจิทัลและการบริการสังคม โดยนักศึกษาได้เข้ากิจกรรมปล่อยสัตว์ทะเลที่ธนาคารปู จังหวัดระยอง และบริจากสิ่งของให้กับชมรมผู้พิการทางสติปัญญา จังหวัดชลบุรี ร่วมเรียนรู้การสร้างสรรค์สื่อสำหรับการสื่อสารทางการตลาดดิจิทัล เพื่อสร้างความรับผิดชอบต่อสังคมให้กับนักศึกษาและร่วมสร้างสรรค์สังคมให้น่าอยู่ต่อไป เรียนคณะบริหารธุรกิจแนวใหม่ต้องสัมผัสประสบการณ์แบบนักธุรกิจ ถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์จากคณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญรวมทั้งนักธุรกิจมืออาชีพ… “จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” EZ WebmasterJune 17, 2025 ในนามของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผมขอส่งความห่วงใยมายังพวกเราทุกคนที่กำลังใช้ชีวิตและศึกษาอยู่ในสหรัฐฯ โดยเฉพาะในช่วงเวลาที่มีความไม่แน่นอนเกี่ยวกับนโยบายวีซ่าที่อาจส่งผลต่อสิทธิในการศึกษา เมื่อไม่นานนี้ ผมและผู้บริหารจุฬาฯ มีโอกาสได้ไปเยือน Harvard และ MIT และได้พบกับนักศึกษาชาวไทยหลายคน ทุกคนต่างมีความมุ่งมั่น ตั้งใจ และอดทนในการใฝ่หาความรู้ เพื่อนำมาพัฒนาตนเอง สังคม และประเทศชาติ แม้จะอยู่ท่ามกลางความกังวลใจต่ออนาคตที่ยังไม่ชัดเจน ผมอยากบอกว่าพวกเราที่จุฬาฯ…
“จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” EZ WebmasterJune 17, 2025 ในนามของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผมขอส่งความห่วงใยมายังพวกเราทุกคนที่กำลังใช้ชีวิตและศึกษาอยู่ในสหรัฐฯ โดยเฉพาะในช่วงเวลาที่มีความไม่แน่นอนเกี่ยวกับนโยบายวีซ่าที่อาจส่งผลต่อสิทธิในการศึกษา เมื่อไม่นานนี้ ผมและผู้บริหารจุฬาฯ มีโอกาสได้ไปเยือน Harvard และ MIT และได้พบกับนักศึกษาชาวไทยหลายคน ทุกคนต่างมีความมุ่งมั่น ตั้งใจ และอดทนในการใฝ่หาความรู้ เพื่อนำมาพัฒนาตนเอง สังคม และประเทศชาติ แม้จะอยู่ท่ามกลางความกังวลใจต่ออนาคตที่ยังไม่ชัดเจน ผมอยากบอกว่าพวกเราที่จุฬาฯ…
SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ครู-อาจารย์ อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก tui sakrapeeJune 18, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา นำโดย รศ.ดร.ชุติกาญจน์ ศรีวิบูลย์ อธิการบดี พร้อมคณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย เดินทางเยือนโรงเรียนนานาชาติ Qingdao No.1 International School of Shandong Province (QISS) และ Qingdao University… กองกลาง มจพ. เยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ และจัดสัมมนาจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล ประจำปี 2568 EZ WebmasterJune 18, 2025 ผศ.ดร.สราวุฒิ สืบแย้ม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายการคลังและกิจการทั่วไป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยนางสาวรัตนา สุขเฉลิมศรี ผู้อำนวยการกองกลาง และบุคลากรกองกลาง เข้าเยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ มจพ. ณ ชั้น 3 สำนักงานหอสมุดกลาง โดยมีนางสาวพนารมย์ เกียรติลีลานันท์ และ… คณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล มจพ. ชูธงร่วมเครือข่ายจัดใหญ่การประชุมวิชาการ นวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (FIAC) 2025 EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร สมฤกษ์ จันทรอัมพร รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นเจ้าภาพร่วมในการจัดประชุมวิชาการด้านนวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (Food Innovation Asia Conference 2025) พร้อมด้วย รศ.ดร.รัชนี เจริญ คณบดีคณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล และคณะผู้บริหาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ… สมศ. พลิกโฉมการประเมินคุณภาพภายนอกด้วย AI ภายใต้ “ONESQA 5.0” เสริมความโปร่งใส แม่นยำ และพัฒนาอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 17, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยวิสัยทัศน์ และแนวทางการขับเคลื่อนองค์กรด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence – AI) ภายใต้ วิสัยทัศน์ ONESQA 5.0 โดยมุ่งเน้นการนำ AI เข้ามาใช้เพื่อเสริมประสิทธิภาพ ความโปร่งใส และความแม่นยำ ในกระบวนการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา พร้อมยกระดับสู่ความเป็นดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบบ ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster January 21, 2025 นักศึกษา “ส่องหาปูนิ่ม ด้วย AI” นวัตกรรมเพื่อผู้ผลิตปูนิ่ม EZ Webmaster January 21, 2025 “ส่องหาปูนิ่ม ด้วย AI” นวัตกรรมเพื่อผู้ผลิตปูนิ่ม “2 ถึง 3 ชั่วโมง คือ ช่วงเวลาทองที่ปูทะเลหลังลอกคราบจะต้องถูกนำขึ้นจากบ่อ เพื่อไปทำเป็น “ปูนิ่ม” เพราะหากช้ากว่านี้ปูตัวนั้นก็จะดึงแร่ธาตุในน้ำเค็มมาสร้างกระดองแข็ง ทำให้เป็นภาระที่ต้องเลี้ยงรอการลอกคราบครั้งต่อไปอีกไม่น้อยกว่า 1 เดือน ที่สำคัญการใช้คนทำหน้าที่ส่องดูปูในตะกร้าทีละใบและทำอย่างต่อเนื่องนั้น นอกจากจะต้องใช้คนงานบ่อละหลายคนแล้ว จะมีโอกาสผิดพลาดหรือไม่เจอปูลอกคราบได้ถึง 5 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งหากเป็นฟาร์มปูทะเลขนาด 500,000 ตัว จะเป็นเงินที่ถูกปล่อยคืนบ่อไปเฉยๆ เดือนละ 864,000 บาท” น้องบีม จากทีม “ปูนิ่มจิ้มซีฟู้ดส์”กล่าวถึงที่มาของแนวคิดการพัฒนา “ระบบตรวจจับและเก็บเกี่ยวปูนิ่มในการเลี้ยงระบบปิดแบบธรรมชาติ (System for Detecting and Harvesting Soft-shell Crabs in Closed Natural Farming Systems)” ที่คว้ารางวัล Ford Popular Vote สุดยอดนวัตกร จาก Ford Innovator Scholarship 2024 ซึ่งเป็นการประกวดนวัตกรรมและเทคโนโลยีระดับสูง Ford Innovator Scholarship 2024 เมื่อปลายปีที่ผ่านมา ทีม “ปูนิ่มจิ้มซีฟู้ดส์” ประกอบด้วยสมาชิก 5 คน คือ นางสาวบุณยาพร ปรีชาศุทธิ์ (น้องบีม), นางสาววรกาญจน์ ลาสุดี (น้องปีใหม่), นายวิชาญ วิชญานุภาพ (น้องไบร์ท), นายณพสัญญ์ จีระวัฒนะนนท์ (น้องออตโต้) และนายภูนุวัฒน์ บุญเกิด (น้องเตเต้) ทั้งหมดเป็นนักศึกษาปริญญาตรีชั้นปีที่ 2 ของสถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนาม (FIBO) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) โดยมี ผศ. ดร.เอกชัย เป็งวัง และ ดร.รัตนชัย รมัยธิติมา FIBO เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา ที่รวมตัวกันเพื่อสร้างนวัตกรรมที่ตอบโจทย์ปัญหาของชุมชน อันเป็นโจทย์ของการแข่งขันฟอร์ดในปีนี้ “เมื่อนำหัวข้อที่เราสนใจมาทำ SWOT (วิเคราะห์จุดเด่น-จุดด้อย-โอกาส-ความเสี่ยง) ประเทศไทยส่งออกปูทะเลมากกว่าปีละ 6 พันล้านบาท ขณะที่มีฟาร์มเลี้ยงปูทะเลมากกว่า 5,000 ฟาร์ม การที่เราเข้าไปแก้ไขจุดที่เป็นคอขวดของการทำปูนิ่ม จึงน่าจะเป็นประโยชน์กับเกษตรกรผู้เลี้ยงปูทะเลได้จริงๆ เราจึงเลือกจะทำเรื่องนี้” น้องออตโต้ ซึ่งชื่นชอบปูทะเลเป็นพิเศษ กล่าวถึงกระบวนการคิดที่ทำให้เลือกปูทะเล มาเป็นหัวข้อในการทำโครงงานประกวดชิ้นนี้ สำหรับเครื่องต้นแบบของ “ระบบตรวจจับและเก็บเกี่ยวปูนิ่มในการเลี้ยงระบบปิดแบบธรรมชาติ” ที่น้องๆ ทีมปูนิ่มจิ้มซีฟู้ดส์ ใช้เวลาประมาณ 3 เดือนในการสร้าง จะเป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่วิ่งไปเหนือแพเลี้ยงปู ที่มีตะกร้าใส่ปูแขวนไว้ในน้ำ เพื่อหาตะกร้าที่มีปูระยะลอกคราบ แล้วนำตะกร้านั้นมาส่งให้กับคนงาน ซึ่งส่วนที่สำคัญที่สุดของระบบนี้คือ “ระบบตรวจสอบด้วยกล้อง” “เราต้องการให้ระบบของเราสามารถใช้กับตัวบ่อและตัวแพ รวมถึงตะกร้าที่มีอยู่เดิม เพียงแต่เปลี่ยนจากการที่ใช้คนงานเป็นผู้ดึงหรือสาวแพปูเข้ามาเพื่อส่องดูด้วยตา มาเป็นการใช้ระบบรอกในการดึงแทน และมีกล้องอินฟราเรดบันทึกภาพปูในตะกร้า เพื่อส่งภาพให้ AI วิเคราะห์ว่าปูตัวนั้นอยู่ในช่วงลอกคราบหรือไม่ เพราะปูที่มีกระดองแข็ง กับปูนิ่ม (ปูที่มีกระดองนิ่ม) จะมีค่าการสะท้อนแสงอินฟราเรดที่ต่างกัน รวมถึงหาก AI สามารถนับจำนวนวัตถุในภาพได้มากกว่า 1 ชิ้น ก็แสดงว่าในตะกร้านั้น มีปูที่ลอกคราบแล้วได้เช่นกัน” น้องปีใหม่ อธิบายคอนเซ็ปต์ในการวิเคราะห์ภาพด้วย AI “จากการทดสอบให้ AI เรียนรู้และจำแนกภาพอินฟราเรดของปูทะเล ทั้งปูทั่วไปและปูระยะลอกคราบ 2,300 ภาพ พบว่า AI สามารถแยกแยะระหว่างปูปกติ กับปูลอกคราบได้อย่างแม่นยำ โดยมีค่าความถูกต้องสูงถึง 99 เปอร์เซ็นต์ และนอกจากจะวิเคราะห์หาปูนิ่มได้แล้ว ระบบยังมีการนำภาพที่ถ่ายล่าสุดกับภาพก่อนหน้ามาซ้อนทับกัน ซึ่งหากมันเหมือนกัน (ทับซ้อนกันสนิท) แสดงว่าปูตัวนั้นไม่มีการขยับตัวเลยทำให้สามารถแยกปูที่ตายออกจากบ่อได้รวดเร็วขึ้น ช่วยลดความเสี่ยงจากการระบาดของโรค (หากมี) ได้อีกด้วย” น้องไบร์ท ให้ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับระบบวิเคราะห์ด้วยภาพ ด้าน น้องเตเต้ กล่าวเสริมว่า ในส่วนของการทำให้ตัวอุปกรณ์กล้อง และอุปกรณ์เก็บเกี่ยว วิ่งไปตามแพแต่ละแพนั้น ทางตนแองและเพื่อนๆ ใช้ความรู้ทางวิศวกรรมที่ได้จากการเรียนในช่วงชั้นปีที่ 1 และ 2 มาสร้าง รวมถึง “ระบบขับเคลื่อน” และ “ระบบยกตะกร้า” ที่จะมี “มือจับ” (Gripper) ทำหน้าที่ยกตะกร้าใส่ปู ที่ AI ระบุว่าเป็นปูนิ่ม หรือ เป็นปูที่ตายแล้ว ขึ้นจากน้ำ และ “ระบบดึงแพ” ที่จะลำเลียงตะกร้าใบนั้นๆ มาที่ฝั่งเพื่อให้คนงานของฟาร์มจัดการต่อไป “จากทดสอบใช้งาน ‘ระบบตรวจจับและเก็บเกี่ยวปูนิ่มในการเลี้ยงระบบปิดแบบธรรมชาติ’ ตัวต้นแบบ (Prototype) ที่สร้างขึ้นพร้อมกับบ่อเลี้ยงปูจำลอง ขนาด 1X2 เมตร ณ อาคาร FIBO จากเดิมที่การตรวจปูในบ่อปูจำนวน 2,000 กล่อง จะใช้เวลารอบละประมาณ 4-5 ชั่วโมง แต่ระบบใหม่นี้ใช้เวลารอบละ 2-3 ชั่วโมงเท่านั้น ทำให้รอบตรวจถี่ขึ้น มีโอกาสเจอตะกร้าที่มีปูระยะลอกคราบมากขึ้น นอกจากนั้นตัว AI ที่เราพัฒนาขึ้น ยังมีความแม่นยำในการแยกแยะระหว่างปูทั่วไปกับปูลอกคราบสูงถึง 95 เปอร์เซ็นต์” น้องเตเต้ กล่าวถึงจุดเด่นด้านเทคโนโลยีของนวัตกรรมชิ้นนี้ น้องไบร์ท กล่าวเสริมว่า สำหรับตัวต้นแบบที่มีขนาดประมาณครึ่งหนึ่งของตัวจริงนั้น นอกจากตัว AI ที่เป็น Open Source และตัวกล้องที่ผลิตจากต่างประเทศ วัสดุอุปกรณ์อื่นๆ ล้วนเป็นของที่หาได้ในประเทศแทบทั้งสิ้น โดยมีต้นทุนอยู่ที่ชุดละ 4 หมื่นบาท ซึ่งการผลิตจริงอาจมีราคาสูงกว่านี้เพราะต้องเปลี่ยนจากวัสดุอะลูมิเนียมไปเป็นวัสดุสเตนเลสที่ทนต่อความเค็มของน้ำได้ดีขึ้น แต่ราคาไม่น่าเกินชุดละ 1 แสนบาท แต่ที่สำคัญ คือระบบนี้สามารถลดต้นทุนค่าใช้จ่ายให้กับผู้ประกอบการฟาร์มปูนิ่มได้จริง “จากเดิมต้องมีคนที่มีความเชี่ยวชาญในการดูปูลอกคราบ 5-6 คนต่อบ่อ ให้เหลือเพียง 1-2 คนต่อบ่อ เป็นการลดความเสี่ยงเรื่องการขาดแคลนแรงงานให้กับชุมชนเกษตรกร ที่สำคัญ คือ เป็นนวัตกรรมที่เราต่อยอดจากรูปแบบการเลี้ยงที่มีอยู่ในปัจจุบัน ซึ่งน่าจะทำให้เกิดการยอมรับของผู้ใช้ได้ไม่ยาก” ด้วยจุดเด่นของนวัตกรรม ที่นอกจากการเลือกที่ใช้เทคโนโลยีที่มีอยู่จริง อุปกรณ์ชิ้นส่วนหาได้ง่าย และที่สำคัญเป็นการแก้ “ปัญหาคอขวด” ของชุมชนคนผลิตปูนิ่มได้อย่างตรงจุด “ระบบตรวจจับและเก็บเกี่ยวปูนิ่มในการเลี้ยงระบบปิดแบบธรรมชาติ” ของนักศึกษาปี 2 FIBO ทีม “ปูนิ่มจิ้มซีฟู้ดส์” จึงสามารถคว้ารางวัล Popular Vote และรางวัลชมเชยพร้อมเกียรติบัตรจากงาน Ford Innovator Scholarship 2024 มาได้ คลิปสาธิตการทำงาน https://drive.google.com/drive/u/2/folders/1XDQ81T2HFjX7H08vVhr9IFvfP8ljaVZ0 EZ Webmaster Related Posts ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ ม.หอการค้าไทย จัดหลักสูตรรุกหน้าการันตี “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน!!” การตลาดดิจิทัลและระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย จัดกิจกรรมตอบแทนกลับคืนสังคม “จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” Post navigation PREVIOUS Previous post: โครงการ Taro to School 2025 รู้สิ่งใดไม่สู้ รู้จักตนเอง โรงเรียนมัธยมเทศบาลเมืองสวรรคโลกNEXT Next post: เปิดประสบการณ์ระดับโลก! สถาบันภาษา ม.ราชภัฏสวนสุนันทา พานักศึกษาร่วมประชุมวิชาการ ICEBTS 2025 ณ กรุงปักกิ่ง Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ครู-อาจารย์ อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก tui sakrapeeJune 18, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา นำโดย รศ.ดร.ชุติกาญจน์ ศรีวิบูลย์ อธิการบดี พร้อมคณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย เดินทางเยือนโรงเรียนนานาชาติ Qingdao No.1 International School of Shandong Province (QISS) และ Qingdao University… กองกลาง มจพ. เยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ และจัดสัมมนาจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล ประจำปี 2568 EZ WebmasterJune 18, 2025 ผศ.ดร.สราวุฒิ สืบแย้ม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายการคลังและกิจการทั่วไป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยนางสาวรัตนา สุขเฉลิมศรี ผู้อำนวยการกองกลาง และบุคลากรกองกลาง เข้าเยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ มจพ. ณ ชั้น 3 สำนักงานหอสมุดกลาง โดยมีนางสาวพนารมย์ เกียรติลีลานันท์ และ… คณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล มจพ. ชูธงร่วมเครือข่ายจัดใหญ่การประชุมวิชาการ นวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (FIAC) 2025 EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร สมฤกษ์ จันทรอัมพร รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นเจ้าภาพร่วมในการจัดประชุมวิชาการด้านนวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (Food Innovation Asia Conference 2025) พร้อมด้วย รศ.ดร.รัชนี เจริญ คณบดีคณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล และคณะผู้บริหาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ… สมศ. พลิกโฉมการประเมินคุณภาพภายนอกด้วย AI ภายใต้ “ONESQA 5.0” เสริมความโปร่งใส แม่นยำ และพัฒนาอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 17, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยวิสัยทัศน์ และแนวทางการขับเคลื่อนองค์กรด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence – AI) ภายใต้ วิสัยทัศน์ ONESQA 5.0 โดยมุ่งเน้นการนำ AI เข้ามาใช้เพื่อเสริมประสิทธิภาพ ความโปร่งใส และความแม่นยำ ในกระบวนการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา พร้อมยกระดับสู่ความเป็นดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบบ ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster January 21, 2025 นักศึกษา “ส่องหาปูนิ่ม ด้วย AI” นวัตกรรมเพื่อผู้ผลิตปูนิ่ม EZ Webmaster January 21, 2025 “ส่องหาปูนิ่ม ด้วย AI” นวัตกรรมเพื่อผู้ผลิตปูนิ่ม “2 ถึง 3 ชั่วโมง คือ ช่วงเวลาทองที่ปูทะเลหลังลอกคราบจะต้องถูกนำขึ้นจากบ่อ เพื่อไปทำเป็น “ปูนิ่ม” เพราะหากช้ากว่านี้ปูตัวนั้นก็จะดึงแร่ธาตุในน้ำเค็มมาสร้างกระดองแข็ง ทำให้เป็นภาระที่ต้องเลี้ยงรอการลอกคราบครั้งต่อไปอีกไม่น้อยกว่า 1 เดือน ที่สำคัญการใช้คนทำหน้าที่ส่องดูปูในตะกร้าทีละใบและทำอย่างต่อเนื่องนั้น นอกจากจะต้องใช้คนงานบ่อละหลายคนแล้ว จะมีโอกาสผิดพลาดหรือไม่เจอปูลอกคราบได้ถึง 5 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งหากเป็นฟาร์มปูทะเลขนาด 500,000 ตัว จะเป็นเงินที่ถูกปล่อยคืนบ่อไปเฉยๆ เดือนละ 864,000 บาท” น้องบีม จากทีม “ปูนิ่มจิ้มซีฟู้ดส์”กล่าวถึงที่มาของแนวคิดการพัฒนา “ระบบตรวจจับและเก็บเกี่ยวปูนิ่มในการเลี้ยงระบบปิดแบบธรรมชาติ (System for Detecting and Harvesting Soft-shell Crabs in Closed Natural Farming Systems)” ที่คว้ารางวัล Ford Popular Vote สุดยอดนวัตกร จาก Ford Innovator Scholarship 2024 ซึ่งเป็นการประกวดนวัตกรรมและเทคโนโลยีระดับสูง Ford Innovator Scholarship 2024 เมื่อปลายปีที่ผ่านมา ทีม “ปูนิ่มจิ้มซีฟู้ดส์” ประกอบด้วยสมาชิก 5 คน คือ นางสาวบุณยาพร ปรีชาศุทธิ์ (น้องบีม), นางสาววรกาญจน์ ลาสุดี (น้องปีใหม่), นายวิชาญ วิชญานุภาพ (น้องไบร์ท), นายณพสัญญ์ จีระวัฒนะนนท์ (น้องออตโต้) และนายภูนุวัฒน์ บุญเกิด (น้องเตเต้) ทั้งหมดเป็นนักศึกษาปริญญาตรีชั้นปีที่ 2 ของสถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนาม (FIBO) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) โดยมี ผศ. ดร.เอกชัย เป็งวัง และ ดร.รัตนชัย รมัยธิติมา FIBO เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา ที่รวมตัวกันเพื่อสร้างนวัตกรรมที่ตอบโจทย์ปัญหาของชุมชน อันเป็นโจทย์ของการแข่งขันฟอร์ดในปีนี้ “เมื่อนำหัวข้อที่เราสนใจมาทำ SWOT (วิเคราะห์จุดเด่น-จุดด้อย-โอกาส-ความเสี่ยง) ประเทศไทยส่งออกปูทะเลมากกว่าปีละ 6 พันล้านบาท ขณะที่มีฟาร์มเลี้ยงปูทะเลมากกว่า 5,000 ฟาร์ม การที่เราเข้าไปแก้ไขจุดที่เป็นคอขวดของการทำปูนิ่ม จึงน่าจะเป็นประโยชน์กับเกษตรกรผู้เลี้ยงปูทะเลได้จริงๆ เราจึงเลือกจะทำเรื่องนี้” น้องออตโต้ ซึ่งชื่นชอบปูทะเลเป็นพิเศษ กล่าวถึงกระบวนการคิดที่ทำให้เลือกปูทะเล มาเป็นหัวข้อในการทำโครงงานประกวดชิ้นนี้ สำหรับเครื่องต้นแบบของ “ระบบตรวจจับและเก็บเกี่ยวปูนิ่มในการเลี้ยงระบบปิดแบบธรรมชาติ” ที่น้องๆ ทีมปูนิ่มจิ้มซีฟู้ดส์ ใช้เวลาประมาณ 3 เดือนในการสร้าง จะเป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่วิ่งไปเหนือแพเลี้ยงปู ที่มีตะกร้าใส่ปูแขวนไว้ในน้ำ เพื่อหาตะกร้าที่มีปูระยะลอกคราบ แล้วนำตะกร้านั้นมาส่งให้กับคนงาน ซึ่งส่วนที่สำคัญที่สุดของระบบนี้คือ “ระบบตรวจสอบด้วยกล้อง” “เราต้องการให้ระบบของเราสามารถใช้กับตัวบ่อและตัวแพ รวมถึงตะกร้าที่มีอยู่เดิม เพียงแต่เปลี่ยนจากการที่ใช้คนงานเป็นผู้ดึงหรือสาวแพปูเข้ามาเพื่อส่องดูด้วยตา มาเป็นการใช้ระบบรอกในการดึงแทน และมีกล้องอินฟราเรดบันทึกภาพปูในตะกร้า เพื่อส่งภาพให้ AI วิเคราะห์ว่าปูตัวนั้นอยู่ในช่วงลอกคราบหรือไม่ เพราะปูที่มีกระดองแข็ง กับปูนิ่ม (ปูที่มีกระดองนิ่ม) จะมีค่าการสะท้อนแสงอินฟราเรดที่ต่างกัน รวมถึงหาก AI สามารถนับจำนวนวัตถุในภาพได้มากกว่า 1 ชิ้น ก็แสดงว่าในตะกร้านั้น มีปูที่ลอกคราบแล้วได้เช่นกัน” น้องปีใหม่ อธิบายคอนเซ็ปต์ในการวิเคราะห์ภาพด้วย AI “จากการทดสอบให้ AI เรียนรู้และจำแนกภาพอินฟราเรดของปูทะเล ทั้งปูทั่วไปและปูระยะลอกคราบ 2,300 ภาพ พบว่า AI สามารถแยกแยะระหว่างปูปกติ กับปูลอกคราบได้อย่างแม่นยำ โดยมีค่าความถูกต้องสูงถึง 99 เปอร์เซ็นต์ และนอกจากจะวิเคราะห์หาปูนิ่มได้แล้ว ระบบยังมีการนำภาพที่ถ่ายล่าสุดกับภาพก่อนหน้ามาซ้อนทับกัน ซึ่งหากมันเหมือนกัน (ทับซ้อนกันสนิท) แสดงว่าปูตัวนั้นไม่มีการขยับตัวเลยทำให้สามารถแยกปูที่ตายออกจากบ่อได้รวดเร็วขึ้น ช่วยลดความเสี่ยงจากการระบาดของโรค (หากมี) ได้อีกด้วย” น้องไบร์ท ให้ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับระบบวิเคราะห์ด้วยภาพ ด้าน น้องเตเต้ กล่าวเสริมว่า ในส่วนของการทำให้ตัวอุปกรณ์กล้อง และอุปกรณ์เก็บเกี่ยว วิ่งไปตามแพแต่ละแพนั้น ทางตนแองและเพื่อนๆ ใช้ความรู้ทางวิศวกรรมที่ได้จากการเรียนในช่วงชั้นปีที่ 1 และ 2 มาสร้าง รวมถึง “ระบบขับเคลื่อน” และ “ระบบยกตะกร้า” ที่จะมี “มือจับ” (Gripper) ทำหน้าที่ยกตะกร้าใส่ปู ที่ AI ระบุว่าเป็นปูนิ่ม หรือ เป็นปูที่ตายแล้ว ขึ้นจากน้ำ และ “ระบบดึงแพ” ที่จะลำเลียงตะกร้าใบนั้นๆ มาที่ฝั่งเพื่อให้คนงานของฟาร์มจัดการต่อไป “จากทดสอบใช้งาน ‘ระบบตรวจจับและเก็บเกี่ยวปูนิ่มในการเลี้ยงระบบปิดแบบธรรมชาติ’ ตัวต้นแบบ (Prototype) ที่สร้างขึ้นพร้อมกับบ่อเลี้ยงปูจำลอง ขนาด 1X2 เมตร ณ อาคาร FIBO จากเดิมที่การตรวจปูในบ่อปูจำนวน 2,000 กล่อง จะใช้เวลารอบละประมาณ 4-5 ชั่วโมง แต่ระบบใหม่นี้ใช้เวลารอบละ 2-3 ชั่วโมงเท่านั้น ทำให้รอบตรวจถี่ขึ้น มีโอกาสเจอตะกร้าที่มีปูระยะลอกคราบมากขึ้น นอกจากนั้นตัว AI ที่เราพัฒนาขึ้น ยังมีความแม่นยำในการแยกแยะระหว่างปูทั่วไปกับปูลอกคราบสูงถึง 95 เปอร์เซ็นต์” น้องเตเต้ กล่าวถึงจุดเด่นด้านเทคโนโลยีของนวัตกรรมชิ้นนี้ น้องไบร์ท กล่าวเสริมว่า สำหรับตัวต้นแบบที่มีขนาดประมาณครึ่งหนึ่งของตัวจริงนั้น นอกจากตัว AI ที่เป็น Open Source และตัวกล้องที่ผลิตจากต่างประเทศ วัสดุอุปกรณ์อื่นๆ ล้วนเป็นของที่หาได้ในประเทศแทบทั้งสิ้น โดยมีต้นทุนอยู่ที่ชุดละ 4 หมื่นบาท ซึ่งการผลิตจริงอาจมีราคาสูงกว่านี้เพราะต้องเปลี่ยนจากวัสดุอะลูมิเนียมไปเป็นวัสดุสเตนเลสที่ทนต่อความเค็มของน้ำได้ดีขึ้น แต่ราคาไม่น่าเกินชุดละ 1 แสนบาท แต่ที่สำคัญ คือระบบนี้สามารถลดต้นทุนค่าใช้จ่ายให้กับผู้ประกอบการฟาร์มปูนิ่มได้จริง “จากเดิมต้องมีคนที่มีความเชี่ยวชาญในการดูปูลอกคราบ 5-6 คนต่อบ่อ ให้เหลือเพียง 1-2 คนต่อบ่อ เป็นการลดความเสี่ยงเรื่องการขาดแคลนแรงงานให้กับชุมชนเกษตรกร ที่สำคัญ คือ เป็นนวัตกรรมที่เราต่อยอดจากรูปแบบการเลี้ยงที่มีอยู่ในปัจจุบัน ซึ่งน่าจะทำให้เกิดการยอมรับของผู้ใช้ได้ไม่ยาก” ด้วยจุดเด่นของนวัตกรรม ที่นอกจากการเลือกที่ใช้เทคโนโลยีที่มีอยู่จริง อุปกรณ์ชิ้นส่วนหาได้ง่าย และที่สำคัญเป็นการแก้ “ปัญหาคอขวด” ของชุมชนคนผลิตปูนิ่มได้อย่างตรงจุด “ระบบตรวจจับและเก็บเกี่ยวปูนิ่มในการเลี้ยงระบบปิดแบบธรรมชาติ” ของนักศึกษาปี 2 FIBO ทีม “ปูนิ่มจิ้มซีฟู้ดส์” จึงสามารถคว้ารางวัล Popular Vote และรางวัลชมเชยพร้อมเกียรติบัตรจากงาน Ford Innovator Scholarship 2024 มาได้ คลิปสาธิตการทำงาน https://drive.google.com/drive/u/2/folders/1XDQ81T2HFjX7H08vVhr9IFvfP8ljaVZ0 EZ Webmaster Related Posts ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ ม.หอการค้าไทย จัดหลักสูตรรุกหน้าการันตี “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน!!” การตลาดดิจิทัลและระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย จัดกิจกรรมตอบแทนกลับคืนสังคม “จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” Post navigation PREVIOUS Previous post: โครงการ Taro to School 2025 รู้สิ่งใดไม่สู้ รู้จักตนเอง โรงเรียนมัธยมเทศบาลเมืองสวรรคโลกNEXT Next post: เปิดประสบการณ์ระดับโลก! สถาบันภาษา ม.ราชภัฏสวนสุนันทา พานักศึกษาร่วมประชุมวิชาการ ICEBTS 2025 ณ กรุงปักกิ่ง Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025…
เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025…
อธิการบดีนำทีมกรรมการส่งเสริมฯ สวนสุนันทา เยี่ยมชมโรงเรียนและมหาวิทยาลัยชั้นนำ เมืองชิงเต่า สาธารณรัฐประชาชนจีน มุ่งแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่มาตรฐานโลก tui sakrapeeJune 18, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา นำโดย รศ.ดร.ชุติกาญจน์ ศรีวิบูลย์ อธิการบดี พร้อมคณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย เดินทางเยือนโรงเรียนนานาชาติ Qingdao No.1 International School of Shandong Province (QISS) และ Qingdao University… กองกลาง มจพ. เยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ และจัดสัมมนาจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล ประจำปี 2568 EZ WebmasterJune 18, 2025 ผศ.ดร.สราวุฒิ สืบแย้ม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายการคลังและกิจการทั่วไป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยนางสาวรัตนา สุขเฉลิมศรี ผู้อำนวยการกองกลาง และบุคลากรกองกลาง เข้าเยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ มจพ. ณ ชั้น 3 สำนักงานหอสมุดกลาง โดยมีนางสาวพนารมย์ เกียรติลีลานันท์ และ… คณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล มจพ. ชูธงร่วมเครือข่ายจัดใหญ่การประชุมวิชาการ นวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (FIAC) 2025 EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร สมฤกษ์ จันทรอัมพร รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นเจ้าภาพร่วมในการจัดประชุมวิชาการด้านนวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (Food Innovation Asia Conference 2025) พร้อมด้วย รศ.ดร.รัชนี เจริญ คณบดีคณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล และคณะผู้บริหาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ… สมศ. พลิกโฉมการประเมินคุณภาพภายนอกด้วย AI ภายใต้ “ONESQA 5.0” เสริมความโปร่งใส แม่นยำ และพัฒนาอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 17, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยวิสัยทัศน์ และแนวทางการขับเคลื่อนองค์กรด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence – AI) ภายใต้ วิสัยทัศน์ ONESQA 5.0 โดยมุ่งเน้นการนำ AI เข้ามาใช้เพื่อเสริมประสิทธิภาพ ความโปร่งใส และความแม่นยำ ในกระบวนการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา พร้อมยกระดับสู่ความเป็นดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบบ ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster January 21, 2025 นักศึกษา “ส่องหาปูนิ่ม ด้วย AI” นวัตกรรมเพื่อผู้ผลิตปูนิ่ม EZ Webmaster January 21, 2025 “ส่องหาปูนิ่ม ด้วย AI” นวัตกรรมเพื่อผู้ผลิตปูนิ่ม “2 ถึง 3 ชั่วโมง คือ ช่วงเวลาทองที่ปูทะเลหลังลอกคราบจะต้องถูกนำขึ้นจากบ่อ เพื่อไปทำเป็น “ปูนิ่ม” เพราะหากช้ากว่านี้ปูตัวนั้นก็จะดึงแร่ธาตุในน้ำเค็มมาสร้างกระดองแข็ง ทำให้เป็นภาระที่ต้องเลี้ยงรอการลอกคราบครั้งต่อไปอีกไม่น้อยกว่า 1 เดือน ที่สำคัญการใช้คนทำหน้าที่ส่องดูปูในตะกร้าทีละใบและทำอย่างต่อเนื่องนั้น นอกจากจะต้องใช้คนงานบ่อละหลายคนแล้ว จะมีโอกาสผิดพลาดหรือไม่เจอปูลอกคราบได้ถึง 5 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งหากเป็นฟาร์มปูทะเลขนาด 500,000 ตัว จะเป็นเงินที่ถูกปล่อยคืนบ่อไปเฉยๆ เดือนละ 864,000 บาท” น้องบีม จากทีม “ปูนิ่มจิ้มซีฟู้ดส์”กล่าวถึงที่มาของแนวคิดการพัฒนา “ระบบตรวจจับและเก็บเกี่ยวปูนิ่มในการเลี้ยงระบบปิดแบบธรรมชาติ (System for Detecting and Harvesting Soft-shell Crabs in Closed Natural Farming Systems)” ที่คว้ารางวัล Ford Popular Vote สุดยอดนวัตกร จาก Ford Innovator Scholarship 2024 ซึ่งเป็นการประกวดนวัตกรรมและเทคโนโลยีระดับสูง Ford Innovator Scholarship 2024 เมื่อปลายปีที่ผ่านมา ทีม “ปูนิ่มจิ้มซีฟู้ดส์” ประกอบด้วยสมาชิก 5 คน คือ นางสาวบุณยาพร ปรีชาศุทธิ์ (น้องบีม), นางสาววรกาญจน์ ลาสุดี (น้องปีใหม่), นายวิชาญ วิชญานุภาพ (น้องไบร์ท), นายณพสัญญ์ จีระวัฒนะนนท์ (น้องออตโต้) และนายภูนุวัฒน์ บุญเกิด (น้องเตเต้) ทั้งหมดเป็นนักศึกษาปริญญาตรีชั้นปีที่ 2 ของสถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนาม (FIBO) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) โดยมี ผศ. ดร.เอกชัย เป็งวัง และ ดร.รัตนชัย รมัยธิติมา FIBO เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา ที่รวมตัวกันเพื่อสร้างนวัตกรรมที่ตอบโจทย์ปัญหาของชุมชน อันเป็นโจทย์ของการแข่งขันฟอร์ดในปีนี้ “เมื่อนำหัวข้อที่เราสนใจมาทำ SWOT (วิเคราะห์จุดเด่น-จุดด้อย-โอกาส-ความเสี่ยง) ประเทศไทยส่งออกปูทะเลมากกว่าปีละ 6 พันล้านบาท ขณะที่มีฟาร์มเลี้ยงปูทะเลมากกว่า 5,000 ฟาร์ม การที่เราเข้าไปแก้ไขจุดที่เป็นคอขวดของการทำปูนิ่ม จึงน่าจะเป็นประโยชน์กับเกษตรกรผู้เลี้ยงปูทะเลได้จริงๆ เราจึงเลือกจะทำเรื่องนี้” น้องออตโต้ ซึ่งชื่นชอบปูทะเลเป็นพิเศษ กล่าวถึงกระบวนการคิดที่ทำให้เลือกปูทะเล มาเป็นหัวข้อในการทำโครงงานประกวดชิ้นนี้ สำหรับเครื่องต้นแบบของ “ระบบตรวจจับและเก็บเกี่ยวปูนิ่มในการเลี้ยงระบบปิดแบบธรรมชาติ” ที่น้องๆ ทีมปูนิ่มจิ้มซีฟู้ดส์ ใช้เวลาประมาณ 3 เดือนในการสร้าง จะเป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่วิ่งไปเหนือแพเลี้ยงปู ที่มีตะกร้าใส่ปูแขวนไว้ในน้ำ เพื่อหาตะกร้าที่มีปูระยะลอกคราบ แล้วนำตะกร้านั้นมาส่งให้กับคนงาน ซึ่งส่วนที่สำคัญที่สุดของระบบนี้คือ “ระบบตรวจสอบด้วยกล้อง” “เราต้องการให้ระบบของเราสามารถใช้กับตัวบ่อและตัวแพ รวมถึงตะกร้าที่มีอยู่เดิม เพียงแต่เปลี่ยนจากการที่ใช้คนงานเป็นผู้ดึงหรือสาวแพปูเข้ามาเพื่อส่องดูด้วยตา มาเป็นการใช้ระบบรอกในการดึงแทน และมีกล้องอินฟราเรดบันทึกภาพปูในตะกร้า เพื่อส่งภาพให้ AI วิเคราะห์ว่าปูตัวนั้นอยู่ในช่วงลอกคราบหรือไม่ เพราะปูที่มีกระดองแข็ง กับปูนิ่ม (ปูที่มีกระดองนิ่ม) จะมีค่าการสะท้อนแสงอินฟราเรดที่ต่างกัน รวมถึงหาก AI สามารถนับจำนวนวัตถุในภาพได้มากกว่า 1 ชิ้น ก็แสดงว่าในตะกร้านั้น มีปูที่ลอกคราบแล้วได้เช่นกัน” น้องปีใหม่ อธิบายคอนเซ็ปต์ในการวิเคราะห์ภาพด้วย AI “จากการทดสอบให้ AI เรียนรู้และจำแนกภาพอินฟราเรดของปูทะเล ทั้งปูทั่วไปและปูระยะลอกคราบ 2,300 ภาพ พบว่า AI สามารถแยกแยะระหว่างปูปกติ กับปูลอกคราบได้อย่างแม่นยำ โดยมีค่าความถูกต้องสูงถึง 99 เปอร์เซ็นต์ และนอกจากจะวิเคราะห์หาปูนิ่มได้แล้ว ระบบยังมีการนำภาพที่ถ่ายล่าสุดกับภาพก่อนหน้ามาซ้อนทับกัน ซึ่งหากมันเหมือนกัน (ทับซ้อนกันสนิท) แสดงว่าปูตัวนั้นไม่มีการขยับตัวเลยทำให้สามารถแยกปูที่ตายออกจากบ่อได้รวดเร็วขึ้น ช่วยลดความเสี่ยงจากการระบาดของโรค (หากมี) ได้อีกด้วย” น้องไบร์ท ให้ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับระบบวิเคราะห์ด้วยภาพ ด้าน น้องเตเต้ กล่าวเสริมว่า ในส่วนของการทำให้ตัวอุปกรณ์กล้อง และอุปกรณ์เก็บเกี่ยว วิ่งไปตามแพแต่ละแพนั้น ทางตนแองและเพื่อนๆ ใช้ความรู้ทางวิศวกรรมที่ได้จากการเรียนในช่วงชั้นปีที่ 1 และ 2 มาสร้าง รวมถึง “ระบบขับเคลื่อน” และ “ระบบยกตะกร้า” ที่จะมี “มือจับ” (Gripper) ทำหน้าที่ยกตะกร้าใส่ปู ที่ AI ระบุว่าเป็นปูนิ่ม หรือ เป็นปูที่ตายแล้ว ขึ้นจากน้ำ และ “ระบบดึงแพ” ที่จะลำเลียงตะกร้าใบนั้นๆ มาที่ฝั่งเพื่อให้คนงานของฟาร์มจัดการต่อไป “จากทดสอบใช้งาน ‘ระบบตรวจจับและเก็บเกี่ยวปูนิ่มในการเลี้ยงระบบปิดแบบธรรมชาติ’ ตัวต้นแบบ (Prototype) ที่สร้างขึ้นพร้อมกับบ่อเลี้ยงปูจำลอง ขนาด 1X2 เมตร ณ อาคาร FIBO จากเดิมที่การตรวจปูในบ่อปูจำนวน 2,000 กล่อง จะใช้เวลารอบละประมาณ 4-5 ชั่วโมง แต่ระบบใหม่นี้ใช้เวลารอบละ 2-3 ชั่วโมงเท่านั้น ทำให้รอบตรวจถี่ขึ้น มีโอกาสเจอตะกร้าที่มีปูระยะลอกคราบมากขึ้น นอกจากนั้นตัว AI ที่เราพัฒนาขึ้น ยังมีความแม่นยำในการแยกแยะระหว่างปูทั่วไปกับปูลอกคราบสูงถึง 95 เปอร์เซ็นต์” น้องเตเต้ กล่าวถึงจุดเด่นด้านเทคโนโลยีของนวัตกรรมชิ้นนี้ น้องไบร์ท กล่าวเสริมว่า สำหรับตัวต้นแบบที่มีขนาดประมาณครึ่งหนึ่งของตัวจริงนั้น นอกจากตัว AI ที่เป็น Open Source และตัวกล้องที่ผลิตจากต่างประเทศ วัสดุอุปกรณ์อื่นๆ ล้วนเป็นของที่หาได้ในประเทศแทบทั้งสิ้น โดยมีต้นทุนอยู่ที่ชุดละ 4 หมื่นบาท ซึ่งการผลิตจริงอาจมีราคาสูงกว่านี้เพราะต้องเปลี่ยนจากวัสดุอะลูมิเนียมไปเป็นวัสดุสเตนเลสที่ทนต่อความเค็มของน้ำได้ดีขึ้น แต่ราคาไม่น่าเกินชุดละ 1 แสนบาท แต่ที่สำคัญ คือระบบนี้สามารถลดต้นทุนค่าใช้จ่ายให้กับผู้ประกอบการฟาร์มปูนิ่มได้จริง “จากเดิมต้องมีคนที่มีความเชี่ยวชาญในการดูปูลอกคราบ 5-6 คนต่อบ่อ ให้เหลือเพียง 1-2 คนต่อบ่อ เป็นการลดความเสี่ยงเรื่องการขาดแคลนแรงงานให้กับชุมชนเกษตรกร ที่สำคัญ คือ เป็นนวัตกรรมที่เราต่อยอดจากรูปแบบการเลี้ยงที่มีอยู่ในปัจจุบัน ซึ่งน่าจะทำให้เกิดการยอมรับของผู้ใช้ได้ไม่ยาก” ด้วยจุดเด่นของนวัตกรรม ที่นอกจากการเลือกที่ใช้เทคโนโลยีที่มีอยู่จริง อุปกรณ์ชิ้นส่วนหาได้ง่าย และที่สำคัญเป็นการแก้ “ปัญหาคอขวด” ของชุมชนคนผลิตปูนิ่มได้อย่างตรงจุด “ระบบตรวจจับและเก็บเกี่ยวปูนิ่มในการเลี้ยงระบบปิดแบบธรรมชาติ” ของนักศึกษาปี 2 FIBO ทีม “ปูนิ่มจิ้มซีฟู้ดส์” จึงสามารถคว้ารางวัล Popular Vote และรางวัลชมเชยพร้อมเกียรติบัตรจากงาน Ford Innovator Scholarship 2024 มาได้ คลิปสาธิตการทำงาน https://drive.google.com/drive/u/2/folders/1XDQ81T2HFjX7H08vVhr9IFvfP8ljaVZ0 EZ Webmaster Related Posts ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ ม.หอการค้าไทย จัดหลักสูตรรุกหน้าการันตี “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน!!” การตลาดดิจิทัลและระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย จัดกิจกรรมตอบแทนกลับคืนสังคม “จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” Post navigation PREVIOUS Previous post: โครงการ Taro to School 2025 รู้สิ่งใดไม่สู้ รู้จักตนเอง โรงเรียนมัธยมเทศบาลเมืองสวรรคโลกNEXT Next post: เปิดประสบการณ์ระดับโลก! สถาบันภาษา ม.ราชภัฏสวนสุนันทา พานักศึกษาร่วมประชุมวิชาการ ICEBTS 2025 ณ กรุงปักกิ่ง Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
กองกลาง มจพ. เยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ และจัดสัมมนาจัดทำแผนพัฒนาบุคลากรรายบุคคล ประจำปี 2568 EZ WebmasterJune 18, 2025 ผศ.ดร.สราวุฒิ สืบแย้ม ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายการคลังและกิจการทั่วไป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยนางสาวรัตนา สุขเฉลิมศรี ผู้อำนวยการกองกลาง และบุคลากรกองกลาง เข้าเยี่ยมชมหอเกียรติประวัติ มจพ. ณ ชั้น 3 สำนักงานหอสมุดกลาง โดยมีนางสาวพนารมย์ เกียรติลีลานันท์ และ… คณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล มจพ. ชูธงร่วมเครือข่ายจัดใหญ่การประชุมวิชาการ นวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (FIAC) 2025 EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร สมฤกษ์ จันทรอัมพร รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นเจ้าภาพร่วมในการจัดประชุมวิชาการด้านนวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (Food Innovation Asia Conference 2025) พร้อมด้วย รศ.ดร.รัชนี เจริญ คณบดีคณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล และคณะผู้บริหาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ… สมศ. พลิกโฉมการประเมินคุณภาพภายนอกด้วย AI ภายใต้ “ONESQA 5.0” เสริมความโปร่งใส แม่นยำ และพัฒนาอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 17, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยวิสัยทัศน์ และแนวทางการขับเคลื่อนองค์กรด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence – AI) ภายใต้ วิสัยทัศน์ ONESQA 5.0 โดยมุ่งเน้นการนำ AI เข้ามาใช้เพื่อเสริมประสิทธิภาพ ความโปร่งใส และความแม่นยำ ในกระบวนการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา พร้อมยกระดับสู่ความเป็นดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบบ ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster January 21, 2025 นักศึกษา “ส่องหาปูนิ่ม ด้วย AI” นวัตกรรมเพื่อผู้ผลิตปูนิ่ม EZ Webmaster January 21, 2025 “ส่องหาปูนิ่ม ด้วย AI” นวัตกรรมเพื่อผู้ผลิตปูนิ่ม “2 ถึง 3 ชั่วโมง คือ ช่วงเวลาทองที่ปูทะเลหลังลอกคราบจะต้องถูกนำขึ้นจากบ่อ เพื่อไปทำเป็น “ปูนิ่ม” เพราะหากช้ากว่านี้ปูตัวนั้นก็จะดึงแร่ธาตุในน้ำเค็มมาสร้างกระดองแข็ง ทำให้เป็นภาระที่ต้องเลี้ยงรอการลอกคราบครั้งต่อไปอีกไม่น้อยกว่า 1 เดือน ที่สำคัญการใช้คนทำหน้าที่ส่องดูปูในตะกร้าทีละใบและทำอย่างต่อเนื่องนั้น นอกจากจะต้องใช้คนงานบ่อละหลายคนแล้ว จะมีโอกาสผิดพลาดหรือไม่เจอปูลอกคราบได้ถึง 5 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งหากเป็นฟาร์มปูทะเลขนาด 500,000 ตัว จะเป็นเงินที่ถูกปล่อยคืนบ่อไปเฉยๆ เดือนละ 864,000 บาท” น้องบีม จากทีม “ปูนิ่มจิ้มซีฟู้ดส์”กล่าวถึงที่มาของแนวคิดการพัฒนา “ระบบตรวจจับและเก็บเกี่ยวปูนิ่มในการเลี้ยงระบบปิดแบบธรรมชาติ (System for Detecting and Harvesting Soft-shell Crabs in Closed Natural Farming Systems)” ที่คว้ารางวัล Ford Popular Vote สุดยอดนวัตกร จาก Ford Innovator Scholarship 2024 ซึ่งเป็นการประกวดนวัตกรรมและเทคโนโลยีระดับสูง Ford Innovator Scholarship 2024 เมื่อปลายปีที่ผ่านมา ทีม “ปูนิ่มจิ้มซีฟู้ดส์” ประกอบด้วยสมาชิก 5 คน คือ นางสาวบุณยาพร ปรีชาศุทธิ์ (น้องบีม), นางสาววรกาญจน์ ลาสุดี (น้องปีใหม่), นายวิชาญ วิชญานุภาพ (น้องไบร์ท), นายณพสัญญ์ จีระวัฒนะนนท์ (น้องออตโต้) และนายภูนุวัฒน์ บุญเกิด (น้องเตเต้) ทั้งหมดเป็นนักศึกษาปริญญาตรีชั้นปีที่ 2 ของสถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนาม (FIBO) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) โดยมี ผศ. ดร.เอกชัย เป็งวัง และ ดร.รัตนชัย รมัยธิติมา FIBO เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา ที่รวมตัวกันเพื่อสร้างนวัตกรรมที่ตอบโจทย์ปัญหาของชุมชน อันเป็นโจทย์ของการแข่งขันฟอร์ดในปีนี้ “เมื่อนำหัวข้อที่เราสนใจมาทำ SWOT (วิเคราะห์จุดเด่น-จุดด้อย-โอกาส-ความเสี่ยง) ประเทศไทยส่งออกปูทะเลมากกว่าปีละ 6 พันล้านบาท ขณะที่มีฟาร์มเลี้ยงปูทะเลมากกว่า 5,000 ฟาร์ม การที่เราเข้าไปแก้ไขจุดที่เป็นคอขวดของการทำปูนิ่ม จึงน่าจะเป็นประโยชน์กับเกษตรกรผู้เลี้ยงปูทะเลได้จริงๆ เราจึงเลือกจะทำเรื่องนี้” น้องออตโต้ ซึ่งชื่นชอบปูทะเลเป็นพิเศษ กล่าวถึงกระบวนการคิดที่ทำให้เลือกปูทะเล มาเป็นหัวข้อในการทำโครงงานประกวดชิ้นนี้ สำหรับเครื่องต้นแบบของ “ระบบตรวจจับและเก็บเกี่ยวปูนิ่มในการเลี้ยงระบบปิดแบบธรรมชาติ” ที่น้องๆ ทีมปูนิ่มจิ้มซีฟู้ดส์ ใช้เวลาประมาณ 3 เดือนในการสร้าง จะเป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่วิ่งไปเหนือแพเลี้ยงปู ที่มีตะกร้าใส่ปูแขวนไว้ในน้ำ เพื่อหาตะกร้าที่มีปูระยะลอกคราบ แล้วนำตะกร้านั้นมาส่งให้กับคนงาน ซึ่งส่วนที่สำคัญที่สุดของระบบนี้คือ “ระบบตรวจสอบด้วยกล้อง” “เราต้องการให้ระบบของเราสามารถใช้กับตัวบ่อและตัวแพ รวมถึงตะกร้าที่มีอยู่เดิม เพียงแต่เปลี่ยนจากการที่ใช้คนงานเป็นผู้ดึงหรือสาวแพปูเข้ามาเพื่อส่องดูด้วยตา มาเป็นการใช้ระบบรอกในการดึงแทน และมีกล้องอินฟราเรดบันทึกภาพปูในตะกร้า เพื่อส่งภาพให้ AI วิเคราะห์ว่าปูตัวนั้นอยู่ในช่วงลอกคราบหรือไม่ เพราะปูที่มีกระดองแข็ง กับปูนิ่ม (ปูที่มีกระดองนิ่ม) จะมีค่าการสะท้อนแสงอินฟราเรดที่ต่างกัน รวมถึงหาก AI สามารถนับจำนวนวัตถุในภาพได้มากกว่า 1 ชิ้น ก็แสดงว่าในตะกร้านั้น มีปูที่ลอกคราบแล้วได้เช่นกัน” น้องปีใหม่ อธิบายคอนเซ็ปต์ในการวิเคราะห์ภาพด้วย AI “จากการทดสอบให้ AI เรียนรู้และจำแนกภาพอินฟราเรดของปูทะเล ทั้งปูทั่วไปและปูระยะลอกคราบ 2,300 ภาพ พบว่า AI สามารถแยกแยะระหว่างปูปกติ กับปูลอกคราบได้อย่างแม่นยำ โดยมีค่าความถูกต้องสูงถึง 99 เปอร์เซ็นต์ และนอกจากจะวิเคราะห์หาปูนิ่มได้แล้ว ระบบยังมีการนำภาพที่ถ่ายล่าสุดกับภาพก่อนหน้ามาซ้อนทับกัน ซึ่งหากมันเหมือนกัน (ทับซ้อนกันสนิท) แสดงว่าปูตัวนั้นไม่มีการขยับตัวเลยทำให้สามารถแยกปูที่ตายออกจากบ่อได้รวดเร็วขึ้น ช่วยลดความเสี่ยงจากการระบาดของโรค (หากมี) ได้อีกด้วย” น้องไบร์ท ให้ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับระบบวิเคราะห์ด้วยภาพ ด้าน น้องเตเต้ กล่าวเสริมว่า ในส่วนของการทำให้ตัวอุปกรณ์กล้อง และอุปกรณ์เก็บเกี่ยว วิ่งไปตามแพแต่ละแพนั้น ทางตนแองและเพื่อนๆ ใช้ความรู้ทางวิศวกรรมที่ได้จากการเรียนในช่วงชั้นปีที่ 1 และ 2 มาสร้าง รวมถึง “ระบบขับเคลื่อน” และ “ระบบยกตะกร้า” ที่จะมี “มือจับ” (Gripper) ทำหน้าที่ยกตะกร้าใส่ปู ที่ AI ระบุว่าเป็นปูนิ่ม หรือ เป็นปูที่ตายแล้ว ขึ้นจากน้ำ และ “ระบบดึงแพ” ที่จะลำเลียงตะกร้าใบนั้นๆ มาที่ฝั่งเพื่อให้คนงานของฟาร์มจัดการต่อไป “จากทดสอบใช้งาน ‘ระบบตรวจจับและเก็บเกี่ยวปูนิ่มในการเลี้ยงระบบปิดแบบธรรมชาติ’ ตัวต้นแบบ (Prototype) ที่สร้างขึ้นพร้อมกับบ่อเลี้ยงปูจำลอง ขนาด 1X2 เมตร ณ อาคาร FIBO จากเดิมที่การตรวจปูในบ่อปูจำนวน 2,000 กล่อง จะใช้เวลารอบละประมาณ 4-5 ชั่วโมง แต่ระบบใหม่นี้ใช้เวลารอบละ 2-3 ชั่วโมงเท่านั้น ทำให้รอบตรวจถี่ขึ้น มีโอกาสเจอตะกร้าที่มีปูระยะลอกคราบมากขึ้น นอกจากนั้นตัว AI ที่เราพัฒนาขึ้น ยังมีความแม่นยำในการแยกแยะระหว่างปูทั่วไปกับปูลอกคราบสูงถึง 95 เปอร์เซ็นต์” น้องเตเต้ กล่าวถึงจุดเด่นด้านเทคโนโลยีของนวัตกรรมชิ้นนี้ น้องไบร์ท กล่าวเสริมว่า สำหรับตัวต้นแบบที่มีขนาดประมาณครึ่งหนึ่งของตัวจริงนั้น นอกจากตัว AI ที่เป็น Open Source และตัวกล้องที่ผลิตจากต่างประเทศ วัสดุอุปกรณ์อื่นๆ ล้วนเป็นของที่หาได้ในประเทศแทบทั้งสิ้น โดยมีต้นทุนอยู่ที่ชุดละ 4 หมื่นบาท ซึ่งการผลิตจริงอาจมีราคาสูงกว่านี้เพราะต้องเปลี่ยนจากวัสดุอะลูมิเนียมไปเป็นวัสดุสเตนเลสที่ทนต่อความเค็มของน้ำได้ดีขึ้น แต่ราคาไม่น่าเกินชุดละ 1 แสนบาท แต่ที่สำคัญ คือระบบนี้สามารถลดต้นทุนค่าใช้จ่ายให้กับผู้ประกอบการฟาร์มปูนิ่มได้จริง “จากเดิมต้องมีคนที่มีความเชี่ยวชาญในการดูปูลอกคราบ 5-6 คนต่อบ่อ ให้เหลือเพียง 1-2 คนต่อบ่อ เป็นการลดความเสี่ยงเรื่องการขาดแคลนแรงงานให้กับชุมชนเกษตรกร ที่สำคัญ คือ เป็นนวัตกรรมที่เราต่อยอดจากรูปแบบการเลี้ยงที่มีอยู่ในปัจจุบัน ซึ่งน่าจะทำให้เกิดการยอมรับของผู้ใช้ได้ไม่ยาก” ด้วยจุดเด่นของนวัตกรรม ที่นอกจากการเลือกที่ใช้เทคโนโลยีที่มีอยู่จริง อุปกรณ์ชิ้นส่วนหาได้ง่าย และที่สำคัญเป็นการแก้ “ปัญหาคอขวด” ของชุมชนคนผลิตปูนิ่มได้อย่างตรงจุด “ระบบตรวจจับและเก็บเกี่ยวปูนิ่มในการเลี้ยงระบบปิดแบบธรรมชาติ” ของนักศึกษาปี 2 FIBO ทีม “ปูนิ่มจิ้มซีฟู้ดส์” จึงสามารถคว้ารางวัล Popular Vote และรางวัลชมเชยพร้อมเกียรติบัตรจากงาน Ford Innovator Scholarship 2024 มาได้ คลิปสาธิตการทำงาน https://drive.google.com/drive/u/2/folders/1XDQ81T2HFjX7H08vVhr9IFvfP8ljaVZ0 EZ Webmaster Related Posts ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ ม.หอการค้าไทย จัดหลักสูตรรุกหน้าการันตี “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน!!” การตลาดดิจิทัลและระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย จัดกิจกรรมตอบแทนกลับคืนสังคม “จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” Post navigation PREVIOUS Previous post: โครงการ Taro to School 2025 รู้สิ่งใดไม่สู้ รู้จักตนเอง โรงเรียนมัธยมเทศบาลเมืองสวรรคโลกNEXT Next post: เปิดประสบการณ์ระดับโลก! สถาบันภาษา ม.ราชภัฏสวนสุนันทา พานักศึกษาร่วมประชุมวิชาการ ICEBTS 2025 ณ กรุงปักกิ่ง Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
คณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล มจพ. ชูธงร่วมเครือข่ายจัดใหญ่การประชุมวิชาการ นวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (FIAC) 2025 EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร สมฤกษ์ จันทรอัมพร รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นเจ้าภาพร่วมในการจัดประชุมวิชาการด้านนวัตกรรมอาหารระดับเอเชีย (Food Innovation Asia Conference 2025) พร้อมด้วย รศ.ดร.รัชนี เจริญ คณบดีคณะอุตสาหกรรมเกษตรดิจิทัล และคณะผู้บริหาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ… สมศ. พลิกโฉมการประเมินคุณภาพภายนอกด้วย AI ภายใต้ “ONESQA 5.0” เสริมความโปร่งใส แม่นยำ และพัฒนาอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 17, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยวิสัยทัศน์ และแนวทางการขับเคลื่อนองค์กรด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence – AI) ภายใต้ วิสัยทัศน์ ONESQA 5.0 โดยมุ่งเน้นการนำ AI เข้ามาใช้เพื่อเสริมประสิทธิภาพ ความโปร่งใส และความแม่นยำ ในกระบวนการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา พร้อมยกระดับสู่ความเป็นดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบบ ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ…
สมศ. พลิกโฉมการประเมินคุณภาพภายนอกด้วย AI ภายใต้ “ONESQA 5.0” เสริมความโปร่งใส แม่นยำ และพัฒนาอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 17, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยวิสัยทัศน์ และแนวทางการขับเคลื่อนองค์กรด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence – AI) ภายใต้ วิสัยทัศน์ ONESQA 5.0 โดยมุ่งเน้นการนำ AI เข้ามาใช้เพื่อเสริมประสิทธิภาพ ความโปร่งใส และความแม่นยำ ในกระบวนการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา พร้อมยกระดับสู่ความเป็นดิจิทัลอย่างเต็มรูปแบบ ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ…
กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster January 21, 2025 นักศึกษา “ส่องหาปูนิ่ม ด้วย AI” นวัตกรรมเพื่อผู้ผลิตปูนิ่ม EZ Webmaster January 21, 2025 “ส่องหาปูนิ่ม ด้วย AI” นวัตกรรมเพื่อผู้ผลิตปูนิ่ม “2 ถึง 3 ชั่วโมง คือ ช่วงเวลาทองที่ปูทะเลหลังลอกคราบจะต้องถูกนำขึ้นจากบ่อ เพื่อไปทำเป็น “ปูนิ่ม” เพราะหากช้ากว่านี้ปูตัวนั้นก็จะดึงแร่ธาตุในน้ำเค็มมาสร้างกระดองแข็ง ทำให้เป็นภาระที่ต้องเลี้ยงรอการลอกคราบครั้งต่อไปอีกไม่น้อยกว่า 1 เดือน ที่สำคัญการใช้คนทำหน้าที่ส่องดูปูในตะกร้าทีละใบและทำอย่างต่อเนื่องนั้น นอกจากจะต้องใช้คนงานบ่อละหลายคนแล้ว จะมีโอกาสผิดพลาดหรือไม่เจอปูลอกคราบได้ถึง 5 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งหากเป็นฟาร์มปูทะเลขนาด 500,000 ตัว จะเป็นเงินที่ถูกปล่อยคืนบ่อไปเฉยๆ เดือนละ 864,000 บาท” น้องบีม จากทีม “ปูนิ่มจิ้มซีฟู้ดส์”กล่าวถึงที่มาของแนวคิดการพัฒนา “ระบบตรวจจับและเก็บเกี่ยวปูนิ่มในการเลี้ยงระบบปิดแบบธรรมชาติ (System for Detecting and Harvesting Soft-shell Crabs in Closed Natural Farming Systems)” ที่คว้ารางวัล Ford Popular Vote สุดยอดนวัตกร จาก Ford Innovator Scholarship 2024 ซึ่งเป็นการประกวดนวัตกรรมและเทคโนโลยีระดับสูง Ford Innovator Scholarship 2024 เมื่อปลายปีที่ผ่านมา ทีม “ปูนิ่มจิ้มซีฟู้ดส์” ประกอบด้วยสมาชิก 5 คน คือ นางสาวบุณยาพร ปรีชาศุทธิ์ (น้องบีม), นางสาววรกาญจน์ ลาสุดี (น้องปีใหม่), นายวิชาญ วิชญานุภาพ (น้องไบร์ท), นายณพสัญญ์ จีระวัฒนะนนท์ (น้องออตโต้) และนายภูนุวัฒน์ บุญเกิด (น้องเตเต้) ทั้งหมดเป็นนักศึกษาปริญญาตรีชั้นปีที่ 2 ของสถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนาม (FIBO) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) โดยมี ผศ. ดร.เอกชัย เป็งวัง และ ดร.รัตนชัย รมัยธิติมา FIBO เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา ที่รวมตัวกันเพื่อสร้างนวัตกรรมที่ตอบโจทย์ปัญหาของชุมชน อันเป็นโจทย์ของการแข่งขันฟอร์ดในปีนี้ “เมื่อนำหัวข้อที่เราสนใจมาทำ SWOT (วิเคราะห์จุดเด่น-จุดด้อย-โอกาส-ความเสี่ยง) ประเทศไทยส่งออกปูทะเลมากกว่าปีละ 6 พันล้านบาท ขณะที่มีฟาร์มเลี้ยงปูทะเลมากกว่า 5,000 ฟาร์ม การที่เราเข้าไปแก้ไขจุดที่เป็นคอขวดของการทำปูนิ่ม จึงน่าจะเป็นประโยชน์กับเกษตรกรผู้เลี้ยงปูทะเลได้จริงๆ เราจึงเลือกจะทำเรื่องนี้” น้องออตโต้ ซึ่งชื่นชอบปูทะเลเป็นพิเศษ กล่าวถึงกระบวนการคิดที่ทำให้เลือกปูทะเล มาเป็นหัวข้อในการทำโครงงานประกวดชิ้นนี้ สำหรับเครื่องต้นแบบของ “ระบบตรวจจับและเก็บเกี่ยวปูนิ่มในการเลี้ยงระบบปิดแบบธรรมชาติ” ที่น้องๆ ทีมปูนิ่มจิ้มซีฟู้ดส์ ใช้เวลาประมาณ 3 เดือนในการสร้าง จะเป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่วิ่งไปเหนือแพเลี้ยงปู ที่มีตะกร้าใส่ปูแขวนไว้ในน้ำ เพื่อหาตะกร้าที่มีปูระยะลอกคราบ แล้วนำตะกร้านั้นมาส่งให้กับคนงาน ซึ่งส่วนที่สำคัญที่สุดของระบบนี้คือ “ระบบตรวจสอบด้วยกล้อง” “เราต้องการให้ระบบของเราสามารถใช้กับตัวบ่อและตัวแพ รวมถึงตะกร้าที่มีอยู่เดิม เพียงแต่เปลี่ยนจากการที่ใช้คนงานเป็นผู้ดึงหรือสาวแพปูเข้ามาเพื่อส่องดูด้วยตา มาเป็นการใช้ระบบรอกในการดึงแทน และมีกล้องอินฟราเรดบันทึกภาพปูในตะกร้า เพื่อส่งภาพให้ AI วิเคราะห์ว่าปูตัวนั้นอยู่ในช่วงลอกคราบหรือไม่ เพราะปูที่มีกระดองแข็ง กับปูนิ่ม (ปูที่มีกระดองนิ่ม) จะมีค่าการสะท้อนแสงอินฟราเรดที่ต่างกัน รวมถึงหาก AI สามารถนับจำนวนวัตถุในภาพได้มากกว่า 1 ชิ้น ก็แสดงว่าในตะกร้านั้น มีปูที่ลอกคราบแล้วได้เช่นกัน” น้องปีใหม่ อธิบายคอนเซ็ปต์ในการวิเคราะห์ภาพด้วย AI “จากการทดสอบให้ AI เรียนรู้และจำแนกภาพอินฟราเรดของปูทะเล ทั้งปูทั่วไปและปูระยะลอกคราบ 2,300 ภาพ พบว่า AI สามารถแยกแยะระหว่างปูปกติ กับปูลอกคราบได้อย่างแม่นยำ โดยมีค่าความถูกต้องสูงถึง 99 เปอร์เซ็นต์ และนอกจากจะวิเคราะห์หาปูนิ่มได้แล้ว ระบบยังมีการนำภาพที่ถ่ายล่าสุดกับภาพก่อนหน้ามาซ้อนทับกัน ซึ่งหากมันเหมือนกัน (ทับซ้อนกันสนิท) แสดงว่าปูตัวนั้นไม่มีการขยับตัวเลยทำให้สามารถแยกปูที่ตายออกจากบ่อได้รวดเร็วขึ้น ช่วยลดความเสี่ยงจากการระบาดของโรค (หากมี) ได้อีกด้วย” น้องไบร์ท ให้ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับระบบวิเคราะห์ด้วยภาพ ด้าน น้องเตเต้ กล่าวเสริมว่า ในส่วนของการทำให้ตัวอุปกรณ์กล้อง และอุปกรณ์เก็บเกี่ยว วิ่งไปตามแพแต่ละแพนั้น ทางตนแองและเพื่อนๆ ใช้ความรู้ทางวิศวกรรมที่ได้จากการเรียนในช่วงชั้นปีที่ 1 และ 2 มาสร้าง รวมถึง “ระบบขับเคลื่อน” และ “ระบบยกตะกร้า” ที่จะมี “มือจับ” (Gripper) ทำหน้าที่ยกตะกร้าใส่ปู ที่ AI ระบุว่าเป็นปูนิ่ม หรือ เป็นปูที่ตายแล้ว ขึ้นจากน้ำ และ “ระบบดึงแพ” ที่จะลำเลียงตะกร้าใบนั้นๆ มาที่ฝั่งเพื่อให้คนงานของฟาร์มจัดการต่อไป “จากทดสอบใช้งาน ‘ระบบตรวจจับและเก็บเกี่ยวปูนิ่มในการเลี้ยงระบบปิดแบบธรรมชาติ’ ตัวต้นแบบ (Prototype) ที่สร้างขึ้นพร้อมกับบ่อเลี้ยงปูจำลอง ขนาด 1X2 เมตร ณ อาคาร FIBO จากเดิมที่การตรวจปูในบ่อปูจำนวน 2,000 กล่อง จะใช้เวลารอบละประมาณ 4-5 ชั่วโมง แต่ระบบใหม่นี้ใช้เวลารอบละ 2-3 ชั่วโมงเท่านั้น ทำให้รอบตรวจถี่ขึ้น มีโอกาสเจอตะกร้าที่มีปูระยะลอกคราบมากขึ้น นอกจากนั้นตัว AI ที่เราพัฒนาขึ้น ยังมีความแม่นยำในการแยกแยะระหว่างปูทั่วไปกับปูลอกคราบสูงถึง 95 เปอร์เซ็นต์” น้องเตเต้ กล่าวถึงจุดเด่นด้านเทคโนโลยีของนวัตกรรมชิ้นนี้ น้องไบร์ท กล่าวเสริมว่า สำหรับตัวต้นแบบที่มีขนาดประมาณครึ่งหนึ่งของตัวจริงนั้น นอกจากตัว AI ที่เป็น Open Source และตัวกล้องที่ผลิตจากต่างประเทศ วัสดุอุปกรณ์อื่นๆ ล้วนเป็นของที่หาได้ในประเทศแทบทั้งสิ้น โดยมีต้นทุนอยู่ที่ชุดละ 4 หมื่นบาท ซึ่งการผลิตจริงอาจมีราคาสูงกว่านี้เพราะต้องเปลี่ยนจากวัสดุอะลูมิเนียมไปเป็นวัสดุสเตนเลสที่ทนต่อความเค็มของน้ำได้ดีขึ้น แต่ราคาไม่น่าเกินชุดละ 1 แสนบาท แต่ที่สำคัญ คือระบบนี้สามารถลดต้นทุนค่าใช้จ่ายให้กับผู้ประกอบการฟาร์มปูนิ่มได้จริง “จากเดิมต้องมีคนที่มีความเชี่ยวชาญในการดูปูลอกคราบ 5-6 คนต่อบ่อ ให้เหลือเพียง 1-2 คนต่อบ่อ เป็นการลดความเสี่ยงเรื่องการขาดแคลนแรงงานให้กับชุมชนเกษตรกร ที่สำคัญ คือ เป็นนวัตกรรมที่เราต่อยอดจากรูปแบบการเลี้ยงที่มีอยู่ในปัจจุบัน ซึ่งน่าจะทำให้เกิดการยอมรับของผู้ใช้ได้ไม่ยาก” ด้วยจุดเด่นของนวัตกรรม ที่นอกจากการเลือกที่ใช้เทคโนโลยีที่มีอยู่จริง อุปกรณ์ชิ้นส่วนหาได้ง่าย และที่สำคัญเป็นการแก้ “ปัญหาคอขวด” ของชุมชนคนผลิตปูนิ่มได้อย่างตรงจุด “ระบบตรวจจับและเก็บเกี่ยวปูนิ่มในการเลี้ยงระบบปิดแบบธรรมชาติ” ของนักศึกษาปี 2 FIBO ทีม “ปูนิ่มจิ้มซีฟู้ดส์” จึงสามารถคว้ารางวัล Popular Vote และรางวัลชมเชยพร้อมเกียรติบัตรจากงาน Ford Innovator Scholarship 2024 มาได้ คลิปสาธิตการทำงาน https://drive.google.com/drive/u/2/folders/1XDQ81T2HFjX7H08vVhr9IFvfP8ljaVZ0 EZ Webmaster Related Posts ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ ม.หอการค้าไทย จัดหลักสูตรรุกหน้าการันตี “เรียนภาษาให้ได้ดี มีรายได้หลักแสน!!” การตลาดดิจิทัลและระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย จัดกิจกรรมตอบแทนกลับคืนสังคม “จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” Post navigation PREVIOUS Previous post: โครงการ Taro to School 2025 รู้สิ่งใดไม่สู้ รู้จักตนเอง โรงเรียนมัธยมเทศบาลเมืองสวรรคโลกNEXT Next post: เปิดประสบการณ์ระดับโลก! สถาบันภาษา ม.ราชภัฏสวนสุนันทา พานักศึกษาร่วมประชุมวิชาการ ICEBTS 2025 ณ กรุงปักกิ่ง Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
“40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search
ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ…
ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ…
EZ Webmaster January 21, 2025 นักศึกษา “ส่องหาปูนิ่ม ด้วย AI” นวัตกรรมเพื่อผู้ผลิตปูนิ่ม EZ Webmaster January 21, 2025 “ส่องหาปูนิ่ม ด้วย AI” นวัตกรรมเพื่อผู้ผลิตปูนิ่ม “2 ถึง 3 ชั่วโมง คือ ช่วงเวลาทองที่ปูทะเลหลังลอกคราบจะต้องถูกนำขึ้นจากบ่อ เพื่อไปทำเป็น “ปูนิ่ม” เพราะหากช้ากว่านี้ปูตัวนั้นก็จะดึงแร่ธาตุในน้ำเค็มมาสร้างกระดองแข็ง ทำให้เป็นภาระที่ต้องเลี้ยงรอการลอกคราบครั้งต่อไปอีกไม่น้อยกว่า 1 เดือน ที่สำคัญการใช้คนทำหน้าที่ส่องดูปูในตะกร้าทีละใบและทำอย่างต่อเนื่องนั้น นอกจากจะต้องใช้คนงานบ่อละหลายคนแล้ว จะมีโอกาสผิดพลาดหรือไม่เจอปูลอกคราบได้ถึง 5 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งหากเป็นฟาร์มปูทะเลขนาด 500,000 ตัว จะเป็นเงินที่ถูกปล่อยคืนบ่อไปเฉยๆ เดือนละ 864,000 บาท” น้องบีม จากทีม “ปูนิ่มจิ้มซีฟู้ดส์”กล่าวถึงที่มาของแนวคิดการพัฒนา “ระบบตรวจจับและเก็บเกี่ยวปูนิ่มในการเลี้ยงระบบปิดแบบธรรมชาติ (System for Detecting and Harvesting Soft-shell Crabs in Closed Natural Farming Systems)” ที่คว้ารางวัล Ford Popular Vote สุดยอดนวัตกร จาก Ford Innovator Scholarship 2024 ซึ่งเป็นการประกวดนวัตกรรมและเทคโนโลยีระดับสูง Ford Innovator Scholarship 2024 เมื่อปลายปีที่ผ่านมา ทีม “ปูนิ่มจิ้มซีฟู้ดส์” ประกอบด้วยสมาชิก 5 คน คือ นางสาวบุณยาพร ปรีชาศุทธิ์ (น้องบีม), นางสาววรกาญจน์ ลาสุดี (น้องปีใหม่), นายวิชาญ วิชญานุภาพ (น้องไบร์ท), นายณพสัญญ์ จีระวัฒนะนนท์ (น้องออตโต้) และนายภูนุวัฒน์ บุญเกิด (น้องเตเต้) ทั้งหมดเป็นนักศึกษาปริญญาตรีชั้นปีที่ 2 ของสถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนาม (FIBO) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) โดยมี ผศ. ดร.เอกชัย เป็งวัง และ ดร.รัตนชัย รมัยธิติมา FIBO เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา ที่รวมตัวกันเพื่อสร้างนวัตกรรมที่ตอบโจทย์ปัญหาของชุมชน อันเป็นโจทย์ของการแข่งขันฟอร์ดในปีนี้ “เมื่อนำหัวข้อที่เราสนใจมาทำ SWOT (วิเคราะห์จุดเด่น-จุดด้อย-โอกาส-ความเสี่ยง) ประเทศไทยส่งออกปูทะเลมากกว่าปีละ 6 พันล้านบาท ขณะที่มีฟาร์มเลี้ยงปูทะเลมากกว่า 5,000 ฟาร์ม การที่เราเข้าไปแก้ไขจุดที่เป็นคอขวดของการทำปูนิ่ม จึงน่าจะเป็นประโยชน์กับเกษตรกรผู้เลี้ยงปูทะเลได้จริงๆ เราจึงเลือกจะทำเรื่องนี้” น้องออตโต้ ซึ่งชื่นชอบปูทะเลเป็นพิเศษ กล่าวถึงกระบวนการคิดที่ทำให้เลือกปูทะเล มาเป็นหัวข้อในการทำโครงงานประกวดชิ้นนี้ สำหรับเครื่องต้นแบบของ “ระบบตรวจจับและเก็บเกี่ยวปูนิ่มในการเลี้ยงระบบปิดแบบธรรมชาติ” ที่น้องๆ ทีมปูนิ่มจิ้มซีฟู้ดส์ ใช้เวลาประมาณ 3 เดือนในการสร้าง จะเป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่วิ่งไปเหนือแพเลี้ยงปู ที่มีตะกร้าใส่ปูแขวนไว้ในน้ำ เพื่อหาตะกร้าที่มีปูระยะลอกคราบ แล้วนำตะกร้านั้นมาส่งให้กับคนงาน ซึ่งส่วนที่สำคัญที่สุดของระบบนี้คือ “ระบบตรวจสอบด้วยกล้อง” “เราต้องการให้ระบบของเราสามารถใช้กับตัวบ่อและตัวแพ รวมถึงตะกร้าที่มีอยู่เดิม เพียงแต่เปลี่ยนจากการที่ใช้คนงานเป็นผู้ดึงหรือสาวแพปูเข้ามาเพื่อส่องดูด้วยตา มาเป็นการใช้ระบบรอกในการดึงแทน และมีกล้องอินฟราเรดบันทึกภาพปูในตะกร้า เพื่อส่งภาพให้ AI วิเคราะห์ว่าปูตัวนั้นอยู่ในช่วงลอกคราบหรือไม่ เพราะปูที่มีกระดองแข็ง กับปูนิ่ม (ปูที่มีกระดองนิ่ม) จะมีค่าการสะท้อนแสงอินฟราเรดที่ต่างกัน รวมถึงหาก AI สามารถนับจำนวนวัตถุในภาพได้มากกว่า 1 ชิ้น ก็แสดงว่าในตะกร้านั้น มีปูที่ลอกคราบแล้วได้เช่นกัน” น้องปีใหม่ อธิบายคอนเซ็ปต์ในการวิเคราะห์ภาพด้วย AI “จากการทดสอบให้ AI เรียนรู้และจำแนกภาพอินฟราเรดของปูทะเล ทั้งปูทั่วไปและปูระยะลอกคราบ 2,300 ภาพ พบว่า AI สามารถแยกแยะระหว่างปูปกติ กับปูลอกคราบได้อย่างแม่นยำ โดยมีค่าความถูกต้องสูงถึง 99 เปอร์เซ็นต์ และนอกจากจะวิเคราะห์หาปูนิ่มได้แล้ว ระบบยังมีการนำภาพที่ถ่ายล่าสุดกับภาพก่อนหน้ามาซ้อนทับกัน ซึ่งหากมันเหมือนกัน (ทับซ้อนกันสนิท) แสดงว่าปูตัวนั้นไม่มีการขยับตัวเลยทำให้สามารถแยกปูที่ตายออกจากบ่อได้รวดเร็วขึ้น ช่วยลดความเสี่ยงจากการระบาดของโรค (หากมี) ได้อีกด้วย” น้องไบร์ท ให้ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับระบบวิเคราะห์ด้วยภาพ ด้าน น้องเตเต้ กล่าวเสริมว่า ในส่วนของการทำให้ตัวอุปกรณ์กล้อง และอุปกรณ์เก็บเกี่ยว วิ่งไปตามแพแต่ละแพนั้น ทางตนแองและเพื่อนๆ ใช้ความรู้ทางวิศวกรรมที่ได้จากการเรียนในช่วงชั้นปีที่ 1 และ 2 มาสร้าง รวมถึง “ระบบขับเคลื่อน” และ “ระบบยกตะกร้า” ที่จะมี “มือจับ” (Gripper) ทำหน้าที่ยกตะกร้าใส่ปู ที่ AI ระบุว่าเป็นปูนิ่ม หรือ เป็นปูที่ตายแล้ว ขึ้นจากน้ำ และ “ระบบดึงแพ” ที่จะลำเลียงตะกร้าใบนั้นๆ มาที่ฝั่งเพื่อให้คนงานของฟาร์มจัดการต่อไป “จากทดสอบใช้งาน ‘ระบบตรวจจับและเก็บเกี่ยวปูนิ่มในการเลี้ยงระบบปิดแบบธรรมชาติ’ ตัวต้นแบบ (Prototype) ที่สร้างขึ้นพร้อมกับบ่อเลี้ยงปูจำลอง ขนาด 1X2 เมตร ณ อาคาร FIBO จากเดิมที่การตรวจปูในบ่อปูจำนวน 2,000 กล่อง จะใช้เวลารอบละประมาณ 4-5 ชั่วโมง แต่ระบบใหม่นี้ใช้เวลารอบละ 2-3 ชั่วโมงเท่านั้น ทำให้รอบตรวจถี่ขึ้น มีโอกาสเจอตะกร้าที่มีปูระยะลอกคราบมากขึ้น นอกจากนั้นตัว AI ที่เราพัฒนาขึ้น ยังมีความแม่นยำในการแยกแยะระหว่างปูทั่วไปกับปูลอกคราบสูงถึง 95 เปอร์เซ็นต์” น้องเตเต้ กล่าวถึงจุดเด่นด้านเทคโนโลยีของนวัตกรรมชิ้นนี้ น้องไบร์ท กล่าวเสริมว่า สำหรับตัวต้นแบบที่มีขนาดประมาณครึ่งหนึ่งของตัวจริงนั้น นอกจากตัว AI ที่เป็น Open Source และตัวกล้องที่ผลิตจากต่างประเทศ วัสดุอุปกรณ์อื่นๆ ล้วนเป็นของที่หาได้ในประเทศแทบทั้งสิ้น โดยมีต้นทุนอยู่ที่ชุดละ 4 หมื่นบาท ซึ่งการผลิตจริงอาจมีราคาสูงกว่านี้เพราะต้องเปลี่ยนจากวัสดุอะลูมิเนียมไปเป็นวัสดุสเตนเลสที่ทนต่อความเค็มของน้ำได้ดีขึ้น แต่ราคาไม่น่าเกินชุดละ 1 แสนบาท แต่ที่สำคัญ คือระบบนี้สามารถลดต้นทุนค่าใช้จ่ายให้กับผู้ประกอบการฟาร์มปูนิ่มได้จริง “จากเดิมต้องมีคนที่มีความเชี่ยวชาญในการดูปูลอกคราบ 5-6 คนต่อบ่อ ให้เหลือเพียง 1-2 คนต่อบ่อ เป็นการลดความเสี่ยงเรื่องการขาดแคลนแรงงานให้กับชุมชนเกษตรกร ที่สำคัญ คือ เป็นนวัตกรรมที่เราต่อยอดจากรูปแบบการเลี้ยงที่มีอยู่ในปัจจุบัน ซึ่งน่าจะทำให้เกิดการยอมรับของผู้ใช้ได้ไม่ยาก” ด้วยจุดเด่นของนวัตกรรม ที่นอกจากการเลือกที่ใช้เทคโนโลยีที่มีอยู่จริง อุปกรณ์ชิ้นส่วนหาได้ง่าย และที่สำคัญเป็นการแก้ “ปัญหาคอขวด” ของชุมชนคนผลิตปูนิ่มได้อย่างตรงจุด “ระบบตรวจจับและเก็บเกี่ยวปูนิ่มในการเลี้ยงระบบปิดแบบธรรมชาติ” ของนักศึกษาปี 2 FIBO ทีม “ปูนิ่มจิ้มซีฟู้ดส์” จึงสามารถคว้ารางวัล Popular Vote และรางวัลชมเชยพร้อมเกียรติบัตรจากงาน Ford Innovator Scholarship 2024 มาได้ คลิปสาธิตการทำงาน https://drive.google.com/drive/u/2/folders/1XDQ81T2HFjX7H08vVhr9IFvfP8ljaVZ0
ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา