มาทำความรู้จักกับ!! ม.ศิลปากร เมืองทองธานี วิทยาเขตนี้มีอะไรบ้าง!!! EZ WebmasterJune 22, 2025 สวัสดีครับทุกคนวันนี้จะมาพูดถึงวิทยาเขตหนึ่งของมหาวิทยาลัยศิลปากรที่น่าสนใจและคนส่วนใหญ่ไม่รู้ด้วยว่าวิทยาเขตนี้มีอยู่ด้วย นั้นก็คือ มหาวิทยาลัยศิลปากร เมืองทองธานี หรือเรียกว่า Silpakorn City Campus เมืองทองธานี ซึ่งพี่จะมาเล่าถึงวิทยาเขตเมืองทองธานีแห่งนี้ว่าเรียนอะไรบ้าง ใช้ชีวิตอย่างไรและมีอะไรในวิทยาเขตนี้บ้าง!! ถ้าพร้อมแล้ว!!! ไปดูกันเลย!!! ความเป็นมาและสถานที่เรียน ก่อนอื่นเลยมาเริ่มที่ความเป็นมากันก่อนเลยว่าทำไมถึงมาตั้งพื้นที่ในย่านเมืองทองธานีแห่งนี้ ซึ่งมหาวิทยาลัยศิลปากร ซิตี้แคมปัส เมืองทองธานี… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนประจวบวิทยาลัย EZ WebmasterJune 20, 2025 วันนี้ทั้งเล่น ทั้งได้ความรู้ ทั้งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนประจวบวิทยาลัย จ.ประจวบคีรีขันธ์ วันที่20/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสามร้อยยอดวิทยาคม EZ WebmasterJune 20, 2025 กิจกรรมสร้างสรรค์ ความสุขเล็กๆ ที่ยิ่งสนุกสนาน โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนสามร้อยยอดวิทยาคม จ.ประจวบคีรีขันธ์ วันที่20/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศ EZ WebmasterJune 20, 2025 มาทำให้วันธรรมดา กลายเป็นวันพิเศษกันเถอะ! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศ จ.เพชรบุรี วันที่20/06/68 โดยวิทยากร อ.ธารา อิสสระ (พี่แฮนด์… นักศึกษา มาทำความรู้จักกับ!! ม.ศิลปากร เมืองทองธานี วิทยาเขตนี้มีอะไรบ้าง!!! EZ WebmasterJune 22, 2025 สวัสดีครับทุกคนวันนี้จะมาพูดถึงวิทยาเขตหนึ่งของมหาวิทยาลัยศิลปากรที่น่าสนใจและคนส่วนใหญ่ไม่รู้ด้วยว่าวิทยาเขตนี้มีอยู่ด้วย นั้นก็คือ มหาวิทยาลัยศิลปากร เมืองทองธานี หรือเรียกว่า Silpakorn City Campus เมืองทองธานี ซึ่งพี่จะมาเล่าถึงวิทยาเขตเมืองทองธานีแห่งนี้ว่าเรียนอะไรบ้าง ใช้ชีวิตอย่างไรและมีอะไรในวิทยาเขตนี้บ้าง!! ถ้าพร้อมแล้ว!!! ไปดูกันเลย!!! ความเป็นมาและสถานที่เรียน ก่อนอื่นเลยมาเริ่มที่ความเป็นมากันก่อนเลยว่าทำไมถึงมาตั้งพื้นที่ในย่านเมืองทองธานีแห่งนี้ ซึ่งมหาวิทยาลัยศิลปากร ซิตี้แคมปัส เมืองทองธานี… โรงเรียนปลอดมือถือ! อังกฤษ-ออสเตรเลียเริ่มแล้ว ดึงเด็กกลับมาสนใจครูในห้องเรียน EZ WebmasterJune 20, 2025 วันที่ 10 มิถุนายน 2568 – ในช่วงหลายเดือนที่ผ่านมา แวดวงการศึกษาในประเทศพัฒนาแล้วต่างให้ความสนใจประเด็น “โรงเรียนปลอดโทรศัพท์มือถือ (Phone-Free School)” อย่างจริงจัง ล่าสุดมีความเคลื่อนไหวชัดเจนจาก ประเทศอังกฤษและออสเตรเลีย ที่เริ่มนำร่องมาตรการควบคุมการใช้อุปกรณ์ดิจิทัลในโรงเรียนระดับมัธยมอย่างเข้มงวด จากรายงานของ สำนักข่าว BBC ระบุว่า… มธ. ปักหมุดหลักสูตร ‘AI Ethics’ หนุนบริบทใหม่ของห้องเรียนทันโลก สร้างจุดยืนคนรุ่นใหม่ ‘ใช้เอไออย่างมีจริยธรรม’ พร้อมเดินหน้าวางหมุดหมายระบบการศึกษาไทย กับการปลุกการใช้เทคฯ คู่ธรรมาภิบาล คาดเริ่มเปิดลงทะเบียนพร้อมเรียนจริง สิงหาคม 68 นี้ EZ WebmasterJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) ตอกย้ำจุดยืนเชิงรุกต่อการเปลี่ยนผ่านของโลกยุคดิจิทัล ผ่านการพัฒนาหลักสูตร “AI Ethics” หรือจริยธรรมปัญญาประดิษฐ์ ภายใต้ยุทธศาสตร์ Thammasat Next Century เตรียมความพร้อมให้เยาวชนไทยมีทั้งความรู้ ความสามารถ และความรับผิดชอบในการใช้งานเทคโนโลยีอย่างเหมาะสม โดยเฉพาะในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อที่ปัญญาประดิษฐ์กำลังกลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวัน ทั้งในห้องเรียน ที่ทำงาน และบนแพลตฟอร์มออนไลน์ต่าง ๆ โดยหลักสูตรนี้ถูกวางให้เป็นรากฐานสำคัญของระบบการศึกษายุคใหม่ ที่ไม่เพียงเน้นทักษะด้านเทคนิคเท่านั้น แต่ยังปลูกฝังค่านิยมที่ถูกต้องในการอยู่ร่วมกับเทคโนโลยี พร้อมชี้ให้เห็นถึงความเสี่ยงของ AI ที่เกิดจาก… 11 สาเหตุลึกซึ้ง ทำไมการศึกษาไทยยังตกต่ำ? เสียงสะท้อนจากครูชนบท สู่คำถามใหญ่ของสังคม EZ WebmasterJune 19, 2025 ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ประเทศไทยกำลังเผชิญกับวิกฤตคุณภาพทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง แม้จะมีความพยายามปฏิรูปหลายครั้ง แต่กลับไม่สามารถยกระดับการเรียนรู้ให้เทียบเท่าประเทศเพื่อนบ้านได้อย่างแท้จริงนายสานิตย์ พลศรี นายกสมาคมครูชนบทจังหวัดชัยภูมิ ในหัวข้อ “สาเหตุของปัญหาคุณภาพด้านการศึกษาประเทศไทยที่ตกต่ำ” ซึ่งกำลังถูกส่งต่ออย่างกว้างขวางในโซเชียลมีเดียและกลุ่มไลน์ของคนในแวดวงการศึกษาเสียงสะท้อนจากผู้ที่อยู่ในภาคสนามจริงอย่างนายสานิตย์ ทำให้เราได้เห็นภาพที่ชัดเจนมากขึ้นว่า ปัญหาไม่ได้อยู่ที่ตัวนักเรียนหรือครูเพียงลำพัง แต่เป็นผลสะสมจากโครงสร้าง ระบบ และการบริหารที่ผิดทิศผิดทางมานานจึงเป็นการเปิดประเด็นให้สังคมได้ทบทวนร่วมกันว่า หากเราไม่เริ่ม “เปลี่ยนจริง” คุณภาพการศึกษาของไทยอาจยิ่งตกต่ำลงกว่าที่เป็นอยู่ 11… ทุนดีดี UNESCO intercultural leadership InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 22, 2025 Youth for Peace: UNESCO intercultural leadership programme หรือ โครงการเยาวชนเพื่อสันติภาพ: ผู้นำยูเนสโกต่างวัฒนธรรม กำลังเปิดรับสมัครเยาวชนที่มีอายุระหว่าง 25 – 45 ปี กำหนดปิดรับ สมัครวันที่ 22 กรกฎาคม 2568 องค์การยูเนสโกได้เชิญชวนเยาวชน สมัครเข้าร่วมโครงการ Youth for… ทุนมูลนิธิHans Böckler InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 21, 2025 ทุนทำวิจัยในเยอรมนีจาก Hans Böckler Foundation สำหรับนักศึกษาปริญญาเอกสาขา Economics, Social Sciences และ Humanities วันปิดรับสมัคร 30 กรกฎาคม 2025 โครงการทุนการศึกษาของมูลนิธิ Hans Böckler… ทุนImperial Athletes Sport InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 20, 2025 Imperial College London เสนอทุนการศึกษา Imperial Athletes Sport เพื่อสนับสนุนนักกีฬาที่มีพรสวรรค์สำหรับปีการศึกษา 2025/2026 โดยเปิดโอกาสให้เลือกเรียนในหลากหลายสาขาวิชา เปิดรับใบสมัครถึง 4 สิงหาคม 2025 หากคุณกำลังแข่งขันในระดับภูมิภาค ระดับชาติ หรือระดับนานาชาติในกีฬาของคุณ และแสดงให้เห็นถึงพรสวรรค์… Kazan Global Youth Summit InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 19, 2025 เชิญเยาวชนสมัครคัดเลือกเข้าร่วมการประชุม Kazan Global Youth Summit ครั้งที่ 4 ระหว่างวันที่ 27 – 30 สิงหาคม 2568 ณ เมืองคาซาน สาธารณรัฐตาตาร์สตาน สหพันธรัฐรัสเซีย จัดโดยรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐตาตาร์สตาน… ครู-อาจารย์ สวนสุนันทาให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากหลักสูตรครูทหารของกองทัพบกรุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากหลักสูตรครูทหารของกองทัพบกรุ่นที่ 5 วันที่ 20 มิถุนายน 2568 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากหลักสูตรการฝึกอบรมครูทหารของกองทัพบก รุ่นที่ 5 กรมยุทธศึกษาทหารบก ณ ห้องประชุมช่อแก้ว โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อแลกเปลี่ยนองค์ความรู้และประสบการณ์ด้านการบริหารจัดการและเทคโนโลยีทางการศึกษา กิจกรรมเริ่มต้นตั้งแต่เวลา 08.30 น. ด้วยการลงทะเบียนและรับฟังการกล่าวต้อนรับโดย รองศาสตราจารย์… จุฬาฯ ผงาดอันดับ Top 44 ของโลกด้านความยั่งยืน ใน THE Impact Rankings 2025 ครองอันดับ 1 ของไทยอีกครั้ง tui sakrapeeJune 20, 2025 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยผงาดอันดับ Top 44 ของโลก และครองอันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทยอีกครั้งหนึ่ง จากการจัดอันดับโดย Times Higher Education Impact Rankings 2025 ด้วยผลงานที่โดดเด่นในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนและสร้างผลกระทบสูงต่อสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง SDG 9… หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 📚เริ่มเรียน กรกฎาคม 2568 ถึง มกราคม 2569 ทุกวันพฤหัสบดี 11:00 – 18:00 น.… มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster June 3, 2021 EZ Webmaster June 3, 2021 ทิศทางการศึกษาที่เปลี่ยนไป ในยุค Post Pandemic ในมุมมองของ ดร.ดาริกา ลัทธพิพัฒน์ สถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรน่า 2019 หรือ โควิด-19 ที่ยืดเยื้อกินเวลามาร่วม 2 ปี ส่งผลกระทบกับสังคม เศรษฐกิจ และความเป็นอยู่ของคนทั่วโลก รวมถึงผลกระทบด้านการศึกษาในวงกว้างตั้งแต่เด็กเล็กชั้นอนุบาล ไปจนถึงระดับปริญญาอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ การต้องเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ของสถาบันการศึกษา ถือเป็นความท้าทายและบทบาทความรับผิดชอบใหม่ของนักบริหารการศึกษาที่ต้องพร้อมรับมือกับสถานการณ์ความไม่แน่นอนที่อาจเกิดขึ้นได้เสมอ เพราะการสร้างระบบการศึกษาที่มั่นคงส่งผลถึงการผลิตบุคลากรที่มีคุณภาพสู่ตลาดงานในการขับเคลื่อนเศรฐกิจของประเทศ สถาบันการศึกษาจึงต้องมีมาตรการในการปรับรูปแบบการเรียนการสอนแบบ “ออนไลน์” ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ และมีประสิทธิภาพมากที่สุด เพื่อให้ผู้เรียนไม่เสียโอกาสในการเรียนรู้ ซึ่งเป็นบทพิสูจน์ให้เห็นว่าการเรียนการสอนที่เปลี่ยนไปในช่วงโควิด สถาบันการศึกษาไม่สามารถยึดติดกับระบบ Offline หรือการเรียนการสอนในห้องเรียน 100% ได้อีกต่อไป ทั้งยังเป็นการพัฒนาทักษะใหม่ ๆ ผ่านรูปแบบการเรียนออนไลน์ ในส่วนของ ผู้เรียนและผู้สอนด้วย ในอีกด้านก็เกิดเป็นคำถามที่ว่า ภายหลังการแพร่ระบาดของโควิด–19 หรือ Post Pandemic ทิศทางการศึกษาจะเป็นอย่างไร มีแง่มุมไหนบ้างที่เราได้รับบทเรียนจากผลกระทบในครั้งนี้ ดร.ดาริกา ลัทธพิพัฒน์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ (มธบ.) และ ประธานกรรมการโรงเรียนนานาชาติเวลลิงตันคอลเลจ กรุงเทพฯ นักบริหารการศึกษา ที่ดูแลนักเรียน นักศึกษาตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาล ถึงระดับปริญญา ได้สะท้อนถึงการบริหารการศึกษาในช่วง Post Pandemic ที่หากใครไม่เร่ง “ปรับตัว” อาจต้องเจอกับความท้าทายที่เกินกว่าจะรับมือได้ ความเร็ว&แรงของ Pandemic “Pandemic ที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะในระลอกแรกเป็นอะไรที่วางแผนไม่ได้ ทุกคนหรือแม้แต่เราไม่มีประสบการณ์มาก่อน ดังนั้น Pandemic ที่เกิดขึ้นเป็นการมาแบบตูมเดียว ทำให้องค์กรต่าง ๆ ต้องปรับทุกอย่างมาเป็นออนไลน์ ซึ่งก็พบว่า หลายเซ็คเตอร์ สามารถปรับตัวได้ดีในยุคของการล็อคดาวน์” ในมุมการจัดการเรียนการสอน เมื่อมองถึงระดับชั้นเรียนพบว่าแตกต่างกันไปตามแต่ละช่วงอายุ ด้วยประสบการณ์การบริหารการศึกษาในระดับเด็กเล็กที่ โรงเรียนนานาชาติเวลลิงตันคอลเลจ กรุงเทพฯ พบว่า การเรียนของเด็กเล็กระดับเตรียมอนุบาลถึง 7 ขวบจะเป็นช่วงอายุที่คิดว่ามีผลกระทบมากที่สุดจากการปรับการเรียนการสอนจากออฟไลน์เป็นออนไลน์ ส่วนหนึ่งมาจากความพร้อมของผู้เรียน การพึ่งพาตัวเองยังมีน้อยกว่าเด็กโต รวมทั้งพฤติกรรมของวัยนี้ที่การเรียนรู้ส่วนใหญ่จะเน้นผ่านการจับต้องสิ่งของและการสนทนากับผู้สอน “ด้วยลักษณะการเรียนของเด็กวัยนี้จึงทำให้เชื่อว่าแม้ในช่วงของ Post Pandemic เด็กเล็กจะยังคงมีการเรียนการสอนที่เน้นการเรียนและปฏิบัติในชั้นเรียนมากกว่าการผ่านเทคโนโลยี” O2O คือคำตอบ การเรียนการสอนของวัยที่โตขึ้นมาในระดับมหาวิทยาลัย ปริญญาตรีและปริญญาโท ที่ผ่านมามีการปรับตัวได้ค่อนข้างดีในรูปแบบออนไลน์ โดยที่มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์มีการปรับผสมผสานการเรียนการสอนทั้งในแบบออฟไลน์และออนไลน์ หรือ O2O (Online to Offline) เมื่อมองถึงช่วงหลังการแพร่ระบาดของโควิด-19 หรือ Post Pandemic ระบบการศึกษาในไทยจะมีการปรับตัวอย่างเห็นได้ชัดเจนทั้งในส่วนของ มหาวิทยาลัย ผู้สอน และ ผู้เรียน มหาวิทยาลัย ปรับระบบการทำงานในทุกมิติ ได้แก่ ระบบหลังบ้าน การลงทะเบียนนักศึกษา และอื่น ๆ ให้พร้อมทำงานทุกอย่างได้ครบในจุดเดียว ซึ่งในส่วนนี้ทางมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ได้ดำเนินการต่อเนื่องมาปีกว่าและพร้อมให้บริการได้เต็มรูปแบบในปีการศึกษา 2564 อาจารย์ผู้สอนที่ปรับแผนการสอนจาก 100% เป็นการเรียนในห้องไปสู่การเรียนออนไลน์โดยจัดสัดส่วนเนื้อหาที่เหมาะสมและเกิดประสิทธิภาพมากที่สุด ซึ่งจะมีความแตกต่างกันไปตามแต่ละสาขาวิชา ตัวอย่างเช่น บางสาขาวิชา 1ใน 3 ของเนื้อหาความรู้จะเป็นออนไลน์ แล้วปรับ 2 ใน 3 เป็นการเรียนออฟไลน์ ขณะที่บางสาขาวิชาอาจปรับเป็นออนไลน์ได้มากถึง 2 ใน 3 “ในส่วนของธุรกิจบัณฑิตย์ที่เน้นการสร้างผู้ประกอบการรุ่นใหม่ ด้วยการเรียนในแบบ O2O เพื่อสนับสนุนให้เกิดความคล่องตัวในการเรียนการสอนออนไลน์และออฟไลน์ ขณะเดียวกันก็ต้องตอบโจทย์ผู้เรียนให้ได้มากที่สุด และสร้างเอนเกจเม้นท์ระหว่างผู้สอนและผู้เรียนให้ได้ด้วย” สำหรับผู้เรียนแล้วเทคโนโลยีที่พัฒนาอย่างมากจนถึง 5G ในปัจจุบันและจะมีเข้ามาเพิ่มอีกมากในอนาคต มีส่วนสนับสนุนให้การเรียนรู้ทำได้ดีมากขึ้น Liquid Learning เทรนด์ที่ใช่ ในยุค Post Pandemic การเรียนรู้แบบ Liquid Learning ที่ตอบโจทย์ Personalization ของผู้เรียนมีความสำคัญอย่างไรและเกิดขึ้นจริงได้แค่ไหน ดร.ดาริกา ให้มุมมองว่าเทรนด์การเรียนรู้นับจากนี้จะไม่ใช่แค่ปรับตัวจากออฟไลน์สู่ออนไลน์แต่จะได้เห็นการเรียนรู้แนวใหม่ที่มุ่งการตอบโจทย์ความเป็น Personalize ของผู้เรียนในแบบเฉพาะบุคคลมากขึ้น เช่น บางคนชอบอ่านตัวหนังสือเยอะ ๆ แต่กับบางคนชอบการนำเสนอที่เป็นภาพมากกว่า นอกจากนี้ ยังมีเรื่องของพฤติกรรมและการใช้ชีวิตที่แตกต่างกันของแต่ละคน ส่งผลต่อการเรียนรู้มากหรือน้อยได้ด้วย เช่น บางคนเป็นมนุษย์เที่ยงคืน มนุษย์เช้า ประสิทธิภาพและความสนใจที่จะเรียนรู้ก็แตกต่างกันออกไป “กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่ปรับให้ลื่นไหลไปตามแต่ละบุคคล ทั้งความสนใจ ช่วงเวลา และอื่น ๆ นับเป็นเรื่องที่ท้าทายอย่างมาก ซึ่งที่น่าสนใจและเป็นความท้าทายไม่แพ้กัน คือ การจัดคอนเท้นท์ หรือเนื้อหาวิชา การวัดผล และการให้ Certificate” ความท้าทายในยุค Post Pandemic โดยในช่วงของการระบาดโควิด-19 โจทย์ใหญ่ของแต่ละมหาวิทยาลัยจากนี้จะอยู่ที่ “การประเมินผล” “ที่มองว่าการประเมินผลเป็นความท้าทายนั่นเป็นเพราะแม้ว่าจะมีการจัดการเรียนออนไลน์จากสถานการณ์ที่เกิดขึ้น แต่การทำงานและระบบงานต่าง ๆ ยังคงเป็นออฟไลน์อยู่เหมือนเดิม ซึ่งหากเป็นแบบนี้จะเกิดอะไรขึ้นหากในอนาคตมีการปรับเป็นออนไลน์ 100% ซึ่งเป็นโจทย์และภารกิจที่ต้องคิดว่าจะเป็นอย่างไรในอนาคต” จากความท้าทายที่เกิดขึ้นเมื่อโรคระบาดคลี่คลาย ดร.ดาริกา สะท้อนว่าไม่ใช่แค่ผู้สอนใน มหาวิทยาลัย และผู้เรียนเท่านั้นที่ต้องปรับตัวไปสู่รูปแบบการเรียนการสอนใหม่ ๆ ที่จะเกิดขึ้น ทางสำนักมาตรฐานก็ต้องทำความเข้าใจและปรับหลักเกณฑ์ต่าง ๆ เพื่อให้ในทุกมิติเดินไปข้างหน้าพร้อมกัน ในบทบาท นักบริหารการศึกษา ดร.ดาริกา ลัทธพิพัฒน์ กล่าวว่า “การระบาดของโควิด-19 ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ ที่ผ่านมา คนชอบบอกว่าในวงการศึกษาปรับตัวช้าที่สุด แต่ถึงตอนนี้พูดไม่ได้แล้ว เพราะทุกคนอยู่ในเรือลำเดียวกัน ต้องเร่งปรับตัว จากที่หลาย ๆ คนพูดว่าทำไม่ได้ วันนี้จากสถานการณ์ที่บีบบังคับทำให้ค้นพบว่า มนุษย์เราปรับตัวได้ขนาดไหน กฎเกณฑ์ที่บอกว่าทำไม่ได้ วันหนึ่งก็ต้องฉีกทิ้ง แล้วจัดกฎเกณฑ์ใหม่ ได้เวลารื้อบ้านครั้งใหญ่ และ Pandemic ครั้งนี้นับเป็นบทดสอบที่สำคัญ!” EZ Webmaster Related Posts มาทำความรู้จักกับ!! ม.ศิลปากร เมืองทองธานี วิทยาเขตนี้มีอะไรบ้าง!!! โรงเรียนปลอดมือถือ! อังกฤษ-ออสเตรเลียเริ่มแล้ว ดึงเด็กกลับมาสนใจครูในห้องเรียน มธ. ปักหมุดหลักสูตร ‘AI Ethics’ หนุนบริบทใหม่ของห้องเรียนทันโลก สร้างจุดยืนคนรุ่นใหม่ ‘ใช้เอไออย่างมีจริยธรรม’ พร้อมเดินหน้าวางหมุดหมายระบบการศึกษาไทย กับการปลุกการใช้เทคฯ คู่ธรรมาภิบาล คาดเริ่มเปิดลงทะเบียนพร้อมเรียนจริง สิงหาคม 68 นี้ 11 สาเหตุลึกซึ้ง ทำไมการศึกษาไทยยังตกต่ำ? เสียงสะท้อนจากครูชนบท สู่คำถามใหญ่ของสังคม ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา Post navigation PREVIOUS Previous post: #TCAS64 ม.ศิลปากร เปิดรับสมัครนศ.ป.ตรี รอบที่ 4 (Direct Admission) ตั้งแต่วันที่ 3-7 มิ.ย. 64NEXT Next post: เรียนที่เมืองหางโจว มีโอกาสลุ้นทุน และโอกาสร่วมฝึกงานที่อาลีบาบา Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนประจวบวิทยาลัย EZ WebmasterJune 20, 2025 วันนี้ทั้งเล่น ทั้งได้ความรู้ ทั้งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนประจวบวิทยาลัย จ.ประจวบคีรีขันธ์ วันที่20/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสามร้อยยอดวิทยาคม EZ WebmasterJune 20, 2025 กิจกรรมสร้างสรรค์ ความสุขเล็กๆ ที่ยิ่งสนุกสนาน โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนสามร้อยยอดวิทยาคม จ.ประจวบคีรีขันธ์ วันที่20/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศ EZ WebmasterJune 20, 2025 มาทำให้วันธรรมดา กลายเป็นวันพิเศษกันเถอะ! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศ จ.เพชรบุรี วันที่20/06/68 โดยวิทยากร อ.ธารา อิสสระ (พี่แฮนด์… นักศึกษา มาทำความรู้จักกับ!! ม.ศิลปากร เมืองทองธานี วิทยาเขตนี้มีอะไรบ้าง!!! EZ WebmasterJune 22, 2025 สวัสดีครับทุกคนวันนี้จะมาพูดถึงวิทยาเขตหนึ่งของมหาวิทยาลัยศิลปากรที่น่าสนใจและคนส่วนใหญ่ไม่รู้ด้วยว่าวิทยาเขตนี้มีอยู่ด้วย นั้นก็คือ มหาวิทยาลัยศิลปากร เมืองทองธานี หรือเรียกว่า Silpakorn City Campus เมืองทองธานี ซึ่งพี่จะมาเล่าถึงวิทยาเขตเมืองทองธานีแห่งนี้ว่าเรียนอะไรบ้าง ใช้ชีวิตอย่างไรและมีอะไรในวิทยาเขตนี้บ้าง!! ถ้าพร้อมแล้ว!!! ไปดูกันเลย!!! ความเป็นมาและสถานที่เรียน ก่อนอื่นเลยมาเริ่มที่ความเป็นมากันก่อนเลยว่าทำไมถึงมาตั้งพื้นที่ในย่านเมืองทองธานีแห่งนี้ ซึ่งมหาวิทยาลัยศิลปากร ซิตี้แคมปัส เมืองทองธานี… โรงเรียนปลอดมือถือ! อังกฤษ-ออสเตรเลียเริ่มแล้ว ดึงเด็กกลับมาสนใจครูในห้องเรียน EZ WebmasterJune 20, 2025 วันที่ 10 มิถุนายน 2568 – ในช่วงหลายเดือนที่ผ่านมา แวดวงการศึกษาในประเทศพัฒนาแล้วต่างให้ความสนใจประเด็น “โรงเรียนปลอดโทรศัพท์มือถือ (Phone-Free School)” อย่างจริงจัง ล่าสุดมีความเคลื่อนไหวชัดเจนจาก ประเทศอังกฤษและออสเตรเลีย ที่เริ่มนำร่องมาตรการควบคุมการใช้อุปกรณ์ดิจิทัลในโรงเรียนระดับมัธยมอย่างเข้มงวด จากรายงานของ สำนักข่าว BBC ระบุว่า… มธ. ปักหมุดหลักสูตร ‘AI Ethics’ หนุนบริบทใหม่ของห้องเรียนทันโลก สร้างจุดยืนคนรุ่นใหม่ ‘ใช้เอไออย่างมีจริยธรรม’ พร้อมเดินหน้าวางหมุดหมายระบบการศึกษาไทย กับการปลุกการใช้เทคฯ คู่ธรรมาภิบาล คาดเริ่มเปิดลงทะเบียนพร้อมเรียนจริง สิงหาคม 68 นี้ EZ WebmasterJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) ตอกย้ำจุดยืนเชิงรุกต่อการเปลี่ยนผ่านของโลกยุคดิจิทัล ผ่านการพัฒนาหลักสูตร “AI Ethics” หรือจริยธรรมปัญญาประดิษฐ์ ภายใต้ยุทธศาสตร์ Thammasat Next Century เตรียมความพร้อมให้เยาวชนไทยมีทั้งความรู้ ความสามารถ และความรับผิดชอบในการใช้งานเทคโนโลยีอย่างเหมาะสม โดยเฉพาะในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อที่ปัญญาประดิษฐ์กำลังกลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวัน ทั้งในห้องเรียน ที่ทำงาน และบนแพลตฟอร์มออนไลน์ต่าง ๆ โดยหลักสูตรนี้ถูกวางให้เป็นรากฐานสำคัญของระบบการศึกษายุคใหม่ ที่ไม่เพียงเน้นทักษะด้านเทคนิคเท่านั้น แต่ยังปลูกฝังค่านิยมที่ถูกต้องในการอยู่ร่วมกับเทคโนโลยี พร้อมชี้ให้เห็นถึงความเสี่ยงของ AI ที่เกิดจาก… 11 สาเหตุลึกซึ้ง ทำไมการศึกษาไทยยังตกต่ำ? เสียงสะท้อนจากครูชนบท สู่คำถามใหญ่ของสังคม EZ WebmasterJune 19, 2025 ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ประเทศไทยกำลังเผชิญกับวิกฤตคุณภาพทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง แม้จะมีความพยายามปฏิรูปหลายครั้ง แต่กลับไม่สามารถยกระดับการเรียนรู้ให้เทียบเท่าประเทศเพื่อนบ้านได้อย่างแท้จริงนายสานิตย์ พลศรี นายกสมาคมครูชนบทจังหวัดชัยภูมิ ในหัวข้อ “สาเหตุของปัญหาคุณภาพด้านการศึกษาประเทศไทยที่ตกต่ำ” ซึ่งกำลังถูกส่งต่ออย่างกว้างขวางในโซเชียลมีเดียและกลุ่มไลน์ของคนในแวดวงการศึกษาเสียงสะท้อนจากผู้ที่อยู่ในภาคสนามจริงอย่างนายสานิตย์ ทำให้เราได้เห็นภาพที่ชัดเจนมากขึ้นว่า ปัญหาไม่ได้อยู่ที่ตัวนักเรียนหรือครูเพียงลำพัง แต่เป็นผลสะสมจากโครงสร้าง ระบบ และการบริหารที่ผิดทิศผิดทางมานานจึงเป็นการเปิดประเด็นให้สังคมได้ทบทวนร่วมกันว่า หากเราไม่เริ่ม “เปลี่ยนจริง” คุณภาพการศึกษาของไทยอาจยิ่งตกต่ำลงกว่าที่เป็นอยู่ 11… ทุนดีดี UNESCO intercultural leadership InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 22, 2025 Youth for Peace: UNESCO intercultural leadership programme หรือ โครงการเยาวชนเพื่อสันติภาพ: ผู้นำยูเนสโกต่างวัฒนธรรม กำลังเปิดรับสมัครเยาวชนที่มีอายุระหว่าง 25 – 45 ปี กำหนดปิดรับ สมัครวันที่ 22 กรกฎาคม 2568 องค์การยูเนสโกได้เชิญชวนเยาวชน สมัครเข้าร่วมโครงการ Youth for… ทุนมูลนิธิHans Böckler InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 21, 2025 ทุนทำวิจัยในเยอรมนีจาก Hans Böckler Foundation สำหรับนักศึกษาปริญญาเอกสาขา Economics, Social Sciences และ Humanities วันปิดรับสมัคร 30 กรกฎาคม 2025 โครงการทุนการศึกษาของมูลนิธิ Hans Böckler… ทุนImperial Athletes Sport InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 20, 2025 Imperial College London เสนอทุนการศึกษา Imperial Athletes Sport เพื่อสนับสนุนนักกีฬาที่มีพรสวรรค์สำหรับปีการศึกษา 2025/2026 โดยเปิดโอกาสให้เลือกเรียนในหลากหลายสาขาวิชา เปิดรับใบสมัครถึง 4 สิงหาคม 2025 หากคุณกำลังแข่งขันในระดับภูมิภาค ระดับชาติ หรือระดับนานาชาติในกีฬาของคุณ และแสดงให้เห็นถึงพรสวรรค์… Kazan Global Youth Summit InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 19, 2025 เชิญเยาวชนสมัครคัดเลือกเข้าร่วมการประชุม Kazan Global Youth Summit ครั้งที่ 4 ระหว่างวันที่ 27 – 30 สิงหาคม 2568 ณ เมืองคาซาน สาธารณรัฐตาตาร์สตาน สหพันธรัฐรัสเซีย จัดโดยรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐตาตาร์สตาน… ครู-อาจารย์ สวนสุนันทาให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากหลักสูตรครูทหารของกองทัพบกรุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากหลักสูตรครูทหารของกองทัพบกรุ่นที่ 5 วันที่ 20 มิถุนายน 2568 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากหลักสูตรการฝึกอบรมครูทหารของกองทัพบก รุ่นที่ 5 กรมยุทธศึกษาทหารบก ณ ห้องประชุมช่อแก้ว โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อแลกเปลี่ยนองค์ความรู้และประสบการณ์ด้านการบริหารจัดการและเทคโนโลยีทางการศึกษา กิจกรรมเริ่มต้นตั้งแต่เวลา 08.30 น. ด้วยการลงทะเบียนและรับฟังการกล่าวต้อนรับโดย รองศาสตราจารย์… จุฬาฯ ผงาดอันดับ Top 44 ของโลกด้านความยั่งยืน ใน THE Impact Rankings 2025 ครองอันดับ 1 ของไทยอีกครั้ง tui sakrapeeJune 20, 2025 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยผงาดอันดับ Top 44 ของโลก และครองอันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทยอีกครั้งหนึ่ง จากการจัดอันดับโดย Times Higher Education Impact Rankings 2025 ด้วยผลงานที่โดดเด่นในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนและสร้างผลกระทบสูงต่อสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง SDG 9… หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 📚เริ่มเรียน กรกฎาคม 2568 ถึง มกราคม 2569 ทุกวันพฤหัสบดี 11:00 – 18:00 น.… มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster June 3, 2021 EZ Webmaster June 3, 2021 ทิศทางการศึกษาที่เปลี่ยนไป ในยุค Post Pandemic ในมุมมองของ ดร.ดาริกา ลัทธพิพัฒน์ สถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรน่า 2019 หรือ โควิด-19 ที่ยืดเยื้อกินเวลามาร่วม 2 ปี ส่งผลกระทบกับสังคม เศรษฐกิจ และความเป็นอยู่ของคนทั่วโลก รวมถึงผลกระทบด้านการศึกษาในวงกว้างตั้งแต่เด็กเล็กชั้นอนุบาล ไปจนถึงระดับปริญญาอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ การต้องเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ของสถาบันการศึกษา ถือเป็นความท้าทายและบทบาทความรับผิดชอบใหม่ของนักบริหารการศึกษาที่ต้องพร้อมรับมือกับสถานการณ์ความไม่แน่นอนที่อาจเกิดขึ้นได้เสมอ เพราะการสร้างระบบการศึกษาที่มั่นคงส่งผลถึงการผลิตบุคลากรที่มีคุณภาพสู่ตลาดงานในการขับเคลื่อนเศรฐกิจของประเทศ สถาบันการศึกษาจึงต้องมีมาตรการในการปรับรูปแบบการเรียนการสอนแบบ “ออนไลน์” ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ และมีประสิทธิภาพมากที่สุด เพื่อให้ผู้เรียนไม่เสียโอกาสในการเรียนรู้ ซึ่งเป็นบทพิสูจน์ให้เห็นว่าการเรียนการสอนที่เปลี่ยนไปในช่วงโควิด สถาบันการศึกษาไม่สามารถยึดติดกับระบบ Offline หรือการเรียนการสอนในห้องเรียน 100% ได้อีกต่อไป ทั้งยังเป็นการพัฒนาทักษะใหม่ ๆ ผ่านรูปแบบการเรียนออนไลน์ ในส่วนของ ผู้เรียนและผู้สอนด้วย ในอีกด้านก็เกิดเป็นคำถามที่ว่า ภายหลังการแพร่ระบาดของโควิด–19 หรือ Post Pandemic ทิศทางการศึกษาจะเป็นอย่างไร มีแง่มุมไหนบ้างที่เราได้รับบทเรียนจากผลกระทบในครั้งนี้ ดร.ดาริกา ลัทธพิพัฒน์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ (มธบ.) และ ประธานกรรมการโรงเรียนนานาชาติเวลลิงตันคอลเลจ กรุงเทพฯ นักบริหารการศึกษา ที่ดูแลนักเรียน นักศึกษาตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาล ถึงระดับปริญญา ได้สะท้อนถึงการบริหารการศึกษาในช่วง Post Pandemic ที่หากใครไม่เร่ง “ปรับตัว” อาจต้องเจอกับความท้าทายที่เกินกว่าจะรับมือได้ ความเร็ว&แรงของ Pandemic “Pandemic ที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะในระลอกแรกเป็นอะไรที่วางแผนไม่ได้ ทุกคนหรือแม้แต่เราไม่มีประสบการณ์มาก่อน ดังนั้น Pandemic ที่เกิดขึ้นเป็นการมาแบบตูมเดียว ทำให้องค์กรต่าง ๆ ต้องปรับทุกอย่างมาเป็นออนไลน์ ซึ่งก็พบว่า หลายเซ็คเตอร์ สามารถปรับตัวได้ดีในยุคของการล็อคดาวน์” ในมุมการจัดการเรียนการสอน เมื่อมองถึงระดับชั้นเรียนพบว่าแตกต่างกันไปตามแต่ละช่วงอายุ ด้วยประสบการณ์การบริหารการศึกษาในระดับเด็กเล็กที่ โรงเรียนนานาชาติเวลลิงตันคอลเลจ กรุงเทพฯ พบว่า การเรียนของเด็กเล็กระดับเตรียมอนุบาลถึง 7 ขวบจะเป็นช่วงอายุที่คิดว่ามีผลกระทบมากที่สุดจากการปรับการเรียนการสอนจากออฟไลน์เป็นออนไลน์ ส่วนหนึ่งมาจากความพร้อมของผู้เรียน การพึ่งพาตัวเองยังมีน้อยกว่าเด็กโต รวมทั้งพฤติกรรมของวัยนี้ที่การเรียนรู้ส่วนใหญ่จะเน้นผ่านการจับต้องสิ่งของและการสนทนากับผู้สอน “ด้วยลักษณะการเรียนของเด็กวัยนี้จึงทำให้เชื่อว่าแม้ในช่วงของ Post Pandemic เด็กเล็กจะยังคงมีการเรียนการสอนที่เน้นการเรียนและปฏิบัติในชั้นเรียนมากกว่าการผ่านเทคโนโลยี” O2O คือคำตอบ การเรียนการสอนของวัยที่โตขึ้นมาในระดับมหาวิทยาลัย ปริญญาตรีและปริญญาโท ที่ผ่านมามีการปรับตัวได้ค่อนข้างดีในรูปแบบออนไลน์ โดยที่มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์มีการปรับผสมผสานการเรียนการสอนทั้งในแบบออฟไลน์และออนไลน์ หรือ O2O (Online to Offline) เมื่อมองถึงช่วงหลังการแพร่ระบาดของโควิด-19 หรือ Post Pandemic ระบบการศึกษาในไทยจะมีการปรับตัวอย่างเห็นได้ชัดเจนทั้งในส่วนของ มหาวิทยาลัย ผู้สอน และ ผู้เรียน มหาวิทยาลัย ปรับระบบการทำงานในทุกมิติ ได้แก่ ระบบหลังบ้าน การลงทะเบียนนักศึกษา และอื่น ๆ ให้พร้อมทำงานทุกอย่างได้ครบในจุดเดียว ซึ่งในส่วนนี้ทางมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ได้ดำเนินการต่อเนื่องมาปีกว่าและพร้อมให้บริการได้เต็มรูปแบบในปีการศึกษา 2564 อาจารย์ผู้สอนที่ปรับแผนการสอนจาก 100% เป็นการเรียนในห้องไปสู่การเรียนออนไลน์โดยจัดสัดส่วนเนื้อหาที่เหมาะสมและเกิดประสิทธิภาพมากที่สุด ซึ่งจะมีความแตกต่างกันไปตามแต่ละสาขาวิชา ตัวอย่างเช่น บางสาขาวิชา 1ใน 3 ของเนื้อหาความรู้จะเป็นออนไลน์ แล้วปรับ 2 ใน 3 เป็นการเรียนออฟไลน์ ขณะที่บางสาขาวิชาอาจปรับเป็นออนไลน์ได้มากถึง 2 ใน 3 “ในส่วนของธุรกิจบัณฑิตย์ที่เน้นการสร้างผู้ประกอบการรุ่นใหม่ ด้วยการเรียนในแบบ O2O เพื่อสนับสนุนให้เกิดความคล่องตัวในการเรียนการสอนออนไลน์และออฟไลน์ ขณะเดียวกันก็ต้องตอบโจทย์ผู้เรียนให้ได้มากที่สุด และสร้างเอนเกจเม้นท์ระหว่างผู้สอนและผู้เรียนให้ได้ด้วย” สำหรับผู้เรียนแล้วเทคโนโลยีที่พัฒนาอย่างมากจนถึง 5G ในปัจจุบันและจะมีเข้ามาเพิ่มอีกมากในอนาคต มีส่วนสนับสนุนให้การเรียนรู้ทำได้ดีมากขึ้น Liquid Learning เทรนด์ที่ใช่ ในยุค Post Pandemic การเรียนรู้แบบ Liquid Learning ที่ตอบโจทย์ Personalization ของผู้เรียนมีความสำคัญอย่างไรและเกิดขึ้นจริงได้แค่ไหน ดร.ดาริกา ให้มุมมองว่าเทรนด์การเรียนรู้นับจากนี้จะไม่ใช่แค่ปรับตัวจากออฟไลน์สู่ออนไลน์แต่จะได้เห็นการเรียนรู้แนวใหม่ที่มุ่งการตอบโจทย์ความเป็น Personalize ของผู้เรียนในแบบเฉพาะบุคคลมากขึ้น เช่น บางคนชอบอ่านตัวหนังสือเยอะ ๆ แต่กับบางคนชอบการนำเสนอที่เป็นภาพมากกว่า นอกจากนี้ ยังมีเรื่องของพฤติกรรมและการใช้ชีวิตที่แตกต่างกันของแต่ละคน ส่งผลต่อการเรียนรู้มากหรือน้อยได้ด้วย เช่น บางคนเป็นมนุษย์เที่ยงคืน มนุษย์เช้า ประสิทธิภาพและความสนใจที่จะเรียนรู้ก็แตกต่างกันออกไป “กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่ปรับให้ลื่นไหลไปตามแต่ละบุคคล ทั้งความสนใจ ช่วงเวลา และอื่น ๆ นับเป็นเรื่องที่ท้าทายอย่างมาก ซึ่งที่น่าสนใจและเป็นความท้าทายไม่แพ้กัน คือ การจัดคอนเท้นท์ หรือเนื้อหาวิชา การวัดผล และการให้ Certificate” ความท้าทายในยุค Post Pandemic โดยในช่วงของการระบาดโควิด-19 โจทย์ใหญ่ของแต่ละมหาวิทยาลัยจากนี้จะอยู่ที่ “การประเมินผล” “ที่มองว่าการประเมินผลเป็นความท้าทายนั่นเป็นเพราะแม้ว่าจะมีการจัดการเรียนออนไลน์จากสถานการณ์ที่เกิดขึ้น แต่การทำงานและระบบงานต่าง ๆ ยังคงเป็นออฟไลน์อยู่เหมือนเดิม ซึ่งหากเป็นแบบนี้จะเกิดอะไรขึ้นหากในอนาคตมีการปรับเป็นออนไลน์ 100% ซึ่งเป็นโจทย์และภารกิจที่ต้องคิดว่าจะเป็นอย่างไรในอนาคต” จากความท้าทายที่เกิดขึ้นเมื่อโรคระบาดคลี่คลาย ดร.ดาริกา สะท้อนว่าไม่ใช่แค่ผู้สอนใน มหาวิทยาลัย และผู้เรียนเท่านั้นที่ต้องปรับตัวไปสู่รูปแบบการเรียนการสอนใหม่ ๆ ที่จะเกิดขึ้น ทางสำนักมาตรฐานก็ต้องทำความเข้าใจและปรับหลักเกณฑ์ต่าง ๆ เพื่อให้ในทุกมิติเดินไปข้างหน้าพร้อมกัน ในบทบาท นักบริหารการศึกษา ดร.ดาริกา ลัทธพิพัฒน์ กล่าวว่า “การระบาดของโควิด-19 ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ ที่ผ่านมา คนชอบบอกว่าในวงการศึกษาปรับตัวช้าที่สุด แต่ถึงตอนนี้พูดไม่ได้แล้ว เพราะทุกคนอยู่ในเรือลำเดียวกัน ต้องเร่งปรับตัว จากที่หลาย ๆ คนพูดว่าทำไม่ได้ วันนี้จากสถานการณ์ที่บีบบังคับทำให้ค้นพบว่า มนุษย์เราปรับตัวได้ขนาดไหน กฎเกณฑ์ที่บอกว่าทำไม่ได้ วันหนึ่งก็ต้องฉีกทิ้ง แล้วจัดกฎเกณฑ์ใหม่ ได้เวลารื้อบ้านครั้งใหญ่ และ Pandemic ครั้งนี้นับเป็นบทดสอบที่สำคัญ!” EZ Webmaster Related Posts มาทำความรู้จักกับ!! ม.ศิลปากร เมืองทองธานี วิทยาเขตนี้มีอะไรบ้าง!!! โรงเรียนปลอดมือถือ! อังกฤษ-ออสเตรเลียเริ่มแล้ว ดึงเด็กกลับมาสนใจครูในห้องเรียน มธ. ปักหมุดหลักสูตร ‘AI Ethics’ หนุนบริบทใหม่ของห้องเรียนทันโลก สร้างจุดยืนคนรุ่นใหม่ ‘ใช้เอไออย่างมีจริยธรรม’ พร้อมเดินหน้าวางหมุดหมายระบบการศึกษาไทย กับการปลุกการใช้เทคฯ คู่ธรรมาภิบาล คาดเริ่มเปิดลงทะเบียนพร้อมเรียนจริง สิงหาคม 68 นี้ 11 สาเหตุลึกซึ้ง ทำไมการศึกษาไทยยังตกต่ำ? เสียงสะท้อนจากครูชนบท สู่คำถามใหญ่ของสังคม ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา Post navigation PREVIOUS Previous post: #TCAS64 ม.ศิลปากร เปิดรับสมัครนศ.ป.ตรี รอบที่ 4 (Direct Admission) ตั้งแต่วันที่ 3-7 มิ.ย. 64NEXT Next post: เรียนที่เมืองหางโจว มีโอกาสลุ้นทุน และโอกาสร่วมฝึกงานที่อาลีบาบา Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสามร้อยยอดวิทยาคม EZ WebmasterJune 20, 2025 กิจกรรมสร้างสรรค์ ความสุขเล็กๆ ที่ยิ่งสนุกสนาน โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนสามร้อยยอดวิทยาคม จ.ประจวบคีรีขันธ์ วันที่20/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศ EZ WebmasterJune 20, 2025 มาทำให้วันธรรมดา กลายเป็นวันพิเศษกันเถอะ! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศ จ.เพชรบุรี วันที่20/06/68 โดยวิทยากร อ.ธารา อิสสระ (พี่แฮนด์…
โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศ EZ WebmasterJune 20, 2025 มาทำให้วันธรรมดา กลายเป็นวันพิเศษกันเถอะ! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนเบญจมเทพอุทิศ จ.เพชรบุรี วันที่20/06/68 โดยวิทยากร อ.ธารา อิสสระ (พี่แฮนด์…
มาทำความรู้จักกับ!! ม.ศิลปากร เมืองทองธานี วิทยาเขตนี้มีอะไรบ้าง!!! EZ WebmasterJune 22, 2025 สวัสดีครับทุกคนวันนี้จะมาพูดถึงวิทยาเขตหนึ่งของมหาวิทยาลัยศิลปากรที่น่าสนใจและคนส่วนใหญ่ไม่รู้ด้วยว่าวิทยาเขตนี้มีอยู่ด้วย นั้นก็คือ มหาวิทยาลัยศิลปากร เมืองทองธานี หรือเรียกว่า Silpakorn City Campus เมืองทองธานี ซึ่งพี่จะมาเล่าถึงวิทยาเขตเมืองทองธานีแห่งนี้ว่าเรียนอะไรบ้าง ใช้ชีวิตอย่างไรและมีอะไรในวิทยาเขตนี้บ้าง!! ถ้าพร้อมแล้ว!!! ไปดูกันเลย!!! ความเป็นมาและสถานที่เรียน ก่อนอื่นเลยมาเริ่มที่ความเป็นมากันก่อนเลยว่าทำไมถึงมาตั้งพื้นที่ในย่านเมืองทองธานีแห่งนี้ ซึ่งมหาวิทยาลัยศิลปากร ซิตี้แคมปัส เมืองทองธานี… โรงเรียนปลอดมือถือ! อังกฤษ-ออสเตรเลียเริ่มแล้ว ดึงเด็กกลับมาสนใจครูในห้องเรียน EZ WebmasterJune 20, 2025 วันที่ 10 มิถุนายน 2568 – ในช่วงหลายเดือนที่ผ่านมา แวดวงการศึกษาในประเทศพัฒนาแล้วต่างให้ความสนใจประเด็น “โรงเรียนปลอดโทรศัพท์มือถือ (Phone-Free School)” อย่างจริงจัง ล่าสุดมีความเคลื่อนไหวชัดเจนจาก ประเทศอังกฤษและออสเตรเลีย ที่เริ่มนำร่องมาตรการควบคุมการใช้อุปกรณ์ดิจิทัลในโรงเรียนระดับมัธยมอย่างเข้มงวด จากรายงานของ สำนักข่าว BBC ระบุว่า… มธ. ปักหมุดหลักสูตร ‘AI Ethics’ หนุนบริบทใหม่ของห้องเรียนทันโลก สร้างจุดยืนคนรุ่นใหม่ ‘ใช้เอไออย่างมีจริยธรรม’ พร้อมเดินหน้าวางหมุดหมายระบบการศึกษาไทย กับการปลุกการใช้เทคฯ คู่ธรรมาภิบาล คาดเริ่มเปิดลงทะเบียนพร้อมเรียนจริง สิงหาคม 68 นี้ EZ WebmasterJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) ตอกย้ำจุดยืนเชิงรุกต่อการเปลี่ยนผ่านของโลกยุคดิจิทัล ผ่านการพัฒนาหลักสูตร “AI Ethics” หรือจริยธรรมปัญญาประดิษฐ์ ภายใต้ยุทธศาสตร์ Thammasat Next Century เตรียมความพร้อมให้เยาวชนไทยมีทั้งความรู้ ความสามารถ และความรับผิดชอบในการใช้งานเทคโนโลยีอย่างเหมาะสม โดยเฉพาะในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อที่ปัญญาประดิษฐ์กำลังกลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวัน ทั้งในห้องเรียน ที่ทำงาน และบนแพลตฟอร์มออนไลน์ต่าง ๆ โดยหลักสูตรนี้ถูกวางให้เป็นรากฐานสำคัญของระบบการศึกษายุคใหม่ ที่ไม่เพียงเน้นทักษะด้านเทคนิคเท่านั้น แต่ยังปลูกฝังค่านิยมที่ถูกต้องในการอยู่ร่วมกับเทคโนโลยี พร้อมชี้ให้เห็นถึงความเสี่ยงของ AI ที่เกิดจาก… 11 สาเหตุลึกซึ้ง ทำไมการศึกษาไทยยังตกต่ำ? เสียงสะท้อนจากครูชนบท สู่คำถามใหญ่ของสังคม EZ WebmasterJune 19, 2025 ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ประเทศไทยกำลังเผชิญกับวิกฤตคุณภาพทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง แม้จะมีความพยายามปฏิรูปหลายครั้ง แต่กลับไม่สามารถยกระดับการเรียนรู้ให้เทียบเท่าประเทศเพื่อนบ้านได้อย่างแท้จริงนายสานิตย์ พลศรี นายกสมาคมครูชนบทจังหวัดชัยภูมิ ในหัวข้อ “สาเหตุของปัญหาคุณภาพด้านการศึกษาประเทศไทยที่ตกต่ำ” ซึ่งกำลังถูกส่งต่ออย่างกว้างขวางในโซเชียลมีเดียและกลุ่มไลน์ของคนในแวดวงการศึกษาเสียงสะท้อนจากผู้ที่อยู่ในภาคสนามจริงอย่างนายสานิตย์ ทำให้เราได้เห็นภาพที่ชัดเจนมากขึ้นว่า ปัญหาไม่ได้อยู่ที่ตัวนักเรียนหรือครูเพียงลำพัง แต่เป็นผลสะสมจากโครงสร้าง ระบบ และการบริหารที่ผิดทิศผิดทางมานานจึงเป็นการเปิดประเด็นให้สังคมได้ทบทวนร่วมกันว่า หากเราไม่เริ่ม “เปลี่ยนจริง” คุณภาพการศึกษาของไทยอาจยิ่งตกต่ำลงกว่าที่เป็นอยู่ 11… ทุนดีดี UNESCO intercultural leadership InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 22, 2025 Youth for Peace: UNESCO intercultural leadership programme หรือ โครงการเยาวชนเพื่อสันติภาพ: ผู้นำยูเนสโกต่างวัฒนธรรม กำลังเปิดรับสมัครเยาวชนที่มีอายุระหว่าง 25 – 45 ปี กำหนดปิดรับ สมัครวันที่ 22 กรกฎาคม 2568 องค์การยูเนสโกได้เชิญชวนเยาวชน สมัครเข้าร่วมโครงการ Youth for… ทุนมูลนิธิHans Böckler InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 21, 2025 ทุนทำวิจัยในเยอรมนีจาก Hans Böckler Foundation สำหรับนักศึกษาปริญญาเอกสาขา Economics, Social Sciences และ Humanities วันปิดรับสมัคร 30 กรกฎาคม 2025 โครงการทุนการศึกษาของมูลนิธิ Hans Böckler… ทุนImperial Athletes Sport InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 20, 2025 Imperial College London เสนอทุนการศึกษา Imperial Athletes Sport เพื่อสนับสนุนนักกีฬาที่มีพรสวรรค์สำหรับปีการศึกษา 2025/2026 โดยเปิดโอกาสให้เลือกเรียนในหลากหลายสาขาวิชา เปิดรับใบสมัครถึง 4 สิงหาคม 2025 หากคุณกำลังแข่งขันในระดับภูมิภาค ระดับชาติ หรือระดับนานาชาติในกีฬาของคุณ และแสดงให้เห็นถึงพรสวรรค์… Kazan Global Youth Summit InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 19, 2025 เชิญเยาวชนสมัครคัดเลือกเข้าร่วมการประชุม Kazan Global Youth Summit ครั้งที่ 4 ระหว่างวันที่ 27 – 30 สิงหาคม 2568 ณ เมืองคาซาน สาธารณรัฐตาตาร์สตาน สหพันธรัฐรัสเซีย จัดโดยรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐตาตาร์สตาน… ครู-อาจารย์ สวนสุนันทาให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากหลักสูตรครูทหารของกองทัพบกรุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากหลักสูตรครูทหารของกองทัพบกรุ่นที่ 5 วันที่ 20 มิถุนายน 2568 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากหลักสูตรการฝึกอบรมครูทหารของกองทัพบก รุ่นที่ 5 กรมยุทธศึกษาทหารบก ณ ห้องประชุมช่อแก้ว โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อแลกเปลี่ยนองค์ความรู้และประสบการณ์ด้านการบริหารจัดการและเทคโนโลยีทางการศึกษา กิจกรรมเริ่มต้นตั้งแต่เวลา 08.30 น. ด้วยการลงทะเบียนและรับฟังการกล่าวต้อนรับโดย รองศาสตราจารย์… จุฬาฯ ผงาดอันดับ Top 44 ของโลกด้านความยั่งยืน ใน THE Impact Rankings 2025 ครองอันดับ 1 ของไทยอีกครั้ง tui sakrapeeJune 20, 2025 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยผงาดอันดับ Top 44 ของโลก และครองอันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทยอีกครั้งหนึ่ง จากการจัดอันดับโดย Times Higher Education Impact Rankings 2025 ด้วยผลงานที่โดดเด่นในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนและสร้างผลกระทบสูงต่อสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง SDG 9… หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 📚เริ่มเรียน กรกฎาคม 2568 ถึง มกราคม 2569 ทุกวันพฤหัสบดี 11:00 – 18:00 น.… มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster June 3, 2021 EZ Webmaster June 3, 2021 ทิศทางการศึกษาที่เปลี่ยนไป ในยุค Post Pandemic ในมุมมองของ ดร.ดาริกา ลัทธพิพัฒน์ สถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรน่า 2019 หรือ โควิด-19 ที่ยืดเยื้อกินเวลามาร่วม 2 ปี ส่งผลกระทบกับสังคม เศรษฐกิจ และความเป็นอยู่ของคนทั่วโลก รวมถึงผลกระทบด้านการศึกษาในวงกว้างตั้งแต่เด็กเล็กชั้นอนุบาล ไปจนถึงระดับปริญญาอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ การต้องเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ของสถาบันการศึกษา ถือเป็นความท้าทายและบทบาทความรับผิดชอบใหม่ของนักบริหารการศึกษาที่ต้องพร้อมรับมือกับสถานการณ์ความไม่แน่นอนที่อาจเกิดขึ้นได้เสมอ เพราะการสร้างระบบการศึกษาที่มั่นคงส่งผลถึงการผลิตบุคลากรที่มีคุณภาพสู่ตลาดงานในการขับเคลื่อนเศรฐกิจของประเทศ สถาบันการศึกษาจึงต้องมีมาตรการในการปรับรูปแบบการเรียนการสอนแบบ “ออนไลน์” ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ และมีประสิทธิภาพมากที่สุด เพื่อให้ผู้เรียนไม่เสียโอกาสในการเรียนรู้ ซึ่งเป็นบทพิสูจน์ให้เห็นว่าการเรียนการสอนที่เปลี่ยนไปในช่วงโควิด สถาบันการศึกษาไม่สามารถยึดติดกับระบบ Offline หรือการเรียนการสอนในห้องเรียน 100% ได้อีกต่อไป ทั้งยังเป็นการพัฒนาทักษะใหม่ ๆ ผ่านรูปแบบการเรียนออนไลน์ ในส่วนของ ผู้เรียนและผู้สอนด้วย ในอีกด้านก็เกิดเป็นคำถามที่ว่า ภายหลังการแพร่ระบาดของโควิด–19 หรือ Post Pandemic ทิศทางการศึกษาจะเป็นอย่างไร มีแง่มุมไหนบ้างที่เราได้รับบทเรียนจากผลกระทบในครั้งนี้ ดร.ดาริกา ลัทธพิพัฒน์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ (มธบ.) และ ประธานกรรมการโรงเรียนนานาชาติเวลลิงตันคอลเลจ กรุงเทพฯ นักบริหารการศึกษา ที่ดูแลนักเรียน นักศึกษาตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาล ถึงระดับปริญญา ได้สะท้อนถึงการบริหารการศึกษาในช่วง Post Pandemic ที่หากใครไม่เร่ง “ปรับตัว” อาจต้องเจอกับความท้าทายที่เกินกว่าจะรับมือได้ ความเร็ว&แรงของ Pandemic “Pandemic ที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะในระลอกแรกเป็นอะไรที่วางแผนไม่ได้ ทุกคนหรือแม้แต่เราไม่มีประสบการณ์มาก่อน ดังนั้น Pandemic ที่เกิดขึ้นเป็นการมาแบบตูมเดียว ทำให้องค์กรต่าง ๆ ต้องปรับทุกอย่างมาเป็นออนไลน์ ซึ่งก็พบว่า หลายเซ็คเตอร์ สามารถปรับตัวได้ดีในยุคของการล็อคดาวน์” ในมุมการจัดการเรียนการสอน เมื่อมองถึงระดับชั้นเรียนพบว่าแตกต่างกันไปตามแต่ละช่วงอายุ ด้วยประสบการณ์การบริหารการศึกษาในระดับเด็กเล็กที่ โรงเรียนนานาชาติเวลลิงตันคอลเลจ กรุงเทพฯ พบว่า การเรียนของเด็กเล็กระดับเตรียมอนุบาลถึง 7 ขวบจะเป็นช่วงอายุที่คิดว่ามีผลกระทบมากที่สุดจากการปรับการเรียนการสอนจากออฟไลน์เป็นออนไลน์ ส่วนหนึ่งมาจากความพร้อมของผู้เรียน การพึ่งพาตัวเองยังมีน้อยกว่าเด็กโต รวมทั้งพฤติกรรมของวัยนี้ที่การเรียนรู้ส่วนใหญ่จะเน้นผ่านการจับต้องสิ่งของและการสนทนากับผู้สอน “ด้วยลักษณะการเรียนของเด็กวัยนี้จึงทำให้เชื่อว่าแม้ในช่วงของ Post Pandemic เด็กเล็กจะยังคงมีการเรียนการสอนที่เน้นการเรียนและปฏิบัติในชั้นเรียนมากกว่าการผ่านเทคโนโลยี” O2O คือคำตอบ การเรียนการสอนของวัยที่โตขึ้นมาในระดับมหาวิทยาลัย ปริญญาตรีและปริญญาโท ที่ผ่านมามีการปรับตัวได้ค่อนข้างดีในรูปแบบออนไลน์ โดยที่มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์มีการปรับผสมผสานการเรียนการสอนทั้งในแบบออฟไลน์และออนไลน์ หรือ O2O (Online to Offline) เมื่อมองถึงช่วงหลังการแพร่ระบาดของโควิด-19 หรือ Post Pandemic ระบบการศึกษาในไทยจะมีการปรับตัวอย่างเห็นได้ชัดเจนทั้งในส่วนของ มหาวิทยาลัย ผู้สอน และ ผู้เรียน มหาวิทยาลัย ปรับระบบการทำงานในทุกมิติ ได้แก่ ระบบหลังบ้าน การลงทะเบียนนักศึกษา และอื่น ๆ ให้พร้อมทำงานทุกอย่างได้ครบในจุดเดียว ซึ่งในส่วนนี้ทางมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ได้ดำเนินการต่อเนื่องมาปีกว่าและพร้อมให้บริการได้เต็มรูปแบบในปีการศึกษา 2564 อาจารย์ผู้สอนที่ปรับแผนการสอนจาก 100% เป็นการเรียนในห้องไปสู่การเรียนออนไลน์โดยจัดสัดส่วนเนื้อหาที่เหมาะสมและเกิดประสิทธิภาพมากที่สุด ซึ่งจะมีความแตกต่างกันไปตามแต่ละสาขาวิชา ตัวอย่างเช่น บางสาขาวิชา 1ใน 3 ของเนื้อหาความรู้จะเป็นออนไลน์ แล้วปรับ 2 ใน 3 เป็นการเรียนออฟไลน์ ขณะที่บางสาขาวิชาอาจปรับเป็นออนไลน์ได้มากถึง 2 ใน 3 “ในส่วนของธุรกิจบัณฑิตย์ที่เน้นการสร้างผู้ประกอบการรุ่นใหม่ ด้วยการเรียนในแบบ O2O เพื่อสนับสนุนให้เกิดความคล่องตัวในการเรียนการสอนออนไลน์และออฟไลน์ ขณะเดียวกันก็ต้องตอบโจทย์ผู้เรียนให้ได้มากที่สุด และสร้างเอนเกจเม้นท์ระหว่างผู้สอนและผู้เรียนให้ได้ด้วย” สำหรับผู้เรียนแล้วเทคโนโลยีที่พัฒนาอย่างมากจนถึง 5G ในปัจจุบันและจะมีเข้ามาเพิ่มอีกมากในอนาคต มีส่วนสนับสนุนให้การเรียนรู้ทำได้ดีมากขึ้น Liquid Learning เทรนด์ที่ใช่ ในยุค Post Pandemic การเรียนรู้แบบ Liquid Learning ที่ตอบโจทย์ Personalization ของผู้เรียนมีความสำคัญอย่างไรและเกิดขึ้นจริงได้แค่ไหน ดร.ดาริกา ให้มุมมองว่าเทรนด์การเรียนรู้นับจากนี้จะไม่ใช่แค่ปรับตัวจากออฟไลน์สู่ออนไลน์แต่จะได้เห็นการเรียนรู้แนวใหม่ที่มุ่งการตอบโจทย์ความเป็น Personalize ของผู้เรียนในแบบเฉพาะบุคคลมากขึ้น เช่น บางคนชอบอ่านตัวหนังสือเยอะ ๆ แต่กับบางคนชอบการนำเสนอที่เป็นภาพมากกว่า นอกจากนี้ ยังมีเรื่องของพฤติกรรมและการใช้ชีวิตที่แตกต่างกันของแต่ละคน ส่งผลต่อการเรียนรู้มากหรือน้อยได้ด้วย เช่น บางคนเป็นมนุษย์เที่ยงคืน มนุษย์เช้า ประสิทธิภาพและความสนใจที่จะเรียนรู้ก็แตกต่างกันออกไป “กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่ปรับให้ลื่นไหลไปตามแต่ละบุคคล ทั้งความสนใจ ช่วงเวลา และอื่น ๆ นับเป็นเรื่องที่ท้าทายอย่างมาก ซึ่งที่น่าสนใจและเป็นความท้าทายไม่แพ้กัน คือ การจัดคอนเท้นท์ หรือเนื้อหาวิชา การวัดผล และการให้ Certificate” ความท้าทายในยุค Post Pandemic โดยในช่วงของการระบาดโควิด-19 โจทย์ใหญ่ของแต่ละมหาวิทยาลัยจากนี้จะอยู่ที่ “การประเมินผล” “ที่มองว่าการประเมินผลเป็นความท้าทายนั่นเป็นเพราะแม้ว่าจะมีการจัดการเรียนออนไลน์จากสถานการณ์ที่เกิดขึ้น แต่การทำงานและระบบงานต่าง ๆ ยังคงเป็นออฟไลน์อยู่เหมือนเดิม ซึ่งหากเป็นแบบนี้จะเกิดอะไรขึ้นหากในอนาคตมีการปรับเป็นออนไลน์ 100% ซึ่งเป็นโจทย์และภารกิจที่ต้องคิดว่าจะเป็นอย่างไรในอนาคต” จากความท้าทายที่เกิดขึ้นเมื่อโรคระบาดคลี่คลาย ดร.ดาริกา สะท้อนว่าไม่ใช่แค่ผู้สอนใน มหาวิทยาลัย และผู้เรียนเท่านั้นที่ต้องปรับตัวไปสู่รูปแบบการเรียนการสอนใหม่ ๆ ที่จะเกิดขึ้น ทางสำนักมาตรฐานก็ต้องทำความเข้าใจและปรับหลักเกณฑ์ต่าง ๆ เพื่อให้ในทุกมิติเดินไปข้างหน้าพร้อมกัน ในบทบาท นักบริหารการศึกษา ดร.ดาริกา ลัทธพิพัฒน์ กล่าวว่า “การระบาดของโควิด-19 ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ ที่ผ่านมา คนชอบบอกว่าในวงการศึกษาปรับตัวช้าที่สุด แต่ถึงตอนนี้พูดไม่ได้แล้ว เพราะทุกคนอยู่ในเรือลำเดียวกัน ต้องเร่งปรับตัว จากที่หลาย ๆ คนพูดว่าทำไม่ได้ วันนี้จากสถานการณ์ที่บีบบังคับทำให้ค้นพบว่า มนุษย์เราปรับตัวได้ขนาดไหน กฎเกณฑ์ที่บอกว่าทำไม่ได้ วันหนึ่งก็ต้องฉีกทิ้ง แล้วจัดกฎเกณฑ์ใหม่ ได้เวลารื้อบ้านครั้งใหญ่ และ Pandemic ครั้งนี้นับเป็นบทดสอบที่สำคัญ!” EZ Webmaster Related Posts มาทำความรู้จักกับ!! ม.ศิลปากร เมืองทองธานี วิทยาเขตนี้มีอะไรบ้าง!!! โรงเรียนปลอดมือถือ! อังกฤษ-ออสเตรเลียเริ่มแล้ว ดึงเด็กกลับมาสนใจครูในห้องเรียน มธ. ปักหมุดหลักสูตร ‘AI Ethics’ หนุนบริบทใหม่ของห้องเรียนทันโลก สร้างจุดยืนคนรุ่นใหม่ ‘ใช้เอไออย่างมีจริยธรรม’ พร้อมเดินหน้าวางหมุดหมายระบบการศึกษาไทย กับการปลุกการใช้เทคฯ คู่ธรรมาภิบาล คาดเริ่มเปิดลงทะเบียนพร้อมเรียนจริง สิงหาคม 68 นี้ 11 สาเหตุลึกซึ้ง ทำไมการศึกษาไทยยังตกต่ำ? เสียงสะท้อนจากครูชนบท สู่คำถามใหญ่ของสังคม ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา Post navigation PREVIOUS Previous post: #TCAS64 ม.ศิลปากร เปิดรับสมัครนศ.ป.ตรี รอบที่ 4 (Direct Admission) ตั้งแต่วันที่ 3-7 มิ.ย. 64NEXT Next post: เรียนที่เมืองหางโจว มีโอกาสลุ้นทุน และโอกาสร่วมฝึกงานที่อาลีบาบา Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
โรงเรียนปลอดมือถือ! อังกฤษ-ออสเตรเลียเริ่มแล้ว ดึงเด็กกลับมาสนใจครูในห้องเรียน EZ WebmasterJune 20, 2025 วันที่ 10 มิถุนายน 2568 – ในช่วงหลายเดือนที่ผ่านมา แวดวงการศึกษาในประเทศพัฒนาแล้วต่างให้ความสนใจประเด็น “โรงเรียนปลอดโทรศัพท์มือถือ (Phone-Free School)” อย่างจริงจัง ล่าสุดมีความเคลื่อนไหวชัดเจนจาก ประเทศอังกฤษและออสเตรเลีย ที่เริ่มนำร่องมาตรการควบคุมการใช้อุปกรณ์ดิจิทัลในโรงเรียนระดับมัธยมอย่างเข้มงวด จากรายงานของ สำนักข่าว BBC ระบุว่า… มธ. ปักหมุดหลักสูตร ‘AI Ethics’ หนุนบริบทใหม่ของห้องเรียนทันโลก สร้างจุดยืนคนรุ่นใหม่ ‘ใช้เอไออย่างมีจริยธรรม’ พร้อมเดินหน้าวางหมุดหมายระบบการศึกษาไทย กับการปลุกการใช้เทคฯ คู่ธรรมาภิบาล คาดเริ่มเปิดลงทะเบียนพร้อมเรียนจริง สิงหาคม 68 นี้ EZ WebmasterJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) ตอกย้ำจุดยืนเชิงรุกต่อการเปลี่ยนผ่านของโลกยุคดิจิทัล ผ่านการพัฒนาหลักสูตร “AI Ethics” หรือจริยธรรมปัญญาประดิษฐ์ ภายใต้ยุทธศาสตร์ Thammasat Next Century เตรียมความพร้อมให้เยาวชนไทยมีทั้งความรู้ ความสามารถ และความรับผิดชอบในการใช้งานเทคโนโลยีอย่างเหมาะสม โดยเฉพาะในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อที่ปัญญาประดิษฐ์กำลังกลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวัน ทั้งในห้องเรียน ที่ทำงาน และบนแพลตฟอร์มออนไลน์ต่าง ๆ โดยหลักสูตรนี้ถูกวางให้เป็นรากฐานสำคัญของระบบการศึกษายุคใหม่ ที่ไม่เพียงเน้นทักษะด้านเทคนิคเท่านั้น แต่ยังปลูกฝังค่านิยมที่ถูกต้องในการอยู่ร่วมกับเทคโนโลยี พร้อมชี้ให้เห็นถึงความเสี่ยงของ AI ที่เกิดจาก… 11 สาเหตุลึกซึ้ง ทำไมการศึกษาไทยยังตกต่ำ? เสียงสะท้อนจากครูชนบท สู่คำถามใหญ่ของสังคม EZ WebmasterJune 19, 2025 ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ประเทศไทยกำลังเผชิญกับวิกฤตคุณภาพทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง แม้จะมีความพยายามปฏิรูปหลายครั้ง แต่กลับไม่สามารถยกระดับการเรียนรู้ให้เทียบเท่าประเทศเพื่อนบ้านได้อย่างแท้จริงนายสานิตย์ พลศรี นายกสมาคมครูชนบทจังหวัดชัยภูมิ ในหัวข้อ “สาเหตุของปัญหาคุณภาพด้านการศึกษาประเทศไทยที่ตกต่ำ” ซึ่งกำลังถูกส่งต่ออย่างกว้างขวางในโซเชียลมีเดียและกลุ่มไลน์ของคนในแวดวงการศึกษาเสียงสะท้อนจากผู้ที่อยู่ในภาคสนามจริงอย่างนายสานิตย์ ทำให้เราได้เห็นภาพที่ชัดเจนมากขึ้นว่า ปัญหาไม่ได้อยู่ที่ตัวนักเรียนหรือครูเพียงลำพัง แต่เป็นผลสะสมจากโครงสร้าง ระบบ และการบริหารที่ผิดทิศผิดทางมานานจึงเป็นการเปิดประเด็นให้สังคมได้ทบทวนร่วมกันว่า หากเราไม่เริ่ม “เปลี่ยนจริง” คุณภาพการศึกษาของไทยอาจยิ่งตกต่ำลงกว่าที่เป็นอยู่ 11… ทุนดีดี UNESCO intercultural leadership InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 22, 2025 Youth for Peace: UNESCO intercultural leadership programme หรือ โครงการเยาวชนเพื่อสันติภาพ: ผู้นำยูเนสโกต่างวัฒนธรรม กำลังเปิดรับสมัครเยาวชนที่มีอายุระหว่าง 25 – 45 ปี กำหนดปิดรับ สมัครวันที่ 22 กรกฎาคม 2568 องค์การยูเนสโกได้เชิญชวนเยาวชน สมัครเข้าร่วมโครงการ Youth for… ทุนมูลนิธิHans Böckler InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 21, 2025 ทุนทำวิจัยในเยอรมนีจาก Hans Böckler Foundation สำหรับนักศึกษาปริญญาเอกสาขา Economics, Social Sciences และ Humanities วันปิดรับสมัคร 30 กรกฎาคม 2025 โครงการทุนการศึกษาของมูลนิธิ Hans Böckler… ทุนImperial Athletes Sport InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 20, 2025 Imperial College London เสนอทุนการศึกษา Imperial Athletes Sport เพื่อสนับสนุนนักกีฬาที่มีพรสวรรค์สำหรับปีการศึกษา 2025/2026 โดยเปิดโอกาสให้เลือกเรียนในหลากหลายสาขาวิชา เปิดรับใบสมัครถึง 4 สิงหาคม 2025 หากคุณกำลังแข่งขันในระดับภูมิภาค ระดับชาติ หรือระดับนานาชาติในกีฬาของคุณ และแสดงให้เห็นถึงพรสวรรค์… Kazan Global Youth Summit InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 19, 2025 เชิญเยาวชนสมัครคัดเลือกเข้าร่วมการประชุม Kazan Global Youth Summit ครั้งที่ 4 ระหว่างวันที่ 27 – 30 สิงหาคม 2568 ณ เมืองคาซาน สาธารณรัฐตาตาร์สตาน สหพันธรัฐรัสเซีย จัดโดยรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐตาตาร์สตาน… ครู-อาจารย์ สวนสุนันทาให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากหลักสูตรครูทหารของกองทัพบกรุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากหลักสูตรครูทหารของกองทัพบกรุ่นที่ 5 วันที่ 20 มิถุนายน 2568 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากหลักสูตรการฝึกอบรมครูทหารของกองทัพบก รุ่นที่ 5 กรมยุทธศึกษาทหารบก ณ ห้องประชุมช่อแก้ว โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อแลกเปลี่ยนองค์ความรู้และประสบการณ์ด้านการบริหารจัดการและเทคโนโลยีทางการศึกษา กิจกรรมเริ่มต้นตั้งแต่เวลา 08.30 น. ด้วยการลงทะเบียนและรับฟังการกล่าวต้อนรับโดย รองศาสตราจารย์… จุฬาฯ ผงาดอันดับ Top 44 ของโลกด้านความยั่งยืน ใน THE Impact Rankings 2025 ครองอันดับ 1 ของไทยอีกครั้ง tui sakrapeeJune 20, 2025 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยผงาดอันดับ Top 44 ของโลก และครองอันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทยอีกครั้งหนึ่ง จากการจัดอันดับโดย Times Higher Education Impact Rankings 2025 ด้วยผลงานที่โดดเด่นในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนและสร้างผลกระทบสูงต่อสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง SDG 9… หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 📚เริ่มเรียน กรกฎาคม 2568 ถึง มกราคม 2569 ทุกวันพฤหัสบดี 11:00 – 18:00 น.… มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster June 3, 2021 EZ Webmaster June 3, 2021 ทิศทางการศึกษาที่เปลี่ยนไป ในยุค Post Pandemic ในมุมมองของ ดร.ดาริกา ลัทธพิพัฒน์ สถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรน่า 2019 หรือ โควิด-19 ที่ยืดเยื้อกินเวลามาร่วม 2 ปี ส่งผลกระทบกับสังคม เศรษฐกิจ และความเป็นอยู่ของคนทั่วโลก รวมถึงผลกระทบด้านการศึกษาในวงกว้างตั้งแต่เด็กเล็กชั้นอนุบาล ไปจนถึงระดับปริญญาอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ การต้องเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ของสถาบันการศึกษา ถือเป็นความท้าทายและบทบาทความรับผิดชอบใหม่ของนักบริหารการศึกษาที่ต้องพร้อมรับมือกับสถานการณ์ความไม่แน่นอนที่อาจเกิดขึ้นได้เสมอ เพราะการสร้างระบบการศึกษาที่มั่นคงส่งผลถึงการผลิตบุคลากรที่มีคุณภาพสู่ตลาดงานในการขับเคลื่อนเศรฐกิจของประเทศ สถาบันการศึกษาจึงต้องมีมาตรการในการปรับรูปแบบการเรียนการสอนแบบ “ออนไลน์” ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ และมีประสิทธิภาพมากที่สุด เพื่อให้ผู้เรียนไม่เสียโอกาสในการเรียนรู้ ซึ่งเป็นบทพิสูจน์ให้เห็นว่าการเรียนการสอนที่เปลี่ยนไปในช่วงโควิด สถาบันการศึกษาไม่สามารถยึดติดกับระบบ Offline หรือการเรียนการสอนในห้องเรียน 100% ได้อีกต่อไป ทั้งยังเป็นการพัฒนาทักษะใหม่ ๆ ผ่านรูปแบบการเรียนออนไลน์ ในส่วนของ ผู้เรียนและผู้สอนด้วย ในอีกด้านก็เกิดเป็นคำถามที่ว่า ภายหลังการแพร่ระบาดของโควิด–19 หรือ Post Pandemic ทิศทางการศึกษาจะเป็นอย่างไร มีแง่มุมไหนบ้างที่เราได้รับบทเรียนจากผลกระทบในครั้งนี้ ดร.ดาริกา ลัทธพิพัฒน์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ (มธบ.) และ ประธานกรรมการโรงเรียนนานาชาติเวลลิงตันคอลเลจ กรุงเทพฯ นักบริหารการศึกษา ที่ดูแลนักเรียน นักศึกษาตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาล ถึงระดับปริญญา ได้สะท้อนถึงการบริหารการศึกษาในช่วง Post Pandemic ที่หากใครไม่เร่ง “ปรับตัว” อาจต้องเจอกับความท้าทายที่เกินกว่าจะรับมือได้ ความเร็ว&แรงของ Pandemic “Pandemic ที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะในระลอกแรกเป็นอะไรที่วางแผนไม่ได้ ทุกคนหรือแม้แต่เราไม่มีประสบการณ์มาก่อน ดังนั้น Pandemic ที่เกิดขึ้นเป็นการมาแบบตูมเดียว ทำให้องค์กรต่าง ๆ ต้องปรับทุกอย่างมาเป็นออนไลน์ ซึ่งก็พบว่า หลายเซ็คเตอร์ สามารถปรับตัวได้ดีในยุคของการล็อคดาวน์” ในมุมการจัดการเรียนการสอน เมื่อมองถึงระดับชั้นเรียนพบว่าแตกต่างกันไปตามแต่ละช่วงอายุ ด้วยประสบการณ์การบริหารการศึกษาในระดับเด็กเล็กที่ โรงเรียนนานาชาติเวลลิงตันคอลเลจ กรุงเทพฯ พบว่า การเรียนของเด็กเล็กระดับเตรียมอนุบาลถึง 7 ขวบจะเป็นช่วงอายุที่คิดว่ามีผลกระทบมากที่สุดจากการปรับการเรียนการสอนจากออฟไลน์เป็นออนไลน์ ส่วนหนึ่งมาจากความพร้อมของผู้เรียน การพึ่งพาตัวเองยังมีน้อยกว่าเด็กโต รวมทั้งพฤติกรรมของวัยนี้ที่การเรียนรู้ส่วนใหญ่จะเน้นผ่านการจับต้องสิ่งของและการสนทนากับผู้สอน “ด้วยลักษณะการเรียนของเด็กวัยนี้จึงทำให้เชื่อว่าแม้ในช่วงของ Post Pandemic เด็กเล็กจะยังคงมีการเรียนการสอนที่เน้นการเรียนและปฏิบัติในชั้นเรียนมากกว่าการผ่านเทคโนโลยี” O2O คือคำตอบ การเรียนการสอนของวัยที่โตขึ้นมาในระดับมหาวิทยาลัย ปริญญาตรีและปริญญาโท ที่ผ่านมามีการปรับตัวได้ค่อนข้างดีในรูปแบบออนไลน์ โดยที่มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์มีการปรับผสมผสานการเรียนการสอนทั้งในแบบออฟไลน์และออนไลน์ หรือ O2O (Online to Offline) เมื่อมองถึงช่วงหลังการแพร่ระบาดของโควิด-19 หรือ Post Pandemic ระบบการศึกษาในไทยจะมีการปรับตัวอย่างเห็นได้ชัดเจนทั้งในส่วนของ มหาวิทยาลัย ผู้สอน และ ผู้เรียน มหาวิทยาลัย ปรับระบบการทำงานในทุกมิติ ได้แก่ ระบบหลังบ้าน การลงทะเบียนนักศึกษา และอื่น ๆ ให้พร้อมทำงานทุกอย่างได้ครบในจุดเดียว ซึ่งในส่วนนี้ทางมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ได้ดำเนินการต่อเนื่องมาปีกว่าและพร้อมให้บริการได้เต็มรูปแบบในปีการศึกษา 2564 อาจารย์ผู้สอนที่ปรับแผนการสอนจาก 100% เป็นการเรียนในห้องไปสู่การเรียนออนไลน์โดยจัดสัดส่วนเนื้อหาที่เหมาะสมและเกิดประสิทธิภาพมากที่สุด ซึ่งจะมีความแตกต่างกันไปตามแต่ละสาขาวิชา ตัวอย่างเช่น บางสาขาวิชา 1ใน 3 ของเนื้อหาความรู้จะเป็นออนไลน์ แล้วปรับ 2 ใน 3 เป็นการเรียนออฟไลน์ ขณะที่บางสาขาวิชาอาจปรับเป็นออนไลน์ได้มากถึง 2 ใน 3 “ในส่วนของธุรกิจบัณฑิตย์ที่เน้นการสร้างผู้ประกอบการรุ่นใหม่ ด้วยการเรียนในแบบ O2O เพื่อสนับสนุนให้เกิดความคล่องตัวในการเรียนการสอนออนไลน์และออฟไลน์ ขณะเดียวกันก็ต้องตอบโจทย์ผู้เรียนให้ได้มากที่สุด และสร้างเอนเกจเม้นท์ระหว่างผู้สอนและผู้เรียนให้ได้ด้วย” สำหรับผู้เรียนแล้วเทคโนโลยีที่พัฒนาอย่างมากจนถึง 5G ในปัจจุบันและจะมีเข้ามาเพิ่มอีกมากในอนาคต มีส่วนสนับสนุนให้การเรียนรู้ทำได้ดีมากขึ้น Liquid Learning เทรนด์ที่ใช่ ในยุค Post Pandemic การเรียนรู้แบบ Liquid Learning ที่ตอบโจทย์ Personalization ของผู้เรียนมีความสำคัญอย่างไรและเกิดขึ้นจริงได้แค่ไหน ดร.ดาริกา ให้มุมมองว่าเทรนด์การเรียนรู้นับจากนี้จะไม่ใช่แค่ปรับตัวจากออฟไลน์สู่ออนไลน์แต่จะได้เห็นการเรียนรู้แนวใหม่ที่มุ่งการตอบโจทย์ความเป็น Personalize ของผู้เรียนในแบบเฉพาะบุคคลมากขึ้น เช่น บางคนชอบอ่านตัวหนังสือเยอะ ๆ แต่กับบางคนชอบการนำเสนอที่เป็นภาพมากกว่า นอกจากนี้ ยังมีเรื่องของพฤติกรรมและการใช้ชีวิตที่แตกต่างกันของแต่ละคน ส่งผลต่อการเรียนรู้มากหรือน้อยได้ด้วย เช่น บางคนเป็นมนุษย์เที่ยงคืน มนุษย์เช้า ประสิทธิภาพและความสนใจที่จะเรียนรู้ก็แตกต่างกันออกไป “กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่ปรับให้ลื่นไหลไปตามแต่ละบุคคล ทั้งความสนใจ ช่วงเวลา และอื่น ๆ นับเป็นเรื่องที่ท้าทายอย่างมาก ซึ่งที่น่าสนใจและเป็นความท้าทายไม่แพ้กัน คือ การจัดคอนเท้นท์ หรือเนื้อหาวิชา การวัดผล และการให้ Certificate” ความท้าทายในยุค Post Pandemic โดยในช่วงของการระบาดโควิด-19 โจทย์ใหญ่ของแต่ละมหาวิทยาลัยจากนี้จะอยู่ที่ “การประเมินผล” “ที่มองว่าการประเมินผลเป็นความท้าทายนั่นเป็นเพราะแม้ว่าจะมีการจัดการเรียนออนไลน์จากสถานการณ์ที่เกิดขึ้น แต่การทำงานและระบบงานต่าง ๆ ยังคงเป็นออฟไลน์อยู่เหมือนเดิม ซึ่งหากเป็นแบบนี้จะเกิดอะไรขึ้นหากในอนาคตมีการปรับเป็นออนไลน์ 100% ซึ่งเป็นโจทย์และภารกิจที่ต้องคิดว่าจะเป็นอย่างไรในอนาคต” จากความท้าทายที่เกิดขึ้นเมื่อโรคระบาดคลี่คลาย ดร.ดาริกา สะท้อนว่าไม่ใช่แค่ผู้สอนใน มหาวิทยาลัย และผู้เรียนเท่านั้นที่ต้องปรับตัวไปสู่รูปแบบการเรียนการสอนใหม่ ๆ ที่จะเกิดขึ้น ทางสำนักมาตรฐานก็ต้องทำความเข้าใจและปรับหลักเกณฑ์ต่าง ๆ เพื่อให้ในทุกมิติเดินไปข้างหน้าพร้อมกัน ในบทบาท นักบริหารการศึกษา ดร.ดาริกา ลัทธพิพัฒน์ กล่าวว่า “การระบาดของโควิด-19 ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ ที่ผ่านมา คนชอบบอกว่าในวงการศึกษาปรับตัวช้าที่สุด แต่ถึงตอนนี้พูดไม่ได้แล้ว เพราะทุกคนอยู่ในเรือลำเดียวกัน ต้องเร่งปรับตัว จากที่หลาย ๆ คนพูดว่าทำไม่ได้ วันนี้จากสถานการณ์ที่บีบบังคับทำให้ค้นพบว่า มนุษย์เราปรับตัวได้ขนาดไหน กฎเกณฑ์ที่บอกว่าทำไม่ได้ วันหนึ่งก็ต้องฉีกทิ้ง แล้วจัดกฎเกณฑ์ใหม่ ได้เวลารื้อบ้านครั้งใหญ่ และ Pandemic ครั้งนี้นับเป็นบทดสอบที่สำคัญ!” EZ Webmaster Related Posts มาทำความรู้จักกับ!! ม.ศิลปากร เมืองทองธานี วิทยาเขตนี้มีอะไรบ้าง!!! โรงเรียนปลอดมือถือ! อังกฤษ-ออสเตรเลียเริ่มแล้ว ดึงเด็กกลับมาสนใจครูในห้องเรียน มธ. ปักหมุดหลักสูตร ‘AI Ethics’ หนุนบริบทใหม่ของห้องเรียนทันโลก สร้างจุดยืนคนรุ่นใหม่ ‘ใช้เอไออย่างมีจริยธรรม’ พร้อมเดินหน้าวางหมุดหมายระบบการศึกษาไทย กับการปลุกการใช้เทคฯ คู่ธรรมาภิบาล คาดเริ่มเปิดลงทะเบียนพร้อมเรียนจริง สิงหาคม 68 นี้ 11 สาเหตุลึกซึ้ง ทำไมการศึกษาไทยยังตกต่ำ? เสียงสะท้อนจากครูชนบท สู่คำถามใหญ่ของสังคม ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา Post navigation PREVIOUS Previous post: #TCAS64 ม.ศิลปากร เปิดรับสมัครนศ.ป.ตรี รอบที่ 4 (Direct Admission) ตั้งแต่วันที่ 3-7 มิ.ย. 64NEXT Next post: เรียนที่เมืองหางโจว มีโอกาสลุ้นทุน และโอกาสร่วมฝึกงานที่อาลีบาบา Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มธ. ปักหมุดหลักสูตร ‘AI Ethics’ หนุนบริบทใหม่ของห้องเรียนทันโลก สร้างจุดยืนคนรุ่นใหม่ ‘ใช้เอไออย่างมีจริยธรรม’ พร้อมเดินหน้าวางหมุดหมายระบบการศึกษาไทย กับการปลุกการใช้เทคฯ คู่ธรรมาภิบาล คาดเริ่มเปิดลงทะเบียนพร้อมเรียนจริง สิงหาคม 68 นี้ EZ WebmasterJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) ตอกย้ำจุดยืนเชิงรุกต่อการเปลี่ยนผ่านของโลกยุคดิจิทัล ผ่านการพัฒนาหลักสูตร “AI Ethics” หรือจริยธรรมปัญญาประดิษฐ์ ภายใต้ยุทธศาสตร์ Thammasat Next Century เตรียมความพร้อมให้เยาวชนไทยมีทั้งความรู้ ความสามารถ และความรับผิดชอบในการใช้งานเทคโนโลยีอย่างเหมาะสม โดยเฉพาะในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อที่ปัญญาประดิษฐ์กำลังกลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวัน ทั้งในห้องเรียน ที่ทำงาน และบนแพลตฟอร์มออนไลน์ต่าง ๆ โดยหลักสูตรนี้ถูกวางให้เป็นรากฐานสำคัญของระบบการศึกษายุคใหม่ ที่ไม่เพียงเน้นทักษะด้านเทคนิคเท่านั้น แต่ยังปลูกฝังค่านิยมที่ถูกต้องในการอยู่ร่วมกับเทคโนโลยี พร้อมชี้ให้เห็นถึงความเสี่ยงของ AI ที่เกิดจาก… 11 สาเหตุลึกซึ้ง ทำไมการศึกษาไทยยังตกต่ำ? เสียงสะท้อนจากครูชนบท สู่คำถามใหญ่ของสังคม EZ WebmasterJune 19, 2025 ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ประเทศไทยกำลังเผชิญกับวิกฤตคุณภาพทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง แม้จะมีความพยายามปฏิรูปหลายครั้ง แต่กลับไม่สามารถยกระดับการเรียนรู้ให้เทียบเท่าประเทศเพื่อนบ้านได้อย่างแท้จริงนายสานิตย์ พลศรี นายกสมาคมครูชนบทจังหวัดชัยภูมิ ในหัวข้อ “สาเหตุของปัญหาคุณภาพด้านการศึกษาประเทศไทยที่ตกต่ำ” ซึ่งกำลังถูกส่งต่ออย่างกว้างขวางในโซเชียลมีเดียและกลุ่มไลน์ของคนในแวดวงการศึกษาเสียงสะท้อนจากผู้ที่อยู่ในภาคสนามจริงอย่างนายสานิตย์ ทำให้เราได้เห็นภาพที่ชัดเจนมากขึ้นว่า ปัญหาไม่ได้อยู่ที่ตัวนักเรียนหรือครูเพียงลำพัง แต่เป็นผลสะสมจากโครงสร้าง ระบบ และการบริหารที่ผิดทิศผิดทางมานานจึงเป็นการเปิดประเด็นให้สังคมได้ทบทวนร่วมกันว่า หากเราไม่เริ่ม “เปลี่ยนจริง” คุณภาพการศึกษาของไทยอาจยิ่งตกต่ำลงกว่าที่เป็นอยู่ 11…
11 สาเหตุลึกซึ้ง ทำไมการศึกษาไทยยังตกต่ำ? เสียงสะท้อนจากครูชนบท สู่คำถามใหญ่ของสังคม EZ WebmasterJune 19, 2025 ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ประเทศไทยกำลังเผชิญกับวิกฤตคุณภาพทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง แม้จะมีความพยายามปฏิรูปหลายครั้ง แต่กลับไม่สามารถยกระดับการเรียนรู้ให้เทียบเท่าประเทศเพื่อนบ้านได้อย่างแท้จริงนายสานิตย์ พลศรี นายกสมาคมครูชนบทจังหวัดชัยภูมิ ในหัวข้อ “สาเหตุของปัญหาคุณภาพด้านการศึกษาประเทศไทยที่ตกต่ำ” ซึ่งกำลังถูกส่งต่ออย่างกว้างขวางในโซเชียลมีเดียและกลุ่มไลน์ของคนในแวดวงการศึกษาเสียงสะท้อนจากผู้ที่อยู่ในภาคสนามจริงอย่างนายสานิตย์ ทำให้เราได้เห็นภาพที่ชัดเจนมากขึ้นว่า ปัญหาไม่ได้อยู่ที่ตัวนักเรียนหรือครูเพียงลำพัง แต่เป็นผลสะสมจากโครงสร้าง ระบบ และการบริหารที่ผิดทิศผิดทางมานานจึงเป็นการเปิดประเด็นให้สังคมได้ทบทวนร่วมกันว่า หากเราไม่เริ่ม “เปลี่ยนจริง” คุณภาพการศึกษาของไทยอาจยิ่งตกต่ำลงกว่าที่เป็นอยู่ 11…
UNESCO intercultural leadership InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 22, 2025 Youth for Peace: UNESCO intercultural leadership programme หรือ โครงการเยาวชนเพื่อสันติภาพ: ผู้นำยูเนสโกต่างวัฒนธรรม กำลังเปิดรับสมัครเยาวชนที่มีอายุระหว่าง 25 – 45 ปี กำหนดปิดรับ สมัครวันที่ 22 กรกฎาคม 2568 องค์การยูเนสโกได้เชิญชวนเยาวชน สมัครเข้าร่วมโครงการ Youth for… ทุนมูลนิธิHans Böckler InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 21, 2025 ทุนทำวิจัยในเยอรมนีจาก Hans Böckler Foundation สำหรับนักศึกษาปริญญาเอกสาขา Economics, Social Sciences และ Humanities วันปิดรับสมัคร 30 กรกฎาคม 2025 โครงการทุนการศึกษาของมูลนิธิ Hans Böckler… ทุนImperial Athletes Sport InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 20, 2025 Imperial College London เสนอทุนการศึกษา Imperial Athletes Sport เพื่อสนับสนุนนักกีฬาที่มีพรสวรรค์สำหรับปีการศึกษา 2025/2026 โดยเปิดโอกาสให้เลือกเรียนในหลากหลายสาขาวิชา เปิดรับใบสมัครถึง 4 สิงหาคม 2025 หากคุณกำลังแข่งขันในระดับภูมิภาค ระดับชาติ หรือระดับนานาชาติในกีฬาของคุณ และแสดงให้เห็นถึงพรสวรรค์… Kazan Global Youth Summit InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 19, 2025 เชิญเยาวชนสมัครคัดเลือกเข้าร่วมการประชุม Kazan Global Youth Summit ครั้งที่ 4 ระหว่างวันที่ 27 – 30 สิงหาคม 2568 ณ เมืองคาซาน สาธารณรัฐตาตาร์สตาน สหพันธรัฐรัสเซีย จัดโดยรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐตาตาร์สตาน… ครู-อาจารย์ สวนสุนันทาให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากหลักสูตรครูทหารของกองทัพบกรุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากหลักสูตรครูทหารของกองทัพบกรุ่นที่ 5 วันที่ 20 มิถุนายน 2568 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากหลักสูตรการฝึกอบรมครูทหารของกองทัพบก รุ่นที่ 5 กรมยุทธศึกษาทหารบก ณ ห้องประชุมช่อแก้ว โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อแลกเปลี่ยนองค์ความรู้และประสบการณ์ด้านการบริหารจัดการและเทคโนโลยีทางการศึกษา กิจกรรมเริ่มต้นตั้งแต่เวลา 08.30 น. ด้วยการลงทะเบียนและรับฟังการกล่าวต้อนรับโดย รองศาสตราจารย์… จุฬาฯ ผงาดอันดับ Top 44 ของโลกด้านความยั่งยืน ใน THE Impact Rankings 2025 ครองอันดับ 1 ของไทยอีกครั้ง tui sakrapeeJune 20, 2025 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยผงาดอันดับ Top 44 ของโลก และครองอันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทยอีกครั้งหนึ่ง จากการจัดอันดับโดย Times Higher Education Impact Rankings 2025 ด้วยผลงานที่โดดเด่นในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนและสร้างผลกระทบสูงต่อสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง SDG 9… หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 📚เริ่มเรียน กรกฎาคม 2568 ถึง มกราคม 2569 ทุกวันพฤหัสบดี 11:00 – 18:00 น.… มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster June 3, 2021 EZ Webmaster June 3, 2021 ทิศทางการศึกษาที่เปลี่ยนไป ในยุค Post Pandemic ในมุมมองของ ดร.ดาริกา ลัทธพิพัฒน์ สถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรน่า 2019 หรือ โควิด-19 ที่ยืดเยื้อกินเวลามาร่วม 2 ปี ส่งผลกระทบกับสังคม เศรษฐกิจ และความเป็นอยู่ของคนทั่วโลก รวมถึงผลกระทบด้านการศึกษาในวงกว้างตั้งแต่เด็กเล็กชั้นอนุบาล ไปจนถึงระดับปริญญาอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ การต้องเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ของสถาบันการศึกษา ถือเป็นความท้าทายและบทบาทความรับผิดชอบใหม่ของนักบริหารการศึกษาที่ต้องพร้อมรับมือกับสถานการณ์ความไม่แน่นอนที่อาจเกิดขึ้นได้เสมอ เพราะการสร้างระบบการศึกษาที่มั่นคงส่งผลถึงการผลิตบุคลากรที่มีคุณภาพสู่ตลาดงานในการขับเคลื่อนเศรฐกิจของประเทศ สถาบันการศึกษาจึงต้องมีมาตรการในการปรับรูปแบบการเรียนการสอนแบบ “ออนไลน์” ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ และมีประสิทธิภาพมากที่สุด เพื่อให้ผู้เรียนไม่เสียโอกาสในการเรียนรู้ ซึ่งเป็นบทพิสูจน์ให้เห็นว่าการเรียนการสอนที่เปลี่ยนไปในช่วงโควิด สถาบันการศึกษาไม่สามารถยึดติดกับระบบ Offline หรือการเรียนการสอนในห้องเรียน 100% ได้อีกต่อไป ทั้งยังเป็นการพัฒนาทักษะใหม่ ๆ ผ่านรูปแบบการเรียนออนไลน์ ในส่วนของ ผู้เรียนและผู้สอนด้วย ในอีกด้านก็เกิดเป็นคำถามที่ว่า ภายหลังการแพร่ระบาดของโควิด–19 หรือ Post Pandemic ทิศทางการศึกษาจะเป็นอย่างไร มีแง่มุมไหนบ้างที่เราได้รับบทเรียนจากผลกระทบในครั้งนี้ ดร.ดาริกา ลัทธพิพัฒน์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ (มธบ.) และ ประธานกรรมการโรงเรียนนานาชาติเวลลิงตันคอลเลจ กรุงเทพฯ นักบริหารการศึกษา ที่ดูแลนักเรียน นักศึกษาตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาล ถึงระดับปริญญา ได้สะท้อนถึงการบริหารการศึกษาในช่วง Post Pandemic ที่หากใครไม่เร่ง “ปรับตัว” อาจต้องเจอกับความท้าทายที่เกินกว่าจะรับมือได้ ความเร็ว&แรงของ Pandemic “Pandemic ที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะในระลอกแรกเป็นอะไรที่วางแผนไม่ได้ ทุกคนหรือแม้แต่เราไม่มีประสบการณ์มาก่อน ดังนั้น Pandemic ที่เกิดขึ้นเป็นการมาแบบตูมเดียว ทำให้องค์กรต่าง ๆ ต้องปรับทุกอย่างมาเป็นออนไลน์ ซึ่งก็พบว่า หลายเซ็คเตอร์ สามารถปรับตัวได้ดีในยุคของการล็อคดาวน์” ในมุมการจัดการเรียนการสอน เมื่อมองถึงระดับชั้นเรียนพบว่าแตกต่างกันไปตามแต่ละช่วงอายุ ด้วยประสบการณ์การบริหารการศึกษาในระดับเด็กเล็กที่ โรงเรียนนานาชาติเวลลิงตันคอลเลจ กรุงเทพฯ พบว่า การเรียนของเด็กเล็กระดับเตรียมอนุบาลถึง 7 ขวบจะเป็นช่วงอายุที่คิดว่ามีผลกระทบมากที่สุดจากการปรับการเรียนการสอนจากออฟไลน์เป็นออนไลน์ ส่วนหนึ่งมาจากความพร้อมของผู้เรียน การพึ่งพาตัวเองยังมีน้อยกว่าเด็กโต รวมทั้งพฤติกรรมของวัยนี้ที่การเรียนรู้ส่วนใหญ่จะเน้นผ่านการจับต้องสิ่งของและการสนทนากับผู้สอน “ด้วยลักษณะการเรียนของเด็กวัยนี้จึงทำให้เชื่อว่าแม้ในช่วงของ Post Pandemic เด็กเล็กจะยังคงมีการเรียนการสอนที่เน้นการเรียนและปฏิบัติในชั้นเรียนมากกว่าการผ่านเทคโนโลยี” O2O คือคำตอบ การเรียนการสอนของวัยที่โตขึ้นมาในระดับมหาวิทยาลัย ปริญญาตรีและปริญญาโท ที่ผ่านมามีการปรับตัวได้ค่อนข้างดีในรูปแบบออนไลน์ โดยที่มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์มีการปรับผสมผสานการเรียนการสอนทั้งในแบบออฟไลน์และออนไลน์ หรือ O2O (Online to Offline) เมื่อมองถึงช่วงหลังการแพร่ระบาดของโควิด-19 หรือ Post Pandemic ระบบการศึกษาในไทยจะมีการปรับตัวอย่างเห็นได้ชัดเจนทั้งในส่วนของ มหาวิทยาลัย ผู้สอน และ ผู้เรียน มหาวิทยาลัย ปรับระบบการทำงานในทุกมิติ ได้แก่ ระบบหลังบ้าน การลงทะเบียนนักศึกษา และอื่น ๆ ให้พร้อมทำงานทุกอย่างได้ครบในจุดเดียว ซึ่งในส่วนนี้ทางมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ได้ดำเนินการต่อเนื่องมาปีกว่าและพร้อมให้บริการได้เต็มรูปแบบในปีการศึกษา 2564 อาจารย์ผู้สอนที่ปรับแผนการสอนจาก 100% เป็นการเรียนในห้องไปสู่การเรียนออนไลน์โดยจัดสัดส่วนเนื้อหาที่เหมาะสมและเกิดประสิทธิภาพมากที่สุด ซึ่งจะมีความแตกต่างกันไปตามแต่ละสาขาวิชา ตัวอย่างเช่น บางสาขาวิชา 1ใน 3 ของเนื้อหาความรู้จะเป็นออนไลน์ แล้วปรับ 2 ใน 3 เป็นการเรียนออฟไลน์ ขณะที่บางสาขาวิชาอาจปรับเป็นออนไลน์ได้มากถึง 2 ใน 3 “ในส่วนของธุรกิจบัณฑิตย์ที่เน้นการสร้างผู้ประกอบการรุ่นใหม่ ด้วยการเรียนในแบบ O2O เพื่อสนับสนุนให้เกิดความคล่องตัวในการเรียนการสอนออนไลน์และออฟไลน์ ขณะเดียวกันก็ต้องตอบโจทย์ผู้เรียนให้ได้มากที่สุด และสร้างเอนเกจเม้นท์ระหว่างผู้สอนและผู้เรียนให้ได้ด้วย” สำหรับผู้เรียนแล้วเทคโนโลยีที่พัฒนาอย่างมากจนถึง 5G ในปัจจุบันและจะมีเข้ามาเพิ่มอีกมากในอนาคต มีส่วนสนับสนุนให้การเรียนรู้ทำได้ดีมากขึ้น Liquid Learning เทรนด์ที่ใช่ ในยุค Post Pandemic การเรียนรู้แบบ Liquid Learning ที่ตอบโจทย์ Personalization ของผู้เรียนมีความสำคัญอย่างไรและเกิดขึ้นจริงได้แค่ไหน ดร.ดาริกา ให้มุมมองว่าเทรนด์การเรียนรู้นับจากนี้จะไม่ใช่แค่ปรับตัวจากออฟไลน์สู่ออนไลน์แต่จะได้เห็นการเรียนรู้แนวใหม่ที่มุ่งการตอบโจทย์ความเป็น Personalize ของผู้เรียนในแบบเฉพาะบุคคลมากขึ้น เช่น บางคนชอบอ่านตัวหนังสือเยอะ ๆ แต่กับบางคนชอบการนำเสนอที่เป็นภาพมากกว่า นอกจากนี้ ยังมีเรื่องของพฤติกรรมและการใช้ชีวิตที่แตกต่างกันของแต่ละคน ส่งผลต่อการเรียนรู้มากหรือน้อยได้ด้วย เช่น บางคนเป็นมนุษย์เที่ยงคืน มนุษย์เช้า ประสิทธิภาพและความสนใจที่จะเรียนรู้ก็แตกต่างกันออกไป “กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่ปรับให้ลื่นไหลไปตามแต่ละบุคคล ทั้งความสนใจ ช่วงเวลา และอื่น ๆ นับเป็นเรื่องที่ท้าทายอย่างมาก ซึ่งที่น่าสนใจและเป็นความท้าทายไม่แพ้กัน คือ การจัดคอนเท้นท์ หรือเนื้อหาวิชา การวัดผล และการให้ Certificate” ความท้าทายในยุค Post Pandemic โดยในช่วงของการระบาดโควิด-19 โจทย์ใหญ่ของแต่ละมหาวิทยาลัยจากนี้จะอยู่ที่ “การประเมินผล” “ที่มองว่าการประเมินผลเป็นความท้าทายนั่นเป็นเพราะแม้ว่าจะมีการจัดการเรียนออนไลน์จากสถานการณ์ที่เกิดขึ้น แต่การทำงานและระบบงานต่าง ๆ ยังคงเป็นออฟไลน์อยู่เหมือนเดิม ซึ่งหากเป็นแบบนี้จะเกิดอะไรขึ้นหากในอนาคตมีการปรับเป็นออนไลน์ 100% ซึ่งเป็นโจทย์และภารกิจที่ต้องคิดว่าจะเป็นอย่างไรในอนาคต” จากความท้าทายที่เกิดขึ้นเมื่อโรคระบาดคลี่คลาย ดร.ดาริกา สะท้อนว่าไม่ใช่แค่ผู้สอนใน มหาวิทยาลัย และผู้เรียนเท่านั้นที่ต้องปรับตัวไปสู่รูปแบบการเรียนการสอนใหม่ ๆ ที่จะเกิดขึ้น ทางสำนักมาตรฐานก็ต้องทำความเข้าใจและปรับหลักเกณฑ์ต่าง ๆ เพื่อให้ในทุกมิติเดินไปข้างหน้าพร้อมกัน ในบทบาท นักบริหารการศึกษา ดร.ดาริกา ลัทธพิพัฒน์ กล่าวว่า “การระบาดของโควิด-19 ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ ที่ผ่านมา คนชอบบอกว่าในวงการศึกษาปรับตัวช้าที่สุด แต่ถึงตอนนี้พูดไม่ได้แล้ว เพราะทุกคนอยู่ในเรือลำเดียวกัน ต้องเร่งปรับตัว จากที่หลาย ๆ คนพูดว่าทำไม่ได้ วันนี้จากสถานการณ์ที่บีบบังคับทำให้ค้นพบว่า มนุษย์เราปรับตัวได้ขนาดไหน กฎเกณฑ์ที่บอกว่าทำไม่ได้ วันหนึ่งก็ต้องฉีกทิ้ง แล้วจัดกฎเกณฑ์ใหม่ ได้เวลารื้อบ้านครั้งใหญ่ และ Pandemic ครั้งนี้นับเป็นบทดสอบที่สำคัญ!” EZ Webmaster Related Posts มาทำความรู้จักกับ!! ม.ศิลปากร เมืองทองธานี วิทยาเขตนี้มีอะไรบ้าง!!! โรงเรียนปลอดมือถือ! อังกฤษ-ออสเตรเลียเริ่มแล้ว ดึงเด็กกลับมาสนใจครูในห้องเรียน มธ. ปักหมุดหลักสูตร ‘AI Ethics’ หนุนบริบทใหม่ของห้องเรียนทันโลก สร้างจุดยืนคนรุ่นใหม่ ‘ใช้เอไออย่างมีจริยธรรม’ พร้อมเดินหน้าวางหมุดหมายระบบการศึกษาไทย กับการปลุกการใช้เทคฯ คู่ธรรมาภิบาล คาดเริ่มเปิดลงทะเบียนพร้อมเรียนจริง สิงหาคม 68 นี้ 11 สาเหตุลึกซึ้ง ทำไมการศึกษาไทยยังตกต่ำ? เสียงสะท้อนจากครูชนบท สู่คำถามใหญ่ของสังคม ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา Post navigation PREVIOUS Previous post: #TCAS64 ม.ศิลปากร เปิดรับสมัครนศ.ป.ตรี รอบที่ 4 (Direct Admission) ตั้งแต่วันที่ 3-7 มิ.ย. 64NEXT Next post: เรียนที่เมืองหางโจว มีโอกาสลุ้นทุน และโอกาสร่วมฝึกงานที่อาลีบาบา Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ทุนมูลนิธิHans Böckler InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 21, 2025 ทุนทำวิจัยในเยอรมนีจาก Hans Böckler Foundation สำหรับนักศึกษาปริญญาเอกสาขา Economics, Social Sciences และ Humanities วันปิดรับสมัคร 30 กรกฎาคม 2025 โครงการทุนการศึกษาของมูลนิธิ Hans Böckler… ทุนImperial Athletes Sport InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 20, 2025 Imperial College London เสนอทุนการศึกษา Imperial Athletes Sport เพื่อสนับสนุนนักกีฬาที่มีพรสวรรค์สำหรับปีการศึกษา 2025/2026 โดยเปิดโอกาสให้เลือกเรียนในหลากหลายสาขาวิชา เปิดรับใบสมัครถึง 4 สิงหาคม 2025 หากคุณกำลังแข่งขันในระดับภูมิภาค ระดับชาติ หรือระดับนานาชาติในกีฬาของคุณ และแสดงให้เห็นถึงพรสวรรค์… Kazan Global Youth Summit InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 19, 2025 เชิญเยาวชนสมัครคัดเลือกเข้าร่วมการประชุม Kazan Global Youth Summit ครั้งที่ 4 ระหว่างวันที่ 27 – 30 สิงหาคม 2568 ณ เมืองคาซาน สาธารณรัฐตาตาร์สตาน สหพันธรัฐรัสเซีย จัดโดยรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐตาตาร์สตาน… ครู-อาจารย์ สวนสุนันทาให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากหลักสูตรครูทหารของกองทัพบกรุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากหลักสูตรครูทหารของกองทัพบกรุ่นที่ 5 วันที่ 20 มิถุนายน 2568 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากหลักสูตรการฝึกอบรมครูทหารของกองทัพบก รุ่นที่ 5 กรมยุทธศึกษาทหารบก ณ ห้องประชุมช่อแก้ว โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อแลกเปลี่ยนองค์ความรู้และประสบการณ์ด้านการบริหารจัดการและเทคโนโลยีทางการศึกษา กิจกรรมเริ่มต้นตั้งแต่เวลา 08.30 น. ด้วยการลงทะเบียนและรับฟังการกล่าวต้อนรับโดย รองศาสตราจารย์… จุฬาฯ ผงาดอันดับ Top 44 ของโลกด้านความยั่งยืน ใน THE Impact Rankings 2025 ครองอันดับ 1 ของไทยอีกครั้ง tui sakrapeeJune 20, 2025 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยผงาดอันดับ Top 44 ของโลก และครองอันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทยอีกครั้งหนึ่ง จากการจัดอันดับโดย Times Higher Education Impact Rankings 2025 ด้วยผลงานที่โดดเด่นในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนและสร้างผลกระทบสูงต่อสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง SDG 9… หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 📚เริ่มเรียน กรกฎาคม 2568 ถึง มกราคม 2569 ทุกวันพฤหัสบดี 11:00 – 18:00 น.… มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster June 3, 2021 EZ Webmaster June 3, 2021 ทิศทางการศึกษาที่เปลี่ยนไป ในยุค Post Pandemic ในมุมมองของ ดร.ดาริกา ลัทธพิพัฒน์ สถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรน่า 2019 หรือ โควิด-19 ที่ยืดเยื้อกินเวลามาร่วม 2 ปี ส่งผลกระทบกับสังคม เศรษฐกิจ และความเป็นอยู่ของคนทั่วโลก รวมถึงผลกระทบด้านการศึกษาในวงกว้างตั้งแต่เด็กเล็กชั้นอนุบาล ไปจนถึงระดับปริญญาอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ การต้องเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ของสถาบันการศึกษา ถือเป็นความท้าทายและบทบาทความรับผิดชอบใหม่ของนักบริหารการศึกษาที่ต้องพร้อมรับมือกับสถานการณ์ความไม่แน่นอนที่อาจเกิดขึ้นได้เสมอ เพราะการสร้างระบบการศึกษาที่มั่นคงส่งผลถึงการผลิตบุคลากรที่มีคุณภาพสู่ตลาดงานในการขับเคลื่อนเศรฐกิจของประเทศ สถาบันการศึกษาจึงต้องมีมาตรการในการปรับรูปแบบการเรียนการสอนแบบ “ออนไลน์” ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ และมีประสิทธิภาพมากที่สุด เพื่อให้ผู้เรียนไม่เสียโอกาสในการเรียนรู้ ซึ่งเป็นบทพิสูจน์ให้เห็นว่าการเรียนการสอนที่เปลี่ยนไปในช่วงโควิด สถาบันการศึกษาไม่สามารถยึดติดกับระบบ Offline หรือการเรียนการสอนในห้องเรียน 100% ได้อีกต่อไป ทั้งยังเป็นการพัฒนาทักษะใหม่ ๆ ผ่านรูปแบบการเรียนออนไลน์ ในส่วนของ ผู้เรียนและผู้สอนด้วย ในอีกด้านก็เกิดเป็นคำถามที่ว่า ภายหลังการแพร่ระบาดของโควิด–19 หรือ Post Pandemic ทิศทางการศึกษาจะเป็นอย่างไร มีแง่มุมไหนบ้างที่เราได้รับบทเรียนจากผลกระทบในครั้งนี้ ดร.ดาริกา ลัทธพิพัฒน์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ (มธบ.) และ ประธานกรรมการโรงเรียนนานาชาติเวลลิงตันคอลเลจ กรุงเทพฯ นักบริหารการศึกษา ที่ดูแลนักเรียน นักศึกษาตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาล ถึงระดับปริญญา ได้สะท้อนถึงการบริหารการศึกษาในช่วง Post Pandemic ที่หากใครไม่เร่ง “ปรับตัว” อาจต้องเจอกับความท้าทายที่เกินกว่าจะรับมือได้ ความเร็ว&แรงของ Pandemic “Pandemic ที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะในระลอกแรกเป็นอะไรที่วางแผนไม่ได้ ทุกคนหรือแม้แต่เราไม่มีประสบการณ์มาก่อน ดังนั้น Pandemic ที่เกิดขึ้นเป็นการมาแบบตูมเดียว ทำให้องค์กรต่าง ๆ ต้องปรับทุกอย่างมาเป็นออนไลน์ ซึ่งก็พบว่า หลายเซ็คเตอร์ สามารถปรับตัวได้ดีในยุคของการล็อคดาวน์” ในมุมการจัดการเรียนการสอน เมื่อมองถึงระดับชั้นเรียนพบว่าแตกต่างกันไปตามแต่ละช่วงอายุ ด้วยประสบการณ์การบริหารการศึกษาในระดับเด็กเล็กที่ โรงเรียนนานาชาติเวลลิงตันคอลเลจ กรุงเทพฯ พบว่า การเรียนของเด็กเล็กระดับเตรียมอนุบาลถึง 7 ขวบจะเป็นช่วงอายุที่คิดว่ามีผลกระทบมากที่สุดจากการปรับการเรียนการสอนจากออฟไลน์เป็นออนไลน์ ส่วนหนึ่งมาจากความพร้อมของผู้เรียน การพึ่งพาตัวเองยังมีน้อยกว่าเด็กโต รวมทั้งพฤติกรรมของวัยนี้ที่การเรียนรู้ส่วนใหญ่จะเน้นผ่านการจับต้องสิ่งของและการสนทนากับผู้สอน “ด้วยลักษณะการเรียนของเด็กวัยนี้จึงทำให้เชื่อว่าแม้ในช่วงของ Post Pandemic เด็กเล็กจะยังคงมีการเรียนการสอนที่เน้นการเรียนและปฏิบัติในชั้นเรียนมากกว่าการผ่านเทคโนโลยี” O2O คือคำตอบ การเรียนการสอนของวัยที่โตขึ้นมาในระดับมหาวิทยาลัย ปริญญาตรีและปริญญาโท ที่ผ่านมามีการปรับตัวได้ค่อนข้างดีในรูปแบบออนไลน์ โดยที่มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์มีการปรับผสมผสานการเรียนการสอนทั้งในแบบออฟไลน์และออนไลน์ หรือ O2O (Online to Offline) เมื่อมองถึงช่วงหลังการแพร่ระบาดของโควิด-19 หรือ Post Pandemic ระบบการศึกษาในไทยจะมีการปรับตัวอย่างเห็นได้ชัดเจนทั้งในส่วนของ มหาวิทยาลัย ผู้สอน และ ผู้เรียน มหาวิทยาลัย ปรับระบบการทำงานในทุกมิติ ได้แก่ ระบบหลังบ้าน การลงทะเบียนนักศึกษา และอื่น ๆ ให้พร้อมทำงานทุกอย่างได้ครบในจุดเดียว ซึ่งในส่วนนี้ทางมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ได้ดำเนินการต่อเนื่องมาปีกว่าและพร้อมให้บริการได้เต็มรูปแบบในปีการศึกษา 2564 อาจารย์ผู้สอนที่ปรับแผนการสอนจาก 100% เป็นการเรียนในห้องไปสู่การเรียนออนไลน์โดยจัดสัดส่วนเนื้อหาที่เหมาะสมและเกิดประสิทธิภาพมากที่สุด ซึ่งจะมีความแตกต่างกันไปตามแต่ละสาขาวิชา ตัวอย่างเช่น บางสาขาวิชา 1ใน 3 ของเนื้อหาความรู้จะเป็นออนไลน์ แล้วปรับ 2 ใน 3 เป็นการเรียนออฟไลน์ ขณะที่บางสาขาวิชาอาจปรับเป็นออนไลน์ได้มากถึง 2 ใน 3 “ในส่วนของธุรกิจบัณฑิตย์ที่เน้นการสร้างผู้ประกอบการรุ่นใหม่ ด้วยการเรียนในแบบ O2O เพื่อสนับสนุนให้เกิดความคล่องตัวในการเรียนการสอนออนไลน์และออฟไลน์ ขณะเดียวกันก็ต้องตอบโจทย์ผู้เรียนให้ได้มากที่สุด และสร้างเอนเกจเม้นท์ระหว่างผู้สอนและผู้เรียนให้ได้ด้วย” สำหรับผู้เรียนแล้วเทคโนโลยีที่พัฒนาอย่างมากจนถึง 5G ในปัจจุบันและจะมีเข้ามาเพิ่มอีกมากในอนาคต มีส่วนสนับสนุนให้การเรียนรู้ทำได้ดีมากขึ้น Liquid Learning เทรนด์ที่ใช่ ในยุค Post Pandemic การเรียนรู้แบบ Liquid Learning ที่ตอบโจทย์ Personalization ของผู้เรียนมีความสำคัญอย่างไรและเกิดขึ้นจริงได้แค่ไหน ดร.ดาริกา ให้มุมมองว่าเทรนด์การเรียนรู้นับจากนี้จะไม่ใช่แค่ปรับตัวจากออฟไลน์สู่ออนไลน์แต่จะได้เห็นการเรียนรู้แนวใหม่ที่มุ่งการตอบโจทย์ความเป็น Personalize ของผู้เรียนในแบบเฉพาะบุคคลมากขึ้น เช่น บางคนชอบอ่านตัวหนังสือเยอะ ๆ แต่กับบางคนชอบการนำเสนอที่เป็นภาพมากกว่า นอกจากนี้ ยังมีเรื่องของพฤติกรรมและการใช้ชีวิตที่แตกต่างกันของแต่ละคน ส่งผลต่อการเรียนรู้มากหรือน้อยได้ด้วย เช่น บางคนเป็นมนุษย์เที่ยงคืน มนุษย์เช้า ประสิทธิภาพและความสนใจที่จะเรียนรู้ก็แตกต่างกันออกไป “กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่ปรับให้ลื่นไหลไปตามแต่ละบุคคล ทั้งความสนใจ ช่วงเวลา และอื่น ๆ นับเป็นเรื่องที่ท้าทายอย่างมาก ซึ่งที่น่าสนใจและเป็นความท้าทายไม่แพ้กัน คือ การจัดคอนเท้นท์ หรือเนื้อหาวิชา การวัดผล และการให้ Certificate” ความท้าทายในยุค Post Pandemic โดยในช่วงของการระบาดโควิด-19 โจทย์ใหญ่ของแต่ละมหาวิทยาลัยจากนี้จะอยู่ที่ “การประเมินผล” “ที่มองว่าการประเมินผลเป็นความท้าทายนั่นเป็นเพราะแม้ว่าจะมีการจัดการเรียนออนไลน์จากสถานการณ์ที่เกิดขึ้น แต่การทำงานและระบบงานต่าง ๆ ยังคงเป็นออฟไลน์อยู่เหมือนเดิม ซึ่งหากเป็นแบบนี้จะเกิดอะไรขึ้นหากในอนาคตมีการปรับเป็นออนไลน์ 100% ซึ่งเป็นโจทย์และภารกิจที่ต้องคิดว่าจะเป็นอย่างไรในอนาคต” จากความท้าทายที่เกิดขึ้นเมื่อโรคระบาดคลี่คลาย ดร.ดาริกา สะท้อนว่าไม่ใช่แค่ผู้สอนใน มหาวิทยาลัย และผู้เรียนเท่านั้นที่ต้องปรับตัวไปสู่รูปแบบการเรียนการสอนใหม่ ๆ ที่จะเกิดขึ้น ทางสำนักมาตรฐานก็ต้องทำความเข้าใจและปรับหลักเกณฑ์ต่าง ๆ เพื่อให้ในทุกมิติเดินไปข้างหน้าพร้อมกัน ในบทบาท นักบริหารการศึกษา ดร.ดาริกา ลัทธพิพัฒน์ กล่าวว่า “การระบาดของโควิด-19 ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ ที่ผ่านมา คนชอบบอกว่าในวงการศึกษาปรับตัวช้าที่สุด แต่ถึงตอนนี้พูดไม่ได้แล้ว เพราะทุกคนอยู่ในเรือลำเดียวกัน ต้องเร่งปรับตัว จากที่หลาย ๆ คนพูดว่าทำไม่ได้ วันนี้จากสถานการณ์ที่บีบบังคับทำให้ค้นพบว่า มนุษย์เราปรับตัวได้ขนาดไหน กฎเกณฑ์ที่บอกว่าทำไม่ได้ วันหนึ่งก็ต้องฉีกทิ้ง แล้วจัดกฎเกณฑ์ใหม่ ได้เวลารื้อบ้านครั้งใหญ่ และ Pandemic ครั้งนี้นับเป็นบทดสอบที่สำคัญ!” EZ Webmaster Related Posts มาทำความรู้จักกับ!! ม.ศิลปากร เมืองทองธานี วิทยาเขตนี้มีอะไรบ้าง!!! โรงเรียนปลอดมือถือ! อังกฤษ-ออสเตรเลียเริ่มแล้ว ดึงเด็กกลับมาสนใจครูในห้องเรียน มธ. ปักหมุดหลักสูตร ‘AI Ethics’ หนุนบริบทใหม่ของห้องเรียนทันโลก สร้างจุดยืนคนรุ่นใหม่ ‘ใช้เอไออย่างมีจริยธรรม’ พร้อมเดินหน้าวางหมุดหมายระบบการศึกษาไทย กับการปลุกการใช้เทคฯ คู่ธรรมาภิบาล คาดเริ่มเปิดลงทะเบียนพร้อมเรียนจริง สิงหาคม 68 นี้ 11 สาเหตุลึกซึ้ง ทำไมการศึกษาไทยยังตกต่ำ? เสียงสะท้อนจากครูชนบท สู่คำถามใหญ่ของสังคม ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา Post navigation PREVIOUS Previous post: #TCAS64 ม.ศิลปากร เปิดรับสมัครนศ.ป.ตรี รอบที่ 4 (Direct Admission) ตั้งแต่วันที่ 3-7 มิ.ย. 64NEXT Next post: เรียนที่เมืองหางโจว มีโอกาสลุ้นทุน และโอกาสร่วมฝึกงานที่อาลีบาบา Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ทุนImperial Athletes Sport InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 20, 2025 Imperial College London เสนอทุนการศึกษา Imperial Athletes Sport เพื่อสนับสนุนนักกีฬาที่มีพรสวรรค์สำหรับปีการศึกษา 2025/2026 โดยเปิดโอกาสให้เลือกเรียนในหลากหลายสาขาวิชา เปิดรับใบสมัครถึง 4 สิงหาคม 2025 หากคุณกำลังแข่งขันในระดับภูมิภาค ระดับชาติ หรือระดับนานาชาติในกีฬาของคุณ และแสดงให้เห็นถึงพรสวรรค์… Kazan Global Youth Summit InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 19, 2025 เชิญเยาวชนสมัครคัดเลือกเข้าร่วมการประชุม Kazan Global Youth Summit ครั้งที่ 4 ระหว่างวันที่ 27 – 30 สิงหาคม 2568 ณ เมืองคาซาน สาธารณรัฐตาตาร์สตาน สหพันธรัฐรัสเซีย จัดโดยรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐตาตาร์สตาน…
Kazan Global Youth Summit InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 19, 2025 เชิญเยาวชนสมัครคัดเลือกเข้าร่วมการประชุม Kazan Global Youth Summit ครั้งที่ 4 ระหว่างวันที่ 27 – 30 สิงหาคม 2568 ณ เมืองคาซาน สาธารณรัฐตาตาร์สตาน สหพันธรัฐรัสเซีย จัดโดยรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐตาตาร์สตาน…
สวนสุนันทาให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากหลักสูตรครูทหารของกองทัพบกรุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากหลักสูตรครูทหารของกองทัพบกรุ่นที่ 5 วันที่ 20 มิถุนายน 2568 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทาให้การต้อนรับคณะศึกษาดูงานจากหลักสูตรการฝึกอบรมครูทหารของกองทัพบก รุ่นที่ 5 กรมยุทธศึกษาทหารบก ณ ห้องประชุมช่อแก้ว โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อแลกเปลี่ยนองค์ความรู้และประสบการณ์ด้านการบริหารจัดการและเทคโนโลยีทางการศึกษา กิจกรรมเริ่มต้นตั้งแต่เวลา 08.30 น. ด้วยการลงทะเบียนและรับฟังการกล่าวต้อนรับโดย รองศาสตราจารย์… จุฬาฯ ผงาดอันดับ Top 44 ของโลกด้านความยั่งยืน ใน THE Impact Rankings 2025 ครองอันดับ 1 ของไทยอีกครั้ง tui sakrapeeJune 20, 2025 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยผงาดอันดับ Top 44 ของโลก และครองอันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทยอีกครั้งหนึ่ง จากการจัดอันดับโดย Times Higher Education Impact Rankings 2025 ด้วยผลงานที่โดดเด่นในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนและสร้างผลกระทบสูงต่อสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง SDG 9… หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 📚เริ่มเรียน กรกฎาคม 2568 ถึง มกราคม 2569 ทุกวันพฤหัสบดี 11:00 – 18:00 น.… มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster June 3, 2021 EZ Webmaster June 3, 2021 ทิศทางการศึกษาที่เปลี่ยนไป ในยุค Post Pandemic ในมุมมองของ ดร.ดาริกา ลัทธพิพัฒน์ สถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรน่า 2019 หรือ โควิด-19 ที่ยืดเยื้อกินเวลามาร่วม 2 ปี ส่งผลกระทบกับสังคม เศรษฐกิจ และความเป็นอยู่ของคนทั่วโลก รวมถึงผลกระทบด้านการศึกษาในวงกว้างตั้งแต่เด็กเล็กชั้นอนุบาล ไปจนถึงระดับปริญญาอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ การต้องเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ของสถาบันการศึกษา ถือเป็นความท้าทายและบทบาทความรับผิดชอบใหม่ของนักบริหารการศึกษาที่ต้องพร้อมรับมือกับสถานการณ์ความไม่แน่นอนที่อาจเกิดขึ้นได้เสมอ เพราะการสร้างระบบการศึกษาที่มั่นคงส่งผลถึงการผลิตบุคลากรที่มีคุณภาพสู่ตลาดงานในการขับเคลื่อนเศรฐกิจของประเทศ สถาบันการศึกษาจึงต้องมีมาตรการในการปรับรูปแบบการเรียนการสอนแบบ “ออนไลน์” ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ และมีประสิทธิภาพมากที่สุด เพื่อให้ผู้เรียนไม่เสียโอกาสในการเรียนรู้ ซึ่งเป็นบทพิสูจน์ให้เห็นว่าการเรียนการสอนที่เปลี่ยนไปในช่วงโควิด สถาบันการศึกษาไม่สามารถยึดติดกับระบบ Offline หรือการเรียนการสอนในห้องเรียน 100% ได้อีกต่อไป ทั้งยังเป็นการพัฒนาทักษะใหม่ ๆ ผ่านรูปแบบการเรียนออนไลน์ ในส่วนของ ผู้เรียนและผู้สอนด้วย ในอีกด้านก็เกิดเป็นคำถามที่ว่า ภายหลังการแพร่ระบาดของโควิด–19 หรือ Post Pandemic ทิศทางการศึกษาจะเป็นอย่างไร มีแง่มุมไหนบ้างที่เราได้รับบทเรียนจากผลกระทบในครั้งนี้ ดร.ดาริกา ลัทธพิพัฒน์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ (มธบ.) และ ประธานกรรมการโรงเรียนนานาชาติเวลลิงตันคอลเลจ กรุงเทพฯ นักบริหารการศึกษา ที่ดูแลนักเรียน นักศึกษาตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาล ถึงระดับปริญญา ได้สะท้อนถึงการบริหารการศึกษาในช่วง Post Pandemic ที่หากใครไม่เร่ง “ปรับตัว” อาจต้องเจอกับความท้าทายที่เกินกว่าจะรับมือได้ ความเร็ว&แรงของ Pandemic “Pandemic ที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะในระลอกแรกเป็นอะไรที่วางแผนไม่ได้ ทุกคนหรือแม้แต่เราไม่มีประสบการณ์มาก่อน ดังนั้น Pandemic ที่เกิดขึ้นเป็นการมาแบบตูมเดียว ทำให้องค์กรต่าง ๆ ต้องปรับทุกอย่างมาเป็นออนไลน์ ซึ่งก็พบว่า หลายเซ็คเตอร์ สามารถปรับตัวได้ดีในยุคของการล็อคดาวน์” ในมุมการจัดการเรียนการสอน เมื่อมองถึงระดับชั้นเรียนพบว่าแตกต่างกันไปตามแต่ละช่วงอายุ ด้วยประสบการณ์การบริหารการศึกษาในระดับเด็กเล็กที่ โรงเรียนนานาชาติเวลลิงตันคอลเลจ กรุงเทพฯ พบว่า การเรียนของเด็กเล็กระดับเตรียมอนุบาลถึง 7 ขวบจะเป็นช่วงอายุที่คิดว่ามีผลกระทบมากที่สุดจากการปรับการเรียนการสอนจากออฟไลน์เป็นออนไลน์ ส่วนหนึ่งมาจากความพร้อมของผู้เรียน การพึ่งพาตัวเองยังมีน้อยกว่าเด็กโต รวมทั้งพฤติกรรมของวัยนี้ที่การเรียนรู้ส่วนใหญ่จะเน้นผ่านการจับต้องสิ่งของและการสนทนากับผู้สอน “ด้วยลักษณะการเรียนของเด็กวัยนี้จึงทำให้เชื่อว่าแม้ในช่วงของ Post Pandemic เด็กเล็กจะยังคงมีการเรียนการสอนที่เน้นการเรียนและปฏิบัติในชั้นเรียนมากกว่าการผ่านเทคโนโลยี” O2O คือคำตอบ การเรียนการสอนของวัยที่โตขึ้นมาในระดับมหาวิทยาลัย ปริญญาตรีและปริญญาโท ที่ผ่านมามีการปรับตัวได้ค่อนข้างดีในรูปแบบออนไลน์ โดยที่มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์มีการปรับผสมผสานการเรียนการสอนทั้งในแบบออฟไลน์และออนไลน์ หรือ O2O (Online to Offline) เมื่อมองถึงช่วงหลังการแพร่ระบาดของโควิด-19 หรือ Post Pandemic ระบบการศึกษาในไทยจะมีการปรับตัวอย่างเห็นได้ชัดเจนทั้งในส่วนของ มหาวิทยาลัย ผู้สอน และ ผู้เรียน มหาวิทยาลัย ปรับระบบการทำงานในทุกมิติ ได้แก่ ระบบหลังบ้าน การลงทะเบียนนักศึกษา และอื่น ๆ ให้พร้อมทำงานทุกอย่างได้ครบในจุดเดียว ซึ่งในส่วนนี้ทางมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ได้ดำเนินการต่อเนื่องมาปีกว่าและพร้อมให้บริการได้เต็มรูปแบบในปีการศึกษา 2564 อาจารย์ผู้สอนที่ปรับแผนการสอนจาก 100% เป็นการเรียนในห้องไปสู่การเรียนออนไลน์โดยจัดสัดส่วนเนื้อหาที่เหมาะสมและเกิดประสิทธิภาพมากที่สุด ซึ่งจะมีความแตกต่างกันไปตามแต่ละสาขาวิชา ตัวอย่างเช่น บางสาขาวิชา 1ใน 3 ของเนื้อหาความรู้จะเป็นออนไลน์ แล้วปรับ 2 ใน 3 เป็นการเรียนออฟไลน์ ขณะที่บางสาขาวิชาอาจปรับเป็นออนไลน์ได้มากถึง 2 ใน 3 “ในส่วนของธุรกิจบัณฑิตย์ที่เน้นการสร้างผู้ประกอบการรุ่นใหม่ ด้วยการเรียนในแบบ O2O เพื่อสนับสนุนให้เกิดความคล่องตัวในการเรียนการสอนออนไลน์และออฟไลน์ ขณะเดียวกันก็ต้องตอบโจทย์ผู้เรียนให้ได้มากที่สุด และสร้างเอนเกจเม้นท์ระหว่างผู้สอนและผู้เรียนให้ได้ด้วย” สำหรับผู้เรียนแล้วเทคโนโลยีที่พัฒนาอย่างมากจนถึง 5G ในปัจจุบันและจะมีเข้ามาเพิ่มอีกมากในอนาคต มีส่วนสนับสนุนให้การเรียนรู้ทำได้ดีมากขึ้น Liquid Learning เทรนด์ที่ใช่ ในยุค Post Pandemic การเรียนรู้แบบ Liquid Learning ที่ตอบโจทย์ Personalization ของผู้เรียนมีความสำคัญอย่างไรและเกิดขึ้นจริงได้แค่ไหน ดร.ดาริกา ให้มุมมองว่าเทรนด์การเรียนรู้นับจากนี้จะไม่ใช่แค่ปรับตัวจากออฟไลน์สู่ออนไลน์แต่จะได้เห็นการเรียนรู้แนวใหม่ที่มุ่งการตอบโจทย์ความเป็น Personalize ของผู้เรียนในแบบเฉพาะบุคคลมากขึ้น เช่น บางคนชอบอ่านตัวหนังสือเยอะ ๆ แต่กับบางคนชอบการนำเสนอที่เป็นภาพมากกว่า นอกจากนี้ ยังมีเรื่องของพฤติกรรมและการใช้ชีวิตที่แตกต่างกันของแต่ละคน ส่งผลต่อการเรียนรู้มากหรือน้อยได้ด้วย เช่น บางคนเป็นมนุษย์เที่ยงคืน มนุษย์เช้า ประสิทธิภาพและความสนใจที่จะเรียนรู้ก็แตกต่างกันออกไป “กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่ปรับให้ลื่นไหลไปตามแต่ละบุคคล ทั้งความสนใจ ช่วงเวลา และอื่น ๆ นับเป็นเรื่องที่ท้าทายอย่างมาก ซึ่งที่น่าสนใจและเป็นความท้าทายไม่แพ้กัน คือ การจัดคอนเท้นท์ หรือเนื้อหาวิชา การวัดผล และการให้ Certificate” ความท้าทายในยุค Post Pandemic โดยในช่วงของการระบาดโควิด-19 โจทย์ใหญ่ของแต่ละมหาวิทยาลัยจากนี้จะอยู่ที่ “การประเมินผล” “ที่มองว่าการประเมินผลเป็นความท้าทายนั่นเป็นเพราะแม้ว่าจะมีการจัดการเรียนออนไลน์จากสถานการณ์ที่เกิดขึ้น แต่การทำงานและระบบงานต่าง ๆ ยังคงเป็นออฟไลน์อยู่เหมือนเดิม ซึ่งหากเป็นแบบนี้จะเกิดอะไรขึ้นหากในอนาคตมีการปรับเป็นออนไลน์ 100% ซึ่งเป็นโจทย์และภารกิจที่ต้องคิดว่าจะเป็นอย่างไรในอนาคต” จากความท้าทายที่เกิดขึ้นเมื่อโรคระบาดคลี่คลาย ดร.ดาริกา สะท้อนว่าไม่ใช่แค่ผู้สอนใน มหาวิทยาลัย และผู้เรียนเท่านั้นที่ต้องปรับตัวไปสู่รูปแบบการเรียนการสอนใหม่ ๆ ที่จะเกิดขึ้น ทางสำนักมาตรฐานก็ต้องทำความเข้าใจและปรับหลักเกณฑ์ต่าง ๆ เพื่อให้ในทุกมิติเดินไปข้างหน้าพร้อมกัน ในบทบาท นักบริหารการศึกษา ดร.ดาริกา ลัทธพิพัฒน์ กล่าวว่า “การระบาดของโควิด-19 ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ ที่ผ่านมา คนชอบบอกว่าในวงการศึกษาปรับตัวช้าที่สุด แต่ถึงตอนนี้พูดไม่ได้แล้ว เพราะทุกคนอยู่ในเรือลำเดียวกัน ต้องเร่งปรับตัว จากที่หลาย ๆ คนพูดว่าทำไม่ได้ วันนี้จากสถานการณ์ที่บีบบังคับทำให้ค้นพบว่า มนุษย์เราปรับตัวได้ขนาดไหน กฎเกณฑ์ที่บอกว่าทำไม่ได้ วันหนึ่งก็ต้องฉีกทิ้ง แล้วจัดกฎเกณฑ์ใหม่ ได้เวลารื้อบ้านครั้งใหญ่ และ Pandemic ครั้งนี้นับเป็นบทดสอบที่สำคัญ!” EZ Webmaster Related Posts มาทำความรู้จักกับ!! ม.ศิลปากร เมืองทองธานี วิทยาเขตนี้มีอะไรบ้าง!!! โรงเรียนปลอดมือถือ! อังกฤษ-ออสเตรเลียเริ่มแล้ว ดึงเด็กกลับมาสนใจครูในห้องเรียน มธ. ปักหมุดหลักสูตร ‘AI Ethics’ หนุนบริบทใหม่ของห้องเรียนทันโลก สร้างจุดยืนคนรุ่นใหม่ ‘ใช้เอไออย่างมีจริยธรรม’ พร้อมเดินหน้าวางหมุดหมายระบบการศึกษาไทย กับการปลุกการใช้เทคฯ คู่ธรรมาภิบาล คาดเริ่มเปิดลงทะเบียนพร้อมเรียนจริง สิงหาคม 68 นี้ 11 สาเหตุลึกซึ้ง ทำไมการศึกษาไทยยังตกต่ำ? เสียงสะท้อนจากครูชนบท สู่คำถามใหญ่ของสังคม ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา Post navigation PREVIOUS Previous post: #TCAS64 ม.ศิลปากร เปิดรับสมัครนศ.ป.ตรี รอบที่ 4 (Direct Admission) ตั้งแต่วันที่ 3-7 มิ.ย. 64NEXT Next post: เรียนที่เมืองหางโจว มีโอกาสลุ้นทุน และโอกาสร่วมฝึกงานที่อาลีบาบา Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
จุฬาฯ ผงาดอันดับ Top 44 ของโลกด้านความยั่งยืน ใน THE Impact Rankings 2025 ครองอันดับ 1 ของไทยอีกครั้ง tui sakrapeeJune 20, 2025 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยผงาดอันดับ Top 44 ของโลก และครองอันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทยอีกครั้งหนึ่ง จากการจัดอันดับโดย Times Higher Education Impact Rankings 2025 ด้วยผลงานที่โดดเด่นในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนและสร้างผลกระทบสูงต่อสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง SDG 9… หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 📚เริ่มเรียน กรกฎาคม 2568 ถึง มกราคม 2569 ทุกวันพฤหัสบดี 11:00 – 18:00 น.… มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ… กิจกรรม กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster June 3, 2021 EZ Webmaster June 3, 2021 ทิศทางการศึกษาที่เปลี่ยนไป ในยุค Post Pandemic ในมุมมองของ ดร.ดาริกา ลัทธพิพัฒน์ สถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรน่า 2019 หรือ โควิด-19 ที่ยืดเยื้อกินเวลามาร่วม 2 ปี ส่งผลกระทบกับสังคม เศรษฐกิจ และความเป็นอยู่ของคนทั่วโลก รวมถึงผลกระทบด้านการศึกษาในวงกว้างตั้งแต่เด็กเล็กชั้นอนุบาล ไปจนถึงระดับปริญญาอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ การต้องเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ของสถาบันการศึกษา ถือเป็นความท้าทายและบทบาทความรับผิดชอบใหม่ของนักบริหารการศึกษาที่ต้องพร้อมรับมือกับสถานการณ์ความไม่แน่นอนที่อาจเกิดขึ้นได้เสมอ เพราะการสร้างระบบการศึกษาที่มั่นคงส่งผลถึงการผลิตบุคลากรที่มีคุณภาพสู่ตลาดงานในการขับเคลื่อนเศรฐกิจของประเทศ สถาบันการศึกษาจึงต้องมีมาตรการในการปรับรูปแบบการเรียนการสอนแบบ “ออนไลน์” ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ และมีประสิทธิภาพมากที่สุด เพื่อให้ผู้เรียนไม่เสียโอกาสในการเรียนรู้ ซึ่งเป็นบทพิสูจน์ให้เห็นว่าการเรียนการสอนที่เปลี่ยนไปในช่วงโควิด สถาบันการศึกษาไม่สามารถยึดติดกับระบบ Offline หรือการเรียนการสอนในห้องเรียน 100% ได้อีกต่อไป ทั้งยังเป็นการพัฒนาทักษะใหม่ ๆ ผ่านรูปแบบการเรียนออนไลน์ ในส่วนของ ผู้เรียนและผู้สอนด้วย ในอีกด้านก็เกิดเป็นคำถามที่ว่า ภายหลังการแพร่ระบาดของโควิด–19 หรือ Post Pandemic ทิศทางการศึกษาจะเป็นอย่างไร มีแง่มุมไหนบ้างที่เราได้รับบทเรียนจากผลกระทบในครั้งนี้ ดร.ดาริกา ลัทธพิพัฒน์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ (มธบ.) และ ประธานกรรมการโรงเรียนนานาชาติเวลลิงตันคอลเลจ กรุงเทพฯ นักบริหารการศึกษา ที่ดูแลนักเรียน นักศึกษาตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาล ถึงระดับปริญญา ได้สะท้อนถึงการบริหารการศึกษาในช่วง Post Pandemic ที่หากใครไม่เร่ง “ปรับตัว” อาจต้องเจอกับความท้าทายที่เกินกว่าจะรับมือได้ ความเร็ว&แรงของ Pandemic “Pandemic ที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะในระลอกแรกเป็นอะไรที่วางแผนไม่ได้ ทุกคนหรือแม้แต่เราไม่มีประสบการณ์มาก่อน ดังนั้น Pandemic ที่เกิดขึ้นเป็นการมาแบบตูมเดียว ทำให้องค์กรต่าง ๆ ต้องปรับทุกอย่างมาเป็นออนไลน์ ซึ่งก็พบว่า หลายเซ็คเตอร์ สามารถปรับตัวได้ดีในยุคของการล็อคดาวน์” ในมุมการจัดการเรียนการสอน เมื่อมองถึงระดับชั้นเรียนพบว่าแตกต่างกันไปตามแต่ละช่วงอายุ ด้วยประสบการณ์การบริหารการศึกษาในระดับเด็กเล็กที่ โรงเรียนนานาชาติเวลลิงตันคอลเลจ กรุงเทพฯ พบว่า การเรียนของเด็กเล็กระดับเตรียมอนุบาลถึง 7 ขวบจะเป็นช่วงอายุที่คิดว่ามีผลกระทบมากที่สุดจากการปรับการเรียนการสอนจากออฟไลน์เป็นออนไลน์ ส่วนหนึ่งมาจากความพร้อมของผู้เรียน การพึ่งพาตัวเองยังมีน้อยกว่าเด็กโต รวมทั้งพฤติกรรมของวัยนี้ที่การเรียนรู้ส่วนใหญ่จะเน้นผ่านการจับต้องสิ่งของและการสนทนากับผู้สอน “ด้วยลักษณะการเรียนของเด็กวัยนี้จึงทำให้เชื่อว่าแม้ในช่วงของ Post Pandemic เด็กเล็กจะยังคงมีการเรียนการสอนที่เน้นการเรียนและปฏิบัติในชั้นเรียนมากกว่าการผ่านเทคโนโลยี” O2O คือคำตอบ การเรียนการสอนของวัยที่โตขึ้นมาในระดับมหาวิทยาลัย ปริญญาตรีและปริญญาโท ที่ผ่านมามีการปรับตัวได้ค่อนข้างดีในรูปแบบออนไลน์ โดยที่มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์มีการปรับผสมผสานการเรียนการสอนทั้งในแบบออฟไลน์และออนไลน์ หรือ O2O (Online to Offline) เมื่อมองถึงช่วงหลังการแพร่ระบาดของโควิด-19 หรือ Post Pandemic ระบบการศึกษาในไทยจะมีการปรับตัวอย่างเห็นได้ชัดเจนทั้งในส่วนของ มหาวิทยาลัย ผู้สอน และ ผู้เรียน มหาวิทยาลัย ปรับระบบการทำงานในทุกมิติ ได้แก่ ระบบหลังบ้าน การลงทะเบียนนักศึกษา และอื่น ๆ ให้พร้อมทำงานทุกอย่างได้ครบในจุดเดียว ซึ่งในส่วนนี้ทางมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ได้ดำเนินการต่อเนื่องมาปีกว่าและพร้อมให้บริการได้เต็มรูปแบบในปีการศึกษา 2564 อาจารย์ผู้สอนที่ปรับแผนการสอนจาก 100% เป็นการเรียนในห้องไปสู่การเรียนออนไลน์โดยจัดสัดส่วนเนื้อหาที่เหมาะสมและเกิดประสิทธิภาพมากที่สุด ซึ่งจะมีความแตกต่างกันไปตามแต่ละสาขาวิชา ตัวอย่างเช่น บางสาขาวิชา 1ใน 3 ของเนื้อหาความรู้จะเป็นออนไลน์ แล้วปรับ 2 ใน 3 เป็นการเรียนออฟไลน์ ขณะที่บางสาขาวิชาอาจปรับเป็นออนไลน์ได้มากถึง 2 ใน 3 “ในส่วนของธุรกิจบัณฑิตย์ที่เน้นการสร้างผู้ประกอบการรุ่นใหม่ ด้วยการเรียนในแบบ O2O เพื่อสนับสนุนให้เกิดความคล่องตัวในการเรียนการสอนออนไลน์และออฟไลน์ ขณะเดียวกันก็ต้องตอบโจทย์ผู้เรียนให้ได้มากที่สุด และสร้างเอนเกจเม้นท์ระหว่างผู้สอนและผู้เรียนให้ได้ด้วย” สำหรับผู้เรียนแล้วเทคโนโลยีที่พัฒนาอย่างมากจนถึง 5G ในปัจจุบันและจะมีเข้ามาเพิ่มอีกมากในอนาคต มีส่วนสนับสนุนให้การเรียนรู้ทำได้ดีมากขึ้น Liquid Learning เทรนด์ที่ใช่ ในยุค Post Pandemic การเรียนรู้แบบ Liquid Learning ที่ตอบโจทย์ Personalization ของผู้เรียนมีความสำคัญอย่างไรและเกิดขึ้นจริงได้แค่ไหน ดร.ดาริกา ให้มุมมองว่าเทรนด์การเรียนรู้นับจากนี้จะไม่ใช่แค่ปรับตัวจากออฟไลน์สู่ออนไลน์แต่จะได้เห็นการเรียนรู้แนวใหม่ที่มุ่งการตอบโจทย์ความเป็น Personalize ของผู้เรียนในแบบเฉพาะบุคคลมากขึ้น เช่น บางคนชอบอ่านตัวหนังสือเยอะ ๆ แต่กับบางคนชอบการนำเสนอที่เป็นภาพมากกว่า นอกจากนี้ ยังมีเรื่องของพฤติกรรมและการใช้ชีวิตที่แตกต่างกันของแต่ละคน ส่งผลต่อการเรียนรู้มากหรือน้อยได้ด้วย เช่น บางคนเป็นมนุษย์เที่ยงคืน มนุษย์เช้า ประสิทธิภาพและความสนใจที่จะเรียนรู้ก็แตกต่างกันออกไป “กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่ปรับให้ลื่นไหลไปตามแต่ละบุคคล ทั้งความสนใจ ช่วงเวลา และอื่น ๆ นับเป็นเรื่องที่ท้าทายอย่างมาก ซึ่งที่น่าสนใจและเป็นความท้าทายไม่แพ้กัน คือ การจัดคอนเท้นท์ หรือเนื้อหาวิชา การวัดผล และการให้ Certificate” ความท้าทายในยุค Post Pandemic โดยในช่วงของการระบาดโควิด-19 โจทย์ใหญ่ของแต่ละมหาวิทยาลัยจากนี้จะอยู่ที่ “การประเมินผล” “ที่มองว่าการประเมินผลเป็นความท้าทายนั่นเป็นเพราะแม้ว่าจะมีการจัดการเรียนออนไลน์จากสถานการณ์ที่เกิดขึ้น แต่การทำงานและระบบงานต่าง ๆ ยังคงเป็นออฟไลน์อยู่เหมือนเดิม ซึ่งหากเป็นแบบนี้จะเกิดอะไรขึ้นหากในอนาคตมีการปรับเป็นออนไลน์ 100% ซึ่งเป็นโจทย์และภารกิจที่ต้องคิดว่าจะเป็นอย่างไรในอนาคต” จากความท้าทายที่เกิดขึ้นเมื่อโรคระบาดคลี่คลาย ดร.ดาริกา สะท้อนว่าไม่ใช่แค่ผู้สอนใน มหาวิทยาลัย และผู้เรียนเท่านั้นที่ต้องปรับตัวไปสู่รูปแบบการเรียนการสอนใหม่ ๆ ที่จะเกิดขึ้น ทางสำนักมาตรฐานก็ต้องทำความเข้าใจและปรับหลักเกณฑ์ต่าง ๆ เพื่อให้ในทุกมิติเดินไปข้างหน้าพร้อมกัน ในบทบาท นักบริหารการศึกษา ดร.ดาริกา ลัทธพิพัฒน์ กล่าวว่า “การระบาดของโควิด-19 ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ ที่ผ่านมา คนชอบบอกว่าในวงการศึกษาปรับตัวช้าที่สุด แต่ถึงตอนนี้พูดไม่ได้แล้ว เพราะทุกคนอยู่ในเรือลำเดียวกัน ต้องเร่งปรับตัว จากที่หลาย ๆ คนพูดว่าทำไม่ได้ วันนี้จากสถานการณ์ที่บีบบังคับทำให้ค้นพบว่า มนุษย์เราปรับตัวได้ขนาดไหน กฎเกณฑ์ที่บอกว่าทำไม่ได้ วันหนึ่งก็ต้องฉีกทิ้ง แล้วจัดกฎเกณฑ์ใหม่ ได้เวลารื้อบ้านครั้งใหญ่ และ Pandemic ครั้งนี้นับเป็นบทดสอบที่สำคัญ!” EZ Webmaster Related Posts มาทำความรู้จักกับ!! ม.ศิลปากร เมืองทองธานี วิทยาเขตนี้มีอะไรบ้าง!!! โรงเรียนปลอดมือถือ! อังกฤษ-ออสเตรเลียเริ่มแล้ว ดึงเด็กกลับมาสนใจครูในห้องเรียน มธ. ปักหมุดหลักสูตร ‘AI Ethics’ หนุนบริบทใหม่ของห้องเรียนทันโลก สร้างจุดยืนคนรุ่นใหม่ ‘ใช้เอไออย่างมีจริยธรรม’ พร้อมเดินหน้าวางหมุดหมายระบบการศึกษาไทย กับการปลุกการใช้เทคฯ คู่ธรรมาภิบาล คาดเริ่มเปิดลงทะเบียนพร้อมเรียนจริง สิงหาคม 68 นี้ 11 สาเหตุลึกซึ้ง ทำไมการศึกษาไทยยังตกต่ำ? เสียงสะท้อนจากครูชนบท สู่คำถามใหญ่ของสังคม ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา Post navigation PREVIOUS Previous post: #TCAS64 ม.ศิลปากร เปิดรับสมัครนศ.ป.ตรี รอบที่ 4 (Direct Admission) ตั้งแต่วันที่ 3-7 มิ.ย. 64NEXT Next post: เรียนที่เมืองหางโจว มีโอกาสลุ้นทุน และโอกาสร่วมฝึกงานที่อาลีบาบา Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 tui sakrapeeJune 20, 2025 หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง สาขานวัตกรรมการจัดการสุขภาพยุคดิจิทัล HIDA เปิดรับสมัคร HIDA รุ่นที่ 5 📚เริ่มเรียน กรกฎาคม 2568 ถึง มกราคม 2569 ทุกวันพฤหัสบดี 11:00 – 18:00 น.… มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ…
มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานเด่น คว้า 12 รางวัลเวทีนวัตกรรมระดับนานาชาติ เซี่ยงไฮ้ 2025 tui sakrapeeJune 19, 2025 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) สร้างชื่อระดับโลก เวที “The 8th China (Shanghai) International Invention & Innovation Expo 2025” คว้ารางวัลรวม 12 รายการ ตอกย้ำศักยภาพ…
กองอาคาร มจพ. จับมือสำนักสิ่งแวดล้อม กรุงเทพฯ อบรมการจัดการคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน EZ WebmasterJune 18, 2025 ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วยศ.ดร.ธานินทร์ ศิลป์จารุ อธิการบดี ร่วมพิธีโครงการอบรม เรื่อง การคัดแยกขยะมูลฝอยภายในหน่วยงาน โดยมี รศ.ดร.ณัฐพงศ์ มกระธัช รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนากิจการมหาวิทยาลัยเพื่อความยั่งยืน กล่าวเปิดการอบรม รศ.ดร.ศักดา กตเวทวารักษ์… “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search EZ Webmaster June 3, 2021 EZ Webmaster June 3, 2021 ทิศทางการศึกษาที่เปลี่ยนไป ในยุค Post Pandemic ในมุมมองของ ดร.ดาริกา ลัทธพิพัฒน์ สถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรน่า 2019 หรือ โควิด-19 ที่ยืดเยื้อกินเวลามาร่วม 2 ปี ส่งผลกระทบกับสังคม เศรษฐกิจ และความเป็นอยู่ของคนทั่วโลก รวมถึงผลกระทบด้านการศึกษาในวงกว้างตั้งแต่เด็กเล็กชั้นอนุบาล ไปจนถึงระดับปริญญาอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ การต้องเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ของสถาบันการศึกษา ถือเป็นความท้าทายและบทบาทความรับผิดชอบใหม่ของนักบริหารการศึกษาที่ต้องพร้อมรับมือกับสถานการณ์ความไม่แน่นอนที่อาจเกิดขึ้นได้เสมอ เพราะการสร้างระบบการศึกษาที่มั่นคงส่งผลถึงการผลิตบุคลากรที่มีคุณภาพสู่ตลาดงานในการขับเคลื่อนเศรฐกิจของประเทศ สถาบันการศึกษาจึงต้องมีมาตรการในการปรับรูปแบบการเรียนการสอนแบบ “ออนไลน์” ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ และมีประสิทธิภาพมากที่สุด เพื่อให้ผู้เรียนไม่เสียโอกาสในการเรียนรู้ ซึ่งเป็นบทพิสูจน์ให้เห็นว่าการเรียนการสอนที่เปลี่ยนไปในช่วงโควิด สถาบันการศึกษาไม่สามารถยึดติดกับระบบ Offline หรือการเรียนการสอนในห้องเรียน 100% ได้อีกต่อไป ทั้งยังเป็นการพัฒนาทักษะใหม่ ๆ ผ่านรูปแบบการเรียนออนไลน์ ในส่วนของ ผู้เรียนและผู้สอนด้วย ในอีกด้านก็เกิดเป็นคำถามที่ว่า ภายหลังการแพร่ระบาดของโควิด–19 หรือ Post Pandemic ทิศทางการศึกษาจะเป็นอย่างไร มีแง่มุมไหนบ้างที่เราได้รับบทเรียนจากผลกระทบในครั้งนี้ ดร.ดาริกา ลัทธพิพัฒน์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ (มธบ.) และ ประธานกรรมการโรงเรียนนานาชาติเวลลิงตันคอลเลจ กรุงเทพฯ นักบริหารการศึกษา ที่ดูแลนักเรียน นักศึกษาตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาล ถึงระดับปริญญา ได้สะท้อนถึงการบริหารการศึกษาในช่วง Post Pandemic ที่หากใครไม่เร่ง “ปรับตัว” อาจต้องเจอกับความท้าทายที่เกินกว่าจะรับมือได้ ความเร็ว&แรงของ Pandemic “Pandemic ที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะในระลอกแรกเป็นอะไรที่วางแผนไม่ได้ ทุกคนหรือแม้แต่เราไม่มีประสบการณ์มาก่อน ดังนั้น Pandemic ที่เกิดขึ้นเป็นการมาแบบตูมเดียว ทำให้องค์กรต่าง ๆ ต้องปรับทุกอย่างมาเป็นออนไลน์ ซึ่งก็พบว่า หลายเซ็คเตอร์ สามารถปรับตัวได้ดีในยุคของการล็อคดาวน์” ในมุมการจัดการเรียนการสอน เมื่อมองถึงระดับชั้นเรียนพบว่าแตกต่างกันไปตามแต่ละช่วงอายุ ด้วยประสบการณ์การบริหารการศึกษาในระดับเด็กเล็กที่ โรงเรียนนานาชาติเวลลิงตันคอลเลจ กรุงเทพฯ พบว่า การเรียนของเด็กเล็กระดับเตรียมอนุบาลถึง 7 ขวบจะเป็นช่วงอายุที่คิดว่ามีผลกระทบมากที่สุดจากการปรับการเรียนการสอนจากออฟไลน์เป็นออนไลน์ ส่วนหนึ่งมาจากความพร้อมของผู้เรียน การพึ่งพาตัวเองยังมีน้อยกว่าเด็กโต รวมทั้งพฤติกรรมของวัยนี้ที่การเรียนรู้ส่วนใหญ่จะเน้นผ่านการจับต้องสิ่งของและการสนทนากับผู้สอน “ด้วยลักษณะการเรียนของเด็กวัยนี้จึงทำให้เชื่อว่าแม้ในช่วงของ Post Pandemic เด็กเล็กจะยังคงมีการเรียนการสอนที่เน้นการเรียนและปฏิบัติในชั้นเรียนมากกว่าการผ่านเทคโนโลยี” O2O คือคำตอบ การเรียนการสอนของวัยที่โตขึ้นมาในระดับมหาวิทยาลัย ปริญญาตรีและปริญญาโท ที่ผ่านมามีการปรับตัวได้ค่อนข้างดีในรูปแบบออนไลน์ โดยที่มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์มีการปรับผสมผสานการเรียนการสอนทั้งในแบบออฟไลน์และออนไลน์ หรือ O2O (Online to Offline) เมื่อมองถึงช่วงหลังการแพร่ระบาดของโควิด-19 หรือ Post Pandemic ระบบการศึกษาในไทยจะมีการปรับตัวอย่างเห็นได้ชัดเจนทั้งในส่วนของ มหาวิทยาลัย ผู้สอน และ ผู้เรียน มหาวิทยาลัย ปรับระบบการทำงานในทุกมิติ ได้แก่ ระบบหลังบ้าน การลงทะเบียนนักศึกษา และอื่น ๆ ให้พร้อมทำงานทุกอย่างได้ครบในจุดเดียว ซึ่งในส่วนนี้ทางมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ได้ดำเนินการต่อเนื่องมาปีกว่าและพร้อมให้บริการได้เต็มรูปแบบในปีการศึกษา 2564 อาจารย์ผู้สอนที่ปรับแผนการสอนจาก 100% เป็นการเรียนในห้องไปสู่การเรียนออนไลน์โดยจัดสัดส่วนเนื้อหาที่เหมาะสมและเกิดประสิทธิภาพมากที่สุด ซึ่งจะมีความแตกต่างกันไปตามแต่ละสาขาวิชา ตัวอย่างเช่น บางสาขาวิชา 1ใน 3 ของเนื้อหาความรู้จะเป็นออนไลน์ แล้วปรับ 2 ใน 3 เป็นการเรียนออฟไลน์ ขณะที่บางสาขาวิชาอาจปรับเป็นออนไลน์ได้มากถึง 2 ใน 3 “ในส่วนของธุรกิจบัณฑิตย์ที่เน้นการสร้างผู้ประกอบการรุ่นใหม่ ด้วยการเรียนในแบบ O2O เพื่อสนับสนุนให้เกิดความคล่องตัวในการเรียนการสอนออนไลน์และออฟไลน์ ขณะเดียวกันก็ต้องตอบโจทย์ผู้เรียนให้ได้มากที่สุด และสร้างเอนเกจเม้นท์ระหว่างผู้สอนและผู้เรียนให้ได้ด้วย” สำหรับผู้เรียนแล้วเทคโนโลยีที่พัฒนาอย่างมากจนถึง 5G ในปัจจุบันและจะมีเข้ามาเพิ่มอีกมากในอนาคต มีส่วนสนับสนุนให้การเรียนรู้ทำได้ดีมากขึ้น Liquid Learning เทรนด์ที่ใช่ ในยุค Post Pandemic การเรียนรู้แบบ Liquid Learning ที่ตอบโจทย์ Personalization ของผู้เรียนมีความสำคัญอย่างไรและเกิดขึ้นจริงได้แค่ไหน ดร.ดาริกา ให้มุมมองว่าเทรนด์การเรียนรู้นับจากนี้จะไม่ใช่แค่ปรับตัวจากออฟไลน์สู่ออนไลน์แต่จะได้เห็นการเรียนรู้แนวใหม่ที่มุ่งการตอบโจทย์ความเป็น Personalize ของผู้เรียนในแบบเฉพาะบุคคลมากขึ้น เช่น บางคนชอบอ่านตัวหนังสือเยอะ ๆ แต่กับบางคนชอบการนำเสนอที่เป็นภาพมากกว่า นอกจากนี้ ยังมีเรื่องของพฤติกรรมและการใช้ชีวิตที่แตกต่างกันของแต่ละคน ส่งผลต่อการเรียนรู้มากหรือน้อยได้ด้วย เช่น บางคนเป็นมนุษย์เที่ยงคืน มนุษย์เช้า ประสิทธิภาพและความสนใจที่จะเรียนรู้ก็แตกต่างกันออกไป “กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่ปรับให้ลื่นไหลไปตามแต่ละบุคคล ทั้งความสนใจ ช่วงเวลา และอื่น ๆ นับเป็นเรื่องที่ท้าทายอย่างมาก ซึ่งที่น่าสนใจและเป็นความท้าทายไม่แพ้กัน คือ การจัดคอนเท้นท์ หรือเนื้อหาวิชา การวัดผล และการให้ Certificate” ความท้าทายในยุค Post Pandemic โดยในช่วงของการระบาดโควิด-19 โจทย์ใหญ่ของแต่ละมหาวิทยาลัยจากนี้จะอยู่ที่ “การประเมินผล” “ที่มองว่าการประเมินผลเป็นความท้าทายนั่นเป็นเพราะแม้ว่าจะมีการจัดการเรียนออนไลน์จากสถานการณ์ที่เกิดขึ้น แต่การทำงานและระบบงานต่าง ๆ ยังคงเป็นออฟไลน์อยู่เหมือนเดิม ซึ่งหากเป็นแบบนี้จะเกิดอะไรขึ้นหากในอนาคตมีการปรับเป็นออนไลน์ 100% ซึ่งเป็นโจทย์และภารกิจที่ต้องคิดว่าจะเป็นอย่างไรในอนาคต” จากความท้าทายที่เกิดขึ้นเมื่อโรคระบาดคลี่คลาย ดร.ดาริกา สะท้อนว่าไม่ใช่แค่ผู้สอนใน มหาวิทยาลัย และผู้เรียนเท่านั้นที่ต้องปรับตัวไปสู่รูปแบบการเรียนการสอนใหม่ ๆ ที่จะเกิดขึ้น ทางสำนักมาตรฐานก็ต้องทำความเข้าใจและปรับหลักเกณฑ์ต่าง ๆ เพื่อให้ในทุกมิติเดินไปข้างหน้าพร้อมกัน ในบทบาท นักบริหารการศึกษา ดร.ดาริกา ลัทธพิพัฒน์ กล่าวว่า “การระบาดของโควิด-19 ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ ที่ผ่านมา คนชอบบอกว่าในวงการศึกษาปรับตัวช้าที่สุด แต่ถึงตอนนี้พูดไม่ได้แล้ว เพราะทุกคนอยู่ในเรือลำเดียวกัน ต้องเร่งปรับตัว จากที่หลาย ๆ คนพูดว่าทำไม่ได้ วันนี้จากสถานการณ์ที่บีบบังคับทำให้ค้นพบว่า มนุษย์เราปรับตัวได้ขนาดไหน กฎเกณฑ์ที่บอกว่าทำไม่ได้ วันหนึ่งก็ต้องฉีกทิ้ง แล้วจัดกฎเกณฑ์ใหม่ ได้เวลารื้อบ้านครั้งใหญ่ และ Pandemic ครั้งนี้นับเป็นบทดสอบที่สำคัญ!” EZ Webmaster Related Posts มาทำความรู้จักกับ!! ม.ศิลปากร เมืองทองธานี วิทยาเขตนี้มีอะไรบ้าง!!! โรงเรียนปลอดมือถือ! อังกฤษ-ออสเตรเลียเริ่มแล้ว ดึงเด็กกลับมาสนใจครูในห้องเรียน มธ. ปักหมุดหลักสูตร ‘AI Ethics’ หนุนบริบทใหม่ของห้องเรียนทันโลก สร้างจุดยืนคนรุ่นใหม่ ‘ใช้เอไออย่างมีจริยธรรม’ พร้อมเดินหน้าวางหมุดหมายระบบการศึกษาไทย กับการปลุกการใช้เทคฯ คู่ธรรมาภิบาล คาดเริ่มเปิดลงทะเบียนพร้อมเรียนจริง สิงหาคม 68 นี้ 11 สาเหตุลึกซึ้ง ทำไมการศึกษาไทยยังตกต่ำ? เสียงสะท้อนจากครูชนบท สู่คำถามใหญ่ของสังคม ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา Post navigation PREVIOUS Previous post: #TCAS64 ม.ศิลปากร เปิดรับสมัครนศ.ป.ตรี รอบที่ 4 (Direct Admission) ตั้งแต่วันที่ 3-7 มิ.ย. 64NEXT Next post: เรียนที่เมืองหางโจว มีโอกาสลุ้นทุน และโอกาสร่วมฝึกงานที่อาลีบาบา Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
“40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… Search for: Search
ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ…
ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ…
EZ Webmaster June 3, 2021 EZ Webmaster June 3, 2021 ทิศทางการศึกษาที่เปลี่ยนไป ในยุค Post Pandemic ในมุมมองของ ดร.ดาริกา ลัทธพิพัฒน์ สถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรน่า 2019 หรือ โควิด-19 ที่ยืดเยื้อกินเวลามาร่วม 2 ปี ส่งผลกระทบกับสังคม เศรษฐกิจ และความเป็นอยู่ของคนทั่วโลก รวมถึงผลกระทบด้านการศึกษาในวงกว้างตั้งแต่เด็กเล็กชั้นอนุบาล ไปจนถึงระดับปริญญาอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ การต้องเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ของสถาบันการศึกษา ถือเป็นความท้าทายและบทบาทความรับผิดชอบใหม่ของนักบริหารการศึกษาที่ต้องพร้อมรับมือกับสถานการณ์ความไม่แน่นอนที่อาจเกิดขึ้นได้เสมอ เพราะการสร้างระบบการศึกษาที่มั่นคงส่งผลถึงการผลิตบุคลากรที่มีคุณภาพสู่ตลาดงานในการขับเคลื่อนเศรฐกิจของประเทศ สถาบันการศึกษาจึงต้องมีมาตรการในการปรับรูปแบบการเรียนการสอนแบบ “ออนไลน์” ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ และมีประสิทธิภาพมากที่สุด เพื่อให้ผู้เรียนไม่เสียโอกาสในการเรียนรู้ ซึ่งเป็นบทพิสูจน์ให้เห็นว่าการเรียนการสอนที่เปลี่ยนไปในช่วงโควิด สถาบันการศึกษาไม่สามารถยึดติดกับระบบ Offline หรือการเรียนการสอนในห้องเรียน 100% ได้อีกต่อไป ทั้งยังเป็นการพัฒนาทักษะใหม่ ๆ ผ่านรูปแบบการเรียนออนไลน์ ในส่วนของ ผู้เรียนและผู้สอนด้วย ในอีกด้านก็เกิดเป็นคำถามที่ว่า ภายหลังการแพร่ระบาดของโควิด–19 หรือ Post Pandemic ทิศทางการศึกษาจะเป็นอย่างไร มีแง่มุมไหนบ้างที่เราได้รับบทเรียนจากผลกระทบในครั้งนี้ ดร.ดาริกา ลัทธพิพัฒน์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ (มธบ.) และ ประธานกรรมการโรงเรียนนานาชาติเวลลิงตันคอลเลจ กรุงเทพฯ นักบริหารการศึกษา ที่ดูแลนักเรียน นักศึกษาตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาล ถึงระดับปริญญา ได้สะท้อนถึงการบริหารการศึกษาในช่วง Post Pandemic ที่หากใครไม่เร่ง “ปรับตัว” อาจต้องเจอกับความท้าทายที่เกินกว่าจะรับมือได้ ความเร็ว&แรงของ Pandemic “Pandemic ที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะในระลอกแรกเป็นอะไรที่วางแผนไม่ได้ ทุกคนหรือแม้แต่เราไม่มีประสบการณ์มาก่อน ดังนั้น Pandemic ที่เกิดขึ้นเป็นการมาแบบตูมเดียว ทำให้องค์กรต่าง ๆ ต้องปรับทุกอย่างมาเป็นออนไลน์ ซึ่งก็พบว่า หลายเซ็คเตอร์ สามารถปรับตัวได้ดีในยุคของการล็อคดาวน์” ในมุมการจัดการเรียนการสอน เมื่อมองถึงระดับชั้นเรียนพบว่าแตกต่างกันไปตามแต่ละช่วงอายุ ด้วยประสบการณ์การบริหารการศึกษาในระดับเด็กเล็กที่ โรงเรียนนานาชาติเวลลิงตันคอลเลจ กรุงเทพฯ พบว่า การเรียนของเด็กเล็กระดับเตรียมอนุบาลถึง 7 ขวบจะเป็นช่วงอายุที่คิดว่ามีผลกระทบมากที่สุดจากการปรับการเรียนการสอนจากออฟไลน์เป็นออนไลน์ ส่วนหนึ่งมาจากความพร้อมของผู้เรียน การพึ่งพาตัวเองยังมีน้อยกว่าเด็กโต รวมทั้งพฤติกรรมของวัยนี้ที่การเรียนรู้ส่วนใหญ่จะเน้นผ่านการจับต้องสิ่งของและการสนทนากับผู้สอน “ด้วยลักษณะการเรียนของเด็กวัยนี้จึงทำให้เชื่อว่าแม้ในช่วงของ Post Pandemic เด็กเล็กจะยังคงมีการเรียนการสอนที่เน้นการเรียนและปฏิบัติในชั้นเรียนมากกว่าการผ่านเทคโนโลยี” O2O คือคำตอบ การเรียนการสอนของวัยที่โตขึ้นมาในระดับมหาวิทยาลัย ปริญญาตรีและปริญญาโท ที่ผ่านมามีการปรับตัวได้ค่อนข้างดีในรูปแบบออนไลน์ โดยที่มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์มีการปรับผสมผสานการเรียนการสอนทั้งในแบบออฟไลน์และออนไลน์ หรือ O2O (Online to Offline) เมื่อมองถึงช่วงหลังการแพร่ระบาดของโควิด-19 หรือ Post Pandemic ระบบการศึกษาในไทยจะมีการปรับตัวอย่างเห็นได้ชัดเจนทั้งในส่วนของ มหาวิทยาลัย ผู้สอน และ ผู้เรียน มหาวิทยาลัย ปรับระบบการทำงานในทุกมิติ ได้แก่ ระบบหลังบ้าน การลงทะเบียนนักศึกษา และอื่น ๆ ให้พร้อมทำงานทุกอย่างได้ครบในจุดเดียว ซึ่งในส่วนนี้ทางมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ได้ดำเนินการต่อเนื่องมาปีกว่าและพร้อมให้บริการได้เต็มรูปแบบในปีการศึกษา 2564 อาจารย์ผู้สอนที่ปรับแผนการสอนจาก 100% เป็นการเรียนในห้องไปสู่การเรียนออนไลน์โดยจัดสัดส่วนเนื้อหาที่เหมาะสมและเกิดประสิทธิภาพมากที่สุด ซึ่งจะมีความแตกต่างกันไปตามแต่ละสาขาวิชา ตัวอย่างเช่น บางสาขาวิชา 1ใน 3 ของเนื้อหาความรู้จะเป็นออนไลน์ แล้วปรับ 2 ใน 3 เป็นการเรียนออฟไลน์ ขณะที่บางสาขาวิชาอาจปรับเป็นออนไลน์ได้มากถึง 2 ใน 3 “ในส่วนของธุรกิจบัณฑิตย์ที่เน้นการสร้างผู้ประกอบการรุ่นใหม่ ด้วยการเรียนในแบบ O2O เพื่อสนับสนุนให้เกิดความคล่องตัวในการเรียนการสอนออนไลน์และออฟไลน์ ขณะเดียวกันก็ต้องตอบโจทย์ผู้เรียนให้ได้มากที่สุด และสร้างเอนเกจเม้นท์ระหว่างผู้สอนและผู้เรียนให้ได้ด้วย” สำหรับผู้เรียนแล้วเทคโนโลยีที่พัฒนาอย่างมากจนถึง 5G ในปัจจุบันและจะมีเข้ามาเพิ่มอีกมากในอนาคต มีส่วนสนับสนุนให้การเรียนรู้ทำได้ดีมากขึ้น Liquid Learning เทรนด์ที่ใช่ ในยุค Post Pandemic การเรียนรู้แบบ Liquid Learning ที่ตอบโจทย์ Personalization ของผู้เรียนมีความสำคัญอย่างไรและเกิดขึ้นจริงได้แค่ไหน ดร.ดาริกา ให้มุมมองว่าเทรนด์การเรียนรู้นับจากนี้จะไม่ใช่แค่ปรับตัวจากออฟไลน์สู่ออนไลน์แต่จะได้เห็นการเรียนรู้แนวใหม่ที่มุ่งการตอบโจทย์ความเป็น Personalize ของผู้เรียนในแบบเฉพาะบุคคลมากขึ้น เช่น บางคนชอบอ่านตัวหนังสือเยอะ ๆ แต่กับบางคนชอบการนำเสนอที่เป็นภาพมากกว่า นอกจากนี้ ยังมีเรื่องของพฤติกรรมและการใช้ชีวิตที่แตกต่างกันของแต่ละคน ส่งผลต่อการเรียนรู้มากหรือน้อยได้ด้วย เช่น บางคนเป็นมนุษย์เที่ยงคืน มนุษย์เช้า ประสิทธิภาพและความสนใจที่จะเรียนรู้ก็แตกต่างกันออกไป “กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่ปรับให้ลื่นไหลไปตามแต่ละบุคคล ทั้งความสนใจ ช่วงเวลา และอื่น ๆ นับเป็นเรื่องที่ท้าทายอย่างมาก ซึ่งที่น่าสนใจและเป็นความท้าทายไม่แพ้กัน คือ การจัดคอนเท้นท์ หรือเนื้อหาวิชา การวัดผล และการให้ Certificate” ความท้าทายในยุค Post Pandemic โดยในช่วงของการระบาดโควิด-19 โจทย์ใหญ่ของแต่ละมหาวิทยาลัยจากนี้จะอยู่ที่ “การประเมินผล” “ที่มองว่าการประเมินผลเป็นความท้าทายนั่นเป็นเพราะแม้ว่าจะมีการจัดการเรียนออนไลน์จากสถานการณ์ที่เกิดขึ้น แต่การทำงานและระบบงานต่าง ๆ ยังคงเป็นออฟไลน์อยู่เหมือนเดิม ซึ่งหากเป็นแบบนี้จะเกิดอะไรขึ้นหากในอนาคตมีการปรับเป็นออนไลน์ 100% ซึ่งเป็นโจทย์และภารกิจที่ต้องคิดว่าจะเป็นอย่างไรในอนาคต” จากความท้าทายที่เกิดขึ้นเมื่อโรคระบาดคลี่คลาย ดร.ดาริกา สะท้อนว่าไม่ใช่แค่ผู้สอนใน มหาวิทยาลัย และผู้เรียนเท่านั้นที่ต้องปรับตัวไปสู่รูปแบบการเรียนการสอนใหม่ ๆ ที่จะเกิดขึ้น ทางสำนักมาตรฐานก็ต้องทำความเข้าใจและปรับหลักเกณฑ์ต่าง ๆ เพื่อให้ในทุกมิติเดินไปข้างหน้าพร้อมกัน ในบทบาท นักบริหารการศึกษา ดร.ดาริกา ลัทธพิพัฒน์ กล่าวว่า “การระบาดของโควิด-19 ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ ที่ผ่านมา คนชอบบอกว่าในวงการศึกษาปรับตัวช้าที่สุด แต่ถึงตอนนี้พูดไม่ได้แล้ว เพราะทุกคนอยู่ในเรือลำเดียวกัน ต้องเร่งปรับตัว จากที่หลาย ๆ คนพูดว่าทำไม่ได้ วันนี้จากสถานการณ์ที่บีบบังคับทำให้ค้นพบว่า มนุษย์เราปรับตัวได้ขนาดไหน กฎเกณฑ์ที่บอกว่าทำไม่ได้ วันหนึ่งก็ต้องฉีกทิ้ง แล้วจัดกฎเกณฑ์ใหม่ ได้เวลารื้อบ้านครั้งใหญ่ และ Pandemic ครั้งนี้นับเป็นบทดสอบที่สำคัญ!”
มธ. ปักหมุดหลักสูตร ‘AI Ethics’ หนุนบริบทใหม่ของห้องเรียนทันโลก สร้างจุดยืนคนรุ่นใหม่ ‘ใช้เอไออย่างมีจริยธรรม’ พร้อมเดินหน้าวางหมุดหมายระบบการศึกษาไทย กับการปลุกการใช้เทคฯ คู่ธรรมาภิบาล คาดเริ่มเปิดลงทะเบียนพร้อมเรียนจริง สิงหาคม 68 นี้
ว.วิศวกรรมสังคีต สจล. ร่วมมือ บริษัท Sonos Libra ส่งเสริมความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์ให้นักศึกษา