โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนพานพิทยาคม EZ WebmasterJune 17, 2025 มาทำให้วันธรรมดา กลายเป็นวันพิเศษกันเถอะ! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนพานพิทยาคม จ.เชียงราย วันที่17/06/68 โดยวิทยากร ผศ.ดร.ตฤณกร เกตุกุลพันธ์ #teamTaro โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย EZ WebmasterJune 17, 2025 กิจกรรมนี้มีแต่รอยยิ้มและความอบอุ่น ยิ่งทำยิ่งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย จ.เชียงใหม่ วันที่16/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า (ครูแอน)… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนแม่ริมวิทยาคม EZ WebmasterJune 17, 2025 สร้างความสุข สร้างความทรงจำดีๆ ให้เด็กๆ ทุกคน โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนแม่ริมวิทยาคม จ.เชียงใหม่ วันที่16/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสุรธรรมพิทักษ์ EZ WebmasterJune 17, 2025 วันนี้มีรอยยิ้ม เสียงหัวเราะ และความสนุกมาเต็มเปี่ยม! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนสุรธรรมพิทักษ์ จ.นครราชสีมา วันที่16/06/68 โดยวิทยากรอ.ธารา อิสสระ (พี่แฮนด์… นักศึกษา การตลาดดิจิทัลและระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย จัดกิจกรรมตอบแทนกลับคืนสังคม EZ WebmasterJune 17, 2025 นักศึกษากลุ่มวิชาการตลาดดิจิทัล และกลุ่มวิชาการบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ร่วมทำกิจกรรม Digital Marketing Innovation for Sustainability สร้างสรรค์ประสบการณ์ทางการตลาดดิจิทัลและการบริการสังคม โดยนักศึกษาได้เข้ากิจกรรมปล่อยสัตว์ทะเลที่ธนาคารปู จังหวัดระยอง และบริจากสิ่งของให้กับชมรมผู้พิการทางสติปัญญา จังหวัดชลบุรี ร่วมเรียนรู้การสร้างสรรค์สื่อสำหรับการสื่อสารทางการตลาดดิจิทัล เพื่อสร้างความรับผิดชอบต่อสังคมให้กับนักศึกษาและร่วมสร้างสรรค์สังคมให้น่าอยู่ต่อไป เรียนคณะบริหารธุรกิจแนวใหม่ต้องสัมผัสประสบการณ์แบบนักธุรกิจ ถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์จากคณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญรวมทั้งนักธุรกิจมืออาชีพ… “จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” EZ WebmasterJune 17, 2025 ในนามของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผมขอส่งความห่วงใยมายังพวกเราทุกคนที่กำลังใช้ชีวิตและศึกษาอยู่ในสหรัฐฯ โดยเฉพาะในช่วงเวลาที่มีความไม่แน่นอนเกี่ยวกับนโยบายวีซ่าที่อาจส่งผลต่อสิทธิในการศึกษา เมื่อไม่นานนี้ ผมและผู้บริหารจุฬาฯ มีโอกาสได้ไปเยือน Harvard และ MIT และได้พบกับนักศึกษาชาวไทยหลายคน ทุกคนต่างมีความมุ่งมั่น ตั้งใจ และอดทนในการใฝ่หาความรู้ เพื่อนำมาพัฒนาตนเอง สังคม และประเทศชาติ แม้จะอยู่ท่ามกลางความกังวลใจต่ออนาคตที่ยังไม่ชัดเจน ผมอยากบอกว่าพวกเราที่จุฬาฯ… คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… ทุนดีดี 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster March 26, 2019 EZ Webmaster March 26, 2019 “จากดินสอโดม…สู่ดิจิทัลโมเดล TU Startup พลังขับเคลื่อนคนรุ่นใหม่” การสร้างแรงบันดาลใจให้นักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ในการก้าวสู่ศตวรรษที่ 21 อย่างเป็นผู้นำทั้งภาคธุรกิจและจิตสำนึกต่อสังคมที่ยั่งยืน คือการยกระดับทักษะความรู้ ความคิดและความเป็นผู้ประกอบการ Startup นับเป็นความท้าทาย ‘จุดประกาย’ คน Generation Z ให้ก้าวออกจากพรมแดนการศึกษา สู่มิติทางธุรกิจของตัวเอง ภายใต้การสนับสนุนของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่งมีนโยบายพัฒนา ‘ระบบนิเวศน์สตาร์ทอัพ’ (Startup Ecosystem@TU) อาทิ โครงการบ่มเพาะธุรกิจ พื้นที่การทำงานร่วมหรือ Co-working Space การจับมือพันธมิตรสำคัญ ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสตาร์ทอัพในต่างประเทศ (Startup Exchange) ทั้งหมดล้วนนำไปสู่การแต่งแต้มไอเดียที่มีชีวิตชีวาผ่านระบบดิจิทัล แม้จะเป็นจุดเริ่มต้น โปรเจกต์เล็กๆ แต่ถ้าใครได้สัมผัสนักศึกษาผู้ผ่านกระบวนการบ่มเพาะ ‘หล่อหลอม’ ทักษะแล้ว จะเห็นว่าความฝันของเด็กกลุ่มนี้ควรค่าแก่โอกาสในโลกที่เปิดกว้าง ‘มะเหมี่ยว’ อนัญชนา พัฒนานันท์ นักศึกษาชั้นปีที่ 3 คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมกับเพื่อนซี้ ‘เต้’ จิรายุ พุฒาพิทักษ์ พัฒนา ‘Horhere’ เพจใหม่เอาใจนักศึกษาที่มองหาหอพักใกล้ๆ กับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ที่ขณะนี้เริ่มสร้างเครือข่ายและระดมทุนเพื่อทำให้ความฝันของเธอเป็นจริง “ปัจจุบันนักศึกษาธรรมศาสตร์ที่อยู่หอพักมีมากถึง 50% ทำให้เราคิดว่าถ้าพวกเค้ามีข้อมูลที่มากพอ ทุกคนก็จะมีความเป็นอยู่ที่ดีกว่านี้ได้ จึงพัฒนาเพจ Horhere ขึ้นมาเพื่อเป็นตัวกลางในการติดต่อเรื่องเช่าหอพักอย่างเป็นระบบและน่าเชื่อถือให้แก่นักเรียนนักศึกษาในอนาคต” อนัญชนา เล่าว่า ปัญหาขณะนี้คือนักศึกษาหลายคนต้องเดินทางมาจากต่างจังหวัด เพื่อจองหอพักที่ใกล้กับมหาวิทยาลัย บางหอพักได้รับความนิยมมากต้องมาจองคิวตั้งแต่ตี 5 โดยยังไม่รู้ว่าห้องว่างหรือไม่ บางคนเจอปัญหาการทำสัญญา โอนเงินไปแล้วแต่ผู้เช่าเดิมยังไม่ย้ายออก เพราะใช้บริการจากเว็บไซต์หรือเฟสบุ๊คที่ไม่น่าเชื่อถือ การสำรวจของทีมงาน Horhere ซึ่งมีทั้งสิ้น 8 คน พบว่ารอบๆ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต มีหอพักกว่า 38 แห่ง และมีพื้นที่ให้เช่าประมาณ 1 หมื่นห้อง แต่การขาดข้อมูลที่ดีและความไม่สะดวกในการประสานงานต่างๆ ทำให้นักศึกษาผู้หญิงบางคนต้องตัดใจ เช่าหอพักที่ไกลออกไป สุ่มเสี่ยงต่อความไม่ปลอดภัยในชีวิตและการเดินทาง “เพจ Horhere เป็นโมเดลธุรกิจที่ตอบโจทย์เรื่องการเป็นตัวกลางประสานระหว่างหอพักกับผู้เช่า วางระบบการชำระเงินที่น่าเชื่อถือ โดยจะเริ่มต้นจาก หอพักบริเวณมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ก่อน หากประสบความสำเร็จก็จะประชุมร่วมกับทีมงานเพื่อพัฒนาต่อไป” ที่ผ่านมาโปรเจกต์ Horhere ได้รับการสนับสนุนจาก สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA ที่ให้ทุนสตาร์ทอัพคนรุ่นใหม่มาพัฒนาธุรกิจตามความฝันของอนัญชนาและเพื่อนๆ โดยปัจจุบันมีผู้ติดตามเพจ Horhere แล้วมากกว่า 500 คน ในอนาคตมีแผนพัฒนาไปสู่แอปพลิเคชันและเว็บไซต์ที่สมบูรณ์แบบต่อไป ขณะที่ “เต้” จิรายุ กล่าวว่า กว่าจะมาเป็นเพจ Horhere ในวันนี้ ทีมงานต้องระดมสมองเพื่อ Pitch ไอเดียในเวที “สตาร์ทอัพไทยแลนด์ลีก” จัดโดยกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ต่อมาได้รับความสนใจและได้รับทุนสนับสนุนจากธนาคารออมสิน แต่เป็นแค่จุดเริ่มต้นเท่านั้น อาจจะยังไม่เพียงพอเพื่อทำแอปพลิเคชันตามเป้าหมายที่ฝันไว้ “แผนของเราคือเป็นตัวกลางระหว่างนักศึกษากับเจ้าของหอพัก ซึ่งส่วนใหญ่เคยทำธุรกิจแบบออฟไลน์ ด้วยการนำอินเทอร์เน็ตมาช่วยเหมือนแอร์บีแอนด์บี (Airbnb) หลังจากเปิดเพจระยะหนึ่งเราสามารถปิดดีลได้แล้วบางส่วน ขณะนี้กำลังเพิ่มฐานลูกค้าและทำคอนเทนท์ในเพจให้มากขึ้น ถ้าทำสำเร็จเราคิดว่าจะขยายไปสู่หอพักในโซนมหาวิทยาลัยอื่นๆ ในอนาคต” อีกหนึ่งโครงการสตาร์ทอัพที่เป็นความภูมิใจของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และผ่านกระบวนการบ่มเพาะจนเกิดเป็นรูปเป็นร่าง และอยู่ระหว่างการทำแบบจำลองและเก็บข้อมูล (Prototype) คือการพัฒนาแอปพลิเคชันโอทอปไทยสู่ประเทศจีน… ‘Dà Tài’ หรือออกเสียงว่า ‘ต้าไท่’ แปลว่าไทยใหญ่ โดยมี ‘โบ’ กมลพร วีระวุฒิวงศ์ นักศึกษาชั้นปีที่ 4 คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี และ ‘ซัมบี้’ นัฐชยา เชี่ยวชาญ นักศึกษาชั้นปี 4 คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นหัวเรี่ยวหัวแรงหลักในการพัฒนาแอปพลิเคชัน ‘Dà Tài’ ครั้งนี้ กมลพร เล่าไอเดียให้ฟังว่า แอปพลิเคชัน Dà Tài เริ่มจากการเห็นโอกาสที่คนจีนเข้ามาท่องเที่ยวเป็นจำนวนมากและสนใจซื้อสินค้าไทยแต่ยังเข้าไม่ถึงแหล่งผลิตจริงๆ หรือขาดข้อมูลในการตัดสินใจ จึงริเริ่มออกแบบแอปพลิเคชัน Dà Tài และลงพื้นที่สำรวจแหล่งท่องเที่ยวต่างๆ เพื่อเก็บข้อมูลความต้องการของผู้ซื้อสินค้าชาวจีน โดยเฉพาะกลุ่มแบกเป้หรือแบ็คแพ็ค รวมถึงการสร้างเครือข่ายผู้ประกอบการโอทอปในประเทศด้วย “ในช่วงแรกสินค้าที่จะอยู่ในแอปพลิเคชันนี้คือกลุ่มที่ได้รับความนิยมจากนักท่องเที่ยวจีนต้องซื้อกลับไป เช่น กระเป๋า กาแฟ มะม่วงอบแห้ง เริ่มจาก 500 รายการหลักๆ เพื่อกระตุ้นยอดขายให้ผู้ประกอบการที่ร่วมกับเรามีรายได้และกำลังใจที่จะพัฒนาต่อไป” สำหรับการส่งมอบสินค้าจะพยายามให้ถึงมือผู้รับภายใน 1 วัน ในขณะที่นักท่องเที่ยวจีนยังอยู่ในเมืองไทย หรืออย่างน้อยมีบริการส่งให้ที่สนามบินเพื่อความสะดวกในการนำกลับไปเป็นของขวัญแก่คนที่บ้าน ด้าน นัฐชยา กล่าวเสริมว่า โดยส่วนตัวแล้วเป็นเด็กต่างจังหวัด เกิดที่พะเยาจึงเห็นผลิตภัณฑ์ชุมชนที่มีเสน่ห์เฉพาะตัว เป็นภูมิปัญญาจากรุ่นสู่รุ่น แต่ปัญหาก็คือคนภายนอกยังไม่รู้จัก ขาดช่องทางการตลาด และไม่สามารถสร้างรายได้ที่สม่ำเสมอให้ชาวบ้านอยู่ได้ตลอดทั้งปี “เป้าหมายของเราคือสร้างพื้นที่การขายสินค้าโอทอปที่มีความน่าเชื่อถือ และได้รับการยอมรับเป็น แบรนด์ที่มีคุณภาพ โดยเบื้องต้นจะเน้นจำหน่ายในประเทศก่อน เพราะถ้าขายในต่างประเทศก็มีคู่แข่งสำคัญคือ อาลีบาบา และอเมซอน” หลังจากได้สำรวจความต้องการของตลาดแล้ว ทีมสตาร์ทอัพนำโดยโบและซัมบี้ก็จะเริ่มออกแบบทางเทคนิคเพื่อพัฒนาแอปพลิเคชัน Dà Tài ภายในเดือนพฤษภาคมนี้ ซึ่งการที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มีโครงการบ่มเพาะธุรกิจ การสร้างพื้นที่ Co-working Space ถือว่าเป็นประโยชน์ในการแชร์ความคิดกับทีมงานและผลักดันให้ทุกคนกล้าที่จะก้าวออกไปหาความสำเร็จ “ตรงนี้เป็นความฝันของเรา เพราะเชื่อว่ามนุษย์ไม่มีข้อจำกัด แม้จะเรียนคณะนิติศาสตร์แต่ก็สนใจเรียนรู้ในด้านธุรกิจ ฝึกฝนตัวเองผ่านการเข้าคอร์สด้านการตลาด คิดว่าทำอย่างไรให้ผลิตภัณฑ์เหล่านี้ออกสู่สายตาชาวโลกได้ ตรงนี้เป็นเสน่ห์ของสตาร์ทอัพคือไม่จำกัดความคิดของคน อยากให้อะไรเกิดขึ้นก็ศึกษา ทำมันอย่างเต็มที่ให้ตอบโจทย์ไอเดียที่เราคิดไว้” ศาสตราจารย์ ดร.อาณัติ ลีมัคเดช ผู้อำนวยการศูนย์ทรัพย์สินทางปัญญาและบ่มเพาะวิสาหกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กล่าวว่า ปัจจุบันมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สร้างนวัตกรรมเพื่อส่งเสริมให้เกิดสตาร์ทอัพในหลากหลายโครงการ อาทิ การพัฒนา Thammasat Creative Space (TCS) บนพื้นที่กว่า 1,500 ตารางเมตร ที่ชั้น 1 หอสมุดป๋วย อึ๊งภากรณ์ เพื่อให้นักศึกษาจากทุกคณะได้มานั่งทำงานแลกเปลี่ยนความรู้กันในบรรยากาศที่สร้างสรรค์เกิด โมเดลธุรกิจใหม่ๆ หรือการร่วมกับพันธมิตรอย่างธนาคารกรุงเทพในการส่งเสริม Startup จากภายนอก สามารถใช้ประโยชน์จากนวัตกรรมของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เพื่อพัฒนาธุรกิจได้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะส่งผลดีกับการพัฒนาความรู้ของนักศึกษาและอาจารย์ด้วย EZ Webmaster Related Posts การตลาดดิจิทัลและระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย จัดกิจกรรมตอบแทนกลับคืนสังคม “จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ Post navigation PREVIOUS Previous post: เปิดแล้ว! บริติช เคานซิล เปิดรับสมัคร “ทุน IELTS Prize” มูลค่ากว่า 3,100,000 บาทNEXT Next post: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ เปิดคอร์สอบรมการควบคุมการจราจรทางอากาศเบื้องต้น (Basic Air Traffic Control)
โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย EZ WebmasterJune 17, 2025 กิจกรรมนี้มีแต่รอยยิ้มและความอบอุ่น ยิ่งทำยิ่งสนุก! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย จ.เชียงใหม่ วันที่16/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา โสเก่าข่า (ครูแอน)… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนแม่ริมวิทยาคม EZ WebmasterJune 17, 2025 สร้างความสุข สร้างความทรงจำดีๆ ให้เด็กๆ ทุกคน โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนแม่ริมวิทยาคม จ.เชียงใหม่ วันที่16/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสุรธรรมพิทักษ์ EZ WebmasterJune 17, 2025 วันนี้มีรอยยิ้ม เสียงหัวเราะ และความสนุกมาเต็มเปี่ยม! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนสุรธรรมพิทักษ์ จ.นครราชสีมา วันที่16/06/68 โดยวิทยากรอ.ธารา อิสสระ (พี่แฮนด์… นักศึกษา การตลาดดิจิทัลและระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย จัดกิจกรรมตอบแทนกลับคืนสังคม EZ WebmasterJune 17, 2025 นักศึกษากลุ่มวิชาการตลาดดิจิทัล และกลุ่มวิชาการบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ร่วมทำกิจกรรม Digital Marketing Innovation for Sustainability สร้างสรรค์ประสบการณ์ทางการตลาดดิจิทัลและการบริการสังคม โดยนักศึกษาได้เข้ากิจกรรมปล่อยสัตว์ทะเลที่ธนาคารปู จังหวัดระยอง และบริจากสิ่งของให้กับชมรมผู้พิการทางสติปัญญา จังหวัดชลบุรี ร่วมเรียนรู้การสร้างสรรค์สื่อสำหรับการสื่อสารทางการตลาดดิจิทัล เพื่อสร้างความรับผิดชอบต่อสังคมให้กับนักศึกษาและร่วมสร้างสรรค์สังคมให้น่าอยู่ต่อไป เรียนคณะบริหารธุรกิจแนวใหม่ต้องสัมผัสประสบการณ์แบบนักธุรกิจ ถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์จากคณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญรวมทั้งนักธุรกิจมืออาชีพ… “จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” EZ WebmasterJune 17, 2025 ในนามของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผมขอส่งความห่วงใยมายังพวกเราทุกคนที่กำลังใช้ชีวิตและศึกษาอยู่ในสหรัฐฯ โดยเฉพาะในช่วงเวลาที่มีความไม่แน่นอนเกี่ยวกับนโยบายวีซ่าที่อาจส่งผลต่อสิทธิในการศึกษา เมื่อไม่นานนี้ ผมและผู้บริหารจุฬาฯ มีโอกาสได้ไปเยือน Harvard และ MIT และได้พบกับนักศึกษาชาวไทยหลายคน ทุกคนต่างมีความมุ่งมั่น ตั้งใจ และอดทนในการใฝ่หาความรู้ เพื่อนำมาพัฒนาตนเอง สังคม และประเทศชาติ แม้จะอยู่ท่ามกลางความกังวลใจต่ออนาคตที่ยังไม่ชัดเจน ผมอยากบอกว่าพวกเราที่จุฬาฯ… คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… ทุนดีดี 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster March 26, 2019 EZ Webmaster March 26, 2019 “จากดินสอโดม…สู่ดิจิทัลโมเดล TU Startup พลังขับเคลื่อนคนรุ่นใหม่” การสร้างแรงบันดาลใจให้นักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ในการก้าวสู่ศตวรรษที่ 21 อย่างเป็นผู้นำทั้งภาคธุรกิจและจิตสำนึกต่อสังคมที่ยั่งยืน คือการยกระดับทักษะความรู้ ความคิดและความเป็นผู้ประกอบการ Startup นับเป็นความท้าทาย ‘จุดประกาย’ คน Generation Z ให้ก้าวออกจากพรมแดนการศึกษา สู่มิติทางธุรกิจของตัวเอง ภายใต้การสนับสนุนของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่งมีนโยบายพัฒนา ‘ระบบนิเวศน์สตาร์ทอัพ’ (Startup Ecosystem@TU) อาทิ โครงการบ่มเพาะธุรกิจ พื้นที่การทำงานร่วมหรือ Co-working Space การจับมือพันธมิตรสำคัญ ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสตาร์ทอัพในต่างประเทศ (Startup Exchange) ทั้งหมดล้วนนำไปสู่การแต่งแต้มไอเดียที่มีชีวิตชีวาผ่านระบบดิจิทัล แม้จะเป็นจุดเริ่มต้น โปรเจกต์เล็กๆ แต่ถ้าใครได้สัมผัสนักศึกษาผู้ผ่านกระบวนการบ่มเพาะ ‘หล่อหลอม’ ทักษะแล้ว จะเห็นว่าความฝันของเด็กกลุ่มนี้ควรค่าแก่โอกาสในโลกที่เปิดกว้าง ‘มะเหมี่ยว’ อนัญชนา พัฒนานันท์ นักศึกษาชั้นปีที่ 3 คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมกับเพื่อนซี้ ‘เต้’ จิรายุ พุฒาพิทักษ์ พัฒนา ‘Horhere’ เพจใหม่เอาใจนักศึกษาที่มองหาหอพักใกล้ๆ กับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ที่ขณะนี้เริ่มสร้างเครือข่ายและระดมทุนเพื่อทำให้ความฝันของเธอเป็นจริง “ปัจจุบันนักศึกษาธรรมศาสตร์ที่อยู่หอพักมีมากถึง 50% ทำให้เราคิดว่าถ้าพวกเค้ามีข้อมูลที่มากพอ ทุกคนก็จะมีความเป็นอยู่ที่ดีกว่านี้ได้ จึงพัฒนาเพจ Horhere ขึ้นมาเพื่อเป็นตัวกลางในการติดต่อเรื่องเช่าหอพักอย่างเป็นระบบและน่าเชื่อถือให้แก่นักเรียนนักศึกษาในอนาคต” อนัญชนา เล่าว่า ปัญหาขณะนี้คือนักศึกษาหลายคนต้องเดินทางมาจากต่างจังหวัด เพื่อจองหอพักที่ใกล้กับมหาวิทยาลัย บางหอพักได้รับความนิยมมากต้องมาจองคิวตั้งแต่ตี 5 โดยยังไม่รู้ว่าห้องว่างหรือไม่ บางคนเจอปัญหาการทำสัญญา โอนเงินไปแล้วแต่ผู้เช่าเดิมยังไม่ย้ายออก เพราะใช้บริการจากเว็บไซต์หรือเฟสบุ๊คที่ไม่น่าเชื่อถือ การสำรวจของทีมงาน Horhere ซึ่งมีทั้งสิ้น 8 คน พบว่ารอบๆ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต มีหอพักกว่า 38 แห่ง และมีพื้นที่ให้เช่าประมาณ 1 หมื่นห้อง แต่การขาดข้อมูลที่ดีและความไม่สะดวกในการประสานงานต่างๆ ทำให้นักศึกษาผู้หญิงบางคนต้องตัดใจ เช่าหอพักที่ไกลออกไป สุ่มเสี่ยงต่อความไม่ปลอดภัยในชีวิตและการเดินทาง “เพจ Horhere เป็นโมเดลธุรกิจที่ตอบโจทย์เรื่องการเป็นตัวกลางประสานระหว่างหอพักกับผู้เช่า วางระบบการชำระเงินที่น่าเชื่อถือ โดยจะเริ่มต้นจาก หอพักบริเวณมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ก่อน หากประสบความสำเร็จก็จะประชุมร่วมกับทีมงานเพื่อพัฒนาต่อไป” ที่ผ่านมาโปรเจกต์ Horhere ได้รับการสนับสนุนจาก สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA ที่ให้ทุนสตาร์ทอัพคนรุ่นใหม่มาพัฒนาธุรกิจตามความฝันของอนัญชนาและเพื่อนๆ โดยปัจจุบันมีผู้ติดตามเพจ Horhere แล้วมากกว่า 500 คน ในอนาคตมีแผนพัฒนาไปสู่แอปพลิเคชันและเว็บไซต์ที่สมบูรณ์แบบต่อไป ขณะที่ “เต้” จิรายุ กล่าวว่า กว่าจะมาเป็นเพจ Horhere ในวันนี้ ทีมงานต้องระดมสมองเพื่อ Pitch ไอเดียในเวที “สตาร์ทอัพไทยแลนด์ลีก” จัดโดยกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ต่อมาได้รับความสนใจและได้รับทุนสนับสนุนจากธนาคารออมสิน แต่เป็นแค่จุดเริ่มต้นเท่านั้น อาจจะยังไม่เพียงพอเพื่อทำแอปพลิเคชันตามเป้าหมายที่ฝันไว้ “แผนของเราคือเป็นตัวกลางระหว่างนักศึกษากับเจ้าของหอพัก ซึ่งส่วนใหญ่เคยทำธุรกิจแบบออฟไลน์ ด้วยการนำอินเทอร์เน็ตมาช่วยเหมือนแอร์บีแอนด์บี (Airbnb) หลังจากเปิดเพจระยะหนึ่งเราสามารถปิดดีลได้แล้วบางส่วน ขณะนี้กำลังเพิ่มฐานลูกค้าและทำคอนเทนท์ในเพจให้มากขึ้น ถ้าทำสำเร็จเราคิดว่าจะขยายไปสู่หอพักในโซนมหาวิทยาลัยอื่นๆ ในอนาคต” อีกหนึ่งโครงการสตาร์ทอัพที่เป็นความภูมิใจของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และผ่านกระบวนการบ่มเพาะจนเกิดเป็นรูปเป็นร่าง และอยู่ระหว่างการทำแบบจำลองและเก็บข้อมูล (Prototype) คือการพัฒนาแอปพลิเคชันโอทอปไทยสู่ประเทศจีน… ‘Dà Tài’ หรือออกเสียงว่า ‘ต้าไท่’ แปลว่าไทยใหญ่ โดยมี ‘โบ’ กมลพร วีระวุฒิวงศ์ นักศึกษาชั้นปีที่ 4 คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี และ ‘ซัมบี้’ นัฐชยา เชี่ยวชาญ นักศึกษาชั้นปี 4 คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นหัวเรี่ยวหัวแรงหลักในการพัฒนาแอปพลิเคชัน ‘Dà Tài’ ครั้งนี้ กมลพร เล่าไอเดียให้ฟังว่า แอปพลิเคชัน Dà Tài เริ่มจากการเห็นโอกาสที่คนจีนเข้ามาท่องเที่ยวเป็นจำนวนมากและสนใจซื้อสินค้าไทยแต่ยังเข้าไม่ถึงแหล่งผลิตจริงๆ หรือขาดข้อมูลในการตัดสินใจ จึงริเริ่มออกแบบแอปพลิเคชัน Dà Tài และลงพื้นที่สำรวจแหล่งท่องเที่ยวต่างๆ เพื่อเก็บข้อมูลความต้องการของผู้ซื้อสินค้าชาวจีน โดยเฉพาะกลุ่มแบกเป้หรือแบ็คแพ็ค รวมถึงการสร้างเครือข่ายผู้ประกอบการโอทอปในประเทศด้วย “ในช่วงแรกสินค้าที่จะอยู่ในแอปพลิเคชันนี้คือกลุ่มที่ได้รับความนิยมจากนักท่องเที่ยวจีนต้องซื้อกลับไป เช่น กระเป๋า กาแฟ มะม่วงอบแห้ง เริ่มจาก 500 รายการหลักๆ เพื่อกระตุ้นยอดขายให้ผู้ประกอบการที่ร่วมกับเรามีรายได้และกำลังใจที่จะพัฒนาต่อไป” สำหรับการส่งมอบสินค้าจะพยายามให้ถึงมือผู้รับภายใน 1 วัน ในขณะที่นักท่องเที่ยวจีนยังอยู่ในเมืองไทย หรืออย่างน้อยมีบริการส่งให้ที่สนามบินเพื่อความสะดวกในการนำกลับไปเป็นของขวัญแก่คนที่บ้าน ด้าน นัฐชยา กล่าวเสริมว่า โดยส่วนตัวแล้วเป็นเด็กต่างจังหวัด เกิดที่พะเยาจึงเห็นผลิตภัณฑ์ชุมชนที่มีเสน่ห์เฉพาะตัว เป็นภูมิปัญญาจากรุ่นสู่รุ่น แต่ปัญหาก็คือคนภายนอกยังไม่รู้จัก ขาดช่องทางการตลาด และไม่สามารถสร้างรายได้ที่สม่ำเสมอให้ชาวบ้านอยู่ได้ตลอดทั้งปี “เป้าหมายของเราคือสร้างพื้นที่การขายสินค้าโอทอปที่มีความน่าเชื่อถือ และได้รับการยอมรับเป็น แบรนด์ที่มีคุณภาพ โดยเบื้องต้นจะเน้นจำหน่ายในประเทศก่อน เพราะถ้าขายในต่างประเทศก็มีคู่แข่งสำคัญคือ อาลีบาบา และอเมซอน” หลังจากได้สำรวจความต้องการของตลาดแล้ว ทีมสตาร์ทอัพนำโดยโบและซัมบี้ก็จะเริ่มออกแบบทางเทคนิคเพื่อพัฒนาแอปพลิเคชัน Dà Tài ภายในเดือนพฤษภาคมนี้ ซึ่งการที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มีโครงการบ่มเพาะธุรกิจ การสร้างพื้นที่ Co-working Space ถือว่าเป็นประโยชน์ในการแชร์ความคิดกับทีมงานและผลักดันให้ทุกคนกล้าที่จะก้าวออกไปหาความสำเร็จ “ตรงนี้เป็นความฝันของเรา เพราะเชื่อว่ามนุษย์ไม่มีข้อจำกัด แม้จะเรียนคณะนิติศาสตร์แต่ก็สนใจเรียนรู้ในด้านธุรกิจ ฝึกฝนตัวเองผ่านการเข้าคอร์สด้านการตลาด คิดว่าทำอย่างไรให้ผลิตภัณฑ์เหล่านี้ออกสู่สายตาชาวโลกได้ ตรงนี้เป็นเสน่ห์ของสตาร์ทอัพคือไม่จำกัดความคิดของคน อยากให้อะไรเกิดขึ้นก็ศึกษา ทำมันอย่างเต็มที่ให้ตอบโจทย์ไอเดียที่เราคิดไว้” ศาสตราจารย์ ดร.อาณัติ ลีมัคเดช ผู้อำนวยการศูนย์ทรัพย์สินทางปัญญาและบ่มเพาะวิสาหกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กล่าวว่า ปัจจุบันมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สร้างนวัตกรรมเพื่อส่งเสริมให้เกิดสตาร์ทอัพในหลากหลายโครงการ อาทิ การพัฒนา Thammasat Creative Space (TCS) บนพื้นที่กว่า 1,500 ตารางเมตร ที่ชั้น 1 หอสมุดป๋วย อึ๊งภากรณ์ เพื่อให้นักศึกษาจากทุกคณะได้มานั่งทำงานแลกเปลี่ยนความรู้กันในบรรยากาศที่สร้างสรรค์เกิด โมเดลธุรกิจใหม่ๆ หรือการร่วมกับพันธมิตรอย่างธนาคารกรุงเทพในการส่งเสริม Startup จากภายนอก สามารถใช้ประโยชน์จากนวัตกรรมของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เพื่อพัฒนาธุรกิจได้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะส่งผลดีกับการพัฒนาความรู้ของนักศึกษาและอาจารย์ด้วย EZ Webmaster Related Posts การตลาดดิจิทัลและระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย จัดกิจกรรมตอบแทนกลับคืนสังคม “จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ Post navigation PREVIOUS Previous post: เปิดแล้ว! บริติช เคานซิล เปิดรับสมัคร “ทุน IELTS Prize” มูลค่ากว่า 3,100,000 บาทNEXT Next post: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ เปิดคอร์สอบรมการควบคุมการจราจรทางอากาศเบื้องต้น (Basic Air Traffic Control)
โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนแม่ริมวิทยาคม EZ WebmasterJune 17, 2025 สร้างความสุข สร้างความทรงจำดีๆ ให้เด็กๆ ทุกคน โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนแม่ริมวิทยาคม จ.เชียงใหม่ วันที่16/06/68 โดยวิทยากร อ.สุกัญญา… โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสุรธรรมพิทักษ์ EZ WebmasterJune 17, 2025 วันนี้มีรอยยิ้ม เสียงหัวเราะ และความสนุกมาเต็มเปี่ยม! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนสุรธรรมพิทักษ์ จ.นครราชสีมา วันที่16/06/68 โดยวิทยากรอ.ธารา อิสสระ (พี่แฮนด์…
โครงการ TARO to SCHOOL 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด โรงเรียนสุรธรรมพิทักษ์ EZ WebmasterJune 17, 2025 วันนี้มีรอยยิ้ม เสียงหัวเราะ และความสนุกมาเต็มเปี่ยม! โครงการ Taro to school 2025 ส่องอาชีพยุค AI เก่งแบบไหนจะไปรอด ณ โรงเรียนสุรธรรมพิทักษ์ จ.นครราชสีมา วันที่16/06/68 โดยวิทยากรอ.ธารา อิสสระ (พี่แฮนด์…
การตลาดดิจิทัลและระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย จัดกิจกรรมตอบแทนกลับคืนสังคม EZ WebmasterJune 17, 2025 นักศึกษากลุ่มวิชาการตลาดดิจิทัล และกลุ่มวิชาการบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ร่วมทำกิจกรรม Digital Marketing Innovation for Sustainability สร้างสรรค์ประสบการณ์ทางการตลาดดิจิทัลและการบริการสังคม โดยนักศึกษาได้เข้ากิจกรรมปล่อยสัตว์ทะเลที่ธนาคารปู จังหวัดระยอง และบริจากสิ่งของให้กับชมรมผู้พิการทางสติปัญญา จังหวัดชลบุรี ร่วมเรียนรู้การสร้างสรรค์สื่อสำหรับการสื่อสารทางการตลาดดิจิทัล เพื่อสร้างความรับผิดชอบต่อสังคมให้กับนักศึกษาและร่วมสร้างสรรค์สังคมให้น่าอยู่ต่อไป เรียนคณะบริหารธุรกิจแนวใหม่ต้องสัมผัสประสบการณ์แบบนักธุรกิจ ถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์จากคณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญรวมทั้งนักธุรกิจมืออาชีพ… “จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” EZ WebmasterJune 17, 2025 ในนามของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผมขอส่งความห่วงใยมายังพวกเราทุกคนที่กำลังใช้ชีวิตและศึกษาอยู่ในสหรัฐฯ โดยเฉพาะในช่วงเวลาที่มีความไม่แน่นอนเกี่ยวกับนโยบายวีซ่าที่อาจส่งผลต่อสิทธิในการศึกษา เมื่อไม่นานนี้ ผมและผู้บริหารจุฬาฯ มีโอกาสได้ไปเยือน Harvard และ MIT และได้พบกับนักศึกษาชาวไทยหลายคน ทุกคนต่างมีความมุ่งมั่น ตั้งใจ และอดทนในการใฝ่หาความรู้ เพื่อนำมาพัฒนาตนเอง สังคม และประเทศชาติ แม้จะอยู่ท่ามกลางความกังวลใจต่ออนาคตที่ยังไม่ชัดเจน ผมอยากบอกว่าพวกเราที่จุฬาฯ… คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… ทุนดีดี 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster March 26, 2019 EZ Webmaster March 26, 2019 “จากดินสอโดม…สู่ดิจิทัลโมเดล TU Startup พลังขับเคลื่อนคนรุ่นใหม่” การสร้างแรงบันดาลใจให้นักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ในการก้าวสู่ศตวรรษที่ 21 อย่างเป็นผู้นำทั้งภาคธุรกิจและจิตสำนึกต่อสังคมที่ยั่งยืน คือการยกระดับทักษะความรู้ ความคิดและความเป็นผู้ประกอบการ Startup นับเป็นความท้าทาย ‘จุดประกาย’ คน Generation Z ให้ก้าวออกจากพรมแดนการศึกษา สู่มิติทางธุรกิจของตัวเอง ภายใต้การสนับสนุนของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่งมีนโยบายพัฒนา ‘ระบบนิเวศน์สตาร์ทอัพ’ (Startup Ecosystem@TU) อาทิ โครงการบ่มเพาะธุรกิจ พื้นที่การทำงานร่วมหรือ Co-working Space การจับมือพันธมิตรสำคัญ ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสตาร์ทอัพในต่างประเทศ (Startup Exchange) ทั้งหมดล้วนนำไปสู่การแต่งแต้มไอเดียที่มีชีวิตชีวาผ่านระบบดิจิทัล แม้จะเป็นจุดเริ่มต้น โปรเจกต์เล็กๆ แต่ถ้าใครได้สัมผัสนักศึกษาผู้ผ่านกระบวนการบ่มเพาะ ‘หล่อหลอม’ ทักษะแล้ว จะเห็นว่าความฝันของเด็กกลุ่มนี้ควรค่าแก่โอกาสในโลกที่เปิดกว้าง ‘มะเหมี่ยว’ อนัญชนา พัฒนานันท์ นักศึกษาชั้นปีที่ 3 คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมกับเพื่อนซี้ ‘เต้’ จิรายุ พุฒาพิทักษ์ พัฒนา ‘Horhere’ เพจใหม่เอาใจนักศึกษาที่มองหาหอพักใกล้ๆ กับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ที่ขณะนี้เริ่มสร้างเครือข่ายและระดมทุนเพื่อทำให้ความฝันของเธอเป็นจริง “ปัจจุบันนักศึกษาธรรมศาสตร์ที่อยู่หอพักมีมากถึง 50% ทำให้เราคิดว่าถ้าพวกเค้ามีข้อมูลที่มากพอ ทุกคนก็จะมีความเป็นอยู่ที่ดีกว่านี้ได้ จึงพัฒนาเพจ Horhere ขึ้นมาเพื่อเป็นตัวกลางในการติดต่อเรื่องเช่าหอพักอย่างเป็นระบบและน่าเชื่อถือให้แก่นักเรียนนักศึกษาในอนาคต” อนัญชนา เล่าว่า ปัญหาขณะนี้คือนักศึกษาหลายคนต้องเดินทางมาจากต่างจังหวัด เพื่อจองหอพักที่ใกล้กับมหาวิทยาลัย บางหอพักได้รับความนิยมมากต้องมาจองคิวตั้งแต่ตี 5 โดยยังไม่รู้ว่าห้องว่างหรือไม่ บางคนเจอปัญหาการทำสัญญา โอนเงินไปแล้วแต่ผู้เช่าเดิมยังไม่ย้ายออก เพราะใช้บริการจากเว็บไซต์หรือเฟสบุ๊คที่ไม่น่าเชื่อถือ การสำรวจของทีมงาน Horhere ซึ่งมีทั้งสิ้น 8 คน พบว่ารอบๆ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต มีหอพักกว่า 38 แห่ง และมีพื้นที่ให้เช่าประมาณ 1 หมื่นห้อง แต่การขาดข้อมูลที่ดีและความไม่สะดวกในการประสานงานต่างๆ ทำให้นักศึกษาผู้หญิงบางคนต้องตัดใจ เช่าหอพักที่ไกลออกไป สุ่มเสี่ยงต่อความไม่ปลอดภัยในชีวิตและการเดินทาง “เพจ Horhere เป็นโมเดลธุรกิจที่ตอบโจทย์เรื่องการเป็นตัวกลางประสานระหว่างหอพักกับผู้เช่า วางระบบการชำระเงินที่น่าเชื่อถือ โดยจะเริ่มต้นจาก หอพักบริเวณมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ก่อน หากประสบความสำเร็จก็จะประชุมร่วมกับทีมงานเพื่อพัฒนาต่อไป” ที่ผ่านมาโปรเจกต์ Horhere ได้รับการสนับสนุนจาก สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA ที่ให้ทุนสตาร์ทอัพคนรุ่นใหม่มาพัฒนาธุรกิจตามความฝันของอนัญชนาและเพื่อนๆ โดยปัจจุบันมีผู้ติดตามเพจ Horhere แล้วมากกว่า 500 คน ในอนาคตมีแผนพัฒนาไปสู่แอปพลิเคชันและเว็บไซต์ที่สมบูรณ์แบบต่อไป ขณะที่ “เต้” จิรายุ กล่าวว่า กว่าจะมาเป็นเพจ Horhere ในวันนี้ ทีมงานต้องระดมสมองเพื่อ Pitch ไอเดียในเวที “สตาร์ทอัพไทยแลนด์ลีก” จัดโดยกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ต่อมาได้รับความสนใจและได้รับทุนสนับสนุนจากธนาคารออมสิน แต่เป็นแค่จุดเริ่มต้นเท่านั้น อาจจะยังไม่เพียงพอเพื่อทำแอปพลิเคชันตามเป้าหมายที่ฝันไว้ “แผนของเราคือเป็นตัวกลางระหว่างนักศึกษากับเจ้าของหอพัก ซึ่งส่วนใหญ่เคยทำธุรกิจแบบออฟไลน์ ด้วยการนำอินเทอร์เน็ตมาช่วยเหมือนแอร์บีแอนด์บี (Airbnb) หลังจากเปิดเพจระยะหนึ่งเราสามารถปิดดีลได้แล้วบางส่วน ขณะนี้กำลังเพิ่มฐานลูกค้าและทำคอนเทนท์ในเพจให้มากขึ้น ถ้าทำสำเร็จเราคิดว่าจะขยายไปสู่หอพักในโซนมหาวิทยาลัยอื่นๆ ในอนาคต” อีกหนึ่งโครงการสตาร์ทอัพที่เป็นความภูมิใจของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และผ่านกระบวนการบ่มเพาะจนเกิดเป็นรูปเป็นร่าง และอยู่ระหว่างการทำแบบจำลองและเก็บข้อมูล (Prototype) คือการพัฒนาแอปพลิเคชันโอทอปไทยสู่ประเทศจีน… ‘Dà Tài’ หรือออกเสียงว่า ‘ต้าไท่’ แปลว่าไทยใหญ่ โดยมี ‘โบ’ กมลพร วีระวุฒิวงศ์ นักศึกษาชั้นปีที่ 4 คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี และ ‘ซัมบี้’ นัฐชยา เชี่ยวชาญ นักศึกษาชั้นปี 4 คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นหัวเรี่ยวหัวแรงหลักในการพัฒนาแอปพลิเคชัน ‘Dà Tài’ ครั้งนี้ กมลพร เล่าไอเดียให้ฟังว่า แอปพลิเคชัน Dà Tài เริ่มจากการเห็นโอกาสที่คนจีนเข้ามาท่องเที่ยวเป็นจำนวนมากและสนใจซื้อสินค้าไทยแต่ยังเข้าไม่ถึงแหล่งผลิตจริงๆ หรือขาดข้อมูลในการตัดสินใจ จึงริเริ่มออกแบบแอปพลิเคชัน Dà Tài และลงพื้นที่สำรวจแหล่งท่องเที่ยวต่างๆ เพื่อเก็บข้อมูลความต้องการของผู้ซื้อสินค้าชาวจีน โดยเฉพาะกลุ่มแบกเป้หรือแบ็คแพ็ค รวมถึงการสร้างเครือข่ายผู้ประกอบการโอทอปในประเทศด้วย “ในช่วงแรกสินค้าที่จะอยู่ในแอปพลิเคชันนี้คือกลุ่มที่ได้รับความนิยมจากนักท่องเที่ยวจีนต้องซื้อกลับไป เช่น กระเป๋า กาแฟ มะม่วงอบแห้ง เริ่มจาก 500 รายการหลักๆ เพื่อกระตุ้นยอดขายให้ผู้ประกอบการที่ร่วมกับเรามีรายได้และกำลังใจที่จะพัฒนาต่อไป” สำหรับการส่งมอบสินค้าจะพยายามให้ถึงมือผู้รับภายใน 1 วัน ในขณะที่นักท่องเที่ยวจีนยังอยู่ในเมืองไทย หรืออย่างน้อยมีบริการส่งให้ที่สนามบินเพื่อความสะดวกในการนำกลับไปเป็นของขวัญแก่คนที่บ้าน ด้าน นัฐชยา กล่าวเสริมว่า โดยส่วนตัวแล้วเป็นเด็กต่างจังหวัด เกิดที่พะเยาจึงเห็นผลิตภัณฑ์ชุมชนที่มีเสน่ห์เฉพาะตัว เป็นภูมิปัญญาจากรุ่นสู่รุ่น แต่ปัญหาก็คือคนภายนอกยังไม่รู้จัก ขาดช่องทางการตลาด และไม่สามารถสร้างรายได้ที่สม่ำเสมอให้ชาวบ้านอยู่ได้ตลอดทั้งปี “เป้าหมายของเราคือสร้างพื้นที่การขายสินค้าโอทอปที่มีความน่าเชื่อถือ และได้รับการยอมรับเป็น แบรนด์ที่มีคุณภาพ โดยเบื้องต้นจะเน้นจำหน่ายในประเทศก่อน เพราะถ้าขายในต่างประเทศก็มีคู่แข่งสำคัญคือ อาลีบาบา และอเมซอน” หลังจากได้สำรวจความต้องการของตลาดแล้ว ทีมสตาร์ทอัพนำโดยโบและซัมบี้ก็จะเริ่มออกแบบทางเทคนิคเพื่อพัฒนาแอปพลิเคชัน Dà Tài ภายในเดือนพฤษภาคมนี้ ซึ่งการที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มีโครงการบ่มเพาะธุรกิจ การสร้างพื้นที่ Co-working Space ถือว่าเป็นประโยชน์ในการแชร์ความคิดกับทีมงานและผลักดันให้ทุกคนกล้าที่จะก้าวออกไปหาความสำเร็จ “ตรงนี้เป็นความฝันของเรา เพราะเชื่อว่ามนุษย์ไม่มีข้อจำกัด แม้จะเรียนคณะนิติศาสตร์แต่ก็สนใจเรียนรู้ในด้านธุรกิจ ฝึกฝนตัวเองผ่านการเข้าคอร์สด้านการตลาด คิดว่าทำอย่างไรให้ผลิตภัณฑ์เหล่านี้ออกสู่สายตาชาวโลกได้ ตรงนี้เป็นเสน่ห์ของสตาร์ทอัพคือไม่จำกัดความคิดของคน อยากให้อะไรเกิดขึ้นก็ศึกษา ทำมันอย่างเต็มที่ให้ตอบโจทย์ไอเดียที่เราคิดไว้” ศาสตราจารย์ ดร.อาณัติ ลีมัคเดช ผู้อำนวยการศูนย์ทรัพย์สินทางปัญญาและบ่มเพาะวิสาหกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กล่าวว่า ปัจจุบันมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สร้างนวัตกรรมเพื่อส่งเสริมให้เกิดสตาร์ทอัพในหลากหลายโครงการ อาทิ การพัฒนา Thammasat Creative Space (TCS) บนพื้นที่กว่า 1,500 ตารางเมตร ที่ชั้น 1 หอสมุดป๋วย อึ๊งภากรณ์ เพื่อให้นักศึกษาจากทุกคณะได้มานั่งทำงานแลกเปลี่ยนความรู้กันในบรรยากาศที่สร้างสรรค์เกิด โมเดลธุรกิจใหม่ๆ หรือการร่วมกับพันธมิตรอย่างธนาคารกรุงเทพในการส่งเสริม Startup จากภายนอก สามารถใช้ประโยชน์จากนวัตกรรมของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เพื่อพัฒนาธุรกิจได้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะส่งผลดีกับการพัฒนาความรู้ของนักศึกษาและอาจารย์ด้วย EZ Webmaster Related Posts การตลาดดิจิทัลและระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย จัดกิจกรรมตอบแทนกลับคืนสังคม “จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ Post navigation PREVIOUS Previous post: เปิดแล้ว! บริติช เคานซิล เปิดรับสมัคร “ทุน IELTS Prize” มูลค่ากว่า 3,100,000 บาทNEXT Next post: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ เปิดคอร์สอบรมการควบคุมการจราจรทางอากาศเบื้องต้น (Basic Air Traffic Control)
“จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” EZ WebmasterJune 17, 2025 ในนามของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผมขอส่งความห่วงใยมายังพวกเราทุกคนที่กำลังใช้ชีวิตและศึกษาอยู่ในสหรัฐฯ โดยเฉพาะในช่วงเวลาที่มีความไม่แน่นอนเกี่ยวกับนโยบายวีซ่าที่อาจส่งผลต่อสิทธิในการศึกษา เมื่อไม่นานนี้ ผมและผู้บริหารจุฬาฯ มีโอกาสได้ไปเยือน Harvard และ MIT และได้พบกับนักศึกษาชาวไทยหลายคน ทุกคนต่างมีความมุ่งมั่น ตั้งใจ และอดทนในการใฝ่หาความรู้ เพื่อนำมาพัฒนาตนเอง สังคม และประเทศชาติ แม้จะอยู่ท่ามกลางความกังวลใจต่ออนาคตที่ยังไม่ชัดเจน ผมอยากบอกว่าพวกเราที่จุฬาฯ… คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)… ทุนดีดี 8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster March 26, 2019 EZ Webmaster March 26, 2019 “จากดินสอโดม…สู่ดิจิทัลโมเดล TU Startup พลังขับเคลื่อนคนรุ่นใหม่” การสร้างแรงบันดาลใจให้นักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ในการก้าวสู่ศตวรรษที่ 21 อย่างเป็นผู้นำทั้งภาคธุรกิจและจิตสำนึกต่อสังคมที่ยั่งยืน คือการยกระดับทักษะความรู้ ความคิดและความเป็นผู้ประกอบการ Startup นับเป็นความท้าทาย ‘จุดประกาย’ คน Generation Z ให้ก้าวออกจากพรมแดนการศึกษา สู่มิติทางธุรกิจของตัวเอง ภายใต้การสนับสนุนของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่งมีนโยบายพัฒนา ‘ระบบนิเวศน์สตาร์ทอัพ’ (Startup Ecosystem@TU) อาทิ โครงการบ่มเพาะธุรกิจ พื้นที่การทำงานร่วมหรือ Co-working Space การจับมือพันธมิตรสำคัญ ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสตาร์ทอัพในต่างประเทศ (Startup Exchange) ทั้งหมดล้วนนำไปสู่การแต่งแต้มไอเดียที่มีชีวิตชีวาผ่านระบบดิจิทัล แม้จะเป็นจุดเริ่มต้น โปรเจกต์เล็กๆ แต่ถ้าใครได้สัมผัสนักศึกษาผู้ผ่านกระบวนการบ่มเพาะ ‘หล่อหลอม’ ทักษะแล้ว จะเห็นว่าความฝันของเด็กกลุ่มนี้ควรค่าแก่โอกาสในโลกที่เปิดกว้าง ‘มะเหมี่ยว’ อนัญชนา พัฒนานันท์ นักศึกษาชั้นปีที่ 3 คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมกับเพื่อนซี้ ‘เต้’ จิรายุ พุฒาพิทักษ์ พัฒนา ‘Horhere’ เพจใหม่เอาใจนักศึกษาที่มองหาหอพักใกล้ๆ กับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ที่ขณะนี้เริ่มสร้างเครือข่ายและระดมทุนเพื่อทำให้ความฝันของเธอเป็นจริง “ปัจจุบันนักศึกษาธรรมศาสตร์ที่อยู่หอพักมีมากถึง 50% ทำให้เราคิดว่าถ้าพวกเค้ามีข้อมูลที่มากพอ ทุกคนก็จะมีความเป็นอยู่ที่ดีกว่านี้ได้ จึงพัฒนาเพจ Horhere ขึ้นมาเพื่อเป็นตัวกลางในการติดต่อเรื่องเช่าหอพักอย่างเป็นระบบและน่าเชื่อถือให้แก่นักเรียนนักศึกษาในอนาคต” อนัญชนา เล่าว่า ปัญหาขณะนี้คือนักศึกษาหลายคนต้องเดินทางมาจากต่างจังหวัด เพื่อจองหอพักที่ใกล้กับมหาวิทยาลัย บางหอพักได้รับความนิยมมากต้องมาจองคิวตั้งแต่ตี 5 โดยยังไม่รู้ว่าห้องว่างหรือไม่ บางคนเจอปัญหาการทำสัญญา โอนเงินไปแล้วแต่ผู้เช่าเดิมยังไม่ย้ายออก เพราะใช้บริการจากเว็บไซต์หรือเฟสบุ๊คที่ไม่น่าเชื่อถือ การสำรวจของทีมงาน Horhere ซึ่งมีทั้งสิ้น 8 คน พบว่ารอบๆ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต มีหอพักกว่า 38 แห่ง และมีพื้นที่ให้เช่าประมาณ 1 หมื่นห้อง แต่การขาดข้อมูลที่ดีและความไม่สะดวกในการประสานงานต่างๆ ทำให้นักศึกษาผู้หญิงบางคนต้องตัดใจ เช่าหอพักที่ไกลออกไป สุ่มเสี่ยงต่อความไม่ปลอดภัยในชีวิตและการเดินทาง “เพจ Horhere เป็นโมเดลธุรกิจที่ตอบโจทย์เรื่องการเป็นตัวกลางประสานระหว่างหอพักกับผู้เช่า วางระบบการชำระเงินที่น่าเชื่อถือ โดยจะเริ่มต้นจาก หอพักบริเวณมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ก่อน หากประสบความสำเร็จก็จะประชุมร่วมกับทีมงานเพื่อพัฒนาต่อไป” ที่ผ่านมาโปรเจกต์ Horhere ได้รับการสนับสนุนจาก สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA ที่ให้ทุนสตาร์ทอัพคนรุ่นใหม่มาพัฒนาธุรกิจตามความฝันของอนัญชนาและเพื่อนๆ โดยปัจจุบันมีผู้ติดตามเพจ Horhere แล้วมากกว่า 500 คน ในอนาคตมีแผนพัฒนาไปสู่แอปพลิเคชันและเว็บไซต์ที่สมบูรณ์แบบต่อไป ขณะที่ “เต้” จิรายุ กล่าวว่า กว่าจะมาเป็นเพจ Horhere ในวันนี้ ทีมงานต้องระดมสมองเพื่อ Pitch ไอเดียในเวที “สตาร์ทอัพไทยแลนด์ลีก” จัดโดยกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ต่อมาได้รับความสนใจและได้รับทุนสนับสนุนจากธนาคารออมสิน แต่เป็นแค่จุดเริ่มต้นเท่านั้น อาจจะยังไม่เพียงพอเพื่อทำแอปพลิเคชันตามเป้าหมายที่ฝันไว้ “แผนของเราคือเป็นตัวกลางระหว่างนักศึกษากับเจ้าของหอพัก ซึ่งส่วนใหญ่เคยทำธุรกิจแบบออฟไลน์ ด้วยการนำอินเทอร์เน็ตมาช่วยเหมือนแอร์บีแอนด์บี (Airbnb) หลังจากเปิดเพจระยะหนึ่งเราสามารถปิดดีลได้แล้วบางส่วน ขณะนี้กำลังเพิ่มฐานลูกค้าและทำคอนเทนท์ในเพจให้มากขึ้น ถ้าทำสำเร็จเราคิดว่าจะขยายไปสู่หอพักในโซนมหาวิทยาลัยอื่นๆ ในอนาคต” อีกหนึ่งโครงการสตาร์ทอัพที่เป็นความภูมิใจของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และผ่านกระบวนการบ่มเพาะจนเกิดเป็นรูปเป็นร่าง และอยู่ระหว่างการทำแบบจำลองและเก็บข้อมูล (Prototype) คือการพัฒนาแอปพลิเคชันโอทอปไทยสู่ประเทศจีน… ‘Dà Tài’ หรือออกเสียงว่า ‘ต้าไท่’ แปลว่าไทยใหญ่ โดยมี ‘โบ’ กมลพร วีระวุฒิวงศ์ นักศึกษาชั้นปีที่ 4 คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี และ ‘ซัมบี้’ นัฐชยา เชี่ยวชาญ นักศึกษาชั้นปี 4 คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นหัวเรี่ยวหัวแรงหลักในการพัฒนาแอปพลิเคชัน ‘Dà Tài’ ครั้งนี้ กมลพร เล่าไอเดียให้ฟังว่า แอปพลิเคชัน Dà Tài เริ่มจากการเห็นโอกาสที่คนจีนเข้ามาท่องเที่ยวเป็นจำนวนมากและสนใจซื้อสินค้าไทยแต่ยังเข้าไม่ถึงแหล่งผลิตจริงๆ หรือขาดข้อมูลในการตัดสินใจ จึงริเริ่มออกแบบแอปพลิเคชัน Dà Tài และลงพื้นที่สำรวจแหล่งท่องเที่ยวต่างๆ เพื่อเก็บข้อมูลความต้องการของผู้ซื้อสินค้าชาวจีน โดยเฉพาะกลุ่มแบกเป้หรือแบ็คแพ็ค รวมถึงการสร้างเครือข่ายผู้ประกอบการโอทอปในประเทศด้วย “ในช่วงแรกสินค้าที่จะอยู่ในแอปพลิเคชันนี้คือกลุ่มที่ได้รับความนิยมจากนักท่องเที่ยวจีนต้องซื้อกลับไป เช่น กระเป๋า กาแฟ มะม่วงอบแห้ง เริ่มจาก 500 รายการหลักๆ เพื่อกระตุ้นยอดขายให้ผู้ประกอบการที่ร่วมกับเรามีรายได้และกำลังใจที่จะพัฒนาต่อไป” สำหรับการส่งมอบสินค้าจะพยายามให้ถึงมือผู้รับภายใน 1 วัน ในขณะที่นักท่องเที่ยวจีนยังอยู่ในเมืองไทย หรืออย่างน้อยมีบริการส่งให้ที่สนามบินเพื่อความสะดวกในการนำกลับไปเป็นของขวัญแก่คนที่บ้าน ด้าน นัฐชยา กล่าวเสริมว่า โดยส่วนตัวแล้วเป็นเด็กต่างจังหวัด เกิดที่พะเยาจึงเห็นผลิตภัณฑ์ชุมชนที่มีเสน่ห์เฉพาะตัว เป็นภูมิปัญญาจากรุ่นสู่รุ่น แต่ปัญหาก็คือคนภายนอกยังไม่รู้จัก ขาดช่องทางการตลาด และไม่สามารถสร้างรายได้ที่สม่ำเสมอให้ชาวบ้านอยู่ได้ตลอดทั้งปี “เป้าหมายของเราคือสร้างพื้นที่การขายสินค้าโอทอปที่มีความน่าเชื่อถือ และได้รับการยอมรับเป็น แบรนด์ที่มีคุณภาพ โดยเบื้องต้นจะเน้นจำหน่ายในประเทศก่อน เพราะถ้าขายในต่างประเทศก็มีคู่แข่งสำคัญคือ อาลีบาบา และอเมซอน” หลังจากได้สำรวจความต้องการของตลาดแล้ว ทีมสตาร์ทอัพนำโดยโบและซัมบี้ก็จะเริ่มออกแบบทางเทคนิคเพื่อพัฒนาแอปพลิเคชัน Dà Tài ภายในเดือนพฤษภาคมนี้ ซึ่งการที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มีโครงการบ่มเพาะธุรกิจ การสร้างพื้นที่ Co-working Space ถือว่าเป็นประโยชน์ในการแชร์ความคิดกับทีมงานและผลักดันให้ทุกคนกล้าที่จะก้าวออกไปหาความสำเร็จ “ตรงนี้เป็นความฝันของเรา เพราะเชื่อว่ามนุษย์ไม่มีข้อจำกัด แม้จะเรียนคณะนิติศาสตร์แต่ก็สนใจเรียนรู้ในด้านธุรกิจ ฝึกฝนตัวเองผ่านการเข้าคอร์สด้านการตลาด คิดว่าทำอย่างไรให้ผลิตภัณฑ์เหล่านี้ออกสู่สายตาชาวโลกได้ ตรงนี้เป็นเสน่ห์ของสตาร์ทอัพคือไม่จำกัดความคิดของคน อยากให้อะไรเกิดขึ้นก็ศึกษา ทำมันอย่างเต็มที่ให้ตอบโจทย์ไอเดียที่เราคิดไว้” ศาสตราจารย์ ดร.อาณัติ ลีมัคเดช ผู้อำนวยการศูนย์ทรัพย์สินทางปัญญาและบ่มเพาะวิสาหกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กล่าวว่า ปัจจุบันมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สร้างนวัตกรรมเพื่อส่งเสริมให้เกิดสตาร์ทอัพในหลากหลายโครงการ อาทิ การพัฒนา Thammasat Creative Space (TCS) บนพื้นที่กว่า 1,500 ตารางเมตร ที่ชั้น 1 หอสมุดป๋วย อึ๊งภากรณ์ เพื่อให้นักศึกษาจากทุกคณะได้มานั่งทำงานแลกเปลี่ยนความรู้กันในบรรยากาศที่สร้างสรรค์เกิด โมเดลธุรกิจใหม่ๆ หรือการร่วมกับพันธมิตรอย่างธนาคารกรุงเทพในการส่งเสริม Startup จากภายนอก สามารถใช้ประโยชน์จากนวัตกรรมของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เพื่อพัฒนาธุรกิจได้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะส่งผลดีกับการพัฒนาความรู้ของนักศึกษาและอาจารย์ด้วย EZ Webmaster Related Posts การตลาดดิจิทัลและระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย จัดกิจกรรมตอบแทนกลับคืนสังคม “จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ Post navigation PREVIOUS Previous post: เปิดแล้ว! บริติช เคานซิล เปิดรับสมัคร “ทุน IELTS Prize” มูลค่ากว่า 3,100,000 บาทNEXT Next post: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ เปิดคอร์สอบรมการควบคุมการจราจรทางอากาศเบื้องต้น (Basic Air Traffic Control)
คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)…
เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ EZ WebmasterJune 13, 2025 ในแต่ละปี การสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัยผ่านระบบ TCAS การเลือกคณะและมหาวิทยาลัยในฝัน ซึ่ง “คะแนนต่ำสุด” หรือ “คะแนนตัดสิทธิ์” ของแต่ละสาขาวิชานั้น ถือเป็นตัวชี้วัดสำคัญที่ช่วยให้ผู้สมัครประเมินโอกาสของตนเองได้ชัดเจนขึ้นจึงรวบรวมคะแนนต่ำสุดของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศ จากระบบ TCAS ย้อนหลัง 3 ปี (2566–2568)…
8 ทุนป.ตรีรัฐบาลคูเวต InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 15, 2025 ทุนการศึกษารัฐบาลรัฐคูเวต สำหรับนักเรียนไทยเพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ณ มหาวิทยาลัคูเวต (Kuwait University) ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025–2026 จำนวน 8 ทุน เปิดรับใบสมัครถึง 18 มิถุนายน 2025 โดยในจำนวนทุนที่ให้เป็นในคณะวิศวกรรมศาสตร์และปิโตรเลียม จำนวน 6 ทุน และคณะศิลปะศาสตร์(คณะชารีอะห์และอิสลามศึกษา/คณะครุศาสตร์ / สังคมศาสตร์ / อักษรศาสตร์)… เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster March 26, 2019 EZ Webmaster March 26, 2019 “จากดินสอโดม…สู่ดิจิทัลโมเดล TU Startup พลังขับเคลื่อนคนรุ่นใหม่” การสร้างแรงบันดาลใจให้นักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ในการก้าวสู่ศตวรรษที่ 21 อย่างเป็นผู้นำทั้งภาคธุรกิจและจิตสำนึกต่อสังคมที่ยั่งยืน คือการยกระดับทักษะความรู้ ความคิดและความเป็นผู้ประกอบการ Startup นับเป็นความท้าทาย ‘จุดประกาย’ คน Generation Z ให้ก้าวออกจากพรมแดนการศึกษา สู่มิติทางธุรกิจของตัวเอง ภายใต้การสนับสนุนของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่งมีนโยบายพัฒนา ‘ระบบนิเวศน์สตาร์ทอัพ’ (Startup Ecosystem@TU) อาทิ โครงการบ่มเพาะธุรกิจ พื้นที่การทำงานร่วมหรือ Co-working Space การจับมือพันธมิตรสำคัญ ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสตาร์ทอัพในต่างประเทศ (Startup Exchange) ทั้งหมดล้วนนำไปสู่การแต่งแต้มไอเดียที่มีชีวิตชีวาผ่านระบบดิจิทัล แม้จะเป็นจุดเริ่มต้น โปรเจกต์เล็กๆ แต่ถ้าใครได้สัมผัสนักศึกษาผู้ผ่านกระบวนการบ่มเพาะ ‘หล่อหลอม’ ทักษะแล้ว จะเห็นว่าความฝันของเด็กกลุ่มนี้ควรค่าแก่โอกาสในโลกที่เปิดกว้าง ‘มะเหมี่ยว’ อนัญชนา พัฒนานันท์ นักศึกษาชั้นปีที่ 3 คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมกับเพื่อนซี้ ‘เต้’ จิรายุ พุฒาพิทักษ์ พัฒนา ‘Horhere’ เพจใหม่เอาใจนักศึกษาที่มองหาหอพักใกล้ๆ กับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ที่ขณะนี้เริ่มสร้างเครือข่ายและระดมทุนเพื่อทำให้ความฝันของเธอเป็นจริง “ปัจจุบันนักศึกษาธรรมศาสตร์ที่อยู่หอพักมีมากถึง 50% ทำให้เราคิดว่าถ้าพวกเค้ามีข้อมูลที่มากพอ ทุกคนก็จะมีความเป็นอยู่ที่ดีกว่านี้ได้ จึงพัฒนาเพจ Horhere ขึ้นมาเพื่อเป็นตัวกลางในการติดต่อเรื่องเช่าหอพักอย่างเป็นระบบและน่าเชื่อถือให้แก่นักเรียนนักศึกษาในอนาคต” อนัญชนา เล่าว่า ปัญหาขณะนี้คือนักศึกษาหลายคนต้องเดินทางมาจากต่างจังหวัด เพื่อจองหอพักที่ใกล้กับมหาวิทยาลัย บางหอพักได้รับความนิยมมากต้องมาจองคิวตั้งแต่ตี 5 โดยยังไม่รู้ว่าห้องว่างหรือไม่ บางคนเจอปัญหาการทำสัญญา โอนเงินไปแล้วแต่ผู้เช่าเดิมยังไม่ย้ายออก เพราะใช้บริการจากเว็บไซต์หรือเฟสบุ๊คที่ไม่น่าเชื่อถือ การสำรวจของทีมงาน Horhere ซึ่งมีทั้งสิ้น 8 คน พบว่ารอบๆ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต มีหอพักกว่า 38 แห่ง และมีพื้นที่ให้เช่าประมาณ 1 หมื่นห้อง แต่การขาดข้อมูลที่ดีและความไม่สะดวกในการประสานงานต่างๆ ทำให้นักศึกษาผู้หญิงบางคนต้องตัดใจ เช่าหอพักที่ไกลออกไป สุ่มเสี่ยงต่อความไม่ปลอดภัยในชีวิตและการเดินทาง “เพจ Horhere เป็นโมเดลธุรกิจที่ตอบโจทย์เรื่องการเป็นตัวกลางประสานระหว่างหอพักกับผู้เช่า วางระบบการชำระเงินที่น่าเชื่อถือ โดยจะเริ่มต้นจาก หอพักบริเวณมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ก่อน หากประสบความสำเร็จก็จะประชุมร่วมกับทีมงานเพื่อพัฒนาต่อไป” ที่ผ่านมาโปรเจกต์ Horhere ได้รับการสนับสนุนจาก สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA ที่ให้ทุนสตาร์ทอัพคนรุ่นใหม่มาพัฒนาธุรกิจตามความฝันของอนัญชนาและเพื่อนๆ โดยปัจจุบันมีผู้ติดตามเพจ Horhere แล้วมากกว่า 500 คน ในอนาคตมีแผนพัฒนาไปสู่แอปพลิเคชันและเว็บไซต์ที่สมบูรณ์แบบต่อไป ขณะที่ “เต้” จิรายุ กล่าวว่า กว่าจะมาเป็นเพจ Horhere ในวันนี้ ทีมงานต้องระดมสมองเพื่อ Pitch ไอเดียในเวที “สตาร์ทอัพไทยแลนด์ลีก” จัดโดยกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ต่อมาได้รับความสนใจและได้รับทุนสนับสนุนจากธนาคารออมสิน แต่เป็นแค่จุดเริ่มต้นเท่านั้น อาจจะยังไม่เพียงพอเพื่อทำแอปพลิเคชันตามเป้าหมายที่ฝันไว้ “แผนของเราคือเป็นตัวกลางระหว่างนักศึกษากับเจ้าของหอพัก ซึ่งส่วนใหญ่เคยทำธุรกิจแบบออฟไลน์ ด้วยการนำอินเทอร์เน็ตมาช่วยเหมือนแอร์บีแอนด์บี (Airbnb) หลังจากเปิดเพจระยะหนึ่งเราสามารถปิดดีลได้แล้วบางส่วน ขณะนี้กำลังเพิ่มฐานลูกค้าและทำคอนเทนท์ในเพจให้มากขึ้น ถ้าทำสำเร็จเราคิดว่าจะขยายไปสู่หอพักในโซนมหาวิทยาลัยอื่นๆ ในอนาคต” อีกหนึ่งโครงการสตาร์ทอัพที่เป็นความภูมิใจของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และผ่านกระบวนการบ่มเพาะจนเกิดเป็นรูปเป็นร่าง และอยู่ระหว่างการทำแบบจำลองและเก็บข้อมูล (Prototype) คือการพัฒนาแอปพลิเคชันโอทอปไทยสู่ประเทศจีน… ‘Dà Tài’ หรือออกเสียงว่า ‘ต้าไท่’ แปลว่าไทยใหญ่ โดยมี ‘โบ’ กมลพร วีระวุฒิวงศ์ นักศึกษาชั้นปีที่ 4 คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี และ ‘ซัมบี้’ นัฐชยา เชี่ยวชาญ นักศึกษาชั้นปี 4 คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นหัวเรี่ยวหัวแรงหลักในการพัฒนาแอปพลิเคชัน ‘Dà Tài’ ครั้งนี้ กมลพร เล่าไอเดียให้ฟังว่า แอปพลิเคชัน Dà Tài เริ่มจากการเห็นโอกาสที่คนจีนเข้ามาท่องเที่ยวเป็นจำนวนมากและสนใจซื้อสินค้าไทยแต่ยังเข้าไม่ถึงแหล่งผลิตจริงๆ หรือขาดข้อมูลในการตัดสินใจ จึงริเริ่มออกแบบแอปพลิเคชัน Dà Tài และลงพื้นที่สำรวจแหล่งท่องเที่ยวต่างๆ เพื่อเก็บข้อมูลความต้องการของผู้ซื้อสินค้าชาวจีน โดยเฉพาะกลุ่มแบกเป้หรือแบ็คแพ็ค รวมถึงการสร้างเครือข่ายผู้ประกอบการโอทอปในประเทศด้วย “ในช่วงแรกสินค้าที่จะอยู่ในแอปพลิเคชันนี้คือกลุ่มที่ได้รับความนิยมจากนักท่องเที่ยวจีนต้องซื้อกลับไป เช่น กระเป๋า กาแฟ มะม่วงอบแห้ง เริ่มจาก 500 รายการหลักๆ เพื่อกระตุ้นยอดขายให้ผู้ประกอบการที่ร่วมกับเรามีรายได้และกำลังใจที่จะพัฒนาต่อไป” สำหรับการส่งมอบสินค้าจะพยายามให้ถึงมือผู้รับภายใน 1 วัน ในขณะที่นักท่องเที่ยวจีนยังอยู่ในเมืองไทย หรืออย่างน้อยมีบริการส่งให้ที่สนามบินเพื่อความสะดวกในการนำกลับไปเป็นของขวัญแก่คนที่บ้าน ด้าน นัฐชยา กล่าวเสริมว่า โดยส่วนตัวแล้วเป็นเด็กต่างจังหวัด เกิดที่พะเยาจึงเห็นผลิตภัณฑ์ชุมชนที่มีเสน่ห์เฉพาะตัว เป็นภูมิปัญญาจากรุ่นสู่รุ่น แต่ปัญหาก็คือคนภายนอกยังไม่รู้จัก ขาดช่องทางการตลาด และไม่สามารถสร้างรายได้ที่สม่ำเสมอให้ชาวบ้านอยู่ได้ตลอดทั้งปี “เป้าหมายของเราคือสร้างพื้นที่การขายสินค้าโอทอปที่มีความน่าเชื่อถือ และได้รับการยอมรับเป็น แบรนด์ที่มีคุณภาพ โดยเบื้องต้นจะเน้นจำหน่ายในประเทศก่อน เพราะถ้าขายในต่างประเทศก็มีคู่แข่งสำคัญคือ อาลีบาบา และอเมซอน” หลังจากได้สำรวจความต้องการของตลาดแล้ว ทีมสตาร์ทอัพนำโดยโบและซัมบี้ก็จะเริ่มออกแบบทางเทคนิคเพื่อพัฒนาแอปพลิเคชัน Dà Tài ภายในเดือนพฤษภาคมนี้ ซึ่งการที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มีโครงการบ่มเพาะธุรกิจ การสร้างพื้นที่ Co-working Space ถือว่าเป็นประโยชน์ในการแชร์ความคิดกับทีมงานและผลักดันให้ทุกคนกล้าที่จะก้าวออกไปหาความสำเร็จ “ตรงนี้เป็นความฝันของเรา เพราะเชื่อว่ามนุษย์ไม่มีข้อจำกัด แม้จะเรียนคณะนิติศาสตร์แต่ก็สนใจเรียนรู้ในด้านธุรกิจ ฝึกฝนตัวเองผ่านการเข้าคอร์สด้านการตลาด คิดว่าทำอย่างไรให้ผลิตภัณฑ์เหล่านี้ออกสู่สายตาชาวโลกได้ ตรงนี้เป็นเสน่ห์ของสตาร์ทอัพคือไม่จำกัดความคิดของคน อยากให้อะไรเกิดขึ้นก็ศึกษา ทำมันอย่างเต็มที่ให้ตอบโจทย์ไอเดียที่เราคิดไว้” ศาสตราจารย์ ดร.อาณัติ ลีมัคเดช ผู้อำนวยการศูนย์ทรัพย์สินทางปัญญาและบ่มเพาะวิสาหกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กล่าวว่า ปัจจุบันมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สร้างนวัตกรรมเพื่อส่งเสริมให้เกิดสตาร์ทอัพในหลากหลายโครงการ อาทิ การพัฒนา Thammasat Creative Space (TCS) บนพื้นที่กว่า 1,500 ตารางเมตร ที่ชั้น 1 หอสมุดป๋วย อึ๊งภากรณ์ เพื่อให้นักศึกษาจากทุกคณะได้มานั่งทำงานแลกเปลี่ยนความรู้กันในบรรยากาศที่สร้างสรรค์เกิด โมเดลธุรกิจใหม่ๆ หรือการร่วมกับพันธมิตรอย่างธนาคารกรุงเทพในการส่งเสริม Startup จากภายนอก สามารถใช้ประโยชน์จากนวัตกรรมของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เพื่อพัฒนาธุรกิจได้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะส่งผลดีกับการพัฒนาความรู้ของนักศึกษาและอาจารย์ด้วย EZ Webmaster Related Posts การตลาดดิจิทัลและระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย จัดกิจกรรมตอบแทนกลับคืนสังคม “จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ Post navigation PREVIOUS Previous post: เปิดแล้ว! บริติช เคานซิล เปิดรับสมัคร “ทุน IELTS Prize” มูลค่ากว่า 3,100,000 บาทNEXT Next post: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ เปิดคอร์สอบรมการควบคุมการจราจรทางอากาศเบื้องต้น (Basic Air Traffic Control)
เรียนแพทย์-ทันตะที่อินเดีย InterScholarship ข่าวทุนการศึกษา เรียนต่อต่างประเทศJune 14, 2025 ขอเชิญผู้สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025 – 2026 ณ ประเทศอินเดีย เป็นการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรีหลากหลายสาขา เปิดรับใบสมัครถึง 25 มิถุนายน 2025 สถานเอกอัครราชทูตอินเดียประจำประเทศไทย เปิดรับสมัครโครงการ Self-Financing Scheme for Foreign Nationals สำหรับนักเรียนไทยที่ประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและอนุปริญญาในมหาวิทยาลัยที่ประเทศอินเดีย ประจำปีการศึกษา ค.ศ. 2025… ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่… ครู-อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster March 26, 2019 EZ Webmaster March 26, 2019 “จากดินสอโดม…สู่ดิจิทัลโมเดล TU Startup พลังขับเคลื่อนคนรุ่นใหม่” การสร้างแรงบันดาลใจให้นักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ในการก้าวสู่ศตวรรษที่ 21 อย่างเป็นผู้นำทั้งภาคธุรกิจและจิตสำนึกต่อสังคมที่ยั่งยืน คือการยกระดับทักษะความรู้ ความคิดและความเป็นผู้ประกอบการ Startup นับเป็นความท้าทาย ‘จุดประกาย’ คน Generation Z ให้ก้าวออกจากพรมแดนการศึกษา สู่มิติทางธุรกิจของตัวเอง ภายใต้การสนับสนุนของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่งมีนโยบายพัฒนา ‘ระบบนิเวศน์สตาร์ทอัพ’ (Startup Ecosystem@TU) อาทิ โครงการบ่มเพาะธุรกิจ พื้นที่การทำงานร่วมหรือ Co-working Space การจับมือพันธมิตรสำคัญ ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสตาร์ทอัพในต่างประเทศ (Startup Exchange) ทั้งหมดล้วนนำไปสู่การแต่งแต้มไอเดียที่มีชีวิตชีวาผ่านระบบดิจิทัล แม้จะเป็นจุดเริ่มต้น โปรเจกต์เล็กๆ แต่ถ้าใครได้สัมผัสนักศึกษาผู้ผ่านกระบวนการบ่มเพาะ ‘หล่อหลอม’ ทักษะแล้ว จะเห็นว่าความฝันของเด็กกลุ่มนี้ควรค่าแก่โอกาสในโลกที่เปิดกว้าง ‘มะเหมี่ยว’ อนัญชนา พัฒนานันท์ นักศึกษาชั้นปีที่ 3 คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมกับเพื่อนซี้ ‘เต้’ จิรายุ พุฒาพิทักษ์ พัฒนา ‘Horhere’ เพจใหม่เอาใจนักศึกษาที่มองหาหอพักใกล้ๆ กับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ที่ขณะนี้เริ่มสร้างเครือข่ายและระดมทุนเพื่อทำให้ความฝันของเธอเป็นจริง “ปัจจุบันนักศึกษาธรรมศาสตร์ที่อยู่หอพักมีมากถึง 50% ทำให้เราคิดว่าถ้าพวกเค้ามีข้อมูลที่มากพอ ทุกคนก็จะมีความเป็นอยู่ที่ดีกว่านี้ได้ จึงพัฒนาเพจ Horhere ขึ้นมาเพื่อเป็นตัวกลางในการติดต่อเรื่องเช่าหอพักอย่างเป็นระบบและน่าเชื่อถือให้แก่นักเรียนนักศึกษาในอนาคต” อนัญชนา เล่าว่า ปัญหาขณะนี้คือนักศึกษาหลายคนต้องเดินทางมาจากต่างจังหวัด เพื่อจองหอพักที่ใกล้กับมหาวิทยาลัย บางหอพักได้รับความนิยมมากต้องมาจองคิวตั้งแต่ตี 5 โดยยังไม่รู้ว่าห้องว่างหรือไม่ บางคนเจอปัญหาการทำสัญญา โอนเงินไปแล้วแต่ผู้เช่าเดิมยังไม่ย้ายออก เพราะใช้บริการจากเว็บไซต์หรือเฟสบุ๊คที่ไม่น่าเชื่อถือ การสำรวจของทีมงาน Horhere ซึ่งมีทั้งสิ้น 8 คน พบว่ารอบๆ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต มีหอพักกว่า 38 แห่ง และมีพื้นที่ให้เช่าประมาณ 1 หมื่นห้อง แต่การขาดข้อมูลที่ดีและความไม่สะดวกในการประสานงานต่างๆ ทำให้นักศึกษาผู้หญิงบางคนต้องตัดใจ เช่าหอพักที่ไกลออกไป สุ่มเสี่ยงต่อความไม่ปลอดภัยในชีวิตและการเดินทาง “เพจ Horhere เป็นโมเดลธุรกิจที่ตอบโจทย์เรื่องการเป็นตัวกลางประสานระหว่างหอพักกับผู้เช่า วางระบบการชำระเงินที่น่าเชื่อถือ โดยจะเริ่มต้นจาก หอพักบริเวณมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ก่อน หากประสบความสำเร็จก็จะประชุมร่วมกับทีมงานเพื่อพัฒนาต่อไป” ที่ผ่านมาโปรเจกต์ Horhere ได้รับการสนับสนุนจาก สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA ที่ให้ทุนสตาร์ทอัพคนรุ่นใหม่มาพัฒนาธุรกิจตามความฝันของอนัญชนาและเพื่อนๆ โดยปัจจุบันมีผู้ติดตามเพจ Horhere แล้วมากกว่า 500 คน ในอนาคตมีแผนพัฒนาไปสู่แอปพลิเคชันและเว็บไซต์ที่สมบูรณ์แบบต่อไป ขณะที่ “เต้” จิรายุ กล่าวว่า กว่าจะมาเป็นเพจ Horhere ในวันนี้ ทีมงานต้องระดมสมองเพื่อ Pitch ไอเดียในเวที “สตาร์ทอัพไทยแลนด์ลีก” จัดโดยกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ต่อมาได้รับความสนใจและได้รับทุนสนับสนุนจากธนาคารออมสิน แต่เป็นแค่จุดเริ่มต้นเท่านั้น อาจจะยังไม่เพียงพอเพื่อทำแอปพลิเคชันตามเป้าหมายที่ฝันไว้ “แผนของเราคือเป็นตัวกลางระหว่างนักศึกษากับเจ้าของหอพัก ซึ่งส่วนใหญ่เคยทำธุรกิจแบบออฟไลน์ ด้วยการนำอินเทอร์เน็ตมาช่วยเหมือนแอร์บีแอนด์บี (Airbnb) หลังจากเปิดเพจระยะหนึ่งเราสามารถปิดดีลได้แล้วบางส่วน ขณะนี้กำลังเพิ่มฐานลูกค้าและทำคอนเทนท์ในเพจให้มากขึ้น ถ้าทำสำเร็จเราคิดว่าจะขยายไปสู่หอพักในโซนมหาวิทยาลัยอื่นๆ ในอนาคต” อีกหนึ่งโครงการสตาร์ทอัพที่เป็นความภูมิใจของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และผ่านกระบวนการบ่มเพาะจนเกิดเป็นรูปเป็นร่าง และอยู่ระหว่างการทำแบบจำลองและเก็บข้อมูล (Prototype) คือการพัฒนาแอปพลิเคชันโอทอปไทยสู่ประเทศจีน… ‘Dà Tài’ หรือออกเสียงว่า ‘ต้าไท่’ แปลว่าไทยใหญ่ โดยมี ‘โบ’ กมลพร วีระวุฒิวงศ์ นักศึกษาชั้นปีที่ 4 คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี และ ‘ซัมบี้’ นัฐชยา เชี่ยวชาญ นักศึกษาชั้นปี 4 คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นหัวเรี่ยวหัวแรงหลักในการพัฒนาแอปพลิเคชัน ‘Dà Tài’ ครั้งนี้ กมลพร เล่าไอเดียให้ฟังว่า แอปพลิเคชัน Dà Tài เริ่มจากการเห็นโอกาสที่คนจีนเข้ามาท่องเที่ยวเป็นจำนวนมากและสนใจซื้อสินค้าไทยแต่ยังเข้าไม่ถึงแหล่งผลิตจริงๆ หรือขาดข้อมูลในการตัดสินใจ จึงริเริ่มออกแบบแอปพลิเคชัน Dà Tài และลงพื้นที่สำรวจแหล่งท่องเที่ยวต่างๆ เพื่อเก็บข้อมูลความต้องการของผู้ซื้อสินค้าชาวจีน โดยเฉพาะกลุ่มแบกเป้หรือแบ็คแพ็ค รวมถึงการสร้างเครือข่ายผู้ประกอบการโอทอปในประเทศด้วย “ในช่วงแรกสินค้าที่จะอยู่ในแอปพลิเคชันนี้คือกลุ่มที่ได้รับความนิยมจากนักท่องเที่ยวจีนต้องซื้อกลับไป เช่น กระเป๋า กาแฟ มะม่วงอบแห้ง เริ่มจาก 500 รายการหลักๆ เพื่อกระตุ้นยอดขายให้ผู้ประกอบการที่ร่วมกับเรามีรายได้และกำลังใจที่จะพัฒนาต่อไป” สำหรับการส่งมอบสินค้าจะพยายามให้ถึงมือผู้รับภายใน 1 วัน ในขณะที่นักท่องเที่ยวจีนยังอยู่ในเมืองไทย หรืออย่างน้อยมีบริการส่งให้ที่สนามบินเพื่อความสะดวกในการนำกลับไปเป็นของขวัญแก่คนที่บ้าน ด้าน นัฐชยา กล่าวเสริมว่า โดยส่วนตัวแล้วเป็นเด็กต่างจังหวัด เกิดที่พะเยาจึงเห็นผลิตภัณฑ์ชุมชนที่มีเสน่ห์เฉพาะตัว เป็นภูมิปัญญาจากรุ่นสู่รุ่น แต่ปัญหาก็คือคนภายนอกยังไม่รู้จัก ขาดช่องทางการตลาด และไม่สามารถสร้างรายได้ที่สม่ำเสมอให้ชาวบ้านอยู่ได้ตลอดทั้งปี “เป้าหมายของเราคือสร้างพื้นที่การขายสินค้าโอทอปที่มีความน่าเชื่อถือ และได้รับการยอมรับเป็น แบรนด์ที่มีคุณภาพ โดยเบื้องต้นจะเน้นจำหน่ายในประเทศก่อน เพราะถ้าขายในต่างประเทศก็มีคู่แข่งสำคัญคือ อาลีบาบา และอเมซอน” หลังจากได้สำรวจความต้องการของตลาดแล้ว ทีมสตาร์ทอัพนำโดยโบและซัมบี้ก็จะเริ่มออกแบบทางเทคนิคเพื่อพัฒนาแอปพลิเคชัน Dà Tài ภายในเดือนพฤษภาคมนี้ ซึ่งการที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มีโครงการบ่มเพาะธุรกิจ การสร้างพื้นที่ Co-working Space ถือว่าเป็นประโยชน์ในการแชร์ความคิดกับทีมงานและผลักดันให้ทุกคนกล้าที่จะก้าวออกไปหาความสำเร็จ “ตรงนี้เป็นความฝันของเรา เพราะเชื่อว่ามนุษย์ไม่มีข้อจำกัด แม้จะเรียนคณะนิติศาสตร์แต่ก็สนใจเรียนรู้ในด้านธุรกิจ ฝึกฝนตัวเองผ่านการเข้าคอร์สด้านการตลาด คิดว่าทำอย่างไรให้ผลิตภัณฑ์เหล่านี้ออกสู่สายตาชาวโลกได้ ตรงนี้เป็นเสน่ห์ของสตาร์ทอัพคือไม่จำกัดความคิดของคน อยากให้อะไรเกิดขึ้นก็ศึกษา ทำมันอย่างเต็มที่ให้ตอบโจทย์ไอเดียที่เราคิดไว้” ศาสตราจารย์ ดร.อาณัติ ลีมัคเดช ผู้อำนวยการศูนย์ทรัพย์สินทางปัญญาและบ่มเพาะวิสาหกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กล่าวว่า ปัจจุบันมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สร้างนวัตกรรมเพื่อส่งเสริมให้เกิดสตาร์ทอัพในหลากหลายโครงการ อาทิ การพัฒนา Thammasat Creative Space (TCS) บนพื้นที่กว่า 1,500 ตารางเมตร ที่ชั้น 1 หอสมุดป๋วย อึ๊งภากรณ์ เพื่อให้นักศึกษาจากทุกคณะได้มานั่งทำงานแลกเปลี่ยนความรู้กันในบรรยากาศที่สร้างสรรค์เกิด โมเดลธุรกิจใหม่ๆ หรือการร่วมกับพันธมิตรอย่างธนาคารกรุงเทพในการส่งเสริม Startup จากภายนอก สามารถใช้ประโยชน์จากนวัตกรรมของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เพื่อพัฒนาธุรกิจได้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะส่งผลดีกับการพัฒนาความรู้ของนักศึกษาและอาจารย์ด้วย EZ Webmaster Related Posts การตลาดดิจิทัลและระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย จัดกิจกรรมตอบแทนกลับคืนสังคม “จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ Post navigation PREVIOUS Previous post: เปิดแล้ว! บริติช เคานซิล เปิดรับสมัคร “ทุน IELTS Prize” มูลค่ากว่า 3,100,000 บาทNEXT Next post: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ เปิดคอร์สอบรมการควบคุมการจราจรทางอากาศเบื้องต้น (Basic Air Traffic Control)
ทุนการศึกษาเต็มจำนวน มหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) EZ WebmasterJune 14, 2025 พล.ต.อ.เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ สานต่อภารกิจสร้างโอกาสทางการศึกษาระดับนานาชาติให้เยาวชนไทย ด้วยการผลักดันความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยโพลีเทคนิคฮ่องกง (PolyU) หนึ่งในสถาบันชั้นนำของโลก อันดับ 57 จาก QS World University Rankings 2025 มอบทุนการศึกษาเต็มจำนวน พร้อมค่าครองชีพสูงสุดรวมกว่า 1.1… รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่…
รัฐบาลคิกออฟ ค้นหาเด็กช้างเผือก รับทุน ODOS รอบ 1 ครอบคลุม 602 สถานศึกษาสาย STEM EZ WebmasterJune 14, 2025 เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2568 ที่ห้องประชุมราชวัลลภ ชั้น 2 กระทรวงศึกษาธิการ ดร.ธีราภา ไพโรหกุล รองเลขาธิการนายกรัฐมนตรีฝ่ายการเมือง ในฐานะประธานคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการสรรหา ฯ เป็นประธานการประชุมชี้แจงสถานศึกษาผ่านระบบ Teleconference เกี่ยวกับการรับสมัครนักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่…
คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” EZ WebmasterJune 14, 2025 ศาสตราจารย์ ดร.คณิต เขียววิชัย คณบดี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ขอเชิญร่วมงานวันคล้ายวันสถาปนา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ในโอกาสครบรอบ 55 ปี ภายใต้แนวคิด “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” ในวันพุธที่ 18 มิถุนายน… เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster March 26, 2019 EZ Webmaster March 26, 2019 “จากดินสอโดม…สู่ดิจิทัลโมเดล TU Startup พลังขับเคลื่อนคนรุ่นใหม่” การสร้างแรงบันดาลใจให้นักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ในการก้าวสู่ศตวรรษที่ 21 อย่างเป็นผู้นำทั้งภาคธุรกิจและจิตสำนึกต่อสังคมที่ยั่งยืน คือการยกระดับทักษะความรู้ ความคิดและความเป็นผู้ประกอบการ Startup นับเป็นความท้าทาย ‘จุดประกาย’ คน Generation Z ให้ก้าวออกจากพรมแดนการศึกษา สู่มิติทางธุรกิจของตัวเอง ภายใต้การสนับสนุนของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่งมีนโยบายพัฒนา ‘ระบบนิเวศน์สตาร์ทอัพ’ (Startup Ecosystem@TU) อาทิ โครงการบ่มเพาะธุรกิจ พื้นที่การทำงานร่วมหรือ Co-working Space การจับมือพันธมิตรสำคัญ ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสตาร์ทอัพในต่างประเทศ (Startup Exchange) ทั้งหมดล้วนนำไปสู่การแต่งแต้มไอเดียที่มีชีวิตชีวาผ่านระบบดิจิทัล แม้จะเป็นจุดเริ่มต้น โปรเจกต์เล็กๆ แต่ถ้าใครได้สัมผัสนักศึกษาผู้ผ่านกระบวนการบ่มเพาะ ‘หล่อหลอม’ ทักษะแล้ว จะเห็นว่าความฝันของเด็กกลุ่มนี้ควรค่าแก่โอกาสในโลกที่เปิดกว้าง ‘มะเหมี่ยว’ อนัญชนา พัฒนานันท์ นักศึกษาชั้นปีที่ 3 คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมกับเพื่อนซี้ ‘เต้’ จิรายุ พุฒาพิทักษ์ พัฒนา ‘Horhere’ เพจใหม่เอาใจนักศึกษาที่มองหาหอพักใกล้ๆ กับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ที่ขณะนี้เริ่มสร้างเครือข่ายและระดมทุนเพื่อทำให้ความฝันของเธอเป็นจริง “ปัจจุบันนักศึกษาธรรมศาสตร์ที่อยู่หอพักมีมากถึง 50% ทำให้เราคิดว่าถ้าพวกเค้ามีข้อมูลที่มากพอ ทุกคนก็จะมีความเป็นอยู่ที่ดีกว่านี้ได้ จึงพัฒนาเพจ Horhere ขึ้นมาเพื่อเป็นตัวกลางในการติดต่อเรื่องเช่าหอพักอย่างเป็นระบบและน่าเชื่อถือให้แก่นักเรียนนักศึกษาในอนาคต” อนัญชนา เล่าว่า ปัญหาขณะนี้คือนักศึกษาหลายคนต้องเดินทางมาจากต่างจังหวัด เพื่อจองหอพักที่ใกล้กับมหาวิทยาลัย บางหอพักได้รับความนิยมมากต้องมาจองคิวตั้งแต่ตี 5 โดยยังไม่รู้ว่าห้องว่างหรือไม่ บางคนเจอปัญหาการทำสัญญา โอนเงินไปแล้วแต่ผู้เช่าเดิมยังไม่ย้ายออก เพราะใช้บริการจากเว็บไซต์หรือเฟสบุ๊คที่ไม่น่าเชื่อถือ การสำรวจของทีมงาน Horhere ซึ่งมีทั้งสิ้น 8 คน พบว่ารอบๆ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต มีหอพักกว่า 38 แห่ง และมีพื้นที่ให้เช่าประมาณ 1 หมื่นห้อง แต่การขาดข้อมูลที่ดีและความไม่สะดวกในการประสานงานต่างๆ ทำให้นักศึกษาผู้หญิงบางคนต้องตัดใจ เช่าหอพักที่ไกลออกไป สุ่มเสี่ยงต่อความไม่ปลอดภัยในชีวิตและการเดินทาง “เพจ Horhere เป็นโมเดลธุรกิจที่ตอบโจทย์เรื่องการเป็นตัวกลางประสานระหว่างหอพักกับผู้เช่า วางระบบการชำระเงินที่น่าเชื่อถือ โดยจะเริ่มต้นจาก หอพักบริเวณมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ก่อน หากประสบความสำเร็จก็จะประชุมร่วมกับทีมงานเพื่อพัฒนาต่อไป” ที่ผ่านมาโปรเจกต์ Horhere ได้รับการสนับสนุนจาก สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA ที่ให้ทุนสตาร์ทอัพคนรุ่นใหม่มาพัฒนาธุรกิจตามความฝันของอนัญชนาและเพื่อนๆ โดยปัจจุบันมีผู้ติดตามเพจ Horhere แล้วมากกว่า 500 คน ในอนาคตมีแผนพัฒนาไปสู่แอปพลิเคชันและเว็บไซต์ที่สมบูรณ์แบบต่อไป ขณะที่ “เต้” จิรายุ กล่าวว่า กว่าจะมาเป็นเพจ Horhere ในวันนี้ ทีมงานต้องระดมสมองเพื่อ Pitch ไอเดียในเวที “สตาร์ทอัพไทยแลนด์ลีก” จัดโดยกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ต่อมาได้รับความสนใจและได้รับทุนสนับสนุนจากธนาคารออมสิน แต่เป็นแค่จุดเริ่มต้นเท่านั้น อาจจะยังไม่เพียงพอเพื่อทำแอปพลิเคชันตามเป้าหมายที่ฝันไว้ “แผนของเราคือเป็นตัวกลางระหว่างนักศึกษากับเจ้าของหอพัก ซึ่งส่วนใหญ่เคยทำธุรกิจแบบออฟไลน์ ด้วยการนำอินเทอร์เน็ตมาช่วยเหมือนแอร์บีแอนด์บี (Airbnb) หลังจากเปิดเพจระยะหนึ่งเราสามารถปิดดีลได้แล้วบางส่วน ขณะนี้กำลังเพิ่มฐานลูกค้าและทำคอนเทนท์ในเพจให้มากขึ้น ถ้าทำสำเร็จเราคิดว่าจะขยายไปสู่หอพักในโซนมหาวิทยาลัยอื่นๆ ในอนาคต” อีกหนึ่งโครงการสตาร์ทอัพที่เป็นความภูมิใจของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และผ่านกระบวนการบ่มเพาะจนเกิดเป็นรูปเป็นร่าง และอยู่ระหว่างการทำแบบจำลองและเก็บข้อมูล (Prototype) คือการพัฒนาแอปพลิเคชันโอทอปไทยสู่ประเทศจีน… ‘Dà Tài’ หรือออกเสียงว่า ‘ต้าไท่’ แปลว่าไทยใหญ่ โดยมี ‘โบ’ กมลพร วีระวุฒิวงศ์ นักศึกษาชั้นปีที่ 4 คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี และ ‘ซัมบี้’ นัฐชยา เชี่ยวชาญ นักศึกษาชั้นปี 4 คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นหัวเรี่ยวหัวแรงหลักในการพัฒนาแอปพลิเคชัน ‘Dà Tài’ ครั้งนี้ กมลพร เล่าไอเดียให้ฟังว่า แอปพลิเคชัน Dà Tài เริ่มจากการเห็นโอกาสที่คนจีนเข้ามาท่องเที่ยวเป็นจำนวนมากและสนใจซื้อสินค้าไทยแต่ยังเข้าไม่ถึงแหล่งผลิตจริงๆ หรือขาดข้อมูลในการตัดสินใจ จึงริเริ่มออกแบบแอปพลิเคชัน Dà Tài และลงพื้นที่สำรวจแหล่งท่องเที่ยวต่างๆ เพื่อเก็บข้อมูลความต้องการของผู้ซื้อสินค้าชาวจีน โดยเฉพาะกลุ่มแบกเป้หรือแบ็คแพ็ค รวมถึงการสร้างเครือข่ายผู้ประกอบการโอทอปในประเทศด้วย “ในช่วงแรกสินค้าที่จะอยู่ในแอปพลิเคชันนี้คือกลุ่มที่ได้รับความนิยมจากนักท่องเที่ยวจีนต้องซื้อกลับไป เช่น กระเป๋า กาแฟ มะม่วงอบแห้ง เริ่มจาก 500 รายการหลักๆ เพื่อกระตุ้นยอดขายให้ผู้ประกอบการที่ร่วมกับเรามีรายได้และกำลังใจที่จะพัฒนาต่อไป” สำหรับการส่งมอบสินค้าจะพยายามให้ถึงมือผู้รับภายใน 1 วัน ในขณะที่นักท่องเที่ยวจีนยังอยู่ในเมืองไทย หรืออย่างน้อยมีบริการส่งให้ที่สนามบินเพื่อความสะดวกในการนำกลับไปเป็นของขวัญแก่คนที่บ้าน ด้าน นัฐชยา กล่าวเสริมว่า โดยส่วนตัวแล้วเป็นเด็กต่างจังหวัด เกิดที่พะเยาจึงเห็นผลิตภัณฑ์ชุมชนที่มีเสน่ห์เฉพาะตัว เป็นภูมิปัญญาจากรุ่นสู่รุ่น แต่ปัญหาก็คือคนภายนอกยังไม่รู้จัก ขาดช่องทางการตลาด และไม่สามารถสร้างรายได้ที่สม่ำเสมอให้ชาวบ้านอยู่ได้ตลอดทั้งปี “เป้าหมายของเราคือสร้างพื้นที่การขายสินค้าโอทอปที่มีความน่าเชื่อถือ และได้รับการยอมรับเป็น แบรนด์ที่มีคุณภาพ โดยเบื้องต้นจะเน้นจำหน่ายในประเทศก่อน เพราะถ้าขายในต่างประเทศก็มีคู่แข่งสำคัญคือ อาลีบาบา และอเมซอน” หลังจากได้สำรวจความต้องการของตลาดแล้ว ทีมสตาร์ทอัพนำโดยโบและซัมบี้ก็จะเริ่มออกแบบทางเทคนิคเพื่อพัฒนาแอปพลิเคชัน Dà Tài ภายในเดือนพฤษภาคมนี้ ซึ่งการที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มีโครงการบ่มเพาะธุรกิจ การสร้างพื้นที่ Co-working Space ถือว่าเป็นประโยชน์ในการแชร์ความคิดกับทีมงานและผลักดันให้ทุกคนกล้าที่จะก้าวออกไปหาความสำเร็จ “ตรงนี้เป็นความฝันของเรา เพราะเชื่อว่ามนุษย์ไม่มีข้อจำกัด แม้จะเรียนคณะนิติศาสตร์แต่ก็สนใจเรียนรู้ในด้านธุรกิจ ฝึกฝนตัวเองผ่านการเข้าคอร์สด้านการตลาด คิดว่าทำอย่างไรให้ผลิตภัณฑ์เหล่านี้ออกสู่สายตาชาวโลกได้ ตรงนี้เป็นเสน่ห์ของสตาร์ทอัพคือไม่จำกัดความคิดของคน อยากให้อะไรเกิดขึ้นก็ศึกษา ทำมันอย่างเต็มที่ให้ตอบโจทย์ไอเดียที่เราคิดไว้” ศาสตราจารย์ ดร.อาณัติ ลีมัคเดช ผู้อำนวยการศูนย์ทรัพย์สินทางปัญญาและบ่มเพาะวิสาหกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กล่าวว่า ปัจจุบันมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สร้างนวัตกรรมเพื่อส่งเสริมให้เกิดสตาร์ทอัพในหลากหลายโครงการ อาทิ การพัฒนา Thammasat Creative Space (TCS) บนพื้นที่กว่า 1,500 ตารางเมตร ที่ชั้น 1 หอสมุดป๋วย อึ๊งภากรณ์ เพื่อให้นักศึกษาจากทุกคณะได้มานั่งทำงานแลกเปลี่ยนความรู้กันในบรรยากาศที่สร้างสรรค์เกิด โมเดลธุรกิจใหม่ๆ หรือการร่วมกับพันธมิตรอย่างธนาคารกรุงเทพในการส่งเสริม Startup จากภายนอก สามารถใช้ประโยชน์จากนวัตกรรมของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เพื่อพัฒนาธุรกิจได้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะส่งผลดีกับการพัฒนาความรู้ของนักศึกษาและอาจารย์ด้วย EZ Webmaster Related Posts การตลาดดิจิทัลและระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย จัดกิจกรรมตอบแทนกลับคืนสังคม “จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ Post navigation PREVIOUS Previous post: เปิดแล้ว! บริติช เคานซิล เปิดรับสมัคร “ทุน IELTS Prize” มูลค่ากว่า 3,100,000 บาทNEXT Next post: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ เปิดคอร์สอบรมการควบคุมการจราจรทางอากาศเบื้องต้น (Basic Air Traffic Control)
เส้นทางแห่งความพากเพียร สู่การเป็นนักวิชาการมืออาชีพ “ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์” ว.ครูสุริยเทพ ม.รังสิต EZ WebmasterJune 12, 2025 บทบาทสำคัญของการเป็น “ผู้ช่วยศาสตราจารย์” ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาและสังคม ในยุคที่ความรู้ และนวัตกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนประเทศ การมีบุคลากรทางการศึกษาที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ คำนำหน้าที่เกี่ยวข้องกับสายงานวิชาการจึงถือเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นของการเป็นนักวิชาการมืออาชีพ เป็นบุคคลที่บทบาทสำคัญในการพัฒนาการศึกษาและสังคม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัชชญา พีระธรณิศร์ อาจารย์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า บทบาทและความสำคัญของผู้ช่วยศาสตราจารย์ คำนิยามตำแหน่งทางวิชาการของผู้ผลิตความรู้ ผู้พัฒนาภาวะผู้นำอย่างมืออาชีพ และผู้ขับเคลื่อนสังคม… สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief… กิจกรรม “40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster March 26, 2019 EZ Webmaster March 26, 2019 “จากดินสอโดม…สู่ดิจิทัลโมเดล TU Startup พลังขับเคลื่อนคนรุ่นใหม่” การสร้างแรงบันดาลใจให้นักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ในการก้าวสู่ศตวรรษที่ 21 อย่างเป็นผู้นำทั้งภาคธุรกิจและจิตสำนึกต่อสังคมที่ยั่งยืน คือการยกระดับทักษะความรู้ ความคิดและความเป็นผู้ประกอบการ Startup นับเป็นความท้าทาย ‘จุดประกาย’ คน Generation Z ให้ก้าวออกจากพรมแดนการศึกษา สู่มิติทางธุรกิจของตัวเอง ภายใต้การสนับสนุนของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่งมีนโยบายพัฒนา ‘ระบบนิเวศน์สตาร์ทอัพ’ (Startup Ecosystem@TU) อาทิ โครงการบ่มเพาะธุรกิจ พื้นที่การทำงานร่วมหรือ Co-working Space การจับมือพันธมิตรสำคัญ ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสตาร์ทอัพในต่างประเทศ (Startup Exchange) ทั้งหมดล้วนนำไปสู่การแต่งแต้มไอเดียที่มีชีวิตชีวาผ่านระบบดิจิทัล แม้จะเป็นจุดเริ่มต้น โปรเจกต์เล็กๆ แต่ถ้าใครได้สัมผัสนักศึกษาผู้ผ่านกระบวนการบ่มเพาะ ‘หล่อหลอม’ ทักษะแล้ว จะเห็นว่าความฝันของเด็กกลุ่มนี้ควรค่าแก่โอกาสในโลกที่เปิดกว้าง ‘มะเหมี่ยว’ อนัญชนา พัฒนานันท์ นักศึกษาชั้นปีที่ 3 คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมกับเพื่อนซี้ ‘เต้’ จิรายุ พุฒาพิทักษ์ พัฒนา ‘Horhere’ เพจใหม่เอาใจนักศึกษาที่มองหาหอพักใกล้ๆ กับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ที่ขณะนี้เริ่มสร้างเครือข่ายและระดมทุนเพื่อทำให้ความฝันของเธอเป็นจริง “ปัจจุบันนักศึกษาธรรมศาสตร์ที่อยู่หอพักมีมากถึง 50% ทำให้เราคิดว่าถ้าพวกเค้ามีข้อมูลที่มากพอ ทุกคนก็จะมีความเป็นอยู่ที่ดีกว่านี้ได้ จึงพัฒนาเพจ Horhere ขึ้นมาเพื่อเป็นตัวกลางในการติดต่อเรื่องเช่าหอพักอย่างเป็นระบบและน่าเชื่อถือให้แก่นักเรียนนักศึกษาในอนาคต” อนัญชนา เล่าว่า ปัญหาขณะนี้คือนักศึกษาหลายคนต้องเดินทางมาจากต่างจังหวัด เพื่อจองหอพักที่ใกล้กับมหาวิทยาลัย บางหอพักได้รับความนิยมมากต้องมาจองคิวตั้งแต่ตี 5 โดยยังไม่รู้ว่าห้องว่างหรือไม่ บางคนเจอปัญหาการทำสัญญา โอนเงินไปแล้วแต่ผู้เช่าเดิมยังไม่ย้ายออก เพราะใช้บริการจากเว็บไซต์หรือเฟสบุ๊คที่ไม่น่าเชื่อถือ การสำรวจของทีมงาน Horhere ซึ่งมีทั้งสิ้น 8 คน พบว่ารอบๆ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต มีหอพักกว่า 38 แห่ง และมีพื้นที่ให้เช่าประมาณ 1 หมื่นห้อง แต่การขาดข้อมูลที่ดีและความไม่สะดวกในการประสานงานต่างๆ ทำให้นักศึกษาผู้หญิงบางคนต้องตัดใจ เช่าหอพักที่ไกลออกไป สุ่มเสี่ยงต่อความไม่ปลอดภัยในชีวิตและการเดินทาง “เพจ Horhere เป็นโมเดลธุรกิจที่ตอบโจทย์เรื่องการเป็นตัวกลางประสานระหว่างหอพักกับผู้เช่า วางระบบการชำระเงินที่น่าเชื่อถือ โดยจะเริ่มต้นจาก หอพักบริเวณมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ก่อน หากประสบความสำเร็จก็จะประชุมร่วมกับทีมงานเพื่อพัฒนาต่อไป” ที่ผ่านมาโปรเจกต์ Horhere ได้รับการสนับสนุนจาก สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA ที่ให้ทุนสตาร์ทอัพคนรุ่นใหม่มาพัฒนาธุรกิจตามความฝันของอนัญชนาและเพื่อนๆ โดยปัจจุบันมีผู้ติดตามเพจ Horhere แล้วมากกว่า 500 คน ในอนาคตมีแผนพัฒนาไปสู่แอปพลิเคชันและเว็บไซต์ที่สมบูรณ์แบบต่อไป ขณะที่ “เต้” จิรายุ กล่าวว่า กว่าจะมาเป็นเพจ Horhere ในวันนี้ ทีมงานต้องระดมสมองเพื่อ Pitch ไอเดียในเวที “สตาร์ทอัพไทยแลนด์ลีก” จัดโดยกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ต่อมาได้รับความสนใจและได้รับทุนสนับสนุนจากธนาคารออมสิน แต่เป็นแค่จุดเริ่มต้นเท่านั้น อาจจะยังไม่เพียงพอเพื่อทำแอปพลิเคชันตามเป้าหมายที่ฝันไว้ “แผนของเราคือเป็นตัวกลางระหว่างนักศึกษากับเจ้าของหอพัก ซึ่งส่วนใหญ่เคยทำธุรกิจแบบออฟไลน์ ด้วยการนำอินเทอร์เน็ตมาช่วยเหมือนแอร์บีแอนด์บี (Airbnb) หลังจากเปิดเพจระยะหนึ่งเราสามารถปิดดีลได้แล้วบางส่วน ขณะนี้กำลังเพิ่มฐานลูกค้าและทำคอนเทนท์ในเพจให้มากขึ้น ถ้าทำสำเร็จเราคิดว่าจะขยายไปสู่หอพักในโซนมหาวิทยาลัยอื่นๆ ในอนาคต” อีกหนึ่งโครงการสตาร์ทอัพที่เป็นความภูมิใจของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และผ่านกระบวนการบ่มเพาะจนเกิดเป็นรูปเป็นร่าง และอยู่ระหว่างการทำแบบจำลองและเก็บข้อมูล (Prototype) คือการพัฒนาแอปพลิเคชันโอทอปไทยสู่ประเทศจีน… ‘Dà Tài’ หรือออกเสียงว่า ‘ต้าไท่’ แปลว่าไทยใหญ่ โดยมี ‘โบ’ กมลพร วีระวุฒิวงศ์ นักศึกษาชั้นปีที่ 4 คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี และ ‘ซัมบี้’ นัฐชยา เชี่ยวชาญ นักศึกษาชั้นปี 4 คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นหัวเรี่ยวหัวแรงหลักในการพัฒนาแอปพลิเคชัน ‘Dà Tài’ ครั้งนี้ กมลพร เล่าไอเดียให้ฟังว่า แอปพลิเคชัน Dà Tài เริ่มจากการเห็นโอกาสที่คนจีนเข้ามาท่องเที่ยวเป็นจำนวนมากและสนใจซื้อสินค้าไทยแต่ยังเข้าไม่ถึงแหล่งผลิตจริงๆ หรือขาดข้อมูลในการตัดสินใจ จึงริเริ่มออกแบบแอปพลิเคชัน Dà Tài และลงพื้นที่สำรวจแหล่งท่องเที่ยวต่างๆ เพื่อเก็บข้อมูลความต้องการของผู้ซื้อสินค้าชาวจีน โดยเฉพาะกลุ่มแบกเป้หรือแบ็คแพ็ค รวมถึงการสร้างเครือข่ายผู้ประกอบการโอทอปในประเทศด้วย “ในช่วงแรกสินค้าที่จะอยู่ในแอปพลิเคชันนี้คือกลุ่มที่ได้รับความนิยมจากนักท่องเที่ยวจีนต้องซื้อกลับไป เช่น กระเป๋า กาแฟ มะม่วงอบแห้ง เริ่มจาก 500 รายการหลักๆ เพื่อกระตุ้นยอดขายให้ผู้ประกอบการที่ร่วมกับเรามีรายได้และกำลังใจที่จะพัฒนาต่อไป” สำหรับการส่งมอบสินค้าจะพยายามให้ถึงมือผู้รับภายใน 1 วัน ในขณะที่นักท่องเที่ยวจีนยังอยู่ในเมืองไทย หรืออย่างน้อยมีบริการส่งให้ที่สนามบินเพื่อความสะดวกในการนำกลับไปเป็นของขวัญแก่คนที่บ้าน ด้าน นัฐชยา กล่าวเสริมว่า โดยส่วนตัวแล้วเป็นเด็กต่างจังหวัด เกิดที่พะเยาจึงเห็นผลิตภัณฑ์ชุมชนที่มีเสน่ห์เฉพาะตัว เป็นภูมิปัญญาจากรุ่นสู่รุ่น แต่ปัญหาก็คือคนภายนอกยังไม่รู้จัก ขาดช่องทางการตลาด และไม่สามารถสร้างรายได้ที่สม่ำเสมอให้ชาวบ้านอยู่ได้ตลอดทั้งปี “เป้าหมายของเราคือสร้างพื้นที่การขายสินค้าโอทอปที่มีความน่าเชื่อถือ และได้รับการยอมรับเป็น แบรนด์ที่มีคุณภาพ โดยเบื้องต้นจะเน้นจำหน่ายในประเทศก่อน เพราะถ้าขายในต่างประเทศก็มีคู่แข่งสำคัญคือ อาลีบาบา และอเมซอน” หลังจากได้สำรวจความต้องการของตลาดแล้ว ทีมสตาร์ทอัพนำโดยโบและซัมบี้ก็จะเริ่มออกแบบทางเทคนิคเพื่อพัฒนาแอปพลิเคชัน Dà Tài ภายในเดือนพฤษภาคมนี้ ซึ่งการที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มีโครงการบ่มเพาะธุรกิจ การสร้างพื้นที่ Co-working Space ถือว่าเป็นประโยชน์ในการแชร์ความคิดกับทีมงานและผลักดันให้ทุกคนกล้าที่จะก้าวออกไปหาความสำเร็จ “ตรงนี้เป็นความฝันของเรา เพราะเชื่อว่ามนุษย์ไม่มีข้อจำกัด แม้จะเรียนคณะนิติศาสตร์แต่ก็สนใจเรียนรู้ในด้านธุรกิจ ฝึกฝนตัวเองผ่านการเข้าคอร์สด้านการตลาด คิดว่าทำอย่างไรให้ผลิตภัณฑ์เหล่านี้ออกสู่สายตาชาวโลกได้ ตรงนี้เป็นเสน่ห์ของสตาร์ทอัพคือไม่จำกัดความคิดของคน อยากให้อะไรเกิดขึ้นก็ศึกษา ทำมันอย่างเต็มที่ให้ตอบโจทย์ไอเดียที่เราคิดไว้” ศาสตราจารย์ ดร.อาณัติ ลีมัคเดช ผู้อำนวยการศูนย์ทรัพย์สินทางปัญญาและบ่มเพาะวิสาหกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กล่าวว่า ปัจจุบันมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สร้างนวัตกรรมเพื่อส่งเสริมให้เกิดสตาร์ทอัพในหลากหลายโครงการ อาทิ การพัฒนา Thammasat Creative Space (TCS) บนพื้นที่กว่า 1,500 ตารางเมตร ที่ชั้น 1 หอสมุดป๋วย อึ๊งภากรณ์ เพื่อให้นักศึกษาจากทุกคณะได้มานั่งทำงานแลกเปลี่ยนความรู้กันในบรรยากาศที่สร้างสรรค์เกิด โมเดลธุรกิจใหม่ๆ หรือการร่วมกับพันธมิตรอย่างธนาคารกรุงเทพในการส่งเสริม Startup จากภายนอก สามารถใช้ประโยชน์จากนวัตกรรมของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เพื่อพัฒนาธุรกิจได้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะส่งผลดีกับการพัฒนาความรู้ของนักศึกษาและอาจารย์ด้วย EZ Webmaster Related Posts การตลาดดิจิทัลและระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย จัดกิจกรรมตอบแทนกลับคืนสังคม “จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ Post navigation PREVIOUS Previous post: เปิดแล้ว! บริติช เคานซิล เปิดรับสมัคร “ทุน IELTS Prize” มูลค่ากว่า 3,100,000 บาทNEXT Next post: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ เปิดคอร์สอบรมการควบคุมการจราจรทางอากาศเบื้องต้น (Basic Air Traffic Control)
สกสค. ผนึก CLEC จีน จัดตั้งศูนย์สอบ HSK ขยายโอกาสการศึกษาภาษาจีนทั่วประเทศ tui sakrapeeJune 12, 2025 กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.) ร่วมกับศูนย์แลกเปลี่ยนและส่งเสริมความร่วมมือด้านภาษาจีนระหว่างประเทศ (CLEC) แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดพิธีรับมอบป้ายศูนย์สอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2568 ณ ห้องดำรงราชานุภาพ อาคารราชวัลลภ กระทรวงศึกษาธิการ ในพิธีครั้งนี้… เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief…
เอ็นไอเอปั้น 80 ผู้นำนวัตกรรมเชิงนโยบายหนุนมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศ ผ่านหลักสูตร PPCIL รุ่น 7 ผสานความรู้ – ทักษะออกแบบ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขันให้พร้อมสู่“ชาตินวัตกรรม” EZ WebmasterJune 12, 2025 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA เดินหน้าพัฒนาและสร้างผู้นำรุ่นใหม่จากภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพในการออกแบบนวัตกรรมเชิงนโยบาย (Policy Innovation) เพื่อร่วมสร้างเครือข่ายความร่วมมือเชิงระบบในการขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การเพิ่มความสามารถด้านการแข่งขันที่ยั่งยืน ผ่านหลักสูตรอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาความสามารถทางนวัตกรรมสำหรับกลุ่มผู้นำรุ่นใหม่ภาครัฐและเอกชน หรือ Public and Private Chief…
“40 ปี เภสัชศิลปากร” หลากวงการ ร่วมแสดงความยินดี สู่บทบาทผู้นำด้านวิชาชีพเภสัชกรรม วิจัยนวัตกรรม และการสร้างสุขภาพอย่างยั่งยืน EZ WebmasterJune 13, 2025 วันที่ 6 มิถุนายน 2568 คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จัดพิธีเฉลิมฉลองครบรอบ 40 ปี แห่งการสถาปนาอย่างสมเกียรติ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัล นครปฐม ภายใต้ชื่องาน “Celebrating the 40th Anniversary:… ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search EZ Webmaster March 26, 2019 EZ Webmaster March 26, 2019 “จากดินสอโดม…สู่ดิจิทัลโมเดล TU Startup พลังขับเคลื่อนคนรุ่นใหม่” การสร้างแรงบันดาลใจให้นักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ในการก้าวสู่ศตวรรษที่ 21 อย่างเป็นผู้นำทั้งภาคธุรกิจและจิตสำนึกต่อสังคมที่ยั่งยืน คือการยกระดับทักษะความรู้ ความคิดและความเป็นผู้ประกอบการ Startup นับเป็นความท้าทาย ‘จุดประกาย’ คน Generation Z ให้ก้าวออกจากพรมแดนการศึกษา สู่มิติทางธุรกิจของตัวเอง ภายใต้การสนับสนุนของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่งมีนโยบายพัฒนา ‘ระบบนิเวศน์สตาร์ทอัพ’ (Startup Ecosystem@TU) อาทิ โครงการบ่มเพาะธุรกิจ พื้นที่การทำงานร่วมหรือ Co-working Space การจับมือพันธมิตรสำคัญ ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสตาร์ทอัพในต่างประเทศ (Startup Exchange) ทั้งหมดล้วนนำไปสู่การแต่งแต้มไอเดียที่มีชีวิตชีวาผ่านระบบดิจิทัล แม้จะเป็นจุดเริ่มต้น โปรเจกต์เล็กๆ แต่ถ้าใครได้สัมผัสนักศึกษาผู้ผ่านกระบวนการบ่มเพาะ ‘หล่อหลอม’ ทักษะแล้ว จะเห็นว่าความฝันของเด็กกลุ่มนี้ควรค่าแก่โอกาสในโลกที่เปิดกว้าง ‘มะเหมี่ยว’ อนัญชนา พัฒนานันท์ นักศึกษาชั้นปีที่ 3 คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมกับเพื่อนซี้ ‘เต้’ จิรายุ พุฒาพิทักษ์ พัฒนา ‘Horhere’ เพจใหม่เอาใจนักศึกษาที่มองหาหอพักใกล้ๆ กับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ที่ขณะนี้เริ่มสร้างเครือข่ายและระดมทุนเพื่อทำให้ความฝันของเธอเป็นจริง “ปัจจุบันนักศึกษาธรรมศาสตร์ที่อยู่หอพักมีมากถึง 50% ทำให้เราคิดว่าถ้าพวกเค้ามีข้อมูลที่มากพอ ทุกคนก็จะมีความเป็นอยู่ที่ดีกว่านี้ได้ จึงพัฒนาเพจ Horhere ขึ้นมาเพื่อเป็นตัวกลางในการติดต่อเรื่องเช่าหอพักอย่างเป็นระบบและน่าเชื่อถือให้แก่นักเรียนนักศึกษาในอนาคต” อนัญชนา เล่าว่า ปัญหาขณะนี้คือนักศึกษาหลายคนต้องเดินทางมาจากต่างจังหวัด เพื่อจองหอพักที่ใกล้กับมหาวิทยาลัย บางหอพักได้รับความนิยมมากต้องมาจองคิวตั้งแต่ตี 5 โดยยังไม่รู้ว่าห้องว่างหรือไม่ บางคนเจอปัญหาการทำสัญญา โอนเงินไปแล้วแต่ผู้เช่าเดิมยังไม่ย้ายออก เพราะใช้บริการจากเว็บไซต์หรือเฟสบุ๊คที่ไม่น่าเชื่อถือ การสำรวจของทีมงาน Horhere ซึ่งมีทั้งสิ้น 8 คน พบว่ารอบๆ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต มีหอพักกว่า 38 แห่ง และมีพื้นที่ให้เช่าประมาณ 1 หมื่นห้อง แต่การขาดข้อมูลที่ดีและความไม่สะดวกในการประสานงานต่างๆ ทำให้นักศึกษาผู้หญิงบางคนต้องตัดใจ เช่าหอพักที่ไกลออกไป สุ่มเสี่ยงต่อความไม่ปลอดภัยในชีวิตและการเดินทาง “เพจ Horhere เป็นโมเดลธุรกิจที่ตอบโจทย์เรื่องการเป็นตัวกลางประสานระหว่างหอพักกับผู้เช่า วางระบบการชำระเงินที่น่าเชื่อถือ โดยจะเริ่มต้นจาก หอพักบริเวณมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ก่อน หากประสบความสำเร็จก็จะประชุมร่วมกับทีมงานเพื่อพัฒนาต่อไป” ที่ผ่านมาโปรเจกต์ Horhere ได้รับการสนับสนุนจาก สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA ที่ให้ทุนสตาร์ทอัพคนรุ่นใหม่มาพัฒนาธุรกิจตามความฝันของอนัญชนาและเพื่อนๆ โดยปัจจุบันมีผู้ติดตามเพจ Horhere แล้วมากกว่า 500 คน ในอนาคตมีแผนพัฒนาไปสู่แอปพลิเคชันและเว็บไซต์ที่สมบูรณ์แบบต่อไป ขณะที่ “เต้” จิรายุ กล่าวว่า กว่าจะมาเป็นเพจ Horhere ในวันนี้ ทีมงานต้องระดมสมองเพื่อ Pitch ไอเดียในเวที “สตาร์ทอัพไทยแลนด์ลีก” จัดโดยกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ต่อมาได้รับความสนใจและได้รับทุนสนับสนุนจากธนาคารออมสิน แต่เป็นแค่จุดเริ่มต้นเท่านั้น อาจจะยังไม่เพียงพอเพื่อทำแอปพลิเคชันตามเป้าหมายที่ฝันไว้ “แผนของเราคือเป็นตัวกลางระหว่างนักศึกษากับเจ้าของหอพัก ซึ่งส่วนใหญ่เคยทำธุรกิจแบบออฟไลน์ ด้วยการนำอินเทอร์เน็ตมาช่วยเหมือนแอร์บีแอนด์บี (Airbnb) หลังจากเปิดเพจระยะหนึ่งเราสามารถปิดดีลได้แล้วบางส่วน ขณะนี้กำลังเพิ่มฐานลูกค้าและทำคอนเทนท์ในเพจให้มากขึ้น ถ้าทำสำเร็จเราคิดว่าจะขยายไปสู่หอพักในโซนมหาวิทยาลัยอื่นๆ ในอนาคต” อีกหนึ่งโครงการสตาร์ทอัพที่เป็นความภูมิใจของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และผ่านกระบวนการบ่มเพาะจนเกิดเป็นรูปเป็นร่าง และอยู่ระหว่างการทำแบบจำลองและเก็บข้อมูล (Prototype) คือการพัฒนาแอปพลิเคชันโอทอปไทยสู่ประเทศจีน… ‘Dà Tài’ หรือออกเสียงว่า ‘ต้าไท่’ แปลว่าไทยใหญ่ โดยมี ‘โบ’ กมลพร วีระวุฒิวงศ์ นักศึกษาชั้นปีที่ 4 คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี และ ‘ซัมบี้’ นัฐชยา เชี่ยวชาญ นักศึกษาชั้นปี 4 คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นหัวเรี่ยวหัวแรงหลักในการพัฒนาแอปพลิเคชัน ‘Dà Tài’ ครั้งนี้ กมลพร เล่าไอเดียให้ฟังว่า แอปพลิเคชัน Dà Tài เริ่มจากการเห็นโอกาสที่คนจีนเข้ามาท่องเที่ยวเป็นจำนวนมากและสนใจซื้อสินค้าไทยแต่ยังเข้าไม่ถึงแหล่งผลิตจริงๆ หรือขาดข้อมูลในการตัดสินใจ จึงริเริ่มออกแบบแอปพลิเคชัน Dà Tài และลงพื้นที่สำรวจแหล่งท่องเที่ยวต่างๆ เพื่อเก็บข้อมูลความต้องการของผู้ซื้อสินค้าชาวจีน โดยเฉพาะกลุ่มแบกเป้หรือแบ็คแพ็ค รวมถึงการสร้างเครือข่ายผู้ประกอบการโอทอปในประเทศด้วย “ในช่วงแรกสินค้าที่จะอยู่ในแอปพลิเคชันนี้คือกลุ่มที่ได้รับความนิยมจากนักท่องเที่ยวจีนต้องซื้อกลับไป เช่น กระเป๋า กาแฟ มะม่วงอบแห้ง เริ่มจาก 500 รายการหลักๆ เพื่อกระตุ้นยอดขายให้ผู้ประกอบการที่ร่วมกับเรามีรายได้และกำลังใจที่จะพัฒนาต่อไป” สำหรับการส่งมอบสินค้าจะพยายามให้ถึงมือผู้รับภายใน 1 วัน ในขณะที่นักท่องเที่ยวจีนยังอยู่ในเมืองไทย หรืออย่างน้อยมีบริการส่งให้ที่สนามบินเพื่อความสะดวกในการนำกลับไปเป็นของขวัญแก่คนที่บ้าน ด้าน นัฐชยา กล่าวเสริมว่า โดยส่วนตัวแล้วเป็นเด็กต่างจังหวัด เกิดที่พะเยาจึงเห็นผลิตภัณฑ์ชุมชนที่มีเสน่ห์เฉพาะตัว เป็นภูมิปัญญาจากรุ่นสู่รุ่น แต่ปัญหาก็คือคนภายนอกยังไม่รู้จัก ขาดช่องทางการตลาด และไม่สามารถสร้างรายได้ที่สม่ำเสมอให้ชาวบ้านอยู่ได้ตลอดทั้งปี “เป้าหมายของเราคือสร้างพื้นที่การขายสินค้าโอทอปที่มีความน่าเชื่อถือ และได้รับการยอมรับเป็น แบรนด์ที่มีคุณภาพ โดยเบื้องต้นจะเน้นจำหน่ายในประเทศก่อน เพราะถ้าขายในต่างประเทศก็มีคู่แข่งสำคัญคือ อาลีบาบา และอเมซอน” หลังจากได้สำรวจความต้องการของตลาดแล้ว ทีมสตาร์ทอัพนำโดยโบและซัมบี้ก็จะเริ่มออกแบบทางเทคนิคเพื่อพัฒนาแอปพลิเคชัน Dà Tài ภายในเดือนพฤษภาคมนี้ ซึ่งการที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มีโครงการบ่มเพาะธุรกิจ การสร้างพื้นที่ Co-working Space ถือว่าเป็นประโยชน์ในการแชร์ความคิดกับทีมงานและผลักดันให้ทุกคนกล้าที่จะก้าวออกไปหาความสำเร็จ “ตรงนี้เป็นความฝันของเรา เพราะเชื่อว่ามนุษย์ไม่มีข้อจำกัด แม้จะเรียนคณะนิติศาสตร์แต่ก็สนใจเรียนรู้ในด้านธุรกิจ ฝึกฝนตัวเองผ่านการเข้าคอร์สด้านการตลาด คิดว่าทำอย่างไรให้ผลิตภัณฑ์เหล่านี้ออกสู่สายตาชาวโลกได้ ตรงนี้เป็นเสน่ห์ของสตาร์ทอัพคือไม่จำกัดความคิดของคน อยากให้อะไรเกิดขึ้นก็ศึกษา ทำมันอย่างเต็มที่ให้ตอบโจทย์ไอเดียที่เราคิดไว้” ศาสตราจารย์ ดร.อาณัติ ลีมัคเดช ผู้อำนวยการศูนย์ทรัพย์สินทางปัญญาและบ่มเพาะวิสาหกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กล่าวว่า ปัจจุบันมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สร้างนวัตกรรมเพื่อส่งเสริมให้เกิดสตาร์ทอัพในหลากหลายโครงการ อาทิ การพัฒนา Thammasat Creative Space (TCS) บนพื้นที่กว่า 1,500 ตารางเมตร ที่ชั้น 1 หอสมุดป๋วย อึ๊งภากรณ์ เพื่อให้นักศึกษาจากทุกคณะได้มานั่งทำงานแลกเปลี่ยนความรู้กันในบรรยากาศที่สร้างสรรค์เกิด โมเดลธุรกิจใหม่ๆ หรือการร่วมกับพันธมิตรอย่างธนาคารกรุงเทพในการส่งเสริม Startup จากภายนอก สามารถใช้ประโยชน์จากนวัตกรรมของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เพื่อพัฒนาธุรกิจได้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะส่งผลดีกับการพัฒนาความรู้ของนักศึกษาและอาจารย์ด้วย EZ Webmaster Related Posts การตลาดดิจิทัลและระหว่างประเทศ คณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย จัดกิจกรรมตอบแทนกลับคืนสังคม “จดหมายเปิดผนึกจาก ศ.ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาฯ ถึงนักศึกษาชาวไทยในสหรัฐอเมริกา” คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร จัดงานวันสถาปนา 55 ปี “จากต้นกล้า สู่ร่มเงาแห่งปัญญา” เทียบสถิติคะแนนต่ำสุด TCAS66-68 คณะ-มหาวิทยาลัยดังทั่วประเทศ แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่ Post navigation PREVIOUS Previous post: เปิดแล้ว! บริติช เคานซิล เปิดรับสมัคร “ทุน IELTS Prize” มูลค่ากว่า 3,100,000 บาทNEXT Next post: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ เปิดคอร์สอบรมการควบคุมการจราจรทางอากาศเบื้องต้น (Basic Air Traffic Control)
ดีพร้อม ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้ายกระดับร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย หวังสร้างรายได้ชุมชนสู่การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก EZ WebmasterJune 13, 2025 กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือดีพร้อม (DIPROM) ผลักดันซอฟต์พาวเวอร์อาหารไทย เดินหน้า “โครงการพัฒนาร้านอาหารเชฟชุมชนอาหารถิ่นไทย (Local Chef Restaurant) ในพื้นที่ภาคกลางและภาคตะวันออก” ตามนโยบาย “ดีพร้อมคอมมูนิตี้ ที่นี่มีแต่ให้” มุ่งหวังยกระดับร้านอาหารท้องถิ่นที่มีอัตลักษณ์ โดดเด่น และสามารถแข่งขันได้ทั้งในและต่างประเทศ และการสร้างให้เกิดเครือข่ายเชฟชุมชนที่เข้มแข็ง และเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจท้องถิ่น… ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน… Search for: Search
ถอดแนวคิดความมั่นคงชายแดนจากมุมมอง นักศึกษา “วปอ.บอ.” 4 ด้าน สังคม-เศรษฐกิจ-การเมือง-การทหาร ร่วมสะท้อนเส้นแบ่งแห่งโอกาสและอนาคตร่วมกัน EZ WebmasterJune 10, 2025 ชายแดนไทย-เมียนมา ที่ทอดยาวกว่า 2,400 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นที่ทางฝั่งตะวันตกของไทย ตั้งแต่เชียงรายไปจนถึงและระนอง ไม่ได้เป็นเพียงแค่เส้นแบ่งระหว่างรัฐ แต่คือเส้นเขตแดนที่เชื่อมโยงผู้คนหลากหลายชาติพันธุ์ วัฒนธรรม เครือข่ายเศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาอย่างยาวนาน แต่ภายหลังสถานการณ์การเมืองในเมียนมาตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา พื้นที่ที่เคยเต็มไปด้วยโอกาสนี้ กลับกลายเป็นความท้าทายที่ส่งผลกระทบบางประเด็นมาถึงประเทศไทย ดังนั้น การบริหารจัดการพื้นที่ชายแดนจึงไม่ใช่เพียงแค่ภารกิจของกองทัพในเรื่องการปกป้องพรมแดนเท่านั้น แต่เป็นโจทย์เชิงยุทธศาสตร์ที่ต้องผสมผสานความเข้าใจในพื้นที่ สังคม วัฒนธรรม ผู้คน เศรษฐกิจ… สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน…
สมศ. ร่วมถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา EZ WebmasterJune 10, 2025 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. โดย ศาสตราจารย์ ดร.องอาจ นัยพัฒน์ ผู้อำนวยการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ ร่วมบันทึกเทปถวายพระพรชัยมงคล สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาวันที่ 3 มิถุนายน…
EZ Webmaster March 26, 2019 EZ Webmaster March 26, 2019 “จากดินสอโดม…สู่ดิจิทัลโมเดล TU Startup พลังขับเคลื่อนคนรุ่นใหม่” การสร้างแรงบันดาลใจให้นักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ในการก้าวสู่ศตวรรษที่ 21 อย่างเป็นผู้นำทั้งภาคธุรกิจและจิตสำนึกต่อสังคมที่ยั่งยืน คือการยกระดับทักษะความรู้ ความคิดและความเป็นผู้ประกอบการ Startup นับเป็นความท้าทาย ‘จุดประกาย’ คน Generation Z ให้ก้าวออกจากพรมแดนการศึกษา สู่มิติทางธุรกิจของตัวเอง ภายใต้การสนับสนุนของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่งมีนโยบายพัฒนา ‘ระบบนิเวศน์สตาร์ทอัพ’ (Startup Ecosystem@TU) อาทิ โครงการบ่มเพาะธุรกิจ พื้นที่การทำงานร่วมหรือ Co-working Space การจับมือพันธมิตรสำคัญ ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสตาร์ทอัพในต่างประเทศ (Startup Exchange) ทั้งหมดล้วนนำไปสู่การแต่งแต้มไอเดียที่มีชีวิตชีวาผ่านระบบดิจิทัล แม้จะเป็นจุดเริ่มต้น โปรเจกต์เล็กๆ แต่ถ้าใครได้สัมผัสนักศึกษาผู้ผ่านกระบวนการบ่มเพาะ ‘หล่อหลอม’ ทักษะแล้ว จะเห็นว่าความฝันของเด็กกลุ่มนี้ควรค่าแก่โอกาสในโลกที่เปิดกว้าง ‘มะเหมี่ยว’ อนัญชนา พัฒนานันท์ นักศึกษาชั้นปีที่ 3 คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมกับเพื่อนซี้ ‘เต้’ จิรายุ พุฒาพิทักษ์ พัฒนา ‘Horhere’ เพจใหม่เอาใจนักศึกษาที่มองหาหอพักใกล้ๆ กับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต ที่ขณะนี้เริ่มสร้างเครือข่ายและระดมทุนเพื่อทำให้ความฝันของเธอเป็นจริง “ปัจจุบันนักศึกษาธรรมศาสตร์ที่อยู่หอพักมีมากถึง 50% ทำให้เราคิดว่าถ้าพวกเค้ามีข้อมูลที่มากพอ ทุกคนก็จะมีความเป็นอยู่ที่ดีกว่านี้ได้ จึงพัฒนาเพจ Horhere ขึ้นมาเพื่อเป็นตัวกลางในการติดต่อเรื่องเช่าหอพักอย่างเป็นระบบและน่าเชื่อถือให้แก่นักเรียนนักศึกษาในอนาคต” อนัญชนา เล่าว่า ปัญหาขณะนี้คือนักศึกษาหลายคนต้องเดินทางมาจากต่างจังหวัด เพื่อจองหอพักที่ใกล้กับมหาวิทยาลัย บางหอพักได้รับความนิยมมากต้องมาจองคิวตั้งแต่ตี 5 โดยยังไม่รู้ว่าห้องว่างหรือไม่ บางคนเจอปัญหาการทำสัญญา โอนเงินไปแล้วแต่ผู้เช่าเดิมยังไม่ย้ายออก เพราะใช้บริการจากเว็บไซต์หรือเฟสบุ๊คที่ไม่น่าเชื่อถือ การสำรวจของทีมงาน Horhere ซึ่งมีทั้งสิ้น 8 คน พบว่ารอบๆ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต มีหอพักกว่า 38 แห่ง และมีพื้นที่ให้เช่าประมาณ 1 หมื่นห้อง แต่การขาดข้อมูลที่ดีและความไม่สะดวกในการประสานงานต่างๆ ทำให้นักศึกษาผู้หญิงบางคนต้องตัดใจ เช่าหอพักที่ไกลออกไป สุ่มเสี่ยงต่อความไม่ปลอดภัยในชีวิตและการเดินทาง “เพจ Horhere เป็นโมเดลธุรกิจที่ตอบโจทย์เรื่องการเป็นตัวกลางประสานระหว่างหอพักกับผู้เช่า วางระบบการชำระเงินที่น่าเชื่อถือ โดยจะเริ่มต้นจาก หอพักบริเวณมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ก่อน หากประสบความสำเร็จก็จะประชุมร่วมกับทีมงานเพื่อพัฒนาต่อไป” ที่ผ่านมาโปรเจกต์ Horhere ได้รับการสนับสนุนจาก สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA ที่ให้ทุนสตาร์ทอัพคนรุ่นใหม่มาพัฒนาธุรกิจตามความฝันของอนัญชนาและเพื่อนๆ โดยปัจจุบันมีผู้ติดตามเพจ Horhere แล้วมากกว่า 500 คน ในอนาคตมีแผนพัฒนาไปสู่แอปพลิเคชันและเว็บไซต์ที่สมบูรณ์แบบต่อไป ขณะที่ “เต้” จิรายุ กล่าวว่า กว่าจะมาเป็นเพจ Horhere ในวันนี้ ทีมงานต้องระดมสมองเพื่อ Pitch ไอเดียในเวที “สตาร์ทอัพไทยแลนด์ลีก” จัดโดยกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ต่อมาได้รับความสนใจและได้รับทุนสนับสนุนจากธนาคารออมสิน แต่เป็นแค่จุดเริ่มต้นเท่านั้น อาจจะยังไม่เพียงพอเพื่อทำแอปพลิเคชันตามเป้าหมายที่ฝันไว้ “แผนของเราคือเป็นตัวกลางระหว่างนักศึกษากับเจ้าของหอพัก ซึ่งส่วนใหญ่เคยทำธุรกิจแบบออฟไลน์ ด้วยการนำอินเทอร์เน็ตมาช่วยเหมือนแอร์บีแอนด์บี (Airbnb) หลังจากเปิดเพจระยะหนึ่งเราสามารถปิดดีลได้แล้วบางส่วน ขณะนี้กำลังเพิ่มฐานลูกค้าและทำคอนเทนท์ในเพจให้มากขึ้น ถ้าทำสำเร็จเราคิดว่าจะขยายไปสู่หอพักในโซนมหาวิทยาลัยอื่นๆ ในอนาคต” อีกหนึ่งโครงการสตาร์ทอัพที่เป็นความภูมิใจของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และผ่านกระบวนการบ่มเพาะจนเกิดเป็นรูปเป็นร่าง และอยู่ระหว่างการทำแบบจำลองและเก็บข้อมูล (Prototype) คือการพัฒนาแอปพลิเคชันโอทอปไทยสู่ประเทศจีน… ‘Dà Tài’ หรือออกเสียงว่า ‘ต้าไท่’ แปลว่าไทยใหญ่ โดยมี ‘โบ’ กมลพร วีระวุฒิวงศ์ นักศึกษาชั้นปีที่ 4 คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี และ ‘ซัมบี้’ นัฐชยา เชี่ยวชาญ นักศึกษาชั้นปี 4 คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นหัวเรี่ยวหัวแรงหลักในการพัฒนาแอปพลิเคชัน ‘Dà Tài’ ครั้งนี้ กมลพร เล่าไอเดียให้ฟังว่า แอปพลิเคชัน Dà Tài เริ่มจากการเห็นโอกาสที่คนจีนเข้ามาท่องเที่ยวเป็นจำนวนมากและสนใจซื้อสินค้าไทยแต่ยังเข้าไม่ถึงแหล่งผลิตจริงๆ หรือขาดข้อมูลในการตัดสินใจ จึงริเริ่มออกแบบแอปพลิเคชัน Dà Tài และลงพื้นที่สำรวจแหล่งท่องเที่ยวต่างๆ เพื่อเก็บข้อมูลความต้องการของผู้ซื้อสินค้าชาวจีน โดยเฉพาะกลุ่มแบกเป้หรือแบ็คแพ็ค รวมถึงการสร้างเครือข่ายผู้ประกอบการโอทอปในประเทศด้วย “ในช่วงแรกสินค้าที่จะอยู่ในแอปพลิเคชันนี้คือกลุ่มที่ได้รับความนิยมจากนักท่องเที่ยวจีนต้องซื้อกลับไป เช่น กระเป๋า กาแฟ มะม่วงอบแห้ง เริ่มจาก 500 รายการหลักๆ เพื่อกระตุ้นยอดขายให้ผู้ประกอบการที่ร่วมกับเรามีรายได้และกำลังใจที่จะพัฒนาต่อไป” สำหรับการส่งมอบสินค้าจะพยายามให้ถึงมือผู้รับภายใน 1 วัน ในขณะที่นักท่องเที่ยวจีนยังอยู่ในเมืองไทย หรืออย่างน้อยมีบริการส่งให้ที่สนามบินเพื่อความสะดวกในการนำกลับไปเป็นของขวัญแก่คนที่บ้าน ด้าน นัฐชยา กล่าวเสริมว่า โดยส่วนตัวแล้วเป็นเด็กต่างจังหวัด เกิดที่พะเยาจึงเห็นผลิตภัณฑ์ชุมชนที่มีเสน่ห์เฉพาะตัว เป็นภูมิปัญญาจากรุ่นสู่รุ่น แต่ปัญหาก็คือคนภายนอกยังไม่รู้จัก ขาดช่องทางการตลาด และไม่สามารถสร้างรายได้ที่สม่ำเสมอให้ชาวบ้านอยู่ได้ตลอดทั้งปี “เป้าหมายของเราคือสร้างพื้นที่การขายสินค้าโอทอปที่มีความน่าเชื่อถือ และได้รับการยอมรับเป็น แบรนด์ที่มีคุณภาพ โดยเบื้องต้นจะเน้นจำหน่ายในประเทศก่อน เพราะถ้าขายในต่างประเทศก็มีคู่แข่งสำคัญคือ อาลีบาบา และอเมซอน” หลังจากได้สำรวจความต้องการของตลาดแล้ว ทีมสตาร์ทอัพนำโดยโบและซัมบี้ก็จะเริ่มออกแบบทางเทคนิคเพื่อพัฒนาแอปพลิเคชัน Dà Tài ภายในเดือนพฤษภาคมนี้ ซึ่งการที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มีโครงการบ่มเพาะธุรกิจ การสร้างพื้นที่ Co-working Space ถือว่าเป็นประโยชน์ในการแชร์ความคิดกับทีมงานและผลักดันให้ทุกคนกล้าที่จะก้าวออกไปหาความสำเร็จ “ตรงนี้เป็นความฝันของเรา เพราะเชื่อว่ามนุษย์ไม่มีข้อจำกัด แม้จะเรียนคณะนิติศาสตร์แต่ก็สนใจเรียนรู้ในด้านธุรกิจ ฝึกฝนตัวเองผ่านการเข้าคอร์สด้านการตลาด คิดว่าทำอย่างไรให้ผลิตภัณฑ์เหล่านี้ออกสู่สายตาชาวโลกได้ ตรงนี้เป็นเสน่ห์ของสตาร์ทอัพคือไม่จำกัดความคิดของคน อยากให้อะไรเกิดขึ้นก็ศึกษา ทำมันอย่างเต็มที่ให้ตอบโจทย์ไอเดียที่เราคิดไว้” ศาสตราจารย์ ดร.อาณัติ ลีมัคเดช ผู้อำนวยการศูนย์ทรัพย์สินทางปัญญาและบ่มเพาะวิสาหกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กล่าวว่า ปัจจุบันมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สร้างนวัตกรรมเพื่อส่งเสริมให้เกิดสตาร์ทอัพในหลากหลายโครงการ อาทิ การพัฒนา Thammasat Creative Space (TCS) บนพื้นที่กว่า 1,500 ตารางเมตร ที่ชั้น 1 หอสมุดป๋วย อึ๊งภากรณ์ เพื่อให้นักศึกษาจากทุกคณะได้มานั่งทำงานแลกเปลี่ยนความรู้กันในบรรยากาศที่สร้างสรรค์เกิด โมเดลธุรกิจใหม่ๆ หรือการร่วมกับพันธมิตรอย่างธนาคารกรุงเทพในการส่งเสริม Startup จากภายนอก สามารถใช้ประโยชน์จากนวัตกรรมของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เพื่อพัฒนาธุรกิจได้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะส่งผลดีกับการพัฒนาความรู้ของนักศึกษาและอาจารย์ด้วย
แจ้งเกิดแล้ว! สองนักศึกษา มทร.ธัญบุรี คณะศิลปศาสตร์ ผงาดคว้าตำแหน่ง “สุดยอดพิธีกร” เตรียมเขย่าวงการด้วยพลังคนรุ่นใหม่