โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนประจวบวิทยาลัย EZ WebmasterJune 20, 2025 วันนี้ทั้งเล่น ทั้งได้ความรู้ ทั้งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนประจวบวิทยาลัย จ.ประจวบคีรีขันธ์ วันที่20/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสามร้อยยอดวิทยาคม EZ WebmasterJune 20, 2025 กิจกรรมสร้างสรรค์ ความสุขเล็กๆ ที่ยิ่งสนุกสนาน โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนสามร้อยยอดวิทยาคม จ.ประจวบคีรีขันธ์ วันที่20/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศ EZ WebmasterJune 20, 2025 มาทำให้วันธรรมดา กลายเป็นวันพิเศษกันเถอะ! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศ จ.เพชรบุรี วันที่20/06/68 โดยวิทยากร อ.ธารา อิสสระ (พี่แฮนด์… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนรัตนราษฎร์บำรุง EZ WebmasterJune 20, 2025 สร้างความสุข สร้างความทรงจำดีๆ ให้เด็กๆ ทุกคน โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนรัตนราษฎร์บำรุง จ.ราชบุรี วันที่19/06/68 โดยวิทยากร อ.ธารา… นักศึกษา โรงเรียนปลอดมือถือ! อังกฤษ-ออสเตรเลียเริ่มแล้ว ดึงเด็กกลับมาสนใจครูในห้องเรียน EZ WebmasterJune 20, 2025 วันที่ 10 มิถุนายน 2568 – ในช่วงหลายเดือนที่ผ่านมา แวดวงการศึกษาในประเทศพัฒนาแล้วต่างให้ความสนใจประเด็น “โรงเรียนปลอดโทรศัพท์มือถือ (Phone-Free School)” อย่างจริงจัง ล่าสุดมีความเคลื่อนไหวชัดเจนจาก ประเทศอังกฤษและออสเตรเลีย ที่เริ่มนำร่องมาตรการควบคุมการใช้อุปกรณ์ดิจิทัลในโรงเรียนระดับมัธยมอย่างเข้มงวด จากรายงานของ สำนักข่าว BBC ระบุว่า… มธ. ปักหมุดหลักสูตร ‘AI Ethics’ หนุนบริบทใหม่ของห้องเรียนทันโลก สร้างจุดยืนคนรุ่นใหม่ ‘ใช้เอไออย่างมีจริยธรรม’ พร้อมเดินหน้าวางหมุดหมายระบบการศึกษาไทย กับการปลุกการใช้เทคฯ คู่ธรรมาภิบาล คาดเริ่มเปิดลงทะเบียนพร้อมเรียนจริง สิงหาคม 68 นี้ EZ WebmasterJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) ตอกย้ำจุดยืนเชิงรุกต่อการเปลี่ยนผ่านของโลกยุคดิจิทัล ผ่านการพัฒนาหลักสูตร “AI Ethics” หรือจริยธรรมปัญญาประดิษฐ์ ภายใต้ยุทธศาสตร์ Thammasat Next Century เตรียมความพร้อมให้เยาวชนไทยมีทั้งความรู้ ความสามารถ และความรับผิดชอบในการใช้งานเทคโนโลยีอย่างเหมาะสม โดยเฉพาะในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อที่ปัญญาประดิษฐ์กำลังกลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวัน ทั้งในห้องเรียน ที่ทำงาน และบนแพลตฟอร์มออนไลน์ต่าง ๆ โดยหลักสูตรนี้ถูกวางให้เป็นรากฐานสำคัญของระบบการศึกษายุคใหม่ ที่ไม่เพียงเน้นทักษะด้านเทคนิคเท่านั้น แต่ยังปลูกฝังค่านิยมที่ถูกต้องในการอยู่ร่วมกับเทคโนโลยี พร้อมชี้ให้เห็นถึงความเสี่ยงของ AI ที่เกิดจาก… 11 สาเหตุลึกซึ้ง ทำไมการศึกษาไทยยังตกต่ำ? เสียงสะท้อนจากครูชนบท สู่คำถามใหญ่ของสังคม EZ WebmasterJune 19, 2025 ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ประเทศไทยกำลังเผชิญกับวิกฤตคุณภาพทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง แม้จะมีความพยายามปฏิรูปหลายครั้ง แต่กลับไม่สามารถยกระดับการเรียนรู้ให้เทียบเท่าประเทศเพื่อนบ้านได้อย่างแท้จริงนายสานิตย์ พลศรี นายกสมาคมครูชนบทจังหวัดชัยภูมิ ในหัวข้อ “สาเหตุของปัญหาคุณภาพด้านการศึกษาประเทศไทยที่ตกต่ำ” ซึ่งกำลังถูกส่งต่ออย่างกว้างขวางในโซเชียลมีเดียและกลุ่มไลน์ของคนในแวดวงการศึกษาเสียงสะท้อนจากผู้ที่อยู่ในภาคสนามจริงอย่างนายสานิตย์ ทำให้เราได้เห็นภาพที่ชัดเจนมากขึ้นว่า ปัญหาไม่ได้อยู่ที่ตัวนักเรียนหรือครูเพียงลำพัง แต่เป็นผลสะสมจากโครงสร้าง ระบบ และการบริหารที่ผิดทิศผิดทางมานานจึงเป็นการเปิดประเด็นให้สังคมได้ทบทวนร่วมกันว่า หากเราไม่เริ่ม “เปลี่ยนจริง” คุณภาพการศึกษาของไทยอาจยิ่งตกต่ำลงกว่าที่เป็นอยู่ 11… ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา EZ WebmasterJune 18, 2025 วิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิทักษ์ ธรรมวาริน (คนที่ 4 จากซ้าย) คณบดีวิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สจล. และ Mr. Alfonso Martin (คนที่ 3… ทุนดีดี ทุนImperial Athletes Sport InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 20, 2025 Imperial College London เสนอทุนการศึกษา Imperial Athletes Sport เพื่อสนับสนุนนักกีฬาที่มีพรสวรรค์สำหรับปีการศึกษา 2025/2026 โดยเปิดโอกาสให้เลือกเรียนในหลากหลายสาขาวิชา เปิดรับใบสมัครถึง 4 สิงหาคม 2025 หากคุณกำลังแข่งขันในระดับภูมิภาค ระดับชาติ หรือระดับนานาชาติในกีฬาของคุณ และแสดงให้เห็นถึงพรสวรรค์… Kazan Global Youth Summit InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 19, 2025 เชิญเยาวชนสมัครคัดเลือกเข้าร่วมการประชุม Kazan Global Youth Summit ครั้งที่ 4 ระหว่างวันที่ 27 – 30 สิงหาคม 2568 ณ เมืองคาซาน สาธารณรัฐตาตาร์สตาน สหพันธรัฐรัสเซีย จัดโดยรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐตาตาร์สตาน… SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… ครู-อาจารย์ จุฬาฯ ผงาดอันดับ Top 44 ของโลกด้านความยั่งยืน ใน THE Impact Rankings 2025 ครองอันดับ 1 ของไทยอีกครั้ง tui sakrapeeJune 20, 2025 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยผงาดอันดับ Top 44 ของโลก และครองอันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทยอีกครั้งหนึ่ง จากการจัดอันดับโดย Times Higher Education Impact Rankings 2025 ด้วยผลงานที่โดดเด่นในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนและสร้างผลกระทบสูงต่อสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง SDG 9… หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 📚เริ่มเรียน กรกฎาคม 2568 ถึง มกราคม 2569 ทุกวันพฤหัสบดี 11:00 – 18:00 น.… มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ… สจล. เดินหน้ากระชับความร่วมมือทางวิชาการ กับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของจีน EZ WebmasterJune 19, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เดินหน้ากระชับความสัมพันธ์ทางวิชาการกับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งเป็นพันธมิตรที่มีความร่วมมือกันมานานกว่า 20 ปี เพื่อหารือขยายความร่วมมือเชิงลึกในสาขาวิศวกรรมขั้นสูง โดยเฉพาะด้าน Aerospace, Mechatronics, Automation และ Astronautics ซึ่ง HIT ถือเป็นสถาบันชั้นนำของจีนในด้านนี้ พร้อมทั้งหารือแนวทางความร่วมมือด้านการแลกเปลี่ยนนักศึกษา นักวิจัย และการพัฒนาโครงการ Joint Degree ในอนาคต รองศาสตราจารย์… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search tui sakrapee April 18, 2022 tui sakrapee April 18, 2022 จุฬาฯ วิจัยพบปริมาณสาร THC ในเครื่องดื่มกัญชาเกินกำหนด เตือนผู้บริโภคระวัง จี้รัฐควบคุม อาจารย์ชีวเคมี จุฬาฯ เผยผลวิจัย พบเครื่องดื่มกัญชาที่สุ่มตรวจกว่า 30 % มีปริมาณสาร THC เกินกำหนด เตือนผู้บริโภคดื่มแต่น้อย เด็กไม่ควรดื่ม แนะรัฐออกมาตรการควบคุม สื่อสารทั้งคุณและโทษของกัญชา หลังจากที่กัญชาและกัญชงถูกถอดออกจากบัญชียาเสพติด เปิดทางสู่การเป็นพืชเศรษฐกิจ ตลาดเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของกัญชาก็คึกคักและขยายตัวอย่างรวดเร็ว มีทั้งชากัญชา กาแฟกัญชา ตลอดจนตู้ขายเครื่องดื่มอัตโนมัติที่จำหน่ายเครื่องดื่มที่มีกัญชาผสม ปัจจุบัน กัญชาจึงกลายเป็นเครื่องดื่มที่เข้าถึงง่ายและกระจายสู่ทุกกลุ่มผู้บริโภค ข้อมูลจากการประชุมวิชาการศูนย์ศึกษาปัญหาการเสพติด (ศศก.) เพื่อการพัฒนาศักยภาพการวิจัย และนักวิชาการการเสพติด ครั้งที่ 9 ที่ผ่านมา (กุมภาพันธ์ 2565) เผยว่าคนไทยที่ใช้กัญชามีจำนวนเพิ่มขึ้นจากปีก่อนๆ เกือบเท่าตัว โดยผลสำรวจล่าสุด (ปี 2564) มีคนไทยอายุ 18 ปีขึ้นไปที่ใช้กัญชา จำนวนประมาณ 1.89 ล้านคน หรือคิดเป็น 4.3% เทียบกับผลสำรวจเมื่อปี 2563 ที่มีผู้ใช้กัญชาอยู่ที่ประมาณ 1 ล้านคน เทรนด์การบริโภคเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของกัญชาทำให้แพทย์และนักวิจัยด้านสารเสพติดหลายท่านรู้สึกกังวลถึงผลกระทบของสาร THC ในกัญชา ที่หากผู้บริโภคได้รับในปริมาณที่สูงและอย่างต่อเนื่อง ก็อาจจะส่งผลต่อพัฒนาการของสมอง เสี่ยงต่อการเป็นโรคซึมเศร้า จิตเภท หลอดเลือดหัวใจ และมะเร็งอัณฑะ เป็นต้น จุฬาฯ นำร่องงานวิจัยหาปริมาณสาร ∆9-THC ในเครื่องดื่มกัญชา ด้วยความห่วงใยต่อสุขภาพของผู้บริโภค รองศาสตราจารย์ ดร.เกื้อการุณย์ ครูส่ง อาจารย์ประจำภาควิชาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้นำร่องศึกษาวิจัยหาปริมาณสาร ∆9-THC หรือ delta9-tetrahydrocannabidol ในเครื่องดื่มกัญชาที่จำหน่ายในร้านขายเครื่องดื่มทั่วไป เพื่อหาว่ามีปริมาณสาร ∆9-THC เกินกว่าที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดหรือไม่ “เมื่อมีการนำกัญชามาเป็นส่วนประกอบในอาหารและเครื่องดื่มอย่างเสรี ทำให้คนทั่วไป รวมถึงเด็กและเยาวชนสามารถเข้าถึงได้ง่าย สื่อหรือโฆษณาต่างๆ ก็มักพูดถึงแต่ข้อดีของกัญชา ไม่ว่าจะเป็นการนำมาใช้ทางสันทนาการ หรือนำมารักษาโรค โดยลืมไปว่าผลเสียหรือโทษของกัญชาก็ยังคงมีอยู่หากได้รับในปริมาณที่เกินกำหนด แพทย์หลายท่านก็ออกมาเตือนด้วยว่าไม่ให้เด็กรับประทานโดยเด็ดขาด เนื่องจากอาจส่งผลต่อระบบประสาท สมองและพัฒนาการของเด็ก รวมทั้งจิตแพทย์ก็ชี้ว่าสาร ∆9-THC ในกัญชามีผลต่อสุขภาพจิต สมาธิ และเรื่องของภาวะอารมณ์ด้วย” รศ.ดร.เกื้อการุณย์ เล่าถึงที่มาของโครงการวิจัย ภายใต้การสนับสนุนทุนวิจัยจากศูนย์ศึกษาปัญหาการเสพติด (ศศก.) โครงการวิจัยครั้งนี้ได้รับความร่วมมือจากคณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญหลายท่านที่เข้ามาร่วมวิจัย อาทิ รองศาสตราจารย์ พญ.รัศมน กัลยาศิริ จากภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ และผู้อำนวยการ ศศก. เป็นที่ปรึกษางานวิจัย รองศาสตราจารย์ ภญ.ดร.สรกนก วิมลมั่งคั่ง ภาควิชาเภสัชเวทและเภสัชพฤกษศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาฯ ซึ่งทำวิจัยเกี่ยวกับกัญชาและสารธรรมชาติจากกัญชาอยู่ก่อนแล้ว เข้ามาช่วยให้คำแนะนำ ศาสตราจารย์ ดร.อรวรรณ ชัยลภากุล และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชฎิล กุลสิงห์ จากภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ ที่มีความเชี่ยวชาญด้านการวิเคราะห์ มาช่วยดูเรื่องปริมาณสาร ∆9-THC ในเครื่องดื่มที่เก็บตัวอย่างมา ผลการสุ่มตรวจปริมาณ ∆9-THC ในเครื่องดื่มกัญชา คณะผู้วิจัยได้เก็บตัวอย่างเครื่องดื่มกัญชาและเครื่องดื่มที่ผสมกัญชา ที่ขายอยู่ทั่วไปในร้านขายเครื่องดื่มและคาเฟ่ต่างๆ ในกรุงเทพมหานคร 30 กว่าตัวอย่าง มีทั้งเครื่องดื่มประเภทชา กาแฟ โซดา และประเภทที่ใส่นม โดยกรรมวิธีการตรวจสอบตัวอย่างเครื่องดื่มนั้นใช้วิธีมาตรฐานระดับสากลที่ใช้ตรวจหาสาร ∆9-THC ในอาหาร ได้แก่เทคนิคที่เรียกว่า GC–MS (Gas chromatography–Mass spectroscopy) ซึ่งเป็นเทคนิคที่ใช้แยกและระบุสารต่างๆ ภายในตัวอย่างทดสอบ และ HPLC (High Performance Liquid Chromatography) ในการแยกสารผสมและการหาเชิงปริมาณของสารเป้าหมาย โดยใช้เครื่องสูบแรงดันสูง (high pressure pump) “ถามว่าเพราะอะไรจึงต้องเป็นเฉพาะเครื่องดื่มกัญชาจากร้านทั่วไป คือหากเป็นเครื่องดื่มกัญชาประเภทสำเร็จรูป พวกนั้นจะมีการขอ อย. และมีฉลากแสดงชัดเจนว่ามีส่วนประกอบของสาร ∆9-THC ปริมาณเท่าไรต่อ 100 มิลลิลิตร หรือต่อ 1 หน่วยบริโภค แต่เครื่องดื่มที่ขายในร้านประเภทคาเฟ่ ส่วนมากสูตรของเครื่องดื่มจะทำกันขึ้นมาเอง แม้กระทั่งเมนูเดียวกัน ก็ไม่อาจแน่ใจได้เลยว่าแต่ละแก้วมีปริมาณสาร ∆9-THC เท่ากันหรือเปล่า ซึ่งเป็นสิ่งที่น่ากลัว” สำหรับผลการสุ่มตรวจหาปริมาณสาร ∆9-THC ดังกล่าว รศ.ดร.เกื้อการุณย์ เผยว่า “เครื่องดื่มที่สุ่มตรวจส่วนใหญ่มีสาร ∆9-THC ในปริมาณที่ไม่เกินจากที่สาธารณสุขกำหนด แต่ราว 30 % พบว่ามีปริมาณสาร ∆9-THC เกินกว่าที่กฎหมายกำหนดหรือแนะนำให้ไม่เกิน 0.015 มิลลิกรัม ต่อ 100 มิลลิลิตร ซึ่งหากผู้บริโภคเจอร้านหรือดื่มเครื่องดื่มที่มีปริมาณสาร THC เกินกำหนดเหล่านี้ก็จะเกิดอันตรายต่อสุขภาพได้ โดยเฉพาะสำหรับผู้ที่มีอาการแพ้สาร ∆9-THC” อย่างไรก็ดี งานวิจัยไม่สามารถเปิดเผยหรือระบุว่าเครื่องดื่มใด จากร้านใด มีปริมาณสาร ∆9-THC เท่าไร แต่อาจนำเสนอในรูปแบบรายงานของ ศศก. ซึ่งเป็นหน่วยงานภายใต้ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลสำหรับงานด้านนโยบายต่อไปในอนาคต งานวิจัยสำหรับปีนี้ (2565) ใกล้เสร็จสมบูรณ์แล้ว และในอนาคต รศ.ดร.เกื้อการุณย์ คาดว่าจะวิจัยโดยมีการเก็บตัวอย่างมากขึ้น อาจจะเป็นการขยายพื้นที่เก็บตัวอย่างไปยังส่วนภูมิภาค หรือเก็บตัวอย่างในอาหารชนิดอื่นๆ ที่นอกเหนือไปจากเครื่องดื่ม แนะบริโภคกัญชาอย่างปลอดภัย สำหรับผู้บริโภค สิ่งที่ รศ.ดร.เกื้อการุณย์ รู้สึกเป็นกังวลคือปริมาณของสาร ∆9-THC ที่ได้รับต่อวัน ด้วยประเทศไทยยังไม่เคยมีการกำหนดหรือมีข้อแนะนำว่าควรหรือไม่ควรบริโภคในปริมาณเท่าไรต่อวัน ยกตัวอย่างเช่น ต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม ไม่ควรบริโภคเกินกี่ไมโครกรัม หากเกินกว่านั้นอาจจะได้รับผลข้างเคียง เป็นต้น ซึ่งแม้แต่ในต่างประเทศเองก็ยังไม่ชัดเจนนัก เพราะยังไม่มีงานวิจัยในเรื่องผลระยะยาวจากการบริโภค ทั้งนี้ อาจจะกำหนดการบริโภคเครื่องดื่มกัญชาหรือที่มีส่วนผสมของกัญชาให้เหมือนเครื่องดื่มชนิดอื่นๆ เช่น เครื่องดื่มชูกำลัง ที่มีคำเตือนที่คุ้นหูว่าไม่ควรดื่มเกินวันละ 2 ขวด เป็นตัวอย่าง “แม้แต่ร้านค้าหรือผู้ประกอบการเอง ปัจจุบันก็น่าจะยังไม่ทราบด้วยซ้ำว่าห้ามไม่ให้มีปริมาณสาร ∆9-THC เท่าไรต่อเครื่องดื่ม 1 แก้ว หรือต่อให้ทราบ ก็ไม่น่าจะสามารถควบคุมปริมาณได้ เพราะไม่เคยมีการตรวจ อีกทั้งกรรมวิธีที่ใช้ในการผลิตของแต่ละร้านก็ต่างกัน หากใช้ใบนำมาต้มผสมเครื่องดื่ม อันนั้นอาจจะไม่ค่อยน่าห่วง เพราะได้ปริมาณสาร ∆9-THC ออกมาค่อนข้างน้อย แต่ถ้ามีการสกัดด้วยความร้อน หรือใช้เป็นน้ำมันสกัด อันนั้นน่ากังวลมาก และไม่มีทางที่ผู้ประกอบการจะรู้เลยว่า อาหารหรือเครื่องดื่มของตนต่อ 1 serve มีปริมาณ ∆9-THC เท่าไร” ด้วยเหตุนี้ รศ.ดร.เกื้อการุณย์ จึงแนะนำผู้ที่ต้องการทดลองดื่มเครื่องดื่มที่ผสมกัญชาหรือกัญชงให้ใช้ความระมัดระวังและบริโภคแต่น้อย เพื่อไม่ให้ร่างกายได้รับสาร ∆9-THC มากจนเกิดอันตราย และไม่แนะนำเด็ดขาดสำหรับเด็กในวัยเรียน เนื่องจากยังไม่ทราบผลในระยะยาว เสนอรัฐควบคุมร้านค้าจำหน่ายอาหารและเครื่องดื่มกัญชา ร้านที่ขายเครื่องดื่มกัญชาหรืออาหารที่ผสมกัญชา ควรมีป้ายหรือประกาศแจ้งให้ผู้บริโภครับทราบอย่างชัดเจน เพื่อผู้ที่ไม่ต้องการบริโภคผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมกัญชาและผู้ปกครองจะได้ระมัดระวัง แนะสื่อนำเสนอทั้งคุณและโทษของกัญชา การส่งเสริมจากภาครัฐเพื่อพัฒนากัญชาและกัญชงให้เป็นพืชเศรษฐกิจมีส่วนทำให้หลายฝ่าย รวมถึงสื่อ เน้นกล่าวถึงคุณประโยชน์ของกัญชา โดยละเลยและมองข้ามโทษของกัญชา “ปัจจุบัน ในสื่อต่างๆ มักจะนำเสนอแต่ด้านและประโยชน์ของกัญชา ในฐานะพืชสมุนไพรที่สร้างรายได้ มีการปรับปรุงบรรจุภัณฑ์ให้ดึงดูด ทำให้เห็นว่าเป็นสินค้าน่าซื้อ ไม่มีอันตราย ซึ่งหากมีใครออกมาพูดถึงข้อเสีย เสียงก็คงไม่ดังเท่าไร เพราะเป็นด้านที่ไม่ทำเงินและฟังดูล้าสมัย” “แต่เราไม่อาจปฏิเสธได้ว่ากัญชาก็ยังมีด้านที่เป็นโทษ จริงๆ แล้ว ในกัญชามีสารอีกหลายตัวที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ แต่ตัวที่มีผลเสียมากที่สุดก็คือสาร ∆9-THC นี่แหละ หากบริโภคโดยไม่ระวัง โดยเฉพาะเด็กและเยาวชนที่มักจะอยากรู้อยากลองและบริโภคตามกระแส จึงอยากให้มีการรณรงค์ทั้งสองด้าน คือ พูดเรื่องประโยชน์ แต่ก็ไม่ลืมเรื่องโทษด้วยเช่นกัน” รศ.ดร.เกื้อการุณย์ กล่าวเน้นด้วยความห่วงใย แม้ในปัจจุบัน กัญชาและกัญชงจะได้รับการปลดล็อคถอดออกจากบัญชียาเสพติดแล้ว แต่ไม่ได้หมายความว่าจะสามารถใช้ได้โดยทั่วไปอย่างเสรี หากมีปริมาณสาร ∆9-THC เกิน 0.2% โดยน้ำหนัก ตามประกาศคณะกรรมการควบคุมยาเสพติด ก็ยังถือว่าเป็นยาเสพติด ดังนั้น ผู้บริโภคควรระมัดระวังในการรับประทานอาหารและเครื่องดื่มที่ผสมกัญชาหรือสารสกัดจากกัญชาเพื่อหลีกเลี่ยงอันตรายจากกัญชาที่อาจส่งผลต่อสุขภาพในระยะยาว tui sakrapee Related Posts โรงเรียนปลอดมือถือ! อังกฤษ-ออสเตรเลียเริ่มแล้ว ดึงเด็กกลับมาสนใจครูในห้องเรียน จุฬาฯ ผงาดอันดับ Top 44 ของโลกด้านความยั่งยืน ใน THE Impact Rankings 2025 ครองอันดับ 1 ของไทยอีกครั้ง หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 สจล. เดินหน้ากระชับความร่วมมือทางวิชาการ กับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของจีน Post navigation PREVIOUS Previous post: นักวิจัย ม.ทักษิณ แปรสภาพต้นปาล์มน้ำมันที่เกษตรกรโค่นทิ้ง เป็นบรรจุภัณฑ์กระดาษ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมNEXT Next post: นิสิตคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ คว้ารางวัลด้านสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืน จากโครงการลดปัญหาฝุ่น PM2.5 จากไฟป่าในอุทยานแห่งชาติแม่ปิง Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสามร้อยยอดวิทยาคม EZ WebmasterJune 20, 2025 กิจกรรมสร้างสรรค์ ความสุขเล็กๆ ที่ยิ่งสนุกสนาน โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนสามร้อยยอดวิทยาคม จ.ประจวบคีรีขันธ์ วันที่20/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศ EZ WebmasterJune 20, 2025 มาทำให้วันธรรมดา กลายเป็นวันพิเศษกันเถอะ! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศ จ.เพชรบุรี วันที่20/06/68 โดยวิทยากร อ.ธารา อิสสระ (พี่แฮนด์… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนรัตนราษฎร์บำรุง EZ WebmasterJune 20, 2025 สร้างความสุข สร้างความทรงจำดีๆ ให้เด็กๆ ทุกคน โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนรัตนราษฎร์บำรุง จ.ราชบุรี วันที่19/06/68 โดยวิทยากร อ.ธารา… นักศึกษา โรงเรียนปลอดมือถือ! อังกฤษ-ออสเตรเลียเริ่มแล้ว ดึงเด็กกลับมาสนใจครูในห้องเรียน EZ WebmasterJune 20, 2025 วันที่ 10 มิถุนายน 2568 – ในช่วงหลายเดือนที่ผ่านมา แวดวงการศึกษาในประเทศพัฒนาแล้วต่างให้ความสนใจประเด็น “โรงเรียนปลอดโทรศัพท์มือถือ (Phone-Free School)” อย่างจริงจัง ล่าสุดมีความเคลื่อนไหวชัดเจนจาก ประเทศอังกฤษและออสเตรเลีย ที่เริ่มนำร่องมาตรการควบคุมการใช้อุปกรณ์ดิจิทัลในโรงเรียนระดับมัธยมอย่างเข้มงวด จากรายงานของ สำนักข่าว BBC ระบุว่า… มธ. ปักหมุดหลักสูตร ‘AI Ethics’ หนุนบริบทใหม่ของห้องเรียนทันโลก สร้างจุดยืนคนรุ่นใหม่ ‘ใช้เอไออย่างมีจริยธรรม’ พร้อมเดินหน้าวางหมุดหมายระบบการศึกษาไทย กับการปลุกการใช้เทคฯ คู่ธรรมาภิบาล คาดเริ่มเปิดลงทะเบียนพร้อมเรียนจริง สิงหาคม 68 นี้ EZ WebmasterJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) ตอกย้ำจุดยืนเชิงรุกต่อการเปลี่ยนผ่านของโลกยุคดิจิทัล ผ่านการพัฒนาหลักสูตร “AI Ethics” หรือจริยธรรมปัญญาประดิษฐ์ ภายใต้ยุทธศาสตร์ Thammasat Next Century เตรียมความพร้อมให้เยาวชนไทยมีทั้งความรู้ ความสามารถ และความรับผิดชอบในการใช้งานเทคโนโลยีอย่างเหมาะสม โดยเฉพาะในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อที่ปัญญาประดิษฐ์กำลังกลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวัน ทั้งในห้องเรียน ที่ทำงาน และบนแพลตฟอร์มออนไลน์ต่าง ๆ โดยหลักสูตรนี้ถูกวางให้เป็นรากฐานสำคัญของระบบการศึกษายุคใหม่ ที่ไม่เพียงเน้นทักษะด้านเทคนิคเท่านั้น แต่ยังปลูกฝังค่านิยมที่ถูกต้องในการอยู่ร่วมกับเทคโนโลยี พร้อมชี้ให้เห็นถึงความเสี่ยงของ AI ที่เกิดจาก… 11 สาเหตุลึกซึ้ง ทำไมการศึกษาไทยยังตกต่ำ? เสียงสะท้อนจากครูชนบท สู่คำถามใหญ่ของสังคม EZ WebmasterJune 19, 2025 ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ประเทศไทยกำลังเผชิญกับวิกฤตคุณภาพทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง แม้จะมีความพยายามปฏิรูปหลายครั้ง แต่กลับไม่สามารถยกระดับการเรียนรู้ให้เทียบเท่าประเทศเพื่อนบ้านได้อย่างแท้จริงนายสานิตย์ พลศรี นายกสมาคมครูชนบทจังหวัดชัยภูมิ ในหัวข้อ “สาเหตุของปัญหาคุณภาพด้านการศึกษาประเทศไทยที่ตกต่ำ” ซึ่งกำลังถูกส่งต่ออย่างกว้างขวางในโซเชียลมีเดียและกลุ่มไลน์ของคนในแวดวงการศึกษาเสียงสะท้อนจากผู้ที่อยู่ในภาคสนามจริงอย่างนายสานิตย์ ทำให้เราได้เห็นภาพที่ชัดเจนมากขึ้นว่า ปัญหาไม่ได้อยู่ที่ตัวนักเรียนหรือครูเพียงลำพัง แต่เป็นผลสะสมจากโครงสร้าง ระบบ และการบริหารที่ผิดทิศผิดทางมานานจึงเป็นการเปิดประเด็นให้สังคมได้ทบทวนร่วมกันว่า หากเราไม่เริ่ม “เปลี่ยนจริง” คุณภาพการศึกษาของไทยอาจยิ่งตกต่ำลงกว่าที่เป็นอยู่ 11… ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา EZ WebmasterJune 18, 2025 วิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิทักษ์ ธรรมวาริน (คนที่ 4 จากซ้าย) คณบดีวิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สจล. และ Mr. Alfonso Martin (คนที่ 3… ทุนดีดี ทุนImperial Athletes Sport InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 20, 2025 Imperial College London เสนอทุนการศึกษา Imperial Athletes Sport เพื่อสนับสนุนนักกีฬาที่มีพรสวรรค์สำหรับปีการศึกษา 2025/2026 โดยเปิดโอกาสให้เลือกเรียนในหลากหลายสาขาวิชา เปิดรับใบสมัครถึง 4 สิงหาคม 2025 หากคุณกำลังแข่งขันในระดับภูมิภาค ระดับชาติ หรือระดับนานาชาติในกีฬาของคุณ และแสดงให้เห็นถึงพรสวรรค์… Kazan Global Youth Summit InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 19, 2025 เชิญเยาวชนสมัครคัดเลือกเข้าร่วมการประชุม Kazan Global Youth Summit ครั้งที่ 4 ระหว่างวันที่ 27 – 30 สิงหาคม 2568 ณ เมืองคาซาน สาธารณรัฐตาตาร์สตาน สหพันธรัฐรัสเซีย จัดโดยรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐตาตาร์สตาน… SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… ครู-อาจารย์ จุฬาฯ ผงาดอันดับ Top 44 ของโลกด้านความยั่งยืน ใน THE Impact Rankings 2025 ครองอันดับ 1 ของไทยอีกครั้ง tui sakrapeeJune 20, 2025 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยผงาดอันดับ Top 44 ของโลก และครองอันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทยอีกครั้งหนึ่ง จากการจัดอันดับโดย Times Higher Education Impact Rankings 2025 ด้วยผลงานที่โดดเด่นในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนและสร้างผลกระทบสูงต่อสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง SDG 9… หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 📚เริ่มเรียน กรกฎาคม 2568 ถึง มกราคม 2569 ทุกวันพฤหัสบดี 11:00 – 18:00 น.… มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ… สจล. เดินหน้ากระชับความร่วมมือทางวิชาการ กับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของจีน EZ WebmasterJune 19, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เดินหน้ากระชับความสัมพันธ์ทางวิชาการกับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งเป็นพันธมิตรที่มีความร่วมมือกันมานานกว่า 20 ปี เพื่อหารือขยายความร่วมมือเชิงลึกในสาขาวิศวกรรมขั้นสูง โดยเฉพาะด้าน Aerospace, Mechatronics, Automation และ Astronautics ซึ่ง HIT ถือเป็นสถาบันชั้นนำของจีนในด้านนี้ พร้อมทั้งหารือแนวทางความร่วมมือด้านการแลกเปลี่ยนนักศึกษา นักวิจัย และการพัฒนาโครงการ Joint Degree ในอนาคต รองศาสตราจารย์… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search tui sakrapee April 18, 2022 tui sakrapee April 18, 2022 จุฬาฯ วิจัยพบปริมาณสาร THC ในเครื่องดื่มกัญชาเกินกำหนด เตือนผู้บริโภคระวัง จี้รัฐควบคุม อาจารย์ชีวเคมี จุฬาฯ เผยผลวิจัย พบเครื่องดื่มกัญชาที่สุ่มตรวจกว่า 30 % มีปริมาณสาร THC เกินกำหนด เตือนผู้บริโภคดื่มแต่น้อย เด็กไม่ควรดื่ม แนะรัฐออกมาตรการควบคุม สื่อสารทั้งคุณและโทษของกัญชา หลังจากที่กัญชาและกัญชงถูกถอดออกจากบัญชียาเสพติด เปิดทางสู่การเป็นพืชเศรษฐกิจ ตลาดเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของกัญชาก็คึกคักและขยายตัวอย่างรวดเร็ว มีทั้งชากัญชา กาแฟกัญชา ตลอดจนตู้ขายเครื่องดื่มอัตโนมัติที่จำหน่ายเครื่องดื่มที่มีกัญชาผสม ปัจจุบัน กัญชาจึงกลายเป็นเครื่องดื่มที่เข้าถึงง่ายและกระจายสู่ทุกกลุ่มผู้บริโภค ข้อมูลจากการประชุมวิชาการศูนย์ศึกษาปัญหาการเสพติด (ศศก.) เพื่อการพัฒนาศักยภาพการวิจัย และนักวิชาการการเสพติด ครั้งที่ 9 ที่ผ่านมา (กุมภาพันธ์ 2565) เผยว่าคนไทยที่ใช้กัญชามีจำนวนเพิ่มขึ้นจากปีก่อนๆ เกือบเท่าตัว โดยผลสำรวจล่าสุด (ปี 2564) มีคนไทยอายุ 18 ปีขึ้นไปที่ใช้กัญชา จำนวนประมาณ 1.89 ล้านคน หรือคิดเป็น 4.3% เทียบกับผลสำรวจเมื่อปี 2563 ที่มีผู้ใช้กัญชาอยู่ที่ประมาณ 1 ล้านคน เทรนด์การบริโภคเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของกัญชาทำให้แพทย์และนักวิจัยด้านสารเสพติดหลายท่านรู้สึกกังวลถึงผลกระทบของสาร THC ในกัญชา ที่หากผู้บริโภคได้รับในปริมาณที่สูงและอย่างต่อเนื่อง ก็อาจจะส่งผลต่อพัฒนาการของสมอง เสี่ยงต่อการเป็นโรคซึมเศร้า จิตเภท หลอดเลือดหัวใจ และมะเร็งอัณฑะ เป็นต้น จุฬาฯ นำร่องงานวิจัยหาปริมาณสาร ∆9-THC ในเครื่องดื่มกัญชา ด้วยความห่วงใยต่อสุขภาพของผู้บริโภค รองศาสตราจารย์ ดร.เกื้อการุณย์ ครูส่ง อาจารย์ประจำภาควิชาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้นำร่องศึกษาวิจัยหาปริมาณสาร ∆9-THC หรือ delta9-tetrahydrocannabidol ในเครื่องดื่มกัญชาที่จำหน่ายในร้านขายเครื่องดื่มทั่วไป เพื่อหาว่ามีปริมาณสาร ∆9-THC เกินกว่าที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดหรือไม่ “เมื่อมีการนำกัญชามาเป็นส่วนประกอบในอาหารและเครื่องดื่มอย่างเสรี ทำให้คนทั่วไป รวมถึงเด็กและเยาวชนสามารถเข้าถึงได้ง่าย สื่อหรือโฆษณาต่างๆ ก็มักพูดถึงแต่ข้อดีของกัญชา ไม่ว่าจะเป็นการนำมาใช้ทางสันทนาการ หรือนำมารักษาโรค โดยลืมไปว่าผลเสียหรือโทษของกัญชาก็ยังคงมีอยู่หากได้รับในปริมาณที่เกินกำหนด แพทย์หลายท่านก็ออกมาเตือนด้วยว่าไม่ให้เด็กรับประทานโดยเด็ดขาด เนื่องจากอาจส่งผลต่อระบบประสาท สมองและพัฒนาการของเด็ก รวมทั้งจิตแพทย์ก็ชี้ว่าสาร ∆9-THC ในกัญชามีผลต่อสุขภาพจิต สมาธิ และเรื่องของภาวะอารมณ์ด้วย” รศ.ดร.เกื้อการุณย์ เล่าถึงที่มาของโครงการวิจัย ภายใต้การสนับสนุนทุนวิจัยจากศูนย์ศึกษาปัญหาการเสพติด (ศศก.) โครงการวิจัยครั้งนี้ได้รับความร่วมมือจากคณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญหลายท่านที่เข้ามาร่วมวิจัย อาทิ รองศาสตราจารย์ พญ.รัศมน กัลยาศิริ จากภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ และผู้อำนวยการ ศศก. เป็นที่ปรึกษางานวิจัย รองศาสตราจารย์ ภญ.ดร.สรกนก วิมลมั่งคั่ง ภาควิชาเภสัชเวทและเภสัชพฤกษศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาฯ ซึ่งทำวิจัยเกี่ยวกับกัญชาและสารธรรมชาติจากกัญชาอยู่ก่อนแล้ว เข้ามาช่วยให้คำแนะนำ ศาสตราจารย์ ดร.อรวรรณ ชัยลภากุล และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชฎิล กุลสิงห์ จากภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ ที่มีความเชี่ยวชาญด้านการวิเคราะห์ มาช่วยดูเรื่องปริมาณสาร ∆9-THC ในเครื่องดื่มที่เก็บตัวอย่างมา ผลการสุ่มตรวจปริมาณ ∆9-THC ในเครื่องดื่มกัญชา คณะผู้วิจัยได้เก็บตัวอย่างเครื่องดื่มกัญชาและเครื่องดื่มที่ผสมกัญชา ที่ขายอยู่ทั่วไปในร้านขายเครื่องดื่มและคาเฟ่ต่างๆ ในกรุงเทพมหานคร 30 กว่าตัวอย่าง มีทั้งเครื่องดื่มประเภทชา กาแฟ โซดา และประเภทที่ใส่นม โดยกรรมวิธีการตรวจสอบตัวอย่างเครื่องดื่มนั้นใช้วิธีมาตรฐานระดับสากลที่ใช้ตรวจหาสาร ∆9-THC ในอาหาร ได้แก่เทคนิคที่เรียกว่า GC–MS (Gas chromatography–Mass spectroscopy) ซึ่งเป็นเทคนิคที่ใช้แยกและระบุสารต่างๆ ภายในตัวอย่างทดสอบ และ HPLC (High Performance Liquid Chromatography) ในการแยกสารผสมและการหาเชิงปริมาณของสารเป้าหมาย โดยใช้เครื่องสูบแรงดันสูง (high pressure pump) “ถามว่าเพราะอะไรจึงต้องเป็นเฉพาะเครื่องดื่มกัญชาจากร้านทั่วไป คือหากเป็นเครื่องดื่มกัญชาประเภทสำเร็จรูป พวกนั้นจะมีการขอ อย. และมีฉลากแสดงชัดเจนว่ามีส่วนประกอบของสาร ∆9-THC ปริมาณเท่าไรต่อ 100 มิลลิลิตร หรือต่อ 1 หน่วยบริโภค แต่เครื่องดื่มที่ขายในร้านประเภทคาเฟ่ ส่วนมากสูตรของเครื่องดื่มจะทำกันขึ้นมาเอง แม้กระทั่งเมนูเดียวกัน ก็ไม่อาจแน่ใจได้เลยว่าแต่ละแก้วมีปริมาณสาร ∆9-THC เท่ากันหรือเปล่า ซึ่งเป็นสิ่งที่น่ากลัว” สำหรับผลการสุ่มตรวจหาปริมาณสาร ∆9-THC ดังกล่าว รศ.ดร.เกื้อการุณย์ เผยว่า “เครื่องดื่มที่สุ่มตรวจส่วนใหญ่มีสาร ∆9-THC ในปริมาณที่ไม่เกินจากที่สาธารณสุขกำหนด แต่ราว 30 % พบว่ามีปริมาณสาร ∆9-THC เกินกว่าที่กฎหมายกำหนดหรือแนะนำให้ไม่เกิน 0.015 มิลลิกรัม ต่อ 100 มิลลิลิตร ซึ่งหากผู้บริโภคเจอร้านหรือดื่มเครื่องดื่มที่มีปริมาณสาร THC เกินกำหนดเหล่านี้ก็จะเกิดอันตรายต่อสุขภาพได้ โดยเฉพาะสำหรับผู้ที่มีอาการแพ้สาร ∆9-THC” อย่างไรก็ดี งานวิจัยไม่สามารถเปิดเผยหรือระบุว่าเครื่องดื่มใด จากร้านใด มีปริมาณสาร ∆9-THC เท่าไร แต่อาจนำเสนอในรูปแบบรายงานของ ศศก. ซึ่งเป็นหน่วยงานภายใต้ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลสำหรับงานด้านนโยบายต่อไปในอนาคต งานวิจัยสำหรับปีนี้ (2565) ใกล้เสร็จสมบูรณ์แล้ว และในอนาคต รศ.ดร.เกื้อการุณย์ คาดว่าจะวิจัยโดยมีการเก็บตัวอย่างมากขึ้น อาจจะเป็นการขยายพื้นที่เก็บตัวอย่างไปยังส่วนภูมิภาค หรือเก็บตัวอย่างในอาหารชนิดอื่นๆ ที่นอกเหนือไปจากเครื่องดื่ม แนะบริโภคกัญชาอย่างปลอดภัย สำหรับผู้บริโภค สิ่งที่ รศ.ดร.เกื้อการุณย์ รู้สึกเป็นกังวลคือปริมาณของสาร ∆9-THC ที่ได้รับต่อวัน ด้วยประเทศไทยยังไม่เคยมีการกำหนดหรือมีข้อแนะนำว่าควรหรือไม่ควรบริโภคในปริมาณเท่าไรต่อวัน ยกตัวอย่างเช่น ต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม ไม่ควรบริโภคเกินกี่ไมโครกรัม หากเกินกว่านั้นอาจจะได้รับผลข้างเคียง เป็นต้น ซึ่งแม้แต่ในต่างประเทศเองก็ยังไม่ชัดเจนนัก เพราะยังไม่มีงานวิจัยในเรื่องผลระยะยาวจากการบริโภค ทั้งนี้ อาจจะกำหนดการบริโภคเครื่องดื่มกัญชาหรือที่มีส่วนผสมของกัญชาให้เหมือนเครื่องดื่มชนิดอื่นๆ เช่น เครื่องดื่มชูกำลัง ที่มีคำเตือนที่คุ้นหูว่าไม่ควรดื่มเกินวันละ 2 ขวด เป็นตัวอย่าง “แม้แต่ร้านค้าหรือผู้ประกอบการเอง ปัจจุบันก็น่าจะยังไม่ทราบด้วยซ้ำว่าห้ามไม่ให้มีปริมาณสาร ∆9-THC เท่าไรต่อเครื่องดื่ม 1 แก้ว หรือต่อให้ทราบ ก็ไม่น่าจะสามารถควบคุมปริมาณได้ เพราะไม่เคยมีการตรวจ อีกทั้งกรรมวิธีที่ใช้ในการผลิตของแต่ละร้านก็ต่างกัน หากใช้ใบนำมาต้มผสมเครื่องดื่ม อันนั้นอาจจะไม่ค่อยน่าห่วง เพราะได้ปริมาณสาร ∆9-THC ออกมาค่อนข้างน้อย แต่ถ้ามีการสกัดด้วยความร้อน หรือใช้เป็นน้ำมันสกัด อันนั้นน่ากังวลมาก และไม่มีทางที่ผู้ประกอบการจะรู้เลยว่า อาหารหรือเครื่องดื่มของตนต่อ 1 serve มีปริมาณ ∆9-THC เท่าไร” ด้วยเหตุนี้ รศ.ดร.เกื้อการุณย์ จึงแนะนำผู้ที่ต้องการทดลองดื่มเครื่องดื่มที่ผสมกัญชาหรือกัญชงให้ใช้ความระมัดระวังและบริโภคแต่น้อย เพื่อไม่ให้ร่างกายได้รับสาร ∆9-THC มากจนเกิดอันตราย และไม่แนะนำเด็ดขาดสำหรับเด็กในวัยเรียน เนื่องจากยังไม่ทราบผลในระยะยาว เสนอรัฐควบคุมร้านค้าจำหน่ายอาหารและเครื่องดื่มกัญชา ร้านที่ขายเครื่องดื่มกัญชาหรืออาหารที่ผสมกัญชา ควรมีป้ายหรือประกาศแจ้งให้ผู้บริโภครับทราบอย่างชัดเจน เพื่อผู้ที่ไม่ต้องการบริโภคผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมกัญชาและผู้ปกครองจะได้ระมัดระวัง แนะสื่อนำเสนอทั้งคุณและโทษของกัญชา การส่งเสริมจากภาครัฐเพื่อพัฒนากัญชาและกัญชงให้เป็นพืชเศรษฐกิจมีส่วนทำให้หลายฝ่าย รวมถึงสื่อ เน้นกล่าวถึงคุณประโยชน์ของกัญชา โดยละเลยและมองข้ามโทษของกัญชา “ปัจจุบัน ในสื่อต่างๆ มักจะนำเสนอแต่ด้านและประโยชน์ของกัญชา ในฐานะพืชสมุนไพรที่สร้างรายได้ มีการปรับปรุงบรรจุภัณฑ์ให้ดึงดูด ทำให้เห็นว่าเป็นสินค้าน่าซื้อ ไม่มีอันตราย ซึ่งหากมีใครออกมาพูดถึงข้อเสีย เสียงก็คงไม่ดังเท่าไร เพราะเป็นด้านที่ไม่ทำเงินและฟังดูล้าสมัย” “แต่เราไม่อาจปฏิเสธได้ว่ากัญชาก็ยังมีด้านที่เป็นโทษ จริงๆ แล้ว ในกัญชามีสารอีกหลายตัวที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ แต่ตัวที่มีผลเสียมากที่สุดก็คือสาร ∆9-THC นี่แหละ หากบริโภคโดยไม่ระวัง โดยเฉพาะเด็กและเยาวชนที่มักจะอยากรู้อยากลองและบริโภคตามกระแส จึงอยากให้มีการรณรงค์ทั้งสองด้าน คือ พูดเรื่องประโยชน์ แต่ก็ไม่ลืมเรื่องโทษด้วยเช่นกัน” รศ.ดร.เกื้อการุณย์ กล่าวเน้นด้วยความห่วงใย แม้ในปัจจุบัน กัญชาและกัญชงจะได้รับการปลดล็อคถอดออกจากบัญชียาเสพติดแล้ว แต่ไม่ได้หมายความว่าจะสามารถใช้ได้โดยทั่วไปอย่างเสรี หากมีปริมาณสาร ∆9-THC เกิน 0.2% โดยน้ำหนัก ตามประกาศคณะกรรมการควบคุมยาเสพติด ก็ยังถือว่าเป็นยาเสพติด ดังนั้น ผู้บริโภคควรระมัดระวังในการรับประทานอาหารและเครื่องดื่มที่ผสมกัญชาหรือสารสกัดจากกัญชาเพื่อหลีกเลี่ยงอันตรายจากกัญชาที่อาจส่งผลต่อสุขภาพในระยะยาว tui sakrapee Related Posts โรงเรียนปลอดมือถือ! อังกฤษ-ออสเตรเลียเริ่มแล้ว ดึงเด็กกลับมาสนใจครูในห้องเรียน จุฬาฯ ผงาดอันดับ Top 44 ของโลกด้านความยั่งยืน ใน THE Impact Rankings 2025 ครองอันดับ 1 ของไทยอีกครั้ง หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 สจล. เดินหน้ากระชับความร่วมมือทางวิชาการ กับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของจีน Post navigation PREVIOUS Previous post: นักวิจัย ม.ทักษิณ แปรสภาพต้นปาล์มน้ำมันที่เกษตรกรโค่นทิ้ง เป็นบรรจุภัณฑ์กระดาษ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมNEXT Next post: นิสิตคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ คว้ารางวัลด้านสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืน จากโครงการลดปัญหาฝุ่น PM2.5 จากไฟป่าในอุทยานแห่งชาติแม่ปิง Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศ EZ WebmasterJune 20, 2025 มาทำให้วันธรรมดา กลายเป็นวันพิเศษกันเถอะ! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศ จ.เพชรบุรี วันที่20/06/68 โดยวิทยากร อ.ธารา อิสสระ (พี่แฮนด์… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนรัตนราษฎร์บำรุง EZ WebmasterJune 20, 2025 สร้างความสุข สร้างความทรงจำดีๆ ให้เด็กๆ ทุกคน โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนรัตนราษฎร์บำรุง จ.ราชบุรี วันที่19/06/68 โดยวิทยากร อ.ธารา…
โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนรัตนราษฎร์บำรุง EZ WebmasterJune 20, 2025 สร้างความสุข สร้างความทรงจำดีๆ ให้เด็กๆ ทุกคน โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนรัตนราษฎร์บำรุง จ.ราชบุรี วันที่19/06/68 โดยวิทยากร อ.ธารา…
โรงเรียนปลอดมือถือ! อังกฤษ-ออสเตรเลียเริ่มแล้ว ดึงเด็กกลับมาสนใจครูในห้องเรียน EZ WebmasterJune 20, 2025 วันที่ 10 มิถุนายน 2568 – ในช่วงหลายเดือนที่ผ่านมา แวดวงการศึกษาในประเทศพัฒนาแล้วต่างให้ความสนใจประเด็น “โรงเรียนปลอดโทรศัพท์มือถือ (Phone-Free School)” อย่างจริงจัง ล่าสุดมีความเคลื่อนไหวชัดเจนจาก ประเทศอังกฤษและออสเตรเลีย ที่เริ่มนำร่องมาตรการควบคุมการใช้อุปกรณ์ดิจิทัลในโรงเรียนระดับมัธยมอย่างเข้มงวด จากรายงานของ สำนักข่าว BBC ระบุว่า… มธ. ปักหมุดหลักสูตร ‘AI Ethics’ หนุนบริบทใหม่ของห้องเรียนทันโลก สร้างจุดยืนคนรุ่นใหม่ ‘ใช้เอไออย่างมีจริยธรรม’ พร้อมเดินหน้าวางหมุดหมายระบบการศึกษาไทย กับการปลุกการใช้เทคฯ คู่ธรรมาภิบาล คาดเริ่มเปิดลงทะเบียนพร้อมเรียนจริง สิงหาคม 68 นี้ EZ WebmasterJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) ตอกย้ำจุดยืนเชิงรุกต่อการเปลี่ยนผ่านของโลกยุคดิจิทัล ผ่านการพัฒนาหลักสูตร “AI Ethics” หรือจริยธรรมปัญญาประดิษฐ์ ภายใต้ยุทธศาสตร์ Thammasat Next Century เตรียมความพร้อมให้เยาวชนไทยมีทั้งความรู้ ความสามารถ และความรับผิดชอบในการใช้งานเทคโนโลยีอย่างเหมาะสม โดยเฉพาะในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อที่ปัญญาประดิษฐ์กำลังกลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวัน ทั้งในห้องเรียน ที่ทำงาน และบนแพลตฟอร์มออนไลน์ต่าง ๆ โดยหลักสูตรนี้ถูกวางให้เป็นรากฐานสำคัญของระบบการศึกษายุคใหม่ ที่ไม่เพียงเน้นทักษะด้านเทคนิคเท่านั้น แต่ยังปลูกฝังค่านิยมที่ถูกต้องในการอยู่ร่วมกับเทคโนโลยี พร้อมชี้ให้เห็นถึงความเสี่ยงของ AI ที่เกิดจาก… 11 สาเหตุลึกซึ้ง ทำไมการศึกษาไทยยังตกต่ำ? เสียงสะท้อนจากครูชนบท สู่คำถามใหญ่ของสังคม EZ WebmasterJune 19, 2025 ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ประเทศไทยกำลังเผชิญกับวิกฤตคุณภาพทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง แม้จะมีความพยายามปฏิรูปหลายครั้ง แต่กลับไม่สามารถยกระดับการเรียนรู้ให้เทียบเท่าประเทศเพื่อนบ้านได้อย่างแท้จริงนายสานิตย์ พลศรี นายกสมาคมครูชนบทจังหวัดชัยภูมิ ในหัวข้อ “สาเหตุของปัญหาคุณภาพด้านการศึกษาประเทศไทยที่ตกต่ำ” ซึ่งกำลังถูกส่งต่ออย่างกว้างขวางในโซเชียลมีเดียและกลุ่มไลน์ของคนในแวดวงการศึกษาเสียงสะท้อนจากผู้ที่อยู่ในภาคสนามจริงอย่างนายสานิตย์ ทำให้เราได้เห็นภาพที่ชัดเจนมากขึ้นว่า ปัญหาไม่ได้อยู่ที่ตัวนักเรียนหรือครูเพียงลำพัง แต่เป็นผลสะสมจากโครงสร้าง ระบบ และการบริหารที่ผิดทิศผิดทางมานานจึงเป็นการเปิดประเด็นให้สังคมได้ทบทวนร่วมกันว่า หากเราไม่เริ่ม “เปลี่ยนจริง” คุณภาพการศึกษาของไทยอาจยิ่งตกต่ำลงกว่าที่เป็นอยู่ 11… ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา EZ WebmasterJune 18, 2025 วิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิทักษ์ ธรรมวาริน (คนที่ 4 จากซ้าย) คณบดีวิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สจล. และ Mr. Alfonso Martin (คนที่ 3… ทุนดีดี ทุนImperial Athletes Sport InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 20, 2025 Imperial College London เสนอทุนการศึกษา Imperial Athletes Sport เพื่อสนับสนุนนักกีฬาที่มีพรสวรรค์สำหรับปีการศึกษา 2025/2026 โดยเปิดโอกาสให้เลือกเรียนในหลากหลายสาขาวิชา เปิดรับใบสมัครถึง 4 สิงหาคม 2025 หากคุณกำลังแข่งขันในระดับภูมิภาค ระดับชาติ หรือระดับนานาชาติในกีฬาของคุณ และแสดงให้เห็นถึงพรสวรรค์… Kazan Global Youth Summit InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 19, 2025 เชิญเยาวชนสมัครคัดเลือกเข้าร่วมการประชุม Kazan Global Youth Summit ครั้งที่ 4 ระหว่างวันที่ 27 – 30 สิงหาคม 2568 ณ เมืองคาซาน สาธารณรัฐตาตาร์สตาน สหพันธรัฐรัสเซีย จัดโดยรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐตาตาร์สตาน… SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… ครู-อาจารย์ จุฬาฯ ผงาดอันดับ Top 44 ของโลกด้านความยั่งยืน ใน THE Impact Rankings 2025 ครองอันดับ 1 ของไทยอีกครั้ง tui sakrapeeJune 20, 2025 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยผงาดอันดับ Top 44 ของโลก และครองอันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทยอีกครั้งหนึ่ง จากการจัดอันดับโดย Times Higher Education Impact Rankings 2025 ด้วยผลงานที่โดดเด่นในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนและสร้างผลกระทบสูงต่อสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง SDG 9… หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 📚เริ่มเรียน กรกฎาคม 2568 ถึง มกราคม 2569 ทุกวันพฤหัสบดี 11:00 – 18:00 น.… มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ… สจล. เดินหน้ากระชับความร่วมมือทางวิชาการ กับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของจีน EZ WebmasterJune 19, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เดินหน้ากระชับความสัมพันธ์ทางวิชาการกับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งเป็นพันธมิตรที่มีความร่วมมือกันมานานกว่า 20 ปี เพื่อหารือขยายความร่วมมือเชิงลึกในสาขาวิศวกรรมขั้นสูง โดยเฉพาะด้าน Aerospace, Mechatronics, Automation และ Astronautics ซึ่ง HIT ถือเป็นสถาบันชั้นนำของจีนในด้านนี้ พร้อมทั้งหารือแนวทางความร่วมมือด้านการแลกเปลี่ยนนักศึกษา นักวิจัย และการพัฒนาโครงการ Joint Degree ในอนาคต รองศาสตราจารย์… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search tui sakrapee April 18, 2022 tui sakrapee April 18, 2022 จุฬาฯ วิจัยพบปริมาณสาร THC ในเครื่องดื่มกัญชาเกินกำหนด เตือนผู้บริโภคระวัง จี้รัฐควบคุม อาจารย์ชีวเคมี จุฬาฯ เผยผลวิจัย พบเครื่องดื่มกัญชาที่สุ่มตรวจกว่า 30 % มีปริมาณสาร THC เกินกำหนด เตือนผู้บริโภคดื่มแต่น้อย เด็กไม่ควรดื่ม แนะรัฐออกมาตรการควบคุม สื่อสารทั้งคุณและโทษของกัญชา หลังจากที่กัญชาและกัญชงถูกถอดออกจากบัญชียาเสพติด เปิดทางสู่การเป็นพืชเศรษฐกิจ ตลาดเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของกัญชาก็คึกคักและขยายตัวอย่างรวดเร็ว มีทั้งชากัญชา กาแฟกัญชา ตลอดจนตู้ขายเครื่องดื่มอัตโนมัติที่จำหน่ายเครื่องดื่มที่มีกัญชาผสม ปัจจุบัน กัญชาจึงกลายเป็นเครื่องดื่มที่เข้าถึงง่ายและกระจายสู่ทุกกลุ่มผู้บริโภค ข้อมูลจากการประชุมวิชาการศูนย์ศึกษาปัญหาการเสพติด (ศศก.) เพื่อการพัฒนาศักยภาพการวิจัย และนักวิชาการการเสพติด ครั้งที่ 9 ที่ผ่านมา (กุมภาพันธ์ 2565) เผยว่าคนไทยที่ใช้กัญชามีจำนวนเพิ่มขึ้นจากปีก่อนๆ เกือบเท่าตัว โดยผลสำรวจล่าสุด (ปี 2564) มีคนไทยอายุ 18 ปีขึ้นไปที่ใช้กัญชา จำนวนประมาณ 1.89 ล้านคน หรือคิดเป็น 4.3% เทียบกับผลสำรวจเมื่อปี 2563 ที่มีผู้ใช้กัญชาอยู่ที่ประมาณ 1 ล้านคน เทรนด์การบริโภคเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของกัญชาทำให้แพทย์และนักวิจัยด้านสารเสพติดหลายท่านรู้สึกกังวลถึงผลกระทบของสาร THC ในกัญชา ที่หากผู้บริโภคได้รับในปริมาณที่สูงและอย่างต่อเนื่อง ก็อาจจะส่งผลต่อพัฒนาการของสมอง เสี่ยงต่อการเป็นโรคซึมเศร้า จิตเภท หลอดเลือดหัวใจ และมะเร็งอัณฑะ เป็นต้น จุฬาฯ นำร่องงานวิจัยหาปริมาณสาร ∆9-THC ในเครื่องดื่มกัญชา ด้วยความห่วงใยต่อสุขภาพของผู้บริโภค รองศาสตราจารย์ ดร.เกื้อการุณย์ ครูส่ง อาจารย์ประจำภาควิชาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้นำร่องศึกษาวิจัยหาปริมาณสาร ∆9-THC หรือ delta9-tetrahydrocannabidol ในเครื่องดื่มกัญชาที่จำหน่ายในร้านขายเครื่องดื่มทั่วไป เพื่อหาว่ามีปริมาณสาร ∆9-THC เกินกว่าที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดหรือไม่ “เมื่อมีการนำกัญชามาเป็นส่วนประกอบในอาหารและเครื่องดื่มอย่างเสรี ทำให้คนทั่วไป รวมถึงเด็กและเยาวชนสามารถเข้าถึงได้ง่าย สื่อหรือโฆษณาต่างๆ ก็มักพูดถึงแต่ข้อดีของกัญชา ไม่ว่าจะเป็นการนำมาใช้ทางสันทนาการ หรือนำมารักษาโรค โดยลืมไปว่าผลเสียหรือโทษของกัญชาก็ยังคงมีอยู่หากได้รับในปริมาณที่เกินกำหนด แพทย์หลายท่านก็ออกมาเตือนด้วยว่าไม่ให้เด็กรับประทานโดยเด็ดขาด เนื่องจากอาจส่งผลต่อระบบประสาท สมองและพัฒนาการของเด็ก รวมทั้งจิตแพทย์ก็ชี้ว่าสาร ∆9-THC ในกัญชามีผลต่อสุขภาพจิต สมาธิ และเรื่องของภาวะอารมณ์ด้วย” รศ.ดร.เกื้อการุณย์ เล่าถึงที่มาของโครงการวิจัย ภายใต้การสนับสนุนทุนวิจัยจากศูนย์ศึกษาปัญหาการเสพติด (ศศก.) โครงการวิจัยครั้งนี้ได้รับความร่วมมือจากคณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญหลายท่านที่เข้ามาร่วมวิจัย อาทิ รองศาสตราจารย์ พญ.รัศมน กัลยาศิริ จากภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ และผู้อำนวยการ ศศก. เป็นที่ปรึกษางานวิจัย รองศาสตราจารย์ ภญ.ดร.สรกนก วิมลมั่งคั่ง ภาควิชาเภสัชเวทและเภสัชพฤกษศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาฯ ซึ่งทำวิจัยเกี่ยวกับกัญชาและสารธรรมชาติจากกัญชาอยู่ก่อนแล้ว เข้ามาช่วยให้คำแนะนำ ศาสตราจารย์ ดร.อรวรรณ ชัยลภากุล และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชฎิล กุลสิงห์ จากภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ ที่มีความเชี่ยวชาญด้านการวิเคราะห์ มาช่วยดูเรื่องปริมาณสาร ∆9-THC ในเครื่องดื่มที่เก็บตัวอย่างมา ผลการสุ่มตรวจปริมาณ ∆9-THC ในเครื่องดื่มกัญชา คณะผู้วิจัยได้เก็บตัวอย่างเครื่องดื่มกัญชาและเครื่องดื่มที่ผสมกัญชา ที่ขายอยู่ทั่วไปในร้านขายเครื่องดื่มและคาเฟ่ต่างๆ ในกรุงเทพมหานคร 30 กว่าตัวอย่าง มีทั้งเครื่องดื่มประเภทชา กาแฟ โซดา และประเภทที่ใส่นม โดยกรรมวิธีการตรวจสอบตัวอย่างเครื่องดื่มนั้นใช้วิธีมาตรฐานระดับสากลที่ใช้ตรวจหาสาร ∆9-THC ในอาหาร ได้แก่เทคนิคที่เรียกว่า GC–MS (Gas chromatography–Mass spectroscopy) ซึ่งเป็นเทคนิคที่ใช้แยกและระบุสารต่างๆ ภายในตัวอย่างทดสอบ และ HPLC (High Performance Liquid Chromatography) ในการแยกสารผสมและการหาเชิงปริมาณของสารเป้าหมาย โดยใช้เครื่องสูบแรงดันสูง (high pressure pump) “ถามว่าเพราะอะไรจึงต้องเป็นเฉพาะเครื่องดื่มกัญชาจากร้านทั่วไป คือหากเป็นเครื่องดื่มกัญชาประเภทสำเร็จรูป พวกนั้นจะมีการขอ อย. และมีฉลากแสดงชัดเจนว่ามีส่วนประกอบของสาร ∆9-THC ปริมาณเท่าไรต่อ 100 มิลลิลิตร หรือต่อ 1 หน่วยบริโภค แต่เครื่องดื่มที่ขายในร้านประเภทคาเฟ่ ส่วนมากสูตรของเครื่องดื่มจะทำกันขึ้นมาเอง แม้กระทั่งเมนูเดียวกัน ก็ไม่อาจแน่ใจได้เลยว่าแต่ละแก้วมีปริมาณสาร ∆9-THC เท่ากันหรือเปล่า ซึ่งเป็นสิ่งที่น่ากลัว” สำหรับผลการสุ่มตรวจหาปริมาณสาร ∆9-THC ดังกล่าว รศ.ดร.เกื้อการุณย์ เผยว่า “เครื่องดื่มที่สุ่มตรวจส่วนใหญ่มีสาร ∆9-THC ในปริมาณที่ไม่เกินจากที่สาธารณสุขกำหนด แต่ราว 30 % พบว่ามีปริมาณสาร ∆9-THC เกินกว่าที่กฎหมายกำหนดหรือแนะนำให้ไม่เกิน 0.015 มิลลิกรัม ต่อ 100 มิลลิลิตร ซึ่งหากผู้บริโภคเจอร้านหรือดื่มเครื่องดื่มที่มีปริมาณสาร THC เกินกำหนดเหล่านี้ก็จะเกิดอันตรายต่อสุขภาพได้ โดยเฉพาะสำหรับผู้ที่มีอาการแพ้สาร ∆9-THC” อย่างไรก็ดี งานวิจัยไม่สามารถเปิดเผยหรือระบุว่าเครื่องดื่มใด จากร้านใด มีปริมาณสาร ∆9-THC เท่าไร แต่อาจนำเสนอในรูปแบบรายงานของ ศศก. ซึ่งเป็นหน่วยงานภายใต้ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลสำหรับงานด้านนโยบายต่อไปในอนาคต งานวิจัยสำหรับปีนี้ (2565) ใกล้เสร็จสมบูรณ์แล้ว และในอนาคต รศ.ดร.เกื้อการุณย์ คาดว่าจะวิจัยโดยมีการเก็บตัวอย่างมากขึ้น อาจจะเป็นการขยายพื้นที่เก็บตัวอย่างไปยังส่วนภูมิภาค หรือเก็บตัวอย่างในอาหารชนิดอื่นๆ ที่นอกเหนือไปจากเครื่องดื่ม แนะบริโภคกัญชาอย่างปลอดภัย สำหรับผู้บริโภค สิ่งที่ รศ.ดร.เกื้อการุณย์ รู้สึกเป็นกังวลคือปริมาณของสาร ∆9-THC ที่ได้รับต่อวัน ด้วยประเทศไทยยังไม่เคยมีการกำหนดหรือมีข้อแนะนำว่าควรหรือไม่ควรบริโภคในปริมาณเท่าไรต่อวัน ยกตัวอย่างเช่น ต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม ไม่ควรบริโภคเกินกี่ไมโครกรัม หากเกินกว่านั้นอาจจะได้รับผลข้างเคียง เป็นต้น ซึ่งแม้แต่ในต่างประเทศเองก็ยังไม่ชัดเจนนัก เพราะยังไม่มีงานวิจัยในเรื่องผลระยะยาวจากการบริโภค ทั้งนี้ อาจจะกำหนดการบริโภคเครื่องดื่มกัญชาหรือที่มีส่วนผสมของกัญชาให้เหมือนเครื่องดื่มชนิดอื่นๆ เช่น เครื่องดื่มชูกำลัง ที่มีคำเตือนที่คุ้นหูว่าไม่ควรดื่มเกินวันละ 2 ขวด เป็นตัวอย่าง “แม้แต่ร้านค้าหรือผู้ประกอบการเอง ปัจจุบันก็น่าจะยังไม่ทราบด้วยซ้ำว่าห้ามไม่ให้มีปริมาณสาร ∆9-THC เท่าไรต่อเครื่องดื่ม 1 แก้ว หรือต่อให้ทราบ ก็ไม่น่าจะสามารถควบคุมปริมาณได้ เพราะไม่เคยมีการตรวจ อีกทั้งกรรมวิธีที่ใช้ในการผลิตของแต่ละร้านก็ต่างกัน หากใช้ใบนำมาต้มผสมเครื่องดื่ม อันนั้นอาจจะไม่ค่อยน่าห่วง เพราะได้ปริมาณสาร ∆9-THC ออกมาค่อนข้างน้อย แต่ถ้ามีการสกัดด้วยความร้อน หรือใช้เป็นน้ำมันสกัด อันนั้นน่ากังวลมาก และไม่มีทางที่ผู้ประกอบการจะรู้เลยว่า อาหารหรือเครื่องดื่มของตนต่อ 1 serve มีปริมาณ ∆9-THC เท่าไร” ด้วยเหตุนี้ รศ.ดร.เกื้อการุณย์ จึงแนะนำผู้ที่ต้องการทดลองดื่มเครื่องดื่มที่ผสมกัญชาหรือกัญชงให้ใช้ความระมัดระวังและบริโภคแต่น้อย เพื่อไม่ให้ร่างกายได้รับสาร ∆9-THC มากจนเกิดอันตราย และไม่แนะนำเด็ดขาดสำหรับเด็กในวัยเรียน เนื่องจากยังไม่ทราบผลในระยะยาว เสนอรัฐควบคุมร้านค้าจำหน่ายอาหารและเครื่องดื่มกัญชา ร้านที่ขายเครื่องดื่มกัญชาหรืออาหารที่ผสมกัญชา ควรมีป้ายหรือประกาศแจ้งให้ผู้บริโภครับทราบอย่างชัดเจน เพื่อผู้ที่ไม่ต้องการบริโภคผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมกัญชาและผู้ปกครองจะได้ระมัดระวัง แนะสื่อนำเสนอทั้งคุณและโทษของกัญชา การส่งเสริมจากภาครัฐเพื่อพัฒนากัญชาและกัญชงให้เป็นพืชเศรษฐกิจมีส่วนทำให้หลายฝ่าย รวมถึงสื่อ เน้นกล่าวถึงคุณประโยชน์ของกัญชา โดยละเลยและมองข้ามโทษของกัญชา “ปัจจุบัน ในสื่อต่างๆ มักจะนำเสนอแต่ด้านและประโยชน์ของกัญชา ในฐานะพืชสมุนไพรที่สร้างรายได้ มีการปรับปรุงบรรจุภัณฑ์ให้ดึงดูด ทำให้เห็นว่าเป็นสินค้าน่าซื้อ ไม่มีอันตราย ซึ่งหากมีใครออกมาพูดถึงข้อเสีย เสียงก็คงไม่ดังเท่าไร เพราะเป็นด้านที่ไม่ทำเงินและฟังดูล้าสมัย” “แต่เราไม่อาจปฏิเสธได้ว่ากัญชาก็ยังมีด้านที่เป็นโทษ จริงๆ แล้ว ในกัญชามีสารอีกหลายตัวที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ แต่ตัวที่มีผลเสียมากที่สุดก็คือสาร ∆9-THC นี่แหละ หากบริโภคโดยไม่ระวัง โดยเฉพาะเด็กและเยาวชนที่มักจะอยากรู้อยากลองและบริโภคตามกระแส จึงอยากให้มีการรณรงค์ทั้งสองด้าน คือ พูดเรื่องประโยชน์ แต่ก็ไม่ลืมเรื่องโทษด้วยเช่นกัน” รศ.ดร.เกื้อการุณย์ กล่าวเน้นด้วยความห่วงใย แม้ในปัจจุบัน กัญชาและกัญชงจะได้รับการปลดล็อคถอดออกจากบัญชียาเสพติดแล้ว แต่ไม่ได้หมายความว่าจะสามารถใช้ได้โดยทั่วไปอย่างเสรี หากมีปริมาณสาร ∆9-THC เกิน 0.2% โดยน้ำหนัก ตามประกาศคณะกรรมการควบคุมยาเสพติด ก็ยังถือว่าเป็นยาเสพติด ดังนั้น ผู้บริโภคควรระมัดระวังในการรับประทานอาหารและเครื่องดื่มที่ผสมกัญชาหรือสารสกัดจากกัญชาเพื่อหลีกเลี่ยงอันตรายจากกัญชาที่อาจส่งผลต่อสุขภาพในระยะยาว tui sakrapee Related Posts โรงเรียนปลอดมือถือ! อังกฤษ-ออสเตรเลียเริ่มแล้ว ดึงเด็กกลับมาสนใจครูในห้องเรียน จุฬาฯ ผงาดอันดับ Top 44 ของโลกด้านความยั่งยืน ใน THE Impact Rankings 2025 ครองอันดับ 1 ของไทยอีกครั้ง หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 สจล. เดินหน้ากระชับความร่วมมือทางวิชาการ กับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของจีน Post navigation PREVIOUS Previous post: นักวิจัย ม.ทักษิณ แปรสภาพต้นปาล์มน้ำมันที่เกษตรกรโค่นทิ้ง เป็นบรรจุภัณฑ์กระดาษ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมNEXT Next post: นิสิตคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ คว้ารางวัลด้านสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืน จากโครงการลดปัญหาฝุ่น PM2.5 จากไฟป่าในอุทยานแห่งชาติแม่ปิง Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มธ. ปักหมุดหลักสูตร ‘AI Ethics’ หนุนบริบทใหม่ของห้องเรียนทันโลก สร้างจุดยืนคนรุ่นใหม่ ‘ใช้เอไออย่างมีจริยธรรม’ พร้อมเดินหน้าวางหมุดหมายระบบการศึกษาไทย กับการปลุกการใช้เทคฯ คู่ธรรมาภิบาล คาดเริ่มเปิดลงทะเบียนพร้อมเรียนจริง สิงหาคม 68 นี้ EZ WebmasterJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) ตอกย้ำจุดยืนเชิงรุกต่อการเปลี่ยนผ่านของโลกยุคดิจิทัล ผ่านการพัฒนาหลักสูตร “AI Ethics” หรือจริยธรรมปัญญาประดิษฐ์ ภายใต้ยุทธศาสตร์ Thammasat Next Century เตรียมความพร้อมให้เยาวชนไทยมีทั้งความรู้ ความสามารถ และความรับผิดชอบในการใช้งานเทคโนโลยีอย่างเหมาะสม โดยเฉพาะในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อที่ปัญญาประดิษฐ์กำลังกลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวัน ทั้งในห้องเรียน ที่ทำงาน และบนแพลตฟอร์มออนไลน์ต่าง ๆ โดยหลักสูตรนี้ถูกวางให้เป็นรากฐานสำคัญของระบบการศึกษายุคใหม่ ที่ไม่เพียงเน้นทักษะด้านเทคนิคเท่านั้น แต่ยังปลูกฝังค่านิยมที่ถูกต้องในการอยู่ร่วมกับเทคโนโลยี พร้อมชี้ให้เห็นถึงความเสี่ยงของ AI ที่เกิดจาก… 11 สาเหตุลึกซึ้ง ทำไมการศึกษาไทยยังตกต่ำ? เสียงสะท้อนจากครูชนบท สู่คำถามใหญ่ของสังคม EZ WebmasterJune 19, 2025 ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ประเทศไทยกำลังเผชิญกับวิกฤตคุณภาพทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง แม้จะมีความพยายามปฏิรูปหลายครั้ง แต่กลับไม่สามารถยกระดับการเรียนรู้ให้เทียบเท่าประเทศเพื่อนบ้านได้อย่างแท้จริงนายสานิตย์ พลศรี นายกสมาคมครูชนบทจังหวัดชัยภูมิ ในหัวข้อ “สาเหตุของปัญหาคุณภาพด้านการศึกษาประเทศไทยที่ตกต่ำ” ซึ่งกำลังถูกส่งต่ออย่างกว้างขวางในโซเชียลมีเดียและกลุ่มไลน์ของคนในแวดวงการศึกษาเสียงสะท้อนจากผู้ที่อยู่ในภาคสนามจริงอย่างนายสานิตย์ ทำให้เราได้เห็นภาพที่ชัดเจนมากขึ้นว่า ปัญหาไม่ได้อยู่ที่ตัวนักเรียนหรือครูเพียงลำพัง แต่เป็นผลสะสมจากโครงสร้าง ระบบ และการบริหารที่ผิดทิศผิดทางมานานจึงเป็นการเปิดประเด็นให้สังคมได้ทบทวนร่วมกันว่า หากเราไม่เริ่ม “เปลี่ยนจริง” คุณภาพการศึกษาของไทยอาจยิ่งตกต่ำลงกว่าที่เป็นอยู่ 11… ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา EZ WebmasterJune 18, 2025 วิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิทักษ์ ธรรมวาริน (คนที่ 4 จากซ้าย) คณบดีวิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สจล. และ Mr. Alfonso Martin (คนที่ 3… ทุนดีดี ทุนImperial Athletes Sport InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 20, 2025 Imperial College London เสนอทุนการศึกษา Imperial Athletes Sport เพื่อสนับสนุนนักกีฬาที่มีพรสวรรค์สำหรับปีการศึกษา 2025/2026 โดยเปิดโอกาสให้เลือกเรียนในหลากหลายสาขาวิชา เปิดรับใบสมัครถึง 4 สิงหาคม 2025 หากคุณกำลังแข่งขันในระดับภูมิภาค ระดับชาติ หรือระดับนานาชาติในกีฬาของคุณ และแสดงให้เห็นถึงพรสวรรค์… Kazan Global Youth Summit InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 19, 2025 เชิญเยาวชนสมัครคัดเลือกเข้าร่วมการประชุม Kazan Global Youth Summit ครั้งที่ 4 ระหว่างวันที่ 27 – 30 สิงหาคม 2568 ณ เมืองคาซาน สาธารณรัฐตาตาร์สตาน สหพันธรัฐรัสเซีย จัดโดยรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐตาตาร์สตาน… SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… ครู-อาจารย์ จุฬาฯ ผงาดอันดับ Top 44 ของโลกด้านความยั่งยืน ใน THE Impact Rankings 2025 ครองอันดับ 1 ของไทยอีกครั้ง tui sakrapeeJune 20, 2025 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยผงาดอันดับ Top 44 ของโลก และครองอันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทยอีกครั้งหนึ่ง จากการจัดอันดับโดย Times Higher Education Impact Rankings 2025 ด้วยผลงานที่โดดเด่นในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนและสร้างผลกระทบสูงต่อสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง SDG 9… หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 📚เริ่มเรียน กรกฎาคม 2568 ถึง มกราคม 2569 ทุกวันพฤหัสบดี 11:00 – 18:00 น.… มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ… สจล. เดินหน้ากระชับความร่วมมือทางวิชาการ กับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของจีน EZ WebmasterJune 19, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เดินหน้ากระชับความสัมพันธ์ทางวิชาการกับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งเป็นพันธมิตรที่มีความร่วมมือกันมานานกว่า 20 ปี เพื่อหารือขยายความร่วมมือเชิงลึกในสาขาวิศวกรรมขั้นสูง โดยเฉพาะด้าน Aerospace, Mechatronics, Automation และ Astronautics ซึ่ง HIT ถือเป็นสถาบันชั้นนำของจีนในด้านนี้ พร้อมทั้งหารือแนวทางความร่วมมือด้านการแลกเปลี่ยนนักศึกษา นักวิจัย และการพัฒนาโครงการ Joint Degree ในอนาคต รองศาสตราจารย์… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search tui sakrapee April 18, 2022 tui sakrapee April 18, 2022 จุฬาฯ วิจัยพบปริมาณสาร THC ในเครื่องดื่มกัญชาเกินกำหนด เตือนผู้บริโภคระวัง จี้รัฐควบคุม อาจารย์ชีวเคมี จุฬาฯ เผยผลวิจัย พบเครื่องดื่มกัญชาที่สุ่มตรวจกว่า 30 % มีปริมาณสาร THC เกินกำหนด เตือนผู้บริโภคดื่มแต่น้อย เด็กไม่ควรดื่ม แนะรัฐออกมาตรการควบคุม สื่อสารทั้งคุณและโทษของกัญชา หลังจากที่กัญชาและกัญชงถูกถอดออกจากบัญชียาเสพติด เปิดทางสู่การเป็นพืชเศรษฐกิจ ตลาดเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของกัญชาก็คึกคักและขยายตัวอย่างรวดเร็ว มีทั้งชากัญชา กาแฟกัญชา ตลอดจนตู้ขายเครื่องดื่มอัตโนมัติที่จำหน่ายเครื่องดื่มที่มีกัญชาผสม ปัจจุบัน กัญชาจึงกลายเป็นเครื่องดื่มที่เข้าถึงง่ายและกระจายสู่ทุกกลุ่มผู้บริโภค ข้อมูลจากการประชุมวิชาการศูนย์ศึกษาปัญหาการเสพติด (ศศก.) เพื่อการพัฒนาศักยภาพการวิจัย และนักวิชาการการเสพติด ครั้งที่ 9 ที่ผ่านมา (กุมภาพันธ์ 2565) เผยว่าคนไทยที่ใช้กัญชามีจำนวนเพิ่มขึ้นจากปีก่อนๆ เกือบเท่าตัว โดยผลสำรวจล่าสุด (ปี 2564) มีคนไทยอายุ 18 ปีขึ้นไปที่ใช้กัญชา จำนวนประมาณ 1.89 ล้านคน หรือคิดเป็น 4.3% เทียบกับผลสำรวจเมื่อปี 2563 ที่มีผู้ใช้กัญชาอยู่ที่ประมาณ 1 ล้านคน เทรนด์การบริโภคเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของกัญชาทำให้แพทย์และนักวิจัยด้านสารเสพติดหลายท่านรู้สึกกังวลถึงผลกระทบของสาร THC ในกัญชา ที่หากผู้บริโภคได้รับในปริมาณที่สูงและอย่างต่อเนื่อง ก็อาจจะส่งผลต่อพัฒนาการของสมอง เสี่ยงต่อการเป็นโรคซึมเศร้า จิตเภท หลอดเลือดหัวใจ และมะเร็งอัณฑะ เป็นต้น จุฬาฯ นำร่องงานวิจัยหาปริมาณสาร ∆9-THC ในเครื่องดื่มกัญชา ด้วยความห่วงใยต่อสุขภาพของผู้บริโภค รองศาสตราจารย์ ดร.เกื้อการุณย์ ครูส่ง อาจารย์ประจำภาควิชาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้นำร่องศึกษาวิจัยหาปริมาณสาร ∆9-THC หรือ delta9-tetrahydrocannabidol ในเครื่องดื่มกัญชาที่จำหน่ายในร้านขายเครื่องดื่มทั่วไป เพื่อหาว่ามีปริมาณสาร ∆9-THC เกินกว่าที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดหรือไม่ “เมื่อมีการนำกัญชามาเป็นส่วนประกอบในอาหารและเครื่องดื่มอย่างเสรี ทำให้คนทั่วไป รวมถึงเด็กและเยาวชนสามารถเข้าถึงได้ง่าย สื่อหรือโฆษณาต่างๆ ก็มักพูดถึงแต่ข้อดีของกัญชา ไม่ว่าจะเป็นการนำมาใช้ทางสันทนาการ หรือนำมารักษาโรค โดยลืมไปว่าผลเสียหรือโทษของกัญชาก็ยังคงมีอยู่หากได้รับในปริมาณที่เกินกำหนด แพทย์หลายท่านก็ออกมาเตือนด้วยว่าไม่ให้เด็กรับประทานโดยเด็ดขาด เนื่องจากอาจส่งผลต่อระบบประสาท สมองและพัฒนาการของเด็ก รวมทั้งจิตแพทย์ก็ชี้ว่าสาร ∆9-THC ในกัญชามีผลต่อสุขภาพจิต สมาธิ และเรื่องของภาวะอารมณ์ด้วย” รศ.ดร.เกื้อการุณย์ เล่าถึงที่มาของโครงการวิจัย ภายใต้การสนับสนุนทุนวิจัยจากศูนย์ศึกษาปัญหาการเสพติด (ศศก.) โครงการวิจัยครั้งนี้ได้รับความร่วมมือจากคณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญหลายท่านที่เข้ามาร่วมวิจัย อาทิ รองศาสตราจารย์ พญ.รัศมน กัลยาศิริ จากภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ และผู้อำนวยการ ศศก. เป็นที่ปรึกษางานวิจัย รองศาสตราจารย์ ภญ.ดร.สรกนก วิมลมั่งคั่ง ภาควิชาเภสัชเวทและเภสัชพฤกษศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาฯ ซึ่งทำวิจัยเกี่ยวกับกัญชาและสารธรรมชาติจากกัญชาอยู่ก่อนแล้ว เข้ามาช่วยให้คำแนะนำ ศาสตราจารย์ ดร.อรวรรณ ชัยลภากุล และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชฎิล กุลสิงห์ จากภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ ที่มีความเชี่ยวชาญด้านการวิเคราะห์ มาช่วยดูเรื่องปริมาณสาร ∆9-THC ในเครื่องดื่มที่เก็บตัวอย่างมา ผลการสุ่มตรวจปริมาณ ∆9-THC ในเครื่องดื่มกัญชา คณะผู้วิจัยได้เก็บตัวอย่างเครื่องดื่มกัญชาและเครื่องดื่มที่ผสมกัญชา ที่ขายอยู่ทั่วไปในร้านขายเครื่องดื่มและคาเฟ่ต่างๆ ในกรุงเทพมหานคร 30 กว่าตัวอย่าง มีทั้งเครื่องดื่มประเภทชา กาแฟ โซดา และประเภทที่ใส่นม โดยกรรมวิธีการตรวจสอบตัวอย่างเครื่องดื่มนั้นใช้วิธีมาตรฐานระดับสากลที่ใช้ตรวจหาสาร ∆9-THC ในอาหาร ได้แก่เทคนิคที่เรียกว่า GC–MS (Gas chromatography–Mass spectroscopy) ซึ่งเป็นเทคนิคที่ใช้แยกและระบุสารต่างๆ ภายในตัวอย่างทดสอบ และ HPLC (High Performance Liquid Chromatography) ในการแยกสารผสมและการหาเชิงปริมาณของสารเป้าหมาย โดยใช้เครื่องสูบแรงดันสูง (high pressure pump) “ถามว่าเพราะอะไรจึงต้องเป็นเฉพาะเครื่องดื่มกัญชาจากร้านทั่วไป คือหากเป็นเครื่องดื่มกัญชาประเภทสำเร็จรูป พวกนั้นจะมีการขอ อย. และมีฉลากแสดงชัดเจนว่ามีส่วนประกอบของสาร ∆9-THC ปริมาณเท่าไรต่อ 100 มิลลิลิตร หรือต่อ 1 หน่วยบริโภค แต่เครื่องดื่มที่ขายในร้านประเภทคาเฟ่ ส่วนมากสูตรของเครื่องดื่มจะทำกันขึ้นมาเอง แม้กระทั่งเมนูเดียวกัน ก็ไม่อาจแน่ใจได้เลยว่าแต่ละแก้วมีปริมาณสาร ∆9-THC เท่ากันหรือเปล่า ซึ่งเป็นสิ่งที่น่ากลัว” สำหรับผลการสุ่มตรวจหาปริมาณสาร ∆9-THC ดังกล่าว รศ.ดร.เกื้อการุณย์ เผยว่า “เครื่องดื่มที่สุ่มตรวจส่วนใหญ่มีสาร ∆9-THC ในปริมาณที่ไม่เกินจากที่สาธารณสุขกำหนด แต่ราว 30 % พบว่ามีปริมาณสาร ∆9-THC เกินกว่าที่กฎหมายกำหนดหรือแนะนำให้ไม่เกิน 0.015 มิลลิกรัม ต่อ 100 มิลลิลิตร ซึ่งหากผู้บริโภคเจอร้านหรือดื่มเครื่องดื่มที่มีปริมาณสาร THC เกินกำหนดเหล่านี้ก็จะเกิดอันตรายต่อสุขภาพได้ โดยเฉพาะสำหรับผู้ที่มีอาการแพ้สาร ∆9-THC” อย่างไรก็ดี งานวิจัยไม่สามารถเปิดเผยหรือระบุว่าเครื่องดื่มใด จากร้านใด มีปริมาณสาร ∆9-THC เท่าไร แต่อาจนำเสนอในรูปแบบรายงานของ ศศก. ซึ่งเป็นหน่วยงานภายใต้ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลสำหรับงานด้านนโยบายต่อไปในอนาคต งานวิจัยสำหรับปีนี้ (2565) ใกล้เสร็จสมบูรณ์แล้ว และในอนาคต รศ.ดร.เกื้อการุณย์ คาดว่าจะวิจัยโดยมีการเก็บตัวอย่างมากขึ้น อาจจะเป็นการขยายพื้นที่เก็บตัวอย่างไปยังส่วนภูมิภาค หรือเก็บตัวอย่างในอาหารชนิดอื่นๆ ที่นอกเหนือไปจากเครื่องดื่ม แนะบริโภคกัญชาอย่างปลอดภัย สำหรับผู้บริโภค สิ่งที่ รศ.ดร.เกื้อการุณย์ รู้สึกเป็นกังวลคือปริมาณของสาร ∆9-THC ที่ได้รับต่อวัน ด้วยประเทศไทยยังไม่เคยมีการกำหนดหรือมีข้อแนะนำว่าควรหรือไม่ควรบริโภคในปริมาณเท่าไรต่อวัน ยกตัวอย่างเช่น ต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม ไม่ควรบริโภคเกินกี่ไมโครกรัม หากเกินกว่านั้นอาจจะได้รับผลข้างเคียง เป็นต้น ซึ่งแม้แต่ในต่างประเทศเองก็ยังไม่ชัดเจนนัก เพราะยังไม่มีงานวิจัยในเรื่องผลระยะยาวจากการบริโภค ทั้งนี้ อาจจะกำหนดการบริโภคเครื่องดื่มกัญชาหรือที่มีส่วนผสมของกัญชาให้เหมือนเครื่องดื่มชนิดอื่นๆ เช่น เครื่องดื่มชูกำลัง ที่มีคำเตือนที่คุ้นหูว่าไม่ควรดื่มเกินวันละ 2 ขวด เป็นตัวอย่าง “แม้แต่ร้านค้าหรือผู้ประกอบการเอง ปัจจุบันก็น่าจะยังไม่ทราบด้วยซ้ำว่าห้ามไม่ให้มีปริมาณสาร ∆9-THC เท่าไรต่อเครื่องดื่ม 1 แก้ว หรือต่อให้ทราบ ก็ไม่น่าจะสามารถควบคุมปริมาณได้ เพราะไม่เคยมีการตรวจ อีกทั้งกรรมวิธีที่ใช้ในการผลิตของแต่ละร้านก็ต่างกัน หากใช้ใบนำมาต้มผสมเครื่องดื่ม อันนั้นอาจจะไม่ค่อยน่าห่วง เพราะได้ปริมาณสาร ∆9-THC ออกมาค่อนข้างน้อย แต่ถ้ามีการสกัดด้วยความร้อน หรือใช้เป็นน้ำมันสกัด อันนั้นน่ากังวลมาก และไม่มีทางที่ผู้ประกอบการจะรู้เลยว่า อาหารหรือเครื่องดื่มของตนต่อ 1 serve มีปริมาณ ∆9-THC เท่าไร” ด้วยเหตุนี้ รศ.ดร.เกื้อการุณย์ จึงแนะนำผู้ที่ต้องการทดลองดื่มเครื่องดื่มที่ผสมกัญชาหรือกัญชงให้ใช้ความระมัดระวังและบริโภคแต่น้อย เพื่อไม่ให้ร่างกายได้รับสาร ∆9-THC มากจนเกิดอันตราย และไม่แนะนำเด็ดขาดสำหรับเด็กในวัยเรียน เนื่องจากยังไม่ทราบผลในระยะยาว เสนอรัฐควบคุมร้านค้าจำหน่ายอาหารและเครื่องดื่มกัญชา ร้านที่ขายเครื่องดื่มกัญชาหรืออาหารที่ผสมกัญชา ควรมีป้ายหรือประกาศแจ้งให้ผู้บริโภครับทราบอย่างชัดเจน เพื่อผู้ที่ไม่ต้องการบริโภคผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมกัญชาและผู้ปกครองจะได้ระมัดระวัง แนะสื่อนำเสนอทั้งคุณและโทษของกัญชา การส่งเสริมจากภาครัฐเพื่อพัฒนากัญชาและกัญชงให้เป็นพืชเศรษฐกิจมีส่วนทำให้หลายฝ่าย รวมถึงสื่อ เน้นกล่าวถึงคุณประโยชน์ของกัญชา โดยละเลยและมองข้ามโทษของกัญชา “ปัจจุบัน ในสื่อต่างๆ มักจะนำเสนอแต่ด้านและประโยชน์ของกัญชา ในฐานะพืชสมุนไพรที่สร้างรายได้ มีการปรับปรุงบรรจุภัณฑ์ให้ดึงดูด ทำให้เห็นว่าเป็นสินค้าน่าซื้อ ไม่มีอันตราย ซึ่งหากมีใครออกมาพูดถึงข้อเสีย เสียงก็คงไม่ดังเท่าไร เพราะเป็นด้านที่ไม่ทำเงินและฟังดูล้าสมัย” “แต่เราไม่อาจปฏิเสธได้ว่ากัญชาก็ยังมีด้านที่เป็นโทษ จริงๆ แล้ว ในกัญชามีสารอีกหลายตัวที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ แต่ตัวที่มีผลเสียมากที่สุดก็คือสาร ∆9-THC นี่แหละ หากบริโภคโดยไม่ระวัง โดยเฉพาะเด็กและเยาวชนที่มักจะอยากรู้อยากลองและบริโภคตามกระแส จึงอยากให้มีการรณรงค์ทั้งสองด้าน คือ พูดเรื่องประโยชน์ แต่ก็ไม่ลืมเรื่องโทษด้วยเช่นกัน” รศ.ดร.เกื้อการุณย์ กล่าวเน้นด้วยความห่วงใย แม้ในปัจจุบัน กัญชาและกัญชงจะได้รับการปลดล็อคถอดออกจากบัญชียาเสพติดแล้ว แต่ไม่ได้หมายความว่าจะสามารถใช้ได้โดยทั่วไปอย่างเสรี หากมีปริมาณสาร ∆9-THC เกิน 0.2% โดยน้ำหนัก ตามประกาศคณะกรรมการควบคุมยาเสพติด ก็ยังถือว่าเป็นยาเสพติด ดังนั้น ผู้บริโภคควรระมัดระวังในการรับประทานอาหารและเครื่องดื่มที่ผสมกัญชาหรือสารสกัดจากกัญชาเพื่อหลีกเลี่ยงอันตรายจากกัญชาที่อาจส่งผลต่อสุขภาพในระยะยาว tui sakrapee Related Posts โรงเรียนปลอดมือถือ! อังกฤษ-ออสเตรเลียเริ่มแล้ว ดึงเด็กกลับมาสนใจครูในห้องเรียน จุฬาฯ ผงาดอันดับ Top 44 ของโลกด้านความยั่งยืน ใน THE Impact Rankings 2025 ครองอันดับ 1 ของไทยอีกครั้ง หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 สจล. เดินหน้ากระชับความร่วมมือทางวิชาการ กับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของจีน Post navigation PREVIOUS Previous post: นักวิจัย ม.ทักษิณ แปรสภาพต้นปาล์มน้ำมันที่เกษตรกรโค่นทิ้ง เป็นบรรจุภัณฑ์กระดาษ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมNEXT Next post: นิสิตคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ คว้ารางวัลด้านสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืน จากโครงการลดปัญหาฝุ่น PM2.5 จากไฟป่าในอุทยานแห่งชาติแม่ปิง Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
11 สาเหตุลึกซึ้ง ทำไมการศึกษาไทยยังตกต่ำ? เสียงสะท้อนจากครูชนบท สู่คำถามใหญ่ของสังคม EZ WebmasterJune 19, 2025 ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ประเทศไทยกำลังเผชิญกับวิกฤตคุณภาพทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง แม้จะมีความพยายามปฏิรูปหลายครั้ง แต่กลับไม่สามารถยกระดับการเรียนรู้ให้เทียบเท่าประเทศเพื่อนบ้านได้อย่างแท้จริงนายสานิตย์ พลศรี นายกสมาคมครูชนบทจังหวัดชัยภูมิ ในหัวข้อ “สาเหตุของปัญหาคุณภาพด้านการศึกษาประเทศไทยที่ตกต่ำ” ซึ่งกำลังถูกส่งต่ออย่างกว้างขวางในโซเชียลมีเดียและกลุ่มไลน์ของคนในแวดวงการศึกษาเสียงสะท้อนจากผู้ที่อยู่ในภาคสนามจริงอย่างนายสานิตย์ ทำให้เราได้เห็นภาพที่ชัดเจนมากขึ้นว่า ปัญหาไม่ได้อยู่ที่ตัวนักเรียนหรือครูเพียงลำพัง แต่เป็นผลสะสมจากโครงสร้าง ระบบ และการบริหารที่ผิดทิศผิดทางมานานจึงเป็นการเปิดประเด็นให้สังคมได้ทบทวนร่วมกันว่า หากเราไม่เริ่ม “เปลี่ยนจริง” คุณภาพการศึกษาของไทยอาจยิ่งตกต่ำลงกว่าที่เป็นอยู่ 11… ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา EZ WebmasterJune 18, 2025 วิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิทักษ์ ธรรมวาริน (คนที่ 4 จากซ้าย) คณบดีวิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สจล. และ Mr. Alfonso Martin (คนที่ 3…
ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา EZ WebmasterJune 18, 2025 วิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิทักษ์ ธรรมวาริน (คนที่ 4 จากซ้าย) คณบดีวิทยาลัยวิศวกรรมสังคีต สจล. และ Mr. Alfonso Martin (คนที่ 3…
ทุนImperial Athletes Sport InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 20, 2025 Imperial College London เสนอทุนการศึกษา Imperial Athletes Sport เพื่อสนับสนุนนักกีฬาที่มีพรสวรรค์สำหรับปีการศึกษา 2025/2026 โดยเปิดโอกาสให้เลือกเรียนในหลากหลายสาขาวิชา เปิดรับใบสมัครถึง 4 สิงหาคม 2025 หากคุณกำลังแข่งขันในระดับภูมิภาค ระดับชาติ หรือระดับนานาชาติในกีฬาของคุณ และแสดงให้เห็นถึงพรสวรรค์… Kazan Global Youth Summit InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 19, 2025 เชิญเยาวชนสมัครคัดเลือกเข้าร่วมการประชุม Kazan Global Youth Summit ครั้งที่ 4 ระหว่างวันที่ 27 – 30 สิงหาคม 2568 ณ เมืองคาซาน สาธารณรัฐตาตาร์สตาน สหพันธรัฐรัสเซีย จัดโดยรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐตาตาร์สตาน… SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… ครู-อาจารย์ จุฬาฯ ผงาดอันดับ Top 44 ของโลกด้านความยั่งยืน ใน THE Impact Rankings 2025 ครองอันดับ 1 ของไทยอีกครั้ง tui sakrapeeJune 20, 2025 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยผงาดอันดับ Top 44 ของโลก และครองอันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทยอีกครั้งหนึ่ง จากการจัดอันดับโดย Times Higher Education Impact Rankings 2025 ด้วยผลงานที่โดดเด่นในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนและสร้างผลกระทบสูงต่อสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง SDG 9… หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 📚เริ่มเรียน กรกฎาคม 2568 ถึง มกราคม 2569 ทุกวันพฤหัสบดี 11:00 – 18:00 น.… มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ… สจล. เดินหน้ากระชับความร่วมมือทางวิชาการ กับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของจีน EZ WebmasterJune 19, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เดินหน้ากระชับความสัมพันธ์ทางวิชาการกับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งเป็นพันธมิตรที่มีความร่วมมือกันมานานกว่า 20 ปี เพื่อหารือขยายความร่วมมือเชิงลึกในสาขาวิศวกรรมขั้นสูง โดยเฉพาะด้าน Aerospace, Mechatronics, Automation และ Astronautics ซึ่ง HIT ถือเป็นสถาบันชั้นนำของจีนในด้านนี้ พร้อมทั้งหารือแนวทางความร่วมมือด้านการแลกเปลี่ยนนักศึกษา นักวิจัย และการพัฒนาโครงการ Joint Degree ในอนาคต รองศาสตราจารย์… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search tui sakrapee April 18, 2022 tui sakrapee April 18, 2022 จุฬาฯ วิจัยพบปริมาณสาร THC ในเครื่องดื่มกัญชาเกินกำหนด เตือนผู้บริโภคระวัง จี้รัฐควบคุม อาจารย์ชีวเคมี จุฬาฯ เผยผลวิจัย พบเครื่องดื่มกัญชาที่สุ่มตรวจกว่า 30 % มีปริมาณสาร THC เกินกำหนด เตือนผู้บริโภคดื่มแต่น้อย เด็กไม่ควรดื่ม แนะรัฐออกมาตรการควบคุม สื่อสารทั้งคุณและโทษของกัญชา หลังจากที่กัญชาและกัญชงถูกถอดออกจากบัญชียาเสพติด เปิดทางสู่การเป็นพืชเศรษฐกิจ ตลาดเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของกัญชาก็คึกคักและขยายตัวอย่างรวดเร็ว มีทั้งชากัญชา กาแฟกัญชา ตลอดจนตู้ขายเครื่องดื่มอัตโนมัติที่จำหน่ายเครื่องดื่มที่มีกัญชาผสม ปัจจุบัน กัญชาจึงกลายเป็นเครื่องดื่มที่เข้าถึงง่ายและกระจายสู่ทุกกลุ่มผู้บริโภค ข้อมูลจากการประชุมวิชาการศูนย์ศึกษาปัญหาการเสพติด (ศศก.) เพื่อการพัฒนาศักยภาพการวิจัย และนักวิชาการการเสพติด ครั้งที่ 9 ที่ผ่านมา (กุมภาพันธ์ 2565) เผยว่าคนไทยที่ใช้กัญชามีจำนวนเพิ่มขึ้นจากปีก่อนๆ เกือบเท่าตัว โดยผลสำรวจล่าสุด (ปี 2564) มีคนไทยอายุ 18 ปีขึ้นไปที่ใช้กัญชา จำนวนประมาณ 1.89 ล้านคน หรือคิดเป็น 4.3% เทียบกับผลสำรวจเมื่อปี 2563 ที่มีผู้ใช้กัญชาอยู่ที่ประมาณ 1 ล้านคน เทรนด์การบริโภคเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของกัญชาทำให้แพทย์และนักวิจัยด้านสารเสพติดหลายท่านรู้สึกกังวลถึงผลกระทบของสาร THC ในกัญชา ที่หากผู้บริโภคได้รับในปริมาณที่สูงและอย่างต่อเนื่อง ก็อาจจะส่งผลต่อพัฒนาการของสมอง เสี่ยงต่อการเป็นโรคซึมเศร้า จิตเภท หลอดเลือดหัวใจ และมะเร็งอัณฑะ เป็นต้น จุฬาฯ นำร่องงานวิจัยหาปริมาณสาร ∆9-THC ในเครื่องดื่มกัญชา ด้วยความห่วงใยต่อสุขภาพของผู้บริโภค รองศาสตราจารย์ ดร.เกื้อการุณย์ ครูส่ง อาจารย์ประจำภาควิชาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้นำร่องศึกษาวิจัยหาปริมาณสาร ∆9-THC หรือ delta9-tetrahydrocannabidol ในเครื่องดื่มกัญชาที่จำหน่ายในร้านขายเครื่องดื่มทั่วไป เพื่อหาว่ามีปริมาณสาร ∆9-THC เกินกว่าที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดหรือไม่ “เมื่อมีการนำกัญชามาเป็นส่วนประกอบในอาหารและเครื่องดื่มอย่างเสรี ทำให้คนทั่วไป รวมถึงเด็กและเยาวชนสามารถเข้าถึงได้ง่าย สื่อหรือโฆษณาต่างๆ ก็มักพูดถึงแต่ข้อดีของกัญชา ไม่ว่าจะเป็นการนำมาใช้ทางสันทนาการ หรือนำมารักษาโรค โดยลืมไปว่าผลเสียหรือโทษของกัญชาก็ยังคงมีอยู่หากได้รับในปริมาณที่เกินกำหนด แพทย์หลายท่านก็ออกมาเตือนด้วยว่าไม่ให้เด็กรับประทานโดยเด็ดขาด เนื่องจากอาจส่งผลต่อระบบประสาท สมองและพัฒนาการของเด็ก รวมทั้งจิตแพทย์ก็ชี้ว่าสาร ∆9-THC ในกัญชามีผลต่อสุขภาพจิต สมาธิ และเรื่องของภาวะอารมณ์ด้วย” รศ.ดร.เกื้อการุณย์ เล่าถึงที่มาของโครงการวิจัย ภายใต้การสนับสนุนทุนวิจัยจากศูนย์ศึกษาปัญหาการเสพติด (ศศก.) โครงการวิจัยครั้งนี้ได้รับความร่วมมือจากคณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญหลายท่านที่เข้ามาร่วมวิจัย อาทิ รองศาสตราจารย์ พญ.รัศมน กัลยาศิริ จากภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ และผู้อำนวยการ ศศก. เป็นที่ปรึกษางานวิจัย รองศาสตราจารย์ ภญ.ดร.สรกนก วิมลมั่งคั่ง ภาควิชาเภสัชเวทและเภสัชพฤกษศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาฯ ซึ่งทำวิจัยเกี่ยวกับกัญชาและสารธรรมชาติจากกัญชาอยู่ก่อนแล้ว เข้ามาช่วยให้คำแนะนำ ศาสตราจารย์ ดร.อรวรรณ ชัยลภากุล และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชฎิล กุลสิงห์ จากภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ ที่มีความเชี่ยวชาญด้านการวิเคราะห์ มาช่วยดูเรื่องปริมาณสาร ∆9-THC ในเครื่องดื่มที่เก็บตัวอย่างมา ผลการสุ่มตรวจปริมาณ ∆9-THC ในเครื่องดื่มกัญชา คณะผู้วิจัยได้เก็บตัวอย่างเครื่องดื่มกัญชาและเครื่องดื่มที่ผสมกัญชา ที่ขายอยู่ทั่วไปในร้านขายเครื่องดื่มและคาเฟ่ต่างๆ ในกรุงเทพมหานคร 30 กว่าตัวอย่าง มีทั้งเครื่องดื่มประเภทชา กาแฟ โซดา และประเภทที่ใส่นม โดยกรรมวิธีการตรวจสอบตัวอย่างเครื่องดื่มนั้นใช้วิธีมาตรฐานระดับสากลที่ใช้ตรวจหาสาร ∆9-THC ในอาหาร ได้แก่เทคนิคที่เรียกว่า GC–MS (Gas chromatography–Mass spectroscopy) ซึ่งเป็นเทคนิคที่ใช้แยกและระบุสารต่างๆ ภายในตัวอย่างทดสอบ และ HPLC (High Performance Liquid Chromatography) ในการแยกสารผสมและการหาเชิงปริมาณของสารเป้าหมาย โดยใช้เครื่องสูบแรงดันสูง (high pressure pump) “ถามว่าเพราะอะไรจึงต้องเป็นเฉพาะเครื่องดื่มกัญชาจากร้านทั่วไป คือหากเป็นเครื่องดื่มกัญชาประเภทสำเร็จรูป พวกนั้นจะมีการขอ อย. และมีฉลากแสดงชัดเจนว่ามีส่วนประกอบของสาร ∆9-THC ปริมาณเท่าไรต่อ 100 มิลลิลิตร หรือต่อ 1 หน่วยบริโภค แต่เครื่องดื่มที่ขายในร้านประเภทคาเฟ่ ส่วนมากสูตรของเครื่องดื่มจะทำกันขึ้นมาเอง แม้กระทั่งเมนูเดียวกัน ก็ไม่อาจแน่ใจได้เลยว่าแต่ละแก้วมีปริมาณสาร ∆9-THC เท่ากันหรือเปล่า ซึ่งเป็นสิ่งที่น่ากลัว” สำหรับผลการสุ่มตรวจหาปริมาณสาร ∆9-THC ดังกล่าว รศ.ดร.เกื้อการุณย์ เผยว่า “เครื่องดื่มที่สุ่มตรวจส่วนใหญ่มีสาร ∆9-THC ในปริมาณที่ไม่เกินจากที่สาธารณสุขกำหนด แต่ราว 30 % พบว่ามีปริมาณสาร ∆9-THC เกินกว่าที่กฎหมายกำหนดหรือแนะนำให้ไม่เกิน 0.015 มิลลิกรัม ต่อ 100 มิลลิลิตร ซึ่งหากผู้บริโภคเจอร้านหรือดื่มเครื่องดื่มที่มีปริมาณสาร THC เกินกำหนดเหล่านี้ก็จะเกิดอันตรายต่อสุขภาพได้ โดยเฉพาะสำหรับผู้ที่มีอาการแพ้สาร ∆9-THC” อย่างไรก็ดี งานวิจัยไม่สามารถเปิดเผยหรือระบุว่าเครื่องดื่มใด จากร้านใด มีปริมาณสาร ∆9-THC เท่าไร แต่อาจนำเสนอในรูปแบบรายงานของ ศศก. ซึ่งเป็นหน่วยงานภายใต้ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลสำหรับงานด้านนโยบายต่อไปในอนาคต งานวิจัยสำหรับปีนี้ (2565) ใกล้เสร็จสมบูรณ์แล้ว และในอนาคต รศ.ดร.เกื้อการุณย์ คาดว่าจะวิจัยโดยมีการเก็บตัวอย่างมากขึ้น อาจจะเป็นการขยายพื้นที่เก็บตัวอย่างไปยังส่วนภูมิภาค หรือเก็บตัวอย่างในอาหารชนิดอื่นๆ ที่นอกเหนือไปจากเครื่องดื่ม แนะบริโภคกัญชาอย่างปลอดภัย สำหรับผู้บริโภค สิ่งที่ รศ.ดร.เกื้อการุณย์ รู้สึกเป็นกังวลคือปริมาณของสาร ∆9-THC ที่ได้รับต่อวัน ด้วยประเทศไทยยังไม่เคยมีการกำหนดหรือมีข้อแนะนำว่าควรหรือไม่ควรบริโภคในปริมาณเท่าไรต่อวัน ยกตัวอย่างเช่น ต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม ไม่ควรบริโภคเกินกี่ไมโครกรัม หากเกินกว่านั้นอาจจะได้รับผลข้างเคียง เป็นต้น ซึ่งแม้แต่ในต่างประเทศเองก็ยังไม่ชัดเจนนัก เพราะยังไม่มีงานวิจัยในเรื่องผลระยะยาวจากการบริโภค ทั้งนี้ อาจจะกำหนดการบริโภคเครื่องดื่มกัญชาหรือที่มีส่วนผสมของกัญชาให้เหมือนเครื่องดื่มชนิดอื่นๆ เช่น เครื่องดื่มชูกำลัง ที่มีคำเตือนที่คุ้นหูว่าไม่ควรดื่มเกินวันละ 2 ขวด เป็นตัวอย่าง “แม้แต่ร้านค้าหรือผู้ประกอบการเอง ปัจจุบันก็น่าจะยังไม่ทราบด้วยซ้ำว่าห้ามไม่ให้มีปริมาณสาร ∆9-THC เท่าไรต่อเครื่องดื่ม 1 แก้ว หรือต่อให้ทราบ ก็ไม่น่าจะสามารถควบคุมปริมาณได้ เพราะไม่เคยมีการตรวจ อีกทั้งกรรมวิธีที่ใช้ในการผลิตของแต่ละร้านก็ต่างกัน หากใช้ใบนำมาต้มผสมเครื่องดื่ม อันนั้นอาจจะไม่ค่อยน่าห่วง เพราะได้ปริมาณสาร ∆9-THC ออกมาค่อนข้างน้อย แต่ถ้ามีการสกัดด้วยความร้อน หรือใช้เป็นน้ำมันสกัด อันนั้นน่ากังวลมาก และไม่มีทางที่ผู้ประกอบการจะรู้เลยว่า อาหารหรือเครื่องดื่มของตนต่อ 1 serve มีปริมาณ ∆9-THC เท่าไร” ด้วยเหตุนี้ รศ.ดร.เกื้อการุณย์ จึงแนะนำผู้ที่ต้องการทดลองดื่มเครื่องดื่มที่ผสมกัญชาหรือกัญชงให้ใช้ความระมัดระวังและบริโภคแต่น้อย เพื่อไม่ให้ร่างกายได้รับสาร ∆9-THC มากจนเกิดอันตราย และไม่แนะนำเด็ดขาดสำหรับเด็กในวัยเรียน เนื่องจากยังไม่ทราบผลในระยะยาว เสนอรัฐควบคุมร้านค้าจำหน่ายอาหารและเครื่องดื่มกัญชา ร้านที่ขายเครื่องดื่มกัญชาหรืออาหารที่ผสมกัญชา ควรมีป้ายหรือประกาศแจ้งให้ผู้บริโภครับทราบอย่างชัดเจน เพื่อผู้ที่ไม่ต้องการบริโภคผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมกัญชาและผู้ปกครองจะได้ระมัดระวัง แนะสื่อนำเสนอทั้งคุณและโทษของกัญชา การส่งเสริมจากภาครัฐเพื่อพัฒนากัญชาและกัญชงให้เป็นพืชเศรษฐกิจมีส่วนทำให้หลายฝ่าย รวมถึงสื่อ เน้นกล่าวถึงคุณประโยชน์ของกัญชา โดยละเลยและมองข้ามโทษของกัญชา “ปัจจุบัน ในสื่อต่างๆ มักจะนำเสนอแต่ด้านและประโยชน์ของกัญชา ในฐานะพืชสมุนไพรที่สร้างรายได้ มีการปรับปรุงบรรจุภัณฑ์ให้ดึงดูด ทำให้เห็นว่าเป็นสินค้าน่าซื้อ ไม่มีอันตราย ซึ่งหากมีใครออกมาพูดถึงข้อเสีย เสียงก็คงไม่ดังเท่าไร เพราะเป็นด้านที่ไม่ทำเงินและฟังดูล้าสมัย” “แต่เราไม่อาจปฏิเสธได้ว่ากัญชาก็ยังมีด้านที่เป็นโทษ จริงๆ แล้ว ในกัญชามีสารอีกหลายตัวที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ แต่ตัวที่มีผลเสียมากที่สุดก็คือสาร ∆9-THC นี่แหละ หากบริโภคโดยไม่ระวัง โดยเฉพาะเด็กและเยาวชนที่มักจะอยากรู้อยากลองและบริโภคตามกระแส จึงอยากให้มีการรณรงค์ทั้งสองด้าน คือ พูดเรื่องประโยชน์ แต่ก็ไม่ลืมเรื่องโทษด้วยเช่นกัน” รศ.ดร.เกื้อการุณย์ กล่าวเน้นด้วยความห่วงใย แม้ในปัจจุบัน กัญชาและกัญชงจะได้รับการปลดล็อคถอดออกจากบัญชียาเสพติดแล้ว แต่ไม่ได้หมายความว่าจะสามารถใช้ได้โดยทั่วไปอย่างเสรี หากมีปริมาณสาร ∆9-THC เกิน 0.2% โดยน้ำหนัก ตามประกาศคณะกรรมการควบคุมยาเสพติด ก็ยังถือว่าเป็นยาเสพติด ดังนั้น ผู้บริโภคควรระมัดระวังในการรับประทานอาหารและเครื่องดื่มที่ผสมกัญชาหรือสารสกัดจากกัญชาเพื่อหลีกเลี่ยงอันตรายจากกัญชาที่อาจส่งผลต่อสุขภาพในระยะยาว tui sakrapee Related Posts โรงเรียนปลอดมือถือ! อังกฤษ-ออสเตรเลียเริ่มแล้ว ดึงเด็กกลับมาสนใจครูในห้องเรียน จุฬาฯ ผงาดอันดับ Top 44 ของโลกด้านความยั่งยืน ใน THE Impact Rankings 2025 ครองอันดับ 1 ของไทยอีกครั้ง หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 สจล. เดินหน้ากระชับความร่วมมือทางวิชาการ กับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของจีน Post navigation PREVIOUS Previous post: นักวิจัย ม.ทักษิณ แปรสภาพต้นปาล์มน้ำมันที่เกษตรกรโค่นทิ้ง เป็นบรรจุภัณฑ์กระดาษ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมNEXT Next post: นิสิตคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ คว้ารางวัลด้านสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืน จากโครงการลดปัญหาฝุ่น PM2.5 จากไฟป่าในอุทยานแห่งชาติแม่ปิง Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
Kazan Global Youth Summit InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 19, 2025 เชิญเยาวชนสมัครคัดเลือกเข้าร่วมการประชุม Kazan Global Youth Summit ครั้งที่ 4 ระหว่างวันที่ 27 – 30 สิงหาคม 2568 ณ เมืองคาซาน สาธารณรัฐตาตาร์สตาน สหพันธรัฐรัสเซีย จัดโดยรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐตาตาร์สตาน… SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม… ครู-อาจารย์ จุฬาฯ ผงาดอันดับ Top 44 ของโลกด้านความยั่งยืน ใน THE Impact Rankings 2025 ครองอันดับ 1 ของไทยอีกครั้ง tui sakrapeeJune 20, 2025 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยผงาดอันดับ Top 44 ของโลก และครองอันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทยอีกครั้งหนึ่ง จากการจัดอันดับโดย Times Higher Education Impact Rankings 2025 ด้วยผลงานที่โดดเด่นในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนและสร้างผลกระทบสูงต่อสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง SDG 9… หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 📚เริ่มเรียน กรกฎาคม 2568 ถึง มกราคม 2569 ทุกวันพฤหัสบดี 11:00 – 18:00 น.… มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ… สจล. เดินหน้ากระชับความร่วมมือทางวิชาการ กับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของจีน EZ WebmasterJune 19, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เดินหน้ากระชับความสัมพันธ์ทางวิชาการกับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งเป็นพันธมิตรที่มีความร่วมมือกันมานานกว่า 20 ปี เพื่อหารือขยายความร่วมมือเชิงลึกในสาขาวิศวกรรมขั้นสูง โดยเฉพาะด้าน Aerospace, Mechatronics, Automation และ Astronautics ซึ่ง HIT ถือเป็นสถาบันชั้นนำของจีนในด้านนี้ พร้อมทั้งหารือแนวทางความร่วมมือด้านการแลกเปลี่ยนนักศึกษา นักวิจัย และการพัฒนาโครงการ Joint Degree ในอนาคต รองศาสตราจารย์… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search tui sakrapee April 18, 2022 tui sakrapee April 18, 2022 จุฬาฯ วิจัยพบปริมาณสาร THC ในเครื่องดื่มกัญชาเกินกำหนด เตือนผู้บริโภคระวัง จี้รัฐควบคุม อาจารย์ชีวเคมี จุฬาฯ เผยผลวิจัย พบเครื่องดื่มกัญชาที่สุ่มตรวจกว่า 30 % มีปริมาณสาร THC เกินกำหนด เตือนผู้บริโภคดื่มแต่น้อย เด็กไม่ควรดื่ม แนะรัฐออกมาตรการควบคุม สื่อสารทั้งคุณและโทษของกัญชา หลังจากที่กัญชาและกัญชงถูกถอดออกจากบัญชียาเสพติด เปิดทางสู่การเป็นพืชเศรษฐกิจ ตลาดเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของกัญชาก็คึกคักและขยายตัวอย่างรวดเร็ว มีทั้งชากัญชา กาแฟกัญชา ตลอดจนตู้ขายเครื่องดื่มอัตโนมัติที่จำหน่ายเครื่องดื่มที่มีกัญชาผสม ปัจจุบัน กัญชาจึงกลายเป็นเครื่องดื่มที่เข้าถึงง่ายและกระจายสู่ทุกกลุ่มผู้บริโภค ข้อมูลจากการประชุมวิชาการศูนย์ศึกษาปัญหาการเสพติด (ศศก.) เพื่อการพัฒนาศักยภาพการวิจัย และนักวิชาการการเสพติด ครั้งที่ 9 ที่ผ่านมา (กุมภาพันธ์ 2565) เผยว่าคนไทยที่ใช้กัญชามีจำนวนเพิ่มขึ้นจากปีก่อนๆ เกือบเท่าตัว โดยผลสำรวจล่าสุด (ปี 2564) มีคนไทยอายุ 18 ปีขึ้นไปที่ใช้กัญชา จำนวนประมาณ 1.89 ล้านคน หรือคิดเป็น 4.3% เทียบกับผลสำรวจเมื่อปี 2563 ที่มีผู้ใช้กัญชาอยู่ที่ประมาณ 1 ล้านคน เทรนด์การบริโภคเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของกัญชาทำให้แพทย์และนักวิจัยด้านสารเสพติดหลายท่านรู้สึกกังวลถึงผลกระทบของสาร THC ในกัญชา ที่หากผู้บริโภคได้รับในปริมาณที่สูงและอย่างต่อเนื่อง ก็อาจจะส่งผลต่อพัฒนาการของสมอง เสี่ยงต่อการเป็นโรคซึมเศร้า จิตเภท หลอดเลือดหัวใจ และมะเร็งอัณฑะ เป็นต้น จุฬาฯ นำร่องงานวิจัยหาปริมาณสาร ∆9-THC ในเครื่องดื่มกัญชา ด้วยความห่วงใยต่อสุขภาพของผู้บริโภค รองศาสตราจารย์ ดร.เกื้อการุณย์ ครูส่ง อาจารย์ประจำภาควิชาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้นำร่องศึกษาวิจัยหาปริมาณสาร ∆9-THC หรือ delta9-tetrahydrocannabidol ในเครื่องดื่มกัญชาที่จำหน่ายในร้านขายเครื่องดื่มทั่วไป เพื่อหาว่ามีปริมาณสาร ∆9-THC เกินกว่าที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดหรือไม่ “เมื่อมีการนำกัญชามาเป็นส่วนประกอบในอาหารและเครื่องดื่มอย่างเสรี ทำให้คนทั่วไป รวมถึงเด็กและเยาวชนสามารถเข้าถึงได้ง่าย สื่อหรือโฆษณาต่างๆ ก็มักพูดถึงแต่ข้อดีของกัญชา ไม่ว่าจะเป็นการนำมาใช้ทางสันทนาการ หรือนำมารักษาโรค โดยลืมไปว่าผลเสียหรือโทษของกัญชาก็ยังคงมีอยู่หากได้รับในปริมาณที่เกินกำหนด แพทย์หลายท่านก็ออกมาเตือนด้วยว่าไม่ให้เด็กรับประทานโดยเด็ดขาด เนื่องจากอาจส่งผลต่อระบบประสาท สมองและพัฒนาการของเด็ก รวมทั้งจิตแพทย์ก็ชี้ว่าสาร ∆9-THC ในกัญชามีผลต่อสุขภาพจิต สมาธิ และเรื่องของภาวะอารมณ์ด้วย” รศ.ดร.เกื้อการุณย์ เล่าถึงที่มาของโครงการวิจัย ภายใต้การสนับสนุนทุนวิจัยจากศูนย์ศึกษาปัญหาการเสพติด (ศศก.) โครงการวิจัยครั้งนี้ได้รับความร่วมมือจากคณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญหลายท่านที่เข้ามาร่วมวิจัย อาทิ รองศาสตราจารย์ พญ.รัศมน กัลยาศิริ จากภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ และผู้อำนวยการ ศศก. เป็นที่ปรึกษางานวิจัย รองศาสตราจารย์ ภญ.ดร.สรกนก วิมลมั่งคั่ง ภาควิชาเภสัชเวทและเภสัชพฤกษศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาฯ ซึ่งทำวิจัยเกี่ยวกับกัญชาและสารธรรมชาติจากกัญชาอยู่ก่อนแล้ว เข้ามาช่วยให้คำแนะนำ ศาสตราจารย์ ดร.อรวรรณ ชัยลภากุล และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชฎิล กุลสิงห์ จากภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ ที่มีความเชี่ยวชาญด้านการวิเคราะห์ มาช่วยดูเรื่องปริมาณสาร ∆9-THC ในเครื่องดื่มที่เก็บตัวอย่างมา ผลการสุ่มตรวจปริมาณ ∆9-THC ในเครื่องดื่มกัญชา คณะผู้วิจัยได้เก็บตัวอย่างเครื่องดื่มกัญชาและเครื่องดื่มที่ผสมกัญชา ที่ขายอยู่ทั่วไปในร้านขายเครื่องดื่มและคาเฟ่ต่างๆ ในกรุงเทพมหานคร 30 กว่าตัวอย่าง มีทั้งเครื่องดื่มประเภทชา กาแฟ โซดา และประเภทที่ใส่นม โดยกรรมวิธีการตรวจสอบตัวอย่างเครื่องดื่มนั้นใช้วิธีมาตรฐานระดับสากลที่ใช้ตรวจหาสาร ∆9-THC ในอาหาร ได้แก่เทคนิคที่เรียกว่า GC–MS (Gas chromatography–Mass spectroscopy) ซึ่งเป็นเทคนิคที่ใช้แยกและระบุสารต่างๆ ภายในตัวอย่างทดสอบ และ HPLC (High Performance Liquid Chromatography) ในการแยกสารผสมและการหาเชิงปริมาณของสารเป้าหมาย โดยใช้เครื่องสูบแรงดันสูง (high pressure pump) “ถามว่าเพราะอะไรจึงต้องเป็นเฉพาะเครื่องดื่มกัญชาจากร้านทั่วไป คือหากเป็นเครื่องดื่มกัญชาประเภทสำเร็จรูป พวกนั้นจะมีการขอ อย. และมีฉลากแสดงชัดเจนว่ามีส่วนประกอบของสาร ∆9-THC ปริมาณเท่าไรต่อ 100 มิลลิลิตร หรือต่อ 1 หน่วยบริโภค แต่เครื่องดื่มที่ขายในร้านประเภทคาเฟ่ ส่วนมากสูตรของเครื่องดื่มจะทำกันขึ้นมาเอง แม้กระทั่งเมนูเดียวกัน ก็ไม่อาจแน่ใจได้เลยว่าแต่ละแก้วมีปริมาณสาร ∆9-THC เท่ากันหรือเปล่า ซึ่งเป็นสิ่งที่น่ากลัว” สำหรับผลการสุ่มตรวจหาปริมาณสาร ∆9-THC ดังกล่าว รศ.ดร.เกื้อการุณย์ เผยว่า “เครื่องดื่มที่สุ่มตรวจส่วนใหญ่มีสาร ∆9-THC ในปริมาณที่ไม่เกินจากที่สาธารณสุขกำหนด แต่ราว 30 % พบว่ามีปริมาณสาร ∆9-THC เกินกว่าที่กฎหมายกำหนดหรือแนะนำให้ไม่เกิน 0.015 มิลลิกรัม ต่อ 100 มิลลิลิตร ซึ่งหากผู้บริโภคเจอร้านหรือดื่มเครื่องดื่มที่มีปริมาณสาร THC เกินกำหนดเหล่านี้ก็จะเกิดอันตรายต่อสุขภาพได้ โดยเฉพาะสำหรับผู้ที่มีอาการแพ้สาร ∆9-THC” อย่างไรก็ดี งานวิจัยไม่สามารถเปิดเผยหรือระบุว่าเครื่องดื่มใด จากร้านใด มีปริมาณสาร ∆9-THC เท่าไร แต่อาจนำเสนอในรูปแบบรายงานของ ศศก. ซึ่งเป็นหน่วยงานภายใต้ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลสำหรับงานด้านนโยบายต่อไปในอนาคต งานวิจัยสำหรับปีนี้ (2565) ใกล้เสร็จสมบูรณ์แล้ว และในอนาคต รศ.ดร.เกื้อการุณย์ คาดว่าจะวิจัยโดยมีการเก็บตัวอย่างมากขึ้น อาจจะเป็นการขยายพื้นที่เก็บตัวอย่างไปยังส่วนภูมิภาค หรือเก็บตัวอย่างในอาหารชนิดอื่นๆ ที่นอกเหนือไปจากเครื่องดื่ม แนะบริโภคกัญชาอย่างปลอดภัย สำหรับผู้บริโภค สิ่งที่ รศ.ดร.เกื้อการุณย์ รู้สึกเป็นกังวลคือปริมาณของสาร ∆9-THC ที่ได้รับต่อวัน ด้วยประเทศไทยยังไม่เคยมีการกำหนดหรือมีข้อแนะนำว่าควรหรือไม่ควรบริโภคในปริมาณเท่าไรต่อวัน ยกตัวอย่างเช่น ต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม ไม่ควรบริโภคเกินกี่ไมโครกรัม หากเกินกว่านั้นอาจจะได้รับผลข้างเคียง เป็นต้น ซึ่งแม้แต่ในต่างประเทศเองก็ยังไม่ชัดเจนนัก เพราะยังไม่มีงานวิจัยในเรื่องผลระยะยาวจากการบริโภค ทั้งนี้ อาจจะกำหนดการบริโภคเครื่องดื่มกัญชาหรือที่มีส่วนผสมของกัญชาให้เหมือนเครื่องดื่มชนิดอื่นๆ เช่น เครื่องดื่มชูกำลัง ที่มีคำเตือนที่คุ้นหูว่าไม่ควรดื่มเกินวันละ 2 ขวด เป็นตัวอย่าง “แม้แต่ร้านค้าหรือผู้ประกอบการเอง ปัจจุบันก็น่าจะยังไม่ทราบด้วยซ้ำว่าห้ามไม่ให้มีปริมาณสาร ∆9-THC เท่าไรต่อเครื่องดื่ม 1 แก้ว หรือต่อให้ทราบ ก็ไม่น่าจะสามารถควบคุมปริมาณได้ เพราะไม่เคยมีการตรวจ อีกทั้งกรรมวิธีที่ใช้ในการผลิตของแต่ละร้านก็ต่างกัน หากใช้ใบนำมาต้มผสมเครื่องดื่ม อันนั้นอาจจะไม่ค่อยน่าห่วง เพราะได้ปริมาณสาร ∆9-THC ออกมาค่อนข้างน้อย แต่ถ้ามีการสกัดด้วยความร้อน หรือใช้เป็นน้ำมันสกัด อันนั้นน่ากังวลมาก และไม่มีทางที่ผู้ประกอบการจะรู้เลยว่า อาหารหรือเครื่องดื่มของตนต่อ 1 serve มีปริมาณ ∆9-THC เท่าไร” ด้วยเหตุนี้ รศ.ดร.เกื้อการุณย์ จึงแนะนำผู้ที่ต้องการทดลองดื่มเครื่องดื่มที่ผสมกัญชาหรือกัญชงให้ใช้ความระมัดระวังและบริโภคแต่น้อย เพื่อไม่ให้ร่างกายได้รับสาร ∆9-THC มากจนเกิดอันตราย และไม่แนะนำเด็ดขาดสำหรับเด็กในวัยเรียน เนื่องจากยังไม่ทราบผลในระยะยาว เสนอรัฐควบคุมร้านค้าจำหน่ายอาหารและเครื่องดื่มกัญชา ร้านที่ขายเครื่องดื่มกัญชาหรืออาหารที่ผสมกัญชา ควรมีป้ายหรือประกาศแจ้งให้ผู้บริโภครับทราบอย่างชัดเจน เพื่อผู้ที่ไม่ต้องการบริโภคผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมกัญชาและผู้ปกครองจะได้ระมัดระวัง แนะสื่อนำเสนอทั้งคุณและโทษของกัญชา การส่งเสริมจากภาครัฐเพื่อพัฒนากัญชาและกัญชงให้เป็นพืชเศรษฐกิจมีส่วนทำให้หลายฝ่าย รวมถึงสื่อ เน้นกล่าวถึงคุณประโยชน์ของกัญชา โดยละเลยและมองข้ามโทษของกัญชา “ปัจจุบัน ในสื่อต่างๆ มักจะนำเสนอแต่ด้านและประโยชน์ของกัญชา ในฐานะพืชสมุนไพรที่สร้างรายได้ มีการปรับปรุงบรรจุภัณฑ์ให้ดึงดูด ทำให้เห็นว่าเป็นสินค้าน่าซื้อ ไม่มีอันตราย ซึ่งหากมีใครออกมาพูดถึงข้อเสีย เสียงก็คงไม่ดังเท่าไร เพราะเป็นด้านที่ไม่ทำเงินและฟังดูล้าสมัย” “แต่เราไม่อาจปฏิเสธได้ว่ากัญชาก็ยังมีด้านที่เป็นโทษ จริงๆ แล้ว ในกัญชามีสารอีกหลายตัวที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ แต่ตัวที่มีผลเสียมากที่สุดก็คือสาร ∆9-THC นี่แหละ หากบริโภคโดยไม่ระวัง โดยเฉพาะเด็กและเยาวชนที่มักจะอยากรู้อยากลองและบริโภคตามกระแส จึงอยากให้มีการรณรงค์ทั้งสองด้าน คือ พูดเรื่องประโยชน์ แต่ก็ไม่ลืมเรื่องโทษด้วยเช่นกัน” รศ.ดร.เกื้อการุณย์ กล่าวเน้นด้วยความห่วงใย แม้ในปัจจุบัน กัญชาและกัญชงจะได้รับการปลดล็อคถอดออกจากบัญชียาเสพติดแล้ว แต่ไม่ได้หมายความว่าจะสามารถใช้ได้โดยทั่วไปอย่างเสรี หากมีปริมาณสาร ∆9-THC เกิน 0.2% โดยน้ำหนัก ตามประกาศคณะกรรมการควบคุมยาเสพติด ก็ยังถือว่าเป็นยาเสพติด ดังนั้น ผู้บริโภคควรระมัดระวังในการรับประทานอาหารและเครื่องดื่มที่ผสมกัญชาหรือสารสกัดจากกัญชาเพื่อหลีกเลี่ยงอันตรายจากกัญชาที่อาจส่งผลต่อสุขภาพในระยะยาว tui sakrapee Related Posts โรงเรียนปลอดมือถือ! อังกฤษ-ออสเตรเลียเริ่มแล้ว ดึงเด็กกลับมาสนใจครูในห้องเรียน จุฬาฯ ผงาดอันดับ Top 44 ของโลกด้านความยั่งยืน ใน THE Impact Rankings 2025 ครองอันดับ 1 ของไทยอีกครั้ง หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 สจล. เดินหน้ากระชับความร่วมมือทางวิชาการ กับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของจีน Post navigation PREVIOUS Previous post: นักวิจัย ม.ทักษิณ แปรสภาพต้นปาล์มน้ำมันที่เกษตรกรโค่นทิ้ง เป็นบรรจุภัณฑ์กระดาษ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมNEXT Next post: นิสิตคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ คว้ารางวัลด้านสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืน จากโครงการลดปัญหาฝุ่น PM2.5 จากไฟป่าในอุทยานแห่งชาติแม่ปิง Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
SEAMEO-Japan ESD Award InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 18, 2025 เชิญสถานศึกษาเข้าร่วมประกวดในหัวข้อ “Fostering Schools and Surrounding Communities’ Resilience through the Revitalisation of Local Wisdom in Disaster Risk Reduction” ชิงรางวัล SEAMEO-Japan ESD Award ประจำปี 2568 … ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม…
ทุนMaster of Education InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 17, 2025 International Welcome Scholarships in Master of Education หรือทุนเรียนปริญญาโททางด้านการศึกษา สำหรับผู้เรียนจากนานาชาติ โดย Murdoch University ประเทศออสเตรเลีย ทุนมีมูลค่าเป็นส่วนลดค่าเรียน 25% เปิดรับใบสมัครถึง 30 สิงหาคม…
จุฬาฯ ผงาดอันดับ Top 44 ของโลกด้านความยั่งยืน ใน THE Impact Rankings 2025 ครองอันดับ 1 ของไทยอีกครั้ง tui sakrapeeJune 20, 2025 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยผงาดอันดับ Top 44 ของโลก และครองอันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทยอีกครั้งหนึ่ง จากการจัดอันดับโดย Times Higher Education Impact Rankings 2025 ด้วยผลงานที่โดดเด่นในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนและสร้างผลกระทบสูงต่อสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง SDG 9… หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 📚เริ่มเรียน กรกฎาคม 2568 ถึง มกราคม 2569 ทุกวันพฤหัสบดี 11:00 – 18:00 น.… มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ… สจล. เดินหน้ากระชับความร่วมมือทางวิชาการ กับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของจีน EZ WebmasterJune 19, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เดินหน้ากระชับความสัมพันธ์ทางวิชาการกับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งเป็นพันธมิตรที่มีความร่วมมือกันมานานกว่า 20 ปี เพื่อหารือขยายความร่วมมือเชิงลึกในสาขาวิศวกรรมขั้นสูง โดยเฉพาะด้าน Aerospace, Mechatronics, Automation และ Astronautics ซึ่ง HIT ถือเป็นสถาบันชั้นนำของจีนในด้านนี้ พร้อมทั้งหารือแนวทางความร่วมมือด้านการแลกเปลี่ยนนักศึกษา นักวิจัย และการพัฒนาโครงการ Joint Degree ในอนาคต รองศาสตราจารย์… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search tui sakrapee April 18, 2022 tui sakrapee April 18, 2022 จุฬาฯ วิจัยพบปริมาณสาร THC ในเครื่องดื่มกัญชาเกินกำหนด เตือนผู้บริโภคระวัง จี้รัฐควบคุม อาจารย์ชีวเคมี จุฬาฯ เผยผลวิจัย พบเครื่องดื่มกัญชาที่สุ่มตรวจกว่า 30 % มีปริมาณสาร THC เกินกำหนด เตือนผู้บริโภคดื่มแต่น้อย เด็กไม่ควรดื่ม แนะรัฐออกมาตรการควบคุม สื่อสารทั้งคุณและโทษของกัญชา หลังจากที่กัญชาและกัญชงถูกถอดออกจากบัญชียาเสพติด เปิดทางสู่การเป็นพืชเศรษฐกิจ ตลาดเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของกัญชาก็คึกคักและขยายตัวอย่างรวดเร็ว มีทั้งชากัญชา กาแฟกัญชา ตลอดจนตู้ขายเครื่องดื่มอัตโนมัติที่จำหน่ายเครื่องดื่มที่มีกัญชาผสม ปัจจุบัน กัญชาจึงกลายเป็นเครื่องดื่มที่เข้าถึงง่ายและกระจายสู่ทุกกลุ่มผู้บริโภค ข้อมูลจากการประชุมวิชาการศูนย์ศึกษาปัญหาการเสพติด (ศศก.) เพื่อการพัฒนาศักยภาพการวิจัย และนักวิชาการการเสพติด ครั้งที่ 9 ที่ผ่านมา (กุมภาพันธ์ 2565) เผยว่าคนไทยที่ใช้กัญชามีจำนวนเพิ่มขึ้นจากปีก่อนๆ เกือบเท่าตัว โดยผลสำรวจล่าสุด (ปี 2564) มีคนไทยอายุ 18 ปีขึ้นไปที่ใช้กัญชา จำนวนประมาณ 1.89 ล้านคน หรือคิดเป็น 4.3% เทียบกับผลสำรวจเมื่อปี 2563 ที่มีผู้ใช้กัญชาอยู่ที่ประมาณ 1 ล้านคน เทรนด์การบริโภคเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของกัญชาทำให้แพทย์และนักวิจัยด้านสารเสพติดหลายท่านรู้สึกกังวลถึงผลกระทบของสาร THC ในกัญชา ที่หากผู้บริโภคได้รับในปริมาณที่สูงและอย่างต่อเนื่อง ก็อาจจะส่งผลต่อพัฒนาการของสมอง เสี่ยงต่อการเป็นโรคซึมเศร้า จิตเภท หลอดเลือดหัวใจ และมะเร็งอัณฑะ เป็นต้น จุฬาฯ นำร่องงานวิจัยหาปริมาณสาร ∆9-THC ในเครื่องดื่มกัญชา ด้วยความห่วงใยต่อสุขภาพของผู้บริโภค รองศาสตราจารย์ ดร.เกื้อการุณย์ ครูส่ง อาจารย์ประจำภาควิชาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้นำร่องศึกษาวิจัยหาปริมาณสาร ∆9-THC หรือ delta9-tetrahydrocannabidol ในเครื่องดื่มกัญชาที่จำหน่ายในร้านขายเครื่องดื่มทั่วไป เพื่อหาว่ามีปริมาณสาร ∆9-THC เกินกว่าที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดหรือไม่ “เมื่อมีการนำกัญชามาเป็นส่วนประกอบในอาหารและเครื่องดื่มอย่างเสรี ทำให้คนทั่วไป รวมถึงเด็กและเยาวชนสามารถเข้าถึงได้ง่าย สื่อหรือโฆษณาต่างๆ ก็มักพูดถึงแต่ข้อดีของกัญชา ไม่ว่าจะเป็นการนำมาใช้ทางสันทนาการ หรือนำมารักษาโรค โดยลืมไปว่าผลเสียหรือโทษของกัญชาก็ยังคงมีอยู่หากได้รับในปริมาณที่เกินกำหนด แพทย์หลายท่านก็ออกมาเตือนด้วยว่าไม่ให้เด็กรับประทานโดยเด็ดขาด เนื่องจากอาจส่งผลต่อระบบประสาท สมองและพัฒนาการของเด็ก รวมทั้งจิตแพทย์ก็ชี้ว่าสาร ∆9-THC ในกัญชามีผลต่อสุขภาพจิต สมาธิ และเรื่องของภาวะอารมณ์ด้วย” รศ.ดร.เกื้อการุณย์ เล่าถึงที่มาของโครงการวิจัย ภายใต้การสนับสนุนทุนวิจัยจากศูนย์ศึกษาปัญหาการเสพติด (ศศก.) โครงการวิจัยครั้งนี้ได้รับความร่วมมือจากคณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญหลายท่านที่เข้ามาร่วมวิจัย อาทิ รองศาสตราจารย์ พญ.รัศมน กัลยาศิริ จากภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ และผู้อำนวยการ ศศก. เป็นที่ปรึกษางานวิจัย รองศาสตราจารย์ ภญ.ดร.สรกนก วิมลมั่งคั่ง ภาควิชาเภสัชเวทและเภสัชพฤกษศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาฯ ซึ่งทำวิจัยเกี่ยวกับกัญชาและสารธรรมชาติจากกัญชาอยู่ก่อนแล้ว เข้ามาช่วยให้คำแนะนำ ศาสตราจารย์ ดร.อรวรรณ ชัยลภากุล และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชฎิล กุลสิงห์ จากภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ ที่มีความเชี่ยวชาญด้านการวิเคราะห์ มาช่วยดูเรื่องปริมาณสาร ∆9-THC ในเครื่องดื่มที่เก็บตัวอย่างมา ผลการสุ่มตรวจปริมาณ ∆9-THC ในเครื่องดื่มกัญชา คณะผู้วิจัยได้เก็บตัวอย่างเครื่องดื่มกัญชาและเครื่องดื่มที่ผสมกัญชา ที่ขายอยู่ทั่วไปในร้านขายเครื่องดื่มและคาเฟ่ต่างๆ ในกรุงเทพมหานคร 30 กว่าตัวอย่าง มีทั้งเครื่องดื่มประเภทชา กาแฟ โซดา และประเภทที่ใส่นม โดยกรรมวิธีการตรวจสอบตัวอย่างเครื่องดื่มนั้นใช้วิธีมาตรฐานระดับสากลที่ใช้ตรวจหาสาร ∆9-THC ในอาหาร ได้แก่เทคนิคที่เรียกว่า GC–MS (Gas chromatography–Mass spectroscopy) ซึ่งเป็นเทคนิคที่ใช้แยกและระบุสารต่างๆ ภายในตัวอย่างทดสอบ และ HPLC (High Performance Liquid Chromatography) ในการแยกสารผสมและการหาเชิงปริมาณของสารเป้าหมาย โดยใช้เครื่องสูบแรงดันสูง (high pressure pump) “ถามว่าเพราะอะไรจึงต้องเป็นเฉพาะเครื่องดื่มกัญชาจากร้านทั่วไป คือหากเป็นเครื่องดื่มกัญชาประเภทสำเร็จรูป พวกนั้นจะมีการขอ อย. และมีฉลากแสดงชัดเจนว่ามีส่วนประกอบของสาร ∆9-THC ปริมาณเท่าไรต่อ 100 มิลลิลิตร หรือต่อ 1 หน่วยบริโภค แต่เครื่องดื่มที่ขายในร้านประเภทคาเฟ่ ส่วนมากสูตรของเครื่องดื่มจะทำกันขึ้นมาเอง แม้กระทั่งเมนูเดียวกัน ก็ไม่อาจแน่ใจได้เลยว่าแต่ละแก้วมีปริมาณสาร ∆9-THC เท่ากันหรือเปล่า ซึ่งเป็นสิ่งที่น่ากลัว” สำหรับผลการสุ่มตรวจหาปริมาณสาร ∆9-THC ดังกล่าว รศ.ดร.เกื้อการุณย์ เผยว่า “เครื่องดื่มที่สุ่มตรวจส่วนใหญ่มีสาร ∆9-THC ในปริมาณที่ไม่เกินจากที่สาธารณสุขกำหนด แต่ราว 30 % พบว่ามีปริมาณสาร ∆9-THC เกินกว่าที่กฎหมายกำหนดหรือแนะนำให้ไม่เกิน 0.015 มิลลิกรัม ต่อ 100 มิลลิลิตร ซึ่งหากผู้บริโภคเจอร้านหรือดื่มเครื่องดื่มที่มีปริมาณสาร THC เกินกำหนดเหล่านี้ก็จะเกิดอันตรายต่อสุขภาพได้ โดยเฉพาะสำหรับผู้ที่มีอาการแพ้สาร ∆9-THC” อย่างไรก็ดี งานวิจัยไม่สามารถเปิดเผยหรือระบุว่าเครื่องดื่มใด จากร้านใด มีปริมาณสาร ∆9-THC เท่าไร แต่อาจนำเสนอในรูปแบบรายงานของ ศศก. ซึ่งเป็นหน่วยงานภายใต้ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลสำหรับงานด้านนโยบายต่อไปในอนาคต งานวิจัยสำหรับปีนี้ (2565) ใกล้เสร็จสมบูรณ์แล้ว และในอนาคต รศ.ดร.เกื้อการุณย์ คาดว่าจะวิจัยโดยมีการเก็บตัวอย่างมากขึ้น อาจจะเป็นการขยายพื้นที่เก็บตัวอย่างไปยังส่วนภูมิภาค หรือเก็บตัวอย่างในอาหารชนิดอื่นๆ ที่นอกเหนือไปจากเครื่องดื่ม แนะบริโภคกัญชาอย่างปลอดภัย สำหรับผู้บริโภค สิ่งที่ รศ.ดร.เกื้อการุณย์ รู้สึกเป็นกังวลคือปริมาณของสาร ∆9-THC ที่ได้รับต่อวัน ด้วยประเทศไทยยังไม่เคยมีการกำหนดหรือมีข้อแนะนำว่าควรหรือไม่ควรบริโภคในปริมาณเท่าไรต่อวัน ยกตัวอย่างเช่น ต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม ไม่ควรบริโภคเกินกี่ไมโครกรัม หากเกินกว่านั้นอาจจะได้รับผลข้างเคียง เป็นต้น ซึ่งแม้แต่ในต่างประเทศเองก็ยังไม่ชัดเจนนัก เพราะยังไม่มีงานวิจัยในเรื่องผลระยะยาวจากการบริโภค ทั้งนี้ อาจจะกำหนดการบริโภคเครื่องดื่มกัญชาหรือที่มีส่วนผสมของกัญชาให้เหมือนเครื่องดื่มชนิดอื่นๆ เช่น เครื่องดื่มชูกำลัง ที่มีคำเตือนที่คุ้นหูว่าไม่ควรดื่มเกินวันละ 2 ขวด เป็นตัวอย่าง “แม้แต่ร้านค้าหรือผู้ประกอบการเอง ปัจจุบันก็น่าจะยังไม่ทราบด้วยซ้ำว่าห้ามไม่ให้มีปริมาณสาร ∆9-THC เท่าไรต่อเครื่องดื่ม 1 แก้ว หรือต่อให้ทราบ ก็ไม่น่าจะสามารถควบคุมปริมาณได้ เพราะไม่เคยมีการตรวจ อีกทั้งกรรมวิธีที่ใช้ในการผลิตของแต่ละร้านก็ต่างกัน หากใช้ใบนำมาต้มผสมเครื่องดื่ม อันนั้นอาจจะไม่ค่อยน่าห่วง เพราะได้ปริมาณสาร ∆9-THC ออกมาค่อนข้างน้อย แต่ถ้ามีการสกัดด้วยความร้อน หรือใช้เป็นน้ำมันสกัด อันนั้นน่ากังวลมาก และไม่มีทางที่ผู้ประกอบการจะรู้เลยว่า อาหารหรือเครื่องดื่มของตนต่อ 1 serve มีปริมาณ ∆9-THC เท่าไร” ด้วยเหตุนี้ รศ.ดร.เกื้อการุณย์ จึงแนะนำผู้ที่ต้องการทดลองดื่มเครื่องดื่มที่ผสมกัญชาหรือกัญชงให้ใช้ความระมัดระวังและบริโภคแต่น้อย เพื่อไม่ให้ร่างกายได้รับสาร ∆9-THC มากจนเกิดอันตราย และไม่แนะนำเด็ดขาดสำหรับเด็กในวัยเรียน เนื่องจากยังไม่ทราบผลในระยะยาว เสนอรัฐควบคุมร้านค้าจำหน่ายอาหารและเครื่องดื่มกัญชา ร้านที่ขายเครื่องดื่มกัญชาหรืออาหารที่ผสมกัญชา ควรมีป้ายหรือประกาศแจ้งให้ผู้บริโภครับทราบอย่างชัดเจน เพื่อผู้ที่ไม่ต้องการบริโภคผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมกัญชาและผู้ปกครองจะได้ระมัดระวัง แนะสื่อนำเสนอทั้งคุณและโทษของกัญชา การส่งเสริมจากภาครัฐเพื่อพัฒนากัญชาและกัญชงให้เป็นพืชเศรษฐกิจมีส่วนทำให้หลายฝ่าย รวมถึงสื่อ เน้นกล่าวถึงคุณประโยชน์ของกัญชา โดยละเลยและมองข้ามโทษของกัญชา “ปัจจุบัน ในสื่อต่างๆ มักจะนำเสนอแต่ด้านและประโยชน์ของกัญชา ในฐานะพืชสมุนไพรที่สร้างรายได้ มีการปรับปรุงบรรจุภัณฑ์ให้ดึงดูด ทำให้เห็นว่าเป็นสินค้าน่าซื้อ ไม่มีอันตราย ซึ่งหากมีใครออกมาพูดถึงข้อเสีย เสียงก็คงไม่ดังเท่าไร เพราะเป็นด้านที่ไม่ทำเงินและฟังดูล้าสมัย” “แต่เราไม่อาจปฏิเสธได้ว่ากัญชาก็ยังมีด้านที่เป็นโทษ จริงๆ แล้ว ในกัญชามีสารอีกหลายตัวที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ แต่ตัวที่มีผลเสียมากที่สุดก็คือสาร ∆9-THC นี่แหละ หากบริโภคโดยไม่ระวัง โดยเฉพาะเด็กและเยาวชนที่มักจะอยากรู้อยากลองและบริโภคตามกระแส จึงอยากให้มีการรณรงค์ทั้งสองด้าน คือ พูดเรื่องประโยชน์ แต่ก็ไม่ลืมเรื่องโทษด้วยเช่นกัน” รศ.ดร.เกื้อการุณย์ กล่าวเน้นด้วยความห่วงใย แม้ในปัจจุบัน กัญชาและกัญชงจะได้รับการปลดล็อคถอดออกจากบัญชียาเสพติดแล้ว แต่ไม่ได้หมายความว่าจะสามารถใช้ได้โดยทั่วไปอย่างเสรี หากมีปริมาณสาร ∆9-THC เกิน 0.2% โดยน้ำหนัก ตามประกาศคณะกรรมการควบคุมยาเสพติด ก็ยังถือว่าเป็นยาเสพติด ดังนั้น ผู้บริโภคควรระมัดระวังในการรับประทานอาหารและเครื่องดื่มที่ผสมกัญชาหรือสารสกัดจากกัญชาเพื่อหลีกเลี่ยงอันตรายจากกัญชาที่อาจส่งผลต่อสุขภาพในระยะยาว tui sakrapee Related Posts โรงเรียนปลอดมือถือ! อังกฤษ-ออสเตรเลียเริ่มแล้ว ดึงเด็กกลับมาสนใจครูในห้องเรียน จุฬาฯ ผงาดอันดับ Top 44 ของโลกด้านความยั่งยืน ใน THE Impact Rankings 2025 ครองอันดับ 1 ของไทยอีกครั้ง หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 สจล. เดินหน้ากระชับความร่วมมือทางวิชาการ กับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของจีน Post navigation PREVIOUS Previous post: นักวิจัย ม.ทักษิณ แปรสภาพต้นปาล์มน้ำมันที่เกษตรกรโค่นทิ้ง เป็นบรรจุภัณฑ์กระดาษ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมNEXT Next post: นิสิตคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ คว้ารางวัลด้านสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืน จากโครงการลดปัญหาฝุ่น PM2.5 จากไฟป่าในอุทยานแห่งชาติแม่ปิง Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 📚เริ่มเรียน กรกฎาคม 2568 ถึง มกราคม 2569 ทุกวันพฤหัสบดี 11:00 – 18:00 น.… มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ… สจล. เดินหน้ากระชับความร่วมมือทางวิชาการ กับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของจีน EZ WebmasterJune 19, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เดินหน้ากระชับความสัมพันธ์ทางวิชาการกับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งเป็นพันธมิตรที่มีความร่วมมือกันมานานกว่า 20 ปี เพื่อหารือขยายความร่วมมือเชิงลึกในสาขาวิศวกรรมขั้นสูง โดยเฉพาะด้าน Aerospace, Mechatronics, Automation และ Astronautics ซึ่ง HIT ถือเป็นสถาบันชั้นนำของจีนในด้านนี้ พร้อมทั้งหารือแนวทางความร่วมมือด้านการแลกเปลี่ยนนักศึกษา นักวิจัย และการพัฒนาโครงการ Joint Degree ในอนาคต รองศาสตราจารย์… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search tui sakrapee April 18, 2022 tui sakrapee April 18, 2022 จุฬาฯ วิจัยพบปริมาณสาร THC ในเครื่องดื่มกัญชาเกินกำหนด เตือนผู้บริโภคระวัง จี้รัฐควบคุม อาจารย์ชีวเคมี จุฬาฯ เผยผลวิจัย พบเครื่องดื่มกัญชาที่สุ่มตรวจกว่า 30 % มีปริมาณสาร THC เกินกำหนด เตือนผู้บริโภคดื่มแต่น้อย เด็กไม่ควรดื่ม แนะรัฐออกมาตรการควบคุม สื่อสารทั้งคุณและโทษของกัญชา หลังจากที่กัญชาและกัญชงถูกถอดออกจากบัญชียาเสพติด เปิดทางสู่การเป็นพืชเศรษฐกิจ ตลาดเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของกัญชาก็คึกคักและขยายตัวอย่างรวดเร็ว มีทั้งชากัญชา กาแฟกัญชา ตลอดจนตู้ขายเครื่องดื่มอัตโนมัติที่จำหน่ายเครื่องดื่มที่มีกัญชาผสม ปัจจุบัน กัญชาจึงกลายเป็นเครื่องดื่มที่เข้าถึงง่ายและกระจายสู่ทุกกลุ่มผู้บริโภค ข้อมูลจากการประชุมวิชาการศูนย์ศึกษาปัญหาการเสพติด (ศศก.) เพื่อการพัฒนาศักยภาพการวิจัย และนักวิชาการการเสพติด ครั้งที่ 9 ที่ผ่านมา (กุมภาพันธ์ 2565) เผยว่าคนไทยที่ใช้กัญชามีจำนวนเพิ่มขึ้นจากปีก่อนๆ เกือบเท่าตัว โดยผลสำรวจล่าสุด (ปี 2564) มีคนไทยอายุ 18 ปีขึ้นไปที่ใช้กัญชา จำนวนประมาณ 1.89 ล้านคน หรือคิดเป็น 4.3% เทียบกับผลสำรวจเมื่อปี 2563 ที่มีผู้ใช้กัญชาอยู่ที่ประมาณ 1 ล้านคน เทรนด์การบริโภคเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของกัญชาทำให้แพทย์และนักวิจัยด้านสารเสพติดหลายท่านรู้สึกกังวลถึงผลกระทบของสาร THC ในกัญชา ที่หากผู้บริโภคได้รับในปริมาณที่สูงและอย่างต่อเนื่อง ก็อาจจะส่งผลต่อพัฒนาการของสมอง เสี่ยงต่อการเป็นโรคซึมเศร้า จิตเภท หลอดเลือดหัวใจ และมะเร็งอัณฑะ เป็นต้น จุฬาฯ นำร่องงานวิจัยหาปริมาณสาร ∆9-THC ในเครื่องดื่มกัญชา ด้วยความห่วงใยต่อสุขภาพของผู้บริโภค รองศาสตราจารย์ ดร.เกื้อการุณย์ ครูส่ง อาจารย์ประจำภาควิชาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้นำร่องศึกษาวิจัยหาปริมาณสาร ∆9-THC หรือ delta9-tetrahydrocannabidol ในเครื่องดื่มกัญชาที่จำหน่ายในร้านขายเครื่องดื่มทั่วไป เพื่อหาว่ามีปริมาณสาร ∆9-THC เกินกว่าที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดหรือไม่ “เมื่อมีการนำกัญชามาเป็นส่วนประกอบในอาหารและเครื่องดื่มอย่างเสรี ทำให้คนทั่วไป รวมถึงเด็กและเยาวชนสามารถเข้าถึงได้ง่าย สื่อหรือโฆษณาต่างๆ ก็มักพูดถึงแต่ข้อดีของกัญชา ไม่ว่าจะเป็นการนำมาใช้ทางสันทนาการ หรือนำมารักษาโรค โดยลืมไปว่าผลเสียหรือโทษของกัญชาก็ยังคงมีอยู่หากได้รับในปริมาณที่เกินกำหนด แพทย์หลายท่านก็ออกมาเตือนด้วยว่าไม่ให้เด็กรับประทานโดยเด็ดขาด เนื่องจากอาจส่งผลต่อระบบประสาท สมองและพัฒนาการของเด็ก รวมทั้งจิตแพทย์ก็ชี้ว่าสาร ∆9-THC ในกัญชามีผลต่อสุขภาพจิต สมาธิ และเรื่องของภาวะอารมณ์ด้วย” รศ.ดร.เกื้อการุณย์ เล่าถึงที่มาของโครงการวิจัย ภายใต้การสนับสนุนทุนวิจัยจากศูนย์ศึกษาปัญหาการเสพติด (ศศก.) โครงการวิจัยครั้งนี้ได้รับความร่วมมือจากคณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญหลายท่านที่เข้ามาร่วมวิจัย อาทิ รองศาสตราจารย์ พญ.รัศมน กัลยาศิริ จากภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ และผู้อำนวยการ ศศก. เป็นที่ปรึกษางานวิจัย รองศาสตราจารย์ ภญ.ดร.สรกนก วิมลมั่งคั่ง ภาควิชาเภสัชเวทและเภสัชพฤกษศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาฯ ซึ่งทำวิจัยเกี่ยวกับกัญชาและสารธรรมชาติจากกัญชาอยู่ก่อนแล้ว เข้ามาช่วยให้คำแนะนำ ศาสตราจารย์ ดร.อรวรรณ ชัยลภากุล และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชฎิล กุลสิงห์ จากภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ ที่มีความเชี่ยวชาญด้านการวิเคราะห์ มาช่วยดูเรื่องปริมาณสาร ∆9-THC ในเครื่องดื่มที่เก็บตัวอย่างมา ผลการสุ่มตรวจปริมาณ ∆9-THC ในเครื่องดื่มกัญชา คณะผู้วิจัยได้เก็บตัวอย่างเครื่องดื่มกัญชาและเครื่องดื่มที่ผสมกัญชา ที่ขายอยู่ทั่วไปในร้านขายเครื่องดื่มและคาเฟ่ต่างๆ ในกรุงเทพมหานคร 30 กว่าตัวอย่าง มีทั้งเครื่องดื่มประเภทชา กาแฟ โซดา และประเภทที่ใส่นม โดยกรรมวิธีการตรวจสอบตัวอย่างเครื่องดื่มนั้นใช้วิธีมาตรฐานระดับสากลที่ใช้ตรวจหาสาร ∆9-THC ในอาหาร ได้แก่เทคนิคที่เรียกว่า GC–MS (Gas chromatography–Mass spectroscopy) ซึ่งเป็นเทคนิคที่ใช้แยกและระบุสารต่างๆ ภายในตัวอย่างทดสอบ และ HPLC (High Performance Liquid Chromatography) ในการแยกสารผสมและการหาเชิงปริมาณของสารเป้าหมาย โดยใช้เครื่องสูบแรงดันสูง (high pressure pump) “ถามว่าเพราะอะไรจึงต้องเป็นเฉพาะเครื่องดื่มกัญชาจากร้านทั่วไป คือหากเป็นเครื่องดื่มกัญชาประเภทสำเร็จรูป พวกนั้นจะมีการขอ อย. และมีฉลากแสดงชัดเจนว่ามีส่วนประกอบของสาร ∆9-THC ปริมาณเท่าไรต่อ 100 มิลลิลิตร หรือต่อ 1 หน่วยบริโภค แต่เครื่องดื่มที่ขายในร้านประเภทคาเฟ่ ส่วนมากสูตรของเครื่องดื่มจะทำกันขึ้นมาเอง แม้กระทั่งเมนูเดียวกัน ก็ไม่อาจแน่ใจได้เลยว่าแต่ละแก้วมีปริมาณสาร ∆9-THC เท่ากันหรือเปล่า ซึ่งเป็นสิ่งที่น่ากลัว” สำหรับผลการสุ่มตรวจหาปริมาณสาร ∆9-THC ดังกล่าว รศ.ดร.เกื้อการุณย์ เผยว่า “เครื่องดื่มที่สุ่มตรวจส่วนใหญ่มีสาร ∆9-THC ในปริมาณที่ไม่เกินจากที่สาธารณสุขกำหนด แต่ราว 30 % พบว่ามีปริมาณสาร ∆9-THC เกินกว่าที่กฎหมายกำหนดหรือแนะนำให้ไม่เกิน 0.015 มิลลิกรัม ต่อ 100 มิลลิลิตร ซึ่งหากผู้บริโภคเจอร้านหรือดื่มเครื่องดื่มที่มีปริมาณสาร THC เกินกำหนดเหล่านี้ก็จะเกิดอันตรายต่อสุขภาพได้ โดยเฉพาะสำหรับผู้ที่มีอาการแพ้สาร ∆9-THC” อย่างไรก็ดี งานวิจัยไม่สามารถเปิดเผยหรือระบุว่าเครื่องดื่มใด จากร้านใด มีปริมาณสาร ∆9-THC เท่าไร แต่อาจนำเสนอในรูปแบบรายงานของ ศศก. ซึ่งเป็นหน่วยงานภายใต้ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลสำหรับงานด้านนโยบายต่อไปในอนาคต งานวิจัยสำหรับปีนี้ (2565) ใกล้เสร็จสมบูรณ์แล้ว และในอนาคต รศ.ดร.เกื้อการุณย์ คาดว่าจะวิจัยโดยมีการเก็บตัวอย่างมากขึ้น อาจจะเป็นการขยายพื้นที่เก็บตัวอย่างไปยังส่วนภูมิภาค หรือเก็บตัวอย่างในอาหารชนิดอื่นๆ ที่นอกเหนือไปจากเครื่องดื่ม แนะบริโภคกัญชาอย่างปลอดภัย สำหรับผู้บริโภค สิ่งที่ รศ.ดร.เกื้อการุณย์ รู้สึกเป็นกังวลคือปริมาณของสาร ∆9-THC ที่ได้รับต่อวัน ด้วยประเทศไทยยังไม่เคยมีการกำหนดหรือมีข้อแนะนำว่าควรหรือไม่ควรบริโภคในปริมาณเท่าไรต่อวัน ยกตัวอย่างเช่น ต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม ไม่ควรบริโภคเกินกี่ไมโครกรัม หากเกินกว่านั้นอาจจะได้รับผลข้างเคียง เป็นต้น ซึ่งแม้แต่ในต่างประเทศเองก็ยังไม่ชัดเจนนัก เพราะยังไม่มีงานวิจัยในเรื่องผลระยะยาวจากการบริโภค ทั้งนี้ อาจจะกำหนดการบริโภคเครื่องดื่มกัญชาหรือที่มีส่วนผสมของกัญชาให้เหมือนเครื่องดื่มชนิดอื่นๆ เช่น เครื่องดื่มชูกำลัง ที่มีคำเตือนที่คุ้นหูว่าไม่ควรดื่มเกินวันละ 2 ขวด เป็นตัวอย่าง “แม้แต่ร้านค้าหรือผู้ประกอบการเอง ปัจจุบันก็น่าจะยังไม่ทราบด้วยซ้ำว่าห้ามไม่ให้มีปริมาณสาร ∆9-THC เท่าไรต่อเครื่องดื่ม 1 แก้ว หรือต่อให้ทราบ ก็ไม่น่าจะสามารถควบคุมปริมาณได้ เพราะไม่เคยมีการตรวจ อีกทั้งกรรมวิธีที่ใช้ในการผลิตของแต่ละร้านก็ต่างกัน หากใช้ใบนำมาต้มผสมเครื่องดื่ม อันนั้นอาจจะไม่ค่อยน่าห่วง เพราะได้ปริมาณสาร ∆9-THC ออกมาค่อนข้างน้อย แต่ถ้ามีการสกัดด้วยความร้อน หรือใช้เป็นน้ำมันสกัด อันนั้นน่ากังวลมาก และไม่มีทางที่ผู้ประกอบการจะรู้เลยว่า อาหารหรือเครื่องดื่มของตนต่อ 1 serve มีปริมาณ ∆9-THC เท่าไร” ด้วยเหตุนี้ รศ.ดร.เกื้อการุณย์ จึงแนะนำผู้ที่ต้องการทดลองดื่มเครื่องดื่มที่ผสมกัญชาหรือกัญชงให้ใช้ความระมัดระวังและบริโภคแต่น้อย เพื่อไม่ให้ร่างกายได้รับสาร ∆9-THC มากจนเกิดอันตราย และไม่แนะนำเด็ดขาดสำหรับเด็กในวัยเรียน เนื่องจากยังไม่ทราบผลในระยะยาว เสนอรัฐควบคุมร้านค้าจำหน่ายอาหารและเครื่องดื่มกัญชา ร้านที่ขายเครื่องดื่มกัญชาหรืออาหารที่ผสมกัญชา ควรมีป้ายหรือประกาศแจ้งให้ผู้บริโภครับทราบอย่างชัดเจน เพื่อผู้ที่ไม่ต้องการบริโภคผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมกัญชาและผู้ปกครองจะได้ระมัดระวัง แนะสื่อนำเสนอทั้งคุณและโทษของกัญชา การส่งเสริมจากภาครัฐเพื่อพัฒนากัญชาและกัญชงให้เป็นพืชเศรษฐกิจมีส่วนทำให้หลายฝ่าย รวมถึงสื่อ เน้นกล่าวถึงคุณประโยชน์ของกัญชา โดยละเลยและมองข้ามโทษของกัญชา “ปัจจุบัน ในสื่อต่างๆ มักจะนำเสนอแต่ด้านและประโยชน์ของกัญชา ในฐานะพืชสมุนไพรที่สร้างรายได้ มีการปรับปรุงบรรจุภัณฑ์ให้ดึงดูด ทำให้เห็นว่าเป็นสินค้าน่าซื้อ ไม่มีอันตราย ซึ่งหากมีใครออกมาพูดถึงข้อเสีย เสียงก็คงไม่ดังเท่าไร เพราะเป็นด้านที่ไม่ทำเงินและฟังดูล้าสมัย” “แต่เราไม่อาจปฏิเสธได้ว่ากัญชาก็ยังมีด้านที่เป็นโทษ จริงๆ แล้ว ในกัญชามีสารอีกหลายตัวที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ แต่ตัวที่มีผลเสียมากที่สุดก็คือสาร ∆9-THC นี่แหละ หากบริโภคโดยไม่ระวัง โดยเฉพาะเด็กและเยาวชนที่มักจะอยากรู้อยากลองและบริโภคตามกระแส จึงอยากให้มีการรณรงค์ทั้งสองด้าน คือ พูดเรื่องประโยชน์ แต่ก็ไม่ลืมเรื่องโทษด้วยเช่นกัน” รศ.ดร.เกื้อการุณย์ กล่าวเน้นด้วยความห่วงใย แม้ในปัจจุบัน กัญชาและกัญชงจะได้รับการปลดล็อคถอดออกจากบัญชียาเสพติดแล้ว แต่ไม่ได้หมายความว่าจะสามารถใช้ได้โดยทั่วไปอย่างเสรี หากมีปริมาณสาร ∆9-THC เกิน 0.2% โดยน้ำหนัก ตามประกาศคณะกรรมการควบคุมยาเสพติด ก็ยังถือว่าเป็นยาเสพติด ดังนั้น ผู้บริโภคควรระมัดระวังในการรับประทานอาหารและเครื่องดื่มที่ผสมกัญชาหรือสารสกัดจากกัญชาเพื่อหลีกเลี่ยงอันตรายจากกัญชาที่อาจส่งผลต่อสุขภาพในระยะยาว tui sakrapee Related Posts โรงเรียนปลอดมือถือ! อังกฤษ-ออสเตรเลียเริ่มแล้ว ดึงเด็กกลับมาสนใจครูในห้องเรียน จุฬาฯ ผงาดอันดับ Top 44 ของโลกด้านความยั่งยืน ใน THE Impact Rankings 2025 ครองอันดับ 1 ของไทยอีกครั้ง หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 สจล. เดินหน้ากระชับความร่วมมือทางวิชาการ กับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของจีน Post navigation PREVIOUS Previous post: นักวิจัย ม.ทักษิณ แปรสภาพต้นปาล์มน้ำมันที่เกษตรกรโค่นทิ้ง เป็นบรรจุภัณฑ์กระดาษ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมNEXT Next post: นิสิตคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ คว้ารางวัลด้านสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืน จากโครงการลดปัญหาฝุ่น PM2.5 จากไฟป่าในอุทยานแห่งชาติแม่ปิง Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ… สจล. เดินหน้ากระชับความร่วมมือทางวิชาการ กับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของจีน EZ WebmasterJune 19, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เดินหน้ากระชับความสัมพันธ์ทางวิชาการกับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งเป็นพันธมิตรที่มีความร่วมมือกันมานานกว่า 20 ปี เพื่อหารือขยายความร่วมมือเชิงลึกในสาขาวิศวกรรมขั้นสูง โดยเฉพาะด้าน Aerospace, Mechatronics, Automation และ Astronautics ซึ่ง HIT ถือเป็นสถาบันชั้นนำของจีนในด้านนี้ พร้อมทั้งหารือแนวทางความร่วมมือด้านการแลกเปลี่ยนนักศึกษา นักวิจัย และการพัฒนาโครงการ Joint Degree ในอนาคต รองศาสตราจารย์…
สจล. เดินหน้ากระชับความร่วมมือทางวิชาการ กับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของจีน EZ WebmasterJune 19, 2025 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เดินหน้ากระชับความสัมพันธ์ทางวิชาการกับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งเป็นพันธมิตรที่มีความร่วมมือกันมานานกว่า 20 ปี เพื่อหารือขยายความร่วมมือเชิงลึกในสาขาวิศวกรรมขั้นสูง โดยเฉพาะด้าน Aerospace, Mechatronics, Automation และ Astronautics ซึ่ง HIT ถือเป็นสถาบันชั้นนำของจีนในด้านนี้ พร้อมทั้งหารือแนวทางความร่วมมือด้านการแลกเปลี่ยนนักศึกษา นักวิจัย และการพัฒนาโครงการ Joint Degree ในอนาคต รองศาสตราจารย์…
กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search tui sakrapee April 18, 2022 tui sakrapee April 18, 2022 จุฬาฯ วิจัยพบปริมาณสาร THC ในเครื่องดื่มกัญชาเกินกำหนด เตือนผู้บริโภคระวัง จี้รัฐควบคุม อาจารย์ชีวเคมี จุฬาฯ เผยผลวิจัย พบเครื่องดื่มกัญชาที่สุ่มตรวจกว่า 30 % มีปริมาณสาร THC เกินกำหนด เตือนผู้บริโภคดื่มแต่น้อย เด็กไม่ควรดื่ม แนะรัฐออกมาตรการควบคุม สื่อสารทั้งคุณและโทษของกัญชา หลังจากที่กัญชาและกัญชงถูกถอดออกจากบัญชียาเสพติด เปิดทางสู่การเป็นพืชเศรษฐกิจ ตลาดเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของกัญชาก็คึกคักและขยายตัวอย่างรวดเร็ว มีทั้งชากัญชา กาแฟกัญชา ตลอดจนตู้ขายเครื่องดื่มอัตโนมัติที่จำหน่ายเครื่องดื่มที่มีกัญชาผสม ปัจจุบัน กัญชาจึงกลายเป็นเครื่องดื่มที่เข้าถึงง่ายและกระจายสู่ทุกกลุ่มผู้บริโภค ข้อมูลจากการประชุมวิชาการศูนย์ศึกษาปัญหาการเสพติด (ศศก.) เพื่อการพัฒนาศักยภาพการวิจัย และนักวิชาการการเสพติด ครั้งที่ 9 ที่ผ่านมา (กุมภาพันธ์ 2565) เผยว่าคนไทยที่ใช้กัญชามีจำนวนเพิ่มขึ้นจากปีก่อนๆ เกือบเท่าตัว โดยผลสำรวจล่าสุด (ปี 2564) มีคนไทยอายุ 18 ปีขึ้นไปที่ใช้กัญชา จำนวนประมาณ 1.89 ล้านคน หรือคิดเป็น 4.3% เทียบกับผลสำรวจเมื่อปี 2563 ที่มีผู้ใช้กัญชาอยู่ที่ประมาณ 1 ล้านคน เทรนด์การบริโภคเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของกัญชาทำให้แพทย์และนักวิจัยด้านสารเสพติดหลายท่านรู้สึกกังวลถึงผลกระทบของสาร THC ในกัญชา ที่หากผู้บริโภคได้รับในปริมาณที่สูงและอย่างต่อเนื่อง ก็อาจจะส่งผลต่อพัฒนาการของสมอง เสี่ยงต่อการเป็นโรคซึมเศร้า จิตเภท หลอดเลือดหัวใจ และมะเร็งอัณฑะ เป็นต้น จุฬาฯ นำร่องงานวิจัยหาปริมาณสาร ∆9-THC ในเครื่องดื่มกัญชา ด้วยความห่วงใยต่อสุขภาพของผู้บริโภค รองศาสตราจารย์ ดร.เกื้อการุณย์ ครูส่ง อาจารย์ประจำภาควิชาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้นำร่องศึกษาวิจัยหาปริมาณสาร ∆9-THC หรือ delta9-tetrahydrocannabidol ในเครื่องดื่มกัญชาที่จำหน่ายในร้านขายเครื่องดื่มทั่วไป เพื่อหาว่ามีปริมาณสาร ∆9-THC เกินกว่าที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดหรือไม่ “เมื่อมีการนำกัญชามาเป็นส่วนประกอบในอาหารและเครื่องดื่มอย่างเสรี ทำให้คนทั่วไป รวมถึงเด็กและเยาวชนสามารถเข้าถึงได้ง่าย สื่อหรือโฆษณาต่างๆ ก็มักพูดถึงแต่ข้อดีของกัญชา ไม่ว่าจะเป็นการนำมาใช้ทางสันทนาการ หรือนำมารักษาโรค โดยลืมไปว่าผลเสียหรือโทษของกัญชาก็ยังคงมีอยู่หากได้รับในปริมาณที่เกินกำหนด แพทย์หลายท่านก็ออกมาเตือนด้วยว่าไม่ให้เด็กรับประทานโดยเด็ดขาด เนื่องจากอาจส่งผลต่อระบบประสาท สมองและพัฒนาการของเด็ก รวมทั้งจิตแพทย์ก็ชี้ว่าสาร ∆9-THC ในกัญชามีผลต่อสุขภาพจิต สมาธิ และเรื่องของภาวะอารมณ์ด้วย” รศ.ดร.เกื้อการุณย์ เล่าถึงที่มาของโครงการวิจัย ภายใต้การสนับสนุนทุนวิจัยจากศูนย์ศึกษาปัญหาการเสพติด (ศศก.) โครงการวิจัยครั้งนี้ได้รับความร่วมมือจากคณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญหลายท่านที่เข้ามาร่วมวิจัย อาทิ รองศาสตราจารย์ พญ.รัศมน กัลยาศิริ จากภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ และผู้อำนวยการ ศศก. เป็นที่ปรึกษางานวิจัย รองศาสตราจารย์ ภญ.ดร.สรกนก วิมลมั่งคั่ง ภาควิชาเภสัชเวทและเภสัชพฤกษศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาฯ ซึ่งทำวิจัยเกี่ยวกับกัญชาและสารธรรมชาติจากกัญชาอยู่ก่อนแล้ว เข้ามาช่วยให้คำแนะนำ ศาสตราจารย์ ดร.อรวรรณ ชัยลภากุล และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชฎิล กุลสิงห์ จากภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ ที่มีความเชี่ยวชาญด้านการวิเคราะห์ มาช่วยดูเรื่องปริมาณสาร ∆9-THC ในเครื่องดื่มที่เก็บตัวอย่างมา ผลการสุ่มตรวจปริมาณ ∆9-THC ในเครื่องดื่มกัญชา คณะผู้วิจัยได้เก็บตัวอย่างเครื่องดื่มกัญชาและเครื่องดื่มที่ผสมกัญชา ที่ขายอยู่ทั่วไปในร้านขายเครื่องดื่มและคาเฟ่ต่างๆ ในกรุงเทพมหานคร 30 กว่าตัวอย่าง มีทั้งเครื่องดื่มประเภทชา กาแฟ โซดา และประเภทที่ใส่นม โดยกรรมวิธีการตรวจสอบตัวอย่างเครื่องดื่มนั้นใช้วิธีมาตรฐานระดับสากลที่ใช้ตรวจหาสาร ∆9-THC ในอาหาร ได้แก่เทคนิคที่เรียกว่า GC–MS (Gas chromatography–Mass spectroscopy) ซึ่งเป็นเทคนิคที่ใช้แยกและระบุสารต่างๆ ภายในตัวอย่างทดสอบ และ HPLC (High Performance Liquid Chromatography) ในการแยกสารผสมและการหาเชิงปริมาณของสารเป้าหมาย โดยใช้เครื่องสูบแรงดันสูง (high pressure pump) “ถามว่าเพราะอะไรจึงต้องเป็นเฉพาะเครื่องดื่มกัญชาจากร้านทั่วไป คือหากเป็นเครื่องดื่มกัญชาประเภทสำเร็จรูป พวกนั้นจะมีการขอ อย. และมีฉลากแสดงชัดเจนว่ามีส่วนประกอบของสาร ∆9-THC ปริมาณเท่าไรต่อ 100 มิลลิลิตร หรือต่อ 1 หน่วยบริโภค แต่เครื่องดื่มที่ขายในร้านประเภทคาเฟ่ ส่วนมากสูตรของเครื่องดื่มจะทำกันขึ้นมาเอง แม้กระทั่งเมนูเดียวกัน ก็ไม่อาจแน่ใจได้เลยว่าแต่ละแก้วมีปริมาณสาร ∆9-THC เท่ากันหรือเปล่า ซึ่งเป็นสิ่งที่น่ากลัว” สำหรับผลการสุ่มตรวจหาปริมาณสาร ∆9-THC ดังกล่าว รศ.ดร.เกื้อการุณย์ เผยว่า “เครื่องดื่มที่สุ่มตรวจส่วนใหญ่มีสาร ∆9-THC ในปริมาณที่ไม่เกินจากที่สาธารณสุขกำหนด แต่ราว 30 % พบว่ามีปริมาณสาร ∆9-THC เกินกว่าที่กฎหมายกำหนดหรือแนะนำให้ไม่เกิน 0.015 มิลลิกรัม ต่อ 100 มิลลิลิตร ซึ่งหากผู้บริโภคเจอร้านหรือดื่มเครื่องดื่มที่มีปริมาณสาร THC เกินกำหนดเหล่านี้ก็จะเกิดอันตรายต่อสุขภาพได้ โดยเฉพาะสำหรับผู้ที่มีอาการแพ้สาร ∆9-THC” อย่างไรก็ดี งานวิจัยไม่สามารถเปิดเผยหรือระบุว่าเครื่องดื่มใด จากร้านใด มีปริมาณสาร ∆9-THC เท่าไร แต่อาจนำเสนอในรูปแบบรายงานของ ศศก. ซึ่งเป็นหน่วยงานภายใต้ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลสำหรับงานด้านนโยบายต่อไปในอนาคต งานวิจัยสำหรับปีนี้ (2565) ใกล้เสร็จสมบูรณ์แล้ว และในอนาคต รศ.ดร.เกื้อการุณย์ คาดว่าจะวิจัยโดยมีการเก็บตัวอย่างมากขึ้น อาจจะเป็นการขยายพื้นที่เก็บตัวอย่างไปยังส่วนภูมิภาค หรือเก็บตัวอย่างในอาหารชนิดอื่นๆ ที่นอกเหนือไปจากเครื่องดื่ม แนะบริโภคกัญชาอย่างปลอดภัย สำหรับผู้บริโภค สิ่งที่ รศ.ดร.เกื้อการุณย์ รู้สึกเป็นกังวลคือปริมาณของสาร ∆9-THC ที่ได้รับต่อวัน ด้วยประเทศไทยยังไม่เคยมีการกำหนดหรือมีข้อแนะนำว่าควรหรือไม่ควรบริโภคในปริมาณเท่าไรต่อวัน ยกตัวอย่างเช่น ต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม ไม่ควรบริโภคเกินกี่ไมโครกรัม หากเกินกว่านั้นอาจจะได้รับผลข้างเคียง เป็นต้น ซึ่งแม้แต่ในต่างประเทศเองก็ยังไม่ชัดเจนนัก เพราะยังไม่มีงานวิจัยในเรื่องผลระยะยาวจากการบริโภค ทั้งนี้ อาจจะกำหนดการบริโภคเครื่องดื่มกัญชาหรือที่มีส่วนผสมของกัญชาให้เหมือนเครื่องดื่มชนิดอื่นๆ เช่น เครื่องดื่มชูกำลัง ที่มีคำเตือนที่คุ้นหูว่าไม่ควรดื่มเกินวันละ 2 ขวด เป็นตัวอย่าง “แม้แต่ร้านค้าหรือผู้ประกอบการเอง ปัจจุบันก็น่าจะยังไม่ทราบด้วยซ้ำว่าห้ามไม่ให้มีปริมาณสาร ∆9-THC เท่าไรต่อเครื่องดื่ม 1 แก้ว หรือต่อให้ทราบ ก็ไม่น่าจะสามารถควบคุมปริมาณได้ เพราะไม่เคยมีการตรวจ อีกทั้งกรรมวิธีที่ใช้ในการผลิตของแต่ละร้านก็ต่างกัน หากใช้ใบนำมาต้มผสมเครื่องดื่ม อันนั้นอาจจะไม่ค่อยน่าห่วง เพราะได้ปริมาณสาร ∆9-THC ออกมาค่อนข้างน้อย แต่ถ้ามีการสกัดด้วยความร้อน หรือใช้เป็นน้ำมันสกัด อันนั้นน่ากังวลมาก และไม่มีทางที่ผู้ประกอบการจะรู้เลยว่า อาหารหรือเครื่องดื่มของตนต่อ 1 serve มีปริมาณ ∆9-THC เท่าไร” ด้วยเหตุนี้ รศ.ดร.เกื้อการุณย์ จึงแนะนำผู้ที่ต้องการทดลองดื่มเครื่องดื่มที่ผสมกัญชาหรือกัญชงให้ใช้ความระมัดระวังและบริโภคแต่น้อย เพื่อไม่ให้ร่างกายได้รับสาร ∆9-THC มากจนเกิดอันตราย และไม่แนะนำเด็ดขาดสำหรับเด็กในวัยเรียน เนื่องจากยังไม่ทราบผลในระยะยาว เสนอรัฐควบคุมร้านค้าจำหน่ายอาหารและเครื่องดื่มกัญชา ร้านที่ขายเครื่องดื่มกัญชาหรืออาหารที่ผสมกัญชา ควรมีป้ายหรือประกาศแจ้งให้ผู้บริโภครับทราบอย่างชัดเจน เพื่อผู้ที่ไม่ต้องการบริโภคผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมกัญชาและผู้ปกครองจะได้ระมัดระวัง แนะสื่อนำเสนอทั้งคุณและโทษของกัญชา การส่งเสริมจากภาครัฐเพื่อพัฒนากัญชาและกัญชงให้เป็นพืชเศรษฐกิจมีส่วนทำให้หลายฝ่าย รวมถึงสื่อ เน้นกล่าวถึงคุณประโยชน์ของกัญชา โดยละเลยและมองข้ามโทษของกัญชา “ปัจจุบัน ในสื่อต่างๆ มักจะนำเสนอแต่ด้านและประโยชน์ของกัญชา ในฐานะพืชสมุนไพรที่สร้างรายได้ มีการปรับปรุงบรรจุภัณฑ์ให้ดึงดูด ทำให้เห็นว่าเป็นสินค้าน่าซื้อ ไม่มีอันตราย ซึ่งหากมีใครออกมาพูดถึงข้อเสีย เสียงก็คงไม่ดังเท่าไร เพราะเป็นด้านที่ไม่ทำเงินและฟังดูล้าสมัย” “แต่เราไม่อาจปฏิเสธได้ว่ากัญชาก็ยังมีด้านที่เป็นโทษ จริงๆ แล้ว ในกัญชามีสารอีกหลายตัวที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ แต่ตัวที่มีผลเสียมากที่สุดก็คือสาร ∆9-THC นี่แหละ หากบริโภคโดยไม่ระวัง โดยเฉพาะเด็กและเยาวชนที่มักจะอยากรู้อยากลองและบริโภคตามกระแส จึงอยากให้มีการรณรงค์ทั้งสองด้าน คือ พูดเรื่องประโยชน์ แต่ก็ไม่ลืมเรื่องโทษด้วยเช่นกัน” รศ.ดร.เกื้อการุณย์ กล่าวเน้นด้วยความห่วงใย แม้ในปัจจุบัน กัญชาและกัญชงจะได้รับการปลดล็อคถอดออกจากบัญชียาเสพติดแล้ว แต่ไม่ได้หมายความว่าจะสามารถใช้ได้โดยทั่วไปอย่างเสรี หากมีปริมาณสาร ∆9-THC เกิน 0.2% โดยน้ำหนัก ตามประกาศคณะกรรมการควบคุมยาเสพติด ก็ยังถือว่าเป็นยาเสพติด ดังนั้น ผู้บริโภคควรระมัดระวังในการรับประทานอาหารและเครื่องดื่มที่ผสมกัญชาหรือสารสกัดจากกัญชาเพื่อหลีกเลี่ยงอันตรายจากกัญชาที่อาจส่งผลต่อสุขภาพในระยะยาว tui sakrapee Related Posts โรงเรียนปลอดมือถือ! อังกฤษ-ออสเตรเลียเริ่มแล้ว ดึงเด็กกลับมาสนใจครูในห้องเรียน จุฬาฯ ผงาดอันดับ Top 44 ของโลกด้านความยั่งยืน ใน THE Impact Rankings 2025 ครองอันดับ 1 ของไทยอีกครั้ง หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 สจล. เดินหน้ากระชับความร่วมมือทางวิชาการ กับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของจีน Post navigation PREVIOUS Previous post: นักวิจัย ม.ทักษิณ แปรสภาพต้นปาล์มน้ำมันที่เกษตรกรโค่นทิ้ง เป็นบรรจุภัณฑ์กระดาษ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมNEXT Next post: นิสิตคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ คว้ารางวัลด้านสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืน จากโครงการลดปัญหาฝุ่น PM2.5 จากไฟป่าในอุทยานแห่งชาติแม่ปิง Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
“40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search
ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ…
ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ…
tui sakrapee April 18, 2022 tui sakrapee April 18, 2022 จุฬาฯ วิจัยพบปริมาณสาร THC ในเครื่องดื่มกัญชาเกินกำหนด เตือนผู้บริโภคระวัง จี้รัฐควบคุม อาจารย์ชีวเคมี จุฬาฯ เผยผลวิจัย พบเครื่องดื่มกัญชาที่สุ่มตรวจกว่า 30 % มีปริมาณสาร THC เกินกำหนด เตือนผู้บริโภคดื่มแต่น้อย เด็กไม่ควรดื่ม แนะรัฐออกมาตรการควบคุม สื่อสารทั้งคุณและโทษของกัญชา หลังจากที่กัญชาและกัญชงถูกถอดออกจากบัญชียาเสพติด เปิดทางสู่การเป็นพืชเศรษฐกิจ ตลาดเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของกัญชาก็คึกคักและขยายตัวอย่างรวดเร็ว มีทั้งชากัญชา กาแฟกัญชา ตลอดจนตู้ขายเครื่องดื่มอัตโนมัติที่จำหน่ายเครื่องดื่มที่มีกัญชาผสม ปัจจุบัน กัญชาจึงกลายเป็นเครื่องดื่มที่เข้าถึงง่ายและกระจายสู่ทุกกลุ่มผู้บริโภค ข้อมูลจากการประชุมวิชาการศูนย์ศึกษาปัญหาการเสพติด (ศศก.) เพื่อการพัฒนาศักยภาพการวิจัย และนักวิชาการการเสพติด ครั้งที่ 9 ที่ผ่านมา (กุมภาพันธ์ 2565) เผยว่าคนไทยที่ใช้กัญชามีจำนวนเพิ่มขึ้นจากปีก่อนๆ เกือบเท่าตัว โดยผลสำรวจล่าสุด (ปี 2564) มีคนไทยอายุ 18 ปีขึ้นไปที่ใช้กัญชา จำนวนประมาณ 1.89 ล้านคน หรือคิดเป็น 4.3% เทียบกับผลสำรวจเมื่อปี 2563 ที่มีผู้ใช้กัญชาอยู่ที่ประมาณ 1 ล้านคน เทรนด์การบริโภคเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของกัญชาทำให้แพทย์และนักวิจัยด้านสารเสพติดหลายท่านรู้สึกกังวลถึงผลกระทบของสาร THC ในกัญชา ที่หากผู้บริโภคได้รับในปริมาณที่สูงและอย่างต่อเนื่อง ก็อาจจะส่งผลต่อพัฒนาการของสมอง เสี่ยงต่อการเป็นโรคซึมเศร้า จิตเภท หลอดเลือดหัวใจ และมะเร็งอัณฑะ เป็นต้น จุฬาฯ นำร่องงานวิจัยหาปริมาณสาร ∆9-THC ในเครื่องดื่มกัญชา ด้วยความห่วงใยต่อสุขภาพของผู้บริโภค รองศาสตราจารย์ ดร.เกื้อการุณย์ ครูส่ง อาจารย์ประจำภาควิชาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้นำร่องศึกษาวิจัยหาปริมาณสาร ∆9-THC หรือ delta9-tetrahydrocannabidol ในเครื่องดื่มกัญชาที่จำหน่ายในร้านขายเครื่องดื่มทั่วไป เพื่อหาว่ามีปริมาณสาร ∆9-THC เกินกว่าที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดหรือไม่ “เมื่อมีการนำกัญชามาเป็นส่วนประกอบในอาหารและเครื่องดื่มอย่างเสรี ทำให้คนทั่วไป รวมถึงเด็กและเยาวชนสามารถเข้าถึงได้ง่าย สื่อหรือโฆษณาต่างๆ ก็มักพูดถึงแต่ข้อดีของกัญชา ไม่ว่าจะเป็นการนำมาใช้ทางสันทนาการ หรือนำมารักษาโรค โดยลืมไปว่าผลเสียหรือโทษของกัญชาก็ยังคงมีอยู่หากได้รับในปริมาณที่เกินกำหนด แพทย์หลายท่านก็ออกมาเตือนด้วยว่าไม่ให้เด็กรับประทานโดยเด็ดขาด เนื่องจากอาจส่งผลต่อระบบประสาท สมองและพัฒนาการของเด็ก รวมทั้งจิตแพทย์ก็ชี้ว่าสาร ∆9-THC ในกัญชามีผลต่อสุขภาพจิต สมาธิ และเรื่องของภาวะอารมณ์ด้วย” รศ.ดร.เกื้อการุณย์ เล่าถึงที่มาของโครงการวิจัย ภายใต้การสนับสนุนทุนวิจัยจากศูนย์ศึกษาปัญหาการเสพติด (ศศก.) โครงการวิจัยครั้งนี้ได้รับความร่วมมือจากคณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญหลายท่านที่เข้ามาร่วมวิจัย อาทิ รองศาสตราจารย์ พญ.รัศมน กัลยาศิริ จากภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ และผู้อำนวยการ ศศก. เป็นที่ปรึกษางานวิจัย รองศาสตราจารย์ ภญ.ดร.สรกนก วิมลมั่งคั่ง ภาควิชาเภสัชเวทและเภสัชพฤกษศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาฯ ซึ่งทำวิจัยเกี่ยวกับกัญชาและสารธรรมชาติจากกัญชาอยู่ก่อนแล้ว เข้ามาช่วยให้คำแนะนำ ศาสตราจารย์ ดร.อรวรรณ ชัยลภากุล และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชฎิล กุลสิงห์ จากภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ ที่มีความเชี่ยวชาญด้านการวิเคราะห์ มาช่วยดูเรื่องปริมาณสาร ∆9-THC ในเครื่องดื่มที่เก็บตัวอย่างมา ผลการสุ่มตรวจปริมาณ ∆9-THC ในเครื่องดื่มกัญชา คณะผู้วิจัยได้เก็บตัวอย่างเครื่องดื่มกัญชาและเครื่องดื่มที่ผสมกัญชา ที่ขายอยู่ทั่วไปในร้านขายเครื่องดื่มและคาเฟ่ต่างๆ ในกรุงเทพมหานคร 30 กว่าตัวอย่าง มีทั้งเครื่องดื่มประเภทชา กาแฟ โซดา และประเภทที่ใส่นม โดยกรรมวิธีการตรวจสอบตัวอย่างเครื่องดื่มนั้นใช้วิธีมาตรฐานระดับสากลที่ใช้ตรวจหาสาร ∆9-THC ในอาหาร ได้แก่เทคนิคที่เรียกว่า GC–MS (Gas chromatography–Mass spectroscopy) ซึ่งเป็นเทคนิคที่ใช้แยกและระบุสารต่างๆ ภายในตัวอย่างทดสอบ และ HPLC (High Performance Liquid Chromatography) ในการแยกสารผสมและการหาเชิงปริมาณของสารเป้าหมาย โดยใช้เครื่องสูบแรงดันสูง (high pressure pump) “ถามว่าเพราะอะไรจึงต้องเป็นเฉพาะเครื่องดื่มกัญชาจากร้านทั่วไป คือหากเป็นเครื่องดื่มกัญชาประเภทสำเร็จรูป พวกนั้นจะมีการขอ อย. และมีฉลากแสดงชัดเจนว่ามีส่วนประกอบของสาร ∆9-THC ปริมาณเท่าไรต่อ 100 มิลลิลิตร หรือต่อ 1 หน่วยบริโภค แต่เครื่องดื่มที่ขายในร้านประเภทคาเฟ่ ส่วนมากสูตรของเครื่องดื่มจะทำกันขึ้นมาเอง แม้กระทั่งเมนูเดียวกัน ก็ไม่อาจแน่ใจได้เลยว่าแต่ละแก้วมีปริมาณสาร ∆9-THC เท่ากันหรือเปล่า ซึ่งเป็นสิ่งที่น่ากลัว” สำหรับผลการสุ่มตรวจหาปริมาณสาร ∆9-THC ดังกล่าว รศ.ดร.เกื้อการุณย์ เผยว่า “เครื่องดื่มที่สุ่มตรวจส่วนใหญ่มีสาร ∆9-THC ในปริมาณที่ไม่เกินจากที่สาธารณสุขกำหนด แต่ราว 30 % พบว่ามีปริมาณสาร ∆9-THC เกินกว่าที่กฎหมายกำหนดหรือแนะนำให้ไม่เกิน 0.015 มิลลิกรัม ต่อ 100 มิลลิลิตร ซึ่งหากผู้บริโภคเจอร้านหรือดื่มเครื่องดื่มที่มีปริมาณสาร THC เกินกำหนดเหล่านี้ก็จะเกิดอันตรายต่อสุขภาพได้ โดยเฉพาะสำหรับผู้ที่มีอาการแพ้สาร ∆9-THC” อย่างไรก็ดี งานวิจัยไม่สามารถเปิดเผยหรือระบุว่าเครื่องดื่มใด จากร้านใด มีปริมาณสาร ∆9-THC เท่าไร แต่อาจนำเสนอในรูปแบบรายงานของ ศศก. ซึ่งเป็นหน่วยงานภายใต้ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลสำหรับงานด้านนโยบายต่อไปในอนาคต งานวิจัยสำหรับปีนี้ (2565) ใกล้เสร็จสมบูรณ์แล้ว และในอนาคต รศ.ดร.เกื้อการุณย์ คาดว่าจะวิจัยโดยมีการเก็บตัวอย่างมากขึ้น อาจจะเป็นการขยายพื้นที่เก็บตัวอย่างไปยังส่วนภูมิภาค หรือเก็บตัวอย่างในอาหารชนิดอื่นๆ ที่นอกเหนือไปจากเครื่องดื่ม แนะบริโภคกัญชาอย่างปลอดภัย สำหรับผู้บริโภค สิ่งที่ รศ.ดร.เกื้อการุณย์ รู้สึกเป็นกังวลคือปริมาณของสาร ∆9-THC ที่ได้รับต่อวัน ด้วยประเทศไทยยังไม่เคยมีการกำหนดหรือมีข้อแนะนำว่าควรหรือไม่ควรบริโภคในปริมาณเท่าไรต่อวัน ยกตัวอย่างเช่น ต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม ไม่ควรบริโภคเกินกี่ไมโครกรัม หากเกินกว่านั้นอาจจะได้รับผลข้างเคียง เป็นต้น ซึ่งแม้แต่ในต่างประเทศเองก็ยังไม่ชัดเจนนัก เพราะยังไม่มีงานวิจัยในเรื่องผลระยะยาวจากการบริโภค ทั้งนี้ อาจจะกำหนดการบริโภคเครื่องดื่มกัญชาหรือที่มีส่วนผสมของกัญชาให้เหมือนเครื่องดื่มชนิดอื่นๆ เช่น เครื่องดื่มชูกำลัง ที่มีคำเตือนที่คุ้นหูว่าไม่ควรดื่มเกินวันละ 2 ขวด เป็นตัวอย่าง “แม้แต่ร้านค้าหรือผู้ประกอบการเอง ปัจจุบันก็น่าจะยังไม่ทราบด้วยซ้ำว่าห้ามไม่ให้มีปริมาณสาร ∆9-THC เท่าไรต่อเครื่องดื่ม 1 แก้ว หรือต่อให้ทราบ ก็ไม่น่าจะสามารถควบคุมปริมาณได้ เพราะไม่เคยมีการตรวจ อีกทั้งกรรมวิธีที่ใช้ในการผลิตของแต่ละร้านก็ต่างกัน หากใช้ใบนำมาต้มผสมเครื่องดื่ม อันนั้นอาจจะไม่ค่อยน่าห่วง เพราะได้ปริมาณสาร ∆9-THC ออกมาค่อนข้างน้อย แต่ถ้ามีการสกัดด้วยความร้อน หรือใช้เป็นน้ำมันสกัด อันนั้นน่ากังวลมาก และไม่มีทางที่ผู้ประกอบการจะรู้เลยว่า อาหารหรือเครื่องดื่มของตนต่อ 1 serve มีปริมาณ ∆9-THC เท่าไร” ด้วยเหตุนี้ รศ.ดร.เกื้อการุณย์ จึงแนะนำผู้ที่ต้องการทดลองดื่มเครื่องดื่มที่ผสมกัญชาหรือกัญชงให้ใช้ความระมัดระวังและบริโภคแต่น้อย เพื่อไม่ให้ร่างกายได้รับสาร ∆9-THC มากจนเกิดอันตราย และไม่แนะนำเด็ดขาดสำหรับเด็กในวัยเรียน เนื่องจากยังไม่ทราบผลในระยะยาว เสนอรัฐควบคุมร้านค้าจำหน่ายอาหารและเครื่องดื่มกัญชา ร้านที่ขายเครื่องดื่มกัญชาหรืออาหารที่ผสมกัญชา ควรมีป้ายหรือประกาศแจ้งให้ผู้บริโภครับทราบอย่างชัดเจน เพื่อผู้ที่ไม่ต้องการบริโภคผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมกัญชาและผู้ปกครองจะได้ระมัดระวัง แนะสื่อนำเสนอทั้งคุณและโทษของกัญชา การส่งเสริมจากภาครัฐเพื่อพัฒนากัญชาและกัญชงให้เป็นพืชเศรษฐกิจมีส่วนทำให้หลายฝ่าย รวมถึงสื่อ เน้นกล่าวถึงคุณประโยชน์ของกัญชา โดยละเลยและมองข้ามโทษของกัญชา “ปัจจุบัน ในสื่อต่างๆ มักจะนำเสนอแต่ด้านและประโยชน์ของกัญชา ในฐานะพืชสมุนไพรที่สร้างรายได้ มีการปรับปรุงบรรจุภัณฑ์ให้ดึงดูด ทำให้เห็นว่าเป็นสินค้าน่าซื้อ ไม่มีอันตราย ซึ่งหากมีใครออกมาพูดถึงข้อเสีย เสียงก็คงไม่ดังเท่าไร เพราะเป็นด้านที่ไม่ทำเงินและฟังดูล้าสมัย” “แต่เราไม่อาจปฏิเสธได้ว่ากัญชาก็ยังมีด้านที่เป็นโทษ จริงๆ แล้ว ในกัญชามีสารอีกหลายตัวที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ แต่ตัวที่มีผลเสียมากที่สุดก็คือสาร ∆9-THC นี่แหละ หากบริโภคโดยไม่ระวัง โดยเฉพาะเด็กและเยาวชนที่มักจะอยากรู้อยากลองและบริโภคตามกระแส จึงอยากให้มีการรณรงค์ทั้งสองด้าน คือ พูดเรื่องประโยชน์ แต่ก็ไม่ลืมเรื่องโทษด้วยเช่นกัน” รศ.ดร.เกื้อการุณย์ กล่าวเน้นด้วยความห่วงใย แม้ในปัจจุบัน กัญชาและกัญชงจะได้รับการปลดล็อคถอดออกจากบัญชียาเสพติดแล้ว แต่ไม่ได้หมายความว่าจะสามารถใช้ได้โดยทั่วไปอย่างเสรี หากมีปริมาณสาร ∆9-THC เกิน 0.2% โดยน้ำหนัก ตามประกาศคณะกรรมการควบคุมยาเสพติด ก็ยังถือว่าเป็นยาเสพติด ดังนั้น ผู้บริโภคควรระมัดระวังในการรับประทานอาหารและเครื่องดื่มที่ผสมกัญชาหรือสารสกัดจากกัญชาเพื่อหลีกเลี่ยงอันตรายจากกัญชาที่อาจส่งผลต่อสุขภาพในระยะยาว
จุฬาฯ ผงาดอันดับ Top 44 ของโลกด้านความยั่งยืน ใน THE Impact Rankings 2025 ครองอันดับ 1 ของไทยอีกครั้ง
สจล. เดินหน้ากระชับความร่วมมือทางวิชาการ กับ Harbin Institute of Technology (HIT) มหาวิทยาลัยชั้นนำของจีน