ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง EZ WebmasterJune 13, 2025 วันนี้ทั้งเล่น ทั้งได้ความรู้ ทั้งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนนางรอง จ.บุรีรัมย์ วันที่13/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า… นักศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI… ทุนดีดี 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster November 17, 2020 EZ Webmaster November 17, 2020 เทคนิคการติวออนไลน์ในยุค New Normal สวัสดีคร้าบบบบ น้องๆ ที่น่ารักทุกคนกับมาพบกันอีกครั้งกับเรื่องราวดีๆ เกี่ยวกับการศึกษาในยุค New Normal ในบ้านเรากัน โดยแอดมินมีโอกาสไปสัมภาษณ์ติวเตอร์ชื่อดังในโครงการ Sahapat Admission ครั้งที่ 23 นั้นก็คือครูพี่หนู – กฤติกา ปาลกะวงศ์ และครูพี่เกศ – เกศจิรา บุญตระกูล เกี่ยวกับการปรับตัวสำหรับการติววิชาต่างๆ ในยุค New Normal ว่าควรจะทำอย่างไร และทางพี่ๆ ติวเตอร์มีการวางแผนและปรับตัวอย่างไรบ้าง เราไปเจอบทสัมภาษณ์แบบ Exclusive พร้อมกันได้เลยครับ การติวแบบใหม่ของติวเตอร์แต่ละท่านมีการเปลี่ยนแปลงจากเดิม จากเมื่อก่อนอย่างไรบ้าง ? ครูพี่หนู – คือตอนนี้ ในปีนี้เลยที่โควิดระบาดการที่จะให้เด็กนั่งรวมกันที่หอประชุม ก็เป็นการยากนะคะ เพราะว่า ด้วยมาตรการป้องกันต่าง ๆ ทางโครงการก็เลยปรับรูปแบบให้กลายเป็นติวออนไลน์ อยู่ไหนก็ติวได้ ซึ่งถามว่าสะดวกไหม ก็สะดวกกับเด็กแล้วก็สะดวกกับคุณครูด้วยนะคะ เพราะว่าเราก็จะเป็นการติว ถามว่ามันต่างจากแบบเดิมไหม ปรับมากไหม ก็คือน้องก็จะสามารถส่งคำถามร่วมสนุกหรือว่าอะไรกับเราได้ทาง Live แชทค่ะ ครูพี่เกศ – ปกติแล้วเด็กก็จะเจอครูหรือว่าติวเตอร์แบบตัวต่อตัว เด็กส่วนใหญ่ชอบเรียนสดคือสมัครคอร์สเรียนมา จะได้มาเจอตัวเป็น ๆ มีข้อสงสัยอะไรจะได้ถามเราได้เลย เขาจะรู้สึกว่าอินกับบรรยากาศในการเรียนมากกว่า แต่ว่ายุคใหม่นี้มันเปลี่ยนเป็นออนไลน์ ถามว่ามันมีความเปลี่ยนแปลงอย่างไร ตอนแรกเด็กก็จะรู้สึกว่าไม่เข้าใจ รู้สึกว่ามันต้องไม่ดีแน่ ๆ เลย เรียนกับสื่อ เรียนกับวิดีโอ เพราะไม่ได้เจอติวเตอร์ตัวเป็น ๆ แต่พอเด็กได้มาลองเรียนจริง ๆ แล้ว จะพบว่าการถามตอบมันยังคงเดิม เปลี่ยนจากการพูดถามเป็นการพิมพ์ถาม แล้วบางครั้งมันอาจจะดีกว่าด้วยซ้ำ อย่างเช่น บางวิชาเด็กสามารถถ่ายรูปส่งมาได้ เพราะว่าโปรแกรมทุกวันนี้มันมีหลากหลาย บางครั้งไม่ต้องพิมพ์ถามก็ได้นะ อย่างโปรแกรมบางอันที่สามารถเปิดไมค์แล้วพูดออกมาได้เลย แล้วติวเตอร์ก็สามารถตอบไปได้เลยะ ก็ไม่ได้แตกต่างมากสุดท้ายแล้วเด็กก็รู้สึกว่ามันสนุกไปอีกแบบ ครูพี่หนู – กฤติกา ปาลกะวงศ์ การที่น้องอาจจะไม่เห็นหน้าเรา เราพอจะมีวิธีการเทคนิคอย่างไรช่วยให้น้องทำได้ดีกว่าเดิม ? ครูพี่หนู – สำหรับหนูเองนะคะ หนูใช้เสียง เสียงจะขึ้น ๆ ลง ๆ ใช้เสียงแหลมตลอดในการติว เพราะว่า 1 ก็จะทำให้น้องตื่นตัวตลอด บางช็อตที่น้องเห็นแต่จอไม่เห็นหน้าเราด้วย ก็จะใช้เสียงในการดึงเด็กแล้วก็เป็นการเล่าเรื่อง บรรยายเรื่อง ให้มันเข้ากับเนื้อหาที่เรากำลังสอนอยู่ ครูพี่เกศ – การเอาสื่อที่น่าสนใจ การเล่นที่สีหน้า น้ำเสียง หรือการจูงใจในเรื่องของเกม การตอบคำถาม ให้เด็กรู้สึกว่าไม่ได้มานั่งฟังกับจอเฉย ๆ แต่เป็นการที่มีอะไรร่วมสนุกได้ พิมพ์ตอบได้นะ จะมีการส่งของรางวัลไปที่บ้านนะ เพื่อให้เด็กรู้สึกว่าเราสามารถมีปฏิกิริยากับติวเตอร์ได้เหมือนอยู่ในสถานการณ์ห้องจริง ไม่ได้มีความแตกต่างเหลื่อมล้ำทุกคนมีความเท่าเทียมกันหมด ก็สนุกไปอีกแบบ คิดว่าการติวแบบนี้มีข้อดีอย่างไรบ้าง ? ครูพี่หนู – ถามว่ามันดีไหม ก็คือมันดีสำหรับน้อง ๆ ทุกคน เพราะน้อง ๆ อยู่ที่ไหนก็ติวได้ อยู่ไกลแค่ไหนก็ติวได้ สำหรับพื้นที่ห่างไกลขอแค่มีสัญญานอินเตอร์เน็ต น้องก็สามารถติวได้หรือว่าน้องก็สามารถดูย้อนหลังได้ ดูซ้ำได้ เป็นการดีสำหรับน้อง ๆ ค่ะ ครูพี่เกศ – ข้อดีคือเด็กเก็นหน้าเราชัด เห็นใกล้ เห็นเสียงเราชัด สื่ออลัง ปกติถ้าเด็กนั่งติวในหาประชุมหรือในโรงเรียน หรือไกล ๆ แบบนี้ เขาก็จะมองเอคติ้งเราไม่ค่อยถนัด โปรเจกเตอร์บางทีเด็กหลัง ๆ มองไม่เห็น การติวแบบนี้คือจอมันชัด เลยรู้สึกว่าสุดท้ายแล้วมันน่าสนใจกว่าด้วยซ้ำ พอเรามาลองจริง ๆ แล้วภาพก็ชัด สื่อก็ชัด เสียงอะไรแบบนี้ได้เลยเต็มที่ ไม่ค่อยแตกต่างขนาดนั้นสุดท้ายแล้วอยู่ที่ความสนใจ ในปัจจุบันนี้เด็กก็จะเปลี่ยนไปหลายยุค แล้วเด็กยุคก่อนกับยุคนี้มีความสนใจในการติวแตกต่างกันอย่างไร ? ครูพี่หนู – ด้วยความสนใจน่าจะไม่ได้แตกต่างกัน แต่รูปแบบในการติวในการเข้าถึงสื่ออาจจะเปลี่ยนไป เพราะว่าตอนนี้มีสื่อฟรีเยอะ มีสื่อออนไลน์เยอะ ก็จะสามารถเข้าถึงสื่อพวกนี้ได้มากกว่าเด็กรุ่นเก่า ๆ ที่ยังไม่มีสื่อเข้าถึง ต้องรอติวเตอร์ไปติว หรือว่าต้องเข้ามาเรียนพิเศษ ครูพี่เกศ – เด็กสมัยก่อนคิดว่า จำเป็นต้องแข่งขัน จำเป็นต้องสอบ ต้องใส่ใจอ่านหนังสือมาก ๆ เพื่อจะเข้ามหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงให้ได้ แต่เด็กทุกวันนี้มีความรู้สึกว่าเรียนี่ไหนก็ได้ ไม่ต้องแข่งขัน รู้สึกว่าไม่จำเป็น ขอแค่มีเงินแล้วก็ไปเรียนเอกชนก็ได้ แนวคิดนี้มันอันตรายนะ คือเรามีหน้าที่สร้างความเข้าใจให้เด็ก ไม่ใช่ว่าเรียนที่ไหนมันเหมือนกัน เพราะถ้าเหมือนกันจริงคงไม่ต้องมาติว ถ้าเหมือนกันจริงคงไม่ได้มากวดวิชา เรียนพิเศษ เพราะสุดท้ายปลายทางมันไม่เหมือนกัน เราก็มีหน้าที่ในการบอกเด็กว่ามันต่างกันอย่างไร แล้วทำไมต้องมีการสอบเข้า ทำไมต้องมีการแข่งขัน เราต้องสร้างความเข้าใจให้เขา เขาแค่ไม่เข้าใจว่าทำไมมันถึงสำคัญ เด็กไม่เข้าใจว่าทำไมต้องแข่ง แข่งกันทำไม สอบเข้าไปแล้วมหาวิยาลัยนี้ กับมหาวิทยาลัยนี้มันต่างกันอย่างไร ครูพี่เกศ – เกศจิรา บุญตระกูล ปัจจุบันนี้ น้อง ๆ เลือกติวเป็นแต่ละวิชาหลัก ๆ เน้น ๆ บางคนเลือกที่จะทิ้งบางวิชาเพื่อจะไปทุ่มกับอีกวิชา พี่ๆ มีความคิดเห็นอย่างไรบ้าง ? ครูพี่หนู – ความจริงภาษาอังกฤษก็เป็นวิชาที่เป็นหัวใจหลักอยู่แล้ว ทั้งวิทย์ ทั้งศิลป์ เพราะว่าบางทีน้องสายวิทย์อาจจะรู้สึกว่า ตัวเองต้องโฟกัสแต่วิทย์ – คณิตฯ แต่ความจริงแล้วภาษาอังกฤษนี้เป็นตัวที่ตัดแต้มเด็ก ใครทำภาษาอังกฤษได้เยอะจะทำให้คะแนนเขาพุ่งมากขึ้น หรือว่าสามารถมีทางเลือกในการเข้าคณะมากขึ้น แล้วก็จะชูให้เห็นว่า ถ้าน้องได้ภาษาอังกฤษเพิ่มขึ้น น้องทำได้ดีขึ้น โอกาสทางเลือกของน้องก็จะมากขึ้นกว่าที่น้องได้อยู่แล้ว น้องก็อาจจะมีช้อยส์ มีทางเลือกในคณะที่เพิ่มมากขึ้น มีโอกาสยื่นคะแนนมากขึ้น ครูพี่เกศ – คำถามนี้ดีมากเลยค่ะ เพราะมันคือโดยเฉพาะวิชานี้เลยพี่เกศสอนวิชาภาษาไทย ภาษาไทยถ้าเป็นเด็กศิลป์จะไม่ทิ้งหรอกค่ะ เพราะเขารู้สึกว่ามันคือภาษา แต่ถ้าเกิดเด็กวิทย์เริ่มปัญหา จะรู้สึกว่าภาษาไทยอ่านเองได้ อ่านออกเข้าใจได้ แต่จริง ๆ อยากจะบอกว่า ภาษาไทยเป็นวิชาโกยคะแนนที่ดีมากเป็นอันดับหนึ่ง ถ้าดูค่าเฉลี่ยของคะแนนภาษาไทยจะโดมาเป็นอันดับหนึ่งเลย เนื่องจากว่ามันอ่านออกทุกคน แต่ว่าจะทำทันหรือเปล่าเป็นอีกเรื่อง เนื่องจากว่าจำนวนข้อสอบมันเยอะและถ้าเกิดเด็กไม่มีเทคนิคในการทำแต่ละข้อ ด้วยความรวดเร็ว แม่นยำ ยังไงเด็กก็พลาด แล้วบางครั้งเด็กเข้าใจว่าสิ่งที่เขาเข้าใจอยู่มันถูก แต่จริง ๆ แล้วมันผิดมาโดยตลอด อย่างเช่นคำนี้ อ่านแบบนี้ แต่จริง ๆ แล้วอ่านแบบนี้เด็กเพิ่งจะมารู้หลังจากออกจากห้องสอบแล้ว อ้าว! จริงหรอ! คือตอนที่ตอบมั่นใจมากเลยนะ มั่นใจว่าตอนสอบทำได้ทุกข้อ แต่แปลกมากว่าภาษาไทยไม่เคยมีใครได้คะแนนเต็ม เหตุผลเพราะความเข้าใจยังผิด ๆ กันอยู่ เราก็ต้องมาบอกเด็กว่าข้อสอบจะออกแนวนี้นะ แล้วมันจะหลอกเราแบบนี้นะ เราเก็งให้เขาเลยค่ะ เชื่ออย่างหนึ่งว่าอ่านเยอะไม่เท่ากับอ่านตรง เหมือนกันค่ะ ติวเยอะก็ไม่เท่ากับการติวตรง ดังนั้นถ้าเกิดเด็กมาฟังเราจริง ๆ เด็กจะประหยัดเวลาในการอ่านหนังสือเยอะมาก ชั่วโมงหนึ่งเท่ากัน เด็กคนหนึ่งอ่านในสิ่งที่ข้อสอบไม่ออก ในขณะที่อีกคนหนึ่งรู้ว่าข้อสอบจะออกอะไร แล้วใช้เวลาหนึ่งชั่วโมงนั้นอ่านในสิ่งที่จะออก ผลลัพธ์มันต่างกัน แล้วภาษาไทยอย่าทิ้งค่ะ ยกตัวอย่าง O-NET ในทุกรายวิชาเฉลี่ยรวมกัน 9,000 คำแนน ในสนามสอบ TCAS Admission เขาไม่ได้มาบอกว่าเด็กวิทย์ต้องเก่งวิทย์สุด เด็กศิลป์ภาษาต้องเก่งภาษาอังกฤษสุดประมาณนี้ ในสามารถทำวิชาอะไรก็ได้เพื่อให้ตัวเองเอาตัวรอด และมีคะแนนสูงคะแนนตุนเยอะที่สุดใน 9,000 นั้น เลยอยากเชียร์ให้เด็กเอาภาษาไทยไปเป็นส่วนหนึ่ง ในการตุนคะแนน สุดท้ายอยากจะให้ฝากเทคนิคการเตรียมตัว สำหรับการสอบทุกวิชา ทุกสนามสอบ ? ครูพี่หนู – ในส่วนของพี่หนูนะคะ เป็น reading ส่วนใหญ่ reading พี่หนูก็จะให้จับ Keyword แล้วก็จะพยายามไม่ให้น้องแปลเยอะ จะให้น้องแปลคำที่น้องแปลออกแล้วก็ใช้จินตนาการเดาเนื้อเรื่องว่า ที่น้องแปลออก อย่างมีคำว่า มด มีคำว่า สัตว์ แล้วมดเป็นอาหารของสัตว์ตัวนี้ เราก็จะให้น้องเดาต่อว่ามันน่าจะเป็นตัวอะไร ตัวอะไรที่กินมดบ้าง อะไรบ้างแบบนี้ค่ะ จะหา Keyword ให้กับเด็ก จะให้เด็กจินตนาการต่อ ส่วนใหญ่พี่หนูจะไม่ได้สอนให้น้องแปลทั้งเรื่อง เพราว่า พอเขาเข้าห้องสอบจริง ๆ เขาก็จะไม่เจอเรื่องที่พี่หนูสอน เขาก็จะเจอเรื่องอื่นไปอีก แต่เราจะทำให้เขาชินกับระบบความคิดว่า เขาต้องหาคำศัพท์สัก 2 – 3 คำที่เขาแปลออก แล้วก็จินตนาการเนื้อเรื่องไป เพราะว่าเรื้อเรื่องมันก็คือเรื่องรอบตัวของเรา มันไม่ได้หนีห่างหรือว่าไกลตัวน้อง มันเป็นเรื่อง Daily Use Daily Life ตลอด ที่มันอยู่รอบตัวน้อง ๆ อยากให้เขาจินตนาการแล้วก็ค่อย ๆ ไม่อยากให้เขามองว่า เจอศัพท์อ่านไม่ออกแปลไม่ได้แล้วเขาจะทำข้อสอบได้ และอีกอย่างที่ควรทำคือ โหลดข้อสอบเก่ามาทำ เพราะว่าข้อสอบในอนาคตก็จะออกในข้อสอบเดิม เพราะฉะนั้นแนวทางในการออกข้อสอบเขาก็จะออกแนวเดิม มันไม่ได้เปลี่ยนหรือหนีกันมาก แต่ถ้าเมื่อไหร่ที่น้องไม่ได้ฝึกทำโจทย์ น้องก็จะไม่คุ้นชินกับคำถามหรือว่ากับสไตล์การถาม หรือว่าเนื้อเรื่องที่ผู้ออกข้อสอบเขาเลือก ก็อยากจฝากน้อง ๆ ให้น้อง ๆ ทำข้อสอบเก่าเยอะ ๆ เพราะยังมีเวลาเตรียมตัวอยู่ มีเวลาเพิ่มเติมก็ดูสื่อฟรี ดูช่องฟรีที่พี่ ๆ ติวเตอร์ทั้งหลายก็ได้สอนน้อง ๆ ค่ะ ครูพี่เกศ – จริง ๆ คือการวางแผน เด็กที่สอบติดเข้าไปไม่ใช่เด็กเก่งทุกคนนะคะ แต่เป็นเด็กที่เรียนรู้หรือวางแผนอะไรมาก่อน อย่างที่บอกว่า scope ในการออกข้อสอบเด็กต้องศึกษาก่อนนะว่าคณะที่ตัวเองจะเข้า เราสอบอะไรบ้าง แล้ววิชานั้นมันสอบแค่หัวข้อไหนประมาณไหน ก็ยังคงยืนยันคำเดิมว่าอ่านเยอะไม่เท่ากับอ่านตรง ขอให้น้องวางแผนการที่จะสอบเข้าก่อน แล้วก็เตรียมตัวอ่านเฉพาะที่จะออกสอบ เพราะว่าในเวลาอันจำกัดนี้เด็กมีหน้าที่ในการอ่านเพื่อไปสอบแล้ว ต้องยอมรับอย่างหนึ่งว่าอ่านเพื่อไปเอาคะแนน เพื่อไปสอบให้ติด แล้วทีนี้เด็กจะไปเพิ่มพูนความรูอะไรนอกเหนือจากนี้ ค่อยหลังจากสอบติดก็ได้ เพราะเจาะจงจากสิ่งที่ตัวเองติดเข้าไปแล้ว แล้วค่อยไปต่อยอดเพิ่มเอา แต่ทุกวันนี้เด็กต้องเอาตัวรอดให้ได้ คือ การอ่านในสิ่งที่ข้อสอบจะออกแล้วไปสอบให้ติดก่อน เจาะให้ตรงค่ะ เป็นอย่างไรกันบ้างกับบทสัมภาษณ์ขอพี่ๆ ติวเตอร์ทั้ง 2 ท่าน แอดมินหวังเหลือเกินว่าถ้าหากน้องๆ นำไปปรับใช้แล้วจะช่วยให้สมหวังทุกประการ กับการเรียนต่อในมหาวิทยาลัย หรือคณะที่เราต้องการต่อไปนะครับ แล้วมาพบกันใหม่กับเรื่องราว สารดีๆ แบบนี้ สำหรับวันนี้ สวัสดีและโชคดีกับการสอบทุกคนนนะคร้าบบบบบ EZ Webmaster Related Posts ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง TK Park พาเปิดบทเรียนอันทรงคุณค่า จาก “คุณหญิงกษมา” กว่า 50 ปี บนเส้นทางการศึกษา กับบทบาทผู้ต่อจิ๊กซอว์ “การเรียนรู้” ให้สังคมไทย พร้อมเจาะ “7 บทเรียนที่ต้องเรียนรู้” พาไทยสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ได้แบบไม่รู้จบ Post navigation PREVIOUS Previous post: อาชีวะพัฒนาฝีมือบุคลากร สาขาช่างแอร์ ร่วมกับ บริษัท อีมิแน้นท์แอร์ (ประเทศไทย) จำกัดNEXT Next post: สวนสุนันทาเเต่งตั้งคณะผู้บริหารเสริมทีมขับเคลื่อนมหาวิทยาลัย Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง EZ WebmasterJune 13, 2025 วันนี้ทั้งเล่น ทั้งได้ความรู้ ทั้งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนนางรอง จ.บุรีรัมย์ วันที่13/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า… นักศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI… ทุนดีดี 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster November 17, 2020 EZ Webmaster November 17, 2020 เทคนิคการติวออนไลน์ในยุค New Normal สวัสดีคร้าบบบบ น้องๆ ที่น่ารักทุกคนกับมาพบกันอีกครั้งกับเรื่องราวดีๆ เกี่ยวกับการศึกษาในยุค New Normal ในบ้านเรากัน โดยแอดมินมีโอกาสไปสัมภาษณ์ติวเตอร์ชื่อดังในโครงการ Sahapat Admission ครั้งที่ 23 นั้นก็คือครูพี่หนู – กฤติกา ปาลกะวงศ์ และครูพี่เกศ – เกศจิรา บุญตระกูล เกี่ยวกับการปรับตัวสำหรับการติววิชาต่างๆ ในยุค New Normal ว่าควรจะทำอย่างไร และทางพี่ๆ ติวเตอร์มีการวางแผนและปรับตัวอย่างไรบ้าง เราไปเจอบทสัมภาษณ์แบบ Exclusive พร้อมกันได้เลยครับ การติวแบบใหม่ของติวเตอร์แต่ละท่านมีการเปลี่ยนแปลงจากเดิม จากเมื่อก่อนอย่างไรบ้าง ? ครูพี่หนู – คือตอนนี้ ในปีนี้เลยที่โควิดระบาดการที่จะให้เด็กนั่งรวมกันที่หอประชุม ก็เป็นการยากนะคะ เพราะว่า ด้วยมาตรการป้องกันต่าง ๆ ทางโครงการก็เลยปรับรูปแบบให้กลายเป็นติวออนไลน์ อยู่ไหนก็ติวได้ ซึ่งถามว่าสะดวกไหม ก็สะดวกกับเด็กแล้วก็สะดวกกับคุณครูด้วยนะคะ เพราะว่าเราก็จะเป็นการติว ถามว่ามันต่างจากแบบเดิมไหม ปรับมากไหม ก็คือน้องก็จะสามารถส่งคำถามร่วมสนุกหรือว่าอะไรกับเราได้ทาง Live แชทค่ะ ครูพี่เกศ – ปกติแล้วเด็กก็จะเจอครูหรือว่าติวเตอร์แบบตัวต่อตัว เด็กส่วนใหญ่ชอบเรียนสดคือสมัครคอร์สเรียนมา จะได้มาเจอตัวเป็น ๆ มีข้อสงสัยอะไรจะได้ถามเราได้เลย เขาจะรู้สึกว่าอินกับบรรยากาศในการเรียนมากกว่า แต่ว่ายุคใหม่นี้มันเปลี่ยนเป็นออนไลน์ ถามว่ามันมีความเปลี่ยนแปลงอย่างไร ตอนแรกเด็กก็จะรู้สึกว่าไม่เข้าใจ รู้สึกว่ามันต้องไม่ดีแน่ ๆ เลย เรียนกับสื่อ เรียนกับวิดีโอ เพราะไม่ได้เจอติวเตอร์ตัวเป็น ๆ แต่พอเด็กได้มาลองเรียนจริง ๆ แล้ว จะพบว่าการถามตอบมันยังคงเดิม เปลี่ยนจากการพูดถามเป็นการพิมพ์ถาม แล้วบางครั้งมันอาจจะดีกว่าด้วยซ้ำ อย่างเช่น บางวิชาเด็กสามารถถ่ายรูปส่งมาได้ เพราะว่าโปรแกรมทุกวันนี้มันมีหลากหลาย บางครั้งไม่ต้องพิมพ์ถามก็ได้นะ อย่างโปรแกรมบางอันที่สามารถเปิดไมค์แล้วพูดออกมาได้เลย แล้วติวเตอร์ก็สามารถตอบไปได้เลยะ ก็ไม่ได้แตกต่างมากสุดท้ายแล้วเด็กก็รู้สึกว่ามันสนุกไปอีกแบบ ครูพี่หนู – กฤติกา ปาลกะวงศ์ การที่น้องอาจจะไม่เห็นหน้าเรา เราพอจะมีวิธีการเทคนิคอย่างไรช่วยให้น้องทำได้ดีกว่าเดิม ? ครูพี่หนู – สำหรับหนูเองนะคะ หนูใช้เสียง เสียงจะขึ้น ๆ ลง ๆ ใช้เสียงแหลมตลอดในการติว เพราะว่า 1 ก็จะทำให้น้องตื่นตัวตลอด บางช็อตที่น้องเห็นแต่จอไม่เห็นหน้าเราด้วย ก็จะใช้เสียงในการดึงเด็กแล้วก็เป็นการเล่าเรื่อง บรรยายเรื่อง ให้มันเข้ากับเนื้อหาที่เรากำลังสอนอยู่ ครูพี่เกศ – การเอาสื่อที่น่าสนใจ การเล่นที่สีหน้า น้ำเสียง หรือการจูงใจในเรื่องของเกม การตอบคำถาม ให้เด็กรู้สึกว่าไม่ได้มานั่งฟังกับจอเฉย ๆ แต่เป็นการที่มีอะไรร่วมสนุกได้ พิมพ์ตอบได้นะ จะมีการส่งของรางวัลไปที่บ้านนะ เพื่อให้เด็กรู้สึกว่าเราสามารถมีปฏิกิริยากับติวเตอร์ได้เหมือนอยู่ในสถานการณ์ห้องจริง ไม่ได้มีความแตกต่างเหลื่อมล้ำทุกคนมีความเท่าเทียมกันหมด ก็สนุกไปอีกแบบ คิดว่าการติวแบบนี้มีข้อดีอย่างไรบ้าง ? ครูพี่หนู – ถามว่ามันดีไหม ก็คือมันดีสำหรับน้อง ๆ ทุกคน เพราะน้อง ๆ อยู่ที่ไหนก็ติวได้ อยู่ไกลแค่ไหนก็ติวได้ สำหรับพื้นที่ห่างไกลขอแค่มีสัญญานอินเตอร์เน็ต น้องก็สามารถติวได้หรือว่าน้องก็สามารถดูย้อนหลังได้ ดูซ้ำได้ เป็นการดีสำหรับน้อง ๆ ค่ะ ครูพี่เกศ – ข้อดีคือเด็กเก็นหน้าเราชัด เห็นใกล้ เห็นเสียงเราชัด สื่ออลัง ปกติถ้าเด็กนั่งติวในหาประชุมหรือในโรงเรียน หรือไกล ๆ แบบนี้ เขาก็จะมองเอคติ้งเราไม่ค่อยถนัด โปรเจกเตอร์บางทีเด็กหลัง ๆ มองไม่เห็น การติวแบบนี้คือจอมันชัด เลยรู้สึกว่าสุดท้ายแล้วมันน่าสนใจกว่าด้วยซ้ำ พอเรามาลองจริง ๆ แล้วภาพก็ชัด สื่อก็ชัด เสียงอะไรแบบนี้ได้เลยเต็มที่ ไม่ค่อยแตกต่างขนาดนั้นสุดท้ายแล้วอยู่ที่ความสนใจ ในปัจจุบันนี้เด็กก็จะเปลี่ยนไปหลายยุค แล้วเด็กยุคก่อนกับยุคนี้มีความสนใจในการติวแตกต่างกันอย่างไร ? ครูพี่หนู – ด้วยความสนใจน่าจะไม่ได้แตกต่างกัน แต่รูปแบบในการติวในการเข้าถึงสื่ออาจจะเปลี่ยนไป เพราะว่าตอนนี้มีสื่อฟรีเยอะ มีสื่อออนไลน์เยอะ ก็จะสามารถเข้าถึงสื่อพวกนี้ได้มากกว่าเด็กรุ่นเก่า ๆ ที่ยังไม่มีสื่อเข้าถึง ต้องรอติวเตอร์ไปติว หรือว่าต้องเข้ามาเรียนพิเศษ ครูพี่เกศ – เด็กสมัยก่อนคิดว่า จำเป็นต้องแข่งขัน จำเป็นต้องสอบ ต้องใส่ใจอ่านหนังสือมาก ๆ เพื่อจะเข้ามหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงให้ได้ แต่เด็กทุกวันนี้มีความรู้สึกว่าเรียนี่ไหนก็ได้ ไม่ต้องแข่งขัน รู้สึกว่าไม่จำเป็น ขอแค่มีเงินแล้วก็ไปเรียนเอกชนก็ได้ แนวคิดนี้มันอันตรายนะ คือเรามีหน้าที่สร้างความเข้าใจให้เด็ก ไม่ใช่ว่าเรียนที่ไหนมันเหมือนกัน เพราะถ้าเหมือนกันจริงคงไม่ต้องมาติว ถ้าเหมือนกันจริงคงไม่ได้มากวดวิชา เรียนพิเศษ เพราะสุดท้ายปลายทางมันไม่เหมือนกัน เราก็มีหน้าที่ในการบอกเด็กว่ามันต่างกันอย่างไร แล้วทำไมต้องมีการสอบเข้า ทำไมต้องมีการแข่งขัน เราต้องสร้างความเข้าใจให้เขา เขาแค่ไม่เข้าใจว่าทำไมมันถึงสำคัญ เด็กไม่เข้าใจว่าทำไมต้องแข่ง แข่งกันทำไม สอบเข้าไปแล้วมหาวิยาลัยนี้ กับมหาวิทยาลัยนี้มันต่างกันอย่างไร ครูพี่เกศ – เกศจิรา บุญตระกูล ปัจจุบันนี้ น้อง ๆ เลือกติวเป็นแต่ละวิชาหลัก ๆ เน้น ๆ บางคนเลือกที่จะทิ้งบางวิชาเพื่อจะไปทุ่มกับอีกวิชา พี่ๆ มีความคิดเห็นอย่างไรบ้าง ? ครูพี่หนู – ความจริงภาษาอังกฤษก็เป็นวิชาที่เป็นหัวใจหลักอยู่แล้ว ทั้งวิทย์ ทั้งศิลป์ เพราะว่าบางทีน้องสายวิทย์อาจจะรู้สึกว่า ตัวเองต้องโฟกัสแต่วิทย์ – คณิตฯ แต่ความจริงแล้วภาษาอังกฤษนี้เป็นตัวที่ตัดแต้มเด็ก ใครทำภาษาอังกฤษได้เยอะจะทำให้คะแนนเขาพุ่งมากขึ้น หรือว่าสามารถมีทางเลือกในการเข้าคณะมากขึ้น แล้วก็จะชูให้เห็นว่า ถ้าน้องได้ภาษาอังกฤษเพิ่มขึ้น น้องทำได้ดีขึ้น โอกาสทางเลือกของน้องก็จะมากขึ้นกว่าที่น้องได้อยู่แล้ว น้องก็อาจจะมีช้อยส์ มีทางเลือกในคณะที่เพิ่มมากขึ้น มีโอกาสยื่นคะแนนมากขึ้น ครูพี่เกศ – คำถามนี้ดีมากเลยค่ะ เพราะมันคือโดยเฉพาะวิชานี้เลยพี่เกศสอนวิชาภาษาไทย ภาษาไทยถ้าเป็นเด็กศิลป์จะไม่ทิ้งหรอกค่ะ เพราะเขารู้สึกว่ามันคือภาษา แต่ถ้าเกิดเด็กวิทย์เริ่มปัญหา จะรู้สึกว่าภาษาไทยอ่านเองได้ อ่านออกเข้าใจได้ แต่จริง ๆ อยากจะบอกว่า ภาษาไทยเป็นวิชาโกยคะแนนที่ดีมากเป็นอันดับหนึ่ง ถ้าดูค่าเฉลี่ยของคะแนนภาษาไทยจะโดมาเป็นอันดับหนึ่งเลย เนื่องจากว่ามันอ่านออกทุกคน แต่ว่าจะทำทันหรือเปล่าเป็นอีกเรื่อง เนื่องจากว่าจำนวนข้อสอบมันเยอะและถ้าเกิดเด็กไม่มีเทคนิคในการทำแต่ละข้อ ด้วยความรวดเร็ว แม่นยำ ยังไงเด็กก็พลาด แล้วบางครั้งเด็กเข้าใจว่าสิ่งที่เขาเข้าใจอยู่มันถูก แต่จริง ๆ แล้วมันผิดมาโดยตลอด อย่างเช่นคำนี้ อ่านแบบนี้ แต่จริง ๆ แล้วอ่านแบบนี้เด็กเพิ่งจะมารู้หลังจากออกจากห้องสอบแล้ว อ้าว! จริงหรอ! คือตอนที่ตอบมั่นใจมากเลยนะ มั่นใจว่าตอนสอบทำได้ทุกข้อ แต่แปลกมากว่าภาษาไทยไม่เคยมีใครได้คะแนนเต็ม เหตุผลเพราะความเข้าใจยังผิด ๆ กันอยู่ เราก็ต้องมาบอกเด็กว่าข้อสอบจะออกแนวนี้นะ แล้วมันจะหลอกเราแบบนี้นะ เราเก็งให้เขาเลยค่ะ เชื่ออย่างหนึ่งว่าอ่านเยอะไม่เท่ากับอ่านตรง เหมือนกันค่ะ ติวเยอะก็ไม่เท่ากับการติวตรง ดังนั้นถ้าเกิดเด็กมาฟังเราจริง ๆ เด็กจะประหยัดเวลาในการอ่านหนังสือเยอะมาก ชั่วโมงหนึ่งเท่ากัน เด็กคนหนึ่งอ่านในสิ่งที่ข้อสอบไม่ออก ในขณะที่อีกคนหนึ่งรู้ว่าข้อสอบจะออกอะไร แล้วใช้เวลาหนึ่งชั่วโมงนั้นอ่านในสิ่งที่จะออก ผลลัพธ์มันต่างกัน แล้วภาษาไทยอย่าทิ้งค่ะ ยกตัวอย่าง O-NET ในทุกรายวิชาเฉลี่ยรวมกัน 9,000 คำแนน ในสนามสอบ TCAS Admission เขาไม่ได้มาบอกว่าเด็กวิทย์ต้องเก่งวิทย์สุด เด็กศิลป์ภาษาต้องเก่งภาษาอังกฤษสุดประมาณนี้ ในสามารถทำวิชาอะไรก็ได้เพื่อให้ตัวเองเอาตัวรอด และมีคะแนนสูงคะแนนตุนเยอะที่สุดใน 9,000 นั้น เลยอยากเชียร์ให้เด็กเอาภาษาไทยไปเป็นส่วนหนึ่ง ในการตุนคะแนน สุดท้ายอยากจะให้ฝากเทคนิคการเตรียมตัว สำหรับการสอบทุกวิชา ทุกสนามสอบ ? ครูพี่หนู – ในส่วนของพี่หนูนะคะ เป็น reading ส่วนใหญ่ reading พี่หนูก็จะให้จับ Keyword แล้วก็จะพยายามไม่ให้น้องแปลเยอะ จะให้น้องแปลคำที่น้องแปลออกแล้วก็ใช้จินตนาการเดาเนื้อเรื่องว่า ที่น้องแปลออก อย่างมีคำว่า มด มีคำว่า สัตว์ แล้วมดเป็นอาหารของสัตว์ตัวนี้ เราก็จะให้น้องเดาต่อว่ามันน่าจะเป็นตัวอะไร ตัวอะไรที่กินมดบ้าง อะไรบ้างแบบนี้ค่ะ จะหา Keyword ให้กับเด็ก จะให้เด็กจินตนาการต่อ ส่วนใหญ่พี่หนูจะไม่ได้สอนให้น้องแปลทั้งเรื่อง เพราว่า พอเขาเข้าห้องสอบจริง ๆ เขาก็จะไม่เจอเรื่องที่พี่หนูสอน เขาก็จะเจอเรื่องอื่นไปอีก แต่เราจะทำให้เขาชินกับระบบความคิดว่า เขาต้องหาคำศัพท์สัก 2 – 3 คำที่เขาแปลออก แล้วก็จินตนาการเนื้อเรื่องไป เพราะว่าเรื้อเรื่องมันก็คือเรื่องรอบตัวของเรา มันไม่ได้หนีห่างหรือว่าไกลตัวน้อง มันเป็นเรื่อง Daily Use Daily Life ตลอด ที่มันอยู่รอบตัวน้อง ๆ อยากให้เขาจินตนาการแล้วก็ค่อย ๆ ไม่อยากให้เขามองว่า เจอศัพท์อ่านไม่ออกแปลไม่ได้แล้วเขาจะทำข้อสอบได้ และอีกอย่างที่ควรทำคือ โหลดข้อสอบเก่ามาทำ เพราะว่าข้อสอบในอนาคตก็จะออกในข้อสอบเดิม เพราะฉะนั้นแนวทางในการออกข้อสอบเขาก็จะออกแนวเดิม มันไม่ได้เปลี่ยนหรือหนีกันมาก แต่ถ้าเมื่อไหร่ที่น้องไม่ได้ฝึกทำโจทย์ น้องก็จะไม่คุ้นชินกับคำถามหรือว่ากับสไตล์การถาม หรือว่าเนื้อเรื่องที่ผู้ออกข้อสอบเขาเลือก ก็อยากจฝากน้อง ๆ ให้น้อง ๆ ทำข้อสอบเก่าเยอะ ๆ เพราะยังมีเวลาเตรียมตัวอยู่ มีเวลาเพิ่มเติมก็ดูสื่อฟรี ดูช่องฟรีที่พี่ ๆ ติวเตอร์ทั้งหลายก็ได้สอนน้อง ๆ ค่ะ ครูพี่เกศ – จริง ๆ คือการวางแผน เด็กที่สอบติดเข้าไปไม่ใช่เด็กเก่งทุกคนนะคะ แต่เป็นเด็กที่เรียนรู้หรือวางแผนอะไรมาก่อน อย่างที่บอกว่า scope ในการออกข้อสอบเด็กต้องศึกษาก่อนนะว่าคณะที่ตัวเองจะเข้า เราสอบอะไรบ้าง แล้ววิชานั้นมันสอบแค่หัวข้อไหนประมาณไหน ก็ยังคงยืนยันคำเดิมว่าอ่านเยอะไม่เท่ากับอ่านตรง ขอให้น้องวางแผนการที่จะสอบเข้าก่อน แล้วก็เตรียมตัวอ่านเฉพาะที่จะออกสอบ เพราะว่าในเวลาอันจำกัดนี้เด็กมีหน้าที่ในการอ่านเพื่อไปสอบแล้ว ต้องยอมรับอย่างหนึ่งว่าอ่านเพื่อไปเอาคะแนน เพื่อไปสอบให้ติด แล้วทีนี้เด็กจะไปเพิ่มพูนความรูอะไรนอกเหนือจากนี้ ค่อยหลังจากสอบติดก็ได้ เพราะเจาะจงจากสิ่งที่ตัวเองติดเข้าไปแล้ว แล้วค่อยไปต่อยอดเพิ่มเอา แต่ทุกวันนี้เด็กต้องเอาตัวรอดให้ได้ คือ การอ่านในสิ่งที่ข้อสอบจะออกแล้วไปสอบให้ติดก่อน เจาะให้ตรงค่ะ เป็นอย่างไรกันบ้างกับบทสัมภาษณ์ขอพี่ๆ ติวเตอร์ทั้ง 2 ท่าน แอดมินหวังเหลือเกินว่าถ้าหากน้องๆ นำไปปรับใช้แล้วจะช่วยให้สมหวังทุกประการ กับการเรียนต่อในมหาวิทยาลัย หรือคณะที่เราต้องการต่อไปนะครับ แล้วมาพบกันใหม่กับเรื่องราว สารดีๆ แบบนี้ สำหรับวันนี้ สวัสดีและโชคดีกับการสอบทุกคนนนะคร้าบบบบบ EZ Webmaster Related Posts ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง TK Park พาเปิดบทเรียนอันทรงคุณค่า จาก “คุณหญิงกษมา” กว่า 50 ปี บนเส้นทางการศึกษา กับบทบาทผู้ต่อจิ๊กซอว์ “การเรียนรู้” ให้สังคมไทย พร้อมเจาะ “7 บทเรียนที่ต้องเรียนรู้” พาไทยสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ได้แบบไม่รู้จบ Post navigation PREVIOUS Previous post: อาชีวะพัฒนาฝีมือบุคลากร สาขาช่างแอร์ ร่วมกับ บริษัท อีมิแน้นท์แอร์ (ประเทศไทย) จำกัดNEXT Next post: สวนสุนันทาเเต่งตั้งคณะผู้บริหารเสริมทีมขับเคลื่อนมหาวิทยาลัย Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร EZ WebmasterJune 14, 2025 โครงการ ODOS (One District One Scholarship หรือ ODOS) ที่กำลังจัดทำโครงการ ODOS Summer Camp ให้ทุน 1 อำเภอ 1 ทุน แก่เยาวชนไปศึกษาดูงานในต่างประเทศ… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง EZ WebmasterJune 13, 2025 วันนี้ทั้งเล่น ทั้งได้ความรู้ ทั้งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนนางรอง จ.บุรีรัมย์ วันที่13/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า…
โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง EZ WebmasterJune 13, 2025 วันนี้ทั้งเล่น ทั้งได้ความรู้ ทั้งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนนางรอง จ.บุรีรัมย์ วันที่13/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า…
คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI… ทุนดีดี 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster November 17, 2020 EZ Webmaster November 17, 2020 เทคนิคการติวออนไลน์ในยุค New Normal สวัสดีคร้าบบบบ น้องๆ ที่น่ารักทุกคนกับมาพบกันอีกครั้งกับเรื่องราวดีๆ เกี่ยวกับการศึกษาในยุค New Normal ในบ้านเรากัน โดยแอดมินมีโอกาสไปสัมภาษณ์ติวเตอร์ชื่อดังในโครงการ Sahapat Admission ครั้งที่ 23 นั้นก็คือครูพี่หนู – กฤติกา ปาลกะวงศ์ และครูพี่เกศ – เกศจิรา บุญตระกูล เกี่ยวกับการปรับตัวสำหรับการติววิชาต่างๆ ในยุค New Normal ว่าควรจะทำอย่างไร และทางพี่ๆ ติวเตอร์มีการวางแผนและปรับตัวอย่างไรบ้าง เราไปเจอบทสัมภาษณ์แบบ Exclusive พร้อมกันได้เลยครับ การติวแบบใหม่ของติวเตอร์แต่ละท่านมีการเปลี่ยนแปลงจากเดิม จากเมื่อก่อนอย่างไรบ้าง ? ครูพี่หนู – คือตอนนี้ ในปีนี้เลยที่โควิดระบาดการที่จะให้เด็กนั่งรวมกันที่หอประชุม ก็เป็นการยากนะคะ เพราะว่า ด้วยมาตรการป้องกันต่าง ๆ ทางโครงการก็เลยปรับรูปแบบให้กลายเป็นติวออนไลน์ อยู่ไหนก็ติวได้ ซึ่งถามว่าสะดวกไหม ก็สะดวกกับเด็กแล้วก็สะดวกกับคุณครูด้วยนะคะ เพราะว่าเราก็จะเป็นการติว ถามว่ามันต่างจากแบบเดิมไหม ปรับมากไหม ก็คือน้องก็จะสามารถส่งคำถามร่วมสนุกหรือว่าอะไรกับเราได้ทาง Live แชทค่ะ ครูพี่เกศ – ปกติแล้วเด็กก็จะเจอครูหรือว่าติวเตอร์แบบตัวต่อตัว เด็กส่วนใหญ่ชอบเรียนสดคือสมัครคอร์สเรียนมา จะได้มาเจอตัวเป็น ๆ มีข้อสงสัยอะไรจะได้ถามเราได้เลย เขาจะรู้สึกว่าอินกับบรรยากาศในการเรียนมากกว่า แต่ว่ายุคใหม่นี้มันเปลี่ยนเป็นออนไลน์ ถามว่ามันมีความเปลี่ยนแปลงอย่างไร ตอนแรกเด็กก็จะรู้สึกว่าไม่เข้าใจ รู้สึกว่ามันต้องไม่ดีแน่ ๆ เลย เรียนกับสื่อ เรียนกับวิดีโอ เพราะไม่ได้เจอติวเตอร์ตัวเป็น ๆ แต่พอเด็กได้มาลองเรียนจริง ๆ แล้ว จะพบว่าการถามตอบมันยังคงเดิม เปลี่ยนจากการพูดถามเป็นการพิมพ์ถาม แล้วบางครั้งมันอาจจะดีกว่าด้วยซ้ำ อย่างเช่น บางวิชาเด็กสามารถถ่ายรูปส่งมาได้ เพราะว่าโปรแกรมทุกวันนี้มันมีหลากหลาย บางครั้งไม่ต้องพิมพ์ถามก็ได้นะ อย่างโปรแกรมบางอันที่สามารถเปิดไมค์แล้วพูดออกมาได้เลย แล้วติวเตอร์ก็สามารถตอบไปได้เลยะ ก็ไม่ได้แตกต่างมากสุดท้ายแล้วเด็กก็รู้สึกว่ามันสนุกไปอีกแบบ ครูพี่หนู – กฤติกา ปาลกะวงศ์ การที่น้องอาจจะไม่เห็นหน้าเรา เราพอจะมีวิธีการเทคนิคอย่างไรช่วยให้น้องทำได้ดีกว่าเดิม ? ครูพี่หนู – สำหรับหนูเองนะคะ หนูใช้เสียง เสียงจะขึ้น ๆ ลง ๆ ใช้เสียงแหลมตลอดในการติว เพราะว่า 1 ก็จะทำให้น้องตื่นตัวตลอด บางช็อตที่น้องเห็นแต่จอไม่เห็นหน้าเราด้วย ก็จะใช้เสียงในการดึงเด็กแล้วก็เป็นการเล่าเรื่อง บรรยายเรื่อง ให้มันเข้ากับเนื้อหาที่เรากำลังสอนอยู่ ครูพี่เกศ – การเอาสื่อที่น่าสนใจ การเล่นที่สีหน้า น้ำเสียง หรือการจูงใจในเรื่องของเกม การตอบคำถาม ให้เด็กรู้สึกว่าไม่ได้มานั่งฟังกับจอเฉย ๆ แต่เป็นการที่มีอะไรร่วมสนุกได้ พิมพ์ตอบได้นะ จะมีการส่งของรางวัลไปที่บ้านนะ เพื่อให้เด็กรู้สึกว่าเราสามารถมีปฏิกิริยากับติวเตอร์ได้เหมือนอยู่ในสถานการณ์ห้องจริง ไม่ได้มีความแตกต่างเหลื่อมล้ำทุกคนมีความเท่าเทียมกันหมด ก็สนุกไปอีกแบบ คิดว่าการติวแบบนี้มีข้อดีอย่างไรบ้าง ? ครูพี่หนู – ถามว่ามันดีไหม ก็คือมันดีสำหรับน้อง ๆ ทุกคน เพราะน้อง ๆ อยู่ที่ไหนก็ติวได้ อยู่ไกลแค่ไหนก็ติวได้ สำหรับพื้นที่ห่างไกลขอแค่มีสัญญานอินเตอร์เน็ต น้องก็สามารถติวได้หรือว่าน้องก็สามารถดูย้อนหลังได้ ดูซ้ำได้ เป็นการดีสำหรับน้อง ๆ ค่ะ ครูพี่เกศ – ข้อดีคือเด็กเก็นหน้าเราชัด เห็นใกล้ เห็นเสียงเราชัด สื่ออลัง ปกติถ้าเด็กนั่งติวในหาประชุมหรือในโรงเรียน หรือไกล ๆ แบบนี้ เขาก็จะมองเอคติ้งเราไม่ค่อยถนัด โปรเจกเตอร์บางทีเด็กหลัง ๆ มองไม่เห็น การติวแบบนี้คือจอมันชัด เลยรู้สึกว่าสุดท้ายแล้วมันน่าสนใจกว่าด้วยซ้ำ พอเรามาลองจริง ๆ แล้วภาพก็ชัด สื่อก็ชัด เสียงอะไรแบบนี้ได้เลยเต็มที่ ไม่ค่อยแตกต่างขนาดนั้นสุดท้ายแล้วอยู่ที่ความสนใจ ในปัจจุบันนี้เด็กก็จะเปลี่ยนไปหลายยุค แล้วเด็กยุคก่อนกับยุคนี้มีความสนใจในการติวแตกต่างกันอย่างไร ? ครูพี่หนู – ด้วยความสนใจน่าจะไม่ได้แตกต่างกัน แต่รูปแบบในการติวในการเข้าถึงสื่ออาจจะเปลี่ยนไป เพราะว่าตอนนี้มีสื่อฟรีเยอะ มีสื่อออนไลน์เยอะ ก็จะสามารถเข้าถึงสื่อพวกนี้ได้มากกว่าเด็กรุ่นเก่า ๆ ที่ยังไม่มีสื่อเข้าถึง ต้องรอติวเตอร์ไปติว หรือว่าต้องเข้ามาเรียนพิเศษ ครูพี่เกศ – เด็กสมัยก่อนคิดว่า จำเป็นต้องแข่งขัน จำเป็นต้องสอบ ต้องใส่ใจอ่านหนังสือมาก ๆ เพื่อจะเข้ามหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงให้ได้ แต่เด็กทุกวันนี้มีความรู้สึกว่าเรียนี่ไหนก็ได้ ไม่ต้องแข่งขัน รู้สึกว่าไม่จำเป็น ขอแค่มีเงินแล้วก็ไปเรียนเอกชนก็ได้ แนวคิดนี้มันอันตรายนะ คือเรามีหน้าที่สร้างความเข้าใจให้เด็ก ไม่ใช่ว่าเรียนที่ไหนมันเหมือนกัน เพราะถ้าเหมือนกันจริงคงไม่ต้องมาติว ถ้าเหมือนกันจริงคงไม่ได้มากวดวิชา เรียนพิเศษ เพราะสุดท้ายปลายทางมันไม่เหมือนกัน เราก็มีหน้าที่ในการบอกเด็กว่ามันต่างกันอย่างไร แล้วทำไมต้องมีการสอบเข้า ทำไมต้องมีการแข่งขัน เราต้องสร้างความเข้าใจให้เขา เขาแค่ไม่เข้าใจว่าทำไมมันถึงสำคัญ เด็กไม่เข้าใจว่าทำไมต้องแข่ง แข่งกันทำไม สอบเข้าไปแล้วมหาวิยาลัยนี้ กับมหาวิทยาลัยนี้มันต่างกันอย่างไร ครูพี่เกศ – เกศจิรา บุญตระกูล ปัจจุบันนี้ น้อง ๆ เลือกติวเป็นแต่ละวิชาหลัก ๆ เน้น ๆ บางคนเลือกที่จะทิ้งบางวิชาเพื่อจะไปทุ่มกับอีกวิชา พี่ๆ มีความคิดเห็นอย่างไรบ้าง ? ครูพี่หนู – ความจริงภาษาอังกฤษก็เป็นวิชาที่เป็นหัวใจหลักอยู่แล้ว ทั้งวิทย์ ทั้งศิลป์ เพราะว่าบางทีน้องสายวิทย์อาจจะรู้สึกว่า ตัวเองต้องโฟกัสแต่วิทย์ – คณิตฯ แต่ความจริงแล้วภาษาอังกฤษนี้เป็นตัวที่ตัดแต้มเด็ก ใครทำภาษาอังกฤษได้เยอะจะทำให้คะแนนเขาพุ่งมากขึ้น หรือว่าสามารถมีทางเลือกในการเข้าคณะมากขึ้น แล้วก็จะชูให้เห็นว่า ถ้าน้องได้ภาษาอังกฤษเพิ่มขึ้น น้องทำได้ดีขึ้น โอกาสทางเลือกของน้องก็จะมากขึ้นกว่าที่น้องได้อยู่แล้ว น้องก็อาจจะมีช้อยส์ มีทางเลือกในคณะที่เพิ่มมากขึ้น มีโอกาสยื่นคะแนนมากขึ้น ครูพี่เกศ – คำถามนี้ดีมากเลยค่ะ เพราะมันคือโดยเฉพาะวิชานี้เลยพี่เกศสอนวิชาภาษาไทย ภาษาไทยถ้าเป็นเด็กศิลป์จะไม่ทิ้งหรอกค่ะ เพราะเขารู้สึกว่ามันคือภาษา แต่ถ้าเกิดเด็กวิทย์เริ่มปัญหา จะรู้สึกว่าภาษาไทยอ่านเองได้ อ่านออกเข้าใจได้ แต่จริง ๆ อยากจะบอกว่า ภาษาไทยเป็นวิชาโกยคะแนนที่ดีมากเป็นอันดับหนึ่ง ถ้าดูค่าเฉลี่ยของคะแนนภาษาไทยจะโดมาเป็นอันดับหนึ่งเลย เนื่องจากว่ามันอ่านออกทุกคน แต่ว่าจะทำทันหรือเปล่าเป็นอีกเรื่อง เนื่องจากว่าจำนวนข้อสอบมันเยอะและถ้าเกิดเด็กไม่มีเทคนิคในการทำแต่ละข้อ ด้วยความรวดเร็ว แม่นยำ ยังไงเด็กก็พลาด แล้วบางครั้งเด็กเข้าใจว่าสิ่งที่เขาเข้าใจอยู่มันถูก แต่จริง ๆ แล้วมันผิดมาโดยตลอด อย่างเช่นคำนี้ อ่านแบบนี้ แต่จริง ๆ แล้วอ่านแบบนี้เด็กเพิ่งจะมารู้หลังจากออกจากห้องสอบแล้ว อ้าว! จริงหรอ! คือตอนที่ตอบมั่นใจมากเลยนะ มั่นใจว่าตอนสอบทำได้ทุกข้อ แต่แปลกมากว่าภาษาไทยไม่เคยมีใครได้คะแนนเต็ม เหตุผลเพราะความเข้าใจยังผิด ๆ กันอยู่ เราก็ต้องมาบอกเด็กว่าข้อสอบจะออกแนวนี้นะ แล้วมันจะหลอกเราแบบนี้นะ เราเก็งให้เขาเลยค่ะ เชื่ออย่างหนึ่งว่าอ่านเยอะไม่เท่ากับอ่านตรง เหมือนกันค่ะ ติวเยอะก็ไม่เท่ากับการติวตรง ดังนั้นถ้าเกิดเด็กมาฟังเราจริง ๆ เด็กจะประหยัดเวลาในการอ่านหนังสือเยอะมาก ชั่วโมงหนึ่งเท่ากัน เด็กคนหนึ่งอ่านในสิ่งที่ข้อสอบไม่ออก ในขณะที่อีกคนหนึ่งรู้ว่าข้อสอบจะออกอะไร แล้วใช้เวลาหนึ่งชั่วโมงนั้นอ่านในสิ่งที่จะออก ผลลัพธ์มันต่างกัน แล้วภาษาไทยอย่าทิ้งค่ะ ยกตัวอย่าง O-NET ในทุกรายวิชาเฉลี่ยรวมกัน 9,000 คำแนน ในสนามสอบ TCAS Admission เขาไม่ได้มาบอกว่าเด็กวิทย์ต้องเก่งวิทย์สุด เด็กศิลป์ภาษาต้องเก่งภาษาอังกฤษสุดประมาณนี้ ในสามารถทำวิชาอะไรก็ได้เพื่อให้ตัวเองเอาตัวรอด และมีคะแนนสูงคะแนนตุนเยอะที่สุดใน 9,000 นั้น เลยอยากเชียร์ให้เด็กเอาภาษาไทยไปเป็นส่วนหนึ่ง ในการตุนคะแนน สุดท้ายอยากจะให้ฝากเทคนิคการเตรียมตัว สำหรับการสอบทุกวิชา ทุกสนามสอบ ? ครูพี่หนู – ในส่วนของพี่หนูนะคะ เป็น reading ส่วนใหญ่ reading พี่หนูก็จะให้จับ Keyword แล้วก็จะพยายามไม่ให้น้องแปลเยอะ จะให้น้องแปลคำที่น้องแปลออกแล้วก็ใช้จินตนาการเดาเนื้อเรื่องว่า ที่น้องแปลออก อย่างมีคำว่า มด มีคำว่า สัตว์ แล้วมดเป็นอาหารของสัตว์ตัวนี้ เราก็จะให้น้องเดาต่อว่ามันน่าจะเป็นตัวอะไร ตัวอะไรที่กินมดบ้าง อะไรบ้างแบบนี้ค่ะ จะหา Keyword ให้กับเด็ก จะให้เด็กจินตนาการต่อ ส่วนใหญ่พี่หนูจะไม่ได้สอนให้น้องแปลทั้งเรื่อง เพราว่า พอเขาเข้าห้องสอบจริง ๆ เขาก็จะไม่เจอเรื่องที่พี่หนูสอน เขาก็จะเจอเรื่องอื่นไปอีก แต่เราจะทำให้เขาชินกับระบบความคิดว่า เขาต้องหาคำศัพท์สัก 2 – 3 คำที่เขาแปลออก แล้วก็จินตนาการเนื้อเรื่องไป เพราะว่าเรื้อเรื่องมันก็คือเรื่องรอบตัวของเรา มันไม่ได้หนีห่างหรือว่าไกลตัวน้อง มันเป็นเรื่อง Daily Use Daily Life ตลอด ที่มันอยู่รอบตัวน้อง ๆ อยากให้เขาจินตนาการแล้วก็ค่อย ๆ ไม่อยากให้เขามองว่า เจอศัพท์อ่านไม่ออกแปลไม่ได้แล้วเขาจะทำข้อสอบได้ และอีกอย่างที่ควรทำคือ โหลดข้อสอบเก่ามาทำ เพราะว่าข้อสอบในอนาคตก็จะออกในข้อสอบเดิม เพราะฉะนั้นแนวทางในการออกข้อสอบเขาก็จะออกแนวเดิม มันไม่ได้เปลี่ยนหรือหนีกันมาก แต่ถ้าเมื่อไหร่ที่น้องไม่ได้ฝึกทำโจทย์ น้องก็จะไม่คุ้นชินกับคำถามหรือว่ากับสไตล์การถาม หรือว่าเนื้อเรื่องที่ผู้ออกข้อสอบเขาเลือก ก็อยากจฝากน้อง ๆ ให้น้อง ๆ ทำข้อสอบเก่าเยอะ ๆ เพราะยังมีเวลาเตรียมตัวอยู่ มีเวลาเพิ่มเติมก็ดูสื่อฟรี ดูช่องฟรีที่พี่ ๆ ติวเตอร์ทั้งหลายก็ได้สอนน้อง ๆ ค่ะ ครูพี่เกศ – จริง ๆ คือการวางแผน เด็กที่สอบติดเข้าไปไม่ใช่เด็กเก่งทุกคนนะคะ แต่เป็นเด็กที่เรียนรู้หรือวางแผนอะไรมาก่อน อย่างที่บอกว่า scope ในการออกข้อสอบเด็กต้องศึกษาก่อนนะว่าคณะที่ตัวเองจะเข้า เราสอบอะไรบ้าง แล้ววิชานั้นมันสอบแค่หัวข้อไหนประมาณไหน ก็ยังคงยืนยันคำเดิมว่าอ่านเยอะไม่เท่ากับอ่านตรง ขอให้น้องวางแผนการที่จะสอบเข้าก่อน แล้วก็เตรียมตัวอ่านเฉพาะที่จะออกสอบ เพราะว่าในเวลาอันจำกัดนี้เด็กมีหน้าที่ในการอ่านเพื่อไปสอบแล้ว ต้องยอมรับอย่างหนึ่งว่าอ่านเพื่อไปเอาคะแนน เพื่อไปสอบให้ติด แล้วทีนี้เด็กจะไปเพิ่มพูนความรูอะไรนอกเหนือจากนี้ ค่อยหลังจากสอบติดก็ได้ เพราะเจาะจงจากสิ่งที่ตัวเองติดเข้าไปแล้ว แล้วค่อยไปต่อยอดเพิ่มเอา แต่ทุกวันนี้เด็กต้องเอาตัวรอดให้ได้ คือ การอ่านในสิ่งที่ข้อสอบจะออกแล้วไปสอบให้ติดก่อน เจาะให้ตรงค่ะ เป็นอย่างไรกันบ้างกับบทสัมภาษณ์ขอพี่ๆ ติวเตอร์ทั้ง 2 ท่าน แอดมินหวังเหลือเกินว่าถ้าหากน้องๆ นำไปปรับใช้แล้วจะช่วยให้สมหวังทุกประการ กับการเรียนต่อในมหาวิทยาลัย หรือคณะที่เราต้องการต่อไปนะครับ แล้วมาพบกันใหม่กับเรื่องราว สารดีๆ แบบนี้ สำหรับวันนี้ สวัสดีและโชคดีกับการสอบทุกคนนนะคร้าบบบบบ EZ Webmaster Related Posts ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง TK Park พาเปิดบทเรียนอันทรงคุณค่า จาก “คุณหญิงกษมา” กว่า 50 ปี บนเส้นทางการศึกษา กับบทบาทผู้ต่อจิ๊กซอว์ “การเรียนรู้” ให้สังคมไทย พร้อมเจาะ “7 บทเรียนที่ต้องเรียนรู้” พาไทยสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ได้แบบไม่รู้จบ Post navigation PREVIOUS Previous post: อาชีวะพัฒนาฝีมือบุคลากร สาขาช่างแอร์ ร่วมกับ บริษัท อีมิแน้นท์แอร์ (ประเทศไทย) จำกัดNEXT Next post: สวนสุนันทาเเต่งตั้งคณะผู้บริหารเสริมทีมขับเคลื่อนมหาวิทยาลัย Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI… ทุนดีดี 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster November 17, 2020 EZ Webmaster November 17, 2020 เทคนิคการติวออนไลน์ในยุค New Normal สวัสดีคร้าบบบบ น้องๆ ที่น่ารักทุกคนกับมาพบกันอีกครั้งกับเรื่องราวดีๆ เกี่ยวกับการศึกษาในยุค New Normal ในบ้านเรากัน โดยแอดมินมีโอกาสไปสัมภาษณ์ติวเตอร์ชื่อดังในโครงการ Sahapat Admission ครั้งที่ 23 นั้นก็คือครูพี่หนู – กฤติกา ปาลกะวงศ์ และครูพี่เกศ – เกศจิรา บุญตระกูล เกี่ยวกับการปรับตัวสำหรับการติววิชาต่างๆ ในยุค New Normal ว่าควรจะทำอย่างไร และทางพี่ๆ ติวเตอร์มีการวางแผนและปรับตัวอย่างไรบ้าง เราไปเจอบทสัมภาษณ์แบบ Exclusive พร้อมกันได้เลยครับ การติวแบบใหม่ของติวเตอร์แต่ละท่านมีการเปลี่ยนแปลงจากเดิม จากเมื่อก่อนอย่างไรบ้าง ? ครูพี่หนู – คือตอนนี้ ในปีนี้เลยที่โควิดระบาดการที่จะให้เด็กนั่งรวมกันที่หอประชุม ก็เป็นการยากนะคะ เพราะว่า ด้วยมาตรการป้องกันต่าง ๆ ทางโครงการก็เลยปรับรูปแบบให้กลายเป็นติวออนไลน์ อยู่ไหนก็ติวได้ ซึ่งถามว่าสะดวกไหม ก็สะดวกกับเด็กแล้วก็สะดวกกับคุณครูด้วยนะคะ เพราะว่าเราก็จะเป็นการติว ถามว่ามันต่างจากแบบเดิมไหม ปรับมากไหม ก็คือน้องก็จะสามารถส่งคำถามร่วมสนุกหรือว่าอะไรกับเราได้ทาง Live แชทค่ะ ครูพี่เกศ – ปกติแล้วเด็กก็จะเจอครูหรือว่าติวเตอร์แบบตัวต่อตัว เด็กส่วนใหญ่ชอบเรียนสดคือสมัครคอร์สเรียนมา จะได้มาเจอตัวเป็น ๆ มีข้อสงสัยอะไรจะได้ถามเราได้เลย เขาจะรู้สึกว่าอินกับบรรยากาศในการเรียนมากกว่า แต่ว่ายุคใหม่นี้มันเปลี่ยนเป็นออนไลน์ ถามว่ามันมีความเปลี่ยนแปลงอย่างไร ตอนแรกเด็กก็จะรู้สึกว่าไม่เข้าใจ รู้สึกว่ามันต้องไม่ดีแน่ ๆ เลย เรียนกับสื่อ เรียนกับวิดีโอ เพราะไม่ได้เจอติวเตอร์ตัวเป็น ๆ แต่พอเด็กได้มาลองเรียนจริง ๆ แล้ว จะพบว่าการถามตอบมันยังคงเดิม เปลี่ยนจากการพูดถามเป็นการพิมพ์ถาม แล้วบางครั้งมันอาจจะดีกว่าด้วยซ้ำ อย่างเช่น บางวิชาเด็กสามารถถ่ายรูปส่งมาได้ เพราะว่าโปรแกรมทุกวันนี้มันมีหลากหลาย บางครั้งไม่ต้องพิมพ์ถามก็ได้นะ อย่างโปรแกรมบางอันที่สามารถเปิดไมค์แล้วพูดออกมาได้เลย แล้วติวเตอร์ก็สามารถตอบไปได้เลยะ ก็ไม่ได้แตกต่างมากสุดท้ายแล้วเด็กก็รู้สึกว่ามันสนุกไปอีกแบบ ครูพี่หนู – กฤติกา ปาลกะวงศ์ การที่น้องอาจจะไม่เห็นหน้าเรา เราพอจะมีวิธีการเทคนิคอย่างไรช่วยให้น้องทำได้ดีกว่าเดิม ? ครูพี่หนู – สำหรับหนูเองนะคะ หนูใช้เสียง เสียงจะขึ้น ๆ ลง ๆ ใช้เสียงแหลมตลอดในการติว เพราะว่า 1 ก็จะทำให้น้องตื่นตัวตลอด บางช็อตที่น้องเห็นแต่จอไม่เห็นหน้าเราด้วย ก็จะใช้เสียงในการดึงเด็กแล้วก็เป็นการเล่าเรื่อง บรรยายเรื่อง ให้มันเข้ากับเนื้อหาที่เรากำลังสอนอยู่ ครูพี่เกศ – การเอาสื่อที่น่าสนใจ การเล่นที่สีหน้า น้ำเสียง หรือการจูงใจในเรื่องของเกม การตอบคำถาม ให้เด็กรู้สึกว่าไม่ได้มานั่งฟังกับจอเฉย ๆ แต่เป็นการที่มีอะไรร่วมสนุกได้ พิมพ์ตอบได้นะ จะมีการส่งของรางวัลไปที่บ้านนะ เพื่อให้เด็กรู้สึกว่าเราสามารถมีปฏิกิริยากับติวเตอร์ได้เหมือนอยู่ในสถานการณ์ห้องจริง ไม่ได้มีความแตกต่างเหลื่อมล้ำทุกคนมีความเท่าเทียมกันหมด ก็สนุกไปอีกแบบ คิดว่าการติวแบบนี้มีข้อดีอย่างไรบ้าง ? ครูพี่หนู – ถามว่ามันดีไหม ก็คือมันดีสำหรับน้อง ๆ ทุกคน เพราะน้อง ๆ อยู่ที่ไหนก็ติวได้ อยู่ไกลแค่ไหนก็ติวได้ สำหรับพื้นที่ห่างไกลขอแค่มีสัญญานอินเตอร์เน็ต น้องก็สามารถติวได้หรือว่าน้องก็สามารถดูย้อนหลังได้ ดูซ้ำได้ เป็นการดีสำหรับน้อง ๆ ค่ะ ครูพี่เกศ – ข้อดีคือเด็กเก็นหน้าเราชัด เห็นใกล้ เห็นเสียงเราชัด สื่ออลัง ปกติถ้าเด็กนั่งติวในหาประชุมหรือในโรงเรียน หรือไกล ๆ แบบนี้ เขาก็จะมองเอคติ้งเราไม่ค่อยถนัด โปรเจกเตอร์บางทีเด็กหลัง ๆ มองไม่เห็น การติวแบบนี้คือจอมันชัด เลยรู้สึกว่าสุดท้ายแล้วมันน่าสนใจกว่าด้วยซ้ำ พอเรามาลองจริง ๆ แล้วภาพก็ชัด สื่อก็ชัด เสียงอะไรแบบนี้ได้เลยเต็มที่ ไม่ค่อยแตกต่างขนาดนั้นสุดท้ายแล้วอยู่ที่ความสนใจ ในปัจจุบันนี้เด็กก็จะเปลี่ยนไปหลายยุค แล้วเด็กยุคก่อนกับยุคนี้มีความสนใจในการติวแตกต่างกันอย่างไร ? ครูพี่หนู – ด้วยความสนใจน่าจะไม่ได้แตกต่างกัน แต่รูปแบบในการติวในการเข้าถึงสื่ออาจจะเปลี่ยนไป เพราะว่าตอนนี้มีสื่อฟรีเยอะ มีสื่อออนไลน์เยอะ ก็จะสามารถเข้าถึงสื่อพวกนี้ได้มากกว่าเด็กรุ่นเก่า ๆ ที่ยังไม่มีสื่อเข้าถึง ต้องรอติวเตอร์ไปติว หรือว่าต้องเข้ามาเรียนพิเศษ ครูพี่เกศ – เด็กสมัยก่อนคิดว่า จำเป็นต้องแข่งขัน จำเป็นต้องสอบ ต้องใส่ใจอ่านหนังสือมาก ๆ เพื่อจะเข้ามหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงให้ได้ แต่เด็กทุกวันนี้มีความรู้สึกว่าเรียนี่ไหนก็ได้ ไม่ต้องแข่งขัน รู้สึกว่าไม่จำเป็น ขอแค่มีเงินแล้วก็ไปเรียนเอกชนก็ได้ แนวคิดนี้มันอันตรายนะ คือเรามีหน้าที่สร้างความเข้าใจให้เด็ก ไม่ใช่ว่าเรียนที่ไหนมันเหมือนกัน เพราะถ้าเหมือนกันจริงคงไม่ต้องมาติว ถ้าเหมือนกันจริงคงไม่ได้มากวดวิชา เรียนพิเศษ เพราะสุดท้ายปลายทางมันไม่เหมือนกัน เราก็มีหน้าที่ในการบอกเด็กว่ามันต่างกันอย่างไร แล้วทำไมต้องมีการสอบเข้า ทำไมต้องมีการแข่งขัน เราต้องสร้างความเข้าใจให้เขา เขาแค่ไม่เข้าใจว่าทำไมมันถึงสำคัญ เด็กไม่เข้าใจว่าทำไมต้องแข่ง แข่งกันทำไม สอบเข้าไปแล้วมหาวิยาลัยนี้ กับมหาวิทยาลัยนี้มันต่างกันอย่างไร ครูพี่เกศ – เกศจิรา บุญตระกูล ปัจจุบันนี้ น้อง ๆ เลือกติวเป็นแต่ละวิชาหลัก ๆ เน้น ๆ บางคนเลือกที่จะทิ้งบางวิชาเพื่อจะไปทุ่มกับอีกวิชา พี่ๆ มีความคิดเห็นอย่างไรบ้าง ? ครูพี่หนู – ความจริงภาษาอังกฤษก็เป็นวิชาที่เป็นหัวใจหลักอยู่แล้ว ทั้งวิทย์ ทั้งศิลป์ เพราะว่าบางทีน้องสายวิทย์อาจจะรู้สึกว่า ตัวเองต้องโฟกัสแต่วิทย์ – คณิตฯ แต่ความจริงแล้วภาษาอังกฤษนี้เป็นตัวที่ตัดแต้มเด็ก ใครทำภาษาอังกฤษได้เยอะจะทำให้คะแนนเขาพุ่งมากขึ้น หรือว่าสามารถมีทางเลือกในการเข้าคณะมากขึ้น แล้วก็จะชูให้เห็นว่า ถ้าน้องได้ภาษาอังกฤษเพิ่มขึ้น น้องทำได้ดีขึ้น โอกาสทางเลือกของน้องก็จะมากขึ้นกว่าที่น้องได้อยู่แล้ว น้องก็อาจจะมีช้อยส์ มีทางเลือกในคณะที่เพิ่มมากขึ้น มีโอกาสยื่นคะแนนมากขึ้น ครูพี่เกศ – คำถามนี้ดีมากเลยค่ะ เพราะมันคือโดยเฉพาะวิชานี้เลยพี่เกศสอนวิชาภาษาไทย ภาษาไทยถ้าเป็นเด็กศิลป์จะไม่ทิ้งหรอกค่ะ เพราะเขารู้สึกว่ามันคือภาษา แต่ถ้าเกิดเด็กวิทย์เริ่มปัญหา จะรู้สึกว่าภาษาไทยอ่านเองได้ อ่านออกเข้าใจได้ แต่จริง ๆ อยากจะบอกว่า ภาษาไทยเป็นวิชาโกยคะแนนที่ดีมากเป็นอันดับหนึ่ง ถ้าดูค่าเฉลี่ยของคะแนนภาษาไทยจะโดมาเป็นอันดับหนึ่งเลย เนื่องจากว่ามันอ่านออกทุกคน แต่ว่าจะทำทันหรือเปล่าเป็นอีกเรื่อง เนื่องจากว่าจำนวนข้อสอบมันเยอะและถ้าเกิดเด็กไม่มีเทคนิคในการทำแต่ละข้อ ด้วยความรวดเร็ว แม่นยำ ยังไงเด็กก็พลาด แล้วบางครั้งเด็กเข้าใจว่าสิ่งที่เขาเข้าใจอยู่มันถูก แต่จริง ๆ แล้วมันผิดมาโดยตลอด อย่างเช่นคำนี้ อ่านแบบนี้ แต่จริง ๆ แล้วอ่านแบบนี้เด็กเพิ่งจะมารู้หลังจากออกจากห้องสอบแล้ว อ้าว! จริงหรอ! คือตอนที่ตอบมั่นใจมากเลยนะ มั่นใจว่าตอนสอบทำได้ทุกข้อ แต่แปลกมากว่าภาษาไทยไม่เคยมีใครได้คะแนนเต็ม เหตุผลเพราะความเข้าใจยังผิด ๆ กันอยู่ เราก็ต้องมาบอกเด็กว่าข้อสอบจะออกแนวนี้นะ แล้วมันจะหลอกเราแบบนี้นะ เราเก็งให้เขาเลยค่ะ เชื่ออย่างหนึ่งว่าอ่านเยอะไม่เท่ากับอ่านตรง เหมือนกันค่ะ ติวเยอะก็ไม่เท่ากับการติวตรง ดังนั้นถ้าเกิดเด็กมาฟังเราจริง ๆ เด็กจะประหยัดเวลาในการอ่านหนังสือเยอะมาก ชั่วโมงหนึ่งเท่ากัน เด็กคนหนึ่งอ่านในสิ่งที่ข้อสอบไม่ออก ในขณะที่อีกคนหนึ่งรู้ว่าข้อสอบจะออกอะไร แล้วใช้เวลาหนึ่งชั่วโมงนั้นอ่านในสิ่งที่จะออก ผลลัพธ์มันต่างกัน แล้วภาษาไทยอย่าทิ้งค่ะ ยกตัวอย่าง O-NET ในทุกรายวิชาเฉลี่ยรวมกัน 9,000 คำแนน ในสนามสอบ TCAS Admission เขาไม่ได้มาบอกว่าเด็กวิทย์ต้องเก่งวิทย์สุด เด็กศิลป์ภาษาต้องเก่งภาษาอังกฤษสุดประมาณนี้ ในสามารถทำวิชาอะไรก็ได้เพื่อให้ตัวเองเอาตัวรอด และมีคะแนนสูงคะแนนตุนเยอะที่สุดใน 9,000 นั้น เลยอยากเชียร์ให้เด็กเอาภาษาไทยไปเป็นส่วนหนึ่ง ในการตุนคะแนน สุดท้ายอยากจะให้ฝากเทคนิคการเตรียมตัว สำหรับการสอบทุกวิชา ทุกสนามสอบ ? ครูพี่หนู – ในส่วนของพี่หนูนะคะ เป็น reading ส่วนใหญ่ reading พี่หนูก็จะให้จับ Keyword แล้วก็จะพยายามไม่ให้น้องแปลเยอะ จะให้น้องแปลคำที่น้องแปลออกแล้วก็ใช้จินตนาการเดาเนื้อเรื่องว่า ที่น้องแปลออก อย่างมีคำว่า มด มีคำว่า สัตว์ แล้วมดเป็นอาหารของสัตว์ตัวนี้ เราก็จะให้น้องเดาต่อว่ามันน่าจะเป็นตัวอะไร ตัวอะไรที่กินมดบ้าง อะไรบ้างแบบนี้ค่ะ จะหา Keyword ให้กับเด็ก จะให้เด็กจินตนาการต่อ ส่วนใหญ่พี่หนูจะไม่ได้สอนให้น้องแปลทั้งเรื่อง เพราว่า พอเขาเข้าห้องสอบจริง ๆ เขาก็จะไม่เจอเรื่องที่พี่หนูสอน เขาก็จะเจอเรื่องอื่นไปอีก แต่เราจะทำให้เขาชินกับระบบความคิดว่า เขาต้องหาคำศัพท์สัก 2 – 3 คำที่เขาแปลออก แล้วก็จินตนาการเนื้อเรื่องไป เพราะว่าเรื้อเรื่องมันก็คือเรื่องรอบตัวของเรา มันไม่ได้หนีห่างหรือว่าไกลตัวน้อง มันเป็นเรื่อง Daily Use Daily Life ตลอด ที่มันอยู่รอบตัวน้อง ๆ อยากให้เขาจินตนาการแล้วก็ค่อย ๆ ไม่อยากให้เขามองว่า เจอศัพท์อ่านไม่ออกแปลไม่ได้แล้วเขาจะทำข้อสอบได้ และอีกอย่างที่ควรทำคือ โหลดข้อสอบเก่ามาทำ เพราะว่าข้อสอบในอนาคตก็จะออกในข้อสอบเดิม เพราะฉะนั้นแนวทางในการออกข้อสอบเขาก็จะออกแนวเดิม มันไม่ได้เปลี่ยนหรือหนีกันมาก แต่ถ้าเมื่อไหร่ที่น้องไม่ได้ฝึกทำโจทย์ น้องก็จะไม่คุ้นชินกับคำถามหรือว่ากับสไตล์การถาม หรือว่าเนื้อเรื่องที่ผู้ออกข้อสอบเขาเลือก ก็อยากจฝากน้อง ๆ ให้น้อง ๆ ทำข้อสอบเก่าเยอะ ๆ เพราะยังมีเวลาเตรียมตัวอยู่ มีเวลาเพิ่มเติมก็ดูสื่อฟรี ดูช่องฟรีที่พี่ ๆ ติวเตอร์ทั้งหลายก็ได้สอนน้อง ๆ ค่ะ ครูพี่เกศ – จริง ๆ คือการวางแผน เด็กที่สอบติดเข้าไปไม่ใช่เด็กเก่งทุกคนนะคะ แต่เป็นเด็กที่เรียนรู้หรือวางแผนอะไรมาก่อน อย่างที่บอกว่า scope ในการออกข้อสอบเด็กต้องศึกษาก่อนนะว่าคณะที่ตัวเองจะเข้า เราสอบอะไรบ้าง แล้ววิชานั้นมันสอบแค่หัวข้อไหนประมาณไหน ก็ยังคงยืนยันคำเดิมว่าอ่านเยอะไม่เท่ากับอ่านตรง ขอให้น้องวางแผนการที่จะสอบเข้าก่อน แล้วก็เตรียมตัวอ่านเฉพาะที่จะออกสอบ เพราะว่าในเวลาอันจำกัดนี้เด็กมีหน้าที่ในการอ่านเพื่อไปสอบแล้ว ต้องยอมรับอย่างหนึ่งว่าอ่านเพื่อไปเอาคะแนน เพื่อไปสอบให้ติด แล้วทีนี้เด็กจะไปเพิ่มพูนความรูอะไรนอกเหนือจากนี้ ค่อยหลังจากสอบติดก็ได้ เพราะเจาะจงจากสิ่งที่ตัวเองติดเข้าไปแล้ว แล้วค่อยไปต่อยอดเพิ่มเอา แต่ทุกวันนี้เด็กต้องเอาตัวรอดให้ได้ คือ การอ่านในสิ่งที่ข้อสอบจะออกแล้วไปสอบให้ติดก่อน เจาะให้ตรงค่ะ เป็นอย่างไรกันบ้างกับบทสัมภาษณ์ขอพี่ๆ ติวเตอร์ทั้ง 2 ท่าน แอดมินหวังเหลือเกินว่าถ้าหากน้องๆ นำไปปรับใช้แล้วจะช่วยให้สมหวังทุกประการ กับการเรียนต่อในมหาวิทยาลัย หรือคณะที่เราต้องการต่อไปนะครับ แล้วมาพบกันใหม่กับเรื่องราว สารดีๆ แบบนี้ สำหรับวันนี้ สวัสดีและโชคดีกับการสอบทุกคนนนะคร้าบบบบบ EZ Webmaster Related Posts ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง TK Park พาเปิดบทเรียนอันทรงคุณค่า จาก “คุณหญิงกษมา” กว่า 50 ปี บนเส้นทางการศึกษา กับบทบาทผู้ต่อจิ๊กซอว์ “การเรียนรู้” ให้สังคมไทย พร้อมเจาะ “7 บทเรียนที่ต้องเรียนรู้” พาไทยสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ได้แบบไม่รู้จบ Post navigation PREVIOUS Previous post: อาชีวะพัฒนาฝีมือบุคลากร สาขาช่างแอร์ ร่วมกับ บริษัท อีมิแน้นท์แอร์ (ประเทศไทย) จำกัดNEXT Next post: สวนสุนันทาเเต่งตั้งคณะผู้บริหารเสริมทีมขับเคลื่อนมหาวิทยาลัย Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ EZ WebmasterJune 13, 2025 วงการพิธีกรไทย กำลังได้ต้อนรับคลื่นลูกใหม่ที่เปี่ยมด้วยพรสวรรค์และแรงขับเคลื่อน เมื่อสองนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ได้รับการยอมรับในฐานะ “สุดยอดพิธีกร” ใน โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อค้นหาผู้อันเชิญตรามหาวิทยาลัยและสุดยอดพิธีกร ประจำปีการศึกษา 2568 ซึ่งจัดขึ้นโดย องค์การนักศึกษา มทร.ธัญบุรี ความสำเร็จของทั้งคู่เป็นเรื่องราวที่น่าประทับใจ สะท้อนถึงการทุ่มเท ความมุ่งมั่น และหัวใจที่เปี่ยมด้วยแพสชัน น.ส.ณัฐธิดา… รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI…
รวม 18 คอร์สบทเรียนจาก Microsoft อัพสกิล AI ให้ตัวเอง ฟรี!!! กับคอร์ส “Generative AI for Beginners” EZ WebmasterJune 12, 2025 มาอัพสกิลการใช้ AI ให้ตัวเองกันเถอะด้วยคอร์ส “Generative AI for Beginners”เป็นคอร์สเรียนจาก Microsoft Cloud Advocates ซึ่งทุกคนสามารถเรียนได้ฟรี!!! ไม่เสียค่าใช้จ่าย คอร์สนี้จะช่วยอัพสกิล AI ให้ทุกคนนั้นใช้ AI ได้เก่งขึ้นและเข้าใจมากขึ้น ส่วนใครที่ไม่เข้าใจหรือไม่รู้เรื่องของ AI…
8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster November 17, 2020 EZ Webmaster November 17, 2020 เทคนิคการติวออนไลน์ในยุค New Normal สวัสดีคร้าบบบบ น้องๆ ที่น่ารักทุกคนกับมาพบกันอีกครั้งกับเรื่องราวดีๆ เกี่ยวกับการศึกษาในยุค New Normal ในบ้านเรากัน โดยแอดมินมีโอกาสไปสัมภาษณ์ติวเตอร์ชื่อดังในโครงการ Sahapat Admission ครั้งที่ 23 นั้นก็คือครูพี่หนู – กฤติกา ปาลกะวงศ์ และครูพี่เกศ – เกศจิรา บุญตระกูล เกี่ยวกับการปรับตัวสำหรับการติววิชาต่างๆ ในยุค New Normal ว่าควรจะทำอย่างไร และทางพี่ๆ ติวเตอร์มีการวางแผนและปรับตัวอย่างไรบ้าง เราไปเจอบทสัมภาษณ์แบบ Exclusive พร้อมกันได้เลยครับ การติวแบบใหม่ของติวเตอร์แต่ละท่านมีการเปลี่ยนแปลงจากเดิม จากเมื่อก่อนอย่างไรบ้าง ? ครูพี่หนู – คือตอนนี้ ในปีนี้เลยที่โควิดระบาดการที่จะให้เด็กนั่งรวมกันที่หอประชุม ก็เป็นการยากนะคะ เพราะว่า ด้วยมาตรการป้องกันต่าง ๆ ทางโครงการก็เลยปรับรูปแบบให้กลายเป็นติวออนไลน์ อยู่ไหนก็ติวได้ ซึ่งถามว่าสะดวกไหม ก็สะดวกกับเด็กแล้วก็สะดวกกับคุณครูด้วยนะคะ เพราะว่าเราก็จะเป็นการติว ถามว่ามันต่างจากแบบเดิมไหม ปรับมากไหม ก็คือน้องก็จะสามารถส่งคำถามร่วมสนุกหรือว่าอะไรกับเราได้ทาง Live แชทค่ะ ครูพี่เกศ – ปกติแล้วเด็กก็จะเจอครูหรือว่าติวเตอร์แบบตัวต่อตัว เด็กส่วนใหญ่ชอบเรียนสดคือสมัครคอร์สเรียนมา จะได้มาเจอตัวเป็น ๆ มีข้อสงสัยอะไรจะได้ถามเราได้เลย เขาจะรู้สึกว่าอินกับบรรยากาศในการเรียนมากกว่า แต่ว่ายุคใหม่นี้มันเปลี่ยนเป็นออนไลน์ ถามว่ามันมีความเปลี่ยนแปลงอย่างไร ตอนแรกเด็กก็จะรู้สึกว่าไม่เข้าใจ รู้สึกว่ามันต้องไม่ดีแน่ ๆ เลย เรียนกับสื่อ เรียนกับวิดีโอ เพราะไม่ได้เจอติวเตอร์ตัวเป็น ๆ แต่พอเด็กได้มาลองเรียนจริง ๆ แล้ว จะพบว่าการถามตอบมันยังคงเดิม เปลี่ยนจากการพูดถามเป็นการพิมพ์ถาม แล้วบางครั้งมันอาจจะดีกว่าด้วยซ้ำ อย่างเช่น บางวิชาเด็กสามารถถ่ายรูปส่งมาได้ เพราะว่าโปรแกรมทุกวันนี้มันมีหลากหลาย บางครั้งไม่ต้องพิมพ์ถามก็ได้นะ อย่างโปรแกรมบางอันที่สามารถเปิดไมค์แล้วพูดออกมาได้เลย แล้วติวเตอร์ก็สามารถตอบไปได้เลยะ ก็ไม่ได้แตกต่างมากสุดท้ายแล้วเด็กก็รู้สึกว่ามันสนุกไปอีกแบบ ครูพี่หนู – กฤติกา ปาลกะวงศ์ การที่น้องอาจจะไม่เห็นหน้าเรา เราพอจะมีวิธีการเทคนิคอย่างไรช่วยให้น้องทำได้ดีกว่าเดิม ? ครูพี่หนู – สำหรับหนูเองนะคะ หนูใช้เสียง เสียงจะขึ้น ๆ ลง ๆ ใช้เสียงแหลมตลอดในการติว เพราะว่า 1 ก็จะทำให้น้องตื่นตัวตลอด บางช็อตที่น้องเห็นแต่จอไม่เห็นหน้าเราด้วย ก็จะใช้เสียงในการดึงเด็กแล้วก็เป็นการเล่าเรื่อง บรรยายเรื่อง ให้มันเข้ากับเนื้อหาที่เรากำลังสอนอยู่ ครูพี่เกศ – การเอาสื่อที่น่าสนใจ การเล่นที่สีหน้า น้ำเสียง หรือการจูงใจในเรื่องของเกม การตอบคำถาม ให้เด็กรู้สึกว่าไม่ได้มานั่งฟังกับจอเฉย ๆ แต่เป็นการที่มีอะไรร่วมสนุกได้ พิมพ์ตอบได้นะ จะมีการส่งของรางวัลไปที่บ้านนะ เพื่อให้เด็กรู้สึกว่าเราสามารถมีปฏิกิริยากับติวเตอร์ได้เหมือนอยู่ในสถานการณ์ห้องจริง ไม่ได้มีความแตกต่างเหลื่อมล้ำทุกคนมีความเท่าเทียมกันหมด ก็สนุกไปอีกแบบ คิดว่าการติวแบบนี้มีข้อดีอย่างไรบ้าง ? ครูพี่หนู – ถามว่ามันดีไหม ก็คือมันดีสำหรับน้อง ๆ ทุกคน เพราะน้อง ๆ อยู่ที่ไหนก็ติวได้ อยู่ไกลแค่ไหนก็ติวได้ สำหรับพื้นที่ห่างไกลขอแค่มีสัญญานอินเตอร์เน็ต น้องก็สามารถติวได้หรือว่าน้องก็สามารถดูย้อนหลังได้ ดูซ้ำได้ เป็นการดีสำหรับน้อง ๆ ค่ะ ครูพี่เกศ – ข้อดีคือเด็กเก็นหน้าเราชัด เห็นใกล้ เห็นเสียงเราชัด สื่ออลัง ปกติถ้าเด็กนั่งติวในหาประชุมหรือในโรงเรียน หรือไกล ๆ แบบนี้ เขาก็จะมองเอคติ้งเราไม่ค่อยถนัด โปรเจกเตอร์บางทีเด็กหลัง ๆ มองไม่เห็น การติวแบบนี้คือจอมันชัด เลยรู้สึกว่าสุดท้ายแล้วมันน่าสนใจกว่าด้วยซ้ำ พอเรามาลองจริง ๆ แล้วภาพก็ชัด สื่อก็ชัด เสียงอะไรแบบนี้ได้เลยเต็มที่ ไม่ค่อยแตกต่างขนาดนั้นสุดท้ายแล้วอยู่ที่ความสนใจ ในปัจจุบันนี้เด็กก็จะเปลี่ยนไปหลายยุค แล้วเด็กยุคก่อนกับยุคนี้มีความสนใจในการติวแตกต่างกันอย่างไร ? ครูพี่หนู – ด้วยความสนใจน่าจะไม่ได้แตกต่างกัน แต่รูปแบบในการติวในการเข้าถึงสื่ออาจจะเปลี่ยนไป เพราะว่าตอนนี้มีสื่อฟรีเยอะ มีสื่อออนไลน์เยอะ ก็จะสามารถเข้าถึงสื่อพวกนี้ได้มากกว่าเด็กรุ่นเก่า ๆ ที่ยังไม่มีสื่อเข้าถึง ต้องรอติวเตอร์ไปติว หรือว่าต้องเข้ามาเรียนพิเศษ ครูพี่เกศ – เด็กสมัยก่อนคิดว่า จำเป็นต้องแข่งขัน จำเป็นต้องสอบ ต้องใส่ใจอ่านหนังสือมาก ๆ เพื่อจะเข้ามหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงให้ได้ แต่เด็กทุกวันนี้มีความรู้สึกว่าเรียนี่ไหนก็ได้ ไม่ต้องแข่งขัน รู้สึกว่าไม่จำเป็น ขอแค่มีเงินแล้วก็ไปเรียนเอกชนก็ได้ แนวคิดนี้มันอันตรายนะ คือเรามีหน้าที่สร้างความเข้าใจให้เด็ก ไม่ใช่ว่าเรียนที่ไหนมันเหมือนกัน เพราะถ้าเหมือนกันจริงคงไม่ต้องมาติว ถ้าเหมือนกันจริงคงไม่ได้มากวดวิชา เรียนพิเศษ เพราะสุดท้ายปลายทางมันไม่เหมือนกัน เราก็มีหน้าที่ในการบอกเด็กว่ามันต่างกันอย่างไร แล้วทำไมต้องมีการสอบเข้า ทำไมต้องมีการแข่งขัน เราต้องสร้างความเข้าใจให้เขา เขาแค่ไม่เข้าใจว่าทำไมมันถึงสำคัญ เด็กไม่เข้าใจว่าทำไมต้องแข่ง แข่งกันทำไม สอบเข้าไปแล้วมหาวิยาลัยนี้ กับมหาวิทยาลัยนี้มันต่างกันอย่างไร ครูพี่เกศ – เกศจิรา บุญตระกูล ปัจจุบันนี้ น้อง ๆ เลือกติวเป็นแต่ละวิชาหลัก ๆ เน้น ๆ บางคนเลือกที่จะทิ้งบางวิชาเพื่อจะไปทุ่มกับอีกวิชา พี่ๆ มีความคิดเห็นอย่างไรบ้าง ? ครูพี่หนู – ความจริงภาษาอังกฤษก็เป็นวิชาที่เป็นหัวใจหลักอยู่แล้ว ทั้งวิทย์ ทั้งศิลป์ เพราะว่าบางทีน้องสายวิทย์อาจจะรู้สึกว่า ตัวเองต้องโฟกัสแต่วิทย์ – คณิตฯ แต่ความจริงแล้วภาษาอังกฤษนี้เป็นตัวที่ตัดแต้มเด็ก ใครทำภาษาอังกฤษได้เยอะจะทำให้คะแนนเขาพุ่งมากขึ้น หรือว่าสามารถมีทางเลือกในการเข้าคณะมากขึ้น แล้วก็จะชูให้เห็นว่า ถ้าน้องได้ภาษาอังกฤษเพิ่มขึ้น น้องทำได้ดีขึ้น โอกาสทางเลือกของน้องก็จะมากขึ้นกว่าที่น้องได้อยู่แล้ว น้องก็อาจจะมีช้อยส์ มีทางเลือกในคณะที่เพิ่มมากขึ้น มีโอกาสยื่นคะแนนมากขึ้น ครูพี่เกศ – คำถามนี้ดีมากเลยค่ะ เพราะมันคือโดยเฉพาะวิชานี้เลยพี่เกศสอนวิชาภาษาไทย ภาษาไทยถ้าเป็นเด็กศิลป์จะไม่ทิ้งหรอกค่ะ เพราะเขารู้สึกว่ามันคือภาษา แต่ถ้าเกิดเด็กวิทย์เริ่มปัญหา จะรู้สึกว่าภาษาไทยอ่านเองได้ อ่านออกเข้าใจได้ แต่จริง ๆ อยากจะบอกว่า ภาษาไทยเป็นวิชาโกยคะแนนที่ดีมากเป็นอันดับหนึ่ง ถ้าดูค่าเฉลี่ยของคะแนนภาษาไทยจะโดมาเป็นอันดับหนึ่งเลย เนื่องจากว่ามันอ่านออกทุกคน แต่ว่าจะทำทันหรือเปล่าเป็นอีกเรื่อง เนื่องจากว่าจำนวนข้อสอบมันเยอะและถ้าเกิดเด็กไม่มีเทคนิคในการทำแต่ละข้อ ด้วยความรวดเร็ว แม่นยำ ยังไงเด็กก็พลาด แล้วบางครั้งเด็กเข้าใจว่าสิ่งที่เขาเข้าใจอยู่มันถูก แต่จริง ๆ แล้วมันผิดมาโดยตลอด อย่างเช่นคำนี้ อ่านแบบนี้ แต่จริง ๆ แล้วอ่านแบบนี้เด็กเพิ่งจะมารู้หลังจากออกจากห้องสอบแล้ว อ้าว! จริงหรอ! คือตอนที่ตอบมั่นใจมากเลยนะ มั่นใจว่าตอนสอบทำได้ทุกข้อ แต่แปลกมากว่าภาษาไทยไม่เคยมีใครได้คะแนนเต็ม เหตุผลเพราะความเข้าใจยังผิด ๆ กันอยู่ เราก็ต้องมาบอกเด็กว่าข้อสอบจะออกแนวนี้นะ แล้วมันจะหลอกเราแบบนี้นะ เราเก็งให้เขาเลยค่ะ เชื่ออย่างหนึ่งว่าอ่านเยอะไม่เท่ากับอ่านตรง เหมือนกันค่ะ ติวเยอะก็ไม่เท่ากับการติวตรง ดังนั้นถ้าเกิดเด็กมาฟังเราจริง ๆ เด็กจะประหยัดเวลาในการอ่านหนังสือเยอะมาก ชั่วโมงหนึ่งเท่ากัน เด็กคนหนึ่งอ่านในสิ่งที่ข้อสอบไม่ออก ในขณะที่อีกคนหนึ่งรู้ว่าข้อสอบจะออกอะไร แล้วใช้เวลาหนึ่งชั่วโมงนั้นอ่านในสิ่งที่จะออก ผลลัพธ์มันต่างกัน แล้วภาษาไทยอย่าทิ้งค่ะ ยกตัวอย่าง O-NET ในทุกรายวิชาเฉลี่ยรวมกัน 9,000 คำแนน ในสนามสอบ TCAS Admission เขาไม่ได้มาบอกว่าเด็กวิทย์ต้องเก่งวิทย์สุด เด็กศิลป์ภาษาต้องเก่งภาษาอังกฤษสุดประมาณนี้ ในสามารถทำวิชาอะไรก็ได้เพื่อให้ตัวเองเอาตัวรอด และมีคะแนนสูงคะแนนตุนเยอะที่สุดใน 9,000 นั้น เลยอยากเชียร์ให้เด็กเอาภาษาไทยไปเป็นส่วนหนึ่ง ในการตุนคะแนน สุดท้ายอยากจะให้ฝากเทคนิคการเตรียมตัว สำหรับการสอบทุกวิชา ทุกสนามสอบ ? ครูพี่หนู – ในส่วนของพี่หนูนะคะ เป็น reading ส่วนใหญ่ reading พี่หนูก็จะให้จับ Keyword แล้วก็จะพยายามไม่ให้น้องแปลเยอะ จะให้น้องแปลคำที่น้องแปลออกแล้วก็ใช้จินตนาการเดาเนื้อเรื่องว่า ที่น้องแปลออก อย่างมีคำว่า มด มีคำว่า สัตว์ แล้วมดเป็นอาหารของสัตว์ตัวนี้ เราก็จะให้น้องเดาต่อว่ามันน่าจะเป็นตัวอะไร ตัวอะไรที่กินมดบ้าง อะไรบ้างแบบนี้ค่ะ จะหา Keyword ให้กับเด็ก จะให้เด็กจินตนาการต่อ ส่วนใหญ่พี่หนูจะไม่ได้สอนให้น้องแปลทั้งเรื่อง เพราว่า พอเขาเข้าห้องสอบจริง ๆ เขาก็จะไม่เจอเรื่องที่พี่หนูสอน เขาก็จะเจอเรื่องอื่นไปอีก แต่เราจะทำให้เขาชินกับระบบความคิดว่า เขาต้องหาคำศัพท์สัก 2 – 3 คำที่เขาแปลออก แล้วก็จินตนาการเนื้อเรื่องไป เพราะว่าเรื้อเรื่องมันก็คือเรื่องรอบตัวของเรา มันไม่ได้หนีห่างหรือว่าไกลตัวน้อง มันเป็นเรื่อง Daily Use Daily Life ตลอด ที่มันอยู่รอบตัวน้อง ๆ อยากให้เขาจินตนาการแล้วก็ค่อย ๆ ไม่อยากให้เขามองว่า เจอศัพท์อ่านไม่ออกแปลไม่ได้แล้วเขาจะทำข้อสอบได้ และอีกอย่างที่ควรทำคือ โหลดข้อสอบเก่ามาทำ เพราะว่าข้อสอบในอนาคตก็จะออกในข้อสอบเดิม เพราะฉะนั้นแนวทางในการออกข้อสอบเขาก็จะออกแนวเดิม มันไม่ได้เปลี่ยนหรือหนีกันมาก แต่ถ้าเมื่อไหร่ที่น้องไม่ได้ฝึกทำโจทย์ น้องก็จะไม่คุ้นชินกับคำถามหรือว่ากับสไตล์การถาม หรือว่าเนื้อเรื่องที่ผู้ออกข้อสอบเขาเลือก ก็อยากจฝากน้อง ๆ ให้น้อง ๆ ทำข้อสอบเก่าเยอะ ๆ เพราะยังมีเวลาเตรียมตัวอยู่ มีเวลาเพิ่มเติมก็ดูสื่อฟรี ดูช่องฟรีที่พี่ ๆ ติวเตอร์ทั้งหลายก็ได้สอนน้อง ๆ ค่ะ ครูพี่เกศ – จริง ๆ คือการวางแผน เด็กที่สอบติดเข้าไปไม่ใช่เด็กเก่งทุกคนนะคะ แต่เป็นเด็กที่เรียนรู้หรือวางแผนอะไรมาก่อน อย่างที่บอกว่า scope ในการออกข้อสอบเด็กต้องศึกษาก่อนนะว่าคณะที่ตัวเองจะเข้า เราสอบอะไรบ้าง แล้ววิชานั้นมันสอบแค่หัวข้อไหนประมาณไหน ก็ยังคงยืนยันคำเดิมว่าอ่านเยอะไม่เท่ากับอ่านตรง ขอให้น้องวางแผนการที่จะสอบเข้าก่อน แล้วก็เตรียมตัวอ่านเฉพาะที่จะออกสอบ เพราะว่าในเวลาอันจำกัดนี้เด็กมีหน้าที่ในการอ่านเพื่อไปสอบแล้ว ต้องยอมรับอย่างหนึ่งว่าอ่านเพื่อไปเอาคะแนน เพื่อไปสอบให้ติด แล้วทีนี้เด็กจะไปเพิ่มพูนความรูอะไรนอกเหนือจากนี้ ค่อยหลังจากสอบติดก็ได้ เพราะเจาะจงจากสิ่งที่ตัวเองติดเข้าไปแล้ว แล้วค่อยไปต่อยอดเพิ่มเอา แต่ทุกวันนี้เด็กต้องเอาตัวรอดให้ได้ คือ การอ่านในสิ่งที่ข้อสอบจะออกแล้วไปสอบให้ติดก่อน เจาะให้ตรงค่ะ เป็นอย่างไรกันบ้างกับบทสัมภาษณ์ขอพี่ๆ ติวเตอร์ทั้ง 2 ท่าน แอดมินหวังเหลือเกินว่าถ้าหากน้องๆ นำไปปรับใช้แล้วจะช่วยให้สมหวังทุกประการ กับการเรียนต่อในมหาวิทยาลัย หรือคณะที่เราต้องการต่อไปนะครับ แล้วมาพบกันใหม่กับเรื่องราว สารดีๆ แบบนี้ สำหรับวันนี้ สวัสดีและโชคดีกับการสอบทุกคนนนะคร้าบบบบบ EZ Webmaster Related Posts ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง TK Park พาเปิดบทเรียนอันทรงคุณค่า จาก “คุณหญิงกษมา” กว่า 50 ปี บนเส้นทางการศึกษา กับบทบาทผู้ต่อจิ๊กซอว์ “การเรียนรู้” ให้สังคมไทย พร้อมเจาะ “7 บทเรียนที่ต้องเรียนรู้” พาไทยสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ได้แบบไม่รู้จบ Post navigation PREVIOUS Previous post: อาชีวะพัฒนาฝีมือบุคลากร สาขาช่างแอร์ ร่วมกับ บริษัท อีมิแน้นท์แอร์ (ประเทศไทย) จำกัดNEXT Next post: สวนสุนันทาเเต่งตั้งคณะผู้บริหารเสริมทีมขับเคลื่อนมหาวิทยาลัย Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster November 17, 2020 EZ Webmaster November 17, 2020 เทคนิคการติวออนไลน์ในยุค New Normal สวัสดีคร้าบบบบ น้องๆ ที่น่ารักทุกคนกับมาพบกันอีกครั้งกับเรื่องราวดีๆ เกี่ยวกับการศึกษาในยุค New Normal ในบ้านเรากัน โดยแอดมินมีโอกาสไปสัมภาษณ์ติวเตอร์ชื่อดังในโครงการ Sahapat Admission ครั้งที่ 23 นั้นก็คือครูพี่หนู – กฤติกา ปาลกะวงศ์ และครูพี่เกศ – เกศจิรา บุญตระกูล เกี่ยวกับการปรับตัวสำหรับการติววิชาต่างๆ ในยุค New Normal ว่าควรจะทำอย่างไร และทางพี่ๆ ติวเตอร์มีการวางแผนและปรับตัวอย่างไรบ้าง เราไปเจอบทสัมภาษณ์แบบ Exclusive พร้อมกันได้เลยครับ การติวแบบใหม่ของติวเตอร์แต่ละท่านมีการเปลี่ยนแปลงจากเดิม จากเมื่อก่อนอย่างไรบ้าง ? ครูพี่หนู – คือตอนนี้ ในปีนี้เลยที่โควิดระบาดการที่จะให้เด็กนั่งรวมกันที่หอประชุม ก็เป็นการยากนะคะ เพราะว่า ด้วยมาตรการป้องกันต่าง ๆ ทางโครงการก็เลยปรับรูปแบบให้กลายเป็นติวออนไลน์ อยู่ไหนก็ติวได้ ซึ่งถามว่าสะดวกไหม ก็สะดวกกับเด็กแล้วก็สะดวกกับคุณครูด้วยนะคะ เพราะว่าเราก็จะเป็นการติว ถามว่ามันต่างจากแบบเดิมไหม ปรับมากไหม ก็คือน้องก็จะสามารถส่งคำถามร่วมสนุกหรือว่าอะไรกับเราได้ทาง Live แชทค่ะ ครูพี่เกศ – ปกติแล้วเด็กก็จะเจอครูหรือว่าติวเตอร์แบบตัวต่อตัว เด็กส่วนใหญ่ชอบเรียนสดคือสมัครคอร์สเรียนมา จะได้มาเจอตัวเป็น ๆ มีข้อสงสัยอะไรจะได้ถามเราได้เลย เขาจะรู้สึกว่าอินกับบรรยากาศในการเรียนมากกว่า แต่ว่ายุคใหม่นี้มันเปลี่ยนเป็นออนไลน์ ถามว่ามันมีความเปลี่ยนแปลงอย่างไร ตอนแรกเด็กก็จะรู้สึกว่าไม่เข้าใจ รู้สึกว่ามันต้องไม่ดีแน่ ๆ เลย เรียนกับสื่อ เรียนกับวิดีโอ เพราะไม่ได้เจอติวเตอร์ตัวเป็น ๆ แต่พอเด็กได้มาลองเรียนจริง ๆ แล้ว จะพบว่าการถามตอบมันยังคงเดิม เปลี่ยนจากการพูดถามเป็นการพิมพ์ถาม แล้วบางครั้งมันอาจจะดีกว่าด้วยซ้ำ อย่างเช่น บางวิชาเด็กสามารถถ่ายรูปส่งมาได้ เพราะว่าโปรแกรมทุกวันนี้มันมีหลากหลาย บางครั้งไม่ต้องพิมพ์ถามก็ได้นะ อย่างโปรแกรมบางอันที่สามารถเปิดไมค์แล้วพูดออกมาได้เลย แล้วติวเตอร์ก็สามารถตอบไปได้เลยะ ก็ไม่ได้แตกต่างมากสุดท้ายแล้วเด็กก็รู้สึกว่ามันสนุกไปอีกแบบ ครูพี่หนู – กฤติกา ปาลกะวงศ์ การที่น้องอาจจะไม่เห็นหน้าเรา เราพอจะมีวิธีการเทคนิคอย่างไรช่วยให้น้องทำได้ดีกว่าเดิม ? ครูพี่หนู – สำหรับหนูเองนะคะ หนูใช้เสียง เสียงจะขึ้น ๆ ลง ๆ ใช้เสียงแหลมตลอดในการติว เพราะว่า 1 ก็จะทำให้น้องตื่นตัวตลอด บางช็อตที่น้องเห็นแต่จอไม่เห็นหน้าเราด้วย ก็จะใช้เสียงในการดึงเด็กแล้วก็เป็นการเล่าเรื่อง บรรยายเรื่อง ให้มันเข้ากับเนื้อหาที่เรากำลังสอนอยู่ ครูพี่เกศ – การเอาสื่อที่น่าสนใจ การเล่นที่สีหน้า น้ำเสียง หรือการจูงใจในเรื่องของเกม การตอบคำถาม ให้เด็กรู้สึกว่าไม่ได้มานั่งฟังกับจอเฉย ๆ แต่เป็นการที่มีอะไรร่วมสนุกได้ พิมพ์ตอบได้นะ จะมีการส่งของรางวัลไปที่บ้านนะ เพื่อให้เด็กรู้สึกว่าเราสามารถมีปฏิกิริยากับติวเตอร์ได้เหมือนอยู่ในสถานการณ์ห้องจริง ไม่ได้มีความแตกต่างเหลื่อมล้ำทุกคนมีความเท่าเทียมกันหมด ก็สนุกไปอีกแบบ คิดว่าการติวแบบนี้มีข้อดีอย่างไรบ้าง ? ครูพี่หนู – ถามว่ามันดีไหม ก็คือมันดีสำหรับน้อง ๆ ทุกคน เพราะน้อง ๆ อยู่ที่ไหนก็ติวได้ อยู่ไกลแค่ไหนก็ติวได้ สำหรับพื้นที่ห่างไกลขอแค่มีสัญญานอินเตอร์เน็ต น้องก็สามารถติวได้หรือว่าน้องก็สามารถดูย้อนหลังได้ ดูซ้ำได้ เป็นการดีสำหรับน้อง ๆ ค่ะ ครูพี่เกศ – ข้อดีคือเด็กเก็นหน้าเราชัด เห็นใกล้ เห็นเสียงเราชัด สื่ออลัง ปกติถ้าเด็กนั่งติวในหาประชุมหรือในโรงเรียน หรือไกล ๆ แบบนี้ เขาก็จะมองเอคติ้งเราไม่ค่อยถนัด โปรเจกเตอร์บางทีเด็กหลัง ๆ มองไม่เห็น การติวแบบนี้คือจอมันชัด เลยรู้สึกว่าสุดท้ายแล้วมันน่าสนใจกว่าด้วยซ้ำ พอเรามาลองจริง ๆ แล้วภาพก็ชัด สื่อก็ชัด เสียงอะไรแบบนี้ได้เลยเต็มที่ ไม่ค่อยแตกต่างขนาดนั้นสุดท้ายแล้วอยู่ที่ความสนใจ ในปัจจุบันนี้เด็กก็จะเปลี่ยนไปหลายยุค แล้วเด็กยุคก่อนกับยุคนี้มีความสนใจในการติวแตกต่างกันอย่างไร ? ครูพี่หนู – ด้วยความสนใจน่าจะไม่ได้แตกต่างกัน แต่รูปแบบในการติวในการเข้าถึงสื่ออาจจะเปลี่ยนไป เพราะว่าตอนนี้มีสื่อฟรีเยอะ มีสื่อออนไลน์เยอะ ก็จะสามารถเข้าถึงสื่อพวกนี้ได้มากกว่าเด็กรุ่นเก่า ๆ ที่ยังไม่มีสื่อเข้าถึง ต้องรอติวเตอร์ไปติว หรือว่าต้องเข้ามาเรียนพิเศษ ครูพี่เกศ – เด็กสมัยก่อนคิดว่า จำเป็นต้องแข่งขัน จำเป็นต้องสอบ ต้องใส่ใจอ่านหนังสือมาก ๆ เพื่อจะเข้ามหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงให้ได้ แต่เด็กทุกวันนี้มีความรู้สึกว่าเรียนี่ไหนก็ได้ ไม่ต้องแข่งขัน รู้สึกว่าไม่จำเป็น ขอแค่มีเงินแล้วก็ไปเรียนเอกชนก็ได้ แนวคิดนี้มันอันตรายนะ คือเรามีหน้าที่สร้างความเข้าใจให้เด็ก ไม่ใช่ว่าเรียนที่ไหนมันเหมือนกัน เพราะถ้าเหมือนกันจริงคงไม่ต้องมาติว ถ้าเหมือนกันจริงคงไม่ได้มากวดวิชา เรียนพิเศษ เพราะสุดท้ายปลายทางมันไม่เหมือนกัน เราก็มีหน้าที่ในการบอกเด็กว่ามันต่างกันอย่างไร แล้วทำไมต้องมีการสอบเข้า ทำไมต้องมีการแข่งขัน เราต้องสร้างความเข้าใจให้เขา เขาแค่ไม่เข้าใจว่าทำไมมันถึงสำคัญ เด็กไม่เข้าใจว่าทำไมต้องแข่ง แข่งกันทำไม สอบเข้าไปแล้วมหาวิยาลัยนี้ กับมหาวิทยาลัยนี้มันต่างกันอย่างไร ครูพี่เกศ – เกศจิรา บุญตระกูล ปัจจุบันนี้ น้อง ๆ เลือกติวเป็นแต่ละวิชาหลัก ๆ เน้น ๆ บางคนเลือกที่จะทิ้งบางวิชาเพื่อจะไปทุ่มกับอีกวิชา พี่ๆ มีความคิดเห็นอย่างไรบ้าง ? ครูพี่หนู – ความจริงภาษาอังกฤษก็เป็นวิชาที่เป็นหัวใจหลักอยู่แล้ว ทั้งวิทย์ ทั้งศิลป์ เพราะว่าบางทีน้องสายวิทย์อาจจะรู้สึกว่า ตัวเองต้องโฟกัสแต่วิทย์ – คณิตฯ แต่ความจริงแล้วภาษาอังกฤษนี้เป็นตัวที่ตัดแต้มเด็ก ใครทำภาษาอังกฤษได้เยอะจะทำให้คะแนนเขาพุ่งมากขึ้น หรือว่าสามารถมีทางเลือกในการเข้าคณะมากขึ้น แล้วก็จะชูให้เห็นว่า ถ้าน้องได้ภาษาอังกฤษเพิ่มขึ้น น้องทำได้ดีขึ้น โอกาสทางเลือกของน้องก็จะมากขึ้นกว่าที่น้องได้อยู่แล้ว น้องก็อาจจะมีช้อยส์ มีทางเลือกในคณะที่เพิ่มมากขึ้น มีโอกาสยื่นคะแนนมากขึ้น ครูพี่เกศ – คำถามนี้ดีมากเลยค่ะ เพราะมันคือโดยเฉพาะวิชานี้เลยพี่เกศสอนวิชาภาษาไทย ภาษาไทยถ้าเป็นเด็กศิลป์จะไม่ทิ้งหรอกค่ะ เพราะเขารู้สึกว่ามันคือภาษา แต่ถ้าเกิดเด็กวิทย์เริ่มปัญหา จะรู้สึกว่าภาษาไทยอ่านเองได้ อ่านออกเข้าใจได้ แต่จริง ๆ อยากจะบอกว่า ภาษาไทยเป็นวิชาโกยคะแนนที่ดีมากเป็นอันดับหนึ่ง ถ้าดูค่าเฉลี่ยของคะแนนภาษาไทยจะโดมาเป็นอันดับหนึ่งเลย เนื่องจากว่ามันอ่านออกทุกคน แต่ว่าจะทำทันหรือเปล่าเป็นอีกเรื่อง เนื่องจากว่าจำนวนข้อสอบมันเยอะและถ้าเกิดเด็กไม่มีเทคนิคในการทำแต่ละข้อ ด้วยความรวดเร็ว แม่นยำ ยังไงเด็กก็พลาด แล้วบางครั้งเด็กเข้าใจว่าสิ่งที่เขาเข้าใจอยู่มันถูก แต่จริง ๆ แล้วมันผิดมาโดยตลอด อย่างเช่นคำนี้ อ่านแบบนี้ แต่จริง ๆ แล้วอ่านแบบนี้เด็กเพิ่งจะมารู้หลังจากออกจากห้องสอบแล้ว อ้าว! จริงหรอ! คือตอนที่ตอบมั่นใจมากเลยนะ มั่นใจว่าตอนสอบทำได้ทุกข้อ แต่แปลกมากว่าภาษาไทยไม่เคยมีใครได้คะแนนเต็ม เหตุผลเพราะความเข้าใจยังผิด ๆ กันอยู่ เราก็ต้องมาบอกเด็กว่าข้อสอบจะออกแนวนี้นะ แล้วมันจะหลอกเราแบบนี้นะ เราเก็งให้เขาเลยค่ะ เชื่ออย่างหนึ่งว่าอ่านเยอะไม่เท่ากับอ่านตรง เหมือนกันค่ะ ติวเยอะก็ไม่เท่ากับการติวตรง ดังนั้นถ้าเกิดเด็กมาฟังเราจริง ๆ เด็กจะประหยัดเวลาในการอ่านหนังสือเยอะมาก ชั่วโมงหนึ่งเท่ากัน เด็กคนหนึ่งอ่านในสิ่งที่ข้อสอบไม่ออก ในขณะที่อีกคนหนึ่งรู้ว่าข้อสอบจะออกอะไร แล้วใช้เวลาหนึ่งชั่วโมงนั้นอ่านในสิ่งที่จะออก ผลลัพธ์มันต่างกัน แล้วภาษาไทยอย่าทิ้งค่ะ ยกตัวอย่าง O-NET ในทุกรายวิชาเฉลี่ยรวมกัน 9,000 คำแนน ในสนามสอบ TCAS Admission เขาไม่ได้มาบอกว่าเด็กวิทย์ต้องเก่งวิทย์สุด เด็กศิลป์ภาษาต้องเก่งภาษาอังกฤษสุดประมาณนี้ ในสามารถทำวิชาอะไรก็ได้เพื่อให้ตัวเองเอาตัวรอด และมีคะแนนสูงคะแนนตุนเยอะที่สุดใน 9,000 นั้น เลยอยากเชียร์ให้เด็กเอาภาษาไทยไปเป็นส่วนหนึ่ง ในการตุนคะแนน สุดท้ายอยากจะให้ฝากเทคนิคการเตรียมตัว สำหรับการสอบทุกวิชา ทุกสนามสอบ ? ครูพี่หนู – ในส่วนของพี่หนูนะคะ เป็น reading ส่วนใหญ่ reading พี่หนูก็จะให้จับ Keyword แล้วก็จะพยายามไม่ให้น้องแปลเยอะ จะให้น้องแปลคำที่น้องแปลออกแล้วก็ใช้จินตนาการเดาเนื้อเรื่องว่า ที่น้องแปลออก อย่างมีคำว่า มด มีคำว่า สัตว์ แล้วมดเป็นอาหารของสัตว์ตัวนี้ เราก็จะให้น้องเดาต่อว่ามันน่าจะเป็นตัวอะไร ตัวอะไรที่กินมดบ้าง อะไรบ้างแบบนี้ค่ะ จะหา Keyword ให้กับเด็ก จะให้เด็กจินตนาการต่อ ส่วนใหญ่พี่หนูจะไม่ได้สอนให้น้องแปลทั้งเรื่อง เพราว่า พอเขาเข้าห้องสอบจริง ๆ เขาก็จะไม่เจอเรื่องที่พี่หนูสอน เขาก็จะเจอเรื่องอื่นไปอีก แต่เราจะทำให้เขาชินกับระบบความคิดว่า เขาต้องหาคำศัพท์สัก 2 – 3 คำที่เขาแปลออก แล้วก็จินตนาการเนื้อเรื่องไป เพราะว่าเรื้อเรื่องมันก็คือเรื่องรอบตัวของเรา มันไม่ได้หนีห่างหรือว่าไกลตัวน้อง มันเป็นเรื่อง Daily Use Daily Life ตลอด ที่มันอยู่รอบตัวน้อง ๆ อยากให้เขาจินตนาการแล้วก็ค่อย ๆ ไม่อยากให้เขามองว่า เจอศัพท์อ่านไม่ออกแปลไม่ได้แล้วเขาจะทำข้อสอบได้ และอีกอย่างที่ควรทำคือ โหลดข้อสอบเก่ามาทำ เพราะว่าข้อสอบในอนาคตก็จะออกในข้อสอบเดิม เพราะฉะนั้นแนวทางในการออกข้อสอบเขาก็จะออกแนวเดิม มันไม่ได้เปลี่ยนหรือหนีกันมาก แต่ถ้าเมื่อไหร่ที่น้องไม่ได้ฝึกทำโจทย์ น้องก็จะไม่คุ้นชินกับคำถามหรือว่ากับสไตล์การถาม หรือว่าเนื้อเรื่องที่ผู้ออกข้อสอบเขาเลือก ก็อยากจฝากน้อง ๆ ให้น้อง ๆ ทำข้อสอบเก่าเยอะ ๆ เพราะยังมีเวลาเตรียมตัวอยู่ มีเวลาเพิ่มเติมก็ดูสื่อฟรี ดูช่องฟรีที่พี่ ๆ ติวเตอร์ทั้งหลายก็ได้สอนน้อง ๆ ค่ะ ครูพี่เกศ – จริง ๆ คือการวางแผน เด็กที่สอบติดเข้าไปไม่ใช่เด็กเก่งทุกคนนะคะ แต่เป็นเด็กที่เรียนรู้หรือวางแผนอะไรมาก่อน อย่างที่บอกว่า scope ในการออกข้อสอบเด็กต้องศึกษาก่อนนะว่าคณะที่ตัวเองจะเข้า เราสอบอะไรบ้าง แล้ววิชานั้นมันสอบแค่หัวข้อไหนประมาณไหน ก็ยังคงยืนยันคำเดิมว่าอ่านเยอะไม่เท่ากับอ่านตรง ขอให้น้องวางแผนการที่จะสอบเข้าก่อน แล้วก็เตรียมตัวอ่านเฉพาะที่จะออกสอบ เพราะว่าในเวลาอันจำกัดนี้เด็กมีหน้าที่ในการอ่านเพื่อไปสอบแล้ว ต้องยอมรับอย่างหนึ่งว่าอ่านเพื่อไปเอาคะแนน เพื่อไปสอบให้ติด แล้วทีนี้เด็กจะไปเพิ่มพูนความรูอะไรนอกเหนือจากนี้ ค่อยหลังจากสอบติดก็ได้ เพราะเจาะจงจากสิ่งที่ตัวเองติดเข้าไปแล้ว แล้วค่อยไปต่อยอดเพิ่มเอา แต่ทุกวันนี้เด็กต้องเอาตัวรอดให้ได้ คือ การอ่านในสิ่งที่ข้อสอบจะออกแล้วไปสอบให้ติดก่อน เจาะให้ตรงค่ะ เป็นอย่างไรกันบ้างกับบทสัมภาษณ์ขอพี่ๆ ติวเตอร์ทั้ง 2 ท่าน แอดมินหวังเหลือเกินว่าถ้าหากน้องๆ นำไปปรับใช้แล้วจะช่วยให้สมหวังทุกประการ กับการเรียนต่อในมหาวิทยาลัย หรือคณะที่เราต้องการต่อไปนะครับ แล้วมาพบกันใหม่กับเรื่องราว สารดีๆ แบบนี้ สำหรับวันนี้ สวัสดีและโชคดีกับการสอบทุกคนนนะคร้าบบบบบ EZ Webmaster Related Posts ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง TK Park พาเปิดบทเรียนอันทรงคุณค่า จาก “คุณหญิงกษมา” กว่า 50 ปี บนเส้นทางการศึกษา กับบทบาทผู้ต่อจิ๊กซอว์ “การเรียนรู้” ให้สังคมไทย พร้อมเจาะ “7 บทเรียนที่ต้องเรียนรู้” พาไทยสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ได้แบบไม่รู้จบ Post navigation PREVIOUS Previous post: อาชีวะพัฒนาฝีมือบุคลากร สาขาช่างแอร์ ร่วมกับ บริษัท อีมิแน้นท์แอร์ (ประเทศไทย) จำกัดNEXT Next post: สวนสุนันทาเเต่งตั้งคณะผู้บริหารเสริมทีมขับเคลื่อนมหาวิทยาลัย Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่…
รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่…
คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster November 17, 2020 EZ Webmaster November 17, 2020 เทคนิคการติวออนไลน์ในยุค New Normal สวัสดีคร้าบบบบ น้องๆ ที่น่ารักทุกคนกับมาพบกันอีกครั้งกับเรื่องราวดีๆ เกี่ยวกับการศึกษาในยุค New Normal ในบ้านเรากัน โดยแอดมินมีโอกาสไปสัมภาษณ์ติวเตอร์ชื่อดังในโครงการ Sahapat Admission ครั้งที่ 23 นั้นก็คือครูพี่หนู – กฤติกา ปาลกะวงศ์ และครูพี่เกศ – เกศจิรา บุญตระกูล เกี่ยวกับการปรับตัวสำหรับการติววิชาต่างๆ ในยุค New Normal ว่าควรจะทำอย่างไร และทางพี่ๆ ติวเตอร์มีการวางแผนและปรับตัวอย่างไรบ้าง เราไปเจอบทสัมภาษณ์แบบ Exclusive พร้อมกันได้เลยครับ การติวแบบใหม่ของติวเตอร์แต่ละท่านมีการเปลี่ยนแปลงจากเดิม จากเมื่อก่อนอย่างไรบ้าง ? ครูพี่หนู – คือตอนนี้ ในปีนี้เลยที่โควิดระบาดการที่จะให้เด็กนั่งรวมกันที่หอประชุม ก็เป็นการยากนะคะ เพราะว่า ด้วยมาตรการป้องกันต่าง ๆ ทางโครงการก็เลยปรับรูปแบบให้กลายเป็นติวออนไลน์ อยู่ไหนก็ติวได้ ซึ่งถามว่าสะดวกไหม ก็สะดวกกับเด็กแล้วก็สะดวกกับคุณครูด้วยนะคะ เพราะว่าเราก็จะเป็นการติว ถามว่ามันต่างจากแบบเดิมไหม ปรับมากไหม ก็คือน้องก็จะสามารถส่งคำถามร่วมสนุกหรือว่าอะไรกับเราได้ทาง Live แชทค่ะ ครูพี่เกศ – ปกติแล้วเด็กก็จะเจอครูหรือว่าติวเตอร์แบบตัวต่อตัว เด็กส่วนใหญ่ชอบเรียนสดคือสมัครคอร์สเรียนมา จะได้มาเจอตัวเป็น ๆ มีข้อสงสัยอะไรจะได้ถามเราได้เลย เขาจะรู้สึกว่าอินกับบรรยากาศในการเรียนมากกว่า แต่ว่ายุคใหม่นี้มันเปลี่ยนเป็นออนไลน์ ถามว่ามันมีความเปลี่ยนแปลงอย่างไร ตอนแรกเด็กก็จะรู้สึกว่าไม่เข้าใจ รู้สึกว่ามันต้องไม่ดีแน่ ๆ เลย เรียนกับสื่อ เรียนกับวิดีโอ เพราะไม่ได้เจอติวเตอร์ตัวเป็น ๆ แต่พอเด็กได้มาลองเรียนจริง ๆ แล้ว จะพบว่าการถามตอบมันยังคงเดิม เปลี่ยนจากการพูดถามเป็นการพิมพ์ถาม แล้วบางครั้งมันอาจจะดีกว่าด้วยซ้ำ อย่างเช่น บางวิชาเด็กสามารถถ่ายรูปส่งมาได้ เพราะว่าโปรแกรมทุกวันนี้มันมีหลากหลาย บางครั้งไม่ต้องพิมพ์ถามก็ได้นะ อย่างโปรแกรมบางอันที่สามารถเปิดไมค์แล้วพูดออกมาได้เลย แล้วติวเตอร์ก็สามารถตอบไปได้เลยะ ก็ไม่ได้แตกต่างมากสุดท้ายแล้วเด็กก็รู้สึกว่ามันสนุกไปอีกแบบ ครูพี่หนู – กฤติกา ปาลกะวงศ์ การที่น้องอาจจะไม่เห็นหน้าเรา เราพอจะมีวิธีการเทคนิคอย่างไรช่วยให้น้องทำได้ดีกว่าเดิม ? ครูพี่หนู – สำหรับหนูเองนะคะ หนูใช้เสียง เสียงจะขึ้น ๆ ลง ๆ ใช้เสียงแหลมตลอดในการติว เพราะว่า 1 ก็จะทำให้น้องตื่นตัวตลอด บางช็อตที่น้องเห็นแต่จอไม่เห็นหน้าเราด้วย ก็จะใช้เสียงในการดึงเด็กแล้วก็เป็นการเล่าเรื่อง บรรยายเรื่อง ให้มันเข้ากับเนื้อหาที่เรากำลังสอนอยู่ ครูพี่เกศ – การเอาสื่อที่น่าสนใจ การเล่นที่สีหน้า น้ำเสียง หรือการจูงใจในเรื่องของเกม การตอบคำถาม ให้เด็กรู้สึกว่าไม่ได้มานั่งฟังกับจอเฉย ๆ แต่เป็นการที่มีอะไรร่วมสนุกได้ พิมพ์ตอบได้นะ จะมีการส่งของรางวัลไปที่บ้านนะ เพื่อให้เด็กรู้สึกว่าเราสามารถมีปฏิกิริยากับติวเตอร์ได้เหมือนอยู่ในสถานการณ์ห้องจริง ไม่ได้มีความแตกต่างเหลื่อมล้ำทุกคนมีความเท่าเทียมกันหมด ก็สนุกไปอีกแบบ คิดว่าการติวแบบนี้มีข้อดีอย่างไรบ้าง ? ครูพี่หนู – ถามว่ามันดีไหม ก็คือมันดีสำหรับน้อง ๆ ทุกคน เพราะน้อง ๆ อยู่ที่ไหนก็ติวได้ อยู่ไกลแค่ไหนก็ติวได้ สำหรับพื้นที่ห่างไกลขอแค่มีสัญญานอินเตอร์เน็ต น้องก็สามารถติวได้หรือว่าน้องก็สามารถดูย้อนหลังได้ ดูซ้ำได้ เป็นการดีสำหรับน้อง ๆ ค่ะ ครูพี่เกศ – ข้อดีคือเด็กเก็นหน้าเราชัด เห็นใกล้ เห็นเสียงเราชัด สื่ออลัง ปกติถ้าเด็กนั่งติวในหาประชุมหรือในโรงเรียน หรือไกล ๆ แบบนี้ เขาก็จะมองเอคติ้งเราไม่ค่อยถนัด โปรเจกเตอร์บางทีเด็กหลัง ๆ มองไม่เห็น การติวแบบนี้คือจอมันชัด เลยรู้สึกว่าสุดท้ายแล้วมันน่าสนใจกว่าด้วยซ้ำ พอเรามาลองจริง ๆ แล้วภาพก็ชัด สื่อก็ชัด เสียงอะไรแบบนี้ได้เลยเต็มที่ ไม่ค่อยแตกต่างขนาดนั้นสุดท้ายแล้วอยู่ที่ความสนใจ ในปัจจุบันนี้เด็กก็จะเปลี่ยนไปหลายยุค แล้วเด็กยุคก่อนกับยุคนี้มีความสนใจในการติวแตกต่างกันอย่างไร ? ครูพี่หนู – ด้วยความสนใจน่าจะไม่ได้แตกต่างกัน แต่รูปแบบในการติวในการเข้าถึงสื่ออาจจะเปลี่ยนไป เพราะว่าตอนนี้มีสื่อฟรีเยอะ มีสื่อออนไลน์เยอะ ก็จะสามารถเข้าถึงสื่อพวกนี้ได้มากกว่าเด็กรุ่นเก่า ๆ ที่ยังไม่มีสื่อเข้าถึง ต้องรอติวเตอร์ไปติว หรือว่าต้องเข้ามาเรียนพิเศษ ครูพี่เกศ – เด็กสมัยก่อนคิดว่า จำเป็นต้องแข่งขัน จำเป็นต้องสอบ ต้องใส่ใจอ่านหนังสือมาก ๆ เพื่อจะเข้ามหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงให้ได้ แต่เด็กทุกวันนี้มีความรู้สึกว่าเรียนี่ไหนก็ได้ ไม่ต้องแข่งขัน รู้สึกว่าไม่จำเป็น ขอแค่มีเงินแล้วก็ไปเรียนเอกชนก็ได้ แนวคิดนี้มันอันตรายนะ คือเรามีหน้าที่สร้างความเข้าใจให้เด็ก ไม่ใช่ว่าเรียนที่ไหนมันเหมือนกัน เพราะถ้าเหมือนกันจริงคงไม่ต้องมาติว ถ้าเหมือนกันจริงคงไม่ได้มากวดวิชา เรียนพิเศษ เพราะสุดท้ายปลายทางมันไม่เหมือนกัน เราก็มีหน้าที่ในการบอกเด็กว่ามันต่างกันอย่างไร แล้วทำไมต้องมีการสอบเข้า ทำไมต้องมีการแข่งขัน เราต้องสร้างความเข้าใจให้เขา เขาแค่ไม่เข้าใจว่าทำไมมันถึงสำคัญ เด็กไม่เข้าใจว่าทำไมต้องแข่ง แข่งกันทำไม สอบเข้าไปแล้วมหาวิยาลัยนี้ กับมหาวิทยาลัยนี้มันต่างกันอย่างไร ครูพี่เกศ – เกศจิรา บุญตระกูล ปัจจุบันนี้ น้อง ๆ เลือกติวเป็นแต่ละวิชาหลัก ๆ เน้น ๆ บางคนเลือกที่จะทิ้งบางวิชาเพื่อจะไปทุ่มกับอีกวิชา พี่ๆ มีความคิดเห็นอย่างไรบ้าง ? ครูพี่หนู – ความจริงภาษาอังกฤษก็เป็นวิชาที่เป็นหัวใจหลักอยู่แล้ว ทั้งวิทย์ ทั้งศิลป์ เพราะว่าบางทีน้องสายวิทย์อาจจะรู้สึกว่า ตัวเองต้องโฟกัสแต่วิทย์ – คณิตฯ แต่ความจริงแล้วภาษาอังกฤษนี้เป็นตัวที่ตัดแต้มเด็ก ใครทำภาษาอังกฤษได้เยอะจะทำให้คะแนนเขาพุ่งมากขึ้น หรือว่าสามารถมีทางเลือกในการเข้าคณะมากขึ้น แล้วก็จะชูให้เห็นว่า ถ้าน้องได้ภาษาอังกฤษเพิ่มขึ้น น้องทำได้ดีขึ้น โอกาสทางเลือกของน้องก็จะมากขึ้นกว่าที่น้องได้อยู่แล้ว น้องก็อาจจะมีช้อยส์ มีทางเลือกในคณะที่เพิ่มมากขึ้น มีโอกาสยื่นคะแนนมากขึ้น ครูพี่เกศ – คำถามนี้ดีมากเลยค่ะ เพราะมันคือโดยเฉพาะวิชานี้เลยพี่เกศสอนวิชาภาษาไทย ภาษาไทยถ้าเป็นเด็กศิลป์จะไม่ทิ้งหรอกค่ะ เพราะเขารู้สึกว่ามันคือภาษา แต่ถ้าเกิดเด็กวิทย์เริ่มปัญหา จะรู้สึกว่าภาษาไทยอ่านเองได้ อ่านออกเข้าใจได้ แต่จริง ๆ อยากจะบอกว่า ภาษาไทยเป็นวิชาโกยคะแนนที่ดีมากเป็นอันดับหนึ่ง ถ้าดูค่าเฉลี่ยของคะแนนภาษาไทยจะโดมาเป็นอันดับหนึ่งเลย เนื่องจากว่ามันอ่านออกทุกคน แต่ว่าจะทำทันหรือเปล่าเป็นอีกเรื่อง เนื่องจากว่าจำนวนข้อสอบมันเยอะและถ้าเกิดเด็กไม่มีเทคนิคในการทำแต่ละข้อ ด้วยความรวดเร็ว แม่นยำ ยังไงเด็กก็พลาด แล้วบางครั้งเด็กเข้าใจว่าสิ่งที่เขาเข้าใจอยู่มันถูก แต่จริง ๆ แล้วมันผิดมาโดยตลอด อย่างเช่นคำนี้ อ่านแบบนี้ แต่จริง ๆ แล้วอ่านแบบนี้เด็กเพิ่งจะมารู้หลังจากออกจากห้องสอบแล้ว อ้าว! จริงหรอ! คือตอนที่ตอบมั่นใจมากเลยนะ มั่นใจว่าตอนสอบทำได้ทุกข้อ แต่แปลกมากว่าภาษาไทยไม่เคยมีใครได้คะแนนเต็ม เหตุผลเพราะความเข้าใจยังผิด ๆ กันอยู่ เราก็ต้องมาบอกเด็กว่าข้อสอบจะออกแนวนี้นะ แล้วมันจะหลอกเราแบบนี้นะ เราเก็งให้เขาเลยค่ะ เชื่ออย่างหนึ่งว่าอ่านเยอะไม่เท่ากับอ่านตรง เหมือนกันค่ะ ติวเยอะก็ไม่เท่ากับการติวตรง ดังนั้นถ้าเกิดเด็กมาฟังเราจริง ๆ เด็กจะประหยัดเวลาในการอ่านหนังสือเยอะมาก ชั่วโมงหนึ่งเท่ากัน เด็กคนหนึ่งอ่านในสิ่งที่ข้อสอบไม่ออก ในขณะที่อีกคนหนึ่งรู้ว่าข้อสอบจะออกอะไร แล้วใช้เวลาหนึ่งชั่วโมงนั้นอ่านในสิ่งที่จะออก ผลลัพธ์มันต่างกัน แล้วภาษาไทยอย่าทิ้งค่ะ ยกตัวอย่าง O-NET ในทุกรายวิชาเฉลี่ยรวมกัน 9,000 คำแนน ในสนามสอบ TCAS Admission เขาไม่ได้มาบอกว่าเด็กวิทย์ต้องเก่งวิทย์สุด เด็กศิลป์ภาษาต้องเก่งภาษาอังกฤษสุดประมาณนี้ ในสามารถทำวิชาอะไรก็ได้เพื่อให้ตัวเองเอาตัวรอด และมีคะแนนสูงคะแนนตุนเยอะที่สุดใน 9,000 นั้น เลยอยากเชียร์ให้เด็กเอาภาษาไทยไปเป็นส่วนหนึ่ง ในการตุนคะแนน สุดท้ายอยากจะให้ฝากเทคนิคการเตรียมตัว สำหรับการสอบทุกวิชา ทุกสนามสอบ ? ครูพี่หนู – ในส่วนของพี่หนูนะคะ เป็น reading ส่วนใหญ่ reading พี่หนูก็จะให้จับ Keyword แล้วก็จะพยายามไม่ให้น้องแปลเยอะ จะให้น้องแปลคำที่น้องแปลออกแล้วก็ใช้จินตนาการเดาเนื้อเรื่องว่า ที่น้องแปลออก อย่างมีคำว่า มด มีคำว่า สัตว์ แล้วมดเป็นอาหารของสัตว์ตัวนี้ เราก็จะให้น้องเดาต่อว่ามันน่าจะเป็นตัวอะไร ตัวอะไรที่กินมดบ้าง อะไรบ้างแบบนี้ค่ะ จะหา Keyword ให้กับเด็ก จะให้เด็กจินตนาการต่อ ส่วนใหญ่พี่หนูจะไม่ได้สอนให้น้องแปลทั้งเรื่อง เพราว่า พอเขาเข้าห้องสอบจริง ๆ เขาก็จะไม่เจอเรื่องที่พี่หนูสอน เขาก็จะเจอเรื่องอื่นไปอีก แต่เราจะทำให้เขาชินกับระบบความคิดว่า เขาต้องหาคำศัพท์สัก 2 – 3 คำที่เขาแปลออก แล้วก็จินตนาการเนื้อเรื่องไป เพราะว่าเรื้อเรื่องมันก็คือเรื่องรอบตัวของเรา มันไม่ได้หนีห่างหรือว่าไกลตัวน้อง มันเป็นเรื่อง Daily Use Daily Life ตลอด ที่มันอยู่รอบตัวน้อง ๆ อยากให้เขาจินตนาการแล้วก็ค่อย ๆ ไม่อยากให้เขามองว่า เจอศัพท์อ่านไม่ออกแปลไม่ได้แล้วเขาจะทำข้อสอบได้ และอีกอย่างที่ควรทำคือ โหลดข้อสอบเก่ามาทำ เพราะว่าข้อสอบในอนาคตก็จะออกในข้อสอบเดิม เพราะฉะนั้นแนวทางในการออกข้อสอบเขาก็จะออกแนวเดิม มันไม่ได้เปลี่ยนหรือหนีกันมาก แต่ถ้าเมื่อไหร่ที่น้องไม่ได้ฝึกทำโจทย์ น้องก็จะไม่คุ้นชินกับคำถามหรือว่ากับสไตล์การถาม หรือว่าเนื้อเรื่องที่ผู้ออกข้อสอบเขาเลือก ก็อยากจฝากน้อง ๆ ให้น้อง ๆ ทำข้อสอบเก่าเยอะ ๆ เพราะยังมีเวลาเตรียมตัวอยู่ มีเวลาเพิ่มเติมก็ดูสื่อฟรี ดูช่องฟรีที่พี่ ๆ ติวเตอร์ทั้งหลายก็ได้สอนน้อง ๆ ค่ะ ครูพี่เกศ – จริง ๆ คือการวางแผน เด็กที่สอบติดเข้าไปไม่ใช่เด็กเก่งทุกคนนะคะ แต่เป็นเด็กที่เรียนรู้หรือวางแผนอะไรมาก่อน อย่างที่บอกว่า scope ในการออกข้อสอบเด็กต้องศึกษาก่อนนะว่าคณะที่ตัวเองจะเข้า เราสอบอะไรบ้าง แล้ววิชานั้นมันสอบแค่หัวข้อไหนประมาณไหน ก็ยังคงยืนยันคำเดิมว่าอ่านเยอะไม่เท่ากับอ่านตรง ขอให้น้องวางแผนการที่จะสอบเข้าก่อน แล้วก็เตรียมตัวอ่านเฉพาะที่จะออกสอบ เพราะว่าในเวลาอันจำกัดนี้เด็กมีหน้าที่ในการอ่านเพื่อไปสอบแล้ว ต้องยอมรับอย่างหนึ่งว่าอ่านเพื่อไปเอาคะแนน เพื่อไปสอบให้ติด แล้วทีนี้เด็กจะไปเพิ่มพูนความรูอะไรนอกเหนือจากนี้ ค่อยหลังจากสอบติดก็ได้ เพราะเจาะจงจากสิ่งที่ตัวเองติดเข้าไปแล้ว แล้วค่อยไปต่อยอดเพิ่มเอา แต่ทุกวันนี้เด็กต้องเอาตัวรอดให้ได้ คือ การอ่านในสิ่งที่ข้อสอบจะออกแล้วไปสอบให้ติดก่อน เจาะให้ตรงค่ะ เป็นอย่างไรกันบ้างกับบทสัมภาษณ์ขอพี่ๆ ติวเตอร์ทั้ง 2 ท่าน แอดมินหวังเหลือเกินว่าถ้าหากน้องๆ นำไปปรับใช้แล้วจะช่วยให้สมหวังทุกประการ กับการเรียนต่อในมหาวิทยาลัย หรือคณะที่เราต้องการต่อไปนะครับ แล้วมาพบกันใหม่กับเรื่องราว สารดีๆ แบบนี้ สำหรับวันนี้ สวัสดีและโชคดีกับการสอบทุกคนนนะคร้าบบบบบ EZ Webmaster Related Posts ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง TK Park พาเปิดบทเรียนอันทรงคุณค่า จาก “คุณหญิงกษมา” กว่า 50 ปี บนเส้นทางการศึกษา กับบทบาทผู้ต่อจิ๊กซอว์ “การเรียนรู้” ให้สังคมไทย พร้อมเจาะ “7 บทเรียนที่ต้องเรียนรู้” พาไทยสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ได้แบบไม่รู้จบ Post navigation PREVIOUS Previous post: อาชีวะพัฒนาฝีมือบุคลากร สาขาช่างแอร์ ร่วมกับ บริษัท อีมิแน้นท์แอร์ (ประเทศไทย) จำกัดNEXT Next post: สวนสุนันทาเเต่งตั้งคณะผู้บริหารเสริมทีมขับเคลื่อนมหาวิทยาลัย Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster November 17, 2020 EZ Webmaster November 17, 2020 เทคนิคการติวออนไลน์ในยุค New Normal สวัสดีคร้าบบบบ น้องๆ ที่น่ารักทุกคนกับมาพบกันอีกครั้งกับเรื่องราวดีๆ เกี่ยวกับการศึกษาในยุค New Normal ในบ้านเรากัน โดยแอดมินมีโอกาสไปสัมภาษณ์ติวเตอร์ชื่อดังในโครงการ Sahapat Admission ครั้งที่ 23 นั้นก็คือครูพี่หนู – กฤติกา ปาลกะวงศ์ และครูพี่เกศ – เกศจิรา บุญตระกูล เกี่ยวกับการปรับตัวสำหรับการติววิชาต่างๆ ในยุค New Normal ว่าควรจะทำอย่างไร และทางพี่ๆ ติวเตอร์มีการวางแผนและปรับตัวอย่างไรบ้าง เราไปเจอบทสัมภาษณ์แบบ Exclusive พร้อมกันได้เลยครับ การติวแบบใหม่ของติวเตอร์แต่ละท่านมีการเปลี่ยนแปลงจากเดิม จากเมื่อก่อนอย่างไรบ้าง ? ครูพี่หนู – คือตอนนี้ ในปีนี้เลยที่โควิดระบาดการที่จะให้เด็กนั่งรวมกันที่หอประชุม ก็เป็นการยากนะคะ เพราะว่า ด้วยมาตรการป้องกันต่าง ๆ ทางโครงการก็เลยปรับรูปแบบให้กลายเป็นติวออนไลน์ อยู่ไหนก็ติวได้ ซึ่งถามว่าสะดวกไหม ก็สะดวกกับเด็กแล้วก็สะดวกกับคุณครูด้วยนะคะ เพราะว่าเราก็จะเป็นการติว ถามว่ามันต่างจากแบบเดิมไหม ปรับมากไหม ก็คือน้องก็จะสามารถส่งคำถามร่วมสนุกหรือว่าอะไรกับเราได้ทาง Live แชทค่ะ ครูพี่เกศ – ปกติแล้วเด็กก็จะเจอครูหรือว่าติวเตอร์แบบตัวต่อตัว เด็กส่วนใหญ่ชอบเรียนสดคือสมัครคอร์สเรียนมา จะได้มาเจอตัวเป็น ๆ มีข้อสงสัยอะไรจะได้ถามเราได้เลย เขาจะรู้สึกว่าอินกับบรรยากาศในการเรียนมากกว่า แต่ว่ายุคใหม่นี้มันเปลี่ยนเป็นออนไลน์ ถามว่ามันมีความเปลี่ยนแปลงอย่างไร ตอนแรกเด็กก็จะรู้สึกว่าไม่เข้าใจ รู้สึกว่ามันต้องไม่ดีแน่ ๆ เลย เรียนกับสื่อ เรียนกับวิดีโอ เพราะไม่ได้เจอติวเตอร์ตัวเป็น ๆ แต่พอเด็กได้มาลองเรียนจริง ๆ แล้ว จะพบว่าการถามตอบมันยังคงเดิม เปลี่ยนจากการพูดถามเป็นการพิมพ์ถาม แล้วบางครั้งมันอาจจะดีกว่าด้วยซ้ำ อย่างเช่น บางวิชาเด็กสามารถถ่ายรูปส่งมาได้ เพราะว่าโปรแกรมทุกวันนี้มันมีหลากหลาย บางครั้งไม่ต้องพิมพ์ถามก็ได้นะ อย่างโปรแกรมบางอันที่สามารถเปิดไมค์แล้วพูดออกมาได้เลย แล้วติวเตอร์ก็สามารถตอบไปได้เลยะ ก็ไม่ได้แตกต่างมากสุดท้ายแล้วเด็กก็รู้สึกว่ามันสนุกไปอีกแบบ ครูพี่หนู – กฤติกา ปาลกะวงศ์ การที่น้องอาจจะไม่เห็นหน้าเรา เราพอจะมีวิธีการเทคนิคอย่างไรช่วยให้น้องทำได้ดีกว่าเดิม ? ครูพี่หนู – สำหรับหนูเองนะคะ หนูใช้เสียง เสียงจะขึ้น ๆ ลง ๆ ใช้เสียงแหลมตลอดในการติว เพราะว่า 1 ก็จะทำให้น้องตื่นตัวตลอด บางช็อตที่น้องเห็นแต่จอไม่เห็นหน้าเราด้วย ก็จะใช้เสียงในการดึงเด็กแล้วก็เป็นการเล่าเรื่อง บรรยายเรื่อง ให้มันเข้ากับเนื้อหาที่เรากำลังสอนอยู่ ครูพี่เกศ – การเอาสื่อที่น่าสนใจ การเล่นที่สีหน้า น้ำเสียง หรือการจูงใจในเรื่องของเกม การตอบคำถาม ให้เด็กรู้สึกว่าไม่ได้มานั่งฟังกับจอเฉย ๆ แต่เป็นการที่มีอะไรร่วมสนุกได้ พิมพ์ตอบได้นะ จะมีการส่งของรางวัลไปที่บ้านนะ เพื่อให้เด็กรู้สึกว่าเราสามารถมีปฏิกิริยากับติวเตอร์ได้เหมือนอยู่ในสถานการณ์ห้องจริง ไม่ได้มีความแตกต่างเหลื่อมล้ำทุกคนมีความเท่าเทียมกันหมด ก็สนุกไปอีกแบบ คิดว่าการติวแบบนี้มีข้อดีอย่างไรบ้าง ? ครูพี่หนู – ถามว่ามันดีไหม ก็คือมันดีสำหรับน้อง ๆ ทุกคน เพราะน้อง ๆ อยู่ที่ไหนก็ติวได้ อยู่ไกลแค่ไหนก็ติวได้ สำหรับพื้นที่ห่างไกลขอแค่มีสัญญานอินเตอร์เน็ต น้องก็สามารถติวได้หรือว่าน้องก็สามารถดูย้อนหลังได้ ดูซ้ำได้ เป็นการดีสำหรับน้อง ๆ ค่ะ ครูพี่เกศ – ข้อดีคือเด็กเก็นหน้าเราชัด เห็นใกล้ เห็นเสียงเราชัด สื่ออลัง ปกติถ้าเด็กนั่งติวในหาประชุมหรือในโรงเรียน หรือไกล ๆ แบบนี้ เขาก็จะมองเอคติ้งเราไม่ค่อยถนัด โปรเจกเตอร์บางทีเด็กหลัง ๆ มองไม่เห็น การติวแบบนี้คือจอมันชัด เลยรู้สึกว่าสุดท้ายแล้วมันน่าสนใจกว่าด้วยซ้ำ พอเรามาลองจริง ๆ แล้วภาพก็ชัด สื่อก็ชัด เสียงอะไรแบบนี้ได้เลยเต็มที่ ไม่ค่อยแตกต่างขนาดนั้นสุดท้ายแล้วอยู่ที่ความสนใจ ในปัจจุบันนี้เด็กก็จะเปลี่ยนไปหลายยุค แล้วเด็กยุคก่อนกับยุคนี้มีความสนใจในการติวแตกต่างกันอย่างไร ? ครูพี่หนู – ด้วยความสนใจน่าจะไม่ได้แตกต่างกัน แต่รูปแบบในการติวในการเข้าถึงสื่ออาจจะเปลี่ยนไป เพราะว่าตอนนี้มีสื่อฟรีเยอะ มีสื่อออนไลน์เยอะ ก็จะสามารถเข้าถึงสื่อพวกนี้ได้มากกว่าเด็กรุ่นเก่า ๆ ที่ยังไม่มีสื่อเข้าถึง ต้องรอติวเตอร์ไปติว หรือว่าต้องเข้ามาเรียนพิเศษ ครูพี่เกศ – เด็กสมัยก่อนคิดว่า จำเป็นต้องแข่งขัน จำเป็นต้องสอบ ต้องใส่ใจอ่านหนังสือมาก ๆ เพื่อจะเข้ามหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงให้ได้ แต่เด็กทุกวันนี้มีความรู้สึกว่าเรียนี่ไหนก็ได้ ไม่ต้องแข่งขัน รู้สึกว่าไม่จำเป็น ขอแค่มีเงินแล้วก็ไปเรียนเอกชนก็ได้ แนวคิดนี้มันอันตรายนะ คือเรามีหน้าที่สร้างความเข้าใจให้เด็ก ไม่ใช่ว่าเรียนที่ไหนมันเหมือนกัน เพราะถ้าเหมือนกันจริงคงไม่ต้องมาติว ถ้าเหมือนกันจริงคงไม่ได้มากวดวิชา เรียนพิเศษ เพราะสุดท้ายปลายทางมันไม่เหมือนกัน เราก็มีหน้าที่ในการบอกเด็กว่ามันต่างกันอย่างไร แล้วทำไมต้องมีการสอบเข้า ทำไมต้องมีการแข่งขัน เราต้องสร้างความเข้าใจให้เขา เขาแค่ไม่เข้าใจว่าทำไมมันถึงสำคัญ เด็กไม่เข้าใจว่าทำไมต้องแข่ง แข่งกันทำไม สอบเข้าไปแล้วมหาวิยาลัยนี้ กับมหาวิทยาลัยนี้มันต่างกันอย่างไร ครูพี่เกศ – เกศจิรา บุญตระกูล ปัจจุบันนี้ น้อง ๆ เลือกติวเป็นแต่ละวิชาหลัก ๆ เน้น ๆ บางคนเลือกที่จะทิ้งบางวิชาเพื่อจะไปทุ่มกับอีกวิชา พี่ๆ มีความคิดเห็นอย่างไรบ้าง ? ครูพี่หนู – ความจริงภาษาอังกฤษก็เป็นวิชาที่เป็นหัวใจหลักอยู่แล้ว ทั้งวิทย์ ทั้งศิลป์ เพราะว่าบางทีน้องสายวิทย์อาจจะรู้สึกว่า ตัวเองต้องโฟกัสแต่วิทย์ – คณิตฯ แต่ความจริงแล้วภาษาอังกฤษนี้เป็นตัวที่ตัดแต้มเด็ก ใครทำภาษาอังกฤษได้เยอะจะทำให้คะแนนเขาพุ่งมากขึ้น หรือว่าสามารถมีทางเลือกในการเข้าคณะมากขึ้น แล้วก็จะชูให้เห็นว่า ถ้าน้องได้ภาษาอังกฤษเพิ่มขึ้น น้องทำได้ดีขึ้น โอกาสทางเลือกของน้องก็จะมากขึ้นกว่าที่น้องได้อยู่แล้ว น้องก็อาจจะมีช้อยส์ มีทางเลือกในคณะที่เพิ่มมากขึ้น มีโอกาสยื่นคะแนนมากขึ้น ครูพี่เกศ – คำถามนี้ดีมากเลยค่ะ เพราะมันคือโดยเฉพาะวิชานี้เลยพี่เกศสอนวิชาภาษาไทย ภาษาไทยถ้าเป็นเด็กศิลป์จะไม่ทิ้งหรอกค่ะ เพราะเขารู้สึกว่ามันคือภาษา แต่ถ้าเกิดเด็กวิทย์เริ่มปัญหา จะรู้สึกว่าภาษาไทยอ่านเองได้ อ่านออกเข้าใจได้ แต่จริง ๆ อยากจะบอกว่า ภาษาไทยเป็นวิชาโกยคะแนนที่ดีมากเป็นอันดับหนึ่ง ถ้าดูค่าเฉลี่ยของคะแนนภาษาไทยจะโดมาเป็นอันดับหนึ่งเลย เนื่องจากว่ามันอ่านออกทุกคน แต่ว่าจะทำทันหรือเปล่าเป็นอีกเรื่อง เนื่องจากว่าจำนวนข้อสอบมันเยอะและถ้าเกิดเด็กไม่มีเทคนิคในการทำแต่ละข้อ ด้วยความรวดเร็ว แม่นยำ ยังไงเด็กก็พลาด แล้วบางครั้งเด็กเข้าใจว่าสิ่งที่เขาเข้าใจอยู่มันถูก แต่จริง ๆ แล้วมันผิดมาโดยตลอด อย่างเช่นคำนี้ อ่านแบบนี้ แต่จริง ๆ แล้วอ่านแบบนี้เด็กเพิ่งจะมารู้หลังจากออกจากห้องสอบแล้ว อ้าว! จริงหรอ! คือตอนที่ตอบมั่นใจมากเลยนะ มั่นใจว่าตอนสอบทำได้ทุกข้อ แต่แปลกมากว่าภาษาไทยไม่เคยมีใครได้คะแนนเต็ม เหตุผลเพราะความเข้าใจยังผิด ๆ กันอยู่ เราก็ต้องมาบอกเด็กว่าข้อสอบจะออกแนวนี้นะ แล้วมันจะหลอกเราแบบนี้นะ เราเก็งให้เขาเลยค่ะ เชื่ออย่างหนึ่งว่าอ่านเยอะไม่เท่ากับอ่านตรง เหมือนกันค่ะ ติวเยอะก็ไม่เท่ากับการติวตรง ดังนั้นถ้าเกิดเด็กมาฟังเราจริง ๆ เด็กจะประหยัดเวลาในการอ่านหนังสือเยอะมาก ชั่วโมงหนึ่งเท่ากัน เด็กคนหนึ่งอ่านในสิ่งที่ข้อสอบไม่ออก ในขณะที่อีกคนหนึ่งรู้ว่าข้อสอบจะออกอะไร แล้วใช้เวลาหนึ่งชั่วโมงนั้นอ่านในสิ่งที่จะออก ผลลัพธ์มันต่างกัน แล้วภาษาไทยอย่าทิ้งค่ะ ยกตัวอย่าง O-NET ในทุกรายวิชาเฉลี่ยรวมกัน 9,000 คำแนน ในสนามสอบ TCAS Admission เขาไม่ได้มาบอกว่าเด็กวิทย์ต้องเก่งวิทย์สุด เด็กศิลป์ภาษาต้องเก่งภาษาอังกฤษสุดประมาณนี้ ในสามารถทำวิชาอะไรก็ได้เพื่อให้ตัวเองเอาตัวรอด และมีคะแนนสูงคะแนนตุนเยอะที่สุดใน 9,000 นั้น เลยอยากเชียร์ให้เด็กเอาภาษาไทยไปเป็นส่วนหนึ่ง ในการตุนคะแนน สุดท้ายอยากจะให้ฝากเทคนิคการเตรียมตัว สำหรับการสอบทุกวิชา ทุกสนามสอบ ? ครูพี่หนู – ในส่วนของพี่หนูนะคะ เป็น reading ส่วนใหญ่ reading พี่หนูก็จะให้จับ Keyword แล้วก็จะพยายามไม่ให้น้องแปลเยอะ จะให้น้องแปลคำที่น้องแปลออกแล้วก็ใช้จินตนาการเดาเนื้อเรื่องว่า ที่น้องแปลออก อย่างมีคำว่า มด มีคำว่า สัตว์ แล้วมดเป็นอาหารของสัตว์ตัวนี้ เราก็จะให้น้องเดาต่อว่ามันน่าจะเป็นตัวอะไร ตัวอะไรที่กินมดบ้าง อะไรบ้างแบบนี้ค่ะ จะหา Keyword ให้กับเด็ก จะให้เด็กจินตนาการต่อ ส่วนใหญ่พี่หนูจะไม่ได้สอนให้น้องแปลทั้งเรื่อง เพราว่า พอเขาเข้าห้องสอบจริง ๆ เขาก็จะไม่เจอเรื่องที่พี่หนูสอน เขาก็จะเจอเรื่องอื่นไปอีก แต่เราจะทำให้เขาชินกับระบบความคิดว่า เขาต้องหาคำศัพท์สัก 2 – 3 คำที่เขาแปลออก แล้วก็จินตนาการเนื้อเรื่องไป เพราะว่าเรื้อเรื่องมันก็คือเรื่องรอบตัวของเรา มันไม่ได้หนีห่างหรือว่าไกลตัวน้อง มันเป็นเรื่อง Daily Use Daily Life ตลอด ที่มันอยู่รอบตัวน้อง ๆ อยากให้เขาจินตนาการแล้วก็ค่อย ๆ ไม่อยากให้เขามองว่า เจอศัพท์อ่านไม่ออกแปลไม่ได้แล้วเขาจะทำข้อสอบได้ และอีกอย่างที่ควรทำคือ โหลดข้อสอบเก่ามาทำ เพราะว่าข้อสอบในอนาคตก็จะออกในข้อสอบเดิม เพราะฉะนั้นแนวทางในการออกข้อสอบเขาก็จะออกแนวเดิม มันไม่ได้เปลี่ยนหรือหนีกันมาก แต่ถ้าเมื่อไหร่ที่น้องไม่ได้ฝึกทำโจทย์ น้องก็จะไม่คุ้นชินกับคำถามหรือว่ากับสไตล์การถาม หรือว่าเนื้อเรื่องที่ผู้ออกข้อสอบเขาเลือก ก็อยากจฝากน้อง ๆ ให้น้อง ๆ ทำข้อสอบเก่าเยอะ ๆ เพราะยังมีเวลาเตรียมตัวอยู่ มีเวลาเพิ่มเติมก็ดูสื่อฟรี ดูช่องฟรีที่พี่ ๆ ติวเตอร์ทั้งหลายก็ได้สอนน้อง ๆ ค่ะ ครูพี่เกศ – จริง ๆ คือการวางแผน เด็กที่สอบติดเข้าไปไม่ใช่เด็กเก่งทุกคนนะคะ แต่เป็นเด็กที่เรียนรู้หรือวางแผนอะไรมาก่อน อย่างที่บอกว่า scope ในการออกข้อสอบเด็กต้องศึกษาก่อนนะว่าคณะที่ตัวเองจะเข้า เราสอบอะไรบ้าง แล้ววิชานั้นมันสอบแค่หัวข้อไหนประมาณไหน ก็ยังคงยืนยันคำเดิมว่าอ่านเยอะไม่เท่ากับอ่านตรง ขอให้น้องวางแผนการที่จะสอบเข้าก่อน แล้วก็เตรียมตัวอ่านเฉพาะที่จะออกสอบ เพราะว่าในเวลาอันจำกัดนี้เด็กมีหน้าที่ในการอ่านเพื่อไปสอบแล้ว ต้องยอมรับอย่างหนึ่งว่าอ่านเพื่อไปเอาคะแนน เพื่อไปสอบให้ติด แล้วทีนี้เด็กจะไปเพิ่มพูนความรูอะไรนอกเหนือจากนี้ ค่อยหลังจากสอบติดก็ได้ เพราะเจาะจงจากสิ่งที่ตัวเองติดเข้าไปแล้ว แล้วค่อยไปต่อยอดเพิ่มเอา แต่ทุกวันนี้เด็กต้องเอาตัวรอดให้ได้ คือ การอ่านในสิ่งที่ข้อสอบจะออกแล้วไปสอบให้ติดก่อน เจาะให้ตรงค่ะ เป็นอย่างไรกันบ้างกับบทสัมภาษณ์ขอพี่ๆ ติวเตอร์ทั้ง 2 ท่าน แอดมินหวังเหลือเกินว่าถ้าหากน้องๆ นำไปปรับใช้แล้วจะช่วยให้สมหวังทุกประการ กับการเรียนต่อในมหาวิทยาลัย หรือคณะที่เราต้องการต่อไปนะครับ แล้วมาพบกันใหม่กับเรื่องราว สารดีๆ แบบนี้ สำหรับวันนี้ สวัสดีและโชคดีกับการสอบทุกคนนนะคร้าบบบบบ EZ Webmaster Related Posts ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง TK Park พาเปิดบทเรียนอันทรงคุณค่า จาก “คุณหญิงกษมา” กว่า 50 ปี บนเส้นทางการศึกษา กับบทบาทผู้ต่อจิ๊กซอว์ “การเรียนรู้” ให้สังคมไทย พร้อมเจาะ “7 บทเรียนที่ต้องเรียนรู้” พาไทยสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ได้แบบไม่รู้จบ Post navigation PREVIOUS Previous post: อาชีวะพัฒนาฝีมือบุคลากร สาขาช่างแอร์ ร่วมกับ บริษัท อีมิแน้นท์แอร์ (ประเทศไทย) จำกัดNEXT Next post: สวนสุนันทาเเต่งตั้งคณะผู้บริหารเสริมทีมขับเคลื่อนมหาวิทยาลัย Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief…
เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief…
“40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster November 17, 2020 EZ Webmaster November 17, 2020 เทคนิคการติวออนไลน์ในยุค New Normal สวัสดีคร้าบบบบ น้องๆ ที่น่ารักทุกคนกับมาพบกันอีกครั้งกับเรื่องราวดีๆ เกี่ยวกับการศึกษาในยุค New Normal ในบ้านเรากัน โดยแอดมินมีโอกาสไปสัมภาษณ์ติวเตอร์ชื่อดังในโครงการ Sahapat Admission ครั้งที่ 23 นั้นก็คือครูพี่หนู – กฤติกา ปาลกะวงศ์ และครูพี่เกศ – เกศจิรา บุญตระกูล เกี่ยวกับการปรับตัวสำหรับการติววิชาต่างๆ ในยุค New Normal ว่าควรจะทำอย่างไร และทางพี่ๆ ติวเตอร์มีการวางแผนและปรับตัวอย่างไรบ้าง เราไปเจอบทสัมภาษณ์แบบ Exclusive พร้อมกันได้เลยครับ การติวแบบใหม่ของติวเตอร์แต่ละท่านมีการเปลี่ยนแปลงจากเดิม จากเมื่อก่อนอย่างไรบ้าง ? ครูพี่หนู – คือตอนนี้ ในปีนี้เลยที่โควิดระบาดการที่จะให้เด็กนั่งรวมกันที่หอประชุม ก็เป็นการยากนะคะ เพราะว่า ด้วยมาตรการป้องกันต่าง ๆ ทางโครงการก็เลยปรับรูปแบบให้กลายเป็นติวออนไลน์ อยู่ไหนก็ติวได้ ซึ่งถามว่าสะดวกไหม ก็สะดวกกับเด็กแล้วก็สะดวกกับคุณครูด้วยนะคะ เพราะว่าเราก็จะเป็นการติว ถามว่ามันต่างจากแบบเดิมไหม ปรับมากไหม ก็คือน้องก็จะสามารถส่งคำถามร่วมสนุกหรือว่าอะไรกับเราได้ทาง Live แชทค่ะ ครูพี่เกศ – ปกติแล้วเด็กก็จะเจอครูหรือว่าติวเตอร์แบบตัวต่อตัว เด็กส่วนใหญ่ชอบเรียนสดคือสมัครคอร์สเรียนมา จะได้มาเจอตัวเป็น ๆ มีข้อสงสัยอะไรจะได้ถามเราได้เลย เขาจะรู้สึกว่าอินกับบรรยากาศในการเรียนมากกว่า แต่ว่ายุคใหม่นี้มันเปลี่ยนเป็นออนไลน์ ถามว่ามันมีความเปลี่ยนแปลงอย่างไร ตอนแรกเด็กก็จะรู้สึกว่าไม่เข้าใจ รู้สึกว่ามันต้องไม่ดีแน่ ๆ เลย เรียนกับสื่อ เรียนกับวิดีโอ เพราะไม่ได้เจอติวเตอร์ตัวเป็น ๆ แต่พอเด็กได้มาลองเรียนจริง ๆ แล้ว จะพบว่าการถามตอบมันยังคงเดิม เปลี่ยนจากการพูดถามเป็นการพิมพ์ถาม แล้วบางครั้งมันอาจจะดีกว่าด้วยซ้ำ อย่างเช่น บางวิชาเด็กสามารถถ่ายรูปส่งมาได้ เพราะว่าโปรแกรมทุกวันนี้มันมีหลากหลาย บางครั้งไม่ต้องพิมพ์ถามก็ได้นะ อย่างโปรแกรมบางอันที่สามารถเปิดไมค์แล้วพูดออกมาได้เลย แล้วติวเตอร์ก็สามารถตอบไปได้เลยะ ก็ไม่ได้แตกต่างมากสุดท้ายแล้วเด็กก็รู้สึกว่ามันสนุกไปอีกแบบ ครูพี่หนู – กฤติกา ปาลกะวงศ์ การที่น้องอาจจะไม่เห็นหน้าเรา เราพอจะมีวิธีการเทคนิคอย่างไรช่วยให้น้องทำได้ดีกว่าเดิม ? ครูพี่หนู – สำหรับหนูเองนะคะ หนูใช้เสียง เสียงจะขึ้น ๆ ลง ๆ ใช้เสียงแหลมตลอดในการติว เพราะว่า 1 ก็จะทำให้น้องตื่นตัวตลอด บางช็อตที่น้องเห็นแต่จอไม่เห็นหน้าเราด้วย ก็จะใช้เสียงในการดึงเด็กแล้วก็เป็นการเล่าเรื่อง บรรยายเรื่อง ให้มันเข้ากับเนื้อหาที่เรากำลังสอนอยู่ ครูพี่เกศ – การเอาสื่อที่น่าสนใจ การเล่นที่สีหน้า น้ำเสียง หรือการจูงใจในเรื่องของเกม การตอบคำถาม ให้เด็กรู้สึกว่าไม่ได้มานั่งฟังกับจอเฉย ๆ แต่เป็นการที่มีอะไรร่วมสนุกได้ พิมพ์ตอบได้นะ จะมีการส่งของรางวัลไปที่บ้านนะ เพื่อให้เด็กรู้สึกว่าเราสามารถมีปฏิกิริยากับติวเตอร์ได้เหมือนอยู่ในสถานการณ์ห้องจริง ไม่ได้มีความแตกต่างเหลื่อมล้ำทุกคนมีความเท่าเทียมกันหมด ก็สนุกไปอีกแบบ คิดว่าการติวแบบนี้มีข้อดีอย่างไรบ้าง ? ครูพี่หนู – ถามว่ามันดีไหม ก็คือมันดีสำหรับน้อง ๆ ทุกคน เพราะน้อง ๆ อยู่ที่ไหนก็ติวได้ อยู่ไกลแค่ไหนก็ติวได้ สำหรับพื้นที่ห่างไกลขอแค่มีสัญญานอินเตอร์เน็ต น้องก็สามารถติวได้หรือว่าน้องก็สามารถดูย้อนหลังได้ ดูซ้ำได้ เป็นการดีสำหรับน้อง ๆ ค่ะ ครูพี่เกศ – ข้อดีคือเด็กเก็นหน้าเราชัด เห็นใกล้ เห็นเสียงเราชัด สื่ออลัง ปกติถ้าเด็กนั่งติวในหาประชุมหรือในโรงเรียน หรือไกล ๆ แบบนี้ เขาก็จะมองเอคติ้งเราไม่ค่อยถนัด โปรเจกเตอร์บางทีเด็กหลัง ๆ มองไม่เห็น การติวแบบนี้คือจอมันชัด เลยรู้สึกว่าสุดท้ายแล้วมันน่าสนใจกว่าด้วยซ้ำ พอเรามาลองจริง ๆ แล้วภาพก็ชัด สื่อก็ชัด เสียงอะไรแบบนี้ได้เลยเต็มที่ ไม่ค่อยแตกต่างขนาดนั้นสุดท้ายแล้วอยู่ที่ความสนใจ ในปัจจุบันนี้เด็กก็จะเปลี่ยนไปหลายยุค แล้วเด็กยุคก่อนกับยุคนี้มีความสนใจในการติวแตกต่างกันอย่างไร ? ครูพี่หนู – ด้วยความสนใจน่าจะไม่ได้แตกต่างกัน แต่รูปแบบในการติวในการเข้าถึงสื่ออาจจะเปลี่ยนไป เพราะว่าตอนนี้มีสื่อฟรีเยอะ มีสื่อออนไลน์เยอะ ก็จะสามารถเข้าถึงสื่อพวกนี้ได้มากกว่าเด็กรุ่นเก่า ๆ ที่ยังไม่มีสื่อเข้าถึง ต้องรอติวเตอร์ไปติว หรือว่าต้องเข้ามาเรียนพิเศษ ครูพี่เกศ – เด็กสมัยก่อนคิดว่า จำเป็นต้องแข่งขัน จำเป็นต้องสอบ ต้องใส่ใจอ่านหนังสือมาก ๆ เพื่อจะเข้ามหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงให้ได้ แต่เด็กทุกวันนี้มีความรู้สึกว่าเรียนี่ไหนก็ได้ ไม่ต้องแข่งขัน รู้สึกว่าไม่จำเป็น ขอแค่มีเงินแล้วก็ไปเรียนเอกชนก็ได้ แนวคิดนี้มันอันตรายนะ คือเรามีหน้าที่สร้างความเข้าใจให้เด็ก ไม่ใช่ว่าเรียนที่ไหนมันเหมือนกัน เพราะถ้าเหมือนกันจริงคงไม่ต้องมาติว ถ้าเหมือนกันจริงคงไม่ได้มากวดวิชา เรียนพิเศษ เพราะสุดท้ายปลายทางมันไม่เหมือนกัน เราก็มีหน้าที่ในการบอกเด็กว่ามันต่างกันอย่างไร แล้วทำไมต้องมีการสอบเข้า ทำไมต้องมีการแข่งขัน เราต้องสร้างความเข้าใจให้เขา เขาแค่ไม่เข้าใจว่าทำไมมันถึงสำคัญ เด็กไม่เข้าใจว่าทำไมต้องแข่ง แข่งกันทำไม สอบเข้าไปแล้วมหาวิยาลัยนี้ กับมหาวิทยาลัยนี้มันต่างกันอย่างไร ครูพี่เกศ – เกศจิรา บุญตระกูล ปัจจุบันนี้ น้อง ๆ เลือกติวเป็นแต่ละวิชาหลัก ๆ เน้น ๆ บางคนเลือกที่จะทิ้งบางวิชาเพื่อจะไปทุ่มกับอีกวิชา พี่ๆ มีความคิดเห็นอย่างไรบ้าง ? ครูพี่หนู – ความจริงภาษาอังกฤษก็เป็นวิชาที่เป็นหัวใจหลักอยู่แล้ว ทั้งวิทย์ ทั้งศิลป์ เพราะว่าบางทีน้องสายวิทย์อาจจะรู้สึกว่า ตัวเองต้องโฟกัสแต่วิทย์ – คณิตฯ แต่ความจริงแล้วภาษาอังกฤษนี้เป็นตัวที่ตัดแต้มเด็ก ใครทำภาษาอังกฤษได้เยอะจะทำให้คะแนนเขาพุ่งมากขึ้น หรือว่าสามารถมีทางเลือกในการเข้าคณะมากขึ้น แล้วก็จะชูให้เห็นว่า ถ้าน้องได้ภาษาอังกฤษเพิ่มขึ้น น้องทำได้ดีขึ้น โอกาสทางเลือกของน้องก็จะมากขึ้นกว่าที่น้องได้อยู่แล้ว น้องก็อาจจะมีช้อยส์ มีทางเลือกในคณะที่เพิ่มมากขึ้น มีโอกาสยื่นคะแนนมากขึ้น ครูพี่เกศ – คำถามนี้ดีมากเลยค่ะ เพราะมันคือโดยเฉพาะวิชานี้เลยพี่เกศสอนวิชาภาษาไทย ภาษาไทยถ้าเป็นเด็กศิลป์จะไม่ทิ้งหรอกค่ะ เพราะเขารู้สึกว่ามันคือภาษา แต่ถ้าเกิดเด็กวิทย์เริ่มปัญหา จะรู้สึกว่าภาษาไทยอ่านเองได้ อ่านออกเข้าใจได้ แต่จริง ๆ อยากจะบอกว่า ภาษาไทยเป็นวิชาโกยคะแนนที่ดีมากเป็นอันดับหนึ่ง ถ้าดูค่าเฉลี่ยของคะแนนภาษาไทยจะโดมาเป็นอันดับหนึ่งเลย เนื่องจากว่ามันอ่านออกทุกคน แต่ว่าจะทำทันหรือเปล่าเป็นอีกเรื่อง เนื่องจากว่าจำนวนข้อสอบมันเยอะและถ้าเกิดเด็กไม่มีเทคนิคในการทำแต่ละข้อ ด้วยความรวดเร็ว แม่นยำ ยังไงเด็กก็พลาด แล้วบางครั้งเด็กเข้าใจว่าสิ่งที่เขาเข้าใจอยู่มันถูก แต่จริง ๆ แล้วมันผิดมาโดยตลอด อย่างเช่นคำนี้ อ่านแบบนี้ แต่จริง ๆ แล้วอ่านแบบนี้เด็กเพิ่งจะมารู้หลังจากออกจากห้องสอบแล้ว อ้าว! จริงหรอ! คือตอนที่ตอบมั่นใจมากเลยนะ มั่นใจว่าตอนสอบทำได้ทุกข้อ แต่แปลกมากว่าภาษาไทยไม่เคยมีใครได้คะแนนเต็ม เหตุผลเพราะความเข้าใจยังผิด ๆ กันอยู่ เราก็ต้องมาบอกเด็กว่าข้อสอบจะออกแนวนี้นะ แล้วมันจะหลอกเราแบบนี้นะ เราเก็งให้เขาเลยค่ะ เชื่ออย่างหนึ่งว่าอ่านเยอะไม่เท่ากับอ่านตรง เหมือนกันค่ะ ติวเยอะก็ไม่เท่ากับการติวตรง ดังนั้นถ้าเกิดเด็กมาฟังเราจริง ๆ เด็กจะประหยัดเวลาในการอ่านหนังสือเยอะมาก ชั่วโมงหนึ่งเท่ากัน เด็กคนหนึ่งอ่านในสิ่งที่ข้อสอบไม่ออก ในขณะที่อีกคนหนึ่งรู้ว่าข้อสอบจะออกอะไร แล้วใช้เวลาหนึ่งชั่วโมงนั้นอ่านในสิ่งที่จะออก ผลลัพธ์มันต่างกัน แล้วภาษาไทยอย่าทิ้งค่ะ ยกตัวอย่าง O-NET ในทุกรายวิชาเฉลี่ยรวมกัน 9,000 คำแนน ในสนามสอบ TCAS Admission เขาไม่ได้มาบอกว่าเด็กวิทย์ต้องเก่งวิทย์สุด เด็กศิลป์ภาษาต้องเก่งภาษาอังกฤษสุดประมาณนี้ ในสามารถทำวิชาอะไรก็ได้เพื่อให้ตัวเองเอาตัวรอด และมีคะแนนสูงคะแนนตุนเยอะที่สุดใน 9,000 นั้น เลยอยากเชียร์ให้เด็กเอาภาษาไทยไปเป็นส่วนหนึ่ง ในการตุนคะแนน สุดท้ายอยากจะให้ฝากเทคนิคการเตรียมตัว สำหรับการสอบทุกวิชา ทุกสนามสอบ ? ครูพี่หนู – ในส่วนของพี่หนูนะคะ เป็น reading ส่วนใหญ่ reading พี่หนูก็จะให้จับ Keyword แล้วก็จะพยายามไม่ให้น้องแปลเยอะ จะให้น้องแปลคำที่น้องแปลออกแล้วก็ใช้จินตนาการเดาเนื้อเรื่องว่า ที่น้องแปลออก อย่างมีคำว่า มด มีคำว่า สัตว์ แล้วมดเป็นอาหารของสัตว์ตัวนี้ เราก็จะให้น้องเดาต่อว่ามันน่าจะเป็นตัวอะไร ตัวอะไรที่กินมดบ้าง อะไรบ้างแบบนี้ค่ะ จะหา Keyword ให้กับเด็ก จะให้เด็กจินตนาการต่อ ส่วนใหญ่พี่หนูจะไม่ได้สอนให้น้องแปลทั้งเรื่อง เพราว่า พอเขาเข้าห้องสอบจริง ๆ เขาก็จะไม่เจอเรื่องที่พี่หนูสอน เขาก็จะเจอเรื่องอื่นไปอีก แต่เราจะทำให้เขาชินกับระบบความคิดว่า เขาต้องหาคำศัพท์สัก 2 – 3 คำที่เขาแปลออก แล้วก็จินตนาการเนื้อเรื่องไป เพราะว่าเรื้อเรื่องมันก็คือเรื่องรอบตัวของเรา มันไม่ได้หนีห่างหรือว่าไกลตัวน้อง มันเป็นเรื่อง Daily Use Daily Life ตลอด ที่มันอยู่รอบตัวน้อง ๆ อยากให้เขาจินตนาการแล้วก็ค่อย ๆ ไม่อยากให้เขามองว่า เจอศัพท์อ่านไม่ออกแปลไม่ได้แล้วเขาจะทำข้อสอบได้ และอีกอย่างที่ควรทำคือ โหลดข้อสอบเก่ามาทำ เพราะว่าข้อสอบในอนาคตก็จะออกในข้อสอบเดิม เพราะฉะนั้นแนวทางในการออกข้อสอบเขาก็จะออกแนวเดิม มันไม่ได้เปลี่ยนหรือหนีกันมาก แต่ถ้าเมื่อไหร่ที่น้องไม่ได้ฝึกทำโจทย์ น้องก็จะไม่คุ้นชินกับคำถามหรือว่ากับสไตล์การถาม หรือว่าเนื้อเรื่องที่ผู้ออกข้อสอบเขาเลือก ก็อยากจฝากน้อง ๆ ให้น้อง ๆ ทำข้อสอบเก่าเยอะ ๆ เพราะยังมีเวลาเตรียมตัวอยู่ มีเวลาเพิ่มเติมก็ดูสื่อฟรี ดูช่องฟรีที่พี่ ๆ ติวเตอร์ทั้งหลายก็ได้สอนน้อง ๆ ค่ะ ครูพี่เกศ – จริง ๆ คือการวางแผน เด็กที่สอบติดเข้าไปไม่ใช่เด็กเก่งทุกคนนะคะ แต่เป็นเด็กที่เรียนรู้หรือวางแผนอะไรมาก่อน อย่างที่บอกว่า scope ในการออกข้อสอบเด็กต้องศึกษาก่อนนะว่าคณะที่ตัวเองจะเข้า เราสอบอะไรบ้าง แล้ววิชานั้นมันสอบแค่หัวข้อไหนประมาณไหน ก็ยังคงยืนยันคำเดิมว่าอ่านเยอะไม่เท่ากับอ่านตรง ขอให้น้องวางแผนการที่จะสอบเข้าก่อน แล้วก็เตรียมตัวอ่านเฉพาะที่จะออกสอบ เพราะว่าในเวลาอันจำกัดนี้เด็กมีหน้าที่ในการอ่านเพื่อไปสอบแล้ว ต้องยอมรับอย่างหนึ่งว่าอ่านเพื่อไปเอาคะแนน เพื่อไปสอบให้ติด แล้วทีนี้เด็กจะไปเพิ่มพูนความรูอะไรนอกเหนือจากนี้ ค่อยหลังจากสอบติดก็ได้ เพราะเจาะจงจากสิ่งที่ตัวเองติดเข้าไปแล้ว แล้วค่อยไปต่อยอดเพิ่มเอา แต่ทุกวันนี้เด็กต้องเอาตัวรอดให้ได้ คือ การอ่านในสิ่งที่ข้อสอบจะออกแล้วไปสอบให้ติดก่อน เจาะให้ตรงค่ะ เป็นอย่างไรกันบ้างกับบทสัมภาษณ์ขอพี่ๆ ติวเตอร์ทั้ง 2 ท่าน แอดมินหวังเหลือเกินว่าถ้าหากน้องๆ นำไปปรับใช้แล้วจะช่วยให้สมหวังทุกประการ กับการเรียนต่อในมหาวิทยาลัย หรือคณะที่เราต้องการต่อไปนะครับ แล้วมาพบกันใหม่กับเรื่องราว สารดีๆ แบบนี้ สำหรับวันนี้ สวัสดีและโชคดีกับการสอบทุกคนนนะคร้าบบบบบ EZ Webmaster Related Posts ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM เช็กโครงการทุน ODOS Summer Camp 1 อำเภอ 1 ทุน เขตไหนบ้างที่ยังไม่มีผู้สมัคร โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนนางรอง TK Park พาเปิดบทเรียนอันทรงคุณค่า จาก “คุณหญิงกษมา” กว่า 50 ปี บนเส้นทางการศึกษา กับบทบาทผู้ต่อจิ๊กซอว์ “การเรียนรู้” ให้สังคมไทย พร้อมเจาะ “7 บทเรียนที่ต้องเรียนรู้” พาไทยสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ได้แบบไม่รู้จบ Post navigation PREVIOUS Previous post: อาชีวะพัฒนาฝีมือบุคลากร สาขาช่างแอร์ ร่วมกับ บริษัท อีมิแน้นท์แอร์ (ประเทศไทย) จำกัดNEXT Next post: สวนสุนันทาเเต่งตั้งคณะผู้บริหารเสริมทีมขับเคลื่อนมหาวิทยาลัย Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search
ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน…
สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน…
EZ Webmaster November 17, 2020 EZ Webmaster November 17, 2020 เทคนิคการติวออนไลน์ในยุค New Normal สวัสดีคร้าบบบบ น้องๆ ที่น่ารักทุกคนกับมาพบกันอีกครั้งกับเรื่องราวดีๆ เกี่ยวกับการศึกษาในยุค New Normal ในบ้านเรากัน โดยแอดมินมีโอกาสไปสัมภาษณ์ติวเตอร์ชื่อดังในโครงการ Sahapat Admission ครั้งที่ 23 นั้นก็คือครูพี่หนู – กฤติกา ปาลกะวงศ์ และครูพี่เกศ – เกศจิรา บุญตระกูล เกี่ยวกับการปรับตัวสำหรับการติววิชาต่างๆ ในยุค New Normal ว่าควรจะทำอย่างไร และทางพี่ๆ ติวเตอร์มีการวางแผนและปรับตัวอย่างไรบ้าง เราไปเจอบทสัมภาษณ์แบบ Exclusive พร้อมกันได้เลยครับ การติวแบบใหม่ของติวเตอร์แต่ละท่านมีการเปลี่ยนแปลงจากเดิม จากเมื่อก่อนอย่างไรบ้าง ? ครูพี่หนู – คือตอนนี้ ในปีนี้เลยที่โควิดระบาดการที่จะให้เด็กนั่งรวมกันที่หอประชุม ก็เป็นการยากนะคะ เพราะว่า ด้วยมาตรการป้องกันต่าง ๆ ทางโครงการก็เลยปรับรูปแบบให้กลายเป็นติวออนไลน์ อยู่ไหนก็ติวได้ ซึ่งถามว่าสะดวกไหม ก็สะดวกกับเด็กแล้วก็สะดวกกับคุณครูด้วยนะคะ เพราะว่าเราก็จะเป็นการติว ถามว่ามันต่างจากแบบเดิมไหม ปรับมากไหม ก็คือน้องก็จะสามารถส่งคำถามร่วมสนุกหรือว่าอะไรกับเราได้ทาง Live แชทค่ะ ครูพี่เกศ – ปกติแล้วเด็กก็จะเจอครูหรือว่าติวเตอร์แบบตัวต่อตัว เด็กส่วนใหญ่ชอบเรียนสดคือสมัครคอร์สเรียนมา จะได้มาเจอตัวเป็น ๆ มีข้อสงสัยอะไรจะได้ถามเราได้เลย เขาจะรู้สึกว่าอินกับบรรยากาศในการเรียนมากกว่า แต่ว่ายุคใหม่นี้มันเปลี่ยนเป็นออนไลน์ ถามว่ามันมีความเปลี่ยนแปลงอย่างไร ตอนแรกเด็กก็จะรู้สึกว่าไม่เข้าใจ รู้สึกว่ามันต้องไม่ดีแน่ ๆ เลย เรียนกับสื่อ เรียนกับวิดีโอ เพราะไม่ได้เจอติวเตอร์ตัวเป็น ๆ แต่พอเด็กได้มาลองเรียนจริง ๆ แล้ว จะพบว่าการถามตอบมันยังคงเดิม เปลี่ยนจากการพูดถามเป็นการพิมพ์ถาม แล้วบางครั้งมันอาจจะดีกว่าด้วยซ้ำ อย่างเช่น บางวิชาเด็กสามารถถ่ายรูปส่งมาได้ เพราะว่าโปรแกรมทุกวันนี้มันมีหลากหลาย บางครั้งไม่ต้องพิมพ์ถามก็ได้นะ อย่างโปรแกรมบางอันที่สามารถเปิดไมค์แล้วพูดออกมาได้เลย แล้วติวเตอร์ก็สามารถตอบไปได้เลยะ ก็ไม่ได้แตกต่างมากสุดท้ายแล้วเด็กก็รู้สึกว่ามันสนุกไปอีกแบบ ครูพี่หนู – กฤติกา ปาลกะวงศ์ การที่น้องอาจจะไม่เห็นหน้าเรา เราพอจะมีวิธีการเทคนิคอย่างไรช่วยให้น้องทำได้ดีกว่าเดิม ? ครูพี่หนู – สำหรับหนูเองนะคะ หนูใช้เสียง เสียงจะขึ้น ๆ ลง ๆ ใช้เสียงแหลมตลอดในการติว เพราะว่า 1 ก็จะทำให้น้องตื่นตัวตลอด บางช็อตที่น้องเห็นแต่จอไม่เห็นหน้าเราด้วย ก็จะใช้เสียงในการดึงเด็กแล้วก็เป็นการเล่าเรื่อง บรรยายเรื่อง ให้มันเข้ากับเนื้อหาที่เรากำลังสอนอยู่ ครูพี่เกศ – การเอาสื่อที่น่าสนใจ การเล่นที่สีหน้า น้ำเสียง หรือการจูงใจในเรื่องของเกม การตอบคำถาม ให้เด็กรู้สึกว่าไม่ได้มานั่งฟังกับจอเฉย ๆ แต่เป็นการที่มีอะไรร่วมสนุกได้ พิมพ์ตอบได้นะ จะมีการส่งของรางวัลไปที่บ้านนะ เพื่อให้เด็กรู้สึกว่าเราสามารถมีปฏิกิริยากับติวเตอร์ได้เหมือนอยู่ในสถานการณ์ห้องจริง ไม่ได้มีความแตกต่างเหลื่อมล้ำทุกคนมีความเท่าเทียมกันหมด ก็สนุกไปอีกแบบ คิดว่าการติวแบบนี้มีข้อดีอย่างไรบ้าง ? ครูพี่หนู – ถามว่ามันดีไหม ก็คือมันดีสำหรับน้อง ๆ ทุกคน เพราะน้อง ๆ อยู่ที่ไหนก็ติวได้ อยู่ไกลแค่ไหนก็ติวได้ สำหรับพื้นที่ห่างไกลขอแค่มีสัญญานอินเตอร์เน็ต น้องก็สามารถติวได้หรือว่าน้องก็สามารถดูย้อนหลังได้ ดูซ้ำได้ เป็นการดีสำหรับน้อง ๆ ค่ะ ครูพี่เกศ – ข้อดีคือเด็กเก็นหน้าเราชัด เห็นใกล้ เห็นเสียงเราชัด สื่ออลัง ปกติถ้าเด็กนั่งติวในหาประชุมหรือในโรงเรียน หรือไกล ๆ แบบนี้ เขาก็จะมองเอคติ้งเราไม่ค่อยถนัด โปรเจกเตอร์บางทีเด็กหลัง ๆ มองไม่เห็น การติวแบบนี้คือจอมันชัด เลยรู้สึกว่าสุดท้ายแล้วมันน่าสนใจกว่าด้วยซ้ำ พอเรามาลองจริง ๆ แล้วภาพก็ชัด สื่อก็ชัด เสียงอะไรแบบนี้ได้เลยเต็มที่ ไม่ค่อยแตกต่างขนาดนั้นสุดท้ายแล้วอยู่ที่ความสนใจ ในปัจจุบันนี้เด็กก็จะเปลี่ยนไปหลายยุค แล้วเด็กยุคก่อนกับยุคนี้มีความสนใจในการติวแตกต่างกันอย่างไร ? ครูพี่หนู – ด้วยความสนใจน่าจะไม่ได้แตกต่างกัน แต่รูปแบบในการติวในการเข้าถึงสื่ออาจจะเปลี่ยนไป เพราะว่าตอนนี้มีสื่อฟรีเยอะ มีสื่อออนไลน์เยอะ ก็จะสามารถเข้าถึงสื่อพวกนี้ได้มากกว่าเด็กรุ่นเก่า ๆ ที่ยังไม่มีสื่อเข้าถึง ต้องรอติวเตอร์ไปติว หรือว่าต้องเข้ามาเรียนพิเศษ ครูพี่เกศ – เด็กสมัยก่อนคิดว่า จำเป็นต้องแข่งขัน จำเป็นต้องสอบ ต้องใส่ใจอ่านหนังสือมาก ๆ เพื่อจะเข้ามหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงให้ได้ แต่เด็กทุกวันนี้มีความรู้สึกว่าเรียนี่ไหนก็ได้ ไม่ต้องแข่งขัน รู้สึกว่าไม่จำเป็น ขอแค่มีเงินแล้วก็ไปเรียนเอกชนก็ได้ แนวคิดนี้มันอันตรายนะ คือเรามีหน้าที่สร้างความเข้าใจให้เด็ก ไม่ใช่ว่าเรียนที่ไหนมันเหมือนกัน เพราะถ้าเหมือนกันจริงคงไม่ต้องมาติว ถ้าเหมือนกันจริงคงไม่ได้มากวดวิชา เรียนพิเศษ เพราะสุดท้ายปลายทางมันไม่เหมือนกัน เราก็มีหน้าที่ในการบอกเด็กว่ามันต่างกันอย่างไร แล้วทำไมต้องมีการสอบเข้า ทำไมต้องมีการแข่งขัน เราต้องสร้างความเข้าใจให้เขา เขาแค่ไม่เข้าใจว่าทำไมมันถึงสำคัญ เด็กไม่เข้าใจว่าทำไมต้องแข่ง แข่งกันทำไม สอบเข้าไปแล้วมหาวิยาลัยนี้ กับมหาวิทยาลัยนี้มันต่างกันอย่างไร ครูพี่เกศ – เกศจิรา บุญตระกูล ปัจจุบันนี้ น้อง ๆ เลือกติวเป็นแต่ละวิชาหลัก ๆ เน้น ๆ บางคนเลือกที่จะทิ้งบางวิชาเพื่อจะไปทุ่มกับอีกวิชา พี่ๆ มีความคิดเห็นอย่างไรบ้าง ? ครูพี่หนู – ความจริงภาษาอังกฤษก็เป็นวิชาที่เป็นหัวใจหลักอยู่แล้ว ทั้งวิทย์ ทั้งศิลป์ เพราะว่าบางทีน้องสายวิทย์อาจจะรู้สึกว่า ตัวเองต้องโฟกัสแต่วิทย์ – คณิตฯ แต่ความจริงแล้วภาษาอังกฤษนี้เป็นตัวที่ตัดแต้มเด็ก ใครทำภาษาอังกฤษได้เยอะจะทำให้คะแนนเขาพุ่งมากขึ้น หรือว่าสามารถมีทางเลือกในการเข้าคณะมากขึ้น แล้วก็จะชูให้เห็นว่า ถ้าน้องได้ภาษาอังกฤษเพิ่มขึ้น น้องทำได้ดีขึ้น โอกาสทางเลือกของน้องก็จะมากขึ้นกว่าที่น้องได้อยู่แล้ว น้องก็อาจจะมีช้อยส์ มีทางเลือกในคณะที่เพิ่มมากขึ้น มีโอกาสยื่นคะแนนมากขึ้น ครูพี่เกศ – คำถามนี้ดีมากเลยค่ะ เพราะมันคือโดยเฉพาะวิชานี้เลยพี่เกศสอนวิชาภาษาไทย ภาษาไทยถ้าเป็นเด็กศิลป์จะไม่ทิ้งหรอกค่ะ เพราะเขารู้สึกว่ามันคือภาษา แต่ถ้าเกิดเด็กวิทย์เริ่มปัญหา จะรู้สึกว่าภาษาไทยอ่านเองได้ อ่านออกเข้าใจได้ แต่จริง ๆ อยากจะบอกว่า ภาษาไทยเป็นวิชาโกยคะแนนที่ดีมากเป็นอันดับหนึ่ง ถ้าดูค่าเฉลี่ยของคะแนนภาษาไทยจะโดมาเป็นอันดับหนึ่งเลย เนื่องจากว่ามันอ่านออกทุกคน แต่ว่าจะทำทันหรือเปล่าเป็นอีกเรื่อง เนื่องจากว่าจำนวนข้อสอบมันเยอะและถ้าเกิดเด็กไม่มีเทคนิคในการทำแต่ละข้อ ด้วยความรวดเร็ว แม่นยำ ยังไงเด็กก็พลาด แล้วบางครั้งเด็กเข้าใจว่าสิ่งที่เขาเข้าใจอยู่มันถูก แต่จริง ๆ แล้วมันผิดมาโดยตลอด อย่างเช่นคำนี้ อ่านแบบนี้ แต่จริง ๆ แล้วอ่านแบบนี้เด็กเพิ่งจะมารู้หลังจากออกจากห้องสอบแล้ว อ้าว! จริงหรอ! คือตอนที่ตอบมั่นใจมากเลยนะ มั่นใจว่าตอนสอบทำได้ทุกข้อ แต่แปลกมากว่าภาษาไทยไม่เคยมีใครได้คะแนนเต็ม เหตุผลเพราะความเข้าใจยังผิด ๆ กันอยู่ เราก็ต้องมาบอกเด็กว่าข้อสอบจะออกแนวนี้นะ แล้วมันจะหลอกเราแบบนี้นะ เราเก็งให้เขาเลยค่ะ เชื่ออย่างหนึ่งว่าอ่านเยอะไม่เท่ากับอ่านตรง เหมือนกันค่ะ ติวเยอะก็ไม่เท่ากับการติวตรง ดังนั้นถ้าเกิดเด็กมาฟังเราจริง ๆ เด็กจะประหยัดเวลาในการอ่านหนังสือเยอะมาก ชั่วโมงหนึ่งเท่ากัน เด็กคนหนึ่งอ่านในสิ่งที่ข้อสอบไม่ออก ในขณะที่อีกคนหนึ่งรู้ว่าข้อสอบจะออกอะไร แล้วใช้เวลาหนึ่งชั่วโมงนั้นอ่านในสิ่งที่จะออก ผลลัพธ์มันต่างกัน แล้วภาษาไทยอย่าทิ้งค่ะ ยกตัวอย่าง O-NET ในทุกรายวิชาเฉลี่ยรวมกัน 9,000 คำแนน ในสนามสอบ TCAS Admission เขาไม่ได้มาบอกว่าเด็กวิทย์ต้องเก่งวิทย์สุด เด็กศิลป์ภาษาต้องเก่งภาษาอังกฤษสุดประมาณนี้ ในสามารถทำวิชาอะไรก็ได้เพื่อให้ตัวเองเอาตัวรอด และมีคะแนนสูงคะแนนตุนเยอะที่สุดใน 9,000 นั้น เลยอยากเชียร์ให้เด็กเอาภาษาไทยไปเป็นส่วนหนึ่ง ในการตุนคะแนน สุดท้ายอยากจะให้ฝากเทคนิคการเตรียมตัว สำหรับการสอบทุกวิชา ทุกสนามสอบ ? ครูพี่หนู – ในส่วนของพี่หนูนะคะ เป็น reading ส่วนใหญ่ reading พี่หนูก็จะให้จับ Keyword แล้วก็จะพยายามไม่ให้น้องแปลเยอะ จะให้น้องแปลคำที่น้องแปลออกแล้วก็ใช้จินตนาการเดาเนื้อเรื่องว่า ที่น้องแปลออก อย่างมีคำว่า มด มีคำว่า สัตว์ แล้วมดเป็นอาหารของสัตว์ตัวนี้ เราก็จะให้น้องเดาต่อว่ามันน่าจะเป็นตัวอะไร ตัวอะไรที่กินมดบ้าง อะไรบ้างแบบนี้ค่ะ จะหา Keyword ให้กับเด็ก จะให้เด็กจินตนาการต่อ ส่วนใหญ่พี่หนูจะไม่ได้สอนให้น้องแปลทั้งเรื่อง เพราว่า พอเขาเข้าห้องสอบจริง ๆ เขาก็จะไม่เจอเรื่องที่พี่หนูสอน เขาก็จะเจอเรื่องอื่นไปอีก แต่เราจะทำให้เขาชินกับระบบความคิดว่า เขาต้องหาคำศัพท์สัก 2 – 3 คำที่เขาแปลออก แล้วก็จินตนาการเนื้อเรื่องไป เพราะว่าเรื้อเรื่องมันก็คือเรื่องรอบตัวของเรา มันไม่ได้หนีห่างหรือว่าไกลตัวน้อง มันเป็นเรื่อง Daily Use Daily Life ตลอด ที่มันอยู่รอบตัวน้อง ๆ อยากให้เขาจินตนาการแล้วก็ค่อย ๆ ไม่อยากให้เขามองว่า เจอศัพท์อ่านไม่ออกแปลไม่ได้แล้วเขาจะทำข้อสอบได้ และอีกอย่างที่ควรทำคือ โหลดข้อสอบเก่ามาทำ เพราะว่าข้อสอบในอนาคตก็จะออกในข้อสอบเดิม เพราะฉะนั้นแนวทางในการออกข้อสอบเขาก็จะออกแนวเดิม มันไม่ได้เปลี่ยนหรือหนีกันมาก แต่ถ้าเมื่อไหร่ที่น้องไม่ได้ฝึกทำโจทย์ น้องก็จะไม่คุ้นชินกับคำถามหรือว่ากับสไตล์การถาม หรือว่าเนื้อเรื่องที่ผู้ออกข้อสอบเขาเลือก ก็อยากจฝากน้อง ๆ ให้น้อง ๆ ทำข้อสอบเก่าเยอะ ๆ เพราะยังมีเวลาเตรียมตัวอยู่ มีเวลาเพิ่มเติมก็ดูสื่อฟรี ดูช่องฟรีที่พี่ ๆ ติวเตอร์ทั้งหลายก็ได้สอนน้อง ๆ ค่ะ ครูพี่เกศ – จริง ๆ คือการวางแผน เด็กที่สอบติดเข้าไปไม่ใช่เด็กเก่งทุกคนนะคะ แต่เป็นเด็กที่เรียนรู้หรือวางแผนอะไรมาก่อน อย่างที่บอกว่า scope ในการออกข้อสอบเด็กต้องศึกษาก่อนนะว่าคณะที่ตัวเองจะเข้า เราสอบอะไรบ้าง แล้ววิชานั้นมันสอบแค่หัวข้อไหนประมาณไหน ก็ยังคงยืนยันคำเดิมว่าอ่านเยอะไม่เท่ากับอ่านตรง ขอให้น้องวางแผนการที่จะสอบเข้าก่อน แล้วก็เตรียมตัวอ่านเฉพาะที่จะออกสอบ เพราะว่าในเวลาอันจำกัดนี้เด็กมีหน้าที่ในการอ่านเพื่อไปสอบแล้ว ต้องยอมรับอย่างหนึ่งว่าอ่านเพื่อไปเอาคะแนน เพื่อไปสอบให้ติด แล้วทีนี้เด็กจะไปเพิ่มพูนความรูอะไรนอกเหนือจากนี้ ค่อยหลังจากสอบติดก็ได้ เพราะเจาะจงจากสิ่งที่ตัวเองติดเข้าไปแล้ว แล้วค่อยไปต่อยอดเพิ่มเอา แต่ทุกวันนี้เด็กต้องเอาตัวรอดให้ได้ คือ การอ่านในสิ่งที่ข้อสอบจะออกแล้วไปสอบให้ติดก่อน เจาะให้ตรงค่ะ เป็นอย่างไรกันบ้างกับบทสัมภาษณ์ขอพี่ๆ ติวเตอร์ทั้ง 2 ท่าน แอดมินหวังเหลือเกินว่าถ้าหากน้องๆ นำไปปรับใช้แล้วจะช่วยให้สมหวังทุกประการ กับการเรียนต่อในมหาวิทยาลัย หรือคณะที่เราต้องการต่อไปนะครับ แล้วมาพบกันใหม่กับเรื่องราว สารดีๆ แบบนี้ สำหรับวันนี้ สวัสดีและโชคดีกับการสอบทุกคนนนะคร้าบบบบบ
TK Park พาเปิดบทเรียนอันทรงคุณค่า จาก “คุณหญิงกษมา” กว่า 50 ปี บนเส้นทางการศึกษา กับบทบาทผู้ต่อจิ๊กซอว์ “การเรียนรู้” ให้สังคมไทย พร้อมเจาะ “7 บทเรียนที่ต้องเรียนรู้” พาไทยสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ได้แบบไม่รู้จบ