ฟื้นO-NETเข้ามหา’ลัยเรื่องยาก อธิการบดี มรภ.นครราชสีมาแนะศธ.ใช้เข้าเรียนต่อม.1/ม.4 EZ WebmasterMarch 23, 2025 นายอดิศร เนาวนนท์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏ (มรภ.) นครราชสีมาและนักวิชาการทางการศึกษา เปิดเผยว่า กรณีกระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) หารือกับกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) นำคะแนนการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน หรือ โอเน็ต มาใช้ในการเข้ามหาวิทยาลัย ว่า ส่วนตัวมองว่า… เรียนที่เดียวได้ถึง 2 วุฒิ สาขาวิชาวิศวกรรมสำรวจ ม.เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ EZ WebmasterMarch 23, 2025 เปิดรับสมัครแล้ววันนี้ “เรียนที่นี่ที่เดียว…ได้ถึง 2 วุฒิ ” ถ้าคุณต้องการเพิ่มทางเลือกในชีวิต อย่ามองข้ามเรา แล้วมาเป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรที่มีความต้องการของตลาดแรงงานกันจ้า : คุณวุฒิที่ใช้รับสมัคร สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ในสาขาวิชาช่างสำรวจ ช่างก่อสร้าง ช่างเทคนิคสถาปัตยกรรม หรือเทียบเท่า หรือสำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6)… มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เปิดรับสมัครรอบที่ 2.3 ระบบ Quota TCAS68 EZ WebmasterMarch 22, 2025 มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง กำลังเปิดรับสมัครรอบที่ 2.3 ระบบ Quota ปีการศึกษา 2568 กำหนดรับสมัคร: วันที่ 4 มีนาคม – 8 เมษายน 25681. รับตรงทั่วประเทศ รูปแบบใช้ผลคะแนน A-Levelรายละเอียดประกาศ: https://bit.ly/40GenOk2.… โรงพยาบาลศูนย์การแพทย์มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เปิดให้ 25 ทุน เรียนฟรีผู้ช่วยพยาบาล EZ WebmasterMarch 22, 2025 ประกาศรับสมัครทุนผู้ช่วยพยาบาล โรงพยาบาลศูนย์การแพทย์มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีการศึกษา 2568 เปิดรับสมัครแล้ว! ตั้งแต่วันนี้ – 30 เมษายน 2568 คุณสมบัติเบื้องต้น• สำเร็จการศึกษาชั้น ม.6 หรือเทียบเท่า• เปิดรับทั้งบุคคลภายนอก และพนักงานของโรงพยาบาลศูนย์การแพทย์ฯ ดูรายละเอียดเพิ่มเติม คลิก สอบถามเพิ่มเติม โทร. 0 5391… นักศึกษา โรงเรียนฝึกอาชีพ กทม. เปิดสอนอาชีพ หลักสูตร 200 ชั่วโมง เรียนจบมีใบรับรอง สร้างอาชีพได้จริง EZ WebmasterMarch 22, 2025 โรงเรียนฝึกอาชีพ กทม. เปิดสอนอาชีพ หลักสูตร 200 ชั่วโมง ได้เรียนปฏิบัติเน้น ๆ มีให้เลือกเรียนทุกสาขาวิชา เรียนจบมีใบรับรองให้ เอาไปสร้างอาชีพได้จริง ค่าเรียนเริ่มต้นคอร์สละ 105 บาท (มีทั้งรอบเช้า / บ่าย /… นักศึกษามทร.ธัญบุรี ส่งต่ออาชีพดอกมะลิทิชชู่ ผู้ต้องขังเรือนจำธัญบุรี tui sakrapeeMarch 22, 2025 สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ หลักสูตรฯนวัตกรรมศิลปะประดิษฐ์สร้างสรรค์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีนวัตกรรมศิลปประดิษฐ์สร้างสรรรค์สู่ชุมชน การประดิษฐ์ดอกมะลิจากกระดาษทิชชู่ เรือนจำอำเภอธัญบุรี ตำบลคลองหก อำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วิจิตร สนหอม หัวหน้าสาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ อาจารย์ประจำหลักสูตรฯนวัตกรรมศิลปประดิษฐ์สร้างสรรค์ และอาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ เผยว่า โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีนวัตกรรมศิลปประดิษฐ์สร้างสรรค์สู่ชุมชน… มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค EZ WebmasterMarch 21, 2025 ศาสตราจารย์ นายแพทย์ปิยะมิตร ศรีธรา อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า ปัจจุบันโลกกำลังเผชิญกับกระแสความเปลี่ยนแปลงใหญ่ๆ ใน 6 มิติ 1. สังคมสูงวัย (Aging Society) ในอีก 8 ปีข้างหน้า ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุระดับสุดยอด (Super… ฟินแลนด์ครองแชมป์ 8 ปีซ้อน ประเทศที่มีความสุขที่สุดในโลก 2025 ไทยขยับขึ้นอันดับ 49 EZ WebmasterMarch 21, 2025 ฟินแลนด์ ยังคงรักษาตำแหน่งประเทศที่มีความสุขที่สุดในโลกเป็นปีที่ 8 ติดต่อกัน ตามรายงานความสุขโลก (World Happiness Report) ประจำปี 2025 ซึ่งจัดทำโดยศูนย์วิจัยความเป็นอยู่ที่ดี (Wellbeing Research Centre) แห่งมหาวิทยาลัยอ็อกซ์ฟอร์ด รายงานนี้เผยแพร่ในช่วงวันความสุขสากล (International Day of Happiness)… ทุนดีดี ทุนการศึกษามูลนิธิศึกษาวิจัยและพัฒนาเพื่อสังคมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปี 2568 EZ WebmasterMarch 22, 2025 ทุนการศึกษามูลนิธิศึกษาวิจัยฯ ประจำปี 2568 ++ ประกาศเปิดรับสมัครแล้วตั้งแต่วันนี้ ++ โดยทุนการศึกษามูลนิธิศึกษาวิจัยและพัฒนาเพื่อสังคมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปี 2568 เปิดรับสมัครจำนวน 2 รอบ โดยมีรายละเอียดดังนี้ – ทุนรอบที่ 1 รับสมัครในวันที่ 1 มกราคม… สกสค. ร่วมกับ CP All มอบ 100 ทุนเรียนฟรี 100% ระดับ ปวช. ปวส. และปริญญาตรี EZ WebmasterMarch 21, 2025 กสค. ร่วมกับ CP All มอบทุนเรียนฟรี !! 100% ล่าสุดขยายโอกาสเพิ่มอีก 9 สาขาใหม่ เพิ่มทางเลือกให้เยาวชนก้าวไกล ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ศึกษาที่วิทยาลัยปัญญาภิวัฒน์ และศูนย์การเรียนฯ ทั่วประเทศ 20 แห่ง ทุนการศึกษาระดับ… ให้ทุนเยาวชน ODOS Summer Camp ไปเรียนซัมเมอร์ต่างประเทศ 6 สัปดาห์ เริ่มสมัครได้ 24 มี.ค.นี้ EZ WebmasterMarch 21, 2025 ODOS Summer Camp ทุนการศึกษาระยะสั้น 6 สัปดาห์ เพื่อกระจายโอกาสให้เด็กไทยทุกคนได้มีโอกาสไปเรียนซัมเมอร์ต่างประเทศ เปิดหูเปิดตา ค้นหาตัวตน และสร้างแรงบันดาลใจในการเรียนรู้ โดยไม่จำเป็นต้องเป็นเด็กเก่ง เด็กเรียน หรือเด็กหน้าห้อง เปิดรับเยาวชนที่มีคุณสมบัติดังนี้ – สัญชาติไทย – อายุไม่เกิน… ธนาคารแห่งประเทศไทย เปิดรับสมัครทุนระดับปริญญาโทขึ้นไป เรียนต่อที่ประเทศอังกฤษ EZ WebmasterMarch 17, 2025 ประกาศเปิดรับสมัครทุนการศึกษา Dr. Puey Ungphakorn Centenary Scholarship ประจำปี 2568 ธนาคารแห่งประเทศไทย เปิดรับสมัครทุนการศึกษาระดับปริญญาโทขึ้นไป เพื่อศึกษาต่อที่ The London School of Economics and Political… ครู-อาจารย์ มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค EZ WebmasterMarch 21, 2025 ศาสตราจารย์ นายแพทย์ปิยะมิตร ศรีธรา อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า ปัจจุบันโลกกำลังเผชิญกับกระแสความเปลี่ยนแปลงใหญ่ๆ ใน 6 มิติ 1. สังคมสูงวัย (Aging Society) ในอีก 8 ปีข้างหน้า ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุระดับสุดยอด (Super… รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน EZ WebmasterMarch 21, 2025 รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน พร้อมจ่ายเงินอุดหนุนการศึกษาและพัฒนาอาชีพ ผ่านกสศ. ขณะที่ Microsoft หนุน ศูนย์ดิจิทัลชุมชน ยกระดับทักษะAI เพิ่มโอกาสมีงานทำ พร้อมจับมือ UNICEF สร้าง 1… Kahoot! เปิดตัว Kahoot! Energize ปฏิวัติการประชุมให้มีพลังและสร้างผลกระทบที่เหนือกว่า EZ WebmasterMarch 21, 2025 เปลี่ยนทุกการนำเสนอในที่ทำงานให้กลายเป็นการสื่อสารสองทาง สร้างประสบการณ์ที่น่าสนใจ เต็มไปด้วยความมีชีวิตชีวาและการมีส่วนร่วมที่แท้จริง กระตุ้นการมีส่วนร่วมจากผู้ฟังและขับเคลื่อน ผลลัพธ์ทางธุรกิจไปอีกขั้นด้วย Kahoot! Energize Kahoot! (คาฮู้ด) ผู้นำด้านการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมระดับโลกได้เปิดตัวเครื่องมือใหม่ Kahoot! Energize ที่จะเปลี่ยนทุกการประชุม การฝึกอบรม หรือกิจกรรมต่างๆ ให้กลายเป็นช่วงเวลาที่เต็มไปด้วยพลังและความสนุก พร้อมกระตุ้นการมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ สร้างผลกระทบที่มีความหมาย และขับเคลื่อนธุรกิจไปข้างหน้า การพัฒนา Kahoot! Energize ต่อยอดจากรูปแบบการเรียนรู้และการมีส่วนร่วม อันเป็นเอกลักษณ์ที่ได้รับความนิยมของ Kahoot! แต่เพิ่มความสามารถในการใช้งานในสภาพแวดล้อมการทำงานที่หลากหลาย… สมศ. เน้นย้ำการประเมินคุณภาพภายนอก ปี 67-71 ลดวันประเมิน On site ขยายสู่รูปแบบออนไลน์ สร้างมาตรฐานในการแข่งขันระดับอาเซียน EZ WebmasterMarch 20, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยในการประชุมรับฟังความคิดเห็น (ร่าง) กรอบแนวทางการประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษาที่จัดการเรียนรู้ในสังกัดกรมส่งเสริมการเรียนรู้ (สกร.) โดยเน้นย้ำเรื่อง “แนวคิดและทิศทางการประกันคุณภาพภายนอก” ว่า การประกันคุณภาพภายนอกไม่ใช่เป็น “การตรวจสอบ” แต่เป็นเครื่องมือที่ช่วยส่งเสริมการพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษาอย่างแท้จริง… กิจกรรม โรงเรียนฝึกอาชีพ กทม. เปิดสอนอาชีพ หลักสูตร 200 ชั่วโมง เรียนจบมีใบรับรอง สร้างอาชีพได้จริง EZ WebmasterMarch 22, 2025 โรงเรียนฝึกอาชีพ กทม. เปิดสอนอาชีพ หลักสูตร 200 ชั่วโมง ได้เรียนปฏิบัติเน้น ๆ มีให้เลือกเรียนทุกสาขาวิชา เรียนจบมีใบรับรองให้ เอาไปสร้างอาชีพได้จริง ค่าเรียนเริ่มต้นคอร์สละ 105 บาท (มีทั้งรอบเช้า / บ่าย /… รวมพลังสีชมพูจุฬาฯ กลับบ้านสู่ร่มจามจุรี ในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” EZ WebmasterMarch 14, 2025 สมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (สนจ.) เชิญชวนชาวจุฬาฯ ทั้งนิสิตเก่าและนิสิตปัจจุบัน เดินทางกลับบ้านในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” ร่วมฉลองวาระสำคัญ ครบรอบ 108 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในบรรยากาศแห่งความรักความสามัคคี และความผูกพันของเหล่าน้องพี่สีชมพู ภายใต้ร่มเงาของจามจุรี นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย… สจล. ผนึกกำลังตำรวจภูธรภาค 2 และบริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จำกัด (สำนักงานใหญ่) พัฒนาโครงการ “AI Robot รับแจ้งความ” ประมวลผลถูกต้องและมีประสิทธิภาพ EZ WebmasterMarch 13, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี ร่วมด้วยพลตำรวจโท ยิ่งยศ เทพจำนงค์ (คนที่ 3 จากซ้าย) ผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 2… สจล. ร่วมกับกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน มุ่งยกระดับฝีมือแรงงาน สอดคล้องความต้องการในอนาคต EZ WebmasterMarch 10, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี และนายเดชา พฤกษ์พัฒนรักษ์ (คนที่ 3 จากซ้าย) อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ได้ลงในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการร่วมกัน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่นักศึกษาของสถาบันก่อนเข้าสู่ตลาดแรงงานในสาขาอาชีพต่าง… Search for: Search EZ Webmaster May 11, 2023 EZ Webmaster May 11, 2023 คณะวิทยาศาสตร์ มศว เตรียมความพร้อม งานระดับนานาชาติ เจ้าภาพจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประเทศไทย ได้เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ระหว่างวันที่ 1 – 10 ธันวาคม 2566 โดยได้รับความร่วมมือจากหลายภาคส่วนในประเทศ ได้แก่ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการ และพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (มูลนิธิ สอวน.), สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), ศูนย์บริหารงานการพัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.), National Coordinator Olympiad Netherlands และคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยภายในงานได้รับเกียรติจากรองศาสตราจารย์ ดร.พินิติ รตะนานุกูล กรรมการและเลขาธิการ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการ และพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เล่าถึงความเป็นมาของการจัดการแข่งขันโอลิมปิกวิชาการระดับมัธยมต้นว่า “เมื่อ 20 ปีก่อนได้มีกลุ่มนักวิชาการที่เล็งเห็นความสำคัญของการกระตุ้นให้นักเรียนมีความสนใจในด้าน วิทยาศาสตร์มากขึ้น คิดว่าน่าจะมีเวทีให้นักเรียนเหล่านี้ได้มาแสดงความสามารถในเชิงวิชาการ จึงได้จัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในเวทีนานาชาติครั้งแรกที่ประเทศอินโดนีเชีย และในช่วงนั้นประเทศไทยก็ได้รับเชิญให้เข้าร่วมการแข่งขันด้วย ตั้งแต่ครั้งนั้นเราจึงได้ส่งทีมนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นไปแข่งขัน ซึ่งการที่มีเวทีลักษณะนี้ ถือเป็นการเปิดโอกาสให้นักเรียนที่มีความสนใจและอยากเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ได้มีแรงผลักดันที่จะสร้างศักยภาพของตนเองให้มากขึ้น เพื่อที่จะก้าวเข้าสู่เวทีการแข่งขันในระดับวิชาการในระดับนานาชาติต่อไป” “ในครั้งนี้ที่ประเทศไทยรับเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ประจำปี พ.ศ. 2566 (20th International Junior Science Olympiad) เนื่องจากประเทศไทยเราได้มีส่วนร่วมในการส่งนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นไปร่วมแข่งขันมาตั้งแต่ครั้งแรกตลอด 20 ปีที่ผ่านมา และยังไม่เคยเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน และในปีนี้ พ.ศ. 2566 ถือเป็นการเฉลิมพระเกียรติเนื่องในวาระครบ 100 ปี วันประสูติสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และการที่ท่านได้รับการรับรองพระนามเป็นบุคคลสำคัญของโลกจากองค์การยูเนสโก และเป็นองค์ประธานมูลนิธิตอนจัดตั้งฯ ในปีพ.ศ. 2542 ทางมูลนิธิฯ จึงเล็งเห็นว่าน่าจะเป็นโอกาสอันดีที่ประเทศไทยยินดีจะรับโอกาสเป็นเจ้าภาพการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 สำหรับการคัดเลือกนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นตัวแทนประเทศไทย ทางมูลนิธิฯ และ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ร่วมกันรับสมัคร ซึ่งในปีนี้มีนักเรียนทั่วประเทศประมาณ 10,500 คน ในรอบแรกหลังจากนั้นมีการสอบเพื่อคัดกรองเพื่อให้เหลือจำนวน 300 คน และจากนั้นมีการสอบคัดกรองอีกครั้งเพื่อให้เหลือ 30 คน และนำมาเตรียมความพร้อมโดยการเพิ่มทักษะความรู้ความสามารถเพื่อที่จะไปแข่งขันในระดับเวทีนานาชาติต่อไป และในขณะนี้อยู่ในขั้นตอนสุดท้ายที่กำลังคัดสรรหาตัวแทนประเทศไทย ในด้านการเตรียมความพร้อมในการเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันในครั้งนี้ ทางมูลนิธิฯและสสวท. มีการเตรียมการตั้งแต่ยื่นความจำนงที่จะเป็นเจ้าภาพมาในระยะเวลาหลายปี และเห็นว่าคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มีความพร้อมในหลายระดับทั้งบุคลากรที่จะมาจัดการแข่งขัน บุคลากรทางด้านวิชาการ และสถานที่ที่เหมาะสม เหมาะที่จะต้อนรับนักเรียนจากทั่วโลกและผู้ที่สนใจหรือเกี่ยวข้องได้ และทางมูลนิธิฯ กับมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒได้จัดตั้งคณะทำงานหลากหลายส่วน โดยเฉพาะคณะกรรมการวิชาการที่จะทำหน้าที่ในการออกข้อสอบสำหรับการแข่งขันในครั้งนี้ เนื่องจากการแข่งขันในครั้งนี้เป็นการสอบในราย 3 วิชา คือ วิชาเคมี ชีววิทยา และฟิสิกส์ ในการแข่งขันจะประกอบไปด้วยภาคทฤษฎีและภาคภาคปฏิบัติ ซึ่งในด้านการปฏิบัติจะเป็นการประยุกต์นำทั้ง 3 วิชาเข้าด้วยกัน และมีการตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อสอบ มาตรฐานของข้อสอบ จึงกล่าวได้ว่า ประเทศไทยมีความพร้อมแล้วที่จะเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันในครั้งที่ 20 นี้ และมั่นใจว่าประเทศไทยจะสามารถจัดการแข่งขันได้อย่างดีที่สุด” รองศาสตราจารย์ ดร.พินิติ รตะนานุกูล กล่าวทิ้งท้าย ทางด้านดร.อาทิตยา ปัญญา ผู้อำนวยการศูนย์บริหารงานการพัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ กล่าวถึงบทบาทของ กระทรวงศึกษาธิการ และ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ในครั้งนี้ “กระทรวงศึกษาธิการเป็นหน่วยงานที่ส่งเสริมการจัดการศึกษา เพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ โดยกำหนดนโยบายและแผนปฏิบัติการต่าง ๆ เพื่อรองรับการพัฒนาและการเปลี่ยนแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21 ซึ่ง สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้นำนโยบายและแผนปฏิบัติการต่าง ๆ มาดำเนินการเพื่อพัฒนาโดยเฉพาะด้านขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศที่ยังอยู่ในระดับที่ต้องพัฒนาให้มีมาตรฐานเทียบเท่าระดับมาตรฐานสากล เพื่อความมั่นคงและยั่งยืน และเป็นที่ยอมรับในระดับสากล โดยเฉพาะด้านการจัดการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ที่ต้องพัฒนา เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์เพื่อผลิตและพัฒนากำลังคนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มีความสามารถในระดับสากล สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ร่วมกับ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการและพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (สอวน.) สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) และสถาบันอุดมศึกษา พัฒนาครูและนักเรียน โดยจัดตั้งศูนย์ สอวน. ค่าย 1 ในโรงเรียนที่มีศักยภาพ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อดำเนินการอบรมนักเรียนจากทั่วทุกภูมิภาค ให้มีโอกาสเข้ารับการพัฒนาศักยภาพให้มีมาตรฐานระดับสากล ปัจจุบันมีศูนย์ สอวน. ค่าย 1 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน วิชาฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา คณิตศาสตร์และคอมพิวเตอร์ จำนวน 128 โรงเรียน กระจายอยู่ทั่วทุกภูมิภาค ทั้งนี้คุณครูที่เข้ารับการพัฒนามาจากโรงเรียนทุกประเภทและทุกขนาด เพื่อโอกาสในการเข้าถึงความรู้ตามแนวทางหลักสูตรโอลิมปิกวิชาการ โดยการอบรมพัฒนาครูจะเน้นภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติอย่างเข้มข้น รวมทั้งการติดตามผลการนำความรู้ที่ได้รับการอบรมพัฒนาไปจัดการเรียนการสอนตามแนวทางของหลักสูตรโอลิมปิกวิชาการได้อย่างถูกต้องตามหลักการผลจากการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรโอลิมปิกวิชาการ พบว่า มีนักเรียนสอบผ่านเข้าค่าย 1 สอวน. จากทั่วทุกภูมิภาค ทุกขนาด โดยเฉพาะโรงเรียนที่อยู่ในพื้นที่ชายขอบและถิ่นทุรกันดารก็สามารถพัฒนามาตรฐานโดยผ่านการคัดเลือกเข้าค่าย 1 ได้มากขึ้นทุก ๆ ปี ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายด้านการลดความเหลื่อมล้ำในด้านการจัดการศึกษา และในปี พ.ศ. 2565 มีนักเรียนในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ได้รับคัดเลือกเป็นผู้แทนประเทศไทยไปแข่งขันโอลิมปิกวิชาการระหว่างประเทศ ในวิชาต่าง ๆ จำนวนทั้งสิ้น 31 คน โดยทุกคน ได้รับรางวัล ดังนี้ รางวัลเหรียญทอง จำนวน 6 คน รางวัลเหรียญเงิน จำนวน 11 คน รางวัลเหรียญทองแดง จำนวน 7 คนเกียรติคุณประกาศ จำนวน 6 คน และรางวัลพิเศษ จำนวน 1 คน (Poster Awards) การดูแลนักเรียนที่เข้าร่วมการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ประจำปี พ.ศ. 2566 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ร่วมกับ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการและ พัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (สอวน.) และสถาบันอุดมศึกษา ดูแลนักเรียนที่ผ่านการคัดเลือกเข้าค่าย โดยการให้การสนับสนุนงบประมาณด้านอาหารและที่พักรวมทั้งการดูแลนักเรียนที่อยู่ในค่ายเน้นการพัฒนาในทุกมิติรวมทั้งด้านความปลอดภัยโดยอำนวยความสะดวกในด้านต่างๆ ให้นักเรียนสามารถเรียนรู้ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติการเติมเต็มประสบการณ์ด้านต่าง ๆ ให้นักเรียนแต่ละคนได้พัฒนาเต็มศักยภาพ รวมทั้งการใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข มุ่งเน้นคุณธรรมและจริยธรรมสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ยังคงมุ่งมั่นพัฒนานักเรียนและครูทั่วทุกภูมิภาค เพื่อยกระดับมาตรฐานการจัดการศึกษาด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ให้เทียบเท่ามาตรฐานสากล เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศและลดความเหลื่อมล้ำในการจัดการศึกษาให้แก่เด็กที่อยู่ในภูมิภาคที่มีความแตกต่างกัน” ศาสตราจารย์ ดร.ปรินทร์ ชัยวิสุทธางกูร คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ได้กล่าวถึงความพร้อมของสถานที่ในการจัดการแข่งขันฯ ว่า “มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มีความพร้อมในการต้อนรับผู้เข้าร่วมแข่งขันจากทั้ง 55 ประเทศ โดยแต่ละประเทศส่งนักเรียนเข้าร่วมการแข่งขัน 6 คน รวมทั้งมีครูผู้คุมทีมประเทศละ 3 คน รวมเป็น 9 คนจากแต่ละประเทศ และในเบื้องต้นข้อสอบปฏิบัติการ ทางคณาจารย์ของคณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ถือเป็นผู้ออกข้อสอบหลัก ตอนนี้ได้ทำการออกข้อสอบไปถึง 80% แล้ว ทั้งนี้เพื่อให้มั่นใจว่า ข้อสอบมีมาตรฐานในระดับนานาชาติ และในเรื่องของห้องปฏิบัติการตอนนี้มีการเตรียมความพร้อมโดยทำการปรับปรุงห้อง lab ให้มีมาตรฐานในระดับนานาชาติ ได้รับการสนับสนุนจากท่านอธิการบดี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ รศ.ดร.สมชาย สันติวัฒนกุล รวมทั้งท่านรองอธิการบดีอีกหลายท่านที่ได้ร่วมผลักดันสนับสนุนจนกระทั่งได้ห้องปฏิบัติการที่มีความพร้อมในการจัดการแข่งขัน เพื่อให้มีความพร้อมที่จะจัดการแข่งขัน แต่ในส่วนของข้อสอบบรรยายนอกจากทางมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒที่เป็นผู้ออกข้อสอบแล้ว ยังได้รับความอนุเคราะห์จากมหาวิทยาลัยมหิดล และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในการร่วมกันออกข้อสอบ มีความพร้อมได้ถึง 80% แล้วเช่นเดียวกัน และนี่คือความพร้อมทางฝั่งของการเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันฯ ในครั้งนี้” และสุดท้ายนี้ได้รับเกียรติจาก President IJSO E. H.M.H. Emiel de Klejin National Coordinator Olympiad Netherlands ที่ได้มากล่าวถึงบทบาทของ IJSO และความร่วมมือกับประเทศไทยในครั้งนี้ว่า “ประเทศไทยเริ่มเข้าร่วมการแข่งขันโอลิมปิกนานาชาติตั้งแต่ปี ค.ศ. 1989 โดยในการแข่งขันคณิตศาสตร์โอลิมปิก และปัจจุบันเข้าร่วมทั้งหมด 9 โอลิมปิก และยังได้เป็นเจ้าภาพโอลิมปิกนานาชาติแล้วถึง 9 ครั้ง ตั้งแต่การเริ่มต้น IJSO ในปี 2004 ที่ประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งประเทศไทยก็ได้เข้าร่วม IJSO มาทุกครั้ง IJSO เป็นการแข่งขันทางวิชาการโดยมีการบูรณาการการสอบทางด้านชีววิทยา เคมี และฟิสิกส์ ทั้งทางด้านทฤษฎีและปฏิบัติการ โดยข้อสอบได้มีการออกแบบมาเพื่อวัดความเข้าใจทางด้านแนวคิด ต่าง ๆ และความสามารถในการประยุกต์ใช้แนวความคิดต่างๆ ต่อสถานการณ์ที่ได้กำหนดไว้ในโจทย์ข้อสอบทฤษฎีเป็นการทำงานแบบเดี่ยว แต่ข้อสอบปฏิบัติการเป็นการทำงานแบบเป็นทีม ความรู้ย่อมสำคัญในวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แต่ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่นในทีมหลากหลายสาขาวิชาก็สำคัญเช่นกัน โดยทักษะทั้ง 2 ด้านมีบทบาทที่สำคัญในการแข่งขัน IJSO ทำให้การแข่งนั้นนี้มีความพิเศษเมื่อเทียบกับการแข่งขันอื่น ๆ เพราะการแก้ปัญหา การคิดวิเคราะห์ การทำงานเป็นทีม และการทดลองทางวิทยาศาสตร์คือหลักในการแข่งขันทางวิชาการนี้ อีกวัตถุประสงค์ของ IJSO ซึ่งมีความสำคัญไม่แพ้กับวัตถุประสงค์ด้านวิชาการ ก็คือการสนับสนุนให้เยาวชนได้เรียนรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมที่หลากหลาย เพิ่มปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักเรียนทั่วโลก ให้มีเพื่อนจากต่างประเทศตั้งแต่ยังอายุน้อย มีบทบาทความสำคัญทั้งในสังคมวิทยาศาสตร์และการพัฒนาส่วนตัว อีกทั้งยังมีศักยภาพในการนำไปสู่สันติภาพของโลกและการเข้าใจกันและกัน วัตถุประสงค์ 2 อย่างนี้ ทำให้งาน IJSO เป็นเหตุการณ์ความเปลี่ยนแปลงในชีวิตสำหรับผู้เข้าร่วมการแข่งขันแบบนี้ โดยมีความร่วมมือกันข้ามขอบเขตประเทศ ช่วยส่งเสริมผู้ที่มีความสามารถพิเศษ ซึ่งเป็นสิ่งที่เราต้องการอย่างยิ่งในโลกปัจจุบัน ทั้งนี้ ทุกท่านสามารถติดตามข่าวสารการจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ประจำปี พ.ศ. 2566 พร้อมร่วมส่งกำลังใจให้กับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นตัวแทนประเทศไทยได้ที่เฟซบุ๊ก คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ EZ Webmaster Related Posts ฟื้นO-NETเข้ามหา’ลัยเรื่องยาก อธิการบดี มรภ.นครราชสีมาแนะศธ.ใช้เข้าเรียนต่อม.1/ม.4 เรียนที่เดียวได้ถึง 2 วุฒิ สาขาวิชาวิศวกรรมสำรวจ ม.เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เปิดรับสมัครรอบที่ 2.3 ระบบ Quota TCAS68 โรงพยาบาลศูนย์การแพทย์มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เปิดให้ 25 ทุน เรียนฟรีผู้ช่วยพยาบาล ปิดเทอมนี้ สสวท. กระตุ้นต่อมคิดพิชิตปัญหาฟิสิกส์หรรษา กับ “ไขปริศนาวิทยากล” Post navigation PREVIOUS Previous post: ลอรีอัล เปิดรับสมัครชิงทุนวิจัย “เพื่อสตรีในงานวิทยาศาสตร์” ครั้งที่ 21 พร้อมเสริมแกร่งเครือข่ายครอบครัวนักวิจัยสตรีไทยในงาน Conversations with the FellowsNEXT Next post: 10 จังหวัดที่เจริญที่สุดในไทย 2565 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เรียนที่เดียวได้ถึง 2 วุฒิ สาขาวิชาวิศวกรรมสำรวจ ม.เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ EZ WebmasterMarch 23, 2025 เปิดรับสมัครแล้ววันนี้ “เรียนที่นี่ที่เดียว…ได้ถึง 2 วุฒิ ” ถ้าคุณต้องการเพิ่มทางเลือกในชีวิต อย่ามองข้ามเรา แล้วมาเป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรที่มีความต้องการของตลาดแรงงานกันจ้า : คุณวุฒิที่ใช้รับสมัคร สำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ในสาขาวิชาช่างสำรวจ ช่างก่อสร้าง ช่างเทคนิคสถาปัตยกรรม หรือเทียบเท่า หรือสำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6)… มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เปิดรับสมัครรอบที่ 2.3 ระบบ Quota TCAS68 EZ WebmasterMarch 22, 2025 มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง กำลังเปิดรับสมัครรอบที่ 2.3 ระบบ Quota ปีการศึกษา 2568 กำหนดรับสมัคร: วันที่ 4 มีนาคม – 8 เมษายน 25681. รับตรงทั่วประเทศ รูปแบบใช้ผลคะแนน A-Levelรายละเอียดประกาศ: https://bit.ly/40GenOk2.… โรงพยาบาลศูนย์การแพทย์มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เปิดให้ 25 ทุน เรียนฟรีผู้ช่วยพยาบาล EZ WebmasterMarch 22, 2025 ประกาศรับสมัครทุนผู้ช่วยพยาบาล โรงพยาบาลศูนย์การแพทย์มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีการศึกษา 2568 เปิดรับสมัครแล้ว! ตั้งแต่วันนี้ – 30 เมษายน 2568 คุณสมบัติเบื้องต้น• สำเร็จการศึกษาชั้น ม.6 หรือเทียบเท่า• เปิดรับทั้งบุคคลภายนอก และพนักงานของโรงพยาบาลศูนย์การแพทย์ฯ ดูรายละเอียดเพิ่มเติม คลิก สอบถามเพิ่มเติม โทร. 0 5391… นักศึกษา โรงเรียนฝึกอาชีพ กทม. เปิดสอนอาชีพ หลักสูตร 200 ชั่วโมง เรียนจบมีใบรับรอง สร้างอาชีพได้จริง EZ WebmasterMarch 22, 2025 โรงเรียนฝึกอาชีพ กทม. เปิดสอนอาชีพ หลักสูตร 200 ชั่วโมง ได้เรียนปฏิบัติเน้น ๆ มีให้เลือกเรียนทุกสาขาวิชา เรียนจบมีใบรับรองให้ เอาไปสร้างอาชีพได้จริง ค่าเรียนเริ่มต้นคอร์สละ 105 บาท (มีทั้งรอบเช้า / บ่าย /… นักศึกษามทร.ธัญบุรี ส่งต่ออาชีพดอกมะลิทิชชู่ ผู้ต้องขังเรือนจำธัญบุรี tui sakrapeeMarch 22, 2025 สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ หลักสูตรฯนวัตกรรมศิลปะประดิษฐ์สร้างสรรค์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีนวัตกรรมศิลปประดิษฐ์สร้างสรรรค์สู่ชุมชน การประดิษฐ์ดอกมะลิจากกระดาษทิชชู่ เรือนจำอำเภอธัญบุรี ตำบลคลองหก อำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วิจิตร สนหอม หัวหน้าสาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ อาจารย์ประจำหลักสูตรฯนวัตกรรมศิลปประดิษฐ์สร้างสรรค์ และอาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ เผยว่า โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีนวัตกรรมศิลปประดิษฐ์สร้างสรรค์สู่ชุมชน… มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค EZ WebmasterMarch 21, 2025 ศาสตราจารย์ นายแพทย์ปิยะมิตร ศรีธรา อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า ปัจจุบันโลกกำลังเผชิญกับกระแสความเปลี่ยนแปลงใหญ่ๆ ใน 6 มิติ 1. สังคมสูงวัย (Aging Society) ในอีก 8 ปีข้างหน้า ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุระดับสุดยอด (Super… ฟินแลนด์ครองแชมป์ 8 ปีซ้อน ประเทศที่มีความสุขที่สุดในโลก 2025 ไทยขยับขึ้นอันดับ 49 EZ WebmasterMarch 21, 2025 ฟินแลนด์ ยังคงรักษาตำแหน่งประเทศที่มีความสุขที่สุดในโลกเป็นปีที่ 8 ติดต่อกัน ตามรายงานความสุขโลก (World Happiness Report) ประจำปี 2025 ซึ่งจัดทำโดยศูนย์วิจัยความเป็นอยู่ที่ดี (Wellbeing Research Centre) แห่งมหาวิทยาลัยอ็อกซ์ฟอร์ด รายงานนี้เผยแพร่ในช่วงวันความสุขสากล (International Day of Happiness)… ทุนดีดี ทุนการศึกษามูลนิธิศึกษาวิจัยและพัฒนาเพื่อสังคมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปี 2568 EZ WebmasterMarch 22, 2025 ทุนการศึกษามูลนิธิศึกษาวิจัยฯ ประจำปี 2568 ++ ประกาศเปิดรับสมัครแล้วตั้งแต่วันนี้ ++ โดยทุนการศึกษามูลนิธิศึกษาวิจัยและพัฒนาเพื่อสังคมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปี 2568 เปิดรับสมัครจำนวน 2 รอบ โดยมีรายละเอียดดังนี้ – ทุนรอบที่ 1 รับสมัครในวันที่ 1 มกราคม… สกสค. ร่วมกับ CP All มอบ 100 ทุนเรียนฟรี 100% ระดับ ปวช. ปวส. และปริญญาตรี EZ WebmasterMarch 21, 2025 กสค. ร่วมกับ CP All มอบทุนเรียนฟรี !! 100% ล่าสุดขยายโอกาสเพิ่มอีก 9 สาขาใหม่ เพิ่มทางเลือกให้เยาวชนก้าวไกล ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ศึกษาที่วิทยาลัยปัญญาภิวัฒน์ และศูนย์การเรียนฯ ทั่วประเทศ 20 แห่ง ทุนการศึกษาระดับ… ให้ทุนเยาวชน ODOS Summer Camp ไปเรียนซัมเมอร์ต่างประเทศ 6 สัปดาห์ เริ่มสมัครได้ 24 มี.ค.นี้ EZ WebmasterMarch 21, 2025 ODOS Summer Camp ทุนการศึกษาระยะสั้น 6 สัปดาห์ เพื่อกระจายโอกาสให้เด็กไทยทุกคนได้มีโอกาสไปเรียนซัมเมอร์ต่างประเทศ เปิดหูเปิดตา ค้นหาตัวตน และสร้างแรงบันดาลใจในการเรียนรู้ โดยไม่จำเป็นต้องเป็นเด็กเก่ง เด็กเรียน หรือเด็กหน้าห้อง เปิดรับเยาวชนที่มีคุณสมบัติดังนี้ – สัญชาติไทย – อายุไม่เกิน… ธนาคารแห่งประเทศไทย เปิดรับสมัครทุนระดับปริญญาโทขึ้นไป เรียนต่อที่ประเทศอังกฤษ EZ WebmasterMarch 17, 2025 ประกาศเปิดรับสมัครทุนการศึกษา Dr. Puey Ungphakorn Centenary Scholarship ประจำปี 2568 ธนาคารแห่งประเทศไทย เปิดรับสมัครทุนการศึกษาระดับปริญญาโทขึ้นไป เพื่อศึกษาต่อที่ The London School of Economics and Political… ครู-อาจารย์ มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค EZ WebmasterMarch 21, 2025 ศาสตราจารย์ นายแพทย์ปิยะมิตร ศรีธรา อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า ปัจจุบันโลกกำลังเผชิญกับกระแสความเปลี่ยนแปลงใหญ่ๆ ใน 6 มิติ 1. สังคมสูงวัย (Aging Society) ในอีก 8 ปีข้างหน้า ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุระดับสุดยอด (Super… รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน EZ WebmasterMarch 21, 2025 รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน พร้อมจ่ายเงินอุดหนุนการศึกษาและพัฒนาอาชีพ ผ่านกสศ. ขณะที่ Microsoft หนุน ศูนย์ดิจิทัลชุมชน ยกระดับทักษะAI เพิ่มโอกาสมีงานทำ พร้อมจับมือ UNICEF สร้าง 1… Kahoot! เปิดตัว Kahoot! Energize ปฏิวัติการประชุมให้มีพลังและสร้างผลกระทบที่เหนือกว่า EZ WebmasterMarch 21, 2025 เปลี่ยนทุกการนำเสนอในที่ทำงานให้กลายเป็นการสื่อสารสองทาง สร้างประสบการณ์ที่น่าสนใจ เต็มไปด้วยความมีชีวิตชีวาและการมีส่วนร่วมที่แท้จริง กระตุ้นการมีส่วนร่วมจากผู้ฟังและขับเคลื่อน ผลลัพธ์ทางธุรกิจไปอีกขั้นด้วย Kahoot! Energize Kahoot! (คาฮู้ด) ผู้นำด้านการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมระดับโลกได้เปิดตัวเครื่องมือใหม่ Kahoot! Energize ที่จะเปลี่ยนทุกการประชุม การฝึกอบรม หรือกิจกรรมต่างๆ ให้กลายเป็นช่วงเวลาที่เต็มไปด้วยพลังและความสนุก พร้อมกระตุ้นการมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ สร้างผลกระทบที่มีความหมาย และขับเคลื่อนธุรกิจไปข้างหน้า การพัฒนา Kahoot! Energize ต่อยอดจากรูปแบบการเรียนรู้และการมีส่วนร่วม อันเป็นเอกลักษณ์ที่ได้รับความนิยมของ Kahoot! แต่เพิ่มความสามารถในการใช้งานในสภาพแวดล้อมการทำงานที่หลากหลาย… สมศ. เน้นย้ำการประเมินคุณภาพภายนอก ปี 67-71 ลดวันประเมิน On site ขยายสู่รูปแบบออนไลน์ สร้างมาตรฐานในการแข่งขันระดับอาเซียน EZ WebmasterMarch 20, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยในการประชุมรับฟังความคิดเห็น (ร่าง) กรอบแนวทางการประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษาที่จัดการเรียนรู้ในสังกัดกรมส่งเสริมการเรียนรู้ (สกร.) โดยเน้นย้ำเรื่อง “แนวคิดและทิศทางการประกันคุณภาพภายนอก” ว่า การประกันคุณภาพภายนอกไม่ใช่เป็น “การตรวจสอบ” แต่เป็นเครื่องมือที่ช่วยส่งเสริมการพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษาอย่างแท้จริง… กิจกรรม โรงเรียนฝึกอาชีพ กทม. เปิดสอนอาชีพ หลักสูตร 200 ชั่วโมง เรียนจบมีใบรับรอง สร้างอาชีพได้จริง EZ WebmasterMarch 22, 2025 โรงเรียนฝึกอาชีพ กทม. เปิดสอนอาชีพ หลักสูตร 200 ชั่วโมง ได้เรียนปฏิบัติเน้น ๆ มีให้เลือกเรียนทุกสาขาวิชา เรียนจบมีใบรับรองให้ เอาไปสร้างอาชีพได้จริง ค่าเรียนเริ่มต้นคอร์สละ 105 บาท (มีทั้งรอบเช้า / บ่าย /… รวมพลังสีชมพูจุฬาฯ กลับบ้านสู่ร่มจามจุรี ในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” EZ WebmasterMarch 14, 2025 สมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (สนจ.) เชิญชวนชาวจุฬาฯ ทั้งนิสิตเก่าและนิสิตปัจจุบัน เดินทางกลับบ้านในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” ร่วมฉลองวาระสำคัญ ครบรอบ 108 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในบรรยากาศแห่งความรักความสามัคคี และความผูกพันของเหล่าน้องพี่สีชมพู ภายใต้ร่มเงาของจามจุรี นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย… สจล. ผนึกกำลังตำรวจภูธรภาค 2 และบริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จำกัด (สำนักงานใหญ่) พัฒนาโครงการ “AI Robot รับแจ้งความ” ประมวลผลถูกต้องและมีประสิทธิภาพ EZ WebmasterMarch 13, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี ร่วมด้วยพลตำรวจโท ยิ่งยศ เทพจำนงค์ (คนที่ 3 จากซ้าย) ผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 2… สจล. ร่วมกับกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน มุ่งยกระดับฝีมือแรงงาน สอดคล้องความต้องการในอนาคต EZ WebmasterMarch 10, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี และนายเดชา พฤกษ์พัฒนรักษ์ (คนที่ 3 จากซ้าย) อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ได้ลงในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการร่วมกัน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่นักศึกษาของสถาบันก่อนเข้าสู่ตลาดแรงงานในสาขาอาชีพต่าง… Search for: Search EZ Webmaster May 11, 2023 EZ Webmaster May 11, 2023 คณะวิทยาศาสตร์ มศว เตรียมความพร้อม งานระดับนานาชาติ เจ้าภาพจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประเทศไทย ได้เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ระหว่างวันที่ 1 – 10 ธันวาคม 2566 โดยได้รับความร่วมมือจากหลายภาคส่วนในประเทศ ได้แก่ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการ และพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (มูลนิธิ สอวน.), สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), ศูนย์บริหารงานการพัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.), National Coordinator Olympiad Netherlands และคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยภายในงานได้รับเกียรติจากรองศาสตราจารย์ ดร.พินิติ รตะนานุกูล กรรมการและเลขาธิการ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการ และพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เล่าถึงความเป็นมาของการจัดการแข่งขันโอลิมปิกวิชาการระดับมัธยมต้นว่า “เมื่อ 20 ปีก่อนได้มีกลุ่มนักวิชาการที่เล็งเห็นความสำคัญของการกระตุ้นให้นักเรียนมีความสนใจในด้าน วิทยาศาสตร์มากขึ้น คิดว่าน่าจะมีเวทีให้นักเรียนเหล่านี้ได้มาแสดงความสามารถในเชิงวิชาการ จึงได้จัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในเวทีนานาชาติครั้งแรกที่ประเทศอินโดนีเชีย และในช่วงนั้นประเทศไทยก็ได้รับเชิญให้เข้าร่วมการแข่งขันด้วย ตั้งแต่ครั้งนั้นเราจึงได้ส่งทีมนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นไปแข่งขัน ซึ่งการที่มีเวทีลักษณะนี้ ถือเป็นการเปิดโอกาสให้นักเรียนที่มีความสนใจและอยากเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ได้มีแรงผลักดันที่จะสร้างศักยภาพของตนเองให้มากขึ้น เพื่อที่จะก้าวเข้าสู่เวทีการแข่งขันในระดับวิชาการในระดับนานาชาติต่อไป” “ในครั้งนี้ที่ประเทศไทยรับเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ประจำปี พ.ศ. 2566 (20th International Junior Science Olympiad) เนื่องจากประเทศไทยเราได้มีส่วนร่วมในการส่งนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นไปร่วมแข่งขันมาตั้งแต่ครั้งแรกตลอด 20 ปีที่ผ่านมา และยังไม่เคยเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน และในปีนี้ พ.ศ. 2566 ถือเป็นการเฉลิมพระเกียรติเนื่องในวาระครบ 100 ปี วันประสูติสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และการที่ท่านได้รับการรับรองพระนามเป็นบุคคลสำคัญของโลกจากองค์การยูเนสโก และเป็นองค์ประธานมูลนิธิตอนจัดตั้งฯ ในปีพ.ศ. 2542 ทางมูลนิธิฯ จึงเล็งเห็นว่าน่าจะเป็นโอกาสอันดีที่ประเทศไทยยินดีจะรับโอกาสเป็นเจ้าภาพการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 สำหรับการคัดเลือกนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นตัวแทนประเทศไทย ทางมูลนิธิฯ และ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ร่วมกันรับสมัคร ซึ่งในปีนี้มีนักเรียนทั่วประเทศประมาณ 10,500 คน ในรอบแรกหลังจากนั้นมีการสอบเพื่อคัดกรองเพื่อให้เหลือจำนวน 300 คน และจากนั้นมีการสอบคัดกรองอีกครั้งเพื่อให้เหลือ 30 คน และนำมาเตรียมความพร้อมโดยการเพิ่มทักษะความรู้ความสามารถเพื่อที่จะไปแข่งขันในระดับเวทีนานาชาติต่อไป และในขณะนี้อยู่ในขั้นตอนสุดท้ายที่กำลังคัดสรรหาตัวแทนประเทศไทย ในด้านการเตรียมความพร้อมในการเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันในครั้งนี้ ทางมูลนิธิฯและสสวท. มีการเตรียมการตั้งแต่ยื่นความจำนงที่จะเป็นเจ้าภาพมาในระยะเวลาหลายปี และเห็นว่าคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มีความพร้อมในหลายระดับทั้งบุคลากรที่จะมาจัดการแข่งขัน บุคลากรทางด้านวิชาการ และสถานที่ที่เหมาะสม เหมาะที่จะต้อนรับนักเรียนจากทั่วโลกและผู้ที่สนใจหรือเกี่ยวข้องได้ และทางมูลนิธิฯ กับมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒได้จัดตั้งคณะทำงานหลากหลายส่วน โดยเฉพาะคณะกรรมการวิชาการที่จะทำหน้าที่ในการออกข้อสอบสำหรับการแข่งขันในครั้งนี้ เนื่องจากการแข่งขันในครั้งนี้เป็นการสอบในราย 3 วิชา คือ วิชาเคมี ชีววิทยา และฟิสิกส์ ในการแข่งขันจะประกอบไปด้วยภาคทฤษฎีและภาคภาคปฏิบัติ ซึ่งในด้านการปฏิบัติจะเป็นการประยุกต์นำทั้ง 3 วิชาเข้าด้วยกัน และมีการตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อสอบ มาตรฐานของข้อสอบ จึงกล่าวได้ว่า ประเทศไทยมีความพร้อมแล้วที่จะเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันในครั้งที่ 20 นี้ และมั่นใจว่าประเทศไทยจะสามารถจัดการแข่งขันได้อย่างดีที่สุด” รองศาสตราจารย์ ดร.พินิติ รตะนานุกูล กล่าวทิ้งท้าย ทางด้านดร.อาทิตยา ปัญญา ผู้อำนวยการศูนย์บริหารงานการพัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ กล่าวถึงบทบาทของ กระทรวงศึกษาธิการ และ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ในครั้งนี้ “กระทรวงศึกษาธิการเป็นหน่วยงานที่ส่งเสริมการจัดการศึกษา เพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ โดยกำหนดนโยบายและแผนปฏิบัติการต่าง ๆ เพื่อรองรับการพัฒนาและการเปลี่ยนแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21 ซึ่ง สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้นำนโยบายและแผนปฏิบัติการต่าง ๆ มาดำเนินการเพื่อพัฒนาโดยเฉพาะด้านขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศที่ยังอยู่ในระดับที่ต้องพัฒนาให้มีมาตรฐานเทียบเท่าระดับมาตรฐานสากล เพื่อความมั่นคงและยั่งยืน และเป็นที่ยอมรับในระดับสากล โดยเฉพาะด้านการจัดการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ที่ต้องพัฒนา เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์เพื่อผลิตและพัฒนากำลังคนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มีความสามารถในระดับสากล สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ร่วมกับ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการและพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (สอวน.) สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) และสถาบันอุดมศึกษา พัฒนาครูและนักเรียน โดยจัดตั้งศูนย์ สอวน. ค่าย 1 ในโรงเรียนที่มีศักยภาพ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อดำเนินการอบรมนักเรียนจากทั่วทุกภูมิภาค ให้มีโอกาสเข้ารับการพัฒนาศักยภาพให้มีมาตรฐานระดับสากล ปัจจุบันมีศูนย์ สอวน. ค่าย 1 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน วิชาฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา คณิตศาสตร์และคอมพิวเตอร์ จำนวน 128 โรงเรียน กระจายอยู่ทั่วทุกภูมิภาค ทั้งนี้คุณครูที่เข้ารับการพัฒนามาจากโรงเรียนทุกประเภทและทุกขนาด เพื่อโอกาสในการเข้าถึงความรู้ตามแนวทางหลักสูตรโอลิมปิกวิชาการ โดยการอบรมพัฒนาครูจะเน้นภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติอย่างเข้มข้น รวมทั้งการติดตามผลการนำความรู้ที่ได้รับการอบรมพัฒนาไปจัดการเรียนการสอนตามแนวทางของหลักสูตรโอลิมปิกวิชาการได้อย่างถูกต้องตามหลักการผลจากการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรโอลิมปิกวิชาการ พบว่า มีนักเรียนสอบผ่านเข้าค่าย 1 สอวน. จากทั่วทุกภูมิภาค ทุกขนาด โดยเฉพาะโรงเรียนที่อยู่ในพื้นที่ชายขอบและถิ่นทุรกันดารก็สามารถพัฒนามาตรฐานโดยผ่านการคัดเลือกเข้าค่าย 1 ได้มากขึ้นทุก ๆ ปี ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายด้านการลดความเหลื่อมล้ำในด้านการจัดการศึกษา และในปี พ.ศ. 2565 มีนักเรียนในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ได้รับคัดเลือกเป็นผู้แทนประเทศไทยไปแข่งขันโอลิมปิกวิชาการระหว่างประเทศ ในวิชาต่าง ๆ จำนวนทั้งสิ้น 31 คน โดยทุกคน ได้รับรางวัล ดังนี้ รางวัลเหรียญทอง จำนวน 6 คน รางวัลเหรียญเงิน จำนวน 11 คน รางวัลเหรียญทองแดง จำนวน 7 คนเกียรติคุณประกาศ จำนวน 6 คน และรางวัลพิเศษ จำนวน 1 คน (Poster Awards) การดูแลนักเรียนที่เข้าร่วมการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ประจำปี พ.ศ. 2566 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ร่วมกับ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการและ พัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (สอวน.) และสถาบันอุดมศึกษา ดูแลนักเรียนที่ผ่านการคัดเลือกเข้าค่าย โดยการให้การสนับสนุนงบประมาณด้านอาหารและที่พักรวมทั้งการดูแลนักเรียนที่อยู่ในค่ายเน้นการพัฒนาในทุกมิติรวมทั้งด้านความปลอดภัยโดยอำนวยความสะดวกในด้านต่างๆ ให้นักเรียนสามารถเรียนรู้ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติการเติมเต็มประสบการณ์ด้านต่าง ๆ ให้นักเรียนแต่ละคนได้พัฒนาเต็มศักยภาพ รวมทั้งการใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข มุ่งเน้นคุณธรรมและจริยธรรมสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ยังคงมุ่งมั่นพัฒนานักเรียนและครูทั่วทุกภูมิภาค เพื่อยกระดับมาตรฐานการจัดการศึกษาด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ให้เทียบเท่ามาตรฐานสากล เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศและลดความเหลื่อมล้ำในการจัดการศึกษาให้แก่เด็กที่อยู่ในภูมิภาคที่มีความแตกต่างกัน” ศาสตราจารย์ ดร.ปรินทร์ ชัยวิสุทธางกูร คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ได้กล่าวถึงความพร้อมของสถานที่ในการจัดการแข่งขันฯ ว่า “มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มีความพร้อมในการต้อนรับผู้เข้าร่วมแข่งขันจากทั้ง 55 ประเทศ โดยแต่ละประเทศส่งนักเรียนเข้าร่วมการแข่งขัน 6 คน รวมทั้งมีครูผู้คุมทีมประเทศละ 3 คน รวมเป็น 9 คนจากแต่ละประเทศ และในเบื้องต้นข้อสอบปฏิบัติการ ทางคณาจารย์ของคณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ถือเป็นผู้ออกข้อสอบหลัก ตอนนี้ได้ทำการออกข้อสอบไปถึง 80% แล้ว ทั้งนี้เพื่อให้มั่นใจว่า ข้อสอบมีมาตรฐานในระดับนานาชาติ และในเรื่องของห้องปฏิบัติการตอนนี้มีการเตรียมความพร้อมโดยทำการปรับปรุงห้อง lab ให้มีมาตรฐานในระดับนานาชาติ ได้รับการสนับสนุนจากท่านอธิการบดี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ รศ.ดร.สมชาย สันติวัฒนกุล รวมทั้งท่านรองอธิการบดีอีกหลายท่านที่ได้ร่วมผลักดันสนับสนุนจนกระทั่งได้ห้องปฏิบัติการที่มีความพร้อมในการจัดการแข่งขัน เพื่อให้มีความพร้อมที่จะจัดการแข่งขัน แต่ในส่วนของข้อสอบบรรยายนอกจากทางมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒที่เป็นผู้ออกข้อสอบแล้ว ยังได้รับความอนุเคราะห์จากมหาวิทยาลัยมหิดล และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในการร่วมกันออกข้อสอบ มีความพร้อมได้ถึง 80% แล้วเช่นเดียวกัน และนี่คือความพร้อมทางฝั่งของการเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันฯ ในครั้งนี้” และสุดท้ายนี้ได้รับเกียรติจาก President IJSO E. H.M.H. Emiel de Klejin National Coordinator Olympiad Netherlands ที่ได้มากล่าวถึงบทบาทของ IJSO และความร่วมมือกับประเทศไทยในครั้งนี้ว่า “ประเทศไทยเริ่มเข้าร่วมการแข่งขันโอลิมปิกนานาชาติตั้งแต่ปี ค.ศ. 1989 โดยในการแข่งขันคณิตศาสตร์โอลิมปิก และปัจจุบันเข้าร่วมทั้งหมด 9 โอลิมปิก และยังได้เป็นเจ้าภาพโอลิมปิกนานาชาติแล้วถึง 9 ครั้ง ตั้งแต่การเริ่มต้น IJSO ในปี 2004 ที่ประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งประเทศไทยก็ได้เข้าร่วม IJSO มาทุกครั้ง IJSO เป็นการแข่งขันทางวิชาการโดยมีการบูรณาการการสอบทางด้านชีววิทยา เคมี และฟิสิกส์ ทั้งทางด้านทฤษฎีและปฏิบัติการ โดยข้อสอบได้มีการออกแบบมาเพื่อวัดความเข้าใจทางด้านแนวคิด ต่าง ๆ และความสามารถในการประยุกต์ใช้แนวความคิดต่างๆ ต่อสถานการณ์ที่ได้กำหนดไว้ในโจทย์ข้อสอบทฤษฎีเป็นการทำงานแบบเดี่ยว แต่ข้อสอบปฏิบัติการเป็นการทำงานแบบเป็นทีม ความรู้ย่อมสำคัญในวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แต่ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่นในทีมหลากหลายสาขาวิชาก็สำคัญเช่นกัน โดยทักษะทั้ง 2 ด้านมีบทบาทที่สำคัญในการแข่งขัน IJSO ทำให้การแข่งนั้นนี้มีความพิเศษเมื่อเทียบกับการแข่งขันอื่น ๆ เพราะการแก้ปัญหา การคิดวิเคราะห์ การทำงานเป็นทีม และการทดลองทางวิทยาศาสตร์คือหลักในการแข่งขันทางวิชาการนี้ อีกวัตถุประสงค์ของ IJSO ซึ่งมีความสำคัญไม่แพ้กับวัตถุประสงค์ด้านวิชาการ ก็คือการสนับสนุนให้เยาวชนได้เรียนรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมที่หลากหลาย เพิ่มปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักเรียนทั่วโลก ให้มีเพื่อนจากต่างประเทศตั้งแต่ยังอายุน้อย มีบทบาทความสำคัญทั้งในสังคมวิทยาศาสตร์และการพัฒนาส่วนตัว อีกทั้งยังมีศักยภาพในการนำไปสู่สันติภาพของโลกและการเข้าใจกันและกัน วัตถุประสงค์ 2 อย่างนี้ ทำให้งาน IJSO เป็นเหตุการณ์ความเปลี่ยนแปลงในชีวิตสำหรับผู้เข้าร่วมการแข่งขันแบบนี้ โดยมีความร่วมมือกันข้ามขอบเขตประเทศ ช่วยส่งเสริมผู้ที่มีความสามารถพิเศษ ซึ่งเป็นสิ่งที่เราต้องการอย่างยิ่งในโลกปัจจุบัน ทั้งนี้ ทุกท่านสามารถติดตามข่าวสารการจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ประจำปี พ.ศ. 2566 พร้อมร่วมส่งกำลังใจให้กับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นตัวแทนประเทศไทยได้ที่เฟซบุ๊ก คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ EZ Webmaster Related Posts ฟื้นO-NETเข้ามหา’ลัยเรื่องยาก อธิการบดี มรภ.นครราชสีมาแนะศธ.ใช้เข้าเรียนต่อม.1/ม.4 เรียนที่เดียวได้ถึง 2 วุฒิ สาขาวิชาวิศวกรรมสำรวจ ม.เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เปิดรับสมัครรอบที่ 2.3 ระบบ Quota TCAS68 โรงพยาบาลศูนย์การแพทย์มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เปิดให้ 25 ทุน เรียนฟรีผู้ช่วยพยาบาล ปิดเทอมนี้ สสวท. กระตุ้นต่อมคิดพิชิตปัญหาฟิสิกส์หรรษา กับ “ไขปริศนาวิทยากล” Post navigation PREVIOUS Previous post: ลอรีอัล เปิดรับสมัครชิงทุนวิจัย “เพื่อสตรีในงานวิทยาศาสตร์” ครั้งที่ 21 พร้อมเสริมแกร่งเครือข่ายครอบครัวนักวิจัยสตรีไทยในงาน Conversations with the FellowsNEXT Next post: 10 จังหวัดที่เจริญที่สุดในไทย 2565 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เปิดรับสมัครรอบที่ 2.3 ระบบ Quota TCAS68 EZ WebmasterMarch 22, 2025 มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง กำลังเปิดรับสมัครรอบที่ 2.3 ระบบ Quota ปีการศึกษา 2568 กำหนดรับสมัคร: วันที่ 4 มีนาคม – 8 เมษายน 25681. รับตรงทั่วประเทศ รูปแบบใช้ผลคะแนน A-Levelรายละเอียดประกาศ: https://bit.ly/40GenOk2.… โรงพยาบาลศูนย์การแพทย์มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เปิดให้ 25 ทุน เรียนฟรีผู้ช่วยพยาบาล EZ WebmasterMarch 22, 2025 ประกาศรับสมัครทุนผู้ช่วยพยาบาล โรงพยาบาลศูนย์การแพทย์มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีการศึกษา 2568 เปิดรับสมัครแล้ว! ตั้งแต่วันนี้ – 30 เมษายน 2568 คุณสมบัติเบื้องต้น• สำเร็จการศึกษาชั้น ม.6 หรือเทียบเท่า• เปิดรับทั้งบุคคลภายนอก และพนักงานของโรงพยาบาลศูนย์การแพทย์ฯ ดูรายละเอียดเพิ่มเติม คลิก สอบถามเพิ่มเติม โทร. 0 5391…
โรงพยาบาลศูนย์การแพทย์มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เปิดให้ 25 ทุน เรียนฟรีผู้ช่วยพยาบาล EZ WebmasterMarch 22, 2025 ประกาศรับสมัครทุนผู้ช่วยพยาบาล โรงพยาบาลศูนย์การแพทย์มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีการศึกษา 2568 เปิดรับสมัครแล้ว! ตั้งแต่วันนี้ – 30 เมษายน 2568 คุณสมบัติเบื้องต้น• สำเร็จการศึกษาชั้น ม.6 หรือเทียบเท่า• เปิดรับทั้งบุคคลภายนอก และพนักงานของโรงพยาบาลศูนย์การแพทย์ฯ ดูรายละเอียดเพิ่มเติม คลิก สอบถามเพิ่มเติม โทร. 0 5391…
โรงเรียนฝึกอาชีพ กทม. เปิดสอนอาชีพ หลักสูตร 200 ชั่วโมง เรียนจบมีใบรับรอง สร้างอาชีพได้จริง EZ WebmasterMarch 22, 2025 โรงเรียนฝึกอาชีพ กทม. เปิดสอนอาชีพ หลักสูตร 200 ชั่วโมง ได้เรียนปฏิบัติเน้น ๆ มีให้เลือกเรียนทุกสาขาวิชา เรียนจบมีใบรับรองให้ เอาไปสร้างอาชีพได้จริง ค่าเรียนเริ่มต้นคอร์สละ 105 บาท (มีทั้งรอบเช้า / บ่าย /… นักศึกษามทร.ธัญบุรี ส่งต่ออาชีพดอกมะลิทิชชู่ ผู้ต้องขังเรือนจำธัญบุรี tui sakrapeeMarch 22, 2025 สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ หลักสูตรฯนวัตกรรมศิลปะประดิษฐ์สร้างสรรค์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีนวัตกรรมศิลปประดิษฐ์สร้างสรรรค์สู่ชุมชน การประดิษฐ์ดอกมะลิจากกระดาษทิชชู่ เรือนจำอำเภอธัญบุรี ตำบลคลองหก อำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วิจิตร สนหอม หัวหน้าสาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ อาจารย์ประจำหลักสูตรฯนวัตกรรมศิลปประดิษฐ์สร้างสรรค์ และอาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ เผยว่า โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีนวัตกรรมศิลปประดิษฐ์สร้างสรรค์สู่ชุมชน… มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค EZ WebmasterMarch 21, 2025 ศาสตราจารย์ นายแพทย์ปิยะมิตร ศรีธรา อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า ปัจจุบันโลกกำลังเผชิญกับกระแสความเปลี่ยนแปลงใหญ่ๆ ใน 6 มิติ 1. สังคมสูงวัย (Aging Society) ในอีก 8 ปีข้างหน้า ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุระดับสุดยอด (Super… ฟินแลนด์ครองแชมป์ 8 ปีซ้อน ประเทศที่มีความสุขที่สุดในโลก 2025 ไทยขยับขึ้นอันดับ 49 EZ WebmasterMarch 21, 2025 ฟินแลนด์ ยังคงรักษาตำแหน่งประเทศที่มีความสุขที่สุดในโลกเป็นปีที่ 8 ติดต่อกัน ตามรายงานความสุขโลก (World Happiness Report) ประจำปี 2025 ซึ่งจัดทำโดยศูนย์วิจัยความเป็นอยู่ที่ดี (Wellbeing Research Centre) แห่งมหาวิทยาลัยอ็อกซ์ฟอร์ด รายงานนี้เผยแพร่ในช่วงวันความสุขสากล (International Day of Happiness)… ทุนดีดี ทุนการศึกษามูลนิธิศึกษาวิจัยและพัฒนาเพื่อสังคมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปี 2568 EZ WebmasterMarch 22, 2025 ทุนการศึกษามูลนิธิศึกษาวิจัยฯ ประจำปี 2568 ++ ประกาศเปิดรับสมัครแล้วตั้งแต่วันนี้ ++ โดยทุนการศึกษามูลนิธิศึกษาวิจัยและพัฒนาเพื่อสังคมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปี 2568 เปิดรับสมัครจำนวน 2 รอบ โดยมีรายละเอียดดังนี้ – ทุนรอบที่ 1 รับสมัครในวันที่ 1 มกราคม… สกสค. ร่วมกับ CP All มอบ 100 ทุนเรียนฟรี 100% ระดับ ปวช. ปวส. และปริญญาตรี EZ WebmasterMarch 21, 2025 กสค. ร่วมกับ CP All มอบทุนเรียนฟรี !! 100% ล่าสุดขยายโอกาสเพิ่มอีก 9 สาขาใหม่ เพิ่มทางเลือกให้เยาวชนก้าวไกล ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ศึกษาที่วิทยาลัยปัญญาภิวัฒน์ และศูนย์การเรียนฯ ทั่วประเทศ 20 แห่ง ทุนการศึกษาระดับ… ให้ทุนเยาวชน ODOS Summer Camp ไปเรียนซัมเมอร์ต่างประเทศ 6 สัปดาห์ เริ่มสมัครได้ 24 มี.ค.นี้ EZ WebmasterMarch 21, 2025 ODOS Summer Camp ทุนการศึกษาระยะสั้น 6 สัปดาห์ เพื่อกระจายโอกาสให้เด็กไทยทุกคนได้มีโอกาสไปเรียนซัมเมอร์ต่างประเทศ เปิดหูเปิดตา ค้นหาตัวตน และสร้างแรงบันดาลใจในการเรียนรู้ โดยไม่จำเป็นต้องเป็นเด็กเก่ง เด็กเรียน หรือเด็กหน้าห้อง เปิดรับเยาวชนที่มีคุณสมบัติดังนี้ – สัญชาติไทย – อายุไม่เกิน… ธนาคารแห่งประเทศไทย เปิดรับสมัครทุนระดับปริญญาโทขึ้นไป เรียนต่อที่ประเทศอังกฤษ EZ WebmasterMarch 17, 2025 ประกาศเปิดรับสมัครทุนการศึกษา Dr. Puey Ungphakorn Centenary Scholarship ประจำปี 2568 ธนาคารแห่งประเทศไทย เปิดรับสมัครทุนการศึกษาระดับปริญญาโทขึ้นไป เพื่อศึกษาต่อที่ The London School of Economics and Political… ครู-อาจารย์ มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค EZ WebmasterMarch 21, 2025 ศาสตราจารย์ นายแพทย์ปิยะมิตร ศรีธรา อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า ปัจจุบันโลกกำลังเผชิญกับกระแสความเปลี่ยนแปลงใหญ่ๆ ใน 6 มิติ 1. สังคมสูงวัย (Aging Society) ในอีก 8 ปีข้างหน้า ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุระดับสุดยอด (Super… รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน EZ WebmasterMarch 21, 2025 รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน พร้อมจ่ายเงินอุดหนุนการศึกษาและพัฒนาอาชีพ ผ่านกสศ. ขณะที่ Microsoft หนุน ศูนย์ดิจิทัลชุมชน ยกระดับทักษะAI เพิ่มโอกาสมีงานทำ พร้อมจับมือ UNICEF สร้าง 1… Kahoot! เปิดตัว Kahoot! Energize ปฏิวัติการประชุมให้มีพลังและสร้างผลกระทบที่เหนือกว่า EZ WebmasterMarch 21, 2025 เปลี่ยนทุกการนำเสนอในที่ทำงานให้กลายเป็นการสื่อสารสองทาง สร้างประสบการณ์ที่น่าสนใจ เต็มไปด้วยความมีชีวิตชีวาและการมีส่วนร่วมที่แท้จริง กระตุ้นการมีส่วนร่วมจากผู้ฟังและขับเคลื่อน ผลลัพธ์ทางธุรกิจไปอีกขั้นด้วย Kahoot! Energize Kahoot! (คาฮู้ด) ผู้นำด้านการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมระดับโลกได้เปิดตัวเครื่องมือใหม่ Kahoot! Energize ที่จะเปลี่ยนทุกการประชุม การฝึกอบรม หรือกิจกรรมต่างๆ ให้กลายเป็นช่วงเวลาที่เต็มไปด้วยพลังและความสนุก พร้อมกระตุ้นการมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ สร้างผลกระทบที่มีความหมาย และขับเคลื่อนธุรกิจไปข้างหน้า การพัฒนา Kahoot! Energize ต่อยอดจากรูปแบบการเรียนรู้และการมีส่วนร่วม อันเป็นเอกลักษณ์ที่ได้รับความนิยมของ Kahoot! แต่เพิ่มความสามารถในการใช้งานในสภาพแวดล้อมการทำงานที่หลากหลาย… สมศ. เน้นย้ำการประเมินคุณภาพภายนอก ปี 67-71 ลดวันประเมิน On site ขยายสู่รูปแบบออนไลน์ สร้างมาตรฐานในการแข่งขันระดับอาเซียน EZ WebmasterMarch 20, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยในการประชุมรับฟังความคิดเห็น (ร่าง) กรอบแนวทางการประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษาที่จัดการเรียนรู้ในสังกัดกรมส่งเสริมการเรียนรู้ (สกร.) โดยเน้นย้ำเรื่อง “แนวคิดและทิศทางการประกันคุณภาพภายนอก” ว่า การประกันคุณภาพภายนอกไม่ใช่เป็น “การตรวจสอบ” แต่เป็นเครื่องมือที่ช่วยส่งเสริมการพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษาอย่างแท้จริง… กิจกรรม โรงเรียนฝึกอาชีพ กทม. เปิดสอนอาชีพ หลักสูตร 200 ชั่วโมง เรียนจบมีใบรับรอง สร้างอาชีพได้จริง EZ WebmasterMarch 22, 2025 โรงเรียนฝึกอาชีพ กทม. เปิดสอนอาชีพ หลักสูตร 200 ชั่วโมง ได้เรียนปฏิบัติเน้น ๆ มีให้เลือกเรียนทุกสาขาวิชา เรียนจบมีใบรับรองให้ เอาไปสร้างอาชีพได้จริง ค่าเรียนเริ่มต้นคอร์สละ 105 บาท (มีทั้งรอบเช้า / บ่าย /… รวมพลังสีชมพูจุฬาฯ กลับบ้านสู่ร่มจามจุรี ในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” EZ WebmasterMarch 14, 2025 สมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (สนจ.) เชิญชวนชาวจุฬาฯ ทั้งนิสิตเก่าและนิสิตปัจจุบัน เดินทางกลับบ้านในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” ร่วมฉลองวาระสำคัญ ครบรอบ 108 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในบรรยากาศแห่งความรักความสามัคคี และความผูกพันของเหล่าน้องพี่สีชมพู ภายใต้ร่มเงาของจามจุรี นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย… สจล. ผนึกกำลังตำรวจภูธรภาค 2 และบริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จำกัด (สำนักงานใหญ่) พัฒนาโครงการ “AI Robot รับแจ้งความ” ประมวลผลถูกต้องและมีประสิทธิภาพ EZ WebmasterMarch 13, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี ร่วมด้วยพลตำรวจโท ยิ่งยศ เทพจำนงค์ (คนที่ 3 จากซ้าย) ผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 2… สจล. ร่วมกับกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน มุ่งยกระดับฝีมือแรงงาน สอดคล้องความต้องการในอนาคต EZ WebmasterMarch 10, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี และนายเดชา พฤกษ์พัฒนรักษ์ (คนที่ 3 จากซ้าย) อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ได้ลงในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการร่วมกัน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่นักศึกษาของสถาบันก่อนเข้าสู่ตลาดแรงงานในสาขาอาชีพต่าง… Search for: Search EZ Webmaster May 11, 2023 EZ Webmaster May 11, 2023 คณะวิทยาศาสตร์ มศว เตรียมความพร้อม งานระดับนานาชาติ เจ้าภาพจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประเทศไทย ได้เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ระหว่างวันที่ 1 – 10 ธันวาคม 2566 โดยได้รับความร่วมมือจากหลายภาคส่วนในประเทศ ได้แก่ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการ และพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (มูลนิธิ สอวน.), สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), ศูนย์บริหารงานการพัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.), National Coordinator Olympiad Netherlands และคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยภายในงานได้รับเกียรติจากรองศาสตราจารย์ ดร.พินิติ รตะนานุกูล กรรมการและเลขาธิการ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการ และพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เล่าถึงความเป็นมาของการจัดการแข่งขันโอลิมปิกวิชาการระดับมัธยมต้นว่า “เมื่อ 20 ปีก่อนได้มีกลุ่มนักวิชาการที่เล็งเห็นความสำคัญของการกระตุ้นให้นักเรียนมีความสนใจในด้าน วิทยาศาสตร์มากขึ้น คิดว่าน่าจะมีเวทีให้นักเรียนเหล่านี้ได้มาแสดงความสามารถในเชิงวิชาการ จึงได้จัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในเวทีนานาชาติครั้งแรกที่ประเทศอินโดนีเชีย และในช่วงนั้นประเทศไทยก็ได้รับเชิญให้เข้าร่วมการแข่งขันด้วย ตั้งแต่ครั้งนั้นเราจึงได้ส่งทีมนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นไปแข่งขัน ซึ่งการที่มีเวทีลักษณะนี้ ถือเป็นการเปิดโอกาสให้นักเรียนที่มีความสนใจและอยากเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ได้มีแรงผลักดันที่จะสร้างศักยภาพของตนเองให้มากขึ้น เพื่อที่จะก้าวเข้าสู่เวทีการแข่งขันในระดับวิชาการในระดับนานาชาติต่อไป” “ในครั้งนี้ที่ประเทศไทยรับเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ประจำปี พ.ศ. 2566 (20th International Junior Science Olympiad) เนื่องจากประเทศไทยเราได้มีส่วนร่วมในการส่งนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นไปร่วมแข่งขันมาตั้งแต่ครั้งแรกตลอด 20 ปีที่ผ่านมา และยังไม่เคยเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน และในปีนี้ พ.ศ. 2566 ถือเป็นการเฉลิมพระเกียรติเนื่องในวาระครบ 100 ปี วันประสูติสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และการที่ท่านได้รับการรับรองพระนามเป็นบุคคลสำคัญของโลกจากองค์การยูเนสโก และเป็นองค์ประธานมูลนิธิตอนจัดตั้งฯ ในปีพ.ศ. 2542 ทางมูลนิธิฯ จึงเล็งเห็นว่าน่าจะเป็นโอกาสอันดีที่ประเทศไทยยินดีจะรับโอกาสเป็นเจ้าภาพการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 สำหรับการคัดเลือกนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นตัวแทนประเทศไทย ทางมูลนิธิฯ และ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ร่วมกันรับสมัคร ซึ่งในปีนี้มีนักเรียนทั่วประเทศประมาณ 10,500 คน ในรอบแรกหลังจากนั้นมีการสอบเพื่อคัดกรองเพื่อให้เหลือจำนวน 300 คน และจากนั้นมีการสอบคัดกรองอีกครั้งเพื่อให้เหลือ 30 คน และนำมาเตรียมความพร้อมโดยการเพิ่มทักษะความรู้ความสามารถเพื่อที่จะไปแข่งขันในระดับเวทีนานาชาติต่อไป และในขณะนี้อยู่ในขั้นตอนสุดท้ายที่กำลังคัดสรรหาตัวแทนประเทศไทย ในด้านการเตรียมความพร้อมในการเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันในครั้งนี้ ทางมูลนิธิฯและสสวท. มีการเตรียมการตั้งแต่ยื่นความจำนงที่จะเป็นเจ้าภาพมาในระยะเวลาหลายปี และเห็นว่าคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มีความพร้อมในหลายระดับทั้งบุคลากรที่จะมาจัดการแข่งขัน บุคลากรทางด้านวิชาการ และสถานที่ที่เหมาะสม เหมาะที่จะต้อนรับนักเรียนจากทั่วโลกและผู้ที่สนใจหรือเกี่ยวข้องได้ และทางมูลนิธิฯ กับมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒได้จัดตั้งคณะทำงานหลากหลายส่วน โดยเฉพาะคณะกรรมการวิชาการที่จะทำหน้าที่ในการออกข้อสอบสำหรับการแข่งขันในครั้งนี้ เนื่องจากการแข่งขันในครั้งนี้เป็นการสอบในราย 3 วิชา คือ วิชาเคมี ชีววิทยา และฟิสิกส์ ในการแข่งขันจะประกอบไปด้วยภาคทฤษฎีและภาคภาคปฏิบัติ ซึ่งในด้านการปฏิบัติจะเป็นการประยุกต์นำทั้ง 3 วิชาเข้าด้วยกัน และมีการตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อสอบ มาตรฐานของข้อสอบ จึงกล่าวได้ว่า ประเทศไทยมีความพร้อมแล้วที่จะเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันในครั้งที่ 20 นี้ และมั่นใจว่าประเทศไทยจะสามารถจัดการแข่งขันได้อย่างดีที่สุด” รองศาสตราจารย์ ดร.พินิติ รตะนานุกูล กล่าวทิ้งท้าย ทางด้านดร.อาทิตยา ปัญญา ผู้อำนวยการศูนย์บริหารงานการพัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ กล่าวถึงบทบาทของ กระทรวงศึกษาธิการ และ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ในครั้งนี้ “กระทรวงศึกษาธิการเป็นหน่วยงานที่ส่งเสริมการจัดการศึกษา เพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ โดยกำหนดนโยบายและแผนปฏิบัติการต่าง ๆ เพื่อรองรับการพัฒนาและการเปลี่ยนแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21 ซึ่ง สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้นำนโยบายและแผนปฏิบัติการต่าง ๆ มาดำเนินการเพื่อพัฒนาโดยเฉพาะด้านขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศที่ยังอยู่ในระดับที่ต้องพัฒนาให้มีมาตรฐานเทียบเท่าระดับมาตรฐานสากล เพื่อความมั่นคงและยั่งยืน และเป็นที่ยอมรับในระดับสากล โดยเฉพาะด้านการจัดการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ที่ต้องพัฒนา เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์เพื่อผลิตและพัฒนากำลังคนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มีความสามารถในระดับสากล สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ร่วมกับ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการและพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (สอวน.) สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) และสถาบันอุดมศึกษา พัฒนาครูและนักเรียน โดยจัดตั้งศูนย์ สอวน. ค่าย 1 ในโรงเรียนที่มีศักยภาพ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อดำเนินการอบรมนักเรียนจากทั่วทุกภูมิภาค ให้มีโอกาสเข้ารับการพัฒนาศักยภาพให้มีมาตรฐานระดับสากล ปัจจุบันมีศูนย์ สอวน. ค่าย 1 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน วิชาฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา คณิตศาสตร์และคอมพิวเตอร์ จำนวน 128 โรงเรียน กระจายอยู่ทั่วทุกภูมิภาค ทั้งนี้คุณครูที่เข้ารับการพัฒนามาจากโรงเรียนทุกประเภทและทุกขนาด เพื่อโอกาสในการเข้าถึงความรู้ตามแนวทางหลักสูตรโอลิมปิกวิชาการ โดยการอบรมพัฒนาครูจะเน้นภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติอย่างเข้มข้น รวมทั้งการติดตามผลการนำความรู้ที่ได้รับการอบรมพัฒนาไปจัดการเรียนการสอนตามแนวทางของหลักสูตรโอลิมปิกวิชาการได้อย่างถูกต้องตามหลักการผลจากการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรโอลิมปิกวิชาการ พบว่า มีนักเรียนสอบผ่านเข้าค่าย 1 สอวน. จากทั่วทุกภูมิภาค ทุกขนาด โดยเฉพาะโรงเรียนที่อยู่ในพื้นที่ชายขอบและถิ่นทุรกันดารก็สามารถพัฒนามาตรฐานโดยผ่านการคัดเลือกเข้าค่าย 1 ได้มากขึ้นทุก ๆ ปี ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายด้านการลดความเหลื่อมล้ำในด้านการจัดการศึกษา และในปี พ.ศ. 2565 มีนักเรียนในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ได้รับคัดเลือกเป็นผู้แทนประเทศไทยไปแข่งขันโอลิมปิกวิชาการระหว่างประเทศ ในวิชาต่าง ๆ จำนวนทั้งสิ้น 31 คน โดยทุกคน ได้รับรางวัล ดังนี้ รางวัลเหรียญทอง จำนวน 6 คน รางวัลเหรียญเงิน จำนวน 11 คน รางวัลเหรียญทองแดง จำนวน 7 คนเกียรติคุณประกาศ จำนวน 6 คน และรางวัลพิเศษ จำนวน 1 คน (Poster Awards) การดูแลนักเรียนที่เข้าร่วมการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ประจำปี พ.ศ. 2566 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ร่วมกับ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการและ พัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (สอวน.) และสถาบันอุดมศึกษา ดูแลนักเรียนที่ผ่านการคัดเลือกเข้าค่าย โดยการให้การสนับสนุนงบประมาณด้านอาหารและที่พักรวมทั้งการดูแลนักเรียนที่อยู่ในค่ายเน้นการพัฒนาในทุกมิติรวมทั้งด้านความปลอดภัยโดยอำนวยความสะดวกในด้านต่างๆ ให้นักเรียนสามารถเรียนรู้ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติการเติมเต็มประสบการณ์ด้านต่าง ๆ ให้นักเรียนแต่ละคนได้พัฒนาเต็มศักยภาพ รวมทั้งการใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข มุ่งเน้นคุณธรรมและจริยธรรมสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ยังคงมุ่งมั่นพัฒนานักเรียนและครูทั่วทุกภูมิภาค เพื่อยกระดับมาตรฐานการจัดการศึกษาด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ให้เทียบเท่ามาตรฐานสากล เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศและลดความเหลื่อมล้ำในการจัดการศึกษาให้แก่เด็กที่อยู่ในภูมิภาคที่มีความแตกต่างกัน” ศาสตราจารย์ ดร.ปรินทร์ ชัยวิสุทธางกูร คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ได้กล่าวถึงความพร้อมของสถานที่ในการจัดการแข่งขันฯ ว่า “มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มีความพร้อมในการต้อนรับผู้เข้าร่วมแข่งขันจากทั้ง 55 ประเทศ โดยแต่ละประเทศส่งนักเรียนเข้าร่วมการแข่งขัน 6 คน รวมทั้งมีครูผู้คุมทีมประเทศละ 3 คน รวมเป็น 9 คนจากแต่ละประเทศ และในเบื้องต้นข้อสอบปฏิบัติการ ทางคณาจารย์ของคณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ถือเป็นผู้ออกข้อสอบหลัก ตอนนี้ได้ทำการออกข้อสอบไปถึง 80% แล้ว ทั้งนี้เพื่อให้มั่นใจว่า ข้อสอบมีมาตรฐานในระดับนานาชาติ และในเรื่องของห้องปฏิบัติการตอนนี้มีการเตรียมความพร้อมโดยทำการปรับปรุงห้อง lab ให้มีมาตรฐานในระดับนานาชาติ ได้รับการสนับสนุนจากท่านอธิการบดี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ รศ.ดร.สมชาย สันติวัฒนกุล รวมทั้งท่านรองอธิการบดีอีกหลายท่านที่ได้ร่วมผลักดันสนับสนุนจนกระทั่งได้ห้องปฏิบัติการที่มีความพร้อมในการจัดการแข่งขัน เพื่อให้มีความพร้อมที่จะจัดการแข่งขัน แต่ในส่วนของข้อสอบบรรยายนอกจากทางมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒที่เป็นผู้ออกข้อสอบแล้ว ยังได้รับความอนุเคราะห์จากมหาวิทยาลัยมหิดล และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในการร่วมกันออกข้อสอบ มีความพร้อมได้ถึง 80% แล้วเช่นเดียวกัน และนี่คือความพร้อมทางฝั่งของการเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันฯ ในครั้งนี้” และสุดท้ายนี้ได้รับเกียรติจาก President IJSO E. H.M.H. Emiel de Klejin National Coordinator Olympiad Netherlands ที่ได้มากล่าวถึงบทบาทของ IJSO และความร่วมมือกับประเทศไทยในครั้งนี้ว่า “ประเทศไทยเริ่มเข้าร่วมการแข่งขันโอลิมปิกนานาชาติตั้งแต่ปี ค.ศ. 1989 โดยในการแข่งขันคณิตศาสตร์โอลิมปิก และปัจจุบันเข้าร่วมทั้งหมด 9 โอลิมปิก และยังได้เป็นเจ้าภาพโอลิมปิกนานาชาติแล้วถึง 9 ครั้ง ตั้งแต่การเริ่มต้น IJSO ในปี 2004 ที่ประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งประเทศไทยก็ได้เข้าร่วม IJSO มาทุกครั้ง IJSO เป็นการแข่งขันทางวิชาการโดยมีการบูรณาการการสอบทางด้านชีววิทยา เคมี และฟิสิกส์ ทั้งทางด้านทฤษฎีและปฏิบัติการ โดยข้อสอบได้มีการออกแบบมาเพื่อวัดความเข้าใจทางด้านแนวคิด ต่าง ๆ และความสามารถในการประยุกต์ใช้แนวความคิดต่างๆ ต่อสถานการณ์ที่ได้กำหนดไว้ในโจทย์ข้อสอบทฤษฎีเป็นการทำงานแบบเดี่ยว แต่ข้อสอบปฏิบัติการเป็นการทำงานแบบเป็นทีม ความรู้ย่อมสำคัญในวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แต่ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่นในทีมหลากหลายสาขาวิชาก็สำคัญเช่นกัน โดยทักษะทั้ง 2 ด้านมีบทบาทที่สำคัญในการแข่งขัน IJSO ทำให้การแข่งนั้นนี้มีความพิเศษเมื่อเทียบกับการแข่งขันอื่น ๆ เพราะการแก้ปัญหา การคิดวิเคราะห์ การทำงานเป็นทีม และการทดลองทางวิทยาศาสตร์คือหลักในการแข่งขันทางวิชาการนี้ อีกวัตถุประสงค์ของ IJSO ซึ่งมีความสำคัญไม่แพ้กับวัตถุประสงค์ด้านวิชาการ ก็คือการสนับสนุนให้เยาวชนได้เรียนรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมที่หลากหลาย เพิ่มปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักเรียนทั่วโลก ให้มีเพื่อนจากต่างประเทศตั้งแต่ยังอายุน้อย มีบทบาทความสำคัญทั้งในสังคมวิทยาศาสตร์และการพัฒนาส่วนตัว อีกทั้งยังมีศักยภาพในการนำไปสู่สันติภาพของโลกและการเข้าใจกันและกัน วัตถุประสงค์ 2 อย่างนี้ ทำให้งาน IJSO เป็นเหตุการณ์ความเปลี่ยนแปลงในชีวิตสำหรับผู้เข้าร่วมการแข่งขันแบบนี้ โดยมีความร่วมมือกันข้ามขอบเขตประเทศ ช่วยส่งเสริมผู้ที่มีความสามารถพิเศษ ซึ่งเป็นสิ่งที่เราต้องการอย่างยิ่งในโลกปัจจุบัน ทั้งนี้ ทุกท่านสามารถติดตามข่าวสารการจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ประจำปี พ.ศ. 2566 พร้อมร่วมส่งกำลังใจให้กับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นตัวแทนประเทศไทยได้ที่เฟซบุ๊ก คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ EZ Webmaster Related Posts ฟื้นO-NETเข้ามหา’ลัยเรื่องยาก อธิการบดี มรภ.นครราชสีมาแนะศธ.ใช้เข้าเรียนต่อม.1/ม.4 เรียนที่เดียวได้ถึง 2 วุฒิ สาขาวิชาวิศวกรรมสำรวจ ม.เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เปิดรับสมัครรอบที่ 2.3 ระบบ Quota TCAS68 โรงพยาบาลศูนย์การแพทย์มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เปิดให้ 25 ทุน เรียนฟรีผู้ช่วยพยาบาล ปิดเทอมนี้ สสวท. กระตุ้นต่อมคิดพิชิตปัญหาฟิสิกส์หรรษา กับ “ไขปริศนาวิทยากล” Post navigation PREVIOUS Previous post: ลอรีอัล เปิดรับสมัครชิงทุนวิจัย “เพื่อสตรีในงานวิทยาศาสตร์” ครั้งที่ 21 พร้อมเสริมแกร่งเครือข่ายครอบครัวนักวิจัยสตรีไทยในงาน Conversations with the FellowsNEXT Next post: 10 จังหวัดที่เจริญที่สุดในไทย 2565 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
นักศึกษามทร.ธัญบุรี ส่งต่ออาชีพดอกมะลิทิชชู่ ผู้ต้องขังเรือนจำธัญบุรี tui sakrapeeMarch 22, 2025 สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ หลักสูตรฯนวัตกรรมศิลปะประดิษฐ์สร้างสรรค์ คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ถ่ายทอดองค์ความรู้เทคโนโลยีนวัตกรรมศิลปประดิษฐ์สร้างสรรรค์สู่ชุมชน การประดิษฐ์ดอกมะลิจากกระดาษทิชชู่ เรือนจำอำเภอธัญบุรี ตำบลคลองหก อำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ วิจิตร สนหอม หัวหน้าสาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ อาจารย์ประจำหลักสูตรฯนวัตกรรมศิลปประดิษฐ์สร้างสรรค์ และอาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ เผยว่า โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีนวัตกรรมศิลปประดิษฐ์สร้างสรรค์สู่ชุมชน… มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค EZ WebmasterMarch 21, 2025 ศาสตราจารย์ นายแพทย์ปิยะมิตร ศรีธรา อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า ปัจจุบันโลกกำลังเผชิญกับกระแสความเปลี่ยนแปลงใหญ่ๆ ใน 6 มิติ 1. สังคมสูงวัย (Aging Society) ในอีก 8 ปีข้างหน้า ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุระดับสุดยอด (Super… ฟินแลนด์ครองแชมป์ 8 ปีซ้อน ประเทศที่มีความสุขที่สุดในโลก 2025 ไทยขยับขึ้นอันดับ 49 EZ WebmasterMarch 21, 2025 ฟินแลนด์ ยังคงรักษาตำแหน่งประเทศที่มีความสุขที่สุดในโลกเป็นปีที่ 8 ติดต่อกัน ตามรายงานความสุขโลก (World Happiness Report) ประจำปี 2025 ซึ่งจัดทำโดยศูนย์วิจัยความเป็นอยู่ที่ดี (Wellbeing Research Centre) แห่งมหาวิทยาลัยอ็อกซ์ฟอร์ด รายงานนี้เผยแพร่ในช่วงวันความสุขสากล (International Day of Happiness)… ทุนดีดี ทุนการศึกษามูลนิธิศึกษาวิจัยและพัฒนาเพื่อสังคมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปี 2568 EZ WebmasterMarch 22, 2025 ทุนการศึกษามูลนิธิศึกษาวิจัยฯ ประจำปี 2568 ++ ประกาศเปิดรับสมัครแล้วตั้งแต่วันนี้ ++ โดยทุนการศึกษามูลนิธิศึกษาวิจัยและพัฒนาเพื่อสังคมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปี 2568 เปิดรับสมัครจำนวน 2 รอบ โดยมีรายละเอียดดังนี้ – ทุนรอบที่ 1 รับสมัครในวันที่ 1 มกราคม… สกสค. ร่วมกับ CP All มอบ 100 ทุนเรียนฟรี 100% ระดับ ปวช. ปวส. และปริญญาตรี EZ WebmasterMarch 21, 2025 กสค. ร่วมกับ CP All มอบทุนเรียนฟรี !! 100% ล่าสุดขยายโอกาสเพิ่มอีก 9 สาขาใหม่ เพิ่มทางเลือกให้เยาวชนก้าวไกล ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ศึกษาที่วิทยาลัยปัญญาภิวัฒน์ และศูนย์การเรียนฯ ทั่วประเทศ 20 แห่ง ทุนการศึกษาระดับ… ให้ทุนเยาวชน ODOS Summer Camp ไปเรียนซัมเมอร์ต่างประเทศ 6 สัปดาห์ เริ่มสมัครได้ 24 มี.ค.นี้ EZ WebmasterMarch 21, 2025 ODOS Summer Camp ทุนการศึกษาระยะสั้น 6 สัปดาห์ เพื่อกระจายโอกาสให้เด็กไทยทุกคนได้มีโอกาสไปเรียนซัมเมอร์ต่างประเทศ เปิดหูเปิดตา ค้นหาตัวตน และสร้างแรงบันดาลใจในการเรียนรู้ โดยไม่จำเป็นต้องเป็นเด็กเก่ง เด็กเรียน หรือเด็กหน้าห้อง เปิดรับเยาวชนที่มีคุณสมบัติดังนี้ – สัญชาติไทย – อายุไม่เกิน… ธนาคารแห่งประเทศไทย เปิดรับสมัครทุนระดับปริญญาโทขึ้นไป เรียนต่อที่ประเทศอังกฤษ EZ WebmasterMarch 17, 2025 ประกาศเปิดรับสมัครทุนการศึกษา Dr. Puey Ungphakorn Centenary Scholarship ประจำปี 2568 ธนาคารแห่งประเทศไทย เปิดรับสมัครทุนการศึกษาระดับปริญญาโทขึ้นไป เพื่อศึกษาต่อที่ The London School of Economics and Political… ครู-อาจารย์ มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค EZ WebmasterMarch 21, 2025 ศาสตราจารย์ นายแพทย์ปิยะมิตร ศรีธรา อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า ปัจจุบันโลกกำลังเผชิญกับกระแสความเปลี่ยนแปลงใหญ่ๆ ใน 6 มิติ 1. สังคมสูงวัย (Aging Society) ในอีก 8 ปีข้างหน้า ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุระดับสุดยอด (Super… รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน EZ WebmasterMarch 21, 2025 รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน พร้อมจ่ายเงินอุดหนุนการศึกษาและพัฒนาอาชีพ ผ่านกสศ. ขณะที่ Microsoft หนุน ศูนย์ดิจิทัลชุมชน ยกระดับทักษะAI เพิ่มโอกาสมีงานทำ พร้อมจับมือ UNICEF สร้าง 1… Kahoot! เปิดตัว Kahoot! Energize ปฏิวัติการประชุมให้มีพลังและสร้างผลกระทบที่เหนือกว่า EZ WebmasterMarch 21, 2025 เปลี่ยนทุกการนำเสนอในที่ทำงานให้กลายเป็นการสื่อสารสองทาง สร้างประสบการณ์ที่น่าสนใจ เต็มไปด้วยความมีชีวิตชีวาและการมีส่วนร่วมที่แท้จริง กระตุ้นการมีส่วนร่วมจากผู้ฟังและขับเคลื่อน ผลลัพธ์ทางธุรกิจไปอีกขั้นด้วย Kahoot! Energize Kahoot! (คาฮู้ด) ผู้นำด้านการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมระดับโลกได้เปิดตัวเครื่องมือใหม่ Kahoot! Energize ที่จะเปลี่ยนทุกการประชุม การฝึกอบรม หรือกิจกรรมต่างๆ ให้กลายเป็นช่วงเวลาที่เต็มไปด้วยพลังและความสนุก พร้อมกระตุ้นการมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ สร้างผลกระทบที่มีความหมาย และขับเคลื่อนธุรกิจไปข้างหน้า การพัฒนา Kahoot! Energize ต่อยอดจากรูปแบบการเรียนรู้และการมีส่วนร่วม อันเป็นเอกลักษณ์ที่ได้รับความนิยมของ Kahoot! แต่เพิ่มความสามารถในการใช้งานในสภาพแวดล้อมการทำงานที่หลากหลาย… สมศ. เน้นย้ำการประเมินคุณภาพภายนอก ปี 67-71 ลดวันประเมิน On site ขยายสู่รูปแบบออนไลน์ สร้างมาตรฐานในการแข่งขันระดับอาเซียน EZ WebmasterMarch 20, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยในการประชุมรับฟังความคิดเห็น (ร่าง) กรอบแนวทางการประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษาที่จัดการเรียนรู้ในสังกัดกรมส่งเสริมการเรียนรู้ (สกร.) โดยเน้นย้ำเรื่อง “แนวคิดและทิศทางการประกันคุณภาพภายนอก” ว่า การประกันคุณภาพภายนอกไม่ใช่เป็น “การตรวจสอบ” แต่เป็นเครื่องมือที่ช่วยส่งเสริมการพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษาอย่างแท้จริง… กิจกรรม โรงเรียนฝึกอาชีพ กทม. เปิดสอนอาชีพ หลักสูตร 200 ชั่วโมง เรียนจบมีใบรับรอง สร้างอาชีพได้จริง EZ WebmasterMarch 22, 2025 โรงเรียนฝึกอาชีพ กทม. เปิดสอนอาชีพ หลักสูตร 200 ชั่วโมง ได้เรียนปฏิบัติเน้น ๆ มีให้เลือกเรียนทุกสาขาวิชา เรียนจบมีใบรับรองให้ เอาไปสร้างอาชีพได้จริง ค่าเรียนเริ่มต้นคอร์สละ 105 บาท (มีทั้งรอบเช้า / บ่าย /… รวมพลังสีชมพูจุฬาฯ กลับบ้านสู่ร่มจามจุรี ในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” EZ WebmasterMarch 14, 2025 สมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (สนจ.) เชิญชวนชาวจุฬาฯ ทั้งนิสิตเก่าและนิสิตปัจจุบัน เดินทางกลับบ้านในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” ร่วมฉลองวาระสำคัญ ครบรอบ 108 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในบรรยากาศแห่งความรักความสามัคคี และความผูกพันของเหล่าน้องพี่สีชมพู ภายใต้ร่มเงาของจามจุรี นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย… สจล. ผนึกกำลังตำรวจภูธรภาค 2 และบริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จำกัด (สำนักงานใหญ่) พัฒนาโครงการ “AI Robot รับแจ้งความ” ประมวลผลถูกต้องและมีประสิทธิภาพ EZ WebmasterMarch 13, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี ร่วมด้วยพลตำรวจโท ยิ่งยศ เทพจำนงค์ (คนที่ 3 จากซ้าย) ผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 2… สจล. ร่วมกับกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน มุ่งยกระดับฝีมือแรงงาน สอดคล้องความต้องการในอนาคต EZ WebmasterMarch 10, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี และนายเดชา พฤกษ์พัฒนรักษ์ (คนที่ 3 จากซ้าย) อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ได้ลงในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการร่วมกัน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่นักศึกษาของสถาบันก่อนเข้าสู่ตลาดแรงงานในสาขาอาชีพต่าง… Search for: Search EZ Webmaster May 11, 2023 EZ Webmaster May 11, 2023 คณะวิทยาศาสตร์ มศว เตรียมความพร้อม งานระดับนานาชาติ เจ้าภาพจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประเทศไทย ได้เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ระหว่างวันที่ 1 – 10 ธันวาคม 2566 โดยได้รับความร่วมมือจากหลายภาคส่วนในประเทศ ได้แก่ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการ และพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (มูลนิธิ สอวน.), สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), ศูนย์บริหารงานการพัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.), National Coordinator Olympiad Netherlands และคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยภายในงานได้รับเกียรติจากรองศาสตราจารย์ ดร.พินิติ รตะนานุกูล กรรมการและเลขาธิการ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการ และพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เล่าถึงความเป็นมาของการจัดการแข่งขันโอลิมปิกวิชาการระดับมัธยมต้นว่า “เมื่อ 20 ปีก่อนได้มีกลุ่มนักวิชาการที่เล็งเห็นความสำคัญของการกระตุ้นให้นักเรียนมีความสนใจในด้าน วิทยาศาสตร์มากขึ้น คิดว่าน่าจะมีเวทีให้นักเรียนเหล่านี้ได้มาแสดงความสามารถในเชิงวิชาการ จึงได้จัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในเวทีนานาชาติครั้งแรกที่ประเทศอินโดนีเชีย และในช่วงนั้นประเทศไทยก็ได้รับเชิญให้เข้าร่วมการแข่งขันด้วย ตั้งแต่ครั้งนั้นเราจึงได้ส่งทีมนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นไปแข่งขัน ซึ่งการที่มีเวทีลักษณะนี้ ถือเป็นการเปิดโอกาสให้นักเรียนที่มีความสนใจและอยากเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ได้มีแรงผลักดันที่จะสร้างศักยภาพของตนเองให้มากขึ้น เพื่อที่จะก้าวเข้าสู่เวทีการแข่งขันในระดับวิชาการในระดับนานาชาติต่อไป” “ในครั้งนี้ที่ประเทศไทยรับเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ประจำปี พ.ศ. 2566 (20th International Junior Science Olympiad) เนื่องจากประเทศไทยเราได้มีส่วนร่วมในการส่งนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นไปร่วมแข่งขันมาตั้งแต่ครั้งแรกตลอด 20 ปีที่ผ่านมา และยังไม่เคยเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน และในปีนี้ พ.ศ. 2566 ถือเป็นการเฉลิมพระเกียรติเนื่องในวาระครบ 100 ปี วันประสูติสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และการที่ท่านได้รับการรับรองพระนามเป็นบุคคลสำคัญของโลกจากองค์การยูเนสโก และเป็นองค์ประธานมูลนิธิตอนจัดตั้งฯ ในปีพ.ศ. 2542 ทางมูลนิธิฯ จึงเล็งเห็นว่าน่าจะเป็นโอกาสอันดีที่ประเทศไทยยินดีจะรับโอกาสเป็นเจ้าภาพการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 สำหรับการคัดเลือกนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นตัวแทนประเทศไทย ทางมูลนิธิฯ และ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ร่วมกันรับสมัคร ซึ่งในปีนี้มีนักเรียนทั่วประเทศประมาณ 10,500 คน ในรอบแรกหลังจากนั้นมีการสอบเพื่อคัดกรองเพื่อให้เหลือจำนวน 300 คน และจากนั้นมีการสอบคัดกรองอีกครั้งเพื่อให้เหลือ 30 คน และนำมาเตรียมความพร้อมโดยการเพิ่มทักษะความรู้ความสามารถเพื่อที่จะไปแข่งขันในระดับเวทีนานาชาติต่อไป และในขณะนี้อยู่ในขั้นตอนสุดท้ายที่กำลังคัดสรรหาตัวแทนประเทศไทย ในด้านการเตรียมความพร้อมในการเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันในครั้งนี้ ทางมูลนิธิฯและสสวท. มีการเตรียมการตั้งแต่ยื่นความจำนงที่จะเป็นเจ้าภาพมาในระยะเวลาหลายปี และเห็นว่าคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มีความพร้อมในหลายระดับทั้งบุคลากรที่จะมาจัดการแข่งขัน บุคลากรทางด้านวิชาการ และสถานที่ที่เหมาะสม เหมาะที่จะต้อนรับนักเรียนจากทั่วโลกและผู้ที่สนใจหรือเกี่ยวข้องได้ และทางมูลนิธิฯ กับมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒได้จัดตั้งคณะทำงานหลากหลายส่วน โดยเฉพาะคณะกรรมการวิชาการที่จะทำหน้าที่ในการออกข้อสอบสำหรับการแข่งขันในครั้งนี้ เนื่องจากการแข่งขันในครั้งนี้เป็นการสอบในราย 3 วิชา คือ วิชาเคมี ชีววิทยา และฟิสิกส์ ในการแข่งขันจะประกอบไปด้วยภาคทฤษฎีและภาคภาคปฏิบัติ ซึ่งในด้านการปฏิบัติจะเป็นการประยุกต์นำทั้ง 3 วิชาเข้าด้วยกัน และมีการตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อสอบ มาตรฐานของข้อสอบ จึงกล่าวได้ว่า ประเทศไทยมีความพร้อมแล้วที่จะเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันในครั้งที่ 20 นี้ และมั่นใจว่าประเทศไทยจะสามารถจัดการแข่งขันได้อย่างดีที่สุด” รองศาสตราจารย์ ดร.พินิติ รตะนานุกูล กล่าวทิ้งท้าย ทางด้านดร.อาทิตยา ปัญญา ผู้อำนวยการศูนย์บริหารงานการพัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ กล่าวถึงบทบาทของ กระทรวงศึกษาธิการ และ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ในครั้งนี้ “กระทรวงศึกษาธิการเป็นหน่วยงานที่ส่งเสริมการจัดการศึกษา เพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ โดยกำหนดนโยบายและแผนปฏิบัติการต่าง ๆ เพื่อรองรับการพัฒนาและการเปลี่ยนแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21 ซึ่ง สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้นำนโยบายและแผนปฏิบัติการต่าง ๆ มาดำเนินการเพื่อพัฒนาโดยเฉพาะด้านขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศที่ยังอยู่ในระดับที่ต้องพัฒนาให้มีมาตรฐานเทียบเท่าระดับมาตรฐานสากล เพื่อความมั่นคงและยั่งยืน และเป็นที่ยอมรับในระดับสากล โดยเฉพาะด้านการจัดการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ที่ต้องพัฒนา เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์เพื่อผลิตและพัฒนากำลังคนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มีความสามารถในระดับสากล สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ร่วมกับ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการและพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (สอวน.) สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) และสถาบันอุดมศึกษา พัฒนาครูและนักเรียน โดยจัดตั้งศูนย์ สอวน. ค่าย 1 ในโรงเรียนที่มีศักยภาพ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อดำเนินการอบรมนักเรียนจากทั่วทุกภูมิภาค ให้มีโอกาสเข้ารับการพัฒนาศักยภาพให้มีมาตรฐานระดับสากล ปัจจุบันมีศูนย์ สอวน. ค่าย 1 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน วิชาฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา คณิตศาสตร์และคอมพิวเตอร์ จำนวน 128 โรงเรียน กระจายอยู่ทั่วทุกภูมิภาค ทั้งนี้คุณครูที่เข้ารับการพัฒนามาจากโรงเรียนทุกประเภทและทุกขนาด เพื่อโอกาสในการเข้าถึงความรู้ตามแนวทางหลักสูตรโอลิมปิกวิชาการ โดยการอบรมพัฒนาครูจะเน้นภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติอย่างเข้มข้น รวมทั้งการติดตามผลการนำความรู้ที่ได้รับการอบรมพัฒนาไปจัดการเรียนการสอนตามแนวทางของหลักสูตรโอลิมปิกวิชาการได้อย่างถูกต้องตามหลักการผลจากการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรโอลิมปิกวิชาการ พบว่า มีนักเรียนสอบผ่านเข้าค่าย 1 สอวน. จากทั่วทุกภูมิภาค ทุกขนาด โดยเฉพาะโรงเรียนที่อยู่ในพื้นที่ชายขอบและถิ่นทุรกันดารก็สามารถพัฒนามาตรฐานโดยผ่านการคัดเลือกเข้าค่าย 1 ได้มากขึ้นทุก ๆ ปี ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายด้านการลดความเหลื่อมล้ำในด้านการจัดการศึกษา และในปี พ.ศ. 2565 มีนักเรียนในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ได้รับคัดเลือกเป็นผู้แทนประเทศไทยไปแข่งขันโอลิมปิกวิชาการระหว่างประเทศ ในวิชาต่าง ๆ จำนวนทั้งสิ้น 31 คน โดยทุกคน ได้รับรางวัล ดังนี้ รางวัลเหรียญทอง จำนวน 6 คน รางวัลเหรียญเงิน จำนวน 11 คน รางวัลเหรียญทองแดง จำนวน 7 คนเกียรติคุณประกาศ จำนวน 6 คน และรางวัลพิเศษ จำนวน 1 คน (Poster Awards) การดูแลนักเรียนที่เข้าร่วมการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ประจำปี พ.ศ. 2566 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ร่วมกับ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการและ พัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (สอวน.) และสถาบันอุดมศึกษา ดูแลนักเรียนที่ผ่านการคัดเลือกเข้าค่าย โดยการให้การสนับสนุนงบประมาณด้านอาหารและที่พักรวมทั้งการดูแลนักเรียนที่อยู่ในค่ายเน้นการพัฒนาในทุกมิติรวมทั้งด้านความปลอดภัยโดยอำนวยความสะดวกในด้านต่างๆ ให้นักเรียนสามารถเรียนรู้ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติการเติมเต็มประสบการณ์ด้านต่าง ๆ ให้นักเรียนแต่ละคนได้พัฒนาเต็มศักยภาพ รวมทั้งการใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข มุ่งเน้นคุณธรรมและจริยธรรมสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ยังคงมุ่งมั่นพัฒนานักเรียนและครูทั่วทุกภูมิภาค เพื่อยกระดับมาตรฐานการจัดการศึกษาด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ให้เทียบเท่ามาตรฐานสากล เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศและลดความเหลื่อมล้ำในการจัดการศึกษาให้แก่เด็กที่อยู่ในภูมิภาคที่มีความแตกต่างกัน” ศาสตราจารย์ ดร.ปรินทร์ ชัยวิสุทธางกูร คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ได้กล่าวถึงความพร้อมของสถานที่ในการจัดการแข่งขันฯ ว่า “มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มีความพร้อมในการต้อนรับผู้เข้าร่วมแข่งขันจากทั้ง 55 ประเทศ โดยแต่ละประเทศส่งนักเรียนเข้าร่วมการแข่งขัน 6 คน รวมทั้งมีครูผู้คุมทีมประเทศละ 3 คน รวมเป็น 9 คนจากแต่ละประเทศ และในเบื้องต้นข้อสอบปฏิบัติการ ทางคณาจารย์ของคณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ถือเป็นผู้ออกข้อสอบหลัก ตอนนี้ได้ทำการออกข้อสอบไปถึง 80% แล้ว ทั้งนี้เพื่อให้มั่นใจว่า ข้อสอบมีมาตรฐานในระดับนานาชาติ และในเรื่องของห้องปฏิบัติการตอนนี้มีการเตรียมความพร้อมโดยทำการปรับปรุงห้อง lab ให้มีมาตรฐานในระดับนานาชาติ ได้รับการสนับสนุนจากท่านอธิการบดี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ รศ.ดร.สมชาย สันติวัฒนกุล รวมทั้งท่านรองอธิการบดีอีกหลายท่านที่ได้ร่วมผลักดันสนับสนุนจนกระทั่งได้ห้องปฏิบัติการที่มีความพร้อมในการจัดการแข่งขัน เพื่อให้มีความพร้อมที่จะจัดการแข่งขัน แต่ในส่วนของข้อสอบบรรยายนอกจากทางมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒที่เป็นผู้ออกข้อสอบแล้ว ยังได้รับความอนุเคราะห์จากมหาวิทยาลัยมหิดล และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในการร่วมกันออกข้อสอบ มีความพร้อมได้ถึง 80% แล้วเช่นเดียวกัน และนี่คือความพร้อมทางฝั่งของการเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันฯ ในครั้งนี้” และสุดท้ายนี้ได้รับเกียรติจาก President IJSO E. H.M.H. Emiel de Klejin National Coordinator Olympiad Netherlands ที่ได้มากล่าวถึงบทบาทของ IJSO และความร่วมมือกับประเทศไทยในครั้งนี้ว่า “ประเทศไทยเริ่มเข้าร่วมการแข่งขันโอลิมปิกนานาชาติตั้งแต่ปี ค.ศ. 1989 โดยในการแข่งขันคณิตศาสตร์โอลิมปิก และปัจจุบันเข้าร่วมทั้งหมด 9 โอลิมปิก และยังได้เป็นเจ้าภาพโอลิมปิกนานาชาติแล้วถึง 9 ครั้ง ตั้งแต่การเริ่มต้น IJSO ในปี 2004 ที่ประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งประเทศไทยก็ได้เข้าร่วม IJSO มาทุกครั้ง IJSO เป็นการแข่งขันทางวิชาการโดยมีการบูรณาการการสอบทางด้านชีววิทยา เคมี และฟิสิกส์ ทั้งทางด้านทฤษฎีและปฏิบัติการ โดยข้อสอบได้มีการออกแบบมาเพื่อวัดความเข้าใจทางด้านแนวคิด ต่าง ๆ และความสามารถในการประยุกต์ใช้แนวความคิดต่างๆ ต่อสถานการณ์ที่ได้กำหนดไว้ในโจทย์ข้อสอบทฤษฎีเป็นการทำงานแบบเดี่ยว แต่ข้อสอบปฏิบัติการเป็นการทำงานแบบเป็นทีม ความรู้ย่อมสำคัญในวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แต่ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่นในทีมหลากหลายสาขาวิชาก็สำคัญเช่นกัน โดยทักษะทั้ง 2 ด้านมีบทบาทที่สำคัญในการแข่งขัน IJSO ทำให้การแข่งนั้นนี้มีความพิเศษเมื่อเทียบกับการแข่งขันอื่น ๆ เพราะการแก้ปัญหา การคิดวิเคราะห์ การทำงานเป็นทีม และการทดลองทางวิทยาศาสตร์คือหลักในการแข่งขันทางวิชาการนี้ อีกวัตถุประสงค์ของ IJSO ซึ่งมีความสำคัญไม่แพ้กับวัตถุประสงค์ด้านวิชาการ ก็คือการสนับสนุนให้เยาวชนได้เรียนรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมที่หลากหลาย เพิ่มปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักเรียนทั่วโลก ให้มีเพื่อนจากต่างประเทศตั้งแต่ยังอายุน้อย มีบทบาทความสำคัญทั้งในสังคมวิทยาศาสตร์และการพัฒนาส่วนตัว อีกทั้งยังมีศักยภาพในการนำไปสู่สันติภาพของโลกและการเข้าใจกันและกัน วัตถุประสงค์ 2 อย่างนี้ ทำให้งาน IJSO เป็นเหตุการณ์ความเปลี่ยนแปลงในชีวิตสำหรับผู้เข้าร่วมการแข่งขันแบบนี้ โดยมีความร่วมมือกันข้ามขอบเขตประเทศ ช่วยส่งเสริมผู้ที่มีความสามารถพิเศษ ซึ่งเป็นสิ่งที่เราต้องการอย่างยิ่งในโลกปัจจุบัน ทั้งนี้ ทุกท่านสามารถติดตามข่าวสารการจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ประจำปี พ.ศ. 2566 พร้อมร่วมส่งกำลังใจให้กับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นตัวแทนประเทศไทยได้ที่เฟซบุ๊ก คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ EZ Webmaster Related Posts ฟื้นO-NETเข้ามหา’ลัยเรื่องยาก อธิการบดี มรภ.นครราชสีมาแนะศธ.ใช้เข้าเรียนต่อม.1/ม.4 เรียนที่เดียวได้ถึง 2 วุฒิ สาขาวิชาวิศวกรรมสำรวจ ม.เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เปิดรับสมัครรอบที่ 2.3 ระบบ Quota TCAS68 โรงพยาบาลศูนย์การแพทย์มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เปิดให้ 25 ทุน เรียนฟรีผู้ช่วยพยาบาล ปิดเทอมนี้ สสวท. กระตุ้นต่อมคิดพิชิตปัญหาฟิสิกส์หรรษา กับ “ไขปริศนาวิทยากล” Post navigation PREVIOUS Previous post: ลอรีอัล เปิดรับสมัครชิงทุนวิจัย “เพื่อสตรีในงานวิทยาศาสตร์” ครั้งที่ 21 พร้อมเสริมแกร่งเครือข่ายครอบครัวนักวิจัยสตรีไทยในงาน Conversations with the FellowsNEXT Next post: 10 จังหวัดที่เจริญที่สุดในไทย 2565 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค EZ WebmasterMarch 21, 2025 ศาสตราจารย์ นายแพทย์ปิยะมิตร ศรีธรา อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า ปัจจุบันโลกกำลังเผชิญกับกระแสความเปลี่ยนแปลงใหญ่ๆ ใน 6 มิติ 1. สังคมสูงวัย (Aging Society) ในอีก 8 ปีข้างหน้า ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุระดับสุดยอด (Super… ฟินแลนด์ครองแชมป์ 8 ปีซ้อน ประเทศที่มีความสุขที่สุดในโลก 2025 ไทยขยับขึ้นอันดับ 49 EZ WebmasterMarch 21, 2025 ฟินแลนด์ ยังคงรักษาตำแหน่งประเทศที่มีความสุขที่สุดในโลกเป็นปีที่ 8 ติดต่อกัน ตามรายงานความสุขโลก (World Happiness Report) ประจำปี 2025 ซึ่งจัดทำโดยศูนย์วิจัยความเป็นอยู่ที่ดี (Wellbeing Research Centre) แห่งมหาวิทยาลัยอ็อกซ์ฟอร์ด รายงานนี้เผยแพร่ในช่วงวันความสุขสากล (International Day of Happiness)…
ฟินแลนด์ครองแชมป์ 8 ปีซ้อน ประเทศที่มีความสุขที่สุดในโลก 2025 ไทยขยับขึ้นอันดับ 49 EZ WebmasterMarch 21, 2025 ฟินแลนด์ ยังคงรักษาตำแหน่งประเทศที่มีความสุขที่สุดในโลกเป็นปีที่ 8 ติดต่อกัน ตามรายงานความสุขโลก (World Happiness Report) ประจำปี 2025 ซึ่งจัดทำโดยศูนย์วิจัยความเป็นอยู่ที่ดี (Wellbeing Research Centre) แห่งมหาวิทยาลัยอ็อกซ์ฟอร์ด รายงานนี้เผยแพร่ในช่วงวันความสุขสากล (International Day of Happiness)…
ทุนการศึกษามูลนิธิศึกษาวิจัยและพัฒนาเพื่อสังคมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปี 2568 EZ WebmasterMarch 22, 2025 ทุนการศึกษามูลนิธิศึกษาวิจัยฯ ประจำปี 2568 ++ ประกาศเปิดรับสมัครแล้วตั้งแต่วันนี้ ++ โดยทุนการศึกษามูลนิธิศึกษาวิจัยและพัฒนาเพื่อสังคมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปี 2568 เปิดรับสมัครจำนวน 2 รอบ โดยมีรายละเอียดดังนี้ – ทุนรอบที่ 1 รับสมัครในวันที่ 1 มกราคม… สกสค. ร่วมกับ CP All มอบ 100 ทุนเรียนฟรี 100% ระดับ ปวช. ปวส. และปริญญาตรี EZ WebmasterMarch 21, 2025 กสค. ร่วมกับ CP All มอบทุนเรียนฟรี !! 100% ล่าสุดขยายโอกาสเพิ่มอีก 9 สาขาใหม่ เพิ่มทางเลือกให้เยาวชนก้าวไกล ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ศึกษาที่วิทยาลัยปัญญาภิวัฒน์ และศูนย์การเรียนฯ ทั่วประเทศ 20 แห่ง ทุนการศึกษาระดับ… ให้ทุนเยาวชน ODOS Summer Camp ไปเรียนซัมเมอร์ต่างประเทศ 6 สัปดาห์ เริ่มสมัครได้ 24 มี.ค.นี้ EZ WebmasterMarch 21, 2025 ODOS Summer Camp ทุนการศึกษาระยะสั้น 6 สัปดาห์ เพื่อกระจายโอกาสให้เด็กไทยทุกคนได้มีโอกาสไปเรียนซัมเมอร์ต่างประเทศ เปิดหูเปิดตา ค้นหาตัวตน และสร้างแรงบันดาลใจในการเรียนรู้ โดยไม่จำเป็นต้องเป็นเด็กเก่ง เด็กเรียน หรือเด็กหน้าห้อง เปิดรับเยาวชนที่มีคุณสมบัติดังนี้ – สัญชาติไทย – อายุไม่เกิน… ธนาคารแห่งประเทศไทย เปิดรับสมัครทุนระดับปริญญาโทขึ้นไป เรียนต่อที่ประเทศอังกฤษ EZ WebmasterMarch 17, 2025 ประกาศเปิดรับสมัครทุนการศึกษา Dr. Puey Ungphakorn Centenary Scholarship ประจำปี 2568 ธนาคารแห่งประเทศไทย เปิดรับสมัครทุนการศึกษาระดับปริญญาโทขึ้นไป เพื่อศึกษาต่อที่ The London School of Economics and Political… ครู-อาจารย์ มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค EZ WebmasterMarch 21, 2025 ศาสตราจารย์ นายแพทย์ปิยะมิตร ศรีธรา อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า ปัจจุบันโลกกำลังเผชิญกับกระแสความเปลี่ยนแปลงใหญ่ๆ ใน 6 มิติ 1. สังคมสูงวัย (Aging Society) ในอีก 8 ปีข้างหน้า ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุระดับสุดยอด (Super… รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน EZ WebmasterMarch 21, 2025 รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน พร้อมจ่ายเงินอุดหนุนการศึกษาและพัฒนาอาชีพ ผ่านกสศ. ขณะที่ Microsoft หนุน ศูนย์ดิจิทัลชุมชน ยกระดับทักษะAI เพิ่มโอกาสมีงานทำ พร้อมจับมือ UNICEF สร้าง 1… Kahoot! เปิดตัว Kahoot! Energize ปฏิวัติการประชุมให้มีพลังและสร้างผลกระทบที่เหนือกว่า EZ WebmasterMarch 21, 2025 เปลี่ยนทุกการนำเสนอในที่ทำงานให้กลายเป็นการสื่อสารสองทาง สร้างประสบการณ์ที่น่าสนใจ เต็มไปด้วยความมีชีวิตชีวาและการมีส่วนร่วมที่แท้จริง กระตุ้นการมีส่วนร่วมจากผู้ฟังและขับเคลื่อน ผลลัพธ์ทางธุรกิจไปอีกขั้นด้วย Kahoot! Energize Kahoot! (คาฮู้ด) ผู้นำด้านการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมระดับโลกได้เปิดตัวเครื่องมือใหม่ Kahoot! Energize ที่จะเปลี่ยนทุกการประชุม การฝึกอบรม หรือกิจกรรมต่างๆ ให้กลายเป็นช่วงเวลาที่เต็มไปด้วยพลังและความสนุก พร้อมกระตุ้นการมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ สร้างผลกระทบที่มีความหมาย และขับเคลื่อนธุรกิจไปข้างหน้า การพัฒนา Kahoot! Energize ต่อยอดจากรูปแบบการเรียนรู้และการมีส่วนร่วม อันเป็นเอกลักษณ์ที่ได้รับความนิยมของ Kahoot! แต่เพิ่มความสามารถในการใช้งานในสภาพแวดล้อมการทำงานที่หลากหลาย… สมศ. เน้นย้ำการประเมินคุณภาพภายนอก ปี 67-71 ลดวันประเมิน On site ขยายสู่รูปแบบออนไลน์ สร้างมาตรฐานในการแข่งขันระดับอาเซียน EZ WebmasterMarch 20, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยในการประชุมรับฟังความคิดเห็น (ร่าง) กรอบแนวทางการประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษาที่จัดการเรียนรู้ในสังกัดกรมส่งเสริมการเรียนรู้ (สกร.) โดยเน้นย้ำเรื่อง “แนวคิดและทิศทางการประกันคุณภาพภายนอก” ว่า การประกันคุณภาพภายนอกไม่ใช่เป็น “การตรวจสอบ” แต่เป็นเครื่องมือที่ช่วยส่งเสริมการพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษาอย่างแท้จริง… กิจกรรม โรงเรียนฝึกอาชีพ กทม. เปิดสอนอาชีพ หลักสูตร 200 ชั่วโมง เรียนจบมีใบรับรอง สร้างอาชีพได้จริง EZ WebmasterMarch 22, 2025 โรงเรียนฝึกอาชีพ กทม. เปิดสอนอาชีพ หลักสูตร 200 ชั่วโมง ได้เรียนปฏิบัติเน้น ๆ มีให้เลือกเรียนทุกสาขาวิชา เรียนจบมีใบรับรองให้ เอาไปสร้างอาชีพได้จริง ค่าเรียนเริ่มต้นคอร์สละ 105 บาท (มีทั้งรอบเช้า / บ่าย /… รวมพลังสีชมพูจุฬาฯ กลับบ้านสู่ร่มจามจุรี ในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” EZ WebmasterMarch 14, 2025 สมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (สนจ.) เชิญชวนชาวจุฬาฯ ทั้งนิสิตเก่าและนิสิตปัจจุบัน เดินทางกลับบ้านในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” ร่วมฉลองวาระสำคัญ ครบรอบ 108 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในบรรยากาศแห่งความรักความสามัคคี และความผูกพันของเหล่าน้องพี่สีชมพู ภายใต้ร่มเงาของจามจุรี นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย… สจล. ผนึกกำลังตำรวจภูธรภาค 2 และบริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จำกัด (สำนักงานใหญ่) พัฒนาโครงการ “AI Robot รับแจ้งความ” ประมวลผลถูกต้องและมีประสิทธิภาพ EZ WebmasterMarch 13, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี ร่วมด้วยพลตำรวจโท ยิ่งยศ เทพจำนงค์ (คนที่ 3 จากซ้าย) ผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 2… สจล. ร่วมกับกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน มุ่งยกระดับฝีมือแรงงาน สอดคล้องความต้องการในอนาคต EZ WebmasterMarch 10, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี และนายเดชา พฤกษ์พัฒนรักษ์ (คนที่ 3 จากซ้าย) อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ได้ลงในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการร่วมกัน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่นักศึกษาของสถาบันก่อนเข้าสู่ตลาดแรงงานในสาขาอาชีพต่าง… Search for: Search EZ Webmaster May 11, 2023 EZ Webmaster May 11, 2023 คณะวิทยาศาสตร์ มศว เตรียมความพร้อม งานระดับนานาชาติ เจ้าภาพจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประเทศไทย ได้เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ระหว่างวันที่ 1 – 10 ธันวาคม 2566 โดยได้รับความร่วมมือจากหลายภาคส่วนในประเทศ ได้แก่ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการ และพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (มูลนิธิ สอวน.), สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), ศูนย์บริหารงานการพัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.), National Coordinator Olympiad Netherlands และคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยภายในงานได้รับเกียรติจากรองศาสตราจารย์ ดร.พินิติ รตะนานุกูล กรรมการและเลขาธิการ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการ และพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เล่าถึงความเป็นมาของการจัดการแข่งขันโอลิมปิกวิชาการระดับมัธยมต้นว่า “เมื่อ 20 ปีก่อนได้มีกลุ่มนักวิชาการที่เล็งเห็นความสำคัญของการกระตุ้นให้นักเรียนมีความสนใจในด้าน วิทยาศาสตร์มากขึ้น คิดว่าน่าจะมีเวทีให้นักเรียนเหล่านี้ได้มาแสดงความสามารถในเชิงวิชาการ จึงได้จัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในเวทีนานาชาติครั้งแรกที่ประเทศอินโดนีเชีย และในช่วงนั้นประเทศไทยก็ได้รับเชิญให้เข้าร่วมการแข่งขันด้วย ตั้งแต่ครั้งนั้นเราจึงได้ส่งทีมนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นไปแข่งขัน ซึ่งการที่มีเวทีลักษณะนี้ ถือเป็นการเปิดโอกาสให้นักเรียนที่มีความสนใจและอยากเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ได้มีแรงผลักดันที่จะสร้างศักยภาพของตนเองให้มากขึ้น เพื่อที่จะก้าวเข้าสู่เวทีการแข่งขันในระดับวิชาการในระดับนานาชาติต่อไป” “ในครั้งนี้ที่ประเทศไทยรับเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ประจำปี พ.ศ. 2566 (20th International Junior Science Olympiad) เนื่องจากประเทศไทยเราได้มีส่วนร่วมในการส่งนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นไปร่วมแข่งขันมาตั้งแต่ครั้งแรกตลอด 20 ปีที่ผ่านมา และยังไม่เคยเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน และในปีนี้ พ.ศ. 2566 ถือเป็นการเฉลิมพระเกียรติเนื่องในวาระครบ 100 ปี วันประสูติสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และการที่ท่านได้รับการรับรองพระนามเป็นบุคคลสำคัญของโลกจากองค์การยูเนสโก และเป็นองค์ประธานมูลนิธิตอนจัดตั้งฯ ในปีพ.ศ. 2542 ทางมูลนิธิฯ จึงเล็งเห็นว่าน่าจะเป็นโอกาสอันดีที่ประเทศไทยยินดีจะรับโอกาสเป็นเจ้าภาพการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 สำหรับการคัดเลือกนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นตัวแทนประเทศไทย ทางมูลนิธิฯ และ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ร่วมกันรับสมัคร ซึ่งในปีนี้มีนักเรียนทั่วประเทศประมาณ 10,500 คน ในรอบแรกหลังจากนั้นมีการสอบเพื่อคัดกรองเพื่อให้เหลือจำนวน 300 คน และจากนั้นมีการสอบคัดกรองอีกครั้งเพื่อให้เหลือ 30 คน และนำมาเตรียมความพร้อมโดยการเพิ่มทักษะความรู้ความสามารถเพื่อที่จะไปแข่งขันในระดับเวทีนานาชาติต่อไป และในขณะนี้อยู่ในขั้นตอนสุดท้ายที่กำลังคัดสรรหาตัวแทนประเทศไทย ในด้านการเตรียมความพร้อมในการเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันในครั้งนี้ ทางมูลนิธิฯและสสวท. มีการเตรียมการตั้งแต่ยื่นความจำนงที่จะเป็นเจ้าภาพมาในระยะเวลาหลายปี และเห็นว่าคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มีความพร้อมในหลายระดับทั้งบุคลากรที่จะมาจัดการแข่งขัน บุคลากรทางด้านวิชาการ และสถานที่ที่เหมาะสม เหมาะที่จะต้อนรับนักเรียนจากทั่วโลกและผู้ที่สนใจหรือเกี่ยวข้องได้ และทางมูลนิธิฯ กับมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒได้จัดตั้งคณะทำงานหลากหลายส่วน โดยเฉพาะคณะกรรมการวิชาการที่จะทำหน้าที่ในการออกข้อสอบสำหรับการแข่งขันในครั้งนี้ เนื่องจากการแข่งขันในครั้งนี้เป็นการสอบในราย 3 วิชา คือ วิชาเคมี ชีววิทยา และฟิสิกส์ ในการแข่งขันจะประกอบไปด้วยภาคทฤษฎีและภาคภาคปฏิบัติ ซึ่งในด้านการปฏิบัติจะเป็นการประยุกต์นำทั้ง 3 วิชาเข้าด้วยกัน และมีการตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อสอบ มาตรฐานของข้อสอบ จึงกล่าวได้ว่า ประเทศไทยมีความพร้อมแล้วที่จะเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันในครั้งที่ 20 นี้ และมั่นใจว่าประเทศไทยจะสามารถจัดการแข่งขันได้อย่างดีที่สุด” รองศาสตราจารย์ ดร.พินิติ รตะนานุกูล กล่าวทิ้งท้าย ทางด้านดร.อาทิตยา ปัญญา ผู้อำนวยการศูนย์บริหารงานการพัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ กล่าวถึงบทบาทของ กระทรวงศึกษาธิการ และ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ในครั้งนี้ “กระทรวงศึกษาธิการเป็นหน่วยงานที่ส่งเสริมการจัดการศึกษา เพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ โดยกำหนดนโยบายและแผนปฏิบัติการต่าง ๆ เพื่อรองรับการพัฒนาและการเปลี่ยนแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21 ซึ่ง สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้นำนโยบายและแผนปฏิบัติการต่าง ๆ มาดำเนินการเพื่อพัฒนาโดยเฉพาะด้านขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศที่ยังอยู่ในระดับที่ต้องพัฒนาให้มีมาตรฐานเทียบเท่าระดับมาตรฐานสากล เพื่อความมั่นคงและยั่งยืน และเป็นที่ยอมรับในระดับสากล โดยเฉพาะด้านการจัดการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ที่ต้องพัฒนา เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์เพื่อผลิตและพัฒนากำลังคนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มีความสามารถในระดับสากล สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ร่วมกับ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการและพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (สอวน.) สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) และสถาบันอุดมศึกษา พัฒนาครูและนักเรียน โดยจัดตั้งศูนย์ สอวน. ค่าย 1 ในโรงเรียนที่มีศักยภาพ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อดำเนินการอบรมนักเรียนจากทั่วทุกภูมิภาค ให้มีโอกาสเข้ารับการพัฒนาศักยภาพให้มีมาตรฐานระดับสากล ปัจจุบันมีศูนย์ สอวน. ค่าย 1 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน วิชาฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา คณิตศาสตร์และคอมพิวเตอร์ จำนวน 128 โรงเรียน กระจายอยู่ทั่วทุกภูมิภาค ทั้งนี้คุณครูที่เข้ารับการพัฒนามาจากโรงเรียนทุกประเภทและทุกขนาด เพื่อโอกาสในการเข้าถึงความรู้ตามแนวทางหลักสูตรโอลิมปิกวิชาการ โดยการอบรมพัฒนาครูจะเน้นภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติอย่างเข้มข้น รวมทั้งการติดตามผลการนำความรู้ที่ได้รับการอบรมพัฒนาไปจัดการเรียนการสอนตามแนวทางของหลักสูตรโอลิมปิกวิชาการได้อย่างถูกต้องตามหลักการผลจากการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรโอลิมปิกวิชาการ พบว่า มีนักเรียนสอบผ่านเข้าค่าย 1 สอวน. จากทั่วทุกภูมิภาค ทุกขนาด โดยเฉพาะโรงเรียนที่อยู่ในพื้นที่ชายขอบและถิ่นทุรกันดารก็สามารถพัฒนามาตรฐานโดยผ่านการคัดเลือกเข้าค่าย 1 ได้มากขึ้นทุก ๆ ปี ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายด้านการลดความเหลื่อมล้ำในด้านการจัดการศึกษา และในปี พ.ศ. 2565 มีนักเรียนในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ได้รับคัดเลือกเป็นผู้แทนประเทศไทยไปแข่งขันโอลิมปิกวิชาการระหว่างประเทศ ในวิชาต่าง ๆ จำนวนทั้งสิ้น 31 คน โดยทุกคน ได้รับรางวัล ดังนี้ รางวัลเหรียญทอง จำนวน 6 คน รางวัลเหรียญเงิน จำนวน 11 คน รางวัลเหรียญทองแดง จำนวน 7 คนเกียรติคุณประกาศ จำนวน 6 คน และรางวัลพิเศษ จำนวน 1 คน (Poster Awards) การดูแลนักเรียนที่เข้าร่วมการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ประจำปี พ.ศ. 2566 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ร่วมกับ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการและ พัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (สอวน.) และสถาบันอุดมศึกษา ดูแลนักเรียนที่ผ่านการคัดเลือกเข้าค่าย โดยการให้การสนับสนุนงบประมาณด้านอาหารและที่พักรวมทั้งการดูแลนักเรียนที่อยู่ในค่ายเน้นการพัฒนาในทุกมิติรวมทั้งด้านความปลอดภัยโดยอำนวยความสะดวกในด้านต่างๆ ให้นักเรียนสามารถเรียนรู้ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติการเติมเต็มประสบการณ์ด้านต่าง ๆ ให้นักเรียนแต่ละคนได้พัฒนาเต็มศักยภาพ รวมทั้งการใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข มุ่งเน้นคุณธรรมและจริยธรรมสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ยังคงมุ่งมั่นพัฒนานักเรียนและครูทั่วทุกภูมิภาค เพื่อยกระดับมาตรฐานการจัดการศึกษาด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ให้เทียบเท่ามาตรฐานสากล เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศและลดความเหลื่อมล้ำในการจัดการศึกษาให้แก่เด็กที่อยู่ในภูมิภาคที่มีความแตกต่างกัน” ศาสตราจารย์ ดร.ปรินทร์ ชัยวิสุทธางกูร คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ได้กล่าวถึงความพร้อมของสถานที่ในการจัดการแข่งขันฯ ว่า “มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มีความพร้อมในการต้อนรับผู้เข้าร่วมแข่งขันจากทั้ง 55 ประเทศ โดยแต่ละประเทศส่งนักเรียนเข้าร่วมการแข่งขัน 6 คน รวมทั้งมีครูผู้คุมทีมประเทศละ 3 คน รวมเป็น 9 คนจากแต่ละประเทศ และในเบื้องต้นข้อสอบปฏิบัติการ ทางคณาจารย์ของคณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ถือเป็นผู้ออกข้อสอบหลัก ตอนนี้ได้ทำการออกข้อสอบไปถึง 80% แล้ว ทั้งนี้เพื่อให้มั่นใจว่า ข้อสอบมีมาตรฐานในระดับนานาชาติ และในเรื่องของห้องปฏิบัติการตอนนี้มีการเตรียมความพร้อมโดยทำการปรับปรุงห้อง lab ให้มีมาตรฐานในระดับนานาชาติ ได้รับการสนับสนุนจากท่านอธิการบดี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ รศ.ดร.สมชาย สันติวัฒนกุล รวมทั้งท่านรองอธิการบดีอีกหลายท่านที่ได้ร่วมผลักดันสนับสนุนจนกระทั่งได้ห้องปฏิบัติการที่มีความพร้อมในการจัดการแข่งขัน เพื่อให้มีความพร้อมที่จะจัดการแข่งขัน แต่ในส่วนของข้อสอบบรรยายนอกจากทางมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒที่เป็นผู้ออกข้อสอบแล้ว ยังได้รับความอนุเคราะห์จากมหาวิทยาลัยมหิดล และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในการร่วมกันออกข้อสอบ มีความพร้อมได้ถึง 80% แล้วเช่นเดียวกัน และนี่คือความพร้อมทางฝั่งของการเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันฯ ในครั้งนี้” และสุดท้ายนี้ได้รับเกียรติจาก President IJSO E. H.M.H. Emiel de Klejin National Coordinator Olympiad Netherlands ที่ได้มากล่าวถึงบทบาทของ IJSO และความร่วมมือกับประเทศไทยในครั้งนี้ว่า “ประเทศไทยเริ่มเข้าร่วมการแข่งขันโอลิมปิกนานาชาติตั้งแต่ปี ค.ศ. 1989 โดยในการแข่งขันคณิตศาสตร์โอลิมปิก และปัจจุบันเข้าร่วมทั้งหมด 9 โอลิมปิก และยังได้เป็นเจ้าภาพโอลิมปิกนานาชาติแล้วถึง 9 ครั้ง ตั้งแต่การเริ่มต้น IJSO ในปี 2004 ที่ประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งประเทศไทยก็ได้เข้าร่วม IJSO มาทุกครั้ง IJSO เป็นการแข่งขันทางวิชาการโดยมีการบูรณาการการสอบทางด้านชีววิทยา เคมี และฟิสิกส์ ทั้งทางด้านทฤษฎีและปฏิบัติการ โดยข้อสอบได้มีการออกแบบมาเพื่อวัดความเข้าใจทางด้านแนวคิด ต่าง ๆ และความสามารถในการประยุกต์ใช้แนวความคิดต่างๆ ต่อสถานการณ์ที่ได้กำหนดไว้ในโจทย์ข้อสอบทฤษฎีเป็นการทำงานแบบเดี่ยว แต่ข้อสอบปฏิบัติการเป็นการทำงานแบบเป็นทีม ความรู้ย่อมสำคัญในวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แต่ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่นในทีมหลากหลายสาขาวิชาก็สำคัญเช่นกัน โดยทักษะทั้ง 2 ด้านมีบทบาทที่สำคัญในการแข่งขัน IJSO ทำให้การแข่งนั้นนี้มีความพิเศษเมื่อเทียบกับการแข่งขันอื่น ๆ เพราะการแก้ปัญหา การคิดวิเคราะห์ การทำงานเป็นทีม และการทดลองทางวิทยาศาสตร์คือหลักในการแข่งขันทางวิชาการนี้ อีกวัตถุประสงค์ของ IJSO ซึ่งมีความสำคัญไม่แพ้กับวัตถุประสงค์ด้านวิชาการ ก็คือการสนับสนุนให้เยาวชนได้เรียนรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมที่หลากหลาย เพิ่มปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักเรียนทั่วโลก ให้มีเพื่อนจากต่างประเทศตั้งแต่ยังอายุน้อย มีบทบาทความสำคัญทั้งในสังคมวิทยาศาสตร์และการพัฒนาส่วนตัว อีกทั้งยังมีศักยภาพในการนำไปสู่สันติภาพของโลกและการเข้าใจกันและกัน วัตถุประสงค์ 2 อย่างนี้ ทำให้งาน IJSO เป็นเหตุการณ์ความเปลี่ยนแปลงในชีวิตสำหรับผู้เข้าร่วมการแข่งขันแบบนี้ โดยมีความร่วมมือกันข้ามขอบเขตประเทศ ช่วยส่งเสริมผู้ที่มีความสามารถพิเศษ ซึ่งเป็นสิ่งที่เราต้องการอย่างยิ่งในโลกปัจจุบัน ทั้งนี้ ทุกท่านสามารถติดตามข่าวสารการจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ประจำปี พ.ศ. 2566 พร้อมร่วมส่งกำลังใจให้กับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นตัวแทนประเทศไทยได้ที่เฟซบุ๊ก คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ EZ Webmaster Related Posts ฟื้นO-NETเข้ามหา’ลัยเรื่องยาก อธิการบดี มรภ.นครราชสีมาแนะศธ.ใช้เข้าเรียนต่อม.1/ม.4 เรียนที่เดียวได้ถึง 2 วุฒิ สาขาวิชาวิศวกรรมสำรวจ ม.เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เปิดรับสมัครรอบที่ 2.3 ระบบ Quota TCAS68 โรงพยาบาลศูนย์การแพทย์มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เปิดให้ 25 ทุน เรียนฟรีผู้ช่วยพยาบาล ปิดเทอมนี้ สสวท. กระตุ้นต่อมคิดพิชิตปัญหาฟิสิกส์หรรษา กับ “ไขปริศนาวิทยากล” Post navigation PREVIOUS Previous post: ลอรีอัล เปิดรับสมัครชิงทุนวิจัย “เพื่อสตรีในงานวิทยาศาสตร์” ครั้งที่ 21 พร้อมเสริมแกร่งเครือข่ายครอบครัวนักวิจัยสตรีไทยในงาน Conversations with the FellowsNEXT Next post: 10 จังหวัดที่เจริญที่สุดในไทย 2565 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
สกสค. ร่วมกับ CP All มอบ 100 ทุนเรียนฟรี 100% ระดับ ปวช. ปวส. และปริญญาตรี EZ WebmasterMarch 21, 2025 กสค. ร่วมกับ CP All มอบทุนเรียนฟรี !! 100% ล่าสุดขยายโอกาสเพิ่มอีก 9 สาขาใหม่ เพิ่มทางเลือกให้เยาวชนก้าวไกล ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ศึกษาที่วิทยาลัยปัญญาภิวัฒน์ และศูนย์การเรียนฯ ทั่วประเทศ 20 แห่ง ทุนการศึกษาระดับ… ให้ทุนเยาวชน ODOS Summer Camp ไปเรียนซัมเมอร์ต่างประเทศ 6 สัปดาห์ เริ่มสมัครได้ 24 มี.ค.นี้ EZ WebmasterMarch 21, 2025 ODOS Summer Camp ทุนการศึกษาระยะสั้น 6 สัปดาห์ เพื่อกระจายโอกาสให้เด็กไทยทุกคนได้มีโอกาสไปเรียนซัมเมอร์ต่างประเทศ เปิดหูเปิดตา ค้นหาตัวตน และสร้างแรงบันดาลใจในการเรียนรู้ โดยไม่จำเป็นต้องเป็นเด็กเก่ง เด็กเรียน หรือเด็กหน้าห้อง เปิดรับเยาวชนที่มีคุณสมบัติดังนี้ – สัญชาติไทย – อายุไม่เกิน… ธนาคารแห่งประเทศไทย เปิดรับสมัครทุนระดับปริญญาโทขึ้นไป เรียนต่อที่ประเทศอังกฤษ EZ WebmasterMarch 17, 2025 ประกาศเปิดรับสมัครทุนการศึกษา Dr. Puey Ungphakorn Centenary Scholarship ประจำปี 2568 ธนาคารแห่งประเทศไทย เปิดรับสมัครทุนการศึกษาระดับปริญญาโทขึ้นไป เพื่อศึกษาต่อที่ The London School of Economics and Political… ครู-อาจารย์ มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค EZ WebmasterMarch 21, 2025 ศาสตราจารย์ นายแพทย์ปิยะมิตร ศรีธรา อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า ปัจจุบันโลกกำลังเผชิญกับกระแสความเปลี่ยนแปลงใหญ่ๆ ใน 6 มิติ 1. สังคมสูงวัย (Aging Society) ในอีก 8 ปีข้างหน้า ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุระดับสุดยอด (Super… รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน EZ WebmasterMarch 21, 2025 รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน พร้อมจ่ายเงินอุดหนุนการศึกษาและพัฒนาอาชีพ ผ่านกสศ. ขณะที่ Microsoft หนุน ศูนย์ดิจิทัลชุมชน ยกระดับทักษะAI เพิ่มโอกาสมีงานทำ พร้อมจับมือ UNICEF สร้าง 1… Kahoot! เปิดตัว Kahoot! Energize ปฏิวัติการประชุมให้มีพลังและสร้างผลกระทบที่เหนือกว่า EZ WebmasterMarch 21, 2025 เปลี่ยนทุกการนำเสนอในที่ทำงานให้กลายเป็นการสื่อสารสองทาง สร้างประสบการณ์ที่น่าสนใจ เต็มไปด้วยความมีชีวิตชีวาและการมีส่วนร่วมที่แท้จริง กระตุ้นการมีส่วนร่วมจากผู้ฟังและขับเคลื่อน ผลลัพธ์ทางธุรกิจไปอีกขั้นด้วย Kahoot! Energize Kahoot! (คาฮู้ด) ผู้นำด้านการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมระดับโลกได้เปิดตัวเครื่องมือใหม่ Kahoot! Energize ที่จะเปลี่ยนทุกการประชุม การฝึกอบรม หรือกิจกรรมต่างๆ ให้กลายเป็นช่วงเวลาที่เต็มไปด้วยพลังและความสนุก พร้อมกระตุ้นการมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ สร้างผลกระทบที่มีความหมาย และขับเคลื่อนธุรกิจไปข้างหน้า การพัฒนา Kahoot! Energize ต่อยอดจากรูปแบบการเรียนรู้และการมีส่วนร่วม อันเป็นเอกลักษณ์ที่ได้รับความนิยมของ Kahoot! แต่เพิ่มความสามารถในการใช้งานในสภาพแวดล้อมการทำงานที่หลากหลาย… สมศ. เน้นย้ำการประเมินคุณภาพภายนอก ปี 67-71 ลดวันประเมิน On site ขยายสู่รูปแบบออนไลน์ สร้างมาตรฐานในการแข่งขันระดับอาเซียน EZ WebmasterMarch 20, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยในการประชุมรับฟังความคิดเห็น (ร่าง) กรอบแนวทางการประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษาที่จัดการเรียนรู้ในสังกัดกรมส่งเสริมการเรียนรู้ (สกร.) โดยเน้นย้ำเรื่อง “แนวคิดและทิศทางการประกันคุณภาพภายนอก” ว่า การประกันคุณภาพภายนอกไม่ใช่เป็น “การตรวจสอบ” แต่เป็นเครื่องมือที่ช่วยส่งเสริมการพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษาอย่างแท้จริง… กิจกรรม โรงเรียนฝึกอาชีพ กทม. เปิดสอนอาชีพ หลักสูตร 200 ชั่วโมง เรียนจบมีใบรับรอง สร้างอาชีพได้จริง EZ WebmasterMarch 22, 2025 โรงเรียนฝึกอาชีพ กทม. เปิดสอนอาชีพ หลักสูตร 200 ชั่วโมง ได้เรียนปฏิบัติเน้น ๆ มีให้เลือกเรียนทุกสาขาวิชา เรียนจบมีใบรับรองให้ เอาไปสร้างอาชีพได้จริง ค่าเรียนเริ่มต้นคอร์สละ 105 บาท (มีทั้งรอบเช้า / บ่าย /… รวมพลังสีชมพูจุฬาฯ กลับบ้านสู่ร่มจามจุรี ในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” EZ WebmasterMarch 14, 2025 สมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (สนจ.) เชิญชวนชาวจุฬาฯ ทั้งนิสิตเก่าและนิสิตปัจจุบัน เดินทางกลับบ้านในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” ร่วมฉลองวาระสำคัญ ครบรอบ 108 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในบรรยากาศแห่งความรักความสามัคคี และความผูกพันของเหล่าน้องพี่สีชมพู ภายใต้ร่มเงาของจามจุรี นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย… สจล. ผนึกกำลังตำรวจภูธรภาค 2 และบริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จำกัด (สำนักงานใหญ่) พัฒนาโครงการ “AI Robot รับแจ้งความ” ประมวลผลถูกต้องและมีประสิทธิภาพ EZ WebmasterMarch 13, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี ร่วมด้วยพลตำรวจโท ยิ่งยศ เทพจำนงค์ (คนที่ 3 จากซ้าย) ผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 2… สจล. ร่วมกับกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน มุ่งยกระดับฝีมือแรงงาน สอดคล้องความต้องการในอนาคต EZ WebmasterMarch 10, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี และนายเดชา พฤกษ์พัฒนรักษ์ (คนที่ 3 จากซ้าย) อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ได้ลงในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการร่วมกัน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่นักศึกษาของสถาบันก่อนเข้าสู่ตลาดแรงงานในสาขาอาชีพต่าง… Search for: Search EZ Webmaster May 11, 2023 EZ Webmaster May 11, 2023 คณะวิทยาศาสตร์ มศว เตรียมความพร้อม งานระดับนานาชาติ เจ้าภาพจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประเทศไทย ได้เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ระหว่างวันที่ 1 – 10 ธันวาคม 2566 โดยได้รับความร่วมมือจากหลายภาคส่วนในประเทศ ได้แก่ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการ และพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (มูลนิธิ สอวน.), สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), ศูนย์บริหารงานการพัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.), National Coordinator Olympiad Netherlands และคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยภายในงานได้รับเกียรติจากรองศาสตราจารย์ ดร.พินิติ รตะนานุกูล กรรมการและเลขาธิการ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการ และพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เล่าถึงความเป็นมาของการจัดการแข่งขันโอลิมปิกวิชาการระดับมัธยมต้นว่า “เมื่อ 20 ปีก่อนได้มีกลุ่มนักวิชาการที่เล็งเห็นความสำคัญของการกระตุ้นให้นักเรียนมีความสนใจในด้าน วิทยาศาสตร์มากขึ้น คิดว่าน่าจะมีเวทีให้นักเรียนเหล่านี้ได้มาแสดงความสามารถในเชิงวิชาการ จึงได้จัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในเวทีนานาชาติครั้งแรกที่ประเทศอินโดนีเชีย และในช่วงนั้นประเทศไทยก็ได้รับเชิญให้เข้าร่วมการแข่งขันด้วย ตั้งแต่ครั้งนั้นเราจึงได้ส่งทีมนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นไปแข่งขัน ซึ่งการที่มีเวทีลักษณะนี้ ถือเป็นการเปิดโอกาสให้นักเรียนที่มีความสนใจและอยากเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ได้มีแรงผลักดันที่จะสร้างศักยภาพของตนเองให้มากขึ้น เพื่อที่จะก้าวเข้าสู่เวทีการแข่งขันในระดับวิชาการในระดับนานาชาติต่อไป” “ในครั้งนี้ที่ประเทศไทยรับเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ประจำปี พ.ศ. 2566 (20th International Junior Science Olympiad) เนื่องจากประเทศไทยเราได้มีส่วนร่วมในการส่งนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นไปร่วมแข่งขันมาตั้งแต่ครั้งแรกตลอด 20 ปีที่ผ่านมา และยังไม่เคยเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน และในปีนี้ พ.ศ. 2566 ถือเป็นการเฉลิมพระเกียรติเนื่องในวาระครบ 100 ปี วันประสูติสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และการที่ท่านได้รับการรับรองพระนามเป็นบุคคลสำคัญของโลกจากองค์การยูเนสโก และเป็นองค์ประธานมูลนิธิตอนจัดตั้งฯ ในปีพ.ศ. 2542 ทางมูลนิธิฯ จึงเล็งเห็นว่าน่าจะเป็นโอกาสอันดีที่ประเทศไทยยินดีจะรับโอกาสเป็นเจ้าภาพการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 สำหรับการคัดเลือกนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นตัวแทนประเทศไทย ทางมูลนิธิฯ และ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ร่วมกันรับสมัคร ซึ่งในปีนี้มีนักเรียนทั่วประเทศประมาณ 10,500 คน ในรอบแรกหลังจากนั้นมีการสอบเพื่อคัดกรองเพื่อให้เหลือจำนวน 300 คน และจากนั้นมีการสอบคัดกรองอีกครั้งเพื่อให้เหลือ 30 คน และนำมาเตรียมความพร้อมโดยการเพิ่มทักษะความรู้ความสามารถเพื่อที่จะไปแข่งขันในระดับเวทีนานาชาติต่อไป และในขณะนี้อยู่ในขั้นตอนสุดท้ายที่กำลังคัดสรรหาตัวแทนประเทศไทย ในด้านการเตรียมความพร้อมในการเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันในครั้งนี้ ทางมูลนิธิฯและสสวท. มีการเตรียมการตั้งแต่ยื่นความจำนงที่จะเป็นเจ้าภาพมาในระยะเวลาหลายปี และเห็นว่าคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มีความพร้อมในหลายระดับทั้งบุคลากรที่จะมาจัดการแข่งขัน บุคลากรทางด้านวิชาการ และสถานที่ที่เหมาะสม เหมาะที่จะต้อนรับนักเรียนจากทั่วโลกและผู้ที่สนใจหรือเกี่ยวข้องได้ และทางมูลนิธิฯ กับมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒได้จัดตั้งคณะทำงานหลากหลายส่วน โดยเฉพาะคณะกรรมการวิชาการที่จะทำหน้าที่ในการออกข้อสอบสำหรับการแข่งขันในครั้งนี้ เนื่องจากการแข่งขันในครั้งนี้เป็นการสอบในราย 3 วิชา คือ วิชาเคมี ชีววิทยา และฟิสิกส์ ในการแข่งขันจะประกอบไปด้วยภาคทฤษฎีและภาคภาคปฏิบัติ ซึ่งในด้านการปฏิบัติจะเป็นการประยุกต์นำทั้ง 3 วิชาเข้าด้วยกัน และมีการตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อสอบ มาตรฐานของข้อสอบ จึงกล่าวได้ว่า ประเทศไทยมีความพร้อมแล้วที่จะเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันในครั้งที่ 20 นี้ และมั่นใจว่าประเทศไทยจะสามารถจัดการแข่งขันได้อย่างดีที่สุด” รองศาสตราจารย์ ดร.พินิติ รตะนานุกูล กล่าวทิ้งท้าย ทางด้านดร.อาทิตยา ปัญญา ผู้อำนวยการศูนย์บริหารงานการพัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ กล่าวถึงบทบาทของ กระทรวงศึกษาธิการ และ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ในครั้งนี้ “กระทรวงศึกษาธิการเป็นหน่วยงานที่ส่งเสริมการจัดการศึกษา เพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ โดยกำหนดนโยบายและแผนปฏิบัติการต่าง ๆ เพื่อรองรับการพัฒนาและการเปลี่ยนแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21 ซึ่ง สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้นำนโยบายและแผนปฏิบัติการต่าง ๆ มาดำเนินการเพื่อพัฒนาโดยเฉพาะด้านขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศที่ยังอยู่ในระดับที่ต้องพัฒนาให้มีมาตรฐานเทียบเท่าระดับมาตรฐานสากล เพื่อความมั่นคงและยั่งยืน และเป็นที่ยอมรับในระดับสากล โดยเฉพาะด้านการจัดการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ที่ต้องพัฒนา เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์เพื่อผลิตและพัฒนากำลังคนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มีความสามารถในระดับสากล สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ร่วมกับ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการและพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (สอวน.) สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) และสถาบันอุดมศึกษา พัฒนาครูและนักเรียน โดยจัดตั้งศูนย์ สอวน. ค่าย 1 ในโรงเรียนที่มีศักยภาพ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อดำเนินการอบรมนักเรียนจากทั่วทุกภูมิภาค ให้มีโอกาสเข้ารับการพัฒนาศักยภาพให้มีมาตรฐานระดับสากล ปัจจุบันมีศูนย์ สอวน. ค่าย 1 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน วิชาฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา คณิตศาสตร์และคอมพิวเตอร์ จำนวน 128 โรงเรียน กระจายอยู่ทั่วทุกภูมิภาค ทั้งนี้คุณครูที่เข้ารับการพัฒนามาจากโรงเรียนทุกประเภทและทุกขนาด เพื่อโอกาสในการเข้าถึงความรู้ตามแนวทางหลักสูตรโอลิมปิกวิชาการ โดยการอบรมพัฒนาครูจะเน้นภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติอย่างเข้มข้น รวมทั้งการติดตามผลการนำความรู้ที่ได้รับการอบรมพัฒนาไปจัดการเรียนการสอนตามแนวทางของหลักสูตรโอลิมปิกวิชาการได้อย่างถูกต้องตามหลักการผลจากการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรโอลิมปิกวิชาการ พบว่า มีนักเรียนสอบผ่านเข้าค่าย 1 สอวน. จากทั่วทุกภูมิภาค ทุกขนาด โดยเฉพาะโรงเรียนที่อยู่ในพื้นที่ชายขอบและถิ่นทุรกันดารก็สามารถพัฒนามาตรฐานโดยผ่านการคัดเลือกเข้าค่าย 1 ได้มากขึ้นทุก ๆ ปี ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายด้านการลดความเหลื่อมล้ำในด้านการจัดการศึกษา และในปี พ.ศ. 2565 มีนักเรียนในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ได้รับคัดเลือกเป็นผู้แทนประเทศไทยไปแข่งขันโอลิมปิกวิชาการระหว่างประเทศ ในวิชาต่าง ๆ จำนวนทั้งสิ้น 31 คน โดยทุกคน ได้รับรางวัล ดังนี้ รางวัลเหรียญทอง จำนวน 6 คน รางวัลเหรียญเงิน จำนวน 11 คน รางวัลเหรียญทองแดง จำนวน 7 คนเกียรติคุณประกาศ จำนวน 6 คน และรางวัลพิเศษ จำนวน 1 คน (Poster Awards) การดูแลนักเรียนที่เข้าร่วมการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ประจำปี พ.ศ. 2566 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ร่วมกับ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการและ พัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (สอวน.) และสถาบันอุดมศึกษา ดูแลนักเรียนที่ผ่านการคัดเลือกเข้าค่าย โดยการให้การสนับสนุนงบประมาณด้านอาหารและที่พักรวมทั้งการดูแลนักเรียนที่อยู่ในค่ายเน้นการพัฒนาในทุกมิติรวมทั้งด้านความปลอดภัยโดยอำนวยความสะดวกในด้านต่างๆ ให้นักเรียนสามารถเรียนรู้ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติการเติมเต็มประสบการณ์ด้านต่าง ๆ ให้นักเรียนแต่ละคนได้พัฒนาเต็มศักยภาพ รวมทั้งการใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข มุ่งเน้นคุณธรรมและจริยธรรมสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ยังคงมุ่งมั่นพัฒนานักเรียนและครูทั่วทุกภูมิภาค เพื่อยกระดับมาตรฐานการจัดการศึกษาด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ให้เทียบเท่ามาตรฐานสากล เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศและลดความเหลื่อมล้ำในการจัดการศึกษาให้แก่เด็กที่อยู่ในภูมิภาคที่มีความแตกต่างกัน” ศาสตราจารย์ ดร.ปรินทร์ ชัยวิสุทธางกูร คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ได้กล่าวถึงความพร้อมของสถานที่ในการจัดการแข่งขันฯ ว่า “มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มีความพร้อมในการต้อนรับผู้เข้าร่วมแข่งขันจากทั้ง 55 ประเทศ โดยแต่ละประเทศส่งนักเรียนเข้าร่วมการแข่งขัน 6 คน รวมทั้งมีครูผู้คุมทีมประเทศละ 3 คน รวมเป็น 9 คนจากแต่ละประเทศ และในเบื้องต้นข้อสอบปฏิบัติการ ทางคณาจารย์ของคณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ถือเป็นผู้ออกข้อสอบหลัก ตอนนี้ได้ทำการออกข้อสอบไปถึง 80% แล้ว ทั้งนี้เพื่อให้มั่นใจว่า ข้อสอบมีมาตรฐานในระดับนานาชาติ และในเรื่องของห้องปฏิบัติการตอนนี้มีการเตรียมความพร้อมโดยทำการปรับปรุงห้อง lab ให้มีมาตรฐานในระดับนานาชาติ ได้รับการสนับสนุนจากท่านอธิการบดี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ รศ.ดร.สมชาย สันติวัฒนกุล รวมทั้งท่านรองอธิการบดีอีกหลายท่านที่ได้ร่วมผลักดันสนับสนุนจนกระทั่งได้ห้องปฏิบัติการที่มีความพร้อมในการจัดการแข่งขัน เพื่อให้มีความพร้อมที่จะจัดการแข่งขัน แต่ในส่วนของข้อสอบบรรยายนอกจากทางมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒที่เป็นผู้ออกข้อสอบแล้ว ยังได้รับความอนุเคราะห์จากมหาวิทยาลัยมหิดล และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในการร่วมกันออกข้อสอบ มีความพร้อมได้ถึง 80% แล้วเช่นเดียวกัน และนี่คือความพร้อมทางฝั่งของการเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันฯ ในครั้งนี้” และสุดท้ายนี้ได้รับเกียรติจาก President IJSO E. H.M.H. Emiel de Klejin National Coordinator Olympiad Netherlands ที่ได้มากล่าวถึงบทบาทของ IJSO และความร่วมมือกับประเทศไทยในครั้งนี้ว่า “ประเทศไทยเริ่มเข้าร่วมการแข่งขันโอลิมปิกนานาชาติตั้งแต่ปี ค.ศ. 1989 โดยในการแข่งขันคณิตศาสตร์โอลิมปิก และปัจจุบันเข้าร่วมทั้งหมด 9 โอลิมปิก และยังได้เป็นเจ้าภาพโอลิมปิกนานาชาติแล้วถึง 9 ครั้ง ตั้งแต่การเริ่มต้น IJSO ในปี 2004 ที่ประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งประเทศไทยก็ได้เข้าร่วม IJSO มาทุกครั้ง IJSO เป็นการแข่งขันทางวิชาการโดยมีการบูรณาการการสอบทางด้านชีววิทยา เคมี และฟิสิกส์ ทั้งทางด้านทฤษฎีและปฏิบัติการ โดยข้อสอบได้มีการออกแบบมาเพื่อวัดความเข้าใจทางด้านแนวคิด ต่าง ๆ และความสามารถในการประยุกต์ใช้แนวความคิดต่างๆ ต่อสถานการณ์ที่ได้กำหนดไว้ในโจทย์ข้อสอบทฤษฎีเป็นการทำงานแบบเดี่ยว แต่ข้อสอบปฏิบัติการเป็นการทำงานแบบเป็นทีม ความรู้ย่อมสำคัญในวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แต่ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่นในทีมหลากหลายสาขาวิชาก็สำคัญเช่นกัน โดยทักษะทั้ง 2 ด้านมีบทบาทที่สำคัญในการแข่งขัน IJSO ทำให้การแข่งนั้นนี้มีความพิเศษเมื่อเทียบกับการแข่งขันอื่น ๆ เพราะการแก้ปัญหา การคิดวิเคราะห์ การทำงานเป็นทีม และการทดลองทางวิทยาศาสตร์คือหลักในการแข่งขันทางวิชาการนี้ อีกวัตถุประสงค์ของ IJSO ซึ่งมีความสำคัญไม่แพ้กับวัตถุประสงค์ด้านวิชาการ ก็คือการสนับสนุนให้เยาวชนได้เรียนรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมที่หลากหลาย เพิ่มปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักเรียนทั่วโลก ให้มีเพื่อนจากต่างประเทศตั้งแต่ยังอายุน้อย มีบทบาทความสำคัญทั้งในสังคมวิทยาศาสตร์และการพัฒนาส่วนตัว อีกทั้งยังมีศักยภาพในการนำไปสู่สันติภาพของโลกและการเข้าใจกันและกัน วัตถุประสงค์ 2 อย่างนี้ ทำให้งาน IJSO เป็นเหตุการณ์ความเปลี่ยนแปลงในชีวิตสำหรับผู้เข้าร่วมการแข่งขันแบบนี้ โดยมีความร่วมมือกันข้ามขอบเขตประเทศ ช่วยส่งเสริมผู้ที่มีความสามารถพิเศษ ซึ่งเป็นสิ่งที่เราต้องการอย่างยิ่งในโลกปัจจุบัน ทั้งนี้ ทุกท่านสามารถติดตามข่าวสารการจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ประจำปี พ.ศ. 2566 พร้อมร่วมส่งกำลังใจให้กับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นตัวแทนประเทศไทยได้ที่เฟซบุ๊ก คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ EZ Webmaster Related Posts ฟื้นO-NETเข้ามหา’ลัยเรื่องยาก อธิการบดี มรภ.นครราชสีมาแนะศธ.ใช้เข้าเรียนต่อม.1/ม.4 เรียนที่เดียวได้ถึง 2 วุฒิ สาขาวิชาวิศวกรรมสำรวจ ม.เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เปิดรับสมัครรอบที่ 2.3 ระบบ Quota TCAS68 โรงพยาบาลศูนย์การแพทย์มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เปิดให้ 25 ทุน เรียนฟรีผู้ช่วยพยาบาล ปิดเทอมนี้ สสวท. กระตุ้นต่อมคิดพิชิตปัญหาฟิสิกส์หรรษา กับ “ไขปริศนาวิทยากล” Post navigation PREVIOUS Previous post: ลอรีอัล เปิดรับสมัครชิงทุนวิจัย “เพื่อสตรีในงานวิทยาศาสตร์” ครั้งที่ 21 พร้อมเสริมแกร่งเครือข่ายครอบครัวนักวิจัยสตรีไทยในงาน Conversations with the FellowsNEXT Next post: 10 จังหวัดที่เจริญที่สุดในไทย 2565 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ให้ทุนเยาวชน ODOS Summer Camp ไปเรียนซัมเมอร์ต่างประเทศ 6 สัปดาห์ เริ่มสมัครได้ 24 มี.ค.นี้ EZ WebmasterMarch 21, 2025 ODOS Summer Camp ทุนการศึกษาระยะสั้น 6 สัปดาห์ เพื่อกระจายโอกาสให้เด็กไทยทุกคนได้มีโอกาสไปเรียนซัมเมอร์ต่างประเทศ เปิดหูเปิดตา ค้นหาตัวตน และสร้างแรงบันดาลใจในการเรียนรู้ โดยไม่จำเป็นต้องเป็นเด็กเก่ง เด็กเรียน หรือเด็กหน้าห้อง เปิดรับเยาวชนที่มีคุณสมบัติดังนี้ – สัญชาติไทย – อายุไม่เกิน… ธนาคารแห่งประเทศไทย เปิดรับสมัครทุนระดับปริญญาโทขึ้นไป เรียนต่อที่ประเทศอังกฤษ EZ WebmasterMarch 17, 2025 ประกาศเปิดรับสมัครทุนการศึกษา Dr. Puey Ungphakorn Centenary Scholarship ประจำปี 2568 ธนาคารแห่งประเทศไทย เปิดรับสมัครทุนการศึกษาระดับปริญญาโทขึ้นไป เพื่อศึกษาต่อที่ The London School of Economics and Political…
ธนาคารแห่งประเทศไทย เปิดรับสมัครทุนระดับปริญญาโทขึ้นไป เรียนต่อที่ประเทศอังกฤษ EZ WebmasterMarch 17, 2025 ประกาศเปิดรับสมัครทุนการศึกษา Dr. Puey Ungphakorn Centenary Scholarship ประจำปี 2568 ธนาคารแห่งประเทศไทย เปิดรับสมัครทุนการศึกษาระดับปริญญาโทขึ้นไป เพื่อศึกษาต่อที่ The London School of Economics and Political…
มหาวิทยาลัยมหิดลทรานส์ฟอร์มครั้งใหญ่ พลิกโฉมการศึกษา วิจัย และบริการสุขภาพสู่ “Real World Impact” และเป็นผู้นำด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสุขภาวะองค์รวมระดับโลก พร้อมเร่งปั้นโรงงานยาที่มีชีวิต ยกระดับวงการแพทย์ และผลักดันไทย สู่ศูนย์กลาง Cell & Gene Therapy แห่งภูมิภาค EZ WebmasterMarch 21, 2025 ศาสตราจารย์ นายแพทย์ปิยะมิตร ศรีธรา อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า ปัจจุบันโลกกำลังเผชิญกับกระแสความเปลี่ยนแปลงใหญ่ๆ ใน 6 มิติ 1. สังคมสูงวัย (Aging Society) ในอีก 8 ปีข้างหน้า ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุระดับสุดยอด (Super… รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน EZ WebmasterMarch 21, 2025 รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน พร้อมจ่ายเงินอุดหนุนการศึกษาและพัฒนาอาชีพ ผ่านกสศ. ขณะที่ Microsoft หนุน ศูนย์ดิจิทัลชุมชน ยกระดับทักษะAI เพิ่มโอกาสมีงานทำ พร้อมจับมือ UNICEF สร้าง 1… Kahoot! เปิดตัว Kahoot! Energize ปฏิวัติการประชุมให้มีพลังและสร้างผลกระทบที่เหนือกว่า EZ WebmasterMarch 21, 2025 เปลี่ยนทุกการนำเสนอในที่ทำงานให้กลายเป็นการสื่อสารสองทาง สร้างประสบการณ์ที่น่าสนใจ เต็มไปด้วยความมีชีวิตชีวาและการมีส่วนร่วมที่แท้จริง กระตุ้นการมีส่วนร่วมจากผู้ฟังและขับเคลื่อน ผลลัพธ์ทางธุรกิจไปอีกขั้นด้วย Kahoot! Energize Kahoot! (คาฮู้ด) ผู้นำด้านการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมระดับโลกได้เปิดตัวเครื่องมือใหม่ Kahoot! Energize ที่จะเปลี่ยนทุกการประชุม การฝึกอบรม หรือกิจกรรมต่างๆ ให้กลายเป็นช่วงเวลาที่เต็มไปด้วยพลังและความสนุก พร้อมกระตุ้นการมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ สร้างผลกระทบที่มีความหมาย และขับเคลื่อนธุรกิจไปข้างหน้า การพัฒนา Kahoot! Energize ต่อยอดจากรูปแบบการเรียนรู้และการมีส่วนร่วม อันเป็นเอกลักษณ์ที่ได้รับความนิยมของ Kahoot! แต่เพิ่มความสามารถในการใช้งานในสภาพแวดล้อมการทำงานที่หลากหลาย… สมศ. เน้นย้ำการประเมินคุณภาพภายนอก ปี 67-71 ลดวันประเมิน On site ขยายสู่รูปแบบออนไลน์ สร้างมาตรฐานในการแข่งขันระดับอาเซียน EZ WebmasterMarch 20, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยในการประชุมรับฟังความคิดเห็น (ร่าง) กรอบแนวทางการประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษาที่จัดการเรียนรู้ในสังกัดกรมส่งเสริมการเรียนรู้ (สกร.) โดยเน้นย้ำเรื่อง “แนวคิดและทิศทางการประกันคุณภาพภายนอก” ว่า การประกันคุณภาพภายนอกไม่ใช่เป็น “การตรวจสอบ” แต่เป็นเครื่องมือที่ช่วยส่งเสริมการพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษาอย่างแท้จริง… กิจกรรม โรงเรียนฝึกอาชีพ กทม. เปิดสอนอาชีพ หลักสูตร 200 ชั่วโมง เรียนจบมีใบรับรอง สร้างอาชีพได้จริง EZ WebmasterMarch 22, 2025 โรงเรียนฝึกอาชีพ กทม. เปิดสอนอาชีพ หลักสูตร 200 ชั่วโมง ได้เรียนปฏิบัติเน้น ๆ มีให้เลือกเรียนทุกสาขาวิชา เรียนจบมีใบรับรองให้ เอาไปสร้างอาชีพได้จริง ค่าเรียนเริ่มต้นคอร์สละ 105 บาท (มีทั้งรอบเช้า / บ่าย /… รวมพลังสีชมพูจุฬาฯ กลับบ้านสู่ร่มจามจุรี ในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” EZ WebmasterMarch 14, 2025 สมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (สนจ.) เชิญชวนชาวจุฬาฯ ทั้งนิสิตเก่าและนิสิตปัจจุบัน เดินทางกลับบ้านในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” ร่วมฉลองวาระสำคัญ ครบรอบ 108 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในบรรยากาศแห่งความรักความสามัคคี และความผูกพันของเหล่าน้องพี่สีชมพู ภายใต้ร่มเงาของจามจุรี นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย… สจล. ผนึกกำลังตำรวจภูธรภาค 2 และบริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จำกัด (สำนักงานใหญ่) พัฒนาโครงการ “AI Robot รับแจ้งความ” ประมวลผลถูกต้องและมีประสิทธิภาพ EZ WebmasterMarch 13, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี ร่วมด้วยพลตำรวจโท ยิ่งยศ เทพจำนงค์ (คนที่ 3 จากซ้าย) ผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 2… สจล. ร่วมกับกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน มุ่งยกระดับฝีมือแรงงาน สอดคล้องความต้องการในอนาคต EZ WebmasterMarch 10, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี และนายเดชา พฤกษ์พัฒนรักษ์ (คนที่ 3 จากซ้าย) อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ได้ลงในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการร่วมกัน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่นักศึกษาของสถาบันก่อนเข้าสู่ตลาดแรงงานในสาขาอาชีพต่าง… Search for: Search EZ Webmaster May 11, 2023 EZ Webmaster May 11, 2023 คณะวิทยาศาสตร์ มศว เตรียมความพร้อม งานระดับนานาชาติ เจ้าภาพจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประเทศไทย ได้เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ระหว่างวันที่ 1 – 10 ธันวาคม 2566 โดยได้รับความร่วมมือจากหลายภาคส่วนในประเทศ ได้แก่ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการ และพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (มูลนิธิ สอวน.), สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), ศูนย์บริหารงานการพัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.), National Coordinator Olympiad Netherlands และคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยภายในงานได้รับเกียรติจากรองศาสตราจารย์ ดร.พินิติ รตะนานุกูล กรรมการและเลขาธิการ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการ และพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เล่าถึงความเป็นมาของการจัดการแข่งขันโอลิมปิกวิชาการระดับมัธยมต้นว่า “เมื่อ 20 ปีก่อนได้มีกลุ่มนักวิชาการที่เล็งเห็นความสำคัญของการกระตุ้นให้นักเรียนมีความสนใจในด้าน วิทยาศาสตร์มากขึ้น คิดว่าน่าจะมีเวทีให้นักเรียนเหล่านี้ได้มาแสดงความสามารถในเชิงวิชาการ จึงได้จัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในเวทีนานาชาติครั้งแรกที่ประเทศอินโดนีเชีย และในช่วงนั้นประเทศไทยก็ได้รับเชิญให้เข้าร่วมการแข่งขันด้วย ตั้งแต่ครั้งนั้นเราจึงได้ส่งทีมนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นไปแข่งขัน ซึ่งการที่มีเวทีลักษณะนี้ ถือเป็นการเปิดโอกาสให้นักเรียนที่มีความสนใจและอยากเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ได้มีแรงผลักดันที่จะสร้างศักยภาพของตนเองให้มากขึ้น เพื่อที่จะก้าวเข้าสู่เวทีการแข่งขันในระดับวิชาการในระดับนานาชาติต่อไป” “ในครั้งนี้ที่ประเทศไทยรับเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ประจำปี พ.ศ. 2566 (20th International Junior Science Olympiad) เนื่องจากประเทศไทยเราได้มีส่วนร่วมในการส่งนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นไปร่วมแข่งขันมาตั้งแต่ครั้งแรกตลอด 20 ปีที่ผ่านมา และยังไม่เคยเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน และในปีนี้ พ.ศ. 2566 ถือเป็นการเฉลิมพระเกียรติเนื่องในวาระครบ 100 ปี วันประสูติสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และการที่ท่านได้รับการรับรองพระนามเป็นบุคคลสำคัญของโลกจากองค์การยูเนสโก และเป็นองค์ประธานมูลนิธิตอนจัดตั้งฯ ในปีพ.ศ. 2542 ทางมูลนิธิฯ จึงเล็งเห็นว่าน่าจะเป็นโอกาสอันดีที่ประเทศไทยยินดีจะรับโอกาสเป็นเจ้าภาพการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 สำหรับการคัดเลือกนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นตัวแทนประเทศไทย ทางมูลนิธิฯ และ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ร่วมกันรับสมัคร ซึ่งในปีนี้มีนักเรียนทั่วประเทศประมาณ 10,500 คน ในรอบแรกหลังจากนั้นมีการสอบเพื่อคัดกรองเพื่อให้เหลือจำนวน 300 คน และจากนั้นมีการสอบคัดกรองอีกครั้งเพื่อให้เหลือ 30 คน และนำมาเตรียมความพร้อมโดยการเพิ่มทักษะความรู้ความสามารถเพื่อที่จะไปแข่งขันในระดับเวทีนานาชาติต่อไป และในขณะนี้อยู่ในขั้นตอนสุดท้ายที่กำลังคัดสรรหาตัวแทนประเทศไทย ในด้านการเตรียมความพร้อมในการเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันในครั้งนี้ ทางมูลนิธิฯและสสวท. มีการเตรียมการตั้งแต่ยื่นความจำนงที่จะเป็นเจ้าภาพมาในระยะเวลาหลายปี และเห็นว่าคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มีความพร้อมในหลายระดับทั้งบุคลากรที่จะมาจัดการแข่งขัน บุคลากรทางด้านวิชาการ และสถานที่ที่เหมาะสม เหมาะที่จะต้อนรับนักเรียนจากทั่วโลกและผู้ที่สนใจหรือเกี่ยวข้องได้ และทางมูลนิธิฯ กับมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒได้จัดตั้งคณะทำงานหลากหลายส่วน โดยเฉพาะคณะกรรมการวิชาการที่จะทำหน้าที่ในการออกข้อสอบสำหรับการแข่งขันในครั้งนี้ เนื่องจากการแข่งขันในครั้งนี้เป็นการสอบในราย 3 วิชา คือ วิชาเคมี ชีววิทยา และฟิสิกส์ ในการแข่งขันจะประกอบไปด้วยภาคทฤษฎีและภาคภาคปฏิบัติ ซึ่งในด้านการปฏิบัติจะเป็นการประยุกต์นำทั้ง 3 วิชาเข้าด้วยกัน และมีการตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อสอบ มาตรฐานของข้อสอบ จึงกล่าวได้ว่า ประเทศไทยมีความพร้อมแล้วที่จะเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันในครั้งที่ 20 นี้ และมั่นใจว่าประเทศไทยจะสามารถจัดการแข่งขันได้อย่างดีที่สุด” รองศาสตราจารย์ ดร.พินิติ รตะนานุกูล กล่าวทิ้งท้าย ทางด้านดร.อาทิตยา ปัญญา ผู้อำนวยการศูนย์บริหารงานการพัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ กล่าวถึงบทบาทของ กระทรวงศึกษาธิการ และ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ในครั้งนี้ “กระทรวงศึกษาธิการเป็นหน่วยงานที่ส่งเสริมการจัดการศึกษา เพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ โดยกำหนดนโยบายและแผนปฏิบัติการต่าง ๆ เพื่อรองรับการพัฒนาและการเปลี่ยนแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21 ซึ่ง สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้นำนโยบายและแผนปฏิบัติการต่าง ๆ มาดำเนินการเพื่อพัฒนาโดยเฉพาะด้านขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศที่ยังอยู่ในระดับที่ต้องพัฒนาให้มีมาตรฐานเทียบเท่าระดับมาตรฐานสากล เพื่อความมั่นคงและยั่งยืน และเป็นที่ยอมรับในระดับสากล โดยเฉพาะด้านการจัดการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ที่ต้องพัฒนา เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์เพื่อผลิตและพัฒนากำลังคนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มีความสามารถในระดับสากล สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ร่วมกับ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการและพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (สอวน.) สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) และสถาบันอุดมศึกษา พัฒนาครูและนักเรียน โดยจัดตั้งศูนย์ สอวน. ค่าย 1 ในโรงเรียนที่มีศักยภาพ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อดำเนินการอบรมนักเรียนจากทั่วทุกภูมิภาค ให้มีโอกาสเข้ารับการพัฒนาศักยภาพให้มีมาตรฐานระดับสากล ปัจจุบันมีศูนย์ สอวน. ค่าย 1 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน วิชาฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา คณิตศาสตร์และคอมพิวเตอร์ จำนวน 128 โรงเรียน กระจายอยู่ทั่วทุกภูมิภาค ทั้งนี้คุณครูที่เข้ารับการพัฒนามาจากโรงเรียนทุกประเภทและทุกขนาด เพื่อโอกาสในการเข้าถึงความรู้ตามแนวทางหลักสูตรโอลิมปิกวิชาการ โดยการอบรมพัฒนาครูจะเน้นภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติอย่างเข้มข้น รวมทั้งการติดตามผลการนำความรู้ที่ได้รับการอบรมพัฒนาไปจัดการเรียนการสอนตามแนวทางของหลักสูตรโอลิมปิกวิชาการได้อย่างถูกต้องตามหลักการผลจากการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรโอลิมปิกวิชาการ พบว่า มีนักเรียนสอบผ่านเข้าค่าย 1 สอวน. จากทั่วทุกภูมิภาค ทุกขนาด โดยเฉพาะโรงเรียนที่อยู่ในพื้นที่ชายขอบและถิ่นทุรกันดารก็สามารถพัฒนามาตรฐานโดยผ่านการคัดเลือกเข้าค่าย 1 ได้มากขึ้นทุก ๆ ปี ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายด้านการลดความเหลื่อมล้ำในด้านการจัดการศึกษา และในปี พ.ศ. 2565 มีนักเรียนในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ได้รับคัดเลือกเป็นผู้แทนประเทศไทยไปแข่งขันโอลิมปิกวิชาการระหว่างประเทศ ในวิชาต่าง ๆ จำนวนทั้งสิ้น 31 คน โดยทุกคน ได้รับรางวัล ดังนี้ รางวัลเหรียญทอง จำนวน 6 คน รางวัลเหรียญเงิน จำนวน 11 คน รางวัลเหรียญทองแดง จำนวน 7 คนเกียรติคุณประกาศ จำนวน 6 คน และรางวัลพิเศษ จำนวน 1 คน (Poster Awards) การดูแลนักเรียนที่เข้าร่วมการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ประจำปี พ.ศ. 2566 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ร่วมกับ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการและ พัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (สอวน.) และสถาบันอุดมศึกษา ดูแลนักเรียนที่ผ่านการคัดเลือกเข้าค่าย โดยการให้การสนับสนุนงบประมาณด้านอาหารและที่พักรวมทั้งการดูแลนักเรียนที่อยู่ในค่ายเน้นการพัฒนาในทุกมิติรวมทั้งด้านความปลอดภัยโดยอำนวยความสะดวกในด้านต่างๆ ให้นักเรียนสามารถเรียนรู้ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติการเติมเต็มประสบการณ์ด้านต่าง ๆ ให้นักเรียนแต่ละคนได้พัฒนาเต็มศักยภาพ รวมทั้งการใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข มุ่งเน้นคุณธรรมและจริยธรรมสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ยังคงมุ่งมั่นพัฒนานักเรียนและครูทั่วทุกภูมิภาค เพื่อยกระดับมาตรฐานการจัดการศึกษาด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ให้เทียบเท่ามาตรฐานสากล เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศและลดความเหลื่อมล้ำในการจัดการศึกษาให้แก่เด็กที่อยู่ในภูมิภาคที่มีความแตกต่างกัน” ศาสตราจารย์ ดร.ปรินทร์ ชัยวิสุทธางกูร คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ได้กล่าวถึงความพร้อมของสถานที่ในการจัดการแข่งขันฯ ว่า “มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มีความพร้อมในการต้อนรับผู้เข้าร่วมแข่งขันจากทั้ง 55 ประเทศ โดยแต่ละประเทศส่งนักเรียนเข้าร่วมการแข่งขัน 6 คน รวมทั้งมีครูผู้คุมทีมประเทศละ 3 คน รวมเป็น 9 คนจากแต่ละประเทศ และในเบื้องต้นข้อสอบปฏิบัติการ ทางคณาจารย์ของคณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ถือเป็นผู้ออกข้อสอบหลัก ตอนนี้ได้ทำการออกข้อสอบไปถึง 80% แล้ว ทั้งนี้เพื่อให้มั่นใจว่า ข้อสอบมีมาตรฐานในระดับนานาชาติ และในเรื่องของห้องปฏิบัติการตอนนี้มีการเตรียมความพร้อมโดยทำการปรับปรุงห้อง lab ให้มีมาตรฐานในระดับนานาชาติ ได้รับการสนับสนุนจากท่านอธิการบดี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ รศ.ดร.สมชาย สันติวัฒนกุล รวมทั้งท่านรองอธิการบดีอีกหลายท่านที่ได้ร่วมผลักดันสนับสนุนจนกระทั่งได้ห้องปฏิบัติการที่มีความพร้อมในการจัดการแข่งขัน เพื่อให้มีความพร้อมที่จะจัดการแข่งขัน แต่ในส่วนของข้อสอบบรรยายนอกจากทางมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒที่เป็นผู้ออกข้อสอบแล้ว ยังได้รับความอนุเคราะห์จากมหาวิทยาลัยมหิดล และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในการร่วมกันออกข้อสอบ มีความพร้อมได้ถึง 80% แล้วเช่นเดียวกัน และนี่คือความพร้อมทางฝั่งของการเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันฯ ในครั้งนี้” และสุดท้ายนี้ได้รับเกียรติจาก President IJSO E. H.M.H. Emiel de Klejin National Coordinator Olympiad Netherlands ที่ได้มากล่าวถึงบทบาทของ IJSO และความร่วมมือกับประเทศไทยในครั้งนี้ว่า “ประเทศไทยเริ่มเข้าร่วมการแข่งขันโอลิมปิกนานาชาติตั้งแต่ปี ค.ศ. 1989 โดยในการแข่งขันคณิตศาสตร์โอลิมปิก และปัจจุบันเข้าร่วมทั้งหมด 9 โอลิมปิก และยังได้เป็นเจ้าภาพโอลิมปิกนานาชาติแล้วถึง 9 ครั้ง ตั้งแต่การเริ่มต้น IJSO ในปี 2004 ที่ประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งประเทศไทยก็ได้เข้าร่วม IJSO มาทุกครั้ง IJSO เป็นการแข่งขันทางวิชาการโดยมีการบูรณาการการสอบทางด้านชีววิทยา เคมี และฟิสิกส์ ทั้งทางด้านทฤษฎีและปฏิบัติการ โดยข้อสอบได้มีการออกแบบมาเพื่อวัดความเข้าใจทางด้านแนวคิด ต่าง ๆ และความสามารถในการประยุกต์ใช้แนวความคิดต่างๆ ต่อสถานการณ์ที่ได้กำหนดไว้ในโจทย์ข้อสอบทฤษฎีเป็นการทำงานแบบเดี่ยว แต่ข้อสอบปฏิบัติการเป็นการทำงานแบบเป็นทีม ความรู้ย่อมสำคัญในวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แต่ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่นในทีมหลากหลายสาขาวิชาก็สำคัญเช่นกัน โดยทักษะทั้ง 2 ด้านมีบทบาทที่สำคัญในการแข่งขัน IJSO ทำให้การแข่งนั้นนี้มีความพิเศษเมื่อเทียบกับการแข่งขันอื่น ๆ เพราะการแก้ปัญหา การคิดวิเคราะห์ การทำงานเป็นทีม และการทดลองทางวิทยาศาสตร์คือหลักในการแข่งขันทางวิชาการนี้ อีกวัตถุประสงค์ของ IJSO ซึ่งมีความสำคัญไม่แพ้กับวัตถุประสงค์ด้านวิชาการ ก็คือการสนับสนุนให้เยาวชนได้เรียนรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมที่หลากหลาย เพิ่มปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักเรียนทั่วโลก ให้มีเพื่อนจากต่างประเทศตั้งแต่ยังอายุน้อย มีบทบาทความสำคัญทั้งในสังคมวิทยาศาสตร์และการพัฒนาส่วนตัว อีกทั้งยังมีศักยภาพในการนำไปสู่สันติภาพของโลกและการเข้าใจกันและกัน วัตถุประสงค์ 2 อย่างนี้ ทำให้งาน IJSO เป็นเหตุการณ์ความเปลี่ยนแปลงในชีวิตสำหรับผู้เข้าร่วมการแข่งขันแบบนี้ โดยมีความร่วมมือกันข้ามขอบเขตประเทศ ช่วยส่งเสริมผู้ที่มีความสามารถพิเศษ ซึ่งเป็นสิ่งที่เราต้องการอย่างยิ่งในโลกปัจจุบัน ทั้งนี้ ทุกท่านสามารถติดตามข่าวสารการจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ประจำปี พ.ศ. 2566 พร้อมร่วมส่งกำลังใจให้กับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นตัวแทนประเทศไทยได้ที่เฟซบุ๊ก คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ EZ Webmaster Related Posts ฟื้นO-NETเข้ามหา’ลัยเรื่องยาก อธิการบดี มรภ.นครราชสีมาแนะศธ.ใช้เข้าเรียนต่อม.1/ม.4 เรียนที่เดียวได้ถึง 2 วุฒิ สาขาวิชาวิศวกรรมสำรวจ ม.เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เปิดรับสมัครรอบที่ 2.3 ระบบ Quota TCAS68 โรงพยาบาลศูนย์การแพทย์มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เปิดให้ 25 ทุน เรียนฟรีผู้ช่วยพยาบาล ปิดเทอมนี้ สสวท. กระตุ้นต่อมคิดพิชิตปัญหาฟิสิกส์หรรษา กับ “ไขปริศนาวิทยากล” Post navigation PREVIOUS Previous post: ลอรีอัล เปิดรับสมัครชิงทุนวิจัย “เพื่อสตรีในงานวิทยาศาสตร์” ครั้งที่ 21 พร้อมเสริมแกร่งเครือข่ายครอบครัวนักวิจัยสตรีไทยในงาน Conversations with the FellowsNEXT Next post: 10 จังหวัดที่เจริญที่สุดในไทย 2565 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน EZ WebmasterMarch 21, 2025 รองนายกฯ ประเสริฐ ประกาศ ปิดเทอมใหญ่นี้ 77 จังหวัดลุยช่วยเด็กนอกระบบกลับมาเรียน พร้อมจ่ายเงินอุดหนุนการศึกษาและพัฒนาอาชีพ ผ่านกสศ. ขณะที่ Microsoft หนุน ศูนย์ดิจิทัลชุมชน ยกระดับทักษะAI เพิ่มโอกาสมีงานทำ พร้อมจับมือ UNICEF สร้าง 1… Kahoot! เปิดตัว Kahoot! Energize ปฏิวัติการประชุมให้มีพลังและสร้างผลกระทบที่เหนือกว่า EZ WebmasterMarch 21, 2025 เปลี่ยนทุกการนำเสนอในที่ทำงานให้กลายเป็นการสื่อสารสองทาง สร้างประสบการณ์ที่น่าสนใจ เต็มไปด้วยความมีชีวิตชีวาและการมีส่วนร่วมที่แท้จริง กระตุ้นการมีส่วนร่วมจากผู้ฟังและขับเคลื่อน ผลลัพธ์ทางธุรกิจไปอีกขั้นด้วย Kahoot! Energize Kahoot! (คาฮู้ด) ผู้นำด้านการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมระดับโลกได้เปิดตัวเครื่องมือใหม่ Kahoot! Energize ที่จะเปลี่ยนทุกการประชุม การฝึกอบรม หรือกิจกรรมต่างๆ ให้กลายเป็นช่วงเวลาที่เต็มไปด้วยพลังและความสนุก พร้อมกระตุ้นการมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ สร้างผลกระทบที่มีความหมาย และขับเคลื่อนธุรกิจไปข้างหน้า การพัฒนา Kahoot! Energize ต่อยอดจากรูปแบบการเรียนรู้และการมีส่วนร่วม อันเป็นเอกลักษณ์ที่ได้รับความนิยมของ Kahoot! แต่เพิ่มความสามารถในการใช้งานในสภาพแวดล้อมการทำงานที่หลากหลาย… สมศ. เน้นย้ำการประเมินคุณภาพภายนอก ปี 67-71 ลดวันประเมิน On site ขยายสู่รูปแบบออนไลน์ สร้างมาตรฐานในการแข่งขันระดับอาเซียน EZ WebmasterMarch 20, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยในการประชุมรับฟังความคิดเห็น (ร่าง) กรอบแนวทางการประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษาที่จัดการเรียนรู้ในสังกัดกรมส่งเสริมการเรียนรู้ (สกร.) โดยเน้นย้ำเรื่อง “แนวคิดและทิศทางการประกันคุณภาพภายนอก” ว่า การประกันคุณภาพภายนอกไม่ใช่เป็น “การตรวจสอบ” แต่เป็นเครื่องมือที่ช่วยส่งเสริมการพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษาอย่างแท้จริง… กิจกรรม โรงเรียนฝึกอาชีพ กทม. เปิดสอนอาชีพ หลักสูตร 200 ชั่วโมง เรียนจบมีใบรับรอง สร้างอาชีพได้จริง EZ WebmasterMarch 22, 2025 โรงเรียนฝึกอาชีพ กทม. เปิดสอนอาชีพ หลักสูตร 200 ชั่วโมง ได้เรียนปฏิบัติเน้น ๆ มีให้เลือกเรียนทุกสาขาวิชา เรียนจบมีใบรับรองให้ เอาไปสร้างอาชีพได้จริง ค่าเรียนเริ่มต้นคอร์สละ 105 บาท (มีทั้งรอบเช้า / บ่าย /… รวมพลังสีชมพูจุฬาฯ กลับบ้านสู่ร่มจามจุรี ในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” EZ WebmasterMarch 14, 2025 สมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (สนจ.) เชิญชวนชาวจุฬาฯ ทั้งนิสิตเก่าและนิสิตปัจจุบัน เดินทางกลับบ้านในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” ร่วมฉลองวาระสำคัญ ครบรอบ 108 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในบรรยากาศแห่งความรักความสามัคคี และความผูกพันของเหล่าน้องพี่สีชมพู ภายใต้ร่มเงาของจามจุรี นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย… สจล. ผนึกกำลังตำรวจภูธรภาค 2 และบริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จำกัด (สำนักงานใหญ่) พัฒนาโครงการ “AI Robot รับแจ้งความ” ประมวลผลถูกต้องและมีประสิทธิภาพ EZ WebmasterMarch 13, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี ร่วมด้วยพลตำรวจโท ยิ่งยศ เทพจำนงค์ (คนที่ 3 จากซ้าย) ผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 2… สจล. ร่วมกับกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน มุ่งยกระดับฝีมือแรงงาน สอดคล้องความต้องการในอนาคต EZ WebmasterMarch 10, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี และนายเดชา พฤกษ์พัฒนรักษ์ (คนที่ 3 จากซ้าย) อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ได้ลงในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการร่วมกัน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่นักศึกษาของสถาบันก่อนเข้าสู่ตลาดแรงงานในสาขาอาชีพต่าง… Search for: Search EZ Webmaster May 11, 2023 EZ Webmaster May 11, 2023 คณะวิทยาศาสตร์ มศว เตรียมความพร้อม งานระดับนานาชาติ เจ้าภาพจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประเทศไทย ได้เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ระหว่างวันที่ 1 – 10 ธันวาคม 2566 โดยได้รับความร่วมมือจากหลายภาคส่วนในประเทศ ได้แก่ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการ และพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (มูลนิธิ สอวน.), สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), ศูนย์บริหารงานการพัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.), National Coordinator Olympiad Netherlands และคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยภายในงานได้รับเกียรติจากรองศาสตราจารย์ ดร.พินิติ รตะนานุกูล กรรมการและเลขาธิการ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการ และพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เล่าถึงความเป็นมาของการจัดการแข่งขันโอลิมปิกวิชาการระดับมัธยมต้นว่า “เมื่อ 20 ปีก่อนได้มีกลุ่มนักวิชาการที่เล็งเห็นความสำคัญของการกระตุ้นให้นักเรียนมีความสนใจในด้าน วิทยาศาสตร์มากขึ้น คิดว่าน่าจะมีเวทีให้นักเรียนเหล่านี้ได้มาแสดงความสามารถในเชิงวิชาการ จึงได้จัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในเวทีนานาชาติครั้งแรกที่ประเทศอินโดนีเชีย และในช่วงนั้นประเทศไทยก็ได้รับเชิญให้เข้าร่วมการแข่งขันด้วย ตั้งแต่ครั้งนั้นเราจึงได้ส่งทีมนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นไปแข่งขัน ซึ่งการที่มีเวทีลักษณะนี้ ถือเป็นการเปิดโอกาสให้นักเรียนที่มีความสนใจและอยากเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ได้มีแรงผลักดันที่จะสร้างศักยภาพของตนเองให้มากขึ้น เพื่อที่จะก้าวเข้าสู่เวทีการแข่งขันในระดับวิชาการในระดับนานาชาติต่อไป” “ในครั้งนี้ที่ประเทศไทยรับเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ประจำปี พ.ศ. 2566 (20th International Junior Science Olympiad) เนื่องจากประเทศไทยเราได้มีส่วนร่วมในการส่งนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นไปร่วมแข่งขันมาตั้งแต่ครั้งแรกตลอด 20 ปีที่ผ่านมา และยังไม่เคยเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน และในปีนี้ พ.ศ. 2566 ถือเป็นการเฉลิมพระเกียรติเนื่องในวาระครบ 100 ปี วันประสูติสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และการที่ท่านได้รับการรับรองพระนามเป็นบุคคลสำคัญของโลกจากองค์การยูเนสโก และเป็นองค์ประธานมูลนิธิตอนจัดตั้งฯ ในปีพ.ศ. 2542 ทางมูลนิธิฯ จึงเล็งเห็นว่าน่าจะเป็นโอกาสอันดีที่ประเทศไทยยินดีจะรับโอกาสเป็นเจ้าภาพการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 สำหรับการคัดเลือกนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นตัวแทนประเทศไทย ทางมูลนิธิฯ และ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ร่วมกันรับสมัคร ซึ่งในปีนี้มีนักเรียนทั่วประเทศประมาณ 10,500 คน ในรอบแรกหลังจากนั้นมีการสอบเพื่อคัดกรองเพื่อให้เหลือจำนวน 300 คน และจากนั้นมีการสอบคัดกรองอีกครั้งเพื่อให้เหลือ 30 คน และนำมาเตรียมความพร้อมโดยการเพิ่มทักษะความรู้ความสามารถเพื่อที่จะไปแข่งขันในระดับเวทีนานาชาติต่อไป และในขณะนี้อยู่ในขั้นตอนสุดท้ายที่กำลังคัดสรรหาตัวแทนประเทศไทย ในด้านการเตรียมความพร้อมในการเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันในครั้งนี้ ทางมูลนิธิฯและสสวท. มีการเตรียมการตั้งแต่ยื่นความจำนงที่จะเป็นเจ้าภาพมาในระยะเวลาหลายปี และเห็นว่าคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มีความพร้อมในหลายระดับทั้งบุคลากรที่จะมาจัดการแข่งขัน บุคลากรทางด้านวิชาการ และสถานที่ที่เหมาะสม เหมาะที่จะต้อนรับนักเรียนจากทั่วโลกและผู้ที่สนใจหรือเกี่ยวข้องได้ และทางมูลนิธิฯ กับมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒได้จัดตั้งคณะทำงานหลากหลายส่วน โดยเฉพาะคณะกรรมการวิชาการที่จะทำหน้าที่ในการออกข้อสอบสำหรับการแข่งขันในครั้งนี้ เนื่องจากการแข่งขันในครั้งนี้เป็นการสอบในราย 3 วิชา คือ วิชาเคมี ชีววิทยา และฟิสิกส์ ในการแข่งขันจะประกอบไปด้วยภาคทฤษฎีและภาคภาคปฏิบัติ ซึ่งในด้านการปฏิบัติจะเป็นการประยุกต์นำทั้ง 3 วิชาเข้าด้วยกัน และมีการตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อสอบ มาตรฐานของข้อสอบ จึงกล่าวได้ว่า ประเทศไทยมีความพร้อมแล้วที่จะเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันในครั้งที่ 20 นี้ และมั่นใจว่าประเทศไทยจะสามารถจัดการแข่งขันได้อย่างดีที่สุด” รองศาสตราจารย์ ดร.พินิติ รตะนานุกูล กล่าวทิ้งท้าย ทางด้านดร.อาทิตยา ปัญญา ผู้อำนวยการศูนย์บริหารงานการพัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ กล่าวถึงบทบาทของ กระทรวงศึกษาธิการ และ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ในครั้งนี้ “กระทรวงศึกษาธิการเป็นหน่วยงานที่ส่งเสริมการจัดการศึกษา เพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ โดยกำหนดนโยบายและแผนปฏิบัติการต่าง ๆ เพื่อรองรับการพัฒนาและการเปลี่ยนแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21 ซึ่ง สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้นำนโยบายและแผนปฏิบัติการต่าง ๆ มาดำเนินการเพื่อพัฒนาโดยเฉพาะด้านขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศที่ยังอยู่ในระดับที่ต้องพัฒนาให้มีมาตรฐานเทียบเท่าระดับมาตรฐานสากล เพื่อความมั่นคงและยั่งยืน และเป็นที่ยอมรับในระดับสากล โดยเฉพาะด้านการจัดการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ที่ต้องพัฒนา เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์เพื่อผลิตและพัฒนากำลังคนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มีความสามารถในระดับสากล สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ร่วมกับ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการและพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (สอวน.) สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) และสถาบันอุดมศึกษา พัฒนาครูและนักเรียน โดยจัดตั้งศูนย์ สอวน. ค่าย 1 ในโรงเรียนที่มีศักยภาพ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อดำเนินการอบรมนักเรียนจากทั่วทุกภูมิภาค ให้มีโอกาสเข้ารับการพัฒนาศักยภาพให้มีมาตรฐานระดับสากล ปัจจุบันมีศูนย์ สอวน. ค่าย 1 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน วิชาฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา คณิตศาสตร์และคอมพิวเตอร์ จำนวน 128 โรงเรียน กระจายอยู่ทั่วทุกภูมิภาค ทั้งนี้คุณครูที่เข้ารับการพัฒนามาจากโรงเรียนทุกประเภทและทุกขนาด เพื่อโอกาสในการเข้าถึงความรู้ตามแนวทางหลักสูตรโอลิมปิกวิชาการ โดยการอบรมพัฒนาครูจะเน้นภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติอย่างเข้มข้น รวมทั้งการติดตามผลการนำความรู้ที่ได้รับการอบรมพัฒนาไปจัดการเรียนการสอนตามแนวทางของหลักสูตรโอลิมปิกวิชาการได้อย่างถูกต้องตามหลักการผลจากการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรโอลิมปิกวิชาการ พบว่า มีนักเรียนสอบผ่านเข้าค่าย 1 สอวน. จากทั่วทุกภูมิภาค ทุกขนาด โดยเฉพาะโรงเรียนที่อยู่ในพื้นที่ชายขอบและถิ่นทุรกันดารก็สามารถพัฒนามาตรฐานโดยผ่านการคัดเลือกเข้าค่าย 1 ได้มากขึ้นทุก ๆ ปี ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายด้านการลดความเหลื่อมล้ำในด้านการจัดการศึกษา และในปี พ.ศ. 2565 มีนักเรียนในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ได้รับคัดเลือกเป็นผู้แทนประเทศไทยไปแข่งขันโอลิมปิกวิชาการระหว่างประเทศ ในวิชาต่าง ๆ จำนวนทั้งสิ้น 31 คน โดยทุกคน ได้รับรางวัล ดังนี้ รางวัลเหรียญทอง จำนวน 6 คน รางวัลเหรียญเงิน จำนวน 11 คน รางวัลเหรียญทองแดง จำนวน 7 คนเกียรติคุณประกาศ จำนวน 6 คน และรางวัลพิเศษ จำนวน 1 คน (Poster Awards) การดูแลนักเรียนที่เข้าร่วมการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ประจำปี พ.ศ. 2566 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ร่วมกับ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการและ พัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (สอวน.) และสถาบันอุดมศึกษา ดูแลนักเรียนที่ผ่านการคัดเลือกเข้าค่าย โดยการให้การสนับสนุนงบประมาณด้านอาหารและที่พักรวมทั้งการดูแลนักเรียนที่อยู่ในค่ายเน้นการพัฒนาในทุกมิติรวมทั้งด้านความปลอดภัยโดยอำนวยความสะดวกในด้านต่างๆ ให้นักเรียนสามารถเรียนรู้ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติการเติมเต็มประสบการณ์ด้านต่าง ๆ ให้นักเรียนแต่ละคนได้พัฒนาเต็มศักยภาพ รวมทั้งการใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข มุ่งเน้นคุณธรรมและจริยธรรมสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ยังคงมุ่งมั่นพัฒนานักเรียนและครูทั่วทุกภูมิภาค เพื่อยกระดับมาตรฐานการจัดการศึกษาด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ให้เทียบเท่ามาตรฐานสากล เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศและลดความเหลื่อมล้ำในการจัดการศึกษาให้แก่เด็กที่อยู่ในภูมิภาคที่มีความแตกต่างกัน” ศาสตราจารย์ ดร.ปรินทร์ ชัยวิสุทธางกูร คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ได้กล่าวถึงความพร้อมของสถานที่ในการจัดการแข่งขันฯ ว่า “มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มีความพร้อมในการต้อนรับผู้เข้าร่วมแข่งขันจากทั้ง 55 ประเทศ โดยแต่ละประเทศส่งนักเรียนเข้าร่วมการแข่งขัน 6 คน รวมทั้งมีครูผู้คุมทีมประเทศละ 3 คน รวมเป็น 9 คนจากแต่ละประเทศ และในเบื้องต้นข้อสอบปฏิบัติการ ทางคณาจารย์ของคณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ถือเป็นผู้ออกข้อสอบหลัก ตอนนี้ได้ทำการออกข้อสอบไปถึง 80% แล้ว ทั้งนี้เพื่อให้มั่นใจว่า ข้อสอบมีมาตรฐานในระดับนานาชาติ และในเรื่องของห้องปฏิบัติการตอนนี้มีการเตรียมความพร้อมโดยทำการปรับปรุงห้อง lab ให้มีมาตรฐานในระดับนานาชาติ ได้รับการสนับสนุนจากท่านอธิการบดี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ รศ.ดร.สมชาย สันติวัฒนกุล รวมทั้งท่านรองอธิการบดีอีกหลายท่านที่ได้ร่วมผลักดันสนับสนุนจนกระทั่งได้ห้องปฏิบัติการที่มีความพร้อมในการจัดการแข่งขัน เพื่อให้มีความพร้อมที่จะจัดการแข่งขัน แต่ในส่วนของข้อสอบบรรยายนอกจากทางมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒที่เป็นผู้ออกข้อสอบแล้ว ยังได้รับความอนุเคราะห์จากมหาวิทยาลัยมหิดล และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในการร่วมกันออกข้อสอบ มีความพร้อมได้ถึง 80% แล้วเช่นเดียวกัน และนี่คือความพร้อมทางฝั่งของการเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันฯ ในครั้งนี้” และสุดท้ายนี้ได้รับเกียรติจาก President IJSO E. H.M.H. Emiel de Klejin National Coordinator Olympiad Netherlands ที่ได้มากล่าวถึงบทบาทของ IJSO และความร่วมมือกับประเทศไทยในครั้งนี้ว่า “ประเทศไทยเริ่มเข้าร่วมการแข่งขันโอลิมปิกนานาชาติตั้งแต่ปี ค.ศ. 1989 โดยในการแข่งขันคณิตศาสตร์โอลิมปิก และปัจจุบันเข้าร่วมทั้งหมด 9 โอลิมปิก และยังได้เป็นเจ้าภาพโอลิมปิกนานาชาติแล้วถึง 9 ครั้ง ตั้งแต่การเริ่มต้น IJSO ในปี 2004 ที่ประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งประเทศไทยก็ได้เข้าร่วม IJSO มาทุกครั้ง IJSO เป็นการแข่งขันทางวิชาการโดยมีการบูรณาการการสอบทางด้านชีววิทยา เคมี และฟิสิกส์ ทั้งทางด้านทฤษฎีและปฏิบัติการ โดยข้อสอบได้มีการออกแบบมาเพื่อวัดความเข้าใจทางด้านแนวคิด ต่าง ๆ และความสามารถในการประยุกต์ใช้แนวความคิดต่างๆ ต่อสถานการณ์ที่ได้กำหนดไว้ในโจทย์ข้อสอบทฤษฎีเป็นการทำงานแบบเดี่ยว แต่ข้อสอบปฏิบัติการเป็นการทำงานแบบเป็นทีม ความรู้ย่อมสำคัญในวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แต่ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่นในทีมหลากหลายสาขาวิชาก็สำคัญเช่นกัน โดยทักษะทั้ง 2 ด้านมีบทบาทที่สำคัญในการแข่งขัน IJSO ทำให้การแข่งนั้นนี้มีความพิเศษเมื่อเทียบกับการแข่งขันอื่น ๆ เพราะการแก้ปัญหา การคิดวิเคราะห์ การทำงานเป็นทีม และการทดลองทางวิทยาศาสตร์คือหลักในการแข่งขันทางวิชาการนี้ อีกวัตถุประสงค์ของ IJSO ซึ่งมีความสำคัญไม่แพ้กับวัตถุประสงค์ด้านวิชาการ ก็คือการสนับสนุนให้เยาวชนได้เรียนรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมที่หลากหลาย เพิ่มปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักเรียนทั่วโลก ให้มีเพื่อนจากต่างประเทศตั้งแต่ยังอายุน้อย มีบทบาทความสำคัญทั้งในสังคมวิทยาศาสตร์และการพัฒนาส่วนตัว อีกทั้งยังมีศักยภาพในการนำไปสู่สันติภาพของโลกและการเข้าใจกันและกัน วัตถุประสงค์ 2 อย่างนี้ ทำให้งาน IJSO เป็นเหตุการณ์ความเปลี่ยนแปลงในชีวิตสำหรับผู้เข้าร่วมการแข่งขันแบบนี้ โดยมีความร่วมมือกันข้ามขอบเขตประเทศ ช่วยส่งเสริมผู้ที่มีความสามารถพิเศษ ซึ่งเป็นสิ่งที่เราต้องการอย่างยิ่งในโลกปัจจุบัน ทั้งนี้ ทุกท่านสามารถติดตามข่าวสารการจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ประจำปี พ.ศ. 2566 พร้อมร่วมส่งกำลังใจให้กับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นตัวแทนประเทศไทยได้ที่เฟซบุ๊ก คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ EZ Webmaster Related Posts ฟื้นO-NETเข้ามหา’ลัยเรื่องยาก อธิการบดี มรภ.นครราชสีมาแนะศธ.ใช้เข้าเรียนต่อม.1/ม.4 เรียนที่เดียวได้ถึง 2 วุฒิ สาขาวิชาวิศวกรรมสำรวจ ม.เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เปิดรับสมัครรอบที่ 2.3 ระบบ Quota TCAS68 โรงพยาบาลศูนย์การแพทย์มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เปิดให้ 25 ทุน เรียนฟรีผู้ช่วยพยาบาล ปิดเทอมนี้ สสวท. กระตุ้นต่อมคิดพิชิตปัญหาฟิสิกส์หรรษา กับ “ไขปริศนาวิทยากล” Post navigation PREVIOUS Previous post: ลอรีอัล เปิดรับสมัครชิงทุนวิจัย “เพื่อสตรีในงานวิทยาศาสตร์” ครั้งที่ 21 พร้อมเสริมแกร่งเครือข่ายครอบครัวนักวิจัยสตรีไทยในงาน Conversations with the FellowsNEXT Next post: 10 จังหวัดที่เจริญที่สุดในไทย 2565 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
Kahoot! เปิดตัว Kahoot! Energize ปฏิวัติการประชุมให้มีพลังและสร้างผลกระทบที่เหนือกว่า EZ WebmasterMarch 21, 2025 เปลี่ยนทุกการนำเสนอในที่ทำงานให้กลายเป็นการสื่อสารสองทาง สร้างประสบการณ์ที่น่าสนใจ เต็มไปด้วยความมีชีวิตชีวาและการมีส่วนร่วมที่แท้จริง กระตุ้นการมีส่วนร่วมจากผู้ฟังและขับเคลื่อน ผลลัพธ์ทางธุรกิจไปอีกขั้นด้วย Kahoot! Energize Kahoot! (คาฮู้ด) ผู้นำด้านการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมระดับโลกได้เปิดตัวเครื่องมือใหม่ Kahoot! Energize ที่จะเปลี่ยนทุกการประชุม การฝึกอบรม หรือกิจกรรมต่างๆ ให้กลายเป็นช่วงเวลาที่เต็มไปด้วยพลังและความสนุก พร้อมกระตุ้นการมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ สร้างผลกระทบที่มีความหมาย และขับเคลื่อนธุรกิจไปข้างหน้า การพัฒนา Kahoot! Energize ต่อยอดจากรูปแบบการเรียนรู้และการมีส่วนร่วม อันเป็นเอกลักษณ์ที่ได้รับความนิยมของ Kahoot! แต่เพิ่มความสามารถในการใช้งานในสภาพแวดล้อมการทำงานที่หลากหลาย… สมศ. เน้นย้ำการประเมินคุณภาพภายนอก ปี 67-71 ลดวันประเมิน On site ขยายสู่รูปแบบออนไลน์ สร้างมาตรฐานในการแข่งขันระดับอาเซียน EZ WebmasterMarch 20, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยในการประชุมรับฟังความคิดเห็น (ร่าง) กรอบแนวทางการประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษาที่จัดการเรียนรู้ในสังกัดกรมส่งเสริมการเรียนรู้ (สกร.) โดยเน้นย้ำเรื่อง “แนวคิดและทิศทางการประกันคุณภาพภายนอก” ว่า การประกันคุณภาพภายนอกไม่ใช่เป็น “การตรวจสอบ” แต่เป็นเครื่องมือที่ช่วยส่งเสริมการพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษาอย่างแท้จริง…
สมศ. เน้นย้ำการประเมินคุณภาพภายนอก ปี 67-71 ลดวันประเมิน On site ขยายสู่รูปแบบออนไลน์ สร้างมาตรฐานในการแข่งขันระดับอาเซียน EZ WebmasterMarch 20, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. เปิดเผยในการประชุมรับฟังความคิดเห็น (ร่าง) กรอบแนวทางการประกันคุณภาพภายนอกสถานศึกษาที่จัดการเรียนรู้ในสังกัดกรมส่งเสริมการเรียนรู้ (สกร.) โดยเน้นย้ำเรื่อง “แนวคิดและทิศทางการประกันคุณภาพภายนอก” ว่า การประกันคุณภาพภายนอกไม่ใช่เป็น “การตรวจสอบ” แต่เป็นเครื่องมือที่ช่วยส่งเสริมการพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษาอย่างแท้จริง…
โรงเรียนฝึกอาชีพ กทม. เปิดสอนอาชีพ หลักสูตร 200 ชั่วโมง เรียนจบมีใบรับรอง สร้างอาชีพได้จริง EZ WebmasterMarch 22, 2025 โรงเรียนฝึกอาชีพ กทม. เปิดสอนอาชีพ หลักสูตร 200 ชั่วโมง ได้เรียนปฏิบัติเน้น ๆ มีให้เลือกเรียนทุกสาขาวิชา เรียนจบมีใบรับรองให้ เอาไปสร้างอาชีพได้จริง ค่าเรียนเริ่มต้นคอร์สละ 105 บาท (มีทั้งรอบเช้า / บ่าย /… รวมพลังสีชมพูจุฬาฯ กลับบ้านสู่ร่มจามจุรี ในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” EZ WebmasterMarch 14, 2025 สมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (สนจ.) เชิญชวนชาวจุฬาฯ ทั้งนิสิตเก่าและนิสิตปัจจุบัน เดินทางกลับบ้านในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” ร่วมฉลองวาระสำคัญ ครบรอบ 108 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในบรรยากาศแห่งความรักความสามัคคี และความผูกพันของเหล่าน้องพี่สีชมพู ภายใต้ร่มเงาของจามจุรี นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย… สจล. ผนึกกำลังตำรวจภูธรภาค 2 และบริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จำกัด (สำนักงานใหญ่) พัฒนาโครงการ “AI Robot รับแจ้งความ” ประมวลผลถูกต้องและมีประสิทธิภาพ EZ WebmasterMarch 13, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี ร่วมด้วยพลตำรวจโท ยิ่งยศ เทพจำนงค์ (คนที่ 3 จากซ้าย) ผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 2… สจล. ร่วมกับกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน มุ่งยกระดับฝีมือแรงงาน สอดคล้องความต้องการในอนาคต EZ WebmasterMarch 10, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี และนายเดชา พฤกษ์พัฒนรักษ์ (คนที่ 3 จากซ้าย) อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ได้ลงในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการร่วมกัน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่นักศึกษาของสถาบันก่อนเข้าสู่ตลาดแรงงานในสาขาอาชีพต่าง… Search for: Search EZ Webmaster May 11, 2023 EZ Webmaster May 11, 2023 คณะวิทยาศาสตร์ มศว เตรียมความพร้อม งานระดับนานาชาติ เจ้าภาพจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประเทศไทย ได้เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ระหว่างวันที่ 1 – 10 ธันวาคม 2566 โดยได้รับความร่วมมือจากหลายภาคส่วนในประเทศ ได้แก่ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการ และพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (มูลนิธิ สอวน.), สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), ศูนย์บริหารงานการพัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.), National Coordinator Olympiad Netherlands และคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยภายในงานได้รับเกียรติจากรองศาสตราจารย์ ดร.พินิติ รตะนานุกูล กรรมการและเลขาธิการ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการ และพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เล่าถึงความเป็นมาของการจัดการแข่งขันโอลิมปิกวิชาการระดับมัธยมต้นว่า “เมื่อ 20 ปีก่อนได้มีกลุ่มนักวิชาการที่เล็งเห็นความสำคัญของการกระตุ้นให้นักเรียนมีความสนใจในด้าน วิทยาศาสตร์มากขึ้น คิดว่าน่าจะมีเวทีให้นักเรียนเหล่านี้ได้มาแสดงความสามารถในเชิงวิชาการ จึงได้จัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในเวทีนานาชาติครั้งแรกที่ประเทศอินโดนีเชีย และในช่วงนั้นประเทศไทยก็ได้รับเชิญให้เข้าร่วมการแข่งขันด้วย ตั้งแต่ครั้งนั้นเราจึงได้ส่งทีมนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นไปแข่งขัน ซึ่งการที่มีเวทีลักษณะนี้ ถือเป็นการเปิดโอกาสให้นักเรียนที่มีความสนใจและอยากเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ได้มีแรงผลักดันที่จะสร้างศักยภาพของตนเองให้มากขึ้น เพื่อที่จะก้าวเข้าสู่เวทีการแข่งขันในระดับวิชาการในระดับนานาชาติต่อไป” “ในครั้งนี้ที่ประเทศไทยรับเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ประจำปี พ.ศ. 2566 (20th International Junior Science Olympiad) เนื่องจากประเทศไทยเราได้มีส่วนร่วมในการส่งนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นไปร่วมแข่งขันมาตั้งแต่ครั้งแรกตลอด 20 ปีที่ผ่านมา และยังไม่เคยเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน และในปีนี้ พ.ศ. 2566 ถือเป็นการเฉลิมพระเกียรติเนื่องในวาระครบ 100 ปี วันประสูติสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และการที่ท่านได้รับการรับรองพระนามเป็นบุคคลสำคัญของโลกจากองค์การยูเนสโก และเป็นองค์ประธานมูลนิธิตอนจัดตั้งฯ ในปีพ.ศ. 2542 ทางมูลนิธิฯ จึงเล็งเห็นว่าน่าจะเป็นโอกาสอันดีที่ประเทศไทยยินดีจะรับโอกาสเป็นเจ้าภาพการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 สำหรับการคัดเลือกนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นตัวแทนประเทศไทย ทางมูลนิธิฯ และ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ร่วมกันรับสมัคร ซึ่งในปีนี้มีนักเรียนทั่วประเทศประมาณ 10,500 คน ในรอบแรกหลังจากนั้นมีการสอบเพื่อคัดกรองเพื่อให้เหลือจำนวน 300 คน และจากนั้นมีการสอบคัดกรองอีกครั้งเพื่อให้เหลือ 30 คน และนำมาเตรียมความพร้อมโดยการเพิ่มทักษะความรู้ความสามารถเพื่อที่จะไปแข่งขันในระดับเวทีนานาชาติต่อไป และในขณะนี้อยู่ในขั้นตอนสุดท้ายที่กำลังคัดสรรหาตัวแทนประเทศไทย ในด้านการเตรียมความพร้อมในการเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันในครั้งนี้ ทางมูลนิธิฯและสสวท. มีการเตรียมการตั้งแต่ยื่นความจำนงที่จะเป็นเจ้าภาพมาในระยะเวลาหลายปี และเห็นว่าคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มีความพร้อมในหลายระดับทั้งบุคลากรที่จะมาจัดการแข่งขัน บุคลากรทางด้านวิชาการ และสถานที่ที่เหมาะสม เหมาะที่จะต้อนรับนักเรียนจากทั่วโลกและผู้ที่สนใจหรือเกี่ยวข้องได้ และทางมูลนิธิฯ กับมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒได้จัดตั้งคณะทำงานหลากหลายส่วน โดยเฉพาะคณะกรรมการวิชาการที่จะทำหน้าที่ในการออกข้อสอบสำหรับการแข่งขันในครั้งนี้ เนื่องจากการแข่งขันในครั้งนี้เป็นการสอบในราย 3 วิชา คือ วิชาเคมี ชีววิทยา และฟิสิกส์ ในการแข่งขันจะประกอบไปด้วยภาคทฤษฎีและภาคภาคปฏิบัติ ซึ่งในด้านการปฏิบัติจะเป็นการประยุกต์นำทั้ง 3 วิชาเข้าด้วยกัน และมีการตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อสอบ มาตรฐานของข้อสอบ จึงกล่าวได้ว่า ประเทศไทยมีความพร้อมแล้วที่จะเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันในครั้งที่ 20 นี้ และมั่นใจว่าประเทศไทยจะสามารถจัดการแข่งขันได้อย่างดีที่สุด” รองศาสตราจารย์ ดร.พินิติ รตะนานุกูล กล่าวทิ้งท้าย ทางด้านดร.อาทิตยา ปัญญา ผู้อำนวยการศูนย์บริหารงานการพัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ กล่าวถึงบทบาทของ กระทรวงศึกษาธิการ และ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ในครั้งนี้ “กระทรวงศึกษาธิการเป็นหน่วยงานที่ส่งเสริมการจัดการศึกษา เพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ โดยกำหนดนโยบายและแผนปฏิบัติการต่าง ๆ เพื่อรองรับการพัฒนาและการเปลี่ยนแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21 ซึ่ง สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้นำนโยบายและแผนปฏิบัติการต่าง ๆ มาดำเนินการเพื่อพัฒนาโดยเฉพาะด้านขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศที่ยังอยู่ในระดับที่ต้องพัฒนาให้มีมาตรฐานเทียบเท่าระดับมาตรฐานสากล เพื่อความมั่นคงและยั่งยืน และเป็นที่ยอมรับในระดับสากล โดยเฉพาะด้านการจัดการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ที่ต้องพัฒนา เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์เพื่อผลิตและพัฒนากำลังคนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มีความสามารถในระดับสากล สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ร่วมกับ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการและพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (สอวน.) สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) และสถาบันอุดมศึกษา พัฒนาครูและนักเรียน โดยจัดตั้งศูนย์ สอวน. ค่าย 1 ในโรงเรียนที่มีศักยภาพ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อดำเนินการอบรมนักเรียนจากทั่วทุกภูมิภาค ให้มีโอกาสเข้ารับการพัฒนาศักยภาพให้มีมาตรฐานระดับสากล ปัจจุบันมีศูนย์ สอวน. ค่าย 1 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน วิชาฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา คณิตศาสตร์และคอมพิวเตอร์ จำนวน 128 โรงเรียน กระจายอยู่ทั่วทุกภูมิภาค ทั้งนี้คุณครูที่เข้ารับการพัฒนามาจากโรงเรียนทุกประเภทและทุกขนาด เพื่อโอกาสในการเข้าถึงความรู้ตามแนวทางหลักสูตรโอลิมปิกวิชาการ โดยการอบรมพัฒนาครูจะเน้นภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติอย่างเข้มข้น รวมทั้งการติดตามผลการนำความรู้ที่ได้รับการอบรมพัฒนาไปจัดการเรียนการสอนตามแนวทางของหลักสูตรโอลิมปิกวิชาการได้อย่างถูกต้องตามหลักการผลจากการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรโอลิมปิกวิชาการ พบว่า มีนักเรียนสอบผ่านเข้าค่าย 1 สอวน. จากทั่วทุกภูมิภาค ทุกขนาด โดยเฉพาะโรงเรียนที่อยู่ในพื้นที่ชายขอบและถิ่นทุรกันดารก็สามารถพัฒนามาตรฐานโดยผ่านการคัดเลือกเข้าค่าย 1 ได้มากขึ้นทุก ๆ ปี ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายด้านการลดความเหลื่อมล้ำในด้านการจัดการศึกษา และในปี พ.ศ. 2565 มีนักเรียนในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ได้รับคัดเลือกเป็นผู้แทนประเทศไทยไปแข่งขันโอลิมปิกวิชาการระหว่างประเทศ ในวิชาต่าง ๆ จำนวนทั้งสิ้น 31 คน โดยทุกคน ได้รับรางวัล ดังนี้ รางวัลเหรียญทอง จำนวน 6 คน รางวัลเหรียญเงิน จำนวน 11 คน รางวัลเหรียญทองแดง จำนวน 7 คนเกียรติคุณประกาศ จำนวน 6 คน และรางวัลพิเศษ จำนวน 1 คน (Poster Awards) การดูแลนักเรียนที่เข้าร่วมการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ประจำปี พ.ศ. 2566 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ร่วมกับ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการและ พัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (สอวน.) และสถาบันอุดมศึกษา ดูแลนักเรียนที่ผ่านการคัดเลือกเข้าค่าย โดยการให้การสนับสนุนงบประมาณด้านอาหารและที่พักรวมทั้งการดูแลนักเรียนที่อยู่ในค่ายเน้นการพัฒนาในทุกมิติรวมทั้งด้านความปลอดภัยโดยอำนวยความสะดวกในด้านต่างๆ ให้นักเรียนสามารถเรียนรู้ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติการเติมเต็มประสบการณ์ด้านต่าง ๆ ให้นักเรียนแต่ละคนได้พัฒนาเต็มศักยภาพ รวมทั้งการใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข มุ่งเน้นคุณธรรมและจริยธรรมสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ยังคงมุ่งมั่นพัฒนานักเรียนและครูทั่วทุกภูมิภาค เพื่อยกระดับมาตรฐานการจัดการศึกษาด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ให้เทียบเท่ามาตรฐานสากล เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศและลดความเหลื่อมล้ำในการจัดการศึกษาให้แก่เด็กที่อยู่ในภูมิภาคที่มีความแตกต่างกัน” ศาสตราจารย์ ดร.ปรินทร์ ชัยวิสุทธางกูร คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ได้กล่าวถึงความพร้อมของสถานที่ในการจัดการแข่งขันฯ ว่า “มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มีความพร้อมในการต้อนรับผู้เข้าร่วมแข่งขันจากทั้ง 55 ประเทศ โดยแต่ละประเทศส่งนักเรียนเข้าร่วมการแข่งขัน 6 คน รวมทั้งมีครูผู้คุมทีมประเทศละ 3 คน รวมเป็น 9 คนจากแต่ละประเทศ และในเบื้องต้นข้อสอบปฏิบัติการ ทางคณาจารย์ของคณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ถือเป็นผู้ออกข้อสอบหลัก ตอนนี้ได้ทำการออกข้อสอบไปถึง 80% แล้ว ทั้งนี้เพื่อให้มั่นใจว่า ข้อสอบมีมาตรฐานในระดับนานาชาติ และในเรื่องของห้องปฏิบัติการตอนนี้มีการเตรียมความพร้อมโดยทำการปรับปรุงห้อง lab ให้มีมาตรฐานในระดับนานาชาติ ได้รับการสนับสนุนจากท่านอธิการบดี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ รศ.ดร.สมชาย สันติวัฒนกุล รวมทั้งท่านรองอธิการบดีอีกหลายท่านที่ได้ร่วมผลักดันสนับสนุนจนกระทั่งได้ห้องปฏิบัติการที่มีความพร้อมในการจัดการแข่งขัน เพื่อให้มีความพร้อมที่จะจัดการแข่งขัน แต่ในส่วนของข้อสอบบรรยายนอกจากทางมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒที่เป็นผู้ออกข้อสอบแล้ว ยังได้รับความอนุเคราะห์จากมหาวิทยาลัยมหิดล และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในการร่วมกันออกข้อสอบ มีความพร้อมได้ถึง 80% แล้วเช่นเดียวกัน และนี่คือความพร้อมทางฝั่งของการเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันฯ ในครั้งนี้” และสุดท้ายนี้ได้รับเกียรติจาก President IJSO E. H.M.H. Emiel de Klejin National Coordinator Olympiad Netherlands ที่ได้มากล่าวถึงบทบาทของ IJSO และความร่วมมือกับประเทศไทยในครั้งนี้ว่า “ประเทศไทยเริ่มเข้าร่วมการแข่งขันโอลิมปิกนานาชาติตั้งแต่ปี ค.ศ. 1989 โดยในการแข่งขันคณิตศาสตร์โอลิมปิก และปัจจุบันเข้าร่วมทั้งหมด 9 โอลิมปิก และยังได้เป็นเจ้าภาพโอลิมปิกนานาชาติแล้วถึง 9 ครั้ง ตั้งแต่การเริ่มต้น IJSO ในปี 2004 ที่ประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งประเทศไทยก็ได้เข้าร่วม IJSO มาทุกครั้ง IJSO เป็นการแข่งขันทางวิชาการโดยมีการบูรณาการการสอบทางด้านชีววิทยา เคมี และฟิสิกส์ ทั้งทางด้านทฤษฎีและปฏิบัติการ โดยข้อสอบได้มีการออกแบบมาเพื่อวัดความเข้าใจทางด้านแนวคิด ต่าง ๆ และความสามารถในการประยุกต์ใช้แนวความคิดต่างๆ ต่อสถานการณ์ที่ได้กำหนดไว้ในโจทย์ข้อสอบทฤษฎีเป็นการทำงานแบบเดี่ยว แต่ข้อสอบปฏิบัติการเป็นการทำงานแบบเป็นทีม ความรู้ย่อมสำคัญในวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แต่ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่นในทีมหลากหลายสาขาวิชาก็สำคัญเช่นกัน โดยทักษะทั้ง 2 ด้านมีบทบาทที่สำคัญในการแข่งขัน IJSO ทำให้การแข่งนั้นนี้มีความพิเศษเมื่อเทียบกับการแข่งขันอื่น ๆ เพราะการแก้ปัญหา การคิดวิเคราะห์ การทำงานเป็นทีม และการทดลองทางวิทยาศาสตร์คือหลักในการแข่งขันทางวิชาการนี้ อีกวัตถุประสงค์ของ IJSO ซึ่งมีความสำคัญไม่แพ้กับวัตถุประสงค์ด้านวิชาการ ก็คือการสนับสนุนให้เยาวชนได้เรียนรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมที่หลากหลาย เพิ่มปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักเรียนทั่วโลก ให้มีเพื่อนจากต่างประเทศตั้งแต่ยังอายุน้อย มีบทบาทความสำคัญทั้งในสังคมวิทยาศาสตร์และการพัฒนาส่วนตัว อีกทั้งยังมีศักยภาพในการนำไปสู่สันติภาพของโลกและการเข้าใจกันและกัน วัตถุประสงค์ 2 อย่างนี้ ทำให้งาน IJSO เป็นเหตุการณ์ความเปลี่ยนแปลงในชีวิตสำหรับผู้เข้าร่วมการแข่งขันแบบนี้ โดยมีความร่วมมือกันข้ามขอบเขตประเทศ ช่วยส่งเสริมผู้ที่มีความสามารถพิเศษ ซึ่งเป็นสิ่งที่เราต้องการอย่างยิ่งในโลกปัจจุบัน ทั้งนี้ ทุกท่านสามารถติดตามข่าวสารการจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ประจำปี พ.ศ. 2566 พร้อมร่วมส่งกำลังใจให้กับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นตัวแทนประเทศไทยได้ที่เฟซบุ๊ก คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ EZ Webmaster Related Posts ฟื้นO-NETเข้ามหา’ลัยเรื่องยาก อธิการบดี มรภ.นครราชสีมาแนะศธ.ใช้เข้าเรียนต่อม.1/ม.4 เรียนที่เดียวได้ถึง 2 วุฒิ สาขาวิชาวิศวกรรมสำรวจ ม.เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เปิดรับสมัครรอบที่ 2.3 ระบบ Quota TCAS68 โรงพยาบาลศูนย์การแพทย์มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เปิดให้ 25 ทุน เรียนฟรีผู้ช่วยพยาบาล ปิดเทอมนี้ สสวท. กระตุ้นต่อมคิดพิชิตปัญหาฟิสิกส์หรรษา กับ “ไขปริศนาวิทยากล” Post navigation PREVIOUS Previous post: ลอรีอัล เปิดรับสมัครชิงทุนวิจัย “เพื่อสตรีในงานวิทยาศาสตร์” ครั้งที่ 21 พร้อมเสริมแกร่งเครือข่ายครอบครัวนักวิจัยสตรีไทยในงาน Conversations with the FellowsNEXT Next post: 10 จังหวัดที่เจริญที่สุดในไทย 2565 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
รวมพลังสีชมพูจุฬาฯ กลับบ้านสู่ร่มจามจุรี ในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” EZ WebmasterMarch 14, 2025 สมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (สนจ.) เชิญชวนชาวจุฬาฯ ทั้งนิสิตเก่าและนิสิตปัจจุบัน เดินทางกลับบ้านในงานคืนเหย้า “๑๐๘ ปี จามจุรีประดับใจ” ร่วมฉลองวาระสำคัญ ครบรอบ 108 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในบรรยากาศแห่งความรักความสามัคคี และความผูกพันของเหล่าน้องพี่สีชมพู ภายใต้ร่มเงาของจามจุรี นายอรรถพล ฤกษ์พิบูลย์ นายกสมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย… สจล. ผนึกกำลังตำรวจภูธรภาค 2 และบริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จำกัด (สำนักงานใหญ่) พัฒนาโครงการ “AI Robot รับแจ้งความ” ประมวลผลถูกต้องและมีประสิทธิภาพ EZ WebmasterMarch 13, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี ร่วมด้วยพลตำรวจโท ยิ่งยศ เทพจำนงค์ (คนที่ 3 จากซ้าย) ผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 2… สจล. ร่วมกับกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน มุ่งยกระดับฝีมือแรงงาน สอดคล้องความต้องการในอนาคต EZ WebmasterMarch 10, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี และนายเดชา พฤกษ์พัฒนรักษ์ (คนที่ 3 จากซ้าย) อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ได้ลงในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการร่วมกัน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่นักศึกษาของสถาบันก่อนเข้าสู่ตลาดแรงงานในสาขาอาชีพต่าง… Search for: Search
สจล. ผนึกกำลังตำรวจภูธรภาค 2 และบริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จำกัด (สำนักงานใหญ่) พัฒนาโครงการ “AI Robot รับแจ้งความ” ประมวลผลถูกต้องและมีประสิทธิภาพ EZ WebmasterMarch 13, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี ร่วมด้วยพลตำรวจโท ยิ่งยศ เทพจำนงค์ (คนที่ 3 จากซ้าย) ผู้บัญชาการตำรวจภูธรภาค 2… สจล. ร่วมกับกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน มุ่งยกระดับฝีมือแรงงาน สอดคล้องความต้องการในอนาคต EZ WebmasterMarch 10, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี และนายเดชา พฤกษ์พัฒนรักษ์ (คนที่ 3 จากซ้าย) อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ได้ลงในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการร่วมกัน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่นักศึกษาของสถาบันก่อนเข้าสู่ตลาดแรงงานในสาขาอาชีพต่าง…
สจล. ร่วมกับกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน มุ่งยกระดับฝีมือแรงงาน สอดคล้องความต้องการในอนาคต EZ WebmasterMarch 10, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย รศ. ดร.คมสัน มาลีสี (คนที่ 2 จากซ้าย) อธิการบดี และนายเดชา พฤกษ์พัฒนรักษ์ (คนที่ 3 จากซ้าย) อธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ได้ลงในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการร่วมกัน เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่นักศึกษาของสถาบันก่อนเข้าสู่ตลาดแรงงานในสาขาอาชีพต่าง…
EZ Webmaster May 11, 2023 EZ Webmaster May 11, 2023 คณะวิทยาศาสตร์ มศว เตรียมความพร้อม งานระดับนานาชาติ เจ้าภาพจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประเทศไทย ได้เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ระหว่างวันที่ 1 – 10 ธันวาคม 2566 โดยได้รับความร่วมมือจากหลายภาคส่วนในประเทศ ได้แก่ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการ และพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (มูลนิธิ สอวน.), สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), ศูนย์บริหารงานการพัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.), National Coordinator Olympiad Netherlands และคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยภายในงานได้รับเกียรติจากรองศาสตราจารย์ ดร.พินิติ รตะนานุกูล กรรมการและเลขาธิการ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการ และพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เล่าถึงความเป็นมาของการจัดการแข่งขันโอลิมปิกวิชาการระดับมัธยมต้นว่า “เมื่อ 20 ปีก่อนได้มีกลุ่มนักวิชาการที่เล็งเห็นความสำคัญของการกระตุ้นให้นักเรียนมีความสนใจในด้าน วิทยาศาสตร์มากขึ้น คิดว่าน่าจะมีเวทีให้นักเรียนเหล่านี้ได้มาแสดงความสามารถในเชิงวิชาการ จึงได้จัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในเวทีนานาชาติครั้งแรกที่ประเทศอินโดนีเชีย และในช่วงนั้นประเทศไทยก็ได้รับเชิญให้เข้าร่วมการแข่งขันด้วย ตั้งแต่ครั้งนั้นเราจึงได้ส่งทีมนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นไปแข่งขัน ซึ่งการที่มีเวทีลักษณะนี้ ถือเป็นการเปิดโอกาสให้นักเรียนที่มีความสนใจและอยากเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ได้มีแรงผลักดันที่จะสร้างศักยภาพของตนเองให้มากขึ้น เพื่อที่จะก้าวเข้าสู่เวทีการแข่งขันในระดับวิชาการในระดับนานาชาติต่อไป” “ในครั้งนี้ที่ประเทศไทยรับเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ประจำปี พ.ศ. 2566 (20th International Junior Science Olympiad) เนื่องจากประเทศไทยเราได้มีส่วนร่วมในการส่งนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นไปร่วมแข่งขันมาตั้งแต่ครั้งแรกตลอด 20 ปีที่ผ่านมา และยังไม่เคยเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน และในปีนี้ พ.ศ. 2566 ถือเป็นการเฉลิมพระเกียรติเนื่องในวาระครบ 100 ปี วันประสูติสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และการที่ท่านได้รับการรับรองพระนามเป็นบุคคลสำคัญของโลกจากองค์การยูเนสโก และเป็นองค์ประธานมูลนิธิตอนจัดตั้งฯ ในปีพ.ศ. 2542 ทางมูลนิธิฯ จึงเล็งเห็นว่าน่าจะเป็นโอกาสอันดีที่ประเทศไทยยินดีจะรับโอกาสเป็นเจ้าภาพการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 สำหรับการคัดเลือกนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นตัวแทนประเทศไทย ทางมูลนิธิฯ และ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ร่วมกันรับสมัคร ซึ่งในปีนี้มีนักเรียนทั่วประเทศประมาณ 10,500 คน ในรอบแรกหลังจากนั้นมีการสอบเพื่อคัดกรองเพื่อให้เหลือจำนวน 300 คน และจากนั้นมีการสอบคัดกรองอีกครั้งเพื่อให้เหลือ 30 คน และนำมาเตรียมความพร้อมโดยการเพิ่มทักษะความรู้ความสามารถเพื่อที่จะไปแข่งขันในระดับเวทีนานาชาติต่อไป และในขณะนี้อยู่ในขั้นตอนสุดท้ายที่กำลังคัดสรรหาตัวแทนประเทศไทย ในด้านการเตรียมความพร้อมในการเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันในครั้งนี้ ทางมูลนิธิฯและสสวท. มีการเตรียมการตั้งแต่ยื่นความจำนงที่จะเป็นเจ้าภาพมาในระยะเวลาหลายปี และเห็นว่าคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มีความพร้อมในหลายระดับทั้งบุคลากรที่จะมาจัดการแข่งขัน บุคลากรทางด้านวิชาการ และสถานที่ที่เหมาะสม เหมาะที่จะต้อนรับนักเรียนจากทั่วโลกและผู้ที่สนใจหรือเกี่ยวข้องได้ และทางมูลนิธิฯ กับมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒได้จัดตั้งคณะทำงานหลากหลายส่วน โดยเฉพาะคณะกรรมการวิชาการที่จะทำหน้าที่ในการออกข้อสอบสำหรับการแข่งขันในครั้งนี้ เนื่องจากการแข่งขันในครั้งนี้เป็นการสอบในราย 3 วิชา คือ วิชาเคมี ชีววิทยา และฟิสิกส์ ในการแข่งขันจะประกอบไปด้วยภาคทฤษฎีและภาคภาคปฏิบัติ ซึ่งในด้านการปฏิบัติจะเป็นการประยุกต์นำทั้ง 3 วิชาเข้าด้วยกัน และมีการตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อสอบ มาตรฐานของข้อสอบ จึงกล่าวได้ว่า ประเทศไทยมีความพร้อมแล้วที่จะเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันในครั้งที่ 20 นี้ และมั่นใจว่าประเทศไทยจะสามารถจัดการแข่งขันได้อย่างดีที่สุด” รองศาสตราจารย์ ดร.พินิติ รตะนานุกูล กล่าวทิ้งท้าย ทางด้านดร.อาทิตยา ปัญญา ผู้อำนวยการศูนย์บริหารงานการพัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ กล่าวถึงบทบาทของ กระทรวงศึกษาธิการ และ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ในครั้งนี้ “กระทรวงศึกษาธิการเป็นหน่วยงานที่ส่งเสริมการจัดการศึกษา เพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ โดยกำหนดนโยบายและแผนปฏิบัติการต่าง ๆ เพื่อรองรับการพัฒนาและการเปลี่ยนแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21 ซึ่ง สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้นำนโยบายและแผนปฏิบัติการต่าง ๆ มาดำเนินการเพื่อพัฒนาโดยเฉพาะด้านขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศที่ยังอยู่ในระดับที่ต้องพัฒนาให้มีมาตรฐานเทียบเท่าระดับมาตรฐานสากล เพื่อความมั่นคงและยั่งยืน และเป็นที่ยอมรับในระดับสากล โดยเฉพาะด้านการจัดการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ที่ต้องพัฒนา เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์เพื่อผลิตและพัฒนากำลังคนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มีความสามารถในระดับสากล สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ร่วมกับ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการและพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (สอวน.) สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) และสถาบันอุดมศึกษา พัฒนาครูและนักเรียน โดยจัดตั้งศูนย์ สอวน. ค่าย 1 ในโรงเรียนที่มีศักยภาพ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อดำเนินการอบรมนักเรียนจากทั่วทุกภูมิภาค ให้มีโอกาสเข้ารับการพัฒนาศักยภาพให้มีมาตรฐานระดับสากล ปัจจุบันมีศูนย์ สอวน. ค่าย 1 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน วิชาฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา คณิตศาสตร์และคอมพิวเตอร์ จำนวน 128 โรงเรียน กระจายอยู่ทั่วทุกภูมิภาค ทั้งนี้คุณครูที่เข้ารับการพัฒนามาจากโรงเรียนทุกประเภทและทุกขนาด เพื่อโอกาสในการเข้าถึงความรู้ตามแนวทางหลักสูตรโอลิมปิกวิชาการ โดยการอบรมพัฒนาครูจะเน้นภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติอย่างเข้มข้น รวมทั้งการติดตามผลการนำความรู้ที่ได้รับการอบรมพัฒนาไปจัดการเรียนการสอนตามแนวทางของหลักสูตรโอลิมปิกวิชาการได้อย่างถูกต้องตามหลักการผลจากการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรโอลิมปิกวิชาการ พบว่า มีนักเรียนสอบผ่านเข้าค่าย 1 สอวน. จากทั่วทุกภูมิภาค ทุกขนาด โดยเฉพาะโรงเรียนที่อยู่ในพื้นที่ชายขอบและถิ่นทุรกันดารก็สามารถพัฒนามาตรฐานโดยผ่านการคัดเลือกเข้าค่าย 1 ได้มากขึ้นทุก ๆ ปี ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายด้านการลดความเหลื่อมล้ำในด้านการจัดการศึกษา และในปี พ.ศ. 2565 มีนักเรียนในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ได้รับคัดเลือกเป็นผู้แทนประเทศไทยไปแข่งขันโอลิมปิกวิชาการระหว่างประเทศ ในวิชาต่าง ๆ จำนวนทั้งสิ้น 31 คน โดยทุกคน ได้รับรางวัล ดังนี้ รางวัลเหรียญทอง จำนวน 6 คน รางวัลเหรียญเงิน จำนวน 11 คน รางวัลเหรียญทองแดง จำนวน 7 คนเกียรติคุณประกาศ จำนวน 6 คน และรางวัลพิเศษ จำนวน 1 คน (Poster Awards) การดูแลนักเรียนที่เข้าร่วมการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ประจำปี พ.ศ. 2566 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ร่วมกับ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการและ พัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (สอวน.) และสถาบันอุดมศึกษา ดูแลนักเรียนที่ผ่านการคัดเลือกเข้าค่าย โดยการให้การสนับสนุนงบประมาณด้านอาหารและที่พักรวมทั้งการดูแลนักเรียนที่อยู่ในค่ายเน้นการพัฒนาในทุกมิติรวมทั้งด้านความปลอดภัยโดยอำนวยความสะดวกในด้านต่างๆ ให้นักเรียนสามารถเรียนรู้ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติการเติมเต็มประสบการณ์ด้านต่าง ๆ ให้นักเรียนแต่ละคนได้พัฒนาเต็มศักยภาพ รวมทั้งการใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข มุ่งเน้นคุณธรรมและจริยธรรมสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ยังคงมุ่งมั่นพัฒนานักเรียนและครูทั่วทุกภูมิภาค เพื่อยกระดับมาตรฐานการจัดการศึกษาด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ให้เทียบเท่ามาตรฐานสากล เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศและลดความเหลื่อมล้ำในการจัดการศึกษาให้แก่เด็กที่อยู่ในภูมิภาคที่มีความแตกต่างกัน” ศาสตราจารย์ ดร.ปรินทร์ ชัยวิสุทธางกูร คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ได้กล่าวถึงความพร้อมของสถานที่ในการจัดการแข่งขันฯ ว่า “มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มีความพร้อมในการต้อนรับผู้เข้าร่วมแข่งขันจากทั้ง 55 ประเทศ โดยแต่ละประเทศส่งนักเรียนเข้าร่วมการแข่งขัน 6 คน รวมทั้งมีครูผู้คุมทีมประเทศละ 3 คน รวมเป็น 9 คนจากแต่ละประเทศ และในเบื้องต้นข้อสอบปฏิบัติการ ทางคณาจารย์ของคณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ถือเป็นผู้ออกข้อสอบหลัก ตอนนี้ได้ทำการออกข้อสอบไปถึง 80% แล้ว ทั้งนี้เพื่อให้มั่นใจว่า ข้อสอบมีมาตรฐานในระดับนานาชาติ และในเรื่องของห้องปฏิบัติการตอนนี้มีการเตรียมความพร้อมโดยทำการปรับปรุงห้อง lab ให้มีมาตรฐานในระดับนานาชาติ ได้รับการสนับสนุนจากท่านอธิการบดี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ รศ.ดร.สมชาย สันติวัฒนกุล รวมทั้งท่านรองอธิการบดีอีกหลายท่านที่ได้ร่วมผลักดันสนับสนุนจนกระทั่งได้ห้องปฏิบัติการที่มีความพร้อมในการจัดการแข่งขัน เพื่อให้มีความพร้อมที่จะจัดการแข่งขัน แต่ในส่วนของข้อสอบบรรยายนอกจากทางมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒที่เป็นผู้ออกข้อสอบแล้ว ยังได้รับความอนุเคราะห์จากมหาวิทยาลัยมหิดล และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในการร่วมกันออกข้อสอบ มีความพร้อมได้ถึง 80% แล้วเช่นเดียวกัน และนี่คือความพร้อมทางฝั่งของการเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันฯ ในครั้งนี้” และสุดท้ายนี้ได้รับเกียรติจาก President IJSO E. H.M.H. Emiel de Klejin National Coordinator Olympiad Netherlands ที่ได้มากล่าวถึงบทบาทของ IJSO และความร่วมมือกับประเทศไทยในครั้งนี้ว่า “ประเทศไทยเริ่มเข้าร่วมการแข่งขันโอลิมปิกนานาชาติตั้งแต่ปี ค.ศ. 1989 โดยในการแข่งขันคณิตศาสตร์โอลิมปิก และปัจจุบันเข้าร่วมทั้งหมด 9 โอลิมปิก และยังได้เป็นเจ้าภาพโอลิมปิกนานาชาติแล้วถึง 9 ครั้ง ตั้งแต่การเริ่มต้น IJSO ในปี 2004 ที่ประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งประเทศไทยก็ได้เข้าร่วม IJSO มาทุกครั้ง IJSO เป็นการแข่งขันทางวิชาการโดยมีการบูรณาการการสอบทางด้านชีววิทยา เคมี และฟิสิกส์ ทั้งทางด้านทฤษฎีและปฏิบัติการ โดยข้อสอบได้มีการออกแบบมาเพื่อวัดความเข้าใจทางด้านแนวคิด ต่าง ๆ และความสามารถในการประยุกต์ใช้แนวความคิดต่างๆ ต่อสถานการณ์ที่ได้กำหนดไว้ในโจทย์ข้อสอบทฤษฎีเป็นการทำงานแบบเดี่ยว แต่ข้อสอบปฏิบัติการเป็นการทำงานแบบเป็นทีม ความรู้ย่อมสำคัญในวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แต่ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่นในทีมหลากหลายสาขาวิชาก็สำคัญเช่นกัน โดยทักษะทั้ง 2 ด้านมีบทบาทที่สำคัญในการแข่งขัน IJSO ทำให้การแข่งนั้นนี้มีความพิเศษเมื่อเทียบกับการแข่งขันอื่น ๆ เพราะการแก้ปัญหา การคิดวิเคราะห์ การทำงานเป็นทีม และการทดลองทางวิทยาศาสตร์คือหลักในการแข่งขันทางวิชาการนี้ อีกวัตถุประสงค์ของ IJSO ซึ่งมีความสำคัญไม่แพ้กับวัตถุประสงค์ด้านวิชาการ ก็คือการสนับสนุนให้เยาวชนได้เรียนรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมที่หลากหลาย เพิ่มปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักเรียนทั่วโลก ให้มีเพื่อนจากต่างประเทศตั้งแต่ยังอายุน้อย มีบทบาทความสำคัญทั้งในสังคมวิทยาศาสตร์และการพัฒนาส่วนตัว อีกทั้งยังมีศักยภาพในการนำไปสู่สันติภาพของโลกและการเข้าใจกันและกัน วัตถุประสงค์ 2 อย่างนี้ ทำให้งาน IJSO เป็นเหตุการณ์ความเปลี่ยนแปลงในชีวิตสำหรับผู้เข้าร่วมการแข่งขันแบบนี้ โดยมีความร่วมมือกันข้ามขอบเขตประเทศ ช่วยส่งเสริมผู้ที่มีความสามารถพิเศษ ซึ่งเป็นสิ่งที่เราต้องการอย่างยิ่งในโลกปัจจุบัน ทั้งนี้ ทุกท่านสามารถติดตามข่าวสารการจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ประจำปี พ.ศ. 2566 พร้อมร่วมส่งกำลังใจให้กับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นตัวแทนประเทศไทยได้ที่เฟซบุ๊ก คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ