เด็กสาธิตสวนสุนันทาคว้ารางวัลศิลปะระดับโลก! สร้างชื่อเสียงให้ไทยบนเวทีนานาชาติ tui sakrapeeMarch 26, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาขอแสดงความยินดีกับนักเรียนโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ที่ได้รับรางวัลจากการแข่งขันศิลปะระดับนานาชาติและระดับประเทศ ประจำปี 2568 ซึ่งเป็นการแสดงถึงความสามารถด้านศิลปะและวัฒนธรรมที่โดดเด่นของนักเรียน โดยมีรายชื่อผู้ได้รับรางวัลดังต่อไปนี้ รางวัลระดับนานาชาติ เด็กหญิงกันต์กนิษฐ์ เสนะวีณิน (ป.4) – รางวัล Excellent Prize จาก The 20th Annual… เปิดรับอาสาสมัครศิริราช รอบทำกิจกรรม เดือน พ.ค.-ก.ค. 68 ทุกกิจกรรมมีใบรับรองการทำกิจกรรม EZ WebmasterMarch 26, 2025 ตารางการรับอาสาสมัครรอบทำกิจกรรม เดือน พฤษภาคม – กรกฏาคม 68 (กิจกรรมที่อยู่ในเว็บไซต์ตอนนี้เป็นรอบเก่ามีผู้เข้าร่วมเต็มทั้งหมดแล้วค่ะ รอบใหม่จะเปิดตามวันเวลาที่แจ้งด้านล่างนี้เท่านั้น*) ขอให้อาสาเป็นผู้สมัครและกดเลือกกิจกรรมด้วยตนเองนะคะ – 31 ก.ค. 68 **เนื่องจากวันที่ 5 พ.ค. เป็นวันหยุด จะขอเริ่มตั้งแต่วันที่วันที่ 6 พ.ค.… อธิการบดีจุฬาชี้ใช้ O-NET เข้ามหา’ลัยต้องประชาพิจารณ์ แนะฟังความเห็นนักน.ร.-ผปค.ก่อน EZ WebmasterMarch 26, 2025 ตามที่กระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) หารือกับกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ในการนำคะแนนการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน หรือโอเน็ต มาใช้เป็นองค์ประกอบในการเข้าเรียนต่อมหาวิทยาลัย โดยเบื้องต้นทาง อว.เห็นว่า แนวทางดังกล่าว มีความเป็นไปได้ แต่ต้องเป็นในรายวิชาที่ได้มาตรฐานเดียวกัน เช่น วิชาภาษาอังกฤษ อีกทั้งการสอบโอเน็ตยังไม่มีค่าใช้จ่าย ถือเป็นการลดภาระนักเรียนและผู้ปกครองนั้น… ซีไอเอ็มบี ไทย เปิดสมัครทุนการศึกษา CIMB ASEAN Scholarship ประจำปี 2568 EZ WebmasterMarch 26, 2025 ธนาคาร ซีไอเอ็มบี ไทย จำกัด (มหาชน) เปิดรับนักเรียน นักศึกษา ที่กำลังจะเข้าศึกษาต่อ ในระดับปริญญาตรี จากทุกสาขาวิชา เพื่อคัดเลือกเข้ารับ CIMB ASEAN Scholarship ซึ่งเป็นทุนการศึกษาเต็มจำนวน ที่ครอบคลุมค่าเล่าเรียนทั้งหมด (ค่าใช้จ่ายในการสมัครเรียน ค่าเทอม… นักศึกษา มทร.ธัญบุรี เปิดกว้างทุกวัย เพื่อเรียนรู้ตลอดชีพ ธนาคารหน่วยกิต “40 หลักสูตร ป.ตรี” tui sakrapeeMarch 26, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) เปิดรับสมัครผู้สนใจเข้าร่วมโครงการการเรียนรู้ตลอดชีวิตในระบบเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ (ธนาคารหน่วยกิต) หลักสูตรระดับปริญญาตรี ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2568 ตั้งแต่วันที่ 24 มี.ค. ถึง 30 พ.ค. 2568 โดยไม่มีค่าใช้จ่ายในการสมัคร… เปิดรับอาสาสมัครศิริราช รอบทำกิจกรรม เดือน พ.ค.-ก.ค. 68 ทุกกิจกรรมมีใบรับรองการทำกิจกรรม EZ WebmasterMarch 26, 2025 ตารางการรับอาสาสมัครรอบทำกิจกรรม เดือน พฤษภาคม – กรกฏาคม 68 (กิจกรรมที่อยู่ในเว็บไซต์ตอนนี้เป็นรอบเก่ามีผู้เข้าร่วมเต็มทั้งหมดแล้วค่ะ รอบใหม่จะเปิดตามวันเวลาที่แจ้งด้านล่างนี้เท่านั้น*) ขอให้อาสาเป็นผู้สมัครและกดเลือกกิจกรรมด้วยตนเองนะคะ – 31 ก.ค. 68 **เนื่องจากวันที่ 5 พ.ค. เป็นวันหยุด จะขอเริ่มตั้งแต่วันที่วันที่ 6 พ.ค.… ซีไอเอ็มบี ไทย เปิดสมัครทุนการศึกษา CIMB ASEAN Scholarship ประจำปี 2568 EZ WebmasterMarch 26, 2025 ธนาคาร ซีไอเอ็มบี ไทย จำกัด (มหาชน) เปิดรับนักเรียน นักศึกษา ที่กำลังจะเข้าศึกษาต่อ ในระดับปริญญาตรี จากทุกสาขาวิชา เพื่อคัดเลือกเข้ารับ CIMB ASEAN Scholarship ซึ่งเป็นทุนการศึกษาเต็มจำนวน ที่ครอบคลุมค่าเล่าเรียนทั้งหมด (ค่าใช้จ่ายในการสมัครเรียน ค่าเทอม… คณะนิเทศฯ SPU เสิร์ฟประสบการณ์หนังสุดพิเศษ! เรียนรู้จากมืออาชีพกับ “ซองแดงแต่งผี” พร้อม Q&A สุดเอ็กซ์คลูซีฟกับ GDH EZ WebmasterMarch 26, 2025 คณะนิเทศศาสตร์ สาขาภาพยนตร์และสื่อดิจิทัล มหาวิทยาลัยศรีปทุม เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้สัมผัสประสบการณ์สุดพิเศษ โดยมีนักศึกษากว่า 1,600 คน ร่วมชมภาพยนตร์ “ซองแดงแต่งผี” ภาพยนตร์สยองขวัญสุดหลอนจากค่าย GDH พร้อมเข้าร่วม Q&A Pro Talk กับ คุณหมู ชยนพ… ทุนดีดี #ODOSSummerCamp InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศMarch 26, 2025 โอกาสที่จะได้ทุนไปค่ายฤดูร้อนที่ออสเตรเลีย กับ ทุน #ODOSSummerCamp มาถึงแล้ว! น้อง ๆ ตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ขึ้นไปและมีอายุไม่เกิน 19 ปี จาก 928 อำเภอทั่วประเทศสามารถสมัครเพื่อขอทุนนี้ผ่านแอปพลิเคชัน ‘ทางรัฐ’ สมัครได้ตั้งแต่วันนี้ –… ทุนไต้หวันและทุนภาษาจีน InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศMarch 25, 2025 ฝ่ายการศึกษา สำนักงานเศรษฐกิจและวัฒนธรรมไทเปประจำประเทศไทย ได้ดำเนินการตามหลักเกณฑ์การมอบทุนของกระทรวงศึกษาธิการสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) เพื่อจัดทำโครงการ “ทุนรัฐบาลไต้หวัน MOE” และ “ทุนเรียนภาษาจีนระยะสั้น HES” ประจำปีการศึกษา 2568 วัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนนักเรียนไทยที่มีความสามารถให้ไปศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก หรือเรียนภาษาจีนในไต้หวัน โดยทุนการศึกษานี้จะเปิดรับสมัครตั้งแต่วันที่ 1 กุมภาพันธ์ ถึง 31 มีนาคม 2568 ทุนรัฐบาลไต้หวัน (ทุน MOE) ทุนสำหรับศึกษาต่อระดับปริญญาในไต้หวัน: จำนวนทุน:20 ทุน เงินสนับสนุน:… ทุนICCRของอินเดีย 2025-26 InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศMarch 24, 2025 สภาวัฒนธรรมแห่งอินเดียได้เปิดรับสมัครทุนการศึกษา ระดับปริญญาตรี โท เอก Indian Council for Cultural Relations (ICCR) ประจำปีการศึกษา 2025-2026 เปิดรับใบสมัครตั้งแต่วันที่ 20 กุมภาพันธ์ จนถึงวันที่ 30 เมษายน… ทุนการศึกษามูลนิธิศึกษาวิจัยและพัฒนาเพื่อสังคมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปี 2568 EZ WebmasterMarch 22, 2025 ทุนการศึกษามูลนิธิศึกษาวิจัยฯ ประจำปี 2568 ++ ประกาศเปิดรับสมัครแล้วตั้งแต่วันนี้ ++ โดยทุนการศึกษามูลนิธิศึกษาวิจัยและพัฒนาเพื่อสังคมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปี 2568 เปิดรับสมัครจำนวน 2 รอบ โดยมีรายละเอียดดังนี้ – ทุนรอบที่ 1 รับสมัครในวันที่ 1 มกราคม… ครู-อาจารย์ โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “ดร.ชุมพล พรประภา” เป็นนายกสภา ม.ศรีนครินทรวิโรฒ tui sakrapeeMarch 26, 2025 ราชกิจจานุเบกษาเผยแพร่ ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “ชุมพล พรประภา” ดำรงตำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ แทนวิจิตร ศรีสอ้าน ที่ถึงแก่อนิจกรรม ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 142 ตอนพิเศษ 147 ง เมื่อวันที่ 25… สอศ. ปั้นผู้อำนวยการอาชีวะยุคใหม่! เสริมภาวะผู้นำ-วิสัยทัศน์ ทันโลกการศึกษา EZ WebmasterMarch 26, 2025 วันที่ 26 มีนาคม 2568 นายยศพล เวณุโกเศศ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (เลขาธิการ กอศ.) เป็นประธานเปิดโครงการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และบรรยายพิเศษ “Growth Mindset: แนวคิดเชิงบวกและการเติบโตขององค์กร” โดยนางธิติมา โรจน์วัชราภิบาล ผู้อำนวยการ… ไทย จ่อขยับอันดับการศึกษา หลังอัตราการรู้หนังสือของประชากร พุ่งสูง 98.83% จากการสำรวจอัตราการรู้หนังสือของประชากร EZ WebmasterMarch 26, 2025 เมื่อวันที่ 26 มีนาคม ที่สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (สกศ.) นายประวิต เอราวรรณ์ เลขาธิการสภาการศึกษา กล่าวในงานแถลงผลการสำรวจการรู้หนังสือของประชากรไทย ปี 2568 โดยมี นายธนากร ดอนเหนือ อธิบดีกรมส่งเสริมการเรียนรู้ (สกร.) เข้าร่วม นายประวิต… โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง รองศาสตราจารย์ ดร.ประยุกต์ ศรีวิไล เป็นอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาสารคาม EZ WebmasterMarch 26, 2025 เมื่อวันที่ 25 มกราคม เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา เผยแพร่ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ความว่า ตามที่ได้มีพระราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้ง นายประยุกต์ ศรีวิไล ให้ดำรงตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ตั้งแต่วันที่ 9 พฤศจิกายน 2562 ตามประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ลงวันที่ 13… กิจกรรม พิธีเปิดกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) ภายใต้โครงการพัฒนามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมผ้าไทยสู่สากล ประจำปี ๒๕๖๘ EZ WebmasterMarch 26, 2025 นางสาวลิปิการ์ กำลังชัย รองธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรม รักษาราชการแทนอธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรมเป็นประธานพิธิเปิด และร่วมรับฟังการบรรยายกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) พร้อมด้วยนางสาวศิวพร ฉันทไกรวัฒน์ ผู้อำนวยการกลุ่มเผยแพร่และต่อยอดมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมเข้าร่วมงาน โดยวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญด้านผ้าไทย การออกแบบและแฟชั่น อาทิ ผศ.ดร.รวิเทพ มุสิกะปาน ผศ.ดร.วุฒิไกร… เปิดรับอาสาสมัครศิริราช รอบทำกิจกรรม เดือน พ.ค.-ก.ค. 68 ทุกกิจกรรมมีใบรับรองการทำกิจกรรม EZ WebmasterMarch 26, 2025 ตารางการรับอาสาสมัครรอบทำกิจกรรม เดือน พฤษภาคม – กรกฏาคม 68 (กิจกรรมที่อยู่ในเว็บไซต์ตอนนี้เป็นรอบเก่ามีผู้เข้าร่วมเต็มทั้งหมดแล้วค่ะ รอบใหม่จะเปิดตามวันเวลาที่แจ้งด้านล่างนี้เท่านั้น*) ขอให้อาสาเป็นผู้สมัครและกดเลือกกิจกรรมด้วยตนเองนะคะ – 31 ก.ค. 68 **เนื่องจากวันที่ 5 พ.ค. เป็นวันหยุด จะขอเริ่มตั้งแต่วันที่วันที่ 6 พ.ค.… เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน รับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน EZ WebmasterMarch 24, 2025 เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน เกม Let’s School เกมแนวบริหารโรงเรียนในฝัน ที่จะให้เรารับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน อยากให้โรงเรียนเป็นแบบไหนก็ปรับเล่นได้เลย ดูอารมณ์นักเรียกได้ด้วยว่ามีความสุขมั้ย? แถมตอนนี้ยังมีอัปเดตแมพใหม่พร้อมซัพไทยด้วยนะ Let’s School โหลดเล่นได้ที่ Steam :… คอร์สฟรี! จาก ม.บูรพา “วางแผนธุรกิจ รู้เรื่องภาษี” เรียนจบรับใบเซอร์! EZ WebmasterMarch 24, 2025 คอร์สฟรี! จาก ม.บูรพา “วางแผนธุรกิจ รู้เรื่องภาษี” เรียนจบรับใบเซอร์! อยากเริ่มต้นธุรกิจให้ปัง หรือขยายกิจการให้โต? มาเพิ่มความรู้ด้านการวางแผนธุรกิจและภาษีกับ คอร์สเรียนออนไลน์ฟรี จากมหาวิทยาลัยบูรพา! 7 บทเรียนจัดเต็ม : การเขียนแผนธุรกิจอย่างมืออาชีพ การตั้งเป้าหมาย และวิเคราะห์ตลาด วางแผนการเงิน… Search for: Search EZ Webmaster July 14, 2022 EZ Webmaster July 14, 2022 วันเข้าพรรษามีที่มาอย่างไร? และเกี่ยวข้องอะไรกับกิจกรรมถวายเทียนพรรษา วันเข้าพรรษามีที่มาอย่างไร? และเกี่ยวข้องอะไรกับกิจกรรมถวายเทียนพรรษา วันที่ 14 กรกฎาคม ประจำปี 2565 นับเป็นวันหยุดสำคัญทางศาสนาคือ วันเข้าพรรษา แล้ววันเข้าพรรษานี้มีที่มาอย่างไร เกี่ยวข้องอย่างไรกับกิจกรรมถวายเทียนพรรษา วันเข้าพรรษา เป็นวันสำคัญทางพุทธศาสนา เป็นพิธีที่พระสงฆ์เถรวาทจะพักอยู่ที่ใดที่หนึ่ง โดยไม่ไปค้างแรมที่อื่นตลอดฤดูฝน ซึ่งเป็นระยะเวลาประมาณ 3 เดือน โดยเริ่มตั้งแต่ แรม 1 ค่ำ เดือน 8 ถึงวันขึ้น 15 ค่ำเดือน 11 ซึ่งในปีนี้เข้าพรรษา แรม 1 ค่ำ เดือน 8 จึงตรงกับวันที่ 14 กรกฎาคม 2565 และวันออกพรรษา 15 ค่ำเดือน 11 จึงตรงกับวันที่ 10 ตุลาคม 2565 พิธีเข้าพรรษานี้ ถือเป็นพิธีบังคับที่พระสงฆ์ทุกรูปจะต้องปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด โดยจะสามารถยกเว้นได้บางกรณี วันเข้าพรรษากำเนิดมาตั้งแต่สมัยพระพุทธกาล ตั้งแต่ครั้งสมัยที่พระพุทธเจ้าประทับอยู่ที่วัดเวฬุวัน เมืองราชคฤห์ เมื่อถึงฤดูฝนพระสงฆ์ที่จำนวนกว่า 1,500 รูป ที่ยวจาริกไปตามที่สถานที่ต่าง ๆ จนถูกชาวบ้านพากันติเตียนเนื่องจากไปย้ำข้าวในนาเสียหาย เมื่อได้ยินดังนั้นพระพุทธเจ้าก็รับสั่งให้ประชุมสงฆ์และได้ทรงอนุญาตให้พระสงฆ์จำพรรษาอยู่ในที่แห่งเดียวตลอดระยะเวลา 3 เดือนเพื่อจุดประสงค์หลักคือป้องกันไม่ให้เกิดความเสียหายต่อพืชพันธ์ที่ชาวบ้านปลูก และยังให้พระสงฆ์ได้หยุดพักจากการจาริกเผยแผ่ศาสนายังสถานที่ต่าง ๆ อีกทั้งหน้าฝนยังเป็นฤดูกาลที่ยากต่อการเดินทาง ซึ่งในช่วงเวลาจำพรรษตลอด 3 เดือนนั้น ก็ถือเป็นช่วงเวลาและโอกาสที่พระสงฆ์จะได้มาอยู่ร่วมตัวกันเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์และแบ่งปันความรู้ในคณะสงฆ์ด้วยกันเอง ในทางเดียวกันพุทธศาสนิชกก็ได้โอกาสในการเข้าวัดทำบุญตักบาตร ฟังพระธรรมเทศนา รวมไปถึงเกิดเป็นประเพณีสำคัญถวายเทียนพรรษา ผ้าอาบน้ำฝน (ผ้าวัสสิกสาฏก) และหลอดไฟก็ถวายเพื่อให้พระสงฆ์ได้ใช้ตลอดการอยู่จำพรรษา โดยมีที่มาดังนี้ ประเพณีสำคัญขึ้นในวันเข้าพรรษามี 2 ประเพณีคือ 1. ประเพณีถวายผ้าอาบน้ำฝน เชื่อกันว่า ในสมัยพุทธกาล นางวิสาขา มหาอุบาสิกาต้องการจะนิมนต์พระภิกษุไปฉันภัตตาหารที่บ้าน จึงให้หญิงรับใช้ไปพระวิหารเชตวันเพื่อนิมนต์พระ ปรากฏว่านางไปเห็นพระภิกษุเปลือยกายอาบน้ำฝนอยู่ ก็กลับมารายงานด้วยความเข้าใจผิดว่าไม่พบพระ เห็นแต่พวกชีเปลือย นางวิสาขาก็รู้ด้วยปัญญาว่าคงเป็นพระอาบน้ำฝนอยู่ ดังนั้น นางจึงได้ทูลขอพรจากพระพุทธเจ้า ขอถวายผ้าอาบน้ำฝนแด่พระภิกษุและภิกษุณีเป็นประจำแต่นั้นมา จึงเกิดเป็นประเพณีที่ชาวพุทธปฏิบัติสืบต่อมาจนทุกวันนี้ และกล่าวกันว่า ผู้ที่ถวายผ้าอาบน้ำฝนจะได้รับอานิสงส์เหมือนการถวายผ้าอื่น ๆ ตามนัยที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ คือ ทำให้เป็นผู้มีผิวพรรณผ่องใส สวยงาม ไม่มีโรคภัยไข้เจ็บ มีความสะอาดผ่องใสทั้งกายและใจ 2. ส่วนประเพณีแห่เทียนพรรษา เกิดจากความจำเป็นที่ว่าสมัยก่อนยังไม่มีไฟฟ้าใช้เช่นปัจจุบัน ดังนั้น เมื่อพระภิกษุอยู่รวมกันมากๆเพื่อปฏิบัติกิจวัตร เช่น การสวดมนต์ตอนเช้ามืดและพลบค่ำ การศึกษาพระปริยัติธรรม การบูชาพระรัตนตรัย ฯลฯ จำเป็นต้องใช้แสงสว่างจากเทียน ดังนั้น ชาวบ้านจึงได้ร่วมกันนำเทียนมาถวาย ซึ่งช่วงต้นก็คงจะถวายเป็นเทียนเล็กๆธรรมดา ครั้นต่อมาก็ได้มีการมัดเทียนเล็กๆมารวมกันเป็นต้น คล้ายต้นกล้วยหรือลำไม้ไผ่ แล้วติดกับฐาน ที่เรียกกันว่า ต้นเทียน หรือ ต้นเทียนพรรษา และก็วิวัฒนาการมาเรื่อยๆจนเป็นเทียนพรรษาอย่างที่เราเห็นกันอยู่ในปัจจุบัน ว่ากันว่า เทียนพรรษา เริ่มมาจากผู้ที่นับถือศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ซึ่งนับถือวัว ที่เป็นพาหนะของพระอิศวร เมื่อวัวตาย ก็จะเอาไขจากวัวมาทำเป็นน้ำมันเพื่อจุดบูชาพระเป็นเจ้าที่ตนเคารพ แต่ชาวพุทธจะทำเทียนเพื่อบูชาพระรัตนตรัย โดยเอามาจากรังผึ้งร้าง ต้มเอาขี้ผึ้งมาฟั่นเป็นเทียนเล็กๆเพื่อจุดบูชาพระ และได้ยึดเป็นประเพณีที่จะนำเทียนไปถวายพระภิกษุในช่วงเข้าพรรรษา เพื่อปรารถนาให้ตนเองมีสติปัญญาเฉลียวฉลาดดุจดังแสงสว่างของดวงเทียน นอกจากนี้ในอดีต พุทธศาสนิกชนผู้ชายที่มีอายุครบบวช (20 ปี) จะนิยมถือบรรพชาอุปสมบทเป็นพระสงฆ์เพื่ออยู่จำพรรษาตลอดทั้ง 3 เดือน โดยพุทธศาสนิกชนชาวไทยจะเรียกการบรรพชาอุปสมบทเพื่อจำพรรษาตลอดพรรษากาลว่า บวชเอาพรรษา อานิสงส์แห่งการจำพรรษา เมื่อพระภิกษุอยู่จำพรรษาครบ 3 เดือนจะได้รับอานิสงส์แห่งการจำพรรษา 5 อย่าง ตลอด 1 เดือนนับแต่วันออกพรรษาเป็นต้นไป คือ เที่ยวจาริกไปโดยไม่ต้องบอกลา ตามสิกขาบทที่ ๖ แห่งอเจลกวรรค ปาจิตตีย์กัณฑ์ เที่ยวจาริกไปโดยไม่ต้องถือไตรจีวรไปครบสำรับ ฉันคณะโภชน์และปรัมปรโภชน์ได้ เก็บอติเรกจีวรได้ตามปรารถนา จีวรอันเกิดขึ้นในที่นั้นเป็นของพวกเธอ และยังได้โอกาสเพื่อที่จะกราลกฐิน และได้รับอานิสงส์พรรษาทั้ง 5 ขึ้นนั้นเพิ่มออกไปอีก 4 เดือน ในฤดูหนาว คือตั้งแต่แรม 1 ค่ำ เดือน 12 ไปจนถึงขึ้น 15 ค่ำ เดือน 4 อีกด้วย ประเภทของการเข้าพรรษาของพระสงฆ์ แบ่งเป็น 2 ประเภท ปุริมพรรษา คือ การเข้าพรรษาแรก การเข้าพรรษาแรก เริ่มตั้งแต่วันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 (สำหรับปีอธิกมาส คือ มีเดือน 8 สองหน จะเริ่มในวันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 หลัง) จนถึงวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 หลังจากออกพรรษาแล้ว พระที่อยู่จำพรรษาครบ 3 เดือน ก็มีสิทธิที่จะรับกฐินซึ่งมีช่วงเวลาเพียงหนึ่งเดือน นับตั้งแต่วันแรม 1 ค่ำ เดือน 11 ถึงขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 ปัจฉิมพรรษา คือ การเข้าพรรษาหลัง การเข้าพรรษาหลัง ใช้ในกรณีที่พระภิกษุต้องเดินทางไกลหรือมีเหตุสุดวิสัย ทำให้กลับมาเข้าพรรษาแรกในวันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 ไม่ทัน ต้องรอไปเข้าพรรษาหลัง คือวันแรม 1 ค่ำ เดือน 9 แล้วจะไปออกพรรษาในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 ซึ่งเป็นวันหมดเขตทอดกฐินพอดี ดังนั้นพระภิกษุที่เข้าปัจฉิมพรรษาจึงไม่มีโอกาสได้รับกฐิน แต่ก็ได้พรรษาเช่นเดียวกับพระที่เข้าปุริมพรรษาเหมือนกัน ในประเทศไทย พระภิกษุส่วนใหญ่จะจำพรรษาในช่วงปุริมพรรษาหรือพรรษาแรกมากกว่าปัจฉิมพรรษาหรือพรรษาหลัง ยกเว้นพระภิกษุที่อาพาธ(ป่วย)หรือมีกิจจำเป็นจึงจะอธิษฐานจำพรรษาในช่วงปัจฉิมพรรษา ส่วนการที่มีเดือนแปดสองหน หรือปีอธิกมาส ก็เพราะเป็นการนับทางจันทรคติ(วันขึ้น วันแรม)ซึ่งแต่ละปีจะมีจำนวนวันน้อยกว่าการนับทางสุริยคติ(การนับวันตามแบบปัจจุบัน) ทำให้ต้องเพิ่มเดือนในบางปีเพื่อชดเชยจำนวนวันที่หายไป มิให้ปีทางจันทรคติและสุริยคติคลาดเคลื่อนกันไปมากความเป็นมาของวันเข้าพรรษาเกิดขึ้น จุดประสงค์ของการเข้าพรรษา ลดความเสียหายที่พระสงฆ์จะไปเหยียบย้ำพืชที่ชาวบ้านปลูกในฤดูฝนระหว่างการธุดงค์ พระสงฆ์ได้พักผ่อนหลังจากเดินทางจาริกไปเผยแผ่พระพุทธศาสนามาเป็นเวลา 8 – 9 เดือน ชพระภิกษุสงฆ์จะได้ประพฤติปฏิบัติธรรมสำหรับตนเอง และศึกษาเล่าเรียนพระธรรมวินัยตลอดจนเตรียมการสั่งสอนให้กับประชาชนเมื่อถึงวันออกพรรษา ได้ใช้เวลาสอบรมสั่งสอนและบวชให้กับกุลบุตรผู้มีอายุครบบวช อันเป็นกำลังสำคัญในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาต่อไป พุทธศาสนิกชน ได้มีโอกาสบำเพ็ญกุศลเป็นการพิเศษ เช่น การทำบุญตักบาตร หล่อเทียนพรรษา ถวายผ้าอาบน้ำฝน รักษาศีล เจริญภาวนา ถวายจตุปัจจัยไทยธรรม งดเว้นอบายมุข และมีโอกาสได้ฟังพระธรรมเทศนาตลอดเวลาเข้าพรรษา ข้อยกเว้นการจำพรรษาของพระสงฆ์ แม้การเข้าพรรษานี้ถือเป็นข้อปฏิบัติสำหรับพระภิกษุโดยตรง ที่จะละเว้นไม่ได้ ไม่ว่ากรณีใด ๆ ก็ตาม แต่ว่าในการจำพรรษาของพระสงฆ์ในระหว่างพรรษานั้น อาจมีกรณีจำเป็นบางอย่าง ทำให้พระภิกษุผู้จำพรรษาต้องออกจากสถานที่จำพรรษาเพื่อไปค้างที่อื่น พระพุทธองค์ก็ทรงอนุญาตให้ทำได้โดยไม่ถือว่าเป็นการขาดพรรษาโดยมีเหตุจำเป็นเฉพาะกรณี ๆ ไป ตามที่ทรงระบุไว้ในพระไตรปิฎก ซึ่งส่วนใหญ่จะเกี่ยวกับการพระศาสนาหรือการอุปัฏฐานบิดามารดา แต่ทั้งนี้ก็จะต้องกลับมาภายในระยะเวลาไม่เกิน 7 วัน การออกนอกที่จำพรรษาล่วงวันเช่นนี้เรียกว่า “สัตตาหกรณียะ” ซึ่งเหตุที่ทรงระบุว่าจะออกจากที่จำพรรษาไปได้ชั่วคราวนั้นเช่น การไปรักษาพยาบาล หาอาหารให้ภิกษุหรือบิดามารดาที่เจ็บป่วย เป็นต้น กรณีนี้ทำได้กับสหธรรมิก 5 และมารดาบิดา การไประงับภิกษุสามเณรที่อยากจะสึกมิให้สึกได้ กรณีนี้ทำได้กับสหธรรมิก 5 การไปเพื่อกิจธุระของคณะสงฆ์ เช่น การไปหาอุปกรณ์มาซ่อมกุฏิที่ชำรุด หรือ การไปทำสังฆกรรม เช่น สวดญัตติจตุตถกรรมวาจาให้พระผู้ต้องการอยู่ปริวาส เป็นต้น หากทายกนิมนต์ไปทำบุญ ก็ไปให้ทายกได้ให้ทาน รับศีล ฟังเทสนาธรรมได้ กรณีนี้หากโยมไม่มานิมนต์ ก็จะไปค้างไม่ได้. ซึ่งหากพระสงฆ์ออกจากอาวาสแม้โดยสัตตาหกรณียะล่วงกำหนด 7 วันตามพระวินัย ก็ถือว่า ขาดพรรษา และเป็นอาบัติทุกกฎเพราะรับคำ (รับคำอธิษฐานเข้าพรรษาแต่ทำไม่ได้) ในกรณีที่พระสงฆ์สัตตาหกรณียะและกลับมาตามกำหนดแล้ว ไม่ถือว่าเป็นอาบัติ และสามารถกลับมาจำพรรษาต่อเนื่องไปได้ และหากมีเหตุจำเป็นที่จะต้องออกจากที่จำพรรษาไปได้ตามวินัยอีก ก็สามารถทำได้โดยสัตตาหกรณียะ แต่ต้องกลับมาภายในเจ็ดวัน เพื่อไม่ให้พรรษาขาดและไม่เป็นอาบัติทุกกฎดังกล่าวแล้ว แหล่งที่มา : sanook.com EZ Webmaster Related Posts โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “ดร.ชุมพล พรประภา” เป็นนายกสภา ม.ศรีนครินทรวิโรฒ มทร.ธัญบุรี เปิดกว้างทุกวัย เพื่อเรียนรู้ตลอดชีพ ธนาคารหน่วยกิต “40 หลักสูตร ป.ตรี” เด็กสาธิตสวนสุนันทาคว้ารางวัลศิลปะระดับโลก! สร้างชื่อเสียงให้ไทยบนเวทีนานาชาติ เปิดรับอาสาสมัครศิริราช รอบทำกิจกรรม เดือน พ.ค.-ก.ค. 68 ทุกกิจกรรมมีใบรับรองการทำกิจกรรม สอศ. ปั้นผู้อำนวยการอาชีวะยุคใหม่! เสริมภาวะผู้นำ-วิสัยทัศน์ ทันโลกการศึกษา Post navigation PREVIOUS Previous post: ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิเข้ารับการคัดเลือกบุคคลเพื่อบรรจุและแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สังกัด สพฐ. – 12 กรกฎาคม 2565NEXT Next post: เปิดรับสมัคร ครู อาจารย์ ทั่วประเทศ โครงการ “ทิพยสืบสาน รักษา ต่อยอด นวัตกรรมศาสตร์พระราชา ครั้งที่ ๑๙ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เปิดรับอาสาสมัครศิริราช รอบทำกิจกรรม เดือน พ.ค.-ก.ค. 68 ทุกกิจกรรมมีใบรับรองการทำกิจกรรม EZ WebmasterMarch 26, 2025 ตารางการรับอาสาสมัครรอบทำกิจกรรม เดือน พฤษภาคม – กรกฏาคม 68 (กิจกรรมที่อยู่ในเว็บไซต์ตอนนี้เป็นรอบเก่ามีผู้เข้าร่วมเต็มทั้งหมดแล้วค่ะ รอบใหม่จะเปิดตามวันเวลาที่แจ้งด้านล่างนี้เท่านั้น*) ขอให้อาสาเป็นผู้สมัครและกดเลือกกิจกรรมด้วยตนเองนะคะ – 31 ก.ค. 68 **เนื่องจากวันที่ 5 พ.ค. เป็นวันหยุด จะขอเริ่มตั้งแต่วันที่วันที่ 6 พ.ค.… อธิการบดีจุฬาชี้ใช้ O-NET เข้ามหา’ลัยต้องประชาพิจารณ์ แนะฟังความเห็นนักน.ร.-ผปค.ก่อน EZ WebmasterMarch 26, 2025 ตามที่กระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) หารือกับกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ในการนำคะแนนการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน หรือโอเน็ต มาใช้เป็นองค์ประกอบในการเข้าเรียนต่อมหาวิทยาลัย โดยเบื้องต้นทาง อว.เห็นว่า แนวทางดังกล่าว มีความเป็นไปได้ แต่ต้องเป็นในรายวิชาที่ได้มาตรฐานเดียวกัน เช่น วิชาภาษาอังกฤษ อีกทั้งการสอบโอเน็ตยังไม่มีค่าใช้จ่าย ถือเป็นการลดภาระนักเรียนและผู้ปกครองนั้น… ซีไอเอ็มบี ไทย เปิดสมัครทุนการศึกษา CIMB ASEAN Scholarship ประจำปี 2568 EZ WebmasterMarch 26, 2025 ธนาคาร ซีไอเอ็มบี ไทย จำกัด (มหาชน) เปิดรับนักเรียน นักศึกษา ที่กำลังจะเข้าศึกษาต่อ ในระดับปริญญาตรี จากทุกสาขาวิชา เพื่อคัดเลือกเข้ารับ CIMB ASEAN Scholarship ซึ่งเป็นทุนการศึกษาเต็มจำนวน ที่ครอบคลุมค่าเล่าเรียนทั้งหมด (ค่าใช้จ่ายในการสมัครเรียน ค่าเทอม… นักศึกษา มทร.ธัญบุรี เปิดกว้างทุกวัย เพื่อเรียนรู้ตลอดชีพ ธนาคารหน่วยกิต “40 หลักสูตร ป.ตรี” tui sakrapeeMarch 26, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) เปิดรับสมัครผู้สนใจเข้าร่วมโครงการการเรียนรู้ตลอดชีวิตในระบบเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ (ธนาคารหน่วยกิต) หลักสูตรระดับปริญญาตรี ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2568 ตั้งแต่วันที่ 24 มี.ค. ถึง 30 พ.ค. 2568 โดยไม่มีค่าใช้จ่ายในการสมัคร… เปิดรับอาสาสมัครศิริราช รอบทำกิจกรรม เดือน พ.ค.-ก.ค. 68 ทุกกิจกรรมมีใบรับรองการทำกิจกรรม EZ WebmasterMarch 26, 2025 ตารางการรับอาสาสมัครรอบทำกิจกรรม เดือน พฤษภาคม – กรกฏาคม 68 (กิจกรรมที่อยู่ในเว็บไซต์ตอนนี้เป็นรอบเก่ามีผู้เข้าร่วมเต็มทั้งหมดแล้วค่ะ รอบใหม่จะเปิดตามวันเวลาที่แจ้งด้านล่างนี้เท่านั้น*) ขอให้อาสาเป็นผู้สมัครและกดเลือกกิจกรรมด้วยตนเองนะคะ – 31 ก.ค. 68 **เนื่องจากวันที่ 5 พ.ค. เป็นวันหยุด จะขอเริ่มตั้งแต่วันที่วันที่ 6 พ.ค.… ซีไอเอ็มบี ไทย เปิดสมัครทุนการศึกษา CIMB ASEAN Scholarship ประจำปี 2568 EZ WebmasterMarch 26, 2025 ธนาคาร ซีไอเอ็มบี ไทย จำกัด (มหาชน) เปิดรับนักเรียน นักศึกษา ที่กำลังจะเข้าศึกษาต่อ ในระดับปริญญาตรี จากทุกสาขาวิชา เพื่อคัดเลือกเข้ารับ CIMB ASEAN Scholarship ซึ่งเป็นทุนการศึกษาเต็มจำนวน ที่ครอบคลุมค่าเล่าเรียนทั้งหมด (ค่าใช้จ่ายในการสมัครเรียน ค่าเทอม… คณะนิเทศฯ SPU เสิร์ฟประสบการณ์หนังสุดพิเศษ! เรียนรู้จากมืออาชีพกับ “ซองแดงแต่งผี” พร้อม Q&A สุดเอ็กซ์คลูซีฟกับ GDH EZ WebmasterMarch 26, 2025 คณะนิเทศศาสตร์ สาขาภาพยนตร์และสื่อดิจิทัล มหาวิทยาลัยศรีปทุม เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้สัมผัสประสบการณ์สุดพิเศษ โดยมีนักศึกษากว่า 1,600 คน ร่วมชมภาพยนตร์ “ซองแดงแต่งผี” ภาพยนตร์สยองขวัญสุดหลอนจากค่าย GDH พร้อมเข้าร่วม Q&A Pro Talk กับ คุณหมู ชยนพ… ทุนดีดี #ODOSSummerCamp InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศMarch 26, 2025 โอกาสที่จะได้ทุนไปค่ายฤดูร้อนที่ออสเตรเลีย กับ ทุน #ODOSSummerCamp มาถึงแล้ว! น้อง ๆ ตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ขึ้นไปและมีอายุไม่เกิน 19 ปี จาก 928 อำเภอทั่วประเทศสามารถสมัครเพื่อขอทุนนี้ผ่านแอปพลิเคชัน ‘ทางรัฐ’ สมัครได้ตั้งแต่วันนี้ –… ทุนไต้หวันและทุนภาษาจีน InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศMarch 25, 2025 ฝ่ายการศึกษา สำนักงานเศรษฐกิจและวัฒนธรรมไทเปประจำประเทศไทย ได้ดำเนินการตามหลักเกณฑ์การมอบทุนของกระทรวงศึกษาธิการสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) เพื่อจัดทำโครงการ “ทุนรัฐบาลไต้หวัน MOE” และ “ทุนเรียนภาษาจีนระยะสั้น HES” ประจำปีการศึกษา 2568 วัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนนักเรียนไทยที่มีความสามารถให้ไปศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก หรือเรียนภาษาจีนในไต้หวัน โดยทุนการศึกษานี้จะเปิดรับสมัครตั้งแต่วันที่ 1 กุมภาพันธ์ ถึง 31 มีนาคม 2568 ทุนรัฐบาลไต้หวัน (ทุน MOE) ทุนสำหรับศึกษาต่อระดับปริญญาในไต้หวัน: จำนวนทุน:20 ทุน เงินสนับสนุน:… ทุนICCRของอินเดีย 2025-26 InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศMarch 24, 2025 สภาวัฒนธรรมแห่งอินเดียได้เปิดรับสมัครทุนการศึกษา ระดับปริญญาตรี โท เอก Indian Council for Cultural Relations (ICCR) ประจำปีการศึกษา 2025-2026 เปิดรับใบสมัครตั้งแต่วันที่ 20 กุมภาพันธ์ จนถึงวันที่ 30 เมษายน… ทุนการศึกษามูลนิธิศึกษาวิจัยและพัฒนาเพื่อสังคมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปี 2568 EZ WebmasterMarch 22, 2025 ทุนการศึกษามูลนิธิศึกษาวิจัยฯ ประจำปี 2568 ++ ประกาศเปิดรับสมัครแล้วตั้งแต่วันนี้ ++ โดยทุนการศึกษามูลนิธิศึกษาวิจัยและพัฒนาเพื่อสังคมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปี 2568 เปิดรับสมัครจำนวน 2 รอบ โดยมีรายละเอียดดังนี้ – ทุนรอบที่ 1 รับสมัครในวันที่ 1 มกราคม… ครู-อาจารย์ โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “ดร.ชุมพล พรประภา” เป็นนายกสภา ม.ศรีนครินทรวิโรฒ tui sakrapeeMarch 26, 2025 ราชกิจจานุเบกษาเผยแพร่ ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “ชุมพล พรประภา” ดำรงตำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ แทนวิจิตร ศรีสอ้าน ที่ถึงแก่อนิจกรรม ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 142 ตอนพิเศษ 147 ง เมื่อวันที่ 25… สอศ. ปั้นผู้อำนวยการอาชีวะยุคใหม่! เสริมภาวะผู้นำ-วิสัยทัศน์ ทันโลกการศึกษา EZ WebmasterMarch 26, 2025 วันที่ 26 มีนาคม 2568 นายยศพล เวณุโกเศศ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (เลขาธิการ กอศ.) เป็นประธานเปิดโครงการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และบรรยายพิเศษ “Growth Mindset: แนวคิดเชิงบวกและการเติบโตขององค์กร” โดยนางธิติมา โรจน์วัชราภิบาล ผู้อำนวยการ… ไทย จ่อขยับอันดับการศึกษา หลังอัตราการรู้หนังสือของประชากร พุ่งสูง 98.83% จากการสำรวจอัตราการรู้หนังสือของประชากร EZ WebmasterMarch 26, 2025 เมื่อวันที่ 26 มีนาคม ที่สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (สกศ.) นายประวิต เอราวรรณ์ เลขาธิการสภาการศึกษา กล่าวในงานแถลงผลการสำรวจการรู้หนังสือของประชากรไทย ปี 2568 โดยมี นายธนากร ดอนเหนือ อธิบดีกรมส่งเสริมการเรียนรู้ (สกร.) เข้าร่วม นายประวิต… โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง รองศาสตราจารย์ ดร.ประยุกต์ ศรีวิไล เป็นอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาสารคาม EZ WebmasterMarch 26, 2025 เมื่อวันที่ 25 มกราคม เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา เผยแพร่ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ความว่า ตามที่ได้มีพระราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้ง นายประยุกต์ ศรีวิไล ให้ดำรงตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ตั้งแต่วันที่ 9 พฤศจิกายน 2562 ตามประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ลงวันที่ 13… กิจกรรม พิธีเปิดกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) ภายใต้โครงการพัฒนามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมผ้าไทยสู่สากล ประจำปี ๒๕๖๘ EZ WebmasterMarch 26, 2025 นางสาวลิปิการ์ กำลังชัย รองธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรม รักษาราชการแทนอธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรมเป็นประธานพิธิเปิด และร่วมรับฟังการบรรยายกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) พร้อมด้วยนางสาวศิวพร ฉันทไกรวัฒน์ ผู้อำนวยการกลุ่มเผยแพร่และต่อยอดมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมเข้าร่วมงาน โดยวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญด้านผ้าไทย การออกแบบและแฟชั่น อาทิ ผศ.ดร.รวิเทพ มุสิกะปาน ผศ.ดร.วุฒิไกร… เปิดรับอาสาสมัครศิริราช รอบทำกิจกรรม เดือน พ.ค.-ก.ค. 68 ทุกกิจกรรมมีใบรับรองการทำกิจกรรม EZ WebmasterMarch 26, 2025 ตารางการรับอาสาสมัครรอบทำกิจกรรม เดือน พฤษภาคม – กรกฏาคม 68 (กิจกรรมที่อยู่ในเว็บไซต์ตอนนี้เป็นรอบเก่ามีผู้เข้าร่วมเต็มทั้งหมดแล้วค่ะ รอบใหม่จะเปิดตามวันเวลาที่แจ้งด้านล่างนี้เท่านั้น*) ขอให้อาสาเป็นผู้สมัครและกดเลือกกิจกรรมด้วยตนเองนะคะ – 31 ก.ค. 68 **เนื่องจากวันที่ 5 พ.ค. เป็นวันหยุด จะขอเริ่มตั้งแต่วันที่วันที่ 6 พ.ค.… เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน รับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน EZ WebmasterMarch 24, 2025 เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน เกม Let’s School เกมแนวบริหารโรงเรียนในฝัน ที่จะให้เรารับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน อยากให้โรงเรียนเป็นแบบไหนก็ปรับเล่นได้เลย ดูอารมณ์นักเรียกได้ด้วยว่ามีความสุขมั้ย? แถมตอนนี้ยังมีอัปเดตแมพใหม่พร้อมซัพไทยด้วยนะ Let’s School โหลดเล่นได้ที่ Steam :… คอร์สฟรี! จาก ม.บูรพา “วางแผนธุรกิจ รู้เรื่องภาษี” เรียนจบรับใบเซอร์! EZ WebmasterMarch 24, 2025 คอร์สฟรี! จาก ม.บูรพา “วางแผนธุรกิจ รู้เรื่องภาษี” เรียนจบรับใบเซอร์! อยากเริ่มต้นธุรกิจให้ปัง หรือขยายกิจการให้โต? มาเพิ่มความรู้ด้านการวางแผนธุรกิจและภาษีกับ คอร์สเรียนออนไลน์ฟรี จากมหาวิทยาลัยบูรพา! 7 บทเรียนจัดเต็ม : การเขียนแผนธุรกิจอย่างมืออาชีพ การตั้งเป้าหมาย และวิเคราะห์ตลาด วางแผนการเงิน… Search for: Search EZ Webmaster July 14, 2022 EZ Webmaster July 14, 2022 วันเข้าพรรษามีที่มาอย่างไร? และเกี่ยวข้องอะไรกับกิจกรรมถวายเทียนพรรษา วันเข้าพรรษามีที่มาอย่างไร? และเกี่ยวข้องอะไรกับกิจกรรมถวายเทียนพรรษา วันที่ 14 กรกฎาคม ประจำปี 2565 นับเป็นวันหยุดสำคัญทางศาสนาคือ วันเข้าพรรษา แล้ววันเข้าพรรษานี้มีที่มาอย่างไร เกี่ยวข้องอย่างไรกับกิจกรรมถวายเทียนพรรษา วันเข้าพรรษา เป็นวันสำคัญทางพุทธศาสนา เป็นพิธีที่พระสงฆ์เถรวาทจะพักอยู่ที่ใดที่หนึ่ง โดยไม่ไปค้างแรมที่อื่นตลอดฤดูฝน ซึ่งเป็นระยะเวลาประมาณ 3 เดือน โดยเริ่มตั้งแต่ แรม 1 ค่ำ เดือน 8 ถึงวันขึ้น 15 ค่ำเดือน 11 ซึ่งในปีนี้เข้าพรรษา แรม 1 ค่ำ เดือน 8 จึงตรงกับวันที่ 14 กรกฎาคม 2565 และวันออกพรรษา 15 ค่ำเดือน 11 จึงตรงกับวันที่ 10 ตุลาคม 2565 พิธีเข้าพรรษานี้ ถือเป็นพิธีบังคับที่พระสงฆ์ทุกรูปจะต้องปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด โดยจะสามารถยกเว้นได้บางกรณี วันเข้าพรรษากำเนิดมาตั้งแต่สมัยพระพุทธกาล ตั้งแต่ครั้งสมัยที่พระพุทธเจ้าประทับอยู่ที่วัดเวฬุวัน เมืองราชคฤห์ เมื่อถึงฤดูฝนพระสงฆ์ที่จำนวนกว่า 1,500 รูป ที่ยวจาริกไปตามที่สถานที่ต่าง ๆ จนถูกชาวบ้านพากันติเตียนเนื่องจากไปย้ำข้าวในนาเสียหาย เมื่อได้ยินดังนั้นพระพุทธเจ้าก็รับสั่งให้ประชุมสงฆ์และได้ทรงอนุญาตให้พระสงฆ์จำพรรษาอยู่ในที่แห่งเดียวตลอดระยะเวลา 3 เดือนเพื่อจุดประสงค์หลักคือป้องกันไม่ให้เกิดความเสียหายต่อพืชพันธ์ที่ชาวบ้านปลูก และยังให้พระสงฆ์ได้หยุดพักจากการจาริกเผยแผ่ศาสนายังสถานที่ต่าง ๆ อีกทั้งหน้าฝนยังเป็นฤดูกาลที่ยากต่อการเดินทาง ซึ่งในช่วงเวลาจำพรรษตลอด 3 เดือนนั้น ก็ถือเป็นช่วงเวลาและโอกาสที่พระสงฆ์จะได้มาอยู่ร่วมตัวกันเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์และแบ่งปันความรู้ในคณะสงฆ์ด้วยกันเอง ในทางเดียวกันพุทธศาสนิชกก็ได้โอกาสในการเข้าวัดทำบุญตักบาตร ฟังพระธรรมเทศนา รวมไปถึงเกิดเป็นประเพณีสำคัญถวายเทียนพรรษา ผ้าอาบน้ำฝน (ผ้าวัสสิกสาฏก) และหลอดไฟก็ถวายเพื่อให้พระสงฆ์ได้ใช้ตลอดการอยู่จำพรรษา โดยมีที่มาดังนี้ ประเพณีสำคัญขึ้นในวันเข้าพรรษามี 2 ประเพณีคือ 1. ประเพณีถวายผ้าอาบน้ำฝน เชื่อกันว่า ในสมัยพุทธกาล นางวิสาขา มหาอุบาสิกาต้องการจะนิมนต์พระภิกษุไปฉันภัตตาหารที่บ้าน จึงให้หญิงรับใช้ไปพระวิหารเชตวันเพื่อนิมนต์พระ ปรากฏว่านางไปเห็นพระภิกษุเปลือยกายอาบน้ำฝนอยู่ ก็กลับมารายงานด้วยความเข้าใจผิดว่าไม่พบพระ เห็นแต่พวกชีเปลือย นางวิสาขาก็รู้ด้วยปัญญาว่าคงเป็นพระอาบน้ำฝนอยู่ ดังนั้น นางจึงได้ทูลขอพรจากพระพุทธเจ้า ขอถวายผ้าอาบน้ำฝนแด่พระภิกษุและภิกษุณีเป็นประจำแต่นั้นมา จึงเกิดเป็นประเพณีที่ชาวพุทธปฏิบัติสืบต่อมาจนทุกวันนี้ และกล่าวกันว่า ผู้ที่ถวายผ้าอาบน้ำฝนจะได้รับอานิสงส์เหมือนการถวายผ้าอื่น ๆ ตามนัยที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ คือ ทำให้เป็นผู้มีผิวพรรณผ่องใส สวยงาม ไม่มีโรคภัยไข้เจ็บ มีความสะอาดผ่องใสทั้งกายและใจ 2. ส่วนประเพณีแห่เทียนพรรษา เกิดจากความจำเป็นที่ว่าสมัยก่อนยังไม่มีไฟฟ้าใช้เช่นปัจจุบัน ดังนั้น เมื่อพระภิกษุอยู่รวมกันมากๆเพื่อปฏิบัติกิจวัตร เช่น การสวดมนต์ตอนเช้ามืดและพลบค่ำ การศึกษาพระปริยัติธรรม การบูชาพระรัตนตรัย ฯลฯ จำเป็นต้องใช้แสงสว่างจากเทียน ดังนั้น ชาวบ้านจึงได้ร่วมกันนำเทียนมาถวาย ซึ่งช่วงต้นก็คงจะถวายเป็นเทียนเล็กๆธรรมดา ครั้นต่อมาก็ได้มีการมัดเทียนเล็กๆมารวมกันเป็นต้น คล้ายต้นกล้วยหรือลำไม้ไผ่ แล้วติดกับฐาน ที่เรียกกันว่า ต้นเทียน หรือ ต้นเทียนพรรษา และก็วิวัฒนาการมาเรื่อยๆจนเป็นเทียนพรรษาอย่างที่เราเห็นกันอยู่ในปัจจุบัน ว่ากันว่า เทียนพรรษา เริ่มมาจากผู้ที่นับถือศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ซึ่งนับถือวัว ที่เป็นพาหนะของพระอิศวร เมื่อวัวตาย ก็จะเอาไขจากวัวมาทำเป็นน้ำมันเพื่อจุดบูชาพระเป็นเจ้าที่ตนเคารพ แต่ชาวพุทธจะทำเทียนเพื่อบูชาพระรัตนตรัย โดยเอามาจากรังผึ้งร้าง ต้มเอาขี้ผึ้งมาฟั่นเป็นเทียนเล็กๆเพื่อจุดบูชาพระ และได้ยึดเป็นประเพณีที่จะนำเทียนไปถวายพระภิกษุในช่วงเข้าพรรรษา เพื่อปรารถนาให้ตนเองมีสติปัญญาเฉลียวฉลาดดุจดังแสงสว่างของดวงเทียน นอกจากนี้ในอดีต พุทธศาสนิกชนผู้ชายที่มีอายุครบบวช (20 ปี) จะนิยมถือบรรพชาอุปสมบทเป็นพระสงฆ์เพื่ออยู่จำพรรษาตลอดทั้ง 3 เดือน โดยพุทธศาสนิกชนชาวไทยจะเรียกการบรรพชาอุปสมบทเพื่อจำพรรษาตลอดพรรษากาลว่า บวชเอาพรรษา อานิสงส์แห่งการจำพรรษา เมื่อพระภิกษุอยู่จำพรรษาครบ 3 เดือนจะได้รับอานิสงส์แห่งการจำพรรษา 5 อย่าง ตลอด 1 เดือนนับแต่วันออกพรรษาเป็นต้นไป คือ เที่ยวจาริกไปโดยไม่ต้องบอกลา ตามสิกขาบทที่ ๖ แห่งอเจลกวรรค ปาจิตตีย์กัณฑ์ เที่ยวจาริกไปโดยไม่ต้องถือไตรจีวรไปครบสำรับ ฉันคณะโภชน์และปรัมปรโภชน์ได้ เก็บอติเรกจีวรได้ตามปรารถนา จีวรอันเกิดขึ้นในที่นั้นเป็นของพวกเธอ และยังได้โอกาสเพื่อที่จะกราลกฐิน และได้รับอานิสงส์พรรษาทั้ง 5 ขึ้นนั้นเพิ่มออกไปอีก 4 เดือน ในฤดูหนาว คือตั้งแต่แรม 1 ค่ำ เดือน 12 ไปจนถึงขึ้น 15 ค่ำ เดือน 4 อีกด้วย ประเภทของการเข้าพรรษาของพระสงฆ์ แบ่งเป็น 2 ประเภท ปุริมพรรษา คือ การเข้าพรรษาแรก การเข้าพรรษาแรก เริ่มตั้งแต่วันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 (สำหรับปีอธิกมาส คือ มีเดือน 8 สองหน จะเริ่มในวันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 หลัง) จนถึงวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 หลังจากออกพรรษาแล้ว พระที่อยู่จำพรรษาครบ 3 เดือน ก็มีสิทธิที่จะรับกฐินซึ่งมีช่วงเวลาเพียงหนึ่งเดือน นับตั้งแต่วันแรม 1 ค่ำ เดือน 11 ถึงขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 ปัจฉิมพรรษา คือ การเข้าพรรษาหลัง การเข้าพรรษาหลัง ใช้ในกรณีที่พระภิกษุต้องเดินทางไกลหรือมีเหตุสุดวิสัย ทำให้กลับมาเข้าพรรษาแรกในวันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 ไม่ทัน ต้องรอไปเข้าพรรษาหลัง คือวันแรม 1 ค่ำ เดือน 9 แล้วจะไปออกพรรษาในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 ซึ่งเป็นวันหมดเขตทอดกฐินพอดี ดังนั้นพระภิกษุที่เข้าปัจฉิมพรรษาจึงไม่มีโอกาสได้รับกฐิน แต่ก็ได้พรรษาเช่นเดียวกับพระที่เข้าปุริมพรรษาเหมือนกัน ในประเทศไทย พระภิกษุส่วนใหญ่จะจำพรรษาในช่วงปุริมพรรษาหรือพรรษาแรกมากกว่าปัจฉิมพรรษาหรือพรรษาหลัง ยกเว้นพระภิกษุที่อาพาธ(ป่วย)หรือมีกิจจำเป็นจึงจะอธิษฐานจำพรรษาในช่วงปัจฉิมพรรษา ส่วนการที่มีเดือนแปดสองหน หรือปีอธิกมาส ก็เพราะเป็นการนับทางจันทรคติ(วันขึ้น วันแรม)ซึ่งแต่ละปีจะมีจำนวนวันน้อยกว่าการนับทางสุริยคติ(การนับวันตามแบบปัจจุบัน) ทำให้ต้องเพิ่มเดือนในบางปีเพื่อชดเชยจำนวนวันที่หายไป มิให้ปีทางจันทรคติและสุริยคติคลาดเคลื่อนกันไปมากความเป็นมาของวันเข้าพรรษาเกิดขึ้น จุดประสงค์ของการเข้าพรรษา ลดความเสียหายที่พระสงฆ์จะไปเหยียบย้ำพืชที่ชาวบ้านปลูกในฤดูฝนระหว่างการธุดงค์ พระสงฆ์ได้พักผ่อนหลังจากเดินทางจาริกไปเผยแผ่พระพุทธศาสนามาเป็นเวลา 8 – 9 เดือน ชพระภิกษุสงฆ์จะได้ประพฤติปฏิบัติธรรมสำหรับตนเอง และศึกษาเล่าเรียนพระธรรมวินัยตลอดจนเตรียมการสั่งสอนให้กับประชาชนเมื่อถึงวันออกพรรษา ได้ใช้เวลาสอบรมสั่งสอนและบวชให้กับกุลบุตรผู้มีอายุครบบวช อันเป็นกำลังสำคัญในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาต่อไป พุทธศาสนิกชน ได้มีโอกาสบำเพ็ญกุศลเป็นการพิเศษ เช่น การทำบุญตักบาตร หล่อเทียนพรรษา ถวายผ้าอาบน้ำฝน รักษาศีล เจริญภาวนา ถวายจตุปัจจัยไทยธรรม งดเว้นอบายมุข และมีโอกาสได้ฟังพระธรรมเทศนาตลอดเวลาเข้าพรรษา ข้อยกเว้นการจำพรรษาของพระสงฆ์ แม้การเข้าพรรษานี้ถือเป็นข้อปฏิบัติสำหรับพระภิกษุโดยตรง ที่จะละเว้นไม่ได้ ไม่ว่ากรณีใด ๆ ก็ตาม แต่ว่าในการจำพรรษาของพระสงฆ์ในระหว่างพรรษานั้น อาจมีกรณีจำเป็นบางอย่าง ทำให้พระภิกษุผู้จำพรรษาต้องออกจากสถานที่จำพรรษาเพื่อไปค้างที่อื่น พระพุทธองค์ก็ทรงอนุญาตให้ทำได้โดยไม่ถือว่าเป็นการขาดพรรษาโดยมีเหตุจำเป็นเฉพาะกรณี ๆ ไป ตามที่ทรงระบุไว้ในพระไตรปิฎก ซึ่งส่วนใหญ่จะเกี่ยวกับการพระศาสนาหรือการอุปัฏฐานบิดามารดา แต่ทั้งนี้ก็จะต้องกลับมาภายในระยะเวลาไม่เกิน 7 วัน การออกนอกที่จำพรรษาล่วงวันเช่นนี้เรียกว่า “สัตตาหกรณียะ” ซึ่งเหตุที่ทรงระบุว่าจะออกจากที่จำพรรษาไปได้ชั่วคราวนั้นเช่น การไปรักษาพยาบาล หาอาหารให้ภิกษุหรือบิดามารดาที่เจ็บป่วย เป็นต้น กรณีนี้ทำได้กับสหธรรมิก 5 และมารดาบิดา การไประงับภิกษุสามเณรที่อยากจะสึกมิให้สึกได้ กรณีนี้ทำได้กับสหธรรมิก 5 การไปเพื่อกิจธุระของคณะสงฆ์ เช่น การไปหาอุปกรณ์มาซ่อมกุฏิที่ชำรุด หรือ การไปทำสังฆกรรม เช่น สวดญัตติจตุตถกรรมวาจาให้พระผู้ต้องการอยู่ปริวาส เป็นต้น หากทายกนิมนต์ไปทำบุญ ก็ไปให้ทายกได้ให้ทาน รับศีล ฟังเทสนาธรรมได้ กรณีนี้หากโยมไม่มานิมนต์ ก็จะไปค้างไม่ได้. ซึ่งหากพระสงฆ์ออกจากอาวาสแม้โดยสัตตาหกรณียะล่วงกำหนด 7 วันตามพระวินัย ก็ถือว่า ขาดพรรษา และเป็นอาบัติทุกกฎเพราะรับคำ (รับคำอธิษฐานเข้าพรรษาแต่ทำไม่ได้) ในกรณีที่พระสงฆ์สัตตาหกรณียะและกลับมาตามกำหนดแล้ว ไม่ถือว่าเป็นอาบัติ และสามารถกลับมาจำพรรษาต่อเนื่องไปได้ และหากมีเหตุจำเป็นที่จะต้องออกจากที่จำพรรษาไปได้ตามวินัยอีก ก็สามารถทำได้โดยสัตตาหกรณียะ แต่ต้องกลับมาภายในเจ็ดวัน เพื่อไม่ให้พรรษาขาดและไม่เป็นอาบัติทุกกฎดังกล่าวแล้ว แหล่งที่มา : sanook.com EZ Webmaster Related Posts โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “ดร.ชุมพล พรประภา” เป็นนายกสภา ม.ศรีนครินทรวิโรฒ มทร.ธัญบุรี เปิดกว้างทุกวัย เพื่อเรียนรู้ตลอดชีพ ธนาคารหน่วยกิต “40 หลักสูตร ป.ตรี” เด็กสาธิตสวนสุนันทาคว้ารางวัลศิลปะระดับโลก! สร้างชื่อเสียงให้ไทยบนเวทีนานาชาติ เปิดรับอาสาสมัครศิริราช รอบทำกิจกรรม เดือน พ.ค.-ก.ค. 68 ทุกกิจกรรมมีใบรับรองการทำกิจกรรม สอศ. ปั้นผู้อำนวยการอาชีวะยุคใหม่! เสริมภาวะผู้นำ-วิสัยทัศน์ ทันโลกการศึกษา Post navigation PREVIOUS Previous post: ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิเข้ารับการคัดเลือกบุคคลเพื่อบรรจุและแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สังกัด สพฐ. – 12 กรกฎาคม 2565NEXT Next post: เปิดรับสมัคร ครู อาจารย์ ทั่วประเทศ โครงการ “ทิพยสืบสาน รักษา ต่อยอด นวัตกรรมศาสตร์พระราชา ครั้งที่ ๑๙ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
อธิการบดีจุฬาชี้ใช้ O-NET เข้ามหา’ลัยต้องประชาพิจารณ์ แนะฟังความเห็นนักน.ร.-ผปค.ก่อน EZ WebmasterMarch 26, 2025 ตามที่กระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) หารือกับกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ในการนำคะแนนการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน หรือโอเน็ต มาใช้เป็นองค์ประกอบในการเข้าเรียนต่อมหาวิทยาลัย โดยเบื้องต้นทาง อว.เห็นว่า แนวทางดังกล่าว มีความเป็นไปได้ แต่ต้องเป็นในรายวิชาที่ได้มาตรฐานเดียวกัน เช่น วิชาภาษาอังกฤษ อีกทั้งการสอบโอเน็ตยังไม่มีค่าใช้จ่าย ถือเป็นการลดภาระนักเรียนและผู้ปกครองนั้น… ซีไอเอ็มบี ไทย เปิดสมัครทุนการศึกษา CIMB ASEAN Scholarship ประจำปี 2568 EZ WebmasterMarch 26, 2025 ธนาคาร ซีไอเอ็มบี ไทย จำกัด (มหาชน) เปิดรับนักเรียน นักศึกษา ที่กำลังจะเข้าศึกษาต่อ ในระดับปริญญาตรี จากทุกสาขาวิชา เพื่อคัดเลือกเข้ารับ CIMB ASEAN Scholarship ซึ่งเป็นทุนการศึกษาเต็มจำนวน ที่ครอบคลุมค่าเล่าเรียนทั้งหมด (ค่าใช้จ่ายในการสมัครเรียน ค่าเทอม…
ซีไอเอ็มบี ไทย เปิดสมัครทุนการศึกษา CIMB ASEAN Scholarship ประจำปี 2568 EZ WebmasterMarch 26, 2025 ธนาคาร ซีไอเอ็มบี ไทย จำกัด (มหาชน) เปิดรับนักเรียน นักศึกษา ที่กำลังจะเข้าศึกษาต่อ ในระดับปริญญาตรี จากทุกสาขาวิชา เพื่อคัดเลือกเข้ารับ CIMB ASEAN Scholarship ซึ่งเป็นทุนการศึกษาเต็มจำนวน ที่ครอบคลุมค่าเล่าเรียนทั้งหมด (ค่าใช้จ่ายในการสมัครเรียน ค่าเทอม…
มทร.ธัญบุรี เปิดกว้างทุกวัย เพื่อเรียนรู้ตลอดชีพ ธนาคารหน่วยกิต “40 หลักสูตร ป.ตรี” tui sakrapeeMarch 26, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) เปิดรับสมัครผู้สนใจเข้าร่วมโครงการการเรียนรู้ตลอดชีวิตในระบบเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ (ธนาคารหน่วยกิต) หลักสูตรระดับปริญญาตรี ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2568 ตั้งแต่วันที่ 24 มี.ค. ถึง 30 พ.ค. 2568 โดยไม่มีค่าใช้จ่ายในการสมัคร… เปิดรับอาสาสมัครศิริราช รอบทำกิจกรรม เดือน พ.ค.-ก.ค. 68 ทุกกิจกรรมมีใบรับรองการทำกิจกรรม EZ WebmasterMarch 26, 2025 ตารางการรับอาสาสมัครรอบทำกิจกรรม เดือน พฤษภาคม – กรกฏาคม 68 (กิจกรรมที่อยู่ในเว็บไซต์ตอนนี้เป็นรอบเก่ามีผู้เข้าร่วมเต็มทั้งหมดแล้วค่ะ รอบใหม่จะเปิดตามวันเวลาที่แจ้งด้านล่างนี้เท่านั้น*) ขอให้อาสาเป็นผู้สมัครและกดเลือกกิจกรรมด้วยตนเองนะคะ – 31 ก.ค. 68 **เนื่องจากวันที่ 5 พ.ค. เป็นวันหยุด จะขอเริ่มตั้งแต่วันที่วันที่ 6 พ.ค.… ซีไอเอ็มบี ไทย เปิดสมัครทุนการศึกษา CIMB ASEAN Scholarship ประจำปี 2568 EZ WebmasterMarch 26, 2025 ธนาคาร ซีไอเอ็มบี ไทย จำกัด (มหาชน) เปิดรับนักเรียน นักศึกษา ที่กำลังจะเข้าศึกษาต่อ ในระดับปริญญาตรี จากทุกสาขาวิชา เพื่อคัดเลือกเข้ารับ CIMB ASEAN Scholarship ซึ่งเป็นทุนการศึกษาเต็มจำนวน ที่ครอบคลุมค่าเล่าเรียนทั้งหมด (ค่าใช้จ่ายในการสมัครเรียน ค่าเทอม… คณะนิเทศฯ SPU เสิร์ฟประสบการณ์หนังสุดพิเศษ! เรียนรู้จากมืออาชีพกับ “ซองแดงแต่งผี” พร้อม Q&A สุดเอ็กซ์คลูซีฟกับ GDH EZ WebmasterMarch 26, 2025 คณะนิเทศศาสตร์ สาขาภาพยนตร์และสื่อดิจิทัล มหาวิทยาลัยศรีปทุม เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้สัมผัสประสบการณ์สุดพิเศษ โดยมีนักศึกษากว่า 1,600 คน ร่วมชมภาพยนตร์ “ซองแดงแต่งผี” ภาพยนตร์สยองขวัญสุดหลอนจากค่าย GDH พร้อมเข้าร่วม Q&A Pro Talk กับ คุณหมู ชยนพ… ทุนดีดี #ODOSSummerCamp InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศMarch 26, 2025 โอกาสที่จะได้ทุนไปค่ายฤดูร้อนที่ออสเตรเลีย กับ ทุน #ODOSSummerCamp มาถึงแล้ว! น้อง ๆ ตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ขึ้นไปและมีอายุไม่เกิน 19 ปี จาก 928 อำเภอทั่วประเทศสามารถสมัครเพื่อขอทุนนี้ผ่านแอปพลิเคชัน ‘ทางรัฐ’ สมัครได้ตั้งแต่วันนี้ –… ทุนไต้หวันและทุนภาษาจีน InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศMarch 25, 2025 ฝ่ายการศึกษา สำนักงานเศรษฐกิจและวัฒนธรรมไทเปประจำประเทศไทย ได้ดำเนินการตามหลักเกณฑ์การมอบทุนของกระทรวงศึกษาธิการสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) เพื่อจัดทำโครงการ “ทุนรัฐบาลไต้หวัน MOE” และ “ทุนเรียนภาษาจีนระยะสั้น HES” ประจำปีการศึกษา 2568 วัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนนักเรียนไทยที่มีความสามารถให้ไปศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก หรือเรียนภาษาจีนในไต้หวัน โดยทุนการศึกษานี้จะเปิดรับสมัครตั้งแต่วันที่ 1 กุมภาพันธ์ ถึง 31 มีนาคม 2568 ทุนรัฐบาลไต้หวัน (ทุน MOE) ทุนสำหรับศึกษาต่อระดับปริญญาในไต้หวัน: จำนวนทุน:20 ทุน เงินสนับสนุน:… ทุนICCRของอินเดีย 2025-26 InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศMarch 24, 2025 สภาวัฒนธรรมแห่งอินเดียได้เปิดรับสมัครทุนการศึกษา ระดับปริญญาตรี โท เอก Indian Council for Cultural Relations (ICCR) ประจำปีการศึกษา 2025-2026 เปิดรับใบสมัครตั้งแต่วันที่ 20 กุมภาพันธ์ จนถึงวันที่ 30 เมษายน… ทุนการศึกษามูลนิธิศึกษาวิจัยและพัฒนาเพื่อสังคมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปี 2568 EZ WebmasterMarch 22, 2025 ทุนการศึกษามูลนิธิศึกษาวิจัยฯ ประจำปี 2568 ++ ประกาศเปิดรับสมัครแล้วตั้งแต่วันนี้ ++ โดยทุนการศึกษามูลนิธิศึกษาวิจัยและพัฒนาเพื่อสังคมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปี 2568 เปิดรับสมัครจำนวน 2 รอบ โดยมีรายละเอียดดังนี้ – ทุนรอบที่ 1 รับสมัครในวันที่ 1 มกราคม… ครู-อาจารย์ โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “ดร.ชุมพล พรประภา” เป็นนายกสภา ม.ศรีนครินทรวิโรฒ tui sakrapeeMarch 26, 2025 ราชกิจจานุเบกษาเผยแพร่ ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “ชุมพล พรประภา” ดำรงตำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ แทนวิจิตร ศรีสอ้าน ที่ถึงแก่อนิจกรรม ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 142 ตอนพิเศษ 147 ง เมื่อวันที่ 25… สอศ. ปั้นผู้อำนวยการอาชีวะยุคใหม่! เสริมภาวะผู้นำ-วิสัยทัศน์ ทันโลกการศึกษา EZ WebmasterMarch 26, 2025 วันที่ 26 มีนาคม 2568 นายยศพล เวณุโกเศศ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (เลขาธิการ กอศ.) เป็นประธานเปิดโครงการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และบรรยายพิเศษ “Growth Mindset: แนวคิดเชิงบวกและการเติบโตขององค์กร” โดยนางธิติมา โรจน์วัชราภิบาล ผู้อำนวยการ… ไทย จ่อขยับอันดับการศึกษา หลังอัตราการรู้หนังสือของประชากร พุ่งสูง 98.83% จากการสำรวจอัตราการรู้หนังสือของประชากร EZ WebmasterMarch 26, 2025 เมื่อวันที่ 26 มีนาคม ที่สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (สกศ.) นายประวิต เอราวรรณ์ เลขาธิการสภาการศึกษา กล่าวในงานแถลงผลการสำรวจการรู้หนังสือของประชากรไทย ปี 2568 โดยมี นายธนากร ดอนเหนือ อธิบดีกรมส่งเสริมการเรียนรู้ (สกร.) เข้าร่วม นายประวิต… โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง รองศาสตราจารย์ ดร.ประยุกต์ ศรีวิไล เป็นอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาสารคาม EZ WebmasterMarch 26, 2025 เมื่อวันที่ 25 มกราคม เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา เผยแพร่ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ความว่า ตามที่ได้มีพระราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้ง นายประยุกต์ ศรีวิไล ให้ดำรงตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ตั้งแต่วันที่ 9 พฤศจิกายน 2562 ตามประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ลงวันที่ 13… กิจกรรม พิธีเปิดกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) ภายใต้โครงการพัฒนามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมผ้าไทยสู่สากล ประจำปี ๒๕๖๘ EZ WebmasterMarch 26, 2025 นางสาวลิปิการ์ กำลังชัย รองธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรม รักษาราชการแทนอธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรมเป็นประธานพิธิเปิด และร่วมรับฟังการบรรยายกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) พร้อมด้วยนางสาวศิวพร ฉันทไกรวัฒน์ ผู้อำนวยการกลุ่มเผยแพร่และต่อยอดมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมเข้าร่วมงาน โดยวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญด้านผ้าไทย การออกแบบและแฟชั่น อาทิ ผศ.ดร.รวิเทพ มุสิกะปาน ผศ.ดร.วุฒิไกร… เปิดรับอาสาสมัครศิริราช รอบทำกิจกรรม เดือน พ.ค.-ก.ค. 68 ทุกกิจกรรมมีใบรับรองการทำกิจกรรม EZ WebmasterMarch 26, 2025 ตารางการรับอาสาสมัครรอบทำกิจกรรม เดือน พฤษภาคม – กรกฏาคม 68 (กิจกรรมที่อยู่ในเว็บไซต์ตอนนี้เป็นรอบเก่ามีผู้เข้าร่วมเต็มทั้งหมดแล้วค่ะ รอบใหม่จะเปิดตามวันเวลาที่แจ้งด้านล่างนี้เท่านั้น*) ขอให้อาสาเป็นผู้สมัครและกดเลือกกิจกรรมด้วยตนเองนะคะ – 31 ก.ค. 68 **เนื่องจากวันที่ 5 พ.ค. เป็นวันหยุด จะขอเริ่มตั้งแต่วันที่วันที่ 6 พ.ค.… เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน รับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน EZ WebmasterMarch 24, 2025 เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน เกม Let’s School เกมแนวบริหารโรงเรียนในฝัน ที่จะให้เรารับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน อยากให้โรงเรียนเป็นแบบไหนก็ปรับเล่นได้เลย ดูอารมณ์นักเรียกได้ด้วยว่ามีความสุขมั้ย? แถมตอนนี้ยังมีอัปเดตแมพใหม่พร้อมซัพไทยด้วยนะ Let’s School โหลดเล่นได้ที่ Steam :… คอร์สฟรี! จาก ม.บูรพา “วางแผนธุรกิจ รู้เรื่องภาษี” เรียนจบรับใบเซอร์! EZ WebmasterMarch 24, 2025 คอร์สฟรี! จาก ม.บูรพา “วางแผนธุรกิจ รู้เรื่องภาษี” เรียนจบรับใบเซอร์! อยากเริ่มต้นธุรกิจให้ปัง หรือขยายกิจการให้โต? มาเพิ่มความรู้ด้านการวางแผนธุรกิจและภาษีกับ คอร์สเรียนออนไลน์ฟรี จากมหาวิทยาลัยบูรพา! 7 บทเรียนจัดเต็ม : การเขียนแผนธุรกิจอย่างมืออาชีพ การตั้งเป้าหมาย และวิเคราะห์ตลาด วางแผนการเงิน… Search for: Search EZ Webmaster July 14, 2022 EZ Webmaster July 14, 2022 วันเข้าพรรษามีที่มาอย่างไร? และเกี่ยวข้องอะไรกับกิจกรรมถวายเทียนพรรษา วันเข้าพรรษามีที่มาอย่างไร? และเกี่ยวข้องอะไรกับกิจกรรมถวายเทียนพรรษา วันที่ 14 กรกฎาคม ประจำปี 2565 นับเป็นวันหยุดสำคัญทางศาสนาคือ วันเข้าพรรษา แล้ววันเข้าพรรษานี้มีที่มาอย่างไร เกี่ยวข้องอย่างไรกับกิจกรรมถวายเทียนพรรษา วันเข้าพรรษา เป็นวันสำคัญทางพุทธศาสนา เป็นพิธีที่พระสงฆ์เถรวาทจะพักอยู่ที่ใดที่หนึ่ง โดยไม่ไปค้างแรมที่อื่นตลอดฤดูฝน ซึ่งเป็นระยะเวลาประมาณ 3 เดือน โดยเริ่มตั้งแต่ แรม 1 ค่ำ เดือน 8 ถึงวันขึ้น 15 ค่ำเดือน 11 ซึ่งในปีนี้เข้าพรรษา แรม 1 ค่ำ เดือน 8 จึงตรงกับวันที่ 14 กรกฎาคม 2565 และวันออกพรรษา 15 ค่ำเดือน 11 จึงตรงกับวันที่ 10 ตุลาคม 2565 พิธีเข้าพรรษานี้ ถือเป็นพิธีบังคับที่พระสงฆ์ทุกรูปจะต้องปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด โดยจะสามารถยกเว้นได้บางกรณี วันเข้าพรรษากำเนิดมาตั้งแต่สมัยพระพุทธกาล ตั้งแต่ครั้งสมัยที่พระพุทธเจ้าประทับอยู่ที่วัดเวฬุวัน เมืองราชคฤห์ เมื่อถึงฤดูฝนพระสงฆ์ที่จำนวนกว่า 1,500 รูป ที่ยวจาริกไปตามที่สถานที่ต่าง ๆ จนถูกชาวบ้านพากันติเตียนเนื่องจากไปย้ำข้าวในนาเสียหาย เมื่อได้ยินดังนั้นพระพุทธเจ้าก็รับสั่งให้ประชุมสงฆ์และได้ทรงอนุญาตให้พระสงฆ์จำพรรษาอยู่ในที่แห่งเดียวตลอดระยะเวลา 3 เดือนเพื่อจุดประสงค์หลักคือป้องกันไม่ให้เกิดความเสียหายต่อพืชพันธ์ที่ชาวบ้านปลูก และยังให้พระสงฆ์ได้หยุดพักจากการจาริกเผยแผ่ศาสนายังสถานที่ต่าง ๆ อีกทั้งหน้าฝนยังเป็นฤดูกาลที่ยากต่อการเดินทาง ซึ่งในช่วงเวลาจำพรรษตลอด 3 เดือนนั้น ก็ถือเป็นช่วงเวลาและโอกาสที่พระสงฆ์จะได้มาอยู่ร่วมตัวกันเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์และแบ่งปันความรู้ในคณะสงฆ์ด้วยกันเอง ในทางเดียวกันพุทธศาสนิชกก็ได้โอกาสในการเข้าวัดทำบุญตักบาตร ฟังพระธรรมเทศนา รวมไปถึงเกิดเป็นประเพณีสำคัญถวายเทียนพรรษา ผ้าอาบน้ำฝน (ผ้าวัสสิกสาฏก) และหลอดไฟก็ถวายเพื่อให้พระสงฆ์ได้ใช้ตลอดการอยู่จำพรรษา โดยมีที่มาดังนี้ ประเพณีสำคัญขึ้นในวันเข้าพรรษามี 2 ประเพณีคือ 1. ประเพณีถวายผ้าอาบน้ำฝน เชื่อกันว่า ในสมัยพุทธกาล นางวิสาขา มหาอุบาสิกาต้องการจะนิมนต์พระภิกษุไปฉันภัตตาหารที่บ้าน จึงให้หญิงรับใช้ไปพระวิหารเชตวันเพื่อนิมนต์พระ ปรากฏว่านางไปเห็นพระภิกษุเปลือยกายอาบน้ำฝนอยู่ ก็กลับมารายงานด้วยความเข้าใจผิดว่าไม่พบพระ เห็นแต่พวกชีเปลือย นางวิสาขาก็รู้ด้วยปัญญาว่าคงเป็นพระอาบน้ำฝนอยู่ ดังนั้น นางจึงได้ทูลขอพรจากพระพุทธเจ้า ขอถวายผ้าอาบน้ำฝนแด่พระภิกษุและภิกษุณีเป็นประจำแต่นั้นมา จึงเกิดเป็นประเพณีที่ชาวพุทธปฏิบัติสืบต่อมาจนทุกวันนี้ และกล่าวกันว่า ผู้ที่ถวายผ้าอาบน้ำฝนจะได้รับอานิสงส์เหมือนการถวายผ้าอื่น ๆ ตามนัยที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ คือ ทำให้เป็นผู้มีผิวพรรณผ่องใส สวยงาม ไม่มีโรคภัยไข้เจ็บ มีความสะอาดผ่องใสทั้งกายและใจ 2. ส่วนประเพณีแห่เทียนพรรษา เกิดจากความจำเป็นที่ว่าสมัยก่อนยังไม่มีไฟฟ้าใช้เช่นปัจจุบัน ดังนั้น เมื่อพระภิกษุอยู่รวมกันมากๆเพื่อปฏิบัติกิจวัตร เช่น การสวดมนต์ตอนเช้ามืดและพลบค่ำ การศึกษาพระปริยัติธรรม การบูชาพระรัตนตรัย ฯลฯ จำเป็นต้องใช้แสงสว่างจากเทียน ดังนั้น ชาวบ้านจึงได้ร่วมกันนำเทียนมาถวาย ซึ่งช่วงต้นก็คงจะถวายเป็นเทียนเล็กๆธรรมดา ครั้นต่อมาก็ได้มีการมัดเทียนเล็กๆมารวมกันเป็นต้น คล้ายต้นกล้วยหรือลำไม้ไผ่ แล้วติดกับฐาน ที่เรียกกันว่า ต้นเทียน หรือ ต้นเทียนพรรษา และก็วิวัฒนาการมาเรื่อยๆจนเป็นเทียนพรรษาอย่างที่เราเห็นกันอยู่ในปัจจุบัน ว่ากันว่า เทียนพรรษา เริ่มมาจากผู้ที่นับถือศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ซึ่งนับถือวัว ที่เป็นพาหนะของพระอิศวร เมื่อวัวตาย ก็จะเอาไขจากวัวมาทำเป็นน้ำมันเพื่อจุดบูชาพระเป็นเจ้าที่ตนเคารพ แต่ชาวพุทธจะทำเทียนเพื่อบูชาพระรัตนตรัย โดยเอามาจากรังผึ้งร้าง ต้มเอาขี้ผึ้งมาฟั่นเป็นเทียนเล็กๆเพื่อจุดบูชาพระ และได้ยึดเป็นประเพณีที่จะนำเทียนไปถวายพระภิกษุในช่วงเข้าพรรรษา เพื่อปรารถนาให้ตนเองมีสติปัญญาเฉลียวฉลาดดุจดังแสงสว่างของดวงเทียน นอกจากนี้ในอดีต พุทธศาสนิกชนผู้ชายที่มีอายุครบบวช (20 ปี) จะนิยมถือบรรพชาอุปสมบทเป็นพระสงฆ์เพื่ออยู่จำพรรษาตลอดทั้ง 3 เดือน โดยพุทธศาสนิกชนชาวไทยจะเรียกการบรรพชาอุปสมบทเพื่อจำพรรษาตลอดพรรษากาลว่า บวชเอาพรรษา อานิสงส์แห่งการจำพรรษา เมื่อพระภิกษุอยู่จำพรรษาครบ 3 เดือนจะได้รับอานิสงส์แห่งการจำพรรษา 5 อย่าง ตลอด 1 เดือนนับแต่วันออกพรรษาเป็นต้นไป คือ เที่ยวจาริกไปโดยไม่ต้องบอกลา ตามสิกขาบทที่ ๖ แห่งอเจลกวรรค ปาจิตตีย์กัณฑ์ เที่ยวจาริกไปโดยไม่ต้องถือไตรจีวรไปครบสำรับ ฉันคณะโภชน์และปรัมปรโภชน์ได้ เก็บอติเรกจีวรได้ตามปรารถนา จีวรอันเกิดขึ้นในที่นั้นเป็นของพวกเธอ และยังได้โอกาสเพื่อที่จะกราลกฐิน และได้รับอานิสงส์พรรษาทั้ง 5 ขึ้นนั้นเพิ่มออกไปอีก 4 เดือน ในฤดูหนาว คือตั้งแต่แรม 1 ค่ำ เดือน 12 ไปจนถึงขึ้น 15 ค่ำ เดือน 4 อีกด้วย ประเภทของการเข้าพรรษาของพระสงฆ์ แบ่งเป็น 2 ประเภท ปุริมพรรษา คือ การเข้าพรรษาแรก การเข้าพรรษาแรก เริ่มตั้งแต่วันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 (สำหรับปีอธิกมาส คือ มีเดือน 8 สองหน จะเริ่มในวันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 หลัง) จนถึงวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 หลังจากออกพรรษาแล้ว พระที่อยู่จำพรรษาครบ 3 เดือน ก็มีสิทธิที่จะรับกฐินซึ่งมีช่วงเวลาเพียงหนึ่งเดือน นับตั้งแต่วันแรม 1 ค่ำ เดือน 11 ถึงขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 ปัจฉิมพรรษา คือ การเข้าพรรษาหลัง การเข้าพรรษาหลัง ใช้ในกรณีที่พระภิกษุต้องเดินทางไกลหรือมีเหตุสุดวิสัย ทำให้กลับมาเข้าพรรษาแรกในวันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 ไม่ทัน ต้องรอไปเข้าพรรษาหลัง คือวันแรม 1 ค่ำ เดือน 9 แล้วจะไปออกพรรษาในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 ซึ่งเป็นวันหมดเขตทอดกฐินพอดี ดังนั้นพระภิกษุที่เข้าปัจฉิมพรรษาจึงไม่มีโอกาสได้รับกฐิน แต่ก็ได้พรรษาเช่นเดียวกับพระที่เข้าปุริมพรรษาเหมือนกัน ในประเทศไทย พระภิกษุส่วนใหญ่จะจำพรรษาในช่วงปุริมพรรษาหรือพรรษาแรกมากกว่าปัจฉิมพรรษาหรือพรรษาหลัง ยกเว้นพระภิกษุที่อาพาธ(ป่วย)หรือมีกิจจำเป็นจึงจะอธิษฐานจำพรรษาในช่วงปัจฉิมพรรษา ส่วนการที่มีเดือนแปดสองหน หรือปีอธิกมาส ก็เพราะเป็นการนับทางจันทรคติ(วันขึ้น วันแรม)ซึ่งแต่ละปีจะมีจำนวนวันน้อยกว่าการนับทางสุริยคติ(การนับวันตามแบบปัจจุบัน) ทำให้ต้องเพิ่มเดือนในบางปีเพื่อชดเชยจำนวนวันที่หายไป มิให้ปีทางจันทรคติและสุริยคติคลาดเคลื่อนกันไปมากความเป็นมาของวันเข้าพรรษาเกิดขึ้น จุดประสงค์ของการเข้าพรรษา ลดความเสียหายที่พระสงฆ์จะไปเหยียบย้ำพืชที่ชาวบ้านปลูกในฤดูฝนระหว่างการธุดงค์ พระสงฆ์ได้พักผ่อนหลังจากเดินทางจาริกไปเผยแผ่พระพุทธศาสนามาเป็นเวลา 8 – 9 เดือน ชพระภิกษุสงฆ์จะได้ประพฤติปฏิบัติธรรมสำหรับตนเอง และศึกษาเล่าเรียนพระธรรมวินัยตลอดจนเตรียมการสั่งสอนให้กับประชาชนเมื่อถึงวันออกพรรษา ได้ใช้เวลาสอบรมสั่งสอนและบวชให้กับกุลบุตรผู้มีอายุครบบวช อันเป็นกำลังสำคัญในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาต่อไป พุทธศาสนิกชน ได้มีโอกาสบำเพ็ญกุศลเป็นการพิเศษ เช่น การทำบุญตักบาตร หล่อเทียนพรรษา ถวายผ้าอาบน้ำฝน รักษาศีล เจริญภาวนา ถวายจตุปัจจัยไทยธรรม งดเว้นอบายมุข และมีโอกาสได้ฟังพระธรรมเทศนาตลอดเวลาเข้าพรรษา ข้อยกเว้นการจำพรรษาของพระสงฆ์ แม้การเข้าพรรษานี้ถือเป็นข้อปฏิบัติสำหรับพระภิกษุโดยตรง ที่จะละเว้นไม่ได้ ไม่ว่ากรณีใด ๆ ก็ตาม แต่ว่าในการจำพรรษาของพระสงฆ์ในระหว่างพรรษานั้น อาจมีกรณีจำเป็นบางอย่าง ทำให้พระภิกษุผู้จำพรรษาต้องออกจากสถานที่จำพรรษาเพื่อไปค้างที่อื่น พระพุทธองค์ก็ทรงอนุญาตให้ทำได้โดยไม่ถือว่าเป็นการขาดพรรษาโดยมีเหตุจำเป็นเฉพาะกรณี ๆ ไป ตามที่ทรงระบุไว้ในพระไตรปิฎก ซึ่งส่วนใหญ่จะเกี่ยวกับการพระศาสนาหรือการอุปัฏฐานบิดามารดา แต่ทั้งนี้ก็จะต้องกลับมาภายในระยะเวลาไม่เกิน 7 วัน การออกนอกที่จำพรรษาล่วงวันเช่นนี้เรียกว่า “สัตตาหกรณียะ” ซึ่งเหตุที่ทรงระบุว่าจะออกจากที่จำพรรษาไปได้ชั่วคราวนั้นเช่น การไปรักษาพยาบาล หาอาหารให้ภิกษุหรือบิดามารดาที่เจ็บป่วย เป็นต้น กรณีนี้ทำได้กับสหธรรมิก 5 และมารดาบิดา การไประงับภิกษุสามเณรที่อยากจะสึกมิให้สึกได้ กรณีนี้ทำได้กับสหธรรมิก 5 การไปเพื่อกิจธุระของคณะสงฆ์ เช่น การไปหาอุปกรณ์มาซ่อมกุฏิที่ชำรุด หรือ การไปทำสังฆกรรม เช่น สวดญัตติจตุตถกรรมวาจาให้พระผู้ต้องการอยู่ปริวาส เป็นต้น หากทายกนิมนต์ไปทำบุญ ก็ไปให้ทายกได้ให้ทาน รับศีล ฟังเทสนาธรรมได้ กรณีนี้หากโยมไม่มานิมนต์ ก็จะไปค้างไม่ได้. ซึ่งหากพระสงฆ์ออกจากอาวาสแม้โดยสัตตาหกรณียะล่วงกำหนด 7 วันตามพระวินัย ก็ถือว่า ขาดพรรษา และเป็นอาบัติทุกกฎเพราะรับคำ (รับคำอธิษฐานเข้าพรรษาแต่ทำไม่ได้) ในกรณีที่พระสงฆ์สัตตาหกรณียะและกลับมาตามกำหนดแล้ว ไม่ถือว่าเป็นอาบัติ และสามารถกลับมาจำพรรษาต่อเนื่องไปได้ และหากมีเหตุจำเป็นที่จะต้องออกจากที่จำพรรษาไปได้ตามวินัยอีก ก็สามารถทำได้โดยสัตตาหกรณียะ แต่ต้องกลับมาภายในเจ็ดวัน เพื่อไม่ให้พรรษาขาดและไม่เป็นอาบัติทุกกฎดังกล่าวแล้ว แหล่งที่มา : sanook.com EZ Webmaster Related Posts โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “ดร.ชุมพล พรประภา” เป็นนายกสภา ม.ศรีนครินทรวิโรฒ มทร.ธัญบุรี เปิดกว้างทุกวัย เพื่อเรียนรู้ตลอดชีพ ธนาคารหน่วยกิต “40 หลักสูตร ป.ตรี” เด็กสาธิตสวนสุนันทาคว้ารางวัลศิลปะระดับโลก! สร้างชื่อเสียงให้ไทยบนเวทีนานาชาติ เปิดรับอาสาสมัครศิริราช รอบทำกิจกรรม เดือน พ.ค.-ก.ค. 68 ทุกกิจกรรมมีใบรับรองการทำกิจกรรม สอศ. ปั้นผู้อำนวยการอาชีวะยุคใหม่! เสริมภาวะผู้นำ-วิสัยทัศน์ ทันโลกการศึกษา Post navigation PREVIOUS Previous post: ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิเข้ารับการคัดเลือกบุคคลเพื่อบรรจุและแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สังกัด สพฐ. – 12 กรกฎาคม 2565NEXT Next post: เปิดรับสมัคร ครู อาจารย์ ทั่วประเทศ โครงการ “ทิพยสืบสาน รักษา ต่อยอด นวัตกรรมศาสตร์พระราชา ครั้งที่ ๑๙ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เปิดรับอาสาสมัครศิริราช รอบทำกิจกรรม เดือน พ.ค.-ก.ค. 68 ทุกกิจกรรมมีใบรับรองการทำกิจกรรม EZ WebmasterMarch 26, 2025 ตารางการรับอาสาสมัครรอบทำกิจกรรม เดือน พฤษภาคม – กรกฏาคม 68 (กิจกรรมที่อยู่ในเว็บไซต์ตอนนี้เป็นรอบเก่ามีผู้เข้าร่วมเต็มทั้งหมดแล้วค่ะ รอบใหม่จะเปิดตามวันเวลาที่แจ้งด้านล่างนี้เท่านั้น*) ขอให้อาสาเป็นผู้สมัครและกดเลือกกิจกรรมด้วยตนเองนะคะ – 31 ก.ค. 68 **เนื่องจากวันที่ 5 พ.ค. เป็นวันหยุด จะขอเริ่มตั้งแต่วันที่วันที่ 6 พ.ค.… ซีไอเอ็มบี ไทย เปิดสมัครทุนการศึกษา CIMB ASEAN Scholarship ประจำปี 2568 EZ WebmasterMarch 26, 2025 ธนาคาร ซีไอเอ็มบี ไทย จำกัด (มหาชน) เปิดรับนักเรียน นักศึกษา ที่กำลังจะเข้าศึกษาต่อ ในระดับปริญญาตรี จากทุกสาขาวิชา เพื่อคัดเลือกเข้ารับ CIMB ASEAN Scholarship ซึ่งเป็นทุนการศึกษาเต็มจำนวน ที่ครอบคลุมค่าเล่าเรียนทั้งหมด (ค่าใช้จ่ายในการสมัครเรียน ค่าเทอม… คณะนิเทศฯ SPU เสิร์ฟประสบการณ์หนังสุดพิเศษ! เรียนรู้จากมืออาชีพกับ “ซองแดงแต่งผี” พร้อม Q&A สุดเอ็กซ์คลูซีฟกับ GDH EZ WebmasterMarch 26, 2025 คณะนิเทศศาสตร์ สาขาภาพยนตร์และสื่อดิจิทัล มหาวิทยาลัยศรีปทุม เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้สัมผัสประสบการณ์สุดพิเศษ โดยมีนักศึกษากว่า 1,600 คน ร่วมชมภาพยนตร์ “ซองแดงแต่งผี” ภาพยนตร์สยองขวัญสุดหลอนจากค่าย GDH พร้อมเข้าร่วม Q&A Pro Talk กับ คุณหมู ชยนพ… ทุนดีดี #ODOSSummerCamp InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศMarch 26, 2025 โอกาสที่จะได้ทุนไปค่ายฤดูร้อนที่ออสเตรเลีย กับ ทุน #ODOSSummerCamp มาถึงแล้ว! น้อง ๆ ตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ขึ้นไปและมีอายุไม่เกิน 19 ปี จาก 928 อำเภอทั่วประเทศสามารถสมัครเพื่อขอทุนนี้ผ่านแอปพลิเคชัน ‘ทางรัฐ’ สมัครได้ตั้งแต่วันนี้ –… ทุนไต้หวันและทุนภาษาจีน InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศMarch 25, 2025 ฝ่ายการศึกษา สำนักงานเศรษฐกิจและวัฒนธรรมไทเปประจำประเทศไทย ได้ดำเนินการตามหลักเกณฑ์การมอบทุนของกระทรวงศึกษาธิการสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) เพื่อจัดทำโครงการ “ทุนรัฐบาลไต้หวัน MOE” และ “ทุนเรียนภาษาจีนระยะสั้น HES” ประจำปีการศึกษา 2568 วัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนนักเรียนไทยที่มีความสามารถให้ไปศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก หรือเรียนภาษาจีนในไต้หวัน โดยทุนการศึกษานี้จะเปิดรับสมัครตั้งแต่วันที่ 1 กุมภาพันธ์ ถึง 31 มีนาคม 2568 ทุนรัฐบาลไต้หวัน (ทุน MOE) ทุนสำหรับศึกษาต่อระดับปริญญาในไต้หวัน: จำนวนทุน:20 ทุน เงินสนับสนุน:… ทุนICCRของอินเดีย 2025-26 InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศMarch 24, 2025 สภาวัฒนธรรมแห่งอินเดียได้เปิดรับสมัครทุนการศึกษา ระดับปริญญาตรี โท เอก Indian Council for Cultural Relations (ICCR) ประจำปีการศึกษา 2025-2026 เปิดรับใบสมัครตั้งแต่วันที่ 20 กุมภาพันธ์ จนถึงวันที่ 30 เมษายน… ทุนการศึกษามูลนิธิศึกษาวิจัยและพัฒนาเพื่อสังคมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปี 2568 EZ WebmasterMarch 22, 2025 ทุนการศึกษามูลนิธิศึกษาวิจัยฯ ประจำปี 2568 ++ ประกาศเปิดรับสมัครแล้วตั้งแต่วันนี้ ++ โดยทุนการศึกษามูลนิธิศึกษาวิจัยและพัฒนาเพื่อสังคมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปี 2568 เปิดรับสมัครจำนวน 2 รอบ โดยมีรายละเอียดดังนี้ – ทุนรอบที่ 1 รับสมัครในวันที่ 1 มกราคม… ครู-อาจารย์ โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “ดร.ชุมพล พรประภา” เป็นนายกสภา ม.ศรีนครินทรวิโรฒ tui sakrapeeMarch 26, 2025 ราชกิจจานุเบกษาเผยแพร่ ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “ชุมพล พรประภา” ดำรงตำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ แทนวิจิตร ศรีสอ้าน ที่ถึงแก่อนิจกรรม ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 142 ตอนพิเศษ 147 ง เมื่อวันที่ 25… สอศ. ปั้นผู้อำนวยการอาชีวะยุคใหม่! เสริมภาวะผู้นำ-วิสัยทัศน์ ทันโลกการศึกษา EZ WebmasterMarch 26, 2025 วันที่ 26 มีนาคม 2568 นายยศพล เวณุโกเศศ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (เลขาธิการ กอศ.) เป็นประธานเปิดโครงการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และบรรยายพิเศษ “Growth Mindset: แนวคิดเชิงบวกและการเติบโตขององค์กร” โดยนางธิติมา โรจน์วัชราภิบาล ผู้อำนวยการ… ไทย จ่อขยับอันดับการศึกษา หลังอัตราการรู้หนังสือของประชากร พุ่งสูง 98.83% จากการสำรวจอัตราการรู้หนังสือของประชากร EZ WebmasterMarch 26, 2025 เมื่อวันที่ 26 มีนาคม ที่สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (สกศ.) นายประวิต เอราวรรณ์ เลขาธิการสภาการศึกษา กล่าวในงานแถลงผลการสำรวจการรู้หนังสือของประชากรไทย ปี 2568 โดยมี นายธนากร ดอนเหนือ อธิบดีกรมส่งเสริมการเรียนรู้ (สกร.) เข้าร่วม นายประวิต… โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง รองศาสตราจารย์ ดร.ประยุกต์ ศรีวิไล เป็นอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาสารคาม EZ WebmasterMarch 26, 2025 เมื่อวันที่ 25 มกราคม เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา เผยแพร่ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ความว่า ตามที่ได้มีพระราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้ง นายประยุกต์ ศรีวิไล ให้ดำรงตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ตั้งแต่วันที่ 9 พฤศจิกายน 2562 ตามประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ลงวันที่ 13… กิจกรรม พิธีเปิดกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) ภายใต้โครงการพัฒนามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมผ้าไทยสู่สากล ประจำปี ๒๕๖๘ EZ WebmasterMarch 26, 2025 นางสาวลิปิการ์ กำลังชัย รองธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรม รักษาราชการแทนอธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรมเป็นประธานพิธิเปิด และร่วมรับฟังการบรรยายกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) พร้อมด้วยนางสาวศิวพร ฉันทไกรวัฒน์ ผู้อำนวยการกลุ่มเผยแพร่และต่อยอดมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมเข้าร่วมงาน โดยวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญด้านผ้าไทย การออกแบบและแฟชั่น อาทิ ผศ.ดร.รวิเทพ มุสิกะปาน ผศ.ดร.วุฒิไกร… เปิดรับอาสาสมัครศิริราช รอบทำกิจกรรม เดือน พ.ค.-ก.ค. 68 ทุกกิจกรรมมีใบรับรองการทำกิจกรรม EZ WebmasterMarch 26, 2025 ตารางการรับอาสาสมัครรอบทำกิจกรรม เดือน พฤษภาคม – กรกฏาคม 68 (กิจกรรมที่อยู่ในเว็บไซต์ตอนนี้เป็นรอบเก่ามีผู้เข้าร่วมเต็มทั้งหมดแล้วค่ะ รอบใหม่จะเปิดตามวันเวลาที่แจ้งด้านล่างนี้เท่านั้น*) ขอให้อาสาเป็นผู้สมัครและกดเลือกกิจกรรมด้วยตนเองนะคะ – 31 ก.ค. 68 **เนื่องจากวันที่ 5 พ.ค. เป็นวันหยุด จะขอเริ่มตั้งแต่วันที่วันที่ 6 พ.ค.… เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน รับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน EZ WebmasterMarch 24, 2025 เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน เกม Let’s School เกมแนวบริหารโรงเรียนในฝัน ที่จะให้เรารับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน อยากให้โรงเรียนเป็นแบบไหนก็ปรับเล่นได้เลย ดูอารมณ์นักเรียกได้ด้วยว่ามีความสุขมั้ย? แถมตอนนี้ยังมีอัปเดตแมพใหม่พร้อมซัพไทยด้วยนะ Let’s School โหลดเล่นได้ที่ Steam :… คอร์สฟรี! จาก ม.บูรพา “วางแผนธุรกิจ รู้เรื่องภาษี” เรียนจบรับใบเซอร์! EZ WebmasterMarch 24, 2025 คอร์สฟรี! จาก ม.บูรพา “วางแผนธุรกิจ รู้เรื่องภาษี” เรียนจบรับใบเซอร์! อยากเริ่มต้นธุรกิจให้ปัง หรือขยายกิจการให้โต? มาเพิ่มความรู้ด้านการวางแผนธุรกิจและภาษีกับ คอร์สเรียนออนไลน์ฟรี จากมหาวิทยาลัยบูรพา! 7 บทเรียนจัดเต็ม : การเขียนแผนธุรกิจอย่างมืออาชีพ การตั้งเป้าหมาย และวิเคราะห์ตลาด วางแผนการเงิน… Search for: Search EZ Webmaster July 14, 2022 EZ Webmaster July 14, 2022 วันเข้าพรรษามีที่มาอย่างไร? และเกี่ยวข้องอะไรกับกิจกรรมถวายเทียนพรรษา วันเข้าพรรษามีที่มาอย่างไร? และเกี่ยวข้องอะไรกับกิจกรรมถวายเทียนพรรษา วันที่ 14 กรกฎาคม ประจำปี 2565 นับเป็นวันหยุดสำคัญทางศาสนาคือ วันเข้าพรรษา แล้ววันเข้าพรรษานี้มีที่มาอย่างไร เกี่ยวข้องอย่างไรกับกิจกรรมถวายเทียนพรรษา วันเข้าพรรษา เป็นวันสำคัญทางพุทธศาสนา เป็นพิธีที่พระสงฆ์เถรวาทจะพักอยู่ที่ใดที่หนึ่ง โดยไม่ไปค้างแรมที่อื่นตลอดฤดูฝน ซึ่งเป็นระยะเวลาประมาณ 3 เดือน โดยเริ่มตั้งแต่ แรม 1 ค่ำ เดือน 8 ถึงวันขึ้น 15 ค่ำเดือน 11 ซึ่งในปีนี้เข้าพรรษา แรม 1 ค่ำ เดือน 8 จึงตรงกับวันที่ 14 กรกฎาคม 2565 และวันออกพรรษา 15 ค่ำเดือน 11 จึงตรงกับวันที่ 10 ตุลาคม 2565 พิธีเข้าพรรษานี้ ถือเป็นพิธีบังคับที่พระสงฆ์ทุกรูปจะต้องปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด โดยจะสามารถยกเว้นได้บางกรณี วันเข้าพรรษากำเนิดมาตั้งแต่สมัยพระพุทธกาล ตั้งแต่ครั้งสมัยที่พระพุทธเจ้าประทับอยู่ที่วัดเวฬุวัน เมืองราชคฤห์ เมื่อถึงฤดูฝนพระสงฆ์ที่จำนวนกว่า 1,500 รูป ที่ยวจาริกไปตามที่สถานที่ต่าง ๆ จนถูกชาวบ้านพากันติเตียนเนื่องจากไปย้ำข้าวในนาเสียหาย เมื่อได้ยินดังนั้นพระพุทธเจ้าก็รับสั่งให้ประชุมสงฆ์และได้ทรงอนุญาตให้พระสงฆ์จำพรรษาอยู่ในที่แห่งเดียวตลอดระยะเวลา 3 เดือนเพื่อจุดประสงค์หลักคือป้องกันไม่ให้เกิดความเสียหายต่อพืชพันธ์ที่ชาวบ้านปลูก และยังให้พระสงฆ์ได้หยุดพักจากการจาริกเผยแผ่ศาสนายังสถานที่ต่าง ๆ อีกทั้งหน้าฝนยังเป็นฤดูกาลที่ยากต่อการเดินทาง ซึ่งในช่วงเวลาจำพรรษตลอด 3 เดือนนั้น ก็ถือเป็นช่วงเวลาและโอกาสที่พระสงฆ์จะได้มาอยู่ร่วมตัวกันเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์และแบ่งปันความรู้ในคณะสงฆ์ด้วยกันเอง ในทางเดียวกันพุทธศาสนิชกก็ได้โอกาสในการเข้าวัดทำบุญตักบาตร ฟังพระธรรมเทศนา รวมไปถึงเกิดเป็นประเพณีสำคัญถวายเทียนพรรษา ผ้าอาบน้ำฝน (ผ้าวัสสิกสาฏก) และหลอดไฟก็ถวายเพื่อให้พระสงฆ์ได้ใช้ตลอดการอยู่จำพรรษา โดยมีที่มาดังนี้ ประเพณีสำคัญขึ้นในวันเข้าพรรษามี 2 ประเพณีคือ 1. ประเพณีถวายผ้าอาบน้ำฝน เชื่อกันว่า ในสมัยพุทธกาล นางวิสาขา มหาอุบาสิกาต้องการจะนิมนต์พระภิกษุไปฉันภัตตาหารที่บ้าน จึงให้หญิงรับใช้ไปพระวิหารเชตวันเพื่อนิมนต์พระ ปรากฏว่านางไปเห็นพระภิกษุเปลือยกายอาบน้ำฝนอยู่ ก็กลับมารายงานด้วยความเข้าใจผิดว่าไม่พบพระ เห็นแต่พวกชีเปลือย นางวิสาขาก็รู้ด้วยปัญญาว่าคงเป็นพระอาบน้ำฝนอยู่ ดังนั้น นางจึงได้ทูลขอพรจากพระพุทธเจ้า ขอถวายผ้าอาบน้ำฝนแด่พระภิกษุและภิกษุณีเป็นประจำแต่นั้นมา จึงเกิดเป็นประเพณีที่ชาวพุทธปฏิบัติสืบต่อมาจนทุกวันนี้ และกล่าวกันว่า ผู้ที่ถวายผ้าอาบน้ำฝนจะได้รับอานิสงส์เหมือนการถวายผ้าอื่น ๆ ตามนัยที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ คือ ทำให้เป็นผู้มีผิวพรรณผ่องใส สวยงาม ไม่มีโรคภัยไข้เจ็บ มีความสะอาดผ่องใสทั้งกายและใจ 2. ส่วนประเพณีแห่เทียนพรรษา เกิดจากความจำเป็นที่ว่าสมัยก่อนยังไม่มีไฟฟ้าใช้เช่นปัจจุบัน ดังนั้น เมื่อพระภิกษุอยู่รวมกันมากๆเพื่อปฏิบัติกิจวัตร เช่น การสวดมนต์ตอนเช้ามืดและพลบค่ำ การศึกษาพระปริยัติธรรม การบูชาพระรัตนตรัย ฯลฯ จำเป็นต้องใช้แสงสว่างจากเทียน ดังนั้น ชาวบ้านจึงได้ร่วมกันนำเทียนมาถวาย ซึ่งช่วงต้นก็คงจะถวายเป็นเทียนเล็กๆธรรมดา ครั้นต่อมาก็ได้มีการมัดเทียนเล็กๆมารวมกันเป็นต้น คล้ายต้นกล้วยหรือลำไม้ไผ่ แล้วติดกับฐาน ที่เรียกกันว่า ต้นเทียน หรือ ต้นเทียนพรรษา และก็วิวัฒนาการมาเรื่อยๆจนเป็นเทียนพรรษาอย่างที่เราเห็นกันอยู่ในปัจจุบัน ว่ากันว่า เทียนพรรษา เริ่มมาจากผู้ที่นับถือศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ซึ่งนับถือวัว ที่เป็นพาหนะของพระอิศวร เมื่อวัวตาย ก็จะเอาไขจากวัวมาทำเป็นน้ำมันเพื่อจุดบูชาพระเป็นเจ้าที่ตนเคารพ แต่ชาวพุทธจะทำเทียนเพื่อบูชาพระรัตนตรัย โดยเอามาจากรังผึ้งร้าง ต้มเอาขี้ผึ้งมาฟั่นเป็นเทียนเล็กๆเพื่อจุดบูชาพระ และได้ยึดเป็นประเพณีที่จะนำเทียนไปถวายพระภิกษุในช่วงเข้าพรรรษา เพื่อปรารถนาให้ตนเองมีสติปัญญาเฉลียวฉลาดดุจดังแสงสว่างของดวงเทียน นอกจากนี้ในอดีต พุทธศาสนิกชนผู้ชายที่มีอายุครบบวช (20 ปี) จะนิยมถือบรรพชาอุปสมบทเป็นพระสงฆ์เพื่ออยู่จำพรรษาตลอดทั้ง 3 เดือน โดยพุทธศาสนิกชนชาวไทยจะเรียกการบรรพชาอุปสมบทเพื่อจำพรรษาตลอดพรรษากาลว่า บวชเอาพรรษา อานิสงส์แห่งการจำพรรษา เมื่อพระภิกษุอยู่จำพรรษาครบ 3 เดือนจะได้รับอานิสงส์แห่งการจำพรรษา 5 อย่าง ตลอด 1 เดือนนับแต่วันออกพรรษาเป็นต้นไป คือ เที่ยวจาริกไปโดยไม่ต้องบอกลา ตามสิกขาบทที่ ๖ แห่งอเจลกวรรค ปาจิตตีย์กัณฑ์ เที่ยวจาริกไปโดยไม่ต้องถือไตรจีวรไปครบสำรับ ฉันคณะโภชน์และปรัมปรโภชน์ได้ เก็บอติเรกจีวรได้ตามปรารถนา จีวรอันเกิดขึ้นในที่นั้นเป็นของพวกเธอ และยังได้โอกาสเพื่อที่จะกราลกฐิน และได้รับอานิสงส์พรรษาทั้ง 5 ขึ้นนั้นเพิ่มออกไปอีก 4 เดือน ในฤดูหนาว คือตั้งแต่แรม 1 ค่ำ เดือน 12 ไปจนถึงขึ้น 15 ค่ำ เดือน 4 อีกด้วย ประเภทของการเข้าพรรษาของพระสงฆ์ แบ่งเป็น 2 ประเภท ปุริมพรรษา คือ การเข้าพรรษาแรก การเข้าพรรษาแรก เริ่มตั้งแต่วันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 (สำหรับปีอธิกมาส คือ มีเดือน 8 สองหน จะเริ่มในวันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 หลัง) จนถึงวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 หลังจากออกพรรษาแล้ว พระที่อยู่จำพรรษาครบ 3 เดือน ก็มีสิทธิที่จะรับกฐินซึ่งมีช่วงเวลาเพียงหนึ่งเดือน นับตั้งแต่วันแรม 1 ค่ำ เดือน 11 ถึงขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 ปัจฉิมพรรษา คือ การเข้าพรรษาหลัง การเข้าพรรษาหลัง ใช้ในกรณีที่พระภิกษุต้องเดินทางไกลหรือมีเหตุสุดวิสัย ทำให้กลับมาเข้าพรรษาแรกในวันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 ไม่ทัน ต้องรอไปเข้าพรรษาหลัง คือวันแรม 1 ค่ำ เดือน 9 แล้วจะไปออกพรรษาในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 ซึ่งเป็นวันหมดเขตทอดกฐินพอดี ดังนั้นพระภิกษุที่เข้าปัจฉิมพรรษาจึงไม่มีโอกาสได้รับกฐิน แต่ก็ได้พรรษาเช่นเดียวกับพระที่เข้าปุริมพรรษาเหมือนกัน ในประเทศไทย พระภิกษุส่วนใหญ่จะจำพรรษาในช่วงปุริมพรรษาหรือพรรษาแรกมากกว่าปัจฉิมพรรษาหรือพรรษาหลัง ยกเว้นพระภิกษุที่อาพาธ(ป่วย)หรือมีกิจจำเป็นจึงจะอธิษฐานจำพรรษาในช่วงปัจฉิมพรรษา ส่วนการที่มีเดือนแปดสองหน หรือปีอธิกมาส ก็เพราะเป็นการนับทางจันทรคติ(วันขึ้น วันแรม)ซึ่งแต่ละปีจะมีจำนวนวันน้อยกว่าการนับทางสุริยคติ(การนับวันตามแบบปัจจุบัน) ทำให้ต้องเพิ่มเดือนในบางปีเพื่อชดเชยจำนวนวันที่หายไป มิให้ปีทางจันทรคติและสุริยคติคลาดเคลื่อนกันไปมากความเป็นมาของวันเข้าพรรษาเกิดขึ้น จุดประสงค์ของการเข้าพรรษา ลดความเสียหายที่พระสงฆ์จะไปเหยียบย้ำพืชที่ชาวบ้านปลูกในฤดูฝนระหว่างการธุดงค์ พระสงฆ์ได้พักผ่อนหลังจากเดินทางจาริกไปเผยแผ่พระพุทธศาสนามาเป็นเวลา 8 – 9 เดือน ชพระภิกษุสงฆ์จะได้ประพฤติปฏิบัติธรรมสำหรับตนเอง และศึกษาเล่าเรียนพระธรรมวินัยตลอดจนเตรียมการสั่งสอนให้กับประชาชนเมื่อถึงวันออกพรรษา ได้ใช้เวลาสอบรมสั่งสอนและบวชให้กับกุลบุตรผู้มีอายุครบบวช อันเป็นกำลังสำคัญในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาต่อไป พุทธศาสนิกชน ได้มีโอกาสบำเพ็ญกุศลเป็นการพิเศษ เช่น การทำบุญตักบาตร หล่อเทียนพรรษา ถวายผ้าอาบน้ำฝน รักษาศีล เจริญภาวนา ถวายจตุปัจจัยไทยธรรม งดเว้นอบายมุข และมีโอกาสได้ฟังพระธรรมเทศนาตลอดเวลาเข้าพรรษา ข้อยกเว้นการจำพรรษาของพระสงฆ์ แม้การเข้าพรรษานี้ถือเป็นข้อปฏิบัติสำหรับพระภิกษุโดยตรง ที่จะละเว้นไม่ได้ ไม่ว่ากรณีใด ๆ ก็ตาม แต่ว่าในการจำพรรษาของพระสงฆ์ในระหว่างพรรษานั้น อาจมีกรณีจำเป็นบางอย่าง ทำให้พระภิกษุผู้จำพรรษาต้องออกจากสถานที่จำพรรษาเพื่อไปค้างที่อื่น พระพุทธองค์ก็ทรงอนุญาตให้ทำได้โดยไม่ถือว่าเป็นการขาดพรรษาโดยมีเหตุจำเป็นเฉพาะกรณี ๆ ไป ตามที่ทรงระบุไว้ในพระไตรปิฎก ซึ่งส่วนใหญ่จะเกี่ยวกับการพระศาสนาหรือการอุปัฏฐานบิดามารดา แต่ทั้งนี้ก็จะต้องกลับมาภายในระยะเวลาไม่เกิน 7 วัน การออกนอกที่จำพรรษาล่วงวันเช่นนี้เรียกว่า “สัตตาหกรณียะ” ซึ่งเหตุที่ทรงระบุว่าจะออกจากที่จำพรรษาไปได้ชั่วคราวนั้นเช่น การไปรักษาพยาบาล หาอาหารให้ภิกษุหรือบิดามารดาที่เจ็บป่วย เป็นต้น กรณีนี้ทำได้กับสหธรรมิก 5 และมารดาบิดา การไประงับภิกษุสามเณรที่อยากจะสึกมิให้สึกได้ กรณีนี้ทำได้กับสหธรรมิก 5 การไปเพื่อกิจธุระของคณะสงฆ์ เช่น การไปหาอุปกรณ์มาซ่อมกุฏิที่ชำรุด หรือ การไปทำสังฆกรรม เช่น สวดญัตติจตุตถกรรมวาจาให้พระผู้ต้องการอยู่ปริวาส เป็นต้น หากทายกนิมนต์ไปทำบุญ ก็ไปให้ทายกได้ให้ทาน รับศีล ฟังเทสนาธรรมได้ กรณีนี้หากโยมไม่มานิมนต์ ก็จะไปค้างไม่ได้. ซึ่งหากพระสงฆ์ออกจากอาวาสแม้โดยสัตตาหกรณียะล่วงกำหนด 7 วันตามพระวินัย ก็ถือว่า ขาดพรรษา และเป็นอาบัติทุกกฎเพราะรับคำ (รับคำอธิษฐานเข้าพรรษาแต่ทำไม่ได้) ในกรณีที่พระสงฆ์สัตตาหกรณียะและกลับมาตามกำหนดแล้ว ไม่ถือว่าเป็นอาบัติ และสามารถกลับมาจำพรรษาต่อเนื่องไปได้ และหากมีเหตุจำเป็นที่จะต้องออกจากที่จำพรรษาไปได้ตามวินัยอีก ก็สามารถทำได้โดยสัตตาหกรณียะ แต่ต้องกลับมาภายในเจ็ดวัน เพื่อไม่ให้พรรษาขาดและไม่เป็นอาบัติทุกกฎดังกล่าวแล้ว แหล่งที่มา : sanook.com EZ Webmaster Related Posts โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “ดร.ชุมพล พรประภา” เป็นนายกสภา ม.ศรีนครินทรวิโรฒ มทร.ธัญบุรี เปิดกว้างทุกวัย เพื่อเรียนรู้ตลอดชีพ ธนาคารหน่วยกิต “40 หลักสูตร ป.ตรี” เด็กสาธิตสวนสุนันทาคว้ารางวัลศิลปะระดับโลก! สร้างชื่อเสียงให้ไทยบนเวทีนานาชาติ เปิดรับอาสาสมัครศิริราช รอบทำกิจกรรม เดือน พ.ค.-ก.ค. 68 ทุกกิจกรรมมีใบรับรองการทำกิจกรรม สอศ. ปั้นผู้อำนวยการอาชีวะยุคใหม่! เสริมภาวะผู้นำ-วิสัยทัศน์ ทันโลกการศึกษา Post navigation PREVIOUS Previous post: ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิเข้ารับการคัดเลือกบุคคลเพื่อบรรจุและแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สังกัด สพฐ. – 12 กรกฎาคม 2565NEXT Next post: เปิดรับสมัคร ครู อาจารย์ ทั่วประเทศ โครงการ “ทิพยสืบสาน รักษา ต่อยอด นวัตกรรมศาสตร์พระราชา ครั้งที่ ๑๙ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ซีไอเอ็มบี ไทย เปิดสมัครทุนการศึกษา CIMB ASEAN Scholarship ประจำปี 2568 EZ WebmasterMarch 26, 2025 ธนาคาร ซีไอเอ็มบี ไทย จำกัด (มหาชน) เปิดรับนักเรียน นักศึกษา ที่กำลังจะเข้าศึกษาต่อ ในระดับปริญญาตรี จากทุกสาขาวิชา เพื่อคัดเลือกเข้ารับ CIMB ASEAN Scholarship ซึ่งเป็นทุนการศึกษาเต็มจำนวน ที่ครอบคลุมค่าเล่าเรียนทั้งหมด (ค่าใช้จ่ายในการสมัครเรียน ค่าเทอม… คณะนิเทศฯ SPU เสิร์ฟประสบการณ์หนังสุดพิเศษ! เรียนรู้จากมืออาชีพกับ “ซองแดงแต่งผี” พร้อม Q&A สุดเอ็กซ์คลูซีฟกับ GDH EZ WebmasterMarch 26, 2025 คณะนิเทศศาสตร์ สาขาภาพยนตร์และสื่อดิจิทัล มหาวิทยาลัยศรีปทุม เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้สัมผัสประสบการณ์สุดพิเศษ โดยมีนักศึกษากว่า 1,600 คน ร่วมชมภาพยนตร์ “ซองแดงแต่งผี” ภาพยนตร์สยองขวัญสุดหลอนจากค่าย GDH พร้อมเข้าร่วม Q&A Pro Talk กับ คุณหมู ชยนพ…
คณะนิเทศฯ SPU เสิร์ฟประสบการณ์หนังสุดพิเศษ! เรียนรู้จากมืออาชีพกับ “ซองแดงแต่งผี” พร้อม Q&A สุดเอ็กซ์คลูซีฟกับ GDH EZ WebmasterMarch 26, 2025 คณะนิเทศศาสตร์ สาขาภาพยนตร์และสื่อดิจิทัล มหาวิทยาลัยศรีปทุม เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้สัมผัสประสบการณ์สุดพิเศษ โดยมีนักศึกษากว่า 1,600 คน ร่วมชมภาพยนตร์ “ซองแดงแต่งผี” ภาพยนตร์สยองขวัญสุดหลอนจากค่าย GDH พร้อมเข้าร่วม Q&A Pro Talk กับ คุณหมู ชยนพ…
#ODOSSummerCamp InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศMarch 26, 2025 โอกาสที่จะได้ทุนไปค่ายฤดูร้อนที่ออสเตรเลีย กับ ทุน #ODOSSummerCamp มาถึงแล้ว! น้อง ๆ ตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ขึ้นไปและมีอายุไม่เกิน 19 ปี จาก 928 อำเภอทั่วประเทศสามารถสมัครเพื่อขอทุนนี้ผ่านแอปพลิเคชัน ‘ทางรัฐ’ สมัครได้ตั้งแต่วันนี้ –… ทุนไต้หวันและทุนภาษาจีน InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศMarch 25, 2025 ฝ่ายการศึกษา สำนักงานเศรษฐกิจและวัฒนธรรมไทเปประจำประเทศไทย ได้ดำเนินการตามหลักเกณฑ์การมอบทุนของกระทรวงศึกษาธิการสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) เพื่อจัดทำโครงการ “ทุนรัฐบาลไต้หวัน MOE” และ “ทุนเรียนภาษาจีนระยะสั้น HES” ประจำปีการศึกษา 2568 วัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนนักเรียนไทยที่มีความสามารถให้ไปศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก หรือเรียนภาษาจีนในไต้หวัน โดยทุนการศึกษานี้จะเปิดรับสมัครตั้งแต่วันที่ 1 กุมภาพันธ์ ถึง 31 มีนาคม 2568 ทุนรัฐบาลไต้หวัน (ทุน MOE) ทุนสำหรับศึกษาต่อระดับปริญญาในไต้หวัน: จำนวนทุน:20 ทุน เงินสนับสนุน:… ทุนICCRของอินเดีย 2025-26 InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศMarch 24, 2025 สภาวัฒนธรรมแห่งอินเดียได้เปิดรับสมัครทุนการศึกษา ระดับปริญญาตรี โท เอก Indian Council for Cultural Relations (ICCR) ประจำปีการศึกษา 2025-2026 เปิดรับใบสมัครตั้งแต่วันที่ 20 กุมภาพันธ์ จนถึงวันที่ 30 เมษายน… ทุนการศึกษามูลนิธิศึกษาวิจัยและพัฒนาเพื่อสังคมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปี 2568 EZ WebmasterMarch 22, 2025 ทุนการศึกษามูลนิธิศึกษาวิจัยฯ ประจำปี 2568 ++ ประกาศเปิดรับสมัครแล้วตั้งแต่วันนี้ ++ โดยทุนการศึกษามูลนิธิศึกษาวิจัยและพัฒนาเพื่อสังคมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปี 2568 เปิดรับสมัครจำนวน 2 รอบ โดยมีรายละเอียดดังนี้ – ทุนรอบที่ 1 รับสมัครในวันที่ 1 มกราคม… ครู-อาจารย์ โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “ดร.ชุมพล พรประภา” เป็นนายกสภา ม.ศรีนครินทรวิโรฒ tui sakrapeeMarch 26, 2025 ราชกิจจานุเบกษาเผยแพร่ ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “ชุมพล พรประภา” ดำรงตำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ แทนวิจิตร ศรีสอ้าน ที่ถึงแก่อนิจกรรม ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 142 ตอนพิเศษ 147 ง เมื่อวันที่ 25… สอศ. ปั้นผู้อำนวยการอาชีวะยุคใหม่! เสริมภาวะผู้นำ-วิสัยทัศน์ ทันโลกการศึกษา EZ WebmasterMarch 26, 2025 วันที่ 26 มีนาคม 2568 นายยศพล เวณุโกเศศ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (เลขาธิการ กอศ.) เป็นประธานเปิดโครงการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และบรรยายพิเศษ “Growth Mindset: แนวคิดเชิงบวกและการเติบโตขององค์กร” โดยนางธิติมา โรจน์วัชราภิบาล ผู้อำนวยการ… ไทย จ่อขยับอันดับการศึกษา หลังอัตราการรู้หนังสือของประชากร พุ่งสูง 98.83% จากการสำรวจอัตราการรู้หนังสือของประชากร EZ WebmasterMarch 26, 2025 เมื่อวันที่ 26 มีนาคม ที่สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (สกศ.) นายประวิต เอราวรรณ์ เลขาธิการสภาการศึกษา กล่าวในงานแถลงผลการสำรวจการรู้หนังสือของประชากรไทย ปี 2568 โดยมี นายธนากร ดอนเหนือ อธิบดีกรมส่งเสริมการเรียนรู้ (สกร.) เข้าร่วม นายประวิต… โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง รองศาสตราจารย์ ดร.ประยุกต์ ศรีวิไล เป็นอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาสารคาม EZ WebmasterMarch 26, 2025 เมื่อวันที่ 25 มกราคม เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา เผยแพร่ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ความว่า ตามที่ได้มีพระราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้ง นายประยุกต์ ศรีวิไล ให้ดำรงตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ตั้งแต่วันที่ 9 พฤศจิกายน 2562 ตามประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ลงวันที่ 13… กิจกรรม พิธีเปิดกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) ภายใต้โครงการพัฒนามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมผ้าไทยสู่สากล ประจำปี ๒๕๖๘ EZ WebmasterMarch 26, 2025 นางสาวลิปิการ์ กำลังชัย รองธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรม รักษาราชการแทนอธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรมเป็นประธานพิธิเปิด และร่วมรับฟังการบรรยายกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) พร้อมด้วยนางสาวศิวพร ฉันทไกรวัฒน์ ผู้อำนวยการกลุ่มเผยแพร่และต่อยอดมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมเข้าร่วมงาน โดยวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญด้านผ้าไทย การออกแบบและแฟชั่น อาทิ ผศ.ดร.รวิเทพ มุสิกะปาน ผศ.ดร.วุฒิไกร… เปิดรับอาสาสมัครศิริราช รอบทำกิจกรรม เดือน พ.ค.-ก.ค. 68 ทุกกิจกรรมมีใบรับรองการทำกิจกรรม EZ WebmasterMarch 26, 2025 ตารางการรับอาสาสมัครรอบทำกิจกรรม เดือน พฤษภาคม – กรกฏาคม 68 (กิจกรรมที่อยู่ในเว็บไซต์ตอนนี้เป็นรอบเก่ามีผู้เข้าร่วมเต็มทั้งหมดแล้วค่ะ รอบใหม่จะเปิดตามวันเวลาที่แจ้งด้านล่างนี้เท่านั้น*) ขอให้อาสาเป็นผู้สมัครและกดเลือกกิจกรรมด้วยตนเองนะคะ – 31 ก.ค. 68 **เนื่องจากวันที่ 5 พ.ค. เป็นวันหยุด จะขอเริ่มตั้งแต่วันที่วันที่ 6 พ.ค.… เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน รับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน EZ WebmasterMarch 24, 2025 เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน เกม Let’s School เกมแนวบริหารโรงเรียนในฝัน ที่จะให้เรารับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน อยากให้โรงเรียนเป็นแบบไหนก็ปรับเล่นได้เลย ดูอารมณ์นักเรียกได้ด้วยว่ามีความสุขมั้ย? แถมตอนนี้ยังมีอัปเดตแมพใหม่พร้อมซัพไทยด้วยนะ Let’s School โหลดเล่นได้ที่ Steam :… คอร์สฟรี! จาก ม.บูรพา “วางแผนธุรกิจ รู้เรื่องภาษี” เรียนจบรับใบเซอร์! EZ WebmasterMarch 24, 2025 คอร์สฟรี! จาก ม.บูรพา “วางแผนธุรกิจ รู้เรื่องภาษี” เรียนจบรับใบเซอร์! อยากเริ่มต้นธุรกิจให้ปัง หรือขยายกิจการให้โต? มาเพิ่มความรู้ด้านการวางแผนธุรกิจและภาษีกับ คอร์สเรียนออนไลน์ฟรี จากมหาวิทยาลัยบูรพา! 7 บทเรียนจัดเต็ม : การเขียนแผนธุรกิจอย่างมืออาชีพ การตั้งเป้าหมาย และวิเคราะห์ตลาด วางแผนการเงิน… Search for: Search EZ Webmaster July 14, 2022 EZ Webmaster July 14, 2022 วันเข้าพรรษามีที่มาอย่างไร? และเกี่ยวข้องอะไรกับกิจกรรมถวายเทียนพรรษา วันเข้าพรรษามีที่มาอย่างไร? และเกี่ยวข้องอะไรกับกิจกรรมถวายเทียนพรรษา วันที่ 14 กรกฎาคม ประจำปี 2565 นับเป็นวันหยุดสำคัญทางศาสนาคือ วันเข้าพรรษา แล้ววันเข้าพรรษานี้มีที่มาอย่างไร เกี่ยวข้องอย่างไรกับกิจกรรมถวายเทียนพรรษา วันเข้าพรรษา เป็นวันสำคัญทางพุทธศาสนา เป็นพิธีที่พระสงฆ์เถรวาทจะพักอยู่ที่ใดที่หนึ่ง โดยไม่ไปค้างแรมที่อื่นตลอดฤดูฝน ซึ่งเป็นระยะเวลาประมาณ 3 เดือน โดยเริ่มตั้งแต่ แรม 1 ค่ำ เดือน 8 ถึงวันขึ้น 15 ค่ำเดือน 11 ซึ่งในปีนี้เข้าพรรษา แรม 1 ค่ำ เดือน 8 จึงตรงกับวันที่ 14 กรกฎาคม 2565 และวันออกพรรษา 15 ค่ำเดือน 11 จึงตรงกับวันที่ 10 ตุลาคม 2565 พิธีเข้าพรรษานี้ ถือเป็นพิธีบังคับที่พระสงฆ์ทุกรูปจะต้องปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด โดยจะสามารถยกเว้นได้บางกรณี วันเข้าพรรษากำเนิดมาตั้งแต่สมัยพระพุทธกาล ตั้งแต่ครั้งสมัยที่พระพุทธเจ้าประทับอยู่ที่วัดเวฬุวัน เมืองราชคฤห์ เมื่อถึงฤดูฝนพระสงฆ์ที่จำนวนกว่า 1,500 รูป ที่ยวจาริกไปตามที่สถานที่ต่าง ๆ จนถูกชาวบ้านพากันติเตียนเนื่องจากไปย้ำข้าวในนาเสียหาย เมื่อได้ยินดังนั้นพระพุทธเจ้าก็รับสั่งให้ประชุมสงฆ์และได้ทรงอนุญาตให้พระสงฆ์จำพรรษาอยู่ในที่แห่งเดียวตลอดระยะเวลา 3 เดือนเพื่อจุดประสงค์หลักคือป้องกันไม่ให้เกิดความเสียหายต่อพืชพันธ์ที่ชาวบ้านปลูก และยังให้พระสงฆ์ได้หยุดพักจากการจาริกเผยแผ่ศาสนายังสถานที่ต่าง ๆ อีกทั้งหน้าฝนยังเป็นฤดูกาลที่ยากต่อการเดินทาง ซึ่งในช่วงเวลาจำพรรษตลอด 3 เดือนนั้น ก็ถือเป็นช่วงเวลาและโอกาสที่พระสงฆ์จะได้มาอยู่ร่วมตัวกันเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์และแบ่งปันความรู้ในคณะสงฆ์ด้วยกันเอง ในทางเดียวกันพุทธศาสนิชกก็ได้โอกาสในการเข้าวัดทำบุญตักบาตร ฟังพระธรรมเทศนา รวมไปถึงเกิดเป็นประเพณีสำคัญถวายเทียนพรรษา ผ้าอาบน้ำฝน (ผ้าวัสสิกสาฏก) และหลอดไฟก็ถวายเพื่อให้พระสงฆ์ได้ใช้ตลอดการอยู่จำพรรษา โดยมีที่มาดังนี้ ประเพณีสำคัญขึ้นในวันเข้าพรรษามี 2 ประเพณีคือ 1. ประเพณีถวายผ้าอาบน้ำฝน เชื่อกันว่า ในสมัยพุทธกาล นางวิสาขา มหาอุบาสิกาต้องการจะนิมนต์พระภิกษุไปฉันภัตตาหารที่บ้าน จึงให้หญิงรับใช้ไปพระวิหารเชตวันเพื่อนิมนต์พระ ปรากฏว่านางไปเห็นพระภิกษุเปลือยกายอาบน้ำฝนอยู่ ก็กลับมารายงานด้วยความเข้าใจผิดว่าไม่พบพระ เห็นแต่พวกชีเปลือย นางวิสาขาก็รู้ด้วยปัญญาว่าคงเป็นพระอาบน้ำฝนอยู่ ดังนั้น นางจึงได้ทูลขอพรจากพระพุทธเจ้า ขอถวายผ้าอาบน้ำฝนแด่พระภิกษุและภิกษุณีเป็นประจำแต่นั้นมา จึงเกิดเป็นประเพณีที่ชาวพุทธปฏิบัติสืบต่อมาจนทุกวันนี้ และกล่าวกันว่า ผู้ที่ถวายผ้าอาบน้ำฝนจะได้รับอานิสงส์เหมือนการถวายผ้าอื่น ๆ ตามนัยที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ คือ ทำให้เป็นผู้มีผิวพรรณผ่องใส สวยงาม ไม่มีโรคภัยไข้เจ็บ มีความสะอาดผ่องใสทั้งกายและใจ 2. ส่วนประเพณีแห่เทียนพรรษา เกิดจากความจำเป็นที่ว่าสมัยก่อนยังไม่มีไฟฟ้าใช้เช่นปัจจุบัน ดังนั้น เมื่อพระภิกษุอยู่รวมกันมากๆเพื่อปฏิบัติกิจวัตร เช่น การสวดมนต์ตอนเช้ามืดและพลบค่ำ การศึกษาพระปริยัติธรรม การบูชาพระรัตนตรัย ฯลฯ จำเป็นต้องใช้แสงสว่างจากเทียน ดังนั้น ชาวบ้านจึงได้ร่วมกันนำเทียนมาถวาย ซึ่งช่วงต้นก็คงจะถวายเป็นเทียนเล็กๆธรรมดา ครั้นต่อมาก็ได้มีการมัดเทียนเล็กๆมารวมกันเป็นต้น คล้ายต้นกล้วยหรือลำไม้ไผ่ แล้วติดกับฐาน ที่เรียกกันว่า ต้นเทียน หรือ ต้นเทียนพรรษา และก็วิวัฒนาการมาเรื่อยๆจนเป็นเทียนพรรษาอย่างที่เราเห็นกันอยู่ในปัจจุบัน ว่ากันว่า เทียนพรรษา เริ่มมาจากผู้ที่นับถือศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ซึ่งนับถือวัว ที่เป็นพาหนะของพระอิศวร เมื่อวัวตาย ก็จะเอาไขจากวัวมาทำเป็นน้ำมันเพื่อจุดบูชาพระเป็นเจ้าที่ตนเคารพ แต่ชาวพุทธจะทำเทียนเพื่อบูชาพระรัตนตรัย โดยเอามาจากรังผึ้งร้าง ต้มเอาขี้ผึ้งมาฟั่นเป็นเทียนเล็กๆเพื่อจุดบูชาพระ และได้ยึดเป็นประเพณีที่จะนำเทียนไปถวายพระภิกษุในช่วงเข้าพรรรษา เพื่อปรารถนาให้ตนเองมีสติปัญญาเฉลียวฉลาดดุจดังแสงสว่างของดวงเทียน นอกจากนี้ในอดีต พุทธศาสนิกชนผู้ชายที่มีอายุครบบวช (20 ปี) จะนิยมถือบรรพชาอุปสมบทเป็นพระสงฆ์เพื่ออยู่จำพรรษาตลอดทั้ง 3 เดือน โดยพุทธศาสนิกชนชาวไทยจะเรียกการบรรพชาอุปสมบทเพื่อจำพรรษาตลอดพรรษากาลว่า บวชเอาพรรษา อานิสงส์แห่งการจำพรรษา เมื่อพระภิกษุอยู่จำพรรษาครบ 3 เดือนจะได้รับอานิสงส์แห่งการจำพรรษา 5 อย่าง ตลอด 1 เดือนนับแต่วันออกพรรษาเป็นต้นไป คือ เที่ยวจาริกไปโดยไม่ต้องบอกลา ตามสิกขาบทที่ ๖ แห่งอเจลกวรรค ปาจิตตีย์กัณฑ์ เที่ยวจาริกไปโดยไม่ต้องถือไตรจีวรไปครบสำรับ ฉันคณะโภชน์และปรัมปรโภชน์ได้ เก็บอติเรกจีวรได้ตามปรารถนา จีวรอันเกิดขึ้นในที่นั้นเป็นของพวกเธอ และยังได้โอกาสเพื่อที่จะกราลกฐิน และได้รับอานิสงส์พรรษาทั้ง 5 ขึ้นนั้นเพิ่มออกไปอีก 4 เดือน ในฤดูหนาว คือตั้งแต่แรม 1 ค่ำ เดือน 12 ไปจนถึงขึ้น 15 ค่ำ เดือน 4 อีกด้วย ประเภทของการเข้าพรรษาของพระสงฆ์ แบ่งเป็น 2 ประเภท ปุริมพรรษา คือ การเข้าพรรษาแรก การเข้าพรรษาแรก เริ่มตั้งแต่วันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 (สำหรับปีอธิกมาส คือ มีเดือน 8 สองหน จะเริ่มในวันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 หลัง) จนถึงวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 หลังจากออกพรรษาแล้ว พระที่อยู่จำพรรษาครบ 3 เดือน ก็มีสิทธิที่จะรับกฐินซึ่งมีช่วงเวลาเพียงหนึ่งเดือน นับตั้งแต่วันแรม 1 ค่ำ เดือน 11 ถึงขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 ปัจฉิมพรรษา คือ การเข้าพรรษาหลัง การเข้าพรรษาหลัง ใช้ในกรณีที่พระภิกษุต้องเดินทางไกลหรือมีเหตุสุดวิสัย ทำให้กลับมาเข้าพรรษาแรกในวันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 ไม่ทัน ต้องรอไปเข้าพรรษาหลัง คือวันแรม 1 ค่ำ เดือน 9 แล้วจะไปออกพรรษาในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 ซึ่งเป็นวันหมดเขตทอดกฐินพอดี ดังนั้นพระภิกษุที่เข้าปัจฉิมพรรษาจึงไม่มีโอกาสได้รับกฐิน แต่ก็ได้พรรษาเช่นเดียวกับพระที่เข้าปุริมพรรษาเหมือนกัน ในประเทศไทย พระภิกษุส่วนใหญ่จะจำพรรษาในช่วงปุริมพรรษาหรือพรรษาแรกมากกว่าปัจฉิมพรรษาหรือพรรษาหลัง ยกเว้นพระภิกษุที่อาพาธ(ป่วย)หรือมีกิจจำเป็นจึงจะอธิษฐานจำพรรษาในช่วงปัจฉิมพรรษา ส่วนการที่มีเดือนแปดสองหน หรือปีอธิกมาส ก็เพราะเป็นการนับทางจันทรคติ(วันขึ้น วันแรม)ซึ่งแต่ละปีจะมีจำนวนวันน้อยกว่าการนับทางสุริยคติ(การนับวันตามแบบปัจจุบัน) ทำให้ต้องเพิ่มเดือนในบางปีเพื่อชดเชยจำนวนวันที่หายไป มิให้ปีทางจันทรคติและสุริยคติคลาดเคลื่อนกันไปมากความเป็นมาของวันเข้าพรรษาเกิดขึ้น จุดประสงค์ของการเข้าพรรษา ลดความเสียหายที่พระสงฆ์จะไปเหยียบย้ำพืชที่ชาวบ้านปลูกในฤดูฝนระหว่างการธุดงค์ พระสงฆ์ได้พักผ่อนหลังจากเดินทางจาริกไปเผยแผ่พระพุทธศาสนามาเป็นเวลา 8 – 9 เดือน ชพระภิกษุสงฆ์จะได้ประพฤติปฏิบัติธรรมสำหรับตนเอง และศึกษาเล่าเรียนพระธรรมวินัยตลอดจนเตรียมการสั่งสอนให้กับประชาชนเมื่อถึงวันออกพรรษา ได้ใช้เวลาสอบรมสั่งสอนและบวชให้กับกุลบุตรผู้มีอายุครบบวช อันเป็นกำลังสำคัญในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาต่อไป พุทธศาสนิกชน ได้มีโอกาสบำเพ็ญกุศลเป็นการพิเศษ เช่น การทำบุญตักบาตร หล่อเทียนพรรษา ถวายผ้าอาบน้ำฝน รักษาศีล เจริญภาวนา ถวายจตุปัจจัยไทยธรรม งดเว้นอบายมุข และมีโอกาสได้ฟังพระธรรมเทศนาตลอดเวลาเข้าพรรษา ข้อยกเว้นการจำพรรษาของพระสงฆ์ แม้การเข้าพรรษานี้ถือเป็นข้อปฏิบัติสำหรับพระภิกษุโดยตรง ที่จะละเว้นไม่ได้ ไม่ว่ากรณีใด ๆ ก็ตาม แต่ว่าในการจำพรรษาของพระสงฆ์ในระหว่างพรรษานั้น อาจมีกรณีจำเป็นบางอย่าง ทำให้พระภิกษุผู้จำพรรษาต้องออกจากสถานที่จำพรรษาเพื่อไปค้างที่อื่น พระพุทธองค์ก็ทรงอนุญาตให้ทำได้โดยไม่ถือว่าเป็นการขาดพรรษาโดยมีเหตุจำเป็นเฉพาะกรณี ๆ ไป ตามที่ทรงระบุไว้ในพระไตรปิฎก ซึ่งส่วนใหญ่จะเกี่ยวกับการพระศาสนาหรือการอุปัฏฐานบิดามารดา แต่ทั้งนี้ก็จะต้องกลับมาภายในระยะเวลาไม่เกิน 7 วัน การออกนอกที่จำพรรษาล่วงวันเช่นนี้เรียกว่า “สัตตาหกรณียะ” ซึ่งเหตุที่ทรงระบุว่าจะออกจากที่จำพรรษาไปได้ชั่วคราวนั้นเช่น การไปรักษาพยาบาล หาอาหารให้ภิกษุหรือบิดามารดาที่เจ็บป่วย เป็นต้น กรณีนี้ทำได้กับสหธรรมิก 5 และมารดาบิดา การไประงับภิกษุสามเณรที่อยากจะสึกมิให้สึกได้ กรณีนี้ทำได้กับสหธรรมิก 5 การไปเพื่อกิจธุระของคณะสงฆ์ เช่น การไปหาอุปกรณ์มาซ่อมกุฏิที่ชำรุด หรือ การไปทำสังฆกรรม เช่น สวดญัตติจตุตถกรรมวาจาให้พระผู้ต้องการอยู่ปริวาส เป็นต้น หากทายกนิมนต์ไปทำบุญ ก็ไปให้ทายกได้ให้ทาน รับศีล ฟังเทสนาธรรมได้ กรณีนี้หากโยมไม่มานิมนต์ ก็จะไปค้างไม่ได้. ซึ่งหากพระสงฆ์ออกจากอาวาสแม้โดยสัตตาหกรณียะล่วงกำหนด 7 วันตามพระวินัย ก็ถือว่า ขาดพรรษา และเป็นอาบัติทุกกฎเพราะรับคำ (รับคำอธิษฐานเข้าพรรษาแต่ทำไม่ได้) ในกรณีที่พระสงฆ์สัตตาหกรณียะและกลับมาตามกำหนดแล้ว ไม่ถือว่าเป็นอาบัติ และสามารถกลับมาจำพรรษาต่อเนื่องไปได้ และหากมีเหตุจำเป็นที่จะต้องออกจากที่จำพรรษาไปได้ตามวินัยอีก ก็สามารถทำได้โดยสัตตาหกรณียะ แต่ต้องกลับมาภายในเจ็ดวัน เพื่อไม่ให้พรรษาขาดและไม่เป็นอาบัติทุกกฎดังกล่าวแล้ว แหล่งที่มา : sanook.com EZ Webmaster Related Posts โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “ดร.ชุมพล พรประภา” เป็นนายกสภา ม.ศรีนครินทรวิโรฒ มทร.ธัญบุรี เปิดกว้างทุกวัย เพื่อเรียนรู้ตลอดชีพ ธนาคารหน่วยกิต “40 หลักสูตร ป.ตรี” เด็กสาธิตสวนสุนันทาคว้ารางวัลศิลปะระดับโลก! สร้างชื่อเสียงให้ไทยบนเวทีนานาชาติ เปิดรับอาสาสมัครศิริราช รอบทำกิจกรรม เดือน พ.ค.-ก.ค. 68 ทุกกิจกรรมมีใบรับรองการทำกิจกรรม สอศ. ปั้นผู้อำนวยการอาชีวะยุคใหม่! เสริมภาวะผู้นำ-วิสัยทัศน์ ทันโลกการศึกษา Post navigation PREVIOUS Previous post: ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิเข้ารับการคัดเลือกบุคคลเพื่อบรรจุและแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สังกัด สพฐ. – 12 กรกฎาคม 2565NEXT Next post: เปิดรับสมัคร ครู อาจารย์ ทั่วประเทศ โครงการ “ทิพยสืบสาน รักษา ต่อยอด นวัตกรรมศาสตร์พระราชา ครั้งที่ ๑๙ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ทุนไต้หวันและทุนภาษาจีน InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศMarch 25, 2025 ฝ่ายการศึกษา สำนักงานเศรษฐกิจและวัฒนธรรมไทเปประจำประเทศไทย ได้ดำเนินการตามหลักเกณฑ์การมอบทุนของกระทรวงศึกษาธิการสาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) เพื่อจัดทำโครงการ “ทุนรัฐบาลไต้หวัน MOE” และ “ทุนเรียนภาษาจีนระยะสั้น HES” ประจำปีการศึกษา 2568 วัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนนักเรียนไทยที่มีความสามารถให้ไปศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก หรือเรียนภาษาจีนในไต้หวัน โดยทุนการศึกษานี้จะเปิดรับสมัครตั้งแต่วันที่ 1 กุมภาพันธ์ ถึง 31 มีนาคม 2568 ทุนรัฐบาลไต้หวัน (ทุน MOE) ทุนสำหรับศึกษาต่อระดับปริญญาในไต้หวัน: จำนวนทุน:20 ทุน เงินสนับสนุน:… ทุนICCRของอินเดีย 2025-26 InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศMarch 24, 2025 สภาวัฒนธรรมแห่งอินเดียได้เปิดรับสมัครทุนการศึกษา ระดับปริญญาตรี โท เอก Indian Council for Cultural Relations (ICCR) ประจำปีการศึกษา 2025-2026 เปิดรับใบสมัครตั้งแต่วันที่ 20 กุมภาพันธ์ จนถึงวันที่ 30 เมษายน… ทุนการศึกษามูลนิธิศึกษาวิจัยและพัฒนาเพื่อสังคมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปี 2568 EZ WebmasterMarch 22, 2025 ทุนการศึกษามูลนิธิศึกษาวิจัยฯ ประจำปี 2568 ++ ประกาศเปิดรับสมัครแล้วตั้งแต่วันนี้ ++ โดยทุนการศึกษามูลนิธิศึกษาวิจัยและพัฒนาเพื่อสังคมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปี 2568 เปิดรับสมัครจำนวน 2 รอบ โดยมีรายละเอียดดังนี้ – ทุนรอบที่ 1 รับสมัครในวันที่ 1 มกราคม… ครู-อาจารย์ โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “ดร.ชุมพล พรประภา” เป็นนายกสภา ม.ศรีนครินทรวิโรฒ tui sakrapeeMarch 26, 2025 ราชกิจจานุเบกษาเผยแพร่ ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “ชุมพล พรประภา” ดำรงตำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ แทนวิจิตร ศรีสอ้าน ที่ถึงแก่อนิจกรรม ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 142 ตอนพิเศษ 147 ง เมื่อวันที่ 25… สอศ. ปั้นผู้อำนวยการอาชีวะยุคใหม่! เสริมภาวะผู้นำ-วิสัยทัศน์ ทันโลกการศึกษา EZ WebmasterMarch 26, 2025 วันที่ 26 มีนาคม 2568 นายยศพล เวณุโกเศศ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (เลขาธิการ กอศ.) เป็นประธานเปิดโครงการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และบรรยายพิเศษ “Growth Mindset: แนวคิดเชิงบวกและการเติบโตขององค์กร” โดยนางธิติมา โรจน์วัชราภิบาล ผู้อำนวยการ… ไทย จ่อขยับอันดับการศึกษา หลังอัตราการรู้หนังสือของประชากร พุ่งสูง 98.83% จากการสำรวจอัตราการรู้หนังสือของประชากร EZ WebmasterMarch 26, 2025 เมื่อวันที่ 26 มีนาคม ที่สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (สกศ.) นายประวิต เอราวรรณ์ เลขาธิการสภาการศึกษา กล่าวในงานแถลงผลการสำรวจการรู้หนังสือของประชากรไทย ปี 2568 โดยมี นายธนากร ดอนเหนือ อธิบดีกรมส่งเสริมการเรียนรู้ (สกร.) เข้าร่วม นายประวิต… โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง รองศาสตราจารย์ ดร.ประยุกต์ ศรีวิไล เป็นอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาสารคาม EZ WebmasterMarch 26, 2025 เมื่อวันที่ 25 มกราคม เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา เผยแพร่ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ความว่า ตามที่ได้มีพระราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้ง นายประยุกต์ ศรีวิไล ให้ดำรงตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ตั้งแต่วันที่ 9 พฤศจิกายน 2562 ตามประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ลงวันที่ 13… กิจกรรม พิธีเปิดกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) ภายใต้โครงการพัฒนามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมผ้าไทยสู่สากล ประจำปี ๒๕๖๘ EZ WebmasterMarch 26, 2025 นางสาวลิปิการ์ กำลังชัย รองธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรม รักษาราชการแทนอธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรมเป็นประธานพิธิเปิด และร่วมรับฟังการบรรยายกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) พร้อมด้วยนางสาวศิวพร ฉันทไกรวัฒน์ ผู้อำนวยการกลุ่มเผยแพร่และต่อยอดมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมเข้าร่วมงาน โดยวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญด้านผ้าไทย การออกแบบและแฟชั่น อาทิ ผศ.ดร.รวิเทพ มุสิกะปาน ผศ.ดร.วุฒิไกร… เปิดรับอาสาสมัครศิริราช รอบทำกิจกรรม เดือน พ.ค.-ก.ค. 68 ทุกกิจกรรมมีใบรับรองการทำกิจกรรม EZ WebmasterMarch 26, 2025 ตารางการรับอาสาสมัครรอบทำกิจกรรม เดือน พฤษภาคม – กรกฏาคม 68 (กิจกรรมที่อยู่ในเว็บไซต์ตอนนี้เป็นรอบเก่ามีผู้เข้าร่วมเต็มทั้งหมดแล้วค่ะ รอบใหม่จะเปิดตามวันเวลาที่แจ้งด้านล่างนี้เท่านั้น*) ขอให้อาสาเป็นผู้สมัครและกดเลือกกิจกรรมด้วยตนเองนะคะ – 31 ก.ค. 68 **เนื่องจากวันที่ 5 พ.ค. เป็นวันหยุด จะขอเริ่มตั้งแต่วันที่วันที่ 6 พ.ค.… เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน รับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน EZ WebmasterMarch 24, 2025 เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน เกม Let’s School เกมแนวบริหารโรงเรียนในฝัน ที่จะให้เรารับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน อยากให้โรงเรียนเป็นแบบไหนก็ปรับเล่นได้เลย ดูอารมณ์นักเรียกได้ด้วยว่ามีความสุขมั้ย? แถมตอนนี้ยังมีอัปเดตแมพใหม่พร้อมซัพไทยด้วยนะ Let’s School โหลดเล่นได้ที่ Steam :… คอร์สฟรี! จาก ม.บูรพา “วางแผนธุรกิจ รู้เรื่องภาษี” เรียนจบรับใบเซอร์! EZ WebmasterMarch 24, 2025 คอร์สฟรี! จาก ม.บูรพา “วางแผนธุรกิจ รู้เรื่องภาษี” เรียนจบรับใบเซอร์! อยากเริ่มต้นธุรกิจให้ปัง หรือขยายกิจการให้โต? มาเพิ่มความรู้ด้านการวางแผนธุรกิจและภาษีกับ คอร์สเรียนออนไลน์ฟรี จากมหาวิทยาลัยบูรพา! 7 บทเรียนจัดเต็ม : การเขียนแผนธุรกิจอย่างมืออาชีพ การตั้งเป้าหมาย และวิเคราะห์ตลาด วางแผนการเงิน… Search for: Search EZ Webmaster July 14, 2022 EZ Webmaster July 14, 2022 วันเข้าพรรษามีที่มาอย่างไร? และเกี่ยวข้องอะไรกับกิจกรรมถวายเทียนพรรษา วันเข้าพรรษามีที่มาอย่างไร? และเกี่ยวข้องอะไรกับกิจกรรมถวายเทียนพรรษา วันที่ 14 กรกฎาคม ประจำปี 2565 นับเป็นวันหยุดสำคัญทางศาสนาคือ วันเข้าพรรษา แล้ววันเข้าพรรษานี้มีที่มาอย่างไร เกี่ยวข้องอย่างไรกับกิจกรรมถวายเทียนพรรษา วันเข้าพรรษา เป็นวันสำคัญทางพุทธศาสนา เป็นพิธีที่พระสงฆ์เถรวาทจะพักอยู่ที่ใดที่หนึ่ง โดยไม่ไปค้างแรมที่อื่นตลอดฤดูฝน ซึ่งเป็นระยะเวลาประมาณ 3 เดือน โดยเริ่มตั้งแต่ แรม 1 ค่ำ เดือน 8 ถึงวันขึ้น 15 ค่ำเดือน 11 ซึ่งในปีนี้เข้าพรรษา แรม 1 ค่ำ เดือน 8 จึงตรงกับวันที่ 14 กรกฎาคม 2565 และวันออกพรรษา 15 ค่ำเดือน 11 จึงตรงกับวันที่ 10 ตุลาคม 2565 พิธีเข้าพรรษานี้ ถือเป็นพิธีบังคับที่พระสงฆ์ทุกรูปจะต้องปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด โดยจะสามารถยกเว้นได้บางกรณี วันเข้าพรรษากำเนิดมาตั้งแต่สมัยพระพุทธกาล ตั้งแต่ครั้งสมัยที่พระพุทธเจ้าประทับอยู่ที่วัดเวฬุวัน เมืองราชคฤห์ เมื่อถึงฤดูฝนพระสงฆ์ที่จำนวนกว่า 1,500 รูป ที่ยวจาริกไปตามที่สถานที่ต่าง ๆ จนถูกชาวบ้านพากันติเตียนเนื่องจากไปย้ำข้าวในนาเสียหาย เมื่อได้ยินดังนั้นพระพุทธเจ้าก็รับสั่งให้ประชุมสงฆ์และได้ทรงอนุญาตให้พระสงฆ์จำพรรษาอยู่ในที่แห่งเดียวตลอดระยะเวลา 3 เดือนเพื่อจุดประสงค์หลักคือป้องกันไม่ให้เกิดความเสียหายต่อพืชพันธ์ที่ชาวบ้านปลูก และยังให้พระสงฆ์ได้หยุดพักจากการจาริกเผยแผ่ศาสนายังสถานที่ต่าง ๆ อีกทั้งหน้าฝนยังเป็นฤดูกาลที่ยากต่อการเดินทาง ซึ่งในช่วงเวลาจำพรรษตลอด 3 เดือนนั้น ก็ถือเป็นช่วงเวลาและโอกาสที่พระสงฆ์จะได้มาอยู่ร่วมตัวกันเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์และแบ่งปันความรู้ในคณะสงฆ์ด้วยกันเอง ในทางเดียวกันพุทธศาสนิชกก็ได้โอกาสในการเข้าวัดทำบุญตักบาตร ฟังพระธรรมเทศนา รวมไปถึงเกิดเป็นประเพณีสำคัญถวายเทียนพรรษา ผ้าอาบน้ำฝน (ผ้าวัสสิกสาฏก) และหลอดไฟก็ถวายเพื่อให้พระสงฆ์ได้ใช้ตลอดการอยู่จำพรรษา โดยมีที่มาดังนี้ ประเพณีสำคัญขึ้นในวันเข้าพรรษามี 2 ประเพณีคือ 1. ประเพณีถวายผ้าอาบน้ำฝน เชื่อกันว่า ในสมัยพุทธกาล นางวิสาขา มหาอุบาสิกาต้องการจะนิมนต์พระภิกษุไปฉันภัตตาหารที่บ้าน จึงให้หญิงรับใช้ไปพระวิหารเชตวันเพื่อนิมนต์พระ ปรากฏว่านางไปเห็นพระภิกษุเปลือยกายอาบน้ำฝนอยู่ ก็กลับมารายงานด้วยความเข้าใจผิดว่าไม่พบพระ เห็นแต่พวกชีเปลือย นางวิสาขาก็รู้ด้วยปัญญาว่าคงเป็นพระอาบน้ำฝนอยู่ ดังนั้น นางจึงได้ทูลขอพรจากพระพุทธเจ้า ขอถวายผ้าอาบน้ำฝนแด่พระภิกษุและภิกษุณีเป็นประจำแต่นั้นมา จึงเกิดเป็นประเพณีที่ชาวพุทธปฏิบัติสืบต่อมาจนทุกวันนี้ และกล่าวกันว่า ผู้ที่ถวายผ้าอาบน้ำฝนจะได้รับอานิสงส์เหมือนการถวายผ้าอื่น ๆ ตามนัยที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ คือ ทำให้เป็นผู้มีผิวพรรณผ่องใส สวยงาม ไม่มีโรคภัยไข้เจ็บ มีความสะอาดผ่องใสทั้งกายและใจ 2. ส่วนประเพณีแห่เทียนพรรษา เกิดจากความจำเป็นที่ว่าสมัยก่อนยังไม่มีไฟฟ้าใช้เช่นปัจจุบัน ดังนั้น เมื่อพระภิกษุอยู่รวมกันมากๆเพื่อปฏิบัติกิจวัตร เช่น การสวดมนต์ตอนเช้ามืดและพลบค่ำ การศึกษาพระปริยัติธรรม การบูชาพระรัตนตรัย ฯลฯ จำเป็นต้องใช้แสงสว่างจากเทียน ดังนั้น ชาวบ้านจึงได้ร่วมกันนำเทียนมาถวาย ซึ่งช่วงต้นก็คงจะถวายเป็นเทียนเล็กๆธรรมดา ครั้นต่อมาก็ได้มีการมัดเทียนเล็กๆมารวมกันเป็นต้น คล้ายต้นกล้วยหรือลำไม้ไผ่ แล้วติดกับฐาน ที่เรียกกันว่า ต้นเทียน หรือ ต้นเทียนพรรษา และก็วิวัฒนาการมาเรื่อยๆจนเป็นเทียนพรรษาอย่างที่เราเห็นกันอยู่ในปัจจุบัน ว่ากันว่า เทียนพรรษา เริ่มมาจากผู้ที่นับถือศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ซึ่งนับถือวัว ที่เป็นพาหนะของพระอิศวร เมื่อวัวตาย ก็จะเอาไขจากวัวมาทำเป็นน้ำมันเพื่อจุดบูชาพระเป็นเจ้าที่ตนเคารพ แต่ชาวพุทธจะทำเทียนเพื่อบูชาพระรัตนตรัย โดยเอามาจากรังผึ้งร้าง ต้มเอาขี้ผึ้งมาฟั่นเป็นเทียนเล็กๆเพื่อจุดบูชาพระ และได้ยึดเป็นประเพณีที่จะนำเทียนไปถวายพระภิกษุในช่วงเข้าพรรรษา เพื่อปรารถนาให้ตนเองมีสติปัญญาเฉลียวฉลาดดุจดังแสงสว่างของดวงเทียน นอกจากนี้ในอดีต พุทธศาสนิกชนผู้ชายที่มีอายุครบบวช (20 ปี) จะนิยมถือบรรพชาอุปสมบทเป็นพระสงฆ์เพื่ออยู่จำพรรษาตลอดทั้ง 3 เดือน โดยพุทธศาสนิกชนชาวไทยจะเรียกการบรรพชาอุปสมบทเพื่อจำพรรษาตลอดพรรษากาลว่า บวชเอาพรรษา อานิสงส์แห่งการจำพรรษา เมื่อพระภิกษุอยู่จำพรรษาครบ 3 เดือนจะได้รับอานิสงส์แห่งการจำพรรษา 5 อย่าง ตลอด 1 เดือนนับแต่วันออกพรรษาเป็นต้นไป คือ เที่ยวจาริกไปโดยไม่ต้องบอกลา ตามสิกขาบทที่ ๖ แห่งอเจลกวรรค ปาจิตตีย์กัณฑ์ เที่ยวจาริกไปโดยไม่ต้องถือไตรจีวรไปครบสำรับ ฉันคณะโภชน์และปรัมปรโภชน์ได้ เก็บอติเรกจีวรได้ตามปรารถนา จีวรอันเกิดขึ้นในที่นั้นเป็นของพวกเธอ และยังได้โอกาสเพื่อที่จะกราลกฐิน และได้รับอานิสงส์พรรษาทั้ง 5 ขึ้นนั้นเพิ่มออกไปอีก 4 เดือน ในฤดูหนาว คือตั้งแต่แรม 1 ค่ำ เดือน 12 ไปจนถึงขึ้น 15 ค่ำ เดือน 4 อีกด้วย ประเภทของการเข้าพรรษาของพระสงฆ์ แบ่งเป็น 2 ประเภท ปุริมพรรษา คือ การเข้าพรรษาแรก การเข้าพรรษาแรก เริ่มตั้งแต่วันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 (สำหรับปีอธิกมาส คือ มีเดือน 8 สองหน จะเริ่มในวันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 หลัง) จนถึงวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 หลังจากออกพรรษาแล้ว พระที่อยู่จำพรรษาครบ 3 เดือน ก็มีสิทธิที่จะรับกฐินซึ่งมีช่วงเวลาเพียงหนึ่งเดือน นับตั้งแต่วันแรม 1 ค่ำ เดือน 11 ถึงขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 ปัจฉิมพรรษา คือ การเข้าพรรษาหลัง การเข้าพรรษาหลัง ใช้ในกรณีที่พระภิกษุต้องเดินทางไกลหรือมีเหตุสุดวิสัย ทำให้กลับมาเข้าพรรษาแรกในวันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 ไม่ทัน ต้องรอไปเข้าพรรษาหลัง คือวันแรม 1 ค่ำ เดือน 9 แล้วจะไปออกพรรษาในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 ซึ่งเป็นวันหมดเขตทอดกฐินพอดี ดังนั้นพระภิกษุที่เข้าปัจฉิมพรรษาจึงไม่มีโอกาสได้รับกฐิน แต่ก็ได้พรรษาเช่นเดียวกับพระที่เข้าปุริมพรรษาเหมือนกัน ในประเทศไทย พระภิกษุส่วนใหญ่จะจำพรรษาในช่วงปุริมพรรษาหรือพรรษาแรกมากกว่าปัจฉิมพรรษาหรือพรรษาหลัง ยกเว้นพระภิกษุที่อาพาธ(ป่วย)หรือมีกิจจำเป็นจึงจะอธิษฐานจำพรรษาในช่วงปัจฉิมพรรษา ส่วนการที่มีเดือนแปดสองหน หรือปีอธิกมาส ก็เพราะเป็นการนับทางจันทรคติ(วันขึ้น วันแรม)ซึ่งแต่ละปีจะมีจำนวนวันน้อยกว่าการนับทางสุริยคติ(การนับวันตามแบบปัจจุบัน) ทำให้ต้องเพิ่มเดือนในบางปีเพื่อชดเชยจำนวนวันที่หายไป มิให้ปีทางจันทรคติและสุริยคติคลาดเคลื่อนกันไปมากความเป็นมาของวันเข้าพรรษาเกิดขึ้น จุดประสงค์ของการเข้าพรรษา ลดความเสียหายที่พระสงฆ์จะไปเหยียบย้ำพืชที่ชาวบ้านปลูกในฤดูฝนระหว่างการธุดงค์ พระสงฆ์ได้พักผ่อนหลังจากเดินทางจาริกไปเผยแผ่พระพุทธศาสนามาเป็นเวลา 8 – 9 เดือน ชพระภิกษุสงฆ์จะได้ประพฤติปฏิบัติธรรมสำหรับตนเอง และศึกษาเล่าเรียนพระธรรมวินัยตลอดจนเตรียมการสั่งสอนให้กับประชาชนเมื่อถึงวันออกพรรษา ได้ใช้เวลาสอบรมสั่งสอนและบวชให้กับกุลบุตรผู้มีอายุครบบวช อันเป็นกำลังสำคัญในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาต่อไป พุทธศาสนิกชน ได้มีโอกาสบำเพ็ญกุศลเป็นการพิเศษ เช่น การทำบุญตักบาตร หล่อเทียนพรรษา ถวายผ้าอาบน้ำฝน รักษาศีล เจริญภาวนา ถวายจตุปัจจัยไทยธรรม งดเว้นอบายมุข และมีโอกาสได้ฟังพระธรรมเทศนาตลอดเวลาเข้าพรรษา ข้อยกเว้นการจำพรรษาของพระสงฆ์ แม้การเข้าพรรษานี้ถือเป็นข้อปฏิบัติสำหรับพระภิกษุโดยตรง ที่จะละเว้นไม่ได้ ไม่ว่ากรณีใด ๆ ก็ตาม แต่ว่าในการจำพรรษาของพระสงฆ์ในระหว่างพรรษานั้น อาจมีกรณีจำเป็นบางอย่าง ทำให้พระภิกษุผู้จำพรรษาต้องออกจากสถานที่จำพรรษาเพื่อไปค้างที่อื่น พระพุทธองค์ก็ทรงอนุญาตให้ทำได้โดยไม่ถือว่าเป็นการขาดพรรษาโดยมีเหตุจำเป็นเฉพาะกรณี ๆ ไป ตามที่ทรงระบุไว้ในพระไตรปิฎก ซึ่งส่วนใหญ่จะเกี่ยวกับการพระศาสนาหรือการอุปัฏฐานบิดามารดา แต่ทั้งนี้ก็จะต้องกลับมาภายในระยะเวลาไม่เกิน 7 วัน การออกนอกที่จำพรรษาล่วงวันเช่นนี้เรียกว่า “สัตตาหกรณียะ” ซึ่งเหตุที่ทรงระบุว่าจะออกจากที่จำพรรษาไปได้ชั่วคราวนั้นเช่น การไปรักษาพยาบาล หาอาหารให้ภิกษุหรือบิดามารดาที่เจ็บป่วย เป็นต้น กรณีนี้ทำได้กับสหธรรมิก 5 และมารดาบิดา การไประงับภิกษุสามเณรที่อยากจะสึกมิให้สึกได้ กรณีนี้ทำได้กับสหธรรมิก 5 การไปเพื่อกิจธุระของคณะสงฆ์ เช่น การไปหาอุปกรณ์มาซ่อมกุฏิที่ชำรุด หรือ การไปทำสังฆกรรม เช่น สวดญัตติจตุตถกรรมวาจาให้พระผู้ต้องการอยู่ปริวาส เป็นต้น หากทายกนิมนต์ไปทำบุญ ก็ไปให้ทายกได้ให้ทาน รับศีล ฟังเทสนาธรรมได้ กรณีนี้หากโยมไม่มานิมนต์ ก็จะไปค้างไม่ได้. ซึ่งหากพระสงฆ์ออกจากอาวาสแม้โดยสัตตาหกรณียะล่วงกำหนด 7 วันตามพระวินัย ก็ถือว่า ขาดพรรษา และเป็นอาบัติทุกกฎเพราะรับคำ (รับคำอธิษฐานเข้าพรรษาแต่ทำไม่ได้) ในกรณีที่พระสงฆ์สัตตาหกรณียะและกลับมาตามกำหนดแล้ว ไม่ถือว่าเป็นอาบัติ และสามารถกลับมาจำพรรษาต่อเนื่องไปได้ และหากมีเหตุจำเป็นที่จะต้องออกจากที่จำพรรษาไปได้ตามวินัยอีก ก็สามารถทำได้โดยสัตตาหกรณียะ แต่ต้องกลับมาภายในเจ็ดวัน เพื่อไม่ให้พรรษาขาดและไม่เป็นอาบัติทุกกฎดังกล่าวแล้ว แหล่งที่มา : sanook.com EZ Webmaster Related Posts โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “ดร.ชุมพล พรประภา” เป็นนายกสภา ม.ศรีนครินทรวิโรฒ มทร.ธัญบุรี เปิดกว้างทุกวัย เพื่อเรียนรู้ตลอดชีพ ธนาคารหน่วยกิต “40 หลักสูตร ป.ตรี” เด็กสาธิตสวนสุนันทาคว้ารางวัลศิลปะระดับโลก! สร้างชื่อเสียงให้ไทยบนเวทีนานาชาติ เปิดรับอาสาสมัครศิริราช รอบทำกิจกรรม เดือน พ.ค.-ก.ค. 68 ทุกกิจกรรมมีใบรับรองการทำกิจกรรม สอศ. ปั้นผู้อำนวยการอาชีวะยุคใหม่! เสริมภาวะผู้นำ-วิสัยทัศน์ ทันโลกการศึกษา Post navigation PREVIOUS Previous post: ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิเข้ารับการคัดเลือกบุคคลเพื่อบรรจุและแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สังกัด สพฐ. – 12 กรกฎาคม 2565NEXT Next post: เปิดรับสมัคร ครู อาจารย์ ทั่วประเทศ โครงการ “ทิพยสืบสาน รักษา ต่อยอด นวัตกรรมศาสตร์พระราชา ครั้งที่ ๑๙ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ทุนICCRของอินเดีย 2025-26 InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศMarch 24, 2025 สภาวัฒนธรรมแห่งอินเดียได้เปิดรับสมัครทุนการศึกษา ระดับปริญญาตรี โท เอก Indian Council for Cultural Relations (ICCR) ประจำปีการศึกษา 2025-2026 เปิดรับใบสมัครตั้งแต่วันที่ 20 กุมภาพันธ์ จนถึงวันที่ 30 เมษายน… ทุนการศึกษามูลนิธิศึกษาวิจัยและพัฒนาเพื่อสังคมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปี 2568 EZ WebmasterMarch 22, 2025 ทุนการศึกษามูลนิธิศึกษาวิจัยฯ ประจำปี 2568 ++ ประกาศเปิดรับสมัครแล้วตั้งแต่วันนี้ ++ โดยทุนการศึกษามูลนิธิศึกษาวิจัยและพัฒนาเพื่อสังคมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปี 2568 เปิดรับสมัครจำนวน 2 รอบ โดยมีรายละเอียดดังนี้ – ทุนรอบที่ 1 รับสมัครในวันที่ 1 มกราคม…
ทุนการศึกษามูลนิธิศึกษาวิจัยและพัฒนาเพื่อสังคมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปี 2568 EZ WebmasterMarch 22, 2025 ทุนการศึกษามูลนิธิศึกษาวิจัยฯ ประจำปี 2568 ++ ประกาศเปิดรับสมัครแล้วตั้งแต่วันนี้ ++ โดยทุนการศึกษามูลนิธิศึกษาวิจัยและพัฒนาเพื่อสังคมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปี 2568 เปิดรับสมัครจำนวน 2 รอบ โดยมีรายละเอียดดังนี้ – ทุนรอบที่ 1 รับสมัครในวันที่ 1 มกราคม…
โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “ดร.ชุมพล พรประภา” เป็นนายกสภา ม.ศรีนครินทรวิโรฒ tui sakrapeeMarch 26, 2025 ราชกิจจานุเบกษาเผยแพร่ ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “ชุมพล พรประภา” ดำรงตำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ แทนวิจิตร ศรีสอ้าน ที่ถึงแก่อนิจกรรม ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 142 ตอนพิเศษ 147 ง เมื่อวันที่ 25… สอศ. ปั้นผู้อำนวยการอาชีวะยุคใหม่! เสริมภาวะผู้นำ-วิสัยทัศน์ ทันโลกการศึกษา EZ WebmasterMarch 26, 2025 วันที่ 26 มีนาคม 2568 นายยศพล เวณุโกเศศ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (เลขาธิการ กอศ.) เป็นประธานเปิดโครงการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และบรรยายพิเศษ “Growth Mindset: แนวคิดเชิงบวกและการเติบโตขององค์กร” โดยนางธิติมา โรจน์วัชราภิบาล ผู้อำนวยการ… ไทย จ่อขยับอันดับการศึกษา หลังอัตราการรู้หนังสือของประชากร พุ่งสูง 98.83% จากการสำรวจอัตราการรู้หนังสือของประชากร EZ WebmasterMarch 26, 2025 เมื่อวันที่ 26 มีนาคม ที่สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (สกศ.) นายประวิต เอราวรรณ์ เลขาธิการสภาการศึกษา กล่าวในงานแถลงผลการสำรวจการรู้หนังสือของประชากรไทย ปี 2568 โดยมี นายธนากร ดอนเหนือ อธิบดีกรมส่งเสริมการเรียนรู้ (สกร.) เข้าร่วม นายประวิต… โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง รองศาสตราจารย์ ดร.ประยุกต์ ศรีวิไล เป็นอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาสารคาม EZ WebmasterMarch 26, 2025 เมื่อวันที่ 25 มกราคม เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา เผยแพร่ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ความว่า ตามที่ได้มีพระราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้ง นายประยุกต์ ศรีวิไล ให้ดำรงตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ตั้งแต่วันที่ 9 พฤศจิกายน 2562 ตามประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ลงวันที่ 13… กิจกรรม พิธีเปิดกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) ภายใต้โครงการพัฒนามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมผ้าไทยสู่สากล ประจำปี ๒๕๖๘ EZ WebmasterMarch 26, 2025 นางสาวลิปิการ์ กำลังชัย รองธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรม รักษาราชการแทนอธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรมเป็นประธานพิธิเปิด และร่วมรับฟังการบรรยายกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) พร้อมด้วยนางสาวศิวพร ฉันทไกรวัฒน์ ผู้อำนวยการกลุ่มเผยแพร่และต่อยอดมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมเข้าร่วมงาน โดยวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญด้านผ้าไทย การออกแบบและแฟชั่น อาทิ ผศ.ดร.รวิเทพ มุสิกะปาน ผศ.ดร.วุฒิไกร… เปิดรับอาสาสมัครศิริราช รอบทำกิจกรรม เดือน พ.ค.-ก.ค. 68 ทุกกิจกรรมมีใบรับรองการทำกิจกรรม EZ WebmasterMarch 26, 2025 ตารางการรับอาสาสมัครรอบทำกิจกรรม เดือน พฤษภาคม – กรกฏาคม 68 (กิจกรรมที่อยู่ในเว็บไซต์ตอนนี้เป็นรอบเก่ามีผู้เข้าร่วมเต็มทั้งหมดแล้วค่ะ รอบใหม่จะเปิดตามวันเวลาที่แจ้งด้านล่างนี้เท่านั้น*) ขอให้อาสาเป็นผู้สมัครและกดเลือกกิจกรรมด้วยตนเองนะคะ – 31 ก.ค. 68 **เนื่องจากวันที่ 5 พ.ค. เป็นวันหยุด จะขอเริ่มตั้งแต่วันที่วันที่ 6 พ.ค.… เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน รับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน EZ WebmasterMarch 24, 2025 เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน เกม Let’s School เกมแนวบริหารโรงเรียนในฝัน ที่จะให้เรารับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน อยากให้โรงเรียนเป็นแบบไหนก็ปรับเล่นได้เลย ดูอารมณ์นักเรียกได้ด้วยว่ามีความสุขมั้ย? แถมตอนนี้ยังมีอัปเดตแมพใหม่พร้อมซัพไทยด้วยนะ Let’s School โหลดเล่นได้ที่ Steam :… คอร์สฟรี! จาก ม.บูรพา “วางแผนธุรกิจ รู้เรื่องภาษี” เรียนจบรับใบเซอร์! EZ WebmasterMarch 24, 2025 คอร์สฟรี! จาก ม.บูรพา “วางแผนธุรกิจ รู้เรื่องภาษี” เรียนจบรับใบเซอร์! อยากเริ่มต้นธุรกิจให้ปัง หรือขยายกิจการให้โต? มาเพิ่มความรู้ด้านการวางแผนธุรกิจและภาษีกับ คอร์สเรียนออนไลน์ฟรี จากมหาวิทยาลัยบูรพา! 7 บทเรียนจัดเต็ม : การเขียนแผนธุรกิจอย่างมืออาชีพ การตั้งเป้าหมาย และวิเคราะห์ตลาด วางแผนการเงิน… Search for: Search EZ Webmaster July 14, 2022 EZ Webmaster July 14, 2022 วันเข้าพรรษามีที่มาอย่างไร? และเกี่ยวข้องอะไรกับกิจกรรมถวายเทียนพรรษา วันเข้าพรรษามีที่มาอย่างไร? และเกี่ยวข้องอะไรกับกิจกรรมถวายเทียนพรรษา วันที่ 14 กรกฎาคม ประจำปี 2565 นับเป็นวันหยุดสำคัญทางศาสนาคือ วันเข้าพรรษา แล้ววันเข้าพรรษานี้มีที่มาอย่างไร เกี่ยวข้องอย่างไรกับกิจกรรมถวายเทียนพรรษา วันเข้าพรรษา เป็นวันสำคัญทางพุทธศาสนา เป็นพิธีที่พระสงฆ์เถรวาทจะพักอยู่ที่ใดที่หนึ่ง โดยไม่ไปค้างแรมที่อื่นตลอดฤดูฝน ซึ่งเป็นระยะเวลาประมาณ 3 เดือน โดยเริ่มตั้งแต่ แรม 1 ค่ำ เดือน 8 ถึงวันขึ้น 15 ค่ำเดือน 11 ซึ่งในปีนี้เข้าพรรษา แรม 1 ค่ำ เดือน 8 จึงตรงกับวันที่ 14 กรกฎาคม 2565 และวันออกพรรษา 15 ค่ำเดือน 11 จึงตรงกับวันที่ 10 ตุลาคม 2565 พิธีเข้าพรรษานี้ ถือเป็นพิธีบังคับที่พระสงฆ์ทุกรูปจะต้องปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด โดยจะสามารถยกเว้นได้บางกรณี วันเข้าพรรษากำเนิดมาตั้งแต่สมัยพระพุทธกาล ตั้งแต่ครั้งสมัยที่พระพุทธเจ้าประทับอยู่ที่วัดเวฬุวัน เมืองราชคฤห์ เมื่อถึงฤดูฝนพระสงฆ์ที่จำนวนกว่า 1,500 รูป ที่ยวจาริกไปตามที่สถานที่ต่าง ๆ จนถูกชาวบ้านพากันติเตียนเนื่องจากไปย้ำข้าวในนาเสียหาย เมื่อได้ยินดังนั้นพระพุทธเจ้าก็รับสั่งให้ประชุมสงฆ์และได้ทรงอนุญาตให้พระสงฆ์จำพรรษาอยู่ในที่แห่งเดียวตลอดระยะเวลา 3 เดือนเพื่อจุดประสงค์หลักคือป้องกันไม่ให้เกิดความเสียหายต่อพืชพันธ์ที่ชาวบ้านปลูก และยังให้พระสงฆ์ได้หยุดพักจากการจาริกเผยแผ่ศาสนายังสถานที่ต่าง ๆ อีกทั้งหน้าฝนยังเป็นฤดูกาลที่ยากต่อการเดินทาง ซึ่งในช่วงเวลาจำพรรษตลอด 3 เดือนนั้น ก็ถือเป็นช่วงเวลาและโอกาสที่พระสงฆ์จะได้มาอยู่ร่วมตัวกันเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์และแบ่งปันความรู้ในคณะสงฆ์ด้วยกันเอง ในทางเดียวกันพุทธศาสนิชกก็ได้โอกาสในการเข้าวัดทำบุญตักบาตร ฟังพระธรรมเทศนา รวมไปถึงเกิดเป็นประเพณีสำคัญถวายเทียนพรรษา ผ้าอาบน้ำฝน (ผ้าวัสสิกสาฏก) และหลอดไฟก็ถวายเพื่อให้พระสงฆ์ได้ใช้ตลอดการอยู่จำพรรษา โดยมีที่มาดังนี้ ประเพณีสำคัญขึ้นในวันเข้าพรรษามี 2 ประเพณีคือ 1. ประเพณีถวายผ้าอาบน้ำฝน เชื่อกันว่า ในสมัยพุทธกาล นางวิสาขา มหาอุบาสิกาต้องการจะนิมนต์พระภิกษุไปฉันภัตตาหารที่บ้าน จึงให้หญิงรับใช้ไปพระวิหารเชตวันเพื่อนิมนต์พระ ปรากฏว่านางไปเห็นพระภิกษุเปลือยกายอาบน้ำฝนอยู่ ก็กลับมารายงานด้วยความเข้าใจผิดว่าไม่พบพระ เห็นแต่พวกชีเปลือย นางวิสาขาก็รู้ด้วยปัญญาว่าคงเป็นพระอาบน้ำฝนอยู่ ดังนั้น นางจึงได้ทูลขอพรจากพระพุทธเจ้า ขอถวายผ้าอาบน้ำฝนแด่พระภิกษุและภิกษุณีเป็นประจำแต่นั้นมา จึงเกิดเป็นประเพณีที่ชาวพุทธปฏิบัติสืบต่อมาจนทุกวันนี้ และกล่าวกันว่า ผู้ที่ถวายผ้าอาบน้ำฝนจะได้รับอานิสงส์เหมือนการถวายผ้าอื่น ๆ ตามนัยที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ คือ ทำให้เป็นผู้มีผิวพรรณผ่องใส สวยงาม ไม่มีโรคภัยไข้เจ็บ มีความสะอาดผ่องใสทั้งกายและใจ 2. ส่วนประเพณีแห่เทียนพรรษา เกิดจากความจำเป็นที่ว่าสมัยก่อนยังไม่มีไฟฟ้าใช้เช่นปัจจุบัน ดังนั้น เมื่อพระภิกษุอยู่รวมกันมากๆเพื่อปฏิบัติกิจวัตร เช่น การสวดมนต์ตอนเช้ามืดและพลบค่ำ การศึกษาพระปริยัติธรรม การบูชาพระรัตนตรัย ฯลฯ จำเป็นต้องใช้แสงสว่างจากเทียน ดังนั้น ชาวบ้านจึงได้ร่วมกันนำเทียนมาถวาย ซึ่งช่วงต้นก็คงจะถวายเป็นเทียนเล็กๆธรรมดา ครั้นต่อมาก็ได้มีการมัดเทียนเล็กๆมารวมกันเป็นต้น คล้ายต้นกล้วยหรือลำไม้ไผ่ แล้วติดกับฐาน ที่เรียกกันว่า ต้นเทียน หรือ ต้นเทียนพรรษา และก็วิวัฒนาการมาเรื่อยๆจนเป็นเทียนพรรษาอย่างที่เราเห็นกันอยู่ในปัจจุบัน ว่ากันว่า เทียนพรรษา เริ่มมาจากผู้ที่นับถือศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ซึ่งนับถือวัว ที่เป็นพาหนะของพระอิศวร เมื่อวัวตาย ก็จะเอาไขจากวัวมาทำเป็นน้ำมันเพื่อจุดบูชาพระเป็นเจ้าที่ตนเคารพ แต่ชาวพุทธจะทำเทียนเพื่อบูชาพระรัตนตรัย โดยเอามาจากรังผึ้งร้าง ต้มเอาขี้ผึ้งมาฟั่นเป็นเทียนเล็กๆเพื่อจุดบูชาพระ และได้ยึดเป็นประเพณีที่จะนำเทียนไปถวายพระภิกษุในช่วงเข้าพรรรษา เพื่อปรารถนาให้ตนเองมีสติปัญญาเฉลียวฉลาดดุจดังแสงสว่างของดวงเทียน นอกจากนี้ในอดีต พุทธศาสนิกชนผู้ชายที่มีอายุครบบวช (20 ปี) จะนิยมถือบรรพชาอุปสมบทเป็นพระสงฆ์เพื่ออยู่จำพรรษาตลอดทั้ง 3 เดือน โดยพุทธศาสนิกชนชาวไทยจะเรียกการบรรพชาอุปสมบทเพื่อจำพรรษาตลอดพรรษากาลว่า บวชเอาพรรษา อานิสงส์แห่งการจำพรรษา เมื่อพระภิกษุอยู่จำพรรษาครบ 3 เดือนจะได้รับอานิสงส์แห่งการจำพรรษา 5 อย่าง ตลอด 1 เดือนนับแต่วันออกพรรษาเป็นต้นไป คือ เที่ยวจาริกไปโดยไม่ต้องบอกลา ตามสิกขาบทที่ ๖ แห่งอเจลกวรรค ปาจิตตีย์กัณฑ์ เที่ยวจาริกไปโดยไม่ต้องถือไตรจีวรไปครบสำรับ ฉันคณะโภชน์และปรัมปรโภชน์ได้ เก็บอติเรกจีวรได้ตามปรารถนา จีวรอันเกิดขึ้นในที่นั้นเป็นของพวกเธอ และยังได้โอกาสเพื่อที่จะกราลกฐิน และได้รับอานิสงส์พรรษาทั้ง 5 ขึ้นนั้นเพิ่มออกไปอีก 4 เดือน ในฤดูหนาว คือตั้งแต่แรม 1 ค่ำ เดือน 12 ไปจนถึงขึ้น 15 ค่ำ เดือน 4 อีกด้วย ประเภทของการเข้าพรรษาของพระสงฆ์ แบ่งเป็น 2 ประเภท ปุริมพรรษา คือ การเข้าพรรษาแรก การเข้าพรรษาแรก เริ่มตั้งแต่วันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 (สำหรับปีอธิกมาส คือ มีเดือน 8 สองหน จะเริ่มในวันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 หลัง) จนถึงวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 หลังจากออกพรรษาแล้ว พระที่อยู่จำพรรษาครบ 3 เดือน ก็มีสิทธิที่จะรับกฐินซึ่งมีช่วงเวลาเพียงหนึ่งเดือน นับตั้งแต่วันแรม 1 ค่ำ เดือน 11 ถึงขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 ปัจฉิมพรรษา คือ การเข้าพรรษาหลัง การเข้าพรรษาหลัง ใช้ในกรณีที่พระภิกษุต้องเดินทางไกลหรือมีเหตุสุดวิสัย ทำให้กลับมาเข้าพรรษาแรกในวันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 ไม่ทัน ต้องรอไปเข้าพรรษาหลัง คือวันแรม 1 ค่ำ เดือน 9 แล้วจะไปออกพรรษาในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 ซึ่งเป็นวันหมดเขตทอดกฐินพอดี ดังนั้นพระภิกษุที่เข้าปัจฉิมพรรษาจึงไม่มีโอกาสได้รับกฐิน แต่ก็ได้พรรษาเช่นเดียวกับพระที่เข้าปุริมพรรษาเหมือนกัน ในประเทศไทย พระภิกษุส่วนใหญ่จะจำพรรษาในช่วงปุริมพรรษาหรือพรรษาแรกมากกว่าปัจฉิมพรรษาหรือพรรษาหลัง ยกเว้นพระภิกษุที่อาพาธ(ป่วย)หรือมีกิจจำเป็นจึงจะอธิษฐานจำพรรษาในช่วงปัจฉิมพรรษา ส่วนการที่มีเดือนแปดสองหน หรือปีอธิกมาส ก็เพราะเป็นการนับทางจันทรคติ(วันขึ้น วันแรม)ซึ่งแต่ละปีจะมีจำนวนวันน้อยกว่าการนับทางสุริยคติ(การนับวันตามแบบปัจจุบัน) ทำให้ต้องเพิ่มเดือนในบางปีเพื่อชดเชยจำนวนวันที่หายไป มิให้ปีทางจันทรคติและสุริยคติคลาดเคลื่อนกันไปมากความเป็นมาของวันเข้าพรรษาเกิดขึ้น จุดประสงค์ของการเข้าพรรษา ลดความเสียหายที่พระสงฆ์จะไปเหยียบย้ำพืชที่ชาวบ้านปลูกในฤดูฝนระหว่างการธุดงค์ พระสงฆ์ได้พักผ่อนหลังจากเดินทางจาริกไปเผยแผ่พระพุทธศาสนามาเป็นเวลา 8 – 9 เดือน ชพระภิกษุสงฆ์จะได้ประพฤติปฏิบัติธรรมสำหรับตนเอง และศึกษาเล่าเรียนพระธรรมวินัยตลอดจนเตรียมการสั่งสอนให้กับประชาชนเมื่อถึงวันออกพรรษา ได้ใช้เวลาสอบรมสั่งสอนและบวชให้กับกุลบุตรผู้มีอายุครบบวช อันเป็นกำลังสำคัญในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาต่อไป พุทธศาสนิกชน ได้มีโอกาสบำเพ็ญกุศลเป็นการพิเศษ เช่น การทำบุญตักบาตร หล่อเทียนพรรษา ถวายผ้าอาบน้ำฝน รักษาศีล เจริญภาวนา ถวายจตุปัจจัยไทยธรรม งดเว้นอบายมุข และมีโอกาสได้ฟังพระธรรมเทศนาตลอดเวลาเข้าพรรษา ข้อยกเว้นการจำพรรษาของพระสงฆ์ แม้การเข้าพรรษานี้ถือเป็นข้อปฏิบัติสำหรับพระภิกษุโดยตรง ที่จะละเว้นไม่ได้ ไม่ว่ากรณีใด ๆ ก็ตาม แต่ว่าในการจำพรรษาของพระสงฆ์ในระหว่างพรรษานั้น อาจมีกรณีจำเป็นบางอย่าง ทำให้พระภิกษุผู้จำพรรษาต้องออกจากสถานที่จำพรรษาเพื่อไปค้างที่อื่น พระพุทธองค์ก็ทรงอนุญาตให้ทำได้โดยไม่ถือว่าเป็นการขาดพรรษาโดยมีเหตุจำเป็นเฉพาะกรณี ๆ ไป ตามที่ทรงระบุไว้ในพระไตรปิฎก ซึ่งส่วนใหญ่จะเกี่ยวกับการพระศาสนาหรือการอุปัฏฐานบิดามารดา แต่ทั้งนี้ก็จะต้องกลับมาภายในระยะเวลาไม่เกิน 7 วัน การออกนอกที่จำพรรษาล่วงวันเช่นนี้เรียกว่า “สัตตาหกรณียะ” ซึ่งเหตุที่ทรงระบุว่าจะออกจากที่จำพรรษาไปได้ชั่วคราวนั้นเช่น การไปรักษาพยาบาล หาอาหารให้ภิกษุหรือบิดามารดาที่เจ็บป่วย เป็นต้น กรณีนี้ทำได้กับสหธรรมิก 5 และมารดาบิดา การไประงับภิกษุสามเณรที่อยากจะสึกมิให้สึกได้ กรณีนี้ทำได้กับสหธรรมิก 5 การไปเพื่อกิจธุระของคณะสงฆ์ เช่น การไปหาอุปกรณ์มาซ่อมกุฏิที่ชำรุด หรือ การไปทำสังฆกรรม เช่น สวดญัตติจตุตถกรรมวาจาให้พระผู้ต้องการอยู่ปริวาส เป็นต้น หากทายกนิมนต์ไปทำบุญ ก็ไปให้ทายกได้ให้ทาน รับศีล ฟังเทสนาธรรมได้ กรณีนี้หากโยมไม่มานิมนต์ ก็จะไปค้างไม่ได้. ซึ่งหากพระสงฆ์ออกจากอาวาสแม้โดยสัตตาหกรณียะล่วงกำหนด 7 วันตามพระวินัย ก็ถือว่า ขาดพรรษา และเป็นอาบัติทุกกฎเพราะรับคำ (รับคำอธิษฐานเข้าพรรษาแต่ทำไม่ได้) ในกรณีที่พระสงฆ์สัตตาหกรณียะและกลับมาตามกำหนดแล้ว ไม่ถือว่าเป็นอาบัติ และสามารถกลับมาจำพรรษาต่อเนื่องไปได้ และหากมีเหตุจำเป็นที่จะต้องออกจากที่จำพรรษาไปได้ตามวินัยอีก ก็สามารถทำได้โดยสัตตาหกรณียะ แต่ต้องกลับมาภายในเจ็ดวัน เพื่อไม่ให้พรรษาขาดและไม่เป็นอาบัติทุกกฎดังกล่าวแล้ว แหล่งที่มา : sanook.com EZ Webmaster Related Posts โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “ดร.ชุมพล พรประภา” เป็นนายกสภา ม.ศรีนครินทรวิโรฒ มทร.ธัญบุรี เปิดกว้างทุกวัย เพื่อเรียนรู้ตลอดชีพ ธนาคารหน่วยกิต “40 หลักสูตร ป.ตรี” เด็กสาธิตสวนสุนันทาคว้ารางวัลศิลปะระดับโลก! สร้างชื่อเสียงให้ไทยบนเวทีนานาชาติ เปิดรับอาสาสมัครศิริราช รอบทำกิจกรรม เดือน พ.ค.-ก.ค. 68 ทุกกิจกรรมมีใบรับรองการทำกิจกรรม สอศ. ปั้นผู้อำนวยการอาชีวะยุคใหม่! เสริมภาวะผู้นำ-วิสัยทัศน์ ทันโลกการศึกษา Post navigation PREVIOUS Previous post: ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิเข้ารับการคัดเลือกบุคคลเพื่อบรรจุและแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สังกัด สพฐ. – 12 กรกฎาคม 2565NEXT Next post: เปิดรับสมัคร ครู อาจารย์ ทั่วประเทศ โครงการ “ทิพยสืบสาน รักษา ต่อยอด นวัตกรรมศาสตร์พระราชา ครั้งที่ ๑๙ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
สอศ. ปั้นผู้อำนวยการอาชีวะยุคใหม่! เสริมภาวะผู้นำ-วิสัยทัศน์ ทันโลกการศึกษา EZ WebmasterMarch 26, 2025 วันที่ 26 มีนาคม 2568 นายยศพล เวณุโกเศศ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (เลขาธิการ กอศ.) เป็นประธานเปิดโครงการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และบรรยายพิเศษ “Growth Mindset: แนวคิดเชิงบวกและการเติบโตขององค์กร” โดยนางธิติมา โรจน์วัชราภิบาล ผู้อำนวยการ… ไทย จ่อขยับอันดับการศึกษา หลังอัตราการรู้หนังสือของประชากร พุ่งสูง 98.83% จากการสำรวจอัตราการรู้หนังสือของประชากร EZ WebmasterMarch 26, 2025 เมื่อวันที่ 26 มีนาคม ที่สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (สกศ.) นายประวิต เอราวรรณ์ เลขาธิการสภาการศึกษา กล่าวในงานแถลงผลการสำรวจการรู้หนังสือของประชากรไทย ปี 2568 โดยมี นายธนากร ดอนเหนือ อธิบดีกรมส่งเสริมการเรียนรู้ (สกร.) เข้าร่วม นายประวิต… โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง รองศาสตราจารย์ ดร.ประยุกต์ ศรีวิไล เป็นอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาสารคาม EZ WebmasterMarch 26, 2025 เมื่อวันที่ 25 มกราคม เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา เผยแพร่ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ความว่า ตามที่ได้มีพระราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้ง นายประยุกต์ ศรีวิไล ให้ดำรงตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ตั้งแต่วันที่ 9 พฤศจิกายน 2562 ตามประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ลงวันที่ 13… กิจกรรม พิธีเปิดกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) ภายใต้โครงการพัฒนามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมผ้าไทยสู่สากล ประจำปี ๒๕๖๘ EZ WebmasterMarch 26, 2025 นางสาวลิปิการ์ กำลังชัย รองธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรม รักษาราชการแทนอธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรมเป็นประธานพิธิเปิด และร่วมรับฟังการบรรยายกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) พร้อมด้วยนางสาวศิวพร ฉันทไกรวัฒน์ ผู้อำนวยการกลุ่มเผยแพร่และต่อยอดมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมเข้าร่วมงาน โดยวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญด้านผ้าไทย การออกแบบและแฟชั่น อาทิ ผศ.ดร.รวิเทพ มุสิกะปาน ผศ.ดร.วุฒิไกร… เปิดรับอาสาสมัครศิริราช รอบทำกิจกรรม เดือน พ.ค.-ก.ค. 68 ทุกกิจกรรมมีใบรับรองการทำกิจกรรม EZ WebmasterMarch 26, 2025 ตารางการรับอาสาสมัครรอบทำกิจกรรม เดือน พฤษภาคม – กรกฏาคม 68 (กิจกรรมที่อยู่ในเว็บไซต์ตอนนี้เป็นรอบเก่ามีผู้เข้าร่วมเต็มทั้งหมดแล้วค่ะ รอบใหม่จะเปิดตามวันเวลาที่แจ้งด้านล่างนี้เท่านั้น*) ขอให้อาสาเป็นผู้สมัครและกดเลือกกิจกรรมด้วยตนเองนะคะ – 31 ก.ค. 68 **เนื่องจากวันที่ 5 พ.ค. เป็นวันหยุด จะขอเริ่มตั้งแต่วันที่วันที่ 6 พ.ค.… เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน รับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน EZ WebmasterMarch 24, 2025 เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน เกม Let’s School เกมแนวบริหารโรงเรียนในฝัน ที่จะให้เรารับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน อยากให้โรงเรียนเป็นแบบไหนก็ปรับเล่นได้เลย ดูอารมณ์นักเรียกได้ด้วยว่ามีความสุขมั้ย? แถมตอนนี้ยังมีอัปเดตแมพใหม่พร้อมซัพไทยด้วยนะ Let’s School โหลดเล่นได้ที่ Steam :… คอร์สฟรี! จาก ม.บูรพา “วางแผนธุรกิจ รู้เรื่องภาษี” เรียนจบรับใบเซอร์! EZ WebmasterMarch 24, 2025 คอร์สฟรี! จาก ม.บูรพา “วางแผนธุรกิจ รู้เรื่องภาษี” เรียนจบรับใบเซอร์! อยากเริ่มต้นธุรกิจให้ปัง หรือขยายกิจการให้โต? มาเพิ่มความรู้ด้านการวางแผนธุรกิจและภาษีกับ คอร์สเรียนออนไลน์ฟรี จากมหาวิทยาลัยบูรพา! 7 บทเรียนจัดเต็ม : การเขียนแผนธุรกิจอย่างมืออาชีพ การตั้งเป้าหมาย และวิเคราะห์ตลาด วางแผนการเงิน… Search for: Search EZ Webmaster July 14, 2022 EZ Webmaster July 14, 2022 วันเข้าพรรษามีที่มาอย่างไร? และเกี่ยวข้องอะไรกับกิจกรรมถวายเทียนพรรษา วันเข้าพรรษามีที่มาอย่างไร? และเกี่ยวข้องอะไรกับกิจกรรมถวายเทียนพรรษา วันที่ 14 กรกฎาคม ประจำปี 2565 นับเป็นวันหยุดสำคัญทางศาสนาคือ วันเข้าพรรษา แล้ววันเข้าพรรษานี้มีที่มาอย่างไร เกี่ยวข้องอย่างไรกับกิจกรรมถวายเทียนพรรษา วันเข้าพรรษา เป็นวันสำคัญทางพุทธศาสนา เป็นพิธีที่พระสงฆ์เถรวาทจะพักอยู่ที่ใดที่หนึ่ง โดยไม่ไปค้างแรมที่อื่นตลอดฤดูฝน ซึ่งเป็นระยะเวลาประมาณ 3 เดือน โดยเริ่มตั้งแต่ แรม 1 ค่ำ เดือน 8 ถึงวันขึ้น 15 ค่ำเดือน 11 ซึ่งในปีนี้เข้าพรรษา แรม 1 ค่ำ เดือน 8 จึงตรงกับวันที่ 14 กรกฎาคม 2565 และวันออกพรรษา 15 ค่ำเดือน 11 จึงตรงกับวันที่ 10 ตุลาคม 2565 พิธีเข้าพรรษานี้ ถือเป็นพิธีบังคับที่พระสงฆ์ทุกรูปจะต้องปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด โดยจะสามารถยกเว้นได้บางกรณี วันเข้าพรรษากำเนิดมาตั้งแต่สมัยพระพุทธกาล ตั้งแต่ครั้งสมัยที่พระพุทธเจ้าประทับอยู่ที่วัดเวฬุวัน เมืองราชคฤห์ เมื่อถึงฤดูฝนพระสงฆ์ที่จำนวนกว่า 1,500 รูป ที่ยวจาริกไปตามที่สถานที่ต่าง ๆ จนถูกชาวบ้านพากันติเตียนเนื่องจากไปย้ำข้าวในนาเสียหาย เมื่อได้ยินดังนั้นพระพุทธเจ้าก็รับสั่งให้ประชุมสงฆ์และได้ทรงอนุญาตให้พระสงฆ์จำพรรษาอยู่ในที่แห่งเดียวตลอดระยะเวลา 3 เดือนเพื่อจุดประสงค์หลักคือป้องกันไม่ให้เกิดความเสียหายต่อพืชพันธ์ที่ชาวบ้านปลูก และยังให้พระสงฆ์ได้หยุดพักจากการจาริกเผยแผ่ศาสนายังสถานที่ต่าง ๆ อีกทั้งหน้าฝนยังเป็นฤดูกาลที่ยากต่อการเดินทาง ซึ่งในช่วงเวลาจำพรรษตลอด 3 เดือนนั้น ก็ถือเป็นช่วงเวลาและโอกาสที่พระสงฆ์จะได้มาอยู่ร่วมตัวกันเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์และแบ่งปันความรู้ในคณะสงฆ์ด้วยกันเอง ในทางเดียวกันพุทธศาสนิชกก็ได้โอกาสในการเข้าวัดทำบุญตักบาตร ฟังพระธรรมเทศนา รวมไปถึงเกิดเป็นประเพณีสำคัญถวายเทียนพรรษา ผ้าอาบน้ำฝน (ผ้าวัสสิกสาฏก) และหลอดไฟก็ถวายเพื่อให้พระสงฆ์ได้ใช้ตลอดการอยู่จำพรรษา โดยมีที่มาดังนี้ ประเพณีสำคัญขึ้นในวันเข้าพรรษามี 2 ประเพณีคือ 1. ประเพณีถวายผ้าอาบน้ำฝน เชื่อกันว่า ในสมัยพุทธกาล นางวิสาขา มหาอุบาสิกาต้องการจะนิมนต์พระภิกษุไปฉันภัตตาหารที่บ้าน จึงให้หญิงรับใช้ไปพระวิหารเชตวันเพื่อนิมนต์พระ ปรากฏว่านางไปเห็นพระภิกษุเปลือยกายอาบน้ำฝนอยู่ ก็กลับมารายงานด้วยความเข้าใจผิดว่าไม่พบพระ เห็นแต่พวกชีเปลือย นางวิสาขาก็รู้ด้วยปัญญาว่าคงเป็นพระอาบน้ำฝนอยู่ ดังนั้น นางจึงได้ทูลขอพรจากพระพุทธเจ้า ขอถวายผ้าอาบน้ำฝนแด่พระภิกษุและภิกษุณีเป็นประจำแต่นั้นมา จึงเกิดเป็นประเพณีที่ชาวพุทธปฏิบัติสืบต่อมาจนทุกวันนี้ และกล่าวกันว่า ผู้ที่ถวายผ้าอาบน้ำฝนจะได้รับอานิสงส์เหมือนการถวายผ้าอื่น ๆ ตามนัยที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ คือ ทำให้เป็นผู้มีผิวพรรณผ่องใส สวยงาม ไม่มีโรคภัยไข้เจ็บ มีความสะอาดผ่องใสทั้งกายและใจ 2. ส่วนประเพณีแห่เทียนพรรษา เกิดจากความจำเป็นที่ว่าสมัยก่อนยังไม่มีไฟฟ้าใช้เช่นปัจจุบัน ดังนั้น เมื่อพระภิกษุอยู่รวมกันมากๆเพื่อปฏิบัติกิจวัตร เช่น การสวดมนต์ตอนเช้ามืดและพลบค่ำ การศึกษาพระปริยัติธรรม การบูชาพระรัตนตรัย ฯลฯ จำเป็นต้องใช้แสงสว่างจากเทียน ดังนั้น ชาวบ้านจึงได้ร่วมกันนำเทียนมาถวาย ซึ่งช่วงต้นก็คงจะถวายเป็นเทียนเล็กๆธรรมดา ครั้นต่อมาก็ได้มีการมัดเทียนเล็กๆมารวมกันเป็นต้น คล้ายต้นกล้วยหรือลำไม้ไผ่ แล้วติดกับฐาน ที่เรียกกันว่า ต้นเทียน หรือ ต้นเทียนพรรษา และก็วิวัฒนาการมาเรื่อยๆจนเป็นเทียนพรรษาอย่างที่เราเห็นกันอยู่ในปัจจุบัน ว่ากันว่า เทียนพรรษา เริ่มมาจากผู้ที่นับถือศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ซึ่งนับถือวัว ที่เป็นพาหนะของพระอิศวร เมื่อวัวตาย ก็จะเอาไขจากวัวมาทำเป็นน้ำมันเพื่อจุดบูชาพระเป็นเจ้าที่ตนเคารพ แต่ชาวพุทธจะทำเทียนเพื่อบูชาพระรัตนตรัย โดยเอามาจากรังผึ้งร้าง ต้มเอาขี้ผึ้งมาฟั่นเป็นเทียนเล็กๆเพื่อจุดบูชาพระ และได้ยึดเป็นประเพณีที่จะนำเทียนไปถวายพระภิกษุในช่วงเข้าพรรรษา เพื่อปรารถนาให้ตนเองมีสติปัญญาเฉลียวฉลาดดุจดังแสงสว่างของดวงเทียน นอกจากนี้ในอดีต พุทธศาสนิกชนผู้ชายที่มีอายุครบบวช (20 ปี) จะนิยมถือบรรพชาอุปสมบทเป็นพระสงฆ์เพื่ออยู่จำพรรษาตลอดทั้ง 3 เดือน โดยพุทธศาสนิกชนชาวไทยจะเรียกการบรรพชาอุปสมบทเพื่อจำพรรษาตลอดพรรษากาลว่า บวชเอาพรรษา อานิสงส์แห่งการจำพรรษา เมื่อพระภิกษุอยู่จำพรรษาครบ 3 เดือนจะได้รับอานิสงส์แห่งการจำพรรษา 5 อย่าง ตลอด 1 เดือนนับแต่วันออกพรรษาเป็นต้นไป คือ เที่ยวจาริกไปโดยไม่ต้องบอกลา ตามสิกขาบทที่ ๖ แห่งอเจลกวรรค ปาจิตตีย์กัณฑ์ เที่ยวจาริกไปโดยไม่ต้องถือไตรจีวรไปครบสำรับ ฉันคณะโภชน์และปรัมปรโภชน์ได้ เก็บอติเรกจีวรได้ตามปรารถนา จีวรอันเกิดขึ้นในที่นั้นเป็นของพวกเธอ และยังได้โอกาสเพื่อที่จะกราลกฐิน และได้รับอานิสงส์พรรษาทั้ง 5 ขึ้นนั้นเพิ่มออกไปอีก 4 เดือน ในฤดูหนาว คือตั้งแต่แรม 1 ค่ำ เดือน 12 ไปจนถึงขึ้น 15 ค่ำ เดือน 4 อีกด้วย ประเภทของการเข้าพรรษาของพระสงฆ์ แบ่งเป็น 2 ประเภท ปุริมพรรษา คือ การเข้าพรรษาแรก การเข้าพรรษาแรก เริ่มตั้งแต่วันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 (สำหรับปีอธิกมาส คือ มีเดือน 8 สองหน จะเริ่มในวันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 หลัง) จนถึงวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 หลังจากออกพรรษาแล้ว พระที่อยู่จำพรรษาครบ 3 เดือน ก็มีสิทธิที่จะรับกฐินซึ่งมีช่วงเวลาเพียงหนึ่งเดือน นับตั้งแต่วันแรม 1 ค่ำ เดือน 11 ถึงขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 ปัจฉิมพรรษา คือ การเข้าพรรษาหลัง การเข้าพรรษาหลัง ใช้ในกรณีที่พระภิกษุต้องเดินทางไกลหรือมีเหตุสุดวิสัย ทำให้กลับมาเข้าพรรษาแรกในวันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 ไม่ทัน ต้องรอไปเข้าพรรษาหลัง คือวันแรม 1 ค่ำ เดือน 9 แล้วจะไปออกพรรษาในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 ซึ่งเป็นวันหมดเขตทอดกฐินพอดี ดังนั้นพระภิกษุที่เข้าปัจฉิมพรรษาจึงไม่มีโอกาสได้รับกฐิน แต่ก็ได้พรรษาเช่นเดียวกับพระที่เข้าปุริมพรรษาเหมือนกัน ในประเทศไทย พระภิกษุส่วนใหญ่จะจำพรรษาในช่วงปุริมพรรษาหรือพรรษาแรกมากกว่าปัจฉิมพรรษาหรือพรรษาหลัง ยกเว้นพระภิกษุที่อาพาธ(ป่วย)หรือมีกิจจำเป็นจึงจะอธิษฐานจำพรรษาในช่วงปัจฉิมพรรษา ส่วนการที่มีเดือนแปดสองหน หรือปีอธิกมาส ก็เพราะเป็นการนับทางจันทรคติ(วันขึ้น วันแรม)ซึ่งแต่ละปีจะมีจำนวนวันน้อยกว่าการนับทางสุริยคติ(การนับวันตามแบบปัจจุบัน) ทำให้ต้องเพิ่มเดือนในบางปีเพื่อชดเชยจำนวนวันที่หายไป มิให้ปีทางจันทรคติและสุริยคติคลาดเคลื่อนกันไปมากความเป็นมาของวันเข้าพรรษาเกิดขึ้น จุดประสงค์ของการเข้าพรรษา ลดความเสียหายที่พระสงฆ์จะไปเหยียบย้ำพืชที่ชาวบ้านปลูกในฤดูฝนระหว่างการธุดงค์ พระสงฆ์ได้พักผ่อนหลังจากเดินทางจาริกไปเผยแผ่พระพุทธศาสนามาเป็นเวลา 8 – 9 เดือน ชพระภิกษุสงฆ์จะได้ประพฤติปฏิบัติธรรมสำหรับตนเอง และศึกษาเล่าเรียนพระธรรมวินัยตลอดจนเตรียมการสั่งสอนให้กับประชาชนเมื่อถึงวันออกพรรษา ได้ใช้เวลาสอบรมสั่งสอนและบวชให้กับกุลบุตรผู้มีอายุครบบวช อันเป็นกำลังสำคัญในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาต่อไป พุทธศาสนิกชน ได้มีโอกาสบำเพ็ญกุศลเป็นการพิเศษ เช่น การทำบุญตักบาตร หล่อเทียนพรรษา ถวายผ้าอาบน้ำฝน รักษาศีล เจริญภาวนา ถวายจตุปัจจัยไทยธรรม งดเว้นอบายมุข และมีโอกาสได้ฟังพระธรรมเทศนาตลอดเวลาเข้าพรรษา ข้อยกเว้นการจำพรรษาของพระสงฆ์ แม้การเข้าพรรษานี้ถือเป็นข้อปฏิบัติสำหรับพระภิกษุโดยตรง ที่จะละเว้นไม่ได้ ไม่ว่ากรณีใด ๆ ก็ตาม แต่ว่าในการจำพรรษาของพระสงฆ์ในระหว่างพรรษานั้น อาจมีกรณีจำเป็นบางอย่าง ทำให้พระภิกษุผู้จำพรรษาต้องออกจากสถานที่จำพรรษาเพื่อไปค้างที่อื่น พระพุทธองค์ก็ทรงอนุญาตให้ทำได้โดยไม่ถือว่าเป็นการขาดพรรษาโดยมีเหตุจำเป็นเฉพาะกรณี ๆ ไป ตามที่ทรงระบุไว้ในพระไตรปิฎก ซึ่งส่วนใหญ่จะเกี่ยวกับการพระศาสนาหรือการอุปัฏฐานบิดามารดา แต่ทั้งนี้ก็จะต้องกลับมาภายในระยะเวลาไม่เกิน 7 วัน การออกนอกที่จำพรรษาล่วงวันเช่นนี้เรียกว่า “สัตตาหกรณียะ” ซึ่งเหตุที่ทรงระบุว่าจะออกจากที่จำพรรษาไปได้ชั่วคราวนั้นเช่น การไปรักษาพยาบาล หาอาหารให้ภิกษุหรือบิดามารดาที่เจ็บป่วย เป็นต้น กรณีนี้ทำได้กับสหธรรมิก 5 และมารดาบิดา การไประงับภิกษุสามเณรที่อยากจะสึกมิให้สึกได้ กรณีนี้ทำได้กับสหธรรมิก 5 การไปเพื่อกิจธุระของคณะสงฆ์ เช่น การไปหาอุปกรณ์มาซ่อมกุฏิที่ชำรุด หรือ การไปทำสังฆกรรม เช่น สวดญัตติจตุตถกรรมวาจาให้พระผู้ต้องการอยู่ปริวาส เป็นต้น หากทายกนิมนต์ไปทำบุญ ก็ไปให้ทายกได้ให้ทาน รับศีล ฟังเทสนาธรรมได้ กรณีนี้หากโยมไม่มานิมนต์ ก็จะไปค้างไม่ได้. ซึ่งหากพระสงฆ์ออกจากอาวาสแม้โดยสัตตาหกรณียะล่วงกำหนด 7 วันตามพระวินัย ก็ถือว่า ขาดพรรษา และเป็นอาบัติทุกกฎเพราะรับคำ (รับคำอธิษฐานเข้าพรรษาแต่ทำไม่ได้) ในกรณีที่พระสงฆ์สัตตาหกรณียะและกลับมาตามกำหนดแล้ว ไม่ถือว่าเป็นอาบัติ และสามารถกลับมาจำพรรษาต่อเนื่องไปได้ และหากมีเหตุจำเป็นที่จะต้องออกจากที่จำพรรษาไปได้ตามวินัยอีก ก็สามารถทำได้โดยสัตตาหกรณียะ แต่ต้องกลับมาภายในเจ็ดวัน เพื่อไม่ให้พรรษาขาดและไม่เป็นอาบัติทุกกฎดังกล่าวแล้ว แหล่งที่มา : sanook.com EZ Webmaster Related Posts โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “ดร.ชุมพล พรประภา” เป็นนายกสภา ม.ศรีนครินทรวิโรฒ มทร.ธัญบุรี เปิดกว้างทุกวัย เพื่อเรียนรู้ตลอดชีพ ธนาคารหน่วยกิต “40 หลักสูตร ป.ตรี” เด็กสาธิตสวนสุนันทาคว้ารางวัลศิลปะระดับโลก! สร้างชื่อเสียงให้ไทยบนเวทีนานาชาติ เปิดรับอาสาสมัครศิริราช รอบทำกิจกรรม เดือน พ.ค.-ก.ค. 68 ทุกกิจกรรมมีใบรับรองการทำกิจกรรม สอศ. ปั้นผู้อำนวยการอาชีวะยุคใหม่! เสริมภาวะผู้นำ-วิสัยทัศน์ ทันโลกการศึกษา Post navigation PREVIOUS Previous post: ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิเข้ารับการคัดเลือกบุคคลเพื่อบรรจุและแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สังกัด สพฐ. – 12 กรกฎาคม 2565NEXT Next post: เปิดรับสมัคร ครู อาจารย์ ทั่วประเทศ โครงการ “ทิพยสืบสาน รักษา ต่อยอด นวัตกรรมศาสตร์พระราชา ครั้งที่ ๑๙ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ไทย จ่อขยับอันดับการศึกษา หลังอัตราการรู้หนังสือของประชากร พุ่งสูง 98.83% จากการสำรวจอัตราการรู้หนังสือของประชากร EZ WebmasterMarch 26, 2025 เมื่อวันที่ 26 มีนาคม ที่สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (สกศ.) นายประวิต เอราวรรณ์ เลขาธิการสภาการศึกษา กล่าวในงานแถลงผลการสำรวจการรู้หนังสือของประชากรไทย ปี 2568 โดยมี นายธนากร ดอนเหนือ อธิบดีกรมส่งเสริมการเรียนรู้ (สกร.) เข้าร่วม นายประวิต… โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง รองศาสตราจารย์ ดร.ประยุกต์ ศรีวิไล เป็นอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาสารคาม EZ WebmasterMarch 26, 2025 เมื่อวันที่ 25 มกราคม เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา เผยแพร่ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ความว่า ตามที่ได้มีพระราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้ง นายประยุกต์ ศรีวิไล ให้ดำรงตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ตั้งแต่วันที่ 9 พฤศจิกายน 2562 ตามประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ลงวันที่ 13…
โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง รองศาสตราจารย์ ดร.ประยุกต์ ศรีวิไล เป็นอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาสารคาม EZ WebmasterMarch 26, 2025 เมื่อวันที่ 25 มกราคม เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา เผยแพร่ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ความว่า ตามที่ได้มีพระราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้ง นายประยุกต์ ศรีวิไล ให้ดำรงตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ตั้งแต่วันที่ 9 พฤศจิกายน 2562 ตามประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี ลงวันที่ 13…
พิธีเปิดกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) ภายใต้โครงการพัฒนามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมผ้าไทยสู่สากล ประจำปี ๒๕๖๘ EZ WebmasterMarch 26, 2025 นางสาวลิปิการ์ กำลังชัย รองธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรม รักษาราชการแทนอธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรมเป็นประธานพิธิเปิด และร่วมรับฟังการบรรยายกิจกรรมการประกวดออกแบบลายผ้าไทยสู่สากลเพื่อการต่อยอดและพัฒนา (Cultural Textile Awards 2025) พร้อมด้วยนางสาวศิวพร ฉันทไกรวัฒน์ ผู้อำนวยการกลุ่มเผยแพร่และต่อยอดมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมเข้าร่วมงาน โดยวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญด้านผ้าไทย การออกแบบและแฟชั่น อาทิ ผศ.ดร.รวิเทพ มุสิกะปาน ผศ.ดร.วุฒิไกร… เปิดรับอาสาสมัครศิริราช รอบทำกิจกรรม เดือน พ.ค.-ก.ค. 68 ทุกกิจกรรมมีใบรับรองการทำกิจกรรม EZ WebmasterMarch 26, 2025 ตารางการรับอาสาสมัครรอบทำกิจกรรม เดือน พฤษภาคม – กรกฏาคม 68 (กิจกรรมที่อยู่ในเว็บไซต์ตอนนี้เป็นรอบเก่ามีผู้เข้าร่วมเต็มทั้งหมดแล้วค่ะ รอบใหม่จะเปิดตามวันเวลาที่แจ้งด้านล่างนี้เท่านั้น*) ขอให้อาสาเป็นผู้สมัครและกดเลือกกิจกรรมด้วยตนเองนะคะ – 31 ก.ค. 68 **เนื่องจากวันที่ 5 พ.ค. เป็นวันหยุด จะขอเริ่มตั้งแต่วันที่วันที่ 6 พ.ค.… เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน รับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน EZ WebmasterMarch 24, 2025 เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน เกม Let’s School เกมแนวบริหารโรงเรียนในฝัน ที่จะให้เรารับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน อยากให้โรงเรียนเป็นแบบไหนก็ปรับเล่นได้เลย ดูอารมณ์นักเรียกได้ด้วยว่ามีความสุขมั้ย? แถมตอนนี้ยังมีอัปเดตแมพใหม่พร้อมซัพไทยด้วยนะ Let’s School โหลดเล่นได้ที่ Steam :… คอร์สฟรี! จาก ม.บูรพา “วางแผนธุรกิจ รู้เรื่องภาษี” เรียนจบรับใบเซอร์! EZ WebmasterMarch 24, 2025 คอร์สฟรี! จาก ม.บูรพา “วางแผนธุรกิจ รู้เรื่องภาษี” เรียนจบรับใบเซอร์! อยากเริ่มต้นธุรกิจให้ปัง หรือขยายกิจการให้โต? มาเพิ่มความรู้ด้านการวางแผนธุรกิจและภาษีกับ คอร์สเรียนออนไลน์ฟรี จากมหาวิทยาลัยบูรพา! 7 บทเรียนจัดเต็ม : การเขียนแผนธุรกิจอย่างมืออาชีพ การตั้งเป้าหมาย และวิเคราะห์ตลาด วางแผนการเงิน… Search for: Search EZ Webmaster July 14, 2022 EZ Webmaster July 14, 2022 วันเข้าพรรษามีที่มาอย่างไร? และเกี่ยวข้องอะไรกับกิจกรรมถวายเทียนพรรษา วันเข้าพรรษามีที่มาอย่างไร? และเกี่ยวข้องอะไรกับกิจกรรมถวายเทียนพรรษา วันที่ 14 กรกฎาคม ประจำปี 2565 นับเป็นวันหยุดสำคัญทางศาสนาคือ วันเข้าพรรษา แล้ววันเข้าพรรษานี้มีที่มาอย่างไร เกี่ยวข้องอย่างไรกับกิจกรรมถวายเทียนพรรษา วันเข้าพรรษา เป็นวันสำคัญทางพุทธศาสนา เป็นพิธีที่พระสงฆ์เถรวาทจะพักอยู่ที่ใดที่หนึ่ง โดยไม่ไปค้างแรมที่อื่นตลอดฤดูฝน ซึ่งเป็นระยะเวลาประมาณ 3 เดือน โดยเริ่มตั้งแต่ แรม 1 ค่ำ เดือน 8 ถึงวันขึ้น 15 ค่ำเดือน 11 ซึ่งในปีนี้เข้าพรรษา แรม 1 ค่ำ เดือน 8 จึงตรงกับวันที่ 14 กรกฎาคม 2565 และวันออกพรรษา 15 ค่ำเดือน 11 จึงตรงกับวันที่ 10 ตุลาคม 2565 พิธีเข้าพรรษานี้ ถือเป็นพิธีบังคับที่พระสงฆ์ทุกรูปจะต้องปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด โดยจะสามารถยกเว้นได้บางกรณี วันเข้าพรรษากำเนิดมาตั้งแต่สมัยพระพุทธกาล ตั้งแต่ครั้งสมัยที่พระพุทธเจ้าประทับอยู่ที่วัดเวฬุวัน เมืองราชคฤห์ เมื่อถึงฤดูฝนพระสงฆ์ที่จำนวนกว่า 1,500 รูป ที่ยวจาริกไปตามที่สถานที่ต่าง ๆ จนถูกชาวบ้านพากันติเตียนเนื่องจากไปย้ำข้าวในนาเสียหาย เมื่อได้ยินดังนั้นพระพุทธเจ้าก็รับสั่งให้ประชุมสงฆ์และได้ทรงอนุญาตให้พระสงฆ์จำพรรษาอยู่ในที่แห่งเดียวตลอดระยะเวลา 3 เดือนเพื่อจุดประสงค์หลักคือป้องกันไม่ให้เกิดความเสียหายต่อพืชพันธ์ที่ชาวบ้านปลูก และยังให้พระสงฆ์ได้หยุดพักจากการจาริกเผยแผ่ศาสนายังสถานที่ต่าง ๆ อีกทั้งหน้าฝนยังเป็นฤดูกาลที่ยากต่อการเดินทาง ซึ่งในช่วงเวลาจำพรรษตลอด 3 เดือนนั้น ก็ถือเป็นช่วงเวลาและโอกาสที่พระสงฆ์จะได้มาอยู่ร่วมตัวกันเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์และแบ่งปันความรู้ในคณะสงฆ์ด้วยกันเอง ในทางเดียวกันพุทธศาสนิชกก็ได้โอกาสในการเข้าวัดทำบุญตักบาตร ฟังพระธรรมเทศนา รวมไปถึงเกิดเป็นประเพณีสำคัญถวายเทียนพรรษา ผ้าอาบน้ำฝน (ผ้าวัสสิกสาฏก) และหลอดไฟก็ถวายเพื่อให้พระสงฆ์ได้ใช้ตลอดการอยู่จำพรรษา โดยมีที่มาดังนี้ ประเพณีสำคัญขึ้นในวันเข้าพรรษามี 2 ประเพณีคือ 1. ประเพณีถวายผ้าอาบน้ำฝน เชื่อกันว่า ในสมัยพุทธกาล นางวิสาขา มหาอุบาสิกาต้องการจะนิมนต์พระภิกษุไปฉันภัตตาหารที่บ้าน จึงให้หญิงรับใช้ไปพระวิหารเชตวันเพื่อนิมนต์พระ ปรากฏว่านางไปเห็นพระภิกษุเปลือยกายอาบน้ำฝนอยู่ ก็กลับมารายงานด้วยความเข้าใจผิดว่าไม่พบพระ เห็นแต่พวกชีเปลือย นางวิสาขาก็รู้ด้วยปัญญาว่าคงเป็นพระอาบน้ำฝนอยู่ ดังนั้น นางจึงได้ทูลขอพรจากพระพุทธเจ้า ขอถวายผ้าอาบน้ำฝนแด่พระภิกษุและภิกษุณีเป็นประจำแต่นั้นมา จึงเกิดเป็นประเพณีที่ชาวพุทธปฏิบัติสืบต่อมาจนทุกวันนี้ และกล่าวกันว่า ผู้ที่ถวายผ้าอาบน้ำฝนจะได้รับอานิสงส์เหมือนการถวายผ้าอื่น ๆ ตามนัยที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ คือ ทำให้เป็นผู้มีผิวพรรณผ่องใส สวยงาม ไม่มีโรคภัยไข้เจ็บ มีความสะอาดผ่องใสทั้งกายและใจ 2. ส่วนประเพณีแห่เทียนพรรษา เกิดจากความจำเป็นที่ว่าสมัยก่อนยังไม่มีไฟฟ้าใช้เช่นปัจจุบัน ดังนั้น เมื่อพระภิกษุอยู่รวมกันมากๆเพื่อปฏิบัติกิจวัตร เช่น การสวดมนต์ตอนเช้ามืดและพลบค่ำ การศึกษาพระปริยัติธรรม การบูชาพระรัตนตรัย ฯลฯ จำเป็นต้องใช้แสงสว่างจากเทียน ดังนั้น ชาวบ้านจึงได้ร่วมกันนำเทียนมาถวาย ซึ่งช่วงต้นก็คงจะถวายเป็นเทียนเล็กๆธรรมดา ครั้นต่อมาก็ได้มีการมัดเทียนเล็กๆมารวมกันเป็นต้น คล้ายต้นกล้วยหรือลำไม้ไผ่ แล้วติดกับฐาน ที่เรียกกันว่า ต้นเทียน หรือ ต้นเทียนพรรษา และก็วิวัฒนาการมาเรื่อยๆจนเป็นเทียนพรรษาอย่างที่เราเห็นกันอยู่ในปัจจุบัน ว่ากันว่า เทียนพรรษา เริ่มมาจากผู้ที่นับถือศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ซึ่งนับถือวัว ที่เป็นพาหนะของพระอิศวร เมื่อวัวตาย ก็จะเอาไขจากวัวมาทำเป็นน้ำมันเพื่อจุดบูชาพระเป็นเจ้าที่ตนเคารพ แต่ชาวพุทธจะทำเทียนเพื่อบูชาพระรัตนตรัย โดยเอามาจากรังผึ้งร้าง ต้มเอาขี้ผึ้งมาฟั่นเป็นเทียนเล็กๆเพื่อจุดบูชาพระ และได้ยึดเป็นประเพณีที่จะนำเทียนไปถวายพระภิกษุในช่วงเข้าพรรรษา เพื่อปรารถนาให้ตนเองมีสติปัญญาเฉลียวฉลาดดุจดังแสงสว่างของดวงเทียน นอกจากนี้ในอดีต พุทธศาสนิกชนผู้ชายที่มีอายุครบบวช (20 ปี) จะนิยมถือบรรพชาอุปสมบทเป็นพระสงฆ์เพื่ออยู่จำพรรษาตลอดทั้ง 3 เดือน โดยพุทธศาสนิกชนชาวไทยจะเรียกการบรรพชาอุปสมบทเพื่อจำพรรษาตลอดพรรษากาลว่า บวชเอาพรรษา อานิสงส์แห่งการจำพรรษา เมื่อพระภิกษุอยู่จำพรรษาครบ 3 เดือนจะได้รับอานิสงส์แห่งการจำพรรษา 5 อย่าง ตลอด 1 เดือนนับแต่วันออกพรรษาเป็นต้นไป คือ เที่ยวจาริกไปโดยไม่ต้องบอกลา ตามสิกขาบทที่ ๖ แห่งอเจลกวรรค ปาจิตตีย์กัณฑ์ เที่ยวจาริกไปโดยไม่ต้องถือไตรจีวรไปครบสำรับ ฉันคณะโภชน์และปรัมปรโภชน์ได้ เก็บอติเรกจีวรได้ตามปรารถนา จีวรอันเกิดขึ้นในที่นั้นเป็นของพวกเธอ และยังได้โอกาสเพื่อที่จะกราลกฐิน และได้รับอานิสงส์พรรษาทั้ง 5 ขึ้นนั้นเพิ่มออกไปอีก 4 เดือน ในฤดูหนาว คือตั้งแต่แรม 1 ค่ำ เดือน 12 ไปจนถึงขึ้น 15 ค่ำ เดือน 4 อีกด้วย ประเภทของการเข้าพรรษาของพระสงฆ์ แบ่งเป็น 2 ประเภท ปุริมพรรษา คือ การเข้าพรรษาแรก การเข้าพรรษาแรก เริ่มตั้งแต่วันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 (สำหรับปีอธิกมาส คือ มีเดือน 8 สองหน จะเริ่มในวันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 หลัง) จนถึงวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 หลังจากออกพรรษาแล้ว พระที่อยู่จำพรรษาครบ 3 เดือน ก็มีสิทธิที่จะรับกฐินซึ่งมีช่วงเวลาเพียงหนึ่งเดือน นับตั้งแต่วันแรม 1 ค่ำ เดือน 11 ถึงขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 ปัจฉิมพรรษา คือ การเข้าพรรษาหลัง การเข้าพรรษาหลัง ใช้ในกรณีที่พระภิกษุต้องเดินทางไกลหรือมีเหตุสุดวิสัย ทำให้กลับมาเข้าพรรษาแรกในวันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 ไม่ทัน ต้องรอไปเข้าพรรษาหลัง คือวันแรม 1 ค่ำ เดือน 9 แล้วจะไปออกพรรษาในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 ซึ่งเป็นวันหมดเขตทอดกฐินพอดี ดังนั้นพระภิกษุที่เข้าปัจฉิมพรรษาจึงไม่มีโอกาสได้รับกฐิน แต่ก็ได้พรรษาเช่นเดียวกับพระที่เข้าปุริมพรรษาเหมือนกัน ในประเทศไทย พระภิกษุส่วนใหญ่จะจำพรรษาในช่วงปุริมพรรษาหรือพรรษาแรกมากกว่าปัจฉิมพรรษาหรือพรรษาหลัง ยกเว้นพระภิกษุที่อาพาธ(ป่วย)หรือมีกิจจำเป็นจึงจะอธิษฐานจำพรรษาในช่วงปัจฉิมพรรษา ส่วนการที่มีเดือนแปดสองหน หรือปีอธิกมาส ก็เพราะเป็นการนับทางจันทรคติ(วันขึ้น วันแรม)ซึ่งแต่ละปีจะมีจำนวนวันน้อยกว่าการนับทางสุริยคติ(การนับวันตามแบบปัจจุบัน) ทำให้ต้องเพิ่มเดือนในบางปีเพื่อชดเชยจำนวนวันที่หายไป มิให้ปีทางจันทรคติและสุริยคติคลาดเคลื่อนกันไปมากความเป็นมาของวันเข้าพรรษาเกิดขึ้น จุดประสงค์ของการเข้าพรรษา ลดความเสียหายที่พระสงฆ์จะไปเหยียบย้ำพืชที่ชาวบ้านปลูกในฤดูฝนระหว่างการธุดงค์ พระสงฆ์ได้พักผ่อนหลังจากเดินทางจาริกไปเผยแผ่พระพุทธศาสนามาเป็นเวลา 8 – 9 เดือน ชพระภิกษุสงฆ์จะได้ประพฤติปฏิบัติธรรมสำหรับตนเอง และศึกษาเล่าเรียนพระธรรมวินัยตลอดจนเตรียมการสั่งสอนให้กับประชาชนเมื่อถึงวันออกพรรษา ได้ใช้เวลาสอบรมสั่งสอนและบวชให้กับกุลบุตรผู้มีอายุครบบวช อันเป็นกำลังสำคัญในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาต่อไป พุทธศาสนิกชน ได้มีโอกาสบำเพ็ญกุศลเป็นการพิเศษ เช่น การทำบุญตักบาตร หล่อเทียนพรรษา ถวายผ้าอาบน้ำฝน รักษาศีล เจริญภาวนา ถวายจตุปัจจัยไทยธรรม งดเว้นอบายมุข และมีโอกาสได้ฟังพระธรรมเทศนาตลอดเวลาเข้าพรรษา ข้อยกเว้นการจำพรรษาของพระสงฆ์ แม้การเข้าพรรษานี้ถือเป็นข้อปฏิบัติสำหรับพระภิกษุโดยตรง ที่จะละเว้นไม่ได้ ไม่ว่ากรณีใด ๆ ก็ตาม แต่ว่าในการจำพรรษาของพระสงฆ์ในระหว่างพรรษานั้น อาจมีกรณีจำเป็นบางอย่าง ทำให้พระภิกษุผู้จำพรรษาต้องออกจากสถานที่จำพรรษาเพื่อไปค้างที่อื่น พระพุทธองค์ก็ทรงอนุญาตให้ทำได้โดยไม่ถือว่าเป็นการขาดพรรษาโดยมีเหตุจำเป็นเฉพาะกรณี ๆ ไป ตามที่ทรงระบุไว้ในพระไตรปิฎก ซึ่งส่วนใหญ่จะเกี่ยวกับการพระศาสนาหรือการอุปัฏฐานบิดามารดา แต่ทั้งนี้ก็จะต้องกลับมาภายในระยะเวลาไม่เกิน 7 วัน การออกนอกที่จำพรรษาล่วงวันเช่นนี้เรียกว่า “สัตตาหกรณียะ” ซึ่งเหตุที่ทรงระบุว่าจะออกจากที่จำพรรษาไปได้ชั่วคราวนั้นเช่น การไปรักษาพยาบาล หาอาหารให้ภิกษุหรือบิดามารดาที่เจ็บป่วย เป็นต้น กรณีนี้ทำได้กับสหธรรมิก 5 และมารดาบิดา การไประงับภิกษุสามเณรที่อยากจะสึกมิให้สึกได้ กรณีนี้ทำได้กับสหธรรมิก 5 การไปเพื่อกิจธุระของคณะสงฆ์ เช่น การไปหาอุปกรณ์มาซ่อมกุฏิที่ชำรุด หรือ การไปทำสังฆกรรม เช่น สวดญัตติจตุตถกรรมวาจาให้พระผู้ต้องการอยู่ปริวาส เป็นต้น หากทายกนิมนต์ไปทำบุญ ก็ไปให้ทายกได้ให้ทาน รับศีล ฟังเทสนาธรรมได้ กรณีนี้หากโยมไม่มานิมนต์ ก็จะไปค้างไม่ได้. ซึ่งหากพระสงฆ์ออกจากอาวาสแม้โดยสัตตาหกรณียะล่วงกำหนด 7 วันตามพระวินัย ก็ถือว่า ขาดพรรษา และเป็นอาบัติทุกกฎเพราะรับคำ (รับคำอธิษฐานเข้าพรรษาแต่ทำไม่ได้) ในกรณีที่พระสงฆ์สัตตาหกรณียะและกลับมาตามกำหนดแล้ว ไม่ถือว่าเป็นอาบัติ และสามารถกลับมาจำพรรษาต่อเนื่องไปได้ และหากมีเหตุจำเป็นที่จะต้องออกจากที่จำพรรษาไปได้ตามวินัยอีก ก็สามารถทำได้โดยสัตตาหกรณียะ แต่ต้องกลับมาภายในเจ็ดวัน เพื่อไม่ให้พรรษาขาดและไม่เป็นอาบัติทุกกฎดังกล่าวแล้ว แหล่งที่มา : sanook.com EZ Webmaster Related Posts โปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง “ดร.ชุมพล พรประภา” เป็นนายกสภา ม.ศรีนครินทรวิโรฒ มทร.ธัญบุรี เปิดกว้างทุกวัย เพื่อเรียนรู้ตลอดชีพ ธนาคารหน่วยกิต “40 หลักสูตร ป.ตรี” เด็กสาธิตสวนสุนันทาคว้ารางวัลศิลปะระดับโลก! สร้างชื่อเสียงให้ไทยบนเวทีนานาชาติ เปิดรับอาสาสมัครศิริราช รอบทำกิจกรรม เดือน พ.ค.-ก.ค. 68 ทุกกิจกรรมมีใบรับรองการทำกิจกรรม สอศ. ปั้นผู้อำนวยการอาชีวะยุคใหม่! เสริมภาวะผู้นำ-วิสัยทัศน์ ทันโลกการศึกษา Post navigation PREVIOUS Previous post: ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิเข้ารับการคัดเลือกบุคคลเพื่อบรรจุและแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สังกัด สพฐ. – 12 กรกฎาคม 2565NEXT Next post: เปิดรับสมัคร ครู อาจารย์ ทั่วประเทศ โครงการ “ทิพยสืบสาน รักษา ต่อยอด นวัตกรรมศาสตร์พระราชา ครั้งที่ ๑๙ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เปิดรับอาสาสมัครศิริราช รอบทำกิจกรรม เดือน พ.ค.-ก.ค. 68 ทุกกิจกรรมมีใบรับรองการทำกิจกรรม EZ WebmasterMarch 26, 2025 ตารางการรับอาสาสมัครรอบทำกิจกรรม เดือน พฤษภาคม – กรกฏาคม 68 (กิจกรรมที่อยู่ในเว็บไซต์ตอนนี้เป็นรอบเก่ามีผู้เข้าร่วมเต็มทั้งหมดแล้วค่ะ รอบใหม่จะเปิดตามวันเวลาที่แจ้งด้านล่างนี้เท่านั้น*) ขอให้อาสาเป็นผู้สมัครและกดเลือกกิจกรรมด้วยตนเองนะคะ – 31 ก.ค. 68 **เนื่องจากวันที่ 5 พ.ค. เป็นวันหยุด จะขอเริ่มตั้งแต่วันที่วันที่ 6 พ.ค.… เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน รับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน EZ WebmasterMarch 24, 2025 เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน เกม Let’s School เกมแนวบริหารโรงเรียนในฝัน ที่จะให้เรารับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน อยากให้โรงเรียนเป็นแบบไหนก็ปรับเล่นได้เลย ดูอารมณ์นักเรียกได้ด้วยว่ามีความสุขมั้ย? แถมตอนนี้ยังมีอัปเดตแมพใหม่พร้อมซัพไทยด้วยนะ Let’s School โหลดเล่นได้ที่ Steam :… คอร์สฟรี! จาก ม.บูรพา “วางแผนธุรกิจ รู้เรื่องภาษี” เรียนจบรับใบเซอร์! EZ WebmasterMarch 24, 2025 คอร์สฟรี! จาก ม.บูรพา “วางแผนธุรกิจ รู้เรื่องภาษี” เรียนจบรับใบเซอร์! อยากเริ่มต้นธุรกิจให้ปัง หรือขยายกิจการให้โต? มาเพิ่มความรู้ด้านการวางแผนธุรกิจและภาษีกับ คอร์สเรียนออนไลน์ฟรี จากมหาวิทยาลัยบูรพา! 7 บทเรียนจัดเต็ม : การเขียนแผนธุรกิจอย่างมืออาชีพ การตั้งเป้าหมาย และวิเคราะห์ตลาด วางแผนการเงิน… Search for: Search
เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน รับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน EZ WebmasterMarch 24, 2025 เกม Let’s School เกมบริหารโรงเรียนในฝัน เกม Let’s School เกมแนวบริหารโรงเรียนในฝัน ที่จะให้เรารับบทเป็นครูใหญ่ คอยพัฒนาโรงเรียน อยากให้โรงเรียนเป็นแบบไหนก็ปรับเล่นได้เลย ดูอารมณ์นักเรียกได้ด้วยว่ามีความสุขมั้ย? แถมตอนนี้ยังมีอัปเดตแมพใหม่พร้อมซัพไทยด้วยนะ Let’s School โหลดเล่นได้ที่ Steam :… คอร์สฟรี! จาก ม.บูรพา “วางแผนธุรกิจ รู้เรื่องภาษี” เรียนจบรับใบเซอร์! EZ WebmasterMarch 24, 2025 คอร์สฟรี! จาก ม.บูรพา “วางแผนธุรกิจ รู้เรื่องภาษี” เรียนจบรับใบเซอร์! อยากเริ่มต้นธุรกิจให้ปัง หรือขยายกิจการให้โต? มาเพิ่มความรู้ด้านการวางแผนธุรกิจและภาษีกับ คอร์สเรียนออนไลน์ฟรี จากมหาวิทยาลัยบูรพา! 7 บทเรียนจัดเต็ม : การเขียนแผนธุรกิจอย่างมืออาชีพ การตั้งเป้าหมาย และวิเคราะห์ตลาด วางแผนการเงิน…
คอร์สฟรี! จาก ม.บูรพา “วางแผนธุรกิจ รู้เรื่องภาษี” เรียนจบรับใบเซอร์! EZ WebmasterMarch 24, 2025 คอร์สฟรี! จาก ม.บูรพา “วางแผนธุรกิจ รู้เรื่องภาษี” เรียนจบรับใบเซอร์! อยากเริ่มต้นธุรกิจให้ปัง หรือขยายกิจการให้โต? มาเพิ่มความรู้ด้านการวางแผนธุรกิจและภาษีกับ คอร์สเรียนออนไลน์ฟรี จากมหาวิทยาลัยบูรพา! 7 บทเรียนจัดเต็ม : การเขียนแผนธุรกิจอย่างมืออาชีพ การตั้งเป้าหมาย และวิเคราะห์ตลาด วางแผนการเงิน…
EZ Webmaster July 14, 2022 EZ Webmaster July 14, 2022 วันเข้าพรรษามีที่มาอย่างไร? และเกี่ยวข้องอะไรกับกิจกรรมถวายเทียนพรรษา วันเข้าพรรษามีที่มาอย่างไร? และเกี่ยวข้องอะไรกับกิจกรรมถวายเทียนพรรษา วันที่ 14 กรกฎาคม ประจำปี 2565 นับเป็นวันหยุดสำคัญทางศาสนาคือ วันเข้าพรรษา แล้ววันเข้าพรรษานี้มีที่มาอย่างไร เกี่ยวข้องอย่างไรกับกิจกรรมถวายเทียนพรรษา วันเข้าพรรษา เป็นวันสำคัญทางพุทธศาสนา เป็นพิธีที่พระสงฆ์เถรวาทจะพักอยู่ที่ใดที่หนึ่ง โดยไม่ไปค้างแรมที่อื่นตลอดฤดูฝน ซึ่งเป็นระยะเวลาประมาณ 3 เดือน โดยเริ่มตั้งแต่ แรม 1 ค่ำ เดือน 8 ถึงวันขึ้น 15 ค่ำเดือน 11 ซึ่งในปีนี้เข้าพรรษา แรม 1 ค่ำ เดือน 8 จึงตรงกับวันที่ 14 กรกฎาคม 2565 และวันออกพรรษา 15 ค่ำเดือน 11 จึงตรงกับวันที่ 10 ตุลาคม 2565 พิธีเข้าพรรษานี้ ถือเป็นพิธีบังคับที่พระสงฆ์ทุกรูปจะต้องปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด โดยจะสามารถยกเว้นได้บางกรณี วันเข้าพรรษากำเนิดมาตั้งแต่สมัยพระพุทธกาล ตั้งแต่ครั้งสมัยที่พระพุทธเจ้าประทับอยู่ที่วัดเวฬุวัน เมืองราชคฤห์ เมื่อถึงฤดูฝนพระสงฆ์ที่จำนวนกว่า 1,500 รูป ที่ยวจาริกไปตามที่สถานที่ต่าง ๆ จนถูกชาวบ้านพากันติเตียนเนื่องจากไปย้ำข้าวในนาเสียหาย เมื่อได้ยินดังนั้นพระพุทธเจ้าก็รับสั่งให้ประชุมสงฆ์และได้ทรงอนุญาตให้พระสงฆ์จำพรรษาอยู่ในที่แห่งเดียวตลอดระยะเวลา 3 เดือนเพื่อจุดประสงค์หลักคือป้องกันไม่ให้เกิดความเสียหายต่อพืชพันธ์ที่ชาวบ้านปลูก และยังให้พระสงฆ์ได้หยุดพักจากการจาริกเผยแผ่ศาสนายังสถานที่ต่าง ๆ อีกทั้งหน้าฝนยังเป็นฤดูกาลที่ยากต่อการเดินทาง ซึ่งในช่วงเวลาจำพรรษตลอด 3 เดือนนั้น ก็ถือเป็นช่วงเวลาและโอกาสที่พระสงฆ์จะได้มาอยู่ร่วมตัวกันเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์และแบ่งปันความรู้ในคณะสงฆ์ด้วยกันเอง ในทางเดียวกันพุทธศาสนิชกก็ได้โอกาสในการเข้าวัดทำบุญตักบาตร ฟังพระธรรมเทศนา รวมไปถึงเกิดเป็นประเพณีสำคัญถวายเทียนพรรษา ผ้าอาบน้ำฝน (ผ้าวัสสิกสาฏก) และหลอดไฟก็ถวายเพื่อให้พระสงฆ์ได้ใช้ตลอดการอยู่จำพรรษา โดยมีที่มาดังนี้ ประเพณีสำคัญขึ้นในวันเข้าพรรษามี 2 ประเพณีคือ 1. ประเพณีถวายผ้าอาบน้ำฝน เชื่อกันว่า ในสมัยพุทธกาล นางวิสาขา มหาอุบาสิกาต้องการจะนิมนต์พระภิกษุไปฉันภัตตาหารที่บ้าน จึงให้หญิงรับใช้ไปพระวิหารเชตวันเพื่อนิมนต์พระ ปรากฏว่านางไปเห็นพระภิกษุเปลือยกายอาบน้ำฝนอยู่ ก็กลับมารายงานด้วยความเข้าใจผิดว่าไม่พบพระ เห็นแต่พวกชีเปลือย นางวิสาขาก็รู้ด้วยปัญญาว่าคงเป็นพระอาบน้ำฝนอยู่ ดังนั้น นางจึงได้ทูลขอพรจากพระพุทธเจ้า ขอถวายผ้าอาบน้ำฝนแด่พระภิกษุและภิกษุณีเป็นประจำแต่นั้นมา จึงเกิดเป็นประเพณีที่ชาวพุทธปฏิบัติสืบต่อมาจนทุกวันนี้ และกล่าวกันว่า ผู้ที่ถวายผ้าอาบน้ำฝนจะได้รับอานิสงส์เหมือนการถวายผ้าอื่น ๆ ตามนัยที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ คือ ทำให้เป็นผู้มีผิวพรรณผ่องใส สวยงาม ไม่มีโรคภัยไข้เจ็บ มีความสะอาดผ่องใสทั้งกายและใจ 2. ส่วนประเพณีแห่เทียนพรรษา เกิดจากความจำเป็นที่ว่าสมัยก่อนยังไม่มีไฟฟ้าใช้เช่นปัจจุบัน ดังนั้น เมื่อพระภิกษุอยู่รวมกันมากๆเพื่อปฏิบัติกิจวัตร เช่น การสวดมนต์ตอนเช้ามืดและพลบค่ำ การศึกษาพระปริยัติธรรม การบูชาพระรัตนตรัย ฯลฯ จำเป็นต้องใช้แสงสว่างจากเทียน ดังนั้น ชาวบ้านจึงได้ร่วมกันนำเทียนมาถวาย ซึ่งช่วงต้นก็คงจะถวายเป็นเทียนเล็กๆธรรมดา ครั้นต่อมาก็ได้มีการมัดเทียนเล็กๆมารวมกันเป็นต้น คล้ายต้นกล้วยหรือลำไม้ไผ่ แล้วติดกับฐาน ที่เรียกกันว่า ต้นเทียน หรือ ต้นเทียนพรรษา และก็วิวัฒนาการมาเรื่อยๆจนเป็นเทียนพรรษาอย่างที่เราเห็นกันอยู่ในปัจจุบัน ว่ากันว่า เทียนพรรษา เริ่มมาจากผู้ที่นับถือศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ซึ่งนับถือวัว ที่เป็นพาหนะของพระอิศวร เมื่อวัวตาย ก็จะเอาไขจากวัวมาทำเป็นน้ำมันเพื่อจุดบูชาพระเป็นเจ้าที่ตนเคารพ แต่ชาวพุทธจะทำเทียนเพื่อบูชาพระรัตนตรัย โดยเอามาจากรังผึ้งร้าง ต้มเอาขี้ผึ้งมาฟั่นเป็นเทียนเล็กๆเพื่อจุดบูชาพระ และได้ยึดเป็นประเพณีที่จะนำเทียนไปถวายพระภิกษุในช่วงเข้าพรรรษา เพื่อปรารถนาให้ตนเองมีสติปัญญาเฉลียวฉลาดดุจดังแสงสว่างของดวงเทียน นอกจากนี้ในอดีต พุทธศาสนิกชนผู้ชายที่มีอายุครบบวช (20 ปี) จะนิยมถือบรรพชาอุปสมบทเป็นพระสงฆ์เพื่ออยู่จำพรรษาตลอดทั้ง 3 เดือน โดยพุทธศาสนิกชนชาวไทยจะเรียกการบรรพชาอุปสมบทเพื่อจำพรรษาตลอดพรรษากาลว่า บวชเอาพรรษา อานิสงส์แห่งการจำพรรษา เมื่อพระภิกษุอยู่จำพรรษาครบ 3 เดือนจะได้รับอานิสงส์แห่งการจำพรรษา 5 อย่าง ตลอด 1 เดือนนับแต่วันออกพรรษาเป็นต้นไป คือ เที่ยวจาริกไปโดยไม่ต้องบอกลา ตามสิกขาบทที่ ๖ แห่งอเจลกวรรค ปาจิตตีย์กัณฑ์ เที่ยวจาริกไปโดยไม่ต้องถือไตรจีวรไปครบสำรับ ฉันคณะโภชน์และปรัมปรโภชน์ได้ เก็บอติเรกจีวรได้ตามปรารถนา จีวรอันเกิดขึ้นในที่นั้นเป็นของพวกเธอ และยังได้โอกาสเพื่อที่จะกราลกฐิน และได้รับอานิสงส์พรรษาทั้ง 5 ขึ้นนั้นเพิ่มออกไปอีก 4 เดือน ในฤดูหนาว คือตั้งแต่แรม 1 ค่ำ เดือน 12 ไปจนถึงขึ้น 15 ค่ำ เดือน 4 อีกด้วย ประเภทของการเข้าพรรษาของพระสงฆ์ แบ่งเป็น 2 ประเภท ปุริมพรรษา คือ การเข้าพรรษาแรก การเข้าพรรษาแรก เริ่มตั้งแต่วันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 (สำหรับปีอธิกมาส คือ มีเดือน 8 สองหน จะเริ่มในวันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 หลัง) จนถึงวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 หลังจากออกพรรษาแล้ว พระที่อยู่จำพรรษาครบ 3 เดือน ก็มีสิทธิที่จะรับกฐินซึ่งมีช่วงเวลาเพียงหนึ่งเดือน นับตั้งแต่วันแรม 1 ค่ำ เดือน 11 ถึงขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 ปัจฉิมพรรษา คือ การเข้าพรรษาหลัง การเข้าพรรษาหลัง ใช้ในกรณีที่พระภิกษุต้องเดินทางไกลหรือมีเหตุสุดวิสัย ทำให้กลับมาเข้าพรรษาแรกในวันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 ไม่ทัน ต้องรอไปเข้าพรรษาหลัง คือวันแรม 1 ค่ำ เดือน 9 แล้วจะไปออกพรรษาในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 ซึ่งเป็นวันหมดเขตทอดกฐินพอดี ดังนั้นพระภิกษุที่เข้าปัจฉิมพรรษาจึงไม่มีโอกาสได้รับกฐิน แต่ก็ได้พรรษาเช่นเดียวกับพระที่เข้าปุริมพรรษาเหมือนกัน ในประเทศไทย พระภิกษุส่วนใหญ่จะจำพรรษาในช่วงปุริมพรรษาหรือพรรษาแรกมากกว่าปัจฉิมพรรษาหรือพรรษาหลัง ยกเว้นพระภิกษุที่อาพาธ(ป่วย)หรือมีกิจจำเป็นจึงจะอธิษฐานจำพรรษาในช่วงปัจฉิมพรรษา ส่วนการที่มีเดือนแปดสองหน หรือปีอธิกมาส ก็เพราะเป็นการนับทางจันทรคติ(วันขึ้น วันแรม)ซึ่งแต่ละปีจะมีจำนวนวันน้อยกว่าการนับทางสุริยคติ(การนับวันตามแบบปัจจุบัน) ทำให้ต้องเพิ่มเดือนในบางปีเพื่อชดเชยจำนวนวันที่หายไป มิให้ปีทางจันทรคติและสุริยคติคลาดเคลื่อนกันไปมากความเป็นมาของวันเข้าพรรษาเกิดขึ้น จุดประสงค์ของการเข้าพรรษา ลดความเสียหายที่พระสงฆ์จะไปเหยียบย้ำพืชที่ชาวบ้านปลูกในฤดูฝนระหว่างการธุดงค์ พระสงฆ์ได้พักผ่อนหลังจากเดินทางจาริกไปเผยแผ่พระพุทธศาสนามาเป็นเวลา 8 – 9 เดือน ชพระภิกษุสงฆ์จะได้ประพฤติปฏิบัติธรรมสำหรับตนเอง และศึกษาเล่าเรียนพระธรรมวินัยตลอดจนเตรียมการสั่งสอนให้กับประชาชนเมื่อถึงวันออกพรรษา ได้ใช้เวลาสอบรมสั่งสอนและบวชให้กับกุลบุตรผู้มีอายุครบบวช อันเป็นกำลังสำคัญในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาต่อไป พุทธศาสนิกชน ได้มีโอกาสบำเพ็ญกุศลเป็นการพิเศษ เช่น การทำบุญตักบาตร หล่อเทียนพรรษา ถวายผ้าอาบน้ำฝน รักษาศีล เจริญภาวนา ถวายจตุปัจจัยไทยธรรม งดเว้นอบายมุข และมีโอกาสได้ฟังพระธรรมเทศนาตลอดเวลาเข้าพรรษา ข้อยกเว้นการจำพรรษาของพระสงฆ์ แม้การเข้าพรรษานี้ถือเป็นข้อปฏิบัติสำหรับพระภิกษุโดยตรง ที่จะละเว้นไม่ได้ ไม่ว่ากรณีใด ๆ ก็ตาม แต่ว่าในการจำพรรษาของพระสงฆ์ในระหว่างพรรษานั้น อาจมีกรณีจำเป็นบางอย่าง ทำให้พระภิกษุผู้จำพรรษาต้องออกจากสถานที่จำพรรษาเพื่อไปค้างที่อื่น พระพุทธองค์ก็ทรงอนุญาตให้ทำได้โดยไม่ถือว่าเป็นการขาดพรรษาโดยมีเหตุจำเป็นเฉพาะกรณี ๆ ไป ตามที่ทรงระบุไว้ในพระไตรปิฎก ซึ่งส่วนใหญ่จะเกี่ยวกับการพระศาสนาหรือการอุปัฏฐานบิดามารดา แต่ทั้งนี้ก็จะต้องกลับมาภายในระยะเวลาไม่เกิน 7 วัน การออกนอกที่จำพรรษาล่วงวันเช่นนี้เรียกว่า “สัตตาหกรณียะ” ซึ่งเหตุที่ทรงระบุว่าจะออกจากที่จำพรรษาไปได้ชั่วคราวนั้นเช่น การไปรักษาพยาบาล หาอาหารให้ภิกษุหรือบิดามารดาที่เจ็บป่วย เป็นต้น กรณีนี้ทำได้กับสหธรรมิก 5 และมารดาบิดา การไประงับภิกษุสามเณรที่อยากจะสึกมิให้สึกได้ กรณีนี้ทำได้กับสหธรรมิก 5 การไปเพื่อกิจธุระของคณะสงฆ์ เช่น การไปหาอุปกรณ์มาซ่อมกุฏิที่ชำรุด หรือ การไปทำสังฆกรรม เช่น สวดญัตติจตุตถกรรมวาจาให้พระผู้ต้องการอยู่ปริวาส เป็นต้น หากทายกนิมนต์ไปทำบุญ ก็ไปให้ทายกได้ให้ทาน รับศีล ฟังเทสนาธรรมได้ กรณีนี้หากโยมไม่มานิมนต์ ก็จะไปค้างไม่ได้. ซึ่งหากพระสงฆ์ออกจากอาวาสแม้โดยสัตตาหกรณียะล่วงกำหนด 7 วันตามพระวินัย ก็ถือว่า ขาดพรรษา และเป็นอาบัติทุกกฎเพราะรับคำ (รับคำอธิษฐานเข้าพรรษาแต่ทำไม่ได้) ในกรณีที่พระสงฆ์สัตตาหกรณียะและกลับมาตามกำหนดแล้ว ไม่ถือว่าเป็นอาบัติ และสามารถกลับมาจำพรรษาต่อเนื่องไปได้ และหากมีเหตุจำเป็นที่จะต้องออกจากที่จำพรรษาไปได้ตามวินัยอีก ก็สามารถทำได้โดยสัตตาหกรณียะ แต่ต้องกลับมาภายในเจ็ดวัน เพื่อไม่ให้พรรษาขาดและไม่เป็นอาบัติทุกกฎดังกล่าวแล้ว แหล่งที่มา : sanook.com