ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง EZ WebmasterJune 13, 2025 วันนี้ทั้งเล่น ทั้งได้ความรู้ ทั้งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนนางรอง จ.บุรีรัมย์ วันที่13/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า… นักศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI… ทุนดีดี เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster January 20, 2024 EZ Webmaster January 20, 2024 วิวัฒนาการสอบเข้ามหาวิทยาลัย ทำไมจึงต้องเปลี่ยนวิธีการสอบหลายต่อหลายครั้ง ? วิวัฒนาการสอบเข้ามหาวิทยาลัย ทำไมจึงต้องเปลี่ยนวิธีการสอบหลายต่อหลายครั้ง ? การศึกษาไทยเป็นเรื่องที่มีความวุ่นวายซับซ้อนและเกิดความเหลื่อมล้ำมากมาย ซึ่งปัญหาต่าง ๆ ส่งผลให้เด็กต้องสอบหลายครั้ง ทั้ง GAT/PAT, 9 วิชาสามัญ และ O-NET ที่จัดตลอดทั้งปี หรือในบางคณะ บางมหาวิทยาลัย ก็จัดสอบตรงของตัวเองอีก เด็กจึงต้องวิ่งรอกสอบหลายครั้ง เสียค่าสมัคร ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ มากมาย ซึ่งการสอบในปีก่อน ๆ มักจัดขึ้นในช่วงที่ยังไม่ปิดภาคเรียน ทำให้อาจารย์ต้องเร่งสอนเพื่อให้ทันการสอบ ส่งผลให้เด็ก ๆ ก็อาจจะเรียนได้ไม่เต็มที่ ดังนั้นที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยจึงคิดวิธีแก้ปัญหา เพื่อลดความเหลื่อมล้ำต่าง ๆ และต้องการให้เด็กนักเรียนได้มีสิทธิ์ในการศึกษาอย่างเสมอภาค จึงมีแผนการปรับเปลี่ยนการสอบเข้ามหาวิทยาลัยหลายต่อหลายครั้ง เราไปดูกันดีกว่าว่าการสอบเข้าตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ผ่านยุคการสอบแบบไหนมาบ้าง แล้วการปรับเปลี่ยนการสอบจะแก้ปัญหาได้จริงหรือไม่ ไปดูกันเลย (2504–2542) Entrance แบบเก่า 2504 เอ็นทรานซ์ (ครั้งแรก) เลือกคณะก่อนสอบ เลือกอันดับได้ 4-6 อันดับ ใช้คะแนน เอ็นทรานซ์ 100 % 2542 เอ็นทรานซ์ สอบแล้วเลือกคณะ มี 2 ครั้งต่อปี ครั้งที่ 1 ช่วง ต.ค. ครั้งที่ 2 ช่วง มี.ค. เพิ่ม GPAX 10% ระบบ Entrance ยุคแรก ปี 2504 – 2542 ระบบการสอบเข้ามหาวิทยาลัยในยุคแรก ๆ นั้น เกิดจากความร่วมมือกันของแต่ละมหาวิทยาลัยที่เปิดสอนในยุคนั้นจัดสอบขึ้นมากันเอง เพื่อแก้ปัญหาที่นักเรียนต้องเสียค่าใช้จ่ายสมัครสอบแต่ละที่หลายครั้ง โดยมีสภาการศึกษาแห่งชาติเป็นผู้ประสานงาน รูปแบบการสอบยุคนี้ เปิดให้นักเรียนเลือกคณะที่สนใจเข้าศึกษาได้ 4 อันดับ (ภายหลังปี 2516 เปลี่ยนเป็น 6 อันดับ) จากนั้นก็เข้าสอบเอ็นทรานซ์ โดยใช้คะแนนสอบเอ็นทรานซ์ 100% ไม่ต้องใช้เกรดเฉลี่ย( GPAX) ในโรงเรียนและสามารถสอบเทียบได้ แต่มันก็มีข้อเสีย เพราะทำให้เด็ก ๆ ม.6 เกิดความเครียดและความกดดัน เพราะการไม่มีตัวเลือกในการสอบ เพราะระบบเอ็นทรานซ์มีให้สอบรอบเดียว ระบบนี้ยังไม่มี GPAX ก็อาจส่งผลให้เด็กนักเรียนบางส่วนบ้าคลั่งในการสอบ จนไม่สนใจการเรียนในห้อง ที่สำคัญคือระบบนี้เราต้องเลือกมหาวิทยาลัยหรือคณะที่ชื่นชอบก่อนที่จะสอบ โดยที่เราไม่รู้ว่าคะแนนของตัวเองได้เท่าไหร่ อาจทำให้เราพลาดโอกาสไปได้ (2543–2548) Entrance แบบใหม่ 2543 เพิ่ม GPAX 25% ระบบ Entrance ยุคใหม่ ปี 2542-2548 ยุคต่อมาจึงได้ปรับรูปแบบการสอบใหม่ จากคำเรียกร้องจากนักเรียน ที่ต้องการตัวเลือกในการสอบมากกว่า 1 ครั้ง โดยเปิดให้สอบเอ็นทรานซ์ได้ถึง 2 ครั้ง คือ ช่วงเดือนตุลาคม และเดือนมีนาคม เมื่อเป็นเช่นนี้ก็จะทำให้นักเรียนได้รู้คะแนนสอบตัวเองก่อนที่จะเลือกมหาวิทยาลัย และสามารถเลือกคะแนนครั้งที่ดีที่สุดของตัวเองมายื่นได้ สามารถเลือกยื่นคณะได้ 4 อันดับ นอกจากนี้ยังมีการเปลี่ยนแปลงสัดส่วนคะแนนอีกด้วย จากเดิมที่ใช้คะแนนสอบเอ็นทรานซ์ 100% จึงมีการเปลี่ยนแปลงเป็นการเพิ่มการใช้เกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) มาร่วมคิดคะแนนด้วย ประมาณ 10% (2549–2552) Admissions 2549 แอดมิชชั่น ยกเลิกเอ็นทรานซ์ เริ่มสอบ O-NET , A-NET เพิ่ม GPAX 30 % 2552 แอดมิชชั่น ยกเลิก A-NET(dek52 สอบปีสุดท้าย) เปลี่ยนเป็น GPAX 20 % เริ่มสอบ GAT/PAT (dek53 ปีแรก)ใช้คะแนนรวมกัน 50 % GAT/PAT สอบ 4 ครั้ง (ตั้งแต่ปี 54 ลดเหลือ 2 ครั้ง) ในยุคต่อมา ระบบ Admission : O-NET, A-NET ปี 2549-2552 หลังปี 2548 มาก็ได้มีการยกเลิกระบบเอ็นทรานซ์ เข้าสู่ยุคระบบกลางการรับนิสิตที่เรียกว่า แอดมิชชั่น (Admission) แทน ในยุคนี้ได้มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบจากเยงเรียกร้องจากนักเรียน โดยเพิ่มรูปแบบข้อสอบแบบใหม่ขึ้นมาในชื่อ O-NET และ A-NET ซึ่งสัดส่วนคะแนนนั้น จะประกอบด้วยเกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) 30% รวมกับคะแนน O-NET และ A-NET และในปี 2552 มีการปรับเปลี่ยนวิธีการสอบ โดยการยกเลิก A-NET แล้วเปลี่ยนมาใช้เกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) 30% และใช้คะแนนจาก GAT/PAT ใช้คะแนนรวมกัน 50 % และยังให้มีการสอบ GAT/PAT 4 ครั้งต่อปีอีกด้วย (2553-2560) Admissions 2553 แอดมิชชั่น ใช้ GAT/PAT ปีแรก เปลี่ยนสัดส่วนมาเป็นใช้ GPAX 20% O-NET 30% GAT/PAT 50% (ขึ้นอยู่กับคณะ) 2556 แอดมิชชั่น สอบ GAT/PAT ลดเหลือ 2 ครั้ง เริ่มสอบ 7 วิชาสามัญ และระบบเคลียร์ริงเฮาส์ 2559 แอดมิชชั่น เปลี่ยนจาก 7 วิชาสามัญเป็น 9 วิชาสามัญ 2560 แอดมิชชั่น ยุค Clearing House ช่วงแรก ใช้ระบบสอบกลางครั้งเดียว สอบ GAT/PAT และ 9 วิชาสามัญ ช่วงที่ 2 ระบบ Clearing House 2 รอบ เลือกอันดับการเข้าศึกษาได้ 4 อันดับ ต่อมา ในปี 2556 ลดการสอบ GAT/PAT ลดเหลือ 2 ครั้ง และเริ่มมีการสอบ 7 วิชาสามัญ และมีระบบเคลียริ่งเฮ้าส์ ซึ่งระบบคัดเลือกดังกล่าวทำให้เกิดปัญหาตามมา 3 ประการหลัก ได้แก่ การไม่เข้าห้องเรียนของผู้ที่สอบติดในรอบรับตรงและของผู้ที่มีคะแนนสอบ GAT-PAT รอบแรก (กำหนดสอบเดือนตุลาคม-พฤศจิกายน) สูง การตระเวนสอบตรงเพื่อให้มีที่เรียน ซึ่งทำให้เด็กรวยมีโอกาสได้ที่เรียนมากกว่า เพราะมีทุนในการยื่นสมัครหลายที่มากกว่าเด็กจน และ “การกั๊กที่” ของผู้สอบติดหลายที่ในรอบรับตรงแต่ไม่สละสิทธิ์ ส่งผลให้ผู้สมัครคนอื่นเสียโอกาสในการได้ที่เรียน เพื่อแก้ปัญหาการกั๊กที่ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาแห่งประเทศไทย (สอท.) ในขณะนั้น จึงได้จัดทำระบบ Clearing house เพื่อรวบรวมรายชื่อผู้สอบติดจากรอบรับตรงไว้ที่ส่วนกลาง และให้ผู้ผ่านการคัดเลือกยืนยันสิทธิ์เข้าเรียนของตนได้เพียง 1 ที่ หลังจากนั้น ผู้ที่ยืนยันสิทธิ์แล้วจะถูกตัดสิทธิ์จากรอบ Admissions และจากคณะอื่นในระบบ Clearing house อย่างไรก็ตาม เนื่องจากการเข้าร่วมระบบ Clearing house เป็นไปตามความสมัครใจ โครงการ/มหาวิทยาลัยจำนวนไม่น้อยจึงยังไม่ได้เข้าร่วมระบบ Clearing house โดยในปีการศึกษา 2560 มีมหาวิทยาลัยที่เป็นสมาชิก ทปอ. เข้าร่วมระบบ Clearing house ทั้งสิ้น 11 แห่ง จากทั้งหมด 27 แห่ง (ไม่นับรวมกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทยที่เข้าร่วมเช่นกัน) และในจำนวนนี้ ก็ไม่ใช่ทุกโครงการหรือทุกคณะที่เข้าร่วมในระบบ Clearing house ผลก็คือ ถึงแม้ว่าจะมีระบบการยืนยันสิทธิ์แล้ว การกั๊กที่ก็ยังเกิดขึ้นได้ในกรณีที่ผู้สมัครสอบติดในโครงการ/มหาวิทยาลัยที่ไม่ได้เข้าร่วมระบบ Clearing house 2561-เป็นต้นมา TCAS 2561 TCAS การคัดเลือก 5 รอบ มีดังนี้ รอบที่ 1 Portfolio (แฟ้มสะสมผลงาน) รอบที่ 2 Quota (โควตา) รอบที่ 3 รับตรงร่วมกัน รอบที่ 4 Admissions รอบที่ 5 รับตรงอิสระ ต่อมาในยุคของระบบ TCAS ปี 2561-2564 มาถึงระบบล่าสุดที่ใช้อยู่ปัจจุบันนี้ ได้มีการเลิกใช้รอบ “Admission” เปลี่ยนมาเรียกว่าระบบ Thai University Central Admission System หรือ TCAS แทน เพื่อแก้ปัญหาการกั๊กที่กั๊กสิทธิ์ และเพื่อลดความเหลื่อมล้ำ โดยมีหลักสำคัญ 3 ข้อคือ 1.จัดการสิทธิ์ 1คน1สิทธิ์ 2.นักเรียนไม่วิ่งรอกสอบ 3. นักเรียนอยู่ในห้องเรียนจนจบ ม.6 แล้วค่อยสอบ(ข้อสอบกลาง) ซึ่งรูปแบบการสอบในยุคนี้ ได้เลื่อนการสอบทั้งหมดมาสอบช่วงหลังจบ ม.6 ทั้งหมด และลดการสอบทั้งหมดเหลือเพียงอย่างละครั้งเดียว 2564 TCAS เปลี่ยนเป็นการคัดเลือก 4 รอบ รอบที่ 1 Portfolio (แฟ้มสะสมผลงาน) รอบที่ 2 Quota (โควตา) รอบที่ 3 Combined Admission = รวม Admission 1 และ Admission 2 ให้สมัครพร้อมกัน โดยประกาศผล 2 ครั้ง รอบที่ 4 Direct Admission (รับตรงอิสระ) กระทั่งปี 2564 ได้ยุบรอบการคัดเลือกเหลือ 4 รอบ โดยมีเกณฑ์รอบรับตรงร่วมและรอบแอดมิชชันเหมือนเดิม แต่เปิดให้ยื่นคะแนนพร้อมกัน นักเรียนสามารถเลือกได้สูงสุด 10 อันดับ มีการประกาศผล 2 ครั้ง เพื่อเปิดโอกาสให้เด็กสละสิทธิ์ และมีการประมวลผลเรียกตัวสำรอง ให้มีสิทธิเข้าศึกษาได้ จะเห็นได้ว่าการแก้ไขปัญหาของทาง ทปอ. เป็นการแก้ไขปัญหาที่ปลายเหตุ ไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างยั่งยืน เพราะสุดท้ายแล้ว ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลงการสอบ ก็มักจะมีปัญหาระบบตามมา ชี้ให้เห็นว่า ระบบ TCAS ไม่อาจแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำได้เลย ชี้ให้เห็นถึงปัญหาความได้เปรียบ-เสียเปรียบระหว่างเด็กรวย-จน และปัญหาการไม่เข้าเรียนจนจบการศึกษาได้ดีตามที่ ทปอ. ตั้งใจ ยิ่งไปกว่านั้น หากย้อนกลับไปดูการเปลี่ยนแปลงระบบการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในระดับอุดมศึกษาที่ผ่านมา จะเห็นได้ชัดเจนว่า ระบบการสอบของ ทปอ. กลับเป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้ระบบการคัดเลือกนักศึกษาของไทยวนเวียนอยู่เช่นนี้ เพราะระบบการสอบของ ทปอ. ยังสร้างภาระและต้นทุนทางการเงินและทางสุขภาพให้กับเด็ก ทั้งจากการสอบมากครั้ง การเรียนกวดวิชา การหาข้อมูลและเตรียมความพร้อมสำหรับระบบรับสมัครที่เปลี่ยนแปลงไปมา ตลอดจนความไม่เท่าเทียมของโอกาสในการเข้าศึกษา ซึ่งก็คือภาระการเตรียมตัวสอบอันหนักหน่วงของเด็ก ทั้งที่การสอบนั้นก็ไม่อาจชี้วัดความสามารถและความเหมาะสมของเด็กในการเข้าศึกษาในแต่ละโครงการได้ดีแต่อย่างใด ซึ่งหวังว่าในอนาคต ทางผู้หลักผู้ใหญ่จะสามารถหาระบบการสอบที่ลงตัวกับทุกฝ่าย และไม่สร้างปัญหาให้ทั้งเด็กและผู้ปกครองอีกต่อไป EZ Webmaster Related Posts ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง TK Park พาเปิดบทเรียนอันทรงคุณค่า จาก “คุณหญิงกษมา” กว่า 50 ปี บนเส้นทางการศึกษา กับบทบาทผู้ต่อจิ๊กซอว์ “การเรียนรู้” ให้สังคมไทย พร้อมเจาะ “7 บทเรียนที่ต้องเรียนรู้” พาไทยสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ได้แบบไม่รู้จบ Post navigation PREVIOUS Previous post: “สวนสุนันทา” เปิดรับรอบโควตา พร้อมให้คนมีความสามารถพิเศษเรียนฟรีกับโครงการ “ทุนเพชรสุนันทา”NEXT Next post: ตารางเวลาสอบใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู ประจำปี 2567 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง EZ WebmasterJune 13, 2025 วันนี้ทั้งเล่น ทั้งได้ความรู้ ทั้งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนนางรอง จ.บุรีรัมย์ วันที่13/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า… นักศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI… ทุนดีดี เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster January 20, 2024 EZ Webmaster January 20, 2024 วิวัฒนาการสอบเข้ามหาวิทยาลัย ทำไมจึงต้องเปลี่ยนวิธีการสอบหลายต่อหลายครั้ง ? วิวัฒนาการสอบเข้ามหาวิทยาลัย ทำไมจึงต้องเปลี่ยนวิธีการสอบหลายต่อหลายครั้ง ? การศึกษาไทยเป็นเรื่องที่มีความวุ่นวายซับซ้อนและเกิดความเหลื่อมล้ำมากมาย ซึ่งปัญหาต่าง ๆ ส่งผลให้เด็กต้องสอบหลายครั้ง ทั้ง GAT/PAT, 9 วิชาสามัญ และ O-NET ที่จัดตลอดทั้งปี หรือในบางคณะ บางมหาวิทยาลัย ก็จัดสอบตรงของตัวเองอีก เด็กจึงต้องวิ่งรอกสอบหลายครั้ง เสียค่าสมัคร ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ มากมาย ซึ่งการสอบในปีก่อน ๆ มักจัดขึ้นในช่วงที่ยังไม่ปิดภาคเรียน ทำให้อาจารย์ต้องเร่งสอนเพื่อให้ทันการสอบ ส่งผลให้เด็ก ๆ ก็อาจจะเรียนได้ไม่เต็มที่ ดังนั้นที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยจึงคิดวิธีแก้ปัญหา เพื่อลดความเหลื่อมล้ำต่าง ๆ และต้องการให้เด็กนักเรียนได้มีสิทธิ์ในการศึกษาอย่างเสมอภาค จึงมีแผนการปรับเปลี่ยนการสอบเข้ามหาวิทยาลัยหลายต่อหลายครั้ง เราไปดูกันดีกว่าว่าการสอบเข้าตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ผ่านยุคการสอบแบบไหนมาบ้าง แล้วการปรับเปลี่ยนการสอบจะแก้ปัญหาได้จริงหรือไม่ ไปดูกันเลย (2504–2542) Entrance แบบเก่า 2504 เอ็นทรานซ์ (ครั้งแรก) เลือกคณะก่อนสอบ เลือกอันดับได้ 4-6 อันดับ ใช้คะแนน เอ็นทรานซ์ 100 % 2542 เอ็นทรานซ์ สอบแล้วเลือกคณะ มี 2 ครั้งต่อปี ครั้งที่ 1 ช่วง ต.ค. ครั้งที่ 2 ช่วง มี.ค. เพิ่ม GPAX 10% ระบบ Entrance ยุคแรก ปี 2504 – 2542 ระบบการสอบเข้ามหาวิทยาลัยในยุคแรก ๆ นั้น เกิดจากความร่วมมือกันของแต่ละมหาวิทยาลัยที่เปิดสอนในยุคนั้นจัดสอบขึ้นมากันเอง เพื่อแก้ปัญหาที่นักเรียนต้องเสียค่าใช้จ่ายสมัครสอบแต่ละที่หลายครั้ง โดยมีสภาการศึกษาแห่งชาติเป็นผู้ประสานงาน รูปแบบการสอบยุคนี้ เปิดให้นักเรียนเลือกคณะที่สนใจเข้าศึกษาได้ 4 อันดับ (ภายหลังปี 2516 เปลี่ยนเป็น 6 อันดับ) จากนั้นก็เข้าสอบเอ็นทรานซ์ โดยใช้คะแนนสอบเอ็นทรานซ์ 100% ไม่ต้องใช้เกรดเฉลี่ย( GPAX) ในโรงเรียนและสามารถสอบเทียบได้ แต่มันก็มีข้อเสีย เพราะทำให้เด็ก ๆ ม.6 เกิดความเครียดและความกดดัน เพราะการไม่มีตัวเลือกในการสอบ เพราะระบบเอ็นทรานซ์มีให้สอบรอบเดียว ระบบนี้ยังไม่มี GPAX ก็อาจส่งผลให้เด็กนักเรียนบางส่วนบ้าคลั่งในการสอบ จนไม่สนใจการเรียนในห้อง ที่สำคัญคือระบบนี้เราต้องเลือกมหาวิทยาลัยหรือคณะที่ชื่นชอบก่อนที่จะสอบ โดยที่เราไม่รู้ว่าคะแนนของตัวเองได้เท่าไหร่ อาจทำให้เราพลาดโอกาสไปได้ (2543–2548) Entrance แบบใหม่ 2543 เพิ่ม GPAX 25% ระบบ Entrance ยุคใหม่ ปี 2542-2548 ยุคต่อมาจึงได้ปรับรูปแบบการสอบใหม่ จากคำเรียกร้องจากนักเรียน ที่ต้องการตัวเลือกในการสอบมากกว่า 1 ครั้ง โดยเปิดให้สอบเอ็นทรานซ์ได้ถึง 2 ครั้ง คือ ช่วงเดือนตุลาคม และเดือนมีนาคม เมื่อเป็นเช่นนี้ก็จะทำให้นักเรียนได้รู้คะแนนสอบตัวเองก่อนที่จะเลือกมหาวิทยาลัย และสามารถเลือกคะแนนครั้งที่ดีที่สุดของตัวเองมายื่นได้ สามารถเลือกยื่นคณะได้ 4 อันดับ นอกจากนี้ยังมีการเปลี่ยนแปลงสัดส่วนคะแนนอีกด้วย จากเดิมที่ใช้คะแนนสอบเอ็นทรานซ์ 100% จึงมีการเปลี่ยนแปลงเป็นการเพิ่มการใช้เกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) มาร่วมคิดคะแนนด้วย ประมาณ 10% (2549–2552) Admissions 2549 แอดมิชชั่น ยกเลิกเอ็นทรานซ์ เริ่มสอบ O-NET , A-NET เพิ่ม GPAX 30 % 2552 แอดมิชชั่น ยกเลิก A-NET(dek52 สอบปีสุดท้าย) เปลี่ยนเป็น GPAX 20 % เริ่มสอบ GAT/PAT (dek53 ปีแรก)ใช้คะแนนรวมกัน 50 % GAT/PAT สอบ 4 ครั้ง (ตั้งแต่ปี 54 ลดเหลือ 2 ครั้ง) ในยุคต่อมา ระบบ Admission : O-NET, A-NET ปี 2549-2552 หลังปี 2548 มาก็ได้มีการยกเลิกระบบเอ็นทรานซ์ เข้าสู่ยุคระบบกลางการรับนิสิตที่เรียกว่า แอดมิชชั่น (Admission) แทน ในยุคนี้ได้มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบจากเยงเรียกร้องจากนักเรียน โดยเพิ่มรูปแบบข้อสอบแบบใหม่ขึ้นมาในชื่อ O-NET และ A-NET ซึ่งสัดส่วนคะแนนนั้น จะประกอบด้วยเกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) 30% รวมกับคะแนน O-NET และ A-NET และในปี 2552 มีการปรับเปลี่ยนวิธีการสอบ โดยการยกเลิก A-NET แล้วเปลี่ยนมาใช้เกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) 30% และใช้คะแนนจาก GAT/PAT ใช้คะแนนรวมกัน 50 % และยังให้มีการสอบ GAT/PAT 4 ครั้งต่อปีอีกด้วย (2553-2560) Admissions 2553 แอดมิชชั่น ใช้ GAT/PAT ปีแรก เปลี่ยนสัดส่วนมาเป็นใช้ GPAX 20% O-NET 30% GAT/PAT 50% (ขึ้นอยู่กับคณะ) 2556 แอดมิชชั่น สอบ GAT/PAT ลดเหลือ 2 ครั้ง เริ่มสอบ 7 วิชาสามัญ และระบบเคลียร์ริงเฮาส์ 2559 แอดมิชชั่น เปลี่ยนจาก 7 วิชาสามัญเป็น 9 วิชาสามัญ 2560 แอดมิชชั่น ยุค Clearing House ช่วงแรก ใช้ระบบสอบกลางครั้งเดียว สอบ GAT/PAT และ 9 วิชาสามัญ ช่วงที่ 2 ระบบ Clearing House 2 รอบ เลือกอันดับการเข้าศึกษาได้ 4 อันดับ ต่อมา ในปี 2556 ลดการสอบ GAT/PAT ลดเหลือ 2 ครั้ง และเริ่มมีการสอบ 7 วิชาสามัญ และมีระบบเคลียริ่งเฮ้าส์ ซึ่งระบบคัดเลือกดังกล่าวทำให้เกิดปัญหาตามมา 3 ประการหลัก ได้แก่ การไม่เข้าห้องเรียนของผู้ที่สอบติดในรอบรับตรงและของผู้ที่มีคะแนนสอบ GAT-PAT รอบแรก (กำหนดสอบเดือนตุลาคม-พฤศจิกายน) สูง การตระเวนสอบตรงเพื่อให้มีที่เรียน ซึ่งทำให้เด็กรวยมีโอกาสได้ที่เรียนมากกว่า เพราะมีทุนในการยื่นสมัครหลายที่มากกว่าเด็กจน และ “การกั๊กที่” ของผู้สอบติดหลายที่ในรอบรับตรงแต่ไม่สละสิทธิ์ ส่งผลให้ผู้สมัครคนอื่นเสียโอกาสในการได้ที่เรียน เพื่อแก้ปัญหาการกั๊กที่ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาแห่งประเทศไทย (สอท.) ในขณะนั้น จึงได้จัดทำระบบ Clearing house เพื่อรวบรวมรายชื่อผู้สอบติดจากรอบรับตรงไว้ที่ส่วนกลาง และให้ผู้ผ่านการคัดเลือกยืนยันสิทธิ์เข้าเรียนของตนได้เพียง 1 ที่ หลังจากนั้น ผู้ที่ยืนยันสิทธิ์แล้วจะถูกตัดสิทธิ์จากรอบ Admissions และจากคณะอื่นในระบบ Clearing house อย่างไรก็ตาม เนื่องจากการเข้าร่วมระบบ Clearing house เป็นไปตามความสมัครใจ โครงการ/มหาวิทยาลัยจำนวนไม่น้อยจึงยังไม่ได้เข้าร่วมระบบ Clearing house โดยในปีการศึกษา 2560 มีมหาวิทยาลัยที่เป็นสมาชิก ทปอ. เข้าร่วมระบบ Clearing house ทั้งสิ้น 11 แห่ง จากทั้งหมด 27 แห่ง (ไม่นับรวมกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทยที่เข้าร่วมเช่นกัน) และในจำนวนนี้ ก็ไม่ใช่ทุกโครงการหรือทุกคณะที่เข้าร่วมในระบบ Clearing house ผลก็คือ ถึงแม้ว่าจะมีระบบการยืนยันสิทธิ์แล้ว การกั๊กที่ก็ยังเกิดขึ้นได้ในกรณีที่ผู้สมัครสอบติดในโครงการ/มหาวิทยาลัยที่ไม่ได้เข้าร่วมระบบ Clearing house 2561-เป็นต้นมา TCAS 2561 TCAS การคัดเลือก 5 รอบ มีดังนี้ รอบที่ 1 Portfolio (แฟ้มสะสมผลงาน) รอบที่ 2 Quota (โควตา) รอบที่ 3 รับตรงร่วมกัน รอบที่ 4 Admissions รอบที่ 5 รับตรงอิสระ ต่อมาในยุคของระบบ TCAS ปี 2561-2564 มาถึงระบบล่าสุดที่ใช้อยู่ปัจจุบันนี้ ได้มีการเลิกใช้รอบ “Admission” เปลี่ยนมาเรียกว่าระบบ Thai University Central Admission System หรือ TCAS แทน เพื่อแก้ปัญหาการกั๊กที่กั๊กสิทธิ์ และเพื่อลดความเหลื่อมล้ำ โดยมีหลักสำคัญ 3 ข้อคือ 1.จัดการสิทธิ์ 1คน1สิทธิ์ 2.นักเรียนไม่วิ่งรอกสอบ 3. นักเรียนอยู่ในห้องเรียนจนจบ ม.6 แล้วค่อยสอบ(ข้อสอบกลาง) ซึ่งรูปแบบการสอบในยุคนี้ ได้เลื่อนการสอบทั้งหมดมาสอบช่วงหลังจบ ม.6 ทั้งหมด และลดการสอบทั้งหมดเหลือเพียงอย่างละครั้งเดียว 2564 TCAS เปลี่ยนเป็นการคัดเลือก 4 รอบ รอบที่ 1 Portfolio (แฟ้มสะสมผลงาน) รอบที่ 2 Quota (โควตา) รอบที่ 3 Combined Admission = รวม Admission 1 และ Admission 2 ให้สมัครพร้อมกัน โดยประกาศผล 2 ครั้ง รอบที่ 4 Direct Admission (รับตรงอิสระ) กระทั่งปี 2564 ได้ยุบรอบการคัดเลือกเหลือ 4 รอบ โดยมีเกณฑ์รอบรับตรงร่วมและรอบแอดมิชชันเหมือนเดิม แต่เปิดให้ยื่นคะแนนพร้อมกัน นักเรียนสามารถเลือกได้สูงสุด 10 อันดับ มีการประกาศผล 2 ครั้ง เพื่อเปิดโอกาสให้เด็กสละสิทธิ์ และมีการประมวลผลเรียกตัวสำรอง ให้มีสิทธิเข้าศึกษาได้ จะเห็นได้ว่าการแก้ไขปัญหาของทาง ทปอ. เป็นการแก้ไขปัญหาที่ปลายเหตุ ไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างยั่งยืน เพราะสุดท้ายแล้ว ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลงการสอบ ก็มักจะมีปัญหาระบบตามมา ชี้ให้เห็นว่า ระบบ TCAS ไม่อาจแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำได้เลย ชี้ให้เห็นถึงปัญหาความได้เปรียบ-เสียเปรียบระหว่างเด็กรวย-จน และปัญหาการไม่เข้าเรียนจนจบการศึกษาได้ดีตามที่ ทปอ. ตั้งใจ ยิ่งไปกว่านั้น หากย้อนกลับไปดูการเปลี่ยนแปลงระบบการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในระดับอุดมศึกษาที่ผ่านมา จะเห็นได้ชัดเจนว่า ระบบการสอบของ ทปอ. กลับเป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้ระบบการคัดเลือกนักศึกษาของไทยวนเวียนอยู่เช่นนี้ เพราะระบบการสอบของ ทปอ. ยังสร้างภาระและต้นทุนทางการเงินและทางสุขภาพให้กับเด็ก ทั้งจากการสอบมากครั้ง การเรียนกวดวิชา การหาข้อมูลและเตรียมความพร้อมสำหรับระบบรับสมัครที่เปลี่ยนแปลงไปมา ตลอดจนความไม่เท่าเทียมของโอกาสในการเข้าศึกษา ซึ่งก็คือภาระการเตรียมตัวสอบอันหนักหน่วงของเด็ก ทั้งที่การสอบนั้นก็ไม่อาจชี้วัดความสามารถและความเหมาะสมของเด็กในการเข้าศึกษาในแต่ละโครงการได้ดีแต่อย่างใด ซึ่งหวังว่าในอนาคต ทางผู้หลักผู้ใหญ่จะสามารถหาระบบการสอบที่ลงตัวกับทุกฝ่าย และไม่สร้างปัญหาให้ทั้งเด็กและผู้ปกครองอีกต่อไป EZ Webmaster Related Posts ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง TK Park พาเปิดบทเรียนอันทรงคุณค่า จาก “คุณหญิงกษมา” กว่า 50 ปี บนเส้นทางการศึกษา กับบทบาทผู้ต่อจิ๊กซอว์ “การเรียนรู้” ให้สังคมไทย พร้อมเจาะ “7 บทเรียนที่ต้องเรียนรู้” พาไทยสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ได้แบบไม่รู้จบ Post navigation PREVIOUS Previous post: “สวนสุนันทา” เปิดรับรอบโควตา พร้อมให้คนมีความสามารถพิเศษเรียนฟรีกับโครงการ “ทุนเพชรสุนันทา”NEXT Next post: ตารางเวลาสอบใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู ประจำปี 2567 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง EZ WebmasterJune 13, 2025 วันนี้ทั้งเล่น ทั้งได้ความรู้ ทั้งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนนางรอง จ.บุรีรัมย์ วันที่13/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า…
โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง EZ WebmasterJune 13, 2025 วันนี้ทั้งเล่น ทั้งได้ความรู้ ทั้งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนนางรอง จ.บุรีรัมย์ วันที่13/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า…
คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI… ทุนดีดี เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster January 20, 2024 EZ Webmaster January 20, 2024 วิวัฒนาการสอบเข้ามหาวิทยาลัย ทำไมจึงต้องเปลี่ยนวิธีการสอบหลายต่อหลายครั้ง ? วิวัฒนาการสอบเข้ามหาวิทยาลัย ทำไมจึงต้องเปลี่ยนวิธีการสอบหลายต่อหลายครั้ง ? การศึกษาไทยเป็นเรื่องที่มีความวุ่นวายซับซ้อนและเกิดความเหลื่อมล้ำมากมาย ซึ่งปัญหาต่าง ๆ ส่งผลให้เด็กต้องสอบหลายครั้ง ทั้ง GAT/PAT, 9 วิชาสามัญ และ O-NET ที่จัดตลอดทั้งปี หรือในบางคณะ บางมหาวิทยาลัย ก็จัดสอบตรงของตัวเองอีก เด็กจึงต้องวิ่งรอกสอบหลายครั้ง เสียค่าสมัคร ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ มากมาย ซึ่งการสอบในปีก่อน ๆ มักจัดขึ้นในช่วงที่ยังไม่ปิดภาคเรียน ทำให้อาจารย์ต้องเร่งสอนเพื่อให้ทันการสอบ ส่งผลให้เด็ก ๆ ก็อาจจะเรียนได้ไม่เต็มที่ ดังนั้นที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยจึงคิดวิธีแก้ปัญหา เพื่อลดความเหลื่อมล้ำต่าง ๆ และต้องการให้เด็กนักเรียนได้มีสิทธิ์ในการศึกษาอย่างเสมอภาค จึงมีแผนการปรับเปลี่ยนการสอบเข้ามหาวิทยาลัยหลายต่อหลายครั้ง เราไปดูกันดีกว่าว่าการสอบเข้าตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ผ่านยุคการสอบแบบไหนมาบ้าง แล้วการปรับเปลี่ยนการสอบจะแก้ปัญหาได้จริงหรือไม่ ไปดูกันเลย (2504–2542) Entrance แบบเก่า 2504 เอ็นทรานซ์ (ครั้งแรก) เลือกคณะก่อนสอบ เลือกอันดับได้ 4-6 อันดับ ใช้คะแนน เอ็นทรานซ์ 100 % 2542 เอ็นทรานซ์ สอบแล้วเลือกคณะ มี 2 ครั้งต่อปี ครั้งที่ 1 ช่วง ต.ค. ครั้งที่ 2 ช่วง มี.ค. เพิ่ม GPAX 10% ระบบ Entrance ยุคแรก ปี 2504 – 2542 ระบบการสอบเข้ามหาวิทยาลัยในยุคแรก ๆ นั้น เกิดจากความร่วมมือกันของแต่ละมหาวิทยาลัยที่เปิดสอนในยุคนั้นจัดสอบขึ้นมากันเอง เพื่อแก้ปัญหาที่นักเรียนต้องเสียค่าใช้จ่ายสมัครสอบแต่ละที่หลายครั้ง โดยมีสภาการศึกษาแห่งชาติเป็นผู้ประสานงาน รูปแบบการสอบยุคนี้ เปิดให้นักเรียนเลือกคณะที่สนใจเข้าศึกษาได้ 4 อันดับ (ภายหลังปี 2516 เปลี่ยนเป็น 6 อันดับ) จากนั้นก็เข้าสอบเอ็นทรานซ์ โดยใช้คะแนนสอบเอ็นทรานซ์ 100% ไม่ต้องใช้เกรดเฉลี่ย( GPAX) ในโรงเรียนและสามารถสอบเทียบได้ แต่มันก็มีข้อเสีย เพราะทำให้เด็ก ๆ ม.6 เกิดความเครียดและความกดดัน เพราะการไม่มีตัวเลือกในการสอบ เพราะระบบเอ็นทรานซ์มีให้สอบรอบเดียว ระบบนี้ยังไม่มี GPAX ก็อาจส่งผลให้เด็กนักเรียนบางส่วนบ้าคลั่งในการสอบ จนไม่สนใจการเรียนในห้อง ที่สำคัญคือระบบนี้เราต้องเลือกมหาวิทยาลัยหรือคณะที่ชื่นชอบก่อนที่จะสอบ โดยที่เราไม่รู้ว่าคะแนนของตัวเองได้เท่าไหร่ อาจทำให้เราพลาดโอกาสไปได้ (2543–2548) Entrance แบบใหม่ 2543 เพิ่ม GPAX 25% ระบบ Entrance ยุคใหม่ ปี 2542-2548 ยุคต่อมาจึงได้ปรับรูปแบบการสอบใหม่ จากคำเรียกร้องจากนักเรียน ที่ต้องการตัวเลือกในการสอบมากกว่า 1 ครั้ง โดยเปิดให้สอบเอ็นทรานซ์ได้ถึง 2 ครั้ง คือ ช่วงเดือนตุลาคม และเดือนมีนาคม เมื่อเป็นเช่นนี้ก็จะทำให้นักเรียนได้รู้คะแนนสอบตัวเองก่อนที่จะเลือกมหาวิทยาลัย และสามารถเลือกคะแนนครั้งที่ดีที่สุดของตัวเองมายื่นได้ สามารถเลือกยื่นคณะได้ 4 อันดับ นอกจากนี้ยังมีการเปลี่ยนแปลงสัดส่วนคะแนนอีกด้วย จากเดิมที่ใช้คะแนนสอบเอ็นทรานซ์ 100% จึงมีการเปลี่ยนแปลงเป็นการเพิ่มการใช้เกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) มาร่วมคิดคะแนนด้วย ประมาณ 10% (2549–2552) Admissions 2549 แอดมิชชั่น ยกเลิกเอ็นทรานซ์ เริ่มสอบ O-NET , A-NET เพิ่ม GPAX 30 % 2552 แอดมิชชั่น ยกเลิก A-NET(dek52 สอบปีสุดท้าย) เปลี่ยนเป็น GPAX 20 % เริ่มสอบ GAT/PAT (dek53 ปีแรก)ใช้คะแนนรวมกัน 50 % GAT/PAT สอบ 4 ครั้ง (ตั้งแต่ปี 54 ลดเหลือ 2 ครั้ง) ในยุคต่อมา ระบบ Admission : O-NET, A-NET ปี 2549-2552 หลังปี 2548 มาก็ได้มีการยกเลิกระบบเอ็นทรานซ์ เข้าสู่ยุคระบบกลางการรับนิสิตที่เรียกว่า แอดมิชชั่น (Admission) แทน ในยุคนี้ได้มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบจากเยงเรียกร้องจากนักเรียน โดยเพิ่มรูปแบบข้อสอบแบบใหม่ขึ้นมาในชื่อ O-NET และ A-NET ซึ่งสัดส่วนคะแนนนั้น จะประกอบด้วยเกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) 30% รวมกับคะแนน O-NET และ A-NET และในปี 2552 มีการปรับเปลี่ยนวิธีการสอบ โดยการยกเลิก A-NET แล้วเปลี่ยนมาใช้เกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) 30% และใช้คะแนนจาก GAT/PAT ใช้คะแนนรวมกัน 50 % และยังให้มีการสอบ GAT/PAT 4 ครั้งต่อปีอีกด้วย (2553-2560) Admissions 2553 แอดมิชชั่น ใช้ GAT/PAT ปีแรก เปลี่ยนสัดส่วนมาเป็นใช้ GPAX 20% O-NET 30% GAT/PAT 50% (ขึ้นอยู่กับคณะ) 2556 แอดมิชชั่น สอบ GAT/PAT ลดเหลือ 2 ครั้ง เริ่มสอบ 7 วิชาสามัญ และระบบเคลียร์ริงเฮาส์ 2559 แอดมิชชั่น เปลี่ยนจาก 7 วิชาสามัญเป็น 9 วิชาสามัญ 2560 แอดมิชชั่น ยุค Clearing House ช่วงแรก ใช้ระบบสอบกลางครั้งเดียว สอบ GAT/PAT และ 9 วิชาสามัญ ช่วงที่ 2 ระบบ Clearing House 2 รอบ เลือกอันดับการเข้าศึกษาได้ 4 อันดับ ต่อมา ในปี 2556 ลดการสอบ GAT/PAT ลดเหลือ 2 ครั้ง และเริ่มมีการสอบ 7 วิชาสามัญ และมีระบบเคลียริ่งเฮ้าส์ ซึ่งระบบคัดเลือกดังกล่าวทำให้เกิดปัญหาตามมา 3 ประการหลัก ได้แก่ การไม่เข้าห้องเรียนของผู้ที่สอบติดในรอบรับตรงและของผู้ที่มีคะแนนสอบ GAT-PAT รอบแรก (กำหนดสอบเดือนตุลาคม-พฤศจิกายน) สูง การตระเวนสอบตรงเพื่อให้มีที่เรียน ซึ่งทำให้เด็กรวยมีโอกาสได้ที่เรียนมากกว่า เพราะมีทุนในการยื่นสมัครหลายที่มากกว่าเด็กจน และ “การกั๊กที่” ของผู้สอบติดหลายที่ในรอบรับตรงแต่ไม่สละสิทธิ์ ส่งผลให้ผู้สมัครคนอื่นเสียโอกาสในการได้ที่เรียน เพื่อแก้ปัญหาการกั๊กที่ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาแห่งประเทศไทย (สอท.) ในขณะนั้น จึงได้จัดทำระบบ Clearing house เพื่อรวบรวมรายชื่อผู้สอบติดจากรอบรับตรงไว้ที่ส่วนกลาง และให้ผู้ผ่านการคัดเลือกยืนยันสิทธิ์เข้าเรียนของตนได้เพียง 1 ที่ หลังจากนั้น ผู้ที่ยืนยันสิทธิ์แล้วจะถูกตัดสิทธิ์จากรอบ Admissions และจากคณะอื่นในระบบ Clearing house อย่างไรก็ตาม เนื่องจากการเข้าร่วมระบบ Clearing house เป็นไปตามความสมัครใจ โครงการ/มหาวิทยาลัยจำนวนไม่น้อยจึงยังไม่ได้เข้าร่วมระบบ Clearing house โดยในปีการศึกษา 2560 มีมหาวิทยาลัยที่เป็นสมาชิก ทปอ. เข้าร่วมระบบ Clearing house ทั้งสิ้น 11 แห่ง จากทั้งหมด 27 แห่ง (ไม่นับรวมกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทยที่เข้าร่วมเช่นกัน) และในจำนวนนี้ ก็ไม่ใช่ทุกโครงการหรือทุกคณะที่เข้าร่วมในระบบ Clearing house ผลก็คือ ถึงแม้ว่าจะมีระบบการยืนยันสิทธิ์แล้ว การกั๊กที่ก็ยังเกิดขึ้นได้ในกรณีที่ผู้สมัครสอบติดในโครงการ/มหาวิทยาลัยที่ไม่ได้เข้าร่วมระบบ Clearing house 2561-เป็นต้นมา TCAS 2561 TCAS การคัดเลือก 5 รอบ มีดังนี้ รอบที่ 1 Portfolio (แฟ้มสะสมผลงาน) รอบที่ 2 Quota (โควตา) รอบที่ 3 รับตรงร่วมกัน รอบที่ 4 Admissions รอบที่ 5 รับตรงอิสระ ต่อมาในยุคของระบบ TCAS ปี 2561-2564 มาถึงระบบล่าสุดที่ใช้อยู่ปัจจุบันนี้ ได้มีการเลิกใช้รอบ “Admission” เปลี่ยนมาเรียกว่าระบบ Thai University Central Admission System หรือ TCAS แทน เพื่อแก้ปัญหาการกั๊กที่กั๊กสิทธิ์ และเพื่อลดความเหลื่อมล้ำ โดยมีหลักสำคัญ 3 ข้อคือ 1.จัดการสิทธิ์ 1คน1สิทธิ์ 2.นักเรียนไม่วิ่งรอกสอบ 3. นักเรียนอยู่ในห้องเรียนจนจบ ม.6 แล้วค่อยสอบ(ข้อสอบกลาง) ซึ่งรูปแบบการสอบในยุคนี้ ได้เลื่อนการสอบทั้งหมดมาสอบช่วงหลังจบ ม.6 ทั้งหมด และลดการสอบทั้งหมดเหลือเพียงอย่างละครั้งเดียว 2564 TCAS เปลี่ยนเป็นการคัดเลือก 4 รอบ รอบที่ 1 Portfolio (แฟ้มสะสมผลงาน) รอบที่ 2 Quota (โควตา) รอบที่ 3 Combined Admission = รวม Admission 1 และ Admission 2 ให้สมัครพร้อมกัน โดยประกาศผล 2 ครั้ง รอบที่ 4 Direct Admission (รับตรงอิสระ) กระทั่งปี 2564 ได้ยุบรอบการคัดเลือกเหลือ 4 รอบ โดยมีเกณฑ์รอบรับตรงร่วมและรอบแอดมิชชันเหมือนเดิม แต่เปิดให้ยื่นคะแนนพร้อมกัน นักเรียนสามารถเลือกได้สูงสุด 10 อันดับ มีการประกาศผล 2 ครั้ง เพื่อเปิดโอกาสให้เด็กสละสิทธิ์ และมีการประมวลผลเรียกตัวสำรอง ให้มีสิทธิเข้าศึกษาได้ จะเห็นได้ว่าการแก้ไขปัญหาของทาง ทปอ. เป็นการแก้ไขปัญหาที่ปลายเหตุ ไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างยั่งยืน เพราะสุดท้ายแล้ว ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลงการสอบ ก็มักจะมีปัญหาระบบตามมา ชี้ให้เห็นว่า ระบบ TCAS ไม่อาจแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำได้เลย ชี้ให้เห็นถึงปัญหาความได้เปรียบ-เสียเปรียบระหว่างเด็กรวย-จน และปัญหาการไม่เข้าเรียนจนจบการศึกษาได้ดีตามที่ ทปอ. ตั้งใจ ยิ่งไปกว่านั้น หากย้อนกลับไปดูการเปลี่ยนแปลงระบบการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในระดับอุดมศึกษาที่ผ่านมา จะเห็นได้ชัดเจนว่า ระบบการสอบของ ทปอ. กลับเป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้ระบบการคัดเลือกนักศึกษาของไทยวนเวียนอยู่เช่นนี้ เพราะระบบการสอบของ ทปอ. ยังสร้างภาระและต้นทุนทางการเงินและทางสุขภาพให้กับเด็ก ทั้งจากการสอบมากครั้ง การเรียนกวดวิชา การหาข้อมูลและเตรียมความพร้อมสำหรับระบบรับสมัครที่เปลี่ยนแปลงไปมา ตลอดจนความไม่เท่าเทียมของโอกาสในการเข้าศึกษา ซึ่งก็คือภาระการเตรียมตัวสอบอันหนักหน่วงของเด็ก ทั้งที่การสอบนั้นก็ไม่อาจชี้วัดความสามารถและความเหมาะสมของเด็กในการเข้าศึกษาในแต่ละโครงการได้ดีแต่อย่างใด ซึ่งหวังว่าในอนาคต ทางผู้หลักผู้ใหญ่จะสามารถหาระบบการสอบที่ลงตัวกับทุกฝ่าย และไม่สร้างปัญหาให้ทั้งเด็กและผู้ปกครองอีกต่อไป EZ Webmaster Related Posts ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง TK Park พาเปิดบทเรียนอันทรงคุณค่า จาก “คุณหญิงกษมา” กว่า 50 ปี บนเส้นทางการศึกษา กับบทบาทผู้ต่อจิ๊กซอว์ “การเรียนรู้” ให้สังคมไทย พร้อมเจาะ “7 บทเรียนที่ต้องเรียนรู้” พาไทยสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ได้แบบไม่รู้จบ Post navigation PREVIOUS Previous post: “สวนสุนันทา” เปิดรับรอบโควตา พร้อมให้คนมีความสามารถพิเศษเรียนฟรีกับโครงการ “ทุนเพชรสุนันทา”NEXT Next post: ตารางเวลาสอบใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู ประจำปี 2567 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI… ทุนดีดี เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster January 20, 2024 EZ Webmaster January 20, 2024 วิวัฒนาการสอบเข้ามหาวิทยาลัย ทำไมจึงต้องเปลี่ยนวิธีการสอบหลายต่อหลายครั้ง ? วิวัฒนาการสอบเข้ามหาวิทยาลัย ทำไมจึงต้องเปลี่ยนวิธีการสอบหลายต่อหลายครั้ง ? การศึกษาไทยเป็นเรื่องที่มีความวุ่นวายซับซ้อนและเกิดความเหลื่อมล้ำมากมาย ซึ่งปัญหาต่าง ๆ ส่งผลให้เด็กต้องสอบหลายครั้ง ทั้ง GAT/PAT, 9 วิชาสามัญ และ O-NET ที่จัดตลอดทั้งปี หรือในบางคณะ บางมหาวิทยาลัย ก็จัดสอบตรงของตัวเองอีก เด็กจึงต้องวิ่งรอกสอบหลายครั้ง เสียค่าสมัคร ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ มากมาย ซึ่งการสอบในปีก่อน ๆ มักจัดขึ้นในช่วงที่ยังไม่ปิดภาคเรียน ทำให้อาจารย์ต้องเร่งสอนเพื่อให้ทันการสอบ ส่งผลให้เด็ก ๆ ก็อาจจะเรียนได้ไม่เต็มที่ ดังนั้นที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยจึงคิดวิธีแก้ปัญหา เพื่อลดความเหลื่อมล้ำต่าง ๆ และต้องการให้เด็กนักเรียนได้มีสิทธิ์ในการศึกษาอย่างเสมอภาค จึงมีแผนการปรับเปลี่ยนการสอบเข้ามหาวิทยาลัยหลายต่อหลายครั้ง เราไปดูกันดีกว่าว่าการสอบเข้าตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ผ่านยุคการสอบแบบไหนมาบ้าง แล้วการปรับเปลี่ยนการสอบจะแก้ปัญหาได้จริงหรือไม่ ไปดูกันเลย (2504–2542) Entrance แบบเก่า 2504 เอ็นทรานซ์ (ครั้งแรก) เลือกคณะก่อนสอบ เลือกอันดับได้ 4-6 อันดับ ใช้คะแนน เอ็นทรานซ์ 100 % 2542 เอ็นทรานซ์ สอบแล้วเลือกคณะ มี 2 ครั้งต่อปี ครั้งที่ 1 ช่วง ต.ค. ครั้งที่ 2 ช่วง มี.ค. เพิ่ม GPAX 10% ระบบ Entrance ยุคแรก ปี 2504 – 2542 ระบบการสอบเข้ามหาวิทยาลัยในยุคแรก ๆ นั้น เกิดจากความร่วมมือกันของแต่ละมหาวิทยาลัยที่เปิดสอนในยุคนั้นจัดสอบขึ้นมากันเอง เพื่อแก้ปัญหาที่นักเรียนต้องเสียค่าใช้จ่ายสมัครสอบแต่ละที่หลายครั้ง โดยมีสภาการศึกษาแห่งชาติเป็นผู้ประสานงาน รูปแบบการสอบยุคนี้ เปิดให้นักเรียนเลือกคณะที่สนใจเข้าศึกษาได้ 4 อันดับ (ภายหลังปี 2516 เปลี่ยนเป็น 6 อันดับ) จากนั้นก็เข้าสอบเอ็นทรานซ์ โดยใช้คะแนนสอบเอ็นทรานซ์ 100% ไม่ต้องใช้เกรดเฉลี่ย( GPAX) ในโรงเรียนและสามารถสอบเทียบได้ แต่มันก็มีข้อเสีย เพราะทำให้เด็ก ๆ ม.6 เกิดความเครียดและความกดดัน เพราะการไม่มีตัวเลือกในการสอบ เพราะระบบเอ็นทรานซ์มีให้สอบรอบเดียว ระบบนี้ยังไม่มี GPAX ก็อาจส่งผลให้เด็กนักเรียนบางส่วนบ้าคลั่งในการสอบ จนไม่สนใจการเรียนในห้อง ที่สำคัญคือระบบนี้เราต้องเลือกมหาวิทยาลัยหรือคณะที่ชื่นชอบก่อนที่จะสอบ โดยที่เราไม่รู้ว่าคะแนนของตัวเองได้เท่าไหร่ อาจทำให้เราพลาดโอกาสไปได้ (2543–2548) Entrance แบบใหม่ 2543 เพิ่ม GPAX 25% ระบบ Entrance ยุคใหม่ ปี 2542-2548 ยุคต่อมาจึงได้ปรับรูปแบบการสอบใหม่ จากคำเรียกร้องจากนักเรียน ที่ต้องการตัวเลือกในการสอบมากกว่า 1 ครั้ง โดยเปิดให้สอบเอ็นทรานซ์ได้ถึง 2 ครั้ง คือ ช่วงเดือนตุลาคม และเดือนมีนาคม เมื่อเป็นเช่นนี้ก็จะทำให้นักเรียนได้รู้คะแนนสอบตัวเองก่อนที่จะเลือกมหาวิทยาลัย และสามารถเลือกคะแนนครั้งที่ดีที่สุดของตัวเองมายื่นได้ สามารถเลือกยื่นคณะได้ 4 อันดับ นอกจากนี้ยังมีการเปลี่ยนแปลงสัดส่วนคะแนนอีกด้วย จากเดิมที่ใช้คะแนนสอบเอ็นทรานซ์ 100% จึงมีการเปลี่ยนแปลงเป็นการเพิ่มการใช้เกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) มาร่วมคิดคะแนนด้วย ประมาณ 10% (2549–2552) Admissions 2549 แอดมิชชั่น ยกเลิกเอ็นทรานซ์ เริ่มสอบ O-NET , A-NET เพิ่ม GPAX 30 % 2552 แอดมิชชั่น ยกเลิก A-NET(dek52 สอบปีสุดท้าย) เปลี่ยนเป็น GPAX 20 % เริ่มสอบ GAT/PAT (dek53 ปีแรก)ใช้คะแนนรวมกัน 50 % GAT/PAT สอบ 4 ครั้ง (ตั้งแต่ปี 54 ลดเหลือ 2 ครั้ง) ในยุคต่อมา ระบบ Admission : O-NET, A-NET ปี 2549-2552 หลังปี 2548 มาก็ได้มีการยกเลิกระบบเอ็นทรานซ์ เข้าสู่ยุคระบบกลางการรับนิสิตที่เรียกว่า แอดมิชชั่น (Admission) แทน ในยุคนี้ได้มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบจากเยงเรียกร้องจากนักเรียน โดยเพิ่มรูปแบบข้อสอบแบบใหม่ขึ้นมาในชื่อ O-NET และ A-NET ซึ่งสัดส่วนคะแนนนั้น จะประกอบด้วยเกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) 30% รวมกับคะแนน O-NET และ A-NET และในปี 2552 มีการปรับเปลี่ยนวิธีการสอบ โดยการยกเลิก A-NET แล้วเปลี่ยนมาใช้เกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) 30% และใช้คะแนนจาก GAT/PAT ใช้คะแนนรวมกัน 50 % และยังให้มีการสอบ GAT/PAT 4 ครั้งต่อปีอีกด้วย (2553-2560) Admissions 2553 แอดมิชชั่น ใช้ GAT/PAT ปีแรก เปลี่ยนสัดส่วนมาเป็นใช้ GPAX 20% O-NET 30% GAT/PAT 50% (ขึ้นอยู่กับคณะ) 2556 แอดมิชชั่น สอบ GAT/PAT ลดเหลือ 2 ครั้ง เริ่มสอบ 7 วิชาสามัญ และระบบเคลียร์ริงเฮาส์ 2559 แอดมิชชั่น เปลี่ยนจาก 7 วิชาสามัญเป็น 9 วิชาสามัญ 2560 แอดมิชชั่น ยุค Clearing House ช่วงแรก ใช้ระบบสอบกลางครั้งเดียว สอบ GAT/PAT และ 9 วิชาสามัญ ช่วงที่ 2 ระบบ Clearing House 2 รอบ เลือกอันดับการเข้าศึกษาได้ 4 อันดับ ต่อมา ในปี 2556 ลดการสอบ GAT/PAT ลดเหลือ 2 ครั้ง และเริ่มมีการสอบ 7 วิชาสามัญ และมีระบบเคลียริ่งเฮ้าส์ ซึ่งระบบคัดเลือกดังกล่าวทำให้เกิดปัญหาตามมา 3 ประการหลัก ได้แก่ การไม่เข้าห้องเรียนของผู้ที่สอบติดในรอบรับตรงและของผู้ที่มีคะแนนสอบ GAT-PAT รอบแรก (กำหนดสอบเดือนตุลาคม-พฤศจิกายน) สูง การตระเวนสอบตรงเพื่อให้มีที่เรียน ซึ่งทำให้เด็กรวยมีโอกาสได้ที่เรียนมากกว่า เพราะมีทุนในการยื่นสมัครหลายที่มากกว่าเด็กจน และ “การกั๊กที่” ของผู้สอบติดหลายที่ในรอบรับตรงแต่ไม่สละสิทธิ์ ส่งผลให้ผู้สมัครคนอื่นเสียโอกาสในการได้ที่เรียน เพื่อแก้ปัญหาการกั๊กที่ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาแห่งประเทศไทย (สอท.) ในขณะนั้น จึงได้จัดทำระบบ Clearing house เพื่อรวบรวมรายชื่อผู้สอบติดจากรอบรับตรงไว้ที่ส่วนกลาง และให้ผู้ผ่านการคัดเลือกยืนยันสิทธิ์เข้าเรียนของตนได้เพียง 1 ที่ หลังจากนั้น ผู้ที่ยืนยันสิทธิ์แล้วจะถูกตัดสิทธิ์จากรอบ Admissions และจากคณะอื่นในระบบ Clearing house อย่างไรก็ตาม เนื่องจากการเข้าร่วมระบบ Clearing house เป็นไปตามความสมัครใจ โครงการ/มหาวิทยาลัยจำนวนไม่น้อยจึงยังไม่ได้เข้าร่วมระบบ Clearing house โดยในปีการศึกษา 2560 มีมหาวิทยาลัยที่เป็นสมาชิก ทปอ. เข้าร่วมระบบ Clearing house ทั้งสิ้น 11 แห่ง จากทั้งหมด 27 แห่ง (ไม่นับรวมกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทยที่เข้าร่วมเช่นกัน) และในจำนวนนี้ ก็ไม่ใช่ทุกโครงการหรือทุกคณะที่เข้าร่วมในระบบ Clearing house ผลก็คือ ถึงแม้ว่าจะมีระบบการยืนยันสิทธิ์แล้ว การกั๊กที่ก็ยังเกิดขึ้นได้ในกรณีที่ผู้สมัครสอบติดในโครงการ/มหาวิทยาลัยที่ไม่ได้เข้าร่วมระบบ Clearing house 2561-เป็นต้นมา TCAS 2561 TCAS การคัดเลือก 5 รอบ มีดังนี้ รอบที่ 1 Portfolio (แฟ้มสะสมผลงาน) รอบที่ 2 Quota (โควตา) รอบที่ 3 รับตรงร่วมกัน รอบที่ 4 Admissions รอบที่ 5 รับตรงอิสระ ต่อมาในยุคของระบบ TCAS ปี 2561-2564 มาถึงระบบล่าสุดที่ใช้อยู่ปัจจุบันนี้ ได้มีการเลิกใช้รอบ “Admission” เปลี่ยนมาเรียกว่าระบบ Thai University Central Admission System หรือ TCAS แทน เพื่อแก้ปัญหาการกั๊กที่กั๊กสิทธิ์ และเพื่อลดความเหลื่อมล้ำ โดยมีหลักสำคัญ 3 ข้อคือ 1.จัดการสิทธิ์ 1คน1สิทธิ์ 2.นักเรียนไม่วิ่งรอกสอบ 3. นักเรียนอยู่ในห้องเรียนจนจบ ม.6 แล้วค่อยสอบ(ข้อสอบกลาง) ซึ่งรูปแบบการสอบในยุคนี้ ได้เลื่อนการสอบทั้งหมดมาสอบช่วงหลังจบ ม.6 ทั้งหมด และลดการสอบทั้งหมดเหลือเพียงอย่างละครั้งเดียว 2564 TCAS เปลี่ยนเป็นการคัดเลือก 4 รอบ รอบที่ 1 Portfolio (แฟ้มสะสมผลงาน) รอบที่ 2 Quota (โควตา) รอบที่ 3 Combined Admission = รวม Admission 1 และ Admission 2 ให้สมัครพร้อมกัน โดยประกาศผล 2 ครั้ง รอบที่ 4 Direct Admission (รับตรงอิสระ) กระทั่งปี 2564 ได้ยุบรอบการคัดเลือกเหลือ 4 รอบ โดยมีเกณฑ์รอบรับตรงร่วมและรอบแอดมิชชันเหมือนเดิม แต่เปิดให้ยื่นคะแนนพร้อมกัน นักเรียนสามารถเลือกได้สูงสุด 10 อันดับ มีการประกาศผล 2 ครั้ง เพื่อเปิดโอกาสให้เด็กสละสิทธิ์ และมีการประมวลผลเรียกตัวสำรอง ให้มีสิทธิเข้าศึกษาได้ จะเห็นได้ว่าการแก้ไขปัญหาของทาง ทปอ. เป็นการแก้ไขปัญหาที่ปลายเหตุ ไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างยั่งยืน เพราะสุดท้ายแล้ว ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลงการสอบ ก็มักจะมีปัญหาระบบตามมา ชี้ให้เห็นว่า ระบบ TCAS ไม่อาจแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำได้เลย ชี้ให้เห็นถึงปัญหาความได้เปรียบ-เสียเปรียบระหว่างเด็กรวย-จน และปัญหาการไม่เข้าเรียนจนจบการศึกษาได้ดีตามที่ ทปอ. ตั้งใจ ยิ่งไปกว่านั้น หากย้อนกลับไปดูการเปลี่ยนแปลงระบบการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในระดับอุดมศึกษาที่ผ่านมา จะเห็นได้ชัดเจนว่า ระบบการสอบของ ทปอ. กลับเป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้ระบบการคัดเลือกนักศึกษาของไทยวนเวียนอยู่เช่นนี้ เพราะระบบการสอบของ ทปอ. ยังสร้างภาระและต้นทุนทางการเงินและทางสุขภาพให้กับเด็ก ทั้งจากการสอบมากครั้ง การเรียนกวดวิชา การหาข้อมูลและเตรียมความพร้อมสำหรับระบบรับสมัครที่เปลี่ยนแปลงไปมา ตลอดจนความไม่เท่าเทียมของโอกาสในการเข้าศึกษา ซึ่งก็คือภาระการเตรียมตัวสอบอันหนักหน่วงของเด็ก ทั้งที่การสอบนั้นก็ไม่อาจชี้วัดความสามารถและความเหมาะสมของเด็กในการเข้าศึกษาในแต่ละโครงการได้ดีแต่อย่างใด ซึ่งหวังว่าในอนาคต ทางผู้หลักผู้ใหญ่จะสามารถหาระบบการสอบที่ลงตัวกับทุกฝ่าย และไม่สร้างปัญหาให้ทั้งเด็กและผู้ปกครองอีกต่อไป EZ Webmaster Related Posts ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง TK Park พาเปิดบทเรียนอันทรงคุณค่า จาก “คุณหญิงกษมา” กว่า 50 ปี บนเส้นทางการศึกษา กับบทบาทผู้ต่อจิ๊กซอว์ “การเรียนรู้” ให้สังคมไทย พร้อมเจาะ “7 บทเรียนที่ต้องเรียนรู้” พาไทยสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ได้แบบไม่รู้จบ Post navigation PREVIOUS Previous post: “สวนสุนันทา” เปิดรับรอบโควตา พร้อมให้คนมีความสามารถพิเศษเรียนฟรีกับโครงการ “ทุนเพชรสุนันทา”NEXT Next post: ตารางเวลาสอบใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู ประจำปี 2567 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI…
รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI…
เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster January 20, 2024 EZ Webmaster January 20, 2024 วิวัฒนาการสอบเข้ามหาวิทยาลัย ทำไมจึงต้องเปลี่ยนวิธีการสอบหลายต่อหลายครั้ง ? วิวัฒนาการสอบเข้ามหาวิทยาลัย ทำไมจึงต้องเปลี่ยนวิธีการสอบหลายต่อหลายครั้ง ? การศึกษาไทยเป็นเรื่องที่มีความวุ่นวายซับซ้อนและเกิดความเหลื่อมล้ำมากมาย ซึ่งปัญหาต่าง ๆ ส่งผลให้เด็กต้องสอบหลายครั้ง ทั้ง GAT/PAT, 9 วิชาสามัญ และ O-NET ที่จัดตลอดทั้งปี หรือในบางคณะ บางมหาวิทยาลัย ก็จัดสอบตรงของตัวเองอีก เด็กจึงต้องวิ่งรอกสอบหลายครั้ง เสียค่าสมัคร ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ มากมาย ซึ่งการสอบในปีก่อน ๆ มักจัดขึ้นในช่วงที่ยังไม่ปิดภาคเรียน ทำให้อาจารย์ต้องเร่งสอนเพื่อให้ทันการสอบ ส่งผลให้เด็ก ๆ ก็อาจจะเรียนได้ไม่เต็มที่ ดังนั้นที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยจึงคิดวิธีแก้ปัญหา เพื่อลดความเหลื่อมล้ำต่าง ๆ และต้องการให้เด็กนักเรียนได้มีสิทธิ์ในการศึกษาอย่างเสมอภาค จึงมีแผนการปรับเปลี่ยนการสอบเข้ามหาวิทยาลัยหลายต่อหลายครั้ง เราไปดูกันดีกว่าว่าการสอบเข้าตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ผ่านยุคการสอบแบบไหนมาบ้าง แล้วการปรับเปลี่ยนการสอบจะแก้ปัญหาได้จริงหรือไม่ ไปดูกันเลย (2504–2542) Entrance แบบเก่า 2504 เอ็นทรานซ์ (ครั้งแรก) เลือกคณะก่อนสอบ เลือกอันดับได้ 4-6 อันดับ ใช้คะแนน เอ็นทรานซ์ 100 % 2542 เอ็นทรานซ์ สอบแล้วเลือกคณะ มี 2 ครั้งต่อปี ครั้งที่ 1 ช่วง ต.ค. ครั้งที่ 2 ช่วง มี.ค. เพิ่ม GPAX 10% ระบบ Entrance ยุคแรก ปี 2504 – 2542 ระบบการสอบเข้ามหาวิทยาลัยในยุคแรก ๆ นั้น เกิดจากความร่วมมือกันของแต่ละมหาวิทยาลัยที่เปิดสอนในยุคนั้นจัดสอบขึ้นมากันเอง เพื่อแก้ปัญหาที่นักเรียนต้องเสียค่าใช้จ่ายสมัครสอบแต่ละที่หลายครั้ง โดยมีสภาการศึกษาแห่งชาติเป็นผู้ประสานงาน รูปแบบการสอบยุคนี้ เปิดให้นักเรียนเลือกคณะที่สนใจเข้าศึกษาได้ 4 อันดับ (ภายหลังปี 2516 เปลี่ยนเป็น 6 อันดับ) จากนั้นก็เข้าสอบเอ็นทรานซ์ โดยใช้คะแนนสอบเอ็นทรานซ์ 100% ไม่ต้องใช้เกรดเฉลี่ย( GPAX) ในโรงเรียนและสามารถสอบเทียบได้ แต่มันก็มีข้อเสีย เพราะทำให้เด็ก ๆ ม.6 เกิดความเครียดและความกดดัน เพราะการไม่มีตัวเลือกในการสอบ เพราะระบบเอ็นทรานซ์มีให้สอบรอบเดียว ระบบนี้ยังไม่มี GPAX ก็อาจส่งผลให้เด็กนักเรียนบางส่วนบ้าคลั่งในการสอบ จนไม่สนใจการเรียนในห้อง ที่สำคัญคือระบบนี้เราต้องเลือกมหาวิทยาลัยหรือคณะที่ชื่นชอบก่อนที่จะสอบ โดยที่เราไม่รู้ว่าคะแนนของตัวเองได้เท่าไหร่ อาจทำให้เราพลาดโอกาสไปได้ (2543–2548) Entrance แบบใหม่ 2543 เพิ่ม GPAX 25% ระบบ Entrance ยุคใหม่ ปี 2542-2548 ยุคต่อมาจึงได้ปรับรูปแบบการสอบใหม่ จากคำเรียกร้องจากนักเรียน ที่ต้องการตัวเลือกในการสอบมากกว่า 1 ครั้ง โดยเปิดให้สอบเอ็นทรานซ์ได้ถึง 2 ครั้ง คือ ช่วงเดือนตุลาคม และเดือนมีนาคม เมื่อเป็นเช่นนี้ก็จะทำให้นักเรียนได้รู้คะแนนสอบตัวเองก่อนที่จะเลือกมหาวิทยาลัย และสามารถเลือกคะแนนครั้งที่ดีที่สุดของตัวเองมายื่นได้ สามารถเลือกยื่นคณะได้ 4 อันดับ นอกจากนี้ยังมีการเปลี่ยนแปลงสัดส่วนคะแนนอีกด้วย จากเดิมที่ใช้คะแนนสอบเอ็นทรานซ์ 100% จึงมีการเปลี่ยนแปลงเป็นการเพิ่มการใช้เกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) มาร่วมคิดคะแนนด้วย ประมาณ 10% (2549–2552) Admissions 2549 แอดมิชชั่น ยกเลิกเอ็นทรานซ์ เริ่มสอบ O-NET , A-NET เพิ่ม GPAX 30 % 2552 แอดมิชชั่น ยกเลิก A-NET(dek52 สอบปีสุดท้าย) เปลี่ยนเป็น GPAX 20 % เริ่มสอบ GAT/PAT (dek53 ปีแรก)ใช้คะแนนรวมกัน 50 % GAT/PAT สอบ 4 ครั้ง (ตั้งแต่ปี 54 ลดเหลือ 2 ครั้ง) ในยุคต่อมา ระบบ Admission : O-NET, A-NET ปี 2549-2552 หลังปี 2548 มาก็ได้มีการยกเลิกระบบเอ็นทรานซ์ เข้าสู่ยุคระบบกลางการรับนิสิตที่เรียกว่า แอดมิชชั่น (Admission) แทน ในยุคนี้ได้มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบจากเยงเรียกร้องจากนักเรียน โดยเพิ่มรูปแบบข้อสอบแบบใหม่ขึ้นมาในชื่อ O-NET และ A-NET ซึ่งสัดส่วนคะแนนนั้น จะประกอบด้วยเกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) 30% รวมกับคะแนน O-NET และ A-NET และในปี 2552 มีการปรับเปลี่ยนวิธีการสอบ โดยการยกเลิก A-NET แล้วเปลี่ยนมาใช้เกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) 30% และใช้คะแนนจาก GAT/PAT ใช้คะแนนรวมกัน 50 % และยังให้มีการสอบ GAT/PAT 4 ครั้งต่อปีอีกด้วย (2553-2560) Admissions 2553 แอดมิชชั่น ใช้ GAT/PAT ปีแรก เปลี่ยนสัดส่วนมาเป็นใช้ GPAX 20% O-NET 30% GAT/PAT 50% (ขึ้นอยู่กับคณะ) 2556 แอดมิชชั่น สอบ GAT/PAT ลดเหลือ 2 ครั้ง เริ่มสอบ 7 วิชาสามัญ และระบบเคลียร์ริงเฮาส์ 2559 แอดมิชชั่น เปลี่ยนจาก 7 วิชาสามัญเป็น 9 วิชาสามัญ 2560 แอดมิชชั่น ยุค Clearing House ช่วงแรก ใช้ระบบสอบกลางครั้งเดียว สอบ GAT/PAT และ 9 วิชาสามัญ ช่วงที่ 2 ระบบ Clearing House 2 รอบ เลือกอันดับการเข้าศึกษาได้ 4 อันดับ ต่อมา ในปี 2556 ลดการสอบ GAT/PAT ลดเหลือ 2 ครั้ง และเริ่มมีการสอบ 7 วิชาสามัญ และมีระบบเคลียริ่งเฮ้าส์ ซึ่งระบบคัดเลือกดังกล่าวทำให้เกิดปัญหาตามมา 3 ประการหลัก ได้แก่ การไม่เข้าห้องเรียนของผู้ที่สอบติดในรอบรับตรงและของผู้ที่มีคะแนนสอบ GAT-PAT รอบแรก (กำหนดสอบเดือนตุลาคม-พฤศจิกายน) สูง การตระเวนสอบตรงเพื่อให้มีที่เรียน ซึ่งทำให้เด็กรวยมีโอกาสได้ที่เรียนมากกว่า เพราะมีทุนในการยื่นสมัครหลายที่มากกว่าเด็กจน และ “การกั๊กที่” ของผู้สอบติดหลายที่ในรอบรับตรงแต่ไม่สละสิทธิ์ ส่งผลให้ผู้สมัครคนอื่นเสียโอกาสในการได้ที่เรียน เพื่อแก้ปัญหาการกั๊กที่ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาแห่งประเทศไทย (สอท.) ในขณะนั้น จึงได้จัดทำระบบ Clearing house เพื่อรวบรวมรายชื่อผู้สอบติดจากรอบรับตรงไว้ที่ส่วนกลาง และให้ผู้ผ่านการคัดเลือกยืนยันสิทธิ์เข้าเรียนของตนได้เพียง 1 ที่ หลังจากนั้น ผู้ที่ยืนยันสิทธิ์แล้วจะถูกตัดสิทธิ์จากรอบ Admissions และจากคณะอื่นในระบบ Clearing house อย่างไรก็ตาม เนื่องจากการเข้าร่วมระบบ Clearing house เป็นไปตามความสมัครใจ โครงการ/มหาวิทยาลัยจำนวนไม่น้อยจึงยังไม่ได้เข้าร่วมระบบ Clearing house โดยในปีการศึกษา 2560 มีมหาวิทยาลัยที่เป็นสมาชิก ทปอ. เข้าร่วมระบบ Clearing house ทั้งสิ้น 11 แห่ง จากทั้งหมด 27 แห่ง (ไม่นับรวมกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทยที่เข้าร่วมเช่นกัน) และในจำนวนนี้ ก็ไม่ใช่ทุกโครงการหรือทุกคณะที่เข้าร่วมในระบบ Clearing house ผลก็คือ ถึงแม้ว่าจะมีระบบการยืนยันสิทธิ์แล้ว การกั๊กที่ก็ยังเกิดขึ้นได้ในกรณีที่ผู้สมัครสอบติดในโครงการ/มหาวิทยาลัยที่ไม่ได้เข้าร่วมระบบ Clearing house 2561-เป็นต้นมา TCAS 2561 TCAS การคัดเลือก 5 รอบ มีดังนี้ รอบที่ 1 Portfolio (แฟ้มสะสมผลงาน) รอบที่ 2 Quota (โควตา) รอบที่ 3 รับตรงร่วมกัน รอบที่ 4 Admissions รอบที่ 5 รับตรงอิสระ ต่อมาในยุคของระบบ TCAS ปี 2561-2564 มาถึงระบบล่าสุดที่ใช้อยู่ปัจจุบันนี้ ได้มีการเลิกใช้รอบ “Admission” เปลี่ยนมาเรียกว่าระบบ Thai University Central Admission System หรือ TCAS แทน เพื่อแก้ปัญหาการกั๊กที่กั๊กสิทธิ์ และเพื่อลดความเหลื่อมล้ำ โดยมีหลักสำคัญ 3 ข้อคือ 1.จัดการสิทธิ์ 1คน1สิทธิ์ 2.นักเรียนไม่วิ่งรอกสอบ 3. นักเรียนอยู่ในห้องเรียนจนจบ ม.6 แล้วค่อยสอบ(ข้อสอบกลาง) ซึ่งรูปแบบการสอบในยุคนี้ ได้เลื่อนการสอบทั้งหมดมาสอบช่วงหลังจบ ม.6 ทั้งหมด และลดการสอบทั้งหมดเหลือเพียงอย่างละครั้งเดียว 2564 TCAS เปลี่ยนเป็นการคัดเลือก 4 รอบ รอบที่ 1 Portfolio (แฟ้มสะสมผลงาน) รอบที่ 2 Quota (โควตา) รอบที่ 3 Combined Admission = รวม Admission 1 และ Admission 2 ให้สมัครพร้อมกัน โดยประกาศผล 2 ครั้ง รอบที่ 4 Direct Admission (รับตรงอิสระ) กระทั่งปี 2564 ได้ยุบรอบการคัดเลือกเหลือ 4 รอบ โดยมีเกณฑ์รอบรับตรงร่วมและรอบแอดมิชชันเหมือนเดิม แต่เปิดให้ยื่นคะแนนพร้อมกัน นักเรียนสามารถเลือกได้สูงสุด 10 อันดับ มีการประกาศผล 2 ครั้ง เพื่อเปิดโอกาสให้เด็กสละสิทธิ์ และมีการประมวลผลเรียกตัวสำรอง ให้มีสิทธิเข้าศึกษาได้ จะเห็นได้ว่าการแก้ไขปัญหาของทาง ทปอ. เป็นการแก้ไขปัญหาที่ปลายเหตุ ไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างยั่งยืน เพราะสุดท้ายแล้ว ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลงการสอบ ก็มักจะมีปัญหาระบบตามมา ชี้ให้เห็นว่า ระบบ TCAS ไม่อาจแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำได้เลย ชี้ให้เห็นถึงปัญหาความได้เปรียบ-เสียเปรียบระหว่างเด็กรวย-จน และปัญหาการไม่เข้าเรียนจนจบการศึกษาได้ดีตามที่ ทปอ. ตั้งใจ ยิ่งไปกว่านั้น หากย้อนกลับไปดูการเปลี่ยนแปลงระบบการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในระดับอุดมศึกษาที่ผ่านมา จะเห็นได้ชัดเจนว่า ระบบการสอบของ ทปอ. กลับเป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้ระบบการคัดเลือกนักศึกษาของไทยวนเวียนอยู่เช่นนี้ เพราะระบบการสอบของ ทปอ. ยังสร้างภาระและต้นทุนทางการเงินและทางสุขภาพให้กับเด็ก ทั้งจากการสอบมากครั้ง การเรียนกวดวิชา การหาข้อมูลและเตรียมความพร้อมสำหรับระบบรับสมัครที่เปลี่ยนแปลงไปมา ตลอดจนความไม่เท่าเทียมของโอกาสในการเข้าศึกษา ซึ่งก็คือภาระการเตรียมตัวสอบอันหนักหน่วงของเด็ก ทั้งที่การสอบนั้นก็ไม่อาจชี้วัดความสามารถและความเหมาะสมของเด็กในการเข้าศึกษาในแต่ละโครงการได้ดีแต่อย่างใด ซึ่งหวังว่าในอนาคต ทางผู้หลักผู้ใหญ่จะสามารถหาระบบการสอบที่ลงตัวกับทุกฝ่าย และไม่สร้างปัญหาให้ทั้งเด็กและผู้ปกครองอีกต่อไป EZ Webmaster Related Posts ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง TK Park พาเปิดบทเรียนอันทรงคุณค่า จาก “คุณหญิงกษมา” กว่า 50 ปี บนเส้นทางการศึกษา กับบทบาทผู้ต่อจิ๊กซอว์ “การเรียนรู้” ให้สังคมไทย พร้อมเจาะ “7 บทเรียนที่ต้องเรียนรู้” พาไทยสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ได้แบบไม่รู้จบ Post navigation PREVIOUS Previous post: “สวนสุนันทา” เปิดรับรอบโควตา พร้อมให้คนมีความสามารถพิเศษเรียนฟรีกับโครงการ “ทุนเพชรสุนันทา”NEXT Next post: ตารางเวลาสอบใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู ประจำปี 2567 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster January 20, 2024 EZ Webmaster January 20, 2024 วิวัฒนาการสอบเข้ามหาวิทยาลัย ทำไมจึงต้องเปลี่ยนวิธีการสอบหลายต่อหลายครั้ง ? วิวัฒนาการสอบเข้ามหาวิทยาลัย ทำไมจึงต้องเปลี่ยนวิธีการสอบหลายต่อหลายครั้ง ? การศึกษาไทยเป็นเรื่องที่มีความวุ่นวายซับซ้อนและเกิดความเหลื่อมล้ำมากมาย ซึ่งปัญหาต่าง ๆ ส่งผลให้เด็กต้องสอบหลายครั้ง ทั้ง GAT/PAT, 9 วิชาสามัญ และ O-NET ที่จัดตลอดทั้งปี หรือในบางคณะ บางมหาวิทยาลัย ก็จัดสอบตรงของตัวเองอีก เด็กจึงต้องวิ่งรอกสอบหลายครั้ง เสียค่าสมัคร ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ มากมาย ซึ่งการสอบในปีก่อน ๆ มักจัดขึ้นในช่วงที่ยังไม่ปิดภาคเรียน ทำให้อาจารย์ต้องเร่งสอนเพื่อให้ทันการสอบ ส่งผลให้เด็ก ๆ ก็อาจจะเรียนได้ไม่เต็มที่ ดังนั้นที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยจึงคิดวิธีแก้ปัญหา เพื่อลดความเหลื่อมล้ำต่าง ๆ และต้องการให้เด็กนักเรียนได้มีสิทธิ์ในการศึกษาอย่างเสมอภาค จึงมีแผนการปรับเปลี่ยนการสอบเข้ามหาวิทยาลัยหลายต่อหลายครั้ง เราไปดูกันดีกว่าว่าการสอบเข้าตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ผ่านยุคการสอบแบบไหนมาบ้าง แล้วการปรับเปลี่ยนการสอบจะแก้ปัญหาได้จริงหรือไม่ ไปดูกันเลย (2504–2542) Entrance แบบเก่า 2504 เอ็นทรานซ์ (ครั้งแรก) เลือกคณะก่อนสอบ เลือกอันดับได้ 4-6 อันดับ ใช้คะแนน เอ็นทรานซ์ 100 % 2542 เอ็นทรานซ์ สอบแล้วเลือกคณะ มี 2 ครั้งต่อปี ครั้งที่ 1 ช่วง ต.ค. ครั้งที่ 2 ช่วง มี.ค. เพิ่ม GPAX 10% ระบบ Entrance ยุคแรก ปี 2504 – 2542 ระบบการสอบเข้ามหาวิทยาลัยในยุคแรก ๆ นั้น เกิดจากความร่วมมือกันของแต่ละมหาวิทยาลัยที่เปิดสอนในยุคนั้นจัดสอบขึ้นมากันเอง เพื่อแก้ปัญหาที่นักเรียนต้องเสียค่าใช้จ่ายสมัครสอบแต่ละที่หลายครั้ง โดยมีสภาการศึกษาแห่งชาติเป็นผู้ประสานงาน รูปแบบการสอบยุคนี้ เปิดให้นักเรียนเลือกคณะที่สนใจเข้าศึกษาได้ 4 อันดับ (ภายหลังปี 2516 เปลี่ยนเป็น 6 อันดับ) จากนั้นก็เข้าสอบเอ็นทรานซ์ โดยใช้คะแนนสอบเอ็นทรานซ์ 100% ไม่ต้องใช้เกรดเฉลี่ย( GPAX) ในโรงเรียนและสามารถสอบเทียบได้ แต่มันก็มีข้อเสีย เพราะทำให้เด็ก ๆ ม.6 เกิดความเครียดและความกดดัน เพราะการไม่มีตัวเลือกในการสอบ เพราะระบบเอ็นทรานซ์มีให้สอบรอบเดียว ระบบนี้ยังไม่มี GPAX ก็อาจส่งผลให้เด็กนักเรียนบางส่วนบ้าคลั่งในการสอบ จนไม่สนใจการเรียนในห้อง ที่สำคัญคือระบบนี้เราต้องเลือกมหาวิทยาลัยหรือคณะที่ชื่นชอบก่อนที่จะสอบ โดยที่เราไม่รู้ว่าคะแนนของตัวเองได้เท่าไหร่ อาจทำให้เราพลาดโอกาสไปได้ (2543–2548) Entrance แบบใหม่ 2543 เพิ่ม GPAX 25% ระบบ Entrance ยุคใหม่ ปี 2542-2548 ยุคต่อมาจึงได้ปรับรูปแบบการสอบใหม่ จากคำเรียกร้องจากนักเรียน ที่ต้องการตัวเลือกในการสอบมากกว่า 1 ครั้ง โดยเปิดให้สอบเอ็นทรานซ์ได้ถึง 2 ครั้ง คือ ช่วงเดือนตุลาคม และเดือนมีนาคม เมื่อเป็นเช่นนี้ก็จะทำให้นักเรียนได้รู้คะแนนสอบตัวเองก่อนที่จะเลือกมหาวิทยาลัย และสามารถเลือกคะแนนครั้งที่ดีที่สุดของตัวเองมายื่นได้ สามารถเลือกยื่นคณะได้ 4 อันดับ นอกจากนี้ยังมีการเปลี่ยนแปลงสัดส่วนคะแนนอีกด้วย จากเดิมที่ใช้คะแนนสอบเอ็นทรานซ์ 100% จึงมีการเปลี่ยนแปลงเป็นการเพิ่มการใช้เกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) มาร่วมคิดคะแนนด้วย ประมาณ 10% (2549–2552) Admissions 2549 แอดมิชชั่น ยกเลิกเอ็นทรานซ์ เริ่มสอบ O-NET , A-NET เพิ่ม GPAX 30 % 2552 แอดมิชชั่น ยกเลิก A-NET(dek52 สอบปีสุดท้าย) เปลี่ยนเป็น GPAX 20 % เริ่มสอบ GAT/PAT (dek53 ปีแรก)ใช้คะแนนรวมกัน 50 % GAT/PAT สอบ 4 ครั้ง (ตั้งแต่ปี 54 ลดเหลือ 2 ครั้ง) ในยุคต่อมา ระบบ Admission : O-NET, A-NET ปี 2549-2552 หลังปี 2548 มาก็ได้มีการยกเลิกระบบเอ็นทรานซ์ เข้าสู่ยุคระบบกลางการรับนิสิตที่เรียกว่า แอดมิชชั่น (Admission) แทน ในยุคนี้ได้มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบจากเยงเรียกร้องจากนักเรียน โดยเพิ่มรูปแบบข้อสอบแบบใหม่ขึ้นมาในชื่อ O-NET และ A-NET ซึ่งสัดส่วนคะแนนนั้น จะประกอบด้วยเกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) 30% รวมกับคะแนน O-NET และ A-NET และในปี 2552 มีการปรับเปลี่ยนวิธีการสอบ โดยการยกเลิก A-NET แล้วเปลี่ยนมาใช้เกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) 30% และใช้คะแนนจาก GAT/PAT ใช้คะแนนรวมกัน 50 % และยังให้มีการสอบ GAT/PAT 4 ครั้งต่อปีอีกด้วย (2553-2560) Admissions 2553 แอดมิชชั่น ใช้ GAT/PAT ปีแรก เปลี่ยนสัดส่วนมาเป็นใช้ GPAX 20% O-NET 30% GAT/PAT 50% (ขึ้นอยู่กับคณะ) 2556 แอดมิชชั่น สอบ GAT/PAT ลดเหลือ 2 ครั้ง เริ่มสอบ 7 วิชาสามัญ และระบบเคลียร์ริงเฮาส์ 2559 แอดมิชชั่น เปลี่ยนจาก 7 วิชาสามัญเป็น 9 วิชาสามัญ 2560 แอดมิชชั่น ยุค Clearing House ช่วงแรก ใช้ระบบสอบกลางครั้งเดียว สอบ GAT/PAT และ 9 วิชาสามัญ ช่วงที่ 2 ระบบ Clearing House 2 รอบ เลือกอันดับการเข้าศึกษาได้ 4 อันดับ ต่อมา ในปี 2556 ลดการสอบ GAT/PAT ลดเหลือ 2 ครั้ง และเริ่มมีการสอบ 7 วิชาสามัญ และมีระบบเคลียริ่งเฮ้าส์ ซึ่งระบบคัดเลือกดังกล่าวทำให้เกิดปัญหาตามมา 3 ประการหลัก ได้แก่ การไม่เข้าห้องเรียนของผู้ที่สอบติดในรอบรับตรงและของผู้ที่มีคะแนนสอบ GAT-PAT รอบแรก (กำหนดสอบเดือนตุลาคม-พฤศจิกายน) สูง การตระเวนสอบตรงเพื่อให้มีที่เรียน ซึ่งทำให้เด็กรวยมีโอกาสได้ที่เรียนมากกว่า เพราะมีทุนในการยื่นสมัครหลายที่มากกว่าเด็กจน และ “การกั๊กที่” ของผู้สอบติดหลายที่ในรอบรับตรงแต่ไม่สละสิทธิ์ ส่งผลให้ผู้สมัครคนอื่นเสียโอกาสในการได้ที่เรียน เพื่อแก้ปัญหาการกั๊กที่ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาแห่งประเทศไทย (สอท.) ในขณะนั้น จึงได้จัดทำระบบ Clearing house เพื่อรวบรวมรายชื่อผู้สอบติดจากรอบรับตรงไว้ที่ส่วนกลาง และให้ผู้ผ่านการคัดเลือกยืนยันสิทธิ์เข้าเรียนของตนได้เพียง 1 ที่ หลังจากนั้น ผู้ที่ยืนยันสิทธิ์แล้วจะถูกตัดสิทธิ์จากรอบ Admissions และจากคณะอื่นในระบบ Clearing house อย่างไรก็ตาม เนื่องจากการเข้าร่วมระบบ Clearing house เป็นไปตามความสมัครใจ โครงการ/มหาวิทยาลัยจำนวนไม่น้อยจึงยังไม่ได้เข้าร่วมระบบ Clearing house โดยในปีการศึกษา 2560 มีมหาวิทยาลัยที่เป็นสมาชิก ทปอ. เข้าร่วมระบบ Clearing house ทั้งสิ้น 11 แห่ง จากทั้งหมด 27 แห่ง (ไม่นับรวมกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทยที่เข้าร่วมเช่นกัน) และในจำนวนนี้ ก็ไม่ใช่ทุกโครงการหรือทุกคณะที่เข้าร่วมในระบบ Clearing house ผลก็คือ ถึงแม้ว่าจะมีระบบการยืนยันสิทธิ์แล้ว การกั๊กที่ก็ยังเกิดขึ้นได้ในกรณีที่ผู้สมัครสอบติดในโครงการ/มหาวิทยาลัยที่ไม่ได้เข้าร่วมระบบ Clearing house 2561-เป็นต้นมา TCAS 2561 TCAS การคัดเลือก 5 รอบ มีดังนี้ รอบที่ 1 Portfolio (แฟ้มสะสมผลงาน) รอบที่ 2 Quota (โควตา) รอบที่ 3 รับตรงร่วมกัน รอบที่ 4 Admissions รอบที่ 5 รับตรงอิสระ ต่อมาในยุคของระบบ TCAS ปี 2561-2564 มาถึงระบบล่าสุดที่ใช้อยู่ปัจจุบันนี้ ได้มีการเลิกใช้รอบ “Admission” เปลี่ยนมาเรียกว่าระบบ Thai University Central Admission System หรือ TCAS แทน เพื่อแก้ปัญหาการกั๊กที่กั๊กสิทธิ์ และเพื่อลดความเหลื่อมล้ำ โดยมีหลักสำคัญ 3 ข้อคือ 1.จัดการสิทธิ์ 1คน1สิทธิ์ 2.นักเรียนไม่วิ่งรอกสอบ 3. นักเรียนอยู่ในห้องเรียนจนจบ ม.6 แล้วค่อยสอบ(ข้อสอบกลาง) ซึ่งรูปแบบการสอบในยุคนี้ ได้เลื่อนการสอบทั้งหมดมาสอบช่วงหลังจบ ม.6 ทั้งหมด และลดการสอบทั้งหมดเหลือเพียงอย่างละครั้งเดียว 2564 TCAS เปลี่ยนเป็นการคัดเลือก 4 รอบ รอบที่ 1 Portfolio (แฟ้มสะสมผลงาน) รอบที่ 2 Quota (โควตา) รอบที่ 3 Combined Admission = รวม Admission 1 และ Admission 2 ให้สมัครพร้อมกัน โดยประกาศผล 2 ครั้ง รอบที่ 4 Direct Admission (รับตรงอิสระ) กระทั่งปี 2564 ได้ยุบรอบการคัดเลือกเหลือ 4 รอบ โดยมีเกณฑ์รอบรับตรงร่วมและรอบแอดมิชชันเหมือนเดิม แต่เปิดให้ยื่นคะแนนพร้อมกัน นักเรียนสามารถเลือกได้สูงสุด 10 อันดับ มีการประกาศผล 2 ครั้ง เพื่อเปิดโอกาสให้เด็กสละสิทธิ์ และมีการประมวลผลเรียกตัวสำรอง ให้มีสิทธิเข้าศึกษาได้ จะเห็นได้ว่าการแก้ไขปัญหาของทาง ทปอ. เป็นการแก้ไขปัญหาที่ปลายเหตุ ไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างยั่งยืน เพราะสุดท้ายแล้ว ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลงการสอบ ก็มักจะมีปัญหาระบบตามมา ชี้ให้เห็นว่า ระบบ TCAS ไม่อาจแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำได้เลย ชี้ให้เห็นถึงปัญหาความได้เปรียบ-เสียเปรียบระหว่างเด็กรวย-จน และปัญหาการไม่เข้าเรียนจนจบการศึกษาได้ดีตามที่ ทปอ. ตั้งใจ ยิ่งไปกว่านั้น หากย้อนกลับไปดูการเปลี่ยนแปลงระบบการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในระดับอุดมศึกษาที่ผ่านมา จะเห็นได้ชัดเจนว่า ระบบการสอบของ ทปอ. กลับเป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้ระบบการคัดเลือกนักศึกษาของไทยวนเวียนอยู่เช่นนี้ เพราะระบบการสอบของ ทปอ. ยังสร้างภาระและต้นทุนทางการเงินและทางสุขภาพให้กับเด็ก ทั้งจากการสอบมากครั้ง การเรียนกวดวิชา การหาข้อมูลและเตรียมความพร้อมสำหรับระบบรับสมัครที่เปลี่ยนแปลงไปมา ตลอดจนความไม่เท่าเทียมของโอกาสในการเข้าศึกษา ซึ่งก็คือภาระการเตรียมตัวสอบอันหนักหน่วงของเด็ก ทั้งที่การสอบนั้นก็ไม่อาจชี้วัดความสามารถและความเหมาะสมของเด็กในการเข้าศึกษาในแต่ละโครงการได้ดีแต่อย่างใด ซึ่งหวังว่าในอนาคต ทางผู้หลักผู้ใหญ่จะสามารถหาระบบการสอบที่ลงตัวกับทุกฝ่าย และไม่สร้างปัญหาให้ทั้งเด็กและผู้ปกครองอีกต่อไป EZ Webmaster Related Posts ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง TK Park พาเปิดบทเรียนอันทรงคุณค่า จาก “คุณหญิงกษมา” กว่า 50 ปี บนเส้นทางการศึกษา กับบทบาทผู้ต่อจิ๊กซอว์ “การเรียนรู้” ให้สังคมไทย พร้อมเจาะ “7 บทเรียนที่ต้องเรียนรู้” พาไทยสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ได้แบบไม่รู้จบ Post navigation PREVIOUS Previous post: “สวนสุนันทา” เปิดรับรอบโควตา พร้อมให้คนมีความสามารถพิเศษเรียนฟรีกับโครงการ “ทุนเพชรสุนันทา”NEXT Next post: ตารางเวลาสอบใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู ประจำปี 2567 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ…
เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ…
คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster January 20, 2024 EZ Webmaster January 20, 2024 วิวัฒนาการสอบเข้ามหาวิทยาลัย ทำไมจึงต้องเปลี่ยนวิธีการสอบหลายต่อหลายครั้ง ? วิวัฒนาการสอบเข้ามหาวิทยาลัย ทำไมจึงต้องเปลี่ยนวิธีการสอบหลายต่อหลายครั้ง ? การศึกษาไทยเป็นเรื่องที่มีความวุ่นวายซับซ้อนและเกิดความเหลื่อมล้ำมากมาย ซึ่งปัญหาต่าง ๆ ส่งผลให้เด็กต้องสอบหลายครั้ง ทั้ง GAT/PAT, 9 วิชาสามัญ และ O-NET ที่จัดตลอดทั้งปี หรือในบางคณะ บางมหาวิทยาลัย ก็จัดสอบตรงของตัวเองอีก เด็กจึงต้องวิ่งรอกสอบหลายครั้ง เสียค่าสมัคร ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ มากมาย ซึ่งการสอบในปีก่อน ๆ มักจัดขึ้นในช่วงที่ยังไม่ปิดภาคเรียน ทำให้อาจารย์ต้องเร่งสอนเพื่อให้ทันการสอบ ส่งผลให้เด็ก ๆ ก็อาจจะเรียนได้ไม่เต็มที่ ดังนั้นที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยจึงคิดวิธีแก้ปัญหา เพื่อลดความเหลื่อมล้ำต่าง ๆ และต้องการให้เด็กนักเรียนได้มีสิทธิ์ในการศึกษาอย่างเสมอภาค จึงมีแผนการปรับเปลี่ยนการสอบเข้ามหาวิทยาลัยหลายต่อหลายครั้ง เราไปดูกันดีกว่าว่าการสอบเข้าตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ผ่านยุคการสอบแบบไหนมาบ้าง แล้วการปรับเปลี่ยนการสอบจะแก้ปัญหาได้จริงหรือไม่ ไปดูกันเลย (2504–2542) Entrance แบบเก่า 2504 เอ็นทรานซ์ (ครั้งแรก) เลือกคณะก่อนสอบ เลือกอันดับได้ 4-6 อันดับ ใช้คะแนน เอ็นทรานซ์ 100 % 2542 เอ็นทรานซ์ สอบแล้วเลือกคณะ มี 2 ครั้งต่อปี ครั้งที่ 1 ช่วง ต.ค. ครั้งที่ 2 ช่วง มี.ค. เพิ่ม GPAX 10% ระบบ Entrance ยุคแรก ปี 2504 – 2542 ระบบการสอบเข้ามหาวิทยาลัยในยุคแรก ๆ นั้น เกิดจากความร่วมมือกันของแต่ละมหาวิทยาลัยที่เปิดสอนในยุคนั้นจัดสอบขึ้นมากันเอง เพื่อแก้ปัญหาที่นักเรียนต้องเสียค่าใช้จ่ายสมัครสอบแต่ละที่หลายครั้ง โดยมีสภาการศึกษาแห่งชาติเป็นผู้ประสานงาน รูปแบบการสอบยุคนี้ เปิดให้นักเรียนเลือกคณะที่สนใจเข้าศึกษาได้ 4 อันดับ (ภายหลังปี 2516 เปลี่ยนเป็น 6 อันดับ) จากนั้นก็เข้าสอบเอ็นทรานซ์ โดยใช้คะแนนสอบเอ็นทรานซ์ 100% ไม่ต้องใช้เกรดเฉลี่ย( GPAX) ในโรงเรียนและสามารถสอบเทียบได้ แต่มันก็มีข้อเสีย เพราะทำให้เด็ก ๆ ม.6 เกิดความเครียดและความกดดัน เพราะการไม่มีตัวเลือกในการสอบ เพราะระบบเอ็นทรานซ์มีให้สอบรอบเดียว ระบบนี้ยังไม่มี GPAX ก็อาจส่งผลให้เด็กนักเรียนบางส่วนบ้าคลั่งในการสอบ จนไม่สนใจการเรียนในห้อง ที่สำคัญคือระบบนี้เราต้องเลือกมหาวิทยาลัยหรือคณะที่ชื่นชอบก่อนที่จะสอบ โดยที่เราไม่รู้ว่าคะแนนของตัวเองได้เท่าไหร่ อาจทำให้เราพลาดโอกาสไปได้ (2543–2548) Entrance แบบใหม่ 2543 เพิ่ม GPAX 25% ระบบ Entrance ยุคใหม่ ปี 2542-2548 ยุคต่อมาจึงได้ปรับรูปแบบการสอบใหม่ จากคำเรียกร้องจากนักเรียน ที่ต้องการตัวเลือกในการสอบมากกว่า 1 ครั้ง โดยเปิดให้สอบเอ็นทรานซ์ได้ถึง 2 ครั้ง คือ ช่วงเดือนตุลาคม และเดือนมีนาคม เมื่อเป็นเช่นนี้ก็จะทำให้นักเรียนได้รู้คะแนนสอบตัวเองก่อนที่จะเลือกมหาวิทยาลัย และสามารถเลือกคะแนนครั้งที่ดีที่สุดของตัวเองมายื่นได้ สามารถเลือกยื่นคณะได้ 4 อันดับ นอกจากนี้ยังมีการเปลี่ยนแปลงสัดส่วนคะแนนอีกด้วย จากเดิมที่ใช้คะแนนสอบเอ็นทรานซ์ 100% จึงมีการเปลี่ยนแปลงเป็นการเพิ่มการใช้เกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) มาร่วมคิดคะแนนด้วย ประมาณ 10% (2549–2552) Admissions 2549 แอดมิชชั่น ยกเลิกเอ็นทรานซ์ เริ่มสอบ O-NET , A-NET เพิ่ม GPAX 30 % 2552 แอดมิชชั่น ยกเลิก A-NET(dek52 สอบปีสุดท้าย) เปลี่ยนเป็น GPAX 20 % เริ่มสอบ GAT/PAT (dek53 ปีแรก)ใช้คะแนนรวมกัน 50 % GAT/PAT สอบ 4 ครั้ง (ตั้งแต่ปี 54 ลดเหลือ 2 ครั้ง) ในยุคต่อมา ระบบ Admission : O-NET, A-NET ปี 2549-2552 หลังปี 2548 มาก็ได้มีการยกเลิกระบบเอ็นทรานซ์ เข้าสู่ยุคระบบกลางการรับนิสิตที่เรียกว่า แอดมิชชั่น (Admission) แทน ในยุคนี้ได้มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบจากเยงเรียกร้องจากนักเรียน โดยเพิ่มรูปแบบข้อสอบแบบใหม่ขึ้นมาในชื่อ O-NET และ A-NET ซึ่งสัดส่วนคะแนนนั้น จะประกอบด้วยเกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) 30% รวมกับคะแนน O-NET และ A-NET และในปี 2552 มีการปรับเปลี่ยนวิธีการสอบ โดยการยกเลิก A-NET แล้วเปลี่ยนมาใช้เกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) 30% และใช้คะแนนจาก GAT/PAT ใช้คะแนนรวมกัน 50 % และยังให้มีการสอบ GAT/PAT 4 ครั้งต่อปีอีกด้วย (2553-2560) Admissions 2553 แอดมิชชั่น ใช้ GAT/PAT ปีแรก เปลี่ยนสัดส่วนมาเป็นใช้ GPAX 20% O-NET 30% GAT/PAT 50% (ขึ้นอยู่กับคณะ) 2556 แอดมิชชั่น สอบ GAT/PAT ลดเหลือ 2 ครั้ง เริ่มสอบ 7 วิชาสามัญ และระบบเคลียร์ริงเฮาส์ 2559 แอดมิชชั่น เปลี่ยนจาก 7 วิชาสามัญเป็น 9 วิชาสามัญ 2560 แอดมิชชั่น ยุค Clearing House ช่วงแรก ใช้ระบบสอบกลางครั้งเดียว สอบ GAT/PAT และ 9 วิชาสามัญ ช่วงที่ 2 ระบบ Clearing House 2 รอบ เลือกอันดับการเข้าศึกษาได้ 4 อันดับ ต่อมา ในปี 2556 ลดการสอบ GAT/PAT ลดเหลือ 2 ครั้ง และเริ่มมีการสอบ 7 วิชาสามัญ และมีระบบเคลียริ่งเฮ้าส์ ซึ่งระบบคัดเลือกดังกล่าวทำให้เกิดปัญหาตามมา 3 ประการหลัก ได้แก่ การไม่เข้าห้องเรียนของผู้ที่สอบติดในรอบรับตรงและของผู้ที่มีคะแนนสอบ GAT-PAT รอบแรก (กำหนดสอบเดือนตุลาคม-พฤศจิกายน) สูง การตระเวนสอบตรงเพื่อให้มีที่เรียน ซึ่งทำให้เด็กรวยมีโอกาสได้ที่เรียนมากกว่า เพราะมีทุนในการยื่นสมัครหลายที่มากกว่าเด็กจน และ “การกั๊กที่” ของผู้สอบติดหลายที่ในรอบรับตรงแต่ไม่สละสิทธิ์ ส่งผลให้ผู้สมัครคนอื่นเสียโอกาสในการได้ที่เรียน เพื่อแก้ปัญหาการกั๊กที่ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาแห่งประเทศไทย (สอท.) ในขณะนั้น จึงได้จัดทำระบบ Clearing house เพื่อรวบรวมรายชื่อผู้สอบติดจากรอบรับตรงไว้ที่ส่วนกลาง และให้ผู้ผ่านการคัดเลือกยืนยันสิทธิ์เข้าเรียนของตนได้เพียง 1 ที่ หลังจากนั้น ผู้ที่ยืนยันสิทธิ์แล้วจะถูกตัดสิทธิ์จากรอบ Admissions และจากคณะอื่นในระบบ Clearing house อย่างไรก็ตาม เนื่องจากการเข้าร่วมระบบ Clearing house เป็นไปตามความสมัครใจ โครงการ/มหาวิทยาลัยจำนวนไม่น้อยจึงยังไม่ได้เข้าร่วมระบบ Clearing house โดยในปีการศึกษา 2560 มีมหาวิทยาลัยที่เป็นสมาชิก ทปอ. เข้าร่วมระบบ Clearing house ทั้งสิ้น 11 แห่ง จากทั้งหมด 27 แห่ง (ไม่นับรวมกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทยที่เข้าร่วมเช่นกัน) และในจำนวนนี้ ก็ไม่ใช่ทุกโครงการหรือทุกคณะที่เข้าร่วมในระบบ Clearing house ผลก็คือ ถึงแม้ว่าจะมีระบบการยืนยันสิทธิ์แล้ว การกั๊กที่ก็ยังเกิดขึ้นได้ในกรณีที่ผู้สมัครสอบติดในโครงการ/มหาวิทยาลัยที่ไม่ได้เข้าร่วมระบบ Clearing house 2561-เป็นต้นมา TCAS 2561 TCAS การคัดเลือก 5 รอบ มีดังนี้ รอบที่ 1 Portfolio (แฟ้มสะสมผลงาน) รอบที่ 2 Quota (โควตา) รอบที่ 3 รับตรงร่วมกัน รอบที่ 4 Admissions รอบที่ 5 รับตรงอิสระ ต่อมาในยุคของระบบ TCAS ปี 2561-2564 มาถึงระบบล่าสุดที่ใช้อยู่ปัจจุบันนี้ ได้มีการเลิกใช้รอบ “Admission” เปลี่ยนมาเรียกว่าระบบ Thai University Central Admission System หรือ TCAS แทน เพื่อแก้ปัญหาการกั๊กที่กั๊กสิทธิ์ และเพื่อลดความเหลื่อมล้ำ โดยมีหลักสำคัญ 3 ข้อคือ 1.จัดการสิทธิ์ 1คน1สิทธิ์ 2.นักเรียนไม่วิ่งรอกสอบ 3. นักเรียนอยู่ในห้องเรียนจนจบ ม.6 แล้วค่อยสอบ(ข้อสอบกลาง) ซึ่งรูปแบบการสอบในยุคนี้ ได้เลื่อนการสอบทั้งหมดมาสอบช่วงหลังจบ ม.6 ทั้งหมด และลดการสอบทั้งหมดเหลือเพียงอย่างละครั้งเดียว 2564 TCAS เปลี่ยนเป็นการคัดเลือก 4 รอบ รอบที่ 1 Portfolio (แฟ้มสะสมผลงาน) รอบที่ 2 Quota (โควตา) รอบที่ 3 Combined Admission = รวม Admission 1 และ Admission 2 ให้สมัครพร้อมกัน โดยประกาศผล 2 ครั้ง รอบที่ 4 Direct Admission (รับตรงอิสระ) กระทั่งปี 2564 ได้ยุบรอบการคัดเลือกเหลือ 4 รอบ โดยมีเกณฑ์รอบรับตรงร่วมและรอบแอดมิชชันเหมือนเดิม แต่เปิดให้ยื่นคะแนนพร้อมกัน นักเรียนสามารถเลือกได้สูงสุด 10 อันดับ มีการประกาศผล 2 ครั้ง เพื่อเปิดโอกาสให้เด็กสละสิทธิ์ และมีการประมวลผลเรียกตัวสำรอง ให้มีสิทธิเข้าศึกษาได้ จะเห็นได้ว่าการแก้ไขปัญหาของทาง ทปอ. เป็นการแก้ไขปัญหาที่ปลายเหตุ ไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างยั่งยืน เพราะสุดท้ายแล้ว ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลงการสอบ ก็มักจะมีปัญหาระบบตามมา ชี้ให้เห็นว่า ระบบ TCAS ไม่อาจแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำได้เลย ชี้ให้เห็นถึงปัญหาความได้เปรียบ-เสียเปรียบระหว่างเด็กรวย-จน และปัญหาการไม่เข้าเรียนจนจบการศึกษาได้ดีตามที่ ทปอ. ตั้งใจ ยิ่งไปกว่านั้น หากย้อนกลับไปดูการเปลี่ยนแปลงระบบการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในระดับอุดมศึกษาที่ผ่านมา จะเห็นได้ชัดเจนว่า ระบบการสอบของ ทปอ. กลับเป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้ระบบการคัดเลือกนักศึกษาของไทยวนเวียนอยู่เช่นนี้ เพราะระบบการสอบของ ทปอ. ยังสร้างภาระและต้นทุนทางการเงินและทางสุขภาพให้กับเด็ก ทั้งจากการสอบมากครั้ง การเรียนกวดวิชา การหาข้อมูลและเตรียมความพร้อมสำหรับระบบรับสมัครที่เปลี่ยนแปลงไปมา ตลอดจนความไม่เท่าเทียมของโอกาสในการเข้าศึกษา ซึ่งก็คือภาระการเตรียมตัวสอบอันหนักหน่วงของเด็ก ทั้งที่การสอบนั้นก็ไม่อาจชี้วัดความสามารถและความเหมาะสมของเด็กในการเข้าศึกษาในแต่ละโครงการได้ดีแต่อย่างใด ซึ่งหวังว่าในอนาคต ทางผู้หลักผู้ใหญ่จะสามารถหาระบบการสอบที่ลงตัวกับทุกฝ่าย และไม่สร้างปัญหาให้ทั้งเด็กและผู้ปกครองอีกต่อไป EZ Webmaster Related Posts ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง TK Park พาเปิดบทเรียนอันทรงคุณค่า จาก “คุณหญิงกษมา” กว่า 50 ปี บนเส้นทางการศึกษา กับบทบาทผู้ต่อจิ๊กซอว์ “การเรียนรู้” ให้สังคมไทย พร้อมเจาะ “7 บทเรียนที่ต้องเรียนรู้” พาไทยสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ได้แบบไม่รู้จบ Post navigation PREVIOUS Previous post: “สวนสุนันทา” เปิดรับรอบโควตา พร้อมให้คนมีความสามารถพิเศษเรียนฟรีกับโครงการ “ทุนเพชรสุนันทา”NEXT Next post: ตารางเวลาสอบใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู ประจำปี 2567 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster January 20, 2024 EZ Webmaster January 20, 2024 วิวัฒนาการสอบเข้ามหาวิทยาลัย ทำไมจึงต้องเปลี่ยนวิธีการสอบหลายต่อหลายครั้ง ? วิวัฒนาการสอบเข้ามหาวิทยาลัย ทำไมจึงต้องเปลี่ยนวิธีการสอบหลายต่อหลายครั้ง ? การศึกษาไทยเป็นเรื่องที่มีความวุ่นวายซับซ้อนและเกิดความเหลื่อมล้ำมากมาย ซึ่งปัญหาต่าง ๆ ส่งผลให้เด็กต้องสอบหลายครั้ง ทั้ง GAT/PAT, 9 วิชาสามัญ และ O-NET ที่จัดตลอดทั้งปี หรือในบางคณะ บางมหาวิทยาลัย ก็จัดสอบตรงของตัวเองอีก เด็กจึงต้องวิ่งรอกสอบหลายครั้ง เสียค่าสมัคร ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ มากมาย ซึ่งการสอบในปีก่อน ๆ มักจัดขึ้นในช่วงที่ยังไม่ปิดภาคเรียน ทำให้อาจารย์ต้องเร่งสอนเพื่อให้ทันการสอบ ส่งผลให้เด็ก ๆ ก็อาจจะเรียนได้ไม่เต็มที่ ดังนั้นที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยจึงคิดวิธีแก้ปัญหา เพื่อลดความเหลื่อมล้ำต่าง ๆ และต้องการให้เด็กนักเรียนได้มีสิทธิ์ในการศึกษาอย่างเสมอภาค จึงมีแผนการปรับเปลี่ยนการสอบเข้ามหาวิทยาลัยหลายต่อหลายครั้ง เราไปดูกันดีกว่าว่าการสอบเข้าตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ผ่านยุคการสอบแบบไหนมาบ้าง แล้วการปรับเปลี่ยนการสอบจะแก้ปัญหาได้จริงหรือไม่ ไปดูกันเลย (2504–2542) Entrance แบบเก่า 2504 เอ็นทรานซ์ (ครั้งแรก) เลือกคณะก่อนสอบ เลือกอันดับได้ 4-6 อันดับ ใช้คะแนน เอ็นทรานซ์ 100 % 2542 เอ็นทรานซ์ สอบแล้วเลือกคณะ มี 2 ครั้งต่อปี ครั้งที่ 1 ช่วง ต.ค. ครั้งที่ 2 ช่วง มี.ค. เพิ่ม GPAX 10% ระบบ Entrance ยุคแรก ปี 2504 – 2542 ระบบการสอบเข้ามหาวิทยาลัยในยุคแรก ๆ นั้น เกิดจากความร่วมมือกันของแต่ละมหาวิทยาลัยที่เปิดสอนในยุคนั้นจัดสอบขึ้นมากันเอง เพื่อแก้ปัญหาที่นักเรียนต้องเสียค่าใช้จ่ายสมัครสอบแต่ละที่หลายครั้ง โดยมีสภาการศึกษาแห่งชาติเป็นผู้ประสานงาน รูปแบบการสอบยุคนี้ เปิดให้นักเรียนเลือกคณะที่สนใจเข้าศึกษาได้ 4 อันดับ (ภายหลังปี 2516 เปลี่ยนเป็น 6 อันดับ) จากนั้นก็เข้าสอบเอ็นทรานซ์ โดยใช้คะแนนสอบเอ็นทรานซ์ 100% ไม่ต้องใช้เกรดเฉลี่ย( GPAX) ในโรงเรียนและสามารถสอบเทียบได้ แต่มันก็มีข้อเสีย เพราะทำให้เด็ก ๆ ม.6 เกิดความเครียดและความกดดัน เพราะการไม่มีตัวเลือกในการสอบ เพราะระบบเอ็นทรานซ์มีให้สอบรอบเดียว ระบบนี้ยังไม่มี GPAX ก็อาจส่งผลให้เด็กนักเรียนบางส่วนบ้าคลั่งในการสอบ จนไม่สนใจการเรียนในห้อง ที่สำคัญคือระบบนี้เราต้องเลือกมหาวิทยาลัยหรือคณะที่ชื่นชอบก่อนที่จะสอบ โดยที่เราไม่รู้ว่าคะแนนของตัวเองได้เท่าไหร่ อาจทำให้เราพลาดโอกาสไปได้ (2543–2548) Entrance แบบใหม่ 2543 เพิ่ม GPAX 25% ระบบ Entrance ยุคใหม่ ปี 2542-2548 ยุคต่อมาจึงได้ปรับรูปแบบการสอบใหม่ จากคำเรียกร้องจากนักเรียน ที่ต้องการตัวเลือกในการสอบมากกว่า 1 ครั้ง โดยเปิดให้สอบเอ็นทรานซ์ได้ถึง 2 ครั้ง คือ ช่วงเดือนตุลาคม และเดือนมีนาคม เมื่อเป็นเช่นนี้ก็จะทำให้นักเรียนได้รู้คะแนนสอบตัวเองก่อนที่จะเลือกมหาวิทยาลัย และสามารถเลือกคะแนนครั้งที่ดีที่สุดของตัวเองมายื่นได้ สามารถเลือกยื่นคณะได้ 4 อันดับ นอกจากนี้ยังมีการเปลี่ยนแปลงสัดส่วนคะแนนอีกด้วย จากเดิมที่ใช้คะแนนสอบเอ็นทรานซ์ 100% จึงมีการเปลี่ยนแปลงเป็นการเพิ่มการใช้เกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) มาร่วมคิดคะแนนด้วย ประมาณ 10% (2549–2552) Admissions 2549 แอดมิชชั่น ยกเลิกเอ็นทรานซ์ เริ่มสอบ O-NET , A-NET เพิ่ม GPAX 30 % 2552 แอดมิชชั่น ยกเลิก A-NET(dek52 สอบปีสุดท้าย) เปลี่ยนเป็น GPAX 20 % เริ่มสอบ GAT/PAT (dek53 ปีแรก)ใช้คะแนนรวมกัน 50 % GAT/PAT สอบ 4 ครั้ง (ตั้งแต่ปี 54 ลดเหลือ 2 ครั้ง) ในยุคต่อมา ระบบ Admission : O-NET, A-NET ปี 2549-2552 หลังปี 2548 มาก็ได้มีการยกเลิกระบบเอ็นทรานซ์ เข้าสู่ยุคระบบกลางการรับนิสิตที่เรียกว่า แอดมิชชั่น (Admission) แทน ในยุคนี้ได้มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบจากเยงเรียกร้องจากนักเรียน โดยเพิ่มรูปแบบข้อสอบแบบใหม่ขึ้นมาในชื่อ O-NET และ A-NET ซึ่งสัดส่วนคะแนนนั้น จะประกอบด้วยเกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) 30% รวมกับคะแนน O-NET และ A-NET และในปี 2552 มีการปรับเปลี่ยนวิธีการสอบ โดยการยกเลิก A-NET แล้วเปลี่ยนมาใช้เกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) 30% และใช้คะแนนจาก GAT/PAT ใช้คะแนนรวมกัน 50 % และยังให้มีการสอบ GAT/PAT 4 ครั้งต่อปีอีกด้วย (2553-2560) Admissions 2553 แอดมิชชั่น ใช้ GAT/PAT ปีแรก เปลี่ยนสัดส่วนมาเป็นใช้ GPAX 20% O-NET 30% GAT/PAT 50% (ขึ้นอยู่กับคณะ) 2556 แอดมิชชั่น สอบ GAT/PAT ลดเหลือ 2 ครั้ง เริ่มสอบ 7 วิชาสามัญ และระบบเคลียร์ริงเฮาส์ 2559 แอดมิชชั่น เปลี่ยนจาก 7 วิชาสามัญเป็น 9 วิชาสามัญ 2560 แอดมิชชั่น ยุค Clearing House ช่วงแรก ใช้ระบบสอบกลางครั้งเดียว สอบ GAT/PAT และ 9 วิชาสามัญ ช่วงที่ 2 ระบบ Clearing House 2 รอบ เลือกอันดับการเข้าศึกษาได้ 4 อันดับ ต่อมา ในปี 2556 ลดการสอบ GAT/PAT ลดเหลือ 2 ครั้ง และเริ่มมีการสอบ 7 วิชาสามัญ และมีระบบเคลียริ่งเฮ้าส์ ซึ่งระบบคัดเลือกดังกล่าวทำให้เกิดปัญหาตามมา 3 ประการหลัก ได้แก่ การไม่เข้าห้องเรียนของผู้ที่สอบติดในรอบรับตรงและของผู้ที่มีคะแนนสอบ GAT-PAT รอบแรก (กำหนดสอบเดือนตุลาคม-พฤศจิกายน) สูง การตระเวนสอบตรงเพื่อให้มีที่เรียน ซึ่งทำให้เด็กรวยมีโอกาสได้ที่เรียนมากกว่า เพราะมีทุนในการยื่นสมัครหลายที่มากกว่าเด็กจน และ “การกั๊กที่” ของผู้สอบติดหลายที่ในรอบรับตรงแต่ไม่สละสิทธิ์ ส่งผลให้ผู้สมัครคนอื่นเสียโอกาสในการได้ที่เรียน เพื่อแก้ปัญหาการกั๊กที่ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาแห่งประเทศไทย (สอท.) ในขณะนั้น จึงได้จัดทำระบบ Clearing house เพื่อรวบรวมรายชื่อผู้สอบติดจากรอบรับตรงไว้ที่ส่วนกลาง และให้ผู้ผ่านการคัดเลือกยืนยันสิทธิ์เข้าเรียนของตนได้เพียง 1 ที่ หลังจากนั้น ผู้ที่ยืนยันสิทธิ์แล้วจะถูกตัดสิทธิ์จากรอบ Admissions และจากคณะอื่นในระบบ Clearing house อย่างไรก็ตาม เนื่องจากการเข้าร่วมระบบ Clearing house เป็นไปตามความสมัครใจ โครงการ/มหาวิทยาลัยจำนวนไม่น้อยจึงยังไม่ได้เข้าร่วมระบบ Clearing house โดยในปีการศึกษา 2560 มีมหาวิทยาลัยที่เป็นสมาชิก ทปอ. เข้าร่วมระบบ Clearing house ทั้งสิ้น 11 แห่ง จากทั้งหมด 27 แห่ง (ไม่นับรวมกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทยที่เข้าร่วมเช่นกัน) และในจำนวนนี้ ก็ไม่ใช่ทุกโครงการหรือทุกคณะที่เข้าร่วมในระบบ Clearing house ผลก็คือ ถึงแม้ว่าจะมีระบบการยืนยันสิทธิ์แล้ว การกั๊กที่ก็ยังเกิดขึ้นได้ในกรณีที่ผู้สมัครสอบติดในโครงการ/มหาวิทยาลัยที่ไม่ได้เข้าร่วมระบบ Clearing house 2561-เป็นต้นมา TCAS 2561 TCAS การคัดเลือก 5 รอบ มีดังนี้ รอบที่ 1 Portfolio (แฟ้มสะสมผลงาน) รอบที่ 2 Quota (โควตา) รอบที่ 3 รับตรงร่วมกัน รอบที่ 4 Admissions รอบที่ 5 รับตรงอิสระ ต่อมาในยุคของระบบ TCAS ปี 2561-2564 มาถึงระบบล่าสุดที่ใช้อยู่ปัจจุบันนี้ ได้มีการเลิกใช้รอบ “Admission” เปลี่ยนมาเรียกว่าระบบ Thai University Central Admission System หรือ TCAS แทน เพื่อแก้ปัญหาการกั๊กที่กั๊กสิทธิ์ และเพื่อลดความเหลื่อมล้ำ โดยมีหลักสำคัญ 3 ข้อคือ 1.จัดการสิทธิ์ 1คน1สิทธิ์ 2.นักเรียนไม่วิ่งรอกสอบ 3. นักเรียนอยู่ในห้องเรียนจนจบ ม.6 แล้วค่อยสอบ(ข้อสอบกลาง) ซึ่งรูปแบบการสอบในยุคนี้ ได้เลื่อนการสอบทั้งหมดมาสอบช่วงหลังจบ ม.6 ทั้งหมด และลดการสอบทั้งหมดเหลือเพียงอย่างละครั้งเดียว 2564 TCAS เปลี่ยนเป็นการคัดเลือก 4 รอบ รอบที่ 1 Portfolio (แฟ้มสะสมผลงาน) รอบที่ 2 Quota (โควตา) รอบที่ 3 Combined Admission = รวม Admission 1 และ Admission 2 ให้สมัครพร้อมกัน โดยประกาศผล 2 ครั้ง รอบที่ 4 Direct Admission (รับตรงอิสระ) กระทั่งปี 2564 ได้ยุบรอบการคัดเลือกเหลือ 4 รอบ โดยมีเกณฑ์รอบรับตรงร่วมและรอบแอดมิชชันเหมือนเดิม แต่เปิดให้ยื่นคะแนนพร้อมกัน นักเรียนสามารถเลือกได้สูงสุด 10 อันดับ มีการประกาศผล 2 ครั้ง เพื่อเปิดโอกาสให้เด็กสละสิทธิ์ และมีการประมวลผลเรียกตัวสำรอง ให้มีสิทธิเข้าศึกษาได้ จะเห็นได้ว่าการแก้ไขปัญหาของทาง ทปอ. เป็นการแก้ไขปัญหาที่ปลายเหตุ ไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างยั่งยืน เพราะสุดท้ายแล้ว ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลงการสอบ ก็มักจะมีปัญหาระบบตามมา ชี้ให้เห็นว่า ระบบ TCAS ไม่อาจแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำได้เลย ชี้ให้เห็นถึงปัญหาความได้เปรียบ-เสียเปรียบระหว่างเด็กรวย-จน และปัญหาการไม่เข้าเรียนจนจบการศึกษาได้ดีตามที่ ทปอ. ตั้งใจ ยิ่งไปกว่านั้น หากย้อนกลับไปดูการเปลี่ยนแปลงระบบการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในระดับอุดมศึกษาที่ผ่านมา จะเห็นได้ชัดเจนว่า ระบบการสอบของ ทปอ. กลับเป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้ระบบการคัดเลือกนักศึกษาของไทยวนเวียนอยู่เช่นนี้ เพราะระบบการสอบของ ทปอ. ยังสร้างภาระและต้นทุนทางการเงินและทางสุขภาพให้กับเด็ก ทั้งจากการสอบมากครั้ง การเรียนกวดวิชา การหาข้อมูลและเตรียมความพร้อมสำหรับระบบรับสมัครที่เปลี่ยนแปลงไปมา ตลอดจนความไม่เท่าเทียมของโอกาสในการเข้าศึกษา ซึ่งก็คือภาระการเตรียมตัวสอบอันหนักหน่วงของเด็ก ทั้งที่การสอบนั้นก็ไม่อาจชี้วัดความสามารถและความเหมาะสมของเด็กในการเข้าศึกษาในแต่ละโครงการได้ดีแต่อย่างใด ซึ่งหวังว่าในอนาคต ทางผู้หลักผู้ใหญ่จะสามารถหาระบบการสอบที่ลงตัวกับทุกฝ่าย และไม่สร้างปัญหาให้ทั้งเด็กและผู้ปกครองอีกต่อไป EZ Webmaster Related Posts ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง TK Park พาเปิดบทเรียนอันทรงคุณค่า จาก “คุณหญิงกษมา” กว่า 50 ปี บนเส้นทางการศึกษา กับบทบาทผู้ต่อจิ๊กซอว์ “การเรียนรู้” ให้สังคมไทย พร้อมเจาะ “7 บทเรียนที่ต้องเรียนรู้” พาไทยสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ได้แบบไม่รู้จบ Post navigation PREVIOUS Previous post: “สวนสุนันทา” เปิดรับรอบโควตา พร้อมให้คนมีความสามารถพิเศษเรียนฟรีกับโครงการ “ทุนเพชรสุนันทา”NEXT Next post: ตารางเวลาสอบใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู ประจำปี 2567 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief…
เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief…
“40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster January 20, 2024 EZ Webmaster January 20, 2024 วิวัฒนาการสอบเข้ามหาวิทยาลัย ทำไมจึงต้องเปลี่ยนวิธีการสอบหลายต่อหลายครั้ง ? วิวัฒนาการสอบเข้ามหาวิทยาลัย ทำไมจึงต้องเปลี่ยนวิธีการสอบหลายต่อหลายครั้ง ? การศึกษาไทยเป็นเรื่องที่มีความวุ่นวายซับซ้อนและเกิดความเหลื่อมล้ำมากมาย ซึ่งปัญหาต่าง ๆ ส่งผลให้เด็กต้องสอบหลายครั้ง ทั้ง GAT/PAT, 9 วิชาสามัญ และ O-NET ที่จัดตลอดทั้งปี หรือในบางคณะ บางมหาวิทยาลัย ก็จัดสอบตรงของตัวเองอีก เด็กจึงต้องวิ่งรอกสอบหลายครั้ง เสียค่าสมัคร ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ มากมาย ซึ่งการสอบในปีก่อน ๆ มักจัดขึ้นในช่วงที่ยังไม่ปิดภาคเรียน ทำให้อาจารย์ต้องเร่งสอนเพื่อให้ทันการสอบ ส่งผลให้เด็ก ๆ ก็อาจจะเรียนได้ไม่เต็มที่ ดังนั้นที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยจึงคิดวิธีแก้ปัญหา เพื่อลดความเหลื่อมล้ำต่าง ๆ และต้องการให้เด็กนักเรียนได้มีสิทธิ์ในการศึกษาอย่างเสมอภาค จึงมีแผนการปรับเปลี่ยนการสอบเข้ามหาวิทยาลัยหลายต่อหลายครั้ง เราไปดูกันดีกว่าว่าการสอบเข้าตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ผ่านยุคการสอบแบบไหนมาบ้าง แล้วการปรับเปลี่ยนการสอบจะแก้ปัญหาได้จริงหรือไม่ ไปดูกันเลย (2504–2542) Entrance แบบเก่า 2504 เอ็นทรานซ์ (ครั้งแรก) เลือกคณะก่อนสอบ เลือกอันดับได้ 4-6 อันดับ ใช้คะแนน เอ็นทรานซ์ 100 % 2542 เอ็นทรานซ์ สอบแล้วเลือกคณะ มี 2 ครั้งต่อปี ครั้งที่ 1 ช่วง ต.ค. ครั้งที่ 2 ช่วง มี.ค. เพิ่ม GPAX 10% ระบบ Entrance ยุคแรก ปี 2504 – 2542 ระบบการสอบเข้ามหาวิทยาลัยในยุคแรก ๆ นั้น เกิดจากความร่วมมือกันของแต่ละมหาวิทยาลัยที่เปิดสอนในยุคนั้นจัดสอบขึ้นมากันเอง เพื่อแก้ปัญหาที่นักเรียนต้องเสียค่าใช้จ่ายสมัครสอบแต่ละที่หลายครั้ง โดยมีสภาการศึกษาแห่งชาติเป็นผู้ประสานงาน รูปแบบการสอบยุคนี้ เปิดให้นักเรียนเลือกคณะที่สนใจเข้าศึกษาได้ 4 อันดับ (ภายหลังปี 2516 เปลี่ยนเป็น 6 อันดับ) จากนั้นก็เข้าสอบเอ็นทรานซ์ โดยใช้คะแนนสอบเอ็นทรานซ์ 100% ไม่ต้องใช้เกรดเฉลี่ย( GPAX) ในโรงเรียนและสามารถสอบเทียบได้ แต่มันก็มีข้อเสีย เพราะทำให้เด็ก ๆ ม.6 เกิดความเครียดและความกดดัน เพราะการไม่มีตัวเลือกในการสอบ เพราะระบบเอ็นทรานซ์มีให้สอบรอบเดียว ระบบนี้ยังไม่มี GPAX ก็อาจส่งผลให้เด็กนักเรียนบางส่วนบ้าคลั่งในการสอบ จนไม่สนใจการเรียนในห้อง ที่สำคัญคือระบบนี้เราต้องเลือกมหาวิทยาลัยหรือคณะที่ชื่นชอบก่อนที่จะสอบ โดยที่เราไม่รู้ว่าคะแนนของตัวเองได้เท่าไหร่ อาจทำให้เราพลาดโอกาสไปได้ (2543–2548) Entrance แบบใหม่ 2543 เพิ่ม GPAX 25% ระบบ Entrance ยุคใหม่ ปี 2542-2548 ยุคต่อมาจึงได้ปรับรูปแบบการสอบใหม่ จากคำเรียกร้องจากนักเรียน ที่ต้องการตัวเลือกในการสอบมากกว่า 1 ครั้ง โดยเปิดให้สอบเอ็นทรานซ์ได้ถึง 2 ครั้ง คือ ช่วงเดือนตุลาคม และเดือนมีนาคม เมื่อเป็นเช่นนี้ก็จะทำให้นักเรียนได้รู้คะแนนสอบตัวเองก่อนที่จะเลือกมหาวิทยาลัย และสามารถเลือกคะแนนครั้งที่ดีที่สุดของตัวเองมายื่นได้ สามารถเลือกยื่นคณะได้ 4 อันดับ นอกจากนี้ยังมีการเปลี่ยนแปลงสัดส่วนคะแนนอีกด้วย จากเดิมที่ใช้คะแนนสอบเอ็นทรานซ์ 100% จึงมีการเปลี่ยนแปลงเป็นการเพิ่มการใช้เกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) มาร่วมคิดคะแนนด้วย ประมาณ 10% (2549–2552) Admissions 2549 แอดมิชชั่น ยกเลิกเอ็นทรานซ์ เริ่มสอบ O-NET , A-NET เพิ่ม GPAX 30 % 2552 แอดมิชชั่น ยกเลิก A-NET(dek52 สอบปีสุดท้าย) เปลี่ยนเป็น GPAX 20 % เริ่มสอบ GAT/PAT (dek53 ปีแรก)ใช้คะแนนรวมกัน 50 % GAT/PAT สอบ 4 ครั้ง (ตั้งแต่ปี 54 ลดเหลือ 2 ครั้ง) ในยุคต่อมา ระบบ Admission : O-NET, A-NET ปี 2549-2552 หลังปี 2548 มาก็ได้มีการยกเลิกระบบเอ็นทรานซ์ เข้าสู่ยุคระบบกลางการรับนิสิตที่เรียกว่า แอดมิชชั่น (Admission) แทน ในยุคนี้ได้มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบจากเยงเรียกร้องจากนักเรียน โดยเพิ่มรูปแบบข้อสอบแบบใหม่ขึ้นมาในชื่อ O-NET และ A-NET ซึ่งสัดส่วนคะแนนนั้น จะประกอบด้วยเกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) 30% รวมกับคะแนน O-NET และ A-NET และในปี 2552 มีการปรับเปลี่ยนวิธีการสอบ โดยการยกเลิก A-NET แล้วเปลี่ยนมาใช้เกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) 30% และใช้คะแนนจาก GAT/PAT ใช้คะแนนรวมกัน 50 % และยังให้มีการสอบ GAT/PAT 4 ครั้งต่อปีอีกด้วย (2553-2560) Admissions 2553 แอดมิชชั่น ใช้ GAT/PAT ปีแรก เปลี่ยนสัดส่วนมาเป็นใช้ GPAX 20% O-NET 30% GAT/PAT 50% (ขึ้นอยู่กับคณะ) 2556 แอดมิชชั่น สอบ GAT/PAT ลดเหลือ 2 ครั้ง เริ่มสอบ 7 วิชาสามัญ และระบบเคลียร์ริงเฮาส์ 2559 แอดมิชชั่น เปลี่ยนจาก 7 วิชาสามัญเป็น 9 วิชาสามัญ 2560 แอดมิชชั่น ยุค Clearing House ช่วงแรก ใช้ระบบสอบกลางครั้งเดียว สอบ GAT/PAT และ 9 วิชาสามัญ ช่วงที่ 2 ระบบ Clearing House 2 รอบ เลือกอันดับการเข้าศึกษาได้ 4 อันดับ ต่อมา ในปี 2556 ลดการสอบ GAT/PAT ลดเหลือ 2 ครั้ง และเริ่มมีการสอบ 7 วิชาสามัญ และมีระบบเคลียริ่งเฮ้าส์ ซึ่งระบบคัดเลือกดังกล่าวทำให้เกิดปัญหาตามมา 3 ประการหลัก ได้แก่ การไม่เข้าห้องเรียนของผู้ที่สอบติดในรอบรับตรงและของผู้ที่มีคะแนนสอบ GAT-PAT รอบแรก (กำหนดสอบเดือนตุลาคม-พฤศจิกายน) สูง การตระเวนสอบตรงเพื่อให้มีที่เรียน ซึ่งทำให้เด็กรวยมีโอกาสได้ที่เรียนมากกว่า เพราะมีทุนในการยื่นสมัครหลายที่มากกว่าเด็กจน และ “การกั๊กที่” ของผู้สอบติดหลายที่ในรอบรับตรงแต่ไม่สละสิทธิ์ ส่งผลให้ผู้สมัครคนอื่นเสียโอกาสในการได้ที่เรียน เพื่อแก้ปัญหาการกั๊กที่ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาแห่งประเทศไทย (สอท.) ในขณะนั้น จึงได้จัดทำระบบ Clearing house เพื่อรวบรวมรายชื่อผู้สอบติดจากรอบรับตรงไว้ที่ส่วนกลาง และให้ผู้ผ่านการคัดเลือกยืนยันสิทธิ์เข้าเรียนของตนได้เพียง 1 ที่ หลังจากนั้น ผู้ที่ยืนยันสิทธิ์แล้วจะถูกตัดสิทธิ์จากรอบ Admissions และจากคณะอื่นในระบบ Clearing house อย่างไรก็ตาม เนื่องจากการเข้าร่วมระบบ Clearing house เป็นไปตามความสมัครใจ โครงการ/มหาวิทยาลัยจำนวนไม่น้อยจึงยังไม่ได้เข้าร่วมระบบ Clearing house โดยในปีการศึกษา 2560 มีมหาวิทยาลัยที่เป็นสมาชิก ทปอ. เข้าร่วมระบบ Clearing house ทั้งสิ้น 11 แห่ง จากทั้งหมด 27 แห่ง (ไม่นับรวมกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทยที่เข้าร่วมเช่นกัน) และในจำนวนนี้ ก็ไม่ใช่ทุกโครงการหรือทุกคณะที่เข้าร่วมในระบบ Clearing house ผลก็คือ ถึงแม้ว่าจะมีระบบการยืนยันสิทธิ์แล้ว การกั๊กที่ก็ยังเกิดขึ้นได้ในกรณีที่ผู้สมัครสอบติดในโครงการ/มหาวิทยาลัยที่ไม่ได้เข้าร่วมระบบ Clearing house 2561-เป็นต้นมา TCAS 2561 TCAS การคัดเลือก 5 รอบ มีดังนี้ รอบที่ 1 Portfolio (แฟ้มสะสมผลงาน) รอบที่ 2 Quota (โควตา) รอบที่ 3 รับตรงร่วมกัน รอบที่ 4 Admissions รอบที่ 5 รับตรงอิสระ ต่อมาในยุคของระบบ TCAS ปี 2561-2564 มาถึงระบบล่าสุดที่ใช้อยู่ปัจจุบันนี้ ได้มีการเลิกใช้รอบ “Admission” เปลี่ยนมาเรียกว่าระบบ Thai University Central Admission System หรือ TCAS แทน เพื่อแก้ปัญหาการกั๊กที่กั๊กสิทธิ์ และเพื่อลดความเหลื่อมล้ำ โดยมีหลักสำคัญ 3 ข้อคือ 1.จัดการสิทธิ์ 1คน1สิทธิ์ 2.นักเรียนไม่วิ่งรอกสอบ 3. นักเรียนอยู่ในห้องเรียนจนจบ ม.6 แล้วค่อยสอบ(ข้อสอบกลาง) ซึ่งรูปแบบการสอบในยุคนี้ ได้เลื่อนการสอบทั้งหมดมาสอบช่วงหลังจบ ม.6 ทั้งหมด และลดการสอบทั้งหมดเหลือเพียงอย่างละครั้งเดียว 2564 TCAS เปลี่ยนเป็นการคัดเลือก 4 รอบ รอบที่ 1 Portfolio (แฟ้มสะสมผลงาน) รอบที่ 2 Quota (โควตา) รอบที่ 3 Combined Admission = รวม Admission 1 และ Admission 2 ให้สมัครพร้อมกัน โดยประกาศผล 2 ครั้ง รอบที่ 4 Direct Admission (รับตรงอิสระ) กระทั่งปี 2564 ได้ยุบรอบการคัดเลือกเหลือ 4 รอบ โดยมีเกณฑ์รอบรับตรงร่วมและรอบแอดมิชชันเหมือนเดิม แต่เปิดให้ยื่นคะแนนพร้อมกัน นักเรียนสามารถเลือกได้สูงสุด 10 อันดับ มีการประกาศผล 2 ครั้ง เพื่อเปิดโอกาสให้เด็กสละสิทธิ์ และมีการประมวลผลเรียกตัวสำรอง ให้มีสิทธิเข้าศึกษาได้ จะเห็นได้ว่าการแก้ไขปัญหาของทาง ทปอ. เป็นการแก้ไขปัญหาที่ปลายเหตุ ไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างยั่งยืน เพราะสุดท้ายแล้ว ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลงการสอบ ก็มักจะมีปัญหาระบบตามมา ชี้ให้เห็นว่า ระบบ TCAS ไม่อาจแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำได้เลย ชี้ให้เห็นถึงปัญหาความได้เปรียบ-เสียเปรียบระหว่างเด็กรวย-จน และปัญหาการไม่เข้าเรียนจนจบการศึกษาได้ดีตามที่ ทปอ. ตั้งใจ ยิ่งไปกว่านั้น หากย้อนกลับไปดูการเปลี่ยนแปลงระบบการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในระดับอุดมศึกษาที่ผ่านมา จะเห็นได้ชัดเจนว่า ระบบการสอบของ ทปอ. กลับเป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้ระบบการคัดเลือกนักศึกษาของไทยวนเวียนอยู่เช่นนี้ เพราะระบบการสอบของ ทปอ. ยังสร้างภาระและต้นทุนทางการเงินและทางสุขภาพให้กับเด็ก ทั้งจากการสอบมากครั้ง การเรียนกวดวิชา การหาข้อมูลและเตรียมความพร้อมสำหรับระบบรับสมัครที่เปลี่ยนแปลงไปมา ตลอดจนความไม่เท่าเทียมของโอกาสในการเข้าศึกษา ซึ่งก็คือภาระการเตรียมตัวสอบอันหนักหน่วงของเด็ก ทั้งที่การสอบนั้นก็ไม่อาจชี้วัดความสามารถและความเหมาะสมของเด็กในการเข้าศึกษาในแต่ละโครงการได้ดีแต่อย่างใด ซึ่งหวังว่าในอนาคต ทางผู้หลักผู้ใหญ่จะสามารถหาระบบการสอบที่ลงตัวกับทุกฝ่าย และไม่สร้างปัญหาให้ทั้งเด็กและผู้ปกครองอีกต่อไป EZ Webmaster Related Posts ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง TK Park พาเปิดบทเรียนอันทรงคุณค่า จาก “คุณหญิงกษมา” กว่า 50 ปี บนเส้นทางการศึกษา กับบทบาทผู้ต่อจิ๊กซอว์ “การเรียนรู้” ให้สังคมไทย พร้อมเจาะ “7 บทเรียนที่ต้องเรียนรู้” พาไทยสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ได้แบบไม่รู้จบ Post navigation PREVIOUS Previous post: “สวนสุนันทา” เปิดรับรอบโควตา พร้อมให้คนมีความสามารถพิเศษเรียนฟรีกับโครงการ “ทุนเพชรสุนันทา”NEXT Next post: ตารางเวลาสอบใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู ประจำปี 2567 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search
ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน…
สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน…
EZ Webmaster January 20, 2024 EZ Webmaster January 20, 2024 วิวัฒนาการสอบเข้ามหาวิทยาลัย ทำไมจึงต้องเปลี่ยนวิธีการสอบหลายต่อหลายครั้ง ? วิวัฒนาการสอบเข้ามหาวิทยาลัย ทำไมจึงต้องเปลี่ยนวิธีการสอบหลายต่อหลายครั้ง ? การศึกษาไทยเป็นเรื่องที่มีความวุ่นวายซับซ้อนและเกิดความเหลื่อมล้ำมากมาย ซึ่งปัญหาต่าง ๆ ส่งผลให้เด็กต้องสอบหลายครั้ง ทั้ง GAT/PAT, 9 วิชาสามัญ และ O-NET ที่จัดตลอดทั้งปี หรือในบางคณะ บางมหาวิทยาลัย ก็จัดสอบตรงของตัวเองอีก เด็กจึงต้องวิ่งรอกสอบหลายครั้ง เสียค่าสมัคร ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ มากมาย ซึ่งการสอบในปีก่อน ๆ มักจัดขึ้นในช่วงที่ยังไม่ปิดภาคเรียน ทำให้อาจารย์ต้องเร่งสอนเพื่อให้ทันการสอบ ส่งผลให้เด็ก ๆ ก็อาจจะเรียนได้ไม่เต็มที่ ดังนั้นที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยจึงคิดวิธีแก้ปัญหา เพื่อลดความเหลื่อมล้ำต่าง ๆ และต้องการให้เด็กนักเรียนได้มีสิทธิ์ในการศึกษาอย่างเสมอภาค จึงมีแผนการปรับเปลี่ยนการสอบเข้ามหาวิทยาลัยหลายต่อหลายครั้ง เราไปดูกันดีกว่าว่าการสอบเข้าตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ผ่านยุคการสอบแบบไหนมาบ้าง แล้วการปรับเปลี่ยนการสอบจะแก้ปัญหาได้จริงหรือไม่ ไปดูกันเลย (2504–2542) Entrance แบบเก่า 2504 เอ็นทรานซ์ (ครั้งแรก) เลือกคณะก่อนสอบ เลือกอันดับได้ 4-6 อันดับ ใช้คะแนน เอ็นทรานซ์ 100 % 2542 เอ็นทรานซ์ สอบแล้วเลือกคณะ มี 2 ครั้งต่อปี ครั้งที่ 1 ช่วง ต.ค. ครั้งที่ 2 ช่วง มี.ค. เพิ่ม GPAX 10% ระบบ Entrance ยุคแรก ปี 2504 – 2542 ระบบการสอบเข้ามหาวิทยาลัยในยุคแรก ๆ นั้น เกิดจากความร่วมมือกันของแต่ละมหาวิทยาลัยที่เปิดสอนในยุคนั้นจัดสอบขึ้นมากันเอง เพื่อแก้ปัญหาที่นักเรียนต้องเสียค่าใช้จ่ายสมัครสอบแต่ละที่หลายครั้ง โดยมีสภาการศึกษาแห่งชาติเป็นผู้ประสานงาน รูปแบบการสอบยุคนี้ เปิดให้นักเรียนเลือกคณะที่สนใจเข้าศึกษาได้ 4 อันดับ (ภายหลังปี 2516 เปลี่ยนเป็น 6 อันดับ) จากนั้นก็เข้าสอบเอ็นทรานซ์ โดยใช้คะแนนสอบเอ็นทรานซ์ 100% ไม่ต้องใช้เกรดเฉลี่ย( GPAX) ในโรงเรียนและสามารถสอบเทียบได้ แต่มันก็มีข้อเสีย เพราะทำให้เด็ก ๆ ม.6 เกิดความเครียดและความกดดัน เพราะการไม่มีตัวเลือกในการสอบ เพราะระบบเอ็นทรานซ์มีให้สอบรอบเดียว ระบบนี้ยังไม่มี GPAX ก็อาจส่งผลให้เด็กนักเรียนบางส่วนบ้าคลั่งในการสอบ จนไม่สนใจการเรียนในห้อง ที่สำคัญคือระบบนี้เราต้องเลือกมหาวิทยาลัยหรือคณะที่ชื่นชอบก่อนที่จะสอบ โดยที่เราไม่รู้ว่าคะแนนของตัวเองได้เท่าไหร่ อาจทำให้เราพลาดโอกาสไปได้ (2543–2548) Entrance แบบใหม่ 2543 เพิ่ม GPAX 25% ระบบ Entrance ยุคใหม่ ปี 2542-2548 ยุคต่อมาจึงได้ปรับรูปแบบการสอบใหม่ จากคำเรียกร้องจากนักเรียน ที่ต้องการตัวเลือกในการสอบมากกว่า 1 ครั้ง โดยเปิดให้สอบเอ็นทรานซ์ได้ถึง 2 ครั้ง คือ ช่วงเดือนตุลาคม และเดือนมีนาคม เมื่อเป็นเช่นนี้ก็จะทำให้นักเรียนได้รู้คะแนนสอบตัวเองก่อนที่จะเลือกมหาวิทยาลัย และสามารถเลือกคะแนนครั้งที่ดีที่สุดของตัวเองมายื่นได้ สามารถเลือกยื่นคณะได้ 4 อันดับ นอกจากนี้ยังมีการเปลี่ยนแปลงสัดส่วนคะแนนอีกด้วย จากเดิมที่ใช้คะแนนสอบเอ็นทรานซ์ 100% จึงมีการเปลี่ยนแปลงเป็นการเพิ่มการใช้เกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) มาร่วมคิดคะแนนด้วย ประมาณ 10% (2549–2552) Admissions 2549 แอดมิชชั่น ยกเลิกเอ็นทรานซ์ เริ่มสอบ O-NET , A-NET เพิ่ม GPAX 30 % 2552 แอดมิชชั่น ยกเลิก A-NET(dek52 สอบปีสุดท้าย) เปลี่ยนเป็น GPAX 20 % เริ่มสอบ GAT/PAT (dek53 ปีแรก)ใช้คะแนนรวมกัน 50 % GAT/PAT สอบ 4 ครั้ง (ตั้งแต่ปี 54 ลดเหลือ 2 ครั้ง) ในยุคต่อมา ระบบ Admission : O-NET, A-NET ปี 2549-2552 หลังปี 2548 มาก็ได้มีการยกเลิกระบบเอ็นทรานซ์ เข้าสู่ยุคระบบกลางการรับนิสิตที่เรียกว่า แอดมิชชั่น (Admission) แทน ในยุคนี้ได้มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบจากเยงเรียกร้องจากนักเรียน โดยเพิ่มรูปแบบข้อสอบแบบใหม่ขึ้นมาในชื่อ O-NET และ A-NET ซึ่งสัดส่วนคะแนนนั้น จะประกอบด้วยเกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) 30% รวมกับคะแนน O-NET และ A-NET และในปี 2552 มีการปรับเปลี่ยนวิธีการสอบ โดยการยกเลิก A-NET แล้วเปลี่ยนมาใช้เกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) 30% และใช้คะแนนจาก GAT/PAT ใช้คะแนนรวมกัน 50 % และยังให้มีการสอบ GAT/PAT 4 ครั้งต่อปีอีกด้วย (2553-2560) Admissions 2553 แอดมิชชั่น ใช้ GAT/PAT ปีแรก เปลี่ยนสัดส่วนมาเป็นใช้ GPAX 20% O-NET 30% GAT/PAT 50% (ขึ้นอยู่กับคณะ) 2556 แอดมิชชั่น สอบ GAT/PAT ลดเหลือ 2 ครั้ง เริ่มสอบ 7 วิชาสามัญ และระบบเคลียร์ริงเฮาส์ 2559 แอดมิชชั่น เปลี่ยนจาก 7 วิชาสามัญเป็น 9 วิชาสามัญ 2560 แอดมิชชั่น ยุค Clearing House ช่วงแรก ใช้ระบบสอบกลางครั้งเดียว สอบ GAT/PAT และ 9 วิชาสามัญ ช่วงที่ 2 ระบบ Clearing House 2 รอบ เลือกอันดับการเข้าศึกษาได้ 4 อันดับ ต่อมา ในปี 2556 ลดการสอบ GAT/PAT ลดเหลือ 2 ครั้ง และเริ่มมีการสอบ 7 วิชาสามัญ และมีระบบเคลียริ่งเฮ้าส์ ซึ่งระบบคัดเลือกดังกล่าวทำให้เกิดปัญหาตามมา 3 ประการหลัก ได้แก่ การไม่เข้าห้องเรียนของผู้ที่สอบติดในรอบรับตรงและของผู้ที่มีคะแนนสอบ GAT-PAT รอบแรก (กำหนดสอบเดือนตุลาคม-พฤศจิกายน) สูง การตระเวนสอบตรงเพื่อให้มีที่เรียน ซึ่งทำให้เด็กรวยมีโอกาสได้ที่เรียนมากกว่า เพราะมีทุนในการยื่นสมัครหลายที่มากกว่าเด็กจน และ “การกั๊กที่” ของผู้สอบติดหลายที่ในรอบรับตรงแต่ไม่สละสิทธิ์ ส่งผลให้ผู้สมัครคนอื่นเสียโอกาสในการได้ที่เรียน เพื่อแก้ปัญหาการกั๊กที่ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาแห่งประเทศไทย (สอท.) ในขณะนั้น จึงได้จัดทำระบบ Clearing house เพื่อรวบรวมรายชื่อผู้สอบติดจากรอบรับตรงไว้ที่ส่วนกลาง และให้ผู้ผ่านการคัดเลือกยืนยันสิทธิ์เข้าเรียนของตนได้เพียง 1 ที่ หลังจากนั้น ผู้ที่ยืนยันสิทธิ์แล้วจะถูกตัดสิทธิ์จากรอบ Admissions และจากคณะอื่นในระบบ Clearing house อย่างไรก็ตาม เนื่องจากการเข้าร่วมระบบ Clearing house เป็นไปตามความสมัครใจ โครงการ/มหาวิทยาลัยจำนวนไม่น้อยจึงยังไม่ได้เข้าร่วมระบบ Clearing house โดยในปีการศึกษา 2560 มีมหาวิทยาลัยที่เป็นสมาชิก ทปอ. เข้าร่วมระบบ Clearing house ทั้งสิ้น 11 แห่ง จากทั้งหมด 27 แห่ง (ไม่นับรวมกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทยที่เข้าร่วมเช่นกัน) และในจำนวนนี้ ก็ไม่ใช่ทุกโครงการหรือทุกคณะที่เข้าร่วมในระบบ Clearing house ผลก็คือ ถึงแม้ว่าจะมีระบบการยืนยันสิทธิ์แล้ว การกั๊กที่ก็ยังเกิดขึ้นได้ในกรณีที่ผู้สมัครสอบติดในโครงการ/มหาวิทยาลัยที่ไม่ได้เข้าร่วมระบบ Clearing house 2561-เป็นต้นมา TCAS 2561 TCAS การคัดเลือก 5 รอบ มีดังนี้ รอบที่ 1 Portfolio (แฟ้มสะสมผลงาน) รอบที่ 2 Quota (โควตา) รอบที่ 3 รับตรงร่วมกัน รอบที่ 4 Admissions รอบที่ 5 รับตรงอิสระ ต่อมาในยุคของระบบ TCAS ปี 2561-2564 มาถึงระบบล่าสุดที่ใช้อยู่ปัจจุบันนี้ ได้มีการเลิกใช้รอบ “Admission” เปลี่ยนมาเรียกว่าระบบ Thai University Central Admission System หรือ TCAS แทน เพื่อแก้ปัญหาการกั๊กที่กั๊กสิทธิ์ และเพื่อลดความเหลื่อมล้ำ โดยมีหลักสำคัญ 3 ข้อคือ 1.จัดการสิทธิ์ 1คน1สิทธิ์ 2.นักเรียนไม่วิ่งรอกสอบ 3. นักเรียนอยู่ในห้องเรียนจนจบ ม.6 แล้วค่อยสอบ(ข้อสอบกลาง) ซึ่งรูปแบบการสอบในยุคนี้ ได้เลื่อนการสอบทั้งหมดมาสอบช่วงหลังจบ ม.6 ทั้งหมด และลดการสอบทั้งหมดเหลือเพียงอย่างละครั้งเดียว 2564 TCAS เปลี่ยนเป็นการคัดเลือก 4 รอบ รอบที่ 1 Portfolio (แฟ้มสะสมผลงาน) รอบที่ 2 Quota (โควตา) รอบที่ 3 Combined Admission = รวม Admission 1 และ Admission 2 ให้สมัครพร้อมกัน โดยประกาศผล 2 ครั้ง รอบที่ 4 Direct Admission (รับตรงอิสระ) กระทั่งปี 2564 ได้ยุบรอบการคัดเลือกเหลือ 4 รอบ โดยมีเกณฑ์รอบรับตรงร่วมและรอบแอดมิชชันเหมือนเดิม แต่เปิดให้ยื่นคะแนนพร้อมกัน นักเรียนสามารถเลือกได้สูงสุด 10 อันดับ มีการประกาศผล 2 ครั้ง เพื่อเปิดโอกาสให้เด็กสละสิทธิ์ และมีการประมวลผลเรียกตัวสำรอง ให้มีสิทธิเข้าศึกษาได้ จะเห็นได้ว่าการแก้ไขปัญหาของทาง ทปอ. เป็นการแก้ไขปัญหาที่ปลายเหตุ ไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างยั่งยืน เพราะสุดท้ายแล้ว ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลงการสอบ ก็มักจะมีปัญหาระบบตามมา ชี้ให้เห็นว่า ระบบ TCAS ไม่อาจแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำได้เลย ชี้ให้เห็นถึงปัญหาความได้เปรียบ-เสียเปรียบระหว่างเด็กรวย-จน และปัญหาการไม่เข้าเรียนจนจบการศึกษาได้ดีตามที่ ทปอ. ตั้งใจ ยิ่งไปกว่านั้น หากย้อนกลับไปดูการเปลี่ยนแปลงระบบการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในระดับอุดมศึกษาที่ผ่านมา จะเห็นได้ชัดเจนว่า ระบบการสอบของ ทปอ. กลับเป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้ระบบการคัดเลือกนักศึกษาของไทยวนเวียนอยู่เช่นนี้ เพราะระบบการสอบของ ทปอ. ยังสร้างภาระและต้นทุนทางการเงินและทางสุขภาพให้กับเด็ก ทั้งจากการสอบมากครั้ง การเรียนกวดวิชา การหาข้อมูลและเตรียมความพร้อมสำหรับระบบรับสมัครที่เปลี่ยนแปลงไปมา ตลอดจนความไม่เท่าเทียมของโอกาสในการเข้าศึกษา ซึ่งก็คือภาระการเตรียมตัวสอบอันหนักหน่วงของเด็ก ทั้งที่การสอบนั้นก็ไม่อาจชี้วัดความสามารถและความเหมาะสมของเด็กในการเข้าศึกษาในแต่ละโครงการได้ดีแต่อย่างใด ซึ่งหวังว่าในอนาคต ทางผู้หลักผู้ใหญ่จะสามารถหาระบบการสอบที่ลงตัวกับทุกฝ่าย และไม่สร้างปัญหาให้ทั้งเด็กและผู้ปกครองอีกต่อไป
TK Park พาเปิดบทเรียนอันทรงคุณค่า จาก “คุณหญิงกษมา” กว่า 50 ปี บนเส้นทางการศึกษา กับบทบาทผู้ต่อจิ๊กซอว์ “การเรียนรู้” ให้สังคมไทย พร้อมเจาะ “7 บทเรียนที่ต้องเรียนรู้” พาไทยสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ได้แบบไม่รู้จบ